Researching and developing book

Page 1

โครงการพิเศษการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ การออกแบบอักขระตัวพิมพภาษาไทยและภาษาอังกฤษโดยมีรูปแบบอักษรจีน

โดย นางสาวปโยรส โชคอุดมไพศาล

โครงการพิเศษนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบสือ่ สิ่งพิมพ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนยสุพรรณบุรี ปการศึกษา 2552


Thai and English Typeface Design From Chinese Character Style

By Miss. Piyoros Chokudompaisal

The special project submitted in partial fulfillment of the requirement for the Bachelor’s Degree program of Arts in Print Media Design Faculty of Humanities and Social Science Suan Dusit Rajabhat University Suphan Buri Campus Academic year 2009


หัวขอโครงการ ผูจัดทําโครงการ หลักสูตร

: การออกแบบอักขระตัวพิมพภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยมีรูปแบบอักษรจีน : นางสาวปโยรส โชคอุดมไพศาล : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ

_____________________________________________________________________ สาขาวิชาการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต ศูนยสุพรรณบุรี อนุมัติโครงการพิเศษการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ เปนสวนหนึ่ง ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต

______________________________ (อาจารยหฤษฏ บุปผเวส) ประธานกรรมการและอาจารยที่ปรึกษา

______________________________ (ผูชว ยศาสตราจารยปราโมทย แสงพลสิทธิ์) กรรมการ

______________________________ (อาจารยพิรมาลย บุญธรรม) กรรมการ

______________________________ (อาจารยอานุภาพ ถูปาอาง) กรรมการ

______________________________ (อาจารยณัฐชานันท วีระกุล) กรรมการ


กิตติกรรมประกาศ โครงการฉบับนี้สําเร็จลุลวงและผานไปไดดวยดีดิฉันขอขอบคุณในความอนุเคราะหจาก อาจารยหฤษฏ บุปผเวส ที่คอยใหคําปรึกษา คําแนะนํา ดูแล ชวยเหลือ รวมทั้งการตรวจสอบเอกสาร และขอมูลที่เกี่ยวของจนเปนรูปเปนราง จนกระทั่งเสร็จสมบูรณ ดิ ฉั น ขอขอบคุ ณ คุ ณ พ อ และคุ ณ แม ที่ เ ลี้ ย งดู ดิ ฉั น มาตั้ ง แต วั น แรกที่ ลื ม ตาดู โ ลกจนถึ ง ปจจุบัน ขอขอบคุณสําหรับการสละเวลาในการทําขนมและกับขาวใหทาน เพื่อเติมพลังกายและ พลังใจเสมอมา และขอขอบคุณสําหรับคําแนะนํา คําปรึกษา และการสนับสนุนคาใชจายในการ ค น คว า วิ จั ย รวมถึ ง ค า ใช จ า ยอื่ น ๆ ซึ่ ง คงจะไม มี โ ครงการฉบั บ นี้ อ ย า งแน น อนถ า หากขาดการ สนับสนุนจากบุคคลทั้งสองซึ่งเปนที่รักยิ่ง และขอบคุณคุณยาและนองๆ ที่คอยเปนกําลังใจใหเสมอ ขอขอบคุณเพื่อนๆ และรุนนองสื่อสิ่งพิมพทุกคน ที่ใชชีวิตอยูรวมกันมาตลอดระยะเวลา เกือบ 5 ป ซึ่งก็มีทั้งความสุขและความทุกขผานเขามา แตพวกเราก็ยังสูไมถอยและฝาฟนไปได ขอบคุณที่อยูสูดวยกันจนถึงที่สุด ขอบคุณที่คอยใหกําลังใจ และความชวยเหลือจากเพื่อนทุกคน สุดทายนี้ดิฉันขอขอบคุณเพื่อนสนิท มิตรสหาย และทุกคนที่มีสวนเกี่ยวของที่ทําให โครงการฉบับนี้สําเร็จลุลวงและสมบูรณในที่สุด

ปโยรส โชคอุดมไพศาล ธันวาคม 2552


หัวขอโครงการ ผูจัดทํา ที่ปรึกษา หลักสูตร คณะ ปการศึกษา

: การออกแบบอักขระตัวพิมพภาษาไทยและภาษาอังกฤษโดยมี รูปแบบอักษรจีน : นางสาวปโยรส โชคอุดมไพศาล : อาจารยหฤษฎ บุปผเวส : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ : มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร : 2552

บทคัดยอ โครงการพิเศษการออกแบบอักขระตัวพิมพภาษาไทยและภาษาอังกฤษโดยมีรูปแบบอักษร จีน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อการศึกษาและวิเคราะหลักษณะรูปแบบที่เปนเอกลักษณของตัวอักษรจีน เพื่อนํามาประยุกตและออกแบบอักขระตัวพิมพไทยและภาษาอังกฤษ ที่มีลักษณะที่เปนอักษรจีน ซึ่งผูออกแบบหวังวาจะเปนประโยชนแกผูที่สนใจในการออกแบบสื่อสิ่งพิมพตอไป


ค

Special Project By Advisor Program Faculty Academic Year

: Thai and English Typeface Design From Chinese Character Style. : Miss Piyoros Chokudompaisal : Mr. Harid Buppaves : Bachelor of Art (B.A) Print Media Design : Humanities and Social Sciences : 2009

ABSTRACT The Thai and English typeface design from Chinese is purposed to studying and analyses the unique of Chinese. The purposed of this project are applied and designed the new model type in Thai and English which as though Chinese. Therefore the project designer expected the useful who are interested in print media design.


สารบัญ หนา กิตติกรรมประกาศ…………………………………………………………………………….. ก บทคัดยอภาษาไทย…………………………………………………………………………….. ข บทคัดยอภาษาอังกฤษ…………………………………………………………………………. ค สารบัญ…………………………………………………………………………………………… ง สารบัญตาราง…………………………………………………………………………………… ฉ สารบัญแผนภูม… ิ ………………………………………………………………………………. ช สารบัญภาพ……………………………………………………………………………………... ซ บทที่ 1 บทนํา………………………………………………………………………………..… 1 ความเปนมาและความสําคัญ……………………………………………………...... 1 วัตถุประสงคของโครงการ………………………………………………………..… 2 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ………………………………………………………..... 2 ขอบเขตของโครงการ……………………………………………………………….. 2 นิยามศัพท……………………………………………………...……………………... 3 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ……………………………………….………….... 5 วิวัฒนาการตัวอักษร………………………………………………………………… 5 ตัวอักษรจีน………………………………………………………………....…… 6 หลักการสรางตัวอักษรจีน………………………………………………... 6 วิวัฒนาการของตัวอักษรจีน……………………………………………… 9 หลักการเขียนอักษรจีน……………………………………….…………… 11 การเขียนพูก ันจีนและรูปแบบตางๆ ที่นิยมใชในการเขียน…………… 14 ตัวอักษรคูนฟิ อรมและโฟนีเชียน……………………………………….…….. 16 ตัวอักษรกรีกและโรมัน………………………………………………………… 20 ตัวอักษรไทย…………………………………………………………………...... 21 วิวัฒนาการของรูปตัวอักษรไทย…………………………………….…… 22 วิวัฒนาการตัวพิมพ…………………………………………………………………… 25 ตัวพิมพโรมัน…………………………………………………………………...... 26 ตัวพิมพไทย………………………………………………………………………. 26 ประเภทตัวพิมพ……………………………………………………………………..… 32


สารบัญ (ตอ) หนา ประเภทตัวพิมพในภาษาอังกฤษ (ตัวโรมัน) ………………………………… 32 ประเภทตัวพิมพในภาษาไทย………………………………………………….. 35 สกุลตัวพิมพ……………………………………………………………………… 37 โครงสรางตัวพิมพ……………………………………………………...……….. 39 การออกแบบ…………………………………………………………………………... 42 ความหมายของการออกแบบ…………………………………………………... 42 องคประกอบของการออกแบบ………………………………………………... 43 การออกแบบตัวอักษร…………………………………………………………... 44 หลักการออกแบบตัวอักษร……………………………………………...…....... 45 โปรแกรมคอมพิวเตอร………………………………………………………………. 46 อะโดบี้ โฟโตชอป………………………………………………………………. 46 อะโดบี้ อิลลัสเตรเตอร………………………………………………………....... 46 บทที่ 3 วิธีดําเนินการโครงการ……………………………………………………………….. 48 ศึกษาขอมูลพืน้ ฐาน…………………………………………………………………... 48 วิธีสรางสรรคผลงาน………………………………………………………………..... 48 วิธีสรางสรรคผลงานดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร………………………………… 49 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล………………………………………………………………... 51 ศึกษาและวิเคราะหตวั อักษรจีน……………………………………………………... 52 ศึกษาลักษณะของอักษรจีนที่มีลักษณะคลายกับภาษาไทย……………………... 52 ผลการวิเคราะหขอมูลเพื่อนํามาปรับปรุงและแกไข……………………………... 57 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ…………………………………………….. 68 สรุปผล………………………………………………………………………………….. 68 อภิปรายผล…………………………………………………………………………….. 68 ขอเสนอแนะ………………………………………………………………………….. 69 เอกสารอางอิง……………………………………………………………………………………. 70 ภาคผนวก………………………………………………………………………………………… 73 ประวัติผูจัดทําโครงการ………………………………………………………………………… 77


สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1 การลากเสนในรูปแบบตางๆ………………………………………………………………….. 13 2 การพัฒนาของตัวอักษรคูนฟิ อรม………………………………………………………….…. 17 3 ตัวอักษรอียิปตที่เปลี่ยนแปลงไป……………………………………………………………... 18 4 การดัดแปลงตัวอักษรโฟนิเชียนจากอักษรอียิปต…………………………………………… 19 5 การเปรียบเทียบรูปตัวอักษรโฟนิเชียนจนถึงตัวอักษรโรมัน…………………………….... 19 6 วิวัฒนาการของตัวอักษร เปรียบเทียบตัวอักษรภาษาไทยจากสมัยพอขุนรมคําแหง พระยาฦๅไทย พระนารายณมหาราชจนถึงปจจุบัน…………………………………..…...… 25


สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิที่ หนา 1 ระบบการเขียนในยุคโบราณ…………………………………………………………………… 5 2 ตนกําเนิดและที่มาของวิวัฒนาการของตัวอักษรในภาษาตางๆ รวมทั้งภาษาไทย……… 21


สารบัญภาพ ภาพที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28

หนา อักษรจีนที่สรางแบบเซี่ยงสิง………………………………………………………………….. 7 อักษรจีนที่สรางแบบจื่อซื่อ………………………………………………………….………… 7 อักษรจีนที่สรางแบบฮุยอี… ่ …………………………………………………………………..... 7 อักษรจีนที่สรางแบบชวนชู………………………………………………………………..…... 8 อักษรจีนที่สรางแบบเฉี่ยเช…………………………………………..………………................ 8 อักษรจีนที่สรางแบบสิงเซิง…………………………………..….............................................. 25 วิวัฒนาการของตัวอักษรจีน…………………………………..….............................................. 10 จุดแบบเตี่ยน……………………………………………………………………........................... 11 เสนแบบเหิง……………………………………………………………………............................ 11 เสนแบบซู……………………………………………………………………................................ 11 เสนแบบเพย……………………………………………………………………............................ 11 เสนแบบนา……………………………………………………………………............................. 12 เสนแบบที……………………………………………………………………............................... 12 เสนแบบโกว……………………………………………………………………........................... 12 เสนแบบเจอ……………………………………………………………………............................ 12 ลักษณะของเสนทั้ง 8 แบบ…………………………………………………………………….. 13 อักษรแบบจวนซู…………………………………………………………………….................... 14 อักษรแบบลี่ซ… ู ………………………………………………………………….......................... 14 ตัวอักษรแบบขายซู……………………………………………………………………................ 15 อักษรแบบเฉาซู……………………………………………………………………...................... 15 อักษรแบบสิงซู……………………………………………………………………....................... 16 ตัวอักษรคูนฟิ อรมที่เขียนโดยใชไมจิ้มบนกอนดินเหนียว…………………………………. 16 การใชภาพในการสื่อความหมาย……………………………………………………………… 17 ตัวอักษรของกรีกและโรมันที่เปนไปตามศิลปะและสถาปตยกรรม……………………… 20 อักขระอิงลิชละติน พิมพใหญ พิมพเล็กและสระ…………………………………………… 20 ลายเสนจําลองอักษรไทยสมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช………………………………….. 22 หนังสือฉบับของออกพระวิสุทสุนทรราชฑูต……………………………………………….. 23 อักษรอริยกะ……………………………………………………………………............................ 23


สารบัญภาพ (ตอ) ภาพที่ 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56

หนา การเขียนหนังสือวิธีใหม สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห ัว…......................... 24 การเขียนหนังสือสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม………………………………....................... 24 ตัวพิมพแบบแรกในหนังสือ A Grammar of The Thai……………………………….......... 27 ตัวพิมพแบบแรกที่หลอโดยหมอบัลเลย………………………………................................... 27 ตัวพิมพแบบโปงหนา………………………………................................................................... 28 ตัวพิมพแบบฝรั่งเศส………………………………..................................................................... 28 ตัวพิมพขนาดตางๆ………………………………........................................................................ 28 ตัวพิมพแบบโปงแซ………………………………...................................................................... 29 ตัวพิมพแบบโปงไม………………………………...................................................................... 29 ตัวพิมพแบบเทเลกซ………………………………..................................................................... 29 ตัวพิมพแบบโมโนไทป…………………………….................................................................... 30 ตัวพิมพแบบชาเกน………………………………....................................................................... 30 ตัวพิมพแบบยูเนสโก……………………………........................................................................ 31 ตัวพิมพคอมพิวกราฟก……………………………..................................................................... 31 ตัวพิมพจากเครื่องคอมพิวเตอรในปจจุบนั …………............................................................... 32 ตัวพิมพแบบตัวคัดลายมือ “Old English Text MT”............................................................ 32 ตัวพิมพแบบตัวเขียน “Edwardian Script ITC”................................................................... 33 ตัวพิมพแบบเซอริฟ โอลด สไตล “Garamond”.................................................................... 33 ตัวพิมพแบบเซอริฟ ทรานสิชันแนล “Baskerville Old Face”........................................... 34 ตัวพิมพแบบเซอริฟ สแควรเซอริฟ “Courier”...................................................................... 34 ตัวพิมพแบบเซอริฟ โมเดิรน “Bodoni MT”........................................................................... 34 ตัวพิมพแบบแซนส เซอรริฟ “Arial”........................................................................................ 35 ตัวพิมพแบบตัวตกแตง “Curiz MT”........................................................................................ 35 ตัวพิมพแบบตัวอาลักษณ “DSE MonTaNa”......................................................................... 36 ตัวพิมพแบบเขียน “DSE FreeHand”...................................................................................... 36 ตัวพิมพแบบมีหัว “DSE Kamon”............................................................................................. 36 ตัวพิมพแบบไมมีหัว “DSE Single”.......................................................................................... 37 ตัวพิมพแบบตกแตง “DSE PraDiPat”..................................................................................... 37


สารบัญภาพ (ตอ) ภาพที่ 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84

หนา สกุลตัวพิมพ “Mariad Pro”....................................................................................................... 38 เสนและระยะตัวพิมพโรมัน........................................................................................................ 39 เสนและระยะตัวพิมพไทย........................................................................................................... 40 การวัดขนาดตัวพิมพซึ่งทําไดสองลักษณะ............................................................................... 41 สวนประกอบบตางๆ ของเสน Path........................................................................................... 47 การปรับแสงเงาโดยคําสั่ง Levels............................................................................................... 49 การปรับแสงเงาโดยคําสั่ง Curves.............................................................................................. 50 ตัวพิมพที่สรางดวยโปรแกรมอิลลัสเตรเตอร........................................................................... 50 หมวด ก.......................................................................................................................................... 52 หมวด ข .......................................................................................................................................... 52 หมวด จ.......................................................................................................................................... 53 หมวด ฉ.......................................................................................................................................... 53 หมวด บ.......................................................................................................................................... 53 หมวด ย.......................................................................................................................................... 54 หมวด ส.......................................................................................................................................... 54 หมวด อ.......................................................................................................................................... 54 แบบรางแบบที่ 1 รอยละ 10 – 20.............................................................................................. 55 แบบรางแบบที่ 2 รอยละ 10 – 20.............................................................................................. 55 แบบรางแบบที่ 3 รอยละ 10 – 20.............................................................................................. 56 แบบตัวพิมพทสี่ รางดวยโปรแกรมแบบที่ 1 และ 2 รอยละ 30 – 40.................................... 56 แบบตัวพิมพทสี่ รางดวยโปรแกรมแบบที่ 3 รอยละ 30 – 40................................................. 57 ตัวอักษรทีใ่ ชเปนตนแบบและครอบคลุมกับโครงสรางตัวอักษรไทย................................ 58 แบบรางที่ปรับปรุงแลว รอยละ 50............................................................................................ 58 แบบตัวพิมพภาษาไทย รอยละ 60 – 70.................................................................................... 59 ตัวพิมพภาษาไทยแบบปรับปรุงครั้งที่ 1 รอยละ 80.............................................................. 59 ตัวพิมพภาษาอังกฤษแบบปรับปรุงครั้งที่ 1 รอยละ 80.......................................................... 60 ตัวพิมพภาษาไทยแบบปรับปรุงครั้งที่ 2 รอยละ 90.............................................................. 60 ตัวพิมพภาษาอังกฤษแบบปรับปรุงครั้งที่ 2 รอยละ 90......................................................... 61


สารบัญภาพ (ตอ) ภาพที่ 85 86 87 88 89

หนา ตัวพิมพภาษาไทยแบบสมบูรณ.................................................................................................. 61 ตัวพิมพภาษาอังกฤษแบบสมบูรณ............................................................................................. 62 อักขระตัวพิมพภาษาไทยเมือ่ นํามาเรียงเปนประโยค.............................................................. 64 อักขระตัวพิมพภาษาอังกฤษเมื่อนํามาเรียงเปนประโยค........................................................ 66 อักขระตัวพิมพภาษาไทยและภาษาอังกฤษเมื่อนํามาเรียงเปนประโยค............................... 67


บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญ สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น เป น ประเทศที่ ใ หญ ที่ สุ ด ในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกและมี ประชากรมากที่สุดในโลกจํานวนกวา 1.3 พันลานคน หรือประมาณหนึ่งในหาของประชากรโลก ประชากรสวนใหญเปนชาวจีนฮั่น และเปนประเทศที่มีขนาดใหญเปนอันดับที่ 3 ของโลกรองจาก รัสเซีย และแคนาดา ประเทศจีนเปนประเทศที่มีอารยธรรมเกาแกและยาวนานที่สุดของทวีปเอเชีย และของโลกก็วาได โดยมีการขุดพบเครื่องปนดินเผาที่มีอายุมากกวา 5,000 ป ชนชาติจีนเริ่มสราง ศิลปะและวัฒนธรรมตั้งแตครั้งยังเปนมนุษยกอนประวัติศาสตร และพัฒนาจากยุคหินเปนยุคสําริด จากการขุดคนพบศิลปวัตถุที่ทําดวยโลหะสําริดซึ่งมีอายุมากกวา 3,000 ป รากฐานที่สําคัญของอารยธรรมจีนคือ ตัวอักษรเมื่อ 1,300 ปกอนคริสตกาลในสมัยราช สํานักซาง คบพบตัวอักษรกระดองเตาหรือเจี๋ยกูเหวินเปนอักขระโบราณที่มีอายุยาวนานที่สุดของ จีนและมีวิวัฒนาการมาอยางตอเนื่องจนมีตัวอักษรแบบที่ใชในปจจุบัน ตลอดระยะเวลาอันยาวนาน ชาวจีน ได ดํา รงและพั ฒ นาคุ ณ ลั ก ษณะพิเ ศษแห งวัฒ นธรรมของตนอย า งเหนี ย วแน น และรั บ ศิลปวัฒนธรรมของตางชาติมาสงเสริมศิลปวัฒนธรรมของตนเอง มีอยูบอยครั้งที่ถูกปกครองโดย ชนชาติอื่น แตก็ไดใชศิลปวัฒนธรรมอันมั่นคงของตนดูดกลืนผูรุกราน ศิลปะและวัฒนธรรมของ จีนมีอิทธิพลและแพรขยายอยางชัดเจนในประเทศเพื่อนบาน เชน ญี่ปุน เกาหลี ไทย พมา และ อินโดนีเซีย ยิ่งไปกวานั้นยังแพรกระจายไปยังเอเชียกลางและยุโรปอีกดวย (วิกิพีเดีย, 2552; กําธร สุนพงษคีรี, 1999: 5) ความสัมพันธระหวางประเทศไทยกับประเทศจีนนั้นไมตองกลาวก็สามารถบอกไดวามี ความสัมพันธลึกซึ้งกันมากนอยเพียงไร เพราะชาวไทยกับชาวจีนนั้นเปรียบเสมือนญาติสนิทมิตร สหาย ชาวจีนไดอพยพเขามาประกอบอาชีพบนผืนแผนดินไทยแหงนี้ ตั้งแตสมัยสุโขทัย อยุธยา กรุงธนบุรีและเริ่มเขามามีบทบาทมากขึ้นในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน เนื่องจากรัฐบาลจีนเก็บ ภาษี เ อารัด เอาเปรี ย บ จึ งทํ า ให ชาวจีน จํ า นวนมากมุงสู สยามเพื่อ หางานและส ง เงิ น กลับ ไปให ครอบครัวใช นอกเหนือจากการคาขายแลวชาวจีนยังมีบทบาททางการเมือง ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ประมาณป พ.ศ. 2475 ชาวไทยเชื้อสายจีนจําเปนตองเขารับการเกณฑทหาร และสิ่ง ที่สําคัญที่สุดก็คือศิลปะและวัฒนธรรมของจีนนั้นไดเขามาหลอหลอมกับความเปนอยูของคนไทย


2

ตั้งแตขาวของเครื่องใชจนไปถึงสถาปตยกรรมที่งดงาม ความเชื่อของชาวไทยเชื้อสายจีนยังคงนับ ถือความเชื่อแบบดั่งเดิม ไดแกลัทธิเตาและลัทธิขงจื้อ จึงมีการปลูกฝงใหกับลูกหลานที่เกิดบน แผนดินไทย แตปจจุบันชาวไทยเชื้อสายจีนมีความเชื่อดังกลาวนอยลง โดยมีการนับถือศาสนา พุทธนิกายเถรวาทตามแบบคนไทย ดังนั้นชาวไทยเชื้อสายจีนจึงไหวบรรพบุรุษและเทพเจาตาม ประเพณีเทานั้น ปจจุบันชาวไทยเชื้อสายจีนมีประมาณ 8 ลานคนในประเทศไทย หรือ 14% ของ ประชากรทั้งประเทศ และยังมีอีกจํานวนมากที่ไมสามารถนับไดเพราะกลมกลืนกับคนไทยโดยการ แตงงานขามเชื้อชาติ (วิกิพีเดีย, 2552; น. ณ ปากน้ํา, 2530) จากที่กลาวมาขางตนทําใหเห็นวาศิลปะและวัฒนธรรมของชาวจีนไดเขามามีอิทธิพลกับ คนไทยเป น อย า งมาก และในฐานะลู ก หลานชาวจี น คนหนึ่ ง จึ ง อยากที่ จ ะถ า ยทอดศิ ล ปะและ วัฒนธรรมใหเปนที่รูจักกวางขวางยิ่งขึ้น ซึ่งศิลปะที่มีความงดงามและเปนเอกลักษณเมื่อเอยถึงชน ชาติจีนนั่นก็คือ “อักษรจีน” ตัวอักษรจีนนั้นถือไดวาเปนอักษรภาพที่ยังคงใชอยูอยางแพรหลายใน ประเทศจีนและประเทศอื่นๆ ทั่วโลก และประเทศไทยก็เปนก็เปนหนึ่งในนั้น จึงเปนเหตุผลใหมี การประดิษฐอักขระตัวพิมพที่มีรูปแบบจีนแบบใหม ที่มีความนาสนใจ และสอดคลองกับการ นําไปใช ในงานสื่อสิ่งพิมพหรืองานออกแบบประเภทอื่น ผูออกแบบจึงไดสรางสรรคผลงานการ ออกแบบอักขระตัวพิมพภาษาไทยและภาษาอังกฤษโดยมีรูปแบบอักษรจีนขึ้น

วัตถุประสงคของโครงการ 1. เพื่อศึกษาลักษณะและรูปแบบที่เปนเอกลักษณของตัวอักษรจีน นํามาประยุกตและพัฒนา ใหเปนอักขระตัวพิมพภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2. เพื่อออกแบบอักขระตัวพิมพภาษาไทยและภาษาอังกฤษโดยมีรูปแบบอักษรจีน 3. เพื่อนําไปใชกับงานประเภทสื่อสิ่งพิมพหรืองานอื่นๆ โดยเปนการเพิ่มทางเลือกในการ เลือกใชอักขระตัวพิมพ

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. เปนการออกแบบอักขระตัวพิมพภาษาไทยและภาษาอังกฤษโดยมีรูปแบบอักษรจีน 2. เปนประโยชนแกผูที่ตองการศึกษาในการออกแบบหรือพัฒนาตัวพิมพตอไป

ขอบเขตของโครงการ 1. ออกแบบตัวพิมพภาษาไทย 44 ตัว สระ 28 ตัว วรรณยุกต 4 ตัว และตัวเลขไทย 2. ออกแบบตัวพิมพภาษาอังกฤษ 26 ตัว และตัวเลขอาราบิก


3

นิยามศัพท อักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักษร พยัญชนะ สระ วรรณยุกต ตัวเลข เครื่องหมาย ที่กําหนดใชของแตละภาษา ตัวพิมพ (Type) หมายถึง ตัวอักษรที่สรางขึ้นเพื่อใหเกิดการผลิตสิ่งพิมพในปริมาณมาก เพื่อการสื่อสารไปใหผูคนจํานวนมาก อักษรจีน (Chinese Character) หมายถึง ตัวอักษรที่มีอายุเกาแกซึ่งพัฒนามาจากอักษรภาพ และพัฒนาเปนสัญลักษณแทนความคิด โดยเริ่มแรกใชโลหะแหลมคมสลักบนทอนไมหรือ แผนหินและเมื่อชาวจีนรูจักทําพูกันวัสดุที่ใชเขียนจึงเปลี่ยนไปทําใหตัวอักษรจีนเปลี่ยนแปลง ไปตามวัสดุการเขียนและปจจัยตางๆ ปจจุบันไดมีการกําหนดตัวอักษรที่เปนมาตรฐานนิยมใช กันอยางแพรหลาย แตก็ยังคงมีการเขียนแบบดั่งเดิมใชในการอวยพรเพราะถือวาการเขียนอักษร จีนนั้นเปนศิลปะชั้นสูง การออกแบบ (Design) หมายถึง การกําหนดออกมา หรือขีดเขียน การวางแผนสรางสรรค รูปแบบ โดยวางแผนจัดสวนประกอบของการออกแบบใหสัมพันธกับประโยชนใชสอยวัสดุ และการผลิตของสิ่งที่ตองการออกแบบ และการออกแบบของโครงการในครั้งนี้ไดศึกษาทฤษฎี การออกเพื่อนํามาใชประโยชนในการออกแบบอักขระตัวพิมพ รูปแบบ (Style) หมายถึง รูปที่กําหนดขึ้นเปนหลักหรือเปนแนวทางซึ่งเปนที่ยอมรับ ไทปเฟส (Typeface) หมายถึง แบบของตัวอักษร เปนรูปแบบในแตละชุด ทั้งพยัญชนะ สระ วรรณยุ ก ต แ ละเครื่ อ งหมายพิ เ ศษ (การออกแบบชุ ด ตั ว อั ก ษรไทยและชุ ด ตั ว อั ก ษร ภาษาอังกฤษ ก็จะหมายถึงการออกแบบ ก – ฮ A – Z รวมทั้งสระ วรรณยุกต เครื่องหมาย ตัวเลข รวมทั้งอักขระอื่นๆ ที่เขาชุดกันนั้นเรียกวา Typeface Design ซึ่งยังไมใชและยังไมไดถูก เรียกวา Font) ฟอนต (Font) หมายถึง ขอมูลของชุดตัวอักษร ซึ่งเรียกวา Font File ขอมูล Digital ของ Font เมื่อนําเอาอักษรมาบรรจุลงในแปนพิมพ และปรับแตง Space ทดสอบการพิมพ การอาน จนสวยงามและ Generete เปน Font File ชุดตัวอักษรนั้นจะกลายเปน Font ตระกูลตัวพิมพ (Font Family / Type Family) หมายถึง ตระกูลหรือสกุลของตัวพิมพ คือ แบบตัวพิมพที่ออกแบบขึ้นมาในขนาดและสไตลที่ตางกัน โดยทั่วไปแลวจะประกอบดวย 4 สไตล Roman Italic Bold และ Bold Italic


4

ประจักษภาพ (Legibility) หมายถึง ความยากงายในการแยกแยะดวยสายตาในระหวางการ อาน ซึ่งอาจเปนผลมาจากการเปรียบเทียบระหวางตัวอักษรที่ตางกัน ชองไฟที่พอเหมาะ รูปราง อักษรที่ถูกตองตามอักขระวิธี ความมีระเบียบ สบายตา ซึ่งสงผลตอความเร็วในการรับรูของ ผูอาน การอ า นได (Readability) หมายถึ ง ความยาก – ง า ย ของการอ า น เป น ผลมาจากการ ออกแบบรูปแบบ สี การจัดวางของขอความ ตัวอักษร การรับรู ความเคยชินของผูอาน ซึ่ง ผูออกแบบไดคํานึงเปนวัตถุประสงคหลัก อะโดบี อิลลัสเตรเตอร (Adobe Illustrator) หมายถึง โปรแกรมที่ใชวาดภาพกราฟกแบบ เวกเตอรซึ่งนํามาประยุกตใชในงานออกแบบอักขระตัวพิมพในโครงการครั้งนี้ อะโดบี โฟโตชอป (Adobe Photoshop) หมายถึง โปรแกรมที่มีความสามารถในการจัดการ แกไขและตกแตงรูปภาพแบบเรสเตอรซึ่งนํามาใชในการปรับแตงแบบรางที่ใชในโครงการ ฉบับนี้


บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ วิวัฒนาการตัวอักษร วรพงศ วรชาติอุดมพงศ (2545: 9) กลาวไววา มนุษยใชตัวอักษรในการสื่อสารมาเปน เวลานานหลายพันปแลว การใชภาษาตัวอักษรไดพัฒนามาจากภาษาพูด ภาษาทาทาง ภาษาภาพ มี การบันทึกภาษาภาพ และรูปสัญลักษณไวตามผนังถ้ํา ซึ่งเปนถิ่นที่อยูอาศัยของมนุษยในสมัยยุคหิน เกา การเขียนหรือการบันทึกที่พบเห็นเปนภาพสลักรูปสัตวตางๆ นักโบราณคดีไดศึกษาภาพสลัก ตางๆ และยอมรับวา การสลักภาพเหลานั้นที่มนุษยไดใชเพื่อการบันทึกและใชเพื่อการสื่อสาร ซึ่ง อาจกลาวไดวา “อักษรภาพ” เหลานั้นคือรากฐานการประดิษฐตัวอักษรที่มีพัฒนาการมาจนทุกวันนี้

แผนภูมิที่ 1 แสดงระบบการเขียนในยุคโบราณ ที่มา: ขาม จาตุรงคกุล (2545: 44)


6

1. ตัวอักษรจีน กําธร สถิรกลุ (2530) ไดกลาวถึงตัวอักษรจีนวา ตัวหนังสือจีนนั้นไดมีการสรางมาตั้งแต โบราณกาล โดยในตอนแรกเกิดจากการเอาโลหะแหลมคมแกะสลักความหมายบนทอนไม หรือขุด ขีดลงบนแผนหิน ซึ่งมีมาตั้งแต 28 ศตวรรษกอนคริสตกาล เมื่อ 1,800 ปกอนคริสตกาล ในสมัย ราชวงศหยิน ไดมีการเขียนหนังสือบนกระดองเตาและกระดูกมนุษยและสัตว มีหลักฐานมาจากการ ขุดคนพบในมณฑลโฮนาน วัสดุที่ใชเขียน เชน กระดองเตา และกระดูกสัตว มีจํานวนจํากัด เมื่อ นํามาใชมากก็ทําใหหายากขึ้น จึงตองหาวัสดุที่หาไดงายมาใชเขียน ในที่สุดก็ไดใชไมไผเปนวัสดุ หลักที่ใชในการเขียนหนังสือ เพราะไมไผมีปลูกกันมากในประเทศจีน ตัวหมึกในตอนแรกก็ใชผง ถานเปนตัวสี และใชพูกันทําดวยหญา ขนสัตวตางๆ หลายชนิด จีนใชไมไผเปนวัสดุเขียนหนังสือ อยูเปนเวลานาน โดยผาไมไผเปนแผนแลวตั้งตรง การเขียนตัวหนังสือของจีนจึงเขียนจากบนลงลาง และเมื่อมีเรื่องยาวก็ตองเขียนบนไมไผหลายแผนจึงตองเจาะรูรอยเขาเปนพวง ปลอยชายเชือกไวทั้ง สองขางเพื่อมัดหนังสือเปนมัดๆ ในสมัยราชวงศจิ้น ขาราชการจีนสมัยนั้นชื่อเมงเทียน ไดปรับปรุงพูกันจีนใหมีคุณภาพที่ดี ขึ้นโดยใชขนกวางเปนแกนกลาง และขนแพะอยูดานนอกทําพูกัน ซึ่งทําใหเขียนตัวหนังสือได สวยงามขึ้นกวาพูกันที่มีอยูแตเดิมที่ทําจากหญา ขนกระตาย ขนหนู ขนสุนัข และขนสุนัขจิ้งจอก วัว ควาย และขนสัตวทั่วไป ในป ค.ศ. 105 ไซลั่น ขาราชกาลของพระเจาโฮตี่ ในราชวงศฮั่น ไดคิดทํากระดาษขึ้นมา สําเร็จ และในป ค.ศ. 400 จีนรูจักเอาเขมาไฟมาเปนตัวสีในการทําหมึก และใชกาวเคี่ยวจากเอ็น กระดูกสัตวเปนตัวยึดในหมึกทําใหไดหมึกมีคุณภาพดีมาก การเขียนหนังสือจึงเขียนไดสวยงาม จีน ถือว าการเขี ย นหนั งสื อเปน ศิลปะผูมี ลายมือเขีย นหนั งสือสวยงามไดรับการยกย องเป น จิต รกร เชนเดียวกับผูวาดภาพ แมชาติจีนจะเจริญมาก คนจีนไดคิดคนศิลปวิทยาการและสิ่งประดิษฐตางๆ ขึ้นมามากมาย แตทางดานตัวหนังสือจีนกลับไมไดมีพัฒนาการมากนัก ทั้งนี้ทั้งนั้นอักษรจีนถือวาเปนอักษรที่มี เอกลักษณที่โดดเดนที่สุด เพราะเปนอักษรประเภทพิกโตกราฟ (Pictograph) ชนิดเดียวในโลกที่ยัง ใชไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยเริ่มจากการสรางตัวหนังสือภาพ (Pictograph) พัฒนาเปนขั้นตัว สัญลักษณแทนความคิด (Ideograph) 1.1 หลักการสรางตัวอักษรจีน การสรางตัวหนังสือจีนมีมาตั้งแตสมัยโบราณมีวิธีการอยู 6 วิธีเรียกวาลิ่วสือ ตามผลของ การศึกษาของ กําธร สถิรกุล (2530) โดยมีรายละเอียดดังนี้


7

1. เซี่ยงสิง (象形) เปนการสรางตัวหนังสือขึ้นตามรูปที่มองเห็น หรือการเขียนภาพ อันมีลักษณะเปนหนังสือภาพ (Pictograph)

ภาพที่ 1 แสดงอักษรจีนที่สรางแบบเซี่ยงสิง ที่มา: กําธร สถิรกุล (2530: 4)

2. จื่อซื่อ (指事) เปนการสรางเครื่องหมายแทนความคิด ทั้งนี้เมื่อคนเจริญขึ้น ก็ไดมี ความคิดตางๆ เกิดขึ้นมากอาจเปนความรูสึก เชน ความดี ความชั่ว ความสุข ความทุกข ซึ่งเปน อาการนาม (Abstract Idea) จึงเปนหนังสือที่มีลักษณะเปน Ideograp

ภาพที่ 2 แสดงอักษรจีนที่สรางแบบจื่อซื่อ ที่มา: กําธร สถิรกุล (2530: 5)

3. ฮุยอี่ (會意) เปนการสรางตัวหนังสือที่เกิดจากการเอาตัวหนังสืออื่นที่สรางไวแลวมา ผสมกัน กําหนดความหมายขึ้นใหม เนื่องดวยตัวหนังสือที่มีลักษณะเปนเครื่องหมายแทนความคิด (Ideograp) คือ การสรางเครื่องหมายแทนความหมายอันเปนความนึกคิด เมื่อบานเมืองมีความเจริญ มากขึ้น คนก็ยอ มจะมีความนึกคิดแตกแขนงไปมาก ความคิดอันหนึ่งๆ ก็ตองสรางตัวหนังสือใหม เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ก็ทําไดยาก จึงเอาตัวหนังสือที่มีอยูแลวหลายคํามารวมเปนคําใหม กําหนดใหมี ความหมายขึ้นใหม

ภาพที่ 3 แสดงอักษรจีนที่สรางแบบฮุยอี่ ที่มา: กําธร สถิรกุล (2530: 5)


8

4. ชวนชู (轉注) เปนวิธีสรางตัวหนังสือโดยการสลับตําแหนงของตัวหนังสือ หรือสวน ของตั ว หนั ง สื อ ที่ ส ร า งไว แ ล ว ให เ กิ ด ความหมายใหม ใ นทางตรงข า มกั บ ความหมายเดิ ม หรื อ ความหมายใหมในอีกแนวหนึ่งของความหมายเดิม โดยทั่วไปแลว ความหนึ่งยอมมีความคิด ที่ ตรงกันขาม เชน ดีตรงขามกับชั่ว สั้นตรงขามกับยาว การคิดสรางสรรคตัวหนังสือสําหรับความคิด เปนเรื่องยากมาก เพราะตองสรางตัวหนังสือมากมายในเนื้อที่จํากัด คนจีนจึงคิดกลับตําแหนง ตัวหนังสือ โดยกลับเอาดานบนมาเปนดานลางหรือเอาดานซายมาเปนดานขวา ทําใหเกิดตัวหนังสือ ที่ใหความหมายตรงขาม ก็สามารถสรางตัวหนังสือเพิ่มขึ้นไดอีกมาก

ภาพที่ 4 แสดงอักษรจีนที่สรางแบบชวนชู ที่มา: กําธร สถิรกุล (2530: 6)

5. เฉี่ยเช (假借) คือ คําที่มีเสียงซ้ํา (Homophone) เปนคําที่มีเสียงเดียวกันแตมีหลาย ความหมาย จีนไดสรางตัวหนังสือขึ้นโดยวิธีการขอยืมตัวหนังสือของคําที่มีความหมายอันอาจเขียน เปนภาพได การสรางคําโดยกําหนดเสียงแทนความหมายเมื่อสรางไปมากๆ ก็อาจมีคําที่มีเสียงพอง กัน แตมีความหมายตางกัน

ภาพที่ 5 แสดงอักษรจีนที่สรางแบบเฉี่ยเช ที่มา: กําธร สถิรกุล (2530: 6)

6. สิงเซิง (形聲) คือตัวหนังสือที่เลียนเสียงจากคําอื่น โดยที่คําที่มีเสียงใกลเคียงกันยึด ไวเปนหลัก แลวผสมกับเสนสายเพิ่มเติม หรือคําอื่น สรางความหมายขึ้นใหม

ภาพที่ 6 แสดงอักษรจีนที่สรางแบบสิงเซิง ที่มา: กําธร สถิรกุล (2530: 6)


9

1.2 วิวัฒนาการของตัวอักษรจีน ผูจัดการออนไลน (2547) ไดศึกษาวิวัฒนาการของตัวอักษรจีนโดยมีผลการศึกษา ดังนี้ 1. อักษรกระดองเตา เจี๋ยกูเหวิน (甲骨文 )เปนอักขระโบราณที่มีอายุเกาแกที่สุดของ จีน เทาที่มีการคนพบในปจจุบัน ปรากฏแพรหลายในราชสํานักซาง เมื่อ 1,300 – 1,000 ปกอน คริสตกาล ลักษณะของตัวอักขระบางสวนยังคงมีลักษณะของความเปนอักษรภาพอยู โครงสราง ตัวอักษรเปนรูปวงรี มีขนาดใหญเล็กแตกตางกัน สวนมากจะอยูในรูปของการบันทึกการทํานายที่ ใชมีดแกะสลักหรือจารึกลงบนกระดองเตาหรือกระดูกสัตว 2. อั ก ษรโลหะ จิ น เหวิ น (金文)เป น อั ก ษรที่ ใ ช ใ นสมั ย ซางต อ เนื่ อ งถึ ง ราชวงศ โ จว ประมาณ 1,100 – 771 ปกอนคริสตกาล หรือสามารถเรียกอีกอยางหนึ่งวา “จงติ่นเหวิน” (钟鼎 文)ซึ่งมีความหมายวา ตัวอักษรที่หลอมลงบนภาชนะสําริด สวนมากตัวอักษรจินเหวินที่ใชใน การบันทึก จะเปนคําสั่งการของชนชั้นผูนํา พิธีการบูชาบรรพบุรุษ บันทึกการทําสงครามเปนตน 3. อักษรจวน(篆書)อักษรจวนใชในสมัยชุนชิวจั้นกวอจนถึงยุคการกอตั้งราชวงศฉิน 770 – 202 ปกอนคริสตกาล ซึ่งโครงสรางโดยมากยังมีลักษณะของรูปแบบอักษรเดิมคือจินเหวิน และยังมีรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะกับวัสดุที่ใชในการบันทึกที่แตกตางกัน กอนการรวมตัวของประเทศ จีนแตละแควนตางก็มีตัวอักษรที่ใชแตกตางกันไป ซึ่งสวนหนึ่งไดแกอักษรจวนใหญหรือตาจวน (大篆) ตอมาในป ค.ศ. 221 จิ๋นซีฮองเตไดรวบรวมแผนดินจีนเขาดวยกัน และไดทําการปฏิรูป ระบบตัวอักษรครั้งใหญ โดยการสรางมาตรฐานกําหนดตัวอักษรที่เปนหนึ่งเดียวใชกันทั่วประเทศ ไดมีการปรับเอาอักษรจวนมาปรับใหเรียบงาย เรียกวาอักษรจวนเล็กหรือเสี่ยวจวน (小篆) ถือเปน ตัวอักษรที่ใชทั่วประเทศจีนเปนครั้งแรก 4. อักษรลี่ซู (隸書) สมัยที่ฉินประกาศใชอักษรจวนเล็กอยางเปนทางการ พรอมๆ กันนั้น ก็ไดปรากฏวามีการใชอักษรลี่ซูควบคูกันไป โดยมีการประยุกตมาจากการเขียนอักษรจวน อักษรลี่ซู นั้นทําใหตัวอักษรจีนเปนอักษรสัญลักษณอยางเต็มรูปแบบ เรียกไดวาเปนกระบวนการเปลี่ยนรูป จากอักษรโบราณที่ยังมีความเปนอักษรภาพสูอักษรจีนที่ใชกันในปจจุบัน อักษรลี่ซูนั้นมีที่มาจาก ทาสคนหนึ่งซึ่งกระทําความผิดจึงถูกสั่งใหจําคุก ขณะที่อยูในคุกจึงคิดปรับปรุงตัวอักษรจวนให เขี ย นง า ยขึ้ น จากโครงสร า งกลมเปลี่ ย นเป น เหลี่ ย มกลายเป น อั ก ษรรู ป แบบใหม จิ๋ น ซี ฮ อ งเต ทอดพระเนตรเห็นแลวทรงโปรดอยางมาก จึงแตงตั้งนักโทษผูนี้ใหเปนอารักษในวังหลวง ตอมา ตัวหนังสือแพรหลายออกไป จึงมีการเรียกตัวอักษรชนิดนี้วา ลี่ซู ซึ่งในภาษาจีนคําวา “ลี่” หมายถึง ทาส ลี่ซูจึงมีความหมายวาตัวอักษรทาส ลี่ซูเปนตัวอักษรที่ใชเขียนบนวัสดุที่ทําจากไมหรือไมไผ และไดมีการพัฒนาอยางตอเนื่องจนถึงสมัยราชวงศฮั่นซึ่งไดรับความนิยมสูงสุดและยังไดเปนภาษา ราชการในสมัยนั้นอีกดวย


10

5. อั ก ษรข า ยซู (楷書)คํ า ว า ข า ยในภาษาจี น นั้ น มี ค วามหมายว า แบบฉบั บ หรื อ ตัวอยาง อักษรขายซูจึงเปนอักษรรูปแบบมาตรฐานใชกันอยางแพรหลายในปจจุบัน ขายซูเปนเสน สัญลักษณที่ ประกอบกันขึ้นภายใตกรอบสี่เหลี่ยมซึ่งแตกตางจากอักขระยุ คโบราณโดยสิ้นเชิง อักษรขายซูมีตนกําเนิดราวป ค.ศ. 220 – 316 ซึ่งเปนชวงยุคปลายราชวงศฮั่นภายหลังราชวงศวุยจิ้น (สามกก) ป ค.ศ. 618 – 907 สมัยถัง เปนยุคทองของตัวอักษรขายซูจนถึงปจจุบัน 6. เฉาซู (草書)ไมวาจะเปนยุคสมัยใด อักษรจีนแตละรูปแบบลวนมีวิธีการเขียนแบบ ตัวหวัด จนกระทั่งราชวงศฮั่น ตัวอักษรหวัดไดรับการเรียกวาเฉาซูอยางเปนทางการ คําวาเฉานั้นมี ความหมายวา หญา หรือลวกๆ อักษรเฉาซูจึงเกิดจากการนําเอาเสนสายที่มีอยูแตเดิมมายนยอให เหลือเพียงขีดเสนเดียว โดยฉีกกฎออกจากรูปแบบอันจําเจของกรอบสี่เหลี่ยมในอักษรจีน หลุดพน จากขอจํากัดของขั้นตอนวิธีการเขียนแบบขายซูซึ่งเปนอักษรมาตรฐาน ซึ่งเฉาซูนั้นขีดเพียง 2 – 3 ขีดก็สามารถประกอบเปนสัญลักษณซึ่งมีความหมายเดียวกันกับขายซู 7. ซิงซู (行書)อักษรซิงซูนั้นเปนตัวอักษรหวัดแกมบรรจง อักษรซิงซูนั้นกําเนิดขึ้น ราวปลายราชวงศฮั่นตะวันออก ซึ่งรวบรวมเอาขอดีของขายซูและเฉาซูเขาดวยกัน

ภาพที่ 7 วิวัฒนาการของตัวอักษรจีน ที่มา: Wikipedia (2009)


11

1.3 หลักการเขียนอักษรจีน ตามการศึกษาของ Patrick Hassel Zein (2006) การเขียนตัวอักษรจีนนัน้ สามารถไดแบง ตามลักษณะของเสนไดเปน 8 แบบ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. เตี่ยน (点) จุด

ภาพที่ 8 แสดงจุดแบบเตี่ยน ที่มา: Yellowbridge.com (2009)

2. เหิง (横) เสนขีดตามยาวแนวขวางลากจากซายไปขวา

ภาพที่ 9 แสดงเสนแบบเหิง ที่มา: Yellowbridge.com (2009)

3. ซู (竖) เสนตามแนวดิ่งลากเสนจากบนลงลาง

ภาพที่ 10 แสดงเสนแบบซู ที่มา: Yellowbridge.com (2009)

4. เพย (撇) เสนเฉียงๆ ลากลงจากขวาไปซาย

ภาพที่ 11 แสดงเสนแบบเพย ที่มา: Yellowbridge.com (2009)


12

5. นา (捺) เสนเฉียงๆ ลากลงจากจากซายไปขวา

ภาพที่ 12 แสดงเสนแบบนา ที่มา: Yellowbridge.com (2009)

6. ที (提) เสนเฉียงๆ ลากขึน้ จากซายไปขวา

ภาพที่ 13 แสดงเสนแบบที ที่มา: Yellowbridge.com (2009)

7. โกว (钩) เสนลากลงตรงๆ จากบนลงลางและหักสวนปลายใหงอคลายตะขอ

ภาพที่ 14 แสดงเสนแบบโกว ที่มา: Yellowbridge.com (2009)

8. เจอ (折) ลากเสนตรงลงและหักลากตอดวยเสนแนวนอน

ภาพที่ 15 แสดงเสนแบบเจอ ที่มา: Yellowbridge.com (2009)


13

ตัวอยางลักษณะของเสนทั้ง 8 แบบ

ภาพที่ 16 แสดงลักษณะของเสนทั้ง 8 แบบ ที่มา: Writing CJK strokes (2009: en.wikipedia.org)

ตัวอยางการลากเสนในรูปแบบตางๆ

ตารางที่ 1 แสดงการลากเสนในรูปแบบตางๆ ที่มา: Kind of Chinese Stroke (2009: commons.wikimedia.org)


14

1.4 การเขียนพูกันจีนและรูปแบบตางๆ ที่นิยมใชในการเขียน การเขียนพูกันจีนที่เรียกวา “ซูฟา” (書法) นั้นฝรั่งเรียกวา “Calligraphy” ซึ่งที่จริงแลว มีความหมายวาการเขียนอักษร ซึ่งการเขียนตัวอักษรนั้นก็มีอยูในทุกประเทศ แตการเขียนอักษรใน จีนถือเปนเรื่องที่สังคมใหความสําคัญมาก การเขียนพูกันจีนนั้นถือวาเปนศิลปะชั้นสูงเทียบเทากับ ภาพจิตรกรรมและงานศิลปะ (สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี, 2550: 34) การเขียนพูกันจีนนั้นมีอยูหลายแบบ แบบที่เปนที่นิยมและเปนตนแบบใหกับการเขียน ตามการศึกษาของ ภูริวรรณ วรานุสาสน (2547: 93) สามารถแบงไดเปน 5 แบบ ไดแก 1. จวนซู(篆書)สามารถแบงไดเปน ตาจวนและเสี่ยวจวน ซึ่งเสี่ยวจวนนี้เปนภาษา ราชกาลในสมัยราชวงศฉินและเปนตนแบบของตัวอักษจีนปจจุบัน

ภาพที่ 17 แสดงอักษรแบบจวนซู ที่มา: xbsh.net (2009)

2. ลี่ซู (隸書)เปนตัวอักษรที่คิดขึ้นมาเนื่องจากการเขียนเสี่ยวจวนนั้นยุงยาก ดังนั้น ตัวอักษรแบบลี่ซูซึ่งเขียนงายและยุงยากนอยกวา จึงไดรับความนิยม และไดเปนภาษาราชการใน สมัยราชวงศฮั่น

ภาพที่ 18 แสดงอักษรแบบลี่ซู ที่มา: cgan.net (2009)


15

3. ขายซู(楷書)เปนตัวอักษรที่ไดรับการพัฒนามาจากลี่ซู ตัวอักษรมีลักษณะเหลี่ยม มีกฎระเบียบที่แนนอนตายตัว และอักษรขายซูปนอักษรมาตรฐานของจีนแบบที่ใชกันในปจจุบัน

ภาพที่ 19 แสดงอักษรแบบขายซู ที่มา: zqgslzp.blog.163.com (2009)

4. เฉาซู(草書) เปนตัวอักษรแบบหวัด และเปนการเขียนแบบไมมีการยกพูกัน เปน การเขียนที่จัดไดวาเปนศิลปะสุดยอด

ภาพที่ 20 แสดงอักษรแบบเฉาซู ที่มา: ug8888.com (2009)

5. สิงซู(行書)เฉาซูเขียนงายแตอานยาก สวนขายซูนั้นอานงายแตเขียนยาก ดังนั้นจึง ไดมีการประดิษฐตัวอักษรแบบสิงซูขึ้นมา ซึ่งเปนการรวมเอาขอดีของเฉาซูและขายซูเขาดวยกัน


16

ภาพที่ 21 แสดงอักษรแบบสิงซู ที่มา: Freehead.com (2009)

2. ตัวอักษรคูนิฟอรมอียิปตและโฟนีเชียน กําธร สถิรกุล (2530: 18 – 21) กลาววา ประมาณ 4,000 ปกอนคริสตกาล ชาวสุเมเรียนใน เมโสโปเตเมียเขียนหนังสือโดยใชไมขีดเปนตัวอักษรบนกอนดินเหนียว และตอมาใชจิ้มบนกอน ดินเหนียวแทนรูป ตัวอักษรจึงเปนรูปรอยไมจิ้มบนกอนดิน ทําใหเห็นเสนที่จิ้มเปนรูปลิ่ม เรียกวา อักษรคูนิฟอรม (Cuneiform) อักษรคูนิฟอรมไมไดพัฒนาไกลไปกวาการจิ้มไมลงบนดินเหนียว ปลอยใหแหง หรือบางทีก็นําไปเผาไฟใหแข็งเปนกอนหรือเปนแผนลักษณะคลายอิฐ เพื่อใหมีความ ทนทาน ใชเขียนดวยหมึกบนวัตถุตางๆ บางขูดขีดดวยของแหลมลงบนไม บนหินบาง การถอด แบบออกจากหนังสือจึงคอนขางทําไดยาก

ภาพที่ 22 แสดงตัวอักษรคูนิฟอรมที่เขียนโดยใชไมจิ้มบนกอนดินเหนียว ที่มา: Virginiawestern.edu (2009)


17

การพัฒนาของตัวอักษรคูนฟิ อรม

ตารางที่ 2 แสดงการพัฒนาของตัวอักษรคูนิฟอรม ที่มา: Cyberwitchcraft.com (2009)

ในระยะเวลาใกลเคียงกับ 4,000 ปกอนคริสตกาล ชนชาติอียิปตอาศัยอยูลุมแมน้ําไนล ตอน เหนือของทวีปอาฟริกา มีความเจริญขึ้นสามารถสรางโบสถ วิหาร ใหญโต สรางปรามิด แกะสลัก หินแทงใหญๆ เปนเทวรูป และภาพครึ่งสัตวครึ่งคน เชน ตัวสฟงค อาคารและรูปสลักใหญโตได และไดสรางตัวหนังสือเฮียโรกลิฟฟค (Hieroglyphic) ขึ้น ตัวหนังสือในตอนแรกเปนตัวจารึกบน เสาหิน บนแผนหินโดยใชโลหะแหลมคมสลักลงบนแผนหิน ตัวอักษรอียิปตตอนแรกๆ เปนการสรางภาพใหเปนตัวหนังสือ มีลักษณะเปนพิกโตกราฟ (Pictograph) และเมื่อมีความคิดแตกแขนงออกไปมากความคิดบางอันไมอาจเขียนเปนภาพไดก็ สรางเครื่องหมายแทนความคิดเปนไอดีโอการฟ (Ideograph) โดยการแปลงภาพเปนสัญญลักษณบง ใหเขาใจความหมาย การสรางตัวหนังสือใหมีความหมายวามือก็เขียนเปนภาพมือ เมื่อมีความคิดคํา วางานเกิดขึ้น ก็ตองสรางภาพขึ้นโดยเขียนภาพคลายเงาของมือ เพราะคนใชมือทํางาน และคําวา อํานาจก็ใชสัญลักษณของมืออีกแบบหนึ่ง เปนภาพประดิษฐของมือเพราะผูมีอํานาจก็ตองเปนผูมี กําลังใชมือไดเกง

ภาพที่ 23 แสดงการใชภาพในการสื่อความหมาย ที่มา: กําธร สถิรกุล (2530: 19)


18

ตัวอักษรเฮียโรกลิฟฟค (Hieroglyphic) เขียนโดยใชของแหลมขูดขีดบนแผนหิน สวนใหญ ใชจารึกบนเสาหิน ทําใหตัวหนังสือเขียนจากบนลงลาง ตอมาในราว 3,500 ปกอนคริสตกาล อียิปต ไดคิดเครื่องมือในการเขียนใหมคือแผนปาไปรัส ลักษณะคลายกระดาษ ทําจากตนปาไปรัส คิด พูกันที่ทําจากหญา และตอมาก็คิดปากกาทําดวยลําตนพืชลักษณะคลายกับตนออ การเขียนจึงตอง เปลี่ยนรูปไป เพราะไมอาจเขียนใหมีรายละเอียดเทาเดิมได ตัวหนังสือที่เขียนลักษณะใหมนี้เรียกวา เฮี ยราติ ค (Hieratic) และในเมื่อการเขี ย นหนังสือมี ความนิย มมากขึ้น ก็มี การเขีย นเร็ ว ขึ้น ๆ ตัวหนังสือก็ไดรับการปรับปรุงใหเขียนงายขึ้นโดยลดเสนสายลงไปอีก ในราว 700 – 600 ปกอน คริสตกาล หนังสือแบบดีโมติค (Demotic) ก็เกิดขึ้น

ตารางที่ 3 แสดงตัวอักษรอียิปตที่เปลี่ยนแปลงไป ที่มา: กําธร สถิรกุล (2530: 21)

โพนีเชียน (Phonicians) เปนชาติเดินเรือทํามาคาขายในแถบทะเลเมดิเตอเรเนียน และมี ความเจริญในระหวาง 1,200 – 876 ป กอนคริสตกาล และเรียกตัวเองวาพวกคานาน (Canaanite) โฟนีเชียนเปนผูที่ริเริ่มเอาตัวอักษรมาแทนรากฐานของเสียงเปนชาติแรก ชาวโฟนีเชียนไดเอา ตัวอักษรเฮียราติกของอียิปตและอักษรคูนิฟอรมมาปรับปรุงเปนตัวหนังสือของตน กําหนดเอา ตัวอักษรหนึ่งแทนรากฐานของเสียงหนึ่งเทานั้น โดยกําหนดใหมีพยัญชนะ 19 ตัว ไมมีสระ (สมบูรณ ดรุณศิลป, 2541: 5)


19

ตารางที่ 4 แสดงการดัดแปลงตัวอักษรโฟนีเชียนจากอักษรอียิปต ที่มา: กําธร สถิรกุล (2530: 21)

ตัวอักษรโฟนีเชียนนี้ไดเปนตนแบบใหชาติที่เจริญขึ้นมาทีหลังเอาไปดัดแปลงเปนตัวอักษร ของตน เปน Alphabet สาย Hellenic ซึ่งเจริญในกรีกราว 800 ปกอนคริสตกาล และในราว 100 ป กอนคริสตกาล พวกโรมันเจริญขึ้น ก็รับเอาอักษรกรีกไปดัดแปลงเปนอักษรโรมัน (กําธร สถิรกุล, 2530: 21 – 22 )

ตารางที่ 5 แสดงการเปรียบเทียบรูปตัวอักษรโฟนีเชียนจนถึงตัวอักษรโรมัน ที่มา: กําธร สถิรกุล (2530: 22)


20

3. ตัวอักษรกรีกและโรมัน สมบูรณ ดรุณศิลป (2545: 5) กลาววา กรีกเปนชาติที่มีความเจริญภายหลังจากที่อณาจักร อียิปตไดเสื่อมสลายเมื่อประมาณ 800 ปกอนคริสตกาล กรีกไดรับความคิดในการสรางตัวอักษรมา จากโฟนีเชียน และมีการสรางสระขึ้นทําใหการออกเสียงแนนอนชัดเจน เนื่องจากกรีกเปนชาติที่มี อารยธรรมดานศิลปกรรมสูง รูจักการสรางสถาปตยกรรมดวยหินออนตามหลักเรขาคณิต ดังนั้น รูปแบบตัวอักษรของกรีกจึงมีระเบียบเปนเหลี่ยมเปนมุมอยางชัดเจน ในดานจิตรกรรมกรีก ได ค น พบการผลิ ต สีเ พิ่ มขึ้ น โดยกรรมวิ ธี ท างเคมี จ ากการหลอมตะกั่ ว จนตกตะกอน และเกิ ด เป น ออกไซด ทําใหเกิดสีตางๆ ซึ่งมีความงดงามยิ่งขึ้น โรมันเปนชาติที่มีความเจริญตอจากกรีก โดยนําอารยธรรมจากกรีกมาพัฒนาการออกแบบ ตัวอักษรโรมัน ไดมีการแปลงรูปแบบตัวอักษรของกรีก โดยที่สถาปตยกรรมของโรมันมีลักษณะ โคงกลม (Arch) ทําใหรูปแบบตัวอักษรโรมันมีลักษณะโคงกลมไปดวย

ภาพที่ 24 แสดงตัวอักษรของกรีกและโรมันที่เปนไปตามศิลปะและสถาปตยกรรม ที่มา: กําธร สถิรกุล (2530: 22)

อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 70) กลาววา อักขระโรมันสามารถเรียกไดอีกอยางหนึ่งวา อักขระละตินตอมาไดมีการพัฒนาการสื่อสารดวยภาษาอยางตอเนื่องกันมายาวนานหลายรอยป โดย เริ่มจากการปรับใชพยัญชนะ 5 ตัวใหกลายเปนสระเพื่อเชื่อมพยัญชนะเขาดวยกันเปนคํา แลวสราง ตั ว อั ก ษรเพิ่ ม เติ ม ขึ้ น เป น 21 ตั ว และในยุ ค กลางได มี ก ารเพิ่ ม ตั ว อั ก ษรเป น 26 ตั ว เหมื อ นใน ภาษาอังกฤษปจจุบัน

ภาพที่ 25 แสดงอักขระอิงลิชละติน พิมพใหญ พิมพเล็กและสระ ที่มา: ปโยรส โชคอุดมไพศาล (2552)


21

4. ตัวอักษรไทย มนูญ ไชยสมบูรณ (2539) กลาววา ตัวอักษรไทยมีตนกําเนิดมาจากตัวอักษรในตระกูลอิน โดยูโรเปยน (Indo European) ซึ่งเปนรากเหงาของภาษาตางๆ ในแทบเอเชีย มีวิวัฒนาการผานมา ทางอินเดียฝายใต ขอม และมอญ ตัวอักษรของอินเดียที่เกาแกที่สุดคือจารึกของพระเจาอโศก เมื่อ ประมาณป พ.ศ. 300 ตัวอักษรเปนแบบอักษรพราหมีดัดแปลงมาจากอักษรโฟนีเชียน อักษรพราหมี แปลงออกเปนอักษรเทวนาคีของอินเดียฝายเหนือ ลักษณะเปนเหลี่ยมเพราะเขียนบนกระดาษเปน พื้นและแปลงเปนอักษร คฤนถ ของอินเดียฝายใต ลักษณะเปนรูปกลมๆ เพราะจารึกลงบนใบลาน ตัวอักษรอินเดียที่จารึกบนศิลามีพบในไทย พมา เขมร ที่พบเกาแกที่สุดในประเทศไทยคือ ศิลาจารึก “เย ธมฺมา” พบที่พระปฐมเจดียซึ่งพบวาจารึกราวป พ.ศ. 1100 – 1200 ตัวอักษรพวกนี้จึงเปนแมบท ของตัวอักษรขอมและอักษรมอญ อันเปนอักษรเกาแกในสุวรรณภูมิโบราณ

แผนภูมิที่ 2 แสดงตนกําเนิดและที่มาของวิวัฒนาการของตัวอักษรในภาษาตางๆ รวมทั้งภาษาไทย ที่มา: อารยะ ศรีกัลยาณบุคร (2550: 75)

ตอนแรกคนไทยคงไมมีตัวอักษรใชจึงรับเอาตัวอักษรมอญมาใช สังเกตไดจากลักษณะ ตัวอักษรของไทยบางพวก เชน ลื้อ ผูไทย อาหม จะพบลักษณะและรูปตัวอักษรมอญปนอยูมาก ป พ.ศ. 1500 ขอมแผอาณาเขตครอบคลุมเมืองเชลียง เมืองสุโขทัย ไทยรับอักษรขอมหวัด มาใช อันเปนตัวอักษรที่ใชในราชการของขอมในขณะนั้น


22

ป พ.ศ. 1800 พ อ ขุ น ศรี อิ น ทราทิ ต ย ป ระกาศเอกราชไม ขึ้ น ต อ ขอมและให ค นไทยเลิ ก ประพฤติตามธรรมเนียมขอม ใหเลิกใชอักษรขอม แตการจะกลับไปใชอักษรมอญก็ไมสะดวก เพราะมีขอขัดของอยูเนืองๆ ป พ.ศ. 1826 พอขุนรามคําแหงมหาราชทรงประดิษฐตัวอักษรไทยขึ้นใชเองเพื่อนแทน อักษรขอมและอักษรมอญที่ไทยเคยใชมากอน ดังมีหลักฐานปรากฏในศิลาจารึกพอขุนรามคําแหง หลักที่ 1 ดานที่ 4 บรรดทัดที่ 8 – 1 ดังนี้

ภาพที่ 26 แสดงลายเสนจําลองอักษรไทยสมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช ที่มา: มนูญ ไชยสมบูรณ (2539)

การประดิษฐตัวอักษรไทยนี้พอขุนรามคําแหงมหาราชทรงดัดแปลงมาจากตัวอักษรขอม หวัด โดยแปลงรูปและอักขระวิธีใหดีขึ้น อักษรสมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช มีพยัญชนะ 39 ตัว สระ 20 ตัว 4.1 วิวัฒนาการของรูปตัวอักษรไทย ตัวอักษรที่พอขุนรามคําแหงมหาราชทรงประดิษฐ ขึ้นนี้ เปนที่ยอมรับของคนไทยแถบลุมน้ํายม และลุมน้ําเจาพระยา รวมทั้งคนไทยในลานชาง ลาน นาไทย เวียงจันทร หลวงพระบาง ตางรับไปใชกันอยางแพรหลาย 1. อักษรสมัยพระเจาลิไทย รูปอักษรสมัยพระเจาลิไทเปลี่ยนแปลงไปจากสมัยพอขุน รามคําแหงมหาราชเล็กนอย แตอักขระวิธีเปลี่ยนไปมาก เนื่องจากคนไทยเคยชินกับอักษรขอมมา กอน ซึ่งวางรูปสระไวขางบนบางขางลางบางจึงหันกลับไปใชอักขระวิธีแบบขอมตามความเคยชิน 2. อักษรสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช ตัวอักษรไทยไดมีวิวัฒนาการตอมาจนถึงสมัย สมเด็ จ พระนารายณ ม หาราชจนมี รู ป แบบใกล เ คี ย งกั บ ป จ จุ บั น มาก เนื่ อ งจากมี ผู แ ต ง หนั ง สื อ แบบเรียนขึ้นใชสอนกันในหมูประชาชน คือ หนังสือจินดามณี ทําใหหนังสือแพรกระจายทั่วไปทั้ง แผนดิน รูปแบบของตัวอักษรจึงคงอยูและเปลี่ยนแปลงตอไปอีกนอยมาก


23

ภาพที่ 27 แสดงหนังสือฉบับของออกพระวิสุทสุนทรราชทูต ที่มา: มนูญ ไชยสมบูรณ (2539)

3. อักษรอริยกะของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ประมาณป พ.ศ. 2390 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวทรงประดิษฐอักษรอริยกะขึ้นเพื่อใหเขียนพระไตรปฎก แต มิไดแพรหลายไปถึงหมูประชาชน ที่ยังคงเขียนภาษาไทยตามหลักอักขระวิธีเดิม

ภาพที่ 28 แสดงอักษรอริยกะ ที่มา: มนูญ ไชยสมบูรณ (2539)


24

4. อักษรในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ป พ.ศ. 2460 พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงปฏิรูปตัวอักษรไทยโดยประดิษฐสระใหมเปนรูปสระลอย เขียนไวขาง หลังและอยูบนบรรทัดเดียวกับพยัญชนะ แตไมไดรับความนิยมจากประชาชนจึงมีอันตองเลิกไป

ภาพที่ 29 แสดงงการเขียนหนังสือวิธีใหม สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ที่มา: กําธร สถิรกุล (2530: 155)

5. อักษรสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ป พ.ศ. 2485 จอมพล ป. พิบูลสงคราม พยายาม หาวิธีเขียนหนังสือไทยใหงายเขา โดยตัดตัวอักษรที่มีเสียงซ้ํากันออกเสียบาง เชน ศ, ษ, ส ใหใช ส เพียงตัวเดียว เปนตน แตประชาชนไมนิยมตึงตองเลิกไปเมื่อป พ.ศ. 2488

ภาพที่ 30 แสดงการเขียนหนังสือสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม (ประกาศยกเลิกใชตัวเลขไทย) ที่มา: กําธร สถิรกุล (2530: 160)

กําธร สถิรกุล (2530) กลาววา หลังจากนั้นภาษาไทยก็ไดมีการเปลี่ยนแปลงไปอีกโดย สาเหตุจากการที่เครื่องมือและวัสดุในการเขียนเปลี่ยนแปลงไปทําใหวิธีการเขียนเปลี่ยนแปลงไป มาก ซึ่งเปนการยากที่จะกําหนดรูปแบบมาตรฐาน อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 76) กลาววา ภาษาไทยในสมัยรัตนโกสินทรนั้นมีพยัญชนะ 44 ตัว สระ 32 รูป และมีวรรณยุกตครบ 4 เสียง เหมือนที่ใชกันในปจจุบัน


25

ตารางที่ 6 แสดงวิวัฒนาการของตัวอักษร เปรียบเทียบตัวอักษรภาษาไทยจากสมัยพอขุนรามคําแหง พระยาฦๅไทย พระนารายณจนถึงปจจุบัน ที่มา: มนูญ ไชยสมบูรณ (2539)

วิวัฒนาการของตัวพิมพ สนั่ น ปท มะทิ น (2513: 122 – 123) กลาววา ในป ค.ศ. 1049 ชาวจีน ชื่อ ไปเชง (Pi Sheng) ไดประดิษฐตัวพิมพหนังสือจีนขึ้นโดยปนเปนดินเผา คลายกระเบื้องหรือแผนอิฐ เปนตัวๆ สามารถนํามาเรียงตอเขาเปนบรรทัดและเปนหนาหรือเปนเรื่องราวที่อานรูเรื่อง เมื่อใชพิมพไปแลว ก็เอาออกและสามารถนํากลับมาเรียงตอกันใหมไดเรื่อยๆ อันเปนตนกําเนิดของตัวพิมพในปจจุบัน ราวป ค.ศ. 1392 ประเทศเกาหลีไดนําความรูจากประเทศจีนมาดัดแปลงเปนตัวพิมพหลอ ดวยโลหะเปนครั้งแรก ตอมากษัติยเตจองแหงเกาหลี (King Taejong) ไดทรงจัดตั้งโรงหลอตัวพิมพ ดวยโลหะประเภททองมาลอ (Bronze) ในป ค.ศ. 1405 และไดแพรหลายไปสูประเทศจีนและญี่ปุน ซึ่งใชตัวหนังสือประเภทเดียวกัน ซึ่งภาษาตะวันออกเปนหนังสือแบบเปนคําๆ (Character) จึงตอง ใชตัวพิมพที่แตกตางกันจํานวนมากมายกายกองไมเหมือนภาษาตะวันตกที่ตัวพิมพแยกออกเปน พยัญชนะและสระ (Alphabet) จึงทําใหการพิมพดวยโลหะในสมัยนั้นไมกาวหนาเทาที่ควร


26

1. ตัวพิมพโรมัน สนั่น ปทมะทิน (2513: 123) กลาววา เมื่อราวป ค.ศ. 1400 ชาวเยอรมันคนหนึ่งชื่อ โยฮัน กูเตนเบิรก (Johann Gutenberg) ไดประดิษฐตัวพิมพอักษรโรมันขึ้นใชในวงการพิมพเปนครั้งแรก ในทวีปยุโรป ซึ่งตัวพิมพดังกลาวนี้เปนลักษณะตัวพิมพโลหะที่แยกออกจากกันและสลับสับเปลี่ยน กันได (Movable Metal Type) ซึ่งเปนตนกําเนิดของตัวพิมพอักษรโรมันในปจจุบัน อารยะ ศรีกลัยาณบุตร (2550: 70 – 74) กลาววา มีการออกแบบรูปแบบของตัวอักษรขึ้น ใหม อยูตลอดเวลา นับตั้งแตตัวอักษรสวยงามที่ใชในการบันทึกเรื่องราวทางศาสนาในยุคกลางและ ยุคโรมันเนสค (Romanesque) ที่มีการเนนตัวอักษรตัวแรกของเนื้อความดวยการทําใหมีขนาดใหญ และผสมผสานลวดลายหรื อ รู ป ภาพเข า ไปประกอบ การพั ฒ นาตั ว อั ก ษรสํ า หรั บ การพิ ม พ ที่ แพรหลายมากขึ้นในยุคฟนฟูศิลปวิทยา (Renaissance) ในภาษาอังกฤษจะเรียกตัวพิมพวา ฟอนต (Font หรือแตเดิมสะกดวา Fount) ซึ่งมาจากคํา ในภาษาฝรั่งเศส ฟอนเต (Fonte) ที่มีความหมายวา หลอมละลาย เนื่องจากตัวพิมพเมื่อแรกเริ่มนั้น เกิดจากการหลอมโลหะขึ้นเปนแมพิมพ ซึ่งก็นิยมเรียกกันมาจนถึงปจจุบัน ในชวงป ค.ศ. 1970 – 1980 ตัวพิมพจะอยูในรูปแบบขอมูลคอมพิวเตอรซึ่งสามารถ นํามาใชเรียงใหเกิดเปนขอความไดทันทีในอารตเวิรก ในการทดสอบหรือแสดงตัวพิมพนั้นจะใชรูปแบบของประโยค ที่เรียกวา แพนแกรม (Pangram) หรือ ประโยคโฮโลอัลฟาเบติก (Holoalphabetic Sentence) ซึ่งเปนประโยคหรือขอความ ที่มีการใชตัวอักขระทุกตัวอักษรอยางนอย 1 ครั้ง ตัวอยางเชนประโยคที่นิยมใชกันอยางแพรหลาย คือ “The quick brown fox jumps over the (a) lazy dog.” ซึ่งมีการใชตัวอักขระครบทั้ง 26 ตัว โดย แพนแกรมที่ดีจะตองมีขนาดสั้นและมีการใชตัวอักขระซ้ําใหนอยที่สุด

2. ตัวพิมพไทย กําธร สถิรกุล (2530: 167) กลาววา ในป พ.ศ. 2356 ตัวพิมพไทยไดมีการสรางเปนตัวพิพม และจัดพิมพขึ้นเปนครั้งแรกในประเทศพมา โดยมิชชันนารีอเมริกา บาทหลวงจัดสันและนาง จัด สัน (Judson) และตอมาในป พ.ศ. 2359 นายจอรจ เอช. ฮัฟ (George H. Hough) ทําการพิมพ ตัวหนังสือไทยเปนครั้งแรกจากตัวพิมพ โดยใชตัวหนังสือที่ออกแบบโดยนางจัดสัน ในป พ.ศ. 2371 ไดมีการใชตัวพิมพไทยพิมพตัวหนังสือ A Gramma of The Thai แตงโดย กัปตันเจมส โลว (Captain James Low) และยุคเริ่มตนของการพิมพไทยไดเริ่มขึ้นในสมัยปลาย


27

รัชกาลที่ 3 ป พ.ศ. 2375 หมอบรัดเลยนําเขาตัวพิมพมาจากตางประเทศ และไดพิมพหนังสือจาก ตัวพิมพไทยในเมืองไทยเปนครั้งแรก

ภาพที่ 31 แสดงตัวพิมพแบบแรกในหนังสือ A Grammar of The Thai ที่มา: กําธร สถิรกุล ( 2512: 104)

ผลการศึกษาจากจดหมายเหตุชองหมอบรัดเลยของ กําธร สถิรกุล (2512: 106 – 108) ได กลาวไววาเมื่อเดือน มิถุนายน ป พ.ศ. 2379 มีมิชชั่นนารีฝรั่งคนหนึ่งชื่อชารล โรบินสัน (Charles Robinson) ไดตั้งเครื่องพิมพอักษรไทยในกรุงเทพ และเมื่อป พ.ศ. 2392 พระบาทสมเด็จพระนั่ง เกลาเจาอยูหัวไดทรงโปรดใหพิมพประกาศหามสูบฝน ซึ่งเปนประกาศของรัฐบาลฉบับแรกที่พิมพ ดวยตัวพิมพ ในป พ.ศ. 2384 โรงพิ มพ มิชชั่ น นารี ไ ดห ลอตั ว พิมพ อัก ษรไทยขึ้น ใช เ องเป นครั้ ง แรก เนื่องจากตัวพิมพที่เอามาจากสิงคโปรนั้นสึกหรอใชไมไดแลว และในป พ.ศ. 2385 หมอบรัดเลยก็ ไดหลอตัวพิมพขึ้นมาใหม และไดพิมพเปนหนังสือคัมภีร ครรภรักษา ซึ่งหมอบรัดลเปนผูแปลเอง พิมพที่โรงพิมพ A B C F M Mission Press 1842

ภาพที่ 32 แสดงตัวพิมพแบบแรกที่หลอโดยหมอบรัดเลย ที่มา: กําธร สถิรกุล (2512: 107)


28

ผลการศึกษาของ มนูญ ไชยสมบูรณ (2539: 198 – 200) พบวาในป พ.ศ. 2444 – 2449 ปรากฏมีตัวพิมพโปงหนา พบในหนังสือวิทยาจารเลม 5

ภาพที่ 33 แสดงตัวพิมพแบบโปงหนา ที่มา: กําธร สถิรกุล (2512: 118)

ในป พ.ศ. 2488 มีตัวฝรั่งเศสธรรมดาใชและมีตัวจิ๋วใชเปนครั้งแรก แมพิมพสําหรับหลอ ตัวพิมพเรียกวาแมทองแดงทําจากฝรั่งเศส จึงเรียกชื่อตัวพิมพแบบนี้วา “ตัวฝรั่งเศส”

ภาพที่ 34 แสดงตัวพิมพแบบฝรั่งเศส ที่มา: กําธร สถิรกุล (2512: 119)

ตั้งแตป พ.ศ. 2462 เปนตนมา ตัวพิมพไดรับการพัฒนาออกมาหลายแบบ เชน ตัวธรรมดา ตัวเอน ตัวกลาง ตัวหนา ตัวโปงหนา ใชพิมพในวารสารสมุทสาร

ภาพที่ 35 แสดงตัวพิมพขนาดตางๆ ที่มา: มนูญ ไชยสมบูรณ (2539)


29

นายแซไดแกะแบบตัวโปงออกใชซึ่งสวยงามมากจนไดชื่อวา “โปงแซ”

ภาพที่ 36 แสดงตัวพิมพแบบโปงแซ ที่มา: กําธร สถิรกุล (2530: 178)

ตัวโปงที่ใหญกวาโปงแซ เรียกวา “โปงไม” ใชสําหรับพาดหัวขาว

ภาพที่ 37 แสดงตัวพิมพแบบโปงไม ที่มา: กําธร สถิรกุล (2530: 178)

ในป พ.ศ. 2496 นายสมาน บุณยรัตพันธ นําเอาตัวอักษรไทยปรับเขาใชกับแปนพิมพอันมี ลั ก ษณะเช น เดี ย วกั บ แป น พิ ม พ ข องเครื่ อ งพิ ม พ เ ทเลกซ (Telex) ซึ่ ง เป น เครื่ อ งมื อ สื่ อ สารด ว ย ตัวหนังสือ มีลักษณะตัวพิมพเหมือนกับตัวพิมพดีด

ภาพที่ 38 แสดงตัวพิมพแบบเทเลกซ ที่มา: มนูญ ไชยสมบูรณ (2539)

กําธร สถิรกุล (2530: 179 – 182) กลาววา ในป พ.ศ. 2500 บริษัทโมโทไทป รวมมือกับ โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช ไดปรับปรุงตัวหนังสือไทยใหเขาไปใชเรียงในเครื่องเรียงและหล อ ตัวพิมพแบบโมโนไทปได และไดปรับปรุงรูปแบบตัวพิมพหลายชุดทําใหไดตัวพิมพที่ตัวเล็กลงไป


30

อีก ตัวโมโนไทปในทศวรรษแรกของพุทธศตวรรษที่ 26 เปนตัวพิมพที่ไดรับความนิยมมาก และ ไดรับยกยองวาเปนตัวพิมพที่สวยที่สุดในยุคนั้น

ภาพที่ 39 แสดงตัวพิมพแบบโมโนไทป ที่มา: กําธร สถิรกุล (2530: 179)

ในระยะเวลาระหวางป พ.ศ. 2500 – 2505 โรงพิมพชาเกน (Shaken) ของประเทศญี่ปุน ไดเอาตัวพิมพไทยเขาไปใสในเครื่องพิมพดวยแสง (Photocomposing Machine) ซึ่งเปนเครื่องเรียง แบบงายๆ ดวยมือ ทางกรมแผนที่ทหารบกและโรงพิมพคุรุสภา ไดสั่งเครื่องนี้เขามาใชงานใน เมืองไทยตั้งแตแรก รูปแบบตัวพิมพการเรียงดวยแสงของชาเกน ไดใชเรียงเปนหนังสือและยอขยาย รูปอักษรจากแมพิมพตัวเดียวกันออกไดหลายขนาด ดังนี้

ภาพที่ 40 แสดงตัวพิมพแบบชาเกน ที่มา: กําธร สถิรกุล (2530: 182)


31

ในระยะเวลาระหวางป พ.ศ. 2505 – 2510 ศูนยพัฒนาหนังสือโตเกียว (Tokyo Book Development Center) ดวยความรวมมือของยูเนสโก ไดใหทุนเพื่อทําการพัฒนาตัวพิมพของ ประเทศที่ไมใชอักษรโรมัน และไดสงนายมานิต กรินพงศ ขาราชการกรมวิชาการไปอบรมและ รวมออกแบบตัวหนังสือที่ศูนยพัฒนาหนังสือที่โตเกียว ซึ่งไดตัวพิมพไทยออกมา 1 ชุด มีหลายแบบ ทั้งตัวหนา ตัวบางและตัวเอน ไดใหชื่อวาตัวยูเนสโก

ภาพที่ 41 แสดงตัวพิมพแบบยูเนสโก ที่มา: กําธร สถิรกุล (2530: 179)

มนูญ ไชยสมบูรณ (2539: 202 – 203) กลาววาในป พ.ศ. 2517 นายทองเติม เสมรสุต รวมมือกับผูผลิตเครื่องเรียงพิมพคอมพิวกราฟก (Compugraphic) นําตัวอักษรไทยเขาไปใชใน ระบบเรียงพิมพดวยแสง ชางเรียงพิมพเรียงตัวอักษรดวยการกดแปนอักษรเชนเดียวกับการพิมพดีด ตัวอักษรจะปรากฏบนจอสามารถอานตรวจแกคําผิด และมีการจัดแนวใหเสมอหนาหลังอัตโนมัติ

ภาพที่ 42 แสดงตัวพิมพคอมพิวกราฟก ที่มา: มนูญ ไชยสมบูรณ (2539)

ปจจุบันมมีการใชเครื่องมือคอมพิวเตอรเขามาชวยในการออกแบบทางการพิมพที่เรียกวา จัดพิมพแบบตั้งโตะ (Desktop Publishing, D.T.P.) มีการออกแบบตัวอักษรเพื่อใชในงานพิมพโดย


32

เขียนเปนโปรแกรมไวในเครื่องคอมพิวเตอร รูปแบบตัวอักษรที่เกิดขึ้นมีมากมายหลายชนิด หลาย ขนาด

ภาพที่ 43 แสดงตัวพิมพจากเครื่องคอมพิวเตอรในปจจุบัน ที่มา: มนูญ ไชยสมบูรณ (2539)

ประเภทตัวพิมพ 1. ประเภทตัวพิมพในภาษาอังกฤษ (ตัวโรมัน) อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 78 – 82) กลาวไววาตัวอักษรที่ใชเปนตัวพิมพใน ภาษาอังกฤษที่จริงแลว คือ ตัวอักษรที่มีรากมาจากภาษาละตินที่ไดมีการพัฒนาคินคนแบบใหมๆ ขึ้นอยูตลอดระยะเวลาอันยาวนาน ในปจจุบันมีแบบตัวอักษรที่ใชเปนตัวพิมพอยูมากมายแทบจะ นับไมถวน อยางไรก็ตาม ประเภทของตัวพิมพเหลานั้นสามารถนํามาจัดแบงเปนหมวดหมูไดเปน ประเภทใหญๆ ดังนี้ 1.1 ตัวพิมพแบบตัวคัดลายมือ (Text letter, Blackletter) เปนตัวพิมพที่มีลักษณะเหมือน ตัวคัดลายมือ หรือตัวพิมพที่ดูเหมือนเขียนดวยปากกาคอแรงบางครั้งก็เรียกวาตัวอาลักษณ สวน ใหญมักมีลักษณะความหนาบางของเสนตัวอักษร ไมเทากันตลอดทั้งตัวอักษร นิยมใชในการ เรียงพิมพขอความสั้นๆ และนิยมใชในงานออกแบบที่ตองการใหดูเกาแกหรือดูโบราณ ตัวพิมพ แบบนี้ที่สําคัญ เชน โรทันดา (Rotunda)

ภาพที่ 44 แสดงตัวพิมพแบบตัวคัดลายมือ “Old English Text MT” ที่มา: อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 79)


33

1.2 ตัวพิมพแบบตัวเขียน (Script, Cursive) เปนตัวพิมพที่มีลักษณะเหมือนตัวลายมือเขียน คือ เปนตัวพิมพที่มีเสนตอเนื่องกันระหวางแตละตัวสวนใหญมักมีลักษณะความหนาบางของเสน ตัวอักษรไมเทากันตลอดทั้งตัวอักษร นิยมใชในการเรียงพิมพขอความสั้นๆ ตัวพิมพแบบนี้ที่สําคัญ เชน โคโรเนท (Coronet)

ภาพที่ 45 แสดงตัวพิมพแบบตัวเขียน “Edwardian Script ITC” ที่มา: อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 79)

1.3 ตัวพิมพแบบเซอริฟ (Serif) เปนตัวพิมพที่มีสวนที่เปนฐานหรือติ่ง หรือเรียกวา ตัวมี เชิง สวนใหญมักมีลักษณะความหนาบางของเสนตัวอักษรไมเทากันตลอดทั้งตัวอักษร สามารถแบง ประเภทยอยๆ ไดอีก ดังนี้ 1. ตัวพิมพแบบโอลด สไตล (Old Style) สวนที่เปนติ่งของตัวพิมพชนิดนี้มีสวนทแยงของ ตัวอักษร โดยสวนที่บางที่สุดจะเปนมุมของตัวอักษร ไมใชสวนบนหรือลางแบบเซอริฟอื่นๆ แบบ ตัวพิมพที่สําคัญ เชน การามอนด (Garamond) กาวดี โอลด สไตล (Goudy Old Style) และพาลาติ โน (Palatino)

ภาพที่ 46 แสดงตัวพิมพแบบเซอริฟ โอลด สไตล “Garamond” ที่มา: อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 80)

2. ตัวพิมพแบบทรานสิชันแนล (Transitional) สวนติ่งของตัวพิมพชนิดนี้มีสวนที่หนา และบางมีความแตกตางกันมากกวาตัวพิมพแบบโอลด สไตล บางครั้งก็เรียกตัวพิมพชนิดนี้วาตัวบา โรค (Baroque) แบบตัวพิมพที่สําคัญ เชน ไทมส นิว โรมัน (Times New Roman) และบาสเคอรวิลล (Baskerville)


34

ภาพที่ 47 แสดงตัวพิมพแบบเซอริฟ ทรานสิชันแนล “Baskerville Old Face” ที่มา: อารยะ ศรีกัลยาณบุตร ( 2550: 80)

3. ตัวพิมพแบบสแควรเซอริฟ (Stab Serif, Square Serif) สวนติ่งของตัวพิมพชนิดนี้มี ลักษณะที่เปนสี่เหลี่ยม สวนใหญมักมีลักษณะความหนาบางของเสนตัวอักษรไมเทากันตลอดทั้ง ตัวอักษร บางครั้งมีการเรียกตัวอักษรประเภทนี่วา ตัวอียิปตเตียน (Eqyptian) หรือตัวแอนติคส (Antiques) แบบตัวพิมพที่สําคัญ เชน คลาเรนดอน (Clarendon) รอกเวล (Rockwell) และคูเลีย (Courier)

ภาพที่ 48 แสดงตัวพิมพแบบเซอริฟ สแควรเซอริฟ “Courier” ที่มา: อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 80)

4. ตัวพิมพแบบโมเดิรน (Modern) สวนที่เปนติ่งของตัวพิมพชนิดมีสวนที่หนาและบางมี ความแตกตางกันมากกวาตัวแบบเซอริฟอื่นๆ โดยสวนที่เปนเสนแนวตั้งของตัวอักษรมักจะเปน เสนตรงและหนา ในขณะที่สวนที่เปนติ่งจะบางมาก แบบตัวพิมพที่สําคัญ เชน โบโดนี (Bodoni) และเซนจูรี สกูลบุค (Century Schoolbook)

ภาพที่ 49 แสดงตัวพิมพแบบเซอริฟ โมเดิรน “Bodoni MT” ที่มา: อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 81)

1.4. ตัวพิมพแบบเซนส เซอริฟ (Sans-Serif) เปนตัวพิมพที่ไมมีติ่ง หรือบางครั้งก็เรียกวา ตัวไมมีเชิง มีความหนาของเสนตัวอักษรที่เทากันตลอด ตัวพิมพที่เปนที่รูจักกันดี เชน เฮลเวติกา (Helvetica) เอเรียล (Arial) และยูนิเวิรส (Univers)


35

ภาพที่ 50 แสดงตัวพิมพแบบแซนส เซอรริฟ “Arial” ที่มา: อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 81)

1.5. ตัวพิมพตัวตกแตง (Display, Decorative, Fancy) เปนตัวพิมพที่มีลักษณะพิเศษ แตกต า งจากตั ว อั ก ษรที่ เ ห็ น กั น บ อ ยๆ มี รูป แบบการใชง านเพื่ อ การตกแต ง โดยเฉพาะ และไม เหมาะสมที่จะนํามาพิมพเปนขอความ ดังนั้นจึงนิยมใชกับขอความสั้นๆ ที่เปนพาดหัวหรือชื่อเรื่อง เพื่อเรียกรองความสนใจ

ภาพที่ 51 แสดงตัวพิมพแบบตัวตกแตง “Curiz MT” ที่มา: อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 82)

2. ประเภทตัวพิมพในภาษาไทย จากการศึกษาของ อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 82 – 84) ราชบัณฑิตยสถานไดแบง รูปแบบของตัวอักษรไวเปน 3 แบบ ดังนี้ 1. ตัวแบบหลัก หมายถึง แบบตัวอักษรที่ถูกตองสมบูรณตามหลักเกณฑมาตรฐานที่ ราชบัณฑิตยสถานไดกําหนดไว 2. ตัวแบบเลือก หมายถึง แบบตัวอักษรที่มีความแตกตางไปจากหลักเกณฑมาตรฐานที่ ราชบัณฑิตยสถานไดกําหนดไวบาง แตก็เปนแบบที่เปนที่นิยมใชและถือวาถูกตองเชนกัน 3. ตัวแบบแปร หมายถึง แบบตัวอักษรที่เปนที่นิยมใช แตมีความแตกตาง และไมจัดใหเขา กับหลักเกณฑมาตรฐานที่ราชบัณฑิตสถานไดกําหนดไว เชน ตัวพิมพตกแตงตางๆ การแบงแบบตัวอักษรไทยใหครอบคลุมตัวพิมพทั้งหมดนั้น อาจจะสามารถใชการเทียบ การแบงเกณฑตัวพิพมของตัวพิมพโรมันไดเปน 5 ประเภทใหญๆ ดังนี้


36

1. ตัวอาลักษณ หมายถึง เปนตัวพิมพที่มีลักษณะเหมือนตัวคัดลายมือ หรือตัวพิมพที่ดู เหมือนเขียนดวยปากกาคอแรง ตองการใหดูเกาแกโบราณ

ภาพที่ 52 แสดงตัวพิมพแบบตัวอาลักษณ “DSE MonTaNa” ที่มา: อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 83)

2. ตัวพิมพแบบเขียน หมายถึง ตัวพิมพที่มีลักษณะเหมือนเขียนดวยลายมือ

ภาพที่ 53 แสดงตัวพิมพแบบเขียน “DSE FreeHand” ที่มา: อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 83)

3. ตัวพิมพแบบมีหัว หมายถึง ตัวพิมพแบบที่มีหัวเปนวงกลมใชเปนตัวขอความเนื้อเรื่อง เปนแบบตัวภาษาไทยที่อานงายที่สุด

ภาพที่ 54 แสดงตัวพิมพแบบมีหัว “DSE Kamon” ที่มา: อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 84)

4. ตัวพิมพแบบไมมีหัวหรือหัวปาด หมายถึง ตัวพิมพแบบที่มีหัวเปนจงอยเหมือนถูกปาด ออก


37

ภาพที่ 55 แสดงตัวพิมพแบบไมมีหัว “DSE Single” ที่มา: อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 84)

5. ตัวพิมพแบบตัวตกแตง หมายถึง ตัวพิมพแบบที่ไดรับการออกแบบใหมีลักษณะแปลก ออกไปเปนพิเศษ ใชเพื่อพาดหัว

ภาพที่ 56 แสดงตัวพิมพแบบตกแตง “DSE PraDiPat” ที่มา: อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 84)

3. สกุลตัวพิมพ (Font Family) อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 85 – 86) กลาววา ตัวอักษรที่ไดรับการออกแบบขึ้นมาเพื่อใช เปนตัวพิมพนั้น เมื่อแรกเริ่มตัวพิมพ 1 แบบ จะมีเพียง 1 ลักษณะ เชน เปนตัวอักษรที่มีความหนา ของเสนขนาดบาง ขนาดกลาง หรือขนาดหนา อยางใดอยางหนึ่ง ต อ มาเมื่ อ มี ก ารออกแบบตั ว พิ ม พ เ พื่ อ ใช ใ นสิ่ ง พิ ม พ ม ากขึ้ น นอกจากจะมี ก าร ออกแบบตัวอักษรหลายแบบมากขึ้นแลว ยังขยายลักษณะของตัวอักษรแตละแบบเพิ่มเติมขึ้นเปน หลายลักษณะ เพื่อใหเหมาะสมกับลักษณะการใชงานมากขึ้น เชน ตัวอักษร 1 ตัวอาจจะมีทั้งความ หนาของเสนขนาดหนา ขนาดกลาก ขนาดบาง ตัวเอน ตัวบีบ ตัวขยาย เปนตน ตัวพิมพหรือที่เรียกวาฟอนตนั้น หากไดรับการออกแบบใหมีลักษณะมากกวา 4 ลักษณะ เชน ตัวธรรมดา ตัวหนา ตัวเอน และตัวหนาเอน การที่ตัวอักษร 1 แบบไดรับการออกแบบใหมี หลายลักษณะนี้ทําใหเกิดเปนสกุลตัวพิมพซึ่งหมายถึงตัวพิมพที่มีชื่อเดียวกัน แตมีคําพวงเพื่อบอก ลักษณะที่แตกตางกัน ลักษณะที่เปนที่ยอมรับกันเปนสากล สามารถจําแนกไดดังนี้ 1. ตัวหนา (Bold) เปนตัวพิมพที่มีเสนหนา ทําใหงานออกแบบดูมีน้ําหนักและความ หนาแนนมาก นิยมใชในการพิมพหัวเรื่อง หรือขอความจํานวนไมมากนัก


38

2. ตัวเสนหนัก (Medium) เปนตัวพิมพที่มีเสนหนานอยกวาตัวเสนหนา นิยมใช เชนเดียวกับตัวเสนหนา เมื่อนําไปใชแลวจะใหภาพรวมของงานออกแบบที่มีน้ําหนักเบาลงกวาตัว เสนหนา 3. ตัวพิมพเนื้อเรื่อง (Body Text) หรือตัวปกติ (Normal) เปนตัวพิมพที่มีเสนหนานอยกวา ตัวเสนหนัก มีขนาดเสนปานกลางงายตอการอาน เหมาะกับการพิมพขอความจํานวนมาก 4. ตัวเสนบาง (Light) เปนตัวพิมพที่มีเสนบางกวาตัวพิมพเนื้อเรื่อง ทําใหงานออกแบบดูมี น้ําหนักเบาและความหนาแนนนอย 5. ตัวเอน (Italic, Obliqie) เปนตัวพิมพที่เอนไปทางขวา ทําใหงานออกแบบดูมีลักษณะ นุมนวล 6. ตัวโย (Backslant Oblique) เปนตัวพิมพที่เอนไปทางซาย ไมนิยมใชเพราะขัดกับ ธรรมชาติของการอาน 7. ตัวแคบ (Condensed) เปนตัวพิมพที่มีการบีบในแนวนอน ทําใหตัวอักษรมีความกวาง นอยกวาปกติ 8. ตัวกวาง (Extended) เปนตัวพิมพที่มีการบีบในแนวนอน ทําใหตัวอักษรมีความกวาง มากกวาปกติ

ภาพที่ 57 แสดงสกุลตัวพิมพ “Mariad Pro” ที่มา: อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 86)


39

4. โครงสรางตัวพิมพ 4.1 ตัวอักษรโรมัน การศึกษาสวนโครงสรางของตัวพิมพที่เปนตัวอักษรโรมันของ อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 89) มีการกําหนดเสนและสวนตางๆ ของโครงสรางสําคัญๆ ของตัวพิมพ ดังนี้

ภาพที่ 58 แสดงเสนและระยะตัวพิมพโรมัน ที่มา: อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 89)

1. เสนฐาน (Baseline) เสนสมมุติเพื่อใชเปนแนวฐานของตัวพิมพเหมือนเปนเสนระดับ สําหรับตัวพิมพทุกตัวที่อยูในบรรทัดเดียวกัน 2. มีเดียน (Median) เสนกําหนดความสูงตัวพิมพที่เปนตัวตาม 3. ความสูงเอ็กซ (X – Height) เปนขนาดความสูงของตัวพิมพที่เปนตัวตาม ซึ่งเปนระยะ ระหวางเสนฐานและมีเดียน 4. ความสูงแคป (Cap Height) เสนกําหนดความสูงของตัวพิมพที่เปนตัวนํา 5. ความสูงหางบน (Ascender Height) เสนกําหนดความสูงของหางบน 6. ความสูงหางลาง (Descender Height) เสนกําหนดความสูงของหางลาง


40

4.2 ตัวอักษรไทย การศึกษาสวนโครงสรางของตัวพิมพที่เปนภาษาไทยของ ปญญา โรจนอารยานนท (2552) มีการกําหนดเสนและสวนตางๆ ของโครงสรางสําคัญๆ ของตัวพิมพ ดังนี้

ภาพที่ 59 แสดงเสนและระยะตัวพิมพไทย ที่มา: ปญญา โรจนอารยานนท ( 2552: f0nt.com)

4.3 การวัดตัวพิมพ จากการศึกษาของ อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 92) หนวยการวัดตัวพิมพเปนพอยต (Point) เริ่มขึ้นในประเทศฝรั่งเศส ในปค.ศ. 1775 โดย ฟรองซัวส – แอมโบรส ดิโดท (François – Ambroise Didot) เปนผูเสนอแนวคิดใหใชมาตราสวน 1 ดิโดท เทากับ 1/72 นิ้วของฝรั่งเศส ซึ่ง เทากับ 0.0148 นิ้ว ตอมาสมาคมผูผลิตตัวพิมพแหงสหรัฐอเมริกา (Type Founders Association of The United State of America) ไดกําหนดมาตรฐานการวัดตัวอักษรในป ค.ศ. 1886 โดยใหวัดเปน พอยต และ 1 พอยต เทากับ 0.35136 มิลลิเมตร แมวาจะมีความแตกตางกันเล็กนอยในรายละเอียดของตัวเลข แตแนวคิดในการกําหนด หนวยวัดตัวอักษรนั้นเปนแนวทางเดียวกัน คือ 1 พอยต เทากับ 1/72 นิ้ว นอกจากพอยตแลว หนวย วัดที่ใชกันอยูคือ ไพกา (Pica) ซึ่งเปนหนวยที่มีมากอนพอยต โดย 1 ไพกา เทากับ 1/6 นิ้ว ดังนั้น 1 นิ้ว จึงเทากับ 6 ไพกา

*สรุปไดดังนีค้ ือ

1 นิ้ว = 6 = ไพกา = 72 พอยต


41

ภาพที่ 60 แสดงการวัดขนาดตัวพิมพซึ่งทําไดสองลักษณะ ที่มา: อารยะ ศรีกัลยาณบุตร (2550: 92)

4.4. บทบาทของตัวพิมพ ผลการศึกษาตาม ศัพทบัญญัติวิชาการพิมพฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2532) พบวา ตามที่ ปรากฏในงานสิ่งพิมพ แสดงบทบาทและบุคคลิกแตกตางกันออกไปตามหนาที่ที่ถูกกําหนด บาง กลุมทําหนาที่เพื่อเปนหัวเรื่อง บางกลุมทําหนาที่เพื่อเปนชื่อเรื่อง บางกลุมทําหนาที่เปนเนื้อเรื่อง แต ละหนาที่มีการใชตัวพิมพแตกตางกันออกไป 1. หัวเรื่อง เปนตัวพิมพที่โดดเดนที่สุดของสิ่งพิมพ เพราะมีหนาที่ในการดึงดูดใหผูอาน สนใจในตัว สิ่ งพิ มพอัน ดับแรก เพื่อ จะไดสืบคน ไปยังสว นต างๆ ของสิ่งพิมพ เ ป น ลําดับตอไป รู ปแบบ ขนาด สี สัน และการออกแบบจึง ตอ งเน น เปน พิ เ ศษ สง ผลให ป ระจั กษภาพลดลง แต บางครั้งความจงใจของนักออกแบบสิ่งพิมพที่ตองการใหหัวเรื่องอานยาก เพื่อเปนการตรึงใหผูอาน ใชเวลาอยูกับหัวเรื่องมากขึ้น 2. ชื่อเรื่อง จะดูโดดเดนมากกวาเนื้อเรื่อง เพื่อแสดงตัวใหปรากฏอยางชัดเจนถึงการแบงเนื้อ เรื่องออกเปนเรื่องตางๆ หลายๆ เรื่อง แตละเรื่องคืออะไร อยูตําแหนงใด ตัวพิมพจึงควรมีขนาดใหญ กวาเนื้อเรื่องเล็กนอย มีสีสดกวา เสนตัวหนากวา 3. เนื้อเรื่อง เปนตัวเนื้อหาของสิ่งพิมพ บางทีอาจมีเปนจํานวนมากกินเนื้อที่หลายบรรทัด ตองใชเวลาในการอานนานจึงตองใชตัวพิมพขนาดเล็ก ลักษณะเรียบงาย ดูสะอาดตา มีประจักษ ภาพสูง ในภาษาไทยนิยมใชตัวพิมพขนาด 12 – 16 พอยท ภาษาอังกฤษนิยมใชตัวพิมพขนาด 10 – 14 พอยท ทั้ ง นี้ ต อ งขึ้ น อยู กั บ ขนาดของสิ่ ง พิ ม พ ต อ งให ตั ว พิ ม พ ภ าษาอั ง กฤษเล็ ก กว า ตั ว พิ ม พ ภาษาไทยประมาณ 2 พอยทจึงจะดูกลมกลืนพอดี


42

การออกแบบ 1. ความหมายของการออกแบบ สมบูรณ ดรุณศิลป (2541: 16) กลาววา การออกแบบ (Design) มีรากศัพทมาจากภาษาละ ตินวา “Designare” ซึ่งหมายถึง การกําหนดออกมา กะหรือขีดเขียนไว โสรชั ย นั น ทวั ช รวิ บู ล ย (2545: 20) กล า วว า การออกแบบ คื อ กระบวนการในการ วางแผนเพื่อสรางสรรคสิ่งตางๆ ในรูปแบบที่แปลกใหม หรือปรับปรุงของเดิมที่มีอยูแลว โดยอาศัย หลักการทางศิลปะ เพื่อใหงานที่สรางขึ้นมามีประสิทธิภาพ ทั้งในดานความงามและประโยชน ในทางใชสอยดวยเพื่อสนองตอจุดมุงหมาย และนํากลับมาใชงานไดอยางพึงพอใจ ความพึงพอใจ นั้นมีประเด็นหลักๆ อยู 3 ประเด็นสําคัญคือ 1. 1 ความสวยงาม (Asthetic) เปนความพึงพอใจแรกที่คนเราสัมผัสไดกอน มนุษยเราแต ละคนตางมีการรับรูเรื่องความสวยงามและความพึงพอใจในเรื่องของความงามไดไมเทากัน ความ งามจึงเปนประเด็นที่ถกเถียงกันมาก และไมมีกฎเกณฑการตัดสินใดๆ ที่เปนตัวกําหนดความแนชัด ลงไป แตเชื่อวางานที่มีการจัดองคประกอบที่ดี คนสวนใหญก็จะมองวาสวยงามไดเหมือนๆ กัน 1.2 มีประโยชนใชสอยที่ดี (Function) การมีประโยชนใชสอยที่ดีนั้นเปนเรื่องสําคัญมาก ในงานออกแบบทุกประเภท เชน การออกแบบเกาอี้ เกาอี้นั้นจะตองนั่งสบาย การออกแบบบาน บานนั้นจะตองอยูแลวไมอึดอัด การออกแบบงานกราฟกสื่อสิ่งพิมพตัวหนังสือที่อยูในงานจะตอง อานงาย ไมตองถึงขั้นเพงสายตา ถึงจะเรียกไดวาเปนงานออกแบบที่มีประโยชนใชสอยที่ดี เปนตน 1.3 มีแนวคิดในการออกแบบที่ดี (Concept) แนวคิดในการรออกแบบที่ดีนั้นคือ หนทาง ความคิดที่ทําใหงานออกแบบที่ดีไดตอบสนองความรูสึกพอใจ ชื่นชม เรื่องนี้บางคนใหความสําคัญ มาก บางคนใหความสําคัญนอย บางคนไมใหความสําคัญ ใหแค 2 ขอแรกก็พอ แตงานออกแบบจะ มีคุณคา (Value) มากขึ้น ถาไดออกแบบงานจากแนวความคิดที่ดี ในการออกแบบนั้น ใครจะใหน้ําหนักความสําคัญในขอใดมากกวากันก็ขึ้นอยูกับวาเปน งานชนิดใด เชน งานประกวดแบบ ก็ใหน้ําหนักเรื่องแนวคิดในการออกแบบที่ดี มากกวาขออื่น งาน ที่ใชในการสื่อสารกับคนจํานวนมาก (Mass Communication) เชน ใบปดหนัง โปสเตอร เปนตน จะ ใหน้ําหนักประโยชนใชสอย แตในทายที่สุด งานออกแบบที่ดีจะตองตอบสนองความพึงพอใจใน 3 ขอนี้เปนหลัก


43

2. องคประกอบของการออกแบบ (Element of Design) จากการศึกษาของ สมบูรณ ดรุณศิลป (2541: 18 – 29) องคประกอบของการออกแบบ ประกอบไปดวย 1. จุด (Dot) 5. ลักษณะผิว (Texture) 2. เสน (Line) 6. บริเวณวาง (Space) 3. รูปรางและรูปทรง (Shape and Form) 7. สี (Color) 4. มวลและปริมาตร (Mass and Volume) 8. น้ําหนักสี (Value) 2.1 จุด (Dot) จุดเปนสวนประกอบของการออกแบบที่เล็กที่สุด นับวาเปนพื้นฐาน เบื้องตน ซึ่งนําไปสูสวนอื่นๆ เชน การนําจุดมาเรียงตอกัน ทําใหเปนเสน รูปรางและรูปทรง หรือ ลักษณะผิว เพื่อใชในการออกแบบได การนําจุดมาใชจึงตองมีความรูเรื่องศิลปะ เพื่อใหจุดที่นํามา เรียงกันมีความสัมพันธเหมาะสม ดูสวยงาม 2.2 เสน (Line) เสนหมายถึงจุดที่เรียงตอกัน จากจุดหนึ่งไปสูอีกจุดหนึ่ง โดยสวนใหญ จะใชเครื่องมือในการเขียนเสน แตในการออกแบบ การเขียนเสนอาจไมตองใชเครื่องมือในการ เขียนก็ได เมื่อนําเสนมาใชประกอบกันจะทําใหเกิดเปนรูปทรงตางๆ ไดตามตองการ เสนจึงเปน สวนประกอบที่สําคัญอยางยิ่งในการออกแบบ 2.3 รูปรางและรูปทรง (Shape and Form) รูปรางและรูปทรงมีความสัมพันธกันอยาง มาก เมื่อเรามองเห็นกลองสี่เหลี่ยม สิ่งที่เห็นทั้งกลอง คือ ความกวาง ความยาว ความสูง หรือความ หนา ซึ่งจะมีลักษณะเปน 3 มิติ เรียกวา รูปทรง สวนที่เราเห็นเฉพาะเสนรอบนอกของกลอง คือ ความกวางและความยาว จะมีลักษณะเปน 2 มิติ นั่นคือ รูปราง รูปรางและรูปทรงจึงเปนสิ่งที่สําคัญ ที่ทําใหมีลักษณะตางๆ ขึ้นมากมายในงานออกแบบ 2.4 มวลและปริมาตร (Mass and Volume) มวล คือ เนื้อที่ทั้งหมดของสสารหรือวัตถุตางๆ ปริมาตร คือ เนื้อที่บริเวณวางรอบๆ วัตถุใดวัตถุหนึ่งที่เปนรูปราง เชน ทั้งหมดที่อยูรอบ นอกตัวอาคาร คือ ปริมาตร สวนตัวของอาคาร คือ มวล ดังนั้นมวลและปริมาตรจึงรวมอยูดวยกัน อยางแยกไมออก 2.5 ลักษณะผิว (Texture) ลักษณะผิว คือ ผิว พื้นที่ผิวสวนนอกของวัตถุตางๆ ที่มองเห็น หรือสัมผัสได ซึ่งมีลักษณะแตกตางกันไปตามชนิดของวัตถุ การมองเห็นลักษณะผิวของวัตถุชนิด


44

เดียวกัน จะแตกตางกันไดเมื่อมีแสงสวางมากระทบในลักษณะที่ตางกัน ลักษณะผิวจึงใหความรูสึก ไดดี ตอการนําไปใชประกอบในการออกแบบ 2.6 บริเวณวาง (Space) บริเวณวาง เปนแนวคิดที่เกี่ยวกับการมองเห็นหรือการคาดคะเน ดวยสายตา หรือจากการวัดระยะขนาด และตําแหนงที่ตั้งของวัตถุ หรือเกิดจากการจัดที่วางหรือ บริเวณวางดวยชวงระยะ บริเวณวางจึงมีความจําเปน และเปนสวนสําคัญของการออกแบบ เพราะ รูปทรงในการออกแบบตองมีบริเวณวางที่จะกําหนดลงไป 2.7 สี (Color) สี เปนสวนที่ชวยใหสิ่งตางๆ มีความรูสึกสวยงาม หรือนาเกลียดนากลัวได สียังแยกประเภทของสิ่งของตางๆ เพื่อใหรูวาสิ่งนั้นสิ่งนี้คืออะไร ซึ่งจะพบเห็ นอยูมากมายใน ชีวิตประจําวันรอบๆ ตัวเรา สีเปนสิ่งจําเปนอยางมากกับงานออกแบบ เพราะสีทําใหความรูสึกและ เราอารมณตอผูพบเห็นในงานออกแบบเมื่อใชสีอยางถูกตองและเหมาะสมกับงาน 2.8 น้ําหนักสี (Value) คือ ความออนแกของสี ที่ดูแลวมีน้ําหนักตางกัน จะเห็นไดงายจาก ภาพถายขาวดําซึ่งมีสีดํา สีเทาเขม สีเทา สีเทาออน และสีขาว เปนการแยกน้ําหนักสีที่แตกตางกัน ทําใหเกิดความนาสนใจกวาภาพที่มีน้ําหนักสีเพียงสีเดียว คือสีดํา หรือสีขาว น้ําหนักของสีจึงมีคา ตองานออกแบบมาก 3. การออกแบบตัวอักษร สมบูรณ ดรุณศิลป (2541: 15) กลาววา ตัวอักษรนับเปนสิ่งสําคัญที่จะตองมีการออกแบบ มาก เพราะตัวอักษรเปนสิ่งที่ชวยในการถายทอดแนวคิด เรื่องราวขาวสารและความรูตางๆ เพื่อ เผยแพรไปสูผูอื่นใหเขาใจซึ่งกันและกัน โสรชัย นัรทวัชรวิบูลย (2545: 166) กลาววา แรกเริ่มเดิม ที ตัวอักษรมีบทบาทในงานสิ่งพิมพเ ปนหลัก แตในปจ จุบันงานออกแบบแทบทุกชนิด ตองใช ตัวหนังสือเปนองคประกอบในภาพที่จัดวางไดอยางลงตัว ตัวหนังสือจึงมีอิทธิพลตอความสวยงาม มาก การออกแบบประดิษฐตัวอักษรมีเปาหมายหลัก 2 ประการคือ 1. ตอบสนองดานประโยชนใชสอยไดอยางเต็มที่ เชน การสรางรูปลักษณของตัวอักษรให มีรูปแบบใหมที่เหมาะสมกับลักษณะการใชงานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ และตองสามารถสื่อความได ตรงตามหลักของภาษา 2. เพื่อใหเกิดคุณคาทางความงาม สรางแบบตัวอักษรใหถายทอดคุณคาทางสุนทรียศาสตร จึงตองสามารถที่จะสะทอนความงามและความเหมาะสมตามความหมายของคํา หรือขอความใน งานนั้นๆ


45

4. หลักการออกแบบตัวอักษร จากการศึกษาของสมบูรณ ดรุณศิลป (2541: 87 – 88) หลักการออกแบบประกอบไปดวย 1. เอกภาพ 4. ความกลมกลืน 2. สัดสวน 5. จังหวะ 3. ความสมดุล 6. จุดเดน 4.1 เอกภาพ คือ ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ที่เกิดจากการเชื่อมโยง สัมพันธกันของ สวนตางๆ ในการออกแบบตัวอักษร รูปแบบของตัวอักษรที่ออกแบบขึ้นนั้น ตองมีเอกภาพ คือ มี ความสอดคลองกันโดยตลอดทั้งพยัญชนะ สระ และเมื่อนําไปเขียนเปนขอความ ตัวอักษรเหลานั้น ตองสัมพันธและสอดคลองกันไมขัดกัน 4.2 สัดสวน เปนเรื่องที่เกี่ยวกับขนาด การออกแบบอักษร ก็จะตองกําหนดขนาดของ ตัว อักษรใหเหมาะสม ทั้งในดานความกวางและความสูง โดยเมื่อนํ าไปใชใ นขอความก็ตองมี สัดสวนสัมพันธกัน 4.3 ความสมดุล หมายถึ ง ความสมดุล ตามสภาพการมองเห็ น โดยการรับรู เ กี่ย วกั บ น้ํา หนัก ที่ เ ท ากัน แบบตั ว อัก ษรที่ผูออกแบบสรางขึ้น ต อ งเทา เทีย มกัน ในลัก ษณะรูปแบบ ของ โครงสรางตัวอักษรจากเสนตางๆ ซึ่งอาจเทากันจากการแบงแกนกลาง หรือเทากันจากความรูสึกที่ วัดดวยสายตา 4.4 ความกลมกลื น คื อ การประสานรวมกั น อย า งเหมาะสมสวยงามไม ขั ด ตา แบบ ตัวอักษรที่สรางขึ้นก็ตองคํานึงถึงความสัมพันธกลมกลืนกันอยางเหมาะสม ในสวนตางๆ ของเสน ตั้ง เสนเฉียง เสนโคง หรือหัวของตัวอักษร เมื่อดูแลวไมขัดตาในเรื่องของเสน รูปแบบและขนาด ของตัวอักษร 4.5 จังหวะ คือ การซ้ําที่เปนระเบียบ จังหวะสําหรับแบบของตัวอักษร คือ ลีลาของเสนที่ ประกอบกันเปนตัวอักษร อาจซ้ําๆ กันหรือสลับกัน เปนจังหวะลีลาตอเนื่องกัน ทําใหแบบอักษรมี ความรูสึกในทางความงามได 4.6 จุดเดน คือ การเนนเพื่อใหเกิดจุดเดนในงานที่ออกแบบ จุดเดนสําหรับแบบอักษรคือ การเนนตัวอักษรนั้นใหดึงดูดความสนใจนามอง ไมจําเจซ้ําซาก ไมวาจะเปนรูปแบบ ลักษณะของ เสน สัดสวน ขนาด หรือลวดลายที่นํามาประกอบในการออกแบบอักษรนั้น


46

โปรแกรมคอมพิวเตอร ในการออกแบบตัวพิมพผูออกแบบใชโปรแกรมคอมพิวเตอร 2 โปรแกรม ดังนี้ 1. อะโดบี โฟโตชอป (Adobe Photoshop) วงศประชา จันทรสมวงศและมานิตา เจริญปรุ (2545) กลาววา โฟโตชอปเปนโปรแกรม ของบริษัทอะโดบีซึ่งเปน ผูพั ฒนาโปรแกรมกราฟกรายใหญ ไมว าจะเปนโปรแกรม Illustrator PageMaker และ Acrobat โปรแกรมโฟโตชอปเวอรชั่นแรกนั้นเริ่มตนสรางขึ้นในป ค.ศ. 1990 และ ไดรับการพัฒนามาเรื่อย ๆ จนถึงเวอรชั่นลาสุดในปจจุบัน โปรแกรมโฟโตชอปพัฒนามาถึง รุน CS4 (Creative Suite 4) จากการศึกษาของ วิกิพีเดีย (2552) โฟโตชอปเปนโปรแกรมประยุกตที่มีความสามารถใน การจัดการแกไขและตกแตงรูปภาพ (Photo Editing and Retouching) แบบเรสเตอร (Raster) เพื่อ นํามาใชงานประเภทสิ่งพิมพ งานวีดีทัศน งานนําเสนอ ตลอดจนงานออกแบบเว็บไซต สามารถ จัดการกับไฟลรูปภาพที่สําคัญได เชน ไฟลนามสกุล JPG, GIF, PNG, TIF, TGA โดยไฟลที่โฟโตช อปจัดเก็บในรูปแบบเฉพาะของตัวโปรแกรมเอง จะใชนามสกุลของไฟลวา PSD จะสามารถจัดเก็บ คุณลักษณะพิเศษของไฟลที่เปนของโฟโตชอป เชน เลเยอร ชันแนล โหมดสี รวมทั้งสไลสเพื่อ สะดวกในการใชงานครั้งตอไป 2. อะโดบี อิลลัสเตรเตอร (Adobe Illustrator) จากการศึกษาของ วิกิพีเดีย (2552) อิลลัสเตรเตอรเปนโปรแกรมวาดภาพกราฟกแบบ เวกเตอร ซึ่งพัฒนาโดยบริษัทอะโดบีซิสเต็มส รุนแรก จัดทําขึ้นในปค.ศ. 1986 เพื่อใชงานกับเครื่อง แมคอินทอช และไดพัฒนารุนที่ 2 ออกมาใหใชงานไดกับวินโดวส ซึ่งไดรับความพึงพอใจ และการ ตอบรับที่ดีจากผูใชเปนจํานวนมาก จนปจจุบันไดพัฒนาออกมาจนถึงรุนที่ 14 CS4 (Creative Suite 4) ธนิศา ไชยภูริพัฒน (2545) กลาววา อิลลัสเตรเตอร คือ โปรแกรมที่ใชในการวาดภาพโดย จะสรางภาพที่มีลักษณะเปนเสน หรือที่เรียกวาภาพแบบเวกเตอร (Vector Graphic) ซึ่งภาพที่สราง ขึ้นนั้นตองมีเสนโครงรางหรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา “Path” มีความสามารถใหทํางานออกแบบตางๆ ไดหลากหลาย ไมวาจะเปนสิ่งพิมพ บรรจุภัณฑ เว็บ และแอนิเมชั่น ตลอดจนการสรางภาพเพื่อใช เปนภาพประกอบในการทํางานอื่นๆ


47

Path ประกอบดวยสวนตางๆ ดังนี้ 1. จุดปลายของ Path (End Point) เปนจุดที่อยูปลายสุดของ Path ทั้ง 2 ดาน คือ ทั้ง จุดเริ่มตนและจุดสุดทายของ Path 2. จุดยึด (Anchor Point) เปนจุดที่อยูบนเสนระหวางจุดปลายทั้งสองดาน ใชเพื่อเปลี่ยน ทิศทางของเสน นึกงายๆ เหมือนกับการเดินสายไฟบนผนังซึ่งตองใชหมุดยึดเมื่อตองการ เปลี่ยนทิศทาง ของสายไฟ 3. เสน (Segment) ไมวาจะเปนเสนตรงหรือเสนโคง เกิดจากการเชื่อมกันของจุด 2 จุด ไม วาจะเปนจุดปลายหรือจุด Anchor จํานวนของ Segment มีผลตอความนุมนวลของ Path 4. แขนปรับทิศทาง (Direction Line) เปนตัวชี้บอกวาเสนจะโคงไปทางไหนและมีความ โคงมากนอยเทาไหร 5. จุดปลายของแขนปรับทิศทาง (Direction Point) เปนจุดที่อยูตรงปลายของแขนปรับ ทิศทาง ใชเปนตัวบังคับให “แขน” ชี้ไปในทิศที่ตองการ

ภาพที่ 61 แสดงสวนประกอบบตางๆ ของเสน Path ที่มา: ธนิศา ไชยภูริพัฒน (2545: 44)


บทที่ 3 วิธีดําเนินการโครงการ โครงการพิเศษการออกแบบอักขระตัวพิมพภาษาไทยและภาษาอังกฤษโดยมีรูปแบบอักษร จีน มีขั้นตอนการดําเนินงานดังนี้ 1. ศึกษาขอมูลพื้นฐาน ผูออกแบบดําเนินการศึกษาโดยกําหนดขอบเขตของการศึกษา ดังนี้ 1.1 ศึกษาวิวัตนาการของตัวอักษรจีนตลอดจนวิธีการเขียน 1.2 ศึกษาวิวัฒนาการของตัวอักษรรวมถึงอักษรไทย 1.3 ศึกษาวิวัฒนาการของตัวพิมพทั้งตัวพิมพโรมันและตัวพิมพไทย 1.4 ศึกษาการออกแบบและการออกแบบตัวอักษร 1.5 ศึกษาความเปนมาและการใชงานโปรแกรมคอมพิวเตอรกราฟก 2 โปรแกรม คือ อะ โดบี โฟโตชอป และอะโดบี อิลลัสเตรเตอร 2. วิธีการสรางสรรคผลงาน การสรางสรรคผลงานมีขั้นตอนการนําเสนอใหแกคณะกรรมการเพื่อเสนอแนะ ปรับปรุง และแกไขผลงาน โดยมีขั้นตอนดังนี้ 2.1 จัดหมวดหมูของตัวอักษร เพือ่ ใหงายตอการออกแบบ 2.2 ศึกษาประวัติความเปนมาของตัวอักษรจีนที่ไดรวบรวมมาทั้งหมด 2.3 วิเคราะหขอมูลที่ไดและนําไปรางแบบตัวพิมพ 2.4 รางแบบรางเพือ่ คัดเลือกแบบที่เหมาะสม รอยละ 10 – 20 2.5 สรางตนแบบโดยใชโปรแกรมอิลลัสเตรเตอรครั้งที่ 1 รอยละ 30 – 40 2.6 วิเคราะหขอมูลที่ไดและนํามาปรับ และรางแบบรางเพิม่ รอยละ 50 2.7 สรางตนแบบโดยใชโปรแกรมอิลลัสเตรเตอร รอยละ 60 – 70 2.8 ปรับปรุงตนแบบดวยโปรแกรมครั้งที่ 1 รอยละ 80 2.9 ปรับปรุงตนแบบดวยโปรแกรมครั้งที่ 2 รอยละ 90 2.10 นําอักษรที่ไดมาจัดเรียงเปนขอความเพื่อหาจุดบกพรองและแกไข 2.11 ไดตัวพิมพภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มลี ักษณะสมบูรณ


49

3. วิธีการสรางสรรคผลงานดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร ผูออกแบบใชโปรแกรมคอมพิวเตอรกราฟก 2 โปรแกรมในการสรางสรรคผลงาน คือ โปรแกรมอะโดบี โฟโตชอป และอะโดบี อิลลัสเตรเตอร ซึ่งมีขั้นตอนดังตอไปนี้ 3.1 นําแบบรางที่เลือกแลวมาสแกนแบบรางลงบนคอมพิวเตอร 3.2 ตกแตงแบบรางในคอมพิวเตอรดวยโปรแกรมโฟโตชอปใหมีความคมชัดเพื่อเปน แบบในการสรางตนแบบในโปรแกรมอิลลัสเตรเตอร 3.3 นําแบบรางที่ตกแตงเสร็จเรียบรอยมาวางแบบลงในโปรแกรมอิลลัสเตรเตอร 3.4 สรางตนแบบตัวพิมพตามแบบรางในโปรแกรมอิลลัสเตรเตอร 3.5 นําตนแบบตัวพิมพที่ไดเสนออาจารยที่ปรึกษาเพื่อวิจารณ และพิ จารณา ในการ ปรับปรุงใหไดรูปแบบที่เหมาะสมสอดคลองกับวัตถุประสงคของการทําโครงการฉบับนี้เมื่อได แบบตัวพิมพที่เสร็จสมบูรณแลวนํามาเรียงเปนขอความในโปรแกรมอิลลัสเตรเตอร ผูออกแบบไดนําแบบรางมาสแกนและใชโฟโตชอปปรับปรุงแบบรางดังนี้ 1. ปรับการกระจายตัวของแสงเงา โดยการปรับคา Levels เพื่อใหไดภาพที่มีรายละเอียด และเห็นสวนที่เปนสีดําชัดเจนขึ้นเพื่อใหงายตอการสรางตนแบบตอไป

ภาพที่ 62 แสดงการปรับแสงเงาโดยคําสั่ง Levels

2. ปรับแสงเงาของภาพดวยคําสั่ง Curves คําสั่งนี้มีลักษณะเชนเดียวกับคําสั่ง Levels โดย การใช มีการปรับเสนกราฟแทน ทําใหสามารถตั้งคาความสวางของตําแหนงใดๆ ก็ได ใชเมื่อยังได แบบที่มีความเขมไมเพียงพอ


50

ภาพที่ 63 แสดงการปรับแสงเงาโดยคําสั่ง Curves

ผูออกแบบไดใชโปรแกรมอิลลัสเตรเตอรในการออกแบบมีการทํางานในเครื่องมือดังตอไปนี้ 1. เครื่องมือสําหรับเลือกวัตถุ Selection Tool ใชเลือกวัตถุทงั้ ชิ้นหรือทั้งกลุม Direct Selection Tool ใชเลือกเฉพาะจุดหรือเสนทีต่ องการ 2. กลุมเครื่องสําหรับวาด Path Pen Tool ใชในการวาดเสน

ภาพที่ 64 แสดงตัวพิมพที่สรางดวยโปรแกรมอิลลัสเตรเตอร


บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล ผลการวิ เ คราะห ข อ มู ล โครงการพิ เ ศษการออกแบบอั ก ขระตั ว พิ ม พ ภ าษาไทยและ ภาษาอังกฤษโดยมีรูปแบบอักษรจีน จากการศึกษาถึงรูปแบบวิธีการเขียน และลักษณะของเสนแบบ ตางๆ ที่สามารถนํามาพัฒนาปรับปรุงใหเกิดเปนตัวพิมพภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มีขั้นตอนดังนี้ จากการศึกษาในการออกแบบตัวอักษรภาษาไทยสามารถจัดหมวดหมูของตัวอักษร ดังนี้ กลุมอักษร ก ถ ภ ฎ ฏ ฌ ณ ญ (โครงสรางตัวอักษรโดยรวมเหมือนกัน) กลุมอักษร ข ช ซ (โครงสรางตัวอักษรเหมือนกันตางกันเฉพาะสวนหาง) กลุมอักษร จ ว (โครงสรางตัวอักษรโดยรวมเหมือนกัน) กลุมอักษร ค ศ ด (มีลักษณะเหมือนกันที่หลังคา) กลุมอักษร ฅ ต ฒ (มีลักษณะเหมือนกันที่หลังคา) กลุมอักษร บ ป ษ (โครงสรางตัวอักษรโดยรวมเหมือนกัน) กลุมอักษร ฃ ซ ฆ ฑ (มีลักษณะเหมือนกันที่หวั ) กลุมอักษร ร ธ ฐ (มีลักษณะเหมือนกันที่หลังคา) กลุมอักษร พ ฟ ฬ (โครงสรางตัวอักษรเหมือนกันตางกันเฉพาะสวนหาง) กลุมอักษร ผ ฝ (โครงสรางตัวอักษรเหมือนกันตางกันเฉพาะสวนหาง) กลุมอักษร ฉ น ณ (เหมือนกันสวนลาง) กลุมอักษร ฌ ณ ญ ฒ (มีลกั ษณะสองสวน) กลุมอักษร ง ห ย (มีลักษณะพิเศษไมเหมือนอักษรกลุม ใด) จากการศึกษาในการออกแบบตัวอักษรภาษาอังกฤษสามารถจัดหมวดหมูของตัวอักษร ดังนี้ กลุมตัวอักษร A, N, V, W กลุมตัวอักษร B, K กลุมตัวอักษร B, D, E, F, L, P กลุมตัวอักษร X. Y กลุมตัวอักษร C, G, J, O, Q, S กลุมตัวอักษร I, T กลุมตัวอักษร B, E, F, H, R กลุมตัวอักษร M, U (วรพงศ วรชาติอุดมพงศ, 2545: 84)


52

จากการศึกษาและวิเคราะหตัวอักษรจีนพบวา 1. ตัวอักษรทุกตัวมีความสมมาตรกัน ภายใตกรอบสี่เหลี่ยม 2. วัสดุที่ใชเขียนคือพูกัน ทําใหเสนของตัวอักษรมีเอกลักษณ ผอนหนักเบา 3. ตัวอักษรแบบขายซูเปนตัวอักษรที่เปนมาตรฐานและเปนที่นิยมใชในปจจุบัน จึงนํา ตัวอักษรแบบขายซูมาเปนตนแบบ ศึกษาลักษณะของอักษรจีนที่มีลักษณะคลายกับภาษาไทย 1. หมวด ก

ภาพที่ 65 แสดงหมวด ก

2. หมวด ข

ภาพที่ 66 แสดงหมวด ข


53

3. หมวด จ

ภาพที่ 67 แสดงหมวด จ

4. หมวด ฉ

ภาพที่ 68 แสดงหมวด ฉ

5. หมวด บ

ภาพที่ 69 แสดงหมวด บ


54

6. หมวด ย

ภาพที่ 70 แสดงหมวด ย

7. หมวด ส

ภาพที่ 71 แสดงหมวด ส

8. หมวด อ

ภาพที่ 72 แสดงหมวด อ


55

รางแบบรางเพือ่ คัดเลือกแบบที่เหมาะสม

ภาพที่ 73 แสดงแบบรางแบบที่ 1 รอยละ 10 – 20

ภาพที่ 74 แสดงแบบรางแบบที่ 2 รอยละ 10 – 20


56

ภาพที่ 75 แสดงแบบรางแบบที่ 3 รอยละ 10 – 20

สรางตัวพิมพโดยใชโปรแกรมอิลลัสเตรเตอรจากแบบรางที่เลือก

ภาพที่ 76 แสดงแบบตัวพิมพที่สรางดวยโปรแกรมแบบที่ 1 และ 2 รอยละ 30 – 40


57

ภาพที่ 77 แสดงแบบตัวพิมพที่สรางดวยโปรแกรมแบบที่ 3 รอยละ 30 – 40

ผลการวิเคราะหขอมูลเพื่อนํามาปรับปรุงและแกไข ผลการวิเคราะหขอมูลจากตัวอักษร 3 แบบขางตนพบวา - อานยาก เขาใจยาก ปวดตา - ไมมีความเปนเอกภาพ คําแนะนําของอาจารยที่ปรึกษา - เอาขอดีของแตละแบบมารวมกัน - หาตัวอักษรที่ใชเปนตนแบบและครอบคลุมกับโครงสรางตัวอักษรไทยเพื่อใหการ ออกแบบทั้งหมดมีเอกภาพมากขึ้น ไดผลดังนี้


58

ตัวแบบอักษรที่ใชเปนตนแบบและครอบคลุมกับโครงสรางตัวอักษรไทย

ภาพที่ 78 แสดงตัวอักษรที่ใชเปนตนแบบและครอบคลุมกับโครงสรางตัวอักษรไทย

แบบรางทีป่ รับปรุงแลว

ภาพที่ 79 แสดงแบบรางที่ปรับปรุงแลว รอยละ 50


59

สรางแบบตัวพิมพภาษาไทยโดยใชโปรแกรมอิลลัสเตรเตอร

ภาพที่ 80 แสดงแบบตัวพิมพภาษาไทย รอยละ 60 – 70

ปรับปรุงแบบตัวพิมพภาษาไทยดวยโปรแกรมครั้งที่ 1

ภาพที่ 81 แสดงตัวพิมพภาษาไทยแบบปรับปรุงครั้งที่ 1 รอยละ 80


60

ปรับปรุงแบบตัวพิมพภาษาอังกฤษดวยโปรแกรมครั้งที่ 1

ภาพที่ 82 แสดงตัวพิมพภาษาอังกฤษแบบปรับปรุงครั้งที่ 1 รอยละ 80

ปรับปรุงแบบตัวพิมพภาษาไทยดวยโปรแกรมครั้งที่ 2

ภาพที่ 83 แสดงตัวพิมพภาษาไทยแบบปรับปรุงครั้งที่ 2 รอยละ 90


61

ปรับปรุงแบบตัวพิมพภาษาอังกฤษดวยโปรแกรมครั้งที่ 2

ภาพที่ 84 แสดงตัวพิมพภาษาอังกฤษแบบปรับปรุงครั้งที่ 2 รอยละ 90

ตัวพิมพภาษาไทยแบบสมบูรณ

ภาพที่ 85 แสดงตัวพิมพภาษาไทยแบบสมบูรณ


62

ตัวพิมพภาษาอังกฤษแบบสมบูรณ

ภาพที่ 86 แสดงตัวพิมพภาษาอังกฤษแบบสมบูรณ


63

อักขระตัวพิมพภาษาไทยเมื่อนํามาเรียงเปนประโยค


ภาพที่ 87 แสดงอักขระตัวพิมพภาษาไทยเมื่อนํามาเรียงเปนประโยค

64


65

อักขระตัวพิมพภาษาอังกฤษเมื่อนํามาเรียงเปนประโยค


ภาพที่ 88 แสดงอักขระตัวพิมพภาษาอังกฤษเมื่อนํามาเรียงเปนประโยค

66


67

อักขระตัวพิมพภาษาไทยและภาษาอังกฤษเมื่อนํามาเรียงเปนประโยค

ภาพที่ 89 แสดงอักขระตัวพิมพภาษาไทยและภาษาอังกฤษเมื่อนํามาเรียงเปนประโยค


บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ โครงการการออกแบบอักขระตัวพิมพภาษาไทยและภาษาอังกฤษโดยมีรูปแบบอักษรจีน ไดศึกษาถึงวิวัฒนาการของอักษรจีนและวิธีการเขียนตางๆ จนเกิดเปนอักขระตัวพิมพภาษาไทย และภาษาอังกฤษที่มีความแปลกใหม สามารถสรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ดังนี้ สรุปผล โครงพิเศษการออกแบบอักขระตัวพิมพภาษาไทยและภาษาอังกฤษโดยมีรูปแบบอักษร จีน จากการศึกษาวิเคราะหไดขอสรุปผลวา 1. ผูออกแบบไดศึกษาการถึงวิวัฒนาการตัวอักษรจีน รวมถึงวิธีการเขียนอักษรจีนซึ่ง เริ่มแรกนั้น ตัว อักษรจีนเปนเพีย งอั กษรภาพที่ใ ชภาพแทนความหมายและใชวัสดุใ ชเ ขีย น เชน กระดองเตา กระดูกสัตวโดยการใชโลหะแหลมคมในการเขียน ตอมาไดพัฒนากระดาษและพูกัน ขึ้นจึงทําใหลักษณะของอักษรจีนเปลี่ยนแปลงไป และหลักการเขียนที่ตายตัวเปนมารตฐาน ซึ่ง ตัวอักษรขายซูถือเปนตัวอักษรมาตรฐานและใชในปจจุบัน จึงเลือกใชตัวอักษรขายซูมาเปนตนแบบ ในการสรางสรรคผลงาน 2. ในการเขียนตัวอักษรขายซูนั้นนั้นตองมีความสมมาตรกันภายใตกรอบสี่เหลี่ยม ซึ่งมี กฎระเบียบที่แนนอนตายตัว มีการเรียงลําดับการลากเสนจากบนลงลาง จากซายไปขวา และลักษณะ การลากเสนก็มีความแตกตางกัน สามารถแบงไดเปน 8 แบบ ซึ่งเสนทั้ง 8 แบบนี้ก็ยังสามารถเขียน ไดในลักษณะที่แตกตางกัน 3. ในการออกแบบตัวอักษรใหเหมือนกับตัวอักษรจีนเลยนั้นเปนเรื่องที่ยากมาก เพราะ ภาษาจีนกับภาษาไทยนั้นมีความแตกตางกันอยูมาก จึงตองคํานึงถึงโครงสรางของอักษรไทยเปน หลัก และนําเอาเพียงเอกลักษณบางสวนจับมาอยูในผลงานเพื่อคํานึงถึงความสามารถในการอาน ไดเปนสําคัญ 4. ผูออกแบบใชโปรแกรมอิลลัสเตรเตอร เปนเครื่องมือในการสรางตัวพิมพ เพราะเปน โปรแกรมที่มีความสามารถในการสรางภาพแบบเวกเตอร ซึ่งไมสงผลใหรายละเอียดของตัวพิมพ ลดลง ในการเพิ่มขนาดหรือลดขนาด


69

5. ขั้นตอนการออกแบบไดรวบรวมขอมูล วิเคราะห ปรับปรุง พัฒนาและสรุปผลเปน แนวทางในการกําหนดรูปลักษณของแบบตัวพิมพที่ประดิษฐขึ้นใหม โดยเริ่มตนจากรางแบบราง เพื่อคัดเลือกแบบที่เหมาะสม และปรับปรุงแกไขตามที่อาจารยที่ปรึกษาแนะนํา 6. เมื่อปรับปรุงแกไขเรียบรอยแลวนําไปสรางตัวพิมพในโปรแกรมอิลลัสเตรเตอรจาก แบบที่ เ ลื อ กไว แ ละปรั บ ปรุ ง แก ไ ขตามขั้ น ตอนที่ อ าจารย ที่ ป รึ ก ษาแนะนํ า จนได ตั ว พิ ม พ แ บบ สมบูรณ 7. ผลงานโครงการพิเศษฉบับนี้ อักขระตัวพิมพที่ออกแบบเสร็จสมบูรณนั้นมีรูปแบบที่ แปลกใหม มีความเปนเอกลักษณเฉพาะตัวที่สามารถใชในงานออกแบบสิ่งพิมพหรืองานออกแบบ ประเภทอื่น ตามความเหมาะสมของผูที่สนใจ อภิปรายผล และขอเสนอแนะ อภิปรายผล 1. ผลงานการออกแบบอักขระตัวพิมพภาษาไทยและภาษาอังกฤษโดยมีรูปแบบอักษรจีน ผานการประเมินและพิจารณาจากอาจารยหฤษฎ บุปผเวส แลววามีความเปนเอกลักษณเฉพาะตัว โดยการผสมผสานความเปนอักษรจีนเขามาทําแบบตัวพิพมมีความนาสนใจ และสารมารถนําไปใช ในงานออกแบบสื่อสิ่งพิมพ หรืองานออกแบบประเภทอืน่ ที่ชวยสงเสริมใหตัวพิมพสามารถเขาถึง กลุมเฉพาะได 2. จากการประเมินผลโครงการพิเศษการออกแบบอักขระตัวพิมพภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษโดยมีรูปแบบอักษรจีน สามารถนําอักขระตัวพิมพไปใชเปนหัวเรื่อง หัวขอ ตัวนํา ขอความ และตัวเนื้อเรื่องได ขอเสนอแนะ 1. การออกแบบในครั้งตอไปสามารถนําเอกลักษณอื่นของตัวอักษรจีน มาออกแบบ สรางสรรคใหเปนผลงานการออกแบบอักขระตัวพิมพขึ้นใหมได เชน วิธีการเขียนแบบจวนซู ซึ่ง จะทําใหผลงานมีความนาสนใจไปอีกแบบ 2. สามมารถนําแบบรางที่รางไวมาพัฒนาและปรับปรุงจะสามารถสรางอักขระตัวพิมพได อีกหลายรูปแบบ 3. นําไปพัฒนาเพื่อใหสามารถใชงานไดจริงในคอมพิวเตอร 4. ออกแบบอักขระตัวพิมพเพิ่มใหไดเปน Font Family โดยมีใหครบทั้งชุด


เอกสารอางอิง กําธร สถิรกุล. (2512). ตัวอักษรไทยที่ใชในการพิมพ. รวมการบรรยายเรื่องตัวอักษรไทย. ___________________. (2530). ลายสือไทย 700 ป (ฉบับปรับปรุง). องคการคาของคุรุสภา. กําธร สุนพงษศรี. ประวัติศาสตรศิลปะจีน. สํานักพิมพจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย. ขาม จาตุรงคกุล. (2545). การออกแบบตัวอักษรและภาพสําเร็จรูปในรูปแบบเลขศิลปอีสาน วิทยานิพนธศลิ ปะมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร. ั นาการการสรางอักษรจีน. ศิลปวัฒนธรรม. ปที่ 29 ฉ. 11, ถาวร สิกขโกศล. (2551, กันยายน). วิวฒ 163 – 169. ธนิศา ไชยภูรพิ ัฒน. (2545). Illustrator 10 จิตรกรดิจิตอล. กรุงเทพมหานคร: เอ. อาร. อินเฟอรเม ชัน แอนด พับลิเคชัน จํากัด. น. ณ ปากน้ํา. (2530). ศิลปะจีนและคนจีนในไทย. สํานักพิมพเมืองโบราณ นายเหล็ง. (2527). เรื่องนารูในอักษรจีน. กรุงเทพมหานคร: นานมี จํากัด. บานและตกแตง. (2542). เขียนอักษรใหเปนศิลป. ปที่ 11 เลมที่ 128, 88 – 93. ปริญญา โรจนอารยานนท. ฟอนตไทยที่ดคี วรมีคุณสมบัติอยางไร. [Online]. Available: http://www.f0nt.com/forum/index.php?topic=1382.0 [2552, มิถุนายน 14]. ผูจัดการออนไลน. (2552). วิวัฒนาการของตัวอักษรจีน. [Online]. Available: http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=4735454995035 [2552, กรกฎาคม 6]. ภูริวรรณ วรานุสาสน. (2547, มกราคม). ศิลปะปลายพูก ัน..ศิลปะแหงจิตวิญญาณ. Open House, ป ที่ 1 (2) ฉ. 7 (34), 92 – 93. ภูริวรรณ วรานุสาสน. (2547, กุมภาพันธ). การเขียนพูกนั จีน. Open House, ปที่ 1 (2) ฉ. 8 (34), 84 – 85. มนูญ ไชยสมบูรณ. (2539). ตัวอักษรและตัวพิมพ. ในเอกสารการสอนชุดวิชาการออกแบบทางการ พิมพ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัย. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2548). เอกสารการสอนชุดวิชาความรูทั่วไปเกี่ยกับการพิมพ. โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ไมเคิล ไรท. (2547, กันยายน). ความเปนมาของอักษรไทย. ศิลปวัฒนธรรม. ปที่ 25 ฉ. 11, 30 – 32.


71

ราชบัณฑิตยสถาน. (2550). มาตรฐานโครงสรางตัวอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร: อรุณการพิมพ. ___________________. (2532). ศัพทบัญญัติวิชาการพิมพ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร: ชวนการพิมพ. วงศประชา จันทรสมวงศ และมานิต เจริญปรุ. (2545). คัมภีร Photoshop 7 & ImageReady 7. กรุงเทพมหานคร: โปรวิชั่น จํากัด. วรพงศ วรชาติอุดมพงศ. (2545). อักษรประดิษฐ Lettering Design. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ ศิลปาบรรณาคาร. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2552). ไทยเชื้อสายจีน. [Online]. Available: http://th.wikipedia.org/wiki/ไทยเชื้อสายจีน [2552, ธันวาคม 1]. ___________________. (2552). ประวัตศิ าสตรจีน. [Online]. Available: http://th.wikipedia.org/wiki/ประวัติศาสตรจีน [2552, ธันวาคม 1]. ___________________. (2552). อะโดบี โฟโตชอป. [Online]. Available: http://th.wikipedia.org/wiki/อะโดบี_โฟโตชอป [2552, ตุลาคม 6]. ___________________. (2552). อะโดบี อิลลัสเตรเตอร. [Online]. Available: http://th.wikipedia.org/wiki/อะโดบี_อิลลัสเตรเตอร [2552, ตุลาคม 6]. สนั่น ปทมะทิน. (2513). การเรียงพิมพ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร สมบูรณ ดรุณศิลป. (2541). ออกแบบตัวอักษรไทย. นครสววรค: กราฟกเปเปอร. สมยศ ศิลวัฒนาวงศ. (2527). การออกแบบตัวอักษรไทยใหมีลักษณะสอดคลองกับภาษาอังกฤษ ชุด ISBELL. ศิลปะนิพนธศิลปบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร. โสภณ ศุภวิริยากร. (2541). การออกแบบตัวอักษร. ภูเก็ต: วิทยาลัยภูเก็ต. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี. (2550). ศิลปะจีน. แปลน พริ้นติ้ง. โสรชัย นันทวัชรวิบูลย. (2545). Be Graphic สูเสนทางกราฟกดีไซเนอร. เอ. อาร. อินเฟอรเมชัน แอนด พับลิเคชัน จํากัด อารยะ ศรีกัลยาณบุตร. (2550). การออกแบบสิ่งพิมพ. วิสคอมเซ็นเตอร จํากัด. Andrew S. Cahan. (2006). Chinese Label Art, 1900 – 1976. Atglen, PA: Schiffer Pubblishing Ltd. Cgan.net. (2009). 隸書. [Online]. Available: http://www.cgan.net/book/books/print/g-history/gb_9/03_2.htm [2009, June 17].


72

Cyberwitchcraft.com (2009). Cuneiform. [Online]. Available: http://www.cyberwitchcraft.com/image-files/cuneiform-2.jpg [2009, June 4]. Edo Smitshuijzen. (2007). Signage Design Manual. Baden: Lars Müller Publishers. Freehead.com. (2009). 行書. [Online]. Available: http://blog.freehead.com/attachments/2007/07/117528_200707081805101.jpg [2009, June 17]. G27. (2009). What Is A Type. [Online]. Available: http://g27plugcula.blogspot.com/2008/03/what-is-type.html [2009, June 6]. Patrick Hassel Zein. (n.d). The Eight Basic Strokes. [Online]. Available: http://www.zein.se/patrick/chinen9p.html [2009, August 6]. Roborta H. S. and R. Nesi. (1981). China’s Crafts. London: George Allen & Unwin. Ug8888.com. (2009). 草書. [Online]. Available: http://www.ug8888.com/html/83/n-207183.html [2009, June 17]. Virginiawestern.edu. (2009). Cuneiform. [Online]. Available: http://www.virginiawestern.edu/faculty/vwhansd/HIS111/Images/Cuneiform.jpg [2009, June 4]. Wikimedia. (2009). Kind of Chinese Stroke. [Online]. Available: http://commons.wikimedia.org/wiki/File:Kind_of_chinese_stroke_bw.png [2009, June 28]. Wikipedia. (2009). Hanzi. [Online]. Available: http://zh.wikipedia.org/wiki/File:Hanzi2.png [2009, June 28]. ___________________. (2009). Writing CJK strokes. [Online]. Available: http://en.wikipedia.org/wiki/Stroke_(CJK_character) [2009, June 17]. Xbsh.net. (2009). 篆書. [Online]. Available: http://www.xbsh.net/paint/6685.html [2009, June 17]. Yellowbridge.com. (2009). Chinese – English Dictionary. [Online]. Available: http://www.yellowbridge.com/chinese/chinese-dictionary.php [2009, June 28]. Zqgslzp.blog.163.com. (2009). 楷書. [Online]. Available: http://zqgslzp.blog.163.com/blog/static/8476912120096895533828/ [2009, June 17].


ภาคผนวก


74


75


76


77

ประวัติผูจัดทําโครงการ

ประวัติสวนตัว ชื่อ นางสาวปโยรส โชคอุดมไพศาล วัน/เดือน/ปเกิด 21/08/1986 เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ ที่อยู 139 ซอยแมนศรี 2 ถนนบํารุงเมือง แขวงคลองมหานาค เขตปอมปราบ กรุงเทพมหานคร 10100 ประวัติการศึกษา - ระดับประถมศึกษาปที่ 1 – 6 สําเร็จการศึกษาจาก โรงเรียนเผยอิง - ระดับมัธยมศึกษาตน – ปลาย สําเร็จการศึกษาจาก โรงเรียนสายปญญาในพระบรมราชินูปถัมภ - ระดับปริญญาตรี สําเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต ศูนยสุพรรณบุรี หลักสูตรศิลปศาสตร บัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบสื่อสิงพิมพ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.