๑
คำนำ บ้านบากแดง หมู่ที่ 12 ตาบลวังตะกอ อาเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ได้รับการตัดเลือกเป็น หมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับจังหวัด ประจาปี 2560 ของจังหวัดชุมพร สานักงาน พัฒนาชุมชนอาเภอหลังสวน จึงได้จัดทาเอกสารถอดบทเรียนฉบับนี้ขึ้นเพื่อสรุปแนวทางขั้นตอนการ ขับเคลื่อนการดาเนินงานกิจกรรมหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของบ้านบากแดง ตาม กระบวนการจัดทาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่กรมการพัฒนาชุมชนกาหนด โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของประชาชนในชุมชน ในการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล ตระหนักถึงความสาคัญ เห็นประโยชน์ของข้อมูล ยอมรับและนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ โดยชุมชน สามารถ จัดทาข้อมูลสารสนเทศชุมชนแบบบูรณาการร่วมกันของทุกภาคส่วน มาจัดการสารสนเทศเพื่อยกระดับ คุณภาพชีวิตของประชาชนในหมู่บ้าน สุดท้ายคือการนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของหมู่บ้าน เผยแพร่ผ่านสื่อ ทั้งสื่อทางเอกสารและผ่านทางเครือข่าย อินเทอร์เน็ต พร้อมบารุงรักษาให้มีความต่อเนื่อง และยั่งยืนตลอดไป สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอหลังสวน หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารการถอดบทเรียนหมู่บ้าน สารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ้านบากแดง อาเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ใน การพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน และผู้สนใจนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป
สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอหลังสวน มิถุนายน 2560
๒
สำรบัญ ส่วนที่ 1 ความเป็นมาของดาเนินงานหมู่บ้านสารสนเทศฯ ส่วนที่ 2 กระบวนการขั้นตอนการขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศฯ 2.1 ระดับจังหวัด 2.2 ระดับอาเภอ กระบวนการที่ 1 การสร้างความรู้ความเข้าใจ กระบวนการที่ 2 การกาหนดความต้องการร่วมกัน การกาหนดวิสัยทัศน์ กระบวนการที่ 3 วิเคราะห์ทางเลือกการพัฒนาสารสนเทศ ฯ กระบวนการที่ 4 การจัดทารูปแบบของสารสนเทศ ฯ กระบวนการที่ 5 รูปแบบการเผยแพร่และการดูแลรักษา ปัจจัยที่ทาให้การดาเนินงานหมู่บ้านสารสนเทศฯประสบความสาเร็จ ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะจากการดาเนินงานฯ 2.3 ผลการดาเนินงานตามโครงการฯ เกิดผลอะไรบ้างกับชุมชน 2.3.1 การนาสารสนเทศที่จัดทาขึ้นไปใช้ประโยชน์ 2.3.2 ผลที่เกิดขึ้นต่อครัวเรือน/ชุมชนจากการดาเนินโครงการฯ ส่วนที่ 3 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน 3.1 แผนที่หมู่บ้าน 3.2 ประวัติหมู่บ้าน 3.3 ประชากร ๓.๔ ผู้นาชุมชน กลุ่มองค์กร อัตลักษณ์ 3.5 ผลิตภัณฑ์ชุมชน รายได้ สภาพทางเศรษฐกิจ 3.6 แหล่งท่องเที่ยวและการบริการ 3.7 ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญา
หน้ำ 3 4 4 4 5 11 11 12 18 18 22 22 22 22 22 29 29 30 31 31 34 36 36
๓
ส่วนที่ 1 ควำมเป็นมำของกำรดำเนินงำนหมูบ่ ้ำนสำรสนเทศฯ กรมการพัฒนาชุมชนกระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่สนับสนุนและพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศชุมชน ส่งเสริมการใช้ประโยชน์และการให้บริการข้อมูลสารสนเทศเพื่อใช้ในการวางแผนบริหารการพัฒนาได้อย่างมี ประสิทธิภาพตามแผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ.2560-2564 ประเด็นยุทธศาสตร์ เสริมสร้าง ขีด ความสามารถการบริ ห ารงานชุ ม ชน กลยุ ท ธ์ บริห ารจั ด การข้ อ มู ล เพื่ อ การพั ฒ นาชนบทไทยก าหนด เป้าหมายในการดาเนินการหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 โดยให้ อาเภอคัดเลือกหมู่บ้านที่เคยจัดทา VDR และเป็นหมู่บ้านที่ไม่เตยเป็นหมู่บ้านสารสนเทศ มาก่อน อาเภอละ 1 หมู่บ้ านและให้ คัดเลือกหมู่บ้านฯ ระดับ อาเภอ เป็นหมู่บ้าน ฯ ระดับ จังหวัดๆ ละ 1 หมู่บ้านเป็นหมู่บ้าน สารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับจังหวัด จั งหวัด ชุ ม พร ได้ คั ด เลื อ กบ้ านบากแดง หมู่ ที่ 12 ต าบลวังตะกอ อ าเภอหลั งสวน เป็ น หมู่ บ้ า น สารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับจังหวัดปี 2560 ในขั้นเตรียมความพร้อมก่อนดาเนินงานพัฒนา หมู่บ้านเป้าหมาย ให้เป็นหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต จังหวัดชุมพร ได้มีการเตรียมผู้นา กรรมการหมู่บ้าน ซึ่งเป็นตัวแทนหมู่บ้านเป้าหมายและเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนอาเภอหลังสวนโดยชี้แจงแนว ทางการดาเนินงานหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจตระหนัก ถึงความสาคัญเห็นประโยชน์ของข้อมูลเกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของคนในชุมชนในการศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูล เกิดการยอมรับและนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ และเพื่อให้ ชุมชนสามารถจัดทาและบริห าร จัดการระบบข้อมูลสารสนเทศชุมชนแบบบูรณาการร่วมกันของทุกภาคส่วน
๔
ส่วนที่ 2 กระบวนกำรขั้นตอนกำรขับเคลื่อนหมู่บ้ำนสำรสนเทศเพื่อกำรพัฒนำคุณภำพชีวิต 2.1 ระดับจังหวัด Road map กำรดำเนินงำนพัฒนำหมู่บ้ำนสำรสนเทศเพื่อกำรพัฒนำคุณภำพชีวิต ปี 2560 Road map กำรดำเนินงำนหมู่บ้ำนสำรสนเทศฯ จังหวัดชุมพร แต่งตั้งคณะทำงำนฯ ระดับจังหวัด(ต.ค.) 58)
อำเภอคัดเลือก หมู่บ้ำนเป้ำหมำย เป้ำหมำย
จังหวัดลงตรวจ เยี่ยมประเมินผล
สร้ำงควำมเข้ำใจแนวทำง กำรดำเนินงำนแก่หมู่บ้ำน จัดเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้
เตรียมควำม พร้อมประกวด ระดับเขต
ติดตำม ประเมินผล
หมู่บ้ำนเผยแพร่ ประชำสัมพันธ์
จังหวัด/อำเภอสนับสนุนกำร ดำเนินงำนหมู่บ้ำนสำรสนเทศ
ส านั กงานพั ฒ นาชุมชนจั งหวัด ชุ มพร ได้ กาหนดแผนปฏิบั ติการขับเคลื่ อนการดาเนิน งานพัฒ นา หมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตประจาปี 2560 และได้ดาเนินการดังนี้ 1. จังหวัดแจ้งแนวทางการดาเนินงานและแนวทางการคัดเลือกหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒ นา คุณภาพชีวิตให้อาเภอทราบโดยให้อาเภอพิจารณาคัดเลื อกหมู่บ้านที่มีความพร้อมตามคุณสมบัติที่กาหนด อาเภอละ 1 หมู่บ้าน (ตุลาคม 2559) ๒. จังหวัดคัดเลือกหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับจังหวัด 1 หมู่บ้านโดยการ ออกพื้นที่เยี่ยมเยียนผู้นาและติดตามประเมินผลการพัฒนาหมู่บ้านจากภาคีพัฒนาและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาคัดเลือกจากหมู่บ้านสารสนเทศฯ ระดับจังหวัด ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนและ เหมาะสมซึ่งจังหวัดชุมพร ได้คัดเลือกบ้านบากแดง หมู่ที่ 12 ตาบลวังตะกอ อาเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร เป็นหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับจังหวัด (พฤศจิกายน 2559) ๓. สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดชุมพร ร่วมกับสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอหลังสวน ได้ดาเนินการ จัดเวทีประชาคมหมู่บ้าน ตามกระบวนการพัฒนาหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ติดตามผล การดาเนินงานพัฒนาหมู่บ้าน (มกราคม – พฤษภาคม 2560) 4.ติดตามสนับสนุนการดาเนินงาน สนับสนุนการถอดบทเรียน นอกจากนี้สานักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดชุมพร ยังได้บูรณาการการขับเคลื่อนกิจกรรมร่วมกับ โครงการส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนระดับ หมู่บ้าน เพื่อให้หมู่บ้านเป้าหมาย ฯ ได้เข้าใจและสามารถจัดการสารสนเทศของหมู่บ้านในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิต ของประชาชนที่ ส นั บ สนุ น สั ม มาชีพ ชุม ชน โดยปรับ ปรุงแผนชุมชนให้ ส อดคล้ อง ตอบรับปั ญ หาของ หมู่บ้าน/ชุมชนตามข้อมูล จปฐ. กชช. 2ค และสัมมาชีพชุมชน (มกราคม – พฤษภาคม 2560) 5. เตรียมความพร้อมการประกวดหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒ นาคุณภาพชีวิต ตามเกณฑ์การ ประกวดหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับเขตตรวจราชการ (มิถุนายน 2560)
๕
2.2 ระดับอำเภอ 2.2.1 คัดเลือกหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยให้พัฒนากรนาเสนอหมู่บ้านใน พื้น ที่ ที่ตนเองรั บ ผิ ดชอบโดยอาเภอพิ จารณาคัดเลื อกหมู่บ้านที่มีความพร้อมสามารถดาเนินการได้และมี หน่วยงานให้การสนับสนุนโดยมีคุณสมบัติตามที่กรมการพัฒนาชุมชนกาหนด จานวน 1 หมู่บ้าน อาเภอหลัง สวน พิจารณาคัดเลือกบ้านบากแดง หมู่ที่ 12 ตาบลวังตะกอ เป็นหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตระดับอาเภอโดยพิจารณาตามหลักเกณฑ์และคุณสมบัติของหมู่บ้านสารสนเทศฯ ประกอบด้วย 1. มีบุคลากรที่มีทักษะและสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ 2. ผู้นาและคนในหมู่บ้านมีความสนใจใฝ่รู้และให้ความสาคัญกับ ICT 3. เป็นหมู่บ้านที่ได้รับการสนับสนุนและมีการประสานงาน/บูรณาการงานงบประมาณร่วมกัน กับส่วนราชการ อบต. เทศบาลฯลฯ ในด้านการพัฒนาหมู่บ้านอย่างต่อเนื่อง 4. เป็นหมู่บ้านที่เคยจัดทา VDR 5.ไม่ เป็ น หมู่ บ้ า นสารสนเทศเพื่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ระดั บ จั ง หวั ด และอ าเภอที่ ไ ด้ ดาเนินการแล้ว 2.2.2 การแต่งตั้งคณะทางานทีมบูรณาการหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒ นาคุณภาพชีวิต ระดับ อาเภอและหมู่บ้าน 1. ในระดับอาเภอแต่งตั้งคณะทางานสนับสนุนหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับ อาเภอมีปลัดอาเภอหัวหน้ากลุ่มงานบริหารงานปกครอง เป็นหัวหน้าคณะทางานภาคีการพัฒนาระดับตาบล เป็นคณะทางานในระดับตาบลโดยมีพัฒนาการอาเภอเป็นเลขานุการคณะทางาน พัฒนากรผู้ประสานงาน ตาบลวังตะกอ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เพื่อทาหน้าที่สนับสนุน ส่งเสริมการขับเคลื่อนกิจกรรมในระดับพื้นที่ 2. ในระดับหมู่บ้านมีคณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต มีนาย กิตติ อนั น ต์แดง ผู้ ใหญ่ บ้ านบ้ านบากแดง เป็ นหั ว หน้ า และคณะกรรมการหมู่ บ้าน ผู้ นากลุ่ ม ต่าง ๆ เป็ น คณะทางาน การด าเนิ น งานพั ฒ นาหมู่ บ้ า นสารสนเทศเพื่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต จั งหวั ด ชุ ม พร ปี 2560 สานักงานพัฒ นาชุมชนจังหวัดชุมพร โดยกลุ่มงานสารสนเทศการพัฒ นาชุมชนและสานักงานพัฒนาชุมชน อาเภอหลังสวน ร่วมกับคณะทางานสนับสนุนหมู่บ้านสารสนเทศฯ ระดับอาเภอ สนับสนุน ส่งเสริมให้ผู้นา ประชาชนชนในหมู่บ้านร่วมกันขับเคลื่อนกิจกรรมการดาเนินงานพัฒนาหมู่บ้านสารสนเทศฯ ตามกระบวนการ ทางาน 5 กระบวนการและประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวข้องในการร่วมกันแก้ไข ปัญหาตามแผนการพัฒนาของหมู่บ้านให้บรรลุเป้าหมาย สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ ฯ ถอดบทเรียนการ พัฒนาหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒ นาคุณภาพชีวิต ตามกระบวนการพัฒนาหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการ พัฒนาคุณภาพชีวิต ประกอบด้วย 5 กระบวนการ ได้แก่ 1) สร้างความเข้าใจร่วมกัน 2) กาหนดความต้องการร่วมกัน 3) ร่วมกันจัดทาสารสนเทศ 4) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 5) เผยแพร่และบารุงรักษา กระบวนกำรที่ 1.กำรสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจและกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน กลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด ชุมพร ร่วมกับสานักงานพัฒนา ชุมชนอาเภอหลังสวน และคณะทางานสนับสนุนหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอาเภอ จัดเวทีประชาคมชี้แจงวัตถุประสงค์ของการดาเนินงานหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและ สร้างความรู้ความเข้าใจแนวทางการดาเนินงานหมู่บ้านสารสนเทศให้กับคณะทางานขับเคลื่อนระดับหมู่บ้าน
๖
และประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน ให้มีความเข้าใจเห็นความสาคัญและการใช้ประโยชน์ของข้อมูลและเข้ามามี ส่วนร่วมในการขับเคลื่อนและพัฒนาหมู่บ้านให้บรรลุเป้าหมายเมื่อวันที่ 6 มกราคม ๒๕60 โดยมีประเด็น ดังนี้
๑) ควำมสำคัญของข้อมูลและกำรนำไปใช้ประโยชน์ -ให้ความรู้เรื่องความหมายข้อมูลและสารสนเทศ -ตัวอย่างการนาข้อมูลและสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน -ผลการประชุมพบว่าผู้เข้าร่วมการประชุมมีความเข้าใจและเห็นความสาคัญของข้อมูลและสารสนเทศ ๒) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันว่ ำหมู่บ้ำนมีข้อมูลอะไรบ้ำง ข้อมูลที่มีในหมู่บ้ำนบอกให้ทรำบถึงอะไรและ หมู่บำ้ นนำข้อมูลที่มีไปใช้ประโยชน์อะไรบ้ำง 2.1 ข้ อมู ล ของบ้ ำ นบำกแดง จากการแลกเปลี่ ย นเรี ยนรู้ร่ว มกั น ในเวที ของหมู่ บ้ าน ท าให้ ผู้ น า ประชาชนที่เข้าร่วมเวทีรู้และเห็นความสาคัญของข้อมูล และได้จัดระเบียบข้อมูล ให้เป็นระบบ พร้อมที่จะ นาไปใช้ประโยชน์ ประกอบด้วย (1) ข้อมูลทั่วไป ประกอบด้วย ที่ตั้งของหมู่บ้าน จานวนครัวเรือนที่อาศัยอยู่จริง จานวน 175 ครัวเรือน ประชากร จานวน 501 คน (ข้อมูล จปฐ.ปี 2560) (2) ข้อมูลควำมจำเป็นพื้นฐำน (จปฐ.) เป็นข้อมูลที่บ่งบอกถึงคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็น รายครัวเรือน ปี พ.ศ.2560 บ้านบากแดง หมู่ที่ 12 ตาบลวังตะกอ มีการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ทั้งสิ้น 175 ครัวเรือน จาก 5 หมวด 31 ตัวชี้วัด มีตัวชี้วัดที่ตกเกณฑ์ ทั้งหมด 8 ตัวชี้วัด จากปัญหามากไปหาน้อย ดังนี้
๗
ลาดับ ที่ 1 2 3
4
5 6 7 8
ตัวชี้วัดข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (หมวด/ตัวชี้วัดที่ตกเกณฑ์) หมวดที่ 5 ค่ำนิยม 25.คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่ หมวดที่ 4 กำรมีงำนทำและรำยได้ 23.ครัวเรือนมีการเก็บออม หมวดที่ 3 กำรศึกษำ 16.เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รับการศึกษาภาค บังคับ หมวดที่ 2 สภำพแวดล้อม 11.ครัวเรือนมีการจัดการบ้านเรือนเป็น ระเบียบเรียบร้อยสะอาด หมวดที่ 5 ค่ำนิยม 24.คนในครัวเรือนไม่ดื่มสุรา หมวดที่ 4 กำรมีงำนทำและรำยได้ 21.คนอายุ 60 ปีขึ้นไป มีอาชีพและมีรายได้ 22.รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนต่อปี หมวดที่ 1 สุขภำพ 7.คนอายุ 6 ปีขึ้นไปออกกาลังกายอย่าง น้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆ ละ 30 นาที
จานวนคนที่ สารวจทั้งหมด
ผ่านเกณฑ์ จานวน
ไม่ผ่านเกณฑ์
ร้อยละ
จานวน
ร้อยละ
501 คน
421 คน
81.23 80 คน
15.97
175 คร.
157 คร. 89.71 18 คร.
10.29
64 คน
60 คน
93.75 4 คน
6.25
175 คร.
169 คร. 96.57 6 คร.
3.43
501 คน
487 คน
2.79
99 คน 175 คร.
97 คน 97.98 2 คน 172 คร. 98.29 3 คร.
2.02 2.02
467 คน
464 คน
0.64
97.21 14 คน
99.36 3 คน
โดยเวทีประชาคมหมู่บ้านได้นาข้อมูล จปฐ. ในตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ทาการวิเคราะห์หาแนวทางใน การแก้ไขปัญหา กาหนดเป็นแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมบรรจุในแผนชุมชนเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา หมู่บ้าน ดังนี้ ตัวชี้ แนวทางแก้ไขปัญหา รายละเอียดตัวชี้วัด กลุ่มเป้าหมาย สาเหตุของปัญหา แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม วัดที่ 25
คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่
-คนอายุ 15 ปีขึ้นไป
-ค่านิยม/สังคมเพื่อน -ความเครียด -ขาดความรู้เรื่องโทษของ บุหรี่
-รณรงค์ให้ความรู้เรื่อง โทษของบุหรี่ต่อสุขภาพ -จัดกิจกรรมนันทนาการ/ เวทีแลกเปลี่ยนวิธีการ ลดละเลิกบุหรี่
๘
ตัวชี้ วัดที่
รายละเอียดตัวชี้วัด
กลุ่มเป้าหมาย
สาเหตุของปัญหา
แนวทางแก้ไขปัญหา แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
23
ครัวเรือนมีการเก็บออม
-ครัวเรือนที่ตกเกณฑ์ และครัวเรือนอื่นๆ
-ไม่มีเงินเหลือสาหรับออม -ไม่เป็นสมาชิกกลุ่มออม ทรัพย์ -ไม่เห็นความสาคัญของ การออม
-รณรงค์ส่งเสริมการออม การดาเนินชีวิตตามแนว ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง/สร้างความรู้ ความเข้าใจ ประโยชน์ของการ รวมกลุ่ม -ต้องแก้ไขเกณฑ์ รายละเอียดตัวชี้วัดให้ เหมาะสมกับข้อเท็จจริง
16
เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รับ การศึกษาภาคบังคับ
-เด็กอายุ 6 ปี
11
ครัวเรือนมีการจัดการ บ้านเรือนเป็นระเบียบ เรียบร้อยสะอาด
-ครัวเรือนที่ตกเกณฑ์ และครัวเรือนอื่นๆ
-เด็กอายุ 6 ปี ยังเรียน ระดับเตรียมความพร้อม ก่อนวัยเรียน(ระดับ อนุบาล) -ร.ร.ประถมศึกษารับเด็ก อายุ 7 ปี เข้าเรียนชั้นป.1 -ไม่มีเวลาในการดูแล -รณรงค์ให้ครัวเรือน บ้านเรือน ด้วยหลาย ทราบถึงประโยชน์ของ เหตุผล การมีบ้านเรือนที่สะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อยที่ ส่งผลต่อสุขภาพกาย/ใจ ของผู้อยู่อาศัยฯลฯ
24
คนในครัวเรือนไม่ดื่มสุรา
-คนอายุ 15 ปีขึ้นไป ทุกคน
-ดื่มเพื่อสังคม -ดื่มเพื่อเจริญอาหาร -ดื่มในงานเลี้ยงตาม โอกาส
21
คนอายุ 60 ปีขึ้นไป มี อาชีพและมีรายได้
-ผู้สูงอายุเป้าหมาย ที่ตกเกณฑ์
ทางานไม่ไหว -พิการร่างกาย -ป่วย/เป็นโรคอ้วน
-รณรงค์รดละเลิกการดื่ม เครื่องดองของเมา/เมาไม่ ขับ -ให้ความรู้โทษของการ ดื่มเหล้าต่อสุขภาพ -สนับสนุนส่งเสริมอาชีพ ตามความเหมาะสมกับ สภาพร่างกาย -สงเคราะห์ช่วยเหลือคาม ความเหมาะสม
๙
ตัวชี้ รายละเอียดตัวชี้วัด วัดที่ 22 รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน ต่อปี
7
กลุ่มเป้าหมาย -ครัวเรือนผู้มีรายได้ น้อยที่ตกเกณฑ์
คนอายุ 6 ปีขึ้นไปออก -คนอายุ 6 ปีขึ้นไป กาลังกายอย่างน้อย สัปดาห์ละ 3 วันๆ ละ 30 นาที
สาเหตุของปัญหา
แนวทางแก้ไขปัญหา แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
เป็นผู้สูงอายุ/ทางานไม่ไหว -พิการร่างกาย -ป่วย/เป็นโรคอ้วน -มีรายได้หลักจากเบี้ยยังชีพ
-สนับสนุนส่งเสริมอาชีพ ตามความเหมาะสมกับ สภาพร่างกาย -สงเคราะห์ช่วยเหลือคาม ความเหมาะสม -ไม่มีเวลาในการออกกาลัง -รณรงค์ให้เห็นความ กาย ด้วยหลายเหตุผล สาคัญของการออกกาลัง -ไม่ชอบออกกาลังกาย กายเพื่อสุขภาพ -สนับสนุนอุปกรณ์เครื่อง ออกกาลังกายในชุมชน -จัดกิจกรรมด้านกีฬาใน ชุมชน
(3) ข้อมูลพื้นฐำนระดับหมู่บ้ำน (กชช. 2ค) เป็นข้อมูลบ่งบอกถึงสภาพความเป็นจริง สภาพ ปัญหาของหมู่บ้านทุก ๆ ด้าน ปี 2560 ผลจากการจัดเก็บข้อมูล กชช. 2ค ทั้งหมด 7 ด้าน 33 ตัวชี้วัด บ้านบากแดง หมู่ที่ 12 ตาบลวังตะกอ มี ไม่มีตัวชี้วัด ที่มีปัญหามาก ได้คะแนน 1 มีตัวชี้วัดที่มีปัญหาปาน กลาง ได้คะแนน 2 จานวน 6 ตัวชี้วัด และมีตัวชี้วัดที่มีปัญหาน้อย ได้คะแนน 3 จานวน 23 ตัวชีว้ ัด จัดเป็น หมู่บ้ำนเร่งรัดพัฒนำอันดับ 3 โดยมีตัวชี้วัดที่ได้คะแนน 2 ปัญหาปานกลาง ดังนี้ ลาดับที่ 1 2 3 4 5 6
ตัวชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค (หมวด/ตัวชี้วัดที่ตกเกณฑ์) ด้ำนที่ 1 โครงสร้ำงพื้นฐำน (1) ถนน (4) น้าเพื่อการเกษตร (7) การติดต่อสื่อสาร ด้ำนที่ 6 ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม (27) การใช้ประโยชน์จากที่ดิน ด้ำนที่ 7 ควำมเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ (31) ความปลอดภัยจากยาเสพติด (33) ความปลอดภัยจากความเสี่ยงในชุมชน
คะแนน 2 2 2 2 2 2
๑๐
โดยเวทีประชาคมหมู่บ้านได้นาข้อมูล กชช. 2ค ในตัวชี้วัดทีม่ ีปัญหาปานกลาง ทาการวิเคราะห์หา แนวทางในการแก้ไขปัญหา กาหนดเป็นแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมบรรจุในแผนชุมชนเพื่อเป็นแนวทางใน การพัฒนาหมู่บ้าน ดังนี้ ตัวชี้ วัดที่
ตัวชี้วัด
คะแนน
สภาพปัญหา
สาเหตุ
-ถนนเป็นหลุมเป็น บ่อ ไม่สะดวกในการ สัญจร -น้าเพื่อการเกษตร เพียงพอเฉพาะหน้า ฝน
-ถนนไม่มาตรฐาน -ผ่านการใช้งานเป็น ระยะเวลานาน -น้าจากแหล่งธรรมชาติ ไม่เพียงพอในฤดูแล้ง
1
ถนน
2
4
น้าเพื่อการเกษตร
2
7
การติดต่อสื่อสาร
2
27
การใช้ประโยชน์จาก ที่ดิน
2
แนวทางแก้ไขปัญหา แผนงาน/โครงการ/ กิจกรรม
-สร้างถนนคอนกรีต สายที่มีปัญหา
-ดูแลป่าต้นน้า/บริเวณ แหล่งน้า -ทาเขื่อน/ฝายกั้น ชะลอ เก็บกักน้า -ไม่มีโทรศัพท์ -ทุกครัวเรือนมี -ขอรับการสนับสนุน สาธารณะในหมู่บ้าน โทรศัพท์เคลื่อนที่ ติดตั้งโทรศัพท์ (มือถือ) สาธารณะ -ยังใช้ประโยชน์จาก -ความแห้งแล้ง/อาหาร -ปลูกพืชอาหาร/สร้าง ที่ดินไม่เต็มที่ มีสัตว์ ในแหล่งธรรมชาติไม่ แหล่งน้าให้สัตว์ป่า ป่าเข้ามาหาอาหารที่ พอ (ช้าง) ทากินของชาวบ้าน -ศึกษาแนวทางการอยู่ ร่วมกันระหว่างคนกับช้าง
31
ความปลอดภัยจาก ยาเสพติด
2
-ยังมีผู้บริโภคใบ กระท่อมเป็น สมุนไพรทางยาอยู่ บ้าง
-พืชกระท่อมเป็น สมุนไพรทางยาแก้ เบาหวาน ช่วยให้อิ่ม ทางานได้นานเหนื่อยช้า
33
ความปลอดภัยจาก ความเสี่ยงในชุมชน
2
-ฤดูฝนน้าท่วมสวน ท่วมบ้าน/ถนน เสียหาย -ฤดูแล้งฝนไม่ตก น้า ไม่พอ -เสี่ยงเกิดอุบัติเหตุใน การเดินทาง
-น้าไหลไม่ทัน
-ให้ความรู้ประชาชน เรื่องกฎหมายยาเสพติด -รณรงค์ให้ความรู้ใน การบริโภคใบกระท่อม -ส่งเสริมกิจกรรมด้าน กีฬาแก่เยาวชน/กลุ่ม เสี่ยง -ทาเขื่อน/ฝายกั้น ชะลอ เก็บกักน้า
-น้าในแหล่งน้า ธรรมชาติเหลือน้อย -ให้ความรู้วิธีการขับขี่ -หมู่บ้านอยู่ติดถนนสาย ปลอดภัย หลัก
๑๑
(4) ข้อมูลด้ำนเศรษฐกิจของหมู่บ้านเป็นข้อมูลเกี่ยวอาชีพและรายได้ของประชาชน ประชากร ส่วนใหญ่ของบ้านบากแดงประกอบอาชีพด้านการเกษตร ทาสวนผลไม้ ทุเรียน มังคุด ลองกอง ไม้ยืนต้นปาล์ม น้ามัน ยางพารา ปลูกพืชผักต่างๆ และอื่นๆ มีรายได้เฉลี่ย 74,514 บาท/คน/ปี (ข้อมูล จปฐ. ปี 2560) แหล่งทุนในหมู่บ้ำนกองทุนทุนชุมชน 1 กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านบากแดง 2. กลุ่มเงินออมเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา มหาราชา 3. กองทุนแม่ของแผ่นดินบ้านบากแดง 4. กลุ่มธนาคารหมู่บ้าน(แม่บ้านเกษตรกร) 5. กองทุนหมู่บ้านบ้านบากแดง (5) ข้อมูลสภำพปัญหำควำมต้องกำรของหมู่บ้ำน ผลการวิเคราะห์ชุมชน พบว่าหมู่บ้านมีปัญหา ด้านเศรษฐกิจ คือปัญหาราคาผลผลิตไม่แน่นอน ในฤดูแล้งน้าเพื่อ การเกษตรไม่เพียงพอ ความเสี่ยงด้านภัย ธรรมชาติ น้ าท่ ว ม ฝนแล้ ง ปั ญ หาช้ างป่ า ควำมต้ อ งกำรของหมู่ บ้ ำ น ต้ อ งการให้ ผ ลผลิ ตมี ราคาสู งขึ้ น ต้องการอาคารจาหน่ ายผลผลิ ตทางการเกษตรของหมู่บ้าน การดูแลอนุรักษ์แหล่งน้าธรรมชาติ ป่าต้นน้า เรียนรู้การอยู่ร่วมกันระหว่างคนกับช้าง ส่งเสริมอาชีพให้แก่ชุมชน (6) ข้อมูลภูมิปัญญำท้องถิ่น (7) ข้อมูลด้ำนสุขภำพอนำมัย (8) ข้อมูลผู้นำชุมชน 2.2 ข้อมูลของหมู่บ้ำนที่มีบอกให้ทรำบถึงอะไร ข้อมูล ที่ มีบ อกให้ ทราบถึงสภาพปัญ หาของหมู่ บ้าน คุณ ภาพชีวิตสภาพปั ญ หาต่างๆ สถานะทาง เศรษฐกิจ สังคม ระดับการพัฒนาของหมู่บ้าน รวมทั้งแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นกับหมู่บ้าน ฯลฯ 2.3 กำรนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ (หมู่บ้านนาข้อมูลที่มีไปใช้ประโยชน์อะไรบ้าง) -ทบทวนปรับปรุงแผนชุมชน -จัดทาโครงการขอรับการสนับสนุนกิจกรรมพัฒนาหมู่บ้าน -จัดทารายงานการพัฒนาหมู่บ้าน -ติดตามประเมินผลการพัฒนาหมู่บ้านที่ผ่านมาฯลฯ สรุปผลการประชุมพบว่าบ้านบากแดง มีข้อมูลที่นามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาหมู่บ้านได้เช่นข้อมูล จปฐ. ข้อมูล กชช. 2ค ข้อมูลทุนชุมชน, กลุ่ม/องค์กรชุมชน, ความต้องการชุมชน, ข้อมูลด้านเศรษฐกิจสังคม สิ่งแวดล้อมและอื่นๆของหมู่บ้านซึ่งข้อมูลเหล่านี้ทาให้ทราบถึงสภาพหมู่บ้านคุณภาพชีวิตและสภาพปัญหา ต่างๆ สามารถนามาใช้ประโยชน์ในการวางแผนพัฒนาหมู่บ้านต่อไป กระบวนกำรที่ 2 กำรกำหนดควำมต้องกำรร่วมกัน เพื่อกาหนดแนวทางพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชน เวทีประชาคมได้วิเคราะห์ชุมชน/หมู่บ้าน ด้วยเทคนิค SWOTAnalysis เพื่อกาหนดความต้องการ ร่วมกันของประชาชนในหมู่บ้าน กาหนดเป็นวิสัยทัศน์ของหมู่บ้าน“เศรษฐกิจพอเพียงคือหนทำงแห่งควำม มั่นคงทำงครอบครัว กำรเงิน และสุขภำพ” เป็นทิศทางการพัฒนาหมู่บ้านและคุณภาพชีวิตของประชาชน บ้านบากแดง ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม
๑๒
จุดแข็ง Strength 1. สมาชิกในหมู่บ้านมีความสามัคคี อยู่แบบเครือญาติ 2. สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศเหมาะแก่การทา เกษตรกรรม 3. มีทรัพยากรธรรมชาติ (ป่าสมบูรณ์) ป่าไม้ พื้นที่ ๒๑ ไร่ 4. มีกลุ่ม/องค์กรชุมชนที่เข้มแข็ง 5. สินค้า OTOP สร้างงานสร้างอาชีพ 6. ผู้นาด้านชุมชนที่เข้มแข็ง มีความเสียสละ 7. ประชาชนได้รับการศึกษา 8. การคมนาคมสะดวก 9. ประชาชนมีความสามารถด้านกีฬา
อุปสรรค Threat 1. ภัยธรรมชาติ 2. ความผันผวนของราคาผลิตผล ทางการเกษตร 3. ผลกระทบจากความเปลี่ยน แปลงทางเทคโนโลยี 4. ราคาน้ามัน แก๊ส ค่าไฟฟ้า
SWOT บ้านบากแดง
โอกำส Opportunity 1. นโยบายส่งเสริมเศรษฐกิจของภาครัฐ 2. ได้รับการส่งเสริมจากหน่วยงานต่าง ๆ เช่น ปกครอง พัฒนาชุมชน สานักงาน เกษตรอาเภอหลังสวน เทศบาลตาบลวัง ตะกอ โรงพยาบาลหลังสวน ฯลฯ 3. เข้าถึงสื่อ และเทคโนโลยี 4. ราคาผลผลิตดี โดยเฉพาะผลไม้
จุดอ่อน Weakness 1. ขาดแหล่งน้าเพื่อการเกษตรในช่วงฤดูแล้ง 2. ปัญหาด้านสุขภาพ 3. ประชาชนมีหนี้สิน
กระบวนกำรที่ 3 วิเครำะห์ทำงเลือกกำรพัฒนำสำรสนเทศเพื่อกำรพัฒนำคุณภำพชีวิต ดาเนินการ 2 วิธีการประกอบกัน เพื่อให้ผู้นา ประชาชนที่ร่วมเวทีประชาคมหมู่บ้านได้วิเคราะห์และตัดสินใจร่วมกัน ได้แก่ (1) โดยเวทีประชาคมหมู่บ้าน ได้นาผลการวิเคราะห์หมู่บ้าน ด้วยเทคนิค SWOT Analysis ได้ทราบ ถึงศักยภาพด้านต่าง ๆ ของหมู่บ้านปัญหา อุปสรรค ในการพัฒนาหมู่บ้าน เพื่อประเมินสถานการณ์พัฒ นา หมู่บ้านร่วมกันให้ตรงกับสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชนในหมู่บ้าน โดยได้นาจุดแข็งจากผลการ
๑๓
วิเคราะห์หมู่บ้านที่เป็นศักยภาพของหมู่บ้าน /ชุมชนมาวิเคราะห์และสร้างการเรียนรู้ให้ประชาชนในหมู่บ้านใน ทุกด้าน ทุนทำงธรรมชำติ MATERIALS 1. พื้นที่อุดมสมบูรณ์ เหมาะกับอาชีพ เกษตรกรรม 2. มีพื้นที่ป่าที่อุดมสมบูรณ์ 21 ไร่ 3. มีแหล่งน้าธรรมชาติเพื่อการเกษตร 4. มีช้างป่า กำรบริหำรจัดกำร (ทุนสังคม) MENAGEMENT 1. มีกฎ กติกา ของหมู่บ้าน 2. ใช้มติที่ประชุมในการ บริหารจัดการ 3. มีความโปร่งใส สามารถ ตรวจสอบได้
ทุนมนุษย์ MAN
ทุนชุมชน บ้านบากแดง
ภูมิปัญญำ Wisdom 1. OTOP - ตุ๊กตาดินเผา - งานปั้น - ภาพวาดสีน้ามัน - การแปรรูปผลไม้(กล้วยอบ) - การเลี้ยงผึ้งโพรง 2. การขยายพันธุ์พืช - เพาะชากล้าไม้ 3. ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม
1. ผู้นาชุมชนที่เข้มแข็ง 2. กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน โดย “กระบวนการประชาคม” 3. ปราชญ์ชาวบ้าน 4. มีบุคลากรมีทักษะด้าน IT ทุนเงิน MONEY - กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต - กองทุนแม่ของแผ่นดิน - กลุ่มเงินออมเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา มหาราชา - กองทุนหมู่บ้าน
๑๔
(2) การใช้โปรแกรม Community Information Radar Analysis หรือโปรแกรมวิเคราะห์ ข้อมู ล เพื่อการพัฒนาระบบสารสนเทศชุมชนโดยการนาข้อมูลจปฐ. กชช.2ค และข้อมูลอื่นๆ มาประมวลผลแสดง เป็นแผนภาพเรดาร์ชี้ให้เห็นถึงระดับ ปัญหาตามประเด็นของการพัฒนาสารสนเทศชุมชนทั้ง 5 ด้าน เพื่อนา ข้อมูลไปใช้ในการบูรณาการงาน จัดทาแผนชุมชน จัดทาโครงการต่างๆ เพื่อยกระดับและพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชน บ้ำนบากแดง หมู่ท่ี 12 ตาบลวังตะกอ อาเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
๑๕
ด้ำนกำรบริหำรจัดกำรควำมเสี่ยงของชุมชน
๑๖
ผลการวิเคราะห์พบว่าบ้านบากแดงมีปัญหาด้านการจัดการความเสี่ยงชุมชนมากที่สุด คะแนนเฉลี่ย 1.92 คะแนน รองลงมาคือ ปัญหาความยากจน คะแนนเฉลี่ย 2.84 คะแนน เวทีประชาคมบ้านบากแดงจึง ได้ร่วมกันกาหนดประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบ้านบากแดง “เป็นหมู่บำ้ นสำรสนเทศเพื่อกำรคุณภำพ ชีวิตด้ำนกำรบริหำรจัดกำรควำมเสี่ยงและกำรแก้ไขปัญหำควำมยำกจนของชุมชน” เวทีประชาคมหมู่บ้าน ได้วิเคราะห์สถานการณ์ของชุมชนด้านความเสี่ยงของชุมชน และความยากจน เพื่อค้นหาศักยภาพของหมู่บ้านกาหนดแนวทางในการป้องกันแก้ไขปัญหาดังนี้ จุดแข็ง Strength ๑. การบริหารจัดการความเสี่ยง - ผู้นาชุมชน คณะกรรมการหมู่บ้านและประชาชนมีความพร้อม ในการป้องกันความเสี่ยงด้านต่างๆ ภัยธรรมชาติ + ช้าง ยาเสพติดฯ - ความสามัคคีร่วมด้วยช่วยกันของคนในชุมชน ๒. สภาพพื้นที่ (ภูมิประเทศ) - ที่ราบสูงลาดสลับเนิน(น้าไหลผ่านได้สะดวก) - เส้นทางเข้าออกในหมู่บ้านควบคุมได้ - บ้านเรือนปลูกสร้างในที่สูง 3. อาชีพเกษตรกรรมทาสวนผลไม้ สวนปาล์ม สวนยาง (ไม้ยืนต้น) ช่วยป้องกันและลดความเสียหายจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ อุปสรรค Threat 1.ความไม่เข้าใจของกลุ่ม บุคคลภายนอก (บางกลุ่ม) ที่ไม่เห็น ด้วยกับแนวทางบริหารจัดการความ เสี่ยงเรื่องน้าของหมู่บ้าน (การทา ฝายยางรถยนต์)
โอกำส Opportunity
SWOT ความเสี่ยงของ ชุมชนและ ภัยพิบัติ
จุดอ่อน Weakness 1. ความเชื่อ/ค่านิยม ( พืชกระท่อม) 2. ประชาชนบางส่วนยังขาดความพร้อมในการรับสถานการณ์ ภัยแล้ง/น้าท่วม /ช้าง 3. พื้นที่หมู่บ้านติดถนนสายหลักเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติภัยทางถนน
๔. คณะกรรมการยังไม่มีความรู้ความเข้าใจเรื่องบัญชี
1. ได้รับการสนับสนุนจาก หน่วยงาน องค์กร ภาครัฐเอกชน ใน การบริหารจัดการความเสี่ยง เช่น การสร้างฝาย เขื่อน เพื่อชะลอและ เก็บกักน้า ป้องกันน้าท่วมในหน้าฝน แก้ปัญหาขาดแคลนน้าในหน้าแล้ง 2. ระบบการติดต่อสื่อสารที่ทันสมัย
๑๗
จุดแข็ง Strength 1. ผู้นาชุมชน คณะกรรมการหมู่บ้านและประชาชนมี ความตั้งใจ จริงใจในการช่วยเหลือ/แก้ปัญหาความ ยากจน 2. มีวิถีชุมชนที่เข้มแข็ง ความสามัคคี ช่วยเหลือเอื้ออาทร ดูแลซึ่งกันและกัน
อุปสรรค Threat 1.ระบบภาครัฐมีข้อจากัดในการ สงเคราะห์ช่วยเหลือ เช่นต้องมี บัตรประชาชน และเอกสาร/ หลักฐานทางราชการตามที่กาหนด ซึ่งบางครั้งผู้ด้อยโอกาสไม่สามารถ เข้าถึงได้
โอกำส Opportunity
SWOT ความยากจน
1. ได้รับการสนับสนุนจาก หน่วยงาน องค์กร ภาครัฐเอกชน ในการช่วยเหลือ ดูแลด้านปัจจัย การครองชีพแก่ครัวเรือนยากจน
จุดอ่อน Weakness ครัวเรือนยากจน 3 ครัวเรือน ๑. หัวหน้าครัวเรือนยากจน เป็นผู้สูงอายุ และพิการไม่ สามารถพัฒนาส่งเสริมอาชีพเพื่อยกระดับรายได้ ให้ สูงขึ้นได้
ผลจากการวิเคราะห์ SWOT ปัญหาด้งไม่านความเสี งของชุาใจเรื มชนและภั ๒. คณะกรรมการยั มีความรู้ค่ยวามเข้ ่องบัญชียพิบัติ กับปั ญหาความยากจน ของบ้านบากแดง พบว่า ปัญอิหาทั สองด้กาส์น มีจุดแข็งที่เหมือนกันคือมีผู้นาชุมชนที่เข้มแข็ง มีความจริงใจใน เล็ก้งทรอนิ การแก้ปัญหา และมีวืถีชุม๓.ชนทีความสามารถในการส่ ่มีความรักสามัคคีช่วยเหลื ้ออาทร กช่เนืวยให้ ชุมชนสามารถแก้ปัญหาของชุมชน งเงินกูอ้ขเอืองสมาชิ ่องจาก เองได้อย่างเข้มแข็งและยั่งยืน โดยกาหนดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมบรรจุในแผนชุมชน ดังนี้ ผลผลิตทางการเกษตรตกต่า ค่าครองชีพสูง ด้ำนควำมเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ ๑. สร้างความรู้ความเข้าใจการป้องกันพิบัติในชุมชน ด้านยาเสพติด ภัยธรรมชาติ/ภัยพิบัติอื่นๆ 1.1 รณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนด้านการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด 1.2 สนับสนุนให้ประชาชนติดตามข่าวสารด้านสภาพอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยาอย่างต่อเนื่อง 1.3 รณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนในการขับขี่ปลอดภัย 1.4 สนับสนุนกิจกรรมชุดรักษาความปลอดภัยชุมชน
๑๘
1.5 รณรงค์เรื่องการกาจัดขยะมูลฝอย 1.6 สนับสนุนกิจกรรมด้านกีฬาในชุมชน ด้ำนควำมยำกจน 1. สนับสนุนอาชีพที่เหมาะสมแก่ครัวเรือนยากจน/ผู้สูงอายุ 2. สงเคราะห์/ช่วยเหลือด้านปัจจัยการครองชีพแก่ครัวเรือนยากจนตามความเหมาะสม 3. สร้างภูมิคุ้มกันด้านอาชีพและรายได้แก่ประชาชนทุกครัวเรือน 3.1 รณรงค์/สนับสนุนให้ประชาชนในชุมชนดาเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - ส่งเสริมการออม/การทาบัญชีครัวเรือน - การปลูกพืชผักสวนครัว - สนับสนุนการผลิตภาคเกษตรปลอดสารพิษ 3.2 การรวมกลุ่มพัฒนาอาชีพเสริมสร้างรายได้ 3.3 สนับสนุนกิจกรรมตามแนวทางสร้างสัมมาชีพชุมชน กระบวนกำรที่ 4 กำรจัดทำรูปแบบของสำรสนเทศ บ้านบากแดงได้รวบรวมข้อมูลที่หมู่บ้านมี จัดทาเป็นรูปแบบข้อมูลสารสนเทศของหมู่บ้านในรูปแบบ ต่างๆดังนี้ (1) สารสนเทศในรูปแบบของเอกสารได้แก่ 1.1 แผนชุมชนข้อมูลกลุ่มกองทุนต่าง ๆ 1.2 ป้ายแสดงข้อมูลเป็นการแสดงข้อมูลต่างๆ ที่อยู่ในหมู่บ้าน ได้แก่ - แผนที่ของหมู่บ้าน อาณาเขตของหมู่บ้าน รายชื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน -รายชื่อกลุ่มต่าง ๆ เช่น กลุ่มออมทรัพย์ฯ กองทุนแม่ของแผ่นดิน กองทุนหมู่บ้าน (2) สารสนเทศแบบอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ 2.1 การทา google map, เพจfacebook ,เว็บบล็อก ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการพัฒนาหมู่บ้านการ ขับเคลื่อนกิจกรรมด้านเศรษฐกิจพอเพียง อาชีพ ผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ด้านสุขภาพ กีฬา การเฝ้าระวังภัย พิบัติ น้าท่วม การบริหารจัดการน้า การแก้ปัญหาช้างป่า ฯลฯ นามาเผยแพร่ให้ประชาชนในหมู่บ้านและ ประชาชนทั่วไป ได้ทราบผ่านทางเพจหมู่บ้านสารสนเทศบ้านบากแดง เว็บบล็อกและการประชุมประจาเดือน ของหมู่บ้าน กระบวนกำรที่ 5 รูปแบบกำรเผยแพร่ข้อมูลและกำรดูแลรักษำ บ้านบากแดงได้นาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของหมู่บ้านเผยแพร่ผ่านช่องทางต่างๆ ดังนี้ (1) เครือข่ายอินเทอร์เนตได้แก่ - จัดทำเครื่องมือสื่อ Social Media เพื่อเผยแพร่ข้อมูลกำรพัฒนำหมู่บ้ำน (บากแดง อารมณ์ดี)
๑๙
สำหรับประชำสัมพันธ์งำนรับฟัง เรื่องรำยปัญหำในชุมชน
สำหรับแจ้งข่ำวสำคัญงำนกิจกรรมที่ ต้องร่วมกันทำภำยในชุมชน
- สร้ำงเครือข่ำย/ทีมงำนกลุ่ม line ขับเคลื่อนเพื่อกำรพัฒนำและแก้ไขปัญหำภัยพิบัติ บ้านบากแดงได้เป็นสมาชิกกลุ่ม ดาเนินการรายงานข้อมูลปริมาณน้าฝนโดยเครื่องวัดทั้งแบบ มาตรฐานและจัดทาขึ้นเอง โดยนาข้อมูลมาแจ้งเตือนพื้นที่ให้รับเฝ้าระวังมือสถานการณ์
๒๐
- จัดตั้งกลุ่ม LINE ช่วยช้ำงกลับป่ำ ในกำรรำยงำนข้อมูล ควำมเคลื่อนไหวของช้ำง บ้านบากแดงได้เป็นส่วนหนึ่งในการช่วยช้างกลับป่า ประชาสัมพันธ์กิจกรรมรับบริจาคพันธุ์ กล้วยจากพื้นที่ต่างๆ ผ่าน Social Media กิจกรรมปลูกกล้วยสองข้างทาง เพื่อต้อนช้างกลับสู่ป่า
- จัดทำเว็บไชค์หมู่บ้ำนสำรสนเทศเพื่อกำรพัฒนำคุณภำพชีวืตบ้ำนบำกแดง เพื่อ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนบ้านบากแดง
(2) ประชำสัมพันธ์ข้อมูลกำรดำเนินงำนขับเคลื่อนกิจกรรมกำรพัฒนำในหมู่บ้ำน ผ่ำนทำง หนังสือพิมพ์ต่ำงๆ
๒๑
(3) ประชำสัมพันธ์ข้อมูลกำรดำเนินงำนขับเคลื่อนกิจกรรมกำรพัฒนำในหมู่บ้ำน ผ่ำนทำงสือ่ โทรทัศน์ช่องต่ำงๆ
(5) กำรนำเอกสำรถอดบทเรียนเผยแพร่ประชำสัมพันธ์ในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในเว็บไซด์ ของสำนักงำนพัฒนำชุมชนจังหวัดชุมพร อาเภอหลังสวน ได้แต่งตั้งคณะทางานขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตบ้าน บากแดง และแต่งตั้งทีมผู้ดูแลบริหารจัดการข้อมูล ทาหน้าที่ในการจัดการข้อมูลและจัดการสารสนเทศของ หมู่บ้านในการพัฒนาหมู่บ้าน เผยแพร่ให้ประชาชนในหมู่บ้านได้รับทราบในวันประชุมประจาเดือน หรือตาม สถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับหมู่บ้าน นอกจากนี้ยังรับผิด ในการดาเนินงานด้านต่าง ๆ ของหมู่บ้านตามที่ได้รับ มอบหมาย คณะทำงำนขับเคลื่อนหมู่บ้ำนสำรสนเทศเพื่อกำรพัฒนำคุณภำพชีวิต บ้ำนบำกแดง ๑ นายกิตติ อนันต์แดง ผู้ใหญ่บ้าน ประธาน 2. นายสมชาย บุณยะจิตติ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน รองประธาน 3. นายนภดล พรหมรัตน์ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน รองประธาน 4. นายมงคล พรหมรัตน์ กรรมการหมู่บ้าน เหรัญญิก 5. นายจิรวัฒน์ ชุมภูทอง สมาชิกสภาเทศบาล กรรมการ 6. นายนิพนธ์ ภาสภิรมย์ กรรมการหมู่บ้าน กรรมการ 7. นายพะโยม ยังพลขันธ์ กรรมการหมู่บ้าน กรรมการ 8. นางศรีวรรณ ขาวสุวรรณ กรรมการหมู่บ้าน กรรมการ 9. นายสุรัตน์ ทองอนันต์ กรรมการกลุ่มออมทรัพย์ฯ กรรมการ 10. นายสมบูรณ์ รอดศิริ กรรมการ กทบ. กรรมการ 11. นายประสิทธิ ช่วยเกิด กรรมการหมู่บ้าน กรรมการ 12. นายนิวัฒน์ พรหมรัตน์ กรรมการหมู่บ้าน กรรมการ 13. นางอังชนา แก้วประดิษฐ์ ผู้ชว่ ยผูใ้ หญ่บ้าน กรรมการ เลขานุการ
๒๒
ปัจจัยแห่งควำมสำเร็จ ปัจจัยที่ทาให้การดาเนินงานหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตบ้านบากแดงประสบความสาเร็จ 1. ผู้นาชุมชน/แกนนาหมู่บ้านและประชาชนมีความสนใจและมีความพร้อมรับการพัฒนาหมู่บ้ านให้ เป็นหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต 2. บุคลากรภายในหมู่บ้านมีความรู้เรื่อง IT และเข้าร่วมเป็นคณะทางานขับเคลื่อนกิจกรรม 3. หมู่บ้ านมี ความเข้าใจแนวทางการด าเนิ นงานหมู่บ้ านสารสนเทศเพื่ อการพั ฒ นาคุณ ภาพชีวิต ก่อให้เกิดการความร่วมมือในการดาเนินกิจกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในหมู่บ้านให้ดีขึ้น ๔. การดาเนินงานขับเคลื่อนกิจกรรมใช้กระบวนการมีส่วนร่วมทุกขั้นตอนประชาชนได้แลกเปลี่ยน เรียนรู้และแสดงความคิดเห็นในการจัดทาข้อมูลสารสนเทศชุมชนสามารถนาข้อมูลดังกล่าวมาวางแผนการ พัฒนาหมู่บ้านได้ตรงกับปัญหาและตอบสนองความต้องการของคนในชุมชน 5. ทีมผู้ดูแลและบริหารจัดการข้อมูลใช้การจัดการความรู้ในการสรุปรวบรวมเป็นองค์ความรู้กิจกรรม ต่างๆของหมู่บ้านเผยแพร่ในช่องทางต่างๆ ปัญหำอุปสรรคและข้อเสนอแนะจำกกำรดำเนินกิจกรรม 1. จานวนผู้เข้าถึงข้อมูลสารสนเทศแบบอิเล็กทรอนิกส์มีข้อจากัดส่วนใหญ่เป็นคนวัยหนุ่มสาวที่มี อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ห รือ Smart Phone ส่วนผู้สูงอายุ มีอุปสรรคด้านสายตาไม่สะดวกในการสื่อสารผ่าน อุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรือSmart Phone 2. คณะทางานในการขับเคลื่อนหมู่บ้านบางคนยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการจัดระบบ สารสนเทศของหมู่บ้านเนื่องจากเป็นแนวทางการดาเนินงานในรูปแบบใหม่ในการบริหารจัดการข้อมูลชุมชน 3. บุ คลากรที่ มีความเชี่ ย วชาญการใช้ โปรแกรมคอมพิว เตอร์พื้ นฐานเช่น โปรแกรมพิ ม พ์ เอกสาร โปรแกรมนาเสนองานมีจานวนน้อยทาให้ใช้เวลาค่อนข้างนานในการจัดทาข้อมูลสารสนเทศของหมู่บ้าน ข้อเสนอแนะ 1. การคัดเลือกหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ควรคัดเลือกหมู่บ้านที่มีความพร้อมทั้ง ผู้นาชุมชนและสมาชิกในชุมชน ควรให้ เป็นไปด้วยความสมัครใจ ตัวบุคลากรของหมู่บ้านจะต้องมีความรู้ เกี่ยวกับสารสนเทศและIT มีความเข้าใจในการนาข้อมูลไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน 2. การสนั บ สนุ น การด าเนิ น งานหมู่ บ้ า นสารสนเทศฯ ต้ อ งท าแบบต่ อ เนื่ อ งและมี ก ารติ ด ตาม ประเมินผลการดาเนินงานอย่างสม่าเสมอโดยเปรียบเทียบให้เห็นการเปลี่ยนแปลงการพัฒนาหมู่บ้านก่อนและ หลังการนาข้อมูลสารสนเทศมาใช้เพื่อให้เห็นประโยชน์และผลดีของการจัดทาข้อมูลสารสนเทศก่อให้เกิดความ ตระหนักและเห็นความสาคัญของการใช้ข้อมูลสารสนเทศมาพัฒนาคุณภาพชีวิต 3. ควรสนั บ สนุ น ให้ ห มู่ บ้ านสารสนเทศฯ แต่ ล ะจังหวัด ได้ มี ก ารแลกเปลี่ ย นเรีย นรู้แ นวทางการ ขับเคลื่อนกิจกรรมสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อปรับปรุงพัฒนาการขับเคลื่อนกิจกรรมให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด 2.3 ผลที่เกิดขึ้นกับกำรดำเนินงำนหมู่บ้ำนสำรสนเทศเพื่อพัฒนำคุณภำพชีวิตบ้ำนบำกแดง 2.3.1 กำรใช้ประโยชน์ในกำรจัดกำรสำรสนเทศบ้ำนบำกแดง ดังนี้ (1) ใช้ในการวางแผนพัฒนาหมู่บ้านโดยกาหนดแนวทางแก้ไขปัญหาในรูปของกิจกรรม/ โครงการบรรจุ ไว้ ในแผนชุ ม ชนของหมู่ บ้ านและเชื่ อ มโยงสู่ แ ผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น แผนพั ฒ นาอ าเภอและ แผนพัฒนาจังหวัด เพื่อให้หน่วยงานต่างๆเข้ามามีส่วนร่วมในสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน (๒) เสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ด้ า นการประชาสั ม พั น ธ์ การติ ด ต่ อ สื่ อ สารผ่ า นระบบ อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการแก้ปัญหาพัฒนาหมู่บ้านชุมชนอย่างเป็นระบบ
๒๓
2.3.2 ผลที่เกิดขึ้นต่อครัวเรือน/ชุมชนจำกกำรดำเนินกิจกรรมหมู่บ้ำนสำรสนเทศฯ จากการพัฒนาหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบ้านบากแดง ช่วยให้หมู่บ้านเกิด กระบวนการเรี ย นรู้ ก ารพั ฒ นาแบบพึ่ งพาตนเองผ่ านการบริ ห ารจั ด การข้ อ มู ล สารสนเทศโดยน าข้ อ มู ล สารสนเทศสู่การแก้ไขปัญหาสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนครัวเรือนและชุมชนโดยเน้นประเด็น การป้องกันแก้ไขปัญหาผลจากการวิเคราะห์ข้อมูล จปฐ. กชช. 2ค และข้อมูลอื่นๆ ดังนี้ 1. ด้ำนกำรบริหำรจัดกำรควำมเสี่ยงของชุมชน 1.1 กำรป้องกันปัญหำยำเสพติดในชุมชน 1.1.1 กิจกรรมรณรงค์การแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันแก่ประชาชน
1.1.2 กิจกรรมรณรงค์ตัดทำลำยต้นกระท่อม เพื่อลดจานวนต้นกระท่อม/ผู้บริโภค
1.1.3 กิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนการออกกาลังกายใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
๒๔
1.1.4 กิจกรรมสนับสนุนการเฝ้าระวังยาเสพติดโดยชุดรักษาความปลอดภัยชุมชน
1.2 กำรป้องกันภัยพิบัติ 1.2.1 กิจกรรมรณรงค์ลดการใช้สารเคมี 100 % เพื่อลดความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและดูแล สุขภาพอนามัยของประชาชน
1.2.2 กิจกรรมสนับสนุนการเฝ้าระวังภัย/ติดตามช้างป่าโดยชุดรักษาความปลอดภัยชุมชน
๒๕
1.2.3 กิจกรรมสร้างฝายชะลอน้า/เขื่อนกักเก็บน้าเพื่อป้องกันน้าท่วมในฤดูฝนและป้อง การขาดแคลนน้าในฤดูแล้ง
1.2.4 กิจกรรมการกาจัดขยะมูลฝอยโดยชุมชน ปลูกฝังค่านิยมการรักษาความสะอาด บริเวณบ้านเรือนและชุมชน
1.2.5 กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้ลดความเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุจากการทางาน/การใช้ ยานพาหนะ/การขับขี่
๒๖
2. ด้ำนกำรป้องกันแก้ไขปัญหำควำมยำกจน 2.1 กิจกรรมแก้ไขปัญหำครัวเรือนยำกจนที่ตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2560 (เป็นผู้สูงอายุและผู้ พิการไม่สามารถพัฒนาสงเสริมอาชีพได้) 2.1.1 กิจกรรมดูแล/สงเคราะห์/ช่วยเหลือครัวเรือนยากจนโดยชุมชน ผู้นาชุมชน อสม. ประชาชน เยี่ยมเยียน ดูแลมอบปัจจัยการครองชีพ ให้กาลังใจ 2.1.2 ขอรับการสนับสนุน/การสงเคราะห์ช่วยเหลือจากกระทรวงพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2.2 กิจกรรมป้องกันปัญหำควำมยำกจน 2.2.1 กิจกรรมรณรงค์ให้ครัวเรือนดาเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1) กิจกรรมลดรายจ่าย การปลูกพืชผักสวนครัว
๒๗
การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพลดต้นทุนภาคเกษตร/ผลิตน้ายาเอนกประสงค์
การทาบัญชีครัวเรือน
ส่งเสริมการออมในรูปแบบต่างๆ
๒๘
2) กิจกรรมเพิ่มรายได้ สนับสนุนกิจกรรมอาชีพเสริม ด้านการเกษตร เพาะต้นอ่อนทานตะวัน เลี้ยงไก่พื้นเมือง
สนับสนุนการผลิต/การสร้างผลิตภัณฑ์ชุมชน(OTOP)
สนับสนุนกิจกรรมสัมมาชีพชุมชน
ผลที่หมู่บ้ำนและประชำชนได้รับจำกกิจกรรมกำรแก้ไขปัญหำข้อมูล จปฐ.และกชช. 2ค 1. ด้ำนกำรบริหำรจัดกำรควำมเสี่ยงของชุมชน ผลต่อประชำชน (1) สร้างภูมิคุ้มกันด้านการบริหารจัดการความเสี่ยงต่างๆที่เกิดขึ้นแล้วหรือมีโอกาสเกิดขึ้นในชุมชน ให้กับประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน โดยคนในชุมชนได้เรียนรู้วิธีการป้องกันความเสี่ยงในด้านต่างๆ ด้วยตนเอง ช่วยแก้ปัญหา/ลดและบรรเทาความรุนแรง ความเสียหายจากความเสี่ยงที่จะเกิด เช่น การสร้างฝายชลอน้า
๒๙
โดยประชาชนช่วยลดปัญหาความเสียหายที่เกิดจากน้าท่วม การสร้างเขื่อนเก็บกักน้าช่วยลดบรรเทาการขาด น้าในฤดูแล้ง เป็นต้น (2) เสริมสร้างความรักสามัคคีกลมเกลียววิถีแห่งการพึ่งพาในชุมชนให้แน่นแฟ้น (3) ประชาชนมีความสุขมีคุณภาพชีวิตที่ดี ผลต่อหมู่บ้ำน (1) หมู่บ้านมีภูมิคุ้มกันด้านการป้องกันแก้ไขปัญหาความเสี่ยงจากภัยพิบัติด้านต่างๆ (2) ประหยัดเวลาและงบประมาณในปรับปรุงฟื้นฟูความเสียหายที่เกิดจากภัยพิบัติ (3) ความสุขมวลรวมของหมู่บ้านเพิ่มขึ้นอันเป็นผลมาจากประชาชนมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี (4) หมู่บ้านมีแผนงาน โครงการ กิจกรรม ในการแก้ไขปัญหาของหมู่บ้าน ที่เป็นผลมาจากการ วิเคราะห์ข้อมูล จปฐ. กชช. 2ค ด้านการบริหารจัดการความเสี่ยงของชุมชน (5) เสริมสร้างความสามัคคีในชุมชน 2. ด้ำนกำรป้องกันแก้ไขปัญหำควำมยำกจน ผลต่อประชำชน กิจกรรมแก้ไขปัญหำครัวเรือนยำกจนที่ตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2560 (1) ครัวเรือนยากจนได้รับการสงเคราะห์/ช่วยเหลือ ด้านปัจจัยการครองชีพ ด้านสุขภาพกายและ ใจ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (2) ประชาชนในชุมชนได้เรียนรู้/มีส่วนร่วมในการดูแลช่วยเหลือครัวเรือนยากจน/ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสในชุมชน กิจกรรมป้องกันปัญหำควำมยำกจน (1) ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนได้เรียนรู้กระบวนการป้องกันปัญหาความยากจนด้วยการพึ่งตนเอง ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (2) ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนมีภูมืคุ้มกันจากการได้รับการพัฒนาอาชีพตามแนวทางสัมมาชีพ ชุมชน มีอาชีพที่มั่นคงรายได้แน่นอน มีคุณภาพชีวิตที่ดี ห่างไกลความยากจน ผลต่อหมู่บ้ำน (1) หมู่บ้านมีภูมิคุ้มกันด้านการป้องกันปัญหาความยากจน (2) ประหยัดเวลาและงบประมาณในสนับสนุนส่งเสริมการแก้ปัญหาครัวเรือนยากจน (3) ความสุขมวลรวมของหมู่บ้านเพิ่มขึ้นอันเป็นผลมาจากประชาชนมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี (4) หมู่บ้านมีแผนงาน โครงการ กิจกรรม ในการแก้ไขปัญหาของหมู่บ้าน ที่เป็นผลมาจากการ วิเคราะห์ข้อมูล จปฐ. กชช. 2ค ด้านการการป้องกันแก้ไขปัญหาความยากจน (5) หมู่บ้านมีโอกาสได้กระตุ๊นวิถีชุมชนแห่งความเอื้ออาทรดูแลพึ่งพาซึ่งกันและกัน (6) เสริมสร้างความสามัคคีในชุมชน ส่วนที่ 3 ข้อมูลทั่วไปหมู่บ้ำน ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้ำน ๓.๑ แผนที่หมู่บ้ำน/ชุมชน
๓๐
๓๑
3.2 ประวัติควำมเป็นมำของหมู่บ้ำนโดยสังเขป ๏ ในอดีตประมาณ ปี พ.ศ.๒๔๘๐ ชาวบ้านจากตาบลแหลมทราย และตาบลนาขา อาเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ได้เดินทางมาหาของป่าและล่าสัตว์ และด้วยความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ซึ่งเหมาะแก่การทา เกษตรกรรม จึงชักชวนเพื่อนฝูง ญาติพี่น้อง เข้ามาจับจองพื้นที่ ถางป่าใหญ่ เพื่อปลูกข้าว ปลูกพืชไร่ และเลี้ยง สัตว์ มีการสร้างที่พักอยู่ร่วมกันบริเวณทางเข้าหมู่บ้านในปัจจุบัน ซึ่งมีต้นกระบากแดง ต้นใหญ่เป็นจุดเด่น จึง เป็นที่มาของชื่อ “หมู่บ้านบากแดง” ปี ๒๕๑๔ บ้านบากแดงอยู่ภายใต้การปกครอง ของหมู่บ้านปากปิ หมู่ที่ ๘ ตาบลวังตะกอ อาเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร และได้แยกเป็นหมู่ที่ ๑๒ ตาบลวังตะกอ อาเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร เมื่อวันที่ ๑๕ เดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๕๓๖ 3.3 ประชำกร ๏ บ้านบากแดง มีครัวเรือนที่อาศัยอยู่จริงทั้งหมด 175 ครัวเรือน ประชากร 501 คน แยกเป็น ชาย 246 คน หญิง 256 คน (ข้อมูล จปฐ. ปี 2560) 3.4 ผู้นำชุมชน กลุ่มองค์กร อัตลักษณ์ ๏ ผู้นาชุมชน
๓๒
๏ กลุ่มองค์กร ด้ำนกำรเงิน 1) กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านบากแดง ปัจจุบันมีสมาชิก 325 คน เงินสัจจะสะสม 7,373,200 บาท มี นายกิตติ อนันต์แดง เป็นประธาน
2) กลุ่มเงินออมเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา มหาราชา สมาชิก 56 คน เงินทุน 88,000 บาท มี นางพัชรี ธานีสอน เป็นประธาน 3) กองุทุนแม่ของแผ่นดินสมาชิก 175 ครัวเรือน เงินทุน 9,500 บาท มีนายกิตติ อนันต์แดง เป็นประธาน 4) กลุ่มธนาคารหมู่บ้าน สมาชิก 56 คน เงินทุน 85,000 บาท มี นางยุรี รอดศิริ เป็นประธาน 5) กองทุนหมู่บ้าน สมาชิก 154 คน เงินทุน 1,200,000 บาท มี นายธนกร แก้วประดิษฐ์ เป็นประธาน ๏ กลุ่มอำชีพ 1) กลุ่มเกษตรกรบ้านบากแดง - กลุ่มเกษตรกรผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงบ้านบากแดง สมาชิก 100 ครัวเรือน เงินทุน 30,000 บาท
ใช้กับพืชสวน ไม้ผล /ไม่ยืนต้น/พืชผักสวนครัว
๓๓
2) กลุ่มผู้ประกอบการ OTOP จานวน 7 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเครื่องปั้นดินเผา กลุ่มกล้วยอบน้าผึ้ง ศรีวรรณ กลุ่มกล้วยกรอบปานจิต กลุ่มขนมไทย กลุ่มสตรีผลิตน้ายาเอนกประสงค์ต่างๆ กลุ่ม ผลิตเครื่องแกง กลุ่มเลี้ยงผึ้งโพรง
๏ กลุ่มองค์กรภำคประชำชน ที่สาคัญ 1) คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) จานวน 11 คน 2) คณะกรรมการพัฒนาสตรีหมู่บ้าน (กพสม.) จานวน 11 คน 3) อาสาพัฒนาชุมชน (อช.) จานวน 4 คน 4) อสม. จานวน 6 คน 5) ปราชญ์และสัมมาชีพชุมชน 25 คน
๓๔
๏ อัตลักษณ์ อัตลักษณ์ของบ้านบากแดง คือความเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ได้งบประมาณโครงการ ขยายผลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ประจาปีงบประมาณ 2557 ตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนา ชุมชน ประชาชนมีการดาเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผู้นาและสมาชิกในหมู่บ้าน/ชุมชนมี ความสามัคคีร่วมกันพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนอย่างเข้มแข็ง มีตุ๊กตาดินเผาบ้านดินบากแดงเป็นสินค้า OTOP ที่มีชื่อเสียง 3.5 ผลิตภัณฑ์ชุมชน รำยได้ สภำพทำงเศรษฐกิจ ๏ ผลิตภัณฑ์ชุมชน บ้านบากแดง มีผลิตภัณฑ์ชุมชน ที่ชื่อเสียง เป็น OTOP 4 ดาว จากการคัดสรร ปี 2559 จานวน 2 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ งานปั้นพระพุทธรูป โดยนายกิตติ อนันต์แดง และ กล้วยอบปานจิต โดยนาง จิตตรา บุณยะจิตติ
๓๕
ผลิตภัณฑ์ OTOP 3 ดาว 1 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ งานภาพเขียนผ้าใบ โดยนายกิตติ อนันต์แดง
๏ รำยได้/สภำพทำงเศรษฐกิจ ชาวบ้านบากแดง ประชากรส่วนใหญ่ทาอาชีพเกษตรกรรม ทาสวนผลไม้ ทุเรียนมังคุด เงาะ ลองกอง ไม้ยืนต้นปาล์มน้ามัน ยางพารา ปลูกพืชผักต่างๆ และอื่นๆ มีรายได้เฉลี่ย 74,514 บาท/คน/ปี (ข้อมูล จปฐ. ปี 2560)
๓๖
3.6 แหล่งท่องเที่ยวและกำรบริกำร ณ เวลานี้ บ้านบากแดงยังไม่มีแหล่งท่องเที่ยวที่สร้างรายได้แก่หมู่บ้านชุมชน แต่ในอนาคตบ้านบาก แดงจะพัฒนา ศึกษาสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ป่าไม้ แหล่งน้าสัตว์ป่า และบริหารจัดการให้ชาวบากแดง สามารถอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างเกื้อกูล พึ่งพาซึ่งกันและกัน เป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวชม/ศึกษาธรรมชาติ
3.7 ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี เทศกำล ภูมิปัญญำท้องถิ่น ๏ ด้ำนศิลปะ บ้านบากแดง มีผู้นาชุมชน ที่มีความรู้ความสามารถ และรักในศิลปะ ด้านการปั้น การ วาดภาพสร้างสรรค์ผลงานที่บอกเล่าเรื่องราวของหมู่บ้าน/ชุมชน ได้อย่างลงตัวเหมาะสม โดยใช้วัสดุใน หมู่บ้าน/ชุมชนท้องถิ่นในการสร้างสรรค์งาน เช่น ใช้ดินบ้านบากแดงในงานปั้นตุ๊กตาดินเผา/พระพุทธรูป ตุ๊กตาช้าง งานเขียนภาพลวดลายบนเสื้อ ถ่ายทอดบอกเล่าเรื่องราวช้างหมู่บ้านบากแดงผ่านทางศิลปะ เป็นต้น
๓๗
๏ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญำ ชาวบ้านบ้านบากแดง ยึดถือวัฒนธรรม ประเพณี และสืบทอดภูมิ ปัญญาที่ดีงามของบรรพบุรุษอย่างเคร่งครัด ด้านวัฒนธรรมการเคารพผู้ใหญ่ ผู้อาวุโสกว่า การอ่อนน้อมถ่อมตน มารยาททางสังคม การรู้จักขอ โทษ การขอบคุณ ไปลามาไหว้ ความมีน้าใจ ช่วยเหลือ เอื้ออาทรผู้อื่น ไม่เห็นแก่ตัวไม่เอาเปรียบผู้อื่น ด้านประเพณี/เทศกาลงานบุญต่างๆ ในท้องถิ่นที่สืบทอดกันมาแต่โบราณ ตลอดตั้งแต่ต้นปี ถึงปลายปี วันขึ้นปีใหม่ วันมาฆบูชา วันสงกรานต์ วันวิสาขบูชา งานบุญเดือนสิบ เข้าพรรษา ออกพรรษา แข่งเรือยาว วันลอยกระทง ฯลฯ หมู่บ้านบากแดงสืบทอดงานประเพณีเป็นประจาทุกปีไม่เคยขาด ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น ทุกสาขา ด้านอาชีพ แพทย์แผนไทย การดุแลรักษาป่า แหล่งน้า ฝีพายเรือ การขุดเรือ ฯลฯ ทั้งในและนอกชุมชน บ้านบากแดงมีการคงไว้ รักษาสืบทอดสู่คนรุ่นหลัง
๓๘
.
๓๙
.
9