ข้ อมูลที่ 1
ดอกไม้ ใหญ่ ทสี่ ุ ดในโลก
ดอกไม้เดี่ยวขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เกิดจากพืชที่ตลอดชี วิตแทบไม่มีใครพบเห็น ทั้งนี้ เพราะ ต้นบัวผุดเป็ นพืชปรสิ ต ขึ้นอยูภ่ ายในรากเถาวัลย์ตามป่ าทึบเขตร้อนในภาคใต้ของไทยและในประเทศมาเลเซี ย เห็นได้ก็เฉพาะเวลาที่มนั ออกดอกเพียงปี ละครั้ง สัญญาณที่บ่งบอกว่าบัวผุดกําลังจะออกดอก คือ ตุ่มตาอวบอ้วนคล้ายหัวกะหลํ่าซึ่ งโผล่พน้ ดินขึ้นมาช้า ๆ ตุ่มนี้ ค่อย ๆ แตก ออกเป็ นรู ปชามกลมใบใหญ่สีน้ าํ ตาลแดง มีกลี บดอกเหนี ยวสี ขาวและม่วงล้อมรอบ ดอกบัวผุดอาจกว้างถึง 1 ม. และหนัก 7 กก. กลิ่นเหมือนเนื้ อเน่า มีอานุภาพดึงดูดให้แมลงวันหัวเขียวมารุ มตอมนับพันตัว เมื่อเกสรได้รับการผสมแล้ว ดอกบัวผุด จะสร้าง ผลนุ่มอวบนํ้าขนาดใหญ่ ภายในมีเมล็ดอัดแน่น จากนั้นก็ตอ้ งรอให้ถูกสัตว์ใหญ่อย่างแรดหรื อช้างเหยียบยํ่า เพื่อผล จะได้แตกกระจายและเมล็ดติ ดไปกับตี นสั ตว์ เมื่ อสัตว์ตวั นั้นตระเวนไปทัว่ ป่ า เป็ นโอกาสงามที่ม นั จะได้ข้ ึ นในรากของ เถาวัลย์เจ้าบ้านอีกต้น เพื่อเริ่ มวงจรชีวติ แบบปรสิ ตอีกครั้ง รศ.อนัญญา สิ ทธิ อาํ นวย และคณะ, ผูแ้ ปล. 1000 มหัศจรรย์โลกธรรมชาติ. กรุ งเทพมหานคร : รี ดเดอร์ ส ไดเจสท์
ข้ อมูลที่ 2 บัวผุดเป็ นพืชป่ าฝนที่มีระบบวงจรชีวติ ที่เปราะบาง เสี่ ยงต่อการสู ญพันธุ์อย่างยิง่ เนื่องจากต้องอาศัยเงื่อนไขเฉพาะ หลายประการในการแพร่ พนั ธุ์ นอกจากนั้นโอกาสที่จะติดเป็ นผลหลังการผสมเกสร มีไม่เกินร้อยละ 20
เงื่อนไขที่ 1 ดอกตัวผูก้ บั ดอกตัวเมียจะต้องบานพร้อมกันและบานอยูไ่ ม่ห่างกันนัก มันจะปล่อยกลิ่นคล้ายซากเน่าออกมาล่อ แมลงวันหัวเขียว ซึ่งเป็ นแมลงชนิดเดียวที่ทาํ หน้าที่ผสมพันธุ์ให้บวั ผุด จากนั้นดอกก็จะเหี่ยวแห้งไป
เงื่อนไขที่ 2 สัตว์อีกชนิ ดหนึ่ งที่ช่วยขยายพันธุ์ คือ กระแต มันจะเลือกกินผลบัวผุดที่แก่จดั เมล็ดจากบัวผุดที่มีขนาดเล็กเท่า เส้นด้าย อาจติ ดตามเล็บของมัน การแพร่ พนั ธุ์จะเกิ ดขึ้ นเมื่อกระแตใช้เล็บ (ที่มีเมล็ดติดอยู่) ไปตะกุยบนผิวย่านไก่ตม้ ใน ตําแหน่งที่พอเหมาะ คือต้องเจาะเข้าไปในท่อนํ้าเลี้ยงของย่านไก่ตม้ เท่านั้น
เงื่อนไขที่ 3 เถาย่านไก่ตม้ เป็ นตัวอิงอาศัย (host) ชนิดเดียวของบัวผุดโดยที่บวั ผุดจะดูดกินนํ้าเลี้ยงจากท่อนํ้าเลี้ยงของย่านไก่ ต้ม การบานของดอกบัวผุดเกิดจากแรงดันของนํ้าที่อยูใ่ นเถาย่านไก่ตม้ นัน่ เอง การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. อุทยานแห่งชาติ เขาสก
ข้ อมูลเพิม่ เติม
สิ่ งมีชีวติ ที่เกือบอยู่ในข่ ายใกล้ การสู ญพันธุ์ (VU - Vulnerable species) - ระดับความเสี่ ยงขั้น อัน ตรายต่ อ ความเป็ นอัน ตรายจากการสู ญ พั น ธุ์ จ ากที่ อาศัยตามธรรมชาติ (ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/IUCN_Red_List)