ARTD3304 หน้า 1 มพ์ มคอ.3 วิชา ARTD3304 การออกแบบตัวอัมคอ.3 กษรเพื ่อการพิ
สาขาวิชาศิลปกรรม ภาควิชามนุษย์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ผู้สอน ผศ.ประชิด ทิณบุตร
ภาคเรียนที่ 2/2555 ประจาปีการศึกษา 2555
มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 2
รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อวิชา ARTD3304 ชื่อรายวิชา การออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ Typography Design 2.จานวนหน่วยกิต(ทฤษฏี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) หน่วยกิต 3(2-2-5) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปกรรม หมวดวิชาเฉพาะด้าน กลุ่มวิชาเอกบังคับ 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน ผศ.ประชิด ทิณบุตร อาจารย์ผู้สอน 5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่ 2/2555 ชั้นปีที่ 3 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) สอบผ่านวิชา ARTD2301 คอมพิวเตอร์กราฟิกเบื้องต้น 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี 8. สถานที่เรียน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด วันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ 2555
มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 3
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1.จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1.1 เพื่อให้นักศึกษาตระหนักรู้ในคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพทางการออกแบบ ตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ (Ethical and Moral Development) 1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในทฤษฎี หลักการ และกระบวนวิธีปฏิบัติการสร้างสรรค์ ผลงานด้านการออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ (Knowledge Skills) 1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล สื่อแสดงออกซึ่งทักษะทางปัญญา ในการสร้างสรรค์ผลงานด้านการออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ (Cognitive skills) 1.4 เพื่อให้นักศึกษาเกิดทักษะการทางานเป็นทีม ด้วยการมีส่วนร่วมและมีบทบาทในการ รับ ผิดชอบในโครงงานสร้ างสรรค์ผ ลงานกลุ่ ม การปฏิบัติตนและความรับผิ ดชอบในภาระงานที่ได้รับ มอบหมายด้านการออกแบบทางการพิมพ์ (Interpersonal Skills and Responsibility) 1.5 เพื่ อให้ นั กศึ กษามี ทัก ษะและประสบการณ์ ในการประมาณการค่า ใช้ จ่า ย สามารถคิ ด คานวณทวนสรุ ป ต้ น ทุน การสร้ างสรรค์ การผลิ ต การน าเสนอและหรือการจ าหน่า ยผลงานด้า นการ ออกแบบตัวอักษรและด้านการพิมพ์ โดยวิธีการสรุปรายงานผลและการนาเสนอเผยแพร่ผลงานด้วยตนเอง หรือเป็นหมู่คณะ ด้วยการใช้ทักษะทางการสื่อสาร รูปแบบ วิธีการ เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ได้ อย่างสอดคล้องเหมาะสมตามวิถีทางการดาเนินการประกอบวิชาชีพ และรูปแบบความก้าวหน้าทางด้าน เทคโนโลยีการสื่อสารร่วมสมัย (Analytical and Communication Skills) 1.6 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์ ในเทคนิควิธี กระบวนการสร้างสรรค์และการ นาเสนอแฟ้มสะสมผลงานการออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ที่สร้างสรรค์ด้วยตนเอง หรือของหมู่คณะ เพื่อการสร้างโอกาสในการประกอบวิชาชีพทั้งอิสระส่วนตัวและหรือในองค์กร ด้วยการใช้ทักษะการสื่อสาร รูปแบบ วิธีการ เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ได้อย่างสอดคล้องตามวิถีทางการประกอบวิชาชีพ และความต้องการของตลาดแรงงาน (Psychomotor Skill) 2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา 2.1 เพื่อให้รายวิชามีความทันสมัย อย่างสากล ที่สามารถสอดรับกับวิทยาการขององค์ความรู้ใหม่ การฝึ ก ทั ก ษะและเทคนิ ค กระบวนการด้ า นการออกแบบตั ว อั ก ษรเพื่ อ การพิ ม พ์ ไ ด้ ส อดคล้ อ งกั บ ตลาดแรงงานจริงปัจจุบัน หรือบูรณาการใช้กับรายวิชาปฏิบัติการในหลักสูตรสถานศึกษาอื่นๆได้ทั้งใน ปัจจุบันและในอนาคต 2.2 เพื่อสามารถบู ร ณาการสื่ อการสอน เครื่องมือ วัส ดุอุปกรณ์ส นับสนุนเนื้อหาสาระ การจัด กิจกรรมการเรียนการสอนได้หลากหลายวิธี ให้มีความสอดคล้อง ยืดหยุ่น เหมาะสมกับศักยภาพและความ มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 4
เป็นจริ งปัจจุบั น หรืออนาคตของการวางแผนพัฒนา ผู้สอน ห้องเรียนห้องปฏิบัติการ นักศึกษา สังคม สิ่งแวดล้อมและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เปลี่ยนแปลงไป หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ 1. คาอธิบายรายวิชา(ภาษาไทย) ศึกษาทฤษฎีความรู้และฝึกปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบสร้างสรรค์และการพัฒนาชุด ตัวอักษรไทยและโรมันประเภทต่างๆ หลักการออกแบบภาพอักขระ บุคลิกเฉพาะของอักษรแบบต่างๆ ด้วยมือและโปรแกรมสาเร็จรูป การจัดโครงสร้างและตาแหน่งรหัสอักขระ การจัดระยะห่างตามมาตรฐาน แป้นพิมพ์สากล ให้สอดคล้องเหมาะสมกับ การนาไปใช้งานออกแบบและจัดวางตัวอักษรประกอบเป็น ข้อความ ภาพประกอบร่วมในเนื้อหา เพื่อการจัดทาต้นฉบับทางระบบการพิมพ์ ที่คานึงถึงการใช้ขนาด อักษร พื้นที่ว่าง ความชัดเจนในการอ่าน และเหมาะสมกับงานเทคโนโลยีการพิมพ์ร่วมสมัย 2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย
สอนเสริม
การฝึกปฏิบัติ/งาน ภาคสนาม/การฝึกงาน
การศึกษาด้วยตนเอง
ใช้ระบบอีเลิร์นนิ่ง บรรยาย 24 ชั่วโมงต่อ 24x7 ,สอนเสริมตาม การฝึกปฏิบัติ 25 ชั่วโมง 5 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ ภาคการศึกษา ความต้องการของ ต่อภาคการศึกษา ผู้เรียน 3. จ านวนชั่ว โมงต่อสั ป ดาห์ ที่อาจารย์ให้ คาปรึกษาและแนะนาทางวิช าการแก่ นักศึกษาเป็ น รายบุคคล อาจารย์ผู้สอนจัดระบบและเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มเรียนไว้ทั้งแบบโดยตรง และโดยอ้อม(Direct and Indirect Advice Method)ดังนี้คือ 3.1 ใช้ระบบอาจารย์ที่ปรึกษา(Mentor)ในชั้นเรียนชั่วโมง Home Room ทุกวันพุธ เวลา 13.00-16.30 น. 3.2 ใช้ระบบอีเลิร์นนิ่งของสาขาวิชา ArtChandra : Art and Design e-Learning Port เป็น ระบบบริหารจัดการห้องเรียนเสมือน(Virtual Classroom) ให้นักศึกษาสามารถเข้าศึกษาเรียนรู้ ทา กิจกรรม การมีส่วนร่วมอภิปราย-ซักถามและทบทวนบทเรียนที่ผ่านมาด้วยตนเอง(Self-Paced Learning) แบบทางไกลผ่านเว็บไซต์ของรายวิชา ได้จากทุกสถานที่ ทุกเวลา 3.3 ใช้สื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์สากลที่ร่วมสมัย และเป็นปัจจุบัน (Real Time Social Network Media) ด้วย Google+, Facebook ,Twitter หรืออื่นๆ เพื่อให้คาปรึกษา คาแนะนาและการ มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 5
ติดตามผล ตามช่องทาง-ข้อตกลงเบื้องต้นของอาจารย์ผู้สอนหรือของสาขาวิชาที่ตั้งขึ้นใช้เฉพาะกลุ่มเรียน และเชื่อมโยงแบบส่วนบุคคล ด้วยการติดต่อผ่านทางระบบอีเมลโดยตรงทุกคนตามที่อยู่แจ้ง หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา 1. การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม (Ethical and Moral Development) 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา พัฒนานักศึกษาให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรณยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วน บุคคล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางการออกแบบและไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา โดยมีคุณธรรมจริยธรรม ตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ 1.1.1 การมีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ในการนัดหมาย การรับ-ส่งผลงาน การเข้าร่วมกิจกรรมในหรือนอกชั้นเรียนทั้งโดยตรงและโดยอ้อม เช่นการเข้าชั้นเรียนตามเวลาและ สม่าเสมอ อย่างน้อย 80% การแต่งกายให้เรียบร้อยเหมาะสมกับสถานการณ์ทั้งในห้องเรียนและ ภาคสนาม 1.1.2 การตระหนักรู้ในคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพทางศิลปกรรม 1.1.3 การเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพการรักษาผลประโยชน์ใน คุณค่าของผลงานการสร้างสรรค์ของตนเองและผู้อื่น ด้วยจิตสาธารณะ และยึดมั่นในหลักประชาธิปไตย 1.1.4 การตระหนักรู้และปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับและกฏหมายขององค์กรหรือสังคม อันเกี่ยวข้องกับสิทธิและผลประโยชน์ของผลงานที่เกิดจากการสร้างสรรค์ของตนเองและผู้อื่น สิทธิ์ในการ นามาร่วมใช้งาน การนาเสนอเผยแพร่ และโฆษณาประชาสัมพันธ์ตอ่ สาธารณะทั้งโดยตรงหรือโดยอ้อม 1.2 วิธีการสอน โดยการบรรยายหรือสอดแทรกสาระเนื้อหาด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ให้แก่นักศึกษาได้ศึกษาเรียนรู้ รับรู้ ได้ฝึกการคิดวิเคราะห์ และมีส่วนร่วมทากิจกรรมทั้งในและนอกชั้น เรียน โดยใช้วิธีการสอนดังนี้คือ 1.2.1 การฝึกฝนพฤติกรรมความรับผิดชอบด้านกาละเทศะ กฏ ระเบียบวินัย และข้อบังคับ โดย มีการกาหนดเงื่อนไขในการเข้าชั้นเรียนตามตารางเวลาและเช็คชื่อทุกครั้ง ระบุเงื่อนไขการแต่งกายตั้งแต่ ต้น และพิจารณาการแต่งกายตามความเหมาะสมภายใต้ดุลยพินิจของคณะผู้สอนและระเบียบการแต่ง กาย โดยผู้สอนจะต้องมีการแต่งกายที่เหมาะสมเพื่อตัวอย่างที่ดีให้แก่นักศึกษา 1.2.2 มีการบรรยายเนื้อหาหรือสอดแทรกสาระคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทาง วิชาชีพทางศิลปกรรมเข้าในบทเรียนทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติการ
มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 6
1.2.3 สอนแบบให้นักศึกษามีส่วนร่วมในเวทีการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน และหรือใช้เวที สาธารณะออนไลน์ผ่านระบบเครือข่ายสื่อสังคม (Social Network Media) ตามความเหมาะสม 1.3 วิธีการประเมินผล 1.3.1 ใช้เกณฑ์ประเมินผลการเข้าชั้นเรียนตรวจสอบพฤติกรรมการเข้าเรียนและพฤติกรรมการ มีส่วนร่วม การส่งผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขต ระยะเวลาที่มอบหมายภาระงาน และการตรงต่อ เวลา ซึ่งในการเข้าชั้นเรียนตามตารางเวลาและเช็คชื่อทุกครั้งอย่างน้อยร้อยละ 80 จึงจะถือว่าผ่าน และ แต่งกายตามความเหมาะสมให้เป็นส่วนหนึ่งของคะแนนเก็บ แต่ไม่เกินร้อยละ 10 1.3.2 ความรับผิดชอบในการนาเสนอผลงาน วิธีการคิดวิเคราะห์ตามกระบวนวิธีของวิชาชีพ นักออกแบบ คุณภาพการนาเสนอผลงานที่สร้างสรรค์ มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นามาทารายงาน อย่าง ถูกต้องและเหมาะสม ตรงโจทย์ 1.3.3 การสรุปผลงานในโครงการออกแบบส่วนบุคคล(Individual Design Project)และการ นาเสนอเผยแพร่สู่สาธารณะอย่างถูกต้องตามกฏเกณฑ์และสิทธิ์ 2. ทักษะความรู้(Knowledge Skills) 2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ นักศึกษามีความรู้ในทฤษฎีความรู้และฝึกปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบสร้างสรรค์ และการ พัฒนาชุดตัวอักษรไทยและโรมันประเภทต่างๆ หลักการออกแบบภาพอักขระ บุคลิกเฉพาะของอักษรแบบ ต่างๆ ด้วยมือและโปรแกรมสาเร็จรูป การจัดโครงสร้างและตาแหน่งรหัสอักขระ การจัดระยะห่างตาม มาตรฐานแป้ น พิม พ์ส ากล ให้ ส อดคล้ องเหมาะสมกั บ การน าไปใช้ ง านออกแบบและจั ด วางตั ว อัก ษร ประกอบเป็นข้อความ ภาพประกอบร่วมในเนื้อหา เพื่อการจัดทาต้นฉบับทางระบบการพิมพ์ ที่คานึงถึง การใช้ขนาดอักษร พื้นที่ว่าง ความชัดเจนในการอ่าน และเหมาะสมกับงานเทคโนโลยีการพิมพ์ร่วมสมัย โดยได้ รั บ การฝึ ก ทั กษะฝี มื อ ทางศิ ล ปกรรม ให้ ผ สานสั ม พั นธ์ กั บ ทั ก ษะเทคนิ ค วิธี ก ารใช้ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ เครื่องมืออิเลคทรอนิกส์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีมาแต่เดิม ที่กาลังใช้อยู่ปัจจุบัน และที่กาลังพัฒนา เพื่อสามารถปรับประยุกต์ใช้ทักษะกระบวนการ และบริหารจัดการวางแผนงาน ก่อนการผลิต ในระหว่าง ดาเนินการผลิต และหลังการผลิตผลงาน จนสามารถนาเสนอผลงานออกมาตามวัตถุประสงค์ ได้อย่าง เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์อย่างพอเพียง และสอดคล้องความต้องการ ของตลาดแรงงาน 2.2 วิธีการสอน วิธีการสอน เน้นนักศึกษาเป็นศูนย์กลาง ตามหัวข้อเนื้อหาในแผนการสอนโดย บูรณาการวิธีการเรียนการสอนต่างๆมาใช้คือ 2.2.1 วิธีการคิด วิเคราะห์ วิจัยและการวางแผน ด้วยการฝึก สร้างแผนผังความคิด (Concept Design Mapping or Mind Mapping)เพื่อวางแผนการสร้างสรรค์ผลงานด้านการออกแบบตัวอักษรโดย มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 7
เน้นพฤติกรรมให้ นักศึกษามีการวางแผน มีบทบาทในจัดระบบความคิดของตนหรือกลุ่มให้ชัดเจน เห็น ความสาคัญ ความสัมพันธ์และในกระบวนการออกแบบ(Design Process) และกระบวนการบริหาร จัดการงานวิชาชีพ(Design Carreer Performance) 2.2.2 ใช้สื่อการสอนแบบ การจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction) เพื่อให้ผู้ เรีย นมีความรู้หลากหลายภายใต้ภ าวะแวดล้อ มและเกิดทักษะสัมพันธ์ในการใช้ เครื่องมือ อันประกอบด้วย ระบบบริการการเรียนการสอนออนไลน์ e-learning ของสาขาวิชาศิลปกรรม ระบบ Dokeos LMS, และระบบบริการติดต่อสื่อสารและการมีส่วนร่วมแบ่งปันความรู้ ของ GoogleSites และ Google+ หรืออื่นๆ ร่วมสนับสนุนและติดตามให้คาปรึกษา การวิจารณ์ผลงานการเรียนรู้ด้วยตนเอง ของนักศึกษา โดยเป็น สื่อเสริมการเรี ยนรู้นอกชั้นเรียน เน้นพฤติกรรมให้นักศึกษามีการซักถาม ตอบ คาถาม การแก้ปัญหาโจทย์ การนาความรู้และตัวอย่างไปใช้ประโยชน์ การเรียนรู้ที่ต้องการผลการเรียนรู้ ทันที หรือให้เกิดการเรียนรู้ ตามลาดับขั้นตอนเป็นระยะ โดยใช้วิธีการให้นักศึกษามีบทบาทในเรียนรู้ ด้วยตนเองตามระดับความรู้ความสามารถของตน มีการแก้ไขฝึกซ้า ทาตามวิดีโอบันทึกการสอน เพื่อสร้าง ความรู้ ความเข้าใจและความเชี่ย วชาญทางทักษะ ฝึ กการคิดวิเคราะห์ และรู้จักบูรณาการความรู้ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน 2.3 วิธีการประเมินผล 2.3.1 ใช้การทดสอบก่อนเรียนและหลังการเรียน การทดสอบย่อย ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัด หลักการและทฤษฎี ทั้งในชั้นเรียนและการทดสอบในระบบออนไลน์ 2.3.2 การตรวจผลงาน ตามเกณฑ์ที่ตั้งพิจารณาถึง ด้านความถูกต้อง ความสมบูรณ์ตามเนื้อหา เทคนิควิธีปฏิบัติการ และการนาเสนอรายงานสรุปผลงาน ในโครงงานของกลุ่มหรือรายบุคคล 3. ทักษะทางปัญญา(Cognitive Skills) 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา พัฒนานักศึกษาให้มีความสามารถในการคิดจัดกระทาอย่างเป็นระบบ โดยให้มีการแสดงวิธีคิด วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ และสื่อแสดงออกมาให้เห็นถึง การบวนการแก้ปัญหา การนาเสนอทางเลือก อย่างเป็นขั้นตอนตามทักษะกระบวนการทางศิลปกรรมด้วยทักษะฝีมือ (Manual Design Skill) ที่ผสาน สัมพันธ์กับการใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง (Tools & Related Technology Manipulation) มาปรับประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพกับโจทย์ หรือภาระงานที่รับผิดชอบ 3.2 วิธีการสอน 3.2.1 ใช้การสอนแบบการเรียนรู้จากการทางาน (Work-based Learning) ด้วยการมอบหมาย ให้จัดทาโครงงานเป็นแบบกลุ่ม และแบ่งความรับผิดชอบภาระงานการผลิตตามศักยภาพ ความถนัดและ มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 8
ความสนใจเป็นรายบุคคล โดยนามาสรุปสังเคราะห์และนาเสนอเป็นผลงานออกแบบตัวอักษรเพื่อการ พิมพ์ร่วมกัน ภายใต้คาปรึกษาแนะนาและติดตามผลของผู้สอน 3.2.2 ให้ฝึกปฏิบัติผ่านการทางานโครงงาน ที่ต้องมีการแสดงวิธีคิดวิเคราะห์ และสื่อแสดงให้ เห็นกระบวนการแก้ปัญหา การนาเสนอทางเลือกอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนวิถี โดยอาศัยทักษะฝีมือ หรือความถนัดทางศิลปกรรม ที่ผสานสัมพันธ์กับการใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง มาปรับประยุกต์ร่วมใช้ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพกับโจทย์ หรือภาระงาน ที่รับผิดชอบ และหรือการมีส่วนร่วมในการพิจารณาตัดสิน การวิพากษ์ วิจารณ์ภายในกลุ่ม ในชั้นเรียน หรือการปรึกษาผู้รู้ 3.2.3 บรรยาย-สาธิต-สร้างช่องทางสื่อและสถานการณ์จริงเพื่อให้มี การนาเสนอและการ วิจารณ์ผลงาน 3.3 วิธีการประเมินผล 3.3.1 ใช้แบบทดสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน โดยเน้นข้อสอบที่มีโจทย์ให้ต้องมีการ วิ เ คราะห์ สั ง เคราะห์ แสดงหลั ก ฐานการสรุ ป ทฤษฎี แ ละหลั ก การ หรื อ การสร้ า งแนวคิ ด ใหม่ การ ประยุกต์ใช้ตามวิถีวิชาชีพทางศิลปกรรม 3.3.2 ประเมินจากผลงานที่นาเสนอในแต่ละขั้นตอนเป็นตัวชี้วัด โดยอิงเกณฑ์ความสมบู รณ์ ของผลงานและอิงกลุ่ม รวมถึงการประเมิน ภาพรวมของพัฒนาการทางทักษะ การรักษาคุณภาพของ ผลงานและการเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะเป็นรายบุคคล 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่า งบุคคลและความรับผิดชอบ(Interpersonal Skills and Responsibility) 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา คือ 4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพในกลุ่ม เช่นการจัดการกับผลงานแต่ละชิ้น ซึ่ง ต้องลงปฏิบัติด้วยตนเองโดยต้องอาศัยการมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูล และสามารถส่งงานตามเวลา 4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นา-ผู้ตามในการทางานเป็นทีม และความสามารถในการจัดการ งานกลุ่ม 4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายให้ ครบถ้วนตามกาหนดเวลา 4.2 วิธีการสอน 4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มรายงาน การศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษา เช่นการศึกษาวิเคราะห์ เทคนิควิธีการคิดและการผลิตผลงานของนักออกแบบตัวอักษรในระดับสากล
มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 9
4.2.2 การมอบหมายโครงงานการออกแบบสร้างสรรค์ผลงานแบบกลุ่ม โดยมอบหมาย ภาระงานให้ดาเนินการจริงและรับผิดชอบส่วนงานเป็นรายบุคคล โดยสามารถอ้างอิงข้อมูลจริง หรือตาม รูปแบบการวิจัยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Research) ให้แล้วเสร็จ ออกมาจริงและเคร่งครัดตาม กาหนดเวลา 4.2.3 การนาเสนอผลงานออกแบบและการทาแฟ้มสะสมผลงาน โดยมอบหมายให้มีการ นาเสนอผลงานเป็นนิทรรศการย่อยในชั้นเรียนหรือภายนอกชั้นเรียนของแต่ละกลุ่ม โดยการจัดทา Mood Board Poster ทั้งแบบกลุ่มและรายบุคคล เพื่อแสดงสรุปภาระงานที่ร่วมรับผิดชอบ และจัดพิมพ์เป็น รูปเล่มรายงาน และส่งไฟล์แสดงเผยแพร่เป็นเอกสารออนไลน์ไว้ในเว็บไซต์รายวิชา และเว็บไซต์ของแต่ละ รายบุคคล ที่ผู้สอนกาหนด 4.3 วิธีการประเมิน 4.3.1 แบบประเมินตนเองและเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กาหนด 4.3.2 แบบบันทึกพฤติกรรมการทางานเป็นทีมและรายบุคคล ที่สื่อแสดงถึงความเข้าใจและ ความสามารถอธิบายงานที่ตนเองรับผิดชอบได้กระจ่างและเชื่อมโยงกับงานส่วนอื่นๆ ของกลุ่มได้อย่าง สอดคล้องกัน 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Analytical and Communication Skills) 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา เช่น 5.1.1 ทักษะการคิดคานวณ เชิงตัวเลข ผ่านกระบวนการเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล ตามชิ้นงานที่กาหนด 5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน ผ่านกระบวนเขียน รายงาน การซักถามและการนาเสนอผลงานความก้าวหน้าต่างๆที่รับผิดชอบทั้ง ในชั้นเรียนและนอกชั้น เรียน 5.1.3 พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ผ่านทางช่องทางการใช้สื่อเครือข่ายสังคอม ออนไลน์ในการติดต่อสื่อสาร การสื บค้นข้อมูล การติดตามข่าวสารสาระ การสร้างและนาเสนอ รายงานผลงาน ผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ตและระบบอีเลิร์นนิ่ง ที่ผู้สอนกาหนด 5.1.4 พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยี และการปรับประยุกต์ใช้ เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ได้ตาม ศักยภาพ ความเหมาะสม พอเพียงตามวิถีร่วมสมัยในวิชาชีพศิลปกรรม 5.2 วิธีการสอน
มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 10
5.2.1 ใช้การสอนแบบฝึกอบรมทักษะการใช้งานเครื่องมือออนไลน์ (Online Tools) และ โปรแกรมสาเร็จรูปเชิงพาณิชย์และโปรแกรมฟรีที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ เพื่อ นามาปรับประยุกต์ใช้กับกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานในขั้นตอนของ Pre-Production , Production และ Post-Production 5.2.2 การฝึกทักษะการประยุกต์ใช้เครื่องมือออนไลน์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อ สนับสนุนการเรียนรู้ภาคทฤษฏี ภาคปฏิบัติการและการนาเสนอเผยแพร่แฟ้มผลงานการสร้างสรรค์ของ นักศึกษา 5.2.3 การสอนเสริมทักษะการใช้งานเครือข่ายสื่อ สังคมออนไลน์ เพื่อรองรับการสื่อสารแบบ กลุ่มและการติดต่อเฉพาะบุคคล โดยมีการฝึกอบรมทักษะการใช้งานจริง เช่นให้สามารถส่งไฟล์งานทาง ระบบบริการอินเตอร์เน็ต ทางอีเมลล์ หรือการสร้างข่าวสารสาระการเรียนรู้ การตรวจแสดงความคิดเห็น การติดตาม การเผยแพร่แสดงผลงานทางออนไลน์ได้จริง เช่น การใช้ Weblog, Google Buzz การ สื่อสารการทางานในกลุ่มผ่านห้องสนทนาด้วย Chat Room, ทาง Social Media Network เช่น FaceBook, หรือ Twitter เป็นต้น 5.2.4 ฝึกปฏิบัติการสร้างและแบ่งปันใช้ข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์สาธารณะ เพื่อสรุปสาระและผล การเรียนรู้ แสดงวิธีการคิด สร้างสรรค์ แสดงผลงานทางระบบออนไลน์ร่วมกัน และหรือส่วนบุคคล ใน ลักษณะรูปเล่มรายงานหรือแฟ้มผลงานที่สร้างสรรค์เพื่อใช้ก้าวสู่โลกอาชีพ (Professional Port Folio) เพื่อการยอมรับหรือใช้เป็นฐานอ้างอิงประสบการณ์และการพัฒนาทักษะที่สูงขึ้นต่อไป 5.3 วิธีการประเมิน 5.3.1 แบบประเมินทักษะการนาเสนอผลงาน การจัดทารายงานและการนาเสนอผ่านทาง ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.3.2 แบบบันทึกประวัติการมีส่วนร่วมในการใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.3.3 แบบประเมินผลงานเชิงประจักษ์ โครงงานกลุ่มและรายบุคคล ที่เผยแพร่แสดงออนไลน์ ในระบบอินเตอร์เน็ตที่เข้าถึงเข้าใช้งานได้จริง 6.ทักษะปฏิบัติการทางวิชาชีพศิลปกรรม (Psychomotor Skills) 6.1 ทักษะปฏิบัติการทางวิชาชีพที่ต้องพัฒนา คือ 6.1.1 พัฒนาทักษะการบวนการทางศิลปกรรม ตามขอบข่ายเนื้อหาวิชาการออกแบบตัวอักษร เพื่ อ การพิ ม พ์ อย่ า งเหมาะสมกั บ ศั ก ยภาพผู้ เ รี ย น ความพร้ อ มทางการศึ ก ษาเรี ย นรู้ กระบวนการ เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง และความต้องการของตลาดแรงงาน 6.1.2 พัฒนาทักษะทางการบริหารจัดการงานในขอบข่ายเนื้อหาวิชาการออกแบบตัวอักษรเพื่อ การพิมพ์ การปรับประยุกต์ใช้เครื่องมือ โปรแกรมประยุกต์และวิทยาการที่เกี่ยวข้อง ให้สาเร็จลุล่วงตาม วัตถุประสงค์ของงาน ได้อย่างเหมาะสมตามศักยภาพและความพร้อมที่มี มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 11
6.1.3 พัฒนาทักษะการนาเสนอและสร้างแฟ้มสะสมผลงานในขอบข่ายเนื้อหาวิชาการออกแบบ ตั ว อั ก ษรเพื่ อ การพิ ม พ์ ได้ โ ดยใช้ รู ป แบบ เครื่ อ งมื อ และเทคโนโลยี ที่ เ หมาะสมตามวิ ถี ข องวิ ช าชี พ ศิลปกรรม 6.2 วิธีการสอน 6.2.1 การฝึกอบรมทักษะปฏิบัติการ ตามหัวข้อเนื้อหาและแผนการสอนเป็นลาดับขั้นตอน ตาม ทักษะกระบวนการทางศิลปกรรมของรายวิชาที่สอน เช่น การทักษะฝีมือการวาดภาพ ทักษะการใช้งาน อุปกรณ์ เครื่องมือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูปและเทคโนโลยีเพื่อการคิด การวางแผนสร้าง การผลิต และการนาเสนอ ที่สอดคล้องตรงกับการลงทุน ศักยภาพของผู้เรียน และความต้องการของตลาดแรงงาน 6.2.2 การจัดกิจกรรมเสริมทักษะ ด้วยการสร้าง ช่องทาง โอกาสและประสบการณ์จริง เพื่อการ เรียนรู้และฝึกฝนเพิ่มเติมทั้งในและนอกเวลาเรียน ผ่านทางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและวิทยาการที่ เกี่ยวข้อง 6.3 วิธีการประเมินผล 6.3.1 การทดสอบทักษะปฏิบัติการตามเกณฑ์และจุดประสงค์ของรายวิชา 6.3.2 การประเมินระดับทักษะปฏิบัติการ จากผลสรุปคะแนนรวมของการตรวจผลงานเชิง ประจักษ์ ตามเกณฑ์การตรวจให้คะแนนกิจกรรมภาคปฏิบัติการและผลสัมฤทธิ์ของผลงานที่ปรากฏมีขึ้น หรือโดยการจัดแสดงนิทรรศการผลงาน การอ้างอิง การบันทึก การจัดเก็บ การแสดงผลและค้นคืนได้ตาม กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 12
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1.แผนการสอน สัปดา จานวน ห์ หัวข้อ/รายละเอียด ชัว่ โมง ที่ 1 1.การแนะนาวิชา 3.50 และวิธีการเรียนรู้ - คาอธิบายรายวิชา - จุดมุ่งหมายของ เนื้อหาและกิจกรรม วิชา - ข้อตกลงและการ เตรียมตัวก่อนเรียน กิจกรรมและวิธีการ เรียนรู้ - หัวข้อเนื้อหาและ บทเรียน - รูปแบบการจัด กิจกรรมการเรียน การสอน - การวัดผลและการ ประเมินผล -ระบบสนับสนุนการ เรียนการสอน ในชั้นเรียนและนอก เวลาเรียน - แนะนาระบบสื่อที่ ใช้เป็นสื่อหลัก สื่อ เสริม และสื่อเติมใน วิชา
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
ผู้สอน
บรรยาย ปฐมนิเทศวิชาและกิจกรรม ผศ. ปฏิบัติการฝึกทักษะ การบริหารจัดการใช้ระบบ ประชิด เทคโนโลยีสารสนเทศส่วนบุคคลและระบบ ทิณบุตร เครือข่ายทางสังคม ในฐานข้อมูลและผลิตภัณฑ์ มาตรฐานบริการของ Google.com และระบบ อื่นๆ - การลงทะเบียนการสมัครเรียนระบบอีเลิร์นนิ่ง การทดสอบ การทดสอบก่อนการเรียน การบ้าน : กิจกรรมการสืบค้นข่าวสาร ข้อมูล ความรู้ การศึกษาความหมายศัพท์ เทคนิคทางการ ออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ รายสัปดาห์ เป็น จดหมายข่าวของวิชา : artd2304 eNews Week Report และแบ่งปันให้เพื่อนและผู้สนใจผ่านทาง ระบบอีเมลและหรือสื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ สื่อที่ใช้ - เอกสารแผนการสอน - เครื่องคอมพิวเตอร์ /ระบบอินเตอร์เน็ต - แบบทดสอบออนไลน์ก่อนการเรียน(Post Test) ที่ eCourse Dokeos Learning - แบบสารวจศักยภาพพื้นฐานก่อนเรียน - เว็บไซต์รับส่งข่าวสารด้าน Typography Design -เว็บไซต์เครือข่ายสื่อสังคมออนไลน์ ของ ”ArtChandra”, ของ Google, Facebook,
มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 13
สัปดา จานวน ห์ หัวข้อ/รายละเอียด ชัว่ โมง ที่ 2 2. สามัญทัศน์ 3.50 เกี่ยวกับการ ออกแบบตัวอักษร เพื่อการพิมพ์ - ความหมายและ การนิยามศัพท์ เฉพาะทางการ ออกแบบตัวอักษร เพื่อการพิมพ์ (Typography Definitions and Terminology) - บทบาทและ ความสาคัญของ การออกแบบ ตัวอักษรเพื่อการ พิมพ์ (Typography Design Roles and Signification) - ประวัติและ วิวัฒนาการของการ ออกแบบตัวอักษร เพื่อการพิมพ์
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
ผู้สอน
คาบเรียนที่1 ผศ. 1.กิจกรรมทบทวนบทเรียน การสร้างเสริม ประชิด จริยธรรม คุณธรรม และทักษะด้านการสื่อสารและ ทิณบุตร ด้าน ICT - ดาเนินกิจกรรมตามข้อตกลงที่ได้มอบหมายภาระ งาน และตามตารางเวลาการนัดหมาย 2.กิจกรรมการรายงานผลการจัดการความรู้และ การแบ่งความรู้ในรายวิชา - Artd2304 Newsweek Report - ดาเนินกิจกรรมอื่นๆตามข้อตกลงที่ได้มอบหมาย ภาระงาน และตามตารางเวลาการนัดหมาย คาบเรียนที่ 2 - 4 3. การบรรยาย การอภิปราย การฝึกปฏิบัติทักษะ และการทดสอบย่อยในชั้นเรียน - ดาเนินการตามรายการหัวข้อ/รายละเอียดของ เนื้อหาวิชา 4. การทดสอบ : การทดสอบท้ายบทเรียน 5.การบ้านใหม่ :ไม่มี 6. สื่อที่ใช้ได้แก่: - Design Sheet Form : Design Project - บทเรียนออนไลน์ eCourse Dokeos Learning ของวิชา arti2305,เว็บบล็อกวิชา URL:http://typefacesdesign.blogspot.com - เว็บไซต์แหล่งเรียนรู้ด้านการออกแบบตัวอักษร เพื่อการพิมพ์ ไทยฟ้อนท์ดอทอินโฟ รายละเอียดกิจกรรมเสริมและเพิ่มเติม -ฝึกปฏิบัติการ ทักษะการสืบค้นข้อมูลเนื้อหาและ ตัวอย่างแฟ้มผลงานออกแบบตัวอักษรในเว็บไซต์
มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 14
สัปดา จานวน ห์ หัวข้อ/รายละเอียด ชัว่ โมง ที่
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
ผู้สอน
กลุ่มและส่วนบุคคล 3-4
3.ประเภทของรูป ตัวอักษร(Glyphs Classification) - ตัวพยัญชนะ (Consonants) - สระ(Vowels) - วรรณยุกต์(Tone Marks) - เครื่องหมาย (Signs) - สัญลักษณ์ทาง การเงิน(Currency Symbols) - ตัวเลข(Digits) 4.โครงสร้างและ คุณลักษณะ มาตรฐานของ ตัวพิมพ์ (Structure and Character of Type)
7
คาบเรียนที่1 ผศ. 1.กิจกรรมทบทวนบทเรียน การสร้างเสริม ประชิด จริยธรรม คุณธรรม และทักษะด้านการสื่อสารและ ทิณบุตร ด้าน ICT - ดาเนินกิจกรรมตามข้อตกลงที่ได้มอบหมายภาระ งาน และตามตารางเวลาการนัดหมาย 2.กิจกรรมการรายงานผลการจัดการความรู้และ การแบ่งความรู้ในรายวิชา - Artd2304 Newsweek Report - ดาเนินกิจกรรมอื่นๆตามข้อตกลงที่ได้มอบหมาย ภาระงาน และตามตารางเวลาการนัดหมาย คาบเรียนที่ 2 - 4 3. การบรรยาย การอภิปราย การฝึกปฏิบัติทักษะ และการทดสอบย่อยในชั้นเรียน - ดาเนินการตามรายการหัวข้อ/รายละเอียดของ เนื้อหาวิชา 4. การทดสอบ : การทดสอบย่อย 5.การบ้านใหม่ :ไม่มี 6. สื่อที่ใช้ได้แก่: - Design Sheet Form : Design Project - บทเรียนออนไลน์ eCourse Dokeos Learning ของวิชา Arti2305 - เว็บไซต์แหล่งเรียนรู้ด้านการออกแบบตัวอักษร เพื่อการพิมพ์ ไทยฟ้อนท์ดอทอินโฟ - http://www.issuu.com/groups/typography - http://sites.google.com/site/arti2305 รายละเอียดกิจกรรมเสริมและเพิ่มเติม
มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 15
สัปดา จานวน ห์ หัวข้อ/รายละเอียด ชัว่ โมง ที่
5-6
- โครงสร้างและ ลักษณะของ ตัวอักษรโรมัน - โครงสร้างและ ลักษณะของตัว อักษรไทย
7
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
ผู้สอน
-ฝึกปฏิบัติการ ฝึกทักษะการออกแบบจัดการ ตัวอักษรเพื่อการสื่อสารและงานทางศิลปกรรม -ฝึกปฏิบัติการ ฝึกทักษะการออกแบบจัดการ เนื้อหาประกอบหน้าเอกสารเพื่อการพิมพ์ คาบเรียนที่1 ผศ. 1.กิจกรรมทบทวนบทเรียน การสร้างเสริม ประชิด จริยธรรม คุณธรรม และทักษะด้านการสื่อสารและ ทิณบุตร ด้าน ICT - ดาเนินกิจกรรมตามข้อตกลงที่ได้มอบหมายภาระ งาน และตามตารางเวลาการนัดหมาย 2.กิจกรรมการรายงานผลการจัดการความรู้และ การแบ่งความรู้ในรายวิชา - Artd2304 Newsweek Report - ดาเนินกิจกรรมอื่นๆตามข้อตกลงที่ได้มอบหมาย ภาระงาน และตามเวลาการนัดหมาย คาบเรียนที่ 2 - 4 3. การบรรยาย การอภิปราย การฝึกปฏิบัติทักษะ และการทดสอบย่อยในชั้นเรียน - ดาเนินการตามรายการหัวข้อ/รายละเอียดของ เนื้อหาวิชา 4. การทดสอบ : การทดสอบท้ายบทเรียน 5.การบ้านใหม่ :ไม่มี 6. สื่อที่ใช้ได้แก่: - Thai Font Template Sheet Form - บทเรียนออนไลน์ ของวิชา arti2305 - เว็บไซต์เครื่องมือออกแบบตัวอักษรออนไลน์ของ fontstruct.com - เว็บไซต์แหล่งเรียนรู้ด้านการออกแบบตัวอักษร
มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 16
สัปดา จานวน ห์ หัวข้อ/รายละเอียด ชัว่ โมง ที่
7
6.กระบวนการ ออกแบบและการ จัดตัวอักษรทางการ พิมพ์( Typography Design Process) 7.การออกแบบและ การจัดตัวอักษร ทางการพิมพ์ ด้วย มือและเครื่องมือ (Typography Design by Hand and Tools)
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
ผู้สอน
เพื่อการพิมพ์ - http://www.issuu.com/groups/typography รายละเอียดกิจกรรมเสริมและเพิ่มเติม -ฝึกปฏิบัติการ ฝึกทักษะการออกแบบเขียนแบบ ตัวอักษรด้วยแม่แบบและตารางกริดมาตรฐาน โครงสร้างตัวอักษรไทย-โรมัน ใน fontstruct.com 3.50 คาบเรียนที่1 ผศ. 1.กิจกรรมทบทวนบทเรียน การสร้างเสริม ประชิด จริยธรรม คุณธรรม และทักษะด้านการสื่อสารและ ทิณบุตร ด้าน ICT - ดาเนินกิจกรรมตามข้อตกลงที่ได้มอบหมายภาระ งาน และตามตารางเวลาการนัดหมาย 2.กิจกรรมการรายงานผลการจัดการความรู้และ การแบ่งความรู้ในรายวิชา - Artd2304 Newsweek Report - ดาเนินกิจกรรมอื่นๆตามข้อตกลงที่ได้มอบหมาย ภาระงาน และตามเวลาการนัดหมาย คาบเรียนที่ 2 - 4 3. การบรรยาย การอภิปราย การฝึกปฏิบัติทักษะ และการทดสอบย่อยในชั้นเรียน - ดาเนินการตามรายการหัวข้อ/รายละเอียดของ เนื้อหาวิชา 4. การทดสอบ : การทดสอบย่อย 5.การบ้านใหม่ :ไม่มี 6. สื่อที่ใช้ได้แก่: - Design Sheet Form : Design Project - บทเรียนออนไลน์ ของวิชา arti2305 - เว็บไซต์แหล่งเรียนรู้ด้านการออกแบบตัวอักษร
มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 17
สัปดา จานวน ห์ หัวข้อ/รายละเอียด ชัว่ โมง ที่
8
การนาเสนอผลงาน กลุ่ม สอบกลางภาคเรียน
9-10 8.การออกแบบและ การจัดตัวอักษร ทางการพิมพ์ ด้วย โปรแกรมสาเร็จรูป เชิงพาณิชย์ (Typography Design by Using Commercial Softwares)
7
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) เพื่อการพิมพ์ ไทยฟ้อนท์ดอทอินโฟ - http://www.issuu.com/groups/typography -การนาเสนอผลงานกลุ่ม -สอบกลางภาคเรียน(จัดสอบเอง) สื่อที่ใช้ -แบบทดสอบในระบบออนไลน์ คาบเรียนที่1 1.กิจกรรมทบทวนบทเรียน การสร้างเสริม จริยธรรม คุณธรรม และทักษะด้านการสื่อสารและ ด้าน ICT - ดาเนินกิจกรรมตามข้อตกลงที่ได้มอบหมายภาระ งาน และตามตารางเวลาการนัดหมาย 2.กิจกรรมการรายงานผลการจัดการความรู้และ การแบ่งความรู้ในรายวิชา - Artd2304 Newsweek Report - ดาเนินกิจกรรมอื่นๆตามข้อตกลงที่ได้มอบหมาย ภาระงาน และตามตารางเวลาการนัดหมาย คาบเรียนที่ 2 - 4 3. การบรรยาย การอภิปราย การฝึกปฏิบัติทักษะ และการทดสอบย่อยในชั้นเรียน - ดาเนินการตามรายการหัวข้อ/รายละเอียดของ เนื้อหาวิชา 4. การทดสอบ : การทดสอบย่อย 5.การบ้านใหม่ :ออกแบบฟ้อนต์ตระกูล CRU 6. สื่อที่ใช้ได้แก่: - Design Sheet Form - บทเรียนออนไลน์ ของวิชา arti2305 - เว็บไซต์แหล่งเรียนรู้ด้านการออกแบบตัวอักษร
ผู้สอน
ผศ. ประชิด ทิณบุตร ผศ. ประชิด ทิณบุตร
มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 18
สัปดา จานวน ห์ หัวข้อ/รายละเอียด ชัว่ โมง ที่
1112
9.การออกแบบและ การจัดตัวอักษร ทางการพิมพ์ ด้วย โปรแกรมสาเร็จรูป แบบฟรีและเสรี (Typography Design by Using Free OpenSource Softwares) -Fontforge Font Editor
7
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
ผู้สอน
www.high-logic.com รายละเอียดกิจกรรมเสริมและเพิ่มเติม -ฝึกปฏิบัติการ ฝึกทักษะการออกแบบตัวอักษร ด้วยโปรแกรม Font Creator คาบเรียนที่ 1 ผศ. 1.กิจกรรมทบทวนบทเรียน การสร้างเสริม ประชิด จริยธรรม คุณธรรม และทักษะด้านการสื่อสารและ ทิณบุตร ด้าน ICT - ดาเนินกิจกรรมตามข้อตกลงที่ได้มอบหมายภาระ งาน และตามตารางเวลาการนัดหมาย 2.กิจกรรมการรายงานผลการจัดการความรู้และ การแบ่งความรู้ในรายวิชา - Artd2304 Newsweek Report - ดาเนินกิจกรรมอื่นๆตามข้อตกลงที่ได้มอบหมาย ภาระงาน และตามตารางเวลาการนัดหมาย คาบเรียนที่ 2 - 4 3. การบรรยาย การอภิปราย การฝึกปฏิบัติทักษะ และการทดสอบย่อยในชั้นเรียน - ดาเนินการตามรายการหัวข้อ/รายละเอียดของ เนื้อหาวิชา 4. การทดสอบ : การทดสอบท้ายบทเรียน 5.การบ้านใหม่ :ไม่มี 6. สื่อที่ใช้ได้แก่: - บทเรียนออนไลน์วิชา - เว็บไซต์แหล่งเรียนรู้ด้านการออกแบบตัวอักษร http://fontforge.sourceforge.net/ -ฝึกปฏิบัติการ ฝึกทักษะปฏิบัติการออกแบบ จัดการตัวอักษรด้วย โปรแกรม Fontforge
มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 19
สัปดา จานวน ห์ หัวข้อ/รายละเอียด ชัว่ โมง ที่ 13 8.เทคนิคการ 3.50 นาเสนอผลงาน - การนาเสนอ เผยแพร่ผลงานและ แฟ้มสะสมงานแบบ ออนไลน์ - การจัดทาภาค นิพนธ์สรุปผลการ ดาเนินงานโครงงาน ออกแบบส่วนบุคคล -การจัดทาแผ่นภาพ Mood Board อธิบายสรุปย่อ ประกอบการ นาเสนอผลงาน ต้นแบบจริง -Free Presentation Technology - Open Office Impress
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
ผู้สอน
คาบเรียนที่1 ผศ. 1.กิจกรรมทบทวนบทเรียน การสร้างเสริม ประชิด จริยธรรม คุณธรรม และทักษะด้านการสื่อสารและ ทิณบุตร ด้าน ICT - ดาเนินกิจกรรมตามข้อตกลงที่ได้มอบหมายภาระ งาน และตามตารางเวลาการนัดหมาย 2.กิจกรรมการรายงานผลการจัดการความรู้และ การแบ่งความรู้ในรายวิชา - Artd2304 Newsweek Report - ดาเนินกิจกรรมอื่นๆตามข้อตกลงที่ได้มอบหมาย ภาระงาน และตามตารางเวลาการนัดหมาย คาบเรียนที่ 2 - 4 3. การบรรยาย การอภิปราย การฝึกปฏิบัติทักษะ และการทดสอบย่อยในชั้นเรียน - ดาเนินการตามรายการหัวข้อ/รายละเอียดของ เนื้อหาวิชา 4. การทดสอบ : การทดสอบท้ายบทเรียน 5.การบ้านใหม่ :ไม่มี 6. สื่อที่ใช้ได้แก่: - Design Sheet Form : Design Project - บทเรียนออนไลน์ของวิชา arti2305 - เว็บไซต์แหล่งเรียนรู้ด้านการออกแบบตัวอักษร เพื่อการพิมพ์ ฟ้อนท์คาสดอทอินโฟ รายละเอียดกิจกรรมเสริมและเพิ่มเติม -ฝึกปฏิบัติการ การนาเสนอเผยแพร่ข้อมูลเนื้อหา ความรู้และผลงานออกแบบตัวอักษรในเว็บไซต์ กลุ่มและส่วนบุคคลทางเว็บไซต์ ของ http://www.issuu.com/groups/typography
มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 20
สัปดา จานวน ห์ หัวข้อ/รายละเอียด ชัว่ โมง ที่
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
ผู้สอน
http://sites.google.com/site/arti2305 14- 9.การนาเสนอ 15 ผลงานโครงงานการ ออกแบบตัวอักษร เพื่อการพิมพ์ส่วน บุคคล (Individual Final Design Project) -การทดสอบหลัง การเรียน 16
7
สอบปลายภาคเรียน และสรุปผลการ เรียน
รวมชั่วโมงบรรยาย และปฏิบัติการ
การจัดแสดงนิทรรศการ/การนาเสนอและเผยแพร่ ผลงานออนไลน์ สื่อที่ใช้ - Poster/Moodboard - คอมพิวเตอร์/อินเตอร์เน็ต - www.issuu/groups/typography - Student’s GoogleSite KM. - แบบทดสอบออนไลน์หลังการเรียน(Post Test) ในระบบ Dokeos eCourse Learning รายวิชา arti2305 สอบปลายภาคเรียน(จัดสอบเอง) สื่อที่ใช้ - แบบทดสอบออนไลน์ปลายภาคเรียน ในระบบ Dokeos eCourse Learning รายวิชา arti2305 - แบบประเมินผลการเรียนการสอนออนไลน์
ผศ. ประชิด ทิณบุตร
ผศ. ประชิด ทิณบุตร
49
2.แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ผลการ กิจกรรมที่ วิธีการประเมิน เรียนรู้* ความรับผิดชอบและการมีส่วนร่วมใน 1 1.3.1 ชั้นเรียน 2 1.3.1 การแต่งกาย บุคลิกภาพ กาละเทศะ การศึกษาค้นคว้าและการนาเสนอ 3 4.3.3 เผยแพร่ผลงานส่วนบุคคล
สัปดาห์ที่ประเมิน
สัดส่วนของการ ประเมินผล
ตลอดภาคเรียน
5%
ตลอดภาคเรียน
5%
สัปดาห์ที่ 2-3
5%
มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 21
กิจกรรมที่
ผลการ เรียนรู้*
4
6.3.1
5 6
3.3.1 6.3.2 1.3.3 5.3.3 6.3.2
7
วิธีการประเมิน
สัปดาห์ที่ประเมิน
พัฒนาการทักษะวิชาชีพและกิจกรรม กลุ่ม แบบฝึกหัดทักษะย่อย การทดสอบทักษะเชิงปฏิบัติการ
สัปดาห์ที่ 8, สัปดาห์ที่15 สัปดาห์ที่ 7 สัปดาห์ที่ 14
โครงงานออกแบบส่วนบุคคล
สัปดาห์ที่ 14-15
รวมคะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน 8 9
2.3.1 3.3.1 2.3.1 3.3.1
สัดส่วนของการ ประเมินผล 10% 10% 10% 15% 65 %
สอบกลางภาคเรียน
สัปดาห์ที่ 8
15 %
สอบปลายภาค
สัปดาห์ที่16
20 %
รวมคะแนนทั้งสิ้น
100%
การพิจารณาเกณฑ์ผ่านในรายวิชาผู้เรียนจะต้อง 1.มีเวลาเข้าชั้นเรีย นไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด หากเวลาเรียนไม่พอตามที่ กาหนดจะพิจ ารณาผลเป็ น ตกเนื่ อ งจากเวลาเรี ยนไม่ พอ ไม่มี สิ ทธิ์ ส อบ โดยได้รั บค่าระดับ คะแนน F (Failed, Insufficient Attendance) 2. ผู้เรียนจะต้องมีคะแนนรวมทั้งรายวิชาไม่ต่ากว่าร้อยละ 50 ของคะแนนรวมทัง้ หมด 3.ผู้ที่ผ่านเกณฑ์ข้อ 2 จะได้รับค่าระดับคะแนนตามเกณฑ์ ดังนี้ คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป จะได้ค่าระดับคะแนน A คะแนนร้อยละ 75-79 จะได้ค่าระดับคะแนน B+ คะแนนร้อยละ 70-74 จะได้ค่าระดับคะแนน B คะแนนร้อยละ 65-69 จะได้ค่าระดับคะแนน C+ คะแนนร้อยละ 60-64 จะได้ค่าระดับคะแนน C คะแนนร้อยละ 55-59 จะได้ค่าระดับคะแนน D+ คะแนนร้อยละ 50-54 จะได้ค่าระดับคะแนน D คะแนนต่ากว่าร้อยละ 50 จะได้ค่าระดับคะแนน F
มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 22
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. เอกสารและตาราหลัก ประชิด ทิณบุตร. การออกแบบกราฟฟิค. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, 2530. -----------------.เอกสารการสอนชุดวิชาความรู้เฉพาะวิชาชีพเตรียมการพิมพ์สาหรับช่างปฏิบัติการ เรียงพิมพ์ 3 หน่วยที่ 5 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2540 -----------------. เอกสารการสอนชุดวิชา การออกแบบทางการพิมพ์ หน่วยที่ 1 ,หน่วยที่ 13.2 , 13.3 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2541. ------------------.เอกสารประกอบการสอนวิชาการออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์.สาขาวิชาศิลปกรรม ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 2552 ปรีชา สุวีรานนท์. “๑๐ ตัวพิมพ์กับ ๑๐ ยุคสังคมไทย.” สารคดี. 18( ฉบับที่ 211 กันยายน,2545) หน้า 64-69. Solomon,Martin.The Art of Typography.2nd Printing, New York.Art Direction Book Company,1994. 2.เอกสารและข้อมูลสาคัญ 2.1 ไฟล์ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล เพื่ อ การประมวลและประเมิ น ผลประจ ารายวิ ช า( Course–ClassEvaluation-Form.xls) 2.2 ไฟล์แบบฟอร์มการจัดทาบันทึกผลการออกแบบด้วยมือ (Manual Design Sheets Form.xls) 2.3 เนื้อหาบทเรียนออนไลน์ วิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ ในระบบอีเลิร์นนิ่ง สาขาวิชาศิลปกรรม URL: http://art.chandra.ac.th/ecourse, http://chandraonline.chandra.ac.th/ 3.เอกสารและข้อมูลแนะนา 3.1.เว็บไซต์ระบบอีเลิร์นนิ่ง ภายในมหาวิทยาลัย ของสาขาวิชาศิลปกรรม 3.1.1 เว็บไซต์สนับสนุนการเรียนรู้ออนไลน์ สาขาวิชาศิลปกรรม Artchandra e-Learning Portal Site : URL : http://art.chandra.ac.th 3.1.2 เว็บบล็อกศูนย์รวมข่าวสารของสาขาวิชาศิลปกรรม URL:http://artnet.chandra.ac.th 3.1.3 ระบบDokeosอีเลิร์นนิ่งสาหรับการเรียนการสอนประจาวิชา URL: มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 23
http://art.chandra.ac.th/dokeos 3.2 เว็บไซต์สนับสนุนการติดต่อสื่อสาร การติดตามผลและแสดงผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักศึกษา อย่างพอเพียงและสากล 3.2.1 เว็บไซต์การรับ-ส่งข้อความสั้นผ่านทาง URL : http://www.twitter.com/prachid007 3.2.2 สื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ สาขาวิชาศิลปกรรม URL:http://www.facebook.com/artchandra 3.2.3 เว็บไซต์เครือข่ายการจัดการความรู้ สู่สาธารณะอย่างพอเพียงและสากลประจาวิชา URL : http://sites.google.com/site/arti2305, http://typefacesdesign.blogspot.com 3.3. เว็บไซต์สากลเพื่อการนาเสนอเผยแพร่และแสดงผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักศึกษา URL : http://www.issuu.com/groups/typography 3.4. เว็บไซต์แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติมด้วยตนเอง 3.4.1 http://www.issuu.com/groups/typography 3.4.2 http://www.f0nt.com 3.4.3 http://typography.wordpress.com 3.4.4 http://www.fonts.com 3.4.5 http://www.dafont.com 3.4.6 http://www.typography.com 3.4.7 http://www.typographer.com 3.4.8 http://www.designandtech.com 3.4.9 http://www.designtech2010.wordpress.com 3.4.10 http://www.design-technology.info 3.4.11 http://www.chanderakasem.info 3.4.12 http://www.thaifont.info 3.4.13 http://www.prachid.com 3.4.14 http://www.wittycomputer.com 3.4.15 htp://www.chandraonline.info 3.4.16 http://www.clarolinethai.info 3.4.17 http://www.efrontthai.info 3.4.18 http://www.novice-reserchers.net 3.4.19 http://www.researchchandra.net มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 24
3.4.20 http://www.thaianimation.info 3.4.21 http://www.thaiteachers.info
มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 25
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 1.กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา การประเมินประสิทธิผลในรายวิชาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมเพื่อสารวจแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้โดยมีวิธีการดังนี้คือ 1.1 ใช้แบบสารวจแบบสารวจศักยภาพและความพึงพอใจของผู้เรียน ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน ตามเกณฑ์มาตรฐานผลการเรียนรู้หลักสูตรสาขาวิชาศิลปกรรมก่อนและหลังการเรียนของ รายวิชา 1.2 ใช้แบบบันทึกคะแนนกิจกรรมการเรียนรู้และการรายงานผลการสังเกตการณ์ พฤติกรรมของ นักศึกษา 1.3ใช้ ร ะบบสื่ อ สารและเทคโนโลยี ร่ ว มสมั ย เพื่ อ เป็ น เวที แ สดงออกและรวบรวมข้ อ คิ ด เห็ น ข้อเสนอแนะผ่านระบบเครือข่ายสังคมออนไลน์ ผ่านการรับ-ส่งข่าวสารแบบกลุ่ม การวิพากษ์ วิจารณ์ และการติดตามให้คาปรึกษาด้านการเรียนรู้ด้านการสร้างสรรค์ผลงานทั้งแบบกลุ่มและรายบุคคลผ่ านทาง ระบบเครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ แ ละผ่ า นทางกระดานสนทนา(Social Network/Discussion Board/Online) ในระบบ e-Learning สาขาวิชาศิลปกรรม ในรายวิชาของอาจารย์ผู้สอนที่ได้กาหนดและ จัดทาไว้เพื่อรองรับเป็นช่องทางสาหรับการติดต่อสื่อสารกับนักศึกษาตลอด 24 ชั่วโมง ตลอด 7 วัน 1.4 ใช้แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ที่คณะฯเป็นผู้ดาเนินการ 2.กลยุทธ์การประเมินการสอน ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ดังนี้ 2.1 ใช้วิธี การสารวจ ซักถาม การสังเกตการณ์ การสนทนากลุ่ม การมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและ พฤติกรรมของนักศึกษา จากผู้สอนร่วม และเครือข่ายการสังคม 2.2 การสรุปใช้แบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนการสอนแบบออนไลน์ของรายวิชา 2.3 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์จากผลการสอบก่อน-หลังเรียน และผลสอบภาคทฤษฏีความรู้ 2.4 ผลสรุประดับพัฒนาการตามเกณฑ์พฤติกรรมทักษะวิชาชีพ : ทักษะการปฏิบัติที่คาดหวังของ นักศึกษา (Career Criterias : Performance Expectations Achievement) 3.การปรับปรุงการสอน ในระหว่างดาเนินการสอน/หลังจากทราบผลการประเมินการสอนในแต่ละคราว/ภาคเรียนแล้ว มี วิธีการปรับปรุงการสอนโดยวิธีการดังนีค้ ือ มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 26
3.1 สรุปประเด็นสภาพปัจจุบันและปัญหาเพื่อหาทางแก้ไขปรับปรุงเฉพาะหน้าระยะสั้นและระยะ ยาว 3.2 มีการทาวิจัยในชั้นเรียนควบคู่ไปกับการเรียนการสอน เพื่อหาข้อสรุป เผยแพร่ ตั้งประเด็น ดาเนินการสอนและทวนสอบ ในการสอนคราวต่อไป 3.3 นาผลสรุปจากแบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา ที่คณะฯเป็นผู้ดาเนินการ มาทวน สอบร่วมวางแผนปรับปรุง และจัดแผนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 3.4 ปรับ ปรุ งประสิ ทธิภาพของสื่ อหลัก สื่อเสริมและสื่อเติมให้มีประสิทธิภ าพขึ้นกว่าเดิม ให้ มี ทางเลื อกหลากหลายระดับ เพื่อสนั บสนุนส่ งเสริมการเรียนรู้ให้ นักศึกษาสามารถเข้าถึง เข้ าใช้ได้เต็ม ศักยภาพ ตามทักษะ วาระโอกาส ช่องทางการติดต่อสื่อสารและด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม 3.5 แบ่งปัน พัฒนาความรู้และฝึกฝนทักษะตนเองร่วมกับผู้รู้หรือผู้ร่วมงานท่านอื่นๆอย่างสม่าเสมอ 3.6 ประชุมกลุ่มผู้สอน/สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 4.การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา ในระหว่างกระบวนการสอนและหลังการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่ คาดหวังจากการเรีย นรู้ในรายวิช า โดยการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมทั้งการพิจารณาจากผลการทดสอบย่อยและการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในรายวิชาได้ดังนี้คือ 4.1 มีการทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา โดยอาจารย์ท่านอื่นหรือ ผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร 4.2 มีการจั ดตั้ ง คณะกรรมการเฝ้ าระวังมาตรฐานการเรียนรู้ ของสาขาวิช า เพื่อทวนสอบการ ประเมิน ผลการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการตรวจสอบหลั กเกณฑ์ -วิธีการให้คะแนนกิจกรรม ข้อสอบ คะแนนผลสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ การให้คะแนนพฤติกรรม รายงานหรืองานที่มอบหมาย 4.3 มีการทาวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และทักษะการนาเสนอผลงาน ของนักศึกษาที่เรียนในวิชา 4.4 ใช้แบบสารวจความคิดเห็น-การรวบรวมข่าวสาร ค่าสถิติผลงานเชิงประจักษ์ และมีหลักฐาน จริง อันเป็นผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา จากกิจกรรมการส่งผลงานประกวดแข่งขัน จากเกียรติยศ รางวัลที่ ได้รับ จากการส่งผลงานเข้าร่วมจัดแสดงนิทรรศการจริง หรือแบบออนไลน์ สู่สาธารณะในเว็บไซต์สากล หรือภายในหน่วยงานที่สามารถตรวจสอบ ติดตาม อ้างอิงและเข้าถึงได้
มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555
มคอ.3 ARTD3304 หน้า 27
5.การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา จากผลการประเมินและการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุง การจัดการเรียนการสอนและรายละเอียดของวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น ดังนี้ 5.1 จัดให้มีการวิพากษ์เพื่อการปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสรุปที่ได้จาก การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 มีการเชิญวิทยากรพิเศษ การศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง หรือการจัดประสบการณ์ จริงเพื่อให้นักศึกษามีวิสัยทัศน์ในเรื่องการสังเคราะห์องค์ความรู้ที่ได้รับจากการเรียนในรายวิชามากขึ้น 5.3 มีการให้ความร่วมมือทาวิจัยร่วมกันในหน่วยงาน หรือทาวิจัยแบบบูรณาการกับผู้สอนหรือ นักวิจัยจากภายนอกสถาบัน
มคอ3.วิชาออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 02/11/2555