เอกสาร มคอ3.วิชาการออกแบบภาพเคลื่อนไหว: Animation Design Standard Learning outcome

Page 1

1

เอกสาร มคอ3.

วิชาการออกแบบภาพเคลื่อนไหว

สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

ผู้สอน ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ประชิด ทิณบุตร

ประจาปีการศึกษา 2/2554

มคอ3.วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 05/11/2555


2

มคอ.3

รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หมวดที่ 1 ข้ อมูลทัว่ ไป 1. รหัสและชื่อวิชา ARTD3307 ชื่อรายวิชา

การออกแบบภาพเคลื่อนไหว Animation Design 2.จานวนหน่ วยกิต(ทฤษฏี-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง) หน่วยกิต 3(2-2-5) 3. หลักสู ตรและประเภทของรายวิชา ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปกรรม หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาเอกบังคับ 4. อาจารย์ ผ้รู ับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ ผ้สู อน ผศ.ประชิด ทิณบุตร อาจารย์ผสู ้ อน 5. ภาคการศึกษา/ชั้นปี ทีเ่ รียน ภาคการศึกษาที่ 2/25…. ชั้นปี ที่ 3 6. รายวิชาทีต่ ้ องเรียนมาก่ อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) สอบผ่านวิชา ARTD2301 คอมพิวเตอร์กราฟิ กเบื้องต้น 7. รายวิชาทีต่ ้ องเรียนพร้ อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี 8. สถานทีเ่ รียน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 9. วันทีจ่ ดั ทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่ าสุ ด วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ 2553 หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1.จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1.1 เพื่อให้นกั ศึกษามีความตระหนักรู ้ในคุณธรรม จริ ยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพทางศิลปกรรม มคอ3.วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 05/11/2555


3

1.2เพื่อให้นักศึ กษามีความรู ้ ความเข้าใจในทฤษฎี หลักการ และฝึ กทักษะวิธีปฏิ บัติการสร้ างสรรค์ผลงานด้านการ ออกแบบภาพเคลื่อนไหว 1.3เพื่อให้นกั ศึกษามีทกั ษะและประสบการณ์ ในการสรุ ปรายงานผลการศึกษาเรี ยนรู ้และการนาเสนอผลงานด้วยตนเอง หรื อเป็ นหมู่คณะ ด้วยการใช้ทกั ษะการสื่ อสาร รู ปแบบ วิธีการ เครื่ องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ได้อย่างสอดคล้องตาม วิถีทางการประกอบวิชาชีพและความต้องการของตลาดแรงงาน 2. วัตถุประสงค์ ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา 2.1เพื่อให้รายวิชามีความทันสมัย อย่างสากล ที่ สามารถสอดรับกับวิทยาการขององค์ความรู ้ใหม่ การฝึ กทักษะและ เทคนิคกระบวนการด้านการออกแบบภาพเคลื่อนไหวได้สอดคล้องกับตลาดแรงงานจริ งปั จจุบนั หรื อบูรณาการใช้กบั รายวิชา ปฏิบตั ิการในหลักสูตรสถานศึกษาอื่นๆได้ท้ งั ในปั จจุบนั และในอนาคต 2.2เพื่อสามารถบูรณาการสื่ อการสอน เครื่ องมือ วัสดุอุปกรณ์สนับสนุนเนื้ อหาสาระ การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ได้หลากหลายวิธี ให้มีความสอดคล้อง ยืดหยุน่ เหมาะสมกับศักยภาพและความเป็ นจริ งปั จจุบนั หรื ออนาคตของการวางแผน พัฒ นา ผู ้สอน ห้อ งเรี ย นห้อ งปฏิ บัติ การ นัก ศึ กษา สั ง คม สิ่ ง แวดล้อ มและความก้า วหน้า ทางเทคโนโลยี ส ารสนเทศที่ เปลี่ยนแปลงไป หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ 1. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาทฤษฎีความรู ้ ทักษะกระบวนการ ขั้นตอนวิธีการสร้างสรรค์ผลงานภาพเคลื่อนไหวทั้งรู ปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ โดยมี การฝึ กทักษะฝี มื อทางศิ ลปกรรม ให้ผสานสัมพันธ์กับ ทักษะเทคนิ ควิธีการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ เ ครื่ องมื ออิ เลคทรอนิ กส์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์และระบบมัลติมีเดีย ที่มีมาแต่เดิม ที่กาลังใช้อยูป่ ั จจุบนั และที่กาลังพัฒนา เพื่อสามารถปรับประยุกต์ใช้ ทักษะกระบวนการ และบริ หารจัดการวางแผนงานก่อนการผลิต ในระหว่างดาเนิ นการผลิต และหลังการผลิตผลงานออกแบบ ภาพเคลื่อนไหว จนสามารถนาเสนอผลงานออกมาตามวัตถุประสงค์ ได้อย่างเหมาะสมกับศักยภาพของผูเ้ รี ยน ระบบเศรษฐกิจ สร้างสรรค์อย่างพอเพียง และสอดคล้องความต้องการของตลาดแรงงาน

มคอ3.วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 05/11/2555


4

2. จานวนชั่วโมงทีใ่ ช้ ต่อภาคการศึกษา บรรยาย

สอนเสริ ม

บรรยาย 24 ชัว่ โมงต่อ ภาคการศึกษา

ใช้ระบบอีเลิร์นนิ่ง 24x7

การฝึ กปฏิบตั ิ/งาน การศึกษาด้วยตนเอง ภาคสนาม/การฝึ กงาน การฝึ กปฏิบตั ิ 25 ชัว่ โมงต่อ 5 ชัว่ โมง ต่อสัปดาห์ ภาคการศึกษา

3. จานวนชั่วโมงต่ อสัปดาห์ ทอี่ าจารย์ ให้ คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่ นักศึกษาเป็ นรายบุคคล อาจารย์ผสู ้ อนจัดระบบและเวลาให้คาปรึ กษาเป็ นรายบุคคลหรื อรายกลุ่มเรี ยนไว้ท้ งั แบบโดยตรงและโดยอ้อม(Direct and Indirect Advice Method)ดังนี้คือ 3.1 ใช้ระบบอาจารย์ที่ปรึ กษา(Mentor)ในชั้นเรี ยนชัว่ โมง Home Room ทุกวันพุธ เวลา13.00-16.30 น. 3.2 ใช้ระบบอีเลิร์นนิ่ งของสาขาวิชา ArtChandra : Art and Design e-Learning Port เป็ นระบบบริ หารจัดการห้องเรี ยน เสมือน(Virtual Classroom) ให้นักศึ กษาสามารถเข้าศึ กษาเรี ยนรู ้ ทากิ จกรรม การมี ส่วนร่ วมอภิปราย-ซักถามและทบทวน บทเรี ยนที่ผา่ นมาด้วยตนเอง(Self-Paced Learning) แบบทางไกลผ่านเว็บไซต์ของรายวิชา ได้จากทุกสถานที่ ทุกเวลา 3.3 ใช้สื่อเครื อข่ายสังคมออนไลน์สากลที่ ร่วมสมัยและเป็ นปั จจุบัน (Real Time Social Network Media) ด้วย GoogleWave, GoogleBuzz, Facebook ,Twitter และอื่นๆ เพื่อให้คาปรึ กษา คาแนะนาและการติดตามผล ตามช่องทาง-ข้อตกลง เบื้องต้นของอาจารย์ผสู ้ อนหรื อของสาขาวิชาที่ต้ งั ขึ้นใช้เฉพาะกลุ่มเรี ยน และเชื่อมโยงแบบส่ วนบุคคล ด้วยการติดต่อผ่านทาง ระบบอีเมลโดยตรงทุกคนตามที่อยูแ่ จ้ง หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริ ยธรรมที่ตอ้ งพัฒนา พัฒนานักศึกษาให้มีความรับผิดชอบ มีวนิ ยั มีจรรณยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิ ทธิของข้อมูลส่ วนบุคคล การไม่ละเมิด ลิขสิ ทธิ์ทางการออกแบบและไม่ละเมิดลิขสิ ทธิ์ทางปั ญญา โดยมีคุณธรรมจริ ยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ 1.1.1 การมีวนิ ยั ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ในการนัดหมาย การรับ-ส่งผลงาน การเข้าร่ วมกิจกรรมใน หรื อนอกชั้นเรี ยนทั้งโดยตรงและโดยอ้อม เช่นการเข้าชั้นเรี ยนตามเวลาและสม่าเสมอ อย่างน้อย 80% การแต่งกายให้เรี ยบร้อย เหมาะสมกับสถานการณ์ท้ งั ในห้องเรี ยนและภาคสนาม 1.1.2 การตระหนักรู ้ในคุณธรรม จริ ยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพทางศิลปกรรม 1.1.3 การเคารพสิ ทธิและรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น รวมทั้งเคารพการรักษาผลประโยชน์ในคุณค่าของผลงานการ สร้างสรรค์ของตนเองและผูอ้ ื่น ด้วยจิตสาธารณะ และยึดมัน่ ในหลักประชาธิปไตย 1.1.4 การตระหนักรู ้และปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับและกฏหมายขององค์กรหรื อสังคม อันเกี่ยวข้องกับสิ ทธิ และผลประโยชน์ของผลงานที่เกิดจากการสร้างสรรค์ของตนเองและผูอ้ ื่น สิ ทธิ์ ในการนามาร่ วมใช้งาน การนาเสนอเผยแพร่ และโฆษณาประชาสัมพันธ์ต่อสาธารณะทั้งโดยตรงหรื อโดยอ้อม

มคอ3.วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 05/11/2555


5

1.2 วิธีการสอน โดยการบรรยายหรื อสอดแทรกสาระเนื้ อหาด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ให้แก่นักศึกษาได้ ศึกษาเรี ยนรู ้ รับรู ้ ได้ฝึกการคิดวิเคราะห์ และมีส่วนร่ วมทากิจกรรมทั้งในและนอกชั้นเรี ยน โดยใช้วธิ ีการสอนดังนี้คือ 1.2.1 การฝึ กฝนพฤติ กรรมความรับผิดชอบด้านกาละเทศะ กฏ ระเบี ยบวินัย และข้อบังคับ โดยมีการกาหนด เงื่อนไขในการเข้าชั้นเรี ยนตามตารางเวลาและเช็คชื่อทุกครั้ง ระบุเงื่อนไขการแต่งกายตั้งแต่ตน้ และพิจารณาการแต่งกายตาม ความเหมาะสมภายใต้ดุลยพินิจของคณะผูส้ อนและระเบียบการแต่งกาย โดยผูส้ อนจะต้องมีการแต่งกายที่เหมาะสมเพื่อตัวอย่าง ที่ดีให้แก่นกั ศึกษา 1.2.2 มีการบรรยายเนื้อหาหรื อสอดแทรกสาระคุณธรรม จริ ยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาชีพทางศิลปกรรมเข้า ในบทเรี ยนทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบตั ิการ 1.2.3 สอนแบบให้นักศึ กษามี ส่ ว นร่ ว มในเวที การแสดงความคิ ดเห็ นในชั้น เรี ย น และหรื อใช้เวที สาธารณะ ออนไลน์ผา่ นระบบเครื อข่ายสื่ อสังคม (Social Network Media) ตามความเหมาะสม 1.3 วิธีการประเมินผล 1.3.1 ใช้เกณฑ์ประเมินผลการเข้าชั้นเรี ยนตรวจสอบพฤติกรรมการเข้าเรี ยนและพฤติกรรมการมีส่วนร่ วม การ ส่ งผลงานที่ ได้รับมอบหมายตามขอบเขต ระยะเวลาที่ มอบหมายภาระงาน และการตรงต่อเวลา ซึ่ งในการเข้าชั้นเรี ยนตาม ตารางเวลาและเช็คชื่อทุกครั้งอย่างน้อยร้อยละ 80 จึงจะถือว่าผ่าน และแต่งกายตามความเหมาะสมให้เป็ นส่ วนหนึ่ งของคะแนน เก็บ แต่ไม่เกินร้อยละ 10 1.3.2 ความรับผิดชอบในการนาเสนอผลงาน วิธีการคิดวิเคราะห์ตามกระบวนวิธีของวิชาชีพนักออกแบบ คุณภาพ การนาเสนอผลงานที่สร้างสรรค์ มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นามาทารายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตรงโจทย์ 1.3.3 การสรุ ปผลงานในโครงการออกแบบส่ วนบุคคล(Individual Design Project)และการนาเสนอเผยแพร่ สู่ สาธารณะ 2. ความรู้ 2.1 ความรู ้ที่ตอ้ งได้รับ นักศึกษามีความรู ้ในทฤษฎีความรู ้ ทักษะกระบวนการ ขั้นตอนวิธีการสร้างสรรค์ผลงานภาพเคลื่อนไหวทั้งรู ปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ โดยมีการฝึ กทักษะฝี มือทางศิ ลปกรรม ให้ผสานสัมพันธ์กบั ทักษะเทคนิ ควิธีการใช้วสั ดุอุปกรณ์เครื่ องมือ อิเลคทรอนิกส์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และระบบมัลติมีเดีย ที่มีมาแต่เดิม ที่กาลังใช้อยูป่ ั จจุบนั และที่กาลังพัฒนา เพื่อสามารถ ปรับประยุกต์ใช้ทกั ษะกระบวนการ และบริ หารจัดการวางแผนงานก่อนการผลิต ในระหว่างดาเนิ นการผลิต และหลังการผลิต ผลงานออกแบบภาพเคลื่อนไหว จนสามารถนาเสนอผลงานออกมาตามวัตถุประสงค์ ได้อย่างเหมาะสมกับศักยภาพของผูเ้ รี ยน ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์อย่างพอเพียง และสอดคล้องความต้องการของตลาดแรงงาน 2.2 วิธีการสอน วิธีการสอน เน้นนักศึกษาเป็ นศูนย์กลาง ตามหัวข้อเนื้ อหาในแผนการสอนโดยบูรณาการวิธีการเรี ยนการสอนต่างๆมา ใช้คือ 2.2.1 วิธีการคิด วิเคราะห์ วิจยั และการวางแผน ด้วยการฝึ กสร้างแผนผังความคิด (Concept Design Mapping or Mind Mapping)เพื่อวางแผนการสร้างสรรค์ผลงานด้านการออกแบบภาพเคลื่อนไหว โดยเน้นพฤติกรรมให้นักศึ กษามีการ วางแผน มีบทบาทในจัดระบบความคิดของตนหรื อกลุ่มให้ชดั เจน เห็นความสาคัญ ความสัมพันธ์และในกระบวนการออกแบบ (Design Process) และกระบวนการบริ หารจัดการงานวิชาชีพ(Design Carreer Performance) มคอ3.วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 05/11/2555


6

2.2.2 ใช้สื่อการสอนแบบ การจัดการเรี ยนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction) เพื่อให้ ผูเ้ รี ยนมีความรู ้หลากหลายภายใต้ภาวะแวดล้อมและเกิดทักษะสัมพันธ์ในการใช้เครื่ องมือ อันประกอบด้วย ระบบบริ การการ เรี ยนการสอนออนไลน์ e-learning ของสาขาวิชาศิลปกรรม ระบบ EFront LMS, และระบบบริ การติดต่อสื่ อสารและการมีส่วน ร่ วมแบ่งปั นความรู ้ ของ GoogleSites และ GoogleWave ร่ วมสนับสนุนและติดตามให้คาปรึ กษา การวิจารณ์ผลงานการเรี ยนรู ้ ด้วยตนเองของนักศึกษา โดยเป็ นสื่ อเสริ มการเรี ยนรู ้นอกชั้นเรี ยน เน้นพฤติกรรมให้นักศึกษามีการซักถาม ตอบคาถาม การ แก้ปัญหาโจทย์ การนาความรู ้ และตัวอย่างไปใช้ประโยชน์ การเรี ยนรู ้ที่ตอ้ งการผลการเรี ยนรู ้ทนั ที หรื อให้เกิ ดการเรี ยนรู ้ ตามลาดับขั้นตอนเป็ นระยะ โดยใช้วธิ ีการให้นกั ศึกษามีบทบาทในเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองตามระดับความรู ้ความสามารถของตน มี การแก้ไขฝึ กซ้ า ทาตามวิดีโอบันทึกการสอน เพื่อสร้างความรู ้ความเข้าใจและความเชี่ยวชาญทางทักษะ ฝึ กการคิดวิเคราะห์ และ รู ้จกั บูรณาการความรู ้ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในปั จจุบนั 2.3 วิธีการประเมินผล 2.3.1 ใช้การทดสอบก่อนเรี ยนและหลังการเรี ยน การทดสอบย่อย ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี ทั้งในชั้นเรี ยนและการทดสอบในระบบออนไลน์ 2.3.2 แบบบันทึกการตรวจผลงาน ตามเกณฑ์ความถูกต้องเชิงเทคนิ ควิธีปฏิบตั ิการ และรายงานสรุ ปผลงานการ สร้างสรรค์โครงการออกแบบของกลุ่มและส่วนบุคคล 3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปั ญญาที่ตอ้ งพัฒนา พัฒนานักศึ กษาให้มีความสามารถในการคิ ดจัดกระทาอย่างเป็ นระบบ โดยให้มี การแสดงวิธีคิด วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ และสื่ อแสดงออกมาให้เห็นถึง การบวนการแก้ปัญหา การนาเสนอทางเลือกอย่างเป็ นขั้นตอนตามทักษะกระบวนการ ทางศิ ลปกรรมด้วยทักษะฝี มือ (Manual Design Skill) ที่ผสานสัมพันธ์กบั การใช้วสั ดุ อุปกรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีที่เกี่ ยวข้อง (Tools & Related Technology Manipulation) มาปรั บประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมและมี ประสิ ทธิภาพกับโจทย์หรื อภาระงานที่รับผิดชอบ 3.2 วิธีการสอน 3.2.1 ใช้การสอนแบบการเรี ยนรู ้จากการทางาน (Work-based Learning) ด้วยการมอบหมายให้จดั ทาโครงงานเป็ น แบบกลุ่ม และแบ่งความรับผิดชอบภาระงานการผลิตตามศักยภาพ ความถนัดและความสนใจเป็ นรายบุคคล โดยนามาสรุ ป สังเคราะห์และนาเสนอเป็ นผลงานภาพเคลื่อนไหวร่ วมกัน ภายใต้คาปรึ กษาแนะนาและติดตามผลของผูส้ อน 3.2.2 ให้ฝึกปฏิบตั ิผา่ นการทางานโครงการออกแบบการแสดงวิธีคิดวิเคราะห์ และสื่ อแสดงให้เห็นทักษะการบวน การแก้ปัญหา การนาเสนอทางเลือกอย่างเป็ นขั้นตอนตามกระบวนการออกแบบด้วยทักษะฝี มือ (Manual Design Skill) ที่ผสาน สัมพันธ์กบั การใช้วสั ดุ อุปกรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีที่เกี่ ยวข้อง (Tools & Related Technology Manipulation) มาปรับประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิ ทธิ ภาพกับโจทย์หรื อภาระงานที่รับผิดชอบ การมีส่วนร่ วมใน การพิจารณาตัดสิ นผลงาน (Design Focus Group)การวิพากษ์วจิ ารณ์ภายในกลุ่มหรื อชั้นเรี ยน 3.2.3 บรรยาย-สาธิต-สร้างช่องทางสื่ อและสถานการณ์จริ งเพื่อให้มีการนาเสนอและการวิจารณ์ผลงาน 3.3 วิธีการประเมินผล 3.3.1 ใช้แบบทดสอบกลางภาคและปลายภาคเรี ยน โดยเน้นข้อสอบที่ มีโจทย์ให้ตอ้ งมีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ แสดงหลักฐานการสรุ ปทฤษฎีและหลักการ หรื อการคิดวิเคราะห์แนวคิดในการสร้า งสรรค์ผลงานตามวิถีทางของนักออกแบบ 3.3.2 ประเมินจากผลงานที่ นาเสนอในแต่ละขั้นตอนเป็ นตัวชี้วดั โดยอิงเกณฑ์ความสมบูรณ์ของผลงานและอิง กลุ่ม และประเมินภาพรวมจากพัฒนาการ คุณภาพของผลงานและการเผยแพร่ ผลงานสู่สาธารณะ มคอ3.วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 05/11/2555


7

4. ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ตอ้ งพัฒนา คือ 4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพในกลุ่ม เช่นการจัดการกับผลงานแต่ละชิ้น ซึ่ งต้องลงปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง โดยต้องอาศัยการมีส่วนร่ วมในการให้ขอ้ มูล และสามารถส่งงานตามเวลา 4.1.2 พัฒนาความเป็ นผูน้ า-ผูต้ ามในการทางานเป็ นทีม และความสามารถในการจัดการงานกลุ่ม 4.1.3 พัฒนาการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายให้ครบถ้วนตามกาหนดเวลา 4.2 วิธีการสอน 4.2.1 จัดกิ จกรรมกลุ่มรายงาน การศึ กษาวิเคราะห์กรณี ศึกษา เช่นการศึ กษาวิเคราะห์ เทคนิ ควิธีการผลิตผลงาน ออกแบบภาพเคลื่อนไหว 4.2.2 การมอบหมายโครงงานการออกแบบสร้างสรรค์ผลงานแบบกลุ่ม โดยมอบหมายภาระงานให้ดาเนิ นการจริ ง เป็ นรายบุคคล โดยสามารถอ้างอิงข้อมูลจริ ง หรื อตามรู ปแบบการวิจยั แบบมีส่วนร่ วม(Participatory Reseaerch)ให้แล้วเสร็ จ ออกมาจริ งและเคร่ งครัดตามกาหนดเวลา 4.2.3 การนาเสนอผลงานออกแบบและการทาแฟ้ มสะสมผลงาน โดยมอบหมายให้มีการนาเสนอผลงานเป็ น นิ ทรรศการย่อยในชั้นเรี ยนหรื อภายนอกชั้นเรี ยนของแต่ละกลุ่ม โดยการจัดทา Mood Board ทั้งแบบกลุ่มและรายบุคคล เพื่อ แสดงสรุ ปภาระงานที่ร่วมรับผิดชอบ และจัดพิมพ์เป็ นรู ปเล่มรายงาน และส่ งไฟล์แสดงเผยแพร่ เป็ นเอกสารออนไลน์ไว้ใน เว็บไซต์รายวิชา และเว็บไซต์ของแต่ละรายบุคคล ที่ผสู ้ อนกาหนด 4.3 วิธีการประเมิน 4.3.1 แบบประเมินตนเองและเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กาหนด 4.3.2 แบบบันทึกพฤติกรรมการทางานเป็ นทีมและรายบุคคล ที่สื่อแสดงถึงความเข้าใจและความสามารถอธิ บาย งานที่ตนเองรับผิดชอบได้กระจ่างและเชื่อมโยงกับงานส่วนอื่นๆ ของกลุ่มได้อย่างสอดคล้องกัน 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่ อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ตอ้ งพัฒนา เช่น 5.1.1 ทักษะการคิดคานวณ เชิงตัวเลข ผ่านกระบวนการเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ขอ้ มูลตามชิ้นงานที่กาหนด 5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่ อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน ผ่านกระบวนเขียนรายงาน การซักถามและ การนาเสนอผลงานความก้าวหน้าต่างๆที่รับผิดชอบทั้งในชั้นเรี ยนและนอกชั้นเรี ยน 5.1.3 พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ผ่านทางช่องทางการใช้สื่อเครื อข่ายสังคอมออนไลน์ในการ ติดต่อสื่ อสาร การสื บค้นข้อมูล การติดตามข่าวสารสาระ การสร้างและนาเสนอรายงานผลงาน ผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ตและ ระบบอีเลิร์นนิ่ง ที่ผสู ้ อนกาหนด 5.1.4 พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยี และการปรับประยุกต์ใช้ เครื่ องมื อ วัสดุอุปกรณ์ ได้ตามศักยภาพ ความ เหมาะสม พอเพียงตามวิถีร่วมสมัยในวิชาชีพศิลปกรรม 5.2 วิธีการสอน 5.2.1 ใช้การสอนแบบฝึ กอบรมทักษะการใช้งานเครื่ องมือออนไลน์ (Online Tools) และโปรแกรมสาเร็ จรู ปเชิ ง พาณิ ชย์และโปรแกรมฟรี ที่เกี่ ยวข้องกับการออกแบบภาพเคลื่อนไหว เพื่อนามาปรับประยุกต์ใช้กบั กระบวนการสร้างสรรค์ ผลงานในขั้นตอนของ Pre-Production , Production และ Post-Production

มคอ3.วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 05/11/2555


8

5.2.2 การฝึ กทักษะการประยุกต์ใช้เครื่ องมือออนไลน์และโปรแกรมฟรี ของ Google Products เพื่อสนับสนุนการ เรี ยนรู ้ภาคทฤษฏี ภาคปฏิบตั ิการและการนาเสนอเผยแพร่ แฟ้ มผลงานออกแบบของนักศึกษา 5.2.3 การสอนเสริ มทักษะการใช้งานเครื อข่ายสื่ อสังคมออนไลน์ เพื่อรองรับการสื่ อสารแบบกลุ่มและการติดต่อ เฉพาะบุคคล โดยมีการฝึ กอบรมทักษะการใช้งานจริ ง เช่นให้สามารถส่งไฟล์งานทางระบบบริ การอินเตอร์เน็ต ทางอีเมลล์ หรื อ การสร้างข่าวสารสาระการเรี ยนรู ้ การตรวจแสดงความคิดเห็น การติดตาม การเผยแพร่ แสดงผลงานทางออนไลน์ได้จริ ง เช่น การใช้ Weblog, Google Buzz การสื่ อสารการทางานในกลุ่มผ่านห้องสนทนาด้วย Chat Room, ทาง Social Media Network เช่น FaceBook, หรื อ Twitter เป็ นต้น 5.2.4 ฝึ กปฏิบตั ิการสร้างและแบ่งปั นใช้ขอ้ มูลผ่านทางเว็บไซต์สาธารณะ เพื่อสรุ ปสาระและผลการเรี ยนรู ้ แสดง วิธีการคิด สร้างสรรค์ แสดงผลงานทางระบบออนไลน์ร่วมกัน และหรื อส่ วนบุคคล ในลักษณะรู ปเล่มรายงานหรื อแฟ้ มผลงาน (ที่สร้างสรรค์เพื่อใช้กา้ วสู่ โลกอาชีพ (Professional Port Folio) เพื่อการยอมรับหรื อใช้เป็ นฐานอ้างอิงประสบการณ์และการ พัฒนาทักษะที่สูงขึ้นต่อไป 5.3 วิธีการประเมิน 5.3.1 แบบประเมิ น ทักษะการน าเสนอผลงาน การจัด ทารายงานและการนาเสนอผ่า นทางระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ 5.3.2 แบบบันทึกประวัติการมีส่วนร่ วมในการใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.3.3 แบบประเมินผลงานเชิงประจักษ์ โครงงานกลุ่มและรายบุคคลที่เผยแพร่ แสดงออนไลน์ในระบบอินเตอร์เน็ตที่ เข้าถึงได้จริ ง 6.ทักษะปฏิบัตกิ ารทางวิชาชีพศิลปกรรม 6.1 ทักษะปฏิบตั ิการทางวิชาชีพที่ตอ้ งพัฒนา คือ 6.1.1 พัฒนาทักษะฝี มือในการสร้างสรรค์ผลงาน ในขอบข่ายเนื้อหาวิชาการออกแบบภาพเคลื่อนไหว ได้อย่างเหมาะสม กับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงและความต้องการของตลาดแรงงาน 6.1.2 พัฒ นาทักษะทางการบริ หารจัด การงานในขอบข่า ยเนื้ อ หาวิชา การออกแบบภาพเคลื่ อ นไหว การปรั บ ประยุกต์ใช้เครื่ องมือ โปรแกรมประยุกต์และวิทยาการที่เกี่ยวข้อง ให้สาเร็ จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ ได้อย่าง เหมาะสมตามศักยภาพและความพร้อมที่มี 6.1.3 พัฒนาทักษะการนาเสนอและสร้างแฟ้ มสะสมผลงานในขอบข่ายเนื้ อหาวิชาการออกแบบภาพเคลื่อนไหว ได้ โดยใช้รูปแบบ เครื่ องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมตามวิถีของวิชาชีพศิลปกรรม 6.2 วิธีการสอน 6.2.1 การฝึ กอบรมทักษะปฏิบตั ิการ ตามหัวข้อเนื้ อหาและแผนการสอนเป็ นลาดับขั้นตอน ตามทักษะกระบวนการ ทางศิลปกรรมของรายวิชาที่สอน เช่นการทักษะฝี มือการวาดภาพ ทักษะการใช้งานอุปกรณ์ เครื่ องมือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาเร็ จรู ปและเทตโนโลยีเพื่อ การคิด การวางแผนสร้าง การผลิตและการนาเสนอภาพเคลื่อนไหว ที่ สอดคล้องตรงกับความ ต้องการของตลาดแรงงาน การลงทุนและศักยภาพของผูเ้ รี ยน 6.2.2 สร้างช่องทาง จัดกิจกรรมและประสบการณ์จริ ง เพื่อการนาเสนอและการสร้างแฟ้ มสะสมผลงานของนักศึกษา 6.3 วิธีการประเมินผล 6.3.1 การทดสอบทักษะปฏิบตั ิการตามเกณฑ์และจุดประสงค์ของรายวิชา

มคอ3.วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 05/11/2555


9

6.3.2 การประเมินระดับทักษะปฏิบตั ิการ จากผลสรุ ปคะแนนรวมของการตรวจผลงานเชิงประจักษ์ ตามเกณฑ์ การ ตรวจให้คะแนนกิ จกรรมภาคปฏิบตั ิการสอบความถูกต้องของผลงานที่เกิ ดจากการจัดเก็บ การแสดงผล การค้นคืนไฟล์ตาม กระบวนการทางเทคโนโลยีและผลสัมฤทธิ์ของงานที่ปรากฏ หรื อการจัดแสดงนิทรรศการผลงาน 6.3.2 เล่มเอกสารรายงานผลงานโครงการส่วนบุคคล และหลักฐานการจัดแสดงผลงานด้วยรู ปแบบ วิธีการและการ ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม

มคอ3.วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 05/11/2555


10

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1.แผนการสอน สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด ที่ 1 แนะนาวิชา - คาอธิบายรายวิชา - ธรรมชาติวชิ า - ข้อตกลงและการเตรี ยมตัวก่อนเรี ยน วิธีการเรียนรู้ - หัวข้อเนื้อหาและบทเรี ยน - การวัดผลและการประเมินผล ระบบสนับสนุนการเรียนการสอน ในชั้นเรี ยนและนอกเวลาเรี ยน - ระบบสื่ อ - ระบบการติดต่อสื่ อสาร การทดสอบก่อนเรียน

จานวน กิจกรรมการเรี ยนการสอน ผูส้ อน ชัว่ โมง สื่ อที่ใช้ (ถ้ามี) 3.50 ผศ. บรรยาย ปฐมนิเทศวิชาและกิจกรรม ปฏิบัตกิ ารฝึ กทักษะ การบริ หารจัดการใช้ ประชิด ทิณบุตร ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศส่วนบุคคล และระบบเครื อข่ายทางสังคม ใน ฐานข้อมูลและผลิตภัณฑ์มาตรฐานบริ การ ของ Google.com และระบบอื่นๆเช่น การลงทะเบียนสมัครสมาชิกระบบ เครื อข่ายสื่ อสังคมข่าวสารออนไลน์ - การลงทะเบียนการสมัครเรี ยนในระบบอี เลิร์นนิ่ง ระบบ eFront การทดสอบ การทดสอบก่อนการเรี ยน (Pre-Test) สื่อทีใ่ ช้ - เอกสารแผนการสอน - ห้องปฏิบตั ิการ-เครื่ องคอมพิวเตอร์ - ระบบอินเตอร์เน็ต - วิดีทศั น์/วิดีโอคลิปออนไลน์ - บทเรี ยนออนไลน์วชิ า - แบบทดสอบก่อนเรี ยนออนไลน์ - เว็บไซต์แหล่งเรี ยนรู ้ดา้ นการผลิต - เว็บไซต์รับส่งข่าวสารด้านAnimation Design -เว็บไซต์เครื อข่ายสื่ อสังคมออนไลน์ ของ ”ArtChandra”, ”Prachid007” ของ Google, Facebook, Twitter ,Academia, ที่ ผูส้ อนตั้งขึ้น

มคอ3.วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 05/11/2555


11

สัปดาห์ ที่ 2

หัวข้อ/รายละเอียด สามัญทัศน์ เกีย่ วกับการออกแบบ ภาพเคลือ่ นไหว ความหมายและความสาคัญ - Animation and advertising - Animation and Education - Animation and Gaming - Animation and music/sound ชนิดและประเภท ของภาพเคลื่อนไหว -Types of Animation กระบวนการสร้ างภาพเคลือ่ นไหว - Traditional Animation Process - Computer Animation Process

จานวน กิจกรรมการเรี ยนการสอน ผูส้ อน ชัว่ โมง สื่ อที่ใช้ (ถ้ามี) 3.50 ผศ. บรรยาย-สาธิต ประชิด การบ้ าน : การศึกษาความหมาย ศัพท์เทคนิคทางการออกแบบเคลื่อนไหว ทิณบุตร - การมีส่วนร่ วมในการสร้างสรรค์สาระใน เว็บไซต์การจัดการความรู ้อย่างพอเพียง ของวิชา -การเตีรยมสร้างแฟ้ มสะสมความรู ้และ ผลงาน(Portfolio) แบบออนไลน์ส่วน บุคคล ฝึ กปฏิบตั ิการ 2D Motion Graphic อย่างง่าย -ลงทะเบียนแหล่งเรี ยนรู ้และเผยแพร่ ผลงานกลุ่มและส่วนบุคคลในเว็บไซต์ http://vimeo.com/groups/68202 http://www.dailymotion.com ที่ผสู ้ อน ตั้งขึ้น สื่อทีใ่ ช้ - คอมพิวเตอร์ /อินเตอร์เน็ต - เว็บไซต์สื่อแสดงผลงานและแฟ้ มสะสม ผลงาน - บทเรี ยนออนไลน์ - เว็บไซต์แหล่งเรี ยนรู ้ดา้ นการออกแบบ ภาพเคลื่อนไหว http://www.issuu.com/groups/animation http://www.thaishortfilm.com http://www.thaianimation.info thaianimation.wordpress.com http://www.vimeo.com http://www.creatoon.com http://www.animationprograms.biz http://www.pencil-animation.org

มคอ3.วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 05/11/2555


12

สัปดาห์ ที่ 3-4

หัวข้อ/รายละเอียด 2D-3D Animation Pre-Production Process Animation Storytelling Guide

-Story development -Story Boarding -Voice Recording - Computer Animation Programs Title Mosion Graphics Swish Max

จานวน กิจกรรมการเรี ยนการสอน ชัว่ โมง สื่ อที่ใช้ (ถ้ามี) 7 ทบทวนซักถามและติดตามผลงาน - บรรยาย – สาธิต อภิปรายกลุ่มย่อย - การวางแผนและแผนที่ความคิดทางการ ออกแบบภาพเคลื่อนไหว -ฝึ กปฏิบตั ิการออกแบบภาพเคลื่อนไหว : Story Board การบ้ าน มอบหมายวางแผนออกแบบ โครงงานออกแบบภาพยนตร์เทคนิค ภาพเคลื่อนไหวแบบดั้งเดิม ความยาวไม่ เกิน 3 นาที แบบกลุ่มละ ไม่เกิน 3 คน สื่อทีใ่ ช้ - Pre Producution Sheet Form - คอมพิวเตอร์ /อินเตอร์เน็ต - วิดีทศั น์/วิดีโอคลิป 2D-3D Animation จาก Youtube.com,Vimeo,Vodpod - บทเรี ยนออนไลน์ -แบบฟอร์มการสร้าง Storyboard -โปรแกรมสาเร็ จรู ปด้านการสร้างบทภาพ ภาพเคลื่อนไหวอย่างง่าย - เว็บไซต์แหล่งเรี ยนรู ้ดา้ นการผลิต http://www.issuu.com/groups/animation http://www.thaishortfilm.com http://www.thaianimation.info thaianimation.wordpress.com http://www.vimeo.com http://www.creatoon.com http://www.animationprograms.biz http://www.pencil-animation.org

มคอ3.วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 05/11/2555

ผูส้ อน ผศ. ประชิด ทิณบุตร


13

สัปดาห์ ที่ 5-6

7

หัวข้อ/รายละเอียด 2D-3D Animation Production Process -Backgrounds -Drawing the Animation -Checking the Animation and Inking -Painting -Photographing

2D-3D Animation Post Production Process -Making the Work Print and Rough Cut -Adding Sound

จานวน กิจกรรมการเรี ยนการสอน ผูส้ อน ชัว่ โมง สื่ อที่ใช้ (ถ้ามี) 7 -ให้คาปรึ กษา การนาเสนอและติดตามการ ผศ. ทากิจกรรมกลุ่ม Storyboard ประชิด -ฝึ กปฏิบตั ิการสื บค้นและแบ่งปันความรู ้ ทิณบุตร ทางการออกแบบภาพเคลื่อนไหวด้วยการ วาดมือร่ วมกับอุปกรณ์ดิจิตลั -กิจกรรมกลุ่มในการร่ วมกันวิเคราะห์ กรณี ศึกษา การแก้ปัญหาโจทย์และภาระ งานที่รับมอบ -ฝึ กปฏิบตั ิการออกแบบตัวละคร -ฝึ กปฏิบตั ิการออกแบบฉากและสิ่ งของ ประกอบฉาก -เทคนิคการถ่ายภาพนิ่งและการบันทึกภาพ เคลื่อนไหวแบบ Frame by Frame

3.50

สื่อทีใ่ ช้ - คอมพิวเตอร์ /อินเตอร์เน็ต -โปรแกรมสาเร็ จรู ปด้านการออกแบบภาพ ประเภทเวคเตอร์และแรสเตอร์ -โปรแกรมสาเร็ จรู ปด้านการสร้าง ภาพเคลื่อนไหวแบบ 2 มิติแบบ Frame by Frame -กล้องดิจิตลั และโต๊ะไฟในสตูดิโอ - บทเรี ยนออนไลน์ บรรยาย/สาธิตการใช้งานโปรแกรมตัดต่อ ผศ. ภาพและเสี ยง ประชิด -ทดสอบทักษะปฏิบตั การวิชาชีพ ทิณบุตร สื่ อที่ใช้ - ตัวอย่างงานต้นแบบและผลงานจาลอง เหมือนของจริ ง -ตัวอย่างการออกแบบภาพเคลื่อนไหว -โปรแกรมตัดต่อภาพและเสี ยง

มคอ3.วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 05/11/2555


14

สัปดาห์ ที่ 8

หัวข้อ/รายละเอียด

จานวน ชัว่ โมง

การนาเสนอผลงานกลุ่ม สอบกลางภาคเรี ยน

กิจกรรมการเรี ยนการสอน สื่ อที่ใช้ (ถ้ามี) -การนาเสนอผลงานกลุ่ม -สอบกลางภาคเรี ยน(จัดสอบเอง) สื่อทีใ่ ช้ -แบบทดสอบในระบบออนไลน์

ผูส้ อน

9-10

Animation Digital Art/Graphics Programs 7 -Photoshop Animation -windows Movie Media -Flash Movie /Animation Swizh Max

- ฝึ กปฏิบตั ิการออกแบบและการพัฒนา ต้นแบบผลิตภัณฑ์ สื่อทีใ่ ช้ คอมพิวเตอร์/อินเตอร์เน็ต -คอมพิวเตอร์/โปรแกรมการตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหว เวอร์ชนั่ ทดลองหรื อ OpenSource

11-12

3D Animation Post Production Process -Blender -Anim8or -Data Collection -Cutting -Packaging Record & Presenting

7

-บรรยาย/สาธิตการใช้งานโปรแกรม ผศ. นาเสนอผลงานออกแบบภาพเคลื่อนไหว ประชิด -ฝึ กปฏิบตั ิการจัดการไฟล์สาหรับการจับ ทิณบุตร เก็บและการส่งออก สื่อทีใ่ ช้ - ตัวอย่างงานต้นแบบ และผลงานจาลอง เหมือนของจริ ง -โปรแกรมประเภทการนาเสนอ - เว็บไซต์บริ การจัดเก็บและเชื่อมโยงส่งต่อ บริ การไฟล์ -เครื่ องฉายดิจิตลั โปรเจคเตอร์

13

8.เทคนิคการนาเสนอผลงาน - การนาเสนอเผยแพร่ ผลงานและแฟ้ ม สะสมงานแบบออนไลน์ - การจัดทาภาคนิพนธ์สรุ ปผลการ ดาเนินงานโครงงานออกแบบส่วนบุคคล -การจัดทาแผ่นภาพ Mood Board อธิบาย สรุ ปย่อประกอบการนาเสนอผลงาน ต้นแบบจริ ง -Free Presentation Technology - Open Office Impress

3.50

-เทคโนโลยีการนาเสนอผลงานด้วย โปรแกรมประเภท OpenSource -บรรยาย/ยกตัวอย่างแฟ้ มแสดงผลงานการ ออกแบบภาพเคลื่อนไหว -ฝึ กปฏิบตั ิการออกแบบรวบรวมแฟ้ ม สะสมผลงานส่วนบุคคลและกลุ่ม สื่ อที่ใช้ -คอมพิวเตอร์/โปรแกรมประยุกต์ สาร็ จรู ปทางการนาเสนอ -ตัวอย่างการนาเสนอ -เว็บไซต์เผยแพร่ ออนไลน์

มคอ3.วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 05/11/2555

ผศ. ประชิด ทิณบุตร

ผศ. ประชิด ทิณบุตร


15

สัปดาห์ ที่

หัวข้อ/รายละเอียด

14-15

9.การนาเสนอผลงานโครงงานการ ออกแบบภาพเคลื่อนไหวส่วนบุคคล -การทดสอบหลังการเรี ยน

16

สอบปลายภาคเรี ยน และสรุ ปผลการเรี ยน รวมชัว่ โมงบรรยายและปฏิบตั ิการ

จานวน ชัว่ โมง

7

กิจกรรมการเรี ยนการสอน สื่ อที่ใช้ (ถ้ามี) Youtube.com http://vimeo.com/groups/68202 การนาเสนผลงานโครงการออกแบบส่วน บุคคลของนักศึกษา สื่อทีใ่ ช้ -คอมพิวเตอร์/เครื่ องฉายโปรเจคเตอร์ -เว็บไซต์แสดงและเผยแพร่ ผลงานส่วน บุคคลทาง GoogleSite, Issuu.com - Mood Board, Prototype, Paper/CD - Googlewave , GoogleBuzz สอบปลายภาคเรี ยน(จัดสอบเอง)

ผูส้ อน

ผศ. ประชิด ทิณบุตร

49

2.แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรม ผลการ วิธีการประเมิน ที่ เรี ยนรู ้* ความรับผิดชอบและการมีส่วนร่ วมในชั้นเรี ยน 1 2

การแต่งกาย บุคลิกภาพ กาละเทศะ

3

การศึกษาค้นคว้าและการนาเสนอเผยแพร่ ผลงานส่วน บุคคล

4

พัฒนาการทักษะวิชาชีพและกิจกรรมกลุ่ม

5 6

แบบฝึ กหัดทักษะย่อย การทดสอบทักษะเชิงปฏิบตั ิการ

7

โครงงานออกแบบส่ วนบุคคล

รวมคะแนนเก็บระหว่างภาคเรี ยน 8 สอบกลางภาคเรี ยน 9 สอบปลายภาค รวมคะแนนทั้งสิ้น การพิจารณาเกณฑ์ผา่ นในรายวิชาผูเ้ รี ยนจะต้อง

สัปดาห์ที่ ประเมิน ตลอดภาค เรี ยน ตลอดภาค เรี ยน

สัดส่วนของการ ประเมินผล

สัปดาห์ที่ 2-3

5%

สัปดาห์ที่ 8, สัปดาห์ที่15 สัปดาห์ที่ 7 สัปดาห์ที่ 14 สัปดาห์ที่ 14-15 สัปดาห์ที่ 8 สัปดาห์ที่16

มคอ3.วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 05/11/2555

5% 5%

10% 10% 10% 15% 65 % 15 % 20 % 100%


16

1.มีเวลาเข้าชั้นเรี ยนไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรี ยนทั้งหมด หากเวลาเรี ยนไม่พอตามที่กาหนดจะพิจารณาผลเป็ น ตกเนื่องจากเวลาเรี ยนไม่พอ ไม่มีสิทธิ์สอบ โดยได้รับค่าระดับคะแนน F (Failed, Insufficient Attendance) 2. ผูเ้ รี ยนจะต้องมีคะแนนรวมทั้งรายวิชาไม่ต่ากว่าร้อยละ 50 ของคะแนนรวมทั้งหมด 3.ผูท้ ี่ผา่ นเกณฑ์ขอ้ 2 จะได้รับค่าระดับคะแนนตามเกณฑ์ ดังนี้ คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป จะได้ค่าระดับคะแนน A คะแนนร้อยละ 75-79 จะได้ค่าระดับคะแนน B+ คะแนนร้อยละ 70-74 จะได้ค่าระดับคะแนน B คะแนนร้อยละ 65-69 จะได้ค่าระดับคะแนน C+ คะแนนร้อยละ 60-64 จะได้ค่าระดับคะแนน C คะแนนร้อยละ 55-59 จะได้ค่าระดับคะแนน D+ คะแนนร้อยละ 50-54 จะได้ค่าระดับคะแนน D คะแนนต่ากว่าร้อยละ 50 จะได้ค่าระดับคะแนน F

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1.เอกสารและตาราหลัก ชาตพล นภาวารี . 2548. สนุกกับ FLASH MX 2004 workshop. กรุ งเทพฯ : บริ ษทั ซีเอ็ดยูเคชัน่ จากัด (มหาชน). ภัททิรา เหลืองวิลาศ. 2549. FLASH MX สร้างแอนิเมชันบนเว็บอย่างมืออาชีพ. กรุ งเทพฯ : บริ ษทั ซีเอ็ดยูเคชัน่ จากัด (มหาชน). ------------------.เอกสารประกอบการสอนวิชาการออกแบบภาพเคลือ่ นไหว.สาขาวิชาศิลปกรรม ภาควิชา มนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 2.เอกสารและข้ อมูลสาคัญ 2.1 ไฟล์บนั ทึกข้อมูลเพื่อการประมวลและประเมินผลประจารายวิชา( Course–Class-Evaluation-Form.xls) 2.2 ไฟล์แบบฟอร์มการจัดทาบันทึกผลการออกแบบด้วยมือ (Manual Design Sheets Form.xls) 2.3 เนื้อหาบทเรี ยนออนไลน์ วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว ในระบบอีเลิร์นนิ่ง สาขาวิชาศิลปกรรม URL: http://art.chandra.ac.th/efront 3.เอกสารและข้ อมูลแนะนา 3.1.เว็บไซต์ระบบอีเลิร์นนิ่ง ภายในมหาวิทยาลัย ของสาขาวิชาศิลปกรรม 3.1.1 เว็บไซต์สนับสนุนการเรี ยนรู ้ออนไลน์ สาขาวิชาศิลปกรรม Artchandra e-Learning Portal Site : URL : http://art.chandra.ac.th 3.1.2 เว็บบล็อกศูนย์รวมข่าวสารของสาขาวิชาศิลปกรรม URL:http://artnet.chandra.ac.th 3.1.3 ระบบeFrontอีเลิร์นนิ่งสาหรับการเรี ยนการสอนประจาวิชา URL: มคอ3.วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 05/11/2555


17

http://art.chandra.ac.th/efront 3.2 เว็บไซต์สนับสนุนการติดต่อสื่ อสาร การติดตามผลและแสดงผลสัมฤทธิ์ การเรี ยนรู ้ของนักศึกษาอย่างพอเพียงและ สากล 3.2.1 เว็บไซต์การรับ-ส่งข้อความสั้นผ่านทาง URL : http://www.twitter.com/prachid007 3.2.2 สื่ อเครื อข่ายสังคมออนไลน์ สาขาวิชาศิลปกรรม URL:http://www.facebook.com/artchandra 3.2.3 เว็บไซต์เครื อข่ายการจัดการความรู ้สู่สาธารณะอย่างพอเพียงและสากลประจาวิชา URL : http://sites.google.com/site/arti3322 3.3. เว็บไซต์สากลเพื่อการนาเสนอเผยแพร่ และแสดงผลสัมฤทธิ์การเรี ยนรู ้ของนักศึกษา URL : http://www.thaianimation.info 3.4. เว็บไซต์แหล่งเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง http://www.issuu.com/groups/animation http://www.thaishortfilm.com http://www.thaianimation.info http://thaianimation.wordpress.com http://www.pixar.com http://www.vimeo.com http://www.creatoon.com http://www.animationprograms.biz http://www.pencil-animation.org http://scratch.mit.edu http://www.ikitmovie.com http://www.stopmotioncentral.com http://www.atomiclearning.com/storyboardpro

มคอ3.วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 05/11/2555


18

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 1.กลยุทธ์ การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา การประเมินประสิ ทธิผลในรายวิชาโดยนักศึกษา ได้จดั กิจกรรมเพื่อสารวจแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้โดยมี วิธีการดังนี้คือ 1.1 ใช้การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผูส้ อนและนักศึกษา 1.2 ใช้แบบบันทึกคะแนนกิจกรรมการเรี ยนรู ้และการรายงานผลการสังเกตการณ์พฤติกรรมของนักศึกษา 1.3ใช้ระบบสื่ อสารและเทคโนโลยีร่วมสมัย เพื่อเป็ นเวที แสดงออกและรวบรวมข้อคิดเห็ น ข้อเสนอแนะผ่านระบบ เครื อข่ายสังคมออนไลน์ ผ่านการรับ-ส่ งข่าวสารแบบกลุ่มของ GoogleBuzz, การวิพากษ์ วิจารณ์ และการติดตามให้คาปรึ กษา ด้านการเรี ยนรู ้ ด้านการสร้ างสรรค์ผลงานทั้งแบบกลุ่มและรายบุ คคลผ่านทาง GoogleWave และผ่านทางกระดานสนทนา (Discuss Board)ในระบบ e-Learning สาขาวิชาศิลปกรรม ในรายวิชาของอาจารย์ผสู ้ อนที่ได้กาหนดและจัดทาไว้เพื่อรองรับ เป็ นช่องทางสาหรับการติดต่อสื่ อสารกับนักศึกษาตลอด 24 ชัว่ โมง ตลอด 7 วัน 1.4 ใช้แบบประเมินผูส้ อน และแบบประเมินรายวิชา ที่คณะฯเป็ นผูด้ าเนินการ 2.กลยุทธ์ การประเมินการสอน ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ดงั นี้ 2.1 ใช้วธิ ีการซักถาม การสังเกตการณ์ การมีส่วนร่ วมในชั้นเรี ยนและพฤติกรรมของนักศึกษา จากผูส้ อนร่ วม 2.2ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจในการเรี ยนการสอนแบบออนไลน์ ของรายวิชา 2.3 การเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์จากผลการสอบก่อน-หลังเรี ยน และผลสอบภาคทฤษฏีความรู ้ 2.4 ผลสรุ ประดับพัฒนาการตามเกณฑ์พฤติกรรมทักษะวิชาชีพ : ทักษะการปฏิ บตั ิที่คาดหวังของนักศึ กษา (Career Criterias : Performance Expectations Achievement) 3.การปรับปรุงการสอน ในระหว่างดาเนิ นการสอน/หลังจากทราบผลการประเมินการสอนในแต่ละคราว/ภาคเรี ยนแล้ว มีวิธีการปรับปรุ งการ สอนโดยวิธีการดังนี้คือ 3.1 สรุ ปประเด็นสภาพปั จจุบนั และปั ญหาเพื่อหาทางแก้ไขปรับปรุ งเฉพาะหน้าระยะสั้นและระยะยาว 3 . 2 มี การทาวิจยั ในชั้นเรี ยนควบคู่ไปกับการเรี ยนการสอน เพื่อหาข้อสรุ ป เผยแพร่ ตั้งประเด็นดาเนิ นการสอนและทวนสอบ ในการ สอนคราวต่อไป 3.3 นาผลสรุ ปจากแบบประเมินผูส้ อนและแบบประเมินรายวิชา ที่ คณะฯเป็ นผูด้ าเนิ นการ มาทวนสอบร่ วมวางแผน ปรับปรุ ง และจัดแผนการเรี ยนการสอนให้มีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น 3.4 ปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพของสื่ อหลัก สื่ อเสริ มและสื่ อเติมให้มีประสิ ทธิ ภาพขึ้นกว่าเดิ ม ให้มีทางเลือกหลากหลาย ระดับ เพื่อสนับสนุนส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ให้นกั ศึกษาสามารถเข้าถึง เข้าใช้ได้เต็มศักยภาพ ตามทักษะ วาระโอกาส ช่องทางการ ติดต่อสื่ อสารและด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม 3.5 แบ่งปั น พัฒนาความรู ้และฝึ กฝนทักษะตนเองร่ วมกับผูร้ ู ้หรื อผูร้ ่ วมงานท่านอื่นๆอย่างสม่าเสมอ 3.6 ประชุมกลุ่มผูส้ อน/สัมมนาการจัดการเรี ยนการสอน มคอ3.วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 05/11/2555


19

4.การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา ในระหว่างกระบวนการสอนและหลังการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการ เรี ยนรู ้ในรายวิชา โดยการสอบถามนักศึกษา หรื อการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมทั้งการพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในรายวิชาได้ดงั นี้คือ 4.1 มีการทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่ มตรวจผลงานของนักศึกษา โดยอาจารย์ท่านอื่นหรื อผูท้ รงคุณวุฒิที่ไม่ใช่ อาจารย์ประจาหลักสูตร 4.2 มีการจัดตั้งคณะกรรมการเฝ้ าระวังมาตรฐานการเรี ยนรู ้ของสาขาวิชา เพื่อทวนสอบการประเมินผลการเรี ยนรู ้ของ นักศึ กษา โดยการตรวจสอบหลักเกณฑ์-วิธีการให้คะแนนกิ จกรรม ข้อสอบ คะแนนผลสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ การให้ คะแนนพฤติกรรม รายงานหรื องานที่มอบหมาย 4.3 มีการทาวิจยั ในชั้นเรี ยน เรื่ องการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และทักษะการนาเสนอผลงานของนักศึกษาที่เรี ยนใน วิชา 4.4 ใช้แบบสารวจความคิดเห็น-การรวบรวมข่าวสาร ค่าสถิติผลงานเชิงประจักษ์และมีหลักฐานจริ ง อันเป็ นผลสัมฤทธิ์ ของนักศึ กษา จากกิ จกรรมการส่ งผลงานประกวดแข่งขัน จากเกี ยรติยศ รางวัลที่ ได้รับ จากการส่ งผลงานเข้าร่ วมจัดแสดง นิทรรศการจริ ง หรื อแบบออนไลน์สู่สาธารณะในเว็บไซต์สากลหรื อภายในหน่วยงานที่สามารถตรวจสอบ ติดตาม อ้างอิงและ เข้าถึงได้ 5.การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา จากผลการประเมินและการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิ ทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุ งการจัดการเรี ยนการ สอนและรายละเอียดของวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพและประสิ ทธิผลสูงขึ้น ดังนี้ 5.1 จัดให้มีการวิพากษ์เพื่อการปรั บปรุ งรายวิชาทุ ก 3 ปี หรื อตามข้อเสนอแนะและผลสรุ ปที่ ได้จากการทวนสอบ มาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 มีการเชิญวิทยากรพิเศษ การศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริ ง หรื อการจัดประสบการณ์จริ งเพื่อให้นกั ศึกษามี วิสยั ทัศน์ในเรื่ องการสังเคราะห์องค์ความรู ้ที่ได้รับจากการเรี ยนในรายวิชามากขึ้น 5.3 มีการให้ความร่ วมมือทาวิจยั ร่ วมกันในหน่วยงาน หรื อทาวิจยั แบบบูรณาการกับผูส้ อนหรื อนักวิจยั จากภายนอก สถาบัน

มคอ3.วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 05/11/2555


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.