Lue house of maetha

Page 1



1

เรือน ไทลื้อ ต.ทาปลาดุก อ.แม่ทา จ.ล�ำพูน ปิยะราช ต๊ะดุก


2

ลื้อ หรือ ลือ เป็นกลุ่มชนชาติพันธุ์ที่พูดภาษาตระกูลไท คือ “ ไทลื้อ ”

หรือ “ ไตลื้อ ” มีถิ่นฐานดั้งเดิม อยู่ ในเขตสิบ สองพันนา ชาวไทลือ้ นิยมตัง้ บ้านเรือนอยูต่ าม ที่ราบลุ่มแม่น�้ำและที่ราบระหว่างหุบเขา โดย มีแม่น�้ำโขง เป็นแม่น�้ำสายส�ำคัญซึ่งชาวไทลื้อ เรียกว่า “ น�้ำของ ” ส่วนจีนเรียกว่า แม่น�้ำ ล้านช้าง และเรียกคนไทลือ้ ว่า “หลี”่ หรือ “สุย่ ไปอี่” ชาวลื้อหรือไทลื้อ มีวัฒนธรรมประเพณี และความเชื่ อ ตลอดจนวิ ถี ชี วิ ต ที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั บ คนไทยล้ า นนาและคนลาวในล้ า นช้ า งที่ บริโภคข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก และนับถือ พุ ท ธศาสนานิ ก ายเถรวาทเช่ น เดี ย วกั น ส�ำหรับประเทศไทย ไทลื้อได้อพยพเข้า มาตั้งถิ่นฐานตามหัวเมืองต่าง ๆ ในภาค เหนือตอนบน ในจังหวัดเชียงราย พะเยา น่าน แพร่ ล�ำปาง ล�ำพูน และเชียงใหม่ ตั้งแต่อดีต ซึ่งเจ้าผู้ครองนครที่มีอ�ำนาจ ได้กวาดต้อนไทลื้อจากสิบสองปันนามา จ�ำนวนมาก บางส่วนได้อพยพเข้ามาเพิ่ม เติมภายหลังเพื่อค้าขาย ติดตามญาติพี่ น้อง แต่งงานและแสวงหาทีท่ ำ� กินทีเ่ หมาะ สม หรือหนีภัยสงคราม รวมทั้งอพยพเข้า มาด้วยเหตุผลทางศาสนา และการจาริกแสวงบุญ ในเวียดนาม มีชุมชนไทลื้อ อาศัยอยู่ที่เมืองบินลูห์ และบริเวณฝั่งตะวันตกของแม่น�้ำด�ำตามแนวพรมแดนที่ ติดต่อกับจีน


3

ในเขตประเทศลาว ไทลื้ อ ตั้ ง ถิ่ น ฐานอยู ่ ท างภาคเหนื อ แถบเมื อ งสิ ง เมืองลองในแขวงหลวงน�้ำทา เมืองอูเหนือ อูใต้ งายเหนือ งายใต้ บุนเหนือ บุนใต้ ในแขวงพงสาลี เมืองไซ เมืองแบง เมืองฮุก เมืองหงสาใน แขวงอุดมไซ เมือง เงิน เมืองเชียงฮ่อน และเมืองหงสาในแขวงไชยะบุรี นอกจากนี้ ยังตัง้ ชุมชนอยูร่ อบ ๆ เมืองหลวงพระบางและกระจายกันอยู่แถบลุ่มน�้ำอูและแม่น�้ำโขง

อาณาจักรสิบสองปันนาในอดีต จัดแบ่งการ ปกครองออกเป็นระบบ พันนา (อ่าน ว่า “ ปันนา ” ) ซึ่งเป็นการควบคุมพื้นที่นา โดยใช้ระบบเหมืองฝาย ประกอบ ด้วยพันนาเมืองหลวง พันนาเมืองแช่ พันนาเมืองฮุน พันนาเมืองฮิง พันนาเชียงลอ พันนาเชียงเจิง พันนาเมืองพง พันนาเมืองลา พันนาเชียงทอง พันนาเมืองอู พันนา เมืองล้า และพันนาเชียงรุ่ง โดยมีพระเจ้าแผ่นดินเป็นประมุขเรียกว่า เจ้าแสนหวี ฟ้า ประทับอยู่ที่เมืองเชียงรุ่ง ซึ่งจีนเรียกว่าเมืองเชอหลี่ นอกจากนี้ ไทลื้อ ยังตั้ง ฐานอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐฉานในพม่าที่เมืองเชียงลาบ เมืองเลน เมืองป่าแลว เมืองวะ เมืองน�ำ เมืองฐาน เมืองขัน เมืองพะยาก เมืองยอง เมืองยุ เมืองหลวย เป็นต้น


4


5

การตั้งถิ่นฐานและภูมิหลังความเป็นมาทาง ประวัติศาสตร์ของกลุ่มชาติพันธุ์ ในเขตลุ่มน�้ำแม่ทา ชาวไทลือ้ นัน้ เดิมมีจดุ ศูนย์กลางอยูท่ แี่ คว้นสิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ทางตอนใต้ของสาธารณรัฐประชาชน จีน แต่ดว้ ยเหตุผลทางการเมืองการปกครอง ที่ ได้มีการกวาดต้อนผู้คนชาวไทลื้อลงมาทางใต้ โดยเฉพาะในช่วงรัตนโกสินทร์ ตอนต้น เมื่อไทยต้องท�ำศึกเพื่อขับไล่พม่าออกจากล้านนา และยึดเมืองเชียงแสน ของพม่าได้ จากนั้นกองทัพของเจ้านายฝ่ายเหนือโดยการน�ำของเจ้ากาวิละ เจ้าเมืองเชียงใหม่ ในขณะนั้นได้ยกทัพขึ้นไปตีเมืองสิบสองปันนาแล้วจึงถือโอกาส อพยพผู้คนลงมาด้วย จนกระทั่งปัจจุบันจึงมีชาวไทลื้อก็กระจายอยู่ ในประเทศจีน พม่า ลาว เวียดนาม และไทย เดิมชาวลื้อ หรือไทลื้อ มีถิ่นที่อยู่บริเวณ เมืองลื้อหลวง จีนเรียกว่า “ลือแจง” ต่อมาได้เคลื่อนย้ายลงมาอยู่บริเวณเมืองหนองแส หรือที่เรียกว่า คุนหมิงในปัจจุบัน แล้วย้ายลงมาสู่ลุ่มน�้ำน�้ำโขง สิบสองปันนาปัจจุบัน ประมาณ ศตวรษที่ 12 จึงเกิดมีวีรบุรุษชาวไทลื้อชื่อ เจ้าเจื๋องหาญ ได้รวบรวมหัวเมืองต่าง ๆ ในสิบสองปันนาปัจจุบนั ตัง้ เป็นอาณาจักรแจ่ลอื้ (เซอลี)่ โดยได้ตงั้ ศูนย์อำ� นาจการ ปกครองเอาไว้ทหี่ อค�ำเชียงรุง่ นาน 790 ปี ต่อมาถึงสมัยเจ้าอิน่ เมือง ครองราชต่อ มาในปี ค.ศ. 1579-1583 (พ.ศ. 2122-2126) ได้แบ่งเขตการปกครองเป็นสิบสอง หัวเมือง แต่ละหัวเมืองให้มีที่ท�ำนา 1,000 หาบข้าว (เชื้อพันธุ์ข้าว) ต่อมาหนึ่ง ที่/หนึ่งหัวเมือง จึงเป็นที่มาจนถึงปัจจุบันเมืองสิบสองปันนาได้แบ่งเขตการ ปกครองเอาไว้ ในอดีตดังนี้ (ที่มาของค�ำว่า สิบสองปันนา หรือ สิบสองเจ้าไต)


6

ส� ำ หรั บ ในเมื อ งไทยนั้ น ชาว ไทลื้ อ ได้ เ ข้ า มาตั้ ง ถิ่ น ฐานกระจายอยู ่ ในพื้ น ที่ ภ าคเหนื อ ตอนบน ไม่ ว ่ า จะเป็ น ในอ� ำ เภอสะเมิ ง อ� ำ เภอดอยสะเก็ ด จังหวัดเชียงใหม่ อ�ำเภอแม่สาย อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย อ.แม่ทา จังหวัดล�ำพูน อ�ำเภอเมือง อ�ำเภอแม่ทะ จังหวัดล�ำปาง อ�ำเภอท่าวังผา อ�ำเภอปัว อ�ำเภอ เชียงกลาง อ�ำเภอทุ่งช้าง จังหวัดน่าน และอ�ำเภอเชียงม่วน อ�ำเภอเชียงค�ำพะเยา กลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อในเขต อ.แม่ทา นั้น มีอยู่มากใน ต.ทาปลาดุก ยาวไป ถึง อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่ ไทลื้อนั้นส่วนใหญ่อยู่ ในเขต ต.ทาปลาดุกนั้นแบ่งได้ 2 พื้นที่ คือ พื้นที่ ที่1 . ได้แก่ บ้านทาป่าเปา / บ้านทาปลาดุก / บ้านศรีทรายมูล / บ้านทาชมภู พื้นที่ ที่2. ส�ำเนียงจะเพี้ยนต่างจากที่กล่าวมาด้านบนเล็กน้อย ส�ำเนียงจะคล้ายกับ ไทยอง อ.ป่าซาง จ.ล�ำพูน ได้แก่ บ้านทาทุ่งไผ่ / บ้านทาสองท่า / บ้านทาป่าตึง / รวมไปถึง บ้านดอนชัย กิ่งอ�ำเภอแม่ออน จ.เชียงใหม่ ซึ่งติดกับ ต.ทาปลาดุก


7

การแต่งกายของผู้ชายชาวไทลื้อ เมืองสิงห์ ประเทศลาว เมื่อราว 100 ปีก่อน

การแต่งกายของชาวไทลื้อ บ้านทาชมภู จ.ล�ำพูน


8

ต�ำบลทาปลาดุก

ได้เกิดขึ้นมาตั้งแต่เมื่อไหร่นั้นไม่มีหลักฐาน ปรากฏแต่มีเรื่องเล่าสืบต่อกันมาว่า ครั้งหนึ่งได้มีชาวไทลื้อ กะเหรี่ยง อพยพมา จากแคว้นเชียงตุงประเทศจีน มาตัง้ ถิน่ ฐานอยู่ ในหมูบ่ า้ นเวียงยอง บ้านหลวย และ บ้านทากาศ ได้มี ชาวหลวยส่วนหนึง่ ได้ เ ดิ น ทางมาตั้ ง ถิ่นฐานอยู่บริเวณ บ้านหลวย ไกล้ๆ อ.เมืองล�ำพูน ซึ่ง คือ บ้านหลวย ใน ปัจจุบันและมีชาว ไทลื้อกลุ่มหนึ่งเดิน ทางจากบ้ า นทา กาศ มาตั้งถิ่นฐาน แถวสถานีรถไฟ (ในปัจจุบัน) และบริเวณใกล้ๆ นั้นมีล�ำห้วยซึ่งเป็นที่อาศัยของ ปลาดุกมากมายและชาวบ้านได้อาศัยปลาเหล่านั้นเป็นอาหาร และเรียกชื่อห้วนนี้ ว่าห้วยปลาดุก ต่อมามีการอพยพมาตัง้ บ้านเรือนกันมากขึน้ ซึง่ ส่วนใหญ่จะเข้ามาท�ำ ไม้เนือ่ งจากพืน้ ทีต่ ำ� บลทาปลาดุกแต่เดิมเป็นป่าทีอ่ ดุ มสมบูรณ์มาก เมือ่ มีชมุ ชนเกิด มากขึน้ หลายหมูบ่ า้ นจึงได้ตงั้ เป็นต�ำบล และได้ชอื่ ว่า “ต�ำบลทาปลาดุก” เนือ่ งมา จากมีล�ำน�้ำแม่ทาไหลผ่านกลางต�ำบลและชาวบ้านก็ตั้งบ้านเรือน อยู่บริเวณใกล้ๆ สองฝั่งล�ำน�้ำทา ดังนั้นหมู่บ้านที่ตั้งขึ้นมักมีชื่อน�ำหน้าด้วยค�ำว่า “ ทา “ รวมทั้ง ชื่อต�ำบลด้วย พืน้ ทีต่ ำ� บลทาปลาดุกอ�ำเภอแม่ทาในอดีตเคยเป็นแคว้นการปกครองขึน้ อยู่ กับเมืองล�ำพูนเมื่อครั้งที่มีการปฏิรูปการปกครองแผ่นดินในหัวเมืองประเทศราช พ.ศ.2441 ต่อมาปี พ.ศ.2458 ได้มีการตั้งแขวงแม่ทา แคว้นทาปลาดุกจึงได้ขึ้น อยู่กับแขวงแม่ทา ปี พ.ศ.2485 ได้ตั้งเป็นกิ่งอ�ำเภอแม่ทาและเปลี่ยนเป็นต�ำบล ทาปลาดุกแยกออกมาจากอ�ำเภอเมืองล�ำพูน


9

การก่อสร้างสะพานขาวบ้านทาชมภู สมัยรัชกาลที่ 5

พระองค์เจ้าบูรฉัตรไชยากร กรมพระก�ำแพงเพชรอัครโยธิน ทรงถ่ายชาวไทลื้อ บ้านทาชมภู ไว้เมื่อ พ.ศ. 2461 ครั้นเมื่อเป็นผู้บัญชาการกรมรถไฟหลวง ทรงควบคุมการสร้างสะพานขาวบ้านทาชมภู เมื่อ พ.ศ. 2461


10

การขุดเจาะถ�้ำขุนตาล เมื่อ พ.ศ.2450

การขุดเจาะถ�้ำขุนตาล เมื่อ พ.ศ.2450 เป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ คมนาคมสู่ภาคเหนือตอนบน และมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลง วิถีชีวิตชาวไทลื้อ บ้านทาชมภู และบ้านเรือน เนื่องจากมีปูนคอนกรีตเข้ามาแทนที่ ไม้


11

การตั้งถิ่นฐานของชุมชนในเขตลุ่มน�้ำแม่ทา การตั้งถิ่นฐานของชาวไทลื้อในเขต ต.ทาปลาดุก อ.แม่ทานั้น พูดภาษา พื้นบ้าน ถิ่นฐานเดิมอยู่เหนือขึ้นไป ทางสิบสองปันนา – หนองแส แต่ถูกรุกราน จากชาวไทใหญ่ถอยร่มลงมาทางใต้จนถึงเมืองล�ำพูน ตั้งฐานอยู่ทางทิศตะวันออก ของเมืองล�ำพูน ซึ่งมีชื่อว่า ต. เวียงยองขณะนี้ ต่อมามีผู้คนอีกจ�ำนวนหนึ่งที่อยาก ท�ำมาหากินอย่างอิสระได้อพยพตามล�ำน�้ำกวง แล้ววกขึ้นมากับน�้ำสายหนึ่ง ชื่อ ล�ำน�้ำแม่ทา เห็นว่าแหล่งที่ดี ก็พักปลูกบ้านเป็นแห่ง ๆ จนถึงขุนน�้ำทา ซึ่งเป็น ส่วนหนึ่งของ กิ่งอ�ำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ ในปัจจุบัน ในจ�ำนวนนี้มีพวกหนึ่ง ในจ�ำนวน 20 ครอบครัว โดยการน�ำของพ่อแสนเทพ ได้จดั ตัง้ ปลูกบ้านข้างฝังล�ำน�ำ้ แม่ทา ชื่อว่าหมู่บ้านทาชมภู ซึ่งเป็นชุมชนไทลื้อ ได้สร้างเรือน สร้างวัฒนธรรม มากมาย โดยในปัจจุบนั ยังพอมี ให้เห็นถึงเรือนไทลือ้ ทีท่ รงเอกลักษณ์อย่างงดงาม


12

ภูมิหลังความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ ในห้วงระหว่างปี ค.ศ.1782-1813 (พ.ศ. 2325-2356) ในยุคฟื้นฟูเมือง เชียงใหม่ ที่ช่วงเวลานั้นเมืองเชียงใหม่มีจ�ำนวนประชากรบางตา ชาวไทลื้อได้ ถู ก พระยากาวิ ล ะเจ้ า เมื อ งเชี ย งใหม่ ท� ำ การ กวาดต้อนลงมายังเมืองเชียงใหม่และหัวเมือง ใกล้เคียงตามนโยบาย “เก็บผักใส่ซ้า เก็บข้า ใส่เมือง” แม้พระเจ้ากาวิละจะได้เป็นเจ้าเมือง เชียงใหม่หรือเจ้าหลวงแล้ว ภายในเวลาขณะ นั้ น ในก� ำ แพงเมื อ งเชี ย งใหม่ แ ล้ ว ผู ้ ค นยั ง โหรงเหรงและเงียบเหงา ภายในยังเต็มไปด้วย บรรดาแมกไม้ยังรกรุงรัง จึงถือได้ว่า เป็นยุค ฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่จริง ๆ พระเจ้ากาวิละและ เจ้าน้องทั้ง ๖ คน จึงเริ่มหาทางเพิ่มราษฎรใน เมือง โดยการชักชวนและไปตีกวาดต้อนตาม หัวเมืองต่าง ๆ ทุกทิศ เริ่มตั้งแต่เมืองฝาง (อ�ำเภอฝาง) ไปจนถึงเมืองเชียงแสน เชียงราย เชียงค�ำ เชียงของ เมืองปุ เมืองสาด เมืองกาย เมืองพะเยา เมืองเลน เมืองยอง เมืองเชียงตุง เมืองขอน เวียงตองกาย จนถึงสิบสองปันนา ทิศตะวัน ตกถึงเมืองบนฝั่งแม่น�้ำคง (สาละวิน) มีเมืองยวม เมืองแม่ฮ่องสอน เมืองแหง เมืองปาย ฯลฯ ในปี ๒๓๓๒ ก็ ได้ชาวบ้านสะต๋อย บ้านวังลุ วังกวาด และบ้านงัว ลาย ท่าช้าง บ้านนา และอีกหลายเมือง ซึ่งได้ ไปไว้ ในที่ต่าง ๆ ในเชียงใหม่ ล�ำพูน ล�ำปาง จนถึงแพร่ น่าน


13

ภูมิศาสตร์และที่ตั้ง อ�ำเภอแม่ทาเดิมเป็นพื้นที่ป่าไม้ทั้งหมด ตั้งอยู่เชิงเทือกเขาขุนตาน ไม่มี ผู้คนตั้งบ้านเรือนอาศัยอยู่เลย จนเมื่อราว200 ปีเศษมานี้ ได้มีหัวหน้าไทยใหญ่ คนหนึ่ง ชื่อ นายฮ้อย ค�ำอ่าง เป็นผู้อพยพครอบครัวและบริวารมาตั้งรกราก ท�ำ มาหากินตัง้ เป็นหมูบ่ า้ นขึน้ ในชัน้ แรกมีบา้ นศาลาแม่ทาก่อนต่อมาได้ขยายเป็นชุมชน ใหญ่และอยุ่ ในเขตการปกครองของอ�ำภอเมืองล�ำพูนในปี พ.ศ.2482 ทางราชการ ได้พิจาณา เห็นว่าชุมชน บ้ า นศาบาลแม่ ท าได้ ขยายเป็ น ชุ ม ชนใหญ่ มากขึ้น เพื่อสะดวกต่อ การปกครองและเพื่อ ขยายความเจริญของ ชุมชน ทางราชการโดย กระทรวงมหาดไทยจึง ได้ ป ระกาศยกฐานะ ชุมชนแม่ทาขึ้นเป็นกิ่ง อ�ำเภอแม่ทาอยู่ ในเขต การปกครองของอ�ำภอเมืองล�ำพูน จากนั้นเป็นต้นมากิ่งอ�ำเภอแม่ทาก็ ได้มีความ เจริญเติบโตมาเป็นล�ำดับ ทางราชการเห็นสมควรทีจ่ ะยกฐานะจากกิง่ อ�ำเภอแม่ทา ขึ้นเป็นอ�ำเภอ ทางจังหวัดล�ำพูนจึงได้ท�ำหนังสือไปยังกระทรวงมหาดไทยเพื่อขอ ยกฐานะจากิ่งอ�ำเภอแม่ทาขึ้นเป็นอ�ำเภอ ต่อมาในวันที่ 22 กรกฎาคม 2501 จึง ได้ยกฐานะขึ้นเป็นอ�ำเภอให้ชื่อว่า อ�ำเภอแม่ทา โดย เรียกชื่อตามล�ำน�้ำแม่ทา ซึ่ง เป็นแม่นำ�้ สายใหญ่และส�ำคัญทีส่ ดุ ของอ�ำเภอ ไหลผ่านทุกต�ำบลในเขตอ�ำเภอแม่ทา ยกเว้นต�ำบลทาแม่ลอบ ดังนั้นจะเห็นได้ว่า “ทา” น�ำหน้าชื่อต�ำบลทุกต�ำบลของ อ�ำเภอแม่ทา มาจนถึงปัจจุบันนี้


14

ประเพณี วัฒนธรรมการปลูกเรือน เรือนไทลื้อนั้นเป็นเรือนพักอาศัยของชุมชาติพันธุ์ ไทลื้อ เรือนประเภทนี้มี ลักษณะพิเศษ นิยมมุงกระเบือ้ งไม้เรียก “แป้นเกล็ด” แต่ปจั จุบนั ไม้เป็นวัสดุหายาก มีราคาแพงจึงเปลีย่ นมาใช้ “ดินขอ” มุงหลังคาแทน ใช้วสั ดุอย่างดี การช่างฝีมอื สูง ประณีต แต่มีแบบค่อนข้างตายตัว ส่วนใหญ่เป็นเรือนเดี่ยวและยังพอมีเรือนแฝด ให้เห็นอยู่บ้าง มีขนาดตั้งแต่ 1ห้องนอนขึ้นไป เรือนไทลื้อจะมีแผนผัง 2 แบบใหญ่ๆ คือ แบบเอาบันไดขึน้ ตรงติดชานนอกโดดๆ กับแบบเอาบันไดอิงชิดแนบฝาใต้ชายคา คลุม แต่ทงั้ สองแบบจะใช้รา้ นน�ำ้ ตัง้ เป็นหน่วยโดดๆ มี โครงสร้างของตนเองไม่นยิ มตี ฝ้าเพดาน หรือบางกลุม่ ประกอบด้วยเรือนหลายหลังเป็นกลุม่ ใหญ่ ในแต่ละสังคม ย่อมมีวธิ กี ารทีแ่ ตกต่างและคล้ายคลึงกันไป ขึน้ อยูก่ บั ปัจจัยทางสังคมทีส่ อดคล้อง กับวิถชี วี ติ ความเป็นอยู่ และสภาพแวดล้อม ประเพณีการปลูกเรือนล้วนแฝงไว้ดว้ ย คติความเชือ่ ของสังคมนัน้ ๆซึง่ เป็นตัว เพือ่ ให้บงั เกิดความอยูเ่ ย็นเป็นสุขแก่ผอู้ าศัย ในเรือนนั้นๆ การ “ปกหอยอเฮือน” เป็นค�ำพูดในภาษาล้านนา หมายถึงประเพณี การปลูกเรือนล้านนา แต่เดิมที่อยู่อาศัยของชาวล้านนามีด้วยกันหลายระดับ แล้ว แต่ฐานนะมีตั้งแต่ตูบติดดิน ตูบหมาแหงน ตูบหย่างร่างเรือน ตูบพื้นหลองข้าว เรือนไม้บั่ว เรือนเครื่องไม้จริง เรือนไม้จริงล้วน คือพื้นแป้นฝาแป้น เป็นต้น แต่ โบราณนิยมให้ฝ่ายชายอยู่ร่วมกับฝ่ายหญิง เรียกว่า วิวาหมงคล หรือ วิวาหะ มังคละ เพื่อให้ฝ่ายชายได้รับใช้บิดามารดาฝ่ายหญิง เรียกว่า “ได้ลูกอ้ายหลาน ชาย” เพื่อเป็นการตอบแทนที่ฝ่ายชายได้ลูกสาวของเขามาเป็นภรรยา เป็นเวลา ๓ ปีเป็นอย่างน้อย จึงจะแยกตัวลงมาตั้งเรือนใหม่อีก ๑ ครอบครัว เรียกว่า “ลง ปักซั้งตั้งกิน”


15

ในการปลูกเรือนใหม่ชายหนุ่มจะต้องหาสถานที่อยู่และเตรียมอุปกรณ์ ใน การท�ำบ้าน ไว้อย่างพร้อมมูล ก่อนวันปกเรือนสล่าผู้เป็นหัวหน้าจะพาลูกมือวาง ผังของเรือนก่อน ว่าจะปลูกบริเวณใดทีจ่ ะเป็นมงคล เชือกทีน่ ำ� มาใช้ตอ้ งไม่เป็นเชือก ที่ต้องห้าม ทั้งสีและชนิดของเชือกเป็นสิ่งส�ำคัญ เช่น เชือกสีด�ำไม่ดี เชือกสีเขียว ดีจะมีทรัพย์สิน เชือกที่เป็นด้ายสีแดงไม่ดี ไฟจักไหม้ เชือกด้ายสีขาว หรือเชือก จากเปลือกไม้ ไม่ดี เชือกเครือเขาไม่ดีจักฉิบหาย เมื่อวัดได้ที่แล้วน�ำขื่อ และแปมา วางพาดกันตามรูที่เจาะไว้ ในบริเวณที่จะปลูกเรือน โดยหันทิศทางให้ถูกต้องตาม ที่เจ้าของเรือนต้องการ แล้วเอาไม้หลักตอกลงดินเพื่อหมายไว้เป็นจุดที่จะขุดหลุม เสาตรงหลักที่หมาย นั้นให้ครบทุกต้น


16

วัสดุ

เทคนิค และกระบวนการปลูกสร้างเรือนไทลื้อ

เมื่อได้ท�ำการจัดหาเตรียมเครื่องเรือนที่เรียกกันว่า “การครัวไม้” โดย ท�ำการท่าวร่างทดลองปลูกดูก่อน แล้วจึงรื้อลงมาจัดผูกแยกเป็นกองๆ เพื่อรอ การปลูก ต่อมาเจ้าของเรือนจะต้องไปหาปู่อาจารย์ ให้ท่านช่วยดูฤกษ์ดูวันในการ ที่จะปก เรือน เมื่อได้วันก�ำหนดที่แน่นอนแล้ว เจ้าของเรือนจะออกไปขอแรงจาก เพือ่ นบ้านญาติพนี่ อ้ งให้มาช่วยปกเรือน เพราะชาวบ้านสมัยก่อนเป็นช่างปลูกเรือน เหมือนกันเกือบทุกคนโดยขอไว้ล่วงหน้า อย่างน้อย ๓ วัน ส่วนฝ่ายหญิงจะไปบอก ญาติพนี่ อ้ งของฝ่ายตนให้ชว่ ยท�ำอาหารเลีย้ งคนทีม่ าช่วย งาน ก่อนทีจ่ ะท�ำการปก เรือน เจ้าของเรือนจะต้องส�ำรวจดูพนื้ ทีๆ่ จะปลูกเรือนก่อนว่าตรงไหนจะดีมากน้อย ประการใด


17

ประเพณีและความเชื่อในการปลูกเรือนไทลื้อ

การปกเรือน

วันรุ่งขึ้นชาวบ้านที่ ได้รับการบอกกล่าวจากเจ้าของเรือนหรือได้ทราบ ว่าบ้านมีบ้านที่จะปกเรือนก็จะมีน�้ำใจมาช่วยปกเรือนด้วยมีทั้งคนอายุประมาณ ๓๕ ปีขึ้นไป จนถึงคนสะหมังเคิ้ม คืออายุ ๔๐-๕๐ ปี บางคนก็กว่า ๖๐ ปี ไปแล้ว จะมาช่ วยกั น โดยแบ่งงานตามความถนัด และตามเครื่ อ งมื อ ที่ ต นเองมี ชาว บ้านช่วยกันปกเรือน ในการปกเรือนจะเอาขื่อแปวางซ้อนกันในจุดที่จะปลูก เรือน โดยวางขื่อยาวไปตามทิศตะวันออกและตะวันตก วางแปยาวไปตามทิศ เหนือใต้ หากวางแปไปตามทิศตะวันออกและตะวันตกจะถือว่า “แปลงเรือนขวาง โลก” เรือนล้านนาในอดีตจะหันหน้าเรือนไป ๒ ทิศเท่านั้นคือ ทิศเหนือและทิศใต้ ใน การปกเสาเรือนนั้นจะต้องปกเสามงคลหรือเสาเอกก่อน แล้วจึงปกเสานาง และเสาอื่นๆตามมา เมื่อชาวบ้านมาแล้วถ้ายังไม่ ได้ขุดหลุมเสา ก็จะลงมือขุดเสา มงคลกับเสานางก่อน เพราะจะต้องมีพิธีกรรมเกี่ยวเสาทั้งสองต้นนี้ ปู่อาจารย์จะ เป็นผู้ผูกเสามงคลให้ ชาวบ้านจะช่วยกันหามเสามงคลและเสานางไปที่หลุม หัน ปลายเสาไปตามทิศมงคล เอาโคนเสาใกล้ปากหลุม ที่ปลายเสาจะมี ไม้ง่ามค�้ำ เป็นรูปกากบาทสูงประมาณ ๑ ศอกเพื่อวางรับเสาไห้ห่างจากพื้น มีเครื่องบูชา ประกอบด้วย มะพร้าวอ่อน ๑ ทะลาย กล้วย ๑ เครือ ต้นกล้วย ต้นอ้อย และเสื้อ ของเจ้าบ้านผู้ชายมาผูกกับเสามงคล แล้วเอายอดใบไม้ที่เป็นพญาแก่ ไม้ทั้งหลาย ประจ�ำวันนั้นๆมาผูกกับเสามงคล พิธีแก้เสนียดจัญไร เครื่องบูชาและใบไม้มงคล


18

การตั้งขัน

การ “ตั้งขัน” เป็นประเพณีอย่างหนึ่งของชาวล้านนา ซึ่งเป็นการแสดง ความคารวะแก่ผู้ที่จะท�ำพิธี ให้ ในกรณีที่ ไม่ ได้ตั้งขันครูตอนที่ครัวไม้ สล่าหรือช่าง ก่อสร้างก็จะตั้งขันในตอนนี้ ขันตั้งประกอบด้วยสวยหมาก ๑๒ สวยพลู ๑๒ สวย ดอก ๑๒ ข้าวเปลือกหมื่นข้าวสารพัน หมาก ๑ หัว พลู ๑มัด ผ้าขาวร�ำ ผ้าแดง ร�ำ เหล้า ๑ ขวด เงินอีกจ�ำนวนหนึ่งใส่ ในภาชนะ เช่น โอง หรือกาละมัง โดยให้ สล่าเค้า หรือหัวหน้าในการปลูกเรือนหลังนั้นเป็นผู้ถือขันตั้ง หรือถ้าไม่มีก็ ให้ปู่ อาจารย์เป็นผู้ถือให้ เมื่อกล่าวโองการแล้ว ก็เอาใส่สาแหรกแขวนไว้ที่ตูบหรือเรือน พักของเจ้าของ เมื่อได้ตั้งขันแล้วเชื่อว่าการปลูกเรือนจะราบรื่นไม่มีอุปสรรคสิ่งใด


19

การหามื้อจันวันดี และโศลกท�ำบ้าน

เมื่อได้บริเวณที่จะปลูกเรือนแล้วก็ ให้ ไปหาพระสงฆ์ หรืออาจารย์วัดให้ ช่วยดูเดือน ดูวัน ดูยามที่จะลงมือปลูกเรือน เรียกว่าการหาหื้อจันวันดีเพื่อเป็น ศิริมงคลต่อการปลูกเรือน

การขุดหลุมเสา

การขุดหลุมเสาไม่ควรขุดในวันอาทิตย์ เพราะวันอาทิตย์เกตุตกดิน ห้าม ขุดดิน แต่หากวันปกเรือนวันรุ่งขึ้นคือวันอาทิตย์ พึงขุดดินในวันเสาร์ล่วงหน้า ใน การขุดหลุมนั้นสล่าหัวหน้า หรือสล่าเค้าจะมาช่วยวัดระดับความลึกตื้นของหลุม โดยใช้วิธี “ไม้ปกลุก” เมื่อขุดให้ความลึกเท่ากับไม้ปกลุกแล้ว เมื่อปกเสาระดับ ปลายเสาจะสูงต�่ำเท่ากัน นอกจากนี้จะต้องขุดมูลดินขึ้นกองไว้ที่ปากหลุมให้ตรง ตามทิศมงคล และรู้ว่าเดือนใดพญานาคนอนหันหัวไปทางไหน ในกรณีที่วันปก ไม่ตรงกับวันอาทิตย์ก็สามารถขุดหลุมเสาในเช้าวันอาทิตย์ก่อน ที่จะปกเสาได้


20

เรือนพักอาศัยพื้นถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ ไทลื้อ

ในเขตลุ่มน�้ำแม่ทา จ.ล�ำพูน พบว่ามีจ�ำนวน 4 หลังที่คงสภาพตั้งแต่ อดีตถึงปัจจุบันไว้ ได้ และมีอายุใกล้เคียงกับการเข้ามาสร้างทางรถไฟ สมัย ร.5


21

ชุมชนไทลื้อ

ต.ทาปลาดุก อ.แม่ทา จ.ล�ำพูน นั้น ช่วงยุคสมัยตั้งแต่ พ.ศ. 2460 – ปัจจุบัน ยังคงมีการปลูกนาข้าว ไว้กินเอง และยังเป็นพืชเศรษฐกิจท�ำรายได้ ให้กับ ชุมชน ซึ่งแต่ล่ะหมู่บ้านก็จะมีวีธีรักษาและเก็บข้าวไว้แตกต่างกัน ดังนี้ 1. ยุ้งข้าวติดกับตัวเรือน ยุ้งข้าวที่มีการเชื่อมต่อกับภายในตัวเรือนนั้น เท่าที่ผู้ศึกษาได้ค้นคว้าและ ลงพื้นที่ ศึกษามานั้น มี อยู่ 2 หลัง ซึ่งอยู่ภายในหมู่บ้านเดียวกัน คือ บ้านทาชมภู ต. ทาปลาดุก อ.แม่ทา จ.ล�ำพูน ซึ่งเหตุผลที่ มีการเชื่อมโยงยุ้งข้าวเข้าต่อกับตัว เรือนนั้นก็เพื่อเป็นการสะดวกที่จะน�ำข้าวมาใช้กินภายในตัวเรือน เนื่องจาก พื้นที่ ท�ำครัว จะอยู่ภายในตัวเรือน ( หลังเรือน ) เช่นเดียวกัน จึงสะดวกมากกว่าที่จะ น�ำยุ้งข้าว สร้างแยกไว้นอกเรือน


22

2. ยุ้งข้าวแยกกับตัวเรือน ยุ้งข้าวที่มีการแยกกับตัวเรือนนั้นเท่าที่ผู้ศึกษาได้ค้นคว้าและลงพื้นที่ ศึกษามานั้น มีอยู่ 2 หลัง ซึ่งอยู่ภายในหมู่บ้านเดียวกัน คือ บ้านทาป่าเปา ต.ทาปลาดุก อ.แม่ทา จ.ล�ำพูน ซึ่งเหมือนเรือนล้านนาทั่วไป ที่มียุ้งข้าวแยกไว้กับ ตัวเรือน เนื่องจากมีควายเป็นสัตว์เลี้ยง ซึ่งจะเลี้ยงอยู่ ใต้ยุ้งข้าว ซึ่งเป็นพื้นที่ โล่ง อยู่นั่นเอง


23

ต.ทาปลาดุก อ.แม่ทา จ.ล�ำพูน พบว่าลักษณะผังบริเวณตัวเรือนไม้ โดยรวม แล้วสามารถแบ่งประเภทของผังทางกายภาพออกได้เป็นใหญ่ๆ 2 ประเภท คือ 1. เรือนที่มีขนาดใหญ่ 2. เรือนที่มีขนาดเล็ก เรือนไม้ที่มีขนาดใหญ่ ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ ก็ จ ะมี ผั ง เรื อ นคล้ า ยๆกั น เป็ น ล� ำ ดั บ เป็ น ต้ น มา คื อ องค์ประกอบหลัก เช่น ทาขึ้นหน้าบ้าน มีชานหน้าบ้าน เข้ามาด้านในเป็นห้องโถง โล่งขนาดใหญ่ ไว้สำ� หรับกิจกรรมส่วนรวมในครอบครัว หรือเพือ่ ประโยชน์ ใช้สอย อย่างอื่น เช่น เอาไว้รับแขก หรืออื่นๆ ถัดจากห้องโถงก็เป็นห้องนอน ซึ่งมาตรฐาน ของเรือน ต้องมี 1 ห้องนอนเป็นส่วนใหญ่ หรืออาจจะมากกว่า 1 ห้อง ก็เป็นได้ ตามการออกแบบเจ้าของเรือน ถัดก็จะเป็นครัวไฟหรือเฮือนไฟ ที่นิยมต่อไปทาง ด้านหลังของเรือน ทั้งนี้ เรือนที่มีขนาดใหญ่นั้น ขึ้นอยู่กับฐานะของ ผู้สร้างด้วย เช่นกัน และจ�ำนวนคนในบ้านว่ามากน้อยเพียงใดด้วย


24

เรือนไม้ที่มีขนาดเล็ก ซึ่งส่วนใหญ่แล้ว ทั้งเรือนเล็กและเรือนใหญ่ก็จะมีผังเรือนคล้ายๆกัน แต่ ในที่นี่จะรวมหมดถึงครัวไฟ และห้องนอนจะมี ไม่เกิน 2 ห้อง ( เท่าที่ผู้ศึกษาได้ ท�ำการศึกษามานั้นส่วนใหญ่แล้ว ห้องนอน ของเรือนขนาดเล็ก จะมีอยู่แค่ ห้อง เดียวเท่านั้น ) ถัดไปก็จะเป็นพื้นที่ โถงในเรือน ซึ่งเอาไว้ท�ำกิจกรรมกันในครอบครัว


25


รูปแบบเรือน ของกลุ่มชาติพันธุ์ ไทลื้อ ในเขตลุ่มน�้ำแม่ทา อ.แม่ทา จ.ล�ำพูน ปิยะราช ต๊ะดุก ภาพและเนื้อหา © 2016 ( พ.ศ. 2559 ) โดย ปิยะราช ต๊ะดุก สงวนลิขสิทธ์ตามพระราชบัญญัติ พิมพ์ครั้งแรก เดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 จัดพิมพ์ โดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบและจัดรูปเล่มโดย ปิยะราช ต๊ะดุก ออกแแบโดยใช้ฟอนต์ TH Baijam ขนาด 16pt. หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานทางวิชาการ จัดท�ำขึ้นเพื่อส่งเสริมและต่อยอดศักยภาพ การศึกษาภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่



การทำ�อุตสาหกรรมการค้าไม้ และการทำ�รางรถไฟ ที่เข้ามาเมื่อ 2462 ทำ�ให้ชุมชม เปลี่ยนแปลงไปพอสมควร เนื่องจาก การเข้ามาของเทคโนโลยีต่างๆ ในสมัยนั้น จากบ้าน ไม้เริ่มกลายเป็นบ้านปูน ทำ�ให้สถาปัตยกรรมเรือนไม้ของชุมชน ไทลื้อ หายไปเยอะมาก เท่าที่ปัจจุบันที่ยังหลงเหลือให้เห็นอยู่ ไม่น่ามีเกิน 5 หลัง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.