หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ เรื่องที่ 1 ความหมายและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
ใบความรู ้ ระบบสารสนเทศ หมายถึง การจัดการข้อมูลตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน โดยมีบุคลากรเป็นผู้ใช้ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการสามารถนาไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจได้ในเวลา อันรวดเร็วและถูกต้อง สูง
ระดับ ของความคิด
ความรู้ (Know ledge) สารสนเทศ (Information)
ตา
ข้อมูล (Data) ปริมาณ
ปิรามิดแสดงลาดับชั้นของความรู้ กว่าจะเป็น “ ความรู้” ได้ ก็เริ่มต้นจากการเป็น 1. ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริง ข้อมูลดิบ หรือตัวเลขต่าง ๆ ที่ยังไม่ได้ผ่านการแปลความ 2. สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์ เพื่อนามาใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการและตัดสินใจ 3. ความรู้ หมายถึง สารสนเทศที่ผ่านกระบวนการคิด เปรียบเทียบ เชื่อมโยงกับความรู้อื่นจนเกิดเป็นความ เข้าใจและนาไปใช้ประโยชน์ได้โดยไม่จากัดเวลา
เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4
1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ เรื่องที่ 1 ความหมายและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
1. ฮาร์ดแวร์ เป็นองค์ประกอบสาคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสาหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องกราดตรวจ 2. ซอฟต์แวร์ หรือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นองค์ประกอบที่สาคัญประการที่สอง ซึ่งก็คือลาดับ ขั้นตอนของคาสั่งที่จะสั่งงานให้ฮาร์ดแวร์ทางาน เพื่อประมวลผลข้อมูลให้ได้ผลลัพธ์ตามความต้องการของการ ใช้งาน ในปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติงาน ซอฟต์แวร์ควบคุมระบบงาน ซอฟต์แวร์สาเร็จ และซอฟต์แวร์ ประยุกต์ สาหรับ งานต่า ง ๆ ลัก ษณะการใช้ ง านของซอฟต์ แวร์ ก่อนหน้ านี้ ผู้ใช้ จะต้องติดต่ อใช้ง านโดยใช้ ข้ อ ความเป็ น หลั ก แต่ ใ นปั จ จุ บั น ซอฟต์ แ วร์ มี ลั ก ษณะการใช้ ง านที่ ง่ า ยขึ้ น โดยมี รู ป แบบการติ ด ต่ อ ที่ สื่ อ ความหมายให้เข้าใจง่าย เช่น มีส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ที่เรียกว่า กุย (Graphical User Interface : GUI) ส่ ว นชอฟต์ แ วร์ ส าเร็ จ ที่ มี ใ ช้ ใ นท้ อ งตลาดท าให้ ก ารใช้ ง านคอมพิ ว เตอร์ ใ นระดั บ บุ ค คลเป็ น ไปอย่ า ง กว้างขวาง และเริ่มมีลักษณะส่งเสริมการทางานของกลุ่มมากขึ้น ส่วนงานในระดับองค์การส่วนใหญ่มักจะมี การพัฒนาระบบตามความต้องการโดยการว่ าจ้าง หรือโดยนักคอมพิ วเตอร์ที่อยู่ใ นฝ่ายคอมพิวเตอร์ของ องค์การ เป็นต้น ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ
ซอฟต์แวร์ระบบ หมายถึง โปรแกรมทุกโปรแกรมที่ทาหน้าที่ติดต่อกับส่วนประกอบต่าง ๆ ของฮาร์ ด แวร์ คอมพิ วเตอร์ และอ านวยเครื่ อ งมื อ ส าหรั บท างานพื้ นฐานต่า ง ๆ ที่ เกี่ ย วข้อ งกับ ฮาร์ด แวร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4
2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ เรื่องที่ 1 ความหมายและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จะเป็นโปรแกรมที่ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถทางานต่าง ๆ ตามที่ ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่างานด้านการจัดทาเอกสาร การทาบัญชี การจัดเก็บข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนงานทุก ๆ ด้าน ตามแต่ ผู้ ใ ช้ ต้ อ งการ จนสามารถกล่ า วได้ ว่ า ซอฟต์ แ วร์ ป ระยุ ก ต์ ก็ คื อ ซอฟต์ แ วร์ ที่ ท าให้ เ กิ ด การใช้ ง าน คอมพิวเตอร์กันอย่ างกว้างขวาง และทาให้ คอมพิวเตอร์เป็น ปัจจัยที่ไ ม่สามารถขาดได้ ในยุคสารสนเทศนี้ ในองค์ก รขนาดใหญ่ หรื องานที่มี ความต้ องการเฉพาะด้า น การจั ดหาซอฟต์ แวร์ม าใช้ง านจะใช้ วิธี พัฒ นา ซอฟต์แ วร์ ขึ้น มาเอง หรื อ ว่ าจ้ า งบริ ษั ท ซอฟต์ แ วร์ เ พื่อ ท าซอฟต์ แวร์ เ ฉพาะงานให้ซ อฟต์แ วร์ ขึ้น มาใช้ เ อง ซอฟต์แวร์ประเภทนี้จะเรียกว่าซอฟต์แวร์เฉพาะงาน (Tailor Made software) มีข้อดีคือมีความเหมาะสมกับ งานและสามารถแก้ไขตามความต้องการได้ ข้อเสียคือค่าใช้จ่ายสูงและใช้เวลาสาหรับการพัฒนา ปัจจุบันนี้จึงมี โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียนขึ้นมาเพื่อใช้สาหรับงานทั่ว ๆ ไป วางจาหน่ายเป็นชุดสาเร็จรูปเรียกว่าซอฟต์แวร์ สาเร็จรูป (Software Package) 3. ข้อมูล ข้อมูล เป็นองค์ประกอบที่สาคัญอีกประการหนึ่งของระบบสารสนเทศ อาจจะเป็นตัวชี้ ความสาเร็จหรือความล้มเหลวของระบบได้ เนื่องจากจะต้ องมีการเก็บข้อมูลจากแหล่งกาเนิด ข้อมูลจะต้องมี ความถูกต้อง มีการกลั่นกรองและตรวจสอบแล้วเท่านั้นจึง จะมีประโยชน์ ข้อมูลจาเป็นจะต้องมีมาตรฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อใช้งานในระดับกลุ่มหรือระดับองค์การ ข้อมูลต้องมีโครงสร้างในการจัดเก็บที่เป็นระบบ ระเบียบเพื่อการสืบค้นที่รวดเร็วมีประสิทธิภาพ 4. บุคลากร บุค ลากรในระดั บผู้ใ ช้ ผู้ บริห าร ผู้พัฒ นาระบบ นัก วิเคราะห์ระบบ และนักเขีย น โปรแกรม เป็นองค์ประกอบสาคัญในความสาเร็จของระบบสารสนเทศ บุคลากรมีความรู้ความสามารถทาง คอมพิวเตอร์มากเท่าใด โอกาสที่จะใช้งานระบบสารสนเทศและระบบคอมพิวเตอร์ได้เต็มศักยภาพและคุ้มค่า ยิ่งมากขึ้นเท่านั้น โดยเฉพาะระบบสารสนเทศในระดับบุคคลซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์มีขีดความสามารถมากขึ้น ทาให้ผู้ใช้มีโอกาสพัฒนาความสามารถของตนเองและพัฒนาระบบงานได้เองตามความต้องการ สาหรับระบบ สารสนเทศในระดับกลุ่มและองค์การที่มีความซับซ้อนมาก อาจจะต้องใช้บุคคลากรในสาขาคอมพิ วเตอร์ โดยตรงมาพัฒนาและดูแลระบบงาน 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจนของผู้ใช้หรือของบุคลากรที่เกี่ยงข้องก็ เป็นเรื่องสาคัญอีกประการหนึ่ง เมื่อได้พัฒนาระบบงานแล้วจาเป็นต้องปฏิบัติงานตามลาดับขั้นตอนในขณะที่ ใช้งานก็จาเป็นต้องคานึงถึงลาดั บขั้นตอน การปฏิบัติของคนและความสัมพันธ์กับเครื่อง ทั้งในกรณีปกติและ กรณีฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนการบันทึกข้อมูล ขั้นตอนการประมวลผล ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อเครื่องมือชารุดหรือ ข้อมูลสูญหาย และขั้นตอนการทาสาเนาข้อมูลสารองเพื่อความปลอดภัย เป็นต้น สิ่งเล่านี้ต้องมีการซักซ้อม มี การเตรียมการ และการทาเอกสารคู่มือการใช้งานให้ชัดเจน
เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4
3