1 ปี
แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน Thinking Skill Development
โครงการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
คำนำ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนา การคิด ซึ่งเป็นมาตรฐานหนึ่งของการประเมินคุณภาพการศึกษาที่เป็นการประเมิน ภายนอก ในมาตรฐานที ่ 4 คื อ ผู ้ เ รี ย นมี ค วามสามารถในการคิ ด วิ เ คราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์ โดยได้ดำเนินการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียนในปี 2551 อันจะนำไปสู่การยกระดับ คุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐานที่กำหนด รวมทั้งการแก้ปัญหาเยาวชนต่อไป ในอนาคต โดยการระดมสรรพกำลังจากทุกภาคส่วนเข้าร่วมพัฒนาในการจุดประกาย ให้เห็นความสำคัญและปัญหาของการพัฒนากระบวนการคิด และท้าทายให้คิด
ของรู ป แบบ วิ ธ ี ก ารที ่ ข ั บ เคลื ่ อ นการคิ ด ทั ้ ง ระบบ มี ก ารวิ จ ั ย และพั ฒ นารู ป แบบ การพัฒนากระบวนการคิดร่วมกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เพื่อสร้างนวัตกรรมในการขับเคลื่อน การคิดสู่ลงระดับห้องเรียนให้เป็นต้นแบบกับโรงเรียนในการพัฒนาผู้เรียนตามบริบท ของแต่ละโรงเรียน เอกสาร 1 ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน ฉบับนี้ เป็นการรวบรวม ผลงานครู นักเรียนในโครงการที่ได้รับการพัฒนาและขยายผลลงในระดับโรงเรียน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ ต่อผู้ที่สนใจศึกษาและนำไปพัฒนาผู้เรียนต่อไป สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สารบัญ หน้า คำนำ 1 ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน 1 ทักษะกระบวนการคิดผ่านกิจกรรมตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง 7 การพัฒนาทักษะการคิดด้วยกิจกรรมที่เน้นภูมิปัญญาท้องถิ่น 10 การพัฒนากระบวนการคิดโดยใช้ชุดกิจกรรมระดับปฐมวัย 11 13 การคิดวิทยาศาสตร์ด้วยกิจกรรมวิทยาศาสตร์ “พันธุวิศวกรรม” ทักษะการคิดผ่านสื่อนวัตกรรม “ชุดฝึกการวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6” 14 บูรณาการ สรรค์สร้างการคิด 4 กลุ่มสาระ (ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ) 16 ทักษะการคิดผ่าน Mind map 18 การปรับตัวของครูในโครงการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน 20 การเรียนการสอนคณิตศาสตร์กับการพัฒนาการคิด 23 สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้และฝึกคิด 25 การพัฒนาการคิดด้วยนิทานพื้นบ้าน บทความใกล้ตัว และเรื่องสั้น สร้างสรรค์ชิ้นงาน 28 แบบฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการคิด 32 แบบฝึกทักษะการคิดคณิตศาสตร์ที่พัฒนาการคิดจากเครื่องชี้นำ (Thinking Tool) 34 ตัวอย่าง…เทคนิคการสอนคิด 47 สิ่งที่ผู้เรียนได้ฝึกและเรียนรู้การคิด 52 ติดตามผลการคิดของนักเรียน 55 ประเภทของแบบการคิด 58 เอกสารอ้างอิง 66 คณะผู้จัดทำ 133
1 ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน วิภาพร นิธิปรีชานนท์ ผู้เรียบเรียง สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
1
ในยุคปัจจุบัน การศึกษาของเราถูกกล่าวขานว่าการจัดการศึกษาไม่สามารถ ทำให้คนคิดเป็น ครูเราสอนแล้วนักเรียนคิดไม่เป็น กลายเป็นจุดอ่อนของผลผลิต ทางการศึกษา ดังนั้นจึงมองย้อนกลับมาว่าครูเราทำอะไรกัน สอนอะไรกัน ทำไม จึงเป็นเช่นนั้น จุดอ่อนดังกล่าวได้กลายเป็นโจทย์สำคัญของสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานที่ต้องนำมาเป็นประเด็นสำคัญในการจัดการ และได้กลายมาเป็น โครงการขั บ เคลื ่ อ นการคิ ด สู ่ ห ้ อ งเรี ย น ในปี ง บประมาณ 2549 ยุ ท ธวิ ธ ี ใ น การขับเคลื่อนดังกล่าวเริ่มต้นด้วยการคัดเลือกโรงเรียนแกนนำ ครูแกนนำ ศึกษานิเทศก์ และเครือข่ายสนับสนุนทั่วประเทศ จัดอบรมปฏิบัติการในระยะเวลาใกล้เคียงกัน ทั่วประเทศ วิธีการสำคัญของการเริ่มต้นการคิดสู่ห้องเรียน เริ่มที่การวิเคราะห์ ระดั บ คุ ณ ภาพการคิ ด จากผลงานนั ก เรี ย นแล้ ว มองฝ่ า ทางตั น ไปว่ า ระดั บ การคิ ด
ของนักเรียนแต่ละคนจะถูกยกระดับให้เป็นอย่างไร จากนั้นจึงนำมาเป็นโจทย์ของครูว่า “แล้วจะทำอย่างไรให้ระดับคุณภาพการคิดของนักเรียนสูงขึ้น” นั่นคือยุทธวิธี ในการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน เมื ่ อ การขั บ เคลื ่ อ นดั ง กล่ า วเสร็ จ สิ ้ น ลง ครู แ กนนำที ่ ผ ่ า นกระบวนการนี ้
ได้ถ่ายทอดประสบการณ์ออกมาผ่านเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญของ การสังเคราะห์ผลครั้งนี้
ความสำเร็จของการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
ตัวครูเกิดการยอมรับ การสนับสนุน บรรยากาศ และผลผลิต ซึ่งเป็นผล ที่เกิดกับนักเรียน ความสำเร็จที่เห็นได้ชัดเจนอยู่ที่ครู คงต้องยอมรับว่าครูในโรงเรียนทั่วประเทศ เป็นบุคคลสำคัญในการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน ดังนั้นถ้าการขับเคลื่อนการคิด
สู่ห้องเรียนสามารถทำให้ครูในโรงเรียนแกนนำยอมรับและปรับกระบวนการของตนเอง ไปสู่การสอนคิดได้ก็ถือว่าเป็นความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ของโครงการนี้ ครูแกนนำหลายคนยังคงพูดถึงปัญหาของการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียนว่า การสอนคิดนั้นมีความยุ่งยากอยู่หลายประการ เช่น ปัญหา 1 ปัญหาเนื้อหาของการสอนมากเกินไป ถ้ามุ่งสอนให้นักเรียน เกิดทักษะการคิดแล้วจะทำให้สอนเนื้อหาต่าง ๆ ไม่ทัน ครูมักจะกล่าวถึงปัญหานี ้
ในลักษณะเดียวกันว่า “แค่สอนให้จบเนื้อหาที่มีอยู่ก็ลำบากแล้ว ถ้าให้มาสอนคิด อีกด้วยคงไม่ได้ เพราะว่าคงจะสอนไม่ทัน”
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
1
ปัญหา 2 ปัญหาเรื่องผลการสอบ มีความกังวลว่าถ้าไม่สอนให้นักเรียนจำ แล้วผลการทดสอบในระดับต่าง ๆ จะต่ำ ปัญหาและความยุ่งยากดังกล่าวจำแนก ไม่ได้ว่าเกิดขึ้นกับครูช่วงชั้นใด มากน้อยอย่างไร ครูที่สอนแต่ละช่วงชั้นต่างก็มีปัญหา เรื่องเนื้อหาก็เป็นปัญหาหลักเช่นเดียวกัน โดยมักจะกล่าวว่า “ถ้ามัวแต่สอนคิดอยู่ เมื่อมีหน่วยงานมาทดสอบ แล้วผลออกมาว่านักเรียนของพี่ได้คะแนนน้อย แล้วใครจะมาแก้ปัญหาให้พี่” นอกจากนี้ยังมีปัญหาอื่น ๆ อีก เช่น นักเรียนในห้องมีหลายระดับ ถ้ามัวแต่ สอนคิดอยู่นักเรียนที่เรียนเก่ง ๆ ก็จะไม่ได้อะไร เพราะว่ากิจกรรมการสอนคิดเป็น กิจกรรมที่ไม่เน้นเนื้อหาอะไร เป็นต้น แต่ จ ากการสั ง เคราะห์ บ ทเรี ย นของครู แ กนนำการขั บ เคลื ่ อ นการคิ ด สู่ห้องเรียนอีกกลุ่มหนึ่งมีคำกล่าวที่น่าคิดอยู่หลายประการ ลองติดตามอ่านดูนะคะ ครูสุรพล ศรีธรรมา โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ร้ อ ยเอ็ ด เขต 1 ยอมรั บ ว่ า การจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การคิ ด ทำให้ เ ขาสอนอย่ า งมี
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
ความสุ ข เนื ่ อ งจากกิ จ กรรมที ่ เ ขาออกแบบมานั ้ น ทำให้ น ั ก เรี ย นสนใจ อยากคิ ด อยากทำกิจกรรมด้วยตนเอง และที่สำคัญคือเมื่อผ่านพ้นกิจกรรมต่าง ๆ ไปแล้ว นักเรียนรู้หลักการ ทฤษฎี ตลอดจนเนื้อหาสาระในเรื่องนั้น ๆ ด้วยตนเอง และสามารถ นำความรู้นั้นไปใช้กับชุมชนที่ตนอาศัยอยู่ ครู ส ุ ร พล ศรี ธ รรมา เป็ น ครู ใ นโรงเรี ย นแกนนำการขั บ เคลื ่ อ นการคิ ด
สู่ห้องเรียน ที่ยอมรับว่ามีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการเรียนรู ้
ของตนเอง จึงเริ่มออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยนำเนื้อหาการสอน เรื่องการตัดต่อพันธุกรรม กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 4 มาเป็นประเด็นปัญหา ฝึ ก ให้ น ั ก เรี ย นสื บ ค้ น ข้ อ มู ล วิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล แสดงบทบาทสมมติ อภิ ป ราย แสดงความคิดเห็นโดยใช้เหตุผล รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การเชื่อมโยงจริยธรรม ในการนำวิทยาศาสตร์มาใช้ในมวลมนุษย์ ด้วยเทคนิคการสอนเน้นกระบวนการกลุ่ม โดยให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลต่าง ๆ มาอย่างกว้างขวางรอบด้าน ครูสุรพล ยอมรับว่า ตนเองมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปพร้อม ๆ กับนักเรียน คือ เปลี่ยนกิจกรรม เป็นกิจกรรมที่ให้อิสระกับนักเรียนมากขึ้น เน้นการใช้เหตุผลมากกว่าความจำ
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
1
คุณครูจากโรงเรียนหลักเมืองมหาสารคาม มหาสารคาม เขต 1 ซึ่งมีความเชื่อว่า เด็กทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล โดยผ่านกระบวนการ อบรมเลี ้ ย งดู และการจั ด ประสบการณ์ ก ารเรี ย นรู ้ โดยเน้ น การพั ฒ นาสมอง Brain Based Learning คุณครูท่านนี้ก็เป็นคุณครูคนหนึ่งที่ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วม โครงการคิดเช่นเดียวกัน เกิดแนวคิดที่จะปรับกิจกรรมของตนเองให้เป็นชุดกิจกรรม ที่พัฒนาทักษะกระบวนการคิดโดยผู้เชี่ยวชาญเสียก่อน แล้วจึงนำไปใช้กับนักเรียน ที่ตนสอน ประมาณ 5 สัปดาห์ มีกิจกรรมต่าง ๆ ที่น่าสนใจหลายกิจกรรม เช่น กิจกรรมหนูสร้างภาพได้แล้วนะ กิจกรรมเส้นวิเศษ กิจกรรมเจ้าหนูนักสังเกต เป็นต้น ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวทำให้นักเรียนได้แสดงความคิดอย่างกว้างขวางและหลากหลาย หลั ง จากนั ้ น ครู จ ึ ง ได้ ป ระเมิ น ผลงานนั ก เรี ย นว่ า นั ก เรี ย นมี ก ารคิ ด อยู ่ ใ นระดั บ ใด ลักษณะการปรับกิจกรรมการสอนคิดก็ไม่ได้ยุ่งยากอะไร เพียงแต่ครูจะเปิดใจยอมรับ และปรั บ กิ จ กรรมสั ก เล็ ก น้ อ ยก่ อ นลงมื อ ใช้ ผลที ่ ไ ด้ ต ามมาก็ น ่ า ชื ่ น ใจทั ้ ง ผู ้ ส อน และผู้เรียน
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
1
ทักษะกระบวนการคิดผ่านกิจกรรมตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขระดับพอเพียง ความรู้ รอบรู้
ระมัดระวัง
1
โรงเรียนแกนนำกระบวนการคิดหลายโรงเรียนนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นสื่อเพื่อพัฒนาการคิดของนักเรียนอย่างน่าสนใจและน่าชื่นชมอยู่หลายรูปแบบ คุณครูหลายท่านมีความสุขที่ได้ทำกิจกรรมตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ความสำเร็จของการดำเนินงานในลักษณะเช่นนี้ มีให้เห็นอยู่มากมาย ในโรงเรียนแกนนำการขับเคลื่อนกระบวนการคิดสู่ห้องเรียนทั่วประเทศ มีการออกแบบ เชื่อมโยงบูรณาการในกลุ่มสาระต่าง ๆ ซึ่งส่วนใหญ่มักเป็นกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตัวอย่างรูปแบบการสอนแบบ “สุมาลินโมเดล 2” ของโรงเรียนบ้านบางจัน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพังงา ในกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั ้ น ประถมศึ ก ษาปี ท ี ่ 3 ชื ่ อ หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ต ามรอยพ่ อ พออยู ่ พ อเพี ย ง โดย นางสุมาลิน ทองเจือ ใช้เวลาสอนประมาณ 5 ชั่วโมง การออกแบบการสอนดังกล่าว ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ สื่อ และแนวทางการวิเคราะห์คุณภาพผู้เรียน
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
รอบคอบ
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
มีขั้นตอนการสอน 6 ขั้น ได้แก่ ขั้นศึกษาข้อมูล ขั้นเพิ่มพูนความรู้ ขั้นสู่การปฏิบัติ ขั้นจัดเสนอผลงาน ขั้นประสานการคิดวิเคราะห์ และขั้นสรุปเหมาะเป็นองค์ความรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน เริ่มต้นด้วยเพลงที่สนุกสนาน สนทนาพูดคุยให้นักเรียน รู้จักบ้านพ่อ ซึ่งได้แก่ วังสวนจิตรลดา ต่อมาก็ให้นักเรียนได้เรียนรู้ข้อมูลเกี่ยวกับ ความพอเพียงในชีวิตของนักเรียน ได้บอกความพอเพียงในชีวิตประจำวันของนักเรียน โดยใช้ผังความคิดช่วยสกัดความคิดของนักเรียนออกมา เช่นเดียวกับที่โรงเรียนกุดฉิมวิทยาคม นครพนม เขต 1 มีการทำโครงงาน เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับชุมชน ผู้บริหาร ใช้ความรู้ท้องถิ่นมาใช้ในการจัด
การเรี ย นการสอน จนกระทั ่ ง นั ก เรี ย นสามารถสร้ า งสรรค์ ผ ลงานอย่ า งน่ า ชื ่ น ใจ มีชุมชนร่วมประเมินผลงานนักเรียน ในที่สุดกลายเป็นงานวิจัยเพื่อพัฒนาผลงาน ของครูได้ บ้านแพงวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม เขต 2 เป็นครูที่ชอบ ค้นคว้าสิ่งแปลก ๆ ใหม่ ๆ มีแรงบันดาลใจหลังจากที่อ่านหนังสือพิมพ์ว่าเด็กไทย มีทักษะกระบวนการคิดน้อยมาก จึงเกิดความคิดว่า จะค้นคว้าหาเทคนิคการสอนคิด
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
1
มาประยุกต์ใช้กับนักเรียน จึงได้เริ่มค้นคว้าจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ รวมทั้ง การขอคำแนะนำจากผู ้ เ ชี ่ ย วชาญต่ า ง ๆ จนในที ่ ส ุ ด ก็ ส ามารถออกแบบกิ จ กรรม การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางของหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้ด้วยกิจกรรมประเภทเกม เพลง ใบงาน และปรับกระบวนการสอนของครูให้เป็นกิจกรรมที่กระตุ้นให้นักเรียน คิ ด มากขึ ้ น ฝึ ก ให้ น ั ก เรี ย นคิ ด บ่ อ ย ๆ ซึ ่ ง ในระยะเริ ่ ม ต้ น ก็ ม ี ค วามประทั บ ใจ กับผลงานและพฤติกรรมของนักเรียนในระดับหนึ่งแล้วบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง แบบภาษาไทยของโรงเรียนสังขะ จังหวัดสุรินทร์ “โครงงานภาษาไทยบูรณาการ สู่เศรษฐกิจพอเพียง” โรงเรี ย นนาจิ ก พิ ท ยาคม สำนั ก งานเขตพื ้ น ที ่ ก ารศึ ก ษาอำนาจเจริ ญ ขั้นตอนสำคัญของการจัดกิจกรรมนี้มีขั้นตอนง่าย ๆ คือ ครูเปิดโอกาสให้นักเรียน เลือกหัวข้อในการทำโครงการ โดยเริ่มจากความสนใจหรือปัญหาใกล้ตัว แล้วมา นำเสนอให้ ท ุ ก คนได้ ร ั บ รู ้ หลั ง จากนั ้ น จะแบ่ ง แยกกั น ออกไปค้ น หาข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ จากแหล่งค้นคว้าต่าง ๆ ทั้งในห้องสมุด ผู้รู้ในท้องถิ่น อินเทอร์เน็ต กำหนดปฏิทิน
การปฏิบัติงาน
การพัฒนาทักษะการคิดด้วยกิจกรรมที่เน้นภูมิปัญญาท้องถิ่น
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
10
โรงเรียนมิตรภาพ มหาสารคาม เขต 1 มีพื้นที่ป่าเป็นจุดเด่น ครูพัฒน์พงษ์ จันทร์สว่าง มองเห็นโอกาสของการจัดกิจกรรมวิธีการที่ผู้เรียนเรียนรู้จากการลงมือ ปฏิ บ ั ต ิ ด ้ ว ยตนเอง โดยเน้ น การศึ ก ษาสำรวจจากแหล่ ง การเรี ย นรู ้ โดยมี ค รู แ ละ ผู้รู้ประจำชุมชนเป็นที่ปรึกษา นักเรียนจะเกิดการเชื่อมโยงองค์ความรู้จากภูมิปัญญา ท้องถิ่นที่ถ่ายทอดจากการดำรงชีวิตและวิถีของคนในท้องถิ่น ธรรมชาติใกล้ตัว รู ป แบบกิ จ กรรมจะเน้ น การคิ ด และมุ ม มองที ่ ห ลากหลายของผู ้ เ รี ย น ขึ ้ น อยู ่ ก ั บ ประสบการณ์ ข้อมูลในตัวนักเรียนแต่ละคน นายพัฒน์พงษ์ จันทร์สว่าง โรงเรียน มิ ต รภาพ อำเภอแกดำ จั ง หวั ด มหาสารคาม จุ ด เด่ น มี ป ่ า ที ่ อ ุ ด มสมบู ร ณ์ แ ละ มีเห็ดป่าที่กินได้ ติดกับวัดป่า เป็นแหล่งสมุนไพร มีปราชญ์ชุมชน หมอยา และ ใช้ ร ั ก ษาโรค แนวการจั ด การเรี ย นการสอนใช้ ก ารสื บ ค้ น ข้ อ มู ล และเขี ย นเนื ้ อ หา ที่เกี่ยวข้องไว้ หลังจากนั้นให้นักเรียนกำหนดหัวข้อที่สนใจ สอบถามจากชาวบ้าน บันทึกผล สรุปและนำเสนอ หลังจากนั้นเข้าป่าสำรวจระบบนิเวศในป่า สำรวจป่า เรียนรู้โดยมีครูภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นพี่เลี้ยง สำเร็จเรียบร้อยทำเป็นหนังสือเล่มเล็ก ครูที่สอนบอกว่านักเรียนมีความสามารถในการสังเกต การรวบรวม การจำแนก และสามารถนำเสนอผลการสำรวจของตนเองต่อที่ประชุมได้ดีด้วยความสนุกสนาน
การพัฒนากระบวนการคิดโดยใช้ชุดกิจกรรมระดับปฐมวัย
1
คุณครูโรงเรียนหลักเมืองมหาสารคาม มหาสารคาม เขต 1 ซึ่งเราเชื่อกันว่า เด็กทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล โดยผ่านกระบวนการอบรม เลี้ยงดู และการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ โดยเน้นการพัฒนาสมอง Brain Based Learning คุ ณ ครู ท ่ า นนี ้ ก ็ เ ป็ น คุ ณ ครู ค นหนึ ่ ง ที ่ ไ ด้ ร ั บ การคั ด เลื อ กให้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการคิ ด เช่นเดียวกัน เกิดแนวคิดที่จะปรับกิจกรรมของตนเองให้เป็นชุดกิจกรรมที่พัฒนาทักษะ กระบวนการคิ ด โดยผู ้ เ ชี ่ ย วชาญเสี ย ก่ อ น แล้ ว จึ ง นำไปใช้ ก ั บ นั ก เรี ย นที ่ ต นสอน ประมาณ 5 สัปดาห์ มีกิจกรรมต่าง ๆ ที่น่าสนใจหลายกิจกรรม เช่น กิจกรรม หนูสร้างภาพได้แล้วนะ กิจกรรมเส้นวิเศษ กิจกรรมเจ้าหนูนักสังเกต เป็นต้น ซึ่งกิจกรรม ดังกล่าวทำให้นักเรียนได้แสดงความคิดอย่างกว้างขวางและหลากหลาย หลังจากนั้น ครูจึงได้ประเมินผลงานนักเรียนว่านักเรียนมีการคิดอยู่ในระดับใด ลักษณะการปรับ
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
11
กิจกรรมการสอนคิดก็ไม่ได้ยุ่งยากอะไร เพียงแต่ครูจะเปิดใจยอมรับและปรับกิจกรรม สักเล็กน้อยก่อนลงมือใช้ ผลที่ได้ตามมาก็น่าชื่นใจทั้งผู้สอนและผู้เรียน ร้อยเอ็ด เขต 2 โรงเรียนชุมชนบ้านผำ ก็พบปัญหาว่านักเรียนไม่ชอบคิด เช่นกัน เมื่อได้รับการพัฒนาตามโครงการกระบวนการคิดแล้ว นำแนวคิดที่ได้รับ การหล่อหลอมจากหลายฝ่าย จากครูแกนนำ ผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ ช่วยเสริมให้คิด ออกแบบการสอนได้หลากหลายวิธีมากขึ้น เช่น storyline โครงงาน หมวก ๖ ใบ มี เ อกสารความรู ้ ต ่ า ง ๆ มาให้ ศ ึ ก ษาก็ เ ลยทำให้ ส ามารถคิ ด กิ จ กรรมได้ ม ากขึ ้ น ปรับพฤติกรรมการสอนของตนเองให้มีการใช้คำถามกระตุ้น เสริมแรงนักเรียน วัดและ ประเมินผลที่เหมาะสมกับระดับของนักเรียน ผลก็คือ นักเรียนเรียนอย่างมีความสุข ชุมชนให้การยอมรับ นักเรียนอ่านเขียนคล่องขึ้น
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
12
การคิดวิทยาศาสตร์ด้วยกิจกรรมวิทยาศาสตร์ “พันธุวิศวกรรม”
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
13
1
โรงเรี ย นร้ อ ยเอ็ ด วิ ท ยาลั ย สำนั ก งานเขตพื ้ น ที ่ ก ารศึ ก ษาร้ อ ยเอ็ ด เขต 1 โดยครู ส ุ ร พล ศรี ธ รรมา นำแนวคิ ด เรื ่ อ งการตั ด ต่ อ พั น ธุ ก รรมมาใช้ เ ป็ น ประเด็ น ปัญหาฝึกให้นักเรียนสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล แสดงบทบาทสมมติ อภิปราย แสดงความคิดเห็นโดยใช้เหตุผลและรับฟังผู้อื่นรวมทั้งเชื่อมโยงไปจนถึงจริยธรรม ในการนำวิทยาศาสตร์มาใช้ในมวลมนุษย์ โดยนำเทคนิคการสอนเน้นกระบวนการกลุ่ม กระบวนการสอนคิ ด เมื ่ อ เสร็ จ สิ ้ น นั ก เรี ย นนำความรู ้ ท ี ่ ไ ด้ เ รี ย นรู ้ ม านี ้ ส ร้ า งเป็ น
หนังสือเล่มเล็กเป็นภาพการ์ตูนที่ให้ความรู้เรื่องการตัดต่อพันธุกรรมไปเผยแพร่
ในชุมชน อย่างไรก็ตามในทัศนะของผู้สอนรู้สึกชอบการสอนแบบนี้มาก เพราะว่า นักเรียนมีความสนใจในกิจกรรมมาก สืบค้นข้อมูลต่าง ๆ มาอย่างกว้างขวางรอบด้าน ที่สำคัญคือ นักเรียนสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง มีความสุขที่ได้ให้ความรู้กับสังคม จึงอยากเชิญชวนให้ครูท่านอื่น ๆ ได้ลองใช้บทเรียนวิธีนี้บ้าง โดยครูสุรพลได้ออกแบบ บทเรียนมาอย่างดี มีระดับคุณภาพในการประเมินคุณภาพนักเรียนไว้เรียบร้อยแล้ว
ทักษะการคิดผ่านสื่อนวัตกรรม “ชุดฝึกการวิเคราะห์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6”
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
14
ครูโรงเรียนอนุบาลแคนคง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 ได้รับ มอบหมายให้เข้าร่วมโครงการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน หลังจากได้รับการอบรม เสร็จแล้วคิดทำให้เกิดมรรคเกิดผล โดยคิดพัฒนาชุดฝึกการวิเคราะห์ขึ้นเป็นอันดับแรก ตั้งชื่อว่าชุดฝึกการคิดวิเคราะห์สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 1-2 ประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ใบงาน แบบบันทึก และเกณฑ์การประเมินผล มีทั้งหมด 15 กิจกรรม ยกตัวอย่างเช่น กิ จ กรรมวิ เ คราะห์ ค วามเหมื อ น ก็ จ ะมี ก ิ จ กรรมให้ น ั ก เรี ย นบอกความเหมื อ นของ สิ่งของต่าง ๆ มีความยากง่ายต่างกันตามระดับนักเรียน หรือกิจกรรมวิเคราะห์ความต่าง ก็จะมีกิจกรรมให้นักเรียนบอกความต่างของสิ่งของต่าง ๆ ซึ่งก็มีความยากง่ายต่างกัน ตามระดับนักเรียนเช่นกัน ทีนี้ลองอ่านชื่อกิจกรรมของชุดฝึกนี้ดูให้เกิดแรงบันดาลใจ ในการไปทำชุดต่อไป เช่น ตัวฉัน..สำคัญเพียงใด รูปอะไรเอ่ย นกเอ๋ย..นกแก้ว วันอะไร เอ่ย ค้น...ข่าวเข้ม ภาพประทับใจ เก็บมาบอกเล่า ต้นไม้ของฉัน สัตว์โลกผู้น่ารัก เพื่อนของฉัน การวิเคราะห์องค์ประกอบ วิเคราะห์ความเหมือน วิเคราะห์ความแตกต่าง วิ เ คราะห์ ค วามสั ม พั น ธ์ ป ระเภททำนาย การวิ เ คราะห์ ค วามสั ม พั น ธ์ เ ชิ ง เหตุ ผ ล ประเภทการทำนาย
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
15
1
ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิด สร้างคิด 4 สร้าง มี 2 ชุด โดยคณะครูโรงเรียน บ้านเขาดิน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี มี 4 ชุด ได้แก่ ชุดฝึกทักษะกระบวน การคิดวิเคราะห์และคิดเปรียบเทียบ ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดสังเคราะห์ ชุดฝึกทักษะ กระบวนการคิดสร้างสรรค์และคิดประยุกต์ และชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดไตร่ตรอง และคิดอย่างมีวิจารณญาณ ใช้กับนักเรียนช่วงชั้นที่ 1 กิจกรรมชุดที่ 1 มี 13 กิจกรรม (กิจกรรมส้มหวาน สัญญาใจ ทำอย่างไร สะบัดผ้า แก้ปัญหาให้กระต่ายน้อย ช่วยด้วย ภาพปริศนา ซ่อนชื่อ หลายทางเลือก ทำอย่างไรดี) ชุดที่ 2 มี 2 กิจกรรม ชุดที่ 3 มี 5 กิจกรรม ชุดที่ 4 มี 8 กิจกรรม คิดง่าย ๆ มีเกือบ 30 กิจกรรมที่ครูไปรวบรวมมาแล้ว แยกแยะให้ เ หมาะสมกั บ นั ก เรี ย นของตน บางชุ ด เป็ น ข้ อ ความ บางชุ ด เป็ น ภาพ บางชุดเป็นคำถามท้าทาย เราเป็นครูเราอ่านแล้วยังอยากตอบเลย ดูแล้วก็รู้สึกชอบ ที่อย่างน้อยครูก็ใส่ใจไปไขว่คว้ามา ก็ดีกว่าไม่ทำอะไรเสียเลย
บูรณาการ สรรค์สร้างการคิด 4 กลุ่มสาระ (ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ)
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
16
โรงเรียนบ้านใหม่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย เขต 2 เป็น โรงเรี ย นที ่ ม ี ผ ลการประเมิ น อยู ่ ใ นระดั บ พอใช้ นั ก เรี ย นไม่ ช อบอ่ า นหนั ง สื อ ความสามารถด้านการอ่าน เขียนคิดวิเคราะห์ต่ำ ก็เลยคิดกิจกรรม 8 วิธีการแสนสนุก เป็นสุขกับการเขียนเพียรสู่การคิดวิเคราะห์ ได้แก่ การอ่านหรรษา นำพาสรุปความ รวมพลังเขียนมโนทัศน์ สรุปชัดเรื่องที่อ่าน สราญแนวคิดสู่งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ ครบด้วยนิทาน 8 หน้า มีคุณค่าด้วยคำถาม 10 ข้อ เติมต่อด้วยการเขียนโครงงาน โดยมีครูกลุ่มหนึ่งสร้างกิจกรรมเหล่านี้ขึ้นมานำไปใช้ร่วมกัน ทำเป็นฐานจัดกิจกรรม ฝึกนักเรียนทั้งโรงเรียนเป็นฐาน 4 ฐาน ส่งผลต่อความสำเร็จของการขับเคลื่อน กระบวนการคิดสู่ห้องเรียนโดยมีชุมชน ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการสนับสนุน ช่วยเหลือ ช่วยกันทำหนังสือเล่มแรกของครอบครัว สนับสนุนงบประมาณ ผลสำเร็จ ที่น่าประทับใจคือ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสอนมาเป็นการจัดกิจกรรมให้นักเรียน ได้เรียน ได้เล่น และได้คิดโดยไม่ทิ้งสาระการเรียนรู้ที่อยู่ในหลักสูตรทั้ง 4 กลุ่มสาระ ในที่สุดก็สามารถพัฒนาความสามารถในการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ของนักเรียนได้
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
17
1
โรงเรียนบ้านหนองโนไชยวาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 4 เมื่อได้รับการคัดเลือกจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ให้เป็นโรงเรียนแกนนำแล้ว ได้มีการปรึกษาหารือร่วมกันระหว่างครูกับผู้บริหารโรงเรียน หลังจากนั้นได้นำไป สอดแทรกในกลุ่มสาระที่ตนเองสอน นักเรียนชั้น ป.5 ซึ่งก็ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ที่พบว่านักเรียนมีความสามารถด้านการอ่านคิดวิเคราะห์ต่ำ ได้เลือก เทคนิคการสอน 5W1H เพลง เกม ปริศนาคำทาย มาผสมผสานกันกลายเป็นกิจกรรม การสอนภาษาไทยแบบใหม่ที่เน้นการคิด นำมาให้นักเรียนเรียนด้วยความสนุกสนาน เรี ย นเป็ น ฐาน แบ่ ง ฐานเป็ น 6 ฐาน เรี ย งตามลำดั บ ดั ง นี ้ ฐานที ่ 1 สำรวจคำ ให้นักเรียนร้องเพลงแล้วค้นหาคำตามเงื่อนไขจากเพลง เช่น คำที่ประสมสระอี เป็นต้น เมื ่ อ นั ก เรี ย นจบฐานนี ้ ก ็ จ ะต่ อ ด้ ว ยฐาน 2 ขนมทองหยอด เป็ น ฐานเขี ย นคำใหม่ จากพยัญชนะที่มีอยู่อย่างอิสระ ใครจะเขียนคำใดก็ได้ หลังจากนั้นก็แต่งประโยค จากคำนั้น ๆ ให้ได้ ฐานที่ 3 หรรษากับปริศนาคำทาย นักเรียนจะได้คิดหาคำตอบ คำทายของปริศนาต่าง ๆ ฐานที่ 4 ฐานการคิดวิเคราะห์ (5W1H) เป็นฐานที่มีเนื้อหา ให้นักเรียนอ่าน เมื่ออ่านแล้วก็วิเคราะห์เรื่องที่อ่านด้วยคำถามว่าใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ต่อมาเป็นฐานสำรอง ชื่อว่าฐานสุขใจในเพลง หัวใจคิดฮอด เป็นฐาน สนุก ๆ ที่ครูค้นหาเพลงที่มีคำภาษาถิ่นปรากฏในเพลงแล้วให้นักเรียนเขียนเปรียบ เทียบเป็นภาษากลาง ด้วยการปรับเปลี่ยนแบบนี้ ครูได้มีความรู้และประสบการณ์ ในการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนที ่ ท ำให้ น ั ก เรี ย นเรี ย นด้ ว ยความสนุ ก สนาน ผสมผสานการคิดไปด้วย กิจกรรมต่าง ๆ ไม่จำเจ สามารถปรับเปลี่ยนไปได้ เพิ่มได้ ลดได้ ยืดหยุ่นได้ และความสำเร็จที่เห็นได้อย่างชัดเจนก็คือ นักเรียนมีความสุขในการเรียน กล้าคิด กล้าแสดงออก ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนคือ การเขียนผังความคิดของนักเรียน มีความสมบูรณ์มากขึ้น
ทักษะการคิดผ่าน Mind map
โรงเรียนชุมชนโนนหันวันครู สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 5 สนใจการใช้แผนที่การคิด เทคนิคการสอน และการใช้คำถามมาใช้ในการพัฒนา ทักษะการคิดของนักเรียน เพราะมีความเชื่อว่านักเรียนที่จะเขียนแผนที่ความคิดได้ดี จะต้องมีระบบการคิดที่ดี แต่ยังไม่มีความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่จะทำ หลังจาก ที่ได้รับการพัฒนาตามกระบวนการของการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียนแล้ว จึงได้ ออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องร้อยรัดกันด้วยการใช้คำถามกระตุ้น
ให้นักเรียนคิด การนำสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ มาให้นักเรียนได้อ่าน ได้ศึกษาค้นคว้า คำถาม ที่ใช้จะเป็นคำถามปลายเปิดที่ให้นักเรียนคิดออกมาให้ได้มาก ๆ ครูสังเกตเห็นว่า
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
18
นั ก เรี ย นกล้ า คิ ด กล้ า เขี ย นมากขึ ้ น คิ ด ได้ ห ลากหลายมากแตกต่ า งกั น มากขึ ้ น ที่เป็นพิเศษคือ มีนักเรียนคนหนึ่งคิดช้าและไม่กล้าคิด ไม่เป็นที่ยอมรับของเพื่อน เมื่อ เวลาผ่ า นไป 1 เดื อ น ครู ใ ช้ ค ำถามนี ้ ใ นการจั ด การเรี ย นการสอนคณิ ต ศาสตร์ เรื่องรูปสมมาตร ว่า “อะไรเป็นแกนสมมาตร” นักเรียนคนนี้ตอบได้ว่ากระดูกสันหลัง เป็นแกนสมมาตรครับ ครูรู้สึกประทับใจและเห็นการเปลี่ยนแปลงของนักเรียน ด้วย ความกล้าหาญของเขา เขาได้รับการยอมรับจากเพื่อนร่วมชั้น ส่วนนักเรียนคนอื่น ๆ ในห้อง ก็รู้สึกสนุกกับการทำแผนที่ความคิดและมักเรียกร้องให้ครูทำแผนที่ความคิดอีกบ่อย ๆ ครูเองก็ได้รับการยอมรับจากเพื่อนครูมีคนมาถามหาวิธีการบ่อย ๆ และด้วยจุดเริ่มต้น นี้เองทำให้ห้องเรียนธรรมดากลายเป็นห้องเรียนที่สนุกสนานขึ้นมาก
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
19
การปรับตัวของครูในโครงการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
20
ค รู ห ล า ย ค น ค ิ ด ว่าการพัฒนาทักษะการคิด เป็ น เรื ่ อ งที ่ ย ุ ่ ง ยาก แต่ ม ี
ครู ห ลายคน เช่ น ครู ปฐมาภรณ์ จู ม สุ พ รรณ ส ำ น ั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่
การศึกษานครพนม เขต 2 บอกว่าครูต้องกระตุ้นให้ นักเรียนคิดอยู่เสมอ และ ต้องให้เวลากับนักเรียนในระยะแรก ถ้าฝึกบ่อย ๆ นักเรียนคิดได้หลากหลายแล้ว การจัดกิจกรรมจะเร็วขึ้น จะสนุกขึ้น ครูภัทริทา สีหา โรงเรียนบ้านหนองเพ็ญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ขอนแก่น เขต 1 มองเห็นการเปลี่ยนแปลงของตนเองและของนักเรียนหลังจากผ่าน โครงการแล้วว่า ในส่วนตัวครูมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสอนจากการเป็นผู้แสดง หรือผู้บอกความรู้ มาเป็นผู้สังเกตและจดบันทึกพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน ใจเย็นขึ้น ให้โอกาสเด็กคิดมากขึ้น ไม่เน้นการบอกถูกผิด แต่จะถามหาเหตุผลในการคิด เป็นนักสังเกตที่ดี ไม่แทรกแซงการคิดของเด็ก ไม่มองข้ามคำตอบทุก ๆ คำตอบ ของนักเรียน ในสิ ่ ง ที ่ เ กิ ด กั บ นั ก เรี ย น นั ก เรี ย นกล้ า คิ ด คิ ด ได้ เ ก่ ง คิ ด ได้ ค ล่ อ งขึ ้ น กล้ า แสดงออก มี เ หตุ ผ ล ช่ ว ยกั น คิ ด ช่ ว ยกั น ทำ ทำงานเป็ น กลุ ่ ม ยอมรั บ ฟั ง
ความคิดเห็นของผู้อื่น นักเรียนกลุ่มอ่อนมีความสามารถในการคิดเท่ากับนักเรียน กลุ่มเก่ง มีข้อสังเกตคือ นักเรียนกลุ่มอ่อนจะคิดได้แปลกและแตกต่าง กล้าคิด นอกกรอบมากขึ้น ปัญหาในตอนเริ่มแรกติดกับรูปแบบการสอนที่บอกความรู้ นักเรียนก็ติด ไม่อยากคิด อยากรอคำตอบจากครู ระยะแรก ๆ ของการเปลี่ยนแปลงจะใช้เวลาและ ความอดทนมากหน่อย แต่พอเด็กคิดได้เก่งแล้ว คิดได้คล่องแล้ว การจัดกิจกรรมจะใช้ เวลาน้อยลง นักเรียนจะสนุกสนานกับการเรียน อยากทำกิจกรรม ซึ่งเป็นเครื่องบ่งบอก ว่านักเรียนคิดได้เก่ง คิดได้คล่อง และให้เหตุผลเป็น ขณะนี้มีครูจากจังหวัดต่าง ๆ ไปดูงานที่โรงเรียนจำนวนมาก
1
ความแตกต่ า งของการขั บ เคลื ่ อ นกระบวนการคิ ด สู ่ ห ้ อ งเรี ย นที ่ เ ริ ่ ม จาก การศึกษาระดับคุณภาพการคิดจากผลงานของนักเรียนก่อน ไม่ได้เริ่มต้นที่วิธีสอน เป็นการวิเคราะห์เพื่อให้รู้จุดด้อยของการพัฒนา ต่อจากนั้นจึงมาหาวิธีการพัฒนา จุดด้อยนั้น นับว่าเป็นการแก้ปัญหาที่ตรงจุด เมื่อครูยอมรับเช่นนี้แล้วจึงวางแผน ประเมินระดับคุณภาพของผลงานนักเรียนที่ตนสอนทุกคน ครบทุกกลุ่มสาระ แล้วมา
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
21
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
22
วางแผนการสอนใหม่ ใ ห้ ม ี ก ารแทรกกิ จ กรรมการคิ ด ลงไปในชั ่ ว โมงสอน (บ้ า น หนองเพ็ญ ขอนแก่น 1) ครูก็เลยเรียกขั้นตอนของตนเองไว้ ดังนี้ วิเคราะห์ชิ้นงาน ผู้เรียน รู้คุณภาพการคิดของผู้เรียน ต่อจากนั้นจึงคิดพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การสอนซ่อมเสริม การปรับกิจกรรมการเรียนรู้ เปลี่ยนพฤติกรรมตนเองให้เป็น
ผู้สอนคิด ไม่ใช่ผู้บอกความรู้ โดยคำนึงถึงผู้เรียนให้มากที่สุด
การเรียนการสอนคณิตศาสตร์กับการพัฒนาการคิด
1
ครูมันทนา ปานนิล ครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม อำเภอหล่ ม สั ก จั ง หวั ด เพชรบู ร ณ์ สร้ า งบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ด ้ ว ยโปรแกรม Thai Geometer’s Sketchpad เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต และจัดการเรียนรู้ที่ทำให้ นักเรียนได้พัฒนากระบวนการคิด จากการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่เป็นนามธรรม ให้เป็น รูปธรรมได้ จุดเด่นที่ครูมันทนา ใช้โปรแกรมนี้ไปพัฒนากระบวนการคิดให้กับนักเรียน คือ เมื่อนักเรียนเรียนรู้วิธีใช้โปรแกรมในการสร้างรูปเรขาคณิตแล้ว นักเรียนได้เห็น ภาพที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นภาพสามมิติ ที่มองได้ทั้งแนวกว้าง ยาว และแนวลึก ครูมันทนา จะให้เวลานักเรียนคิดพิจารณาภาพเรขาคณิตที่แต่ละคนสร้างขึ้นมา และให้โอกาส นั ก เรี ย นลองขยั บ มุ ม แต่ ล ะมุ ม และพิ จ ารณาการเปลี ่ ย นแปลงของภาพอย่ า งไร
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
23
เมื่อนักเรียนทำการเลื่อน หรือสะท้อน และหมุนแต่ละมุม และเมื่อนักเรียนได้หมุน หรือเคลื่อนที่ ภาพที่เกิดจะมีความต่างกันอย่างไรบ้าง พร้อมทุกคนจะช่วยกันบอกภาพ ของตนและให้ช่วยกันสรุปความรู้เพิ่มเติม เช่น การเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน บนระนาบ แล้วจะเกิดภาพในลักษณะอย่างไรบ้าง ● ภาพที่สมนัย คือ ภาพที่เกิดจากการหมุนอย่างไร แล้วให้ทุกคนช่วยกัน
ลองสรุปความหมายของภาพสมนัย ● ภาพที่สะท้อนกลับทาง จะมีการเคลื่อนที่อย่างไร ภาพที่เห็นจะมีการหมุน
อย่างไรบ้าง
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
24
สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้และฝึกคิด
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
25
1
ครูมันทนา พบว่า นักเรียนได้พัฒนาการคิด ตั้งแต่การสังเกตและพิจารณา มุมและภาพที่เกิดจากมุมที่เปลี่ยนแปลงไป อย่างละเอียดถี่ถ้วน ซึ่งจะช่วยให้นักเรียน จำได้แม่นยำและจินตนาการภาพที่เปลี่ยนไปจากการเคลื่อนที่ของมุม และเมื่อ นักเรียนทุกคนได้ทดลองทำด้วยตนเอง แต่ละคนจะลองหมุนหรือเปลี่ยนมุมและ บอกผลจากการหมุนที่เกิดการเปลี่ยนภาพอย่างไรบ้าง ซึ่งทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ด้วยตนเอง และจำได้แม่นยำ เมื่อจะนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงในการคิดคำนวณห้อง พื ้ น ที ่ รู ป ทรงต่ า ง ๆ ที ่ จ ะประดิ ษ ฐ์ ห รื อ จำลองจากของจริ ง โดยอาศั ย ความรู ้ ท าง คณิตศาสตร์ จากการเลื่อน การหมุน การสะท้อน การเลื่อนขนานตามทิศทางที่ กำหนดบนระบบพิกัดฉาก เป็นต้น ฯลฯ เมื่อครูมันทนาให้แต่ละคนคิดประยุกต์ความรู้จากการใช้โปรแกรมนี้จาก รูปเรขาคณิตที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรมในชีวิตจริง นักเรียนสามารถตีโจทย์ปัญหา ดังกล่าวได้ เช่น นำการสะท้อนและการสมมาตรมาใช้ในการออกแบบลายผ้า การทำ
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
26
ถุงมือ ถุงเท้า ออกแบบลายกระเบื้อง ประดิษฐ์ของเล่น สิ่งประดิษฐ์ ด้วยการหมุน บนระนาบ ฯลฯ เช่น กังหันลม ชิงช้าสวรรค์ ความกล้าพูด กล้าแสดงออกของนักเรียน เมื่อครูมันทนาได้เห็นชัดเจนมาก เพราะผลที่เกิดขึ้นในจอคอมพิวเตอร์ของแต่ละกลุ่ม แต่ละคน ก็จะไม่เหมือนกัน ภาพที่เห็นนักเรียนแย่งกันพูด แสดงความคิดเห็นของตน ให้เพื่อนในชั้น ทำให้ครูมันทนาค้นพบว่า นี่แหละคือการพัฒนากระบวนการคิด ที่เกิดจากการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียนจริง ๆ
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
27
1
สิ่งที่ครูมันทนาได้เตรียมก่อนสอนให้นักเรียนพัฒนากระบวนการคิดจาก การสอนเรื่องนี้ คือ 1. ทักษะการใช้โปรแกรม Thai Geometer’s Sketchpad ซึ่งอาจารย์มันทนา นำมาใช้เป็นสื่อการสอนคิด 2. คิ ด โจทย์ ท ี ่ ใ ห้ น ั ก เรี ย นสร้ า งรู ป เรขาคณิ ต ตามเนื ้ อ หาที ่ ก ำหนดไว้ ใ น แผนการสอน คือ การแปลงทางเรขาคณิต 3. คิดคำถามที่ให้นักเรียนได้ฝึกคิดขณะสร้างรูปเรขาคณิต เช่น นักเรียน สังเกตเห็นภาพเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง เพราะเหตุใด 4. ให้โอกาสนักเรียนได้คิด และตอบข้อสงสัยจากการพิสูจน์โดยการปฏิบัติจริง และให้ฝึกปฏิบัติด้วยตนเองทั้งที่โรงเรียนในชั่วโมงว่าง หรือที่บ้าน (ยืมโปรแกรม ไปติดตั้งและทดลองใช้) 5. แผนการสอนที่เน้นการพัฒนาทักษะการคิด นอกจากนักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับการแปลงรูปทรงเรขาคณิตต่าง ๆ แล้ว หากครูสามารถให้นักเรียนจัดทำของเล่น หรือสิ่งประดิษฐ์ ที่ประยุกต์จากความรู ้
เรื่องนี้ได้ ซึ่งจะเป็นการบูรณาการกับสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี หรือกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนได้นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง หรือจะนำไปบูรณาการกับคุณธรรม จริยธรรม ไม่ว่าจะเป็นการมองคน พิจารณาให้ลึกซึ้ง
การพัฒนาการคิดด้วยนิทานพื้นบ้าน บทความใกล้ตัว และเรื่องสั้น สร้างสรรค์ชิ้นงาน
โรงเรียนบ้านหนองยาว สหวิทยาเขตเขื่อนกระเสียว เป็นโรงเรียนแกนนำ ขับเคลื่อนการคิดของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 ได้พัฒนา หลักสูตรสถานศึกษาที่เป็นหลักสูตรเพิ่มเติม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยเน้น
การอ่านคิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความจากเรื่องราวในชีวิตประจำวัน ที่มุ่งเน้นให้ นักเรียนได้พัฒนาทักษะกระบวนการคิดจากนิทานพื้นบ้าน บทความใกล้ตัว เรื่องสั้น ที่ครูแต่งขึ้นมา
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
28
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
29
1
ครูประเชิญ ชาวหน้าไม้ ครูสอนภาษาไทยชั้น ป.4 และชั้น ป.6 โรงเรียนบ้าน หนองยาว ได้ ศ ึ ก ษาวิ จ ั ย การสร้ า งและใช้ น วั ต กรรมที ่ ส ่ ง เสริ ม ความสามารถ ด้านการคิด โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาไทยเพิ่มเติมชั้น ป.4 และชั ้ น ป.6 ประกอบด้ ว ยหลั ก สู ต รภาษาไทยเพิ ่ ม เติ ม และกิ จ กรรมการเรี ย นรู ้
ด้วยนิทาน บทความใกล้ตัว และเรื่องสั้น วิธีการของครูประเชิญ ได้คัดเลือกนิทานพื้นบ้านที่สอดคล้องกับหน่วย การเรียนรู้ที่จะสอน และออกแบบกิจกรรมเพื่อให้นักเรียนได้ฝึกคิด เช่น ฝึกอ่านและฟัง หรือช่วยกันอ่านก่อนสรุปเนื้อเรื่องของนิทาน ซึ่งมีทั้งความรู้ วิถีชีวิต ประเพณีท้องถิ่น ภูมิปัญญาชาวบ้าน และความเชื่อหรือค่านิยมของคนไทย เช่น นิทานเรื่อง กำพร้า ปลาหลด ก็จะมีคำที่ให้นักเรียนหาความหมาย เช่น คำว่า ลูกกำพร้า หมายถึงอะไร การวิดปลา การเลี้ยงปลาสมัยก่อนทำอย่างไร (ได้เห็นวิธีเลี้ยงในกะลาและในโอ่ง) นอกจากนี้นักเรียนยังได้ฝึกคิดวิเคราะห์ ทำไมปลาจึงตาย จะต้องเลี้ยงอย่างไร ปลาจึงจะอยู่รอด รวมทั้งการปลูกฝังคุณธรรม เรื่อง เรื่องเล่าจากพระสุตตะตันติปิฎก ซึ่งเป็นเรื่องความเมตตา สงสาร การรู้จักพอประมาณ ความซื่อสัตย์ และความขยัน หมั่นเพียร เป็นต้น
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
30
กระบวนการเรี ย นรู ้ ท ี ่ น ั ก เรี ย นได้ ฝ ึ ก คิ ด นอกจากนั ก เรี ย นจะได้ ฝ ึ ก ฟั ง อย่างตั้งใจ ได้อ่านอย่างสนุกสนานแล้ว ครูประเมิน ยังให้อ่านจับใจความ แล้วฝึกสรุป ความบางตอนของนิทาน จะต้องช่วยกันคิดวิเคราะห์แสดงความคิดเห็นแล้ว ยังได้ ฝึกสังเคราะห์จากเรื่องราวในนิทานเป็นแผนภาพทั้งตัวละคร เหตุการณ์ สรุปความรู้ ที่ได้จากนิทาน แล้วจึงวาดภาพประกอบการเล่าเรื่องหรือพูดนำเสนอเพื่อแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นของนักเรียนแต่ละคน ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ นอกจากจะใช้นิทานแล้ว ยังใช้บทความวิชาการ น่ารู้จากหนังสือต่าง ๆ ทั้งหนังสือพิมพ์ สารคดี เรื่องสั้น เช่น เรื่อง มะม่วงกับวิตามินซี หรื อ นิ ท านชาดก ละครคุ ณ ธรรม เรื ่ อ ง พระธรรมนำชี ว ิ ต เป็ น สื ่ อ การสอนแล้ ว กิจกรรมที่ฝึกให้นักเรียนคิด ยังมีอีกมากมายที่ครูประเชิญ ชาวหน้าไม้ นำมาใช้ เช่น การทำโครงงานความเชื่อ เรื่อง นรก สวรรค์ มีการวัดและประเมินจากการสรุปจับใจความ สรุปเนื้อเรื่อง อธิบายคำ เติมคำ สะกดคำ แจกรูป แต่งประโยค แต่งบทร้อยแก้ว ร้อยกรอง สรุปเป็นผังความคิด และให้นักเรียนแต่งเรื่องจากที่อ่านบทความ หรือนิทาน
ส่วนใหญ่ชิ้นงานนักเรียน จะเป็นการสรุปความรู้เรื่องที่อ่าน ทั้งเป็นบทความ แผนภาพ Mind map แต่ ง เรื ่ อ งที ่ ผ ่ า นการสั ง เคราะห์ พร้ อ มภาพประกอบ เช่ น เรื ่ อ ง ม้ า กั บ กำพร้ า กั บ คนเก็ บ ขยะ กรรมย่ อ มสนองการกระทำ ความรู ้ ร อบตั ว ทำบาปมีกรรม เอดส์ พระนารายณ์ท่องนรก ชีวิตสัตว์กับระบบนิเวศน์ ไข้หวัดนก สมุนไพรจากมะนาว หมอลำ อายุยืน ฯลฯ
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
31
แบบฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการคิด แบบฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการคิด เป็นแนวคิดที่ให้นักเรียนได้ฝึกคิดวิเคราะห์ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ไม่เบื่อหน่าย มีอิสระในการเรียนรู้ ซึ่งจะช่วยพัฒนาการคิด ได้เรียนรู้อย่างมีความสุข สนุกสนาน โดยการตั้งคำถามให้คิดและค้นหาคำตอบ โดยใช้ เ ครื ่ อ งมื อ ที ่ ห ลากหลาย เช่ น ใช้ บ ทกลอน คำคล้ อ งจอง ข่ า ว เหตุ ก ารณ์ เรื่องราวของท้องถิ่น หรือสถานการณ์ เพลง ซึ่งสามารถบูรณาการระหว่างสาระ การเรียนรู้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
32
บทกลอน ฝึกทักษะการคิ ดคณิตศาสตร์บูรณาการ แจ๋วซื้อ ขนม ยี่สิบห้ากล่อง มีกล่องละ สิบชิ้น นี่ไฉน อยากทราบว่า ขนมทั้งหมด มีเท่าไร กี่ชิ้นใน ยี่สิบห้ากล่อง ลองคิดดู
33
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
เขียนเป็นโจทย์ปัญหา ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... โจทย์ให้หาอะไร ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... โจทย์กำหนดอะไรให้บ้าง ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... จงหาว่าจะต้องจ่ายเงินกี่บาทได้อย่างไร ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์เพื่อหาคำตอบ ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ได้คำตอบเท่าไร ..................................................................................................................... .....................................................................................................................
1
1. 2. 3. 4. 5. 6.
แบบฝึกทักษะการคิดคณิตศาสตร์ที่พัฒนาการคิด จากเครื่องชี้นำ (Thinking Tool)
34
ครูปรานี ประกิระสา โรงเรียนบ้านโคกสว่างนาดี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขต.อุดรธานี เขต 3 ได้สอดแทรกทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ คุณธรรม จริยธรรม ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งไว้ โ ดยออกแบบหน่ ว ยการเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ แ บบฝึ ก ทั ก ษะ การคิดคณิตศาสตร์ที่พัฒนาการคิดจากเครื่องชี้นำ (Thinking Tools) แบบที่ 1 พิจารณาปัจจัยที่เกี่ยวข้องของโจทย์ปัญหา แบบที่ 2 พิจารณาทางเลือก ความเป็นไปได้ และตัวเลือก (APC) แบบที่ 3 ลำดับความสำคัญในการแก้ปัญหา (FIP)
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
ตัวอย่าง คำถาม
สมศักดิ์นำส้มโอไปขายที่ตลาด 1,350 ผล ๆ ละ 20 บาท ขายมะม่วง 2,469 ผล ๆ ละ 5 บาท นำเงินไปฝากธนาคารครึ่งหนึ่งของเงินที่ได้ สมศักดิ์จะมีเงินเหลือเท่าไร
การลบ
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
1
การบวก
การคูณ
1. ปัจจัยที่เกี่ยวกับการแก้ปัญหา
สิ่งที่โจทย์กำหนดให้
การหาร
การคูณ
การหาร
2. ความเป็นไปได้
สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ
ปัจจัยที่เกี่ยวกับการแก้ปัญหา
35
การลบ
การคูณ
การหาร
3. ตัวเลือก
วิธีหาคำตอบ
การลบ
อันดับที่ 1 พิจารณาปัจจัยที่เกี่ยวข้องจาก CAF อันดับที่ 2 เลือกวิธีหาคำตอบที่ดีที่สุด และวางแผน (APC) อันดับที่ 3 ลงมือหาคำตอบตามลำดับความสำคัญ อันดับที่ 4 ตรวจสอบความถูกต้อง อันดับที่ 5 สรุปคำตอบและให้เหตุผล แบบฝึกทักษะการคิด โดยใช้เครื่องชี้นำนี้ เป็นการฝึกให้นักเรียนคิดตัดสินใจ อย่ า งมี เ หตุ ผ ล เพื ่ อ เลื อ กวิ ธ ี ก ารแก้ป ั ญ หาที ่ ด ี ท ี ่ ส ุ ด จะต้ อ งฝึ ก ซ้ ำ ๆ เพื ่ อ ให้ เ กิ ด ประสบการณ์และเข้าใจเครื่องชี้นำการคิดแบบต่าง ๆ ให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมี แบบแผนร่วมกัน สามารถเลือกวิธีแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม และมีลำดับขั้นตอน การแก้ปัญหาที่ชัดเจน และยังทำให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์ สามารถนำความรู้ไปเชื่อมโยงสู่ชีวิตประจำวันได้อย่างมีเหตุ มีผล สามารถบูรณาการ กับสาระอื่น ๆ ได้ ซึ่งขอยกตัวอย่าง เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหา การบวก ลบ คูณ หารระคน มีขั้นตอนการพิจารณาเครื่องชี้นำ 3 ขั้น คือ
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
36
กิจกรรมพัฒนาการคิดของโรงเรียนสันป่าสักวิทยา เมื ่ อ โรงเรี ย นสั น ป่ า สั ก วิ ท ยา อำเภอแม่ แ ตง สั ง กั ด สำนั ก งานเขตพื ้ น ที ่ การศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 ได้เข้าร่วมโครงการการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียนตั้งแต่
ปีการศึกษา 2550 โดยได้รับการชี้แจงและพัฒนาครูทั้งโรงเรียนจากศึกษานิเทศก์แล้ว ก็ ไ ด้ ว างแผนการขั บ เคลื ่ อ นการคิ ด เป็ น 2 ลั ก ษณะ คื อ สอดแทรกการคิ ด ตาม กลุ ่ ม สาระและใช้ ก ิ จ กรรมเสริ ม ทั ก ษะการคิ ด ในชั ่ ว โมงกิ จ กรรมพั ฒ นาผู ้ เ รี ย น ซึ่งโรงเรียนยึดหลักการพัฒนาทักษะการคิดของบลูม 6 ขั้น คือ ความรู้ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และประเมินค่า โดยได้พัฒนา ทั้งโรงเรียน ตั้งแต่ระดับปฐมวัย-ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
37
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
38
การจัดทำกิจกรรมเสริมทักษะการคิด ได้นำหลักการและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง กับจิตวิทยาพัฒนาการเด็ก จิตวิทยาการเรียนรู้ หลักการสร้างหรือออกแบบการเรียนรู้ ต่าง ๆ เป็นแนวทางการพัฒนาและจัดทำกิจกรรมเสริมทักษะการคิด ด้านความ สอดคล้องกับระดับคุณภาพการคิดของผู้เรียนแต่ละระดับชั้น โดยใช้คำถามเป็น ตัวนำหรือกระตุ้นการคิด และฝึกการคิดในลักษณะการฝึกซ้ำย้ำทวน ด้วยสื่อที่ หลากหลาย และประเมินผลสำเร็จของครูที่ชิ้นงานของนักเรียน ระดับปฐมวัย ครูวิไล สิทธิฟอง และครูบุญศิริ มหากันทา ได้พัฒนาการคิด ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 ด้วยกิจกรรมตลอดภาคเรียน 16 กิจกรรม คือ สร้างภาพ จากเพลง สัตว์พันธ์ใหม่ ภาพมหัศจรรย์ ญาณวิเศษ ดนตรีสวรรค์ สามัคคีสร้างสรรค์ เล่าเรื่องจากภาพ สัตว์ในจินตนาการ ดอกไม้สร้างสรรค์ ถามให้สุดโลก เลขมหัศจรรย์ พืชผักผลไม้ที่น่ากิน หนูทำได้ สนุกกับการกลิ้งสี บ้านใครเอ่ย แม่จ๋าอยู่ไหน ซึ่งทุกกิจกรรม จะเน้นให้นักเรียนคิดสร้างสรรค์และคิดวิเคราะห์ขั้นพื้นฐาน เช่น กิจกรรมพืชผัก
ผลไม้ ท ี ่ น ่ า กิ น นั ก เรี ย นจะได้ ฝ ึ ก จำแนก จั ด หมวดหมู ่ ผ ั ก และผลไม้ นอกจากนี ้
นักเรียนยังได้ฝึกคิดวิเคราะห์เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ แบบคิดสร้างสรรค์ในกิจกรรม สัตว์พันธุ์ใหม่ ที่ให้นักเรียนได้ฝึกฟังและมีสมาธิในการทำงาน ฝึกวาดภาพตามจิตนาการ จากการฟัง ผลที่ปรากฏ นักเรียนนอกจากการวาดภาพตามจินตนาการแล้ว นักเรียน ยังได้ฝึกการจำ ฝึกกระบวนการกลุ่ม ฝึกสังเกต ฝึกตั้งคำถาม และค้นหาคำตอบ ควบคู่กันไป ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 จะมุ่งเน้นพัฒนาการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล จากการหาลักษณะเด่น ลักษณะด้อย ความสำคัญของข้อมูลและสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้ นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ด้วยกิจกรรมที่ครูมาลี ไวว่อง และครูพัทรินทร์ เรืองยศ พัฒนาขึ้นมาถึงกิจกรรมต่าง ๆ ถึง 10 กิจกรรม คือ คู่ฉันอยู่ไหน เหลือเชื่อ สัตว์ที่น่ารัก เราเป็นพวกเดียวกัน ตัวฉันอยู่สีอะไร ช่วยกันคิด ช่วยกันเขียน รูปเรขาคณิตสองมิติ ของดีมีประโยชน์ เรื่องประหลาด เรียงลำดับจับใจความ ทุกกิจกรรมนักเรียนจะได้
ฝึกคิดวิเคราะห์ คิดจินตนาการ เช่น รูปเรขาคณิตสองมิติ ทำให้นักเรียนสามารถ วาดภาพตามความคิดของตนเองได้
1
ระดับประถมศึกษาปีที่ 2 ครูนวลจันทร์ อุทรานันท์ และครูพิกุล ศิวะพฤกษ์พงศ์ ได้ จ ั ด กิ จ กรรมให้ น ั ก เรี ย นฝึ ก คิ ด วิ เ คราะห์ ค วามสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งลั ก ษณะสำคั ญ
ของเรื่องราว ข้อมูล และสิ่งต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล และนำไปใช้ในการเรียนรู้และแก้ ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ รวม 10 กิจกรรม คือ คู่แล้วไม่แคล้วกัน ฉันอยากกลับบ้าน อาหารจานโปรด เพื่อนฉันกับเธอ ดอกไม้ให้แม่ เรือดินน้ำมัน ญาติฉันนั่นแหละ ใคร ๆ ในโรงเรียน เลขอะไรในดอกไม้ และเรื่องกล้วย ๆ ซึ่งทุกกิจกรรมล้วนฝึกแก้ปัญหา จากความสัมพันธ์ของเรื่องราว เช่น กิจกรรมเรือดินน้ำมัน มีการแบ่งผู้เรียนออกเป็น กลุ่ม ๆ ละ 4 คน แล้วแจกอุปกรณ์กลุ่มละ 1 ชุด ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันคิดวางแผนและ ปั้นดินน้ำมันเป็นเรื่องที่สามารถลอยน้ำได้และคิดว่าสามารถรับน้ำหนักได้มากที่สุด แล้วให้แต่ละกลุ่มทดสอบการรับน้ำหนักของเรือให้เพื่อน ๆ ดู โดยใช้วัสดุที่มีน้ำหนัก
เท่า ๆ กัน ให้มากที่สุดโดยทดลองทีละกลุ่มแล้วนับจำนวนวัตถุที่ใส่ในเรือ เรือของกลุ่มใด
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
39
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
40
รับน้ำหนักได้มากที่สุดจะเป็นผู้ชนะ ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย และสรุปกิจกรรม ในประเด็น เหตุใดเรือน้ำมันจึงลอยน้ำได้ เหตุใดเรือของแต่ละกลุ่มจึงรับน้ำหนักได้ ไม่เท่ากัน เทคนิคในการปั้นดินน้ำมันเป็นเรือ และสามารถรับน้ำหนักได้มากที่สุด นักเรียนสามารถบอกประโยชน์และข้อคิดที่ได้รับจากกิจกรรมได้ ระดับประถมศึกษาปีที่ 3 ครูสังวาลย์ วงศ์สกุล และครูพิมลพรรณ ปันตี ได้ ค ิ ด กิ จ กรรมที ่ พ ั ฒ นาการคิ ด วิ เ คราะห์ ด ้ ว ยการจำแนก แยกแยะ ความจริ ง ความสำคัญของข้อมูล เรื่องราว เหตุการณ์ต่าง ๆ โดยอาศัยหลักการทฤษฎีอย่าง มีเหตุผล และสามารถนำไปใช้แก้ปัญหาการเรียนรู้ในชีวิตประจำวันได้ มี 7 กิจกรรม คือ รูปนี้มีความหมาย ชนิดของคำทำหลายหน้าที่ นักประดิษฐ์น้อย สนุกกับนิทาน ปัญหาท้าความคิด อาหารจานโปรด และต้นไม้ที่รัก เช่น กิจกรรมนักประดิษฐ์น้อย ทุกกิจกรรมสร้างขึ้นเพื่อฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์การเลือกปฏิบัติสิ่งที่ได้จากข้อมูล
ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน โดยเริ่มจากการสนทนาเกี่ยวกับวิธีการและขั้นตอน การทำงานประดิ ษ ฐ์ และใช้ ค ำถามว่ า การประดิ ษ ฐ์ ช ิ ้ น งานเราควรทำอะไรบ้ า ง แต่ละชิ้นงานมีอุปกรณ์เหมือนกันหรือไม่ นักเรียนควรปฏิบัติอย่างไรจึงจะประสบ ผลสำเร็จ ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์เลือกอุปกรณ์และออกแบบสิ่งประดิษฐ์นำมา เปรียบเทียบได้ ระดับประถมศึกษาปีที่ 4 ครูฉวีวรรณ ทองสุข ได้คิดกิจกรรมเพื่อพัฒนา ทักษะการคิดสร้างสรรค์ การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของข้อมูล เรื่องราว เหตุการณ์ ต่าง ๆ และสามารถสรุปความได้อย่างเหมาะสม รวม 10 กิจกรรม คือ ต่อเติมภาพ ภาพชวนฝัน คณิตชวนคิด เธอฉันอ่านด้วยกัน เมนูใจสั่งมา คำคล้องจองสองพี่น้อง การเป็นตัวพัฒนาที่สามารถประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา และดำเนินชีวิตประจำวันได้ เช่น กิจกรรม เมนูใจสั่ง ออกแบบการทดลอง สำนวนไทยให้ข้อคิด การทำโครงงาน วิทยาศาสตร์ และ What work do you do? ผลที่การพัฒนาที่ได้รับ คือ นักเรียน สามารถคิ ด รายการอาหารคาว อาหารหวาน การถนอมอาหาร และกิ จ กรรม
คำคล้องจอง สองพี่น้อง จัดทำขึ้นโดยครูสุนีย์ พุทธิ เพื่อฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ เชื่อมโยงความสัมพันธ์ ผลที่ผู้เรียนได้รับ คือ สามารถเขียนคำคล้องจอง 2 พยางค์ได้ และกิจกรรม What work do you do? จัดทำโดยอาจารย์วิภาวรรณ ยอดคำลือ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์และเหตุผล โดยได้แบ่งผู้เรียนเป็น กลุ่ม TFB ร่วมสนทนาเกี่ยวกับอาชีพต่าง ๆ ที่ผู้เรียนรู้จักว่ามีอาชีพอะไรบ้าง และ ใช้คำถามให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ว่า เช่น อาชีพที่นักเรียนรู้จักสำคัญอย่างไร และนักเรียนเลือกว่าอนาคตมีทำอาชีพอะไร เพราะเหตุใด เช่นเลือกอาชีพหมอ หากจะ เป็นหมอที่ดีควรจะทำอย่างไร แล้วครูให้นักเรียนกลุ่ม AFB ทำใบงานเพื่อคิดอาชีพ
ในอนาคตที่อยากเป็นพร้อมวิธีปฏิบัติตนตามตาราง
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
41
1
What work do you do? 1. ครู = teacher (ตัวอย่าง) 2. .............. = .............. 3. .............. = ..............
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
42
ระดั บ ชั ้ น ประถมศึ ก ษาปี ท ี ่ 5 ครู ผ ่ อ งศรี อริ ย ะกุ ล สร้ า งกิ จ กรรมขึ ้ น 11 กิ จ กรรม เพื ่ อ ฝึ ก ทั ก ษะการคิ ด วิ เ คราะห์ ค วามสั ม พั น ธ์ คื อ เกมเด็ ก สมองใส ทายปัญหา เลขสองปริศนา ปาเป้า เกมฝึกคิดเศษส่วน ใครชอบดอกไหน นักสำรวจ สมัครเล่น ลูกโป่งประหลาด วาดภาพตามจินตนาการ คำศัพท์แสนสนุก และอุ้ยคำ กับวิถีชีวิตในสังคมปัจจุบัน ซึ่งทุกกิจกรรมความสำคัญและการคิดเปรียบเทียบจะได้ ฝึกคิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์ เช่น นักสำรวจสมัครเล่น โดยเริ่มจากการสนทนา กั บ นั ก เรี ย นเกี ่ ย วกั บ ร้ า นค้ า โรงเรี ย นของเราว่ า มี แ ม่ ค ้ า มาขายอาหารหลายอย่ า ง มีทั้งข้าว ของทอด ผลไม้ ส้มตำ ขนม น้ำหวาน และอื่น ๆ อีกมากมายหลายชนิด ซึ่งนักเรียนได้ซื้อมารับประทานกันทุกวันรวมทั้งครูด้วย และอาหารเหล่านั้นมีประโยชน์ และไม่มีประโยชน์เวลานักเรียนซื้อก็ควรพิจารณาก่อนทุกครั้ง หลั ง จากที ่ ค รู ส นทนากั บ นั ก เรี ย นแล้ ว ครู ก ็ แ บ่ ง กลุ ่ ม นั ก เรี ย นตามกลุ ่ ม Team Four Buddy : TFB โดยให้ไปสำรวจอาหารที่ร้านค้าของโรงเรียนว่ามีอาหารอะไรบ้าง ที่ขายตามใบงานที่ครูให้แล้วให้นักเรียนบันทึกข้อมูลลงในใบงาน เพื่อจะนำมาเสนอ ให้เพื่อนดูในชั่วโมงต่อไป
ใบงาน : ให้นักเรียนไปสำรวจอาหารที่แม้ค้าน้ำมาขายในร้านค้า
ของโรงเรียนมีอะไร
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
43
1
ในชั ่ ว โมงต่ อ ไป ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย นเกี ่ ย วกั บ งานที ่ ค รู ส ั ่ ง ให้ น ั ก เรี ย น ไปสำรวจอาหารในร้านค้าโรงเรียนของเราว่ามีอาหารอะไรบ้างแล้ว ให้แต่ละกลุ่ม TFB นำบันทึกชื่ออาหารมาติดไว้บนกระดาน แล้วครูจะตั้งคำถาม ถามนักเรียนว่า - อาหารที่ให้ประโยชน์มากที่สุดคืออะไร เพราะอะไร - อาหารที่นักเรียนชอบมากที่สุดคืออะไร ทำไมถึงชอบ - ถ้านักเรียนจะเลือกซื้ออาหารจะมีวิธีเลือกซื้ออย่างไรบ้าง โดยครูจะให้นักเรียนได้ฝึกคิดวิเคราะห์ถึงอาหารบางอย่างมีประโยชน์หรือไม่ และ คิ ด เปรี ย บเที ย บอาหารแต่ ล ะอย่ า งว่ า เป็ น อย่ า งไร แล้ ว ครู แ ละนั ก เรี ย นช่ ว ยกั น
สรุปประเด็นสำคัญของกิจกรรมแล้วให้นักเรียนทุกคนเขียนแผนที่ความคิดส่งครู
เป็นผลงาน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ครูจารุวรรณ หอมดอก ได้ใช้กิจกรรม ลาบดิบ อร่อยลุงมอยชอบกิน เพื่อเพิ่มทักษะการคิดพิจารณาสาเหตุของปัญหา จึงได้เริ่ม ให้ น ั ก เรี ย นกลุ ่ ม TFB สั ง เกตภาพชายคนหนึ ่ ง ซึ ่ ง มี อ าการปวดท้ อ งอย่ า งรุ น แรง หลั ง รั บ ประทานลาบดิ บ ในภาพแสดงถึ ง สภาพห้ อ งครั ว ที ่ ส กปรกเลอะเทอะ มีสุนัขกำลังถ่ายอุจจาระลงบนแปลงผักใกล้ห้องครัว มีแมลงวันตอมลาบดิบที่อยู่ ในจาน ใต้ภาพมีข้อความสั้น ๆ เขียนว่า ลาบดิบอร่อยลุงมอยชอบกิน ครูถามนักเรียน ด้ ว ยคำถาม ดั ง นี ้ นั ก เรี ย นเห็ น อะไรในภาพบ้ า ง บุ ค คลในภาพชื ่ อ อะไร บุ ค คล ในภาพกำลั ง ทำอะไร แล้ ว ให้ น ั ก เรี ย นพิ จ ารณาภาพที ่ ก ำหนดให้ แ ล้ ว เขี ย นบอก ความเป็นไปได้ที่เป็นสาเหตุทำให้ลุงมอยปวดท้องโดยเขียนให้ได้มากที่สุดอย่างน้อย 4 สาเหตุ ด้ ว ยวิ ธ ี ก ารเขี ย นแผนที ่ ค วามคิ ด หลั ง จากนั ้ น ครู แ ละนั ก เรี ย นร่ ว มกั น สรุปความเป็นไปได้ที่เป็นสาเหตุทำให้ลุงมอยปวดท้อง และครูก็บอกนักเรียนว่าจะได้ ทำกิจกรรมต่อเนื่องในชั่วโมงต่อไป
ในชั่วโมงต่อมาทำกิจกรรม เรื่อง ลาบดิบอร่อยลุงมอยชอบกิน ต่อเป็นภาค 2 โดยนำภาพสถานการณ์จำลองของลุงมอยมาให้นักเรียนดู ครูใช้คำถามนำ ดังนี้ ให้นักเรียนบอกสาเหตุที่ทำให้ลุงมอยปวดท้อง โดยพิจารณาจากปัญหาในชั่วโมง ที่ผ่านมาหลังการรับประทานอาหาร นักเรียนเคยปวดท้องหรือไม่ เพราะเหตุใด แล้วให้นักเรียนพิจารณาอาการของลุงมอยที่กำลังปวดท้อง หลังรับประทานลาบดิบ เขียนในกรอบความคิดที่ครูแจกให้ โดยเขียนวิธีการแก้ปัญหาไม่ต่ำกว่า 5 ข้อ นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมายที่ครูจารุวรรณ นำมาพัฒนา นักเรียนด้านการคิด เช่น ของมีคมในครัวน่ากลัวและน่าใช้ Start to Finish ต้องพินิจ ให้สัมพันธ์ ประโยคชวนคิด English ชวนจำ เด็กไทยให้ความคิด มือน้อยคอยรัก เพลงนี้มีความหมาย แก้วใสใสให้อะไรบ้าง แก้วและน้ำไปด้วยกัน กี๊ดจะใดกับ
เครื่องในตี้หัน
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
44
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
45
1
เท่านี้ยังไม่พอ ในส่วนของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 ยังได้ถอดบทเรียนจากครูสอนคิดโดยใช้เทคนิค Learning Log ในการจัดการความรู้ คือ ให้ครูศึกษาเรียนรู้จากกิจกรรมต่าง ๆ และให้ถอดประสบการณ์การสอนคิด
ที่ประสบผลสำเร็จ วันที่ 4 กันยายน 2550 ณ อาคารกล้วยไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อำเภอสั น ทราย จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ โดยแบ่ ง ครู เ ป็ น กลุ ่ ม ๆ ละประมาณ 4-8 คน ให้แต่ละคนเล่า ซึ่งผลที่ได้รับ พบว่า ครูได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมโครงการ ขั บ เคลื ่ อ นการคิ ด สู ่ ห ้ อ งเรี ย น ตามลำดั บ คื อ ได้ เ ทคนิ ค และวิ ธ ี ก ารสอนคิ ด และ สื่อการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบและหลายกลุ่มสาระ ได้รู้ได้เห็นแนวการสอน เพื่อให้เกิดการคิดของนักเรียน จากคณะครูท่านอื่น ๆ เป็นการแชร์ประสบการณ์ และสามารถนำไปปรับใช้ได้ในห้องเรียนจริง ได้แนวคิดในการจัดกิจกรรม/สื่อการเรียน การสอน แต่ละเรื่องไม่ซ้ำแบบใคร ทำให้เห็นวิธีการแก้ปัญหามีหลายวิธี การย้ำทวน วิธีการเล่าเรื่องจากการปฏิบัติ เกิดความรู้ความจำที่ชัดเจน ไม่เลือนหาย การเรียนรู้ แบบต่าง ๆ ที่ทำให้นักเรียนมีความสนใจ มีความรู้ และมีความรับผิดชอบ และการสอนคิ ด ที ่ ไ ด้ น ำเสนอในการประชุ ม ครู ช อบผลงานการสอนคิ ด
ในเรื่องใดมากที่สุด ตามลำดับ ซึ่งพบว่า การสอนคิดที่ครูชอบมากที่สุดตามลำดับ คือ การสอนภาษาไทยโดยใช้ร้อยแก้ว ร้อยกรอง การปฏิบัติจริงเกี่ยวกับเศรษฐกิจ พอเพียง เพศ การใช้สวนพฤกษศาสตร์เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อม การสอนคิดวิชา วิ ท ยาศาสตร์ ปั ญ หาคณิ ต ศาสตร์ การสอนคิ ด สร้ า งสรรค์ ผ ลงานระดั บ อนุ บ าล การเล่นเกมลูกเต๋าในวิชาภาษาอังกฤษ การใช้สื่อคอมพิวเตอร์หลากหลายรูปแบบ ของศึกษาสงเคราะห์ แนะนำสถานที่ท่องเที่ยว เทคนิคการสอน 4 ส การสอนเรื่อง การจัดการสิ่งแวดล้อม การสอนนิทานอีสป พบคุณธรรม กิจกรรมการเรียนรู้การคิดวิเคราะห์แบบกลุ่มทีเอฟบี การถ่ายภาพดิจิตอล การนำนักเรียนสู่แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI การสอนคิดวิเคราะห์จำแนกสิ่งของระดับ ป.1 การทำแบบวิเคราะห์ EQ การเสนอ
ผลงานออกมาในรูปของภาพการ์ตูน การสอนเรื่องการใช้คำอวยพร + E card การใช้ บทเรียนสำเร็จรูป การสอนคิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระดับ ป.2 การสอนคิดวิเคราะห์ การจัดลำดับและสรุปใจความสำคัญระดับ ป.3 การสอนคณิต ม.6 การสอนดนตรี การสอนเรื่อง การสอนภาษาไทย (เด็กไทยใหญ่) และแรง และสมบัติของแรง
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
46
ตัวอย่าง...เทคนิคการสอนคิด
บทกลอนสอนคณิตศาสตร์กับการพัฒนาการคิด
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
47
1
อาจารย์ ย ิ น ยอม สุ ข เกษม ครู ผู ้ ส อนวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ โรงเรี ย น สหราษฎร์ ร ั ง สฤษดิ ์ อำเภอศรี ส งคราม จั ง หวั ด นครพนม สำนั ก งานเขตพื ้ น ที ่
การศึกษานครพนม เขต 2 ได้จัดการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด โดยสร้างบทกลอนสอนคณิต เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน เรื่อง ทักษะกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ จุดเด่นที่อาจารย์ ยินยอม นำบทกลอนสอนคณิตไปพัฒนากระบวนการคิด ให้กับนักเรียน คือ เมื่อให้นักเรียนได้เรียนเรื่องการบวก ลบ คูณ หาร การหาพื้นที่
และทฤษฎีบทปีทากอรัสแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกันสร้างสรรค์ผลงานโดยแต่งเป็น บทกลอนซึ่งในบทกลอนนี้จะเป็นบทกลอนที่มีภาพประกอบเป็นตอน ๆ ส่วนเรื่อง ที ่ น ำมาแต่ ง นั ้ น จะเป็ น เรื ่ อ งราวต่ า ง ๆ ที ่ น ั ก เรี ย นสนใจและสามารถนำไปใช้ ใ น ชีวิตประจำวันได้ และจากบทกลอนนั้นครูก็จะสร้างเป็นคำถามเพื่อให้นักเรียนใช้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์มาใช้ในการแก้ปัญหา เพื่อหาคำตอบ เช่น
ไหว้พระธาตุประจำวันเกิด
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
48
ขอร้อยเรียงถึงพระธาตุประจำวันเกิด อยากเชิญชวนทุกท่านไปไหว้กัน เริ่มออกจากสหราษฎร์รังสฤษดิ์ หกนาฬิกาถึงท่าอุเทนไซร้ เป็นพระธาตุประจำคนวันศุกร์ แล้วจะไปพระธาตุนครต่อ
แหล่งกำเนิดในนครพนมนั้น ตั้งใจมั่นเพื่อเสริมส่งกำลังใจ นัดเพื่อนฝูง ญาติมิตร เริ่มต้นได้ กำหนดได้ระยะทาง 48 กิโลเมตร เอาเรื่องทุกข์ออกไปให้ไกลหนอ อย่ารั้งรอคนวันเสาร์เขารู้ดี
49
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
จะต่อเขตพระธาตุผุดผาดศรี พระธาตุนี้สูง 46 เมตร บอกต่อกัน ทานข้าวเสร็จคิดเงินอย่างแม่นมั่น ต่อจากนั้นไปต่อพระธาตุพนม น้อมดวงจิตอธิษฐานกราบกรานก้ม คะเนชมความยาวฐานประมาณไว้ ต้องรวบรัดไปต่อแหล่งหนึ่งไซร้ คนวันจันทร์ต้องไปไหว้พระกัน ขอบอกเหตุ 10 นาที ถึงที่นั่น คนเกิดวันอังคารควรได้ไป แล้วรีบปลีกตัวมาได้กราบไหว้ เชิญท่านไปนะคนเกิดวันพฤหัสบดี ก็สามารถกลับถึงบ้านอย่างสุขขี ถึงบ้านนี้ประมาณ 17 นาฬิกา แล้วคิดวางแผนไว้ไม่กังขา เชิญท่านมาไหว้พระธาตุจังหวัดนครพนม
1
ระยะทาง 69 กิโลเมตร “มหาชัย” คนวันพุธรู้จักดี ฉันยืนห่างจากฐานธาตุ 9 เมตร หมดคนละ 32 บาทเท่า ๆ กัน เป็นพระธาตุคนเกิดวันอาทิตย์ ฐานพระธาตุจัตุรัสจัดกลืนกลม 84 เมตร เป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส คือพระธาตุเรณูนคร ไง ระยะทาง 16 กิโลเมตร แล้วไปต่อพระธาตุศรีคุณกัน อยู่อำเภอนาแกต่อไปอีก พระธาตุประสิทธิ์ที่นาหว้าอันเกรียงไกร ได้เดินทางไปไหว้ทุกพระธาตุ เพียง 1 วันเดินทางได้พอดี เชิญทุกท่านใคร่ครวญระยะทาง ได้อิ่มบุญหนุนนำสุขอุรา
จากบทกลอนให้นักเรียนใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์แสดงวิธ ี
หาคำตอบต่อไปนี้
50
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
1. ระยะทางจากโรงเรียนสหราษฎร์รังสฤษดิ์ ถึงพระธาตุนคร ใช้เวลาใน การเดินทางกี่นาที 2. ฉันสูง 160 เซนติเมตร เงาพระธาตุมหาชัยทอดยาวถึงพื้นดินประมาณ กี่เมตร 3. พระธาตุพนมมีพื้นที่ฐานเท่ากับเท่าใด
51
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
4. ถ้าขับรถด้วยความเร็วที่เท่า ๆ กัน ใช้เวลาในการไหว้ธาตุทุก ๆ ที่ ใช้เวลาสถานที่ละ 30 นาที พักรับประทานอาหาร 1 ชั่วโมง อยากทราบ ว่าใช้เวลาในการเดินทางจริง ๆ กี่ชั่วโมง 5. ระยะทางทั้งหมดที่ใช้ในการเดินทางเป็นเท่าใด 6. ถ้ามีนักเรียนไปทั้งหมด 69 คน เป็นหญิง 33 คน เป็นนักเรียนชาย คิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของนักเรียนทั้งหมด 7. นักเรียนต้องจ่ายเงินค่าอาหารทั้งหมดเป็นเท่าใด 8. ค่ารถโดยสารทั้งหมดราคา 1,863 บาท นักเรียนต้องเสียค่าโดยสาร คนละเท่าใด
1
สิ่งที่ผู้เรียนได้ฝึกและเรียนรู้การคิด
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
52
1. นักเรียนได้ฝึกทักษะการคิดคำนวณ 2. นักเรียนได้ใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์และทักษะการคิดวิเคราะห์ ไปใช้ในการแก้โจทย์ปัญหา 3. นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ 4. นักเรียนเรียนด้วยความสนุกสนาน 5. นักเรียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียนอยู่ตลอดเวลา 6. นักเรียนได้แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย 7. นักเรียนได้สรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง 8. นักเรียนได้ต่อยอดความรู้เป็นชิ้นงาน
ในการเตรียมตัวของครูเพื่อที่จะให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะกระบวนการคิด จากการสอน สิ่งที่ครูต้องเตรียม คือ
1. ความรู ้ เ รื ่ อ งการเขี ย นคำคล้ อ งจอง หรื อ การแต่ ง กลอนเพื ่ อ นำมาใช้
เป็นสื่อการสอนคิด 2. โจทย์ที่สร้างขึ้นมาควรจะสัมพันธ์กับเรื่องที่เรียน 3. การตั้งคำถามควรเป็นคำถามที่ให้นักเรียนได้ฝึกคิด เช่น ถามนักเรียนว่า การที่นักเรียนจะหาพื้นที่ฐานของพระธาตุพนม นักเรียนต้องรู้เรื่องอะไรบ้าง ถ้านักเรียนทราบความยาวรอบฐานพระธาตุ จะหาพื้นที่ได้อย่างไร ใช้สูตร การหาพื้นที่อย่างไร แสดงวิธีหาคำตอบได้อย่างไร และคำตอบที่ถูกต้อง คื อ อะไร คำตอบมี ค วามสั ม พั น ธ์ ก ั น อย่ า งไรกั บ ความยาวรอบฐาน พระธาตุพนม
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
53
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
54
4. การให้โอกาสนักเรียนได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากบทกลอนเกี่ยวกับ
การไหว้พระธาตุประจำวันเกิด 5. แผนการสอนที่เน้นการพัฒนาทักษะการคิด 6. นำเนื้อหาทางคณิตศาสตร์ไปบูรณาการกับสาระภาษาไทย สาระสังคมศึกษา 7. สร้างให้นักเรียนเป็นคนคิดดี คนคิดเก่ง และคิดมีคุณธรรมอยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุข
ติดตามผลการคิดของนักเรียน โรงเรียนในโครงการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียนในเขตพื้นที่เชียงใหม่ เขต 2 นอกจากติดตามผลการคิดจากชิ้นงานแล้วยังได้มีการใช้แบบวัดการคิด และแบบวัด การคิดวิจารณญาณ ในการวัดประเมินเด็กเพื่อการพยากรณ์เป็นการกระตุ้นให้เด็ก คิดถึงอนาคตทางการเรียนของตนเอง ผลเป็นที่ฮือฮาของนักเรียน...พอดูได้...
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
55
คำอธิบายผลการทดสอบแบบวัดการคิด สวัสดีนักเรียนทุกคนนะคะ นักเรียนมายืนอ่านตรงนี้คงเห็นผลสอบแล้ว ใช่มั้ยจ๊ะ ใช่มั้ยเอ่ย... ตอบในใจก่อนนะคะ แล้วถามตัวเองต่อว่าจะทำอย่างไรต่อไป เพื่อให้ได้ผลทดสอบออกมาตามที่คาดหวังคงไม่มีใครตอบว่า “ไม่ได้หวังอะไร” นะคะ นักเรียนอยากรู้ข้อเฉลยการทดสอบแบบวัดการคิดใจจะขาดแล้ว...ใช่มั้ยล่ะคะ เพราะ ขณะที่ครูไปสอบมีนักเรียนหลายคนอาสาจะช่วยตรวจข้อสอบให้ ก็ขอขอบใจนะคะ เนื ่ อ งจากเวลาไม่ เ อื ้ อ ณ วั น นี ้ ไ ด้ ม ี ค ำอธิ บ ายพร้ อ มเฉลยให้ แ ล้ ว นะคะ ข้ อ เฉลย ไม่มีถูกไม่มีผิด เป็นการให้นักเรียนคิดเติมเต็มในส่วนที่นักเรียนอยากเป็นและสังคม อยากให้เป็นด้วยนะคะ นักเรียนอ่านทำความเข้าใจกับสิ่งต่อไปนี้นะคะแล้วจะรู้
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
56
ความหมายของแบบการคิด แบบการคิดเป็นพื้นฐานที่สำคัญส่วนหนึ่งของการคิดที่บุคคลใช้ในการจัด ระเบียบสิ่งเร้าทั้งภายในและภายนอกต่าง ๆ เข้าด้วยกันแล้วตอบสนองสิ่งเร้าตาม ลักษณะของการจัดระเบียบนั้น ซึ่งเป็นแนวทางให้เกิดการเรียนรู้ เป็นลักษณะเฉพาะ ของแต่ละบุคคลที่มักจะใช้ในการจัดการเรียนรู้และการจัดประเภทมโนมติ วิธีการ หรื อ ลั ก ษณะนิ ส ั ย ที ่ บ ุ ค คลใช้ ใ นการรั บ คิ ด จำ และการจั ด การกั บ ข่ า วสารข้ อ มู ล
และประสบการณ์ รวมทั้งการแก้ปัญหาด้วยวิธีการหรือลักษณะนิสัยนี้เป็นลักษณะนิสัย ของจิตไร้สำนึกที่มีต่อการตอบสนองอย่างคงที่ต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ทันที โดยไม่มี การวางแผน อาจเป็ น กระบวนการหรื อ วิ ธ ี ก ารคิ ด หลั ง จากที ่ บ ุ ค คลได้ ร ั บ รู ้ จ าก สถานการณ์ที่เป็นสิ่งเร้านั้น ๆ บุคคลจะใช้การคิดแบบใดมากหรือน้อย ย่อมขึ้นกับ ประสบการณ์ ก ารรั บ รู ้ แ ต่ ล ะบุ ค คล เพื ่ อ นำไปสู ่ ก ารเรี ย นรู ้ ใ นแต่ ล ะสถานการณ์ ...นะ...จ๊ะ...
57
1
กระบวนการคิดของคนเป็นสิ่งซับซ้อนอยู่ภายใน สิ่งที่สังเกตได้เป็นเพียงผล ของการคิ ด เท่ า นั ้ น เนื ่ อ งจากวิ ธ ี ก ารคิ ด ของแต่ ล ะคนก็ แ ตกต่ า งกั น ไป ทำให้ ความสามารถในการแก้ปัญหาของแต่ละคนก็แตกต่างกัน นอกจากนี้ ออซูเบล เชื่อว่า “แบบการคิด” แสดงให้เห็นความคงเส้นคงวา ภายในตัวบุคคล คือ ถ้าบุคคลเคยคิดแบบใด ก็มักจะมีแนวโน้มที่จะคิดแบบนั้นอยู่ เสมอ...ค่ะ
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
ลักษณะของแบบการคิด
ประเภทของแบบการคิด แบบการคิดมีหลายประเภท ได้ยึดแนวคิดของบุคคลผู้นี้นะคะ เคเกน มอสส์ และซิเกล (Kegen and Rabson, 1963; citing Kagan Moss Sigel, 1963) ได้แบ่งแบบการคิดโดยยึดถือความแตกต่างของแต่ละบุคคลในเรื่อง บุคลิกภาพและความรู้สึกต่อสิ่งเร้า ซึ่งจะกำหนดภาพมาให้ แล้วให้บอกเหตุผล ในการจับคู่ภาพ เหตุผลที่ให้มาจะแสดงถึงแบบการคิดของผู้ตอบ โดยแบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้นะคะ...
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
58
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
59
1
1. แบบการคิ ด แบบวิ เ คราะห์ (Analytical Style) เป็ น การคิ ด ที ่ จ ะรวม วัตถุเข้าเป็นพวกเดียวกันโดยพิจารณาความคล้ายคลึงของลักษณะทางกายภาพ ที่วัตถุต่าง ๆ มีร่วมกัน มักรับรู้สิ่งเร้าในรูปของส่วนย่อยมากว่าส่วนรวม แล้วอาศัย ส่วนย่อยต่าง ๆ เหล่านั้นมาประกอบการคิด เช่น ลักษณะในเรื่อง สี ขนาด รูปร่าง 2. แบบการคิดแบบจำแนกประเภท (Categorical Style) เป็นการคิดที่จะรวม วัตถุเข้าเป็นพวกเดียวกัน โดยพยายามจัดสิ่งเร้าออกเป็นประเภทต่าง ๆ ตามความรู้ และประสบการณ์ที่เคยได้รับมาเป็นการพิจารณาโดยไม่ได้คำนึงถึงความคล้ายคลึง ในด้านรูปร่างหรือลักษณะของสิ่งของ แต่เป็นแบบที่ต้องอาศัยการอ้างอิง (Inferential) พยายามหาชื่อรวมของสิ่งของที่เข้าพวกกันนั้น 3. แบบการคิดแบบโยงความสัมพันธ์ (Relational Style) เป็นการคิดที่จะรวม วัตถุเข้าเป็นพวกเดียวกัน โดยอาศัยหลักเกณฑ์ที่ว่า แต่ละอย่างมีความสัมพันธ์กัน เกี่ยวข้องกันในแง่เวลา หรือสถานที่ ภายใต้สถานการณ์หนึ่ง ๆ อันเป็นการตัดสิน
โดยอาศัยประสบการณ์ที่ตนคุ้นเคย
โดยทั่วไปบุคคลจะใช้ “แบบการคิด” ทั้ง 3 แบบ แต่ในปริมาณที่แตกต่างกัน
ออกไป เช่น บางคนใช้การคิดแบบวิเคราะห์มากกว่าแบบอื่น ๆ เป็นต้น ดังที่ ออซูเบล (Ausubel, 1968) เชื่อว่า “แบบการคิด” แสดงให้เห็นความคงเส้นคงวาภายในตัวบุคคล คือ ถ้าบุคคลเคยคิดแบบใด ก็มักมีแนวโน้มในการคิดแบบนั้นอยู่เสมอ การแบ่ ง แบบการคิ ด ดั ง กล่ า ว เกิ ด จากความรู ้ ท ี ่ ว ่ า การคิ ด ของบุ ค คล ประกอบด้วยกระบวนการต่าง ๆ 3 ประการ คือ 1. อาศัยข้อมูลภายนอก 2. อาศัยข้อมูลภายในที่สะสมไว้ 3. การผสมผสานเกี่ยวโยงข้อมูลที่สะสมไว้ จากผลการวิ จ ั ย ที ่ ไ ด้ ศ ึ ก ษาค้ น คว้ า มาพบว่ า แบบการคิ ด ดั ง กล่ า วมี ส ่ ว น ส่งเสริมหรือสัมพันธ์กันกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในวิชาต่าง ๆ นะคะ... เป็นอย่างไรอ่านต่อไปนะคะ...นักเรียน...
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างมีวิจารณญาณเป็นรูปแบบการคิดที่ต้องอาศัยกระบวนการ ทางสมองในหลายด้ า นของบุ ค คล ไม่ ว ่ า จะเป็ น การวิ เ คราะห์ การตี ค วามหมาย การประเมินค่า ในการที่จะพิจารณาข้อมูลข่าวสารที่ตัวบุคคลได้รับมาว่ามีความน่าเชื่อถือ และมีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด เพื่อที่จะลงสรุปว่าควรเชื่อด้วยสาเหตุใด คำว่า “การคิดอย่างมีวิจารณญาณ” ตรงกับคำว่า “Critical Thinking” ในภาษาอังกฤษมีผู้ใช้ชื่อแตกต่างกันออกไป เช่น การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิด วิจารณญาณ การคิดวิพากษ์ การคิดวิพากษ์วิจารณ์ การคิดวิเคราะห์วิจารณ์ เป็นต้น นักจิตวิทยา นักการศึกษา และผู้เชี่ยวชาญด้านการคิดหลายคนได้ให้ความหมาย การคิดอย่างมีวิจารณญาณไว้ในหลายลักษณะ ซึ่งแตกต่างกันออกไปตามมุมมอง วิธีการคิดและจุดมุ่งหมายของการคิดของแต่ละบุคคล
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
60
ความหมายของการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
61
1
ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน อธิบายความหมายของคำว่า “คิ ด ” หมายถึ ง นึ ก ดำริ ระลึ ก คำนึ ง ส่ ว นคำว่ า “วิ จ ารณญาณ” หมายถึ ง ปั ญ ญาที ่ ส ามารถรู ้ ห รื อ ให้ เ หตุ ผ ลที ่ ถู ก ต้ อ ง เพราะฉะนั ้ น ความคิ ด วิ จ ารณญาณ จึงมีความหมายว่า เจตคติทั่วไปในการค้นหาหลักฐานที่สอดคล้องกับข้อสรุป เจตคตินี้ จะได้รับการสนับสนุนจากทักษะทางสติปัญญาที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์วิจารณ์
และประเมินข้อโต้แย้ง ทักษะนี้เรียกว่าการลงความเห็นอย่างมีเหตุผล การสืบหา ข้อสันนิษฐาน การกำหนดแหล่งข้อลำเอียงในข้อโต้แย้ง ครูได้ประมวลมาเป็นใจความที่พอเข้าใจอย่างนี้นะคะ... คือการคิดที่มีเหตุผล โดยผ่านการพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบ มีการประเมินสถานการณ์ เชื่อมโยง เหตุการณ์ สรุปความ ตีความ โดยอาศัยความรู้มีหลักเกณฑ์ที่เชื่อถือได้ เพื่อนำไปสู่ การสรุปและตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพว่าสิ่งใดถูกต้อง สิ่งใดควรเชื่อ สิ่งใดควรเลือก หรือสิ่งใดควรทำ ที่เป็นเหตุเป็นผลนำไปสู่ข้อสรุปทางเลือกที่มีหลักสมเหตุสมผล เป็นสำคัญ
การแสดงออกของบุคคลที่มีการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ดังนี้ 1. ความสามารถในการนิยามปัญหา 2. เลือกสารสนเทศหรือข้อมูลที่เกี่ยวกับการแก้ปัญหา 3. พิ จ ารณาได้ ว ่ า ข้ อ ความใดเป็ น ข้ อ ตกลงเบื ้ อ งต้ น ข้ อ ความใดไม่ ใ ช่ ข้อตกลงเบื้องต้น 4. เลือกสมมติฐานได้ 5. ลงสรุปได้อย่างสมเหตุสมผล ซึ ่ ง ลั ก ษณะของผู ้ ท ี ่ ม ี ก ารคิ ด อย่ า งมี ว ิ จ ารณญาณควรจะสอดคล้ อ งกั บ กระบวนการคิ ด อย่ า งมี วิ จ ารณญาณ กระบวนการคิ ด อย่ า งมี ว ิ จ ารณญาณ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
62
ลักษณะการแสดงออกของผู้ที่มีการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
63
1
1. การนิ ย ามปั ญ หา เป็ น ความสามารถในการวิ เ คราะห์ ข ้ อ ความหรื อ สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นปัญหาแล้วสามารถบอกลักษณะของปัญหาที่เกิดขึ้นได้ และการนิยามปัญหานั้นมีความสำคัญมากสำหรับการอ่านและการฟังเรื่องราวต่าง ๆ 2. การเลือกข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหา เป็นความสามารถในการพิจารณา และเลือกข้อมูลเพื่อนำมาแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง และความสามารถนี้เป็นสิ่งจำเป็น สำหรั บ ความคิ ด ที ่ จ ะใช้ ใ นการแก้ ป ั ญ หาต่ า ง ๆ และมี ผ ลกั บ ความสามารถใน การมองเห็นว่าอะไรคือปัญหาที่แท้จริง 3. การตระหนักในข้อตกลงเบื้องต้น เป็นความสามารถในการพิจารณา แยกแยะว่าข้อความใดเป็นข้อตกลงเบื้องต้น และข้อความใดไม่ใช้ข้อตกลงเบื้องต้น ของข้อความหรือสถานการณ์ที่กำหนดให้ ความสามารถนี้มีความสำคัญเพราะว่า ทำให้เห็นความแตกต่างของข้อมูล เพื่อลงความเห็นว่า ควรจะยอมรับหรือไม่ 4. การกำหนดและเลือกสมมติฐาน เป็นความสามารถในการกำหนดหรือ เลื อ กสมมติ ฐ านจากข้ อ ความหรื อ สถานการณ์ ใ ห้ ต รงกั บ ปั ญ หาในข้ อ ความนั ้ น ความสามารถนี้มีความสำคัญเพราะทำให้มีความรอบคอบและมีความพยายาม ในการคิดถึงความเป็นไปได้ของการแก้ปัญหา หรือความเป็นไปได้ของสมมติฐาน
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
64
5. การลงสรุปอย่างสมเหตุสมผล เป็นความสามารถในการคิดพิจารณา ข้อความเกี่ยวกับเหตุและผล โดยคำนึงถึงข้อเท็จจริงที่เป็นสาเหตุ ความสามารถนี ้
มี ค วามสำคั ญ เพราะทำให้ ส ามารถลงความเห็ น ได้ ต ามความจริ ง จากหลั ก ฐาน หรือข้อมูลที่มีอยู่ จากที ่ น ั ก เรี ย นได้ ท ดสอบแบบวั ด การคิ ด ไป ผลทดสอบหากว่ า นั ก เรี ย น มีคะแนนมากไปทางแบบการคิดแบบใด นั่นหมายถึงว่าแบบการคิดของนักเรียน จะเป็นอย่างนี้นะคะ...หากไม่ปรับตัวก็จะเป็นแบบเดิมค่ะ... แบบที่ 1 แบบการคิดแบบวิเคราะห์ นักเรียนจะมีผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (สูงขึ้น) แบบที่ 2 แบบคิดแบบจำแนกประเภท นักเรียนจะมีผลการเรียนรู้ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ในทางลบ (ต่ำ) แบบที่ 3 แ บบการคิ ด แบบโยงความสั ม พั น ธ์ นั ก เรี ย นจะมี ผ ลการเรี ย นรู ้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ (สูง)
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
65
1
สำหรับการคิดวิจารณญาณนั้น ส่งผลไปทุกวิชา หากนักเรียนมีคะแนน การคิดแบบวิจารณญาณสูง ๆ นั้น หมายถึงนักเรียนจะมีผลการเรียนรู้ทุกวิชาสูง ตามไปด้วย นะคะ... ดั ง นั ้ น วิ ธ ี ค ิ ด ให้ ต นเองเป็ น อย่ า งไรในอนาคต เช่ น นั ก เรี ย นอยากเก่ ง คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ นักเรียนต้องมีคะแนนแบบคิดแบบวิเคราะห์และมีการคิด แบบวิจารณญาณสูงนะคะ...แล้วถ้าอยากเก่งภาษาไทยล่ะคะ... จะต้องเป็นอย่างไร... ขอให้นักเรียนทุกคนเป็นคนคิดดี เป็นคนคิดเก่ง และเป็นคนที่คิดมีคุณธรรม ...นะคะ
เอกสารอ้างอิง
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
66
นภาพร ตุ้ยคำภีร์. เอกสารประกอบรายงานการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน โรงเรียนนวมินทราชูนิชพายัพ. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 2. พ.ศ. 2550. นางปรานี ประกิระสา. เอกสารประกอบรายงานการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน โรงเรียนบ้านโคกสว่างนาดี. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 3. พ.ศ. 2550. นายประเชิญ ชาวหน้าไม้. สหวิทยาเขตเขื่อนกระเสียว เอกสารประกอบรายงาน การขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน. โรงเรียนบ้านหนองยาว สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3. พ.ศ. 2550. ปรียานุช ศรีทัน. เอกสารประกอบรายงานการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน โรงเรียนบ้านสันป่าสัก. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 2. พ.ศ. 2550. พิมพ์รัตน์ วโรรส. เอกสารประกอบรายงานการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน โรงเรี ย นบ้ า นแพงวิ ท ยา. สำนั ก งานเขตพื ้ น ที ่ ก ารศึ ก ษานครพนม เขต 2. พ.ศ. 2550. มัณฑนา ปานนิล. เอกสารประกอบรายงานการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน โรงเรี ย นผาเมื อ งวิ ท ยาคม อำเภอหล่ ม สั ก จั ง หวั ด เพชรบู ร ณ์ . สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 2. พ.ศ. 2550.
ยินยอม สุขเกษม. เอกสารประกอบรายงานการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน โรงเรียนสหราษฎร์รังสฤกษดิ์. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม เขต 2. พ.ศ. 2550. นางสุรัตน์นารี จี๋คีรี. เอกสารประกอบคำอธิบาย แบบวัดการคิดและแบบวัดการคิด วิจารณญาณ. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 2. พ.ศ. 2550.
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
67
เล่าเ ร ื ่ อ ง รู้สาระ น ย ี ร เ ร า ก การจัด ้เทคนิค
ช ใ ย ด โ ์ ร ต วิทยาศาส าม การตั้งคำถ TFB
ม ่ ุ ล ก ร า ก น และกระบว ิ-สัง-ประ ว ด ิ ค ร า ก เพื่อ
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
68
ครู เ ล็ ก ...โรงเรี ย นสั น ป่ า สั ก วิ ท ยา สพท.เชี ย งใหม่ เขต 2 สอนวิทยาศาสตร์ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ มานานกว่า 7 ปี วิชาวิทยาศาสตร์ครูเล็กสอนต่อเนื่องมาแล้วถึง 20 ปี ครูเล็ก เล่าว่าที่สอนวิทยาศาสตร์มาตลอด อาจเป็นเพราะในระดับ ประถมจะเป็นวิชาที่ครูไม่ค่อยอยากสอนกอปรกับเรียนจบ เอกวิ ท ยาศาสตร์ จ ึ ง รั ก และชอบวิ ช านี ้ ครู เ ล็ ก เป็ น ครู ท ี ่ ม ี
ความใฝ่ เ รี ย นใฝ่ รู ้ อ ยู ่ ท ุ ก เรื ่ อ งเท่ า ที ่ ไ ด้ รู ้ จ ั ก มาและวั น นี ้ ได้หยิบเรื่องเล่าคนสอนคิดมาสกิดเพื่อนครู... ลองอ่านดูด้วย นะคะ ครูเล็กสอนวิทย์จะพยายามทำบรรยากาศให้เด็ก นั่งจ้องหน้าและมีแววตาสงสัยใคร่รู้อยู่เสมอ วิธีที่ได้ผล คือ ใช้การตั้งคำถามทุกครั้งที่มีโอกาสและต้องเป็นเจ้าแม่คำถาม ให้ได้ และจะเน้นให้นักเรียนได้ปฏิบัติการทดลองบ่อย ๆ
บางเรื่อง สาระในวิทย์ไม่พอที่เรียนรู้ให้เกิดการคิด ก็จะ บูรณาการกับวิชาอื่น เช่น กอท. หรือคณิตศาสตร์ให้เด็ก เกิดทักษะ มีความรู้สึกที่ดีต่อการเรียน รู้จริง พอรู้จริง ก็ รู ้ แ บบถาวร ไม่ ล ื ม เวลาเขี ย นแผนการจั ด การเรี ย นรู ้
จะกำหนดคำถามประกอบเป็นแนวไว้
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
69
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
70
แนวการสอนที่ใช้จะยึดเอาประสบการณ์การเรียนของตนเองในสมัยประถม เป็นจุดเริ่มต้น เพราะชอบวิทยาศาสตร์มาก เนื่องจากถูกคัดเลือกให้เป็นตัวแทน นำเสนอผลงานและได้ทดลองบ่อย ๆ เกิดความภูมิใจ ทำให้เรารู้ว่าจะสอนให้เด็กชอบ หรืออยากเรียนแบบไหน
การสอนวิ ท ยาศาสตร์ เดิ ม อยู ่ โ รงเรี ย นขนาดใหญ่ เวลาสอน เป็นกลุ่มจะจัดกลุ่มนักเรียนตามมาตรฐาน ซึ่งยอมรับว่าได้ผลดี คือ จัดกลุ่มการเรียน 7-8 คน บางครั้งก็ 9 คน โดยดูตามจำนวนนักเรียน ในห้อง ซึ่งก็ได้ผลดีมาตลอด พอย้ายมาสอนที่โรงเรียนสันป่าสักวิทยา ก็ยึดแนวการสอนเดิม เพราะการสอนของเราประสบผลสำเร็จเป็นที่ ยอมรับของโรงเรียนมัธยมในด้านผลผลิต
สอนปีแรก ๆ ได้ผลดี อาจเป็นเพราะนักเรียนมีพฤติกรรม การเรียนดี ปีหลัง ๆ พบว่าการจัดกลุ่ม 7-8 คน ไม่ค่อย ได้ ผ ล นั ก เรี ย นหลายคนไม่ ส นใจเรี ย น จึ ง คิ ด จั ด กลุ ่ ม ให้น้อยลงเป็น 4 คน ให้งานพอดีกับคน เรียกว่า กลุ่ม TFB หรือ Team Four Buddy ผลเป็นที่น่าพอใจยิ่ง
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
71
การทดลองนอกจากกำหนดให้นักเรียนทุกคนใน TFB ร่วมกิจกรรมแล้ว จะมีหลักการจัดการสอนสำคัญ คือ การใช้คำถามแบบต่าง ๆ นำการ สนทนาสร้ า งความรู ้ ค วามเข้ า ใจ รวมถึ ง การสอดแทรกคำถาม ตามโอกาสที่เกิดจากบรรยากาศการเรียน คือ มีอะไรเกิดขึ้นก็นำมาถาม เพื ่ อ สานต่ อ ความคิ ด และสร้ า งการคิ ด ให้ ก ว้ า งไกลยิ ่ ง ขึ ้ น จะเป็ น
การกระตุ้นที่ให้ผลที่ดีมากจากที่ทำการสอนตลอดมา เป็นคำถามสด ๆ ที่ชวนให้สนใจ ใคร่รู้ กระตุ้นต่อมอยากรู้ของเด็กได้ดี
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
72
ผลการสอนต่ อ เนื ่ อ ง ปี ท ี ่ ผ ่ า นมาพบว่ า น่ า พอใจ เพราะได้ รู ้ ผ ล จากการเรียนของนักเรียนศิษย์เก่า ด้านวิทยาศาสตร์ที่ไปศึกษาต่อ ในระดับมัธยม มีผลงานเป็นที่ยอมรับ มีความก้าวหน้า ที่สำคัญเด็กนักเรียน กลับมาบอกถึงความสำเร็จของตนเอง ภูมิใจนะภูมิใจมากที่ได้เห็น ท่ า ทางแววตาที ่ น ั ก เรี ย นเล่ า เรื ่ อ งการเรี ย นให้ เ ราฟั ง แล้ ว มั น สื ่ อ ถึ ง
ความสำเร็จของการสอนของเรา ถือเป็นกำลังใจของการปฏิบัติหน้าที่ครู จนถึงทุกวันนี้
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
73
เล่าเ ร ื ่ อ ง
อ่านนิทานอีสปพบคุณธรรม
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
74
การจัดกิจกรรมการคิด เรื่อง “อ่านนิทานอีสปพบคุณธรรม” เป็น กิ จ กรรมที ่ จ ั ด ขึ ้ น ตามโครงการขั บ เคลื ่ อ นการคิ ด สู ่ ห ้ อ งเรี ย น โดยมี จุ ด ประสงค์ เ พื ่ อ พั ฒ นาทั ก ษะด้ า นการคิ ด วิ เ คราะห์ ใ ห้ แ ก่ น ั ก เรี ย น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนสันป่าสักวิทยา สพท.เชียงใหม่ เขต 2 อำเภอแม่แตง ซึ่งเดิมมีคุณภาพด้านการคิดอยู่ในระดับที่ไม่น่าพึงพอใจ
ในการจัดกิจกรรมพัฒนาการคิดให้แก่นักเรียน เรื่อง “อ่านนิทานอีสป พบคุณธรรม” ครูสุนีย์ได้นำนิทานอีสปจำนวนทั้งหมด 10 เรื่อง มาใช้ เป็นสื่อ/อุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมฝึกทักษะ ซึ่งได้นำเทคนิคการตั้งคำถาม ของบลู ม มาใช้ เ ป็ น แนวทางในการจั ด ทำแบบฝึ ก และนำกระบวนการ กลุ่ม TFB ซึ่งเป็นนวัตกรรมของโรงเรียนมาใช้ในการดำเนินกิจกรรม มีขั้นตอนดังนี้
2. กำหนดกิ จ กรรมที ่ จ ะใช้ ใ นการพั ฒ นา ทักษะด้านความคิดให้แก่นักเรียน เรื่อง “อ่านนิทานอีสปพบคุณธรรม”
75
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
1. ศึ ก ษาสภาพปั ญ หาด้ า นการคิ ด ของ นั ก เรี ย นแต่ ล ะคนว่ า มี ค ุ ณ ภาพอยู ่ ใ น ระดั บ ใด โดยประเมิ น จากผลงาน ด้ า นการคิดที่เกิดจากการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนในชั้นเรียน
1
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
76
3. จัดทำแบบฝึกตามที่กำหนดไว้ โดยใช้ นิทานอีสปเป็นสื่อ/อุปกรณ์ ใช้เทคนิค การตั ้ ง คำถามของบลู ม ในการทำ แบบฝึกตอบคำถาม และออกแบบ Rubic ในการประเมินผลงานของนักเรียน
4. จัดกิจกรรมการฝึกให้แก่นักเรียนจำนวน ทั้งหมด 10 เรื่อง โดยใช้กระบวนการ กลุ่ม TFB จำนวน 6 กลุ่ม
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
77
1
5. ประเมินผลงานของนักเรียนตามเกณฑ์ ผลจากการจัดกิจกรรมที่ดำเนินการมาแล้ว จำนวน 7-10 เรื่อง ผลปรากฏว่า นักเรียนที่มีผลงานการคิดตามเกณฑ์
การประเมินอยู่ในระดับดีมาก 2 กลุ่ม ระดับดี 3 กลุ่ม ระดับพอใช้ 1 กลุ่ม จากการจัดกิจกรรมการคิดให้แก่นักเรียน พบว่า นักเรียน ร้อยละ 80 ชอบอ่านนิทาน แต่ไม่ให้ความร่วมมือในการแสดง ความคิ ด เห็ น ในการตอบคำถามเท่ า ที ่ ค วร ส่ ว นใหญ่ ก ารตอบ คำถามจะเป็นความคิดของนักเรียนเก่ง ทำให้การจัดกิจกรรม ไม่บรรลุผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ เพราะนักเรียนบางคนไม่ได้ แสดงความคิด การพัฒนาคุณภาพจึงไม่ได้วัดระดับได้ตามสภาพ ที่แท้จริงของสมาชิกทุกคน
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
78
จากบทเรียนที่ได้รับ ครูสุนีย์เล่าว่า ในปีการศึกษา 2551 ครู ส ุ น ี ย ์ ม ี แ นวคิ ด ที ่ จ ะหาวิ ธ ี ก ารกระตุ ้ น ให้ น ั ก เรี ย นเกิ ด ความ กระตือรือร้นและมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมพัฒนาทักษะด้าน การคิดให้มากยิ่งขึ้น โดยการนำเนื้อหาสาระที่มีความหลากหลาย จากเพลง นิทาน ตำนาน สารคดี ข่าว และบทร้อยกรองมาจัดทำ เป็ น แบบฝึ ก ทั ก ษะการอ่ า นจั บ ใจความสำคั ญ ให้ แ ก่ น ั ก เรี ย น ในแบบฝึกแต่ละชุดจะทำแบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน และ แบบฝึกหัดให้นักเรียนได้ตอบคำถามหลังจากการอ่านเรื่องราว ที่กำหนดให้แล้ว เพื่อเป็นการประเมินผลการอ่านและการคิด ของนักเรียนทั้งในลักษณะเป็นกลุ่มและรายบุคคล ซึ่งคิดว่า จะได้ผลระดับหนึ่ง...
เล่าเ ร ื ่ อ ง
สัตว์ที่น่ารัก
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
79
1
วันอังคาร ที่ 17 กรกฎาคม 2550 เวลา 13.00 น. ครูมาลีได้ทำการ สอนกลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/1 เกี่ยวกับ
รูปร่างลักษณะของสัตว์ โดยฝึกให้นักเรียนได้คิดพิจารณาความ สำคั ญ ของรู ป ร่ า งลั ก ษณะของสั ต ว์ ว ่ า เหมื อ นกั น หรื อ แตกต่ า งกั น อย่างไรในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ใช้ชื่อกิจกรรมว่า “สัตว์ที่น่ารัก” โดยมีขั้นตอนของกิจกรรมดังนี้ค่ะ
1. ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลงช้าง
2.
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวน เกี่ยวกับสัตว์ที่นักเรียนรู้จัก เช่น ช้าง ควาย สุนัข แมว โดยใช้คำถามกระตุ้น เช่น นักเรียนคิดว่ารูปร่างลักษณะของ ช้างกับควายเหมือนกันหรือไม่ เพราะอะไร
80
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
3. ครูให้นักเรียนเลือกภาพสัตว์ที่เกี่ยวกับเรื่อง ที่สนทนาแล้วติดภาพสัตว์ เช่น ภาพช้าง ควาย สุ น ั ข แมว ไก่ แล้ ว ให้ น ั ก เรี ย นแจกแจง คิ ด พิ จ ารณาถึ ง ความสำคั ญ ของรู ป ร่ า งและ ลั ก ษณะสั ต ว์ แ ต่ ล ะชนิ ด ว่ า เหมื อ นกั น หรื อ แตกต่างกันอย่างไร
4. ครูแจกใบบันทึกการสังเกตให้นักเรียนกลุ่มละ 1 ใบ (ใช้กระบวนการกลุ่ม Team Four Buddy) - ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกไปศึกษาสังเกต สัตว์รอบ ๆ บริเวณโรงเรียนพร้อมวาดภาพ สัตว์ที่ได้ศึกษาสังเกตนั้น - ให้ น ั ก เรี ย นเปรี ย บเที ย บรู ป ร่ า ง ลั ก ษณะ ของสั ต ว์ แ ต่ ล ะชนิ ด ว่ า เหมื อ นกั น หรื อ
แตกต่างกันอย่างไร
5. นักเรียนสรุปลักษณะ รูปร่างของสัตว์ที่ออกไป ศึกษาสังเกตแล้วนำมาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน แล้วให้เพื่อนวิพากษ์ ซักถาม แลกเปลี่ยน
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
81
เล่าเ ร ื ่ อ ง
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
82
ครู ว ิ ภ าวรรณ เล่ า ว่ า การขั บ เคลื ่ อ นการคิ ด สู ่ ห ้ อ งเรี ย น ใช้กิจกรรมคำศัพท์แสนสนุกในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 วิชาภาษาอังกฤษ โดยให้นักเรียนแบ่งการทำงานเป็นกลุ่ม (TFB) ในการทำกิจกรรมนำความรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ มาผสมผสานเป็นองค์ความรู้ใหม่
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
83
1
ครูวิภาวรรณ เริ่มต้นที่ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม TFB ร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับ ข้ อ มู ล คำศั พ ท์ ภ าษาอั ง กฤษใหม่ ๆ ที ่ น ั ก เรี ย นอยากรู ้ หรื อ ได้ พ บเห็ น
ในชีวิตประจำวันจากสิ่งที่พบเห็น โดยการใช้คำถามกระตุ้นให้นักเรียนคิด เช่น ในชีวิตประจำวันนักเรียนเคยเห็นคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่ไหนบ้าง นักเรียน ทราบหรือไม่ว่ามีความหมายว่าอย่างไร ถ้าไม่ทราบเราจะค้นคว้าความหมาย ได้จากที่ไหนบ้าง และเราจะนำคำศัพท์ภาษาอังกฤษเหล่านั้นมาประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร ให้แต่ละกลุ่มยกตัวอย่างเสนอคำศัพท์มากลุ่มละ 1 คำ ด้วยการวาดภาพระบายสีประกอบออกมานำเสนอ โดยการที่ครูถาม What s that/what re these? และให้ทุกคนช่วยกันตอบ พร้อมกับการอภิปราย เรื่องการอ่านออกเสียง การเขียนสะกดคำ เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มนำผลงาน ของแต่ละกลุ่มมานำเสนอแล้ว ให้ช่วยกันมาผูกเรื่องแต่งประโยคหรือข้อความ บทความสั ้ น ๆ ให้ ถู ก หลั ก ไวยกรณ์ แล้ ว นำมาจั ด ป้ า ยนิ เ ทศ จากนั ้ น ครูวิภาวรรณได้ให้...
นั ก เรี ย นร่ ว มกั น สรุ ป ความคิ ด ว่ า ประโยชน์ ข องการเรี ย นภาษาอั ง กฤษ มีประโยชน์อย่างไรทั้งในและนอกห้องเรียน และมีความจำเป็นที่จะต้องศึกษา หาความรู้ใหม่ ๆ จากคำศัพท์ที่พบเห็น เมื่อพบคำศัพท์แล้วไม่ทราบความหมาย ให้ ค ้ น หาจาก dictionary ทั น ที หรื อ ปรึ ก ษาจากคุ ณ ครู ผู ้ รู ้ จะได้ ม ี ศ ั พ ท์ ที่หลากหลาย
84
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
ผู้อ่านค่ะ ครูวิภาวรรณกำลังสอนให้เด็กมีทักษะการคิดอะไรบ้างค่ะ อ่านแล้วก็ยัง.งง.งง.....................................................................
THANKS
า ่ ล เ เร ื่อ ง สนุกกับเพลง
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
85
1
ครูผ่องศรี จัดการเรียนรู้โครงการสู่กระบวนการคิด ของนั ก เรี ย นชั ้ น ป.5 ซึ ่ ง เป็ น การเรี ย นการสอน ที่มีกระบวนการคิดเข้าไปสอดแทรก ให้นักเรียนได้คิด
โดยการตั้งคำถาม มีกิจกรรมกลุ่ม TFB เข้ามาดำเนิน กิจกรรม
ครูผ่องศรี เริ่มต้นที่ นำเอาเนื้อเพลงอุทยานดอกไม้มาให้นักเรียนได้ฝึกร้อง และครู ก ็ ร ้ อ งไปพร้ อ มกั บ นั ก เรี ย นหลาย ๆ รอบ ครู แ ละนั ก เรี ย นมี ก าร สนทนาเกี่ยวกับเนื้อเพลง หลังจากนั้นครูก็ตั้งคำถามนักเรียนเกี่ยวกับ ดอกไม้ ใ นเนื ้ อ เพลงว่ า มี จ ำนวนดอกไม้ ก ี ่ ด อก มี ด อกอะไรบ้ า ง ดอกที ่ นักเรียนชอบคือดอกอะไร มีลักษณะอย่างไร มีประโยชน์อย่างไร
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
86 ครูจะแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม TFB ให้แต่ละกลุ่มศึกษาเนื้อเพลงอีกรอบ แล้วให้แต่ละกลุ่มเลือกดอกไม้ที่เห็นว่าในกลุ่มชอบ 1 ดอก และให้วาดรูป พร้อมเขียนว่าชอบเพราะอะไร มันมีประโยชน์อย่างไร มีกลิ่น มีสีเป็น อย่างไร ให้ในกลุ่มเขียนแล้วนำเสนอ
ในวันที่ 13 กรกฎาคม 2550 เวลา 09.00 น. ครูผ่องศรี ได้ใช้ กิ จ กรรมนี ้ ส อนภาษาไทย ชั ้ น ป.5/1 เกี ่ ย วกั บ การฝึ ก ทั ก ษะ การคิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์และความสำคัญโดยใช้เพลงในการ จัดการเรียนการสอน ใช้ชื่อกิจกรรมว่า “สนุกกับเพลง” ชื่อเพลง “อุทยานดอกไม้” โดยมีขั้นตอนของกิจกรรมดังนี้ค่ะ
87 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเพลง โดยใช้คำถามกระตุ้น เช่น - นักเรียนชอบร้องเพลงหรือไม่ ถ้าชอบ ชอบเพลงประเภทใด เพราะเหตุใด
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
2. ครูแจกเนื้อเพลง “อุทยานดอกไม้” ให้นักเรียนดู และครูจะเปิดเพลงอุทยานดอกไม้ให้ฟัง นักเรียน ร้องตามและดูเนื้อเพลงไปด้วย โดยใช้เวลา 15 นาที แล้วร่วมกันสนทนาโดยครูถามคำถามต่อไปนี้ - เพลงนี้มีชื่อดอกไม้ทั้งหมดกี่ชนิด ชื่อดอก อะไรบ้าง - นักเรียนชอบดอกไม้อะไรมากที่สุด เพราะเหตุใด - ดอกไม้ที่นักเรียนชอบนั้นมีประโยชน์อย่างไรบ้าง
88
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
3. ครูแจกใบงานให้นักเรียนวาดภาพดอกไม้ที่นักเรียน ชอบมากที่สุด จำนวน 1 ดอก แล้วเขียนบอกด้วยว่า
ดอกไม้ที่วาดมานั้นมีประโยชน์และมีความสำคัญ อย่างไร 4. นำเสนอผลงานของนักเรียนติดป้ายนิเทศ นักเรียน และครูร่วมกันอภิปรายและสรุปผลงานของนักเรียน 5. หลังจากสรุปผลการเรียนการสอน นักเรียนส่วนมาก ชอบและตั้งใจในการทำกิจกรรมด้วยความสนุกสนาน และสามารถฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ได้เป็นอย่างดี
เล่าเ ร ื ่ อ ง
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
ตัวอย่าง กิจกรรมที่จัดแล้ว
89
1
ครูจารุวรรณ เล่าว่า ได้เข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการการขับเคลื่อนความคิด
สู่ห้องเรียน ในปีการศึกษา 2550 ได้ทดลองจัดกิจกรรมเพื่อฝึกทักษะการคิดให้กับ นักเรียนชั้น ป.6 ในชั่วโมงกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เนื้อหาของกิจกรรมประกอบด้วย หลากหลายสาระการเรี ย นรู ้ รวมทั ้ ง ได้ น ำปั ญ หาที ่ เ กิ ด ขึ ้ น ในโรงเรี ย นมา จัดกิจกรรมให้นักเรียนช่วยคิดแก้ปัญหา และเนื่องจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระ การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศต่ำ ไม่เป็นที่น่าพอใจ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจึงเน้น ทักษะการคิดในสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศเพื่อเสริมทักษะทางภาษาให้ นักเรียนเรียนรู้ได้ดีขึ้นในขณะเดียวกันก็ยังสอดแทรกกิจกรรมการคิดในสาระ กอท. และภาษาต่างประเทศที่สอนเป็นประจำ ครูจารุวรรณ ได้ยกตัวอย่างกิจกรรมที่จัด ไปแล้วดังนี้ค่ะ
- - - - - - -
การประดิษฐ์ของใช้ (กอท.) การวิเคราะห์บทกวี (ภาษาไทย) การค้นหาปัญหาข้อบกพร่องในโรงเรียน (สังคม) กิจกรรมต่ออักษรขยายคำนำปัญญา กิจกรรมลาบดิบอร่อย ๆ ลุงมอยชอบกิน Thinking English 1-4 กิจกรรมอบรมวินัยนักเรียน
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
90
มีลักษณะการจัดกิจกรรม บางกิจกรรมให้นักเรียนทำเป็นกลุ่ม เน้นความร่วมมือ ความสามัคคี เป็นการส่งเสริมคุณธรรม จริ ย ธรรมไปในคราวเดี ย วกั น กิ จ กรรมพั ฒ นาผู ้ เ รี ย นปี น ี ้ เนื่องจากภาษาต่างประเทศเป็นทักษะที่ทุกคนควรได้รับการฝึก ด้วยตนเองจึงให้นักเรียนฝึกเป็นรายบุคคล แต่กิจกรรมส่งเสริม ทักษะการคิดที่สอนตามปกติในสาระภาษาต่างประเทศและ กอท. ยังมีการจัดให้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่มและเดี่ยว
จากกิ จ กรรมที ่ จ ั ด มาทั ้ ง หมดทำให้ ม องเห็ น ว่ า เป็ น กิจกรรมที่มีประโยชน์มาก ควรจัดต่อไปอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษา อังกฤษ) ที่ต้องเพิ่มเติมในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้วย กิจกรรมที่จัดทั้งหมดนอกจากจะส่งเสริมทักษะการคิด ให้ ก ั บ เด็ ก แล้ ว ยั ง ช่ ว ยแก้ ป ั ญ หาด้ า นการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ม ี ปัญหาด้วย
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
กิจกรรมการคิดสาระ กอท. เป็นกิจกรรม การคิ ด ที ่ น ั ก เรี ย นทำได้ ด ี ผลการจั ด กิจกรรมนักเรียน ผ่านการประเมินทุกครั้ง ทุ ก กิ จ กรรม ในขณะที ่ ก ิ จ กรรมสาระ ภาษาไทย และภาษาอั ง กฤษยั ง ไม่ ผ ่ า น การประเมินทั้งหมด
91
1
บทเรียนที่ครูจารุวรรณได้รับและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพิ ่ ม เติ ม คื อ การให้ เ นื ้ อ หาในการทำกิ จ กรรมยากเกิ น ไป เด็กจะทำได้ไม่ดี และอาจไม่มีแรงจูงใจในการทำกิจกรรม ต่อ ๆ ไป ในการจัดกิจกรรมการคิด ทำจากการคิดง่าย ๆ และ เพิ่มความยากขึ้นรวมถึงการสอดแทรกไว้ทุกงานของนักเรียน จะได้ผลดี เช่น จัดกิจกรรมการคิดเกี่ยวกับการอ่านสะกด หรือเขียนคำก่อนการวิเคราะห์บทกวี ของนักเรียน...ค่ะ งานนี้ คงตามไปดูกัน ลึก ๆ ลัก ๆ
เล่าเ ร ื ่ อ ง
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
92
ครูนวลจันทร์ เล่าว่า การจัดการเรียนการสอนในระดับ ชั้น ป.2 ไม่ว่าจะเป็นการสอนเนื้อหาตามสาระ หรือ การสอนคิดก็ตาม จะต้องมีเทคนิคการดึงความสนใจ นักเรียนให้มีความกระตือรือร้นที่จะเรียน จึงได้ใช้
สื่อรูปภาพและการใช้คำถามกระตุ้นให้นักเรียนได้คิด และตอบอย่างมีเหตุผล
์ ูนวลจันทร ร ค 0 5 5 2 สิงหาคม ์
8 2 ่ ี ท น ั ว รคิดวิเคราะห า เมื่อ ก ด ิ ก เ ้ ห ใ ชั้น ป.2/2 น ย ี ร เ ก ั น น อ ใช้กิจกรรม ย ด ได้ส โ น ั ก บ ั ์ประเภทกล ธ น ั พ ารจัด ก ม ั น ส ใ ม ” า น ั คว ก ว ้ ล คู่แล้วไม่แค ม ร ร ก จ ิ ก “ ึ ด ห ล ั ก ย ้ ด ไ ู ร ที่ชื่อว่า ค ณ ุ ทุกครั้ง ค น อ ส ร า ก น การเรีย น ดังนี้ค่ะ อ ต น ้ ั ข 3 น การสอ
1. 2. 3.
ขั้นให้ความรู้ ขั้นให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ขั้นการนำไปใช้
ครูนวลจันทร์ ได้สอนตามขั้นตอนที่ใช้ ชื ่ อ กิ จ กรรมว่ า “คู่ แ ล้ ว ไม่ แ คล้ ว กั น ” ได้ อ ธิ บ ายเชิ ง บรรยายให้ น ั ก เรี ย นได้ รู ้
ความหมายของคำว่า “คู่” ที่ใช้กับคำใน ภาษาไทยว่ามี 4 ลักษณะ ดังนี้ค่ะ
1. คำคู่พ้องเสียง จะเป็นคู่คำที่อ่านเหมือนกันแต่เขียนไม่เหมือนกัน เช่น ขันน้ำ-พระขรรค์
93
4. คู่คำที่มีความหมายต่างกัน เช่น จม-ลอย
1
3. คู่คำที่มีความหมายเหมือนกัน เช่น นก-วิหค
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
2. คำคู่พ้องรูป จะเป็นคำที่เขียนเหมือนกันแต่อ่านไม่เหมือนกัน เช่น เพลาเย็น (เพ-ลา-เย็น) – เพลารถ (เพลา- รด)
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
94
์
ูนวลจันทร ร ค ว ้ ล แ น แก่นักเรีย ้ ู ร ม า ำถาม ภาพ ว ค ้ ค ้ ช ใ ห ย ด โ ร เมื่อใ า ก เรื่องที่ต้อง า ้ ข เ ง ย โ ม ่ ิ ร จะเ ื่อ ีคำคู่ในภาพ ม ว ้ ล และคำเป็นส แ พ า ภ นักเรียนเห็น - เป็นกี่กลุ่ม (สีตัวอักษร) ะไร สังเกตจากอ พร้อมกัน - คู่คำ นักเรียนอ่าน -น้อย ค่อย-ดัง) - มาก (แคบ-กว้าง เ ป ็ น คู ่ ค ำ ล ั ก ษ ณ ะ ใ ด นั้น คู ่ ค ำ ท ี ่ อ ่ า น ต่างกัน) - มาย (คู่คำความห
เมื่อนักเรีย นเกิดความ รู้เรื่องคู่คำ แล้ว จึงได ความหมา ้ดำเนินการ ยต่างกัน ส อ นให้เกิดคว ต่อไป โดย ามรู้ความ การให้ตัว เข้าใจ แทนนักเร ที่มีความห ียนยกตัวอ มายต่างก ย่างคู่คำ ัน 5-6 คน ใบงาน โดย แ ล ้วให้นักเรีย กำหนดคำใ นทำ ห้ 1 คำ แ คำมาเติม ล้วให้นักเรีย ลงในช่องว นคิดหาคู่
่างและเพื่อ ในชีวิตปร ให้เกิดการ ะจำวันได นำไปใช้ ้ ให้นักเรีย โดยนักเรีย นทำใบงา นต้องคิดค นเพิ่มอีก ู่คำเอาเองน ะคะ
ครูนวลจันทร์ ได้ประเมินคุณภาพการคิดของนักเรียน ผลปรากฏนักเรียน อยู่ในระดับดีมาก จำนวน 21 คน ระดับดี 7 คน ระดับพอใช้เพียง 1 คน เท่านั้นค่ะ
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
95
เล่าเ ร ื ่ อ ง
ส ร า ก ร้างภาพ จากเพลง
ครูลดาวรรณ์ ได้นำขั้นตอนการสอนสะท้อนการสอนคิดให้เพื่อนครูได้เห็นดังนี้ค่ะ...
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
96
1. กิจกรรมสร้างภาพจากเพลง ได้จัดให้นักเรียน เป็ น กิ จ กรรมเสริ ม โดยได้ ส ร้ า งข้ อ ตกลง กับเด็ก
2. เปิ ด เพลงให้ เ ด็ ก ฟั ง 1 เที ่ ย วแล้ ว ร่ ว มกั น สนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาในเพลงว่ามีอะไรบ้าง โดยใช้คำถามให้เด็กได้คิด
3. ให้ เ ด็ ก วาดภาพตามจิ น ตนาการ หลั ง จากฟั ง เพลงจบโดยให้ ว าดภาพ เรื่องที่เกี่ยวข้องกับเพลงที่ฟัง
4. ให้เด็กตั้งชื่อผลงานตามความคิด
5. เด็กและครูร่วมกันอภิปรายผลงาน
97
สอนคิดสร้างสรรค์.....?
1
7. ครูตรวจผลงานการคิดของเด็กตามเกณฑ์
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
6. สรุปประโยชน์และข้อคิดที่ได้จากกิจกรรม
เล่าเ ร ื ่ อ ง
ก ก ุ น ส ั บน ิ ท า น
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
98
ในวันที่ 19 กรกฎาคม 2550 เวลา 10.00 น. ครูพิมลพรรณ ได้ ส อนภาษาไทยนั ก เรี ย นชั ้ น ป.3/2 เกี ่ ย วกั บ การจั ด ลำดับเหตุการณ์และสรุปใจความสำคัญ โดยใช้นิทาน ในการจัดการเรียนการสอน ใช้ชื่อกิจกรรมว่า “สนุกกับ นิทาน” เรื่อง นกกับอีกา ได้เริ่มกิจกรรมเป็นแบบนี้ค่ะ
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับนิทาน โดยใช้คำถามกระตุ้น เช่น - นักเรียนชอบอ่านนิทานหรือไม่ถ้าชอบ ชอบนิทานประเภทใด เพราะเหตุใด
2. ครูแจกใบความรู้นิทานเรื่อง “นกกับ อีก า” ให้นักเรียนอ่านใช้เวลา 10 นาที แล้วร่วมกัน สนทนาโดยครูถามคำถามต่อไปนี้ - นิทานเรื่องนี้มีตัวละครกี่ตัว ชื่ออะไรบ้าง - นักเรียนชอบตัวละครตัวใด เพราะเหตุใด - สถานที่เกิดขึ้นที่ใด
4. ให้นักเรียนวาดภาพประกอบนิทานในใบงาน ให้สอดคล้องกับเนื้อเรื่อง
99
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
3. ครู แ จกใบงาน “ลำดั บ เหตุ ก ารณ์ ” โดยครู นำเหตุ ก ารณ์ ใ นนิ ท าน 5-7 เหตุ ก ารณ์ ใ ห้ นั ก เรี ย นจั ด ลำดั บ เหตุ ก ารณ์ ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง สอดคล้องกับนิทาน
1
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
100
5. นำผลงานของนักเรียนติดบนกระดานหลังจาก นั้นครูและนักเรียนร่วมกันอธิบายผลงาน ที่จัด ลำดับเหตุการณ์ได้ถูกต้องและไม่ถูกต้อง
6. ร่วมกันสรุปและแก้ไขการจัดลำดับเหตุการณ์
บทเรี ย นที ่ ค รู พ ิ ม ลพรรณภู ม ิ ใ จนั ้ น ก็ ค ื อ ผลการเรี ย น การสอน นักเรียนส่วนมากชอบและตั้งใจร่วมกิจกรรม ด้ ว ยความสนุ ก สนาน สามารถจั ด ลำดั บ เหตุ ก ารณ์ และสรุปใจความสำคัญได้
เล่าเ ร ื ่ อ ง
“ค ิ ด จ ำแน ก ”
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
ในวันที่ 31 สิงหาคม 2550 ที่ผ่านมาครูสังวาลย์
ได้ทดลองการเรียนและการสอนในสาระ กอท. เกี่ยวกับ อาหาร ชื ่ อ กิ จ กรรม “การจำแนกข้ อ มู ล เรื่ อ ง อาหารจานโปรด” โดยเริ่มต้นการสอน ดังนี้ค่ะ
101
1
ครูสังวาลย์ เล่าให้เรารู้ว่า ในโรงเรียนของครูสังวาลย์นั้น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระดับชั้น ป.3 ไม่ ว ่ า จะสอนในกลุ ่ ม สาระใด ครู ผู ้ ส อนจะเน้ น และเห็นความสำคัญของการสอนคิดวิเคราะห์ เพื่อ ฝึกให้นักเรียนเกิดการคิดวิเคราะห์
1. ครูและนักเรียนร่วมสนทนาเกี่ยวกับข้อมูล ส่วนประกอบของอาหารและสารอาหาร ของส่วนประกอบอาหารจานเดียว ตัวอย่าง คำถาม - นักเรียนคิดว่าอาหารแต่ละชนิดที่เรา รับประทานเข้าไปควรมีสารอาหารใดบ้าง - มีอะไรอีกที่นักเรียนยังบอกไม่หมด
2. ครูแจกใบงานการจำแนกข้อมูลส่วนประกอบ ของอาหารและสารอาหารของส่วนประกอบอาหาร จานเดียว “ราดหน้า” ชี้แจงวิธีการทำกิจกรรม แล้วให้นักเรียนพิจารณาจำแนกส่วนประกอบ ของอาหารพร้อมบอกชื่อสารอาหารให้ครบโดยให้ เติมลงในใบงาน โดยออกแบบตกแต่งใบงานตาม ความคิดของตนเอง (20 นาที)
3. ให้นักเรียนนำเสนอผลงานโดยสุ่มนักเรียน 3 คน นำเสนอผลงาน ครูใช้คำถามสอดแทรก หลังการนำเสนองาน เพื่อให้นักเรียนเกิดการคิด วิเคราะห์ข้อมูลเพิ่มเติม เช่น ยังขาดส่วนประกอบ และสารอาหารใดบ้าง เช่น บางคนขาดเส้น ก๋วยเตี๋ยว ซึ่งนักเรียนที่นำเสนอผลงานมีครบ
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
102
4. ครูสรุปรายงานการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนที่ทำได้ถูกต้อง ครบถ้ ว น และอธิ บ ายซ้ ำ ถึ ง สารอาหารแต่ ล ะชนิ ด เพิ ่ ม เติ ม
ส่วนที่ขาดของแต่ละชิ้นงาน
ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง
จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน รวม
12 10 6 2 30
คน คน คน คน *เด็กพิเศษ* คน
103
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
ผลที่ได้ในการทำกิจกรรมเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2550 ที่ผ่านมา ประสบผลสำเร็จน่าพอใจมาก นักเรียนชอบและสนุกสนานกับ การทำงาน นักเรียนมีผลงานในระดับการคิด ดังนี้
1
เล่าเ ร ื ่ อ ง
น อ ้ น ง ฝึกคิด ว ช
บ ุ า 1 น ล อ ป / ี ท 2 ี ่ ช ั้น
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
104
ครูปราณี สอนนักเรียนชั้นอนุบาล เล่าจากประสบการณ์ การสอนมานานหลายปี พบว่ า การสอนให้ เ ด็ ก คิ ด เป็ น ตอบปัญหาได้สำหรับเด็กวัย 5-6 ปี นั้นเป็นสิ่งที่ท้าทาย ความคิดมาก จากเด็กที่คิดไม่เป็นไม่รู้ว่าจะตอบคำถาม อย่างไร จะฟังคำถามเราทันหรือเปล่า คิดอยู่นานว่าจะเริ่มต้น อย่างไรดีถึงจะถูกต้อง ในตอนแรกก็สอนคิดจากการใช้ คำถามจากสิ่งใกล้ตัวเด็ก ถามในสิ่งที่เด็กทำในกิจวัตร ประจำวันและต่อมาได้เข้าอบรมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อน การคิดสู่ห้องเรียน ก็มีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น จึงทดลอง ใช้กิจกรรมการใช้คำถามเพื่อฝึกการคิดวิเคราะห์ในกิจกรรม เสริมประสบการณ์และกิจกรรมส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์ ในกิ จ กรรมสร้ า งสรรค์ ศ ิ ล ปศึ ก ษา ในปี ก ารศึ ก ษา 2550 ครูปราณีทำอย่างนี้ค่ะ
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
105
1
ในการสอน การคิดวิเคราะห์ในระดับปฐมวัย ได้ยึดหลักการเตรียม ความพร้อมเน้นการเรียนปนเล่น การจัดกิจกรรมแต่ละครั้งใช้เวลา ไม่เกิน 20 นาที การใช้สื่อเป็นสิ่งที่จำเป็นมาก การจัดกิจกรรมจะใช้ คำถามนำ ถามจากเรื่องราว นิทาน เพลง ของจริง หรือรูปภาพให้เด็ก ได้คิดวิเคราะห์และตอบคำถามจากสื่อ เน้นการฝึกซ้ำย้ำทวนเพื่อให้ เกิดทักษะที่คงทน เช่น คำถามเดียวกันแต่ให้เด็กแต่ละคนตอบตาม ความคิดของตนเองหรือตอบโดยไม่ให้ซ้ำเพื่อน ในการสอน การคิ ด สร้ า งสรรค์ ได้ ค ิ ด กิ จ กรรมให้ เ ด็ ก ได้ ค ิ ด จิ น ตนาการจากเรื ่ อ งราวเหตุ ก ารณ์ ห รื อ จากกิ จ กรรมต่ า ง ๆ เช่ น การวาดภาพจากรูปทรงต่าง ๆ จากการฟังเพลง จากเรื่องสั้นหรือนิทาน ที่ครูเล่าไม่จบและอื่น ๆ การจัดกิจกรรมมีทั้งกิจกรรมที่ทำคนเดียว และทำเป็นกลุ่ม ครูปราณี
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
106
ผลการจัดกิจกรรมการคิด เด็กกล้าพูดกล้าแสดงออก ในการคิ ด พู ด สนทนา ถาม-ตอบได้ ด ี จากก่ อ นการจั ด กิจกรรมประเมินทุกคนได้ ระดับ 1 คือ ตอบคำถามไม่ได้ คิดไม่เป็น หลังการจัดกิจกรรมเด็กได้ระดับ 3 คือ แสดงออก ทางความคิ ด ด้ ว ยตนเองอย่ า งมั ่ น ใจ ร้ อ ยละ 80 ของ นักเรียนทั้งหมด ในด้านความคิดสร้างสรรค์เด็กสามารถ วาดภาพตามความคิ ด สร้ า งสรรค์ ข องตนเองได้ พ ั ฒ นา ภาษาการพู ด เล่ า เรื ่ อ งจากผลงานได้ ร ะดั บ ดี และใน ปีการศึกษา 2551 ครูปราณีบอกว่าจะนำวิธีการสอนการคิด วิ เ คราะห์ แ ละคิ ด สร้ า งสรรค์ ม าปรั บ ใช้ ก ั บ นั ก เรี ย น ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ต่อไปและจะเพิ่มกิจกรรมให้หลากหลาย และน่าสนใจให้มากขึ้น
2 ป น ั ส า ่ ส น ก ั ย ี ต ว ร ิทยา สพท.เชียงใหม่ เข โรงเ
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
107
1
สันป่าสักวิทยา เป็นโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการขับเคลื่อนการคิด สู ่ ห ้ อ งเรี ย นในปี ก ารศึ ก ษา 2550 เริ ่ ม รู ้ ภ าระงานราว ๆ เดื อ น พฤษภาคม ชัดเจนขึ้นประมาณเดือนมิถุนายน หลังจากที่มีการ ประสานงานและเข้ารับการอบรมตามโครงการฯ จากศึกษานิเทศก์ ที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบ สำนั ก งานเขตพื ้ น ที ่ จากนั ้ น ก็ เ ริ ่ ม ทำงานโดยครู ผู้รับผิดชอบโครงการทำตุ๊กตาแผนการทำงานมาประชุมขอความคิดเห็น
คำแนะนำจากคณะครูทั้งหมด ให้ทุกคนมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน
ผลการประชุมได้แผนการนำการคิดสู่นักเรียน 2 วิธี คือ จัดการ สอน/ฝึกทักษะการคิดสอดแทรกในแต่ละกลุ่มสาระ และจัดทำ กิจกรรมฝึกทักษะการคิดขึ้นมาเฉพาะสำหรับใช้ฝึกในกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนหรือใช้ประกอบการสอนในกลุ่มสาระฯ โดยพัฒนา ทักษะการคิดด้วยการใช้คำถามตามสมรรถภาพพุทธิพิสัย 6 ขั้น ของบลูม เรียงลำดับยากง่ายของแต่ละระดับชั้นเรียน
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
108
วิธีการ ้ ช ใ ็ ก น า ง ำ รท ส่วนแผนกา า ร ส ก อ เ น า ่ ผ ชี้แจง ประชุมและ ิการ ต ั บ ิ ฏ ป ม ุ ช รประ โดยให้มีกา ครั้ง 1 บ บ แ ป ู ร ม ็ เต
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
109
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
110
การทำงานของครูเริ่มจริงจังหลังการประชุมปฏิบัติการที่โรงแรม 3 วัน 2 คืน คือ ได้มีเวลาศึกษาทำความเข้าใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งกันและกัน ใครเรียนรู้เร็วทำได้ก่อนก็ช่วยอธิบายต่อ ๆ กัน ถือได้ว่าเป็นการทำงานที่ทุกคนบอกว่าคุ้มค่า ทั้งในเรื่องความรู้ ความเข้าใจในหลักการ ภาระงานที่ชัดเจนขึ้น การมีสัมพันธภาพ ที่ดีระหว่างครู ผู้บริหาร และได้ผลงานจากการฝึกคิดฝึกทำ ร่วมกันในระดับที่น่าพอใจ เช่น ได้ระดับคุณภาพด้านการคิด ของนักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้ฝึกทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่รับผิดชอบแต่ละสาระที่ใช้การ สอดแทรกคำถามเพื่อพัฒนาการคิดและได้กิจกรรมเสริมทักษะ การคิดจำนวน 75 กิจกรรม ที่ครูแต่ละคนคิดขึ้นรวบรวมจัดพิมพ์ ทำเป็นรูปเล่ม สร้างความภูมิใจให้ครูได้มากทีเดียว
การจัดประชุมปฏิบัติการครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่โรงเรียนทำเอง มีบรรยากาศเต็มรูปแบบ จนถึงวันนี้ครูยังบอกว่าชอบอยากจัดอีก
เพราะได้หลายอย่าง โดยเฉพาะได้มีเวลาเต็มที่ในการทำความเข้าใจ งานฝึกทำ จนสามารถทำได้เอง ดีใจที่การทำงานแบบนี้เกิดขึ้นได้
ในระดับโรงเรียน ถ้าโรงเรียนทำโดยใช้งบเองทำได้ยาก เพราะต้องใช้งบเยอะมาก
คิด คิด
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
ม ล ร ู กเสือ ร ก จ ิก
1
ก
ับ
111
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
112
พื่อสอน เ ม ร ร ก จ ิ ก ด ั เองในการจ น ต า น ฒ ั พ ง ั นการสอน ล ผ ำ แ ก จ น ว ร ค ต ก ุ ร ท ู า ร ก ขณะนี้ค ี่รองผู้อำนวย ท า ่ เท ์ ห ะ า ร ายคนยัง ค ล เ ิ ห ว ด ิ น ็ ค ก ั ห เ ้ จ ้ ู ร ห ใ น ให้นักเรีย รคิดปรากฏ า ก น อ ส ร า ก ี นการคิด า ้ ม ู ร ด ค น ้ า ่ น ว เ ะ บ จ พ ล า ที่ผ่านม ่ระดับอนุบา ญ ห ใ น ว ่ ส ถมจะเป็น น ะ อ ร ส ป ร า บ ั ก ด ะ ร น น จ ไม่ชัดเ ง่าย ส่วนใ ง า ่ ย อ ์ ห ะ า ร ารคิดที่ครู ค เ ิ ก ว น ็ ด ิ ป เ ค ์ ะ า ค ร ร ร พ สร้างส ะเภทอื่น เ ร ป า ่ ว ก ก า ลายระดับ
ม ์ ห ี ห ม ่ ี ะ า ท ร ด ิ ค ค เ ิ ร ว า ด การคิ และเป็นก ะ อ ย เ ้ ด ไ ม ร มารถเลือก ร า ก ส ู ร จ ิ ค ก ง ่ ึ ด ั ซ จ น ถ อ ้ ร สามา นถึงขั้นซับซ จ ย า ่ ห น ด
ง ำ บ ก ่ ี บ ท แ ์ ด ิ ห ะ ค า ร ร า ค คุณภาพก ตั้งแต่คิดวิเ บ ั ด ะ ร ม า ต ้ ักเรียนได มาพัฒนาน ั้น แต่ละระดับช
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
113
1
ส่วนกิจกรรมเสริมการฝึกคิดที่ครูทำไว้ 75 กิจกรรม หลายกิจกรรมน่าสนใจ ดูชื่อก็กระตุ้นให้คิดได้ เช่น กิจกรรมพืชผักผลไม้ที่น่ากินของครูวิไลใช้สอน ปฐมวั ย กิ จ กรรมเรื อ เดิ น น้ ำ มั น ของครู น วลจั น ทร์ ใ ช้ ก ั บ ป. 2 กิ จ กรรม ลาบดิ บ อร่ อ ยลุ ง มอยชอบกิ น ของครู จ ารุ ว รรณ กิ จ กรรมเมนู ใ จสั ่ ง มาของ ครูฉวีวรรณ เป็นต้น การดำเนินกิจกรรมครูจะใช้การตั้งคำถามให้คิดวิเคราะห์ ทั้งคิดจำแนก คิดสัมพันธ์หลังจากครูเจ้าของเรื่องได้นำไปใช้กับเด็กสอบถามไถ่ กันดู ก็บอกว่าได้ผลดี เด็กสนุกสนาน ครูก็ได้เรียนรู้ ครูบางคนก็เริ่มสร้าง กิจกรรมเสริมการคิดเพิ่มเติม บางคนก็ทำเป็นงานวิจัยในชั้นเรียน เช่น คุณครู ปราณีทำกับเด็กปฐมวัย ครูสุนีย์ฝึกการคิดจากเรื่องที่อ่านในสาระภาษาไทย ชั้น ป. 4 ถือว่าโครงการของเราเป็นดำเนินไปเรื่อย ๆ ปีการศึกษา 2551 ก็มี แผนงานการสร้าง/ผลิตสื่อนวัตกรรมการพัฒนาการคิด ฟังครูหลายคนพูดถึง งานของตนเองก็น่าจะไปได้ดี ผู้บริหารบอกเปิดโอกาสให้งบประมาณส่วนที่เกิน ของโครงการได้ สรุปแล้วถ้าประเมินผลการทำงานก็อยู่ในระดับดีที่น่าพอใจ เมื่อเทียบกับข้อจำกัดที่มีในเรื่องต่าง ๆ เช่น ภาระงานประจำในโรงเรียน งานนโยบายอื่น ๆ ที่ต้องทำหลายอย่างซึ่งไม่เหมือนกัน ปัญหาใหญ่ของการทำงาน คือเวลา อย่างไรก็ตามโรงเรียนก็จะพยายามพัฒนาการสอนคิดต่อไปให้ดีที่สุด
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
1 114
เล่าเ ร ื ่ อ ง
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
แผนการสอนทักษะอ่านบูรณาการทักษะคิด เรื่อง “Who’s in Control : The Internet or you? รายวิชา ภาษาอังกฤษ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
115
1
ชื่อครูผู้สอน นางปนัดดา มณีจักร (ครูจุ๋ม) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนนวมินทราชูทิศ พายัพ จังหวัดเชียงใหม่ ที่อยู่ 58/11 หมู่ 5 ดอนแก้ว อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ E-mail : n-da-30@ hotmail.com เบอร์โทรศัพท์ 08-9634-2074 05-3891-144
...วันหนึ่งเมื่อต้นปี 2550 ขณะกำลังจะหยิบหนังสือพิมพ์ขึ้นมาอ่าน พลันสายตา ของครูจุ๋มก็เหลือบไปเห็นข่าวเล็ก ๆ ที่สะกิดใจคนเป็นครูทุกคนไม่มากก็น้อย... กรอบข่าวเล็ก ๆ นั้น มีใจความว่า... นักเรียนวัยรุ่นหญิงถูกล่อลวง จากการ chat ผ่านเน็ต เมื่อได้อ่านรายละเอียดของข่าว ก็พบว่า ปัญหาภัยสังคมที่เกิด จากการไม่ใช้วิจารณญาณของวัยรุ่นในการใช้อินเทอร์เน็ตนั้นมีมากมายหลาย รูปแบบและมีมากขึ้นทุกวัน... ได้การล่ะ... เห็นทีจะต้องใช้สถานการณ์เช่นนี้ สอดแทรกในการสอนอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนของเราดีกว่า...
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
116
2 วันต่อมา... ครูจุ๋มได้ปรับเปลี่ยนแผนการสอนใหม่ โดยคัดเลือกบทอ่าน ประกอบแผนที่มีเนื้อหาสาระตรงใจวัยรุ่นแน่นอน เรื่องนั้นก็คือ “Who’s in Control : The Internet or you?” ซึ่งมีเนื้อหาและโครงสร้างทางภาษา เหมาะสมกับหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 Lifestyles ที่นักเรียนกำลังเรียนอยู่ในขณะนั้น จุดเด่นของแผนการสอนทักษะอ่านครั้งนี้คือ นอกจากการใช้ทักษะทางภาษา ในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษแล้ว ยังได้สอดแทรกสถานการณ์ให้นักเรียนได้คิดเปรียบเทียบ คิดวิเคราะห์ และคิดหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งการพัฒนาทักษะกระบวนการในการทำงาน ร่วมกับหมู่คณะ (group work)
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
117
1
ขั้นตอนของกิจกรรมการอ่าน-เขียนภาษาอังกฤษ และพัฒนาทักษะการคิด “Think how the information in reading relates to you. It will make reading more fun.” 1. ขั้นก่อนอ่าน : ระดมสมองเกี่ยวกับการใช้ Internet เพื่ออะไรในชีวิต ประจำวันนักเรียน จากนั้นตอบคำถามก่อนอ่าน เกี่ยวกับการใช้ Internet ของตน - Why do people use the Internet? Do you use the Internet? What do you do on the Internet? 2. ขั้ น ระหว่ า งอ่ า น : ให้ ค วามหมายคำศั พ ท์ ส ำคั ญ ที ่ พ บในเรื ่ อ ง สรุปใจความสำคัญของเรื่อง 3. ขั้นหลังอ่าน : ตอบคำถามจากเรื่อง จากนั้นทั้งกลุ่มร่วมกันอภิปรายใน หัวข้อที่กำหนดให้ ดังนี้
- จงบอกข้อดีและข้อเสียของการใช้ Internet “What do you think are the positives and negatives of the Internet?” - จากสถานการณ์ในบทอ่าน (พูดถึงอาการคนติด Internet- “Internet addict”) นักเรียนมีความเห็นอย่างไร และมีแนวทางแก้ไขอย่างไร - เชื่อมโยงสู่สถานการณ์ข่าวที่ครูพบ (ครูเล่าเรื่องให้ฟัง) นักเรียน มีคำแนะนำแก่ วัยรุ่น เพื่อให้หลีกเลี่ยงเหตุการณ์ดังกล่าวอย่างไร * ในระหว่ า งนั ก เรี ย นทำงานกลุ ่ ม กั น อยู ่ น ั ้ น ... ครู จ ุ ๋ ม แอบปลื ้ ม ใจว่ า แผนการสอนอ่านครั้งนี้โดนใจจริง ๆ นอกจากจะได้พัฒนาทักษะการอ่านของนักเรียนแล้ว ยังได้ให้แง่คิดดีให้กับนักเรียนด้วยเรื่องการใช้อินเทอร์เน็ตด้วย...
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
118
1
ผลงาน/ชิ้นงาน/กระบวนการที่เกิดขึ้น จากกิจกรรมการอ่าน เรื่อง “Who’s in Control : The Internet or you?” * คำศัพท์ใหม่และความหมาย * ข้อความภาษาอังกฤษที่เขียนถึงข้อดีและข้อเสีย ของการใช้ Internet * ข้อความภาษาอังกฤษที่แสดงความคิดเห็นและ แนวทางการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ที่กำหนด
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
119
เล่าเ ร ื ่ อ ง 120
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
พัฒนาการคิดวิเคราะห์ด้วยผังมโนทัศน์ เนื้อหา พันธะเคมีกับการคิดวิเคราะห์
ปัญหาที่พบในการเรียนการสอน วิชาเคมี เรื่อง พันธะเคมี
สภาพปัญหา
แนวทางการแก้ไขปัญหา
1. เนื้อหาเป็นนามธรรม 2. มีคำศัพท์ทางเคมีมาก 3. ผู้เรียนร้อยละ 60 คิดเชื่อมโยง คิดจำแนกลำดับความสัมพันธ์ และสรุปประเด็นไม่ได้
1. ใช้ แ บบจำลองโมเลกุ ล สื่อ ICT 2. พัฒนาการคิดวิเคราะห์จัดระบบ ข้ อ มู ล คำศั พ ท์ พ ั น ธะเคมี ด้ ว ยผั ง มโนทั ศ น์ สู ่ ก ารคิ ด วิเคราะห์ เชื่อมโยงที่เป็นระบบ นำมาใช้ตามสภาพจริง
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
121
เทคนิคการพัฒนาการคิดวิเคราะห์
ด้วยผังมโนทัศน์
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
122
วัตถุประสงค์ - พัฒนาผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหา ข้อมูลต่าง ๆ อย่างมีความหมาย
ประเภทของการคิดวิเคราะห์ 1. การวิเคราะห์ส่วนประกอบ 2. การวิเคราะห์หลักการ 3. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
ตัวอย่างการคิดวิเคราะห์ด้วยผังมโนทัศน์
เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ Covalent bond
1
เทคนิค - ผังมโนทัศน์ - ผังโครงสร้างต้นไม้ - การคิดวิเคราะห์ ส่วนประกอบ ความสัมพันธ์
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
123
พันธะโคเวเลนต์ H2, HCI, C2H5OH แบ่งตามกฎการครบแปด
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
124
กฎการครบแปด ยกเว้นจากกฎการครบแปด ชนิดพันธะ BeCl2 BF3 PCI5 SF6 XeF4 หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 6 หมู่ที่ 8 ฯลฯ พันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม . . . . . . . . . . . . = = . . . . = . . . . . . . . O2, CO2, N2, C2H2 HF, NH3 H2, HCI C2H4
สรุปประเด็นจากผังมโนทัศน์ พันธะโคเวเลนต์ - เป็นแรงดึงดูดให้อะตอมอโลหะรวมกัน เกิดโมเลกุลโคเวเลนต์ได้สารประกอบโคเวเลนต์ - การเกิดพันธะโคเวเลนต์เกิดได้ตามกฎการครบแปด และการยกเว้นจากกฎนี้ - สารประกอบที่ได้มีทั้งพันธะเดี่ยว พันธะคู่ และพันธะสาม ประโยชน์จากเทคนิคการคิด
125
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
ผู้เรียนเกิดการคิดวิเคราะห์เชื่อมโยง ข้อมูลจากผังมโนทัศน์ มีความเข้าใจ เชื่อมโยงเป็นระบบ เกิดความเข้าใจ คงทนต่อการเรียนรู้ต่อไป
เล่าเ ร ื ่ อ ง
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
126
ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 ทางโรงเรียนมีกิจกรรม เสริมหลักสูตรมากทำให้นักเรียน ชั้น ม.5 ซึ่งเป็นแกนนำในการ ทำกิจกรรม เช่น เป็นคณะกรรมการนักเรียน กรรมการคณะสี กรรมการชมรมเชี ย ร์ แ ละแปรอั ก ษร ทำให้ น ั ก เรี ย นขาดเรี ย น เพื่อไปทำกิจกรรม
จากสาเหตุดังกล่าวครูจึงได้สร้างชุดการเรียนรู้ เรื่อง ฟังก์ชั่นไซน์และโคไซน์ ให้นักเรียนสามารถมาเรียนซ่อมเสริมกลุ่มและเดี่ยวรายบุคคลโดยมาเรียนเพิ่มเติม ตอนเย็นหลังเลิกเรียน โดยชุดการเรียนมีการทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน มีการทำกิจกรรม 3 กิจกรรม และมีกิจกรรมความคิดรวบยอด ให้นักเรียนสรุป พร้อมทั้งได้สร้างสื่อให้นักเรียนได้ปฏิบัติเป็นแผนภูมิวงกลมหนึ่งหน่วยประกอบ กิจกรรมของชุดการเรียน พร้อมทั้งชุดเฉลยหลังแผนภูมิให้นักเรียนตรวจสอบ ด้วยตนเอง โดยครูคอยสังเกตเรื่องความซื่อสัตย์รับผิดชอบของนักเรียน
1
ผลจากการปฏิ บ ั ต ิ ก ารสอนครู ไ ด้ ใ ห้ น ั ก เรี ย น สร้างสิ่งประดิษฐ์ เรื่อง ฟังก์ชั่นไซน์และโคไซน์ โดยใช้ ห ลั ก ปรั ช ญาแนวคิ ด เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง โดยนั ก เรี ย นมี ค วามคิ ด ริ เ ริ ่ ม สร้ า งสรรค์ ใ นการ สร้างผลงานเดี่ยวและกลุ่มในรูปแบบของตนเอง โดยนำวัสดุเหลือใช้มาตกแต่งสิ่งประดิษฐ์
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
127
เล่าเ ร ื ่ อ ง tyles s e f Li
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
128
- การใช้กระบวนการคิดโดยใช้ทฤษฎี หมวก 6 ใบ
-
นักเรียนทำแบบสอบถาม เพื่อสรุปว่า ตนเองเป็นผู้เรียนประเภทใด เช่น นักวิเคราะห์ นักปฏิบัติ นักกิจกรรม นักทฤษฎี
- แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มตามลักษณะ ของผู้เรียน
อภิปราย- - แต่ละกลุ่มอ่านบทความ สรุปความ และทำความเข้าใจเนื้อเรื่อง โดยครูช่วยเป็นพี่เลี้ยงดู ่มโดยใช้ทฤษฎี ครูแจกคำถามแต่ละกลุ หมวก 6 ใบ เพื่อนักเรียนที่มีความถนัด
ด้านต่าง ๆ ได้ตอบคำถามโดยใช้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ที่ตนเองถนัด
129
- เมื่อครบทุกกลุ่มแล้ว ครูสรุป-อภิปราย ร่วมกับนักเรียนอีกครั้ง - จากวิธีการนี้ ยังสรุปไม่ได้ว่าผลการคิด
ของนักเรียนดีขึ้นมากน้อยเท่าไร เพราะ ยังอยู่ในระหว่างการทดลองทำ
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
- นักเรียนส่งตัวแทนมานำเสนอคำตอบ ของกลุ่มตนเอง
1
-
เล่าเ ร ื ่ อ ง ิมการคิด ร ส เ ส ่ง ะกระบวน ักษ ท ย ด้ว
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
130
การ
กลุ่มสัมพ
ันธ์
สภาพปัญหา จากประสบการณ์การสอนวิชาสังคมศึกษา ช่วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 ปัญหาที่พบเป็นประจำทุกปี คือ นักเรียนต้องการให้ครูสอนเจาะจง เฉพาะข้อสอบในการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ไม่มีนิสัยรักการอ่าน และไม่ชอบ การเขียนบันทึกขณะครูอธิบาย จึงได้คิดวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ทักษะ กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ เพื่อจะช่วยให้นักเรียนสนใจในการเขียนบันทึก ให้ความร่วมมือในการเรียน และมีทักษะการคิดขั้นสูง มุ่งสู่สังคมภายนอก
ขั้นตอน 1. วิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานสาระ และแนวข้อสอบในการสอบเข้า มหาวิทยาลัย 2. กำหนดผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ 3. กำหนดหน่วยการสอน แผนการจัดการเรียนรู้ และชิ้นงาน 4. วางแผนการวัดผลประเมินผล 5. จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ 6. นำแผนการจัดการเรียนรู้ ชิ้นงาน และการวัดผลประเมินผลไปแจ้งให้ นักเรียนทราบ เพื่อให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น/ปรับแผน ให้สอดคล้องกับความต้องการของนักเรียน 7. ขั้นนำแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้โดยเน้นทักษะกระบวนการกลุ่ม ทักษะแสวงหาความรู้ และทักษะกระบวนการคิด
131
2. เปิดโอกาสให้นักเรียนเลือกกลุ่มการทำงาน 3-4 คน และเนื้อหาสาระ ในการแสวงหาความรู้
1
ทยาลัยเป็นประจำมาร่วมวิเคราะห์ 1. นำเนื้อหาสาระที่ออกข้อสอบเข้ามหาวิ กับผู้เรียนเพื่อกำหนดชิ้นงาน
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
กิจกรรมจากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการคิดด้วยทักษะ กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์
ทักษะการคิดรูปแบบต่าง ๆ ที่ 3. นักเรียนเข้ากลุ่มปฏิบัติกิจกรรมโดยใช้ นักเรียนมีความถนัดและสนใจ (ครูกำกับติดตามโดยใช้ตารางการปฏิบัติ งานและการสอบถามการทำงานของนักเรียน) ปแบบต่าง ๆ ตามความถนัดและ 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานในรู ความสนใจของกลุ่มหน้าชั้นเรียน โดยครูเชื่อมโยงสัมพันธ์กับข้อสอบเข้า มหาวิทยาลัย ที่รวบรวมเป็นเอกสารแจกให้นักเรียนศึกษาล่วงหน้า
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
132
5. นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นหลัง จากการฟังการนำเสนอของแต่ละกลุ่ม จากนั้นเขียนสรุปลงในสมุดหรือกระดาษในรูปแบบต่าง ๆ ให้ครูประเมิน
ชิ้นงาน
คณะผู้จัดทำ ที่ปรึกษา คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นายวินัย รอดจ่าย รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะทำงานโครงการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
คณะสังเคราะห์รายงานผลการดำเนินงานโครงการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน นางสาววิภาพร นิธิปรีชานนท์ นางนงนุช อุทัยศรี นางสุรัตน์นารี จี๋คีรี
นักวิชาการศึกษา สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยอง เขต 2 ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 2
133
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
ผู้อำนวยการ ประธาน สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ศึกษานิเทศก์ ช่วยราชการสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา นักวิชาการศึกษา สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา นักวิชาการศึกษา สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา นักวิชาการศึกษา สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา นักวิชาการศึกษา สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
1
ดร.อรทัย มูลคำ นายสมควร วรสันต์ นางสาววิภาพร นิธิปรีชานนท์ ดร.วรรณา ช่องดารากุล นายพิทักษ์ โสตถยาคม นางสาวอรวรรณ โอวรารินทร์ นางสุวารี เด่นดวง
คณะยกร่างเอกสาร ผู้อำนวยการ ประธาน สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา นักวิชาการศึกษา สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยอง เขต 2 ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามุกดาหาร ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสงขลา เขต 1 ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 2
คณะตรวจสอบและปรับปรุงเอกสาร นางสาววิภาพร นิธิปรีชานนท์ นางสุรัตน์นารี จี๋คีรี นายพิภพ หอมสุวรรณ นางสาวอรวรรณ คำมาก ว่าที่ ร.อ.ศศวรรธน์ ขรรค์ทัพไทย
นักวิชาการศึกษา สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 ครูโรงเรียนอนุบาลพนมทวน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 2 เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต 2
ปกรูปเล่ม ว่าที่ ร.อ.ศศวรรธน์ ขรรค์ทัพไทย
1
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
134
ดร.อรทัย มูลคำ นางสาววิภาพร นิธิปรีชานนท์ นางนงนุช อุทัยศรี นายทวีศักดิ์ ไชยมาโย นายวีระพันธ์ สวัสดี นางสุรัตน์นารี จี๋คีรี
ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต 2
ปี แห่งการขับเคลื่อนการคิดสู่ห้องเรียน
1
135