:: Annual Report 2013 - 2014 TH ::

Page 1

รายงานประจำป 2556-2557 บริษัท โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)


สารบัญ สาส์นจากประธานกรรมการ คณะกรรมการ รายงานของคณะกรรมการ ในส่วนความรับผิดชอบในเรื่องงบการเงิน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ปี 2556-2557 ดัชนีชี้วัดทางการเงิน ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป ข้อมูลทั่วไป นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ ลักษณะการประกอบธุรกิจ ปัจจัยความเสี่ยง โครงการในอนาคต ข้อพิพาททางกฎหมาย โครงสร้างผู้ถือหุ้น นโยบายการจ่ายเงินปันผล โครงสร้างการจัดการ การก�ำกับดูแลกิจการ ความรับผิดชอบต่อสังคม การควบคุมภายใน รายการระหว่างกัน ฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงาน การวิเคราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอ�ำนาจควบคุม รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทย่อย งบการเงิน

4 6 7 8 10 11 12 16 24 50 62 65 66 66 68 78 82 83 84 87 94 111 116 117

“ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์เพิ่มเติมได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) ของบริษัทที่แสดงไว้ ใน www.sec.or.th หรือเว็บไซต์ของบริษัท www.polyplexthailand.com”


สายการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนาด้วยเครื่องจักรเทคโนโลยีใหม่ล่าสุด

1


เข้าร่วมงานแสดงสินค้า Film Tech 2557 ที่ประเทศญี่ปุ่น

เข้าร่วมงานแสดงสินค้า Interpack เมื่อพฤษภาคม 2557 ที่ประเทศเยอมัน

2


บริจาคคอมพิวเตอร์ ให้กับโรงเรียนในชุมชน

โรงเรียนอิสตันบูล อินเตอร์เนชั่นแนล เข้าเยี่ยมชมโรงงานที่ประเทศตุรกี

3


สาส์นจาก

ประธานกรรมการ นายมนู เลียวไพโรจน์ ประธานกรรมการ

4


เรียน ท่านผู้ถือหุ้นผู้มีอุปการคุณ ปีที่ผ่านมาเป็นปีที่มีความยากลำ�บากยิ่งปีหนึ่งสำ�หรับบริษัท จากการที่ยังคงประสบกับภาวะสินค้าล้นตลาดในอุตสาหกรรม แผ่นฟิล์มโพลีเอสเตอร์ ซึ่งส่งผลให้อัตรากำ�ไรหดตัวอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับการเริ่มต้นการผลิตของโครงการใหม่ๆส่วน ใหญ่ของบริษัทในประเทศไทยและสหรัฐอเมริกามีการชะลอตัวจากที่คาดการณ์ไว้ รวมถึงค่าเงินบาทอ่อนตัวลงเมื่อเทียบกับ เงินเหรียญสหรัฐและเงินยูโร ทำ�ให้บริษัทมีผลประกอบการขาดทุนสุทธิเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่เริ่มดำ�เนินธุรกิจในประเทศไทย บริษัทเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์สำ�หรับโครงการเกือบทุกโครงการที่ได้ริเริ่มในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา อันได้แก่ สายแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางในสหรัฐอเมริกา สายแผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนา ตลอดจนโรงงานเม็ดพลาสติกที่เกี่ยวเนื่อง สายแผ่นฟิล์มเคลือบ อัดขึ้นรูปสายที่สอง และสายแผ่นฟิล์ม Blown PP สายแรกในประเทศไทย และเครื่องเคลือบนอกสายการผลิตในประเทศ ตุรกี นอกจากนี้ โรงงานเม็ดพลาสติกสำ�หรับผลิตขวด PET ในประเทศตุรกีได้ทดสอบการผลิตเสร็จสิ้นเป็นผลสำ�เร็จ คาด ว่าการผลิตเชิงพาณิชย์จะเริ่มต้นได้เร็วๆนี้ เพื่อเป็นการเสริมพอร์ตผลิตภัณฑ์แผ่นฟิล์มคุณสมบัติเฉพาะพิเศษ บริษัทได้ประกาศลงทุนในสายเคลือบอลูมิเนียมใหม่ใน ประเทศไทยและตุรกีในปีที่ผ่านมา ซึ่งจะเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ภายในปีนี้ ทั้งนี้ สายเคลือบใหม่จะช่วยเพิ่มอัตรากำ�ไรและ สร้างความแตกต่างให้แก่บริษัทเมื่อเทียบกับคู่แข่ง จากการที่สายการผลิตใหม่หลายสายได้เริ่มการผลิตแล้ว และยอดขายของบริษัทเพิ่มสูงขึ้นเป็น 10.70 พันล้านบาท หรือเพิ่ม ขึ้นประมาณร้อยละ 16 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา แต่ภาวะตลาดที่ไม่เอื้ออำ�นวยประกอบกับการชะลอตัวของการเริ่มโครงการ ลงทุนใหม่ๆส่งผลให้บริษัทขาดทุนสุทธิ 489 ล้านบาท โดยที่ขาดทุนอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากการปรับปรุงการ แปลงค่าเงินกู้สกุลเงินเหรียญสหรัฐและสกุลยูโรก็ส่งผลต่อภาวะขาดทุนอย่างมีนัยสำ�คัญ บริษัทยังคงมั่นใจว่า การลงทุนในโครงการใหม่ๆไม่เพียงแต่จะสร้างผลตอบแทนแก่ผู้ถือหุ้นได้อย่างเพียงพอเมื่อวงจร อุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้นแล้ว แต่จะเป็นการสร้างความมั่นคงในการทำ�รายได้มากขึ้น เนื่องจากโครงการเหล่านี้จะช่วย กระจายความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์/ประเทศ/ลูกค้า สินทรัพย์เหล่านี้รวมถึงสินทรัพย์อื่นที่มีอยู่ในปัจจุบันจะช่วยให้บริษัท สามารถเติบโตได้ ในปีต่อๆไปโดยมีกำ�ไรและได้รับประโยชน์เต็มที่ทันทีที่อุตสาหกรรมเริ่มฟื้นตัว แม้ว่าผลประกอบการทางการเงินของบริษัทจะปรับตัวลดลงในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา แต่งบดุลของบริษัทยังคงแข็งแกร่ง โดยมี อัตราส่วนหนี้สินต่อทุนต่ำ�และมีสภาพคล่องเพียงพอ เนื่องจากบริษัทคาดว่าสถานการณ์สินค้าล้นตลาดในปัจจุบันของอุตสาหกรรมแผ่นฟิล์ม PET จะยืดเยื้อต่อไปอีกระยะเวลา หนึ่ง จึงจำ�เป็นที่จะต้องดำ�รงเงินสดไว้เพื่อให้สถานะทางการเงินมีความมั่นคง ด้วยเหตุนี้ คณะกรรมการบริษัทจึงไม่ได้เสนอ ขออนุมัติจ่ายเงินปันผลสำ�หรับปีบัญชี 2556-57 ซึ่งนับเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ที่บริษัทไม่ได้ จ่ายเงินปันผล อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาสภาพตลาดในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต ข้าพเจ้ามีความมั่นใจว่าผู้ถือหุ้นจะ เข้าใจและเห็นด้วยกับเหตุผลดังกล่าว บริษัทตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและได้ดำ�เนินกิจกรรมต่างๆอย่างต่อเนื่องที่จะเป็นการช่วยเหลือสังคมในทำ�เล ที่ตั้งทุกแห่งที่บริษัทดำ�เนินธุรกิจ ความสำ�เร็จของการเริ่มดำ�เนินงานโรงงานรีไซเคิลในประเทศไทยเป็นการแสดงให้เห็นถึง ความมุ่งมั่นของบริษัทในการลดผลกระทบจากของเสียแผ่นฟิล์มต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ นอกเหนือจากการรีไซเคิลของเสีย ส่วนใหญ่จากกระบวนการผลิตของบริษัทแล้ว บริษัทยังพยายามต่อเนื่องในการหาหนทางแก้ไขปัญหาของเสียจากการผลิต ของตนและจากการใช้ของผู้บริโภคอย่างยั่งยืนต่อไป สุดท้ายนี้ ในนามของคณะกรรมการบริษัท ข้าพเจ้าขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้น คู่ค้า และพนักงานของบริษัททุกท่านที่ได้ ให้การ สนับสนุนและทุ่มเททำ�งานหนักมาโดยตลอด ซึ่งหากปราศจากสิ่งเหล่านี้ บริษัทย่อมไม่สามารถที่จะดำ�เนินธุรกิจจนเป็นหนึ่ง ในบริษัทที่มีการเติบโตเร็วที่สุดในอุตสาหกรรมนี้ได้ นายมนู เลียวไพโรจน์ ประธานกรรมการ 5


คณะกรรมการ

6

นายมนู เลียวไพโรจน์ ประธานกรรมการ และกรรมการตรวจสอบ

ดร.วีรพงษ์ รามางกูร กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ

นายซีราช อีรัช ปุณวาลา ประธานกรรมการ และกรรมการตรวจสอบ

นายซันจีฟ ซาราฟ รองประธานกรรมการ

นายโรฮิท กุมาร์ วาฮิททรา กรรมการผู้จัดการ

นายประพัฒน์ โพธิวรคุณ กรรมการ

นายปราเนย์ โกธารี กรรมการ

นายมานิตย์ กุปต้า กรรมการ


รายงานของคณะกรรมการ ในส่วนความรับผิดชอบในเรื่องงบการเงิน เรียน

ผู้ถือหุ้นบริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการบริษัทได้ตระหนักถึงหน้าที่และความรับผิดชอบในการสร้างเสริมเพื่อให้เกิดการก�ำกับ ดูแลที่ดีของกิจการ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นโดยรวม คณะกรรมการเชื่อมั่นว่า งบการเงินและ ข้อมูลทางการเงินของบริษัทที่ปรากฎในรายงานประจ�ำปีของบริษัทนั้น เป็นข้อมูลที่มีความถูกต้องและสมบูรณ์ ตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปของประเทศไทย เพื่อให้มีการปฎิบัติ ตามมาตรฐานการบัญชีที่เป็นที่ยอมรับ โดยทั่วไปและเหมาะสมกับการด�ำเนินธุรกิจ รวมถึงการปฎิบัติตามระบบการควบคุมภายในที่ดี และได้รับการ ตรวจสอบเป็นระยะ ๆ จากคณะกรรมการตรวจสอบที่ได้น�ำเสนอรายงาน การตรวจสอบดังกล่าวไว้ ในรายงาน ประจ�ำปีฉบับนี้แล้ว งบการเงินส�ำหรับปี 2556-57 ของบริษัทที่ได้ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีตามมาตรฐาน การ บัญชีที่รับรองทั่วไป ได้น�ำเสนอฐานะทางการเงิน ผลการด�ำเนินงานและกระแสเงินสด ตลอดจนรายการที่เกี่ยว ข้องอื่นๆ ในสาระส�ำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

นายมนู เลียวไพโรจน์ ประธานคณะกรรมการ

นายโรฮิท กุมาร์ วาฮิททรา กรรมการผู้จัดการ

7


รายงานประจำ�ปี 2556-2557

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ปี 2556-57 เรียน ผู้ถือหุ้นบริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) เนื่องจากการแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจ�ำกัดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2547 ที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทที่จัดขึ้น เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2547 ได้มีมติแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระจ�ำนวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ในด้านการเงิน บัญชี อุตสาหกรรม และธุรกิจ ได้แก่ คุณมนู เลียวไพโรจน์ (ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ) ดร. วีรพงษ์ รามางกูร และ คุณชีราช อีรัช ปุณ วาลา คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่ความรับผิดชอบตามการกระจายอ�ำนาจที่คณะกรรมการบริษัทก�ำหนดขึ้น หนึ่ง ในหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ คือ การสอบทานผลการด�ำเนินงานด้านการเงินรายไตรมาส/รายปี ควบคุม ดูแลบริษัทให้มีการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลาดหลักทรัพย์) และส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ควบคุมดูแลให้มีความโปร่งใสในระบบ บัญชี สอบทานระบบควบคุมภายใน และส่งเสริมให้มีการใช้หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีในการปฏิบัติงาน ในปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทมีการจัดประชุมคณะกรรมการตรวจสอบรวมทั้งสิ้น 6 ครั้ง ทั้งนี้ การปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบสามารถสรุปได้ดังนี้ 1. สอบทานและอนุมัติงบการเงินรายไตรมาสและรายปีของบริษัทและบริษัทย่อยเพื่อให้มีการปฏิบัติตาม มาตรฐานการบัญชีที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปและการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญเสนอที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทเพื่ออนุมัติก่อนเสนอตลาดหลักทรัพย์ และ กลต. หลังจากที่ได้มีการพิจารณาแล้ว คณะกรรมการ ตรวจสอบมีความเห็นว่า งบการเงินดังกล่าวมีความเหมาะสมตามหลักการบัญชีที่เป็นที่ยอมรับโดย ทั่วไปและการเปิดเผยข้อมูลมีความเพียงพอ 2. สอบทานและก�ำกับดูแลการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและระบบการควบคุมภายใน ตลอดจนมาตรการการลดความเสี่ยง คณะกรรมการตรวจสอบเชื่อมั่นว่า ระบบการควบคุมภายในของ บริษัทมีความเพียงพอ 3. สอบทานการเปิดเผยข้อมูลรายการระหว่างบริษัทและบริษัทในเครือ หรือรายการที่อาจก่อให้เกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ 4. สอบทานและพิจารณาอนุมัติเงินปันผลงวดสุดท้ายส�ำหรับปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2556 เพื่อ เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ 5. สอบทานและพิจารณางบประมาณประจ�ำปีส�ำหรับปีบัญชี 2556-57 ของบริษัทและบริษัทย่อย 6. พิจารณาและเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อแต่งตั้ง นายเติมพงษ์ โอปนพันธุ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 4501 และ/หรือ นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3930 และ/หรือ นางชลรส สันติอัศวราภรณ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4523 แห่งบริษัท ส�ำนักงาน อี วาย จ�ำกัด เป็น ผู้สอบบัญชีของบริษัทส�ำหรับปีบัญชี 2556-57 8


7. สอบทานและเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติการลงทุนในโครงการแผ่นฟิล์มเคลือบ อลูมิเนียมใหม่ในประเทศไทย 8. สอบทานและเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติการลงทุนในโครงการแผ่นฟิล์มเคลือบ อลูมิเนียมใหม่ในประเทศตุรกี 9. สอบทานการขยายสินเชื่อด้อยสิทธิเพิ่มเติม จาก โพลีเพล็กซ์ ยูโรปา โพลีเอสเตอร์ฟิล์ม ซานายี เว ติ คาเรท อาโนนิม ซิเกติ (PE) แก่ โพลีเพล็กซ์ เรซิ่น ซานายิ เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ (PR) 15 ล้านเหรียญยูโร (ร้อยละ 67 ของความต้องการของ PR) เพื่อสนับสนุนการลงทุนในโครงการผลิตเม็ด พลาสติกส�ำหรับผลิตขวด PET ก่อนน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ 10. สอบทานและน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติการค�ำ้ ประกันโดย โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำหรับเงินกู้ระยะยาวเพิ่มเติม 9 ล้านเหรียญสหรัฐ ให้แก่สถาบันการ เงินแห่งหนึ่ง เพื่อเป็นเงินสมทบส�ำรองจ่าย ส�ำหรับค่าก่อสร้างที่เพิ่มขึ้นมากกว่าที่คาดการณ์ (cost overrun) ของโครงการสายการผลิตแผ่นฟิล์มบางในประเทศสหรัฐอเมริกา 11. สอบทานและน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติเงินทุนค่าก่อสร้างที่เพิ่มขึ้นมากกว่าที่ คาดการณ์(cost overrun) ส�ำหรับโครงการสายการผลิตแผ่นฟิล์มบางในประเทศสหรัฐอเมริกาผ่านการ กู้ยืมเพิ่มเติม และลงทุนในหุ้นสามัญ และ/หรือ การให้เงินกู้แบบ Sub-ordinate loan จากบริษัท และ/ หรือ บริษัทย่อย 12. สอบทานการออกหนังสือค�้ำประกัน เท่ากับร้อยละ 67 ของเงินกู้เงินทุนหมุนเวียน ของ โพลีเพล็กซ์ เรซิ่น ซานายิ เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ(PR) ก่อนน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ 13. สอบทานการลงทุนใน บริษัท การค้าและการจัดจ�ำหน่ายในประเทศตุรกีก่อนน�ำเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ

ชื่อ

ต�ำแหน่ง

นายมนู เลียวไพโรจน์

ประธานกรรมการและ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

ดร. วีรพงษ์ รามางกูร

กรรมการตรวจสอบ

นายซีราช อีรัช ปุณวาลา

กรรมการตรวจสอบ

ลายมือชื่อ

9


รายงานประจำ�ปี 2556-2557

ดัชนีชี้วัดทางการเงิน กําไรสุทธิและกําไรต่อหุน ้

4,500

45%

4,000

4,000

40%

3,500

3,500

35%

3,000

30%

2,000

20%

1,500

15%

1,000

10%

4.00

2,500 2,000

3.00

1,500 2.00

1,000 500

1.00

กําไรต่อหุน ้ - บาทต่อหุน ้

25%

5.00

กําไรสุทธิ (ล้านบาท)

0.00

500

5%

(500)

-

0%

(1,000)

ปี บ ัญชี

-1.00

ปี บ ัญชี

กําไรก่อนหักดอกเบี �ย ภาษี ค่าเสื�อมราคา (ล้ านบาท) อัตรากําไรก่อนหักดอกเบี �ย ภาษี ค่าเสื�อมราคา (%)

กําไรสุทธิ

กําไรต่อหุ้น

ิ ทร ัพย์รวม สน

รายได้รวม 35%

13,000

10,000

30%

11,500

25% 8,500

20% 7,000

15% 10%

5,500

5%

4,000

0% 2,500

-5%

1,000

-10%

สินทร ัพย์รวม (ล้านบาท)

11,500

อ ัตรากําไรสุทธิ (%)

รายได้รวม (ล้านบาท)

40%

10

35% 30%

10,000 25% 8,500

20%

7,000

15%

5,500

10%

4,000

5%

2,500

0%

1,000

-5%

ปี บ ัญชี

รายได้ รวม

40%

อ ัตราผลตอบแทนจากสินทร ัพย์ (%)

2,500

6.00

3,000

EBITDA margin (%)

EBITDA in million baht

� มราคา � ภาษี ค่าเสือ กําไรก่อนห ักดอกเบีย

ปี บ ัญชี

อัตรากําไรสุทธิ (%)

สินทรัพย์รวม

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%)


1. ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป 2552-53

2553-54

2554-55

2555-56*

2556-57

7,125,366 7,299,520 1,731,011 1,039,386 8,866,744 3,854,260 5,012,484

11,183,174 11,320,169 4,680,656 3,882,885 11,932,901 3,570,196 8,362,705

10,143,111 10,263,808 2,311,548 1,357,608 11,938,970 3,478,368 8,460,602

9,230,018 9,495,185 1,355,850 402,494 16,512,186 8,267,306 8,244,880

10,702,538 10,792,537 928,678 (479,718) 19,581,075 10,943,098 8,637,976

14.24% 21.72% 11.71%

34.30% 58.26% 37.34%

13.23% 16.14% 11.37%

4.24% 4.81% 2.83%

-4.44% -5.68% -2.66%

ข้อมูลทางการเงิน (พันบาท) ยอดขาย รายได้รวม กำ�ไรขั้นต้น กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนทางการเงิน * อัตราส่วนกำ�ไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนส่วนผู้ถือหุ้น (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%) ข้อมูลการเงินต่อหุ้น (บาท) จำ�นวนหุ้น เงินปันผลต่อหุ้น (บาท) กำ�ไรต่อหุ้น (บาท) มูลค่าที่ตราไว้ (บาทต่อหุ้น)

800,000,000 800,000,000 800,000,000 800,000,000 800,000,000 0.52 1.94 0.52 0.14 NIL# 1.30 4.85 1.70 0.50 -0.60 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00

หมายเหตุ ตัวเลขและอัตราส่วนข้างต้นใช้เกณฑ์งบรวม อันเป็นการรวมข้อมูลของบริษัทย่อยในประเทศ สหรัฐอเมริกา, ตุรกี ,เนเธอร์แลนด์, สิงคโปร์, จีน และประเทศไทย * ตัวเลขของปีที่แล้วได้รับการปรับปรุง # ตามที่น�ำเสนอโดยคณะกรรมการบริษัท ซึ่งจะน�ำเสนอขออนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557

11


รายงานประจำ�ปี 2556-2557

2. ข้อมูลทั่วไป 2.1 ชื่อบริษัท ชื่อย่อหลักทรัพย์ ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร ที่ตั้งโรงงาน

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

เลขทะเบียนบริษัท โทรศัพท์ โทรสาร Website ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ มูลค่าที่ตราไว้ ทุนเรียกช�ำระแล้ว จ�ำนวนพนักงาน

12

บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) PTL 75/26 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 2 ชั้น 18 ซอยสุขุมวิท 19 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 (662) 665-2706-8 (662) 665 2705 1) 60/24 หมู่ 3 นิคมอุตสาหกรรมสยามอีสเทิร์นอินดัสเตรียลพาร์ค อ�ำเภอปลวกแดง ต�ำบลมาบยางพร จ.ระยอง 21140 2) 60/91 หมู่ 3 นิคมอุตสาหกรรมสยามอีสเทิร์นอินดัสเตรียลพาร์ค อ�ำเภอปลวกแดง ต�ำบลมาบยางพร จ.ระยอง 21140 3) 60/109 หมู่3 นิคมอุตสาหกรรมสยามอีสเทิร์นอินดัสเตรียลพาร์ค อ�ำเภอปลวกแดง ต�ำบลมาบยางพร จ.ระยอง 21140 ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบาง (แบบเรียบและเคลือบ อลูมิเนียม) เม็ดพลาสติก แผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนา (แบบเรียบ) แผ่น ฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูป แผ่นฟิล์ม CPP (แบบเรียบและเคลือบ อลูมิเนียม) ฟิล์มเคลือบซิลิโคน และแผ่นฟิล์ม Blown PP 0107547000729 (66) 38 891 352-4 (66) 38 891 358 http://www.polyplexthailand.com 960,000,000 ล้านบาท 960,000,000 หุ้น 1.00 บาทต่อหุ้น 800,000,000 ล้านบาท 1,163 คน ประกอบด้วยประเทศตุรกีและสหรัฐอเมริกาและ 650 คนในประเทศไทย


2.2 บริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนสูงกว่าร้อยละ 10 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557

ชื่อบริษัทและที่อยู่

ประเภทธุรกิจ

โพลีเพล็กซ์ (สิงคโปร์) พีทีอี ลิมิเต็ด 61 คลับสตรีท สิงคโปร์ - 069436 โพลีเพล็กซ์ ยูโรปา โพลีเอสเตอร์ ฟิล์ม* ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติอาวูปา เซอ เบสท์ โบลเกซี 132 อาดา 7 พาเซล เวลิมีส เมฟกี คอร์ลู ประเทศตุรกี โพลีเพล็กซ์ เทรดดิ้ง (เซินเจิ้น) จำ�กัด* ห้อง 1309 บล็อกเอ, ตึกกาแลคซี่เซ็นจูรี่ ถนนไชเทียนใต้ เขตฟูเทียน เซินเจิ้น ประเทศจีน โพลีเพล็กซ์ (อเมริกา) โฮลดิ้ง จำ�กัด คอร์ปอเรชั่น ทรัสต์ เซ็นเตอร์ 1209 ถนนออเร้นจ์ วิลมิงตัน นิวคาสเซิล รัฐเดลาแวร์ 19801 โพลีเพล็กซ์ ยูเอสเอ แอลแอลซี*** 3001 มัลลาร์ด ฟ็อกซ์ ไดรฟ์ เอ็นดับบลิว ดีเค เตอร์ รัฐอลาบามา 35601 อิโคบลู จำ�กัด 60/91 หมู่ 3 สยามอีสเทิร์นอินดัสเตรียลพาร์ ค ตำ�บลมาบยางพร อำ�เภอปลวกแดง ระยอง ประเทศไทย โพลีเพล็กซ์ เรซิ่น ซานายิ เว ติคาเรท อาโน นิม ซิเกติ# อาวูปา เซอเบสท์ โบลเกซี 132 อาดา 21 พา เซล เวลิมีส เมฟกี คอร์ลู ประเทศตุรกี โพลีเพล็กซ์ ปาเกตเลอเม คอซัมเลอรี ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ# มูฮิตติน มาฮาเลซี เซติน เอเมค บูลวารี เอคัน ซอกัก เซมิล เบราม อพาร์ทเมนต์ เลขที่ 7/1 คอร์ลู/เทคิแดก ประเทศตุรกี โพลีเพล็กซ์ ยุโรป บี วี คลอด์ เดอบุซซีลัน 46 1082 เอ็มดี อัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์

กิจการเพื่อลงทุน ผลิตแผ่นฟิล์ม PET และเม็ด พลาสติก

ทุนจดทะเบียน (หุ้น)

หุ้นที่ออกและ ชำ�ระแล้ว จำ�นวนหุ้นที่ บริษัทถือ

การถือ หุ้น (%)

ประเภทของ หุ้น

100,000 300,000 1,500,000

100,000 39,100 1,500,000

100% 100% 100%

หุ้นสามัญ หุ้นปุริมสิทธิ หุ้นสามัญ

กิจการเพื่อการจัด 400,000 400,000 100% จำ�หน่าย เหรียญดอลลาร์ เหรียญดอลลาร์ สหรัฐ** สหรัฐ**

หุ้นสามัญ

กิจการเพื่อลงทุน การค้า และการ จำ�หน่าย

10,000

100%

หุ้นสามัญ

กิจการเพื่อการผลิต

****

หุ้นสามัญ

กิจการเพื่อการผลิต

1,065,000

29,458,824 100% เหรียญ ดอลล่าร์สหรัฐ 852,000 80%

กิจการเพื่อการผลิต

4,049,686

2,713,290

67%

หุ้นสามัญ

บริษัทเพื่อการค้า

20,000

20,000

99.9%

หุ้นสามัญ

บริษัทเพื่อการค้า

30,000

2,000

100%

หุ้นสามัญ

5,924

หุ้นสามัญ

* **

ถือหุ้นทางอ้อมผ่าน PSPL 400,000 เหรียญดอลล่าร์สหรัฐ เป็นทุนจดทะเบียนที่ช�ำระแล้วของบริษัทโพลีเพล็กซ์ เทรดดิ้ง (เซินเจิ้น) จ�ำกัด ซึ่งไม่มีข้อ ก�ำหนดเกี่ยวกับ จ�ำนวนหุ้นหรือราคาต่อหุ้นที่ตราไว้ ในประเทศจีน *** ถือหุ้นทางอ้อมผ่านโพลีเพล็กซ์ (อเมริกา) โฮลดิ้ง จ�ำกัด **** โพลีเพล็กซ์ ยูเอสเอ แอลแอลซีไม่มีทุนจดทะเบียน การลงทุนทั้งหมดอยู่ในรูปแบบของทุนจากผู้ถือหุ้นโดย PAH ซึ่งถือหุ้น ร้อยละ 100 # ถือหุ้นทางอ้อมผ่านโพลีเพล็กซ์ ยูโรปา โพลีเอสเตอร์ ฟิล์ม ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ

13


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 2.3 บุคคลอ้างอิงอื่นๆ (ก) นายทะเบียน ชื่อ บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ที่อยู่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชั้น 4, 6-7 ถนนรัชดาภิเษก คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ (662) 229-2800, (662) 654-5599 โทรสาร (662) 359-1259 (ข) ผู้ดูแลผลประโยชน์ -ไม่มี (ค) บริษัทผู้สอบบัญชี (1) ชื่อ บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด ที่อยู่ ชั้น 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก (เยื้องศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิต์) คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ (662) 264-0777 โทรสาร (662) 661-9192 ผู้สอบบัญชี * นายเติมพงษ์ โอปนพันธุ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 4501 และ/หรือ นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 3930 และ/หรือ นางชลรส สันติอัศวราภรณ์ ผู้สอบบัญชีอนุญาต เลขที่ 4523 * ผู้สอบบัญชีของบริษัท ส�ำหรับปีบัญชี 2556-57 (ง) ที่ปรึกษากฎหมาย ชื่อ บริษัท อัลเลน แอนด์ โอเวอรี่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ที่อยู่ ชั้น 22 อาคารสินธร 3 130-132 ถนนวิทยุ ลุมพินี ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ประเทศไทย โทรศัพท์ (662) 263-7600 โทรสาร (662) 263-7699 ชื่อผู้ติดต่อ นายอัครพล พิเชษฐ์วนิชโชค นางสาว สมพร มโนด�ำรงธรรม ชื่อ บริษัท เบเคอร์ แอนด์ แม็คเค็นซี่ จ�ำกัด ที่อยู่ เลขที่ 990 อาคารอับดุลราฮิม ชั้น 5 และชั้น 22-25 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ (662) 636-2000 โทรสาร (662) 636-2110 ชื่อผู้ติดต่อ นายวิทยา เหลืองสุขเจริญ 14


ชื่อ บริษัท ลิ้งค์เลเทอร์ส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ที่อยู่ อาคารแคปปิตอล ทาวเวอร์ชั้น 20 ออลซีซั่นส์ เพลส เลขที่ 87/1 ถนนวิทยุ กรุงเทพมหานคร 10330 ประเทศไทย โทรศัพท์ (662) 305-8000 โทรสาร (662) 305-8010 ชื่อผู้ติดต่อ นายพิชิตพล เอี่ยมมงคลชัย (จ) ที่ปรึกษาหรือผู้จัดการตามสัญญาจ้างบริหาร - ไม่มี -

15


รายงานประจำ�ปี 2556-2557

3. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 3.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ และกลยุทธ์ของบริษัท

ค่านิยมองค์กร

ค่านิยมองค์กรของเรารวมอยู่ในอักษรย่อ S.C.O.R.E. ซึ่งสร้างแรงบันดาลใจในการปฏิบัติงานทั้งภายในและ ภายนอกองค์กร ประสานกันอย่างไร้รอยต่อ

ความใส่ใจ

เราผสานพลังข้ามระดับชั้น ต�ำแหน่งงาน และท�ำเลที่ตั้ง อย่างกลมกลืนเป็นหนึ่งเดียว

เราเห็นคุณค่าและมุ่งมั่นพัฒนาบุคลากรของเรา ความสัมพันธ์

ความเป็นเจ้าของและความรับผิดชอบ ความเป็นเลิศ

16

รวมทั้งมุ่งผลระยะยาวในการสร้างและรักษา

เรายึดค�ำมั่นสัญญาที่มีต่อผู้มีส่วนได้เสียทั้งภายในและภายนอก องค์กร

เราปรับปรุงวิธีการท�ำงานของเราอย่างต่อเนื่อง มุ่งแสวงหาไอเดีย กระบวนการ ผลิตภัณฑ์ และวิธีปฏิบัติใหม่ๆที่ดีกว่าเดิมอยู่เสมอ


3.2. ประวัติความเป็นมา การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สำ� คัญ บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) (“PTL” หรือ “บริษัท”) จดทะเบียนก่อตั้ง บริษัทเมื่อ วันที่ 26 มีนาคม 2545 เพื่อผลิตและจ�ำหน่าย Polyethylene Terephthalate Film หรือ Polyester Film (แผ่น ฟิล์ม PET หรือ แผ่นฟิล์ม Polyester) บริษัทแปรสภาพ เป็นบริษัทมหาชนในเดือนสิงหาคม 2547 ด้วยทุนจด ทะเบียน 960 ล้านบาท และเสนอขายหุ้นสามัญแก่ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก (IPO) ในเดือนธันวาคม 2547 บริษัทก่อตั้งโดยบริษัทแม่คือ บริษัทโพลีเพล็กซ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (“Polyplex Corporation Limited” หรือ “PCL”) ซึ่งมีฐานอยู่ในประเทศอินเดียและประกอบธุรกิจเดียวกันนี้ มาเป็นเวลา 25 ปีแล้ว ปัจจุบันบริษัท แม่ถือหุ้นทั้งทางตรงและทางอ้อมในบริษัทจ�ำนวนร้อยละ 51 ของทุน จดทะเบียนที่ชำ� ระแล้ว ส่วนที่เหลืออีก ร้อยละ 49 ถือโดยประชาชนทั่วไป บริษัทมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สำ� คัญที่ผ่านมาดังนี้ มีนาคม-เมษายน 2545

20 พฤษภาคม 2545 กรกฎาคม 2545 เมษายน 2546 11 มิถุนายน 2546

11 กันยายน 2546 12 พฤศจิกายน 2546 30 กรกฎาคม 2547

PTL ได้จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นโดย PCL ซึ่งเป็นบริษัทที่จดทะเบียนใน Bombay Stock Exchange และ National Stock Exchange ประเทศอินเดีย บริษัทได้ซื้อที่ดินเนื้อที่ 20 ไร่ 22 ตร.วา ใน นิคมอุตสาหกรรม สยามอีสเทิร์นอินดัสเตรียลพาร์ค จ.ระยอง เพื่อก่อสร้างโรงงานผลิตแผ่น ฟิล์ม PET PTL ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (“BOI”) สำ�หรับการผลิต แผ่นฟิล์ม PET (สายการผลิตที่ 1) ด้วยกำ�ลังการผลิต 15,000 ตันต่อปี (ปัจจุบันเพิ่มเป็น 24,000 ตันต่อปี) บริษัทเริ่มก่อสร้างโรงงานในเดือนกรกฎาคม 2545 โดยแล้วเสร็จและเริ่มเดิน เครื่องจักรเพื่อ ทดสอบความพร้อมในการผลิต (Test-run) ในเดือนมีนาคม 2546 บริษัทเริ่มดำ�เนินการผลิตและ จำ�หน่ายในเชิงพาณิชย์ ในเดือนเมษายน 2546 บริษัทได้รับสิทธิประโยชน์จาก BOI สำ�หรับการผลิต • แผ่นฟิล์ม PET ( สำ�หรับสายการผลิตที่ 2) กำ�ลังการผลิตเริ่มต้น 15,000 ตันต่อปี (ปัจจุบัน เพิ่มเป็น 24,000 ตันต่อปี) • เม็ดพลาสติก PET (PET resins) ด้วยกำ�ลังการผลิตเริ่มต้นเท่ากับ 26,250 ตันต่อปี (ปัจจุบันเพิ่มเป็น 57,000 ตันต่อปี) ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทมีมติให้ซื้อที่ดินเพิ่มขึ้นอีก 1 แปลง มีเนื้อที่ 8 ไร่ 28.9 ตร.วา ซึ่ง ติดกับพื้นที่เดิม เพื่อผลิตเม็ดพลาสติก PET ซึ่งเป็นวัตถุดิบที่สำ�คัญ ที่ใช้ ในการผลิตแผ่นฟิล์ม PET บริษัทเริ่มดำ�เนินการผลิตและจำ�หน่ายในเชิงพาณิชย์สำ�หรับสายการผลิตที่ 2 ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติให้บริษัทแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน ลดมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ จากเดิมหุ้นละ 10 บาทเป็นหุ้นละ 5 บาท และ ให้เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 1,728 ล้านบาท โดยการเพิ่มทุนจด ทะเบียนอีก 1,068 ล้านบาท คิดเป็นจำ�นวนหุ้นสามัญ ที่เพิ่มเท่ากับ 213.6 ล้านหุ้น โดยหุ้นที่ เพิ่มขึ้นนั้นจัดสรรเป็นสองส่วนดังนี้ • ส่วนที่หนึ่งจำ�นวน 133.6 ล้านหุ้น เสนอขายให้แก่ โพลีเพล็กซ์ (เอเชีย) พีทีอี ลิมิเต็ด (“PAPL”) ซึ่งบริษัทแม่คือ PCL ถือหุ้นร้อยละ 100 และเป็น นิติบุคคลที่จดทะเบียนใน ประเทศสิงคโปร์ • ส่วนที่สองจำ�นวนไม่เกิน 80 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 5 บาท รวมเป็น ไม่เกิน 400 ล้าน บาท เสนอขายให้แก่ประชาชนทั่วไป นอกจากนี้ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติให้จัดตั้ง โพลีเพล็กซ์ (สิงคโปร์) พีทีอี ลิมิเต็ด (“PSPL”) ซึ่ง จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร์ เป็นบริษัทโฮลดิ้งเพื่อการลงทุน และ ขยายธุรกิจในประเทศตุรกี

17


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 11 สิงหาคม 2547 กันยายน 2547 8 ธันวาคม 2547 22 กุมภาพันธ์ 2548 22 กุมภาพันธ์ 2548 สิงหาคม 2548 ธันวาคม 2548 มีนาคม 2549 ธันวาคม 2549 มีนาคม 2550 ตุลาคม 2550 พฤศจิกายน 2550 มกราคม 2551 เมษายน 2551 พฤษภาคม 2551 กุมภาพันธ์ 2552 พฤษภาคม 2552 กันยายน 2552 มีนาคม 2553 กรกฎาคม 2553 กุมภาพันธ์ 2554 พฤษภาคม 2554 กรกฎาคม 2554 พฤศจิกายน 2554

18

PTL จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน เริ่มสายการผลิตเม็ดพลาสติกแบบ Batch ในประเทศไทย บริษัททำ�การเสนอขายหุ้นแก่ประชาชนทั่วไป (IPO) จำ�นวน 240 ล้านหุ้น ราคาหุ้นละ 6.90 บาท บริษัทได้รับการส่งเสริมจาก BOI สำ�หรับสายการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียม (Metallizer Film) โดยมีกำ�ลังการผลิตเริ่มต้น 7,500 ตันต่อปี วันเริ่มการผลิตของโรงงานผลิตเม็ดพลาสติก PET แบบต่อเนื่องในประเทศไทย เริ่มโรงงานผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียมสายการผลิตที่ 1 ในประเทศไทย เริ่มสายการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบาง สายการผลิตที่ 1 ในประเทศตุรกี โดยบริษัทย่อยของ บริษัท ด้วยกำ�ลังการผลิต 24,000 ตันต่อปี เริ่มการผลิตของสายการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียมในประเทศตุรกี โดยมีกำ�ลังการผลิต 4,800 ตันต่อปี เริ่มการผลิตโรงงานเม็ดพลาสติก PETในประเทศตุรกี โดยมีกำ�ลังการผลิต 57,600 ตันต่อปี บริษัทได้รับการส่งเสริมจาก BOI สำ�หรับโครงการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูป (Extrusion Coating Film) โดยมีสองสายการผลิต กำ�ลังการผลิตเริ่มต้น 18,000 ตันต่อปี คณะกรรมการบริษัทอนุมัติให้บริษัทลงทุนในโครงการผลิตแผ่นฟิล์ม CPP ในประเทศไทย เพื่อ ขยายประเภทผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องให้หลากหลายขึ้น บริษัทเริ่มใช้นโยบาย Total Productive Maintenance เพื่อเพิ่มความสามารถในการผลิต บริษัทได้รับการส่งเสริมจาก BOI สำ�หรับโครงการขยายการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียม โดยมีกำ�ลังการผลิตเริ่มต้น 8,700 ตันต่อปี เริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์สายการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูป เริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์สายการผลิตแผ่นฟิล์มสายการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางสายที่สอง และแผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียมสายที่สองในประเทศตุรกี ตลอดจน สายการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบ อลูมิเนียมสายที่สองในประเทศไทย บริษัทได้รับการส่งเสริมจาก BOI สำ�หรับโครงการผลิตแผ่นฟิล์ม CPP (Cast Polypropylende Film) โดยมีกำ�ลังการผลิตเริ่มต้น 15,600 ตันต่อปีสำ�หรับแผ่นฟิล์ม CPP ชนิดเรียบ และแผ่น ฟิล์ม CPP เคลือบอลูมิเนียม คณะกรรมการบริษัทอนุมัติให้บริษัทลงทุนในสายการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบซิลิโคนในประเทศไทย จัดตั้งบริษัทการค้าในประเทศจีนในนามบริษัท โพลีเพล็กซ์ เทรดดิ้ง (เซินเจิ้น) จำ�กัด (Polyplex Trading (Shenzhen) Co., Ltd. – PTSL) ด้วยเงินทุนผ่านมาทางโพลีเพล็กซ์ (สิงคโปร์) พีทีอี ลิมิเต็ด (PSPL) สายเคลือบ CPP (Cast Polypropylene) เริ่มดำ�เนินงานเชิงพาณิชย์ PTL ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI สำ�หรับโครงการเคลือบซิลิโคนโดยมีกำ�ลังการผลิตที่ ได้รับอนุมัติ 725 ล้านตารางเมตร คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติให้ทำ�การลงทุนในสายการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนาใน ประเทศไทย คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติให้ลงทุนในสายการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางแห่งใหม่ใน สหรัฐอเมริกา ในนามบริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นเต็มจำ�นวนคือ โพลีเพล็กซ์ ยูเอสเอ แอลแอลซี (Polyplex USA LLC - PUL) คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติให้ทำ�การลงทุนในสายการผลิตแผ่นฟิล์ม Blown PP ใน ประเทศไทย คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติให้ทำ�การลงทุนในสายการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูป สายที่ สองในประเทศไทย


มีนาคม 2555 สิงหาคม 2555 ตุลาคม 2555

ตุลาคม 2555 มกราคม 2556 กุมภาพันธ์ 2556 เมษายน 2556 มิถุนายน 2556 ตุลาคม 2556 ตุลาคม 2556 ธันวาคม 2556 กุมภาพันธ์ 2557 มีนาคม 2557

โรงงานเคลือบซิลิโคนเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติให้ลงทุนในบริษัทย่อยแห่งใหม่ (อีโคบลู จำ�กัด - EcoBlue Limited) ในประเทศไทยเพื่อดำ�เนินโครงการรีไซเคิลของเสียจากการผลิตแผ่นฟิล์ม คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติให้เข้าซื้อหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 67 ในโพลีเพล็กซ์ เรซิ่นซานายิ เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ (Polyplex Resins Sanayi Ve Ticaret A.S. - PR) โดยโพลีเพล็กซ์ ยูโรปา โพลีเอสเตอร์ ฟิล์ม ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ (Polyplex Europa Polyester Film Sanayi Ve Ticaret A.S. - PE) ประเทศตุรกีจาก โพลีเพล็กซ์ (เอเชีย) พีทีอี ลิมิเต็ด (Polyplex (Asia) Pte Ltd. - PAPL) เป็นการลงทุนโครงการผลิตเม็ดพลาสติกสำ�หรับผลิตขวด PET ที่ โรงงานของ PR ซึ่งปัจจุบันกำ�ลังดำ�เนินการ คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติให้เข้าลงทุนในโครงการเครื่องเคลือบนอกสายการ ผลิต (Offline Coater) ที่ PE ประเทศตุรกี คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติให้เข้าซื้อหุ้นทุนสัดส่วนร้อยละ 19.76 ในโพลีเพล็กซ์ (อเมริกา) อิงค์ (Polyplex (Americas) Inc - PA) สหรัฐอเมริกา โดยซื้อจากผู้ถือหุ้นรายย่อย ต่อมา PA ได้ ควบรวมกิจการกับ PUL บริษัทย่อยผู้ผลิต คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติให้เข้าลงทุนในการจัดตั้งบริษัทเพื่อการจัดจำ�หน่ายในประเทศ เนเธอร์แลนด์ โรงงานแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางในเมืองดีเคเตอร์ สหรัฐอเมริกา เริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ โรงงานแผ่นฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูปสายที่ 2 ในประเทศไทยเริ่มการผลิต เริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์โรงงานแผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนาในประเทศไทยซึ่งรวมถึงสายการผลิต แผ่นฟิล์ม Blown PP คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติให้ลงทุนในสายเคลือบอลูมิเนียมใหม่ 2 สาย สายหนึ่งใน ประเทศไทย อีกสายหนึ่งใน PE ประเทศตุรกี บริษัท อีโคบลู จำ�กัด บริษัทย่อยแห่งใหม่ในประเทศไทยเพื่อดำ�เนินโครงการรีไซเคิลของเสียจาก การผลิตแผ่นฟิล์มเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ โรงงานเม็ดพลาสติก PET สำ�หรับสายการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนาในประเทศไทยเริ่มการ ผลิตเชิงพาณิชย์ เครื่องเคลือบอลูมิเนียมนอกสายการผลิตของ PE ประเทศตุรกีเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์

19


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 3.3. โครงสร้างการถือหุ้น โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัทในปัจจุบัน เป็นดังนี้

โพลีเพล็กซ์ คอร์ปอเรชั่น ลิมิเต็ด (“บริษัทแม่” หรือ “PCL”) PCL เป็นผู้ผลิตและจ�ำหน่ายแผ่นฟิล์มพลาสติกรายใหญ่รายหนึ่งของประเทศอินเดีย ด�ำเนินธุรกิจผลิตแผ่น ฟิล์ม PET มาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปีนับตั้งแต่ปี 2531 โดยจ�ำหน่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศ PCL เป็นบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์บอมเบย์ (Bombay Stock Exchange) และตลาดหลักทรัพย์อื่น ในประเทศอินเดียมาเป็นเวลา หลายปีแล้ว มีทุนที่ชำ� ระแล้วเท่ากับ 325.6 ล้านอินเดียรูปี (INR) (ประมาณ 176 ล้านบาท) PCL มีก�ำลังการผลิต ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 ดังต่อไปนี้ ผลิตภัณฑ์ แผ่นฟิล์ม PET (Polyester Film) เม็ดพลาสติก (Polyester Chips) แผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียม (Metallized Film) แผ่นฟิล์ม BOPP (BOPP Film) แผ่นฟิล์มเคลือบ (Coated Films)

กำ�ลังการผลิตต่อปี 55,000 77,600 20,400 35,000 260

หน่วยวัด เมตริกตัน เมตริกตัน เมตริกตัน เมตริกตัน ล้านตารางเมตร

บริษัทแม่ถือหุ้นทั้งทางตรงและทางอ้อมในบริษัทในสัดส่วนทั้งหมดร้อยละ 51 ของทุนที่ช�ำระแล้วของบริษัท โพลีเพล็กซ์มีการด�ำเนินนโยบายที่เท่าเทียมกันในการแบ่งพื้นที่การท�ำการตลาดส�ำหรับธุรกิจที่ตรงกัน ระหว่างบริษัท ในกลุ่มในประเทศต่าง ๆ คือ อินเดีย ไทย ตุรกี และสหรัฐอเมริกา โดยใช้เกณฑ์การ 20


พิจารณาด้านต่างๆ เช่น ประเภท ผลิตภัณฑ์ ต้นทุนการจัดส่งสินค้าและ ระยะเวลาในการขนส่ง การกีดกัน ทางการค้า สิทธิประโยชน์ทางภาษี เป็นต้น จากนโยบายการแบ่งตลาดดังกล่าว บริษัทจะจ�ำหน่ายสินค้า ให้แก่ ลูกค้าเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, เอเชียแปซิฟิก จีน ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์ ส่วนบริษัทแม่จะมุ่ง ลูกค้าในแถบเอเชียใต้ ในขณะที่โรงงานใน ประเทศตุรกีจะมุ่งตลาด ทวีปยุโรป ตะวันออกกลาง อัฟริกา และกลุ่มรัสเซีย/รัฐอิสระซีไอเอส ส่วนโรงงานในสหรัฐอเมริการับผิดชอบตลาดอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ นอกจากนี้ กลุ่มโพลีเพล็กซ์ยังมีนโยบายการลงทุนในอนาคตในแผ่นฟิล์มโพลีเอสเตอร์/ด้านอื่นๆระหว่าง บริษัทและบริษัทแม่ การลงทุนในประเทศอินเดีย/ประเทศในแถบเอเชียใต้ จะมีการตัดสินใจและด�ำเนิน การโดย PCL และบริษัทย่อย อื่นๆของบริษัทแม่ (ยกเว้นบริษัท) ส่วนการลงทุนในประเทศไทย และเขต อาเซียน รวมถึงประเทศอื่นๆ จะด�ำเนินการในลักษณะคล้ายคลึงกันโดย PTL หรือบริษัทย่อยซึ่งบริษัทมีหุ้น ใหญ่อยู่ ทั้งนี้ การลงทุนใดๆดังกล่าวต้องขึ้นอยู่กับความเพียงพอของแหล่งเงินที่จะใช้ลงทุน/ความสามารถ ในการขอกู้ยืมเงินโดยบริษัทในปัจจุบัน/บริษัทที่เห็นสมควรให้ดำ� เนินการตามนโยบายที่วางไว้ โพลีเพล็กซ์ (เอเชีย) พีทีอี ลิมิเต็ด (“PAPL”) PAPL จัดตั้งขึ้นในเดือนกรกฎาคม 2547 โดยมีบริษัทแม่เป็นผู้ถือหุ้นเต็มจ�ำนวนร้อยละ 100 และในปัจจุบัน เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทโดยถือหุ้นร้อยละ 34.5 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 PAPL มีทุนจดทะเบียนที่ออก และช�ำระแล้ว 1.13 ล้านเหรียญสหรัฐ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 โพลีเพล็กซ์ (สิงค์โปร์) พีทีอี ลิมิเต็ด (“PSPL”) PSPL ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม 2547 โดยเป็นบริษัทย่อยของ PTL ในสัดส่วนร้อยละ 100 ต่อมา PSPL ได้เข้าลงทุนใน Polyplex Europa Polyester Film Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi (PE) โดยการเพิ่ม ทุนและการให้เงินกู้ด้อยสิทธิเพื่อการจัดตั้งโรงงานผลิตในประเทศตุรกี เพื่อตอบสนองความต้องการในตลาด แถบยุโรปและประเทศ ใกล้เคียงอื่น ๆ ในเดือนกันยายน 2552 PSPL ได้จัดตั้งบริษัทการค้า (เทรดดิ้ง) ขึ้นในประเทศจีน คือ บริษัท โพลีเพล็กซ์ เทรดดิ้ง (เซินเจิ้น) จ�ำกัด (Polyplex Trading (Shenzhen) Co., Ltd. - PTSL) ด้วยเงินลงทุนที่มาจากทุน เรือนหุ้นจ�ำนวน 400,000 เหรียญสหรัฐ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 PSPL มีทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว (รวมส่วนที่เป็นหุ้น บุริมสิทธิ) 9.14 ล้านยูโร โพลีเพล็กซ์ ยูโรปา โพลีเอสเตอร์ฟิล์ม ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ (“PE”) PSPL จัดตั้ง PE ในประเทศตุรกี โดยถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 เพื่อจัดตั้งโรงงานแห่งใหม่สำ� หรับผลิต แผ่นฟิล์ม PET ในประเทศตุรกี เพื่อสนองความต้องการของตลาดทวีปยุโรปและแถบใกล้เคียง กิจการเริ่ม การผลิตเชิงพาณิชย์ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2548 โดยเริ่มจากการผลิตแผ่นฟิล์มชนิดบางเป็นสายการผลิตแรก ก่อน การผลิต แผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียมสายการผลิตแรกเริ่มในเดือนมีนาคม 2549 ส่วนเม็ดพลาสติก PET เริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2549 สายการผลิตแผ่นฟิล์มชนิดบางสายที่สองและสาย การผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียมสายที่สอง เริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ ในเดือนพฤษภาคม 2551 สินทรัพย์ 21


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 ที่มีการเพิ่มล่าสุดคือ เครื่องเคลือบนอกสายการผลิตซึ่งเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ ในเดือนมีนาคม 2557 ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 PE มีทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว ซึ่งรวมส่วนเพิ่มเติมจาก PSPL รวม จ�ำนวน 8.83 ล้านยูโร บริษัท โพลีเพล็กซ์ (เทรดดิ้ง) เซินเจิ้น จ�ำกัด (“PTSL”) ในปีบัญชี 2552-53 PTL ได้ลงทุนก่อตั้งบริษัทการค้า (เทรดดิ้ง) ในเซินเจิ้น ประเทศจีน โดยถือหุ้นเต็ม จ�ำนวนผ่านบริษัทเพื่อการลงทุนในเครือในประเทศสิงคโปร์ (PSPL) การตัดสินใจจัดตั้งบริษัทเทรดดิ้ง ดัง กล่าว จัดเป็นแนวคิดเชิงกลยุทธ์ที่จะท�ำให้กลุ่มบริษัทเป็นที่รู้จักในตลาดประเทศจีน ซึ่งเป็นหนึ่งในตลาดที่ ใหญ่ที่สุดและเติบโตเร็วที่สุดส�ำหรับอุตสาหกรรมนี้ ทุนที่ออกและเรียกช�ำระแล้วของ PTSL เท่ากับ 0.4 ล้าน เหรียญสหรัฐ ณ 31 มีนาคม 2557 โพลีเพล็กซ์ อเมริกา โฮลดิ้ง อิงค์ (“PAH”) ในปีบัญชี 2554-55 PTL ลงทุนจัดตั้งบริษัทโฮลดิ้งในสหรัฐอเมริกาโดยบริษัทถือหุ้นร้อยละ 100 PAH ได้ ท�ำการลงทุนในโพลีเพล็กซ์ ยูเอสเอ แอลแอลซี อันเป็นโรงงานผลิต ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว ของ PAH (รวมส่วนเกินมูลค่าหุ้นเพิ่ม) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 เท่ากับ 29.62 ล้านเหรียญสหรัฐ โพลีเพล็กซ์ ยูเอสเอ แอลแอลซี (“PUL”) โพลีเพล็กซ์ ยูเอสเอ แอลแอลซี เมืองดีเคเตอร์ รัฐอลาบามาได้ก่อตั้งขึ้นในปีบัญชี 2554-55 โดยเป็นบริษัท ย่อยที่ถือหุ้นเต็มจ�ำนวนของ PAH และเป็นฐานการผลิตแรกของโพลีเพล็กซ์ ในสหรัฐอเมริกา สายการ ผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางได้เริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์แล้วในเดือนเมษายน 2556 ส่วนโครงการโรงงาน เม็ดพลาสติก PET ปัจจุบันอยู่ระหว่างการด�ำเนินการตามโครงการและคาดว่าจะเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ ใน ไตรมาส 2 ปีบัญชี 2557-58 ทุนช�ำระแล้ว ณ 31 มีนาคม 2557 เท่ากับ 29.5 ล้านเหรียญสหรัฐ โพลีเพล็กซ์ เรซิ่นซานายิ เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ (“PR”) โพลีเพล็กซ์ เรซิ่นซานายิ เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ (PR) ได้ก่อตั้งขึ้นในประเทศตุรกีในเดือน ธันวาคม 2554 โดยถือหุ้นเต็มจ�ำนวนโดย PAPL ในเดือน ตุลาคม 2555 PE ได้ลงทุนซื้อหุ้นร้อยละ 67 ใน PR จาก PAPL โครงการผลิตเม็ดพลาสติกส�ำหรับผลิตขวด PET เป็นสายการผลิตแรกของกลุ่มโพลีเพล็กซ์ ซึ่งอยู่ ระหว่างการด�ำเนินการ โดย PR ทุนช�ำระแล้ว ณ 31 มีนาคม 2557 เท่ากับ 20.2 ล้านลีร์ตุรกี โพลีเพล็กซ์ ยุโรป บี.วี. โพลีเพล็กซ์ ยุโรป บี.วี. จัดตั้งขึ้นในเดือนเมษายน 2556 โดยมีบริษัทโพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผู้ถือหุ้นร้อยละ 100 โดยมีทุนจดทะเบียน 3 ล้านยูโร โดยเรียกช�ำระแล้ว 0.2 ล้านยูโร ณ 31 มีนาคม 2557 กิจการนี้ประกอบธุรกิจคลังสินค้าและจัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ต่างๆของบริษัทในตลาดยุโรป เป็นหลัก

22


โพลีเพล็กซ์ ปาเกตลีเม โคซูมเลริ ซานายิ เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ โพลีเพล็กซ์ ยูโรปา โพลีเอสเตอร์ฟิล์ม ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ (PE) ได้ก่อตั้งกิจการขึ้นใน ประเทศตุรกีในนามโพลีเพล็กซ์ ปาเกตลีเม โคซูมเลริ ซานายิ เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ โดย PE ถือหุ้นใน สัดส่วนร้อยละ 99.99 กิจการนี้ประกอบธุรกิจการค้า (เทรดดิ้ง) แผ่นฟิล์ม PET เม็ดพลาสติก PET และผลิต ภัณฑ์อื่นๆ ของบริษัทเป็นหลัก โดยมีทุนจดทะเบียน 100,000 ลีร์ตุรกี ณ 31 มีนาคม 2557 ซึ่งได้เรียกช�ำระ เต็มจ�ำนวนแล้ว

23


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 4. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 4.1 โครงสร้างรายได้ของบริษัท มูลค่าการจ�ำหน่ายของบริษัทตามงบเฉพาะและงบรวมสามารถแยกตามภูมิภาคได้ดังนี้ งบเฉพาะบริษัท ลูกค้า จำ�หน่ายต่างประเทศ เอเชีย อเมริกาเหนือ ยุโรป อื่นๆ รวมมูลค่าจำ�หน่ายต่างประเทศ จำ�หน่ายในประเทศ เม็ดพลาสติก/อื่นๆ1 รวมรายได้จากการจำ�หน่าย รายได้อื่น2 รวมรายได้ทั้งสิ้น งบรวม

2554-55 ล้านบาท %

2555-56 ล้านบาท %

2556-57 ล้านบาท %

2,220.06 809.00 418.71 141.47 3,589.24 915.31 56.09 4,560.65 295.32 4,855.96

1743.78 977.46 202.01 119.30 3042.55 975.67 187.21 4,205.44 232.72 4,438.16

2,335.31 739.90 203.60 118.11 3,396.92 906.45 214.14 4,517.51 60.02 4,577.53

45.72 16.66 8.62 2.91 73.91 18.85 1.16 93.92 6.08 100.00

2554-55 ล้านบาท %

ลูกค้า จำ�หน่ายต่างประเทศ เอเชีย 2,620.25 อเมริกาเหนือ 2,683.84 ยุโรป 2,745.07 อื่นๆ 396.93 รวมมูลค่าจำ�หน่ายต่างประเทศ 8,446.09 จำ�หน่ายในประเทศ - PTL (ประเทศไทย) 915.31 - PE (ประเทศตุรกี) 698.93 - PUL (สหรัฐอเมริกา) รวมมูลค่าจำ�หน่ายในประเทศ 1,614.24 เม็ดพลาสติก/อื่นๆ1 82.78 รวมรายได้จากการจำ�หน่าย 10,143.11 รายได้อื่น2 120.70 รวมรายได้ทั้งสิ้น 10,263.81

35.91 20.13 4.16 2.46 62.66 21.98 4.22 94.76 5.24 100.00

48.09 15.24 4.19 2.43 69.95 19.80 4.68 98.69 1.31 100.00

2555-56 ล้านบาท %

2556-57 ล้านบาท %

25.53 26.15 26.75 3.87 82.29

2,011.39 2,571.48 2,623.76 182.13 7,388.75

2,694.17 1,481.03 2,905.23 152.17 7,232.60

24.96 13.72 26.92 1.41 67.01

8.92 6.81 15.73 0.81 98.82 1.18 100.00

975.67 743.42 1,719.10 122.17 9,230.02 265.17 9,495.19

10.28 906.45 7.83 895.76 - 1,345.32 18.10 3,147.53 1.29 322.41 97.21 10,702.53 2.79 90.00 100.00 10,792.53

8.40 8.30 12.47 29.16 2.99 99.17 0.83 100.00

21.18 27.08 27.63 1.92 77.82

หมายเหตุ: 1) เม็ดพลาสติก/อื่นๆจ�ำหน่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศ 2) ประกอบด้วย ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน ยอดขายเบ็ดเตล็ด สิทธิประโยชน์การส่งออก ดอกเบี้ยรับ เป็นต้น

24


การจําแนกยอดขายแผ่นฟิ ล์มตามภูมภ ิ าค ปี บ ัญชี 2556-57

อื�น ๆ, 1% ทวีปยุโรป, 37%

ทวีปเอเซีย, 35%

ทวีปอเมริ กาเหนือ, 27%

ทวีปเอเซีย

ทวีปอเมริ กาเหนือ

ทวีปยุโรป

อื�น ๆ

4.2. เป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจ วิสัยทัศน์ของกลุ่มโพลีเพล็กซ์ คือ มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง สร้างมูลค่า และสร้างฐานความเป็น ผู้นำ� ใน ธุรกิจแผ่นฟิล์มพลาสติกระดับโลก โดยการสร้างความเป็นหุ้นส่วนทางธุรกิจระหว่างนักลงทุน ลูกค้า คู่ค้า และพนักงาน ด้วยวิสัยทัศน์ดังกล่าว กลุ่มโพลีเพล็กซ์มุ่งมั่นผลักดันองค์กรสู่ความเป็นเลิศของการเป็น ผู้ผลิตวัสดุหีบห่อ มิใช่เพียงผู้ผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบาง โดยการขยายธุรกิจสู่การเป็นผู้ผลิตแผ่นฟิล์ม BOPP และ CPP ซึ่งเป็นวัสดุบรรจุหีบห่อที่มีผู้ผลิต ใช้เช่นเดียวกับแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบาง สายการผลิต แผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนาในประเทศไทยซึ่งเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ ในเดือนตุลาคม 2556 เป็นก้าวย่างแรก ของโพลีเพล็กซ์ ในการเจาะเข้าไปยังตลาดแผ่นฟิล์มชนิดหนา ซึ่งเป็นการช่วยให้บริษัทมีผลิตภัณฑ์และกลุ่ม ลูกค้าหลากหลายขึ้น สายการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูปสายที่สองและสายการผลิตแผ่นฟิล์ม Blown PP ในประเทศไทย รวมทั้งเครื่องเคลือบนอกสายการผลิตในประเทศตุรกีจะเป็นการเพิ่มความหลากหลายให้แก่ ประเภทผลิตภัณฑ์มากยิ่งขึ้น PR ซึ่งจะผลิตและจ�ำหน่ายเม็ดพลาสติกส�ำหรับผลิตขวด PET ในประเทศตุรกี ก็จะเป็นเซ็กเมนต์ ใหม่ส�ำหรับบริษัทเช่นกัน กลุ่มโพลีเพล็กซ์มีเป้าหมายทางธุรกิจที่จะเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดในภูมิภาคต่าง ๆ ให้มากขึ้นโดยการ ขยาย ฐานการผลิตไปยังท�ำเลที่หลากหลาย การเข้าถึงตลาดเป้าหมายให้ได้มากยิ่งขึ้น รวมถึงการผลิตสินค้า ประเภทใหม่ ๆ เช่น แผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียม แผ่นฟิล์มแบบใสพิเศษ แผ่นฟิล์มเคลือบอัดชั้นด้วย ความร้อน แผ่นฟิล์มเคลือบซิลิโคน แผ่นฟิล์มเคลือบเคมี และแผ่นฟิล์มบรรจุหีบห่อเกรดอื่น ๆ เช่น CPP, BOPP เป็นต้น สายการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางสายใหม่ในสหรัฐอเมริกาซึ่งได้เริ่มด�ำเนินการเมื่อเดือน เมษายน 2556 จะช่วยให้บริษัทสามารถเพิ่มส่วนแบ่งตลาดในทวีปอเมริกาโดยการเข้าไปตั้งใกล้กลุ่มลูกค้า และจะท�ำให้กลายเป็นผู้ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ในประเทศที่ลูกค้าเลือกใช้ จากที่ในอดีตลูกค้าต้องอาศัย ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายจากต่างประเทศหรือจากภูมิภาคใกล้เคียง 25


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 4.3. บัตรส่งเสริมการลงทุน บริษัทได้รับบัตรส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน 10 ฉบับ โดยมีสาระส�ำคัญ คือ ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

บัตรส่งเสริม เลขที่ 1321(2)/2545 1287(2)/2546 1159(2)/2548 1261(2)/2550 1044(2)/2551 1110(2)/2552 1719(2)/2553 1705(2)/2555 1827(2)/2555 1357(2)/2557

ประเภทธุรกิจ แผ่นฟิล์ม PET แผ่นฟิล์ม PET และเม็ดพลาสติก แผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียม แผ่นฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูป แผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียม แผ่นฟิล์ม CPP (แบบเรียบและแบบเคลือบ) แผ่นฟิล์มเคลือบซิลิโคน / แผ่นฟิล์ม Blown PP แผ่นฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูป (สายที่ 2) แผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนาและเม็ดพลาสติก PET แผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียม

วันที่ได้รับการส่งเสริม 20 พฤษภาคม 2545 11 มิถุนายน 2546 22 กุมภาพันธ์ 2548 14 มีนาคม 2550 10 มกราคม 2551 4 กุมภาพันธ์ 2552 14 กรกฎาคม 2553 12 พฤษภาคม 2555 21 พฤษภาคม 2555 20 มีนาคม 2557

โดยอาศัยข้อก�ำหนดของพระราชบัญญัติคณะกรรมการการส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 บริษัทได้รับ สิทธิประโยชน์ตามมาตรฐานในเรื่องการผลิตและการจัดจ�ำหน่ายแผ่นฟิล์ม/เม็ดพลาสติก/แผ่นฟิล์มเคลือบ อัดชั้นด้วยความร้อน /แผ่นฟิล์ม CPP/แผ่นฟิล์มเคลือบซิลิโคน/แผ่นฟิล์ม Blown PP ตามมาตราที่ 25, 26, 27, 28, 31, 34, 35(1), 35(2), 35(3), 36(1), 36(2) และ 37 ตามล�ำดับ โดยบริษัทต้องปฏิบัติ ตาม เงื่อนไขและข้อก�ำหนดที่ระบุ ไว้ ในบัตรส่งเสริมการลงทุนข้างต้น ทั้งนี้สามารถดูรายละเอียดของสิทธิ ประโยชน์ของ แต่ละมาตราเพิ่มเติมได้ที่ www.boi.go.th 4.4. Business Operations by each product line การผลิตและจ�ำหน่ายแผ่นฟิล์ม Polyester ชนิดบาง (Polyethylene Terephthalate Film หรือเรียกว่า PET Film จัดจ�ำหน่ายภายใต้ตราสินค้า “Sarafil”) เป็นธุรกิจหลักของบริษัทและบริษัทย่อย โดยเน้นลูกค้าที่ ประกอบธุรกิจใน 3 อุตสาหกรรมหลัก คือ บรรจุภัณฑ์ อุตสาหกรรม และอุปกรณ์ไฟฟ้า ซึ่งลูกค้าจะน�ำ แผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางของบริษัทไป เป็นส่วนประกอบในการผลิตผลิตภัณฑ์ เพื่อจ�ำหน่าย ให้แก่ผู้ ใช้ต่อไป เช่น ซองบรรจุกาแฟ ชา ขนม ขบเคี้ยว ซองบรรจุภัณฑ์สำ� หรับ น�้ำยาปรับผ้านุ่ม และผงซักฟอก ฉนวน หุ้มสายไฟฟ้า ตลอดจน แผ่นฟอยล์สีต่างๆ เป็นต้น

26


เมื่อเดือนเมษายน 2551 บริษัทเริ่มผลิตผลิตภัณฑ์ปลายน�ำ้ ที่มีมูลค่าเพิ่มที่เรียกว่า “แผ่นฟิล์มเคลือบอัดชั้น ด้วยความร้อน” โดยใช้ตราสินค้า “Saralam” ในสายผลิตภัณฑ์นี้ แผ่นฟิล์ม PET หรือ BOPP ใช้เป็นแผ่นฟิล์ม วัตถุดิบเข้าสู่กระบวนการเคลือบอัดขึ้นรูปด้วยเม็ดพลาสติกที่มีคุณสมบัติในการยึดติดอย่าง LDPE หรือ EVA ขึ้นอยู่กับความต้องการของลูกค้าที่เป็นผู้ ใช้ผลิตภัณฑ์ หลังจากเริ่มสายการผลิตที่สองในเดือนมิถุนายน 2556 บริษัทได้เพิ่มก�ำลังการผลิตผลิตภัณฑ์นี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มสัดส่วนการขายผลิตภัณฑ์ที่มี มูลค่าเพิ่มในส่วนผสมประเภทผลิตภัณฑ์ของบริษัท ผลิตภัณฑ์ที่มีการใช้ Saralam ดังตัวอย่างต่อไปนี้

เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของบริษัทในการเป็นผู้ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ครบวงจร ไม่ใช่เพียงผู้ผลิตและจ�ำหน่ายแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางเพียงอย่างเดียว เมื่อเดือนมีนาคม 2553 บริษัทได้เริ่ม การผลิตในสายแผ่นฟิล์มคาสท์โพลิโพรพิลีน (Cast Polypropylene – CPP) โดยบริษัทผลิตและจ�ำหน่าย แผ่นฟิล์ม CPP ชนิดเรียบและชนิดเคลือบอลูมิเนียมภายใต้ตราสินค้า “SaraCPP” ด้วยความพยายามอย่างต่อเนื่องในการสร้างความหลากหลายแก่ผลิตภัณฑ์และฐานลูกค้า โพลีเพล็กซ์จัดตั้ง สายการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบซิลิโคนในประเทศไทยซึ่งเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ ในเดือนมีนาคม 2555 โดย ใช้ตราสินค้า “Saracote” ผลิตภัณฑ์ที่มีการใช้ Saracote ดังตัวอย่างต่อไปนี้

สายการผลิตแผ่นฟิล์ม Blown Polypropylene ในประเทศไทย เป็นอีกหนึ่งสายผลิตภัณฑ์ที่เป็นการสร้าง ความหลากหลายให้กับธุรกิจแผ่นฟิล์ม PET จากผลิตภัณฑ์เดิมที่มีอยู่ แผ่นฟิล์มนี้ใช้เป็นแผ่นฟิล์มฐานใน การผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบซิลิโคน รวมทั้งจ�ำหน่ายแก่ลูกค้าที่สนใจอื่นๆ ส่วนสายแผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนาในประเทศไทยเป็นการสร้างความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องอีก ทางหนึ่งของบริษัทที่มุ่งสนองความต้องการของเซ็กเมนต์อุตสาหกรรมและอุปกรณ์ไฟฟ้ามากขึ้น ในขณะที่ แผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางจะมุ่งเซ็กเมนต์บรรจุภัณฑ์ แผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนาใช้ประโยชน์ดังต่อไปนี้

27


รายงานประจำ�ปี 2556-2557

อีกหนึ่งโครงการริเริ่มเพื่อความยั่งยืน บริษัทได้ลงทุนในโครงการรีไซเคิลของเสียจากการผลิตแผ่นฟิล์มและ ของเสียจากการใช้ของผู้บริโภค โดยโครงการได้เริ่มด�ำเนินงานเชิงพาณิชย์ ในประเทศไทยในเดือนธันวาคม 2556 ในนามบริษัท อีโคบลู จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย เพื่อให้เป็นไปตามกลยุทธ์ ในการขยายไปยังธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมพลาสติก ปัจจุบันบริษัทก�ำลัง ลงทุนในสายเม็ดพลาสติกส�ำหรับผลิตขวด PET ในประเทศตุรกี คาดว่าโครงการจะเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ ได้ ในครึ่งหลังของปี 2557-58 4.4.1. ลักษณะของผลิตภัณฑ์ ประเภทผลิตภัณฑ์ของบริษัทมีดังต่อไปนี้ ก. แผ่นฟิล์ม PET ชนิดใสบาง (Transparent Thin PET Film) มี 5 ประเภทย่อยคือ • แบบธรรมดา (Plain) • แบบมีพื้นผิวเป็นเงา (Corona) • แบบมีคุณสมบัติยึดติดแน่น (High adhesion films) • แบบใสพิเศษ (Ultra clear films) • แบบฟิล์มหลายชั้น (Co-extruded films) ข. แผ่นฟิล์ม PET เคลือบอลูมิเนียม (Metallized PET Film) • แผ่นฟิล์มกึ่งเคลือบ (มีความหนาทึบน้อย) (Semi metalized film – low optical density) • แผ่นฟิล์มที่มีความหนาทึบสูง ป้องกันการรั่วซึมหรือการมองทะลุ (High barrier film) ค. แผ่นฟิล์มคุณสมบัติพิเศษเฉพาะ • แผ่นฟิล์มที่บิดหรือเปลี่ยนรูปทรงได้ (Twist film) 28


• แผ่นฟิล์มที่กันไฟฟ้าสถิตย์ (Anti static film) • แผ่นฟิล์มที่ผนึกปิดด้วยความร้อน (Heat sealable film) • แผ่นฟิล์มใสที่มีความยืดหยุ่นทุกทิศทาง (Isotropic film) แผ่นฟิล์มที่มีแรงเสียดทานสูง (High friction film) เป็นต้น • แผ่นฟิล์มที่มีผิวด้าน ไม่เงา (Matte film) • แผ่นฟิล์มหนา (Thick film) ง. แผ่นฟิล์มเคลือบอัดชั้นด้วยความร้อน • แผ่นฟิล์มร้อน PET ผิวมันเงา (Gloss PET thermal film) • แผ่นฟิล์มร้อน PET ผิวด้าน (Matte PET thermal film) • แผ่นฟิล์มร้อน BOPP (BOPP thermal film) • แผ่นฟิล์มร้อนเคลือบอลูมิเนียม (Metallized thermal film) จ. แผ่นฟิล์มเคลือบคาสท์ โพลิไพรพิลีน หรือ แผ่นฟิล์ม CPP • แผ่นฟิล์มเกรดแปลงสภาพและอัดชั้น (Lamination & conversion grade film) - แผ่นฟิล์มใสเพื่อการอัดชั้นและการพิมพ์บนพื้นผิวฟิล์ม - แผ่นฟิล์มตรึงความร้อนสูงส�ำหรับบรรจุภัณฑ์ห่อลูกกวาด • แผ่นฟิล์มเกรดเคลือบอลูมิเนียม (Metallized grade film) – แผ่นฟิล์มใสผนึกปิดด้วยความ ร้อนเพื่อการเคลือบอลูมิเนียมแบบสูญญากาศ • แผ่นฟิล์มเกรดที่บิดเปลี่ยนรูปทรงได้ (Twist grade film) • แผ่นฟิล์มเกรดบรรจุภัณฑ์อาหารส�ำเร็จรูปพร้อมรับประทานที่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้อด้วย ความร้อน (Retort grade film) ฉ. แผ่นฟิล์มเคลือบซิลิโคน (ภายใต้ตราสินค้า “Saracote”) ทั้งที่เป็น PET และ PP มีการน�ำไปใช้ ประโยชน์ต่างๆดังนี้ • แผ่นเทปส�ำหรับใช้ ในการมุงหลังคายางมะตอย (Shingle roofing tapes) • แผ่นฟิล์มลอกติดหลังแผ่นตรา (Release liner in pressure sensitive labels) • แผ่นฟิล์มลอกส�ำหรับติดหลังแผ่นเทปติดแน่น (Release liner in pressure sensitive adhesive tapes) • แผ่นฟิล์มลอกส�ำหรับผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์และสุขอนามัย (Release liner in medical and hygiene products) ช. แผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนา แบ่งเป็นประเภทย่อยดังนี้ • สีขาวน�ำ้ นม • แบบใส/ใสพิเศษ • โปร่งแสง • ฟิล์มทึบ

29


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 4.4.1.1. คุณสมบัติผลิตภัณฑ์ ก) คุณสมบัติของแผ่นฟิล์ม PET แผ่นฟิล์ม PET มีลักษณะดังนี้ • เป็นแผ่นใสบาง • แข็งแรงทนทาน • มีคุณสมบัติเป็นฉนวน • มีความเรียบและความเสียดทานน้อย • ทนทานต่อการฉีกขาดหรือกดกระแทก • รักษารูปทรงได้ดีในอุณหภูมิระดับต่างๆกัน • ทนทานต่อความชื้น สารหล่อลื่น และตัวท�ำละลายได้หลากหลายประเภท • สามารถป้องกันการซึมของก๊าซต่าง ๆ ได้ดี นอกจากนี้ แผ่นฟิล์ม PET ยังสามารถดัดแปลงให้มีความยืดหด ความใสความขุ่น หรือ สี รวมทั้ง ลักษณะผิวต่างๆกันส�ำหรับวัตถุประสงค์การใช้ที่แตกต่างกัน นอกจากนี้ยังสามารถผ่านกระบวนการทางเคมีในขั้นตอนการผลิต เพื่อให้สามารถ ยึด ติดแน่นกับสารเคลือบต่างๆได้ (นอกเหนือไปจากการท�ำให้พื้นผิวเป็นเงา) ข) คุณสมบัติของแผ่นฟิล์ม CPP • ใช้ ในการปิดผนึกด้วยความร้อนและทนความร้อนได้ดีเยี่ยม • ช่วยในเรื่องการหักเหของแสงได้เป็นพิเศษ • คงรูปทรงและป้องกันการรั่วซึมได้ดี • สามารถพิมพ์บนพื้นผิวได้ดีเยี่ยม • แผ่น CPP เคลือบอลูมิเนียม ช่วยเพิ่มคุณสมบัติในการป้องกันการรั่วซึมได้ดียิ่งขึ้น ค) คุณสมบัติของแผ่นฟิล์มเคลือบอัดชั้นด้วยความร้อน • พื้นผิวที่มันเงาและมีความคงรูปช่วยให้วัสดุที่ใช้แผ่นฟิล์มนี้มีความคงทนใช้งานได้ นาน • คุณสมบัติยึดแน่นของสารเคลือบท�ำให้รอยหมึกบนผิวคงอยู่ได้นานและยึดติดกับ กระดาษได้ดี • คุณสมบัติของพื้นผิวเอื้อต่อกระบวนการปั๊มลายหรือตราด้วยความร้อนและการ เคลือบสารยูวี • ช่วยให้ผลิตภัณฑ์โดดเด่นดึงดูดสายตาผู้พบเห็น ง) คุณสมบัติของแผ่นฟิล์มเคลือบซิลิโคน • แผ่นฟิล์มเคลือบซิลิโคนออกแบบเพื่อเป็นชั้น carrier (ตัวน�ำ) วัสดุที่ไวต่อแรงกด • แผ่นฟิล์มเคลือบด้านเดียว/สองด้าน • คงทนต่อแรงดึงสูง มีความสามารถในการคงรูปมากกว่าแผ่นบุอื่นๆ

30


4.4.1.2. ลักษณะการน�ำไปใช้งาน แผ่นฟิล์ม PET ชนิดบาง สามารถน�ำไปใช้งานได้ ใน 3 อุตสาหกรรมหลักดังนี้ 1. บรรจุภัณฑ์ : แผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางประเภทแผ่นฟิล์มใส และ แผ่นฟิล์ม (Packaging) เคลือบอลูมิเนียมสามารถน�ำไปใช้เป็นส่วนประกอบชั้นนอก และชั้นกลางของซองบรรจุภัณฑ์ชนิดอ่อนได้ เช่น ซองบรรจุ กาแฟ ซองขนมขบเคี้ยว ซองบรรจุน�้ำยาปรับผ้า นุ่มและผง ซักฟอก เป็นต้น 2. อุตสาหกรรม : ใช้ทำ�แผ่นฟอยล์สีต่างๆ วัสดุหุ้มท่อในระบบปรับอากาศ งาน พิมพ์ข้อความหรือรูปภาพลงบนแผ่นฉลากหรือบัตรประจำ�ตัว (Industrial) งานเคลือบผิววัสดุ (Lamination) เป็นต้น 3. อุปกรณ์ : ใช้เป็นวัสดุหุ้มสายไฟ (Wire/Cable Wrap) แผ่นรองสวิตช์ ไฟฟ้า (Membrane Switches) สายวงจรในคอมพิวเตอร์ (Flexible (Electrical) Printed Circuits) ตัวเก็บประจุไฟฟ้า(Capacitors) และ ฉนวนหุ้มมอเตอร์ (Motor Insulation) แผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนา ส่วนใหญ่ใช้ ในกลุ่มอุตสาหกรรมและอุปกรณ์ไฟฟ้า อุปกรณ์ ไฟฟ้า : ใช้เกือบร้อยละ 60 – 65 ของตลาดฟิล์ม PET ชนิดหนาและ (Electrical) มีการเติบโตในความต้องการของแผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนา เซ็กเมนต์นี้สามารถแบ่งเป็นเซ็กเมนต์ย่อยได้ดังนี้ o จอภาพ: จอแบน จอแบบเทคโนโลยีขั้นสูง ภาพสาม มิติ holographic แผ่นสะท้อนแสงจอแบบ STN แผ่นกัน สะท้อน แผงสัมผัส (ITO) และอุปกรณ์เกี่ยวกับแสง o ไฟฟ้า: ฉนวนไฟฟ้า วัสดุหุ้มสายไฟ หม้อแปลงไฟฟ้าชั้น ฉนวนในคอยล์ไฟฟ้า ช่องกั้น ฉนวนส�ำหรับมอเตอร์และ ตัวก�ำเนิดไฟฟ้า o อิเล็กทรอนิกส์: อุปกรณ์ภาพ โพลีเมอร์ที่มีคุณสมบัติ เปลี่ยนแปลงเมื่อถูกแสง แผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ชนิด อ่อน (FPC) แผ่นรองสวิตช์ (MTS) และอุปกรณ์ตรวจวัด ทางการแพทย์ o พลังงานแสงอาทิตย์: แผงเซลล์พลังแสดงอาทิตย์ ฉนวน กันความร้อน แผ่นฟิล์มปกป้องพื้นผิว อุตสาหกรรม : ใช้เป็นฟิล์มกรองแสง ฟิล์มลามิเนต บัตรเครดิต บัตรเติมเงิน ฟิล์มสำ�หรับงานด้านการการแพทย์ (Industrial) แผ่นฟิล์มเคลือบอัดชั้นด้วยความร้อนมีการน�ำไปใช้งานดังนี้ 1. ใช้เคลือบเอกสารหรือสื่อสิ่งพิมพ์ด้วยความร้อน 2. ใช้ท�ำฉนวนกันความร้อน 3. ใช้ท�ำบรรจุภัณฑ์ชนิดอ่อน 4. ใช้ท�ำบรรจุภัณฑ์ชนิดแข็งซึ่งใช้กับกล่องกระดาษลูกฟูกที่พิมพ์ลาย

31


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 แผ่นฟิล์ม CPP สามารถน�ำไปใช้งานต่อไปนี้ 1. บรรจุภัณฑ์ - แผ่นฟิล์ม CPP ใช้เป็นแผ่นฟิล์มชั้นในสุดของบรรจุภัณฑ์อาหาร เนื่องจากมีคุณสมบัติปิดผนึกด้วยความร้อนได้ดีเยี่ยม นอกจากนี้ยังใช้เป็นบรรจุ ภัณฑ์สำ� หรับสิ่งทอ ผลิตภัณฑ์รักษาสุขภาพ สินค้าอุปโภคบริโภคต่างๆ เป็นต้น 2. อุตสาหกรรม - ถุงใส่ของร้อน แผ่นเทปติดผนึกส�ำหรับสินค้าอุตสาหกรรม ขอบ อุปกรณ์ภายในรถยนต์ เป็นต้น แผ่นฟิล์มเคลือบซิลิโคนสามารถน�ำไปใช้งานต่อไปนี้ 1. แผ่นลอก PET ส�ำหรับฉลากต่างๆ 2. เทปหลังคาชิงเกิ้ล 3. แผ่นลอก PP ส�ำหรับฉลาก/สติกเกอร์ รายได้จากการจ�ำหน่ายแผ่นฟิล์ม (ทั้งแผ่นฟิล์มเรียบ แผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียม PET แผ่นฟิล์มเคลือบอัดชั้นด้วยความร้อน/แผ่นฟิล์มเคลือบซิลิโคน/แผ่นฟิล์ม CPP และ แผ่นฟิล์ม Blown PP) ของบริษัทแบ่งตามประเภท อุตสาหกรรมของลูกค้า (ตามงบ การเงินเฉพาะบริษัท และตามงบการเงินรวม) ได้ดังนี้ งบเฉพาะบริษัท การใช้ผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ (Packaging) อุตสาหกรรม (Industrial) อุปกรณ์ไฟฟ้า (Electrical) รวม

2554-55 ล้านบาท % 3,529.79 80.66 974.77 19.34 0.00 0.00 4,504.55 100.00

2555-56 ล้านบาท % 3,151.83 78.44 866.40 21.56 0.00 0.00 4,018.23 100.00

2556-57 ล้านบาท % 3,346.00 77.75 936.59 21.76 20.78 0.48 4,303.37 100.00

งบรวม การใช้ผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ (Packaging) อุตสาหกรรม (Industrial) อุปกรณ์ไฟฟ้า (Electrical) รวม

2554-55 ล้านบาท % 7,651.23 76.05 2,319.52 23.06 89.57 0.89 10,060.33 100.00

2555-56 2556-57 ล้านบาท % ล้านบาท % 6,144.72 67.47 6,920.32 66.67 2,880.42 31.63 3,355.74 32.33 82.71 0.91 104.07 1.00 9,107.85 100.00 10,380.13 100.00

หมายเหตุ: 1) การจ�ำหน่ายแผ่นฟิล์มเคลือบอัดชั้นด้วยความร้อนและแผ่นฟิล์มเคลือบซิลิโคนครอบคลุม 2 ภาคธุรกิจ ได้แก่ ธุรกิจบรรจุภัณฑ์และภาคอุตสาหกรรม โดยขึ้นอยู่กับการใช้ผลิตภัณฑ์ แต่ละประเภท

32


้ ลิตภ ัณฑ์ ปี บ ัญช ี 2556-57 การจําแนกยอดขายแผ่นฟิ ล์มตามการใชผ

อุตสาหกรรม, 32%

อุปกรณ์ไฟฟ้า, 1% บรรจุภณ ั ฑ์, 67%

บรรจุภณ ั ฑ์

อุตสาหกรรม

อุปกรณ์ไฟฟ้า

4.4.1.3. ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติคล้ายกับแผ่นฟิล์ม PET ในการใช้งานบางอย่าง เช่น ในงานท�ำภาพกราฟฟิคและสื่อบันทึกภาพและเสียง การ ใช้แผ่นฟิล์ม ที่ผลิตจากวัตถุดิบอื่นที่ไม่ใช่แผ่นฟิล์ม PET จะท�ำให้เกิดความย่อหย่อนใน การยึด คุณสมบัติสำ� คัญๆ ที่แผ่นฟิล์ม PET มี เช่น ความแข็งแรงทนทาน ความมีผิว เรียบ ความใส ความทนทานต่อการ ฉีกขาด ความทนทานต่อการเปลี่ยนแปลง ของอุณหภูมิ และความทนทาน ต่อสารเคมี เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับการใช้งาน บางอย่าง ซึ่งไม่จ�ำเป็นต้องอาศัยคุณสมบัติพิเศษเหล่านี้ แผ่นฟิล์ม PET จะต้องแข่งขัน กับผลิตภัณฑ์ที่สามารถน�ำมาใช้ทดแทนได้อีกหลายประเภท ซึ่งมักจะเป็นผลิตภัณฑ์ ระดับล่างที่ราคาถูกกว่า เช่น แผ่นฟิล์มประเภทพลาสติก PVC (Polyvinyl Chloride), PP (Polypropylene) และ PE (Polyethylene) รวมทั้งกระดาษด้วย ซึ่งมักจะใช้ ในงานธุรกิจ บรรจุภัณฑ์ และอุตสาหกรรมทั่วๆไป แผ่นฟิล์ม BOPP (Biaxially Oriented Polypropylene Film) เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติ คล้ายกับแผ่นฟิล์ม PET มากที่สุด โดยพิจารณาในแง่ของคุณสมบัติทางกายภาพและ ทางกล อย่างไรก็ตาม การใช้แผ่นฟิล์ม PET และแผ่นฟิล์ม BOPP ต่างก็มีข้อดีข้อเสีย แตกต่างกันไป โดยการตัดสินใจเลือกแผ่นฟิล์มชนิดใดนั้นจะขึ้นอยู่กับความต้องการใช้ เป็นหลัก การเปรียบเทียบแผ่นฟิล์ม BOPP กับแผ่นฟิล์ม PET แผ่นฟิล์ม PET จัดได้ว่าเป็นแผ่นฟิล์มที่มีคุณภาพสูงส�ำหรับอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ชนิด อ่อน ซึ่งจะเห็นความแตกต่างได้จากปริมาณการใช้ที่แตกต่างกันของผลิตภัณฑ์ทั้งสอง ชนิด

33


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 คุณสมบัติ ป้องกันการซึมของไอน้ำ� ป้องกันการซึมของก๊าซ ความสามารถในการรับกระแสไฟฟ้า ความสามารถในการเปลี่ยนรูปทรงด้วยเครื่องจักร ความสามารถในการใช้สำ�หรับพิมพ์ ความเหมาะสมในการเคลือบ ความหนาแน่น (gm/cc) ความแข็งแรง ความสามารถในการรับกับอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง

แผ่นฟิล์ม BOPP ดีเลิศ ไม่ดี ไม่ดี ปานกลาง ปานกลาง ไม่ดี ต�่ำ(0.91) ปานกลาง ไม่ดี

แผ่นฟิล์ม PET ปานกลาง ดีเลิศ ดีเลิศ ดีเลิศ ดีเลิศ ดีเลิศ สูง (1.39) ดีเลิศ ดีเลิศ

ส�ำหรับแผ่นฟิล์ม PET หากมีการดึงออกไปทั้งสองด้าน ก็ยังสามารถคงรูปได้ดี ป้องกัน การซึมของก๊าซ มีความสามารถในการรับกระแสไฟฟ้าได้ เป็นต้น ในขณะที่แผ่นฟิล์ม BOPP หากมีการดึงออกไปก็จะมีสภาพอ่อนยวบยาบ นอกจากนี้แผ่นฟิล์ม PET ยัง สามารถทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิได้ดีกว่า จึงมักจะเป็นที่นิยมในตลาดผู้ ใช้ที่ไม่ซับซ้อนมากนักในประเทศเขตร้อนชื้น แผ่นฟิล์ม PET มักเป็นที่ต้องการเนื่องจาก มีคุณสมบัติในการป้องกันความชื้นและการซึมของออกซิเจน นอกจากนี้ยังเป็นที่นิยม ส�ำหรับ ใช้เป็นบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ที่ต้องเก็บรักษาความหอม เช่น ชาหรือกาแฟ เป็นต้น ในอีกด้านหนึ่ง การที่แผ่นฟิล์ม BOPP มีความหนาแน่นต�่ำ (0.91 เปรียบเทียบกับ 1.39 ของ แผ่นฟิล์ม PET) ท�ำให้แผ่นฟิล์ม BOPP เป็นทางเลือกที่มีราคาถูกในการใช้ผลิตบรรจุ ภัณฑ์ อีกทั้งการที่บรรจุภัณฑ์ต้องใช้ประโยชน์จากการที่แผ่นฟิล์ม BOPP มีความหนา กว่า ก็สามารถชดเชยคุณสมบัติของมันในเรื่องความหนาแน่นที่ตำ�่ กว่าแผ่นฟิล์ม PET ไป ได้ ในระดับหนึ่ง นอกจากนี้ แผ่นฟิล์ม BOPP ยังสามารถผนึกปิดด้วยความร้อนได้ดี กว่าแผ่นฟิล์ม PET อีกด้วย จากคุณสมบัติของแผ่นฟิล์ม BOPP และแผ่นฟิล์ม PET ข้างต้น ท�ำให้ผลิตภัณฑ์ทั้ง สองชนิด นี้เป็นที่ต้องการใช้งานแตกต่างกันโดยมีการใช้ทดแทนกันได้บ้างแต่เป็นไปใน สัดส่วนที่ไม่มากนัก แม้ว่าในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ราคาขายแผ่นฟิล์ม BOPP ได้ลดลง แต่ ก็ไม่ได้ส่งผลต่อการ ใช้แผ่นฟิล์ม PET มากนัก แสดงว่าการทดแทนกันระหว่างผลิตภัณฑ์ ทั้งสองยังค่อน ข้างจ�ำกัดอยู่ 4.5. กลยุทธ์ทางธุรกิจ องค์ประกอบส�ำคัญในการก�ำหนดกลยุทธ์ได้แก่ - เสริมสร้างความเป็นผู้น�ำในการผลิตที่มีต้นทุนต�่ำโดยการขยายกิจการทั้งในแนวนอน(ก�ำลังการผลิต) และในแนวตั้ง(ผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง) - เจาะตลาดที่มีศักยภาพในการเติบโต และสร้างความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้า 34


- เสริมสร้างความสามารถในการจัดส่งสินค้าทั่วโลกด้วยกลยุทธ์ตลาดในประเทศ ตลาดต่างประเทศโพ้น ทะเลและตลาดภูมิภาคใกล้เคียงอย่างรอบคอบและสมเหตุผล - มีประเภทสินค้าหลากหลายมากขึ้น โดยการลงทุนเพิ่มด้านการปรับปรุงสมรรถนะทางเทคโนโลยี และ การวิจัยและพัฒนา (R&D) - สร้างความหลากหลายในผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องและกระจายธุรกิจออกจากแกนธุรกิจเดิม (Concentric and related diversification) เพื่อความมั่นคงของรายได้ - เสริมความแข็งแกร่งทางการตลาดของแต่ละฐานการผลิตในท�ำเลต่างๆกัน บริษัทจึงได้ด�ำเนินการในช่วงที่ผ่านมาและจะด�ำเนินการต่อไปในอนาคตดังนี้ • บริษัทได้จัดตั้งสายการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางต่อเนื่อง 2 สายในประเทศไทย ซึ่งเป็นก้าวแรกสู่ ความเป็นผู้น�ำด้านต้นทุนและการขยายฐานลูกค้าที่หลากหลายขึ้น • จากการที่โรงงานในประเทศตุรกีเริ่มการผลิตของสายการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางสายที่สอง เมื่อเดือนพฤษภาคม 2551 ท�ำให้ บริษัทย่อยแห่งนี้เป็นฐานการผลิตที่มีประสิทธิภาพ ด้านต้นทุนที่ แข็งแกร่งยิ่งขึ้นในการสนองความต้องการของลูกค้าที่มีการขยายอย่างต่อเนื่อง ทั้งในยุโรป ตะวันออก กลาง อัฟริกา และรัสเซีย/ซีไอเอส • บริษัทได้ขยายการผลิตสู่การผลิตเม็ดพลาสติก PET (Backward Integration) ซึ่งท�ำให้ โครงสร้าง ต้นทุนของบริษัทในประเทศไทยและบริษัทย่อยในประเทศตุรกีมีความแข็งแกร่งขึ้น • ด้วยการผลิตของโรงงานผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูปเมื่อเดือนเมษายน 2551 และการผลิตของ สายการผลิตส่วนขยายของแผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียมในประเทศไทย และประเทศตุรกี เมื่อเดือน พฤษภาคม 2551 บริษัทสามารถเพิ่มสัดส่วนของผลิตภัณฑ์ที่มี มูลค่าเพิ่มในประเภทผลิตภัณฑ์ ทั้งหมดของบริษัทให้สูงขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญเพื่อเป็นการยกระดับความสามารถ ในการท�ำก�ำไรโดยรวม ของบริษัท • ส่วนหนึ่งในกลยุทธ์กระจายธุรกิจออกจากธุรกิจเดิมสู่ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องคือการที่บริษัทจัดตั้งสาย การผลิตแผ่นฟิล์ม CPP เมื่อเดือนมีนาคม 2553 ซึ่งท�ำให้บริษัทสามารถเป็นผู้ผลิตและจ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ได้ครบวงจร • จากการเริ่มสายการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบซิลิโคนในประเทศไทยในเดือนมีนาคม 2555 ท�ำให้บริษัท สามารถเจาะตลาดผลิตภัณฑ์ ใหม่ ๆ ได้มากขึ้น อันเป็นการช่วยลดผลกระทบจากการขึ้นลงตามวงจร โดยธรรมชาติ ของอุตสาหกรรมแผ่นฟิล์ม Polyester ชนิดบาง • การตัดสินใจของบริษัทในการลงทุนในสายการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางใหม่ในสหรัฐอเมริกาเป็น อีกขั้นหนึ่งสู่การสร้างความหลากหลายของท�ำเลฐานการผลิตของบริษัทในเชิงภูมิศาสตร์ ซึ่งจะช่วย ให้บริษัทสามารถมีส่วนร่วมไปกับการเติบโตของธุรกิจบรรจุภัณฑ์แบบอ่อนในภูมิภาคอเมริกาและ สามารถเพิ่มส่วนแบ่งตลาดได้อย่างมีนัยส�ำคัญ • สายการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนาในประเทศไทยจะช่วยให้บริษัทสร้างความมั่นคงด้านรายได้ เมื่อ สายการผลิตได้มีการปรับเพิ่มศักยภาพเต็มที่ เนื่องจากเซ็กเมนต์นี้โดยทั่วไปจะค่อนข้างมีเสถียรภาพ มากกว่าเซ็กเมนต์แผ่นฟิล์ม PET ชนิดบาง • สายการผลิ ต แผ่ น ฟิ ล ์ ม เคลื อ บอั ด ขึ้ น รู ป สายที่ ส องในประเทศไทยจะช่ ว ยเพิ่ ม ส่ ว นแบ่ ง ตลาดใน อุตสาหกรรมนี้ให้แก่บริษัท รวมทั้งช่วยกระจายความหลากหลายพอร์ตผลิตภัณฑ์ของบริษัท • สายการผลิตแผ่นฟิล์ม Blown PP จะช่วยให้โพลีเพล็กซ์สามารถเข้าสู่ตลาดแผ่นฟิล์ม PP เคลือบซิลิโคน 35


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 • การก่อตั้งโรงงานรีไซเคิลในประเทศไทยเพื่อรีไซเคิลของเสียจากพลาสติกประเภทต่างๆเป็นก้าวย่าง แรกของบริษัทสู่การเป็นโรงงานเพื่อสิ่งแวดล้อม • การลงทุนในสายการผลิตเม็ดพลาสติกส�ำหรับผลิตขวด PET ในประเทศตุรกีเป็นอีกความคิดริเริ่มหนึ่ง สู่การกระจายความเสี่ยงและเสริมความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ • การตัดสินใจลงทุนในเครื่องเคลือบใหม่สองเครื่องที่มีความทันสมัยด้วยระบบเทคโนโลยีล่าสุด (ตั้งอยู่ ในประเทศไทยและประเทศตุรกีแห่งละเครื่อง) จะช่วยให้บริษัทสามารถสนองความต้องการที่เพิ่มขึ้น และความต้องการผลิตภัณฑ์ ใหม่ในตลาดแผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียม • การด�ำเนินการในการสร้างความผูกพันของลูกค้าต่อบริษัทในรูปแบบต่างๆ ไม่เพียงช่วยให้บริษัท สามารถรักษาลูกค้าเดิมไว้ได้เท่านั้น แต่ยังเพิ่มและขยายฐานลูกค้าออกไปทั่วโลกด้วย ทั้งนี้ จากเครือ ข่ายตัวแทนจัดจ�ำหน่ายและผู้จัดจ�ำหน่ายที่กว้างขวางท�ำให้บริษัทสามารถเข้าถึงตลาดส�ำคัญๆ ต่างๆ ทั่ว โลกได้อย่างทั่วถึง • บริษัทแม่ในประเทศอินเดียได้จัดตั้งศูนย์วิจัยและพัฒนาซึ่งท�ำงานใกล้ชิดกับลูกค้าหลักๆ รวมไปถึงผู้ ใช้ แปรรูปต่างๆเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะต่างๆ 4.6. ช่องทางการจัดจ�ำหน่าย บริษัทจ�ำหน่ายสินค้าไปยังลูกค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยมุ่งการจ�ำหน่ายต่างประเทศเป็นหลัก บริษัทมีทั้งการจ�ำหน่ายโดยตรงไปยังลูกค้าผู้ ใช้สินค้า โดยใช้ทีมการตลาดและการขายของบริษัทเอง ใน สหรัฐอเมริกา เนเธอร์แลนด์ และจีนรวมทั้งผ่านนายหน้าที่รับผลตอบแทนเป็นค่าคอมมิชชั่น (Agent) ทั่ว โลก ทั้งนี้ ช่องทางโดยตรงส่วนใหญ่จะเป็นการจ�ำหน่ายผ่านตัวแทนจ�ำหน่าย (Distributor) ในพื้นที่ที่กำ� หนด การจ�ำหน่ายผ่านตัวแทนจ�ำหน่ายและนายหน้าช่วยสนับสนุนการจ�ำหน่ายและท�ำให้บริษัทสามารถจ�ำหน่าย สินค้าได้เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากตัวแทนจ�ำหน่ายและนายหน้าจะอยู่ใกล้กับลูกค้าจึงสามารถให้บริการได้อย่าง ใกล้ชิดส่งสินค้าได้อย่างรวดเร็ว รวมทั้งยังสามารถจ�ำหน่ายไปยังลูกค้ารายเล็กในพื้นที่ดังกล่าวได้เพิ่มมาก ขึ้นด้วย มูลค่าการจ�ำหน่ายแผ่นฟิล์มโดยรวมให้แก่ผู้ ใช้สินค้า (End users) และตัวแทนจ�ำหน่าย (Distributors) เป็น ดังตารางด้านล่างนี้ โดยการจ�ำหน่ายผ่านนายหน้ารวมอยู่ในส่วนของการจ�ำหน่ายให้แก่ผู้ ใช้สินค้าแล้ว งบเฉพาะบริษัท ลูกค้า ผู้ ใช้สินค้า ตัวแทนจำ�หน่าย ยอดขายรวม งบรวม ลูกค้า ผู้ ใช้สินค้า ตัวแทนจำ�หน่าย ยอดขายรวม

36

2554-55 ล้านบาท % 2,480.96 55.08 2,023.59 44.92 4,504.55 100.00

2555-56 ล้านบาท % 2,290.96 57.01 1,727.27 42.99 4,018.23 100.00

2556-57 ล้านบาท % 2,798.43 65.03 1,504.95 34.97 4,303.37 100.00

2554-55 ล้านบาท % 6,792.27 67.52 3,268.05 32.48 10,060.33 100.00

2555-56 2556-57 ล้านบาท % ล้านบาท % 6,009.80 65.98 7,092.68 68.33 3,098.05 34.02 3,287.45 31.67 9,107.85 100.00 10,380.13 100.00


4.7. สภาวะตลาดและการแข่งขัน 4.7.1. ความต้องการและการสนองผลิตภัณฑ์ ในตลาดโลก แผ่นฟิล์ม PET ชนิดบาง การเติบโตของธุรกิจบรรจุภัณฑ์ ในหลายปีที่ผ่านมา ได้นำ� ไปสู่การเปลี่ยนรูปแบบการผลิตและการ ใช้ แผ่นฟิล์ม PET ลูกค้าเป้าหมายของบริษัท คือ ธุรกิจบรรจุภัณฑ์ อุตสาหกรรม และอุปกรณ์ไฟฟ้า มีปริมาณความต้องการใช้คิดเป็นร้อยละ 98 ของความต้องการทั้งหมดในตลาดโลก โดยความ ต้องการใช้ ในธุรกิจที่จัดว่าใช้เทคโนโลยีสูง เช่น ธุรกิจสื่อบันทึกข้อมูลแบบแม่เหล็ก (Magnetic Media) และ งานพิมพ์ข้อความหรือรูปภาพบนแผ่นหรือฉลาก (Imaging) ลดลงเป็นร้อยละ 2 เท่านั้น อันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้เทคโนโลยี บรรจุภัณฑ์ที่ดีไม่เพียงสามารถรักษาอายุของสินค้าให้วางจ�ำหน่าย (Shelf Life) ได้นานขึ้นเท่านั้น แต่ยังสามารถดึงดูดความสนใจของผู้ซื้อในตลาดสินค้าอุปโภคบริโภคที่มีการแข่งขันสูง บรรจุภัณฑ์ ชนิดอ่อนยังมีบทบาทส�ำคัญในการช่วยลดการใช้วัสดุใหม่ (หรืออีกนัยหนึ่งคือลดของเสียหรือขยะ) ภายใต้หลักการ “เริ่มต้นด้วยการใช้วัสดุที่ช่วยลดของเสีย” ซึ่งจะท�ำให้การเติบโตของธุรกิจบรรจุ ภัณฑ์ทั่วโลกสูงกว่าการเติบโตของจีดีพี ความต้องการใช้แผ่นฟิล์ม PET ซึ่งเป็นวัสดุสำ� หรับบรรจุ ภัณฑ์ ในตลาดบน มีการขยายตัวสูงกว่าวัสดุประเภทอื่นคือโดยเฉลี่ยประมาณร้อยละ 7-9 ต่อปี ความต้องการบรรจุภัณฑ์ค่อนข้างยืดหยุ่น เนื่องจากเป็นไปตามความต้องการบริโภคสินค้าประเภท อาหาร และสินค้าอุปโภคบริโภคหลักๆ ซึ่งโดยธรรมชาติมักไม่สามารถบังคับด้วยกฎเกณฑ์หรือข้อ บังคับของทางการได้ คุณลักษณะเช่นนี้ของเซ็กเมนต์บรรจุภัณฑ์ส่งผลให้มีการเติบโตของอุปสงค์ อย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะได้รับผลกระทบด้านลบจากภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวในช่วงเวลาที่ผ่านมา ก็ตาม

37


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 ความต้องการในตลาดโลกของแผ่นฟิ ล์ม PET ชนิดบาง แบ่งตามผูใ้ ช ้ 2556 - 2,504 KMT 8% 1%0% 2% 5% 1% 20% 24%

2550-1,680 KMT

68%

บรรจุภณ ั ฑ์และฟิ ล์มเคลือบโลหะ อุตสาหกรรมอื�น ๆ อุปกรณ์ไฟฟ้า สื�อบันทึกข้ อมูล งานพิมพ์ภาพ

71%

ที่มา: ประมาณการข้อมูลอุตสาหกรรม / บริษัท ก�ำลังซื้อที่เพิ่มขึ้นประกอบกับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปของประชาชนในประเทศก�ำลังพัฒนาท�ำให้ การ ใช้วัสดุบรรจุภัณฑ์ต่อหัวเพิ่มสูงขึ้นอย่างอย่างมีนัยส�ำคัญ โดยทวีปเอเชีย (ไม่รวมญี่ปุ่นและ เกาหลี) เป็นตลาดแผ่นฟิล์ม PET ที่ใหญ่ที่สุด มีการใช้ ในปริมาณเกือบหนึ่งในสามของแผ่นฟิล์ม PET ที่ผลิตได้ ในขณะเดียวกัน ปริมาณการใช้วัสดุบรรจุภัณฑ์ต่อหัว ในประเทศก�ำลังพัฒนายัง จัดว่าอยู่ในระดับต�ำ่ มาก เมื่อเทียบกับประเทศพัฒนาแล้ว ปัจจัยหลักในการผลักดันให้การบริโภค มีการเติบโตในภูมิภาคนี้ คือ การเพิ่มส่วนแบ่งในตลาดที่เป็นระบบมากขึ้น การที่สังคมมีความเป็น บริโภคนิยมมากขึ้น การเปลี่ยน แปลงทางสถิติประชากรศาสตร์ และความ ต้องการบรรจุภัณฑ์ที่ดี ขึ้นและให้ความสะดวกมากขึ้น ทางด้านการผลิตสามารถเห็นแนวโน้มที่คล้ายคลึงกันกับความต้องการ โดยก�ำลังการผลิตที่เพิ่ม ขึ้นส่วนมากเกิดขึ้นในประเทศก�ำลังพัฒนาที่มีต้นทุนต�่ำ อีกทั้งก�ำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่ มุ่งสนองความต้องการในธุรกิจบรรจุภัณฑ์ โดยเน้นเรื่องประสิทธิภาพในการผลิตสูง แต่ต้นทุน การด�ำเนินงานต�่ำซึ่งส่งผลกระทบในทางลบต่อผู้ผลิตแผ่นฟิล์ม PET รายใหญ่แต่เดิมที่มีโครงสร้าง ต้นทุนสูง และปัจจุบันจ�ำเป็นต้องมุ่งเน้นการผลิตที่ใช้เทคโนโลยีในวงการเฉพาะที่เกิดขึ้นใหม่ ๆ ในการผลิตแผ่นฟิล์ม PET เช่น แผ่นฟิล์มส�ำหรับจอ LCD แผงรับพลังงานแสงอาทิตย์ แผ่นจอ สัมผัส และการใช้งานอื่น ๆ ที่เฉพาะเจาะจง ส�ำหรับตลาดบนในธุรกิจบรรจุภัณฑ์ ในขณะที่มาตร การปัองกันการทุ่มตลาดและการตอบโต้หรือกีดกันทางการค้าต่าง ๆ มีมากขึ้นท่ามกลางสภาวะการ แข่งขัน ในตลาดที่สูงขึ้น แต่ก็ไม่สามารถแก้ปัญหาที่มีอยู่แต่เดิมของสายการผลิตหรือโรงงานที่ไม่มี ประสิทธิภาพในการผลิตในประเทศพัฒนา ซึ่งผลิตเพียงแผ่นฟิล์มธรรมดา 38


ความต้องการในตลาดโลกของแผ่นฟิ ล์ม PET ชนิดบาง แบ่งตามภูมภ ิ าค

3% 3%

2011-2098 25562,504KMT KMT

12% 14%

2550-1,680 KMT

14% 17% 2%

64%

2%

ยุโรป อเมริ กาเหนือ อเมริ กาใต้ เอเชีย ตะวันออกกลาง & แอฟริ กา

69%

ที่มา: ประมาณการข้อมูลอุตสาหกรรม / บริษัท ในปี 2556 อุตสาหกรรมแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางเกิดภาวะสินค้าล้นตลาด เนื่องจากมีกำ� ลังการผลิต ส่วนเกินในอุตสาหกรรมจากการเพิ่มก�ำลังการผลิตเป็นปริมาณสูงหลังจากที่ส่วนต่างราคาพุ่งสูงผิด ปกติในอุตสาหกรรมแผ่นฟิล์ม PET ในปี 2553 ดังนั้น คาดว่าภาวะสินค้าล้นตลาดจะยังคงด�ำเนินต่อ ไปอีกช่วงระยะเวลาหนึ่งประมาณ 1-2 ปี บริษัทคาดว่าอัตราการเติบโตของความต้องการแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางของโลกจะเท่ากับประมาณ ร้อยละ 7 ในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า โดยความต้องการในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เติบโตสูงถึง ร้อยละ 8-9 คาดว่าการขยายก�ำลังการผลิตโดยรวมในอีก 12 เดือนข้างหน้านี้ จะสูงกว่าการเติบโต ของความต้องการ แต่ช่วงจังหวะเวลาแท้จริงของก�ำลังการผลิตส่วนขยายที่จะออกสู่ตลาดจะเป็น ตัวชี้ว่าภาวะผลิตภัณฑ์ล้นตลาดในขณะนี้จะคงอยู่นานเพียงใด บริษัทที่ผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ แน่นอน มีผลิตภัณฑ์หลากหลาย มีการเข้าถึงลูกค้าทั่วโลกได้ทั่วถึง รวมทั้งมีรูปแบบ Supply Chain ที่ดีกว่า ย่อมมีโอกาสมากกว่า ในการที่จะเข้ามามีส่วนร่วมรองรับการเติบโตของความต้องการและ ได้รับ/สามารถรักษาอัตราก�ำไรให้อยู่ในระดับที่สูงกว่าอัตราเฉลี่ยของอุตสาหกรรม แผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนา ความต้องการของแผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนามีความต้องการที่เพิ่มมากขึ้นเนื่องจากการพัฒนา เศรษฐกิจของโลก โดยเฉพาะกลุ่มไฟฟ้าและกลุ่มอุตสาหกรรม ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาความต้องการ ของฟิล์ม PET ชนิดหนามีอัตราการเติบโตเฉลี่ยต่อปี ประมาณร้อยละ 6.0-7.0 นวัตกรรมใหม่และการใช้งานใหม่ ๆ ของกลุ่มอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่นจอแบน (Flat Screen panel) แผง เซลล์แสงอาทิตย์ (PV Solar Cells) เป็นต้น ช่วยผลักดันการเติบโตในอดีตที่ผ่านมาและจะช่วยให้ 39


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 อุตสาหกรรมนี้จะยังคงมีอัตราเติบโตเฉลี่ยต่อปีประมาณร้อยละ 6.0 ต่อไปอีกไม่กี่ปี ความต้องการในตลาดโลกของแผ่นฟิ ล์ม PET ชนิดหนา แบ่งตามการใชง้ าน 2556 - 838 KMT 8%

11%

8%

12% 16%

Medical / X-Ray

16%

Other Imaging

8%

2550- 549 KMT

Packaging / Labels

12%

22%

Flat Panel Screens Photovoltaic cells

7% 10%

Other Electrical / Electronics

6%

Other Industrial

25% 39%

ที่มา: ประมาณการข้อมูลอุตสาหกรรม / บริษัท ก�ำลังการผลิตของแผ่นฟิล์มหนาที่เพิ่มขึ้นมาจากประเทศหลัก ๆ ในเอเชีย เช่น จีน เกาหลีใต้ และ ญี่ปุ่นซึ่งคล้าย กับอุตสาหกรรมแผ่นฟิล์มบาง แต่อย่างไรก็ตามยุโรปและอเมริกายังคงด�ำเนินต่อ ไปซึ่งมีก�ำลังการผลิตมากกว่าร้อยละ 20 ของก�ำลังการผลิตโลก ความต้องการในตลาดโลกของแผ่นฟิ ล์ม PET ชนิดหนา แบ่งตามภูมภ ิ าค 2556 - 838 KMT 4%

12%

9% 6%

5%

19% 13%

2550- 549 KMT

17% 22%

16%

21%

16%

18%

ที่มา: ประมาณการข้อมูลอุตสาหกรรม / บริษัท 40

22%

ยุโรป อเมริ กาเหนือ จีน ญี�ปนุ่ เกาหลีใต้ ไต้ หวัน อื�น ๆ


4.7.2. ภาวะอุตสาหกรรม การแข่งขันในตลาดโลก ผู้ผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางสามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มหลักตามขนาดของก�ำลังการผลิตคือ (1) กลุ่มผู้ผลิตรายใหญ่ของโลก ซึ่งมีกำ� ลังการผลิตมากกว่า 100,000 ตันต่อปี (เช่น DupontTeijin, Mitsubishi, Toray, Cifu, Polyplex, Flex และ Jindal เป็นต้น) (2) กลุ่มผู้ผลิตขนาดกลาง ซึ่งมีกำ� ลังการผลิตระหว่าง 50,000 – 100,000 ตันต่อปี และ (3) กลุ่มผู้ผลิตขนาดเล็กในแต่ละประเทศ ซึ่งมีกำ� ลังการผลิตน้อยกว่า 50,000 ตันต่อปี ในอดีตที่ผ่านมา สื่อบันทึกข้อมูลแบบแม่เหล็ก (Magnetic Media) มีความต้องการแผ่นฟิล์ม PET สูง ผู้ผลิตรายใหญ่จึงให้ความส�ำคัญกับการผลิตส�ำหรับกลุ่มธุรกิจนี้มากกว่ากลุ่มธุรกิจอื่น และจาก ประสบการณ์ และความช�ำนาญในการผลิตที่มีมานาน จึงท�ำให้การแข่งขันจ�ำกัดอยู่แต่กลุ่มผู้ผลิต รายใหญ่เท่านั้น ส�ำหรับแผ่นฟิล์ม PET ประเภทอื่นรวมถึงชนิดบางนั้นก็จะเป็นการแข่งขันระหว่างผู้ผลิตทุกกลุ่ม เนื่องจากความต้องการมีเพิ่มขึ้นทุกปี โดยเฉพาะแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางที่ใช้ ในธุรกิจบรรจุภัณฑ์ อุตสาหกรรม และ อุปกรณ์ไฟฟ้า ซึ่งความต้องการมีอัตราการเติบโตสูงในช่วงเวลาที่ผ่านมา จึง ท�ำให้ผู้ผลิตขนาดเล็กและขนาดกลาง(รวมถึงกลุ่มโพลีเพล็กซ์) ขยายก�ำลังการผลิตเพื่อตอบสนอง ความต้องของกลุ่มธุรกิจ 3 ประเภทดังกล่าว ดังนั้นในอนาคต คาดว่ากลุ่มผู้ผลิต ขนาดกลาง และผู้ผลิตรายย่อยบางรายในประเทศต่างๆ ซึ่งมีกำ� ลังการผลิตส่วนเกินอยู่จะเริ่มมีส่วนแบ่งตลาด เพิ่มขึ้น เนื่องจาก มีการเพิ่มก�ำลังการผลิตให้สูงขึ้น การแข่งขันในประเทศ ตลาดแผ่นฟิล์ม PET ในประเทศไทยมีขนาดเล็ก เมื่อเทียบกับขนาดของตลาดแผ่นฟิล์มโลก โดย บริษัทประมาณการว่าในปัจจุบันความต้องการภายในประเทศเท่ากับ 33,000 ตันต่อปีและจะมี อัตราเติบโตในช่วง 2-3 ปีข้างหน้าที่ร้อยละ 8-9 ต่อปี ในอดีตผู้ผลิตแผ่นฟิล์มในประเทศ มุ่งเน้น การผลิตที่สายการผลิตแผ่นฟิล์ม BOPP เป็นหลัก ในส่วนของบริษัทนั้น บริษัทได้มุ่งผลิตแผ่นฟิล์ม PET เพียงอย่างเดียวตั้งแต่เริ่มก่อตั้งกิจการในประเทศไทย โดยเริ่มจากสายการผลิตแผ่นฟิล์ม PET เพียงสายเดียว และภายใน 9 เดือนหลังจากนั้น ได้จัดตั้งสายการผลิตที่ 2 ในหลายปีที่ผ่านมา บริษัทได้มีการขยายกิจการหลายครั้งในด้าน ที่เกี่ยวกับการผลิตแผ่นฟิล์มที่สร้างมูลค่าเพิ่ม ได้แก่ แผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียม แผ่นฟิล์มเคลือบอัดชั้นด้วยความร้อน แผ่นฟิล์มเคลือบซิลิโคน เป็นต้น รวมทั้งสร้างความหลากหลายโดยขยายไปยังผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวเนื่องอย่างแผ่นฟิล์ม CPP ในปี 2556 บริษัทได้เริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ ในสายการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนา แผ่นฟิล์ม Blown PP และ แผ่นฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูปแล้ว ปัจจุบันบริษัทจัดเป็นผู้ผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางที่มีกำ� ลังการ ผลิตสูงที่สุดในประเทศไทย

41


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 ทั้งนี้ ก�ำลังการผลิตของผู้ผลิตแผ่นฟิล์มต่างๆในประเทศไทย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 เป็นดังนี้ สายการผลิต (ตันต่อปี) แผ่นฟิล์ม BOPP แผ่นฟิล์ม PET ชนิดบาง แผ่นฟิล์ม CPP แผ่นฟิล์ม BOPA แผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียม แผ่นฟิล์มBlown PP แผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนา รวม แผ่นฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูป แผ่นฟิล์มเคลือบซิลิโคน

บริษัท ไทย บริษัท เอ. เจ. ฟิล์ม อินดัสตรีส์ พลาสท์ จำ�กัด จำ�กัด (มหาชน) (มหาชน)

บริษัท เอสอาร์ เอฟ อินดัสตรี้ส์ (ไทยแลนด์) จำ�กัด

107,000 3,500 3,500 7,000 124,000 -

104,000 62,000 18,000 10,800 194,800 -

30,000 4,000 34,000 -

-

-

-

บริษัท (PTL)* 48,000 **15,600 23,800# 4,645 28,800 88,800 365 ล้าน ตร.ม. 725 ล้าน ตร.ม.

ที่มา: แบบ 56-1/แหล่งข้อมูลอุตสาหกรรม * ก�ำลังการผลิตของบริษัทเป็นไปตามที่ได้รับอนุมัติจาก BOI โดยรวมโครงการที่อยู่ระหว่าง ด�ำเนินการ ส�ำหรับก�ำลังการผลิตจริง โปรดดูตารางด้านล่างภายใต้หัวข้อ “ก�ำลังการผลิต” # รวมก�ำลังการผลิต 7,600 ตันต่อปีของโครงการเครื่องเคลือบอลูมิเนียมใหม่ที่กำ� ลังอยู่ระหว่าง ด�ำเนินโครงการ ** เป็นก�ำลังการผลิตรวมต่อปีที่ได้รับอนุมัติจาก BOI ส�ำหรับแผ่นฟิล์ม CPP และแผ่นฟิล์มเคลือบ อลูมิเนียม สรุปภาวะอุตสาหกรรมแผ่นฟิล์ม PET อุตสาหกรรมแผ่นฟิล์ม PET มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องในช่วงเวลาที่ผ่านมา ปัจจัยที่ผลักดันให้มี การเติบโตใน ช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา คือ การเติบโตในธุรกิจบรรจุภัณฑ์ อุตสาหกรรม และอุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า ขณะเดียวกัน ผู้ผลิตแผ่นฟิล์ม PET ได้มีการใช้กำ� ลังการผลิตเพิ่มขึ้น และ/หรือ เพิ่ม ก�ำลังการผลิตอย่างมากเพื่อสนองความต้องการที่เพิ่มขึ้น ในระหว่างปี 2543-2556 การใช้กำ� ลัง การผลิตโดยเฉลี่ยของผู้ผลิตแผ่นฟิล์ม PET ของโลก อยู่ในช่วงร้อยละ 80-90 ของก�ำลังการผลิต ของเครื่องจักร ยกเว้นบางปี (รวมปี 2556) ที่การใช้กำ� ลังการผลิตลงมาต�ำ่ กว่าร้อยละ 80 อันเนื่อง มาจากก�ำลังการผลิตส่วนเกินที่มีการสะสมกันมาในอุตสาหกรรม ระดับการใช้ก�ำลังการผลิตร้อย ละ 85-90 จัดว่าสูงมากโดยเกือบเท่ากับก�ำลังการผลิตที่ก�ำหนดมากับเครื่องจักร ในทางปฏิบัติ ผู้ ผลิตบางรายผลิตได้ตำ�่ กว่าก�ำลังการผลิตที่ก�ำหนด เนื่องจากเครื่องจักรมีการใช้งานมานานจึงอยู่ ในสภาพทรุดโทรม ในขณะที่ผู้ผลิตบางรายผลิตได้สูงกว่าก�ำลังการผลิตที่ก�ำหนดมากับเครื่องจักร โดยใช้เครื่องจักรใหม่และทันสมัย ตลอดจนอาศัยประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญที่มีมายาวนาน

42


แนวโน้มการใช้ก�ำลังการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางและชนิดหนาของโลกตั้งแต่ปี 2545 เป็นดังนี้ แผ่นฟิ ล์ม PET ชนิดบางทว� ั โลก 4,000.00 3,500.00

100% 93%

95% 95%

90%

3,000.00

83%

85%

86%

85%

88%

90%

86%

85%

81%

80%

2,500.00 K M 2,000.00 T

80% 75% 69%

1,500.00

70% 65%

1,000.00 60% 500.00

55%

-

50% 2545

2546

2547

2548

อุปสงค์

2549

2550

กําลังการผลิต

2551

2552

2553

2554

2555

2556

อัตราการใช้ กําลังผลิต

แผ่นฟิ ล์ม PET ชนิดหนาทว� ั โลก 1,400.00

1,200.00

86%

1,000.00

K M T

800.00

95%

91% 88%

90%

85%

85%

78%

80%

77%

75%

75%

73% 68%

600.00

67% 64%

65%

70% 65%

400.00

60% 200.00

55% 50%

2545

2546

2547

อุปสงค์

2548

2549

2550

กําลังการผลิต

2551

2552

2553

2554

2555

2556

อัตราการใช้ กําลังผลิต

แหล่งข้อมูล : เป็นตัวเลขจากแหล่งอุตสาหกรรม / ประมาณการของบริษัท แม้ว่าความต้องการแผ่นฟิล์ม PET จะมีอัตราการเพิ่มขึ้นอยู่ตลอดเวลา แต่ผู้ผลิตรายใหม่ที่ต้องการ จะเข้ามาด�ำเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมนี้ก็ไม่สามารถเข้ามาประกอบการแข่งขันได้โดยง่าย ทั้งนี้ เพราะ อุตสาหกรรมการผลิตแผ่นฟิล์ม PET เป็นอุตสาหกรรมที่ต้องใช้ความรู้ ทักษะและความ 43


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 ช�ำนาญในการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ให้ได้ตามขนาดมาตรฐานและรายละเอียดคุณสมบัติที่ลูกค้า ก�ำหนด ความสามารถในการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพเพื่อลดต้นทุน (cost effective) ก็เป็น อีกหนึ่งปัจจัย ที่จะท�ำให้ธุรกิจสามารถด�ำรงอยู่และแข่งขันได้ รวมไปถึงการขยายก�ำลังการผลิตให้มี ขนาดใหญ่ที่จะช่วยในเรื่องของการประหยัดต่อขนาด (economy of scale) กลุ่มโพลีเพล็กซ์ นับเป็นกลุ่มที่มีประสบการณ์ ในอุตสาหกรรมการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ยาวนาน กว่า 25 ปี มีความแข็งแกร่งจากการที่มีการขยายก�ำลังการผลิตอย่างต่อเนื่อง มีฝ่ายจัดการที่มี ความสามารถในการบริหารจัดการสูง มีการจัดส่งสินค้าโดยมุ่งเน้นฐานการผลิตแบ่งตามท�ำเลทาง ภูมิศาสตร์และมีเครือข่ายการจัดจ�ำหน่ายที่สามารถเข้าถึงลูกค้าได้ง่าย การมุ่งเน้นไปที่กลุ่มประเทศที่มีการเติบโตของความต้องการสูง และมีประสิทธิภาพด้านการผลิต และ ด้านต้นทุนโดยเน้นไปยังกลุ่มธุรกิจบรรจุภัณฑ์ อุตสาหกรรม และอุปกรณ์ไฟฟ้า ซึ่งมีอัตรา เติบโตของความต้องการสูง ล้วนส่งผลให้กลุ่มโพลีเพล็กซ์เป็นหนึ่งในผู้ผลิตแผ่นฟิล์มชนิดบางชั้น น�ำของโลก (ไม่รวมก�ำลังผลิต magnetic media) ส�ำหรับปัญหาเรื่องภาษีกีดกันการค้าที่ออกโดยประเทศน�ำเข้าต่างๆเช่น ก�ำแพงภาษี ป้องกันการทุ่ม ตลาด (Anti-dumping) และป้องกันการอุดหนุนการส่งออก (Anti-subsidy) นั้น ที่ผ่านมาบริษัท แม่ในประเทศอินเดียเคยเผชิญกับมาตรการดังกล่าวมาก่อน ทั้งจากสหภาพยุโรป และประเทศ สหรัฐอเมริกา ท�ำให้ทราบถึงสาเหตุ วิธีการตรวจสอบของสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา และวิธี การแก้ไขปัญหา ดังกล่าว จึงได้ดำ� เนินการแก้ไข จนท�ำให้ ในปัจจุบันนี้ ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ ก�ำหนดภาษีที่ร้อยละ 0 กับบริษัทแล้ว จากผลการสอบสวนของรัฐบาลประเทศบราซิลเพื่อป้องกันการทุ่มตลาดจากประเทศไทยและตุรกี ได้มีการก�ำหนดอากรขาเข้าประมาณ 28 เซ็นต์/กก. ส�ำหรับผลิตภัณฑ์นำ� เข้าจาก ประเทศไทยไปยัง บราซิล มีการก�ำหนดภาษีป้องกันการทุ่มตลาดในอัตราประมาณ 28 เซ็นต์ต่อกิโลกรัม ส�ำหรับสินค้า น�ำเข้าบราซิลที่มาจากประเทศไทย และภาษีป้องกันการทุ่มตลาดและภาษีตอบโต้ทางการค้าใน อัตราประมาณ 6.7 เซ็นต์ ต่อกิโลกรัมส�ำหรับสินค้าน�ำเข้าบราซิลที่มาจากตุรกี มาตรการดังกล่าว ไม่ส่งผลกระทบต่อบริษัทมากนัก เนื่องจากบริษัทมีการส่งออกผลิตภัณฑ์ไป ยังประเทศบราซิลใน ปริมาณที่น้อยมาก บริษัท จะด�ำเนินการป้องกันทั้งหมดเพื่อป้องกันความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการป้องกันการการทุ่ม ตลาดและอุปสรรคในการป้องกันอื่นที่กำ� หนดโดยประเทศผู้นำ� เข้า ทิศทางภาวะอุตสาหกรรมการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ในอนาคต • คาดว่าความต้องการแผ่นฟิล์ม PET (ชนิดบางและชนิดหนา) ของตลาดโลกจะเติบโตในอัตรา เฉลี่ยร้อยละ 6-7 ในช่วงไม่กี่ปีข้างหน้า • การเติบโตของความต้องการผลิตภัณฑ์ส�ำหรับใช้ ในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ชนิดอ่อนในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้คาดว่าจะเท่ากับร้อยละ 8-9 • ผลิตภัณฑ์ ใหม่และขนาดกลางจะมีการแตกแขนงออกเป็นประเภทผลิตภัณฑ์ต่างๆที่หลากหลาย จากแผ่นฟิล์มเกรดอุปโภคบริโภคเป็นแผ่นฟิล์มเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อเป็นการเพิ่มอัตรา ก�ำไร 44


• การเพิ่มขึ้นของก�ำลังการผลิตทั่วโลกในช่วง 12 เดือนข้างหน้าคาดว่าจะสูงกว่าอัตราการเติบโต ของความต้องการ ดังนั้น คาดว่าสภาวะอุปทานสูงกว่าอุปสงค์ ในปัจจุบันจะยังคงอยู่อีก 1-2 ปี • ผู้ผลิตใหม่จากประเทศจีนได้เข้ามาสู่อุตสาหกรรมการผลิตแผ่นฟิล์ม PET มากขึ้นและครอบง�ำ ตลาดมากขึ้นเรื่อยๆตลอดช่วงเวลา 2-3 ปีที่ผ่านมา แต่คาดว่าจะเป็นการผลิตเพื่อตอบสนอง ความต้องการภายในประเทศซึ่งเติบโตอย่างรวดเร็วเป็นหลัก • การขึ้นลงตามวงจรโดยธรรมชาติของอุตสาหกรรมนี้จะยังคงมีอยู่ • การที่อุตสาหกรรมนี้หันมาเน้นตลาดทวีปเอเชียมากขึ้นจะสร้างแรงกดดันในการแข่งขันมากขึ้น ในอนาคต • ข้อตกลงการค้าเสรีที่ทำ� กันอยู่ระหว่างประเทศต่างๆ สามารถสร้างทั้งโอกาสใหม่ๆ และปัญหา • ผู้ผลิตรายใหญ่ทั้งหลายมีแนวโน้มมากขึ้นที่จะพยายามสร้างพันธมิตรทางธุรกิจหรือเข้าซื้อ กิจการรายอื่นเพื่อสร้างการเติบโตของธุรกิจ หรือให้มีผลิตภัณฑ์ ในตลาดที่หลากหลาย หรือ แม้แต่การมีมาตรการในการเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆ ด้วยเทคโนโลยีใหม่ ๆ หรือเทคโนโลยี ระดับสูง 4.8. การผลิตผลิตภัณฑ์ 4.8.1. การผลิต บริษัทมีที่ดิน 3 แปลงที่นิคมอุตสาหกรรมสยามอีสเทิร์นอินดัสเตรียล พาร์ค จังหวัดระยอง มีเนื้อที่ ทั้งหมดประมาณ 100 ไร่ โดยฐานการผลิตทั้งหมดของบริษัทสร้างและตั้งอยู่บนที่ดินดังกล่าว ก�ำลังการผลิต ก�ำลังการผลิตของกลุ่มโพลีเพล็กซ์ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 (รวมโครงการที่อยู่ระหว่างด�ำเนิน การ) จะเป็นดังนี้ กําล ังการผลิตของกลุม ่ โพลีเพล็กซ์

MT

225,000

Mn Sqm

1,000

PET-Thin

PET-Thick

BOPP

CPP

Blown PP

PET Chips

Bottle Grade PET Resin

Metallizer

Coated Films

35,000

600

4,645 10,000 -

-

77,600

270

55,000

20,400 Base Film PET Film MET Film Coated Resin Film

อินเดีย

400

-

28,800

-

500

210,000

865

-

-

800 700

150,000

75,000

900

-

-

58,000

57,600

-

300 200

80,500 42,000

24,700 Base Film PET Film MET Film Coated Resin Film

ไทย

Base Film BG PET Resin

146 17,700 PET Film MET Film Coated Resin Film

ตุรกี

-

57,600

31,000 8,700 Base Film PET Film MET Film Resin

100 -

สหร ัฐอเมริกา

45


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 ประเภทผลิตภัณฑ์ แผ่นฟิล์ม PET ชนิดบาง แผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนา เม็ดพลาสติก แผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียม เม็ดพลาสติกสำ�หรับผลิตขวด แผ่นฟิล์ม BOPP แผ่นฟิล์ม CPP ชนิดเรียบ แผ่นฟิล์ม Blown PP แผ่นฟิล์มเคลือบ

อินเดีย 55,000

ไทย* 42,000 28,800 80,500 24,700

77,600 20,400

ตุรกี 58,000

สหรัฐฯ 31,000

57,600 17,700 210,000

57,600 8,700

35,000 10,000 4,645 865

270

146

รวม หน่วย 186,000 ตัน 28,800 ตัน 273,300 ตัน 55,900 ตัน 210,000 ตัน 35,000 ตัน 10,000 ตัน 4,645 ตัน 1,265 ล้าน ตร.ม.

*ก�ำลังการผลิตของประเทศไทยที่แสดงข้างต้นเป็นก�ำลังการผลิตจริงที่จะด�ำเนินการได้ ส่วนก�ำลังการ ผลิตที่ได้รับอนุมัติจาก BOI ตามมาตรฐานเครื่องจักรจะสูงกว่านี้ โปรดดูรายละเอียดก�ำลังการผลิตของ ประเทศไทยที่ได้รับอนุมัติจาก BOI ในตารางภายใต้หัวข้อ “การแข่งขันภายในประเทศ” ตารางข้างต้นรวมก�ำลังการผลิตส�ำหรับโครงการต่างๆที่กำ� ลังด�ำเนินการในประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา การใช้กำ� ลังการผลิตของสายการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ของ PTL (งบเฉพาะบริษัทและงบรวม) เป็นดังนี้

ตัน

อัตราการใช้ กาํ ลังการผลิตแผ่ นฟิ ล์ มบาง PET -ประเทศไทย 43,000 42,000 41,000 40,000 39,000 38,000 37,000 36,000 35,000 34,000

98%

95%

94%

95%

97%

90%

101% 101%

98%

42,420 42,446 41,165 39,989 38,199 36,877 36,847

40,764

97% 40,793

37,950

100% 80% 60% 40% 20% 0%

47-48 48-49 49-50 50-51 51-52 52-53 53-54 54-55 55-56 56-57

การผลิต (ตัน)

46

120%

อัตราการใช้ กําลังการผลิต (%)


อัตราการใช้ กาํ ลังการผลิตแผ่ นฟิ ล์ มบาง PET -รวมทัง� กิจการ 120,000 100,000

98%

91%

89%

94%

81%

92%

95%

ตัน

60,000

20,000

120% 85%

94,843

80,000

40,000

94%

95%

60,320

66,748

78,032 92,197 95,296

110,429

94,457

100% 80% 60% 40%

38,199 41,820

20%

-

0% 47-48

48-49

49-50

50-51

การผลิต (ตัน)

51-52

52-53

53-54

54-55

55-56

56-57

อัตราการใช้ กําลังการผลิต (%)

4.8.2. วัตถุดิบที่สำ� คัญในการผลิต เม็ดพลาสติก PET เม็ดพลาสติก PET (Polyethylene Terephthalate Resin) เป็นวัตถุดิบส�ำคัญในการผลิตแผ่นฟิล์ม PET โพลีเพล็กซ์กำ� หนดกลยุทธ์ที่จะผลิตเม็ดพลาสติกของตนเองที่ฐานการผลิตแผ่นฟิล์มทุกแห่ง ดังนั้น ทุกฐานการผลิตจะมีสายการผลิตเม็ดพลาสติกอยู่ด้วยโดยมีกำ� ลังการผลิตเพียงพอต่อความ ต้องการ Purified Terephthalic Acid (PTA) และ Mono Ethylene Glycol (MEG) วัตถุดิบที่สำ� คัญที่ใช้ ในการผลิตเม็ดพลาสติก PET คือ Purified Terephthalic Acid (PTA) และ Mono Ethylene Glycol (MEG). และเพื่อให้การจัดหาวัตถุดิบเป็นไปอย่างสม�ำ่ เสมอและต่อเนื่อง บริษัทจึงได้จัดท�ำสัญญาซื้อวัตถุดิบกับผู้จ�ำหน่ายวัตถุดิบในประเทศสองรายส�ำหรับ PTA และอีก รายหนึ่งส�ำหรับ MEG ส�ำหรับบริษัทย่อยในตุรกี จะจัดหาโดยน�ำเข้า PTA จากยุโรปและ MEG จาก ตะวันออกกลาง ส่วนบริษัทย่อยในสหรัฐอเมริกา ก�ำลังมีการเจรจากับผู้จำ� หน่ายในประเทศซึ่งจะ สามารถได้ข้อสรุปสัญญาก่อนเริ่มสายการผลิตเม็ดพลาสติก PET บริษัท ท�ำสัญญารายปีตามความต้องการทั้งหมดของบริษัท ฯ ซึ่งผู้จำ� หน่ายจะมีการการสูตรการ ค�ำนวณราคาที่กำ� หนดตลอดระยะเวลาตามสัญญา วัตถุดิบส�ำคัญของสายการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูป นอกเหนือจากวัตถุดิบอย่างแผ่นฟิล์ม PET ซึ่งมาจากการผลิตภายในบริษัทเองแล้ว วัตถุดิบส�ำคัญ อื่นส�ำหรับสายการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูปได้แก่ แผ่นฟิล์มพื้นฐาน BOPP และสารเคมี ส�ำหรับเคลือบ เช่น LDPE และ EVA โดยทั้งหมดสามารถจัดหาจากผู้ผลิต/ผู้ค้าต่างๆในประเทศไทย รวมทั้งน�ำเข้าจากประเทศในภูมิภาค

47


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 วัตถุดิบส�ำคัญของสายการผลิตแผ่นฟิล์ม CPP วัตถุดิบส�ำคัญส�ำหรับการผลิตแผ่นฟิล์ม CPP คือ Homo Polymer และ Co-Polymer โดย Homo Polymer สามารถจัดซื้อได้ ในประเทศในขณะที่ Co-Polymer อาศัยจากการน�ำเข้า วัตถุดิบส�ำคัญของสายการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบซิลิโคน ส�ำหรับสายเคลือบซิลิโคน วัตถุดิบส�ำคัญคือ แผ่นฟิล์ม PET ซึ่งรับโอนจากการผลิตภายในของ บริษัทเองรวมทั้งน�ำเข้าจากบริษัทแม่ในอินเดียด้วยด้วยราคาเดียวกันกับที่ซื้อจากบุคคลภายนอก (arm’s length pricing) ซิลิโคนและสารเคมีอื่นๆน�ำเข้าจากผู้จ�ำหน่ายชั้นน�ำในสหรัฐอเมริกาและ ยุโรป วัตถุดิบส�ำคัญของสายการผลิตแผ่นฟิล์ม Blown PP ส�ำหรับสายแผ่นฟิล์ม Blown PP วัตถุดิบส�ำคัญคือ เม็ดพลาสติก PP (Homopolymer, co-polymer และ PP color master batches) บริษัทจัดหาจากผู้จ�ำหน่ายในประเทศรวมทั้งน�ำเข้าจากประเทศอื่น ในภูมิภาค ห่วงโซ่มูลค่ากระบวนการผลิตและส่งมอบผลิตภัณฑ์ (Value Chain) ในธุรกิจแผ่นฟิล์ม PET แผ่น ฟิล์ม CPP และแผ่นฟิล์ม Blown PP ของบริษัทเป็นดังนี้

ก๊าซธรรมชาติ

Para Xylene

PTA

PP RESIN โพลิโพรไพลิน นา้ ม ัน

48

เคลือบ

MEG

พลาสติกและผลิตภ ัณฑ์ขน ั้ กลาง

้ ที่ ผู ้ซือ เป็ น อุตสาห กรรม และผู ้ แปรรูป

เคลือบอลูมเิ นียม

เอทิลน ี

ว ัตถุดบ ิ

แผ่นฟิ ล์มธรรมดา

ปิ โตรเคมี ้ ฐาน ขนพื ั้ น

เม็ดพลาสติก

ทร ัพยากร ธรรมชาติ

การดาเนินงานในส่ วนของโพลีเพล็กซ์

ผลิตภ ัณฑ์ขน ั้ สุดท้าย


EVA / LDPE

้ รูป แผ่นฟิ ล์มเคลือบอ ัดขึน

แผ่นฟิ ล์ม PET และ BOPP

พลาสติกและผลิตภ ัณฑ์ ขนกลาง ั้

้ รูป กระบวนการเคลือบอ ัดขึน

ว ัตถุดบ ิ

เครือ ่ ง พิมพ์ / เครือ ่ ง เคลือบ บัตร

ผู ้บริโภค

การดาเนินงานในส่ วนของโพลีเพล็กซ์

Value Chain ของแผ่นฟิล์มเคลือบอัดชั้นด้วยความร้อนเป็นดังนี้ 4.8.3. ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เนื่องจากแผ่นฟิล์ม PET และ เม็ดพลาสติก PET โดยทั่วไปเป็นวัสดุที่สามารถน�ำกลับมาใช้ ใหม่ได้ ดังนั้นกระบวนการผลิตของบริษัทจึงไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมแต่อย่างใด ส�ำหรับสายการ ผลิตเม็ด พลาสติก บริษัทได้รับการรับรองจาก EIA แล้ว โดย EIA ก�ำหนดให้บริษัทต้องจัดท�ำ รายงานด้านสิ่งแวดล้อมเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างสม�ำ่ เสมอ ตั้งแต่เริ่มด�ำเนินการผลิตเมื่อเดือนมีนาคม 2546 บริษัทไม่เคยมีประวัติกระท�ำผิดกฎหมาย หรือ ข้อพิพาท เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่สำ� คัญๆแต่อย่างใด บริษัทได้รับการตรวจสอบจากกรมโรงงาน อุตสาหกรรมอย่างสม�่ำเสมอ ซึ่งผลการตรวจสอบสรุปได้ว่ากระบวนการผลิตของบริษัทมิได้ก่อให้ เกิดมลภาวะแต่อย่างใด ผลิตภัณฑ์ของบริษัทในประเทศไทยทั้งหมดได้รับการรับรองมาตรฐานดังต่อไปนี้ • มาตรฐาน ISO 14001:2004 ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environment Management System) • มาตรฐาน ISO 9001:2008 ด้านระบบบริหารจัดการคุณภาพ • มาตรฐาน OHSAS 18001:2007 ด้านระบบการจัดการความปลอดภัยและสุขภาพในการประกอบ วิชาชีพ (Occupational Health and Safety Management System) • มาตรฐาน ISO 22000:2005 ในเรื่องของความปลอดภัยด้านอาหารส�ำหรับผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ของบริษัทในประเทศตุรกีทั้งหมดได้รับการรับรองมาตรฐานดังต่อไปนี้ • มาตรฐาน ISO 14001:2004 ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environment Management System) • มาตรฐาน ISO 9001:2008 ด้านระบบบริหารจัดการคุณภาพ (Quality Management system) 49


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 • มาตรฐาน OHSAS 18001:2007 ด้านระบบการจัดการความปลอดภัยและสุขภาพในการ ประกอบวิชาชีพ (Occupational Health and Safety Management System) • มาตรฐาน BRC/loP ด้านการรับรองเกี่ยวกับมาตรฐานระดับโลกส�ำหรับบรรจุภัณฑ์และ ผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ (สายการผลิตฟิล์มและสายการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียม) 5. ปัจจัยความเสี่ยง ก่อนตัดสินใจลงทุนซื้อหุ้นของบริษัท ผู้ลงทุนควรพิจารณาข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยความเสี่ยงตามที่ระบุไว้ ใน ส่วนนี้และข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ในเอกสารฉบับนี้อย่างรอบคอบ อย่างไรก็ดี นอกเหนือจากปัจจัยความเสี่ยง ดังกล่าวแล้ว ยังมีความเสี่ยงอื่นๆที่อาจมีผลกระทบในทางลบต่อผลการด�ำเนินงานของบริษัทซึ่งเป็นความ เสี่ยง ที่ยังไม่อาจคาดการณ์ได้ ปัจจัยเสี่ยงที่ส�ำคัญประกอบด้วย 5.1. ความเสี่ยงเกี่ยวกับวงจรอุตสาหกรรม (Industry Cycle) วงจรอุตสาหกรรมของอุตสาหกรรมแผ่นฟิล์ม PET จะขึ้นอยู่กับส่วนต่างของราคาแผ่นฟิล์ม PET กับ ราคา ของ PTA และ MEG ซึ่งเป็นวัตถุดิบที่สำ� คัญในการผลิตแผ่นฟิล์ม PET หากในช่วงระยะเวลาที่สภาวะความ ต้องการและการสนองแผ่นฟิล์ม PET เป็นไปในทิศทางที่เอื้อต่อผู้ผลิตหรือผู้จำ� หน่ายก็จะท�ำให้ส่วนต่าง ของราคาจ�ำหน่ายแผ่นฟิล์มกับราคาวัตถุดิบสูงมากขึ้น ท�ำให้ผู้ประกอบการต่างเร่งขยายก�ำลังการผลิต เพื่อผลิตสินค้าออกสู่ตลาดมากขึ้น ในทางกลับกัน หากปริมาณสินค้าที่ผลิตมีมากกว่า ความต้องการของ ตลาดก็ท�ำให้ราคาจ�ำหน่ายลดลง ท�ำให้ผลต่างของราคาจ�ำหน่ายแผ่นฟิล์มและราคา ต้นทุนวัตถุดิบเหลือ น้อยลงส่งผลกระทบต่อรายได้และก�ำไรของผู้ประกอบการ ในปีบัญชี 2556-57 อุตสาหกรรมประสบกับ ภาวะสินค้าล้นตลาดซึ่งต่อเนื่องมาจากปี 2555 ท�ำให้ส่วนต่างก�ำไร (margins) ยังคงทรงอยู่ในระดับต�ำ่ เป็น ประวัติการณ์ จากการที่ผู้ผลิตไม่สามารถปรับขึ้นราคาขายตามสัดส่วนเพื่อส่งผ่านต้นทุนวัตถุดิบที่เพิ่มสูง ขึ้นได้ เพื่อให้เห็นผลกระทบของวงจรอุตสาหกรรมแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบาง บริษัทจึงน�ำเสนออัตราก�ำไรก่อน หัก ภาษี ของ PTL (งบรวม) โดยเฉพาะเปรียบเทียบกับราคาจ�ำหน่ายแผ่นฟิล์ม PET และราคาวัตถุดิบ ดังนี้

50


เปรียบเทียบอัตราก�ำไรก่อนหักภาษี (Profit before tax/sale) ของ PTL กับ ราคาจ�ำหน่ายแผ่นฟิล์ม PET และวัตถุดิบตามงบรวม (เฉลี่ยส�ำหรับ PTL ประเทศไทย และ PE ประเทศตุรกี และ PUL ประเทศอเมริกา) 40% 35% 30% 25% 20% 15% 10% 5% 0% -5% -10%

35.06% 22.31%

22.10% 12.90%

17.11%

15.46%

14.82% 13.72%

7.37%

4.06% -7.31%

อัตรากําไรก่อนหักภาษี ตอ่ ยอดขายสุทธิ (งบรวม)

105 97.21

บาท/ก.ก.

90 75

84.67 74.48

73.68

68.62

70.52

74.97

73.48

69.62

70.28

45.46

48.32

60.41

60 46.98

45 37.07

39.07

43.75

46.35 39.44

30

ราคาขาย ต่อ ก.ก.

37.91

35.17

37.83

ราคาวัตถุดิบต่อ ก.ก.

ที่มา: ข้อมูลจากบริษัท จากข้อมูลข้างต้นดังกล่าว จะเห็นแนวโน้มของวงจรก�ำไรก่อนหักภาษีและราคาจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ในช่วง เวลาที่ผ่านมา ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อผลประกอบการของผู้ผลิตแผ่นฟิล์ม PET ตลอดจนโพลีเพล็กซ์ อย่างไรก็ตาม บริษัทมีนโยบายที่จะลดความเสี่ยงดังกล่าว ด้วยการใช้มาตรการดังต่อไปนี้ • ด้วยการมีประสิทธิภาพในการผลิตในระดับสูงและมาตรการควบคุมต้นทุนการผลิต ท�ำให้บริษัทเชื่อมั่น ว่าบริษัทเป็นหนึ่งในผู้ผลิตแผ่นฟิล์ม PET ที่มีต้นทุนต�ำ่ รายหนึ่งในโลก ซึ่งช่วยให้บริษัทมีผลประกอบ การที่ดีกว่าบริษัทอื่นในอุตสาหกรรม • สร้างความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ด้วยการเสนอผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆ เช่น แผ่นฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูป (สายแผ่นฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูปสายที่สองเริ่มการผลิตในเดือนมิถุนายน 2556) คาสท์โพลิโพรพิลีนฟิล์ม สายเคลือบซิลิโคน แผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนา (ซึ่งเริ่มผลิตเชิงพาณิชย์ ในเดือนตุลาคม 2556) เพื่อลด ความเสี่ยงจากการต้องอาศัยผลิตภัณฑ์ ใดผลิตภัณฑ์หนึ่งและอุตสาหกรรมใดอุตสาหกรรมหนึ่ง 51


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 • เครื่องเคลือบนอกสายการผลิตซึ่งเริ่มผลิตเชิงพาณิชย์ ในเดือนมีนาคม 2557 ที่โพลีเพล็กซ์ ในประเทศ ตุรกี (PE) จะช่วยเพิ่มประเภทแผ่นฟิล์มเคลือบใหม่ๆให้กับโพลีเพล็กซ์ • บริษัทยังก�ำลังท�ำการลงทุนในโครงการผลิตเม็ดพลาสติกส�ำหรับผลิตขวด PET ในประเทศตุรกี ในนาม บริษัทที่จัดตั้งขึ้นใหม่ ซึ่งมีบริษัทถือหุ้นทางอ้อมร้อยละ 67 ส่วนที่เหลือร้อยละ 33 ถือหุ้นโดยบริษัทแม่ ในประเทศสิงคโปร์ คือ โพลีเพล็กซ์ (เอเชีย) พีทีอี ลิมิเต็ด (PAPL) คาดว่าโครงการนี้จะเริ่มผลิตเชิง พาณิชย์ ในครึ่งหลังของปี 2557-58 • การลงทุนในเครื่องเคลือบอลูมิเนียมใหม่ 2 เครื่อง (ที่ประเทศไทยและประเทศตุรกีแห่งละเครื่อง) จะ ท�ำให้โพลีเพล็กซ์สามารถน�ำเสนอผลิตใหม่ๆแก่ลูกค้าได้ และยังช่วยปรับปรุงส่วนผสมผลิตภัณฑ์เฉพาะ อย่างของโพลีเพล็กซ์ ให้ดีขึ้นด้วย • เข้าถึงลูกค้าที่ดำ� เนินงานในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ชนิดอ่อนและในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ ทั่วโลก โดยน�ำเสนอผลิตภัณฑ์หลากหลายเป็นทางเลือกแก่ลูกค้า อาศัยความได้เปรียบที่กลุ่มโพลีเพล็กซ์มี ฐานการผลิตทั้งในประเทศไทย ตุรกี และสหรัฐอเมริกาในปัจจุบัน ตลอดจนมีคลังสินค้าและหน่วยจัด จ�ำหน่ายตั้งอยู่ในยุโรปและจีน ท�ำให้มีความเสี่ยงจากการที่อาศัยลูกค้าเพียงไม่กี่รายลดลง • มีฐานการผลิตและการจัดจ�ำหน่ายที่หลากหลายซึ่งช่วยลดความเสี่ยงจากความผันผวนของตลาด เช่น ตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งโดยธรรมชาติค่อนข้างผันผวน ในขณะที่ตลาดสหรัฐอเมริกา ยุโรป ญี่ปุ่น เป็นต้น มีความผันผวนน้อยกว่า โพลีเพล็กซ์พยายามลดความเสี่ยงดังกล่าวด้วยการมีพอร์ตยอด จ�ำหน่ายที่หลากหลาย • บริษัทจะเน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ใหม่โดยการท�ำวิจัยและพัฒนาและการรับเทคโนโลยีใหม่ๆ รวมทั้ง การมีทีมบริการด้านเทคนิคที่แข็งแกร่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่สร้างความแตกต่างระหว่างโพลีเพล็กซ์ และคู่แข่ง 5.2. ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าและวัตถุดิบ วัตถุดิบหลักในการผลิตแผ่นฟิล์ม PET คือเม็ดพลาสติก PET (PET Resin) ซึ่งผลิตมาจาก Purified Terephthalate Acid (PTA) และ Mono Ethylene Glycol (MEG) เนื่องจากต้นทุนการผลิตของแผ่นฟิล์ม PET มาจากต้นทุนของเม็ดพลาสติก PET เป็นหลัก ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลงของราคา เม็ดพลาสติก PET จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อ ก�ำไรจากการการด�ำเนินงาน ผลกระทบดังกล่าวจะมากหรือ น้อยก็จะขึ้นอยู่ที่ความสามารถ ของบริษัทว่าจะสามารถส่งผ่านภาระต้นทุนที่สูงขึ้นนี้ไปยังลูกค้าได้มากน้อย เพียงใด จากการที่บริษัท จะตกลงราคาจ�ำหน่ายสินค้ากับลูกค้าเป็นรายเดือนหรือรายไตรมาส ดังนั้น ใน ภาวะตลาดปกติ ที่มีความสมดุลของความต้องการและการสนองผลิตภัณฑ์ หากมีการเปลี่ยนแปลงต้นทุน ของ เม็ดพลาสติก PET และต้นทุนการด�ำเนินงานอื่นๆ บริษัทก็มักจะสามารถปรับราคาจ�ำหน่ายสินค้าได้ ในงวดถัดไป กราฟความเคลื่อนไหวราคาวัตถุดิบและราคาจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ในอดีตข้างต้นแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ ระหว่างต้นทุนวัตถุดิบและราคาจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ส่วนใหญ่จะมีการเคลื่อนไหวของราคาจ�ำหน่ายตาม แนวโน้มต้นทุนวัตถุดิบ ยกเว้นในปีที่ระดับราคาจ�ำหน่ายได้รับอิทธิพลจากปัจจัยอื่น ดังเช่นในปี 2549-50 (วงจรขาลงของอุตสาหกรรมแผ่นฟิล์ม PET อันเนื่องมาจากความไม่สมดุลของภาวะอุปสงค์และอุปทาน) ในปี 2551-52 เมื่อเกิดภาวะวิกฤติของเศรษฐกิจทั่วโลก และในปี 2553-54 ซึ่งมีการขาดแคลนของแผ่น ฟิล์ม PET จึงท�ำให้ราคาจ�ำหน่ายเพิ่มขึ้นในระดับที่สูงเป็นพิเศษ 52


ในปี 2556-57 อุตสาหกรรมแผ่นฟิล์ม PET ยังคงประสบกับภาวะสินค้าล้นตลาดอย่างมหาศาลอันเกิดขึ้น จากอุปทานที่เพิ่มขึ้นทั้งหมดทะลักออกสู่ตลาด หลังจากที่เกิดภาวะผลิตภัณฑ์มีส่วนต่างก�ำไรสูงผิดปกติใน ปี 2553-54 แรงกดดันอย่างหนักต่อราคาผลิตภัณฑ์ยังคงมีต่อเนื่อง ด้วยเหตุนี้ ส่วนต่างก�ำไรแผ่นฟิล์ม PET ของผู้ผลิตทุกรายจึงยังคงทรงอยู่ในระดับต�ำ่ สุดเป็นประวัติการณ์ จากการประเมินของบริษัท คาดว่าภาวะสินค้าล้นตลาดนี้จะยังคงด�ำเนินต่อไปอีกสักระยะเวลาหนึ่ง และเมื่อ อุปสงค์มีการเติบโตขึ้นจนถึงระดับใกล้เคียงกับอุปทาน ตลาดก็จะเข้าสู่สภาวะที่สมดุลมากขึ้นซึ่งจะท�ำให้ ส่วนต่างก�ำไรปรับตัวดีขึ้นจนสู่ระดับปกติในที่สุด วิเคราะห์ข้อมูลในอดีตแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างราคาของ PTA/MEG และราคาของแผ่นฟิล์ม PET ส่วนต่างของราคาของแผ่นฟิล์ม PET และ PTA/MEG จะมากหรือน้อยนั้น จะขึ้นอยู่กับภาวะอุปสงค์อุปทานเป็นส�ำคัญ รวมทั้งการเคลื่อนไหวอย่างเฉียบพลันและในระดับสูงของ ราคาวัตถุดิบด้วย กราฟแสดงแนวโน้มด้านราคาของแผ่นฟิล์ม PET และ PTA และ MEG ในช่วง เวลาที่ผ่านมาในตะวันออกไกล / อเมริกา / ยุโรป กราฟแสดงแนวโน้ มด้ านราคาของแผ่ นฟิ ล์ม PET และ PTA และ MEG ในช่ วงเวลาทีผ� ่ านมา (ตะวันออกไกล) ดอลล่าร์ สหรัฐ/ก.ก.

5.00 4.50 4.00 3.50 3.00 2.50 2.00 1.50 1.00 0.50 0.00 PET Film (12 Mic. Corona) PTA MEG VA Over PTA & MEG

2538 4.48 1.15 0.74 3.44

2539 3.51 0.88 0.65 2.50

2540 2.22 0.63 0.65 1.43

2541 1.57 0.44 0.49 1.01

2542 1.48 0.44 0.44 0.93

2543 1.76 0.57 0.58 1.05

2544 1.83 0.49 0.50 1.22

2545 1.94 0.53 0.46 1.31

2546 2.15 0.59 0.67 1.39

PET Film (12 Mic. Corona)

2547 2.07 0.75 0.93 1.07

2548 1.98 0.81 0.92 0.94

PTA

2549 1.88 0.90 0.91 0.75

2550 2.06 0.88 1.08 0.89

2551 2.54 0.91 1.15 1.33

MEG

2552 2.13 0.84 0.69 1.14

2553 3.08 0.97 0.97 1.87

2554 2.61 1.27 1.30 1.02

2555 1.99 1.10 1.18 0.60

2556 1.95 1.10 1.21 0.55

VA Over PTA & MEG

กราฟแสดงแนวโน้ มด้ านราคาของแผ่ นฟิ ล์ม PET และ PTA และ MEG ในช่ วงเวลาทีผ� ่ านมา (อเมริกา) 5.00 4.50

ดอลล่าร์ สหรัฐ/ก.ก.

4.00 3.50 3.00 2.50 2.00 1.50 1.00 0.50 0.00 PET Film (12 Mic. Corona) PTA MEG VA Over PTA & MEG

2538 5.03 0.87 0.67 4.03

2539 4.11 0.75 0.61 3.23

2540 3.23 0.61 0.65 2.45

2541 2.43 0.53 0.55 1.76

2542 2.13 0.51 0.48 1.50

2543 2.34 0.63 0.61 1.56

2544 2.51 0.64 0.53 1.75

2545 2.73 0.60 0.50 2.02

2546 2.98 0.69 0.74 2.10

2547 3.10 0.83 0.97 2.02

2548 3.02 0.97 0.95 1.82

2549 2.43 1.26 1.09 0.93

2550 2.52 1.11 1.17 1.11

PET Film (12 Mic. Corona)

PTA

MEG

VA Over PTA & MEG

2551 2.98 1.17 1.20 1.51

2552 2.30 0.96 0.74 1.19

2553 3.48 1.06 1.04 2.17

2554 4.22 1.46 1.36 2.44

2555 3.03 1.39 1.24 1.35

2556 2.96 1.40 1.26 1.27

53


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 กราฟแสดงแนวโน้ มด้ านราคาของแผ่ นฟิ ล์ม PET และ PTA และ MEG ในช่ วงเวลาทีผ� ่ านมา (ยุโรปตะวันตก) 5.00 4.50

ดอลล่าร์ สหรัฐ/ก.ก.

4.00 3.50 3.00 2.50 2.00 1.50 1.00 0.50 0.00 PET Film (12 Mic. Corona) PTA MEG VA Over PTA & MEG

2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 5.20 4.21 3.35 2.54 2.35 2.47 2.25 2.78 3.81 3.53 3.07 2.99 2.91 2.19 1.93 2.59 2.85 2.16 1.96 1.31 1.05 0.77 0.70 0.69 0.79 0.80 0.88 1.11 1.19 1.20 0.90 0.90 0.84 0.75 0.89 0.99 0.99 0.96 0.83 0.68 0.60 0.49 0.45 0.58 0.50 0.50 0.77 0.91 0.84 0.82 0.90 0.91 0.56 0.83 1.07 1.01 1.01 3.88 3.03 2.45 1.74 1.58 1.56 1.36 1.82 2.56 2.15 1.71 1.89 1.79 1.12 1.07 1.51 1.59 0.92 0.75

PET Film (12 Mic. Corona)

PTA

MEG

VA Over PTA & MEG

ที่มา : ข้อมูลอุตสาหกรรม ข้อมูลอุตสาหกรรมข้างต้นของภูมิภาคตะวันออกไกล แสดงให้เห็นว่า การเปลี่ยนแปลงของราคาวัตถุดิบ โดยส่วนใหญ่จะส่งผ่านไปยังผู้ ใช้ผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ ภาวะความสมดุลของอุปสงค์-อุปทานของแผ่น ฟิล์ม PET ซึ่งแตกต่างกันในแต่ละภูมิภาคก็ส่งผลกระทบต่อส่วนต่างดังกล่าวด้วย ส่วนต่างระหว่าง ราคา วัตถุดิบและราคาแผ่นฟิล์ม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงหลายปีที่ผ่านมา เคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกัน การที่บริษัทมีการติดต่อกับลูกค้าส่วนหนึ่งช่วยในการที่จะทบทวนการตั้งราคาเป็นรายไตรมาส หรือเป็น ระยะ ๆ ซึ่งจะท�ำให้สามารถปรับเปลี่ยนราคาตามการเคลื่อนไหวของราคาวัตถุดิบได้ นอกจากนี้ บริษัทยังติดตามแนวโน้มของราคาวัตถุดิบทั้งในตลาดโลกและในประเทศอย่างใกล้ชิดพร้อม ทั้งวางแผนการสั่งซื้อวัตถุดิบให้สอดคล้องสภาวะราคาและความต้องการของลูกค้า 5.3. ความเสี่ยงจากการซื้อวัตถุดิบจากผู้จำ� หน่ายน้อยราย วัตถุดิบส�ำคัญ 2 ชนิดของบริษัทคือ PTA และ MEG เป็นสินค้า Commodity ที่มีการซื้อขายโดย ทั่วไป และ จัดหาได้จากผู้ผลิตต่างๆทั่วโลก ในประเทศไทย ปัจจุบันบริษัทสามารถหาแหล่งจากภายในประเทศโดยจัดหาวัตถุดิบแต่ละชนิดได้ทั้งหมด จากผู้จ�ำหน่ายภายในประเทศ ซึ่งท�ำให้บริษัทมีความได้เปรียบอย่างชัดเจนในเรื่องของการใช้เวลาด�ำเนิน การสั้นลง/ระดับวัตถุดิบคงคลังที่ต้องจัดเก็บลดต�ำ่ ลง เป็นต้น ทั้งนี้ บริษัทได้ลงนามใน สัญญาระยะยาว/ รายปีสำ� หรับวัตถุดิบดังกล่าวเพื่อให้มั่นใจว่าจะสนองความต้องการได้อย่างเพียงพอต่อไป ตามสัญญาดัง กล่าวมีการรับประกันปริมาณการจ�ำหน่าย ให้แก่บริษัทด้วยเพื่อเป็นการลดความเสี่ยงจากการซื้อวัตถุดิบ จากแหล่งเดียวหรือผู้ผลิตรายเดียวได้เป็นอย่างดี ในประเทศตุรกี บริษัทสั่งซื้อ PTA และ MEG จ�ำนวนมากจากผู้ผลิตระดับโลก 2-3 รายโดยมีการลงนามใน สัญญาระยะยาว/รายปี นอกจากนี้บริษัทยังแสวงหาโอกาสในจังหวะที่วัตถุดิบล้นตลาดโดยสั่งซื้อป้อนธุรกิจ บางส่วนเพื่อใช้ประโยชน์จากสถานการณ์ดังกล่าวเป็นระยะ ๆ ตามสัญญาดังกล่าวมีการ รับประกันปริมาณ 54


การจ�ำหน่ายให้แก่บริษัทยกเว้นกรณีเกิดเหตุสุดวิสัย ในสหรัฐอเมริกา เนื่องจากโรงงานเม็ดพลาสติกยังไม่เริ่มผลิตเชิงพาณิชย์ บริษัทสั่งซื้อเม็ดพลาสติกเพื่อ ป้อนโรงงานจากผู้ผลิตในประเทศที่ไม่เกี่ยวข้องกันรายหนึ่ง เม็ดพลาสติกพิเศษบางชนิดจัดหาจากหน่วย ผลิตอื่นของบริษัทรวมทั้งจาก PCL ในประเทศอินเดียในราคาตลาด ในอนาคตเมื่อโรงงานเม็ดพลาสติก เริ่มการผลิตแล้ว บริษัทจะจัดหา PTA และ MEG จากผู้ผลิตต่างๆที่ไม่เกี่ยวข้องกันในสหรัฐอเมริกา ส่วนในเรื่องของราคาก็มีความโปร่งใสเนื่องจากมีกลไกราคาอิงตามอัตรามาตรฐานระดับนานาชาติต่างๆ ในการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูป นอกจากใช้แผ่นฟิล์ม PET ซึ่งได้รับการป้อนจากสายการผลิตภายใน ของบริษัทและน�ำเข้าจากบริษัทแม่ในอินเดียด้วยในราคาที่ใช้กับบุคคลภายนอกทั่วไปแล้ว ยังมีการใช้แผ่น ฟิล์มพื้นฐานอย่าง BOPP และสารเคมีที่ใช้เคลือบเช่น LDPE และ EVA เป็นวัตถุดิบ วัตถุดิบเหล่านี้ล้วนหา ได้จากผู้ผลิต/ผู้ค้าต่างๆทั้งในประเทศไทยและน�ำเข้าจากประเทศอื่นในภูมิภาค วัตถุดิบส�ำคัญของแผ่นฟิล์มคาสท์โพลิโพรพิลีน คือ Homo Polymer และ Co-Polymer โดย Homo Polymer สามารถจัดหาได้ ในประเทศในขณะที่ Co-Polymer ต้องมาจากการน�ำเข้า ส�ำหรับสายเคลือบซิลิโคน วัตถุดิบหลักคือแผ่นฟิล์ม PET ซึ่งมาจากสายการผลิตภายในของบริษัทและน�ำ เข้าจากบริษัทแม่ในอินเดียด้วยในราคาที่ใช้กับบุคคลภายนอกทั่วไป ส่วนซิลิโคนและสารเคมีอื่นๆน�ำเข้า จากผู้ผลิตชั้นน�ำในสหรัฐอเมริกาและยุโรป ส�ำหรับสายการผลิตแผ่นฟิล์ม Blown PP วัตถุดิบหลักคือ เม็ดพลาสติก PP (Homopolymer, Co-polymer และ PP Color master batches) บริษัทจัดหาจากผู้ขายในประเทศรวมทั้งจากการน�ำเข้าจากประเทศอื่นใน ภูมิภาค 5.4. ความเสี่ยงจากมาตรการทางการด้านสิ่งแวดล้อม สายการผลิตต่าง ๆ ของบริษัท ยกเว้นเพียงสายการผลิตเม็ดพลาสติก ไม่ต้องมีการประเมินผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment – EIA) สายการผลิตเม็ดพลาสติกนั้นบริษัทได้รับ การรับรองจากหน่วยงานก�ำกับดูแลแล้ว ทั้งนี้ บริษัทให้ความเอาใจใส่ดูแลในเรื่องนี้อย่างเต็มที่เพื่อให้เป็น ไปตามกฎระเบียบดังกล่าว 5.5. ความเสี่ยงจากการแข่งขันกับคู่แข่งปัจจุบันและคู่แข่งรายใหม่ จากการที่ความต้องการแผ่นฟิล์ม PET เพิ่มสูงขึ้นมาโดยตลอดและมีแนวโน้มที่จะเติบโตต่อไป จึงเป็นแรง จูงใจให้เกิดการผลิตเพิ่มขึ้นจากผู้ผลิตรายใหญ่ปัจจุบัน ซึ่งเป็นผู้ผลิตที่มีประสบการณ์ ในอุตสาหกรรมนี้มา ยาวนาน รวมไปถึงคู่แข่งขนาดกลาง-ขนาดเล็ก และคู่แข่งรายใหม่ที่มีเงินทุนเพียงพอ ที่จะสร้างโรงงานและ เครื่องจักรที่ใช้ ในการผลิต เป็นวงจรปกติในอุตสาหกรรมนี้ที่โรงงานต่างๆ มักพากันเพิ่มก�ำลังการผลิต อย่างเป็นล�่ำเป็นสันหลังจากที่ได้รับแรงจูงใจจากส่วนต่างราคาหรือก�ำไรที่พุ่งสูงขึ้น จนท�ำให้อุปสงค์อุปทานเสียสมดุลไปเป็นระยะเวลาหนึ่งจนกว่าอุปสงค์จะมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นจนทันกับอุปทานใหม่ๆ ที่ออก มา ในหลายๆ กรณีดังที่ปรากฏในปีที่ผ่านมาภาวะสินค้าล้นตลาดดังกล่าวอาจมีปริมาณสูงมากจนวงจรที่ จะย้อนกลับมาสู่ภาวะปกติต้องใช้ระยะเวลานานถึง 2-3 ปี อย่างไรก็ตาม แม้อุตสาหกรรมจะมีลักษณะเป็น วงจรเช่นนี้ แต่ก็ยังเป็นอุตสาหกรรมที่น่าสนใจส�ำหรับผู้ประกอบการโดยมีฐานรากที่มั่นคงและมีการเติบโต 55


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 ของอุปสงค์อย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามเมื่อเปรียบเทียบกับผู้ผลิตอื่นแล้ว โพลีเพล็กซ์มีต้นทุนในการผลิตที่ตำ�่ ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพที่ แน่นอน ฐานการผลิตตั้งอยู่ในท�ำเลที่กระจายทั่วถึง ประเภทผลิตภัณฑ์มีความหลากหลาย และครอบคลุม ตลาดทั่วโลกเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ท�ำให้โพลีเพล็กซ์เป็นหนึ่งในผู้ผลิตชั้นน�ำของอุตสาหกรรมนี้ ดังนั้น โพลีเพล็กซ์จึงมีความเชื่อมั่นว่ามีศักยภาพ เพียงพอที่จะแข่งขันได้ทั้งกับ ผู้ผลิตรายใหญ่ของโลกและ คู่แข่ง รายใหม่ บริษัทได้เริ่มด�ำเนินโครงการขยายงานหลายโครงการในประเทศตุรกี สหรัฐอเมริกา และประเทศไทย ใน ช่วงเวลาหลายปีที่ผ่านมา ซึ่งรวมถึงโครงการหลักอีก 3 โครงการได้แก่ สายการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิด หนาในประเทศไทย การลงทุนในสายการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางในสหรัฐอเมริกา (ทั้งสองแห่งเริ่ม การผลิตเชิงพาณิชย์ ในปี 2556) และโรงงานผลิตเม็ดพลาสติก PET ส�ำหรับผลิตขวดในประเทศตุรกี (คาด ว่าจะเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ ในครึ่งหลังของปี 2557-58) ตลอดจน โครงการขยายงานที่ ก� ำ ลั ง ด�ำเนินการอยู่ในประเทศไทยและตุรกีจะช่วยสร้างความแข็งแกร่งในการแข่งขัน (ตามข้อ 3 ลักษณะ การ ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับ รายละเอียดโครงการที่เริ่มต้นในช่วงระหว่างปี บริษัทได้มีการประเมินแนวทางอื่นๆ ในการสร้างการเติบโตส�ำหรับผลิตภัณฑ์แผ่นฟิล์ม PET และผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น แผ่นฟิล์ม CPP/ BOPP/ แผ่นฟิล์ม เคลือบซิลิโคนส�ำหรับท�ำเลต่าง ๆ ในประเทศ ตุรกี ประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา รวมทั้งมีการประเมินทางเลือกการสร้างการเติบโตในท�ำเลที่ตั้งใหม่ ๆ / ผลิตภัณฑ์ประเภทใหม่ๆ นอกจากนี้ บริษัทยังได้ทำ� การประเมินความเป็นไปได้ ในการเข้าซื้อกิจการเพื่อ ขยายฐานการผลิตออกไปอีก อีกทั้งเพื่อเป็นการปรับปรุงโครงสร้างต้นทุน การน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ และการ เจาะ/ครอบคลุมตลาด 5.6. ความเสี่ยงจากมาตรการกีดกันทางการค้า มาตรการกีดกันทางการค้าที่ประเทศต่าง ๆ ใช้ ในการกีดกันการค้า แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ ก. มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาด (Anti Dumping - AD) : เป็นมาตรการทางภาษีที่ประเทศต่างๆ ใช้เป็น ภาษีตอบโต้การทุ่มตลาด ซึ่งจะน�ำมาใช้กับสินค้าที่นำ� เข้า หากพิสูจน์ได้ว่าสินค้าดังกล่าวมีราคาจ�ำหน่าย ณ โรงงานต�่ำกว่าราคาจ�ำหน่ายของสินค้าประเภทเดียวกัน ที่จำ� หน่ายในประเทศ ของผู้ส่งออก ใน 2-3 ปีที่ผ่านมาประเทศที่ใช้มาตรการนี้ก็คือ กลุ่มสหภาพยุโรปและประเทศ สหรัฐอเมริกา ซึ่งใช้กับประเทศ อินเดีย จีน บราซิล และเกาหลีใต้ ข. มาตรการตอบโต้การสนับสนุนทางการค้า(Anti-Subsidy): ภาษีตอบโต้การสนับสนุนทางการค้า (Countervailing Duty - CVD) จะน�ำมาใช้กับสินค้าที่นำ� เข้าหากพิสูจน์ได้ว่ารัฐบาล หรือ หน่วยงานของ รัฐบาลของประเทศผู้ส่งออกให้ผลประโยชน์หรือสิทธิพิเศษแก่ผู้ส่งออก รายใดรายหนึ่งเป็นการเฉพาะ ซึ่งผลของการใช้มาตรการภาษีดังกล่าว จะส่งผลให้สินค้าของผู้ผลิตจากประเทศที่ถูกตอบโต้ ต้องเสีย ภาษีในอัตราที่สูงขึ้นมาก จนท�ำให้สินค้ามีราคาแพงและแข่งขันกับผู้ผลิตรายอื่นได้ยาก อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับผู้ผลิตที่มีฐานการผลิตในท�ำเลหรือตลาดดังกล่าว มาตรการกีดกันทางการค้าดังกล่าว จะกลับเป็น โอกาสทางธุรกิจส�ำหรับผู้ผลิตนั้น ๆ หากมีการก�ำหนดภาษีป้องกันการทุ่มตลาดจากสินค้าที่นำ� เข้าจาก ผู้ผลิตต้นทุนต�ำ่ ในประเทศแถบเอเชีย 56


บริษัทได้มีการด�ำเนินมาตรการต่างๆ ที่จะช่วยป้องกันความเสี่ยงจากการถูกตอบโต้ทางภาษี รวมทั้ง มาตรการกีดกันทางการค้าอื่นๆตามที่ประเทศผู้น�ำเข้าสินค้าจะก�ำหนด ทั้งนี้นโยบายการกระจายพื้นที่ การ ตลาดในลักษณะที่กลุ่มด�ำเนินการจะช่วยลดผลกระทบจากมาตรการการกีดกันการค้า หากมีการน�ำมาใช้ โดยประเทศผู้นำ� เข้าได้ และการที่มีฐานการผลิตในสหรัฐอเมริกาและยุโรป กลุ่มสามารถใช้ประโยชน์จาก มาตรการกีดกันทางการค้าที่ก�ำหนดโดยประเทศเหล่านั้นต่อสินค้าที่นำ� เข้าจากประเทศแถบเอเชีย ในปี 2551 ในค�ำร้องของสหรัฐอเมริกาต่อคณะกรรมการเพื่อการค้าระหว่างประเทศ (International Trade Commission - ITC) เพื่อป้องกันการทุ่มตลาดของผู้ผลิตแผ่นฟิล์ม PET จากประเทศไทย จีน บราซิลและ ตะวันออกกลาง ผลการตัดสินไม่มีผลกระทบในด้านลบต่อประเทศไทยโดยผลิตภัณฑ์จากประเทศไทย ไป ยังตลาดในสหรัฐอเมริกาไม่ต้องเสียอากรขาเข้า ส�ำหรับผลการสอบสวนของประเทศบราซิลเพื่อป้องกันการทุ่มตลาดจากประเทศไทยและอินเดีย เมื่อปี 2550 ได้มีการก�ำหนดอากรขาเข้าประมาณ 28 เซ็นต์/กก. ส�ำหรับผลิตภัณฑ์น�ำเข้าจากประเทศไทยไปยัง บราซิล มาตรการดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบต่อบริษัทมากนัก เนื่องจากบริษัทมีการส่งออก ผลิตภัณฑ์ไป ยัง ประเทศบราซิลในปริมาณที่น้อยมาก จากผลของการสอบสวนเรื่องมาตรการตอบโต้การทุ่มตลาด (Anti Dumping - AD) ส�ำหรับแผ่นฟิล์ม PET น�ำเข้าจากสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เม็กซิโก และตุรกี เข้าไปยังบราซิลโดยรัฐบาลประเทศบราซิลเมื่อเดือน ธันวาคม 2553 รัฐบาลบราซิลมีมติกำ� หนดอากร AD กับบริษัทย่อยในตุรกี (โพลีเพล็กซ์ยูโรปา) ในอัตรา 67.44 เหรียญสหรัฐต่อเมตริกตัน ซึ่งเป็นอัตราต�ำ่ สุดเมื่อเทียบกับอัตราที่ประกาศใช้กับผู้ผลิตในประเทศ อื่นหรือผู้ผลิตอื่นในตุรกี ทั้งนี้ ปัจจุบันการส่งออกของ Polyplex Europa ไปยังบราซิลมีปริมาณไม่มาก นักเมื่อเทียบกับปริมาณจ�ำหน่ายโดยรวม ฝ่ายจัดการจึงคาดว่าจะไม่มีผลกระทบในทางลบที่สำ� คัญใดๆจาก มาตรการดังกล่าว 5.7. ความเสี่ยงจากโครงการลงทุนในอนาคต ความเสี่ยงส�ำคัญ ๆ ของโครงการใหม่ใด ๆได้แก่ • ความเสี่ยงด้านตลาด เนื่องจากกลุ่มโพลีเพล็กซ์มีเครือข่ายทั่วโลกทั้งในด้านการตลาดและจัดจ�ำหน่าย บริษัทคาดว่าจะมีความเสี่ยงไม่มากนักในการพัฒนาตลาดส�ำหรับผลิตภัณฑ์ ใหม่ต่างๆ ในกรณีของ โรงงานผลิตเม็ดพลาสติก PET ส�ำหรับผลิตขวด แม้ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์ ใหม่ บริษัทได้เริ่มมีการท�ำ สัญญากับลูกค้าหลักๆในตลาดเป้าหมายส�ำคัญๆแล้ว โดยมั่นใจว่าจะสามารถเพิ่มยอดขายได้โดยไม่มี ปัญหาแต่อย่างใด • ความเสี่ยงด้านการแข่งขัน บริษัทเชื่อว่าโครงสร้างต้นทุนเอื้อต่อการแข่งขันได้ทั่วโลก และ เป็นหนึ่งใน หลาย ๆ ข้อได้เปรียบที่สำ� คัญของบริษัทเมื่อเทียบกับผู้ผลิตอื่นในปัจจุบัน / ผู้ผลิตรายใหม่ • ความเสี่ยงด้านการลงทุนในโครงการ การลงทุนในโครงการให้อยู่ในงบประมาณและก�ำหนดเวลาที่ ก�ำหนดไว้ เป็นปัจจัยที่ส�ำคัญยิ่งอีกปัจจัยหนึ่งต่อความส�ำเร็จของโครงการ จาก ประสบการณ์ที่ผ่านมา อาจกล่าวได้ว่าทีมบริหารโครงการที่มีประสบการณ์ของกลุ่ม โพลีเพล็กซ์จะสามารถสร้างความมั่นใจใน การด�ำเนินการโครงการใหม่ต่าง ๆ ให้ประสบ ความส�ำเร็จโดยเสร็จตามก�ำหนดและใช้เงินลงทุนไม่เกิน งบประมาณที่ก�ำหนดไว้ เว้นแต่จะมีเหตุการณ์ที่ไม่อาจคาดการณ์ได้เกิดขั้น 57


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 • ความเสี่ยงด้านการระดมเงินทุนโดยปกติบริษัทจะขอเงินกู้ระยะยาวจ�ำนวนร้อยละ 65-75 ของ เงิน ลงทุนในโครงการทั้งหมด ส่วนที่เหลือจะมาจากเงินค้างรับของกิจการ จากการที่บริษัทมีความสัมพันธ์ อันดีกับธนาคารต่างๆในปัจจุบัน บริษัทค่อนข้างมั่นใจว่าจะสามารถระดมเงินส่วนที่ต้องใช้สำ� หรับโครง การใหม่ๆใดๆในอนาคตได้ • ความเสี่ยงด้านสกุลเงินกู้ การตัดสินใจกู้เงินในสกุลใดๆ ส�ำหรับโครงการใหม่ขึ้นอยู่กับกระแสเงินสด เพื่อการด�ำเนินงานที่ประมาณการไว้ของโครงการ สกุลเงินที่จะเลือกต้องเป็นสกุลเงินที่มีส่วนเกินสูงสุด ในกระแสเงินสดเพื่อการด�ำเนินงาน อันเป็นการป้องกันความเสี่ยงแบบธรรมชาติ (Natural Hedge) ส�ำหรับการช�ำระคืนเงินกู้เมื่อถึงก�ำหนดการช�ำระคืนเงินกู้ นอกจากนี้ บริษัทยังมีแนวทางภายในเกี่ยว กับการก�ำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต้นทุนโครงการสุทธิโดยการท�ำ Net Exposure สกุลเงินต่าง ๆ ในการท�ำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward Contract) เพื่อเป็นการลดความเสี่ยง เงินลงทุนในโครงการโดยรวมที่ได้มีการประมาณการไว้แต่แรกเริ่มจากความผันผวนของสกุลเงินตรา จากการที่บริษัทมีการกู้ยืมเงินใหม่ส�ำหรับโครงการขยายงานที่ด�ำเนินการเมื่อเร็วๆนี้ในประเทศไทย พอร์ตเงินกู้เงินตราต่างประเทศได้เพิ่มสูงขึ้นมาอยู่ที่ระดับกว่า 100 ล้านเหรียญสหรัฐ (รวมเงินกู้สกุล เงินยูโรในมูลค่าเทียบเท่า) ซึ่งจะท�ำให้บริษัทมีความเสี่ยงต้องรับภาระขาดทุน/ก�ำไรจากอัตราแลก เปลี่ยนที่ยังไม่รับรู้เป็นจ�ำนวนเงินสูงเมื่อมีการปรับมูลค่าเงินกู้ดังกล่าว นอกจากความเสี่ยงต่าง ๆ ของโครงการและมาตรการลดความเสี่ยงดังกล่าวข้างต้นแล้ว ขอกล่าว ถึง หลักปฏิบัติของบริษัทที่มีการท�ำกรมธรรม์ประกันภัย เพื่อการคุ้มครองส�ำหรับโครงการใหม่ ๆ อยู่แล้ว เพื่อให้ครอบคลุมความเสี่ยงในการติดตั้ง การก่อสร้าง รวมถึงความเสี่ยง ทั้งหลายเช่น ความเสี่ยงจาก การขนส่งทางเรือ การสูญเสียรายได้เนื่องจากความล่าช้าในการเริ่มด�ำเนินงานตาม โครงการ เป็นต้น 5.8. ความเสี่ยงจากการพึ่งพาบริษัทแม่ ปัจจุบันนี้ PTL มีผู้ถือหุ้นรายใหญ่คือ PCL ถือหุ้นทั้งทางตรงและทางอ้อมในสัดส่วนร้อยละ 51 ของทุนที่ เรียกช�ำระแล้วของบริษัท ในช่วง 2-3 ปีแรกของการก่อตั้งกิจการ ผู้บริหารหลักบางคนของบริษัทเคยเป็นพนักงานของ PCL และมี ส่วนส�ำคัญในการช่วยบริษัทสามารถเริ่มด�ำเนินงานได้สำ� เร็จในระยะเวลาที่รวดเร็วกว่าก�ำหนด และด้วย เงินทุนที่น้อยกว่าที่ได้ประมาณการไว้ รวมทั้งความสามารถในการผลิตในระดับสูงท�ำให้ บริษัทสามารถ ผลิตสินค้าในราคาที่สามารถแข่งขันได้ อย่างไรก็ตามหลังจากกิจการด�ำเนินงานไปได้ 4-5 ปี โดย กิจการมีความมั่นคงดีแล้ว บริษัทสามารถพัฒนาสู่การพึ่งพาผู้บริหารหรือบุคลากร ต่างชาติน้อยลง และ เพิ่มสัดส่วนของบุคลากรคนไทยให้มีมากขึ้น ทั้งในระดับปฏิบัติการและระดับ บริหารจัดการ โดยสามารถ บริหารการผลิตและการด�ำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ นับจากนั้นเป็น ต้นมา โดยในปัจจุบันนี้ บริษัทมีผู้บริหารที่มีประสบการณ์ครอบคลุมตั้งแต่การผลิต การตลาด การจ�ำหน่าย และการบัญชี/การเงิน บริษัทจึงสามารถด�ำเนินธุรกิจได้ได้เองโดยที่ไม่ต้องพึ่งพิงบริษัทแม่แต่อย่างใด ยกเว้นทางด้านการวิจัยและการพัฒนาและการด�ำเนินการโครงการใหม่ๆเท่านั้นที่บริษัทแม่จะถ่ายทอด ความรู้ความช่วยเหลือทางเทคนิคให้แก่บริษัท นอกจากนี้การด�ำเนินธุรกิจของบริษัทก็สามารถกระท�ำได้โดยอิสระจากบริษัทแม่ในเรื่องต่างๆ เช่น การ เพิ่มทุนโดยเสนอขายหุ้นต่อประชาชน การกู้ยืมเงิน และ การลงทุนอื่นใดที่จะมีขึ้นในอนาคต เป็นต้น 58


โดยที่บริษัทแม่ไม่ต้องด�ำเนินการขออนุมัติจากหน่วยงานราชการใด ยกเว้นแต่เพียงการรายงานเมื่อมี เหตุการณ์สำ� คัญไปยังตลาดหลักทรัพย์ที่บริษัทแม่จดทะเบียนอยู่ 2 แห่งคือ Mumbai Stock Exchange และ National Stock Exchange เท่านั้น บริษัทมีความเชื่อมั่นว่าในการด�ำเนินธุรกิจ จะไม่เกิดผลประโยชน์ขัดแย้งกันระหว่างบริษัท และ PCL ซึ่ง เป็นบริษัทแม่ เนื่องจาก o กลุ่มโพลีเพล็กซ์มีนโยบายในการด�ำเนินธุรกิจที่เท่าเทียมกันระหว่างฐานการผลิตต่างๆ โดยการ จัดสรรจะขึ้นอยู่กับความสามารถในการบริการที่ดีที่สุดให้แก่ลูกค้าเป็นส�ำคัญ o การลงทุนของบริษัทแม่ในบริษัทและบริษัทย่อยนับเป็นจ�ำนวนเงินที่สูงเมื่อเทียบกับสินทรัพย์ของ บริษัทแม่ ดังนั้นผลประกอบที่ดีของบริษัทก็จะส่งผลโดยตรงต่อบริษัท แม่ด้วย 5.9. ความเสี่ยงจากความที่ผู้ถือหุ้นใหญ่ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 51 ของหุ้นทั้งหมดของบริษัท ปัจจุบันนี้บริษัทมีผู้ถือหุ้นใหญ่คือ PCL ถือหุ้นร้อยละ 16.50 (ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 นายซันจีฟ ซาราฟ ผู้ก่อตั้งบริษัท และกลุ่มที่เกี่ยวข้องถือหุ้นใน PCL ในสัดส่วนร้อยละ 46.93) และ โพลีเพล็กซ์(เอเชีย) พีที อี ลิมิเต็ด (“PAPL”) (ซึ่งบริษัทแม่ถือหุ้นร้อยละ 100) ถือหุ้นบริษัทในสัดส่วน ร้อยละ 34.50 รวมเป็น การ ถือหุ้นร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียนเรียกช�ำระแล้วจ�ำนวน 800 ล้านบาท ดังนั้นในกรณีที่มีเรื่องใดๆ เสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้นที่ต้องการ เสียงสนับสนุนอย่างน้อย 3 ใน 4 ของผู้มาประชุมและมีสิทธิออก เสียงได้ ทั้งหมด ผู้ถือหุ้นรายย่อยก็ยังสามารถรวบรวมคะแนน เสียงเพื่อถ่วงดุลการบริหารงานได้ อย่างไร ก็ตาม บริษัทแม่ยังคงมีบทบาทส�ำคัญในการก�ำหนด นโยบายการบริหารและด�ำเนินกิจการของบริษัท อย่างไร ก็ตาม บริษัทได้จัดให้มีคณะกรรมการ ตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่านเพื่อถ่วงดุลและ ตรวจสอบ การด�ำเนินงานและการบริหาร นอกจากนี้ บริษัทแม่เป็นบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ในประเทศอินเดีย จึงต้องปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบของตลาดหลักทรัพย์ดังกล่าวด้วย 5.10. ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ การจ�ำหน่ายสินค้าของบริษัทประมาณร้อยละ 75-85 เป็นการจ�ำหน่ายไปยังต่างประเทศ บริษัทจึงมีรายได้ ส่วนใหญ่เป็นสกุลเงินเหรียญสหรัฐและเงินยูโร ซึ่งรายได้ดังกล่าวบริษัทก็จะน�ำมาช�ำระค่าใช้จ่าย เช่น วัตถุดิบได้แก่ PTA และ MEG ที่เชื่อมโยงกับสกุลเงินเหรียญสหรัฐ แม้ว่าจะช�ำระ เป็นเงินบาท รวม ทั้งมีการช�ำระเงินกู้หรือดอกเบี้ยส�ำหรับเงินกู้ระยะยาวเป็นสกุลเงินเหรียญสหรัฐและเงินยูโร ทั้งนี้ หาก พิจารณาในส่วนเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทมีเงินกู้สกุลเงินยูโร จ�ำนวนประมาณ 21.7 ล้านยูโร และเงินกู้สกุลเงินเหรียญสหรัฐจ�ำนวนประมาณ 73.5 ล้านเหรียญสหรัฐ มีค่าใช้จ่ายบางรายการที่ เป็นเงินบาท เช่น วัตถุดิบที่จัดหาในประเทศ บรรจุภัณฑ์ต่าง ๆ เงินเดือนพนักงาน ค่าสาธารณูปโภค และ ค่าใช้จ่ายในการบริหารต่างๆ เป็นต้น ซึ่งจ่ายด้วยเงินจากการจ�ำหน่าย ในประเทศและจากรายได้ส่วนเกิน ที่มาจากการส่งออก ในรูปเงินเหรียญสหรัฐ/เงินยูโร ดังนั้น หากกล่าวโดยรวม บริษัทมีรายรับสุทธิสกุล เงินเหรียญสหรัฐและสกุลเงินยูโรส่วนเกินอยู่ ซึ่งสามารถน�ำไปช�ำระเงินคืนเงินกู้ ระยะยาวสกุลเงินดังกล่าว ได้ โดยบริษัทพยายามที่จะมีการป้องกันความเสี่ยงแบบธรรมชาติ (Natural Hedge) เพื่อลดความเสี่ยง 59


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 จากความผันผวนของค่าเงิน นอกจากนี้ บริษัทยังได้มีการป้องกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยนโดยการซื้อ ขายเงินตราล่วงหน้า (Forward) อย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการปิดความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของสกุล เงินเหรียญสหรัฐและสกุลเงินยูโร ในท�ำนองเดียวกัน บริษัทย่อยของบริษัทที่อยู่ในตุรกีมีส่วนเกินสุทธิในสกุลเงินเหรียญสหรัฐและยูโร ใน ขณะที่บริษัทดังกล่าวต้องช�ำระเงินเป็นสกุลเงินในประเทศ ซึ่งมีการป้องกันความเสี่ยงแบบธรรมชาติ (Natural Hedge) เป็นระยะๆ โดยท�ำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward Contract) บริษัทย่อยในสหรัฐอเมริกามีรายรับและรายจ่ายเป็นสกุลเงินเหรียญสหรัฐ ดังนั้นจึงเป็นการป้องกันความ เสี่ยงแบบธรรมชาติ (Natural Hedge) เงินสนับสนุนทางการเงินส�ำหรับโครงการก็เป็นสกุลเงินเหรียญ สหรัฐเช่นกัน การช�ำระคืนเงินกู้จึงมีการป้องกันความเสี่ยงแบบธรรมชาติเช่นกัน แผนการระดมเงินทุนส�ำหรับโครงการใหม่นี้ พิจารณาโดยอิงอยู่กับกระแสเงินที่จะได้รับจากการด�ำเนินงาน ในอนาคตของโครงการ เพื่อให้เป็นการป้องกันความเสี่ยงแบบธรรมชาติ (Natural Hedge) ให้มากที่สุด อย่างไรก็ตาม ตามที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น พอร์ตเงินกู้เงินตราต่างประเทศของบริษัทที่ระดับกว่า 100 ล้าน เหรียญสหรัฐ (รวมเงินกู้สกุลเงินยูโรในมูลค่าเทียบเท่า)ท�ำให้บริษัทมีความเสี่ยงต้องรับภาระขาดทุน/ก�ำไร จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่รับรู้เป็นจ�ำนวนเงินสูงเมื่อมีการปรับมูลค่าเงินกู้ดังกล่าว ส่งผลให้เกิดความไม่ แน่นอนในการรายงานผลก�ำไรสุทธิของบริษัท 5.11. ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทมีเงินกู้ยืมระยะยาวคงค้าง(งบรวม)จ�ำนวน 55.1 ล้านยูโร 149.3 ล้าน เหรียญสหรัฐ และ 27.4 ล้านบาท ในขณะที่เงินกู้ยืมระยะสั้นคงค้างเท่ากับ 20.5 ล้านเหรียญสหรัฐและ 985 ล้านบาท ทั้งนี้เงินกู้สกุลเงินเหรียญสหรัฐจ�ำนวน 2.4 ล้านเหรียญสหรัฐ (ยอดคงค้าง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 ได้มีการแปลง (Swap) จากอัตราดอกเบี้ยลอยตัวเป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ ส่วนที่เหลือเป็นอัตรา ดอกเบี้ยลอยตัวที่เป็น LIBOR ส่วนเงินกู้สกุลยูโรทั้งหมดมีอัตราดอกเบี้ยลอยตัวที่เป็น EURIBOR การใช้ อัตรา ดอกเบี้ยลอยตัว อาจท�ำให้บริษัทมีความเสี่ยงจากต้นทุนทางการเงินที่ อาจเพิ่มขึ้นในอนาคตหาก อัตราดอกเบี้ยเพิ่มสูงขึ้น ทั้งนี้ บริษัทได้มีการติดตามภาวะดอกเบี้ย อย่างใกล้ชิดและสม�ำ่ เสมอ และจะท�ำ Swap อัตราดอกเบี้ยเพื่อแปลงเป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่หากเห็นว่าจะเป็นประโยชน์ต่อกิจการ 5.12. ความเสี่ยงจากการซ�้ำซ้อนของสินค้าและตลาด บริษัท (PTL) บริษัทแม่ (PCL) PE และ PUL ผลิตสินค้าประเภทที่ใกล้เคียงกัน ดังนั้นเพื่อลดความ เสี่ยงจากการมีผลิตภัณฑ์ที่ซำ�้ ซ้อนกันหรือมีตลาดเดียวกัน บริษัทในกลุ่มในประเทศต่าง ๆ คือ อินเดีย ไทย ตุรกี และสหรัฐอเมริกา โดยใช้เกณฑ์การพิจารณาด้านต่าง ๆ เช่น ประเภทผลิตภัณฑ์ ต้นทุน การจัดส่งสินค้า และระยะเวลาในการขนส่ง ตลอดจนสิทธิประโยชน์ทางภาษี เป็นต้น จากนโยบายการ แบ่งตลาด ดังกล่าว บริษัทจะจ�ำหน่ายสินค้าส่วนใหญ่ให้แก่ลูกค้า เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชีย แปซิฟิก จีน ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ส่วนบริษัทแม่ จะมุ่งลูกค้าในแถบเอเชียใต้ โรงงานในประเทศ ตุรกีจะมุ่งตลาด ทวีปยุโรป ตะวันออกกลาง อัฟริกา และกลุ่มรัสเซีย/รัฐอิสระซีไอเอส ในขณะที่โรงงาน ผลิตในสหรัฐอเมริกาจะสนองตลาดทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้เป็นหลัก นอกจากนี้ กลุ่มโพลีเพล็กซ์ยังมีนโยบายการลงทุนในอนาคตในแผ่นฟิล์มโพลีเอสเตอร์/ด้านอื่นๆระหว่าง 60


บริษัทและบริษัทแม่ การลงทุนในประเทศอินเดีย/ประเทศในแถบเอเชียใต้ จะมีการตัดสินใจและด�ำเนิน การโดย PCL และบริษัทย่อย อื่นๆของบริษัทแม่ (ยกเว้นบริษัท) ส่วนการลงทุนในประเทศไทย และเขต อาเซียน รวมถึงประเทศอื่นๆ จะด�ำเนินการในลักษณะคล้ายคลึงกันโดย PTL หรือบริษัทย่อยซึ่งบริษัทมีหุ้น ใหญ่อยู่ ทั้งนี้ การลงทุนใดๆดังกล่าวต้องขึ้นอยู่กับความเพียงพอของแหล่งเงินที่จะใช้ลงทุน/ความสามารถ ในการขอกู้ยืมเงินโดยบริษัทในปัจจุบัน/บริษัทที่เห็นสมควรให้ดำ� เนินการตามนโยบายที่วางไว้ 5.13. ความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยงด้านเครดิตของลูกค้าเป็นปัจจัยความเสี่ยงที่สำ� คัญปัจจัยหนึ่งในการท�ำธุรกิจใดก็ตาม บริษัท บริหารความเสี่ยงโดยการใช้นโยบายและวิธีการควบคุมเครดิตอย่างเหมาะสม การจ�ำหน่ายสินค้าแบบให้ ระยะเวลาเครดิตแก่ลูกค้าส่วนใหญ่จะได้รับการคุ้มครองจาก เล็ตเตอร์ออฟเครดิตที่ออกโดยลูกค้า หรือ ด้วยการคุ้มครองจากการท�ำประกันเครดิตตามความ เหมาะสมส�ำหรับการจ�ำหน่าย ภายใต้สภาวะ เศรษฐกิจในปัจจุบัน บริษัทได้ ใช้ความระมัดระวังมากเป็นพิเศษในการคัดเลือกลูกค้าใหม่ ๆ และการให้ ระยะเวลาเครดิตในการซื้อสินค้าของลูกค้า

61


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 6. โครงการในอนาคต 6.1. โครงการในอนาคต 6.1.1. สายการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียม – ประเทศไทย เมื่อเดือนตุลาคม 25556 คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติให้ทำ� การลงทุนในสายเคลือบ อลูมิเนียมใหม่ในประเทศไทย ซึ่งขณะนี้อยู่ในระหว่างด�ำเนินการตามโครงการ โดยใช้บางส่วน ของที่ดินแปลงที่สองซึ่งเป็นที่ตั้งของโครงการแผ่นฟิล์มเคลือบอัดชั้นด้วยความร้อน แผ่นฟิล์ม CPP แผ่นฟิล์มเคลือบซิลิโคน แผ่นฟิล์ม Blown PP และโครงการรีไซเคิลของเสียจากการผลิต รายละเอียดโครงการ • เงินลงทุนในโครงการทั้งหมดเท่ากับประมาณ 6.5 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งรวมเงินทุนหมุนเวียน • ก�ำลังการผลิตของสายเคลือบอลูมิเนียมใหม่คือ 6,500 ตันต่อปี • สายการผลิตใหม่สามารถผลิตแผ่นฟิล์มที่มีความหนาทึบ (optical density) สูงขึ้น (สูงถึง 4 OD) ท�ำให้บริษัทมีโอกาสที่จะรองรับการเติบโตในเซ็กเมนต์ ใหม่ของตลาดได้ ในขณะที่สาย เคลือบในปัจจุบันของบริษัทสามารถผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียมที่มีความหนาทึบสูงสุด เพียง 3 OD • แหล่งที่มาของเงินลงทุนในโครงการมาจากเงินกู้ยืมระยะยาวจ�ำนวน 5 ล้านเหรียญสหรัฐ ส่วน ที่เหลือมาจากกระแสเงินสดภายในกิจการของบริษัทเอง/วงเงินกู้เงินทุนหมุนเวียนของบริษัท • สายการผลิตแผ่นฟิล์มคาดว่าจะเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ ในครึ่งหลังของปีบัญชี 2557-58 • โครงการได้รับการส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) เหตุผลในการลงทุน • แผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียมให้ผลตอบแทนดีกว่าแผ่นฟิล์มแบบธรรมดามาแต่เดิม • เครื่องเคลือบอลูมิเนียมในปัจจุบันสามารถผลิตแผ่นฟิล์มที่มีความหนาทึบสูงสุดเพียง 3 OD ท�ำให้บริษัทพลาดโอกาสในการผลิตแผ่นฟิล์มที่มีความหนาทึบสูงขึ้น • ความต้องการแผ่นฟิล์มที่มีความหนาทึบสูงขึ้นมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น หากบริษัทไม่ลงทุนเพื่อ เพิ่มขีดความสามารถในการผลิตแผ่นฟิล์มดังกล่าว บริษัทก็จะสูญเสียโอกาสในการเจาะเข้า เซ็กเมนต์ตลาดนี้ • ความต้องการแผ่นฟิล์ม PET เคลือบอลูมิเนียมมคาดว่าจะยังคงเติบโตในอัตราที่ดีต่อไปได้ หากบริษัทไม่เพิ่มก�ำลังผลิตส่วนนี้ จะท�ำให้ส่วนแบ่งตลาดของบริษัทหดลง • จากการที่มีเครื่องเคลือบที่ดีขึ้น บริษัทก็จะสามารถรักษาความสามารถในการแข่งขันในตลาด ได้ 6.1.2. สายการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียม – ประเทศตุรกี ในเดือนตุลาคม 2556 คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติให้ทำ� การลงทุนในสายเคลือบอลูมิเนียม ใหม่ในประเทศตุรกีในนามโพลีเพล็กซ์ ยูโรปา โพลีเอสเตอร์ฟิล์ม ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิ 62


เกติ (Polyplex Europa Polyester Film Sanayi Ve Ticaret A.S. - PE) รายละเอียดโครงการ • เงินลงทุนในโครงการทั้งหมดคาดว่าเท่ากับประมาณ 4.2 ล้านยูโร • สายการเคลือบอลูมิเนียมใหม่จะมีกำ� ลังการผลิต 6,500 ตันต่อปี • แหล่งที่มาของเงินลงทุนในโครงการจะมาจากกระแสเงินสดภายในกิจการของ PE เอง • สายการผลิตใหม่คาดว่าจะเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ ในช่วงครึ่งหลังของปีบัญชี 2557-58 เหตุผลในการลงทุน • เช่นเดียวกับในประเทศไทย PE เห็นความจ�ำเป็นที่จะต้องเพิ่มก�ำลังและความสามารถในการ ผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียมในประเทศตุรกี • สายเคลือบอลูมิเนียมปัจจุบันของ PE มีการใช้ก�ำลังการผลิตเต็มแล้ว ปริมาณการผลิตที่เพิ่ม ขึ้นจะสามารถจ�ำหน่ายได้โดยไม่มีปัญหา ซึ่งจะท�ำให้ PE ได้รับผลตอบแทนดีกว่าแผ่นฟิล์ม แบบธรรมดา • เครื่องเคลือบใหม่สามารถผลิตแผ่นฟิล์มป้องกันการรั่วซึมแบบใส (transparent barrier film) และแผ่นฟิล์มป้องกันการรั่วซึมที่มีความหนาทึบสูง (ultra high barrier film) ซึ่งเครื่องเคลือบ ปัจจุบันไม่สามารถผลิตได้ • สายเคลือบใหม่นี้จะช่วยให้ PE สามารถสนองความต้องการของเซ็กเมนต์ตลาดใหม่และ เฉพาะกลุ่มลูกค้า (niche) ของอุตสาหกรรมนี้ได้อย่างดี 6.1.3. สายการผลิตเม็ดพลาสติก PET – สหรัฐอเมริกา โครงการผลิตเม็ดพลาสติกส�ำหรับแผ่นฟิล์ม PET ก�ำลังอยู่ระหว่างการด�ำเนินการตามโครงการ ในเมืองดีเคเตอร์ รัฐอลาบามา สหรัฐอเมริกา ในนามโพลีเพล็กซ์ ยูเอสเอ แอลแอลซี (Polyplex USA LLC - PU) PU ถือหุ้นโดยโพลีเพล็กซ์ อเมริกา โฮลดิ้ง อิงค์ (Polyplex Americas Holding Inc. - PAH) ซึ่งมีบริษัทโพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุ้นเต็มจ�ำนวน โครงการสายการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางในสหรัฐฯประสบความส�ำเร็จโดยสามารถเดิน เครื่องจักรและเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ ในเดือนเมษายน 2556 ส่วนสาย การผลิตเม็ดพลาสติก ก็สามารถเริ่มเดินเครื่องจักรแล้ว และคาดว่าจะเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ภายในไตรมาส 2 ของปี บัญชี 2557-58 รายละเอียดโครงการ • ก�ำลังการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางเท่ากับ 31,000 ตันต่อปี และก�ำลังการผลิตเม็ด พลาสติก PET เท่ากับ 57,600 ตันต่อปี • แหล่งที่มาของเงินลงทุนในโครงการมาจากเงินกู้ระยะยาวจ�ำนวน 84 ล้านเหรียญสหรัฐ ส่วน ที่เหลือมาจากการเข้าลงทุนในหุ้นทุนโดยบริษัทโพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) และเงินกู้ด้อยสิทธิระหว่างบริษัทจากโพลีเพล็กซ์ ยูโรปา ประเทศตุรกี 63


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 6.1.4. โครงการผลิตเม็ดพลาสติกส�ำหรับผลิตขวด PET – ประเทศตุรกี โครงการผลิตเม็ดพลาสติกส�ำหรับผลิตขวด PET ก�ำลังอยู่ระหว่างการด�ำเนินการในนาม โพลีเพล็กซ์ เรซิ่นซานายิ เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ (Polyplex Resins Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi - PR) ในประเทศตุรกี ซึ่ง PTL ถือหุ้นร้อยละ 67 ผ่าน PE ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่ PTL ถือหุ้นเต็มจ�ำนวน ส่วนที่เหลือร้อยละ 33 ถือโดยโพลีเพล็กซ์ เอเชีย พีทีอี ลิมิเต็ด (Polyplex Asia Pte Ltd – PAPL) รายละเอียดโครงการ • เงินลงทุนในโครงการทั้งหมด เท่ากับประมาณ 80 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งรวมเงินทุนหมุนเวียน 8 ล้านเหรียญสหรัฐ • บริษัทได้ลงนามสัญญาเงินกู้ระยะยาวจ�ำนวน 41 ล้านยูโร และวงเงินกู้เงินทุนหมุนเวียนจ�ำนวน 6 ล้านยูโร เงินลงทุนส่วนที่เหลือมาจากการเข้าลงทุนในหุ้นทุน/เงินกู้ระหว่างบริษัทจาก PE และ PAPL ตามสัดส่วนการถือหุ้น • ก�ำลังการผลิตเท่ากับ 210,000 ตันต่อปี • โครงการได้เริ่มเดินเครื่องจักรและก�ำลังทดสอบการผลิตอยู่ในขณะนี้ คาดว่าจะเริ่มการผลิต เชิงพาณิชย์ ในครึ่งหลังของ ปีบัญชี 2557-58 เหตุผลในการลงทุน • การด�ำเนินการเชิงกลยุทธ์ : o เป็นโอกาสในการสร้างการเติบโตของผลก�ำไรได้อีกเส้นทางหนึ่ง o ในขณะเดียวกัน เป็นการกระจายความเสี่ยง โดยช่วยลดการที่ต้องอาศัยธุรกิจแผ่น ฟิล์มพลาสติกเกือบทั้งหมดในช่วงที่ผ่านมาในขณะเดียวกันความเสี่ยงของการเข้าสู่ ธุรกิจใหม่ก็ลดลงอย่างชัดเจนจากการที่เป็นธุรกิจที่ค่อนข้างมีความเกี่ยวข้องกับธุรกิจ ที่ดำ� เนินงานอยู่แล้ว เนื่องจากปัจจุบันโพลีเพล็กซ์ก็ผลิตเม็ดพลาสติก PET ส�ำหรับ ผลิตแผ่นฟิล์มในทุกท�ำเลเพื่อใช้ ในโรงงานของตนอยู่แล้ว ด้วยเหตุนี้ ความเสี่ยงด้าน เทคโนโลยีและการผลิตจึงค่อนข้างต�ำ่ • อุตสาหกรรม/ผลิตภัณฑ์ที่จูงใจ : o เป็นอุตสาหกรรมที่มีการเติบโตสูง โดยอัตราการเติบโตในภูมิภาคสูงกว่าการเติบโต ของจีดีพีในช่วงเวลาเดียวกัน ซึ่งโดยหลักเป็นผลมาจากการเติบโตของการใช้ ใน อุตสาหกรรมสินค้าอุปโภคบริโภคที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว เช่น ขวดน�ำ้ แร่ ขวดน�้ำ อัดลม เป็นต้น o ขวด PET ให้คุณค่าที่ยากจะหาสินค้าอื่นมาเทียบเคียงได้ รวมทั้งมีต้นทุนต�ำ่ เมื่อเทียบ กับขวดแก้วและขวดพีวีซี o จากการที่ราคาผลิตภัณฑ์มีต้นทุนวัตถุดิบเป็นองค์ประกอบในสัดส่วนสูง ท�ำให้ทั้งสอง ปัจจัยมีความเกี่ยวเนื่องกันอย่างมาก ดังนั้น ผลิตภัณฑ์นี้จึงมีความอ่อนไหวตามการ 64


ขึ้นลงของวงจรอุตสาหกรรมน้อย เนื่องจากต้นทุนวัตถุดิบจะส่งผ่านไปยังลูกค้า o ก�ำลังการผลิตกระจายทั่วทุกภูมิภาค และการขายใน Short Market ระดับภูมิภาคมา จากผลิตภัณฑ์นำ� เข้า ก�ำลังการผลิตกระจายไปยังท�ำเลต่างๆในยุโรป โดยส่วนส�ำคัญ ส่วนหนึ่งของก�ำลังการผลิตเหล่านี้มาจากโรงงานเก่าที่มีกำ� ลังการผลิตต�่ำ (150-300 ตันต่อวัน) ซึ่งท�ำให้ไม่เกิดการประหยัดจากขนาดเมื่อเทียบกับก�ำลังการผลิตที่เกิดใหม่ ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าดังเช่นโรงงานขนาดก�ำลังการผลิต 600 ตันต่อวันของโพลีเพล็กซ์ที่ น�ำเสนอนี้ • การวางต�ำแหน่งที่สามารถแข่งขันได้ของโพลีเพล็กซ์/โครงการในตุรกี : o โมเดลธุรกิจก�ำหนดตามต�ำแหน่งที่ตั้งทางกลยุทธ์ซึ่งท�ำให้เข้าถึงตลาดในประเทศขนาด ใหญ่ (ตุรกี) และตลาดใกล้ชายฝั่ง (ยุโรปตะวันตกและตะวันออก) o ตลาดที่ยังขาดแคลนสินค้าเป้าหมายขนาดใหญ่อย่างเช่น บัลกาเรีย ยูเครน และ โรมาเนียตลาดที่สามารถได้รับการสนองจากการผลิตในตุรกี • ผลประโยชน์ส�ำคัญด้านการคลัง/ภาษีอากร : o ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลจนกระทั่งถึงเวลาที่ตุรกีเข้าร่วมสหภาพยุโรป o Customs Union สหภาพยุโรปสร้างความได้เปรียบให้แก่ตุรกีเหนือผู้ผลิตในเอเชีย เนื่องจากก�ำหนดภาษีศุลกากรส�ำหรับสินค้าที่ส่งออกจากตุรกีสู่ประเทศในสหภาพ ยุโรปในอัตราร้อยละ 0 เทียบกับอัตราปกติร้อยละ 6.5 หรืออัตราพิเศษภายใต้ GSP ที่ ร้อยละ 3 ส�ำหรับสินค้าจากประเทศอื่น ๆ o นอกจากนั้น อุตสาหกรรมในประเทศได้รับการคุ้มครองด้วยมาตรการทางการค้าต่างๆ เช่น มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาด(AD)/ภาษีตอบโต้การสนับสนุนทางการค้า(CVD) ที่ ใช้บังคับกับผู้ส่งออกจากประเทศบางประเทศ โดยปัจจุบันใช้กับประเทศอินเดียและผู้ ผลิตอื่นในเอเชีย/ตะวันออกกลางที่ส่งออกสินค้ามายังสหภาพยุโรป 6.2. ค่าใช้จ่ายลงทุนอื่นๆ ในความพยายามอย่างต่อเนื่องที่จะปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ลดการสูญเสีย พัฒนาผลิตภัณฑ์ และ ยกระดับการควบคุมคุณภาพ บริษัทและบริษัทย่อยในตุรกี/สหรัฐอเมริกาได้มีการวางแผนค่าใช้จ่ายลงทุน ขนาดเล็ก/กลางหลายรายการโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของการวิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนและผลประโยชน์ ตอบแทน (cost benefit analysis) แล้ว เงินลงทุนโดยรวมของโครงการเหล่านั้นในช่วง 12-15 เดือนข้าง หน้าคาดว่าจะเท่ากับประมาณ 300-400 ล้านบาทซึ่งรวมถึงค่าประกันภัยตามปกติและค่าอุปกรณ์เบ็ดเตล็ด เพื่อการดูแลเครื่องจักร 7. ข้อพิพาททางกฎหมาย - ไม่มี 65


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 8. โครงสร้างผู้ถือหุ้น 8.1. หลักทรัพย์ ในปัจจุบันบริษัทมีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 960 ล้านบาท ช�ำระแล้วเท่ากับ 800 ล้านบาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ จ�ำนวน 800 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท 8.2. โครงสร้างผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 เป็นดังนี้ โพลีเพล็กซ์ คอร์ปอเรชั่น ลิมิเต็ด (PCL) โพลีเพล็กซ์(เอเชีย)พีทีอี ลิมิเต็ด (PAPL) ประชาชนทั่วไป รวม

หุ้นสามัญ 132,000,000 276,000,000 392,000,000 800,000,000

% 16.50 34.50 49.00 100.00

โครงสร้างผู้ถือหุ้นของ PCL ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 เป็นดังนี้ ชื่อผู้ถือหุ้น กลุ่มผู้ก่อตั้ง นักลงทุนสถาบัน นักลงทุนที่มิใช่สถาบัน (นิติบุคคล, ประชาชนชาวอินเดียทั่วไป, HUF) ผู้ถือหุ้นอื่น ๆ รวมทั้งสิ้น

% 46.93 9.30 33.26 10.51 100.00

ผู้ถือหุ้นหลัก (ร้อยละ 100) ของ โพลีเพล็กซ์ (เอเชีย) พีทีอี ลิมิเต็ด (PAPL) คือ โพลีเพล็กซ์ คอร์ปอเรชั่น ลิมิเต็ด (PCL) โดยทั้ง PCL และ PAPL เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทในสัดส่วน ร้อยละ 51 9. นโยบายการจ่ายเงินปันผล ตามนโยบายการจ่ายเงินปันผลที่ระบุในหนังสือชี้ชวน บริษัทจ่ายเงินปันผลในอัตราประมาณ ร้อยละ 40 ของก�ำไรสุทธิในแต่ละปี โดยพิจารณาปัจจัยต่างๆประกอบด้วย สภาวะเศรษฐกิจ แผนการขยายธุรกิจ โอกาสในการปรับปรุงประสิทธิภาพต่างๆในอนาคตฐานะการเงินและสภาพคล่องของบริษัท ตลอดจนจะ ต้องได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท ส�ำหรับปีบัญชี 2556-57 เนื่องจากบริษัทมีผลประกอบการขาดทุนสุทธิจำ� นวน 480 ล้านบาทตามงบการ เงินรวม จึงไม่สามารถจ่ายเงินปันผลได้ตามนโยบายการจ่ายเงินปันผลดังกล่าว ดังนั้น คณะกรรมการ บริษัทจึงเห็นสมควรเสนองดจ่ายเงินปันผลส�ำหรับปีบัญชีนี้ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น ของบริษัทที่จะจัดขึ้นในวัน ที่ 29 กรกฎาคม 2557 เพื่อพิจารณาอนุมัติ

66


แผนภูมิต่อไปนี้แสดงการจ่ายเงินปันผลของบริษัทในระยะเวลา 9 ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เมื่อเดือนธันวาคม 2547 เป็นต้นมา 4,000

ปีที่ผ่านมานับตั้งแต่บริษัทเข้าจด

กําไรสุทธิและอัตราการจายเงินปนผลในชวงเวลาที่ผานมา

2.50

3,500 2.00

เงินปนผล - บาทตอหุน

ลานบาท

3,000 2,500

1.50

2,000

1.00

1,500 1,000

0.50

500 -

2547-48

2548-49

2549-50

2550-51

2551-52

2552-53

2553-54

2554-55

2055-56

กําไรสุทธิ (งบการเงินรวม)

721

561

342

814

1,042

1,039

3,883

1,358

374

เงินปั นผลรวม

280

224

136

320

416

416

1,552

416

112

เงินปั นผล - บาท/หุ้น

0.35

0.28

0.17

0.40

0.52

0.52

1.94

0.52

0.14

0.00

67


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 10. โครงสร้างการจัดการ เลขานุการบริ ษทั

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหารระดับสู ง ด้ านการเงิน

หัวหน้ าฝ่ ายปฏิบัตกิ าร

หัวหน้า-ฝ่ ายขายและ การตลาด-แผ่นฟิ ล์มบาง

ฝ่ ายจัดการ ทางการเงิน

หัวหน้ าฝ่ ายผลิตและ วิศวกรรม-แผ่ นฟิ ล์ ม

เอเชียตะวันออก เฉียงใต้

ฝ่ ายต้ นทุน และบัญชี

หัวหน้ าโรงงาน – แผ่ นฟิ ล์ มเคลือบ ซิลิโคน

ตลาดในประเทศ

ฝ่ ายเทคโนโลยี สารสนเทศ

ฝ่ ายบริหารการผลิต

อเมริกา

ฝ่ ายสัมพันธ์ โรงงานและบุคคล

ยูโรป

ฝ่ ายวิเคราะห์ คุณภาพ และฝ่ ายเทคนิค

อืน่ ๆ

ฝ่ ายกฎหมาย และภาษี ฝ่ ายนักลงทุน สั มพันธ์

PET / CPP

หัวหน้าฝ่ ายขายและ การตลาด-แผ่นฟิ ล์มหนา

เอเชียตะวันออก เฉียงใต้

หัวหน้ าธุรกิจ - แผ่นฟิ ล์มเคลือบอัดขึน้ รูป ผู้จัดการ-โรงงานแผ่นฟิ ล์ ม เคลือบอัดขึน้ รูป

ตลาดในประเทศ

อเมริกา

ยูโรป

อืน่ ๆ

ฝ่ ายจัดซือ้ และ คลังสินค้ า

บริษัทมีคณะกรรมการ ได้แก่ คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัทมีข้อก�ำหนดให้มี คณะกรรมการอื่นๆได้ตามความจ�ำเป็นซึ่งแต่งตั้งโดยผู้ถือหุ้น หรือคณะกรรมการบริษัท ซึ่ง คณะกรรมการ บริษัทและผู้บริหารของบริษัทประกอบไป ด้วยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีคุณสมบัติเป็นไปตาม มาตรา 68 แห่งพระ ราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศของคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 12/2543 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาต ให้เสนอขายหุ้นสามัญที่ออกใหม่ ลงวันที่ 22 มีนาคม 2543 ทุกประการ

68


รายละเอียดของคณะกรรมการบริษัท และ คณะกรรมการตรวจสอบ ดังต่อไปนี้ 10.1. คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วย กรรมการจ�ำนวน 8 ท่านดังนี้ 1. นายมนู เลียวไพโรจน์ ประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ 2. ดร.วีรพงษ์ รามางกูร กรรมการ (และกรรมการตรวจสอบ) 3. นายซีราช อีรัช ปุณวาลา กรรมการ (และกรรมการตรวจสอบ) 4. นายซันจีฟ ซาราฟ รองประธานกรรมการ 5. นายประพัฒน์ โพธิวรคุณ กรรมการ 6. นายปราเนย์ โกธารี กรรมการ 7. นายมานิตย์ กุปต้า กรรมการ 8. นายโรฮิท กุมาร์ วาฮิททรา กรรมการผู้จัดการ มี นางสุปรีตรา ไปร กาสทูรี เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริษัท ผู้มีอ�ำนาจลงนาม กรรมการท่านใดท่านหนึ่งในจ�ำนวนกรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามแทนบริษัท 4 ท่าน ประกอบด้วย นายซันจีฟ ซาราฟ นายปราเนย์ โกธารี นายมานิตย์ กุปต้า และ นายโรฮิท กุมาร์ วาฮิททรา ลงลายมือชื่อ และ ประทับตราส�ำคัญ ของบริษัท อ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการมี อ� ำ นาจและหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบในการจั ด การบริ ษั ท ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัท ตลอดจนมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้นที่ชอบ ด้วยกฎหมายด้วย ความ ซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัท โดยสรุปอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ที่ ส�ำคัญได้ดังนี้ 1. จัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นเป็นการประชุมสามัญประจ�ำปี ภายใน 4 เดือน นับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะ เวลาบัญชีของบริษัท 2. จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการอย่างน้อยทุกไตรมาสปฏิทิน 3. จัดให้มีการท�ำงบดุลและงบก�ำไรขาดทุนของบริษัท ณ วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชีของบริษัท ซึ่งผู้ สอบบัญชีตรวจสอบแล้ว และน�ำเสนอต่อที่ประชุม ผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาและอนุมัติ 4. คณะกรรมการอาจมอบอ�ำนาจให้กรรมการคนหนึ่ง หรือหลายคน หรือบุคคล อื่นใดปฏิบัติการอย่าง หนึ่งอย่างใดแทนคณะกรรมการได้ โดยอยู่ภายใต้ การควบคุมของ คณะกรรมการ หรืออาจมอบอ�ำนาจ เพื่อ ให้บุคคลดังกล่าว มีอำ� นาจตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร และภายใน ระยะเวลาที่คณะกรรมการ เห็นสมควร ซึ่งคณะกรรมการอาจยกเลิกเพิกถอน เปลี่ยนแปลง หรือแก้ไข บุคคลที่ได้รับมอบอ�ำนาจ หรืออ�ำนาจนั้น ๆ ได้เมื่อเห็นสมควร ทั้งนี้คณะกรรมการอาจมอบอ�ำนาจ ให้คณะกรรมการบริหารมีอำ� นาจหน้าที่ใน การปฏิบัติงานต่าง ๆ โดยมีรายละเอียดการมอบอ�ำนาจตามขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ ของคณะกรรมการบริหาร ซึ่งการมอบ 69


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 อ�ำนาจนั้นต้องไม่มีลักษณะเป็นการมอบอ�ำนาจที่ทำ� ให้ คณะกรรมการบริหารสามารถพิจารณาและ อนุมัติ รายการที่คณะกรรมการบริหาร หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งมีส่วนได้เสีย หรือมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์อื่นใดท�ำกับบริษัทหรือบริษัทย่อย ยกเว้นเป็นการอนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ที่ คณะกรรมการ พิจารณาและอนุมัติไว้แล้ว 5. ก�ำหนดเป้าหมาย แนวทาง นโยบาย แผนงานและงบประมาณของบริษัท ควบคุมก�ำกับดูแลการบริหาร และการจัดการของคณะกรรมการบริหารให้เป็น ไปตามนโยบายที่ได้รับมอบหมาย เว้นแต่ในเรื่องดัง ต่อไปนี้ คณะกรรมการต้องได้รับมติอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อนการด�ำเนินการ อันได้แก่ เรื่องที่ กฎหมายก�ำหนดให้ต้องได้รับมติอนุมัติจากที่ประชุม ผู้ถือหุ้น เช่น การเพิ่มทุน การลดทุน การออกหุ้น กู้ การขายหรือโอนกิจการของบริษัททั้งหมด หรือบางส่วนที่สำ� คัญให้แก่บุคคลอื่น หรือการซื้อ หรือรับ โอนกิจการ ของบริษัทอื่นมาเป็นของบริษัท การแก้ไขหนังสือ บริคณหสนธิ หรือข้อบังคับ เป็นต้น นอกจากนี้ คณะกรรมการยังมีขอบเขตหน้าที่ในการก�ำกับดูแล ให้บริษัท ปฏิบัติตาม กฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์ อาทิเช่น การท�ำรายการที่เกี่ยวโยง กันและ การซื้อหรือขาย ทรัพย์สิน ที่สำ� คัญตามกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยหรือ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 6. พิจารณาโครงสร้างการบริหารงาน แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และคณะ กรรมการอื่นตามความเหมาะสม 7. ติดตามผลการด�ำเนินงานให้เป็นไปตามแผนงานและงบประมาณอย่างต่อเนื่อง 8. กรรมการจะต้องไม่ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขัน กับกิจการของบริษัท หรือเข้าเป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือเป็น หุ้นส่วนไม่จ�ำกัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด หรือเป็นกรรมการของ บริษัทเอกชน หรือบริษัทอื่นที่ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่าง เดียวกัน และ เป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษัทไม่ว่าจะท�ำเพื่อประโยชน์ตนหรือเพื่อ ประโยชน์ผู้อื่น เว้นแต่จะได้ แจ้งให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบก่อนที่จะมีมติแต่งตั้งกรรมการ 9. กรรมการต้องแจ้งให้บริษัททราบโดยไม่ชักช้า หากมีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยตรง หรือโดยอ้อมในสัญญาที่ บริษัทท�ำขึ้นหรือถือหุ้นหรือหุ้นกู้เพิ่มขึ้น หรือลดลง ในบริษัทหรือบริษัทในเครือ 10.2. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทประกอบด้วย 1. นายมนู เลียวไพโรจน์ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2. ดร.วีรพงษ์ รามางกูร กรรมการตรวจสอบ 3. นายซีราช อีรัช ปุณวาลา กรรมการตรวจสอบ โดยมี นางสุปรีตรา ไปร กาสทูรี เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ อ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้บริษัทมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอโดยประสานงานกับผู้สอบ บัญชีและผู้บริหารที่รับผิดชอบจัดท�ำรายงานทางการเงิน ทั้งรายไตรมาสและประจ�ำปี คณะกรรมการ 70


ตรวจสอบอาจเสนอแนะให้ผู้สอบบัญชี สอบทานหรือตรวจสอบรายการใดๆ ที่เห็นว่าจ�ำเป็นและเป็น เรื่องส�ำคัญใน ระหว่างการตรวจสอบบัญชีของบริษัทได้ สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ โดย สอบทานร่วมกับผู้สอบบัญชีและผู้ตรวจสอบภายใน 2. สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาด หลักทรัพย์หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 3. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของบริษัทโดยค�ำนึงถึงความน่า เชื่อถือความเพียงพอของทรัพยากรและปริมาณงานตรวจสอบของบริษัทผู้สอบบัญชีนั้น รวมถึง ประสบการณ์ของบุคลากรที่ได้รับมอบหมาย ให้ทำ� การตรวจสอบบัญชีของบริษัท 4. พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือ รายการที่อาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้มีความถูกต้องและครบถ้วน 5. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการมอบหมายและคณะกรรมการตรวจสอบเห็นชอบด้วย เช่น ทบทวนนโยบายการบริหารทางการเงินและการบริหารความเสี่ยง ทบทวนการปฏิบัติตามจรรยาบรรณ ทางธุรกิจของผู้บริหารของบริษัทในรายการส�ำคัญๆ ที่ต้องเสนอสาธารณชนตามที่กฎหมายก�ำหนด ได้แก่ บทรายงาน และการวิเคราะห์ของฝ่ายบริหาร เป็นต้น 6. จัดท�ำรายงานการสอบทานกิจกรรมของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ ในรายงานประจ�ำปีของ บริษัทซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้งให้ความเห็น เกี่ยว กับ (ก) กระบวนการจัดท�ำและ การเปิดเผยข้อมูลในรายงานทางการเงินถึงความถูกต้อง ครบถ้วนและ เชื่อถือได้ (ข) ความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท (ค) เหตุผลที่เชื่อว่า ผู้สอบบัญชีของ บริษัทเหมาะสมที่จะได้รับการแต่งตั้งต่อไปอีกวาระหนึ่ง (ง) การปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท และรายงานอื่น ใดที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิด ชอบ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 7. รายงานการด�ำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบให้คณะกรรมการทราบเป็น ประจ�ำอย่างน้อย ไตรมาสปฏิทินละหนึ่งครั้ง 8. ร่วมให้ความเห็นในการพิจารณาผลงาน การแต่งตั้ง การถอดถอน และก�ำหนดค่าตอบแทนของผู้ตรวจ สอบภายใน

71


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 10.3. ผู้บริหาร ในช่วงปี 2556-57 ผู้บริหารของบริษัทมีทั้งสิ้น 7 คน ดังนี้ 1. นายโรฮิท กุมาร์ วาฮิททรา กรรมการผู้จัดการ 2. นายวิโนด สูเรคา ผู้บริหารระดับสูงด้านการเงิน 3. นายราเมช กุปต้า หัวหน้าธุรกิจ – แผ่นฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูป 4. นายสุเรช ซุนดาราม * หัวหน้า – ฝ่ายปฏิบัติการ 5. นายอาชิช กุมาร์ โกช หัวหน้า – ฝ่ายการขายและการตลาด 6. นายมาโนช ซินฮา* หัวหน้า – ฝ่ายการขายและการตลาด – แผ่นฟิล์มชนิดหนา 7. นายวิเนย์ กุมาร์ หัวหน้า –ฝ่ายผลิต- สายเคลือบซิลิโคน *เพียงระยะเวลาช่วงหนึ่งของปี อ�ำนาจหน้าที่ของกรรมการผู้จัดการ 1. ควบคุมดูแลการด�ำเนินกิจการและ/หรือบริหารงานประจ�ำวันของบริษัท 2. ด�ำเนินการหรือปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณที่ได้ รับอนุมัติจากคณะ กรรมการของบริษัทและ/หรือคณะกรรมการบริหารของ บริษัท (ถ้ามี) 3. เป็นผู้รับมอบอ�ำนาจของบริษัทในการบริหารกิจการของบริษัทให้เป็นตามวัตถุประสงค์ ข้อบังคับ นโยบายระเบียบ ข้อก�ำหนด ค�ำสั่ง มติที่ประชุมผู้ถือหุ้นและ/หรือมติ ที่ประชุมคณะกรรมการ ของ บริษัททุกประการ 4. มีอ�ำนาจแต่งตั้งและบริหารงานคณะท�ำงานต่าง ๆ เพื่อประโยชน์และประสิทธิภาพของการจัดการที่ดี และโปร่งใส และให้มีอ�ำนาจในการมอบอ�ำนาจช่วงและ/หรือมอบหมายให้บุคคลอื่นปฏิบัติงานเฉพาะ อย่างแทนได้ โดยการมอบอ�ำนาจช่วง และ/หรือการมอบหมายดังกล่าวให้อยู่ภายใต้ขอบเขตแห่งการ มอบอ�ำนาจตามมติ ที่ประชุมคณะกรรมการนี้ และ/หรือเป็นไปตามระเบียบข้อก�ำหนด หรือค�ำสั่งที่ คณะ กรรมการของบริษัท และ/หรือบริษัทได้ก�ำหนดไว้ 5. ก�ำหนดภารกิจ วัตถุประสงค์ แนวทางนโยบายของบริษัท รวมถึงการสั่งการและก�ำกับดูแลการ ด�ำเนินงานโดยรวม เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการบริหารงาน 6. ติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษัทอย่างสม�ำ่ เสมอ เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากปัจจัยต่าง ๆ ทั้งจากภายในและภายนอกบริษัท 7. มีอ�ำนาจพิจารณาอนุมัติการใช้จ่ายเงินในการด�ำเนินการ ตามปกติธุรกิจของบริษัท เช่น การติดต่อเรื่อง บัญชีเงินฝากกับธนาคาร การจัดซื้อวัตถุดิบในการผลิต 8. มีอ�ำนาจพิจารณาว่าจ้างพนักงาน และบรรจุแต่งตั้ง ตลอดจนการโอนโยกย้ายข้าม สายงาน/ฝ่าย/ แผนก หรือการพ้นจากการเป็นพนักงาน ก�ำหนดอัตราค่าจ้าง ค่าตอบแทนเงินโบนัส รวมถึง สวัสดิการ เกี่ยวกับพนักงานทั้งหมดของบริษัท 9. มีอ�ำนาจออกค�ำสั่ง ระเบียบ ประกาศ บันทึกเพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตาม นโยบายและผลประโยชน์ 72


ของบริษัท และเพื่อรักษาระเบียบวินัยการท�ำงานภายใน องค์กร 10. ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัทเป็นคราว ๆ ไป ทั้งนี้ อ�ำนาจ ตลอดจนการมอบอ�ำนาจแก่บุคคลอื่นที่เห็นสมควร จะไม่รวมถึงอ�ำนาจและ/ หรือ การ มอบอ�ำนาจในการอนุมัติ (i) รายการใดที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์กับ บริษัทหรือ บริษัทย่อย (ii) รายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสียหรือผลประโยชน์ ในลักษณะ อื่นใดขัดแย้งกับบริษัท หรือบริษัทย่อยตาม กฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งการ อนุมัติรายการในลักษณะดังกล่าว จะต้องเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการและ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อพิจารณาและ อนุมัติรายการ ดังกล่าวตามที่ข้อบังคับของบริษัทหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องก�ำหนด 10.4. บทบาทหน้าที่เลขานุการบริษัท บริษัทได้แต่งตั้ง นางสุปรีตรา ไปร กาสทูรีเป็นเลขานุการบริษัท มีคุณสมบัติเป็นผู้สอบบัญชีจากสถาบัน การบัญชีของประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นผู้ที่มีคุณวุฒิเหมาะสมและมีประสบการณ์ทางด้านดังกล่าว และท�ำ หน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการ และเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบด้วย เลขานุการบริษัทมีหน้าที่และรับผิดชอบหลักได้แก่ • จัดการประชุมคณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการประชุมผู้ถือหุ้น ให้เป็นไป ตามกฎหมาย ข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง • จัดท�ำวาระการประชุม/เอกสารต่างๆ ส�ำหรับการจัดประชุมต่างๆ ข้างต้น และจัดส่งแก่สมาชิกที่ เกี่ยวข้องล่วงหน้าประมาณ 1 สัปดาห์ก่อนการประชุม เพื่อมีเวลาเพียงพอในการสอบทานเอกสาร • บันทึกรายงานการประชุมดังกล่าวข้างต้น รวมทั้งติดตามให้มีการปฏิบัติตามมติที่ประชุมดังกล่าว • ดูแลการเปิดเผยข้อมูลแก่หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง (ตลาดหลักทรัพย์/ก.ล.ต. และหน่วยงานอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง) ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง • หน้าที่และความรับผิดชอบต่างๆ นอกเหนือจากที่กล่าวข้างต้นเป็นไปตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะ กรรมการเป็นครั้งคราว 10.5. การแต่งตั้งคณะกรรมการบริษัท,กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บริษัทไม่มีคณะกรรมการสรรหา ในการคัดเลือกบุคคลที่จะแต่งตั้งเป็นกรรมการของบริษัท อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการจะเป็นผู้พิจารณาคัดเลือกตามประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถและต้องมี คุณสมบัติตาม เกณฑ์ของพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศของ ส�ำนักงาน ก.ล.ต. และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนตามข้อบังคับของบริษัท โดยจะเสนอต่อที่ประชุม ผู้ถือหุ้นและด�ำเนินการ ตามกระบวนการเลือกตั้งตามข้อบังคับบริษัทดังต่อไปนี้ 1) การสรรหาคณะกรรมการ ก) บริษัทต้องมีคณะกรรมการคณะหนึ่งประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อย ห้า (5) คน และให้ คณะ กรรมการเลือกตั้งกรรมการด้วยกันเป็นประธานกรรมการ และอาจเลือกรองประธานกรรมการและ ต�ำแหน่งอื่นตามที่เห็นเหมาะสมด้วยก็ได้ และกรรมการไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่งของจ�ำนวนกรรมการ 73


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 ทั้งหมดต้องมีถิ่น ที่อยู่ในราชอาณาจักร ผู้เป็นกรรมการของบริษัทต้องไม่เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท ข) ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ ก. ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่าจ�ำนวนหุ้นที่ตนถือ ข. ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่เลือกตั้งบุคคล คนเดียว หรือหลายคน เป็นกรรมการ ก็ได้ ในกรณีที่เลือกตั้งบุคคลหลายคนเป็นกรรมการจะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ ใดมากน้อย เพียงใดไม่ได้ ค. บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลงมาเป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็น กรรมการเท่า จ�ำนวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่ บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้ง ในล�ำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจ�ำนวนกรรมการที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งใน ครั้งนั้นให้ผู้เป็นประธานเป็นผู้ออกเสียง ชี้ขาด ค) ในการประชุมสามัญประจ�ำปีทุกครั้ง กรรมการจะต้องออกจากต�ำแหน่งอย่างน้อย จ�ำนวนหนึ่งใน สาม (1/3) โดยอัตรา ถ้าจ�ำนวนกรรมการจะแบ่งออกให้เป็นสามส่วน ไม่ได้ก็ให้ออกโดยจ�ำนวน ใกล้ เคียง ที่สุดกับส่วนหนึ่งในสาม (1/3) ง) กรรมการที่จะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรก และปีที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัท นั้นให้จับสลาก ว่าผู้ ใดจะออก ส่วนปีหลัง ๆ ต่อไป ให้กรรมการที่อยู่ในต�ำแหน่งนานที่สุดเป็นผู้ออกจากต�ำแหน่ง กรรมการผู้ออกจากต�ำแหน่งไปนั้น อาจจะเลือกเข้ารับ ต�ำแหน่งอีกก็ได้ 2) การสรรหาคณะกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 3 คน โดยมีวาระอยู่ในต�ำแหน่งคราว ละ 2 ปี บริษัทมีนโยบายในการสรรหากรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ ให้สอดคล้องกับประกาศ คณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 12/2543 เรื่องการขออนุญาตและการ อนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ โดยจะต้องมี คุณสมบัติ ดังนี้ ก) ถือหุ้นไม่เกินร้อยละห้าของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัท ร่วมหรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ข) ไม่เป็นลูกจ้างพนักงานที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจ�ำ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของ บริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง ค) ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือ โดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่ เป็นบิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือ บุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหารหรือผู้มีอำ� นาจควบคุมของบริษัท หรือ บริษัทย่อย ง) ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วมหรือ นิติบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน และไม่มี ลักษณะอื่นใดที่ทำ� ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัท 74


นอกจากนี้ กรรมการอิสระอย่างน้อยหนึ่งคนที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบ จะต้อง เป็นบุคคลที่มีความรู้และประสบการณ์ด้านการบัญชี หรือการเงินเพียงพอที่จะสามารถท�ำหน้าที่ใน การสอบทานความ น่าเชื่อถือของงบการเงินได้ รวมทั้ง บริษัทจะพิจารณาคุณสมบัติในด้านอื่น ๆ ประกอบด้วย เช่น ประสบการณ์ ในธุรกิจ ความเชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ความมี จริยธรรม ทั้งนี้เพื่อประโยชน์สูงสุด ของบริษัท ส�ำหรับหลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้ง กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระทุก ๆ 2 ปี อาจได้รับการแต่งตั้ง ให้กลับมาด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการตรวจสอบ ว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจาก ถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษัทแต่งตั้ง บุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วนเป็นกรรมการ ตรวจสอบมีจำ� นวนครบตามที่คณะกรรมการบริษัทก�ำหนด โดยบุคคลที่เป็นกรรมการตรวจสอบ แทนจะอยู่ในต�ำแหน่งได้เพียงวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการตรวจสอบซึ่งตนทดแทน 10.6. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ก. ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน กรรมการ ก่อนการแปลงสภาพเป็นบริษัทมหาชน บริษัทมีกรรมการจ�ำนวน 5 ท่าน กรรมการดังกล่าวไม่ได้รับค่าเบี้ย ประชุมแต่อย่างใด นับตั้งแต่บริษัทแปลงสภาพเป็นบริษัทมหาชน ในปี 2547 เป็นต้นมาจน กระทั่งปีบัญชี 2550-51 บริษัทมีกรรมการจ�ำนวน 8 ท่าน และกรรมการดังกล่าวได้ขอสละสิทธิในการรับค่าตอบแทน ใดๆ อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่ปีบัญชี 2551-52 บริษัทได้มีการจ่ายค่าตอบแทนแก่คณะกรรมการตรวจสอบและ กรรมการอิสระตามที่ผู้ถือหุ้นได้อนุมัติไว้ ในที่ประชุมสามัญของบริษัท ปีบัญชี 2556-57 บริษัทจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการอิสระ จ�ำนวนทั้งหมด 4,200,000 บาท ตามที่ได้ รับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นจ�ำนวนทั้งหมด 4,200,000 บาท ดังรายละเอียดด้านล่างนี้ รายชื่อกรรมการ จำ�นวนเงินที่ได้รับอนุมัติ (บาท) จำ�นวนที่จ่ายจริง (บาท) 1. นายมนู เลียวไพโรจน์ 125,000 บาทต่อเดือน 1,500,000 บาท 2. ดร. วีรพงษ์ รามางกูร 75,000 บาทต่อเดือน 900,000 บาท 3. นายประพัฒน์ โพธิวรคุณ 75,000 บาทต่อเดือน 900,000 บาท 4. นายซีราช อีรัช ปุณวาลา 75,000 บาทต่อเดือน 900,000 บาท นอกจากค่าตอบแทนที่กล่าวข้างต้น คณะกรรมการตรวจสอบแต่ละท่านมีสิทธิได้รับเบี้ยประชุมจ�ำนวน 10,000 บาทต่อครั้ง ซึ่งเป็นไปตามที่ได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม 2556

75


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 ส�ำหรับปีบัญชี 2557-58 เพื่อเป็นค่าตอบแทนการปฎิบัติหน้าที่ของกรรมการ จึงได้เสนอให้กำ� หนดและ จ่ายค่าตอบแทน จ�ำนวน 75,000 บาทต่อเดือนเท่ากับปีก่อน แก่กรรมการอิสระทั้งหมดดังต่อไปนี้ 1. 2. 3. 4.

นายมนู เลียวไพโรจน์ ดร. วีรพงษ์ รามางกูร นายประพัฒน์ โพธิวรคุณ นายซีราช อีรัช ปุณวาลา

นายมนู เลียวไพโรจน์ ในฐานะประธานคณะกรรมการบริษัทและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ มีสิทธิได้ รับค่าตอบแทนเพิ่มจ�ำนวน 25,000 บาทต่อเดือนส�ำหรับต�ำแหน่งแต่ละต�ำแหน่งดังกล่าว ส�ำหรับคณะกรรมการตรวจสอบกรรมการแต่ละท่านมีสิทธิได้รับเบี้ยประชุมจ�ำนวน 10,000 บาท ต่อครั้ง ค่าตอบแทนดังกล่าวข้างต้นส�ำหรับกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบจะน�ำเสนอที่ประชุม ผู้ถือ หุ้นซึ่งจะจัดขึ้นในเดือนกรกฎาคม 2557 เพื่อพิจารณาและอนุมัติต่อไป ตารางต่อไปนี้เป็นรายละเอียดค่าตอบแทนส�ำหรับผู้บริหารโดยรวมค่าตอบแทนของกรรมการบริหาร 1 ท่าน ค่าตอบแทน (พันบาท) จำ�นวนผู้บริหาร เงินเดือน (พันบาท) เงินโบนัสและอื่นๆ (พันบาท) รวม

2552-53 2553-54 2554-55 2555-56 2556-57 (เม.ย.-มี.ค.) (เม.ย.-มี.ค.) (เม.ย.-มี.ค.) (เม.ย.-มี.ค.) (เม.ย.-มี.ค.) 6 9,753 10,325 20,078

4 7,611 10,292 17,904

5 10,054 19,257 29,311

7* 11,113 14,576 25,689

7* 13,201 18,503 31,704

*รวมบางท่านซึ่งเป็นระยะเวลาช่วงหนึ่งของปีเท่านั้น ข. ค่าตอบแทนอื่น กรรมการ -ไม่มีผู้บริหาร -ไม่มี10.7. บุคลากร ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 บริษัทมีพนักงานรวม 650 คน แบ่งเป็นพนักงานที่ทำ� งานประจ�ำโรงงานจังหวัด ระยอง จ�ำนวน 607 คน และพนักงานที่ประจ�ำอยู่ที่ส�ำนักงานใหญ่ในกรุงเทพฯ จ�ำนวน 43 คน รวมทั้ง บริษัทยังมีพนักงานที่ไม่ได้ถือสัญชาติไทยจ�ำนวน 55 คน โดยพนักงาน 11 คน ประจ�ำอยู่ที่สำ� นักงานใหญ่ ในกรุงเทพฯ และอีก 44 คนท�ำงานประจ�ำอยู่ที่จังหวัดระยอง

76


จำ�นวนพนักงาน ณ วันที่ 31 ณ วันที่ 31 ณ วันที่ 31 ณ วันที่ 31 ณ วันที่ 31 มี.ค. 2553 มี.ค. 2554 มี.ค. 2555 มี.ค. 2556 ม.ค. 2557

ฝ่าย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

ผู้บริหาร ฝ่ายผลิต ฝ่ายการพาณิชย์,สารสนเทศ,บุคคล และบริหาร ฝ่ายขายและการตลาด ฝ่ายโรงงานผลิตเม็ดพลาสติก ฝ่ายโรงงานผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบโลหะ ฝ่ายโรงงานผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูป ฝ่ายโครงการคาสท์โพลิโพรพิลีน ฝ่ายโครงการแผ่นฟิล์มเคลือบซิลิโคน ฝ่ายโครงการแผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนา ฝ่ายโครงการแผ่นฟิล์ม Blown PP รวม

7 162 35 21 21 37 53 51 387

4 161 37 25 22 37 46 56 23 411

5 171 42 24 21 35 55 52 55 6 1 467

7 180 46 26 34 35 70 53 54 70 2 577

5* 206 49 33 38 39 76 55 54 86 9 650

ค่าตอบแทนพนักงานไม่รวมผู้บริหาร ค่าตอบแทน จำ�นวนพนักงาน เงินเดือนและค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา เงินโบนัส เงินกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ* อื่นๆ รวม

2552/53 (เม.ย.-มี.ค.)

2553/54 (เม.ย.- มี.ค.)

2554/55 (เม.ย.-มี.ค.)

380 78,272 7,350 15,408 2,102 47,183 150,316

407 101,857 11,206 27,941 2,489 55,705 199,198

462 111,450 13,527 26,182 2,928 62,883 216,770

หน่วย: พันบาท 2555/56 2556/57 (เม.ย.-มี.ค.) (เม.ย.-มี.ค.) 572 151,656 18,120 30,851 4,338 79,809 284,774

650 199,476 27,286 33,603 4,666 86,208 351,239

* บริษัทเริ่มจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพตั้งแต่เดือนกันยายน 2547 เงินสะสมของลูกจ้างและ เงินสมทบของนายจ้างเท่ากับร้อยละ 4 จนกระทั่งปี 2553-54 ตั้งแต่ปีบัญชี 2554-55 บริษัทได้มีการปรับ เงินสมทบเข้ากองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพใหม่ ซึ่งจะขึ้นอยู่กับระยะเวลาในการท�ำงาน ส่งผลให้เงินสะสมของ ลูกจ้างและเงินสมทบของนายจ้างเท่ากับร้อยละ 4 ถึงร้อยละ 7 ทั้งนี้ในปีที่ผ่านมาบริษัทไม่มีข้อพิพาทด้านแรงงานใดๆ

77


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 นโยบายการพัฒนาพนักงาน บริษัทตระหนักถึงความส�ำคัญของพนักงานเนื่องจากพนักงานถือเป็นสินทรัพย์ที่มีค่าและมีส่วนส�ำคัญใน ความส�ำเร็จและการเติบโตของบริษัท ดังนั้นบริษัทจึงมีนโยบายที่จะพัฒนาประสิทธิภาพ ความรู้และทักษะ ของ พนักงานในทุกระดับโดยจัดให้มีโครงการฝึกอบรมเป็นระยะๆ หลายโครงการโครงการฝึกอบรมจัด ท�ำขึ้น เพื่อพัฒนาการท�ำงานในด้านต่างๆ เช่น ทักษะความรู้ ความสามารถในงานการท�ำงานเป็นทีม การ เสริมสร้างทักษะความเป็นผู้น�ำ เทคนิคการบริหารเวลา เป็นต้น ซึ่งท�ำให้ชีวิตการท�ำงานของพนักงานดีขึ้น โดยได้น�ำเสียงสะท้อนหรือข้อคิดเห็นจากพนักงานที่เข้ารับการฝึกอบรมมาใช้ ในการปรับปรุงคุณภาพของ การจัดฝึกอบรม และสัมมนาในอนาคตให้ดียิ่งๆขึ้นไป 11. การก�ำกับดูแลกิจการ 11.1. หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี 11.1.1. นโยบายเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการ บริษัทตระหนักถึงความส�ำคัญของการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและมีความมุ่งมั่นอย่างยิ่งที่จะด�ำเนิน ธุรกิจตามแนวหลักการการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยก�ำหนด บริษัทมีความเชื่อมั่นในการด�ำเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส (Transparency) ความรับผิดชอบ (Accountability) และจรรยาบรรณ (Ethical Conduct) โดยบริษัทได้กำ� หนดนโยบาย ที่มุ่งเน้น การเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะและผู้ถือหุ้นอย่างสม�ำ่ เสมอ และได้ ให้ความส�ำคัญในการน�ำระบบ การควบคุมและการตรวจสอบภายในที่เข้มงวดมาใช้ นอกจากนี้ยังได้กำ� หนดนโยบายการบริหาร ความเสี่ยงต่างๆโดยให้ความส�ำคัญกับการรักษาความสัมพันธ์ที่ดีและมีจริยธรรมทางธุรกิจกับคู่ ค้า ผู้ถือหุ้นและทุกฝ่าย ที่เกี่ยวข้อง 11.1.2. สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทเล็งเห็นความส�ำคัญของสิทธิที่เท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้นทุกคน และถือว่าผู้ถือหุ้นทุกคน เป็นเจ้าของบริษัทไม่ว่าจะมีสัดส่วน การถือครองหุ้นเท่าใดก็ตาม บริษัทมีนโยบายในการรายงานความคืบหน้าของการด�ำเนินงานต่อผู้ถือหุ้นอย่างสม�ำ่ เสมอ ไม่ ว่าโดยการรายงานโดยตรงหรือผ่านตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยหรือโดยการให้ข้อมูล ทาง เว็บไซต์ของบริษัทหลังจากที่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แล้ว บริษัทจะส่งหนังสือเชิญ ประชุมถึงผู้ถือหุ้นทุกคนรวมทั้งวาระการประชุมและเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องล่วงหน้า 14 วัน โดยจะเชิญชวนให้ผู้ถือหุ้นเข้าร่วมการ ประชุมและจะบันทึกความเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ถือ หุ้น ไว้ ในบันทึกการประชุมรวมทั้งให้มีการติดตามผลด้วย นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นยังมีสิทธิต่อไปนี้ในที่ประชุมผู้ถือหุ้น • การแต่งตั้งกรรมการที่ออกตามวาระและการก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ • การแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและการก�ำหนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี • การอนุมัติจ่ายเงินปันผล 78


11.1.3. สิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย โพลีเพล็กซ์ ให้ความส�ำคัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน ได้แก่ : บริษัทเห็นว่าพนักงานของบริษัทเป็นทรัพย์สินที่ทรงคุณค่าขององค์กร มี • พนักงาน ความส�ำคัญยิ่งต่อความส�ำเร็จและการเติบโตขององค์กร บริษัทมีความ มุ่งมั่นที่จะสร้างบรรยากาศการท�ำงานที่มีคุณภาพ โดยเน้นเป็นพิเศษใน เรื่องความปลอดภัย และผลตอบแทนที่เท่าเทียมและเป็นธรรม ทั้งนี้ นอก เหนือจากการให้เงินเดือนตามปกติ เงินโบนัสที่อิงผลการปฏิบัติงาน การ สมทบเงินทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ และเงินประกันสังคม บริษัทยังจัดให้มีผล ประโยชน์อื่นๆ อีกแก่พนักงาน เช่น ค่าท�ำงานล่วงเวลา ค่าที่พัก ค่าเดินทาง ค่าโทรศัพท์ การประกันสุขภาพ การประกันชีวิต เป็นต้น : โพลีเพล็กซ์มีนโยบายในการสร้างและพัฒนาความสัมพันธ์กับคู่ค้า เพื่อผล • คู่ค้า ประโยชน์ร่วมกันตามแนวทางจริยธรรมทางธุรกิจ อีกทั้ง บริษัทให้ความ ส�ำคัญกับความสัมพันธ์ระยะยาวกับพันธมิตรทางธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นธนาคาร ซึ่งสนับสนุนด้านธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ (Trade Finance) และเงินกู้ ส�ำหรับโครงการต่างๆ หรือ เครือข่ายตัวแทนหรือผู้จัดจ�ำหน่ายที่เข้มแข็งใน ภูมิภาคต่างๆทั่วโลก ซึ่งช่วยในการพัฒนาตลาดและท�ำให้การด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัทเป็นไปด้วยความราบรื่น : โพลีเพล็กซ์จะด�ำเนินธุรกิจตามกรอบแห่งการแข่งขันที่เป็นธรรม และจะ • คู่แข่ง พยายามพัฒนาตลาดให้เติบโตเพื่อผลประโยชน์ร่วมกันในอุตสาหกรรม : บริษัทจะปฏิบัติตามเงื่อนไขเงินกู้และให้ข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับความคืบหน้า • เจ้าหนี้ ในการด�ำเนินงานแก่เจ้าหนี้ตามที่ร้องขอ เพื่อให้การด�ำเนินธุรกิจเป็นไปโดย ราบรื่น : โพลีเพล็กซ์มีความมุ่งมั่นที่จะสร้างความพอใจแก่ลูกค้าโดยการรักษาความ • ลูกค้า แน่นอนของคุณภาพผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่องและน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ที่มี คุณลักษณะตรงตามความต้องการของฐานลูกค้าในตลาดโลก : โพลีเพล็กซ์มีความมุ่งมั่นที่จะด�ำเนินธุรกิจอย่างโปร่งใสและมีประสิทธิภาพ • ผู้ถือหุ้น โดยมุ่งที่จะเพิ่มมูลค่าผลตอบแทนแก่ผู้ถือหุ้น และยังมีการประเมินการ ลงทุนในโครงการใหม่ ๆ อย่างรัดกุมเพื่อให้มั่นใจว่าโครงการจะให้ผล ตอบแทนที่ดีและเพิ่มคุณค่าต่อผู้ถือหุ้น • ชุมชน/สังคม : โพลีเพล็กซ์ตระหนักดีและใส่ใจในความปลอดภัยของสังคม สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยได้เน้นการร่วมท�ำกิจกรรมต่างๆ ของ ชุมชนและสังคม รวมทั้งการปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎระเบียบต่างๆที่ เกี่ยวข้อง ในระหว่างปีบัญชี 2556-57 บริษัทได้จัดให้มีการบริจาคโลหิต และยังสนับสนุนให้พนักงานทุกคนเข้าร่วมในการบริจาคโลหิต โครงการ ปลู ก ต้ น กล้ า และอนุ รั ก ษ์ ป ่ า ชายเลนเพื่ อ เป็ น การสนั บ สนุ น การอนุ รั ก ษ์ ธรรมชาติ และบริจาคเงินสมทบทุนและคอมพิวเตอร์แก่มูลนิธิสงเคราะห์ เด็กด้วย 79


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 11.1.4. การประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทจะจัดการประชุมโดยปฏิบัติต่อผู้เข้าร่วมประชุมทุกคนอย่างเท่าเทียมกันและให้ เป็นไปตาม ขั้นตอนตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด นับแต่การออกหนังสือเชิญประชุม การออกใบมอบฉันทะ ส�ำหรับผู้ที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ การแจกเอกสารประกอบ การประชุมไปจนถึงการแจ้ง วาระการประชุมให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ และจะก�ำหนดสถานที่ และวันเวลาการประชุมที่เหมาะสม มี ระยะเวลาในการประชุมที่เพียงพอให้ผู้ถือหุ้นได้ซักถาม เกี่ยวกับการด�ำเนินธุรกิจและได้แสดง ความคิดเห็น 11.1.5. ภาวะผู้น�ำและวิสัยทัศน์ คณะกรรมการบริษัท มีหน้าที่ในการทบทวนแผนงาน วิสัยทัศน์ กลยุทธ์ และนโยบายหลัก โดย มี การจัดสรรงบประมาณให้แก่หน่วยงานต่างๆ และมีการน�ำระบบ Key Result Areas (KRAs) มาใช้กับทุกหน่วยงาน เพื่อให้สอดคล้องกับผลประโยชน์และล�ำดับความส�ำคัญในองค์กร คณะ กรรมการจะมีบทบาทส�ำคัญในการทบทวน ผลการปฏิบัติงานตามจริง เปรียบเทียบกับงบ ประมาณรวมทั้งตัวชี้วัด (KPI) อื่นๆ 11.1.6. ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษัท มีนโยบายในการให้ผู้บริหารทุกระดับมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการด�ำเนินงานทุกด้าน โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานแห่งผลประโยชน์สูงสุดของบริษัท บุคลากรทุกคน มีหน้าที่ต้องหลีกเลี่ยง การท�ำรายการและหรือธุรกรรมอื่นใดที่อาจก่อให้เกิดความสูญเสีย ทางการเงินแก่บริษัทและ ผลประโยชน์ส่วนตัวในรูปของเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้รับมอบหมายให้ติดตามและสอบ ทานระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน ให้มีประสิทธิภาพรวมทั้งให้มีการเปิดเผยข้อมูลที่ เพียงพอ ตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์และกลต. 11.1.7. จริยธรรมธุรกิจ โพลีเพล็กซ์ได้กำ� หนดจรรยาบรรณให้พนักงานทุกคน โดยเน้นการปฏิบัติตามหลักจริยธรรม ความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ และส่งเสริมให้พนักงานมีความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย และหน่วยงานภายนอกทุกฝ่าย เพื่อให้เกิดวัฒนธรรมบรรษัทภิบาลที่ดีและความรับผิดชอบ ต่อ สังคม 11.1.8. การถ่วงดุลของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการ 8 ท่าน โดยมีรายละเอียดดังนี้ สถานะ กรรมการผู้แทนผู้ถือหุ้น กรรมการอิสระ

กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 1 -

กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 3 1

กรรมการตรวจสอบ 3

11.1.9. การรวมหรือแยกอ�ำนาจหน้าที่ ประธานคณะกรรมการบริษัท เป็นกรรมการอิสระและเป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ด้วย กรรมการอิสระมีจำ� นวนคิดเป็นร้อยละ 50 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด ดังนั้นจาก 80


องค์ประกอบของคณะกรรมการดังกล่าวนี้ ท�ำให้มั่นใจได้ว่าจะมีการติดตามการบริหารงาน อย่างเป็นธรรมและมีประสิทธิผล ส่วนกรรมการผู้จัดการท�ำหน้าที่เป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร รับผิดชอบดูแลการปฏิบัติงานและมีอำ� นาจตามที่ก�ำหนด โดยการตัดสินใจส�ำคัญในบางเรื่องจะ ต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ 11.1.10. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการตรวจสอบได้รับการเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือ หุ้นเพื่อพิจารณาและอนุมัติ ส่วนค่าตอบแทนกรรมการผู้จัดการจะก�ำหนด โดยคณะกรรมการ บริษัทในการปฏิบัติหน้าที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (CEO) ค่าตอบแทนฝ่ายจัดการสามารถ มี การทบทวนได้โดยผู้ถือหุ้นซึ่งอาจก�ำหนดนโยบายและ แนวทางที่เหมาะสมเพื่อการนี้ 11.1.11. การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการมีการประชุมตามปกติอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง เพื่อทบทวนผลการปฏิบัติ งาน ผลงานด้านการเงินรายไตรมาสและเรื่องอื่นๆส�ำหรับปี 2556-2557 มีการประชุมคณะ กรรมการ บริษัททั้งหมด 6 ครั้ง กรรมการที่เข้าร่วมประชุมมีดังนี้ รายชื่อกรรมการ นายมนู เลียวไพโรจน์ ดร.วีรพงษ์ รามางกูร นายซีราช อีรัช ปุณวาลา นายซันจีฟ ซาราฟ นายโรฮิท กุมาร์ วาฮิททรา นายประพัฒน์ โพธิวรคุณ นายปราเนย์ โกธารี นายมานิตย์ กุปต้า

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการและกรรมการตรวจสอบ กรรมการและกรรมการตรวจสอบ รองประธานกรรมการ กรรมการผู้จัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม 6/6 6/6 4/6 1/6 6/6 4/6 6/6 6/6*

11.1.12. คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการได้น�ำเสนอและที่ประชุมผู้ถือหุ้นได้อนุมัติแต่งตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบซึ่ง ประกอบด้วย กรรมการอิสระ 3 ท่าน กรรมการตรวจสอบมีคุณสมบัติตามกฎเกณฑ์ที่กำ� หนด โดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผู้ถือหุ้นได้กำ� หนดอ�ำนาจและขอบเขตการด�ำเนินการของ คณะกรรมการตรวจสอบไว้อย่างชัดเจน ได้แก่ การสอบทาน ระบบการควบคุมภายใน รายงาน ทางการเงิน รายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะ กรรมการตรวจสอบ มีวาระอยู่ในต�ำแหน่งคราวละ 2 ปี และเลือกคณะกรรมการใหม่ทุก 2 ปี 11.1.13. ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการบริษัทท�ำหน้าที่ควบคุมการด�ำเนินงานโดยการก�ำหนดงบประมาณและ เป้าหมาย การด�ำเนินงานประจ�ำปี รวมทั้งมีการทบทวนสิ่งที่ได้ดำ� เนินการ แล้วเป็นระยะๆ โดยมีคณะ กรรมการตรวจสอบท�ำหน้าที่ดูแลการควบคุมและ การตรวจสอบภายใน และเสนอแนะแนวทาง ในการปรับปรุงแก้ไข 81


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 11.1.14. รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการมีหน้าที่รับผิดชอบต่องบการเงินของบริษัท ทั้งนี้จะมีการให้ความเห็น เกี่ยวกับ ผลการด�ำเนินงานทางการเงินเพื่อจัดพิมพ์เป็นส่วนหนึ่งของรายงานประจ�ำปี 11.1.15. ความสัมพันธ์กับผู้ลงทุน บริษัท ให้ความส�ำคัญกับการเปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้องและทันเหตุการณ์ต่อผู้ถือหุ้นและ นัก ลงทุนโดยมีการจัดประชุมกับนักวิเคราะห์และนักลงทุนเป็นประจ�ำ รวมทั้งเข้าร่วม โครงการ บริษัทจดทะเบียนพบผู้ลงทุน (SET Opportunity Day) เพื่อเผยแพร่ข้อมูลและผลการด�ำเนิน งานของบริษัทแก่ นักลงทุนและนักวิเคราะห์ นอกจากนี้ บริษัทยังจัดให้มีการเยี่ยมชมโรงงาน ส�ำหรับผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์และนักลงทุนที่สนใจ ในปี 2556-57 การเยี่ยมชมโรงงานจัด ขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 ในด้านนักลงทุนสัมพันธ์นั้น บริษัทได้พัฒนาส่วนของนักลงทุน สัมพันธ์ขึ้นมาในเว็บไซต์ของบริษัทพื่อให้นักลงทุน สอบถามข้อมูลต่างๆมายังนักลงทุนสัมพันธ์ investorrelations@polyplexthailand.com) โดยมีผู้บริหารของบริษัทเป็นผู้ตอบค�ำถาม นอกจากนี้นักลงทุน/นักวิเคราะห์ยัง สามารถลงทะเบียนข้อมูลส่วนตัวส�ำหรับการติดต่อทาง อีเมล์ (E-mail ID) และรับ ข่าวสารจากนักลงทุนสัมพันธ์ (IR alert) ทุกครั้งที่มีข้อมูลข่าวสาร ล่าสุดทางเว็บไซต์ ของบริษัทอีกทั้งติดต่อสอบถามข้อมูลต่าง ๆ จากบริษัทได้ที่โทรศัพท์ หมายเลข +66 2665-2706-8 มาตรการป้องกันการใช้ข้อมูลภายในบริษัทเพื่อประโยชน์ส่วนตัวของผู้บริหาร บริษัทฯ มีนโยบายในการควบคุมการน�ำข้อมูลภายในไปใช้โดยกรรมการและผู้บริหารเพื่อประโยชน์ส่วนตน กรรมการและผู้บริหารที่สามารถเข้าถึงข้อมูลภายในของบริษัทจะไม่ได้รับอนุญาตให้ท�ำการซื้อขาย หลักทรัพย์ของบริษัทในช่วงระยะเวลาหนึ่งตามที่กำ� หนดก่อนที่บริษัทจะประกาศผลการด�ำเนินงาน 12. ความรับผิดชอบต่อสังคม 12.1. การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม โพลีเพล็กซ์มีการก�ำหนดนโยบายของการปฏิบัติส�ำหรับบุคลากรทุกคนที่เน้นการปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติ ทางจริยธรรมความซื่อสัตย์สุจริตและความรับผิดชอบ ความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียและหน่วยงาน ภายนอกได้รับการสนับสนุนในการที่จะส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมองค์กรที่ดีและความรับผิดชอบต่อสังคม 12.2. การต่อต้านการทุจริตและให้สินบน โพลีเพล็กซ์ได้กำ� หนดจรรยาบรรณให้พนักงานทุกคน โดยเน้นการปฏิบัติตามหลักจริยธรรม ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบ และส่งเสริมให้พนักงานมีความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย และหน่วยงานภายนอก ทุกฝ่าย เพื่อให้เกิดวัฒนธรรมบรรษัทภิบาล ที่ดีและความรับผิดชอบต่อสังคม บริษัทอยู่ในกระบวนการ ของการก�ำหนดนโยบายการป้องกันการทุจริตและการติดสินบนเพื่อให้แน่ใจไม่มีบุคคลใดๆมีส่วนร่วมใน การท�ำธุรกิจที่ผิดจรรยาบรรณใด ๆ เพื่อผลประโยชน์ส่วนบุคคล 12.3. การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม บริษัทเห็นว่าพนักงานของบริษัทเป็นทรัพย์สินที่ทรงคุณค่าขององค์กร มีความส�ำคัญยิ่งต่อความส�ำเร็จและ 82


การเติบโตขององค์กร บริษัทมีความมุ่งมั่นที่จะสร้างบรรยากาศการท�ำงานที่มีคุณภาพ โดยเน้นเป็นพิเศษ ในเรื่องความปลอดภัย และผลตอบแทนที่เท่าเทียมและเป็นธรรม ทั้งนี้ นอกเหนือจากการให้เงินเดือนตาม ปกติ เงินโบนัสที่อิงผลการปฏิบัติงาน การสมทบเงินทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ และเงินประกันสังคม บริษัทยังจัด ให้มีผลประโยชน์อื่นๆอีกแก่พนักงาน เช่น ค่าท�ำงานล่วงเวลา ค่าที่พัก ค่าเดินทาง ค่าโทรศัพท์ การประกัน สุขภาพ การประกันชีวิต เป็นต้น 12.4. ความรับผิดชอบต่อลูกค้า โพลีเพล็กซ์มีความมุ่งมั่นที่จะสร้างความพอใจแก่ลูกค้าโดยการรักษาความแน่นอนของคุณภาพผลิตภัณฑ์ อย่างต่อเนื่องและน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ที่มีคุณลักษณะตรงตามความต้องการของฐานลูกค้าในตลาดโลก 12.5. ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม โพลีเพล็กซ์ ตระหนักถึงความส�ำคัญของการดูแลสภาพแวดล้อม ในฐานะที่เป็นความคิดริเริ่มการพัฒนา อย่างยั่งยืนที่ได้มีการลงทุนในโครงการของการรีไซเคิลของเสียจากกระบวนการผลิต โครงการได้เริ่ม ด�ำเนินการเชิงพาณิชย์ ในเดือนธันวาคม 2013 ในประเทศไทยภายใต้บริษัทย่อยของบริษัทอีโคบลู จ�ำกัด แม้ ในการด�ำเนินงานเป็นปกติ บริษัทพยายามที่จะหาทางเลือกที่เป็นไปได้ ในการใช้พลังงานอย่างมี ประสิทธิภาพ 12.6. การพัฒนาสังคมและชุมชน โพลีเพล็กซ์ตระหนักดีและใส่ใจในความปลอดภัยของสังคมสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิต ของประชาชน โดยได้เน้นการร่วมท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชนและสังคมรวมทั้งการปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ในระหว่างปีบัญชี 2556-57 บริษัทได้จัดให้มีการบริจาคโลหิต และยังสนับสนุน ให้พนักงานทุกคนเข้าร่วมในการบริจาคโลหิต โครงการปลูกต้นกล้าและอนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อเป็นการ สนับสนุนการอนุรักษ์ธรรมชาติ และบริจาคเงินสมทบทุนและคอมพิวเตอร์แก่มูลนิธิสงเคราะห์เด็กด้วย 13. การควบคุมภายใน ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทครั้งที่ 2/2557 เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2557 โดยมี กรรมการ ตรวจสอบจ�ำนวน 2 ใน 3 ท่านเข้าร่วมประชุม คณะกรรมการได้ประเมินระบบการควบคุมภายใน โดยการ ซักถามข้อมูลจากฝ่ายบริหารแล้วสรุปได้ว่า จากการประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัท ในด้าน ต่างๆ 5 ด้านคือ องค์กรและสภาพแวดล้อม การบริหารความเสี่ยง การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่าย บริหาร ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล และระบบการติดตาม คณะกรรมการเห็นว่า บริษัทมีระบบ การควบคุมภายในอย่างเพียงพอแล้ว ในเรื่องการท�ำธุรกรรม กับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการผู้บริหารหรือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าวข้างต้น

83


84

เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท โดยถือหุ้นทั้งทางตรงและ ทางอ้อม ในสัดส่วนร้อยละ 51 และมีกรรมการร่วมกัน

เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท โดยถือหุ้นทั้งทางตรงและ ทางอ้อม ในสัดส่วนร้อยละ 51 และมีกรรมการร่วมกัน

โพลีเพล็กซ์ คอร์ปอเรชั่น ลิมิเต็ด (PCL)

โพลีเพล็กซ์ คอร์ปอเรชั่น ลิมิเต็ด (PCL)

บุคคลที่มีความ ขัดแย้งทางผล ประโยชน์ ความสัมพันธ์ โพลีเพล็กซ์ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท คอร์ปอเรชั่น โดยถือหุ้นทั้ง ทางตรงและ ลิมิเต็ด (PCL) ทางอ้อม ในสัดส่วนร้อยละ 51 และมีกรรมการร่วมกัน

การซื้อวัตถุดิบ – เม็ดพลาสติกและโพลีเอสเตอร์ฟิล์ม

ลักษณะของรายการ PCLได้ชำ�ระเงินซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารล่วงหน้า แทนบริษัท ค่าใช้จ่ายดังกล่าว ได้แก่ ค่าใช้จ่ายในการ เดิน ทางของพนักงาน ค่าที่พักอาศัย ของครอบครัว พนักงาน และค่าเล่าเรียนบุตร ของพนักงานตลอดจน ค่าเรียกร้อง สิทธิประโยชน์ประกันภัย การจ่ายค่าเบี้ยประกัน ค่าใช้จ่าย ที่เกี่ยวข้องกับโครงการต่าง ๆ เป็นต้น โดยบริษัทได้มีการ บันทึกทางบัญชีสำ�หรับค่าใช้จ่ายเหล่านี้อย่างเหมาะสมและ หรือ ได้เรียกเก็บจากพนักงาน และ ชำ�ระเงิน ดังกล่าว คืนให้กับ PCL แล้ว บริษัทได้จ่ายเงินแทน PCL สำ�หรับเป็น ค่าเดินทางและ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ของพนักงานและครอบครัวของพนักงาน ของ PCL

14. รายการระหว่างกัน 14.1. สรุปรายการระหว่างกันของบริษัทกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา ดังนี้

รายการระหว่าง PCL กับ บริษัทเป็น ราคาปกติทาง ธุรกิจโดยถือตามราคาที่ บริษัทได้จ่ายจริงล่วงหน้าแทน PCL ซึ่ง บริษัทไม่ได้มีการ คิดค่าใช้จ่ายพิเศษ เพิ่มขึ้นแต่ อย่างใด เป็นไปตามนโยบายราคาโอน (Transfer Pricing) ของ PCL โดยใช้วิธีส่วนต่างกำ�ไรสุทธิ จากธุรกรรม (Transactional Net Margin Method TNMM) ซึ่งได้ทำ�การศึกษา และเสนอแนะโดยบริษัทสำ�นัก งานเอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด

นโยบายราคา รายการระหว่าง PCL กับ บริษัทเป็น ราคาปกติทาง ธุรกิจ โดยถือตามราคา ที่ PCL ได้จ่ายจริงล่วงหน้าแทน บริษัท ซึ่ง PCL ไม่ได้มีการ คิด ค่าใช้จ่ายพิเศษ เพิ่มขึ้น แต่ อย่างใด 0.14

533.8

0.1

806.9

366.9

0.11

มูลค่ารายการ (ล้านบาท) 2554-55 2555-56 2556-57 6.9 24.1 12.7

รายงานประจำ�ปี 2556-2557


85

โพลีเพล็กซ์ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท (เอเชีย) พีทีอี โดยถือหุ้นทางตรง ใน แอลทีดี (PAPL) สัดส่วนร้อยละ 34.5 และมี กรรมการร่วมกัน โพลีเพล็กซ์ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท (เอเชีย) พีทีอี โดยถือหุ้นทางตรง ใน แอลทีดี (PAPL) สัดส่วนร้อยละ 34.5 และมี กรรมการร่วมกัน

บุคคลที่มีความ ขัดแย้งทางผล ประโยชน์ ความสัมพันธ์ โพลีเพล็กซ์ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท คอร์ปอเรชั่น โดยถือหุ้นทั้งทางตรงและ ลิมิเต็ด (PCL) ทางอ้อม ในสัดส่วนร้อยละ 51 และมีกรรมการร่วมกัน

การลงทุนซื้อหุ้นของ โพลีเพล็กซ์ ยูโรปา ซานายี เว ติคาเรท จาก PAPL ร้อยละ 67 ในโพลีเพล็กซ์ เรซิ่นซา นายิ เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ

การจ่ายดอกเบี้ย โดย โพลีเพล็กซ์ เรซิ่นซานายิ เว ติคา เรท อาโนนิม ซิเกติ สำ�หรับเงินกู้ยืมจาก PAPL

ลักษณะของรายการ การขายวัตถุดิบ – เม็ดพลาสติกให้บริษัท PCL

นโยบายราคา เป็นไปตามนโยบายราคาโอน (Transfer Pricing) โดยใช้วิธี ส่วนต่างกำ�ไรสุทธิจากธุรกรรม (Transactional Net Margin Method - TNMM) ซึ่งได้ ทำ�การศึกษาและเสนอแนะ โดยบริษัทสำ�นักงานเอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด เงินกู้ยืมอัตราดอกเบี้ย ร้อย ละ 4.5 ต่อปี ถึง กันยายน 2555 และไม่มีดอกเบี้ย ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2555 ราคาทุนจาก PAPL -

244

3.9

-

5.5

มูลค่ารายการ (ล้านบาท) 2554-55 2555-56 2556-57 36.6 14.8


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 14.2. ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นเป็นรายการที่เกิดขึ้นจากค่าใช้จ่ายในการบริหารซึ่ง PCL ได้ทดรองจ่ายล่วงหน้า แทนบริษัทและบริษัทย่อย ค่าใช้จ่ายดังกล่าวได้แก่ ค่าเดินทาง ค่าที่พักอาศัยส�ำหรับ ครอบครัวพนักงาน ค่าเล่าเรียนบุตรพนักงาน ค่าเรียกร้องสิทธิประโยชน์ประกันภัย ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับโครงการต่างๆ เป็นต้น โดยบริษัทและบริษัทย่อยได้มีการบันทึกทางบัญชีสำ� หรับค่าใช้จ่ายเหล่านี้อย่างเหมาะสมและหรือ ได้เรียกเก็บจากพนักงาน และ ช�ำระเงินดังกล่าวคืนให้กับ PCL แล้ว ซึ่งบริษัทได้ชำ� ระคืนเงินทดรองจ่าย ล่วงหน้า/ค่าใช้จ่ายดังกล่าวให้แก่ PCL โดยที่ PCL ไม่ได้มีการคิดค่าใช้จ่าย เพิ่มขึ้นแต่อย่างใด ทั้งนี้ ยังมีรายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นจากการจ่ายเงินทดรองล่วงหน้าโดยบริษัทและบริษัทย่อยแทน PCL ส�ำหรับเป็น ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ซึ่งในเวลาต่อมา PCL ได้มีการช�ำระคืนแล้ว ในระหว่างปี ยังมีรายการที่เกี่ยวโยงกันที่เกี่ยวกับการซื้อวัตถุดิบ ได้แก่ เม็ดพลาสติกและแผ่นฟิล์ม โพลีเอสเตอร์จาก PCL โดยทั้งหมดเป็นรายการซื้อที่ราคาเสมือนท�ำกับบุคคลภายนอกทั่วไปหรือราคา ตลาด (Arm’s Length Pricing) ตามที่มีการเสนอแนะไว้ ในการศึกษาาเกี่ยวกับ Transfer Pricing ที่ดำ� เนิน การโดยหน่วยงานภายนอกในท�ำเลต่างๆ 14.3. มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการท�ำรายการระหว่างกัน รายการระหว่างกันที่ได้กล่าวในตารางข้างต้นของบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทได้ตรวจสอบ แล้ว มีความเห็นว่าเป็นไปตามลักษณะการค้าปกติ ในอนาคตหากมีรายการตามลักษณะการค้าปกติเกิด ขึ้น บริษัทสามารถด�ำเนินการได้และรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัทเป็นราย ไตรมาส ส�ำหรับรายการระหว่างกันอื่น ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตซึ่งไม่เป็นไปตามลักษณะการค้าปกตินั้น บริษัท จะมอบหมายให้ฝ่ายงานที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับรายการดังกล่าว เพื่อเสนอให้คณะ กรรมการตรวจสอบพิจารณาให้ความเห็นว่ารายการดังกล่าวเป็นไปตามลักษณะธุรกิจทั่วไปและ เป็น ไปตามราคาตลาดหรือไม่ ในการนี้บริษัทจะด�ำเนินการให้มั่นใจว่าได้มีการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ของ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยที่มี การบังคับใช้อยู่ คณะกรรมการตรวจสอบจะพิจารณาและน�ำเสนอ ต่อคณะกรรมการ บริษัทเพื่อพิจารณา อนุมัติ โดยการให้ความเห็นต่อการท�ำรายการระหว่างกันนั้นจะต้องไม่มีกรรมการ ที่มีส่วนได้เสียร่วม พิจารณาอยู่ด้วย 14.4. นโยบายส�ำหรับรายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้นได้ ส�ำหรับรายการระหว่างกันที่จะเกิดขึ้นในอนาคตนั้น บริษัทมีนโนบายจะก�ำหนดเงื่อนไขต่าง ๆ ให้ เหมาะสม ตามเหตุผลและความจ�ำเป็นของบริษัท ซึ่งรายการระหว่างกันที่ผ่านมา เป็นเพียงรายการ จ่ายเงินทดรอง ล่วงหน้าส�ำหรับค่าเดินทาง ค่าที่พักอาศัยส�ำหรับครอบครัวพนักงาน ค่าเล่าเรียนบุตรพนักงานและ ค่าเรียก ร้องสิทธิประโยชน์ประกันภัย ตลอดจนการซื้อวัตถุดิบบางรายการตามที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น เป็นต้น นอกจาก นี้บริษัทแม่คือ PCL จะไม่คิดค่าธรรมเนียมต่างๆจากบริษัท ทั้งนี้รายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต นั้น คณะกรรมการบริษัทจะปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ ข้อบังคับประกาศหรือข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมตลอดถึงการปฏิบัติตาม ข้อ ก�ำหนด เกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลการท�ำรายการเกี่ยวโยง และการได้มาหรือจ�ำหน่ายทรัพย์สินที่สำ� คัญ 86


ของบริษัทหรือบริษัทย่อยตามมาตรฐานการบัญชี ที่ก�ำหนดโดยสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาต แห่งประเทศไทย ทั้งนี้ หากมีรายการระหว่างกันของบริษัทเกิดขึ้นกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์มีส่วน ได้ เสียหรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ในอนาคต บริษัทจะให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็น ผู้ ให้ความ เห็นเกี่ยวกับความจ�ำเป็นและความเหมาะสมของรายการนั้นในกรณีที่คณะกรรมการ ตรวจสอบไม่มีความ ช�ำนาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้น บริษัทจะให้ ผู้เชี่ยวชาญอิสระหรือผู้สอบบัญชี ของ บริษัทเป็นผู้ ให้ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกันดังกล่าว ซึ่งจะน�ำไปใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะ กรรมการหรือผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี ทั้งนี้ บริษัทจะเปิดเผย รายการระหว่างกัน ไว้ ในหมายเหตุประกอบงบ การเงินที่ได้รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของบริษัท 15. ฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงาน งบการเงิน ผู้สอบบัญชี ปี

ชื่อผู้สอบบัญชี

2556/2557 (1 เม.ย.2556 – 31 มี.ค. 2557) 2555/2556 (1 เม.ย.2555 – 31 มี.ค. 2556) 2554/2555 (1 เม.ย.2554 – 31 มี.ค. 2555) 2553/2554 (1 เม.ย.2553 – 31 มี.ค. 2554) 2552/2553 (1 เม.ย.2552 – 31 มี.ค. 2553)

นายเติมพงษ์ โอปนพันธุ์

ผู้สอบบัญชี อนุญาต บริษัทผู้สอบบัญชี เลขที่ บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด 4501

นายเติมพงษ์ โอปนพันธุ์

4501

นายณรงค์ พันตาวงษ์

3315

นายณรงค์ พันตาวงษ์

3315

นายณรงค์ พันตาวงษ์

3315

บริษัท สำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด บริษัท สำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด บริษัท สำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด บริษัท สำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด

สรุปรายงานการสอบบัญชี ในรอบหลายปีที่ผ่านมารวมถึงปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557 ผู้สอบบัญชีได้ ให้ความเห็นอย่างไม่มี เงื่อนไขว่า งบการเงินได้จัดท�ำขึ้นโดยถูกต้องตามที่ควรและได้ทำ� ขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ในที่นี้ได้แสดงงบการเงิน ทั้งงบรวมและงบเฉพาะบริษัทในช่วงเวลา 3 ปีที่ผ่านมาสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557 เพื่อการเปรียบเทียบและ เพื่อแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของรายได้และการท�ำก�ำไรในช่วงเวลา ดังกล่าว

87


88

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงคลัง สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เงินฝากธนาคารที่มีภาระค�้ำประกัน เงินลงทุนในบริษัทย่อย ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อสินทรัพย์ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์ 0.47 0.00 12.86 0.00 9.01 1.30 23.64

0 0.00 1,313,492 20.96 3,118,711 49.77 0 0.00 0 0.00 344,485 5.50 8,604 0.14 4,785,292 76.36 6,266,650 100.00

29,641 0 805,876 0 564,604 81,238 1,481,359

2554/2555 เมษายน-มีนาคม จำ�นวน %

0.93 0.95 9.31 0.00 8.23 1.47 20.90

0 0.00 1,355,547 16.60 4,997,595 61.19 0 0.00 55,621 0.68 37,504 0.46 14,647 0.18 6,460,913 79.10 8,167,608 100.00

75,923 78,000 760,558 0 672,036 120,178 1,706,695

งบเฉพาะบริษัท 2555/2556 เมษายน-มีนาคม จำ�นวน %

0 1,368,768 5,206,740 0 141,339 25,363 14,262 6,756,472 8,393,955

22,314 0 867,841 0 670,103 77,225 1,637,483 0.00 16.31 62.03 0.00 1.68 0.30 0.17 80.49 100.00

0.27 0.00 10.34 0.00 7.98 0.92 19.51

2556/2557 เมษายน-มีนาคม จำ�นวน %

บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) งบดุล

0.00 0.00 53.27 0.05 3.75 0.07 57.14 100.00

447,472 8,650 6,822,053 11,938,970

14.09 0.00 11.70 0.00 13.60 3.47 42.86

0 0 6,360,049 5,882

1,681,810 0 1,396,692 0 1,623,792 414,624 5,116,918

2554/2555 เมษายน-มีนาคม จำ�นวน %

11,864 0 11,447,677 10,175 55,621 90,620 14,647 11,630,604 16,512,186

1,468,337 94,001 1,384,382 0 1,741,438 193,424 4,881,582

0.07 0.00 69.33 0.06 0.34 0.55 0.09 70.44 100.00

8.89 0.57 8.38 0.00 10.55 1.17 29.56

งบรวม 2555/2556 เมษายน-มีนาคม จำ�นวน %

20,078 0 14,096,251 17,459 355,718 72,802 15,088 14,577,396 19,581,075

979,405 6,000 1,680,521 0 2,167,112 170,641 5,003,679

0.10 0.00 71.99 0.09 1.82 0.37 0.08 74.45 100.00

5.00 0.03 8.58 0.00 11.07 0.87 25.55

2556/2557 เมษายน-มีนาคม จำ�นวน %

หน่วย: พันบาท

รายงานประจำ�ปี 2556-2557


89

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้การค้า ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี ส่วนของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนี่งปี เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ภาษีเงินได้ค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน-สุทธิ จากส่วนที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน-สุทธิ จากส่วนที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี สำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนจดทะเบียนและเรียกชำ�ระแล้ว หุ้นสามัญ ส่วนเกินมูลค่าหุ้น องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น สำ�รองตามกฎหมาย กำ�ไร (ขาดทุน) สะสม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนได้เสียของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 1.28 0.00 1.26 16.49 0.00 18.45 0.00 0.00 0.10 35.04

80,000 0 79,215 1,033,538 0 1,156,340 0 0 6,052 2,195,930

800,000 12.77 1,370,460 21.87 0 0.00 96,000 1.53 1,804,261 28.79 4,070,721 64.96 0 0.00 6,266,650 100.00

9.61 4.34

602,327 271,996

2554/2555 เมษายน-มีนาคม จำ�นวน %

0.00 31.37 0.00 0.00 0.09 50.19

8.14 4.55 0.00 4.71 0.00 1.32 18.72

800,000 9.79 1,370,460 16.78 0 0.00 96,000 1.18 1,802,237 22.07 4,068,697 49.82 0 0.00 8,167,608 100.00

0 2,562,418 0 0 7,441 4,098,911

385,000 0 107,546 1,529,051

665,078 371,427

งบเฉพาะบริษัท 2555/2556 เมษายน-มีนาคม จำ�นวน %

800,000 1,370,460 0 96,000 1,012,509 3,278,969 0 8,393,955

0 2,791,778 0 8,657 0 5,114,986

984,924 0 121,792 2,314,551

629,652 578,184

9.53 16.33 0.00 1.14 12.06 39.06 0.00 100.00

0.00 33.26 0.00 0.10 0.00 60.94

11.73 0.00 1.45 27.57

7.50 6.89

2556/2557 เมษายน-มีนาคม จำ�นวน %

บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) งบดุล

800,000 1,370,460 -348,087 96,000 6,401,772 8,320,145 140,457 11,938,970

0 1,250,517 0 0 9,768 3,478,368

326,745 20,891 168,621 2,218,083

1,338,066 363,760

6.70 11.48 -2.92 0.80 53.62 69.69 1.18 100.00

0.00 10.47 0.00 0.00 0.08 29.13

2.74 0.17 1.41 18.58

11.21 3.05

2554/2555 เมษายน-มีนาคม จำ�นวน %

800,000 1,370,460 -816,562 96,000 6,694,146 8,144,044 100,836 16,512,186

430,732 4,871,709 0 0 16,511 8,267,306

1,044,440 71 270,272 2,948,354

1,178,378 455,194

4.84 8.30 -4.95 0.58 40.54 49.32 0.61 100.00

2.61 29.50 0.00 0.00 0.10 50.07

7.14 2.76 0.00 6.33 0.00 1.64 17.86

งบรวม 2555/2556 เมษายน-มีนาคม จำ�นวน %

800,000 1,370,460 158,538 96,000 6,102,428 8,527,426 110,550 19,581,075

243,754 6,339,391 5,533 20,318 0 10,943,098

1,322,901 1,006,117 1,570 1,650,009 485 353,018 4,334,102

4.09 7.00 0.81 0.49 31.16 43.55 0.56 100.00

1.24 32.38 0.03 0.10 0.00 55.89

6.76 5.14 0.01 8.43 0.00 1.80 22.13

2556/2557 เมษายน-มีนาคม จำ�นวน %

หน่วย: พันบาท


90

รายได้ ขายสุทธิ รายได้อื่น กำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยน รวมรายได้ ต้นทุนและค่าใช้จ่าย ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน รวมค่าใช้จ่าย กำ�ไร (ขาดทุน) ก่อนหักดอกเบี้ยจ่าย ดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้ กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิหลังภาษีเงินได้ ขาดทุนสุทธิจากส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ กำ�ไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น (บาท) 93.92 6.08 100.00 78.90 5.42 1.45 4.57 90.34 9.66 (0.70) 8.96 8.96 -

4,560,647 295,316 4,855,962 3,831,385 263,126 70,480 221,776 4,386,767 469,195 (34,054) 435,142 435,142 0.54

2554/2555 เมษายน-มีนาคม จำ�นวน %

3,941,030 297,879 74,925 4,313,834 124,329 (45,973) 36,516 114,872 114,872 0.14

4,205,440 58,886 173,836 4,438,162 88.80 6.71 1.69 97.20 2.80 (1.04) 1.77 1.77 -

94.76 1.33 3.92 100.00

งบเฉพาะบริษัท 2555/2556 เมษายน-มีนาคม จำ�นวน %

4,543,189 293,454 82,177 336,791 5,255,611 (678,084) (85,363) 85,718 (677,728) (677,728) (0.85)

4,517,513 60,015 4,577,528 99.25 6.41 1.80 7.36 114.81 (14.81) (1.86) (16.68) (16.68) -

98.69 1.31 100.00

2556/2557 เมษายน-มีนาคม จำ�นวน %

บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) งบกำ�ไรขาดทุน

7,831,563 580,889 277,143 125,979 8,815,573 1,448,234 (56,210) (34,187) 1,357,838 (230) 1,357,608 1.70

10,143,111 120,697 10,263,808 76.30 5.66 2.70 1.23 85.89 14.11 (0.55) (0.33) 13.23 (0.00) 13.23 -

98.82 1.18 100.00

2554/2555 เมษายน-มีนาคม จำ�นวน %

7,874,168 630,476 528,626 9,033,270 461,916 (86,806) 16,329 391,438 11,056 402,494 0.50

9,230,018 87,768 177,399 9,495,185

82.93 6.64 5.57 95.14 4.86 (0.91) 0.17 4.12 0.12 4.24 -

97.21 0.92 1.87 100.00

งบรวม 2555/2556 เมษายน-มีนาคม จำ�นวน %

9,773,860 737,453 490,313 383,089 11,384,715 (592,178) (190,048) 293,337 (488,889) 9,171 (479,718) (0.60)

10,702,538 89,999 10,792,537

90.56 6.83 4.54 3.55 105.49 (5.49) (1.76) 2.72 (4.53) 0.08 (4.44) -

99.17 0.83 100.00

2556/2557 เมษายน-มีนาคม จำ�นวน %

หน่วย: พันบาท

รายงานประจำ�ปี 2556-2557


91

กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดำ�เนินงาน กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ รายการปรับกระทบยอดกำ�ไรสุทธิเป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมการดำ�เนินงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย ภาษีเงินได้จ่าย หนี้สงสัยจะสูญ (หนี้สงสัยจะสูญได้รับเงิน) เพิ่มขึ้น (ลดลง) สำ�รองเผื่อการด้อยค่าของสินค้าคงคลัง (การกลับรายการ) รายได้เงินปันผล Increase in allowance for obsolescence ดอกเบี้ยจ่าย Unrealized losses (gains) on marketable securities ขาดทุน (กำ�ไร) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่ได้เกินขึ้นจริง ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนจากการไถ่ถอนเงินลงทุนในบริษัทย่อย ขาดทุนสุทธิจากส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย Decrease (Increase) in operating assets ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น Investment in Marketable securities สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินดำ�เนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น จ่ายผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ภาษีเงินได้จ่าย เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมการดำ�เนินงาน 78,356 234,512 0 13,192 (9,484) 44,981 (142,670) 0 1,673 (539) 13,811 233,834 0 30,498 0 (120,625) (27,331) 0 (6,043) 0 46,860 24,879 (283) 0 181,788

435,142 196,282 (25) 2,720 (217,596) 33,003 20,508 253,268 1,682 (3,538) 0 721,445 0 371,036 0 (96,548) 51,514 0 1,222 0 (78,613) (27,381) 0 0 942,676

2554/2555 เมษายน-มีนาคม

งบเฉพาะบริษัท 2555/2556 เมษายน-มีนาคม

บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด

305,093 168 3,428 0 85,363 381,869 0 1,817 (276) (545) 13,471 0 (105,212) 0 (1,495) 45,070 0 385 0 21,471 10,478 (601) 0 (16,434)

(763,447)

2556/2557 เมษายน-มีนาคม

369,432 279 2,720 0 45,147 19,969 253,268 7,270 (3,538) (2) 2,086,570 0 496,000 0 105,741 22,992 0 1,221 0 (56,597) 5,730 (4,988) (42,530) 2,614,138

1,392,024

2554/2555 เมษายน-มีนาคม

411,977 3,720 13,192 0 55,832 (150,338) 0 12,905 (539) 26,070 747,928 0 444 0 (130,693) 219,309 0 (5,996) 0 68,428 108,648 (5,524) (30,601) 971,944

375,109

งบรวม 2555/2556 เมษายน-มีนาคม

616,358 5,250 20,790 0 149,164 349,629 0 6,411 (276) 1,163 366,262 0 (300,531) 0 (447,311) 27,723 0 (442) 0 116,617 77,586 (4,351) (5,184) (169,631)

(782,226)

2556/2557 เมษายน-มีนาคม

หน่วย: พันบาท


92

ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นงวด (1 เมษายน) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายงวด (31 มีนาคม)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำ�ประกันลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินลงทุนชั่วคราวลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินลงทุนในบริษัทย่อยเพิ่มขึ้น เงินปันผลจากบริษัทย่อย จ่ายเงินล่วงหน้าเพื่อซื้อสินทรัพย์เพิ่มขึ้น เจ้าหนี้ซื้อสินทรัพย์ถาวรเพิ่มขึ้น (ลดลง) ซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เงินจากการจำ�หน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนเพิ่มขึ้น เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ดอกเบี้ยจ่าย เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น เงินกู้ยืมระยะยาวเพิ่มขึ้น (ลดลง) จ่ายชำ�ระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินปันผลจ่ายแก่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย เงินรับจากการเพิ่มทุน เงินปันผลจ่าย เงินปันผลจ่ายผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทย่อย เงินรับจากผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทย่อย เงินสดที่ได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงิน 0 46,282 29,641 75,923

(58,875) 305,000 0 1,938,640 (290,175) 0 0 (136,000) 0 0 1,758,590

(40,538) 80,000 0 41,049 0 0 0 (1,360,000) 0 0 (1,279,489) 0 (12,401) 42,042 29,641

0 (77,461) (42,055) 9,484 306,981 18,539 (2,110,207) 623 0 (1,894,096)

0 168,485 369,655 217,596 (93,486) (145,631) (192,207) 0 0 324,412

2554/2555 เมษายน-มีนาคม

งบเฉพาะบริษัท 2555/2556 เมษายน-มีนาคม

บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด

0 (53,610) 75,923 22,314

(108,752) 599,924 0 410,350 (359,869) 0 0 (112,000) 0 0 429,652

0 78,276 (13,221) 0 12,141 (57,502) (498,284) 11,761 0 (466,828)

2556/2557 เมษายน-มีนาคม

(162,626) 450,801 1,231,009 1,681,810

(54,135) 132,261 0 0 (275,697) 0 349,546 (1,360,000) (2,187) 0 (1,210,213)

0 168,485 0 0 32,556 (145,631) (914,563) 70,089 (1,433) (790,497)

2554/2555 เมษายน-มีนาคม

0 971,944 0 971,944

0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

งบรวม 2555/2556 เมษายน-มีนาคม

335,554 (488,932) 1,468,337 979,405

(239,691) 605,569 (252,944) 1,710,444 (452,395) 0 0 (112,000) 0 1,266 1,260,250

(8,214) 88,277 0 0 17,818 60,432 (2,064,861) 898 (9,456) (1,915,105)

2556/2557 เมษายน-มีนาคม

หน่วย: พันบาท

รายงานประจำ�ปี 2556-2557


93

อัตราส่วนแสดงสภาพคล่อง (Liquidity Ratios) อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย อัตราส่วนหุมนเวียนสินค้าคงคลัง ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ ระยะเวลาการชำ�ระหนี้ Cash cycle อัตราส่วนแสดงความสามารถในการทำ�กำ�ไร (Profitability Ratios) อัตรากำ�ไรขั้นต้น อัตรากำ�ไรจาการดำ�เนินงาน อัตรากำ�ไรอื่น อัตราส่วนเงินสดต่อกำ�ไร อัตรากำ�ไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการ ดำ�เนินงาน (Efficiency Ratios) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน (Financial Policy Ratios) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนความสามารถชำ�ระดอกเบี้ย อัตราส่วนความสามารถชำ�ระภาระผูกพัน (cash basis) อัตราการจ่ายเงินปันผล 1.43 0.81 0.85 4.59 78.43 97.18 3.70 6.27 57.40 24.73

15.99% 8.68% 6.08% 123.80% 8.96% 9.59%

6.41% 20.26% 0.72

0.54 19.54 2.10 31%

(เท่า) (เท่า) (เท่า) (เท่า) (วัน) (เท่า) (วัน) (เท่า) (วัน) (วัน)

(%) (%) (%) (%) (%) (%)

(%) (%) (เท่า)

(เท่า) (เท่า) (เท่า) (%)

1.02 7.81 0.08 31%

1.09% 7.71% 0.62

6.29% -2.58% 1.33% 91.23% 1.77% 1.94%

1.12 0.60 0.14 5.37 67.05 78.84 4.57 6.22 57.89 13.73

บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) อัตราส่วนทางการเงิน งบเฉพาะบริษัท 2554/2555 2555/2556 เมษายน-มีนาคม เมษายน-มีนาคม

1.56 -4.37 -0.02 31%

-8.21% -7.30% 0.55

-0.57% -8.88% 1.31% 6.34% -14.81% -18.59%

0.71 0.38 -0.01 5.55 64.88 136.24 2.64 7.02 51.30 16.23

2556/2557 เมษายน-มีนาคม

0.42 32.33 2.01 31%

11.37% 27.99% 0.86

22.79% 14.33% 1.18% 141.20% 13.23% 16.14%

2.31 1.39 1.22 6.16 58.44 14.37 25.05 7.18 50.16 33.32

2554/2555 เมษายน-มีนาคม

1.02 10.19 0.16 31%

2.63% 8.83% 0.67

14.69% 2.13% 0.92% 98.12% 3.94% 4.49%

1.66 1.00 0.38 6.64 54.24 14.84 24.27 6.93 51.95 26.56

งบรวม 2555/2556 เมษายน-มีนาคม

1.28 0.08 -0.07 31%

-2.76% 0.93% 0.60

8.68% -2.79% 0.83% -60.32% -4.61% -5.92%

1.15 0.62 -0.05 6.98 51.55 36.41 9.89 7.82 46.06 15.37

2556/2557 เมษายน-มีนาคม


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 16. การวิเคราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ 16.1 ผลการด�ำเนินงาน PTL เป็นบริษัทย่อยของ PCL จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2545 เพื่อประกอบกิจการผลิตและ จ�ำหน่าย แผ่นฟิล์ม PET (Polyethylene Terephthalate Film หรือ Polyester Film) เพื่อส่งออกไปจ�ำหน่าย ให้แก่ลูกค้าใน ต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ โดยเน้น ลูกค้าที่ประกอบธุรกิจใน 3 อุตสาหกรรมหลัก คือ บรรจุ ภัณฑ์ อุตสาหกรรม และ อุปกรณ์ไฟฟ้า บริษัทเริ่มด�ำเนินการผลิต สายการผลิตที่ 1 ในเดือนเมษายน 2546 และสายการผลิตที่ 2 ในเดือนพฤศจิกายน 2546 จากนั้นเป็นต้นมา บริษัทได้ขยายกิจการมาโดย ตลอด ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ ในประเทศไทยบริษัทได้ลงทุนในสายเคลือบอัดขึ้นรูป สายแผ่น ฟิล์ม CPP สายเคลือบซิลิโคน สายแผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนา สายแผ่นฟิล์ม Blown PP และสายเคลือบ อลูมิเนียมสองสามสาย นอกจากนั้น บริษัทยังได้ก่อตั้งบริษัทเพื่อท�ำการผลิตในประเทศตุรกี (ปี 2548) และในสหรัฐอเมริกา (ปี 2555) บริษัทเพื่อค้าในยุโรปและประเทศจีน ส�ำนักงานตัวแทนขายในประเทศ มาเลเซีย และขณะนี้ก�ำลังด�ำเนินการเพื่อเปิดส�ำนักงานตัวแทนขายอีกแห่งหนึ่งในประเทศเกาหลี ผลิตภัณฑ์ของบริษัทที่ดำ� เนินการอยู่ในประเทศไทยทั้งหมดได้รับการรับรองมาตรฐานดังต่อไปนี้ • มาตรฐาน ISO 14001:2004 ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environment Management System) • มาตรฐาน ISO 9001:2008 ด้านระบบบริหารจัดการคุณภาพ (Quality Management system) • มาตรฐาน OHSAS 18001:2007 ด้านระบบการจัดการความปลอดภัยและสุขภาพในการประกอบ วิชาชีพ (Occupational Health and Safety Management System) • มาตรฐาน ISO 22000:2005 ในเรื่องของความปลอดภัยด้านอาหารส�ำหรับผลิตภัณฑ์ • รางวัล TPM Excellence Award (ประเภท A) ผลิตภัณฑ์ของบริษัทในประเทศตุรกีทั้งหมดได้รับการรับรองมาตรฐานดังต่อไปนี้ • มาตรฐาน ISO 14001:2004 ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environment Management System) • มาตรฐาน ISO 9001:2008 ด้านระบบบริหารจัดการคุณภาพ (Quality Management system) • มาตรฐาน OHSAS 18001:2007 ด้านระบบการจัดการความปลอดภัยและสุขภาพในการประกอบ วิชาชีพ (Occupational Health and Safety Management System) • มาตรฐาน BRC/loP ด้านการรับรองเกี่ยวกับมาตรฐานระดับโลกส�ำหรับบรรจุภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ (สายการผลิตฟิล์มและสายการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียม) กลุ่มโพลีเพล็กซ์มีเป้าหมายในการเป็นผู้น�ำในด้านอุตสาหกรรมแผ่นฟิล์มพลาสติกชนิดบางในระดับโลก โดยมุ่งเพิ่มส่วนแบ่งตลาดด้วยการขยายก�ำลังการผลิตและเพิ่มความหลากหลายของพอร์ตผลิตภัณฑ์อย่าง ต่อเนื่อง จากการจัดตั้งสายการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางใหม่ในสหรัฐอเมริกา ท�ำให้กำ� ลังการผลิตโดย รวมของบริษัทเพิ่มขึ้นอีก 31,000 ตันต่อปี กลุ่มโพลีเพล็กซ์ได้รุกสู่การผลิตผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องต่าง ๆ เช่น แผ่น ฟิล์ม BOPP (ในอินเดีย) และแผ่นฟิล์ม CPP (ในประเทศไทย) ซึ่งเป็นวัสดุบรรจุภัณฑ์อื่นที่ผู้แปรรูป ใช้กัน นอกเหนือไปจากแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบาง โพลีเพล็กซ์มุ่งมั่นที่จะเป็นผู้ผลิตวัสดุบรรจุภัณฑ์ที่เป็น ที่ต้องการใช้ ในอุตสาหกรรมโดยไม่ใช่เป็นเพียงผู้ผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบาง นอกจากนี้ เพื่อเพิ่มความ 94


หลากหลายของผลิตภัณฑ์ กลุ่มโพลีเพล็กซ์ยังได้ขยายธุรกิจ สู่ผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆที่สร้างมูลค่าเพิ่มมากขึ้น อย่าง ต่อเนื่องเช่น แผ่นฟิล์มเคลือบซิลิโคน (ในอินเดีย ปี 2550 ในประเทศไทย ปี 2555) แผ่นฟิล์มเคลือบ อัดขึ้นรูป (ประเทศไทย สายแรกในปี 2551 และสายที่สองในปี 2556) และแผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียม โครงการสายเคลือบอลูมิเนียมใหม่สายหนึ่งในประเทศไทยและอีกสายหนึ่งในประเทศตุรกีก�ำลังด�ำเนิน การอยู่ในขณะนี้ คาดว่าจะเริ่มการผลิตได้ ในครึ่งหลังของปี 2557-58 การลงทุนใหม่ในสายการผลิต แผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนาและสายแผ่นฟิล์ม Blown PP ซึ่งเริ่มการผลิตในไตรมาส 3 ปี 2556-57 จะท�ำให้ บริษัทสามารถสร้างความหลากหลายของผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่องและท�ำให้บริษัทเป็นผู้ผลิตและจ�ำหน่าย ฟิล์มพลาสติกชั้นน�ำ ส่วนโครงการรีไซเคิลในประเทศไทยได้มีการจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาของ เสียจากพลาสติกจากกระบวนการผลิตและหลังการใช้ของผู้บริโภค นอกจากนั้น บริษัทยังก�ำลังท�ำการ ลงทุนในโรงงานเม็ดพลาสติก PET ส�ำหรับผลิตขวดในประเทศตุรกีซึ่งจะเป็นโครงการแรกของบริษัทใน อุตสาหกรรมดังกล่าว คาดว่าจะเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ ในครึ่งหลังของปี 2557-58 กลุ่มโพลีเพล็กซ์ได้กำ� หนดกลยุทธ์ต่อไปนี้ 1) การเน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการด้านเทคนิคเพื่อให้เข้าถึงตลาดที่มีศักยภาพในการเติบโตและ มีอัตราการท�ำก�ำไรสูงได้มากขึ้น 2) การใช้ต้นทุนการผลิตให้ได้ประโยชน์สูงสุด 3) การเสริมสร้างความสามารถในการจัดส่งสินค้าโดยมุ่งเน้นฐานการผลิตที่สามารถเข้าถึงลูกค้าได้ง่าย 4) การผลิตสินค้าหลากหลายประเภทเพิ่มมากขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงจากผลกระทบของวงจรอุตสาหกรรม แผ่นฟิล์ม PET อันเป็นการเพิ่มความมีเสถียรภาพของก�ำไร 5) มุ่งมั่นต่อเนื่องในการเพิ่มสัดส่วนของผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่มในประเภทผลิตภัณฑ์ ทั้งหมดของบริษัท 6) การสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้าด้วยการน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 7) มีการผสมผสานกลยุทธ์ตลาดในประเทศ ตลาดต่างประเทศโพ้นทะเล และตลาดภูมิภาคใกล้เคียงอย่าง รอบคอบและสมเหตุผล ภาวะสินค้าล้นตลาดในอุตสาหกรรมแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางซึ่งเริ่มในปี 2555 ได้ทวีความรุนแรงขึ้นใน ปี 2556 สร้างความกดดันต่อราคาขายท�ำให้การเพิ่มขึ้นของมูลค่าหดตัวลงอย่างต่อเนื่อง การเริ่มโครง การใหม่ๆในประเทศไทยและสหรัฐอเมริกาเป็นจังหวะเวลาที่ประจวบกับวงจรธุรกิจหลักของบริษัทอยู่ใน ช่วงขาลง ท�ำให้การด�ำเนินโครงการใหม่ๆเหล่านี้ต้องชะลงลงจากที่คาดไว้ อันเป็นผลให้บริษัทรายงานผล ประกอบการขาดทุนเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ค่าเงินบาทที่อ่อนตัวลงต่อเงินเหรียญสหรัฐและเงินยูโรในระหว่าง ปีท�ำให้ตัวเลขขาดทุนสูงขึ้น เมื่อแปลงค่าเงินกู้(สกุลเงินเหรียญสหรัฐ/เงินยูโร)ในประเทศไทยเป็นเงินบาท ตามอัตราแลกเปลี่ยนที่เปลี่ยนไป

95


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 ผลการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญในรอบปีมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ รายได้รวม งบการเงินรวม รายได้จากการขาย รายได้จากการขายตามงบการเงินรวมเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 10,702 ล้านบาท (ซึ่งเพิ่มขึ้น 1,472 ล้านบาท หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 16 จากปีที่ผ่านมา) การเติบโตของรายได้มีผลมาจากปริมาณขายที่เพิ่มขึ้น (โครงการใหม่ๆ เริ่มการผลิต) ซึ่งส่วนหนึ่งหักกลบกับการตกต�ำ่ ลงของราคาขายเฉลี่ยของแผ่นฟิล์มเนื่องจากภาวะสินค้าล้น ตลาดดังที่อธิบายข้างต้น อีกทั้งการรับรู้ยอดขายโดยเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์อื่นบางประเภท เช่น แผ่นฟิล์ม เคลือบอัดชั้นด้วยความร้อน เป็นต้น ก็ลดลงด้วยเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ตารางต่อไปนี้แสดงรายได้จากการขายามงบการเงินรวมทั้งจากการส่งออกและการจ�ำหน่ายในประเทศ ตลาด ส่งออก จำ�หน่ายในประเทศ รวม

2554-55 ล้านบาท 8,495.31 1,647.80 10,143.11

% 83.75 16.25 100.00

2555-56 ล้านบาท 7,438.18 1,791.84 9,230.02

% 80.59 19.41 100.00

2556-57 ล้านบาท 7,406.35 3,296.19 10,702.53

% 69.20 30.80 100.00

หมายเหตุ: การจ�ำหน่ายผ่านบริษัทตัวแทนจ�ำหน่ายที่ตั้งอยู่ในเนเธอร์แลนด์/จีน ถือเป็นการส่งออก การเพิ่มขึ้นของมูลค่า (Value Addition – VA) (VA = ราคาขาย – ต้นทุนวัตถุดิบ) ในระหว่างปีของ PTL และ PE แสดงไว้ด้านล่างนี้ ในระหว่างปีปัจจุบัน การเพิ่มขึ้นของมูลค่าตกต�่ำลงอันมีสาเหตุจากภาวะสินค้า ล้นตลาดตามที่อธิบายข้างต้น แนวโน้ ม VA -แผ่นฟิ ล์ มเรียบและแผ่นเคลือบอลูมเิ นียม (PTL -ประเทศไทย) àÏ ÇÙƯ Î Ï ÇÕ ³ £ .£ .

2.50 2.25 2.00 1.75 1.50 1.25 1.00 0.75 0.50

96

ปี บัญชี 2551-52

ปี บัญชี 2552-53

ปี บัญชี 2553-54

ปี บัญชี 2554-55

ปี บัญชี 2555-56

ปี บัญชี 2556-57

แผ่นเรี ยบ $ /Kg

0.97

0.71

1.78

0.99

0.69

0.65

แผ่นเคลือบ $ /Kg

1.64

1.30

2.30

1.50

1.26

1.23


แนวโน้ ม VA -แผ่นฟิ ล์ มเรียบและแผ่นเคลือบอลูมเิ นียม (PTL -ตุรกี) 2.15 1.90 1.65

Euro/ Kg

1.40 1.15 0.90 0.65 0.40

ปี บัญชี 2551-52

ปี บัญชี 2552-53

ปี บัญชี 2553-54

ปี บัญชี 2554-55

ปี บัญชี 2555-56

ปี บัญชี 2556-57

แผ่นเรี ยบ Euro /Kg

0.80

0.58

1.52

0.82

0.67

0.62

แผ่นเคลือบ Euro /Kg

1.28

1.09

1.98

1.31

1.12

1.12

รายได้อื่น รายได้อื่นเพิ่มขึ้นจาก 87.77 ล้านบาทมาที่ 90 ล้านบาท เท่ากับเพิ่มขึ้นเล็กน้อย 2.23 ล้านบาท ปัจจัยต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้นส่งผลสุทธิทำ� ให้รายได้รวมของบริษัทและบริษัทย่อยลดลงเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา 1,297 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.66 เป็น 10,792 ล้านบาท งบการเงินเฉพาะบริษัท รายได้จากการขาย รายได้จากยอดขายรวมของบริษัทมาจากการส่งออกเป็นหลัก โดยมีสัดส่วนการส่งออกคิดเป็น ร้อยละ 75-80 ของรายได้ยอดขายรวม ตารางต่อไปนี้แสดงรายได้จากการขายทั้งจากการส่งออกและการจ�ำหน่ายในประเทศของบริษัท ตลาด ส่งออก จำ�หน่ายในประเทศ รวม

2554-55 ล้านบาท 3,640.71 919.94 4,560.65

% 79.83 20.17 100.00

2555-56 ล้านบาท 3,165.86 1,039.58 4,205.44

% 75.28 24.72 100.00

2556-57 ล้านบาท 3,521.19 996.33 4,517.51

% 77.95 22.05 100.00

ในช่วงปี 2555-56 บริษัทมีรายได้จากการขายรวม 4,517.51 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 312.07 ล้านบาทหรือ ร้อยละ 7.4 จากปีที่ผ่านมา สาเหตุหลักมาจากปริมาณการขายที่เพิ่มขึ้นจากการเริ่มผลิตของสายแผ่นฟิล์ม เคลือบอัดชั้นด้วยความร้อนสายที่ 2 สายแผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนา และสายแผ่นฟิล์ม Blown PP ซึ่งส่วน หนึ่งหักกลบกับการรับรู้ยอดขายเฉลี่ยลดลงอันเป็นผลจากภาวะสินค้าล้นตลาดดังได้อธิบายข้างต้น รายได้อื่น รายได้อื่นเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเป็น 60 ล้านบาทจาก 58.9 ล้านบาทในปีที่ผ่านมา เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของราย ได้จากยอดขายเบ็ดเตล็ด (เศษพลาสติก)และสิทธิประโยชน์การส่งออก(ยอดส่งออกสูงขึ้น) ซึ่งส่วนหนึ่งหัก กลบกับการที่ไม่ได้รับเงินปันผลจากบริษัทย่อยในปีนี้ เมื่อเทียบกับรายได้เงินปันผลจ�ำนวน 9.5 ล้านบาท 97


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 ในปีที่ผ่านมาจากบริษัทย่อยในสหรัฐอเมริกา ปัจจัยต่างๆดังกล่าวข้างต้นส่งผลสุทธิท�ำให้รายได้รวมของบริษัทเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา 139.37 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.14 เป็น 4,577.52 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายรวม งบการเงินรวม ค่าใช้จ่ายหลักของบริษัทประกอบด้วย ต้นทุนด้านวัตถุดิบ ค่าบรรจุหีบห่อ ค่าไฟฟ้าและเชื้อเพลิง ค่าเสื่อม ราคา เงินเดือนพนักงาน และค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ต้นทุนขายเท่ากับ 9,774 ล้านบาท เปรียบเทียบกับ 7,874 ล้านบาทในปีที่ผ่านมา และคิดเป็นร้อยละ 85.85 ของค่าใช้จ่ายรวม ซึ่งต�่ำกว่าร้อยละ 87.17 ในปีที่ผ่านมา ต้นทุนขายประกอบด้วยรายการหลัก เช่น ค่า วัตถุดิบ ค่าบรรจุหีบห่อ ค่าสาธารณูปโภค ค่าเสื่อมราคาอาคารและเครื่องจักร ค่าใช้จ่ายพนักงาน เป็นต้น โดยสามารถแยกประเภทได้ดังนี้ รายละเอียด วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองที่ใช้ ในการผลิต (รวมการเปลี่ยนแปลงสินค้าคงคลัง) ค่าเสื่อมราคา (ในต้นทุนขาย) เงินเดือน ค่าจ้างและผลตอบแทนอื่นๆสำ�หรับพนักงาน (ในต้นทุนขาย) ค่าสาธารณูปโภค (ไฟฟ้า/ก๊าซธรรมชาติ/น้ำ�หล่อเย็น เป็นต้น) อื่น ๆ

2554-55

2555-56

2556-57

79.2%

76.0%

74.9%

4.6% 5.5% 6.2% 4.5% 100.0%

5.1% 6.9% 7.6% 4.4% 100.0%

6.1% 7.6% 8.0% 3.4% 100.0%

การเพิ่มขึ้นของต้นทุนขายโดยรวมเบ็ดเสร็จเท่ากับ 1,900 ล้านบาท (หรือร้อยละ 24) ซึ่งส่วนใหญ่มาจาก ปริมาณขายที่สูงขึ้นเนื่องจากการเริ่มมีการผลิตของโครงการในประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเพิ่มสูงขึ้นประมาณ 68.7 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.92 ของค่าใช้จ่าย ทั้ ง หมดอันเป็นผลจากปริม าณขายที่สู งขึ้ น และขนาดของการด�ำเนิ น งานโดยรวมในประเทศไทยและ สหรัฐอเมริกาที่ขยายใหญ่ขึ้นอันเป็นผลจากการเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ของโครงการต่างๆที่ได้ด�ำเนินมา อย่างต่อเนื่อง บริษัทขาดทุนอัตราแลกเปลี่ยนจ�ำนวน 383 ล้านบาทตามงบรวม เมื่อเทียบกับก�ำไรอัตราแลกเปลี่ยน จ�ำนวน 177.4 ล้านบาทในปีที่ผ่านมา สาเหตุหลักมาจากขาดทุนอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจาก การปรับปรุงการแปลงค่าเงินกู้ระยะยาวสกุลเงินยูโรและเงินเหรียญสหรัฐในประเทศไทยเป็นเงินบาท เนื่องจากเงินบาทได้อ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเงินยูโรและเงินเหรียญสหรัฐ ค่าใช้จ่ายทางการเงินในงบรวมระหว่างปีเท่ากับ 190.04 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 103.2 ล้านบาทหรือร้อยละ 118.9 จากปีที่ผ่านมา เหตุผลหลักมาจากเงินกู้ยืมระยะสั้นที่เพิ่มสูงขึ้นของการด�ำเนินงานในประเทศไทย และบริษัทย่อยในสหรัฐฯ ตลอดจนดอกเบี้ยของเงินกู้ระยะยาวที่กู้ ในประเทศไทยและสหรัฐอเมริกาส�ำหรับ โครงการต่างๆซึ่งก�ำลังอยู่ระหว่างด�ำเนินการในปีที่ผ่านมาจึงจ�ำเป็นต้องใช้เงินลงทุน ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นนี้ ส่วนหนึ่งหักกลบกับต้นทุนดอกเบี้ยที่ลดลงจากการช�ำระคืนเงินกู้ระยะยาวในระหว่างปี 98


งบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัทมีต้นทุนขายเท่ากับ 4,543.2 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 86.44 ของค่าใช้จ่ายรวม ซึ่งสูงกว่าเมื่อเทียบ กับ 3,941 ล้านบาทหรือร้อยละ 91.4 ของค่าใช้จ่ายรวมในปีที่ผ่านมา ต้นทุนขายที่สูงขึ้นเป็นผลมาจาก ปริมาณที่เพิ่มขึ้นจากการเริ่มการผลิตของโครงการใหม่ๆ ได้แก่ แผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนา แผ่นฟิล์มเคลือบ อัดชั้นด้วยความร้อน และแผ่นฟิล์ม Blown PP ในประเทศไทย ต้นทุนขายสามารถแยกประเภทได้ดังนี้ รายละเอียด วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองที่ใช้ ในการผลิต (รวมการเปลี่ยนแปลงสินค้าคงคลัง) ค่าเสื่อมราคา (ในต้นทุนขาย) เงินเดือน ค่าจ้างและผลตอบแทนอื่นๆสำ�หรับพนักงาน (ในต้นทุนขาย) ค่าสาธารณูปโภค (ไฟฟ้า/ก๊าซธรรมชาติ/น้ำ�หล่อเย็น เป็นต้น) อื่น ๆ

2554-55

2555-56

2556-57

79.4%

77.3%

75.1%

4.9% 6.4% 7.5% 1.8% 100.0%

5.7% 7.8% 8.2% 1.0% 100.0%

6.4% 8.5% 8.7% 1.3% 100.0%

แม้ปริมาณขายจะสูงขึ้น ค่าใช้จ่ายในการขายลดลง 4.4 ล้านบาท สาเหตุจากการเปลี่ยนสัดส่วนของส่วน ผสมการขาย (product mix) หลังจากที่สายแผ่นฟิล์ม PET ใหม่เริ่มการผลิตในสหรัฐอเมริกา ท�ำให้ปริมาณ ขายเพิ่มสูงขึ้นในเอเชีย อันเป็นผลให้ค่าระวางขนส่งลดลง ค่าใช้จ่ายบริหารสูงขึ้น 7.2 ล้านบาท เนื่องจาก ขนาดของการด�ำเนินงานโดยรวมใหญ่ขึ้น ค่าใช้จ่ายทางการเงินเพิ่มขึ้นจาก 46 ล้านบาท เป็น 85 ล้านบาท เนื่องจากเงินกู้เงินทุนหมุนเวียนสูงขึ้น และ การเพิ่มขึ้นของดอกเบี้ยเงินกู้ระยะยาวที่กู้ส�ำหรับสายแผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนา แผ่นฟิล์ม Blown PP และ แผ่นฟิล์มเคลือบอัดชั้นด้วยความร้อนสายที่ 2 ในประเทศไทย ซึ่งทั้งหมดอยู่ในเฟสของการด�ำเนินการตาม โครงการในปีที่ผ่านมาจึงจ�ำเป็นต้องใช้เงินลงทุน ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นนี้ส่วนหนึ่งหักกลบกับต้นทุนดอกเบี้ยที่ ลดลงจากการช�ำระคืนเงินกู้ระยะยาวในระหว่างปี อัตราก�ำไร – อัตราส่วนก�ำไรขั้นต้น ก�ำไรจากการด�ำเนินงาน และก�ำไรสุทธิ อัตราส่วนก�ำไรขั้นต้น ก�ำไรจากการด�ำเนินงาน และก�ำไรสุทธิ ล้วนลดลงอย่างมากเมื่อเทียบกับปีที่ผ่าน มา เนื่องจากผลขาดทุนจากการลดลงของยอดขายที่รับรู้ ค่าวัตถุดิบที่เพิ่มสูงขึ้น ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนิน งานอื่นๆ รวมถึงขาดทุนอัตราแลกเปลี่ยนจ�ำนวนมากในประเทศไทย 16.2 ฐานะการเงิน สินทรัพย์ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทมีสินทรัพย์รวม 19,581 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.59 จากปีที่ผ่าน มาซึ่งมีสินทรัพย์รวม 16,512 ล้านบาทตามงบการเงินรวม ส�ำหรับงบการเงินเฉพาะบริษัท สินทรัพย์รวมของบริษัท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 เท่ากับ 8,394 ล้านบาท 99


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.77 จากปีที่ผ่านมาซึ่งมีสินทรัพย์รวม 8,167 ล้านบาท สินทรัพย์ที่สำ� คัญของบริษัทประกอบด้วยสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ถาวร เงินลงทุน และสินทรัพย์ไม่ หมุนเวียนอื่น โดยสินทรัพย์แต่ละประเภทมีการเคลื่อนไหวดังต่อไปนี้ สินทรัพย์หมุนเวียน ลูกหนี้การค้า บริษัทมีลูกหนี้การค้าสุทธิตามงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 เท่ากับ 1,680 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มสูง ขึ้นจ�ำนวน 296 ล้านบาทหรือร้อยละ 21.39 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาซึ่งมีจำ� นวน 1,384 ล้านบาท ลูกหนี้การค้าสุทธิตามงบการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 มีจ�ำนวน 868 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้น จาก 761 ล้านบาทคิดเป็นการเพิ่มขึ้น 107 ล้านบาทหรือร้อยละ 14.1 เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา การ เพิ่มขึ้นของลูกหนี้การค้าดังกล่าวเป็นผลมาจากการปริมาณขายที่สูงขึ้นในประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา อันเนื่องมาจากการเริ่มการผลิตของโครงการใหม่ๆ ซึ่งได้หักกลบด้วยการรับรู้ยอดขายเฉลี่ยที่ลดลงในปีนี้ ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ยก็ลดลงทั้งตามงบการเงินเฉพาะบริษัท (จาก 67 วันเป็น 65 วัน) และงบการเงินรวม (จาก 54 วันเป็น 52 วัน) สินค้าคงคลัง ตามงบการเงินรวมของบริษัท มีสินค้าคงคลังเพิ่มขึ้นเป็น 2,167 ล้านบาท จาก 1,741 ล้านบาท ซึ่งเท่ากับ เพิ่มขึ้น 426 ล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 24.44 สินค้าคงคลังตามงบการเงินเฉพาะของบริษัทเพิ่มขึ้นร้อย ละ 19.03 จาก 565 ล้านบาท เป็น 672 ล้านบาท ระดับสินค้าคงคลังที่สูงขึ้นส่วนใหญ่เนื่องมาจากการเพิ่ม ขึ้นของสต็อกสินค้าส�ำเร็จรูปและสินค้าคงคลังระหว่างท�ำ รวมทั้งสต็อกของชิ้นส่วนและอะไหล่ ตลอดจน การเพิ่มขึ้นของสินค้าคงคลังวัตถุดิบในบริษัทย่อยที่ตุรกีและสหรัฐอเมริกา ตามงบการเงินเฉพาะบริษัท สินค้าคงคลังลดลงเล็กน้อยจาก 672 ล้านบาทเป็น 670 ล้านบาท ใน ประเทศไทยแม้จะมีขนาดของการด�ำเนินงานใหญ่ขึ้น สินค้าคงคลังไม่ได้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญ อัน เป็นผลจากการที่บริษัทได้ ให้ความส�ำคัญกับการบริหารสินค้าคงคลังมากขึ้น เพื่อเป็นการลดภาระเงิน ทุนหมุนเวียน สินทรัพย์ถาวรสุทธิ ตามงบการเงินรวม สินทรัพย์ถาวรสุทธิ (รวมรายการลงทุนที่กำ� ลังด�ำเนินการ ค่าความนิยม และสินค้าที่ ไม่มีตัวตนอื่น) เพิ่มขึ้น 2,656 ล้านบาท จาก 11,458 ล้านบาท เป็น 14,114 ล้านบาท อันเป็นผลสุทธิจาก ปัจจัยต่อไปนี้ • การเพิ่มขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นสุทธิในส่วนของสินทรัพย์ถาวร/สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - จ�ำนวน 2,168 ล้านบาท ส่วนใหญ่จากการลงทุนในโครงการที่ก�ำลังด�ำเนินการต่อเนื่องในประเทศไทย ตุรกี และ สหรัฐอเมริกา นอกเหนือไปจากค่าใช้จ่ายสินค้าทุนตามปกติอื่นๆ • การเพิ่มขึ้นอันเนื่องมาจากการปรับปรุงการแปลงค่า – จ�ำนวน 1,093 ล้านบาท (ผลแปลงค่าสุทธิของ

100


ค่าเสื่อมราคาสะสม) ซึ่งส่วนใหญ่เป็น ผลจากการแปลงค่าสินทรัพย์ถาวรสุทธิบริษัทย่อย ที่กำ� หนดใน รูปเงินยูโร เงินเหรียญสหรัฐ และเงินหยวนจีน ไปเป็นเงินบาท เพื่อ วัตถุประสงค์ ในการท�ำงบการเงิน รวม • การลดลงจากบัญชีค่าเสื่อมราคาระหว่างปีจำ� นวน 605 ล้านบาท สินทรัพย์ถาวรสุทธิของบริษัท (งบ เฉพาะกิจการ) เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 209 ล้านบาท จาก 4,998 ล้านบาท เป็น 5,207 ล้านบาท สาเหตุมาจาก ผลสุทธิของปัจจัยต่อไปนี้ o การเพิ่มขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นสุทธิในส่วนของสินทรัพย์ถาวร- จ�ำนวน 507 ล้านบาท ส่วนใหญ่ จากรายการลงทุนในโครงการแผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนา โครงการ Blown PP และ โครงการแผ่นฟิล์ม เคลือบอัดขึ้นรูป นอกเหนือไปจากค่าใช้จ่ายสินค้าทุนตามปกติในโรงงานปัจจุบัน • การลดลงของค่าเสื่อมราคาระหว่างปีจ�ำนวน 298 ล้านบาท เงินลงทุนในบริษัทย่อย ในระหว่างปี บริษัทลงทุน 5.1 ล้านบาทในบริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นสัดส่วนร้อยละ 80 คือ บริษัท อีโคบลู จ�ำกัด ในประเทศไทย ซึ่งก�ำลังด�ำเนินการโครงการรีไซเคิลของเสียจากแผ่นฟิล์มในระหว่างนั้น ในเดือนกรกฎาคม 2556 บริษัทลงทุน 0.2 ล้านยูโร (เทียบเท่า 8.2 ล้านบาท) ในบริษัทย่อยที่ถือหุ้น ร้อยละ 100 คือ โพลีเพล็กซ์ ยุโรป บี.วี. ในประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยกิจการนี้ดำ� เนินธุรกิจการค้าและการ จัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ของบริษัทในตลาดยุโรป อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ ตามงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ของบริษัทติดลบ โดยมี สาเหตุหลักมาจากผลประกอบการขาดทุนสุทธิในระหว่างปี 16.3 สภาพคล่อง กระแสเงินสด งบการเงินรวม • ในปี 2556-57 บริษัทและบริษัทย่อยมีการใช้เงินสดไปในกิจกรรมด�ำเนินงานจ�ำนวน 170 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ o เงินสดที่มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน (ก่อนเปลี่ยนแปลงสินทรัพย์และหนี้สินในการด�ำเนินงาน)มี จ�ำนวน 366 ล้านบาท o การเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียนมีดังนี้ n ลูกหนี้การค้าเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 301 ล้านบาทเนื่องจากรายได้จากการขายเพิ่มสูงขึ้น(เพราะโครง การใหม่ๆเริ่มการผลิต) n สินค้าคงคลังเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 447 ล้านบาท เนื่องจากการเริ่มผลิตของโครงการใหม่ๆ เป็นผลให้ 101


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 สินค้าคงคลังที่เป็นวัตถุดิบ/สินค้าระหว่างขั้นตอนผลิต/สินค้าส�ำเร็จรูปมีจ�ำนวนเพิ่มสูงขึ้น n ผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานลดลงจ�ำนวน 4 ล้านบาท n เงินสดจ่ายส�ำหรับภาษีเงินได้จ�ำนวน 5 ล้านบาท n เจ้าหนี้การค้าเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 117 ล้านบาทเนื่องจากมีรายการซื้อมากขึ้น(ส�ำหรับโครงการใหม่ๆ) n หนี้สินหมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 77 ล้านบาท n สินทรัพย์หมุนเวียน/ไม่หมุนเวียนอื่นลดลง 27 ล้านบาท • เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุนเท่ากับ 1,915 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ o เงินฝากธนาคารที่มีภาระค�้ำประกันเพิ่มขึ้น 8.2 ล้านบาท [กันไว้ส�ำหรับช�ำระคืนเงินกู้ อันเป็นส่วน หนึ่งของเงื่อนไขเงินกู้ระยะยาวของบริษัทย่อยในสหรัฐอเมริกาส�ำหรับโครงการสายการผลิตแผ่น ฟิล์ม PET] o การเพิ่มขึ้นสุทธิของสินทรัพย์ถาวร ซึ่งรวมเงินทดรองจ่ายค่าเครื่องจักรและอุปกรณ์ของโครงการ จ�ำนวน 2,056 ล้านบาท ซึ่งรวมถึงจ�ำนวนเงินที่จ่ายส�ำหรับโครงการต่างๆที่กำ� ลังด�ำเนินการอยู่ทั้ง ในประเทศไทย สหรัฐอเมริกา และตุรกี o มีการถอนเงินจ�ำนวน 88.3 ล้านบาทจากเงินลงทุนปัจจุบัน o เจ้าหนี้การค้าส�ำหรับสินทรัพย์ถาวรเพิ่มขึ้น 60 ล้านบาท • กระแสเงินสดรับสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงินจ�ำนวน 1,260 ล้านบาทดังรายละเอียดด้านล่างส่วนหนึ่งมี การใช้ไปส�ำหรับกระแสเงินสดออกข้างต้นเพื่อใช้ ในกิจกรรมด�ำเนินงานและกิจกรรมลงทุน o การเบิกเงินกู้ระยะสั้นส�ำหรับเงินทุนหมุนเวียนจ�ำนวน 606 ล้านบาท o การเบิกเงินกู้ระยะยาวจากธนาคารส�ำหรับโครงการใหม่ๆจ�ำนวน 1,710 ล้านบาท o การช�ำระคืนเงินกู้ระยะยาวแก่บุคคลที่เกี่ยวข้องจ�ำนวน 253 ล้านบาท o การช�ำระคืนเงินกู้ระยะยาวแก่ธนาคารจ�ำนวน 452 ล้านบาท o เงินสดรับจากผู้ถือหุ้นรายย่อยในบริษัทย่อยจ�ำนวน 1.3 ล้านบาท o เงินสดจ่ายค่าดอกเบี้ยของเงินกู้ระยะยาวและระยะสั้นจ�ำนวน 240 ล้านบาท o การจ่ายเงินปันผลจ�ำนวน 112 ล้านบาท ยอดที่ขาด ส่วนหนึ่งหักกลบกับก�ำไรจากการปรับปรุงการแปลงค่าจ�ำนวน 355 ล้านบาท และเงินสด คงเหลือต้นงวดจ�ำนวน 1,468 ล้านบาท ส่งผลให้บริษัทมีเงินสดสุทธิปลายงวดเท่ากับ 979 ล้านบาท งบเฉพาะกิจการ • ในปี 2556-57 บริษัทใช้เงินสดสุทธิไปในกิจกรรมด�ำเนินงานตามงบการเงินเฉพาะกิจการ จ�ำนวน 16 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ o เงินสดที่มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน (ก่อนเปลี่ยนแปลงสินทรัพย์และหนี้สินในการด�ำเนินงาน) มี 102


จ�ำนวน 13 ล้านบาท o การเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียนมีดังนี้ n ลูกหนี้การค้าเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 105 ล้านบาทเนื่องจากรายได้จากการขายเพิ่มสูงขึ้น(เพราะโครง การใหม่ๆเริ่มการผลิต) n สินค้าคงคลังเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 1.5 ล้านบาท n ผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานลดลงจ�ำนวน 0.6 ล้านบาท n เจ้าหนี้การค้าเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 21 ล้านบาทเนื่องจากมีรายการซื้อมากขึ้น(ส�ำหรับโครงการใหม่ๆ) n หนี้สินหมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 10 ล้านบาท n สินทรัพย์หมุนเวียน/ไม่หมุนเวียนอื่นลดลง 45 ล้านบาท • เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุนเท่ากับ 467 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ o การเพิ่มขึ้นสุทธิของสินทรัพย์ถาวร ซึ่งรวมเงินทดรองจ่ายค่าเครื่องจักรและอุปกรณ์ของโครงการ จ�ำนวน 474 ล้านบาท o การลงทุนในบริษัทย่อยจ�ำนวน 13.2 ล้านบาท (ลงทุนใหม่ในบริษัทเพื่อค้าในประเทศเนเธอร์แลนด์ ได้แก่ โพลีเพล็กซ์ ยุโรป บี.วี. และการอัดฉีดเงินทุนเพิ่มในอีโคบลู) o มีการถอนเงินจ�ำนวน 78 ล้านบาทจากเงินลงทุนปัจจุบัน o เจ้าหนี้การค้าส�ำหรับสินทรัพย์ถาวรลดลง 57 ล้านบาท • กระแสเงินสดรับสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงินจ�ำนวน 429 ล้านบาทดังรายละเอียดด้านล่างส่วน หนึ่งมี การใช้ไปส�ำหรับกระแสเงินสดออกข้างต้นเพื่อใช้ ในกิจกรรมด�ำเนินงานและกิจกรรมลงทุน o การเบิกเงินกู้ระยะสั้นส�ำหรับเงินทุนหมุนเวียนจ�ำนวน 600 ล้านบาท o การเบิกเงินกู้ระยะยาวจากธนาคารส�ำหรับโครงการใหม่ๆจ�ำนวน 410 ล้านบาท o การช�ำระคืนเงินกู้ระยะยาวแก่ธนาคารจ�ำนวน 360 ล้านบาท o เงินสดจ่ายค่าดอกเบี้ยของเงินกู้ระยะยาวและระยะสั้นจ�ำนวน 109 ล้านบาท o การจ่ายเงินปันผลจ�ำนวน 112 ล้านบาท ยอดที่ขาดประกอบกับเงินสดคงเหลือต้นงวดจ�ำนวน 76 ล้านบาท ส่งผลให้บริษัทมีเงินสดสุทธิปลายงวด เท่ากับ 22 ล้านบาท อัตราส่วนสภาพคล่อง ในปี 2556-57 ตามงบการเงินรวมบริษัทมีอัตราส่วนสภาพคล่องเท่ากับ 1.15 เท่าและ อัตราส่วนสภาพ คล่องหมุนเร็วเท่ากับ 0.62 เท่า และตามงบการเงินเฉพาะบริษัท 0.71 เท่า และ 0.38 เท่าตามล�ำดับ ตาม งบการเงินรวมมีระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย 52 วัน ในช่วงปี 2556-57 ระยะเวลาเจ้าหนี้การค้าเท่ากับ 46 วัน และระยะเวลาขายเฉลี่ย 13 วัน ท�ำให้มี cash cycle เท่ากับ 19 วันเทียบกับ cash cycle ในปีที่ผ่านมาคือ 15 วัน ตามงบการเงินเฉพาะบริษัทมีระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย 65 วันในปี 2556-57 ระยะเวลาช�ำระหนี้การ 103


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 ค้า 51 วัน และระยะเวลาขายเฉลี่ย 3 วัน ท�ำให้มี cash cycle เท่ากับ 16 วันเทียบกับ cash cycle 11 วัน ในปีที่ผ่านมา 16.4 แหล่งที่มาของเงินทุน แหล่งเงินทุนของบริษัท มาจากการกู้ยืมเงินระยะยาวและระยะสั้นจากสถาบันการเงินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินรวม หนี้สินหมุนเวียน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 ตามงบการเงินรวม บริษัทมีหนี้สินหมุนเวียนเท่ากับ 4,334 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,386 ล้านบาท จาก 2,948 ล้านบาทในปีที่ผ่านมา สาเหตุหลักมาจากการเคลื่อนไหวต่อไปนี้ • การเพิ่มขึ้นของเงินกู้ยืมระยะสั้น จ�ำนวน 605 ล้านบาท ส่วนใหญ่ที่บริษัทในประเทศไทยและบางส่วนที่ บริษัทย่อยในสหรัฐอเมริกา • การเพิ่มขึ้นของเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นๆจ�ำนวน 144 ล้านบาทอันเป็นผลจากขนาดของการด�ำเนิน ธุรกิจใหญ่ขึ้น • การเพิ่มขึ้นของหนี้สินอื่นจ�ำนวน 83 ล้านบาท • การเพิ่มขึ้นของเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปีจำ� นวน 551 ล้านบาท เนื่องจากมีการ เพิ่มขึ้นโดยรวมของเงินกู้ยืมที่ถึงก�ำหนดช�ำระคืน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาปลอดหนี้ในช่วงแรกของการ กู้ • เงินถึงก�ำหนดช�ำระของสัญญาเช่าจ�ำนวน 1.6 ล้านบาท • การเพิ่มขึ้นของหนี้ภาษีเงินได้นิติบุคคลจ�ำนวน 0.4 ล้านบาท เนื่องจากจ�ำนวนภาษีที่บริษัทย่อยใน สหรัฐอเมริกาต้องจ่ายส�ำหรับเงินได้บางส่วนซึ่งไม่สามารถหักกลบกับผลขาดทุนจากการด�ำเนินงาน ปกติ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 ตามงบการเงินเฉพาะบริษัท มีหนี้สินหมุนเวียนเท่ากับ 2,314 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 786 ล้านบาทจาก 1,529 ล้านบาทในปีที่ผ่านมา สาเหตุหลักมาจากการเคลื่อนไหวต่อไปนี้ • เงินกู้ยืมระยะสั้นเพิ่มขึ้น 600 ล้านบาท • หนี้สินหมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 14 ล้านบาท • เงินกู้ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปีเพิ่มขึ้น 207 ล้านบาท • เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นลดลง 35 ล้านบาท หนี้สินระยะยาว ตามงบการเงินรวม หนี้ระยะยาว(สุทธิจากส่วนที่ครบก�ำหนดช�ำระใน 1 ปี) เพิ่มขึ้น 1,468 ล้านบาทสุทธิหลัง การช�ำระคืนเงินกู้ระยะยาวระหว่างปี จ�ำนวนลดลงสุทธิของเงินกู้ระยะยาวจากบุคคลที่เกี่ยวข้องเท่ากับ 187 ล้านบาทโดยมาจากการที่โพลีเพล็กซ์ (เอเชีย) ช�ำระคืนเงินกู้ส่วนหนึ่งแก่โพลีเพล็กซ์ เรซิ่น เพื่อให้การให้กู้ เป็นไปตามสัดส่วนของการถือหุ้น การเพิ่มขึ้นโดยรวมของหนี้สินตามงบรวมส่วนใหญ่มาจากเงินกู้ยืมใหม่ 104


ของบริษัทและบริษัทย่อยในสหรัฐฯและตุรกี (ส�ำหรับโครงการเม็ดพลาสติกส�ำหรับผลิตขวด PET) ส�ำหรับ โครงการใหม่ที่มีการด�ำเนินการระหว่างปี รวมทั้งสืบเนื่องมาจากขาดทุนอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้น จริงจ�ำนวนประมาณ 386 ล้านบาทจากเงินกู้สกุลยูโร/เหรียญสหรัฐในประเทศไทย อันเป็นผลจากการอ่อน ตัวของค่าเงินบาทต่อเงินเหรียญสหรัฐ/เงินยูโร การเพิ่มขึ้นนี้ส่วนหนึ่งหักกลบด้วยการช�ำระคืนเงินกู้ระหว่าง ปี หนี้สินระยะยาวของบริษัท (สุทธิจากส่วนที่ครบก�ำหนดช�ำระใน 1 ปี) ตามงบเฉพาะกิจการเพิ่มขึ้น 229 ล้าน บาท อันเป็นผลจากเงินกู้ยืมเพิ่มเติมส�ำหรับโครงการใหม่ๆที่ดำ� เนินการในปีที่ผ่านมา เงินกู้ระยะยาวใหม่ที่ กู้มาระหว่างปีที่จริงมีจำ� นวน 410 ล้านบาท ซึ่งส่วนหนึ่งหักกลบด้วยการเพิ่มขึ้นของเงินกู้ระยะยาวที่ครบ ก�ำหนดช�ำระใน 1 ปีจ�ำนวน 207 ล้านบาท และการช�ำระคืนเงินกู้จำ� นวน 360 ล้านบาทระหว่างปี ผลขาดทุน อัตราแลกเปลี่ยนเท่ากับ 386 ล้านบาท จากการปรับตัวเลขเงินกู้สกุลเงินยูโร/เงินเหรียญสหรัฐอันเนื่องมา จากค่าเงินบาทที่อ่อนค่าลงต่อสกุลเงินดังกล่าว อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นและความสามารถในการช�ำระดอกเบี้ย อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น(เฉพาะหนี้เงินกู้ระยะสั้นและระยะยาวรวมทั้งส่วนที่ครบก�ำหนดใน 1 ปี สุทธิจากเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดและเงินลงทุนสินทรัพย์หมุนเวียน) จ�ำนวน 0.97 เท่าตามงบ การเงินรวม และ 1.32 เท่าตามงบการเงินเฉพาะบริษัท การเพิ่มขึ้นนี้เป็นผลมาจากการกู้ยืมหนี้ที่สูงขึ้น (ทั้งระยะสั้นและระยะยาว) ในขณะที่ฐานเงินทุนมีจ�ำนวนต�่ำกว่า (ตามงบเฉพาะบริษัท) เนื่องจากก�ำไรสะสม ลดลงอันเป็นผลมาจากขาดทุนที่เกิดขึ้นระหว่างปีและการจัดสรรเงินปันผลระหว่างปี อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น(หนี้ทั้งหมดซึ่งรวมหนี้สินหมุนเวียนและหนี้สินไม่หมุนเวียน) เท่ากับ 1.28 เท่าตามงบการเงินรวม และ 1.56 เท่าตามงบการเงินเฉพาะบริษัท อัตราส่วนความสามารถในการช�ำระดอกเบี้ยตามงบรวมและงบเฉพาะบริษัทมีตัวเลขติดลบเนื่องจาก ขาดทุนที่เกิดขึ้นระหว่างปี ภาระผูกพัน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทมีภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตดังนี้ ก) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทมีภาระผูกพันรวม 149.40 ล้านบาทภายใต้สัญญา การบริการ หลายฉบับ (ปี 2555: 197.0 ล้านบาท) สัญญาเหล่านี้จะสิ้นสุดลงระหว่างเดือนเมษายน 2557 – เดือนกันยายน 2559

105


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 ข) บริษัทมีสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศโดยมียอดคงค้าง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 ดังต่อ ไปนี้ อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญา ขาย ซื้อ เงินตราต่างประเทศ จำ�นวน จำ�นวน เหรียญสหรัฐ ยูโร เยน ญี่ปุ่น

(ล้าน) 3.70 0.60 -

ซื้อ

ขาย

(ล้าน) (บาท ต่อ 1 หน่วยเงินตราต่างประเทศ) 26.42 32.3100-33.1950 บาท/เหรียญสหรัฐ 31.3780-33.2651 บาท/เหรียญสหรัฐ 0.88 45.0510-45.1280 บาท/ยูโร 42.9700-45.2000 บาท/ยูโร 45.69 0.3163-0.3228 บาท/เยนญี่ปุ่น

บริษัทย่อยมีการท�ำสัญญา forward exchange ดังนี้ จำ�นวนที่ซื้อ 1.4 ล้านลีร์ตุรกี 4.1 ล้านเหรียญสหรัฐ -

จำ�นวนที่ขาย 0.1 ล้านยูโร

อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญา 3.1370-3.1480 ลีร์ตุรกีต่อยูโร 1.3743-1.3748 ลีร์ตุรกีต่อยูโร 1.3920 ต่อยูโร

ค) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันจ่ายมีรายจ่ายฝ่ายทุนจ�ำนวนเงิน ประมาณ 278.9 ล้านบาท (ปี 2556: 736.4 ล้านบาท) ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการสร้างอาคารและการซื้อ เครื่องจักรอุปกรณ์ (ส�ำหรับงบเฉพาะกิจการ: 148.5 ล้านบาท ปี 2556: 263.9 ล้านบาท) ง) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทมีภาระผูกพันรวม 149.4 ล้านบาทภายใต้สัญญาบริการต่างๆ (ปี 2556: 197.0 ล้านบาท) สัญญาเหล่านี้จะสิ้นสุดลงระหว่างเดือนเมษายน 2557 – เดือนกันยายน 2559 จ) บริษัทได้เข้าท�ำสัญญาเช่าหลายฉบับที่เกี่ยวกับการเช่าพื้นที่และอุปกรณ์อาคารส�ำนักงาน ค่าเช่าขั้นต�ำ่ ที่ต้องจ่ายในอนาคตภายใต้สัญญาเช่าเป็นดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) ณ 31 มีนาคม 2557 2556 กำ�หนดชำ�ระภายใน 1 ปี เกิน 1 ปี ถึง 5 ปี

6.2 4.2

8.1 6.1

ฉ) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทได้ ให้การค�ำ้ ประกันระยะสั้นวงเงิน 30.0 ล้านเหรียญสหรัฐ (ปี 2556: 30 ล้านเหรียญสหรัฐ) ส�ำหรับเงินกู้เงินทุนหมุนเวียนที่บริษัทย่อย คือ โพลีเพล็กซ์ ยูเอสเอ 106


แอลแอลซี ได้รับ ช) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทได้ ให้การค�ำ้ ประกันวงเงิน 84.0 ล้านเหรียญสหรัฐ (ปี 2556: 75.0 ล้านเหรียญสหรัฐ) ส�ำหรับเงินกู้ระยะยาวของบริษัทย่อย (โพลีเพล็กซ์ ยูเอสเอ แอลแอลซี) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 ยอดเงินกู้คงค้างของบริษัทย่อยดังกล่าวเท่ากับ 76.5 ล้านเหรียญสหรัฐ (ปี 2556: 52.1 ล้านเหรียญสหรัฐ) ซ) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทได้ ให้การค�ำ้ ประกันวงเงิน 0.1 ล้านยูโร (ปี 2556: 2.3 ล้านยูโร) ส�ำหรับเงินกู้ระยะยาวของบริษัทย่อย (โพลีเพล็กซ์ ยูโรปา) ฌ) โพลีเพล็กซ์ ยูโรปา ได้ ให้การค�้ำประกันส�ำหรับเงินกู้ระยะยาวของโพลีเพล็กซ์ เรซิ่น วงเงินกู้ 27.5 ล้านยูโร โดย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 ยอดคงค้างของเงินกู้ดังกล่าวเท่ากับ 33.3 ล้านยูโร (ปี 2556: 20.7 ล้านยูโร) ในจ�ำนวนนี้ 22.3 ล้านยูโร (ปี 2556: 13.9 ล้านยูโร) ค�ำ้ ประกันโดยโพลีเพล็ กซ์ ยูโรปา ญ) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 มีหนังสือค�ำ้ ประกันวงเงินคงค้างประมาณ 197.6 ล้านบาทและ 11.3 ล้าน ยูโร (ปี 2556: 0.7 ล้านบาทและ 15.7 ล้านยูโร) ซึ่งออกโดยธนาคารแทนบริษัทและบริษัทย่อย เพื่อ เป็นการค�ำ้ ประกันภาระผูกพันการปฏิบัติตามข้อตกลง (performance bonds) ในการด�ำเนินธุรกิจ ตามปกติ (ส�ำหรับงบเฉพาะกิจการ: 197.6 ล้านบาท ปี 2556: 0.7 ล้านบาท) ส่วนของผู้ถือหุ้น ตามงบการเงินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้นจาก 8,144 ล้านบาทในปีที่ผ่านมา เป็นจ�ำนวน 8,527 ล้าน บาท ซึ่งเป็นจ�ำนวนหลังจากการค�ำนวณก�ำไรจากการปรับปรุงการแปลงค่าจ�ำนวน 975 ล้านบาท โดยส่วน หนึ่งหักกลบกับขาดทุนสุทธิในระหว่างปีจ�ำนวน 480 ล้านบาทและเงินปันผลจ่ายจ�ำนวน 112 ล้านบาทใน ระหว่างปี 2555-56 ผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Return on Equity – ROE) จากผลขาดทุนในระหว่างปี ROE จึงติดลบทั้งตามงบรวมและงบเฉพาะ บริษัทมีนโยบายจ่ายเงินปันผลประมาณร้อยละ 40 ของก�ำไรสุทธิตามงบการเงินรวม โดยพิจารณาภาวะ เศรษฐกิจ แผนการเติบโตของธุรกิจ โอกาสการใช้ทรัพยากรในอนาคต ฐานะการเงิน และสภาพคล่องของ บริษัท ตลอดจนต้องได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้น ส�ำหรับปี 2556-57 คณะกรรมการบริษัทได้เสนอให้งด จ่ายเงินปันผล เนื่องจากบริษัทมีผลประกอบการขาดทุนตามงบรวม โดยบริษัทจะต้องได้รับการอนุมัติจาก ที่ประชุมสามัญประจ�ำปีผู้ถือหุ้นในเดือนกรกฎาคม 2557 16.5 ปัจจัยและอิทธิพลหลักที่อาจมีผลต่อการด�ำเนินงานและฐานะการเงินในอนาคต เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา ปี 2556-57 เป็นปีหนึ่งที่ท้าทายอย่างมากส�ำหรับอุตสาหกรรมแผ่นฟิล์ม โพลีเอสเตอร์ โดยมีภาวะสินค้าล้นตลาดซึ่งสร้างแรงกดดันอย่างยิ่งต่อราคาขายและความที่ไม่สามารถ ส่งผ่านต้นทุนวัตถุดิบที่เพิ่มขึ้นไปยังลูกค้าได้จนอัตราก�ำไรหรือส่วนต่างก�ำไรของผู้ผลิตหดแคบลงเป็น ประวัติการณ์ 107


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 สิ่งที่เป็นความท้าทายส�ำหรับบริษัทในปีที่จะถึงนี้มีดังต่อไปนี้ - ภาวะสินค้าล้นตลาดของอุตสาหกรรมแผ่นฟิล์ม PET คาดว่าจะยังคงต่อเนื่องในปีต่อไป ซึ่งจะท�ำให้ อัตราก�ำไรของบริษัทและบริษัทย่อยยังคงอยู่ในระดับต�ำ่ - ความผันผวนของราคาวัตถุดิบและการเคลื่อนไหวของราคาในทางขาขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญ ซึ่งอาจท�ำให้ บริษัทไม่สามารถสะท้อนต้นทุนที่สูงขึ้นในราคาจ�ำหน่ายแก่ลูกค้าได้ ในสภาวะตลาดที่เปราะบางใน ปัจจุบัน - การเพิ่มสายการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนา แผ่นฟิล์ม Blown PP และ แผ่นฟิล์มเคลือบอัดชั้น ด้วยความร้อนสายที่สองในประเทศไทย ตลอดจนสายแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบางในสหรัฐฯ เป็นการใช้ ประโยชน์จากสายการผลิตอย่างเต็มที่ - ความส�ำเร็จในการเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ของโรงงานเม็ดพลาสติกส�ำหรับผลิตขวด PET ในตุรกีและ โครงการสายเคลือบอลูมิเนียมในประเทศไทยและตุรกี - จากภาวะความผันผวนอย่างต่อเนื่องของอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อเงินเหรียญสหรัฐและยูโร ผลของ ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนต่อก�ำไรของบริษัทจะเป็นหนึ่งในความกังวลหลักของบริษัท บริษัท มีความเสี่ยง 2 ประเภทคือ ก�ำไรจากการด�ำเนินงานตลอดจนการปรับมูลค่าสินทรัพย์/หนี้สินของบริษัท ในงบการเงินเฉพาะและการแปลงตัวเลขในงบก�ำไรขาดทุนของบริษัทย่อยซึ่งเป็นสกุลเงินเหรียญสหรัฐ เงิน ยูโร และเงินหยวนจีนมาเป็นเงินบาทส�ำหรับการจัดท�ำงบการเงินรวม จากเงินกู้สกุลเงินเหรียญสหรัฐ และเงินยูโรเพื่อใช้ส�ำหรับโครงการใหม่ในประเทศไทย พอร์ตเงินกู้เงินตราต่างประเทศของบริษัทได้ เพิ่มขึ้นจนถึง 100 ล้านเหรียญสหรัฐ(รวมเงินกู้สกุลเงินยูโรเทียบเท่าเงินเหรียญสหรัฐ)แล้ว ท�ำให้บริษัท มีความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยนเมื่อมีการปรับปรุงตัวเลขยอดเงินกู้ตามอัตราแลกเปลี่ยน ในระยะยาว บริษัทยังคงมั่นใจว่าจะสามารถรักษาความสามารถในการแข่งขันไว้ได้ด้วยเหตุผลต่อ ไปนี้ 1. ประโยชน์ที่บริษัทจะได้รับจากโครงการต่างๆ ทั้งโครงการเดิมและโครงการที่กำ� ลังด�ำเนินการ ดังนี้ ก. PTL และ PE ต่างก็ได้รับประโยชน์อย่างชัดเจนจากการที่มีโรงงาน ผลิตเม็ดพลาสติกของตนเอง เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตทั้งในเชิงต้นทุน คุณภาพ และความแน่นอนของปริมาณวัตถุดิบในการ ป้อนการผลิต ประโยชน์ที่ชัดเจนของการมีสายการผลิตเม็ดพลาสติกของตนเองคือ การที่บริษัท จะสามารถลดต้นทุนการผลิตอันเนื่องมาจากประสิทธิภาพในการจัดหาวัตถุดิบ ซึ่งจะส่งผลให้การ จัดส่งวัตถุดิบมายังโรงงานของบริษัทด�ำเนินการได้แน่นอนและทันเวลา การที่สามารถจัดหา PTA และ MEG ซึ่งเป็น วัตถุดิบหลักได้แน่นอน ท�ำให้ความเสี่ยง ในเรื่องการขาดแคลนวัตถุดิบลดลงด้วย อย่างไรก็ตาม จากภาวะตลาดที่ปรับตัวดีขึ้น ราคาวัตถุดิบ ที่เพิ่มสูงขึ้นส่วนหนึ่งสามารถส่งผ่านไป ยังลูกค้าหรือผู้ ใช้สินค้า ปลายทาง เพื่อเป็นการรักษา margin นอกจากนี้ ยังเปิดโอกาสให้ บริษัท สามารถ พัฒนาผลิตภัณฑ์แผ่นฟิล์ม ประเภทใหม่ๆที่เป็นความเชี่ยวชาญเฉพาะได้เพิ่มขึ้นอีกด้วย ทั้งนี้ จากกลยุทธ์ดังกล่าว ฐานการผลิตในสหรัฐอเมริกาจะมีโรงงานผลิตเม็ดพลาสติกของตนเอง ด้วย ซึ่งคาดว่าจะเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ ในไตรมาส 2 ปีบัญชี 2556-57 108


ข. การจัดตั้งสายการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอลูมิเนียมทั้งในประเทศไทยและในประเทศตุรกี เป็นการ ช่วยเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์โดยการเพิ่มสัดส่วนของแผ่นฟิล์มที่เป็นความเชี่ยวชาญเฉพาะในพอร์ต การจัดจ�ำหน่ายโดยรวม ในประเทศไทย แผ่นฟิล์ม PET และ CPP มีการเข้ากระบวนการเคลือบอลู มิเนียมในขณะที่ในตุรกีและสหรัฐอเมริกา มีการใช้เครื่องเคลือบอลูมิเนียมส�ำหรับเคลือบแผ่นฟิล์ม PET ค. สายการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูป (Extrusion Coating) ในประเทศไทย ซึ่งเริ่มเปิดด�ำเนินงาน แล้ว ตั้งแต่เดือนเมษายน 2551 สามารถช่วยลดความเสี่ยงให้แก่ บริษัทจากการที่ต้องอาศัยแผ่น ฟิล์มธรรมดา ที่เป็นสินค้า commodity ทั่วไป โดยให้ เน้นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่มและผลิตภัณฑ์ เกรดพิเศษและคุณสมบัติเฉพาะอื่น ๆ มาก ขึ้น สายการผลิตแผ่นฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูปสายที่สองซึ่ง เริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์แล้วในเดือนมิถุนายน 2556 ในประเทศไทยจะเป็นการให้โอกาสแก่บริษัท ได้สนองความต้องการที่กำ� ลังเติบโตทั้งในยุโรปและสหรัฐอเมริกา ง. โครงการแผ่นฟิล์ม CPP ซึ่งเริ่มด�ำเนินงานในประเทศไทยแล้วเมื่อเดือนมีนาคม 2553 ท�ำให้บริษัท สามารถขยายฐานผลิตภัณฑ์ ให้กว้างออกไปจนเป็นผู้ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ด้านบรรจุภัณฑ์ อย่างครบวงจร (Complete packaging solution provider) มิใช่เป็นเพียงผู้ผลิตหรือจ�ำหน่ายแผ่น ฟิล์ม PET จ. โครงการเคลือบซิลิโคนที่เริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ ในเดือนมีนาคม 2555 และโครงการแผ่นฟิล์ม Blown PP ซึ่งเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์แล้วในเดือนตุลาคม 2556 ในประเทศไทย จะเป็นการสร้าง ความหลากหลายแก่ประเภทผลิตภัณฑ์ของบริษัท โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นการเพิ่มผลิตภัณฑ์ที่มี มูลค่าเพิ่มให้มากขึ้น ฉ. สายการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนาซึ่งเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์แล้วในเดือนตุลาคม 2556 ใน ประเทศไทยจะช่วยในการกระจายสัดส่วนจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์แต่ละประเภทและช่วยลดความเสี่ยง จากการขึ้นลงของวงจรอุตสาหกรรมแผ่นฟิล์ม PET ชนิดบาง เนื่องจากแผ่นฟิล์ม PET ชนิดหนาจะ มีเสถียรภาพมากกว่า อย่างไรก็ตาม เนื่องจากผลิตภัณฑ์นี้เป็นผลิตภัณฑ์ ใหม่ของกลุ่มโพลีเพล็กซ์ การจะท�ำให้ผลิตภัณฑ์เป็นที่ยอมรับของลูกค้าและการเพิ่มก�ำลังการผลิตย่อมต้องใช้เวลาระยะหนึ่ง ช. บริษัทประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างดีในการด�ำเนินการโครงการสายการผลิตแผ่นฟิล์มชนิดบาง ในสหรัฐอเมริกาในไตรมาส 1 ปี 2556-57 จากการที่สามารถขยายตลาดจนครอบคลุมทวีป อเมริกาเหนือ ท�ำให้บริษัทมั่นใจว่าการตัดสินใจดังกล่าวประกอบกับกลยุทธ์การวางตลาดในภูมิภาค ใกล้เคียง จะช่วยให้บริษัทสามารถในบริการแก่ลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซ. โรงงานเม็ดพลาสติกส�ำหรับผลิตขวด PET ในตุรกีซึ่งคาดว่าจะเริ่มการผลิตเชิงพาณิชย์ ในครึ่งหลัง ของปีบัญชี 2557-58 จะเป็นโครงการในอุตสาหกรรมขวด PET โครงการแรกของบริษัท 2. โพลีเพล็กซ์ได้รับประโยชน์จากการที่มีขนาดธุรกิจที่ใหญ่ขึ้น และมีเครือข่ายการจัด จ�ำหน่ายทั่วถึง ใน 4 ท�ำเลในปัจจุบัน โดยบริษัทได้รับการยอมรับในความเป็นผู้ผลิต ที่มีเครือข่ายการผลิตและการจ�ำหน่าย ทั่วโลก และมีฐานลูกค้าที่แน่นอน 3. โพลีเพล็กซ์สามารถวางสถานะของกลุ ่ ม ในฐานะผู ้ ผ ลิ ตและจ� ำ หน่ ายผลิ ตภั ณ ฑ์ คุณ ภาพที่ แ น่ น อน สม�่ำเสมอ 109


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 4. โพลีเพล็กซ์ได้มีการลงทุนที่ส�ำคัญในด้านของการจัดจ�ำหน่าย โดยเฉพาะในการที่เข้าซื้อธุรกิจใน สหรัฐอเมริกา คือ โพลีเพล็กซ์ (อเมริกา) อิงค์ (PA) ซึ่งปัจจุบันได้ควบรวมกิจการกับ โพลีเพล็กซ์ ยูเอส เอ แอลแอลซี (PUL) ที่เป็นกิจการเพื่อการผลิตในสหรัฐอเมริกา การลงทุนในโพลีเพล็กซ์ (เทรดดิ้ง) เซิ้นเจิ้น ประเทศจีน การจัดตั้งบริษัทเพื่อค้าในประเทศเนเธอร์แลนด์และตุรกีในระหว่างปี ตลอดจนการ จัดตั้งคลังสินค้าให้ครอบคลุมทั่วยุโรปเพื่อให้การจัดจ�ำหน่ายเป็นไปได้ดียิ่งขึ้น ส�ำนักงานประสานงาน ที่มีอยู่แล้วในประเทศมาเลเชียและส�ำนักงานที่จะจัดตั้งขึ้นใหม่ในประเทศเกาหลี จะช่วยให้บริษัททราบ ความต้องการของตลาดหลักในภูมิภาคนี้ได้ทันการณ์และให้บริการแก่ลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น 16.6 ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี 1. ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fee) บริษัทและบริษัทย่อย จ่ายค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี ดังนี้ - ผู้สอบบัญชีของบริษัท ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมามีจำ� นวนเงินรวม บาท และ - ส� ำ นั ก งานสอบบั ญ ชี ที่ ผู ้ ส อบบั ญ ชี สั ง กั ด บุ ค คลหรื อ กิ จ การที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ผู ้ ส อบบั ญ ชี แ ละ ส�ำนักงาน สอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมีจำ� นวนเงินรวม 2,175,000 บาท 2. ค่าบริการอื่น ( Non -audit Fee) บริษัทและบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนของงานบริการอื่น ซึ่งได้แก่ การตรวจสอบการปฏิบัติตาม เงื่อนไขของบัตรส่งเสริม การให้บริการที่ปรึกษาด้านกฎหมายและภาษี รวมทั้งบริการตรวจสอบด้าน ภาษี และบริการเกี่ยวกับ BOI ดังนี้ - ผู้สอบบัญชีของบริษัท ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมามีจำ� นวนเงินรวม บาท และจะ ต้องจ่ายในอนาคตอันเกิดจากการตกลงที่ยังให้บริการไม่แล้วเสร็จในรอบปีบัญชีที่ผ่านมามี จ�ำนวน เงินรวม บาท และ - ส�ำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับผู้สอบบัญชีและส�ำนักงาน สอบบัญชีดังกล่าวในรอบปีบัญชีที่ผ่านมามีจำ� นวนเงินรวม 150,000 บาท และจะ ต้องจ่ายในอนาคตอันเกิดจากการตกลงที่ยังให้บริการไม่แล้วเสร็จในรอบปีบัญชีที่ผ่านมามีจ�ำนวน เงินรวม 560,000 บาท

110


111

อายุ ชื่อ - สกุล ตำ�แหน่ง (ปี) คุณวุฒิการศึกษา 1 นายมนู เลียว ประธานกรรมการ 71 • ปริญญาตรี ไพโรจน์ และประธาน เศรษฐศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมดี), กรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การตรวจสอบ • ปริญญาโท M.Sc (Econ.) University of Kentucky, U.S.A. • ปริญญาเอก บริหารธุรกิจ ดุษฎี บัณฑิต กิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ • วุฒิบัตร การพัฒนาอุตสาหกรรม จากศูนย์อบรมนาโงยา ประเทศญี่ปุ่น • ปริญญาบัตร วปอ. รุ่นที่ 34 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • ประกาศนียบัตรสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Role of Chairman (RCM) รุ่นที่ 3/2001 - หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่น ที่ 30/2003 2 นายซันจีฟ กรรมการและ 56 • ปริญญาตรี ซาราฟ รองประธาน วิศวกรรมศาสตร์, Indian Institute กรรมการ of Technology, Kharagpur

รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหารและผู้มีอ�ำนาจควบคุม

-

-

2545-ก.ค.2553 ก.ค.2553 – ปัจจุบัน พ.ค. 2545- ปัจจุบัน 2554-ปัจจุบัน

2547-ปัจจุบัน

พ.ค. 2554 – ปัจจุบัน

2554-ปัจจุบัน

2553 - ปัจจุบัน 2547 - ปัจจุบัน 2549 – ปัจจุบัน 2547 – ปัจจุบัน

2548-2553

2546-ปัจจุบัน

ความสัมพันธ์ สัดส่วน ทางครอบครัว การถือ ระหว่าง หุ้น ผู้บริหาร (ร้อยละ) ช่วงเวลา - 2547-ปัจจุบัน

กรรมการผู้จัดการ รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ

ผู้จัดการทั่วไปและประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการและประธาน กรรมการ

บริษัทโพลีเพล็กซ์ ยูโรปา โพลีเอสเตอร์ ฟิล์ม ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ ประเทศตุรกี บริษัทโพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) บริษัทโพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน บริษัทโพลีเพล็กซ์ คอร์ปอเรชั่น ลิมิเต็ด บริษัทโพลีเพล็กซ์ อเมริกา โฮลดิ้ง จำ�กัด

บริษัทโพลีเพล็กซ์ (เอเชีย) พีทีอี ลิมิเต็ด

ตำ�แหน่ง บริษัท / ประเภทธุรกิจ ประธานคณะกรรมการและ บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 5 สำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ด้านการค้าและ อุตสาหกรรม) สำ�นักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศ ประธานคณะกรรมการ เพื่อนบ้าน บริษัทเออาร์ไอพี จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัทน้ำ�ตาลขอนแก่น จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัทสยามสตีลอินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด (มหาชน) กรรมการและกรรมการ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำ�กัด (มหาชน) ตรวจสอบ ตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ บริษัท ที.เอ็ม.ซี อุตสาหกรรม จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง


112

71 • ปริญญาตรี รัฐศาสตร์บัณฑิต เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย สหรัฐอเมริกา • ปริญญาเอก เศรษฐศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย สหรัฐอเมริกา • ปริญญาเอก นิติศาสตร์ดุษฏีบัณฑิตกิติมศักดิ์, มหาวิทยาลัยเวบสเตอร์ เซ็นหลุยส์ สหรัฐอเมริกา • เครื่องราชอสริยาภรณ์ - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก - มหาวชิรมงกุฎไทย

5 ดร.วีรพงษ์ รามางกูร

กรรมการและ กรรมการ ตรวจสอบ

45 • Master’s degree MBA, India of Institute of Management, Bangalore

อายุ (ปี) คุณวุฒิการศึกษา 55 • Fellow Chartered Accountant Institute of Chartered Accountants of India • Associate Company Secretary The Institute of Company Secretaries of India

4 Mr. Manish กรรมการ Gupta

ชื่อ - สกุล ตำ�แหน่ง 3 นายปราเนย์ กรรมการ โกธารี

-

-

-

-

2548-ปัจจุบัน 2549-ปัจจุบัน 2548-ปัจจุบัน 2543-ปัจจุบัน ปัจจุบัน 2551-ปัจจุบัน 2547-ปัจจุบัน

พ.ย. 2554-ปัจจุบัน 2537-ปัจจุบัน 2538-ปัจจุบัน 2547-ปัจจุบัน

2547-ปัจจุบัน

พ.ย. 2555- ปัจจุบัน

มี.ค.2551 - ปัจจุบัน

2545-ปัจจุบัน 2539-ปัจจุบัน 2554-ปัจจุบัน

ความสัมพันธ์ สัดส่วน ทางครอบครัว การถือ ระหว่าง หุ้น ผู้บริหาร (ร้อยละ) ช่วงเวลา - 2547-ธ.ค.2554 2547-ปัจจุบัน

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานที่ปรึกษาคณะ กรรมการ ประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

กรรมการและกรรมการ ตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร นายกสมาคม

ยุทธศาสตร์ฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (กยอ.) บมจ.ทางด่วนกรุงเทพ บมจ.ดั๊บเบิ้ลเอ (1991) สมาคมไทย-ลาวเพื่อมิตรภาพ (กระทรวงการต่าง ประเทศ) บมจ. ฟินันซ่า บริษัท เซาท์อีสท์ เอเชีย เอนเนอร์จี จำ�กัด บริษัท โรงพยาบาลบางมด จำ�กัด บริษัท ไฟฟ้าน้ำ�งึม 2 จำ�กัด มูลนิธิสถาบันเพื่อการพัฒนาประเทศไทย กลุ่มบริษัท คิง พาวเวอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด บมจ.อารียา พรอพเพอร์ตี้

บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท / ประเภทธุรกิจ กรรมการ บริษัทโพลีเพล็กซ์ (สิงคโปร์) พีทีอี ลิมิเต็ด กรรมการ บริษัทโพลีเพล็กซ์ ยูโรปา โพลีเอสเตอร์ ฟิล์ม ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ ประเทศตุรกี บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัทโพลีเพล็กซ์ คอร์ปอเรชั่น ลิมิเต็ด กรรมการบริหาร บริษัทโพลีเพล็กซ์ เรซิ่น ซานายี เว ติคาเรท อาโน กรรมการ นิม ซิเกติ ผู้อำ�นวยการสูงสุดด้านการ บริษัทโพลีเพล็กซ์ คอร์ปอเรชั่น ลิมิเต็ด เงิน (กลุ่มโพลีเพล็กซ์) บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ

ตำ�แหน่ง

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

รายงานประจำ�ปี 2556-2557


113

8 นายโรฮิท กุมาร์ วาฮิททรา

กรรมการผู้ จัดการ

7 นายซีราช อี กรรมการและ รัช ปุณวาลา กรรมการ ตรวจสอบ

ชื่อ - สกุล ตำ�แหน่ง 6 นายประพัฒน์ กรรมการ โพธิวรคุณ

อายุ (ปี) คุณวุฒิการศึกษา 68 • ปริญญาด้านการบริหารธุรกิจ, วิทยาลัยเทคโนโลยี แห่งเชฟฟิลด์ ประเทศอังกฤษ • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ,รัฐประ ศาสนศาสตร์ และปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • ปริญญาเอก บริหารธุรกิจดุษฎี บัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาบริหารธุรกิจ สายบริหารธุรกิจและการจัดการ สถาบัน ราชภัฏลำ�ปาง 50 • Bachelors of Commerce Sydenham College of Commerce, ประเทศอินเดีย • Master of Commerce Sydenham College of Commerce, India • Associated Chartered Accountant Institute of Chartered Accountants, India 43 • ปริญญาตรี In Metallargy, IT – BHU, ประเทศ อินเดีย • ปริญญาโท International Business, Indian Institue of Foreign Trade, ประเทศอินเดีย • Directors Certification Program (DCP) Class 123/2009, สถาบันส่ง เสริมสถาบันกรรมการบริษัท -

-

-

-

พ.ค. 2553 – ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ พ.ค. 2551– เม.ษ.2553 กรรมการ และ Profit Center Head มี.ค.2551-ปัจจุบัน กรรมการ พ.ค.2551-ปัจจุบัน กรรมการ มิ.ย.2552-ปัจจุบัน ประธานกรรมการ ต.ค. 2555-ปัจจุบัน กรรมการ

มี.ค.51-ปัจจุบัน ก.พ.56-ปัจจุบัน

กรรมการและกรรมการ ตรวจสอบ Director – Investment กรรมการ

ก.ค. 2539 - ปัจจุบัน มิ.ย. 2537 - ปัจจุบัน

2547-ปัจจุบัน

ประธานกรรมการ กรรมการ

พ.ย. 2538 - ปัจจุบัน พ.ค. 2548 - ปัจจุบัน

ตำ�แหน่ง กรรมการ ประธานกรรมการ/ประธาน กรรมการบริหาร ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ

ความสัมพันธ์ สัดส่วน ทางครอบครัว การถือ ระหว่าง หุ้น ผู้บริหาร (ร้อยละ) ช่วงเวลา - 2547-ปัจจุบัน ต.ค. 2542- ปัจจุบัน

บริษัทโพลีเพล็กซ์ (เอเชีย) พีทีอี ลิมิเต็ด บริษัทโพลีเพล็กซ์ (สิงคโปร์) พีทีอี ลิมิเต็ด บริษัทโพลีเพล็กซ์ เทรดดิ้ง (เซินเจิ้น) จำ�กัด บริษัท อีโคบลู จำ�กัด

บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

G.P. Group of Companies Limited บริษัท เมก้า ไลฟ์ ไซแอ็นซ์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค กันยงวัฒนา จำ�กัด บริษัท นครหลวงลิสซิ่ง-แฟ็กเตอริง จำ�กัด (มหาชน) บริษัท โยโกฮมา รับเบอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท กุลธรเคอร์บี้ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท / ประเภทธุรกิจ บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) บริษัท กันยง อีเลคทริก จำ�กัด (มหาชน)

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง


114

หัวหน้าฝ่ายขาย และฝ่ายการ ตลาด

หัวหน้าฝ่าย ปฏิบัติการ

11 นายอาชิช โกช

12 นายสุเรซ ซุนดาราม

54 • ปริญญาตรี สาขา Chemical Engineering A.C. College of Technology, Madras University ,INDIA

48 • ปริญญาตรี / ปริญญาโท สาขา Science – มหาวิทยาลัย Jiwaji, Gwalior – ประเทศอินเดีย, • ปริญญาโท Business Administration – BIT Ranchi, ประเทศอินเดีย

หัวหน้าธุรกิจ – 47 • B Tech REC แผ่นฟิล์มเคลือบ Allahabad,University of อัดขึ้นรูป Allahnbad-INDIA • PGDBM – Marketing, Management development Institute,Gurgaon - INDIA

10 นายราเมช กุปต้า

ชื่อ - สกุล ตำ�แหน่ง 9 นายวิโนด ผู้บริหารสูงสุด สูเรคา ด้านการเงิน

-

-

-

-

-

-

บริษัท / ประเภทธุรกิจ บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) บริษัทโพลีเพล็กซ์ เทรดดิ้ง (เซินเจิ้น) จำ�กัด บริษัทโพลีเพล็กซ์ (เอเชีย) พีทีอี ลิมิเต็ด บริษัทโพลีเพล็กซ์ (สิงคโปร์) พีทีอี ลิมิเต็ด บริษัท อีโคบลู จำ�กัด

หัวหน้าธุรกิจ – แผ่นฟิล์ม บริษัทโพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) เคลือบอัดขึ้นรูป General Manager-Project Bhilwara Energy Limited Management Luminous Power Technologies Pvt. Ltd. General ManagerRenewable Energy

ตำ�แหน่ง ผู้บริหารสูงสุดด้านการเงิน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ก.ค. 2555 – ปัจจุบัน หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ธ.ค. 2554 – มิ.ย. 2555 Chief Operating Officer

บริษัทโพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) Tuticorin Alkali Chemicals and Fertilisers Limited Aditya Birla Grasun Chemicals Limited, มิ.ย. 2554 - พ.ย. 2554 Vice President ประเทศจีน ก.ย. 2537 – พ.ค. 2554 Deputy General Manager บริษัท ไทยอคริลิค ไฟเบอร์ จำ�กัด

พ.ย. 2552 – ปัจจุบัน

หัวหน้าฝ่ายขายและฝ่ายการ บริษัทโพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) ตลาด ธ.ค. 2538 – พ.ย. 2552 ผู้ช่วยรองประธานฝ่ายการ SRF Limited – ผู้ผลิตแผ่นฟิล์มโพลีเอสเตอร์, ผ้ายางไนล่อน, Engineering plastics ตลาด

ม.ค.2551-มิ.ย.2553

ก.ค.2553- ธ.ค.2555

ม.ค. 2556 – ปัจจุบัน

ความสัมพันธ์ สัดส่วน ทางครอบครัว การถือ อายุ ระหว่าง หุ้น (ปี) คุณวุฒิการศึกษา ผู้บริหาร (ร้อยละ) ช่วงเวลา 39 • ปริญญาตรี - ส.ค.2551-ปัจจุบัน Bachelor of Commerce, Calcutta มิ.ย.2552-ปัจจุบัน University, India, ก.ย.2554- ปัจจุบัน • Chartered Accountant, ธ.ค.2554-ปัจจุบัน The Institute of Chartered ต.ค.2555-ปัจจุบัน Accountants of India (ICAI)

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

รายงานประจำ�ปี 2556-2557


115

ชื่อ - สกุล ตำ�แหน่ง 13 นายมาโนช หัวหน้าฝ่ายขาย ซินฮา และฝ่ายการ ตลาด – แผ่น ฟิล์มหนา

อายุ (ปี) คุณวุฒิการศึกษา 55 • ปริญญาโท สาขา Business Adminstration - Indian Institute of Foreign Trade

ตำ�แหน่ง บริษัท / ประเภทธุรกิจ หัวหน้าฝ่ายขายและฝ่ายการ บริษัทโพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) ตลาด – แผ่นฟิล์มหนา ก.ย. 2555 – ธ.ค. 2555 AVP –Sales & Marketing บริษัทโพลีเพล็กซ์ คอร์ปอเรชั่น ลิมิเต็ด – Thick PET Film Garware Polyester Ltd. พ.ค. 2546 – ส.ค. 2555 Sr.Manager- Global Marketing Operations

ความสัมพันธ์ สัดส่วน ทางครอบครัว การถือ ระหว่าง หุ้น ผู้บริหาร (ร้อยละ) ช่วงเวลา - ม.ค. 2556 – ปัจจุบัน

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง


116

Mr.Ashish Ghosh

Commenda International BV(Corporate Director)

12

13

-

///

-

///

-

-

-

-

-

-

/

-

/

/

-

-

/

-

-

-

-

///

-

-

-

-

-

/, ///

-

-

/

X

-

-

/

-

-

-

-

-

/

-

-

/

-

-

/

-

/

-

-

-

-

-

X

-

-

-

บริษัท โพลีเพล็กซ์ เทรดดิ้ง (เซินเจิ้น) จำ�กัด* (PTSL)*

บริษัทที่เกี่ยวข้อง

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

/

บริษัทโพลีเพล็กซ์ อเมริกา โฮลดิ้ง จำ�กัด (PAH)

บริษัทย่อย

-

-

-

/

//

-

-

-

-

/

-

-

-

บริษัท อีโคบลู จำ�กัด

บริษัทย่อย

-

-

-

-

-

-

-

/, ///

-

-

-

-

/

บริษัท โพลีเพล็กซ์ ยูเอสเอ แอลแอลซี (PU)***

บริษัทที่เกี่ยวข้อง

/

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

บริษัท โพลีเพล็กซ์ ยุโรป บี วี (PEBV)

บริษัทย่อย

/

-

/

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

โพลีเพล็กซ์ ปาเกต เลอเม คอซัมเลอรี ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ (PP)**

บริษัทที่เกี่ยวข้อง

หมายเหตุ : X = ประธานกรรมการ XX = รองประธานกรรมการ / = กรรมการ // = กรรมการบริหาร /// = ผู้บริหาร * บริษัทโพลีเพล็กซ์ (สิงคโปร์) พีทีอี ลิมิเต็ด ถือหุ้นร้อยละ 100 ใน บริษัทโพลีเพล็กซ์ ยูโรปา โพลีเอสเตอร์ฟิล์ม ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ และบริษัทโพลีเพล็กซ์ เทรดดิ้ง (เซินเจิ้น) จ�ำกัด ** บริษัทโพลีเพล็กซ์ ยูโรปา โพลีเอสเตอร์ฟิล์ม ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ ถือหุ้นร้อยละ 67 ใน โพลีเพล็กซ์ เรซิ่นซานายิ เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ และถือหุ้นร้อยละ 99.99 ใน พลีเพล็กซ์ ปาเกตเลอ เม คอซัมเลอรี ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ ** บริษัทโพลีเพล็กซ์ อเมริกา โฮลดิ้ง จ�ำกัด ถือหุ้นร้อยละ 100 ในบริษัทโพลีเพล็กซ์ ยูเอสเอ แอลแอลซี ซึ่งบริษัทด�ำเนินงานในโครงการโพลีเอสเตอร์ฟิล์มชนิดบางในประเทศ สหรัฐอเมริกา

Mr.Avneet Singh

11

-

Mr. Pranay Jain

Mr. William Mok Peng Kay

8

นายวิโนด สูเรคา

Mr. Navin Jatia

7

9

นายอามิต การ์ร่า

6

10

-

Mr. Amit Prakash

5

/

//, ///

นายมานิตย์ กุปต้า

นายโรฮิท กุมาร์ วาฮิททรา

/

3

นายปราเนย์ โกธารี

2

-

บริษัท โพลีเพล็กซ์ (สิงคโปร์) พีทีอี จำ�กัด (PSPL)

บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

XX

บริษัท โพลีเพล็กซ์ เรซิ่น ซานายิ เว ติ คาเรท อาโนนิม ซิเกติ (PR)**

บริษัท โพลี เพล็กซ์ ยูโรปา โพลีเอสเตอร์ฟิล์ม ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ (PE)*

4

นายซันจีฟ ซาราฟ

1

รายชื่อ

บริษัทที่เกี่ยวข้อง

บริษัทที่เกี่ยวข้อง

บริษัทย่อย

บริษัท

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557

รายงานประจำ�ปี 2556-2557


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ซึ่ง ประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 งบก�ำไรขาดทุนรวม งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวม และงบกระแสเงินสดรวมส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึง หมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญและหมายเหตุเรื่องอื่น ๆ และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของ บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงินและรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจ�ำเป็นเพื่อให้สามารถจัด ท�ำงบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อ ผิดพลาด ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้า ได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งก�ำหนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อก�ำหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อให้ ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินปราศจากการ แสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจ�ำนวนเงินและ การเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึง การประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญของงบการเงินไม่ว่าจะเกิดจาก การทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้อง กับการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินโดยถูกต้องตามที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะ สมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของ กิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสม ผลของประมาณการทางบัญชีที่จัดท�ำขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้งการประเมินการน�ำเสนองบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ ในการแสดงความเห็น ของข้าพเจ้า ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 ผลการด�ำเนินงานและกระแส เงินสด ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และ เฉพาะของบริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ข้อมูลและเหตุการณ์ที่เน้น ข้าพเจ้าขอให้สังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เนื่องจาก 117


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 การน�ำมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่องภาษีเงินได้ มาถือปฏิบัติ บริษัทฯได้ปรับย้อนหลังงบการเงินรวม และ งบการเงินเฉพาะกิจการส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2556 ที่แสดงเป็นข้อมูลเปรียบเทียบ เพื่อ สะท้อน รายการปรับปรุงจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว และน�ำเสนองบแสดงฐานะการ เงินรวมและ งบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 1 เมษายน 2555 เพื่อเป็นข้อมูลเปรียบเทียบ โดยใช้นโยบายการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได้ที่ได้นำ� มาถือปฏิบัติใหม่ด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ ข้าพเจ้ามิได้แสดงความเห็น อย่างมีเงื่อนไขต่อกรณีนี้แต่อย่างใด

เติมพงษ์ โอปนพันธุ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4501 บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด (เดิมชื่อ “บริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด”) กรุงเทพฯ: 23 พฤษภาคม 2557

118


119

14

11 12 13 22

9 10 7

8

20,077,979 14,096,250,562 355,717,533 7,038,679 10,420,550 72,801,998 15,088,422 14,577,395,723 19,581,074,511

979,405,128 6,000,000 1,680,521,425 2,167,111,553 39,508,703 39,090,124 92,041,855 5,003,678,788

31 มีนาคม 2557

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ เงินจ่ายล่วงหน้าค่าสินค้า ภาษีซื้อรอเรียกคืน สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำ�ประกัน เงินลงทุนในบริษัทย่อย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าความนิยม สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อสินทรัพย์ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

หมายเหตุ

บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557

11,864,119 11,447,677,121 55,620,643 7,038,679 3,136,482 90,620,407 14,646,635 11,630,604,086 16,512,186,140

1,468,336,634 94,001,000 1,384,382,467 1,741,438,402 48,280,243 63,352,128 81,791,180 4,881,582,054

งบการเงินรวม 31 มีนาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่)

6,360,048,887 27,650,628 3,874,351 2,007,443 447,471,579 8,650,268 6,849,703,156 11,966,620,913

1,681,809,653 1,396,691,807 1,623,791,836 305,064,743 34,110,004 75,449,714 5,116,917,757

1 เมษายน 2555

1,368,767,829 5,206,739,842 141,339,118 25,363,333 14,262,028 6,756,472,150 8,393,954,892

22,313,575 867,841,043 670,102,860 6,046,783 39,038,195 32,140,286 1,637,482,742

31 มีนาคม 2557

1,355,546,732 4,997,594,675 55,620,643 37,503,914 14,646,635 6,460,912,599 8,167,608,031

75,923,455 78,000,000 760,557,602 672,036,481 6,063,441 63,346,522 50,767,931 1,706,695,432

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 มีนาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่)

1,313,491,892 3,118,710,965 19,104,622 344,484,861 8,604,003 4,804,396,343 6,285,754,989

29,641,023 805,875,522 564,604,348 6,962,067 34,110,004 40,165,682 1,481,358,646

1 เมษายน 2555

(หน่วย: บาท)


120 1,650,009,412 1,322,901,265 1,006,117,391 1,570,012 485,496 353,018,204 4,334,101,780 243,754,288 6,339,391,415 5,532,835 20,317,963 6,608,996,501 10,943,098,281

15 16

18 19

7 18 19 17

31 มีนาคม 2557

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้จากการซื้อบริษัทย่อย ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี ส่วนของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้ค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - สุทธิ จากส่วนที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิ จากส่วนที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี สำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน

หมายเหตุ

บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557

16,510,578 5,318,951,614 8,267,306,106

4,871,708,643

430,732,393

70,650 270,271,567 2,948,354,492

455,193,839

1,044,440,125 1,178,378,311 -

งบการเงินรวม 31 มีนาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่)

9,767,671 1,260,284,570 3,478,368,032

1,250,516,899

-

20,891,111 168,621,255 2,218,083,462

363,759,992

326,744,800 1,094,006,167 244,060,137

1 เมษายน 2555

8,657,175 2,800,434,977 5,114,986,098

2,791,777,802

-

121,791,827 2,314,551,121

578,183,865

984,923,812 629,651,617 -

31 มีนาคม 2557

7,441,312 2,569,859,523 4,098,910,779

2,562,418,211

-

107,545,810 1,529,051,256

371,427,309

385,000,000 665,078,137 -

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 มีนาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่)

6,051,667 1,162,391,170 2,195,929,604

1,156,339,503

-

79,215,427 1,033,538,434

271,996,222

80,000,000 602,326,785 -

1 เมษายน 2555

(หน่วย: บาท)

รายงานประจำ�ปี 2556-2557


121

20

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 960,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ทุนออกจำ�หน่ายและชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว หุ้นสามัญ 800,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้น กำ�ไรสะสม จัดสรรแล้ว - สำ�รองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม ของบริษัทย่อย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

หมายเหตุ

96,000,000 6,694,145,724 (816,562,151) 8,144,043,573 100,836,461 8,244,880,034 16,512,186,140

110,550,221 8,637,976,230 19,581,074,511

800,000,000 1,370,460,000

800,000,000 1,370,460,000 96,000,000 6,102,428,031 158,537,978 8,527,426,009

960,000,000

งบการเงินรวม 31 มีนาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่)

960,000,000

31 มีนาคม 2557

บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557

142,174,599 8,488,252,881 11,966,620,913

96,000,000 6,427,651,814 (348,033,532) 8,346,078,282

800,000,000 1,370,460,000

960,000,000

1 เมษายน 2555

3,278,968,794 8,393,954,892

96,000,000 1,012,508,794 3,278,968,794

800,000,000 1,370,460,000

960,000,000

4,068,697,252 8,167,608,031

96,000,000 1,802,237,252 4,068,697,252

800,000,000 1,370,460,000

960,000,000

4,089,825,385 6,285,754,989

96,000,000 1,823,365,385 4,089,825,385

800,000,000 1,370,460,000

960,000,000

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 มีนาคม 2557 31 มีนาคม 2556 1 เมษายน 2555 (ปรับปรุงใหม่)

(หน่วย: บาท)


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบก�ำไรขาดทุน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557 งบการเงินรวม รายได้ รายได้จากการขาย กำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยน เงินปันผลรับ รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน รวมค่าใช้จ่าย กำ�ไร (ขาดทุน) ก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน กำ�ไร (ขาดทุน) ก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ผลประโยชน์ภาษีเงินได้ กำ�ไร (ขาดทุน) สำ�หรับปี

หมายเหตุ

2557

23

10,702,538,404 89,998,590 10,792,536,994

9,230,018,464 177,398,836 87,768,151 9,495,185,451

4,517,512,645 60,015,110 4,577,527,755

4,205,439,768 173,836,044 9,483,705 49,402,782 4,438,162,299

9,773,860,402 737,452,670 490,312,895 383,089,437 11,384,715,404

7,874,168,461 630,475,704 528,625,632 9,033,269,797

4,543,188,851 293,454,492 82,177,067 336,790,865 5,255,611,275

3,941,029,982 297,878,785 74,924,889 4,313,833,656

(592,178,410) (190,048,006) (782,226,416) 293,337,462 (488,888,954)

461,915,654 (86,806,412) 375,109,242 16,328,668 391,437,910

(678,083,520) (85,363,413) (763,446,933) 85,718,475 (677,728,458)

124,328,643 (45,972,797) 78,355,846 36,516,021 114,871,867

(479,717,693)

402,493,910

(677,728,458)

114,871,867

(9,171,261) (488,888,954)

(11,056,000) 391,437,910

(0.60)

0.50

(0.85)

0.14

12

22

การแบ่งปันกำ�ไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม ของบริษัทย่อย

กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำ�ไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ

24

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 122

2556 (ปรับปรุงใหม่)

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่)


บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557 งบการเงินรวม 2557

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (677,728,458) 114,871,867

(488,888,954)

2556 (ปรับปรุงใหม่) 391,437,910

กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น: ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงค่า งบการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำ�หรับปี

992,719,150 992,719,150

(484,523,568) (484,523,568)

-

-

กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี

503,830,196

(93,085,658)

(677,728,458)

114,871,867

495,382,436

(70,485,401)

(677,728,458)

114,871,867

8,447,760 503,830,196

(22,600,257) (93,085,658)

กำ�ไร (ขาดทุน) สำ�หรับปี

การแบ่งปันกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม ของบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 123


124 96,000,000

800,000,000 1,370,460,000

96,000,000 96,000,000

-

800,000,000 1,370,460,000 800,000,000 1,370,460,000

-

96,000,000

96,000,000 -

800,000,000 1,370,460,000 -

800,000,000 1,370,460,000

-

96,000,000

-

-

800,000,000 1,370,460,000

ส่วนเกินมูลค่า หุ้น

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 - ตามที่ รายงานไว้เดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (หมายเหตุ 4) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 - ปรับปรุง ใหม่ กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 25) การลงทุนในบริษัทย่อยเพิ่มขึ้น (หมายเหตุ 12) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2555 - ตามที่ รายงานไว้เดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (หมายเหตุ 4) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2555 - ปรับปรุง ใหม่ กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี - ปรับปรุงใหม่ เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 25) เงินปันผลจ่ายโดยบริษัทย่อย การลงทุนในบริษัทย่อยเพิ่มขึ้น ซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อยจากส่วนของผู้มีส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม (หมายเหตุ 2.2) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556

ทุนเรือนหุ้น ที่ออก และชำ�ระ เต็มมูลค่าแล้ว

6,694,145,724 (479,717,693) (112,000,000) 6,102,428,031

54,402,501

6,639,743,223

6,694,145,724

6,427,651,814 402,493,910 (136,000,000) -

25,879,804

6,401,772,010 -

(789,749,127) (31,263,716) 975,100,129 185,351,002 (31,263,716)

78,851

(789,827,978) (31,263,716)

(789,749,127) (31,263,716)

(316,769,816) (31,263,716) (472,979,311) -

53,245

(316,823,061) (31,263,716)

รวม องค์ประกอบ อื่น ของส่วนของผู้ ถือหุ้น

รวม ส่วนของผู้ ถือหุ้น ของบริษัทฯ

53,245

25,933,049

1,218,142

55,620,643 4,450,692 (816,562,151) 8,144,043,573 - 975,100,129 495,382,436 - (112,000,000) 4,450,692 158,537,978 8,527,426,009

1,139,291

3,311,401 (817,780,293) 8,088,422,930

4,450,692 4,450,692 4,450,692 4,450,692 (816,562,151) 8,144,043,573

- (348,033,532) 8,346,078,282 - (472,979,311) (70,485,401) - (136,000,000) -

-

- (348,086,777) 8,320,145,233

งบการเงินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น กำ�ไรขาดทุน กำ�ไรสะสม เบ็ดเสร็จอื่น ส่วนเกินทุน ส่วนต่างของราคา จากการรวม ซื้อเงินลงทุนใน ผลต่างจาก บริษัทย่อยกับ ธุรกิจ การแปลงค่า มูลค่าตามบัญชี งบการเงินที่เป็น ภายใต้การ จัดสรรแล้ว ของส่วนได้เสีย ควบคุม เงินตราต่าง สำ�รองตาม ที่ได้มา เดียวกัน ประเทศ กฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร

บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557

100,836,461 8,447,760 1,266,000 110,550,221

-

100,836,461

(27,227,892) 100,836,461

142,174,599 (22,600,257) (542,636) 9,032,647

1,717,579

140,457,020

ส่วนของผู้มี ส่วนได้เสีย ที่ไม่มี อำ�นาจควบคุม ของบริษัทย่อย

8,244,880,034 503,830,196 (112,000,000) 1,266,000 8,637,976,230

55,620,643

8,189,259,391

(22,777,200) 8,244,880,034

8,488,252,881 (93,085,658) (136,000,000) (542,636) 9,032,647

27,650,628

8,460,602,253

รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น

(หน่วย: บาท)

รายงานประจำ�ปี 2556-2557


125

800,000,000 800,000,000 800,000,000

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 - ตามที่รายงานไว้เดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (หมายเหตุ 4) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 - ปรับปรุงใหม่ กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 25) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

800,000,000 800,000,000 800,000,000

ทุนเรือนหุ้นที่ออก และชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2555 - ตามที่รายงานไว้เดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (หมายเหตุ 4) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2555 - ปรับปรุงใหม่ กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี - ปรับปรุงใหม่ เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 25) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556

บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557

1,370,460,000 1,370,460,000 1,370,460,000

1,370,460,000 1,370,460,000 1,370,460,000

ส่วนเกินมูลค่าหุ้น

96,000,000 96,000,000 96,000,000

96,000,000 96,000,000 96,000,000

1,804,260,763 19,104,622 1,823,365,385 114,871,867 (136,000,000) 1,802,237,252 1,746,616,609 55,620,643 1,802,237,252 (677,728,458) (112,000,000) 1,012,508,794

งบการเงินเฉพาะกิจการ กำ�ไรสะสม จัดสรรแล้ว สำ�รองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร

4,070,720,763 19,104,622 4,089,825,385 114,871,867 (136,000,000) 4,068,697,252 4,013,076,609 55,620,643 4,068,697,252 (677,728,458) (112,000,000) 3,278,968,794

รวม

(หน่วย: บาท)


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557 งบการเงินรวม 2557 2556 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน กำ�ไร (ขาดทุน) ก่อนภาษี รายการปรับกระทบยอดกำ�ไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำ�เนินงาน: ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย หนี้สงสัยจะสูญ การปรับลดสินค้าคงเหลือเป็นมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ กำ�ไรจากการจำ�หน่ายเงินลงทุนชั่วคราว ขาดทุน (กำ�ไร) จากการจำ�หน่ายและตัดจำ�หน่าย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน (กำ�ไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง รายได้เงินปันผล ดอกเบี้ยจ่าย กำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงใน สินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงาน สินทรัพย์ดำ�เนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินดำ�เนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น จ่ายผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน เงินสดจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำ�เนินงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำ�เนินงาน

(782,226,416)

616,357,673 5,249,847 20,789,648 (276,335)

411,977,123 3,719,807 13,192,437 (538,611)

747,928,406

305,092,960 167,764 3,428,293 (276,335)

78,355,846

234,512,345 13,192,438 (538,611)

(545,115) 13,811,241 1,817,346 1,673,050 381,869,216 (142,669,550) (9,483,705) 85,363,413 44,980,673 13,470,609

233,833,727

(300,530,697) 444,110 (105,212,006) 30,498,118 (447,310,765) (130,693,211) (1,494,672) (120,624,571) 27,722,547 219,308,852 45,070,291 (27,331,465) (441,787) (5,996,367) 384,607 (6,042,632) 116,616,566 68,428,271 77,586,237 108,647,576 (4,350,948) (5,523,533) (164,447,046) 1,002,544,104 (5,184,006) (30,600,596) (169,631,052) 971,943,508

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 126

375,109,242 (763,446,933)

1,163,425 26,070,300 6,410,802 12,904,832 349,628,751 (150,338,484) 149,164,406 55,831,760 366,261,801

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

21,470,615 10,478,427 (601,483) (16,433,612) (16,433,612)

46,859,648 24,879,002 (283,405) 181,788,422 181,788,422


บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด (ต่อ) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

งบการเงินรวม 2557 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำ�ประกันเพิ่มขึ้น เงินลงทุนชั่วคราวลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินสดจ่ายซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินปันผลรับจากบริษัทย่อย เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อสินทรัพย์ลดลง เจ้าหนี้ค่าซื้อสินทรัพย์เพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินรับจากการจำ�หน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนเพิ่มขึ้น เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น จ่ายชำ�ระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น จ่ายชำ�ระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน จ่ายดอกเบี้ย เงินปันผลจ่าย เงินปันผลจ่ายผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม ของบริษัทย่อย เงินรับจากผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม ของบริษัทย่อย เงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิ่มเติม รายการที่ไม่ใช่เงินสด อุปกรณ์เพิ่มขึ้นภายใต้สัญญาเช่าการเงิน

2556

(8,213,860) 88,277,335 17,818,409 60,432,050 898,282 -2,064,861,084 (9,456,174) (1,915,105,042)

(11,864,119) (93,462,389) (266,837,337) 356,851,172 19,780,187 15,209,296 -5,898,754,709 (2,111,021) (5,881,188,920)

78,276,335 (13,221,097) 12,140,581 (57,501,876) 11,761,111 (498,283,532) (466,828,478)

(77,461,389) (42,054,840) 9,483,705 306,980,947 18,538,945 623,364 (2,110,206,906) (1,894,096,174)

605,569,287 (252,943,625) 1,710,444,439 (452,394,688) (239,691,059) (112,000,000)

717,695,325 430,732,393 4,365,278,126 (378,138,989) (134,915,535) (136,000,000)

599,923,812 410,349,592 (359,869,091) (108,752,103) (112,000,000)

305,000,000 1,938,640,180 (290,175,220) (58,874,776) (136,000,000)

-

(542,636)

-

-

1,266,000 1,260,250,354 335,554,234 (488,931,506) 1,468,336,634 979,405,128

5,868,319 4,869,977,003 (174,204,610) (213,473,019) 1,681,809,653 1,468,336,634

429,652,210 (53,609,880) 75,923,455 22,313,575

1,758,590,184 46,282,432 29,641,023 75,923,455

7,102,847

-

-

-

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 127


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557 1. ข้อมูลทั่วไป บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เป็นบริษัทมหาชนซึ่งจัดตั้งและมีภูมิลำ� เนา ในประเทศไทย โดยมีบริษัท โพลีเพล็กซ์ คอร์ปอเรชั่น ลิมิเต็ด ซึ่งเป็นบริษัทที่จดทะเบียนจัดตั้งในประเทศ อินเดียเป็นบริษัทใหญ่ ธุรกิจหลักของบริษัทฯคือการผลิตและจ�ำหน่ายโพลีเอสเตอร์ฟิล์ม ฟิล์มเคลือบโลหะ ฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูป คาสท์โพลิโพรพิลีนฟิล์ม ฟิล์มเคลือบซิลิโคน และเม็ดพลาสติก โดยมีที่อยู่ตามที่จด ทะเบียนของส�ำนักงานและโรงงานดังนี้ ส�ำนักงาน: 75/26 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 2 ชั้น 18 ซอยสุขุมวิท 19 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร โรงงาน 1: สยามอีสเทิร์น อินดัสเตรียล พาร์ค 60/24 หมู่ 3 ต�ำบลมาบยางพร อ�ำเภอปลวกแดง จังหวัด ระยอง โรงงาน 2: สยามอีสเทิร์น อินดัสเตรียล พาร์ค 60/91 หมู่ 3 ต�ำบลมาบยางพร อ�ำเภอปลวกแดง จังหวัด ระยอง โรงงาน 3: สยามอีสเทิร์น อินดัสเตรียล พาร์ค 60/109 หมู่ 3 ต�ำบลมาบยางพร อ�ำเภอปลวกแดง จังหวัด ระยอง 2. เกณฑ์ ในการจัดท�ำงบการเงิน 2.1 งบการเงินนี้จัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ก�ำหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบการเงินตามข้อก�ำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทย เป็นงบการเงินฉบับที่บริษัทฯใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลจากงบการ เงินฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ได้จัดท�ำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่น ในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑ์ ในการจัดท�ำงบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี้ได้จัดท�ำขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทฯ”) และบริษัทย่อย (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทย่อย”) ดังต่อ ไปนี้

128


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557 1. ข้อมูลทั่วไป บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เป็นบริษัทมหาชนซึ่งจัดตั้งและมีภูมิล�ำเนา ในประเทศไทย โดยมีบริษัท โพลีเพล็กซ์ คอร์ปอเรชั่น ลิมิเต็ด ซึ่งเป็นบริษัทที่จดทะเบียนจัดตั้งในประเทศ อินเดียเป็นบริษัทใหญ่ ธุรกิจหลักของบริษัทฯคือการผลิตและจ�ำหน่ายโพลีเอสเตอร์ฟิล์ม ฟิล์มเคลือบโลหะ ฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูป คาสท์โพลิโพรพิลีนฟิล์ม ฟิล์มเคลือบซิลิโคน และเม็ดพลาสติก โดยมีที่อยู่ตามที่จด ทะเบียนของส�ำนักงานและโรงงานดังนี้ ส�ำนักงาน: 75/26 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 2 ชั้น 18 ซอยสุขุมวิท 19 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร โรงงาน 1: สยามอีสเทิร์น อินดัสเตรียล พาร์ค 60/24 หมู่ 3 ต�ำบลมาบยางพร อ�ำเภอปลวกแดง จังหวัด ระยอง โรงงาน 2: สยามอีสเทิร์น อินดัสเตรียล พาร์ค 60/91 หมู่ 3 ต�ำบลมาบยางพร อ�ำเภอปลวกแดง จังหวัด ระยอง โรงงาน 3: สยามอีสเทิร์น อินดัสเตรียล พาร์ค 60/109 หมู่ 3 ต�ำบลมาบยางพร อ�ำเภอปลวกแดง จังหวัด ระยอง 2. เกณฑ์ ในการจัดท�ำงบการเงิน 2.1 งบการเงินนี้จัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ก�ำหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบการเงินตามข้อก�ำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทย เป็นงบการเงินฉบับที่บริษัทฯใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลจากงบการ เงินฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ได้จัดท�ำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่น ในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑ์ ในการจัดท�ำงบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี้ได้จัดท�ำขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทฯ”) และบริษัทย่อย (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทย่อย”) ดังต่อ ไปนี้

129


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 ชื่อบริษัท

ลักษณะธุรกิจ

จัดตั้งขึ้นใน ประเทศ

บริษัท อีโคบลู จำ�กัด

ผลิตและจำ�หน่าย ไทย ผลิตภัณฑ์พลาสติกรีไซเคิล Polyplex (Singapore) Pte. Ltd. บริษัทเพื่อการลงทุน สิงคโปร์ Polyplex America Holdings Inc. บริษัทเพื่อการลงทุน สหรัฐอเมริกา Polyplex Europe B.V. จำ�หน่ายฟิล์มพลาสติก เนเธอร์แลนด์ Polyplex Europa Polyester Film Sanayi Ve ผลิตและจำ�หน่าย ตุรกี Ticaret Anonim Sirketi (ถือหุ้นร้อยละ 100 โพลีเอสเตอร์ฟิล์ม และ โดย Polyplex (Singapore) Pte. Ltd.) เม็ดพลาสติก Polyplex Trading (Shenzhen) Co., Ltd. จำ�หน่ายฟิล์มพลาสติก สาธารณรัฐ (ถือหุ้นร้อยละ 100 โดย Polyplex (Singapore) ประชาชนจีน Pte. Ltd.) Polyplex USA LLC (ถือหุ้นร้อยละ 100 โดย ผลิตและจำ�หน่าย สหรัฐอเมริกา Polyplex America Holdings Inc.) โพลีเอสเตอร์ฟิล์ม Polyplex Resins Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi (ถือหุ้นร้อยละ 67 โดย Polyplex Europa Polyester Film Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi) Polyplex Paketleme Cozumleri Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi (ถือหุ้นร้อยละ 99.99 โดย Polyplex Europa Polyester Film Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi)

130

อัตราร้อยละของ การถือหุ้น 2557 2556 ร้อยละ ร้อยละ 80.00 80.00 100.00 100.00 100.00 100.00

100.00 100.00 100.00

100.00

100.00

100.00

100.00

ผลิตและจำ�หน่าย โพลีเอสเตอร์เรซิน

ตุรกี

67.00

67.00

จำ�หน่ายฟิล์มพลาสติก

ตุรกี

99.99

-

ข) บริษัทฯน�ำงบการเงินของบริษัทย่อยมารวมในการจัดท�ำงบการเงินรวมตั้งแต่วันที่บริษัทฯมีอ�ำนาจ ในการควบคุมบริษัทย่อยจนถึงวันที่บริษัทฯสิ้นสุดการควบคุมบริษัทย่อยนั้น ค) งบการเงินของบริษัทย่อยได้จัดท�ำขึ้นโดยใช้นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญเช่นเดียวกันกับของบริษัทฯ ง) สินทรัพย์และหนี้สินตามงบการเงินของบริษัทย่อยซึ่งจัดตั้งในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาท โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ส่วนรายได้และค่าใช้จ่ายแปลงค่าเป็น เงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยรายเดือน ผลต่างซึ่งเกิดขึ้นจากการแปลงค่าดังกล่าวได้ แสดงไว้เป็นรายการ “ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ” ในงบแสดง การเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวม จ) ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อย รายการค้าระหว่างกันที่มีสาระส�ำคัญได้ถูกตัดออกจาก งบการเงินรวมนี้แล้ว ฉ) ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม คือ จ�ำนวนก�ำไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สุทธิของ บริษัทย่อยส่วนที่ไม่ได้เป็นของบริษัทฯ และแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของก�ำไรหรือ ขาดทุนรวมและส่วนของผู้ถือหุ้นในงบแสดงฐานะการเงินรวม


ช) ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯได้ลงทุนในสัดส่วนร้อยละ 100 ใน Polyplex Europe B.V. ตามที่ กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 12 ซ) ในระหว่างปีปัจจุบัน Polyplex Paketleme Cozumleri Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi ได้ถูก จัดตั้งขึ้นในประเทศตุรกี ด้วยทุนจดทะเบียน 100,000 เหรียญตุรกี โดยมีบริษัทย่อยของบริษัทฯ ชื่อ Polyplex Europa Polyester Film Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi เข้าลงทุนในสัดส่วน ร้อยละ 99.99 ในบริษัทดังกล่าว ฌ) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2555 บริษัทย่อยของบริษัทฯชื่อ Polyplex Europa Polyester Film Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “Polyplex Europa”) ได้เข้าลงทุนในสัดส่วน ร้อยละ 67 ในหุ้นสามัญของบริษัทย่อยของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ชื่อ Polyplex Resins Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “Polyplex Resins”) ซึ่งจดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2554 การลงทุนข้างต้นถือเป็นการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน โดยผลต่าง ระหว่างต้นทุนการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกันกับมูลค่าสุทธิตามบัญชีของ Polyplex Resins จ�ำนวน 0.76 ล้านยูโร (หรือเทียบเท่าประมาณ 31 ล้านบาท) ได้ถูกบันทึกเป็น “ส่วน เกินทุนจากการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน” และแสดงไว้เป็นรายการแยกต่างหากใน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวม เนื่องจากการซื้อหุ้นสามัญข้างต้นถือเป็นการรวม ธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน บริษัทฯจึงถือเสมือนว่า Polyplex Resins ที่ซื้อเข้ามาในเดือน พฤศจิกายน 2555 เป็นบริษัทย่อยของ Polyplex Europa มาโดยตลอด (ตั้งแต่วันที่ 2 ธันวาคม 2554) ดังนั้น งบก�ำไรขาดทุนรวมและ งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2556 จึงรวมผลการด�ำเนินงานของ Polyplex Resins ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2555 โดย ไม่ค�ำนึงถึงวันที่มีการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน (วันที่มีการซื้อหุ้นของบริษัทย่อย) ซึ่ง ผลการด�ำเนินงานของ Polyplex Resins ส�ำหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2555 ถึงวัน ที่ 5 พฤศจิกายน 2555 ที่ถูกน�ำมารวมไว้ ในงบก�ำไรขาดทุนรวมและงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2556 คิดเป็นผลขาดทุนจ�ำนวนประมาณ 27 ล้านบาท (ขาดทุน ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯคิดเป็นจ�ำนวน 18 ล้านบาท) นอกจากนี้ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2556 Polyplex Europa ได้ลงทุนเพิ่มเติมใน Polyplex Resins เป็นจ�ำนวน 0.2 ล้านยูโร หรือเทียบเท่าประมาณ 10.2 ล้านบาท ญ) ในเดือนมกราคม 2556 บริษัทฯได้ลงทุนเพิ่มเติมใน Polyplex (Americas) Inc. โดยเป็นการ ลงทุนในหุ้นสามัญในสัดส่วนร้อยละ 19.76 และลงทุนในหุ้นบุริมสิทธิจ�ำนวน 32,000 หุ้น (คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 3.85) โดยมีมูลค่าเงินลงทุนรวมจ�ำนวน 0.76 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา หรือเทียบ เท่าประมาณ 23 ล้านบาท การลงทุนข้างต้นท�ำให้บริษัทฯมีสัดส่วนเงินลงทุนในหุ้นสามัญและหุ้น บุริมสิทธิของ Polyplex (Americas) Inc. เพิ่มขึ้นเป็นอัตราร้อยละ 100 โดยเกิดส่วนต่างระหว่าง เงินค่าซื้อเงินลงทุนเพิ่มกับมูลค่าตามบัญชีของส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมของ บริษัทย่อยที่ได้มาเป็นจ�ำนวน 4.4 ล้านบาท ซึ่งได้แสดงไว้ ในองค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือ หุ้นในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวม ภายหลังจากการลงทุนเพิ่มเติมใน Polyplex (Americas) Inc. ข้างต้น Polyplex (Americas) Inc. ได้รวมธุรกิจเข้ากับ Polyplex USA LLC โดย Polyplex America Holdings Inc.ได้ออกหุ้นสามัญ 131


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 จ�ำนวน 1,524 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.01 เหรียญสหรัฐอเมริกาให้แก่บริษัทฯโดยคิดเป็นมูลค่า 7.6 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา เพื่อทดแทนหุ้นสามัญและหุ้นบุริมสิทธิของ Polyplex (Americas) Inc. ที่ถูกยกเลิกไป 2.3 บริษัทฯจัดท�ำงบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะ โดยแสดงเงินลงทุนในบริษัทย่อยตาม วิธีราคาทุน 3. มาตรฐานการบัญชีใหม่ มาตรฐานการบัญชีที่เริ่มมีผลบังคับในปีบัญชีปัจจุบันและที่จะมีผลบังคับในอนาคตมีรายละเอียดดังนี้ ก. มาตรฐานการบัญชีที่เริ่มมีผลบังคับในปีบัญชีปัจจุบัน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12

ภาษีเงินได้

ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552)

การบัญชีสำ�หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปิดเผย ข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล

ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552)

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 การตีความมาตรฐานการ บัญชี

ส่วนงานดำ�เนินงาน

ฉบับที่ 10

ความช่วยเหลือจากรัฐบาล - กรณีที่ไม่มีความเกี่ยวข้องอย่าง เฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดำ�เนินงาน

ฉบับที่ 21

ภาษีเงินได้ - การได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ที่ไม่ได้คิด ค่าเสื่อมราคาที่ตีราคาใหม่

ฉบับที่ 25

ภาษีเงินได้ - การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการ หรือของผู้ถือหุ้น

แนวปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับการโอนและการรับโอนสินทรัพย์ทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชีและแนวปฏิบัติทางบัญชี ข้างต้นไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่องบการเงินนี้ ยกเว้นมาตรฐานการบัญชีดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได้ มาตรฐานฉบับนี้ก�ำหนดให้กิจการระบุผลแตกต่างชั่วคราวที่เกิดจากความแตกต่างระหว่างมูลค่าสินทรัพย์ และหนี้สินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงินกับฐานภาษี และรับรู้ผลกระทบทางภาษีเป็นสินทรัพย์หรือหนี้สิน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด บริษัทฯและบริษัทย่อยได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี 132


ดังกล่าวในงวดปัจจุบันและปรับย้อนหลังงบการเงินของปีก่อนที่แสดงเป็นข้อมูลเปรียบเทียบเสมือนหนึ่ง ว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ผลกระทบทางภาษีเป็นสินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีมาโดย ตลอด ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีดังกล่าวแสดงอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 ข. มาตรฐานการบัญชีที่จะมีผลบังคับในอนาคต วันที่มีผลบังคับใช้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555)

การนำ�เสนองบการเงิน

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2555)

งบกระแสเงินสด

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555)

ภาษีเงินได้

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555)

สัญญาเช่า

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2555)

รายได้

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2555)

ผลประโยชน์ของพนักงาน

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2555)

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงิน ตราต่างประเทศ

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555)

การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้อง กัน

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2555)

เงินลงทุนในบริษัทร่วม

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2555)

ส่วนได้เสียในการร่วมค้า

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555)

งบการเงินระหว่างกาล

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2555)

การด้อยค่าของสินทรัพย์

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2555)

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2555)

การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555)

การรวมธุรกิจ

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 4

สัญญาประกันภัย

1 มกราคม 2559

ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2555)

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดำ�เนินงาน ที่ยกเลิก

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2555)

ส่วนงานดำ�เนินงาน

1 มกราคม 2557

สัญญาเช่าดำ�เนินงาน - สิ่งจูงใจที่ให้แก่ผู้เช่า

1 มกราคม 2557

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15

133


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 วันที่มีผลบังคับใช้ ฉบับที่ 27

การประเมินเนื้อหาสัญญาเช่าที่ทำ�ขึ้นตามรูปแบบ กฎหมาย

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 29

การเปิดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริการ

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 32

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - ต้นทุนเว็บไซต์

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 1

การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการ รื้อถอน การ บูรณะ และหนี้สินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 4

การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 5

สิทธิในส่วนได้เสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะและ การปรับปรุงสภาพแวดล้อม

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 7

การปรับปรุงย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 เรื่อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่มี ภาวะเงินเฟ้อรุนแรง

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 10

งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 12

ข้อตกลงสัมปทานบริการ

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 13

โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 17

การจ่ายสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 18

การโอนสินทรัพย์จากลูกค้า

1 มกราคม 2557

การตีความมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน

ฝ่ายบริหารของบริษัทฯได้ประเมินแล้วเห็นว่ามาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การ ตีความมาตรฐานการบัญชี และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินข้างต้นไม่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ ของบริษัทฯ หรือไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่องบการเงินเมื่อน�ำมาถือปฏิบัติ 4. ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเนื่องจากการน�ำมาตรฐานการบัญชีใหม่มาถือปฏิบัติ ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯและบริษัทย่อยได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญตามที่กล่าวใน หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 เนื่องจากบริษัทฯน�ำมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่องภาษีเงินได้ มาถือ ปฏิบัติ ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าวแสดงเป็นรายการแยกต่างหากใน งบแสดง การเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น จ�ำนวนเงินของรายการปรับปรุงที่มีผลกระทบต่อรายการในงบแสดงฐานะการเงินและงบก�ำไรขาดทุนมีดังนี้

134


งบการเงินรวม ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ 31 มีนาคม 31 มีนาคม 1 เมษายน 2557 2556 2555

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ 31 มีนาคม 31 มีนาคม 1 เมษายน 2557 2556 2555

งบแสดงฐานะการเงิน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เพิ่มขึ้น

355,718

55,621

27,651

141,339

55,621

19,105

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือ หุ้นเพิ่มขึ้น

7,525

1,218

53

-

-

-

ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มี อำ�นาจควบคุมของบริษัทย่อยเพิ่ม ขึ้น

-

-

1,718

-

-

-

กำ�ไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรรเพิ่มขึ้น

348,193

54,403

25,880

141,339

55,621

19,105

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557 งบการเงิน งบการเงินรวม เฉพาะกิจการ งบกำ�ไรขาดทุน ผลประโยชน์ภาษีเงินได้เพิ่มขึ้น กำ�ไรส่วนทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษัทใหญ่เพิม่ ขึน้ กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น (บาท)

293,790 293,790 0.37

85,718 85,718 0.11

(หน่วย: พันบาท) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2556 งบการเงิน งบการเงินรวม เฉพาะกิจการ 27,987 27,987 0.03

36,516 36,516 0.04

5. นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ 5.1 การรับรู้รายได้ ขายสินค้า บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้รายได้จากการขายสินค้าเมื่อได้ โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เป็นนัย ส�ำคัญของความเป็นเจ้าของสินค้า ให้กับผู้ซื้อแล้ว รายได้จากการขายแสดงมูลค่าตามราคาในใบก�ำกับ สินค้าโดยไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ส�ำหรับสินค้าที่ได้ส่งมอบหลังจากหักส่วนลดแล้ว ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยค�ำนึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง เงินปันผลรับ เงินปันผลรับถือเป็นรายได้เมื่อบริษัทฯมีสิทธิในการรับเงินปันผล 135


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 5.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มี สภาพคล่องสูง ซึ่งถึงก�ำหนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได้มาและไม่มีข้อจ�ำกัด ในการเบิกใช้ 5.3 ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้การค้าแสดงมูลค่าตามจ�ำนวนมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญส�ำหรับผลขาดทุนโดยประมาณที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ ซึ่งโดยทั่วไป พิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุหนี้ 5.4 สินค้าคงเหลือ สินค้าส�ำเร็จรูปและสินค้าระหว่างผลิตแสดงมูลค่าตามราคาทุนถัวเฉลี่ยหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ ราคาใดจะต�่ำกว่า ราคาทุนดังกล่าวหมายถึงต้นทุนในการผลิตทั้งหมดรวมทั้งค่าโสหุ้ยโรงงานด้วย วัตถุดิบ อะไหล่และวัสดุโรงงานแสดงมูลค่าตามราคาทุนถัวเฉลี่ยหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคา ใดจะต�่ำกว่า และจะถือเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิตเมื่อมีการเบิกใช้ 5.5 เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อยที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุน บริษัทฯใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักในการค�ำนวณต้นทุนของเงินลงทุน ในกรณีที่มีการโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุนจากประเภทหนึ่งไปเป็นอีกประเภทหนึ่ง บริษัทฯจะปรับ มูลค่าของเงินลงทุนดังกล่าวใหม่โดยใช้มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่โอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน ผลแตก ต่างระหว่างราคาตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่โอนจะบันทึกในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนหรือ แสดงเป็นองค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้นแล้วแต่ประเภทของเงินลงทุนที่มีการโอนเปลี่ยน 5.6 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา ที่ดินแสดงมูลค่าตามราคาทุน อาคารและอุปกรณ์แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม และ ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าเสื่อมราคาของอาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร เครื่องจักรและอุปกรณ์ค�ำนวณจากราคาทุนโดยวิธี เส้นตรง ค่าเสื่อมราคาของอุปกรณ์อื่นค�ำนวณโดยวิธีผลรวมจ�ำนวนปี อายุการให้ประโยชน์โดยประมาณ ของอาคารและอุปกรณ์แสดงได้ดังนี้ อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร เครื่องจักรและอุปกรณ์ เครื่องตกแต่ง ติดตั้ง และเครื่องใช้สำ�นักงาน ยานพาหนะ

ค่าเสื่อมราคารวมอยู่ในการค�ำนวณผลการด�ำเนินงาน 136

-

20 และ 50 ปี 4 - 20 ปี 3 - 10 ปี 5 ปี


ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาส�ำหรับที่ดิน เครื่องจักรระหว่างทาง และสินทรัพย์ระหว่างติดตั้งและก่อสร้าง 5.7 ต้นทุนการกู้ยืม ต้นทุนการกู้ยืมของเงินกู้ที่ใช้ ในการได้มา การก่อสร้าง หรือการผลิตสินทรัพย์ที่ต้องใช้ระยะเวลานาน ในการแปลงสภาพให้พร้อมใช้หรือขาย ได้ถูกน�ำไปรวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์จนกว่าสินทรัพย์นั้น จะอยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามที่มุ่งประสงค์ ส่วนต้นทุนการกู้ยืมอื่นถือเป็นค่าใช้จ่ายในงวดที่เกิด รายการ ต้นทุนการกู้ยืมประกอบด้วยดอกเบี้ยและต้นทุนอื่นที่เกิดขึ้นจากการกู้ยืมนั้น 5.8 สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกต้นทุนเริ่มแรกของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ได้มาจากการรวมธุรกิจ ตามมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์นั้น ณ วันที่ซื้อธุรกิจ ส่วนสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ได้มาจากการอื่น บริษัทฯและบริษัทย่อยจะบันทึกต้นทุนเริ่มแรกของสินทรัพย์นั้นตามราคาทุน ภายหลังการรับรู้รายการ เริ่มแรก สินทรัพย์ไม่มีตัวตนแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า สะสม (ถ้ามี) ของสินทรัพย์นั้น บริษัทฯและบริษัทย่อยตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จ�ำกัดอย่างมีระบบตลอด อายุการให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจของสินทรัพย์นั้น และจะประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ดังกล่าว เมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์นั้นเกิดการด้อยค่า บริษัทฯและบริษัทย่อยจะทบทวนระยะเวลาการตัดจ�ำหน่าย และวิธีการตัดจ�ำหน่ายของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนดังกล่าวทุกสิ้นปีเป็นอย่างน้อย ค่าตัดจ�ำหน่ายรับรู้เป็น ค่าใช้จ่ายในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จ�ำกัดมีดังนี้ อายุการให้ประโยชน์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3 - 5 ปี 5.9 ค่าความนิยม บริษัทฯบันทึกมูลค่าเริ่มแรกของค่าความนิยมในราคาทุน ซึ่งเท่ากับต้นทุนการรวมธุรกิจส่วนที่สูงกว่า มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิที่ได้มา หากมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิที่ได้มาสูงกว่าต้นทุนการ รวมธุรกิจ บริษัทฯจะรับรู้ส่วนที่สูงกว่านี้เป็นก�ำไรในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนทันที บริษัทฯแสดงค่าความนิยมตามราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม และจะทดสอบการด้อยค่าของค่า ความนิยมทุกปีหรือเมื่อใดก็ตามที่มีข้อบ่งชี้ของการด้อยค่าเกิดขึ้น 5.10 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัทฯและบริษัทย่อย หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอ�ำนาจควบ คุมบริษัทฯและบริษัทย่อย หรือถูกบริษัทฯและบริษัทย่อยควบคุม ไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯและบริษัทย่อย นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริษัทร่วมและบุคคลที่มีสิทธิออกเสียงโดย ทางตรงหรือทางอ้อมซึ่งท�ำให้มีอิทธิพลอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่อบริษัทฯและบริษัทย่อย ผู้บริหารส�ำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯและบริษัทย่อย ที่มีอ�ำนาจในการวางแผนและควบคุมการด�ำเนินงาน 137


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 ของบริษัทฯและบริษัทย่อย 5.11 สัญญาเช่าระยะยาว สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ได้ โอนไปให้กับผู้เช่าถือเป็นสัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่า ยุติธรรมของสินทรัพย์ที่เช่าหรือมูลค่าปัจจุบันสุทธิของจ�ำนวนเงินที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่ มูลค่าใดจะต�่ำกว่า ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็นหนี้สินระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ที่ได้มาตาม สัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่เช่า สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ไม่ได้ โอนไปให้กับผู้เช่าถือเป็นสัญญาเช่าด�ำเนินงาน จ�ำนวนเงินที่จ่ายตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานรับรู้เป็นค่าใช้ จ่ายในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่า 5.12 เงินตราต่างประเทศ บริษัทฯแสดงงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็นสกุลเงินบาท ซึ่งเป็นสกุลเงินที่ใช้ ในการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ รายการต่างๆของแต่ละกิจการที่รวมอยู่ในงบการเงินรวมวัดมูลค่าด้วยสกุลเงิน ที่ใช้ ในการด�ำเนินงานของแต่ละกิจการนั้น รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินซึ่งอยู่ในสกุลเงินตราต่างประเทศได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กําไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนได้รวมอยู่ในการค�ำนวณผลการด�ำเนิน งาน 5.13 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะท�ำการประเมินการด้อยค่าของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์หรือสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตนอื่นของบริษัทฯและบริษัทย่อย หากมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์ดังกล่าว อาจด้อยค่า และจะท�ำการประเมินการด้อยค่าของค่าความนิยมเป็นรายปี บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ ขาดทุนจากการด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์มีมูลค่าต�่ำกว่ามูลค่าตามบัญชีของ สินทรัพย์นั้น ทั้งนี้มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนหมายถึงมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายของสินทรัพย์ หรือมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า บริษัทฯและบริษัทย่อยจะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุน 5.14 ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน บริษัทฯรับรู้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน และผลประโยชน์ระยะยาวอื่นของพนักงาน โครงการสมทบเงิน 138


บริษัทฯและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสม และเงินที่บริษัทฯจ่ายสมทบให้เป็นรายเดือน สินทรัพย์ของกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพได้แยกออกจาก สินทรัพย์ของบริษัทฯ เงินที่บริษัทฯจ่ายสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในปีที่เกิด รายการ โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน และผลประโยชน์ระยะยาวอื่นของพนักงาน บริษัทฯมีภาระส�ำหรับเงินชดเชยที่ต้องจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน และ ตามโครงการผลตอบแทนพนักงานอื่นๆ ซึ่งบริษัทฯถือว่าเงินชดเชยดังกล่าวเป็นโครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงานส�ำหรับพนักงาน นอกจากนั้น บริษัทฯจัดให้มีโครงการผลประโยชน์ระยะยาวอื่นของ พนักงาน ได้แก่ โครงการเงินรางวัลการปฏิบัติงานครบก�ำหนดระยะเวลา บริษัทฯค�ำนวณหนี้สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน และโครงการผล ประโยชน์ระยะยาวอื่นของพนักงาน โดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผู้เชี่ยวชาญอิสระได้ท�ำการประเมินภาระผูกพันดังกล่าวตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย ผลก�ำไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ส�ำหรับโครงการผล ประโยชน์หลังออกจากงาน และโครงการผลประโยชน์ระยะยาวอื่นของพนักงานจะรับรู้ทันทีในก�ำไรหรือ ขาดทุน 5.15 ประมาณการหนี้สิน บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยจะบั น ทึ ก ประมาณการหนี้ สิ น ไว้ ใ นบั ญ ชี เ มื่ อ ภาระผู ก พั น ซึ่ ง เป็ น ผลมาจาก เหตุการณ์ ในอดีตได้เกิดขึ้นแล้ว และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยจะเสีย ทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และบริษัทฯและบริษัทย่อยสามารถประมาณ มูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ 5.16 ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ปัจจุบัน บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้ปัจจุบันตามจ�ำนวนที่คาดว่าจะจ่ายให้กับหน่วยงานจัดเก็บภาษี ของรัฐ โดยค�ำนวณจากก�ำไรทางภาษีตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดในกฎหมายภาษีอากร ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชั่วคราวระหว่างราคาตามบัญชี ของสินทรัพย์และหนี้สิน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสินทรัพย์และหนี้สินที่เกี่ยวข้อง นั้น โดยใช้อัตราภาษีที่มีผลบังคับใช้ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชั่วคราวที่ต้องเสียภาษีทุก รายการ แต่รับรู้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีส�ำหรับผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษี รวมทั้ง ผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ ใช้ ในจ�ำนวนเท่าที่มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่บริษัทฯและบริษัทย่อยจะ 139


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 มีก�ำไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษีและผลขาดทุน ทางภาษีที่ยังไม่ได้ ใช้นั้น บริษัทฯและบริษัทย่อยจะทบทวนมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทุกสิ้นรอบ ระยะเวลารายงานและจะท�ำการปรับลดมูลค่าตามบัญชีดังกล่าว หากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ ว่า บริษัทฯและบริษัทย่อยจะไม่มีก�ำไรทางภาษีเพียงพอต่อการน�ำสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ทั้งหมดหรือบางส่วนมาใช้ประโยชน์ บริษัทฯและบริษัทย่อยจะบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีโดยตรงไปยังส่วนของผู้ถือหุ้นหากภาษีที่เกิด ขึ้นเกี่ยวข้องกับรายการที่ได้บันทึกโดยตรงไปยังส่วนของผู้ถือหุ้น 6. การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่ส�ำคัญ ในการจัดท�ำงบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจและการ ประมาณการในเรื่องที่มีความไม่แน่นอนเสมอ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการดังกล่าวนี้ส่ง ผลกระทบ ต่อจ�ำนวนเงินที่แสดงในงบการเงินและต่อข้อมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างไปจากจ�ำนวนที่ประมาณการไว้ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการ ที่ส�ำคัญมีดังนี้ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผล ขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้แต่ละราย โดยค�ำนึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี้ที่คง ค้างและสภาวะเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ในขณะนั้น เป็นต้น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา ในการค�ำนวณค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องท�ำการประมาณอายุการให้ ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือเมื่อเลิกใช้งานของอาคารและอุปกรณ์ และต้องทบทวนอายุการให้ประโยชน์และ มูลค่าคงเหลือใหม่หากมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น นอกจากนี้ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ในแต่ละช่วงเวลาและ บันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าหากคาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนต�่ำกว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ในการนี้ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่ง เกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย์นั้น สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษัทฯและบริษัทย่อยจะรับรู้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีส�ำหรับผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษี และขาดทุนทางภาษีที่ไม่ได้ ใช้เมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยจะมีก�ำไรทางภาษี ในอนาคตเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชั่วคราวและขาดทุนนั้น ในการนี้ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้อง ประมาณการว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยควรรับรู้จ�ำนวนสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเป็นจ�ำนวนเท่าใด โดยพิจารณาถึงจ�ำนวนก�ำไรทางภาษีที่คาดว่าจะเกิดในอนาคตในแต่ละช่วงเวลา

140


ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน์ และผลประโยชน์ระยะยาวอื่นของ พนักงาน หนี้สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน และตามโครงการผลประโยชน์ระยะยาวอื่น ของพนักงาน ประมาณขึ้นตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ซึ่งต้องอาศัยข้อสมมติฐานต่างๆ ในการประมาณ การนั้น เช่น อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะ และอัตราการเปลี่ยนแปลงในจ�ำนวน พนักงาน เป็นต้น 7. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ในระหว่างปี บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่ส�ำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการ ธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที่ตกลงกันระหว่างบริษัทฯและบุคคลหรือกิจการที่ เกี่ยวข้องกันเหล่านั้น ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปได้ดังนี้ งบการเงินรวม 2557 รายการธุรกิจกับบริษัทย่อย (ตัดออก จากงบการเงินรวมแล้ว) ขายสินค้า เงินปันผลรับ ขายสินทรัพย์ถาวร ซื้อวัตถุดิบ รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ รายการธุรกิจกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ขายสินค้า ซื้อวัตถุดิบ ค่าใช้จ่ายอื่น ดอกเบี้ยจ่าย

งบการเงินเฉพาะ กิจการ 2557 2556

2556 -

-

720.8 11.3 4.9 2.5

981.4 9.5 2.1 -

14.8 366.9 12.7 5.5

36.6 533.8 24.1 3.9

14.8 34.4 3.4 -

36.6 99.4 7.0 -

(หน่วย: ล้านบาท) นโยบายการกำ�หนดราคา

ราคาเทียบเคียงกับราคาตลาด ตามอัตราที่ประกาศจ่าย ราคาทุนบวกกำ�ไรส่วนเพิ่ม ราคาเทียบเคียงกับราคาตลาด ตามที่ระบุในสัญญา ราคาเทียบเคียงกับราคาตลาด ราคาเทียบเคียงกับราคาตลาด ราคาเทียบเคียงกับราคาตลาด อัตราร้อยละ Euribor + 3.25 ต่อ ปี และอัตราร้อยละ 4.5 ต่อปี

การซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อยจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ในระหว่างปี 2556 Polyplex Europa Polyester Film Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi ซึ่งเป็นบริษัท ย่อยของบริษัทฯได้ซื้อเงินลงทุนในหุ้นสามัญของ Polyplex Resins Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi จาก Polyplex (Asia) Pte. Ltd. ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯได้ลงทุนเพิ่มเติมในหุ้น สามัญและหุ้นบุริมสิทธิของ Polyplex (Americas) Inc. จ�ำนวน 23 ล้านบาท โดยเป็นการซื้อเงินลงทุนต่อจาก บริษัท โพลีเพล็กซ์ คอร์ปอเรชั่น ลิมิเต็ด จ�ำนวน 9 ล้านบาท

141


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 และ 2556 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

งบการเงินรวม 2557 2556 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 9) บริษัทย่อย บริษัทใหญ่ รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินจ่ายล่วงหน้าค่าสินค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทใหญ่ เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 16) บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย รวมเจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

491 491

-

241,145 491 241,636

248,470 248,470

-

31,584

-

-

80,921 80,921

5,645 5,645

1,469 1,469

5,645 5,645

เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยอดคงค้างของเงินกู้ยืมระหว่างบริษัทย่อยกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 และ 2556 และการเคลื่อนไหวของเงินกู้ยืมดังกล่าวมีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม เงินกู้ยืมระยะ ยาวจากกิจการ ลักษณะความ ที่เกี่ยวข้องกัน สัมพันธ์ Polyplex (Asia) ผู้ถือหุ้น Pte. Ltd. รายใหญ่

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 430,732

เพิ่มขึ้น ระหว่างปี

ลดลง ระหว่างปี -

(252,944)

ผลต่าง จากการ แปลงค่า งบการเงิน 65,966

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 243,754

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันคิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ Euribor + 3.25 ต่อปี โดยเริ่มคิดดอกเบี้ยตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2556 เงินกู้ยืมดังกล่าวมีก�ำหนดช�ำระคืนภายในระยะ เวลา 1 ปี 3 เดือน หากบริษัทย่อยไม่สามารถช�ำระคืนเงินกู้ยืมได้ครบทั้งจ�ำนวนเมื่อถึงก�ำหนดเวลาช�ำระคืน เงินกู้ยืมดังกล่าวจะถูกขยายระยะเวลาช�ำระคืนออกไปได้อีก 1 ปี 3 เดือน ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557 และ 2556 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน ที่ให้แก่กรรมการและผู้บริหาร ดังต่อไปนี้

142


(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 36.1 31.1

งบการเงินรวม ผลประโยชน์ระยะสั้น

2557 103.2

2556 93.9

ภาระค�้ำประกันกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทฯมีภาระจากการค�้ำประกันให้กับกิจการที่เกี่ยวข้องกันตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 28.4 8. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

เงินสด เงินฝากธนาคาร รวมเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

งบการเงินรวม 2557 2556 2,133 2,387 977,272 1,465,950 979,405 1,468,337

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 659 740 21,655 75,183 22,314 75,923

9. ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ยอดคงเหลือของลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 และ 2556 แยกตามอายุหนี้ที่คงค้าง นับจากวันที่ถึงก�ำหนดช�ำระได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

งบการเงินรวม 2557 2556 ลูกหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ครบกำ�หนดชำ�ระ ค้างชำ�ระ ไม่เกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน มากกว่า 6 เดือน รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ ลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ครบกำ�หนดชำ�ระ ค้างชำ�ระ ไม่เกิน 3 เดือน

1,470,737

1,223,317

534,816

464,042

195,535 6,020 20,949 1,693,241 (13,211) 1,680,030

135,132 21,365 11,482 1,391,296 (6,914) 1,384,382

90,869 10 1,839 627,534 (1,329) 626,205

47,899 75 1,234 513,250 (1,162) 512,088

491

-

233,834

244,661

-

-

2,973

-

143


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 งบการเงินรวม 2557 2556 491

3 - 6 เดือน มากกว่า 6 เดือน รวม ลูกหนี้อื่น ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ

1,680,521

-

1,384,382

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 3,809 4,218 241,025 248,470 611 867,841

760,558

10. สินค้าคงเหลือ (หน่วย: พันบาท) ราคาทุน สินค้าสำ�เร็จรูป งานระหว่างทำ� วัตถุดิบ อะไหล่และวัสดุโรงงาน สินค้าระหว่างทาง รวม

2557 749,279 388,139 566,318 288,039 216,274 2,208,049

2556 544,403 253,504 546,170 235,748 180,911 1,760,736

งบการเงินรวม รายการปรับลดราคาทุนให้ เป็นมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ 2557 2556 (24,245) (7,578) (15,974) (11,720) (718) (40,937) (19,298)

สินค้าคงเหลือ - สุทธิ 2557 2556 725,034 536,825 372,165 241,784 565,600 546,170 288,039 235,748 216,274 180,911 2,167,112 1,741,438 (หน่วย: พันบาท)

ราคาทุน สินค้าสำ�เร็จรูป งานระหว่างทำ� วัตถุดิบ อะไหล่และวัสดุโรงงาน สินค้าระหว่างทาง รวม

144

2557 72,112 204,000 251,473 151,551 10,910 690,046

2556 71,489 156,162 312,075 144,160 4,665 688,551

งบการเงินเฉพาะกิจการ รายการปรับลดราคาทุนให้ เป็นมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ 2557 2556 (3,251) (4,794) (15,974) (11,721) (718) (19,943) (16,515)

สินค้าคงเหลือ - สุทธิ 2557 2556 68,861 66,695 188,026 144,441 250,755 312,075 151,551 144,160 10,910 4,665 670,103 672,036


11. เงินฝากธนาคารที่มีภาระค�้ำประกัน ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 คือ เงินฝากประจ�ำธนาคารจ�ำนวน 0.6 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (2556: 0.4 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา) ซึ่งถูกน�ำไปค�้ำประกันภายใต้ข้อตกลงและเงื่อนไขของวงเงินกู้ยืมระยะ ยาวที่ Polyplex USA LLC ได้รับจากธนาคาร 12. เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทย่อยประกอบด้วยเงินลงทุนในหุ้นสามัญและหุ้นบุริมสิทธิของบริษัทย่อยดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ชื่อบริษัท

หุ้นสามัญ Polyplex (Singapore) Pte. Ltd. Polyplex Europe B.V. Polyplex America Holdings Inc. บริษัท อีโคบลู จำ�กัด

หุ้นบุริมสิทธิ Polyplex (Singapore) Pte. Ltd. Polyplex (Americas) Inc. รวมเงินลงทุนในบริษัทย่อย

ทุนเรียกชำ�ระแล้ว 2557 2556

0.8 ล้านยูโร 0.8 ล้านยูโร 0.2 ล้านยูโร 29.6 ล้าน 29.6 ล้าน เหรียญสหรัฐ เหรียญสหรัฐ อเมริกา อเมริกา 26.5 ล้านบาท 20.1 ล้านบาท

8.4 ล้านยูโร 8.4 ล้านยูโร -

ราคาทุน

เงินปันผลรับระหว่างปี สิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557 2556

สัดส่วนเงินลงทุน 2557 2556 ร้อยละ ร้อยละ

2557

2556

100.00 100.00 100.00

100.00 100.00

41,440 8,157 880,249

41,440 880,249

-

1,920 -

80.00

80.00

24,341 954,187

19,277 940,966

-

1,920

100.00 -

100.00 -

414,581 414,581 1,368,768

414,581 414,581 1,355,547

-

7,564 7,564 9,484

ในเดือนเมษายน 2556 Polyplex Europe B.V. ได้ถูกจัดตั้งขึ้นในประเทศเนเธอร์แลนด์ ด้วยทุนจดทะเบียน 3.0 ล้านยูโร ตามมติของที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556 โดยบริษัทฯ มีสัดส่วนเงินลงทุนร้อยละ 100 ในบริษัทดังกล่าว ในเดือนกรกฎาคม 2556 บริษัทฯได้จ่ายเงินลงทุนจ�ำนวน 0.2 ล้านยูโร หรือเทียบเท่าประมาณ 8.2 ล้านบาท ในบริษัทดังกล่าว ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัท อีโคบลู จ�ำกัด ได้เรียกช�ำระค่าหุ้นเพิ่มเติมจ�ำนวน 6.4 ล้านบาท จากผู้ถือหุ้น โดยคิดเป็นสัดส่วนของบริษัทฯจ�ำนวน 5.1 ล้านบาท บริษัทฯได้จ่ายช�ำระค่าหุ้นดังกล่าวแล้วในเดือนสิงหาคม 2556 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 และ 2556 บริษัทฯมีเงินลงทุนในหุ้นบุริมสิทธิของ Polyplex (Singapore) Pte. Ltd. เป็นจ�ำนวน 39,100 หุ้น หุ้นบุริมสิทธิดังกล่าวเป็นหุ้นบุริมสิทธิประเภทไม่สะสมและ ไม่ร่วมรับ โดยบริษัทฯมีสิทธิในการรับเงินปันผลในอัตราไม่เกินร้อยละ 7 ต่อปี ในปีที่มีการประกาศจ่าย เงินปันผล 145


146

ราคาทุน 1 เมษายน 2555 ซื้อเพิ่ม จำ�หน่าย โอนเข้า/(โอนออก) ดอกเบี้ยจ่ายที่ถือเป็นต้นทุน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 31 มีนาคม 2556 ซื้อเพิ่ม จำ�หน่าย โอนเข้า/(โอนออก) ดอกเบี้ยจ่ายที่ถือเป็นต้นทุน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 31 มีนาคม 2557 ค่าเสื่อมราคาสะสม 1 เมษายน 2555 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี จำ�หน่าย

13. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

1,207,907 890 1,059 (48,527) 1,161,329 9,455 1,399,812 123,263 2,693,859 167,900 43,430 -

-

อาคารและส่วน ปรับปรุงอาคาร

371,508 (13,299) 358,209 39,807 27,478 425,494

ที่ดิน

1,837,786 344,559 (1,725)

6,176,924 59,647 (17,491) 27,156 (244,272) 6,001,964 90,359 (3,618) 3,899,187 594,647 10,582,539

เครื่องจักร และอุปกรณ์

58,428 13,843 (459)

94,448 14,473 (521) 2,258 (4,808) 105,850 24,687 15,745 10,362 156,644 28,996 9,411 (9,926)

41,739 16,359 (12,826) 10,663 (2,052) 53,883 10,270 (7,115) 9,908 4,704 71,650

งบการเงินรวม เครื่องตกแต่งติด ตั้งและอุปกรณ์ สำ�นักงาน ยานพาหนะ

-

560,633 5,805,149 (22,550) (41,136) 84,175 (213,436) 6,172,835 1,894,650 (5,322,416) 97,819 523,317 3,366,205

สินทรัพย์ ระหว่างติดตั้ง และก่อสร้าง

-

2,236 2,236 2,736 (2,236) 2,736

เครื่องจักร ระหว่างทาง

2,093,110 411,243 (12,110)

8,453,159 5,898,754 (53,388) 84,175 (526,394) 13,856,306 2,071,964 (10,733) 97,819 1,283,771 17,299,127

รวม

(หน่วย: พันบาท)

รายงานประจำ�ปี 2556-2557


147

เครื่องจักร และอุปกรณ์ (74,429) 2,106,191 500,915 (1,564) 168,796 2,774,338

สินทรัพย์ ระหว่างติดตั้ง และก่อสร้าง 6,172,835 3,366,205

26,297 36,283

ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 31 มีนาคม 2556 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี จำ�หน่าย ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 31 มีนาคม 2557 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 มีนาคม 2556 358,209 955,661 3,895,773 36,666 31 มีนาคม 2557 425,494 2,394,880 7,808,201 62,452 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี 2556 (379.5 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหาร) 2557 (419.3 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหาร)

ที่ดิน

อาคารและส่วน ปรับปรุงอาคาร (5,662) 205,668 80,086 13,225 298,979

งบการเงินรวม (ต่อ) เครื่องตกแต่งติด ตั้งและอุปกรณ์ สำ�นักงาน ยานพาหนะ (2,628) (895) 69,184 27,586 19,084 13,263 (7,108) 5,924 1,626 94,192 35,367 2,236 2,736

เครื่องจักร ระหว่างทาง

411,243 613,348

11,447,677 14,096,251

รวม (83,614) 2,408,629 613,348 (8,672) 189,571 3,202,876

(หน่วย: พันบาท)


ราคาทุน 1 เมษายน 2555 ซื้อเพิ่ม จำ�หน่าย โอนเข้า/(โอนออก) ดอกเบี้ยจ่ายที่ถือเป็นต้นทุน 31 มีนาคม 2556 ซื้อเพิ่ม จำ�หน่าย โอนเข้า/(โอนออก) ดอกเบี้ยจ่ายที่ถือเป็นต้นทุน 31 มีนาคม 2557

148

196,627 196,627 196,627

ที่ดิน 653,561 890 1,050 655,501 9,455 589,679 1,254,635

อาคารและส่วน ปรับปรุงอาคาร 3,424,987 13,441 (14,347) 300 3,424,381 16,762 1,948,491 5,389,634

46,776 2,992 (108) 276 49,936 15,574 6,814 72,324

22,819 9,896 (1,624) 31,091 9,559 (7,115) 33,535

งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องตกแต่งติด เครื่องจักรและ ตั้งและอุปกรณ์ อุปกรณ์ สำ�นักงาน ยานพาหนะ 9,796 2,080,753 (880) (1,626) 17,624 2,105,667 444,197 (11,209) (2,542,749) 27,171 23,077

สินทรัพย์ ระหว่างติดตั้ง และก่อสร้าง 2,235 2,235 2,736 (2,235) 2,736

เครื่องจักร ระหว่างทาง

4,354,566 2,110,207 (16,959) 17,624 6,465,438 498,283 (18,324) 27,171 6,972,568

รวม

(หน่วย: พันบาท)

รายงานประจำ�ปี 2556-2557


149

ค่าเสื่อมราคาสะสม 1 เมษายน 2555 109,568 1,078,672 32,056 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี 32,752 190,438 6,354 จำ�หน่าย (1,235) (45) 31 มีนาคม 2556 142,320 1,267,875 38,365 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี 46,776 242,761 8,785 จำ�หน่าย 31 มีนาคม 2557 189,096 1,510,636 47,150 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 มีนาคม 2556 196,627 513,181 2,156,506 11,571 31 มีนาคม 2557 196,627 1,065,539 3,878,998 25,174 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี 2556 (223.2 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหาร) 2557 (289.5 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหาร)

ที่ดิน

อาคารและส่วน ปรับปรุงอาคาร 2,105,667 23,077

11,808 14,589

สินทรัพย์ ระหว่างติดตั้ง และก่อสร้าง

15,559 4,968 (1,244) 19,283 6,771 (7,108) 18,946

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ต่อ) เครื่องตกแต่งติด เครื่องจักรและ ตั้งและอุปกรณ์ อุปกรณ์ สำ�นักงาน ยานพาหนะ 2,235 2,736

เครื่องจักร ระหว่างทาง

234,512 305,093

4,997,595 5,206,740

1,235,855 234,512 (2,524) 1,467,843 305,093 (7,108) 1,765,828

รวม

(หน่วย: พันบาท)


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีอุปกรณ์จ�ำนวนหนึ่งซึ่งตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้วแต่ยัง ใช้งานอยู่ มูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของสินทรัพย์ดังกล่าวมีจ�ำนวนเงินประมาณ 46.1 ล้าน บาท (2556: 38.9 ล้านบาท) (เฉพาะของบริษัทฯ: 30.1 ล้านบาท 2556: 25.4 ล้านบาท) บริษัทฯและบริษัทย่อยได้น�ำสินทรัพย์มูลค่าสุทธิตามบัญชีจ�ำนวนประมาณ 6,007.3 ล้านบาท (2556: 2,465.8 ล้านบาท) ไปค�้ำประกันวงเงินสินเชื่อที่ได้รับจากสถาบันการเงิน (เฉพาะของบริษัทฯ: 2,188.7 ล้านบาท 2556: 2,379.9 ล้านบาท) ในเดือนกรกฎาคม 2555 Polyplex USA LLC ได้จ่ายซื้อกลุ่มของสินทรัพย์จากบริษัทแห่งหนึ่งเพื่อใช้ ในธุรกิจ ผลิตฟิล์มเคลือบโลหะ คิดเป็นจ�ำนวนรวมประมาณ 6.3 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา โดยกลุ่มของสินทรัพย์ที่ ได้มามีรายละเอียดดังนี้ ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ เครื่องจักรและอุปกรณ์

ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา 2.8 1.7 1.8

เครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ได้มาจ�ำนวน 1.8 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา หรือเทียบเท่าประมาณ 54.8 ล้านบาท ได้รวมอยู่ในรายการเปลี่ยนแปลงของบัญชีที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ส�ำหรับปี 2556 แล้ว 14. สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม ราคาทุน 1 เมษายน 2555 ซื้อเพิ่ม จำ�หน่าย ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 31 มีนาคม 2556 ซื้อเพิ่ม ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 31 มีนาคม 2557 ค่าตัดจำ�หน่ายสะสม 1 เมษายน 2555 ค่าตัดจำ�หน่ายสำ�หรับปี จำ�หน่าย ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 31 มีนาคม 2556 ค่าตัดจำ�หน่ายสำ�หรับปี

150

6,285 2,111 (276) (646) 7,474 9,456 1,774 18,704 4,278 734 (276) (398) 4,338 3,010


(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 935 8,283

ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 31 มีนาคม 2557 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 มีนาคม 2556 31 มีนาคม 2557 ค่าตัดจำ�หน่ายสำ�หรับปี 2556 2557

3,136 10,421 734 3,010

15. เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน อัตราดอกเบี้ย เงินกู้ยืมระยะสั้น จากธนาคาร เจ้าหนี้ทรัสต์รีซีท ตั๋วสัญญาใช้เงิน รวมเงินกู้ยืมระยะ สั้นจากสถาบัน การเงิน

2557 (ร้อยละต่อปี) LIBOR + 2.0%

2556 (ร้อยละต่อปี) LIBOR + 1.5% และ LIBOR + 2.0% 3.20% - 3.25% 2.65% - 3.43% 3.45% - 3.55%

งบการเงินรวม 2557 2556

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

665,085 152,924 832,000

659,440 385,000

152,924 832,000

385,000

1,650,009

1,044,440

984,924

385,000

เงินกู้ยืมระยะสั้นจากธนาคาร ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 เป็นเงินกู้ยืมในสกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาจ�ำนวน 20.5 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (2556: 22.5 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา) ที่บริษัทย่อยได้รับจากธนาคาร เงิน กู้ยืมดังกล่าวค�้ำประกันโดยบริษัทฯ 16. เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้ค่าซื้อสินทรัพย์ รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

งบการเงินรวม 2557 2556 80,921 5,645 1,073,251 1,035,298 31,057 59,920 137,672 77,515 1,322,901 1,178,378

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 1,469 5,645 577,428 540,480 30,987 41,438 19,768 77,515 629,652 665,078

151


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 17. ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน จ�ำนวนเงินส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานซึ่งเป็นเงินชดเชยพนักงานเมื่อออกจากงานแสดงได้ดังนี้

ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ต้นปี ต้นทุนบริการในปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบี้ย ผลประโยชน์ที่จ่ายในระหว่างปี กำ�ไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน สำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานปลายปี

งบการเงินรวม 2557 2556 16,511 9,768 7,210 12,393 654 512 (4,351) (5,524) (1,454) 1,748 20,318

(638) 16,511

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 7,441 6,052 1,522 1,429 295 244 (601) (284) 8,657

7,441

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานรวมอยู่ในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนแสดงได้ดังนี้

ต้นทุนบริการในปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบี้ย ผลกำ�ไรจากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัยที่รับรู้ ในปี รวมค่าใช้จ่ายที่รับรู้ ในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุน

งบการเงินรวม 2557 2556 7,210 12,393 654 512 (1,454) 6,410

12,905

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 1,522 1,429 295 244 1,817

1,673

สมมติฐานที่ส�ำคัญในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันประเมินสรุปได้ดังนี้

อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต (ขึ้นกับช่วงอายุของพนักงาน)

152

งบการเงินรวม 2557 2556 (ร้อยละต่อปี) (ร้อยละต่อปี) 4.2 และ 10.3 4.2 และ 10.0 3.0 - 8.0

3.0 - 8.0

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (ร้อยละต่อปี) (ร้อยละต่อปี) 4.2 4.2 3.0 - 8.0

3.0 - 8.0


18. เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืม

การชำ�ระคืน

เงินกู้ยืมอัตราดอกเบี้ยลอยตัว Euribor + 0.6% ถึง 3.8% (2556: Euribor + 0.6% ถึง 3.8%) เงินกู้ยืมอัตราดอกเบี้ยลอยตัว Libor + 1.50% ถึง 3.38% (2556: Libor + 1.50% ถึง 2.95%) เงินกู้ยืมอัตราดอกเบี้ยคงที่ ร้อย ละ 4.61 ถึง 5.54 (2556: ร้อยละ 4.61 ถึง 5.54) รวม หัก: ส่วนที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายใน หนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วนที่ ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี

ชำ�ระคืนเริ่มตั้งแต่เดือน เมษายน 2549 ถึง เดือนสิงหาคม 2562 ชำ�ระคืนเริ่มตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2552 ถึงเดือน กันยายน 2563 ชำ�ระคืนเริ่มตั้งแต่เดือน เมษายน 2549 ถึง เดือนกรกฎาคม 2559

งบการเงินรวม 2557 2556

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

2,491,436

1,738,993

975,892

872,905

4,775,747

3,481,310

2,315,745

1,954,340

78,325 7,345,508

106,600 5,326,903

78,325 3,369,962

106,600 2,933,845

(1,006,117)

(455,194)

(578,184)

(371,427)

6,339,391

4,871,709

2,791,778

2,562,418

เงินกู้ยืมของบริษัทฯค�้ำประกันโดยการจดจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างและเครื่องจักรของบริษัทฯ ส่วนเงิน กู้ยืมของบริษัทย่อยค�้ำประกันโดยการจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างและการจ�ำน�ำเครื่องจักรและเงินฝาก ธนาคารของบริษัทย่อย และการค�้ำประกันโดยบริษัทฯตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 28.4 ภายใต้สัญญาเงินกู้ยืมบริษัทฯและบริษัทย่อยต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินบางประการ เช่น การด�ำรง อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น และอัตราส่วนความสามารถในการช�ำระหนี้ เป็นต้น โดยบริษัทย่อยแห่ง หนึ่งมีเงื่อนไขที่ต้องด�ำรงอัตราส่วนหนี้สินต่อก�ำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี และค่าเสื่อมราคา (EBITDA) ด้วย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทฯมีสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยกับธนาคารแห่งหนึ่งโดยบริษัทฯตกลง ที่จะเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยของเงินกู้ยืมคงเหลือจ�ำนวน 1.4 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา จากอัตราดอกเบี้ย ลอยตัวตามอัตรา LIBOR ต่อปี เป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 2.61 ต่อปี และเงินกู้ยืมคงเหลือจ�ำนวน 1.0 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา จากอัตราดอกเบี้ยลอยตัวตามอัตรา LIBOR ต่อปี เป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 3.54 ต่อปี สัญญาดังกล่าวจะหมดอายุในวันที่ 31 กรกฎาคม 2559

153


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 19. หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หัก: ดอกเบี้ยรอการตัดจำ�หน่าย รวม หัก: ส่วนที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิจากส่วนที่ถึง กำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2557 2556 7,840 (737) 7,103 (1,570) 5,533 -

บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ท�ำสัญญาเช่าการเงินเพื่อเช่าอุปกรณ์ไว้ ใช้ ในการด�ำเนินงานของกิจการ เฉลี่ยของสัญญาเช่าอยู่ที่ 5 ปี

โดยมีอายุ

20. ส�ำรองตามกฎหมาย ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯต้องจัดสรร ก�ำไรสุทธิประจ�ำปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนส�ำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิประจ�ำปีหักด้วยยอดขาดทุน สะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนส�ำรองนี้จะมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ส�ำรองตาม กฎหมายดังกล่าวไม่สามารถน�ำไปจ่ายเงินปันผลได้ ในปัจจุบันบริษัทฯได้จัดสรรส�ำรองตามกฎหมายไว้ครบ ถ้วนแล้ว 21. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่ส�ำคัญดังต่อไปนี้

เงินเดือน ค่าแรงและผลประโยชน์อื่นของพนักงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย ขาดทุนจากการลดมูลค่าของสินค้าคงเหลือ วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป การเปลี่ยนแปลงในสินค้าสำ�เร็จรูปและงานระหว่างทำ�

งบการเงินรวม 2557 2556 1,051,827 805,098 616,358 411,977 20,790 13,192 8,145,993 5,704,793 (339,511) (71,258)

22. ภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557 และ 2556 สรุปได้ดังนี้

154

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 387,143 310,463 305,093 234,512 3,428 13,192 3,347,143 3,070,983 (48,161) (85,364)


งบการเงินรวม 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) ภาษีเงินได้ปัจจุบัน: ภาษีเงินได้นิติบุคคลสำ�หรับปี รายการปรับปรุงค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคล ของปีก่อน ค่าตัดจำ�หน่ายภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี: ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากการเกิดผลแตก ต่างชั่วคราวและการกลับรายการผลแตกต่าง ชั่วคราว ค่าใช้จ่าย (ผลประโยชน์) ภาษีเงินได้ที่แสดงอยู่ใน งบกำ�ไรขาดทุน

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่)

1,571

11,653

-

-

(1,123) 5

5

-

-

(293,790)

(27,987)

(85,718)

(36,516)

(293,337)

(16,329)

(85,718)

(36,516)

บริษัทฯไม่มีภาระภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับปี เนื่องจากบริษัทฯได้รับสิทธิพิเศษทางด้านภาษีอากรจากการ ส่งเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 โดยการอนุมัติของคณะกรรมการส่ง เสริมการลงทุน และมีผลขาดทุนทางภาษียกมาจากปีก่อนมากกว่าก�ำไรจากกิจการที่ไม่ได้รับการส่งเสริมการ ลงทุนส�ำหรับปี Polyplex Europa Polyester Film Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi และ Polyplex Resins Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi (บริษัทย่อย) เป็นบริษัทผู้ผลิตสินค้าที่ด�ำเนินงานอยู่ใน Free Trade Zone ใน ประเทศตุรกี ซึ่งได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลจนถึงรอบปีบัญชีที่ประเทศตุรกีเข้าเป็นสมาชิกของสหภาพ ยุโรปอย่างสมบูรณ์ อย่างไรก็ตาม สิทธิประโยชน์ทางภาษีนี้จ�ำกัดอยู่เฉพาะผลก�ำไรจากการขายสินค้าที่ผลิต เท่านั้น รายการกระทบยอดจ�ำนวนเงินระหว่างค่าใช้จ่าย (ผลประโยชน์) ภาษีเงินได้กับผลคูณของก�ำไร (ขาดทุน) ทาง บัญชีกับอัตราภาษีที่ใช้ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557 และ 2556 สามารถแสดงได้ดังนี้

กำ�ไร (ขาดทุน) ทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล กำ�ไร (ขาดทุน) ทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลคูณ อัตราภาษี ผลกระทบทางภาษีของรายได้จากการส่งเสริมการ ลงทุนที่ไม่ต้องนำ�มาเสียภาษี

งบการเงินรวม 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่)

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่)

(782,226)

375,109

(763,447)

78,356

ร้อยละ 17 - 38 ร้อยละ 17 - 38

ร้อยละ 20

ร้อยละ 23

(228,467)

82,541

(152,689)

18,022

(74,438)

(88,328)

-

(6,078)

155


รายงานประจำ�ปี 2556-2557

ผลกระทบทางภาษีของรายได้ที่ไม่ต้องนำ�มาเสียภาษี ผลกระทบทางภาษีของค่าใช้จ่ายที่ไม่สามารถนำ�มาหัก ภาษีได้ ผลกระทบทางภาษีของค่าใช้จ่ายที่มีสิทธิหักได้เพิ่มขึ้น ผลกระทบทางภาษีของผลขาดทุนทางภาษี รายการปรับปรุงค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคลของปี ก่อน ค่าตัดจำ�หน่ายภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากการเกิดผลแตกต่าง ชั่วคราว และการกลับรายการผลแตกต่างชั่วคราว ค่าใช้จ่าย (ผลประโยชน์) ภาษีเงินได้ที่แสดงอยู่ในงบ กำ�ไรขาดทุน

งบการเงินรวม 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (6,975) -

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (2,181)

8,120 (368,800) 672,131

20,135 (56,642) 53,947

5,913 (40,492) 187,268

2,555 (56,642) 44,324

(1,123) 5

5

-

-

8,145,993

5,704,793

3,347,143

3,070,983

(339,511)

(71,258)

(48,161)

(85,364)

ส่วนประกอบของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) งบแสดงฐานะการเงิน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ 31 มีนาคม 31 มีนาคม 1 เมษายน 31 มีนาคม 31 มีนาคม 1 เมษายน 2557 2556 2556 2557 2556 2556 (ปรับปรุง (ปรับปรุง ใหม่) ใหม่) สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือ สำ�รองค่าใช้จ่ายอื่น ค่าเสื่อมราคาสะสม - อาคารและอุปกรณ์ สำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน เงินชดเชยการส่งออกค้างรับ ขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ ใช้ รวม

2,544 19,457 26,805 (339,073) 1,731 (479) 644,733 355,718

1,116 3,017 1,488 (171) 50,171 55,621

4,991 7,531 (386) 1,210 (166) 14,471 27,651

1,836 3,739 1,731 (479) 134,512 141,339

1,116 3,017 1,488 (171) 50,171 55,621

332 3,258 1,210 (166) 14,471 19,105

ในเดือนตุลาคม 2554 คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากอัตราร้อยละ 30 เป็น ร้อยละ 23 ในปี 2555 (รอบบัญชีปี 2555 - 2556 ของบริษัทฯ) และเป็นร้อยละ 20 ตั้งแต่ปี 2556 (รอบบัญชี 156


ปี 2556 - 2557 ของบริษัทฯ) เป็นต้นไป และในเดือนธันวาคม 2554 ได้มีพระราชกฤษฎีกาประกาศลดอัตรา ภาษีเงินได้นิติบุคคลเพื่อให้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าวส�ำหรับปี 2555 - 2557 บริษัทฯได้สะท้อน ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีดังกล่าวในการค�ำนวณภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตามที่แสดงไว้ ข้างต้นแล้ว ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยไม่ได้บันทึกสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีส�ำหรับ รายการผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษี และขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ ใช้จ�ำนวน 181 ล้านบาท (2556: 127 ล้านบาท) (เฉพาะของบริษัทฯ: 145 ล้านบาท 2556: 25 ล้านบาท) เนื่องจากฝ่ายบริหารของบริษัทฯพิจารณา แล้วเห็นว่าอาจไม่ได้ ใช้รายการดังกล่าวเพื่อหักกับก�ำไรทางภาษีในอนาคต 23. การส่งเสริมการลงทุน บริษัทฯได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนส�ำหรับโครงการผลิตโพลีเอสเตอร์ ฟิล์ม ฟิล์มเคลือบโลหะ ฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูป คาสท์โพลิโพรพิลีนฟิล์ม ฟิล์มเคลือบซิลิโคน และเม็ดพลาสติก ในฐานะที่เป็นบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน บริษัทฯต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อจ�ำกัดตามที่ก�ำหนด ไว้ ในบัตรส่งเสริมการลงทุน รายได้ของบริษัทฯส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557 และ 2556 จ�ำแนกตามกิจการที่ได้รับการส่งเสริม การลงทุนและไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนสามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) กิจการที่ได้รับการส่งเสริม 2557 2556 รายได้จากการขาย รายได้จากการขายในประเทศ รายได้จากการส่งออก รวมรายได้จากการขาย

986,383 3,516,087 4,502,470

987,396 3,177,578 4,164,974

งบการเงินเฉพาะกิจการ กิจการที่ไม่ได้รับการส่งเสริม 2557 2556 9,943 5,100 15,043

39,976 490 40,466

รวม 2557

2556

996,326 3,521,187 4,517,513

1,027,372 3,178,068 4,205,440

24. ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานค�ำนวณโดยหารก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปีส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (ไม่รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ด้วยจ�ำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของหุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานแสดงการค�ำนวณได้ดังนี้

กำ�ไร (ขาดทุน) สำ�หรับปี (พันบาท) จ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก (พันหุ้น)

งบการเงินรวม 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (479,718) 402,494 800,000 800,000

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (677,728) 114,872 800,000 800,000

157


รายงานประจำ�ปี 2556-2557

กำ�ไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น (บาทต่อหุ้น)

งบการเงินรวม 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (0.60) 0.50

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (0.85) 0.14

25. เงินปันผล เงินปันผล เงินปันผลประจำ�ปี 2555

อนุมัติโดย ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อวัน ที่ 27 กรกฎาคม 2555

รวมเงินปันผลสำ�หรับปี 2556 เงินปันผลประจำ�ปี 2556 รวมเงินปันผลสำ�หรับปี 2557

ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อวัน ที่ 26 กรกฎาคม 2556

เงินปันผลจ่าย

(หน่วย: บาท) เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น

136,000,000 136,000,000

0.17 0.17

112,000,000 112,000,000

0.14 0.14

26. ข้อมูลทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงาน ข้อมูลส่วนงานด�ำเนินงานที่น�ำเสนอนี้สอดคล้องกับรายงานภายในของบริษัทฯที่ผู้มีอ� ำนาจตัดสินใจสูงสุด ด้านการด�ำเนินงานได้รับและสอบทานอย่างสม�่ำเสมอ โดยผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงานของบ ริษัทฯคือกรรมการผู้จัดการ ทั้งนี้ เกณฑ์การวัดมูลค่าของก�ำไรหรือขาดทุนจากการด�ำเนินงานของส่วนงาน ด�ำเนินงานเป็นเกณฑ์เดียวกับที่ใช้ ในการวัดก�ำไรหรือขาดทุนจากการด�ำเนินงานในงบการเงิน เพื่อวัตถุประสงค์ ในการบริหารงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยมีส่วนงานหลักทางธุรกิจเดียวคือการผลิตและ จ�ำหน่ายโพลีเอสเตอร์ฟิล์ม ฟิล์มเคลือบโลหะ ฟิล์มเคลือบอัดขึ้นรูป คาสท์โพลิโพรพิลีนฟิล์ม ฟิล์มเคลือบซิ ลิโคน และเม็ดพลาสติก และด�ำเนินธุรกิจในส่วนงานหลักทางภูมิศาสตร์สองแห่งคือในประเทศไทยและต่าง ประเทศซึ่งด�ำเนินงานโดยบริษัทย่อย ข้อมูลรายได้และก�ำไรของส่วนงานทางภูมิศาสตร์ ในงบการเงินรวมส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557 และ 2556 เป็นดังนี้

158


(หน่วย: ล้านบาท) ส่วนงานใน ประเทศไทย 2557 2556 รายได้จากการขายภายนอก รายได้จากการขายระหว่าง ส่วนงาน รายได้จากการขายทั้งสิ้น กำ�ไร (ขาดทุน) จากการ ดำ�เนินงานตามส่วนงาน รายได้และค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้ ปันส่วน: ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ผลประโยชน์ภาษีเงินได้ ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มี อำ�นาจควบคุมของบริษัทย่อย กำ�ไร (ขาดทุน) สำ�หรับปีส่วน ที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 และ 2556 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ส่วนกลาง รวมสินทรัพย์

ส่วนงานในต่างประเทศ 2557 2556

3,810.7

3,224.0

6,891.8

6,006.0

721.0 4,531.7

981.4 4,205.4

180.2 7,072.0

804.7 6,810.7

(677.1)

124.3

93.2

365.4

5,206.7 -

4,997.6 -

8,910.6 10.4

6,461.4 3.1

การตัดรายการบัญชี ระหว่างกัน 2557 2556 -

งบการเงินรวม 2557 2556 (ปรับปรุง ใหม่) - 10,702.5 9,230.0

(901.2) (1,786.1) (901.2) (1,786.1) 10,702.5 (8.3)

(21.0) -

(27.8)

9,230.0

(592.2)

461.9

(190.0) 293.3

(86.8) 16.3

9.2

11.1

(479.7)

402.5

(11.3) 14,096.3 11,447.7 10.4 3.1 5,474.4 5,061.4 19,581.1 16,512.2

บริษัทฯและบริษัทย่อยใช้เกณฑ์ ในการก�ำหนดราคาระหว่างกันตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 7 27. กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ บริษัทฯและพนักงานบริษัทฯได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนส�ำรอง เลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษัทฯและพนักงานจะจ่ายสมทบเข้ากองทุนเป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 4 - 7 ของเงินเดือน (2556: ร้อยละ 4 - 7) กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดยผู้จัดการกองทุนที่ได้รับอนุญาต และจะจ่ายให้แก่พนักงานตามระเบียบว่าด้วยกองทุนของบริษัทฯ ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทฯได้จ่ายเงินสมทบกองทุนเป็นจ�ำนวนเงิน 5,809,494 บาท (2556: 4,706,804 บาท)

159


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 28. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 28.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ายทุน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ายทุนจ�ำนวนเงิน ประมาณ 278.9 ล้านบาท (2556: 736.4 ล้านบาท) (เฉพาะของบริษัทฯ: 148.5 ล้านบาท 2556: 263.9 ล้านบาท) ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการก่อสร้างอาคาร และการซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ์ 28.2 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเช่าด�ำเนินงาน บริษัทฯได้ท�ำสัญญาเช่าที่เกี่ยวข้องกับการเช่าพื้นที่ในอาคารส�ำนักงานและอุปกรณ์ บริษัทฯมีภาระผูกพันในการจ่ายค่าเช่าตามสัญญาเช่าดังกล่าวดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 2556 จ่ายชำ�ระ ภายใน 1 ปี มากกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี

6.2 4.2

8.1 6.1

28.3 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาบริการ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทฯมีภาระผูกพันในการจ่ายค่าบริการตามสัญญาบริการหลายฉบับ คิดเป็นจ�ำนวนเงินรวม 149.4 ล้านบาท (2556: 197.0 ล้านบาท) สัญญาดังกล่าวสิ้นสุดในระหว่างเดือน เมษายน 2557 ถึงเดือนกันยายน 2559 28.4 การค�้ำประกัน ก) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทฯมีภาระค�้ำประกันระยะสั้นให้แก่บริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (Polyplex USA LLC) จ�ำนวนรวม 30.0 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (2556: 30.0 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา) ส�ำหรับวงเงินทุนหมุนเวียนที่บริษัทย่อยได้รับจากสถาบันการเงิน ข) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทฯค�้ำประกันเงินกู้ยืมระยะยาวให้แก่บริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (Polyplex USA LLC) คิดเป็นจ�ำนวนรวม 84.0 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (2556: 75.0 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกา) ส�ำหรับเงินกู้ยืมระยะยาวที่บริษัทย่อยได้รับจากสถาบันการเงิน โดย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทย่อยมียอดคงค้างของเงินกู้ยืมเป็นจ�ำนวน 76.5 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (2556: 52.1 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา) ค) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทฯค�้ำประกันเงินกู้ยืมระยะยาวให้แก่บริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (Polyplex Europa Polyester Film Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi) คิดเป็นจ�ำนวนรวม 0.1 ล้าน ยูโร (2556: 2.3 ล้านยูโร) ง) Polyplex Europa Polyester Film Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi ค�้ำประกันวงเงินกู้ยืมระยะ ยาวให้แก่ Polyplex Resins Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi ในวงเงินรวมสูงสุดไม่เกิน 27.5 ล้านยูโร ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 เงินกู้ยืมดังกล่าวมียอดคงเหลือเป็นจ�ำนวน 33.3 ล้านยูโร 160


(2556: 20.7 ล้านยูโร) โดย Polyplex Europa Polyester Film Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi ค�้ำประกันเงินกู้ยืมนี้เป็นจ�ำนวน 22.3 ล้านยูโร (2556: 13.9 ล้านยูโร) จ) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีหนังสือค�้ำประกันซึ่งออกโดยธนาคารในนาม บริษัทฯและบริษัทย่อยเหลืออยู่เป็นจ�ำนวน 197.6 ล้านบาท และ 11.3 ล้านยูโร (2556: 0.7 ล้าน บาท และ 15.7 ล้านยูโร) (เฉพาะของบริษัทฯ: 197.6 ล้านบาท 2556: 0.7 ล้านบาท) ซึ่งเกี่ยวเนื่อง กับภาระผูกพันทางปฏิบัติบางประการตามปกติธุรกิจของบริษัทฯและบริษัทย่อย 29. เครื่องมือทางการเงิน 29.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง เครื่องมือทางการเงินที่ส�ำคัญของบริษัทฯและบริษัทย่อยตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลส�ำหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและ รายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น เงินลงทุน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เงินกู้ยืม ระยะสั้น และเงินกู้ยืมระยะยาว บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงิน ดังกล่าว และมีนโยบายการบริหารความเสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ฝ่าย บริหารควบคุมความเสี่ยงนี้โดยการก�ำหนดให้มีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม และจะท�ำสัญญาประกันสินเชื่อเป็นครั้งคราว ดังนั้นบริษัทฯและบริษัทย่อยจึงไม่คาดว่าจะได้รับความ เสียหายที่เป็นสาระส�ำคัญจากการให้สินเชื่อ นอกจากนี้ การให้สินเชื่อของบริษัทฯและบริษัทย่อยไม่มี การกระจุกตัวเนื่องจากบริษัทฯและบริษัทย่อยมีฐานของลูกค้าที่หลากหลายและมีอยู่จ�ำนวนมากราย จ�ำนวนเงินสูงสุดที่บริษัทฯและบริษัทย่อยอาจต้องสูญเสียจากการให้สินเชื่อคือมูลค่าตามบัญชีของลูก หนี้และลูกหนี้อื่นที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่ส�ำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงินเบิกเกินบัญชี เงินกู้ยืมระยะสั้น และเงินกู้ยืมระยะยาวที่มีดอกเบี้ย สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงิน ส่วนใหญ่มีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกล้เคียงกับอัตรา ตลาดในปัจจุบัน นอกจากนี้ บริษัทฯจะพิจารณาท�ำสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยเป็นครั้งคราวเพื่อ ลดความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่อาจเกิดขึ้น ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 และ 2556 สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่ส�ำคัญสามารถจัดตามประเภท อัตราดอกเบี้ย และส�ำหรับสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวัน ที่ครบก�ำหนด หรือ วันที่มีการก�ำหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ (หากวันที่มีการก�ำหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ถึง ก่อน) ได้ดังนี้

161


162

เงินกู้ยืมระยะสั้นจาก สถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้า หนี้อื่น เงินกู้ยืมระยะยาวจาก กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจาก สถาบันการเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่า การเงิน

-

-

38.7

5.5

44.2

-

-

39.6

1.6

1,691.2

-

-

-

-

-

ลูกหนี้การค้าและลูก หนี้อื่น

1,650.0

-

-

หนี้สินทางการเงิน

-

-

มากกว่า 1 ถึง 5 ปี

เงินสดและ รายการเทียบเท่า เงินสด เงินลงทุนชั่วคราว

สินทรัพย์ทางการเงิน

ภายใน 1 ปี

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

มากกว่า 5 ปี

อัตราดอกเบี้ยคงที่

7,511.0

-

7,267.2

243.8

-

-

787.1

-

-

787.1

อัตรา ดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ตามราคา ตลาด (ล้านบาท)

1,322.9

-

-

-

1,322.9

-

1878.8

1,680.5

6.0

192.3

ไม่มีอัตรา ดอกเบี้ย

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557

-

-

ดูหมายเหตุ 8

อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)

ดูหมายเหตุ 7

-

10,569.3

7.1

4.0

7,345.5 ดูหมายเหตุ 18

243.8

1,322.9

1,650.0 ดูหมายเหตุ 15

2,665.9

1,680.5

6.0

979.4

รวม

-

-

-

-

420.9

-

35.9

-

-

70.7

-

70.7

-

-

-

-

-

-

-

มากกว่า 1 ถึง 5 ปี

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

5,879.7

-

5,220.3

-

-

659.4

1,233.3

-

-

1,233.3

อัตรา ดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ตามราคา ตลาด (ล้านบาท) รวม

94.0

430.7

1,609.1 7,980.4

-

- 5,326.9

430.7

1,178.4 1,178.4

- 1,044.4

1,713.4 2,946.7

1,384.4 1,384.4

94.0

235.0 1,468.3

ไม่มี อัตรา ดอกเบี้ย

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556

มากกว่า 5 ปี

อัตราดอกเบี้ยคงที่

385.0

ภายใน 1 ปี

งบการเงินรวม

-

ดูหมายเหตุ 18

ดูหมายเหตุ 7

-

ดูหมายเหตุ 15

-

-

ดูหมายเหตุ 8

อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)

รายงานประจำ�ปี 2556-2557


163

เงินกู้ยืมระยะสั้นจาก สถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้า หนี้อื่น เงินกู้ยืมระยะยาว จากสถาบันการเงิน

-

38.7

38.7

-

39.6

1,024.5

-

-

-

-

-

ลูกหนี้การค้าและลูก หนี้อื่น

984.9

-

-

หนี้สินทางการเงิน

-

-

มากกว่า 1 ถึง 5 ปี

เงินสดและรายการ เทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว

สินทรัพย์ทางการเงิน

ภายใน 1 ปี

-

-

-

-

-

-

-

-

มากกว่า 5 ปี

อัตราดอกเบี้ยคงที่

3,291.7

3,291.7

-

-

20.8

-

-

20.8

อัตรา ดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ตามราคา ตลาด (ล้านบาท)

629.7

-

629.7

-

869.3

867.8

-

1.5

ไม่มีอัตรา ดอกเบี้ย

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557

4,984.6

3,370.0

629.7

984.9

890.1

867.8

-

22.3

รวม

ดูหมายเหตุ 18

-

ดูหมายเหตุ 15

-

-

ดูหมายเหตุ 8

อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)

420.9

35.9

-

385.0

-

-

-

-

ภายใน 1 ปี

70.7

70.7

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

มากกว่า 1 ถึง มากกว่า 5 ปี 5 ปี

อัตราดอกเบี้ยคงที่

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2,827.2

2,827.2

-

-

74.2

-

-

74.2

อัตรา ดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ตามราคา ตลาด (ล้านบาท)

665.1

-

665.1

-

840.3

760.6

78.0

1.7

ไม่มีอัตรา ดอกเบี้ย

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556

3,983.9

2,933.8

665.1

385.0

914.5

760.6

78.0

75.9

รวม

ดูหมายเหตุ 18

-

ดูหมายเหตุ 15

-

-

ดูหมายเหตุ 8

อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)


รายงานประจำ�ปี 2556-2557

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 บริษัทฯมีสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยกับธนาคารเพื่อเปลี่ยนอัตรา ดอกเบี้ยจากอัตราดอกเบี้ยลอยตัวเป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการ เงินข้อ 18 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ส�ำคัญอันเกี่ยวเนื่องจากการซื้อหรือขาย สินค้าและการกู้ยืมหรือให้กู้ยืมเงินเป็นเงินตราต่างประเทศ บริษัทฯและบริษัทย่อยได้ตกลงท�ำสัญญา ซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ซึ่งส่วนใหญ่มีอายุสัญญาไม่เกินหนึ่งปีเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการ บริหารความเสี่ยง บริษัทฯมียอดคงเหลือของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ ดังนี้ สกุลเงิน

เหรียญสหรัฐอเมริกา ยูโร เยน ปอนด์สเตอร์ริง

สินทรัพย์ทางการเงิน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 2556 (ล้าน) (ล้าน) 17.04 15.33 1.13 1.17 33.70 42.09 0.78 -

จำ�นวนที่ซื้อ (ล้าน)

เหรียญสหรัฐอเมริกา

เยน

164

อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 2556 (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) 32.4432 29.3085 44.6075 37.5712 0.3244 0.3115 53.9651 44.5643

บริษัทฯมีสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าคงเหลือดังนี้ สกุลเงิน

ยูโร

หนี้สินทางการเงิน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 2556 (ล้าน) (ล้าน) 75.29 71.29 21.95 23.53 0.31 0.20 -

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญาของ จำ�นวนที่ขาย จำ�นวนที่ซื้อ จำ�นวนที่ขาย (ล้าน)

3.70

26.42

0.60

0.88

-

45.69

(บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) 32.3100 - 33.1950 บาท 31.3780 - 33.2651 บาท ต่อ 1 เหรียญสหรัฐอเมริกา ต่อ 1 เหรียญสหรัฐอเมริกา 45.0510 - 45.1280 บาท 42.9700 - 45.2000 บาท ต่อ 1 ยูโร ต่อ 1 ยูโร 0.3163 - 0.3228 บาท ต่อ 1 เยน


สกุลเงิน

จำ�นวนที่ซื้อ

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญาของ จำ�นวนที่ขาย จำ�นวนที่ซื้อ จำ�นวนที่ขาย

(ล้าน) เหรียญสหรัฐอเมริกา ฟรังก์สวิส ยูโร เยน

(ล้าน)

2.08 0.30

19.39 -

0.57 -

1.09 60.06

(บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) 29.4650 - 30.2650 บาท 29.5920 - 30.9750 บาท ต่อ 1 เหรียญสหรัฐอเมริกา ต่อ 1 เหรียญสหรัฐอเมริกา 32.8089 บาท ต่อ 1 ฟรังก์สวิส 37.9000 - 39.5700 บาท 38.0200 - 40.8268 บาท ต่อ 1 ยูโร ต่อ 1 ยูโร 0.3121 - 0.3254 บาท ต่อ 1 เยน

บริษัทย่อยมีสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าคงเหลือดังนี้ จำ�นวนที่ซื้อ 1.4 ล้านเหรียญตุรกี 4.1 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา -

จำ�นวนที่ซื้อ 3.5 ล้านเหรียญตุรกี 0.5 ล้านเหรียญตุรกี

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 จำ�นวนที่ขาย อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญา 3.1370 - 3.1480 เหรียญตุรกี ต่อ 1 ยูโร 1.3743 - 1.3748 เหรียญสหรัฐอเมริกา ต่อ 1 ยูโร 0.1 ล้านยูโร 1.3920 เหรียญสหรัฐอเมริกา ต่อ 1 ยูโร ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 จำ�นวนที่ขาย อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญา 1.8005 - 1.8231 เหรียญตุรกี ต่อ 1 เหรียญสหรัฐอเมริกา 2.3860 เหรียญตุรกี ต่อ 1 ยูโร

29.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษัทฯและบริษัทย่อยจัดอยู่ในประเภทระยะสั้น เงินกู้ยืมมีอัตราดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงประมาณมูลค่า ยุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการ เงิน มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จ�ำนวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันในขณะที่ทั้งสองฝ่าย มีความรอบรู้ และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะที่ ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วิธีการก�ำหนดมูลค่ายุติธรรมขึ้นอยู่กับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่า ยุติธรรมจะก�ำหนดจากราคาตลาดล่าสุด หรือก�ำหนดขึ้นโดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าที่เหมาะสม

165


รายงานประจำ�ปี 2556-2557 30. การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงค์ ในการบริหารจัดการทุนที่ส�ำคัญของบริษัทฯคือการจัดให้มีซึ่งโครงสร้างทุนที่เหมาะสม เพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯและเสริมสร้างมูลค่าการถือหุ้นให้กับผู้ถือหุ้น โดย ณ วัน ที่ 31 มีนาคม 2557 กลุ่มบริษัทมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 1.27:1 (2556: 1.00:1) และเฉพาะ บริษัทฯมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 1.56:1 (2556: 1.01:1) 31. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยกรรมการผู้มีอ�ำนาจของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2557

166



บริษัท โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

75/26 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร 2 ชั้น 18 สุขุมวิท 19 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 ประเทศไทย โทร: +66 2 6652706-8 / แฟกซ : +66 2 6652705 www.polyplexthailand.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.