ข
คานา ปั จ จุ บั น เทคโนโลยี ไ ด้ เ ข้ า มามี บ ทบาทในชี วิ ตประจ าวัน ในของ ทุกคน ไม่ว่าจะเป็นการสนทนาออนไลน์ การซื้อของผ่านระบบออนไลน์ ในเว็บไซต์ การอ่านหนังสือผ่านเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ เช่น E-Book หรือ การใช้โทรศัพท์มือถือรุ่นสมาร์ทโฟน (Smartphone) ในการใช้ทากิจกรรม ต่ า งๆ นอกจากการโทรศั พ ท์ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั น เป็ น ต้ น เหล่ า นี้ นั บ ว่ า เป็นปัจจัยหนึ่งในการดารงชีวิตของคนในยุดนี้ การศึก ษาในปั จ จุ บั น ก็เ ช่น กั น โรงเรี ยนต่า งๆ เริ่มมี การพั ฒ นา ให้นาเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนมากขึ้น ปัจจัยสาคัญ ที่จะเป็นคนนาเทคโนโลยีเหล่านี้เข้ามาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนได้ นั่นคือ “ครู” เพราะนักเรียนในปัจจุบันต่างมีทักษะในการเข้าถึงเทคโนโลยี อย่ างแพร่ ห ลาย อีกทั้งมีความสะดวกในการจั ดการเรียนรู้ หรือสะดวก ต่อ การทบทวนบทเรี ย น เนื้ อ หาที่ ค รู ได้ ส อนไปแล้ ว ในห้ อ ง ที่ ส าคั ญ คื อ ช่วยกระตุ้นความสนใจในการเรียนของนักเรียน อีกทั้งเป็นประโยชน์ต่อครู ที่จะนาไปพัฒนาเป็นผลงานหรือนวัตกรรมการเรียนการสอน เช่น เอกสาร ประกอบการเรียนการสอน ใบความรู้ หรือใบงาน ของตนเองได้
ก
ชุ ด ฝึ ก อบรมเรื่ อ ง “การท าหนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ บื้ อ งต้ น (Electronic Books) สาหรับครู” ชุดนี้ เป็นการรวบรวมหลักการผลิต หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่จาเป็น เพื่อให้ครูสามารถนาไปจัดทาเป็นสื่อการ เรียนการสอนในห้องเรียน หรือเป็นสื่อในการให้ผู้เรียนได้ทบทวนความรู้ จากที่ได้สอนในห้องเรียน โดยผู้จัดทาได้จัดเป็นเป็นคู่มือหนังสื อ และเป็น ระบบ E-Book ให้ครูได้ศึกษาและทดลองทาตามอย่างง่าย และสามารถ นาไปใช้ได้จริงในสถานศึกษาของตนเอง ผู้ จั ด ท าขอกราบขอบพระคุ ณ รองศาสตราจารย์ ดร.อรจรี ย์ ณ ตะกั่ ว ทุ่ ง ที่ ไ ด้ ใ ห้ ค าปรึ ก ษาและแนวทางในการจั ด ท าชุ ด ฝึ ก อบรม ในครั้ ง นี้ และขอบคุ ณ ผู้ ร่ ว มจั ด ท าทุ ก ท่ า นที่ ร่ ว มแรง ร่ ว มใจกั น ท า ชุดฝึกอบรมชุดนี้ จนสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี คณะผู้จัดทา
ข
สารบัญ หัวข้อ บทที่ 1 : รู้จักกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) - ที่มาของ e-book - ความหมายของ e-book - โครงสร้างของ e-book - ความแตกต่างระหว่าง e-book กับหนังสือทั่วไป
หน้า 1 2 4 5 7
บทที่ 2 : e-book กับการเรียนการสอน - e-book กับการเรียนการสอน - e-book กับการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 - วิธีการประยุกต์ใช้ e-book ในการเรียนรู้ - กรณีตัวอย่าง : โครงการ e-book กับการสร้าง บทเรียนออนไลน์สู่โลกอินเตอร์เน็ต
9 10 12 15 17
บทที่ 3 : หลักการออกแบบเบื้องต้น
19
บทที่ 4 : การสร้าง e-book เบื้องต้น - การสร้าง e-book โดยใช้ Flippingbook - การสร้าง e-book โดยใช้ Issuu
48 49 79
เอกสารอ้างอิง
91
ค
ง
บทที่ 1 รู้จักกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book)
1
ที่มาของ e-book โดยทั่วไปแล้วหนังสื อจะ มีลักษณะเป็นเอกสารที่จัดพิมพ์ใน รู ป แบบกระดาษ และเมื่ อ มี ก าร เปลี่ ย นแปลงของยุ ค สมั ย และ ความเปลี่ ย นแปลงด้ า นเล็ ก ทรอ นิกส์ ที่มีการพัฒนาต่อเนื่องอย่าง ไม่หยุดยั้ง ทาให้มีการคิดค้นวิธีการใหม่โดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามา ช่วย จัดการให้หนังสือเหล่านั้นสมมารถเข้าถึงได้โดยผ่านสัมผัสเพียงปลาย นิ้วให้ปรากฏอยู่บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนาหนังสือดังกล่าวเหล่านั้นมา ทาคัดลอก (scan)
โดยที่ห นั งสื อก็ ยั งคงสภาพเดิมแต่จะได้ข้อมูล เชิ ง
อิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นแฟ้มภาพขึ้นมาใหม่ วิธีการต่อจากนั้นก็คือจะนาแฟ้ม ภาพตัวหนังสือมาผ่านกระบวนการแปลงภาพเป็นตัวหนังสือ (text) ด้วย การทา OCR (Optical Character Recognition) คือการใช้โปรแกรม คอมพิว เตอร์เพื่อแปลงภาพตัว หนังสื อให้ เป็ น ตัว หนังสือที่สามารถแก้ไข เพิ่มเติมได้ การถ่ายทอดข้อมูลในระยะต่อมา จะถ่ายทอดผ่านทางแป้นพิมพ์ และประมวลผลออกมาเป็นตัวหนังสือและข้อความด้วยคอมพิวเตอร์ ดังนั้น หน้ากระดาษก็เปลี่ยนรูปแบบไปเป็นแฟ้มข้อมูล (files) แทน ทั้งยังมีความ 2
สะดวกต่อการเผยแพร่และจัดพิมพ์เป็นเอกสาร (documents printing) รูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยุคแรกๆ มีลักษณะเป็นเอกสารประเภท .doc, .txt, .rtf, และ .pdf ไฟล์ ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาภาษา HTML (Hypertext Markup Language) ข้อมูลต่างๆ ก็จะถูกออกแบบและ ตกแต่งในรูปของเว็บไซต์ โดยในแต่ละหน้าของเว็บไซต์เราเรียกว่า "web page" โดยสามารถเปิดดูเอกสารเหล่านั้นได้ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ (web browser) ซึ่งเป็นโปรแกรมประยุกต์ที่สามารถแสดงผลข้อความ ภาพ และ การปฏิสัมพันธ์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เมื่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต ได้ รั บ ความนิ ย มมากขึ้ น บริ ษั ท ไมโครซอฟต์ (Microsoft) ได้ผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ขึ้นมาเพื่อคอยแนะนาในรูปแบบ HTML Help ขึ้นมา มีรูปแบบของไฟล์เป็น .CHM โดยมีตัวอ่านคือ Microsoft Reader (.LIT) หลังจากนั้นต่อมามีบริษัทผู้ผลิตโปรแกรม คอมพิวเตอร์จานวนมาก ได้พัฒนาโปรแกรมจนกระทั่งสามารถผลิตเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ออกมาเป็นลักษณะเหมือนกับหนังสือทั่วไปได้ เช่น สามารถ แทรกข้อความ แทรกภาพ จัดหน้าหนังสือได้ตามความต้องการของผู้ผลิต และที่ พิเศษกว่ านั้ น คือ หนั งสื ออิเ ล็ กทรอนิ กส์ เ หล่ านี้ สามารถสร้ างจุ ด เชื่อมโยงเอกสาร (Hypertext) ไปยังเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ทั้งภายใน และภายนอก
3
ความหมายของ e-book
E-Book ย่อมาจากคาว่า Electronic Book คือ หนังสือที่สร้าง ขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ โดย ปกติ มั ก จะเป็ น แฟ้ ม ข้ อ มู ล ที่ ส ามารถอ่ า นเอกสารผ่ า นทางหน้ า จอคอมพิ ว เตอร์ ทั้ ง ในระบบออฟไลน์ และออนไลน์ คุ ณ ลั ก ษณะของ หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ส ามารถเชื่ อ มโย งจุ ด ไปยั ง ส่ ว นต่ า ง ๆ ของ หนังสือ เว็บไซต์ต่างๆ ตลอดจนสามารถมีปฏิสัมพันธ์และโต้ตอบกับผู้เรียน ได้ นอกจากนั้ น หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ส ามารถแทรกทั้ ง ภาพ เสี ย ง ภาพเคลื่อนไหว แอนนิเมชั่น แบบทดสอบ แบบสอบถาม และสามารถสั่ง พิมพ์เอกสารที่ต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ อีกประการหนึ่งที่สาคัญก็ คือ หนังสืออิเล็ กทรอนิ กส์สามารถแก้ไข ปรับปรุงเนื้อหาและรูปแบบให้ ทันสมัยได้ตลอดเวลา ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้จะไม่มีในหนังสือ ธรรมดาทั่วไป สะดวกรวดเร็ ว ในการเข้าถึง ประหยั ดเวลา ไม่สิ้ นเปลืองทรัพยากร ไร้ ข้อจากัดทางด้านการพิมพ์ 4
โครงสร้างของ e-book ลักษณะโครงสร้างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะมีความคล้ายคลึง กั บ หนั ง สื อ ทั่ ว ไปที่ พิ ม พ์ ด้ ว ยกระดาษ หากจะมี ค วามแตกต่ า งที่ เ ห็ น ได้ ชัดเจนก็ คือ กระบวนการผลิต รูปแบบ และวิธีการอ่านหนังสือ สรุปโครงสร้างทั่วไปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย 1. หน้าปก (Front Cover) ปกด้านหน้าของหนังสือซึ่งจะอยู่ส่วนแรก เป็นตัวบ่งบอก ว่า หนังสือเล่มนี้ชื่ออะไร ใครเป็นผู้แต่ง 2. คานา (Introduction) คาบอกกล่ า วของผู้ เขี ย นเพื่ อสร้ างความรู้ ความเข้ าใจ เกี่ยวกับข้อมูล และเรื่องราวต่างๆ ของหนังสือเล่มนั้น 3. สารบัญ (Contents) ตัวบ่งบอกหัวเรื่องสาคัญที่อยู่ภายในเล่มว่าประกอบด้วย อะไรบ้างอยู่ที่หน้าใดของหนังสือ สามารถเชื่อมโยงไปสู่หน้าต่างๆ ภายในเล่มได้ 5
4. สาระของหนังสือแต่ละหน้า ส่ ว นประกอบส าคั ญ ในแต่ ล ะหน้ า ที่ ป รากฏภายในเล่ ม ประกอบด้วย • หน้าหนังสือ (Page Number) • ข้อความ (Texts) • ภาพประกอบ (Graphics) .jpg, .gif, .bmp, .png, .tiff • เสียง (Sounds) .mp3, .wav, .midi • ภาพเคลื่อนไหว (Video Clips, flash) • จุดเชื่อมโยง (Links) 5. อ้างอิง แหล่งข้อมูลที่ใช้นามาอ้างอิง อาจเป็นเอกสาร ตารา หรือ เว็บไซต์ก็ได้ 6. ดัชนี การระบุคาสาคัญหรือคาหลักต่างๆ ที่อยู่ภายในเล่ม โดย เรีย งลาดับตัวอักษรให้ส ะดวกต่อการค้นหา พร้อมระบุเลขหน้า และจุดเชื่อมโยง 7. ปกหลัง • ปกด้านหลังของหนังสือซึ่งจะอยู่ส่วนท้ายเล่ม 6
ความแตกต่างระหว่าง e-book กับ หนังสือทั่วไป ความแตกต่างของหนังสือทั้งสองประเภทจะอยู่ที่รูปแบบของการ สร้าง การผลิตและการใช้งาน เช่น 1. หนังสือทั่วไปใช้กระดาษ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไม่ใช้กระดาษ 2. หนังสือทั่วไปมีข้อความและภาพประกอบธรรมดา หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ สามารถสร้างให้มี ภาพเคลื่อนไหวได้ 3. หนังสือทั่วไปไม่มีเสียงประกอบ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถ ใส่เสียงประกอบได้ 4. หนังสื่อทั่วไปแก้ไขปรั บ ปรุงได้ยาก หนังสื่ ออิเล็กทรอนิก ส์ สามารถแก้ไขและปรับปรุงข้อมูล (update) ได้ง่าย 5. หนังสือทั่วไปสมบูรณ์ในตัวเอง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถ สร้างจุดเชื่อมโยง (links) ออกไปเชื่อมต่อกับข้อมูลภายนอกได้ 6. หนังสือทั่วไปต้นทุนการผลิตสูง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ต้นทุนใน การผลิตหนังสือต่าประหยัด 7. หนังสือทั่วไปมีขีดจากัดในการจัดพิมพ์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ไม่มีขีดจากัดในการจัดพิมพ์ สามารถทาสาเนาได้ง่ายไม่จากัด 7
8. หนังสือทั่วไปเปิดอ่านจากเล่ม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ต้องอ่าน ด้วยโปรแกรม ผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ 9. หนังสือทั่วไปอ่านได้อย่างเดียว หนังสืออิเล็กทรอนิกส์นอกจาก อ่านได้แล้วยังสามารถสั่งพิมพ์ (print)ได้ 10. หนังสือทั่วไปอ่านได้1 คนต่อหนึ่งเล่ม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1 เล่ม สามารถอ่านพร้อมกันได้จานวนมาก (ออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต) 11.
หนั ง สื อ ทั่ ว ไปพกพาล าบาก (ต้ อ งใช้ พื้ น ที่ ) หนั ง สื อ
อิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ พ กพาสะดวกได้ ค รั้ งละ จ านวนมากในรู ป แบบของไฟล์ คอมพิวเตอร์ใน Handy Drive หรือ CD 12. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
8
บทที่ 2 e-book กับการเรียนการสอน
9
e-book กับการเรียนการสอน E-Book จัดว่าเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาในรูปแบบใหม่ที่กาลัง ได้รับความสนใจจากนัก การศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา E-Book จะครอบคลุมหนังสือทั่วๆ ไปที่จัดทาแล้วสามารถอ่านได้ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ ส่วนใหญ่จะใช้คอมพิวเตอร์ในการอ่านมี โปรแกรมในการอ่านโดย เฉพาะตาราอิเล็กทรอนิกส์จะเป็น E - Book ประเภทหนึ่งที่จาเป็นต้องนามาจัดการเกี่ยวกับการเรียนการสอน ในสังคมการเรียนรู้ในปัจจุบันทุกประเทศเห็นความสาคัญในการ จัดทา E - Book เพื่อประกอบการเรียนการสอนโดยอาศัยเครือข่าย อิน เตอร์ เน็ ตเป็ น ตัว ช่ว ยดาเนิ น การและจั ดการให้ เ กิด ระบบการเรีย นรู้ การจั ดการเรี ย นการสอนในยุ คแรกๆ ใช้ร ะบบสื่ อสารที่มีอยู่ในขณะนั้น เช่น การจัดการเรียนการสอนทางวิทยุ โทรทัศน์ ดาวเทียม แต่ในปัจจุบันใช้ ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเป็นสื่อที่สาคัญในการดาเนินการใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ 10
ในการจัดทา e-book อาจเป็นโปรแกรมที่พัฒนาเองหรือใช้ภาษา HTML ในการเขียนหรือใช้โปรแกรมสาเร็จรูปอื่นๆ ช่วยเขียนขึ้นกลายเป็น โปรแกรมช่วยสอนในลักษณะต่างๆ โปรแกรมที่นิยมใช้ในการนามาจัดการ เรี ย นการสอนในสถาบั น การศึ ก ษาต่ า งๆในขณะนี้ ได้ แ ก่ โปรแกรม Blackboard, Syllas, Education Sphere, Advance Vision, Exam Cybernet, WebCT และ MediaSTAQ เป็นต้น มีการพัฒนาโปรแกรม เพื่อนามาจัดการเกี่ยวกับการเรียนการสอนมากมาย บางบริษัทดาเนินการ ให้บริการทั้งการติดตั้งที่สถานที่ศึกษาและให้บริการในระบบอินเตอร์เน็ต ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้การเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ในสถานศึกษา มหาวิทยาลัยเปิดจะได้เปรียบในการใช้การเรีย นการสอนอิเล็กทรอนิกส์ เพราะสามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรียนโดยไม่มีข้อจากัดต่าง ๆ ในเรื่องของความไม่พร้อมของผู้เรียน ระยะทางของการมาเรียนหรือเวลาที่ จะต้องเรียน
11
e-book กับการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ในปัจจุบันนี้เทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทในด้านการศึกษาเรียกได้ ว่ า ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ยุ ค ดิ จิ ต อลในศตวรรษที่ 21 เป้ าหมายที่ส าคัญที่สุ ดของมนุ ษยชาติ คือ การถ่ายทอดความรู้และการ สร้ า งสั ง คมให้ ดี ขึ้ น ซึ่ ง เราจะเห็ น ได้ จ ากขณะนี้ ภ าคการศึ ก ษาก าลั ง ปรับเปลี่ยนกระบวนการพื้น ฐานที่สาคัญจากการที่โรงเรียนต่าง ๆ กาลัง ก้าวสู่ยุคดิจิตอลและการเข้ามาของระบบอีเลิร์นนิ่งในห้องเรียนตลอดจน การทางานและการสนทนาเป็นกลุ่มแบบออนไลน์ (online discussion group) เราอาจปฏิเสธไม่ได้ว่าระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมีผลกระทบต่อ ชีวิตประจาวัน ของเราอย่ างมากมาย วิ วัฒ นาการอย่างหนึ่งคือ E-book หรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ คานี้อาจจะเป็นคาใหม่ในความรู้สึกของหลาย ๆ คน แต่ อีกไม่นานจะเป็นที่รู้จัก ในหมู่นักอ่านทั้งหลาย โดยเฉพาะในวงการ ห้ อ งสมุ ด ซึ่ ง ในอนาคตจะมี ก ารเปลี่ ย นแปลงรู ป แบบให้ เ ป็ น ห้ อ งสมุ ด อิเล็กทรอนิกส์ ห้องสมุดดิจิตอล และ ห้องสมุดเสมือนเทคโนโลยี นี้ก็คง เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในยุคศตวรรษที่ 21 12
จะเห็นว่าการพัฒนาผู้เรียนในยุคศตวรรษที่ 21 นั้น แตกต่างจาก ยุคที่ผ่านมา เนื่องจากโลกเปลี่ยนแปลงจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ทาให้การใช้ชีวิตของคนยุคศตวรรษที่ 21 แตกต่างจากคนรุ่นศตวรรษที่ 20 การเปลี่ยนแปลงนี้เน้นการเรียนรู้เนื้อหาสาระตามหลักสูตร และที่เกิดขึ้น ใหม่ในศตวรรษที่ 21 ควบคู่ไปกับการพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะการคิดและ การเรียนรู้ และความรู้ความสามารถทางไอซีที ทาให้การประเมินผลลัพธ์ ต้องครอบคลุมหลายด้าน นอกเหนือจากด้านเนื้อหาสาระ ระบบการเรียนรู้ในยุคศตวรรษที่ 21 นี้ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้จัดการ เรื่ อ งการเรี ย นรู้ ข องตนเอง โดยใช้ ร ะบบเครื อ ข่ า ย การเรี ย นรู้ จ าก คอมพิวเตอร์จะเข้ามามีบทบาทมากขึ้น ดังนั้นหลักสูตรที่ใช้ในการจัดการ เรียนการสอนจะถูกจัดแยกเป็นประเภท ผู้เรียนมีโอกาสเลือกเรียนหลักสูตร ที่หลากหลายมากขึ้น ในส่วนของตัวครูผู้สอนนั้นครูจะมีบทบาทในฐานะ เป็นตัวแทนของการเรียนรู้ (learning agent) ต้องมีแผนการเรียนรู้เป็น รายบุคคล (personal learning plan) และจัดทาระบบการประเมินจะ หลากหลายมากขึ้น ไม่ได้วัดเฉพาะความรู้ในแบบทดสอบเท่านั้น ฉะนั้นการ 13
เรียนรู้ในยุคนี้เทคโนโลยีมีบทบาทมาก E-Book จึงเป็นนวัตกรรมทาง การศึก ษาที่ จะช่ ว ยให้ ผู้ เ รี ย นได้ เ รี ย นรู้ ด้ ว ยตนเอง มี โ อกาสได้ ทบทวน ความรู้ด้วยตนเองมากขึ้น โดยที่ตัวครูผู้สอนนั้นจะมีคุณลักษณะเป็นผู้ชี้แนะ การเรียนรู้ (learning coach) และ เป็นตัวแทนในการนาผู้เรียนท่องเที่ยว ไปสู่โลกแห่งการเรียนรู้ได้ (learning travel agent) หนังสือ E-Book มี การพัฒนารู ปแบบต่าง ๆ เพื่อเร้ าความสนใจให้ กับผู้เรียน ประกอบกับ เพื่อให้เข้ากับยุคของการเรียนรู้ในยุคนี้เรามักจะพบ E – Book ใน รูปลักษณ์ที่มีทั้งภาพและเสียงที่ได้รับการพัฒนาโดยโปรแกรมต่าง ๆ เพิ่ ม ขึ้นมาอีก ดังนั้นสามารถสรุปได้ว่า E – Book ในยุคศตวรรษที่ 21 เป็นยุค แห่งการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดทักษะและการเรียนรู้ ด้วยตนเองมากที่สุด เพื่อสนองตอบความหลากหลายทางด้านสติปัญญา ของผู้เรียนแต่ละคน พร้อมทั้งให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาที่ บ้าน (home – based education) มากขึ้น ผู้เรียนสามารถเรียนอยู่ที่บ้าน โดย เรียนจากประสบการณ์ของนักการศึกษาที่มีความรู้ในเรื่องนั้น ๆ โดยตรง 14
วิธีการประยุกต์ใช้ e-book ในการเรียนรู้ 1. ผู้ใช้สามารถอ่านหนังสือได้ในทุกที่ ทุกเวลาที่ต้องการเรียนรู้ e-book หรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เป็นอีกหนึ่งในความสามารถ ของเครื่อง Palm ที่จะสามารถทาให้คุณเก็บบันทึกเอกสาร Text File ลง ใน Palm ให้อยู่ในรูปแบบ e-book โดยการอ่าน e-book นั้น จะต้องมี Software
ที่เข้ ามาสนั บ สนุ น การอ่าน File
ของ e-book
เช่ น
TealDoc,CspotRun,SmartDoc (Quick word),isilo และอื่นๆ ซึ่งเป็น ประโยชน์ของ e-book นั้น จะช่วยให้คุณนาเอกสารจากเครื่อง PC ของ คุณติดตัว ไปกับคุณได้ เช่น คู่มือเอกสารส าคัญต่างๆ ข้อมูลการเดินทาง เบอร์โทรศัพท์ฉุกเฉิน และอื่นๆ อีกมาก 2. เป็นสื่อรูปแบบใหม่ที่ผู้สอนสามารถใช้ประกอบการสอน ผู้สอนสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน โดย กาหนดเป็นเอกสาร การสอนในรายวิชาต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนอ่านสะดวก เนื่องจากผู้เรียนสามารถอ่านได้พร้อมๆ กันหลายคน อ่านได้ทุกที่ที่มีการ 15
เชื่ อมโยงอิ น เตอร์ เน็ ต ถ้ าผู้ เรี ย นมี อุป กรณ์อิ เ ล็ ก ทรอนิ กส์ พ กพาอื่ นๆ ก็ สามารถดาวน์โหลดเก็บไว้ในเครื่องของตนเอง ทาให้ไม่สิ้นเปลืองกระดาษ นอกจากนั้นผู้สอนยังสามารถตรวจสอบได้ว่ามีใครเข้ามาอ่านแล้วบ้าง จึง เท่ากับเป็นการ ติดตามประเมินผลผู้เรียนอีกทางหนึ่ง
16
กรณีตัวอย่าง : โครงการ e-book กับการสร้างบทเรียนออนไลน์ สู่โลกอินเตอร์เน็ต มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าชได้ เ ล็ ง เห็ น ความส าคั ญ จาก ประโยชน์ของระบบการศึกษาบทเรี ยนออนไลน์และเพื่อสนองนโยบาย มหาวิทยาลัยที่จะนาไปสู่ e-university จึงได้ริเริ่มโครงการ e-book กับ การสร้างบทเรีย นออนไลน์สู่ โลกอิน เตอร์ เน็ ต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ประชาชนและผู้สนใจทั่วไปได้ศึกษาเรียนรู้ และเข้าใจถึงประโยชน์การสร้าง บทเรียนออนไลน์แบบ e-book โครงการดังกล่าวทาให้ประชาชนและผู้สนใจทั่วไปได้ศึกษาเรียนรู้ พร้อมกับการลงมือปฏิบัติสร้างสื่อสารสนเทศแบบ e-book เพื่อนาสื่อ สารสนเทศที่ได้ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด อีกทั้งได้ศึกษา ค้นคว้าหา ความรู้ เสริมสร้างความเข้าใจในบทเรียนออนไลน์ผ่านสื่อสารสนเทศ ใน รูปแบบต่างๆ โดยสามารถศึกษาได้ทุกหนทุกแห่ง ไม่จากัดระยะทางและ เวลา และยังเป็นการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน และผู้สนใจทั่วไป ได้รู้จัก ระบบการศึกษาทางไกลของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชได้ดียิ่ งขึ้น ซึ่ง 17
เป็ น ระบบการศึ ก ษาที่ ศึ ก ษาได้ ทุ ก ที่ ทุ ก เวลา ทั้ ง ยั ง มี ค วามพร้ อ มที่ จ ะ สนับสนุนให้ประชาชน และผู้สนใจทั่วไป ได้รับการศึกษาบทเรียนออนไลน์ ผ่านทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ตลอดเวลา และยังเป็นการส่งเสริม ภาพพจน์ของมหาวิทยาลัยที่จะปรับเป็น e-university ด้วย
18
บทที่ 3 หลักการออกแบบเบื้องต้น
19
หลักการออกแบบเบื้องต้น ในการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หรือที่เราเรียกกันสั้นๆ ว่า “อีบุ๊ค (E-Book) นั้น สิ่งสาคัญที่สุดในการทาก็คือ การออกแบบหนังสือ ซึ่ง หนั ง สื อ ที่ ก ล่ า วถึ ง อาจจะเป็ น ชุ ด ใบงาน ชุ ด ใบความรู้ หรื อ เอกสาร ประกอบการเรี ย นการสอนที่ ครู จั ด ท าให้ ผู้ เรี ย น การที่ค รูรู้ จัก หลั กการ ออกแบบนั้ น จะทาให้ เอกสารมีความน่ าสนใจ สามารถดึงดูดผู้ เรียนให้ สนใจในเนื้อหาได้มากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังกระตุ้นความอยากรู้อยากเรียนของ ผู้เรียนให้มากขึ้น ซึ่งมีหลักการออกแบบที่สามารถนาไปใช้ดังต่อไปนี้ T การเน้น (Emphasis) การเน้น คือ การทาให้องค์ประกอบที่สาคัญนั้นเด่นเป็นพิเศษ โดย มีเพียงจุดเดียวที่ปรากฏขึ้นมาเป็นความเด่นของส่วนหลัก และมีการเน้น ส่ ว นรองเพื่ อ กระจายความน่ า สนใจไปยั งส่ ว นอื่ นๆ งานที่ ไ ม่ มี จุด สนใจ หรือไม่มีการเน้นจะทาให้งานนั้นดู น่าเบื่อ แต่ถ้างานชิ้นไหนที่มีการเน้นใน ส่วนที่สาคัญและจุดนั้นทาให้เห็นเด่นชัดขึ้นมาเป็นพิเศษกว่าส่วนอื่นๆ ก็จะ ทาให้ผลงานนั้นมีความสวยงามน่าสนใจ
20
หลักสาคัญของการเน้น การเน้นเป็นหลักสาคัญในการจัดองค์ประกอบศิลป์ ช่วยให้งาน ศิลปะเกิดความน่าสนใจ มีความเด่นชัดขึ้น การเน้นมีหลักสาคัญดังนี้
การจั ด ล าดั บ ลดหลั่ น ที่ เ ห็ น เด่ น ชั ด (Visual hierarchy) การจั ด สิ่ ง ต่ า งๆ เช่ น ตั ว อั ก ษรหรื อ ภาพ ให้ ปรากฏชั ด เจน โดยเรี ย งล าดั บ ความส าคั ญ ก่อนหลังของสิ่งต่างๆที่ต้องการเน้น
จุดเน้นสาคัญ (A focal point) สิ่งที่เห็นเด่นชัดหรือส่วน ของหน้ากระดาษที่ได้รับการเน้น มา ก ที่ สุ ด แล ะ จึ งเ ป็ นพื้ น ที่ ที่ สายตาของผู้อ่าน มักพุ่งไปก่อน
21
Accents จุ ด เน้ น ล าดั บ สอง ล าดั บ สาม เป็นส่วนเชื่อมต่อความสาคัญของสาระ สนเทศจากหน้ ากระดาษหนึ่ งไปยั งอี ก หน้ากระดาษหนึ่ง
เนื้อแท้หลักการของการเน้น คือ การตัดสินใจเลือกว่ าสารสนเทศ ชิ้นใดมีความสาคัญมากที่สุดและทาให้มันเห็นเด่นชัดมากที่สุด โดยมีจุดเด่น เพียงจุดเดียวที่ปรากฏบนบริเวณว่างมากกว่าส่ วนอื่นความเด่นของส่ว น หลักจะใกล้ศูนย์กลางของภาพและมีการเน้นส่วนรองให้ห่างออกมาเพื่อ กระจายความน่าสนใจไปส่วนอื่นบ้างแต่ส่วนรองจะไม่เด่นจนแข่งจุดเด่นให้ หมดความน่าสนใจลง สารสนเทศที่สาคัญจาเป็นต้องเห็นเด่นชัดมากที่สุด ซึ่งส่งผลให้เกิดความง่ายต่อผู้อ่านในการรับสารได้อย่างรวดเร็วและสามารถ จับสาระสาคัญได้ง่ายมากขึ้น
22
การเน้นให้เกิดจุดเด่นในงานออกแบบทาได้หลายรูปแบบแต่ต้อง อยู่ ภ ายใต้ ก ฎของเอกภาพคื อ มี ค วามเป็ น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น ของ องค์ประกอบในภาพ การเน้นอาจแบ่งเป็นรูปแบบใหญ่ๆได้ 2 รูปแบบได้แก่ 1. การเน้นด้วยทัศนธาตุหรือใช้หลักการจัดองค์ประกอบศิลปะโดย การเปลี่ยนแปลงทัศนธาตุเช่นรูปร่าง ขนาดสี พื้ น ผิ ว ต าแหน่ ง ทิ ศ ทางให้ แตกต่างไปจากส่วนอื่นที่เกิดจากการ ซ้าหรือการแปรเปลี่ยน
2. การเน้ นด้ว ยการ เพิ่มองค์ประกอบอื่นเข้าไปเช่น เน้ น ด้ ว ยการล้ อ มกรอบส่ ว น สาคัญทาภาพให้ใหญ่เกินจริงลด รายละเอี ย ดส่ ว นที่ ม ากเกิ น ความจาเป็นใช้สีให้ผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริงฯลฯเป็นต้น
23
T ความตรงกันข้าม (Contrast) CONTRAST หมายถึง ความตรงกันข้าม โดยความตรงกันข้าม จะปรากฏเมื่อองค์ประกอบสองอย่ างขึ้นไปมีความแตกต่างกัน ในหลั ก พื้นฐานของการออกแบบเราใช้ Contrast ในการเน้นเพื่อแสดงให้เห็นถึง ความแตกต่างระหว่างองค์ประกอบทางสายตา ซึ่งมีทั้งความตรงกันข้าม ของขนาด สี พื้นผิว น้าหนัก (ตัวหนา ตัวบาง) ทาไมถึงต้องใช้ความตรงกันข้าม ? กฎของความตรงกันข้าม (Contrast)
คือหนึ่งในวิธีที่ง่ายและ
รวดเร็ วที่สุด ที่สามารถดึงดูดความสนใจทางสายตาของผู้อ่านไปยังบน หน้ากระดาษได้ โดยปกติกฎของความตรงกันข้ามมักจะใช้ร่วมกับกฎของ การเน้ น เพื่ อ จั ด องค์ ป ระกอบบนหน้ า กระดาษไม่ ใ ห้ ดู ค ล้ า ยคลึ ง กั น มา จนเกินไป ถ้าหากขาดการเน้น ความแตกต่างระหว่างองค์ประกอบทาง สายตาและความตรงกันข้ามแล้วหน้ากระดาษก็จะดูจืดชืด น่าเบื่อ และ ชาดรู ป แบบที่ชัดเจน เมื่อทุกอย่างมีความสาคัญเท่ากันหมดแล้ ว ผู้ดูจะ สามารถรู้ได้อย่างไรว่าส่วนใดที่มีความสาคัญมากที่สุดและอะไรที่ควรดูเป็น อันดับแรก
24
กฎของ CONTRAST ความตรงกันข้ามของขนาด การจั ด วางองค์ ป ระกอบขนาดเล็ ก คู่ กั บ องค์ประกอบขนาดใหญ่ เช่น ขนาดของรูปภาพ ต่างๆ บนหน้ากระดาษ การใช้หัวเรื่องใหญ่ หัว เรื่องรอง
ความตรงกันข้ามของสี การใช้สีอุ่นกับสีเย็น การใช้สีเข้มกับสีอ่อม เช่น สีดากับสีขาว
ค ว า ม ต ร ง กั น ข้ า ม ข อ ง พื้ น ผิ ว การใช้สีที่แสดงถึงพื้นผิวของรูปร่าง
25
ค ว า ม ต ร ง กั น ข้ า ม ข อ ง น้ า ห นั ก ความหนาบางของเส้น ตัวหนา ตัวบางของ ตัวอักษร ค ว า ม ต ร ง กั น ข้ า ม ข อ ง รู ป แ บ บ การใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่กับตัวอักษรพิมพ์เล็ก รูป แบบตัว อักษรที่มีการประดิษฐ์ กับรูป แบบ ตัวอักษรแบบธรรมดา รูปร่างทรงเรขาคณิตที่ แตกต่างกัน ประโยชน์ของ Contrast - เพื่อดึงดูดความสนใจทางสายตาและสร้างความพอใจให้กับผู้อ่าน
- เพื่อจั ดองค์ป ระกอบบนหน้ ากระดาษไม่ให้ ดูค ล้ ายคลึ งกั น จนเกินไป มีการเน้นส่วนที่สาคัญ -เพื่อให้ผู้ดูรู้ว่าส่วนใดที่มีความสาคั ญมากที่สุด (สร้างสุดโฟกัสทาง สายตา)- เพื่อการสื่อความหมายที่ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ของการผลิต
26
T หลักการใช้สี (Colors) ตัวอย่างการใช้สี ตัวอย่างที่ 1 การออกแบบงาน ที่มองจากระยะไกล สีแดงจะดึงดูดความ สนใจได้ ดี ที่ สุ ด ส่ ว นสี เ หลื อ งก็ เ ป็ น อี ก สี หนึ่งที่เห็นได้เด่นชัด แต่ก็ควรเลี่ยงการใช้สี เหล่านี้ในที่ที่ต้องมีตัวหนังสือมากๆ เพราะ จะทาให้สายตาอ่อนล้าได้ ตั วอย่า งที่ 2 อีกเทคนิ คเกี่ย วกับ สี ที่ช่ว ย ดึงดูดความสนใจ คือการใช้ภาพมาเป็นพื้นหลัง แต่ ให้ จ าไว้ เ สมอว่ า การใช้ สี พื้ น หลั ง ที่ เ ข้ ม จะท าให้ ตัวหนังสืออ่านยาก
ตัวอย่า งที่ 3 ส าหรับสิ่ งพิมพ์ประเภท หนั งสื อพิมพ์ หรื อประกาศข่าวต่างๆ สี เข้มช่ว ย ดึ ง ดู ด ค ว า ม ส น ใ จ ต ร ง หั ว ข้ อ ส่ ว น สี ต ร ง รายละเอียดนั้นจะต้องแตกต่างจากส่วนที่เหลือใน หน้านั้นๆ นอกจากนี้ สิ่งพิมพ์ที่มีหลายๆ หน้า ก็ ควรก าหนดให้ เป็ น สี เดี ย วกั น ซึ่ง จะช่ว ยให้ ก าร ออกแบบดูมีแบบแผนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน 27
ตัวอย่างที่ 4 เวลาเราจะเลือก โทนสี ที่ จ ะใช้ ใ นแต่ ล ะงานนั้ น ก็ ค วร คานึ งถึงสีที่เหมาะกับรูปแบบของงาน เช่น ถ้าจะออกแบบป้ายรณรงค์ให้ปลูก ต้นไม้ ก็ไม่ควรใช้สีชมพูและสีเหลือง สี ที่เหมาะควรจะเป็ น สี เขีย วและสี ฟ้า เพราะคน ส่วนใหญ่จะรู้สึกว่าสีเหล่านี้เป็นสีธรรมชาติ สิ่งที่ ควรทราบไว้ คือ คนที่มีสังคมวัฒนธรรมแตกต่าง กัน ก็จะเข้าใจความหมายของสีแตกต่างกันด้วย เช่ น ชาวยุ โ รปตะวั น ตกและอเมริ ก าเหนื อ ให้ ความหมายสี แ ดงว่ า คื อ ความตื่ น เต้ น และ อันตราย ส่วนคนเอเชียจะมองว่าสีแดงนั้น คือสีของเทศกาล ความโชคดี ความสนุกสนาน เป็นต้น
28
ข้อแนะนาในการใช้สี - ใช้สีเพื่อดึงดูดความสนใจในข้อความหรือรูปภาพที่ต้องการเน้น - เลือกใช้สีให้เหมาะกับงานที่ออกแบบ - จูงใจผู้อ่านให้สนใจส่วนที่สาคัญที่สุดของงานชิ้นนั้นด้วยการใช้สี สว่างๆ - ใช้สีเดิมเพื่อให้งานดูเป็นเอกภาพ เช่ น หัวข้อ ก็ใช้เป็นสีเดียวกัน ให้หมด เป็นต้น สาหรับงานออกแบบที่มีหลายหน้า ควรใช้สีเดียวกันเพื่อ โยงให้แต่ละหน้าเข้าหากัน เช่น ใช้หัวข้อสีเดียวกัน เป็นต้น - ใช้สีแดงและสีเหลืองในงานที่ต้องมองเห็นได้จากที่ไกลๆ - อย่าใช้สีจัดๆ อย่างสีแดงหรือสีเหลือง ในงานที่ ต้องมีตัวหนังสือ ขนาดเล็กจานวนมาก - ใช้ภ าพที่ มีสี ส ว่างๆ เป็ น พื้น หลั ง ในกรณีที่ จะใช้รูป เพิ่ม ความ น่าสนใจของงาน ต้องแน่ใจว่างานของเราอ่านง่าย มีความชัดเจนด้วยการ ใช้สีตัวอักษรตัดกับพื้นหลัง - พยายามใช้สีเดียวหรือสองสีในงานของเรา - ศึกษางานของคนอื่นเพิ่มเติมว่าเขามีวิธีการใช้สีอย่างไร
29
T Color Schemes (ชุดสี) Color Schemesหรือชุดสีคือการจัดระเบียบชุดสีที่ลงตัวและเข้า ด้วยกันได้ดี ซึ่งหากเป็นสีที่ลงตัวแล้วนั้นงานของเราจะดูสวยงามและเป็น มืออาชีพมากยิ่งขึ้น 3 เว็บไซต์ที่ยกตัวอย่างมานี้ เป็ นเว็บไซต์ที่จัดชุดสีได้ อย่างลงตัวซึ่งมีทั้งแบบให้เราจัดชุดสีของเราเอง หรือมีการจัดชุดสียอดนิยม ตามลักษณะการใช้งานต่างๆ ไว้ให้แล้วด้วย 1. Color Schemes: Adobe Kuler : https://kuler.adobe.com Click on explore > most popular
30
2. Color Schemes: http://design-seeds.com
3. Color Schemes: http://www.colourlovers.com
31
T ความสมดุล (Balance) การออกแบบให้มีความสมดุล (Balance) คือ การที่น้าหนักทาง สายตาขององค์ประกอบภายในหนึ่งหน้ามีการจัดวางอย่างเท่ากัน น้าหนัก ทางสายตาคือ สิ่ งที่แสดงถึงกายภาพภายในหน้าหนึ่งๆ ยกตัว อย่างเช่น หัวข้อที่เป็นตัวหน้า ก็จะมีน้าหนักทางสายตามากกว่าข้อความที่มีขนาดเล็ก หรือรูปสีแดงสดก็จะมีน้าหนักทางสายตาที่มากกว่ารูปเดียวกันแต่เป็นสีเทา ในขณะเดียวกัน รูปภาพที่น่าสนใจต่างๆก็จะมีน้าหนักทางสายตาที่มากกว่า ตัวอักษรล้วนๆ ดังนั้น ไม่ว่าจะเป็นขนาด สี หรือลวดลายขององค์ประกอบ ต่างๆมีผลต่อการรั บ รู้ ค่าน้ าหนั กทางสายตาทั้งสิ้น ในการออกแบบให้ มี ความสมดุลมีหลักในการพิจารณา ดังนี้ 1. ความสมดุลที่เหมือนกัน (Symmetrical Balance) คือการ ออกแบบจัดวางให้เท่ากัน สมมาตรกัน ไม่ว่าจะเป็นด้านข้างทั้ งสอง หรือ ด้านบนด้านล่าง การจัดวางหน้าเช่นนี้เหมาะกับงานที่ค่อนข้างเป็นทางการ และเรียบๆ
32
2. ความสมดุล ที่ต่างกัน (สองด้านไม่เท่ากัน) (Asymmetrical Balance) เป็นการจัดวางให้ขนาด รูปร่างหรือสี ให้มีความแตกต่างกันทั้งสองข้าง แต่ให้ดูแล้ว มีน้าหนักที่เท่ากัน
33
T สัดส่วน (Proportion) ความสัมพันธ์ความสัมพันธ์ของขนาด ความยาว ความสูงและความลึก เป็นอัตราเฉลี่ยของแต่ละส่วน การออกแบบที่นาสัดส่วนมาใช้นั้นคือจะต้อง คานึงถึงสัดส่วนจะต้องให้มีความสัมพันธ์และเหมาะสมกับรูปร่างนั้นๆ การ ออกแบบจะต้องรู้ว่าทาอย่างไรจึงจะสร้างสรรค์ให้เกิดความสวยงามโดยนา สัดส่วนต่างๆมาใช้ให้มีความสัมพันธ์กับช่วงระยะและจะต้องพิจารณาถึง ขนาดที่นามาออกแบบได้สัดส่วนที่สัมพันธ์กัน ให้เป็นกลุ่มแล้วเกิดผลตามที่ ต้องการ การออกแบบที่ ดีต้องมีสั ดส่ ว นที่ดี จะช่ว ยให้ ส่ ว นประกอบของ รูปแบบมีความสัมพันธ์อย่างเหมาะสมงดงาม สั ด ส่ ว นไม่ ส ามารถจะก าหนดเป็ น กฎเกณฑ์ ต ายตั ว ลงไปได้ ผู้ออกแบบจะต้องพิจารณาเองเองว่าสัดส่วนขนาดใดจึงจะมองดูงดงามและ เหมาะสมกับงานแต่ละลักษณะ
34
การจัดสัดส่วนทาได้หลายวิธี ที่นิยมกันว่าเป็นสัดส่วนที่สวยงาม และการจัดสัดส่วนแล้วไม่เกิดความสวยงามก็มีการจัดแบ่งง่ายๆ ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้
ก.ข.
ค.
ง.
ก. เป็นการจัดสัดส่วนในลักษณะต่างๆกัน จะเห็นได้ว่าสัดส่วนที่อยู่ ภายในไม่เท่ากัน ข. เป็นการจัดสัดส่วนที่อยู่ในลักษณะซ้าๆกัน เพราะเส้นและช่องว่าง มีขนาดเท่าๆกัน ค. เป็นการจัดภาพที่มีสัดส่วนและช่องว่างมีขนาดต่างกัน ง. เป็นการจัดสัดส่วนที่มีช่องว่างและเส้นไม่เท่ากัน
35
การออกแบบให้เกิดความสมดุลที่งานเป็นสีขาว-ดา 1. ใส่รูปร่างสีดา พื้นหลัง เข้มๆ หรือรูป เหลี่ยม โดยพิมพ์เป็นอักษรสีขาว 2. ลองใส่เส้นหนาๆด้วยสีเทา และเส้น บงๆด้วยสีดา หรือทาในทางตรงกันข้ามใช้การไล่ สี จ ากสี ข าวไปด าในเส้ น บรรทั ด ตั ว อั ก ษร รู ป ต่างๆบนพื้นหลัง 3. พยายามใช้รูปที่มีโทนสีไปทางโทนสี เทา 4. ใส่พื้นสีขาวมาก ข้อแนะนาในการออกแบบให้ภาพเกิดความสมดุล 1. พยายามจั ด วางองค์ ป ระกอบต่ า งๆ ตัว อั ก ษร ให้ อ ยู่ ใ นแนว เดียวกัน เช่น การวางชิดซ้าย จัดกึ่งกลาง หรือจัดวางชิดด้านขวา ทาให้เกิด การสมดุลมากกว่า 2. มี ก ารใส่ รู ป ภาพในแต่ ล ะหน้ า แต่ อ ย่ า ให้ รูป ภพมาบิ ด เบื อ น ข้อความ 3. ใส่เงาหลังองค์ประกอบต่างๆ จะช่วยให้เงาดูมิติขึ้น อาจใช้การ หมุนภาพหรื อข้อความต่างๆไม่ให้อยู่ ในแนวตั้งหรือแนวนอนเพยงอย่าง เดียว เพียงแค่นี้ก็ช่วยสร้างให้งานของเรามีชีวิตชีวาได้ 36
T การซ้า (Repetition) การสร้ า ง หรื อ กระทาสิ่ งใดสิ่ ง หนึ่ ง ซ้าๆกันมากกว่า 1 ครั้ง การ ทาซ้า เป็นการย้าเน้นอย่างหนึ่ง และเป็นวิธีการสร้างความน่าสนใจที่ดีวิธี หนึ่ง แต่การทาซ้ามากเกินไป อาจไม่น่าสนใจเลยก็ได้ ฉะนั้นการทาซ้าจึง ต้องมีความพอดี ซึ่งมีรูปแบบ ดังนี้ - การซ้าเหมือนกันทุกประการ (Exact Repetition) - การซ้าของสิ่งที่คล้ายกัน (Familiar Repetition) - การซ้ าในลั ก ษณะส ลั บ กั น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ( Alternation Repetition) - การซ้าในลักษณะกลับด้าน (Reversible Repetition) -
การซ้ าในลั ก ษณะเปลี่ ย นแปลงที ล ะน้ อ ย (Gradation
Repetition)
Exact Repetition
Familiar Repetition Alternation Repetition 37
Reversible Repetition
Gradation Repetition
จุดมุ่งหมายของการทาซ้า เพื่ อ ตกแต่ ง ขอบริ ม วั ต ถุ เป็ น การแก้ ปั ญ หา บริ เ วณว่ า งอย่ า งหนึ่ ง ขณะเดี ย วกั น ท าให้ บริเวณขอบริมวัตถุได้รับความน่าสนใจ
องค์ประกอบของการทาซ้า รูปแบบต้นฉบับ หมายถึงรูปแบบที่จะถูก ทาซ้า (เล้น -สี-รูปร่างรูปทรง-พื้นผิว-ช่องว่าง-แสง และเงา) 38
ทิศทางของการทาซ้า หมายถึงการทาซ้าในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง การทาซ้าในรูปแบบใดก็ตาม จะเกิดความเคลื่อนไหวในทิศทางของรูปแบบ นั้นด้วย เวลา หมายถึงระยะทางของการทาซ้าแต่ละครั้ง ระยะทางห่าง หมายถึงเวลาของการทาซ้าแต่ละครั้งนาน ระยะถี่ หมายถึง เวลาของการทาซ้าเร็วขึ้น
วิธีการทาซ้าเพื่อให้เกิดความน่าสนใจ เปลี่ยนแปลงรูปลักษณะ หมายความว่า อย่าใช้รูปเดิมในการทาซ้า (Exact
Repetition) แต่ ค วรใช้ ก ารท าซ้ า ในลั ก ษณะคล้ า ยคลึ ง กั น
(Familiar Repetition) เปลี่ยนแปลงขนาด รูปร่างของวัตุถุที่ จะทาซ้ายังคงเดิม แต่มีความต่างกัน ของขนาด ความเล็กใหญ่ จะจัดวาง ในลั กษณะเรียงลาดับ (Gradation) หรือสลับขนาดกันไปมาก็ได้
39
เปลี่ ย นแปลงทิ ศ ทาง ได้ แ ก่ การซ้ ากั น ในทิ ศ ทางที่ ต่ า งกั น ท าให้ ดู มี เคลื่อนไหวน่าสนใจ เปลี่ยนแปลงจังหวะ ได้แก่ การซ้าในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน ช้าเร็วไม่เท่ากัน ถี่ ห่ า งต่ า งกั น สร้ า งความน่ า สนใจให้ กั บ การซ้ าได้ (ชะลู ด นิ่ ม เสมอ ,2531:115) T การวางแนว (Alignment) Alignment คื อ การจั ด วางองค์ ป ระกอบให้ เ ป็ น แถวหรื อ แนว โดยหลักการนี้เป็นหลักที่มีประโยชน์ทั้งในเรื่องของงานออกแบบหน้าเดียว และหลายหน้า มีลักษณะการเชื่อมต่อกันที่มองไม่เห็นระหว่างองค์ประกอบ ทางสายตา จะเกิด ขึ้น เมื่อ องค์ป ระกอบทางสายตาหนึ่ง มีแถวและแนว ร่วมกับองค์ประกอบทางสายตาอื่นๆ ที่อยู่ในหน้าเดียวกัน ซึ่งทาให้การจัด หน้านั้นดูเป็นระเบียบและเข้ากันมากขึ้น อีกทั้งการจัดวางแนวพื้ นที่ให้กับ ข้อความหรืภาพ ก็จะช่วยทาให้งานออกแบบนั้นอ่านง่าย ดูเป็นระเบียบ สะอาดตา และมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้นอีกด้วย
40
กริด (Grid) คือตารางของเส้น (โดยส่วนใหญ่เส้นเหล่านี้จะไม่ ปรากฏให้ เ ห็ น ในชิ้ น งาน พิ ม พ์ จ ริ ง )ที่ จั ด อย่ า งเป็ น แบบแผนใช้เพื่อเป็นโครงใน ก า ร ก า ห น ด ต า แ ห น่ ง ขอบเขตบริ เ วณส าหรั บ บรรจุภาพ เนื้อหา ช่องว่าง เปล่าและส่วนประกอบต่าง ๆในการจัดรูปแบบแต่ละหน้าของงานพิมพ์การ สร้ างกริ ดเป็ น พื้น ฐานของสื่ อสิ่ งพิมพ์แทบทุกรู ป แบบเพื่อจัดรูปร่างของ เนื้อหาให้อยู่ในสัดส่วนที่สวยงามแม้ว่าจะมีผู้กล่าวว่าการใช้กริดทาให้จากัด ความอิสระ ในการออกแบบแต่การใช้กริดเป็นการวางโครงแบบหลวม ๆเป็นเครื่องมือ ในการท างานโดยเฉพาะงานออกแบบเป็ น ชุ ด เป็ น เล่ ม ที่ ต้ อ งการความ ต่อเนื่อง ความเป็นเอกภาพ ผู้ใช้สามารถพลิกแพลงแบบได้ตลอดเวลาไม่มี กฎบังคับให้องค์ประกอบต่าง ๆ อยู่ แต่เพียงภายในกรอบที่จัดไว้แต่ให้ ดู ผลงานสุดท้ายเป็นหลัก การใช้กริดไม่ใช่สิ่งใหม่นักออกแบบและศิลปินได้ใช้ โครงสร้างกริดกันมานานนับศตวรรษแล้ว
41
ระบบกริด (Grid System) ระบบกริ ด คือรู ป แบบของกริ ดที่ใช้ เป็ น แม่แ บบในการจัด ทาจั ด layout โดยสามารถตกแต่งดัดแปลงเพิ่มเติมจนได้แบบหลาย ๆแบบที่ดู แตกต่างกันแต่ยังคงเคล้ าโครงของกริดต้นแบบไว้ได้ซึ่งยังผลให้แบบต่าง ๆ ที่ได้มีความเป็นเอกภาพ มีความเกี่ยวเนื่องกันมีความสอดคล้องกัน มี ความเหมือนในบางประการ สิ่ ง พิ มพ์ ป ระเภท โบรชัว ร์ นิ ต ยสาร รายงานประจ าปี หนั ง สื อ มักจะมีแบบจัดหน้าแต่ละหน้าที่ดูมีความคล้ายกัน เช่นมีจานวนคอลัมน์ เท่ากัน หัวเรื่อง ภาพประกอบ ตาแหน่งเลขหน้าแบบเดียวกันหรือคล้ายกัน ด้วยการสร้างระบบกริดทาให้สะดวกสาหรับผู้ออกแบบในการจัดหน้าต่าง ๆในเล่มได้รวดเร็วขึ้นอนึ่งการออกแบบระบบกริดที่สามารถใช้พลิกแพลง เป็นแบบต่าง ๆได้เป็นศิลปะอันหนึ่ง ระบบกริดที่ดีทาให้งานออกมาดูดีมี รูปแบบที่หลากหลายในขณะเดียวกันระบบกริดที่ไม่ดีหรือซับซ้อนเกินไปทา ให้ ใช้ย ากและจ ากัดการเสนอรูป แบบที่ต่างออกไป ทาให้รูสึ กขาดความ อิสระได้ รูปแบบต่าง ๆ ของกริด (Grid types): รูปแบบพื้นฐานของก ริดมีอยู่ 4 ประเภทรูปแบบพื้นฐานทั้งสี่แบบนี้สามารถนาไปพัฒนาสร้าง แบบทัง้ ที่เรียบง่ายจนถึงแบบที่พลิกแพลงซับซ้อนขึ้น
42
- เมนูสคริปต์กริด (Manuscript Grid) เป็นกริดที่มีโครงสร้าง เรียบง่ายเป็นบล็อกใหญ่บล็อกเดียวหรือ คอลัมน์เดียวมีชื่อเรียกอีกชื่อว่า บล็อกก ริด (Block Grid) โดยทั่วไปรูปแบบกริด ประเภทนี้ใช้กับสิ่งพิมพ์ที่มีแต่เนื้อ หาเป็น หลัก เช่นหนังสือนวนิยาย ตารา จดหมายข่าว ฯลฯ แต่ก็สามารถนาภาพ มาวางประกอบแม้จะเป็นรูปแบบที่เรียบ ง่ายแต่ก็สามารถปรับแต่ง layout ให้ดู น่าสนใจได้และไม่จ าเจเมื่อเปิดหน้าต่อ หน้า - คอลัมน์กริด (Column Grid) เป็นรูปแบบกริดที่มีคอลัมน์ มากกว่ า หนึ่ ง คอลั ม น์ ใ นหนึ่ ง หน้ า ของ แบบมั ก มี ค วามสู ง เกื อ บสุ ด ขอบของ ชิ้นงานความกว้างของแต่ละคอลัมน์ไม่ จาเป็นต้องเท่ากันกริดในรูปแบบนี้มักถูก นาไปใช้ ใน นิ ต ยสาร แคตตาล็ อก โบรชัว ร์ การวางภาพในรูป แบบกริ ด ประเภทนี้อาจจะจัดวางให้มีความกว้างเท่ากับหนึ่งคอลัมน์หรือมากกว่าก็ได้ โมดูลาร์กริด (Modular Grid) เป็นรูปแบบกริดที่ประกอบด้วยโมดูล หลาย ๆโมดูล ซึ่งเกิดจากการตีเส้นตามแนวตั้งและแนวนอนหรือกล่าวอีก 43
นัยหนึ่งคือรูปแบบที่เกิดจากการแบ่งคอลัมน์ในคอลัมน์กริดตามแนวนอน ท าให้ เ กิ ด เป็ น โมดู ล ย่ อ ยโมดู ล าร์ ก ริ ด เป็ น รู ป แบบที่ ส ามารถน าไปจั ด Layout ได้หลากหลายสามารถประสมประสานภาพกับข้อความเป็นชุด ๆ จัดแบ่งเรื่องราวหลาย ๆเรื่องมาอยู่ในหน้าเดียวกัน จัดภาพประกอบพร้อม คาบรรยายหลาย ๆชุดในหนึ่งหน้าเหมาะสาหรับสิ่งพิมพ์ที่ต้องการรูปแบบ ที่ ป รั บ เปลี่ ย นง่ า ยเมื่ อ มี ก ารจั ด ท าเป็ น ประจ าอย่ า งต่ อ เนื่ อ งอย่ า งเช่ น หนังสือพิมพ์ และยังเหมาะกับงานพิมพ์ประเภทแคตตาล็อกสินค้าหรือ บริการแผ่นพิมพ์โฆษณาที่ต้องแสดงรายการสินค้าเป็นจานวนมาก - ไฮราซิคัลกริด (Hierarchical Grid) เป็นรูปแบบกริดที่มี โครงสร้างซับซ้อนประกอบด้วยโมดูลได้ ทั้งที่มีขนาดเท่ากันหรือแตกต่างกันมาจัด วางในหน้าเดียวกัน และอาจมีการเกยกัน ของโมดู ล บางชิ้ น ไฮราซิ คั ล กริ ด เป็ น รูปแบบที่ยากต่อการใช้งานในการที่จะทาให้ layout ที่ออกมาดูดีและลง ตัว มักใช้ต่อเมื่อไม่สามารถใช้กริดรูปแบบอื่นส่วนหนึ่งที่เลือกใช้เนื่องจาก ขององค์ประกอบต่าง ๆของ layout มีความแตกต่างค่อนข้างมาก เช่น อัตราส่วนของด้านกว้างกับด้านยาวของภาพประกอบแต่ละภาพมีความ แตกต่างกันมากข้อแนะนาในการจัดทารูปแบบไฮราซิคัลกริดวิธีหนึ่งคือ นา องค์ประกอบต่าง ๆของแบบทั้งหมด เช่น ภาพประกอบ เนื้อหา หัวเรื่อง 44
มากองไว้พิจารณาภาพรวม จากนั้นนามาทดลองจัดวางโดยขยับปรับขนาด แต่ละองค์ประกอบจนลงตัวพอมีแนวเป็นหลักในการสร้างกริดใช้ร่วมกันทั้ง เล่มของงานพิมพ์แล้วจึ งลงมือทางาน รูป แบบกริดประเภทนี้มีใช้ในการ ออกแบบหน้าหนังสือโปสเตอร์ และฉลากผลิตภัณฑ์ เป็นต้น Text Alignment รูปแบบการจัดวางแนว :การจัดตาแหน่ง ข้อความ กราฟิกต่างๆ จะช่วยทาให้สิ่งพิมพ์นั้น สามารถสื่อความได้ง่า ย และทาให้เกิดความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ซึ่งการจัดตาแหน่งนั้นแบ่งออกเป็น Basic Text Alignment Left Alignment (Flush Left): การจัด แนวขอบด้ า นซ้ า ยคื อ การจั ด ต าแหน่ ง ข้อความทั่วไป
Right Alignment (Flush Right) : จัด แนวชิดขวาดีที่สุ ดส าหรั บ ข้อความขนาด เล็ก
45
Center Alignment : การวางแนวตรงการเป็น การจัดหน้าแบบเป็นทางการ
Justified Alignment : การวางบรรทัดให้ เสมอกัน
Advanced Text Alignments
Runaround
Text
Alignment
:
ล้อมรอบภาพกราฟิก
Asymmetric Text Alignment : แบบ สมมาตร 46
Concrete Text Alignment : การจัดวาง แบบรูปธรรม
“การออกแบบและจัดวาง ไม่มีรูปแบบที่ตายตัว ควรจัดให้เหมาะสมกับ เนื้อหาและโอกาส”
47
บทที่ 4 การสร้าง e-book เบื้องต้น
48
การสร้าง e-book โดย Flippingbook
การสร้าง e-book ด้วยโปรแกรม Flippingbook คือ สามารถ นาเข้าไฟล์ .PDF ได้โดยตรง, แทรกหน้ากระดาษเพิ่มเติมด้วยไฟล์ .jpg และ .swf ได้, search ได้, แทรกเพลง Background ได้, ตัวอักษรชัดเจน มากกว่าตัวอื่น, Zoom-in Zoom-Out,โหลดไฟล์ .PDF ต้นฉบับได้, บันทึก ลงแผ่น CD และขึ้นเว็บ ได้ ฯลฯ ที่สาคัญอีกประการหนึ่งที่ software ทั่ ว ไปอื่ น ยั ง ท าไม่ ไ ด้ คื อ สามารถเปิ ด ออนไลน์ ด้ ว ย iPad,
iPhone,
Samsung Galaxy Tab ได้ 1. เปิดโปรแกรม คลิก Import files (PDF)
49
2. เลือก File งานที่เป็น PDF
3. ดูความถูกต้องของไฟล์งานและจานวนหน้า แล้วคลิก Start
50
4. ได้ไฟล์ E-Book แบบพื้นฐาน สามารถพลิกหน้ากระดาษได้ ย่อขยาย ได้
51
52
5. เลือกธีมภาพพื้นหลังที่ Properties > Publication skin> เลือก รูปแบบที่ชอบในตัวอย่างเลือกธีม Dark wood
53
54
6. ที่แถบด้านซ้ายมือ เป็นแถบตั้งค่าหลักๆของชิ้นงาน Main setting > Hard cover จะได้หนังสือปกแข็ง
55
56
7. หากต้องการเปลี่ยนภาพพื้นหลัง เลือก Main setting > outer BG >select image>เลือกไฟล์ภาพแล้ว >open จะเห็นได้ว่าพื้นหลัง ด้านนอกเปลี่ยนเป็นรูปภาพที่เลือกไว้
57
58
8. หากต้องการเปลี่ยนภาพพื้นชั้นใน เลือก Main setting > inner BG >select image>เลือกไฟล์ภาพแล้ว >open ภาพพื้นหลังด้านในก็ จะเปลี่ยนเป็นภาพที่เลือกไว้
59
60
9. การใส่ลิงค์เพื่อเข้าหน้าเว็บเพจ เลือก Insert Link ที่แถบ Menu bar ด้านบน > ใส่URL > จะปรากฏช่องสี่เหลี่ยมสีเขียว ให้ลากไปวาง ตรงบริเวณที่ต้องการให้คลิกแล้วเข้าสู่หน้าเว็บที่ได้ใส่ URL ไว้
61
10. เลือก use custom link setting เพื่อตั้งค่าสี เพื่อที่เวลาเอา Cursor ไปชี้ ที่บริเวณที่มีการใส่ link แล้วจะปรากฏเป็นสีที่เราเลือก สามารถปรับค่าต่างๆได้ เช่นรูปแบบการปรากฏของแถบสี และความ เข้มของแทบสี ซึ่งในตัวอย่างเลือกสีแดง
62
11. เมื่อเอา Cursor ไปชี้ที่ประโยคที่มีการใส่ link ไว้ ก็จะปรากฏสีแดง ตามที่ตั้งค่าไว้ เมื่อคลิกเข้าไปก็จะเข้าสู่หน้าเว็บตาม URL ของ Link
63
12. การใส่ Link วิดีโอ เลือก insert video > จะปรากฏกล่องสีเหลี่ยม สาหรับตั้งค่า Video properties >ใส่ link ตรง Video URL > ตัง้ ค่าขนาดของกล่องวิดีโอที่ Aspect Ratio> ตั้งค่าให้เห็นกล่องเล่น video ที่ Preview image> Thumbnail ตรงช่อง Autostart ให้ เอาเครื่องหมายออกเพื่อไม่ให้วิดิโอเล่นเอง แต่ให้เล่นเมื่อคลิกแทน เสร็จแล้วก็จัดวางตาแหน่งของกล่องวิดิโอ โดยคลิกลากวาง > เมื่อ เสร็จแล้วกดปิดหน้าต่างย่อย ระบบจะบันทึกอัตโนมัติ
64
13. จะปรากฏกล่องวิดิโอ เมื่อคลิก ภาพกล่องวิดิโอก็จะขึ้นมาเต็มหน้าจอ
65
14. ที่แถบ main setting ด้านซ้ายมือ เลือก side show > เลือก รูปแบบการแสดงหน้ากระดาษอื่นๆได้ ในตัวอย่างเลือก Thumbnail จะปรากฏกล่องด้านซ้ายแสดงหน้ากระดาษต่างๆของหนังสือ
66
15. ที่ main setting เลือก Preloader เพื่อเลือกรูปแบบการแสดงภาพ ระหว่างการรอโหลดหนังสือ ในตัวอย่าง (1) เลือก progress bar จะ แสดงเป็นเปอร์เซ็นต์ในการโหลด
67
68
69
16. ที่ main setting เลือก Preloader เพื่อเลือกรูปแบบการแสดงภาพ ระหว่างการรอโหลดหนังสือ ในตัวอย่าง(2) เลือก filling logo จะ แสดงเป็นแถบรูปภาพในการโหลด
70
71
17. การใส่เสียง หากที่แถบ main setting ไม่ปรากฏ sound ให้ไปที่ ช่อง seach ใต้กล่อง properties พิมพ์คาว่า sound ลงไป จะ ปรากฏกล่องตั้งค่า sounds
18. ที่ background sounds ให้ใส่เพลงลงไปเพื่อเป็นเพลงบรรเลง ระหว่างเปิดดูหนังสือ ส่วนที่ Flip sound volume ให้เลือกใส่ไฟล์ เสียงเพื่อเป็นเสียงพลิกหน้ากระดาษ สามารถปรับค่าต่างๆตามชอบ
72
19. ที่ช่อง branding setting ที่ Logo ให้ใส่ไฟล์ภาพ เพื่อใช้เป็น รูปแสดงขณะการโหลดหนังสือ
73
20. Save as ไฟล์ที่ แถบเมนูด้านบน เลือก file > save as > ตั้งชื่อไฟล์ > save
74
21. ที่แถบเมนูด้านบน เลือก Publish > Offline Publication เพื่อดูใน คอมพิวเตอร์ส่วนตัว ยังไม่เป็นออนไลน์
22. เลือกที่อยู่ไฟล์ตรง Publication path จากนั้น เลือก Advanced settings ที่ช่อง branding setting ที่ Logo ให้ใส่ไฟล์ภาพ เลือก เฉพาะไฟล์ ico. เพื่อใช้เป็นรูปไอคอน
75
23. ตั้งค่าขนาดหน้าต่างแสดงงานที่ window size แล้วคลิก start เพื่อ เริ่มการบันทึกผลงานออกมาเป็น e-book application เมื่อไฟล์ บันทึกเสร็จจะปรากฏกล่องเล็กๆสีฟ้าด้านล่าง ให้เลือก Launch
76
T ตัวอย่างผลงาน
77
78
การสร้าง e-book โดย Issuu
Issuu.com
เป็ น หนึ่ ง ในผู้ ให้ บ ริ การรวบรวมเนื้อ หา e-Book
ออนไลน์จากทั่วโลก ซึ่งในปัจจุบันมีผู้ใช้บริการกว่าล้ านคนบนเว็บไซต์นี้ โดย e-Book ที่ถูกสร้างขึ้นและเผยแพร่ในเครือข่ายมีทั้ง มินิแม็กกาซีน นิตยสารอิเล็กทรอนิก ส์ หนังสือออนไลน์ สมุดภาพออนไลน์ และอื่นๆอีก มากมาย นอกจาก issuu.com จะเป็นแหล่งรวม e-Book แล้ว เว็บไซต์ยัง อนุญาตให้ผู้ใช้งานสามารถสมัครสมาชิกฟรี เพื่อสร้าง e-Book ของตัวเอง โดยการอัพโหลดงานในรูปแบบไฟล์พีดีเอฟ (PDF) ระบบของเว็บไซต์จะ สร้างงานที่อัพโหลดให้เป็น e-Book อัตโนมัติ สามารถเปิดดูหน้าหนังสือได้ ทันที และที่สาคัญคือผู้เข้าชมนั้นไม่จาเป็นต้องติดตั้งโปรแกรมใดๆทั้งสิ้น ขอเพียงแค่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ก็สามารถดูหรืออ่าน e-Book ได้ทุกที่ ทั้งจากคอมพิวเตอร์ smart-phone หรือ Tablet
79
เว็บไซต์ issuu.com จึงเป็นทางเลือกที่น่าสนใจทางหนึ่งในการ สร้างสื่อการเรียนรู้ประเภท e-Book เพราะนอกจากจะสามารถสร้างได้ง่าย สะดวก ประหยัดงบประมาณและเวลาแล้ว ยังสามารถสมัครเข้าใช้บริการ ได้ ง่ า ยมาก เพี ย งแค่ เ ป็ น ผู้ ใ ช้ ข องเครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ Facebook, LinkedIn หรือ Google หรือจะสร้างชื่อผู้ใช้ใหม่โดยใช้ E-mail ในการ สมัครก็ได้ T การเข้าใช้งาน issuu.com 1. เรียกเว็บไซต์ issuu.com จะปรากฎหน้าแรกของเว็บไซต์ดังรูป
80
2. สามารถเข้าใช้งานโดยเชื่อมต่อกับ Facebook ได้โดยกดที่ปุ่ม ซึ่งจะปรากฎหน้าต่างสาหรับกรอกข้อมูลเพื่อ เชื่อมต่อกับเครือข่าย Facebook หรือถ้ามีการเชื่อมต่อ Facebook อยู่แล้วจะเปลี่ยนเป็นหน้าที่แสดงการเข้าใช้งาน เว็บไซต์ทันที
81
3. สาม ารถ เข้ า ใช้ ง านโ ดยเ ชื่ อ มต่ อ เครื อข่ า ยออ นไล น์ อื่ น นอกเหนือจาก Facebook ได้โดยกดที่ Sign In บริเวณมุมขวาบน ของหน้าเว็บไซต์ จากนั้นจะปรากฏหน้าสาหรับเลือกเชื่อมต่อด้วย ชื่อจากผู้ให้บริการอื่น
82
83
4. นอกเหนือจากนี้ยังสามารถเข้าใช้งานได้โดยใช้ E-mail สร้างชื่อ ผู้ใช้เว็บไซต์ใหม่ได้ โดยกดที่ Create Account ที่มุมบนขวามือ ของหน้า จากนั้นจะปรากฏหน้าให้เลือกระหว่าง Reader และ Publisher ซึ่งเลือกได้ทั้งสองอย่าง เพราะสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ในภายหลัง แต่แนะนาให้เลือกเป็น Publisher
หลังจากกดที่ Publisher จะเป็นหน้าที่ให้เลือกราคา ให้กดที่ FREE เพื่อทาการสมัครใช้งานไม่เสียค่าใช้จ่าย จากนั้นจะปรากฏหน้าให้ กรอกข้อมูลเพื่อสร้างชื่อผู้ใช้ใหม่
84
กรอกรายละเอียดข้ อมูลดังรูป แล้วกดที่ปุ่ม DONE หลังจากนั้นจะเข้าสู่ หน้าหลักที่แสดงการเข้าใช้งาน ชื่อ E-mail รหัสผ่าน E-mail
ชื่อพื้นหลังบนเว็บไซต์ ชื่อผู้ใช้เว็บไซต์ อายุ
กดที่ช่องให้ขึ้น กดเพื่อตก
85
T การสร้าง e-Book ด้วย issuu.com 1. เตรียมไฟล์งานที่จะทาเป็น e-Book ให้อยู่ในสกุล PDF 2. ลงชื่อเข้าใช้งานเว็บไซต์ กดที่
ที่ด้านบนของหน้าเว็บไซต์
จะปรากฏหน้าให้กดเพื่อเลือกไฟล์สาหรับอัพโหลด
กดปุ่ มเพื่อเลือกไฟล์ที่จะอัพโหลด
86
3. เมื่ออัพโหลดเสร็จจะปรากฏหน้าสาหรับใส่รายละเอียดดังรูป
ใส่ชื่อ e-Book ใส่รายละเอียดอื่นๆ
เลือกคลิกเพื่อให้เป็ นแบบดูอย่างเดียวหรื อสามาร กดเพื่อตกลงให้สามารถเผยแพร่ ได้ทนั ที
87
4. หลังจากกดปุ่ม
จะเปลี่ยนปรากฏหน้า
สามารถคลิกเลือกเพื่อ เผยแพร่ในเครือข่าย ออนไลน์ต่างๆได้ ลิ้งค์ e-Book
กดเพื่อเปิด e-Book
กดเพื่อเข้าสู่หน้าสาหรับ จัดการ e-Book
88
5. กดปุ่ม
เพื่อดูผลงานที่เสร็จสมบูรณ์
T การจัดการกับ e-Book 1. ลงชื่อเข้าใช้งานเว็บไซต์ 2. กดที่ My Publication ที่ด้านบนของหน้าเว็บไซต์ จะปรากฏหน้า สาหรับจัดการกับไฟล์ที่อัพโหลดเป็น e-Book ดังรูป
89
เมื่อคลิกที่หน้ากระดาษจะปรากฏหน้าต่างเพื่อจัดกระทากับงานนั้นๆ
90
รายการอ้างอิง กุสาวดี หัสแดง. ก้าวใหม่ของ e-book ในยุคศตวรรษที่ 21. [ออนไลน์]. 2556. แหล่งข้อมูล: http://kmlibrary.bu.ac.th/index.php ?option=com_content&view=article&id=164:-e-book --21&catid=16:2011-03-14-02-23-46&Itemid=28 [27 กุมภาพันธ์ 2557] ชนัญชิดา ยุกติรัตน์. หลักการออกแบบ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://pikanesri.com/class-basic-designB.php. (วันที่ค้นข้อมูล : 22 กุมภาพันธ์ 2557) ปฏิมา พุทธน. รายงานผลการดาเนินโครงการบริการวิชาการแก่สังคม โครงการ E-Book กับการสร้างบทเรียนออนไลน์สู่โลก อินเตอร์เน็ต. [ออนไลน์]. 2555. แหล่งข้อมูล: http://www .stou.ac.th/Offices/rdec/udon/main/Document/ ebook.pdf [27 กุมภาพันธ์ 2557] พัลลภ พิริยะสุรวงศ์. หลักการออกแบบ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ideazign.com/port/graphic/content0303_ 01.htm. (วันที่ค้นข้อมูล : 22 กุมภาพันธ์ 2557). พาศนา ตัณฑลักษณ์. หลักศิลปะและการออกแบบ. กรุงเทพฯ: เทพ พิทักษ์, 2522 91
มาโนช กงกะนันทน์. (2538). ศิลปะการออกแบบ.กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนา พานิช. เลอสม สถาปิตานนท์. (2539). Design technigue: เทคนิคในการ ออกแบบ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สังเขต นาคไพจิตร. หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ: ปรีดาการพิมพ์, 2530. สุชาติ เถาทอง. หลักการทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ: อักษรกราฟฟิก, 2536. เอกสารสนเทศ, มารู้จักกับ E-Book. [ออนไลน์]. 2552. แหล่งข้อมูล: http://www.oknation.net/blog/freeday888/2009/08/25 225/entry-1 [23 กุมภาพันธ์ 2557] Andy Warhol, Roy Lictenstein, Jasper Knight & Stephen Park. PRINCIPLES OF DESIGN REPETITION. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้ จาก:http://designelementsandprinciples.com/ repetition2 .htm.(วันที่ค้นข้อมูล : 27 กุมภาพันธ์ 2557) Evans, Poppy (1949).Exploring the elements of design/Poppy Thomson/Delmar Learning, c2004 Graham, L. (2002). Basics of Design:Layout and typography for Beginners. New York: Delma, Thomson Learning Inc. Jacci Howard Bear. “Alignment Brings Order to Chaos” [Online].Available:http://desktoppub.about.com/od /alignment/ss/alignment.htm2010. 92
Macario, J. W. (2009). Graphic design essentials : skills, software, and creative solutions. Upper Saddle River, N.J.: Pearson / Prentice Hall.
93