การสื่อความงามทางทัศนศิลป์

Page 1

Visual Art Elements Aesthetic Appreciation 2709201 By Assoc. Dr.Poonarat Pichayapaiboon Department of Art Mucis and Performance Education Faculty of Educaiton Chulalongkorn University (สงวนลิขสิทธิ์)


องคประกอบทัศนศิลป Visual Art Elements

เสน (Lines) รูปราง (Shapes) ชองวาง (Spaces) พื้นผิว (Texture) สี (Colors)

โดย รองศาสตราจารย ดร. ปุณณรัตน พิชญไพบูลย วิชาสุนทรียศึกษา(Aesthetic Appreciation) ภาควิชาศิลป ดนตรี นาฏศิลปศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


เสน (Lines) การสื่อความหมาย ขนาด (Size) ความเร็ว (Velocity) ทิศทาง (Direction) แสดงความตอเนื่อง (Countinutity) แสดงขอบเขต เนื้อที่ (Boundary)

ประเภทของเสน เสนตัง้ (Vertical line) เสนทแยง (Diagonal Line) เสนนอน (Holizontal Line) เสนโคง (CurveLine)


เสนทะแยง

อิทธพลของเสนทะ แยงที่ใหความรูสึก เคลื่อนไหว ใน ภาพโฒษณา


เสนในการแสดง

ฉากหนึ่งใน The Fairy’s Kiss (จุมพิศจากนาง ฟา) เปนการแสดงBallet การเคลื่อนไหวของนัก แสดง ที่แสดงถึงอิทธิพลของ เสน และปริมาตร อยางชัดเจน ภาษาทาทางและการเคลื่อนไหว นี้จะ ตองมีความสัมพันธกับจังหวะและทํานองของบท เพลงที่บรรเลงอยูในขณะนั้น และบทเพลงที่ประพันธ ก็ไดรับแรงบันดาลใจจากเนื่องราวในบทประพันธ นิยาย ศิลปะการแสดงนี้จึงไมจําเปนตองใชการพูด แตอยางใด


Wounded Lioness Assyrian Art ภาพจําหลักหินทรายของชาวแอสซีเรียน ซึง่ ตั้งรกรากในดินแดนเมโสโปเตเมีย ชนเผานี้นิยมกิฬาการลาสิงหโต ซึ่งแสดงถึงความ กลาหาญของผูลาประติมากรรมนูนสูงนี้ใหความรูสึกของเสนไดเปนอยางดี ทั้งเสนตั้งที่แสดงถึงการยืนหยัด ทระนง สงางาม ใน ขณะที่เสนทะแยงแสดงถึงการคืบคลานไปขางหนา เสนทะแยงของลูกศรที่พุงแทงเสียดใหความรูสึกที่เจ็บปวด กดมวลของพญา สิงหใหทรุดตัวลง และเสนนอนของขาหลังทั้งสองที่ราบเรียบไปกับพื้นดินแสดงถึงความตาย


บานนํ้าตก หรือ บานคัฟแมน (KAUFMAN HOUSE) ออกแบบโดยสถาปนิก แฟรงครอยไรด มองจากมุมทิศตะวัน ออก ประกอบดวยเสนนอนเปนหลัก ทําใหเกิดความรูสกึ มั่นคงแข็งแรง พักผอน และ กลมกลืนกับธรรมชาติแวด ลอม Bear Run Pennsylvania 1936


ภาพถาย (Photography) เปนศิลปะแขนงหนึ่งที่ถายทอดอารมณ ความ รูสึกผานองคประกอบทางทัศนะภายในภาพ สิ่งที่เปนจุดเดนของศิลปะภาพถายคือ การหยุดเวลาในขณะหนึ่งไดอยางหนาอัศจรรย ซึ่งจิตรกรรมไมสามารถบันทึกเวลา เหลานี้ได แตเดิมภาพถายไมไดมีคุณสมบัติดังกลาวเนื่องจากสื่อที่ใชในการบันทึก ภาพยังขาดคุณสมบัติดังกลาว จนกระทั่งEastman `Kodark ไดเสนอฟลมถายภาพที่มี ความไวแสงสูงขึน้ จนสามารถบันทึกเหตุการณในเสีย่ ววินาทีซึ่งเกิดขึ้นในสิง่ แวด ลอมและชีวิตผูคนได ศิลปะภาพถายนอกจากจะมีคุณคาในตัวภาพซึง่ ใชหลักแหง ความงามเชนเดียวกับศิลปะแขนงอื่น ๆ รวมทั้งศิลปะแหงกระบวนการสรางสรรค ภาพที่ซับซอน หลากหลาย แลวยังชวยขยายขอบเขตการรับรูของผูชมใหกวางไกลขึน้ กวาแตกอน

ชางภาพหนังสือพิมพจับภาพความยินดีของผูคนบน ถนนยานจตุรัตไทมสแควร นครนิวยอรค ในวันที่ 14 สิงหาคม 1945 เมื่อรัฐบาลกลางสหรัฐฯ ประกาศ สงครามโลกครั้งที่ 2 ไดยุติลงแลว ยังความตื่นเตนให แกผูคนจนลืมตัว นิสิตลองวิเคราะหองคประกอบของเสนในภาพนี้ดู


เสนในสิ่งกอสราง สะพานอลามิโล(Allamilo) ประเทศสเปญ เมืองSeville ในป 1987 - 1992 สถาปนิก Santiago Calatrava ได นําเอาเสนนอน เสนโคง และเสนทะแยงไดอยางเดนชัด เพื่อใชเปนองคประกอบของสะพานแขวน โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก ขามแมนํ้าแหงนี้ โดยไดรับแรงดลบันดาลใจจากโครงสรางของสิ่งมีชิวิต ทําใหเกิดความผสมผสานระหวางความมีชีวิต - นวัตกรรม เทคโนโลยี และ ความสงบมั่นคงแข็งแรง - การเคลื่อนที่ไมหยุดนิ่ง ไดอยางกลมกลืน


Gerrit Rietveld's experimental Red-blue chair of 1917.

เสนตรงถูกนํามาใชเปนโครงสรางของ เฟอรนิเจอร ทําใหเกิดความรูสึกแข็ง แรงมั่นคง เสนทแยงของไมกระดาน ใหความรูสกึ ลืน่ ไหล ตัดกับความรูสึก หยุดนิ่งของเสนตัง้ และเสนนอน แนว คิดของ ไรตเวลด เปนการนําภาพ จิตรกรรมสีนํ้ามันของModrian ที่มีชื่อวา Broadway Boogie-Woogie


ศิลปนแสดงออกถึงอารมณ โดยผานทางลายเสนที่เขียน ผานดินสอ ลงบนกระดาษ ความหนัก เบาของเสนที่กด ลงบนถาน แสดงถึงอารมณที่ แตกตางกันไปในแตละครั้งที่ ลากเสน ศิลปนโคลลวิทซ สรางสรรคภาพพิมพหิน ที่ แสดงถึงมัจจุราชกําลังพราก ชิวิตลูกนอยจากอกมารดา ลักษณะของเสนที่ผูกมันกัน เหมือนปมเชือกเชนนี้ทาให ํ เกิดความรูศึกที่กดดัน และ หวาดกลัว

Kath Kollwitz, Death Seizing a Woman, 1934 Lithograph 20x14.5 . The Museum of Modern Art New York


รูปราง (Shape) คือ พื้นที่ของ สี (area of Colors) ประเภทของรูปราง 2 มิติ

3 มิติ


มีวินัย

เพิ่มขึ้น

คับแนน

แนน, แออัด

ความเครียด

ขี้เลน

มีวินัย

เพิ่มขึ้น

คับแนน

แนน, แออัด

ความเครียด

ขี้เลน

รูปรางประเภทเดียว กันอาจถูกนํามาจัด วางใหสื่อถึงความ หมายตาง ๆ กันได


รูปราง 2 มิติ (2 Dimensional Shape) เปนรูปรางที่เกิดบนพื้นระนาบ หรือพื้นราบ ผูชมสามารถรับรูไดในลักษณะ 2 มิติ 3มิติ

Nekar Cube


?


ความหมายของรูปราง 1. รูปรางโคงมน อินทรียวัตถุ สิง่ มีชีวิต อบอุน ออนนุม

2. รูปรางเหลี่ยมสัน อนินทรียวตั ถุ ผลผลิตของมนุษย เครือ่ งจักร เยือกเย็น แข็งกระดาง


รูปทรงในงานสถาปตยกรรม บาน FARNSWORTH HOUSE ทีร่ ฐั อิลลินอยส สรางเมื่อป 1948-1950 โดย Mies van der Rohe ซึ่งแสดงโครงสรางของบานอยางชัดเจน โดยการ ใชเสาและคานยื่น ซึ่งองคประกอบของเสนนอนทําใหเกิดความรูสกึ สงบ พักผอน ลักษณะของเหลี่ยมสันที่เที่ยงตรงแมนยํา แสดงถึงความเปนวัตถุ ซึ่งมนุษยสรางสรรคขึ้น ตัดกันกับสิ่งแวดลอมที่เปนตามธรรมชาติ

พิพิธภัณฑศิลปะ Goggeinham กรุงนิยอรค ออกแบบโดยสถาปนิกแฟรงค ลอยด ไรด (Frank Lloyd Wright) ซึง่ นําเอารูปทรงอินทรียวัตถุของสิ่งมีชีวิตมา เปนแนวคิด สรางเปนเกรียววงกลม ทําใหรูสกึ ความมีชีวิตชีวา เชื้อเชิญ


เกาอี้ แบบไหน นาจะนั่งไดนานกวากัน

เกาอี้ Ant Chair ในป 1955 โดย Arme Jacobsen ซึ่งเปนการออกแบบเพื่อสนองหนาที่ ใชสอย โดยเปนงานออกแบบอุตสาหกรรมศิลปที่ ประสบความสําเร็จอยางมาก ซึ่งมีรูปทรงอินทรีย เนื่องจากไดนาเอาสรี ํ ระสภาพของมนุษย ซึ่งมี ลักษณะโคงมน เปนตัวกําหนดรูปรางของเกาอี้ เกาอี้ Ant นีใ้ นปจจบันยังไดรับความนิยมอยาง กวางขวาง

Gerrit Rietveld (ไรเอทเวลด) ในป 1918 ไดรับแรงดลบันดาลจาก จิตรกรรมของที่ชื่อ Broadway Boogie-Woogie โดย Piet Mondrian จิตร กรศิลปะสมัยใหมในชวงเวลาไลเลี่ยกน เรียทเวลด สถาปนิกชาวเน เธอรแลนด ผูที่นําตารางกริดมาเปนเครื่องมือกําหนดตําแหนงของ องคประกอบของรูปทรงภายนอก เชนเดียวกับ Mondrient ซึ่งอาศัยก ริดจัดภาพในจิตรกรรม เกาอี้เทาแขน Red and Blue นี้ใหคุณคาดาน ภาษาทัศนะมากกวาการนํามาใชเพื่อประโยชนใชสอย ภาพขวาคือ Schroder House ซึ่ง เรียทเวอลด เปนสถาปกผูออกแบบ สําทอนให เห็นถึงความทันสมัยดวยรูปทรงอนินทรีย ที่เปนเหลี่ยมสัน


เราจะรับรูรูปราง 2 มิติ เปนรูปทรง3 มิติ ไดไหม ?

?

และทําไม ?

?


สามารถอธิบายดวยทฤษฏี เกสตอลต (Gestalt) หลักการ

Figure - Ground Size Constancy Shape Constancy Color Constancy


Figure - Ground

ตัวภาพ - พื้นภาพ หลักการนี้ แบงรูปราง สองมิติ เปน 2สวน คือ Figure Ground

ตัวภาพ พืน้ ภาพ

ตัวภาพ มีขนาดเล็กกวา พื้นภาพ เสมอ ตัวภาพ ถูกลอมรอบดวย พื้นภาพเสมอ ตัวภาพ จะตองวางอยูบน พืน้ ภาพเสมอ ผลที่เกิดกับความรูสึก 1. เกิดการรับรูถึงระยะวัตถุ 2. เกิดความเดนขึ้นบนพื้นระนาบ


Figure - Ground ตัวภาพ - พื้นภาพ หลักการนี้ แบงรูปราง สองมิติ เปน 2สวน คือ Figure Ground

ตัวภาพ พืน้ ภาพ

ตัวภาพ มีขนาดเล็กกวา พื้นภาพ เสมอ ตัวภาพ ถูกลอมรอบดวย พื้นภาพเสมอ ตัวภาพ จะตองวางอยูบน พืน้ ภาพเสมอ ผลที่เกิดกับความรูสึก 1. เกิดการรับรูถึงระยะวัตถุ 2. เกิดความเดนขึ้นบนพื้นระนาบ ใบหนาของเด็กหนุมอายุราว 17ป แสดงออกถึงความ กลาหาญและความหวาดกลัวในเวลาเดียวกัน เมื่อ กําลังเผชิญหนากับโกไลแอตแมทัพศัตรู เดวิดเปน สัญลักษณของความรักชาติ ซึ่งไมเคิลแองเจลโลไดแกะ สลักขึ้นเพื่อใหชาวฟลอเรนซ ตะหนักในหนาที่ของชาว เมืองทีจ่ ะปกปองนครอันงดงามจากพวกเวนิเชียน

ภาพทีผ่ ิดจากหลักการตัวภาพ-พื้นภาพ จะทําใหเกิดความ กํากวมในการรับรูเชนภาพนี้ นิสิตรูไหมวาภาพนี้คืออะไร ?


Shape Constancy

เปนการนําประสบการณเรียนรูรปู รางของวัตถุ มาสื่อถึงระยะและชองวาง แมวารูปรางของวัตถุจะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม (Foreshortening) แตผชู มก็เกิดการรับรูถึงระยะความลึกได

การเปลีย่ นแปลงรูปรางของปกสมุดสี่เหลี่ยมผืนผา ในลําดับตาง ๆ จนกระทั่งกลายเปนเสนตรงบาง ๆ ของความหนาของปกสมุด


หากรูปรางในภาพไมมีการหดตัว การรับรูของผูชมจะมองเห็นเปนภาพ 2 มิติ หรืออาจเกิดเปนภาพกํากวมได นิสติ ลองจินตนาการให สี่ เหลี่ยมทั้งสอง เปนสี่เหลี่ยม จัตุรัส ? ภาพ Vega โดยวิกเตอร วาซาเรลี สวน ประกอบของภาพวางอยูบนตารางกริด ซึ่ง ประกอบดวยรูปสี่เหลี่ยมสีดําและขาว การหดและยืดของรูปรางสี่เหลี่ยมเหลานี้ ทําใหผูชมรับรูถึงความขนาดและมิติใน ภาพได โดยที่ภาพกริดที่มีขนาดเล็กลงผู ชมจะรับรูวากริดบริเวณวันหางออกไป และภาพกริดที่มีขนาดใหญขึ้นจะรับรูวา ใกลเขามา

Victor Vasarely . Vega, 1957 27” x 51" Collection of the Artist


ภาพผังพื้น

ภาพดานขาง

ฟรานซิส บอรรอมินิ (Francesco Borromini) ผูออกแบบระเบียงโบสถ Palazzo Spada ในป 1652ในกรุงโรม ดวยความยาวระเบียงที่จํากัดเพียง 12 เมตร เขาสามารถสรางการลวงตาใหผูชมเห็นระเบียงที่ยิ่งใหญโอโถง ดวยการลดความสูงของเสาที่เรียงเปนแถวในระเบียงนระเบียงและยกพื้นเปนทางลาดสูง (ภาพ ลาง) ทําใหเกิดแนวมองทัศนียภาพที่งดงาม


หองนอนที่ Arles ภาพนี้ VanGoghพยายามบรรจุทุกอยางใหอยูภายในผืนผาใบ อยางครบถวนลงในกรอบภาพที่จํากัด จึงทําให ดูเหมือนกับการถายภาพดวยเลนซมุมกวาง ผลคือการปรากฏภาพ Perspective อยางชัดเจน วัตถุที่อยูใกลจะมีขนาดใหญกวา วัตถุทอี่ ยูไกลกวามาก


Size Constancy การรับรูร ะยะของวัตถุในภาพ โดยอาศัยองคประกอบความแตกตางของขนาดวัตถุ ชนิดเดียวกันทีป่ รากฏในระนาบแบน ทัง้ นีเ้ พราะผูช มรับรูถึงขนาดวัตถุที่แทจริง เมื่อนํามาเปรียบเทียบกับวัตถุอื่น กลาวคือ เรามีประสบการณ เคยเห็น เคยจับ วัตถุสิ่งของในภาพมากกอน วัตถุที่ใชเนื้อที่บนฉากรับภาพของตา (Retina) มากที่สุด สมองจะตีความภาพวัตถุชนิดเดียวกันนั้นวาวัตถุอยูใกลที่สุด แทนที่จะมองเห็นวาวัตถุนั้นมีขนาดใหญที่สุด

เรารับรูวานกกานํ้า ในภาพลอยอยูในนํ้า ที่ ระยะตาง ๆกัน ทั้งนี้ เพราะเรารูจักขนาด นก กานํ้า จริงทุกตัวมากอน ทําใหภาพนี้ดูมีระยะ ความลึกขึ้นมา


Size Constancy ภาพนางละคร ซึง่ จิตรกร จักรพันธุ โปษยก ฤต แสดงความลึกของภาพโดยอาศัยความคงตัว ของวัตถุในภาพ (นักแสดง) ซึ่งอยูในตําแหนงตาง ๆ กัน

นางละคร ภาพสีนํ้ามัน จักรพันธุ โปษยกฤต ของ เสถียร สดประเสริฐ


Size Constancy

Dancing Class โดย Degas จิตร กรฝรั่งเศส การรับรูระยะโดยอาศัยขนาดของ นักเตนบัลเลยที่แตกตางไปตามตําแหนงตางๆ บนภาพจิตรกรรม จิตรกรรมของศิลปน Degas เปนจิตรกรที่ เติบโตขึน้ มาในกลิ่นอายของการดนตรี ภาพที่ ติดตา Degas เสมอคือการซอมระบําบัลเลย และการแสดงอุปกรากร ซึ่งเปนวิถีชีวิตของ คนฝรั่ งเศสในกรุงปารีส ชวงศตวรรษที่ 19 ที่ ชือ่ ชมการแสดงอุปรากรอยาง Opera ละคร บัลเลย คนตรีคลาสสิก ทําใหสถาบันการ ดนตรีและละคร ตองผลิตนักแสดงที่มีความ สามารถออกมาใหความบันเทิงตอสังคมใน เวลานัน้ อยางไมขาดสาย


Size Constancy

Fishing Boats on the Beach at Saintes/ maries Painted Jun 1888, Arles National Museum Vincent van Gogh. Amsterdam 25 3/8x31 7/8

จิตรกรวินเซนต แวนโก็ะ นําหลักความ คงตัวของวัตถุมาใชลวงตากับภาพ จิตรกรรม ซึง่ เปนระนาบแบน ขณะเดียว กันผูช มมีประสบการณกับขนาดของ วัตถุที่เปลี่ยนแปลงไปตามระยะทาง ทํา ใหภาพจิตรกรรม แลดูเปนสามมิติ หาก จิตรกรขาดความเขาใจเกี่ยวกับความคง ตัวของวัตถุแลว ภาพที่ปรากฏจะแลดู แบนดังเชน จิตรกรรมของอิยิปต


Color Constancy เกิดจากอิทธิพลของแสงสีในธรรมชาติ ที่ปรากฏความออนแกบนผิวหนาวัตถุ ทําใหเกิดการ รับรูระยะของวัตถุขึ้น

ไมมีอิทธิพลเงา

ไดรบั อิทธิพลแสง

การที่วัตถุมีปฏิสัมพันธกบั แสง ทําใหเกิดคุณคาของแสงขึน้ บนตัววัตถุ คุณคาของแสงนี้ แสดงออกมาในลักษณะความออนแกของสีพื้นผิววัตถุ ตัง้ แตบริเวณที่มดื ที่สุดเปนสีดําและ บริเวณที่สวางที่สุดเปนสีขาว(ทีเ่ รียกวาHight light) แมวาจะมีความแตกตางของสีสรรพ บนตัววัตถุมากมาย แตผูชมก็ยงั รับรูสขี องพื้นผิวเดิมไดอยูดี ผลที่ปรากฏจากความออน แกเหลานีก้ ลับกลายเปนการรับรูระยะมิตบิ นตัววัตถุแทน

ไขไกฟองไหนดูแบนที่สุด ?


Color Constancy

แสงทีแ่ สดงความออนแกของสีบนตัววัตถุ เปนความคงตัวของสี ซึง่ ทําใหเรารับรูมิติและ ปริมาตรของวัตถุนั้นได Georges Seurat Seated Boy with Straw Hat 1883-84 Conte' crayon on paper 9.5x117/8

ไพฑูรย เมืองสมบูรณ .ลูกมา" ขนาด 54 ซ.ม วัสดุ ปลาสเตอร อยูที่พพิ ธิ ภัณฑสถานแหงชาติหอศิลป


ชองวาง

คือรูปรางโปรงใส มองไมเห็นแตเรารูสึกหรือรับรูได ภาพรูปรางเงาดํา แสดงใหเห็นที่วางภายใน และชองวางภายนอก ทีว่ างภายนอกภาพแสดงตัวเองเปนพื้นภาพสีขาว

นิสิตพิจารณาดูวา ภาพนี้มีชองวางภายในไหม ? ชองวางภายในใหความรูสึก แตกตางจากชองวางภายนอกอยางไร ?


การรับรูชองวาง เรารับรูท ี่วางไดเชนเดียวกับการรับรูรปู ราง รูปทรง โดยใชประสาทสัมผัส ซึง่ อาจ เปนการใชมือลูบ คลํา ไปตามรูปราง หรือทีว่ างเหลานั้น การรับรูโ ดยการใช ประสาทตาสามารถทําไดโดยการมองหาขอบเขตของรูปราง หรือทีว่ างนั้น วิธี สํารวจหาขอบเขตของทีว่ าง เรียกอีกอยางหนึ่ง Kinesthetic คําถาม หากนิสิตเขาไปอยูในโรงภาพยนตรที่ มืดสนิท นิสิตมีวิธี หา ขนาดชองวาง ในหองนั้นไดอยางไร ? ก. ตะโกน ฟงเสียงสะทอน ข. มือคลํา ไปตามฝาผนัง ค. เดินตรง จนชนฝาหองแต ละดาน


อิทธิพลของเสนและที่วาง เสนที่มีความหนามากจนกลายเปน รูปรางของลําตนในขณะที่ปลายกิ่ง ทีแ่ ตกแขนงเปน เสน ฝอยที่แทรก ซึมลงในที่วางของทองฟา ชองวาง กวางใหญ ใหความรู สึกโลง ปลอดโปรง แลดูเบา ไมอึด อัด ใหการพักผอน ตนโอคปรากฏเปนรูปราง เดีย่ วในที่วางที่ใหญเกินกวา 1 เทา ใหความรูสึกโดดเดี่ยว เงี่ยบสงบ

ทีว่ า งมีลักษณะเปนทั้งสองมิติ และสามมิติ George Ingram, Snow ground & Oak tree


อิทธิพลของ….

1

บนพื้นราบ

2 3 4 รูปรางทีท่ บั ซอนกันจนลดขนาดของ ชองวาง แตไดรับอิทธิพลของแสง เงา ทําใหเรารับรูปริมาตรของชอง วาง รูปรางที่ทับซอนกัน มีผลตอการลด ขนาดของตัวอักษร ทําใหปรากฏ ชองวางแนวลึกมากยิ่งขึ้น


ชองวาง ในงานศิลปะ

จิตรกรรม

ชองวางภายใน (Negative Space) ชองวางภายนอก (Positive Space)

ประติมากรรม

ชองวางเปด (Open Space) ชองวางปด (Close Space)

สถาปตยกรรม

นิยมเรียกอีกอยางวา ที่วาง ที่วางใชสอย (Functional Space) นอกจากนี้ยังพิจารณาในแงความ งานเชนเดียวกับประติมากรรม


ชองวางใน จิตรกรรม

พืน้ ที่วางที่เปนสีฟาคือ ชองวาง

เปด โมนาลิซา ลีโอนาโด ดา วินชิ


ชองวาง

โมนาลิซา ลีโอนาโด ดาวินชิ


ชองวางในจิตรกรรม

The creation โดย ไมเคิลแองเจลโล


ชองวางภายนอก

ชองวางภายใน

The creation โดย ไมเคิลแองเจลโล ชองวางภายนอก


ผลของชองวางที่เกิดกับระยะ ในภาพจิตรกรรม จิตรกรสามารถสรางการลวงตา ใหภาพจิตรกรรมแลดูเปนสามมิติโดยอาศัยผลของระยะที่มีตอ ทัศนียภาพ หรือการเห็นของผูชมที่ขึ้นอยูกับตําแหนงของการมองวัตถุสามมิติทัศนียภาพแบงออก เปน 2 ประเภท คือ 1. ทัศนียภาพเชิงเสน หรือ Linear Perspective

ทัศนียภาพเชิงเสน เปนความสัมพันธระหวางตําแหนงวัตถุกับผูสังเกตุการณ โดยภาพสามมิติจะถูกฉายอยูบน ระนาบสองมิติที่กั้นระหวางวัถตุกบั ผูสังเกตุการณ ภาพที่เกิดจากทัศนียภาพเชิงเสนจึงเปนภาพสามมิติที่ปรากฏบน ระนาบสองมิติ ซึง่ ชางในสมัยฟนฟูศิลปะวิทยาไดคนหาวิธีเขียนใหไดเหมือนจริงที่สุด ทั้งนี้วัตถุที่อยูใ กลระนายกริด มากที่สุดจะมีขนาดใหญที่สุด และวัตถุที่อยูไ กลสุดจากระนาบกริดจะมีขนาดเล็กที่สุด


ภาพทัศนียภาพเชิงเสน แบงออกเปน 3 ลักษณะคือ ทัศนียภาพ 1 จุด

VP

เปนภาพที่เกิดจากการลากเสนวิถีออกจากจุดรวม สายตา (Vanishing Point) ที่มีเพียงจุดเดียว และอยู ในบริเวณตัวภาพ


ภาพทัศนียภาพเชิงเสนแบงออกเปน 3 ลักษณะคือ ทัศนียภาพ 1 จุด

ทัศนียภาพ 2 จุด

B

A เปนภาพที่เกิดจากการลากเสนวิถีออกจากจุดรวมสายตา ทีม่ สี องจุด A และ

VP


ภาพทัศนียภาพเชิงเสนแบงออกเปน 3 ลักษณะคือ ทัศนียภาพ 1 จุด A ทัศนียภาพ 2 จุด

ทัศนียภาพ 3 จุด

B

นิยมนํามาใชกับภาพวัตถุ ขนาดใหญ ที่มีมิติความสูงเขา มาเกี่ยวของมาก

C เปนภาพที่เกิดการลากเสนวิถีเขาหา จุดรวมสายตา (Vanishing Point) ที่มี สองจุด


คริสตินา เปนหญิงสาวขาพิการทั้งสองขาง พลัดตกจากเกวียนและมาก็เตลิดหนีหายไป ไมมใี คร ชวยเธอไดนอกจากพยายามใชมอื ทั้งสองลากตัวเองใหไปถึงบานกอนพายุใหญจะมา ภาพนี้ศิลปน สะทอนใหเห็นถึงสังคมชีวิตชนบทอเมริกันทีต่ างคนตางอยูบนที่ราบกวางใหญในภาคกลางสหรัฐ ที่ ตองชวยเหลือตัวเอง

Andrew Wyeth , Christina's World 1948 Tempera on gesso panel 32 1/4 x 47 3/4


ชองวางในภาพนี้ มีความสําคัญทั้งในแงของความงาม หรือชองไฟระหวางรูปราง 3 รูป ทีว่ างอยูอยางพอเหมาะ นอก จากนี้ยังมีผลตอความรูสึกของผูชมในแงของความรูระยะทางที่หญิงสาวจะตองใชแขนทั้งสองคืบไปขางหนา เพื่อไปให ถึงบานซึง่ อยูห างไกลเหลือเกิน


ชองวางในประติมากรรม ประติมากรรมเปนงานศิลปะที่มปี ริมาตร ชองวางที่อยูในตัวประติมากรรมก็มีปริมาตรเชนกัน และเนื่องจากรูปรางของแตละดาน ของประติมากรรมจะแตกตางไปตามมุมมอง ดังนั้นการรับรูชองวางในงานประติมากรรมจึงแตกตางออกไปดวย The Thinker เกิดขึ้นจากการสรางสรรคโดยประติมากรฝรั่งเศส ออกุส โรแดง (August Rodin)ที่ตองการสรางประติมากรรม มนุษยที่แสดงถึงอารมณความเปนมนุษย โดยที่ในเวลานั้นความนิยมของงานศิลปะยังคงไดรับความนิยมไปในเชิงอุดมคติและความ เหมือนจริงคอนขางกวางขวาง โรแดงจึงไดเลือกเอาทหารนายหนึ่งที่เดิมมีอาชีพเปนชางไม มีรางกายที่กํายําแข็งแรงมาเปนแบบ ซึ่งประติมากรรมชิ้นแรกที่เสร็จสมบูรณเปนปูนพลาสเตอร หลอขนาดเทาของจริง ในปค.ศ. 1877 การแสดงผลงานของโรแดงครั้ง แรก ที่กรุงปารีส ไดสรางเสียงวิพากษวิจารณในหมูศิลปนอยางกวางขวาง ซึ่งคํากลาวตําหนิที่รายแรงที่สุดคือ ความเขาใจที่โรแดง สรางประติมากรรมชิ้นนี้ดวยการหลอสวนตาง ๆ ขึ้นจากนายแบบ ซึ่งภายหลัง August Negt ผูเปนแบบไดอาสาเดินทางไปปารีส เพื่อขจัดขอสงสัยใหหมดไปจากวงการศิลปะในปารีส ซึ่งภายหลังสาธารณะชนไดคนพบอัจฉริยภาพของประติมากรเอกผูนี้ในที่สุด

1

2

คําถาม นิสิตคิดวา ประติมากรรม The Thinker มองจากมุม ุ คาแกการมองมากทีส่ ุด ? ทําไม ? ไหนใหคณ

3

4

August Rodin, The Thinker (Infront of the Pantheon C. 1902 Broze height 79" Musee Rodin, Paris (Since 1922)


ชองวางในประติมากรรม

ชองวางภายนอก เปนชองวางที่ แสดงใหเห็นถึงรูปทรงของตัว ประติมากรรมทั้งหมด ชองวางชนิดนี้จะ แลดูซบั ซอนยิง่ ขึน้ หากประติมากรรมแต ละชิ้นถูกนํามาวางรวมกันกันเปนกลุม ทํา ใหเกิดชองวางที่เล็กลงไป ชองวางภาย นอกยังมีขนาดตาง ๆ กัน ชองวางภาย นอกทีเ่ กือบถูกปดกันจะใหคุณคาใกล เคี องวางภายใน ชอยงกั งวบาชงภายใน เปนชองวางที่สราง คุณคาแกการมองประติมากรรม ผูชม สามารถมองทะลุตัวประติมากรรมไปเห็น บริเวณดานหลังตัวประติมากรรมได ชอง วางประเภทนี้ทําใหประติมากรรมแลดู โปรงเบา การสรางสรรคประติมากรรมที่ มีชอ งวางภายในจะทําไดยากกวากวา ประติมากรรมทึบทั้งหมด จึงเปนชองวาง ทีใ่ หคุณคาในแงของทักษะและเทคนิคใน ตัวประติมากรรมอีกดวย


คําถาม

ประติมากรรม ใดมีชองวางมากกวากัน? แบบไหนใหคุณคาการมองมากกวา ? ทําไม ?

เขียน ยิ้มศิริ ขลุยทิพย 60 ซม. ทองแดง พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ หอศิลป

ประติมากรรมลอยตัว ที่ฐานของอนุสาวรียชัย สมรภูมิ ขนาด 1 1/2 เทาสําริด เมื่อปพ.ศ. 2485


ชองวางในสถาปตยกรรม ชองวางในงานสถาปตยกรรม อาจเรียกอีกอยางหนึง่ วา ทีว่ า ง เนือ่ งจากมีความเกี่ยวของกับประโยชนใชสอยตัวชอง วาง พอๆ กับความงาม งานสถาปตยกรรมมีลักษณะคลายประติมากรรมที่ทั้งสองเปนผลงานที่มีปริมาตรเชนเดียว กัน ซึง่ ชองวางภายในและภายนอกมีสวนสําคัญตอความงามภายนอกสถาปตยกรรม บานฟรานสเวอธ (Fransworth house) ออก แบบโดย สถาปนิก มิส แวนเดอรโรฮ ออกแบบให มีชอ งวางภายในและภาย นอกแลดูเปนสัดสวนเดียว กัน ทําใหอาคารโปรงเบา เนนโครงสราง และดึงสิ่ง แวดลอมภายนอกเขามา เปนสวนหนึ่งภายในอาคาร ดวย FARNSWORTH HOUSE Plano Illinois 1948-50 Mies van der Rohe


สถาปตยกรรมพระราชวังลูฟร (Louvre) ปารีส ฝรั่งเศส สถาปตยกรรมพระราชวังลูฟร (Louvre) ฝรั่งเศส ประกอบดวยกลุมอาคารที่สรางขึ้นในคริสตศตวรรษที่ 12และใชเปนพระราชวังของกษัตริยฝรั่งเศสเรื่อย มา จนกระทั่งหลังการปฏิวัติฝรั่งเศสในป 1793 พระราช วังแหงนี้ไดถูกเปลี่ยนมาเปนพิพฑ ิ ภัณฑสถานที่จัดแสดงพระคลังสมบัติของพระเจาหลุยสที่ 16 พืน้ ที่วางซึ่งเปนสวนประกอบทางภูมิสถาปตยกรรมของพิพฑ ิ ภัณฑลฟู รมิไดเปลี่ยนแปลงไปนักจนกระทั่งในป 1981 รัฐบาลฝรั่งเศสโดยประธานธิบดี ฟรัง ซัวส มิตเตอรรอนดมีดําริใหมีโครงการ Grand Louvre เพื่อสะทอนใหเห็นวาลูฟรยังคงเปนความสําคัญของประเทศฝรั่งเศส และเพื่อเปนอนุสรณแก ประธานาธิบดีมิตเตอรรอนด โดยสถาปนิกอเมริกันเชื้อสายจีน I M Pei ไดรบั มอบหมายใหใชพื้นทีบ่ ริเวณลานกวางดานหนาพิพิธภัณฑ สราง สถาปตยกรรมที่สื่อถึงโลกยุคโบราณและเทคโนโลยียุคใหมในรูปแบบของปรามิดแกวโครงเหล็กเขากับพิพธิ ภัณฑลูฟรไดอยางกลมกลืน


ที่วางในงานสถาปตยกรรม

พืน้ ที่วางดานหนาพิพิธภัณฑ ลูฟร ถูกนํามาคิดคํานวณ อยางละเอียดโดยการพิจารณาจากตัวแปรสําคัญหลายตัว คือสัดสวนพื้นที่วา ง สัดสวนของสูงของอาคารเดิม ตําแหนงสังเกตการณของผูชม ฯลฯ โดยนําคอมพิวเตอร มาใชคํานวณกําหนดตําแหนงวางปรามิดแกว


ที่วางในงานสถาปตยกรรม Landscape: ชองวางภายในนอกสถาปตยกรรม เปนชองวางที่เปนปริมาตรสามมิติที่ใหพื้นที่วางที่พอเหมาะ สําหรับ กลุมอาคาร สิ่งกอสราง และองคประกอบอื่น ๆใน สถาปตยกรรม พื้นที่โลงเหลานี้ถูกกําหนดขึ้นเพื่อวัตถุประสงค ดานหนาที่ใชสอยควบคูไปกับความงาม

ศูนยศิลปะสิรินธร โรงเรียนศรีสงคราม จังหวัดเลย ผูอ อกบบ Plan Achitec Co.


ชองวางกับบานพักอาศัย

พื้นที่โดยรอบอาคาร เปนชองวางที่ใหผลตอความนาอยูอาศัยหาก ทานพักอาศัยปราศจากชองวาง เปนผลทําใหเกิดความแออัดคับ แคบ ไมนาอยูอาศัย ขาดสุนทรียภาพ ผูอยูอาศัยก็จะขาดความสุข สบาย ชองวางที่คับแคบยังสงผลไปสูความรกรุงรังดวย เนื่องจาก องคประกอบทางทัศนะอื่น ๆ ตางใชที่วางและบดบังกัน ทับกันไม สามารถแสดงจุดเดนขององคประกอบหลักหรือประธานได เนื่องจาก องคประกอบทุกตัวใชที่วางไปจนหมด นิสิตคิดวาบานในภาพ ไหนนาอยูอาศัยกวากัน ?


พืน้ ผิว (Texture)

พื้นผิวดาน

คุณสมบัติของผิวหนาวัตถุ พืน้ ผิวแบงออกเปน 2 ประเภท คือ

พื้นผิวมัน


พืน้ ผิวจะมีความหมายมากเมื่อมีการไดสัมผัสโดยตรง ซึ่งผูสัมผัสจะไดรับรูถึงความ นุมนวล แข็งกระดาง เย็น อุน ลื่น มัน สาก ความรูสึกเหลานี้ถือเปนประสบการณ ของผูชม ซึ่งถูกนําไปใชกับการใช จักษุสัมผัส

ในการออกแบบเครื่องเรือน นอกจากการ พิจารณาถึงรูปรางที่เหมาะสมกับสรีระราง กายของผูใชแลว สวนประกอบดานการ สัมผัสยังเกี่ยวของกับความนาใชของเครื่อง เรือน โดยเฉพาะหนัง และหวาย เปนวัสดุที่ มีคุณคาเหมาะแกการนํามาเปนวัสดุรองนั่ง มากวา ไวนิล และพลาสติก


พืน้ ผิวในงานสถาปตยกรรม

ความแตกตางกันของพื้นผิว ทําใหสถาปนิกเลือกนําวัสดุตาง ๆมาใชตกแตง ผิวหนาอาคาร วัสดุเหลานี้ใหคุณคาของพื้นผิวที่แตกตางกันไปตามคุณสมบัติ ของตัวเอง รวมทั้งการเลือกประเภทของพรรณไมที่มีลักษณะใบที่หยาบ เรียบ ละเอียดและสัดสวนตางกัน ทําใหเกิดการสัมผัสพื้นผิวในพื้นที่วางของ สถาปตยกรรมที่งดงามเกิดความสุขทางกายและใจดวย


การรับรูพื้นผิว การรับรูพื้นผิว เริ่มจากการไดสมั ผัสกับผิวหนาวัสดุโดยตรง ทําให เกิดประสบการณตอพื้นผิวนั้น ซึ่งผูชมจะไดเรียนรูและเกิดเปน ทักษะการใช จักษุสัมผัส ตอไป

Textile

Texture Experience Memory

Visual Perception

รับรูพ้นื ผิวดวยตา


พืน้ ผิวเปน ความรูจากประสบการณ

หากเราเคยเห็นหรือสัมผัสเปลือกผลสตรอเบอรีจะพบวาผิวของผลไมประกอบดวยตาและเมล็ดเล็กๆ จํานวนมาก มีสี แดงสลับขาว ดังนั้นแมวาเราจะเห็นผิวของผลไมชนิดนี้เปนบางสวน ก็อาจทําใหเรารูถึงลักษณะโดยภาพรวมได


การแปลงพื้นผิว

พื้นผิวสามารถแปลง หรือลวงความรูสึกของผูชมได โดยอาศัยทักษะ ความสามารถและจิตวิญญาณของศิลปน ประติมากรไมเคิล เองจิโล สามารถเปลี่ยนแปลงพื้นผิว ของหินทีห่ ยาบกระดางใหกลายเปนเลือดเนื้อ ความมีชีวิตชีวา ความออนนุมของผืนผา (บน) The Pieta


พื้นผิวกับการตกแตง ไม

อบอุน อินทรีย พักผอน ไมเปนทางการ เปนกันเอง

หิน เย็น แข็งกระดาง ทนทาน อนินทรีย เสียงสะทอน หินออน ออนหวาน โออา ภูมิฐาน ผอนคลาย หินแกรนนิต แข็งแกรง เยือกเย็น ทนทาน เฉียบคม หินทราย ธรรมชาติ สาก หยาบกระดาง แข็งแรง คงทน หินกรวด เย็น ชุมชื้น ลําธาร ธรรมชาติ

สิ่งทอ

นุมนวล อบอุน ปลอดภัย พักผอน เก็บเสียง


ไม มีลวดลายสวยงาม เปนธรรมชาติใหความรูสึกออน โยน ใกลชิดตนไม นิยมใชกับเครื่องเรือน

หินใหความรูสึกแข็งกระดาง เปนเหลี่ยมสัน เย็น และมั่นคง หินแกรนิตเหมาะกับการใชรวมกับวัสดุผิวมัน สะทอนความคม สัน รูปลักษณใหม เชนสเตนเลสตท


กระเบื้องเคลือบ กระเบื้องดินเผา ให ความรูเปนธรรมชาติ และความเปนกันเอง ความเปนสวนตัว เนื่องจากเปนงานที่ แสดงถึงหัตถกรรมจึง สะทอนถึงเอกลักษณ ของวัฒนธรรมทอง ถิ่นไดอีกดวย


หินทราย และกรวดให ความรูสึก ดิบ หยาบ เย็น แตใกล ชิดธรรมชาติ


พืน้ หินแกรนนิต ใหความรูส ึกแข็งแกรง และทันสมัยจึงเหมาะสําหรับใชรวมกับ วัสดุที่เปนโลหะมันวาว และรูปลักษณที่ ทันสมัย ความแข็งกระดางของพื้นหิน แกรนิตสามารถลดลงไดดวยการใชวัสดุ ทีอ่ อ นนุมเชนพรมปูเปนบางสวน


พรม สิ่งทอใหความรูสึกนุมนวล อบอุน และเงียบสงบ


พื้นหินออน ใหความรูสึกโอ อา ออนโยน จึงเขากับพื้นผิว ไมได จึงทําใหแลดูเปนธรรม ชาติโดยภาพรวม

พื้นไม ใหความรูสึกพักผอน อบอุน จึงเหมาะสําหรับบาน เรือน เชนเดียวกับเครื่องเรือน ซึง่ เปนไม


พืน้ ผิวที่ไมเขากัน หินแกรนนิตใหความรูสึกที่แข็งกระดาง ความทันสมัย ในขณะที่ ลูกกรงดดราวบันได ใชลวดลายโคงออนหวานและวัสดุสีทองที่ดู โออา ทําใหเกิดความรูสึกขัดแยง เนื่องจากคุณสมบัติของพื้นผิวที่ ไมเขากัน

พืน้ ผิวที่เขากัน หินแกรนนิต ผิวมัน แกรง เหมาะกับวัสดุ กระจกแผนมัน ราวสแตนเลสขัดมัน ทั้งหมดให ภาพของความแข็งแรง เปนเหลี่ยมเปนสัน ลํ้า สมัย เปนการเปนงาน


ตัวอยาง การใชพื้นผิวที่หลากหลาย ผิดธรรมชาติ จึงเกิดความขัดแยง

กําแพงในภาพนี้มี วัสดุอะไรบาง นิสิต ลองแยกแยะดู และ วัสดุแตละประเภท ใหความรูสกึ และ ความหมายอยางไร อยูรวมกันไดไหม อยางไร


ตัวอยาง การใชพื้นผิวที่หลากหลาย ผิดธรรมชาติ จึงเกิดความขัดแยง

กําแพงวัด ที่ใชวัสดุที่หลากหลาย ทําใหปรากฏพื้นผิวที่ลานตา สวนผนังใชกระเบื้องเคลือบใหความรูสึกแข็งกระดาง มัน วาว ผนังกออิฐโปรง มีพื้นผิวอิฐเผา ใหความรูสึกเปนธรรมชาติ ดิบ ดาน ซึมนํ้า ประหยัดราคา ลูกกรงและหัวประดับสัน กําแพง เปนหินออนเทาลาย ใหความรูสึกมีคุณคา หรูหรา ผลที่ปรากฏจึงเปนความสับสนของความรูสึกที่สื่อออกมา ทํา ใหเสียคุณคาของพื้นผิววัสดุ


สี (Colors)

เสน, รูปราง, ชองวาง และพื้นผิว เสน และรูปราง

สี เปนองคประกอบฯทีช่ ว ยใหเรามองเห็นคุณคาขององคประกอบ ทัศนศิลปตวั อืน่ ๆ และยังสามารถควบคุมและเปลี่ยนแปลงองค ประกอบตัวอืน่ ทั้งนี้เพราะสีเขาไปเกี่ยวพันธกับองคประกอบทัศน ศิลปเหลานั้น อีกทั้งยังมีผลตอจิตใจของผูชม


สี (Colors) : พื้นผิวในระดับความถี่ของแสง

มนุษยมองเห็นสีในชวงจํากัดที่ เรียกวา Spectrum สีทมี่ นุษย มองเห็นไดชัดเจนที่สุดคือสี เหลือง ในขณะที่สีแดงแก และ มวงแกจะมองเห็นยากขึ้นเปน ลําดับ


สีประกอบด (Colors) วย สีสรร (Hue) ความอิ่มตัวของสี (Saturation) และคุณคา (Value) สีสัน เกิดจาก การผสมรวม กันของแมสี เกิดเปนสี หลัก 12 สี

ความอิม่ ตัว ของสี เปน ความบริสุทธิ์ และความ หมองของสีสัน คุณคาของสี เปน ความสวางและมืด ของสีใดสีหนึ่ง ทํา ใหเกิดระดับออน แก เปนผลตอ ความคงตัวของสี


สี (Colors)

สีสัน (Hue)

Han Hofmann. TheGolden Wall. 1961 Oil on Canvas 60 x 72 1/2” The Art Institute of Chicago

Ultrmarine

Cobolt Blue Rose Wood

Crimson lake

Lavender

Brick

Violet


วงลอสี วรรณะรอน

วรรณะเย็น


โทนสีอุน ใหความรูสึก เคลื่อนไหว มีชีวิตชีวา ขยายตัว

Piet Mondrian. Broadway Boogie-Woogie. 1942-43. Oil on canvas, 50 x 50" (127 x 127 cm) . The Museum of Modern Art, New York.


จิตรกรรมภาพ 3มิติ Nighthawks โดย Edward Hopper แสดงถึงความเงียบเหงา ยามคํ่าคืนในรานอาหารแหงหนึง่ บนถนน กรีนนิช นครนิวยอรคในชวงป 1940 Oil on canvas, 1942; 84.1 x 152.4 cm

จิตรกรรมทั้งสองมีเนื้อหาเกี่ยวกับเมืองเดียวกัน คือ นิวยอรค แตแสดงออกมา ตางเวลาและอารมณ ภาพNighthawks เปนภาพสามมิติแลดูลึกวัตถุในภาพ เปนรูปทรงสามมิติ แสดงออกที่สมจริง สีโทนเย็นในภาพทําใหเกิดอารมณดูสงบ เยือกเย็น ลึกลับ

จิตรกรรม 2มิติ Broadway Boogie-Woogie. 1942-43 แสดงถึงความ สับสนวุนวายของถนนในนครนิยอรคศิลปนมอนเดรียนไดใชตารางกริด เปนเครื่องมือในการจัดองคประกอบในภาพจิตรกรรมนี้ Piet Mondrian. Broadway Boogie-Woogie. 1942-43. Oil on canvas, 50 x 50" (127 x 127 cm) . The Museum of Modern Art, New York.


ความอิ่มตัวของสี (Saturation) อิ่มตัวสูง สีสดใส

สด

อิ่มตัวสูง สีหมอง คลํ้า

หมอง

แสดงถึงความสดใสที่มีในแตละสีสัน สีทมี่ คี วามอิ่ม ตัวสูงจะปราศจากการผสมกับสีอื่น ๆ โดยเฉพาะสีที่ อยูตรงขามกันในวงลอสี


คุณคา (Value) คุณคาในสีสรร เปนระดับความออนแกที่ปรากฏในสีสรรแตละสี


12 Basic Colors 1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

1 2 3 4

5

จากสีขนั้ ปฐมภูมิ และทุติยภูมิ ทําใหเราสามารทําใหเราสามารถผสมใหเกิดสีในระดับที่ 3 หรือสีตติยภูมิ ซึ่ง เพียงพอตอการเลือกมาใชสรางสรรคผลงาน ซึ่งประกอบดวยสีขั้นพื้นฐานจํานวน 12สี ซึ่งหากผูใชตองผสมสี ขึน้ เองจากแมสี ก็จะไดไมสดใสเทากับผลิตจากโรงงาน สีพื้นฐาน 12 สีนี้หากผูใชมีทักษะที่ดีก็สามารถสราง นําหนั ้ กสีไดตั้งแต 5 ระดับความเขม จนถึง 9 ระดับ ซึ่งก็จะเกิดสีสรรมากขึ้นไปอีก


สีสรรพที่เรารับรูมีดวยกันจํานวนมาก จึงมีผูจัดระบบสีใหเปนกลุม เพื่อสะดวกตอการนําไปใช กลุมแรก Pastel หรือกลุมสีซีด เกิดจากการนําสีขาวไปผสมในสีสรรตาง ๆ เพื่อใหดู โปรงเบา สะอาด แลดูใหม เรียบ งาย แลดูจดื ชืดแต ดูไดนาน กลุมPastel จึงนิยมใชงานสถาปตยกรรม สีพื้นเสื้อผา เปนตน


จากสีพื้นฐาน 12 สี ยังสามารถนําไปผสมเพื่อใหเกิดกลุมสี กลุมสีนี้ทําใหสะดวกตอการนําไปใช กลุม สีออน หรือ Pastel Tone เกิดจากการนําสีขาวไปผสมในสีสรรพตาง ๆ เพื่อใหดู โปรงเบา สะอาด แลดูใหม เรียบงาย แลดูจืดชืดแต ดูไดนาน กลุมPastel จึงนิยมใชงานสถาปตยกรรม สีพื้นเสื้อผา เปนตน กลุม สีแก หรือ Dark Tone เปนกลุมสีที่นําสีดํามาผสมกับสีพื้นฐาน ทําใหสีเขมแก ใหความรูสึกมืด หนัก เหมือนกับเมษฝน กลุมสีแก เชน นํ้าเงินแก หรือกรมทา แดงแก หรือนํ้าตาล นิยมใชกับเครื่องแตงกายของบุรุษที่ใหความรูสึกหนักแนน เขมแข็ง สี่แก ในกลุมสีแดง นํ้าตาล กากี เขียวหมน เขียวแก เขียวกากี บางที่เราเรียกเปน กลุม Earth Tone กลุม สีหมน หรือ Dull Tone เกิดจากสี ที่นําไปผสมกับสีในกลุมเทา ทําใหสีแลดูหมนหมองลง นั้นคือลดความบริสทุ ธิ์ของสี (Desaturate) ลงจนกลายเปนสีหมน หากเติมสีเทาลงในปริมาณนอยจะทําใหเกิดความนุมนวลตอสีที่จัดจาน แตหากปริมาณสีเทามีมากจะทํา ใหแลดูหมน สีหมนชวยทําใหเรารูสึกสบาย ผอนคลายสายตาไดดี ลดความเคลียด กลุม สีสด หรือ Vivid Tone เปนสีที่เกิดจากการผสมกันในกลุม Hue ในอัตราสวนตาง ๆ กัน สีกลุมนี้ใหความรูสึกระตุนอารมณ ใหตื่นตัว และมีพลัง เรามักไมนิยมใชสีกลุมนี้รวมกันในครั้งเดียวกัน เหมือนกับการฟงดนตรีที่เครื่องดนตรีทุกชิ้นเปลงเสียงดังออกมาพรอม ๆกัน และเนื่องจากสีกลุมนี้เรียกความสนใจผูชม และใหความรูสึกสนุกสนาน ไดดี จึงนิยมนํามาใชกับปายโฆษณา รวมทั้งเสื้อผาเด็ก ๆ และของเลน กลุม เปนกลาง หรือ Achromatic Colors เปนกลุมที่มิไดมีเนื้อสีหรือ Hue ผสมอยู กลุมนี้เปนตัวแทนของความมืด สวางซึ่งจะ สงผลตอสีที่นําไปผสมดวย กลุม แมสีพิมพ หรือ Process Colors เปนแมสีสาหรั ํ บการพิมพ ประกอบดวย สีเหลือง (Yellow) แดงบานเย็น (Magenta) และ ฟาสด (Cyan) เปนแมสีที่จําเปนสําหรับกระบวนการพิมพ โดยเฉพาะการพิมพในระบบออฟเซ็ท ซึ่งจะเติมสีดําเพิ่มอีกหนึ่งสี เพื่อประหยัด ประมาณเนื้อสีของแมสีทั้งสาม


Vivid Tone


Vivide Tone


Dark Tone


Pastel Tone


Cool Tone

สวนใหญจะอยูในกลุมสีฟา มวง



พื้นผิวใด เปนลักษณะลายไม


วัตถุในขอใด จะดูใหญที่สุด


ขอใด ระนาบ A อยูใกลที่สุด


เสื้อผาในขอใด ที่เหมาะสําหรับผูหญิง ผิวสีเขม

1

2

3

4


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.