CRU-Pimonrat-handwritten

Page 1

CRU-Pimonrat Handwritten Report


คำ�นำ� รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ARTI3319Visual

Communication Design Technology เป้นรายงานที่จัด ขึ้นเพื่อสรุปการสร้าง Project Font-Handwritten โดย สร้าง Font ด้วยโปรแกรม High-Logic FontCreator หากผิดพลาดประการใดต้องขออภัย ณ ที่นี้ พิมลรัตน์ แสงรูจีย์


โหลดตาราง Template Font ของอาจารย์ และนำ�มา เขียนด้วยลายมือตนเองทั้ง Thai และ English

ฉบับภาษาไทย

ฉบับภาษาอังกฤษ


นำ�ไฟล์ภาพที่สแกนมา เปิดในโปรแกรม Photo Shop เพื่อจะนำ�ไปทำ�ใน โปรแกรม High-Logic FontCreator

เปิด โปรแกรม High-Logic FontCreator


เปิด Font CRU-LanChand ขึ้นมา

เปิด font English และ Thai ขึ้นมาเพื่อจะเปลี่ยน เป็นFont ของลายมือเรา


copy�font�ตัวอักษรเพื่อไป�วางใน�High-Logic� FontCreator

�พอ�copy�font�ลายมือมาวางจนครบทุกตัวแล้ว�เรา ก็ตั้ง�ชื่อ�font�ที่�Fotmat�>��Naming...>�และ�ตั้งชื่อ� Font�ของตนเอง�ขึ้นต้น�ว่า�CRU�และตาม�ด้วยชื่อ ของตนเอง�เช่น�CRU-Pimonrat


แล้วจะขึ้นหน้าต่างขึ้นมาเพื่อที่จะตั้งชื่อให้เข้าไปที่ Advenced..

ก็จะได้�หน้าต่างแบบนี้ขึ้นมาเพื่อ�เปลี่ยนชื่อ�เป็นของ� ตนเอง


ลอง�Test�Font�English�และ�Thai

พอ�Save�Font�เสร็จ�แล้ว�ก็นำ��Font�ไปวางใน�Control� panel�>�Font


ลองใช้ Font ในโปรแกรม Photo Shop Font CRU-Pimonra

ลอง พิมพ์ Font ลายมือ ใน Photo Shop Font English และThai


ข้อมูลแบบตัวพิมพ์(Font Information) ชื่อแบบตัวพิมพ์ (Typeface/Font Name )CRU-Pimonrat-Handwritten หรือชุดตัวอักษรทั้งหมดในไฟล์นี้ชื่อชุดว่าCRU-PimonratHandwritten เวอร์ชั่น 1.000 ประเภทของไฟล์ตัวพิมพ์ OpenType Layout, TrueType Outlines ออกแบบโดย นางสาวพิมลรัตน์ แสงรูจีย์ สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 7 เดือนมีนาคม พศ.2555 ตัวอย่างรูปแบบตัวอักขระภาษาลาติน(Latin Characters) ได้แก่ ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ0123456789 abcdefghijklmnopqrstuvwx!@#%^&*()_+|{}[]:”<>?;’”,./\*-.=;’ ตัวอย่างรูปแบบตัวอักขระภาษาไทย(Thai Characters) ได้แก่ กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฒณดตถทธนบปผฝพฟภมยรฤลฦวศษ สหฬอฮ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙ ๆๅ฿อะอาอุึอูอิอีอึอือ่อ้อ๊อ๋อ์อำ�เแโใไ?


ข้อความสำ�หรับการทดสอบการพิมพ์รับคำ�สั่งพิมพ์ และเพื่อ แสดงตำ�แหน่งการพิมพ์รูปอักขระที่ออกแบบ-จัดช่องว่าง ช่องไฟ ระหว่างรูปอักขระและระหว่างคำ� ทั้งชุดคือภาษาอังกฤษกับภาษา ไทย In typography, a font is traditionally defined as a quantity of sorts composing a complete character set of a single size and style of a particular typeface. For example, the complete set of all the characters for “9-point Bulmer” is called a font, and the “10-point Bulmer” would be another separate font, but part of the same font family, whereas “9-point Bulmer boldface” would be another font in a different font family of the same typeface. One individual font character might be referred to as a “piece of font” or a “piece of type”.Font nowadays is frequently used synonymously with the term typeface, although they had clearly understood different meanings before the advent of digital typography and desktop publishing.


ในทางวงการพิมพ์นั้นกล่าวถึงฟ้อนต์โดยทั่วไปว่า หมายถึง ตัวอักษรที่ใช้เป็นแบบตัวเรียงพิมพ์เนื้อหา ที่มีขนาดและรูป แบบเป็นชุดเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่นแบบตัวอักษรที่ใช้ในการ เรียงพิมพ์เนื้อหาที่ท่านกำ�ลังอ่านอยู่นี้ มีชื่อแบบตัวอักษรชุด นี้ว่า บางพูด(Bangpood) ที่ประกอบด้วยรูปอักขระ(Glyphs) ของตัวพยัญชนะ (Consonants) สระ(Vowels) วรรณยุกต์ (Tones) เครื่องหมายสัญลักษณ์(Signs and Symbols) วรรค ตอน(Punctuation) อักษรภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ความเข้าใจในคำ�ศัพท์เทคนิคต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการ ออกแบบทางการพิมพ์นั้น มีผู้รู้กล่าวไว้มากมาย ดังที่จำ�นำ�มา อ้างอิง-แปลสรุปความหมายไว้ให้เข้าใจเป็นความรู้พื้นฐานไว้ร่วม กันในที่นี้คือ. ความหมายภาษาไทยของคำ�ว่า Typography นั้นยังไม่มีการ บัญญัติศัพท์คำ�ไทย โดยราชบัณฑิตยสถานไว้โดยตรง (2554) ส่วนใหญ่มักแปลและใช้คำ�ว่า การพิมพ์ ดังเช่นเป็นคำ�แปลไว้ใน พจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ไทย-อังกฤษ Lexitron ของ Nectec เป็นต้น


Kyrnin,Jenifer,2011 ได้ให้ความหมายเกี่ยวกับ Typograpy เอาไว้ว่าหมายถึงการออกแบบและการใช้งานตัวอักษรเพื่อการ สื่อสาร ซึ่งมีจุดเิ่ริ่มต้นมานับแต่ที่กูเตนเบิร์กได้เริ่มใช้ในงานการ พิมพ์ในระบบเลตเตอร์เพรสมาก่อน แต่งานไทโพกราฟี่นั้น มี รากฐานการพัฒนามาจากงานเขียนตัวอักษรแบบคัดลายมือ เป็นรูปอักขระ ดังนั้นขอบข่ายของงานและความหมายจึงมีความ ครอบคลุมไปถึงทุกสิ่งทุกอย่าง นับแต่การเขียนรูปอักขระด้วย มือหรือการออกแบบตัวอักษร ไปจนถึงงานการพิมพ์ด้วยระบบ ดิจิตัลในหน้าเว็บไซต์อีกด้วย อีกทั้งยังครอบคลุมไปถึงภาระงาน ของนักออกแบบที่เป็นผู้ออกแบบสร้างสรรค์ตัวอักษร การจัด ตัวอักษรทุกรูปแบบทุกส่วนที่เกี่ยวข้องในงา่นที่ออกแบบด้วย นั่นเอง Typography จึงเป็นการจัดวางแบบตัวพิมพ์(Typefaces)ให้ เหมาะสมกับพื้นที่และองค์ประกอบทางการพิมพ์ที่ใช้ในงาน ออกแบบทั้งหมดนั่นเอง(Kyrnin,Jenifer,2011)


นางสาวพิมลรัตน์ แสงรูจีย์ รหัส 5211311286 ศิลปกรรม ออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม Email:pimonrat54@gmail.com ฺBlog:http://pimonrat-arti3319.blogspot.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.