Content Architect‘14 Main Event Concept & Art Direction Key Visual Identity Concept Logo Stationery Set (Letterhead, Envelopes, Folders) Stage Backdrop (2 version press conf.) J-Flag Postcard Set Activity Schedule Floor Directory (Event Map) Board Invitation Card Badges / Staff Tags Poster set Template (Vertical) Template (Horizontal) Announcement Asa Forum on Magazine Home Clinic on Magazine Leaflet Activity Schedule TV Board Notice Board on desk Parking Card Graphic Design Exhibition Balloon Signage Trophy T-Shirt (2 version) Sticker ASA Club Sticker
6 8 12 13 22 24 26 27 28 29 30 32 34 38 40 42 44 45 46 48 50 51 52 54 56 58 60 61
ASA Forum 2014 Character Design Posters (1 version) Program Booklet Website (design only) Motion Speaker (title + Introduction) Notice Board Notice Board on desk TV Loop Arrival Speaker
64 65 66 68 69 70 71 72 73
Architect Architect Exhibition Motion Exhibition Board
76 77
ARCHITECT’14 Main Event
Concept & Art Direction
Main event
แนวความคิดสร้างสรรค์ในการทำงาน จากเอกสารชีแ้ จงการประกวดแบบของสมาคมฯ มีประเด็น ที่ทางผู้ออกแบบให้ความสำคัญเกี่ยวกับการรับรู้และ ความเข้าใจของสังคมต่อวิชาชีพ “สถาปนิก” ถึงบทบาท หน้าทีค่ วามสำคัญ และประโยชน์ของวิชาชีพนีว้ ตั ถุประสงค์ หลักนีจ้ งึ เป็นเสมือนจุดเริม่ ต้นในการนำเสนองานออกแบบ ระบบเรขศิลป์และสือ่ ประชาสัมพันธ์ ของงานสถาปนิก 57 ในครั้งนี้ ผู้ออกแบบเริ่มจากคำถามพื้นฐานว่า “สถาปนิกคือใคร และทำอะไร ?” ซึ่งเราเชื่อว่าคำตอบที่ได้ออกมาจากผู้คนต่างๆ ในสังคม ย่อมจะแตกต่างกันทั้งจากผู้มีอาชีพเป็นสถาปนิกเอง ผูท้ ม่ี สี ายงานเกีย่ วข้องกับสถาปนิกไปจนถึงประชาชนทัว่ ไป คณะผู้ออกแบบได้ทำการสำรวจด้วยการออกไปสอบถาม ผู้คนหลากหลายอาชีพเพื่อพยายามจะเข้าถึง การรับรู้ (Perception) ของผู้คนในสายอาชีพต่างๆ กันออกไป เช่น สถาปนิก นักศึกษา รปภ. ผู้รับเหมา แม่ค้า นักธุรกิจ แม่บ้าน คู่แต่งงาน ฯลฯ ซึ่งผลจากการสำรวจดังกล่าว สอดคล้องกับเอกสารชีแ้ จงของสมาคมฯ ทีว่ า่ “สถาปนิก” ดูเหมือนจะยังเป็นวิชาชีพทีส่ งั คมทัว่ ไปอาจยังไม่รจู้ กั ดีนกั ว่าสถาปนิกนั้น ทำ, เป็น, หรือคืออะไร”
6
ARCHITECT 2014 | 18|80
จากจุดเริม่ ต้นในการตัง้ คำถามต่อยอดว่า“เราจะทำอย่างไร ทีจ่ ะถือโอกาสใช้งานออกแบบ Visual Communication ผ่านสือ่ ประชาสัมพันธ์ของงานสถาปนิก 57 เป็นเครือ่ งมือ ในการสื่อสารออกไปยังสังคมในวงกว้างให้เข้าใจและรับรู้ ถึงวิชาชีพนี้ได้ชัดเจนขึ้น” ผู้ออกแบบจึงมีแนวความคิด ในการเชื่อมโยง “สถาปนิก” ให้ใกล้ชิดกับ “กิจกรรมใน ชีวติ ประจำวันของผูค้ นในสังคม” อันจะทำให้เกิดการรับรู้ ทีเ่ ข้าใจง่ายขึน้ ทำอย่างไรจึงจะทำให้ผู้คนมองเห็นตัวเอง ทีส่ มั พันธ์อยูก่ บั ผลงานของสถาปนิก เช่น เราอาจพูดหรือ รับรูถ้ งึ ทีพ่ กั อาศัย หรือ “บ้าน” ในฐานะสิง่ ก่อสร้าง หากแต่ ความสวยงามและกายภาพภายนอกของ “บ้าน” อาจไม่ เพียงพอต่อการทำความเข้าใจถึงบทบาทและประโยชน์ ของสถาปนิกได้ทั้งหมดถ้าไม่สามารถเชื่อมโยงการใช้งาน คุณภาพชีวิตและความสุขที่เกิดขึ้นจากการออกแบบ สิง่ ปลูกสร้างนัน้ ๆ “คนและกิจกรรมในชีวติ ประจำวัน” จึงเป็นสิง่ ทีผ่ อู้ อกแบบ เชือ่ ว่าเป็นสิง่ พืน้ ฐาน ทีท่ กุ คนในสังคมมีตน้ ทุนทางการรับรู้ อยูแ่ ละเป็นจุดเชือ่ มต่อ (Link) ทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการนำ ไปสูบ่ ทบาทหน้าทีต่ า่ งๆ ของสถาปนิกได้งา่ ยขึน้ นัน่ หมายถึง เรากำลังปรับภาษาหรือสำนวนทีใ่ ช้ในการสือ่ ให้เป็นภาษา ที่คุ้นเคยกับผู้คนในวงกว้างมากขึ้น ผ่านสิ่งที่พวกเขามี ประสบการณ์ร่วมอยู่แล้ว
สถาปนิก คือใคร และทำอะไร? จุดเริ่มต้นของความคิด ในการออกแบบระบบเรขศิลป์ ของงานนี้ ผู้ออกแบบเริ่มต้นจาก การสำรวจความคิดเห็นของผู้คนทั่วไป ที่มีต่ออาชีพสถาปนิก
สถาปนิกควรจะเสนอสิ่งที่เค้าคิดว่า เหมาะสำหรับกลุ่มคนนั้นๆ
ขอสังเกต
“บ้าน” อาจไม่เพียงพอต่อการทำความเข้าใจ ถึงบทบาทและประโยชน์ของสถาปนิกได้ทั้งหมด ถ้าไม่สามารถเชื่อมโยงการใช้งาน คุณภาพชีวิต และความสุข ที่เกิดขึ้นจากการออกแบบสิ่งปลูกสร้างนั้นๆ
ARCHITECT 2014 | 18|80
7
Keyvisual
Main event
การเชื่อมโยง “สถาปนิก” ให้ใกล้ชิดกับ “กิจกรรมในชีวิตประจำวัน” ของผู้คน เป็นแนวความคิดหลักในการออกแบบ งานกราฟิกในครั้งนี้ แนวคิดในการนำเสนอ Key Visual ของโครงการนี้มี จุดมุ่งหมายที่จะสื่อสารกับสังคมให้มากขึ้น จึงต้องการ นำเสนอภาพลายเส้นที่เรียบง่ายแต่มีความชัดเจนในการ สะท้อนกิจกรรมทั้งหลายที่ผู้คนทั่วไปที่มีความสัมพันธ์ต่อ งานสถาปัตยกรรม ในมิติของการดำเนินชีวิตประจำวัน เพือ่ ลดอุปสรรคต่อความสนใจแรกในการพบเห็นสือ่ ต่างๆ ของงาน ตามทฤษฎีการออกแบบสือ่ สารแล้ว “ภาพลายเส้น คนที่ตัดทอนเรียบง่าย” สามารถเชิญชวนให้ผู้คนได้เห็น ตัวเองในภาพผู้คนนั้น
8
ARCHITECT 2014 | 18|80
ซึ ่ ง ในการนำเสนอครั้งนี้ผู้ออกแบบได้นำเสนอการใช้ ภาพลายเส้ น คนประกอบกั บ ลายเส้ น โครงสร้ า งของ สิ่งก่อสร้างต่างๆ และลายเส้นรูปทรงเรขาคณิตพื้นฐาน ที่ใช้เป็นตัวแทนของผลงานสถาปัตยกรรมจึงกล่าวได้ว่า ในแนวทางนี.้ .. กำลังนำชีวติ ประจำวัน และกิจกรรมของ ผู้คนโยงกลับไปหาความสัมพันธ์ต่องานสถาปัตยกรรม อันเป็นบทบาท หน้าที่ ความสำคัญ และประโยชน์ของ “สถาปนิก” นั่นเอง
ARCHITECT 2014 | 18|80
9
รูปแบบของภาพลายเส้นคน ในอิริยาบถต่างๆ
10 ARCHITECT 2014 | 18|80
Main event
ARCHITECT 2014 | 18|80 11
Identity Concept
แนวความคิดในการออกแบบโลโก้ งานสถาปนิก ๒๕๕๗ “สิบแปด | แปดสิบ : Eighteenth | Eighty” ผูอ้ อกแบบ พยายามลดทอนรูปแบบให้เรียบง่าย สามารถนำไปใช้งาน ในหน้าทีข่ องโลโก้ได้ในเงือ่ นไขต่างๆ ของขอบเขตการใช้งาน โลโก้แต่ยังสร้างความเชื่อมโยงต่อแนวคิดหลักข้างต้น โดยให้ความสนใจไปยัง “พืน้ ทีร่ ะหว่าง 18 และ 80” อันสือ่ ความหมายไปสู่ “ช่วงระยะเวลาระหว่าง 18 (ซึ่งหมายถึง ทั้ง ช่วงเข้าอุดมศึกษา และ วันก่อตั้งสมาคมฯ) และ 80 (ซึ่งหมายถึงการครบรอบของสมาคมฯ)”
12 ARCHITECT 2014 | 18|80
Main event
การนำรูปทรงสี่เหลี่ยมที่มีโครงสร้างแบบ Isomertric มาเป็นแนวทางในการออกแบบชือ่ งานซึง่ ปรับให้สอดคล้อง กับรูปแบบของ Key Visual นี้ เพื่อกำกับกิจกรรมต่างๆ ของลายเส้นคนที่นำเสนอออกไป ในแนวทางนี้จะเป็น การใช้กิจกรรมของผู้คนชี้นำและเชื่อมโยงไปสู่พื้นที่ตัว สิ่งปลูกสร้างและผลงานออกแบบของสถาปนิกแทนทีจ่ ะ นำเสนอตัวผลงานทางกายภาพโดยตรงในขณะที่ตัวโลโก้ เองก็ยงั ให้ความหมายของ Layer ต่างๆ ในบทบาทหน้าที่ ของสถาปนิก ผ่านที่มาของตัวเลข 18 และ 80
Logo : Symbol & Logotype ตราสัญลักษณ์ และองค์ประกอบของตราสัญลักษณ์ ตราสัญลักษณ์งานสถาปนิก ๕๗ “สิบแปด | แปดสิบ : Eighteenth | Eighty” ประกอบไปด้วย 1. สัญลักษณ์ 18 | 80 (Symbol) 2. ตัวอักษรประดิษฐ์ (Logotype) “สิบแปด | แปดสิบ” ภาษาไทย และภาษาอังกฤษดานลาง “Eighteenth • Eighty และ Architect 2014”
สัญลักษณ์ (Symbol)
ตัวอักษรประดิษฐ์ (Logotype)
ARCHITECT 2014 | 18|80 13
Smallest Size กำหนดการใช้รปู แบบสัญลักษณ์ในขนาดเล็กทีส่ ดุ ในกรณีที่ต้องการใช้ตราสัญลักษณ์งานสถาปนิก ๕๗ “สิบแปด | แปดสิบ : Eighteenth | Eighty” ในขนาดที่เล็ก จึงกำหนดขนาดการใช้ตราสัญลักษณ์ไว้ที่ความสูง 1.5 cm. เพื่อความเหมาะสมและการมองเห็นที่ชัดเจน *เพื่อการมองเห็นที่ชัดเจนของตราสัญลักษณ์ ไม่ควรย่อขนาดเกินกว่าขนาดที่กำหนดไว้
1.5 cm.
14 ARCHITECT 2014 | 18|80
Colours of Logo ระบบการใช้สตี ราสัญลักษณ์งานสถาปนิก ๕๗ “สิบแปด | แปดสิบ : Eighteenth | Eighty” ระบบสีตราสัญลักษณ์งานสถาปนิก ๕๗ “สิบแปด | แปดสิบ : Eighteenth | Eighty” ได้ถูกแบ่งการใช้สีไว้ 3 ลักษณะการใช้งาน คือ 1. ระบบสีการพิมพ์ออฟเซทปริ้นท์ (CMYK) 2. ระบบการแสดงผลบนหน้าจอ (RGB) 3. ระบบการพิมพ์สี Spot (Pantone)
C 0 M 95 Y 90 K 0 R 197 G 40 B 39 Pantone 485C
C 0 M 60 Y 60 K 0 R 215 G 129 B 99 Pantone 1635C
C 0 M 30 Y 30 K 0 R 235 G 195 B 175 Pantone 488C
C 0 M 0 Y 0 K 75 R 99 G 99 B 99 Pantone Cool grey 10C
ARCHITECT 2014 | 18|80 15
Logo Clear Area การกำหนดพืน้ ที่ Clear Area ในการวางตราสัญลักษณ์ ในกรณีที่ตราสัญลักษณ์์งานสถาปนิก ๕๗ “สิบแปด | แปดสิบ : Eighteenth | Eighty” จะต้องอยู่บนพื้นหลังที่มีลวดลาย, ภาพ และพื้นสี ฯลฯ หรือคาดว่าตราสัญลักษณ์จะถูกรบกวนในการมองเห็น จนทำให้เกิดความไม่ชัดเจน จึงใหตราสัญลักษณอยูในพื้นที่ Clear Area ในขนาดสัดสวนที่ถูกกำหนดไวดังภาพตัวอยางดานลาง
6.2x
1x
7.3x 1x
9x
7x
1x 15x
1x 1x
2x
16 ARCHITECT 2014 | 18|80
Example Clear Area ตัวอย่างการใช้ตราสัญลักษณ์งานสถาปนิก ๕๗ “สิบแปด | แปดสิบ : Eighteenth | Eighty” ทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ที่ Clear Area
ARCHITECT 2014 | 18|80 17
Logo Version ลักษณะการใช้รปู แบบตราสัญลักษณ์ในลักษณะต่างๆ ตราสัญลักษณ์งานสถาปนิก ๕๗ “สิบแปด | แปดสิบ : Eighteenth | Eighty” ได้มีการถูกกำหนดใช้งานเพื่อความเหมาะสม และความชัดเจนในลักษณะงานต่างๆ จึงถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้
1 Full Version : รูปแบบเต็มของ ตราสัญลักษณ์
ตราสัญลักษณ์งานสถาปนิก ๕๗ “สิบแปด | แปดสิบ : Eighteenth | Eighty” ในรูปแบบเต็ม เหมาะกับการใช้งานในลักษณะที่มีพื้นหลังเป็นสีอ่อน หรือสีขาว ที่ตราสัญลักษณ์จะไม่ถูกรบกวนในการมองเห็น
2 Monochrome Version : รูปแบบตราสัญลักษณ์ในลักษณะสีเดียว
ตราสัญลักษณ์งานสถาปนิก ๕๗ “สิบแปด | แปดสิบ : Eighteenth | Eighty” ในรูปแบบสีเดียว เหมาะกับการใช้งานในลักษณะที่มีพื้นหลังเป็นสีเข้ม หรือมีสิ่งที่คาดว่าตราสัญลักษณ์จะถูกรบกวนในการมองเห็น และต้องการความชัดเจนของสัญลักษณ์ (Symbol)
18 ARCHITECT 2014 | 18|80
Acceptable Usage of Logo การใช้งานรูปแบบตราสัญลักษณ์ในลักษณะทีถ่ กู ต้อง เพื่อความชัดเจนในการมองเห็นตราสัญลักษณ์งานสถาปนิก ๕๗ “สิบแปด | แปดสิบ : Eighteenth | Eighty” ควรคำนึงถึงการวางตำแหน่งของพื้นหลัง และการใช้งานให้มีความชัดเจนในการมองเห็น ดังภาพตัวอย่าง
ARCHITECT 2014 | 18|80 19
Symbol Version ลักษณะการใช้รปู แบบสัญลักษณ์ (Symbol) ในกรณีการใช้งานรูปแบบสัญลักษณ์ (Symbol) 18 80 จะกำหนดให้ใช้งานโดยมีแค่ตัวสัญลักษณ์ (Symbol) เท่านั้น เพื่อความชัดเจนในการสื่อสารลงสื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ เช่น เสื้อยืด ฯลฯ
20 ARCHITECT 2014 | 18|80
Acceptable Usage of Symbol การใช้งานรูปแบบสัญลักษณ์ (Symbol) ในลักษณะทีถ่ กู ต้อง เพื่อความชัดเจนในการมองเห็นตราสัญลักษณ์ (Symbol) 18 80 ควรคำนึงถึงการวางตำแหน่งของพื้นหลัง และการใช้งานให้มีความชัดเจนในการมองเห็น ดังภาพตัวอย่าง
ARCHITECT 2014 | 18|80 21
Stationery Set
Press Conference
Envelope (Front) size 11x23 cm.
Letterhead (Front) size A4
Envelope (Back) size 11x23 cm.
Letterhead (Back) size A4
22 ARCHITECT 2014 | 18|80
Folder (Outside) size 23.25x32 cm.
Folder (Inside)
ARCHITECT 2014 | 18|80 23
Stage Backdrop
Press Conference
size 360x240 cm.
1st Press Conference
24 ARCHITECT 2014 | 18|80
2nd Press Conference
ARCHITECT 2014 | 18|80 25
J-Flag size 150x50 cm.
26 ARCHITECT 2014 | 18|80
Press Conference
Postcard Set
Press Conference
size 4x6 inch.
Postcard (Front)
Back
ARCHITECT 2014 | 18|80 27
Activity Schedule size 300x270 cm.
28 ARCHITECT 2014 | 18|80
Main event
Floor Directory
Main event
ARCHITECT 2014 | 18|80 29
Invitation card
Main event Map size 10x22 cm. INDOOR PARKING 2 อาคารจอดรถ 10 ชั้น ลานจอดรถ เปิด 05:00 น. ยกเว้นค่าจอดรถ 5 ชม. แรก สำหรับพิธีเปิดงาน 10 floors Parking Bld. Open 05:00 am Free 5 Hrs. Parking for Opening Ceremony TO LAKSI KBANK
OUTDOOR OUTDOOR PARKING 5 PARKING 6
ARENA
INDOOR PARKING 2
IMPACT FORUM
LAKE
IMPACT CHALLENGER
CHAENGWATTANA ROAD
NOVOTEL
AKTIV SQUARE
TIWANON ROAD
IMAPACT EXHIBITION CENTER HALL 1 - 8
OFFICE IMPACT
POPULAR ROAD
OUTDOOR PARKING 4
EXPRESS WAY BOND STREET ROAD TO PAK KRED
Cover (Inside) size 10x22 cm. (ขนาดกางออก 20x22 cm.)
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
HER ROYAL HIGHNESS PRINCESS MAHA CHAKRI SIRINDHORN
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิด
has graciously consented to preside over the opening ceremony of
“สิบแปด แปดสิบ”
“Eighteenth Eighty”
สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ขอเรียนเชิญเข้าเฝ้าททูลละอองพระบาท
The Association of Siamese Architects under Royal Patronage requests the honour of your company
ในวันพฤหัสบดีที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๗ เวลา ๐๙.๓๐ น. ณ โถงรับรอง อาคารชาเลนเจอร์ ๒ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี
on Thursday, 1st May 2014 at 09:30 a.m. Challenger Hall 2, IMPACT Muang Thong Thani
กำหนดการ ๐๗:๓๐ น.- แขกผู้มีเกียรติลงทะเบียน ๐๘:๓๐ น. ๐๙:๐๐ น. แขกผูม้ ีเกียรติประจำที่นั่ง ๐๙:๓๐ น. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินถึงสถานที่จัดงาน, ทรงเปิดงานสถาปนิก ’๕๗ และเสด็จฯ ทอดพระเนตรนิทรรศการ
Schedule of Events 07:30 a.m.- Guests registration 08:30 a.m. 09:00 a.m. Guests and participants kindly take their designated seats. 09:30 a.m. Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn arrives to graciously preside over the opening ceremony.
การแต่งกาย (งดชุดดำ) สุภาพบุรุษ สวมชุดสากล สุภาพสตรี สวมชุดสุภาพ (กระโปรง)
Dress Code Business attire (Please do not wear black)
ที่จอดรถ Indoor Parking 1 (อาคารชาเลนเจอร์ 1 และ 3) Indoor Parking 2 (อาคารจอดรถใหม่ หลังชาเลนเจอร์)
Parking Indoor Parking 1 (Impact Challenger 1 and 3) Indoor Parking 2 (ICC Car Park)
โปรดยืนยันการเข้าร่วมงานได้ที่ คุณนXพมาส สมใจเพ็ง โทร. ๐๒ ๓๑๙ ๖๕๕๕ ต่อ ๐ ภายในวันศุกร์ที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๗
Please present the Invitation Card at the Security and the Registration Desk. Registration time between 07:30 a.m. to 08:30 a.m. only.
กรุณานำบัตรเชิญนี้มาแสดงต่อเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ณ ทางเข้าอาคาร และจุดลงทะเบียน (เปิดรับลงทะเบียนภายใน ๐๘:๓๐ น. เท่านั้น)
Please confirm your attendance by Friday, 25th April 2014 to Ms. Salila Trakulvech at +662 319 6555 ext. 121 or punnavech@hotmail.com
Cover (Outside)
30 ARCHITECT 2014 | 18|80
Envelope size 10.5x22.5 cm.
THE ASSOCIATION OF SIAMESE ARCHITECT UNDER ROYAL PATRONAGE THE ASSOCIATION OFsoi SIAMESE 248/1 SoonvijaiARCHITECT 4 (soi 17) Rama IX rd., UNDER ROYAL PATRONAGE Bangkapi, Huaykwang, Bangkok 10310 Thailand 6555 F. +66 (0) 2319 6419 248/1 soi SoonvijaiT.4+66 (soi(0) 17)2319 Rama IX rd., E.office@asa.or.th, asaisaoffice@gmail.com Bangkapi, Huaykwang, Bangkok 10310 Thailand www.asa.or.th T.+66 (0) 2319 6555 F.+66 (0) 2319 6419 E.office@asa.or.th, asaisaoffice@gmail.com www.asa.or.th
Front
Back
THE ASSOCIATION OF SIAMESE THEARCHITECT ASSOCIATION OF SIAMESE ARCHITECT UNDER ROYAL PATRONAGE UNDER ROYAL PATRONAGE 248/1 soi Soonvijai 4 (soi 17) Rama 248/1 soi IX rd., Soonvijai 4 (soi 17) Rama IX rd., Bangkapi, Huaykwang, Bangkok Bangkapi, 10310 Huaykwang, Thailand Bangkok 10310 Thailand T. +66 (0) 2319 6555 F. +66 (0) T. 2319 +66 (0) 6419 2319 6555 F. +66 (0) 2319 6419 E.office@asa.or.th, asaisaoffice@gmail.com E.office@asa.or.th, asaisaoffice@gmail.com www.asa.or.th www.asa.or.th
Open
ARCHITECT 2014 | 18|80 31
Badge set size 5.8x5.8 cm.
32 ARCHITECT 2014 | 18|80
Main event
Staff Tags
Main event
size 5.3x8.5 cm.
Strap Logo size 7.5 cm
ARCHITECT 2014 | 18|80 33
Poster Set
Asa Forum
34 ARCHITECT 2014 | 18|80
Architect’14 Exhibition
Asa Experimental
ASA Forum 2014 (size A2)
Asa Forum
ARCHITECT 2014 | 18|80 35
Exhibition Poster (size A2)
36 ARCHITECT 2014 | 18|80
Main Event
Experiment Poster (size A2)
Asa Experimental Design
ARCHITECT 2014 | 18|80 37
Template (Vertical) size A4
38 ARCHITECT 2014 | 18|80
Main event
ARCHITECT 2014 | 18|80 39
Template (Horizontal) size A4
40 ARCHITECT 2014 | 18|80
Main event
ARCHITECT 2014 | 18|80 41
Announcement size A4 Asa Seminar
Asa Exhibition
42 ARCHITECT 2014 | 18|80
Asa Talkative
Asa Playground Asa Talkative
ARCHITECT 2014 | 18|80 43
Asa Forum on Magazine (art4d)
Asa Forum
size 25x34.5 cm.
29 Apr - 04 May 2014
@QBGHSDBSDWON BNL
at Challenger Hall, Impact Maung Thong Thani
%D@STQHMF L@MX RODBH@K DWGHAHSHNMR RDLHM@QR @MC @BSHUHSHDR VHSG SGD SG RD@M +@QFDRS !THKCHMF 3DBGMNKNFX $WONRHSHNM
Phoenix Room, Architect'14 Muang Thong Thani
SAT 3 MAY 10:00-11:30
13:00-14:30
15:00-16:30
Toyo Ito Pei Zhu SO-IL
Florian Idenburg Jing Liu
SUN 4 MAY
10:00-11:30
13:00-14:30
15:00-16:30
Duangrit Bunnag Bevk Perović TYIN
Vasa J. Perović
Andreas G. Gjertsen
Admission Fee ASA members & Students: Free | Non-members: 1,000 Baht for 2 days pass For more information & registration, please visit www.asaforum.org
The Association of Siamese Architects under Royal Patronage 248/1 Soi Soonvijai 4 (soi 17) Rama IX Rd., Bangkapi, Huaykwang, Bangkok 10310 Thailand www.asa.or.th
44 ARCHITECT 2014 | 18|80
T. +66 (0) 2319-6555 F. +66 (0) 2319-6419 E. NEűBD @R@ NQ SG @R@HR@NEűBD FL@HK BNL
Home Clinic on Magazine (คู่สร้าง คู่สม)
Home Clinic
size 20.7x28.3 cm.
ARCHITECT 2014 | 18|80 45
Leaflet
Main Event
size 69.6x49 cm.
Step 1 (Back)
Step 1 (Front)
Step 2
Step 3
Step 4 46 ARCHITECT 2014 | 18|80
Step 5 (Front)
Step 5 (Back) ARCHITECT 2014 | 18|80 47
Activity Schedule TV Board size 1920x1080 px
48 ARCHITECT 2014 | 18|80
Asa Playground
Asa Talkative
ARCHITECT 2014 | 18|80 49
Notice Board on desk size 29.7x10.5 cm.
50 ARCHITECT 2014 | 18|80
Asa Playground
Parking Card
Main Event
size A4
ARCHITECT 2014 | 18|80 51
Graphic Design Exhibition
Main Event
size 400x200 cm.
Outside
200x200 cm.
400x200 cm.
Inside
200x200 cm.
400x200 cm.
52 ARCHITECT 2014 | 18|80
ARCHITECT 2014 | 18|80 53
Balloon Signage
Main Event
size 220x240 cm. (21 Items)
Front (Thai) size 110x240 cm.
54 ARCHITECT 2014 | 18|80
Back (Eng) size 110x240 cm.
240 cm.
240 cm. 180 cm.
ARCHITECT 2014 | 18|80 55
Trophy size 12x12 cm.
56 ARCHITECT 2014 | 18|80
Main Event
Object Colour ชุดสีที่ใช้ในตัวลูกบาศก์
Type Colour
ชุดสีที่ใช้ในการพิมพ์กรีนชื่อรางวัลและโลโก้
CATEGORY EXPERIMENTAL DESIGN
CATEGORY CREATIVE BOOTH DESIGN GREEN BOOTH DESIGN INNOVATIVE PRODUCT
CATEGORY POPULAR ARCHITECT
LOGO
STUDENT DESIGN
ARCHITECT 2014 | 18|80 57
T-shirts
Souvenirs
Direction 1
Front
58 ARCHITECT 2014 | 18|80
Back
T-shirts
Souvenirs
Direction 2
Front
Back
ARCHITECT 2014 | 18|80 59
Sticker size A5 cm.
60 ARCHITECT 2014 | 18|80
Souvenirs
Asa Club Stickers
Asa Club
size 5x5 cm.
ARCHITECT 2014 | 18|80 61
2014
Character Design
Toyo Ito
SO-IL
Florian Idenburg Jing Liu
64 ARCHITECT 2014 | 18|80
Asa Forum
Pei Zhu
Duangrit Bunnag
Bevk Perović
Vasa J. Perović
TYIN
Andreas G. Gjertsen
ASA Forum 2014 (size A2)
Asa Forum
ARCHITECT 2014 | 18|80 65
ASA Forum Book
Asa Forum
size A5
Cover (Front)
Cover (Back)
66 ARCHITECT 2014 | 18|80
Schedule 2014
Frist Page
2014
Schedule
2014
Phoenix Room, Architect'14 Muang Thong Thani
SAT 3 MAY 10:00-11:30
13:00-14:30
15:00-16:30
Toyo Ito Pei Zhu SO-IL
2014
Florian Idenburg Jing Liu
SUN 4 MAY 10:00-11:30
13:00-14:30
15:00-16:30
Duangrit Bunnag Bevk Perović
Vasa J. Perović
TYIN
Andreas G. Gjertsen
Inside (36 pages)
Architects www.toyo-ito.co.jp
He graduated from Department of Architecture, University of Tokyo in 1965 and worked for Kiyonori Kikutake Architect and Associates until 1969. In 1971, he founded his own studio Urban Robot (URBOT) in Tokyo, which was renamed Toyo Ito & Associates, Architects in 1979. Many of Ito’s works across Japan and overseas have made a strong impact on architectural design. He frequently challenges common practice and seeks to explore new potentials with creative interplay between form, structure, space, nature and contexts, resulting in unique spatial solutions never before seen. Among his critically-acclaimed projects are Sendai Mediatheque (2001), Serpentine Pavilion Gallery in London’s Hyde Park (2002), TOD’S Omotesando Building (2004), Tama Art University Library (2007). Recently, his awarded design for Japanese Pavilion in the 2012 Venice Architecture Biennale represented the concept of “Home-for-All” communal space for disaster survivors in Japan. It questioned a lack of humanity in modern design and brought back to the fundamental, primal meaning of architecture. Toyo Ito has been praised to receive several awards, including the Pritzker Architecture Prize in 2013, the 22nd Praemium Imperiale in Honor of Prince Takamatsu in 2010, the Royal Gold Medal from the Royal Institute of British Architects in 2006, and the Golden Lion for Lifetime Achievement from the 8th International Architecture Exhibition at the Venice Biennale in 2002. His work has been published and exhibited extensively worldwide. He has taught as a visiting professor at several universities including the University of Tokyo, Columbia University, the University of California, Los Angeles, Kyoto University, and Tama Art University, and hosted an overseas studio for Harvard University’s Graduate School of Design in 2012. า านักงานออกแบบของตนเองในนาม Urban Robot
า า
8 | 18|80 ASA FORUM 2014
ARCHITECT 2014 | 18|80 67
Website Design only
68 ARCHITECT 2014 | 18|80
Asa Forum
Motion Speaker
Asa Forum
size 3840x720 px
ARCHITECT 2014 | 18|80 69
Notice Board size A3
70 ARCHITECT 2014 | 18|80
Asa Forum
Notice Board on desk
Asa Forum
size 29.7x10.5 cm.
ARCHITECT 2014 | 18|80 71
ASA Forum TV Loop size 1920x1080 px
72 ARCHITECT 2014 | 18|80
Asa Forum
Arrival Speaker
Asa Forum
size A3
ARCHITECT 2014 | 18|80 73
นิทรรศการ
Motion 6.20 min.
76 ARCHITECT 2014 | 18|80
Architect Architect Exhibition
Exhibition Board
Architect Architect Exhibition
เชิญชม Animation
ได้เลยครับ
ARCHITECT 2014 | 18|80 77
78 ARCHITECT 2014 | 18|80
ARCHITECT 2014 | 18|80 79
Credit แนวคิดและออกแบบ โดย แพรคทิเคิล ดีไซน์ สตูดิโอ (Practical Design Studio) info@practical-studio.com // www.practical-studio.com คณะทำงาน : สันติ ลอรัชวี ณัฐพล โรจนรัตนางกูร ณัฐพงศ์ ดาววิจิตร กนกนุช ศิลปวิศวกุล วิทยา อุดมศิลป์ Studio Craftsmanship วสุพล สรรพานิช อังศุญาณ์ กุญแจทอง พรชนก ตั้งจิตบุญสง่า ปรางวลัย พูลทวี เจษฎา วีสุวรรณ
ขอขอบคุณ : สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ คณะกรรมการสมาคมฯ และผู้ร่วมงานทุกท่าน
©2014. All Right Reserved. Practical Design Studio co.,Ltd. แนวคิด, ข้อความ, ภาพ และกราฟิก ที่ใช้ในการนำเสนอ งานออกแบบระบบเรขศิลป์และสื่อประชาสัมพันธ์ งานสถาปนิก ๕๗ เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท แพรคทิเคิล ดีไซน์ สตูดิโอ จำกัด บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการนำไปใช้และเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาติจากทางบริษัทฯ