ถอดบทเรียนศูนย์เรียนรู้ชุชนสมบูรณ์แบบ

Page 1

ถอดบทเรี ยนศูนย์ เรียนรู้ ชุมชนสมบูรณ์ แบบบ้ านในดวด หมู่ท่ ี ๓ ตาบลสวนแตง อาเภอละแม จังหวัดชุมพร  ความเป็ นมาบ้านในดวด ความเป็ นมาในการก่ อตัง้ ชุมชน ได้ มีการเล่าขานกันมาหลายกระแสกว่า 200 ปี มาแล้ ว่ามีบ้านเรื อนอยูเ่ พียงหลังเดียว คือ บ้ านของนายแดง ซึง่ มีคนเรี ยกว่า “แดงตุก”หรื อ “แดงแข้ งเคย” บ้ านตังอยู ้ ท่ ี่ดอนสุทธา นายแดงป่ วยเป็ นโรคเท้ าช้ าง พุพอง มีกลิ่นเหม็น มีเพื่อนๆเดินทางมาเยี่ยมเยียน จึง เรี ยกว่า “บ้ านโดด” เพราะอยูห่ ลังเดียวโดดๆ ต่อมาได้ มีครัวเรื อนเพิ่มขึ ้น โดยย้ ายมาจากเขาประสงค์ ท่าเรื อ บ้ านหนองหวาย ดอนธูป คลองขนาน หลังสวน มาสร้ างกระท่อมอยูท่ ี่ดอนกลางทุง่ นา บริเวณที่ราบลุม่ เพราะพื ้นที่สว่ นใหญ่ในสมัยนันจะเป็ ้ นป่ าทึบ บางแห่งก็เป็ นป่ าพรุ ที่ราบลุม่ จะเป็ นโคก สันดอน สาหรับที่อยู่ อาศัย คลองที่สาคัญ คือ คลองหนองเนียน ู​ู้คนได้ ย้ายตาแหน่งการสร้ างบ้ าน มาอยูแ่ บบั​ั่ งคลองหนอง เนียน ด้ านทิศตะวันตกและท่านเจ้ าเมืองสมัยนัน้ ได้ เดินเท้ าู่านกลางทุง่ นา ได้ ตดั ทางเดินเรี ยกว่า “ทางสาย ู่านกลางทุง่ นา” จากคาบอกเล่าต่อกันมาปลัดคนใหม่ ทองหัตบา ซึง่ เป็ นปลัดอาเภอสมัยนัน้ บอกว่าคนใน บ้ านดวด เป็ นคนไม่ยอมคน เป็ นคนนักเลงหัวไม้ มีการฆ่าฟั นกันเป็ นประจา และชอบดื่มเหล้ าเป็ นส่วนมาก ซึง่ คาว่า “ดวด” คือ การดื่มหรื อการชนแก้ ว จาการหลักฐานในการจัดตังเป็ ้ นหมู่บ้าน เมื่อปี 2476 เดิมเป็ น หมูท่ ี่ 7 ตาบลละแม อาเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ประมาณปี พ.ศ. 2518 ได้ แยกเป็ นกิ่งอาเภอละแม จังหวัด ชุมพร ปั จจุบนั เป็ นอาเภอละแม จากการที่ชมุ ชนบ้ านดวดและบ้ านในดวด ซึง่ มีบิ่นฐานดัง่ เดิม มีอาชีพการ ปลูก “แตงโม”เป็ นจานวนมาก เป็ นที่ร้ ูจกั และมีชื่อเสียงในเรื่ องของรสชาติความอร่อย เมื่อแยกเป็ นตาบล จึง ได้ ชื่อว่า “ตาบลสวนแตง” บ้ านในดวดตังอยู ้ ใ่ นหมูท่ ี่ 3 ตาบลสวนแตง ในปั จจุบนั เหตุการณ์ สาคัญในการก่ อตัง้ ชุมชน และส่งูลให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงชุมชนในด้ านต่าง ๆ จากหนังสือที่ระลึก ฉากชีวิตรัฐบุรุษประจาบิ่น“นายตัง้ แพประสิทธิ์” เนื่องในวันประชุมเพลิงได้ กล่าวบึง ประวัตขิ องบ้ านในดวดหลายประการสมัยก่อนยังไม่มีความเจริญในหลาย ๆ ด้ าน เช่น บนน วัด โรงเรี ยน สบานีอนามัย ไม่มีบริ การในชุมชน ชุมชนเชื่อู​ู้นา และอาศัยู​ู้นาในการแนะนาช่วยเหลือ นายตัง้ แพ ประสิทธิ์ คือู​ู้หนึง่ ที่มีภาวะู​ู้นาธรรมชาติ เป็ นู​ู้มีความรู้ ความสามารบ มีศีลธรรม กล้ าหาญ มีเหตุูล เมื่อ ชาวบ้ านเดือนร้ อนต่าง ๆ เช่นโรคภัยไข้ เจ็บ ซึง่ มีมากการทะเลาะเบาะแว้ ง และมีงานพิธีกรรมต่าง ๆ ดัง ตัวอย่างที่จะกล่าว คือ (1) ไม่มีสบานีอนามัย สาหรับรักษาคนไข้ ชาวบ้ านในชุมชนได้ กล่าวว่า “คนไม่บึงวันตาย ก็ตาย ” โรคที่พบมากที่สดุ คือโรค เท้ าช้ างซึง่ ทุกคนรังเกียจและไม่อยากให้ เกิดขึ ้นกับตนเอง มีคนกล่าวว่า“บ้ าเลือกเกิดได้ จะไม่เลือกเกิดในบ้ าน ดวด”


(2) ป่ าช้ าหรื อที่เูาศพ/ั​ั งศพ เมื่อมีการตายเกิดขึ ้น กว่าจะได้ พบพระสงฆ์ บางที่ต้องเก็บศพไว้ 2-3 วัน หรื อั​ั ง ก่อน เนื่องจากวัดอยูไ่ กลมากสาหรับป่ าช้ า เป็ นป่ าดงดิบ รกทึบ คนส่วนใหญ่เชื่อเรื่ องไสยศาสตร์ ชาวบ้ านจะไม่กล้ าเดินู่านป่ าช้ าคนเดียว (3) วัดบ้ านดวด คุณตัง้ แพประสิทธิ์ เป็ นู​ู้บกุ เบิก อนุรักษ์ สบานที่เอาไว้ ในการก่อตังวั ้ ดบ้ านดวด เดิม เรี ยกว่าวัดบ้ านบน และมีพระธุดงค์ คือ พ่อท่านปลัดทอง ซึอ่ อยูว่ ดั ปอม(บ้ านล่าง) ซึง่ กลายเป็ นสวนยางของ วัดบ้ านดวดสมัยนี ้ ได้ มาอาบน ้าที่วดั บ้ านบน(ซึง่ มีแม่ชีสมมิตรพานักอยู)่ เห็นว่ามีลาธารเย็นสบาย จึงได้ ทา โบสบ์น ้ากลางลาธาร (ทุกวันนี ้ยังปรากฏอยู)่ และพานักทีวดั บ้ านบนต่อไป ปั จจุบนั คือ วัดสุวรรณธาราม (วัด บ้ านดวด) (4) บนน ชาวบ้ านต้ องช่วยกันตัด บนน ทาด้ วยแรงงานคน (5) โรงเรี ยนบ้ านดวด สมัยก่อนเมื่อเด็กบึงเกณฑ์เข้ าโรงเรี ยน ต้ องเรี ยน โดยอาศัยร่มไม้ ชายคา พื ้นล่างของบ้ าน “นายจันทร์ กี ้ขอ” ครูความรู้ก็ไม่มาก ไม่มีที่พกั ได้ ร่วมกันพัฒนาจนเป็ น โรงเรี ยนบ้ านดวดในปั จจุบนั อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับประวัตศิ าสตร์ ชุมชน การเดินทางด้วยเท้า การขนส่ งใช้เกวียน และรถไฟ แต่ก่อนสถานี รถไฟบ้านดวดยังไม่มี ชาวบ้านดวดมีอาชีพทานา ทาสวน โดยเฉพาะการปลูกแตงโม จานวนมากมาย การส่ งไปจาหน่ายก็ลาบาก ชาวบ้านจึงได้ส่งเรื่ องขอไปที่การรถไฟแห่งประเทศไทยเพื่อขอให้มีสถานีรถไฟและเป็ นสถานีบา้ นดวดใน ปัจจุบนั เบื้องหลังความคิด แรงบันดาลใจ จากการที่คนในชุมชนประกอบอาชีพเชิงเดี่ยวทาให้คน

ในชุมชนมีรายได้ไม่เพียงพอ ต้องเป็ นหนี้นอกระบบ ผูใ้ หญ่บา้ นและแกนนาหมู่บา้ นต้องการให้ ชาวบ้านมีรายได้เพิ่มเพื่อช่วยแก้ปัญหาหนี้สินกับคนในชุมชน จากต้นทุนในเรื่ องการทอเสื่ อที่คน ในชุมชนมีความรู ้พ้นื ฐานด้านการทอเสื่ ออยูบ่ า้ งและเห็นชุมชนข้างเคียงมีรายได้จากการทอพรม เช็ดเท้า จึงเกิดแรงบันดาลใจที่จะหาอาชีพเสริ มให้กบั คนในชุมชน จึงพาคนในชุมชนไปศึกษาดู งานและหาวิทยากรมาให้ความรู ้ มีการจัดตั้งกลุ่มและระดมหุน้ เริ่ มแรกมีสมาชิก ๑๕ คน เงินทุน ๘,๐๐๐ บาท ทาให้เกิดกลุ่มอาชีพทอพรมเช็ดเท้าขึ้นในปี ๒๕๔๒  กระบวนการก่อเกิดศูนย์เรี ยนรู ้ ศูนย์เรี ยนรู ้เดิมเป็ นศาลาประชุมกลางหมู่บา้ น เป็ นจุดศูนย์รวมในการประชุม หมู่บา้ นได้นาข้อมูล จปฐ. มาใช้ในการพัฒนาหมู่บา้ น จากแนวคิดการพัฒนาต้องเริ่ มที่คน ถ้าคนมี ความสุ ข มีความรู ้ การพัฒนาจะก่อเกิด ผูน้ าจึงได้ประสานหน่วยงานภายนอกมาให้ความรู ้ พา ชาวบ้านไปศึกษาดูงาน มีการทาแผนพัฒนาหมู่บา้ น จัดลาดับสาคัญของปัญหา มีโครงการที่ทา


เองได้ เช่นปลูกผัก ทาน้ ายาล้างจานใช้เอง ถ้าทาเองไม่ได้กท็ าร่ วมกับหน่วยงาน หรื อบางโครงการ ต้องให้หน่วยงานดาเนินการให้ท้ งั หมด ในปี ๒๕๕๒ หมู่บา้ นได้รับการคัดเลือกให้เป็ นจุดนาร่ อง หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง เริ่ มมีคนภายนอกมาศึกษาดูงาน มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ระหว่าง บุคคลภายนอก ในปี ๒๕๕๔ ผูใ้ หญ่บา้ นได้รับการคัดเลือกให้เป็ นผูใ้ หญ่บา้ นดีเด่น (แหนบ ทองคา) อันดับ ๑ ของจังหวัดชุมพร ในปี ต่อมาได้รับเงินงบประมาณสนับสนุนรักษามาตรฐาน หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ได้นามาต่อยอดพัฒนาศูนย์เรี ยนรู ้ชุมชน  ปัญหาสาคัญที่เกิดขึ้นคืออะไร แก้ปัญหากันอย่างไร ใครมีบทบาทสาคัญในการ แก้ปัญหาเหล่านั้น ? ปัญหา แนวทางแก้ไข -กิจกรรมตามฐานเรี ยนรู ้ไม่ได้รับการปรับปรุ งพัฒนา -จัดทาข้อมูล ป้ าย ตามจุดเรี ยนรู ้ชุมชน และยกระดับให้น่าสนใจ (ข้อมูล/วิธีการทา/ป้ าย.....

 การบริ หารจัดการของศูนย์เรี ยนรู ้น้ ีทากันอย่างไร(โครงสร้างการบริ หาร/บทบาท หน้าที่/แผนงานหรื อกิจกรรมที่ทาสม่าเสมอ/กระบวนการทางาน/กิจกรรมโดดเด่น/ ผลผลิต/ผลลัพธ์ต่อชุมชน) มีปัญหาอุปสรรคหรื อไม่แก้ไขกันอย่างไร? การบริหารศู นย์ -มีคณะกรรมการ ๑๕ คน คัดจากการประชุม มีวาระ ๒ ปี ปัจจุบนั คุณประยูร บุญจันทร์ เป็ นประธาน มีกฎระเบียบตามข้อตกลงในที่ประชุม (เป็ นลายลักษณ์อกั ษร) บทบาทของคณะกรรมการเป็ นวิทยากรให้ความรู ้ทวั่ ไป กิจกรรมทีศ่ ู นย์ เรียนรู้ ทาสมา่ เสมอ ให้ความรู ้ ให้ขอ้ มูลกับผูท้ ี่มาศึกษาดูงาน ใช้ เป็ นที่ประชุมแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้อย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้ง (ทุกวันที่ ๕ ของเดือน) ให้บริ การด้าน สถานที่ ใช้เป็ นศูนย์กลางในการกระจายข้อมูลข่าวสารของทางราชการและหน่วยงานต่างๆ เป็ นที่ ฝึ กอบรม สาธิตความรู ้ และกิจกรรมการเรี ยนรู ้การพึ่งตนเอง เช่น การทาน้ ายาเอนกประสงค์ การ ทาปุ๋ ยหมักคุณภาพสู ง แปรรู ปอาหาร ฯลฯ


 รู ปธรรมความสาเร็จที่เกิดขึ้นคืออะไรบ้าง? -มีฐานเรี ยนรู ้ที่เป็ นรู ปธรรม ๑๐ ฐาน /มีการขยายผลสู่ หมู่บา้ นอื่น/มีการนาไป ปฏิบตั ิ ๘๐ เปอร์เซ็น มีตวั อย่างความสาเร็จ คือ มีครัวเรื อนต้นแบบ  บทเรี ยน(ปั จจัยแห่งความสาเร็จและความล้มเหลวที่เกิดขึ้น) -ผูน้ า มีเข้มแข็ง มีวสิ ัยทัศน์ จริ งใจ ซื่อสัตย์ เสี ยสละ อดทน -คนในชุมชนให้ความร่ วมมือ มีส่วน ร่ วมคิด ร่ วมทา ร่ วมรับผิดชอบ ร่ วมรับ ประโยชน์ -ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน และหน่วยงานภายนอก ด้านความรู ้ งบประมาณ วิชาการ การเชื่อมโยงภาคีเครื อข่าย -มีการขยายผลเครื อข่ายหมู่บา้ นภายในตาบล และภายในอาเภอ จังหวัด -ผูน้ า สามารถถ่ายทอดความรู ้ให้บุคคลอื่นรับรู ้ได้ - มีการสื บทอดความรู ้ ภูมิปัญญา  ข้อเสนอแนะสาหรับชุมชนอื่นๆ -ผูน้ าต้องเป็ นแบบอย่างที่ดี สร้างศรัทธา ทาให้ชาวบ้านเห็นอย่างต่อเนื่อง -ต้องมีการให้ขอ้ มูล สร้างความรู ้ความเข้าใจ และสื่ อสารให้คนในชุมชนเข้าใจ -มีการกระจายความรับผิดชอบ และแบ่งหน้าที่การทางานให้กรรมการศูนย์ฯ และ ให้หวั หน้าคุม้ มี ๖ คุม้ (๑๗-๓๓ ครัวเรื อน) -หากเกิดปั ญหาให้เปิ ดใจคุยกัน -สร้างคนรุ่ นใหม่ (เยาวชนจิตอาสา) -มีการประชุมทุกเดือน รับฟังปัญหาชาวบ้าน -มีการจัดทาตาราง มีบนั ทึกการประชุม -รู ้จกั ตัวตนของตนเอง/ชุมชน -มีการประเมินตนเองหลังจากมีผมู ้ าศึกษาดูงานที่ศูนย์เรี ยนรู ้ชุมชน และรับฟังของ เสนอแนะของผูอ้ ื่น


กิจกรรมโดดเด่ นของศูนย์ เรี ยนรู้ ชุมชน 1. ฐานเรี ยนรู้เรื่ องแหล่งทุนชุมชนและสวัสดิการชุมชน จะให้ บริการองค์ความรู้ เรื่ อง ร้ านค้ าชุมชน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการูลิต กองทุนหมู่บ้าน ฌาปณกิจสงเคราะห์ ใช้ ศาลา อเนกประสงค์เป็ นจุดเรี ยนรู้ 2.ฐานเรี ยนรู้ดาเนินชีวิตตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใช้ พื ้นที่ครัวเรื อน ตัวอย่าง นายประยูร บุญจันทร์ บ้ านเลขที่ 21 หมู่ที่ 3 ตาบลสวนแตง มีกิจกรรมให้ เรี ยนรู้ ดังนี ้ 1. การขยายพันธุ์หญ้ าแัก 2. การปลูกหญ้ าแักริมคลอง 3. การทาัายแม้ ว 4. การทาปุ๋ ยน ้าหมักชีวภาพ 5. การเลี ้ยงหมูหลุมและการทาปุ๋ยหมักจากหมูหลุม 6. การเลี ้ยงปลา 7. การทาน ้าส้ มควันไม้ และบ่าน 8. การปลูกูักปลอดสารพิษ 3. ฐานเรี ยนรู้เรื่ องการเพาะเห็ดจากทะลายปาล์ม ใช้ ที่บ้านประธานกลุ่มเพาะเห็ด ฟางจากทะลายปาล์ม 4. ฐานการเรี ยนรู้เรื่ องเลี ้ยงโคขุน ใช้ ที่บ้าน นายสุราษฎร์ อินทวงษ์ 5. ฐานูลิตน ้ามันมะพร้ าว ใช้ ที่บ้าน นายล่อง แดงปะทิว 6. ฐานการเลี ้ยงปลาน ้าจืด ใช้ ที่บ้าน นายวิชิย แตงเลี่ยน 7. ฐานภูมิปัญญาท้ องบิ่น หมอต่อกระดูกที่มีชื่อเสียงมาก ใช้ ที่บ้าน นายมโน แพประสิทธิ์


การทานา้ มันมะพร้ าว

1. ชื่ อภูมิปัญญา การทาน้ ามันมะพร้าว 2. ผู้สืบทอดภูมิปัญญา นายล่อง แดงปทิว บ้านเลขที่ 75 หมู่ที่ 3 บ้านในดวด ตาบลสวนแตง อาเภอ ละแม จังหวัดชุมพร 86170 เบอร์ โทร 0869445682 3. ประวัติความเป็ นมา ( สื บเนื่องมาจากบ้านหมอโน แพประสิ ทธิ์ ) นายล่อง แดงปทิว ได้เริ่ มทาน้ ามันมะพร้าว เนื่องจากบ้าน นายมโน แพประสิ ทธิ์ ซึ่ งเป็ นหมอต่อ กระดูกแบบโบราณ ( แพทย์แผนไทย) ของหมู่บา้ นในดวด ระยะหลัง ได้มีชาวบ้านสนใจรักษาโรคซึ่ งมี สาเหตุมาจากกระดูกทั้งหลาย เช่น กระดูกหัก กระดูกแตก กระดูกเคลื่อนที่ และการนวดคลายเส้นซึ่ง จะต้องใช้น้ ามันมะพร้าวเป็ นตัวประสานกระดูกที่ดีที่สุด และในตอนแรกนายมโน แพประสิ ทธิ์ ซึ่ งเป็ น หมอต่อกระดูกได้ทาการรักษาคนไข้โดยทาการเคี้ยวหรื อทาน้ ามันมะพร้าวด้วยตัวเอง ซึ่ งตอนหลังตนเอง เริ่ มเคี้ยวน้ ามันมะพร้าวไม่ไหว เนื่องจากคนที่มารักษาโรคกระดูกเพิ่มจานวนมากขึ้นเรื่ อย ๆ การใช้น้ ามัน มะพร้าวก็ตอ้ งเพิ่มจานวนมากขึ้นด้วย ทาให้ตนเองไม่มีเวลามานัง่ เคี้ยวน้ ามันมะพร้าวรักษาคนไข้ได้พอ กับความต้องการใช้ในแต่ละวัน ซึ่ งต่อมานายล่อง แดงปทิว ซึ่ งที่บา้ นของตนเองมีมะพร้าวเยอะและ บาง ช่วงราคามะพร้าวที่ขายเป็ นลูกเริ่ มราคาถูกลงมาก นายล่อง แดงปทิว ทราบข่าวว่าบ้าน นายมโน แพ ประสิ ทธิ์ ต้องการใช้น้ ามันมะพร้าวเป็ นจานวนมากและเพื่อเป็ นการช่วยให้คนไข้มีน้ ามันมะพร้าวในการ รักษาเป็ นไปได้โดยต่อเนื่ อง เลยช่วยเคี้ยวน้ ามันมะพร้าวและเอาไปขายให้กบั คนไข้ที่ตอ้ งการรักษาโรค และไม่ตอ้ งกลับไปเคี้ยวน้ ามันมะพร้าวเอง ได้ซ้ื อไปใช้ในราคาที่ถูกกว่าท้องตลาด และตอนหลังก็เริ่ มทา มาตลอดจนถึงปั จจุบนั นี้


ประโยชน์ ของนา้ มันมะพร้ าว 1. ใช้ประสานกระดูก 2. ใช้ใส่ ผมช่วยลดผมหงอกก่อนวัย 3. ทาหน้าแก้ฝ้า 4. ใช้สาหรับหมักผมให้มีน้ าหนัก 5. ใช้เป็ นน้ ามันสาหรับนวดเพื่อคลายเส้น

มะพร้ าวสาหรับนามาทานา้ มันมะพร้ าว 1. มะพร้าวงอกหน่อ จะให้น้ ามันมะพร้าวมากที่สุด 2. มะพร้าวสุ ก จะให้น้ ามันมะพร้าวปานกลาง 3. มะพร้าวห้าว จะให้น้ ามันมะพร้าวน้อยที่สุด

ประโยชน์ ทไี่ ด้ จากการทานา้ มันมะพร้ าว 1. ได้น้ ามันมะพร้าว 2. ได้น้ าซึ่ งเหลือจากการคั้นน้ ากะทิมาทาเป็ นปุ๋ ยใส่ ตน้ ไม้ลดค่าใช้จ่าย 3. ได้กากมะพร้าวซึ่ งเหลือจาการคั้นเอากะทิเอามาทาเป็ นปุ๋ ยใส่ ตน้ ไม้ลดค่าใช้จ่าย 4. ได้กะลามะพร้าวนามาเผาทาถ่านหุ งอาหาร 5. เปลือกมะพร้าวนาไปขายใช้แปรรู ปทาเป็ นปุ๋ ย ความสั มพันธ์ กบั ชุ มชน 1. ทาให้มีการจ้างงานเกิดขึ้น 2. สื บสานภูมิปัญญาท้องถิ่นในการทาน้ ามันมะพร้าว 3. อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม 4. ช่วยเพิ่มราคาผลผลิต 5. ลดค่าใช้จ่ายในการใช้ปุ๋ยเคมี


ขัน้ ตอนการทานา้ มันมะพร้ าว 1.

นามะพร้ าวที่คดั แล้ วมาทาการปอกเปลือก โดยใช้ เหล็กปอกหรื อมีดพร้ าปอกเปลือกให้ เกลี ้ยง

2.

นามะพร้ าวที่ปอกเปลือกเกลี ้ยงแล้ วมาู่าซีก ให้ ได้ 2 ซีกใน 1 ลูก

3.

นามะพร้ าวทีู่า่ ซีกแล้ วไปทาการขูด โดยหัวขูดพยามขูดให้ ละเอียดที่สดุ ขูดให้ หมดเนื ้อจนบึงกะลามะพร้ าว เพราะ น ้ามันมะพร้ าวจะอยูต่ รงส่วนท้ องสุดของกะลามะพร้ าว

4.

เมื่อขูดมะพร้ าวเสร็ จแล้ วก็นาน ้าสะอาดมาใส่ในเนื ้อมะพร้ าวที่ขดู ไว้ พอท่วมเนื ้อมะพร้ าว หลังจากนันท ้ าการคันแยก ้ น ้ากะทิออกจากกากมะพร้ าวจะได้ น ้ากะทิที่ได้ จากการคันมารวมกั ้ นไว้ ในกะละมัง ไม่ต้องแยกหัวกะทิออกจากหาง กะทิ นาน ้ากะทิที่ได้ จากการคันแล้ ้ วใส่โดม ทิ ้งไว้ ค้างคืน 1 คืนเพือ่ ให้ หน้ ากะทิแยกออกจากน ้าที่นามาคัน้ เวลานา น ้ากะทิที่คนแล้ ั ้ วใส่โคมให้ เว้ นเนื ้อที่เูื่อไว้ สาหรับหน้ ากะทิขึ ้นด้ วยประมาณ 5 ซ.ม. เพราะบ้ าไม่เว้ นเนื ้อที่ไว้ เวลา หน้ ากะทิขึ ้นจะทาให้ น ้ากะทิล้นออกนอกโคม

5.

ทาการเคี ้ยวน ้ามันมะพร้ าว ตักเอาเฉพาะส่วนที่เป็ นหน้ ากะทิแยกออกมาจากส่วนที่เป็ นน ้า นาไปเคี ้ยวบนเตาไฟ ที่ ร้ อนโดยใช้ กระทะในการเคี ้ยวน ้ามันมะพร้ าว เวลาเคี ้ยวต้ องคนน ้ามันมะพร้ าวในกระทะเรื่ อย ๆ เพือ่ ไม่ให้ น ้ามัน ไหม้ ใช้ เวลาเคี ้ยวน ้ามันมะพร้ าวกระทะหนึง่ ประมาณ 7 ชัว่ โมงจนเป็ นน ้ามันมะพร้ าว

6.

มะพร้ าวประมาณ 500 ลูก เคี ้ยวเสร็ จจะได้ น ้ามันมะพร้ าวประมาณ 70 ขวด

7.

นาน ้ามันมะพร้ าวที่ได้ จากการเคี ้ยวมาบรรจุลงขวดพร้ อมใช้ ขวดที่บรรจุจะต้ องเป็ นขวดที่สะอาด

ผลพลอยได้ ส่วนที่เหลือคือกากมะพร้ าวน ้าไปทาปุ๋ยใส่ต้นปาล์ม น ้าส่วนทีเ่ หลือจากการคันกะทิ ้ ก็นาไปใส่ต้นปาล์มทาปุ๋ย กะลามะพร้ าวเอามาเูาบ่านไว้ ใช้ ในครัวเรื อนเหลือนาไปขาย เปลือกมะพร้ าว(พดมะพร้ าว) นาไปขายเพื่อแปรรูปทาปุ๋ย ใส่ตนั ไม้



การเลีย้ งปลา

1. ชื่อภูมิปัญญา การเลี้ยงปลา 2. ประวัติความเป็ นมา ความอุดมสมบูรณ์ของหมู่บา้ นเดิมทีมีปลาตามธรรมชาติมากมายสามารถหากินได้ตลอดปี แต่ ต่อมาปลาที่มีตามธรรมชาติได้เริ่ มหมดไปเรื่ อย ๆ นายวิชยั จึงคิดทาการเลี้ยง ปลาตามธรรมชาติข้ ึน และประมาณ พ.ศ. 2545 ได้เริ่ มเลี้ยงปลาโดยบ่อดิน เริ่ มขุดเลี้ยง 2 บ่อ ในเนื้อที่ 2 ไร่ ( เป็ นปลาจา ระเม็ดน้ าจืด) เพื่อขายและ เพื่อเอาไว้กินในครอบครัว เลี้ยงไปสักระยะหนึ่งก็เลิกเลี้ยงเพราะขาดทุน เนื่องจากการบริ หารจัดการและไม่มีความรู ้ในการเลี้ยงปลา

เลยหันมาเลี้ยงหมูแทนแต่ก็ขาดทุนอีก

เลยเลิกเลี้ยงไประยะหนึ่ง ต่อมาลูกสาวได้เรี ยนในด้านนี้ตนเองเลยหันมาสนใจในการเลี้ยงปลาใหม่อีกครั้งหนึ่ง โดยเปลี่ยนจาก การเลี้ยงแบบบ่อดินมาเป็ นบ่อปูนซี เมนต์ ในปี พ.ศ. 2548 เริ่ มเลี้ยงปลานิล และปลาจิตรลดา แต่ก็ได้ พันธ์ปลาที่มีปัญหาเนื่ องจากตนเองได้ซ้ื อมาจากแหล่งที่เชื่ อถือไม่ได้ เช่นพ่อค้าเร่ ขาย พันธ์ปลาทัว่ ไปที่ ไม่มีมาตรฐานรับรองคุณภาพ ได้ปลาที่มีปัญหาในการเลี้ยงมากมายเป็ นโรคง่าย ไม่โต โตช้า เลี้ยงไป เรื่ อย ๆ ก็ขาดทุนอีก ต่อมาลูกสาวที่เรี ยนในด้านนี้เริ่ มเรี ยนเพาะพันธ์ปลาขึ้นตนเองเลยเอาพันธ์ปลาที่ลูก สาวเพาะพันธ์ข้ ึนมาเลี้ยงเอง โดยได้พนั ธ์ปลามาจากศูนย์พฒั นาประมงน้ าจืด จังหวัดชุมพร และเริ่ มได้ ผลผลิตที่พอไว้ขายและกินเองในปั จจุบนั นี้


ขั้นตอนการเตรียมบ่ อปูนสาหรับบ่ อใหม่

บ่อปูนใหม่จะต้องทาการเปิ ดน้ าใส่ ขงั ไว้ประมาณ

30

เปอร์ เซ็นต์ ของความสู งของบ่อเลี้ยง และขังน้ าไว้ 1 วัน หลังจากนั้นก็ทาการเพิ่มประมาณน้ าขึ้นจนได้ 80 เปอร์ เซ็นต์ของบ่อ แช่ทิ้งไว้ 3 วัน 3 คืน แล้วทาการปล่อยน้ าทิ้ง ต่อจากนั้นก็นาดินเหนียว หรื อดินแดง มา ใส่ ในท้องบ่อประมาณความหนา 1 – 2 เซนติเมตร แล้วเริ่ มทาน้ าเขียว ขั้นตอนการทานา้ เขียว นามูลสัตว์ 12 ส่ วน ต่อ ยูเรี ย 1 ส่ วน ใส่ ในบ่อแล้วพักทิ้งไว้ให้สังเกตดูวา่ น้ า เริ่ มมีสีเขียวและเริ่ มมีไรน้ า (อาหารตามธรรมชาติ) และถ้าการทาน้ าเขียวในบ่อใหม่ครั้งแรกโดยวิธีการนี้ ทาแล้วน้ าเกิดมีสีดาและมีกลิ่นเหม็นเอาปลาลงไปเลี้ยงไม่ได้จะทาให้ปลาตาย

ต้องปล่อยน้ าทิง้ ให้หมด

และเริ่ มการทาน้ าเขียวใหม่ หรื ออาจจะใช้วธิ ี การวัดค่าของน้ า หรื อเรี ยกอีกอย่างว่าการวัดค่า

PH เมื่อ

การทาน้ าเขียวสมบูรณ์แล้ว และมีไรน้ าหรื ออาหารตามธรรมชาติเกิดขึ้นในบ่อก็สามารถนาปลาลงไปเลี้ยง ได้ และข้ อสั งเกตของนายวิชัย

ตอนแรกนายวิชยั ได้เลี้ยงปลาดุกไว้ในบ่อข้าง ๆ ต่อมาปลาดุกได้

กระโดดข้ามไปยูใ่ นบ่อปลานิล และนายวิชยั สังเกตต่อไปอีกว่าบ่อปลานิลที่มีปลาดุกอยูร่ วมด้วยนั้น น้ า จะเสี ยช้ากว่าบ่อที่มีเฉพาะปลานิลอยู่ เลยลองเอาปลาดุกใส่ เลี้ยงไว้เป็ นบางส่ วนของบ่อปลานิลแล้วก็ได้รู้ ว่าสามารถชะลอน้ าให้เสี ยช้าลงกว่าเดิม และเวลาจะนาปลาดุกลงเพื่อเลี้ยงในส่ วนที่กล่าวมานี้ควรนาปลา ดุกที่มีขนาดเล็กกว่าปลานิลหรื อขนาดเท่าๆ กันเพื่อเป็ นการป้ องกันไม่ให้ปลาดุกกินปลานิลหรื อปลาที่เอา มาเลี้ยงหมด ระยะการเลีย้ งปลานิล -

ระยะ 10 เดือนปลานิลจะเริ่ มวางไข่

-

เมื่อลูกปลาเริ่ มโตได้ขนาดทาการแยกปลาใหญ่ออกขาย

-

จะได้ปลารุ่ นต่อไปมาขยายพันธ์ แต่การขยายพันธ์ในส่ วนตรงนี้ไม่ควรทาเกิน 2 รุ่ น เพราะปลารุ่ น ต่อไปที่ได้จะมีขนาดเล็กไม่โตเท่าที่ควร เนื่ องจากเป็ นการผสมพันธ์ของปลากันเองตามธรรมชาติ

-

การสังเกตอีกอย่างหนึ่งก็คือ

ถ้าปลากินอาหารน้อยลงหรื อไม่กินอาหารเลยให้สันนิฐานว่าน้ าเสี ย

หรื อ ปลาใหญ่คือปลาอายุ 7 – 8 เดือน กินอาหารน้อยลงให้สันนิฐานว่าปลากาลังจะวางไข่หรื อน้ าเสี ย ให้ใช้การสังเกตโดยการดมน้ าดูวา่ น้ าเหม็นหรื อเปล่าถ้าไม่เหม็นให้คอยดูต่อไปว่าปลาวางไข่  ผูใ้ ห้ความรู้และให้การสนับสนุนช่วยเหลือคือ เจ้าหน้าที่ของแม่โจ้ เจ้าหน้าที่ประมงอาเภอละแม และเจ้าหน้าที่พฒั นาชุมชนของอาเภอละแม


3. ชื่อผู้สืบสานภูมิปัญญา นายวิชยั แตงเลี่ยน อายุ 46 ปี อยูบ่ า้ นเลขที่ 96 หมู่ที่ 3 บ้านในดวด ตาบลสวนแตง อาเภอละแม จังหวัดชุมพร โทรศัพท์ 084-6250902

4. ความสั มพันธ์ ชุมชน 1. เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ภายในหมู่บา้ น 2. สื บสานภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. ส่ งเสริ มและการอนุ รักษ์การเลี้ยงปลา


กลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิตบ้ านในดวด

1.

ชื่ อภูมิปัญญา กลุ่ม ออมทรัพย์บา้ นในดวด

2.

เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2541 ครั้งแรก มีสมาชิก 20 คน และมีทุนหุ น้ จานวน 2,200 บาท เริ่ มก่อตั้ง

กลุ่มโดยนายบุญธรรม แพประสิ ทธิ์ อดีตผูใ้ หญ่บา้ นในตอนนั้น

ปั จจุบนั มีนายมงคล พานิชกุล เป็ น

เหรัญญิกของกลุ่ม วัตถุประสงค์ เพื่อให้ชาวบ้านได้รู้จกั การออมเงิน และการรวมกลุ่มเพื่อเป็ นแหล่งเงินทุนภายในหมู่บา้ น มีการจัดสรรเงินให้กบั งานพัฒนาในหมู่บา้ น กีฬา และงานประเพณี ในต่างของหมู่บา้ น มีการออมเงินและ ปล่อยกูใ้ ห้กบั สมาชิกกลุ่ม

อีกส่ วนหนึ่งยกไว้เป็ นเงินสารองหรื อเงินประกันความเสี่ ยงไม่นอ้ ยกว่า

5

เปอร์ เซ็นต์ ของเงินทั้งหมด มีการประชุมกันทุกเดือน กรรมการมีการทางานรวมกันในวันที่ 5 ของทุกเดือน ซึ่ งจะเป็ นวันประชุมและเป็ นวันนาเงินมาฝากของสมาชิกกลุ่มเป็ นประจาทุกเดือน

และในสิ้ นปี มีการปั นผล

ให้กบั สมาชิกกลุ่มทุกคน ปล่อยกูใ้ นปั จจุบนั 9 ล้านกว่าบาท และมีเงินสารองบัญชีอยู่ 2 ล้านกว่าบาท สมาชิกมีท้ งั หมดในปั จจุบนั

คน หุ น้ เงินออม 112,297 หุ น้ เงินออม ในปั จจุบนั 11,229,780 บาท

3. ผู้สืบสาน นายมงคล พานิชกุล อายุ 67 ปี อยูบ่ า้ นเลขที่ 5 หมู่ที่ 3 บ้านในดวด ตาบลสวนแตง อาเภอ ละแม จังหวัดชุมพร โทรศัพท์ 087-1027355 4. ความสั มพันธ์ ชุมชน 1. เป็ นแหล่งเงินทุนภายในชุมชน 2. ลดการมีหนี้สินนอกระบบ 3. ชาวบ้านรู ้จกั การออมเงินในรู ปแบบของกลุ่ม 4. มีการรวมกลุ่มกันภายในชุมชน 5. เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ภายในชุ มชน


ร้ านค้าชุมชน

1. ชื่ อภูมิปัญญา ร้านค้าชุมชน 2. เริ่มก่อตั้ง ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2544 โดยกลุ่มแม่บา้ นของบ้านในดวดซึ่ งมีนางสาราญ แพประสิ ทธิ์ ซ่ ึ ง เป็ นประธานกลุ่มแม่บา้ นในตอนนั้นรวมกลุ่มกันกูเ้ งินของ องค์การบริ หารส่ วนตาบลสวนแตงมาเป็ นเงิน จานวน 200,000 บาท นามาลงทุนในการจัดตั้งร้านค้าในรู ปแบบร้านค้าสหกรณ์โดยเปิ ดให้มีการรับ สมัครสมาชิกของกลุ่มขึ้นและมีการปั นผลให้กบั สมาชิกกลุ่มทุกปี

มีการแบ่งงานกันทาเริ่ มแรกแบบ

พึ่งตนเองโดยลดค่าใช้จ่ายทุกอย่างเช่นนาข้าวมากินจากบ้านเวลามาทางานซึ่ งกลุ่มยังไม่มีเงินและผล กาไรในส่ วนตรงนี้ ตอนหลังเริ่ มมีเงินเหลือจากการขายกระดาษลัง บ้างขวดที่เหลือบ้างก็พอได้เอามา เป็ นค่าใช้จ่ายในการบริ หารงานของร้านค้า

และสะสมเงินกันมาเรื่ อย ๆ ตอนหลังเริ่ มมีกาไรในการ

บริ หารจัดการก็ได้นาเงินมาปั นผลให้กบั สมาชิก และเป็ นค่าตอบแทนให้คณะกรรมการที่มาช่วยกันขาย ของในร้านและช่วยกันบริ หารจัดการร้านค้า การบริ หารในช่วงแรกก็จะมีการเก็บเงินไว้สาหรับปั นผลให้กบั สมาชิกและตอบแทนกรรมการในการขาย แต่ละวันโดยเริ่ มเก็บเงินสะสมจากวันละ 200 บาท ต่อมาเริ่ มเก็บเงินเพิ่มขึ้นเป็ นวันละ 300 บาท และเก็บ เพิม่ ขึ้นเป็ นวันละ 700 บาทในปั จจุบนั นี้ มีการจดบันทึกในแต่ละวันว่าสมาชิกคนไหนมาซื้ อบ้างและซื้ อไป เท่าไหร่ ในแต่ละวันเพื่อทาการรวบรวมยอดซื้ อไว้สาหรับปั นผลให้กบั สมาชิกในสิ้ นปี การบริ หารร้านค้าก็มีปัญหาบ้างแต่กรรมการทางร้านค้าก็ยดึ หลักความซื่ อสัตย์และโปร่ งใสและไว้ใจ กันซึ่ งกันและกันเป็ นหลักในการบริ หารร้านค้า และไม่มีการตรวจสต็อกสิ นค้าที่ชดั เจนเหมือนกลุ่มร้านค้าอื่น ๆ ในการขายว่าซื้ อมาเท่าไหร่ ขายไปเท่าไหร่

ไม่มีการตรวจสอบระบบบัญชีที่ถูกต้องตามกฎระเบียบเพราะ

กรรมการแต่ละคนก็ไม่มีความรู ้ในด้านนี้เท่าไหร่ แต่ก็สามารถอยูไ่ ด้มาจนถึงทุกวันนี้เพราะกรรมการทุกคนมี


ความซื่ อสัตย์เป็ นหลักปั ญหาในการบริ หารงานส่ วนมากจะมาจากการค้างแต่ทางร้านก็พยายามจะติดตามและ คุยให้เห็นถึงปั ญหาและผลของของการค้างให้กบั ทางสมาชิกกลุ่มเข้าใจทาให้จึงกลุ่มร้านค้าอยูไ่ ด้จนถึงทุก วันนี้ 3. ผู้สืบสานภูมิปัญญา นางประนอม ทองจีน อายุ 51

ปี บ้านเลขที่ 17 บ้านในดวด หมู่ที่ 3

ตาบลสวนแตง อาเภอละแม จังหวัดชุมพร โทรศัพท์ 085-7874313 4. ความสั มพันธ์ ชุมชน 1. เป็ นการรวมกลุ่มของสมาชิกและทาให้เกิดความรักความสามัคคีกนั ในกลุ่ม 2. ลดการว่างงาน และสมารถทาให้เกิดการจ้างงานขึ้นภายในชุมชนให้มีรายได้เสริ ม 3. สมาชิกมีรายได้จากการซื่อของ 4. เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ภายในชุมชน



หมองู ภูมิปัญญาชาวบ้าน นายพู ฉิ มพลีศิริ เป็ นหมองูประจาหมู่บา้ น ประวัติ นายพู ฉิมพลีศิริ อยูบ่ า้ นเลขที่ ๘๕ หมู่ที่ ๓ ตาบลสวนแตง อาเภอละแม จังหวัด ชุมพร เป็ นผูส้ ื บทอดหมองู มาจาก นายตุม้ แพประสิ ทธิ์ อยูบ่ า้ นเลขที่ ๑๒๘ หมู่ที่ ๑ ตาบลสวนแตง อาเภอ ละแม จังหวัดชุมพร นายพู ตอนอายุพร้อมที่จะบวชเรี ยน ได้บวชอยูท่ ี่วดั บ้านดวด และได้เรี ยนรู ้วชิ า เป่ าพิษงู กับ นายตุม้ แพประสิ ทธิ์ ตั้งแต่น้ นั เป็ นต้นมาจนถึงปั จจุบนั และถ้านายพู พอมีเวลาว่างก็จะไปเก็บลูกมะขามป้ อม มาหมัก เพื่อเป็ นยาสมุนไพรรักษาโรคต่างๆ ให้กบั คนในชุมชนด้วย


การจักสาน

ภูมิปัญญาชาวบ้าน การจักสาน ประวัติ นางบุญรอด ฉิมพลีศิริ บ้านเลขที่ ๘๕ หมู่ที่ ๓ ตาบลสวนแตง อาเภอละแม จังหวัดชุมพร ตอนวัยเด็ก พ่อกับแม่ได้สอนให้สานเสื่ อกระจูด นางบุญรอด สนใจก็เลยสื บทอดจากพ่อกับแม่ เรื่ อยมาจนถึงปั จจุบนั พอ ถึงหน้ากระจูด ก็จะตัดกระจูดมาตากแดดสานเสื่ อกระจูดขาย พอหมดหน้ากระจูด ก็หาอาชีพเสริ ม เย็บปั กถัก ร้อยกระเป๋ าตามแบบต่างๆ และสอนคนในชุมชน เวลาใครยากเรี ยนก็ไปหานางบุญรอด ได้ที่บา้ น พอว่างจาก เย็บปั กถักร้อย ก็ปลูกพืชผักสวนครัว ไว้กินเองและแบ่งขายให้คนในชุมชน และเวลาว่างที่เหลือก็ยงั ทากาพรึ ก ไว้ขายในงานพิธีต่างๆด้วย


ศู นย์ เรียนรู้ การพัฒนาทีด่ นิ ตามแนวเศรษฐกิจแบบพอเพียง ๑. ผู้ดาเนินการ นายประยูร บุญจันทร์ บ้านเลขที่ ๒๑ หมู่ที่ ๓ ตาบลสวนแตง อาเภอละแม จังหวัดชุมพร ๒. ประวัติความเป็ นมา นายประยูร บุญจันทร์ เมื่อจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต และร่ วมจัดตั้งร้านค้าชุมชน แล้วจึงได้จดั ตั้งกลุ่มเกษตรอินทรี ย ์ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ดาเนินกิจกรรมอนุ รักษ์ดินและน้ าเป็ นหลัก เช่นการทา ปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยน้ า น้ าหมักชีวภาพ ปุ๋ ยพืชสด หญ้าแฝก สารขับไล่แมลงกาจัดแมลง การวิเคราะห์ดิน การปรับปรุ ง บ่อกุง้ ร้าง การอ่านแผนที่ดินให้เหมาะสมกับพืชที่ปลูก ในขณะนั้น ธ.ก.ส. ได้เข้ามาสนับสนุนเกษตรกรบ้านในดวด หลายเรื่ อง เช่น การจัดตั้ง โรงเรี ยนเกษตรอินทรี ย ์ การจัดอบรมเกษตรกร ศึกษาดูงทานต่างจังหวัด การทาฝายชะลอน้ า ธนาคารต้นไม้ ประกับชอบแสวงหาความรู ้ใหม่ๆ เมื่อส่ วนราชการเปิ ดรับอาสาสมัคร ก็จะสมัครเข้าร่ วมกิจกรรมกับหลาย ส่ วนราชการ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ กรมพัฒนาที่ดินได้เข้ามาจัดตั้งศูนย์๐ วัตถุประสงค์เพื่ออานวยความ สะดวกให้กบั เกษตรกรในตาบลสวนแตง เนื่ องจากเกษตรกรมีภาระค่าใช้จ่ายสู งในการซื้ อปุ๋ ยเคมี และโดย สภาวะดินเสื่ อมคุณภาพมาก การใช้ปุ๋ยโดยไม่มีความรู ้ความเข้าใจ

๓. การสื บสานภูมปิ ัญญา เนื่องจากวัตถุประสงค์การจัดตั้งศูนย์ฯ เป้ าหมายหลักคือ การลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยาย โอกาส แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ภูมิปัญญา นวัตกรรมศูนย์เรี ยนรู ้สู่ชุมชน ซึ่ งมีกิจกรรม เช่น การทาปุ๋ ยหมัก น้ าหมัก ชีวภาพ การป้ องกันกาจัดโรคโคนเน่ารากเน่า การทาสารบาบัดน้ าเสี ย สารขับไล่และกาจัดแมลงในพืชผัก การ ทาจุลินทรี ยย์ อ่ ยสลาย กรดฟอสฟอรัส การทาปุ๋ ยหมัก NPK และฮอร์โมน การปลูกผักปลอดสารพิษ ผัก อินทรี ย ์ การสร้างสวนแบบวนเกษตร สวนแบบผสมผสาน การเลี้ยงปลา การเลี้ยงไก่ไข่ ไก่เนื้อ หมูหลุม การ เลี้ยงปลาชีวภาพ การเลี้ยงไก่ชีวภาพ ฯลฯ

๔. ความสั มพันธ์ กบั ชุ มชน เนื่องจาก นายประยูร บุญจันทร์ เป็ นอาสาสมัครในหลายหน่วยงานของรัฐ การออกไปทา หน้าที่น้ นั ๆ จึงเกิดความคุน้ เคยผูกพันเป็ นการส่ วนตัว จึงเป้ นเรื่ องงานที่จะขยายความเอื้ออาทร ช่วยเหลือ เกื้อกูลสู่ ชุมชน เช่นภารกิจของการพัฒนาที่ดิน สนับสนุนปั จจัยการผลิตแก่เกษตรกรในตาบล ในโรงเรี ยน โดย ไปเป็ นครู ภูมิปัญญาโรงเรี ยนบ้านดวด และสนับสนุนปั จจัยการผลิตให้กบั ครู โรงเรี ยนวัดดอนแค ให้กบั สมาชิก อบตง นายก อบต. ปลัด อบตง ผูใ้ หญ่บา้ น ผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ น แพทย์ประจาตาบล ตามแต่ความต้องการ ในหมู่บา้ นในดวดเป็ นผูร้ ิ เริ่ มจัดตั้งกลุ่มประมง เมื่อจัดตั้งเสร็ จให้คณะกรรมการไปบริ หารเอง เพื่อจะได้ เข้มแข็งทั้งระบบ เป็ นที่ปรึ กษา เป็ นผูป้ ระสานงานระหว่างส่ วนราชการกับเกษตรกร


๕. การเรียนรู้ ภูมปิ ัญญา เนื่องจากศูนย์เรี ยนรู ้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วัตถุประสงค์ เป็ นสถานที่ให้ความรู ้ คาแนะนา คาปรึ กษาแก่ทุกๆคน ที่ตอ้ งการในเรื่ องที่ศูนย์ดาเนิ นการอยู่ หรื อถ่ายทอดได้ โดยจิตอันเป็ นสาธารณะ เพื่อ ประโยชน์สูงสุ ด ต่อเกษตรกร ประชาชน ประเทศชาติ การเรี ยนรู้อีกวิธีหนึ่ง คือ การเรี ยนรู้แบบเคาะประตูบา้ น เน้นรายครัวเรื อนที่ประสงค์จะทา เช่น การทาปุ๋ ยน้ าชีวภาพ ใน ๑ ครัวเรื อนจะได้ถงั ขนาด ๑๖๐ ลิตร พร้อมฝาปิ ด กากน้ าตาล ๑ ถัง ๒๕-๓๐ ลิตร สารเร่ ง โดยนายประยูร ไปช่วยทาซึ่ งจะเกิดการเรี ยนรู ้ร่วมกันวัสดุที่มีอยูใ่ นพื้นที่มาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด โดยคานึงถึงสิ่ งแวดล้อมและการปกป้ องธรรมชาติให้มากที่สุด การเรี ยนรู ้ทุกอย่าง ทุกเรื่ อง เปิ ดเผยโปร่ งใส ไม่มีปิดบังซ่อนเร้นตามหลักธรรมาภิบาล การเรี ยนรู ้อีกวิธี คือ การจัดตั้งกลุ่มผลประโยชน์แล้วอาศัยกลุ่มเป็ นตัวกระตุน้ และขยาย ความรู ้ เช่น กลุ่มประมง กลุ่มเกษตรอินทรี ย ์ ฯลฯ

๖. องค์ ความรู้ ของภูมปิ ัญญา กิจกรรมที่ดาเนิ นการในศูนย์เรี ยนรู ้การพัฒนาที่ดินตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การทาปุ๋ ยหมักโดยใช้สารเร่ ง พ.ด.๑, พ.ด.๙ และ พ.ด.๑๒ , การทาปุ๋ ยอินทรี ยค์ ุณภาพสู ง พ.ด.๑ , พ.ด.๒ , พ.ด. ๓ , พ.ด.๙ และ พ.ด.๑๒ , การทาปุ๋ ยน้ าหมักชีวภาพ พ.ด.๒ , การทาปุ๋ ยน้ าหมักบาบัดน้ าเสี ย พ.ด.๖ การทาสารขับไล่แมลงศัตรู พืช , การทาปุ๋ ยพืชสด , การปลูกหญ้าแฝก , การปลูกไผ่ , การตรวจวิเคราะห์ดิน , การอ่านแผนที่เพื่อประกอบการปลูกพืช , การทาสวนแบบผสมผสาน , แบบวนเกษตร , การปลูกผักเกษตร อินทรี ย ์ , ผักปลอดสารพิษ (GAP) , การเลี้ยงสุ กรชีวภาพ หมูหลุม , การเลี้ยงปลาชีวภาพ การอนุ รักษ์สัตว์น้ า แบบผสมผสาน , การเลี้ยงไก่ชีวภาพ ไก่เนื้อ ไก่ไข่ , การเผาถ่านโดยใช้ถงั น้ ามัน ๒๐๐ ลิตร น้ าส้มควันไม้ ฝายชะลอน้ า (ฝายทราย) - การเลี้ยงผึ้งโพลง ๗. การถ่ายทอดภูมิปัญญา เป็ นวิทยากรประจาศูนย์ในดวด และศูนย์ฯอื่นๆ กรมพัฒนาที่ดิน เป็ นวิทยากรถ่ายทอดความรู ้ ให้กบั โรงเรี ยน (ครู ภูมิปัญญา) เป็ นผูร้ ่ วมสนับสนุนกลุ่มยุวเกษตรในโรงเรี ยนบ้านดวด เป็ นวิทยากรสานักงาน เกษตรอาเภอละแม (อกม.) เป็ นวิทยากรถ่ายทอด สาธิ ตรายครัวเรื อน การทาบัญชีครัวเรื อน บัญชีฟาร์ ม การนา หลักคาสอนของพระพุทธเจ้ามาปฏิบตั ิในชีวติ ประจาวัน พรหมวิหาร ๔ หลักเมตตา , หลักกรุ ณา , หลักมุติตา , หลักอุเบกขา อริ ยะสัจ ๔ ความจริ งอันประเสริ ฐ ทุกข์ , สมุห์ทยั , นิโรธ , มรรค


การเพาะเลีย้ งปลากัด นายพิรุณ พานิชกุล บ้านเลขที่ ๑๔ หมู่ที่ ๓ ตาบลสวนแตง อาเภอละแม จังหวัดชุมพร

๑. ประวัติความเป็ นมา การเพาะเลี้ยงปลากัดสื บทอดมาจาก นายซิ้น เทพสกุล (ปู่ ) อดีตนายซิ้น เป็ นผูเ้ ลี้ยงปลากัด เพราะสมัยก่อนนิยมเลี้ยงปลากัดกันมาก ในสมัยนั้น นายพิรุณ ก็ได้เห็นและคุน้ เคยกับการเลี้ยงปลากัดของผู ้ เป็ นปู่ มาตลอด ตัวนายพิรุณเอง ผูม้ ีความชานาญในเรื่ องการเลี้ยงปลากัดตั้งแต่น้ นั เป็ นต้นมา นายพิรุณ พานิช กุล เริ่ มเลี้ยงปลากัดมาประมาณ ๑๐ ปี ตอนแรกๆเลี้ยงไว้เพื่อความสวยงามและทดลองกัดกันเอง มาเป็ นการ เลี้ยงเพื่อขาย เป็ นอาชีพเสริ ม และตอนนี้มีการเพาะเลี้ยงปลากัดประมาณ ๑๐ บ่อ โดยเน้นการพัฒนาสายพันธ์ นักสู้ พัฒนาสายพันธ์มาจากปลากัดป่ า หรื อปลากัดที่มีอยูต่ ามธรรมชาติ เช่นปลาในจังหวัดนครปฐม อาเภอ แปดริ้ ว ของจังหวัดฉะเชิงเทรา อาเภอกันตัง จังหวัดตรัง

๒. วิธีการเพาะเลีย้ งปลากัด ปลากัดเป็ นสัตว์ที่น่าสนใจ เพราะมีสีสันที่สวยงาม ไม่ตอ้ งใช้พ้นื ที่เพาะเลี้ยงมากนัก และควร ใส่ เกลือลงไปด้วย ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนน้ าใหม่ ปลากัดนิยมเลี้ยงในขวดหรื อโหลขนาดเล็ก ไม่นิยมเลี้ยง ร่ วมกับปลาชนิดอื่น พ่อพันธ์และแม่พนั ธ์ เริ่ มนามาผสมได้อายุประมาณ ๘ เดือน โดยวิธีการนาปลาพ่อแม่ พันธ์ที่ใส่ ไว้ในขวด มาวางเทียบเคียงกัน ๓ – ๔ วัน ในขณะที่เทียบเคียงกันนั้น ทุกเช้าและเย็นจะนาปลาตัวเมีย ปล่อยลงไปให้ปลาตัวผูผ้ สมพันธ์ โดยปล่อยครั้งละประมาณ ๕ นาที แล้วแยกออกจากกันเพื่อกระตุน้ ให้ไข่ ของตัวเมียได้สุกเร็ ว หรื อให้ผสมในบ่อโดยธรรมชาติ โดยพ่อพันธ์จะสร้างฟองอากาศ หรื อก่อหวอด เพื่อ เตรี ยมสาหรับการผสมพันธ์ โดยจะเก็บไข่ไว้ในหวอด และเมื่อตัวผูร้ ี ดไข่ที่อยูใ่ นท้องตัวเมียหมดแล้ว ตัวผูก้ ็จะ ไล่ตวั เมียออกจากหวอด จากนั้นก็จบั ปลาตัวเมียออก โดยปลาตัวผูจ้ ะดูแลไข่เอง ประมาณ ๕ วัน ลูกปลาจะ ออกจากไข่

๓. การทานา้ เขียวเพาะไรแดง มีส่วนผสมดังนี้ ๑. หัวเชื้อรา

จานวน ๑ กิดลกรัม

๓. ปุ๋ ยยูเรี ยสู ตร ๔๖-๐-๐ จานวน ๑ กิโลกรัม

๒. ปูนขาว

จานวน ๑ กิโลกรัม

๔. ปุ๋ ยสู ตร ๒๕-๗-๗

จานวน ๒ กิโลกรัม

โดยนาส่ วนผสมทั้งหมดมาทาการหมักในบ่อหรื อภาชนะที่เตรี ยมไว้ ประมาณ ๕๐ ชัว่ โมง แล้วจะได้ลูกไรแดงไว้เลี้ยงปลากัดอนุบาล หรื อปลาที่เพิ่งออกจากไข่ โดยให้อาหารวันละ ๒ ครั้ง เช้า – เย็ย จานวน ๓ ขีด ต่อลุกปลากัด ๑ บ่อ เลี้ยงได้ ๓ เดือน ก็เปลี่ยนอาหารจากลูกไรแดงมาเป็ นลูกน้ าแทน และเมื่อ ปลากัดอายุได้ประมาณ ๘ เดือน ก็จบั ขายได้ ในราคา ๓ ตัว ๑๐๐ บาท รายได้ ๒๐,๐๐๐ – ๓๐,๐๐๐ บาทต่อปี


การเลีย้ งโคขุน เจ้าของภูมิปัญญา นายสุ ราษฎร์ อินทรวงศ์ บ้านเลขที่ ๘๗ หมู่ที่ ๓ ตาบลสวนแตง อาเภอละแม จังหวัดชุมพร ๑. ประวัติความเป็ นมา นายสุ ราษฎร์ อินทรวงศ์ เคยเลี้ยงโคพื้นเมืองมาตลอด และได้สังเกตเห็นโคกินใบปาล์ม น้ ามันเป็ นประจา ก้เกิดความคิดที่จะแปรรู ปทางปาล์มน้ ามันเพื่อนามาเป็ นอาหารให้โคกิน เพราะชาวบ้านส่ วน ใหญ่นิยมทาสวนปาล์มน้ ามัน พอถึงรอบการเก็บเกี่ยวผลผลิต ก็จะมีทางปาล์มน้ ามัน ที่ถูกตัดแต่งออกจานวน มาก แต่ไม่รู้แนวทางว่าจะทาอย่างไร นายสุ ราษฎร์ อินทรวงศ์ ก็ได้ไปศึกษาดูงานที่อาเภอสวี จังหวัดชุมพร ผู ้ ได้เรี ยนรู ้เกี่ยวกับการแปรรู ปทางปาล์มน้ ามันเพื่อนามาเป็ นอาหารให้โคกิน ในตอนแรกที่ไม่มีเครื่ องบดทาง ปาล์มน้ ามัน นายสุ ราษฎร์ อินทรวงศ์ ต้องใช้อาหารและหญ้าเป็ นอาหารให้โคกินอย่างเดียว แต่ตอนหลังมี เครื่ องบด เลยหันมาเลี้ยงโคขุนในระบบกลุ่ม โดยเริ่ มเลี้ยงประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยใช้ววั สายพันธ์ลูกผสม บราห์มนั นามาขุนเป็ นรุ่ นแรก จานวน ๙ ตัว โดยการนาโคขุนที่มีอายุ ๒ ปี มาทาการขุนเป็ นระยะเวลา ๖ เดือน ถึง ๑ ปี ก็สามารถขายได้ ต่อมานายสุ ราษฎร์ อินทรวงศ์ ได้ลองเปลี่ยนสายพันธ์ลูกผสมบราห์มนั มาเลี้ยงวัว สายพันธ์ชาโรเล่ย ์ สายพันธ์โคเนื้ อ การเลี้ยงโคขุนเป็ นอาชีพที่น่าสนใจของบุคคลทัว่ ไป เพราะสามารถทา รายได้ให้แก่ผเู ้ ลี้ยงพอสมควร และนายสุ ราษฎร์ อินทรวงศ์ ประกอบอาชีพทาสวนปาล์มน้ ามันเป็ นอาชีพหลัก และเลี้ยงโคขุนเป็ นอาชีพเสริ ม โดยนาทางปาล์มน้ ามันและวัตถุดิบที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นมาแปรรู ป และเสริ ม ด้วยอาหารที่ผสมเองมาเป็ นอาหารของโค เพื่อลดต้นทุนและค่าใช้จ่ายในส่ วนของอาหารสาเร็ จรู ป ช่วยให้ ครอบครัวมีรายได้เพิ่มขึ้น ๒. สู ตรการผสมอาหาร โดยมีส่วนประกอบดังนี้ น้ าสะอาด จานวน ๒๐๐ ลิตร กากน้ าตาล จานวน ๑๕ กิโลกรัม เกลือสิ นเธาว์ จานวน ๒ กิโลกรัม พร้อมหัวเชื้ อ สามารถใช้ได้เลย ๓. การหมักอาหาร นาทางปาล์มน้ ามันมาบด ๑ ถังหมัก ขนาดความจุ ๑๒๐ ลิตร นาหัวเชื้อที่ได้จากการผสม ๘ – ๑๐ ลิตร มาราดในถังทางปาล์มน้ ามันที่บดละเอียดเตรี ยมเอาไว้ แล้วนามาหมักทิ้งไว้ประมาณ ๑๕ วัน ถึง ๑ เดือน ก็สามารถนามาให้โคกินได้ หรื อจะนามาราดบนหญ้าและอาหารหยาบที่หาได้ในท้องถิ่น หรื อจะผสม เมล็ดในปาล์มบด เรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า (กากขาว) ผสมลงไปด้วยก็ได้


ส่ วนที่ 1 ศึกษาเกี่ยวกับบุคคลที่ได้ รับการเสนอชื่อเป็ นผู้มีประสบการณ์ ด้านการแพทย์ พืน้ บ้ านไทย 1. ประวัตชิ ีวิตของบุคคลผู้มีประสบการณ์ ข้ อมูลทั่วไป 1.1 ชื่อ – สกุล นายมโน แพประสิทธิ์ อายุ 67 ปี 1.2 เพศ  ชาย  หญิง 1.3 ศาสนา พุทธ 1.4 วัน เดือน ปี เกิด 1/ ธันวาคม / 2489 1.5 อายุ 64 ปี (นับจานวนปี เต็ม หากมีเศษเกิน 6 เดือน ให้ ปัดเป็ น 1 ปี ) 1.6 ที่อยู่ปัจจุบนั บ้ านเลขที่ 57 หมูท่ ี่ 3 ตาบล สวนแตง อาเภอ ละแม จังหวัด ชุมพร 1.7 หมายเลขโทรศัพท์บ้าน หมายเลขโทรศัพท์เคลื่อนที่ 083-1066001 1.8 สบานภาพสมรส 1.9  1. โสด  2. คู่  3. หม้ าย  4. แยกกันอยู่ 1.10 วุฒิการศึกษาสูงสุด  1. ต่ากว่าประบมศึกษา  2. ประบมศึกษา  3. มัธยมศึกษาตอนต้ น  4. มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช.  5. อนุปริญญา/ปวส  6. ปริญญาตรี  7. อื่นๆ (ระบุ)......................................................... 1.11 อาชีพหลัก  1. เกษตรกรรม  2. ค้ าขาย  3. รับจ้ าง  4. รับราชการ  5. อื่นๆ (ระบุ)........................................... 1.12 รายได้ เฉลี่ยของครอบครัวต่อเดือน  ต่ากว่า 3,000 บาท  3,000 - 6,000 บาท  6,001 9,000 บาท  9,001-12,000 บาท  มากกว่า12,000บาท  อื่นๆ ระบุ.............. 1.13 ปั จจุบนั อาศัยอยูก่ บั นาง เกี่ยวของเป็ น ภรรยา 1.14 จานวนสมาชิกในครอบครัว 5 คน 1.15 บทบาททางสังคม (เช่น ู​ู้นาชุมชน) เป็ นพิธีกรทางศาสนาในงานพิธีมงคล งานศพ 2. ประวิตกิ ารเรี ยนรู้ เกี่ยวกับการแพทย์ พนื ้ บ้ าน 2.1 ประวัติความเป็ นมาตังแต่ ้ วยั เด็กจนบึงปั จจุบนั เรี ยนวิชาแพทย์แูนไทยกับอา โดยอาเป็ นู​ู้ที่มีความรู้และมีความชานาญ วินิจฉัย บาบัด การนวดไทย และรวมบึงการเตรี ยมการูลิตยาแูนไทย ประดิษฐ์ อปุ กรณ์ โดยอาศัยความรู้ จากตาราที่ได้ บ่ายทอดสืบต่อกันมา ซึง่ เป็ นมรดกตกทองจากบรรพบุรุษ ในขณะนันหมอพร ้ (นายชัยศักดิ์ บุญธรรม)


เป็ นที่ร้ ูจกั ของคนทัว่ ไปในตาบลบางหมาก และพื ้นที่ใกล้ เคียง และเป็ นที่ยอมรับของู​ู้ป่วยและญาติทาให้ มี ู​ู้ป่วยมาเข้ ารับการรักษามาก และประกอบกันที่ทานมีอายุมากขึ ้นท่านจึงได้ บ่ายทอดวิชาความรู้ด้านแพทย์ แูนไทยให้ โดยการที่ให้ ไปัึ กปฏิบตั จิ ริงกับคนไข้ ของหมอพร ศึกษาและเรี ยนรู้จากตาราที่ได้ บ่ายทอดสืบต่อ กันมาตังแต่ ้ บรรพบุรุษ เป็ นเวลาประมาณ 3 ปี หลังจากนันตนเองก็ ้ เป็ นที่ร้ ูจกั ของและเป็ นที่ยอมรับของ ู​ู้ป่วย จึงได้ ออกมารักษาู​ู้ป่วยเองที่บ้าน เป็ นเวลาประมาณ 13 ปี หลังจากนันก็ ้ ไปศึกษาการแพทย์ พื ้นบ้ าน จากหมอพรม เพิ่มเติม 2.2 เหตุการณ์หรื อแรงบันดาลใจที่มีอิทธิพลต่อการเป็ นหมอ ตอนนัน้ อาต้ องการคนสืบทอดความรู้และตาราการแพทย์พื ้นบ้ าน ตนเองเห็นว่าน่าสนใจ เพราะเป็ นการช่วยเหลื่อู​ู้ป่วยให้ หายจากความเจ็บป่ วยบือเป็ นสิ่งที่ดี และได้ ชว่ ยเหลือเพื่อมนุษย์ด้วยกัน และเมื่อได้ ศกึ ษาอย่างจริงจังจึงรู้สกึ ชอบและตังใจปฏิ ้ บตั ิและต้ องการบ่ายทอดให้ กบั ู​ู้ที่สนใจเกี่ยวกับ การแพทย์แูนไทย 2.3 ที่มาของความรู้ (เรี ยนรู้จากใคร เมื่อใด มีการเรี ยนรู้เพิ่มเติมหรื อไม่ จากใคร เพราะเหตุใด) เรี ยนรู้จาก นายชัยศักดิ์ บุญธรรม เมื่อ ปี พ.ศ. 2507 เรี ยนรู้จาก หมอพรม เมื่อ ปี พ.ศ. 2523 มีการเรี ยนรู้เพิ่มเติม จาก ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรี ยนอาเมืองชุมพร และสบานีอนามัย เทศบาลตาบลท่ายาง เพราะ ได้ จดั ให้ มีการัึ กอบรมจึงตองการศึกษาหาความรู้ใหม่ๆ เพื่อมา ประยุกต์ใช้ ในการรักษาู​ู้ป่วย ช่วยในการวินิจฉัย บาบัด หรื อป้องกันโรค หรื อการส่งเสริมและฟื น้ ฟู สุขภาพของู​ู้ป่วย การนวดไทย 3. ความรู้ ความสามารถ ความชานาญ เกี่ยวกับการแพทย์ พืน้ บ้ านไทย 3.1 มีความชานาญ (รักษาโรคใดบ้ าง) 1. กระดูกหัก แตก หลุด 2. ปวดกล้ ามเนื ้อ ปวดขา ปวดไหล่ 3. เหน็บชา ขาเส้ น 4. อัมพฤกษ์ชว่ ยตัวเองไม่ได้ อัมพฤกษ์ครึ่งซีก 5. โรคเลือดลม 6. รบชนมีปัญหากระดูก 3.2 การบ่ายทอดความรู้ (บ่ายทอดให้ ใคร อย่างไร เพราะเหตุใด) ปี 2546 เป็ นวิทยากรให้ ความรู้เรื่ องการนวดแูนไทย โดยสบานีอนามัยตาบลบางหมากจัดให้ อสม.ในตาบลบางหมาก


ปี 2553 เป็ นวิทยากรให้ ความรู้เรื่ องการนวดแูนไทย โดยเทศบาลตาบลบางหมากจัดโครงการให้ ความรู้แกู่้ ทู ี่สนใจในการนวดแูนไทย เพื่อบ่ายทอดความรู้ให้ ู้ ทู ี่สนใจใช้ ประกอบอาชีพต่อไปได้ เช่นการ นวดใต้ ั่าเท้ าบรรเทาอาการปวดกล้ ามเนื ้อเป็ นต้ น ปี 2553 เป็ นวิทยากรให้ ความรู้เรื่ องการนวดแูนไทย โดยชุมชนดอนไทรงาม 2 เพื่อใช้ เป็ นการ รักษาหรื อดูแลู​ู้ป่วยเบื ้องต้ นได้ อย่างบูกต้ องและบูกวิธีเพื่อลดปั ญหาอาการบาดเจ็บของู​ู้ป่วยเพิ่มขึ ้น 4. แบบแผนวิธีการบาบัดโรคที่มีความชานาญเฉพาะ (เรียงลาดับตามความชานาญจากมากไป น้ อย 3 ลาดับ) 4.1 ความชานาญเฉพาะ (ระบุโรคหรื ออาการที่หมอพื ้นบ้ านรักษาได้ ูลดี) 1. กระดูกหัก แตก หลุด รักษาโดยการเข้ าเูือกโดยใช้ เูือกไม้ ไู่ใช้ ด้ายริ ว้ พัน น ้ามันมะพร้ าวหยอดหรื อทา 2. ปวดกล้ ามเนื ้อ ปวดขา ปวดไหล่ รักษาโดย นวดใช้ นามันมะพร้ าวบริเวณ กล้ ามเนื ้อ ประคบสมุนไพร 3. เหน็บชา ขา เส้ น นวด ใช้ นามันมะพร้ าว บริเวณ กล้ ามเนื ้อ ประคบสมุนไพร 4. อัมพฤกษ์ชว่ ยตัวเองไม่ได้ อัมพฤกษ์ครึ่งซีก รักษาโดย ทากายภาพบาบัด ใช้ นามันมะพร้ าว บริเวณ กล้ ามเนื ้อ ประคบสมุนไพร 5. โรคเลือดลม รักษาโดยการนวดคลายเส้ น และใช้ การประคบสมุนไพร 6. รบชนมีปัญหากระดูก รักษาโดยการเข้ าเูือกโดยใช้ เูือกไม้ ไู่ใช้ ด้ายริ ว้ พัน น ้ามะพร้ าวหยอด หรื อทา 4.2 รูปแบบการให้ บริ การ  การให้ การรักษาของหมอมีลกั ษณะอย่างไร เช่น ให้ บริ การที่บ้านตนเอง หรื อไปรักษาตามบ้ าน การให้ การรักษาของหมอมีลกั ษณะ ให้ บริการที่บ้านตนเอง  ค่าตอบแทน ค่าบูชาครู วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ ในการบูชาครูไม่มีคา่ รักษา รักษาแบบสังคม สังเคราะห์ แต่สว่ นมากู​ู้ป่วยจะให้ คา่ ตอบแทนเองโดยที่หมอไม่ได้ เรี ยกร้ องค่ารักษา  การวินิจฉัยโรค การตรวจ สังเกต อุปกรณ์ที่ใช้ ในการวินิจฉัยใช้ มือคลา และดูจากอาการ ของู​ู้ป่วย  วิธีการรักษา เช่น เป่ า พ่น นวด ให้ ยาสมุนไพร 1. เข้ าเูือกโดยใช้ ู้าขาว และใช้ เูือกไม้ ไู่และใช้ ด้ายริว้ พัน ใช้ นามันมะพร้ าว น ้ามันงาหยอด หรื อทา 2. นวดแบบเชลยศักดิ์ 3. ประคบสมุนไพร 4. กายภาพบาบัด


 ขันตอนการรั ้ กษา (ระบุขนตอนโดยละเอี ั้ ยด วัสดุอปุ กรณ์ที่ใช้ ) 1. กระดูกหัก แตก หลุด รักษาโดยการเข้ าเูือกโดยใช้ ู้าขาว และใช้ เูือกไม้ ไู่ใช้ ด้ายริ ว้ พัน มะพร้ าว น ้ามันงาหยอดหรื อทา 2. ปวดกล้ ามเนื ้อ ปวดขา ปวดไหล่ รักษาโดย นวดแบบเชลยศักดิใ์ ช้ นามันมะพร้ าวน ้ามันงา นวด บริเวณ กล้ ามเนื ้อ ประคบสมุนไพร 3. เหน็บชา ขา เส้ น นวดแบบเชลยศักดิ์ ใช้ นามันมะพร้ าวน ้ามันงานวด บริเวณ กล้ ามเนื ้อ ประคบสมุนไพร 4. อัมพฤกษ์ช่วยตัวเองไม่ได้ อัมพฤกษ์ ครึ่งซีก รักษาโดย ทากายภาพบาบัด ใช้ น ้ามัน มะพร้ าวน ้ามันงานวด บริเวณ กล้ ามเนื ้อ ประคบสมุนไพร 5. โรคเลือดลม รักษาโดยการนวดคลายเส้ น และใช้ การประคบสมุนไพร 6. รบชนมีปัญหากระดูก รักษาโดยการเข้ าเูือกโดยใช้ ู้าขาว และใช้ เูือกไม้ ไู่ใช้ ด้ายริว้ พัน น ้ามันมะพร้ าว น ้ามันงาหยอดหรื อทา  ข้ อปฏิบตั ิตนของคนไข้ ระหว่างการรักษาและหลังการรักษาใช้ เป็ นกรณีกรณีไปสาหรับคนป่ วย แต่ละอาการ เช่น กระดูกหัก ห้ ามเคลื่อนไหวบริเวนที่หกั เพราะจะทาให้ กระดูกที่ตอ่ ไว้ เลื่อนได้ เป็ นต้ น 5. ความคิด ความเชื่อ วัตรปฏิบัตขิ องหมอพืน้ บ้ าน 5.1 ความรู้ที่เกี่ยวกับการเจ็บป่ วย 5.2 หลักปฏิบตั ใิ นการดาเนินชีวิต ใช้ หลักเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของพระเจ้ าอยูห่ วั และเสียสละเพื่อชุมชนหรื อส่วนรวม 5.3 การปฏิบตั ิในการครองตนเป็ นหมอพื ้นบ้ าน เช่น การหยุดรักษาในวันพระเพื่อไปทาบุญ การไหว้ ครู ประจาทุกปี มีการไหว้ ครูประจาปี หยุดรักษาทุกวันพุทธ

สวนที่ 2 ศึกษาเกี่ยวกับผู้ป่วยที่ไปบาบัด 1. ศึกษาข้ อมูลเชิงปริมาณเพื่อให้ เห็นภาพรวมของการบาบัด 2. ศึกษาข้ อมูลเชิงคุณภาพ อย่างน้ อย 10 กรณีศกึ ษา ซึง่ ครอบคลุมบึง ข้ อมูลพื ้นฐานที่เกี่ยวข้ องกับ ู​ู้ป่วยอาการป่ วยที่ไปบาบัด วิธีการบาบัด ระยะเวลา ูลการบาบัด ความพึงพอใจ ค่าใช้ จา่ ย ทัศนคติ และ ความยอมรับที่มีตอ่ หมอพื ้นบ้ าน ในส่วนที่เกี่ยวข้ องกับคุณธรรมและจรรยาบรรณ เป็ นต้ น


เชิงปริมาณ 1. จานวนู​ู้ป่วยทังที ้ ่รักษาจากหมอพื ้นบ้ าน เช่นวันหรื อเดือนละกี่ราย ส่วนใหญ่มารับการรักษา โรคอะไรบ้ าง จานวนโรคละกี่คนวันละประมาณ 8-9 ราย ส่วนใหญ่มารับการรักษาโรค กระดูกหัก แตก หลุด ปวดกล้ ามเนื ้อ ปวดขา ปวดไหล่ เหน็บชา ขาเส้ น อัมพฤกษ์ช่วยตัวเองไม่ได้ อัมพฤกษ์ ครึ่ งซีก โรค เลือดลม รบชนมีปัญหากระดูก 2. ช่วงเวลาใดที่มีู้ ปู ่ วยมารับการรักษามากที่สดุ (เช่น ฤดูกาล เช้ า เย็น) เพราะเหตุใดช่วงเย็น 3. ู​ู้ป่วยส่วนใหญ่ที่มารับการรักษาเป็ นใครมาจากไหน เพศใด อายุเท่าไหร่ มีลกั ษณะเฉพาะ เช่น ยากจน หรื อูิดหวังจาการรักษาในโรงพยาบาล หรื อเนื่องจากได้ ยินชื่อเสียของหมอ ญาติพามาู​ู้ป่วย ส่วนใหญ่เป็ นคนในพื ้นที่เทศบาลตาบลบางหมากและพื ้นที่ใกล้ เคียงเนื่องจากได้ ยินชื่อเสียของหมอ และ ที่มาจากที่ไกลเนื่องจากญาติเคยได้ รับการรักษาและพามารักษา 4.เหตุใดจึงมารักษากับหมอพื ้นบ้ านท่านนี ้ได้ ยินจากชื่อเสียงและบางคนเคยรักษาและหาจาก อาการเจ็ดป่ วยจึงแนะนาให้ ญาติและเพื่อนมารักษาต่อ 5. การนัดคนไข้ โดยส่วนใหญ่นดั คนไข้ กี่ครัง้ ในการรักษาแต่ละโรค มีความบี่ในการนัดเทาใด เช่น เดือนละกี่ครัง้ ใช้ เกณฑ์ใดในการนัดคนไข้ ดจู ากอาการของคนไข้ และขันตอนการรั ้ กษา เช่นหาเป็ นอัม พาท ก็ใช้ เวลาเป็ นเดือน ในการทากายพาบาบัด เช้ า – เย็น เป็ นต้ น 2.ูลงานและประสบการณ์ด้านบริการการแพทย์พื ้นบ้ านไทย เริ่มให้ บริการด้ านการแพทย์พื ้นบ้ านไทยเมื่อปี พ.ศ……2540……………. สบานที่ให้ บริการ ณ ปั จจุบนั …57 หมูท่ ี่ 3 ตาบลสวนแตง อาเภอละแม จังหวัดชุมพร เคยให้ บริการแกู่้ รู ับบริการแพทย์พื ้นบ้ านไทยมาแล้ ว ประมาณ…9,360….คน 93,600 ครัง้ โรค/อาการที่ให้ บริ การบาบัดโรค/อาการ …กระดูกหัก แตก หลุด ปวดกล้ ามเนื ้อ ปวดขา ปวดไหล่ เหน็บชา ขา เส้ น.เหน็บชา ขา เส้ น อัมพฤกษ์ ชว่ ยตัวเองไม่ได้ อัมพฤกษ์ ครึ่งซีก โรคเลือดลม รบชนมีปัญหากระดูกตกจากที่สงู

วิธีการที่ใช้ ในการบาบัด … 1. ประเมินความเจ็บป่ วยของู​ู้ป่วยก่อนการรักษาทุกครัง้ 2. กรณีที่มีบาดแูล ไม่ได้ ทาความสะอาดบาดแูลตามหลัก การรักษาพยาบาล 3. ทาการเข้ าเัื อกโดยใช้ ไม้ ไู่ ในการดามขา (เป็ นไม้ ไู่ที่ทาไว้ เฉพาะการดามกระดูกหักเท่านัน) ้ ใช้ กี่ อันขึ ้นอยูก่ บั การหักของกระดูก 4. ใช้ Elasttic พันรอบบริเวณที่หกั ไม่แน่นจนเกินไป และไม่หลวมจนเกินไป 5. ใช้ ยาูสมน ้ามันคาดบริเวณที่หกั (ยาที่ใช้ คาดต้ องมีการเข้ าสูตรลงคาบา) ให้ ชมุ่ ตลอดเวลา 6. แนะนาการดูแลปฏิบตั ิตนที่บ้าน 7. นัดแก้ เัื อก 10 วัน หลังจากการรักษา 8. กรณีที่กระดูกไม่ติดจริงๆ จะมีการเข้ าเัื อกซ ้าอีกครัง้ จนกว่าจะติดสนิทและเดินได้ ตามปกติ


ภาพประกอบ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.