เอกสารการสัมมนาวิจัย วิจักขณ์ กรมศิลปากร ปี 2560 เล่ม 1

Page 1

“วิจัย วิจักขณ์” การนาเสนอผลงานวิชาการ กรมศิลปากร ประจาปี พ.ศ. 2560

เล่ม ๑ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๐ www.finearts.go.th


สารบัญ หน้า บทคัดย่อการสัมมนา วิจัย วิจักขณ์ การนาเสนอผลงานวิชาการของกรมศิลปากร วันพฤหัสบดีที่ 31 สิงหาคม 2560 ๑. จารึกพระเจ้าจิตรเสนที่พบในประเทศไทย สปป.ลาว และกัมพูชา โดย นางสาวพิมพ์พรรณ ไพบูลย์หวังเจริญ ๒. ไตรภูมิฉบับหลวง : พระราชมรดกทางภูมิปัญญาอันทรงคุณค่า โดย นายสมชัย ฟักสุวรรณ์ ๓. วิเคราะห์ : คัมภีร์เก่า เล่าเรื่องวัดทองนพคุณ โดย นายวัฒนา พึ่งชื่น ๔. ราแต่งองค์ทรงเครื่องโขน โดย นายชวลิต สุนทรานนท์

1 6 12 17

๕. ลาพพระนาสวน:รามเกียรติ์ฉบับคัมภีร์ใบลานของจังหวัดเลย โดย นางสาวเอมอร เชาวน์สวน ๖. วัดสวนดอก : สุสานหลวงเจ้านายฝ่ายเหนือ โดย นางสาวระชา ภุชชงค์

20

๗. การใช้ประโยชน์และการตีความเอกสารจดหมายเหตุ: กรณีศึกษาเอกสารจดหมายเหตุ สานักนายกรัฐมนตรีกองกลาง สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (2) สร0201.40 1-8 เรื่องอุทกภัยระหว่างปี พ.ศ. 2475 -2480 โดย นางสาววรนุช วีณะสนธิ

30

๘. หมอบรัดเลกับงานด้านการแพทย์ในสยาม โดย นายธันวา วงศ์เสงี่ยม ๙. คาฟ้องมองซิเออไซแงซึ่งกล่าวโทษอุปฮาดเมืองอุบล: หลักฐานประวัติศาสตร์เมืองอุบลที่พบใหม่ โดย นางสาวเชาวนี เหล็กกล้า

35 39

๑๐. ปัญหาเรื่อง โต๊ะเท้าช้าง โดย นายยุทธนาวรากร แสงอร่าม ๑๑. คุกนั้นสาคัญตรงไหน โดย นางสาวภัคพดี อยู่คงดี ๑๒. ระบบบริหารจัดการน้าเมืองศรีสัชนาลัย โดย นายภัทรพงษ์ เก่าเงิน

43 48 51

๑๓. บารายเมืองสุโขทัย โดย นายธงชัย สาโค ๑๔. ผ้าปักโคลงสุภาษิตอิศปปกรณา เครื่องตั้งงานพระเมรุท้องสนามหลวง ร.ศ. 108 โดย นางสาวเด่นดาว ศิลปานนท์ ๑๕. ข้อมูลและความรู้เพิ่มใหม่จากโครงการศึกษาการตั้งถิ่นฐานในเขตเมืองโบราณศรีเทพ ปี พ.ศ. 2559 โดย นางสุริยา สุดสวาท ๑๖. วัดร้างกลางกรุงเทพฯ และวัดน้อยอยู่(ร้าง) : ผลการสารวจและการขุดตรวจทางโบราณคดี โดย นางจิรนันท์ คอนเซฟซิออน ๑๗. อาศรมฤาษีที่ภูเขากัจโตน โดย นายวสันต์ เทพสุริยานนท์ ๑๘. โครงกระดูกมนุษย์จากวัดวิหารทอง เมืองพิษณุโลก โดย นางสาวนาตยา ภูศรี

60 65

๑๙. พระพิมพ์และพระพุทธรูป กรุพระเจดีย์วัดมหาธาตุเพชรบูรณ์ โดย นางสาวอภิรดี พิชิตวิทยา และนางสาวจุฑารัตน์ เจือจิ้น

95

27

74 80 83 88


สารบัญ (ต่อ) ๒๐. หลักฐานการรับพุทธศาสนาแรกสุดในประเทศไทย โดย ร.อ.บุณยฤทธิ์ ฉายสุวรรณ

หน้า 107

๒๑. การใช้เสียมลม (Air Spade) ในการขุดทางโบราณคดี โดย นายสายกลาง จินดาสุ ๒๒. คอกช้างดิน โดย นางสาวสุภมาศ ดวงสกุล ๒๓. ภาชนะบรรจุกระดูกสู่วัฒนธรรมเจนละ ณ แหล่งโบราณคดีบ้านศรีคุณ ตาบลพังเคน อาเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี โดย นางสาวสิริพัฒน์ บุญใหญ่ ๒๔. อายุสมัยของพระมหาธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช จากงานโบราณคดีล่าสุด โดย นายภาณุวัฒน์ เอื้อสามาลย์ ๒๕. พระพุทธรูปนาคปรกผู้ทรงภูษาสมพต โดย นายกมลาศ เพ็งชะอุ่ม ๒๖. ยันต์ที่ซ่อนอยู่ในกลองสาหรับพระนคร:การศึกษาเปรียบเทียบกับ สมุดไทยดา เรื่อง ตาราเลขยันต์ ฉบับห้องสมุดบริติช โดย นางสาวศุภวรรณ นงนุช

111 116 122

๒๗.กระบวนการศึกษาวิเคราะห์ทมี่ าของโบราณวัตถุ : ทับหลังจาหลักภาพพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์ โดย นางสาวพรเพ็ญ บุญญาทิพย์ ๒๘. การตรวจสอบใหม่เกี่ยวกับเทคนิคการผลิตเกลือสินเธาว์ของชุมชนโบราณในลุ่มน้ามูลและชี โดย นายมนตรี ธนภัทรพรชัย ๒๙. ข้อมูลเบื้องต้นที่ได้จากงานโบราณคดีในพระราชวังหลวงและวัดพระศรีสรรเพชญ์ ตาบลประตูชัย อาเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ. 2560 โดย นายวีระศักดิ์ แสนสะอาด และนายศุทธิภพ จันทราภาขจี

142

126 133 136

147 152


จารึกพระเจาจิตรเสน ที่พบในประเทศไทย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และกัมพูชา

พิมพพรรณ ไพบูลยหวังเจริญ 

พระเจาจิตรเสน เปนพระมหากษัตริย ผูยิ่ง ใหญ แหง อาณาจัก รเจนละ ครองราชยส มบัติ ประมาณพุทธศักราช ๑๑๔๒ – ๑๑๕๘ เมื่อประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกแลว เฉลิมพระนามใหมวา พระเจา มเหนทรวรมั น พระองค มั ก สร า งจารึ ก ประกาศพระราชประวั ติ และพระราชกรณี ย กิ จ ตลอดรั ช กาล ไวตามสถานที่ตาง ๆ ที่ทรงกรีฑาทัพไปถึง ดวยอักษรปลลวะ ภาษาสันสกฤต ที่ชัดเจนสวยงาม ปจจุบันพบ จารึกพระเจาจิตรเสนในประเทศไทย จํานวนมากถึง ๑๔ รายการ สวนใหญเปนจารึกที่พบในพื้นที่จังหวัดตาง ๆ ครอบคลุม ตลอดลําแมน้ํามูล และแมน้ําชี ซึ่งสะทอนใหเห็นถึง การขยายพระราชอาณาเขตในรัชสมัยของ พระองคไดเปนอยางดี

จารึกพระเจาจิตรเสนที่พบในประเทศไทย จารึกพระเจาจิตรเสนทั้ง ๑๔ รายการ ที่พบในประเทศไทย คือ ๑. จารึกถ้ําเปนทองดานใน ตําบลประคํา อําเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย เลขทะเบียนจารึก บร. ๓ จารึกนี้ชํารุดเหลืออักษรเพียง ๒ บรรทัด เพราะเปนจารึกบนผนังถ้ําริมฝงน้ําลําปลายมาศ เขตอําเภอ ลําปลายมาศ ตอเนื่องกับอําเภอนางรอง บริเวณที่ปรากฏอักษรจารึกนั้น มีการเตรียมผนังถ้ําใหเปนแผนเรียบ หนากระดาน ลึกลงไปประมาณ ๕ มิลลิเมตร แตงเปนกรอบสี่เหลี่ยมผืนผา แลวจึงจารึกตัวอักษร ปจจุบันผนัง ถ้ําที่มีจารึกจมอยูใตน้ํา เพราะจังหวัดไดสรางเขื่อนกั้นน้ําไว ๒. จารึกถ้ําเปดทองดานนอก พบในแหลงเดียวกัน กําหนดเลขทะเบียนเปน บร. ๔ มีจารึก ขอความเพียง ๒ บรรทัด ๓. จารึกผนังถ้ําเปดทอง พบในแหลงเดียวกัน กําหนดเลขทะเบียนเปน บร. ๕ จารึกรายการ นี้อักษรลบเลือนมาก เหลือตัวอักษรเพียงพระนามจิตรเสน และคําวา กีรฺตติ เทานั้น ๔. จารึกปากโดมนอย เปนศิลาจารึกรูปใบเสมา พบที่ริมฝงแมน้ํามูล ปากลําโดมนอย ในเขต อุท ยานแหง ชาติแกง ตะนะ ตําบลโขงเจียม อําเภอโขงเจียม จัง หวัดอุบ ลราชธานี จารึก ขอความ ๑ ดา น ๖ บรรทัด กําหนดเลขทะเบียนเปน อบ. ๒๘ ๕. จารึ กปากน้ํา มูล ๑ เปนศิ ล าจารึก รูป ใบเสมา พบที่ ฝง ขวาของปากแมน้ํา มูล ตําบล โขงเจียม อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี จารึก ขอความ ๑ ดาน ๖ บรรทัด กําหนดเลขทะเบียนเปน อบ. ๑ ๖. จารึกปากน้ํามูล ๒ เปนศิลาจารึกรูปใบเสมา พบที่ฝงขวาปากแมน้ํามูล ตําบลโขงเจียม อํ า เภอโขงเจี ย ม จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี จารึ ก ข อ ความ ๑ ด า น ๖ บรรทั ด กํ า หนดเลขทะเบี ย นเป น อบ. ๒ ๗. จารึกวัดสุปฏนาราม ๑ เปนศิลาจารึก รูป ใบเสมา พบที่ถ้ําภูห มาใน อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี จารึกขอความ ๑ ดาน ๖ บรรทัด กําหนดเลขทะเบียนเปน อบ. ๔ ๘. จารึกถ้ําภูหมาใน เปนภาพสําเนาจารึกทรงสี่เหลี่ยมผืนผา จารึกอักษร ๑ ดาน ๓ บรรทัด กําหนดเลขทะเบียนเปน อบ. ๙ จารึกรายการนี้มีความสับสนในสถานที่พบบางวา พบที่ถ้ําภูหมาใน ริมฝงแมน้ํา มูล บางวาเปนจารึกจากถ้ําปราสาทบริเวณปากแมน้ํามูล สํานักหอสมุดแหงชาติไดตรวจสอบเปรียบเทียบกั บ 

นักอักษรศาสตร์ ทรงคุณวุฒิ กรมศิลปากร นําเสนอในโครงการวิจยั วิจกั ขณ์ เมือวันที ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

1


หนังสือ Inscriptions du Cambodgeและหนังสือ Inscriptions of Kambujaของ Sri Prakash Chandra Majumdarแลวเชื่อวา จารึกถ้ําภูหมาใน และจารึกถ้ําปราสาทเปนจารึกหลักเดียวกัน ๙. จารึ ก ศาลหลั ก เมื อ งสุ ริ นทร เป น เศษจารึ ก รู ป สี่ เ หลี่ ย มด า นเท า มี ร อยแตก พบที่ ศาลหลักเมืองจังหวัดสุรินทร จารึกขอความ ๑ ดาน ๓ บรรทัด กําหนดเลขทะเบียนเปน สร. ๓๗ ๑๐. จารึกฐานรูปเคารพแหลงโบราณคดีดอนขุมเงิน เปนจารึกฐานรูปเคารพทรงสี่เหลี่ยม พบที่แหลงโบราณคดีดอนขุมเงิน บานหนองคูณ ตํา บลเดนราษฎร กิ่งอําเภอหนองฮี จังหวัดรอยเอ็ด จารึก ขอความ ๑ ดาน ๔ บรรทัด กําหนดเลขทะเบียนเปน รอ. ๖ ๑๑. จารึกวัดศรีเมืองแอม เปนศิลาจารึก แทง สี่เ หลี่ยม สภาพชํารุด พบที่วัดศรีเมืองแอม กิ่งอําเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแกน จารึกอักษร ๑ ดาน ๓ บรรทัด กําหนดเลขทะเบียนเปน ขก. ๑๕ ๑๒. จารึกวัดบานเขวา เปนศิลาจารึกฐานรูป เคารพทรงสี่เหลี่ยม พบที่วัดธรรมประสิท ธิ์ สุทธาราม (วัดบานเขวา) ตําบลปะเดียม อําเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย จารึกอักษร ๑ ดาน ๓ บรรทัด กําหนด เลขทะเบียนเปน บร. ๓๘ ๑๓. จารึกชองสระแจง เปนศิลาจารึกทรงกลมแบนคลายใบเสมา พบที่บานชองสระแจง ตําบลตาพระยา อําเภอตาพระยา จังหวัดสระแกว จารึกอักษร ๑ ดาน ๔ บรรทัด กําหนดเลขทะเบียนเปน ปจ. ๕ ๑๔.จารึกพระเจาจิตรเสนในคลังพิพิธภัณฑสถานแหงชาติพิมาย เปนศิลาจารึกรูปใบเสมา พบที่คลัง พิพิธภัณฑสถานแหง ชาติพิม าย จัง หวัดนครราชสีมา จารึกอัก ษร ๑ ดาน ๖ บรรทัด กําหนดเลข ทะเบียนเปน นม. ๖๓

สรุปสาระจากจารึกพระเจาจิตรเสนในประเทศไทย ๑. จารึกพระเจาจิตรเสนที่พบในประเทศไทย สามารถจําแนกรูปลักษณะได ๓ ประเภท คือ - จารึกพบที่ผนังถ้ํา เชน จารึกถ้ําเปดทอง บร. ๓ บร. ๔ และ บร. ๕ - จารึกขอบฐานรูปเคารพ เชน จารึก ฐานรูป เคารพแหลง โบราณคดีดอนขุม เงิน จังหวัดรอยเอ็ด และจารึกวัดบานเขวา จังหวัดบุรีรัมย - จารึกลอยตัวรูปใบเสมาหรือทรงกลีบบัว เชน จารึกปากแมน้ํามูล ๑ และ ๒ จารึก ชองสระแจง จังหวัดสระแกว จารึกปากโดมนอย จังหวัดอุบ ลราชธานี และจารึกพระเจาจิตรเสน ในคลัง พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพิมาย จังหวัดนครราชสีมา เปนตน ๒. จารึกพระเจาจิตรเสน สามารถจําแนกอายุได ๓ สมัย ดังนี้ - จารึกรุนแรกในรัช กาลของพระองค คือ กลุม จารึ ก ที่ผ นัง ถ้ําเปดทอง จัง หวั ด บุรีรัมย มีเนื้อหากลาวถึง ความภักดีอยางแนวแนตอพระมารดา และพระบิดา (พระองค) ไดทําตามคําสั่งให ประดิษฐานพระผูเปนเจาเปนที่เคารพบูชา นอกจากนั้นยังมีจารึกที่สรางรุนแรกในรัชกาลของพระองคอีก ๒ ชิ้น คือ จารึกพบที่แหลง โบราณคดีดอนขุมเงิน จังหวัดรอยเอ็ด และจารึกพบที่ศาลหลักเมือง จังหวัดสุรินทร จารึกพบที่แหลงโบราณคดี ดอนขุมเงินมีรูปลักษณะเปนฐานศิลาทรงสี่เหลี่ยมประดิษฐานรูปโค ซึ่งเปนสัญลักษณแทนองคพระศิวะ มีจารึก อักษรปรากฏบนขอบฐาน ๔ บรรทัด ขอความในจารึกตอนตนกลาวถึงพระราชประวัติของพระองควาเปนโอรส ของพระเจาวีรวรมัน เปนพระราชนันดาของพระเจาสารวเภามะ แมโดยศักดิ์จะเปนอนุชา แตมีพระชนมายุ มากกวาจึงเปนเชษฐาของพระเจาภววรมันที่ ๑ และเมื่อพระองคไดเปนกษัตริยแลวไดเฉลิมพระนามใหมวา พระเจามเหนทรวรมัน ความตอนทายของจารึก กลาววาหลัง จากที่พระองคไดชัยชนะอยางสมบูร ณแลว ไดสรางรูปโคศิลาเปนธงชัยไวเปนรูปเคารพแสดงความจงรักภักดีตอพระศิวะกับไดสรางบอน้ําไวเพื่อขจัดความ แหงแลงที่มีมาแตโบราณกาลใหหมดสิ้นไป อยางไรก็ดีแมจารึกพบที่ศาลหลักเมืองสุรินทรจะชํารุดเหลือขอความ 2


เพียง ๒ – ๓ บรรทัด แตขอความที่เหลือนั้นตรงกับขอความจารึกฐานรูปเคารพแหลงโบราณคดีดอนขุมเงิน เฉพาะสวนวรรคหลังของบรรทัดที่ ๒ และ ๓ - จารึกรุนที่สอง คือ กลุมจารึกพบที่จังหวัดอุบลราชธานี จํานวน ๕ รายการ คือ จารึกปากแมน้ํามูล ๑ และ ๒ จารึกวัดสุปฏนาราม จารึกปาโดมนอย และจารึกถ้ําภูหมาใน เนื้อหาของจารึก กลุมนี้ ตอนตนกลาวถึงพระราชประวัติของพระองค จนถึงการอภิเษกเปนพระเจาแผนดิน และเฉลิมพระนาม ใหมแลว จารึก กลุมนี้กลาววา “เมื่อไดชัยชนะประเทศกัมพูทั้ง ปวงแลว ไดส รางพระศิวลึง คอันเปนเสมือน เครื่องหมายแหงชัยชนะของพระองคไว ณ ที่นี้” - จารึกรุนที่สาม ไดแก จารึกวัดศรีเมืองแอม จัง หวัดขอนแกน จารึกวัดบานเขวา จังหวัดบุรีรัมย และจารึกชองสระแจง จังหวัดสระแกว แมวาจารึกวัดศรีเมืองแอม และจารึกวัดบานเขวา จะมี เนื้อหาคลายคลึงกับจารึกรุนแรก และรุนที่สองก็ตาม แตสามารถจําแนกอายุไดจากลักษณะตัวอักษรที่เริ่ม พัฒนารูปแบบไปตามความรูความสามารถของคนรุนลูกศิษย ซึ่งแตกตางจากพราหมณผูรู ศาสตรร ะดับครู อาจารยที่มีความรูเรื่องรูปอักษรที่ใชในระหวางพุทธศตวรรษที่ ๑๑ เปนอยางดี นอกจากนั้นจารึกชองสระแจง ยังมีการจารึกขอความที่มีความตางกับหลักอื่น ๆ กลาวคือ ไมไดเริ่มตนเลาพระราชประวัติตอนตน แตออกพระ นามใหมหลังจากราชาภิเษกวา มเหนทรวรมันทรงเปนเหมือนเทพเจา ทรงขุดบอน้ํานี้เพื่อใชชําระลางใหเกิด ความสุข บริสุทธิ์ แสดงใหเห็นวานาจะเปนจารึกที่สรางขึ้นในชวงปลายรัชกาล เพราะทรงเปนพระมหากษัตริยท ี่ ยิ่งใหญสมบูรณ พรอมดวยเกียรติยศ เปนที่ยอมรับของประชาชนทั่วไปแลว อยางไรก็ตามขอมูลจากจารึกของพระเจาจิตรเสนก็เปนหลักฐานใหสามารถสรุปสายตระกูล ของพระองคไดระดับหนึ่ง ดังปรากฏในบทความของ อาจารยกองแกว วีระประจักษ ดังนี้ ราชวงศของพระเจาจิตรเสน (พระเจามเหนทรวรมัน) พระสนม + พระเจ้ าโกณฑินยะ + พระนางกุลประภาวดี (พระเจ้ าโกณฑินยะพระราชาแห่งอาณาจักรฟูนนั สินพระชนม์ พ.ศ. ๑๐๕๗)

พระเจ้ ารุทรวรมัน พ.ศ. ๑๐๕๗ – ๑๐๙๐

ศรีคุณวรมัน

ศรีปฤถิวีนทรวรมัน พระเจ้ าภววรมันที ๑ สินพระชนม์ พ.ศ. ๑๑๔๑

ศรี สารวเภามะ

ศรีวีรวรมัน พระเจ้ าจิตรเสน (พระเจ้ ามเหนทรวรมัน) พ.ศ. ๑๑๔๒ – ๑๑๕๘) พระเจ้ าอีศานวรมัน พ.ศ. ๑๑๕๙ – ๑๑๘๐

สันนิษฐานจากข้ อความในจารึ ก

3


จารึกพระเจาจิตรเสนที่พบในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จารึกพระเจาจิตรเสนที่พบในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มี ๓ รายการ คือ จารึก พระเจาจิตรเสน พบที่บานหวยสระหัว แขวงจําปาสัก จารึก ๒ รายการนี้ มีชื่อเรียกแตกตางกันเปนหลายทาง อาจารยกองแกว วีระประจัก ษ และ ดร.กังวล คัชชิมา มหาวิท ยาลัยศิลปากร ใหชื่อวา จารึกพบที่วัดหลวง (เกา) อําเภอปากเซ แขวงจําปาสัก สํานักหอสมุดแหงชาติใหชื่อวา จารึกในสาง ๑ และ ๒ ปจจุบันเก็บรักษาไว ในคลัง (สาง) พิพิธภัณฑสถานแหงชาติวัดพู แขวงจําปาสัก มีลักษณะเปนศิลาจารึกแทงสี่เหลี่ยมผืนผา จารึก อักษรปลลวะ ภาษาสันสกฤต จํานวน ๓ บรรทัด และจารึกพบที่ภูละคร ริมฝงแมน้ําโขง จํานวน ๑ รายการ จารึกทั้ง ๓ รายการนี้ มีเนื้อหาสาระเชนเดียวกับจารึกพระเจาจิตรเสนที่พบในประเทศไทย กลาวคือ เลาพระราชประวัติในตอนแรก และกลาวถึงการสรางรูปโคศิลาเพื่อเปนที่ระลึกแกพระราชบิดา และ พระปตุจฉาของพระองค

จารึกพระเจาจิตรเสนที่พบในกัมพูชา จารึก พระเจ าจิตรเสนที่พ บในกัม พูชา มีขอมูล อยูเ พียง ๒ รายการ คือ จารึก พบที่เ มือ ง กระแจะ และจารึกจรวยอัมพิล (Cruoyamphil) จารึก พบที่เ มืองกระแจะ มีขอความรูป อักษรและภาษาเหมือนกับจารึกถ้ําเปดทองดานใน (บร. ๓) แตมีขอความครบถวนสมบูรณกวา ความวา “ดวยความภักดีอยางแนวแนตอพระมารดา และพระบิดา ไดทําตามคําสั่งใหประดิษฐานพระผูเปนเจา เปนที่เคารพบูชา”สวนจารึกจรวยอัมพิลชํารุดมาก แมจะเหลือ ขอความเพียง ๒ บรรทัด เทานั้น แตก็มีสาระเปนเรื่องเดียวกันที่วาดวยพระราชประวัติ กลาวไดวา จารึกพระเจาจิตรเสนทุกรายการ เปนจารึกที่แสดงใหเห็นถึงพระราชประวัติและ พระราชกรณียกิจตาง ๆ ตลอดจนการขยายอาณาเขตสรางอาณาจักรเจนละของพระองคอยางชาญฉลาด และ สงเสริมใหประชาชนนับถือศาสนาพราหมณลัทธิไศวนิกาย ดวยการทรงสรางรูป เคารพตามคติศาสนาไวใน สถานที่ตามธรรมชาติที่มีชัยภูมิเหมาะสม เพื่อใหประชาชนมีที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ และอยูอยางมีความสุข อันเปน การประกาศพระราชอํ า นาจและพระเกี ย รติ คุ ณ ของพระองค ใ ห เ ป น ที่ ป รากฏสื บ มาตราบจนป จ จุ บั น นอกจากนั้นจารึกทุกรายการของพระองค แมบางรายการจะชํารุดแตกหัก ลบเลือนไปตามกาลเวลา แตสาระใน จารึกที่เหมือนหรือคลายคลึงกันทั้งหมด ทําใหตีความหรือสรุปสาระไดงาย และการบันทึกดวยตัวอักษรปลลวะ ภาษาสันสกฤตที่ชัดเจน สวยงาม ทําใหสามารถกําหนดระยะเวลาการสรางจารึก ไดเปน ๓ รุน ตามลักษณะ ตัวอักษรที่พัฒนาเปลี่ยนแปลงไปตามความรูความสามารถของพราหมณจากรุนครูผูรูศาสตรในพุทธศตวรรษที่ ๑๑ สูรุนศิษยในพุทธศตวรรษที่ ๑๒ อยางชัดเจน แมวาจารึกเหลานี้จะไมไดบอกศักราชที่สรางไวเลยก็ตาม

4


บรรณานุกรม กองแกว วีระประจักษ. จารึกพระเจาจิตรเสน กษัตริยแหงลุมแมน้ํามูลและแมน้ําชี. พ.ศ. ๒๕๕๘, (เอกสารอัดสําเนา). จารึกในประเทศไทย เลม ๑ อักษรปลลวะ อักษรหลังปลลวะ พุทธศตวรรษที่ ๑๑ – ๑๔. พิมพครัง้ ที่ ๒ แกไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: หอสมุดแหงชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๕๙. นานาสารัตถคดีจากจารึกและเอกสารโบราณ. กรุงเทพฯ: สํานักหอสมุดแหงชาติ, ๒๕๕๗. สุภัทรดิศดิศสกุล, ม.จ. ประวัติศาสตรเอเชียอาคเนยถึง พ.ศ. ๒๐๐๐. กรุงเทพฯ: สํานักนายกรัฐมนตรี, ๒๕๒๒. ฮอลล, แดเนียลจอรจ เอ็ดเวิรด. ประวัติศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต. แปลจาก A History of South – East Asia by D.G.E. Hall โดย คุณวรุณยุพา สนิทวงศ ณ อยุธยา และคนอื่น ๆ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ โครงการตําราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, ๒๕๒๒. Coedis. George. Inscriptions du Cambodge.Vols II. Hanai :ImprimericD’Extremeorient, 1937.

5


ไตรภูมิฉบับหลวง : พระราชมรดกทางภูมิปญญาอันทรงคุณคา “นมตฺถุ พระพุทธศักราชลวงแลวได ๒๓๒๕ พระวัสสา ปขาล จัตวาศก เดือน ๕ แรม ๙ ค่ํา วัน เสาร สมเด็ จ บรมนาถพระบาทบพิ ต รพระเจ า อยู หัว ปรมธรรมิ ก ราชาธิ ร าชผู ป ระเสริ ฐ ได ผ า นพิ ภ พ ปราบดาภิเษกเอกไอสุริยมไหสมบัติในกรุงเทพมหานครบวรอยุธยามหาดิลกพิภพนพรัตนราชธานีบุรีรมย อุดมราชมหาสถาน ทรงพระราชศรัทธาปรารถนาพระปรมาภิเษกสัมโพธิญาณ ตั้งพระหฤทัยทํานุบํารุงพระ บวรพุทธศาสนาใหรุงเรืองบมิไดล ะเลยในการที่จะบํารุง พระพุท ธศาสนาทรงบริจาคพระราชทรัพยเปนอัน มากกวามาก ทรงสรางพระพุทธรูป พระสถูป พระเจดีย พระวิหาร พระอุโบสถ พระอารามหลวง รจนาไวเพื่อ จะใหเปนที่ไหวที่สักการบูชาแดฝูงเทพยดาแลมนุษยทั้งปวง และพระราชทานจตุปจจัยทั้ง ๔ แลนิจภัตคิลานภัต แกภิก ษุส งฆทั้ง ปวง เพื่อจะใหเ ปนกําลัง บอกกลาวเลาเรียนบําเพ็ญ เพียรในฝายคันถธุร ะแลวิปส สนาธุร ะ ปรารถนาจะยังภิกขุสงฆสามเณรทั้งปวงใหยิ่งดวยสีลคุณและสมาธิคุณปญญาคุณ จะใหเปนรากเปนเหงาแหง พระพุทธศาสนา ทรงพระราชศรัทธาและพระราชอุตสาหะในกองการกุศลมีกําลัง” ขอความขางตนนั้น ปรากฏอยูในคําปรารภการแตงพระคัมภีรไตรภูมิโลกวินิจฉัยๆ นี้ ถือวาเปน พระราชมรดกทางภูมิปญ ญาชิ้นสํา คัญ ชิ้นหนึ่ ง ที่พระบาทสมเด็จ พระพุท ธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชทรง พระราชทานใหแกชนชาวสยามหรือคนไทยทั้งประเทศ พระคัมภีรไตรภูมิโลกวินิจฉัยนี้ เปนคัมภีรที่สมบูรณดวย สรรพวิทยาการทุกอยาง ทั้งทางโลกและทางธรรม ในทางโลกนั้นมีความรูตางๆ ทั้งภูมิศาสตร ประวัติศาสตร ธรณีวิท ยา อุทกวิท ยา สัตววิท ยา พฤกษศาสตร เกษตรกรรม สถาปตยกรรม ศิลปะ และโดยเฉพาะความรู ทางดานวิทยาศาสตรที่สามารถพิสูจนไดดวยหลักวิทยาศาสตรในปจจุบัน ในทางธรรมนั้น ก็ประมวลหลักธรรม ตางๆ ไวเปนจํานวนมาก ตั้งแตขั้นพื้นฐานระดับศีลธรรม ไปจนถึงขั้นโลกุตรธรรมอันเปนหลักธรรมสูงสุดทาง พระพุทธศาสนา คือทําใหผูป ฏิบัติตามสามารถดับ ทุกขไดอยางเด็ดขาด ฉะนั้น ถาผูใดไดพบไดอานหนังสือ คัมภีรไตรภูมิโลกวินิจฉัยนี้ ก็ตองถือวาเปนคนโชคดีโดยแท เหมือนไดพบขุมทองทางปญญาขุมใหญทีเดียว หนังสือไตรภูมิโลกวินิจฉัยนี้ มีชื่อเรียกกันหลายอยาง เรียกวา เตภูมิกถาบาง เรียก ไตรภูมิกถา บาง ไตรภูมิวินิจฉยกถาบาง ไตรภูมิโลกวินิจฉัยบาง ไตรโลกวินิจฉยกถาบาง ไตรโลกวินิจฉัยบาง แตที่นิยมเรียก กันสวนใหญวา ไตรภูมิฉบับหลวง หนังสือไตรภูมิฉบับหลวงหรือไตรภูมิโ ลกวินิจฉัยนี้ พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก มหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหคณะสงฆซึ่งมีสมเด็จพระสังฆราชเปนประธาน และเหลานักปราชญราช บัณฑิตพฤฒาจารยชวยกันแตง ขึ้นถวายครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๖ เมื่อแตงเสร็จ แลว ไดทูล เกลาถวาย เมื่อ พระองคทรงอานตรวจดูแลว ทรงพระราชดําริวา ขอความไมเปนแนวเดียวกัน สํานวนก็ไมสม่ําเสมอ สวนที่ยอก็ ยอเกินไป ไมสมดวยพระบาลีและอรรถกถา ตอมาถึงป พ.ศ. ๒๓๔๕ ทรงมีพระราชดําริที่จะปรับปรุงแกไขพระ คัมภีรไตรภูมิโลกวินิจ ฉัยใหดียิ่งขึ้น จึง ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหพระยาธรรมปรีชาจางวางราชบัณฑิต เจากรมอาลักษณเปนแมงานในการปรับปรุงแกไข ดังปรากฏหลักฐานในคําปรารภเรื่องไตรภูมิกถาตอนหนึ่งวา “ครั้นอยูมา ณ ปจอ จัตวาศก ทรงพระราชปรารภดวยพระญาณปรีชาวา ไตรภูมิกถาที่แตงไวนั้น ปนแจกแยกกันแตงเปนสวนๆ ความไมเสมอกัน ขึ้นๆ ลงๆ กวากันอยูเปนอันมาก ที่ยังวิปลาสคลาดเคลื่อนวา เนื้อความไมสมดวยพระบาลีและพระอรรถกถานั้นก็มี ถาแตงขึ้นใหมใหเปนคารมเดียว ชําระดัดแปลงเสียใหดี ใหสมดวยพระบาลีและอรรถกถามหาฎีกาและอนุฎีกา ที่ไหนยังเปนสังเขปกถายนยออยูนั้นแตงเพิ่มเติมเขาให พิสดาร จะไดเปนธรรมทานอันล้ําเลิศประเสริฐ เปนที่เกิดกองการกุศลใหสําเร็จผลและประโยชนแกผูอานและ 6


ผูฟงนั้นเปนอันมากกวามาก ทรงพระราชดําริดวยพระญาณสัมปยุต กามาพจรกุศลเจตนาดังนี้แลว ครั้นถึงวัน อัฏฐมีอุโบสถศุกลปกษเดือน ๑๑ เสด็จออกพระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน ถวายสังฆภัตทานแกพระภิกษุสงฆ มีองค พระปฏิมากรเจาเปนประธาน แลวจึงมีพระราชโองการดํารัสสั่งพระยาธรรมปรีชา จางวางราชบัณฑิต จะให ชําระดัดแปลงไตรภูมิกถาอยางพระราชดํารินั้น พระยาธรรมปรีชาจึงกราบทูลพระกรุณาขอเอาพระพุท ธ โฆษาจารยเปนผูชวย พระธรรมอุดมเปนผูสอบ สมเด็จพระสังฆราชาธิบดีเปนที่ปรึกษาไถถามขอความที่สนเทห สงสัย แรกจับการชําระดัดแปลงแตงไตรภูมิกถาครั้งนี้ ปจอ จัตวาศก เดือนอาย แรม ๘ ค่ํา วันศุกร เพลาบาย ๔ โมง พระพุทธศักราชศาสนาลวงแลว ๒๓๔๕ พระวัสสา เศษสังขยา ๖ เดือน กับ ๒๒ วันโดยกําหนด” พระคัมภีรไตรภูมิโลกวินิจฉัยที่พระยาธรรมปรีชาจางวางราชบัณฑิตทําการปรับปรุงแกไขนั้น เปน ฉบับพิสดาร เปนคัมภีรใบลานถึง ๖๐ ผูก โดยแบงเปน ๓ บั้นหรือ ๓ ภาค บั้นตนจํานวน ๒๖ ผูก บั้นกลาง ๑๖ ผูก และบั้นปลายจํานวน ๑๘ ผูก รวมทั้งสิ้น ๖๐ ผูก เมื่อถายถอดออกเปนอักษรไทยแลว พิมพดวยกระดาษ A 4 จะไดประมาณ ๑,๑๑๔ หนา พระคัมภีรไตรภูมิโลกวินิจฉัยฉบับที่ถายถอดและนํามาวิเคราะหนี้ จารดวย อักษรขอม ภาษาบาลีและภาษาไทย เสนอักษรเปนเสนจาร ฉบับลองชาด รวมทั้งสิ้น ๖๐ ผูก แตเนื่องจากที่ หอสมุดแหงชาตินี้ ไมพบฉบับที่สมบูรณแมเพียงฉบับเดียว จึงตองนําคัมภีรจํานวน ๘ ฉบับมาถายถอด จึงได เนื้อความครบถวน และพิจารณาเอาฉบับที่มีเนื้อความตอเนื่องกันเทานั้น นาสลดใจที่พระคัมภีรไตรภูมิโลก วินิจฉัย เปนเอกสารสําคัญชิ้นหนึ่งทางวรรณกรรมในยุครัตนโกสินทร เทียบไดกับไตรภูมิพระรวงในยุคสุโขทัย แตกาลเวลาลวงไปเพียงสองรอยกวาป ตนฉบับที่สมบูรณก็แทบหาไมไดแลว ในการนําเสนอครั้งนี้ จะนําเสนอทางดานภาษาศาสตรและเกร็ดความรูบางอยางซึ่งคิดวาจะเปน ประโยชนแกผูอาน ทางดานภาษาศาสตรนั้น จะวิเคราะหการยืมคําภาษาบาลีมาใชในภาษาไทยซึ่งปรากฏอยูใน พระคัมภีรไตรภูมิโลกวินิจฉัย สวนเกร็ดความรูนั้น จะนําเสนอเรื่องสังคมมนุษยชาวอุตตรกุรุทวีปที่เรานาจะเอา แบบอยาง แตจะนําเสนอดวยวาจาในวันสัมมนา เนื่องจากหนังสือมีเนื้อที่จํากัด วิเคราะหการยืมคําภาษาบาลีมาใชในภาษาไทยจากพระคัมภีรไตรภูมิโลกวินิจฉัย ในขณะถ ายถอดต นฉบั บ จากอั ก ษรขอมสูอัก ษรไทยนั้ น ไดพ บการยืม คําภาษาบาลี ม าใช ใ น ภาษาไทยเปนจํานวนมาก ที่สําคัญพบวาการใชคําศัพทในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนนั้น ตางจากการใชคําศัพท ในสมัยปจจุบันมาก การใชคําศัพทในสมัยนั้น จะใชคําภาษาบาลีโดยตรง มีคําเปนจํานวนมากที่ใชในสมัยนั้น ปจจุบันเปลี่ยนมาใชคําสันสกฤตแทน ทําใหทราบถึงวัฒนาการการใชภาษาของคนไทยที่เปลี่ยนแปลงมาโดย ตลอด จะยกตัวอยางการใชคําศัพทและตัวอยางอักษรขอมจากพระคัมภีรไตรโลกวินิจฉัยมาใหดูพอเปนแนวทาง การศึกษาแกผูสนใจ ดังตอไปนี้ ตัวอยาง อักษรขอม

ยุคตนรัตนโกสินทร คําถายถอด คําอาน กมฺม กัมมะ กิตฺติ กิตติ กิตฺติสทฺท กิตติสัททะ กุสล กุสล จกฺกวาฬ จักกวาฬ จกฺขุ จักขุ

ภาษา บาลี “ “ “ “ “ 7

ยุคปจจุบัน การใชคํา ภาษา กรรม สันสกฤต เกียรติ “ เกียรติศัพท “ กุศล “ จักรวาล “ จักษุ “


ตัวอยาง อักษรขอม

คําถายถอด ติตฺถี ทสฺสน ทิพฺพ ธมฺม ธมฺมตา นิราสฺส บริกมฺม ปณฺณสาลา ปริสชฺช ปุตฺต ภิกฺขุ มคฺค มนุสสฺ วณฺณ สตฺตู สทฺธา สพฺพ สนฺนิฏฐาน สามาตฺถ สาลา สิลา สีล สีส สูล เสฏฐี โหราสาตฺถ อาสม อตฺถ

ยุคตนรัตนโกสินทร คําอาน ติตถี ทัสสนะ ทิพพะ ธัมมะ ธัมมดา นิราส บริกมั ม ปณณสาลา ปริสัชชะ ปุตตะ ภิกขุ มัคค มนุสส วัณณะ สัตตู สัทธา สัพพะ สันนิฏฐาน สามาตถ สาลา สิลา สีล สีสะ สูล เสฏฐี โหราสาตถ อาสม อัตถะ

ภาษา บาลี “ “ “ “ “ “ “ “ “ “ “ “ “ “ “ “ “ บาลี “ “ “ “ “ “ “ “ “

ยุคปจจุบัน การใชคํา ภาษา เดียรถีย สันสกฤต ทัศนะ “ ทิพย “ ธรรม “ ธรรมดา “ นิราศ “ บริกรรม “ บรรณศาลา “ บริษัท “ บุตร “ ภิกษุ “ มรรค “ มนุษย “ วรรณ “ ศัตรู “ ศรัทธา “ สรรพ “ สันนิษฐาน “ สามารถ สันสกฤต ศาลา “ ศิลา “ ศีล “ ศีรษะ “ ศูล “ เศรษฐี “ โหราศาสตร “ อาศรม “ อรรถ “

ตามตัวอยางที่ยกมานีเ้ ปนเพียงเศษเสี้ยวของการใชจริง อาจกลาวไดวาในยุคตนกรุง รัตนโกสินทรนั้น มีการยืมคําศัพทในภาษาบาลีมาใชเปนจํานวนมาก เมื่อกาลเวลาลวงมาถึงปจจุบันนี้ บางคําก็ 8


ถูกเปลี่ยนไปใชคําศัพทสันสกฤตแทน บางคําศัพทก็ถูกดัดแปลงใหเปนคําไทย แตบางคําทีเ่ คยใชในพระคัมภีร ไตรภูมิโลกวินจิ ฉัยในตนยุครัตนโกสินทร ปจจุบันก็ยงั คงใชอยู คําบางคําที่ถูกเปลี่ยนไปใชคําศัพทสันสกฤตแทน (ดูตัวอยางจากดานบน) คําศัพทบางคําก็ถูกดัดแปลงใหเปนคําไทยจนบางครั้งก็ดูไมออกวามีรากศัพทมาจากคําภาษาบาลี เชน คําวา บรรจง พบการเขียนในพระคัมภีรไตรภูมิโลกวินิจฉัยวา (บัญจงค) คําๆนี้มาจากภาษาบาลี วา ปญจ กับ อังค ใชวิธีสนธิ คือตอศัพทเปน ปญจังค แปลวาประกอบดวยองคหา เลียนแบบคําวา เบญจางค คือไหวอยางนอบนอมประกอบดวยองคหา สวนคําวา บัญจงค นี้ไมไดแปลตามตัว แตหมายถึง ทําอะไรดวย ความประณีตหรือตั้งอกตั้งใจทํา เดิมทีคงใชกันอยางนี้ ตอมาตัดตัว ค ออก เปน บัญจง ตอมาเปลี่ยนตัว ญ เปน ตัว น มีรูปคําเปน บันจง ในปจจุบันไดเปลี่ยนตัว สระ อะ กับตัว น ใหเปน ร หัน คือใชตัว ร สองตัวเปน บรรจง เพื่อใหดูสวยงามเหมือนคําสันสกฤต มีคําเปรียบเทียบ เชน คําวา กรรไกร เดิมทีเขียนวา กันไตร ตอมาเปลี่ยน ไมหันอากาศกับตัว น เปน ร สองตัว เปน กรรไตร แลวตอมาจึงเปลี่ยนตัว ต เปนตัว ก จึงเปน กรรไกร อยาง ทุกวันนี้ หรืออยางคําวา บรรจถรณ เดิมมาจากคําภาษาบาลีวา ปจฺจตฺถรณ ซึ่งแปลวา เครื่องลาดหรือที่นอน ภายหลังตัดตัว ต ออกเปน ปจจถรณ ตอมาเห็นวา ปจจถรณ ไมคลองปากคนไทย ฟงไมเพราะจึงเปลี่ยนสระ อะ กับตัว จ เปน ร หัน แลวเติมไมทัณฑฆาตบนหัวตัว ณ จึงเปน บรรจถรณ เปนตน ปกติคนไทยเราจะนําคําจากภาษาบาลีห รือสันสกฤตมาใช เรามัก จะตัดโนน ตอนี้ เพื่อใหคํา สละสลวย กลมกลืน เหมาะกับการพูดของคนไทย อยางเชน คําวา รัฐบาล เดิมทีเปนคําภาษาบาลี ๒ คํา คือ รฏฐ + ปาล (แปลวา ผูคุมครองแวนแควนหรือผูดูแลบานเมือง) เวลาเราจะเอามาตอกันเพื่อใชพูดในภาษาไทย เราก็ตัดตัว ฏ ออกเหลือแต ฐ จึงเปน รัฐ + ปาล เปน รัฐปาล แลวแปลง ป เปน บ จึงเปน รัฐบาล หรืออยางคํา วา บงกช ซึ่งเราแปลกันวา ดอกบัว นั้น ก็มาจากคําภาษาบาลี ๒ คํา คือ คําวา ปงฺก (เปอกตม) + ช (เกิด) เปน ปงฺกช (เกิดจากเปอกตม) แลวแปลง ป เปน บ จึงเปน บงกช และคําเดียวกันนี้แหละ เราตัดเอาเฉพาะตัวหลัง มาใชเปน กช แลวเอาไปตอกับคําอื่น เชน กร เปน กชกร แปลวาทํากระพุมมือเหมือนดอกบัว หรืออยางคําวา บรรทัด นี้ก็สันนิษฐานวามาจากคําบาลีวา ปทัฏฐาน (เหตุใหถึง ความสําเร็จหรือที่ตั้ง ของความสําเร็จหรือ แนวทางใหถึง) คํานี้อานวา ปะ – ทัด – ถาน เราตัดเอาแตคําหนา ปทัฏ มาแลวเปลี่ยนสระ อะ ที่ตัว ป ใหเปน ร หัน แลวแปลง ฏ เปน ด จึงเปนบรรทัด อีกคําหนึ่งที่พบในพระคัมภีรไตรภูมิโลกวินิจฉัย คือคําวา สบาย เขียน เปนคําภาษาบาลีโดยตรงวา (สปฺปาย = ความพอเหมาะพอดี) ปจจุบันเราเอามาดัดแปลงใชโดย ตัดตัว ป ขางหนาออกตัวหนึ่งแลวแปลงตัว ป ขางหลังใหเปนตัว บ จึงเปน สบาย เปนตน คําศัพท ภาษาบาลีจํานวนมากที่เคยใชในพระคัมภีรไตรภูมิโลกวินิจ ฉัยในตนยุครัตนโกสินทร ปจจุบันก็ยังคงใชอยู เชน คําวา ทุกข เวทนา ชาติ บาป ทารุณ เวร อาฆาต เสนา โยธา ยุทธภูมิ ผล นรก นาม นที โยชน กาย โลหิต ตาล ทวาร อาการ บริโภค ปจจัย นัย สาหัส อาหาร ฯ ล ฯ เปนตน แตคําบางคําที่พบวา เขียนตามคําอานในยุคนั้น ปจจุบันเราไดมาดัดแปลงแกไขใหมเพื่อใหถูกตองตามหลักภาษานั้นๆ บาง เพื่อใหดู สวยงามบาง เพื่อใหเหมาะกับการพูดของคนไทยเราบาง เชนคําดังตอไปนี้ ตัวอยาง อักษรขอม

ยุคตนรัตนโกสินทร การเขียน ภาษา จักกรพัตติ บาลี ชนมายุศม บาลี+สันสกฤต แตกตฤน ไทย โตมอน บาลี 9

ยุคปจจุบัน การเขียน ภาษา จักรพรรดิ สันสกฤต ชนมายุ บาลี แตกตื่น ไทย โตมร บาลี


ตัวอยาง อักษรขอม

ยุคตนรัตนโกสินทร การเขียน ภาษา นามกอน “ เนยยนา “ บริบรู รณ สันสกฤต ผาสุข บาลี พรราชโอรถ บาลี ไพโทรท สันสกฤต มริคค “ รัศะหมี “ ศัตรี “ สีลปรสาท บาลี+สันสกฤต อกษรพิศม สันสกฤต อัชฌาไศรย บาลี อัปปหยด สันสกฤต

ยุคปจจุบัน การเขียน ภาษา นามกร “ นัยนา “ บริบรู ณ สันสกฤต ผาสุก บาลี พระราชโอรส บาลี ไพโรจน สันสกฤต มฤค “ รัศมี “ สตรี “ ศิลปศาสตร “ อสรพิษ “ อัชฌาสัย บาลี อัปยศ สันสกฤต

คําบางคําที่ใชภาษาไทยปจจุบันนี้ ถาไมบังเอิญพบที่มาของศัพทก็ไมสามารถรูไดเลยวา คําศัพท นั้นมีที่มาอยางไร เชนคําวา พยาน เรารูกันโดยทั่วไปวา หมายถึงบุคคลผูรูเห็นเหตุการณแลวมาใหการในชั้น ศาล แตเราไมรูวาคําๆ นี้เปนคําภาษาอะไร มีความเปนมาอยางไร เผอิญไดพบในพระคัมภีรไตรภูมิโลกวินิจฉัย ตอนวาดวยเรื่องสอบสวนคดีบอกวาใหนํา ผูญาณ ( ) มาใหการ ทําใหรูทันทีวา คําวา พยาน นี้ เพี้ยน มาจากคําวา “ผูญาณ” นี่เ อง คําๆ นี้แปลวา ผูรู เปนคําไทยผสมคําบาลี ตอมาคําวา ผู เพี้ยนเปน พ เปน พญาณ เมื่อฟงกันตอๆ มาโดยไมรูรากศัพทก็ทําใหเกิดการเขียนผิดจาก ผูญาณ เปน พญาณ แลวเปน พยาน ใน ที่สุด คํ า บางคํ า ซึ่ ง ในป จ จุ บั น แทบจะไม มี ผู ใ ช ห รื อ ไม มี ผู รู เช น คํ า ว า ทั บ (กระท อ ม) สะพัก (ยกขึ้น,ยกแขนขึ้น) โพล (ภาชนะชนิดหนึ่ง สําหรับใสเสบียงกรังและของใชตาง ๆ เชน ขาวสาร เสื้อผา ประอบดวยกระชุ ๒ ใบ สานเปนตาชะลอม กรุดวยกาบไผกระชุนั้นผูกติดกับคันซึ่งทําเปน ขา ๒ ขา สวนบนไขวกัน มีหูสําหรับสอดไมคานเพื่อหาบไป ดานบนมีกัญญาซึ่งสานดวยไมไผเปนตาชะลอมแลว กรุดวยใบไมผูกติดกับคันสําหรับกันแดดกันฝน) แสลม (กลมเรียว). ขยูขยี้ (กระจองอแง) มึก (ดื่มเหลาจนเมา) ระวาดระไว (พอดี ไมสูงไมต่ํา) เปนตน คําวา ระวาดระไว นี้ปรากฏในตอนนางอลัมพสาทําลายตบะของฤาษีอิสิสิงคะ ๆ พบนางแลวเกิด ความพึงพอใจ จึงพรรณนาถึงความงามของนาง ซึ่งเนื้อความตอนนี้ มีการใชสํานวนภาษาและอุปมาที่ไพเราะ มาก ดังจะยกตัวอยางมาใหดู ดังนี้ “นางอลัมพสาเทพยกัลยากราบทูลฉะนี้แลว ก็เขาไปในหองสิริไสยาสน ตกแตงประดับองคดวย ทิพยอลังการแลว ก็ลงมาสูสํานักอิสิสิงคะดาบส ในเพลาอรุโณทัย ขณะนั้นอิสิสิงคะดาบสถือตราดกวาดศาลา โรงไฟอยู นางอลัมพสาจึงขึ้นไปยืนในเบื้องหนา สําแดงกายใหปรากฏ พระดาบสเห็นโฉมนางเทพยธิดาก็มียินดี ปรีดาเปนกําลัง ตั้งสติไวบมิได เขาใจอยูวาหญิงแลว แตทวาลุอํานาจแกความประมาทลักลวงเสียซึ่งโอวาทที่ พระดาบสบิดาสั่งสอนไว จึงออกวาจาปราศรัยดวยนางอลัมพสาวา 10


“กา นุ วิชฺชุริวาภาสิ ดังเราถาม ทานนี้เปนเทพยดาหรือมนุษย กายแหงทานนี้บ ริสุทธิ์ผองใส ไพโรจน เปรียบประดุจขวานฟาแลดาวประกายพรึกอันสุกชวงโชติในอัมพรประเทศ วิถีเครื่องอาภรณประดับ หัตถแลกุณฑลแกวมณีที่ทานประดับมาบัดนี้ มีรัศมีรุงเรือง เปรียบประดุจรัศมีพระสุริยเทพบุตรเมื่อเสด็จอุทัย เหมจนฺทนคนฺธีนิ แกนจันทอันเปนเครื่องลูบไลชโลมกายแหงทานนี้มีสีดัง สีทอง สงกลิ่นหอมอยูรวยรินมโน ภิรมย สฺญครุ ทานนี้มีเพลาทั้งสองกลมอุดมดวยลักษณะไมมีที่ติ เปนกุมารีมีสิริมากไปดวยมายา จารุทสฺสนา งามไปดวยจริตกิริยาควรจะทัศนาการยิ่งพิศยิ่งงามเลหจะทําขวัญตา วิณกา มุทุกา สุทฺธา ทานนี้มีทามกลาง องคนอยมังสะออนเจริญอยูในสุข มีฉวีวรรณบริสุทธิ์ปราศจากมลทิน ปาทา เต สุปติฏฐิตา เทาแหงทานนี้ ประดิษฐานลงเหนือพื้นนั้นเสมอกัน ขณะเมื่อยกยางดําเนินนั้นประกอบดวยสิริวิลาศ ควรจะเปนที่ปรารถนา ควรจะเปนที่ยินดีปรีดายิ่งนัก หรนฺติ เยว มโน แตเทาแหงทานนี้ก็อาจจะยั่วยวนชวนชักจิตแหงเราใหพิศวงได อนุปุพฺโพ อูรุ ทานนี้มีลําเพลาเรียวลงไปโดยลําดับ ไมกิ่วไมคอดงามตลอดทั้งเบื้องตนแลเบื้องปลาย เปรียบ ประดุจงวงไอยรา ไมมีที่บกพรอง วิมฏฐา ตระโพกแหงทานนี้ผึ่งผายแลดั่งแผนกระดานสกาทองงามจับจิต เมื่อ เราเพงพิศนาภีแหงทานนี้มีสัณฐานงามเปรียบประดุจดอกนิลุบลอันเบิกกลีบ แยมผกา มิฉะนั้น เปรียบประดุจ ดอกอัญชันอันเขียวขํา ปรากฏแตไกล อปติตา ปโยธรา ปโยธรแหงทานนี้มิไดคลอยลงเบื้องใต คัดเครงเปลง ปลั่ง กลมประดุจ ผลน้ําเตาทองที่ก ลม อุดมดวยสิริ แลสัณฐานทั้งสองเสมอกันทั้ง เตาซายแลเตาขวา อุรชา บังเกิดในอุระประเทศเปนคูเคียงบมิไดหาง โอภาสดวยรัศมีสีสองสวางอยางสีทองทิพยพิเศษสุดงามประโลมจิต ใหพิศวง คีวา เอเณยฺยกาย ลําศอแหงทานนี้สูงระหงกลมงามดังคอมฤคชาติเนื้อทราย ดูไหนงามนั้น ปณฺฑ ราวรณา ริมโอฐกับชิวหานี้แดงเสมอกัน แดงดังแสงแกวประพาฬ อุทฺธตฺตา อจตฺตา ฟนแหงทานทั้งเบื้องบน แลเบื้องต่ํานั้นดําบริสุทธิ์ ดําเปนแสง ชิฺชกผลสนฺนิภา ริมไรฟนนั้นแดงเปรียบประดุจผลหมากกล่ํา ดูงาม พิเศษ ดวงเนตรแหงทานนี้วิจิตรไปดวยประสาท ๕ ประการ คือที่ควรจะขาวนั้นก็ขาวบริสุทธิ์ ขาวสะอาด ที่ควร จะแดงก็แดงยิ่งกวาแตมชาดแตมกล่ํา ที่ควรจะเขียวก็เขียวล้ํา ที่ควรจะดําก็ดําสนิท ที่ควรจะเหลืองก็อรามเรือง พิจิตรดังสีทอง จักษุทั้งสองนั้นงามไปดวยสัณฐานยาวแลกวางอยางสิงหบัญชรในทิพยพิมานที่เปดไว นาติทีฆา รูปทรงแหงทานนี้ระวาดระไว ไมสูงนักไมต่ํานัก พอควรประมาณ สุสมฏฐากนกพฺยา เบื้องปฤษฎางคแหงทานนี้ เปรียบดังแผนกระดานทองที่ชําระแลวเปนอันดี อุตฺตมงฺครุหา กลุมเกศแหงทานนี้ดําเปนแสงสีล้ํามณีนิล สง กลิ่นหอมฟุงดังกลิ่นจันท ยาวตา กสิโครกฺขา แตบรรดาสัตวที่กระทํานารักษาสวนเลี้ยงชีวิต แตบรรดาสัตวที่ เปนพานิชเที่ยวซื้อขายนั้นก็ดี อิสินฺจ ปรกฺกนฺตํ แตบรรดาฤาษีในปาพระหิมพานที่บําเพ็ญเพียรพิธีฌานเจริญ ศีลตบะนั้นก็ดี แตบรรดาสัตวที่เที่ยวอยูในภูมิกมณฑลนี้มีมากนอยเทาใด เราพิจารณาไปนี่ไมเห็นเลยที่ผ ูใดผู หนึ่งจะงามเสมอทาน ๆ นี้ชื่อไร เปนบุตรของใคร ไฉนเราจึงจะไดรูจักทาน” “น ปฺหกาโล ภทฺทนฺเต ขาแตพระผูเปนเจา ผูเปนกัสสปะโคตร ผูเปนเจาอยากลาวเปนปริศนา ไปเลย ถาจิตประหวัดปฏิพัทธในขาพเจาแลว ก็มาเถิด มาไปอาศรมศาลาดวยกัน” นางอลัมพสากลาววาจา ดังนั้นแลวก็กระทําเปนเดินหนี อิสิสิงคดาบสก็แลนไปมะนิมมะนาควาเอากลุมเกศ นิวตฺติตฺวา นางอลัมพสาก็ กลับหนามาสวมกอดอิสิสิงคดาบสเขาไว ฌานตบะแหงอิสิสิงคดาบสก็อันตรธานเสื่อมสูญไปในขณะนั้น ครั้น ฌานเสื่อมแลวก็สิ้นสติดวยสามารถทิพยสัมผัส ก็หลับสนิทปราศจากสัมปฤดี” คําวา ลําเพลา ในตัวอยางขางบนที่วา “อนุปุพฺโพ อูรุ ทานนี้มีลําเพลาเรียวลงไปโดยลําดับ ไมกิ่ว ไมคอดงามตลอดทั้งเบื้องตนแลเบื้องปลาย เปรียบประดุจงวงไอยรา ไมมีที่บกพรอง” นั้น นาจะแปลวาขาหรือ ลําขา ที่รูเพราะมีภาษาบาลีกํากับอยูวา อูรุ ๆ คํานี้แปลวา ขา ซึ่งหมายความวาผูห ญิง คนนี้ มีลําขาที่เ รียว สวยงามมาก ซึง่ ทานเปรียบดวยงวงชางที่เรียวลงมาตามลําดับตั้งแตโคนจรดปลาย และไมมีขอตอ ซึ่งการยก อุปมาเปรียบเทียบของทานแตละแหงชางไพเราะและมองเห็นภาพไดชัดเจน 11


วิเคราะห : คัมภีรเกาเลาเรื่องวัดทองนพคุณ ประวัติวัดทองนพคุณ วัดทองนพคุณ เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร เปนวัดเกาแกที่เชื่อกันวามีมาแตสมัยกรุงศรี อยุธยาตอนปลาย ชาวบานเรียกวา วัดทองลาง เพราะอยูดานลางของสายน้ําตามลําแมน้ําเจาพระยา สวน วัดทองบน คือวัดทองธรรมชาติ ในปจจุบัน วัดทองนพคุณ เปนพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยูบนถนนสมเด็จเจาพระยา แขวง คลองสาน เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร วัดแหงนี้ยังไดขนึ้ ทะเบียนเปนโบราณสถานโดยกรมศิลปากร เดิมชื่อวัดทองลาง ไมทราบชัดวาใครเปนผูส ราง แตคาดวาสรางขึ้นสมัยอยุธยาตอนปลาย ตอมาพระยาโชฎึก ราชเศรษฐี (ทองจีน) ไดเปนผูบ รู ณะซอมแซม และถวายใหเปนพระอารามหลวงในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่ง เกลาเจาอยูห ัว และบูรณปฏิสงั ขรณใหญอีกครั้งในสมัยรัชกาลที่ ๔ (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี) ลําดับความเปนมาในการอนุรักษ จัดทําทะเบียน วัดทองนพคุณ มีหนังสือขอความอนุเคราะหถึงสํานักหอสมุดแหงชาติ เมื่อวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ใหจัดสงเจาหนาที่เขาดําเนินการตามหลักวิชาการ เพื่อดูแลรักษาคัมภีรใบลานใหมอี ายุยาวนานสําหรับ การศึกษาคนควาหาความรูตอๆไป จากนั้น กลุมงานสํารวจเอกสารโบราณดําเนินการ โดยสํารวจเบื้องตน เมื่อ วันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๕๙ เพื่อประเมินปริมาณงาน และทําแผนการดําเนินงานเสนอตออธิบดีกรมศิลปากร เขาปฏิบัติงาน เมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๙ - ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เปนเวลา ๕ เดือน จัดระบบคัมภีรใบ ลาน ตามหลักวิชาการเพือ่ บริการศึกษาคนควา ทั้งสิ้น ๑,๙๐๐ เลขที่ ๗๘๒ มัด จํานวน ๑๓,๒๐๐ ผูก/รายการ ขั้นตอนการปฏิบัติงานภาคสนาม แหลงเอกสารโบราณ วัดทองนพคุณ ขนยาย-คัดแยกคัมภีรชํารุดพลัดผูก ทําความสะอาด แยกหมวดหมู ประเภทอักษร-ภาษา

เรียงอังกา-อาน วิเคราะหชื่อเรื่อง

ใหชื่อเรื่อง-แบบฉบับ ตามหลักวิชาการ

ลงทะเบียนใหรหัส เลขที่

บันทึกขอมูล ภาคสนาม

เขาชุดคัมภีรทําให เปนมัด

ประทับตราวัด-เขียนเลขประจําผูก เขาไมประกับ-เขียนปายหนามัดหอ/มัดคัมภีร จัดเก็บในตูพระธรรม ดูแลปองกันแมลง 12

มัด/หอคัมภีรที่ชํารุด พลัดผูก


การวิเคราะหหมวดหมู ชื่อเรื่อง และลงทะเบียน ลงทะเบียนคัมภีรใบลานถือเปนหัวใจของการจัดระบบเพือ่ การสืบคนและเปนสวนสําคัญของการ อนุรักษเอกสารโบราณ ซึ่งมีผลตอการใหบริการทางวิชาการแกประชาชน ในรูปแบบอื่นๆ อีกตอไป ทะเบียนคัมภีรใบลานวัดทองนพคุณนี้ จัดระบบตามแบบการจัดหมวดหมูตามหลักเกณฑการจัด หมวดและเรียกชื่อหนังสือประเภทตัวเขียนทางพระพุทธศาสนา หรือตามหมวดหมูในสายพระไตรปฎกนั่นเอง เนื่องจากคัมภีรใบลานสวนใหญเปนเรื่องหลักธรรมคําสอนในทางพระพุทธศาสนา ซึง่ มีระดับชั้นความสําคัญ ตั้งแต พระไตรปฎก อรรถกถา ฎีกา และอนุฎีกา รวมถึงหลักไวยากรณภาษาบาลีที่เรียกวา สัททาวิเสส เปนตน แผนผังหมวดหมูชื่อเรื่องและทะเบียนคัมภีรใบลานวัดทองนพคุณ หมูเรื่อง เลขที่ มัดที่ พระวินัยปฎก

๑-๙๖

๑-๕๔

พระสุตตันตปฎก

๙๗-๔๒๑

๕๕-๒๕๗

พระอภิธรรมปฎก

๔๒๒-๕๔๙

๒๕๘-๓๕๔

พระวินัย-พระสูตร(เพิ่ม),วิสุทธิมรรค,ปกิณณกะ ,สังคีติกถา,พงศาวดาร,ตํานาน-ประวัติ,สัมภาร วิบาก,ปฐมสมโพธิกถา,โลกศาสตร

๕๕๐-๙๐๙

๓๕๕-๔๖๐

ไวยากรณ,บาลี-เขมร,เสนชุบหมึก, ลานนา,เสนหมึก,ลานกอม

๙๑๐-๑๖๗๘

๔๖๑-๖๕๒

คัมภีรใบลานที่จารระบุปที่สราง ศึกษาอายุสมัยของคัมภีรใบลานวัดทองนพคุณทีป่ รากฏจากการจารระบุปพ ุทธศักราชหรือปจลุ ศักราชที่ผสู รางไดมีศรัทธาสรางไว เพื่อสืบทอดอายุพระพุทธศาสนาใหครบถวน ๕,๐๐๐ พระวัสสา(ป) ตามคติ ความเชื่อของพุทธศาสนิกชน การจารระบุปท ี่สรางนี้ เปนหลักฐานในเชิงประวัติศาสตรที่สาํ คัญและพิสูจนไดจากการอานอักษร และภาษาที่ปรากฏบนคัมภีรใบลาน อันมีลกั ษณะเปนเสนจาร อยูทสี่ วนตางๆของผูกคัมภีรฯ ทําใหทราบอายุ สมัยไดโดยการนําปปจ จุบันตั้งแลวลบดวยปทสี่ รางคัมภีร ผลตางจากการคํานวณคืออายุของคัมภีรฯ ผูกนั้นๆ อยางไรก็ตาม ยังมีคัมภีรที่ไมปรากฏปทสี่ รางอีกจํานวนมาก คัมภีรที่ระบุปท ี่สรางมีเพียง ๑๐ % ที่เหลือ ๙๐ % ตองทําการพิสจู นโดยการเปรียบเทียบรูปลักษณอักษรกับคัมภีรที่ทราบแนชัดวามีอายุสมัยใด การศึกษาวิจัย ทราบวา จํานวนคัมภีรทั้งหมด ๑๙๐๐ เลขที่ ในจํานวนนี้มี ๑๗๔ เลขที่ ระบุปที่ สรางคัมภีร และในจํานวน ๑๗๔ เลขที่นั้นอายุคัมภีรโดยเฉลีย่ อยูในราว ๑๐๐-๒๐๐ ป อยูในสมัยรัตนโกสินทร เมื่อวิเคราะหตอไปจึงทราบวา คัมภีรจํานวน ๒๓ เลขที่ มีอายุมากกวา ๒๐๐ ป เปรียบเทียบไดตามตาราง ดังนี้ 13


เลขที่ (วท.) ๑๘/๕ ๑๗๒/๙ ๒๕๕/๒ ๒๖๔ ๒๗๙/๓ ๓๕๗ ๓๕๘ ๓๕๙ ๓๘๐ ๓๘๘ ๓๘๙ ๔๒๒ ๘๑๓/๑๑ ๘๑๘ ๘๖๗ ๙๑๔ ๙๕๗ ๙๕๘ ๙๕๙ ๑๐๖๗ ๑๕๘๙ ๑๕๙๑ ๑๖๖๐

ชื่อเรื่อง จตุตถสมันตปาสาทิกา ปาฏิกวัคคปาลิ ทีฆนิกาย พระธรรมบท พระธรรมบท พระธรรมบท คาถาพัน คาถาพัน คาถาพัน พระเวสสันดรชาดก พระเวสสันดรชาดก พระเวสสันดรชาดก หัตถสาร อภิธัมมาวตารวัณณนา มหาวังสะ มาลัยยสูตร โลกนยชาตก กัจจายนมูล วิทัคธมุขมัณฑน วิทัคธมุขมัณฑนฎีกา วิทัคธมุขมัณฑนโยชนา วุตโตทัยโยชนา บทสวดเปลี่ยนวันเดือนป โอวาทานุสาสนี ปวารณาวิธิ

ปที่สราง(พ.ศ.) ๒๓๒๒ ๒๑๖๖ ๒๓๐๔ ๒๓๔๓,๒๓๓๘ ๒๓๓๖ ๒๓๕๐ ๒๓๕๒ ๒๓๔๒ ๒๓๒๖ ๒๒๓๘ ๒๓๓๘ ๒๓๓๑ ๒๒๘๕ ๒๒๖๔ ๒๒๖๑ ๒๓๕๕ ๒๓๓๐ ๒๓๓๐ ๒๓๓๐ ๒๓๒๙ ๒๓๒๐ ๒๓๕๖ ๒๓๔๓

ผูสราง สีกาปู มหาธมฺมราช เณรวัน ยายเงิน ตาชาง จีนสุก กิมลี้ ประสักสีจัน เจานนฺทฺอง นายชู นางสา ประ......... ประจักอินทสร สมีชิม สมเด็จพระมหากษัตริยบรมธัมมิก ราชาธิราช และพระอนุชาธิราช อุบาสิกาทองมาก อุบาสกอู,อุบาสิกาเปา ทานยายทองคํา เจาฟากรมหลวงเทพหริรัก เจาฟากรมหลวงเทพหริรัก เจาฟากรมหลวงเทพหริรัก -

อายุคัมภีร( ป) ๒๓๘ ๓๙๔ ๒๕๖ ๒๑๗,๒๒๒ ๒๒๔ ๒๑๐ ๒๐๘ ๒๑๘ ๒๓๔ ๓๒๒ ๒๒๒ ๒๒๙ ๒๗๕ ๒๙๖ ๒๙๙ ๒๐๕ ๒๓๐ ๒๓๐ ๒๓๐ ๒๓๑ ๒๔๐ ๒๐๔ ๒๑๗

คัมภีรเกาที่สุดของวัดทองนพคุณ ศึกษาวิเคราะหขอมูลเอกสาร ไดตารางเปรียบเทียบอายุคมั ภีรฯ ๒๐๐ ปขึ้นไป ๒๓ เลขที่ ปรากฏ วามีคัมภีรเ กาทีส่ ุดของวัดทองนพคุณตามทีจ่ ารระบุปทสี่ รางไว เรียงลําดับคัมภีรเกาที่สุด ๓ ลําดับ ดังนี้ ๑.คัมภีรใบลาน เลขที่ ๑๗๒/๙ เรื่อง ปาฏิกวัคคปาลิ ทีฆนิกาย อายุ ๓๙๔ ป

“พุทฺธสกฺกราชได ๒๑๖๖ ปกุร”

“มหาธมฺมราช”

“ปาฬิทิฆนิกายปาฏิกวคฺค ผูก ๙”

อักษรขอมสมัยสมเด็จพระเจาทรงธรรม

สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๑๖๖ ยุคกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระเจาทรงธรรม เปน คัมภีรฯ ฉบับลองชาด จํานวน ๑ ผูก อักษรขอม ภาษาบาลี เนื้อเรื่องเกี่ยวกับพระสูตรในพระไตรปฎก ที่มีสาระ ขนาดยาว มีปาฏิกสูตร เปนตน กลาวถึงนักบวชเปลือยชื่อปาฏิกบุตร ทาใหพระพุทธเจาแสดงอิทธิปาฏิหาริย เชื่อวา เปนคัมภีรใบลานฉบับหลวงสมัยสมเด็จพระเจาทรงธรรม เนือ่ งจากปกคัมภีรจารคําวา“มหาธมฺมราช” หมายถึงคําที่ยกยองและเฉลิมพระเกียรติของพระองคทานทีเ่ ปนพระราชาผูยิ่งใหญในทางธรรม 14


๒.คัมภีรใบลาน เลขที่ ๓๘๘ เรื่อง พระเวสสันดรชาดก อายุ ๓๒๒ ป

“พุทฺธสกฺกราชได ๒๒๓๘ ปจอฉสก” อักษรขอมสมัยสมเด็จพระเพทราชา “อุปาสกอินฺทสรเปนอุปถมฺภก” “มหาราชปพฺพ ผูก ๑๑”

สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๒๓๘ ในยุคกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา เปน คัมภีรฯ ฉบับทองทึบ จํานวน ๑ ผูก อักษรขอม ภาษาบาลี ตอนมหาราช ๖๙ พระคาถา เนื้อเรื่องเกี่ยวกับ ชูชก จูง พระชาลี พระกัณหา ดวยกิริยาโหดรายประหนึ่งสองกุมารคือทาสรับใช ทายสุดพระเจาสญชัยทรงฝนวา จะ มีผูนําดอกบัวสองดอกมาถวาย จากนั้นพระองคก็พบพระชาลี พระกัณหา และไถตัวสองกุมาร พรอมกับยกทัพ ไปรับพระเวสสันดรกลับพระนคร คัมภีรฯ นีร้ ะบุผสู รางวา “อุปาสกอินทสรเปนอุปถัมภก” ๓.คัมภีรใบลาน เลขที่ ๘๖๗ เรื่อง โลกนยชาตก อายุ ๒๙๙ ป

“พุทฺธสกฺกราชได ๒๒๖๑ ปวอฺกสําริทฺธิสกฺก”

“อุปาสกฺกอูแลอุปาสิกาเปาวิปูลฺลสทา ลิกฺขิตฺตํ”

อักษรขอมสมัยสมเด็จพระเจาอยูหัวทาย สระ “โลกเนยฺย ผูก ๖”

สรางเมื่อปพทุ ธศักราช ๒๒๖๑ ในยุคกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระ เจาอยูห ัวทายสระ เปนคัมภีรฯ ฉบับลองชาด จํานวน ๗ ผูก อักษรขอม ภาษาบาลี เนื้อเรือ่ งเกี่ยวกับนิทานคติ ธรรมมีลักษณะเปนชาดกนอกนิบาต เกี่ยวกับอดีตชาติของพระพุทธเจาผูสรางคือ อุปาสกอูและอุปาสิกาเปา เชื่อมโยงคัมภีรเกาเลาเรื่องวัดทองนพคุณ จากการวิจัยคัมภีรใบลานวัดทองนพคุณปรากฏวา พบคัมภีรฯเกาแกในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนกลางในรัชสมัยสมเด็จพระเจาทรงธรรม(พ.ศ. ๒๑๕๔-๒๑๗๑)(อาณาจักรอยุธยา:วิกิพีเดีย) ซึ่งระบุป พุทธศักราชในการสรางคัมภีรฯ ไวอยางชัดเจน ทําใหอาจสันนิษฐานไดวา วัดทองนพคุณ เปนวัดเกาแกมมี าแต เดิมตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง(พ.ศ.๑๙๙๑-๒๒๓๑) ขอสันนิษฐานนี้มีทมี่ าจากการวิเคราะห ดังนี้ ๑.คัมภีรฯที่พบไมนาจะเปนคัมภีรที่เคลื่อนยายมาจากทีอ่ ื่น แตเปนไปไดอยางมากวาเปนคัมภีรฯ ที่อยูคูกับวัดทองนพคุณมาแตดั้งเดิม เนื่องจากอักษรที่พบเปนอักษรขอมแทบทัง้ สิ้นโดยเฉพาะคัมภีรฯที่เกา ที่สุดของวัดทองนพคุณเปนอักษรขอม ภาษาบาลี และในทางตําราวิชาการพื้นที่ภาคกลางจะพบอักษรขอมเปน สวนใหญ ในเขตพื้นทีอ่ าณาจักรอยุธยาเดิม หมายความวาวัดทองนพคุณอยูในเขตไดรบั อิทธิพลหรือการ 15


แพรกระจายของอักษรขอมโดยปกติไมจําเปนตองมีการเคลือ่ นยายคัมภีรฯอักษรขอมมาแตที่อื่น ซึง่ แนวคิดนี้ มิไดขัดกับหลักประวัติศาสตรแตอยางใด ๒.รองรอยความเจริญรุง เรืองของวัดทองนพคุณตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ซึง่ มีใหเห็นเปนประจักษ จากคัมภีรใบลานทีม่ ีอยูเปนจํานวนมหาศาลถึง ๑๓,๒๐๐ รายการ/ผูก และมีความเกาแกอยางนอยสมัย รัตนโกสินทรไปจนถึงสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง โดยมีคัมภีรทอี่ ายุ ๒๐๐ ปขึ้นไปถึง ๒๓ เลขที่ ประมาณ ๕๐-๑๐๐ รายการ/ผูก เอกสารโบราณเหลานี้บง บอกถึงความเจริญรุงเรืองในอดีตซึง่ วัดเปนศูนยกลางของ การศึกษาเปนแหลงรวบรวมศิลปวิทยาการตางๆ และเปนแหลงเรียนรูของพระภิกษุสามเณรและชุมชน เมื่อเปนศูนยกลางความเจริญจึงเปนที่รวมของผูคนที่มาศึกษาหาความรูจากที่ตางๆ มีความ จําเปนตามธรรมชาติที่จะตองมีการผลิตตําราหรือคัมภีรร องรับผูคนที่เขามาศึกษาหาความรู ทําใหเกิดการ จําลองคัมภีรฯฉบับตางๆขึ้นเพื่อใหพอเพียงตอความตองการ ในเบื้องตนจึงมีการจําลองคัมภีรฯพระไตรปฎก สืบตออายุพระศาสนาเพื่อการศึกษาหลักธรรมคําสอนในทางพระพุทธศาสนา จึงสอดคลองกับคัมภีรฯ เกาที่สดุ ของวัดทองนพคุณ อายุ ๓๙๔ ป วาดวยคัมภีรฯพระสูตรในพระไตรปฎก(ปาฏิกวัคคปาลิ ทีฆนิกาย) ๓.เปนไปไดวา คัมภีรฯฉบับลองชาด เรื่อง ปาฏิกวัคคปาลิ ทีฆนิกาย จารคําวา “มหาธมฺมราช” เปนคัมภีรฯพระไตรปฎก ฉบับหลวง ทีพ่ ระมหากษัตริยทรงสรางพระราชทานแกวัดที่มีความสําคัญหรือมีพระ ราชประสงคจะถวายตามอัธยาศัย เนื่องจากคัมภีรฯ ฉบับลองชาด ในสมัยเมื่อประมาณ ๔๐๐ ปกอน นาจะมี เทคนิคกระบวนการผลิตที่ประณีตและกรรมวิธีที่ยากและละเอียดออน สามัญชนไมนาจะทําไดอยางประณีต และมีคุณภาพ ยกเวนแตราชสํานักซึ่งมีความพรอมและทําไดดีมีคณ ุ ภาพกวาชาวบาน คัมภีรฯ ฉบับนี้ มีสภาพ สมบูรณและมีส(ี ชาด)สดใส จึงนาจะเปนคัมภีรฯ ฉบับหลวงที่พระองคทรงสราง ดังนั้นวัดทองนพคุณจึงนาจะ เปนวัดที่มมี าแตเดิมตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง พลิกหนาประวัติศาสตรการสรางวัดทองนพคุณ การวิเคราะหคัมภีรใบลานวัดทองนพคุณตามที่กลาวมาแลว ไดแนวโนมในการพลิกโฉมหนา ประวัติศาสตรที่กลาววา วัดทองนพคุณ คาดวาสรางขึ้นสมัยอยุธยาตอนปลาย การคาดการดังกลาวไมมเี อกสารหลักฐานเปนเครื่องบงชี้ ในชั้นหลังสมัยรัชกาลที่ ๓ มีเอกสาร จดหมายเหตุระบุวาพระยาโชฎึกราชเศรษฐี บูรณะซอมแซมแลวถวายใหเปนพระอารามหลวงเทานั้น การวิเคราะหเอกสารคัมภีรใบลานวัดทองนพคุณ จากเหตุผล ๓ ประการขางตน โดยมีหลักฐาน คัมภีรใบลาน เลขที่ ๑๗๒/๙ เรื่องปาฏิกวัคคปาลิ สรางเมื่อ พ.ศ.๒๑๖๖ อายุ ๓๙๔ ป เปนหลักฐานเอกสารชิ้น สําคัญที่นาเชื่อไดวา คัมภีรฯเรื่องนี้ถูกสรางขึ้นมาในขณะที่มวี ัดทองนพคุณอยูกอนแลว ถานับเอาอายุของคัมภีร เปนตนทางของการสรางวัดทองนพคุณ จึงเปนทีป่ ระจักษวา วัดทองนพคุณมีมากอน พ.ศ.๒๑๖๖ สมัยกรุงศรี อยุธยาตอนกลาง ในรัชกาลสมเด็จพระเจาทรงธรรม เปนอยางนอย สรุปคัมภีรเกาเลาเรื่องวัดทองนพคุณ จากการปฏิบัติงานภาคสนามในการสํารวจ อนุรักษ จัดทําทะเบียนเอกสารโบราณประเภทคัมภีร ใบลานวัดทองนพคุณ เก็บขอมูลภาคสนามในสวนที่เปนสาระองคความรู กลับมาทําการศึกษา วิจัย วิเคราะห ขอมูลเหลานั้น ทําใหเกิดผลงานวิจัยซึ่งเปนงานวิชาการอันจะกอประโยชนตอสาธารณชนอยางเปนรูปธรรม ใน กรณีที่ทําวิจัยนี้ สาธารณชนจะไดทราบประวัติวัดทองนพคุณที่เปนนัยที่นาเชื่อถืออีกนัยหนึ่ง ซึง่ ทําใหเกิด ศรัทธาเลือ่ มใสแกประชาชนในความเกาแกของวัดซึ่งนาจะมากกวาประวัติศาสตรเดิมอีกเปนรอยป โดยอางอิง หลักฐานคัมภีรฯ ตามที่ไดวิเคราะหมาเปนลําดับ

16


รําแตงองคทรงเครื่องโขน

รําแตงองคทรงเครื่องเปนการรําที่บรมครูทางนาฏศิลปไทยตองการจะใชตัวละครเปนสื่อ เพื่อถายทอด ใหเห็นถึงภูมิปญญา หรือกระบวนการทางความคิด ในเรื่องของความวิจิตรงดงามไมวา จะเปนกระบวนทารํา เครื่องแตงกาย เพลงรองและดนตรี รวมถึงฝมือของผูแสดง ที่ตองผานขั้นตอนการฝกหัดจนสามารถถายทอดสิ่ง ตางๆ เหลานั้น ออกมาไดอยางวิจิตรบรรจงรวมทั้งยังแสดงใหเห็นความสามารถในการเลียนแบบเครื่องทรงของ พระมหากษัตริย ที่เมื่อนํามาใชในการแสดง จําเปนที่ตองถายทอดความงดงามของเครื่องทรงทั้งหมด แลว นําเสนอออกมาในรูปแบบของบทแตงตัว หรือการแสดงอารมณออกมาของตัวละครดวยความพึงพอใจที่ตนเอง แตงกายไดสวยงาม จึงทําใหเกิดบทรําทางนาฏกรรมขึ้นมากมายหลายบท เชน บทรําลงสรง บทรําชมตลาด และบทรําฉุยฉาย ซึ่งแตละบทมีความหลากหลาย และแตกตางไปตามโอกาสหรือตามเหตุการณที่เกิดขึ้นตาม เนื้อเรื่อง การรําลงสรงเปนการรําเกี่ยวกับการอาบน้ําแตงตัวของตัวละคร ในการแสดงโขน - ละคร ซึ่งประเพณี การอาบน้ํารดน้ํา และสรงน้ําของคนไทยตามความเชื่อ ในอดีตซึ่งไดรับอิทธิพลมาจากความเชื่อทางศาสนา พราหมณ - ฮินดูในเรื่องความสําคัญของน้ําที่มีตอพระมหากษัตริยและใชน้ําในการอาบน้ําเพื่อความเปนสิริ มงคลและเพื่อแสดงความเปนเทวราชาโดยสมบูรณและจากการที่พราหมณเขามาทําหนาที่ทางศาสนาจึงทําให คติความเชื่อเหลานี้ถูกถายทอดมาสูความเชื่อของพระมหากษัตริยไทยจนทําใหน้ําเปนสิ่งสําคัญตอความเปนอยู ของคนไทยทั้งในชีวิตประจําวันในพิธีทางศาสนาและในพระราชพิธีของราชสํานักที่กระทําขึ้นในโอกาสพิเศษ ศาสนาพราหมณ - ฮินดูถือวาแมน้ําคงคาเปนแมน้ําศักดิ์สิทธิ์สามารถที่จะชําระลางบาปใหหมดไปแลวถาตายก็ จะนําศพไปทิ้งลงแมน้ําคงคาเพื่อเปนทางไปสูสรวงสวรรคดวยเหตุนี้น้ํานอกจากจะเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มี ความสําคัญตอคนไทยในการดํารงชีวิตและการประกอบอาชีพการเลือกทําเลที่ตั้งเพื่อความอุดมสมบูรณรวมทั้ง การพัฒนาเปลี่ยนแปลงของอารยธรรม ดวยการติดตอคาขายหรือการเจริญสัมพันธไมตรีทางการทูตกับนานา ประเทศโดยใชน้ําเปนเสนทางคมนาคมน้ํายังมีความสําคัญที่เปนเครื่องแสดงถึงการแปรเปลี่ยน ทางสถานภาพ ของบุคคลใหเปนที่ยอมรับของสังคมตามความเชื่อทางศาสนา ประเทศไทยเปนประเทศที่อยูในเขตรอนมีอากาศอบอาวการอาบน้ําจึง กลายเปนเรื่องจําเปนใน ชีวิตประจําวันและเปนความนิยมที่ตองถือปฏิบัติกันทุกครั้งกอนออกจากบานเพื่อไปประกอบภารกิจใดๆ ซึ่ง การอาบน้ําของคนสมัยกอนมักอาบกันในแมน้ําลําคลองหรืออาบบนชานบานแลวแตความสะดวกสวนการ อาบน้ําในพิธีกรรมตางๆที่ไทยรับ อิทธิพลมาจากศาสนาพราหมณ - ฮินดูก็ปรากฏใหเห็นอยูในพิธีก รรมทาง ศาสนามากมายอาทิพิธีโกนจุกพิธีบวชนาค พิธีแตงงานและพิธีทําศพซึ่งจะมีน้ําเขามาเกี่ยวของเพื่อเปนเครื่อง แสดงถึงความบริสุทธิ์เปนการชําระลางมลทินใหหมดไปและการอาบน้ําในลักษณะพิเศษที่เกิดขึ้นเฉพาะในพระ ราชพิธีของหลวงเรียกวา “ลงสรง” จะเปนการสรงน้ําของเจานายชั้นสูงและการสรงน้ําของพระมหากษัตริยใน การแปรสถานภาพ ของพระองคไดแกพระราชพิธีลงสรงหรือลงทาเปนพระราชพิธีสรงน้ําของพระกุมารทําเมื่อ พระชันษาได 9 ป ซึ่งมีปรากฏมาแตครั้งกรุงศรีอยุธยาจนกระทั่งถึงในสมัยรัตนโกสินทรไดมีพระราชพิธีลงสรง 2 ครั้ง คือในพ.ศ. 2355 เปนพระราชพิธีลงสรงของเจาฟามงกุฎและในพ.ศ. 2429 เปนพระราชพิธีลงสรงของเจา ฟามหาวชิรุณหิศ เปนพระราชพิธีลงสรงที่กระทําในน้ําเปรียบเสมือนให พระกุมารวายน้ําไดสวนพระราชพิธีสรง มูรธาภิเษกเปนพระราชพิธีสรงน้ําของพระเจาแผนดินเพื่อชําระพระวรกายใหบริสุทธิ์กอนจะประกอบพิธีบรม ราชาภิเษกเพื่อแสดงความเปนพระมหากษัตริยโดยสมบูรณเปนพระราชพิธีที่กระทําบนบกและเมื่อเสร็จจาก พระราชพิธีทั้งสองแลวก็จะเสด็จไปเปลี่ยนเครื่องทรงเปนเครื่องตนตามขัตติยราชประเพณีตอไป กลาวไดวาการอาบน้ําและการสรงน้ําทั้งของสามัญชนและของเจานายชั้นสูง มีอยูทั้งในชีวิตประจําวัน ในพิธีกรรมที่ทําในชวงระยะเวลาที่สําคัญของชีวิตและในพระราชพิธีของราชสํานักเรียกกันวาอาบน้ํารดน้ําและ สรงน้ําตามลําดับ และจากการสรงน้ําที่เกิดขึ้นในพระราชพิธีที่สําคัญทั้ง 2พิธีโดยจัดขึ้นเปนพิเศษ จึงทําใหเกิด 17


คานิย มนํา เอาเรื่อ งราวของการอาบน้ํา และการแตง ตัวไปสอดแทรกไว ในวรรณกรรมและบทละคร ซึ่ ง สันนิษฐานวามีมูลเหตุมาจาก 1.การที่พระมหากษัตริยเปนผูพระราชนิพนธวรรณกรรมและบทละครเหลานั้นจึงทําใหพระองคนําเอา เรื่องราวหรือเหตุการณที่ใกลชิดไปทรง ไวในบทพระราชนิพนธ 2. เปนการรัก ษาขนบธรรมเนียมประเพณีที่มีม าแตโ บราณใหคงอยูสืบ ไปและยัง ใชประโยชนใน การศึกษาถึงภูมิหลังทางประวัติศาสตร 3.เพื่อแสดงใหเห็นถึงความเจริญรุงเรืองที่เกิดขึ้นภายในราชสํานักโดยถายทอดออกมาเปนบทกลอนที่ พรรณนาเรื่องราวตางๆรวมทั้งบทบรรยายเครื่องแตงตัวและเครื่องประดับของตัวละครพี่เลียนแบบเครื่องทรง ของพระมหากษัตริย ตอมาเมื่อมีการนําวรรณกรรมและบทละครมาใชสําหรับแสดง ก็ปรากฏวา มีบทที่เกี่ยวกับการอาบน้ํา และแตงตัวของตัวละครรวมอยูดวยจึงทําใหการรําชนิดนี้ถูกเรียกวา “รําลงสรง” หรือ “รําลงสรงทรงเครื่อง” ซึ่งความเปนมาของการรําลงสรงมีความเกี่ยวของเชื่อมโยงกันอยูกับเพลงบรรเลงทางดนตรีโดยในครั้งแรกเปน การนําเพลงลงสรงที่ใชในพระราชพิธีลงสรงหรือลงทาของเจานายชั้นสูงมาเปนเพลงใหตัวละครทําทาทางการ อาบน้ําในการแสดงละครชาตรีเปนลําดับแรกโดยไมมีบทรองเรียกวารําลงสรงปพาทย ครั้นเมื่อมีการแตงบท รองบรรยายลักษณะการอาบน้ําและการแตงกายจึงทําใหเกิดรําลงสรงขึ้นอีกหลายประเภทคือรําลงสรงสุหราย รําลงสรงโทน รําลงสรงมอญ รําลงสรงลาว รําลงสรงแขก และรําชมตลาด รําลงสรงสุหรายเปนการรําที่นิยม ใชกับตัวละครฝายพระเปนสวนใหญเชนรําลงสรงสุหรายของพระ อุณรุท รําลงสรงมอญ รําลงสรงลาว และรําลงสรงแขกนิยมใชกับตัวละครทั้งฝายพระและนางสวนรําชมตลาด จะเปนการรําที่นิยมใชสําหรับการอาบน้ําแตงตัวของตัวละครทุกตัวไมวาจะเปนฝายพระ นาง ยักษ และลิง แต รําลงสรงโทน จะเปนการรําที่นิยมใชสําหรับตัวละครฝายพระ ยักษ และลิงเปนสวนใหญซึ่งตัวละครฝายนางก็ สามารถใชรําลงสรงโทนในการอาบน้ําแตงตัวไดแตตองเปนการรําคูหรือรําหมูซึ่งตองมีตัวพระเปนหลักเพราะมี ปรากฏใชอยูในบทละครเพียงแตไมนิยมนํามาใชแสดง ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากเพลงที่ใชนาจะเหมาะสมกับลีลา ทาทางของฝายพระมากกวาฝายนาง เห็นไดจากการรําที่มีลักษณะของการเลนเทาในทํานองเอื้อน จะใหความ สงางามและความคลองแคลววองไวกับฝายพระมากกวาหรือถาจะนํามาใชสําหรับแสดงก็นิยมที่จะใชเปนการรํา คู ระหวางฝายพระกับฝายนางซึ่งนาจะเปนจารีตอยางหนึ่งในทางการแสดง จากการรําลงสรงที่ใชสําหรับการอาบน้ําและการแตงกายของตัวละครดังกลาวขางตนรําลงสรงโทนจะ เปนการรําที่ไดรับความนิยมมากที่สุดปรากฏวามีอยูทั้งในการแสดงโขนและการแสดงละครไมวาจะเปนละคร ชาตรีละครนอกละครในและละครพันทางซึ่งเปนการรําที่มีมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร ขั้นตอนการรําลงสรงโทนมีอยู 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 เปนการอาบน้ําที่เรียกวา "ลงสรง" มีลักษณะการรําทั้งแบบนั่งรําและยืนรํา โดยพิจารณา จากการอาบน้ําวาเปนการอาบน้ําโดยวิธีใดซึ่งมีอยูดวยกัน 3 วิธี คือ - การอาบน้ําแบบสรงสนามจะเปนการอาบน้ําตามแมน้ําหรือลําธารลักษณะการรําจะเปนการทํา ทาทางดวยการวักน้ําขึ้นมาลูบหนาลูบตา ลูบแขนและขา เปนการนั่งรําแตถาเปนการรําดวยการทํามือ ตั้งวงขึ้นในระดับหนาแลวแหวกลงมา หรือการรําทําทาสาย แขนทั้งสองขางเหมือนการวายน้ํามักจะ เปนการยืนรําเพื่อใหเกิดการเคลื่อนไหวไปมาบนเวที - การอาบน้ําแบบขันสาคร จะเปนการอาบน้ําดวยการใชขันตักอาบ โดยจะเปนการนั่งรํา - การอาบน้ําแบบไขสุหราย จะเปนการอาบน้ําดวยการใชฝกบัวซึ่งลักษณะการอาบน้ําแบบนี้จะเปนที่ นิยมในบทละครเล็กจะมีปรากฏอยูมากโดยจะกลาวถึงในลักษณะตางๆเชนไขสหัสธารา ไขทอปทุม ทอง เปนตน โดยจะเปนการยืน รําดวยการทํามือรองรับน้ําที่ไหลออกมาจากทอสงน้ํา ขั้นตอนที่ 2 เปนการประพรม เครื่องหอมที่เรียกวา "ทรงสุคนธ" มีลักษณะการรําเปนแบบนั่งรํา โดย การทํามือเปดผอบหยิบแปงมาทาหนาและเทน้ําอบใสฝามือมาประพรมตามรางกาย ขั้นตอนที่ 3 เปนการแตงตัวที่เรียกวา "ทรงเครื่อง" มีลักษณะการรําเปนแบบยืนรําดวยการทํา ทาที่ เกี่ยวกับการนุงสนับเพลา สวมเสื้อใสเครื่องประดับ ในการรําลงสรงโทนแตละครั้งอาจจะมีครบทั้ง 3 ขั้นตอน หรือมีเพียงขั้นตอนของการแตงตัวเพียง ขั้นตอนเดียวแตลักษณะของการรําจะตองเปนไปตามแบบแผนที่กําหนดไวอยางชัดเจน สําหรับกระบวนทารําลงสรงโทนจะเปนกระบวนทาที่เกิดขึ้นตามความสมจริงหรือเปนกระบวนทาที่ แสดงใหเห็นถึงเครื่องแตงกายที่ตัวละครสวมใสอยูโดยทาที่ใชตองสื่อสาร ใหผูชมเห็นความสําคัญและความ งดงามซึ่งกระบวนทารําทั้งหมดจะเปนกระบวนทาที่เปนแบบแผนดั้งเดิมจากแมทาชาเพลงเร็วเพลงแมบทและ ระบําสี่บทโดยจะเลือกทารํามาใชใหตรงกับ 18


1. ลักษณะของเครื่องแตงกาย 2. ตําแหนงของเครื่องแตงกาย 3. คุณสมบัติของเครื่องแตงกาย โดยมีทาเชื่อมมารอยเรียงใหทารําทั้งหมดเกิดความงดงามตามแบบอยางทางนาฏศิลปไทย กระบวนทารําลงสรงโทนจึงประกอบดวยถารําหลักทารําขยาย ทาเชื่อมและทารับ - ทารําหลัก เปนทาที่เกิดขึ้นจากการตีบทตามบทรองเพื่อใชแทนความหมายของเครื่องแตงกายที่ตัว ละครสวมใสซึ่งจะมีทั้งทาเดี่ยวและทาคูโดยเปนที่สามารถ สื่อความหมายได ชัดเจนเหมาะสมที่สุด - ทารําขยาย เปนทารําที่ใชขยายความหมายของทารําหลัก โดยตองมีความสัมพันธกับทารําหลัก เพื่อ ขยายคุณลักษณะของทารําหลักวาสิ่งนั้นมีความหมายหรือมีความสวยงามอยางไรทาขยายนี้มีทั้งทาที่ แตงขึ้นเพื่ออธิบายถึงวิธีการหรือลักษณะการแตงกายรวมทั้งเปนทาที่นํามาจากแมทาเพลงชา เพลง เร็วและเพลงแมบทโดยเลือกนํามาใชใหเหมาะสมกับความหมายของบทขับรองถึงแมวาในการ ทําทารําหลัก จะเปนทาเดียวกัน แตทารําขยายอาจจะตางกันได - ทาเชื่อมเปนทารําที่ใชเชื่อมระหวางทารําหลักและทารําขยายใหรอยเรียงตอกันอยางสวยงาม กลาวไดวาการรําลงสรงโทนเปนการรําที่เปดโอกาสใหเห็นความเพรียบพรอม ของเจานายในวังที่มีแต สิ่งสวยงามไวในครอบครองเห็นขนบจารีตของพระมหากษัตริยในการแตงองคทรงเครื่องเพื่อประกอบพระราช พิธีตางๆตลอดจนเปนการทดสอบฝมือของครูผูถายทอด และตัวศิลปนผูแสดงอันแสดงใหเห็นถึงภูมิปญญาการ ถายทอดจากวรรณกรรมมาสูการแสดงทางนาฏศิลปไทยตามลําดับ สวนกระบวนทารําลงสรงโทนนั้นเปนทารํา ที่เกิดขึ้นจากการนําทารําที่มีอยูเดิม หรือประดิษฐขึ้นมาเพื่อใหเกิดความเหมาะสมและตรงตามความหมายของ บทรองซึ่งกระบวนทารําเหลานั้นอาจมีการเปลี่ยนแปลงไปหรืออาจจะปฏิบัติไดหลายวิธีโดยยังยึดถือตําแหนง คุณสมบัติห รือคุณลัก ษณะของเครื่องแตงกายแตล ะชนิดไวแตก ารทําทารําขยาย ทาเชื่อม และทารั บ อาจ เปลี่ยนแปลงไปตามประสบการณและความชํานาญของครูผูถายทอดหรือตัวผูแสดงซึ่งเปนวิธีการหนึง่ ทีแ่ สดงให เห็นวานาฏศิล ปไทยมีทั้ง การอนุรัก ษและมีทั้ง การพัฒนาใหกาวหนาไปตามกาลเวลา ศิล ปะแขนงนี้ถือเปน ศาสตรที่ตองอาศัยการเรียนรูการฝกฝนและประสบการณเพื่อสรางสรรคการแสดงสูผูชมโดยอาศัยแนวทางจาก ของเดิม รํา ฉุ ย ฉาย เป น การแสดงที่ มี สุ น ทรี ย ะในด า นนาฏกรรมของไทยที่ น า ชมชุ ด หนึ่ ง ผู แ สดงต อ งมี ความสามารถในเชิงศิลปะการรายรํา เรียกไดวา เปนการรําอวดฝมือกันเลยทีเดียว ฉะนั้น ผูรําตองมีพื้นฐาน ที่ผ า นการฝก ฝน ฝ ก หั ดมาอย า งยาวนานและเป น อย า งดี เ พราะลี ล าการรํ า ฉุ ยฉายนั้ น มี ท วงที ที่ ง ดงาม แสดงอารมณและความรูสึกดวยใบหนาทาทางซึ่งตัวละครจะแสดงออกถึงความภาคภูมิใจเมื่อเห็นวาตนเอง แตงตัวไดอยางสวยสดงดงาม หรือแปลงกายที่ไมสวยใหสะสวยเปนตนการรําฉุยฉายจึงเปนศิลปะชั้นสูงที่รําใหดี ไดยากในสวนของผูชมนอกจากจะดูทารําแลว เขานิยมฟงบทรองลอใหปเปาเลียนเสียงไปตามคํารองอีกดวย ถาคนปสามารถเปาปเลียนเสียงขับรองไดชัดถอยชัดคําก็นิยมวาศิลปนคนนั้นเปาปดีเลิศ การรําฉุยฉายจะพบไดใน 3ลักษณะ คือ 1.รําฉุยฉายแบบเต็ม หมายถึง การรําฉุยฉายเต็มรูปแบบ โดยการรําเพลงฉุยฉาย ๒ บท และรําเพลง แมศรี 2บท ซึ่งในแตละบท ดนตรีจะเปาปเลี ยนเสียงบทรอง และแตละบทผูแสดงรําทารับ ปพาทยทั้งเพลง ฉุยฉายและเพลงแมศรี แลวลงทายดวยเพลงเร็ว – ลาหรือเมื่อจบเพลงอื่นๆ 2.รําฉุยฉายแบบตัด หมายถึง การรําฉุยฉายโดยตัดทอนจากบทเต็มใหสั้นลงโดยคงเหลือรําเพลงฉุยฉาย และเพลงแมศรีอยางละ1บทซึ่งในแตละบท ดนตรีจะเปาปเลียนเสียงบทรอง และเมื่อจบแตละบท ผูแสดงรําทา รับปพาทยทั้งเพลงฉุยฉายและเพลงแมศรี แลวลงทายดวยเพลงเร็ว – ลา หรือเพลงอื่นๆ 3.รําฉุยฉายพวง หมายถึง การรําเพลงฉุยฉาย และเพลงแมศรี ตอเนื่องกันไปโดยไมมีการ เปาปเลียน เสียงบทรอง พอจบแตละบทจึงจะรําทารับปพาทย แลวลงทายดวยเพลงเร็ว – ลา เชน รําฉุยฉายกิ่งไมเงินทอง เปนตน รําแตงองคทรงเครื่องหนุม าน เปนการแสดงขั้นตอนการอาบน้ํา แตงตัว และชมโฉม ของตัวละคร สําคัญในเรื่องรามเกียรติ์ คือ หนุมาน เมื่อครั้งที่ไดรับพระราชทานบรรดาศักดิ์เปน พระยาอนุชิตจักรกฤษพิพัทธ พงศาครองเมืองนพบุรี หนุมานไดรําแตงองคทรงเครื่องประกอบบทรองเพลงชมตลาด และอีกตอนหนึ่งเมื่อครั้ง ไดเ ปนอุป ราชเมืองลงกาแทนอินทรชิต หนุม านไดแตง เครื่องทรงของอินทรชิตแลวรําแตงองคท รงเครื่อง ประกอบบทรองเพลงฉุยฉาย และเพลงแมศรี อวดความสงางามและความภาคภูมิใจ และรําแตงองคทรงเครื่อง ประกอบบทรองเพลงลงสรงโทน ในการอาบน้ําแตงตัว เพื่อไปหานางสุวรรณกันยุมากอนที่จะยกกองทัพออกไป ทําสงครามกับกองทัพพระลักษมณ 19


ลาพพระนาสวน : รามเกียรติ์ฉบับคัมภีรใบลานของจังหวัดเลย เอมอร เชาวนสวน* ลาพพระนาสวน เปนวรรณกรรมทีม่ ีเนื้อหาเปนรามเกียรติ์ฉบับทองถิ่น จารบนเอกสารโบราณ ประเภทคัมภีรใบลาน อักษรธรรมอีสาน ภาษาไทยอีสาน และภาษาบาลี เลขที่ ๙๘๑/๑ จํานวน ๑ ผูก ๔๔ หนาลาน หนาลานละ ๔ บรรทัด ศักราชที่สรางกลาวไวในขอความตอนทายเรื่องวา “จุลศักราชราชาได ๑๖๘ ตัว ปรวายยี๑่ เดือน ๙ ออกใหม๒๙ วัน ๗ มื้อรับเหมา๓” ซึ่งตรงกับวันเสาร เดือน ๙ ขึ้น ๙ ค่ํา ปขาล จุลศักราช ๑๑๖๘ พุทธศักราช ๒๓๔๙ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ แหงกรุงรัตนโกสินทร (ครองราชย พุทธศักราช ๒๓๒๕ – ๒๓๕๒) ขนานอิน เปนผูแ ตงและผูส รางใหไวแกพระพุทธศาสนา เจาหนาทีก่ ลุมหนังสือ ตัวเขียนและจารึก สํารวจพบที่วัดศรีภมู ิ บานนาหอ หมูที่ ๒ ตําบลนาหอ อําเภอดานซาย จังหวัดเลย เมื่อพุทธศักราช ๒๕๑๘ ปจจุบันใหบริการอยูที่กลุมหนังสือตัวเขียนและจารึก สํานักหอสมุดแหงชาติ ลาพพระนาสวน มาจากคําวา ราพนาสูรย ซึ่งมีรากศัพทมาจากคําภาษาสันสกฤตวา ราวณ + อสุร = ราพณาสูร คําวา ราพณ แปลวา ยักษ หรือหมายถึง ทศกัณฐ มีโครงเรื่องเชนเดียวกับเรื่องรามเกียรติ์ แมวา ตนเคา เดิมของวรรณคดีเรื่อง รามเกียรติ์เปนเรือ่ งในศาสนาพราหมณฮินดู แตวรรณกรรมเรื่อง ลาพพระนาสวน กลับ เชื่อมโยงกับคติแนวความเชื่อในพระพุทธศาสนา และสรางขึน้ เพื่อพระพุทธศาสนา การศึกษาวิจัยนีน้ าํ คัมภีรใบลานมาคัดถายถอดตัวอักษรโบราณใหเปนอักษรปจจุบัน จัดทําคําอาน ปจจุบัน ศึกษาวิเคราะหอักษร ภาษา เนื้อหา สาระสําคัญของเรื่อง เพื่อใชเปนงานวิจัยอางอิงทางอักขรวิทยา ภาษา ถิ่นโบราณ โดยเฉพาะรูปแบบอักษรธรรมอีสานสมัยตนรัตนโกสินทร พรอมทั้งศึกษาเปรียบเทียบเนื้อหากับรามเกียรติ์ ฉบับทองถิ่นภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต และฉบับไทลื้อในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ๑. เนื้อเรือ่ งลาพพระนาสวนจากคัมภีรใบลาน ลาพพระนาสวน หรือลาบภนาสวร , พิกพีและอินทชิต๔ ทั้งสามเกิดในตระกูลพรหมเปนพี่นองครอง เมืองลงกา ลาพพระนาสวนลักลอบเขาหานางสุชาดาชายาพระยาอิน นางสุชาดาโกรธ ขอลงมาเกิดเปนลูก ลาพพระนาสวน พราหมณถวายคําวานางจะเปนโทษแกพอ จึงนํานางใสอูบคําไปไหลลงน้าํ ฤษีนํานางไปเลี้ยงตัง้ ชือ่ วา นางสีดา (หรือ สีตา) ฝายทตรถราชา๕ มีลูกชายชือ่ พระรามมราช กับพระลัก พระรามยกธนูได จึงแตงงานกับนาง สีดา พระยาอินเนรมิตกวางคํา นางสีดาอยากไดกวางคํา พระราม พระลักตามกวาง ลาพพระนาสวนลักเอาตัวนาง สีดาไป *นักภาษาโบราณเชี่ยวชาญ สํานักหอสมุดแหงชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ๑ ปรวายยี่ - ปไทยแบบหนึ่งที่ใชในสมัยโบราณ ๒ ออกใหม - วันขางขึ้นทางจันทรคติ ๓ มื้อรับเหมา - ชื่อวันที่ใชในสมัยโบราณ ๔ รามเกียรติ์ฉบับพระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก พิกพี คือ พิเภก สวนอินทรชิตเปนลูกชายทศกัณฐ ๕ รามเกียรติ์ฉบับพระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก เรียกวา ทาวทศรถ

๒๐


พระราม พระลักเดินทางพบสังคีบ๑ นองของพาลี ซึง่ ครองเมืองกาสี๒ พาลีไปรบกับทัวรพี สังคีบปด ปากถ้าํ ทําใหพาลีโกรธ ไลสังคีบหนี สังคีบฝากตัวกับพระราม บอกวายังมีหลานอีก ๓ คนจะใหมารับใชพระราม ไดแก องคฑ (องคต) รยฑ (ระยดหรือวรยด)๓ และหุรมาน (หรือหูรมาน) สังคีบพาพระราม พระลักไปรบกับพาลี พาลีตาย สังคีบไดครองเมือง พระรามจะไปรบกับลาพพระนาสวนเพื่อนํานางสีดาคืนมา ทาวพระยาทตรถสอนพระรามวา เปน กษัตริยนั้นหากถอยคําใดยังไมกระจางแจงก็ไมควรกระทํา เลาเรื่องประกอบวา “พราหมณเลี้ยงพังพอนไว งูเหาเขามา กัดลูกชายตาย คิดวาพังพอนฆาลูก จึงตีพังพอนตาย ตอมาเห็นซากงู จึงทราบวาพังพอนไมไดฆา ลูก” พระรามมอบใหหรุ มานไปกรุงลงกา หุรมานเขาไปในปราสาทเห็นลาพพระนาสวนนอนอยูก ับนาง เทวีจึงแกลงผูกผมทั้งสองใหติดกัน และเผาเมืองลงกา พระรามแตงบรรณาการขอนางสีดาคืน ลาพพระนาสวนบอก วาถาเดินทางผานมหาสมุทรมาไดก็จะใหนางสีดาไป หนุมานตอกหลักไมไปสูเมืองลงกา ผานเมืองปตตลุม เมื่อถึง เมืองลงกาใหวรยดไปบอกขาวแกลาพพระนาสวน ลาพพระนาสวนใหพิกพีทาํ นาย พิกพีทาํ นายวา เมืองลงกาแพ ลาพพระนาสวนโกรธจึงขับไลพกิ พีไป ๒.วิเคราะหรูปอักษรและภาษา อักษรที่ใชบันทึกวรรณกรรม เรื่อง ลาพพระนาสวน คือ อักษรธรรมอีสาน เปนอักษรที่พบในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และกลุมลาวหลายกลุม ซึ่งอยูในภาคกลางและภาคตะวันออกของประเทศไทย วิเคราะหรูปอักษรและภาษา ดังนี้ ๑. รูปอักษร รูปอักษรธรรมอีสานที่ใชบันทึกลาพพระนาสวน ประกอบดวย ๑.๑ รูปพยัญชนะตัวเต็ม รูปพยัญชนะตัวเชิง ๑.๒ รูปสระ ซึ่งประกอบดวยสระลอยและสระจม ๑.๓ รูปตัวเลข

_____________________ ๑

รามเกียรติ์ฉบับพระราชนิพนธฯ เรียกวา สุครีพ รามเกียรติ์ฉบับพระราชนิพนธฯ เรียกวา เมือ งขีดขิน ๓ รามเกียรติ์ฉบับพระราชนิพนธฯ นาจะหมายถึงชมพูพาน ลูกบุญธรรมของพาลี ๒

๒๑


พยัญชนะตัวเต็ม หมายถึง รูปของพยัญชนะที่เขียนเต็มตามรูป เขียนบนบรรทัด ทําหนาที่เปนพยัญชนะตน หรือ บางตัวอาจทํา หนาที่เปนตัวสะกดก็ได ๒ พยัญชนะตัวเชิง หมายถึง รูปของพยัญชนะที่เขียนใตพยัญชนะตัวเต็มหรือเขียนใตเสนบรรทัด

สระลอย คือ สระที่เปนใหญในตัวเองโดยไมตองอาศัยหรือมีพยัญชนะอื่น สระจม คือ สระที่ตองอาศัยพยัญชนะอื่นมาประกอบจึงจะออกเสียงไดตามพยัญชนะนั้น ๆ

๒๒


๒. ภาษา วิเคราะหภาษาในวรรณกรรม เรื่อง ลาพพระนาสวน ไดดังนี้ ๒.๑. การใชคําซอน มีการนําคํามากกวาหนึ่งคําทีม่ คี วามหมายไปในทํานองเดียวกันมา ซอนกัน มีการสัมผัสคําเพื่อใหเห็นภาพพจน เชน โกรธธรรมคําเคียด แยกเปนคําวา โกรธธรรม = กระทําโกรธ คําเคียด = โกรธ , ชั้นฟาภายบน แยกเปนคําวา ชั้นฟา = บนฟา ภายบน = ดานบน หมายถึง ฟา ๒.๒ การใช สํ า นวนที่ มีค วามคล อ งจอง เป นถ อยคํ า ที่ มีคํ า คล อ งจอง เชน ขั บ ฟ อ น ออนแอนทวยทวายไปมา แปลวา ฟอนรําอยางออนชอย , มาตบมาตอยประตู แปลวา มาเคาะประตู ๒.๓ การใชคําซ้ํา การใชคาํ ซ้าํ เพื่อใหไดคาํ ที่มีนา้ํ หนักเจาะจง ลักษณะคําซ้ํานี้นิยมใชใน จารึกสมัยสุโขทัย เชน จารึกพอขุนรามคําแหงมหาราช ไดแก มันบมชี า งบมีมา , กลางบานกลางเมือง คําซ้าํ ที่พบ ในเรื่องลาพพระนาสวน เชน บปลอยบวาง ในประโยควา “ปลิงตัวนั้นก็บป ลอยบวางหูรมาน” หมายถึง ปลิงตัว นั้นไมปลอยหูรมาน”, รูเ สี้ยงรูห มด ในประโยควา “กินอยารูเสี้ยงรูหมดสักเทือ” หมายถึง “กินอยารูห มดสักครัง้ เลย” ๒.๔ การใชคําเหมือนคําในจารึกสมัยสุโขทัย มีการใชคาํ เหมือนคําทีป่ รากฏในจารึกสุโขทัย ซึ่งพบในวรรณกรรมเรื่อง “ลาพพระนาสวน” ดังนี้ - มีคําวา “ขึ้นใหญ” ที่แปลวา เติบโต เหมือนจารึกพอขุนรามคําแหงมหาราช วา เมื่อ กู ขึ้นใหญไดสิบเกาเขา ซึ่งปรากฏในเรื่อง ลาพพระนาสวน วา นางสีดาขึ้นใหญมาได ๑๒ ป - มีคําวา “ลุกแตเมิงลังกามาอุมเอานางสีดาบัดเดียวนั้น” คําวา “ลุกแต” หมายถึง มา จาก เหมือนจารึกพอขุนรามคําแหงมหาราช วา สังฆราชปราชญเรียนจบปฎกไตรหลวักกวาปูครูในเมืองนี้ ทุกคน ลุกแตเมืองศรีธรรมราชมา” - จารึก สมัยสุโขทัย เชน จารึก นครชุม เรียกพอขุน รามคํา แหงวา พรญารามราช ซึ่ง เรียกชื่อเหมือนกับเรื่อง ลาพพระนาสวน ที่เรียกชื่อพระรามวา พระรามมราช (คําถายถอดวา “พฺรราฺมมราฺฑ”) ๒.๕ การใชคําลงทาย คําลงทาย หมายถึง คําที่อยูทา ยประโยคหรือวลี เชน วา อั้นแลวควร ซอยนางแทแล ,นางสีดาก็ไดไปกับดอมพระรามมราชแชล (แชล = นั่นแล,แทแล) ๒.๖ ภาษาถิ่นที่ใชในวรรณกรรม ภาษาถิ่น (Dialect) หมายถึง ภาษาที่ใชพูดกันในถิ่นใดถิ่นหนึ่งหรือมีลักษณะแตกตา ง จากภาษามาตรฐานที่ใชกันอยู ดังยกตัวอยางภาษาถิ่นที่ปรากฏในวรรณกรรมเรื่องนี้ เชน เสี้ยง แปลวา หมด, มืน ตา แปลวา ลืมตา ๒.๗ มีการใชคําที่แปรเสียงไปจากคํา ในภาษาไทยภาคกลาง เชนคําวา พิกพิ , พิกพี ใน ภาษาไทยภาคกลางคือ พิเภก สังคีบ ในภาษาไทยภาคกลางคือ สุครีพ เรื่องลาพพระนาสวน เรียกชื่อนางสีดา วา “สีตา” ซึ่งเมื่อไดศึกษารามเกียรติ์ในเอกสารของประเทศในภูมิภาคอาเซียน เชน อินโดนีเซีย ฟลิปปนส กัมพูช า เมียนมา เวียดนาม เรียกชื่อนางสีดา วา “สีตา”(sita) เชนกัน

๒๓


๓.การเปรียบเทียบเนื้อเรื่องลาพพระนาสวนกับรามเกียรติ์ฉบับทองถิ่น การศึกษาเปรียบเทียบเนื้อเรื่องลาพพระนาสวนกับรามเกียรติฉบับทองถิ่น เพื่อเปรียบเทียบ ลักษณะที่คลายคลึงและแตกตางของเนื้อเรื่อง โดยคัดเลือกเรื่องรามเกียรติฉ์ บับทองถิ่นมาเปรียบเทียบ สรุปการ เปรียบเทียบเนือ้ เรือ่ งสําคัญซึ่งแสดงในรูปตาราง ดังนี้ รามเกียรติพ์ ระราชนิพนธ รัชกาลที่ ๑๑(ภาคกลาง)

ลาพพระนาสวน ฉบับ วัดศรีภูมิ จังหวัดเลย๒

ลังกาสิบหัว ฉบับ ไทลื้อสิบสองปนนา๓

- ทศกัณฐเกิดในตระกูล พรหม

- ทศกัณฐ ชือ่ ลาพพระนา สวน เกิดในตระกูลพรหม

- ทศกัณฐ ชือ่ ภุมมะจัก เปนโอรสพระพรหม

- นางสีดาถูกนําใสใน ผอบทอง ทศกัณฐให สุกรสารนําไปทิ้งใน มหาสมุทร มีดอกบัวทอง มารับเพราะพิเภกทายวา เปนกาลกิณี

- นางสีดาหรือสึตาถูกนําใส อูบคําลอยน้ําไปเพราะ พราหมณทํานายวาเปน กาลกิณี

- พระรามมีนอ งชือ่ พระลักษมณ

- พระรามคือ พระนารายณ

พรหมจักร ฉบับลานนา๔

พระลัก พระลาม ฉบับอีสาน๕

รามเกียรติ์ ฉบับภาคใต๖

-ทศกัณฐ ชื่อ วิโลหา ราชะ หรือพระยา ลังกา - นางสิดากําเนิดใหม - นางสีดาถูกนําใสแพ เปนนารีผล ภุมมะจักจะ ลอยน้ําไปเพราะโหร ฆานาง ขุนนางหามไว ทายวาเปนกาลกิณี ภุมมะจักจึงนํานางใส หีบปลอยไป

- ทศกัณฐชอื่ พระญาฮาบมะนา สวน ครองลังกา - นางสีดาจันทะแจม ถูกนําขามน้ําไปหิม พานต และนําไปไวใน ดอกบัวทองเพราะ พราหมณทายวาเปน กาลกิณี

- กลาวถึงนางสี ดาแตไมม ี ขอความตอนนี้

- พระราม ชือ่ พระรามมราช นองชือ่ พระลัก

- พระราม ชือ่ เจาลํามา - พระราม ชือ่ นองชือ่ เจาละคะนา พรหมจักร นองชื่อ รัมมจักรกุม าร

- พระราม ชือ่ พระลาม นองชือ่ พระลัก

- พระรามมีนอ ง ชือ่ พระลักษมณ

- เรื่องพระรามนีส้ รางไวใน พระพุทธศาสนา (ใชคําวา สรางไวกบั พุทธชาติศาสนา พระโคตมเจา)

- พระรามคือ พระโพธิสตั ว

- พระรามคือ พระโพธิสัตว

- พระรามคือ พระนารายณ

- พระรามคือ พระโพธิสตั ว

ทศกัณฐชอื่ ทศกัณฐ

ขอมูลจาก๑ วรรณกรรมฉบับรัตนโกสินทร พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก เลม ๑ – ๔ . กรมศิลปากร. กรุงเทพฯ : โสภณการพิมพ, ๒๕๔๐. ๒ ลาพพระนาสวน. หอสมุดแหงชาติ. คัมภีรใบลาน อักษรธรรมอีสาน เลขที่ ๙๘๑/๑. ๓ วิเคราะหวรรณกรรมอัก ษรไทยลื้อ เรื่องคําขับลังกาสิบหัว. เจริญ มาลาโรจน. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๒๙. ๔ ชาดกนอกนิบาต พรหมจัก ร(ลําพูน) . สิงฆะ วรรณสัย ปริวรรต. กรุงเทพฯ : มิต รนราการพิมพ, ๒๕๒๒. ๕ พระลัก พระราม (รามเกียรติ์) สํานวนเกาของอีสาน. (สกลนคร)ตรวจชําระโดยพระอริยานุวัตร เขมจารีเถระ กรุงเทพฯ : มูลนิธิเสถียรโกเศศ – นาคะประทีป, ๒๕๑๘. ๖รามเกียรติ์ฉบับบานควนเกย(นครศรีธรรมราช) เรียบเรีย งโดย ฉันทัส ทองชวย. รามเกีย รติ์กับวรรณกรรมทองถิ่นภาคใต. สงขลา : โครงการบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา. ๒๕๒๒.

เนื้อหาหรือโครงเรือ่ งวรรณกรรมเรื่องรามเกียรติ์ในแตละทองถิ่นมีความคลายคลึงกัน แตสวนประกอบ ตางๆ ของเนื้อเรื่องอาจแตกตางกันไปตามแตละถิ่น สันนิษฐานวาเกิดจากจินตนาการของคนและวัฒนธรรมแตละ ทองถิ่น มีผลใหนทิ านเรื่องเดียวกัน มีเรื่องราวผิดแผกกันไป ซึ่งอาจเกิดจากการเลาเรื่อง ผูเลาอาจเลาเรื่องตาม ความคิดการตีความของตน เปนผลใหเนื้อเรื่องเดิมบางสวนก็คงอยู และก็มีเนื้อเรื่องแบบใหมเขามาปะปน ๒๔


๔. คําสอนที่ปรากฏในวรรณกรรม คําสอนที่ปรากฏในวรรณกรรมเรื่อง ลาพพระนาสวน มีดังนี้ ๔.๑ การปฏิบัติตนเปนภรรยาที่ดี ตอนนางสีดาดูแลพระราม เชน ลุกกอนสามี นอนหลังสามี ๔.๒ หลักธรรมของพระมหากษัตริยในการปกครองบานเมือง เชน ครองเมืองดวยหลักทศพิธราชธรรม ๕. ความเชือ่ ที่ปรากฏในวรรณกรรม ๕.๑ ความเชือ่ ในพระพุทธศาสนา เรื่องลาพพระนาสวนแตงขึ้นเพื่อพระพุทธเจาศาสดาแหง พระพุทธศาสนา ผูแ ตงปรารถนาจะไดไปสูน ิพพาน อันเปนหลักธรรมะสูงสุดของพระพุทธศาสนา ๕.๒ เชื่อในเรื่องบุญบาป นางสีดามีบุญ เมื่อนางอยูในอูบคํา (หีบทอง) ที่ถูกปลอยใหไหลไปตามน้าํ ฟอง คลื่นในแมน้ําก็ประคองอูบคําของนางไว ๕.๓ เชื่อในเรื่องไสยศาสตร ฤษีสอนหุรมาน(หนุมาน) วาสิ่งที่ทําใหเสียฤทธิ์เดช คือ เอาไมไผมาสีฟน ปลิง เกาะที่หนาผากและการใชมุมผาเช็ดที่ใบหนา วิเคราะหวา เปนกุศโลบายของคนในสมัยโบราณทีส่ อนวาการกระทํา นี้เปนอันตราย ๖. วัฒนธรรมทองถิ่นที่แทรกอยูในวรรณกรรม ๖.๑ พระรามยกธนูขึ้นอยางงายดายราวกับผูหญิงขึ้นกงดีดฝาย กงดีดฝาย หมายถึง กงสําหรับ กรอดายทีท่ าํ จากฝายใหเปนไจ แสดงถึงวัฒนธรรมความเปนอยูข องสังคมทองถิ่นอําเภอดานซาย จังหวัดเลย ๖.๒ ฤษีบิณฑบาตในตอนเชา ฤษีเปนนักบวชในศาสนาพราหมณฮินดู ผูแตงใชจินตนาการวา ฤษี คือนักบวชที่เหมือนพระภิกษุในพระพุทธศาสนา ตองออกบิณฑบาตในตอนเชา ๖.๓ แทรกจินตนาการและความสนุกสนาน มีคนจับหนุมานไปใสครกตํา เปนตน ๗. การแทรกวรรณกรรมอื่นในเนื้อหา ผูแตงนํานิทานเรื่อง พราหมณกับ พังพอนแทรกในเนื้อหา ซึ่งนิทานเรื่องนี้มีตนเคา มาจากปญจ ตันตระนิทานของอินเดีย ไดแก เรื่องปกษีปกรณัม พบในจังหวัดแพรและในลาวดวย๑ ๘.บทสรุป การศึกษาเรื่องลาพพระนาสวนทําใหทราบวาวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ที่มีตนกําเนิดในอินเดียไดเขา มาแพรหลายในเอเชียอาคเนย ไมเวนแมในกลุมผูพูดภาษาตระกูลไทหรือไตซึ่งอาศัยอยูทางเหนือของเอเชียอาคเนย หา งไกลเสนทางคมนาคมทางทะเล เชน กลุมคนในจังหวัดเลย,ไทลื้อในสิบสองปนนา,ลานนา,ลานชาง ก็ไดรับ อิทธิพลนี้เชนกัน สวนเนื้อหาของเรื่องลาพพระนาสวนนั้นมีโครงเรื่องคลายวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ของภาคกลาง แตแทรกความเปนทองถิ่นเขาไป การเปรียบเทียบเนื้อหากับรามเกียรติ์ฉบับตางๆพบวาโครงเรื่องมีความคลายคลึง ๑

สยาม ภัทรานุประวัต.ิ ปก ษีปกรณัม : การศึกษาเปรียบเทียบฉบับสันสกฤต ลานนาและไทย. วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสันสกฤต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๔๖. หนา ๒๕ – ๓๕. ๒๕


กัน แตสวนประกอบตาง ๆ ของเนื้อเรื่องอาจแตกตางกันไปตามแตละทองถิ่น เนื่องจากวัฒนธรรมและจินตนาการ ของคนในแตละทองถิ่น ประกอบกับการถายทอดแบบเลาเรื่อง มีผลใหนิทานเรื่องเดียวกันมีเรื่องราวผิดแผกกัน อั ก ษรที่ ใ ช บั น ทึ ก เรื่ อ งลาพพระนาสวนได แ ก อั ก ษรธรรมอี ส าน เป น อั ก ษรที่ พ บในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งลาวในภาคกลาง ลาวในภาคตะวันออกของประเทศไทย อักษรธรรมอีสานมีรูปอักษร ใกลเ คียงกั บ อักษรธรรมลา นนา สั น นิษฐานวา ไดรับ อิทธิพ ลจากรูป อัก ษรธรรมลา นนาผ า นมาทางลา นชา ง วิวัฒนาการเปนอักษรธรรมอีสาน ตัวอักษรรูปแบบใกลเคียงกั นนี้ยังใชในกลุมคนพูดภาษาตระกูลไทอื่นๆ เชน อักษรไทลื้อหรือทีเ่ รียกวา “ตัวลื้อ” อักษรไทขึน เปนตน การศีกษารูปอักษรจึงเปนหลักฐานสําคัญที่ทําใหทราบถึง อิทธิพลทางอักษรที่มีตอกันได ลาพพระนาสวน เปน วรรณกรรมที่ บั น ทึก ว า สรา งไวเพื่ อ พระพุ ท ธศาสนาพระโคตมเจ า หรื อ พระพุทธเจา สวนรามเกียรติ์ฉบับไทลื้อ ฉบับลานนา ฉบับอีสาน กลาววา พระราม คือ พระโพธิสัตว ซึ่งแสดงให เห็นวา กลุมคนที่พูดภาษาตระกูลไทในแถบนี้ นับถือพระพุทธศาสนา แตไดนําวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ที่มีเคาเรื่อง เดิมเปนศาสนาพราหมณฮินดู เขา มาผนวกกับ ความเชื่อในพระพุทธศาสนาของตน มีค วามเชื่อเรื่องบาป บุญ สวรรค ผสมความเชื่อในเรื่องไสยศาสตรของทองถิ่น นอกจากนั้นยังปรากฏคําสอน วัฒนธรรมทองถิ่น รวมทั้งนํา วรรณกรรมอื่นเขามาปะปน และบันทึกดวยภาษาไทยอีสาน(ภาษาถิ่นจังหวัดเลย) ซึ่งพบวา มีการใชคํา ประโยค หรือวลีทคี่ ลายคลึงกับภาษาในจารึกสมัยสุโขทัยดวย คัมภีรใบลานเรื่อ งลาพพระนาสวนฉบับ วัดศรีภูมิ ตําบลนาหอ อํา เภอดานซา ย จัง หวัด เลยนี้ นอกจากเปนเอกสารโบราณหลักฐานสําคัญทางอักขรวิทยา ภาษาถิ่นโบราณแลว ขอความตอนทายของคัมภีรใบ ลานที่กลาววา “ผูแตงมีความศรัทธาปรารถนาขอใหไปถึงนิพพาน และอยาไดเที่ยวสงสารบาปเวร” คําวา นิพพาน นั้นหมายถึง ความดับสนิทแหงกิเลส และกองทุกข สวนคําวา สงสาร สังสารหรือสังสารวัฏ หมายถึง การเวียนวาย ตายเกิด ซึ่ง “นิพพาน”นั้นเปนจุดมุงหมายสูงสุดของการปฏิบัติตามหลักพระพุทธศาสนา เปนหลักฐานวา ผูคนใน ดินแดนนี้ยึดมั่นในหลักพุทธธรรมอยางแนนแฟน และยังคงยึดมั่นในพระพุทธศาสนาตอเนื่องมายาวนานจนถึง ปจจุบัน

________________

๒๖


วัดสวนดอก: สุสานหลวงของเจานายฝายเหนือ นางสาวระชา ภุชชงค *

วัดสวนดอก เปนวัด สําคัญ คูบ านคูเ มืองเชียงใหม สรางขึ้ นเมื่อ พ.ศ. ๑๙๑๔ ในสมัย พญากือนา แหงราชวงศมังราย ในชวงยุคทองของอาณาจักรลานนา พระอารามแหงนี้เปนศูนยกลางความเจริญรุงเรือง ทางพระพุ ท ธศาสนาแบบลัง กาวงศ หรือ ที่เ รี ยกว า “นิก ายสวนดอก” และไดรั บ การอุป ถัม ภ ทํานุ บํารุ ง จากเจาผูครองนครเชียงใหมสืบมาโดยตลอด ถึง พ.ศ. ๒๔๕๑ พระราชชายา เจา ดารารั ศ มี ในพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู หั ว ทรงพิจารณาวา “กู” หรือสถานที่บรรจุพระอัฐิเจาผูครองนครเชียงใหมและพระญาติวงศในวงศสกุลเจาเจ็ดตน ประดิษฐานกระจัดกระจายไมสมพระเกียรติ จึงมีพระดําริที่จะรวบรวมพระอัฐิมาสถาปนาไว ณ อนุสรณสถาน แห ง เดีย วกั น จึ ง โปรดใหส ร า งสุ ส านหลวงเพื่ อ ประดิ ษ ฐานกู บ รรจุ อั ฐิพ ระญาติ ว งศขึ้ น ณ วั ด สวนดอก เมืองเชียงใหม

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว

พระราชชายา เจาดารารัศมี

หากพิจารณาถึงพระดําริของพระราชชายา เจาดารารัศมี ในการสรางสุสานหลวงดังกลาว สันนิษฐาน วานาจะทรงไดรับแนวพระดําริจากการสรางสุสานหลวงของราชสํานักสยาม เพื่อประดิษฐานพระอัฐขิ องบรรดา พระราชวงศ ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๐ พระองคจึงทรงนํามาปรับใหเขากับธรรมเนียม จารีตประเพณีของลานนาในเวลาตอมา อนึ่ง หากพิ จ ารณาถึง มูล เหตุ ที่ท รงเลือกวั ดสวนดอกเปนสถานที่ส รา งสุส านหลวงเพื่อบรรจุอั ฐิ ของเจานายฝายเหนือ อาจเปนเพราะเหตุผล ๒ ประการ คือ วัดสวนดอกเปนวัดสําคัญคูบานคูเมืองเชียงใหม ที่เจาผูครองนครเชียงใหมทรงอุปถัมภสืบมาแตโบราณ อีกประการหนึ่งคือ วัดสวนดอกตั้งอยูทางทิศตะวันตก ซึ่งเปนทิศสําคัญของเมืองเชียงใหม เนื่องจากเปนที่สถิตของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจํา เมืองและเปนที่ประดิษฐาน พระธาตุดอยสุเทพ ซึ่งเปนที่เคารพบูชาของชาวเชียงใหมเปนอยางยิ่ง *

นักอักษรศาสตรปฏิบัติการ กลุมประวัติศาสตร สํานักวรรณกรรมและประวัติศาสตร ๒๗


ส ว นการก อ สร า งกู นั้ น พระราชชายา เจ า ดารารั ศ มี ท รงใช ทุ น ทรั พ ย ส ว นพระองค ร ว มกั บ เจาอินทวโรรสสุริยวงษและเจาอุป ราช โดยทรงมอบใหเจาสุริยะวงษ (เจานอยคําตัน สิโรรส) เปนแมกอง ในการจัดสราง ตลอดระยะเวลาในการกอสรางและตกแตงกู พระราชชายา เจาดารารัศมี ทรงเอาพระทัยใส และเสด็จฯ ไปทรงควบคุมดูแลการกอสรางดวยพระองคเองอยูเนืองๆ เมื่อการกอสรางกูแลวเสร็จสมบูรณในวันที่ ๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๒ พระราชชายา เจาดารารัศมี โปรดใหจัด ขบวนพิ ธีแ หอัญ เชิ ญ พระอั ฐิเ จ าผู ครองนครเชีย งใหมแ ละชายา เพื่อ เคลื่ อนยายเชิ ญ พระอั ฐิ จากข ว งเมรุ เ ข า มาทางประตู ท า แพ และเคลื่ อ นออกจากเมื อ งทางประตู ส วนดอกไปประดิ ษ ฐานที่ กู ณ วัดสวนดอก ตามลําดับ พระอัฐิชุดแรกของเจาผูครองนครเชียงใหมและชายามีจํานวน ๑๑ องค ไดแก ๑. พระเจากาวิละ เจาผูครองนครเชียงใหมองคที่ ๑ (พ.ศ. ๒๓๒๕ – ๒๓๕๘) ๒. เจาหลวงธรรมลังกา เจาผูครองนครเชียงใหมองคที่ ๒ (พ.ศ. ๒๓๕๙ – ๒๓๖๔) ๓. เจาหลวงเศรษฐีคําฝน เจาผูครองนครเชียงใหมองคที่ ๓ (พ.ศ. ๒๓๖๖ – ๒๓๖๙) ๔. เจาหลวงพุทธวงศ เจาผูครองนครเชียงใหมองคที่ ๔ (พ.ศ. ๒๓๖๙ – ๒๓๘๙) ๕. พระเจามโหตรประเทศ เจาผูครองนครเชียงใหมองคที่ ๕ (พ.ศ. ๒๓๙๐ – ๒๓๙๗) ๖. พระเจากาวิโลรสสุริยวงศ เจาผูครองนครเชียงใหมองคที่ ๖ (พ.ศ. ๒๓๙๙ – ๒๔๑๓) ๗. พระเจาอินทวิชยานนท เจาผูครองนครเชียงใหมองคที่ ๗ (พ.ศ. ๒๔๑๖ – ๒๔๔๐) ๘. แมเจาอุสาห ชายาพระเจากาวิโลรสสุริยวงศ ๙. แมเจาทิพยเกษร ชายาพระเจาอินทวิชยานนท ๑๐. แมเจารินคํา ชายาพระเจาอินทวิชยานนท ๑๑. แมเจาพิณทอง ชายาเจาหลวงพุทธวงศ

อนุสาวรีย (กู) เจานายฝายเหนือในราชตระกูล ณ เชียงใหม ซึ่งประดิษฐาน ณ วัดสวนดอก อําเภอเมืองเชียงใหม จังหวัดเชียงใหม

ภายหลังจากที่ประดิษฐานพระอัฐิของเจาผูครองนครเชียงใหมและพระญาติวงศ ณ กูวัดสวนดอก เรียบรอยแลว พระราชชายา เจาดารารัศมีโปรดใหมีก ารบําเพ็ญ พระกุศลตามธรรมเนียมจารีตประเพณี ตลอดจนโปรดใหจัดงานเฉลิมฉลองกูเปนเวลา ๕ วัน มีการละเลนมหรสพตางๆ และที่สําคัญคือ โปรดคัดเลือก บทละครเรื่องอิเหนาบางตอน รวมทั้งเรื่องพระลอและสาวเครือฟา ซึ่งเปนบทละครของพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ มาฝกหัดใหคณะละครรําของเจาอินทวโรรสสุริยวงศแสดงในงานเฉลิม ฉลองกู ครั้งนี้ดวย นับเปนครั้งแรกที่มีการนําศิลปะการแสดงแบบกรุงเทพฯ มาจัดแสดงที่ลานนา ในโอกาสนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหมีการสรางเหรียญพระราชทาน เปนที่ระลึกในงานเฉลิมฉลองกู เปนเหรียญรูปดาว ๖ แฉก ดานหนึ่งจารึกอักษรชื่อไขวกัน คือ อ. (อินทวิชยา ๒๘


นนท) และ ด. (ดารารัศมี) สวนอีกดานจารึกคําวา “ฉลองกู ร.ศ.๑๒๘” งานเฉลิมฉลองกูในครั้งนั้น นับเปน งานใหญและเปนที่ชื่นชมยินดีของราษฎรผูพบเห็นโดยถวนหนา

เหรียญจารึกอักษร อ.ด. พระราชทานเปนที่ระลึกในงานเฉลิมฉลองกูวัดสวนดอก

สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาบริพัตรสุขุมพันธ กรมพระนครสวรรควรพินิต ฉายพระรูปรวมกับพระราชชายา เจาดารารัศมี และเจานายฝายเหนือ ณ สุสานหลวงวัดสวนดอก คราวเสด็จตรวจราชการมณฑลพายัพ พ.ศ. ๒๔๖๔

จากการศึก ษาและการสํารวจภาคสนามเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ในวาระครบ ๑๐๖ ป แหงการสถาปนากูวัดสวนดอก พบวามีกูของเจาผูครองนครเชียงใหมและเจานายในราชตระกูลรวม ๑๐๕ องค ในจํานวนนี้มีกูที่มีจารึก จํานวน ๗๙ องค (ระบุนามและประวัติผูวายชนม รวม ๑๗๓ ทาน ดวยเหตุที่พื้นที่ จัดสรางกูไมสามารถขยายเพิ่มเติมออกไปไดอีก ในบางกูจ ึงมีการบรรจุอัฐิรวมกันหลายทาน) และกูที่ไมปรากฏ จารึกอื่นใด จํานวน ๒๖ องค ปจจุบันกูเจานายฝายเหนือ ณ วัดสวนดอกเปนอนุส รณส ถานที่สําคัญแหงหนึ่งของเมืองเชียงใหม ในชวงเทศกาลสงกรานตหรือ “ปใหมเมือง” จะมีการจัดพิธี “ดําหัวกู ” หรือบวงสรวงกู ซึ่งชาวเชียงใหม รวมทั้ง หนวยงานภาครั ฐและเอกชนต างรวมใจกันจั ดขบวนแหเ ครื่ องสัก การะถวายกูเ จ านายฝ ายเหนื อ ณ วัดสวนดอก อยางงดงามพรอมเพรียงกันเปนประจําทุกป ๒๙


การใชประโยชนและการตีความเอกสารจดหมายเหตุ: กรณีศึกษาเอกสารจดหมายเหตุ สํานักนายกรัฐมนตรี กองกลาง สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (2)สร0201.40 1-8 เรื่องอุทกภัยระหวางป พ.ศ. 2475 -2480 นางสาววรนุช วีณะสนธิ นักจดหมายเหตุชาํ นาญการ สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ เอกสารจดหมายเหตุเปนเอกสารชั้นตนที่เกิดจากการดําเนินงานหรือกิจกรรมของบุคคลและ หนวยงาน ที่ปรากฎในรูปของเอกสารราชการ จดหมายโตตอบ บันทึก รายงาน หรือไดอารี่ รวมถึงเอกสารโสต ทัศนจดหมายเหตุประเภทตางๆ เอกสารจดหมายเหตุจงึ เปนเอกสารทีส่ ะทอนใหเห็นภาพและบริบททางสังคม ใน ยุคสมัยที่เอกสารนั้นไดรบั การจัดทําหรือผลิตขึ้น การใชเอกสารจดหมายเหตุจึงแตกตางไปจากการใชสารสนเทศ จากหนังสือหรืองานเขียนที่ผา นการวิเคราะห รวบรวม ตีความ และเรียบเรียงผานมุมมองของผูเขียน หาก เปรียบเทียบเอกสารจดหมายเหตุ และหนังสือหรืองานเขียนกับอาหาร เอกสารจดหมายเหตุเปรียบไดกับวัตถุดิบที่ มีอยูหรือที่ไดซื้อหามาเพื่อประกอบอาหาร ผูป ระกอบอาหารจะพิจารณาวัตถุดิบทัง้ หมดเพื่อสรางสรรคเปนอาหาร จานที่ตองการ บางคนอาจทําอาหารไดหลายอยางจากวัตถุดบิ ที่มีอยู ในขณะที่บางคนอาจทําอาหารไดเพียงชนิด เดียว ทั้งนี้ขนึ้ อยูกับความชํานาญ ความคิดสรางสรรค และประสพการณในการทําอาหาร สวนหนังสือหรืองาน เขียนเปรียบไดกบั อาหารสําเร็จรูปหรืออาหารพรอมทาน ที่ผา นการประกอบอาหารและปรุงรสมาเรียบรอยโดยผู ประกอบอาหาร ในแตละหนา แตละบรรทัดของเอกสารจดหมายเหตุอาจมีเรือ่ งราวที่นา สนใจมากมายหลายเรื่อง และชวน ใหคนหา ทั้งนีข้ ึ้นอยูกบั นัยยะทีแ่ ฝงอยูในเอกสาร และการตีความของผูอา นจากภูมิหลัง ความรู วิชาชีพ ประสพการณ และความสนใจทีแ่ ตกตางกันออกไปของแตละคน บางครั้งเหตุการณหนึง่ เหตุการณ อาจสืบคน ขอมูลเชิงลึก ผานความเชือ่ มโยงกับเอกสารชุดอื่นหรือจากเอกสารของหนวยงานที่มภี ารกิจเกี่ยวเนื่องกับหัวขอที่ สนใจในชวงเวลาที่เกี่ยวเนื่องกัน นอกจากนี้ยังอาจหาไดจากเอกสารสวนบุคคลที่เกี่ยวของหรือมีสวนรูเห็นใน เหตุการณนั้น และเพื่อใหขอมูลจากเอกสารลายลักษณมคี วามชัดเจนมากขึ้นอาจหาหลักฐานจากเอกสารจดหมาย เหตุประเภทภาพถาย ภาพยนตร หรือเอกสารที่เกี่ยวของ เพื่อนํามาประกอบหัวขอทีส่ นใจ การสืบคนแบบเชื่อมโยง นี้เปรียบเสมือนการสืบหาขอเท็จจริงจากเอกสาร หากผูใชเอกสารสนใจเรื่องราวของน้าํ ทวมที่เกิดขึ้นในอดีตทีผ่ า นมา ผูใชเอกสารควรจะเริม่ ตนในการคนหา อยางไร และเมื่อไดอา นเอกสารจะตีความและสืบคนแบบเชือ่ มโยงอยางไร ผูเขียนจะใชเอกสารเกี่ยวกับ “น้ําทวม” เปนกรณีศกึ ษา เพื่อใหผูอา นเกิดความเขาใจในการใชและการตีความเอกสารจดหมายเหตุ ผูใชเอกสารตองเริม่ ตน การสืบคนจากคําวา “น้าํ ทวม” ตอมาคือระยะเวลาของการเกิดน้ําทวมที่ตองการจะสืบคน ทั้งนีผ้ ูเขียนขอสมมุติ ตัวเองเปนผูค นควาที่สนใจเรื่องราวเกี่ยวกับน้าํ ทวมในอดีตเพื่อลดขั้นตอน ผูเขียนสอบถามนักจดหมายเหตุวา หาก 30


ตองการสืบคนเรื่องราวเกี่ยวกับน้าํ ทวม ควรสืบคนที่เอกสารชุดใด ซึ่งผูเขียนไดรับคําแนะนําใหสบื คนที่บญ ั ชี เอกสารของสํานักนายกรัฐมนตรี กองกลาง สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ประกอบดวยชุดเอกสารรหัส สร 0201 , (1)สร0201 และ(2) สร 0201 จากหนาบัญชีเอกสารพบวาเอกสารเกี่ยวกับน้าํ ทวมจะปรากฎอยูในเอกสารชุด สร 0201หัวขอ อุทกภัย ระหวางป พ.ศ. 2490 –พ.ศ. 2496 และเอกสารชุด (2) สร 0201.40 ซึ่งผูเขียนจะใชเอกสารชุดนี้เปนกรณีศึกษา เอกสารชุดนี้ประกอบดวยเอกสารจํานวน 2 กลอง ชวงเวลาเอกสารอยูระหวาง ป พ.ศ. 2475- พ.ศ. 2496 กลองที่ 1 ประกอบดวยเอกสาร ดังนี้ รายงานน้าํ ทวม พ.ศ. 2475 ,อุทกภัย พ.ศ. 2475 (ตอน 1),อุทกภัย พ.ศ. 2476 (ตอน 2) ,อุทกภัย พ.ศ. 2477 กลองที่ 2 ประกอบดวยเอกสาร ดังนี้ อุทกภัย พ.ศ.2478,อุทกภัย พ.ศ.2479, รายงานน้าํ ทวม (3 มิ.ย.พ.ศ. 2486-8 ส.ค.2496) และอุทกภัย พ.ศ.2480 ผูเขียนทําการสํารวจเอกสารทางกายภาพ พบวา เอกสารประกอบดวย รายงาน ,บันทึกขอความ, จดหมายโตตอบ,สําเนาโทรเลข,บัญชีสํารวจทรัพยสิน และแผนทีส่ ังเขปแสดงเสนทางน้าํ เอกสารเปนภาษาไทย พบ เอกสารภาษาอังกฤษจํานวนหนึ่งแผน ผูเขียนไดอา นเอกสารแตละหนา แตละบรรทัด โดยใชพื้นฐานความรู และ ความสนใจของผูเขียน เพื่อนํามาหาขอมูลที่นาสนใจหรือสะดุดใจผูเ ขียนใหทาํ การสืบคนขอมูลเชื่อมโยง และ ตีความในสวนทีผ่ ูเขียนสนใจ ตัวอยางที่นาํ มาผูอา นสามารถตีความตามความสนใจหรือจากพื้นฐานของผูอา นเอง ซึ่งอาจมีความคิดเห็นทีแ่ ตกตางกันออกไปจากมุมมองของผูเขียน จากการอานเอกสารพบวาน้าํ ทวมเกิดจากการที่ฝนตกหนักติดตอกัน ไมพบคําวาพายุไตฝุน หรือดีเปรสชั่น ในเอกสารภาษาไทย คงพบคําวา “typhoon” และ “depression” ในเอกสารภาษาอังกฤษ ซึง่ เปนสําเนาเอกสาร ไมระบุวันที่ และนามผูร ับ พบเพียงชื่อผูส งชื่อ Sd. H. Brandli มุมลางซายมีขอความ To D.G. true copy ลง ลายมือชื่อ เปนภาษาอังกฤษ

31


ภาพที่ 1 เอกสารภาษาอังกฤษแผนเดียวที่พบในเอกสารชุดนี้ ผูเขียนวิเคราะหเอกสารแผนนี้ ดวยพื้นฐานของการทํางานดานจดหมายเหตุ จากการศึกษาดานการ บริหารจัดการเอกสาร และวิชาการวิเคราะหรปู แบบเอกสาร (Diplomatics) ซึ่งเปนวิชาทีว่ า ดวยการผลิตเอกสาร รูปแบบของเอกสาร การติดตอสื่อสาร เพื่อใชในการวิเคราะหเอกสาร โดยเฉพาะอยางยิ่งเอกสารประวัตศิ าสตร เพื่อใหทราบที่มา และใชในการพิสจู นความแทจริงของเอกสารโดยพิจารณาจากลักษณะทางกายภาพ( physical) เชน วัสดุที่ใชในการจัดทําเอกสาร อักขระ ตัวอักษร ภาษาทีใ่ ช เครื่องหมายพิเศษ ตราและบรรณนิทศั น (annotation) และพิจารณาจากแบบทางภูมิปญ  ญาหรือลักษณะภายใน(intellectual or intrinsic form)เชน สวนประกอบตางๆของเอกสาร เนื้อหาและสวนทายของเอกสาร ความเห็นของผูเขียนเอกสารแผนนี้ เปนสําเนา เอกสารหรือโทรเลข ทีส่ งถึงผูใดผูห นึ่ง หรือสงถึง D.G. ซึ่งอาจยอมาจาก Director General โดยผูสงชื่อ Sd. H.Brandli เอกสารไมปรากฏวันที่ ทําใหไมสามารถระบุไดแนชัดวา เนื้อหาในเอกสารแผนนี้ กลาวถึงเหตุการณใน ชวงเวลาใด แมวา เอกสารนี้จะอยูรวมกับเอกสารในชวงเวลาของเหตุการณนา้ํ ทวมระหวางป พ.ศ. 2475- 2496 ก็ ตาม เอกสารอีกหนึ่งแผนทีผ่ ูเขียนพบวามีความนาสนใจ ไดแก เอกสารการบริจาคเงินเพื่อชวยเหลือผูประสบ อุทกภัย ลงวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2476 จากมหาอํามาตยตรี พระยาอุดมพงศเพ็ญสวัสดิ์ (หมอมราชวงศประยูร อิศรศักดิ์) รัฐมนตรีวา การกระทรวงมหาดไทย ถึงพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน พหลโยธิน) นายกรัฐมนตรีใน ขณะนั้น ความวา “วันนี้พระยาสิรจิ ุลเสวก ไดสงเช็กจาย ๓,๐๐๐ บาท มาใหกระทรวงมหาดไทย วาเปนเงินที่ พระเจา วรวงศเธอ พระองคเจาจุลจักรพงศ ประทานชวยราษฎรที่ตองอุทกภัยในมณฑลพายัพครั้งนี้ ผมไดตอบขอบพระ เดชพระคุณไปแลว และจะไดสง กองการโฆษณา ตามทางการ จึ่งเสนอขอความนี้มาเปนรายพิเศษ” ผูเขียนพบวาจํานวนเงินบริจาคสามพันบาทเปนจํานวนที่มหาศาลเมื่อเทียบกับจํานวนบริจาคจากบุคคล 12 คน เปนจํานวนเงิน 16 บาท ซึ่งทําใหผูเขียนคิดวา พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาจุลจักรพงศ ทรงเปนผูมี ความเมตตาตอผูป ระสพภัย จึงประทานเงินจํานวนมาก และทําใหเห็นวามีการระดมทุนเพื่อชวยเหลือผูประสพ อุทกภัยดวยการเชิญชวนใหบริจาคเงินมาตั้งแตในอดีต จากรายงานและเอกสารทั้งหมด สามารถสรุปสาเหตุของน้าํ ทวมที่เกิดจากฝนที่ตกหนักติดตอกันเปนเวลา หลายวัน น้ําที่ลนตลิ่ง ทําใหฝายทีส่ รางไวชวั่ คราวเสียหาย น้าํ ทวมเกิดขึ้นในทุกภาคของประเทศ “23 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2475 ฝนตกหนักในจังหวัดเชียงใหม ระดับน้ําในแมน้ําแมปง มีระดับสูงขึ้นมาก สะพานขามแมนา้ํ ปงสรางมาประมาณ 40 ปและชํารุดอยูถ กู ทอนซุงหลายพันตนมาปะทะทําใหสะพานหลุดลอยไป ฝนที่ตกหนักติดตอกันตัง้ แตวันที่ 22 – 25 กรกฎาคม ป พ.ศ. 2475 ทําใหนา้ํ จากหวยแมสรวย ในจังหวัด 32


เชียงรายไหลทวม บานเรือน บริษัทเอชียทีค ถือโอกาสดันทอนซุงจํานวนมากลงแมนา้ํ ทําใหทอนซุงไหลไปชน สะพานชํารุด และทําใหฝายของชาวบานเสียหาย 1 สิงหาคม พ.ศ. 2476 ทอนซุงจํานวนมากจากบริษัท บอมเบย เบอรมารไหลมาปะทะฝายทําใหฝาย เสียหาย น้ําทวมภาคเหนือในป พ.ศ. 2576 สรางความเสียหายใหกบั บานเรือน โรงเรียน ถนน ทางรถไฟ และครา ชีวิตผูค น 52 รายในจังหวัดแพร รวมถึงสัตวเลี้ยงอีกเปนจํานวนมาก” ผูเขียนใหความสนใจกับ “ทอนซุง” ทีป่ รากฎในรายงานและเกิดคําถามวา ทอนซุงมาจากไหน เหตุใดจึงมี ทอนซุงจํานวนมากมายลอยมาชนสะพาน เหตุใดบริษทั เอเชียทีค จึงถือโอกาสดันทอนซุงจํานวนมากลงแมนา้ํ เพื่อ หาความกระจางชัด ผูเขียนทําการสืบคนเอกสารของกรมปาไม กระทรวงเกษตราธิการ ซึ่งมีหนาที่เกี่ยวกับเรื่อง ของปาไมของประเทศ รหัสเอกสาร กส17/16-30 เปนเอกสารทีแ่ สดงใหเห็นถึงการใหสัมปทานปาไม ใน ป พ.ศ. 2467 แกบริษัททั้งของไทยและตางประเทศ ตลอดจนรายบุคคล จํานวน 16 สัมปทาน และการใหสัมปทานมี ระยะเวลา 15 ป ในจํานวนนีม้ ีสมั ปทานของ บริษัท บอมเบเบอรมา อยูดว ย ซึ่งอาจเปนสาเหตุของการเกิดน้าํ ทวม ที่เกิดจากการทําลายปา นอกจากนี้ยังมีเอกสารรายละเอียดเกี่ยวกับการทําปาไมที่นาสนใจ ซึง่ หากผูค นควาสนใจ ในเรื่องของการทําปาไมในประเทศไทยก็สามารถสืบคนไดจากเอกสารชุดนี้ เพื่อฉายภาพของการทําปาไม และการที่ทอนซุงจํานวนมากกอใหเกิดความเสียหายในขณะทีฝ่ นตกหนัก ผูเขียนจึงสืบคนภาพการทําปาไมในอดีตวามีกระบวนการอยางไร และเกี่ยวของอยางไรกับแมน้ํา ภาพที่พบทําให เห็นภาพชัดเจนวาในการทําปาไมจะใชชา งชักลากซุงจากในปา และดันทอนซุงลงในน้าํ เพื่อผูกทอนซุงเปนแพ รอ การลองไปตามแมนา้ํ ไปยังจุดหมายปลายทาง เมื่อสืบคนภาพยนตรเกาจากยูทปู ผูเขียนพบภาพยนตรที่เกี่ยวกับ การทําปาไมดวยชางในสยามเรื่อง “Teak Logging With Elephants In Siam 1925” ที่ https://www.youtube.com/watch?v=iKjaiW6gHPQ ภาพยนตรดงั กลาวเปนภาพยนตรเงียบ ขาวดํา ความ ยาว 3.41 นาที ภาพยนตรระบุป 1925 (พ.ศ. 2468) ผลงานของ Burton Holmes ผูถ ายทอดเรื่องราวจาการ เดินทางในรูปของสารคดีทองเที่ยว (travelogue) ผานวรรณกรรมและภาพยนตร ภาพยนตรแสดงใหเห็นการทําปา ไมโดยใชชางเริ่มตั้งแตการดันทอนซุงในปา การดันทอนซุงในน้ํา การลากซุงออกจากปา ทั้งภาพนิ่งและภาพยนตร ทําใหผูเขียนเห็นภาพที่ชัดเจนของการทําปาไมและไดคาํ ตอบเกี่ยวกับทอนซุงวามีความสัมพันธกับแมนา้ํ อยางไร เหตุใดเมื่อมีฝนตกหนัก น้ําทวม จึงเปนเหตุใหทอนซุงไหลมาตามน้าํ กอใหเกิดความเสียหายแกสิ่งปลูกสรางทีอ่ ยูไกล ทางน้าํ อุทกภัยที่เกิดขึ้นสะทอนใหเห็นภาพการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพยสิน ทําใหทราบถึงสาเหตุของอุทกภัย และยังใชในการคาดการณเหตุการณ หรือสภาวะการณไดในอนาคตหากเกิดอุทกภัย เพื่อปองกันและเตรียมการใน 33


การรับมือ เชน การเกิดโรคระบาด พาหะของโรค การเตรียมยารักษาโรคและสิ่งของที่จําเปนในระหวางการเกิด อุทกภัย การคํานวนคาเสียหายของทรัพยสินของราษฎร ซึ่งผูสนใจสามารถศึกษารายละเอียดไดจากเอกสาร ดังกลาว เอกสารทีผ่ ูเขียนนํามาเปนกรณีศึกษาในครั้งนี้ สะทอนใหเห็นภาพและสถานการณที่เกิดขึ้น ทีละฉากทีละ ตอนจากเอกสารแตละบรรทัดในแตละหนา ประดุจภาพยนตรทฉี่ ายภาพใหปรากฏแกสายตา เอกสารจดหมาย เหตุเปนเอกสารทีม่ ีคุณคาตอการศึกษา คนควา และวิจัย ไมเพียงแตนักประวัตศิ าสตร แตเอกสารจดหมายเหตุ สามารถนํามาใชประโยชนไดในทุกสาขาอาชีพ ขึ้นอยูกบั ตัวผูใชและการตีความขอความทีป่ รากฎในเอกสาร จดหมายเหตุ เอกสารจดหมายเหตุชุดทีผ่ ูเขียนนํามาเปนตัวอยางในครั้งนี้ยงั รอการพิสูจนจากผูอา นเพื่อรวมกัน พิสูจนวา ผูอา นที่ตา งกันอาจตีความเอกสารจดหมายเหตุที่อา นไดเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร บรรณานุกรม เอกสารจดหมายเหตุ หอจดหมายเหตุแหงชาติ. เอกสารกระทรวงเกษตร กรมปาไม กส 17/16-30 (2464-2475) หอจดหมายเหตุแหงชาติ. เอกสารสํานักนายกรัฐมนตรี กองกลาง สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (2)สร0201.40 1-8 เรื่องอุทกภัย สื่ออิเล็กทรอนิกส Burton Holmes, Extraordinary Traveler Retrieved June 8, 2017. From http://www.burtonholmes.org/ Eric Ketelaar, Tacit Narratives: The Meaning of Archives. Archival Science 1: 131-141,2001. Retrieved June 8, 2017. From https://deepblue.lib.umich.edu/bitstream/handle/2027.42/41812/10502_2004_Art icle_35 9685.pdf?sequence=1&isAllowed=y National Archives. History in the Raw Retrieved June 8, 2017. From https://www.archives.gov/education/history-day/onsite.html “Teak Logging with Elephants in Siam 1925”Retrieved June 8, 2017. From https://www.youtube.com/watch?v=iKjaiW6gHPQ 34


หมอบรัดเลกับงานดานการแพทยในสยาม นายธันวา วงศเสงี่ยม

*

นายแพทยแดน บีช แบรดลีย (Dan Beach Bradley) หรือที่คนไทยเรียกวาหมอบรัดเล คือมิชชันนารี อเมริกัน จากคณะมิชชันนารีอเมริกันเพื่อพันธกิจ ตางชาติ (American Board of Commissionersfor Foreign Missions : A.B.C.F.M.)ซึ่งเดินทางเขามาเผยแผคริสตศาสนาในสยาม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๓ แหงกรุง รัตนโกสินทร และมีบทบาทสําคัญในฐานะผูนําวิท ยาการทาง การแพทยตะวันตกเขามาแกไขปญหาในสังคมไทย กอใหเกิดคุณประโยชนดานสาธารณสุขอยางกวางขวาง และเปนจุดเริ่มตนของการศึกษาการแพทยตะวันตกในเวลาตอมา งานดานการแพทยของหมอบรัดเลในสยาม ปรากฏขอมูลในเอกสารประวัติศาสตรหลายเรื่อง เชน “จดหมายเหตุของหมอบรัดเล” ในประชุมพงศาวดารภาคที่ ๑๒ “จดหมายเหตุเรื่องมิชชันนารีอเมริกันมา ประเทศสยาม” ในประชุมพงศาวดารภาคที่ ๓๑ หนังสือของหมอบรัดเลเรื่อง “ตําราปลูกฝโคใหกันโรค ธระพิศมไ มใหขึ้นได ” และ “คําภีรครรภทรักษา” รวมไปถึง บทความตางๆ ของหมอบรัดเล ในหนังสือ จดหมายเหตุบางกอกรีคอรเดอร (Bangkok Recorder)นอกจากนี้ยังมีขอมูลจากเอกสารภาษาอังกฤษอีก จํานวนมากที่ยัง ไมคอยมีการศึก ษาคนความากนัก เชน รวมบันทึก ของหมอบรัดเล (Abstract of the Journal of Dan Beach Bradley) จดหมายของหมอบรัดเลเกี่ยวกับการปลูกฝในสยาม ซึ่งสงไปตีพิมพใน วารสารอายุรกรรมและศัลยกรรมแหงบอสตัน (The Boston Medical and Surgical Journal) ระหวาง พ.ศ. ๒๓๘๐ – ๒๓๘๘ และหนังสือบางกอกคาเลนเดอร (Bangkok Calendar) โดยเฉพาะฉบับ ค.ศ. ๑๘๖๕ (พ.ศ. ๒๔๐๘) ซึ่งรวบรวมคําอธิบ ายของหมอบรัดเล เกี่ยวกับ การแพทยในดานตางๆ ของสยาม ทั้งการแพทยแบบดั้งเดิม และการแพทยที่รับมาจากตะวันตก จากการศึกษาเอกสารประวัติศาสตรตางๆ เหลานี้พบวา งานดานการแพทยของหมอบรัดเลในสยาม อาจแบงไดเปน ๓ ดาน คือ งานปองกันโรค งานรักษาโรค และงานผดุงครรภ งานปองกันโรค

นักอักษรศาสตร์ ปฏิบตั ิการ กลุม่ ประวัตศิ าสตร์ สํานักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์

*

35


หมอบรัดเลพยายามจัดการปองกันโรคระบาดสําคัญ ที่ทําใหร าษฎรเสียชีวิตจํานวนมาก คือโรค ไขทรพิษ โดยใชวิธีการปลูกฝดวยหนองฝวัว (Vaccination) ซึ่งเปนวิธีที่นายแพทยเอ็ดเวิรด เจนเนอร คิดคน ขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๓๓๙ และใชอยางแพรหลายในยุโรปและสหรัฐอเมริกา หมอบรัดเลพยายามนําวิธีนี้มาใชใน สยามตั้งแต พ.ศ. ๒๓๗๙โดยใชหนองฝวัวที่สงมาจากตางประเทศ แตระยะแรกไมประสบความสําเร็จ เพราะ ตองขนสงเปนระยะทางไกลและใชเวลานาน หนองฝวัวจึงเสื่อมคุณภาพไปทั้งหมด เมื่อโรคไขทรพิษระบาด ใน พ.ศ. ๒๓๘๑ หมอบรัดเลจึง จําเปน ตองใชวิธีการปลูกทรพิษ (Inoculation) โดยปลูกเชื้อไขทรพิษใหแก ราษฎรโดยตรง เพื่อใหเกิดภูมิคุมกันขึ้น แตก็เสี่ยงที่จะเปนอันตรายจากโรคไขทรพิษ การปลูกทรพิษครั้งนั้น ประสบความสําเร็จเปนอยางดี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวจึงโปรดใหเหลาหมอหลวงเรียนรูวิธีการ ปลูกทรพิษจากหมอบรัดเล และสามารถนําไปปลูกทรพิษแกราษฎรอีกเปนจํานวนมาก ตอมาหมอบรัดเลปลูกฝดวยหนองฝวัวสําเร็จเปนครั้งแรกในสยามเมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๒ โดยใชหนองฝวัว ที่สงมาจากสหรัฐอเมริกา และไดรับความชวยเหลือจากเจาพระยาพระคลัง (ดิศ บุนนาค) แตหลังจากปลูกฝ ให แ ก ร าษฎรจํ า นวนหนึ่ ง หนองฝ ก็ ข าดช ว งไป ถึ ง พ.ศ. ๒๓๘๗ หมอบรั ด เลปลู ก ฝ ไ ด สํ า เร็ จ อี ก ครั้ ง โดยพยายามรักษาพันธุหนองฝไมใหขาดชวง ทั้ง ยังจัดพิมพ “ตําราปลูกฝโคใหกันโรคธระพิศมไมใหขึ้นได ” เพื่อใหความรูแกร าษฎรเกี่ยวกับประโยชนและวิธีก ารปลูก ฝ จึงมีผูสนใจมารับ การปลูกฝเ ปนจํานวนมาก หลังจากนั้นหมอบรัดเลและเหลามิชชันนารีก็จัดการปลูกฝปองกันโรคไขทรพิษใหแกราษฎรเรื่อยมา

การปลูกฝใหแกราษฎรในสมัยรัชกาลที่ ๕

ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหตั้งกรมพยาบาลขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๑ และขยายการปลูกฝใหแกราษฎรในหัวเมือง ทั้งยังจัดตั้งสถานผลิตหนองฝวัวขึ้นใชเองในสยาม เพื่อให การปลูกฝมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหประกาศ พระราชบัญ ญัติจัดการปองกันไขท รพิษ พ.ศ. ๒๔๕๖ บัง คับ ใหร าษฎรทุก คนตองปลูก ฝปองกันไขท รพิษ ยังผลใหราษฎรไดรับการปลูกฝอยางกวางขวางทั่วประเทศ งานรักษาโรค หมอบรัดเลเริ่ม เปดสถานพยาบาลรัก ษาโรคใหแกร าษฎรตั้ง แต พ.ศ. ๒๓๗๘ มีผูมารับการรัก ษา วันละประมาณ ๑๐๐ คน สวนใหญเ ปนโรคที่มีอาการรายแรง เชน แผลเนาเปอย ติดเชื้อในลูกตา ซิฟลิส ผิวหนังพุพอง สะเก็ดเงิน และโรคไขขอ ซึ่งลวนเปนโรคที่การแพทยแผนไทยแบบดั้งเดิมไมสามารถรักษาได อยางมีประสิทธิภาพหมอบรัดเลจึงใชวิธีการผาตัดรักษาโรคใหแกราษฎรจํานวนมาก ทั้งการตัดกอนเนื้อ ตัดนิ้ว 36


มือนิ้วเทา ตัดเนื้องอกมะเร็ง ตัดเนื้องอกที่เปลือกตา ตัดตอกระจกและตอเนือ้ ฯลฯหมอบรัดเลจึงมีชื่อเสียงมาก ขึ้น และทําใหการแพทยตะวันตกเริ่มไดรับ ความเชื่อถือจากราษฎร มีผูปวยจํานวนมากที่เ ดินทางมาจาก ที่หางไกลเพื่อมารักษาโรคกับหมอบรัดเล

ภาพจิตรกรรมแสดงการผาตัดของหมอบรัดเลในงานฉลองวัดประยุรวงศาวาส

ใน พ.ศ. ๒๓๗๙ หมอบรัดเลไดทําการผาตัดแขนของภิกษุรูป หนึ่ง ที่ไดรับบาดเจ็บ สาหัสจากพลุไฟ ระเบิด ในงานฉลองวัดประยุร วงศาวาส จนสามารถรักษาชีวิตของภิกษุรูป นั้นไวได ถือเปนการผาตัดใหญ ครั้งแรกในสยาม และมีผลสําเร็จโดยไมตองใชยาสลบหรือยาชาแตอยางใด เปนที่อัศจรรยใจแกราษฎรที่มาดู เพราะเชื่อกันวาหากตัดอวัยวะ เชน แขน ขา ออกจากรางกายแลว จะไมสามารถมีชีวิตอยูไดตอมาใน พ.ศ. ๒๓๘๗ หมอบรัดเลไดรับพระราชทานพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ใหผาตัด รัก ษาดวงตาแก เ จาพระยาพลเทพ (ฉิม ) เสนาบดีก รมนา จนทําใหเ จาพระยาพลเทพสามารถมองเห็นได ตามปกติ หมอบรัดเลจึงไดรับความนับถือจากเหลาหมอหลวงและราษฎรเปนอยางมาก นอกจากนี้ห มอบรัดเลยัง ไดจัดพิม พหนัง สือจดหมายเหตุบ างกอกรีคอรเ ดอร และเขียนบทความ เกี่ยวกับกายวิภาคศาสตรพรอมวาดภาพประกอบ เพื่อใหราษฎรมีความรูเกี่ยวกับการทํางานของอวัยวะตางๆ ในรางกาย เชน หัวใจ ตับ ปอด การไหลเวียนของเลือด ฯลฯ และไดรับความสนใจจากราษฎรเปนอยางยิ่ง เพราะเป น ความรู ใ หม ที่ ไ ม เ คยมี ม าก อ นในหลั ก การแพทย แ ผนไทย ต อ มาในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหตั้งโรงศิริราชพยาบาลเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๑ และตั้งโรงเรียนแพทยขึ้น จึงมีการเรียนการสอนวิชาผาตัดและกายวิภาคศาสตรในโรงเรียนแพทยตั้งแตนั้นเปนตนมา งานผดุงครรภ หมอบรัดเลเห็นวาการผดุงครรภแบบดั้งเดิมในสังคมไทย ทําใหผูหญิงตองเสี่ยงอันตรายจากการคลอด บุตรมาก สาเหตุหนึ่งมาจากการตองอยูไฟหลังคลอดเปนเวลานาน อีกทั้งทารกมักมีโรคแทรกซอน ทําใหอัตรา การตายของแมและเด็กสูง สงผลใหจํานวนประชากรมีนอย หมอบรัดเลจึงพยายามผลักดันใหสังคมไทยหันมา ใชวิธีการผดุงครรภตามหลักการแพทยตะวันตก โดยจัดพิมพ “คําภีรครรภทรักษา” ซึ่งแปลจากตําราผดุงครรภ ของตะวันตก แจกจายแกเหลาหมอหลวงเมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๕ เพื่อเผยแพรความรูแกราษฎรใหมีความเขาใจ 37


เกี่ยวกับการตั้งครรภมากขึ้นในคําภีรครรภทรักษามีความรูเกี่ยวกับการผดุงครรภตั้งแตเริ่มตั้งครรภจนถึงหลัง คลอดบุตร พรอมภาพประกอบทุกขั้นตอน

ภาพประกอบเรื่องการตั้งครรภ ในคําภีรครรภทรักษา

อยางไรก็ตาม ราษฎรยังไมนิยมการผดุงครรภตามหลักการแพทยตะวันตก เนื่องจากยัง เชื่อ มั่นใน ประเพณีอยูไฟ ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวหมอบรัดเลไดรับพระบรมราชโองการ ให เ ข า ไปดู แ ลรั ก ษาเจ า จอมมารดาแพ ซึ่ ง เพิ่ ง มี ป ระสู ติ ก าลพระราชธิ ด า และมี พ ระอาการไม ดี นั ก หมอบรัดเลจึงใชวิธีการผดุงครรภตามหลักการแพทยตะวันตก จนมีพระอาการดีขึ้นตามลําดับ ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เมื่อครั้งสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ มีพระประสูติกาลสมเด็จฯ เจาฟาอัษฎางคเดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา ใน พ.ศ. ๒๔๓๒ ทรงเห็นประโยชน ของการผดุงครรภตามหลักการแพทยตะวันตก จึงขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเลิกการอยูไฟ จึงโปรด ใหหมอกาแวน (Peter Gowan) รักษาพยาบาลตามหลักการแพทยตะวันตก ปรากฏผลเปนที่พอพระราช หฤทัย ภายหลังสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชานีนาถ จึงทรงเปนองคอุปถัมภโรงเรียนแพทยผดุงครรภตาม หลักการแพทยตะวันตก และทรงชักจูงใหราษฎรเลิกการอยูไฟ กลาวโดยสรุป หมอบรั ดเลเปนบุ คคลแรกที่นํ าหลั ก การแพทย ตะวัน ตกมาใชใ นสัง คมไทยอยา ง กวางขวาง เปนผลใหชวยรัก ษาชีวิตราษฎรไวไดเปนจํานวนมาก การแพทยตะวันตกจึง เริ่มเปนที่สนใจและ ยอมรับจากชาวสยามมากขึ้น หมอบรัดเลตรากตรําทํางานดวยความเหนื่อยยากโดยไมหวังสิ่งตอบแทน แมจะ พบอุปสรรคนานัปการก็ไมเคยยอทอ จึงไดรับความนับถือจากบุคคลทุกระดับชั้น และนับเปนจุดเริ่มตนที่สาํ คัญ ของการรับวิทยาการทางการแพทยตะวันตกในสังคมไทย ทําใหการแพทยและสาธารณสุขของไทยมีความ เจริญกาวหนาในเวลาตอมา บรรณานุกรม ธันวา วงศเสงี่ยม. หมอบรัดเลกับการปลูกฝในสยาม. กรุงเทพฯ : สํานักวรรณกรรมและประวัติศาสตร กรมศิลปากร, ๒๕๖๐. ธันวา วงศเสงี่ยม. “หมอบรัดเลกับบันทึกการผาตัดในสยาม. ศิลปากร. ๖๐, ๒ (มีนาคม – เมษายน), ๒๕๖๐. นภนาท อนุพงศพัฒน และคณะ. รอยเวลา : เสนทางประวัติศาสตรสุขภาพ. นนทบุรี : สุขศาลา สํานักวิจัย สังคมและสุขภาพ, ๒๕๕๖. Bradley, Dan Beach (editor). Bangkok Calendar, for the year of our lord 1865. Bangkok : The Press of the American Missionary Association, 1865. 38


คําฟองมองซิเออไซแงซึ่งกลาวโทษอุปฮาดเมืองอุบล: หลักฐานประวัติศาสตรเมืองอุบลที่พบใหม นางสาวเชาวนี เหล็กกลา ภัณฑารักษชํานาญการ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ อุบลราชธานี ประวัติศาสตรเมืองอุบลราชธานีในชวงปลายรัชกาลที่ ๔ – ตน รัชกาลที่ ๕ แหง กรุง รัตนโกสินทร อันเปนหวงเวลาที่ชาติตะวันตกเริ่มเขามามีอิทธิพลทางการเมืองการปกครองในภูมิภาคอินโดจีน นอกจาก ปญหาภายนอกแลว ปญหาภายในเมืองอุบลราชธานีเองก็มีความขัดแยงระหวางกลุมเจานายพื้นเมืองเดิมของ เมืองอุบล กับเจาพรหมเทวานุเคราะหวงศ เจาเมืองเชื้อสายเวียงจันทร ซึ่งรัชกาลที่ ๔ โปรดเกลาฯ ใหรับ ตําแหนงเจาเมืองอุบล๑ ใน พ.ศ. ๒๔๑๒ เกิดเหตุการณที่เปนชนวนเหตุนําไปสูความขัดแยงเปนเวลานานถึง ๑๗ ป กลาวคือ วันที่ ๒๐ กันยายน ๒๔๑๒ (วันจันทร ขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๐ ปมะเส็ง จ.ศ.๑๒๓๑) มองซิเออไซแง ชาวฝรั่งเศส เดินทางจากไซงอน ผานนครจําปาศักดิ์มาถึงเมืองอุบล จาก พงษาวดารหัวเมืองมณฑลอิสาน ของ หมอมอมร วงษวิจิตร (ม.ร.ว.ปฐม คเนจร) ระบุวา มองซิเออไซแงไดไปพบเจาพรหมเทวานุเคราะหวงศ แจงวามาทําแผนที่ ลําน้ํามูลและนําสิ่งของตางๆ มาจําหนายดวย เจาพรหมเทวาฯ จึงใหกรมการจัดที่พักแกมองซิเออไซแง วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๔๑๒ (วันอังคาร แรม ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๐) มองซิเออไซแงนําแผนที่ไปมอบใหเจาพรหมเทวาฯ ๒ แผน และแจงวาพักที่เมืองอื่นไมตองซื้อเสบียงอาหารรับประทานเอง เพราะเจาเมืองกรมการไดเกื้อหนุนเจาพรหมเท วาฯ จึงให มองซิเออไซแง ไปรับเสบียงที่เพี้ยพันนา เพี้ยศรีสุนน ซึ่งอยูที่บานอุปฮาด (โท) เจาพรหมเทวาฯ ทราบวา มองซิเออไซแง จะไปบานอุปฮาดในวันรุงขึ้นเห็นโอกาสที่จะเลนสนุก จึงได เที่ยวพูดใหเขาหูถึงกรมการฝายอุปฮาด (โท) วา พรุงนี้ฝรั่งจะมาจับอุปฮาด (โท) สงไปไซงอน ฝายอุปฮาด (โท) ทราบดังนั้น สําคัญวาจริงจึงสั่งวาถาพรุงนี้ฝรั่งมาถามหาอุปฮาดก็ใหบอกวาไมอยู วันที่ ๖ ตุลาคม ๒๔๑๒ (วันพุธ ขึ้น ๑ ค่ํา เดือน ๑๑) เวลาเชา มองซิเออไซแง ไปหาเจาพรหมเทวาฯ ขอใหกรมการพาไปบานอุปฮาด (โท) เพื่อขอเสบียงอาหาร เจาพรหมเทวาฯ จึงใหเพี้ยขันอาสา เสมียนบง และ นายเหล็ก นํามองซิเออไซแงไป เมื่อถึงบานอุปฮาด เพี้ยขันอาสา เสมียนบง หยุดคอยอยูนอกรั้วบานอุปฮาด ให แตนายเหล็ก พา มองซิเออไซแง เขาไปถึงหอนั่ง เรือนอุป ฮาด พบทาวสุริโยและทาวสุวรรณเสน จึง ถามหา อุปฮาด ทาวสุริโยบอกวาไมอยู มองซิเออไซแง จึงถามหาเพี้ยศรีสุนน กรมการในที่นั้นบอกวาไปรับประทาน อาหารที่บานยังไมกลับมา มองซิเออไซแง บอกกรมการใหไปตามเพี้ยศรีสุนนมาหา กรมการยังไมทันใหผูใดไป ตาม ขณะนั้น มองซิเออไซแง จึงถามวาใครเปนผูใหญอยูในที่นี้ ทาวสุริโยจึงชี้ไปที่ทาวสุวรรณเสน และบอกวา ทาวสุวรรณเสนเปนผูใหญ ทันใดนั้นมองซิเออไซแงก็ลุกขึ้นเดินตรงเขาไปจับมือทาวสุวรรณเสนสั่น เปนการ คํานับตามธรรมเนียมยุโรป ฝายทาวสุวรรณเสนไมรูจักธรรมเนียมคํานับของฝรั่ง เขาใจวาฝรั่งจะจับตนไป ก็ รองเอะอะ และสลัดมือหลุดออกมาได แลวชกมองซิเออไซแงกลับ ฝายทาวสุริโยแลกรมการ ซึ่งอยูในที่นั้น ก็ ๑

ดู ปรีชา พิณทอง, ผูรวบรวม, ประวัติเมืองอุบลราชธานีสํานวนอีสาน, พิมพครั้งที่ ๒ (อุบลราชธานี : โรงพิมพศิริ ธรรมออฟเซ็ท, ๒๕๓๕), หนา ๒๑๑.

39


พรอมกันเขารุมชกฝรั่ง ถูก รางกายบาดเจ็บหลายแหง ถึงกับปากแตกโลหิตไหล แลวจับมองซิเออไซแงไปจํา ตรวนไว๒ ใน หนังสือประวัติศาสตรอีสาน ซึ่งเรียบเรียงโดย เติม วิภาคยพจนกิจ ไดใหรายละเอียดเพิ่มเติมไป อีกวา เหตุที่ทาวสุวรรณเสนเขาใจวาฝรั่งจะจับตนไปนั้น “...เพราะเห็นคนใชฝรั่งถือเชือกมาดวยเห็นสมจริง ตามที่กรมการฝายเจาพรหมฯ มาพูดใหเขาหูเมื่อวานนี้...”๓ แตเชือกนี้ คนใชของมองซิเออไซแงถือไปสําหรับจะ ผูกแมวัวเพื่อรีดนม และยังกลาวตอไปอีกวา “เมอสิเออรไซแงไดเอาสําลีชุบโลหิตบาดแผลที่ถูกชกตอยเขาหีบ หอไวเปนหลักฐาน แลวยื่นตอเจาเมืองเพื่อดําเนินการตามระบิลเมืองตอไป”๔ เอกสารจดหมายเหตุที่ พบใหมเ กี่ย วกับ เหตุ ก ารณนี้ คือ เอกสารเย็บ เลม รัช กาลที่ ๕ กระทรวง ตางประเทศ (จ.ศ. ๑๒๓๐ – ๑๒๓๑) มีจํานวน ๑๐ เอกสาร โดยเอกสารที่สําคัญ คือ คําฟองมองซิเออไซแงซึ่ง กลาวโทษอุปฮาดเมืองอุบล ซึ่งมีเนื้อความดังนี้ ๏ คฤษตศักราช ๑๘๗๐ วันที่ ๒๙ แหงเดือนมาช มองซิเออเซแงงแวงแซษลา ฝรั่งเสศ เกีตที่เมืองวิลเลอเนอแวน แควนฝรั่งเสศ ไดมาตอหนากงสุลฝรั่งเสศที่กรุงเทพฯ ใหการตางฟองวา ณ วันที่ ๒๕ เดือนยังวิเอร คฤษตศักราช ๑๘๖๙ ป ฃาพเจาเซแงไดออกจากเมืองไซงอน ฃาพเจามีน้ําใจ ฃึ้นไปทําปลาที่ทเลสาบ แลวจะไปที่เมืองลาว หาที่คาฃายสินคาตางๆ ดวยฃอนี้ฃาพเจาไดซื้อสินคา ตางๆไป ผาแพร ผาฃาวมีต น้ําหอม กับสินคาตางๆเปนราคา ๓๐๐๐ เหรียน สินคาเหลานี้เปนฃองนาย หางบลูมบรอดเทรอที่เมืองไซรงอนฃายเชื่อ ฃาพเจายังติดคางเงินอยู ๑๕๐๐ เหรียน ที่ใชไปบางก็มี เวลานั้นฃาพเจาออกจากเมืองพนมเปน ณ วันที่ ๑ เดือนเอปปริลฃาพเจาเอาเฃาฃองสินคาขึ้นไปเมือง ลาวตามแมน้ําโฃง ครั้น ณ ปลายเดือนเสบเตมเบอร ฃาพเจาไดไปเมืองอุบล เปนหัวเมืองลาวฃองเมือง ฝายสยาม ที่นั้นเจาเมืองอุบลไดทําดีตอฃาพเจาโดยมาก ครั้นอยูมาประมาณ ๘ วัน ไมมีขอเหตุการอาไร เลย ภอเวลานั้นอุปฮาตตายลง พวกอุปฮาตประมาณ ๑๒๐๐ ฤา ๑๕๐๐ คน ถือเครื่องอาวุธเปนพวก กระบถ ภอเฃาเห็นฃาพเจา เฃาพากันทุบตีฃาพเจาลมลง เกือบจะตายอยูแลวฃาพเจานอนอยูกลางแดด ศรีสะเปอย นอนตากแดดอยูวันหนึ่ง เขามัดมือมัดตีนขาพเจาอยู เวลาอยูนั้นมีคนชื่ออางฮาพอติซาน ลูกชายของผูรองเจาเมืองไดเฃามาเอาเทาถีบเอาหัวอกฃาพเจาโดยแรงเหลือเกิน ทําใหขาพเจาตองราก โลหิตออกประมาณ ๔๐ วัน พนจากที่นั้นเฃาไดเอาตัวฃาพเจาไปจําไวในคุก แลวเฃาเอาตรวนไสตีน ขาพเจาแหนนหนา พวกเหลานั้นชวนกันริบเอาเฃาฃองแลสินคาฃองฃาพเจาหมด เปนเงินประมาณ ๔๒๘๖ บาท เปนราคาฃายที่ลาว ฃองเหลานี้มีแจงอยูในบาญชีนี้แลว ฃาพเจาตองติดคุกอยู ๑๐๕ วัน พวกนั้นเขาพูดจายาบชา ประมาดฃาพเจาทุกๆวันแลวนั้น พวกลาวไสคุก ฃาพเจาอยูทั้งนี้เปนที่ฃัตฃ วางฃาพเจาที่จะคาฃายกับพวกจีนที่เมืองลาวนั้น ฃาพเจาเหนวาถาไดคาขาย จะมีกําไรสัก ๕๐๐๐ เห รียนนอกจากเงิน ๔๒๘๖ บาท นั้นที่ไดวามาฃางบนแลวเวลาฃาพเจาอยูในคุก ฃาพเจาไดมีหนังสือมาถึง ๒

หม อมอมรวงษ วิจิต ร (ม.ร.ว.ปฐม คเนจร), “พงษาวดารหั วเมื องมณฑลอิส าน,” ใน ประชุม พงศาวดารฉบั บ กาญจนาภิเษก เลม ๙ (กรุงเทพฯ : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร กรมศิลปากร, ๒๕๔๖), หนา ๓๔๖ -๓๔๗. ๓ เติม วิภาคยพจนกิจ, ประวัติศาสตรอีสาน, พิมพครั้งที่ ๒ (กรุงเทพฯ : มูลนิธิตําราสังคมศาสตร, ๒๕๑๕), เลม ๑ : หนา ๑๔๖. ๔ เติม วิภาคยพจนกิจ, ประวัติศาสตรอีสาน, เลม ๑ : หนา ๑๔๗.

40


กงสุลฝรั่งเสศที่กรุงเทพฯ ๒๔ ใบ ขอใหทานกงสุลชวย แตวากงสุลฝรั่งเสศไดรับหนังสือฃาพเจา แต ๓ ใบเทานั้นฃาพเจาจึงรูวาพวกเหลานี้ชิงเอาหนังสือฃาพเจาไว แกลงจะใหฃาพเจาติดคุกใหตายเสีย ฃ าพ เจ า จะหาถ า ทางหนี ก็ ไ ม ไ ด แล ว พวกนั้ น ก็ จํ า ฃ า พเจ า อี ก เขามั ด ฃ า พเจ า ไว แ ล ว เอาตรวนไสตี น ฃาพเจาเปนคราวที่ ๓ ครั้นอยูมา ฃาพเจาไดรับหนังสือมาจากทานกงสุลฉบับหนึ่ง ใจความวา เจาคุณ ผูใหญมีรับสั่งใหปลอยตัวฃาพเจามา เวลานั้นพวกลาวมาพูดจาขอใหเงินฃาพเจา ๔๐๐๐ บาท คาปรับ ไหม ขาพเจาไมยอมรับเงินฃาพเจาวาจะตองเอาเนื้อความนี้ลงไปกรุงเทพฯ ฟองตอนาทานกงสุลฝรั่ง เสศครั้น ณ วันที่ ๑๒ เดือนยันนุวารี พวกลาวเฃาไดปลอยตัวฃาพเจาออกจากคุก ฃาพเจาก็ไดไปอาศัย อยูที่บานจีน อยูที่เมืองอุบล คนหนึ่งชื่อหลวงพิซอ คนนี้ไดเอาใจไสดูแลฃาพเจาอยูนั้นเดือนหนึ่งภอให ฟนตัวขึ้น ครั้นณวันที่ ๑๒ เดือน เฝบวารี ฃาพเจาก็ออกจากเมืองอุบนตรงไปเมืองบางกอก ฃาพเจาได หาคนพมา ๒ คนชื่อบูแลเวียงมาเปนเพื่อนฃาพเจาจนถึงบางกอก ฃาพเจามาถึงบางกอกวันที่ ๒๙ เดือน มาชคฤษตศักราช ๑๘๗๐ ความเรื่องราวของฃาพเจาวามาแตเทานี้ ควรมิควรแลวแตจะโปรด ๚ชื่อกาม ตูมแลกามทอง คนพมาทั้ง ๒ คนเปนลูกคาที่เมืองอุบล ไดมาตอนาเรากงสุลฝรั่งเสศ เมื่อ ณ วันที่ ๑ เดือนอาปลิน ๒ คนนี้ไดใหการวา ไดเหนมองซิเออเซแงงติดคุกติจตรวนอยู แลไดยินเฃาวาเซแงงถูกตี เปนบาทแผลหลายแหง แต ๒ คนนี้เวลาเขาตีเซแงงนั้นเขาไกลไมไดเพราะเขาหามไมใหเขาไป๚ะ๕ หลังจากเหตุการณนี้ ทั้งฝายเจาพรหมเทวานุเคราะหวงศและฝายอุปฮาด (โท) ที่ไมปรองดองกันอยูนั้น ตางก็มีใบบอกแจงเหตุที่เกิดขึ้นนี้ไปยังกรุงเทพฯ เพราะเปนเรื่องเกี่ยวกับชาวตางประเทศ จึงมีพระบรมราช โองการโปรดเกลาฯ ใหสง มองซิเออไซแงและกรมการที่เกี่ยวของในเรื่องนี้ทั้งหมดมายังกรุงเทพฯ คงเหลือไวแต อุปฮาด (โท) เมื่อพิจารณาไดความจริงวากรมการมีความผิด โปรดเกลาฯ ใหผูที่ผิดเสียเงินทําขวัญใหแก มองซิ เออไซแงและโปรดใหลงพระราชอาญาแกกรมการผูผิดตามควรแกกรณี๖ ในเอกสารของหมอมอมรวงษวิจิตร (พงษาวดารหัวเมืองมณฑลอิสาน) กับ เติม วิภาคยพจนกิจ (ประวัติศาสตรอีสาน) ระบุจํานวนเงินคาทําขวัญ มองซิเออไซแง ตรงกันวา ๖,๐๐๐ บาท ซึ่งจะเทากับ ๗๕ ชั่ง แตใน ประวัติเมืองอุบลราชธานีสํานวนอีสาน นั้นระบุตางไปในหลายประเด็น กลาวคือ เงินคาทําขวัญคือ ๒๐ ชั่ง (ซาวซั่ง= ๒๐ ชั่ง ซึ่งเทากับ ๑,๖๐๐ บาท) และผูที่ชกมองซิเออไซแงกลับเปนราชบุตร (สุย)๗ ๕

หอจดหมายเหตุแหงชาติ, ร.๕ กต. (ล) เลม ๕, เอกสารเย็บเลม รัชกาลที่ ๕ กระทรวงตางประเทศ (จ.ศ. ๑๒๓๐ – ๑๒๓๑), หนา ๒๑๕ - ๒๑๘. ๖ หมอมอมรวงษวิจิตร (ม.ร.ว.ปฐม คเนจร), “พงษาวดารหัวเมืองมณฑลอิสาน,” หนา ๓๔๗. และ เติม วิภาคยพ จนกิจ, ประวัติศาสตรอีสาน, เลม ๑ : หนา ๑๔๘. อยางไรก็ดีระหวางทีค่ ดีความยังตัดสินไมเสร็จสิ้น ราชวงศ (โงนคํา) ปวยเปน ลมถึ งแก กรรม เมื่อวั นที่ ๑๑ กุม ภาพั นธ ๒๔๑๒ (วันศุกร ขึ้น ๑๑ ค่ํา เดื อน ๓ ปมะเส็ง เอกศก) ต อมาราชบุตร (สุ ย) ปวย รางกายซูบผอมถึงแกกรรม ๑๙ พฤษภาคม ๒๔๑๓ (วันพฤหัสบดี แรม ๕ ค่ํา เดือน ๖ ปมะเมียโทศก) และหลังจากนั้นเพียง ไมกี่เดือน อุปฮาด (โท) ผูอยูรักษาเมืองอุบล ไดถึงแกกรรมอีกคน ดู หอจดหมายเหตุแหงชาติ, ร.๕ - มท. (ล) เลม ๓, เอกสาร เย็บเลม กรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ ๕ กระทรวงมหาดไทย (จ.ศ. ๑๒๓๑ – ๑๒๓๒), หนา ๒๘๑. ๗ ดังขอความวา “ถืกเทื่อเจาพรหมเหลน เสียเงินใหฝรั่ง ซาวชั่งถวน พอค้ําอยูส่ําบาย ราชบุตรคั่งแคน แสนแสบ ทวงอก บมียามเหย บมมโนเลิงเรื้อย คึดเคียดแคน หาเหลี่ยมคืนจนได เคียดวาเจาพรหมเลี้ยว อุบายกลตีฝรั่ง ไทตางดาว เสียเปไถถอน ตื่มเงินให ก็ยังไคแคลนแน มันกลับเสียชื่อตั้ง เทิงพรอมเลาอาย” ดู ปรีชา พิณทอง, ผูรวบรวม, ประวัติเมือง อุบลราชธานีสํานวนอีสาน, หนา ๒๒๕.

41


ขอสังเกตในเรื่องจํานวนเงินสินไหมทําขวัญนี้ จากเนื้อความโตตอบกันไปมาระหวางเจาพระยาภาณุ วงษมหาโกษาธิ บ ดีที่ พระคลัง ว าการตางประเทศ และ มองซิเ ออกิล อง กงสุล ฝรั่ง เศส ฉบับ ลงวัน ที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๔๑๓ (วัน ๗ แรม ๗ ค่ําเดือน ๖ ปมะเมีย โทศก) ตอนหนึ่งระบุวา “คนเหลานี้ตองเสียเงินแต เพียง ๑๕๐๐ บาทเทานี้ ก็เปนที่เข็ดหลาบหนักหนาแลว แตสิ่งของมองซิเออเซแงงที่ทาวเพี้ยเอามารวบรวมไว มองซิเออเซแงงตีราคาเปนเงิน ๔๒๘๖ นั้น เจาพระยาภูธราภัยทานวา ตรวจบาญชีถูกตองกันแลว ใหทาวเพี้ย เอาสิ่งของไวคิดเงินใหมองซิเออเซแงงตามราคาสิ่งของจงครบ...”๘ พอเขาใจไดวา คาทําขวัญ ๑,๖๐๐ บาท (ซาวซั่ง) นั้นยังไมไดรวมกับ ราคาของสินคาที่มองซิเออไซแง นํามาจากไซงอน ที่กลุมอุปฮาดริบไวครั้งเกิดเรื่อง ตามบัญชีที่มองซิเออไซแงใหรายละเอียดไว เปนเงิน ๔,๒๘๖ บาท บทสรุป เอกสารหลักสามเลมที่ใชศึกษาเหตุการณประวัติศาสตรนี้ ไดแก ประวัติเมืองอุบลราชธานีสํานวน อีสาน รวบรวมโดย ปรีชา พิณทอง พงษาวดารหัวเมืองมณฑลอิสาน หมอมอมรวงษวิจิตร (ม.ร.ว.ปฐม คเนจร) และประวัติศาสตรอีสาน โดย เติม วิภาคยพจนกิจ ใน พ.ศ. ๒๔๔๓ พระเจาบรมวงศเธอ กรมหลวงสรรพสิทธประสงค มีรับสั่งใหเรียกเอาสมุดขอย หรือ เอกสารสําคัญเกาแก ตลอดจนสัญญาบัตร ของเจาเมือง อุปฮาด ราชวงศ ราชบุตรในอดี ตและปจจุบันที่มีอยู ตามบรรดาหัวเมืองนอยใหญทั้งปวงในมลฑลอีสาน หรือหัวเมืองอื่นเทาที่จะรวบรวมได แลวมีรับสั่งใหหมอม อมรวงศวิจิตร (ม.ร.ว.ปฐม คเนจร) ปลัดมลฑลประจําจังหวัดอุบลราชธานี เมื่อครั้งเปนมหาดไทยมลฑล เปนแม กองรวบรวมเรื่องราวหัวเมืองตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น และโปรดใหพระวิภาคพจนกิจ (เล็ก สิงหัษฐิต) เปนผูชวย จึงได พงษาวดารหัวเมืองอิสาน เปนหนังสือไมนอยกวา ๒๕ ยก เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๙๐ เติม วิภาคยพจนกิจ บุตรพระวิภาคพจนกิจ (เล็ก สิงหัษฐิต) พบบันทึก การปกครองหัวเมืองมลฑลอีสาน ซึ่งบิดาไดรวบรวมไว จึงนํามาปรับปรุงปะติดปะตอกับหลักฐานอื่นที่หาไดใหม โดยอาศัยพงษาวดารหัวเมืองมณฑลอิสานรวมกับบันทึกการปกครองหัวเมืองมลฑลตะวันออกเฉียงเหนือ โดยใช เวลาราว ๒๐ ปเศษ จึงได หนังสือประวัติศาสตรอีสาน หนังสือประวัติเมืองอุบลราชธานี ฉบับเดิมเปนหนังสือใบลาน จารดวยตัวไทยนอย สํานวนอีสาน ดร. ปรีชา พิณทอง เปนผูรวบรวมคัดลอกไว เนื้อหาโดยภาพรวมในเรื่องคดีความมองซิเออรเซแงง ของเอกสารทั้งสามเลม มีความใกลเคียงกัน แต อาจมีร ายละเอียดปลีกยอยบางอยางที่แตกตางกัน เนื่องจากมุม มองของผูถายทอด ในหนังสือประวัติเมือง อุบลราชธานีที่คัดลอกจากใบลาน ถึงจะมีตัวเลขคาสินไหมทําขวัญไมตรงกับสองเอกสาร แตในมุมมองของผูที่ อยูในพื้นที่ กับเอกสารที่มีหลักฐานทางราชการในการอางอิง ยอมมีความคลาดเคลื่อนกันไปไมมากก็นอย แตก็ ใชวาจะเชื่อถือไมไดเลย แมแตในคําฟองของมองซิเออรเซแงง ที่มีการกลาวถึงกบฏ เอกสารทั้งสามเลม ก็มิได ปรากฏเรื่องนี้เลย ๘

เอกสารหอจดหมายเหตุแหงชาติ, ร.๕ กต. (ล) เลม ๕, เอกสารเย็บเลม รัชกาลที่ ๕ กระทรวงตางประเทศ (จ.ศ. ๑๒๓๐ – ๑๒๓๑), หนา ๒๔๙.

42


ปญหาเรื่อง “โตะเทาชาง” นายยุทธนาวรากร แสงอราม ภัณฑารักษชาํ นาญการ พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร “โตะ” ที่จ ะอธิบ ายตอไปนี้มิใ ช “โตะ” ในความหมายที่ปจ จุบันคนไทยเขา ใจโดยทั่ว ไป หากแตเปน “ภาชนะมีเชิงสูงรูปคลายพาน มีพื้นตื้นสําหรับวางหรือใสสิ่งของ มักทําดวยโลหะ เชน เงิน ทองคํา ทองเหลือง”๑ โตะจําแนกเปนขนาดตาง ๆ โตะขนาดใหญใชจัดสํารับอาหารคาวหวาน โตะขนาดเล็กใชสําหรับรองสิ่งของตา ง ๆ เชน กาน้ํา หรือลวมหมาก หากจะอธิบายจากรูปลักษณะความแตกตางระหวาง “โตะ” กับ “พาน” ใหเขาใจได งายคือ โตะจะมีกนตื้นปากกวางมีขอบแผ ริมเปนจัก ๆ โดยรอบ ในวัฒ นธรรมไทยเครื่องอุป โภคบริโภคที่เปน เครื่องโลหะเปนหนึ่ง ใน “เครื่อ งยศ” หรือ “เครื่อ งราช อิส ริ ยยศ” ซึ่ง เป นพระเจา แผน ดิน พระราชทาน แก พระบรมวงศานุ ว งศ ขุ นนาง และขา ราชการ ผูส รา ง คุณประโยชนใหแกบานเมือง โดยจะแตกตางกันไปตามฐานันดรศักดิ์ที่ไดรับ สํา หรับ “โตะ” ก็เปนหนึ่งในสิ่งของ พระราชทานดวย ดังจะปรากฏคําเรียกขาราชการที่ไดรับพระราชทานเฉพาะโตะทองคํารองกาน้ําวา “พระยาโตะ ทอง” ซึ่งจะมียศศักดิ์ต่ํากวา “พระยาพานทอง” พระยาที่ไดรับพระราชทานพานหมากทองคําเปนการเพิ่มเติม๒ อยางไรก็ดีมีโตะขนาดใหญชนิดหนึ่งเรียกวา “โตะเทาชาง” ซึ่งตาม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ให คํา อธิบ ายวา “น. ภาชนะโลหะชนิด หนึ่ งคลา ยโตกมี ข าใหญห นาเทอะทะ ๓ ขา”๓ และ พจนานุกรมศัพทศิลปกรรม อักษร ซ – ฮ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ก็ใหคํา อธิบ ายในทิศทางเดีย วกันคือ “ภาชนะประเภทหนึ่ง ทําดวยโลหะ เชน เงิน ทอง นาก ลักษณะคลายถาดมีขอบสูงหรือกนลึก และมีขาตอตรงกน ภาชนะเปนรูปเทาชาง จากลักษณะนี้เองจึงมักเรียกวา โตะ หรือ โตก สวนลักษณะของเทา ชา งนั้น เปนรูปออน โคงมี ๓ หรือ ๔ ขา และนิยมสลักดุนลายหรือลงถมดําบาง ถมทองบาง.”๔ โตะเทาชาง มี “ขา” หรือมี “เชิง” ตามคํานิยามที่ปรากฏในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานโตะเทาชางยอมจะตองมี “ขา” ไมใช “เชิง” ทั้งนี้ห นา ที่การใชงานของโตะเทา ชา ง เปนโตะโลหะขนาดใหญสําหรับ จัดสํารับ อาหารคาวหวาน ดังปรากฏ หลักฐานวาใน พ.ศ. ๒๔๑๘ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจา อยูหัว รัชกาลที่ ๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ๑

๕๑๙.

ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ (กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๖), หนา

การจะสังเกตความแตกตางของชั้นบรรดาศักดิ์สมัยโบราณนั้น อาจพิจารณาไดจากเครื่อ งอุปโภคบริโภคที่เปนเครื่อ งยศ ใน ๓ ประเด็น คือ ๑. โลหะที่ใชผลิต ไดแก ทองเหลือง-ทองขาว เงิน และทองคํา ๒. กรรมวิธีในการตกแตง คือ เงิน กะไหลทอง เงินถมทอง ทองคําเกลี้ยง ทองคําสลักลาย และทองคําลงยาราชาวดี และ ๓. รูปทรงของเครื่อ งยศ เชน กาน้ําทรงกระบอกจะเปน เครื่องใชเฉพาะพระบรมวงศานุวงศ เปนตน โปรดอานรายละเอียดเพิ่มเติมใน ยุทธนาวรากร แสงอราม, โลหศิลป ณ พระที่นั่ง ปจฉิมาภิมุข พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร (กรุงเทพฯ : สํานักพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ, ๒๕๖๐), หนา ๓๓ - ๔๓. ๓ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔, หนา ๕๑๙. ๔ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพทศิลปกรรม อัก ษร ซ – ฮ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (กรุงเทพฯ : บริษัทดาน สุทธาการพิมพ จํากัด, ๒๕๕๐), หนา ๔๑๘. 43


พระราชทานบําเหน็จความชอบแกหมอชาง และควาญชา ง ผูคลองพระเสวตวรลักษณ ชางเผือกได ซึ่งรายการ สิ่งของสวนหนึ่งเปนเครื่องอุปโภคบริโภคดวย อาทิ“...ลวมเขมขาบมีถาดทองขาวรอง ขันน้ํา จอกลอยทองขาว สํารับ ๑ โตะเทาชางทองขาวคาวหวานคู ๑ กระโถนปากแตรทองขาวกระโถน ๑ ชามขาวมีพานรอง ๑...”๕ หรือ ใน พ.ศ. ๒๔๓๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานสิ่งของบําเหน็จความชอบแกหมอชาง และควาญชาง ที่ คลองชางเผือกเมืองจําปาศักดิ์ ซึ่งรายการสิ่งของพระราชทานก็ปรากฏ “...ชามขา วมีฝ าพานรอง ๑ โตะเทาชาง คาว ๑ หวาน ๑...” ๖ รวมอยูดวย พระสุพรรณภาชนคาว (ที่มา : สํานักงานเสริมสรางเอกลักษณ ของชาติ, ราชาศัพท, พิมพครั้งที่ ๔ (กรุงเทพฯ: สํานักงานเสริมสราง เอกลักษณของชาติ, ๒๕๕๕), หนา ๙๔)

และเมื่อศึกษาจากเครื่องราชูปโภค โตะโลหะขนาดใหญสําหรับตั้งพระกระยาหารเครื่องคาวเครื่องหวาน มีคําเรียกเฉพาะวา “พระสุพรรณภาชน” ตาม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ใหคําจํา กัด ความวา “(ราชา) น. ภาชนะสําหรับใสพระกระยาหาร ทําดวยทองคํา ทั้งชุด , ใชวา พระสุพรรณภาชน; (โบ) โตะ เทาชาง.”๗ สอดคลองกับคําบรรยายของจมื่นมานิตยนเรศร (เฉลิม เศวตนันทน) เกี่ยวกับเรื่องราวในสมัยรัชกาลที่ ๖ ในรายการวิทยุ “รอบเมืองไทย” ของกรรมการสงเสริมสภาการศึกษา มหามกุฎราชวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๐๒ ตอนหนึ่งไดกลาวถึง “พระสุพรรณภาชน” ดังนี้ “พระสุพรรณภาชนคือโตะเทาชาง อยา งที่นํามาใชสําหรับบรรจุดอกไมธูป เทียนเผาศพซึ่งเปนนิเกิลหรือเงิน ที่วัดมกุฎหรือวัดโสมนัสสมัยนี้ [พุทธศักราช ๒๕๐๒ผูเขียน] ชุดหนึ่งมี ๓ องค คือ ๓ โตะ เปนโตะทําดวยทองคําบาง เงินบาง ปากโตะเปน กุดั่นคือฝงพลอยสีตางๆ...”๘ ๕

“การสมโภชพระเสวตวรลัก ษณ, ” ราชกิ จ จานุเบกษา เลม ๒, แผ น ๑๒ (วั นอาทิต ย ขึ้น ๒ ค่ํ า เดือ น ๘ จุลศั กราช ๑๒๓๗) : หนา ๙๘. ๖ หมอมอมรวงษวิจิตร (หมอมราชวงศปฐม คเนจร), “พงษาวดารหัวเมือ งมณฑลอิสาน,” ใน ประชุมพงศาวดารฉบับ กาญจนาภิเษก เลม ๙ (กรุงเทพฯ : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร กรมศิลปากร, ๒๕๔๖), หนา ๔๐๕. ๗ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔, หนา๑๒๔๕. ๘ อนุสรณ ศุกรหัศน (พระนคร: โรงพิมพมหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๑๑, ที่ระลึกงานพระราชทานเพลิงศพ เสวกโท จมมื่น มานิตยนเรศ ( เฉลิม เศวตนันทน) ๒๐ มกราคม ๒๕๑๑), หนา ๓๓๓. 44


หรือ จมื่นอมรดรุณารักษ (แจม สุนทรเวช) อธิบายถึงลักษณะของพระสุพรรณภาชน ในประเพณีการเสวย ตน ในรัชกาลที่ ๖ วา “พระสุพรรณภาชน ขอไดโปรดพิจ ารณาจากภาพที่นํามาลงไวเปนชนิดโตะมีเทา สว น ขางบนมีลักษณะเหมือนถาดกับขา วอยางกลม แตปากถาดบานออกไปกวาง ทํา ใหเกิดความสวยงาม ฉลุล าย โปรง”๙ ทั้งนี้จากภาพลายเสนและภาพถาย พระสุพรรณภาชน เปนโตะทองคําสลักลายขนาดใหญที่มีเชิง มิไดมีขา ๓ ขา หรือ ๔ ขา แตอยางใด ซึ่งหนังสือ อักขราภิธานศรับท พจนานุกรมของหมอบรัดเลย ซึ่งตีพิมพค รั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๖ นิยามคําวา “เทาชาง” วา “ทาวชาง, ตีนชาง, คือตีนชางฤๅโตะทองขาวที่เหมือนทาวชางนั้น, เชน โตกเทาชาง.”๑๐ โตะเทาชาง จึงยอมที่จะตองมีเชิงหรือขาที่ใหญคลายกับเทาของชาง นอกจากนี้ในประกาศราช กิจจานุเบกษาในรัชกาลที่ ๕ (พ.ศ. ๒๔๑๗–๒๔๒๒ และ ๒๔๒๗ – ๒๔๕๓) พบหลักฐานการเรียกชื่อโตะสํารับคาว หวานชนิดอื่น ๆ นอกจากโตะเทาชาง อาทิ “โตะเงินทาวชาง ๒ โตะ โตะเงินมีทาว ๒ โตะ”๑๑ “โตะเงิน ๔ เทา คาว ๑ หวาน ๑”๑๒ และ “โตะเงินเทาสิงห”๑๓ จึงเปนไดวาแตเดิมนั้น โตะโลหะทีม่ ีขาใหญรูปออนโคง ๓ – ๔ ขา นั้นนาจะเรียกวา “โตะมีเทา” หรือ “โตะ ๔ เทา” มากกวา ภาพลายเสนพระสุพรรณภาชน (ที่มา : จมื่นอมรดรุณารักษ (แจม สุนทรเวช), พระราช กรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกลาเจา อยูหัว เลม ๑๐ เรื่อง พระราชประเพณี (ตอน ๒) (พระนคร : องคการคาของคุรุสภา ๒๕๑๔).) สํานักงานเสริมสรางเอกลักษณของชาติ, ราชาศัพท, พิมพครั้งที่ ๔ (กรุงเทพฯ : สํานักงานเสริมสราง

จมื่นอมรดรุณารักษ (แจม สุนทรเวช), พระราชกรณีย กิจในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัว เลม ๑๐ เรื่อง พระราชประเพณี (ตอน ๒) (พระนคร : องคการคาของคุรุสภา ๒๕๑๔), หนา ๙๕. ๑๐ แดนบีช แบรดเลย, อักขราภิธ านศรับ ท, พิมพค รั้งที่ ๒ (กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา, ๒๕๑๔), หนา ๓๑๐. และยัง ปรากฏคําวา “โตะทาวชาง, โตกทาวชาง, เปนชื่อโตะที่เขาทําดว ยเงิน บาง, ทองบาง, ทองเหลืองบาง, คลายกับ ทาวชาง, สํารับใส ของกินนั้น” ดู เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๖๐. ๑๑ “วาดวยเครื่องแตงตั้งในหอมิวเซียม” ราชกิจจานุเบกษา เลม ๕ (วันอาทิตย ขึ้น ๒ ค่ํา เดือน ๑๒ จุลศัก ราช ๑๒๔๐) : หนา ๒๓๗. ๑๒ พระราชทานแก พระยาคทาธรธรณินทร พระยาพานทอง ดู “ขาราชการถวายบังคมลาแลพระราชทานเครื่อ งยศ” ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑, ตอน ๕ (๒๙ เมษายน รัตนโกสินทรศก ๑๑๓) : หนา ๓๖. ๑๓ “ประวัติ [เจานรนัน ทไชยชวลิต ]” ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๓, ตอน ๙ (๓๑ พฤษภาคม รัตนโกสิ นทรศก ๑๑๕) : หนา ๑๑๐. 45


การเรียกโตะมีเทาวา โตะเทาชางนั้น คงมีมานานแลวอยางนอยในรัชกาลที่ ๗ – ตนรัช กาลที่ ๘ ดวยใน สมุดทะเบียนโบราณวัตถุของพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร เลม ๒วัตถุเลขทะเบียน ฎ. ๑๐/๗ และ ฎ. ๑๖/๗ มีชื่อวัตถุวา “โตะเทาชาง” โดยมีลักษณะเปนภาชนะทองเหลืองกนตื้นปากกวางมีขอบแผ ริมเปนจัก ๆ โดยรอบ มีขาออนโคง ๓ ขา ปจจุบันโตะมีเทาทั้งสองใบนี้จัดแสดงในพระตําหนักแดง อนึ่งสมุดทะเบียนเลมเดียวกัน วัตถุ เลขทะเบียน ญ. ๑๔๗ มีชื่อ วัตถุวา “โตะเทา สิงห (เครื่องสํารับ กับขา ว)” โดยมีลักษณะเปนภาชนะเงินกนตื้น ปากกวางมีขอบแผริมหยักโคงประดับลวดลายพันธุพฤกษาโดยรอบ มีข าสิงหออนโคง ๔ ขา ปจจุบันโตะเงินเทา สิงหใบนี้เก็บรักษาในคลังพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร โตะเทาชาง (เลขทะเบียน ฎ. ๑๖/๗) ศิลปะรัตนโกสินทร พุทธศตวรรษที่ ๒๕ หรือประมาณ ๑๐๐ ปมาแลว ทองเหลือง สูง ๑๖ เซนติเมตร เสนผาศูนยกลาง ๕๔ เซนติเมตร ท า วภั ณ ฑสารนุ รั ก ษ (แก ว ) ส ง มาจากคลั ง ในเมื่ อ วั น ที่ ๑๒ เมษายน ๒๔๗๑ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร

ที่มาของคําอธิบายเรื่องโตะเทาชาง วาเปนโตะทีม่ ขี าใหญหนาเทอะทะ ๓ ขาเขาใจวาคงเนื่องมาจาก คําอธิบายเรื่อง “โตะ” ของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพซึ่งกราบทูล สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๘ ดังเนื้อความตอไปนี้ “เครื่องยศอยางหนึ่งเรียกวา “โตะเทาชาง” หมอมฉันอยากรูวามันเปนอยา ง ไรก็คนไมพบ เห็นโตะสามขาก็เปนเล็บสิงห คิดไมเห็นวาโตะเทาชางจะเปนอยางไร มา จนวันหนึ่ง ดูเหมือนจะเปนในรัชชกาลที่ ๖ คุณหญิงเนื่อง ภรรยาพระยาเพ็ช รรัตน สงคราม (เลื่อน) สมุหเทศาภิบาลมณฑลเพชรบูรณ มาหามารดาหมอมฉัน มีลูกไมใส โตะสามขามาให หมอมฉันแลดูเห็นขาโตะใบนั้นทํา เปนรูปเทา ชางเปนใบแรก จึงได คิดวาที่เรียกวาโตะเทาชางคือโตะนั่นเอง แตชั้นเดิมเห็นจะทําขาเปนเทาชา งโดยมาก จึงเรียกวาโตะเทาชาง ครั้นภายหลังยักไปทําเปนรูปเทาสิงหแตคนยังเรียกอยูอยา งเดิม ...”๑๔

๑๔

สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศ รานุวัด ติวงศ และ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงรา ชานุภาพ, สาสนสมเด็จ เลม ๘ พ.ศ. ๒๔๗๘ (ตุลาคม – มีนาคม), พิมพครั้งที่ ๒ (กรุงเทพฯ : องคการคาของคุรุสภา, ๒๕๔๖), หนา ๕๒. 46


โตะเทาสิงห (เลขทะเบียน ญ. ๑๔๗) ศิลปะรัตนโกสินทร พุทธศตวรรษที่ ๒๕ หรือประมาณ ๑๐๐ ปมาแลว เงิน สูง ๑๔.๕ เซนติเมตร เสนผาศูนยกลาง ๕๑ เซนติเมตร สมบัติเดิมของพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร

47


“คุกนัน้ สําคัญทีต่ รงไหน”: กรณีศกึ ษา เรือนจํานครปฐม ภัคพดี อยูคงดี ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานโบรณคดี ๑. คําสําคัญ“คุก” พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ พิมพครั้งที่ ๒ ใหความหมายวา ที่ขงั นักโทษ, เรือนจํา (หนา ๒๖๒) สวน“นักโทษ” หมายถึง บุคคลทีถ่ ูกลงโทษจําคุก นอกจากนี้ยังมีคาํ วา “นักโทษเด็ดขาด” หมายถึง บุคคลที่ถกู จําขังไวตามหมายจําคุกภายหลังคําพิพากษาถึงที่สุด คําศัพทที่มคี วามหมายเกี่ยวเนื่องกันอีก คําหนึง่ คือ “ทัณฑสถาน” หมายถึง เรือนจําพิเศษประเภทหนึ่ง ที่ใชเปนทีค่ วบคุมกักชังผูตอ งขังเฉพาะแตละ ประเภทใหเหมาสมกับประเภทของผูตองขังนั้นๆ เชน ทัณฑสถานวัยหนุมเปนสถานที่ควบคุมกักขังและฝกอาชีพแก ผูตองขังที่อยูในวัยหนุม(หนา ๕๖๐)คําวา คุก เปนคําทีร่ ูจักกันมานานมากแลว สําหรับนักโบราณคดีไทยก็คงคุนชื่อ กับชือ่ คุกขี้ไก ๒. ประวัตกิ ิจการคุก ๒.๑กอนรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห ัวคุกสังกัดอยูตามสวนราชการตาง ๆ สอดคลองกับการ ปกครองแบบจตุสดมภคอื แบงเปนคุกหรือเรือนจําในกรุงเทพฯและเรือนจําในหัวเมืองชั้นนอก เรือนจําในกรุงเทพฯ มี ๒ ประเภท คือ คุก เปนที่คมุ ขังผูตอ งขังที่มีโทษตั้งแต ๖ เดือนขึ้นไปอยูในสังกัดกระทรวงนครบาล ตะราง ใชเปน ที่คุมขัง ผูตองขังที่มีโทษนอยกวา ๖ เดือน หรือนักโทษที่มิใชโจรผูรา ยสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ทีบ่ ังคับกิจการ นั้น ๆ สวนเรือนจําในหัวเมืองชั้นนอก มีที่คมุ ขัง ผูตอ งโทษเรียกวา “ตะราง” การคุมขังอยูในความรับผิดชอบของ ผูวา ราชการเมืองหรืออาจสงตอใหกระทรวงมหาดไทย กระทรวงกลาโหม รับตัวไปคุมขัง แลวแตกรณี ๒.๒ หลังการปรับปรุงระเบียบราชการแผนดินใหมในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห ัว ในป โปรดฯใหสรางคุกใหม เรียกวา กองมหันตโทษ สรางตะรางใหม เรียกวา กองลหุโทษ สังกัดกระทรวงนครบาล และในปพ.ศ. ๒๔๔๔ โปรดเกลาใหตรา “พระราชบัญญัติลักษณะเรือนจํา” เพื่อใหการจัดการเรือนจําเปนไปอยาง เรียบรอยยิง่ ขึ้นและในป พ.ศ. ๒๔๕๘ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาใหตรา “พระราชบัญญัติจัดตั้งกรม ราชทัณฑ” มีพระยาวิชิตวิศิษฎธรรมธาดา (ขํา ณ ปอมเพชร)เปนอธิบดีกรมราชทัณฑคนแรกกิจการคุกอยูในสังกัด กระทรวงยุตธิ รรม มีพฒ ั นาการเปนลําดับเรื่อยมา ๒.๓. การกอตัง้ เรือนจํานครปฐม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห ัว โปรดใหตงั้ มณฑลนครไชยศรี เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๘ โดยรวมเอาเมืองนคร ไชยศรี สุพรรณบุรี สมุทรสาคร ขึ้นเปนมณฑล มีที่ทาํ การอยูท ี่บา นทานา เมืองนครไชยศรี มีตะรางขังนักโทษ ตั้งอยูหลังจวนผูว า การมณฑล ป พ.ศ.๒๔๔๑ ยายทีว่ า มณฑลมาไวที่ตําบลพระปฐมเจดีย จัดวางผังเมืองนครปฐม ใหม จากบันทึกตรวจราชการมณฑลนครไชยศรีของสมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ความวา “วันที่ ๑๕ (พ.ศ. ๒๔๔๑) ...ฉันไดสั่งพระยาสุนทรบุรี ใหรบี คิดทําตะรางขึ้นทีพ่ ระปฐมเจดีย แลใหสงคนโทษเมืองสุพรรณ เมืองนคร 48


ไชยศรีที่มกี าํ หนดโทษเกิน ๓ เดือน เอาขึ้นมาไวใชที่พระปฐมเจดีย” และเปดกิจการเดินรถไฟสายใตตัดเสนทางเดิน รถใกลกบั องคพระปฐมเจดียในป พ.ศ. ๒๔๔๓ ๓. องคประกอบเรือนจํานครปฐม

ระวางที่ดิน พ.ศ. ๒๔๔๑ แสดงใหเห็นวาคุกมีแผนผังเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผามีกาํ แพงหนาลอมรอบมี ทางเขา-ออก อยูทางทิศเหนือพื้นที่ ๒๘ ไร - งาน ๘๑ ตารางวา พื้นทีภ่ ายนอก ๑๒ ไร ๒ งาน ๓๕ ตารางวา

เอกสารแผนกราชทัณฑ จังหวัดนครปฐม ที่ ๕๐๓๓/๒๔๗๘ ลงวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๔๗๘ เรื่อง ขออนุญาตขอ อนุญาตซอมเรือนขังนักโทษชาย ๑ หลัง ระบุขนาดกวาง-ยาว ๑๒ x ๒๔ เมตร รูปทรงปนหยา หลังคาสังกะสี ปลูก สรางมา ๒๖ ป แสดงวาอาคารหลังนี้สรางขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๒ นอกจากนี้ยังมีแผนผังแสดงตําแหนงอาคารเรือน 49


ขังนักโทษที่ใชงานในชวงเวลานั้นปรากฏอยูซ ึ่งเห็นถึงพัฒนาการและการใชสอยพื้นที่เรือนจํานครปฐมตาม ระยะเวลาจนกระทั่งปจจุบัน ๔. ที่มาของปญหา ๔.๑ คณะอนุกรรมการอนุรักษสงิ่ แวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรม ยืนยันมติใหพื้นทีแ่ ปลงเรือนจําเกานครปฐม เปนพื้นที่สีเขียว เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายกรมธนารักษปรับปรุงกลุม อาคารเกา รวมทัง้ ตนไมใหญในพืน้ ที่ ทั้งนี้ ไมควรมีหนวยงานใดๆ ในพื้นที่ ควรยายหนวยราชการการไปยังศูนยราชการแหงใหม ๔.๒ กรมศิลปากร ขอใชพื้นที่บางสวนเปนที่กอสรางพิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ พระปฐมเจดีย แหงใหม ซึง่ คณะอนุกรรมการอนุรักษฯ มีมติตามขอ ๔.๑ ๕. วัตถุประสงคของการประเมินคุณคา “คุก” ๕.๑ คุก เปนโบราณสถานหรือไม ๕.๒ สวนใดของคุกควรคาแกการอนุรักษหรือรักษาไว ๖. การวิเคราะห ตาม พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔ แกไข เพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔“อสังหาริมทรัพยซึ่งโดยอายุหรือโดยลักษณะแหงการกอสราง หรือโดยหลักฐานเกี่ยวกับประวัตขิ อง อสังหาริมทรัพยนั้น เปนประโยชนทางศิลปะ ประวัติศาสตร หรือโบราณคดี ทั้งนี้ใหรวมถึงสถานที่เปนแหลง โบราณคดี แหลงประวัติศาสตร และอุทยานประวัติศาสตรดวย” ผลการวิเคราะห- นําเสนอในงานวิจัย วิจักขณ

50


ระบบบริหารจัดการน้าเมืองศรีสัชนาลัย นายภัทรพงษ์ เก่าเงิน หัวหน้าอุทยานประวัติศาสตร์สรีสัชนาลัย เมืองศรีสัชนาลัยตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันตกของแม่น้ายมในบริเวณที่เรียกว่าแก่งหลวง เขตพื้นที่ต้าบลศรีสัช นาลัย อ้าเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ตัวเมืองมีผังเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าด้านไม่เท่า ก้าแพงเมืองด้าน ทิศเหนือทิศตะวันตกและทิศใต้ก่อด้วยศิลาแลงตั้งอยู่บนคันดินสูงและมีก้าแพงดินที่สลับคั่นด้วยคูน้าล้อมรอบ อีก 2 ชั้น ส่วนก้าแพงเมืองด้านทิศตะวันออกซึ่งติดแม่น้ายมมีก้าแพงก่อด้วยศิลาแลงชั้นเดียวเมืองนี้เป็นเมืองใน สมัยหลังที่ถูกตัดย่อลงจากเมืองเดิมที่มีรูปร่างคล้ายหอยสังข์ โดยแต่เดิมแนวก้าแพงเมืองนี้ยาวขึ้นไปในพื้นที่ บ้านป่ายางเหนือเมืองปัจจุบันและยาวลงไปตามล้าน้​้ายมทางทิศตะวันออกของเมืองปัจจุบันอีกราว2 กิโลเมตร

ประวัติความเป็นมา

พื้นที่บริเวณนี้เ ป็นพื้นที่ที่เหมาะแก่การตั้งถิ่นฐาน เนื่องจากมีชัยภูมิดีมีภูเขาและแม่น้าเป็นปราการ ล้อมรอบและมีความอุดมสมบูรณ์จากแม่น้ายมและคลองเล็กคลองน้อยที่ไหลเชื่อมโยงในพื้นที่ จึงท้าให้พบ หลักฐานว่ามีผู้คนเข้ามาตั้งบ้านเรือนอยู่อาศัยในพื้นที่บริเวณนี้ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย(สมัยทีย่ งั ไม่มีการใช้ตัวอักษร)เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ ๙ มาจนถึงสมัยทวารดีในพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๖ และสมัยลพบุรี ในพุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ ต่อเนื่องมาจนถึงสมัยสุโขทัยในพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ศรีสัชนาลัยเป็นเมืองส้าคัญแห่งหนึ่งในแคว้นสุโขทัย ที่มักจะปรากฏชื่อควบคู่ไปกับเมืองหลวงในจารึก ว่า “ ศรีสัชนาลัย สุโขทัย” โดยปัจจัยหลักแห่งความรุ่งเรืองของเมืองศรีสัชนาลัยนั้น น่าจะมาจากอุตสาหกรรม การผลิตเครื่องสังคโลกในสมัยสุโขทัยและอยุธยา ที่พัฒนาจากการผลิตเพื่อใช้ในชุมชุนไปสู่การผลิตเพื่อส่งออก ไปขายยังชุมชนภายนอก อันน้ามาซึ่งรายได้เป็นจ้านวนมาก และจากความส้าคัญในเชิงเศรษฐกิจนี้เองที่ท้าให้ เมืองศรีสัชนาลัยได้รับการปกครองจากเชื้อพระวงศ์ชั้นสูงในสมัยสุโขทัย ก่อนที่จะถูกยึดครองโดยรัฐต่างๆ ที่ เข้ม แข็ง กว่าในเวลาต่อ มา เช่น ล้านนา ที่เ รียกเมื องนี้ว่า “ เชี ย งชื่ น” หรือกรุงศรีอยุธยาที่ เรียกเมื องนี้ว่า “ สวรรคโลก” ภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๑ ใน พ.ศ.๒๑๑๒ อุตสาหกรรมการผลิตเครื่องสังคโลกที่ เมืองศรีสัชนาลัยก็ยุติลง ส่งผลให้เมืองศรีสัชนาลัยถูกลดฐานะลงเป็นเพียงหัวเมืองชั้นโท จนกระทั่ง เสียกรุงศรี อยุธยาครั้งที่ ๒ ใน พ.ศ.๒๓๑๐ เมืองศรีสัชนาลัยจึงถูกทิ้งร้างไปโดยสิ้นเชิง โดยผู้คนได้อพยพไปตั้งบ้านเรือนอยู่ บริเวณบ้านวังไม้ขอน อ้าเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัยในปัจจุบัน สภาพภูมิประเทศ ศรีสัชนาลัยเป็นเมืองที่มีเทือกเขาและแม่น้าโอบล้อม โดยเริ่มจากด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ เมืองมีเขาอินทร์และเขาพระบาททอดยาวมายังแก่งหลวง (แก่งหินขนาดใหญ่ที่ขวางกันแม่น้ายมซึ่งเป็นส่วน หนึ่งของเทือกเขานี้) ผ่านล้าน้​้ายมเข้ามายังเมืองแล้วทอดยาวผ่านเข้ามาภายในตัวเมืองทางด้านทิศเหนือได้แก่ เขาพนมเพลิงและเขาสุวรรณคีรี จากนั้นผ่านออกนอกเมืองทางก้าแพงเมืองด้านทิศตะวันตกเป็นเขาแก้ว เขา ใหญ่ เขาน้อย เขานางม้า เขานางนอน เขาพระศรี เขาหมาแหงนและไปจดแม่น้ายมอีกครั้งที่เขาเชิงคีรี

๕๑


พื้นที่ของเมืองและบริเวณโดยรอบมีความลาดเอียงจากทิศตะวันตกซึ่งเป็นเทือกเขามาสู่แม่น้ายมทาง ทิศตะวันออก และลาดเอียงจากทิศเหนือมาทางทางทิศใต้ (ยกเว้นบริเวณที่ตั้งเมืองซึ่งมีเทือกเขาพาดผ่านจะ สูงกว่าพื้นที่โดยรอบเล็กน้อย)

แผนที่แสดงสภาพภูมิประเทศที่ตั้งของเมืองศรีสชั นาลัยซึ่งมีภูเขาและแม่น้าเป็นปราการล้อมรอบ ที่มา : แผนที่ทางทหารมาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ระวาง 4943I L7018 พิมพ์ครั้งที่ 1-RTSD แม่น้า

ล้าน้​้าสายหลักที่ไหลผ่านตัวเมืองศรีสัชนาลัยมีอยู่ ๒ สายประกอบด้วย แม่น้ายมไหลผ่านตัวเมือ งศรีสัชนาลัย ทางด้านทิศตะวันออก มีต้นก้าเนิดจากเทือกเขาผีปันน้​้าทาง ภาคเหนือ ของประเทศไทย ไหลผ่านจัง หวัดแพร่จ นถึง อ้าเภอศรีสั ชนาลัยไปสุโ ขทั ย พิษณุโ ลก พิจิตรและ นครสวรรค์ ในช่วงที่ไหลผ่านตัวเมืองโบราณศรีสัชนาลัยท้าให้เกิดแก่งน้​้าอยู่ 3 แก่ง คือ แก่งหลวง แก่งคันนา และแก่งสัก ร่องตาเต็มเป็นล้าน้​้าขนาดเล็กที่ไหลมาจากทิศตะวันตกของเมือง ไหลผ่านทางด้านทิศเหนื อของเมือง ไปลงแม่น้ายมในช่วงที่ร่องตาเต็มจะไหลมาบรรจบกับแม่น้ายมได้แยกล้าน้​้าออกเป็น ๓ สาย ไปยังบ้านเกาะ น้อย บ้านป่ายางและบริเวณริมก้าแพงเมืองศรีสัชนาลัยด้านทิศเหนือตามล้าดับ ปัจจุบันปลายล้าน้​้าทั้ง ๓ สาย ถูกถมจนไม่เชื่อมต่อกับแม่น้ายมแล้ว ท้าไมต้องบริหารจัดการน้า? ปัจจัยส้าคัญที่ท้าให้ศรีสัชนาลัยสามารถคงสถานะของเมืองที่มีขนาดใหญ่ ที่มีความส้าคัญทั้งในด้าน การเมืองเศรษฐกิจสังคมของภูมิภาคได้อย่างยาวนานนั้น นอกจากจะมีที่ตั้งที่เป็นชัยภูมิที่เหมาะสมมีภูเขาและ แม่น้าเป็นปราการล้อมรอบท้าให้ข้าศึกโจมตีได้ยากแล้วนั้น ความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ก็ยังเป็นอีกปัจจัยหนึ่ง ที่มีความส้าคัญไม่น้อยไปกว่ากัน ซึ่งปัจจัยพื้นฐานของความอุดมสมบูรณ์ในพื้นที่ที่ส้าคัญประการหนึ่งได้แก่ “น้า” แม้ ว่าเมื อ งศรีสัชนาลัยจะตั้งอยู่ริมแม่ น้ายมอันเป็นแม่ น้าส้าคัญ สายหนึ่ง ของประเทศ แต่แม่ น้ายม โดยเฉพาะช่วงต้นน้​้าจนถึงตัวเมือ งศรีสัชนาลัยเป็นแม่ น้าที่ มีร ะดับความลาดเอียงของท้ องน้​้าสูง ลักษณะ ดังกล่าวเช่นนี้จะท้าให้แม่น้ายมไม่สามารถกักเก็บน้​้าได้สม่้าเสมอทั้งปี โดยในฤดูฝนหรือฤดูน้าหลากน้​้าในแม่น้า จะมีระดับสูงและลดต่้าลงอย่างมากในฤดูแล้ง (ในฤดูแล้งน้​้าในแม่น้าจะมีระดับต่้ากว่าชายตลิ่งกว่า ๑๐ เมตร) ท้าให้ผู้คนในเมืองไม่สามารถใช้น้าจากแม่น้ายมได้ตลอดทั้งปี นอกจากนี้ต้าแหน่งที่ตั้งของตัวเมืองที่มีเทือกเขา ๕๒


ล้อมรอบก็ยังส่งผลเสียให้กับเมืองในช่วงฤดูฝน คือน้​้าฝนที่ตกลงมาสะสมตามเทือกเขาโดยรอบจะไหลบ่าตาม ความลาดเอียงของพื้นที่เข้าท่วมตัวเมืองท้าให้เกิดความเสียหายต่อเมืองได้ จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่า เมืองศรีสัชนาลัยมีปัญหาเรื่องน้​้าคือมีน้ามากจนเกินความต้องการ ในฤดูฝน (จนท้าให้เกิดปัญหาน้​้าท่วม) และมีน้าน้อยจนไม่เพียงพอต่อการใช้อุปโภคบริโภคในฤดูแล้ง ท้าให้ (ผู้ปกครองเมือง)ต้องท้าการบริหารจัดการน้​้าเพื่อให้เมืองมีน้าใช้ตลอดปีและลดผลกระทบจากปัญหาน้​้าท่วมน้า้ หลากซึ่งในที่นี้จะอธิบายการบริหารจัดการน้​้าของเมืองศรีสัชนาลัยแยกออกเป็น ๒ พื้นที่ประกอบด้วย การ บริหารจัดการน้​้านอกเมืองและการบริหารจัดการน้​้าภายในเมือง(ภายในก้าแพงเมือง) การบริหารจัดการน้านอกเมืองศรีสัชนาลัย พื้นที่นอกเมืองศรีสัชนาลัยทางด้านทิศตะวันตกและทิศใต้ซึ่งเป็นเทือกเขาที่ลาดเชิงเขานั้น เป็นพื้นที่ ส้าคัญบริเ วณหนึ่ง ของเมื องเนื่องจากพบหลัก ว่ามี ก ารใช้พื้นที่ บริเ วณดัง กล่าวส้าหรับ การอยู่อาศัย โดยพบ โบราณสถานซึ่งส่วนใหญ่เป็นวัดในพุทธศาสนาตั้งอยู่หลายสิบแห่ง ทั้งที่อยู่บนภูเขาและที่ลาดเชิงเขา พื้นที่ บริเวณนี้ในฤดูฝนน้​้าฝนที่ตกสะสมตามเทื อกเขาจะไหลบ่าลงมาท้ าความเสียหายให้กั บพื้นที่ อยู่อาศัย แต่ ขณะเดียวกันในฤดูแล้งพื้นที่บริเวณนี้ซึ่งเป็นพื้นที่สูงไม่มีแหล่งน้​้าตามธรรมชาติใดๆ ก็จะเกิดปัญหาภัยแล้งไม่ มี น้​้าใช้เพื่อการอุปโภคบริโภค (ดังจะเห็นได้จากมีการขุดบ่อหรือสระน้​้าเป็นจ้านวนมากในพื้นที่ทั้งในที่ราบและ บนภูเขา) ดังนั้นการบริหารจัดการน้​้าของพื้นที่บริเวณนี้จึงจ้าเป็นต้องควบคุมหรือบังคับทิศทางการไหลของน้​้า ในฤดูฝนเพื่อไม่ให้น้าไหลหลากเข้าท่วมพื้นที่อยู่อาศัย และยังจะต้องกักเก็บน้​้าที่มีมากในฤดูฝนเอาไว้ใช้ในฤดู แล้งอีกด้วย จากการส้ารวจศึกษาพบว่าเครื่องมือส้าคัญอย่างหนึ่งที่ใช้ในการบริหารจัดการน้​้าในพื้นที่บริเวณนี้ ได้แก่ “คันดิน”ซึ่งมีทั้งคันดินที่ท้าหน้าที่เป็นเขื่อนส้าหรับกักเก็บน้​้าและคันดินส้าหรับ ชะลอหรือบังคับน้​้า ซึ่ง จากการศึกษาส้ารวจมีรายละเอียดดังนี้๑

แผนผังเมืองศรีสชั นาลัยแสดงคันดินที่ใช้ในการบริหารจัดการน้​้าพื้นที่กักเก็บน้​้าและทิศทางการไหลของน้​้า ในเอกสารฉบับนี ้จะกล่าวถึงเฉพาะคันดินหลักที่ทาหน้ าทีบ่ ริ หารจัดการน ้าในภาพรวมของเมือง โดยจะไม่กล่าวถึงคันดินขนาดเล็กทีท่ า หน้ าทีบ่ ริ หารจัดการน ้าเฉพาะจุด

๕๓


๑.คันดินที่ท้าหน้าที่เป็นเขื่อนกักเก็บน้า มี ๓ คันดิน ประกอบด้วย คันดินหมายเลข ๑ตั้งอยู่ห่างจากเมืองศรีสัชนาลัยไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ ๑.๕ กิโลเมตร ลักษณะเป็นคันดินรูปโค้ง ยาว ๖๒๐ เมตร กว้างประมาณ ๒๐ เมตร สูงประมาณ ๓ เมตร เชื่อมระหว่างเชิง เขาพระศรีและเชิงเขาลูกเล็กไม่มีชื่อ๒ท้าให้พื้นที่ภายในคันดินมีลักษณะเป็นอ่างหรือเขื่อนกักเก็บน้​้ารองรับน้​้าที่ ไหลลงมาจากภูเขามีพื้นที่ประมาณ ๕๐ ไร่ หรือ ประมาณ ๘๐,๐๐๐ ตารางเมตร สามารถกักเก็บน้​้าได้นับแสน ลูกบาศก์เมตร

แผนผังคันดินหมายเลข ๑ ลักษณะเป็นคันดินรูปโค้ง ยาว ๖๒๐ เมตร กว้างประมาณ ๒๐ เมตร สูงประมาณ ๓ เมตร เชื่ อมระหว่างเชิงเขาพระศรีและเชิงเขาลูกเล็กไม่มีชื่ อท้าให้พื้นที่ภายในคันดินมี ลักษณะเป็นเขื่อนกักเก็บน้​้ารองรับน้​้าที่ไหลลงมาจากภูเขา

คันดินหมายเลข ๑

ว่าทีร่ ้ อยตรี พิทยา ดาเด่นงาม,สรีดภงส์ และเขื่อนกันนำ้ โบรำณในประเทศไทย,เชียงใหม่ : โรงพิมพ์มิ่งเมือง, ๕๔๘, หน้ า ๔๘๐ – ๔๙๐.

๕๔


คันดินหมายเลข ๔ตั้งอยู่ห่างจากเมืองศรีสัชนาลัยมาทางทิศตะวันตกประมาณ ๒ กิโลเมตร เป็นคันดิน ที่เชื่อมช่องเขาระหว่างเขาน้อยและเขานางม้าลักษณะเป็นคันดินตรงยาวประมาณ ๑๒๐ เมตร กว้างประมาณ ๑๐ เมตร สูงประมาณ ๒ เมตร คันดินหมายเลข ๕ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองศรีสัชนาลัยมาทางทิศตะวันตกประมาณ ๒.๕ กิโลเมตร เป็น คันดินที่เชื่อมช่องเขาระหว่างเขานางม้าและเขานางนอน ลักษณะเป็นคันดินตรงยาวประมาณ ๑๕๐ เมตร กว้างประมาณ ๑๐ เมตร สูงประมาณ ๒ เมตร

แผนผังคันดินหมายเลข ๔ และคันดินหมายเลข ๕ ที่จะท้างานร่วมกันในการกักเก็บน้า้ ในการกักเก็บน้​้าคันดินหมายเลข ๔และคันดินหมายเลข ๕ จะท้างานร่วมกัน เนื่องจากพื้นทีบ่ ริเวณ หุบเขาระหว่างเขาใหญ่เขานางม้าและเขานางนอนเป็นทีล่ ุ่มกลางหุบเขา (ชาวบ้านเรียกพื้นทีบ่ ริเวณนี้ว่านาสาม มุม) โดยพื้นทีจ่ ะลาดเอียงจากทางทิศตะวันออก (เขาใหญ่) ไปทางทิศตะวันตก (เขานางม้าและเขานางนอน) การท้าคันดินหมายเลข ๔ เชื่อมระหว่างช่องเขาน้อยกับเขานางม้าและคันดินหมายเลข ๕ ที่เชื่อมระหว่างเขา นางม้าและเขานางนอน จะท้าให้พื้นที่ภายในหุบเขาดังกล่าวกลายเป็นอ่างหรือเขื่อนกักเก็บน้​้าขนาดใหญ่มี พื้นที่กักเก็บน้​้าร่วมร้อยไร่และสามารถกักเก็บน้​้าได้หลายแสนลูกบาศก์เมตร

คันดินหมายเลข ๔ ที่เชื่อมช่องเขาระหว่างเขาน้อยและเขานางม้า เป็นคันดินตรงยาวประมาณ ๑๒๐ เมตร กว้างประมาณ ๑๐ เมตร สูงประมาณ ๒ เมตร

๕๕


คันดินหมายเลข ๕ เชื่อมช่องเขาระหว่างเขานางม้าและเขานางนอน เป็นคันดินตรงยาวประมาณ ๑๕๐ เมตร กว้างประมาณ ๑๐ เมตร สูงประมาณ ๒ เมตร

สภาพพื้นที่บริเวณหุบเขาระหว่างเขาใหญ่ เขานางม้าและเขานางนอนเป็นที่ลุ่มกลางหุบเขา ที่ชาวบ้านเรียกพื้นที่บริเวณนี้ว่านาสามมุม ๒. คันดินที่ท้าหน้าที่เป็นคันบังคับน้า มีจ้านวน ๑ คันดิน ได้แก่ คันดินหมายเลข ๒ตั้งอยู่ห่างจากเมืองศรีสัชนาลัยไปทางทิศตะวันตก ๑ กิโลเมตร เป็นคันดินที่วางตัว ยาวตามแนวทิศเหนือ – ใต้เชื่อมระหว่างเขาใหญ่กับเขาพระศรี ยาว ๑,๐๖๕ เมตร กว้างประมาณ ๑๐ เมตร สูงประมาณ ๒ เมตร คันดินนี้ท้าหน้าในการชะลอน้​้าจากเขาใหญ่และเขาพระศรีก่ อนที่จ ะไหลเข้า ด้านทิ ศ ตะวันตกของเมืองศรีสัชนาลัย เนื่องจากพื้นที่ทางด้านทิศตะวันตกของเมืองศรีสัชนาลัยเป็นพื้นที่ส้าคัญในฐานะ เขตอรัญวาสี ซึ่งเป็นที่ตั้งของวัดในสายวิปัส สนาธุระเป็นจ้า นวนมาก เช่น วัดสระไข่น้า วัดราหู วัดพญาด้า วัดสระปทุม วัดพรหมสี่หน้าและวัดยายตา เป็นต้น คันดินนี้จึงท้าหน้าที่ชะลอและบังคับทิศทางน้​้าที่จะไหล จากเขามาสู่เมือง (ลงคูเมือง)เพื่อให้น้าที่ไหลลงมาจากภูเขาไม่ท้าความเสียหายแก่วัดวาอารามต่างๆ ที่ตั้งอยู่ใน พื้นที่ บริ เวณนี้ นอกจากชะลอและบัง คับ น้​้า ให้มี แสน้​้าที่เ บาลงและไหลไปตามทิ ศทางที่ ก้าหนดแล้วคันดิน ดังกล่าวยังท้าหน้าที่ดักเก็บสิ่งแขวนลอยต่างๆ ที่น้าพัดพามา เช่น กิ่งไม้ เศษดินเศษหินต่างๆ ไม่ให้เข้ามาใน พื้นที่ (เนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวเป็นที่ลาดเชิงเขา น้​้าที่ไหลมาจะพัดพาสิ่งแขวนลอยต่างๆ มากับน้​้าได้มาก) น้​้าที่ไหลผ่านคันดินบังคับน้​้าดังกล่าวจะมาไหลลงคูเมืองทางด้านทิศตะวันตก โดยก่อนที่น้าจะไหลลงคู เมืองนั้น จะมีคันดินหรือก้าแพงเมือง (ชั้นนอก)คอยดักสิ่งแขวนลอยต่างๆ ที่ลอยมากับน้​้าไม่ให้ไหลลงไปในคู เมือง (หากปล่อยให้น้าไหลลงคูเมืองเลยโดยมิได้ดักเก็บสิ่งแขวนลอยอาจท้าให้คูเมืองตื้นเขินเร็ว ) จากนั้นน้​้าที่ ไหลเขาคูเมืองทางด้านทิศตะวันตกก็จะไหลสู่คูเมืองด้านทิศใต้ตามความลาดเอียงของพื้นที่ ๓ ลงไปเก็บที่คูเมือง ด้านทิศใต้และสระท้องกุลี จากนั้นน้​้าส่วนที่เหลือก็จะไหลตามร่องน้​้าสายเล็กๆไปทางทิศใต้ สู่หนองช้างแหล่ง น้​้าส้าคัญของพื้นที่ที่มีขนาดพื้นที่มากกว่า ๒๐๐ ไร่ กักเก็บน้​้าได้มากกว่าล้านลูกบาศก์เมตร ซึ่งหนองน้​้าแห่งนี้ อยู่ห่างจากเมืองศรีสัชนาลัยไปทางทิศใต้ประมาณ ๑ กิโลเมตร เนื่องจากคูเมืองด้านทิศตะวันตกมีความลาดเอียงของพื้นที่สูงในอดีตอาจมีการท้าฝายทดน้​้าเป็นระยะเพื่อจะสามารถกับเก็บ น้​้าไว้ได้ทั้งคู ๕๖


คันดินหมายเลข ๒ ที่ท้าหน้าที่ชะลอและบังคับทิศทางการไหลของน้า เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายกับพืนที่อรัญวาสีทางด้านทิศตะวันตกนอกเมืองศรีสัชนาลัย

แผนผังคันดินหมายเลข ๒ ที่ท้าหน้าที่ชะลอและบังคับทิศทางการไหลของน้​้า เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายกับพื้นที่อรัญวาสีทางด้านทิศตะวันตกนอกเมืองศรีสัชนาลัย จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าการบริหารจัดการน้​้านอกเมืองศรีสัชนาลัย จะใช้คันดินเป็นเครื่องมือส้าคัญ โดยมีทั้งการบังคับควบคุมน้​้าด้วยคันดินเพื่อให้น้าไหลไปในทิศทางที่ต้องการไม่ให้เกิดความเสียหายต่อพื้นที่ที่ ต้องการป้องกันรักษาไว้ และมีการกักเก็บน้​้าที่มีมากในฤดูฝนไว้ใช้ในฤดูแล้ง โดยการสร้างเขื่อน (คันดิน) กัก เก็บน้​้า เช่นเขื่อนคันดินหมายเลข ๑ และมีการบังคับควบคุมน้​้าเข้าไปกักเก็บในแหล่งเก็บน้​้าที่ มีอยู่แล้ว เช่น หนองช้าง ซึ่งตามเขื่อนเก็บน้​้าหรือแหล่งน้​้าธรรมชาตินี้มักพบว่าจะมีการสร้างศาสนสถาน (วัด) อยู่ในบริเวณ ใกล้เคียง ซึ่งอาจเนื่องมาจากพื้นที่ใกล้แหล่งน้​้าเป็นพื้นที่เหมาะสมส้าหรับการสร้างวัด แต่ในขณะเดียวกัน แหล่งน้​้าต่างๆ เหล่านี้คงเป็นแหล่งน้​้าสาธารณะที่สาธารณะชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน การสร้างวัดติดกับแหล่งน้​้า อาจเป็นการสร้างความศักดิ์สิทธิ์ให้แหล่งน้​้าเป็นการสร้างกลไกในการควบคุมการใช้น้าอีกวิธีหนึ่ง นอกจากนี้ตามวัดหรือชุมชนต่างๆ ในพื้นที่ก็จะมีการบริหารจัดการน้​้าของตัวเองด้วย เช่น บางวัดอาจ มีการสร้างคันดินบังคับน้​้าของตัวเองเพื่อป้องกันความเสียหายจากน้​้าหลาก และที่ส้าคัญเกือบทุกวัดจะมีการ ขุดบ่อน้​้าหรือสระน้​้าของตัวเอง(ทั้งบนที่ราบและบนภูเขา)เพื่อเก็บน้​้าไว้ใช้ยามฤดูแล้งอีกด้วย การบริหารจัดการน้าภายในเมือง (ภายในก้าแพงเมือง) พื้นที่ภายในเมืองศรีสัชนาลัย (ภายในก้าแพงเมืองรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าริมแม่น้ายม) ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ ๑ ตารางกิโลเมตรประกอบไปด้วยพื้นที่ราบและภูเขาเป็ นพื้นที่ส้าคัญสูงสุดของเมืองมีโบราณสถานที่เป็นที่อยู่ อาศัยประเภทวัดและพระราชวัง อยู่ราว ๓๐ แห่ง นอกจากนี้ยัง พบหลัก ฐานเครื่องใช้ของคนในอดีต (เศษ ๕๗


ภาชนะดินเผา) กระจายอยู่โดยทั่วไป หลักฐานต่างๆ เหล่านี้แสดงให้เห็นว่าในอดีตพื้นที่ภายในเมืองศรีสัชนา ลัยนั้นมีผู้คนอยู่อาศัยอย่างหนาแน่น แม้ว่าเมืองจะตั้งอยู่ติดกับแม่น้ายมแต่ในอดีตผู้คนในเมืองก็คงไม่สามารถ ใช้ประโยชน์จากแม่น้ายมได้ตลอดทั้งปี (จากเหตุผลที่กล่าวมาก่อนหน้านี้) ดังจะเห็นได้จากมีการขุ ดบ่อน้​้าและ สระน้​้าภายในเมืองมากกว่า ๕๐ แห่ง และยังมีก ารขุดคูน้าเพื่อ กักเก็บ น้​้าและระบายน้​้าภายในเมืองอีกเป็น จ้านวนมาก โดยจากการศึกษาพบว่าน้​้าต้นทุนที่คนในเมืองศรีสัชนาลัยในอดีตน้ามาใช้อุปโภคบริโภคกันนั้นมา จาก ๓ แหล่งส้าคัญ ประกอบด้วย ๑. น้​้าฝน น้​้าฝนที่ตกลงมาจะถูกกักเก็บไว้ตามบ่อ สระ และคูน้าต่างๆ แต่เนื่องจากพื้นที่ภายในเมือง ศรีสัชนาลัยมีความลาดเอียงสูงพื้นที่ทางด้านทิศเหนือของเมืองมีความสูงกว่าทางทิศใต้ประมาณ ๒ เมตร (ตัว เมืองมีความยาวประมาณ ๑ กิโลเมตร) ท้าให้ระดับคูน้ามีความลาดเอียงสูงตามไปด้วย ดังนั้นคูน้าภายในเมือง จึงเป็นทางระบายน้​้าอย่างดีช่วยป้องกันน้​้าท่วมภายในเมืองในช่วงฝนตกหนัก (โดยจะระบายน้​้าออกทางด้านทิศ ใต้ของเมืองบริเวณวัดนางพญา จากนั้นจะไหลออกนอกเมืองสู่หนองช้าง)แต่น้าฝนก็คงไม่ใช้น้าต้นทุนที่คน ภายในเมืองศรีสชั นาลัยใช้ประโยชน์ได้มากนัก เนื่องจากพื้นที่บริเวณนี้ไม่ใช่พื้นที่ที่มีฝนตกชุก (มีปริมาณน้​้าฝน เฉลี่ย ๑,๒๐๐ มิลลิเมตรต่อปี) อีกทั้งพื้นดินส่วนใหญ่ของเมืองที่มีชั้นศิลาแลงอยู่ด้านล่างก็ไม่เหมาะกับการกัก เก็บน้​้ามากนัก ๒. แม่น้ายม แม่น้ายมที่ไหลผ่านตัวเมืองศรีสัชนาลัยนั้นชาวศรีสัชนาลัยในอดีตคงน้ามาใช้ประโยชน์ได้ ไม่มากนัก เนื่องจากน้​้าในแม่น้ายมจะมีปริมาณมากในฤดูฝนหรือฤดูน้าหลากเท่านั้น ซึ่งในช่วงเวลาดังกล่าว ผู้คนในเมื อ งคงอาศัยน้​้าฝนที่ ตกลงมาในการอุปโภคบริโ ภคมากกว่า แต่คนในเมืองศรีสัชนาลัยอาจได้ใช้ ประโยชน์จากน้​้าในแม่น้ายมทางอ้อ ม โดยในฤดูน้าหลากน้​้าในแม่น้ายมที่มีระดับสูง จะไหลเข้าไปตามล้าน้​้า สาขาต่างๆ ทั้งสองฝั่งของแม่น้ายมเพื่อกักเก็บน้​้าไว้ใช้ในฤดูแล้ง ๓.ร่องตาเต็ม ร่องตาเต็มเป็นล้าน้​้าขนาดเล็กไหลมาจากทางทิศตะวันตกของเมือง ไหลผ่านก้าแพง เมืองด้านทิศเหนือ (ในช่วงนีจ้ ะใช้ร่องตาเต็มเป็นคูเมืองด้วย) และไหลลงแม่น้ายมบริเวณประตูเตาหม้อ ร่องตา เต็มนี้คงเป็นแหล่งน้​้าส้าคัญที่คนในเมืองศรีสัชนาลัยได้ใช้ประโยชน์โดยเฉพาะในฤดูแล้ง โดยในฤดูแล้งจะมีการ ท้าฝายทดน้​้าปิดกั้นบริเวณที่ร่องตาเต็มไหลมาบรรจบกับแม่น้ายม (บริเวณประตูเตาหม้อ) เพื่อยกระดับน้​้าใน ร่องตาเต็มให้สูงและไหลเข้าคูน้าภายในเมืองศรีสัชนาลัยทางประตูน้าที่อยู่ติดกับประตูเตาหม้อ ๔และเนื่องจากคู น้​้าภายในเมืองมีความลาดเอียงสูงในอดีตคงมีการท้าฝายทดน้​้าเป็นระยะเพื่อให้คูน้าสามารถกักเก็บน้​้าได้ดีขึ้น อีกทั้งฝายดังกล่าวยังช่วยยกระดับน้​้าให้สูงขึ้นจนสามารถส่งน้​้าไปยังพื้นที่ที่ต้องการได้ นอกจากนี้น้าที่ไหลเข้า มาภายในเมืองยังช่วยท้าให้ระดับน้​้าใต้ดินภายในเมืองสูงขึ้น ส่งผลให้บ่อหรือสระน้​้าต่างๆ ภายในเมืองมีน้า ตามไปด้วย แม้ว่าสภาพดินภายในเมืองศรีสัชนาลัยจะไม่เหมาะกับการกักเก็บน้​้ามากนักแต่หากมีน้าต้นทุนจาก ร่องตาเต็มเข้ามาเติมอย่างสม่้าเสมอก็จะท้าให้คูน้ามีน้าตลอดทั้งปี และหากช่วงใดที่น้าจากร่องตาเต็มมีปริมาณ มากเกินไป น้​้าส่วนเกินก็จะถูกระบายตามคูเมืองออกนอกเมืองทางทิศใต้ไปกักเก็บไว้ในหนองช้างหรือระบาย ลงแม่น้ายม

จากการขุดตรวจคูเมืองศรี สชั นาลัยทางด้ านทิศเหนือในปี พ.ศ. ๕๕๘ พบว่าตะกอนในคูเป็ นตะกอนน ้านิ่งหรื อน ้าไหลช้ าซึ่งสันนิษฐาน

ว่าเกิดจากการทาฝายปิ ดกันบริ ้ เวณปลายร่ องตาเต็ม

๕๘


แผนผังเมืองศรีสัชนาลัย แสดงแหล่งกักเก็บน้​้าภายในเมืองและทิศทางการไหลของน้​้า จากที่ ก ล่าวมาข้างต้นแสดงให้เ ห็นถึงวิธีก ารบริห ารจัดการน้​้าภายในเมื องศรีสัชนาลัยว่าใช้ร ะบบ “เหมือง – ฝาย”เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการน้​้า โดยมีการขุดเหมืองหรือคูน้าไว้กักเก็บน้​้าและระบายน้า้ ส่วนในช่วงฤดูแล้งจะมีการท้าฝายทดน้​้า ทดน้​้าจากร่องตาเต็มให้มีระดับสูงขึ้นจากนั้นจึงน้าน้​้าดังกล่าวเข้ามาใช้ ประโยชน์ภายในเมืองผ่านทางฝายหรือคูน้าที่ขุดไว้ เนื่องจากพื้นที่ภายในเมืองมีความลาดเอียงสูงจึงอาจมีก าร ท้าฝายทดน้​้าตามคูน้าเป็นระยะเพื่อให้คูน้ากักเก็บน้​้าได้มากยิ่งขึ้น อีกทั้งฝายดังกล่าวยังช่วยยกระดับน้​้าให้ สูงขึ้นจนสามารถส่งน้​้าไปยังพื้นที่ที่ต้องการได้ ส่วนในช่วงเวลาที่ปริมาณน้​้ามีมากเกินความต้องการก็จะท้าการ ระบายน้​้าตามคูเมืองออกนอกเมืองทางทิศใต้ไปกักเก็บไว้ในหนองช้างหรือระบายลงแม่น้ายม สรุป แม้ว่าศรีสัชนาลัยจะเป็นเมืองที่มีชัยภูมิที่ดีมีภูเขาและแม่น้าเป็นปราการล้อมรอบ แต่ปัญหาอย่างหนึ่ง ที่คนในเมืองศรีสัชนาลัยต้องประสพก็คือปัญหาเรื่ องน้​้า คือมีน้ามากเกินความต้องการจนน้​้าดังกล่าวก็มาท้า ความเสียหายให้แก่เมืองได้ในฤดูฝนหรือฤดูน้าหลาก ในขณะเดียวกันในฤดูแล้งก็ไม่มีน้าเพียงพอต่อการอุปโภค บริโภค ผู้ปกครองเมืองในอดีตจึงมีการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยท้าการบริหารจัดการน้​้าให้เหมาะสมกับสภาพภูมิ ประเทศนั้นๆ โดยนอกเมืองซึ่งเป็นพื้นที่ภูเขาและที่ลาดเชิงเขาใช้ระบบ “คันดิน” เป็นเครื่องมือในการบริหาร จัดการน้​้าซึ่งมีทั้งคันดินที่เป็นอ่างหรือเขื่อนกักเก็บน้​้า และคันดินบังคับน้​้าชะลอ/ควบคุมทิศทางการไหลของ น้​้าเพื่อไม่ให้ท้าความเสียหายแก่พื้นที่ที่ต้องการป้องกัน และน้าน้​้าดังกล่าวไปกักเก็บไว้ใช้ในยามแล้ง ส่วนพื้นที่ ภายในเมืองนั้นใช้ระบบ “เหมือง – ฝาย” เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการน้​้า โดยการขุดเหมืองหรือคูน้าไว้ กักเก็บน้​้า/ระบายน้​้า และท้าฝายทดน้​้า ทดน้​้าจากแหล่งน้​้า(ร่องตาเต็ม) ให้มีระดับสูงขึ้นและน้าน้​้า เข้าไปใช้ ประโยชน์ภายในเมืองผ่านทางฝายหรือคูน้าที่ขุดไว้

๕๙


บารายเมืองสุโขทัย ธงชัย สาโค1

บทนา บารายเป็นค้าที่ใช้เรียก อ่างเก็บน้​้าหรือสระน้​้า ที่สร้างขึ้นในสมัยวัฒนธรรมเขมรโบราณ มักมีแผนผัง รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือสี่เหลี่ยมจัตุรัส ตั้งอยู่บริเวณใกล้เคียงศาสนสถาน หรือชุมชน และมีแผนผังสัมพันธ์กับ ศาสนสถานและผังเมือง โดยมีขนาดใหญ่หรือเล็กตามวัตถุประสงค์และก้าลังคนในการสร้างของแต่ละชุมชน จากการศึกษาเกี่ยวกับบารายที่ผ่านมา ได้ข้อสรุปว่า บารายมักเกี่ยวข้องกับคติความเชื่อ และการจัดการน้​้า โดยการจัดการน้​้านั้นก็เพื่อประโยชน์ในการด้ารงชีพของมนุษย์ด้านต่างๆ เช่น การเพาะปลูก การอุโภคบริโภค การป้องกันน้​้าท่วม และการคมนาคม เป็นต้น ส่วนบารายตามคติความเชื่อทางศาสนาฮินดู หรือศาสนาพุทธ มหายานนั้น ถือเป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างทางกายภาพของเมืองที่พยายามจะสะท้อนภาพจ้าลองจักรวาล อันมีเขาพระสุเมรุเป็นแกนกลาง และมีคูเมืองก้าแพงเมืองล้อมรอบ อันเป็นเชิงสัญลักษณ์แทน ภูเขา หรือทวีป และมหาสมุ ทร หรือ ทะเลสีทันดร นอกจากนี้ บารายยังแสดงให้เ ห็นถึงความก้ าวหน้าและมาตรฐานทาง วิศวกรรมชั้นสูงของวัฒนธรรมเขมรโบราณ ด้านการจัดการน้​้าทั้งน้​้ามากและน้​้าแล้ง ที่ประกอบด้วย อ่างเก็บน้​้า เขื่อน คลองส่งน้​้า ทางระบายน้​้าล้น ถนน และสะพาน การสร้างอ่างเก็บน้​้า หรือบารายในวัฒนธรรมเขมร มี ๒ แบบ คือ แบบก่อสร้างโดยการขุด หรืออาศัย ที่ลุ่มทางธรรมชาติ เช่น คูน้าที่สร้างรอบเมือง ส่วนอีกแบบ เป็นการก่อสร้างพนังสูงเหนือพื้นดินกักเก็บน้​้าเหนือ ระดับดินเดิม เกิดเป็นรูปแบบอ่างเก็บน้​้าขนาดใหญ่ที่เรียกว่า บารายดังนั้นพัฒนาการของบาราย จึงเชื่อว่าเกิด จากการสร้างพนัง หรือคันดินเพื่อกักเก็บน้​้าบางส่วน หรือบังคับน้​้าให้ไหลไปในทิศทางต่างๆ ต่อมาเมื่อพนังหรือ คันดินด้านเดียวเริ่มใช้งานไม่ได้ จึงมีการพัฒนากลายเป็นพนังหรือคันดินปิดล้อมทั้ง ๔ ด้าน จนเกิดเป็นลักษณะ ของบารายขึ้น ดังปรากฏกับบารายอินทรตฏากะ ที่เมืองหริหราลัย 2 และบารายอื่นๆ ในเมืองพระนคร ของ เขมรโบราณเช่น บารายตะวันออก ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกเมืองพระนคร สร้างเสร็จสมัยพระเจ้ายโศวรมันที่ ๑ (พ.ศ. ๑๔๓๒-๑๔๔๓) มีขนาด ๑,๘๓๐x๗,๕๐๐ เมตร ความลึกเฉลี่ย ๔-๕ เมตร มีการสร้างปราสาทแม่บุญตะวันออก บริเวณเกาะกลางบารายในสมัยพระเจ้าราเชนทรวรมัน (พ.ศ.๑๔๘๗-๑๕๑๑) เพื่ออุทิศให้บรรพบุรุษ บารายตะวันตก อยู่ตรงข้ามบารายตะวันออก ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกของเมืองพระนคร เริ่มสร้างสมัย พระเจ้าสุริยวรมันที่ ๑ (พ.ศ.๑๕๔๕-๑๕๙๓) ราวปี พ.ศ.๑๕๙๓ แล้วเสร็จสมัยพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ ๒ (พ.ศ. ๑๕๙๓-๑๖๐๙) ถูกสร้างเนื่องจากบารายตะวันออกใช้การไม่ได้ เป็นบารายที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในเมืองพระนคร ขนาด ๒,๒๐๐ x ๗,๙๐๐ เมตร ก่อสร้างโดยก่อคันดินบางส่วนและขุดดินบางส่วน คันดินสูง ๑๐-๑๗ เมตร 1

นักโบราณคดีชานาญการ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย สานักศิลปากรที่ ๖ สุโขทัย กรมศิลปากร บารายอินทรตฏากะ ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของเมืองหริหราลัย ในต้าบลร่อลวยปัจจุบัน ถือเป็นบารายขนาดใหญ่แห่ง แรก แต่เดิมในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๒ (พ.ศ.๑๓๔๕-๑๓๙๓) มีการก่อสร้างพนังเพียงด้านเดียว ยาว ๓.๘ กิโลเมตร เพื่อกั้น ล้าน้​้าเล็กๆ ที่ไหลมาจากเขาพนมกุเลน ต่อมาพนังเริ่มใช้การไม่ได้ จึงเสริมพนังเพิ่มอีก ๒ ด้าน และต่อมาก่อเพิ่มอีก ๑ ด้าน จน ปิดล้ อมเป็นรู ปสี่เ หลี่ย ม ในรั ชสมั ยพระเจ้ าอินทรวรมั นที่ ๑ (พ.ศ.๑๔๒๐-๑๔๓๒). คีต ศิลป์ ลิ้มศรี สกุล วงศ์ , บารายในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ : กรณีศึกษาบารายในจังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดสุรินทร์ . การค้นคว้าอิสระปริญญาศิลปศาสตรมหา บัณฑิต สาขาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๕, ๑๗-๑๙. 60 2


กว้าง ๑๐-๑๒ เมตร บริเวณเกาะกลางบารายเป็นที่ตั้งของปราสาทแม่บุญตะวันตก สร้างอุทิศให้บรรพบุรุษ เช่นเดียวกับปราสาทแม่บุญตะวันออก ขณะเดียวกันการสร้างบารายในวัฒนธรรมแบบเขมรก็ส่งอิทธิพลมายังพื้นที่ประเทศไทยปัจจุบัน ซึ่งใน อดีตเคยได้รับ หรือ ตกอยู่ใต้วัฒนธรรมและการปกครองของเขมรโบราณ โดยเฉพาะช่วงวัฒ นธรรมในพุท ธ ศตวรรษที่ ๑๕-๑๘ พบบารายในวัฒนธรรมเขมรเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งแหล่งน้​้าที่มีรูปทรง สี่เหลี่ยมผืนผ้า จ้านวน ๑๑๕ แห่ง มีขนาดพื้นที่ตั้งแต่ ๑๐,๐๐๐-๒,๐๔๐,๐๐๐ ตารางเมตร กระจายอยู่ใน จังหวัด นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ และศรีสะเกษ เช่น บารายเมืองพิมาย อ้าเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ตั้งอยู่ทิศตะวันออกของเมืองพิมาย ห่างออกไป ประมาณ ๙๐๐ เมตร ขนาด ๗๐๐x๑,๕๔๐ เมตร และยังพบการสร้างถนนเชื่อมจากเมื องพิมายถึงบาราย เมืองพิมายด้วย บารายเมืองต่้า อ้าเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของปราสาทเมืองต่้า ห่างออกไป ราว ๒๐๐ เมตร ขนาด ๓๖๐x๑,๐๕๐ เมตร ผังบารายวางตัวแนวแกนทิศตะวันออก-ตะวันตก สันนิษฐานว่า สร้างขึ้นตามคติความเชื่อทางศาสนา และจ้าเป็นมากต่อการยังชีพของชุมชนโบราณ เนื่องจากบริเวณโดยรอบ ไม่ พบแหล่ ง น้​้าธรรมชาติ นอกจากนี้ยั ง พบคูคลองที่ เ ชื่อ มกั บ บารายเพื่อส่ง น้​้าไปยัง พื้นที่ ชุม ชนและพื้น ที่ เพาะปลูกที่อยู่โดยรอบ เป็นต้น ส่วนบารายเมืองสุโขทัย มีความคิดเห็นจากนักวิชาการ ๒ ประเด็น คือ ๑. เป็นบารายที่สร้างขึ้นตามคติความเชื่อทางศาสนาอันสืบเนื่องจากวัฒนธรรมเขมร ๒. เป็นเพียงคันกั้นน้​้า หรือท้านบกั้นน้​้าในฤดูน้าหลาก ไม่เกี่ยวข้องกับคติทางศาสนาแต่อย่างใด บารายเมืองสุโขทัย สภาพปัจจุบัน บารายเมืองสุโขทัย3ตั้งอยู่นอกเขตก้าแพงเมืองเก่าสุโขทัยด้านตะวันออกเฉียงเหนือ แต่อยู่ในแนวแกน ทิศตะวันออก -ตะวันตก ซึ่งเป็นแกนเดียวกับวัดพระพายหลวงสภาพปัจจุบันเป็นคันดิน ๓ ด้าน มีขนาดดังนี้ - ด้านทิศเหนือยาวประมาณ ๑,๔๐๐ เมตร กว้างประมาณ ๒๕-๓๐ เมตร สูงประมาณ ๑.๐๐-๑.๕๐ เมตร - ด้านทิศตะวันออกยาวประมาณ ๗๕๐ เมตร กว้างประมาณ ๒๕-๓๐ เมตร สูงประมาณ ๒.๕๐-๓.๐๐ เมตร - ด้านทิศใต้ยาวประมาณ ๑,๐๕๐ เมตร กว้างประมาณ ๒๕-๓๐ เมตร สูงประมาณ ๒.๐๐-๒.๕๐ เมตร - ส่วนด้านทิศตะวันตกไม่พบแนวคันดินเนื่องจากติดคลองแม่ล้าพัน นอกจากนี้ บารายเมืองสุโขทัย ยังมีศาสนสถานอีก ๕ แห่ง ประกอบด้วย โบราณสถานภายในบาราย ๓ แห่ง คือ วัดตระพังช้างและตระพังช้าง (ตั้งอยู่มุมทิศตะวันตกเฉียงใต้) วัดโบสถ์ (ตั้งอยู่มุมทิศตะวันออกเฉียง ใต้) และวัดขโพงผี หรือขพุงผี (ตั้งอยู่มุมทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ) โบราณสถานภายนอกคันบาราย ๒ แห่ง คือ วัดปากท่อ ๑ (ตั้ง อยู่ติดกั บ คันบารายด้านตะวันออกฝั่ง ใต้ ) และวัดปากท่อ ๒ (ตั้ง อยู่ติดกั บ คันบารายด้าน ตะวันออกฝั่งเหนือ) 3

หรือเรียกตามชื่อโบราณสถานว่า ท้านบ ๗ อ หรืออ่างเก็บน้​้าหมายเลข ๒ ในเบื้องต้นของบทความนี้ ขอเรียก “บา รายเมืองสุโขทัย” ก่อน 61


เมื่อพิจารณาและวิเคราะห์จากภาพถ่ายทางอากาศเมืองสุโขทัยบริเวณบารายเมืองสุโขทัย (ชาวบ้าน เรียกว่า หนองเป็ดน้​้า ) จะพบว่า ราว พ.ศ.๒๔๙๖ และ พ.ศ.๒๕๑๐ ไม่ พบการปลูก สร้างบ้านเรือน หรือ สิ่งก่อสร้างใดๆ ภายใน และยังพบร่องรอยของบริเวณที่เป็นฝาย โดยขุดเป็นล้าเหมืองเพื่อส่งน้​้าจากล้าน้​้าแม่ ล้า พันเข้ามาในบริเ วณนี้เ พื่อ ใช้ในการกั กเก็ บน้​้า หรือเพาะปลูก และยัง พบแนวท่ อหรือช่องระบายน้​้า ๒ จุด บริเวณคันดินบารายด้านตะวันออก ตรงวัดปากท่อ และวัดปากท่อ ๒ เพื่อระบายน้​้าออกสู่พื้นที่เพาะปลูกรอบ นอก จากภาพถ่ายทางอากาศ พ.ศ.๒๕๑๙ เริ่มพบสิ่งปลูกสร้างภายในบารายเมืองสุโขทัยด้านตะวันตกแล้ว แสดงให้เห็นถึงการเริ่มเข้ามาอยู่อาศัยภายในพื้นที่และเพาะปลูกท้าการเกษตรกรรมบริเวณพื้นที่ที่แต่ละรายได้ จับ จอง และภาพถ่ายทางอากาศ พ.ศ.๒๕๓๙ ปรากฏสิ่ง ปลูก สร้างจ้านวนมากภายในบารายเมื องสุโ ขทั ย โดยเฉพาะด้านตะวันตกที่ติดล้าน้​้าแม่ล้าพัน ปัจจุบันภายในบารายเมืองสุโขทัย มีราษฎรเข้าไปใช้ประโยชน์ใน พื้นที่ท้าการเพาะปลูกข้าว ขุดสระน้​้า และปลูกบ้านเรือนสิ่งก่อสร้าง ซึ่งจากการส้ารวจเมื่ อ พ.ศ.๒๕๖๐ พบ การครอบครองที่ดินที่มีเอกสารสิทธิ์ในเขตบารายเมืองสุโขทัย จ้านวน ๕๓ แปลง ผู้ครอบครองสิ่งปลูกสร้าง ภายในเขตโบราณสถานบารายเมืองสุโขทัยจ้านวน ๓๕ หลัง การศึกษาทางโบราณคดี ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐4 กรมศิลปากรมอบหมายให้ส้านักศิลปากรที่ ๖ สุโขทัย โดยอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ด้าเนินการ ขุดศึกษาคันดินบารายด้านตะวันออก และด้านใต้ เพื่อศึกษาเทคนิคการก่อสร้าง ระดับชั้นดินทับถม และอายุ สมัย ขุดค้นทางโบราณคดีจ้านวน ๒ หลุม เพื่อศึกษาหลักฐานทางโบราณคดี เทคนิคการก่อสร้างโบราณสถาน อายุสมัย และชั้นดินทับถมภายในบาราย และขุดแต่งโบราณสถาน ๒ แห่ง ประกอบด้วย โบราณสถานวัดโบสถ์ และโบราณสถานวัดขโพงผี (วัดขพุงผี) เพื่อศึกษารายละเอียดโบราณสถาน และอายุสมัยผลการด้าเนินงานทาง โบราณคดีสรุปได้ดังนี้ ๑. ขุดตรวจคันดินบารายด้านตะวันออก (หลุม T.1 E) และคันดินบารายด้านใต้ (หลุม T.2 S) โดยก้าหนดพื้นที่ขอบคันบารายด้านตะวันออก ใกล้กับโบราณสถานวัดโบสถ์ เพื่อศึกษาชั้นดินทับถม การก่อสร้างคันดิน วางแนวหลุมขุดตรวจขนาดกว้าง ๑.๕ เมตร และยาวขวางคันดิน ๑๖.๗ เมตร แต่เว้นพื้นที่ บริเวณชายเนินด้านนอกคันบารายเพื่อเป็นทางสัญจร และวางผังหลุมขุดตรวจชายเนินดั งกล่าวขนาด ๒x๒ เมตร คันดินบารายมีลักษณะตรงกลางสูงกว่าด้านข้างที่ลาดเทลงทั้งสองด้าน ซึ่งจุดสูงสุดของคันดินด้านนี้อยู่ที่ ระดับ ๖๐ เมตรจากระดับน้​้าทะเลปานกลาง ส่วนระดับพื้นที่ทั้งในบารายและนอกบารายเฉลี่ยอยู่ที่ ๕๖.๕๐ เมตรจากระดับน้​้าทะเลปานกลาง ๒. การขุดค้นทางโบราณคดีหลุมขุดค้น TP.1 และหลุมขุดค้น TP.2 หลุมขุดค้น TP.1 ท้าการขุดค้นขนาด ๓x๓ เมตร ทางด้านตะวันออกบนเนินโบราณสถานวัดโบสถ์ เพื่อ ศึกษาเทคนิคการก่อสร้างของศาสนสถานแห่งนี้ ขุดค้นระดับละ ๑๐ เซนติเมตร ลึก ๕ เมตร (ระดับเส้นสมมติ มาตรฐานอยู่ที่ ๖๐ เมตรจากระดับน้​้าทะเลปานกลาง โดยขุดค้นถึงระดับที่ ๕๕ เมตรจากระดับน้​้าทะเลปาน กลาง) ซึ่งเป็นระดับความลึกเดียวกันกับหลุมขุดตรวจคันบารายทิศตะวันออก และทิศใต้ ๓. การขุดแต่งโบราณสถานวัดโบสถ์ เนิน โบราณสถานวั ด โบสถ์ เป็ นเนินดิ นขนาด ๓๐x๓๐ เมตร ตั้ง อยู่ ภายในบารายบริ เ วณมุ ม ทิ ศ ตะวัน ออกเฉีย งใต้ เนิ นนี้ สูง กว่ าพื้ นดิ นภายในบารายประมาณ ๓.๕๐-๔ เมตร หลั ง การขุด แต่ ง พบว่ า โบราณสถานแห่งนี้ เป็น อุโบสถ เนื่องจากพบฐานเสมาก่ออิฐ ตัวอุโบสถ หรือโบสถ์ มีขนาดประมาณ ๘x๑๕ เมตร วางแนวแกนทิศตะวันออก-ตะวันตก บันไดทางขึ้นน่าจะอยู่ทางทิศตะวันออก มีแนวเสาศิลาแลงกลม ๒ 4

กำลังจัดท้ารายงานฉบับสมบูรณ์ ผลการด้าเนินงานโครงการอนุรักษ์และพัฒนาแหล่งน้​้าโบราณเมืองเก่าสุโขทัย ท้านบ ๗ อ. (บาราย) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ คาดว่าจะแล้วเสร็จ กันยายน ๒๕๖๐) 62


แถวๆ ละ ๕ ต้น ส่วนฐานของอาคารก่อด้วยอิฐ เหนือขึ้นไปไม่พบผนังของอาคารเนื่องจากการพังทลาย หรือ อาจจะเป็นอาคารโถงไม่มีผนัง พื้นรอบอาคารปูด้วยหินชนวน ส่วนหลังคามุงด้วยกระเบื้องดินเผา มีส่วนประดับ สถาปัตยกรรมตามแบบแผนสมั ยสุโ ขทั ย เพราะพบชิ้นส่วนประกอบสถาปัตยกรรมเคลือบหลายชิ้น เช่น มกรสังคโลก ครอบหัวแป บราลี และใบระกา เนินวัดโบสถ์ยัง ก่ อสร้างก้าแพงล้อมรอบด้วยศิล าแลง สูง ประมาณ ๑.๕-๒ เมตร อาจสร้างเพื่อเป็นขอบเขตของวัด และกันการพังทลายของเนินดิน ผลการกาหนดอายุ การก้ าหนดอายุด้ว ยวิธี ก าร AMS dating ในครั้ง นี้ ได้ จัดส่ ง ตัว อย่า งถ่า นไปท้ าการวิ เ คราะห์ ณ ห้องปฏิบัติก ารก้ าหนดอายุด้วยเรดิโ อคาร์บ อนของมหาวิท ยาลัยไวกาโต้ (TheUniversity of Waikato Radiocarbon Dating Laboratory)เมืองฮามิลตัน ประเทศนิวซีแลนด์ ซึ่งเป็นห้องปฏิบัติการที่ก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๗ (ค.ศ.1974) และเริ่มท้าการวิเคราะห์ด้วยวิธี AMS Dating มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1996 หากนับตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1980 ทางห้องปฏิบัติการได้ด้าเนินการวิเคราะห์ตัวอย่างด้วยวิธีเรดิโอคาร์บอนและAMS มาแล้วกว่า ๓๗,๐๐๐ ตัวอย่าง จึงถือได้ว่าเป็นห้องปฏิบัติการที่มีความประสบการณ์และความน่าเชื่อถือ จากการกระบวนการวิเคราะห์ตัวอย่างทั้งหมดช่วยยืนยันว่าสภาพทางกายภาพของตัวอย่างก่อนการ วิเคราะห์ไม่มีการปนเปื้อนส้าหรับการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการแห่งนี้ ใช้วิธีหาค่าอายุตามหลักการพื้นฐานของ ลิบบี้ ซึ่งในการค้านวณจะใช้ค่าครึ่งชีวิตที่ ๕,๕๖๘ ปี และใช้ปี ค.ศ.1950 เป็นจุดศูนย์ของปีในการนับ โดย น้าเสนอค่าอายุที่น่าจะเป็นสองช่วง คือ ๖๘.๒% และ ๙๕.๔%5ผลจากการก้าหนดค่าอายุตัวอย่างถ่านที่พบใน หลุมขุดค้นบริเวณท้านบ ๗ อ. ทั้ง ๒ ตัวอย่าง ตามค่าอายุที่ได้ (Conventional age) โดยไม่ต้องท้าการบวกลบ ปี เพราะเป็นค่าตัวกลางที่น่าจะเป็นที่สุดในช่วงค่าอายุ ดังนี้ ๑. ค่าอายุของตัวอย่างถ่านจากหลุมขุดค้นที่ ๑ (TP.1) มีค่าอายุ ๕๗๘ ปีมาแล้ว ตรงกับ ค.ศ. 1372 หรือ พ.ศ. ๑๙๑๕หรือน่าจะเป็นชั้นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในรัชสมัยพญาลือไทย ๒. ค่าอายุของตัวอย่างถ่านจากหลุม T.1 มีค่าอายุ ๖๑๓ ปีมาแล้ว ตรงกับ ค.ศ. 1337 หรือ พ.ศ. ๑๘๘๐ หรือน่าจะเป็นชั้นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในรัชสมัยพญางั่วนาถม (ดูตารางล้าดับกษัตริย์สมัยสุโขทัย) เมื่อพิจารณาตามค่าอายุดังกล่าวข้างต้น จึงมีความเป็นไปได้ที่ท้านบ ๗ อ. เป็นแหล่งน้​้าโบราณสุโขทัย ที่เริ่มสร้างในช่วงพญางั่วน้าถม หรือปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ หลังจากนั้นคงมีการใช้งานแหล่งน้​้าแห่งนี้ต่อมา จนถึงช่วงพญาลือไทย หรือต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๐ จึงได้มีการสร้างโบราณสถานวัดโบสถ์ สรุปผลการศึกษาทางโบราณคดี ระบบการสร้างแหล่งน้​้า สร้างคันบังคับ น้​้า และสร้างคันกั้นน้​้า เพื่อ การกักเก็บ น้​้าใช้อุปโภคบริโภค และการเกษตรมีมาแล้วตั้งแต่สมัยต้นสุโขทัย ราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙ เห็น เด่นชัดตั้งแต่รัชสมัยพ่อขุนรามค้าแหงมหาราช ดังปรากฏค้าจารึกจากศิลาจารึก หลัก ที่ ๑ (พ.ศ.๑๘๓๕) ว่า “เบื้องตะวันออกเมืองสุโขทัยนี้มีพิหาร มีปู่ครู มีทะเลหลวง...เบื้องหัวนอนเมืองสุโขทัยนี้ มีกุฏี พิหาร ปู่ครูอยู่ มีสรีดภงส มีป่าพร้าว ป่าลาง มีป่าม่วง ป่าขาม...” แสดงให้เห็นถึงการพยายามบริหารจัดการน้​้าของผู้ปกครอง สุโขทัยมาตั้งแต่อดีต โดยกรณีที่มีปริมาณน้​้ามากในแต่ละปีได้สร้างคันบังคับน้​้าเพื่อก้าหนดทิศทางการไหลของ น้​้าลงสู่พื้นที่ที่ต้องการ ส่วนกรณีน้าน้อยนั้นพบหลักฐานการขุดบ่อน้​้าและขุดสระ หรือตระพัง กักเก็บน้​้าเป็น จ้านวนมาก บารายเมืองสุโขทัย หรือท้านบ ๗ อ. จึงเป็น ๑ ในท้านบของเมืองสุโขทัย ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อจัดการน้​้า โดยสร้างคันดินสูงเพื่อชะลอน้​้าและกักเก็บน้​้า โดยท้านบกั้นน้​้าสมัยสุโขทัย ปัจจุบันกรมศิลปากรส้ารวจและ

63


จัดท้าแผนผังแล้ว ๘ แห่งประกอบด้วย สรีดภงส์ ๑หรือ (ท้านบ ๑ ตต.)และสรีดภงส์ ๒ (ท้านบกั้นน้​้าโคกมน) หรือ (ท้านบ ๒ ต.) ท้านบกั้นน้​้าหมายเลข ๓ ตต. อ่างเก็บน้​้าหมายเลข ๓/๑ ตต.คันดินบังคับน้​้าหมายเลข ๓/ ๒ ตต.ท้านบกั้นน้​้าหมายเลข ๔ ต. (ถนนพระร่วง)ท้านบกั้นน้​้าหมายเลข ๕ น.ท้านบกั้นน้​้าหมายเลข ๖ น.ท้านบ กั้นน้​้าหมายเลข ๗ อ. หรือ ตอ.และ ท้านบกั้นน้​้าหมายเลข ๘ อ. หรือ ตอ.เป็นต้น รายการอ้างอิง กรมศิลปากร.ทาเนียบโบราณสถานอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย. กรุงเทพฯ: หัตถศิลป์, ๒๕๓๑. คีตศิลป์ ลิ้มศรีสกุลวงศ์. บารายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : กรณีศึกษาบารายในจังหวัดนครราชสีมาและ จังหวัดสุรินทร์. การค้นคว้าอิสระปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๕. ปรมาภรณ์เชาวนปรีชา.การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแหล่งนากับชุมชนสุโขทัย. วิทยานิพนธ์ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๒๙. ประเสริฐ ณ นคร. “การอ่านศิลาจารึก,” ดารงวิชาการ ๒,๔(กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๔๖): ๒๕-๒๖. วิลาสวงศ์ พงศะบุตรและวุฒิชัย มูลศิลป์. “ล้าดับพระมหากษัตริย์ไทย” ใน สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ม ๓.พิมพ์ครั้งที่ ๑๖, กรุงเทพฯ: โครงการสารานุกรมไทยส้าหรับเยาวชน, ๒๕๕๙. อมรา ศรีสุชาติ. ลาดับเหตุการณ์สาคัญในประวัติศาสตร์สุโขทัย. กรุงเทพฯ: ส้านักพิมพ์สมาพันธ์, ๒๕๔๖. http://www.radiocarbondating.com/about-us .

64


ผาปกโคลงสุภาษิตอิศปปกรณํา เครื่องตั้งงานพระเมรุทองสนามหลวง ร.ศ. ๑๐๘ นางสาวเดนดาว ศิลปานนท ภัณฑารักษชํานาญการพิเศษ สํานักพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เครื่องตั้งงานพระเมรุทองสนามหลวง เครื่องตั้งงานพระเมรุ คือเครื่องประดับตกแตงรอบพระเมรุ เชน หุนภาพเลาเรื่องวรรณคดี เครื่องกล ตางๆ เครื่องประทีปโคมไฟ ไมประดับ ไมดัด ไมดอก เครื่องแขวน งานประณีตศิลป สิ่งของซึ่งถือเปนของแปลก ของงามตามสมัย เชน นาฬิกา เครื่องโตะ เครื่องกระเบื้อง เครื่องแกว ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวโปรดให ตั้งแตงประดับเพิ่มเติมขึ้นเปนพิเศษ หรือเปนของพระบรมวงศานุวงศ และขาทูลละอองธุลีพระบาท จัดมาตั้ง เปนการฉลองพระเดชพระคุณ เปนเครื่องประกอบพระเกียรติยศตามพระราชประเพณี เนื่องจากงานพระเมรุ เปนวาระที่คนมาประชุมกันเที่ยวชมพระเมรุและการมหรสพเปนจํานวนมาก จึงมีการจัดตั้งเครื่องประดับแก มหาชนไดชมเปนพระเกียรติยศ โดยเฉพาะงานพระเมรุทองสนามหลวง อันเปนงานพระเมรุใหญ มีเกียรติยศสูง เนื่องดวยการพระราชพิธีพระบรมศพและพระศพของพระราชวงศชั้นสูง เฉพาะพระเจาแผนดินและพระบรม วงศานุวงศตั้งแตชั้นเจาฟาขึ้นไป ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมให ถวายพระเพลิ ง หรือ พระราชทานเพลิ ง ณ พระเมรุ ม าศหรือ พระเมรุ ก ลางเมื อง จึ ง มั ก ตกแตง เครื่อ งตั้ ง เครื่องประดับตาง ๆ เปนพิเศษ ตามความนิยมของยุคสมัย เครื่องตั้งงานพระเมรุทองสนามหลวง รัตนโกสินทรศกป ๑๐๘ รัตนโกสินทรศกป ๑๐๘ ตรงกับ ปพุทธศักราช ๒๔๓๒ ในแผนดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหจัดงานพระเมรุทองสนามหลวง เพื่อ พระราชทานเพลิงพระศพพระเจาลูกเธอและพระเจานองยาเธอรวม ๓ พระองค โดยแบงออกเปน ๒ งาน ตามลําดับพระราชสกุลยศ งานแรกเปนงานพระศพพระเจาลูกเธอ เจาฟานภาจรจํารัสศรีภัทรวดีราชธิดา และ พระเจาลูกเธอ พระองคเจาสมัยวุฏฐิวโรดม จัดขึ้นระหวางวันที่ ๓๑ มกราคม–๙ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๓๒ โดย แหพระศพออกพระเมรุวันที่ ๔ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๓๒ และพระราชทานเพลิงพระศพวันที่ ๖ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๓๒๑ และงานที่สองเปนงานพระศพพระเจานองยาเธอ พระองคเจาศรีเสาวภางค ระหวางวันที่ ๑๓–๑๗ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๓๒ แหพระศพสูพระเมรุเมื่อวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๓๒ และพระราชทานเพลิงพระ ศพเมื่อวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๓๒๒ ระหวางการพระเมรุ ร.ศ. ๑๐๘ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงมีกระแสพระราชดําริที่ จะบํารุงการชาง การประดิษฐสิ่งของใชสอย ใหดีงามทัดเทียมกับชางฝมือตางชาติ ซึ่งสงสินคาเขามาคาขายใน เมืองสยาม เพื่อผลทางการคา การบํารุงเศรษกิจของประเทศ ทรงดําริวาเครื่องตั้งตามแบบอยางธรรมเนียมที่ เคยมีมาเปนของทําขึ้นใชแตชั่วคราว ไมเปนประโยชนยั่งยืน ประสงคใหมีการคิดประดิษฐสิ่งของเครื่องใชดวย ฝมืออันมีคุณคาเชิงเศรษฐกิจ สามารถสงไปจําหนายตางประเทศได จึงทรงประกาศใหมีก ารประกวดงาน ชางฝมือประดิษฐสิ่งของตางๆ จัดตั้งประดับในพระเมรุ๓ ๑

“การพระเมรุทองสนามหลวง,” ราชกิจจานุเบกษา, เลมที่ ๖, ตอน ๔๕, วันที่ ๙ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๓๒, ๓๘๔๓๙๐. ; จดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ปฉลู เอกศก พุทธศักราช ๒๔๓๒, ๘๘, ๑๗๖–๑๘๔. ๒ “ขาวพระเมรุทองสนามหลวงตอไป เชิญพระศพ พระองคเจาศรีเสาวภางคสูพระเมรุ,” ราชกิจจานุเบกษา, เลมที่ ๖, ตอน ๔๗, วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๓๒, ๔๐๓–๔๐๖. ๓ “ประกาศเรื่องสิ่งของตั้งประดับในการพระเมรุ,” ราชกิจจานุเบกษา, เลมที่ ๖, แผนที่ ๓๒, วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๒, ๒๖๘-๒๗๒. ; “ประกาศกําหนดรางวัลพระราชทาน แกผูประดิดทําสิ่งของมาตั้งในการพระเมรุทองสนามหลวง ,” ราชกิจจานุเบกษา, เลม ๖, ตอนที่ ๓๙, วันที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๓๒, ๓๔๔-๓๔๕. 65


งานพระเมรุพระเจาลูกเธอ เจาฟานภาจรจํารัสศรีภัทรวดีราชธิดา และพระเจาลูกเธอ ณ ทองสนามหลวง ร.ศ. ๑๐๘

แลว จึงโปรดใหระงับการประกวดงานชางฝมือประดิษฐสิ่งของ และโปรดใหขอแรงพระบรมวงศานุวงศและ ขาราชการ จัดหาเครื่องโตะมาตั้งประกวดประชันกันในงานพระเมรุพระเจาลูกเธอทั้งสองพระองค ตามบริเวณ ราชวัตรทึบ ศาลาจั ตุรมุข ศาลาโรงปน คดและปะรํา โปรดเกลาฯ พระราชทานรางวัลแกผูชนะ เปนการ สนุกสนาน เนื่องจากเปนสมัยนิยมเลนเครื่องโตะเครื่องชาลายครามกันมาก ไมลําบากแกจัดหา และเปนการ แปลกวาการตั้งเครื่องประดับพระเมรุแตกอนมา๔ สําหรับงานพระเมรุพระเจานองยาเธอ โปรดใหพระสงฆ พระบรมวงศานุวงศ และขาราชการตั้งเครื่อง โตะทอง เครื่องโตะเครื่องแกว เครื่องไม เครื่องตุกตา ตามราชวัตรทึบ ศาลาจัตุรมุขและคด และใหจัดสังเค็ด ของพระบรมวงศานุวงศฝายหนาและฝายใน ตามศาลาโรงปน ราชวัตรทึบ และคด เปนเครื่องตกแตงประดับ พระเมรุ เพราะสังเค็ดงานพระศพพระเจานองยาเธอ พระองคเจาศรีเสาวภางค มีการประกวดประขันกันมาก จัดทําอยางงดงาม และเปนของมีราคาสูง กลาววางานพระศพคราวนี้เปนการครึกครื้นเอิกเกริกมาก๕ อยางไรก็ดี แมทรงประกาศเลื่อนประกวดงานฝมือชางประดิษฐเครื่องตั้งประดับพระเมรุแลว ยังไดพบ หลักฐานงานประณีตศิลปประดับพระเมรุทองสนามหลวง ร.ศ. ๑๐๘ ชุดหนึ่ง เขาใจวาเปนงานฝมือชางหลวงทํา ขึ้นเพื่อประดับพระเมรุ นอกเหนือไปจากเครื่องโตะ ซึ่งโปรดเกลาฯ ใหพระสงฆ พระบรมวงศานุวงศ และขาทูล ละอองธุ ลี พ ระบาทนํ า มาตั้ง แสดง คื อ ภาพผ า ป ก โคลงสุ ภ าษิ ต อิ ศ ศปปกรณํ า ป จ จุ บั น เก็ บ รั ก ษาไว ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร จํานวน ๑๘ รายการ ผาปกโคลงสุภาษิตอิศปปกรณํา งานพระเมรุทองสนามหลวง ร.ศ. ๑๐๘ ผาปกโคลงสุภาษิตอิศศปปกรณํา ปกดวยไหมสีตาง ๆ บนผืนผาไหมอยางงดงาม เปนภาพเลา เรื่อง นิทานอิศปปกรณํา พรอมดวยอักษรโคลงสุภาษิตประจําภาพ และอักษรบอกชื่องานพระเมรุทองสนามหลวง รัตนโกสินทรศกป ๑๐๘ บนแถบริบบิ้น ผูกลายตกแตงชอไมดอกไมประดับตาง ๆ ฝมือปกลายแนบเนียนทั้ง ดานหนาและดานหลังแบบฝมือชางหลวง ซึ่งเปนที่นิยมเฟองฟูในราชสํานักครั้งนั้น มักใชสําหรับการประดิษฐ เครื่องไทยธรรมและเครื่องประดับตกแตงสถานที่ตาง ๆ ภาพผาปก บรรจุในกรอบไมปดกระจก มีลวดลายเฉพาะมุม กรอบทั้ง สี่ดาน เปนลายเครือเถาแบบ ตะวันตก เชน ลายเครือเถาองุน ลายเครือดอกกุหลาบ ลายเครือดอกเบญจมาส หรือลายเครือกระหนกแบบ ไทยประเพณี ตางกันเปน ๒ ขนาด ขนาดใหญเปนภาพผาปกแนวนอน กวางประมาณ ๙๐ เซนติเมตร สูง ๗๐ เซนติเมตร และขนาดเล็กเปนภาพผาปกแนวตั้ง ขนาดกวางประมาณ ๕๐ เซนติเมตร สูง ๘๐ เซนติเมตร สันนิษฐานวาเปนเครื่องตั้งของหลวง ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลา ฯ ใหทํา ขึ้นเปนพิเศษ สําหรับตั้งในงานพระเมรุสมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟานภาจรจํารัสศรีภัทรวดีราชธิดา และพระ ๔

“การพระเมรุทองสนามหลวง,” ราชกิจจานุเบกษา, เลม ๖, แผนที่ ๔๕, วันที่ ๙ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๓๒, ๓๘๔๓๙๐. ; “เรื่องตั้งโตะในการพระเมรุทองสนามหลวง,” ราชกิจจานุเบกษา, เลม ๖, แผนที่ ๔๖, วันที่ ๑๖ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๓๒, ๓๙๔-๓๙๙. ๕ “ขาวพระเมรุทองสนามหลวงตอไป เชิญพระศพพระองคเจาศรีเสาวภางคสูพระเมรุ,” ราชกิจจานุเบกษา, เลม ๖, แผนที่ ๔๗, วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๓๒, ๔๐๓–๔๐๗. 66


เจาลูกเธอ พระองคเจาสมัยวุฏฐิวโรดม ดวยเปนผาปกนิทานสําหรับเด็ก เนื่องจากสํานวนโคลงสุภาษิตผาปก เทียบไดกับ โคลงประกอบนิทานอีสปฉบับพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว นิทานอีสปสํานวนนี้ เรียกวา “อิศปปกรณํา” มีตนฉบับตัวเขียน เปนสมุดไทยดําชุบรงค ปจจุบันเก็บ รักษาไวที่กลุมหนังสือตัวเขียนและจารึก สํานักหอสมุดแหงชาติ กรุง เทพฯ จํานวน ๔ เลม มีนิทานทั้งหมด ๑๐๖ เรื่อง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดพิมพตามสําเนาตนฉบับเดิมแลว เมื่อป พ.ศ. ๒๕๕๒๖ นอกจากนี้ มีหนังสือตัวเขียนเสนดินสอ มีเนื้อเรื่องซ้ํากันกับฉบับตัวรงคบาง มีเนื้อเรื่องตางกันบางอีกหลายเลม เปนสํานวน เดียวกัน เชื่อวาเปนฉบับราง ประกอบดวยเลขที่กํากับนิทาน ชื่อเรื่อง และเนื้อหาเปนสํานวนรอยแกวสั้น ๆ มี กระทู หรือโคลงสุภาษิตบทหนึ่งประกอบทายเรื่อง บางครั้งมีชื่อผูแตงกํากับทายโคลง ในฉบับตัวรงค มีโคลง สุภาษิตเปนพระราชนิพนธของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวจํานวน ๔ เรื่อง ดังตอไปนี้ ๑) ราชสีห กับหนู ๒) บิดากับบุตรทั้งหลาย ๓) สุนักขปากับลูกแกะ ๔) กระตายกับเตา นอกจากนี้ มีผูแตงรวมอีกเชน กรมหลวงพิชิตปรีชากร พระองคเจาโสณบัณฑิต พระองคเจาวรวรรณากร พระยาศรีสุนทรโวหาร พระยาราชสัมภารกร ขุนวิสุทธิการ ขุนภักดีอาษา พระยาศรีสิงหเทพและพระเทพกระวี นิทานอีสปสํานวนพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงแปลเมื่อใดไมมี หลักฐานแนชัด พบปรากฏกลาวถึงในพระราชวิจารณวาดวยนิทานชาดก ซึ่งทรงนิพนธไวเมื่อป พ.ศ. ๒๔๔๗ มี ความตอนหนึ่งกลาววา “นิท านอยางเชนชาดกนี้ ไมไดมีแตในคัมภีรฝายพระพุทธศาสนา ในหมูชนชาติอื่น ภาษาอื่นนอก พระพุทธศาสนาก็มีปรากฏเหมือนกันฯ ชาติอื่น ๆ เชน อาหรับ เปอรเซีย เปนตน ก็วามีนิทานเชนนี้ คลายคลึง กัน แตจะยกไวไมกลาว เพราะไมมีตัวเรื่องมาเทียบ จะยกแตนิทานอีสอป ซึ่งขาพเจาไดแปลลงเปนหนังสือไทย ชานานมาแลว ไดตั้งชื่อวาอีสอปปกรณําของนักปราชญผูซึ่งชื่อวาอีสอปเปนผูแตงขึ้นในประเทศอื่น” จากหลักฐานสอบเทียบกับภาพผาปกโคลงสุภาษิต งานพระเมรุทองสนามหลวงรัตนโกสินทรศกป ๑๐๘ อาจระบุไดวาพระราชนิพนธ “อิศปปกรณํา” แตงขึ้นกอนป พ.ศ. ๒๔๓๒ และจากหนังสือวชิรญาณวิเศษ เลม ๘ แผน ๒ วันพฤหัสบดีที่ ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๕ เรื่องจดหมาย เหตุการณประชุมสมาชิกเฝาทูลละอองธุลีพระบาท ยังกลาวถึงผาปกโคลงอิศปปกรณํา ซึ่งทําคราวพระเมรุทอง สนามหลวง ปกุน นพศก ๑๒๔๙ (พ.ศ. ๒๔๓๐) ซึ่งเปนของพระราชทานมาสําหรับประดับหอพระสมุด ดังนั้น งานผาปกโคลงสุภาษิตอิศปปกรณํา จึงนาจะทําขึ้นประดับพระเมรุหลายคราว และงานพระราชนิพนธก็อาจจะ เกิดขึ้นกอนป พ.ศ. ๒๔๓๐ ผาปกโคลงสุภาษิตนิทานอิศปปกรณํา ร.ศ. ๑๐๘ บางสํานวนเทียบไดใกลเคียงกับฉบับตัวเขียน บาง โคลงมีสํานวนตางไป อาจมีการปรับแตงสํานวนใหมสําหรับปกผาประกอบภาพเลาเรื่องตั้งในงานพระเมรุ ผาปก ทั้ง ๑๘ รายการ มีสํานวนโคลง เปรียบเทียบฉบับตัวเขียนไดดังนี้ ๑. นิทานเรื่อง หมีกับคนเดินทาง จากสมุดไทย อักษรชุบรงค เลมที่ ๑ เรือ่ งที่ ๓๔

สํานวนผาปกโคลงสุภาษิต เวลาเราเคราะหราย ทุระพล เปนชองเห็นใจชน เพื่อนพอง ใครรักรวมอับจน ฤารักไฉนนา มิตจิตรมิตรใจซอง สอใหเห็นกัน

สํานวนฉบับสมุดไทย ............................ เปนชองเหนใจชน ใครรักษรวมอับจน มิตรจิตรมิตรใจซอง

ทุระพล เพื่อนพอง ฤารัก ไฉนนา สอใหเหนกัน

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว, อิศปปกรณํา : นิทานอีสป ฉบับสมุดไทย (นนทบุรี : สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๕๑). 67


๒. นิทานเรื่อง สุนัขในรางหญา จากสมุดไทย อักษรชุบรงค เลมที่ ๒ เรื่องที่ ๓๕

สํานวนผาปกโคลงสุภาษิต สุนักขนอนรางใสหญา โคปอง หญาเฮย สุนักขเห็นหอนมอง เหาหาว สัญชาติอิจฉาจอง ใจดับ ยากเฮย หวงใชเหตุกาวราว กอรายฤษยา

สํานวนฉบับสมุดไทย สุนักขนอนรางใสหญา สุนักขบเหนมอง สรรพชาติอิจฉาจอง หวงใชเหตุกาวราว

โคปอง หญาเฮย เหาหาว ใจดับ ยากเฮย กอรายฤษยา

๓. นิทานเรื่อง แมว กับ ไก จากสมุดไทย อักษรชุบรงค เลมที่ ๓ เรื่องที่ ๔๔

สํานวนผาปกโคลงสุภาษิต ผูสงู อํานาจแมน ใจพาล ผิจักคิดระราญ รุกเรา อํานาจต่ําจักหาญ เถียงตอบไฉนฤา คงจะกดขี่เขา เขตรขางตนประสงค

สํานวนฉบับสมุดไทย ผูสงู ................ ผิจักคิดรราน อํานาจต่ําจักพาน คงจะกดขี่เขา

ใจพาล รุกเรา เถียงตอบ ไฉนฤา เขตรขางตนประสงค

๔. นิทานเรื่อง สุนักขซนอยางคุม จากสมุดไทย อักษรชุบรงค เลมที่ ๒ เรือ่ งที่ ๕๑

สํานวนผาปกโคลงสุภาษิต ฤาชื่อเพราะชั่วราย ทรชน เรียกตอฉัยยาจน เลื่องอาง เขาใจผิดวาตน บุญประกอบ เกียรติยศเกียรติคุณขาง ชั่วนั้นฤาถวิน

สํานวนฉบับสมุดไทย ฤาชื่อเพราะชั่วราย เรียกตอฉายาจน เขาใจผิดวาตน เกียรติยศเกียรติคุณขาง 68

ทรชน เลื่องอาง บุญประกอบ ชั่วนั้นฤาถวิล


๕. นิทานเรื่อง โหรเปนนักเรียนทางอากาศ จากสมุดไทย อักษรชุบรงค เลมที่ ๓ เรื่องที่ ๖๐

สํานวนผาปกโคลงสุภาษิต เนตรบงตรงฝายฟา เมีลหมาย นอนนังยืนเดีนหงาย ภักตรฉแง บดูแผนดินคลาย ใจถอม ใจนา ตาเพงเลงสูงแท พลาดแลว จึงเห็น

สํานวนฉบับสมุดไทย เนตรบงตรงฝาฟา เมินหมาย นอนนั่งยืนเดินหงาย ภักตรฉแง บดูแผนดินคลาย ใจถอมใจนา ตาแพงเล็งสูงแท พลาดแลวจึง่ เห็น (พระยาราชสัมภารากร)

๖. นิทานเรื่อง มากับเจาของผูท ี่ขี่ จากสมุดไทย อักษรชุบรงค เลมที่ ๔ เรือ่ งที่ ๖๙

สํานวนผาปกโคลงสุภาษิต มากลาวคราวศึกอวน พีถนอม แรงเฮย เสร็จศึกใหอดตรอม ตรากไข ปางเกิดยุทธยงผอม แรงเรี่ยว หยูนา ใหนจะทานศึกได ดั่งโพนพึงถวิล

สํานวนฉบับสมุดไทย ใชพลบใหภัก แรงทํา ทุกทีวากรากกรํา แกรวสู ยามเกิดกิจใหญสํา คัญจัก ใชนา คนบอบฤาจักกู กิจนั้นฉันใด (พระยาศรีสุนทรโวหาร)

๗. นิทานเรื่อง ราชสีหกับสุกรปา จากสมุดไทย อักษรชุบรงค เลมที่ ๔ เรือ่ งที่ ๑๐๕

สํานวนผาปกโคลงสุภาษิต สุกรกับสีหราชปล้ํา ชิงชล ดื่มเฮย นกหกแรงกาวน จับจอง สองเห็นตางหยุดผจน พลางกลาว คําเฮย เปนมิตรดีกวาตอง ตากใหกากิน

สํานวนฉบับสมุดไทย เมธาทานรอบรู เห็นวาแตกราวโกรธ เกื้อกูลแตปราโมทย ตนเสื่อมมหิตคุณรู 69

ทางประโยชน ตางผู ชนมอื่น ประสมนา ตอแลวจึ่งเห็น (พระเทพกระวี)


๘. นิทานเรื่อง ไกชนทั้งสองกับนกอินทรีย จากสมุดไทย อักษรเสนดินสอ เลมที่ ๓ เรื่องที่ ๗๒

สํานวนผาปกโคลงสุภาษิต ความกําเริบชักไห อันตราย ถึงเฮย ดุจคูไกชนหมาย แขงกลา ตัวชะนะเหอเหิมผาย ขึ้นสุด ผนังเฮย ขันอวดอินทรีควา ฉีกเนื้อเปนจุน

สํานวนฉบับสมุดไทย (ไมปรากฏโคลงทายเรื่อง)

๙. นิทานเรื่อง สุนัขปากับราชสีห จากสมุดไทย อักษรเสนดินสอ เลมที่ ๖ เรือ่ งที่ ๑๓๓

สํานวนผาปกโคลงสุภาษิต สุนักขลกั แกะพอง สีหชิง ชวงเฮย ออกหางพลางพิโรธติง ติพรอง สีหเ อยจะชิงจิง เห็นชอบธรรมฤา สีหวานี่พวกพอง เพื่อนใหฤาไฉน

สํานวนฉบับสมุดไทย ผูใดไปตั้งอยู ประกอบทุจริตกํา ฤาอาจจัดแสดงนํา อํานาจปราศจากควา

สํานวนผาปกโคลงสุภาษิต เสือดาววาจิ้งจอก หางาม ไมเฮย ซ้ําอวดตัวลายลาม พรางพรอย จิ้งจอกวาตูซาม จิงหยู แตเลียมกวาเจารอย สวนน้ําใจงาม

สํานวนฉบับสมุดไทย (ไมปรากฏโคลงทายเรื่อง)

ในธรรม เริบกลา ปวงประโยชน ไฉนฤา เปลาขอยุติธรรม (ขุนภักดีอาษา) ๑๐. นิทานเรื่อง สุนักขจิ้งจอกกับเสือดาว จากสมุดไทย อักษรเสนดินสอ เลมที่ ๖ เรื่องที่ ๑๕๕

70


๑๑. นิทานเรื่อง นายขมังธนูกับราชสีหจากสมุดไทย อักษรเสนดินสอ เลมที่ ๗ เรื่องที่ ๑๗๕

สํานวนผาปกโคลงสุภาษิต คนที่ตีไดแต ไกลกาย เปนเพื่อนบานอยูส บาย ขัดแท เฉกฉมังธนูนาย พรานเรื่อง นี้พอ ยิงถูกสิงหวิ่งแต สุนักขรงั้ ฤารอ

สํานวนฉบับสมุดไทย (ไมปรากฏโคลงทายเรื่อง)

๑๒. นิทานเรื่อง ทหารแตรเดี่ยวซึ่งเปนโทษการศึก จากสมุดไทย อักษรเสนดินสอ เลมที่ ๑๐ เรื่องที่ ๒๔๙

สํานวนผาปกโคลงสุภาษิต ทหานแตรเดี่ยวตองฆา ศึกมัด เถียงวาใชถูกปด รบเรา ริปูวาเหตุฉะนั้นจัด เปนโทสใหยแล ถึงบสเู สียงเยา ยั่วกลาพลผอง

สํานวนฉบับสมุดไทย นําหนุนใหผูอื่น ทําการ โดยทรัพยบุญพละญาณ และรู แมผิดสอสัปปบเปนพาล ผิดกลับ เกิดฤา ผิดที่เกิดนั้นผู ชวยตองมีเสมอ (กรมหมื่นพิชิตปรีชากร)

๑๓. นิทานเรื่อง นกอินทรียกบั นกกิจากสมุดไทย อักษรเสนดินสอ เลมที่ ๑๐ เรือ่ งที่ ๒๖๐

สํานวนผาปกโคลงสุภาษิต นกนิดคิดแขงสู สกุณิน ทรีเฮย เฉี่ยวแกะเทาติดบิน ไปได เขาจับสับปกสิ้น เปนทอน เพราะจิตตริสยาไห โทสรายแรงถึง

สํานวนฉบับสมุดไทย เห็นทานสามารถเกื้อ การใด ขาดคาดตนทําใจ ใหญบาง แรงนอยยกหนักไฉน จักรอดตนนอ หนูจะใชอยางชาง จะใชไฉนนอ (กรมหมื่นพิชิตปรีชากร) 71


๑๔. นิทานเรื่อง สุนักขทงั้ ปวงกับหนัง จากสมุดไทย อักษรเสนดินสอ เลมที่ ๑๐ เรื่องที่ ๒๖๖

สํานวนผาปกโคลงสุภาษิต การลนอํานาจลน กําลัง กายเฮย แรงออนจะหวังหวัง หอนได ดังสุนักขจะกินหนัง ในสมุทร หลวงแล คิดดื่มชลเพื่อให เหือดทองทลายตาย

สํานวนฉบับสมุดไทย (ไมปรากฏโคลงทายเรื่อง)

๑๕. นิทานเรื่อง นกลากกับบุตร ไมปรากฏเรื่องในฉบับสมุดไทย

สํานวนผาปกโคลงสุภาษิต นกลากชวนบุตรยัง้ รังเขา กอนเฮย คนจะวานเพื่อนเขา เกี่ยวเขา ยายรังตอเขาเอา เคียวเกี่ยว เองแล สรรพกิจวานเพื่อนเหยา ยากไดเสร็จประสงค

สํานวนฉบับสมุดไทย (ไมพบเรื่อง)

๑๖. นิทานเรื่อง สุนัขปากับแกะ ไมปรากฏเรื่องในฉบับสมุดไทย

สํานวนผาปกโคลงสุภาษิต หมาปาหมากัดลม ลากกาย อยูเฮย วานแกะตักน้ําหมาย กัดเนื้อ แกะรูเทาอุบาย จึงตอบ คําเฮย ชาติสัตวรายใครเอื้อ อาจให ไภยถึง

สํานวนฉบับสมุดไทย (ไมพบเรื่อง)

72


๑๗. นิทานเรื่อง สุนัขกับโจร ไมปรากฏเรือ่ งในฉบับสมุดไทย

สํานวนผาปกโคลงสุภาษิต สุนักขตอบโจรเมือ่ ไห มังสา หาญเฮย วาคิดปดปากหมา ผิดแท โดยตระบัดทานเมตตา เตือนตื่น เรานา ทานยอมหมายประโยชนแม สิทธิเจาเราเสีย

สํานวนฉบับสมุดไทย (ไมพบเรื่อง)

๑๘. นิทานเรื่อง สุนักขปากับแพะ ไมปรากฏเรื่องในฉบับสมุดไทย

สํานวนผาปกโคลงสุภาษิต สํานวนฉบับสมุดไทย ลวงเขาเขารูเทา ทําเหน็บ แนมเฮย (ไมพบเรื่อง) ชื่อก็ชั่วตัวเจ็บ จิตรของ ดังสุนักขแนะแพะเก็บ กินระบัดหญาเฮย แพะตอบทานแสบทอง จึงเชื้อเชิญเรา ผาปกโคลงสุภาษิตอิศปปกรณํางานพระเมรุทองสนามหลวง รัตนโกสินทรศกป ๑๐๘ สันนิษฐานวา จัดทําขึ้นเปนจํานวนมาก ตามเรื่องนิทานซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงพระราชนิพนธแปล ซึ่งตนฉบับตัวเขียนซึ่งเก็บรักษายังหอสมุดแหงชาติ กรุงเทพฯ นาจะยังขาดฉบับอีกมาก เมื่อเทียบกับฉบับร าง และสํานวนโคลงผาปก งานผาปก โคลงสุภาษิตอิศปปกรณําเมื่อแลวเสร็ จ จากตั้ง ประดับงานพระเมรุ พบ หลักฐานพระราชทานไปประดับผนังยังที่ตาง ๆ อาทิ โรงเรียน๗ และพิพิธภัณฑสถาน เปนตน สรุป ผาปกโคลงสุภาษิตอิศปปกรณํา เปนงานประณีตศิลปที่ทําขึ้นเปนเครื่องตั้งประดับพระเมรุ นอกจากจะ มีคุณคาดานศิลปกรรม ที่สะทอนถึงราชประเพณีแลว ยังมีคุณคาแสดงหลักฐานดานวรรณกรรมอันเปนพระราช นิพนธในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว อีกดวย

“เรื่องชมโณงเรียน,” วชิรญาณวิเศษ, เลม ๘ แผนที่ ๓๒ วันที่ ๑๘ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๓๖, ๓๗๔. 73


ขอมูลและความรูเพิ่มใหมจากโครงการศึกษาการตั้งถิ่นฐานในเขตเมืองโบราณศรีเทพ ปพ.ศ. ๒๕๕๙ สุริยา สุดสวาท นักโบราณคดีชํานาญการ อุทยานประวัติศาสตรศรีเทพ

บทนํา เมืองโบราณศรีเทพเปนเมืองโบราณทีส่ ําคัญแหงหนึง่ ในลุม น้าํ ลพบุร-ี ปาสัก ตั้งอยูในพื้นที่ตําบลศรีเทพ อําเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ บริเวณรุง ที่ ๑๕ องศา ๒๗ ลิปดา ๓๐ ลิปดาเหนือ และแวงที่ ๑๐๑ องศา ๐๓ ลิปดา ๒๐ ฟลปิ ดาตะวันออก หรือ พิกัด ๔๘ PQT ๓๐๕๑๐๘ (กรมแผนที่ทหาร แผนที่ลําดับชุดL ๗๐๑๗ ระวาง ๕๒๓๙ IV )ลักษณะเปนเมืองแฝด วางตัวตามแนวตะวันออก-ตะวันตก มีขนาดพื้นทีป่ ระมาณ ๒,๘๘๙ ไร หรือ ประมาณ ๔.๗ ตารางกิโลเมตร มีคูน้ําคันดินลอมรอบ แบงพื้นทีอ่ อกเปนสองสวน คือ เมืองในมีพื้นที่ ประมาณ ๑,๓๐๐ ไร และเมืองนอกมีพื้นทีป่ ระมาณ ๑,๕๘๙ ไร พบโบราณสถานกระจายอยูตามพื้นที่ตางๆ ภายในเขตเมืองในมีโบราณสถาน จํานวน ๔๘ แหง โบราณสถานที่สําคัญ ไดแก โบราณสถานเขาคลังใน ปรางค ศรีเทพ และปรางคสองพี่นองโบราณสถานในเขตเมืองนอกมีจํานวน ๖๔ แหง และมีโบราณสถานกระจายอยู นอกเมืองอีกราว ๕๐ แหง ที่สําคัญไดแก โบราณสถานเขาคลังนอก และปรางคฤาษีนอกจากนี้ยังมีถ้ําศาสน สถานบนเขาถมอรัตน ซึ่งตัง้ อยูหางจากเมืองโบราณศรีเทพไปทางทิศตะวันตกเปนระยะทาง ๑๕ กิโลเมตรวัด ระยะตามแนวตรงในแผนที่ เมื่อพิจารณาจากสภาพภูมิศาสตรของเมืองโบราณศรีเทพ จัดวาตั้งอยูในพื้นที่ราบสูงภาคกลาง (Central Highland) สูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางประมาณ ๗๐-๘๐ เมตร ตัวเมืองตั้งอยูบ นลานตะพักลําน้ํา มีลําน้ําไหลผาน ๒ สาย ไดแก แมน้ําปาสัก อยูหางไปทางทิศตะวันตกของเมืองราว ๕ กิโลเมตร และลําน้ําเหียง ซึ่งเปนลําขาสาของแมน้ําปาสัก อยูห างจากตัวเมืองไปทางทิศตะวันตกราว ๒ กิโลเมตร พื้นที่ภายในตัวเมืองมี ความลาดเอียงจากทิศตะวันออกไปทางทิศตะวันตก ลักษณะพื้นที่โดยทั่วไปเปนลูกคลื่นลอนลาดและมีแหลงน้ํา กระจายตัวอยูตามพื้นที่ตางๆของเมืองซึ่งผลจากการดําเนินงานอนุรักษและพัฒนาพื้นที่เมืองโบราณศรีเทพ ภายใตการบริหารจัดการของอุทยานประวัติศาสตรศรีเทพทีผ่ านมาตั้งแตปพ .ศ.๒๕๒๗ ทําใหทราบวาบริเวณ พื้นที่ “เมืองใน” ของเมืองโบราณศรีเทพ มีการใชประโยชนเปนพื้นทีก่ อสรางศาสนสถานขนาดใหญและขนาด เล็กตามคติความเชื่อทางศาสนาในวัฒนธรรมทวารวดีและวัฒนธรรมเขมร และผลจากการขุดคนทางโบราณคดี ในปพ.ศ. ๒๕๓๒ พ.ศ.๒๕๓๗ และพ.ศ. ๒๕๕๒ขุดพบแหลงที่ฝงศพของคนในชุมชนสังคมเกษตรกรรรมยุคกอน ประวัติศาสตรตอนปลาย สมัยเหล็ก นอกจากนี้กม็ ีพื้นที่อกี หลายบริเวณที่ยังไมทราบถึงลักษณะของการเขามา ตั้งถิ่นฐานและการเขามาใชประโยชนของมนุษยในอดีต โดยเฉพาะพื้นทีท่ ี่มลี ักษณะเปนเนินดินหรือพื้นที่ลกู คลื่นลอนลาดและมีแหลงน้ําอยูในบริเวณใกลเคียง อุทยานประวัติศาสตรศรีเทพจึงไดดําเนินโครงการศึกษาการ ตั้งถิ่นฐานในเขตเมืองโบราณศรีเทพ(ระยะที่ ๑) ปงบประมาณพ.ศ.๒๕๕๘ และ (ระยะที่ ๒) ปงบประมาณพ.ศ. ๒๕๕๙โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาลักษณะการตัง้ ถิ่นฐานและความสัมพันธของการเขามาใชพื้นทีบ่ ริเวณเนิน ดินลูกคลื่นลอนลาดดังกลาวกับประเภทของกิจกรรมที่เกิดขึน้ จากการกระทําของมนุษยในอดีตภายในเขตพื้นที่ เมืองในของเมืองโบราณศรีเทพตลอดจนการลําดับอายุสมัย อันจะนําไปสูการเพิ่มเติมองคความรูเกี่ยวกับ พัฒนาการทางโบราณคดีและประวัติศาสตรของเมืองโบราณศรีเทพซึ่งบทความนี้ไดจัดทําขึ้นเพื่อวัตถุประสงค ในการนําเสนอขอมูลและความรูเพิม่ ใหมที่ไดจากการขุดคนทางโบราณคดีตามโครงการศึกษาการตั้งถิ่นฐานใน เขตเมืองโบราณศรีเทพ ปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙

74


โครงการศึกษาการตั้งถิ่นฐานในเขตเมืองโบราณศรีเทพ ปพ.ศ. ๒๕๕๙ โครงการศึกษาการตัง้ ถิ่นฐานในเขตเมืองโบราณศรีเทพ ปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙ เปนการดําเนิน โครงการตอเนือ่ งมาจากโครงการศึกษาการตัง้ ถิ่นฐานในเขตเมืองโบราณศรีเทพ(ระยะที่ ๑)ปงบประมาณพ.ศ. ๒๕๕๘ โดยในปพ.ศ.๒๕๕๘ ไดดําเนินการเลือกพื้นที่ขุดคน ๒ บริเวณดวยกัน ไดแก ๑. หลุมขุดคน Trench I ตั้งอยูทางทิศตะวันตกของอาคารศูนยขอมูลเกาของอุทยาน ประวัติศาสตรศรีเทพ ทําการขุดคนเปนหลุมยาว ขนาดความกวาง ๒ เมตร ความยาว ๑๔ เมตร โดยขุดคนจาก ระดับผิวดินเดิมจนถึงชั้นที่ไมปรากฏรองรอยหลักฐานทางโบราณคดี หรือตั้งแตระดับความลึก ๒๗๐-๕๙๐ cm.dt.จากจุดอางอิงระดับมาตรฐานสมมุติ (datum point) บริเวณหนาปรางคศรีเทพ พบชั้นดินทับถมทาง วัฒนธรรมที่มีความเกี่ยวของกับการใชพื้นทีเ่ ปนแหลงที่อยูอาศัยของชุมชนยุคกอนประวัติศาสตรตอนปลาย สืบเนื่องมาจนชวงเวลาที่เปนเมืองที่ไดรับวัฒนธรรมทวารวดีและวัฒนธรรมเขมร และพบวามีการอยูอาศัย หนาแนนในชวงวัฒนธรรมทวารวดีชั้นลางสุดเปนพื้นศิลาแลงธรรมชาติอยูในระดับความลึกจากผิวดินประมาณ ๒.๘๐ เมตร ๒. หลุมขุดคน Wall-Wตั้งอยูบริเวณคันดินกําแพงเมืองดานทิศตะวันตก ฝงดานเหนือของประตูแสน งอน (ชองทางเขา-ออกทางทิศตะวันตกของเมืองโบราณศรีเทพ) ทําการขุดคนเปนหลุมยาวขนาดความกวาง ๓ เมตร ความยาว ๒๐ เมตร ทําการขุดคนจากระดับผิวดินเดิมจนถึงชั้นที่ไมปรากฏรองรอยหลักฐานทาง โบราณคดี หรือตั้งแตระดับความลึก ๔๐-๕๒๐ cm.dt. จากจุดอางอิงระดับมาตรฐานสมมุติ (datum point) บริเวณหนาปรางคศรีเทพ พบชั้นดินทับถมที่มีความเกี่ยวของกับกิจกรรมของมนุษยในอดีต ในลักษณะของการ ใชเปนที่พักอาศัยเฉพาะจุดในระยะเวลาสั้นๆกอนที่จะมีการขุดดินขึ้นมาถมเปนคันดินกําแพงเมืองและใน ระหวางที่มีการนําดินมาถมเพื่อกอสรางคันดินกําแพงเมืองนีใ้ นชวงวัฒนธรรมทวารวดีและชั้นลางสุดเปนพื้น ศิลาแลงธรรมชาติอยูในระดับความลึกจากผิวดินประมาณ ๖ เมตร ตอมาในปงบประมาณพ.ศ. ๒๕๕๙ ดําเนินการขุดคนทางโบราณคดีในเขตพื้นที่เมืองในกําหนดเลือกสุม พื้นที่ขุดคน จํานวน ๔ หลุม แตละหลุมมีขนาดพื้นที่ ๕X๕ เมตร ดังนี้ ๑. หลุมขุดคน TP.I และ TP.IV ตั้งอยูทางดานทิศใตของหลุมขุดคน Trench.Iเปนระยะทาง ประมาณ ๖๐ เมตรหรือทางทิศตะวันตกเฉียงใตของอาคารศูนยขอมูล(ผลการขุดคนจะกลาวถึงรายละเอียดใน บทความ) ๒. หลุมขุดคน TP.II ตั้งอยูบริเวณพื้นทีล่ ูกคลืน่ ลอนลาด หางไปทางทิศตะวันออกเฉียงใตของ ปรางคศรีเทพเปนระยะทาง ๑๗๘ เมตร โดยขุดคนจากระดับผิวดินเดิมจนถึงชั้นที่ไมปรากฏรองรอยหลักฐาน ทางโบราณคดี หรือตัง้ แตระดับความลึก ๑๗๖-๕๑๐ cm.dt จากจุดอางอิงระดับมาตรฐานสมมุติ (datum point) บริเวณหนาปรางคศรีเทพ ชั้นลางสุดเปนพื้นศิลาแลงธรรมชาติอยูในระดับความลึกจากผิวดินประมาณ ๓.๓๐ เมตร ๓. หลุมขุดคน TP.III ตั้งอยูพื้นทีท่ างดานตะวันตกเฉียงเหนือของปรางคศรีเทพเปนระยะทาง ๓๔๔ เมตร โดยขุดคนจากระดับผิวดินเดิมจนถึงชั้นที่ไมปรากฏรองรอยหลักฐานทางโบราณคดี หรือตั้งแตระดับ ความลึก ๑๙๐-๔๑๐ cm.dt. จากจุดอางอิงระดับมาตรฐานสมมุติ (datum point) บริเวณหนาปรางคศรีเทพ ชั้นลางสุดเปนพื้นศิลาแลงธรรมชาติอยูในระดับความลึกจากผิวดินประมาณ ๒.๒๐ เมตร ผลจากการดําเนินการขุดคนในพื้นที่หลุมขุดคน TP.II และหลุมขุดคน TP.IIIขุดพบชั้นดินทับถมทางวัฒนธรรมที่ เกี่ยวของกับการใชพื้นทีเ่ ปนแหลงที่อยูอ าศัย และมีการอยูอาศัยหนาแนนในชวงวัฒนธรรมทวารวดีและ วัฒนธรรมเขมร และทีส่ ําคัญคือ การพบหลักฐานเพิ่มเติมจากการทีเ่ คยขุดพบโครงกระดูกมนุษยบริเวณพื้นที่ เมืองในของเมืองโบราณศรีเทพเมื่อปพ.ศ.๒๕๓๑ ,พ.ศ.๒๕๓๗ และปพ.ศ. ๒๕๕๒ ซึง่ เปนหลักฐานที่แสดงให เห็นถึงการเขามาตั้งถิ่นฐานของกลุมคนระยะแรกทีเ่ ขามาตั้งถิ่นฐานในเขตเมืองโบราณศรีเทพ ในชวงยุคกอน ประวัติศาสตรตอนปลาย สมัยเหล็กพบจากหลุมขุดคน TP. Iและหลุมขุดคน TP. IV 75


ตําแหนงทีต่ ั้งของหลุมขุดคนทางโบราณคดี ปพ.ศ.๒๕๕๘และ๒๕๕๙ ที่มา: ภาพถายดาวเทียมจาก Google Earth

ตําแหนงทีต่ ั้งของหลุมขุดคนทางโบราณคดี ปพ.ศ.๒๕๕๘ และ๒๕๕๙ ที่มา: ภาพถายดาวเทียมจาก Google Earth

ผลการขุดคนทางโบราณคดี ที่พบจากหลุมขุดคน TP.I และ TP.IVสามารถสรุปไว ดังนี้ หลุมขุดคนTP. I ตั้ง อยูท างด านทิศ ตะวั นตกเฉียงใต หางจากอาคารศู นย ขอมู ล เกาอุ ท ยานประวัติ ศาสตร ศรี เ ทพ ระยะทางประมาณ ๖๕ เมตรหรือ รุงที่ ๑๕ องศา ๒๗ ลิปดา๕๕ ฟลิปดาเหนือ และแวงที่ ๑๐๑ องศา ๐๘ ลิปดา ๒๗ ฟลิปดา ตะวันออกดําเนินการขุดคนทางโบราณคดีระหวางวันที่ ๑๙ มกราคม – ๒๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๙ทําการขุดคนหลุม ขนาด ๕X๕ เมตร โดยขุดคนจากระดับ ผิวดิ นเดิม จนถึง ชั้นที่ไมป รากฏรองรอย หลัก ฐานทางโบราณคดี หรือตั้งแตร ะดับ ความลึก ๔๒๐-๗๒๐ cm.dt.จากจุดอางอิง ระดับมาตรฐานสมมุติ (datum point) บริเวณหนาปรางคศรีเทพ พบชั้นดินทับถมที่มีความเกี่ยวของกับกิจกรรมของมนุษยในอดีต ชั้นลางสุดเปนพื้นศิลาแลงธรรมชาติอยูในระดับความลึกจากผิวดินประมาณ ๓ เมตร มีผลการขุดคน ดังนี้ ในระดับความลึก๖๒๐-๖๕๐ cm.dt. ของหลุมขุดคน TP.I ขุดคนพบโครงกระดูกมนุษยเพศชาย (Burial#1) ความสูงประมาณ ๑๕๐ เซนติเมตร อายุขณะทีเ่ สียชีวิตระหวาง๒๕-๓๕ ป ลักษณะการฝงศพอยู ในทานอนหงายเหยียดยาวหันศีรษะไปทางทิศตะวันตก มีเครื่องมือเหล็กฝงรวมอยูบ ริเวณเหนือกระดูกตนแขน ซาย บริเวณลําคอและกกหูซายตกแตงดวยแผนโลหะเงินแบนยาว มีแวดินเผาวางอยูทางดานซายใกลกบั กระดูกตนขาและกระดูกนองซาย และภาชนะดินเผา ๑ ใบ สภาพชํารุดแตก ลักษณะเปนภาชนะดินเผาทรง ชาม ดานนอกเปนสีดําและน้ําตาล ตกแตงดวยลายเชือกทาบ เนื้อดินคอนขางหยาบ ขึ้นรูปดวยมือ วางทับ บริเวณกระดูกเทาซาย มีลักษณะของการทุบใหแตกโดยตั้งใจเพื่อวางที่ปลายเทา การหาคาอายุดวยวิธีการทางวิทยาศาสตรของโครงกระดูกมนุษยที่พบโดยใชฟนเขี้ยวไปวิเคราะหดวย วิธี AMS (Accelerator Mass Spectrometry)ที่หองปฏิบตั ิการ BETA ANALYTIC INC . ประเทศ สหรัฐอเมริกา ไดคากําหนดอายุ (Radiocarbon) ๑,๗๓๐± ๓๐(BP.) ปมาแลว (ค.ศ.๒๔๐-๓๙๐ หรือ พ.ศ. ๗๘๓-๙๓๓) บริเวณทางดานซายของโครงกระดูกมนุษยหางจากกระดูกหนาแขงออกมาเล็กนอย (ในระดับ ๖๑๐๖๕๐ cm.dt.) พบกลุมภาชนะดินเผาจํานวน ๙ ใบ มีรูปทรงตางๆ ไดแก ภาชนะดินเผาแบบหมอสีสันขนาด ใหญ ขอบปากผาย ,หมอกนกลมขนาดใหญ ตกแตงดวยการเคลือบน้ําดิน การปนแปะดินและกดประทับลาย 76


บริเวณไหล ,ภาชนะดินเผาแบบหมอทรงกลมขนาดใหญ สวนขอบปากหักหายไป ,ภาชนะแบบหมอมีพวย กน ดานนอกเวาลงไปเปนแองตรงกลาง ,ชามกนตัดครอบอยูบ นภาชนะแบบหมอทรงกลม กนตัด ขอบปากผาย ,ภาชนะทรงกลมขอบปากโคงเขาเล็กนอยคลายทรงบาตรพระ และภาชนะแบบหมอกนกลม คอตรง ขอบปาก ผายออกกลุมภาชนะนี้พบวา ภาชนะบางใบมีชิ้นสวนกระดูกขาของหมูทมี่ ีอายุนอยหรือยังโตไมเต็มที่ (young pig) บรรจุอยูภายในภาชนะเพื่อเปนของอุทิศใหแกผูเสียชีวิต บางใบพบวาภายในบรรจุชิ้นสวนกะโหลกศีรษะ ชิ้นสวนเครื่องมือเหล็ก รวมกับชิ้นสวนถานและดินถูกความรอนจนจับตัวเปนกอนแข็ง สันนิษฐานวาเปนภาชนะ ที่เกี่ยวของกับพิธีกรรมการฝงศพครั้งที่ ๒ บริเวณทางดานขวาของโครงกระดูกมนุษยในระดับชั้นดินเหนือขึ้นมาเล็กนอย (ในระดับ ๖๑๐๖๓๐ cm.dt.) พบกลุมภาชนะดินเผา ๓ ใบ เรียงตัวกันตามแนวตะวันออก-ตะวันตก ไดแก ภาชนะทรงกนกลม ขนาดใหญ ตกแตงดวยลายเชือกทาบ ,ภาชนะดินเผาทรงกนกลม ตกแตง ผิวดวยการขัดมันและลายเสนนูน บริเวณรอบคอภาชนะ จํานวน ๔ เสน และภาชนะดินเผาใบที่สามจากทางทิศตะวันออกเปนภาชนะทรงกน กลม ปากผายเล็กนอย เคลือบน้ําดินสีน้ําตาล ขัดมันทั้งดานนอกและดานใน ภายในภาชนะดินเผาพบวามี ชิ้นสวนฟน จํานวน ๑ ซี่ ชิ้นสวนกะโหลกศีรษะ สันนิษฐานวาเปนชิ้นสวนของโครงกระดูกเด็ก ชิ้นสวนถาน และ ชิ้นสวนแผนโลหะบาง(ตะกั่ว?) จํานวน ๑ ชิ้น สันนิษฐานไดวาเปนการประกอบพิธีกรรมการฝงศพครั้งที่สอง ในระดับความลึก ๕๕๐-๕๖๐ cm.dt. พบแนวพื้นเรียงดวยอิฐ ๕ กอน จํานวน ๑ แถวขนาดความกวางของ แนวอิฐ ๓๖ เซนติเมตร ความยาว ๕๗ เซนติเมตร ซึ่งไดสง ตัวอยางอิฐไปหาคาอายุทางวิทยาศาสตรดวยวิธี เทอรโมลูมเิ นสเซนต(TL-Thermoluminescence)ที่หอ งปฏิบัติการเทอรโมลูมิเนสเซนต ภาควิชาวิทยาศาสตร พื้นพิภพ คณะวิทยาศาสตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดคากําหนดอายุ (BP.) ๑,๒๓๖±๘๖ ปมาแลว (ค.ศ. ๖๒๘-๘๐๐ หรือ พ.ศ. ๑,๑๗๑-๑,๓๔๓)

แนวพื้นเรียงดวยอิฐ พบในระดับความลึก ๕๕๐-๕๖๐ cm.dt. โครงกระดูกหมายเลข ๑ พบฝงอยูในระดับ ๖๒๐-๖๕๐ cm.dt.บริเวณทางขวาของโครงกระดูกพบกลุมภาชนะดินเผา จํานวน ๓ ใบ บริเวณทางดานซายของโครงกระดูกมนุษยหางจากกระดูกหนาแขงออกมาเล็กนอย พบกลุมภาชนะดินเผา จํานวน ๙ ใบ

หลุมขุดคน TP. IV ตั้งอยูทางดานทิศเหนือของหลุมขุดคน TP.Iหางออกไป ๑ เมตรดําเนินการขุดคนทางโบราณคดีระหวางวันที่ ๒๖ กันยายน – ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๙ เปนการขุดคนทางโบราณคดีเพื่อศึกษาความสัมพันธของการใชพื้นทาง ตอนเหนือของหลุมขุดคน TP.I ดําเนินการขุดคนหลุมขนาด ๕X๕ เมตร โดยขุดคนจากระดับผิวดินเดิมจนถึง ชั้นที่ไมปรากฏรองรอยหลักฐานทางโบราณคดี หรือตั้งแตระดับความลึก ๔๓๐-๖๖๐ cm.dt.จากจุดอางอิง ระดับมาตรฐานสมมุติ (datum point) บริเวณหนาปรางคศรีเทพ พบชั้นดินทับถมที่มีความเกี่ยวของกับ กิจกรรมของมนุษยในอดีต ชั้นลางสุดเปนพื้นศิลาแลงธรรมชาติอยูในระดับความลึกจากผิวดินประมาณ ๒.๓๐ เมตร ผลการขุดคนในระดับความลึก๖๑๐-๖๕๐ cm.dt. พบโครงกระดูกมนุษย จํานวน ๔ โครง สภาพ คอนขางสมบูรณจํานวน ๑ โครง ไดแก 77


โครงกระดูกมนุษยหมายเลข ๕ (Burial#5) พบในระดับความลึก ๖๔๐-๖๖๐ cm.dt. เปนโครงกระดูกมนุษย เพศหญิง ความสูงประมาณ ๑๖๔ เซนติเมตร อายุขณะที่เสียชีวิตระหวาง๓๕-๔๕ ป ลักษณะการฝงศพอยูใน ทานอนหงายเหยียดยาว หันศีรษะทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ลักษณะของกระดูกแขนแนบลําตัว กระดูกหัว เขาและกระดูกขอเทาชิดกันในลักษณะถูกมัด มีภาชนะดินเผาแบบผิวเรียบวางไวเหนือกระดูกตนขา ดานละ ๑ ใบ บริเวณใกลกับกระดูกขาดานซายมีภาชนะดินเผาแบบหมอกนกลมปากบานลายเชือกทาบ ๑ ใบ และชาม ดินเผาแบบผิวเรียบ ๑ ใบสวนบริเวณปลายเทามีชามดินเผาแบบผิวเรียบ ๑ ใบ และหมอดินเผากนปากบาน ลายเชือกทาบ ๑ ใบ สวนดานขางโครงกระดูกมนุษยบริเวณใกลกับกระดูกขาขวาพบโครงกระดูกสุนัขมีภาชนะ ดินเผาซึง่ เปนของอุทิศ จํานวน ๒ ใบ บริเวณใตขาหลังขวาและดานหนาของกะโหลกสุนัขลักษณะเปนชามดิน เผาบรรจุกระดูกสัตวขนาดเล็กที่มรี องรอยการถูกความรอน โครงกระดูกหมายเลข ๒ (Burial#2) พบในระดับความลึก ๖๑๐-๖๔๐ cm.dt. เปนโครงกระดูกของผูใหญ อายุตอนเสียชีวิต ประมาณ ๓๕-๔๕ สภาพของโครงไมสมบูรณ พบชิ้นสวนกะโหลกศีรษะ(Cranium) กระดูก สันหลังชวงลาง (Lumbar) กระดูกซี่โครง (Ribs) กระดูกตนแขน (Humerus) กระดูกตนขา (Femer) กระดูก นอง (Fibular) ขากรรไกรลาง (Mandible) กระดูกเทา กระจายปะปนกัน พบรวมกับสิ่งของที่อุทิศใหกับ ผูตาย ไดแก ภาชนะดินเผาแบบหมอกนกลม สีสมปนดํา ภาชนะดินเผาทรงชามกนตัดขนาดเล็ก สีดํา ๑ ใบ ภาชนะดินเผาทรงชามกนตัด สีดํา ขนาดเสนผานศูนยกลาง ๑๒ เซนติเมตร ๑ ใบ และภาชนะดินเผาทรงกลม ลายเชือกทาบ ๑ ใบ โครงกระดูกหมายเลข ๓ (Burial#3)พบในระดับความลึก ๖๓๐ cm.dt. พบชิ้นสวนกระดูกนอง (Fibula) ดานซายและดานขวา สวนบนติดกับผนังดานทิศเหนือของหลุม TP.IV โครงกระดูกหมายเลข ๔ (Burial#4)พบในระดับความลึก ๖๒๐-๖๔๐ cm.dt. พบสวนกะโหลกศีรษะ (Cranium) ในลักษณะกระจาย ขากรรไกรลาง(Mandible) และฟนลางดานขวา พบเพียงครึ่งเดียว

กระดูกนอง(Fibula) ดานซายและดานขวา ของโครงกระดูกมนุษยหมายเลข ๓ สวนกระโหลกศีรษะของโครงกระดูกหมายเลข ๔

โครงกระดูกมนุษยหมายเลข ๕ พบวามีการฝง ภาชนะดินเผาเปนสิ่งของอุทิศใหแกผูเสียชีวิต และบริเวณดานขางของขาขวาพบโครงกระดูก สุนัขที่มีการฝงรวมกับภาชนะดินเผา

โครงกระดูกมนุษยหมายเลข ๒ พบวามีสวนตางๆของ โครงกระดูกปะปนกัน ฝงรวมกับกลุมภาชนะดินเผา

การฝงโครงกระดูกสุนัขรวมกับภาชนะดินเผา บริเวณดานขางของโครงกระดูกมนุษยหมายเลข ๕

78


โบราณวัตถุที่พบจากหลุมขุดคน TP.I และ TP.IV โบราณวัตถุสวนใหญเปนชิ้นสวนของภาชนะดินเผาแบบเนื้อดิน (earthenware) ซึ่งเปนชิ้นสวนของ ภาชนะดินเผาที่มักพบในแหลงโบราณคดียุคกอนประวัติศาสตรตอนปลาย สมัยเหล็กและสมัยทวารวดี และ พบชิ้นสวนภาชนะดินเผาประเภทเนื้อแกรง (stoneware) แบบเครื่องถวยเขมรและเนื้อกระเบื้อง (Porcelain) แบบเครื่องถวยจีนกําหนดอายุสมัยราวพุทธศตวรรษที่ ๑๔-๑๘ นอกจากนี้เปนโบราณวัตถุประเภทเครื่องมือ เครื่องใชในชีวิตประจําวัน ไดแก ขวานหินขัด ชิ้นสวนแทงหินบด ลูกกระสุนดินเผา แวดินเผา ตะคันดินเผา เบี้ยดินเผา ชิ้นสวนแทงดินเผาที่ใชขึ้นรูปและตกแตงลวดลายภาชนะดินเผาแมพิมพดินเผา ตราประทับดินเผา รูปสิงหดินเผารูปวัวมีหนอก ชิ้นสวนตุกตาดินเผาเครื่องมือเหล็กแบบชะแลงมีบอง ชิ้นสวนเครื่องมือเหล็ก แผน ตะกั่วขดเปนวงซอนกันกอนตะกั่วขนาดเล็กรูปทรงกลมแบน หวงโลหะ และเครื่องประดับ ไดแก ตุมหูทําจาก ตะกั่ว ตุมหูทําจากหินคารเนเลียนชิ้นสวนกําไล แหวนและกระพรวนทําจากสําริด ชิ้นสวนกําไลหินทําจากหิน ตระกูลหยก ลูกปดหินกึ่งอัญมณี จําพวกหินคารเนเลียนหินอะเกตและหินควอรทซ ลูกปดดินเผาและลูกปดแก วสีตางๆ เครื่องประดับ?ทําจากดินเผา และชิ้นสวนหวีงาชาง เปนตน หลักฐานทางโบราณคดีที่พบจากหลุมขุดคนทั้งสองหลุมนี้แสดงถึงความสําคัญของพื้นที่เกือบกึ่งกลางเมืองของ พื้นที่”เมืองใน”ของโบราณศรีเทพ ซึ่งมีลักษณะเปนพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดมีแหลงน้ําอยูใกลเคียงวา กอนหนา การสรางเมืองโบราณศรีเ ทพ ไดมีก ารเขามาใชพื้ นที่ของกลุม คนในสัง คมหมูบานเกษตรกรรมที่รูจัก การ เพาะปลูกเลี้ยงสัตว ลาสัตวบกและสัตวน้ําในบางฤดูก าล การทอผา การทําภาชนะดิ นเผา การทําเครื่องมือ เครื่องใชและเครื่องประดับจากโลหะและแกว มีความเชื่อเรื่องการประกอบพิธีกรรมการฝงศพ โดยฝงสิ่งของ เครื่องใช เครื่องประดับและสัตวเพื่อเปนการอุทิศใหแกผูเสียชีวิตในยุคกอนประวัติศาสตรตอนปลาย สมัยเหล็ก เมื่อราว ๑,๗๐๐ ปมาแลว มีการแลกเปลี่ยนสินคากับชุมชนทั้งที่อยูใกลเคียงและดินแดนที่ไกลออกไป จนเมื่อ เขาสูชวงระยะเวลาเมื่อราว ๑,๒๐๐-๑,๓๐๐ ปมาแลว มีการใชพื้นที่บางบริเวณกอเรียงอิฐเปน แนวพื้นของ สิ่งกอสราง(ยังไมทราบหนาที่การใชงาน) และใชพื้นที่เปนแหลงที่อยูอาศัยรวมสมัยกับเมืองโบราณศรีเทพใน วัฒนธรรมทวารวดีและวัฒนธรรมเขมรโบราณ กอนถูกทิ้งรางไปในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๘

โบราณวัตถุทําจากตะกั่ว พบจากหลุมขุดคน TP.I

ตัวอยางชิ้นสวนภาชนะดินเผาพบจากหลุมขุดคน TP.IและTP.IV ดินเผารูปวัวมีหนอก ชิ้นสวนกําไลหิน ทําจากหินตระกูลหยก

ชิ้นสวนตุมหู ทําจากหินคารเนเลียน

เครื่องประดับทําจากหินอะเกต ตัวอยางตะคันดินเผาพบจากหลุมขุดคน TP.IและTP.IV

ตราประทับดินเผารูปสิงห

79

ชิ้นสวนหวีงาชาง


วัดรางกลางกรุงเทพฯและวัดนอยทองอยู (ราง): ผลการสํารวจ และการขุดตรวจทางโบราณคดี นางจิรนันท คอนเซพซิออน นักโบราณคดีชาํ นาญการ กลุมวิจัยและพัฒนางานโบราณคดี กองโบราณคดี ที่มาของโครงการ โครงการสํารวจวัดในกรุงเทพฯ เปนโครงการที่ดําเนินการโดยใชงบประมาณจากโครงการสํารวจแหลง โบราณคดี ปงบประมาณพ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๐ โดยมีระยะเวลาดํา เนินการสํา รวจในเดือ นตุลาคม ๒๕๕๙ – พฤษภาคม ๒๕๖๐ รวม ๒๒๐ วัด สําหรับเปาหมายวัดที่ดําเนินการสํารวจตามโครงการฯ เปนวัดในเขตฝงตะวันตก และตะวันออกของแมน้ําเจาพระยาที่สว นใหญกรมศิลปากรยังไมมีขอมูลในการสํา รวจมากอนโดยมีประวัติการ จัดตั้งวัดตั้งแตปพ.ศ. ๒๑๐๘ – ๒๔๗๐ การดําเนินการสํารวจครั้งนี้มีเปาหมายเพื่อการจัดทําฐานขอมูลทางดาน วิชาการ รวมทั้งมีการประเมินความเปนไปไดเบื้องตนสําหรับการดําเนินการโครงการที่สืบเนื่อง เชน การสํารวจเก็บ ขอมูลทางวิชาการโบราณคดีในเชิงลึก , การบูรณะหรือการอนุรักษ เปนตน สําหรับการนําเสนอในครั้งนี้ ไดคัดเลือกเฉพาะแหลงโบราณคดีที่เปนวัดรางในกรุงเทพฯ โดยการสํารวจได ตรวจสอบสืบคนขอมูลประวัติความเปนมา สิ่งสําคัญและสภาพของวัดในปจจุบนั ซึง่ ผลจากการสํารวจวัดสวนใหญมี การเปลี่ยนแปลงสภาพไปแลว เกือบทั้งสิ้น หลักฐานที่ยังคงเหลืออยูอาจปรากฏในรูปภาพเกา อยูบาง หรือยังคง หลงเหลือหลักฐานเกี่ยวกับโบราณวัตถุ หรือซากของโบราณสถานอยูบางแตมีการซอมแซม ตอเติม สวนการขุดตรวจทางโบราณคดีวัดนอยทองอยู (ราง) เปนโครงการที่เกิดขึ้นเนื่องมาจากโครงการกอสรา ง อาคารเอนกประสงคขนาด ๓ ชั้นของวัดดุสิดารามวรวิหาร ( ซึ่งเปนวัดทีไ่ ดรับพระราชโองการใหดูแลวัดภุมรินราช ปกษีและวัดนอยทองอยูซึ่งถูกยุบรวมมาตั้งแต พ.ศ. ๒๔๕๖ ) เพื่อใชเปนสถานที่ปฏิบัติธรรมในเขตพื้นที่วัดนอยทอง อยู จากการตรวจสอบหลักฐานทางโบราณคดีทางดานเอกสาร แผนที่ และภาพถายเกา พบวา บริเวณกอสรา ง อาคารอเนกประสงคดังกลา วมีตําแหนงของสิ่ง กอสรางของวัดนอยทองอยูป รากฏอยูใ นบริเวณที่จะกอสรา ง คณะกรรมการวิช าการเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน จึงไดมีการประชุมเมื่อ วันที่ ๑๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๘ ณ หองประชุมกองโบราณคดี อาคารกรมศิลปากร เทเวศร มีมติใหดําเนินการขุดตรวจทางโบราณคดี เพื่อนําผลการ ขุดตรวจมาประกอบการพิจารณาอนุญาตอีกครั้ง ขอมูลหลักฐานเกี่ยวกับประวัติวัดนอยทองอยูนั้นไมปรากฏอยางแนชัด หลักฐานที่เปนสิ่ง กอสรา งที่ ยังคงปรากฏอยูใหเห็นบนผิวดิน คือ เจดียยอดดานขางอาคารโรงเรียนมัธยมวัดดุสิดาราม กรมศิลปากรไดประกาศ ขึ้นทะเบียนโบราณสถานแลวเมื่อป พ.ศ.๒๕๔๓ ภาพเจดียยอดซึ่งปจจุบันสวนยอดหักพังจนหมดแลวนั้นปรากฏ ภาพถายที่สมบูรณในงานวิจัยของนายคารล ดอหริ่ง สถาปนิกชาวเยอรมันซึ่งเขามารับราชการในประเทศไทย ในชวงรัชกาลที่ ๕ – ๗ ซึ่งนอกจากภาพเจดียยอด ดังกลาวยังมีภาพเจดียอีก ๒ องคภายในวัดนอยทองอยู นอกจากนี้ ในแผนที่บริเวณกรุงเทพฯ ป พ.ศ.๒๔๘๔ ยังแสดงตําแหนงและรายละเอียดสิ่งกอสราง ตางๆภายในวัดนอยทองอยูที่สมบูรณกอนการตัดถนนและสรางสะพานปนเกลาในป พ.ศ.๒๕๑๖ โดยพื้นที่ของ วัดนอยทองอยู (ราง) ที่ยังคงเหลืออยู มีเพียงดานตะวันตกซึ่งมีขอบเขตติดกับคลองวัดดุสิดารามในพื้นที่ประมาณ ๑ ไร ๓ งานซึ่งเดิมทางวัดดุสิดารามเคยใหบริษัทกัปตันเชาดําเนินการ ปจจุบันเมื่อหมดสัญญาเชาทางวัดดุสิดารามได ใชเปนที่จอดรถนักทองเที่ยวและอาคารเอนกประสงค สําหรับ การขุดตรวจทางโบราณคดีวัดนอยทองอยู (ราง) กรมศิลปากร โดยกองโบราณคดีไดกํา หนด 80


แนวทางการขุดเฉพาะจุดที่จําเปน และคาดวาจะพบหลักฐานซากโบราณสถานใตดินโดยใชหลักฐานแผนที่บริเวณ กรุงเทพฯ ป พ.ศ.๒๔๘๔ กําหนดแนวการขุดเปนหลุมขนาดยาว ๒ หลุม โดยใหมีแนวที่ตัดกัน (ลึกประมาณ ๒ เมตร) และหลุมขุดทดสอบ ๔ หลุม เพื่อใหไดห ลักฐานในการกํา หนดอายุการกอสรา งวัด หลักฐานที่ใชในการ สันนิษฐานเกี่ยวกับลักษณะความเปนอยูของชุมชนและวัดในสมัยนั้น และประการสําคัญคือ เพื่อใหไดหลักฐานที่ใช ประกอบการสันนิษฐานถึงสภาพพื้นที่เดิมของวัดนอยทองอยู ประกอบการพิจารณาการขออนุญาตกอสรางอาคาร เอนกประสงคตอไป

วัดรางที่ทําการสํารวจ 1.วัดกระดังงา (ราง) 2. วัดอังกุลา (ราง) 3. วัดตะเข – ปูเถร 4. วัดโคกโพธิ์ราม วัดรางที่ไดขอมูลจากการสัมภาษณ 1.วัดโคกเจดีย (ราง) 2. วัดมะขาม (ราง) 3. วัดโคกน้ําผึ้ง (ราง) 4. วัดหลวงเภสัช (ราง) 5. วัดประวาส (ราง)

5. วัดปาเชิงเลน 6. วัดสวนสวรรค (ราง) 7. วัดสุวรรณคีรี (ราง) 8. วัดใหมวิเชียร (ราง)

9. วัดบางบอน (ราง) 10. วัดสี่บาท (ราง) 11. วัดนาค (ราง) 12. วัดพระยาไกร (ราง)

6. วัดปา (ราง) 7. วัดชางนอก (ราง) 8. วัดชางใน (ราง) 9. วัดเจาหรือวัดนก (ราง) 10. วัดหนาพระธาตุ (ราง)

11. วัดไกเตี้ย (ราง) 12. วัดเงิน (ราง) 13. วัดทอง (ราง)

81


แผนผังแสดงพื้นทีโ่ ครงการขุดตรวจทางโบราณคดีวัดนอยทองอยู (ราง)

82


อาศรมฤาษีที่ภูเขากัจโตน วสันต เทพสุริยานนท๑ ความนํา กัจโตน เปนชื่อภูเขาที่ปรากฏอยูในจารึกปลายบัด ๒ ดานที่ ๑ ดังความวา “...เมื่อ พ.ศ. ๑๔๖๘ เดือนยี่ วันอาทิตย พระเจาอีศานวรมันที่ ๒ มีพระบรมราชโองการไปถึง ศรีประถิวีนทรมัน ศรีมหิธวรมัน ศรีลักษมี ปติวรมัน ราชนิกุลทั้งหมด ศรีราเชนทราธิปติวรมัน ศรีนฤปตีนทรวรมัน มหามนตรีทุกคน และอาจารยทั้ง ๕ ใหแจง วาบอมฤตมาทําจารึกประกาศไวที่ภูเขากัจโตน...”๒ เนื้อความจากการอาน-แปลจารึกดังกลาวทําใหทราบวา “กัจโตน” เปนชื่อเดิมของเขาปลายบัดใน ปจจุบัน ซึ่งหางจากเขาพนมรุงลงมาทางทิศใตประมาณ ๕ กิโลเมตร ในเขตพื้นที่ตําบลจรเขมาก อําเภอประโคนชัย นับเปนภูเขาไฟในจังหวัดบุรีรัมยอีกลูกหนึ่งที่ดับสนิทแลว ลักษณะทอดตัวยาวตามแนวทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก ประมาณ ๓ กิโลเมตร และกวางตามแนวทิศเหนือ-ทิศใต ประมาณ ๒ กิโลเมตร มียอดเขาสูงสุดจากระดับน้ําทะเล ปานกลางประมาณ ๒๘๙ เมตรบริเวณกึ่งกลางเขามีป ากปลองภูเขาไฟเปนรูปวงรี แนวขอบกวางตามแนวทิศ ตะวันออก-ทิศตะวันตก ประมาณ ๓๐๐ เมตร และลาดเอียงลงตามยาวแนวทิศหนือ-ทิศใต ประมาณ ๓๕๐ เมตร “กัจโตน” เปนชื่อที่ยังไมทราบความหมาย สว น “ปลายบัด” ซึ่งเปนชื่อเรียกในปจจุบัน แปล ความหมายตามสําเนียงการออกเสียงในภาษาเขมรทองถิ่นไดวา “ยอดหาย” หรือ “ไมมียอด” ซึ่งนาจะเปนการ เรียกตามลักษณะของภูเขาที่มองเห็นไดจากหมูบานโคกเมืองไปยังเขาปลายบัด ที่จะเห็นสว นยอดเขาหายไปไมมี ลักษณะสอบแหลมอยางที่เห็นทั่วไป แตกลับมีลักษณะราบเรียบคลา ยถูกตัดออกไป ซึ่งพบวาเกิดจากการกระทํา ของคนโบราณในการปรับพื้นที่ยอดเขาปลายบัดใหราบเรียบเพื่อใชพื้นที่ในการกอสรางปราสาทปลายบัด ๑ บน ยอดเขาทางทิศตะวันออกนั่นเอง จารึกเขาปลายบัด จากการดําเนินงานทางโบราณคดีที่เขาปลายบัดในอดีตที่ผานมา ไดพบจารึกจากเขาปลายบัด จํานวน ๒ หลัก ไดแก จารึกปลายบัด ๑ และจารึกปลายบัด ๒ โดยใหชื่อและหมายเลขตามชื่อปราสาทปลายบัด ๑ และปราสาทปลายบัด ๒ ตามประวัติการพบจารึกดังกลาว จารึกปลายบัด ๑ ตามประวัติกลา วว า หอสมุดแหงชาติไ ดรับแจงจาก นางสาวทัศนีย พิกุล หัวหนาพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พิมาย (ขณะนั้น) และนายสุรพงษ พิลาวุธ ศึกษาธิการอํา เภอบานกรวด จังหวัด บุรีรัมย เมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๔๒ วา ไดพบจารึกหลักใหม เก็บ รักษาไวที่วัดพระสบาย อํา เภอบานกรวด หอสมุดแหงชาติจึงไดมอบหมายใหนักภาษาโบราณเดินทางไปทํา สําเนาจารึกเมื่อวันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๔๒ และ ตอมาในป พ.ศ. ๒๕๔๓ อุทยานประวัติศ าสตรพนมรุงไดไปขอรับมอบจารึกหลักนี้มาและสงไปเก็บรักษาไวใ น พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พิมาย จนปจจุบัน ลักษณะเปนจารึกบนกรอบประตูหินทราย กวา งประมาณ ๕๒.๕ ๑ ๒

นักโบราณคดีชาํ นาญการ อุทยานประวัติศาสตรพนมรุง สํานักศิลปากรที่ ๑๐ นครราชสีมา ชะเอม แกวคลาย. “จารึกปลายบัด๒” ศิลปากร. ปที่ ๔๔ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม–มิถุนายน ๒๕๔๔) หนา ๘๙. ๘๓


เซนติเมตร หนาประมาณ ๒๑.๕ เซนติเมตร สูงประมาณ ๑๓๙ เซนติเมตร เปนอักษรขอมโบราณ ภาษาเขมร อานแปลความไดวา๓ มหาศักราช ๘๔๓ ขึ้น ๑๐ ค่ํา เดือน ๓ วันพุธ มีพระบรมราชโองการของพระบาทกัมรเตงอัญ พระเจาศรีหรษวรมัน(ที๑่ ) ใหโขลญพลไปทําการบูชาพระกัมรเตงชะคัตวิศ วรูป ที่แ ทนบูช า .......... พระ อาจารยทั้ง ๗ สาขา พระองคเสด็จไปยังอาศรม เพื่อสถาปนาพระอาจารยวิษณุเทวะ ที่วิหาร... จารึกปลายบัด ๒ ตามประวัติกลาววา นายพูน เลื่อยคลัง ราษฎรหมูบา นยายแยม ตําบลถาวร อํา เภอละหานทราย จังหวัด บุรีรัมย นํา มาจากปราสาทปลายบัดเมื่อ ครั้งมีการขุดทําลายและมอบใหกลับกรม ศิล ปากร เมื่อ เดือนมีนาคม ๑๕๑๓ ลักษณะจารึกเปนรูปใบเสมา อักษรขอมโบราณ ภาษาเขมรและสันสกฤต ปจจุบันเก็บรักษาที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติมหาวีรวงศ มีขอความ ๒ ดาน อาน-แปลความ สรุปไดดังนี๔้ ๑.ใหอภัยแกพระกัมเสตงอัญแหงกัจ โตนคนกอ นที่สละเพศคฤหัส ถออกถือบวช ไมตองอยูใ น ปกครองของโขลญวิษัย ใหทา นทํา หนาที่ป ฏิบัติเทวาจารยอยา งสมบูรณ และไมตองใหทา น รับภาระเรื่องหนี้ที่มีอยูในการสรางลิงคปุระ ๒.สาปแชงผูทําลายศาสนสถานและลบลางพระบรมราชโองการ ใหตกนรกตราบเทาที่พระจันทร และอาทิตยยังมีอยู ๓.มีพระบรมราชโองการกําหนดหนาที่ใหผูที่อยูในภายหลังพึงปฏิบัติตอพระราชาผูสวรรคตแลว พรอมทั้งวิธีปฏิบัติและวัตถุสิ่งของพึงถวายแกพระราชา ๔.บรมราชโองการอวยพรแกผูที่ทําความดี ชว ยอนุรักษศ าสนสถาน ชว ยรักษาพระบรมราช โองการ ชวยสงเสริมการทําบุญกุศลใหเจริญขึ้น บุคคลผูนั้นจะไดรับสวนบุญครึ่งหนึ่งดวย ขอความจากการอา น-แปล จารึกปลายบัด ทั้ง ๒ หลักดังกลา วมีสาระสําคัญที่นา สนใจหลาย ประการ ซึ่งไดแก การบอกใหทราบวาบนภูเขากัจโตนหรือเขาปลายบัดแหงนี้มีการสราง “ลิงคปุระ” มีการสราง แทนบูชาเพื่อประดิษฐาน “พระกัมรเตงชะคัตวิศวรูป” มีการสราง “อาศรม” อันเปนที่อยูของพระอาจารยทั้ง ๗ สาขา จึงเปนที่นาสนใจศึกษาและสืบคนหาวาสิ่งกอสรางเหลานี้อยูบริเวณใดบนเขาปลายบัด โบราณสถานบนเขาปลายบัด จากการดํ า เนิน งานทางโบราณคดีใ นพื้ นที่ เขาปลายบัด ที่ผ า นมาจนถึง ปจ จุบั น ได พบกลุ ม โบราณสถานอยางนอย ๕ แหง ดังนี้ ๑. ปราสาทปลายบัด ๑ ตั้งอยูบนยอดเนินดานทิศตะวันออกของเขาปลายบัด มีการปรับแตงเนิน เขาใหราบเพื่อสรางปราสาท ซึ่งประกอบดวยปราสาทประธาน มีลักษณะสวนฐานอาคารสรางจากศิลาแลงรูป สี่เหลี่ยมผืนผา ตัวปราสาทสรางดวยหินทรายปนอิฐและหินภูเขาไฟ สวนยอดใชอิฐเปนวัส ดุสํา คัญแตพังทลายลง หมดแลว ดานหนาทางทิศตะวันออกมีวิหารรูปสี่เหลี่ยมผืนผาสรางดวยศิลาแลงปนอิฐ ฝงตรงขามพบฐานอาคารรูป ๓ ๔

ชะเอม แกวคลาย. จารึกปราสาทปลายบัด. เอกสารอัดสําเนา, ๒๕๔๒ เรื่องเดียวกัน, ๒๕๔๔. หนา ๙๑ ๘๔


สี่เหลี่ยมจัตุรัสสรางดวยศิลาแลง ชายเนินดานทิศตะวันออกหางไปประมาณ ๑๕๐ เมตร เปนบารายประจํา ศาสน สถาน รูปสี่เหลี่ยมผืนผาขนาดประมาณ ๔๐×๖๐ เมตร จากการอาน-แปล จารึกปลายบัด ๑ ความวา “...ใหโขลญพลไปทําการบูชาพระกัมรเตงชะคัตวิศว รูป ที่แทนบูชา...” ทําใหสันนิษฐานวา แทนบูชาพระกัมรเตงชะคัตวิศวรูปดังกลาวนาจะหมายถึงแทนบูชาทีป่ ราสาท ปลายบัด ๑ ซึ่งจะสอดคลองกับทับหลังรูปพระอินทรทรงชางเอราวัณ ขอบดานบนปรากฏรูปโยคีอยูภายในซุงเรือน แกว๕ ซึ่งเปนทับหลังประจําโคปุระทิศตะวันออกและโยคีก็เปนสัญลักษณสาวกแหงองคพระศิวะ ๒. ปราสาทปลายบัด ๒ ตั้งอยูบนยอดเนินดานทิศตะวันตกของเขาปลายบัด ปรากฏรองรอยหลุม เปนจํานวนมากที่เกิดจากการขุดหาโบราณวัตถุ ลักษณะแผนผังเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดดา นละประมาณ ๔๕ เมตร ซึ่งเปนกํา แพงแกวที่ส รา งดว ยศิล าแลงและหินภูเขาไฟ สว นปราสาทประธานอยูภายในคอ นมาทางทิศ ตะวั น ตก เป น ปราสาทอิ ฐ หลัง เดี ยวตั้ง อยู บ นฐานศิ ล าแลง สภาพทรุ ดโทรมมาก เคยมี ป ระวั ติ ก ารขุ ด พบ ประติมากรรมพระโพธิสัตวสําริดจํานวนมาก รวมไปถึงพระพุทธรูปนาคปรกหินทรายและประติมากรรมรูปอืน่ ๆ ซึง่ นักวิช าการหลายทา นเชื่อวา เปน ประติมากรรมที่เคลื่อนยายมาจากแหลงอื่น เนื่องจากรูปแบบศิลปกรรมของ ประติมากรรมกลุมดังกลาวกําหนดอายุอยูในชวงศิลปะเขมรกอนเมืองพระนคร สวนปราสาทปลายบัด ๒ กําหนด อายุอยูในสมัยเขมรเมืองพระนคร๖ จากการอาน-แปล จารึปปลายบัด ๒ ความวา “ใหอภัยแกพระกัมเสตงอัญแหงกัจโตนคนกอนที่ สละเพศคฤหัสถออกถือบวช ไมตองอยูในปกครองของโขลญวิษัย ใหทานทําหนาที่ปฏิบัติเทวาจารยอยางสมบูรณ และไมตองใหทานรับภาระเรื่องหนี้ที่มีอยูในการสรา งลิงคปุระ” จึงสันนิษฐานในเบื้องตนวา “ลิงคปุระ” ในที่นี้ นาจะหมายถึงปราสาทปลายบัด ๒ ที่พระกัมเสตงอัญแหงกัจโตนคนกอนเปนผูสราง ตามความที่ปรากฏในจารึก ๓. แนวฐานหินรูปสี่เหลี่ยม ลักษณะเปนแนวฐานของสิ่งกอสรางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดดานละ ๑๖ เมตร เรียงตัวตามแนวทิศเหนือ-ใต จํานวน ๑๒ หลัง มีระยะหางระหวางแตละหลังประมาณ ๒๑ เมตร จาก การสํารวจภาคพื้นดินพบวาเปนการนําเอาหินภูเขาไฟธรรมชาติมากองเรียงกันเปนรูปสี่เหลี่ยมสูงจากพื้นโดยรอบ ประมาณ ๑.๒๐ เมตร ขางๆดานทิศ ตะวันตกของฐานหินทุกหลังมีการนําหินธรรมชาติมาเรียงเปนแนวกรอบรูป สี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดดานละ ๓๕ เมตร เรียงคูขนานกันไป บางหลังมีรองรอยการขุดหาโบราณวัตถุ จากการอานแปลจารึกปลายบัด ๑ ความวา “...ใหโขลญพลไปทํา การบูชาพระกัมรเตงชะคัต วิศวรูป ที่แทนบูชา .......... พระอาจารยทั้ง ๗ สาขา พระองคเสด็จไปยังอาศรม เพื่อสถาปนาพระอาจารยวิษณุเทวะ ที่วิหาร...” จึงสันนิษฐานในเบื้องตนวา รองรอยแนวกรอบหินรูปสี่เหลี่ยมดังกลาวนา จะเปนแนวเขตพื้นที่อยูอาศัย ของคนโบราณบนเขาปลายบัด หรืออาจจะเปนอาศรมของนักบวช เชน พระอาจารยทั้ง ๗ สาขา ซึ่งตามคติใน ศาสนาฮินดูไ ศวะนิกาย พระอาจารยทั้ง ๗ นา จะหมายถึง ฤาษี ๗ ตน อันเกิดจากการบันดาลของพระศิว ะ ประกอบดวย ฤาษีมรีจิ ฤาษีอัตริ ฤาษีอังคีรส ฤาษีปุจหะ ฤาษีกระตุ ฤาษีปุจลัสตะยะ ฤาษีวิสิษฐิ๗และแทนฐานหิน ๕

กมลวรรณ นิธินันทน. รายงานโครงการขุดแตงและออกแบบเพื่อการบูรณะปราสาทปลายบัด๑ ตําบลจรเขมาก อําเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย. กรมศิลปากร จัดพิมพ. ๒๕๕๙, หนา ๗๒-๗๔. ๖ ศิริพจน เหลามานะเจริญ. ประติมากรรมสําริดแบบประโคนชัย : หลักฐานศิลปกรรมเริ่มแรกของสมัยประวัติศาสตรในที่ราบสูง โคราช. วิทยานิพนธตามหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตรศิลปะ ภาควิชาประวัติศาสตรศิลปะ บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา ๒๕๔๖, หนา ๓๘. ๗ http://www.ongtep.com/detail.php?id=254 สืบคนเมื่อ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๐ ๘๕


รูปสี่เหลี่ยมจํานวน ๑๒ หลังดังกลาวนาจะเปนแทนบูชาหรือแทนประดิษฐานรูปเคารพตางๆ ดังความในจารึกปลาย บัด ๑ ก็เปนได ๔.ปากปลองภูเขาไฟปลายบัดลักษณะเปนรูปวงรี กวางตามแนวตะวันออก-ตะวันตก ประมาณ ๓๐๐ เมตร ยาวลาดเอียงลงตามแนวเหนือ-ใต ประมาณ ๓๕๐ เมตร ถูกปรับแตงใหเปนอางเก็บน้ําโบราณดว ยการ นําเอาหินภูเขาไฟปนดินมาสรางเปนคันเขื่อนทางดานทิศใตของปากปลองภูเขาไฟเปนแนวยาวประมาณ ๔๐๐ เมตร กวางประมาณ ๑๒ เมตร เพื่อกักเก็บ น้ําไวและเมื่อระดับน้ําสูงกวา ระดับที่กักเก็บไดจะเออลนคันเขื่อนเปน น้ําตกหวยลึกลงสูอางเก็บน้ําหวยลึกบริเวณเชิงเขาปลายบัดดานทิศตะวันออกเฉียงใต ๕.อางเก็บน้ําหวยลึก เปนอางเก็บน้ําโบราณที่สรางคันเขื่อนเชื่อมระหวางเนินเขา ๒ เนินทางดา น ทิศเหนือและทางดานทิศใตเขาดวยกัน มีความยาวประมาณ ๔๔๐ เมตร บริเวณคันเขื่อนจะมีชองทางน้ํา ลน ไหล ออกไปลงลําหวยตะแบงซึ่งมีทางน้ําไหลไปลงบารายเมืองต่ําบริเวณมุมดานทิศตะวันออกเฉียงใตของบาราย นับเปน ระบบชลประทานโบราณที่สําคัญในบริเวณนี้ สรุป ภูเขากัจโตนเปนชื่อเดิมของภูเขาปลายบัด ซึ่งปรากฏชื่อในจารึกปลายบัด ๒ ปจจุบันตั้งอยูใ นพืน้ ที่ ตํา บลจรเขมาก อําเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมยภ ายในบริเวณภูเขาแหงนี้มีสิ่งกอสรางตางๆ จํานวนมาก ทั้ง ปราสาทปลายบัด ๑ บนยอดเขาทางทิศตะวันออก ปราสาทปลายบัด ๒ บนยอดเขาทางทิศ ตะวันตก ฐานหินรูป สี่เหลี่ยม จํานวน ๑๒ หลัง เรียงตัวยาวตามแนวทิศเหนือ-ทิศใต ปากปลองภูเขาไฟที่มีการปรับแตงเปนอา งเก็บน้ํา ขนาดใหญบนภูเขาและไหลลนลงมาสูอางเก็บน้ําบริเวณเชิงเขาดานทิศตะวันออก กอนจะไหลลนลงสูลาํ หวยตะแบง ซึ่งเปนลําหวยธรรมชาติที่ไหลเชื่อมลงสูบารายเมืองต่ําและทองทุงเกษตรกรรม เขาปลายบัดในชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๕-๑๖ จึงเปนหนึ่งในศูนยกลางศาสนาและความเชื่อในลัทธิ ไศวะนิกาย บนภูเขามีการอยูอาศัยของนักบวชในศาสนาเพื่อปฏิบัติเทวาจารย อยา งเชน พระกัมเสตงอัญแหงกัจ โตนคนกอนที่สละเพศคฤหัสถออกถือบวช หรือ อาจารยทั้ง ๗ สาขา ซึ่งตางตองมีอาศรมหรือที่อยูอาศัยบนเขา ปลายบัดแหงนี้ นอกเหนือจากการมีอยูของลิงคปุระและแทนบูชาพระกัมรเตงชะคัตวิศวรูป ดังปรากฏความในจารึก ทั้ง ๒ หลัก และหลักฐานสิ่งกอตางๆ บนเขาปลายบัดที่พบเห็นไดในปจจุบัน บรรณานุกรม กมลวรรณ นิธินันทน. รายงานโครงการขุดแตงและออกแบบเพื่อการบูรณะปราสาทปลายบัด๑ ตําบลจรเขมาก อําเภอประโคนชัย จังหวัดบุรรี ัมย. กรมศิลปากร จัดพิมพ. ๒๕๕๙. ชะเอม แกวคลาย. จารึกปราสาทปลายบัด. เอกสารอัดสําเนา, ๒๕๔๒ ชะเอม แกวคลาย. “จารึกปลายบัด๒” ศิลปากร. ปที่ ๔๔ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม–มิถุนายน ๒๕๔๔. ศิรพิ จน เหลามานะเจริญ. ประติมากรรมสําริดแบบประโคนชัย: หลักฐานศิลปกรรมเริ่มแรกของสมัยประวัตศิ าสตร ในที่ราบสูงโคราช. วิทยานิพนธตามหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัตศิ าสตร ศิลปะ ภาควิชาประวัตศิ าสตรศิลปะ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา ๒๕๔๖. ๘๖


แผนทีแ่ สดงตําแหนงที่ตั้งภูเขาปลาย บัด ทางดานทิศใตของเขาพนมรุง และระบบชลประทานที่เชื่อมตอกัน ระหวางเขาพนมรุง เขาปลายบัดและ บารายเมืองต่าํ (แผนที่มาตราสวน ๑:๕๐,๐๐๐ WGS ๘๔ อําเภอละหานทราย พิมพครั้งที่ 1-RTSD ลําดับชุด L7018 ระวาง 5537 I )

๘๗


โครงกระดูกมนุษยจากวัดวิหารทอง เมืองพิษณุโลก นางสาวนาตยา ภูศรี นักโบราณคดีชํานาญการ สํานักศิลปากรที่ ๖ สุโขทัย

วัดวิหารทอง เปนวัดโบราณที่สันนิษฐานวาสรางขึ้นในสมัยอยุธยาตอนตน ตั้งอยูบนริมฝงแมน้ํานาน ดานตะวันตก กลางเมืองพิษณุโลก กรมศิลปากรไดประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานวัดวิหารทองเปนสวนหนึ่ง ของพระราชวัง จันทน เมื่อพ.ศ. ๒๕๓๗ และสํานัก ศิล ปากรที่ ๖ สุโ ขทัย ไดดําเนินการขุดคนขุดแตง ทาง โบราณคดีในพื้นที่วัดวิหารทองตั้งแตพ.ศ. ๒๕๓๙ เปนตนมา

ภาพถายทางอากาศเมืองโบราณพิษณุโลกแสดงตําแหนงที่ตั้งวัดวิหารทอง ปลายป ๒๕๕๙ สํานักศิลปากรที่ ๖ สุโขทัย ไดรับงบประมาณโครงการอนุรักษและพัฒนาพระราชวัง จันทน กิ จ กรรมขุด คนขุ ดแต ง ทางโบราณคดีพื้น ที่ด านหนา วัดวิ ห ารทอง โดยเริ่ม ดําเนิน การตั้ง แตเ ดือ น พฤศจิกายน ๒๕๕๙ – มีนาคม ๒๕๖๐ การขุดคนพื้นที่ดานหนาวัดวิหารทองในระยะแรก ไดพบหลักฐานเปน โครงกระดูกมนุษย จํานวน ๒ โครง ฝงอยูนอกกําแพงแกววัดวิหารทอง บริเวณดานทิศตะวันออก การคนพบ ดังกลาวเปนสิ่งที่อยูเหนือความคาดหมาย เนื่องจากโครงกระดูกมนุษยนั้นเปนหลักฐานทางโบราณคดีที่พบได นอยมากสําหรับแหลงโบราณคดียุคประวัติศาสตร ตั้งแตสมัยสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร บทความเรื่องนี้ เปนการนําเสนอขอมูลหลักฐานเกี่ยวกับโครงกระดูกมนุษยทั้งสองโครงวาจะมีความสัมพันธกับวัดวิหารทอง หรือไม อยางไร วัดวิหารทอง : ความสําคัญ ชื่อวัดวิหารทอง ปรากฏครั้งแรกในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๓ ฉบับเจาพระยา ทิพากรวงศ ซึ่งกลาวถึงการสรางพระวิหารวัดสระเกศเพื่อเปนที่ประดิษฐานพระอัษฐารส ที่ไดอัญเชิญไปจากวัด วิหารทอง เมืองพิษณุโลก ความวา

๘๘


“....สรางพระวิหารขึ้นไว พระอัษฐารส ศรีสุคตทศพลญาณบพิตร สูง ๒๑ ศอก ๑๔ นิ้ว ซึ่งไดมาแตวัด พิหารทอง เมืองพิษณุโลก.....”๑ พระอัษฐารส ที่ปรากฏชื่อในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๓ นี้ เปนพระพุทธรูปยืน ขนาดใหญ หลอดวยสําริด แสดงปางประทานอภัย พระพักตรแบบศิลปะอยุธยา เม็ดพระศกขมวดเปนกน หอย พระรัศมีเปนเปลว ครองจีวรหมคลุม ปลายพระหัตถเสมอกัน กําหนดอายุอยูในสมัยอยุธยา พุทธศตวรรษ ที่ ๒๐-๒๑ พระนามของพระพุทธรูปองคนี้ในปจจุบัน คือ “พระอัฏฐารสศรีสุคตทศพลญาณบพิตร”๒ หรือ เรียกสั้นๆวา พระอัฏฐารส

พระอัฏฐารสศรีสุคตทศพลญาณบพิตร ปจจุบัน ประดิษฐานอยูท ี่วัดสระเกศ

นอกจากเอกสารไทยแลว หลักฐานเกี่ยวกับวัดวิหารทองยังปรากฏในหนังสือของชาวตางชาติ เรื่อง “Le Siam Ancient” เขียนโดย Lucien Fournereau ชาวฝรั่งเศส ตีพิมพเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๑ (ค.ศ.๑๙๐๘) ซึ่งไดแสดงภาพถายผังวัดวิหารทองไวดวย ผังวัดวิหารทอง ในหนังสือ “Le Siam Ancient” ซึ่งตีพิมพเมื่อพ.ศ.๒๔๕๑ (ค.ศ.๑๙๐๘)

ผลจากการขุดคนขุดแตงทางโบราณคดีในพื้นที่วัดวิหารทอง พบหลักฐานที่นาสนใจดังนี้ ๑. เจดียประธาน มีรูปแบบเปนพระปรางคสมัยอยุธยาตอนตน ขนาด ๒๗ x ๒๗ เมตร สภาพใน ปจจุบันเหลือเพียงสวนฐานเขียงและฐานบัวลูกฟกสวนเรือนธาตุและสวนยอดนั้นไมปรากฏแลว จากการขุดคน ขุดแตงเมื่อพ.ศ.๒๕๓๙ ไดพบชิ้นสวนของกลีบขนุนปูนปน บริเวณสวนพื้นรอบเจดียประธานนั้นพบวามีการปู พื้นดวยกระเบื้องเคลือบสีขาว เจดียประธานลอมรอบดวยระเบียงคต

เจาพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี, พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๓. (กรุงเทพ:โรงพิมพคุรุ สภา), ๒๕๔๗, ๑๔๔. ๒ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการกอสรางอนุสาวรียแหงชาติและการจําลองพระพุทธรูปสําคัญ พ.ศ.๒๕๒๐. ๘๙


เจดียประธานวัดวิหารทอง

๒. วิหารพระอัฎฐารส เปนอาคารขนาดใหญ (วิหารขนาด ๙ หอง) ขนาดกวาง ๑๙.๕๐ เมตร ยาว ๔๙.๕๐ เมตร ตั้งอยูทางดานทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพระปรางค อาคารหันหนาไปทางทิศตะวันออก มี มุขดานหนาและดานหลัง มีบันไดอยูทางดานทิศตะวันออก วิหารหลังนี้มีฐานชุกชีที่ไมกวางนัก แตคอนขางสูง จึงสันนิษฐานวานาจะเคยเปนที่ประดิษฐานพระอัฎฐารส ศรีสุคตทศพลญาณบพิตร ที่มีหลักฐานปรากฏในพระ ราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๓

วิหารพระอัฏฐารส

๓. อุโบสถ ตั้งอยูทางดานทิศตะวันออกเฉียงใตของพระปรางค ลักษณะเปนอาคารกออิฐถือปูนขนาด ใหญ (ขนาด ๙ หอง) กวาง ๑๔ เมตร ยาว ๔๐ เมตร หลังคาเครื่องไมมุงกระเบื้อง มีมุขดานหนาและดานหลัง มีบันไดอยูทางดานหนาและดานขางมุขหลัง รูปแบบทางสถาปตยกรรมสันนิษฐานวามีลักษณะเหมือนกับวิหาร คือ เปนอาคารกออิฐถือปูน ใชผนังและเสารับน้ําหนักโครงสรางหลังคาที่เปนเครื่องไมมุงกระเบื้อง ผนังอาคาร มีการเจาะชองแสง จากการขุดแตง ไมพบรองรอยของฐานใบเสมา แตจ ากแผนผังในหนัง สือ “Le Siam Ancient” ของ Lucien Fournereau ซึ่งตีพิมพเมื่อพ.ศ.๒๔๕๑ ยังปรากฏรองรอยของตําแหนงใบเสมาทั้ง แปดทิศ๓

อุโบสถวัดวิหารทอง

Lucien Fournereau, Le Siam Ancient (Paris : Ministere de L’Instruction Publique et des BeauxArts, 1908), Pl.XL. ๙๐


๔. ศาลา ตั้งอยูทางดานทิศตะวันออกของวิหารหนาพระปรางค เปนอาคารขนาดเล็ก ไมพบหลักฐาน ใดมากนักนอกจากฐานเขียง จึงไมอาจสันนิษฐานรูปแบบของอาคารไดชัดเจน ๕. กําแพงแกว จากการขุดแตงไดพบแนวกําแพงแกวดานทิศเหนือ ดานทิศตะวันตก และดานทิศ ตะวันออก สวนแนวกําแพงแกวดานทิศใตนั้นอยูใตแนวถนนขางศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก โดยมีชองประตู ทางดานทิศตะวันออก ทิศตะวันตก และทิศเหนือ ๖. วิ ห ารดานทิศตะวัน ออก แมวา จากการขุดแต ง จะไมพ บหลั ก ฐานที่ชั ดเจนของวิห ารด านทิ ศ ตะวันออกที่อยูดานหนาพระปรางค แตการกอระเบียงคตลอมรอบเจดียประธาน ซึ่งเปนรูปแบบของการสราง วัดในสมัยอยุธยาตอนตนที่นิยมสรางพระปรางคไวเปนประธานหลักของวัดโดยมีวิหารอยูทางดานทิศตะวันออก สวนทายของวิหารจะเชื่อมตอกับระเบียงคตที่ลอมรอบพระปรางค เชน ที่วัดพุทไธสวรรย วัด ราชบูรณะ เปนตน ในพิษณุโลกพบรูปแบบแผนผังลักษณะเชนนี้ที่วัดอรัญญิก และวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหารก็ นาจะมีลักษณะเชนเดียวกันนี้ แตเนื่องจากการบูรณะปฏิสังขรณในสมัยหลังทําใหสวนระเบียงคตชั้นในของวัด พระศรีรัตนมหาธาตุถูกตัดขาดจากสวนทายของวิหารพระอัฎฐารศทางดานทิศตะวันออก ดังนั้นจึงสันนิษฐานวา ที่วัดวิหารทองนั้น เดิมนาจะมีวิหารอยูทางดานหนา (ทิศตะวันออก) ของพระปรางคดวย เมื่อพิจ ารณาหลัก ฐานจากการขุดคนขุดแตง วัดวิหารทอง ทั้งทางดานสถาปตยกรรมและหลัก ฐาน โบราณวัตถุ สันนิษฐานวาวัดวิห ารทองนาจะสรางขึ้นในชวงระหวางพุท ธศตวรรษที่ ๒๐ – ๒๑ เนื่องจาก สถาปตยกรรมแบบพระปรางคนั้นเปนรูปแบบที่ไดรับความนิยมในสมัยอยุธยาตอนตน นอกจากนี้หลักฐาน ทางดานเอกสารยังระบุถึงความสําคัญของเมืองพิษณุโลกในฐานะเมืองอุปราชสมัยอยุธยาตอนตน เปนเหตุใหมี การสงพระราชโอรสซึ่ง จะขึ้นครองราชยต อไป มาครองเมืองพิษณุโลก ซึ่ง ความสัม พันธดัง กลาวนี้ส ะทอน ออกมาในงานทางดา นสถาปต ยกรรมของเมืองพิษณุ โ ลกดวย เช น พระปรางค วั ดพระศรี รัตนมหาธาตุ วรมหาวิหาร เมืองพิษณุโลก ที่ไดรับการปฏิสังขรณจนมีรูปแบบสถาปตยกรรมแบบอยุธยาตอนตน ซึ่งนาจะเปน ตนแบบใหกับวัดวิหารทอง จากการขุดคนขุดแตงทางโบราณคดีในพ.ศ. ๒๕๕๕ บริเวณดานนอกกําแพงแกววัดวิหารทองทางดาน ตะวันออกเฉียงใต ไดพบหลักฐานเปนฐานเจดีย ตั้งอยูในตําแหนงดานหนาประตูกําแพงแกววัดวิหารทอง ดังนั้น จึงเปนสวนที่สันนิษฐานวามีการสรางเพิ่มเติมในภายหลัง กําหนดอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๒๒ – ๒๓ การคนพบโครงกระดูกมนุษย ในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๙ หลังจากเริ่มดําเนินการขุดคนขุดแตงทางโบราณคดีบริเวณหนาวัดวิหาร ทองไปไดเพียงเล็กนอย ในวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ระหวางดําเนินการขุดคนขุดแตงพื้นที่บริเวณดานนอก กําแพงแกววัดวิหารทองทางดานทิศตะวันออก ไดพบหลักฐานเปนโครงกระดูกมนุษย โดยเริ่มพบสวนกะโหลก ศีรษะกอน จากนั้นจึงไดขุดคนตอจนพบโครงกระดูกทั้งรางตั้งแตศีรษะถึงปลายเทา โครงกระดูกดังกลาวฝงอยู ในระดับลึกจากผิวดินประมาณ ๘๐ เซนติเมตร หันศีรษะไปทางทิศตะวันออก มีอิฐแตกหักวางปกคลุมสวน บริเวณหนาอกของโครงฯ ใตโครงกระดูกเปนอิฐแตกหักเชนกัน ตอมา ในวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ไดขุดคนพบโครงกระดูกมนุษยเพิ่มเติมอีก ๑ โครง หางจากโครงกระดูกโครงแรกไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ ๑.๕๐ เมตร แตโครงกระดูกโครงที่สองนี้ถูกรบกวนอยางมากทําใหเหลือหลักฐานเพียงกระดูกขาและ กระดูกกะโหลกบางสวนอยูปะปนกัน

๙๑


ตําแหน่งทีพบโครงกระดูก

ผังบริเวณวัดวิหารทอง เสนสีแดงแสดงแนวกําแพงแกววัดวิหารทอง ผลการวิเคราะหโครงกระดูกมนุษย การวิเคราะหโครงกระดูกมนุษยจํานวน ๒ โครง ซึ่งพบบริเวณหนาวัดวิหารทอง เปนการศึกษาขอมูล พื้นฐานของโครงกระดูกมนุษยที่พบ โดยใชกระบวนการทางมานุษยวิทยากายภาพในการศึกษา เพื่อใหทราบถึง อายุเมื่อตาย (Age Estimation) เพศของโครงกระดูก (Sex Estimation) และการคํานวณความสูง (Stature Estimation) ซึ่งเปนขั้นตอนพื้นฐานในการวิเคราะหโครงกระดูกมนุษยที่ไดจากการขุดคนทางโบราณคดี ผล การวิเคราะหโครงกระดูกมนุษยจากการขุดคนหนาวัดวิหารทอง ปรากฏผลดังนี้ โครงกระดูกหมายเลข ๑ สภาพคอนขางสมบูรณพบกระดูกตัง้ แตกะโหลกศีรษะจนถึงปลายเทา ลักษณะการฝงศพของโครง กระดูกหมายเลข ๑ หันศีรษะไปทางทิศตะวันออก นอนหงาย วางแขนหงายมือสอดอยูใตสะโพก มีการหอศพ ดวยเสื่อหรือผากอนจะมัดศพ แลววางลงบนพื้นดิน ไมพบวามีการขุดหลุมฝง จากนั้นจึงนําดินมาพูนทับศพอีก ครั้งหนึง่ เพศ โครงกระดูกหมายเลข ๑ เปนโครงกระดูกมนุษยเพศชาย โดยพิจ ารณาจากลัก ษณะของกระดูก กราม ขนาดของฟนที่ มี ขนาดใหญ และลักษณะกระดูกสวนสะโพก อายุเมื่อตาย อายุ ๑๕ – ๒๐ ป โดยพิจารณาจากการขึ้นของฟน กรามซี่ที่ ๓ การสึกของฟน (Dental Attrition) ยังไมมากนัก และการเชื่อมของกระดูก (Union of Epiphyses) ที่ยัง ไม สมบูรณ จากการวิเคราะหฟนพบวามีรองรอยของการกินหมาก สวนสูงประมาณ ๑๕๗.๕๓ เซนติเ มตร (จากการคํานวณดวย สมการไทย – จีน) และ ๑๖๐.๖๑ เซนติเมตร (จากการคํานวณ ดวยสมการอเมริกันผิวขาว) ๙๒


โครงกระดูกหมายเลข ๑ การสึกของฟนยัง ไมมาก ฟนกรามซี่ที่ ๓ ดานลาง เริ่มขึ้น แลว แตมีลักษณะเปนฟนคุด และมี รองรอยของการกินหมาก (ลูกศรชี)้

โครงกระดูกหมายเลข ๒ สภาพไมสมบูรณ เนือ่ งจากมีการรบกวน ทําใหพบชิ้นสวนของกะโหลกปะปนอยูกบั กระดูกตนขา ลักษณะการฝงศพของโครงกระดูกหมายเลข ๒ หันศีรษะไปทางทิศตะวันออก นอนตะแคงซาย

โครงกระดูกหมายเลข ๒ เพศ โครงกระดูกหมายเลข ๒ เปนโครงกระดูกมนุษยเพศชาย โดยพิจารณาจากลักษณะของกระดูกบริเวณ กกหู (Mastoid process) อายุเมื่อตาย อายุ ๑๕ – ๒๐ ป โดยพิจารณาจากลักษณะการเชื่อมตอของกระดูกที่ยังไมสมบูรณ สวนสูง ประมาณ ๑๖๓.๘๒ เซนติเมตร (จากการคํานวณดวยสมการไทย – จีน) และ ๑๖๙.๓๔ เซนติเมตร (จากการคํานวณดวยสมการอเมริกันผิวขาว) ๙๓


การกําหนดอายุสมัยของโครงกระดูกดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร เนื่องจากโครงกระดูกมนุษยเปนหลักฐานทางโบราณคดีที่พบไมมากนักในแหลงโบราณคดีสมัยสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร การพบโครงกระดูกมนุษยบริเวณหนาวัดวิหารทองจึงนํามาซึ่งคําถามวา เจาของราง โครงกระดูกทั้งสองนี้ ตายเมื่อใด กอนหรือหลังการสรางวัดวิหารทอง ซึ่งในเบื้องตนไดตั้งประเด็นเกี่ยวกับอายุ สมัยของโครงกระดูกทั้งสองไว ดังนี้ ๑. โครงกระดูกทั้งสองโครงนาจะถูกฝงในชวงที่วัดวิหารทองไดถูกทิ้งรางไปแลว เนื่องจากในชวงที่วัดมี การใชงานอยูนั้นไมนาจะมีการนําศพมาฝง เพราะโดยทั่วไปใน สมัยสุโขทัยเปนตนมา วัฒนธรรมในการปลงศพ คือ การเผาศพแลวนํากระดูกมาบรรจุในภาชนะดินเผากอนจะนํามาฝงในบริเวณวัด ๒. ระดับที่พบโครงกระดูกทั้งสองโครงอยูในระดับลึกจากผิวดินปจจุบัน เพียง ๘๐ เซนติเมตร จึงไม นาจะเปนโครงกระดูกในยุคกอนประวัติศาสตร นอกจากนีร้ ะดับที่พบโครงกระดูกยังอยูในระดับเดียวกับโบราณ สถานที่มีการสรางเพิ่มเติมในสมัยอยุธยาตอนปลาย การวางศพลงบนพื้นอิฐแตกหักยอมแสดงใหเห็นวา พื้นที่ บริเวณดังกลาวนาจะตองเปนจุดที่ไมไดมีการใชงานหรือเปนพื้นที่ทิ้งราง ดังนั้นโครงกระดูกทั้งสองโครงนาจะถูก ฝงในชวงตั้งแตอยุธยาตอนปลาย – รัตนโกสินทร อยางไรก็ตาม เนื่องจากไมพบโบราณวัตถุรวมกับโครงกระดูกทั้งสองโครง จึงเปนการยากที่จะระบุอายุ สมัยของโครงกระดูกทั้งสองโครง ดังนั้นเพื่อพิสูจนสมมติฐานขางตน จึงไดมีการสงตัวอยางฟนจากโครงกระดูก หมายเลข ๑ เพื่อวิเ คราะหหาคาอายุดวยวิธีการทางวิท ยาศาสตร ดวยวิธี AMS (Accelerator Mass Spectrometry Radiocarbon Dating) ผลการวิเคราะหดวยวิธี AMS ปรากฏวา ตัวอยางฟนจากโครงกระดูกหมายเลข ๑ มีคาอายุอยูที่ ๑๖๐ +/- ๓๐ ปมาแลว ซึ่งเมื่อคํานวณออกมาเปนพุทธศักราช จะตรงกับชวง พ.ศ. ๒๓๐๓ – ๒๓๖๓ (การคํานวณหา คาอายุในกรณีที่ผลออกมาเปน 160+/-30 BP. จะตองลบดวย 1950 เสมอ เนื่องจาก 1950 คือปคริสตศักราช ที่กําหนดใชเทียบอายุคากัมมันตรังสีกับปตามปฏิทิน) สรุป การศึก ษาโครงกระดูก มนุษย ๒ โครงซึ่ง พบจากการขุดค นขุดแตงทางโบราณคดีบ ริเ วณดานนอก กําแพงแกววัดวิหารทอง พบวาโครงกระดูกทั้ง ๒ โครง เปนผูชายที่เสียชีวิตขณะมีอายุระหวาง ๑๕ – ๒๐ ป ทั้ง สองโครงมีรองรอยของพิธีกรรมการมัดศพและหอศพ และกระบวนการในการฝงศพทั้งสองเกิดขึ้นในชวงที่วัด วิหารทองไดถูกทิ้งรางไปแลว ระหวาง พ.ศ. ๒๓๐๓ – ๒๓๖๓ นอกจากนี้สันนิษฐานวาชายทั้งสองนาจะมิใชคน ในทองถิ่นเมืองพิษณุโลก จึงทําใหไมมีญาติที่จะทําพิธีกรรมการเผาศพใหได บรรณานุกรม เจาพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๓. กรุงเทพ : โรงพิมพ คุรุสภา, ๒๕๔๗. ประพิศ ชูศิริ. คูมือการศึกษาโครงกระดูกมนุษยเบื้องตน. กรุงเทพฯ : กองโบราณคดี, ๒๕๓๔. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการกอสรางอนุสาวรียแหงชาติและการจําลองพระพุทธรูปสําคัญ พ.ศ. ๒๕๒๐. Lucien Fournereau. Le Siam Ancient. Paris : Ministere de L’Instruction Publique et des Beaux-Arts, 1908.

๙๔


พระพิมพกรุพระเจดีย วัดมหาธาตุเพชรบูรณ นางสาวอภิรดี พิชิตวิทยา ภัณฑารักษปฏิบัติการ

ขอมูลทั่วไปของวัดมหาธาตุเพชรบูรณ วัดมหาธาตุเ พชรบูรณ ตั้งอยูบ นถนนนิกรบํารุง ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบูร ณ ใน บริเวณใจกลางเมืองโบราณเพชรบูรณ ที่มีผังเมืองเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาวางตัวตามแนวทิศเหนือ -ใต ปรากฏ รองรอยแนวกําแพงเมืองสี่ดาน ลอมรอบดวยคูน้ํา ปรากฏแนวอยูดานทิศเหนือ ทิศใต และทิศตะวันออก เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๗ สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดเสด็จไปตรวจราชการเมืองเพชรบูรณ ทรงบันทึก สภาพกําแพงเมืองเพชรบูรณและกลาวถึงวัดมหาธาตุเพชรบูรณไวความวา “...ตัวเมืองเพชรบูรณ เปนเมืองที่มีปอมปราการสรางมาแตโบราณ เห็นไดวาตั้งเปนเมืองดาน โดยเลือกที่ชัยภูมิตรง แนวภูเขาเขามาใกลกับลําแมน้ําสัก ทางเดินทัพแคบกวาแหงอื่น ตั้งเมืองสกัดทางทําปราการทั้งสองฟาก เอาลําน้ําสักไวกลาง เมืองเหมือนเชนเมืองพิษณุโลก สังเกตตามรอยที่ยังปรากฏเห็นไดวาสรางเปน ๒ครั้ง ๆ แรกสรางเมื่อสมัยกรุงสุโขทัย แนว ปราการขนาดราวดานละ ๒๐เสน เดิมเปนแตถมดินปกเสาระเนียดขางบนมาสรางใหมในที่อันเดียวกันเมือ่ สมัยกรุงศรีอยุธยาอีก ครั้งหนึ่งรนแนวยอมเขามา แตทําปราการกอดวยหินและมีปอมรายรอบสําหรับสูขาศึกซึ่งจะยกมาแตลานชางขางในเมืองมีวัด ๑ มหาธาตุ กับพระปรางคเปนสิ่งสําคัญอยูกลางเมือง...”

ที่มา : สํานักศิลปากรที่ ๔ ลพบุรี

พระเจดียทรงยอดดอกบัวตูมวัดมหาธาตุเพชรบูรณ

ภายในวัดมหาธาตุ มีโบราณสถานสําคัญประกอบดวย พระเจดียทรงยอดดอกบัวตูมเปนประธานของ วัด ใกลกันมีฐานเจดียกอดวยศิลาแลง ซึ่งมีสวนฐานตอเนื่องกับฐานอาคารโบราณสถานที่อยูใตพระอุโบสถหลัง ปจจุบัน มีใบเสมาหินทรายอยูในซุมรอบพระอุโบสถทั้ง ๘ ทิศ และเจดียทรงปรางคแบบอยุธยา ๒ องค อยู ดานหนาพระอุโบสถ การดําเนินงานทางโบราณคดีในป พ.ศ. ๒๕๑๐ กรมศิลปากร โดยหนวยศิลปากรที่ ๓ สุโขทัย มีนายมะลิ โคกสันเทียะ รักษาการในหนาที่หัวหนา หนวย ไดดําเนินการขุดคนและบูรณะพระเจดียทรงยอดดอกบัวตูม โดยมีบันทึกการดําเนินงานในครั้งนั้นไว ใจความวา “แตกอนที่จะบูรณะซอมแซมพระเจดียองคนี้ กรมศิลปากรเห็นวา ควรจะนําเอาโบราณวัตถุที่บรรจุอยู ในเจดียออกมาเสียกอน เพื่อความปลอดภัยของพระเจดียองคนี้ เพราะปรากฏวามีคนรายแอบมาลักลอบขุดอยู เสมอๆ เจาหนาที่กรมศิลปากร จึงไดทําการขุดกรุโดยขุดพระเจดียทางทิศตะวันออกเขาไปตรงกลาง แล วขุด ตรงกลางลงไปต่ํากวาพื้นดิน ๓.๕๐ เมตร ก็ไดพบกรุบรรจุโบราณวัตถุเขากรุหนึ่ง

ดํารงราชานุภาพ,สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา, นิทานโบราณคดี, พิมพครั้งที่ ๔, (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๑๕), หนา ๙๖-๙๗.

95


สําหรับกรุที่พบนี้ มีเสาศิลาแลงกวางประมาณ ๗๐ เซนติเมตร สูงประมาณ ๖๐ เซนติเมตร ซอนกันอยู ๒ กอน และมีไหแบบสุโขทัยตั้งลอมรอบเสาศิลาแลง ไหเหลานี้ทรงรูปอยูก็มี ที่แตกกระจัดกระจายมาแตเดิมก็มี ไหดังกลาวมีห ลายขนาดมีทั้ง เล็กและใหญ ในไหบรรจุพระพุทธรูปและพระพิมพจํานวนมาก นอกจากนี้ก็มี เครื่องถวยชามจีน ซึ่งนายกฤษณอินทโกศัย สันนิษฐานวา นาจะอยูในราชวงศเหม็ง และรูปคน สัตว เชน สุนัข ควาย ฯลฯ กับมีโถสังคโลก และตลับทองคําจํานวนหนึ่ง ที่สําคัญคือ ไดพบลานทองคําจารึกอักษรไทยโบราณ มวนอยูในทองหมูสัมฤทธิ์ มีขนาดกวาง ๔ เซนติเมตร ยาว ๒๔ เซนติเมตร หนา ๑/๒ มิลลิเมตร สวนที่พบอยูใน ไหอีก ๒ แผน แผนหนึ่งมีขนาดกวาง ๒.๓ เซนติเมตร สูง ๖ เซนติเมตร หนา ๑/๒ มิลลิเมตร อีกแผนหนึ่งมี ขนาดกวาง ๑.๕ เซนติเมตร ยาว ๗.๒ เซนติเมตร หนา ๑/๑ มิลลิเมตร…”๒ โบราณวัตถุที่ไดจากการขุดคน โบราณวัตถุที่ไดจากการขุดคนในครั้งนั้น หนวยศิลปากรที่ ๓ สุโ ขทัย ไดสง มอบใหพิพิธภัณฑสถาน แหง ชาติ เก็บ รัก ษา สวนใหญ จัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแหง ชาติ พระนคร บางสวนไดนําไปจัดแสดงยัง พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ สวนภูมิภาคหลายแหง เพื่อเผยแพรขอมูลหลักฐานดานประวัติศาสตรและโบราณคดี แกประชาชนในจังหวัดตางๆ และบางสวนไดเก็บรักษาไวที่คลังพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จังหวัดปทุมธานี โบราณวัตถุที่ไดรับมอบจากการขุดคนทางโบราณคดี สามารถแบงประเภทไดดังนี้ ๑. จารึกลานทอง ๒. พระพิมพ ๓. พระพุทธรูป ๔. เครื่องปนดินเผา ๕. เครื่องใชประเภทตางๆ เชน ผอบ ๖. ประติมากรรมรูปสัตว โดยในจํานวนโบราณวัตถุที่พบทั้งหมด พระพิมพเปนโบราณวัตถุประเภทที่พบมากที่สุด สวนใหญทํา ดวยชิน รองลงมาเปนแผนทองคํา แผนเงิน และดินเผา วัตถุประสงคในการศึกษารูปแบบพระพิมพ การศึกษาพระพิมพในครั้งนี้เปนการศึกษาวิเคราะหรูปแบบทางศิลปกรรมของพระพิมพเพื่อใชในการ กําหนดอายุรวมกับพระเจดียทรงยอดดอกบัวตูมของวัดมหาธาตุเพชรบูรณ ซึ่งหากพิจารณาเพียงรูปแบบของ พระเจดีย โดยมิไดพิจารณารวมกับหลักฐานอื่นในเบื้องตนก็อาจกําหนดอายุการสรางไดอยางกวางๆวาอยูใน สมัยสุโขทัยที่มีรูปแบบเจดียอันเปนเอกลักษณของสุโขทัยอยางแทจริงสรางขึ้นในราวกลางพุทธศตวรรษที่ ๑๙๓ แตหากไดศึกษาวิเคราะหรวมกับโบราณวัตถุประเภทตางๆที่พบจากแหลงเดียวกันรวมทั้งศึกษาเปรียบเทียบกับ โบราณวัตถุทที่ ี่มีรูปแบบใกลเคียงกันที่พบจากกรุพระเจดียหรือพระปรางคที่มีการกําหนดอายุแนนอนแลว ก็จะ ชวยใหการศึกษาวิเคราะหเพื่อกําหนดอายุมีความสมบูรณมากขึ้นโดยโบราณวัตถุประเภทพระพิมพสวนใหญมัก เปนวัตถุที่สรางขึ้นเพื่อบรรจุกรุในคราวสรางพระเจดียอายุของพระพิมพจึงควรอยูในชวงเวลาเดียวกันกับการ สรางกรุพระเจดีย ดังนั้น การศึกษาวิเคราะหรูปแบบของพระพิมพในครั้งนีจ้ ึงสามารถใชเปนขอมูลเปรียบเทียบ ในการกําหนดอายุรวมกับหลักฐานประเภทจารึกที่พบจากแหลงเดียวกันไดเปนอยางดี ๒

คณะกรรมการฝายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอํานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเนื่อง ในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร เอกลักษณและ ภูมิปญญาจังหวัดเพชรบูรณ, (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร,๒๕๔๓), หนา ๙๓. ๓ สันติ เล็กสุขุม, ศิลปะสุโขทัย,(กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ,๒๕๔๙), หนา ๔๙.

96


การจําแนกประเภทของพระพิมพที่ไดจากกรุพระเจดีย วัดมหาธาตุเพชรบูรณ พระพิมพที่คนพบในกรุพระเจดียวัดมหาธาตุเพชรบูรณ สามารถแบงตามรูปแบบศิลปะไดอยางกวางๆ ดังนี้ ๑. พระพิมพศิลปะลพบุรพี ุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ ๑.๑ พระพุทธรูปปางมารวิชัยในซุมปราสาท เนื้อดินเผา ๑.๒ พระไตรรัตนมหายานในซุมปราสาทเนื้อดินเผา

พระพิมพศิลปะลพบุรี พุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘

๒. พระพิมพศิลปะสุโขทัยพุทธศตวรรษที่ ๒๐ ๒.๑ พระพุทธรูปลีลายกพระหัตถซายบนฐานบัวเนื้อดินเผา

พระพิมพศิลปะสุโขทัยพุทธศตวรรษที่ ๒๐

๓. พระพิมพศิลปะอยุธยาตอนตนที่ไดรับอิทธิพลศิลปะลพบุรีพุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐ ๓.๑ พระพุทธรูปสมาธินาคปรกลักษณะตางๆ เนื้อชิน ๓.๒ พระอาทิพุทธแสดงออกเปนตรีกายในซุมปราสาทและซุม ปราสาทฐานสถูปเนื้อชิน ๓.๓ พระพุทธรูปปางมารวิชัยทรงเครื่องสวมมงกุฎเทริดเนื้อชิน ๓.๔ พระพุทธรูปปางมารวิชัยบนฐานบัวเนื้อชิน ๓.๕ พระพุทธรูปปางประทานอภัยในซุมกินรีเสาซุมวยาล เนื้อชิน

พระพิมพศิลปะอยุธยาตอนตนที่ไดรับอิทธิพลศิลปะลพบุรีพุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐

๔. พระพิมพศิลปะอยุธยาตอนตนปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ - กลางพุทธศตวรรษที่ ๒๐ ๔.๑ แบบอูทอง รุนที่ ๑ พระพุทธรูปปางมารวิชัย เนื้อชิน ๔.๒ แบบอูทอง รุนที่ ๒พระพุทธรูปปางประทานอภัยและ พระพุทธรูปปางมารวิชัย เนื้อชิน ๔.๓ แบบอยุธยาตอนตนพุทธศตวรรษที่ ๒๐ ๔.๓.๑ พระพุทธรูปปางมารวิชัยแบบไมมีซุมเนื้อชิน ๔.๓.๒ พระพุทธรูปปางมารวิชัยแบบสามเหลี่ยมเนือ้ ชิน 97


๔.๓.๓ พระพุทธรูปปางมารวิชัยในซุมเรือนแกวเนือ้ ชิน ๔.๓.๔ พระพุทธรูปปางมารวิชัยในซุมหนานางหรือซุม จิกเนือ้ ชิน ๔.๓.๕ พระพุทธรูปปางมารวิชัยในซุมโพธิบัลลังกเนื้อชิน ๔.๓.๖ พระพุทธรูปลีลาบนฐานบัวเนื้อชิน ๔.๓.๗ พระพุทธรูปลีลาในซุมเรือนแกว เนื้อชิน ๔.๓.๘ พระพุทธรูปลีลาในซุมปรกโพธิ์เนื้อชิน ๔.๓.๙ พระพุทธรูปปางเปดโลกบนฐานบัวเนือ้ ชิน ๔.๓.๑๐ พระพุทธรูปปางเปดโลกในซุมเรือนแกวเนือ้ ชิน ๔.๓.๑๑ พระพุทธรูปปางประทานอภัยเนื้อชิน ๔.๓.๑๒ พระพุทธรูปปางสมาธิเนือ้ ชิน ๔.๓.๑๓ พระพิมพรูปพระโพธิสัตวเนื้อชิน ๔.๓.๑๔พระพุทธรูปปางมารวิชัยแผนทองและแผนเงินดุนลาย ๔.๓.๑๕ พระพุทธรูปปางมารวิชัยในซุมเรือนแกวแผนทองและแผนเงินดุนลาย ๔.๓.๑๖ พระพุทธรูปปางมารวิชัยในซุมโพธิบ์ ัลลังกแผนทองดุนลาย ๔.๓.๑๗ พระพุทธรูปปางมารวิชัยในซุมหนานางหรือซุมจิกแผนทองดุนลาย ๔.๓.๑๘ พระพุทธรูปปางเปดโลกบนฐานบัว แผนเงินดุนลาย ๔.๓.๑๙ พระพุทธรูปลีลาในซุมเรือนแกวแผนทองดุนลาย

พระพิมพศิลปะอยุธยาตอนตน ปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ - กลางพุทธศตวรรษที่ ๒๐เนื้อชิน

พระพิมพศิลปะอยุธยาตอนตน ปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ - กลางพุทธศตวรรษที่ ๒๐แผนเงินและแผนทองดุนลาย

การกําหนดอายุรูปแบบศิลปกรรมของพระพิมพ จากการศึกษาวิเคราะหพระพิมพที่ไดจากกรุพระเจดียวัดมหาธาตุเพชรบูรณ ที่ไดจากการขุดคนทาง โบราณคดี โดยหนวยศิลปากรที่ ๓ สุโขทัย เมื่อป พ.ศ. ๒๕๑๐ สามารถจัดกลุมเพื่อศึกษารูปแบบไดดังตอไปนี้ กลุมที่ ๑ พระพิมพศิลปะลพบุรพี ุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ พระพิมพศิลปะแบบลพบุรีนิยมสรางดวยดินเผาและโลหะสําริด พบพระพิมพรูปพระไตรรัตนมหายาน สรางเปนพระพุทธรูปอยูตรงกลางขนาบขางดวยพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวรและนางปรัชญาปารมิตา ตามคติ ศาสนาพุ ท ธแบบมหายาน และพระพิ ม พ รู ป พระพุ ท ธรู ป ปางมารวิ ชัย ประดิ ษ ฐานในซุ ม ปราสาท เป น ลักษณะเฉพาะของศิลปะลพบุรี ที่ปรากฏในบริเวณภาคกลางของประเทศไทยในชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ 98


กลุมที่ ๒ พระพิมพศิลปะสุโขทัย พุทธศตวรรษที่ ๒๐ พระพิมพดินเผา พระพุทธรูปลีลายกพระหัตถซาย ยกสนพระบาทขวา ลักษณะทางศิลปกรรมยังคง ใกลชิดกับศิลปะสุโขทัย ชายจีวรดานซายของพระพุทธรูปตกลงมาเปนริ้วคลื่นแบบที่พบในพระพุทธรูปลีลาชวง พุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐ ในจังหวัดสุโขทัยไดพบพระพิมพพระพุทธรูปลีลาทําดวยดินเผา ที่ไดจากวัดมหาธาตุ สุโขทัยปจจุบันจัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ รามคําแหง จังหวัดสุโขทัย กลุมที่ ๓พระพิมพศิลปะอยุธยาตอนตนที่ไดรับอิทธิพลศิลปะลพบุรพี ุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐ ไดแก รูปพระพุทธรูปสมาธินาคปรกเปนพระพิมพแบบนูนสูง ไมมีองคประกอบดานขาง ดูลักษณะ คลายพระพุทธรูปลอยตัว บางรายการอาจเปนพระพุทธรูปนาคปรกที่เปนพระไตรรัตนมหายาน กลาวคือมีพระ โพธิสัตวโลเกศวรอยูดานขวา และนางปรัชญาปารมิตาอยูดานซาย แลวชํารุดหัก หายไป ซึ่งหากพระพิม พ ดังกลาวมีสภาพสมบูรณจะเปนลักษณะเดียวกับที่พบในกรุวัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งสรางขึ้น เมื่อ พ.ศ. ๑๙๖๗ รู ป พระอาทิ พุ ท ธแสดงออกเป น ตรี ก ายสื บ ทอดคติ ก ารสร า งมาจากวั ฒ นธรรมเขมรที่ นั บ ถื อ พระพุทธศาสนาแบบมหายาน ประดิษฐานในซุมปราสาท และซุมปราสาทฐานสถูปแบบศิลปะลพบุรี พระพิมพ ลักษณะนี้พบเชนกันที่กรุพระปรางควัดราชบูรณะ และวัดมหาธาตุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระพิมพอิทธิพลศิลปะลพบุรีที่ไดรับอิทธิพลศิลปะแบบปาละ พบพระพิมพพระพุทธรูป ปางมารวิชัย ทรงเครื่องสวมเทริดขนนก พระพิม พพระพุท ธรูป ปางมารวิชัยบนฐานบัว และพระพิม พพระพุท ธรูป ปาง ประทานอภัยประดิษฐานในซุมเรือนแกวปลายซุมเปนรูปกินรีเสาซุมประดับตัววยาล พระพิมพกลุมนี้ทั้งหมดทําดวยชิน ซึ่งเปนโลหะที่นิยมใชทําพระพิมพสมัยอยุธยา อาจเปนการหลอจาก แมพิมพเดิมหรือถอดแบบจากพระพุทธรูปที่เปนของเกา เนื่องจากในกรุเดียวกันนี้ก็ไดพบพระพุทธรูปปางมาร วิชัยทรงเครื่อง สวมเทริดขนนกที่ทําจากสําริด ศิลปะแบบลพบุรี พุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ ดวย กลุมที่ ๔พระพิมพศิลปะอยุธยาตอนตนปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ - กลางพุทธศตวรรษที่ ๒๐ พระพิมพจากกรุวัดมหาธาตุเพชรบูรณที่เปนลักษณะเฉพาะของศิลปะอยุธยาตอนตน สวนใหญทําดวย ชิน รูปแบบทางศิลปกรรมยังมีเคาโครงสืบทอดจากศิลปะที่เปนพื้นฐานดั้งเดิมไดแกศิลปะลพบุรี ผสมผสานกับ การรับอิทธิพลจากศิลปะสุโขทัย พระพิมพกลุมนี้สวนใหญสรางเปนพระพุทธรูปปางมารวิชัย ทั้งแบบไมมีซุม และแบบซุมเรือนแกวที่ คลี่คลายมาจากซุมจรนําหรือซุมปราสาทแบบลพบุรี พระพิมพพระพุทธรูปปางมารวิชัยประดิษฐานในซุมหนานางยอดซุมเปนลายดอกบัวหรือที่เรียกวา “ซุ ม จิ ก ” ๔พระพิ ม พ แ บบนี้ พ บทั้ ง จากกรุ พ ระปรางค วั ด มหาธาตุ และจากกรุ วั ด ราชบู ร ณะ จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา พระพิมพพระพุทธรูปปางมารวิชัยประดิษฐานในซุมเรือนแกวปรกโพธิ์ เปนแบบที่พบทั้งกรุพระเจดีย วัดพระศรีสรรเพชญ กรุพระปรางควัดมหาธาตุ และกรุพระปรางควัดราชบูรณะ นอกจากวัสดุชินและดินเผาแลว ยังพบพระพิมพที่ทําดวยแผนทองและแผนเงินดุนลายบรรจุรวมกับ เครื่องใชเครื่องประดับประเภทตางๆที่ทําดวยทอง รูปแบบของพระพิมพเปนพระพุทธรูปปางมารวิชัย ทั้งแบบ ไมมีซุม และแบบประดิษฐานในซุมเรือนแกวและพระพิมพแผนทองดุนลายที่รูปแบบคลายพระพิมพที่ทําดวย

สงศรี ประพัฒนทอง, รายงานการวิจัย เรื่อง พระพิมพสมัยอยุธยา : การศึกษาเปรียบเทียบดานคติความเชื่อ รูปแบบวิวัฒนาการทางศิลปะ และการกําหนดอายุ., (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร,๒๕๓๗), หนา ๔๒.

99


ชิน คือพระพุทธรูปปางมารวิชัยประดิษฐานในซุมหนานางยอดซุมเปนลายคลายดอกบัวหรือ “ซุมจิก” และ พระพุทธรูปปางมารวิชัยประดิษฐานในซุมโพธิบัลลังก สรุป จากการศึกษาวิเคราะหรูปแบบทางศิลปกรรมของพระพิมพแลว มีพระพิมพที่แบงตามลักษณะทาง ศิลปกรรม ไดเปน ๔ กลุม ดังนี้ ๑. ศิลปะลพบุรี พุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ ๒. ศิลปะสุโขทัย พุทธศตวรรษที่ ๒๐ ๓. ศิลปะอยุธยาตอนตนที่ไดรับอิทธิพลศิลปะลพบุรี พุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐ ๔. ศิลปะอยุธยาตอนตน ปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ - กลางพุทธศตวรรษที่ ๒๐ จะเห็นไดวากลุมที่เปนศิลปะลพบุรีมีรูปแบบที่เกาที่สุดและพบในจํานวนไมมากเมื่อเทียบกับกลุมอื่นๆ พระพิมพศิลปะลพบุรีจึงอาจเปนของเกาที่นํามาบรรจุกรุเมื่อคราวสรางพระเจดีย พระพิมพลีลาศิลปะสุโขทัย อาจเปนของเกาที่นํามาบรรจุเชนกัน สวนพระพิมพอยุธยาสวนใหญสรางจากชิน ซึ่งเปนวัสดุที่นิยมใชในสมัย อยุธยาเปนหลัก ถึงแมจะมีรูปแบบเปนอยางศิลปะลพบุรี แตเมื่อพิจารณาจากวัสดุที่ใชสรางเปนเนื้อชินจึงเชือ่ วา อาจเปนการนําแมพิมพของเกามาสรางในชวงสมัยอยุธยา และพระพิมพแบบที่พบมากที่สุดเปนแบบอยุธยา ตอนตนที่มีพัฒนาการจากพื้นฐานศิลปะลพบุรีและรับอิทธิพลจากศิลปะสุโขทัย การสรางพระพิม พซึ่ง เปนวัตถุขนาดเล็ก นั้นสามารถสรางไดงายและจํานวนมากในคราวเดียวกัน โดยเฉพาะการสรางพระพิม พจํานวนมากเพื่อบรรจุภายในกรุพระเจดียหรือพระปรางค ดังนั้นพระพิมพ ที่มี รูปแบบใหมที่สุดจึงควรเปนพระพิมพที่มีอายุใกลเคียงกับการสรางกรุพระเจดียมากที่สุด พระเจดียประธานของวัดมหาธาตุเพชรบูรณ เปนทรงยอดดอกบัวตูม ซึ่งเปนรูปแบบเฉพาะของศิลปะ สุโขทัย ภายในกรุไดบรรจุพระพิมพที่สวนใหญกําหนดอายุไดในสมัยอยุธยาตอนตนราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ - กลางพุทธศตวรรษที่ ๒๐สอดคลองกับหลักฐานจารึกลานทองที่พบจากการขุดคนในคราวเดียวกัน จาก การอานของนายประสาน บุญประคอง และนายเทิม มีเต็ม ระบุปไวราว พ.ศ. ๑๙๒๖พระเจดียทรงยอดดอก บัวตูมนี้คงถูกสรางขึ้นเมื่อเมืองเพชรบูรณอยูภายใตอิทธิพลของอาณาจักรอยุธยาแลว ซึ่งในเวลาตอมาหลักฐาน ทางอยุธยาก็ไดกลาวถึงเมืองเพชรบูรณอีกหลายครั้ง และงานศิลปกรรมที่ปรากฏตามโบราณสถานตางๆ ที่สราง ขึ้นหลังจากนี้ ก็ไดมีพัฒนาการเปนศิลปะอยุธยาอยางแทจริง บรรณานุกรม เซเดส, ยอช, สุภัทรดิศดิศกุล, ม.จ. ตํา นานพระพิมพ พุทธศิล ปในประเทศไทย และตํา นานพระพุทธบาท. กรุงเทพฯ : รัชดารมภการพิมพ, ๒๕๐๘. คณะกรรมการฝายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอํานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒.วัฒนธรรม พัฒ นาการทางประวัติศาสตร เอกลั กษณแ ละภู มิป ญญาจัง หวั ด เพชรบูรณ. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร,๒๕๔๓. ดํารงราชานุภาพ,สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา.นิทานโบราณคดี. พิมพครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ : กรม ศิลปากร, ๒๕๑๕. ศิลปากร, กรม. พระพุทธรูปและพระพิมพในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. พิมพ ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : บริษัท ไทภูมิ พับลิชชิ่ง จํากัด, ๒๕๕๗. สงศรี ประพัฒนทอง.รายงานการวิจัย เรื่อง พระพิมพสมัยอยุธยา : การศึกษาเปรียบเทียบดานคติความเชื่อ รูปแบบวิวัฒนาการทางศิลปะ และการกําหนดอายุ.กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร,๒๕๓๗. 100


พระพุทธรูป กรุพระเจดียว ัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบูรณ พระอารามหลวง นางสาวจุฑารัตน เจือจิ้น ภัณฑารักษปฏิบัติการ สํานักพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ

วัดมหาธาตุ ตั้งอยูริม ถนนนิก รบํารุง ในเขตเทศบาลเมืองเพชรบูร ณ อําเภอเมือง จังหวัด เพชรบู ร ณ เป น วั ด หลวง สั น นิ ษ ฐานว า สร า งในป พ.ศ. ๑๙๒๖ และได ก ลายเป น วั ด ร า ง ตอมาสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพมีรับสั่งใหพระยาเพรชรัตน (เฟอง) เจาเมืองเพชรบูรณ เกณฑคนมา ทําการบูรณะวัดมหาธาตุครั้งใหญในปพ.ศ. ๒๔๔๗๑ วัดมหาธาตุไดรับการยกฐานะขึ้นเปนพระอารามหลวงชั้น ตรี ชนิดสามัญเมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๖๒

เจดียประธานทรงยอดดอกบัวตูม วัดมหาธาตุ อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ

เจดียป ระธานทรงยอดดอกบัวตูม ที่วัดมหาธาตุ อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ อยูดานหลัง พระอุโบสถ อันเปนรูปแบบของศิลปะสุโขทัย ที่ไดรับความนิยมในชวงรัชกาลพญาลิไท ถือเปนสัญลักษณของ เจดียแบบสุโขทัย อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๒๐๓ กรมศิล ปากรทําการขุดแตง เมื่อป พ.ศ. ๒๕๑๐ โดยไดนํา โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุที่บรรจุอยูภายในกรุพระเจดียออกมากอนทําการบูรณะ๔ โบราณวัตถุที่ไดจากกรุเจดียประธานวัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบูรณ นัน้ มีหลากหลายประเภท จากฐานขอมูลทะเบียนโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ของกรมศิลปากร พบวาโบราณวัตถุ ที่มีประวัตกิ ารไดมาจากการ ขุดพบภายในพระเจดียดานหลัง พระอุโบสถวัดมหาธาตุ อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ เมื่อปพุท ธศักราช ๒๕๑๐ รวม ๔๓๒ รายการ เปนพระพุทธรูป ๔๖ รายการ และมีการพบแผนทองจารึก จํานวน ๓ แผน รูปจารึกลานทอง พบในเจดียทรงยอดดอกบัวตูม วัดมหาธาตุ อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ

จากการเทียบเคียงตัวอักษรแลว กําหนดอายุที่ พ.ศ. ๑๙๒๗๕ ใจความกลาวถึงการสราง และ ชื่ อ ผู ส ร า งเจดี ย นอกจากนี้ ยั ง พบเครื่ อ งถ ว ย พระพิ ม พ และพระพุ ท ธรู ป ป จ จุ บั น เก็ บ รั ก ษาไว ที่ ค ลั ง ๑

คณะกรรมการฝายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอํานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร เอกลักษณและภูมิปญญา จังหวัดเพชรบูรณ. (กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพราว, ๒๕๔๓), หนา ๗๗. ๒ กรมศิลปากร, ระบบภูมิสารสนเทศ แหลงมรดกศิลปวัฒนธรรม, สืบคนเมื่อวันที่ ๒๓ เดือนมิถุนายน, ๒๕๖๐, Web site: http://gis.finearts.go.th/fineart/. ๓ สันติ เล็กสุขุม, ศิลปะสุโขทัย. (กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, ๒๕๔๙), หนา ๕๐ - ๕๑ . ๔ คณะกรรมการฝายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอํานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว, เรื่องเดียวกัน, หนา ๙๓. ๕ คณะกรรมการฝายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอํานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ ๑๐๑


พิพิธภัณฑสถานแหง ชาติ และพิพิธภัณฑสถานแหง ชาติตาง ๆ ทั่วประเทศ นับ เปนหลักฐานสําคัญ ที่ควร ทําการศึกษาวิเคราะห เพื่อชวยกําหนดอายุ และหาความสัมพันธทางรูปแบบศิลปะที่พบในเมืองเพชรบูร ณ ในชวงสมัยของการสรางเจดีย รูปแบบพระพุทธรูปจากกรุพระเจดียวัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบูรณ จากการศึก ษารูป แบบทางศิล ปะของพระพุท ธรูป ที่มีป ระวัติก ารรับ มอบ วามาจากเจดีย ดังกลาว แบงไดเปน ๓ กลุม ดังนี้ ๑. พระพุทธรูปรวมแบบศิลปะเขมร ชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๗ – ๑๘ ๑.๑ พระพุทธรูปทรงเครื่องนาคปรก พบจํานวน ๙ องค ลักษณะของพระพุทธรูปทรงเครื่องกลุม นี้ คือพระพักตรสี่เหลี่ยม ถมึงทึง พระขนงเปนสันตอกันเกือบเปนเสนตรง พระเนตรเปด มองตรง แสดงเฉพาะ เสนขอบพระเนตร (ไมแสดงดวงพระเนตร) พระนาสิกแบน พระโอษฐแบะกวาง เสนพระโอษฐเปนเสนตรง สวม เทริด (กระบังหนา) และมีมงกุฎทรงกรวย สังฆาฏิเปนแผนใหญยาวลงมาจรดพระนาภี ปลายตัดตรง ประดับ เครื่องอาภรณ ไดแก กุณฑล กรองศอ พาหุรัด ทองพระกร ประทับนั่งขัดสมาธิราบเหนือขนดนาคสามชั้น ขนด นาคสอบเปนสามเหลี่ยม สวนเศียรนาคมี ๗ เศียร

ภาพตัวอยางกลุมพระพุทธรูปทรงเครื่องนาคปรก รวมแบบศิลปะเขมร ชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๗ – ๑๘ ที่ไดจากกรุพระเจดียวัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบูรณ

๑.๒ พระพุทธรูปทรงเครื่อง เปนพระพุทธรูปยืน จํานวน ๙ องค และพระพุทธรูปนั่ง จํานวน ๒ องค พระพักตรสี่เหลี่ยม ถมึงทึง พระเนตรเปด มองตรง บางองคมีพระมัสสุ ทรงเครื่องอาภรณ ประกอบดวย รัดเกลา (เทริด) และมีมงกุฎเปนรูปกรวยสูง พระเกศาดานหลังเปนเสนถักแนวตรง สรอยพระศอหอยอุบะ พาหุ รัด ทองพระกร ทองพระบาท บางครั้ง ทรงกุณฑล สบงเปนผาจีบหนานางทําเปนขอบนูนขึ้นมา ชายสบง ดานหนามีลวดลาย ชายจีวรดานลางบานออกและมวนเขาที่มุมลาง ประดับอุบะหอยลงมาที่รัดประคด

ภาพตัวอยางกลุมพระพุทธรูปทรงเครื่อง รวมแบบศิลปะเขมร ชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๗ – ๑๘ ที่ไดจากกรุพระเจดียวัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบูรณ

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว, เรื่องเดียวกัน, หนา ๙๔. ๑๐๒


๑.๓ พระพุทธรูปทรงมงกุฎทรงเทริดขนนก พบจํานวน ๔ องค มีลักษณะคือ พระพักตรคอนขาง ยาวเรียว ที่ไรพระศกมีลายเม็ดประคํา ทรงเทริดขนนก ลักษณะคลายฝกเพกา ซึ่งเปนรูปแบบเฉพาะของศิลปะ ปาละ เหมือนกับที่พบมากในศิลปะพุกามของพมา ซึ่งเปนรูปแบบในศิลปะปาละ ชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๘๖

ภาพกลุมพระพุทธรูปทรงมงกุฎทรงเทริดขนนก รวมแบบศิลปะเขมร ชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ที่ไดจากกรุพระเจดียวัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบูรณ

๑.๔ พระพุทธรูปไมทรงเครื่อง พบแบบนั่งจํานวน ๔ องค และยืนจํานวน ๒ องค มีลักษณะคือ พระพักตรสี่เหลี่ยม พระขนงตอกัน พระเนตรปด พระโอษฐแบะกวาง ริมพระโอษฐหนา พระเกตุมาลาเปนรูป กรวย ครองจีวรหมเฉียง มีขอบจีวรตอจากชายสี่เหลี่ยมที่พระอุระดานซายลงมาคลุมพระหัตถและพระโสณี ซึ่ง เปนรูปแบบการครองจีวรในศิลปะปาละ ชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๘๗

กลุมพระพุทธรูปไมทรงเครื่อง รวมแบบศิลปะเขมร ชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ที่ไดจากกรุพระเจดียวัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบูรณ

๒. พระพุทธรูปศิลปะลพบุรี ชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๘ – ๑๙ ๒.๑ พระพุทธรูปทําจากหินทราย พบจํานวน ๑ องค มีลักษณะคือ พระพักตรเหลี่ยม พระขนง ตอเปนรูปปกกา พระเนตรเปด พระโอษฐแบะกวาง ริมพระโอษฐหนา พระอุษณีษะสูง มีเสนขมวดพระเกศา เปนลายเสนคลายเลขหนึ่งไทย ครองจีวรเรียบ เจาะชองดานขางพระวรกายทั้งสองขาง เปนรูปแบบที่ มีความ ใกลเคียงกับพระพุทธรูปศิลปะเขมรแบบบายน นาจะกําหนดอายุในชวงปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘

ศักดิ์ชัย สายสิงห, พระพุทธรูปในประเทศไทย: รูปแบบ พัฒนาการ และความเชื่อของคนไทย (กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตรศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๖), หนา ๑๐๙ - ๑๑๐. ๗ ศักดิ์ชัย สายสิงห, เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐๙. ๑๐๓


ภาพพระพุทธรูปทําจากหินทราย ศิลปะลพบุรี ชวงปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ที่ไดจากกรุพระเจดียวัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบูรณ

๒.๒ พระพุทธรูปทําจากสําริด ๒.๒.๑ นั่งขัดสมาธิราบ แบบอูทอง ๑ ชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๘ - ๑๙ พบจํานวน ๑ องค พระพุทธรูปรูปแบบนี้มีพระพักตรเปนสี่เหลี่ยมแบบพระพุทธรูปศิลปะเขมร พระเศียรมีเม็ดพระศกขมวดเปนกน หอย พระอุษณีษะทรงกรวย และมีพระรัศมีเปนตุมเล็ก ๆ๘ แสดงใหเห็นความเกี่ยวเนื่องกับศิลปะทวารวดีและ ศิลปะเขมรที่เขามาปะปนกัน จนมีรูปแบบที่เปนศิลปะลพบุรีอยางแทจริง

ภาพพระพุทธรูปแบบอูทอง ๑ ศิลปะลพบุรี ชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๘ - ๑๙ ที่ไดจากกรุพระเจดียวัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบูรณ

๒.๒.๒ นั่งขัดสมาธิเพชร ชวงพุท ธศตวรรษที่ ๑๘ - ๑๙ พบจํานวน ๑ องค พระพักตร สี่เหลี่ยม พระขนงตอกัน พระเนตรปด พระโอษฐแบะกวาง ริมพระโอษฐหนา พระเกตุมาลาเปนรูปกรวย ครอง จีวรเรียบหมคลุม พระพุทธรูปปางสมาธิ นั่งขัดสมาธิบนฐานบัว ทานั่งขัดสมาธิเพชร แสดงอิทธิพลศิลปะปาละ อาจเปนการนํารูปแบบศิลปะอินเดียแบบปาละเขามาผสมกับทวารวดีอีสาน

ภาพพระพุทธรูป ศิลปะลพบุรี ชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๘ - ๑๙ ที่ไดจากกรุพระเจดียวัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบูรณ

๓. พระพุทธรูปสมัยอยุธยา ชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๙ - ๒๐ ๓.๑ พระพุทธรูปแบบอูทองรุนที่ ๒ ชวงปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ – กลางพุทธศตวรรษที่ ๒๐๙ จํานวน ๑ องค มีลักษณะพระพักตรเปนสี่เหลี่ยมแบบพระพุทธรูปศิลปะเขมร พระขนงเชื่อมตอเปนรูปปกกา พระเนตรเบิกกวางเหลือบลงต่ําเล็กนอย ไมแสดงดวงเนตร พระนาสิกคอนขางใหญ พระโอษฐแบะกวาง แนว ๘

สันติ เล็กสุขุม, ศิลปะอยุธยา งานชางหลวงแหงแผนดิน (กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, ๒๕๔๔), หนา ๑๓๘. ศักดิ์ชัย สายสิงห, พระพุทธรูปในประเทศไทย: รูปแบบ พัฒนาการ และความเชื่อของคนไทย. (กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตรศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๖), หนา ๓๖๙. ๑๐๔ ๙


เสนพระโอษฐเกือบเปนเสนตรง ริมพระโอษฐหนา มีไรพระศก พระเศียรมีอุษณีษะไมสูงมาก และขมวดพระ เกศาขนาดเล็กมาก แบบหนามขนุน พระรัศมีเปนเปลวสูง ครองจีวรเรียบ ปลายสังฆาฏิตัดตรง ซึ่งเปนอิทธิพล ของศิลปะเขมรและลพบุรี

พระพุทธรูป ศิลปะอยุธยา แบบอูทองรุน ๒ ชวงปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ – กลางพุทธศตวรรษที่ ๒๐ ที่ไดจากกรุพระเจดียวัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบูรณ

๓.๒ พระพุทธรูปแบบอูทองรุนที่ ๓ อิทธิพลศิลปะสุโขทัย ชวงตนถึงปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๐๑๐ จํานวน ๙ องค มีลักษณะเดนคือประทับนั่งบนฐานที่มีลักษณะแอนเวาเขาขางใน พระพักตรรูปไข พระขนงโกง พระเนตรหรี่เรียวเหลือบต่ํา แยมพระโอษฐเล็กนอย ครองจีวรเรียบ สังฆาฏิเปนแผนเล็ก ๆ ยาวลงมาจรดพระ นาภี ปลายสังฆาฏิที่พบเปนแบบตัดตรง มีไรพระศก ขมวดพระเกศาเล็กมากแบบหนามขนุน พระรัศมีเปนเปลว สูง

ภาพตัวอยางพระพุทธรูป ศิลปะอยุธยา แบบอูทองรุน ๓ ชวงตนถึงปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๐ ที่ไดจากกรุพระเจดียวัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบูรณ

๓.๓ พระพุทธรูปหินทรายที่มีอิทธิพลสุโขทัย ชวงพุทธศตวรรษที่ ๒๐๑๑ จํานวน ๑ องค สวนองค พระพุทธรูปหินทรายที่พบจากกรุวัดมหาธาตุนี้ ทําจากหินทรายสีแดง ครองจีวรเรียบ มีรอยสลักใหเห็นขอบจีวร และชายสังฆาฏิเปนเสนเล็กมีปลายแยกเปนเขี้ยวตะขาบ อันแสดงใหเ ห็นถึงอิท ธิพลของศิลปะสุโ ขทัย และ เทคนิคการทําพระพุทธรูปหินทรายโดยสลักแยกเปนสวน ๆ ๓ - ๕ สวน เชน สวนเศียร สวนองค และสวนพระ เพลา แลวนํามาตอกัน ปดรอยตอดวยการลงรักปดทอง เปนเทคนิคเฉพาะของการสรางพระพุทธรูปหินทราย สมัยอยุธยาตอนตน

ภาพสวนองคพระพุทธรูปหินทราย ชวงพุทธศตวรรษที่ ๒๐ ที่ไดจากกรุพระเจดียวัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบูรณ

๑๐

เรื่องเดียวกัน, หนา ๓๘๙ - ๓๙๐. ๑๑ เรื่องเดียวกัน, หนา ๓๙๕ - ๓๙๘. ๑๐๕


สรุป

จากผลการศึกษาพระพุทธรูป ในในกรุพระเจดียมหาธาตุ จังหวัดเพชรบูรณ พบพระพุท ธรูป ที่ กําหนดอายุไดในชวงราวพุทธศตวรรษที่ ๑๗ – ๒๐ ที่มีรูปแบบรวมกับศิลปะเขมรแบบนครวัด เรื่อยมาจนถึง สมัยอยุธยา ซึ่งพระพุทธรูปที่กําหนดอายุใหมที่สุดที่พบคือ พระพุทธรูปศิลปะอยุธยา ชวงพุทธศตวรรษที่ ๒๐ พระพุทธรูปที่พบมากที่สุดเปนพระพุทธรูปรวมแบบศิลปะเขมรแบบนครวัด ชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๗ - ๑๘ และกลุมพระพุท ธรูป ศิลปะอยุธยา แบบอูท องรุนที่ ๓ แสดงใหเ ห็นถึงความนิยมพระพุทธรูปที่มี อิทธิพลของศิลปะสุโขทัย ในชวงตนพุทธศตวรรษที่ ๒๐ รองลงมาคือพระพุทธรูปรวมแบบศิลปะเขมรแบบบายน และศิลปะลพบุรี ชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๘ แสดงใหเห็นถึงความนิยมของพระพุทธรูปในศิลปะเขมร และศิลปะลพบุรีของผูคนในเมืองเพชรบูรณ ใน หวงเวลาดังกลาว สวนพระพุทธรูปศิลปะลพบุรี ชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๘ - ๑๙ นั้นพบนอย อาจเปนเพราะอยูในชวง หัวเลี้ยวหัวตอของการเปลี่ยนผานความนิยมในตัวรูปแบบงานศิลปกรรมในศิลปะเขมร กอนที่จะคลี่คลายมา เปนพระพุทธรูปศิลปะอยุธยา การพบพระพุทธรูปที่แสดงใหเห็นชวงหัวเลี้ยวหัวตอของการเปลี่ยนผานรูปแบบ งานศิลปะ ทําใหเห็นพัฒนาการทางดานรูปแบบจากเขมร มาเปนศิลปะลพบุรี และอยุธยา อันมีความเกี่ยวของ ของศิลปะปาละ และ พุกาม จากพระพุทธรูปทรงเทริดขนนก และพระพุทธรูปขัดสมาธิเพชร ผลการศึก ษาพระพุท ธรูป สอดคลองกับรูปแบบของเจดียทรงยอดดอกบัวตูม อันเปนรูปแบบ สถาปตยกรรมแบบสุโขทัยแท ที่กําหนดอายุชวงพุทธศตวรรษที่ ๒๐ และยังมีความสัมพันธอาณาจักรสุโขทัย ซึ่ง ในชวงสมัยสุโขทัย (พุทธศควตรรษที่ ๑๙-๒๐) เมืองเพชรบูรณมีฐานะเปนเมืองแวนแควนดานตะวันออกเฉียงใต หลักศิลาจารึกหลักที่ ๑ มีขอความตอนหนึ่งกลาวถึงการแผขยายมาถึงพื้นที่ดานตะวันออกของสุโขทัย มีคําวา “ลุมบาจาย” อันเชื่อวาคือเมืองหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ๑๒ และหลักศิลาจารึกหลักที่ ๙๓ วัดอโศการาม ดาน ที่ ๒ กลาวถึงอาณาเขตของสุโขทัย มีขอความวา “...ดานทิศตะวันออกเฉียงใต ทรงทําเมืองวัชชปุระเปนรัฐ สีมา”๑๓ ประกอบกับขอความในจารึกลานทอง ที่เอยนามพระเจาเพชบุร ผูประดิษฐานจารึก และพอพระ ยาลก ผูเ ปนกษัตริย๑๔ แสดงถึง ความสําคัญ ของผูมีอํานาจปกครองเมืองเพชรบูร ณ ซึ่ง อาจมีความสัม พันธ ทางดานเครือญาติกับอาณาจักรสุโขทัย จึงปรากฏเจดียรูปแบบทรงยอดดอกบัวตูมอิทธิพลศิลปะสุโขทัยที่เมือง เพชรบูรณ ----------------------------------------บรรณานุกรม กรมศิลปากร. ระบบภูมิสารสนเทศ แหลงมรดกศิลปวัฒนธรรม. สืบคนเมื่อวันที่ ๒๓ เดือนมิถุนายน, ๒๕๖๐, Web site: http://gis.finearts.go.th/fineart/. คณะกรรมการฝายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอํานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร เอกลักษณและภูมิปญญา จังหวัดเพชรบูรณ. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพราว, ๒๕๔๓. สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะสุโขทัย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, ๒๕๔๙. .ศิลปะอยุธยา งานชางหลวงแหงแผนดิน. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, ๒๕๔๔. ศักดิ์ชัย สายสิงห. พระพุทธรูปในประเทศไทย: รูปแบบ พัฒนาการ และความเชื่อของคนไทย. กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตรศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๖. ๑๒

คณะกรรมการฝายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอํานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร เอกลักษณและภูมิปญญา จังหวัดเพชรบูรณ. (กรุงเทพฯ: คุรุสภา ลาดพราว, ๒๕๔๓), หนา ๒๖. ๑๓ เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๖ . ๑๔ เรื่องเดียวกัน, หนา ๙๔ - ๙๕. ๑๐๖


หลักฐานการรับพุทธศาสนาแรกสุดในประเทศไทย รอยเอกบุณยฤทธิ์ ฉายสุวรรณ* หลักฐานทางโบราณคดีที่บงชี้ถึงการแพรกระจายของพระพุทธศาสนาที่เกาทีส่ ดุ ทีเ่ ขามาในดินแดนประเทศ ไทย การอธิบายผานหลักฐานทางโบราณคดีแตเดิมนั้น เริ่ม ตนจากการปรากฏอิทธิพลศิลปะอินเดียอมราวดี โดย หลักฐานที่เดนชัดที่สุดคือ พระสาวกอุมบาตร ทํา ดวยดินเผา พบที่อูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี อายุประมาณพุทธ ศตวรรษที่ ๘-๙ การทําดวยดินเผานั้นทําใหเชื่อวาทําขึ้นเองในทองถิ่นมิไดนํา มาจากภายนอก หลักฐานดังกลาว แสดงใหเห็นวาชุมชนโบราณที่อูทองไดยอมรับ นับถือพุทธศาสนาแลว แตจากหลักฐานทางโบราณคดีที่พบใหม ในทางภาคใตทํา ให เห็นเคา รางที่พอเชื่อไดวา พุทธศาสนานา จะเขา มาในดินแดนประเทศไทยกอนหนา นั้นเปน เวลานานแลว ตั้งแตยังไมมีการสรางพระพุทธรูปเปนรูปเคารพแทนองคศาสดาดวยซ้ํา โดยหลักฐานทางโบราณคดีที่ พบใหมในภาคใตในสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๕ ไดพบหลักฐานทั้งทางตรงและ ทางออมทีส่ ามารถเชื่อมโยงใหเห็นไดวาพุทธศาสนาไดเริ่มเขามายังดินแดนภาคใตประเทศไทยตั้งแตเมื่อประมาณ ๒,๐๐๐ ปมาแลว โดยอธิบายผานมุมมองและหลักฐานตางๆ ดังนี้ ๑. หลักฐานการเขามาของคนอินเดีย เมื่อดินแดนภาคใตของประเทศไทยไดกลายเปนเมืองทาหรือสถานีการคาโดยเปนสวนหนึง่ ของเสนทาง สายไหมทางทะเลหลักฐานสําคัญในการยืนยันเรื่องดังกลาวคือ การพบโบราณวัตถุที่เปนสินคาของโรมันเชน จี้รูป บุคคลแบบโรมัน ภาชนะแกวโรมัน รวมทั้งพบโบราณวัตถุจากประเทศจีนเชน คันฉองสําริดและภาชนะดินเผาสมัย ราชวงศฮั่น (Han Dynasty) ทํา ใหภ าคใตพบโบราณวัตถุทั้งที่มาจากซีกโลกตะวันออกและตะวันตกพรอมๆ กัน การเปนสวนหนึ่งของเสนทางการคาสําคัญดังกลาวนับเปนแรงกระตุนสําคัญที่ทําใหคนอินเดียเดินทางเขามาคาขาย รวมถึงการเขามาตั้งถิ่นฐานในพื้นทีแ่ ถบนี้ บวกกับพื้นที่ภาคใตมีทรัพยากรที่เปนสินคาที่ตองการของตลาดไดแก เครื่องเทศ ของปา และที่สําคัญที่สุดอีกชนิดหนึ่งแตแถบจะไมมีการกลาวถึงเลยคือ ดีบุก สําหรับหลักฐานทีย่ นื ยันถึง การเขามาของคนอินเดีย ดังนี้ ๑.๑ อักษรและภาษาของอินเดีย การพบหลักฐานที่เปนตัวอักษรและภาษาของอินเดียแสดงใหเห็นถึง อิทธิพลทางวัฒนธรรมของอินเดียที่มีตอดินแดนภาคใตของประเทศไทยโดยตรงตั้งแตสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตรที่ สํา คั ญ ได แ ก ตราประทั บ ทองคํ า มี รู ป ภัท รบิฐ (บัล ลั ง ก ) อยู ต รงกลางล อ มรอบด ว ยอัก ษรพราหมี (Brahmi characters) กลาวถึงนายเรือชื่อพฤหัสบดี อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ ๖ นอกจากนี้ยังพบตัวอักษรที่เขียนลงบน ภาชนะดินเผาการเขียนตัวอักษรลงบนภาชนะดินเผาในลักษณะนี้พบมากที่แหลงโบราณคดีอริกเมฑุ (Arikamedu) ในประเทศอินเดีย (Wheeler:1946, 110-114) ที่ภูเขาทองพบตัวอักษรพราหมีเขียนลงบนภาชนะดินเผาอานวา ‘pu aa’ นอกจากนี้ยังพบตัวอักษรทมิฬภาษาทมิฬ-พราหมี(Tamil-Brahmi) มีอักษรเหลือเพียง ๓ ตัวอยูบนเศษ ภาชนะดินเผาอานวา “Tu Ra O...”ตัวอักษรทั้งสองชิ้นนี้มีอายุในชวงประมาณพุทธศตวรรษที่ ๗-๙ ๑.๒ ภาชนะดินเผานํา เขาจากอินเดีย การพบภาชนะดินเผาที่นําเขามาจากอินเดียเปนหลักฐาน สําคัญอยางยิ่ง หากภาชนะดินเผาถูกนําเขามาเพื่อใชในพิธีกรรมก็แสดงถึงอิทธิพลทางความเชื่อทางศาสนา หาก นํามาเพื่อใชสอยในชีวิตประจําวันก็อาจหมายถึงมีการนําติดตัวเขามาตั้งถิ่นฐานของคนอินเดียโดยตรง ภาชนะดิน เผาที่นําเขามาจากอินเดียที่สําคัญ ไดแก - รูเล็ทเต็ดแวร (Rouletted ware) ภาชนะดินเผาชนิดนี้ถือเปนหลักฐานที่โดดเดนในการอธิบายถึง แพรกระจายตัวทั้งทางดานการคา และวัฒนธรรมระหวางอินเดียกับดินแดนตางๆ โดยเฉพาะที่เขา มาในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตในชวงสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร ทีแ่ หลงโบราณคดีภูเขาทอง จังหวัดระนอง พบภาชนะดินเผา ชนิดนีจ้ ํานวนมากและอาจจะมีจํานวนมากที่สุดที่พบนอกประเทศอินเดีย ภาชนะดินเผาชนิดนี้พบกระจายตัวทั้งใน อินเดียและศรีลังกามากกวา ๕๐ แหง มีอายุประมาณ ๒,๐๐๐-๒,๒๐๐ ปมาแลว (Vimala Beyley: 1988, 427) ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตพบภาชนะดินเผาชนิดนี้ที่ชายฝงทะเลของเกาะชวา และตอนเหนือของเหนือของเกาะ บาหลี ในประเทศอินโดนีเชีย, พบที่ Trakieu ในภาคกลางของประเทศเวียดนาม ภาชนะชนิดนี้อาจจะผลิตจาก ทมิฬนาดูทางภาคใตของประเทศอินเดีย (Bellina Berenice: 2004,78) ไดมีวิเคราะหเนื้อดินทางวิทยาศาสตร จากตัวอยางในหลายๆ ที่ทั้งจากประเทศอินเดีย ศรีลังกา และอินโดนีเซียไดแก Anuradhapura, Arikamedu, 107


Karaikadu, Sembiran, Pacung พบวาเนื้อดินมีลักษณะเดียวกันทําใหสรุปไดวา ทั้งหมดผลิตจากแหลงผลิตเพียง สองสามแหลงเทานั้นแลวถูกนําไปใชยังดินแดนตา งๆ (Ardika 1991: 224) รวมทั้งชายฝงทะเลอันดามันของ ประเทศไทยดวย - น็อบแวร (Knobbed ware) ภาชนะดินเผาชนิดนี้จะมีปุมแหลมทรงกรวยคว่ําที่กนดานใน การทําปุม แหลมที่กนดา นในยังนิยมทํา กับ ภาชนะสํา ริด ที่มีดีบุก ผสมในปริมาณสูง (high-tin bronze) เชนพบที่ แ หลง โบราณคดีดอนตาเพชร จังหวัด กาญจนบุรี ภาชนะดินเผาชนิด นี้เชื่อวา มี ตน กํา เนิดมาจากอินเดียโดยนาจะถูก นํามาใชในพิธีกรรม ภาชนะดินเผาน็อบแวรนี้พบที่ Wari-Bateshwar ประเทศบังคลาเทศ และอีกสองสามแหลง ทางดานชายฝงทะเลตะวันออกของประเทศอินเดีย ภาชนะชนิดนี้ยังพบกระจายตัวอยูในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ดวย (Bellina and Glover: 2004, 80, Selvakumar, V.: 2011, 200) ที่แหลงโบราณคดีถ้ําเสือ จังหวัด ระนองพบรูปทรงสมบูรณ ๑ ใบ การทําปุมแหลมทรงกรวยคว่ํา ที่สว นกนดานในนอกจากจะทําดว ยดินเผา และ สําริดแลว ยังพบวามีการทํา จากหินแกรนิตดวยโดยพบที่ตักศิลา (Taxila) ปจ จุบันจัดแสงอยูพิพิธภัณฑบริติช มิว เซียมประเทศอังกฤษ ภาชนะชนิดนี้อยูรวมสมัยกับรูเล็ทเต็ดแวร อายุประมาณ ๒,๐๐๐ ปมาแลว - ภาชนะดินเผาชนิดอื่นๆ ที่แหลงโบราณคดีภูเขาทองพบภาชนะดินเผาหลายประเภทเหมือนกับทีพ่ บที่ อริกเมฑุ เชน จานกนตื้นมีลายกดประทับรูปดอกไมที่สวนกนดานในผิวขัดมันสีดําเนื้อดินสีเทาละเอียด ภาชนะดิน เผาทรงถว ยขนาดเล็กขัดมันสีดํา เปนตน (Wheeler, R.E.M. :1946, 89) ภาชนะดินเผาเหลานี้ลวนมีเนื้อดิน ละเอียดเปนพิเศษตางจากภาชนะดินเผาอื่นๆ โดยทั่วไป พบรวมกับรูเล็ทเต็ดแวร ๑.๓ การรับเทคโนโลยีจากอินเดีย สิ่งที่นับวาเปนเทคโนโลยีขั้นสูงที่เกิดขึ้นในภาคใตอยางกาวกระโดด คือ เปนแหลงผลิตลูกปดแกวและหิน จากเดิมที่เคยพบลูกปดทีท่ ําจากกระดูกสัตว และเปลือกหอยตามถ้ําสมัยกอน ประวัติศาสตร ไดเปลี่ยนมาเปนการพบลูกปดแกวและหินเปนจํานวนมากแถบชายฝงทะเลในภาคใตข องประเทศ ไทย มีแ หลงโบราณคดีอยา งนอย ๒ แหงไดแก ควนลูกปดหรือคลองทอม จังหวัดกระบี่ และภูเขาทอง จังหวัด ระนอง ไดกลายเปนแหลงอุตสาหกรรมการผลิตลูกปดทีส่ ําคัญในระดับภูมิภาค แหลงโบราณคดีทั้ง ๒ แหงนีพ้ บทั้ง วัตถุดิบที่นํา มาใชทํา ลูกปดทั้งกอนแกว หินกึ่งอัญมณี (semi-precious stone) ลูกปดที่ยังทําไมเสร็จ ลูกปดที่ เสียหายในขั้นตอนการผลิตเปนจํานวนมาก ปรากฏการณที่ภาคใตกลายเปนแหลงผลิตลูกปดสํา คัญในระดับภูมิภ าคนี้ตองยอมรับวา เปนการรับ เทคโนโลยีขั้นสูงโดยตรงมาจากอินเดีย โดยเฉพาะการผลิตลูกปดแกวนั้นจะตองใชทักษะและเทคโนโลยีการใชความ รอนทีส่ ูงมากในขบวนการผลิต ในขณะทีภ่ าคใตไมมีหลักฐานทางโบราณคดีใดๆ ที่ยืนยันไดวามีทกั ษะความรูพ นื้ ฐาน ในเรื่องการใชความรอนสูงในการผลิตเครื่องมือเครื่องใชหรือเครื่องประดับโลหะมากอนเลย ในสว นของลูกปดหิน นั้นแมวาคนในภาคใตของประเทศไทยรูจักการขัดฝนหินเพื่อทําเครื่องมือหินขัดแลว แตวัตถุดิบที่ใชในการทําลูกปด หินที่เปนหินกึ่งอัญมณีเชน agate, Carnelain, amethyst ที่มีคุณภาพดีกลับไมมีในทองถิ่น อีกทั้งการขัดและเจาะ ในขบวนการผลิตลูกปดหินที่มีความแข็งมากๆ คนพื้นเมืองดั้งเดิมในภาคใตกอนการเขามาของคนอินเดียก็ไมมี เทคโนโลยีพื้นฐานพอทีจ่ ะสามารถทําลูกปดหินกึ่งอัญมณีเหลานี้ขึ้นไดเองในทองถิ่นเชนกัน ดังนั้นทําใหเชื่อวา คน อินเดียไดเขามาตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ภาคใตพรอมๆ การใชพื้นที่ภาคใตเปนแหลงผลิตลูกแกวและหินในเวลาเดียวกัน ๒. หลักฐานที่เกี่ยวของกับพระพุทธศาสนา แหลง โบราณคดีภูเขาทองพบจี้สิงโตครึ่งตัวอยูในทา หมอบแกะสลักจากคริส ตัล (rock crystal) มี รายละเอียดและสัดสวนสวยงามมาก ในประเทศไทยพบสิงโตทําจากหินคารเนเลียนที่บานดอนตาเพชร จังหวัด กาญจนบุรี และที่ทาชนะ จังหวัดสุราษฎรธานี รูปสิงโตที่แกะสลักจากหินตาง ๆ พบเปนจํานวนมากที่เมืองตักษิลา (Taxila) ปจจุบันอยูในประเทศปากีสถาน ตักษิลาเปนศูนยกลางของพระพุทธศาสนาทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ ของอินเดีย (พุทธศตวรรษที่ ๕-๘) ยังพบจี้สิงโตอยูในเมืองโบราณในภูมิภาคตะวันตกในสมัยราชวงศสาตวาหนะ (Satavahana) อีกดวย เชน ที่เมืองสัมภร (Sanbhar) เมืองนาสิก(Nasik) จี้สิงโตจัดเปนเครื่องรางประเภทหนึ่งคือ เปนสัญลักษณของอํานาจ และความยิ่งใหญ ในสมัยราชวงศกุษาณะ(Kusana) (พุทธศตวรรษที่ ๕-๘) ไดใชเปน สัญลักษณที่แสดงสถานะภาพของพระพุทธเจาทรงเปนสิงหแหงศากยะ (ผาสุข อินทราวุธ :๒๕๔๘,๔๘) รวมทั้ง พบสัญลักษณมงคลหลายอยางไดแก สังข ศรีวัตสะ(srivatsa) สวัสติกะ(Svastika) สัญลักษณเหลานี้ลวนเปน สัญลักษณสําคัญในศาสนาพุทธ มีสัญลักษณหนึ่งที่ไมถูกใชรวมในศาสนาอื่นเปนสัญลักษณที่มีความสําคัญอยางมาก ในศาสนาพุทธคือ ตรีรัตนะ(Triratana) ในพื้นทีภ่ าคใตของประเทศไทยทั้งชายฝงทะเลอันดามันโดยเฉพาะที่ภูเขา 108


ทอง รวมฝงอาวไทยที่เขาสามแกว จังหวัดชุมพร พบสัญลักษณนี้จํานวนไมนอย ที่ภูเขาทองนอกจากจะพบลูกปด หินที่ทําสัญลักษณตรีรัตนะแลวยังพบสัญลักษณนี้ทําดวยทองคําอีกดวย ในประเทศอินเดียกอนที่จะมีการสรางพระพุทธรูปเปนรูปเคารพแทนองคศาสดามีการใชสัญลักษณตรี รัตนะอยางแพรหลาย หนึ่งในนั้นคือทําเปนลูกปดหอยคอดังไดพบหลักฐานที่รูปสลักหินสมัยอินเดียโบราณที่สถูป สาญจี และภารหุต นอกจากนีย้ ังพบเปนภาพสลักประดับตกแตงบนสถูปอยูเปนจํานวนมาก นอกจากนี้ยังพบบน ภาชนะดินเผาที่ Arikamedu ดวย (Wheeler, R.E.M.:1946,XXXI.No.A, Ray, H.P.:1996,50) สถูป ปปราหวะตั้งอยูระหวางพรมแดนอินเดีย-เนปาล นักวิชาการสวนหนึ่งเชื่อวาคือที่ตั้งของกรุง กบิลพัสดุไ ดมีการขุดคนพบผอบบรรจุพระบรมสารี ริกธาตุ ที่ตัว ผอบมีจ ารึกอักษรพราหมีระบุวา เปนพระบรม สารีริกธาตุจารึกไวดวย สิ่งที่พบรวมกับพระบรมสาริกธาตุนั้น มีสัญลักษณมงคลหลายชนิดหนึ่งในนั้นคือ ตรีรัตนะ ผอบพร อมพระบรมสารีริธ าตุชุด นี้ รัฐบาลอิน เดีย ไดนอ มเกลา ถวายรัช กาลที่ ๕ แลว พระองค โปรดใหบ รรจุ ประดิษฐานไวที่พระบรมบรรพตหรือเจดียภูเขาทอง วัดสระเกษ กรุงเทพมหานคร การพบสัญลักษณตรีรัตนะ รวมกับพระบรมสารีริกธาตุนี้สะทอนใหเห็นภาพไดอยางชัดเจนวา “ตรีรัตนะ” เปนสัญลักษณในพุทธศาสนาที่มี ความสําคัญอยางยิ่ง นอกจากนี้ที่คลองทอม จังหวัดกระบี่ ยังพบธรรมจักรดินเผาอีกดวย ดังนั้นถาหากคนอินเดียที่ เขามาคาขายรวมถึงตั้งถิ่นฐานในประเทศไทยเปนกลุมคนที่นับถือศาสนาพุทธนั้นก็หมายความวา พุทธศาสนาได เผยแพรเขามายังดินแดนของประเทศไทยโดยเฉพาะทางชายฝงทะเลอันดามันตั้งแตเมื่อประมาณ ๒,๐๐๐ ปมาแลว ๓. การเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางสังคม จากหลักฐานทางโบราณคดีที่พบในพื้นที่ภาคใตข องประเทศไทยแสดงใหเห็นวา การเขามาของคน อินเดียมีผลอยางมากตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในพื้นที่แถบนี้ ดูเหมือนชุมชนในภาคใตมีพัฒนาการอยา งกาว กระโดดจากยุคหินใหมมาสูสังคมสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตรพรอมกับการปรากฏอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดีย ที่สามารถกลาวเชนนี้ไดก็เนื่องจากวา นับถึงปจจุบันยังไมพบชุมชนสมัยกอนประวัติศาสตรที่มีการใชเครือ่ งมือโลหะ ทีม่ ีการตั้งถิ่นฐานรวมกลุมเปนหมูบานขนาดใหญตามลักษณะสังคมเกษตรกรรมในยุคโลหะในพืน้ ทีภ่ าคใตเลย ทําให ในพื้นที่ภาคใตไมพบโครงกระดูกถูกฝงรวมกับเครื่องมือเครื่องใชทั้งที่ทําจากสําริด และเหล็ก แนวความคิดนี้ไดรับ การยืนยันจากผลการขุดคนที่แ หลงโบราณคดีก ะเปอร จังหวัดระนองโดยพบวา ใตชั้น วัฒนธรรมสมัยแรกเริ่ม ประวัติศ าสตร ที่ พบลูก ปดในชั้นกิจ กรรมการอยูอาศัย มีชั้นวัฒ นธรรมของชุม ชนที่ใ ชห มอสามขาในสมัย กอน ประวัติศาสตรกอนการเขามาของคนอินเดีย โดยสมัยกอนประวัติศาสตรยุคโลหะไดขาดหายไป ปรากฏการณที่ทําใหชุมชนยุคโลหะในภาคใตขาดหายไปนี้พออธิบายไดวา ในชว งกอน ๒,๐๐๐ ปคน ในภาคใตยัง ไมไ ดติด ตอกับ คนสมัย กอนประวัติศ าสตร ยุค เหล็กในภาคกลางหรือ ภาคอื่นๆ ของประเทศไทย จนกระทั่งตอมาเมื่อคนอินเดียที่นับถือศาสนาพุทธไดเริ่มเขามาติดตอคา ขายตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ภาคใต จนเกิดการ ผสมผสานกันทั้งทางดานกายภาพและวัฒนธรรมกับคนพื้นเมืองภาคใตดั้งเดิม โดยนาจะเปนกลุมคนที่อาศัยอยูต าม ชายฝงทะเลอันดามันที่เปนเจาของภาพเขียนสีสมัยกอนประวัติศาสตร (rock art) หรือกลุมคนที่ใชหมอสามขา ดังนั้นการไมพบประเพณีการฝงศพก็เทากับวากลุมคนเหลานี้ไดเปลี่ยนมายอมรับ นับถือโดยมีพิธิกรรมทางศาสนา เกิดขึ้นแลว และพิธีทางศาสนาเมื่อพิจารณาจากหลักฐานทางโบราณคดีที่พบก็นาจะหมายถึงเกิดการยอมรับนับถือ ศาสนาพุทธขึ้นในสังคมภาคใตในเวลานั้นแลว สรุป จากหลักฐานการเขามาของคนอินเดียโดยบริบ ททางสังคมของอินเดียเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๕ เปนที่ยอมรับกันวาพุทธศาสนาเจริญรุงเรืองอยางมากมีอิทธิพลเหนือศิลปกรรมของอินเดีย จนสามารถกลาวไดวา ศิลปกรรมเกือบทั้งหมดที่สรางขึ้นในประเทศอินเดียระหวางพุทธศตวรรษที่ ๓-๕ ลวนสรางขึ้นภายใตอิทธิพลทาง พุทธศาสนาทั้งสิ้น (สุภัทรดิศ ดิศกุล ศ.มจ.: ๒๕๓๔, ๓๖-๓๗) ดังนั้นคนอินเดียที่เดินทางเขามาติดตอคาขายหรือตั้ง ถิ่นฐานในภาคใตจึงควรเปนคนที่นับถือศาสนาพุทธ เมื่อคนอินเดียที่เปนชาวพุทธไดเดินทางเขา มาในพื้นที่ภาคใต โดยตรงก็หมายความวาพุทธศาสนาไดเผยแพรเขามาในดินแดนประเทศไทยแลว การเขามาไมวาจะเปนไปเพื่อการ ติดตอคาขายหรือการเผยแพรศาสนาเปาหมายเหลานี้ลวนตองอาศัยการติดตอกับคนพื้นเมืองดั้ งเดิมทั้งสิ้น เมื่อมี การติดตอกันแลวจึงเกิดการรับสงวัฒนธรรมซึ่งกันและกัน การพบหลักฐานที่เปนสัญลักษณในศาสนาพุทธ การ เปลี่ยนแปลงโครงสรางทางสังคมที่เกิดขึ้นในภาคใต เหลานี้ลวนเปนองคประกอบแวดลอมที่นาจะมีเหตุอธิบายไดวา พุทธศาสนาไดเผยแพรเขามาในประเทศไทยเมื่อประมาณ ๒,๐๐๐ ปมาแลว 109


บรรณานุกรม ผาสุข อินทราวุธ. สุวรรณภูมิจากหลักฐานทางโบราณคดี. ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัย ศิลปากร, ศักดิ์โสภาการพิมพ, กรุงเทพฯ, ๒๕๔๘ สุภทั รดิศ ดิศกุล. ศ.มจ. ศิลปะอินเดีย. องคการคาคุรุสภา, กรุงเทพฯ, ๒๕๓๔ Ardika, I. W. and Bellwood, P. “Sambriran:the beginning of India contact with Bali”, Anquity 65 (247): 221-232,1991 Begley, V., “Rouletted Ware at Arikamedu: A New Approach” American Journal of Archaeology 92 PP 427-440, 1988 Bellina, B. and I. C. Glover, ‘The Archaeology of Early Contact with India and the Mediterranean World, from the fourth century B.C. to the fourth century A.D.’ in Southeast Asia: From Prehistory to History, ed. I. Glover and P. Bellwood, New York: Routledge/Curzon, 2004 Francis, P., “Bead,the Bead Trade and Development in Southeast Asia” Ancient Trades and Culture Contacts in Southeast Asia. The Office of the National Culture Comission. Bangkok, Thailand,1996. Glover, I. C., The Southern silk Road: Archaeological Evidence for Early Trade Between India and Southeast Asia. Ancient Trades and Culture Contacts in Southeast Asia. The Office of the National Culture Comission. Bangkok, Thailand, 1996. Lois Sherr Dubin. The History of Bead From 30,000 B.C.to Present. Japan,1995 Ray, H.P., “Early Trans-Oceanic Contacts Beetween South and Southeast Asia” Ancient Trades and Culture Contacts in Southeast Asia. The Office of the National Culture Comission. Bangkok, Thailand, 1996 Selvakumar, V., “Contacts between India and Southeast Asia in Ceramics and Boat Building Traditions”, Early Interaction between South and Southeast Asia. Manohar Publishers & Distributors. New Delhi, 2011 Verapasert Mayuree, ‘Khlong Thom: An Ancient Bead-Manufacturing Location and An Ancient Entrepot’, in Early Metallurgy Trade and Urban Centres in Thailand and Southeas Asia. Bangkok, 1992, Wheeler, R. E. M., Gosh, A. and Krishna Deva, “Arikamedu: an Indo-Roman trading station on the East coast of India”, Ancient India, Bulletin of the Archaeological Survey of India 2: 17-125, 1946

110


การใชเสียมลม (Air Spade) ในการขุดทางโบราณคดี นายสายกลาง จินดาสุ นักโบราณคดีชํานาญการ สํานักศิลปากรที่ ๗ เชียงใหม การพัฒ นารูปแบบการดําเนินงานทางโบราณคดี หัวใจหลัก คือ ความพยายามในการแสวงหาองค ความรู ศาสตรตางๆ รวมถึงอุปกรณเครื่องมือตางๆเพื่อประยุกตใชกับงานโบราณคดี โดยมีเปาหมายคือ ผล การศึก ษาในทางโบราณคดีและการบริห ารจั ดการพื้นที่เ พื่อดําเนินการ เพื่อใหลุลวงตามวัตถุประสงคและ เงื่อนไขของแตละงานแตละพื้นที่ ตนไมกับโบราณสถาน : ที่มาของการดําเนินงาน ปจจุบันกระแสการอนุรักษตนไมและพื้นที่สีเขียวเกิดขึ้นในเมืองใหญรวมถึงจังหวัดเชียงใหม ดังจะเห็น ไดจากกิจกรรมการรณรงคปลูกตนไม ในชื่อโครงการ มือเย็น เมืองเย็น และกลุมภาคีประชาชนและนักวิชาการ อนุรักษตนไม เชน กลุมเขียว สวย หอม และหมอตนไม ที่มีบทบาทในการดูแลรักษาพื้นที่สีเขียวและตนไม โดย ใชองคความรูในเชิงวิชาการในการดูแลรักษา หรือที่เรียกวา “รุกขกร” ดังนั้นการดําเนินการในโครงการของ ภาครัฐและเอกชนในจังหวัดเชียงใหม จึงมิอาจละเลยประเด็นการรักษาตนไม ซึ่งทั้งนี้รวมถึงการดําเนินงานทาง โบราณคดี ในป พ.ศ.๒๕๕๙ - ๒๕๖๐ สํานักศิลปากรที่๗ เชียงใหม ไดมีการดําเนินการทางโบราณคดี ในชื่อ โครงการ “ขุดคนขุดแตงทางโบราณคดีในพื้นที่ขวงหลวงเวียงแกว ตําบลศรีภูมิ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม” การดําเนินการดังกลาวเกิดจากการที่จัง หวัดเชียงใหมมีความตองการที่จะปรับ ปรุงพื้ นที่ทัณฑสถานหญิง เชียงใหม(เดิม) ใหเปนสวนสาธารณะ ทั้งนี้ขอมูลทางโบราณคดีพบวา พื้นที่บริเวณทัณฑสถานและบริเวณรอบ ขาง ทับซอนกับพื้นที่สําคัญทางประวัติศาสตรที่ปรากฏหลักฐานในแผนที่โบราณนครเชียงใหม พ.ศ.๒๔๓๖ ที่ ปรากฏขอบเขตพื้นที่คลายรูป แบบวัง หลวง ที่มีก ารแบง สวนวัง ชั้นนอกและชั้นใน โดยปรากฏชื่อในแผนที่ โบราณนั้นวา “เวียงแกว” ทั้งนี้พื้นที่ดังกลาวถูกใชงานเปนวังของเจาผูครองนครเชียงใหมในชวงรัตนโกสินทร ตอนกลาง ราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๔ กอนที่เจาผูครองนครองคที่ ๗ (เจาอินทวิชยนนท) จะสรางและยายที่ ประทับไปยังพื้นที่แหงใหม คือ บริเวณโรงเรียนยุพราชในปจจุบัน (อยูหางจากทัณฑสถานหญิงเชียงใหมมาทาง ทิศตะวันออกราว ๒๐๐ เมตร) ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ ทั้งนี้ จากขอมูลการทับซอนพื้นที่โดยใชภาพถายทางอากาศและแผนที่โบราณนครเชียงใหม พบสิ่งที่นาสนใจประการ หนึ่ง คือ พบเนินโบราณสถานที่ปรากฏโบราณสถานรูปแบบมณฑป ๑ แหง ในพื้นที่ขอบเขตเวียงแกว โดย โบราณสถานนี้ เปนเนินโบราณสถานเพียงแหงเดียวที่โผลพนผิวดิน ดวยเหตุนี้จึงนําไปสูการดําเนินการขุดแตง ทางโบราณคดีบริเวณเนินโบราณสถานนี้ กายภาพเนินโบราณสถานแหงนี้ นอกจากจะมีมณฑปปรากฏที่สวนทายของเนิน ยังมีตนไมใหญ คือ ตนมะเดื่อและตนไทรขึ้นบนเนินและชายเนิน โดยมีรากไทรบางสวนที่ครอบหุมมณฑปอยู สวนพื้นที่ทางดานทิศ ตะวันออกของมณฑปใชงานเปนศาล โดยประชาชนในพื้นที่เรียกศาลแหงนี้วา “ศาลเจาพอขอมือเหล็ก” ดวย กายภาพของเนินโบราณสถานที่มีตนไมใหญขึ้น โดยเฉพาะตนไทรที่มีรากเปนจํานวนมากแผขยายลงมาตาม ขอบเนินโบราณสถาน ทําใหการขุดแตงทางโบราณคดีตองตัดรากไทรเหลานี้ออกเพื่อใหสามารถขุดเปดดินเขา 111


ไปถึง สวนฐานมณฑปได โดยไดดําเนินการขุดเปดดานทิศตะวั นตกและทิศเหนื อบางสวน และระหวางที่ ดําเนินการขุดแตงทางโบราณคดีอยูนี้ ไดมีกลุมภาคีประชาชนและนักวิชาการดานการอนุรักษตนไมขอเขาหารือ เกี่ยวกับแนวทางการดําเนินงาน โดยมีประเด็นในการหารือคือ “จะขุดแตงทางโบราณคดีไดอยางไรโดยยัง สามารถรักษาตนไมใหอยูคูกับโบราณสถาน” ซึ่งทั้งนี้ในแนวทางการหารือสรุปไดวา ตองทําการขุดแตงทาง โบราณคดีเพื่อเปดใหเห็นอาคารโบราณสถานกอน ซึ่งจะสามารถประเมินภาวะความเกื้อกูลกันของตนไมและ โบราณสถานวา ตนไมจะเปนสิ่งเกื้อกูลชวยค้ําจุนโบราณสถานหรือทําลาย ทั้งนี้การจะดําเนินการทางโบราณคดี ไปถึงจุดที่จะวิเคราะหสภาพการณดังกลาวได จําเปนจะตองขุดดินจากขอบเนินโบราณสถานไลเ ขาหาขอบ อาคารโบราณสถาน ซึ่งก็ตองมีการตัดรากไมที่อยูในจุดนั้นๆออก จึงนําไปสูการหาวิธีการขุดทางโบราณคดีที่ รักษารากไมไว ซึ่งก็คือ การใชเสียมลมหรือที่เรียกวา Air spade ในการขุดทางโบราณคดีครั้งนี้ เสียมลม (Air Spade) : การใชแรงดันลมในการขุดทางโบราณคดี แตเดิมเสียมลม(Air Spade) คือ เครื่องมือที่ใชในการกอสรางถนนหรือใชในงานขุดเจาะ วางทอ หรือ เปนเครื่องมือในดานเกษตรกรรม ตอมาผูทํางานดานตนไมมองเห็นประโยชนในการใชงาน จึงนํามาประยุกตใช ในการบํา รุง รั ก ษาต น ไม เช น ขุ ดหลุม พรวนดิ น จนขยายขอบเขตการใชง านไปสู ก ารดูแ ลตน ไม ใ นเชิ ง ความสัมพันธกับสิ่งอื่นๆ เชน การเปาดินออกจากรากไมเพื่อใหสามารถวางทอผานพื้นที่รากไมได เพื่อลดการ ตัดรากไมซึ่งจะเปนสาเหตุทําใหตนไมตายในที่สุด ทั้งนี้ที่ผานมาการใชเสียมลมยังจํากัดอยูในงานดานการกอสราง และการเกษตรเทานั้น การนําเสียมลม มาใชในการดําเนินงานทางโบราณคดีในครั้งนี้ จึงถือเปนครั้งแรกที่มีการประยุกตนําเสียมลมมาใชในการขุดทาง โบราณคดี หรือเรียกไดวาเปนการขุดทางโบราณคดีโดยใชแรงดันลม การใชเสียมลมดําเนินงานทางโบราณคดีประกอบดวยอุปกรณ ดังนี้ ๑. หัวเปา เปนตัวควบคุมการปลอยอากาศ (Air Spade) แตเ ดิมใชในการกอสราง วางทอ เปาไลดิน หรือขุดหลุมในแนวดิ่ง(ตรง) ตอมารุกขกรเห็นประโยชน จึงนํามาประยุกตใชกับการเปาไลหนาดิน ขุดหลุมใสปุย ตนไมและวางทอลอดรากไม ๒. เครื่องอัดอากาศ เปนเครื่องอัดอากาศที่ใชในงานกอสราง (เจาะถนน) และงานอุตสาหกรรมอื่นๆ แรงดันลมที่ เหมาะสมอยูที่ประมาณ ๗ บาร (เครื่องโดยปกติเมื่อเปดใชงานจะอยูที่ ๗ บาร) และเมื่อเรงแรงดันลม ความแรง ควรจะอยูที่ ๘ บาร (ขอจํากัดการใชงานเครื่องอัดอากาศ คือ ใชงานตอเนื่องได ๓๐ นาที แลวตองทําการพัก เครื่ อ ง ๑ ครั้ ง โดยใช เ วลาพั ก เครื่ อ ง ๑๐ นาที ดั ง นั้ น ในการดํ า เนิ น การต อ รอบ จะใช เ วลา ๔๐ นาที โดยประมาณ) ๓. อุปกรณปองกันอันตราย ประกอบดวยอุปกรณหลัก ๒ อยาง คือ หมวกที่มีที่ครอบตาและใบหนา และหูครอบกันเสียง หรือที่อุดหู (เสียงจากการใชเสียมลม มีความดังมาก เปนอันตรายตอระบบการไดยินไดหากฟง เปนระยะ เวลานาน) 112


การดํา เนินการทดลองขุดแตง ทางโบราณคดีโ ดยใชเ สี ยมลมนี้ ดําเนินการระหว างวันที่ ๒๖-๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐ รวมระยะเวลาทั้งหมด ๕ วัน การดําเนินการนี้มีหลักการ คือ ทุกกระบวนการปฏิบัติเปน การทํางานตามกระบวนการทางโบราณคดี (การวางผัง บันทึกขอมูล การเก็บโบราณวัตถุ ) เพียงแตเปลี่ยน อุป กรณในการขุดจาก จอบ เสียม เกรียง ไปเปนเสียมลม(Air Spade) โดยทําการขุดตรวจแบบรองยาว (trench) ๒ จุด คือ บริเวณมุมฐานมณฑปดานทิศตะวันตกเฉียงเหนือและดานทิศเหนือของเนินโบราณสถาน โดยขุดไลจากขอบเนินโบราณสถานเขาหาตัวโบราณสถาน ทั้งนี้ใชวิธีการขุดแบบผสมคือ ขุดตามระดับชั้นดิน สมมุติกอน เมื่อพบระดับแนวอาคารโบราณสถานจึงขุดตามชัน้ วัฒนธรรม (ตามแนวโบราณสถาน ขอสรุปการทดลองใชเสียมลม(Air Spade) ในการขุดทางโบราณคดี จากการทดลองใชเ ครื่องมือเสียมลม ในการขุดคนโบราณสถานเปนระยะเวลา ๕ วัน ที่ศาลเจาพอ ขอมือเหล็ก สามารถสรุปผลการทํางานได ดังนี้ ขอดี ๑. เสียมลมสามารถเปาดินออกจากรากไมและโบราณสถานไดเปนอยางดี ดินที่หลุดออกมาถูก แรงดันลมยอยใหมีขนาดเล็ก ละเอียด จึง สามารถสัง เกตโบราณวัตถุที่อยูในดินไดดีขึ้น และสามารถเก็บ หลักฐานทางโบราณคดีชิ้นเล็กๆ ไดมากขึ้นกวาวิธีเดิมที่ดินมักหลุดออกมาเปนกอนใหญ ทําใหสังเกตโบราณวัตถุ ไดยาก ๒. เสียมลมใชงานไดดีในการขุดพื้นที่ขนาดเล็ก เชน รองหรือรูขนาดเล็กที่คนยากจะเขาไปได รวมถึงยังชวยทุนแรงคนงาน (ผูใชงาน) ไมใหเหนื่อยจนเกินไป และอาจชวยลดจํานวนแรงงานในการขุดได ๓. สามารถใชเสียมลมเปนเครื่องมือหนัก ทดแทนการใชจอบ เสียม และอีเตอร ไดในบางกรณี ๔. สามารถนําเสียมลมมาประยุก ตใชกับงานขุดแตงโบราณสถาน โดยเฉพาะโบราณสถานที่มี ตนไมขึ้นคลุมทับและไมตองการตัดตนไมออก เชน กรณีที่ตนไมและโบราณสถานมีการค้ํายันกันอยู หรือใชใน งานดูแลรักษาพื้นที่และโบราณสถานได ขอเสีย/ขอจํากัด ๑. เนื่องจากเสียมลมมีแรงดันลมสูง มาก ในระหวางเปาดินอาจทําใหโ บราณวัตถุเ กิดความ เสียหาย หรือหลุดออกไปจากตําแหนงเดิม จึงไมเหมาะสมตอการนําไปใชในงานขุดคนทางโบราณคดีที่ จําเปนตองมีการจดบันทึกตําแหนงเดิมของโบราณวัตถุที่พบในหลุม (In situ) ซึ่งมีผลตอการวิเคราะห และแปลความขอมูลทางโบราณคดี ๒. ในการขุดแตงโบราณสถานโดยการใชแรงดันลม อาจทําใหอิฐบางกอนที่ไมไดสอดิน หรือสอ ดินแบบหลวมๆ หลุดออกจากแนวเดิมได จึงตองมีการควบคุมลมอยางระมัดระวัง รวมถึงยังคงตองใชเครื่องมือ เบา เชน เกรียง และเสียมเล็ก ในการขุดแตงจุดที่ใกลแนวโบราณสถานอยู เพื่อปองกันไมใหเกิดความเสียหาย กับแนวโบราณสถาน ๓. ในระหวางการเปาดินดวยเสียมลม ดินมีลักษณะกระจายออกไปทั่วพื้นที่ขุด และกลบพื้นที่ บางสวนที่ไดทําการขุดไปแลว ไมสามารถควบคุมใหดินไปในทางเดียวกันได อาจมีผลใหการทํางานช าลงและ ตองโกยดินไปทิ้งบอยครั้งขึ้น 113


๔. ผูใชงานเสียมลมและผูที่อยูในบริเวณโดยรอบควรมีการปองกันตนเองจากเศษดินที่กระเด็น ออกมาโดยรอบพื้นที่ขุด และเสียงจากทอลมที่ดังมาก ผูปฏิบัติงานควรสวมหมวกกันกระแทก แวนตากันฝุน ผา ปดจมูก และมีที่อุดหูหรือที่ครอบหูปองกันเสียง รวมถึงแตงกายดวยเสื้อแขนยาวและกางเกงขายาวในระหวาง ปฏิบัติงานทุกครั้ง การใชเสียมลม (Air Spade) ในการดําเนินงานทางโบราณคดีครั้งนี้ เปนนิมิตหมายที่ดีในการพัฒนา เครื่องมือที่นํามาใชในงานโบราณคดี แตทั้ง นี้ก็ ยัง ไมใชจุดสิ้น สุดของคําตอบที่มีตอเครื่องมือ ในการนํามา ประยุกตใชกับงานโบราณคดี เนื่องดวยเปนการทดลองใชครั้งแรก ทั้งนี้การจะนําเครื่องมือดังกลาวมาใชใน กระบวนการทางโบราณคดีอยางจริงจังได จําเปนที่จะตองมีการทดสอบ ทดลองเพิ่มเติมเพื่อพิเคราะห ขอดี ขอเสีย เงื่อนไขและความเหมาะสมของเครื่องมืออยางถี่ถวน ที่จะนํามาใชกับงานทางโบราณคดีแตละรูปแบบ เพื่อใหเครื่องมือนี้เปนสิ่งที่สามารถตอบสนองและประสานประโยชนระหวาง ความสะดวกในการดําเนินงาน

และการรักษาขอมูลหลักฐาน ซึ่งเปนหัวใจสําคัญในงานโบราณคดีได ภาพถายทางดาวเทียมแสดงตําแหนงที่ตั้งของโบราณสถาน (วงกลมสีแดง) ทีท่ ําการทดลองขุดทางโบราณคดี โดยใชเสียมลม (Air Spade) ที่มา : Google Earth

เนินโบราณสถานที่ไดรบั การขุดแตงทางโบราณคดีกอนที่จะทดลองใชเสียมลม(Air Spade) ขุดทางโบราณคดี (จะเห็นวารากไมถูกขุดตัดจนรากลอยตัวเหนือผิวดินดานลาง) 114


อุปกรณในการดําเนินการ (เครื่องอัดอากาศ หัวเปา และอุปกรณปองกันอันตราย)

การใชเสียมลม(Air Spade) ในการขุดแตงเนินโบราณสถาน

ผลการขุดแตงโบราณสถานโดยใชเสียมลม (Air Spade) (จะเห็นวาแรงดันลมสามารถเปาดินที่คลุมโบราณสถานออกไดเปนอยางดีและคงเหลือรากไมไว) 115


การขุดตรวจเพื่อพิสูจน์หน้าที่ใช้งานของ "คอกช้างดิน" เมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี นางสาวสุภมาศ ดวงสกุล นักโบราณคดีชานาญการ สานักศิลปากรที่ ๒ สุพรรณบุรี

คอกช้างดิน เป็นชื่อเรียกสิ่งก่อสร้างสมัยโบราณ ซึ่งตั้ง อยู่นอกเมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ตรงเชิงเขาคอกในเขตวนอุทยานแห่งชาติพุม่วงในปัจจุบัน มีลักษณะเป็นคันดินสูงใหญ่ จานวน ๓ แห่ง ก่อโอบ ล้อมเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมมน มีช่องทางเข้าด้านหน้า ด้วยรูปร่างที่คล้ายกับคอกขังสัตว์ทั้งยังมีขนาดใหญ่ ชาวบ้าน จึงเชื่อกันว่า สิ่งก่อสร้างนี้น่าจะเป็นคอกจับช้างป่า หรือ เพนียดคล้องช้าง และเรียกสืบต่อกันมาว่า “คอกช้าง ดิน” นักวิชาการหลายท่านที่เคยมาสารวจและศึกษาทางโบราณคดีที่เมืองอู่ทอง เช่น ศาสตราจารย์หม่อม เจ้า สุภัทรดิศ ดิศกุ ล นายพอล วีท ลีย์ ศาสตราจารย์ ช็อง บวสเซอลิเ ยร์ ต่า งก็เ คยมาสารวจที่ แห่งนี้ และ สันนิษฐานว่าเป็นเพนียดคล้องช้างด้วยเช่นกัน นายพอล วีทลีย์ นั้นได้ตีความเนื้อหาในจดหมายเหตุของจีนสมัย ราชวงศ์เหลียง ที่กล่าวถึงอาณาจักรโบราณที่ชื่อ “จินหลิน” อันเป็นดินแดนสุดท้ายที่พระเจ้าฟันมัน กษัตริย์ แห่งฟูนันโจมตีได้ว่า คงหมายถึง “เมืองอู่ทอง” เพราะ "จินหลิน" แปลว่า ดินแดนแห่งทอง หรือ สุวรรณภูมิ และมีตาแหน่งที่ตั้งสอดคล้องกัน และที่สาคัญคือในจดหมายเหตุนี้ยังกล่าวไว้ด้วยว่า ประชากรของเมืองนี้นิยม คล้องช้างป่า “คอกช้างดิน” จึงดูจะสอดคล้องกับเรื่องราวนี้ได้ดี นายสมศักดิ์ รัตนกุล เป็นนักวิชาการท่านแรกที่ตั้งข้อสงสัยว่า “คอกช้างดิน” อาจจะไม่ใช่เพนียดคล้อง ช้าง แต่น่าจะเป็น “สระกักเก็บน้า” เนื่องจากท่านได้สารวจและขุดค้นทางโบราณคดีที่เนินโบราณสถาน 2 แห่ง ใกล้ๆ กับคอกช้างดิน เมื่อ พ.ศ. 2509 แล้วได้พบฐานอาคารก่อด้วยศิลาแลงประดิษฐาน “เอกมุขลึงค์” และ หม้อดินเผาบรรจุเหรียญเงินและทองแดงจานวนมาก เหรียญมีลักษณะเป็นแผ่นบางคล้ายเกล็ดปลาประทับตรา โอม นายสมศักดิ์ รัตนกุล จึงสันนิษฐานว่าบริเวณที่โบราณสถานคอกช้างดินตั้งอยู่น่าจะเป็นเขตชุมชนพราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย ส่วนตัวคอกช้างดินนั้น ก็น่าจะเป็นสระน้ามากกว่า เมื่อกรมศิลปากรได้เข้ามาสารวจทาผัง และขุดค้นทางโบราณคดีในบริเวณนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 เป็น ต้นมา ก็ได้หลักฐานข้อมูลเพิ่มใหม่อีกหลายประการที่ช่วยสนับสนุนข้อสันนิษฐานว่า คอกช้างดิน ไม่ใช่คอกจับ ช้าง หากแต่เป็น สระกักเก็บน้า กล่าวคือ ได้พบว่า บริเวณที่ตั้งของคอกช้างดิน มีโบราณสถานอยู่ 2 ประเภท คือ 1) คอกช้างดิน หรือสิ่งก่อสร้างด้วยดินพูนขึ้นเป็นคันล้อมรอบ มีอยู่ 4 แห่ง 2) แท่น หรืออาคารก่อด้วยศิลา แลง หิน หรืออิฐ ได้พบแล้ว 16 กลุ่ม ตั้งเรียงรายอยู่สองข้างน้าตกพุม่วงและลาธารของน้าตกนี้ โดยกลุ่มสุดท้าย มีอยู่ ๑๒ แห่ง ตั้งกระจายอยู่บนยอดเขาคอก เป็นสิ่งก่อสร้างที่บางแห่งน่าจะสร้างขึ้นตั้งแต่สมัยทวารวดี และมี การซ่อมสร้างเพิ่มเติมเพื่อใช้งานอีกครั้งในสมัยอยุธยา การตรวจพิสูจน์ว่า “คอกช้างดิน” คืออะไรกันแน่ ข้อมูลการสารวจและขุดค้นของกรมศิลปากรในระยะหลังได้พบหลักฐานสาคั ญอีกหลายประการ เช่น ได้พบศิวลึงค์ถึง 4 องค์ เหรียญเงินมีจารึก “ศรีทวารวตี ศวรปุณยะ” ซึ่งขุดค้นพบ 3 เหรียญ ร่วมกับเหรียญไม่ มีจารึกอีก 6 เหรียญ บรรจุอยู่ในภาชนะพบที่เนินโบราณสถานที่ตั้งอยู่บนคันคอกที่ 3 ฯลฯ หลักฐานเหล่านี้บ่งชี้ ชัดว่า บริเวณเชิงเขาคอกเป็นเขตที่อยู่อาศัยและประกอบพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ของชุมชนพราหมณ์ในสมัยทวาร วดี ซึ่งนับถือพระศิวะเป็นเทพเจ้าสูงสุด กระนั้นก็ยังคงมีข้อถกเถียงว่า คอกช้างดิน คือ อะไรกันแน่ และผู้คน ส่วนใหญ่ก็ยังเชื่อกันว่ามันคือ คอกขังช้าง (เพนียดคล้องช้าง) การตรวจพิสูจน์ตามกระบวนการทางวิชาการโดยตรงที่ตัว “คอกช้างดิน” น่าจะช่วยชี้ชัดถึงหน้าที่ใช้ งานของสิ่ง ก่อสร้างนี้ได้ ด้วยเหตุนี้ จึงได้มีการขุดค้นศึกษาบริเ วณคอกช้างดิน 3 แห่ง โดยมีจุดมุ่ งหมายเพื่อ ตรวจสอบระดับพื้นที่ใช้งานดั้งเดิมเมื่อแรกก่ อสร้างว่าลึกขนาดไหน รูป ร่างเมื่อแรกสร้างเสร็จลักษณะเป็น 116


อย่างไร สภาพภูมิประเทศดั้งเดิมก่อนที่จะมีสิ่งก่อสร้างเป็นเช่นไร และกว่าจะมาถึงปัจจุบันสิ่งก่อสร้างเหล่านี้มี การเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรบ้าง โดยขุดค้นภายในคอกช้างดินทั้ง 3 แห่งๆ ละ 2 หลุม และขุดตัดขวางแนวคัน ดินทั้ง 3 แห่งด้วย ผลการขุดตรวจที่คอกช้างดินทั้ง 3 แห่ง นั้นน่าสนใจมาก และช่วยยืนยันว่า ตัวคอกช้างดินทั้ง 3 แห่ง เป็นสระกักเก็บน้า ไม่ได้เ ป็นคอกขังช้างหรือเพนียดคล้องช้างอย่างแน่นอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งคอกช้างดิน หมายเลข 1 ซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุด กล่าวคือ คอกช้างดินหมายเลข 1 นั้น สร้างขึ้นขวางลาห้วยเดิมที่ไหลลงมาจากน้าตกพุม่วง โดยการ ขุดสระน้าขนาดใหญ่ ลึกจากพื้นที่ดินเดิมประมาณ 8 เมตร กว้างยาวประมาณ 120 เมตรขวางทางน้า ดินที่ได้ จากการขุดสระนาขึ้นไปพูนเป็นคันล้อมรอบสระ เว้นช่องให้น้าเข้ามาตรงแนวลาห้วยเดิม ลาห้วยด้านหน้ามีแนว เขื่อนเปิดปิดให้น้าเข้ามาตามต้องการ การศึกษาชั้นดินทับถมภายในคอกพบว่า เป็นการทับถมที่เกิดจากน้าพัดพาเอาตะกอนดินเข้ามาจาก ภายนอกและจากบนคันดินเองด้วย ตะกอนที่ทับถมภายในคอกแสดงให้เห็นถึงการตกตะกอนเมื่อมีน้าขัง ซึ่งมี หลักการทั่วไปคือ เมื่อน้าไหลบ่าเข้ามาแช่ขังในสระน้าแล้ว น้าจะนิ่ง ตะกอนที่มีขนาดใหญ่น้าหนักมากจาพวก ก้อนหิน ก้อนกรวดจะตกลงไปทับถมอยู่ข้างล่างก่อน ตะกอนที่เล็กลงมาจาพวกทราย ทรายละเอียดจะทับถม ตามลงไป ท้ายที่สุดพวกตะกอนดินละเอียดน้าหนักเบาจะตกลงไปทับถมทีหลังสุด เมื่อเปิดเขื่อนด้านหน้าให้น้า ไหลเข้ามาเก็บไว้อีกก็จะเกิดการตกตะกอนเป็นชั้นๆ เช่นนี้ ขึ้นมาเรื่อยๆ และที่ส าคัญคือ ตะกอนดินเหนียวสีดาชั้นล่างสุดที่ พบอยู่ก้นสระบ่ง ชี้ชัดว่า ในช่วงเวลาที่ มีชุม ชน พราหมณ์ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่นี่ น้าไม่เคยแห้ง ไปจากสระน้านี้ (ดินเหนียวสีดาแสดงว่าดินไม่ ได้รับ ออกซิเ จนจาก อากาศ ถ้าน้าแห้งดินจะเป็นสีแดงเพราะแร่ธาตุเหล็กในดินทาปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศจนเกิดสนิม ) โดย ได้นาตะกอนดินเหนียวสีดานีไ้ ปวิเคราะห์หาละอองเรณูของพืช (Pollen analysis) พบละอองเรณูของพืชน้า จาพวก สาหร่าย ผักขาเขียด เฟิร์น ละอองเรณูของพืชน้าเหล่านี้ทาให้เรามองเห็นภาพของสระเก็บน้าได้อย่าง ชัดเจน เมื่อชุมชนพราหมณ์ที่นี่ร้างไป สระน้านี้ก็ถูกทิ้งร้างด้วยเช่นกัน ทาให้น้าฝนไหลบ่าเอาตะกอนเข้ามาทับ ถมตลอดช่วงระยะเวลาอันยาวนาน สระที่เคยมีน้าขังลึกหลายเมตรก็ตื้นเขินจนไม่เหลือสภาพเดิมให้เห็น จนคน รุ่นหลังเข้ามาพบเห็นแต่แนวคันดินพูนเป็นคอกขนาดใหญ่ จึงเข้าใจผิดว่าเป็นคอกสาหรับจับขังสัตว์ขนาดใหญ่ เรียกต่อๆ กันมาว่า คอกช้างดิน นั่นเอง การขุดค้นตรวจสอบในคอกที่ 2 และ 3 ก็ให้ผลคล้ายคลึงกับคอกที่ 1 นั่นคือ คอกที่ 3 นั้นเป็นการ สร้างคันดินรูปตัว L โอบธารน้าตรงลานหินเชิงเขา โดยบนคันดินเป็นศาสนสถานสาหรับประกอบพิธีกรรมด้วย ส่วนคอกที่ 2 เป็นการสร้างคันดินล้อมรอบหนองน้าเดิมที่มีลาห้วยไหลผ่าน

117


118


คอกช้างดินหมายเลข 1

119


ดินตะกอนที่ทับถมภายในคอก 1 ในแต่ละครังตะกอนใหญ่จะทับถมอยู่ด้านล่าง ตะกอนขนาดเล็กละเอียดกว่าจะตกมาทับถมทีหลังอยู่ด้านบน (1 ชัน = 1 ครัง) แสดงถึงการตกตะกอนในพืนที่น้าแช่ขัง

120


121


ภาชนะบรรจุกระดูกสูวัฒนธรรมเจนละ ณ แหลงโบราณคดีบานศรีคุณ ตําบลพังเคน อําเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี นางสาวสิริพัฒน บุญใหญ นักโบราณคดีชํานาญการ สํานักศิลปากรที่ ๙ อุบลราชธานี แหลงโบราณคดีบานศรีคุณ แหล ง โบราณคดี บ า นศรี คุ ณ ตั้ ง อยู ที่ บ า นศรี คุ ณ หมู ๓ ตํ า บลพั ง เคน อํ า เภอนาตาล จั ง หวั ด อุบลราชธานี สภาพพื้นที่เปนเนินดินหนาตัด มีบริเวณที่สําคัญของหมูบานคือ ดอนใหญ (ดอนปูตา) ซึ่งเดิมเปน ปารก เปนสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของชุมชน บริเวณดอนปูตามีตนมะคาขนาดใหญ และมีหนองน้ําอยู เรียกวา หนอง ดอนใหญ หรือหนองสีก สํานักศิลปากรที่ ๙ อุบลราชธานี ไดรับการแจงวามีการขุดพบภาชนะดินเผาขนาดใหญ บริเ วณที่ กอสรางอาคารภายในวัดศรีรัตนะ จึงไดเขามาตรวจสอบ พบกลุมภาชนะดินเผา และไดขออนุญาตอธิบดีกรม ศิลปากร ไดรวมกับประชาชนในชุมชนขุดกูขึ้นและเก็บรักษาไวที่ดอนปูตาปจจุบันเก็บรักษาไวในศูนยการเรียนรู บานศรีคุณ ตําบลพังเคน อําเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี

สภาพภาชนะดินเผาบรรจุกระดูกขณะขุดกู

ปจจุบันเก็บรักษาไวที่ศูนยการเรียนรูบานศรีคุณ

122


แหลงฝงศพสมัยกอนประวัติศาสตร ภาชนะดินเผาขนาดใหญที่พบและไดขุดกูขึ้นนี้ เปนภาชนะดินเผาบรรจุกระดูก จากการขุดแตงจํานวน ๑ ใบ พบวาภายในมีกระดูกมนุษยและเครื่องอุทิศ โดยกระดูกเปนกระดูกสวนกะโหลกและกระดูกชิ้นยาวเปน สําคัญ สําหรับเครื่องอุทิศ เปน เครื่องมือ เครื่องใช ที่ทําจากเหล็กและสําริด แตจากการสัมภาษณไดขอมูล เพิ่มเติมวา บริเวณทางทิศของเนินดิน ในที่ดินของ นางจูม โคตรนาม และที่ดินของนางจันทา ขันทอง เคยมีการ ขุดพบภาชนะดินเผาบรรจุกระดูกขนาดใหญ และเมื่อมีการทุบภาชนะดินเผา พบโครงกระดูกมนุษยทั้งโครงอยู ในลักษณะนั่งชันเขา ภายในภาชนะดินเผามีเครื่องใชเชน ลูกปด และกําไลสําริด เมื่อพิจาณาจากคําบอกเลาและหลักฐานที่พบ ทําใหเชื่อไดวา บริเวณแหลงโบราณคดีบานศรีคุณ เปน แหลงที่อยูอาศัยของมนุษยในสมัยกอนประวัติศาสตร โดยบริเวณเนินดินอาจใชเปนแหลงฝงศพ โดยเปนการฝง ศพในภาชนะดินเผาใน ๒ ลักษณะ กลาวคือ ๑. การฝงศพครั้งที่หนึ่ง จากสัมภาษณบริเวณดานทิศของเนิน เคยพบภาชนะดินเผาที่พบโครงกระดูกทั้ง โครงในลักษณะนั่งชันเขา ลักษณะการฝงศพครั้งที่หนึ่ง คือ เมื่อผูตายเสียชีวิต ไดมีการบรรจุศพทั้ง โครงในภาชนะดินเผา ในลักษณะเชนนี้จะพบวาโครงกระดูกจะอยูในลักษณะเรียงตัวตามลักษณะทาง กายภาพ โบราณวัตถุทพี่ บวาเปนเครื่องอุทิศ คือ ลูกปดและกําไลสําริด ๒. การฝงศพครั้งที่สอง เปนพิธีกรรมการฝงศพที่เมื่อผูตายเสียชีวิต ไดมีการนําศพของผูตายไปฝงไวชั่ว เวลาหนึ่ง จากนั้นจึงไดรวบรวมนํากระดูกมาบรรจุในภาชนะดินเผาบรรจุกระดูกในนํามาฝงอีกครัง้ จาก การขุดแตงภาชนะดินเผาบรรจุกระดูกที่พบจาการขุดกูพบวา กระดูกที่พบ คือ กะโหลกและชิ้นสวน แขนขา อันเปนกระดูกชิ้นใหญ พิธีกรรมการฝงศพในภาชนะดินเผาที่พบบริเวณแหลงโบราณคดีศรีคุณ มีลักษณะพิเศษ คือ เมื่อเก็บรวบรวมกระดูกแลว กระดูกไมไดถูกบรรจุลงไปภาชนะดินเผาขนาดใหญ โดยตรง หากแตภายในภาชนะดินเผาขนาดใหญมีภาชนะดินเผาอีกใบรองรับกระดูกอีกชั้นหนึ่ง สําหรับ เครื่องอุทิศไดแก เครื่องมือเครื่องใชจ ากสําริดและเหล็กบรรจุ ไดถูกบรรจุ ลงไปดวย โดยสวนปาก ภาชนะมีภาชนะลักษณะคลายชามครอบทําหนาที่เปนฝาปด

ภาชนะดินเผาบรรจุกระดูกถูกบรรจุลงไปภาชนะดินเผาขนาดใหญอีกชั้น 123


จากการเปรียบเทียบกับแหลงโบราณคดีที่มีลักษณะเดียวกัน ซึ่งอยูใกลเคียงกัน คือ แหลงโบราณคดี ดอนไร บานนาหนองเชือก ตําบลเจียด อําเภอเขมราฐ ซึ่งอยูหางออกไปทางทิศออกเฉียงใต ป ระมาณ ๘ กิโ ลเมตรแหลง โบราณคดีดอนแสนพัน หางออกไปทางทิศออกเฉียงใต ประมาณ ๕ กิโ ลเมตร และแหลง โบราณคดีบานดงเย็นหางไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ ๑๐ กิโลเมตร

ภาพถายสภาพภูมิประเทศแสดงตําแหนงแหลงโบราณคดีประเภทแหลงฝงศพในภาชนะดินเผา วัฒนธรรมเจนละ ทางทิศของดอนปูตา จากการศึกษาสภาพปจจุบันพบรองรอยคันดิน และเมื่อตรวจสอบภาพถายทาง อากาศในป พ.ศ. ๒๔๗๕ พบวา รองรอยคันดินนั้นมีลักษณะเปนผังรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผา และเมื่อพิจารณาจาก โบราณสถาน โบราณวัตถุที่พบใกลเคียง ทําใหสันนิษฐานวา รองรอยคันดินแหง นี้เป นรองรอยหลักฐานของ มนุษยในวัฒนธรรมเจนละ หรือเขมรโบราณกอนเมืองพระนคร

ภาพถายทางอากาศป พ.ศ. ๒๔๗๕ แสดงตําแหนงบานศรีคุณ

124


เจนละเปนอาณาจักรที่เกิดขึ้นในชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๑ และจากเอกสารจีน ไดบันทึกวา เจนละไดสง ราชฑูตไปจีนเมื่อราว ๑๑๕๙ คือชวงกลางพุทธศตวรรษที่ ๑๒ โดยไดระบุวา เจนละมีชัยชนะเหนืออาณาจักร ฟูนัน ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางหรืออีสานตอนลาง ลุม แมน้ํามูล -ชี ไดพบหลักฐานมากมาย เกี่ยวกับเจนละ โดยเฉพาะอยางยิ่งจารึกเกี่ยวกับเจาชายจิตรเสน หนึ่งในกษัตริยผูยิ่งใหญของเจนละ ในเขต จังหวัดอุบลราชธานีพบจารึกเจาชายจิตรเสน จํานวนมากที่สุดถึง ๕ หลัก ดังนี้ ๑. จารึกปากน้ํามูล ๑ (อบ. ๑) ๒. จารึกปากน้ํามูล ๒ (อบ. ๒) ๓. จารึกวัดสุปฏนาราม (อบ. ๔) ๔. จารึกปากโดมนอย (อบ. ๒๘) ๕. จารึกถ้ําภู หมาไน (อบ. ๙) จังหวัดอุบลราชธานี (สรางพระโค) ในเขตบานโนนขุมคํา (หมู ๗ ตําบลพังเคน อําเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี) เคยมีการพบหลักฐาน ซากโบราณสถานกออิฐและไดมีการเคลื่อนยายโบราณวัตถุบางสวนออกจากบริเวณนั้น ซึ่งเมื่อศึกษาโดยการ เปรียบเทียบรูปแบบทางศิลปกรรมแลว หลักฐานดังกลาวเปนศิลปกรรมที่นิยมสรางอยูในชวงวัฒนธรรมเจนละ รุงเรืองกลาวคือ เสาประดับกรอบประตู ศิลปะกอนเมืองพระนคร (ไพรกะเมง) ปจจุบันถูกเก็บรักษาไวที่วัดโนน สวาง ตําบลพังเคน อําเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี นอกจากนี้ที่บริเวณดอนปูตาของบานศรีคุณยังมีการขุด ฐานรูปเคารพหินทราย ซึ่งอาจสรางขึ้นในชวงเวลานี้เชนกัน และธรณีประตูหินทราย เก็บรักษาไวที่วัดศรีอุดม ราษฎรสามัคคี ตําบลพังเคน อําเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี

ธรณีประตูที่วัดศรีอุดมราษฎรสามัคคี ตําบลพังเคน อําเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี

เสาประดับกรอบประตู ศิลปะไพรกะเมง เก็บรักษาที่วัดสวางตําบลพังเคนอําเภอ นาตาล จังหวัดอุบลราชธานี

ประวัติการกอตั้งชุมชนบานศรีคุณ จากคําบอกเลาสืบตอกันมา (แมหนูหริ่ง ทองรุงโรจน) ไดเลาเกี่ยวกับประวัติของชุมชนบานศรีคุณวา เมื่อชวงตนรัตนโกสินทร พระอุทุมมิ่งเมือง ซึ่งเปนเชื่อพระวงศไดยายถิ่นฐานพรอมไพรพลมาจากสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยเลือกทําเลที่มีแหลงน้ํา และไดตั้งบานเรือนอยูทางทิศตะวันตกของดอนใหญ (ดอนปูตา) พระอุทุมมิ่งเมืองมีลูกสาว จํานวน ๔ คน คนที่ ๑ ชื่อ ยายตื้อ ปจจุบันมีลูกหลานเชื้อสายสืบสกุล เชน นามสกุล ทนทาน คํากุนา ผองใส คนที่ ๒ ยายตอน นายสกุล ทองรุงโรจน เทศวงค คนที่ ๓ ยายเขี่ยม นามสกุล อาจหาญ ทองชมภู และคนที่ ๔ ยายเงา นามสกุล ดาวเรือง ชาวเมืองโขง วงศเกย

125


อายุสมัยของพระมหาธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช จากงานโบราณคดีล่าสุด นายภาณุวัฒน์ เอื้อสามาลย์ นักโบราณคดีชานาญการ สานักศิลปากรที่ 12 นครศรีธรรมราช บทคัดย่อ

พระมหาธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช ตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหารตาบลใน เมือง อาเภอเมืองฯ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นเจดีย์ทรงกลมหรือทรงระฆังขนาดมหึมา สูง 56 เมตร นับเป็น เจดียสถานที่สาคัญและยิ่งใหญ่ที่สุดในพื้นที่คาบสมุทรภาคใต้ จวบจนปัจจุบันได้รับการบรรจุไว้ในบัญชีแหล่ง มรดกโลกเบื้องต้น (Tentative list) ขององค์การยูเนสโก จากการขุ ดค้ น ทางโบราณคดี ค รั้ง ล่ า สุด เมื่ อ ปี พุท ธศั ก ราช2559 โดยส านั ก ศิล ปากรที่ 12 นครศรีธรรมราชที่ บ ริเ วณส่วนฐานล่างของพระมหาธาตุเ จดีย์ และนาตัวอย่างอิฐไปก าหนดหาอายุ (แบบ สัมบูรณ์) ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ปรากฏผลอายุราวกลางพุทธศตวรรษที่ 15 หรือประมาณ 1,100 ปี มาแล้วซึ่ง เก่ าแก่ ก ว่าการก าหนดอายุ (แบบเชิง เที ยบ) ที่ ผ่านมาว่าควรมี อายุ ร าวพุท ธศตวรรษที่ 18หรือ ประมาณ800 ปีมาแล้ว บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิเคราะห์ และแปลความการกาหนดอายุสมัยในมุมมองใหม่ว่า พระมหาธาตุเจดีย์จะมีอายุเก่าแก่ไปถึงพุทธศตวรรษที่ 15ได้อย่างไร โดยใช้หลักฐานทางโบราณคดีที่ได้จากการ ขุดค้นในครั้งนี้ประกอบกับจารึก ตานาน รูปแบบศิลปกรรม และการศึกษาที่ผ่านมา ที่อาจสันนิษฐานได้ว่าพระ มหาธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช น่าจะสร้างขึ้นเป็นครั้งแรกในราวพุทธศตวรรษที่ 15 ก่อนที่ได้รับการฟื้นฟู บูรณะอีกหลายครั้งในสมัยต่อๆ มา คาสาคัญ: พระมหาธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช / การกาหนดอายุสมัย / การขุดค้นทางโบราณคดี

แผนผังบริเวณวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช แสดงตาแหน่งหลุมขุดค้น ปี พ.ศ. 2559

การศึกษาที่ผ่านมา ในระยะแรกเริ่มสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพทรงตั้งข้อสังเกตเกีย่ วกับอายุ และรูปแบบของพระมหาธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช ว่าน่าจะมีการสร้างทับซ้อนเป็น 2 สมัยองค์เดิมน่าจะเป็น เจดีย์ทรงปราสาทศิลปะศรีวิชัยแบบพระบรมธาตุไชยา(พุทธศตวรรษที่ 14 – 15) ส่วนองค์ที่เห็นในปัจจุบัน เป็นเจดีย์ทรงกลมแบบลังกา (พุทธศตวรรษที่ 17 – 18)1 ซึ่งหม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล เพิ่มเติมว่ามีลักษณะ 1

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ, ตานานพระพุทธเจดีย์(กรุงเทพฯ: มติชน, 2545), 201. 126


คล้ายกับเจดีย์กิริวิหาร เมืองโปลนนารุวะ ประเทศศรีลังกา2 แต่ต่อมาทรงสันนิษฐานว่าเจดีย์องค์เดิมที่อยู่ ภายในอาจมีรูปทรงเดียวกับเจดีย์องค์กลางที่บุโรพุทโธ ศิลปะชวาภาคกลางก็เป็นได้3 ระยะต่อมานักวิชาการส่วนหนึ่งได้แสดงความคิดเห็น ต่างไปว่าภายในพระมหาธาตุเจดีย์ไม่ น่าจะมี เจดีย์ทรงปราสาทแบบศรีวิชัยอยู่ภายใน โดยอ้างข้อมู ล การเจาะส ารวจภายในองค์พระมหาธาตุเ จดีย์ของ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) พบว่าเป็นเจดีย์ทึบตัน ไม่ปรากฏสิ่งก่อสร้างใดๆ ภายในนอกจากโครงสร้างที่ เป็นอิฐสอดินเหนียวและมีส่วนที่สอปูนเล็กน้อยบริเวณใกล้ผิวภายนอก4 สาหรับเรื่องอายุสมัยนั้นยังคงยอมรับ อายุที่กาหนดไว้ราวพุทธศตวรรษที่ 17 – 18 ภายใต้อิทธิพลศิลปะลังกาซึ่งอายุดังกล่าวก็สอดคล้องกับตานาน พระธาตุเมืองนครศรีธรรมราช ที่ บันทึกไว้ว่าพระมหาธาตุเจดีย์สร้างขึ้นเมื่อศักราช 1098 ซึ่งหากเป็นมหา ศักราชก็จะตรงกับปีพุทธศักราช 1719 หรือต้นพุทธศตวรรษที่ 185 ในระยะหลัง มานี้ ได้มี ก ารศึก ษาวิเ คราะห์ เ จาะลึก รายละเอียดมากยิ่ง ขึ้ น ประภัส สร์ ชูวิเ ชีย ร ทาการศึกษาทางประวัติศาสตร์ศิลปะพบว่า พระมหาธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช มีองค์ประกอบหลายประการ ที่คล้ายคลึงและน่าจะเป็นการถ่ายแบบมาจากเจดีย์ระดับ “มหาสถูป” ของลังกาจึงกาหนดอายุไว้ราวพุท ธ ศตวรรษที่ 186 ขณะที่เกรียงไกร เกิดศิริ ทาการศึกษาทางประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมเสนอว่า แผนผัง ของ พระมหาธาตุเจดีย์ที่มีบันไดขึ้นทางทิศเหนือ ด้านบนมีเจดีย์ประธานขนาดใหญ่ตรงกลาง มีเจดีย์ขนาดเล็ก 4 มุม รวมเป็น 5 องค์ หรือเรียกว่า “ปัญจายตนะ” น่าจะได้รับอิทธิพลมาจากสถูปหมายเลข 3 หรือสถูปพระสารี บุตร ที่นาลันทามหาวิหาร ศิลปะอินเดียสมัยปาละจึงเชื่อว่าน่าจะมีพระมหาธาตุองค์เดิมมาก่อนที่จะสร้างเป็น เจดีย์ทรงลังกาในราวพุทธศตวรรษที่ 187 การขุดค้นทางโบราณคดีและผลการกาหนดอายุทางวิทยาศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2559 สานักศิลปากรที่ 12 นครศรีธรรมราชทาการขุดค้นทางโบราณคดีภายในบริเวณ วัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหารได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากคณะกรรมการนาเสนอวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิห าร จังหวัดนครศรีธรรมราช (พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช) ขึ้นบัญชีเ ป็นมรดกโลก และวัดพระ มหาธาตุ วรมหาวิหารโดยทาการขุดค้นจานวน 10 หลุม ณ ตาแหน่งอาคารโบราณสถานที่สาคัญ ได้แก่ พระ มหาธาตุเจดีย์ วิหารทับเกษตร วิหารเขียน วิหารโพธิ์ลังกา วิหารโพธิ์พระเดิม วิหารธรรมศาลา พระวิหารหลวง ระเบียงคด เจดีย์รายแถวชั้นใน และเจดีย์รายทรงปราสาทนอกระเบียงคด ผลการขุดค้น พบโบราณวัตถุ ส าคัญ อาทิ ภาชนะดินเผาบรรจุอัฐิ กระเบื้องมุ ง หลัง คา ชิ้นส่วน พระพุทธรูปสาริด ตะปูโบราณ เหรียญสตางค์ และเศษภาชนะดินเผา ซึ่งมีทั้งเนื้อดินแบบพื้ นเมือง เนื้อแกร่ง และเนื้อกระเบื้องซึ่งเป็นของนาเข้า มีทั้งเครื่องถ้วยจีน เครื่องถ้วยเวียดนาม เครื่องถ้วยสุ โขทัย และเครื่องถ้วย ยุโรปนอกจากนี้ยังพบร่องรอยของอาคารที่ฝังอยู่ใต้ดินลงไป มีทั้งที่เป็นฐานรากของอาคาร และอาคารหลังเดิม 2

หม่อมเจ้าสุภัทดิศ ดิศกุล, เที่ยวเมืองลังกา(กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา, 2517), 59. M.C.SubhadradisDiskul, “Srivijaya art in Thailand,” in The art of Srivijaya(Kuala Lumpur: Oxford University Press, 1980), 41. 4 ประทีป ชุมพล, “การกาหนดอายุพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช,” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากรฉบับพิเศษ 40 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร (2527): 103-106. และนงคราญ ศรีชาย, “มีอะไรอยู่ในพระบรมธาตุเ จดีย์เมืองนครศรีธรรมราช ,” ศิลปากร44, 3 (พฤษภาคม-มิถุนายน, 2544): 42. 5 นงคราญ ศรี ช าย, “วั ด พระมหาธาตุ วรมหาวิ ห าร: กรณี ศึ กษาเกี่ ย วกั บ การตั้ ง เมื องนครศรี ธรรมราช,” ใน ประวัติศาสตร์ โบราณคดี นครศรีธรรมราช (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร,2545), 192. 6 ประภัสสร์ ชูวิเชียร, “พระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราชกับการวิเคราะห์ด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ”(วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2547), 96. 7 เกรียงไกร เกิดศิริ และอิสรชัย บูรณะอรรจน์ , “วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารกับการวางผังอาคาร,” ใน 100ปี สถาปนาพระอารามหลวง พ.ศ.2458-2558 วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช(นครศรีธรรมราช: โรง พิมพ์อักษรการพิมพ์, 2558), 164-166. 127 3


ที่ถูกสร้างซ้อนทับ อาคารเหล่านี้ก่อด้วยอิฐทั้งสิ้น ในการนีไ้ ด้นาตัวอย่างอิฐส่งไปหาค่าอายุทางวิทยาศาสตร์ด้วย วิธี Thermoluminescence Dating (TL)และAccelerator Mass Spectrometry Radiocarbon Dating(AMS) โดยอาคารแต่ละหลังจะเก็บอิฐจานวน 3 ตัวอย่างหรือมากกว่านั้น เพื่อผลลัพธ์เป็นที่ยอมรับใน เชิงสถิติ รวมจานวนอิฐที่ส่งไปหาค่าอายุ 52 ตัวอย่าง8 จากนั้นได้พิจารณาเลื อกค่าอายุที่มีความน่าเชื่อถือ นาเสนอเป็นตารางจาแนกตามโบราณสถานแต่ละแห่งได้ดังนี้ ตารางที่ 1 แสดงผลค่าอายุทางวิทยาศาสตร์ของโบราณสถานแต่ละแห่ง โบราณสถาน อายุ (ปีมาแล้ว) ตรงกับปี พ.ศ. ฐานพระมหาธาตุ ระดับล่าง 1,061 – 1,114 1445 – 1498 ฐานพระมหาธาตุ ระดับกลาง 1,070 – 1,097 1462 – 1489 ฐานพระมหาธาตุ ระดับบน 833 – 850 1709 – 1726 ฐานพระมหาธาตุ อิฐประกบเป็นพื้น 468 – 471 2088 – 2091 วิหารโพธิ์ลังการะดับล่าง 1,084 – 1,106 1453 – 1475 วิหารโพธิ์ลังกา ระดับบน 561 – 564 1995 – 1998 วิหารโพธิ์พระเดิม 1,058 – 1084 1475 – 1501 เจดีย์ราย แถวชั้นใน 1,021 – 1,048 1511 – 1538 วิหารเขียน 716 – 721 1838 – 1843 ระเบียงคด 508 – 555 2004 – 2051 เจดีย์รายทรงปราสาท นอกระเบียงคด 514 – 527 2032 – 2045 วิหารธรรมศาลา 497 – 503 2056 – 2062 แนวอิฐล้อมฐานพระวิหารหลวง 492 – 515 2044 – 2067

หลุมขุดค้นที่ 10 2 2 10 5 5 3 1 6 4 7 8 9

จากผลค่าอายุทางวิทยาศาสตร์ สามารถลาดับพัฒนาการสิ่งก่อสร้างได้เป็น 3 ระยะคือ ระยะที่ 1ราวครึ่งหลังพุทธศตวรรษที่ 15 มีการก่อสร้างพระมหาธาตุเจดีย์ วิหารโพธิ์ลังกา และวิหาร โพธิ์พระเดิม ต่อมาในต้นพุทธศตวรรษที่ 16 มีการสร้างเจดีย์รายแถวชั้นใน ระยะที่ 2ราวต้นพุทธศตวรรษที่ 18 มีการบูรณะต่อเติมพระมหาธาตุเจดีย์ ระยะที่ 3ราวพุทธศตวรรษที่ 19 มีการก่อสร้างวิหารเขียน ราวพุทธศตวรรษที่ 20 มีการบูรณะต่อ เติมวิหารโพธิ์ลังกา และราวพุทธศตวรรษที่ 21 มีการก่อสร้างระเบียงคด เจดีย์รายทรงปราสาทนอกระเบียงคด วิหารธรรมศาลา พระวิหารหลวง และงานปรับปรุงพื้นทางเดินรอบพระมหาธาตุ เจดีย์ การวิเคราะห์อายุสมัยของพระมหาธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช ค่าอายุทางวิทยาศาสตร์ข้างต้น หากพิจารณาเฉพาะระยะที่ 2 และ 3 จะพบว่ามีความสอดคล้องกับ ผลการศึกษาที่ผ่านมา ได้แก่ การกาหนดอายุพระมหาธาตุเจดีย์ไว้ราวพุทธศตวรรษที่ 18 เป็นอิทธิพลศิลปะ ลังกา และการกาหนดอายุโบราณสถานแวดล้อมต่างๆ ซึ่งเป็นงานก่อสร้างเพิ่มเติมภายหลัง ในสมัยสุโขทัย – อยุธยา ราวพุทธศตวรรษที่ 19 – 22แม้จะมีบางส่วนที่แตกต่างไปบ้างแต่ก็เป็นช่วงระยะเวลาไม่ห่างกันมากนัก ดังนั้นประเด็นสาคัญที่จะวิเคราะห์ ในบทความนี้ก็คือการกาหนดอายุระยะที่ 1 ซึ่งมีความเก่าแก่ไปถึงพุท ธ ศตวรรษที่ 15 8

ส่ ง อิ ฐ ไปหาค่ า อายุ ด้ ว ยวิ ธี TL ที่ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารภาควิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ พื้ น พิ ภ พ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระยะที่ 1 จานวน 12 ตัวอย่าง ระยะที่ 2 จานวน 34 ตัวอย่าง และส่งไปหาค่าอายุ ด้วยวิธี AMS ที่ห้องปฏิบัติการ Beta AnalyticInc. รัฐฟลอริดา ประเทศสหรัฐอเมริกา จานวน 6 ตัวอย่าง. 128


ในการนี้ผู้เ ขียนได้มี โอกาสปรึก ษาหารือกับ นัก วิชาการหลายท่าน 9 เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น วิพากษ์วิจารณ์ แนวทางในการกาหนดอายุพระมหาธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช ในสมัยแรกสร้าง ซึ่งการตีความ อาจพิจารณาได้เป็น2 แนวทางคือ แนวทางที่ 1หากเชื่อว่าพระมหาธาตุเจดีย์สร้างขึ้นเป็นครั้งแรกในพุทธศตวรรษที่ 18 ดังนั้นอิฐส่วน ฐานรากที่กาหนดอายุทางวิทยาศาสตร์ได้ในพุทธศตวรรษที่ 15 ก็อาจถูกตีความว่าเป็นอิฐเก่าที่เคลื่อนย้ายมา จากโบราณสถานแห่งอื่น เพื่อมาสร้างพระมหาธาตุเจดีย์ในพุทธศตวรรษที่ 18 แนวทางที่ 2หากเชื่อว่าพระมหาธาตุเจดีย์สร้างขึ้นเป็นครั้งแรกในพุทธศตวรรษที่ 15 ตามผลค่าอายุ ทางวิทยาศาสตร์ที่ได้ ก็ จาเป็นต้องหาหลักฐานอื่นๆ มาอธิบายเพื่อสนับสนุนแนวคิด ซึ่งตามความเห็นของ ผู้เขียน เชื่อตามแนวทางที่ 2 นีว้ ่าพระมหาธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช ควรสร้างขึ้นเป็นครั้งแรกในพุทธศตวรรษ ที่ 15 โดยขอเสนอหลักฐานประกอบการพิจารณาดังนี้ 1.) จากการขุดค้นพบฐานรากก่ออิฐ เป็นอิฐเต็มก้อน มีขนาดค่อนข้างใหญ่ ก่อเรียงเป็นระบบ ระเบียบ ไม่ใช่ลักษณะการนาอิฐเก่าหรืออิฐหักมาใช้งานแต่อย่างใด ดังนั้นค่าอายุทางวิทยาศาสตร์ที่ได้จึงน่าจะ เป็นค่าอายุของพระมหาธาตุสมัยแรกสร้างในพุทธศตวรรษที่ 15หลักฐานนี้ยังได้รับการสนับสนุนจากการขุดค้น ทางโบราณคดีเมื่อปี พ.ศ. 2552 โดยวัณณสาส์น นุ่นสุข ทาการขุดค้นพื้นที่อื่นภายในบริเวณวัดพระมหาธาตุ และได้ผลอายุตวั อย่างอิฐด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ (TL)ในกลางพุทธศตวรรษที่ 1510เช่นกัน 2.) รูปแบบศิลปกรรมส่วนฐานประทักษิณที่มีการประดับเสาติดผนัง ทาให้ อยู่ในผังยกเก็จ ตาม ความเห็นของศาสตราจารย์ ชอง บวสเซอลิเยร์ กล่าวว่ามี ความคล้ายคลึงกับฐานอาคารในศิลปะทวารวดี 11 ขณะที่ประภัสสร์ ชูวิเชียร กล่าวว่ามีความคล้ายคลึงกับสถาปัตยกรรมศรีวิชัย เช่น ฐานของพระบรมธาตุไชยา ที่มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 14 – 15 แต่ขณะนั้นเขาวิเคราะห์ว่าน่าจะเป็นการย้อนกลับไปสร้างตามรูปแบบ เก่าที่เคยมีมาก่อน12 ในกรณีนี้จึงอาจพิจารณาใหม่ได้ว่า หากมิใช่การย้อนกลับไปสร้าง แต่เป็นงานก่อสร้างที่ ร่วมสมัย ก็จะสามารถกาหนดอายุรูปแบบศิลปกรรมส่วนฐานประทักษิณของพระมหาธาตุได้ราวพุทธศตวรรษที่ 15 สาหรับกรณีซุ้มช้างอาจพิจารณาว่าเป็นงานก่อสร้างเพิ่มเติมภายหลัง (พุทธศตวรรษที่ 18) เพราะหาก พิจารณาความสูงของซุ้มช้างแล้วจะพบว่าไม่ได้สัดส่วนกับความสูงของฐานประทักษิณ อนึ่งซุ้มช้างอาจทาด้วย เทคนิคการเจาะผนังและการก่อเพิ่มปริมาตรของผนังข้างๆ ก็เป็นได้ 3.) หากพิจ ารณาข้อเสนอของหม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล ที่เอ่ยถึงเจดีย์องค์กลางที่บุโรพุทโธ ศิล ปะชวาภาคกลาง 13อายุร าวพุ ท ธศตวรรษที่ 14ก็ จ ะพบว่ามี ลัก ษณะรูป ทรงองค์ระฆัง ใกล้เคียงกั บ พระ มหาธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช เป็นอย่างมาก อนึ่งคติการสร้างเจดีย์รายล้อมรอบในแผนผังแบบมณฑล 14 ก็ แสดงให้เห็นถึงความเกี่ยวข้องกับเจดีย์ที่บุโรพุทโธ15ด้วยเช่นกัน นอกจากนี้สถูปจาลองดินดิบที่มักพบร่วมกับ 9

ขอขอบพระคุ ณ ดร.นันทนา ชุติ วงศ์ ผศ.ดร.ประภัสสร์ ชูวิเ ชียร ดร.วัณณสาส์น นุ่ นสุขนายอาณั ติ บารุงวงศ์ นายสารัท ชลอสันติสกุล และนักโบราณคดีที่ร่วมขุดค้นคือ นางสาวสุภาวดี อินทรประเสริฐ นายอภิรั ฐ เจะเหล่า และนายจักร พันธ์ เพ็งประไพ ซึ่งได้ให้ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ มีทั้งที่สอดคล้องและแตกต่างกันไปตามมุมมองของแต่ละคน ทาให้ผู้เขียน ได้รับความรู้และแนวทางในการศึกษาครั้ งนี้เป็นอย่างดี อนึ่งหากผลการกาหนดอายุดังกล่าวบรรลุวัตถุประสงค์ก็นับว่าเป็ น คุณูปการจากทุกท่านที่กล่าวมา แต่หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้เขียนขอน้อมรับไว้แต่เพียงผู้เดียว. 10 วัณณสาส์น นุ่ นสุข , พั ฒนาการของบ้านเมืองบนหาดทรายแก้วนครศรีธรรมราชจากหลักฐานทางโบราณคดี (นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 2559),100. 11 ชอง บวสเซอลิเยร์, “โบราณวัตถุสถานทางภาคใต้ของประเทศไทย,” แปลโดย หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล ใน รายงานสัมมนาประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช (กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ์, 2521), 403. 12 ประภัสสร์ ชูวิเชียร, “พระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราชกับการวิเคราะห์ด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ”,47-48. 13 M.C.SubhadradisDiskul, “Srivijaya art in Thailand”, 41. 14 เอเดรี ย น สนอดกราส, สัญ ลั กษณ์ แ ห่ งพระสถู ป ,พิมพ์ ค รั้ง ที่ 2, แปลโดย ภั ท รพร สิริ กาญจน (กรุ ง เทพฯ: อมรินทร์วิชาการ, 2541),134. 15 เกรียงไกร เกิดศิริ และอิสรชัย บูรณะอรรจน์, “วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารกับการวางผังอาคาร”, 172. 129


พระพิมพ์ดินดิบในพื้นที่คาบสมุทรภาคใต้ อายุราวพุทธศตวรรษที่ 14 – 1516ก็ยังมีรูปทรงแบบเดียวกันนี้ด้วย ดังนั้นจึงสันนิษฐานว่ารูปทรงองค์ระฆัง (ที่ปรากฏในปัจจุบัน) ของพระมหาธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช อาจมี มาแล้วตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 15 ก็เป็นได้

ภาพลายเส้นเปรียบเทียบรูปแบบองค์ระฆัง พระมหาธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช กับเจดีย์อื่นๆ

4.) เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างนครศรีธรรมราชกับเกาะชวานั้น ศิลาจารึกวัดเสมาเมือง พบที่ วัดเสมาเมือง อาเภอเมืองฯ จังหวัดนครศรีธรรมราช ด้านที่ 1 ระบุศักราชตรงกับปี พ.ศ. 1318 ส่วนด้านที่ 2 (ซึ่งศาสตราจารย์มาชุมทาร์สันนิษฐานว่าจารึกขึ้นภายหลังสักเล็กน้อย)พรรณนาความเกี่ยวกับศรีมหาราช ผู้อยู่ ในไศเลนทรวงศ์ บ่งบอกความสัมพันธ์ระหว่างนครศรีธรรมราช บนความสมุทรภาคใต้ กับราชวงศ์ไศเลนทร์ บน เกาะชวา17อันน่าจะส่งผลให้เกิดการถ่ายทอดรูปแบบทางศิลปกรรมให้แก่กัน 5.) พระมหาธาตุเ จดีย์ นครศรีธรรมราช ในพุ ท ธศตวรรษที่ 15 น่ าจะสร้ างขึ้นเนื่อ งใน พระพุทธศาสนาลัทธิมหายานที่เมืองนครศรีธรรมราชได้มีการค้นพบพระโพธิสัตว์ไมเตรยะสาริด (จัดแสดงใน พิพิธภัณฑ์วัดพระมหาธาตุ) พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรสาริดพบใกล้วัดพระเพรง18พระโพธิสัตว์ไมเตรยะสาริด พบใกล้วัดชายคลอง19ทั้งหมดนี้มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 14 – 15ถึงแม้จะพบจานวนน้อยเมื่อเทียบกับเมือง ไชยาแต่ก็นับว่าเป็นหลักฐานสาคัญที่แสดงถึงการนับถือพระพุทธศาสนาลัทธิมหายานได้เป็นอย่างดี 6.) พระมหาธาตุเจดีย์ วิหารโพธิ์ลังกา วิหารโพธิ์พระเดิม ที่ตั้งเรียงกันตามแนวทิศเหนือ – ใต้ และกาหนดอายุได้ร่วมสมัยกันคือพุทธศตวรรษที่ 15 บ่งชี้พัฒนาการในระยะแรกเริ่มว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับภูมิ ประเทศแบบสันทรายตามแนวยาว (เหนือ – ใต้) อนึ่งก่อนหน้านี้เคยมีการกล่าวว่าพระมหาธาตุสร้างขึ้นร่วม สมัยกับเมืองพระเวียง (พุทธศตวรรษที่ 17 – 18) ให้เป็นพระเจดีย์สาคัญนอกเมืองทางด้านทิศเหนือ แต่กลับ เกิดคาถามว่า เหตุใดบันไดทางขึ้นพระมหาธาตุจึงตั้งอยู่ทางด้านทิศเหนือ ไม่สัมพันธ์กับตัวเมืองพระเวียงซึ่ง ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ กรณีนี้จึงอธิบายได้ว่า เพราะพระมหาธาตุเจดีย์สร้างขึ้นตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 15 ซึ่งมีมา ก่อนการสร้างเมืองพระเวียง ดังนั้นบันไดทางขึ้นจึงไม่มคี วามสัมพันธ์กับที่ตั้งของตัวเมืองนั่นเอง 7.) การขุดค้นครั้งนี้ พบภาชนะดินเผาบรรจุอัฐิฝังไว้ที่ฐานพระมหาธาตุ ใบเก่าสุดเป็นกระปุก เคลือบสีเขียวมะกอกของจีนสมัยราชวงศ์ซ่งใต้ (พุทธศตวรรษที่ 17 – 18)20บ่งชี้ว่าพระมหาธาตุ ควรมีอายุที่ เก่าแก่กว่านั้น แม้ขณะนี้จะยังไม่พบหลักฐานภาชนะดินเผาที่มีอายุร่วมสมัยพุทธศตวรรษที่ 15 (เครื่องถ้วยจีน สมัยราชวงศ์ถัง) ภายในบริเวณวัดพระมหาธาตุแต่ที่ผ่านมาก็เคยมีการขุดพบเครื่องถ้วยจีนสมัยราชวงศ์ถัง ใน 16

อมรา ศรีสุชาติ, ศรีวิชัยในสุวรรณทวีป (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2557),204-205. เรื่องเดียวกัน,243. 18 อมรา ศรีสุชาติ, ศรีวิชัยในสุวรรณทวีป,142, 196. 19 วัณณสาส์น นุ่นสุข, พัฒนาการของบ้านเมืองบนหาดทรายแก้วนครศรีธรรมราชฯ, 96. 20 สัมภาษณ์ ดร.ปริ วรรต ธรรมาปรี ชากร, ผู้ อานวยการพิ พิธภั ณฑสถานเครื่ องถ้ วยเอเชี ย ตะวั นออกเฉี ย งใต้ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 17 พฤษภาคม 2560. 130 17


พื้นที่รายรอบทั้งทางทิศเหนือได้แก่ วัดจันทาราม (ห่างไป 3 กิโลเมตร) และทิศใต้ ได้แก่ วัดสวนหลวง (ห่างไป 1 กิโลเมตร) และชุมชนโบราณท่าเรือ (ห่างไป 5 – 6กิโลเมตร)21 8.) ตานานพระธาตุ เ มื อ งนครศรีธรรมราชมี ค วามตอนหนึ่ง กล่า วว่า “ช่ วยท ำอิฐ ปูนก่ อพระ มหำธำตุขึ้นยังหาสาเร็จไม่ ภอไข้ห่ำลงพระญำก็พำญำติวงษ์ลงสำเภำหนี ใช้ใบถึงกลำงชเลผู้คนตำยสิ้น เมือง นั้นก็ร้ำงอยู่ครั้งหนึ่ง” และต่อมาว่า “ก่อพระมหำธำตุขึ้นตำมพระญำศรีธรรมำโศกรำชทาไว้แต่ก่อน”22 ตีความ ได้ว่าการสร้างพระมหาธาตุมิได้สาเร็จในคราวเดียว มีการทาค้างไว้ กระทั่งมาทาต่อจนแล้วเสร็ จ และยังมีการ บูรณะฟื้นฟูอีกหลายครา ทาให้รูปแบบศิลปกรรมมีลักษณะผสมผสานหลายยุคสมัย อนึ่งผลการตรวจวัดขนาด อิฐพบว่าส่วนฐานรากมีขนาดใหญ่ (28 x 40 x 10 เซนติเมตร) ขณะที่ส่วนองค์ระฆัง มีขนาดเล็กกว่า (16 x 32 x 7เซนติเมตร)23ทั้งนี้คงเนื่องมาจากการบูรณะต่อเติมในสมัยต่อๆ มา สรุปและเสนอแนะ สืบเนื่องจากการขุดค้นทางโบราณคดีและการกาหนดอายุหลักฐานด้วยวิธี ทางวิทยาศาสตร์ นาไปสู่ การกาหนดอายุพระมหาธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช ในสมัยแรกสร้างว่าน่าจะมีอายุราวกลางพุทธศตวรรษที่ 15 ในครั้งนั้นน่าจะมีการสร้างส่วนฐานประทักษิณที่มีเสาประดับผนังตามแบบศิลปะศรีวิชัย มีบันไดทางขึ้นอยู่ ทางด้านทิศเหนือ มีเจดีย์ประธานทรงระฆัง และในต้นศตวรรษต่อมามีการสร้างเจดีย์รายล้อมรอบในแผนผัง แบบมณฑล ที่สันนิษฐานว่าได้รับอิทธิพลมาจากเจดีย์บุโรพุทโธ ศิลปะชวาภาคกลาง ก่อนที่ในเวลาต่อมาจะ ได้รับการบูรณะซ่อมแซมโดยรับอิทธิพ ลศิลปะลังกา สมัยโปลนนารุวะ ราวพุทธศตวรรษที่ 18 และศิลปะ อยุธยา ราวพุทธศตวรรษที่ 20 – 22ตามลาดับ ทั้งหมดที่กล่าวมานี้ เป็นข้อเสนอเพื่ออธิบายความเป็นไปได้ในการกาหนดอายุสมัยของพระมหาธาตุ เจดีย์ นครศรีธรรมราช ว่าน่าจะมีความเก่าแก่ถึงพุทธศตวรรษที่ 15 เพื่อพิจารณา ตรวจสอบ และต่อยอดองค์ ความรู้กันต่อไป บรรณานุกรม กรมศิ ล ปากร. ต านานพระธาตุ และต านานเมื องนครศรีธ รรมราช. กรุ ง เทพฯ: ส านั ก วรรณกรรมและ ประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, 2560. เกรียงไกร เกิดศิริ และอิสรชัย บูรณะอรรจน์. “วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารกับการวางผังอาคาร.” ใน 100ปี สถาปนาพระอารามหลวง พ.ศ.2458-2558 วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช, 160-189. นครศรีธรรมราช: โรงพิมพ์อักษรการพิมพ์, 2558. ชอง บวสเซอลิเยร์. “โบราณวัตถุสถานทางภาคใต้ของประเทศไทย.” หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล ทรงแปลและ เรียบเรียง ใน รายงานสัมมนาประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช, 396-412. กรุงเทพฯ: กรุงสยามการ พิมพ์, 2521. ดารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. ตานานพระพุทธเจดีย์. กรุงเทพฯ: มติชน, 2545. นงคราญ ศรีชาย. “มี อะไรอยู่ในพระบรมธาตุเจดีย์เมืองนครศรีธรรมราช.” ศิลปากร44, 3 (พฤษภาคมมิถุนายน, 2544): 31-45. _____. “วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร: กรณีศึกษาเกี่ยวกับการตั้งเมืองนครศรีธรรมราช.” ในประวัติศาสตร์ โบราณคดี นครศรีธรรมราช, 187-198.กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2545.

21

วัณณสาส์น นุ่นสุข, พัฒนาการของบ้านเมืองบนหาดทรายแก้วนครศรีธรรมราชฯ,87, 95, 105. กรมศิ ลปากร, “ตานานพระธาตุเ มืองนครศรี ธรรมราช,”ในตานานพระธาตุและตานานเมืองนครศรีธรรมราช (กรุงเทพฯ: สานักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, 2560), 160-161. 23 สานักศิลปากรที่ 14 นครศรี ธรรมราช, รายงานผลการวั ดขนาดอิฐ ที่องค์ พระบรมธาตุเ จดีย์นครศรีธรรมราช (เอกสารรายงาน สานักศิลปากรที่ 14 นครศรีธรรมราช, 2559),1. 131 22


นนทรัตน์นิ่มสุวรรณ. รายงานหาอายุด้วยวิธีเรืองแสงความร้อน (TL-Dating) โครงการขุดค้นทางโบราณคดีวัด พระมหาธาตุวรมหาวิหารจังหวัดนครศรีธรรมราชเพื่อขึ้นบัญชีเป็นมรดกโลก ระยะที่ 1.เสนอสานัก ศิลปากรที่ 14 นครศรีธรรมราช, 2559. _____. รายงานหาอายุด้วยวิธีเรืองแสงความร้อน (TL-Dating) โครงการขุดค้นทางโบราณคดีวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหารจังหวัดนครศรีธรรมราชเพื่อขึ้นบัญชีเป็นมรดกโลก ระยะที่ 2.เสนอสานักศิลปากรที่ 14 นครศรีธรรมราช, 2559. นันทนา ชุติวงศ์. ผู้เชี่ยวชาญด้านประติมานวิทยาและประวัติศาสตร์ศิลปะเอเชีย . สัมภาษณ์,10 มิถุนายน 2560. ประทีป ชุมพล. “การกาหนดอายุพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช.” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. ฉบับพิเศษ 40 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร, (2527): 103-115. ประภัส สร์ ชูวิเ ชี ยร. “พระบรมธาตุเ จดี ย์ นครศรีธรรมราช กั บ การวิเ คราะห์ด้ านประวัติศาสตร์ศิล ปะ ” วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญาศิ ล ปศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าประวั ติ ศ าสตร์ ศิ ล ปะ บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2547. _____. อาจารย์ประจาภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิ ทยาลัยศิลปากร. สัมภาษณ์,27 มีนาคม2560. ปริวรรต ธรรมาปรีชากร. ผู้อานวยการพิพิธภัณฑสถานเครื่องถ้วยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาวิท ยาลัย กรุงเทพ. สัมภาษณ์,17 พฤษภาคม 2560. ฟีเจอร์วัน, ห้างหุ้นส่วนจากัด.รายงานผลการตรวจหาค่าอายุทางวิทยาศาสตร์ด้วยวิธี AMS (Accelerator Mass Spectrometry Radiocarbon Dating) by Beta Analytic Inc., Florida, USA.เสนอสานัก ศิลปากรที่ 14 นครศรีธรรมราช, 2559. วัณณสาส์น นุ่นสุข. พัฒนาการของบ้านเมืองบนหาดทรายแก้วนครศรีธรรมราชจากหลักฐานทางโบราณคดี . นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 2559. _____. ผู้เชี่ยวชาญอาวุโส ศูนย์ภูมิภาคโบราณคดีและวิจิตรศิลป์ (SEAMEO-SPAFA). สัมภาษณ์,12 มิถุนายน 2560. สานักศิลปากรที่ 14 นครศรีธรรมราช. รายงานผลการวัดขนาดอิฐที่องค์พระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช. เอกสารรายงาน สานักศิลปากรที่ 14 นครศรีธรรมราช, 2559. สุภัทดิศ ดิศกุล, หม่อมเจ้า. เที่ยวเมืองลังกา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา, 2517. อมรา ศรีสุชาติ. ศรีวิชัยในสุวรรณทวีป. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2557. เอเดรียน สนอดกราส.สัญลัก ษณ์แห่ง พระสถูป .พิม พ์ครั้ง ที่ 2.แปลโดย ภัท รพร สิริกาญจน. กรุง เทพฯ: อมรินทร์วิชาการ, 2541. SubhadradisDiskul, M.C.“Srivijaya art in Thailand.” in The art of Srivijaya, 21-54.Kuala Lumpur: Oxford University Press, 1980. ___________________________

132


พระพุทธรูปนาคปรกผูท รงภูษาสมพต

(พระพุทธรูปนาคปรกผูทรงภูษาสมพต) นายกมลาศ เพ็งชะอุม ภัณฑารักษปฏิบัติการ กลุมสงเสริมและพัฒนาพิพิธภัณฑ สํานักพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระพุทธรูปนาคปรก ที่มีการพบในประเทศไทยนั้น ถูกสรางขึ้นตั้งแตสมัยทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ ๑๒ – ๑๖) โดยไดรับอิทธิพลในการสรางจากอินเดีย ศิลปะแบบอมราวดี (พุทธศตวรรษที่ ๗ – ๙) ซึ่งเปนสกุล ชางที่เจริญอยูในแถบอินเดียใต ศิลปะอินเดียสกุลชางอมราวดีนั้นนิยมสรางพระพุทธรูปนาคปรก และมีการ สงผานรูปแบบการสรางพระพุทธรูปนาคปรกมาสูทวารวดี ซึ่งนอกจากทวารวดีแลวยังพบพระพุทธรูปนาคปรก ในศิลปะศรีวิชัย (พุทธศตวรรษที่ ๑๒ – ๑๘) และศิลปะลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ ๑๓ – ๑๘) และในสมัยตอๆ มา ก็ยัง พบการสรางพระพุท ธรู ป นาคประทั้ง ในสมัยสุ โ ขทั ย สมั ยกอนการสถาปนากรุ ง ศรี อยุธยา และสมั ย รัตนโกสินทร ในการสรางพระพุทธรูปนาคปรกอาจมีคติในการสรางอยูหลายอยางไมวาจะสรางขึ้นเพื่อใหสอดคลอง กับพุทธประวัติ ซึ่งเปนพุทธประวัติที่ปรากฏทั้งคัมภีรของทางพุทธศาสนาทั้งเถรวาท และมหายาน เมื่อพูดถึง คติก ารสรางพระพุท ธรูป นาคปรกในทางเถรวาทไดป รากฏคัม ภีรฝายเถรวาทที่ก ลาวถึง พระพุทธรูปนาคปรก ไดแกคัมภีรปฐมสมโพธิกถา ในปริเฉทที่ ๑๑ โพธิสัพพัญูปริวรรต กลาววา “สัปดาหที่ ๖ ประทับที่ตนมุจลินท ฝนตกติดตอ ๗ วัน พระยานาคแผพังพานกั้นฝนถวาย ในลําดับนั้น ครั้น ๗ วันลวงไปแลว สมเด็จพระศาสดาจารยก็เสด็จอุฏฐาการจากบัลลังกสมาธินั้น เสด็จพระพุทธดําเนินไปสู มุจลินทพฤกษไมจิก อันประดิษฐานในปราจีนทิศแหงพระมหาโพธิ ทรงนิสัชนา การดวยบัล ลังกส มาธิ ณ ใต รมไมนั้นเสวยวิมุติ สมาบัติสุข.....ยังมีพระยานาคตนหนึ่งมีนามวามุจลินทนาคราช มีอานุภาพมาก บังเกิดอยูในสระโบกขรณีอันมี ในที่ใกลมุจลินทพฤกษนั้น เบื้องวาพระยาอหินาคไดเห็นซึ่งพระพุทธมหานาคดังนั้นก็มิอาจอยูในพิภพแหง ตน ได ก็ขึ้นมาจากมหาสระจินตนาการวา.....อยาใหถูกตองพระกรัชกาย จึงขดเขาซึ่งขนดกายเปน ๗ รอบ แวดวง องคพระศาสดาจารย แลวก็แผพังพาน อันใหญปูองปกเบื้องบนพระอุตมังคศิโรตม หวั งประโยชนจะมิใหเย็น และรอนถูกตองแดดลมแลฝนเหลือบ ยุงและแลสรรพสัปปชาติตางๆ สมผัสผัสพระกรัชกาย...” 133


ในสวนคัมภีรฝายมหายาน ที่ปรากฏการกลาวถึงพระพุทธรูปนาคปรก ไดแกคัมภีรลลิตวิสตระ อัธยาย ที่ ๒๘ ตระปุษะภัทลิกะปริวรรต ไดกลาววา “.....ดูกรภิกษุทั้งหลายในสัปดาหที่ ๕ ตถาคตอยูในพิภพของมุจลิ นทนาคราช เปนวันฟาวันฝนตลอดสัปดาหครั้งนั้นแล มุจลินทนาคราชออกจากที่อยูของตนพันกายตถาคตดวย ขนดนาค ๗ รอบ แผพังพานบังไวโดยคิดวาลมหนาวอยาแผวพานพระกายของพระผูมีพระภคะเลย.....แมมุจลินทนาคราชไหวบาทตถาคตดวยศีรษะ ทําประทักษิณ ๓ รอบ แลวเขาไปสูที่ของตน ในพุทธประวัติฝายมหายานในทิเบต ก็ปรากฏการการกลาวถึงพระพุทธรูปนาคปรก กลาววา “.....พระ ยามุจลินทนาคราช ปรารถนาที่จะปองกันแดดแลฝนใหพระพุทธเจา จึงพันกายพระผูมีพระภาคเจาถึง ๗ รอบ แลวแผพังพานบนพระเศียร อีกหนึ่งคติที่เชื่อวาเปนที่มาในการสรางพระพุทธรูปนาคปรก คือในอินเดียใตมีลัทธิการบูชางู เพราะ เปนภูมิภาคที่มีงูชุกชุม และนับถืองูเปนเทพเจา มีการสรางรูปเคารพและพัฒนาขึ้นเปนรูปบุคคล (มนุษยนาค) และการที่จะหลอมรวมพุทธศาสนาเขากับความเชื่อในทองถิ่นนั้นจึงตองมีการผสมผสานรูปแบบของรูปเคารพ ของพุทธศาสนาคือพระพุทธรูปกับนาคอันเปนสัญลักษณแทนเทพทองถิ่น ศาสนาใหมที่เขามาคือพุทธศาสนา นั่นเอง เพื่อการยอมรับของชาวดราวิเดียนในอินเดียใต เมื่อความสนใจในพระพุทธรูปนาคปรกเปนทุนเดิมอยูแลวนั้นจึงบังเอิญที่วันหนึ่งกระผมไดมีโอกาสเขา ชมที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร ไดพบกับพระพุทธรูปหินทรายองคหนึ่งซึ่งจัดแสดงอยูบริเวณระเบียง ทางทิศใตของหมูพระวิมาน ซึ่งเปนพระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะที่แปลกจากพระพุทธรูปนาคปรกที่เคยพบเห็น กลาวคือเปนพระพุทธรูปประทับนั่งขัดสมาธิราบอยูเหนือขนดนาค ๓ ชั้น องคพระพุทธรูปไมปรากฏพระเศียร และพังพานของนาคที่แผอยูเหนือพระเศียร คงเหลือแตขนดนาค ๓ ชั้นและสวนตัวของนาคที่ติดกับสวนหลัง ของพระพุทธรูปเทานั้น พระหัตถทั้งสองวางประสานกันอยูบนหนาตักในอิริยาบถสมาธิ พระวรกายไมปรากฏ การครองจีวรเหมือนพระพุทธรูปนาคปรกทั่วไป แตที่นาสนใจที่สุดของพระพุทธรูปนาคปรกองคนี้คือ ปรากฏ การครองภูษาสมพต (โจงกระเบนสั้น) ซึ่งมีลักษณะของสมพตที่มีการสลักลวดลายจีบเปนริ้วโดยรอบสมพต มี การคาดทับดวยสายรัดพระองค (รัดประคด) ลายดอกไม และมีการสลักลายอุบะสั้นหอยอยูดานใตโดยรอบสาย รัดพระองค (รัดประคด) กระผมจึงสงสัยในรูปแบบพุทธลักษณะของพระพุทธรูปองคนี้ที่ดูแปลกตาในสวนของ การครองภูษาสมพต แทนการหมจีวร จึงเปนที่มาในการสืบคนเพื่ออธิบายประวัติความเปนมา อายุสมัยของ พระพุท ธรูป นาคปรกองค นี้ และคติ ในการสร างพระพุท ธรู ป นาคปรกองค นี้ที่ มีพุ ท ธลั ก ษณะตางไปจาก พระพุทธรูปนาคปรกองคอื่นๆ เมื่อกระผมไดทําการสืบ คนประวัติความเปนมาจากทะเบียนโบราณวัตถุ ไมป รากฏในทะเบียนวา พิพิธภัณ ฑสถานแหง ชาติ พระนคร ได รับ จากใคร เมื่อ ใด หรือมีที่ ม าจากที่ใด จึง ตอ งศึก ษารูป แบบของ พระพุทธรูปนาคปรกองคนี้เพื่อกําหนดอายุสมัยของพระพุทธรูปนาคปรกองคนี้ ลักษณะของพระพุทธรูปนาคปรกองคนี้ที่สามารถนํามาวิเคราะหและกําหนดอายุสมัยไดประกอบดวย ๓ สวน คือ ๑. กําหนดอายุสมัยจากลักษณะและลวดลายของภูษาสมพต กลาวคือมีลวดลายลักษณะของสมพตที่ คลายคลึงกับภูษาสมพตของประติมากรรมหินสลักรูปเหมือนลอยตัวของพระเจาชัยวรมันที่ ๗ ที่พบที่ปราสาท หินพิมาย นครราชสีมา ซึ่งมีอายุอยูในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ศิลปะลพบุรี อิทธิพลศิลปะบายน อีกทั้งยังมีลักษณะ ของภูษาสมพตที่คลายคลึงกับภูษาสมพตของประติมากรรมหินสลักลอยตัวเปนรูปพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร เปลงรัศมี ที่พบที่ปราสาทเมืองสิงห กาญจนบุรี ซึ่งมีอายุอยูในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ศิลปะลพบุรี อิทธิพลศิลปะ บายน เมื่อสังเกตจากลักษณะลวดลายภูษาสมพตในรูปแบบนี้ที่มีลักษระลวดลายที่สอดคลองกัน จึงเปนไปไดวา พระพุทธรูปนาคปรกผูทรงภูษาสมพตนี้ จะมีอายุอยูในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ๒. กําหนดอายุสมัยจากลัก ษณะของขนดนาค ๓ ชั้น ซึ่ง พระพุทธรูป นาคปรกผูท รงภูษาสมพตนี้ มี ลักษณะของขนดนาคที่เสมอกันไมมีลักษณะสอบเปนสามเหลี่ยม ซึ่งเปนรูปแบบขนดนาคที่นิยมในศิลปะลพบุรี ที่ไดรับอิทธิพลศิล ปะบาปวน และบายน ซึ่ง จะแตงตางจากศิลปะลพบุรีที่ไดรับอิท ธิพลศิลปะนครวัดที่จะมี 134


ลักษณะของขนดนาค ๓ ชั้น ที่สอบจากบนลงลางเปนลักษณะสามเหลี่ยม ในสวนของพระพุทธรูปผูทรงภูษา สมพตนี้เ นื่องดวยมีลักษณะลวดลายของภูษาสมพตที่สอดคลองไปยังรูปแบบอายุสมัยศิล ปะลพบุรี อิทธิพล ศิลปะบายน พุทธศตวรรษที่ ๑๘ ดังนั้นขนดนาคที่เสมอกันจึงกําหนดอายุสมัยของขนดนาคไดวาอยูในรูปแบบ ของขนดนาคในศิลปลพบุรี อิทธิพลศิลปะบายน ๓. ลักษณะของพระชงฆ (หนาแขง) ของพระพุทธรูปนาคปรกผูทรงภูษาสมพต องคนี้ มีลักษณะเปน สันคมขึ้นมา ซึ่งสอดคลองตามรูปแบบของพุทธลักษณะเฉพาะของพระพุทธรูปในศิลปะลพบุรี อิทธิพลศิลปะ บายน พุทธศตวรรษที่ ๑๘ จากทั้งขอสังเกตทั้ง ๓ จึง สันนิษฐานไดวาพระพุทธรูปนาคปรกผูทรงภูษาสมพตองคนี้ นาจะมีอายุ สมัยอยูในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๘ เนื่องดวยเปนศิลปลพบุรีที่มีอิทธิพลของศิลปะบายนอยูในหลายสวนของพระ วรกายและขนดนาค แตอีก ๑ ขอสังเกตของพระพุทธรูปองคนี้ที่มีพุทธลักษณะแตกตางจากพระพุทธรูปศิลปะ ลพบุรี อิทธิพลศิลปะบายน หรือแมแตกระทั่งประติมากรรมบุคคลหินสลักในศิลปะลพบุรี อิทธิพลศิลปะบายน คือลักษณะของพระองค (ลําตัว) ที่มีลักษณะตั้งตรง พระอังสาใหญ (ไหลกวาง) ที่มักจะไมปรากฏในพระพุทธรูป นาคปรกและประติมากรรมบุคคลหินสลักในศิลปะลพบุรี อิทธิพลศิลปะบายน เทาใดนัก ซึ่งพระพุทธรูปนาค ปรกและประติมากรรมบุคคลหินสลักในศิลปะลพบุรี อิทธิพลศิลปะบายน สวนใหญจะมีลักษณะหลังคอมลง เล็ก นอย และพระอังสาจะไมใหญ (ไหลไมกวาง) ซึ่งข อนี้อาจแสดงใหเ ห็นถึง การปรับ เปลี่ยนรูป แบบของ พระพุทธรูปศิลปะลพบุรี อิทธิพลศิลปะบายน พุทธศตวรรษที่ ๑๘ ไปบาง ในสวนของคติการสรางพระพุทธรูปองคนตี้ ีความคติในการสรางไดดังนี้ ๑. อาจมีคติการสรางเพื่อใหเปนชัยพุทธมหานาท ที่เปนพระพุทธรูป ที่มีปรากฎในจารึกปราสาทพระ ขรรควา พระเจาชัยวรมันที่ ๗ แหงอาณาจักรเขมรโบราณ มีคําสั่งใหประดิษฐาน ไวในหัวเมืองทั้ง ๓๓ เมืองที่ ปรากฏในจารึกปราสาทพระขรรค ๒. อาจมีคติในการสรางเพื่อเปนพระพุทธรูปแทนองค พระเจาชัยวรมันที่ ๗ ที่มีรูปแบบคลายคลึงกับ พระพุทธรูปแทนองคพระเจาชัยวรมันที่ ๗ หลังจากการสวรรคตแลว จึงมีการสรางพระพุทธรูปที่แสดงถึงการ หลอมรวมระหวางพระเจาชัยวรมันที่ ๗ กับพระพุทธเจา จึงมีการผสานรูปแบบของพระพุทธรูปกับตัวบุคคล ๓. อาจเปนไปไดวาชางในอดีตมีการนํารูปแบบเครื่องแตงกายของพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร หรือ แมกระทั่งเทวรูปที่นิยมนับถือในสมัยกอนหนานั้นมาหลอมรวมกับรูปแบบของพระพุทธรูปนาคปรกที่นิยมใน สมัยตอมา แตไมวาคติจะเปนดวยเหตุใดก็ตามจะเห็นวามีรูปแบบของพระพุทธรูปนาคปรกที่มีรูปแบบที่แตกตาง ไปจากรูปแบบพระพุทธรูปนาคปรกผูทรงจีวรเฉกเชนปกติวิสัย ปรากฎใหเห็น หรือจะเปนคติที่คนโบราณแฝงไว ใหเราถอดรหัสเพื่อการศึกษาในวันนี้ บรรณานุกรม สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ,์ หมอมราชวงศ. กัมพูชาราชลักษมีถึงศรีชยวรมัน. กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๔๓. ปรมานุชิตชิโนรส, สมเด็จพระมหาสมณะเจา กรมพระ. พระปฐมสมโพธิกถา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ ธรรมบรรณาคาร, ๒๕๓๙. สุชิน ทองหยวก, อิงอร ไทยดี. คัมภีรลลิตวิสตระ: พระพุทธประวัติฝายมหายาน ภาคภาษาไทย. กรุงเทพฯ: วัดบวรนิเวศวิหาร, ๒๕๕๘. พีรพน พิสณุพงศ. พระพุทธรูปนาคปรก. สารนิพนธศิลปะศาสตรบัณฑิต (โบราณคดี) มหาวิทยาลัย ศิลปากร, ๒๕๒๐. 135


ยันต์ที่ซ่อนอยู่ในกลองสำหรับพระนคร : กำรศึกษำเปรียบเทียบกับสมุดไทยดำ เรื่อง ตำรำเลขยันต์ ฉบับห้องสมุดบริติช นางสาวศุภวรรณ นงนุช1 กลองสาหรับพระนคร เป็นหนึ่งในสิ่งสาคัญยิ่งของการสถาปนาพระนคร ดังปรากฏในพระราชพิธีพระ 2 นครฐาน เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงโปรดฯ ให้ตั้งกรุงเป็นเทพมหานครเป็น เมืองหลวง โดยทั้งฝังเสาหลักเมืองและสร้างกลองขึ้นมาสามใบ อย่างเดียวกับเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราช ธานี ว่ามีหอกกลองสูงสามสิบวาทาสีแดงตั้งอยู่ ที่ถนนตะแลงแกง สาหรับแขวนกลองสามใบซึ่งมีเจ้าพนักงาน กรมพระนครบาลคอยก ากับดูแล กลองทั้งสามใบมีขนาดและทาหน้าที่ แตกต่างกันออกไป กลองชั้นต้นเป็น กลองใบใหญ่อยู่ชั้นล่าง ชื่อว่า พระทิวาราตรี3 ใช้ตีบอกเวลาย่ารุ่งย่าค่าทุกวัน รวมถึงตีเพื่อเรียกประชุม กลอง ชั้นกลางแขวนไว้ชั้นถัดไป สาหรับตีบอกเหตุไฟไหม้ ทั้งในพระนครและอีกฝากแม่น้า ชื่อว่า พระมหาระงับ ดับเพลิง4 กลองชั้นยอดบนยอดบนยอดหอกลอง คอยดูข้าศึกและตีสัญญาณ ชื่อว่า พระมหาฤกษ์5 ปัจจุบันไม่ ปรากฏหลักฐานหลงเหลืออยู่ ส่วนกลองสาหรับพระนครทั้งสามใบของกรุงรัตนโกสินทรานั้น ทาหน้าที่เช่นเดียวกับเมื่อครั้งกรุงศรี อยุธยา โดยมีขนาดลดหลั่นกันลงไป แต่ละใบทาจากไม้ท่อนเดียวขุดกลอง ที่หน้ากลองแต่ละใบขึ้นหนังต่างชนิด กัน ทั้งหมดแขวนที่หอกลอง ซึ่งสร้างขึ้นบริเวณหับเผย หลังวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ปัจจุบันคือ กรม รักษาดินแดน หอกลองนั้นถูก รื้ออออกสมัยรัชกาลที่ 5 ต่อมาในโอกาสครบรอบ 200 ปี กรุงรัตนโกสินทร์ จึงได้สร้างขึ้นมาใหม่ กลองใบลานแขวนบนชั้นที่สองของหอกลอง ชื่อว่า ย่ ำพระสุริย์ศรี6 ใช้ตีบอกเวลาเช้าเย็นและเป็น สัญญาณเปิดประตูเมือง กลองใบที่สองแขวนบนชั้นที่สามของหอกลอง ชื่อว่า อัคคีพินำศ7 ใช้ตีบอกเหตุการณ์ ไฟไหม้ในพระนคร ส่วนใบสุดท้ายอยู่ชั้นยอด ชื่อว่า พิฆำตไพรี8 จะถูกตีก็ต่อเมื่อข้าศึกประชิดเมืองเท่านั้น

1

นางสาวศุภวรรณ นงนุชภัณฑารักษ์ชานาญการ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร สมุดไทยดาเรื่อง ตาราเลขยันต์ เลขทะเบียน Or15568, British Library 3 คาให้การขุนหลวงหาวัดประดู่ทรงธรรม เอกสารจากหอหลวง (นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555), หน้า 25. 4 เรื่องเดียวกัน, หน้า 25. 5 เรื่องเดียวกัน, หน้า 26. 6 ทะเบียนเล่ม 3 (3/2), พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร, สานักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ, กรมศิลปากร 7 เรื่องเดิม 8 เรื่องเดิม 2

136


ปัจจุบันกลองทั้งสามใบจัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ลักษณะสาคัญของกลองทั้ง สามใบทาจากท่อนไม้เดียวขุดเป้นกระบอกกลอง เรียกว่า หุ่น ขึ้นหนังสัตว์เป็นหน้ากลองทั้งสองด้าน แล้วตรึง ด้วยหมุดโลหะโดยรอบ เรียกว่า แส้ นอกจากนั้นไม่ปรากฏการตกแต่งใดๆ ที่โดดเด่น อย่างไรก็ตาม สิ่งที่เห็น อาจไม่ใช่สิ่งที่เป็น กลองทั้งสามใบได้ซ่อนสิ่งสาคัญเอาไว้ และเราไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า หากนับว่า เป็นโชคดีที่ยังมีผู้บันทึกสิ่งสาคัญเอาไว้ได้ นั่นคือ อักขระเลขเลขยันต์ที่ลงบนหุ่นและหน้ากลอง เมื่อครั้งการพระ ราชพิธีพระนครฐาน การตั้งกรุงเทพมหานครเป็นราชธานี ซึ่งกลองแต่ละใบได้รับการลงอักขระไว้แตกต่างกัน แต่สอดคล้องกันในเชิงความหมายและสัญลักษณ์เพื่อพิทักษ์รักษาราชอาณาจักรไว้ด้วยพระพุทธคุณ ดังจะกล่าว ต่อไป กลองใบแรก ย่ำพระสุริย์ศรี ทาจากท่อนไม้ขุดเป็นหุ่นกลอง ทั้งสองด้านขึ้นหน้าด้วยหนังกระบือ 9 แส้ เป็นหมุดโลหะตอกโดยรอบ ที่ด้านหน้ากลองนั้น ลงยันต์ด้านละหนึ่งดวงดวงแรกคือ คาถาหัวใจพระเจ้าห้าองค์ ว่า นะ โม พุธ ธา ยะ อีกดวงหนึ่งคือ คาถาหัวใจตรีเพชรหรือพระรัตนตรัยอันประกอบด้วยพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ว่า นะ มะ อะ อุ ส่านหุ่นกลองได้รับการลงอักขระด้านในกระบอกอีกสามดวงคือ ยันต์โสฬสมหา มงคล ยันต์จัตุโรและยันต์ตรีนิสิงเห

9

สมุดไทยดาเรื่อง ตาราเลขยันต์ เลขทะเบียน Or15568, British Library

137


138


กลองชั้นกลาง อัคคีพินำศ ทาจากท่อนไม้เดียวเช่นกัน ขุดเป็นกระบอกได้หุ่นกลองขนาดย่อม ขึ้นหน้า กลองด้วยหนังโคทั้งสองด้าน10 ส่วนแส้นั้นนอกด้วยหมุดโลหะโดยรอบ ด้านบนมีหูระวิงทาจากเหล็กสาหรับ แขวน ด้านในของหุ่นกลองลงอักขระอักษรขอมเป็นยันต์สามดวงเช่นเดียวกับกลองชั้นต้น ได้แก่ ยันต์โสฬสมหา มงคล ยันต์จัตุโร และยันต์ตรีนิสิงเห ส่วนด้านในหน้ากลองทั้งสองด้านลงยันต์หัวใจธาตุทั้ง 4 ว่า นะ มะ พะ ทะ กับคาถาหัวใจธาตุกรณีหรือหัวใจกาสลัก จะ ภะ กะ สะ

10

สมุดไทยดาเรื่อง ตาราเลขยันต์ เลขทะเบียน Or15568, British Library

139


กลองใบที่สามหรือกลองชั้นยอด พิฆาตไพรี ทาจากท่อนไม้ท่อนเดียวขุดเป็นหุ่น มีขนาดเล็กที่สุดใน บรรดากลองสาหรับพระนครทั้งสามใบ ในกระบอกกลองหรือหุ่นกลองนั้น ลงยันต์สามดวง ดวงแรกซึ่งถือเป็น ยอดแห่งยันต์ทั้งปวง นั่นคือ คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า ว่า อิติปิโส วิเสเส พุทธนาเมอิ อิเมนา พุทธตังโสอิ อิโสตัง พุทธปิติอิ ยันต์ดวงท่าองคือ คาถาหัวใจนวหรคุณ หรือหัวใจนวหรคุณ หรือ หัวใจอิติปิโส ว่า อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ ภะ และยันต์ดวงที่สาม คือ คาถาหัวใจพระเจ้าห้าพระองค์ ว่า นะ โม พุธ ธา ยะ สาหรับด้านในของหน้า กลองพิฆาตไพรีลงยันต์ด้านละดวง เป็นคาถาบารมีพระพุทธเจ้า 140


เมื่อพิจารณาหลักฐานทางเอกสารสมุดไทยดาที่บันทึกเลขยันต์ ซึ่งใช้ในพระราชพิ ธีพระนครฐาน ใน การจารอักขระเลขยันต์ล งบนกลองส าหรับพระนครทั้ งสามใบแล้ว พบว่า ทั้ง หมดล้วนเป็นบทสนทนาใน พระพุทธศาสนา โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธคุณ กลองชั้นยอดนั้น คือ ยอดมงกุฎพระพุทธเจ้า ซึ่งป้องกัน ภยันตรายและแคล้วคลาด กลองชั้นกลางกับ กลองชั้นล่างรวมกันเป็นยั นต์ซึ่งรวมเอามงคล 108 ประการ แสดงให้ เ ห็ นถึ ง พระปรีช าของพระบาทสมเด็จ พระพุท ธยอดฟ้า จุฬ าโลกมหาราช รัช กาลที่ 1 แห่ ง กรุ ง รัตนโกสินทร์ ว่าทรงตั้งพระราชหฤทัยให้กลองทั้งสามใบนี้ เมื่อถูกตีครั้งหนึ่งก็จะได้แผ่อานาจแห่งคุณพระศรี รัตนตรัย อันได้แก่ พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสงฆ์คุณ ปกปักรักษาพระราชอาณาจักรและพสกนิกรของ พระองค์ให้อยู่ดีมีสุขทุกคืนวัน ทั้งนี้การพบยันต์ที่จารลงในกลองชั้นต้น ย่ำพระสุริย์ศรี และกอลงชั้นกลาง อัคคีพินำศ เป็นจริงดังที่ ปรากฏในสมุดไทยดา เรื่องตาราเลขยันต์ ฉบับห้องสมุดบริติช ทาให้เชื่อได้ว่า ในกลองชั้นยอด พิฆำตไพรี ก็มี ยันต์จารเอาไว้เช่นกัน ซึ่งควรค่าแก่การศึกษาเพิ่มเติมต่อไปในอนาคต บรรณานุกรม คำให้กำรขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม เอกสำรจำกหอหลวง. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555. พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร. ทะเบียนเล่ม 3 (3/2). สานักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ, กรมศิลปากร สมุดไทยดา เรื่อง ตำรำเลขยันต์ เลขทะเบียน Or15568, British Library, 2016 141


ผลงานการศึกษา คนควา วิจัย สาขาวิชาการ กระบวนการศึกษาวิเคราะหที่มาของโบราณวัตถุ : ทับหลังจําหลักภาพพระอินทรทรงชางเอราวัณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ สุรินทร นางสาวพรเพ็ญ บุญญาทิพย ภัณฑารักษปฏิบัติการ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ สุรินทร ที่มาและความสําคัญของการศึกษา พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ สุรินทร เปนหนึ่งในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติที่มีการจัดแสดงและเก็บรักษา โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ประเภทชิ้นสวนของโบราณสถาน เชน ทับหลัง บันแถลง เสาประดับกรอบประตู ฯลฯ ในศิลปะลพบุรี(ศิลปะเขมรในประเทศไทย)ที่มีความสําคัญอีกแหงหนึ่ง ในจํานวนโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุกวา ๑,๐๐๐ รายการ ที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ สุรินทรดูแลรักษาอยูนั้น มีโบราณวัตถุที่เปนทับหลังในศิลปะลพบุรี (ศิลปะเขมรในประเทศไทย) ทั้งสิ้น ๗ รายการ และมีทับหลังเพียง ๓ รายการเทานั้นที่ทราบประวัติที่มาของ วัตถุอยางชัดเจน นั้นคือ ทับหลังศิลปะแบบไพรกเม็งจากปราสาทภูมิโปน ๑ รายการ และทับหลังศิลปะแบบ นครวัดจากปราสาทศีขรภูมิ ๒ รายการ นอกเหนือจากนั้น อีก ๔ รายการ ทราบประวัติเ พียงวาไดรับมอบ (บริจาค)จากบุคคลตางๆ ในจังหวัดสุรินทร ซึ่งไมสามารถระบุไดชัดเจนวานํามาจากปราสาทหลังใด ซึ่ง ๑ ใน ๔ ของทับหลังที่ไมทราบประวัติที่มาเหลานี้ คือ ทับหลังจําหลักภาพพระอินทรทรงชางเอราวัณ เบื้องตนผูศึกษาจึงเกิดเจตนารมณที่จะสืบคน หาประวัติที่มาของทับหลังทั้ง ๔ รายการ โดยสวนหนึ่ง เกิดจากการลงพื้นที่สํารวจตามโครงการสํารวจและขึ้นทะเบียนโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ในครอบครองของวัดและ เอกชน ในปงบประมาณ ๒๕๖๐ ผูศึกษาพรอมดวยเจาหนาที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ สุรินทร ไดดําเนิ นการ สํารวจในพื้นที่อําเภอทาตูม จังหวัดสุรินทร โดยเขาสํารวจ ณ วัดปทุมศิลาวารีปราสาท ซึ่งเปนที่ตั้งของปราสาท นางบัวตูม จากการสอบถามเจาอาวาสวัดไดความวา เมื่อสมัยกอนผูวาราชการจังหวัดสุรินทร ไดมาขอยืมทับ หลังจําหลักภาพพระอินทรทรงชางเอราวัณจากปราสาทนางบัวตูมไปจัดแสดงในอําเภอเมืองสุรินทร และยังไมมี การนํากลับคืนมาจนกระทั่งปจจุบัน วัตถุประสงคในการศึกษา ๑. เพื่อสืบหาประวัติที่มาของโบราณวัตถุ ทับหลังจําหลักภาพพระอินทรทรงชางเอราวัณ เพื่อนําเสนอ ขอมูลที่ถูกตองแกสาธารณะ ๒. เพื่อยืนยันขอสันนิษฐานที่อาจเปนไปไดวา ทับหลังจําหลัก ภาพพระอินทรทรงชางเอราวัณ เปน ชิ้นสวนประดับที่ไดเคลื่อนยายมาจากปราสาทนางบัวตูม และหากขอสันนิษฐานถูกตองจะเปนการเติมเต็ม ความสมบูรณดานขอมูลทางประวัติศาสตรศิลปะแกปราสาทนางบัวตูมใหชัดเจนยิ่งขึ้น ซึ่งอาจเปนประโยชนตอ งานบูรณะซอมแซมปราสาทนางบัวตูมตอไปในอนาคต วิธกี ารศึกษาวิเคราะห ๑.ศึกษาขอมูลจากเอกสารและมัลติมีเดียโดยสืบคนขอมูลของโบราณวัตถุจากบัญชีเดินทุง ทะเบียน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุของพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ สุรินทร และศึกษาขอมูลโบราณสถานจากหนังสือทําเนียบ โบราณสถาน และขอมูลจากระบบภูมสิ ารสนเทศ แหลงมรดกทางศิลปวัฒนธรรม กรมศิลปากร ๑๔๒


๒. ศึกษาขอมูลจากโบราณวัตถุ โดยการตรวจสอบประเภทวัสดุ วัดขนาด ตรวจสภาพความสมบูรณ วิเคราะหรูปแบบศิลปะ ๓. ลงพื้นทีส่ ํารวจโบราณสถาน และเก็บขอมูลจากหลักฐานโบราณวัตถุที่ปรากฏอยู บทวิเคราะห ๑. ขอมูลจากทะเบียนโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ชื่อวัตถุ เลขทะเบียน ศิลปะ อายุ/สมัย วัสดุ ขนาด ลักษณะ สภาพ ประวัติ

ทับหลังพระอินทรทรงชางเอราวัณ ๔๒/๑/๒๕๔๔ (เลขทะเบียนเดิมจากพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พิมาย ๒๒/๒๕๐๙) ลพบุรีหรือศิลปะเขมรในประเทศไทย (เขมรแบบนครวัด) ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖ – ๑๗ หินทราย กวาง ๔๖ ซม. ยาว ๑๐๕* ซม. หนา ๒๔ ซม. ทับหลังสลักจากหินทรายรูปพระอินทรทรงชางเอราวัณ ๓ เศียร อยูเหนือหนากาลที่คาย ทอนพวงมาลัยออกมาทั้งสองขาง ชํารุด รายละเอียดภาพจําหลักสวนมากแตกหายไป ผูวาราชการจังหวัดสุรินทรมอบให และเคลื่อนยายมาจากพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พิมาย เมื่อวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๔๔ เพื่อนํามาจัดแสดง ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ สุรินทร

* ขนาดความยาว ๑๐๕ ซม. เปนขอมูลเดิมที่ยังไมไดรับการแกไข

๒. ขอมูลเพิ่มเติมจากตรวจสอบโบราณวัตถุ เนื่องจากผูศึกษาไดตรวจสอบขนาดของทับหลังที่ปรากฏอยู ณ ปราสาทนางบัวตูมทั้งหมด เพื่อนํามา เปรียบเทียบกับทับหลังชิ้นที่เปนกรณีศึกษา แลวพบวามีขนาดที่แตกตางกันอยูมาก ทําใหขอสันนิษฐานตั้งแต แรกเริ่มนั้นเกิดความสับสน จึงไดทําการตรวจสอบวัดขนาดของทับหลังพระอินทรทรงชางเอราวัณชิ้นที่เปน กรณีศึกษาใหมอีกครั้ง พบวาขอมูลของโบราณวัตถุที่ปรากฏอยูในเอกสารทะเบียนเดิมนั้นมีความคลาดเคลื่อน ขนาดของโบราณวัตถุจากการตรวจสอบใหม คือ มีความกวาง ๔๖ ซม. ยาว ๑๖๕* ซม. และหนา ๒๔ ซม. ทํา จากวัสดุประเภทหินทรายสีชมพู ลวดลายจําหลักบนทับหลังมีสภาพลบเลือน ภาพบุคคลที่ประทับเหนือชาง เอราวัณ ๓ เศียร ไดกะเทาะหายไป หากพิจารณาจากภาพของหนากาลที่คายทอนพวงมาลัยออกมา โดยใชมือ ทั้งสองขางยึดทอนพวงมาลัยไว ทอนพวงมาลัยซึ่งออกมาจากดานลางแลววกกลับขึ้นดานบนโดยไมปรากฏพวง อุบะแบงเสี้ยว เปนลักษณที่พบในศิลปะเขมรแบบบาปวนชวงครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ ๑๗ ๓. ขอมูลที่ไดจากการลงพื้นที่สํารวจโบราณสถาน ปราสาทนางบัวตูม อําเภอทาตูม จังหวัดสุรินทร ปราสาทนางบัวตูมประกอบดวยปราสาท ๓ หลังสรางดวยศิลาแลง ตั้งอยูบนฐานเดียวกัน เรียงตัวใน แนวแกนทิศเหนือ–ทิศใต ตัวปราสาทหันหนาไปทางทิศตะวันออก องคปราสาททั้ง ๓ หลังมีประตูทางเขา–ออก เพียง ๑ ดานคือดานทิศตะวันออก อีก ๓ ดานทําเปนประตูหลอก สวนยอดของปราสาทไดพังทลายลงมา ตัว ปราสาทยังไมไดรับการขุดแตงหรือบูรณะซอมแซม

๑๔๓


ปราสาทนางบัวตูม เปนศาสนสถานที่สรางขึ้นเนื่องในศาสนาฮินดู อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖ – ๑๗ เปนศิลปะลพบุรีหรือศิลปะเขมรในประเทศไทย แบบบาปวน-นครวัดตอนตน วิเคราะหจากภาพจําหลักของทับ หลัง ที่อยูในบริเ วณปราสาทจํานวน ๕ ชิ้น (สมบูร ณ ๓ ชิ้น และชํารุด ๒ ชิ้น) ปรากฏภาพทับหลัง ที่มีทอน พวงมาลัยแบบศิลปะบาปวนผสมผสานกับภาพหนากาลที่ใชมือทั้งสองจับสิงหที่คายทอนพวงมาลัยอีกตอหนึ่ง และทับหลังอีกชิ้นที่ปรากฏภาพสิงหสองตัวหันหนาออกและจับทอนพวงมาลัย ซึ่งเปนลักษณะที่พบในศิลปะ แบบนครวัด จึง อาจกลาวไดวาทับหลังปราสาทนางบัวตู ม นี้จัดอยูในศิล ปะแบบบาปวนตอนกลาง-นครวัด ตอนตน นอกจากนี้ยัง พบเสาประดับ กรอบประตูแปดเหลี่ยม แทนประดิษฐานประติมากรรม และพื้นธรณี จําหลักภาพดอกบัวแปดกลีบที่อยูบริเวณกรอบประตูทางเขาปราสาทองคกลางสันนิษฐานวาอาจเปนที่มาของ ชื่อเรียกปราสาทหลังดังกลาว ขอมูล จากทั บ หลัง ทั้ง ๕ ชิ้นที่ป รากฏอยู ณ ปราสาทนางบั วตูม เปนหลัก ฐานสําคั ญ ที่ผูศึก ษาใช ประกอบการวิเคราะห ขนาด ประเภทวัสดุ และรูปศิลปะ เปรียบเทียบกับทับหลังพระอินทรทรงชางเอราวัณที่ เปนกรณีศึกษา โดยปรากฏขอมูลดังตารางเปรียบเทียบตอไปนี้ โบราณวัตถุ ทับหลังพระอินทรทรงชางเอราวัณ ทับหลังปราสาทนางบัวตูมชิ้นที่ ๑ จําหลักภาพพระกฤษณะปราบชางกุวลั ยปถะ ทับหลังปราสาทนางบัวตูมชิ้นที่ ๒ จําหลักภาพพระกฤษณะตอสูก ับจาณูระ ทับหลังปราสาทนางบัวตูมชิ้นที่ ๓ สันนิษฐาน วาจําหลักภาพพระกฤษณะปราบนาคกาลียะ ชิ้นสวนทับหลังปราสาทนางบัวตูมชิ้นที่ ๔* ชิ้นสวนทับหลังปราสาทนางบัวตูมชิ้นที่ ๕*

ขนาด (เซนติเมตร) กวาง ยาว หนา ๔๖ ๑๖๕ ๒๔ ๔๖ ๑๖๖.๕ ๒๖

หินทราย สีชมพู หินทราย สีชมพู

๔๖

๑๖๗

๒๕.๕

หินทราย สีชมพู

๔๕

๑๖๗

๒๙

หินทราย สีชมพู

๔๕ ๔๖

๕๗ ๖๘

๒๖ ๒๗

หินทราย สีชมพู หินทราย สีชมพู

ประเภทวัสดุ

* ชิ้นสวนทับหลังชิ้นที่ ๔ และ ๕ สันนิษฐานวานาจะเปนทับหลังชิ้นเดียวกัน แตดานขางแตกหายไปบางสวน ตรงกลางถูก กะเทาะแตกหายไปและแตกออกจากกันทําใหไมสามารถระบุไดวาเปนภาพจําหลักตอนใด

๑๔๔


ทับหลังจําหลักภาพพระอินทรทรงชางเอราวัณ จากพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ สุรินทร

ทับหลังปราสาทนางบัวตูม ชิ้นที่ ๑ จําหลักภาพพระกฤษณะปราบชางกุวัลยปถะ

ทับหลังปราสาทนางบัวตูม ชิ้นที่ ๒ จําหลักภาพพระกฤษณะตอสูกบั จาณูระ

ทับหลังปราสาทนางบัวตูม ชิ้นที่ ๓ สันนิษฐานวาจําหลักภาพพระกฤษณะปราบนาคกาลียะ

ชิ้นสวนทับหลังปราสาทนางบัวตูม ชิ้นที่ ๔ และ๕ สันนิษฐานวาเปนทับหลังชิ้นเดียวกันภาพจําหลักตรงกลางหายไป ปรากฏเพียงภาพบุคคล ๒ คนนั่งอยูบ นหนากาล สันนิษฐานวาอาจเปนภาพของคนเลี้ยงวัวที่หลบอยูเ บื้องลางขณะที่ ๑๔๕ พระกฤษณะยกเขาโควรรธนะ


สรุปผลการศึกษา ผลการวิเคราะหจากตารางขอมูลทางกายภาพของโบราณวัตถุเปรียบเทียบทับหลังพระอินทรทรงชาง เอราวัณกับทับ หลังจากปราสาทนางบัวตูม ทั้ ง ๕ ชิ้น ปรากฏวา ทับ หลัง มีขนาดความกวาง ยาว และหนา ใกลเคียงกัน พบคาเฉลี่ยตางกันประมาณ ๑ – ๕ เซนติเมตร และเมื่อทําความสะอาดทับหลังแลวไดปรากฏให เห็นพื้นผิวที่สรางมาจากหินทรายสีชมพูเชนเดียวกันหมด และขอมูลจากระบบภูมิสารสนเทศ แหลงมรดกทาง ศิลปวัฒนธรรม กรมศิลปากร ยังระบุไววา ปราสาทนางบัวตูม มีทับหลัง ๓ ชิ้นที่พบเปนศิลปะขอมแบบบาปวน ไดแก ทับหลังสลักภาพพระอินทรทรงชางเอราวัณ พระกฤษณะปราบชางกุวัลยะปถะ และภาพที่สันนิษฐานวา สลักภาพพระกฤษณะตอสูกับจาณูระ ซึ่งอาจเปนไปไดวาทับหลังสลักภาพพระอินทรทรงชางเอราวัณที่กลาวถึง อาจเปนทับหลังชิ้นเดียวกับทับหลังที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติสุรินทรเก็บรักษาอยูก็เปนได นอกจากนี้การวิเคราะหดานประวัติศาสตรศิลปะยังพบวา ทับหลังของปราสาทนางบัวตูมเริ่มมีการ ผสมผสานระหวางทอนพวงมาลัยแบบศิลปะบาปวนเขากับภาพสิงหคายทอนพวงมาลัยซึ่งเปนลักษณะที่พบใน ศิลปะแบบนครวัด จึงอาจเปนไปไดวาทับหลังพระอินทรทรงชางเอราวัณจากพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ สุรนิ ทรที่ ไดกําหนดอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖ – ๑๗ ศิลปะแบบนครวัดนั้นอาจรวมสมัยเดียวกับทับหลังจากปราสาท นางบัวตูมก็เปนได อีกทั้งการศึกษาปราสาทในพื้นที่จังหวัดสุรินทร ยังพบวามีปราสาทในศิลปะแบบนครวัดอยู เพียงหนึ่งแหงนั่นคือ ปราสาทศีขรภูมิ ซึ่งไมนามีความเปนไปไดเ มื่อเปรียบเทียบจากขนาดของทับ หลัง และ ประเภทของวัสดุ ขอเสนอแนะเพิ่มเติม แมวาผลการศึกษาวิเคราะหขอมูลทางดานกายภาพของโบราณวัตถุ ที่มีการเปรียบเทียบจากขนาด และประเภทวัสดุจะมีผลปรากฏออกมาวามีความใกลเ คียงกัน ก็ตาม แตการศึกษาในครั้งนี้ ยัง ไมครบถวน สมบูรณนัก เพราะยังขาดการวิเคราะหเปรียบเทียบกับปราสาทหลังอื่นๆ ที่อยูนอกพื้นที่จังหวัดสุรินทร อีกทั้ง ยังขาดขอมูลจากการสัมภาษณบุคคลที่เกี่ยวของ และควรมีการศึกษาหนาที่การใชงานและตําแหนงที่ตั้งของทับ หลังเหลานี้ตอไป บรรณานุกรม ศิลปากร, กรม. ทําเนียบโบราณสถานขอมในประเทศไทย เลม ๓ จังหวัดสุรินทร. กรุงเทพฯ : หางหุนสวน จํากัด อารตโปรเกรส, ๒๕๓๘. ศิลปากร, กรม. ประวัติศาสตรเมืองสุรินทร. กรุงเทพฯ : บริษัท อมรินทรพริ้นติง้ แอนดพับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน), ๒๕๕๐. สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ,์ หมอมราชวงศ. ทับหลังในประเทศไทย.กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๓๑. อรุณศักดิ์ กิ่งมณี. ทิพยนิยายจากปราสาทหิน. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๕๕. อางอิงจากเว็บไซต ศิลปากร, กรม. ระบบภูมสิ ารสนเทศ แหลงมรดกทางศิลปวัฒนธรรม กรมศิลปากร สืบคนเมื่อวันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๐, http://gis.finearts.go.th/fineart/ ๑๔๖


การตรวจสอบใหมเกี่ยวกับเทคนิคการผลิตเกลือสินเธาวของชุมชนโบราณในลุมน้ํามูลและชี A REAPPRAISAL OF THE SALT-MAKING TECHNIQUES OF ANCIENT SETTLEMENT IN THE MUN-CHI BASIN นายมนตรี ธนภัทรพรชัย นักโบราณคดีชํานาญการ สํานักศิลปากรที่ 8 ขอนแกน บทนํา ในที่ราบสูงโคราชซึ่งรองรับดวยหมวดหินมหาสารคามนั้นมนุษยในอดีตไดผลิตเกลือสินเธาวใน บริเวณใกลเคียงกับแหลงที่อยูอาศัยเพื่อตอบสนองความตองการบริโภคและใชสอยภายในครัวเรือนและการ แลกเปลี่ยนภายในทองถิ่นเปนอันดับแรก ตอมาเมื่อผลผลิตมีมากขึ้นเกลือสินเธาวสวนเกินไดกลายเปนสินคา สําคัญสงไปยังชุมชนอื่นๆที่อยูลึกเขาไปในแผนดินรวมทั้งสงออกไปยังอาณาจักรกัมพูชาโบราณ(ชลิตชัยครรชิต, 2540; ชารลสไฮแอมและรัชนีทศรัตน, 2542; ศรีศักรวัลลิโภดม, 2535; Rivettand and Higham, 2007) อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาจากผลการศึกษาทางโบราณคดีและมานุษยวิทยาเกี่ยวกับการผลิตเกลือสินเธาวใน แถบลุมน้ํามูลและลุมน้ําชีที่ผานมาพบวา คําอธิบายที่ชัดเจนมากขึ้นเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางการเกิดขึ้น ของแหลงผลิตเกลือสินเธาว สิ่งแวดลอมทางกายภาพของแหลงผลิตเกลือสินเธาว เทคนิคการผลิตเกลือสินเธาว และชุมชนโบราณที่อยูใกลเคียงยังคงเปนประเด็นการศึก ษาวิจัยที่มีความจําเปน ดังนั้น เพื่อความเขาใจที่ ชัดเจนมากยิ่งขึ้นเกี่ยวกับการปรากฏขึ้นของการผลิตเกลือสินเธาวในลุมน้ํามูลและลุมน้ําชี การศึกษาครั้งนี้จึง พยายามจําแนกเทคนิคการผลิตเกลือสินเธาวและกําหนดความสัมพันธระหวางแหลงผลิตเกลือ สินเธาวและ เทคนิคการผลิตเกลือสินเธาวโดยวิธีการศึกษาทางโบราณคดีรวมกับการใชเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศซึ่งวิเคราะห ปจจัยที่เกี่ยวของกับการผลิตเกลือสินเธาว ไดแก ปจจัยดานสิ่งแวดลอม และ ปจจัยดานวัฒนธรรม ซึ่งไดมาจาก ขอมูลทางโบราณคดีและมานุษยวิทยา สภาพภูมิศาสตร ลุมน้ํามูลและลุมน้ําชีเปนสวนหนึ่งของที่ราบสูงโคราช ลุมน้ําชีครอบคลุมบริเวณตอนกลาง สวนลุมน้ํามูลครอบคลุมพื้นที่ตอนใตของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่รวมกันประมาณ 120,085 ตาราง กิโลเมตร หรือ ประมาณ 71.8%ของพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้งหมด(ภาพที่ 1) พื้นที่บางสวนใตผิวดิน รองรับดวยหมวดหินมหาสารคามซึ่งประกอบดวยหินทรายแปงและหินทราย มีชั้นโพแทช ยิปซัมและเกลือหิน พื้นที่ลาดเอียงไปยังทิศตะวันออกและมีพื้นที่ราบเรียบซึ่งประกอบดวยที่ราบน้ําทวมถึง และที่ราบน้ําทวมไมถึง อยูกลางแองซึ่งมีการแทรกดันของเกลือหินกระจายอยูทั่วไป ทําใหเกิดพื้นที่ดินเค็มและน้ําเค็มแมน้ําในบริเวณนี้ สวนใหญมีตนกําเนิดจากเทือกเขาทางทิศเหนือและทิศตะวันตก แมน้ําชีมีตนกําเนิดจากเทือกเขาเพชรบูรณ สวนแมน้ํามูลไหลจากเทือกเขาสันกําแพง แมน้ําทั้งสองสายจะไหลผานที่ราบตอนกลางของแองโคราช-อุบลและ บรรจบกันเปนแมน้ําสายใหญกอนไหลลงสูแมน้ําโขงทางทิศตะวันออกสภาพภูมิศาสตรสงผลใหบ ริเวณนี้มี ภูมิอากาศแบบกึ่งแหงแลงและมีการปรากฏของดินเค็มและโครงสรางเกลือใตดิน พื้นที่ทั้งสองลุมน้ําตั้งอยูในเขตรอนจึงไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมโดยจะเขาสูฤดูฝนตั้งแตเดือน พฤษภาคม ถึง ตุลาคม ฤดูหนาวระหวางเดือนพฤศจิกายน ถึง กุมภาพันธ และฤดูร อนเริ่มเดือนมีนาคม หรือ เมษายนกระทั่งตนเดือนพฤษภาคม เวลาสวนใหญของป อากาศคอนขางแหง ยกเวนชวงเดือนสิงหาคมและ กันยายนซึ่งมีฝนตกบอยครั้ง(Sukchan and Yamamoto, 2002). คนและลักษณะทางกายภาพของพื้นทีก่ ําหนดรูปแบบเทคโนโลยี จากการศึกษาที่ผานมาในลุมน้ํามูล -ชี พบวา การผลิตเกลือสินเธาวแบบโบราณซึ่งมีการสืบ ทอดมายังปจจุบันนั้นสามารถกําหนดอายุยอนกลับไปไดถึงสมัยกอนประวัติศาสตรตอนปลายยุคเหล็กเนินดิน แหลง ผลิตเกลือสินเธาวทุ ก แหง เปนพื้น ที่ดินเค็ม ที่ตั้ ง อยูบ นโดมเกลือธรรมชาติและเกือบทุ ก แหง มีความ เกี่ยวเนื่องกับชุมชนสมัยกอนประวัติศาสตร หรือ กลุมของแหลงโบราณคดีสมัยกอนประวัติศาสตร และตั้งอยู 147


ใกลแมน้ําสายหลัก หรือ หนองน้ําธรรมชาติ (ภาพที่ 2 )(Nitta, 1992; Rivettand and Higham, 2007)แตก็ ยังไมสามารถอธิบายไดอยางชัดเจนวาทําไมเทคนิคการผลิตเกลือสินเธาวแตละแบบจึงมีทั้งสวนที่เหมือนและ แตกตางกัน ลักษณะเฉพาะทางกายภาพและทางวัฒนธรรมของแหลงผลิตเกลือ สินเธาวแตละแหงและชุมชน โบราณที่อยูใกลเคียงสงผลอยางไรตอความหลากหลายของเทคนิคการผลิตเกลือสินเธาวของมนุษยในอดีต ปจจัยที่เกี่ยวของกับการผลิตเกลือสินเธาว อยางไรก็ตาม มีความเปนไปไดวา จํานวนและขนาดของเนินดินดังกลาวมีความสัมพันธกับ ชนิด คุณภาพ และตําแหนงที่พบแหลงวัตถุดิบเกลือที่สงผลโดยตรงตอการเลือกใชเทคนิคการผลิตเกลือสินเธาว ปริมาณการผลิตในแตละฤดูกาลและการผลิตอยางตอเนื่องตามความตองการใชงานที่หลากหลาย ปจจัยเหลานี้ จึงสามารถทําใหลักษณะภูมิประเทศของแหลงผลิตเกลือแตละแหงมีลักษณะเฉพาะเนื่องจากมีการเปลีย่ นแปลง ในอัตราความเร็วที่แตกตางกัน จากทุงโลงที่มีเพียงพุมไมทนเค็มและคราบเกลือบนดิน เมื่อมีการผลิตเกลือก็เริม่ มีการกอตัวของเนินดินที่เหลือทิ้งจากกระบวนการกรองน้ําเกลือ เนินดินขนาดยอมจะเกิดขึ้นรอบๆพื้นที่กรอง น้ําเกลือ เมื่อเวลาผานไปเนินดินเหลานี้เชื่อมตัวและพอกพูนกันกลายเปนเนินดินที่มีขนาดใหญขึ้น บางสวนถูก ขุดเปนเตา บางสวนถูกปรับเปนบอกรองน้ําเกลืออีก ปาไมรอบๆลดลงเนื่องจากความตองการไมฟนเพิ่มมากขึ้น ทําใหดินเค็มมีโอกาสขยายตัวมากขึ้น หากแตถูกควบคุมดวยการไหลบา หรือ ทวมขังของน้ําและการเขาสูฤดูฝน ทุกป แหลงผลิตเกลือสินเธาวเหลานี้จะยังคงมีการใชงานตราบเทาที่ยังมีความตองการเกลือของชุมชน ในขณะ ที่เ นินดินที่เ กิดใหมในแหลง ผลิตเกลือมีแนวโนม ที่จ ะมีขนาดเล็กลงเนื่องจากเริ่ม ขาดแคลนแรงงาน หรือ เชื้อเพลิง หรือเหตุปจจัยอื่นๆและถูกทิ้งรางไปในที่สุด นอกจากนี้ รูปแบบการแพรกระจายของเทคนิคการผลิตเกลือยังอาจสัมพันธกับการอพยพ ยายถิ่นของกลุมชาติพันธุตางๆตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตรตอนปลาย ที่เคลื่อนยายไปพรอมกับองคความรูใน การผลิตเกลือสินเธาวพื้นฐานและมีการปรับใชใหเขากับสภาพแวดลอมของชุมชนโบราณและแหลงวัตถุดิบ เกลือแตละแหลงที่มีขอจํากัดที่แตกตางกัน(ภาพที่ 3) กระบวนการผลิตเกลือสินเธาวในพื้นที่ลุมน้ํามูลและลุมน้ําชี เทคนิคและโครงสรางที่ใชในการผลิตเกลือสินเธาวแบบโบราณที่ใชในกระบวนการผลิต คลายคลึงกับเทคนิคและโครงสรางที่ใชในปจจุบัน (Nitta, 1992; Rivettand and Higham, 2007) และเมื่อ พิจารณาแลวจะพบวา กระบวนการผลิตเกลือสินเธาวในพื้นที่ลุมน้ํามูลและลุมน้ําชีสอดคลองกับการศึกษาของ Olivier Weller (2015) (ภาพที่ 4) การผลิ ตเกลื อ สิน เธาวจ ะเริ่ ม ต นขึ้ น หลั ง การเก็ บ เกี่ย วขา วราวเดือ นธัน วาคม ถึง เดื อ น พฤษภาคม ซึ่งเปนฤดูแลงที่อากาศแหงในกรณีที่แหลงวัตถุดิบเกลือเปนดินที่มีคราบเกลือ หลายครัวเรือนจะ แสวงหาวั ตถุ ดิบ เกลื อ ในบริเ วณโดยรอบชุ ม ชนในระยะทางที่ ส ามารถเดิน ทางไปกลับ ไดเ ปน อัน ดับ แรก (ระยะทางประมาณ 2-5 กิโลเมตร)พื้นที่ดินเค็มที่ปรากฏคราบเกลือบนผิวดิน หรือ “ดินเอียด” พบรวมกับพืช ทนเค็มที่ขึ้นอยูอ ยางกระจัดกระจาย แวดลอมดวยพื้นที่เพาะปลูกและอยูใกลแหลงน้ํา ในอดีตการผลิตเกลือสินเธาวเปนกิจกรรมที่มีการแบงงานกันทําอยางชัดเจน ตัวอยางเชน ผูชายก็จะมีหนาที่ขนยายวัสดุอุปกรณจากชุมชนไปยังแหลงผลิตเกลือและนําผลผลิตที่ไดกลับมายังชุมชนเพือ่ ใช ประโยชนตอไป หาและสะสมฟน การหาเปลือกยางบง หรือ ดินเหนียวเพื่อใชฉาบกันซึมภายในบอกรองและบอ น้ําเกลือขุดบอกรองน้ําเกลือและบอน้ําเกลือสรางอุปกรณหรือโครงสรางที่ทําจากไมทุกชนิดไดแก ไมกวาดกะทา (เครื่องมือที่เปนแผนไมเนื้อแข็งตอดามใชกวาดคราบเกลือ) ขุดและติดตั้งฮางเกลือ (รางไมสําหรับกรองเกลือ) สาน “กะทอ”ภาชนะสานที่บุภายในดวยใบตองกุงฯลฯ สวนผูหญิงจะทําหนาที่ปนภาชนะดินเผาเนื้อดินที่เรียกวา “หมอบง”และภาชนะดินเผาเนื้อ ดินขนาดใหญปากกวางเนื้อหนาเพื่อบรรจุน้ําเกลือไปตม กวาดดินที่มีคราบเกลือมารวมเปนกอง หาบน้ํามาตม เกลือ ใสฟน และบรรจุเกลือลงภาชนะจักสานที่ใชบรรจุเกลือ 148


เมื่อถึงฤดูแลงภายหลังการจับจองพื้นที่และกําหนดพื้นที่ทํางาน ไดแก บริเวณเก็บรวบรวมดิน ที่มีคราบเกลือ พื้นที่กรองเกลือ เตาตมน้ําเกลือ และจุดกองฟนและพักเกลือแลว ผูหญิงก็จะเริ่มกวาดดินเอียด มารวมกองไวปริมาณเทาๆกันเพื่อใหสะดวกตอการขนยาย (ภาพที่ 5) จากนั้นจึงนําดินไปใสในบอกรองเกลือที่ ขุดขึ้นหรือ ฮางเกลือที่ตั้งไว เติมน้ําจนเต็ม และทิ้งไวระยะเวลาหนึ่งตั้งแตครึ่งชั่วโมงจนถึงหลายชั่วโมงแตกตาง กันตามคุณภาพของดินเอียด รวมทั้งขอจํากัดดานเวลาและแรงงานของคนตมเกลือ เมื่อไดน้ําเกลือที่ไหลผานชัน้ วัสดุกรอง เชน แกลบ ฟาง กาบมะพราว ที่ปูรองที่กนบอกรอง หรือ ฮางเกลือแลว น้ําเกลือที่ไดจะไหลผานทอ ไมไผไปยังบอน้ําเกลือสวนดินในบอกรอง หรือ ฮางเกลือจะถูกนําออกไปทิ้งและเริ่มกระบวนการผลิตซ้ําอีกครั้ง (ภาพที่ 6-7)ถัดจากนั้นน้ําเกลือจะถูกนําไปตม (ภาพที่ 8 ) และบรรจุเกลือที่ไดในกระทอพรอมขนยายไปกลับไป ยังชุมชนตอไป การใชประโยชนเกลือและการคาเกลือ จากหลักฐานทางโบราณคดีแสดงใหเห็นวา การใชประโยชนเกลือสินวเนนการใชประโยชนใน ระดับครัวเรือนและชุมชนมาตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตรตอนปลาย กระทั่งสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตรและ สมัยประวัติศาสตรที่การผลิตเกลือมีการผลิตในระดับอุตสาหกรรม (Nitta, 1992; Rivettand and Higham, 2007) อยางไรก็ตาม นักโบราณคดีและนักมานุษยวิทยาไดใหความสําคัญของการใชประโยชนเกลือของชุมชน เกษตรกรรมในการถนอมอาหารเปนหลัก (ชลิตชัยครรชิต, 2540; ชารลสไฮแอมและรัชนีทศรัตน, 2542; ศรีศักรวัลลิโภดม, 2535; Rivettand and Higham, 2007; Yankowski, Kerdsap and Chang,2015) ในสมัยอดีตนอกเหนือจากการใชประโยชนเพื่อการถนอมอาหาร เชน ปลารา ปลาแหง เกลือ สินเธาวยังเปนวัตถุดิบที่สามารถใชประโยชนไดหลากหลาย เชน การฟอกหนังสัตว ยารักษาโรค การชุบแข็ง โลหะ ฯลฯดังนั้นจึงเปนที่ตองการของชุมชนตั้งอยูนอกพื้นที่ดินเค็ม หรือ ไมสามารถผลิตเกลือสินเธาวขึ้นใชได เอง ความตองการดังกลาวเปนปจจัยที่เรงเรา ใหเกิดการเพิ่มกําลังการผลิตเปนระดับอุตสาหกรรมและการ แลกเปลี่ยนเกลือระหวางชุมชนที่อยูใกลเคียงกลายเปนการคาเกลือสินเธาวที่มีหวงโซการผลิต มีการควบคุมการ ผลิตเกลือ การผลิตภาชนะดินเผาเพื่อใสน้ําเกลือสําหรับตม การรับจางขนสงผลผลิตไปแลกเปลี่ยนยังชุมชนที่ อยูโดยรอบและไกลออกไปตามเสนทางเกวียนที่เชื่อมโยงระหวางชุมชนเกลือสินเธาวคุณภาพดีเปนสินคาที่มี คาที่นํามาแลกขาว หรือ ปลา หรือ ผลผลิตอื่นๆไดโดยมีอัตราแลกเปลี่ยนที่เหมาะสม เสนทางคาเกลือสินเธาว จากลุมแมน้ํามูล ไดเชื่อมโยงชุมชนโบราณตางๆไปจนถึงอาณาจักรกัมพูชาโบราณ (ชลิตชัยครรชิต, 2540; ชารลสไฮแอมและรัชนีทศรัตน, 2542; ศรีศักรวัลลิโภดม, 2535; Rivettand and Higham, 2007) สรุป นอกเหนือจากความแตกตางของแหลง วัตถุดิบเกลือ ที่ ทําใหเทคนิคการผลิตเกลือสินเธาว แตกตางกันแลวความพยายามในการเพิ่มผลผลิตเกลือสินเธาวภายใตขอจํากัด ไดแก ระยะเวลาและฤดูกาลใน การผลิต ปริมาณเชื้อเพลิงที่ไดจากปารอบๆพื้นที่ดินเค็มและแรงงานในครัวเรือน ยังอาจเปนปจจัยสําคัญที่ทํา ใหคนในอดีตพัฒนาปรับ ปรุง เทคนิคการผลิตใหส ามารถเพิ่มผลผลิตไดมากขึ้น และอาจสงผลใหเ กิดความ แตกตางบางประการในองคประกอบของเทคนิคการผลิต วัสดุ อุปกรณและโครงสรางที่เกี่ยวของกับแหลงผลิต เกลือแตละแหง การจําแนกเทคนิคการผลิตเกลือในพื้นที่ลุมน้ํามูล และลุมน้ําชี โดยอาศัยความแตกตางของ วิธีการและรูปทรงของบอกรองน้ําเกลือสามารถแบงได 3 วิธี ดังตอไปนี:้ วิธีที่ 1: การใชบอกรองน้ําเกลือทรงกลม (ภาพที่ 9) พบมากบริเวณทิศตะวันตกของลุมน้ํามูล วิธีที่ 2: การใชบอกรองน้ําเกลือทรงสี่เหลี่ยม (ภาพที่ 10) พบมากบริเวณทิศตะวันตกของลุมน้ํามูลถึง ตอนกลางของลุมน้ําชี วิธีที่ 3: การใชฮางเกลือ หรือ รางไมกรองน้ําเกลือ (ภาพที่ 11) พบมากตามลํานําสาขาตอนกลางลุมน้ํา มูลและลุมน้ําชี 149


เมื่อพิจารณาในรายละเอียดของความแตกตางของวัสดุที่ใชเปนองคประกอบของโครงสรางบอ กรองอาจแสดงใหเห็นลักษณะเฉพาะของสภาพแวดลอมของแหลงผลิตเกลือและชุม ชนโบราณที่อยูใกลเคียง และความสัมพันธของกลุมชาติพันธุตางๆในลุมน้ํามุลและลุมน้ําชีได

(1)

(2)

(3)

(4)

(5)

(6)

ภาพที่ 1แผนที่แสดงพื้นที่ศึกษาลุมน้ํามูลและลุมน้ําชี ภาพที่ 2 ภาพถายจากดาวเทียมแสดงลักษณะสภาพแวดลอมของแหลงโบราณคดีประเภทแหลงผลิตเกลือสินเธาว บริเวณบาน ดอนพะงาด ตําบลพะงาด อําเภอขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งประกอบดวย พื้นที่ดินเค็มที่ปรากฏคราบเกลือบนผิวดิน เนินดินที่เกิดจากกระบวนการผลิตเกลือและแหลงน้ํา จากโปรแกรม Google Earth ภาพที่ 3การแพรกระจายของแหลงโบราณคดีประเภทแหลงผลิตเกลือสินเธาว (a) การกระจายตัวของเนินดินแหลงโบราณคดี ประเภทแหลงผลิตเกลือสินเธาวบริเวณลุมแมน้ํามูลจาก Rivettand P., and C.F.W.Higham (2007) ภาพที่ 4 ผังแสดงกระบวนการผลิตเกลือโดยทั่วไป จากWeller (2015) ภาพที่ 5 กองดินที่ถูกเก็บรวบรวมไวสําหรับการผลิตเกลือ ภาพที่ 6 เมื่ อกรองน้ํ าเกลื อแล วดิ นที่ ผ า นการกรองน้ํ าเกลื อแล วจะถู กขุ ด จากบ อบ อกรองน้ํ าเกลื อออกมากองรอบๆจาก http://www.andreayankowski.com/v3/photos2.html?page=2#

(7)

(8)

(10)

150

(9)

(11)


ภาพที่ 7การกรองน้ําเกลือในรางไม จาก https://www.silpa-mag.com/club/miscellaneous/article_6496 ภาพที่ 8 การตมนําเกลือในภาชนะ(เดิมเปนภาชนะดินเผาเนื้อดิน) จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/somchoke101/2010/03/24/entry-1/comment ภาพที่ 9 ภาพเปรียบเทียบระหวางการผลิตเกลือสินเธาวสมัยกอนประวัติศาสตรจากบานโนนวัด กับการผลิตเกลือสินเธาวใ น ปจจุบันจากบานดอนพะงาด ตําบลพะงาด อําเภอขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสีมา จาก Duke, Carter, and Chang (2010) และhttp://www.andreayankowski.com/v3/ photos2.html?page=2# ภาพที่ 10 ภาพเปรียบเทียบระหวางการผลิตเกลือสินเธาวสมัยกอนประวัติศาสตรจากโนนทุงผีโพน กับการผลิตเกลือสินเธาวใน ปจจุบันจากบานมะรุม ตําบลมะคา อําเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา จาก Nitta (1997) ภาพที่ 11รางไมสําหรับกรองน้ําเกลือ จาก http://www.lek-prapai.org/home/slide.php?id=5 เอกสารอางอิง ชลิต ชัยครรชิต. (2540). ยุคเหล็กในประเทศไทย: พัฒนาการทางเทคโนโลยีและสังคม. ในการประชุมทางวิชาการโครงการ เมธีวิจัยอาวุโส สกว.กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน). ชารลส ไฮแอม และ รัชนี ทศรัตน. (2542). สยามดึกดําบรรพ ยุคกอนประวัตศิ าสตรถึงสมัยสุโขทัย .กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทรพริ้นติ้งแอนด พับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน). ศรีศักร วัลลิโภดม. (2535). เกลืออีสาน. เมืองโบราณ.18 (1): 71-123. Duke, B.J., Carter, A.K., and Chang, N.J. (2010). The excavation of iron age working floors and small-scale industry at Ban Non Wat, Thailand.Papers from the Institute of Archaeology, 20: 123-130. Nitta, E. (1992). Ancient industries, ecosystem and environment: special reference to the Northeast of Thailand. Historical Science Reports, Kagoshima University. 39: 61-80. Nitta, E. (1997). Iron smelting and salt-making industries in Northeast Thailand. Bulletin of the Indo-Pacific Prehistory Association.16: 153-60. Rivettand P., and C.F.W. Higham. (2007). The archaeology of salt production. In C.F.W. Higham, A. Kijngam, and S.Talbot (eds). The origins of the civilization of Angkor: the excavation of Noen U-Loke and Non Muang Kao2 (pp 589-593). Bangkok: Prachachon. Sukchan, S., Yamamoto, Y. (2002). Classification of salt affected areas using remote sensing and GIS.In JIRCAS Working Report2002. 30: 15-19. Weller, Olivier. "First Salt Making in Europe: A Global Overview From Neolithic Times." Archaeology of Salt 2015. Yankowski, A. and Kerdsap,P., Salt-making in Northeast Thailand. Silpakorn University Journal of Social Sciences, Humanities, and Arts Vol.13 (1) : 231-252, 2013 Yankowski, A., Kerdsap,P and Chang, N.J., "Please Pass the Salt"-An Ethnoarchaeological Study of Salt and Salt Fermented Fish Production, Use and Trade in Northeast Thailand. Journal of Indo-Pacific Archaeology Vol.37: 4-13, 2015 151


ขอมูลเบือ้ งตนที่ไดจากงานโบราณคดีในพระราชวังหลวงและวัดพระศรีสรรเพชญ ตําบลประตูชัย อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ. 2560 นายวีระศักดิ์ แสนสะอาด นักโบราณคดีปฏิบัตกิ าร อุทยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา นายศุทธิภพ จันทราภาขจี นักโบราณคดีปฏิบัติการ สํานักศิลปากรที่ 3 พระนครศรีอยุธยา ในป พ.ศ. 2560 สํานักศิลปากรที่ 3 พระนครศรีอยุธยา ไดดําเนินโครงการอนุรักษและพัฒนาวัดพระ ศรีสรรเพชญและพระราชวังโบราณ ซึ่งเปนพื้นที่สําคัญทั้งทางดานโบราณคดีและการทองเที่ยวของอุทยาน ประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา เพื่อศึกษาการใชงานของพื้นที่และเตรียมพัฒนาพื้นที่เพื่อรองรับนักทองเที่ยว ผูที่สนใจไดเขาชมไดอยางสะดวกตอไป การดําเนินงานทางโบราณคดีในพื้นที่พระราชวังหลวง ไดดําเนินการขุดแตงเพื่อลอกชั้นผิวดินที่เกิดจากการทับถมในการใชพื้นที่ในชวงหลังออก เพื่อแสดงให เห็นถึงชั้นดินในสมัยอยุธยาตอนปลายถึงสมัยรัตนโกสินทรชวงการใชพื้นที่บริเวณนี้จัดพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษ กของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รวมทั้งดําเนินการขุดคนและขุดตรวจทางโบราณคดีบริเวณ ฐานพระที่นั่งสรรเพชญปราสาทและพระที่นั่งสุริยาศนอัมรินทร เพื่อศึกษาการใชงานของพื้นที่และตรวจสอบ รากฐานขององคพระที่นั่งทั้งสอง สําหรับพื้นที่การดําเนินงานทางโบราณคดีแบงเปนสามพื้นที่ยอย ไดแก 1. พื้นที่บริเวณโดยรอบพระที่นั่งสุริยาศนอัมริทร 2. พื้นที่โดยรอบพระที่นั่งสรรเพชญปราสาท 3. พื้นที่ระหวางพระที่นั่งวิหารสมเด็จและพระที่นั่งสรรเพชญปราสาท ขอมูลการดําเนินงานโบราณคดีปจจุบัน (23 มิถุนายน 2560) ไดดําเนินการขุดแตงและขุดตรวจโบราณสถาน แลวเสร็จประมาณรอยละ 80 ของพื้นที่ โดยมีขอมูลและหลักฐานทางโบราณคดีที่นาสนใจจากการดําเนินงาน ในครั้งนี้ ดังนี้ 1. พื้นที่บริเวณโดยรอบพระที่นั่งสุริยาศนอัมริทรทําการขุดแตงทางทิศตะวันออก ทิศใต ทิศตะวันตก ของพระที่นั่ง จากการขุดแตงพบวาชั้นดินในสมัยอยุธยาตอนปลาย – รัตนโกสินทรตอนตนอยูลึกจากผิวดิน ตั้งแต 30 เซนติเมตร – 90 เซนติเมตร โดยขุดพบแนวอิฐจํานวนมาก แนวอิฐที่สามารถระบุได ไดแก - แนวทางเดินที่ใชอิฐตั้งปูแบบลายสาน โดยพบรอบพระที่นั่งแตยังไมสามารถระบุเสนทางที่เชื่อตอกัน ไดเนื่องจากแนวทางเดินถูกทําลายไปบางสวน - แนวกําแพงพระราชวัง พบแนวอิฐที่เรียงตัวเปนกําแพงขนาดใหญยาวตอเนื่องจากทิศตะวันออก – ตะวันตกบริเวณทางทิศใตของพระที่นั่ง สันนิษฐานวาเปนแนวกําแพงพระราชวังหลวงในสมัยอยุธยาตอนกลาง กอนที่จะมีการสรางพระที่นั่งสุริยาศนอัมริทร นอกจากนี้ยังพบหลักฐานที่นาสนใจจากการดําเนินงานในครั้งนี้ อีก 2 ประเภท ไดแก - แนวทอประปาดินเผา บริเวณทางทิศตะวันตกของพระที่นั่ง ขุดพบจํานวน 2 แนว สันนิษฐานวาแนว หนึ่งใชในการนําน้ําเขามาใชในบริเวณพระที่นั่งและอีกแนวใชสําหรับปลอยทิ้ง โดยบริเวณทอน้ําทิ้งพบรองรอย ที่สันนิษฐานวาเปนปลองระบายความดัน นอกจากนี้บนทอประปาบางชิ้นยังพบจารึกอักษรไทย ภาษาไทยสมัย อยุธยาตอนปลาย อานไดเบือ้ งตนความวา “หามรุก” และ “ยกามํเสั้ายม” จากภาพรวมหลักฐานสันนิษฐาน เบื้องตนไดวา ทอประปานี้คงทําขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลาย ในชวงสมเด็จพระนารายณมหาราช 152


- แนวรากฐานเดิมที่สันนิษฐานวาเปนฐานของพระที่นั่งสุริยาศนอัมริทร จากการขุดตรวจมุมพระที่นั่ง ทางทิศตะวันออกเฉียงใต พบแนวอิฐที่กอเปนฐานขนาดใหญอยูลึกจากผิวดินประมาณ 1 เมตร อีกทั้งแนวอิฐนี้ ยังไมสัมพันธกับแนวพระที่นั่งดานบนที่อยูบนผิวดินและอยูใตชั้นทรายที่สันนิษฐานวาเกิดจากการเตรียมพื้นที่ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งตองรอการขุดศึกษาตอไป 2. พื้นที่โดยรอบพระที่นั่งสรรเพชญปราสาททําการขุดแตงทางทิศตะวันออก ทิศ เหนือ ทิศตะวันตก ของพระที่นั่ง จากการขุดแตงพบวาชั้นดินในสมัยอยุธยาตอนปลาย – รัตนโกสินทรตอนตนอยูลึกจากผิวดิน ตั้งแต 30 เซนติเมตร – 70 เซนติเมตรโดยขุดพบแนวอิฐกระจายตัวมากทางทิศตะวันตก แนวอิฐที่สามารถระบุ ได คือแนวทางเดินปูอิฐตั้งลายขัดสาน โดยพบแนวปูอิฐเปนบางสวนไมตอเนื่องกันทั้งพื้นที่ มีขอสังเกตวาแนวอิฐ ที่พบบริเวณนี้มีจํานวนนอยหรือมีการรบกวน ทําลายแนวอิฐจนทําใหขาดความตอเนื่องจากการเขามาปรับพืน้ ที่ และสรางพระที่นั่งใหมในพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก รัชกาลที่ 5 3. พื้นที่ระหวางพระที่นั่งวิหารสมเด็จและพระที่นั่งสรรเพชญปราสาทจากการขุดแตงพบวาชั้นดินใน สมัยอยุธยาตอนปลาย – รัตนโกสินทรตอนตนอยูลึกจากผิวดินตั้งแต 30 เซนติเมตร – 50 เซนติเมตร โดยพบ แนวอิฐกระจายตัวมากทั้ง พื้นที่ ซึ่ง แนวอิฐสวนใหญกอในชวงพระราชพิธีรัชมัง คลาภิเษก รัชกาลที่ 5 สวน หลักฐานที่นาสนใจของพื้นที่นี้ ไดแก - การขุดพบชิ้นสวนปะการังและพื้นบอน้ําที่มีรองรอยการปูหินขนาดใหญ ซึ่งหลักฐานนี้มักพบในพื้นที่ ที่ตกแตงเปนสวน เหมือนกับพื้นที่บริเวณโดยรอบพระที่นั่งบรรยงกรัตนาสน ที่พบการจัดสวนและใชปะการัง และมีการกรุบอน้ําดวยหินอัคนีเชนกัน จึงสันนิษฐานเบื้องตนไดวา พื้นที่ระหวางพระที่นั่งทั้งสององคเคยเปน สวนและมีการประดับดวยหินปะการังและบอน้ําที่กรุดวยหินในสมัยอยุธยาตอนปลาย กอนมีการกอแนวอิฐ ตางๆในพื้นที่เพื่อใชในพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก - พบแนวอาคารที่สันนิษฐานวาเปนโรงชางทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพระที่นั่งวิหารสมเด็จ โดย ขุดพบแนวสวนทายอาคารที่ปรากฏรองรอยฐานบัวกวางประมาณ 10 เมตร ซึ่งมีรูปแบบและยังตั้งอยูในบริเวณ เดียวกับโรงชางที่เคยขุดพบและบูรณะแลว ที่แตเดิมพบ 2 หลัง - พบแนวกําแพงบริเวณทิศเหนือของพระที่นั่งวิหารสมเด็จ สันนิษฐานวาเปนแนวกําแพงแกวหรือ กําแพงขนาดเล็กสําหรับกั้นขอบเขตพระที่นั่งวิหารสมเด็จ จากการดําเนินงานพบโบราณวัตถุจํานวนมาก โดยเฉพาะโบราณวัตถุประเภทภาชนะดินเผา โดยพบ เปนภาชนะดินเผาเนื้อดิน (earthenware) ทั้งแบบเต็มใบและเศษที่มีลายตกแตกที่หลายหลาย ภาชนะดินเผา เนื้อแกรง (stoneware) ทั้งแหลงเตาในประเทศ ไดแกเตาแมน้ํานอย เตาสุโขทัย และแหลงเตาตางประเทศ ไดแก เครื่องถวยจีนซึ่งสวนใหญพบเปนประเภทเครื่องเคลือบลายคราม สันนิษฐานเบื้องตนจากลวดลายวาเปน เครื่องถวยจีนในสมัยราชวงศชิง ตรงกับพุทธศตวรรษที่ 23 – 25 ตรงกับสมัยอยุธยาตอนปลาย – รัตนโกสินทร ตอนตน ซึ่งสอดคลองกับชั้นดินในการขุดแตงครั้งนี้ สวนโบราณวัตถุประเภทอื่นๆที่พบ เชน เศษชิ้นสวนใบเสมา ดินเผาประดับทับหลังกําแพง หอยเบี้ย ชิ้นสวนทอน้ําดินเผา ชิ้นสวนปะการัง เศษกระเบื้องดินเผามุงหลังคา ประเภทกระเบื้องกาบกลวย กระเบื้องเชิงชายลวดลายตางๆ เปนตน จากขอมูลการดําเนินงานโบราณคดีในพื้นที่พระราชวังหลวงในครั้งนี้ สามารถพบรองรอยการใชพื้นที่ แนวโบราณสถาน และโบราณวัตถุสวนใหญในสมัยอยุธยาตอนปลายจนถึง สมัยรัตนโกสินทรตอนตน ซึ่ง หลักฐานประเภทตางๆมีความสัมพันธกัน อีกทั้งยังพบหลักฐานใหมที่อาจแสดงใหเห็นถึงการใชพื้นที่ในบริเวณนี้ เชน บริเวณพื้นที่ระหวางพระที่นั่งวิหารสมเด็จและพระที่นั่งสรรเพชญปราสาทที่อาจเคยมีการจัดสวนและใช ปะการังประดับ รองรอยระบบน้ําประปาและทอดินเผาในบริเวณทิศตะวันตกของพระที่นั่ง สุริยาศนอัมริทร รองรอยแนวกําแพงพระราชวังหลวงเดิมบริเวณพื้นที่ระหวางพระที่นั่งสรรเพชญปราสาทและพระที่นั่งสุริยาศน อัมริทร เปนตน 153


การดําเนินการทางโบราณคดีในพื้นที่วัดพระศรีสรรเพชญ การดําเนินงานในพื้นที่วัดพระศรีสรรเพฃญสามารถแบงไดเปน 2 วิธี คือ การขุดแตงเพื่อศึกษาการใช พื้นที่ในสมัยอยุธยาตอนปลายและการขุดคนเพื่อศึกษาอายุสมัยและลําดับพัฒนาการของการใชพื้นที่ 1. การขุดแตงในวัดพระศรีสรรเพชญ ดําเนินการในพื้นที่ภายในพระวิหารหลวงและดานหนาทิศ ตะวันออก รอบวิหารพระโลกนารถ รอบวิหารพระปาเลไลย  การขุดแตงรอบวิหารพระโลกนารถ พบแนวกําแพงดานทิศที่สันนิษฐานวาเปนกําแพงวัด พระศรีสรรเพชญสมัยแรก และมีการปรับปรุงเพิม่ เติมในสมัยตอมา โดยเห็นไดชัดเจนวามี การปรับพื้นที่โดยการปูพื้นขึ้นใหมในสมัยเดียวกับการใชงานพระที่นงั่ จอมทองนอกจากนี้ ยังพบแนวทางเดินที่มกี ารเปลี่ยนแปลงจากกําแพงแกวขนาดเล็กของวิหารพระโลกนารถ และวิหารหลวง นอกจากนี้ยงั พบแนวอิฐที่นาสนใจแมวายังไมสามารถสันนิษฐานได ชัดเจนถึงหนาที่การใชงานแตกส็ ามารถกําหนดอยูในสมัยสุดทายของการกอสราง  การขุดแตงรอบวิหารพระปาเลไลย พบหลักฐานทีส่ ําคัญหลายอยางโดยเฉพาะ พัฒนาการการใชพื้นที่ชวงอยุธยาตอนปลาย ซึ่งพบ ถึงสองสมัย โดยการบูรณะครัง้ สุดทายในสมัยอยุธยามีการปรับพื้นโดยการถมดินประมาณ 20 เซนติเมตรแลวปูอิฐ สันนิษฐานวาเปนงานบูรณะครั้งใหญในรัชพระเจาอยูห ัวบรมโกศและในสมัยดังกลาวนี้มี หลักฐานแสดงใหเห็นวามีการบูรณะปูนสวนอื่นๆดวยเนื่องจากมีการพบบอปูนอยูเ ปน จํานวนมากเรียงรายโดยรอบตัววิหาร  การขุดแตงบริเวณดานหนา(ทิศตะวันออก) วิหารพระปาเลไลยยังแสดงใหเห็น สวนของ มุขที่ยื่นออกมาของตัววิหาร ซึง่ ทําใหกําหนดรูปแบบอาคารที่ชัดเจนขึ้น  การขุดแตงภายในวิหารหลวง พบหลักฐานทีส่ นใจ คือ พื้นวิหารปูดวยอิฐที่การดาดปูน หนาเนื่องจากรอยบริเวณผนังแสดงใหเห็นวาชองวางพื้นอิฐและปูนผนังมีขอบซึ่งนาจะ เปนการดาดปูนทีพ่ ื้นหนากวา 5 เซนติเมตร  การขุดแตงบริเวณเนินดินทายวิหารหลวง แสดงใหเห็นวาบริเวณดังกลาวมีลักษณะคลาย หองผังสี่เหลี่ยมจัตรุ สั ที่อยูภายในวิหารโดยมีทางเขา – ออกหันหนาไปทางทิศตะวันตก จากลักษณะของสิง่ กอรสรางดังกลาวชวนใหคิดวาเปนหองดานหลังพระพุทธรูปยืนขนาด ใหญแบบที่พบไดทั่วไปในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน โดยใชผนังหองดังกลาวเปนที่ติดตั้ง เครื่องมือที่ใชยึดพระยืนไวดวย 2. การขุดคนในวัดพระศรีสรรเพชญ ไดดําเนินการขุดคนทั้งสิ้น 4 หลุม คือ

1) TP.1 บริเวณทิศใตของฐานวิหารหลวงจรดฐานทิศเหนือของวิหารพระโลกนารถ ขนาด 1.5 × 2 เมตร 2) TP.2 ติดกับวิหารพระโลกนารถดานทิศใต บริเวณสวนของการลดมุมอาคาร โดยหลุมมี ขนาด 3×4 เมตร 3) TP.4 ทิศเหนือของวิหารพระโลกนารถ นอกกําแพงเดิมของวัดพระศรีสรรเพชญ ไดทํา การขุดคนในพื้นที่ขนาด 3×3 เมตร โดยผนังหลุมขุดคนดานทิศใตติดกับกําแพงเดิม 154


4) TP.3,5 ทิศใตของฐานวิหารพระปาเลไลย จรดฐานเจดียราย เปนหลุดที่มีขนาดใหญทสี่ ุด ในการดําเนินงานคือ 4×6 เมตร ขอมูลสําคัญที่ไดจากการขุดคนในวัดพระศรีสรรเพชญ  จากการขุดคน TP.1 ทําใหทราบวาวิหารหลวงและวิหารพระปาเลไลยนาจะสรางขึ้นในระยะเวลา ไลเรี่ยกัน เนื่องจากการพบชุดฐาน ทีฝ่ งดินอยูในความลึกระดับใกลเคียงกัน โดยวิหารพระศรีสรร เพชญสรางขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ซึ่งครองราชยในชวง พ.ศ.2034 – 2072  ขอมูลจากการขุดคน TP.2 แสดงใหเห็นการตอเติม วิหารพระโลกนารถออกมาทางทิศตะวันออก ซึ่งแตเดิมนาจะเปนอาคารในผังสี่เหลี่ยมจัตรุ ัส ตอมามีการตอเติมใหเปนอาคารในผัง สี่เหลี่ยมผืนผาโดยสวนที่ตอ เติมนีม้ ีการถมดินสูงประมาณ 1 เมตรกอนการกอสราง ซึง่ การถมดิน ในสมัยนี้จะมีความสัมพันธกับหลุมขุดคนอื่นๆ ขอมูลที่นาสนใจอีกขอหนึง่ ของสวนที่มีการตอเติมนี้ คือการสรางผนังที่เจาะชองแสงไวเหนือสวนทีเ่ ปนสวนตอเติม ซึ่งอาจจะสามารถนําไปกําหนดอายุ รูปแบบศิลปะและเทคนิคการกอสรางได  การขุดคน TP.2 ในระดับลึกตั้งแต 250 – 270 เซนติเมตรจากผิวดิน พบหลักฐานที่มีความสําคัญ คือ การคนพบชั้นดินคลายกับดินโดนความรอนหนาประมาณ 10 เซนติเมตร ที่ผนังดานทิศใตของ ชั้นดินนี้ยังพบทอนไมขนาดใหญที่โดนเผาไหมทงั้ ชิ้น ใตชั้นดินดังกลาวเปนพื้นทีม่ ีการปูศิลาแลง โดยตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตรุ ัส จากการสืบคนขอมูลมีความเปนไปไดวาจะเปนรองรอยของวังโบราณ ตามที่ระบุไวในพระราชพงศาวดารวามีการเกิดไฟไหมใหญในรัชสมัยเจาสามพระยา จนตองมีการ ยายพระราชวังหลวงไปอยูทางทิศเหนือ ณ บริเวณปจจุบันในรัชสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลก นารถ ซึ่งพระองคไดยกวังหลวงเดิมในเปนพื้นที่วัดพระศรีสรรเพชญ  และจากการขุดคน TP.2 นี้เองสามารถแบงสมัยพื้นที่การใชงานตามชั้นดิน เปน 4 สมัย คือ กอนที่ จะมีการสรางวิหารพระโลกนารถ – การใชงานวิหารพระโลกนารถระยะที่ 1 – การตอเติมวิหาร พระโลกนารถเปนผังสี่เหลี่ยมผืนผา – ปรับปรุงพื้นที่โดยรอบในเวลาใกลเคียงกับการกอสราง พระที่นงั่ จอมทอง  จากการขุดคน TP.4 ซึ่งเปนหลุมทีอ่ ยูดานนอกกําแพงวัดพระศรีสรรเพชญเดิม พบวากําแพง ดังกลาวนาจะมีความสัมพันธกับสิ่งกอสรางสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2และที่ความลึก 2 เมตร จากผิวดินพบแนวทางเดินปูอิฐซึง่ มีเสนทางเบนออกไปจากแนวแกน เมื่อวิเคราะหจากความลึก แลวมีความสัมพันธการใชงานวิหารพระโลกนารถระยะที่ 1  TP.3,5 เปนหลุมขุดคนที่มีขนาดยาวจากฐานวิหารพระปาเลไลย ขามกําแพงเดิม(นาจะเปนกําแพง เดียวกับทิศเหนือของวิหารพระโลกนารถ) จากหลุมนี้สอดรับกับการกําหนดอายุสมัยในหลุมขุดคน TP.2  ขอมูลจากหลุมขุดคน TP.3,5 คือพบสมัยที่มีการขยายพื้นทีอ่ อกนอกกําแพงเดิม โดยพบ สิ่งกอสรางทีส่ รางอิงอยูกับแนวกําแพง โดยมีหลักฐานสําคัญที่พบรวมกันคือศิลาจารึกหินชนวน ซึ่ง ปจจุบันอยูในระหวางดําเนินการศึกษาและแปลความหมาย

155


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.