การสร้ างและประยุกต์ ใช้ แมโคร การเปิ ดใช้ งานแมโคร เมื่อเปิ ดแฟ้ มที่มีแมโคร แถบข้ อความ สีเหลืองจะปรากฏขึ้นพร้อมไอคอนรู ปโล่และปุ่ ม เปิ ดใช้ งานเนื้อหา ถ้าทราบว่าแมโครนั้นมาจากแหล่งที่เชื่อถือได้ ให้ใช้คาแนะนาต่อไปนี้ 1. บน แถบข้ อความ ให้คลิก เปิ ดใช้ งานเนือ้ หา 2. แฟ้ มจะเปิ ดขึ้นและเป็ นเอกสารที่เชื่อถือได้ ตัวอย่างของแถบข้อความเมื่อมีแมโครอยูใ่ นแฟ้ ม
คลิกเพื่อเปิ ดใช้ งานเนื ้อหา
การเปิ ดใช้งานแมโครในมุมมอง Backstage อีกวิธีหนึ่งในการเปิ ดใช้งานแมโครในแฟ้ มคือโดยผ่าน มุมมอง Microsoft Office Backstage เมื่อแถบ ข้อความสีเหลืองปรากฏขึ้น 1. คลิกแท็บ แฟ้มมุมมอง Backstage จะปรากฏขึ้น 2. ในพื้นที่ คาเตือนเกี่ยวกับความปลอดภัย บนปุ่ ม เปิ ดใช้ งานเนื้อหา ให้คลิก ลูกศรชี้ลง
3. จากนั้นคลิกเลือก เปิ ดใช้ งานเนือ้ หาทั้งหมด ให้เลือก เปิ ดใช้ งานเนื้อหาแบบแอกทีฟของเอกสารนีเ้ สมอ และแฟ้ มจะกลายเป็ นเอกสารที่เชื่อถือได้
158
การเปลี่ยนการตั้งค่าแมโครในศูนย์ความเชื่อถือ การตั้งค่าแมโครจะอยูใ่ นศูนย์ความเชื่อถือ ซึ่งเป็ นการเปลี่ยนการตั้งค่าเริ่ มต้นของโปรแกรม Access เพือ่ ให้สามารถใช้งานแมโครแสดงเนื้อหาที่มีแมโครทางานอยู่ โดยขั้นตอนดังกล่าวสามารถทาได้โดย 1. คลิกที่ แฟ้ ม เลือกที่เมนู ตัวเลือก
2. โปรแกรมจะแสดงกรอบตัวเลือกของ Access ให้คลิกเลือก
3. จากนั้นเลือกหัวข้อศูนย์ความเชื่อถือของ Microsoft Access คลิกเมาส์ที่ปมุ่
159 4. เลือกหัวข้อการตั้งค่าแมโคร
จากนั้นคลิกเลือกเปิ ดใช้งานแมโครทั้งหมด
5. คลิกที่ปมุ่ ตกลง โปรแกรมจะแสดงกล่องข้อความให้เราทาการปิ ดและเปิ ดฐานข้อมูลปั จจุบนั ใหม่
การทางานกับแมโคร การสร้างแมโครเป็ นการกาหนด Macro Action ซึ่ งเป็ นชุดคาสัง่ สาเร็จรู ปของ Microsoft Access โดย แมโครสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท 1. Standalone Macro แมโครประเภทนี้เป็ นแบบ Public สร้างขึ้นแล้วจะเก็บอยูใ่ นหมวดของแมโคร ในบานหน้าต่างนาทาง (Navigator Pane) 2. Embedded Macro แมโครประเภทนี้เป็ นแบบ ฝั่งอยูใ่ นฟอร์ม หรื อรายงานที่สร้าง
การสร้ างแมโครแบบ Standalone 1. คลิกเลือก Ribbon สร้างเลือกในส่วนของกลุ่มอื่น ๆ เลือกคาสัง่ Macro
160 2. หลังจากการคลิกที่ปมเครื ุ่ ่ องมือ Macro เรี ยบร้อยแล้วจะปรากฏหน้าต่างของการออกแบบแมโคร ซึ่งจะแสดงในส่ วนของ Macro Window
Macro Window พื ้นที่แสดงส่วนการทางานของแมโคร
161
ส่ วนประกอบของแมโคร แถบเครื่ องมือในการแสดงและเรี ยกใช้งานแมโครซึ่งประกอบไปด้วย
ดาเนินการกระทาที่ระบุในแมโคร ดาเนินการกระทาที่ระบุในแมโครทีละขั้น ขยายแมโครแอ็คชัน่ ในตัวออกแบบแมโครเพือ่ ให้สามารถแก้ไขอากิวเมนต์ได้ ยุบแมโครแอ็คชัน่ ในตัวออกแบบแมโคร ขยายแมโครแอ็คชัน่ ทั้งหมดในตัวออกแบบแมโคร ยุบแมโครแอ็คชัน่ ทั้งหมดในตัวออกแบบแมโคร แสดงแค็ดตาล็อกแอ็คชัน่ เพือ่ เพิม่ แมโครเอ็คชัน่ ลงในตัวออกแบบแมโคร แสดงแอ็คชัน่ ทั้งหมด
162
การกาหนด Action ในแมโคร การเพิม่ Action ในแมโครนั้นเราสามารถทาได้ 2 วิธี ซึ่งวิธีการดังกล่าวมีลกั ษณะการ ทางานที่คล้ายคลึงกันโดยสามารถทาได้ดงั ต่อไปนี้ วิธีการเพิ่ม Action โดยการเลือกคาสั่ ง 1. ใน Macro Window ให้คลิกเซลแรกที่วา่ งในคอลัมน์ Action 2. เลือกแอคชัน Action จากรายการโดยคลิกที่ปมลู ุ่ กศร หรื อป้ อน Action โดยตรงที่เซลล์ เช่น ถ้าต้องการให้แสดงกล่องข้อความโต้ตอบ เมื่อใช้แมโครให้เลือก MsgBox เลือก Action ที่ต้องการ
3. ป้ อนข้อความลงในช่องข้อความเพือ่ ให้แมโครแสดงข้อมูลที่กาหนด ป้อนข้ อความที่ต้องการ
ระบุรายละเอียดอาร์ กิวเมนต์
4. ระบุรายละเอียดของอาร์กิวเมนต์ ลงในส่วนล่างของ Macro Window
163
วิธีการเพิม่ Action โดยการลากวัตถุ Object จาก Navigator Pane 1. จัดตาแหน่งและขนาดของ Macro Window และ Navigator Pane ให้สามารถเห็นทั้ง 2 ส่ วนบน จอภาพ คลิก Object ที่ต้องการ
คลิก Mouse ค้ างไว้ แล้ วลากไปยังช่อง Action ใน Macro Window
2. ในส่วนของ Navigator Pane ให้คลิกประเภทอ๊อบเจคที่ตอ้ งการ เช่น ฟอร์ม เมื่อเลือก Object ที่ ต้องการเรี ยบร้อยแล้วให้คลิก Mouse ค้างไว้ที่ Object ดังกล่าวแล้วลากจากDataBase Window ไป ยังช่อง Action ใน Macro Window
ถ้า Object ที่ลากเป็ นตารางข้อมูล คิวรี่ ฟอร์ม รายงาน ไปไว้ใน Macro Window การ กาหนด Action ของ MicroSoft Access จะเป็ น Open Object ให้โดยอัตโนมัติ เช่น Open Table , Open Query ถ้าลาก Macro อื่นไปที่ Macro Window การกาหนด Action ของ Microsoft Access จะเป็ น Run Macro ซึ่งวิธีที่สร้างนี้จะได้ Macro แบบ Standalone
164
การจัดและลบ Action วิธีการย้ าย Action 1. เลือก Action ที่ตอ้ งการโดยคลิกที่ปมุ่ ย้ายลง ที่ดา้ นขวาของชื่อ Action
2. ตาแหน่งของ Action จะถูกย้ายมายังตาแหน่งที่ตอ้ งการ
ตาแหน่งของ Action ที่ย้าย
165 วิธีการลบ Action 1. เลือก Action ที่ตอ้ งการ จากนั้นคลิกเลือกปุ่ ม ด้านขวาของ Action ที่ตอ้ งการลบออก จากคาสัง่ แมโคร
คลิกเลือกปุ่ ม เพื่อลบ Action
การกาหนดอาร์ กวิ เมนต์ Action ส่วนใหญ่มกั จะต้องกาหนดอาร์กิวเมนต์เพือ่ ทาให้ Microsoft Access มีขอ้ มูลเพียงพอกับการ ทางานของ Action เช่น การใช้คาสัง่ Open Table ใน Action จะต้องกาหนดชื่อ ตารางข้อมูล เพือ่ ให้ Microsoft Access เลือกตารางข้อมูลมาเปิ ดได้อย่างถูกต้อง เมื่อกาหนด Action ต้องตั้งเงื่อนไขของอากิวเมนต์ที่ส่วนล่าง ของ Macro Window การกาหนดค่าให้ป้อนค่าลงในช่อง หรื อในหลายกรณี จะมีรายการให้เลือก
ถ้าการเพิม่ Action ทาด้วยการลาก Object จะกาหนดอาร์กิวเมนต์ของ Action เป็ นชื่อของ Object เช่น เมื่อคลิกลากฟอร์มของ Menu มาที่แมโคร Microsoft Access จะกาหนดคาสัง่ เป็ น OpenForm และ อาร์กิวเมนต์ Form Name ด้วยชื่อ ตารางข้อมูล Menu ตามที่ได้ลากมาที่แมโคร
166
การบันทึกแมโคร ก่อนที่จะนาแมโครไปใช้งานได้น้ นั จะต้องทาการบันทึกแมโครก่อน เมื่อทาการบันทึกแล้วแมโครจะ เป็ น Object หนึ่งฐานข้อมูล โดยวิธีการบันทึกแมโครสามารถทาได้ดงั นี้ ที่ Macro Window เลือกคาสัง่ Save บนแถบเครื่ องมือ 1. ถ้าเป็ นการบันทึกแมโครครั้งแรกจะต้องตั้งชื่อแมโคร แล้วคลิก OK
การอ้างอิงชื่อตัว Control หรือฟิ ลด์ ในนิพจน์ ในการอ้างอิงของฟิ ลด์หรื อตัว Control ในแมโครต้องใช้ไวยกรณ์ในนิพจน์ตามรู ปแบบนี้
Forms![Form Name]![Control Name] Reports![Report Name]![ Control Name] ชื่อของอ๊อบเจคและตัว Control (เขตข้อมูล) ต้องอยูใ่ นวงเล็บเหลี่ยม เช่น
Forms![frm_book]![id_book]
หมายถึง เขตข้อมูลหรื อตัว Control ที่ชื่อ [id_book] ซึ่งอยู่ ในฟอร์มชื่อ [frm_book]
Reports![rpt_book]![id_book]
หมายถึง เขตข้อมูลหรื อตัว Control ที่ชื่อ [id_book] ซึ่งอยู่ ในรายงานชื่อ [rpt_book] ถ้ามีการเรี ยกใช้แมโครบนฟอร์มหรื อรายงาน ซึ่ งกาลังเปิ ดใช้ฟอร์มหรื อรายงานนั้นขณะใช้แมโครไว ยกรณ์ในการอ้างอิงจะใช้แบบย่อ [Control Name] เช่นเมื่อเปิ ดฟอร์ม frm_book ที่มีแมโครเขียนนิพจน์เป็ น [id_book] จะหมายถึง [id_book] ของฟอร์ม frm_book
167
การใช้ เงือ่ นไข (Condition) ในแมโคร ในบางครั้งการใช้ Action หรื อชุดของ Action ในแมโครอาจจะมีการกาหนดเงื่อนไขการทางานของ Action ให้ทางานเมื่อเงื่อนไขที่กาหนดเป็ นจริ ง เช่น กาหนดให้แมโครทางานเฉพาะกรณี ที่มีขอ้ มูลอยูใ่ นฟอร์ม ถ้าไม่อยูใ่ นเงื่อนไขให้แสดงข้อความเพือ่ บอกถึงความแตกต่าง เงื่อนไข Condition เป็ นนิพจน์แบบตรรกะ มาโครที่อยูต่ ่อจากเงื่อนไขจะทางานตามผลลัพธ์ของ เงื่อนไข
การกาหนดเงือ่ นไขในคอลัมน์ Condition การเพิม่ เงื่อนไข (Condition) ในแมโครสามารถทาได้โดย 1. เปิ ด Macro Window สามารถกาหนดเงื่อนไข ในช่องเงื่อนไข Where ได้ทนั ที
2. ที่คอลัมน์ เงื่อนไข ป้ อนนิพจน์เงื่อนไขในแถวที่ตอ้ งการกาหนด
3. หากเงื่อนไขเป็ นจริ ง แมโครจะทาตาม แอคชัน ที่กาหนดไว้
168
การประยุกต์ ใช้ แมโครกับฟอร์ ม ในการออกแบบโปรแกรมที่ใช้กบั ระบบ Windows มักจะมีการเคลื่อนไหวต่าง ๆ เช่นการเคลื่อนย้าย เมาส์ การป้ อนค่า การคลิก ซึ่งเรี ยกว่า Event สามารถใช้กบั การทางานของโปรแกรม โดยแมโครสามารถ ทางานร่ วมกับ Event เช่น การใช้แมโครเปิ ดฟอร์มที่เกี่ยวข้องกับฟอร์มที่ใช้งานอยู่
การสร้ างแมโครเพือ่ เปิ ดฟอร์ ม ในการสร้างแมโครเพือ่ ใช้ในการเปิ ดฟอร์มนั้นโดยปกติเราสามารถเรี ยกใช้งานจากแมโครชนิดฝังตัวได้ เลย แต่หากเราต้องการแต่หากเราต้องการสร้างโดยการเขียนคาสัง่ ขึ้นมาเองสามารถทาได้โดย คลิกที่ Ribbon สร้างเลือก แมโคร จะปรากฏในส่ วนของ Macro Window ขึ้นมาให้เรากาหนดรู ปแบบของแมโคร ที่เราต้องการ
1. คลิกในส่วนของ Action เลือก แมโครย่ อย เพือ่ ตั้งชื่อให้กบั กลุ่มคาสัง่ แมโคร
2. จากนั้นทาการกาหนดชื่อ แมโครย่ อย ที่เราต้องการโดยการตั้งชื่อแมโครย่อยนั้นควรตั้ง ชื่อให้สื่อกับสิ่งที่เราจะกาหนดให้แมโครทา เพื่อความสะดวกในการเรี ยกใช้งาน
หากแมโครที่เราสร้างขึ้นมีแอคชันที่ทาเพียงอย่างเดียว เราสามารถที่จะไม่กาหนดชื่อแมโครย่อยได้
169 3. กาหนดในส่วนของ แอคชัน ว่าต้องการให้แมโครที่เราสร้างขึ้นมาทาสิ่งใด ในขั้นตอนนี้เราจะ กาหนดให้แมโครทาการเปิ ดฟอร์ม เราจึงเลือกแอคชันเป็ น OpenForm และทาการเลือกชื่อของ ฟอร์มที่ตอ้ งการให้เปิ ด โดยสามารถเลือกได้จาก List Menu ของชื่อฟอร์มในส่วนของอาร์กิวเมนต์ ของแอคชันด้านล่าง
ฟอร์มทีเ่ ลือกจาก List Menu
4. คลิกที่ ปุ่ มบันทึกข้อมูล เพือ่ ทาการบันทึก แมโคร จากนั้นให้ต้ งั ชื่อแมโครในกล่องบันทึกเป็ น โดยการกาหนดชื่อแมโครนั้นควรตั้งชื่อให้สื่อกับสิ่งที่เรากาหนดให้แมโครทาเพือ่ ความสะดวกในการ เรี ยกใช้งาน
170
การเรียกใช้ แมโครทีส่ ร้ าง วิธีการเรี ยกใช้แมโครมาใช้งานนั้นสามารถทาได้หลายวิธี โดยสามารถเรี ยกใช้ที่ วิธีที่ 1 เรี ยกที่ Macro Window แล้วเลือกคาสัง่
ที่ Ribbon ออกแบบจากนั้นเลือก แมโคร
คลิกทีป่ ่มุ Run Macro Windows
วิธีที่ 2 เรี ยกใช้ Macro ที่บานหน้าต่างนาทาง 1. คลิกเลือกในส่วนบานหน้าต่างนาทาง Navigator Pane 2. เลือก Macro ที่ตอ้ งการจากนั้นคลิกเมาส์ขวาที่ Macro เลือก วิธีที่ 3 เรี ยกใช้แมโครโดยการกาหนดให้กบั Event บน Control ที่เราสร้างบนฟอร์ม โดยสามารถ ทาได้ดงั นี้ 1. เลือกตัวควบคุม Control ที่เราต้องการ ในที่น้ ี ให้เราเลือก 2. ทาการวาดปุ่ มลงบนฟอร์มที่ตอ้ งการ โดยปรับตาแหน่งและขนาดให้เรี ยบร้อย ในขณะที่เราวาดปุ่ มลงบนฟอร์มเสร็จแล้วนั้นจะปรากฏกรอบตัวช่วยสร้างปุ่ มคาสัง่ ขึ้นมา ให้เราทาการคลิกที่ ปุ่ ม
171
3. คลิกที่ปมุ่ Control ที่สร้างจากนั้นคลิกที่ หรื อใช้วธิ ีการคลิกเมาส์ขวาที่ ปุ่ ม Control แล้วเลือก คุณสมบัติ จากนั้นจะปรากฏกรอบคุณสมบัติ ให้ เราเลือกแท็ป เหตุการณ์ เลือกหัวข้อ เมื่อคลิก โดยคลิกที่ปมุ่ เพือ่ เลือก แมโครที่เราสร้างขึ้นมา
เลือก แมโคร ทีเ่ ราสร้าง โดยเลือกจาก List Menu
172
การสร้ างแมโครเพือ่ เปิ ดฟอร์ มตามเงือ่ นไขทีก่ าหนด ในการใช้งานฟอร์มเพือ่ เรี ยกดูขอ้ มูลนั้น บางครั้งเราอาจมีการกาหนดให้ดูขอ้ มูลเฉพาะที่เรากาหนดได้ เราจะใช้วธิ ีการสร้างแมโคร โดยกาหนดเงื่อนไขของแมโครให้เปิ ดเฉพาะข้อมูลที่เราต้องการได้ดงั นี้ 1. คลิกที่ Ribbon สร้าง เลือก แมโคร จะปรากฏในส่วนของ Macro Window ขึ้นมาให้เรากาหนดรู ปแบบของแมโครที่เราต้องการ
2. คลิกในส่วนของ Action เลือก แมโครย่ อย เพือ่ ตั้งชื่อให้กบั กลุ่มคาสัง่ แมโคร
3. จากนั้นทาการกาหนดชื่อ แมโครย่ อย ที่เราต้องการโดยการตั้งชื่อแมโครย่อยนั้นควรตั้ง ชื่อให้สื่อ กับสิ่งที่เราจะกาหนดให้แมโครทา เพือ่ ความสะดวกในการเรี ยกใช้งาน
173 4. กาหนดในส่วนของ แอคชัน ว่าต้องการให้แมโครที่เราสร้างขึ้นมาทาสิ่งใด ในขั้นตอนนี้เราจะกาหนดให้แมโครทาการเปิ ดฟอร์ม เราจึงเลือกแอคชันเป็ น OpenForm และทาการเลือก ชื่อของฟอร์มที่ตอ้ งการให้เปิ ด โดยสามารถเลือกได้จาก List Menu ของชื่อฟอร์ม ในส่วนของอาร์กิวเมนต์ของแอคชันด้านล่าง
เลือกฟอร์มจาก List Menu
5. ในส่วนของเงื่อนไขให้เรากาหนด Object Control ว่าต้องการให้ แมโคร แสดง ข้อมูลเฉพาะข้อมูลใด ในที่น้ ีเราจะเลือกให้แมโครแสดงข้อมูลเฉพาะรหัสสมาชิกที่กาหนด โดยอาศัยการอ้างอิงนิพจน์ [Forms]![ชื่อ Form]![ชื่อคอนโทรล]
กาหนดเงื่อนไขลงไปในช่อง เงื่อนไข Where ว่าต้องการให้แมโครแสดงข้อมูลแบบใด ฟอร์มที่เราสร้างขึ้นมานี้ชื่อว่า search โดยฟอร์มดังกล่าวจะรับค่า เลขประจาตัว จากตัวควบคุม Control ที่ ชื่อว่า input_id
174
จากฟอร์ม search เราจะเขียนเงื่อนไขให้ แมโคร แสดงเฉพาะรหัสสมาชิกได้ดงั นี้ ส่วนอ้างอิง Control บนตารางฐานข้อมูล
[id_std]=[Forms]![search]![input_id] ส่วนอ้างอิง Control บนฟอร์ม search
6. จากนั้นกาหนด Event ให้กบั ปุ่ ม Control บนฟอร์ม โดยการเรี ยกใช้ แมโคร ที่เรา สร้าง ให้ใช้วิธีการกาหนดแมโครให้กบั Event บน Control
175
การสร้ างแมโครเพือ่ เปิ ดรายงานในมุมมอง Preview นอกจากเราจะใช้ แมโคร ในการเปิ ดฟอร์มแล้วเรายังสามารถประยุกต์ใช้ แมโคร ในการเปิ ด รายงาน ได้เช่นกัน โดยวิธีการสร้างแมโครให้เปิ ดรายงานนั้นสามารถทาได้โดย
1. คลิกที่ Ribbon สร้าง เลือก แมโคร จะปรากฏในส่วนของ Macro Window ขึ้นมาให้เรากาหนดรู ปแบบของแมโครที่เราต้องการ
2. คลิกที่ส่วนของชื่อแมโครในมุมมองออกแบบ 3. จากนั้นทาการกาหนดชื่อ แมโครย่ อย ที่เราต้องการโดยการตั้งชื่อแมโครย่อยนั้นควร ตั้งชื่อให้สื่อกับสิ่งที่เราจะกาหนดให้แมโครทา เพือ่ ความสะดวกในการเรี ยกใช้งาน ชื่อแมโครย่อย
หากแมโครที่เราสร้างขึ้นมีแอคชันที่ทาเพียงอย่างเดียว เราสามารถที่จะไม่กาหนดชื่อแมโครย่อยได้
176 4. กาหนดในส่วนของ แอคชัน ว่าต้องการให้แมโครที่เราสร้างขึ้นมาทาสิ่งใด ในขั้นตอนนี้เราจะกาหนดให้แมโครทาการเปิ ด รายงาน เราจึงเลือกแอคชันเป็ น OpenReport และทาการ เลือกชื่อของรายงานที่ตอ้ งการให้เปิ ด โดยสามารถเลือกได้จาก List Menu ของชื่อรายงานในส่วนของ อาร์กิวเมนต์ของแอคชันด้านล่าง
รายงานทีเ่ ลือกจาก List Menu
5. กาหนดในส่วนของมุมมอง ให้เป็ น Print Preview แต่ถา้ ต้องการพิมพ์รายงานออก ทางเครื่ องพิมพ์โดยตรงสามารถทาได้โดยเลือกในส่วนมุมมอง ให้เป็ น Print
มุมมองในอาร์ กวิ เมนต์ ของแอคชัน ในส่ วนของรายงาน
มุมมองตัวอย่างก่อนพิมพ์ให้เลือกเป็น Print Preview
มุมมองพิมพ์เอกสารออกเครื่องพิมพ์ให้เลือกเป็น Print
177
การสร้ างแมโครเพือ่ เปิ ดรายงานตามเงือ่ นไขทีก่ าหนด ในการพิมพ์รายงานออกทางเครื่ องพิมพ์หรื อการเปิ ดรายงานในมุมมองแสดงตัวอย่างก่อน พิมพ์น้ นั เราสามารถเปิ ดรายงานหรื อพิมพ์รายงานโดยการกานดเงื่อนไขให้แสดงเฉพาะ Control ที่เรากาหนด ได้เช่นเดียวกันกับฟอร์ม แต่อาจมีวธิ ีการที่แตกต่างกันบ้าง ซึ่งวิธีการเปิ ดรายงานตามเงื่อนไขที่กาหนดสามารถ ทาได้โดย 1. คลิกที่ Ribbon สร้าง เลือก แมโคร จะปรากฏในส่วนของ Macro Window ขึ้นมาให้เรากาหนดรู ปแบบของแมโครที่เราต้องการ
2. คลิกที่ส่วนของชื่อแมโครในมุมมองออกแบบ 3. จากนั้นทาการกาหนดชื่อ แมโครย่ อย ที่เราต้องการโดยการตั้งชื่อแมโครย่อยนั้นควร ตั้งชื่อให้สื่อกับสิ่งที่เราจะกาหนดให้แมโครทา เพือ่ ความสะดวกในการเรี ยกใช้งาน
ชื่อแมโครย่อย
หากแมโครที่เราสร้างขึ้นมีแอคชันที่ทาเพียงอย่างเดียว เราสามารถที่จะไม่กาหนดชื่อแมโครย่อยได้
178 4. กาหนดในส่วนของ แอคชัน ว่าต้องการให้แมโครที่เราสร้างขึ้นมาทาสิ่งใด ในขั้นตอนนี้เราจะกาหนดให้แมโครทาการเปิ ด รายงาน เราจึงเลือกแอคชันเป็ น OpenReport และทาการ เลือกชื่อของรายงานที่ตอ้ งการให้เปิ ด โดยสามารถเลือกได้จาก List Menu ของชื่อรายงานในส่วนของ อาร์กิวเมนต์ของแอคชันด้านล่าง
รายงานทีเ่ ลือกจาก List Menu
5. กาหนดในส่วนของมุมมอง ให้เป็ น Print Preview แต่ถา้ ต้องการพิมพ์รายงานออก ทางเครื่ องพิมพ์โดยตรงสามารถทาได้โดยเลือกในส่วนมุมมอง ให้เป็ น Print 6. กาหนดในส่วนของเงื่อนไข โดยเรากาหนด Object Control ว่าต้องการให้ แมโคร แสดงข้อมูลเฉพาะข้อมูลใด ในที่น้ ีเราจะเลือกให้แมโครแสดงข้อมูลเฉพาะ ระดับชั้น บ้าง
179 กาหนดเงื่อนไขลงไปในช่อง เงื่อนไข Where ว่าต้องการให้แมโครแสดงข้อมูลแบบใด ฟอร์มที่เราสร้างขึ้นมานี้ชื่อว่า rpt_borrow โดยฟอร์มดังกล่าวจะรับค่า วันที่ จากตัวควบคุม Control ที่ชื่อ ว่า begindate ส่วนอ้างอิง Control บนตารางฐานข้อมูล
[level]=[Forms]![report]![input_level] ส่วนอ้างอิง Control บนฟอร์ม report
7. ทาการบันทึก แมโครที่สร้างจากนั้นกาหนด Event ให้กบั ปุ่ ม Control บนฟอร์ม โดยการเรี ยกใช้ แมโคร ที่เราสร้าง ให้ใช้วธิ ีการกาหนดแมโครให้กบั Event บน Control
180
การประยุกต์ใช้แมโครในการแทรกรู ปภาพ ในการแทรกรู ปภาพโดยปกติในโปรแกรม Microsoft Access จะให้เราทาการแทรกรู ปภาพโดยใช้ วิธีการ Insert Object แล้วแทรกรู ปภาพเข้ามา โดยรู ปภาพที่จะแสดงให้เห็นได้บนฟอร์มได้ทนั ที ซึ่งขั้นตอน ดังกล่าวอาจไม่สะดวกนักสาหรับผูใ้ ช้งาน ดังนั้นเราจึงประยุกต์เอาคาสัง่ แมโคร มาใช้ในการแทรกรู ปภาพ แทนซึ่งขั้นตอนสามารถทาได้ดงั นี้ 1. คลิกที่ Ribbon สร้าง เลือก แมโคร จะปรากฏในส่วนของ Macro Window ขึ้นมาให้เรากาหนดรู ปแบบของแมโครที่เราต้องการ
2. คลิกที่ส่วนของชื่อแมโครในมุมมองออกแบบ 3. จากนั้นทาการกาหนดชื่อ แมโครย่ อย ที่เราต้องการโดยการตั้งชื่อแมโครย่อยนั้นควร ตั้งชื่อให้สื่อกับสิ่งที่เราจะกาหนดให้แมโครทา เพือ่ ความสะดวกในการเรี ยกใช้งาน 4. กาหนดแอคชันของแมโครให้เป็ น Go ToControl เพือ่ ให้โปรแกรมเลื่อนไปยังตัว ควบคุม Control ที่กาหนดโดยในขั้นตอนนี้เราจะเลือกตัวควบคุมเป็ น Picture และตัวควบคุมนี้จะต้องเป็ น ชนิดของข้อมูลแบบ Attachment ซึ่งจะค่อนข้างยืดหยุนในการแสดงข้อมูลมากกว่าชนิดของข้อมูลแบบ OLE Object
181 5. กาหนด อาร์กิวเมนต์ โดยเลือก ตัวควบคุม หรื อ เขตข้ อมูล ที่สร้างไว้สาหรับเก็บข้อมูลรู ปภาพ และจะต้องเป็ นชนิดของข้อมูลแบบ Attachment เลือกตัวควบคุม หรือ เขตข้อมูล
6. กาหนดแอคชันของแมโครในบรรทัดที่ 2 ให้เป็ น RunCommand เพือ่ ให้โปรแกรม เรี ยกคาสัง่ การเพิม่ ไฟล์ขอ้ มูลหรื อรู ปภาพเข้ามาในตัวควบคุม Control ที่กาหนดไว้โดยในขั้นตอนนี้เราจะเลือก คาสัง่ ManageAttachments
เลือกคาสังของ ่ RunMenuCommand เป็น ManageAttachments
7. ทาการบันทึก แมโคร ที่สร้างจากนั้นกาหนด Event ให้กบั ปุ่ ม Control บนฟอร์ม โดยการเรี ยกใช้ แมโคร ที่เราสร้าง ให้ใช้วธิ ีการกาหนดแมโครให้กบั Event บน Control
กาหนดแมโครให้ กบั Event บนปุ่ มคาสัง่
182 การตั้งค่ าเริ่มต้ นให้ กบั โปรแกรมทีพ ่ ฒ ั นาขึน้ โดย Microsoft Access 2010 เราสามารถเปลี่ยนแปลงค่าเริ่ มต้นของโปรแกรมที่พฒั นาขึ้นโดย Microsoft Access 2010 ได้ใหม่ตาม ความต้องการ เช่น จะให้ซ่อนวินโดว์ Database หลังเปิ ดใช้งานฐานข้อมูล หรื อ หากมีผใู ้ ช้ทางานกันหลายคน อาจกาหนดไม่ให้แสดงในส่ วนเมนูคาสัง่ หรื อ เครื่ องมือที่ใช้ในการปรับแต่งโครงสร้างของฐานข้อมูล เพือ่ ไม่ให้ผใู ้ ช้แก้ไขเปลี่ยนแปลง Object , Form , Report หรื ออื่น ๆในมุมมอง Design ได้ โดยเราสามารถทาได้ ดังต่อไปนี้ 1. คลิกที่ปมุ่ จากนั้นเลือกในส่วนของ ทางด้านล่างของกรอบแสดงข้อมูล จากนั้นให้คลิกเลือกหัวข้อ ฐานข้อมูลปัจจุบัน 2. หลังจากคลิกในส่วน ฐานข้ อมูลปัจจุบัน เรี ยบร้อยแล้วให้กาหนดในส่วนต่างๆ ดังนี้ ตัวเลือกโปรแกรมประยุกต์ โดยหัวข้อที่เราจะเลือกกาหนดสามารถทาได้ดงั นี้ # ชื่อโปรแกรมประยุกต์ # แสดงฟอร์ม
ให้กาหนดชื่อที่เราต้องการให้แสดงบน แถบชื่อเรื่อง ให้กาหนดชื่อฟอร์มที่ตอ้ งการให้แสดงเป็ นลาดับแรก ในที่น้ ีเราจะกาหนดเป็ น สวิตซ์บอร์ดที่เราสร้าง # ตัวเลือกของหน้าต่างเอกสาร ให้กาหนดว่าจะให้แสดงหน้าต่างเอกสารแบบแท็ป หรื อแบบหน้าต่างซ้อนกัน
183
การนาทาง กาหนดให้แสดงบานหน้าต่างนาทางหรื อไม่ หากไม่ตอ้ งการให้แสดงให้คลิก เครื่ องหมาย หน้าแสดงบานหน้าต่างนาทาง
Ribbon และตัวเลือกเครื่องมือ อนุญาตให้ใช้ เมนูเริ่มต้ นหรือเมนูลัด ของ Access (Default) หรื อใช้ เมนู เริ่ มต้นหรื อเมนูลดั ที่สร้างเอง
การยกเลิกการตั้งค่ าเริ่มต้ นให้ กบั โปรแกรม ถ้าต้องการยกเลิกการซ่อนวินโดว์ DataBase หรื อยกเลิกค่าเริ่ มต้นที่กาหนดไว้ตามตัวเลือกข้างต้นเป็ น การชัว่ คราว หรื อ ต้องการเปลี่ยนแปลงค่าเริ่ มต้นใหม่ให้กดปุ่ ม Shift ค้างไว้ขณะเปิ ดฐานข้อมูล จะเห็นว่า วินโดว์ DataBase กลับมาแสดงดังเดิม พร้อมกับเมนูคาสัง่ ปกติให้เราทาการแก้ไขหรื อเข้าไปปรับเปลี่ยน รู ปแบบได้