/52-1

Page 1


สวัสดีปใหมทานผูอานทุกทาน

3 5

วารสาร สสภ.14 ฉบับนี้เปนฉบับแรกของงบประมาณ 2552 ตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 12 พ.ย. 2534 กําหนดใหวันที่ 4 ธ.ค. ของทุกป เปนวันสิ่งแวดลอมไทย ซึ่งในปนี้มีคําขวัญวา “4 ธันวาคม วันสิ่งแวดลอมไทย คนไทย หัวใจสีเขียว(Be Green)” ถาใครใสใจสักนิด จากหนาหนังสือพิมพตางๆ จะเห็นความพะวง ตอภาวะโลกรอน ถามวาเราควรกังวลในเรื่องนี้ไหม หรือไมตองใส ใจก็ได เอากิเลสตัณหานําชีวิต บริโภคเกินเหตุ ใชชีวิตสนุกสนาน ไปวันวัน แตในฐานะที่เราเปนมนุษย มีสติและปญญา ฉะนั้นเรา ควรมีความตระหนัก และความตระหนักอยางเดียวคงไมพอ เรา ควรจะเริ่มที่การกระทําและหันมาเปลี่ยนพฤติกรรมใหเปนประโยชน ตอสิ่งแวดลอม หรือ เปนพฤติกรรมของคนไทย หัวใจสีเขียว เชน เลือกซื้อสินคาที่สรางขยะนอย คือ มีหีบหอบรรจุนอย

7 9 11 11

ใชถุงผาในการจายตลาดเพื่อลดจํานวนถุงพลาสติกที่ตองทิ้ง ในแตละวัน หากระยะทางไม ไ กลมาก ใช ก ารเดิ น หรื อ ใช จั ก รยาน เพื่อลดการใชน้ํามันและเปนการออกกําลังกายไปในตัว เพียงเราเปลี่ยนพฤติกรรมเล็ก ๆ เหลานี้ ก็จะเปนจุดเริ่มตน ความเปนสีเขียว และเมื่อเรากระทําจนเปนนิสัย เราก็จะสามารถ เรียกตนเองวาเปน คนไทยหัวใจสีเขียวได

ยินดีตอนรับปใหม กับคนไทย หัวใจสีเขียว ทุกทาน


โดย...จินตมาศ ศิลปพรหมมาศ นักวิชาการสิ่งแวดลอม 7ว.

ระยะนี้จะเห็นไดวาศัพททกี่ ําลังฮิตในเรือ่ งของสิ่งแวดลอมคือ “ภาวะโลกรอน” และใครๆ ก็จะทําอะไรเพือ่ ลดโลกรอนกันทั้งนั้น ไมวาอะไรก็จะดูเปน Go Green กันไปหมด โครงการใบไมสีเขียว โครงการคืนปา รักษนา้ํ เพื่อโลก สีเขียว โครงการโอลิมปกสีเขียว โครงการหองสมุดสีเขียว โครงการโรงเรียนสีเขียว คูมือผูบริโภคสีเขียว เปนตน ทั้งนี้ก็คง ไมใชเปนการไปทาสีเขียวหรือแคไปปลูกตนไมก็จะบรรลุโครงการ หากแตวาโครงการเหลานี้คํานึงถึงสิ่งแวดลอมเปนหลัก โดยเนนไปในเรื่องของการกระตุนใหเกิดการอนุรักษสงิ่ แวดลอม หรือมีเกณฑกาํ หนดในเรื่องของตัวชี้วัดดานสิง่ แวดลอม

ในวงการเคมี ก็มีเรื่องของสีเขียวเชนกัน คือ Green Chemistry บางคนก็แปลวา เคมีสีเขียว ผูเ ขียนเองไมกลา แปลเลยขอทับศัพทไปกอน เพียงแตขอยกหลักเกณฑขององคการพิทักษส่ิงแวดลอมแหงประเทศสหรัฐอเมริกา (USEPA) ในเรื่องนี้ซึ่งมีอยู 12 ขอ มานําเสนอในที่นี้ 1. Prevent waste : ปองกันการเกิดของเสียมากกวาที่จะมาหาวิธีบําบัด โดยการออกแบบกระบวนการเคมีที่ปองกันการเกิดของเสีย ไมใหเกิดของเสีย ในการบําบัดหรือกําจัด 2. Design safer chemicals and products : ออกแบบสารเคมีหรือ ผลิตภัณฑทางเคมีปลอดภัย สารเคมีที่ใชนอกจากมีประสิทธิภาพแลวไมควร มีพิษหรือมีพษิ นอย 3. Design less harzadous chemical synthesis :กระบวนการสังเคราะห ทางเคมีควรออกแบบใหลดอันตรายใหมากที่สุด กระบวนการออกแบบเพื่อใช ในการผลิตสารเคมีที่ไมมีพษิ ตอมนุษยและสิ่งแวดลอม 4. Use renewable feedstock : ใชทรัพยากรที่นาํ กลับมาใชไดใหม 5. Use catalysts, not stoichiometric reagents : ใชตัวเรงปฏิกิริยา เมื่อสามารถเลือกได แทนการใชสารตามปริมาณสัมพันธ 6. Avoid chemical derivatives : หลีกเลี่ยงการกอใหเกิดอนุพนั ธที่ไม จําเปน เพราะกอใหเกิดของเสียมากขึน้


7. Maximize atom economy : ควรออกแบบ ขั้นตอนการสังเคราะห เพื่อที่จะใชวัตถุดิบทุกตัวใน กระบวนการจนถึงผลิตภัณฑ โดยพิจารณาตาม atom economy 8. Use safer solvents and reaction conditions : หลีกเลี่ยงการใชตัวทําละลาย ตัวแยก แตหากจําเปน ควรเลือกตัวทีม่ ีไมมีอันตราย 9. Increase energy efficiency : ควรใชพลังงานให นอยที่สุด วิธีการสังเคราะหควรทําที่อุณหภูมแิ ละความดันปกติ 10. Design chemicals and products to degrade after use : ออกแบบสารเคมีและผลิตภัณฑที่สลายตัวหรือ ยอยสลายไดหลังจากการใช เพื่อปองกันไมใหเกิดการสะสม ในสิ่งแวดลอม 11. Analyze in real time to prevent pollution : ตรวจวิเคราะห ณ จุดเก็บเพื่อปองกันการสรางมลพิษ 12. Minimize the potential for accidents : ลดโอกาสที่จะกอใหเกิดอุบัตเิ หตุ โดยการออกแบบสารเคมีและ สถานะ เชน ของแข็ง ของเหลว หรือกาซ เพื่อลดโอกาสที่จะ กอใหเกิดอุบัตเิ หตุ เชน ระเบิด ไฟไหม หรือรั่วไหลออกไป ในสิ่งแวดลอมแลวกอใหเกิดอันตราย สํ า หรั บ ผู เ ขี ย นเองเห็ น ว า การปฏิ บั ติ ง านใน หองปฏิบัติการดานสิ่ งแวดล อมควรคํานึง ถึงเรื่องเหลา นี้ แม ว า เราจะไม ไ ด เ ป น ผู คิ ด วิ ธี ก ารในการตรวจวิ เ คราะห ขึ้นมา แตก็สามารถนําหลักการบางขอมาปรับใช เชน

การลดปริมาณของเสียจากตนกําเนิด โดย ซื้อสารเคมีเทาที่จําเปนในการใชแตละครั้งโดยเลือกขนาด บรรจุขนาดเล็ก เมื่อหมดแลวคอยซื้อใหมครั้งตอไปดีกวา ซื้ อ ครั้ ง ละมากๆ หรื อ ขนาดใหญ เพราะหากสารเคมี หมดอายุ ก็จะเปนของเสียอันตราย การเลือกใชวิธีการตรวจวิเคราะหที่ปลอดภัย ตอผูทําการตรวจวิเคราะหและสิ่งแวดลอม โดยใชสารเคมี นอยที่สุด และการเตรียมตัวอยางที่มีขั้นตอนนอยและไม ใชสารเคมีอันตราย หรือพยายามผลักดันใหมีการกําหนด วิธีการตรวจวิเคราะหที่ไมเปนอันตราย การใชบริการจากหองปฏิบัติการอื่นใกลเคียง ที่ไดจัดเตรียมการตรวจวิเคราะหนั้นๆ ไวแลว การใช เครื่อ งมือ ภาคสนาม และเครื่อ งมื อ ตรวจวัดอัตโนมัติใหเกิดประโยชนสูงสุด และเปนการคัด กรองจํานวนตัวอยางที่จะเขามาในหองปฏิบัติการ พัฒนาตัวชี้วัดอื่นๆ ที่ไมใชสารเคมี ในการ วิเ คราะหคุณ ภาพสิ่ง แวดลอ ม เช น การใชสัตวห นา ดิ น การใชพืชบางชนิด เปนตน


โดย...รัชนี ทองพันธ หัวหนากลุมงานสงเสริมและเผยแพร

ในแตละวันประเทศไทยมีขยะพลาสติกถูกทิ้งสูงถึง 6 พันตันหรือปละ 2.4 ลานตัน นับวันขยะพลาสติกเหลานี้ จะยังคงทับถมสูงขึ้นเรื่อยๆ วิธีหนึ่งที่กําลังจะนํามากําจัดขยะพลาสติกใหไดผลและมีประสิทธิภาพสูงสุด คือ การแปรรูปขยะพลาสติกเหลานี้ ให เ ป น น้ํามั น ในหลายๆประเทศก็ เ ริ่ม มี การแปรรูป ขยะพลาสติ ก เปน น้ํามั น กั น อย า งจริ งจัง แลว อาทิ ออสเตรเลี ย สหรัฐอเมริกา เปนตน และพบวาคุณสมบัติของน้ํามันที่ผลิตไดจากขยะพลาสติกนั้น แทบไมแตกตางจากน้ํามันดิบเลย ทีเดียว ดร.วิชชากร จารุศิริ นักวิจัยประจําสถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อธิบายถึงกระบวนการแปรรูป พลาสติกเปนน้ํามันวา ใชความรอนไปหลอมพลาสติก เมื่อความรอนสูงระดับหนึ่งพลาสติกจึงกลายเปนไอพลาสติกที่ ออกมาเปนน้ํามันดิบ ซึ่งในกระบวนการหลอมการเลือกใชอุณหภูมิตางกันจะไดน้ํามันดิบตางชนิด ทั้งเบนซิน ดีเซล โดยจะตองผานโรงกลั่นอีกที จึงจะนําไปใชกับเครื่องยนตได แตชนิดน้ํามันที่ผานการหลอมพลาสติกไปใชไดเลย คือ “ น้ํามันเตา” ปจจุบันมีเทคโนโลยีหลอมพลาสติกเปนน้ํามันที่นําเขาจากตางประเทศ ขณะที่ในประเทศไทย สํานักงาน นวัตกรรมแหงชาติไดคิดคนออกมาแลวแตตนทุนยังสูงอยู เครื่องจักรที่สามารถหลอมพลาสติกออกมาเปนน้ํามันดิบไดแลว มีมูลคาตั้งแต 10-100 ลานบาท แตยังไมถึงขั้นกลั่นออกเปนน้ํามันใชได ตองสงไปยังโรงกลั่นน้ํามันของผูคาน้ํามันอีกที กระทรวงพลังงานสนับสนุน การนําขยะพลาสติกมาผลิตเปนน้ํามัน โดยกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษ พลังงาน ไดจัดสรรงบประมาณ จํานวน 105 ลานบาท ใหสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน(สนผ.) ดําเนิน โครงการ “ สงเสริมการแปรรูปจากขยะเปนน้ํามัน” เปดโอกาสใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.)หรือเทศบาลซึ่ง เปนองคกรหลักที่มีหนาที่แกไขปญหาขยะชุมชน ที่มีความพรอมในการแปรรูปขยะเปนน้ํามัน ยื่นขอเสนอเขามา ภายใตเงื่อนไของคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้นจะตองลงทุนเองในการซื้อเครื่องจักรหรือจางบริษัทที่ปรึกษาทํา โครงการ แปรรูปพลาสติกเปนน้ํามันเอง โดย สนผ. จะใหเงินสนับสนุนโครงการนี้ 25% ของเงินลงทุน ซึ่งเทศบาลแหง นั้นจะตองมีจํานวนขยะไมนอยกวา 6 ตัน/วัน ขณะนี้เทศบาลไดรับการคัดเลือกเขารวมเปนเทศบาลนํารองในโครงการฯ แลว 3 แหง ไดแก เทศบาลนครพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก เทศบาลเมืองวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี และเทศบาล นครขอนแกน จังหวัดขอนแกน


พีระพล พัฒนพีระเดช นายกเทศมนตรีนคร ขอนแก น จั ง หวั ด ขอนแก น กล า วว า สาเหตุ ที่ เ ข า ร ว ม โครงการฯ เนื่ อ งจากบ อ ขยะขนาด 98 ไร ที่ ใ ช อ ยู ใ น ปจจุบันเกิดปญหาวิกฤตขยะลนบอ เพราะตองรองรับขยะ จากเทศบาลหลายพื้นที่ ปจจุบันทางเทศบาลอยูระหวาง การคั ด เลื อ กผู เ ชี่ ย วชาญมาศึ ก ษาออกแบบระบบและ กอสรางโรงแปรรูปขยะอยู ซึ่งคาดวาจะแลวเสร็จภายใน 5 เดือน โดยคาดวาโครงการดังกลาวจะลดปริมาณขยะได 1 ใน 3 และแก ไ ขป ญ หาสิ่ ง แวดล อ มของเทศบาลนคร ขอนแกนได อยา งไรก็ต าม การคํ า นวณดา นความคุ ม ทุน มี ก ารศึก ษาเมื่อ ราคาน้ํ า มั น เบนซิ น ลิ ต รละ 40 บาท จะ สามารถคื น ทุ น ได 7 - 10 ป ภายใต เ งื่ อ นไข ต อ งมี ข ยะ พลาสติก 6 ตัน/วัน ซึ่งพลาสติกเมื่อแปรรูปออกมา จะได ปริ มาณน้ํ ามั น ถึ ง 90 % และมี ก ากที่ เหลื อออกมาเป น ถานกัมมัน ที่ใชกับเครื่องกรองน้ําได โดยโรงกลั่นรับ ซื้อลิตรละ 18 บาท

เรื่องการแปรรูปขยะพลาสติกเปนน้ํามันกําลัง เป น เรื่ องใหม ขณะเดี ยวกั นเทคโนโลยี ต องนํ าเข ามาจาก ตางประเทศโดยผานบริษัทเอกชน เวลานี้มีบริษัทซึ่งสวน ใหญ เ ป นบริ ษั ทรั บ กํ า จั ด ขยะนํ า เข า เทคโนโลยี แ ละ เครื่อ งจัก ร เข า มาเสนอขายใหกับ อปท. ทั่ ว ประเทศ นอกเหนือจากเทศบาลที่ไดรับการสนับสนุน ปญหาอยูที่วา เทศบาลยังขาดความรูทางวิชาการ ขาดที่ปรึกษาจากนักวิชาการดานพลังงาน ขณะเดียวกัน โรงกลั่น ยัง ไมรับ รองวา จะกลั่น น้ํา มัน ที่แ ปรรูป จาก พลาสติกได เพราะตองไปปรับเครื่องจักรอีกที ทั้ง นี้เ ปา หมายของการใหเ งิน สนับ สนุน กับ เทศบาลทั้ ง 3 แห ง จะเป น โครงการนํ า ร อ งให กั บ เทศบาล / อบต.อื่ น ที่ จ ะหาวิ ธี กํ าจัด พลาสติ ก ภายใต เงินทุนที่พรอมและมีขอมูลทางวิชาการอยางเพียงพอ เพื่อใหการใชเงินภาษีของชุมชนคุมคาที่สุด


มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของกับปะการัง

มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2535 เห็นชอบกับแผนแมบทการจัดการปะการังของประเทศ ในการกําหนดเขตการใชประโยชนในแนวปะการัง ออกเปน 3 เขต คือ 1. เขตการใชประโยชนเพื่อการทองเที่ยวและนันทนาการ - เขตทองเทีย่ วหนาแนน - เขตทองเทีย่ วธรรมชาติ 2. เขตการดูแลของทองถิ่น 3. เขตอนุรักษ เพื่อความสมดุลของระบบนิเวศและการวิจยั แตละเขตมีการกําหนด ไดแก กิจกรรมที่หามหรือกิจกรรมที่อนุญาตแตตองควบคุมสําหรับในพืน้ ที่ 4 จังหวัด ภาคใตตอนบนไดกําหนดพืน้ ที่ภายใตเขตการใชประโยชน ดังนี้ ก.ทะเลอันดามัน 1. จังหวัดระนอง 1.1 เขตทองเที่ยวธรรมชาติ - เกาะชาง เกาะพยอม เกาะคางคาว กลุมเกาะกํา ข.อาวไทยฝงตะวันตก 1. จังหวัดชุมพร 1.1 เขตการดูแลของทองถิ่น - เกาะเสม็ด เกาะทองหลาง และลังกาจิว เกาะมาตรา เกาะกุลา เกาะละวะ เกาะรัฐ เกาะมะพราว เกาะรังหา เกาะมัดไหวใหญ และมัดไหวนอย เกาะคางเสือ 1.2 เขตทองเที่ยวธรรมชาติ - เกาะไข เกาะงามใหญ เกาะจระเข เกาะงามนอย เกาะทะลุ เกาะกะโหลก เกาะหินหลักงาม


2. จังหวัดสุราษฎรธานี 2.1 กลุมเกาะเตา เขตอนุรักษฯ - เกาะเตา เกาะนางญวน 2.2 หมูเกาะอางทอง เขตทองเที่ยวธรรมชาติ - เกาะนายพุต เกาะแมเกาะ เกาะหินดับ เกาะวัวตาหลับ เกาะนอแรต เกาะวัวแตะ เกาะสามเสา เกาะพะลวน เกาะทายเพลา 2.3 เกาะพะงัน เขตการดูแลของทองถิ่น - เกาะพะงันเหนือ (หาดแมหาด - หาดยาว) เกาะพะงันใต เขตอนุรักษฯ - หาดคม 2.4 เกาะสมุย เขตการทองเที่ยวและนันทนาการ/เขตการดูแลของทองถิ่น - เกาะสมุย เกาะมัดหลัง 2.5 ทางใตของสมุย เขตการดูแลของทองถิ่น - เกาะราม เกาะหินอาววัง เขตทองเที่ยวธรรมชาติ - เกาะแตน เกาะวังใน เกาะมัดสุม หมายเหตุ : พื้นที่ที่กําหนดภายใตเขตการใชประโยชนตามแนวปะการังเปนแนวทางทีใ่ หไวเพื่อการจัดการ ปะการังตามสภาพปจจุบัน นอกจากนี้ ยังไดกาํ หนดมาตรการสําหรับเขตการใชประโยชนในแนวปะการังแตละเขตไว ดังนี้ ก. เขตการใชประโยชนเพื่อการทองเที่ยวและนันทนาการ 1.) เขตการทองเที่ยวหนาแนน 2.) เขตทองเที่ยวธรรมชาติ ข. เขตการดูแลของทองถิ่น ค. เขตอนุรักษเพื่อความสมดุลของระบบนิเวศและการวิจัย


9

โดย...อมร เทพทวี หัวหนาฝายบริหารงานทัว่ ไป

1 สํานักงาน ก.พ. ไดประกาศยกเลิกการใชระบบซี ซึง่ มีผลตั้งแตวนั ที่ 11 ธันวาคม 2551 และไดจัด ตําแหนง ออกเปน 4 ประเภท คือ 1.ประเภทบริหาร

2.ประเภทอํานวยการ

3.ประเภทวิชาการ

4.ประเภททั่วไป

โดยใชบัญชีเงินเดือนแบบชวง 4 บัญชี คือ 1. ประเภทบริหาร ขั้นสูง ขั้นต่ํา ขั้นต่ําชั่วคราว ระดับ

64,340 48,700 23,230 ตน

66,480 53,690 28,550 สูง

2.ประเภทอํานวยการ ขั้นสูง ขั้นต่ํา ขั้นต่ําชั่วคราว ระดับ

50,550 25,390 18,910 ตน

59,770 31,280 23,230 สูง

3.ประเภทวิชาการ ขั้นสูง ขั้นต่ํา ขั้นต่ําชั่วคราว ระดับ

22,220 7,940 6,800 ปฏิบัติการ

36,020 14,330 12,530 ชํานาญการ

50,550 21,080 18,910 ชํานาญการพิเศษ

59,770 29,900 23,230 เชี่ยวชาญ

66,480 41,720 28,550 ทรงคุณวุฒิ

4.ประเภททั่วไป ขั้นสูง ขั้นต่ํา ระดับ

18,190 4,630 ปฏิบัติงาน

33,540 10,190 ชํานาญงาน

47,450 15,410 อาวุโส

59,770 48,220 ทักษะพิเศษ


10 2 กระทรวงการคลัง ไดกําหนดหลักเกณฑการเทียบตําแหนงขาราชการสวนทองถิ่น ผูดํารงตําแหนงทางการเมืองทองถิ่น พนักงานราชการ บุคคลภายนอก ซึ่งมิใชขาราชการหรือลูกจาง เทากับตําแหนงขาราชการพลเรือน เพื่อประโยชนในการเบิก คาใชจายเดินทางไปราชการตามนัยพระราชกฤษฎีกาคาใชจายเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และที่แกไขเพิ่มเติม ดังนี้ 2.1 ตําแหนงขาราชการสวนทองถิ่น 2.1.1 ระดับ 1-2 เทียบเทากับขาราชการพลเรือนตําแหนงประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน 2.1.2 ระดับ 3-5 เทียบเทากับขาราชการพลเรือนตําแหนงประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน 2.1.3 ระดับ 6-7 เทียบเทากับขาราชการพลเรือนตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ 2.1.4 ระดับ 8 เทียบเทากับขาราชการพลเรือนตําแหนงประเภทอํานวยการ ระดับตน 2.1.5 ระดับ 9 เทียบเทากับขาราชการพลเรือนตําแหนงประเภทอํานวยการ ระดับสูง 2.1.6 ระดับ10 เทียบเทากับขาราชการพลเรือนตําแหนงประเภทบริหาร ระดับสูง 2.2 ตําแหนงผูดํารงตําแหนงทางการเมืองทองถิ่น 2.2.1 ผูดํารงตําแหนงประธานสภาองคการบริหารสวนจังหวัด นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ประธานสภาเทศบาล นายกเทศมนตรี ประธานสภาเมืองพัทยา และนายกเมืองพัทยา ใหเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการเทากับขาราชการพลเรือนตําแหนงประเภทอํานวยการ ระดับสูง 2.2.2 ผูดํารงตําแหนงรองประธานสภาองคการบริหารสวนจังหวัด รองนายกองคการบริหารสวนจังหวัด รองประธานสภาเทศบาล รอง นายกเทศมนตรี เทศมนตรี รองประธานสภาเมืองพัทยา รองนายกเมืองพัทยา ประธานสภาองคการบริหารสวนตําบล และนายกองคการบริหารสวนตําบล ใหเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการเทากับขาราชการพลเรือนตําแหนงประเภทอํานวยการ ระดับตน 2.2.3 ผูดํารงตําแหนงทางการเมืองนอกเหนือจากที่กําหนดไวในขอ 2.2.1และขอ 2.2.2 ใหเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการเทากับ ขาราชการพลเรือนตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ 2.3 พนักงานราชการ 2.3.1 กลุมงานบริการและกลุมงานเทคนิค เทียบเทากับขาราชการพลเรือนประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน 2.3.2 กลุมงานบริหารทั่วไป เริ่มรับราชการ – 9 ป เทียบเทากับขาราชการพลเรือนประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ 10-17 ป เทียบเทากับขาราชการพลเรือนประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ 17 ปขึ้นไป เทียบเทากับขาราชการพลเรือนประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ 2.3.3 กลุมงานวิชาชีพเฉพาะ เริ่มรับราชการ – 9 ป เทียบเทากับขาราชการพลเรือนประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ 10-17 ป เทียบเทากับขาราชการพลเรือนประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ 17 ปขึ้นไป เทียบเทากับขาราชการพลเรือนประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ ผูที่ไดรับคาตอบแทนในอัตราสูงสุดของบัญชีอัตราคาตอบแทน เทียบเทากับขาราชการพลเรือนประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ 2.3.4 กลุมงานเชี่ยวชาญเฉพาะ เริ่มรับราชการ – 4 ป เทียบเทากับขาราชการพลเรือนประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ 5-10 ป เทียบเทากับขาราชการพลเรือนประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ 10 ปขึ้นไป เทียบเทากับขาราชการพลเรือนประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ ผูที่ไดรับคาตอบแทนในอัตราสูงสุดของบัญชีอัตราคาตอบแทน เทียบเทากับขาราชการพลเรือนประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ 2.3.5 กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ เทียบเทากับขาราชการพลเรือนประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ


11

ของใจ ?

โดย...พะยูนนอย

¾ ทําไมแมวไมชอบวายน้ํา หลายคนคิดวาแมวกลัวน้ํา ความจริงไมใช สังเกตดีๆ จะเห็นวา แมวกระโจนลงน้ําบางเปนครั้งคราว คนที่ชอบดูสารคดีสัตวโลกจะ เห็นบอยวาสัตวในตระกูลเดียวกับแมวซึ่งตัวใหญกวา เชน เสือ หรือ จากัวร ชอบวายน้ํามาก ถาอย างนั้น ทํ า ไมแมวที่เ ราเลี้ ยงไว ต ามบานจึ งไม ยอมจุ ม เท า ลงน้ําดวยซ้ํา เหตุผลงายนิดเดียว เพราะแมวของคุณชอบเลียตัวเอง จนสะอาดมากกวา อีกเหตุผล คือ แมวขี้เกียจ แมวไมอยากใหตัวเปยกเพราะคํานวณแลววาไมคุมคากับการที่ ตองรอใหตัวแหง นอกจากเสียเวลายังตองเหนื่อยกับการเลียตัวเอง ให ส ะอาด แต ถ า คุ ณ ปล อ ยให แ มวหิ ว จนตาลายและเลี้ ย งปลาไว ในสระรับรองวาไดเห็นแมวกระโจนลงน้ําแน***

¾ ขาวโพดทั่วไปนํามาทําเปนขาวโพดคั่วปอบคอรนไดหรือไม ตามจริง ขาวโพดมีอยูหาชนิด แตปอบคอรนเปนเพียงชนิดเดียวที่ นํามาทําขาวโพดคั่วได เกรก ฮอฟแมนจากอเมริกันปอบคอรน กลาววา ขาวโพดชนิดอื่นอาจแตกตัวบาง แตไมคงที่เหมือน ปอบคอรน เคล็ดลับที่ ทําใหปอบคอรนแตกตัวไดดี คือ น้ํา เนื้อในของขาวโพดปอบคอรนมีน้ําผสมอยูซึ่งผูผลิตปอบคอรนตอง พยายามรักษาน้ําสวนนี้ไวใหอยูในระดับประมาณรอยละ 13.5 น้ําเหลานี้ถูกกักไวในกะเปาะนุมๆ ภายในเมล็ด ดานนอกมีเปลือกแข็ง หุมอีกชั้น เมื่อนําขาวโพดไปคั่วหรือไดรับความรอน น้ําในนั้นจะรอนขึ้น และเริ่มขยายตัว เมื่อน้ําขยายตัวจนมีแรงดันมากพอ เปลือกแข็งจะปริ ปลอยใหน้ําดัน ตัวออกมา ทําใหเมล็ดขาวโพดแตกดังเปาะ พรอมกับปลิ้นเอาเนื้อในออกมา ดานนอก ขณะเดียวกันน้ําจะกลายเปนไอน้ําและขาวโพดธรรมดาก็จะ กลายเปนปอบคอรนแสนอรอย สวนขาวโพดอีกสี่ชนิดนั้นสามารถเก็บกักน้ําไดเชนกัน แตเปลือกดาน นอกไมแข็งพอจะตานแรงดันของน้ําไดนานๆ ทําใหเมล็ดขาวโพดไมแตก ตัวดังเปาะอยางที่ตองการ***

โดย...ซาบีไหน

สวั ส ดี ค รั บ ... ซาบี ไ หนขอรายงานความเคลื่ อ นไหวของ สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 14 ในรอบ 3 เดือน ตุลาคม – ธันวาคม 2551 เพราะน้ํา คือ ชีวิต โครงการสมัชชาสุขภาพ จังหวัดสุราษฎร ธานี ได จั ด เวที สมั ช ชาสุ ข ภาพสุ ร าษฎร ธ านี ท า นผู อํ า นวยการ จุม พล ศิริส วั ส ดิ์ ไดรวมแลกเปลี่ย นขอ มูล คุณภาพแมน้ํ า ตาป อาจจะยังไมเสื่อมโทรมมากนัก แตก็ตองรวมดวยชวยกันทุกฝาย เพื่อคุณภาพน้ําที่ดีขึ้น โครงการปาทะเลเพื่อชีวิตก็เห็นดวย ดูแลน้ําหนุนเสริมชุมชน จิตอาสาเฝาระวังดูแลคุณภาพน้ํา สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 14 พี่แ มว (วลั ย พร จิ๋ ว สุว รรณ) นํ าที ม นอ งๆ ห อ งวิ เ คราะห ให ความรู ก ารตรวจสอบปริ ม าณออกซิ เ จนละลายน้ํ า ดี ๆ แบบนี้ ตองขยายตอตลอดทั้งลุมน้ํา

ก็ ขอบคุณนองนักศึกษาฝกงาน

มหาวิ ท ยาลั ย ลั ก ษณ น อ งแอ ว (น.ส.นฤมล เซาะกระโทก) นองขวัญ (น.ส.ธินาพร สุทธิวิริยะ) เต็มที่กับการเรียนรู ชวยงาน พวกพี่ๆ เยอะเลย หวังวานองๆ คงเก็บเกี่ยวอะไรๆ ไปเยอะเชนกัน สํ านัก งานเทศบาลนครสุร าษฎรธ านี ได เปดตั วศูนย รับ ซื้ อ วัส ดุรีไ ซเคิลที่ชุมชนบึงขุนทะเล บริห ารโดยชุมชน เพื่อ ชุมชน ขอปรบมือดังๆ กับความตั้งใจ ส ง ท า ย ป เ ก า ด ว ย เ รื ่อ ง ค น ไ ท ย ห ัว ใ จ ส ีเ ข ีย ว คําขวัญวันสิ่งแวดลอมไทย 4 ธันวาคม 2551 พี่ติ๋ม (รัชนี ทองพันธ) นําทีมนอง ๆ เดินสายใหความรู การจัดการขยะ

และ วิธีชวยลด

โลกรอน พี่ศักดิ์ดา ศิริกุลพิทักษ ก็ชวยอีกแรง ชักชวนนองๆ จัด นิทรรศการสิ่งแวดลอม วันคนพิการสากล ณ สํานักงานเทศบาลนคร สุราษฎรธานี ท ายสุ ด เรื่ องหั วใจต องใช เวลา พอเพี ยงเราตั้ งใจใส ใจ โลกทั้ งใบ จะอยูกับเรา แลวพบกันใหม ปฉลู สวัสดีครับ


เจาของ/ผูจัดทํา

วัตถุประสงค 1. เพื่อเผยแพรความรูวิชาการ กิจกรรม ความกาวหนาเกีย่ วกับสิ่งแวดลอม 2. เพื่อเปนสื่อสัมพันธเสริมสรางความรวมมือ ความเขาใจ และประสานการดําเนินงาน ดานสิ่งแวดลอม 3. เพื่อเปนสื่อในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และขอมูลขาวสารเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม

บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ

พิสูจนอักษร ฝายศิลป

: กลุมงานสงเสริมและเผยแพร สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 14 : นายจุมพล ศิริสวัสดิ์ : นายสุชาติ ภูกิตติพันธุ นางรัชนี ทองพันธ นายศักดิ์ดา ศิริกุลพิทักษ นางอโณทัย ธีรสิงห น.ส.จินตมาศ ศิลปพรหมมาศ นายอมร เทพทวี : นางเกษสุดา จุนรัชฎ นางผกามาส วังสะวิบูลย : น.ส.บุญศิริ ศิริสวัสดิ์ น.ส.จิรัฎฐ เทพทวี น.ส.สุภิญญา เกิดแกว น.ส.จุฑาทิพย เพิ่ม น.ส.สุธาสินี ประพัฒน

สงขอมูลขาวสารความคิดเห็น หรือสอบถามปญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมไดที่...

สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 14

130 ถนนวัดโพธิ์ ต.มะขามเตี้ย อ.เมือง จ.สุราษฎรธานี 84000 โทรศัพท 077-272789 โทรสาร 077-272584 E-mail Address : contact@reo14.go.th เว็บไซต www.reo14.go.th

สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 14 130 ถนนวัดโพธิ์ ต.มะขามเตี้ย อ.เมือง จ.สุราษฎรธานี 84000

เรียน

ชําระคาฝากสงเปนรายเดือน ใบอนุญาตที่ 6/21 ปณช.สุราษฎรธานี 102


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.