P O R T F O / L I O
THE BLUE ANGEL จ�ำกัดกรอบความเป็น มนุษย์ละครเวที “The Blue Angel” มนุษย์ไม่เคยหลุดพ้นจาก “กรอบ” ไม่ว่าจะเป็นกรอบของ “ตัวตน” หรือ “สิ่ง ปลูกสร้าง” ก็ล้วนแต่บีบรัดให้แคบและจมดิ่งลง กลายเป็นความเศร้าที่น่าขบขันประการหนึ่ง
ใบปิดประกาศ ภาพยตร์เรื่อง Der blaue Engel โดยผู้กำ�กับ Josef von Sternberg
ค�ำอธิบายพร้อมรูปภาพทีถ ่ ก ู แนบ ชือ ่ แจ้งเตือนเข้ามาในเว็บไซด์ชอ ื่ ดังอย่าง facebook เชิญชวนให้ผู้สนใจไปชม ละครเวทีของนายรัชชา สถิตทรงธรรม หรือทีน ่ ก ั ศึกษาส่วนใหญ่รจ ู้ ก ั กันในนาม เนยอิ น ดี้ แสดงในวั น จั น ทร์ ที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เวลา ๑๙.๐๐ น. เ พี ย ง แ ค ่ ค� ำ อ ธิ บ า ย สั้ น ๆ แ ล ะ รู ป ประชาสัมพันธ์ก็ท�ำให้รู้สึกว่าละครเวที เรื่องนี้น่าสนใจ
โปสเตอร์ละครเวที “the blue angel“ โดยนักศึกษาเอกการละ คอน
เป็ น ภาพชิ น ตาของนั ก ศึ ก ษาใน ค ณ ะ ที่ จ ะ ไ ด ้ ยิ น เ สี ย ง เ รี ย ก ข า น ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ซื้อบัตรละคร เวทีของนักศึกษาเอกวิชาละคร บริเวณ ลานใต้ตึก ๕๐ ปี คณะอักษรศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร วิ ท ยาเขต พระราชวั ง สนามจั น ทร์ ก ้ อ งไปทั่ ว บริเวณ เรียกความสนใจให้ผู้คนที่เดิน ผ่านไปมาอดไม่ได้ทจ ี่ ะเหลียวมองและให้ ความสนใจซึ่งราคาบัตรก็ไม่ได้แพงจน เกินไปเพียง ๕๙ บาทเท่านั้น
“Der blaue Engel (นางฟ้ า สีน�้ำเงิน)” ภาพยนตร์สัญชาติเยอรมัน ก� ำ กั บ การแสดงโดย Josef von Sternberg สร้างแรงบันดาลใจให้แก่ นั ก ศึ ก ษาชายคนหนึ่ ง น� ำ เรื่ อ งราวมา เสนอใหม่ผ่านมุมมองของเขาในรูปแบบ ของละครเวที “The blue angel”
ท ้ อ ง ฟ ้ า ย า ม เ ย็ น ใ น บ ริ เ ว ณ พระราชวังเริม ่ ทอแสงส้มระเรือ ่ ความมืด ก�ำลังคืบคลานเข้ามาจนปกคลุมไปทัว ่ ผืน ฟ้า แต่ถึงกระนั้นบริเวณหน้าโรงละคร วัชรนาฏยสภา (A4) ยังคงคลาคล�่ำไป ด้วยเหล่านักศึกษา อาจารย์และคนทัว ่ ไป ที่ก�ำลังยืนรอให้ถึงเวลาการแสดงด้วย ใบหน้ า เปื ้ อ นยิ้ ม และเสี ย งพู ด คุ ย จอแจ ตลอดบริ เ วณ การแสดงเริ่ ม ต้ น เวลา ๑๙.๐๐ น. ประตูโรงละครนั้นเปิดก่อน เวลาแสดงประมาณ ๑๕ นาทีพร้อมทั้ง แจกใบสูจิบัตรให้แก่ผู้เข้าร่วมชม บรรดา ผู้ชมส่วนใหญ่เร่งเดินเข้าไปจับจองที่นั่ง ท�ำให้ดา้ นหน้าเวทีถก ู จับจองจนเต็มเหลือ เพี ย งด้ า นหลั ง เท่ า นั้ น ความเย็ น ของ อากาศและไฟสลัวๆภายในโรงละครช่วย ขัยให้บรรยากาศในโรงละครนั้นดูมีมนต์ ขลัง ผู้ชมทยอยกันเข้ามาจับจองที่นั่งจน เกือบเต็มบริเวณ ผ่านไปจนได้เวลาไฟใน ห้องก็ค่อยๆดับลงจนสนิทปล่อยให้ทุก สิง ่ ทุกอย่างในโรงละครเหลือเพียงความ เงียบเข้ามาปกคลุม
เพียงชั่วอึดใจแสงไฟสีนวลค่อยๆ ส่องสว่างขึน ้ กลางเวทีขบ ั ให้นก ั แสดงชาย ในชุดสูทสีเข้มเด่นออกมาจากความมืด ของฉากหลัง “อย่างนี้เองหรือ สิ่งนี้เอง ที่เป็นกรอบคอยล้อมและบีบอัดตัวผมไม่ ให้มโี อกาสได้ตน ื่ ขึน ้ มามีชว ี ต ิ อยู่ แล้วทีผ ่ ม เป็นอยู่ทุกวันนี้คืออะไร มันคืออะไรกันที่ ท�ำให้ผมปวดร้าวเช่นนี้” แสงไฟค่อยๆหรี่ ลงพร้อมกับเสียงปรบมือโห่รอ ้ งของผูค ้ น ผสมกั บ เสี ย งหั ว เราะอย่ า งเย้ ย หยั น ค่อยๆดังขึ้นพร้อมกับแสงไฟที่ส่องสว่าง ขึน ้ อีกครัง ้ เผยให้เห็นภาพนักแสดงชายคน เดิมในชุดตัวตลกก�ำลังยืนอยูบ ่ นใจกลาง เวทีกับเสียงหัวเราะ ปรบมือโห่ร้องที่ไม่ ได้จางหายไป ฉับพลันก็เกิดเสียงๆหนึ่ง ดังขึ้นแล้วไฟก็ดับลง
ฉากศาสตราจารย์ สวมชุดตัวตลก ใน ภาพยนตร์ Der blaue Engel (1930) รับบทโดย Emil Jannings
ฉากของเรื่ อ งเปลี่ ย นเป็ น ฉากใน โรงเรียนที่ซึ่งนักแสดงชายคนเดิมได้เป็น ศาสตราจารย์อยู่ที่นี่ เขาได้เข้าไปสอน อย่างปกติแต่วัน นี้ต ่างออกไปนักเรีย น หายไปเกือบครึ่งชั้นเรียน และเมื่อเขารู้ สาเหตุ ที่ เ ด็ ก ขาดเรี ย นไฟในเวที ก็ ดั บ ลง เป็ น เปลี่ ย นฉากในผั บ ที่ มี ชื่ อ ว่ า “Blue angel” และที่นี่เองท�ำให้ชายหนุ่มได้พบ กับหญิงสาวรูปงาม นักร้องประจ�ำร้าน นามว่า โลลา เธอผู้ที่เปลี่ยนเขาไปตลอด กาล ศ า ส ต ร า จ า ร ย ์ พ ลั้ ง เ ผ ล อ แ ล ะ เคลิบเคลิม ้ ไปกับสัมผัสจาบจวงของโลลา คลิปวิดโี อความสัมพันธ์ของเขาทัง ้ คูห ่ ลุด ออกมาเข้าสู่สายตานักเรียนของเขา
ศาสตราจารย์ และโลลา ใน ภาพยนตร์ Der blaue Engel (1930) รับบทโดย Emil Jannings และ Marlene Dietrich
นั่นท�ำให้เขารู้สึกอับอายไม่กล้าสู้หน้าใคร แต่ถึงอย่างนั้นเขาก็ยังแสดงความรับผิด ชอบต่อโลลา ความสัมพันธ์ระหว่างคนทัง ้ สองใน คราแรกก็ดูว่าจะด�ำเนินไปด้วยดี แต่ ไ ม่ นานเมือ ่ มีชายแปลกหน้าเข้ามาในร้านทีทา่ ของเขาที่มีโลลาราวกับทั้งคู่เคยสนิทสนม กั น เป็ น อย่ า งดี ท� ำ ให้ ศ าสตรจารย์ รู ้ สึ ก อับอายอีกครัง ้ ทีภ ่ รรยาของตัวยินยอมให้ ชายอื่ น แตะเนื้ อ ต้ อ งตั ว อย่ า งง่ า ยดาย สุดท้ายก็จบลงที่การทะเลาะกัน
ละครด�ำเนินเรื่องต่อมาจนใกล้จะ
ถึงจุดจบเมื่อโลลาเสนอให้ศาสตราจารย์ ร่วมแสดงเป็นตัวตลก แต่เขากลับคิดว่า ไม่มีสมเกียรติอาชีพของเขาทั้งๆหลังจาก เหตุการณ์คลิปวิดีโอหลุดออกไปเขาก็ไม่ เคยกลับไปท�ำงานอีกเลยท�ำให้เขาและเธอ มีปากเสียงกันอีกครั้ง ครานี้โลลาระงับ ความโกรธไม่ไว้จึงเอ่ยไปด้วยความโทสะ ว่า ถ้าเขายังเลือกที่จะปฏิเสธงานชิ้นนี้ไม่ ท� ำ อ ะ ไ ร น อ ก จ า ก จิ บ ก า แ ฟ แ ล ะ อ ่ า น หนังสือพิมพ์ไปวันๆ เธออาจจะเลิกกับเขา ก็ เ ท่ า นั้ น เองแล้ ว แสงสว่ า งค่ อ ยๆหรี่ ล ง พร้อมกับภาพที่ชายหนุ่มก�ำลังจ้องมอง แล้ ว ร� ำ พึ ง กั บ ตั ว เองก่ อ นจะลุ ก ขึ้ น สวม หน้ากากและวิกผมตัวตลกแล้วไฟก็ดบ ั ลง
เมื่อแสงสว่างค่อยๆสาดไปยังเวที อี ก ครั้ ง ภาพของนั ก แสดงชายคนเดิ ม ค่อยๆปรากฏขึ้นในชุดของตัวตลก ฉาก หลังของเขาเป็นภรรยากับชายหนุม ่ อีกคน ก�ำลังจูบกัน เบื้องหน้าของตัวตลกค่อย เสียงหัวเราะโห่รอ ้ งจากทุกคนทีภ ่ ายเข้ามา ในชีวิตเขา ช่วงเวลาสุดท้ายของละครเวที บี บ คั้ น ให้ ผู ้ ช มรู ้ สึ ก ราวกั บ เหตุ ก ารณ์ นี้ ก�ำลังเกิดขึ้นกับตน เสียงหัวเราะค่อยๆ ก้องขึ้นเรื่อยๆ ท้ายที่สุดแล้วชายหนุ่มใน ชุดตัวตลกก็ทนไม่ไหว เสียงเหล่านี้ก�ำลัง เล่นวนซ�้ำอยู่ในห้วงความคิดของเขา ฉับ พลั น ราวกั บ ว่ า เขากลายร่ า งเป็ น ปี ศ าจ ร้าย บ้าคลั่ง ท�ำลายและอาละวาด
ผู้ก�ำกับ, นักแสดง และเหล่าทีมงาน ในละครเวที “the blue angel“ โดยนักศึกษาเอกการละคอน
{
ทุกสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ล้วน เ กิ ด จ า ก ก า ร ที่ มนุ ษ ย์ พ ยายาม สร้างกรอบอันเกิด จากความคาดหวัง ที่ ค ่ อ ยๆบี บ รั ด ให้ ต้องจมอยูก่ บั กรอบ แห่งความระทม
ทุกอย่างทีข่ วางหน้าและทุกสิง ่ ทุกอย่าง ได้ดบ ั สูญลงเพียงชัว ่ เพียงตา ความเงียบ ค่อยๆเข้ามาปกคลุมโรงละครอีกครั้ง พร้อมมามืดมิด ชัว ่ อึดใจไฟก็คอ ่ ยๆสว่าง เผยให้เสียงหน้ากากและวิกผมฟูที่กอง อยู่บนพื้นเวที เสี ย งปรบมื อ กึ ก ก้ อ งดั ง ขึ้ น เมื่ อ การแสดงจบลง แสงไฟเปิดสว่างขึ้นดึง ให้คนดูได้กลับเข้ามาสูโ่ ลกของความเป็น จริง ผูก ้ ำ� กับก้าวออกมาพร้อมทัง ้ กล่าว แนะน� ำ บรรดานั ก แสดงเดิ น เรี ย งแถว ตามกันออกมาหน้าเวที โค้งต่อหน้าผูช้ ม
เสี ย งปรบมื อ ยั ง คงดั ง ต่ อ เนื่ อ งจน กระทัง ่ ผูช้ ว ่ ยผูก ้ ำ� กับและเหล่าทีมงานคน สุ ด ท้ า ยเดิ น ออกมาก ละครเวที เ รื่ อ ง “The blue angel” ได้จบลงแล้ว และก่อนทีจ ่ ะจากการผูก ้ ำ� กับการ แสดงได้ฝากไว้วา่ “กรอบทุกกรอบล้วน มีความทุกข์เศร้าแฝงเร้นและความทุกข์ เศร้ า เหล่ า นั้ น มั ก จะมี ค วามตลกร้ า ย ปะปนมา เพราะทุกสิ่งที่เกิดขึ้นล้วนเกิด จากการที่มนุษย์พยายามสร้างกรอบ อั น เกิ ด จากความคาดหวั ง ที่ ค ่ อ ยๆ บีบรัดให้ต้องจมอยู่กับกรอบแห่งความ
ระทม”
ประทับใจบทบาทของนักแสดง
โดยเฉพาะท่านศาสตราจารย์ที่ สามารถถ่ายทอดความรู้สึกของ คนที่ เ อาแต่ อ าศั ย อยู ่ ใ นกรอบ แคบๆที่ไม่เคยยอมผ่อนปรนหรือ เปลีย่ นแปลงจน สุดท้ายก็ตอ้ งสูญ เสียความเป็นตัวเองเพราะกรอบ ทีต่ วั เองสร้างไว้ บีบตัวของเขาเอง ศศิประภา ด�ำสาคร - นักศึกษาปีที่ ๓ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
}
ความรู้สึกของผู้ชมในขณะนั้นคงเป็นความรู้สึกที่ไม่ สามารถบรรยายออกมาได้ เป็นความรู้สึกหดหู่ สงสาร และเศร้าสลดใจกับจุดจบของตัวละครหลักอย่างศาสตรา จารย์พร้อมๆกัน การแสดงที่จบลงไปได้ทิ้งความรู้สึกและ สร้างค�ำถามให้ผชู้ มได้ฉก ุ คิดว่า บางครัง ้ เราเองก็ยด ึ ติดกับ ค�ำว่ากรอบมากเกินไปหรือเปล่า ตลอดเวลาเกือบสองชัว ่ โมงของการแสดงละครเวที เรื่อง “The blue angel” ผู้ชมทุกคนสามารถสัมผัสได้ถึง ความมุ ่ ง มั่ น และความตั้ ง ใจของนั ก แสดงที่ ต ้ อ งการจะ ถ่ า ยทอดความเป็ น ตั ว ละครนั้ น ๆออกมาผ่ า นน�้ ำ เสี ย ง สีหน้า แววตาและท่าทาง ตลอดจนความร่วมมือของทีม งานที่จัดฉาก เสียงและแสงล้วนมีส่วนท�ำให้การแสดงใน ครั้งนี้ตราตรึงอยู่ในความทรงจ�ำของผู้ชม ศศิ ป ระภา นั ก ศึ ก ษาปี ที่ ๓ คณะอั ก ษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ก็เป็นอีกคนที่ได้เข้าชมละครเวที เรื่องนี้ เธอกล่าวว่า “รู้สึกประทับใจบทบาทของนักแสดง โดยเฉพาะท่านศาสตราจารย์ที่สามารถถ่ายทอดความ รู้สึกของคนที่เอาแต่อาศัยอยู่ในกรอบแคบๆที่ไม่เคยยอม ผ่อนปรนหรือเปลีย ่ นแปลงจน สุดท้ายก็ตอ ้ งสูญเสียความ เป็นตัวเองเพราะกรอบทีต ่ ว ั เองสร้างไว้ บีบตัวของเขาเอง” เมือ ่ ละครเวทีจบลงผูค ้ นพากันทยอยออกมาจากโรงละคร วัชรนาฏยสภา (A4) บรรยากาศวุ่นวายกลับมาอีกครั้ง บ้างก็อยู่รอถ่ายรูปกับนักแสดง บ้างก็รอมอบดอกไม้เป็น ก�ำลังใจช่างเป็นภาพทีด ่ แู ล้วรูส ้ ก ึ อิม ่ เอมใจ ลมหนาวพัดผ่าน กายไปอย่างแผ่วเบาค�ำพูดจากทีมงานละครเวทีเรื่องนี้ยัง คงแว่วอยู่ในหู “มนุษย์ทุกคนไม่สามารถหนีพ้นกรอบที่ ครอบตัวเราได้ เพียงแต่เราเลือกเองได้ว่าจะให้กรอบของ เรากว้างเพียงใด” III
จดหมายถึงน้อง :
๖๓ / ๓๓ ถนนเทศบาลตัด ใหม่ ภูเก็ตทาวน์ อ�ำเภอ เมือง จังหวัดภูเก็ต ๘๓๐๐๐
วันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๖ สวัสดีน้องสาวที่รัก ช่วงปิดเทอมฤดูร้อนที่ผ่านมา พี่กลับบ้านที่ จังหวัดตรังเจอคุณยายของน้องทีบ่ า้ น ท่านก�ำลังรดนำ�้ ต้นไม้อยูจ่ งึ เดินเข้าไปทักทายถามไถ่สารทุกข์สกุ ดิบกัน ไปเรือ่ ยเปือ่ ย ได้ความมาว่าน้องสนใจจะศึกษาต่อระดับ อุดมศึกษาในคณะอักษรศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยศิลปากรซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่พี่ก�ำลัง ศึกษาอยู่ คุณยายจึงฝากฝั ง น้ องไว้ กับ พี่ ว่ าให้ ช่ วย แนะน�ำน้องเกี่ยวกับการศึกษาต่อ วันนี้พี่จึงเขียน
จดหมายมาบอกเล่าเรือ่ งราวเกีย่ วกับมหาวิทยาลัยของ พี่ให้น้องฟัง เพื่อให้น้องหลงรักมหาวิทยาลัยศิลปากร แห่งนี้มากขึ้นเฉกเช่นที่พี่รัก มหาวิทยาลัยศิลปากรนัน้ ประกอบด้วยหลาก คณะหลายสาขาวิชาทั้งวิชาสายวิทยาศาสตร์และวิชา สายศิลปศาสตร์ ทั้งยังมีด้วยกันถึง ๔ วิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขตวังท่าพระ วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ วิทยาเขตบางรัก และวิทยาเขตเพชรบุรี คณะอั ก ษรศาสตร์ ต้ั ง อยู ่ ใ นวิ ท ยาเขต พระราชวังสนามจันทร์ เหตุที่เรียกว่า “วิทยาเขต พระราชวังสนามจันทร์” เพราะมหาวิทยาลัยนัน้ ตัง้ อยู่ ในเขตพระราชฐานของพระราชวั ง สนามจั น ทร์ ใ น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั หรือรัชกาลที่ ๖ ของเรานัน่ เอง นับว่าคณะอักษรศาสตร์เป็นคณะแรก ในวิทยาเขตนี้ เนือ่ งจากวิทยาเขตวังท่าพระคับแคบจน เกินไป ศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิน่ มาลากุล ซึง่ ด�ำรง ต�ำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากรในขณะนัน้ ได้ ด�ำเนินการจัดตัง้ วิทยาเขตแห่งใหม่ทสี่ นองพระราชด�ำริ ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ที่ จ ะให้ จั ง หวั ด นครปฐมเป็นแหล่งรวมของความรู้
พูดถึงพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่ หัวแล้ว ปีการศึกษานีพ้ มี่ โี อกาสได้เรียนรูเ้ กีย่ วกับพระ ราชกรณียกิจของพระองค์ในวิชาวรรณคดีในสมัย รัชกาลที่ ๖ จึงได้อ่านหนังสือ “พระอัจฉริยภาพราช ปราชญ์ : สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า” ที่มีความน่า สนใจมาก ท�ำให้เห็นว่าพระองค์ทรงเป็นพระเจ้าอยูห่ วั ที่มีความสามารถรอบด้านจากพระราชกรณียกิจไม่ ว่าจะเป็นด้านการรักษาความมัน่ คงของชาติและส่ง เสริ ม ศั ก ยภาพทางการทหาร โดยก่ อ ตั้ ง “กอง เสือป่า” และก�ำเนิดกิจการ “ลูกเสือไทย” ด้านการ ศึกษา ซึ่งพระองค์ทรงสถาปนามหาวิทยาลัยขึ้นเป็น ครั้ ง แรกในประเทศไทยนามว่ า “จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย” ซ�้ำยังส่งเสริมการสร้างโรงเรียนแทน วัด เห็นได้ว่าพระองค์นั้นทรงเล็งเห็นถึงความจ�ำเป็น ของการศึกษา ด้านการปกครอง ในสมัยรัชกาลที่ ๖ เท่าที่น้องก็ทราบดีว่าประเทศไทยได้เปลี่ยนการ ปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็น ระบอบประชาธิปไตยในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ พระองค์ก็ ทรงเป็นผูว้ างรากฐานระบอบประชาธิปไตยโดยให้ขา้ ราชบริพารของพระองค์ทดลองการสมมติอย่างค่อย เป็นค่อยไปในชื่อ “ดุสิตธานี” หรือไม่ว่าจะเป็นด้าน ศาสนา วรรณกรรม ภาษา งานหนังสือพิมพ์ ศิลปะ และวัฒนธรรมก็แล้วแต่ก็เต็มไปด้วยผลงานต่างๆ ของพระองค์ แต่ มี พ ระราชกรณี ย กิ จ อย่ า งหนึ่ ง ของ พระองค์ที่พี่ให้ความสนใจเป็นอย่างมาก และอยาก จะบอกเล่ า ให้ น ้ อ งได้ รั บ ฟั ง นั่ น ก็ คื อ การสร้ า ง
พระราชวังสนามจันทร์ อาจเป็นเพราะมหาวิทยาลัย ศิ ล ปากรที่ พี่ ศึ ก ษาอยู ่ ใ นปั จ จุ บั น นี้ ตั้ ง อยู ่ ใ นเขต พระราชวังสนามจันทร์ท�ำให้พใี่ ห้ความสนใจถึงความ เป็นมาของสถานที่แห่งนี้ แต่แท้จริงแล้วนั้นเพราะ ความสง่าสวยงามของตัวพระราชวังเองทีเ่ ป็นเหตุผล หลักให้พี่อยากจะกล่าวถึงให้น้องฟัง “จากการที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชด�ำเนินมานมัสการและ ปฏิสงั ขรณ์องค์พระปฐมเจดีย์ (ซึง่ นีก่ เ็ ป็นหนึง่ ในพระ ราชกรณียกิจที่ส�ำคัญของพระองค์ด้านศิลปะและ วั ฒ นธรรม) ท�ำให้ พ ระองค์ ไ ด้ ท อดพระเนตร ภูมปิ ระเทศของจังหวัดนครปฐม และทรงโปรดปราน เป็นอย่างยิ่ง จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้จัด ซือ้ ทีด่ นิ ห่างออกไปทางทิศตะวันตกขององค์พระปฐม เจดีย์เพื่อสร้างพระราชวังสนามจันทร์ด้วยพระราช ทรั พ ย์ ส ่ ว นพระองค์ อาคารและสิ่ ง ก่ อ สร้ า งใน พระราชวังสนามจันทร์ดังกล่าวล้วนมีความงดงาม และมีลกั ษณะเฉพาะตัวทีน่ า่ สนใจซึง่ ท�ำให้พระราชวัง สนามจั น ทร์ เ ป็ น พระราชวั ง ที่ มี ค วามงดงามทาง สถาปัตยกรรมอย่างยิง่ นอกจากนีพ้ ระองค์จะทรงใช้ พระราชวังเป็นทีแ่ ปรพระราชฐานแล้ว ยังทรงใช้เป็น ที่ว่าราชการเลี้ยงรับรองพระราชอาคันตุกะทั้งชาว ไทยและต่างประเทศ ทรงใช้เป็นค่ายหลวงเพื่อซ้อม รบเสือป่า (พระราชกรณีย์ด้านการทหารที่พี่ได้เขียน บอกไว้ข้างต้น) และฝึกหัดพลเมืองให้รู้จักป้องกัน ประเทศ รวมทั้งยังเป็นสถานที่ที่ทรงพระราชนิพนธ์ วรรณกรรมหลายเรื่องด้วย” .. พี่แทบจะคัดลอก
พระราชวัง และยังมีบริการให้อาหารสัตว์ในเขตพระ ราชฐานทั้งปลา หรือเป็ดที่เลี้ยงไว้ด้วย พระราชวัง สนามจันทร์จึงเป็นสถานที่ที่รวมตัวกันของผู้คนทุก เพศ ทุกวัย ในจดหมายฉบับนีด้ ว้ ยจุดประสงค์คอื พีอ่ ยาก ให้นอ้ งหลงรักสถานศึกษามากขึน้ และเป็นแรงบันดาล ใจให้น้องตั้งใจเพื่อจะเข้ามาเรียนที่นี่ได้นั้น พี่จะพา น้องทัวร์พระราชวังสนามจันทร์ผ่านตัวอักษร รอวัน ให้ น ้ อ งได้ ม าเดิ น เที่ ย วเล่ น ชมด้ ว ยตนเองในฐานะ นักศึกษาคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ก้าวแรกทีเ่ ดินเข้าไปในพระราชวังสนามจันทร์ เราจะรับรู้ถึงความสดชื่นและความร่มรื่นของแมกไม้ ทันที บริเวณพระราชฐานกว้างมากทีเดียวถ้าจะเดิน ให้รอบและสังเกตโดยทั่วก็กินเวลานานทีเดียว ปกติ แล้วพี่มักจะมาที่นี่เพื่อเล่นแบดมินตันกับเพื่อน หรือ ไม่ ก็ ใ ห้ อ าหารปลา รวมทั้ ง พี่ ยั ง เคยมาถ่ า ยรู ป ใน ภาพ : หมายเลขสมาชิก 1718055 ที่มา : https://pantip.com/topic/32694928
บทความทั้งหมดในหนังสือลงมาให้น้องอ่าน เป็น เพราะพี่อยากให้น้องทราบถึงความเป็นมาของพระ ราชสนามจันทร์ได้ชัดเจนที่สุด และด้วยความที่พระเจ้าอยู่หัวพระองค์ทรง พระปรีชาสามารถด้านวรรณกรรมเป็นอย่างมากดังนัน้ พระที่นั่ง พระราชต�ำนักก็ได้พระราชทานนามไว้อย่าง ไพเราะคล้องจองว่า พระที่นั่งพิมานปฐม พระที่นั่ง อภิรมย์ฤดี พระทีน่ งั่ วัชรีรมยา พระทีน่ งั่ สามัคคีมขุ มา ตย์ ปราสาทศรีวิไชย (ไม่ได้สร้าง) เทวาลัยคเณศร์ ศาลาธรรมุเทศน์โอฬาร (ไม่ได้สร้าง) เทวาลัยคเณศร์ ศาลาธรรมุ เ ทศน์ โ อฬาร (ไม่ ไ ด้ ส ร้ า ง) พระที่ นั่ ง ปาฏิหาริย์ทัศไนย พระต�ำหนักชาลีมงคลอาสน์ พระ ต�ำหนักมารีราชรัตบังลังก์ พระต�ำหนักทับแก้ว และ พระต�ำหนักทับแก้ว น้องลองอ่านออกเสียงดูจะรู้สึก ถึงความไพเราะมากยิง่ ขึน้ ไม่เพียงแค่นพี้ ระองค์ยงั ทรง โปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานโยงแห่งแรก ณ ที่นี้ด้วย คือ สะพานจักรียาตรา และ สะพานรามประเวศน์ และยังมีสะพานคอนกรีตอีก ๒ สะพานคือ สะพาน นเรศวรจรลี และ สะพานสุนทรถวาย พระราชวังสนามจันทร์ในปัจจุบันกลายเป็น สถานที่พักผ่อนหย่อนใจของนักศึกษามหาวิทยาลัย ศิลปากร รวมทัง้ ชาวนครปฐมด้วย บางคนมาเพือ่ ออก ก�ำลังกายในตอนเช้าหรือยามเย็น ไม่วา่ จะวิง่ เดิน เล่น แบดมินตัน หรือพาสุนัขตัวโปรดมาวิ่งเล่น บางคนก็ แบกกล้ อ งตั ว โปรดมาถ่ า ยรู ป ความสวยงามของ
พระราชวังสนามจันทร์เพื่อส่งเป็นผลงานในรายวิชา สมัยนั้น จะต้องมียศฐาชั้นเจ้าคุณขึ้นไป หรืออาจเป็น ตอนปี ๑ ด้วย ท�ำให้พี่เห็นหลายมุมที่สวยงามของ ชั้นเจ้านายก็เป็นได้ที่คิดจะปองร้ายพระเจ้าอยู่หัว ย่า พระราชวัง เหลจึงปกป้องเจ้านายด้วยการเสียสละตายแทน สถานทีแ่ ห่งแรกทีส่ ะดุดตาทุกคนทีเ่ ข้าชมเลย ถัดไปก็จะเป็น พระทีน่ งั่ พิมานปฐม พระทีน่ งั่ คือ พระต�ำหนักชาลีมงคลอาสน์ มีลักษณะคล้าย องค์นี้ใช้เป็นที่ประทับ ที่ทรงพระอักษร ที่รับรองพระ ปราสาทขนาดย่อม ดัดแปลงให้เหมาะสมกับสภาพดิน ราชอาคันตุกะ และทีอ่ อกให้ราษฎรเข้าซึง่ นับว่ามีความ ฟ้าอากาศในประเทศไทย ด้วยระเบียงลูกกรงและ ส�ำคัญอย่างยิง่ พระทีน่ งั่ วัชรีรมยา เป็นตึก 2 ชัน้ สร้าง ช่องลมระบายอากาศ และ พระต�ำหนักมารีราชรัต ด้ วยสถาปั ต ยกรรมแบบไทย หลั งคาซ้ อ น มี ย อด บังลังก์ ที่มีจุดเด่นคือ หลังคาทรงปั้นหยา มุงกระเบื้อง ปราสาทมุ งด้ ว ยกระเบื้ อ งเคลื อ บสี งดงามมี ช ่ อ ฟ้ า ว่าวสีแดง ทาสีแดงทั้งหลัง มีเสาไม้ ภาพ : พระตำ�หนักชาลีมงคลอาสน์ ที่มา : http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=djang67&month=09-06-2011&group=8&gblog=17 กลม ตกแต่งด้วยไม้แกะสลักเป็น ลวดลายประกอบที่ฐานและหัวเสา สองพระต�ำหนักเชือ่ มกันด้วยฉนวน ทางเดินเป็นสะพานข้ามสระนำ�้ คาด ว่าเป็นลักษณะอาคารสถาปัตยกรรม สมัยเรอเนซองส์ตอนต้น โดยรัชกาล ที่ ๖ มีแรงบันดาลพระราชหฤทัยจาก การทอดพระเนตร “ปราสาทเชอ นองโซ” (Chenonceau) ในฝรั่ง เศสที่มีสะพานเชื่อมระหว่างตัวพระ ต�ำหนักทั้งสองด้านหน้าของ พระ ต� ำ หนั ก ชาลี ม งคลอาสน์ จะเห็ น อนุสาวรียย์ า่ เหล ซึง่ เป็นรูปหล่อของ สุนัขพันทางตัวโปรดของรัชกาลที่ ๖ ที่ถูกปืนยิงตาย ด้วยว่าผู้ที่มีปืนใน
ใบระกา นาคสะดุ้ง หางหงส์ครบถ้วน มีสะพานเชื่อม ต่อกับ พระที่นั่งสามัคคีมุขมาตย์ เป็นพระที่นั่งโถง ใหญ่ ทรงใช้เป็นสถานที่จัดงานหลายอย่าง เช่น งาน สโมสรสันนิบาตเสด็จฯออกพบ ปะขุนนาง เป็นสถาน ที่ฝึกอบรมกองเสือป่า และใช้เป็นที่แสดงโขนละคร ต่างๆ ภาพ : เทวาลัยคเณศร์ ที่มา : http://indyphotographer.blogspot.com/2012/10/blog-post_1817.html
และสิง่ ส�ำคัญท้ายทีส่ ดุ ทีไ่ ม่เอ่ยถึงไม่ได้เลยคือ เทวาลัยคเณศร์ เป็นสถานที่ที่รัชกาลที่ ๖ ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเป็นศาลเทพารักษ์ และ ประดิษฐานพระคเณศร์ หรือพระพิฆเนศวร ซึ่งนับถือ ว่าเป็นเทพเจ้าแห่งความรู้ มีปัญญาเป็นเลิศ ปราด เปรือ่ งในศิลปวิทยาทุกแขนง สถานทีแ่ ห่งนีน้ นั้ นักศึกษา
มหาวิทยาลัยศิลปากรให้ความเคารพนับถือเป็นอย่าง มาก เมื่อน้องได้เข้ามาเรียนในสถานศึกษาแห่งนี้ รุ่นพี่ ก็ จ ะพาน้ อ งมากราบไหว้ พ ระคเณศร์ รวมทั้ ง พระ พิฆเนศวรเองก็เป็นสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยด้วย เมือ่ เรามองจากพระทีน่ งั่ พิมานปฐม จะเห็นว่าพระปฐม เจดีย์ เทวาลัยคเณศร์ และพระที่นั่งพิมานปฐมอยู่ใน แนวเส้นตรงเดียวกัน พีค่ งต้องจบจดหมายฉบับนีไ้ ว้เพียงเท่านี้ หวัง ว่าน้องคงมีแรงบันดาลใจในการเข้ามาศึกษาต่อใน ระดับอุดมศึกษา ณ มหาวิทยาลัยศิลปากรแห่งนี้มาก ขึ้น เริ่มหลงรักความมีเสน่ห์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ ท้ายทีส่ ดุ พีห่ วังว่าน้อง กับคุณพ่อคุณแม่จะสบายดี พี่ฝากสวัสดีพวกท่านด้วย นะจ๊ะ ปล. นี่คือเบอร์โทรศัพท์ส่วนตัวของพี่เอง : ๐๘๓ – ๔๔๒๘๒๗๘ หากมีปัญหาหรือข้อสงสัยอะไร เกีย่ วกับการศึกษาต่อก็สามารถโทรมาได้ตลอดเวลาไม่ ต้องเกรงใจ ถ้าพี่ไม่รับสายอาจเพราะติดเรียนหรือติด ธุระ พี่จะโทรกลับไปทันที
ด้วยรักและคิดถึง ศริญญา ปูขาว
แนะ - การ - เมือง เราสามารถหาหนังสือทีเ่ กีย่ วกับการเมืองได้หลากหลาย ประเภทไม่ว่าจะเป็นหนังสือในหมวดประวัติศาสตร์ หรือ หมวดรัฐศาสตร์ แต่ก็ต้องยอมรับว่าบางครั้งหนังสือเหล่านี้ ไม่ได้ดึงดูดใจผู้อ่านให้รู้สึกอยากอ่านมากนัก ดังนั้นฉันจึง เลื อ กวรรณกรรมแนวการเมื อ งที่ ห ยิ บ ยกเอาประเด็ น การเมืองต่างๆทีเ่ กิดขึน้ ในสังคมร้อยเรียงผ่านตัวอักษรอย่าง น่าสนใจมาน�ำเสนอ ได้แก่ “อาเพศก�ำสรวล” โดย วินทร์ เลียววาริณ “ขุนทอง เจ้าจะกลับมาเมื่อฟ้าสาง” โดย อัศ ศิริ ธรรมโชติ สองเรื่องนี้เป็นวรรณกรรมรวมเรื่องสั้นของนัก เขียนไทย และเล่มสุดท้ายเป็นวรรณกรรมคุณภาพที่ติด อันดับยาวนานใน New York Times เรื่อง “The Book Thief (จอมโจรหนังสือ)” โดยมาร์กัส ซูซัค หนังสือทั้งสาม เล่มเหล่านี้ไม่เพียงสอดแทรกเรื่องราวและมุมมองความคิด ของผู้เขียนเกี่ยวกับการเมือง แต่ยังเลือกใช้ถ้อยค�ำและ ส�ำนวนเสียดสีสังคมได้คมคาย รวมทั้งยังปรากฏแนวความ คิด และค่านิยมต่างๆของคนแต่ละสังคมในแต่ละยุคแต่ละ สมัย
อาเพศ กำ�สรวล “อาเพศก�ำสรวล” โดย วินทร์ เลียววาริณ เป็นวรรณกรรมที่ ได้รับรางวัลรวมเรื่องสั้นดีเด่นจากคณะกรรมการพัฒนาหนังสือแห่ง ชาติปี 2538 ในเล่มรวบรวมเรื่องสั้นที่คนเขียนกล่าวไว้ว่าเป็นเรื่องสั้น แนวทดลองทัง้ หมด 11 เรือ่ งคือ โลกีย-์ นิพาน, หมึกหยดสุดท้าย, เมือง คนบาป, อาเพศก�ำสรวล, เกม, สุนัขาธิปไตย, น�้ำสองสาย, กระดาษ ขาวกับคาวหมึก, คนแปลกหน้า: ปรัชญาที่สวนสาธารณะ, ปนานุกรม ชีวิต ฉบับชนชั้นกลางกรุงเทพฯ และ คดีมโนสาเร่ จากวรรณกรรม เรื่องสั้นทั้งหมดของวินทร์ในหนังสือเล่มนี้จะมีเพียงเรื่อง อาเพศ ก�ำสรวล และสุนัขาธิปไตยเท่านั้นที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการเมือง หลายๆคนอาจจะคุ ้ น ชิ น กั บ นามปากกานี้ มิ ใช่ น ้ อ ยเพราะ วรรณกรรมที่ มี ชื่ อ เสี ย งหรื อ ได้ รั บ รางวั ล ต่ า งๆไม่ ว ่ า จะเป็ น ประชาธิปไตยบนเส้นขนาน ผู้ชายคนที่ตามรักเธอทุกชาติ พิมพ์ครั้งที่ 85 ฝนตกขึ้นฟ้า หรือสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่าคนล้วนแล้วเป็นผลงานของวิ นทร์ เลียววารินทัง้ สิน้ แต่อย่างไรก็ตามเรือ่ งสัน้ เรือ่ งแรกๆใน “อาเพศ ก�ำสรวล” นัน้ เขาได้เขียนขึน้ ครัง้ ทีเ่ ขายังเป็นเพียงนักเขียนหน้าใหม่ ที่ น�ำเสนอการเขียนเรือ่ งสัน้ สไตล์ใหม่ทฉี่ กี ขนบการเขียนแบบเดิมๆเปีย่ ม ไปด้วยความคิดสร้างสรรค์ โดยการใช้เทคนิคและการออกแบบเข้ากับ วรรณกรรมทัง้ การจัดรูปเล่ม การน�ำเสนอเรือ่ งราว อาทิ การแบ่งเรือ่ ง ออกเป็นด้านซ้ายและขวาโดยแยกจากสีด�ำและขาวในเรื่อง โลกีย์-นิ พาน ซึ่งท�ำให้เรื่องสั้นในหนังสือเล่มนี้น่าสนใจเพิ่มขึ้น เรื่องสั้น “อาเพศก�ำสรวล” เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับหมู่บ้านแห่ง
หนึ่งที่ชื่อว่าบางจันทร์ ในหมู่บ้านมีครูคนหนึ่งสอนให้ชาวบ้านรู้จักค�ำ ว่าประชาธิปไตยและไม่สนับสนุนการขายเสียง แต่เพราะหมู่บ้าน ต้องการสร้างโรงเรียนเพื่อให้เด็กๆได้ศึกษาจึงก็ต้องเลือกระหว่างการ ไม่ซอื้ เสียงหรือการสนับสนุนการขายเสียงเพือ่ แลกกับนักการเมืองจะ สร้างโรงเรียนให้เด็กๆในหมู่บ้าน และท้ายที่สุดประชาธิปไตยใน หมูบ่ า้ นก็เลือกอย่างหลัง หลังจากนัน้ หมูบ่ า้ นก็เกิดอาเพศมีหมิ ะตกใน หมู่บ้าน และเพื่อให้หมู่บ้านกินดีอยู่ดีชาวบ้านจึงต้องซื้อเสียงเพื่อให้ นักการเมืองได้ต�ำแหน่งต่อไป และ“สุนัขาธิปไตย” ที่น�ำเสนอเรื่อง ราวของระบอบการปกครองแบบสุนขั าธิปไตยของสุนขั ทีก่ �ำลังประชุม กันในสภาเพื่ออภิปรายไม่ไว้วางใจฝ่ายรัฐบาล ในเรื่องแรกนั้นวินทร์ได้เปิดเรื่องและการปิดเรื่องที่สอดคล้อง กันได้อย่างดีถึงการกระท�ำและผลของการกระท�ำ นอกจากนั้นตัว ละครในเรือ่ งแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับประชาธิปไตยได้อย่างน่าสนใจ และส�ำหรับเรื่องสั้น “สุนัขาธิปไตย” วินทร์เสนอการเปรียบเทียบเชิง ล้อเลียนที่สมจริงโดยใช้สุนัขแทนมนุษย์ และแฝงไปด้วยบทสนทนา และพฤติกรรมของรัฐบาลสุนัขที่เสียดสีสังคมอย่างคมคาย รวมถึงใช้ ภาษาที่เข้าใจง่าย ไม่เพียงแค่เรื่องสั้นสองเรื่องนี้เท่านั้น แต่เรื่องสั้นอีก 9 เรื่องที่เหลือวินทร์ก็ท�ำออกมาได้ดี ไม่เพียงรูปแบบการน�ำเสนอที่ แปลกใหม่เท่านัน้ แต่เนือ้ หาของเรือ่ งสัน้ ทีจ่ บอย่างหักมุมรวมถึงยังฉาย ให้เห็นถึงสภาพสังคมและสภาพจิตใจของผู้คนในสังคม แม้บางตอน อาจจะดูมืดมนแต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าเกิดขึ้นจริงในสังคมไทย และวินทร์ ก็สามารถถ่ายทอดออกมาได้น่าประทับใจ
ขุนทอง เจ้ า จะกลั บ มา เมื่อฟ้ าสาง
“ขุนทอง เจ้าจะกลับมาเมือ่ ฟ้าสาง” โดย อัศศิริ ธรรมโชติ หนังสือเล่มนีเ้ ป็น วรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน พ.ศ. 2524 ซึ่งในเล่มได้รวบรวมเรื่อง สั้นที่ได้รับรางวัล “ซีไรท์” ของอัศศิริ ธรรมโชติทั้งหมด 13 เรื่องคือ เธอยังมีชีวิตอยู่ อย่างน้อยก็ในใจฉัน, ในกระแสธารแห่งกาลเวลา, ถึงคราจะหนีไกล ไปจากล�ำคลอง สายนัน้ , เมือ่ ลมฝนพัดมา, ดอกไม้...ทีเ่ ธอถือมา, เมือ่ เย็นย�ำ่ ของวันอันตราย, เสียแล้ว เสียไป, เช้าวันต้นฤดูฝน, แล้วหญ้าแพรกก็แหลกลาญ, บนท้องน�้ำ เมื่อยามค�่ำ, รถไฟ ครั้งที่ห้า, บนเส้นทางของหมาบ้า และขุนทอง…เจ้าจะกลับมาเมื่อฟ้าสาง รวมทั้ง 9 ใน 13 เรื่องสั้นนี้ได้รับการแปลเป็นฉบับภาษาอังกฤษด้วย จากวรรณกรรมเรื่องสั้นทั้งหมดของอัศศิริในหนังสือเล่มนี้จะมีเพียงเรื่อง เธอ ยังมีชีวิตอยู่ อย่างน้อยก็ในใจฉัน, ดอกไม้...ที่เธอถือมา และขุนทอง…เจ้าจะกลับมา เมือ่ ฟ้าสางเท่านัน้ ทีม่ เี นือ้ หาเกีย่ วกับการเมืองทีม่ พี นื้ ฐานจากเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ จริง ในประเทศไทย ซึ่งเรื่องสั้น “เธอยังมีชีวิตอยู่ อย่างน้อยก็ในใจฉัน และ ดอกไม้...ที่ เธอถือมา” อัศศิริได้รับแรงกระตุ้นมาจากเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ส่วน “ขุนทอง…เจ้าจะกลับมาเมื่อฟ้าสาง” นั้นได้รับแรงกระตุ้นจากเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 “เธอยังมีชีวิตอยู่ อย่างน้อยก็ในใจฉัน ” เป็นเรื่องราวของ “ผม” นัก หนังสือพิมพ์คนหนึ่งกับ “เธอ” นักศึกษาสาวมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง มันเป็นวันที่ สถานการณ์ทางการเมืองเลวร้ายลงตามล�ำดับ แต่ “ผม” ก็ท�ำกิจกรรมเฉกเช่นทุก วันท�ำหน้าที่ที่จะต้องเฝ้าสถานศึกษาที่มีคนไม่น้อยชุมนุมกัน แต่วันนี้ต่างออกไปบน ตรอกแคบที่เปลี่ยวและยาวเหยียด “เธอ” ก�ำลังวิ่งมาหยุดตรงหน้า “ผม” หลังจาก วิ่งหนีกลุ่มคนที่พยายามไล่ไม่ให้ “เธอ” ติดโปสเตอร์ พวกเขาทั้งสองได้พูดคุยกัน “เธอ” เล่าเรือ่ งราวต่างๆให้ฟงั พร้อมทรรศนะคติตอ่ สถานการณ์การเมืองก่อนจะแยก กัน “เธอ” ได้จดชือ่ และนามสกุลไว้ หลังจากนัน้ “ผม” ได้เปลีย่ นให้ท�ำหน้าทีป่ ระจ�ำ โรงพิมพ์และไม่ได้พบกับ “เธอ” อีก จนเหตุการณ์ทุกๆอย่างเข้าสู่ภาวะสงบ “ผม” ได้มีโอกาสรายงานชื่อคนตายหนึ่งในนั้นเป็นชื่อของ “เธอ” แต่ “ผม” ก็ไม่มีความ กล้ามากพอที่จะไปที่ศพของเธอ “ผม” ท�ำได้เพียงขีดทับชื่อเธอพร้อมเติมว่า “เธอ ยังมีชีวิตอยู่ อย่างน้อยก็ในใจฉัน” “ดอกไม้...ที่เธอถือมา” เป็นเรื่องราวของหญิง สาวคนหนึ่งที่บอกลาแม่เพื่อออกมาต่อสู่โดยที่ใช้อาวุธเป็น “ดอกไม้” เพียงเท่านั้น ระหว่างทางเธอพบเจอผูค้ นหลากหลาย ทุกคนให้ก�ำลังใจเธอแต่เลือกไม่ออกไปต่อสู้ กับเธอ และสุดท้ายเธอก็จากไปชั่วนิรันดร์ และ “ขุนทอง…เจ้าจะกลับมาเมื่อฟ้า สาง” เป็นเรื่องราวของเจ้าขุนทองที่จากบ้านไปตั้งแต่กลางฤดูฝนปีก่อนด้วยสองมือ ว่างเปล่าปล่อยให้แม่รอวันที่เจ้าขุนทองจะกลับมาสู่ความสุขแห่งครอบครัวก�ำลังจะ กลับมาตั้งแต่ต้นฝนเข้าพรรษา แม่จึงเตรียมข้าวของเครื่องใช้มาต้อนรับแต่สุดท้าย
ประพันธ์หลายอย่าง เช่น การเล่นค�ำ บรรยายโวหาร การใช้อุปมาอุปไมยโวหาร มีการเลือกใช้ค�ำที่กินใจ ใช้ขอ้ ความทีอ่ า่ นแล้วสะเทือนอารมณ์ในการทิง้ ท้าย ของเรื่องได้เป็นอย่างดี
“
ในมือขวาเรียวงามเปือ้ นเปรอะไปด้วยกาวเหนอะเหนียวแขน บอบบางข้างซ้ายแนบล�ำตัวไว้แน่นด้วยกระดาษใบปลิวปึก หนี่งดวงหน้างามสะอาด ไร้การตกแต่งใดๆ เกลี้ยงเกลาเฉิด ฉายอยู่ในชุดเสื้อด�ำและกางเกงยีนส์มอมแมม เธอสะพายย่ามไว้ที่ไหล่ สวมรองเท้าผ้าใบสีขาวเปื้อนฝุ่น... (อัศศิริ ธรรมโชติ 2530 : 49)
และนีเ่ ป็นบรรยายโวหารหนึง่ ในหนังสือทีฉ่ นั ชอบมากทีส่ ดุ ในหนังสือเล่มนีท้ อี่ ยากให้ผอู้ า่ นคนอืน่ ได้สมั ผัส อัศศิรไิ ม่เพียงบรรยายลักษณะของตัวละคร หญิงสาวคนหนึ่งเท่านั้นแต่เพราะ “เธอ” ในเรื่อง เป็นหนึง่ ในเหล่านักศึกษาทีต่ อ้ งตายในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 อัศศิริฉลาดในการเลือกใช้ตัวละคร เขาจงใจเลือกให้ตัวละครตัวนี้เป็น “เธอ” มากกว่า เป็น “เขา” เพื่อต้องการเปรียบภาพนักศึกษาธรรม ดาๆคนหนี่งที่บริสุทธิ์ บอบบางแต่ต้องจากไปให้ผู้ อ่านรู้สึกหดหู่ และโดยเฉพาะเรื่องสั้น “ขุนทอง…เจ้าจะ กลับมาเมือ่ ฟ้าสาง” เป็นการบอกเล่าเหตุการณ์ผา่ น วรรณกรรมของอัศศิริที่สะเทือนใจผู้อ่านอย่างมาก เพราะเป็นเหมือนบทเรียนที่ตอกย�้ำความผิดของผู้ ใช้อ�ำนาจฝ่ายรัฐว่าการท�ำร้ายจิตใจเกินเยียวยาเป็น เหมือนชนวนให้ความรุนแรงดูจะทวีขึ้น จนรากฝัง ลึกในสังคมไทยจนมองไม่เห็นวิธีการจะน�ำความ สุขใจกลับคืนมา และเป็นเรือ่ งสัน้ ทีส่ ะท้อนความล้ม เหลวอย่างสิ้นเชิงทางการเมืองไทยให้เห็นอย่าง ชัดเจน
“
เจ้าขุนทองก็กลับมาด้วยความตายพร้อมกับดาบ เปื้อนเลือด “411254-54 นวนิยายและเรือ่ งสัน้ ของไทย” ท�ำให้ฉันได้อ่านวรรณกรรมเล่มนี้เป็นครั้งแรกและ อีกครั้งในการสอบปลายภาคของ “411210-54 วรรณคดีวิจารณ์” ที่อาจารย์ได้หยิบยกเรื่องสั้น “เมือ่ เย็นยำ�่ ของวันอันตราย” จากวรรณกรรมเล่มนี้ มาให้นักศึกษาได้วิจารณ์ นั่นท�ำให้ฉันจดจ�ำหนังสือ เล่มนีไ้ ด้เป็นอย่างดี จนมาถึงครัง้ นีฉ้ นั จึงไม่ลงั เลทีจ่ ะ น�ำหนังสือเล่มนี้มาแนะน�ำให้ผู้อื่นได้อ่าน “ขุนทอง…เจ้าจะกลับมาเมื่อฟ้าสาง” ไม่ได้ เป็นหนังสือเกี่ยวกับการเมืองชนิดเข้มข้นเสียจนผู้ อ่านรูส้ กึ ขยาดทีจ่ ะอ่านแต่เป็นวรรณกรรมน�ำ้ ดีทไี่ ม่ เพียงบอกเล่าถึงผลกระทบที่เกิดจากการเมืองได้ อย่างจับใจ แต่ยังเสียดสีสังคมได้อย่างตรงประเด็น ทั้งนี้การจัดล�ำดับเรื่องในหนังสือที่เริ่มต้นจาก “เธอ ยั ง มี ชี วิ ต อยู ่ อย่ า งน้ อ ยก็ ใ นใจฉั น ” จนถึ ง เรื่ อ ง “ขุนทอง…เจ้าจะกลับมาเมื่อฟ้าสาง” เสมือนเป็น ความจงใจเรียงล�ำดับมาให้ ท�ำให้ผู้อ่านได้เห็นถึง แนวความคิดที่สะท้อนออกมาจากแต่ละเรื่องอย่าง ต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นอ�ำนาจที่ปราศจากความเป็น ธรรม ผลกระทบของอ�ำนาจต่อสังคม การกดขี่เอา เปรียบของชนชัน้ ทีเ่ หนือกว่าก็สะกิดใจให้ผอู้ า่ นเกิด มโนภาพตามได้นนั้ ก็ชว่ ยให้หนังสือรวมเรือ่ งสัน้ เล่ม นี้น่าสนใจ ทั้งนี้สิ่งหนึ่งที่เป็นเสน่ห์ในเรื่องสั้นแต่ละเรื่องใน หนังสือของอัศศิริ คือเนื้อความที่กระชับ ชวนให้ ตีความ แม้เนือ้ หาจะสัน้ กว่าเรือ่ งสัน้ โดยทัว่ ไปแต่อศั ศิริก็สามารถรวมรวบประเด็นที่ต้องการจะน�ำเสนอ ได้ครอบคลุม รวมไปถึงการใช้ภาษาได้รดั กุม ไพเราะ บางช่วงตอนก็ราวกับภาษากวีให้มโนภาพได้ชดั เจน นอกจากเรือ่ งภาษาแล้วอัศศิรยิ งั เสนอเทคนิคในการ
เล่ ม สุ ด ท้ า ยอาจไม่ ไ ด้ เ ป็ น เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ การเมื อ งโดยตรงแต่ เป็ น การน�ำเสนอผลที่ เ กิ ด จากการเมื อ งของคนกลุ ่ ม หนึ่ ง ผ่ า น วรรณกรรม “The Book Thief (จอมโจรหนังสือ)” โดยมาร์กัส ซู ซัค หนังสือที่มองผ่านตาเพียงแค่ชื่อทุกคนคงเข้าใจว่าเป็นนวนิยาย แฟนตาซีทั่วไปแต่เปล่าเลย นวนิยายเล่มนี้นับได้ว่าเป็นวรรณกรรม เยาวชนอิงประวัติศาสตร์เรื่องหนึ่งที่น่าสนใจ ซ�้ำยังเป็น วรรณกรรมคุณภาพที่ติดอันดับยาวนานใน New York Times อีกด้วย จอมโจรหนังสือเป็นการ THE BOOK เล่าเรื่องที่เกิดขึ้นในยุคสมัยสงครามฆ่าล้าง THIEF เผ่าพันธุ์ชาวยิวในสมัยสงครามโลกครั้งที่ สอง ว่าด้วยเรื่องราวของ ลีเซล เมมิง ฉันรู้จักหนังสือเล่มนี้ผ่านการดูภาพยนตร์เรื่อง The Book เกอร์ เด็กสาวก�ำพร้าวัยสิบขวบ ที่เข้า Thief แล้วรู้สึกประทับใจจนยกให้เป็นหนึ่งในภาพยนตร์อิง มาอยู่ในการอุปการะของครอบครัวฮู ประวัติศาสตร์ในดวงใจเคียงคู่กับ Les Misérables จึงค้นหา จารณ์ในสือ่ อินเตอร์เน็ตจนทราบว่าเนือ้ เรือ่ งในภาพยนตร์ เบอร์มานในเมืองมิวนิค ลีเซลสนิทกับ บทความวิ างมาจากหนังสือเล่มนี้ และกว่าครึง่ ของบทวิจารณ์แสดงความ นายฮูเบอร์มานพ่อบุญธรรมเป็นอย่าง นัคิน้ ดสร้ ออกจะดูกลางๆค่อนไปทางลบ บ้างก็วา่ “พอรับได้ ปลอดภัย มาก เธอเริ่มหัดอ่านหนังสือด้วยความ หลัเห็กนแหลม – และน่าเบื่อไปนิด” หรือ “มีเสน่ห์แต่จืดชืด” ยิ่ง ช่วยเหลือจากเขา ลีเซลมีความสุขกับ ท�ำให้รู้สึกอยากอ่านหนังสือเล่มนี้มากขึ้นว่าเนื้อเรื่องนั้นน่า การอยู่ในดินแดนแห่งจินตนาการผ่าน ประทับใจกว่าภาพยนตร์สักเพียงใด และเมื่อได้อ่านก็ าท�ำไมวรรณกรรมเล่มนีจ้ ึงติดอันดับหนังสือ โลกตัวหนังสือของเธอ เธอได้หนังสือมา เข้าใจว่ ขายดี อยู่บ่อยครั้งและได้รับค�ำวิจารณ์ด้าน ครอบครองเริม่ ด้วยการฉวยจากสัปเหร่อทีฝ่ งั บวกมากมาย ศพน้องชายเธอ ต่อมาก็ฉวยจากกองทีก่ �ำลังจะถูก พวกนาซีเผา พัฒนาจนถึงขั้นหยิบฉวยจากห้องสมุด บ้านนายกเทศมนตรี เรื่องราวของจอมโจรหนังสือไม่ได้มีเพียงเท่านี้ ระหว่างนัน้ ครอบครัวฮูเบอร์มานได้ชว่ ยเหลือ “แม็กซ์” ชายหนุม่ ชาว
THE BOOK THIEF
ยิวทีห่ ลบหนีมาซ่อนตัวในชัน้ ใต้ดนิ ความสนิทสนมของลีเซลและแม็กซ์ นัน่ ท�ำให้เธอมองฟูหเ์ รอร์ตา่ งจากชาวเยอรมันทัว่ ไป แต่สดุ ท้ายแม็กซ์ก็ ต้องออกจากครอบครัวฮูเบอร์มานไปด้วยความเกรงใจ แล้วทั้งสองจึง กลับมาพบกันอีกครั้งหลังเหตุการณ์สงบ รวมถึงเพื่อนสนิทเพียงคน เดียวของลีเซลอย่าง “รูดี้” เด็กหนุ่มวัยเดียวกันกับเธอ เขามองลีเซล ต่างจากที่เด็กชาวเยอรมันคนอื่นมองเธอ และเขาก็ไม่ชอบ “ฟูห์เรอร์” เช่นเดียวกันกับเธอ ถึงแม้ว่ามาร์กัส ซูซัคจะน�ำเสนอเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในยุคนั้น แต่ก็ ไม่ได้เน้นประวัติศาสตร์อันแสนเจ็บปวดอย่างจริงจัง แต่เป็นการเสนอ มุมมองความคิดเล็กๆของชาวเยอรมันที่ไม่ได้ต้องการเข่นฆ่าเพื่อน มนุษย์ดว้ ยกันเพียงเพราะเขาเป็นชาวยิว มาร์กสั เลือกใช้ตวั ละครเด็กไม่ ว่าจะเป็นเด็กผู้หญิงอย่าง “ลีเซล” หรือเด็กผู้ชายอย่าง “รูดี้” เพื่อให้ผู้ อ่านได้สัมผัสถึงความงดงามของจิตใจใสบริสุทธิ์ที่ไม่เห็นด้วยกับ “ฟูห์ เรอร์” ได้อย่างชัดเจน นอกจากจอมโจรหนังสือจะตระหนักให้เห็นถึง คุณค่าของชีวิต ก็ยังตระหนักให้เห็นถึงคุณค่าที่ได้จากการอ่านหนังสือ และพลังอ�ำนาจของค�ำพูดว่าสามารถน�ำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจ�ำวัน ด้วย ซึง่ โดยเฉพาะเรือ่ งค�ำพูดหรือถ้อยค�ำนัน้ ไม่เพียงจะใช้ไปในทางทีด่ ี แต่มาร์กสั ยังเสนอถึงการใช้ “ค�ำพูดหรือถ้อยค�ำ” ในทางลบทีป่ ลุกระดม ผูค้ นแทรกซึมเข้าไปในจิตใจ สร้างความเชือ่ ถือให้กบั ผูค้ น จนกลายเป็น อาวุธร้ายแรงอย่างที่ฟูห์เรอร์ใช้มันส�ำเร็จ รวมไปถึงกลวิธีการด�ำเนิน เรื่อง มาร์กัสเขียนได้ชวนติดตาม และทวีความเข้มข้นขึ้นเรื่อยๆ โดย เฉพาะอย่างยิ่งการเลือกให้ “ยมทูต” เป็นผู้เล่าเรื่องทั้งหมดท�ำให้ วรรณกรรมเล่มนี้เต็มไปด้วยกลิ่นอายของความตายนั้นนับเป็นเสน่ห์ที่ ท�ำให้วรรณกรรมเรื่องนี้น่าสนใจจนต้องแนะน�ำให้อ่าน
จากห้ อง สีปัสสาวะ
คตินิยมสมัยใหม่ในด้านวรรณกรรม (literary modernism) มีการตั้งข้อสงสัยเกี่ยวกับเรื่องจริง และ กระบวนการของการประเมินค่าอยู่ที่การเลียนแบบ ความจริ ง วั ฒ นธรรมสมั ย นิ ย มต่ า งๆล้ ว นเกิ ด ขึ้ น ท่ามกลาง “สิ่งเก่า” ดังนั้นจึงเกิดการเปรียบเทียบ อย่างชัดเจนถึงความแตกต่างและผลกระทบที่มีต่อ ผู้คน เทคโนโลยีและการผลิตแบบอุตสาหกรรมท�ำให้ เกิดสิง่ แวดล้อมใหม่ ซึง่ เห็นได้วา่ ท�ำลายวิถชี วี ติ ความ เป็นอยู่ และวัฒนธรรม ท�ำให้เกิดการสร้างสิง่ แวดล้อม ใหม่และเร่งจังหวะชีวิต เกิดการล่มสลายของชนบท และผู้คนได้ย้ายถิ่นฐานจากบ้านเกิดเมืองนอนมาใน ถิ่นที่มีงานท�ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเมืองสมัยใหม่นั้น เป็นการเคลือ่ นไหวอย่างไม่หยุดนิง่ ซึง่ ท�ำให้เหมือนว่า จังหวะชีวิตเร่งอย่างรวดเร็ว จนท�ำให้นักเขียนรู้สึก แปลกแยก และความตึ ง เครี ย ดที่ เ กิ ด จากสภาพ แวดล้อมท�ำให้นักเขียนและปัญญาชนเกิดความขัด แย้งในใจ งานเขียนที่เกี่ยวกับเมืองจึงมีความซับซ้อน และตึงเครียด ตัวละครจึงมักจะหาความหมายของ ชีวติ หรือแสวงหาตัวตน ทัง้ หมดนีเ้ กิดในฉากของเมือง
“จากห้องสีปสั สาวะ” เป็นเรือ่ งสัน้ สมัยใหม่ชนิดให้แนวคิด ซึง่ ผูเ้ ขียนต้องการ แสดงทัศนคติหรือน�ำเสนอแนวคิดให้ผอู้ า่ น ได้ทราบ โดยใช้กลวิธีการแต่งที่จัดอยู่ใน กลุ่มแปลกแยก (Alienation) ที่เล็งเห็น สภาพมนุษย์ในสังคมปัจจุบนั ได้ถกู ตัดขาด จากความเชื่อและกฎเกณฑ์แบบเก่า การ ด�ำเนิ น เรื่ อ งค่ อ นข้ า งเป็ น “ร�ำพึ ง ของ จิตใต้ส�ำนึก” ตัวละครมีลกั ษณะทีไ่ ร้เหตุผล สิน้ หวัง และถูกสังคมเมินหน้า โดยน�ำเสนอ เหตุการณ์ในชีวิต “อย่างที่เป็นจริง” คือ การโถมเข้ามาพร้อมๆกันโดยที่ไม่มีล�ำดับ หรือความเป็นเหตุเป็นผล เรื่องราวจึงเป็น เพียงการบอกว่า “เกิดอะไรขึน้ ” การเขียน จะไร้ระเบียบโดยผูเ้ ขียนต้องการสือ่ ให้รวู้ า่ ความไร้ระเบียบนี้แหละคือความจริง จากเรื่องสั้นเรื่อง “จากห้องสีปัสสาวะ” มี รูปแบบการน�ำเสนอทีไ่ ม่ยดื ถือเอกภาพใน ลักษณะของเรื่องสั้นแบบเดิม ที่ประกอบ ด้วยตอนขึ้นต้น ตอนกลาง และตอนจบที่ มีการจัดระเบียบตามความเป็นเหตุเป็นผล ในลักษณะของโครงเรื่องแบบ “ปิด” หาก แต่ เ ป็ น โครงเรื่ อ งแบบใหม่ ที่ ยึ ด ถื อ “สถานการณ์” ของตัวละครเป็นจุดด�ำเนิน เรือ่ ง จึงมีแต่ “ตอนกลาง” ของเรือ่ ง แสดง นัยของเหตุการณ์ทดี่ �ำเนินไปอย่างต่อเนือ่ ง
และ “หยุด” โดยที่เรื่องไม่ “จบ” กล่าว หยุดโดยไม่ทนั ตัง้ ตัว เรือ่ งจึงจบในลักษณะ “ปลายเปิด” เป็นเพียงการบันทึกความ เป็นจริงที่เข้ามาในชีวิตของคนธรรมดาๆ การขึ้นต้นจึงไม่เรียกร้องความสนใจใน ลักษณะเดิม ไม่มีโครงเรื่อง ไม่เป็นสุข นาฏกรรมหรือโศกนาฏกรรม และการจบ จะไม่ยึดหลัก “หักมุม” “ความหายนะ” หรือการพลิกความคาดหมายเป็นทางออก เสมอ ดังนั้นการเริ่มเรื่องเช่นนี้ผู้อ่านจะไม่ ได้ขอ้ มูลว่าตัวละครเป็นใคร มาจากไหน ผู้ อ่านต้องค่อยตามเรื่องไปและเข้าใจเรื่อง ผ่านสิ่งที่ตัวละครเห็น จากที่เห็นในเรื่อง ทะนงไม่ ไ ด้ อ ธิ บ ายในทั น ที ทั น ใดว่ า สรรพนาม “ผม” เป็ น ใคร แต่ ค ่ อ ยๆ บรรยายไปเรือ่ ยๆแล้วจึงบอกว่า “ผม” นัน้ มีชื่อว่า ราไวย์เป็นชายหนุ่มวัยยี่สิบกว่าที่ ท�ำงานอาทิตย์ละสีว่ นั ในห้องทดลองทางน�ำ้ และเรื่องราวก็เป็นเพียงการเล่าจากชาย คนหนึ่งและความคิดต่างๆของชายคนนั้น ที่ไม่มีมีประสงค์เพื่อให้เกิดจุดสูงสุดของ เรือ่ ง และก็จบลงโดยทีไ่ ม่ได้เอ่ยบทสรุปแก่ ผู้อ่าน จุดมุง่ หมายไม่แสดงผลทีเ่ กิดขึน้ อย่างเดียว แต่จะทิ้งให้ผู้เอาคิดเอาเองได้หลายอย่าง การด�ำเนินเรือ่ งและบุคลิกของตัวละครจะ
ปรากฏสิง่ ทีแ่ สดงออกถึง “ความคลุมครือ” ของชีวติ บนโลกสมัยใหม่ หลังจากอ่านเรือ่ ง สั้นเรื่องนี้จบลงผู้อ่านจะไม่ได้รับค�ำตอบ จากตัวเนื้อเรื่องทั้งหมดไม่ว่าจะเป็น ตอน นีเ้ หตุการณ์เกิดขึน้ ทีใ่ ด หญิงสาวลึกลับคน นั้นใช่ทอทอหรือวีราหรือไม่ ผู้ชายอายุห้า สิบคนนัน้ จริงๆแล้วคือตัวราไวย์ในสามสิบ กว่าปีขา้ งหน้าใช่หรือไม่ แล้วชายหนุม่ ทีถ่ กู ล่าไล่นั้นหมายถึงตัวของเขา(ราไวย์)เองใน ปัจจุบันหรือเปล่า แต่ท้ายที่สุดเราก็ไม่ได้ ค�ำตอบจากค�ำตอบเหล่านี้ ผู้เขียนตัดจบ ด้วยการวบลูปไปมาของเหตุการณ์หลาย เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ตัวละครในเรือ่ งไม่ก�ำหนดแน่ชดั แต่จะขึน้ อยู่กับกลวิธีของผู้เขียนแต่ละคน ลักษณะ ตัวละครบางตัวไม่ก�ำหนดว่าคือใคร ใช้ค�ำ สรรพนามก�ำกับโดยไม่บอกว่าเป็นใคร ผู้ อ่ า นจะต้ อ งอ่ า นแบบเรื่ อ ยๆจนกระทั่ ง ทราบได้ว่า ตัวละคร “ผม” และ “เขา” เป็นตัวละครตัวเดียวกันนั้นก็คือ ราไวย์ นั่นเอง การด�ำเนินเรื่องมีกลวิธี “ย้อนกลับไปสู่ อดีต” และ “การเดินทางไปสู่อนาคต” เพิ่มเข้ามา พร้อมกับกลวิถี “ย้อนกลับไป กลับมา” จากเรื่อง “จากห้องสีปัสสาวะ”
ใช้กลวิธีศิลปะแตกเป็นชิ้นส่วนที่เรียกว่า มอนทาจ (montage) มาใช้ในการบรรยายภาพสลับ เพื่อสื่อ ให้เห็นถึงวิถชี วี ติ ของโลกสมัยใหม่อนั เป็นการ “เร่ง จั ง หวะชี วิ ต ทั้ ง หมด” สั ม พั น ธ์ กั บ ภาพที่ สั บ สน วุน่ วายของเมืองสมัยใหม่ทเี่ ติบโตอย่างรวดเร็ว และ การอธิบายอารมณ์ความรู้สึกที่มีต่อความสับสน และเร่งรีบได้อย่างแจ่มชัด ในเนื้อเรื่องได้เสนอ เหตุการณ์อย่างกระจัดกระจาย ไร้ระเบียบ ไร้ความ สัมพันธ์เชิงเหตุผล แต่รบั รูถ้ งึ ความหมายได้กต็ อ่ เมือ่ ผูอ้ า่ นเชือ่ มโยงความหมายของภาพหรือเหตุการณ์ เข้าด้วยกัน ยกตัวอย่างจากเนือ้ เรือ่ งทีค่ วามคิดของ ตัวละครหลักเปลีย่ นแปลงไปตลอดเวลา เช่น ก�ำลัง นึกถึงว่าตัวฉันเป็นใคร เหตุการณ์ก็เปลี่ยนไปว่าตัว ละครก�ำลังอยู่ในที่ท�ำงาน ต่อไปก็นึกถึงการไปดู หนัง แล้วนึกถึงการฆ่าตัวตาย และก็นึกถึงอนาคต ของตนเองในวัย 50 ปี ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ไม่ต่อ เนื่องกัน ไร้ระเบียบ และกระจัดกระจาย เวลาของสถานการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในเรื่ อ งมั ก จะไม่ ก�ำหนดลงไปแน่ชดั แต่จะปล่อยให้ความรูส้ กึ ของผู้ อ่านเป็นเครื่องก�ำหนดตามเหตุการณ์ โดยเฉพาะ เรื่องที่เกี่ยวกับมิติของ “เวลาเชิงสมมติ” จะพบว่า เวลาในเรื่องไร้ขอบเขตมาก ผู้อ่านไม่สามารถรู้ว่า จากการบรรยายของผู้เขียนว่าเรื่องราวทั้งหมดที่ เกิดขึ้นก�ำลังด�ำเนินไปอยู่ในช่วงเวลาใดและระยะ เวลายาวนานเท่าไหร่ อาจจะต้องการแสดงการเกิด พร้อมกันของเหตุการณ์ จึงไม่เล่าเรื่องความล�ำดับ
เวลา แต่จะใช้แนวกระแสส�ำนึกทีเ่ ป็นความคิดทีป่ ะ ติดปะต่อกันโดยไม่ได้สัมพันธ์เป็นเหตุเป็นผล การบรรยายการแสดงความคิ ด ของตั ว ละครมี ลักษณะที่ดึงเอามาจากจิตใต้ส�ำนึกออกมาตีแผ่ ท�ำนองที่เรียกได้ว่าเป็นการ “เปิดเผยตัวเอง” มาก ขึ้น ดังนั้นลักษณะที่ใช้จึงมักปล่อยให้ภาษาของ จิตใต้ส�ำนึกหลัง่ ไหลพรัง่ พรูออกมา จากเนือ้ เรือ่ งนัน้ ตัวละครหลัก “ราไวย์” อยู่ในสถานการณ์ที่ก�ำลัง ตกอยู่ในความรู้สึกหดหู่ สิ้นหวังกับตนเอง เครียด เหงา หรือคิดถึงคนรัก จึงถูกถ่ายทอดออกมากเป็น เนื้อเรื่องที่ไม่ปะติดปะต่อกัน ลักษณะคล้ายการ บันทึกความคิดนอกจากการควบคุมของจิตส�ำนึก เพื่อให้ได้งานที่บริสุทธิ์ไร้การควบคุมของกฎเกณฑ์ ในสังคมหรือศีลธรรมใดๆ ตัวละครหลักเป็นลักษณะของคนธรรมดาชนชั้น กลางที่มีชีวิตเรียบง่ายอยู่ในสังคมใหม่ที่ต้องการ ก�ำหนดชะตากรรมของตนเอง สภาพการเอารัดเอา เปรียบและการแก่งแย่งชิงดีกันของสังคมสมัยใหม่ ท�ำให้คนกลายเป็นส่วนเกินในสังคม ภาพพจน์ตัว ละครจึงมีลกั ษณะค้านหรือบางครัง้ ก็ขบถกับตัวเอง เรื่อง “จากห้องสีปัสสาวะ” น�ำเสนอแก่นเรื่องว่า “เมืองสมัยใหม่เต็มไปด้วยฝูงชนที่แปลกหน้า” ลักษณะที่เป็น “ความลึกลับ” เกิดการสูญเสียชีวิต ที่สมดุล ไปสู่ภาวะเหนือจริงในรูปของความฝัน ภาพหลอน ไปจนถึงขั้นวิกลจริต เนื้อเรื่องน�ำเสนอ
ภาพตึกรามบ้านช่อง แออัด มีเคลื่อนไหวที่สับสน สภาพแวดล้อมสกปรก และการหลบหนีสังคมโดย การขังตนเองคือการหนีสังคมไปอยู่ในที่แคบ จาก เรื่องคือ ตัวละครนั่งอยู่ในห้องพักแคบๆและเริ่ม จินตนาการภาพต่างๆ เนื้อหาของเรื่องมีความซับ ซ้อนและตึงเครียด ตัวละครหาความหมายของชีวติ หรือแสวงหาตัวตน ทีส่ �ำคัญคือการเกิดแนวคิดเกีย่ ว กับความแปลกแยกต่อสังคมทีน่ �ำไปสูก่ ารตัง้ ค�ำถาม เกีย่ วกับ ปัจเจกชนทีโ่ ดดเดีย่ วอ้างว้างท่ามกลางฝูง ชนและความแออัด ปัจเจกบุคคลและวิกฤตอัต ลักษณ์ ที่แสดงถึงความแปลกแยก รวมทั้งมีการตั้ง ค�ำถามว่า “ฉันเป็นใคร” “ท�ำไมฉันถึงอยู่ที่นี่” ดั่ง ที่ตัวละครเล่าว่า “... ราไวย์ ท�ำไมนายถึงมาอยู่ที่นี่ เมืองเล็กๆที่เงียบเหงาเมืองนี้” “ท�ำไมเขาถึงมาอยู่ เมืองเล็กๆที่เงียบเหงาเมืองนี้ ใช้เวลากลางวันใน ห้องสมุดอ่านเรื่องวันเก่าๆ” เนื้อเรื่องได้แสดงถึง ความเบื่อหน่ายในชีวิตสมัยใหม่ วิถีชีวิตที่ซ�้ำซาก จ�ำเจของชนชั้นกลางที่จ�ำกัดตัวละคร “ราไวย์” ไว้ “บางทีผมรู้สึกตึงเครียดกับงานที่ท�ำซ�้ำกันหลายๆ ครั้งเหมือนนาฬิกา ..” รวมทัง้ แก่นเรือ่ งทีพ่ บคือ เรือ่ งความตายและการฆ่า ตัวตาย วรรณกรรมมักพูดเกี่ยวกับการฆ่าตัวตาย หรือท�ำลายตนเองในลักษณะต่างๆ หรือฆ่าตัวตน บางส่วนของตนเอง หรือมองเห็นตนเองฆ่าคนอื่น “จากห้องสีปสั สาวะ” ได้พดู ถึงเรือ่ งความตายหลาย ครัง้ ด้วยกันไม่วา่ จะเป็น “ผมเฝ้ามองมันเหมือนมัน
เป็นอนาคตของผม มีความรูส้ กึ แวบๆจะท�ำร้ายมัน ฆ่ามัน” “ผมยิม้ หยันๆนัยน์ตามีแววเยาะเย้ยอยูเ่ ป็น นัยๆมันก็เหมือนรูปงานศพทัว่ ๆไป” “ลอยคว�ำ่ หน้า อยู่ในสระว่ายน�ำ้ คนเดียว” “มีเสียงปืนหลายๆนัด เขาล้มลงนอนหงาย” หรือ “เธอนอนแน่นิ่งอยู่บน พื้นผิวขาวซีดของเธอเปรอะเลือด” ล้วนแล้วแต่ เป็นการพูดถึงความตายและการฆ่าตัวตายทั้งสิ้น ทั้งนี้เพราะตระหนักว่าตนไม่มีความสัมพันธ์และ เกี่ยวข้องกับสิ่งอื่นใดมีเพียงความว่างเปล่า และ ความขาดหายไป สรุปได้ว่าจากเรื่อง “จากห้องสีปัสสาวะ” จะมี ลักษณะที่เป็นวรรณกรรมคตินิยมสมัยใหม่ ว่าด้วย การเล่าเรื่องแบบกระแสส�ำนึกเป็นการให้ความ ส�ำคัญแก่อัตวิสัยของตัวละครมากกว่าการเน้น เหตุการณ์และโครงเรือ่ งเพือ่ เลีย่ งการน�ำเสนอภาพ เหตุ ก ารณ์ “ที่ เ ป็ น จริ ง ” มี ค วามซั บ ซ้ อ นและ ตึงเครียด ตัวละครมักหาความหมายของชีวิตหรือ แสวงหาตัวตน มีการตั้งค�ำถามว่า “ฉันเป็นใคร” เลิกใช้วิธีการเล่าเรื่องแบบสัพพัญญูแต่ให้ตัวละคร หลักเป็นผูเ้ ล่าเรือ่ งแต่บรรยายความรูส้ กึ ต่างๆออก มาก รวมทั้งการแสดงความต่อเนื่องของสิ่งต่างๆ การไม่มีตอนจบของเรื่อง อันเป็นการต่อต้านโครง เรื่องที่สมบูรณ์ของวรรณกรรมสัจนิยม โดยให้เริ่ม เรื่องที่ “ตอนกลาง” ของเรื่อง ไม่มีจุด “หักมุม” และไม่จบแบบ “ปลายปิด”
JONATHAN LIVINGSTON : S E A G U L L
มนุษย์ควรมีสทิ ธิในการ ก�ำหนดชีวติ ของตนเอง และเงื่ อ นไขที่ ส�ำคั ญ ที่ สุ ด ส�ำ ห รั บ ก า ร แสวงหาความหมาย ของชี วิ ต ก็ คื อ อิ ส ร เ ส รี ภ า พ ครัง้ หนึง่ ในคาบเรียนทุกคนในห้อง ได้รับค�ำถามเดียวกันว่า “ระหว่างหน้าที่ และอิ ส รเสรี ภ าพคุ ณ เลื อ กอะไร” ... วิ น าที แรกฉั น เลื อ กอย่ า งไม่ คิ ด เลยว่ า “อิสรเสรีภาพ” แต่ค�ำว่า “หน้าที่” ก็ฉุด รัง้ ฉันไว้ เพราะมนุษย์เราไม่ควรเห็นแก่ตวั จึงท�ำให้ฉันลังเลว่าฉันควรจะเลือกสิ่งใด
จึงตอบออกไปว่า ฉั น เลื อ กทั้ ง สอง อย่าง แต่อาจารย์ ตอบกลั บ มาว่ า ฉั น ไ ม ่ เ ข ้ า ใ จ ค�ำถาม ... ซึ่งนั่นก็ จริ ง และเมื่ อ ฉั น หยิบ โจนาธาน ลิ วิงสตัน : นางนวล ขึ้ น มาอ่ า นมั น ก็ ท�ำให้ ฉั น ได้ ค�ำ ตอบ JONATHAN LIVINGSTON : SEAGULL (ภาษา ไทย : โจนาธาน ลิ วิ ง ส ตั น : นางนวล, ปีค.ศ. 1972) หนังสือที่มี ความสั้นมากแต่กลับสร้างความส�ำเร็จ แทบจะเรียกได้วา่ เป็นครัง้ แรกของ Richard Bach (ริชาร์ด บาค) วัย 37 ปีก็ว่าได้ หนังสือเล่มนีน้ บั ว่าสร้างปรากฏการณ์ยงิ่ ใหญ่อันหนึ่งของโลกหนังสือ ยอดขาย หนังสือ โจนาธาน ลิวิงสตัน : นางนวล สร้ า งความตกตะลึ ง ให้ ทั้ ง ผู ้ แ ต่ ง และผู ้
พิมพ์เพราะท�ำลายสถิตหิ นังสือทีเ่ คยขาย ดีทั้งหมด ถึงตอนนี้ นางนวลถูกแปลออก เป็นภาษาต่างๆมากมายรวมถึงภาษาไทย ด้วยส�ำนวนของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช และ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ นอกจากจะขาย ดีเป็นที่สุดแล้วหนังสือเล่มนี้ยังได้รับค�ำ วิพากษ์วิจารณ์เป็นวงกว้าง ว่าแท้จริง แล้ ว โจนาธาน ลิ วิ ง สตั น : นางนวล ต้องการน�ำเสนอแนวความคิดอะไรกันแน่ โจนาธาน ลิฟวิงสตัน : นางนวล เป็นเรื่องราวของนางนวลตัวหนึ่งแต่เป็น นกนางนวลทีไ่ ม่เหมือนใคร อ้อ! ฉันหมาย ถึงไม่เหมือนนกนางนวลตัวใด หากจะ นิยามความเป็นโจนาธาน คงเรียกได้ว่า มันเป็นนกนอกคอกทีข่ ยันแต่จะแหกคอก เสมอ โจนาธานเป็นนกนางนวลเพียงตัว เดียวในฝูงที่พยายามฝึกบิน ... มันเอาแต่ ฝึ ก บิ น !!ในขณะที่ ฝู ง นกนางนวลบอก ว่ า การบิ น จะต้ อ งเป็ น ไปเพื่ อ การหา อาหารเท่านัน้ มันไม่ยอมท�ำตัวเหมือนนก นางนวลตัวอื่นๆ ไม่แย่งเศษปลา ไม่แย่ง ขนมปัง ไม่เตรียมตัวที่จะอพยพในหน้า หนาว แม้โจนาธานก็ได้เรียนรู้อะไรหลาย อย่างจากการฝึก เมื่อมันอยากรู้อะไรมัน
ก็ทดลองท�ำทุกอย่าง ทัง้ การบินแนวดิง่ การบินในความ มืด การบินแบบควงสว่าน การบินแบบเพิ่มความเร็ว มันทดลองท�ำทุกอย่างด้วยความอยากรู้ และต้องการ ได้รบั จากยกย่องและยอมรับจากฝูงนกนางนวล แต่ผล ตอบแทนทีโ่ จนาธานได้รบั กลับเป็นการถูกขับออกจาก ฝูง ด้วยข้อหาสร้างความอับอายในฐานะการเป็นนก นางนวล แต่เชื่อเถอะ .. โจนาธานไม่ได้รู้สึกเสียใจที่ต้อง อยูอ่ ย่างสันโดษ มันพยายามเรียนรูม้ ากขึน้ มากขึน้ และ มากขึน้ จนต่อมา โจนาธานได้พบกับนกนางนวลฝูงใหม่ ที่สนใจเรียนรู้ในสิ่งเดียวกัน ที่นี่ท�ำให้เขาได้พบกับ “เจียง” นางนวลเฒ่าทีบ่ อกโจนาธานด้วยความเมตตา “ว่าไงลูก..เธอก�ำลังเรียนรู้อีกแล้วนางนวลโจนาธาน” รวมทั้งได้พบ นางนวลตัวอื่นที่ทั้งหมดคือ “เพื่อน” ใน การเรียนรู้ของโจนาธาน แม้เรื่องราวด�ำเนินมาได้เพียงแค่หนึ่งตอนกว่าๆ โจนาธาน ลิฟวิงสตัน : นางนวล กลับสอดแทรกแง่คิด และมุมมองของชีวติ มนุษย์ไว้ได้อย่างนุม่ ลึก โดยเฉพาะ ความคิดที่ว่าเรามีสิทธิในการก�ำหนดชีวิตของตัวเอง เช่นเดียวกับทีโ่ จนาธานก�ำหนดชีวติ ของเขาว่า การเป็น นกนางนวลไม่ได้จ�ำกัดแค่ว่าต้องบินเพื่ออาหารเพียง เท่านั้น ชีวิตยังมีอะไรมากกว่านั้นให้เรียนรู้ และโจนา
ธานก็ เ ลื อ กสิ่ ง นั้ น แ ม ้ ว ่ า ผลลัพธ์ทไี่ ด้จะ ไม่ได้สวยงาม อย่ า งที่ ค าด หวัง แต่โจนา ธานก็ ยั ง สอน ให้เราอยู่กับมัน และไม่ ท ้ อ ถอย แล้ ว วั น หนึ่ ง เราก็ จะพบกับเส้นทางที่ เรารอคอยเช่นเดียวกับ ที่ โ จนาธานพบกั บ นก นางนวลฝูงใหม่ที่สนใจในสิ่ง เดียวกันนั่นเอง โจนาธานสอนให้เรา ยึดมั่นและเชื่อในความคิดของเราเองตามที่เขาได้เอ่ย ไว้ว่า “.. ร่างกายของเธอทั้งหมดจากปลายปีกหนึ่งสู่ ปีกหนึง่ ไม่ใช่อะไรอืน่ นอกจากความคิดของเธอเอง ..” และหลังจากโจนาธานได้เรียนรูจ้ ากความเชือ่ มัน่ ของตนเองเต็มที่แล้ว เขามีความคิดที่จะกลับมายังฝูง นางนวลที่เคยขับไล่ไสส่งเขา ท่ามกลางความเห็นต่าง จากเพื่อนนางนวลตัวอื่น โจนาธานได้ก�ำหนดวิถีชีวิต ของตนอีกครัง้ เขากลับมาสอนนางนวลตัวอืน่ ทีเ่ ป็นนก
หัวเน่าเหมือนตน โจนาธานสอนนางนวลตัวหนึง่ ทีบ่ นิ ไม่ได้ดว้ ย การสร้างความเชื่อมั่นให้เขา “นางนวลเมย์นาร์ด เธอมีอิสระที่ จะเป็นตัวของตัวเอง ตัวเธอเองที่แท้จริง ที่นี่และเดี๋ยวนี้ และ ไม่มอี ะไรจะขัดขวางเธอได้ มันเป็นกฎของนางนวลทีย่ งิ่ ใหญ่ กฎ ที่เป็นเช่นนั้น ... ฉันว่าเธอมีอิสระ” นางนวลโจนาธานย�้ำเตือน เสมอว่า “.. อิสรเสรีเป็นธรรมชาติที่แท้จริงของตนเอง ว่าอะไร ทีม่ าขวางกัน้ อิสรเสรีภาพจะต้องโยนทิง้ ไป ไม่วา่ จะเป็นพิธกี รรม ความเชือ่ โชคลาง หรือข้อจ�ำกัดไม่วา่ จะมาในรูปใด กฎทีแ่ ท้จริง อันเดียวคือ กฎที่น�ำไปสู่อิสรเสรีภาพ” ฉันนับว่านี่เป็นบทสรุปที่ “สุดยอด” ส�ำหรับการอ่าน หนังสือของบาคเล่มนี้ นับว่าเป็นสิ่งที่ช่วยให้มนุษย์สามารถ แสวงหาความจริงแท้ของชีวิตได้ บาคได้แสดงออกชัดเจนแล้ว ผ่านตัวโจนาธานที่ยึดมั่นในอิสรภาพของตนเองจนสามารถ แสวงหาความหมายที่แท้จริงของตนเองได้ หากในวันนั้นโจนา ธานยินยอมที่จะเป็นนางนวลปกติตามที่พ่อและแม่ของเขา ร้องขอแล้วไม่ยึดมั่นในอิสรเสรีภาพที่แท้จริงของตนแล้ว เขาก็ คงเป็นเพียงนางนวลตัวหนึ่งที่ไม่น่าจดจ�ำ และไม่มีทางที่จะ แสวงหาความหมายของชีวติ เขาพบ ฉันจึงไม่แปลกใจเลยว่าเหตุ ใดหนังสือเล่มสั้นๆที่มีเนื้อเรื่องเพียงแค่สามบทเล่มนี้ถึงได้รับ การตอบรับจากนักอ่านหนังสือทั่วทุกมุมโลก ไม่เพียงแค่โจนา ธาน นางนวลนอกคอกตัวหนึ่งที่สอนให้เราค้นพบอิสรเสรีภาพ เท่านั้น แต่บาคเองก็ปล่อยให้ผู้อ่านตีความสารที่ปรากฏใน หนังสือได้อย่างอิสระเช่นเดียวกัน
ท้ า ยที่ สุ ด แล้ ว แม้ ฉั น จะไม่ เข้ า ใจถึ ง เจตนาของค�ำถามที่ ว ่ า “ระหว่างหน้าที่และอิสรเสรีภาพคุณเลือกอะไร” แต่ฉันคิดว่า ฉันก็ได้ค�ำตอบในแบบทีฉ่ นั เองต้องการ เพราะโจนาธานได้เสนอ ให้ฉันเห็นผ่านกระท�ำของเขาว่า คุณมีสิทธิที่จะเลือกอิสร เสรีภาพให้แก่ตนเอง ท�ำทุกสิง่ อย่างทีค่ ณ ุ ปรารถนา แต่ทา้ ยทีส่ ดุ แล้วจิตใต้ส�ำนึกจะบอกคุณเองว่า “หน้าที่” ที่คุณต้องท�ำจาก การเลือก “อิสรเสรีภาพ” คืออะไร แม้มนั อาจจะไม่ได้เป็นค�ำตอบทีถ่ กู ต้องทีส่ ดุ หรือตรงกับ ค�ำตอบที่อาจารย์ผู้ถามอยากทราบจากนักศึกษา แต่มันอาจ เป็นค�ำตอบให้ฉันสามารถก�ำหนดเส้นทางชีวิตของตนเองใน อนาคตก็ได้
ฮิ ต เลอร์ ยุ ง เงอ ซาโลมอน (Hitlerjunge Salomon) : บทภาพยนตร์ ส ะท้ อ นภาวะ ส ง ค ร า ม ยุ ค น า ซี Hitlerjunge Salomon (ภาษาอังกฤษ: Europa Europa, ปี 1990) ภาพยนตร์เยอรมันทีส่ ร้างชือ่ เสียงให้ผกู้ �ำกับหญิงชาวโปแลนด์อย่างอักนีซ สกา ฮอลลันด์ (Agnieszka Holland) มากที่สุดเรื่องหนึ่งในผลงานที่เป็น ภาพยนตร์เยอรมันของเธอ ภาพยนตร์เรื่องนี้สร้างจากเรื่องจริงของชาย เชื้อสายยิวที่มีชื่อว่า ซาโลมอน หรือ แซลลี เพเริล (Salomon / Sally Perel) แม้เนือ้ หาของภาพยนตร์เรือ่ งนีจ้ ะเป็นอัตชีวประวัตทิ เี่ ป็นเรือ่ งเล่า เกีย่ วกับชายชาวยิวเพียงคนเดียว แต่อกั นีซสกาสามารถน�ำเสนอเหตุการณ์ และสถานการณ์ตา่ งๆทีเ่ กิดขึน้ โดยรวมภายใต้การปกครองของพรรคนาซี มาโลดแล่นบนแผ่นฟิล์มได้อย่างมีชั้นเชิง ภาพยนตร์เรื่องนี้สื่อให้เห็นถึงความโหดร้ายและความเกลียดชัง ของฮิตเลอร์และพวกนาซีทมี่ ตี อ่ ชาวยิว ผ่านตัวละครซึง่ เป็นบุคคลทีม่ ชี วี ติ อยู่จริง และพยายามมีชีวิตรอดจากเหตุการณ์อันเลวร้ายในสงครามโลก ครั้ ง ที่ ส อง เมื่ อ ฮิ ต เลอร์ แ ละพรรคนาซี ขึ้ น มามี อ�ำนาจส่ ง ผลให้ ชี วิ ต ครอบครัวของซาโลมอนหรือแซลลี (Salomon / Sally) ที่อบอุ่นต้องถูก ท�ำลาย พี่สาวของเขาถูกทหารนาซีฆ่าตายอย่างโหดร้าย พวกเขาแปร สภาพเป็นเหยื่อของสงคราม ครอบครัวของเขาต้องอพยพไปยังเมืองอื่น เพื่อหลบหนีการไล่ลาของเหล่าทหาร ท้ายที่สุดทุกคนในครอบครัวก็ต้อง
แยกจากกันไปคนละทิศคนละทาง พ่อแม่ของ เขาต้องอาศัยอยูใ่ นย่านชาวยิวหรือสลัม (Ghetto) ส่วนพีช่ ายของเขา อิซคั (Isaak) ก็พลัดพราก จากเขาในระหว่างทาง และซาโลมอนทีส่ ามารถ หลบหนีมาสหภาพโซเวียตได้แต่กอ็ ยูไ่ ด้เพียงแค่ 2 ปีเท่านั้น ภาพความโหดร้ายและความเกลียดชัง ของฮิตเลอร์และพวกนาซีไม่เพียงสะท้อนผ่าน วิถชี วี ติ ครอบครัวของแซลลีเท่านัน้ แต่รวมไปถึง ชาวยิวอีกมากมาย ซึ่งในภาพยนตร์แสดงผ่าน ฉากที่ ช าวยิ ว หลายรายถู ก ยิ ง เป้ า ในกองทั พ ทหารเยอรมัน เมื่อเหล่าทหารเรียกตรวจสอบ เอกสารแสดงตัว (Papier) แล้วเอกสารแสดง ความเป็นยิวเอาไว้ ฉากนี้ในภาพยนตร์สามารถ
ถ่ายทอดออกมาได้ดีผ่านการใช้เสียงปืนและ สีหน้า ท่าทาง อาการทีแ่ สดงความหวาดกลัวจน ร้องไห้ของชาวยิวคนอื่นที่รอสังเวยชีวิตออกมา แทนฉากยิงเป้าที่โหดเหี้ยมของทหารนาซีซึ่ง สร้างความสะเทือนใจให้ผู้ชมได้เป็นอย่างดี สิ่งที่ภาพยนตร์เรื่องนี้แสดงให้เห็นอย่าง เด่นชัดอีกอย่างหนึ่งคือ การแสดงให้เห็นถึง ความเป็นมนุษย์ผ่านตัวละครต่างๆ โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ตัวละครหลักของเรือ่ งอย่างซาโลมอนที่ จ�ำเป็นต้องท�ำทุกวิถที างทีจ่ ะปกปิดความเป็นยิว ของตนเอง เพื่อให้มีชีวิตรอดต่อไป เขาจ�ำเป็น ต้องโกหกทหารเยอรมันได้ว่าเขาเป็นคนเชื้อ สายเยอรมันที่ชื่อ โยเซฟ เพทอร์ส (Josef Peters) จึงท�ำให้รอดพ้นจากการจับกุม แต่อย่างไร
ก็ตามในตอนต้นเรือ่ งภาพยนตร์เปิดด้วยพิธสี นุ ตั ซึง่ เป็นพิธกี ารขลิบหนังหุม้ ปลายอวัยวะเพศชาย ทีเ่ ป็นพิธสี �ำคัญหนึง่ ของชาวยิวนัน่ น�ำไปสูค่ วาม ยากล�ำบากในการปกปิดความเป็นยิวในตัวของ แซลลี เขาอาจจะสุขสบาย เป็นที่รักใคร่และ ชืน่ ชมขณะทีท่ �ำงานในกองทัพหรือใช้ชวี ติ อยูใ่ น โรงเรียนฐานะยุวชนฮิตเลอร์ แต่แซลลีกลับไม่ เคยมีความสุขเพราะต้องใช้ชวี ติ อย่างหวาดระวัง กลัวว่าใครจะจับได้ว่าแท้จริงแล้วตนไม่ใช่คน เชื้ อ สายเยอรมั น อย่ า งที่ บ อกออกไป เขาไม่ สามารถเข้าห้องนำ�้ หรืออาบนำ�้ ร่วมกับคนอืน่ ได้ เลย เราจะเห็นว่าตอนเข้าโรงเรียนวันแรกแซลลี ต้องส�ำรวจสภาพของห้องน�ำ้ เพือ่ ให้แน่ใจว่าเขา จะไม่ถกู ใครจับได้ขณะก�ำลังอาบนำ�้ หรือท�ำธุระ ส่วนตัว หรือในค่ายทหารแซลลีจ�ำเป็นต้องหลบ
ไปท�ำธุระคนเดียว หรือต้องแอบไปแช่น�้ำใน โรงนาคนเดียว และเขาก็ไม่สามารถมีอะไรกับ เลนี (Leni) ได้เพราะเกรงว่าความเป็นยิวจะถูก เปิดเผยแต่ตนจะถูกจับกุม แม้ว่าครั้งหนึ่งเขา รู้สึกอึดอัดที่ต้องคอยปกปิดฐานะที่แท้จริงของ ตนไว้ จึงโทรศัพท์ติดต่อไปหาทหารโซเวียตเพื่อ ขอความช่วยเหลือ แต่ผลกลับกลายเป็นว่าฝ่าย ทหารเยอรมั น ตามเขามา จั บ กุ ม พวกทหาร โซเวียตไว้ได้และมองเขาเป็นวีรบุรุษที่ล่อฝ่าย ศัตรูออกมา แซลลีกลับไม่แก้ไขความเข้าใจผิด ของคนเหล่านั้นเพราะรักตัวกลัวตาย ถึงท้าย ที่สุดเมื่อเยอรมันแพ้สงครามแซลลีถูกทหาร โซเวียตจับกุมตัวเขาก็พยายามท�ำให้ตนเองมี ชีวิตรอดด้วยการใช้ภาษารัสเซียบอกให้รู้ว่าเขา เป็นยิว นอกจากนีเ้ ราจะเห็นว่า ภาพยนตร์เรือ่ งนีเ้ สียดสี พวกนาซีอย่างเห็นได้ชดั พวกเขาไม่เคยรูเ้ ลยว่า แซลลีเป็นชาวยิวแม้ว่าสามารถตรวจสอบได้ ง่ายดายเหมือนกับตัวละครหนึง่ ในเรือ่ งทีย่ นื ยัน กับทหารเยอรมันว่าตนไม่ได้เป็นชาวยิวแต่เป็น ชาวอาร์เมเนีย (Armenier) ทหารเยอรมันจึง ตรวจสอบด้วยการถอดกางเกงของเขาเมื่อเห็น ว่าอวัยวะเพศชายของเขาถูกขลิบจึงรู้ทันทีว่า เขาไม่ได้เป็นชาวอาร์เมเนียอย่างที่ปากบอก พวกเขาสามารถใช้วิธีการเดียวกันตรวจสอบ แซลลีแต่น่าแปลกที่ไม่ท�ำเช่นเดียวกัน กลับเชื่อ ค�ำโกหกของเด็กหนุม่ อย่างสนิทใจ ซ�ำ้ ยังมองเขา เป็ น เด็ ก หนุ ่ ม ที่ เ ฉลี ย วฉลาด น่ า รั ก มี ค วาม
สามารถด้านภาษา (เยอรมัน-รัสเซีย) ให้ความ เอ็นดูแซลลี ยกให้เขาเป็นที่รักและชื่นชมจนได้ รับเป็นบุตรบุญธรรมของนายทหารคนหนึ่ง และฉากที่เสียดสีพวกนาซีได้เห็นชัดที่สุดคงจะ เป็นฉากการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ซึ่ง ในวันนั้นเป็นการเรียนเรื่องชาติพันธุ์ วิธีการ ตรวจสอบคุณสมบัตขิ องชนเผ่าอารยันทีแ่ ท้จริง โดยดูจากวัดกะโหลกในโรงเรียนยุวชนฮิตเลอร์ และแซลลีกถ็ กู เรียกไปเป็นกรณีตวั อย่าง ขณะที่ เขาลุน้ ว่าตนเองจะถูกจับได้หรือไม่วา่ เป็นยิว แต่ ครู ผู ้ ส อนกลั บ ใช้ ท ฤษฎี ม ายื น ยั น ความเป็ น อารยันของเขาได้อย่างน่าขัน ทัง้ ทีต่ วั แซลลีและ ผู้ชมต่างรู้ดีว่ามันไม่จริง “แซลลีเป็นชาวยิว” นี่ จึงเป็นการสะท้อนแนวความคิดรังเกียจชาวยิว
ของฮิตเลอร์ว่าไร้เหตุผล ใช่วา่ บทภาพยนตร์จะสะท้อนแง่มมุ ด้านลบของ ชาวเยอรมั น เท่ า นั้ น แต่ ยั ง ให้ ภ าพของคน เยอรมันที่แตกต่างออกไปไม่ว่าจะเป็นแม่ของ เลนี (Lenis Mutter) หรือโรแบร์ต (Robert) ที่ เมื่ อ รู ้ ค วามจริ ง ว่ า แซลลี เ ป็ น ชาวยิ ว ก็ มิ ไ ด้ รังเกียจหรือไม่ได้ตอ้ งการจะเปิดโปงเขา แต่กลับ เห็นอกเห็นใจ ปลอบใจแซลลีและเป็นที่พักพิง ของเขาเสียด้วยซ�้ำ แต่อย่างไรก็ตามภาพยนตร์เรือ่ งนีก้ ไ็ ม่ได้ยกย่อง ชื่นชมหรือแสดงความเห็นใจต่อชาวยิวเสียที เดียว การเล่าเรื่องยังแสดงถึงทัศนคติด้านลบ บางอย่างที่มีต่อชาวยิวผ่านตัวละครหลักอย่าง
ซาโลมอน (Salomon) เช่นเดียวกัน ไม่ว่าจะ เป็ น ลั ก ษณะหนึ่ ง ของชาวยิ ว ที่ ค รู ผู ้ ส อนวิ ช า วิทยาศาสตร์ได้กล่าวไว้วา่ ชาวยิวจะมักลักษณะ ที่เจ้าเล่ห์ แต่สามารถเอาตัวรอดได้เก่ง ซึ่งครูผู้ สอนกล่าวด้วยทัศนคติที่มองพฤติกรรมเหล่านี้ ติดลบ และเราก็เห็นได้ชัดว่ามันมีอยู่อย่างเต็ม เปี่ยมในตัวของแซลลีที่เขาใช้เพื่อให้มีชีวิตรอด และการพยายามเอาชีวิตของแซลลีนี้เอง ครั้ง หนึง่ ท�ำให้เขากลายเป็นต้นเหตุของการเสียชีวติ ของเด็ ก หนุ ่ ม ชาวโปแลนด์ ที่ เ ป็ น เพื่ อ นร่ ว ม สถาบันเดียวกันแซลลีก่อนที่เขาจะถูกทหาร เยอรมันจับตัวมา หากมองให้แง่หนึ่งเป็นไปได้ ว่าผู้ก�ำกับสาวจงใจเลือกให้ตัวละครที่ตายเป็น คนโปแลนด์เช่นเดียวกับเธอ เมื่อแซลลีเป็นต้น เหตุของการตายก็นับเป็นตราบาปที่ร้ายแรง อย่างหนึ่งที่อักนีซสกาจะถ่ายทอดได้เห็นถึง ความรู้สึกติดลบที่มีต่อชาวยิวก็เป็นได้ หรือจะ
เป็นในแง่ของความเจ้าชู้ของแซลลี ที่ไม่ว่าเขาจะอยู่ที่ใดก็มีคนรักทุกที เริ่ ม ตั้ ง แต่ เ มื่ อ ครอบครั ว ของเขา อพยพไปยังโปแลนด์ แซลลีกค็ บหา กับหญิงสาวที่โรงละครของเมือง ต่อมาเมื่อเขาหลบหนีมาสหภาพ โซเวียตและเข้าเรียนในโรงเรียน เขา ก็คบหากับคุณครูสาวอย่างอินนา (Inna) เมื่อถูกทหารเยอรมันจับตัว มาและอาศัยในค่ายทหารก็แสดง พฤติ ก รรมคล้ า ยเป็ น คนรั ก กั บ โร แบร์ต เพื่อนทหารเกย์ผู้สูงวัยกว่า ขณะก�ำลั ง เดิ น ทางเพื่ อ เข้ า เรี ย น โรงเรียนยุวชนฮิตเลอร์ แซลลีก็มีอะไรกับหญิง สาวคนหนึง่ บนรถไฟ และท้ายทีส่ ดุ ก็ได้รจู้ กั สน ใจเลนีและต้องการมีอะไรกับเธอ หากมองผิว เผินเนื้อเรื่องอาจต้องการบอกว่าไม่ว่าอยู่ที่ใด แซลลี ก็ มี ค นมารุ ม รั ก เสมอ แต่ โ ดยเฉพาะ เหตุการณ์ที่เขามีสัมพันธ์เชิงชู้สาวกับหญิงสาว บนรถไฟก็สะท้อนพฤติกรรมด้านลบอย่างหนึ่ง ของชาวยิวที่ภาพยนตร์เรื่องนี้สื่อผ่านตัวละคร หลักอย่างแซลลี แม้เนื้อเรื่องของภาพยนตร์จะด�ำเนินแบบเรียง ต่อกันไปเรื่อยๆ แต่ความมีชั้นเชิงอีกอย่างหนึ่ง ที่น่าสนใจในภาพยนตร์เรื่องนี้คงเป็นการเล่า เรื่องที่กระชับจากเหตุการณ์ที่ด�ำเนินในเรื่อง กว่า 4 ปีที่สามารถบอกเล่าเหตุการณ์โดยรวม ได้ดว้ ยเวลาเพียง 100 นาทีกว่า การเลือกใช้โทน
สีของฟิล์มที่แสดงถึงโทนของเรื่องอย่างชัดเจน เช่ น ฉากสงครามหรื อ ฉากการหลบหนี ใ น ภาพยนตร์จะปรากฏโทนสีของเรือ่ งทีเ่ ป็นสีหม่น แทบทั้งสิ้น ต่างจากฉากเริ่มต้นของเรื่องเมื่อซา โลมอนเกิดหรือฉากพลอดรักกันระหว่างเด็ก หนุ่มกับหญิงสาวชื่อเลนี (Leni) ปรากฏโทนสี ของเรื่องที่สดใส และเป็นช่วงเวลากลางวัน นอกจากนี้ต้องขอยกความดีความชอบให้กับ การแสดงทีน่ า่ ยกย่องของ มาร์โค ฮอฟชไนเดอร์ (Marco Hofschneider) ในบทบาทของ ซาโลม อนหรือแซลลีในวัยหนุ่ม ที่สามารถถ่ายทอด บทบาทได้อย่างดีเยีย่ ม จนดึงผูช้ มให้ด�ำดิง่ ไปกับ ความรู ้ สึ ก กดดั น ภายในจิ ต ใจพร้ อ มๆกั บ ตั ว ละครตัวนี้ได้อย่างง่ายดาย ท้ายที่สุดภาพยนตร์เรื่อง Hitlerjunge Salomon จึ ง แทบไม่ มี ข ้ อ ติ ติ ง ใดๆด้ า นคุ ณ ภาพ ประเทศในโลกตะวันตกแทบทุกประเทศให้การ ตอบรั บ และชื่ น ชมภาพยนตร์ เรื่ อ งนี้ อ ย่ า ง ล้ น หลามจนได้ เข้ า ชิ ง รางวั ล ออสการ์ ส าขา ภาพยนตร์ดดั แปลงยอดเยีย่ ม รวมทัง้ ในประเทศ สหรัฐอเมริกาภาพยนตร์เรื่องนี้ยังได้รับค�ำนิยม และชื่นชมจากนักวิจารณ์เช่นเดียวกันจนได้รับ รางวัลลูกโลกทองค�ำในปี ค.ศ. 1991 เพราะ นอกจากบทของภาพยนตร์นี้จะสามารถบอก เล่าสถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นได้อย่างมีชั้นเชิง นักแสดงยังสามารถดึงผูช้ มให้เข้าไปเวียนว่ายใน ห้วงของภาพยนตร์ได้อย่างแยบคาย III
BYE.