That is P.R.C. vol 28 Issue 75_2015

Page 1



Editor’s Talk สถาบันแฮรีส : ศูนยพหุปญญา

Harris Institute : The Multiple Intelligent Center

ในปีการศึกษานี ้ เป็นปีแห่งการกระตุน้ ให้ผคู้ นคิดอะไรใหม่ๆ ทีแ่ ตกต่าง...และนอกกรอบ สถาบันแฮรีสจึงได้ปรับปรุงกระบวนการท�างานเพื่อให้สถาบันได้เป็นศูนย์พหุปัญญา โดยปกติ นักเรียนทุกคนต้องเข้าเรียนในชั้นเรียน ฟังครู ฟังสิ่งที่ครูสอนเพื่อให้มีความรู้ ตามหลักสูตรโดยทีน่ กั เรียนแทบจะไม่ได้ใช้ความสามารถในทางอืน่ ๆ เลย ยกเว้นบางรายวิชา เช่น วิชาพละศึกษาหรือเมื่อมีการทดลองทางวิทยาศาสตร์ แต่อย่างน้อยที่สุดก็เป็นชั่วโมงเรียนที่ นักเรียนได้เคลื่อนไหวทั้งทางสมองและร่างกาย การเรียนในระบบนี้ ถ้าจะคาดหวังให้นักเรียน ได้รู้จักคิดอย่างสร้างสรรค์หรือคิดนอกกรอบนั้นคงจะยากอยู่ เป็นทีท่ ราบกันดีวา่ ผลงานของนักเรียนทีไ่ ด้รบั รางวัลให้เป็นทีเ่ ชิดหน้าชูตาให้โรงเรียนนัน้ เป็นผลมาจากการที่นักเรียนได้รับการกระตุ้นและการเสริมแรงบันดาลใจให้เกิดความคิด สร้างสรรค์และการคิดนอกกรอบแทบจะทั้งสิ้น เพื่อสนับสนุนให้เกิดการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ จากนักเรียนกลุ่มนี้ สถาบันฯ ได้สนับสนุน ให้เกิดการท�ากิจกรรมในศูนย์ที่มีอยู่เพื่อเป็นการสนับสนุนให้นักเรียนได้ค้นพบศักยภาพของ ตนเองและแสดงออกผ่านกิจกรรมอย่างเต็มที่ อะไรที่ท�าให้กิจกรรมในสถาบันฯ แตกต่างจากชั้นเรียนทั่วๆ ไป แน่นอนว่าตัววัดไม่ใช่ ความงดงามของสถาบันฯ ที่มีการตกแต่ง ทั้งภายในและภายนอกที่สวยงาม ทันสมัย แต่เป็น เรื่องของความร่วมมือของคณะครูและนักเรียนของเราในการที่จะท�าให้สถาบันฯ เป็นศูนย์ พหุปัญญา โดยมีหลักคิดว่า 1. เป็นแหล่งเรียนรู้ที่จะสร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนเกิดจินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ 2. เป็นแหล่งสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนไปสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ และการพัฒนาคุณลักษณะแห่งตน 3. เป็นศูนย์กลางการวิจัยและการศึกษาของชุมชน 4. เป็นศูนย์เทคโนโลยีที่ทันสมัยและพร้อมที่จะเปิดบริการให้นักเรียน ครู บุคลากร ผู้ปกครองและชุมชน เมือ่ วันที ่ 3-7 สิงหาคมทีผ่ า่ นมา ได้มงี านเปิดตัวครัง้ ใหม่ของสถาบันฯ (Harris Institute Open House) โดยจัดเป็นงานเทศกาลรักการอ่านและการเรียนรูส้ เู่ ชียงใหม่ภายใต้การน�าของ อาจารย์เกรียง ฐิติจ�าเริญพร รองผู้อ�านวยการฝ่ายวิชาการและพัฒนาบุคลากรโดยร่วมมือกับ บริษัทนานมีบุ๊คส์จ�ากัด กรุงเทพฯ นับได้ว่างานนี้เป็นตัวอย่างที่ดีของการเปิดศูนย์การเรียนรู้สู่ ชุมชนภายนอกอีกทัง้ ยังเป็นการเปิดโอกาสให้นกั เรียนและครูทงั้ ภายในและภายนอกได้มาเรียน รู้และท�ากิจกรรมนอกหลักสูตรร่วมกัน ในนามของหัวหน้าสถาบันฯ และผูป้ ระสานงานในงานนี ้ ข้าพเจ้าขอขอบคุณในการให้การ สนับสนุนของบริษัทนานมีบุ๊คส์และคณะผู้บริหารโรงเรียนทุกๆท่าน ครู นักเรียนและบุคลากร ที่มีส่วนช่วยกันท�าให้สถาบันฯได้เป็นที่รู้จักของผู้คนมากมายทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน มากยิ่งขึ้น ประทินรัตน์ วิยาโรเอล

This year is the year of inspiring people to think in new and different ways… to think out-of-the-box. Harris Institute plays a key role in fulfi lling this goal through the Multiple Intelligent Center. We always see our students sitting still in class, listening to lectures and focusing on the text in front of them for hours, with PE (Physical education) class or science experiments being small exceptions. At those times at least, the students use both mental and physical movement. In this typical kind of learning environment, I imagine they would have a hard time thinking creatively or out-of-the-box. When we think back to all the prizes our students have already received, most of them won prizes because of their differences. Stimulation and inspiration can help them to see things differently from others. They think and act in unique ways. They take interesting routes to produce innovative things and show the world what they can do. In order to assist this group of students, Harris Institute has opened an out-of-the-box learning center where students can explore through activities, be self learners and demonstrate their particular skills and talents. What will make the Harris Institute different from other educational sources? Of course it is not just because of the beautiful uniqueness of the building’s interior and exterior; it is because everyone at The Prince Royal’s College helps bring the main part of the building – the Multiple Intelligent Center – to life by working toward a few key aims: 1. To develop the center to be the source of knowledge for students’ inspiration and self-development. 2. To improve the students’ potential through academic excellence and character development. 3. To be the center of educational research and community education. 4. To be a modern technology center serving the educational needs of students, staff, parents, and the entire community. “Harris Institute Open House – Reading and Learning Festival for Chiang Mai”, an event led by Ajarn Kriang Tidtijumreonporn, the Vice-Director of Academic Affairs and Staff Development, was held from Aug. 3-7, 2015, and is a good example of opening our learning centers to the public and allowing students and teachers, both in and outside P.R.C., to learn and do some out - of - the - box activities. In this particular case, it was with the help of several hands from P.R.C. in collaboration with Nanmeebooks, Bangkok. As the head of Harris Institute and coordinator of this event I would like to express my deep thanks and gratitude to Nanmeebooks staff and especially to all P.R.C. administrators, teachers, students and staff members for making the name of the Harris Institute memorable in people’s hearts.

1

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.

Pratinrat Villarroel THAT IS P.R.C.

1


“แวะคุยกันกอน”

นายสเปญ จร�งเขาใจ Mr. Spain Jingkaojai

ผูจัดการ Manager

Manager’s Talk

The Unforgettable P.R.C.

หลายอย่างในชีวิตส�าหรับคนเรา บางอย่างเราก็ลืมง่าย บางอย่างท�าอย่างไรก็ไม่ลืม บางอย่างลืมไป นานแล้ว แต่เมื่อเวลาที่เหมาะสมมาถึง ความทรงจ�าก็น�ากลับเข้ามาในชีวิตของเราอีกครั้งหนึ่ง ดูเหมือนว่า ความทรงจ�าจะเป็นสิง่ หนึง่ ในชีวติ ของคนเราทีไ่ ม่สามารถจะควบคุมได้ ไม่วา่ เรือ่ งดีหรือเลวร้าย มันขึน้ อยูก่ บั ความทรงจ�าที่จะน�ากลับมาหาตัวเราเอง เมื่อไหร่ก็ได้ หรือแม้แต่น�าออกไปจากชีวิตเราอย่างถาวร โดยเรา เองไม่มีสิทธิ์อะไรที่จะยับยั้ง มีหลายเหตุการณ์ในชีวิตที่เราสามารถลืมอย่างไม่รู้ตัว ลืมไปจนมีคนมาเล่า ให้ฟัง เราไม่สามารถลืมและจ�าทุกอย่างได้หมดในชีวิตของเรา สิ่งนี้คือสัจธรรมของชีวิตทุกคน ชีวติ คนเราอยูไ่ ด้ดขี นึ้ ส่วนหนึง่ ก็มาจากความทรงจ�า ความทรงจ�าทีน่ า� สิง่ ดีๆ ทีเ่ ป็นน�า้ หล่อเลีย้ งจิตใจ ไม่ได้เพือ่ ทีจ่ ะจมปลักอยูก่ บั อดีต แต่เพือ่ ทีจ่ ะสร้างความเข้มแข็ง ทีจ่ ะพัฒนาก้าวหน้า จากบทเรียนชีวติ ทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงเวลาที่ผ่านมา บางทีก็ต้องเกิดซ�้า ๆ หลาย ๆ ครั้งก่อนที่จะไม่ลืม และท้ายที่สุดความทรงจ�าเองไม่ได้ หายไปไหน แต่ได้แปรผันกลายมาเป็นชีวิต กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของตัวเรา เป็นทัศนคติ นิสัย ความคิด ความสามารถ ทั้งหมดทั้งสิ้นเกิดจากความทรงจ�าที่ เราได้น�าสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ให้กลับกลายมาเป็นชีวิตของ ตัวเราเอง ความทรงจ�าได้กลายมาเป็นเราอย่างแยกไม่ออก ตลอดเวลาในทุกมิติที่เรามีชีวิตอยู่ เราเลือกไม่ได้ที่จะลืมหรือจ�า แต่เราเลือกได้ที่จะน�าสิ่งต่าง ๆ ที่เราจ�า มาเป็นส่วนดี เป็นบทเรียนและแรงผลักดันทีจ่ ะท�าให้ชวี ติ ของเรามีความก้าวหน้า จากการเรียนรูบ้ ทเรียนชีวติ มีการพัฒนาที่จะท�าให้ชีวิตนี้เป็นสิ่งที่มีคุณค่า มีความหมาย ไม่ได้เพียงเพื่อตัวเอง แต่เพื่อโลกนี้ ที่ต้องการ ความสวยงาม ต้องการความหมายที่ดี ความรักความเอื้ออาทร ความสามัคคี การแบ่งปันและความหวังใจ โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย เป็นส่วนหนึ่งของความทรงจ�าที่ดี มีคุณค่า มีความหมายมามากกว่า 110 ปี กับผู้คนมากมายที่ผ่านเข้ามาไม่ว่าจะมาในบทบาทไหนก็ตาม หรือแม้แต่หลายคนที่แค่เพียงแต่เคย มาเยี่ยม มาได้ยินเรื่องราวต�านานความทรงจ�าที่ประทับใจจนไม่เคยลืม บทบาทของโรงเรียนที่มีมากไปกว่า แหล่งประสาทความรู้วิชาให้กับนักเรียน โรงเรียนท�าหน้าที่เป็นเหมือนบ้าน คอยพักพิง ทั้งกายและ ใจรวมทั้งจิตวิญญาณ เป็นที่เรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน เป็นที่เราจะมาพบเพื่อนที่จะผ่านมาแล้ว ก็ผ่านไป หรือที่จะอยู่กับเราไปตลอดชีวิตเป็นที่เริ่มของการสร้างชีวิตอนาคตถึงแม้จะไม่แน่นอนแต่เป็น การวางรากฐานบนความเชื่อ ความรัก ความเอื้ออาทร ความเมตตา ความเสียสละ โดยทุกอย่างเมื่อทุกคน ที่ได้สัมผัสสามารถบอกได้ว่า แตกต่าง รู้สึกได้ของความเป็นเด็กปรินส์ฯ โรงเรียนปรินส์ฯ ร้อยกว่าปีกบั บทพิสจู น์ทชี่ ดั เจนทีย่ อมรับว่าโรงเรียนปรินส์ฯ คือ จุดเริม่ ต้นของชีวติ ความทรงจ�าอันงดงาม อันมีคุณค่าและความหมาย ที่ยากจะลืมเลือน กับทุกคน รุ่นแล้วรุ่นเล่า ต่างกระบวนการ ต่างเวลา ต่างวาระ ต่างรุน่ ต่างวัย ต่างทัศนคติ ต่างเหตุผล ต่างพืน้ ฐานสังคมและพืน้ ฐานครอบครัว แต่เมือ่ ผ่านเข้ามาในสถาบันแห่ง นี้แล้ว เด็กปรินส์ฯ ทุกคนจะมีความทรงจ�าที่ดีงาม ที่จะไม่มีวันลบเลือนไปจากชีวิตของพวกเขาชั่วชีวิตของทุก คน จะเป็นความทรงจ�าที่จะไม่มีอะไรพรากไปได้ จะเป็นความทรงจ�าที่จะเป็นเงา เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตของ ความเป็นเด็กปรินส์ฯ ที่จะใช้สิ่งดีงามที่ได้รับจากสถาบัน ได้รับแบบเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของจิตใจ จิตวิญญาณ ที่จะเป็นองค์ประกอบหลักของทุกย่างก้าวที่จะเดินต่อไปในอนาคต ตลอดจนเส้นทางชีวิตที่เดิน โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย ไม่ได้เป็นเพียงแค่ที่เราผ่านมาแล้วก็ผ่านไป การเป็นนักเรียน ปรินส์ฯ กับเป็นเด็กปรินส์ฯ เป็นสิ่งที่แตกต่างกัน นักเรียนปรินส์ฯ เรียนจบที่โรงเรียนปรินส์ฯ การเป็นเด็ก ปรินส์ฯ ไม่มีวันจบ ไม่มีวันลืมเลือนไปจากชีวิตของพวกเราทุกคน เด็กปรินส์ฯ เป็นแล้วเป็นตลอดชีวิต

People experience many things in life. Some we can easily forget, some will never

leave us. Some experiences we forget but when the right time comes or we are somehow reminded of them, they fl ood back into our memories. It seems that memory is one thing in life that we cannot control, for better or worse. Memories can bring something back to us or can take things permanently away from our lives without our right to restrain them. There are many events in life that we can forget. We cannot remember everything forever. This is the truth of life for all people. However, life is better because a part of it comes from memories. Memories that bring good things can nourish our minds. We don’t want to get stuck in the past, but can use memories in order to get strength and to learn life lessons from what occurred in the past. Perhaps the important lessons must be repeated several times so that we will not forget. Finally, memory itself is not lost. Our former lives have become part of our present lives, have become part of our thoughts, habits, attitudes and ability. All of the memories we have live a life of their own. Yet our memories have become ourselves inseparably. We cannot choose to forget or remember. But we can choose to remember positive, useful memories and use these as building blocks to motivate ourselves to improve and move on. There are developments in life that make this life is more valuable and meaningful not just for your own self but for the world. The world needs beauty: meaningful living, generosity, unity, sharing and hoping. The Prince Royal’s College is also a part of a good memory. The school has only grown more valuable over the past 110 years, with many people coming through in different roles. Even people who have only visited our school or who heard a story about P.R.C. have come away impressed by the legendary memories we all hold dear. The role of the school is not only to give knowledge to students but also to act as a home and shelter for us. The school is a center for our heart and body. We stick close together and can make friends that last forever. The beginning stages of building one’s future life are unpredictable, but building on a basis of faith, love, generosity, compassion and sacrifi ce ensures a solid foundation. Students and seekers can practically touch this blue and white love at The Prince Royal’s College. For over one hundred years, P.R.C. has been the beginning of life for many. Memories that are magnifi cent, valuable, and meaningful that are hard to forget live in these walls and in our students’ hearts. Many generations of different processes at different ages, different attitudes, different agendas, different versions of the basic reasons for social and family background live here. But when we come to The Prince Royal’s College, everyone makes good memories no matter what their background is. P.R.C is one thing that will never fade from our lives. It is a memory that will not go away. Take the good things from our institution. Get into the spirit of the mind and let that be a major component of every step you take now and into the future. And walk along the path of life that we have created. The Prince Royal’s College is not just a place where we pass through and are gone. Students that graduate from The Prince Royal’s College leave their hearts here forever and continue their lives with joyous memories. P.R.C. is forever. The Prince Royal’s College…. The Unforgettable P.R.C…. Memories live on.

โรงเร�ยนปร�นสรอยแยลสว�ทยาลัย …The Unforgettable P.R.C. …คือความทรงจําที่มีช�ว�ต 2

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.

Translated by Worawaran Chaiwipassatorn (11th grade)


ดร.สิร�นันท ศร�ว�ระสกุล Dr. Sirinan Sriweraskul

“แวะคุยกันกอน”

ผูอํานวยการ

Director’s Talk

Director

That Is P.R.C. The declaration of educational management for every country in the world of UNESCO is: Learning to know; learn for knowledge and for learning methods, looking for the knowledge to create new skills by ourselves Learning to do; learn to work practically, which will lead to earning a living from the knowledge we have gained Learning to live together; learn to live with other people contentedly both in education, family, society, and work Learning to be; learn to truly know ourselves. Then we can use our potential, skill, and interests to benefi t society Every school must put this notion into action by adding important skills from the 21st century into the educational system to prepare learners for living in the future world effi ciently. The essential factor in preparing students for success is the quality of teachers and managers. These faculty members arrange the learning process and education administration to provide a capable system while working tirelessly to improve themselves and those around them. The Prince Royal’s College has worked based on this principle by creating specifi c education standards for the school, and using a quality assurance system to track progress. The system we use allows for the creation of a “capable culture” establishing confi dence in members of the community, society, and nation, all starting with the students’ work, their achievements, and the society’s acceptance. Despite how far we have come, the school will still keep improving our education quality attentively. “In the race for quality….there is no finish line.” Many thanks to parents, teachers, students, and every accomplice for continuously helping and supporting the school. May the Lord bless you and your family forever.

ปฏิญญาว่าด้วยการจัดการศึกษาของ UNESCO ส�าหรับทุกประเทศทั่วโลกคือ Learning to know การเรียนรูเ้ พือ่ ให้มคี วามรู ้ มีวธิ กี ารเรียนรู ้ แสวงหาความรู้ และสร้างความรู้ใหม่ด้วยตนเอง Learning to do การเรียนรู้ที่จะปฏิบัติหรือลงมือท�า ซึ่งจะน�าไปสู่การ ประกอบอาชีพจากความรู้ที่ได้ศึกษา Learning to live together การเรียนรู้ในการด�าเนินชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีความสุขทั้งการด�าเนินชีวิตในการเรียน ครอบครัว สังคม และการท�างาน Learning to be การเรียนรู้เพื่อให้รู้จักตัวเองอย่างถ่องแท้ รู้ถึงศักยภาพ ความถนัด ความสนใจของตนเอง และใช้ความรู้ความสามารถของตนเองให้เกิด ประโยชน์ต่อสังคม แนวคิ ด ดั ง กล่ า วถื อ เป็ น เสมื อ นเสาหลั ก ที่ ทุ ก โรงเรี ย นจะต้ อ งค� า นึ ง ถึ ง และ น�าเอาทักษะทีส่ า� คัญในศตวรรษที ่ 21 มาเพิม่ เติมในการจัดการศึกษาเพือ่ เตรียมความ พร้อมให้ผู้เรียนด�ารงตนในโลกอนาคตได้อย่างมีคุณภาพ ปัจจัยส�าคัญในการพัฒนา หรือเตรียมความพร้อมดังกล่าว คือ คุณภาพของครูและผู้บริหารซึ่งจ�าเป็นอย่างยิ่งที่ จะต้องได้รับการพัฒนาอย่างเข้มข้นให้มีความรู้ ความเข้าใจอย่างถ่องแท้เพื่อจัด กระบวนการเรียนรู้และการบริหารจัดการให้เกิดระบบที่เอื้อต่อการพัฒนาดังกล่าว โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัยได้น�าเอาแนวคิด หลักการดังกล่าวมา หลอมรวมกันและก�าหนดมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนและน�าสู่การปฏิบัติผ่าน ระบบประกันคุณภาพซึ่งเป็นเครื่องมือที่ส�าคัญ ในการบริหารและติดตามตรวจสอบ ให้เกิดคุณภาพตามที่ก�าหนด การด�าเนินงานดังกล่าวถือปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิตปกติใน โรงเรียนน�าไปสู ่ “วัฒนธรรมคุณภาพ” ทีส่ ร้างความเชือ่ มัน่ ให้คนทีเ่ กีย่ วข้องในชุมชน สังคม และระดับชาติ ดังจะเห็นได้จากผลงานของนักเรียน รางวัลต่างๆ และการ ยอมรับในสังคม อย่างไรก็ตามโรงเรียนจะยังมุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ โรงเรียนต่อไปอย่างไม่สนิ้ สุด ดังทีม่ ผี กู้ ล่าวไว้วา่ “In the race for quality….there is no finish line.” ขอขอบคุณผูป้ กครอง คณะครู นักเรียน และผูเ้ กีย่ วข้องทุกท่านทีม่ สี ว่ นสนับสนุน และช่วยเหลือโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง ขอองค์พระผู้เป็นเจ้าประทานพรมาเหนือท่าน และครอบครัวตลอดไป 3

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


มุมศาสนกิจ : Religious Corner ศจ. บัณฑิต อินทรเทพ Rev. Bandit Inthorrathep

One man or Half man

4

เมื่อผู้เขียนได้อ่านเรื่องราวเกี่ยวกับการคบเพื่อนใน หนังสือ “อย่ายอมแพ้ตัวเอง” รู้สึกประทับใจและได้ข้อคิดเกี่ยว กับค�ำว่า “เพื่อน” จึงขอน�ำมาแบ่งปัน เป็นเรื่องเล่าสั้นๆ ของชาย คนหนึง่ ทีท่ กุ คนเรียกว่าจอมยุทธ์ ผูม้ เี พือ่ นมากมายทัว่ แผ่นดิน ซึง่ ก่อนที่จอมยุทธ์ท่านนี้ก�ำลังจะตาย ได้เรียกลูกชายมาพบแล้วได้ พูดกับเขาว่า “อย่าคิดว่าข้าผาดโผนในยุทธจักรมาตัง้ แต่เล็ก มีเพือ่ น ทัว่ ทุกแห่งหน แท้จริงแล้วชัว่ ชีวติ นีข้ า้ คบเพือ่ นแค่คนครึง่ เท่านัน้ ” ลู ก ชายของเขางงงวยกับ ค�ำพูดของเขามาก เขาจึง กระซิบบอกบางสิ่งกับลูกชาย และสั่งว่า “ให้เจ้าเดินทางไปพบ เพือ่ นคนครึง่ ของข้า และให้บอกกับเพือ่ นของข้าตามทีข่ า้ บอกเจ้า แล้วเจ้าจะเข้าใจความหมายที่แท้จริงของค�ำว่าเพื่อน” ลูกชายจอมยุทธ์จงึ ออกเดินทางไปพบเพือ่ น “หนึง่ คน” ของพ่อก่อน เมื่อเดินทางไปถึงเขารีบบอกเพื่อนของพ่อว่า “ตอน นี้พ่อข้าใกล้จะตายแล้ว และข้าก็ก�ำลังถูกมือปราบข้าราชส�ำนัก ตามล่า ในยามคับขันเช่นนีข้ า้ จึงมาหาท่าน หวังว่าท่านจะให้ความ ช่วยเหลือ” เมื่อเพื่อนของจอมยุทธ์ได้ยินดังนั้นแล้ว ก็ไม่ชักช้า ลังเล รีบเรียกลูกชายของตัวเองมา และสั่งให้ลูกชายของตัวเอง เปลี่ยนเสื้อผ้ากับลูกชายของเพื่อน ลูกชายจอมยุทธ์จึงเข้าใจในทันทีว่าเบื้องหน้าในความ เป็นความตาย คนทีย่ นิ ดีรว่ มเป็นร่วมตายกับเราอย่างแท้จริง ยอม สละเพื่อเห็นแก่เราและช่วยเหลือเรา ก็นับได้ว่าเขาเป็นเพื่อน “หนึ่งคน” ของเรา ลูกชายจอมยุทธ์จึงเดินทางต่อเพื่อไปพบเพื่อน “ครึ่ง คน” ของพ่อ และได้บอกกับเพื่อน “ครึ่งคน” ด้วยข้อความอย่าง เดียวกันว่าก�ำลังเดือดร้อนมาก เพือ่ น “ครึง่ คน” ของพ่อได้พดู กับ เขาว่า “เด็กเอ๋ย เรื่องใหญ่อย่างนี้ ข้าคงช่วยเจ้าไม่ได้ แต่ข้าจะให้ เงินแก่เจ้า และเจ้าต้องรีบหลบหนีเอาชีวิตรอดไปให้ไกลที่สุด ข้า รับรองว่าข้าจะไม่บอกข่าวให้ราชส�ำนักรู้โดยเด็ดขาด”

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


ลูกชายจอมยุทธ์จึงเข้าใจว่าขณะที่เราก�ำลังประสบภัยนั้น คนที่รู้จักเอาตัว รอด คนทีช่ ว่ ยเหลือเราอย่างชาญฉลาด โดยไม่ถอื โอกาสซ�ำ้ เติม ทับถมท�ำร้ายเรา ก็นบั ได้ว่าเขาคือเพื่อน “ครึ่งคน” ของเรา ทุกวันนี้เราอาจจะคบเพื่อนมากมาย เราเองไม่อาจจะคาดหวังได้ว่าเพื่อน แต่ละคนนั้นจะเป็นเพื่อนแบบไหน แต่อย่างน้อยเราก็รู้ว่าในชีวิตของเรานี้ ยังมีเพื่อน อยูข่ า้ งๆ ทีจ่ ะคอยช่วยเหลือหรือปลอบประโลมใจเรา ไม่วา่ เขาจะเป็นเพือ่ นแบบ “หนึง่ คน” หรือ “ครึ่งคน” และก็คงจะเป็นค�ำถามย้อนกลับมาในชีวิตของเราเช่นกันว่า ทุกวันนี้ ตัวของเราเป็นเพื่อนกับคนอื่นแบบ “หนึ่งคน” หรือแบบ “ครึ่งคน” ???

“มิตรสหายก็มคี วามรักอยูท่ กุ เวลา และพีน่ อ้ งก็เกิดมาเพือ่ ช่วยกันยามทุกข์ยาก” (สุภาษิต 17:17) “จงปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างที่ท่านปรารถนาให้เขาปฏิบัติต่อท่าน” (ลูกา 6:31) When I read stories about friendship, I often read the message, “don’t give up on yourself”. I feel so impressed with these stories and the word “friend”, so I wanted to share such a story to readers. It is a short story about a man called “Warrior”. Warrior had a lot of friends in the land. Before he died, he called his son and said to him, “Don’t think that I have been in the fraternity since I was young and have friends everywhere. The truth is that all my life I have only associated with half-man friends.” His son was confused with the word his father gave. So, Warrior whispered to his son and commanded, “You must meet my half-man friend and tell him what I told you. Then, you will understand the real meaning of friend.” Warrior’s son then headed to meet his father’s “one-man friend”. When he arrived, he told his father’s friend immediately, “Right now, my father is nearly dead and I’m being pursued by the buster court. So, in this moment of crisis, I’m coming to you and hoping that you would do me a favour.” Right after his father’s friend heard this, he called his son hastily and commanded him to change clothes with his friend’s son. Warrior’s son then suddenly realised that in the moment of crisis, those who still stand by our side, sacrifice for us and help us, can be called our “one-man friend”.

He went on to meet the half-man friend of his father’s and he told his father’s half-man friend the same thing, that he was in trouble. His father’s half-man friend finally spoke. “Son, this is a very big problem and I can’t help you. However, I will give you some money and you must run away as far as you can from this place. I can assure you that I will not tell anything to the royal court.” Warrior’s son could understand then that when we are facing problems, those who know how to act safely and help us wisely without taking advantage of us could be called our “half-man friend”. At this moment, we might have many friends and we can’t know what kind of friends they will be. But at least we know that in our lives, we will always have them beside us to help or soo the us, whether they are “one-man friends” or “half-man friends”. We must answer the same question of ourselves. Which kind of friends are you now, a “one-man friend” or “half-man friend”?

“A friend loveth at all times, and a brother is born for adversity.” (Proverbs 17:17) “And as ye would that men should do to you, do ye also to them likewise.” (Luke 6:31)

Translated by

5

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.

Kornphon Maneesai Phurich Pooriwarangkakul Pancheewa Kalayanamitra (11 th grade)


-ชีวิตข้าขอรับใช้-

- กิจกรร

มศาสนกจิ -

รีทรีตครู-บุคลากร ได้รบั เกียรติจาก ศาสนาจารย์ วิรชั เศรษฐ์โสภณกุล ทีป่ รึกษาและอาจารย์พเิ ศษสถาบันกรุงเทพคริสเตียนศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน เป็นวิทยากร คัมภีรศ์ กึ ษา และแบ่งปันพระพร โดย รศ.พญ.สุปรียา วงษ์ตระหง่าน อาจารย์ประจ�ำภาควิชาสูตศิ าสตร์นารีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ณ ห้องประชุม Cornelia McGilvary Harris Auditorium อาคาร 100 ปี สถาบันแฮรีส เมือ่ วันที่ 13 มิถนุ ายน 2558

รีทรีตนักการ-รปภ.

ได้รบั เกียรติจาก ศจ.สมชิด หัวนา ประธานคณะธรรมกิจคริสตจักรภาคที่ 1 ให้เกียรติเป็นวิทยากรคัมภีร์ศึกษา และแบ่งปันพระพรการรับใช้ โดย อ.ญาณิศา จันทร์เส็ง ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักสือ่ สารองค์กร มหาวิทยาลัยพายัพ ณ ห้องประชุมโรงเรียนนานาชาติเชียงใหม่ (CMIS) เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2558

งานสัปดาห์พัฒนาจิตใจ หัวข้อ " รื้อฟื้น.....คืนดี " ระหว่างวันที่ 18 - 28 สิงหาคม 2558

รีทรีต ครู – บุคลากรคริสเตียน

ได้รับเกียรติจาก ศจ.ธีรพงษ์ ชัยศรี ศิ ษ ยาภิ บ าลคริ ส ตจั ก รพายั พ เป็นวิทยากรคัมภีรศ์ กึ ษา ศจ.สมชิด หั ว นา ประธานคณะธรรมกิ จ คริสตจักรที่ 1 เป็นวิทยากรเทศนาฟื้นฟูจิตวิญญาณ ณ โบทานิค รีสอร์ท อ.แมริม จ.เชียงใหม่ ระหว่างวันที่ 7 - 8 พฤษภาคม 2558 6

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


นมัสการพระเจ้า

เนือ่ งในวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ณ โบสถ์ของโรงเรียน เมือ่ วันที่ 28 กรกฎาคม 2558

นมัสการพระเจ้า

เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้า สิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ เนือ่ งใน โอกาสมหามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา 83 พรรษา" ณ โบสถ์ของ โรงเรียน เมือ่ วันที่ 11 สิงหาคม 2558

รีทรีตนักเรียน F.O.C. ระดับ ประถมศึกษา

ได้รับเกียรติจากอนุศาสนาจารย์พิริยะ ประดิษฐ์สอน ผู้ช่วยศิษยาภิบาลคริสต จักรที่หนึ่งเชียงใหม่ เป็นวิทยากรคัมภีร์ ศึกษา ณ โรงละครของโรงเรียน

-Wake Up-

นมัสการพระเจ้า

เนื่ อ งในวั น น้ อ มร� ำ ลึ ก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของ สมเด็ จ พระเจ้ า ภคิ นี เ ธอ เจ้ า ฟ้ า เพชรรั ต นราชสุ ด า สิริโสภาพัณณวดี ณ โบสถ์ของโรงเรียน และร่วมปลูก ต้ น ไม้ เ พื่ อ ถวายเป็ น พระราชกุ ศ ล เมื่ อ วั น ที่ 27 กรกฎาคม 2558

รีทรีตนักเรียน F.O.C. ระดับมัธยมศึกษา ได้เกียรติจาก ครูศาสนาวิทวัส ธรรมา เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยประวิตศิ าสตร์สำ� นักเลขาธิการ สภาคริสตจักรในประเทศไทย เป็นวิทยากรคัมภีรศ์ กึ ษา และ นายวีรยุทธ แก้วใจ นักศึกษาปีที่ 4 วิทยาลัยพระ คริสตธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ เป็นวิทยากรค�ำพยานชีวติ ณ สันก�ำแพง เลควิวรีสอร์ท อ.สันก�ำแพง จ.เชียงใหม่ในระหว่างวันที่ 24 - 26 กรกฎาคม 2558 7

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


Mr. Adisorn Suwanphadhes

สารจาก PTA

The President of The Prince Royal’s College Parents and Teachers Association

นายอดิศร สุวรรณประเทศ นายกสมาคมผูป้ กครองและครู โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วทิ ยาลัย

ในปี ก ารศึ ก ษาที่ ผ่ า นมา สมาคม ผูป้ กครองและครูโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์ วิทยาลัย ได้มงุ่ เน้นการพัฒนาครู-บุคลากร ให้เป็นผู้ที่มคี วามรู้ ความสามารถทีท่ ันต่อ การเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน เช่น การ สนับสนุนครูในการอบรมผู้กำ�กับลูกเสือ Leader Trainers Course การสนับสนุนครูเข้า ร่วมอบรมหลักสูตร Science Laboratory Management ณ ประเทศอินโดนีเซีย เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมุ่งเน้นสนับสนุนกิจกรรมและโครงการต่างๆ ของโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง เพื่อเตรียมเข้าสู่ ASEAN SUMMIT ที่จะเปิดความสัมพันธ์ในปี 2015 ซึ่งที่ผ่านมาทาง สมาคมผูป้ กครองและครูฯ ได้สนับสนุนโครงการโรงเรียนเพือ่ นบ้านอาเซียนของโรงเรียน ในการสร้างความสัมพันธ์อนั ดีกบั ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มากว่า 4 ปีแล้ว โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวัฒนธรรม การเรียนรู้วิถีชีวิตของประเทศเพื่อน บ้าน และการจัดทำ�ค่ายอาสาพัฒนา จนประสบความสำ�เร็จเป็นอย่างดี ในปีการศึกษา 2558 โรงเรียนติดต่อประสานงานกับประเทศกัมพูชา และมี โอกาสได้เข้าพบรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษา กีฬา ของประเทศกัมพูชา เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2558 ร่วมหารือ ในการจัดโครงการโรงเรียนเพื่อนบ้านอาเซียน และยังมี โครงการ “พี.อาร์.ซี” วัยทีนตะลุยปักกิ่ง กิจกรรมของนักเรียนที่จะไปเรียนรู้ภาษา และ วัฒนธรรมจีน ณ กรุงปักกิ่ง ในช่วงเวลา 17-22 ตุลาคม 2558 นอกจากนี้ สมาคมฯ ยัง ได้สนับสนุนกิจกรรมและโครงการต่างๆ ที่นอกเหนือจากที่กล่าวมา เช่น กิจกรรมทาง ด้านวิชาการ ด้านกีฬา ด้านดนตรี ด้านกิจกรรมนักเรียนอย่างต่อเนื่อง เพือ่ เป็นการเสริม สร้างให้นักเรียนมีความเป็นเลิศในทุกๆ ด้าน และเพื่อให้สถาบันแห่งนี้ผลิตนักเรียนเพื่อ ให้เป็นบุคลากรทีม่ คี ณ ุ ภาพและเป็นประโยชน์กบั สังคม ประเทศชาติตอ่ ไป ตาม Character Education ของ P.R.C. คือ เป็นผูท้ ร่ี จู้ กั ภักดีตอ่ แผ่นดิน เป็นพลเมืองทีด่ ี เป็นผูท้ ท่ี ำ�งานเก่ง และเป็นผู้ที่มีคุณธรรม

In the last semester, the Parents and Teachers Association of The Prince Royal’s College has focused on staff improvements, increasing core competencies, and pushing skills for living in a globalized world. For example, efforts are underway to support and train teachers to be teacher scouts in the “Leader Trainers Course” and also support teachers to attend the Science Laboratory Management conference in Indonesia. Moreover, The Prince Royal’s College PTA has developed projects to prepare students to be ready to join the ASEAN SUMMIT that will be inaugurated in 2015. The P.R.C. PTA has supported a project named “ASEAN Neighbors” to foster good relationships with Laos People’s Democratic Republic for the past four years by exchanging camps and has been beautifully successful so far. In 2015, P.R.C. coordinated with Cambodia and met the Ministry of Sports Education Minister of Cambodia on July 3, 2015 to discuss the establishment of the ASEAN Neighbors school project with Cambodia as well. Another project is “P.R.C. Teens to Beijing” where students learn Chinese language and culture at Beijing on Oct. 17-22, 2015. P.R.C. parents and teachers have also supported academic activities, sport activities, music activities and students activities to encourage students to be excellent in every field and to cultivate students into valuable members of society and country according to the Character Education of P.R.C.: “loyal subjects, good citizens, skilled workers and upright men”. สมาคมผูป้ กครองและครู โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วทิ ยาลัย (PTA) จัดการประชุมใหญ่ สามัญประจ�ำปี 2557 เพื่อรายงานผลการด�ำเนินงานในปีการศึกษาที่ผ่านมา ณ ห้อง ประชุม Cornelia McGilvary Harris Auditorium อาคาร 100 ปี สถาบันแฮรีส เมื่อ วันที่ 11 กรกฎาคม 2558

8

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


Parents Education โดย น.ส.มณฑา เภาวัฒนาสุข ป.ร.14301

เรี ย นเก่ ง ... แล้วไง???

ช่วงเดือนมิถนุ ายน-กรกฎาคมทีผ่ า่ นมามหาวิทยาลัย ปิดภาคเรียน ลูกสาวของดิฉนั (น้องเบนจิ) ซึง่ ก็คอื นักเรียนเก่า คนหนึ่งของ P.R.C. ได้ไปช่วยอาจารย์ดูแลลูกศิษย์ที่มาเรียน พิเศษ มีทงั้ นักเรียนประถมและมัธยม เย็นวันหนึง่ ดิฉนั ได้ไปรอ รับน้องเบนจิก็ได้พบเจอเด็กประถมของ P.R.C. เด็กหญิงกลุ่ม นี้ (เบนจิแอบกระซิบว่าเก่งมาก) กำ�ลังรอผูป้ กครองมารับ ได้ที ก็คุยกับเด็กๆ แกมสอบถามว่าโตขึ้นอยากเรียนอะไร บางคน บอกอยากเป็นหมอ บางคนอยากทำ�งานบริษัทเก๋ๆ บางคน อยากเป็นนักดาราศาสตร์ บางคนอยากไปต่างประเทศ พอดีรู้ มาจากลูกสาวว่าเด็กกลุม่ นีเ้ ก่งมากๆ จึงลองถามเด็กเหล่านีว้ า่ ทำ�อย่างไรจึงเรียนเก่งได้เกรดสีก่ นั หมดทุกวิชาทุกคน เด็กตอบ ตรงกันเลยค่ะว่า.......ก็แค่ตั้งใจเรียนในห้องให้ดีเท่านั้นเอง เมื่อปีก่อนได้อ่านหนังสือเล่มหนึ่งชื่อว่า Push the limit ของ ดร.นริศรา การุณอุทัยศิริ ก็คลับคล้ายคลับคลาว่า เธอจะกล่าวเอาไว้แบบนี้เช่นกัน คือ ที่เธอเรียนเก่งเพราะเธอ ตั้งใจเรียนในห้อง มีวินัยในการเรียนและไม่เสียเวลาหรือเสีย เงินไปกับการร�่ำเรียนพิเศษในวิชาซ�้ำๆ กับที่เรียนมาแล้วใน ห้องเรียน ท�ำให้ไม่เสียทั้งเวลา และไม่เปลืองทั้งเงิน

ดร.นริศรา เป็นเด็กทีเ่ รียนเก่งมาตัง้ แต่เล็กจนโตสอบ แพทย์ได้พร้อมกันสอบชิงทุนรัฐบาลพร้อมกันสองทุน เธอเลือก ทุนไปเรียนที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบียจนจบเกียรตินิยมเหรียญ ทองพิเศษเนื่องจากคะแนนเกินเป้าหมายจนชื่อเธอถูกบันทึก ลงบนแผ่นป้ายของมหาวิทยาลัยเพือ่ เป็นเกียรติยศสูงสุด และ ล่าสุดเธอได้รบั เกียรติจาก World Economic Forum ยกย่อง ให้เป็น Young Global Leader 2013 ซึ่งทั้งผลงานทั้งรางวัล ปรากฏอีกมากมาย

ใน Push The Limit มีข้อความน่าประทับใจคือ 1. ให้เลือกในสิ่งที่รัก 2. ให้ประจักษ์ในเป้าหมาย 3. ค้นหา แรงบันดาลใจ 4. กัดไว้ไม่ปล่อยมัน ชัดเจนมากค่ะ!

ทุกวันนีม้ เี ด็กจ�ำนวนมาก ทีจ่ บชัน้ มัธยมศึกษาตอน ปลายแล้วตอบตนเองไม่ได้ว่าอยากเรียนอะไรชอบอะไร เพราะชีวิตเด็กไทยวันนี้ถูกออกแบบให้อยู่ในกรอบ ในกล่อง ส�ำเร็จรูป คนไหนเก่งบังคับให้ต้องเรียนหมอ ทันตฯ จะได้ หาเงินร�่ำรวยฐานะดี คนไหนสวยหุ่นดีส่งไปเป็นเน็ตไอดอล เข้าวงการไปแข่งขันร้องเพลงเต้นร�ำ คนไหนเก่งค�ำนวณไปวิศวะฯ ไปบัญชีหาเงินง่าย คนไหนชอบวาดไปลงศิลปกรรมไปลง วิจติ รศิลป์ พวกหัวอ่อนส่งลงครู ศึกษาศาสตร์ ช่างกล เป็นต้น ซึ่งในความเป็นจริงของชีวิตมันไม่ใช่แบบนั้น ผู้มีอิทธิพลมาก สุดอันดับต้นคือพ่อแม่พนี่ อ้ ง รองมาคือครู คนเหล่านีม้ หี น้าที่ แนะแนวทางตั้งแต่เนิ่นๆ ด้วยการดูพฤติกรรมการสนใจการ ใส่ใจในวิชาทีเ่ รียนของเด็ก เพือ่ ในเวลาทีเ่ ด็กเรียนมัธยมศึกษา ตอนต้น เด็กควรรู้แล้วว่าเขาชอบอะไรบ้าง เผื่อว่าจบมัธยม ต้นจะสามารถเลือกทางชีวิตให้กับตนเองได้ในระดับหนึ่งคือ จะไปสายวิชาชีพหรือสายวิชาการ

ครอบครัวและผู้อื่นได้ อันนี้ส�ำคัญและน่าโฟกัสให้จง หนัก ที่เห็นมาเพื่อนๆของลูกส่วนใหญ่เรียนอย่างไป ท�ำงานอีกอย่าง มองแล้วดิฉนั รูส้ กึ เสียดายเวลาเสียดาย เงินตรา เสียดายกาลเวลาทีส่ ละให้กบั วิชาทีต่ นไม่ได้นำ� มาใช้เลย เพื่อนดิฉันก็ไม่ต่างเรียนแพทย์เปิดร้าน อาหาร เรียนบัญชีไปเลี้ยงลูกอยู่บ้าน เพื่อนลูกเรียน นิเทศศาสตร์ไปส่ง Pizza หรือเรียนหมอมาแทบจะเป็น จะตายสองปีกลับไปเริ่มเรียนวาดภาพแทน ท�ำให้ ตระหนักได้ว่าการเรียนพื้นฐานตั้งแต่อนุบาลจนถึง มัธยมต้นของเด็กๆ ทุกวันนี้ ไม่ได้เป็นตัวกรองหรือตัว ผลักดันให้เด็กแต่ละคนเกิดแรงบันดาลใจที่อยากจะ เรียนในวิชาที่ตนเองชอบอย่างแท้จริง เรียนเก่งแล้วจะยังไงดีคะคุณพ่อคุณแม่ หาก ลู ก เป็ นคนเรียนเก่งเกรดสี่แต่ไม่มีค วามสุข ค้นหา ตนเองไม่เจอ หรือเจอแต่ทำ�ไม่ได้ตามที่ตนปรารถนา อย่างแท้จริง ต้องเรียนเพื่อหน้าตาคุณพ่อคุณแม่หรือ เรียนตามความชอบขององค์รวมในสังคมที่แห่แหน ตามกันไปอย่างไร้ทิศทาง

คุณพ่อคุณแม่ ลองนิ่งๆ วางมือถือ วางโลก Social และวางหน้ากากตำ�แหน่งสถานะทางสังคมลง ชั่วครู่ นั่งดูลูกๆ แล้วถามใจตนเองให้ชัดเจน ว่า เราใน ฐานะพ่อแม่เราอยากเห็นลูกมีชีวิตในอนาคตหรือใน การเรียนได้เกรดออกมาดีิ หรือที่เรียกว่าเรียนเก่ง ยามทีเ่ ราจากเขาไปก่อนจะ Push The Limit ของลูก ถามว่าจ�ำเป็นหรือไม่ ในความคิดเห็นส่วนตัวดิฉันในฐานะ ผู้ปกครองลงมือในส่วนของตนเองให้ชัดเจนก่อนจะ ผู้ปกครองที่มีบุตรสองคนที่เรียนไม่เก่งและเรียนเก่ง ขอตอบ ขอบพระคุณมากมายค่ะ ว่าไม่จำ� เป็นค่ะ เกรดไม่ได้ให้คำ� ตอบความหมายของชีวติ การ โลกในอนาคตซับซ้อนและมีเงือ่ นไขมากมาย ที่เด็กหนึ่งคนได้ค้นพบว่าตนเองชอบอะไรและได้ไปร�่ำเรียน ขึ้นทุกวัน เราเตรียมตัวให้ลูกเราพร้อมแค่ไหนในการ ตามทางทีช่ อบ ท�ำด้วยใจรัก มีแรงบันดาลใจมีความพยายาม เผชิญโลกใบนี้ มานะวิระยะ อุตสาหะเพียรที่จะเรียนอย่างสนุกอย่างเข้าใจ และน�ำมาประกอบสัมมาอาชีพได้ เลี้ยงตนเองและเผื่อแผ่ถึง 9

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


? t a h w o s . . t r a Sm Last June to July, there were university breaks. My daughter (Benji), a Prince Royal’s College alumna, helped her teacher take care of students who came to take an extra class. There were both primary and secondary students. One evening, while I was waiting for Benji, I met some P.R.C. students while they waited for their parents to pick them up (Benji told me that they are very smart!). I had the chance to have a conversation with them and asked them what they want to study in the future. Some said that they want to be doctors, some want to work in an office, some want to be astronomers, and some want to go abroad. I knew that they were very smart, so I asked them how to get good grades and they all said, “Just pay attention in the classroom”. Last year, I read a book called Push The Limit written by Dr.Nitsara Karoonuthaisiri. She also said that the reason she was smart is she paid attention and had discipline in the classroom and did not waste time or money on having extra courses in the subjects that she already had in school. Dr.Nitsara had been a smart student since she was young. She got accepted to medical school and won two government scholarships. She chose a scholarship and had the chance to study at the University of Columbia, where she graduated with honors. Recently, she has been honored by the World Economic Forum as a “Young Global Leader 2013”. In Push The Limit simple advice shines through : 1. Do what you love 2. Be clear in your goal 3. Find your inspiration 4. Don’t give up. It’s so clear! Nowadays there are many children who have graduated high school but cannot answer what they want to learn and what they like. This is because Thai students are always in confines. For example, students who are smart must study in the faculty of medicine or pharmacy to earn lots of income, students who are beautiful and good looking must be net idols and enter the entertainment industry, and join singing or dance competitions. Those who are good at math must study in the faculty of engineering or accounting because it is easy to earn money that way. Those who love to draw must study in the faculty of fine and applied arts, and those who are uncertain must study faculty of education or be an engineer. But in fact, it’s not true. People who have the most influence over students are

parents, and second are teachers. With the influence of these people, when students graduate secondary school they can choose their path to the future. Is getting good grades or as we call it, “studying well”, really necessary? In my opinion, as a parent who has both studious and non-studious children, I would say it is unnecessary. Good grades aren’t the answer to life. When a child finds out what he wants and studies in the way he likes with love and inspiration, his heart will be filled with the effort to understand something with joy. He will develop it to make his career. He will grow himself, his family and also help others. This important point should be emphasized. I’ve seen many friends’ children working different jobs from what they’ve learned. I feel sorry for both the time and money that they’ve spent on subjects that they didn’t use. My friends aren’t different. Some studied medicine but launched a restaurant. Some studied accounting but stayed home to raise children. My kid’s friend had studied faculty of communication and became a pizza delivery man while another had studied faculty of medicine almost to death for two years and turned to study drawing instead. These examples make me realize that having a foundation of education since kindergarten to high school nowadays isn’t a filter or a motivator that inspires students to study their favorite subject. Smart and so what, parents? If your children are smart and get 4s but aren’t happy, don’t know themselves or know but can’t follow their dreams as they really want, have to study for your acceptance or so that society likes them, they are directionless. Dear parents, try to calm down a bit, take a break from your social communication. Let’s think about your kids and ask how you really want to see your kids’ lives in the future. Before pushing your kids’ limit, properly ask yourself first what you will do. The world in the future will be a lot more complicated and has more issues every single day. How ready are our children to face this world?

Translated by

10

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.

Kornphon Maneesai Teejuta Rueangmanee Pancheewa Kanlayanamitra Nuttaporn Poodtrong Phurichaya Kiaotai (11th grade)


สารจากประธาน

จากคติ พ จน์ ข องพ่ อ ครู แ ฮรี ส ที่ ว่ า “เป้ า หมายสู ง สุ ด ของการศึ ก ษา คื อ การ พัฒนาอุปนิสัย” แสดงให้เห็นถึงความส�าคัญ ของการพั ฒ นาอุ ป นิ สั ย หรื อ ลั ก ษณะของคน บุคคลใดก็ตามที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้มีการศึกษาดีได้ รับการอบรม ฝึกฝนมาอย่างดีนั้น สิ่งที่เราจะน�า มาเป็นตัวชี้วัดคือ ลักษณะนิสัยของบุคคลนั้นได้ กับการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น คนทุกคนตั้งแต่เด็กจนเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ย่อมมีการพัฒนาทางด้านคุณลักษณะของตนเอง อยู่ เ สมอซึ่ ง คุ ณ ลั ก ษณะนี้ แบ่ ง ออกเป็ น ระดั บ ต่าง ๆ ดังนี้ คุณลักษณะขัน้ ปฐมภูมิ ทีเ่ ราควรมีตงั้ แต่ เป็นเด็กเล็ก และสถานศึกษาควรฝึกให้นักเรียน

มูลนิธิว�ลเลีMessage ยม แฮร� ส อนุ ส รณ from Dr. Amnuay Tapingkae The President of William Harris Foundation

Rev. Dr. William Harris’s philosophy, “The ultimate aim of education is the development of character”, shows the importance of the development of character, or the quality, of each person. Anyone who has a reputation for their good education and is well-trained shows that they have been changed and developed in a better way. From childhood to adulthood, everyone undergoes a development of their characters or characteristics, which is divided into these levels;

Primary characteristic

Beginning when we are little. School should train students to progress in this aspect. Schools should train students to progress in this aspect. • Courteousness such as etiquette in dining, dressing, speaking, listening, showing respect, etc. • Responsibility such as keeping time, words, other’s and the public’s belongings, cleanness and rules. • Understanding such as understanding friends, people other than us, and nature in order to treat them in the right way.

มีพัฒนาการด้านเหล่านี้ยิ่งๆ ขึ้นไป ได้แก่ • การมีมารยาท เช่น มารยาทในการรับประทานอาหาร การแต่งกาย การพูด การฟัง การแสดงสัมมาคารวะ ฯลฯ • การมีความรับผิดชอบ เช่น การรักษาเวลา รักษาค�าพูด รักษาของผู้อื่นและ ของส่วนรวม รักษาความสะอาด รักษากฎเกณฑ์ต่างๆ เป็นต้น • การรู้จักสร้างความเข้าใจ เช่น เข้าใจเพื่อน เข้าใจผู้อยู่เคียงข้าง รู้จักสิ่งแวดล้อมเพื่อ ปฏิบัติที่ถูกต้องต่อสิ่งนั้น คุณลักษณะขั้นทุติยภูมิ หมายถึง คุณลักษณะที่มีการพัฒนามากขึ้นจากตอนเป็นเด็ก เล็กและควรมีการพัฒนาตลอดไป คือ • การเป็นผู้เสาะแสวงหามิตรใหม่ ความคิดใหม่ ค�าถามใหม่และแสวงหาค�าตอบใหม่ ซึ่งหมายถึงการไม่อยู่นิ่งเฉย • การเป็นผู้ชอบสร้างความสัมพันธ์อันดี สร้างบรรยากาศที่ดี เป็นผู้รู้จักแก้ปัญหา รู้จัก สร้างความหวัง และรู้จักสร้างสันติสุข • การเป็นผู้เสริมสร้างทัศนคติทางบวกต่อผู้อื่น ต่อสถาบัน ต่อสังคม ต่อประเทศชาติ ต่อโลกและต่อตนเอง และมีทัศนะที่ว่า “ถึงแม้วันนี้มีปัญหา แต่พรุ่งนี้จะดีกว่า” คุณลักษณะขั้นตติยภูมิ หมายถึง คุณลักษณะขั้นสูงสุดคือ • เป็นผู้แสวงหาความหมายของชีวิต คือความดี ความงาม สัจจะและพยายามสร้าง ปณิธานให้เกิดขึ้นในชีวิต • การเป็นผู้แสวงหาสัจจการแห่งตนหมายถึง การเข้าใจตนเองอย่างถ่องแท้ พัฒนา ตนเองจนถึงที่สุดเข้าใจและซาบซึ้งในอุดมคติตลอดจนสัจจะซึ่งอยู่ในค�าสอนของพระศาสดา • การเป็นผูแ้ สวงหาปรัชญาแห่งชีวติ มีสรณะทีต่ นสามารถยึดถือได้ทงั้ ยามทุกข์และสุข ใช้ศรัทธา และปัญญาในการด�าเนินชีวิต มีความกล้าหาญในการด�ารงชีพและมีหลักจริยศาสตร์ที่ตนยึดไว้ปฏิบัติ • การมีน�้าใจ ความเอื้ออาทรและยอมเสียสละเพื่อผู้อื่นโดยไม่หวังลาภ ยศ สรรเสริญ เป็นสิ่งตอบแทน คุณลักษณะเหล่านี้พ่อครูแฮรีส ได้หนุนใจให้ลูกศิษย์ของท่านแสวงหาและปลูกฝังให้ เกิดขึ้นเพื่อรักษา “P.R.C. Spirit” ให้ยั่งยืนต่อไปชั่วนิรันดร์

Secondary characteristic

These characteristics improve over a long period of time and begin after grade school. • Being the one who fi nds new friends, ideas, questions and answers. Not staying still. • Being the one who creates good relationships and environments, knows how to solve problems, fosters hope and peace. • Being the one who reinforces a positive attitude to others, school, society, country, world, and us. Having an attitude that says ‘Even though today there are some problems, tomorrow will be better’.

Tertiary characteristic The highest characteristic.

• Being a person who seeks the meaning of life, goodness, and truth. Tries to fi gure out one’s determination in life. • Being a person who seeks truth. Truly understanding themselves, improving themselves, and believing in ideals including the truth found in the prophet’s teaching. • Being a person who seeks the philosophy of life. Having a refuge that they can hold in distress and happiness, using faith and wisdom in daily life, having the courage and ethics to practice. • Having generosity and sacrifi cing for others without wanting praise as a return. You can seek and foster these things in order to keep “P.R.C. Spirit” forever. Translated by Chanasphorn Karnchanaphitak (11th grade) 11

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


ยอนรอย P.R.C. อ.เสรินทร จิรคุปต

ศาสนาจารย ว ล � เลี ย ม โยเดอร มิชชันนาร�อเมร�กันเพรสไบทีเร�ยน คนสุดทายของโรงเร�ยนปร�นสรอยแยลสว�ทยาลัย

ศาสนาจารย์วิลเลียม โจเซฟ โยเดอร์ (Rev.William Joseph Yoder) ท่านเกิดเมือ่ วันที ่ 2 พฤษภาคม ค.ศ.1941 ที่เมืองแคนตัน มลรัฐโอไฮโอ ประเทศ สหรัฐอเมริกา บิดาชื่อ ลอย โจเซฟ โยเดอร์ (Loy Joseph Yoder) มารดาชื่อ แมรีย์ ซิ ป โปราห์ กริ ฟ เฟท โยเดอร์ (Mary Zipporah Griffeth Yoder) ส� า เร็ จ การศึกษาชั้นต้นจาก Canton Lincoln High School ในปี ค.ศ.1959/2502 และ ปริญญาตรีจาก College of Wooster ในปี ค.ศ.1964 อาจารย์บิล โยเดอร์ ได้เดินทางมาท�าพันธกิจในโครงการอาสาสมัครสอน วิชาภาษาอังกฤษที่โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัยในปี ค.ศ.1964/2507 มีเพือ่ นสนิททีเ่ คยมาร่วมเป็นอาสาสมัครสอนทีโ่ รงเรียนปรินส์รอยแยลส์วทิ ยาลัย และยังเป็นเพื่อนกันมาถึงทุกวันนี้คือ อาจารย์จอห์น อาจารย์มาธาร์ บัทท์ และ อาจารย์ฮิโรชิ ทานากะ ขณะนั้นอาจารย์หมวก ไชยลังการณ์ เป็นผู้จัดการและ อาจารย์ใหญ่ของโรงเรียน อาจารย์บิล โยเดอร์ ประทับใจในการดูแลเอาใจใส่ อาสาสมั ค รที่ ม าช่ ว ยสอนภาษาอั ง กฤษเป็ น อย่ า งดี อาจารย์ บิ ล เล่ า ว่ า อาจารย์หมวก ไชยลังการณ์ ดูแลท่านดุจพีช่ ายดูแลน้อง ท�าให้ทา่ นรูส้ กึ ผูกพันกับ พี . อาร์ . ซี . ตั้ ง แต่นั้น เป็น ต้น มา อาจารย์บิลสนุก กั บการสอนนั ก เรี ย น และ เป็นกันเองกับนักเรียนทุกคน วันหยุดก็ท�ากิจกรรมต่างๆ กับนักเรียน เช่น การเดินขึ้นดอยสุเทพ และการไปเที่ยวหมู่บ้านในชนบท

รับนิมิตเพ�่อการรับใช ในฐานะมิชชันนาร�

ในปี ที่ ส องที่ อ าจารย์ ท� า พั น ธกิ จ ที่ โรงเรี ย นปริ น ส์ ร อยแยลส์ วิ ท ยาลั ย อาจารย์ ก็ ไ ด้ รั บ นิ มิ ต จากพระเจ้ า ในการรั บ ใช้ เ ป็ น มิ ช ชั น นารี อาจารย์ บิ ล จึงตัดสินใจกลับไปประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อศึกษาต่อในด้านศาสนศาสตร์ที่ มหาวิทยาลัยเยล (Yale University Divinity School) ในเดือนกันยายน ค.ศ.1965/2508 เมื่อส�าเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโทแล้ว ในปี ค.ศ.1968/2511 ศาสนาจารย์บิล โยเดอร์ ตัดสินใจที่จะกลับมายัง ประเทศไทยในฐานะมิชชันนารีของคริสตจักรเพรสไบทีเรียนสหรัฐอเมริกา ท่ า นได้ รั บ การสถาปนาเป็ น ศาสนาจารย์ ข องคริ ส ตจั ก รเพรสไบที เรี ย น สหรัฐอเมริกา โดยเพรสไบเทอรีวูสเตอร์ ณ คริสตจักรไครสท์เพรสไบทีเรียน ในวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ.1968/2511 จากนั้นสภาคริสตจักรในประเทศไทย ได้แต่งตัง้ ให้เป็นอนุศาสกและครูแผนกภาษาอังกฤษ ณ โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์ วิทยาลัย อีกครั้งหนึ่ง

สร างศาลาโยเดอร และอาคารร มเกล า

เดือนธันวาคม ค.ศ.1971/2514 คุณพ่อลอย กับคุณแม่แมรีย์ โยเดอร์ ได้เดินทางมาเยี่ยมอาจารย์บิล โยเดอร์ และโรงเรียนได้ใช้เงินที่ท่านทั้งสองบริจาค ให้โรงเรียนสร้างศาลา “โยเดอร์” เพื่อให้นักเรียนได้ใช้เป็นที่นั่งพักรอรถมารับหลัง เลิกเรียนและเป็นสัญลักษณ์แห่งการรับใช้พระเจ้าร่วมกัน และได้มกี ารนมัสการเปิด ศาลาในระหว่างทีท่ า่ นอยูท่ เี่ ชียงใหม่ สร้างความประทับใจแก่ทา่ นทัง้ สองเป็นอย่าง มาก คุณพ่อลอย โยเดอร์ เสนอตัวทีจ่ ะรณรงค์หาเงินมาสนับสนุนโรงเรียน ได้ปรึกษา กับ ดร.จ�ารูญ ไชยลังการณ์ ผู้จัดการ-อาจารย์ใหญ่ และได้ท�าโครงการสร้างอาคาร ร่มเกล้าเพื่อเป็นศูนย์การเรียนและห้องทดลองวิชาวิทยาศาสตร์ ซึ่งเวลานั้นต้องใช้ งบประมาณทั้งสิ้น 50,000 เหรียญสหรัฐอเมริกา (คิดเป็นเงินไทย 1,150,000.-)

พัฒนาว�ชาชีพครู

ในปี ค.ศ.1975/2518 อาจารย์บิลได้รับแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าหมวดภาษา อังกฤษ โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัยแทนอาจารย์แอลลิสันออสบอร์น ที่ได้รับเชิญให้ไปช่วยงานที่มหาวิทยาลัยพายัพ อาจารย์บิล โยเดอร์ ได้ท�าหน้าที่ อนุศาสกและหัวหน้าหมวดภาษาต่างประเทศด้วยความมุ่งมั่นและเสียสละ เพื่ อ ให้ ค รู ใ นที ม สอนนั ก เรี ย นและท� า งานอย่ า งมี ค วามสุ ข อาจารย์ บิ ล โยเดอร์ ท�าพันธกิจที่โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย จนถึง ค.ศ.1979/2522 ทางมหาวิทยาลัยพายัพได้ขอเชิญไปเป็นอาจารย์สอนในคณะศาสนศาสตร์ แมคกิลวารี และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นคณบดี คณะศาสนศาสตร์แมคกิลวารี ในปี ค.ศ.1986/2529 12

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


สร างอาคารคณะศาสนศาสตร แมคกิลวาร�

ในปี ค.ศ.1992/2535 อาจารย์บิล โยเดอร์ ได้รณรงค์หาเงินบริจาคจากศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยวูสเตอร์ มาร่วมทุนในการก่อสร้างอาคารศาสนศาสตร์แมคกิลวารี ขึ้นใหม่แทน อาคารหลังเก่าทีช่ า� รุดและถูกเวนคืนทีด่ นิ พร้อมกับปรับพืน้ ทีโ่ ดยรอบ ถือเป็นความภาคภูมใิ จและมีความสุขทีส่ ดุ ทีก่ ารปฏิบตั พิ นั ธกิจบรรลุผลส�าเร็จ หลังจากทีไ่ ด้มอบถวายอาคาร ให้มหาวิทยาลัยพายัพ

ความผูกพันและความเส�ยสละ

อาจารย์พิษณุ อรรฆภิญญ์ ได้กล่าวถึงความรักและความผูกพัน ของ อาจารย์บิล โยเดอร์ ที่มีต่อโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย ไว้ว่า “แม้ว่าอาจารย์บิล โยเดอร์ จะไปท�างานที่มหาวิทยาลัยพายัพ แต่ท่านยังคงผูกพันอยู่กับโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย ท่านเคยได้รับแต่งตั้งให้ท�าหน้าที่ในคณะกรรมการอ�านวยการของโรงเรียนหลาย สมัย ท่านจะยินดีทุกครั้งที่ได้รับเชิญให้เทศนาและให้ข้อคิดกับคณะครูและนักเรียน อีกทั้งท่านยังขอเช่าบ้านพักอยู่ในโรงเรียนที่อยู่ใกล้ประตูทางเข้าโรงเรียน และบ้านนี้เอง เป็นทีพ่ งึ่ ของนักเรียนประถมศึกษาทีต่ กรถหรือพ่อแม่ตดิ ธุระ ไม่สามารถมารับได้หลังเลิกเรียน เด็กๆ ก็จะมาอาศัยรอพ่อแม่หรือรอรถทีบ่ า้ นหลังนี ้ อาจารย์บลิ จะให้แม่ครัวท�าอาหาร ให้เด็กนักเรียนเหล่านี้รับประทานขณะที่รอผู้ปกครองมารับ”

รับอุปการะเด็กบ านนอกและผู ขัดสนด านการศึกษา

อาจารย์บลิ โยเดอร์ ได้รบั อุปการะนักเรียนจากบ้านนอกทีต่ อ้ งการความช่วยเหลือหลายคน งานนีเ้ ริม่ ขึน้ ในปี ค.ศ.1970/2513 ท่านช่วยอุปการะนักเรียนทีเ่ รียนดีจากโรงเรียน น่านคริสเตียนศึกษาและเชียงรายที่อยากมาเรียนที่โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัยหลายคน แต่ไม่มีที่พักอาศัยและผู้อุปการะ อาจารย์บิล เชื่อว่านี่เป็นน้�าพระทัยของพระเจ้าที่ จะให้ท่านท�า จึงรับนักเรียนเหล่านั้นเข้ามาอยู่ในความอุปการะดูแล จนจบการศึกษาหลายรุ่น อาจารย์บิลได้รับอุปการะเลี้ยงดูเด็กนักเรียนในบ้านรวมทั้งสิ้น 26 คน ดุจบิดา เลี้ยงดูลูก ท่านรักและอบรมสั่งสอนให้รักพระเจ้าและให้เป็นคนไทย ท่านจะเตือนสอนให้ทุกคนอยู่ในกรอบแห่งวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของไทย และสอนให้แสวงหาพระเจ้า เป็นสิ่งแรกในชีวติ และให้ตดิ สนิทอยูก่ บั พระเจ้าเสมอ นอกจากนัน้ ท่านได้แสดงถึงความรักความผูกพันอันแนบแน่นทีท่ ่านมีตอ่ โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วทิ ยาลัยตัง้ แต่วนั แรกทีเ่ ดิน ทางมาถึงเมืองไทยและตราบจนทุกวันนี้

รางวัลชีว�ตของมิชชันนาร� “พระเจ าได อวยพรผม และผมสํานึกในพระคุณของพระองค ”

ในช่วงที่อาจารย์บิล โยเดอร์ ได้ปฏิบัติพันธกิจในสถาบันการศึกษาของสภาคริสตจักรในประเทศไทย ท่านได้พักอาศัยอยู่ในบ้านพักมิชชันนารี หรือ “บ้านอาจารย์บิล” ในโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย เป็นเวลาร่วมสี่สิบปี ท่านท�าหน้าที่เป็นผู้แทนมิชชันนารีคนสุดท้ายของโรงเรียนที่สมบูรณ์แบบ และเป็นที่ประทับใจของคณาจารย์และ นักเรียน ทุกคนได้ให้ความเคารพและศรัทธาต่อภารกิจของท่านที่ได้ท�าหน้าที่เป็นทั้ง “พ่อครู” และ “พ่อทูนหัว” ของนักเรียนที่ท่านเลี้ยงดูและส่งเสียจนส�าเร็จการศึกษารุ่นแล้ว รุ่นเล่า สมาชิกในครอบครัวของท่านส่วนใหญ่ล้วนเป็นผู้น�าที่มีประสิทธิภาพทั้งในคริสตจักรและสังคม ศาสนาจารย์บิล โยเดอร์ ได้เกษียณอายุการท�างานจาก “การเป็นผู้รับใช้” คณะมิชชันของคริสตจักรเพรสไบทีเรียนสหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ.2007/2550 บรรดา “ลูกรัก” ได้กลับมาแสดงความกตัญูกตเวทีต่อคุณพ่อบิล น�าโดย ครอบครัวคุณสเปญ จริงเข้าใจ มอบที่ดินและสร้างบ้าน “พาราเดซอส” (Paradeisos) ทุกๆ เดือน ลูกหลานก็จะมา เยี่ยมเยือนท่าน ถือเป็นความสุขในบั้นปลายชีวิตของท่าน 13 Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


P.R.C. Back in time Aj.Serin Jiracoup

The Rev. William Yoder The Last American Missionary from the Presbyterian Church in PRC

Rev. William Joseph Yoder was born on May 2nd, 1941 in Canton, Ohio, USA. He had a father named Loy Joseph Yoder and his mother’s name was Mary Zipporah Griffeth Yoder. He graduated from Canton Lincoln High School in 1959 and earned a Bachelor’s Degree at the College of Wooster in 1964. Rev. Bill Yoder travelled overseas o n a v o l u n t e e r m i s s i o n to teach English at The Prince Royal’s College in 1964. He made some friends in the volunteer project and they became best friends. Their names were Aj. John, Aj. Matha Budd and Aj. Hiroshi Tanaka. At the time Aj. Muak Chailangkarn was the principal and manager of the school. Aj. Bill Yoder was touched by his kindness toward the volunteer teachers. Aj. Bill said that Aj. Muak Chailangkarn took care of him like his brother. This made Aj. Bill feel connected with P.R.C. After that, Aj. Bill had great fun teaching the students. He started to lead extra activities with the students during the holidays, such as hiking, walking up Doi Suthep and visiting rural villages.

Establishing Yoder Pavilion and the Rom Klao building

In December 1971, Mr. Loy and Mrs. Mary Yoder visited Aj. Bill and the school. Mr. and Mrs. Yoder had donated some money for the school to build a “Yoder” pavilion in which the students could relax and wait for their parents to pick them up from school. The building was also meant to be a symbol of God’s mission for P.R.C. There was an opening ceremony in Chiang Mai, and they were 14

both astonished and touched. Mr. Loy Yoder was willing to campaign and fi nd more money to support the school. He consulted with Dr. Chamroon Chailangkarn, Principal and Manager, and established the Rom Klao building as a study and science lab center. At the time, the cost was at around 50,000USD.

Improving the Teaching Profession

In 1975, Aj. Bill was assigned to be the Head of English to replace Aj.Ellison Osborn, who was invited to work at Payap University. Aj.Bill gave his all as a warden and the Head of English Language to support all teachers and to help them enjoy teaching their students. Aj. Bill taught at P.R.C. until 1979 when Payap University invited him to teach at the McGilvary College of Divinity. He was nominated dean of the college in 1986.

Establishing McGilvary College of Divinity Building

In 1992, Aj. Bill Yoder campaigned for donations from the alumni of the University of Worcester to join him in rebuilding the old McGilvary Building and to improve the grounds around the campus. He was very proud and delighted to accomplish his goal in giving the new building to Payap University.

Deep Connection and Sacrifice

Aj. Pisanu Aorapinn told us how much Aj. Bill loved The Prince Royal’s College. “Even though, AJ.Bill Yoder moved to work at Payap University, he still sensed a deep connection at P.R.C. He had been nominated as a director of the board so many times and he was always grateful to continue working with our children and teachers. He also rented a house near the school gate, which was the house that the students who hadn’t gotten picked up could rely on. Aj. Bill always ordered his maid to cook something for those children while they waited for their parents to pick them up.”

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


Adopting Rustic and Uneducated Children

Aj. Bill Yoder adopted some rural area children who needed help. This project was started in 1970, when Aj. Bill adopted good students from Nan Christian College in Chiang Rai. These students wanted to study at The Prince Royal’s College but didn’t have a place to stay or anyone to take care of them. Aj. Bill believed that his adopting the children fulfi lled God’s intention. He adopted the children until most of them graduated. Aj. Bill adopted a total of 26 students and took care of them like his own children. Aj. Bill told everyone to love God and maintain their Thai identity. He warned everyone to maintain their beautiful Thai custom and traditions and also taught that they must seek God fi rst. Aj. Bill showed how much he loved The Prince Royal’s College. The deep connection brtween Aj. Bill and P.R.C. is as true today as it was when he amved in Thailand.

Life reward of the Missionary “God blessed me and I’m grateful in His grace”

Aj. Bill Yoder also worked at the education center in The Church of Christ in Thailand. He stayed at the missionary house or “Aj. Bill House” in The Prince Royal’s College for 10 years. He was the last missionary in the school. His perfect work touched the teachers’ and students’ hearts. Everyone respected him and had faith in his duties as a “Father” and “God Father” of all the students that he raised. Most of his family members are the leaders of both Christian communities and in general society. Rev. Bill Yoder retired from being a “Servant of God” in 2007. All his “sons” came back to him and showed their gratitude toward Aj. Bill, led by Mr.Spain Jingkaojai and his family, who has built him a “Paradeisos” house. Every month his sons will visit him, adding to his lifelong happiness. Translate by Fasai Thammasorn (11th grade) 15

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


สารนายก ส.น.ป.

A Letter from the President of The Prince Royal’s College Alumni Association The Prince Royal’s College Alumni Association (PAA) is delighted and proud of The Prince Royal’s College (P.R.C.) for all the administrators, teachers and personnel working at full capacity for the preparation of the school, activities and student enrollment. Congratulations and welcome “Volunteer 14” and “Pitch” that graduated in 2014 and now offi cially have become P.R.C. alumni. We would like to encourage all students that have examinations and admission tests. We hope that P.R.C. alumni will come back to help P.R.C. and help the PAA in various activities in order to achieve the objectives of the PAA to support the school. The PAA would like to congratulate all the students this year that became a part of P.R.C.’s blue and white blood. This school will develop you into a good person in society. Last but not least, the PAA would like to be a part of your success and encourage the administrators, teachers and personnel to improve education for the future of P.R.C.

ในห้วงเวลาที่ผ่านมา สมาคมนักเรียนเก่าปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย (ส.น.ป.) รู้สึกดีใจและภาคภูมิใจกับทางโรงเรียนฯ เป็นอย่างยิ่ง ทั้งผู้บริหาร คณะครู บุคลากร ทีไ่ ด้ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างเต็มก�าลัง ตัง้ แต่การเตรียมการในด้านการศึกษา กิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน รวมถึงการรับสมัครคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษาในโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์ วิทยาลัย ขอแสดงความยินดีและขอต้อนรับนักเรียนรุ่น Volunteer ’14 และพิชญ์ ที่ส�าเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2557 เข้าสู่การเป็นสมาชิกของสมาคมนักเรียนเก่าฯ อย่างเป็นทางการอีกครัง้ หนึง่ และขอเป็นก�าลังใจให้นกั เรียนในการสอบแข่งขันเข้าศึกษา ต่อในระดับต่อไป หวังเป็นอย่างยิ่งว่า นักเรียนเก่าจะกลับมาช่วยเหลือโรงเรียนใน กิจกรรมต่างๆ และกลับมาช่วยเหลือสมาคมฯ ในการจัดกิจกรรมต่างๆ เพือ่ ให้บรรลุผล ตามวัตถุประสงค์ของสมาคมฯ สมาคมนักเรียนเก่าปรินส์รอยแยลส์วทิ ยาลัย ขอแสดงความยินดีกบั นักเรียนใหม่ ปีการศึกษา 2558 ที่เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของลูกน�้าเงิน-ขาว สถาบันแห่งนี้จะเป็น แหล่วงหลอมรวมให้นักเรียนเป็นคนเก่ง เป็นคนดีของสังคม เป็นก�าลังส�าคัญของ ประเทศชาติต่อไปในอนาคต สุดท้ายนี ้ สมาคมนักเรียนเก่าฯ ขอเป็นส่วนหนึง่ ของความส�าเร็จ และขอเป็นก�าลัง ใจให้กับคณะผู้บริหาร ครู บุคลากร ในการพัฒนาด้านการศึกษา เพื่ออนาคตของลูก หลานชาวปรินส์รอยฯ ต่อไป นายชูเดช เกตุชูรัตน์ นายกสมาคมนักเรียนเก่าปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย

Mr. Chudet Ketechuratn P.R.C. Alumni Association President Translated by Pancheewa Kalayanamitra (11th grade)

16

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


เรือ่ งเล่า....จากรุน่ พี่ โดย อ.วรรณฤมล กิตติปภัสสร

“พี่หมอสอนน้อง” ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์กำ�พล เลาหเพ็ญแสง Professor Emeritus Kamphol Laohapensang ป.ร. 6652

ประวัติการทำ�งาน

มัธยมศึกษาตอนต้น : รุ่น Reminder ’68 โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย เชียงใหม่ มัธยมศึกษาตอนปลาย : รุ่น Immortal ’70 โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย เชียงใหม่ ปริญญาตรี : คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปริญญาเอก : มหาวิทยาลัยมหิดล การฝึกอบรม : Clinical Vascular Fellowship, U. of Colorado, Denver, USA. Research Fellowship, St. Bartholomew’s Hospital, London, UK.

- พ.ศ. 2552-2556 นายกสมาคมแพทย์โรคหลอดเลือดแห่งประเทศไทย President Thai Vascular Association - พ.ศ. 2545-ปัจจุบัน หัวหน้าหน่วยศัลยศาสตร์หลอดเลือด ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Professor and chief Division of Vascular and Endovascular Surgery, Department of Surgery, Chiang Mai University Hospital, Thailand. - พ.ศ. 2555-ปัจจุบัน กรรมการบริหาร ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย Committee member Royal College of Surgeons of Thailand - พ.ศ. 2556-ปัจจุบัน นายกสมาคมแพทย์โรคหลอดเลือดดำ�แห่งประเทศไทย President Thai Venous Association

Lower secondary school : Reminder ’68 The Prince Royal’s College Upper secondary school : Immortal ’70 The Prince Royal’s College Bachelor’s Degree : Faculty of Medicine Chiang Mai University Medical Degree : Mahidol University Training : Clinical vascular fellowship University of Colorado, Denver, USA Research fellowship at Bartholomew’s hospital, London, UK

รางวัลเด่น ๆ ที่ได้รับ

- พ.ศ. 2547 รางวัล “Distinguish Vascular Surgeon Award” จาก สมาคมแพทย์ โรคหลอดเลือดแห่งประเทศไทย “Distinguish Vascular Surgeon Award” Thai Vascular Association 2004 - พ.ศ. 2555 รางวัล “Lifetime Achievement Award” จาก สมาคมแพทย์โรคหลอด เลือดแห่งประเทศไทย “Lifetime Achievement Award” Thai Vascular Association 2012 - พ.ศ. 2555 รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น จากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “Distinguish Alumni Award” Faculty of Medicine, Chiang Mai University 2012 17

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


จุดประกายที่ทำ�ให้อยากเป็นแพทย์ ผมเป็นคนเชียงใหม่ ปกติแล้วเด็กที่เรียนดีของจังหวัด ก็จะมีทางเลือกไม่กี่อย่าง หนึ่งคือแพทย์ สองคือวิศวะ สามคือสถาปัตย์ ตอนนั้นทั้งผมและคุณพ่อคุณแม่ก็ช่วยกันดู พิจารณาแล้วว่าถ้าเรียนวิศวะก็ต้องเข้ากรุงเทพมาที่จุฬาฯ หรือเกษตรศาสตร์ แต่ถ้าเป็น แพทย์ ทีเ่ ชียงใหม่มมี หาวิทยาลัยอยูแ่ ล้วตอนนัน้ ผมไม่อยากไปกรุงเทพฯ ด้วย เพราะติดเพือ่ น ติดเล่นดนตรี ซึ่งถ้าพ่อแม่ปล่อยลงมาเรียนกรุงเทพฯ วิถีชีวิตผมคงจะเปลี่ยนไป แต่ถ้าเรียน ที่เชียงใหม่ ก็ยังมีคนคอยควบคุมดูแล นอกจากนี้อาจจะเป็นอิทธิพลจากอาจารย์แพทย์ที่ เชียงใหม่ด้วย เท่าที่ผมเห็นในตอนนั้น อาชีพแพทย์เป็นอาชีพที่มีเกียรติ มีคนยกย่อง สถานภาพทางสังคมค่อนข้างจะดี หลังจบแพทย์ผมเลือกเรียนสาขาศัลยศาสตร์ ที่เลือก สาขานี้เพราะว่าช่วงนั้นอาจารย์ที่เรียนจบจากอเมริกาและอังกฤษ กลับมาที่เชียงใหม่มาก เป็นประวัติการณ์ และพอเราได้เห็นท่านเป็นแบบอย่างที่ดี อยากเก่งเหมือนอาจารย์ หลัง จากจบแพทย์ ก็มาเป็นอาจารย์อยู่ที่คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตอนมาก็ได้ ทุนไปเรียนต่อที่อเมริกา เมืองเดนเวอร์ รัฐโคโลราโด ผมได้ไปเจอผู้ที่มีชื่อเสียงระดับโลก อยู่ 2 ท่าน ท่านแรกคือ ศาสตราจารย์ โทมาส อี สตาร์ซเซิลล์ (Thomas E Starzl) เป็น ศัลยแพทย์ทผี่ า่ ตัดเปลีย่ นตับคนแรกของโลก เป็นคนทีฉ่ ลาด บ้างานและเข้าถึงยาก ตอนนัน้ ท่านมีปญ ั หา กำ�ลังจะย้ายทีท่ ำ�งาน ส่วนอีกท่านหนึง่ คือ ศาสตราจารย์ โรเบิรต์ บี รัทเธอร์ฟอร์ด (Robert B Rutherford) สาขาผ่าตัดหลอดเลือด ท่านเป็นคนที่เป็นกันเองมาก เข้าถึงง่าย สอนและถ่ายทอดให้เหมือนสอนลูกหลาน ผมประทับใจมากจึงเลือกเรียนทางด้านผ่าตัด หลอดเลือด

แนะนำ�การเลือกสาขาเรียนแพทย์

อาชีพแพทย์ที่อยากให้รุ่นน้องทราบ... การเรียนแพทย์ เป็นการเรียนที่หนัก ต้องทุ่มเท และ ใช้เวลานาน อาชีพแพทย์สามารถทำ�คุณประโยชน์ให้กบั สังคมได้เป็นอย่างมาก การช่วยเหลือเพือ่ นมนุษย์ให้พน้ จาก ความเจ็บป่วยหรือการเสียชีวติ เป็นความสุขทีป่ ระเมินค่าไม่ ได้ แพทย์เป็นวิชาชีพทีม่ โี อกาสได้สร้างบุญกุศลอยูเ่ สมอ ตาม หลัก พรหมวิหาร 4 คือ เมตตา (ปรารถนาให้คนไข้มีความ สุข) กรุณา (ปรารถนาให้คนไข้พ้นทุกข์) มุฑิตา (ยินดีเมื่อ คนไข้หายป่วย) และ อุเบกขา (ทำ�ใจ เมื่อช่วยอย่างสุดฝีมือ แล้ว) ทีส่ ำ�คัญคือ “การได้มโี อกาสทำ�อะไรคืนให้สงั คม นัน่

คือที่สุดของชีวิต”

หลักสูตรการเรียนแพทย์ใช้เวลา 6 ปี ฝึกงาน และใช้ทุนอีก 1-3 ปี เรียนต่อเป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ สาขาอีก 4-6 ปี ใช้เวลาค่อนข้างนานในการเป็น ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะสาขา ควรเลือกเรียนสาขาหลังเรียน จบหลักสูตรแพทย์ 6 ปี สามารถได้ปฏิบัติงานครบ ทุกสาขา และพิจารณาดูแล้วว่าตัวเองเหมาะกับสาขา ไหน ให้มีใจรักในสิ่งที่ท�ำ ท�ำในสิ่งที่เราชอบ อย่าไป คิดมากเรือ่ งรายได้ เรือ่ งเงิน เพราะถ้าหากเราไปคิดถึง เงิน เรื่องตัวเลขมากเกินไป ชีวิตเราคงไม่มีความสุข ถึงแม้ว่าอาชีพแพทย์จะต้องท�ำงานหนัก ต้องอยู่เวร รายได้และผลตอบแทนที่ได้รับ ก็สมเหตุ สมผล อาชีพแพทย์อาจจะไม่ร�่ำรวยอย่างนักธุรกิจ ใหญ่ แต่ก็ไม่ยากจน แถมยังเป็นอาชีพที่มีเกียรติ มีคน 18

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.

ยกย่อง สถานภาพทางสังคมค่อนข้างดี แพทย์รุ่น ใหม่ ๆ ต้องเอาใจใส่ ดูแลคนไข้ให้ดี มีความซื่อสัตย์ ต่อตัวเองและผู้อื่น ในแง่ของผู้ที่เข้ามาเรียนแพทย์ ปัจจุบันความสัมพันธ์ของแพทย์กับผู้ป่วยเปลี่ยน ไป ผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยเกิดการระแวงไม่ศรัทธา การรักษาของแพทย์ มีความคาดหวังสูง รักษาผิด พลาดไม่ได้ ท�ำให้ ปัจจุบันมีคดีฟ้องร้องแพทย์จาก การรักษาที่ผิดพลาดและไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง


Case ผูป้ ว่ ยทีป่ ระทับใจทีส่ ดุ ในชีวติ การเป็นแพทย์

สิ่งที่ได้รับจาก P.R.C.

ในวันส่งท้ายปีเก่าก่อนฉลองปีใหม่ เราจัดงานเลี้ยงสังสรรค์ของแพทย์ ในหน่วย ตอนหัวค�ำ่ มีรายงานมาว่ามีผปู้ ว่ ยฉุกเฉินหลอดเลือดโป่งพองในช่องท้อง แตกมา ต้องผ่าตัดฉุกเฉิน ทีมผ่าตัดทีห่ นึง่ ออกไปรับมือ ครึง่ ชัว่ โมงต่อมามีรายงาน จากทีมผ่าตัดทีว่ า่ ผูป้ ว่ ยช็อกเสียเลือดมาก ผ่าตัดเข้าไปแล้วยังควบคุมเลือดทีไ่ หล ออกมาจากหลอดเลือดโป่งพองในช่องท้องที่แตกไม่ได้ เราเลยต้องเลิกงานเลี้ยง และไปช่วยกันผ่าตัด ผู้ป่วยรายนี้ผ่าตัดยากมาก กว่าจะเย็บซ่อมหลอดเลือดที่ แตกทะลุได้ส�ำเร็จ เมื่อ ผู้ป่วยรอดชีวิต และอาการดีขึ้น ก็เลยเวลาเที่ยงคืนที่จะ ต้อง count down กันเสียแล้ว ทีมแพทย์และพยาบาลดีใจกันมากที่ผู้ป่วยรอด ชีวิต ก็เลยฉลองปีใหม่กันที่ในห้องผ่าตัดนั่นแหละ ก่อนอื่น...ขอดูชื่อผู้ป่วยที่รอด ชีวิตรายนี้ว่าชื่ออะไร? ดูชื่อและนามสกุลแล้วคุ้นมาก... อ้อ!... ชื่อ นายช�ำนาญ เพื่อนเก่าสมัยเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนปรินส์ฯ ไม่เจอกันตั้งแต่เรียน จบ 20 กว่าปี เช้าวันปีใหม่หลังฟื้นจากการผ่าตัด ผู้ป่วย นาย ช�ำนาญ ..งงมาก!! ที่มาเจอ นายก�ำพลในโรงพยาบาลและเป็นหัวหน้าทีมผ่าตัดรักษาเสียด้วย

โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย ในช่วงที่ผมเป็นนักเรียน คุณครูของ พวกเราสมัยนัน้ มีทงั้ ชาวไทย และชาวต่างชาติ เป็นแบบอย่างทีด่ มี ากมาย การอบรม บ่มนิสัยตอนเช้า วันละสิบห้านาทีเป็นสิ่งที่พวกเราไม่เคยลืม ท�ำให้เรามีจริยธรรม มีระเบียบวินัย รักสังคม รักสิ่งแวดล้อม และเสียสละเพื่อส่วนรวม ครู อาจารย์ที่ ขึน้ เทศนาเป็นนักพูดชัน้ เยีย่ มทีเ่ ป็นแบบอย่างการพูดให้กบั นักเรียน เพลงทีร่ อ้ งทุก เช้าก็เป็นภาษาที่สละสลวย พี.อาร์.ซี.สอนและปลูกฝังในเรื่องของการท�ำงานเพื่อสังคมและส่วนรวม ความเป็นสุภาพชน ความมีนำ�้ ใจและเอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่ซงึ่ กันและกัน นักเรียนในรุน่ ผม มีตงั้ แต่เชือ้ พระวงศ์ ลูกแม่คา้ ในตลาด ลูกภารโรง ทุกคนเป็นเพือ่ นรูจ้ กั กันหมดและ คบหากันจนถึงปัจจุบัน การได้เรียนร่วมกับเพื่อนที่มาจากสังคมหลายระดับท�ำให้ เราเข้าใจสังคมความเป็นประชาธิปไตย กล้าแสดงออกตัง้ แต่เป็นนักเรียน ก่อนก้าว ไปสูโ่ ลกภายนอก จะเห็นว่ามีนกั เรียนเก่าหลายท่านเป็นผูน้ �ำและท�ำงานเสียสละให้ สังคมอย่างไม่เหน็ดเหนื่อย

วิธีช่วยเด็กๆ ที่มักจะพูดว่า

“อยากเป็นหมอ แต่กลัวเลือด” ค�ำพูดที่ว่า “อยากเป็นหมอแต่กลัวเลือดหรือกลัวผี” เป็นค�ำพูดที่ ได้ยนิ กันบ่อย สัง่ สมกันมานานและน�ำมาสร้างเงือ่ นไขให้ตวั เอง สมัยเป็นนักเรียน มัธยมศึกษาตอนปลายที่ปรินส์ฯ ทางโรงเรียนและโรงพยาบาลแมคคอร์มิค มี โครงการจัดให้นกั เรียนทีส่ นใจอยากจะเป็นแพทย์ไปศึกษาดูการท�ำงานของแพทย์ ที่โรงพยาบาลแมคคอร์มิค โดย นพ. จอห์น กุยเยอร์ (John Guyer) สามีของ อาจารย์ เบทซี่ กุยเยอร์ (Betsy Guyer ) ผู้ควบคุมวงโยธวาทิต ผมได้เห็นการ ผ่าตัด เห็นเลือด ตอนนัน้ ไม่ชอบจนเกือบจะน�ำมาเป็นเงือ่ นไขในการไม่เลือกเรียน แพทย์ แต่พอมาเรียนเข้าจริง ๆ ก็เกิดความเคยชินเห็นเป็นเรื่องปกติ และยังมา ปฏิบัติงานในสาขาที่เกี่ยวกับเลือดโดยตรงด้วย ผีที่หลอกกันนักหนาตั้งแต่เรียน มาจนจบตั้งหลายปี ก็ยังไม่เคยเจอหรือถูกหลอก เจอแต่ถูกคนเป็น ๆ นี่แหละ หลอกบ่อย

19

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


Story from senior By Aj. Wanruemon Kittipaphatson

Medical career information that juniors should know

The Spark to become a doctor I am from Chiang Mai. Typically, students with outstanding academic performance in the province don’t have too many options. Their first option is medicine, the second is engineering and the third is architecture. At that time my parents and I looked up and considered the choices. If I chose engineering, I’d have to move to Bangkok and probably go to Chulalongkorn University or Kasetsart University. But if I chose to be a doctor I could stay in Chiang Mai and go to Chiang Mai University. I didn’t want to go to Bangkok because I was attached to my friends and playing music. Even if my parents allowed me or let me move to Bangkok, I’m certain that my lifestyle would have changed, but if I remained in Chiang Mai I’d still have people watching over me and taking care of me. Aside from this, maybe there was an influence from the doctors and professors in Chiang Mai. All I thought was that this occupation is an honorable occupation that earns a lot of respect and has good status in society. After I finished studying medicine I decided to specialize in surgical operations. The reason I chose this branch is because of some doctors who came back to Chiang Mai after having graduated from the United Kingdom and the United States. I looked up to them as my role models and I wanted to be as good as they are. So after I graduated from the Faculty of Medicine in Chiang Mai University, I went on a scholarship to Denver, Colorado in the US. While I was there I met two well-known people. The first one was Professor Thomas E. Starzl. He is the first surgeon to take part in a liver transplant operation. He is a clever and reserved man who is very hardworking. And the other was Professor Robert B. Rutherford from the blood vessels operation branch of medicine. He is a friendly person who taught well and passed down all his knowledge and experience to the students. I was very impressed. As a result, I chose to specialize in blood vessel surgery.

Studying medicine is tough work. It is a career in which you will need to give it your all and dedicate your time to it. Careers in medicine are a huge benefit to society. Helping other people recover from illness or avoid death is a happiness so great it cannot be evaluated. Being a doctor is a career in which you will always get a chance to make merit. According to Four Sublime States Of Mind, Love-Kindness (wanting the patient to be happy) Compassion (wanting the patient to free from suffering) Sympathetic Joy (being delighted when the patient gets well) and Equanimity (resting when you did your best to save the patient) are all present. The most important thing is the opportunity to benefit society, which is the highest aim of life.

Guide to choosing the medical field It took six years to get my medical degree, one to three years to apprentice and pay the Education Department, and four to six years to be a specialist. It took a lot of time to become a medical specialist, so it is suggested that you choose your field after six years in a standard medical course. You can enter any field when you are an apprentice, but after that, consider which field suits you most. Remember to love what you do and do what you really love. Do not worry too much about the money or earnings. When we think too much about those numbers and things, the outcome won’t be true happiness in life. Although one must work very hard in a medical career and be on duty at odd hours, the income and compensation are reasonable. A medical professional might not be as rich as a CEO or businessman, but we are not poor either. It is a career that people honour and look up to, so we have a good place in society. The coming generations of doctors should take very good care of their patients and be dutiful to others and themselves. From my point of view, the present relationship between doctor and patient is changing. Patient and their relatives are getting more concerned and distrustful toward doctors’ abilities. They have high expectations and doctor are expected to never make mistakes, so now there are many cases going to court because patients are suing doctors. 20

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


Translated by Phurin Pattanatanang , Fasai Thammasorn, Worawaran Chaiwipassatorn Thawanrat Phadsan, Chanasphorn Karnchanaphitak, Juthamart Vacher (11th grade)

My most impressive patient case as a doctor

On New Year’s Eve before we celebrated the New Year, we had a party with the doctors in our section. There was a report in the evening that there was an emergency patient who had a ruptured aortic aneurysm and needed an emergency operation. So, the first operation team went there,

but after thirty minutes, they reported that the patient was in shock because of high blood loss. The operation could not control the bleeding from the ruptured aneurysm. Therefore, we quit the party and helped each other perform the operation. This was a really hard case to operate and hard to repair the broken vessel. When the patient survived and fared better, it was after twelve o’clock, so we never got to count down to the New Year. The doctors and nurses were so happy that the patient survived, so we celebrated and continued the New Year party in the hospital. But first, I wanted to know the survivor’s name and the name was very familiar. Oh! It was Chamnan, my old friend from when I was in elementary school at P.R.C.. I hadn’t seen him for 20 years since I graduated. In the morning of New Year after he recovered, Chamnan was very confused to see Mr. Kampol in a hospital where he was the chief of the operation team.

How to help juniors who want to be doctors but are afraid of blood

Priceless gifts from P.R.C.

The idea that someone wants to be a doctor but is afraid of ghosts and blood is an idea that has lasted through the ages. The truth is, you accumulate the fear and create the condition for yourself. When I was in high school at The Prince Royal’s College, the school and McCormick Hospital had a project for students who were interested in being a doctor. Students could visit and watch the way doctors worked in the hospital. Dr. John Guyer (Betsy Guyer’s husband, who also conducted the marching band) oversaw this project. I watched an operation. I saw blood. At that time I didn’t like it and I nearly created a condition of fear in myself so that I would not want to study in the Faculty of Medicine. I never saw a ghost nor was I haunted. But when I really studied blood I became familiar with it. I decided to work on tasks that directly related to blood. Then it was just a usual thing for me. 21

When I was a student at The Prince Royal’s College, there were both Thai and Foreign teachers at the time. They were good role models for us P.R.C. students. The fifteen-minute morning assembly was unforgettable because it made us learned to live ethically, have self-discipline, love our society and environment, and sacrifice. Teachers who gave sermons were our great preachers and the role models. And every song we sang in every morning was written in beautiful language. P.R.C. taught us about taking one for the team, being well-behaved, and being giving and caring. When I was studying, students came from different families: both royal and ordinary families, and we have all been friends ever since. Studying with different social hierarchies makes us understand democracy and feel confident before entering the real world outside of school, where it can be seen that many of our P.R.C. alumni are the leaders who work hard and sacrifice for others.

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


#P.R.C. Premium Zone

BEFORE AFTER

โครงการระยะ 3 ปี ทีโ่ รงเรียนปรินส์รอยแยลส์วทิ ยาลัย มุง่ พัฒนาการจัดการเรียนการสอน ไม่วา่ จะเป็นห้องเรียน สือ่ อุปกรณ์ ห้องประกอบ แหล่งเรียนรูแ้ ละสภาพแวดล้อม ที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของนักเรียน รวมถึงคุณภาพของครูผู้สอนและบุคลากรทุกฝ่ายในโรงเรียนเพื่อให้เกิดคุณภาพอย่างสูงสุด 22 Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


BBL at P.R.C. โดย : อ.พันธ์ศกั ดิ์ ตัง้ ใจดี

“เปลี่ยนอารมณ์ เปลี่ยนชีวิต”

โลกในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จนบางครั้งเราก็ตามไม่ทันกับการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น สร้างความกังวล ความเครียดว่าเราจะเป็นคนยุคโบราณที่ไม่ทันกับการ เปลี่ยนแปลงทำ�ให้เราต้องเร่งรีบกับการดำ�เนินชีวิตประจำ�วัน ซึ่งความเครียด การวิตกกังวล เหล่านี้ส่งผลต่ออารมณ์ของคนเราอย่างคาดไม่ถึง วันนี้เราลองมาเรียนรู้สิ่งที่จะช่วยให้อารมณ์ ของเราเปลี่ยนแปลงซัก 2–3 ประการ ก่อนอื่นขอท้าวความไปถึงสารเคมีในสมองที่ส่งผลต่ออารมณ์ เช่น โดปามีน อะดรีนา ลีน ซีโรโทนิน (สารแห่งความสุข) คอร์ติซอล (สารแห่งความเครียด) ซึ่งสารเหล่านี้จะมีผลต่อ การเปลีย่ นแปลงอารมณ์ของคนเรา ทีนเี้ ราลองมาดูวา่ สิง่ ทีช่ ว่ ยให้เราเปลีย่ นแปลงอารมณ์มอี ะไร กันบ้าง ประการที่ 1 การนอนหลับ ในกรณีของเด็กๆ ในวันเรียนควรจะมีเวลาในการนอนหลับ 9 ชั่วโมง 15 นาทีต่อคืน สำ�หรับผู้ใหญ่ก็ควรประมาณ 8 ชั่วโมง การนอนน้อยไม่เพียงพอจะส่งผลต่อสารซิโรโทนินใน สมองลดลงทำ�ให้เสี่ยงต่อความเครียด กระวนกระวาย หงุดหงิดง่าย นอกจากนี้การนอนหลับที่ ใช้เวลาน้อยจะส่งผลทำ�ให้สมองรวบรวมข้อมูลไปเก็บไว้ในความจำ�ระยะยาว (Long Term Memory) ได้นอ้ ยตามไปด้วย จะสังเกตว่านักเรียนทีอ่ า่ นหนังสือเตรียมตัวสอบจนถึง ตี 1 – ตี 2 จะจำ�ในสิ่งที่อ่านไม่ได้ ไม่เข้าใจ หรือจำ�ได้เข้าใจในระยะสั้นๆ เท่านั้น 23

ประการที่ 2 แสงสว่าง เราวัดความเข้มของแสงมีหน่วยเป็น “ลักซ์” และแสงตามธรรมชาติจะมี ความเข้ม 2000 ลักซ์ ในช่วงที่ฟ้ามีเมฆมาก ในวันที่แดดจัดความเข้มของแสงจะ สูงถึง 100,000 ลักซ์ การอยู่ในร่มที่มีความเข้มของแสดงเพียง 100 ลักซ์ จะส่ง ผลต่ออารมณ์ทำ�ให้รสู้ กึ หงุดหงิด ขีร้ ำ�คาญ ไม่สดชืน่ สดใส แต่แสงสว่างในช่วงกลาง วันกลับทำ�ให้อารมณ์ดขี นึ้ การอ่านหนังสือหรือทำ�งานท่ามกลางแสงไฟจากหลอด นีออนจะทำ�ให้เพิม่ ระดับสารคอร์ตซิ อลในกระแสเลือด หากมีคอร์ตซิ อล มากๆ ส่ง ผลต่อการเรียนรูโ้ ดยเฉพาะในเรือ่ งของการสือ่ สารด้วยการพูด เนือ่ งจากคอร์ตซิ อล จะกดทับสมองส่วนทีผ่ ลิตภาษา นอกจากนีย้ งั ส่งผลต่อภูมคิ มุ้ กันของร่างกายลดลง ด้วย ครับวันนี้ขอพูดถึงสิ่งที่ช่วยให้เราเปลี่ยนแปลงอารมณ์ 2 ประการก่อนใน ฉบับหน้าผมจะนำ�เสนอในประการต่อๆ ไป หวังว่าเมื่อท่านอ่านแล้วจะมีแนวทาง ทำ�ให้อารมณ์ดีขึ้นบ้างนะครับ พบกันใหม่ในฉบับต่อไปครับ

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


BBL at P.R.C. By Aj. Punsak Tungjaidee

Change of emotions Change of life

Our world changes rapidly nowadays. It changes so fast that sometimes we are not able to keep up with the changes happening around us. And that builds stress and worries within us. It makes us think that we are going to be old-fashioned people who aren’t keeping up with the trend. This makes us rush all the things we do in living our daily life. We are mixed with anxiety, stress and worries. These emotions impact our mood unconsciously. Let us learn about a few things that can change our emotions. First of all there are a few chemical substances that influences our mood i.e. Dopamine, Adrenaline, Serotonin (chemical of happiness), Cortisol (chemical of anxiety). These chemicals take part in the change of emotions in our body. Now let’s see what other things can change our mood. • Sleep Kids should sleep for about 9 hours 15 minutes per night whereas adults should sleep approximately 8 hours. Not getting enough sleep causes Serotonin in the brain to lessen, leading to the risk of stress, nervousness and moodiness. Aside from this, not getting enough sleep can also harm the long-term memory part of the brain. We have seen that students who

stay up late studying for exams until 1:00 a.m. or 2:00 a.m. are not able to remember the contents of what they have stayed up late studying. Even if they can remember the contents, it is only a short-term memory. • Light The unit of light is “lux”. Natural light is usually 2000 lux when skies are cloudy but if it is sunny then it can be as high as 100,000 lux. Staying in shady areas with only 100 lux of light impacts on our mood making us moody, annoyed and unpleasant. However, light in the afternoon can put us in a good mood. Reading or working under neon light increases cortisol in the bloodstream. Increasing cortisol affects learning abilities especially communication, as it puts pressure on the language part of the brain. It also weakens the immune system of our body. These are two of the few things that influence our emotions. I will tell you more in the next issue. I hope after reading this our readers can benefit from it and will know how to be in a good mood. See you again in the nest issue. 24

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.

Translated by Juthamart Vacher ( 11th grade)


บทความพิเศษ-ถานจงกั๋ว โดย : อ.วรรณฤมล กิตติปภัสสร (王美佳)

ผู้เขียน : นายพิสิทธิ์ กิรติการกุล ป.ร. 9329 (Glory’69 / P.R.C.66’71) • ผู้ประกาศข่าวต่างประเทศ พิธีกรคดีเด็ด • ผู้ดำ�เนินรายการ คอข่าวรอบโลก • สถานีโทรทัศน์ ช่อง 7

ว่าในอดีตคนจีนบนผืนแผ่นดินใหญ่ มีแต่ความยากจนข้นแค้น คนจีนในเมืองไทยจ�ำนวนไม่นอ้ ยได้ ช่วยส่งเงินไปช่วยเหลือญาติพี่น้องหรือเชื้อสายเดียวกันที่ขัดสนเหล่านั้น แต่ปัจจุบันสถานการณ์ ก�ำลังตาลปัตร กลายเป็นเราที่มองไปจนทั่วแล้ว ก็เห็นแต่สาธารณรัฐประชาชนจีนเท่านั้นที่เป็น มหามิตรในยามนี้ ในยามที่ฝรั่งเขาไม่อยากจะคบหาสมาคมกับประเทศที่มีการยึดอ�ำนาจและจะ รอไปจนกว่าจะมีการเลือกตัง้ เราก็ได้จนี นีแ่ หละทีพ่ อจะหวังพึง่ ให้อนุ่ ใจ ไม่โดดเดีย่ วในเวทีโลก ใน ยามที่เศรษฐกิจฝืดเคืองรายได้ของไทยตกต�่ำ สินค้าส่งขายต่างประเทศได้น้อยลง เราก็ได้ตลาด จีนและนักท่องเทีย่ วชาวจีนนีแ่ หละทีม่ าช่วยชดเชยส่วนทีข่ าดหายไป เสียอยูน่ ดิ หนึง่ ตรงทีพ่ วกเรา บางคน มีความรู้สึกที่ไม่ค่อยดีต่อชาวจีน เห็นว่าเขามีวิถีชีวิตที่รับไม่ค่อยได้ เช่น พูดจาเสียงดัง โหวกเหวก ไม่รจู้ กั เกรงใจ อยากกินอยากนอนก็ไม่สนใจสายตาใคร เรือ่ งแบบนีท้ จี่ ริงบางทีเราก็เป็น โดยไม่รู้ตัว เอาเป็นว่ารู้สึกไม่พอใจก็พอ อย่าถึงกับรังเกียจชาวจีนเขาเลย

ครบรอบ ปี ความสัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีน (1975-2015)

ในขณะก�ำลังเขียนบทความนี้.... ก็ได้ข่าวแทบทุกวันว่าประชาชนใน ตะวันออกกลางและอัฟริกาเหนือจ�ำนวนมากได้พยายามจะขอไปลี้ภัยหรือขอ อาศัยอยู่ในประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรปแม้ว่าจะเสี่ยงต่อชีวิตก็ยอม บางประเทศยินดีตอ้ นรับเพราะต้องการแรงงานชดเชยประชากรทีม่ แี นว โน้มลดลง หรือเพื่อแสดงความเห็นใจต่อเพื่อนมนุษย์ที่หนีร้อนมาพึ่งเย็น แต่ หลายประเทศก็รบั ไม่ไหวเพราะไม่มเี งินเลีย้ งดูคนนับหมืน่ นับแสนเหล่านีไ้ ด้ ใน อดีตคนจีนก็เคยอยู่ในสภาพเช่นนี้ ต้องอพยพออกจากประเทศเพื่อหนีความ ยากจนอดอยากและได้ไปตัง้ รกรากในประเทศต่าง ๆ เกือบจะทัว่ โลก เวลาผ่าน ไปคนจีนที่ไปเริ่มต้นชีวิตใหม่ในต่างแดนจ�ำนวนไม่น้อย ได้กลายเป็นทรัพยากร บุคคลทีม่ คี ณ ุ ค่า สร้างความเจริญก้าวหน้าให้แก่ตนเองและต่อประเทศเหล่านัน้ ผู้น�ำของสหรัฐอเมริกาถึงกับเคยพูดไว้อย่างภาคภูมิใจว่า ประเทศของ เขามีความเจริญก้าวหน้าและยิง่ ใหญ่มาจนทุกวันนี้ ก็เป็นเพราะมีคนจากทัว่ โลก มาช่วยสร้างให้เขา ความเจริญก้าวหน้าของไทยก็คงเป็นเช่นเดียวกัน ถึงแม้แม้ จะเรียกโอกาสนีว้ า่ เป็น 40 ปีของความสัมพันธ์ทางการทูต แต่คนไทยกับคนจีน ทีจ่ ริงอยูร่ ว่ มกันมานับร้อยนับพันปีแล้วเพราะเราอยูบ่ นผืนดินทวีปเดียวกัน จีน ก็คงยินดีที่มีลูกหลานมังกรไปช่วยสร้างความเจริญให้แก่ชาติอื่น ไม่เช่นนั้นก็คง ได้ยินว่าจีนอยากจะดึงมันสมองกลับประเทศแล้ว เป็นที่ยอมรับกันทั่วโลกแล้วว่าสาธารณรัฐประชาชนจีนยุคนี้ เป็นชาติ มหัศจรรย์ที่ใช้เวลาเพียงแค่ 30 -40ปีเท่านั้นที่สามารถสร้างตัวจากประเทศ ยากจน ล้าหลัง ให้กลายเป็นประเทศที่พลเมืองพันล้านมีอันจะกิน มีโครงสร้าง สาธารณูปโภคที่ทันสมัยไม่ด้อยไปกว่า ญี่ปุ่น ยุโรปและอเมริกา จากอดีตที่เคย ถูกมองว่าอ่อนแอ จนจะกลายเป็นอภิมหาอ�ำนาจอีกประเทศหนึง่ อยูแ่ ล้ว จ�ำได้

40 ปีที่ผ่านมา ไทย-จีนมีการติดต่อแลกเปลี่ยนด้านต่าง ๆ ตามมามากมาย เมื่อก่อน... อยากจะได้ของกินของใช้จากเมืองจีน ต้องหาซื้อที่หาดใหญ่ แต่ปัจจุบันสินค้าจากเมืองจีนมีขาย ทั่วไป เมื่อก่อน...เคยพบว่าสินค้าจากเมืองจีน มักจะเป็นของปลอมเลียนแบบ คุณภาพไม่ดี เสีย ง่าย แต่ปจั จุบนั คิดว่าของพวกนีม้ นี อ้ ยลง ในทางตรงข้ามจีนก�ำลังมีสนิ ค้าคุณภาพมากขึน้ อยูท่ กี่ าร เลือกของผู้ซื้อด้วย ทางด้านกีฬา เมื่อก่อนนักกีฬาไทยที่สามารถชนะเลิศได้เหรียญโอลิมปิกมี ประเภทเดียวคือมวยสากล แต่หลังจากได้โค้ชยกน�้ำหนักจากเมืองจีนมาช่วยไม่กี่ปี นักยกน�้ำหนัก หญิงของไทยก็ทำ� เหรียญโอลิมปิกจะแซงหน้ามวยไปแล้ว ทีจ่ ริงเราเคยมีโค้ชฝรัง่ อังกฤษมาช่วยทีม ฟุตบอล เห็นจ้างกันอยู่หลายปี ก็ไม่เห็นได้เรื่อง อย่าว่าแต่ไปโอลิมปิกเลย เอเชี่ยนเกมส์ก็ยังไปไม่ ถึ ง ไหน เรื่ อ งการศึ ก ษา เมื่ อ ก่ อ นเรามั ก จะได้ ยิ น ชื่ อ ของสถาบั น ของฝรั่ ง เช่ น British Councilของอังกฤษ AUA หรือยูซสิ ของอเมริกา แต่ปจั จุบนั เราก�ำลังได้ยนิ สถาบันใหม่คอื สถาบัน ขงจื่อ (孔子学院The Confucius Institute ซึ่งด�ำเนินงานภายใต้การควบคุมของฮั่นปั้น (汉 办 HANBAN: Office of Chinese Language Council International) แห่ง สาธารณรัฐประชาชนจีนเข้ามาส่งเสริมภาษาและวัฒนธรรมจีนพร้อมให้ทุนการศึกษาแก่เยาวชน ไทยไปศึกษาต่อที่จีน อาจารย์บางคนบอกว่าสถาบันขงจื่อมาแรงกว่า เมื่อก่อนเคยมีคนเรียกลูกหลานไทย-จีนว่าลูกครึ่ง แต่ปัจจุบันคิดว่าไม่ได้ยินแล้ว กลาย เป็นไทยไปหมด ถ้าไปอยูจ่ นี ก็คงเป็นจีนหมด คงมีแต่ลกู ไทยกับฝรัง่ ทีย่ งั เรียกลูกครืง่ เพราะดูยงั ไง ๆ ก็ไม่เต็มใบไปทางใดทางหนึ่ง ไทยกับจีนจึงเป็นชาติพันธ์ที่กลมกลืนเป็นพวกเดียวกันได้ง่ายไม่ เคอะเขิน เพราะฉะนัน้ ก็หวังว่าความสัมพันธ์ไทยจีนทีม่ กี นั มาช้านานนับร้อยนับพันปี น่าจะสืบสาน การอยู่ร่วมกันและเจริญร่วมกันต่อไปอีกนานยิ่งกว่านั้น 25

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัยร่วมกับสถาบันขงจื่อ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ จัดกิจกรรมแข่งขันทักษะภาษาและวัฒนธรรมจีน ในหัวข้อ “ครบรอบ 40 ปีการทูตจีน-ไทย สานสายใยภูมิปัญญา 2 แผ่นดิน” วันจันทร์ที่ 10 สิงหาคม 2558 ณ อาคาร 100 ปี สถาบันแฮรีส โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ ร่วมฉลองความสัมพันธ์ทางการทูตจีน–ไทย ครบรอบปีที่ 40 การ ส่งเสริมการใช้ภาษาจีนสื่อสารให้หลากหลาย เน้นให้นักเรียนเห็นความสำ�คัญของ ภาษาจีน ฝีกการกล้าแสดงออกในการใช้ภาษาจีนสื่อสาร เข้าใจวิถีชีวิตและ ภูมิปัญญาของทั้ง 2 ประเทศ เพิ่มศักยภาพการเรียนการสอนภาษาจีนของครูและ นักเรียนในเขตจังหวัดเชียงใหม่และใกล้เคียง ในงานดังกล่าวได้รับเกียรติจากนางชิว เวย เวย รองกงสุลใหญ่แห่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ประจำ�จังหวัดเชียงใหม่และนายสุรยิ ะ ประสาทบัณฑิตย์ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธานในพิธี มีการบรรยายพิเศษโดยคุณพิสทิ ธิ์ กิ รติการกุล ผู้ประกาศข่าวและพิธีกร ช่อง 7 ซึ่งเป็นนักเรียนเก่าโรงเรียนปรินส์ฯ พิธี เปิดงานมีการแสดงเชิดสิงโตพร้อมจุดประทัดเปิดงาน การแสดงความสัมพันธ์ไทยจีนที่งดงาม การเปิดป้ายห้องเรียนภาษาจีน สถาบันขงจื่อ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีโรงเรียนเข้าร่วมทำ�กิจกรรมทั้งสิ้น 21 โรง จำ�นวนครูและนักเรียนประมาณ 700

คน มีประเภทการแข่งขันทีห่ ลากหลายอาทิเช่น การแข่งขันทดสอบวัดระดับภาษาจีน HSK ระดับ 1-3, การคัดเลือกชายหล่อหญิงสวยโดยใช้ภาษาจีนและวัฒนธรรมจีนถ่ายทอดเรื่องราววิถีชีวิต ไทย-จีน, การแข่งขันแสดงละครวิถชี วี ติ และภูมปิ ญ ั ญาไทย-จีน, การเขียนเรียงความภาษาจีน, การ ประกวดวาดภาพ, การประกวดคัดลายมือ, การประกวดเขียนพูก่ นั จีน, การแข่งขันกล่าวสุนทรพจน์ ภาษาจีน, การประกวดวาดหน้ากากงิว้ และลายไทย และการจัดสวนถาดจีน นอกนีบ้ ริเวณงานยัง มีซุ้มแสดงสาธิตและนิทรรศการภูมิปัญญาไทย-จีน ตลอดจนการจำ�หน่ายอาหารว่างไทย-จีน คุณพิสทิ ธิ ์ กิรติการกุล ผูบ้ รรยายเรือ่ งสานสายใยวิถชี วี ติ ของจีนและไทย กล่าวว่าในฐานะ ทีต่ นเป็นลูกจีนทีเ่ กิดในเมืองไทย เคยเรียนภาษาจีนสมัยเด็ก ซึง่ ไม่ได้มกี ารสอนมากมายแพร่หลาย เหมือนในสมัยนี้ ทำ�ให้รู้สึกว่าเด็กสมัยนี้โชคดีมากที่มีโอกาสเรียนภาษาจีนอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ ประถมจนถึงอุดมศึกษา ประสบการณ์ในการทำ�งานหลายๆ ครั้ง ที่ต้องใช้ภาษาจีนสื่อสาร แม้ กระทั่งเพื่อนร่วมรุ่นที่ต้องทำ�ธุรกิจกับชาวจีน ไม่ใช่ว่าจะเรียนแต่ภาษาจีน ยังต้องเรียนรู้ถึงเรื่อง ของประเทศจีน วัฒนธรรมจีน วิถชี วี ติ ของชาวจีน ทุกวันนีเ้ ราปฏิเสธจีนไม่ได้ นักท่องเทีย่ วมาบ้าน เราเยอะสุดก็คือชาวจีน มหาอำ�นาจของโลกในอนาคตก็คือจีน จึงอยากฝากให้เยาวชนรุ่นใหม่ ใฝ่เรียนรู้ภาษาจีนให้สื่อสารได้ เพื่ออนาคตในการทำ�งานของตนเอง จากการให้สัมภาษณ์ของอาจารย์เหยียน ยวี่ ผู้อำ�นวยการสถาบันขงจื่อ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ “รูส้ กึ มีความปลืม้ ปิตยิ นิ ดีทไี่ ด้จดั งานภาษาจีนทีย่ งิ่ ใหญ่แบบนี ้ สถาบันขงจือ่ ดำ�เนินงาน ภายใต้การควบคุมของสถาบันฮัน่ ปัน้ แห่งรัฐบาลจีน (HANBAN : Office of Chinese Language Council International) ที่พร้อมให้งบสนับสนุนในการเผยแพร่ – พัฒนาภาษาและวัฒนธรรม จีน เพือ่ ให้เยาวชนชาวไทยได้เรียนภาษาจีน ซึง่ เป็นภาษาทีม่ คี นใช้มากทีส่ ดุ ในโลก และเศรษฐกิจ จีนมีการเติบโตสูง เยาวชนรุ่นใหม่ต้องพูดภาษาจีนเป็น ทางสถาบันขงจื่อเป็นหน่วยงานหลักใน การจัดสอบวัดระดับภาษาจีน YCT และ HSK มีการจัดทัศนศึกษาประเทศจีนในคอร์สระยะสั้น และการเรียนหลักสูตรระดับปริญญาตรี – เอก โดยทุนรัฐบาลจีน การจัดกิจกรรมภาษาจีนที่ยิ่ง ใหญ่ในครัง้ นีไ้ ด้รบั ความร่วมมืออย่างดีจากสถาบันการศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ ครูและนักเรียน ได้แสดงศักยภาพการใช้ภาษาจีนอย่างเต็มที่ มีความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม ” 26

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


รับทุน

นางชิว เวย เวย รองกงสุลใหญ่แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน ประจำ�จังหวัดเชียงใหม่ มอบ ช่อดอกไม้แสดงความยินดีกบั นักเรียนโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วทิ ยาลัย ม.6รุน่ พิชญ์ ได้รบั ทุ น ฮั่ น ปั้ น ไปศึ ก ษาต่ อ ระดั บ ปริ ญ ญาตรี ณ มหาวิ ท ยาลั ย ชนชาติ จ งยาง กรุ ง ปั ก กิ่ ง สาธารณรัฐประชาชนจีน 4 คน คือ นายธราเทพ อินทะเทศ นางสาวสุพิชชา สุภา นางสาว ไปรชา ปวงจักรทา และนางสาวเพชรเกสร แก้วหน่อวรรณ์ และทุนปริญญาตรีในโครงการ แลกเปลี่ยนนักศึกษาไทย-จีน โดยความร่วมมือของ อบจ.เชียงใหม่ กับมหาวิทยาลัยเฉิงตู ไปศึกษา ณ มหาวิทยาลัยเฉิงตู คือนายกฤษฏ์ ศรีสขุ วัฒนานันท์ และนายณัฐสรณ์ ใหม่ชมภู

วันชาติจีนครบปีที่ 66

นายปัญญา สกุลปั้นทรัพย์ รองผู้อำ�นวยการฝ่ายนโยบายและแผน มอบกระเช้าผลไม้ แสดงความยินดีเนือ่ งในโอกาสฉลองวันชาติจนี ครบรอบ 66 ปี (สาธารณรัฐประชาชน จีนก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 1949) โดยมีนายเฉา เสี่ยว เหลียง กงสุลใหญ่แห่ง สาธารณรัฐประชาชนจีนประจำ�เชียงใหม่และภริยารับมอบ ประธานกล่าวเปิดงานฝ่าย จีนคือนายเฉา เสีย่ ว เหลียง ประธานฝ่ายไทยคือ นายชนะ แพ่งพิบลู ย์ รองผูว้ า่ ราชการ จังหวัดเชียงใหม่ การเลีย้ งส่งนางชิว เวย เวย รองกงสุลฯ ทีห่ มดวาระการปฏิบตั หิ น้าที่ และการแสดงมากมาย เมื่อวันศุกร์ที่ 25 กันยายน 2558 ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส

สถาบันขงจื่อครบปีที่ 11

ศาสตราจารย์นายแพทย์เกษม วัฒนชัย องคมนตรี เป็นประธานเปิดงานฉลองครบ รอบการก่อตัง้ สถาบันขงจือ่ ครบรอบปีท1ี่ 1 โดยมีนายเฉา เสี่ยว เหลียง กงสุลใหญ่แห่ง สาธารณรัฐประชาชนจีนประจำ�เชียงใหม่ และอาจารย์เหยียน ยวี่ ผูอ้ ำ�นวยการสถาบัน ขงจื่อ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ให้การต้อนรับ ภายในงานมีการแสดงเชิดสิงโต การแสดง ชุดความสัมพันธ์ไทย-จีนครบรอบ 40 ปี โดย นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียน ปรินส์รอยแยลส์วทิ ยาลัย การจัดนิทรรศการ ผลการดำ�เนิ น งานของสถาบั น ขงจื่ อ การ แสดงภาพวาด 40 ปีความสัมพันธ์ไทย-จีน และการแข่งขันทักษะภาษา-วัฒนธรรมจีน หลายรายการ เมื่อวันเสาร์ที่ 26 กันยายน 2558 ณ สถาบันภาษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ทุนขงจื่อ

นางสาวรวินันท์ ศิริเลิศ ม.4/9 และนางสาว พราวพลอย ชาลวรางกูร ม.5/8 ได้รับทุนของ สถาบันขงจือ่ จากการทดสอบวัดระดับภาษาจีน HSK ได้ รั บ การคั ด เลื อ กไปศึ ก ษาภาษาและ วัฒนธรรมจีนตลอดจนการทัศนศึกษาคอร์ส ระยะสัน้ ณ กรุงปักกิง่ สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 13 – 22 ตุลาคม 2558 27

ค่ายฤดูใบไม้ร่วง

นักเรียนระดับมัธยมศึกษาจำ�นวน 40 คน ครู 2 คนได้รบั งบอุดหนุนจากสมาคม ชาวจีนโพ้นทะเล สำ�นักงานใหญ่ประจำ�กรุงปักกิง่ 北京侨办 (Beijing Overseas Chinese Affairs Office of the State Council) เดินทางไปเรียนภาษาและวัฒนธรรม จีน ตลอดจนการทัศนศึกษาสถานที่ประวัติศาสตร์และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ณ Beijing Chinese Language and Culture College (北京华文学院) กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 8 – 23 ตุลาคม 2558

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


ระยิบดาว

อ.สายฝน ลี้รัตนาวลี

ครไู ด้ใช้ชวี ติ การเป็นครูมาหลายสถาบัน แต่ทน่ี เ่ี ป็นโรงเรียนทีท่ �ำ มานานทีส่ ดุ รวมทัง้ สิน้ 29 ปี ภูมใิ จและเป็นเกียรติ

อย่างยิง่ ที่ได้ท�ำ งานในโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วทิ ยาลัย สถาบันทีเ่ ก่าแก่ มีชอ่ื เสียง และมีประวัตศิ าสตร์อนั งดงาม กราบขอบพระคุณพ่อครูแฮรีส แม่ครูคอร์นีเลีย ผู้ซึ่งมีพระคุณอย่างยิ่งต่อโรงเรียนท่านได้เสียสละความสุขส่วน ตนมาซื้อที่ดินผืนนี้ให้แก่เรา P.R.C. จึงเป็นสถานศึกษาที่เกิดจากความรักและเสียสละ และได้สร้างคนรุ่นแล้วรุ่นเล่าที่มี คุณภาพสู่สังคมและประเทศชาติ ด้วยเหตุนี้ครูจึงภูมิใจที่ได้เป็นสมาชิกของรั้วน้ำ�เงินขาวแห่งนี้

จากวันนั้น ถึง วันนี้ ผ่านร้อน ผ่านหนาว มาถึง 4 แผ่นดิน

แผ่นดิน ดร.จำ�รูญ ไชยลังการณ์ แผ่นดิน อ.พงษ์ ตนานนท์ แผ่นดิน ดร.สิริลักษณ์ เฟื่องกาญจน์ แผ่นดิน ดร.สิรินันท์ ศรีวีระสกุล

ครูทำ�งานด้วยความมุง่ มัน่ ด้วยความรักศรัทธาและโดยเจตนาความซือ่ สัตย์ ในวิชาชีพ โดยยึดประโยชน์สูงสุดคือ ตัวนักเรียนเป็นสำ�คัญ ตลอดระยะเวลา 29 ปี โรงเรียนให้เกียรติครูรับผิดชอบงานต่อไปนี้ ปี 2529 สอนภาษาอังกฤษระดับม.ปลาย ปี 2530 – 2537 หัวหน้ากลุ่มสาระฯภาษาอังกฤษ ปี 2537 – 2544 หัวหน้ากลุ่มสาระฯ ภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษา ปี 2545 – 2548 หัวหน้างานวิชาการระดับมัธยมปลาย ปี 2549 ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการระดับมัธยมศึกษา ปี 2550 – 2556 หัวหน้างานหลักสูตร-การเรียนการสอนและ FEP ปี 2557 ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการฝ่ายหลักสูตรและ FEP ปี 2558 • ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการฝ่ายหลักสูตรและภาษาต่างประเทศ • ประสานงานโครงการ IEP และ FEP

ครูใหญ่ผู้เปรียบเหมือนพ่อพระกลางใจครู ครูใหญ่ผู้ยึดมั่นในผลดีที่จะเกิดกับนักเรียนเป็นสำ�คัญ ครูใหญ่ที่เปรียบเสมือนแม่ทัพที่กล้าแกร่งนำ�โรงเรียนไปสู่ความสำ�เร็จ ครูใหญ่ผู้มีวิสัยทัศน์ และนำ�พา P.R.C. มุ่งสู่อนาคตก้าวไกลสู่สากล ตลอดระยะเวลาในช่วง 4 แผ่นดิน

ผลงานที่ภาคภูมิใจ

นำ�ศูนย์ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (English Language Training Center) มาพัฒนาครูภาษาอังกฤษ P.R.C. และครูในจังหวัดเชียงใหม่ ศูนย์ดังกล่าวได้รับ การสนับสนุนจากสหพันธ์ครูแคนาดา (Canadian Teachers’ Federation) ประสานงานภาษาอังกฤษทั้งโรงเรียน จัดงานสัปดาห์ภาษาต่างประเทศ (English Week) ส่งเสริมการแข่งขันทักษะภาษาอังกฤษ และจัดค่ายภาษาอังกฤษกับสถาบันการ ศึกษาต่างๆ นำ�ในการผลิตสื่อตำ�ราภาษาอังกฤษระดับ ป.1-6 ของโรงเรียน หัวหน้าโครงการหลักสูตรภาษาอังกฤษแบบเข้ม (Focused English Program :FEP) ชั้น ป.1-ม.3 โดยภาพรวมแล้วครูก็จะมีชีวิตคลุกคลีกับภาษาอังกฤษเป็นส่วนใหญ่ อยากจะฝากข้อคิดให้แก่นักเรียนที่อยากเก่งภาษาอังกฤษไว้ว่า Be confident to speak English เชื่อมั่นในการพูดภาษาอังกฤษ Watch the English movies and listen to English songs ดูภาพยนตร์และ ร้องเพลงภาษาอังกฤษ Read, read and read อ่าน อ่าน และก็อ่านให้มาก Practice, practice and practice ฝึกฝน ฝึกฝน และก็ฝึกฝน

ส่วนครู P.R.C. รุ่นน้องก็ขอฝากข้อคิดไว้ว่าขอให้ดู และทำ�ตาม ครูรุ่นก่อนที่มี แบบอย่างการทำ�งานที่ดี เพื่อสร้างเด็ก และเยาวชนที่ดีสู่สังคม และทำ�ให้ท่านภูมิใจในอาชีพของการเป็นครูของท่าน สัมภาษณ์ น.ส.ทอฝัน กันทะมูล ม.4/2, น.ส.นภัสภรณ์ ยาวิละ ม.4/2, น.ส.ญาณิศา สุองั คะ ม.5/2, น.ส.พิชามญชุ์ บัวขาว ม.5/2 28 Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


Shining Star

Aj. Saifon Leerattanawalee

I

have lived my life as a teacher for many schools, but I have spent the most time at The Prince Royal’s College. It’s been an honor working at The Prince Royal’s College. This school has a great history and a wonderful reputation. Thank you Rev. Dr. William Harris and Mrs. Cornelia McGilvary Harris, who had sacrificed their happiness to come to Thailand, buy the land, and build a school in Chiang Mai. With your perseverance and dedication, P.R.C. is now known as a famous college filled with love and unity. We have made many generations great From my first day until now, I have worked with four of P.R.C.’s citizens and taught them to love others. As a result of these accomplishments and school principals. dedication, I am proud to be a part of P.R.C. - Dr. Chamroon Chailangkarn, a great, kind-hearted headmaster My significant achievements who is always generous to other teachers. - Leading the English Language Training Center, which has been supported - Aj. Pong Tananone, a headmaster who always thinks about by the Canadian Teachers’ Federation. The center’s goal is to improve English students’ best interests before anything else. teachers’ skills, whether they are from P.R.C. or other schools in Chiang Mai. - Dr. Sirilak Fuangkarn, a headmistress who was a daring leader who - Coordinating many English programs such as arranging English week, took P.R.C. to new heights as a successful school. encouraging students to participate in English competitions, and organizing English - Dr. Sirinan Sriweraskul, a headmistress with a great vision who camps with other Institutes. will lead P.R.C. to be a world-class school. - Being the head of the elementary English book publishing. - Being the head of the Focused English Program (FEP). Devoting myself to teaching for 29 years at P.R.C., I have always cared about students and how they can benefit in studying English. As you can see, I have used English for my entire life; therefore, My duties I want to give some advice to those who want to be good at In 1986, I started my first year during which I taught in the high English. school section. - Always be confident when you speak English. 1987-1994, I was the head of the English language department. - Watch English movies and listen to English songs. 1994-2001, I was the head of the English language department for - Read, read and read. the secondary school section. - Practice, practice and practice. 2002-2005, I was the head of the academic section for high school. In 2006, I was the assistant director of the secondary school section. Last but not least, to all young P.R.C. teachers, please follow 2007-2013, I was the head of the school curriculum and instruction how senior teachers act and work in a good way. Be a great model and the head of the Focused English Program (FEP). for our students, our future. Teach them to be good citizens and In 2014, I was the assistant director of the school curriculum and to succeed in their lives. All these things will make you proud to instruction and the assistant director of the Focused English Program (FEP). work as a teacher and even more so as a P.R.C. teacher. In 2015, I was the assistant director of the school curriculum and Translated by instruction and the assistant director of the foreign language department. Phurich Pooriwarangkakul in 2015, I helped lead IEP and FEP Program ( 11th grade) 29 Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


ระยิบดาว

อ.ศุภวรรณ์ ศรีบุรี

ความรัก ความผูกพัน ที่เรามีต่อกัน คือ กำ�ลังใจการทำ�งาน ความรัก ความผูกพัน

ตลอดระยะเวลา 34 ปี ในรั้วน�้ำเงินขาว ครูต้องขอบคุณพระเจ้าที่ เสริมสร้างชีวิตครูให้ด�ำรงชีวิตอย่างรู้ซึ้งถึงพระคุณขององค์พระผู้เป็นเจ้า ท�ำให้ครูท�ำงานเพื่อประโยชน์ส่วนรวม อุทิศท�ำงานเพื่อผู้อื่น ผลงานที่เกิดขึ้นเป็นความสำ�เร็จที่ครูได้พบจากการทำ�งานกับนักเรียน เพื่อนร่วมงาน โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ ทำ�ด้วยความรักและลงมือทำ�ด้วยใจ เสริมสร้างชีวิตนักเรียน ทำ�ให้กิจกรรมต่างๆ เกิดประโยชน์กับ P.R.C. มากขึ้น ทำ�งานกับนักเรียน ได้พบรอยยิ้ม เสียงหัวเราะ ทำ�งานกับเพือ่ นร่วมงาน ได้รบั ความปรารถนาดีตอ่ กัน ความเอือ้ อาทร ความเข้าใจกัน ทำ�ให้เราได้ทำ�งานในหน้าที่ ทุ่มเท จนประสบผลสำ�เร็จ ภาพความสุขเหล่านี้ถือเป็นความรัก ความผูกพัน ที่ทุกคนมีต่อกันในครอบครัว P.R.C. ของเรา

ความประทับใจ

ครูทำ�งานมา 4 สมัย แต่ละยุคสมัยก็มีจุดเด่น จุดพัฒนาอย่างต่อเนื่องกันไป สิ่งที่ประทับใจเหมือนกันทุกสมัยคือ การให้ “ข้อคิด” เช่น ความเชื่อศรัทธา อุดมคติ ความนึกคิด แผนงาน ความรัก ความเมตตา กำ�ลังใจ คำ�ชี้แนะ ความ สนุกนาน ความเข้าใจ ความเห็นอกเห็นใจ ความอดทน วินัย ฯลฯ “ข้อคิด” ต่างๆ เหล่านี้คือกุญแจไขประตูสู่ความสำ�เร็จ ในการทำ�งานตั้งแต่เริ่มต้น จนเกษียณอายุงาน ครูถอื ว่า “ข้อคิด” เป็นของขวัญทีแ่ ท้จริงและเป็นสมบัตติ ดิ ตัวจนทุกวันนี้ เป็นความประทับใจทีส่ ดุ ทีส่ มั ผัสได้ใน P.R.C.

รำ�ไทย วัฒนธรรมไทยที่ต้องมีในใจลูกน้ำ�เงินขาว

สัมภาษณ์ น.ส. ทอฝัน กันทะมูล ม.4/2 น.ส. นภัสสรณ์ ยาวิละ ม.4/2 น.ส. ญาณิศา สุองั คะ ม.5/2 น.ส. พิชามณขุ์ บัวขาว ม.5/2

ท่ามกลางกระเเสวัฒนธรรมต่างชาติทห่ี ลัง่ ไหลเข้ามาผ่านสือ่ ต่างๆ ทีเ่ ข้าถึงง่ายด้วยเทคโนโลยีทท่ี นั สมัย แต่ครูกย็ งั มุง่ มัน่ ทีจ่ ะถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมไทยให้กบั นักเรียน ซึง่ ก็ดใี จทีท่ ง้ั นักเรียน และผูป้ กครอง ทีย่ งั ให้ความสนใจ ความสำ�คัญกับ วัฒนธรรมไทย ส่งเสริมให้บตุ รหลาน มีใจรักศิลปวัฒนธรรมไทย ซึง่ เป็นมรดกของชาติทค่ี วรค่าแก่การรักษาไว้ ครูอยากจะฝากถึงนักเรียนทุกคน ให้ชว่ ยกันอนุรกั ษ์และสืบทอดวัฒนธรรมอันดีงามด้วยความภาคภูมใิ จ นักเรียน P.R.C. จะต้องได้รบั การปลูกฝังทัง้ วิชาการและจริยธรรมควบคูเ่ สมอมา จงภูมใิ จความเป็นไทย รักษาอัตลักษณ์ของความ เป็นไทยไว้ด้วย

30

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


Shining Star

Aj. Supawan Sriburi Love, Relationship and Morale

Impression

Love and Relationship Throughout my 34 years at The Prince Royal’s College, I have had many occasions to thank God, who enriches my life and makes me appreciate the grace of the Lord. This has allowed me to dedicate myself to social work. I was able to be creative in my work with students and colleagues, and our efforts were successful. I tried to do everything with love, from the heart. Every activity was designed to strengthen students’ lives and benefit P.R.C. Working with students increases smiles and laughter. Working with colleagues creates good wishes for each other, generosity, and understanding. Working on one’s duty with dedication creates success. All these good memories of love and relationship with each other has created a beloved atmosphere here at P.R.C.

I have been working for four eras in P.R.C.’s history. Each period of time has planted seeds that continue to develop today. But in every period, there are certain “doctrines” or key themes. For example, one year it could be faith, another year sympathy, another year tolerance or discipline. All these doctrines have focused our efforts and have been the key to success from when I started working until I retire. Among the incoming flow of foreign culture through social media, students must hold fast to these doctrines and aspects of our culture. It is important to convey Thai arts and culture to the students. And I’m glad to see both students and parent still emphasize the importance of Thai culture, which is our national heritage that should be preserved. For students, I hope you all conserve and inherit our beautiful culture proudly. P.R.C. students have been taught both academics and ethics. Be proud of Thailand and maintain the Thai identity as well. Translated by Natthanicha Kaweera (11th grade)

31

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


ระยิบดาว

อ.สุรพล สิทธิธัญญ์ ความรัก ความผูกพัน กับ P.R.C. นักเรียน และเพื่อนร่วมงาน

24 ปี

ในรั้วน�้ำเงิน-ขาว เริ่มจากการเป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ใน ขณะเดียวกันก็ได้ช่วยงานด้านโสตทัศนูปกรณ์ของโรงเรียนไปด้วย เนื่องจากครูมีความสนใจและถนัดใน งานด้านแสง เสียงและดนตรี ต่อมาจึงได้รับมอบหมายให้ท�ำงานด้านโสตทัศนูปกรณ์และกิจกรรมต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในด้านนีเ้ ต็มเวลา รวมทัง้ งานด้านศาสนกิจด้วย ในฐานะทีเ่ ป็นครูคริสเตียน จากนัน้ ก็ได้ปฏิบตั ิ หน้าที่ด้านโสตทัศนูปกรณ์มาจนถึงทุกวันนี้ ครูคดิ ว่าการเป็นครูทโี่ รงเรียนของเรา ต่างจากโรงเรียนอืน่ ทีค่ รูเคยได้รว่ มงานมา ครูได้รบั สิง่ ทีเ่ รียกว่า ความผูกพันและความสุขในแบบของ P.R.C. ซึง่ คนทีไ่ ม่ได้อยูใ่ นรัว้ น�้ำเงิน-ขาว ยากทีจ่ ะสัมผัสได้ นักเรียน ทุกคนจะมีวถิ ชี วี ติ ทีผ่ กู พันกันมากกว่าทีอ่ นื่ ๆ ส�ำหรับเพือ่ นร่วมงานของครูทกุ คนต่างก็ทำ� งานกันหนักมาก แต่เมื่อเวลาผ่านไป ความคุ้นเคยและความช�ำนาญก็จะช่วยให้ท�ำงานได้คล่องและสบายขึ้น”

คติประจำ�ใจ

“ถ้าอยากจะให้อะไรเกิดขึ้น ต้องลงมือทำ�”

สุดท้ายนี้ครูอยากจะบอกว่า “มีวันนี้เพราะ P.R.C. ให้” สัมภาษณ์ น.ส. พรนภัส ขาวแสง ม.4/8, น.ส. พิชญ์สนิ ี บุญเจิม ม.4/9 น.ส. ภัคจีรา รัตนาธรรม ม.5/2, น.ส. วรณัน กรกมลบรรณ์ ม.6/5

32

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


Shining Star

Aj. Surapol Sitthitan Love and a deep connection with students and colleagues from The Prince Royal’s College… “During my 24 years

at P.R.C., I have played many roles. I started out teaching science, then I was chosen to take charge of stereo, music, and many activities including religious activities. I am a Christian and have had the opportunity to take part in something that truly matters to me. Finally, I became an audiovisual aids authority. I used to work at other schools, but teaching at P.R.C. is not like those other schools. I feel a deep connection and happiness here. These are special parts of P.R.C. People outside of our community cannot give this same sense of connection. P.R.C students live with more connection than other schools. Every colleague works hard according to the quote, “The harder we work the more nimbly we work.”

Motto “If you want something to happen. You must start doing it.”

“Last but not least, I want to say that I am grateful for today because P.R.C. has given me life.” 33

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.

Translated by Chabordee Kaewussadan (11th grade)


ระยิบดาว

อ.อรรณกุล อินทวงศ์ คติพจน์ตลอดการทำ�งาน ครูรักลูกศิษย์เหมือนรักลูกตนเอง สอนความรู้สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ยึดหลักรู้หน้าที่ตนเอง รู้ตัวเอง อยากให้ลูกศิษย์ประสบความสำ�เร็จ มีความก้าวหน้าในการดำ�เนินชีวิต

เด็กสมัยก่อนกับเด็กสมัยนี้ ตลอดเวลาที่ครูได้สอนเด็กๆ มา โดยเฉพาะเด็กๆ ชั้นประถมศึกษา ครูอรรณคิดว่าไม่ค่อยต่างกันเท่าไหร่นัก แต่เด็กสมัยนีจ้ ะมีการพัฒนาทีเ่ ร็วมากขึน้ หัวไว เพราะเกิดจากเทคโนโลยีใหม่ๆ ทีเ่ พิม่ เข้ามา ครูอรรณคิดว่าเทคโนโลยี ก็มีทั้งข้อดีและข้อเสีย และเราทุกคนควรนำ�ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองมากที่สุดค่ะ

ความประทับใจภายในโรงเรียน ครูสอนมาแล้วทั้งหมด 29 ปี ครูประทับใจในความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน บุคลากรภายในโรงเรียนมีความรัก และสามัคคีซึ่งกันและกัน ช่วยเหลือกัน โรงเรียนให้อิสระแก่ครูในการปกครองเด็กนักเรียน โดยส่งเสริมความสามารถ นักเรียน สังคมภายในโรงเรียนปรินส์รอยฯ แห่งนี้ เป็นสังคมที่มีความอบอุ่น ซึ่งครูอรรณประทับใจมากๆ ครูก็รู้สึก ใจหายทีห่ ลังจากเกษียณแล้วจะไม่ได้มาสอน จากชีวติ ทีไ่ ด้อยูก่ บั เด็กๆ ได้มาสอนหนังสือ คงจะเหงาน่าดูเหมือนกันค่ะ

สิ่งที่อยากบอก ครูขอขอบคุณสถาบันแห่งนี้ ที่ท�ำให้ครูได้รับประสบการณ์ดีๆ มากมายในชีวิตนี้ ครูอรรณจะจดจ�ำสิ่งดีๆ ที่ ได้ รับในรั้วน�้ำเงินขาวนี้ ตลอดไป สัมภาษณ์ นายกรภัทร์ คำ�เชื้อ ม.5/2 นางสาว วรรณพร บุญเรศ ม.5/9 34

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


Shining Star

Aj. Annakul Intawong My teaching philosophy I love my students like my own children. I teach them knowledge with morals and ethics. They have to know themselves and know what their duty is. I want all my students to be successful and make progress in life.

Students then and now Since I have been teaching students, especially in primary school, I don’t think there has been much of a difference between then and now. But students in this generation can develop and learn quickly because of technology. I think technology can be both an advantage and a disadvantage, so we should use it in the right ways.

My impression in this school I have taught here at The Prince Royal’s College for 29 years. My impression of this school is unity. Everybody in this school always loves and helps one another. Teachers are given freedom to manage their students and to support students’ abilities. P.R.C.’s society is a society with warmth and I am always impressed with that. I feel a little bit strange about retiring and not teaching anymore. Since I have been teaching for so long, it may be very lonely.

Things I want to say I’m thankful for this school for giving me a lot of experiences. Every good memory I got from P.R.C. will always be imprinted in my memory. Translated by Thawanrat Phadsan (11th grade)

35

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


ระยิบดาว

อ.สมภพ บรรเลงสวรรค์ ความผูกพันในปรินส์รอยฯ ความผูกพัน 35 ปี ของครูกบั ปรินส์รอยฯ บอกเลยว่าเป็นอะไรทีใ่ ห้ชวี ติ ปรินส์รอยฯ ผูกพัน ปรินส์รอยฯ ให้ชีวิตเรา ปรินส์รอยฯ สอนครูให้เป็นคน ให้เป็นปรินส์ฯ ที่นี่ไม่เหมือนที่อื่น ทุกคนที่ อยู่ที่นี่จะมีลักษณะนิสัยที่เป็น “ปรินส์ฯ” ซึ่งจะให้อธิบายเป็นข้อๆ ก็อธิบายไม่ได้เหมือนกัน แต่เรา จะรู้ว่า คนนี้แหละ “ปรินส์ฯ” สิ่งเหล่านี้คือความผูกพันจริงๆ

จุดเด่นของครู ครูเป็นคนร่าเริง แล้วก็จริงใจ จริงจัง ทุ่มเท ทำ�อะไรไปแล้วเราอย่าไปหวังผล ต้องยอมรับใน สิง่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ แล้วครูเป็นครูพละ อยูก่ บั กีฬา เพราะฉะนัน้ การใช้ชวี ติ ของครูจะเอากีฬามาเป็นแบบ อย่างในการสอนนักเรียน ในชีวิตประจำ�วัน ทุกสิ่งทุกอย่างมีแพ้ชนะ จะสอนนักเรียนเสมอว่า “เรา ไม่ได้เกิดมาเพื่อชนะอย่างเดียว ต้องมีแพ้บ้าง ชนะบ้าง ขอให้เราทำ�ให้เต็มที่ก็พอ แล้วซักวันหนึ่งเรา ก็จะทำ�ได้”

ความประทับใจ ความผูกพันที่มีต่อนักเรียน ความผูกพันของครู จะมีทั้งผูกพันกับอุดมการณ์ คืออุดมการณ์ของความเป็นครู ที่ทำ�ให้เรามีความรักในหน้าที่ และความ ผูกพันที่มีต่อเพื่อนร่วมงานและนักเรียน ซึ่งความผูกพันทั้งสองอย่างนี้ สำ�หรับครูถือว่าเต็มที่เลย อาจจะเกินร้อยก็ได้ ครูให้สอง อย่างนี้เต็มเลย ถ้าคนเรามีอุดมการณ์แล้ว เราก็จะทำ�อะไรด้วยกำ�ลัง ไม่นึกถึงสิ่งตอบแทน

จะเกษียณแล้วครูรู้สึกใจหายใหม อันทีจ่ ริง ก็วางแผนและเตรียมตัวมาได้ซกั พักละ ถ้าถึงเวลาเกษียณจริงๆ ก็คงจะใจหาย เพราะเราผูกพันกับทีน่ ี่ กับนักเรียน กับเพื่อนครู แต่เมื่อถึงเวลาเราก็ต้องพักผ่อน ดูแลตัวเอง มีเวลาให้กับครอบครัว

ฝากถึงทุกคน อยากให้นกั เรียนทุกคน รูจ้ กั หน้าทีข่ องตัวเองก่อน แล้วทุกอย่างอะไรมันจะตามมา ไม่วา่ จะเป็นระเบียบวินยั หรือคุณธรรม ถ้าเรารู้หน้าที่ของตัวเอง ทุกอย่างก็จะเป็นไปได้ดีโดยอัตโนมัติเองแน่นอน

36

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.

สัมภาษณ์ น.ส. ภควรรณ สุวภาพ ม.5/2 น.ส. รมณ เตริยาภิรมย์ ม.5/2


Shining Star

Aj. Somphob Bunlengsavan Your impressions and relations with students

Your relations with the Prince Royal’s College Having been a teacher at P.R.C. for 35 years, I would say that it makes me feel alive. P.R.C. associates and joins people together. P.R.C. gives us life. P.R.C. teaches me to be a man, to live in a P.R.C. way, which is different from everything else. Everyone who works and studies at P.R.C. shows special characteristics of P.R.C. that can’t be explained. But, we will know who exactly came from P.R.C., and these will be real relationships.

Your words of wisdom I’m a cheerful, sincere, serious and generous person. When we do something, we shouldn’t expect a certain result. When it happens, we must accept it. Moreover, I teach Physical Education. I live with sports. So, I use sports as a model to teach students. In daily life, there are winners and losers. Sometimes we win, sometimes we lose. What we have to do is give our best. Then, one day, we can succeed. Translated by Kornphon Maneesai (11th grade)

There are two relations. First, ideological relations, which make up my teaching duties. This relation makes me love the duties I have been given. Another relation is the relationship with my colleagues and my students. I give these two relations more than 100 percent of me. If a man has his ideology, he will do things without longing for compensation.

You’re close to being retired, are you sad? Actually, I have already planned and prepared for a while. When that time comes, I might be sad because I stand side by side with P.R.C., with my students, and with my colleagues. But, I must give myself time to rest, to take care of myself, and my family.

Dear students… I want all of you to know your duty first, then everything will come. Whether it be discipline or virtue, if we know our roles, everything surely works automatically.

37

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


ระยิบดาว

อ.กาญจนา จินกลับ ชีวิตในรั้วน้ำ�เงิน-ขาว ครูอยู่มาแล้ว 24 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ.2534 ตอนที่ครูมาสมัครโรงเรียนใหม่ๆ สอนภาษาไทย ทำ�งานร่วมกับการ เป็นบรรณารักษ์ ต่อมามีการเปิดสอนวิชาคอมพิวเตอร์ของระดับประถมศึกษา ครูเลยได้มาสอนร่วมกับ อ.วชิรา พิรยิ ะ พันธ์ กับ อ.สุรพล สิทธิธัญญ์ แล้วครูก็ไปเรียนเพิ่มเติม และเรียนรู้โปรแกรมต่างๆ ก็เลยได้มาสอนคอมจนถึงทุกวันนี้ ถือว่าเป็นครูยุคบุกเบิกในการสอนคอมพิวเตอร์จริงๆ

ความรักและความผูกพัน ปรินส์รอยฯ เหมือนเป็นเส้นเลือดเป็นกระดูกของครูไปแล้ว นักเรียนลองคิดดูนะ นักเรียนอยูโ่ รงเรียนปรินส์ตง้ั แต่ อนุบาลสาม ประถม มัธยม เป็นเวลา 13 ปี แต่ครูอยูม่ า 20 กว่าปีความเป็นปรินส์ฝงั อยูใ่ นเส้นเลือด และกระดูกของครู มากกว่านักเรียนเก่าและนักเรียนอีก โรงเรียนก็เหมือนเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยเป็นบ้านของเรา ครูรกั ทัง้ นักเรียนและโรงเรียนมากๆ

ครูเคยทำ�โทษเด็กไหม?

ความภูมิใจของครู

ครูเคยตีอยู่ครั้งหนึ่ง ครูจะพยายามไม่เอาของหรืองานของนักเรียนตี แต่ครูจะใช้มือของครูเองในการตี เพราะนักเรียนเจ็บเท่าไหร่ครูก็จะได้เจ็บ เท่านั้น พอครูตีไปปุ๊ปนักเรียนก็ร้องไห้โฮเลย ครูได้ไปถามเขาทีหลัง เขาก็บอก ว่าเสียใจเพราะครูไม่เคยตีนักเรียนคนไหนเลย แต่ตีเฉพาะเขา

วันนั้นไปโรงพยาบาลสวนดอกกำ�ลังจะเข้าลิฟต์ พอประตูลิฟต์เปิดออก นักศึกษา แพทย์กย็ กมือไหว้กนั ใหญ่เลย เราก็ภมู ใิ จทีเ่ ราได้ปน้ั ใครซักคนหนึง่ ขึน้ มาให้เขาประสบความสำ�เร็จ

ครูรู้สึกใจหายไหมที่จะต้องออกจากรัวพีอาร์ซีไปแล้ว

พ่อแม่บางคนทีเ่ อาเด็กๆ มาฝากไว้กบั คุณครูเหมือนกับฝากหัวใจเอาไว้ อยากให้คณ ุ ครู ดูแลให้ดที สี่ ดุ ให้เหมือนกับลูกของเรา เพราะครูใจดีมากไม่เคยตีเด็กเลย แต่ทเี่ สียงดังก็มคี งจะ ต้องมีบ้างเป็นการอบรม โดยเฉพาะปัญหาติดเกมส์ จะช่วยได้ก็เพราะสถาบันครอบครัว

ก็โรงเรียนเหมือนบ้านเรา ก็รู้สึกใจหาย แต่ถ้าครูอยู่เฉยๆ ก็น่าจะเหงา เพราะทุกวันก็ได้มาสอนเด็กมันกลายเป็นชีวิตประจำ�วันของเราไปแล้ว

ถ้าเกษียณแล้วจะทำ�อะไรต่อไป? คือเตรียมพร้อมก่อนจะเกษียณ อันดับหนึ่งคือค่าครองชีพ ครูเตรียม เอาไว้เรียบร้อยเพราะครูเป็นคนไม่ใช้เงินสุรุยสุร่าย ก็จะมีเงินออมที่เก็บเอาไว้ และโรงเรียนของเราดีมากที่มีเงินให้ครูก้อนหนึ่งตอนออกไปด้วย ก็สบายมาก ครูเคยมีความฝันที่จะจบดอกเตอร์แต่ก็คงไม่จบ ครูก็อาจจะไปเรียนอะไรเพิ่ม ของครูเอง น่าจะทำ�ให้คลายเครียดได้พอสมควร ถ้าเป็นไปได้จะไปต่อ ป.โท ป.เอก

ครูอยากจะฝากอะไรไว้กับครูรุ่นใหม่ที่เข้ามา

ความรู้สึกเวลาสอนในห้องเรียน ครูกจ็ ะเห็นจากเด็กตัวเล็ก ค่อยๆ เติบโตไป คอยปัน้ เหมือนน�ำ้ ซึมบ่อทรายให้เขาเจริญ เติบโตเหมือนต้นกล้า จากเมล็ดทีต่ อนแรกอาจจะไม่ได้สวยงามแต่พอเพาะออกมาเป็นต้นแล้ว ก็เป็นพืชทีย่ งิ่ ใหญ่และสวยงาม โดยทีค่ รูเป็นคนดูแลเอาใจใส่ โดยรางวัลชีวติ ของครูกค็ อื เด็กๆ เหล่านี้แหละ

อยากจะฝากอะไรให้กับนักเรียน เวลาพ่อแม่ของเราจะพูดอะไร ก็ตงั้ ใจเรียนให้มากๆ อย่าไปคิดเรือ่ งอย่างอืน่ มาก เพราะ พ่อแม่บางคนกว่าจะหาเงินมาได้ก็ลำ�บาก สิ่งที่พ่อแม่จะภูมิใจได้ก็คือความสำ�เร็จของลูก ก็ เหมือนกับคุณครูเลย ตอนนีท้ เี่ ราทำ�อยูก่ ค็ อื อนาคตในกำ�มือของเรา เราจะทำ�อะไรก็ขนึ้ อยูก่ บั เราเองแล้ว ครูก็สอนอย่างนี้ไปเรื่อยๆ เหมือนที่เขาเปรียบครูเป็นพ่อแม่คนที่สองของเรา 38

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.

สัมภาษณ์ น.ส. ปณาลี เมฆะ ม.5/1, น.ส. ปยุดา วารุกา ม.4/2


Shining Star

What will you do after retirement?

Aj. Kanchana Jinglub Your life in the Blue-White fence I have been teaching here since 1991; it’s been 24 years now. When I got a job at the Prince Royal’s College, I started teaching Thai language and was a librarian at the same time. Later, there was a new Computer subject offered for primary education. Aj. Wachira Piriyaphan, Aj. Surapol Sittithan, and I started teaching this subject. I took extra classes and learned some programming, so I have been teaching Computer until now. I would say I’m a pioneer at teaching Computer classes.

Love and Relationships P.R.C. is like my veins and bones. Students, let’s think about it, you’re here since kindergarten, primary level, and secondary level for 13 years. But, I have been here for 20 years. Being a P.R.C. teacher is embedded in my veins and bones more than an alumnus’s or yours. Yet, P.R.C. is all of our home. I really love all the students and the school.

Have you ever punished a student? I once hit a student. But, I didn’t hit him with things, I hit him with my hand. So he hurt as much as I hurt. Having been hit, he cried really hard. After that, I asked him how he felt and he told me that he was sad because I have never hit any student except him.

Are you astounded to leave P.R.C.? P.R.C. is like my home, so I feel quite sad. If I don’t do something else after I retire, I might feel lonesome because teaching has already been my life.

I have already planned for my retirement. First, I have been preparing for the cost of living because I’m not extravagant, so I have my savings. Our school is great because they will also give me a sum of money after I’m retired. I had a dream to graduate with a Doctor of Philosophy degree, but it was just a dream. I might learn something new, something that will keep me relaxed. If it’s possible, I will continue to study and earn a Master’s and Doctorate Degree.

Your Pride One day, I went to Suan Dok Hospital. When the lift’s door opened, some medical students who used to learn at P.R.C. paid respect to me. I’m so proud that I’m a part of what made them succeed.

What do you want to say to the new generation of teachers? Parents leave their children with teachers, and it’s just like they have left their hearts with us. I want you to take care of them as if they are your children. Because I’m so kind, I have never hit any student except once. But we can be loud so that we can instruct them. Especially regarding the problem of some students being addicted to games: that could be healed with family.

Your feelings when you teach in class I have seen students growing up and have known them since they were small. I have been teaching them like water seeping in a sand well, willing them to grow up like sprouts. They are like seeds that are not beautiful at first, but when they’re planted, they sprout to dignified trees. I take care of them. My students are my life-reward.

What do you want to say to the students? When your parents tell you something, please trust them. Don’t think about things too much. Sometimes it’s hard for some parents to find money for you. What makes your parents proud is your success. It makes me proud too. At the moment, what you’re doing is your future in your hands. You can do anything you want. I will keep teaching this as if I am your second mother. Translated by Kornphon Maneesai 39

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


(ป.ร.36664) น.ส.ชลิพโรงเรี า ยดุนปริลนยากร ส์รอยแยลส์วิทยาลัย อันดับ 2 คะแนนสูงสุด สอบแอดมิชชัน ปี 2558

ได้คะแนนร้อยละ 89.93 คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ทำ�ไมถึงเลือกแอดมิชชันคณะจิตวิทยา

ผู้อยู่เบื้องหลังความสำ�เร็จในครั้งนี้

เพราะเมือ่ ลองเรียนสถาปัตย์ไปได้หนึง่ ปี แล้วรูส้ กึ ว่ามันไม่ใช่ รูส้ กึ ชีวติ ล่องลอย ไม่มีแรงขับดัน ก็เลยลองมองกลับไปหาสิ่งที่ตัวเองสนใจ มองย้อนกลับไปดูความฝันที่ เคยฝันไว้ เคยมีความฝันที่จะพัฒนาประเทศไทยจากการพัฒนาศักยภาพของเด็กไทย เลยคิดว่าจิตวิทยาน่าจะเป็นเส้นทางให้ไปสู่ความฝันนั้นได้ เลยเอาคะแนนปีที่แล้วมา ยื่น พอผลออกมาทั้งดีใจ ทั้งตื่นเต้น ไม่คิดว่าจะมาได้ถึงจุดนี้

ความสำ�เร็จครั้งนี้ มาจากทุกคนในครอบครัว เพราะว่าทุกคนเป็นตัวอย่าง ที่ดี และเลี้ยงดูด้วยเหตุผล ความเข้าใจ คอยส่งเสริมทุกอย่างถ้าเป็นสิ่งที่เป็น ประโยชน์กับเรา รวมถึงโรงเรียนที่มีสิ่งแวดล้อมดีๆ และเป็นทุกสิ่งทุกอย่างให้

ปกติเป็นคนชอบเขียน ชอบจด ชอบวาดรูปเล่น เลยเป็นสิ่งเดียวที่ทำ�ให้จดจ่อ กับสิง่ ทีเ่ รียนได้จนจบคาบ นีอ่ าจเป็นส่วนหนึง่ ทีท่ ำ�ให้เราไม่พลาดกับสิง่ ทีค่ รูสอนในห้อง คิดว่าสมาธิก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทำ�ให้เรามีพลังในการจดจ่อในการเรียนได้ดี เพราะว่าก็มี โอกาสได้ไปเข้าคอร์สฝึกทำ�สมาธิอยู่เสมอก็เลยทำ�ให้รู้สึกว่าอ่านหนังสือได้นานเป็น พิเศษ และด้วยการชอบเขียน ชอบวาดรูปนีเ้ อง ทำ�ให้เวลาก่อนสอบมักจะนำ�เอาเนือ้ หา ทีเ่ รียนมาสรุปใส่กระดาษมีความสุขตอนได้จด ได้วาดรูป สนุกไปกับการทำ�ความเข้าใจ จึงคิดว่าความสุขจึงเป็นอีกหนึ่งเหตุปัจจัยในการที่จะทำ�ให้เราทำ�อะไรได้นานๆและ ทำ�ได้ดี ตอนเรียนไม่เคยเครียดเลย ก็ทำ�ให้เต็มที่ทุกครั้งที่มีโอกาส เครียดอย่างเดียว ตอนเลือกคณะเพราะตัดสินใจไม่ได้ว่าจริงๆแล้วอยากเรียนอะไร

อย่างแรกอยากให้น้องๆ ใช้ชีวิตในโรงเรียนอย่างมีความสุข เก็บเกี่ยว ประสบการณ์ต่างๆ ให้เต็มที่ รีบค้นหาตัวเองให้เจอ จะได้มีเป้าหมาย และขอให้ เชื่อมั่นในตนเอง ไม่ว่าเป้าหมายนั้นจะไม่น่าเป็นไปได้แค่ไหน ก็เชื่อไว้ก่อนว่าเรา ทำ�ได้ แล้วทุกอย่างจะตามมาเอง ซึง่ ไม่วา่ ผลลัพธ์ทอี่ อกมาเป็นยังไงมันก็จะเป็นสิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ สำ�หรับเราเสมอ เพราะเราได้ทำ�เต็มทีต่ ามความเชือ่ มัน่ ของเราแล้ว และที่ สำ�คัญการที่เราได้เรียนในสิ่งที่เรารัก ถึงจะยากลำ�บากแค่ไหนเราก็จะอดทน และ จะเป็นแรงผลักดันให้เราไปสู่เป้าหมาย ทำ�ให้เรามีพลัง และทำ�ให้ชีวิตของเรามี คุณค่ามากกว่าที่เราไปเรียนอะไรก็ไม่รู้ที่เราไม่ได้รัก

เคล็ดลับเวลาเรียน

ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย

ตอนนี้มีน้องๆ หลายคน ยึดพี่นะโม เป็น idol ขอพี่นะโมพูดถึงน้องๆ และส่งกำ�ลังใจให้น้องๆ

อยากฝากอะไรถึงเพื่อนๆ น้องๆ คุณครูที่ P.R.C. ฝากได้เลยจ้า.. ทุกคนดีใจกับน้องนะโมนะจ๊ะ ^_^

ยังคิดถึง P.R.C. เสมอ ขอบคุณความทรงจำ�ดีๆ ที่นี่ ที่ทำ�ให้หวนกลับมา เมื่อเข้ามาในมหาวิทยาลัย ชีวิตจะแตกต่างกับที่เราเคยเรียนในห้องเรียน ใน โรงเรียน ต้องแบ่งเวลาให้ดี ต้องรับผิดชอบตัวเองมากขึ้น เติบโตเป็นผู้ใหญ่มากขึ้น ได้ นึกถึงทีไรก็รู้สึกอบอุ่นทุกครั้ง ขอบพระคุณทุกความห่วงใย และทุกกำ�ลังใจให้นะ โมเสมอมา ^_^ เจอประสบการณ์แปลกใหม่ แล้วก็ผู้คนมากมาย

การแบ่งเวลาระหว่างการเรียนการ / การอ่านหนังสือ / การพักผ่อน บริหารเวลายังไง

ปกติเป็นคนที่อ่านหนังสือเฉพาะช่วงสอบ เพราะว่าระหว่างตอนเรียนก็มักจะ ทำ�กิจกรรมอยู่เสมอ หรือพูดได้ว่าไม่เคยกลับมาทบทวนบทเรียน แต่ช่วงอาทิตย์ก่อน สอบนั้นก็ทำ�เต็มที่ แต่เราก็ต้องรู้ขีดจำ�กัดของตัวเองว่าเป็นคนอ่านหนังสือได้ประมาณ ไหน เมื่อรู้สึกฝืนๆ หรืออ่านไม่เข้าหัวแล้ว ก็จะไปพักผ่อน ออกกำ�ลังกาย แต่ช่วงเวลา ในการพักผ่อนนั้น ก็ต้องกำ�หนดไว้ก่อนเสมอ ไม่งั้นอาจจะเผลอพักยาว และเนื่องจาก ตนเองเป็นคนไม่ชอบให้ตัวเองว่างๆ จึงน่าจะเป็นอีกหนึ่งแรงผลักดันทำ�ให้เราขยัน เพราะฉะนั้นคิดว่าการคอยถามตัวเองว่า ตอนนี้กำ�ลังทำ�อะไรอยู่ แล้วสิ่งที่ควรทำ�ตอน นี้คืออะไร ก็น่าจะช่วยกระตุ้นตัวเองได้ แต่ต้องไม่กดดันตัวเอง

40

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.

ADMISSIONS


Chalipa Duiyakorn, a Prince Royal’s College

alumna, got second place in 2558 admissions. Manage learning time, rest, and reading.

Why did you choose to study in the faculty of psychology?

I like to regularly read books for fun in between studying because while learning a new subject there are many assignments involved and it can get tiring. You should know your limit. If you know that you are tired you should do some exercise or relax, but you must plan your time. Personally I don’t like to waste time. Ask yourself a couple of questions: what are you doing with your time? What should you be doing now?

I originally decided to study in the faculty of architecture last year and ended up feeling uninspired, so I looked back to what I wanted to be when I was a kid and what I always dreamed of. I have a dream to develop Thai kids’ abilities. I think that psychology is the best choice for me. When the scores were released I was very excited and happy. I cannot believe that I have come so far.

My success comes from my family because they are my idols. They take care of me with love and understanding. My family always supports everything that is good for me. Also, the school has a good environment and teaches gave me many good things.

Studying tricks!

You are a role model for many students. What advice do you have for them?

People behind my success

Usually I draw pictures and write down lecture notes while I’m in class. This helps me concentrate on the lessons so I don’t miss important information. I think meditation is important. It also helps me concentrate on the lessons and I always take meditation courses. This makes me able to read books for a longer time. I have a lot of fun when I draw pictures during lecture. I have fun with it and am not bored. I never feel stressed while studying in school because lectures are fun. I only felt stressed when I couldn’t choose which faculty to study in university.

The first thing you should do in school is to gather experiences, quickly find yourself, and be confident. No matter how hard your goal is you should think that you can do it. Everything will go on and life comes up with good results. The important thing is that we learn that we must endure for things we love. Then you will achieve your goal.

University life

I always miss P.R.C.. Thank you for the precious memories and for taking care of me.

When I first got to university it was definitely different from high school. Now I have to manage my time carefully and to handle more responsibility. I have gotten a lot of new experiences and have met many kinds of people. 41

What do you want to say to the P.R.C.’s teachers and students ?

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.

Translated by Kornchalee Srisen Pasikarn Udchachon (11th grade)


กินดีอยู่ดี

เรื่อง พยาบาลวิชาชีพศรีสุดา ปันเด็ง

กัด...ใครคิดว่าไม่ส�ำคัญ

โรงเรียนเปิดเทอมแล้ว เด็กๆ มักจะแวะเวียนมาห้องพยาบาลบ่อยๆ และปัญหา ทีพ่ อ่ แม่ตอ้ งพบเจอส�ำหรับเด็กๆ ก็คอื คดีวา่ ด้วยเรือ่ ง รอยเขีย้ ว ซึง่ เด็กๆ มักจะมีรอยฟกช�ำ้ ด�ำเขียวกลับไปที่บ้านเสมอ หากจะถามเจ้าตัวน้อยก็มกั จะบอกว่า แม่คะ/ครับ มันไม่ใช่เรือ่ งใหญ่ เราแค่หยอก กันเล่น แต่ส�ำหรับหัวอกพ่อแม่ กลัวในทุกสิง่ ทีเ่ ห็นเนือ้ นวลมีรอยเขียวจากคมเขีย้ ว ถึงพ่อ แม่บางคนจะไม่ถือสาแต่ส�ำหรับคุณครูห้องพยาบาลมีเรื่องต้องท�ำหลังจากเจอคดีเด็กกัด กันจนเป็นรอยเขียว มีแผลเลือดออกอีกเยอะ อย่างแรกคือต้องล้างแผลทีถ่ กู กัดด้วยน�ำ้ สบู่ ให้สะอาด ท�ำแผล ประเมินสภาพแผล และสอบถามประวัตกิ ารฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยัก ซึง่ ในสถานการณ์ปจั จุบนั นีโ้ รคบาดทะยักเริม่ กลับมาอีกครัง้ กระทรวงสาธารณสุขจึงต้อง รณรงค์กระตุ้นให้ทุกคนได้รับวัคซีนป้องกันบาดทะยักอีกครั้งหนึ่ง วันนี้ทางทีมงาน พยาบาลจึงมีข้อมูลเกี่ยวกับโรคบาดทะยักมาฝากค่ะ โรคบาดทะยักเกิดจากเชือ้ ทีอ่ ยูใ่ นดิน ในฝุน่ ชือ่ Clostridium tetani เชือ้ นีจ้ ะเข้า ร่างกายทางแผลซึ่งอาจจะถูกมีดบาด หรือเข็มหรือตะปูตำ�เมื่อเชื้อนี้เข้าสู่ร่างกายจะสาร สารพิษหรือ toxin ที่เรียกว่า tetanospasmin สารพิษดังกล่าวจะจับกับเส้นประสาท ทำ�ให้กล้ามเนื้อมีการหดเกร็งอยู่ตลอดเวลา เชื้อนี้มักจะเข้าทางบาดแผล แผลอาจจะเล็ก มากจนไม่สงั เกต แผลทีล่ กึ แผลทีม่ เี นือ้ ตายมากจะเกิดการติดเชือ้ บาดทะยักได้งา่ ย ผูป้ ว่ ย จะเกิดอาการของบาดทะยักหลังจากได้รับเชื้อหรือเกิดแผลแล้ว 2 วันถึง 2 เดือน โดย เฉลี่ยประมาณ 14 วัน อาการของโรคบาดทะยัก •ปวดศีรษะ • ปวดกราม • กล้ามเนือ้ เกร็งทัว่ ร่างกาย • ปวดกล้ามเนือ้ • กลืนน�ำ้ ลายล�ำบาก • มีการกระตุกของกล้ามเนื้อ • ไข้เหงื่อออก • ความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นเร็ว การป้องกัน โดยการฉีดวัคซีน Toxoid ตามกำ�หนดทุก 10 ปี แล้วอาจจะมีแม่บางคนถาม อีกว่ากรณีถูกเพื่อนกัดจะต้องฉีดวัคซีนพิษสุนัขบ้าด้วยไหม บอกเลยว่าในปากคนที่ไม่ถูก หมาบ้ากัดจะไม่มีเชื้อนี้.....สบายใจได้เลยค่ะ!!!! 42

School has already begun and students are frequently visiting the nurse’s room with various injuries and ailments. But there appears to be a growing problem: students come home to parents with bites, bruises, and wounds. Even when parents ask their children about these injuries, the students tell them it’s not a big problem, they had just been teased by their friends. But for the parents, some bruises from biting on their child’s body make them worry a great deal. Some parents might not think about it much, but nurses have things to do when a child comes in with a bite. First the nurse cleans the bite wound with soapy water, bandages it, estimates the damage, and inquires about the student’s vaccinations to see if they already have vaccinated against Tetanus. Recently there have been more cases of Tetanus, so the Ministry of Public Health is motivating everyone to go get the vaccination one more time. In addition, the nurse work team would like to inform readers about Tetanus. Tetanus occurs from the soil and dust-living germ, Clostridium tetani which infects the human body through cuts. When people are infected by this germ, the germ releases a toxin named “tetanospasmin” which will infect nerves and cause muscle contractions. The cut through which the germ enters may be so tiny you cannot see it. Patients will react to the germ after being infected from two days to two months, or 14 days on average. The symptoms of tetanus Those infected may have a headache, jaw pain, muscles hardening, dry mouth, muscle twitches, hydrosis, hypertension, and tachycardia. Prophylaxis: You should vaccinate against this germ every 10 years. Some mothers may ask if someone bit their child, would they have to vaccinate? The answer is no. The human mouth does not carry the Tetanus toxin. Just as long as they don’t trip on a rusty nail or get bitten by a mad dog.

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


แกนนำ�เยาวชนส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน

“P.R.C. วัยใสไร้พุง : Weight-Loss Project”

ฉีดวัคซีนป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก

ตรวจสุขภาพประจำ�ปี

พ่อแม่ช่วยกัน พุงฉันลดได้ อบรมผู้ประกอบการ

อบรมการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (Basic CPR) และการใช้เครื่องกระตุ้น หัวใจชนิดสำ�เร็จรูป (AED)

รับมอบแว่นสายตาฟรี จากงบกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครเชียงใหม่

ฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่

43

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.

ฉีดวัคซีนหัด หัดเยอรมัน


จากพี่ถึงนอง โดย ส.จ�นณศักดิ์ศร�

นางสาวเจมมิ ก า สิ น ธวาลั ย ป.ร. 36514 ม.3 รุน Vincent’11 ม.6 รุน พิชญ’57 คณะจ�ตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ มหาว�ทยาลัยศิลปากร

BEST ALL AROUND STUDENT ปการศึกษา 2557 “จากพี่ถึงนอง” ฉบับนี้ จะพาน้องๆ ไปรู้จักชีวิตของพี่รุ่น “พิชญ์” นางสาวเจมมิกา

สินธวาลัย หรือที่น้องๆ หลายคนรู้จัก “พี่เจมมี่” เรามาฟังเรื่องราวชีวิตของพี่เจมมี่กันดีกว่าว่า ท�าไมถึงเบนเข็มชีวิตจากเด็กวิทย์ มาเป็นเด็กศิลป์ และสามารถท�ากิจกรรมหลายๆ อย่างในเวลา เดียวกันได้เป็นอย่างดี แง่มุมบางอย่างอาจเหมาะส�าหรับชีวิตน้องๆ บางคนที่ก�าลังมองหาตัวเอง มองหาเป้าหมายในการเรียนและท�ากิจกรรมพร้อมๆ กัน แนวคิดของพี่เจมมี่บางอย่างอาจช่วย น้องๆ ได้เป็นอย่างดี เรามารู้จักพี่เจมมี่ดีกว่าค่ะ

ช�ว�ต 6 ปใน P.R.C.

“ส�าหรับพี่แล้วตลอดชีวิตใน P.R.C. ของพี่ไม่มีหยุดนิ่ง มักจะมีงาน กิจกรรมต่างๆ เข้ามา ตลอดทุกๆ วัน จะตื่นขึ้นมาพบกับเรื่องที่ท้าทายอยู่เสมอ บ่อยครั้งที่น้องจะเห็นพี่วิ่งไปมา ถือเอกสารอะไรสักอย่างในมือ ไม่งนั้ ก็ได้ยนิ เสียงประกาศผ่านโทรโขงหรือล�าโพง นีค้ อื ชีวติ ในแต่ละ วันของพี่ บางครั้งก็เหนื่อย แต่ก็มีความสุขทุกครั้งที่ได้ท�า พี่เป็นทั้งประธานรุ่น เป็นหัวหน้าห้อง หรือบางทีก็เป็นแค่คนธรรมดาคนหนึ่งส�าหรับเพื่อนๆ ไม่ว่าจะท�าหน้าที่ใดก็ตาม พี่คิดเสมอว่า คนทีค่ อยสนับสนุนและช่วยเหลือเราอยูต่ ลอด คือ เพือ่ น และครู P.R.C. เปรียบเสมือนครอบครัว ที่ส�าคัญที่สุดส�าหรับพี่ในช่วงชีวิตนี้”

เมื่อตองเบนเข็มช�ว�ตจากเด็กว�ทย มากเปนเด็กศิลป

“หลายคนอาจจะไม่เข้าใจถึงการตัดสินใจนี้ เรามักจะได้ยินค�าพูดที่ว่า “เรียนสายวิทย์ สามารถเลือกเรียนได้หลายอย่างนะ…. เรียนเก่งก็ตอ้ งอยูส่ ายวิทย์นะ...” แล้วเราก็ถกู กลืนไปพร้อม ค�าพูดเหล่านี้จนลืมว่าแท้จริงแล้ว เรารัก หรือชอบอะไร พอเรียนสายวิทย์ไปได้หนึ่งปีพี่ถึงเอะใจ และถามกับตัวเองว่า “เราเลือกมาทางสายนี้มันใช่ ตัวเราจริงๆ เหรอ...... เรามีความสุขกับทางที่ เราก�าลังก้าวไปไหม” เมื่อทบทวนอยู่หลายครั้ง และหาค�าตอบให้กับตัวเองได้แล้ว พี่จึงตัดสินใจ ขอย้ายมาเรียนสายศิลป์ รูส้ กึ ตัวเองมีความสุขมากยิง่ ขึน้ ถึงจะไม่เก่งมาก แต่รสู้ กึ ว่าได้อยูใ่ นสภาพ แวดล้อมที่ใกล้เคียงกับตัวเราที่สุด ในความคิดของพี่เด็กวิทย์และเด็กศิลป์เก่งเท่าๆ กัน แต่เก่งใน เรื่ อ งที่ ต่ า งกั น สิ่ ง ส� า คั ญ ที่ สุ ด ที่ ไ ด้ จ ากการย้ า ยแผนการเรี ย นครั้ ง นี้ คื อ พี่ ไ ด้ ค้ น พบตั ว เอง “ในความคิดของพี่ เด็กวิทย์ และเด็กศิลป์เก่งเท่าๆ กัน แต่เก่งในเรื่องที่ต่างกัน”

44

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


ช�ว�ตที่เปนทั้งเด็กเร�ยน และเด็กกิจกรรม

ชีวิตนักเรียน ม.ปลาย สิ่งที่เราจะจดจ�า ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปสิบปีหรือยี่สิบปี คือ มิตรภาพ ซึ่ ง เกิ ด จากกิ จ กรรมที่ เราท� า กั บ เพื่ อ นๆ เมื่ อ มี กิ จ กรรม เวลามี เ ท่ า ไหร่ พี่ จ ะทุ่ ม ให้ ทั้ ง หมด พี่คิดว่าโอกาสที่เราจะได้ท�าแบบนี้ จะเข้ามาในชีวิตสักกี่ครั้ง มีอะไรให้ลอง มีอะไรให้เรียนรู้ คว้าโอกาสนั้นมาให้หมด เราจะได้ไม่รู้สึกเสียดายภายหลัง แต่การเรียนก็ส�าคัญไม่แพ้กัน เราต้อง เฉลี่ยความส�าคัญให้กับทั้งคู่ เพราะทั้งสองสิ่ง เมื่อก้าวออกไปจากโรงเรียน ประสบการณ์ทุกอย่าง ทีเ่ ราได้รบั มันจะได้ใช้ในชีวติ ของเราอย่างแน่นอน ความรูแ้ ละประสบการณ์ คือสิง่ ทีจ่ ะหล่อหลอม เราให้พร้อมส�าหรับชีวิตข้างหน้า

สิ่งที่จะฝากใหนองๆ P.R.C.

เวลาไม่เคยรอใคร ชีวติ ในรัว้ น�า้ เงิน-ขาวจะผ่านไปอย่างรวดเร็ว อะไรทีย่ งั ไม่เคยท�าสิง่ ทีอ่ ยาก จะเปลี่ยน หรือปรับปรุงตัวเอง อย่ารอค�าว่าพรุ่งนี้ ลงมือท�าเลย พี่อยากบอกน้องว่าการเรียน “สังคมที่โอบล้อมไปด้วยความรักจากครู และเพื่อนๆ มันไม่ได้หามาง่ายๆ จงซึมซับมันเข้าไปให้ มากที่สุด ทุกอย่างที่ได้เรียนรู้จากสถาบันแห่งนี้ไม่ว่าจะเป็นความรู้ ค�าอบรม หรือประสบการณ์ จากการท�างาน จะไม่สญ ู เปล่าอย่างแน่นอน ขอให้จดจ�าทุกอย่างไว้ และหากหลงทางจงย้อนกลับ มาคิดถึงครอบครัว P.R.C. แห่งนี้นะคะ”

45

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


From Senior to Junior

Ms. Gemika Sintawalai (36514)

Grade10 Vincent ’11 Grade12 พิชญ’ 57 Faculty of painting sculpture and graphic arts, Silapakorn University Best all-around student 2014 This edition, Senior to junior, I will show you a life of พิชญ์’ 57 senior, Gemika Sintawalai

or as we’ve known her, Gemmie. Let’s learn her story about why she decided to study in the facully of Art instead of Science and Mathematics. She also did well in many activities at the same time. Some of her ideas maybe suitable for those of you who are working fi nding yourselves and meeting your educational goals.

6 years in P.R.C.

“All the time at P.R.C. I’ve never been still. I always took part in activities and found interesting things to do every day. Sometimes, you can see me walking around holding documents in my hand or hear I announced something via megaphone or loudspeaker. Sometimes I was tired but I was also happy when I did it. I was both president of the student body and class leader and has good friends. Anyway, I always think about who always supports and helps me: they are friends and teachers. So P.R.C. is the most important family in my life.”

When you changed your life from being a science student to an art student.

“Many people don’t understand me. We always heard that ‘Major of science and mathematics has many choices you can choose… You’re so smart! major of science and mathematics is the best for you…’ So we are familiar with these sentences and forget the real things we love or we like. I learned in this major for one year and I thought that ‘this way is the things I really want right?... I’m happy in this way right?’ I thought it over and answered for myself. I decided to move to Major of Art-Math. I feel very happy even though I am not an expert and I realize that this is the place for me. In my opinion science student and art student are the same, but different in their way. The importance thing in changing my major is I found myself”

Nerdy and Activity

“High school life has many things to remember. Even thought time passed for 10 or 20 years but friendship which begins from activities we do with friends. I think that opportunity which we can do these things doesn’t come often. So you just go for it otherwise you will regret later. But study is importanct too because two things can help you when you graduate from school and meet real life: Knowledge and experience will prepare you for future.”

Do you want to say something to students at the P.R.C.?

“Time and tide wait for no man. Life in P.R.C. will come and go. What is it you wanted to do but you didn’t, what is you wanted to change but you didn’t. Don’t wait for tomorrow. I want to tell my juniors that the society that is surrounded by love from teachers and friends, it’s not easy to fi nd in the world so absorb it as much as possible. Everything learned from this institution; knowledge, morals or experience, will not be a waste. So remember that if you are lost, go back to thinking of our P.R.C. family”

46

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.

Translated by Pornsinee Sinyoo (11th grade)


จากพี่ถึงนอง โดย อ.ปราโมทย ประเสร�ฐเลิศอาร�ย อ.ณรัช ธนิตจารุกุล

นิศานาถ อุดมเศรษฐ (ป.ร. 28272)

“ฝนที่ไมไดลงมือทํา จะเปนไดแคความฝนไปตลอดช�ว�ต” นิศานาถ อุดมเศรษฐ์ (อิ๊ม) จบการศึกษาระดับมัธยมปลายจากโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัยเมื่อปีการศึกษา 2543 รุ่น Kin จากนั้น ได้เข้าศึกษาต่อในสาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งภายหลังยกฐานะ เป็นคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ต่อมาได้มโี อกาสศึกษาต่อในระดับปริญญาโทที ่ School of European Studies, Cardiff University สหราชอาณาจักร เวลาแปดปีที่ใช้ชีวิตอยู่ต่างประเทศ ทั้งสหรัฐอเมริกา ออสเตรีย เยอรมนี สวีเดน อังกฤษ และเวลส์ ท�าให้เธอได้พบเห็นสภาพสังคม บ้านเมือง ผู้คน และวัฒนธรรมที่หลากหลาย เมื่อกลับมาเมืองไทย เธอ ก็ได้น�าประสบการณ์และความประทับใจต่างๆ เหล่านั้น มาเรียงร้อยเป็นเรื่องเล่าในนวนิยายรักร่วมสมัย จนเป็นที่รู้จักใน แวดวงนักอ่านนวนิยายรัก ภายใต้นามปากกา “มาภา”

P.R.C. จ�ดเร�่มตนสรางฝน

นิศานาถเล่าว่า จุดเริ่มต้นที่ท�าให้เธอกล้าเดินตามความฝันเกิดขึ้นที่โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัยแห่งนี้นี่เอง “เรื่องนี้ถือว่าเป็นเรื่องที่ประทับใจที่สุดในชีวิตนักเรียนปรินส์เลยก็ว่าได้ค่ะ ตอนนั้น จ�าได้ว่าเป็นช่วงปิดเทอมขึ้น ม.5 ก่อนเปิดเรียนซัมเมอร์ ดิฉนั ได้ไปขอสมัครเข้าวงดุรยิ างค์ของโรงเรียน ต้องขอบพระคุณครูหนุย่ (ยุทธพล ศักดิธ์ รรมเจริญ) ส�าหรับโอกาสที่ได้รับ ซึ่งจุดนี้เหมือนเป็นก้าวแรกในชีวิตที่ท�าให้รู้สึกว่าถ้าเราฝันอยากท�าอะไร ก็จงท�า ไม่อย่างนั้นความฝัน ก็จะเป็นได้แค่ความฝันตลอดชีวิต”

จ�ดพลิกผันจากสายดนตร�มาเข�ยนนวนิยาย

“ปัญหาใหญ่ของการเรียนแบนด์กค็ อื ปัญหาด้านสายตาค่ะ เป็นโรคจอประสาทตาเสือ่ ม มองเห็นในระยะไกลได้ยาก สายตาจึงเป็นอุปสรรคส�าคัญส�าหรับงานอะไรก็ตามทีม่ ดี เี ทลเยอะๆ แล้วในช่วง ม.6 ช่วงใกล้สอบเอนทรานซ์ ได้พกั จากการ อ่านหนังสือสอบไปอ่านวรรณกรรมอยู่สองเรื่องที่บังเอิญมีเนื้อหาใกล้เคียงกันเกี่ยวกับการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งก็คือ Les Misérables ของ Victor Hugo อีกเรื่องเป็นนิยายแปล แต่จ�าชื่อเรื่องไม่ได้แล้ว ตัวเอกตายตอนจบเพราะโดนกิโยตินตาม ศักดิ์ ตอนนั้นร้องไห้น้�าตาไหลเป็นทางเลยค่ะ อินมาก ถึงขนาดเลือกสอบโควตาเข้ารัฐศาสตร์ ตอนนั้นไม่รู้หรอกว่าจบไปจะ ไปท�าอะไร ขอแค่ได้เรียนก็พอ มาจนถึงวันนี ้ ถึงไม่ได้ทา� งานในสายงานนี ้ แต่กย็ งั เอาความรู ้ แนวคิด มาใช้ในการเขียนนวนิยาย รักได้ตลอด แล้วต่อยอดไปถึงปริญญาโทในสาย European Visual Culture Studies ได้ด้วย”

เลาเร�่องการเดินทางใหฟงบางสิ

“จะพูดว่าเดินทางคงไม่ใช่ซะทีเดียวค่ะ อายคนทีเ่ ขามีโอกาสไปเห็นมาเยอะกว่าเรา (หัวเราะ) เริม่ ต้นจากตอนปิดภาค เรียนช่วงทีอ่ ยูม่ หาวิทยาลัย ได้มโี อกาสไปโครงการแลกเปลีย่ น Work and Travel ทีส่ หรัฐอเมริกา โครงการนีก้ ค็ อื ไปท�างาน ตามที่ต่างๆ ตอนนั้นเลือกไปสวนสนุก เหตุผลเพราะอยากเล่นเครื่องเล่นของเขา (เธอหัวเราะอีก) การก้าวขาออกนอก ประเทศครั้งแรกครั้งนั้น คือโอกาสที่ยิ่งใหญ่มากๆ ที่พ่อกับแม่มอบให้ จากตอนแรกที่ตั้งใจจะท�างาน เก็บเงินที่ต้องเสียไป กับค่าใช้จ่ายโครงการมาคืนพ่อ แต่วันหนึ่งตอนที่อยู่ที่อเมริกา พ่อก็บอกว่า ‘สิ่งที่หาได้ยากกว่าเงินคือโอกาส มีโอกาสอยู่ที่ นั่นแล้ว ใช้โอกาสไปดูไปเห็นสิ่งที่อยากเห็นก็ได้’ เข้าทางเลยค่ะ ระหว่างนั้นจึงได้ท่องเที่ยวไปหลายๆ รัฐ ตั้งแต่นิวยอร์กซิตี้ วอร์ชิงตัน ดีซี ชิคาโก้ น้�าตกไนแองการ่า ลอสแอนเจลิส ได้ไปเห็นแม้กระทั่งโรงเรียนนายร้อยของที่นู่น ดิฉันเชื่อนะคะว่า ทุกสิง่ ทุกอย่างทีผ่ า่ นเข้ามาในสายตา ในความคิด ในความรูส้ กึ ของเรา หล่อหลอมให้เราเป็นเราอย่างทีเ่ ป็นทุกวันนี ้ หลังจาก ปีนั้น พอเรียนจบก็มีโอกาสได้ไปท�างานที่อเมริกาอีก”

47

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


เห็นวาเคยอยูยุโรปหลายป

From Senior tฟo Junior

“ประมาณเกือบหกปีค่ะ ยุโรปคือที่ที่อยากเห็นมากมาตั้งแต่เด็ก ชอบสถาปัตยกรรม ศิลปะ ดนตรี อาหาร อากาศหนาว ๆ ตัดสินใจไปออสเตรีย เริ่มเรียนภาษาเยอรมัน เรียนการโรงแรม แล้วเข้าท�างานในโรงแรม กับท�างานที่ลานสกีบนเขาซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของเทือกเขาแอลป์ ตอนนั้นตั้งใจจะเก็บเงินไปอังกฤษให้ได้ ระหว่างนั้นก็ได้ไปเป็นเด็กช่วยงานที่สถานทูตไทยในสวีเดนอยู่พักหนึ่ง สะพายเป้เที่ยวประเทศใกล้ๆ อย่างเดนมาร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ แบบ ‘Very Slow Life’ จนพอเก็บเงินได้ครบ ก็ขอวีซ่ามา เรียนภาษาที่อังกฤษ เชื่อไหมคะ ณ วินาทีที่ได้ยืนอยู่บนเวสต์มินเตอร์บริดจ์ เห็นหอนาิกาบิ๊กเบนอยู่ข้างหน้า รู้สึกเหมือนความฝัน ในชีวิตเป็นจริงแล้ว จะตายวันนั้นก็คงไม่เสียดาย อยู่ที่ลอนดอนเกือบสองปี ก่อนจะตัดสินใจเรียนโท แต่การตัดสินใจที่ว่านั้น พ่อ ตัดสินใจนะคะ” เธอหัวเราะอีก

แลวอะไรทําใหคิดจะเข�ยนนวนิยาย

“อยากเล่าเรื่องที่ตัวเองได้เจอมา อยากเล่าความรู้สึกที่มีต่อสังคม ผู้คน ชีวิต ในมุมมองของเรา แต่ถ้าจะให้เล่าเชิงวรรณกรรม แบบแนวคิดล้วนๆ ก็คิดว่ามันเทาและตึงเกินไปหน่อย หรือถ้าเล่าเชิงสารคดีท่องเที่ยว ดิฉันก็รู้สึกเหมือนเราไม่ได้มีอะไรน่าสนใจให้ คนอยากติดตามอ่านขนาดนั้น ถ้าเขียนนวนิยาย สร้างคาแรคเตอร์ตัวละครขึ้นมา แล้วผูกเรื่องราวในชีวิตจริงของผู้คนที่ได้พบเจอ การตัดสินใจแก้ปัญหา ความรัก ความสุข ความเศร้า ความสมหวัง ผิดหวังลงไป น่าจะเข้าถึงคนอ่านได้ง่ายกว่า ยังไงความรักก็เป็น เรื่องใกล้ตัวคนทุกคน ไม่ได้คาดหวังว่าทุกคนจะต้องอ่าน ไม่ได้คิดว่าทุกคนที่ได้อ่านจะชอบ แค่ใครสักคนได้อ่าน แล้วได้เห็นมุมมอง ผ่านตัวหนังสือของเรา เกิดได้ข้อคิด หรือเอามาใช้ตั้งค�าถามกับสิ่งที่ตัวเองท�าอยู่ ก็ถือว่าประสบความส�าเร็จอย่างมากแล้วค่ะ”

สุดทาย โรงเร�ยนปร�นสฯ ใหอะไรกับเราบาง

“ให้ชีวิตค่ะ” เธอตอบทันทีอย่างไม่หยุดคิดเลย “อย่างทีเ่ ล่าไปว่าปรินส์รอยแยลส์วทิ ยาลัยคือพืน้ ทีส่ า� หรับโอกาส ขึน้ อยูก่ บั ว่าเราเลือกทีจ่ ะคว้าโอกาสนัน้ หรือเปล่า เมือ่ มีกา้ ว แรกแล้ว ก็ต้องมีก้าวต่อไป อีกส่วนที่ส�าคัญมากๆ ที่โรงเรียนปรินส์ฯ ให้ก็คือ ‘เพื่อน’ ค่ะ เชื่อเสมอว่าคนเราไม่มีทางเป็นคนที่สมบูรณ์ ได้โดยปราศจากเพื่อน แต่เพื่อนในความหมายที่โรงเรียนปรินส์ฯ สอนให้รู้จัก ไม่ใช่เพื่อนที่จะคอยหวังผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน แต่ เป็นเพื่อนที่เดินบนถนนคนละเส้น มีปลายทางชีวิตที่ต่างกันออกไป แต่จะเดินขนานอยู่เคียงข้างกันไปตลอดทั้งชีวิต เมื่อคนใดคนหนึ่งล้ม ก็พร้อมก้าวข้ามเข้ามาช่วยประคอง เมื่อสมัยเด็กๆ ตอนไปงานด�าหัวช่วงสงกรานต์ เคยตั้งค�าถามว่าท�าไมพอถึงเวลาร้องเพลงประจ�า โรงเรียน ทุกคนจะยืนขึ้นร้องด้วยกัน กอดกันร้องไห้ก็มี กอดกันหัวเราะก็เคยเห็น เมื่อก้าวเข้ามาเป็นนักเรียนปรินส์ฯ ตอน ม.4 ถึงได้เข้าใจ และค�าตอบนั้น อยู่บนปกหลังสมุดนั่นเองค่ะ ‘What is a Friend? I will tell you. It is a person with whom you dare to be yourself…’ ไม่ใช่แค่เพื่อนเท่านั้น ยังหมายรวมถึงพี่กับน้องด้วย ตั้งแต่ไปอเมริกา สวีเดน แม้แต่อังกฤษ ดิฉันเจอ ‘เด็ก ปรินส์ฯ’ อยู่ทุกที่ ทุกคนเป็นรุ่นพี่ที่น่ารัก ให้ความช่วยเหลือ ให้ก�าลังใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งตอนไปอยู่ลอนดอนแบบฉายเดี่ยว ไม่รู้จักใครเลย ก็ได้เจอพี่เอก (พิริยะ อาสนจินดา) รุ่นพี่รุ่น “ภีม” ที่ท�างานเป็นสถาปนิกอยู่ที่ลอนดอน พี่เอกให้ความช่วยเหลือเรื่อง ที่อยู่ และให้ค�าปรึกษาหลาย ๆ เรื่องด้วย มันเหมือนเวลาที่เราไม่มีใคร ตัวคนเดียว ปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัยก็มักจะส่งใครสักคนมา ช่วยเสมอ That is P.R.C. ท�าให้มีก้าวส�าคัญในวันนี้ค่ะ”

อยากใหพูดถึงผลงาน

“ตอนนีม้ งี านเขียนด้วยกันทัง้ หมด 4 เรือ่ งค่ะ ทัง้ หมดตีพมิ พ์โดยส�านักพิมพ์อรุณ ซึง่ เป็นส�านักพิมพ์ในเครืออัมรินทร์ จัดจ�าหน่าย ทั้งแบบรูปเล่มและแบบ E-Book ตามล�าดับที่ตีพิมพ์คือ “หนาวหวาน” “เก็บรัก” “มนตร์ธารา” และ “มนตร์ลวงรัก” และที่ก�าลัง จะตีพิมพ์วางจ�าหน่ายในช่วงงานหนังสือเดือนตุลาคมนี้คือ “แรกแสงรัก” ค่ะ”

พูดอะไรกับนองๆ P.R.C.

อย่ า งที่ บ อกค่ ะ ปริ น ส์ ร อยแยลส์ วิ ท ยาลั ย เป็ น พื้ น ที่ ข องโอกาส โอกาสแรกที่ น้ อ งๆ จะสร้ า งให้ ตั ว เองได้ ก็ คื อ การ ‘Dare to be yourself’ โลกนี้ไม่ต้องการไอน์สไตน์คนที่สอง ไม่ต้องการลิโอนาโด ดาวินชีคนที่สอง ไม่ได้ต้องการโมสาร์ตคนที่ สอง หาตัวเองให้เจอว่าชอบอะไร เป็นตัวเอง แล้วท�ามันด้วยความตั้งใจ อดทน พยายาม ไม่มีอะไรเป็นไปไม่ได้ ท�าวันนี้ให้ดี มี P.R.C. Spirit แล้วน้องจะมีเพื่อนคอยร่วมเดิน ร่วมล้ม ร่วมโอบประคอง และชื่นชมยินดีไปกับน้องเสมอ เมื่อวันที่ความส�าเร็จมาถึง

48

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


NISANART UDOMSETH The dream you never start remains a dream forever.

Nisanart Udomseth (Imp) graduated from The Prince Royal’s College in 2010 (Kin). After this, she entered the fi eld of political science through the faculty of social science at Chiang Mai University. Then she moved on to the faculty of political science, after which she earned a Master’s Degree at the school of European studies in Cardiff University in the United Kingdom. She spent eight years abroad, traveling through the United States of America, Australia, Germany, Sweden, the United Kingdom and Wales. She learned many things from these different societies and cultures. When she come back to Thailand, she fused her experiences into her famous romance novel “P.R.C. The Beginning of a Dream” under her pseudonym “Mapa”. Nisanart said that the things that made her dare to follow her dream came from her school, The Prince Royal’s College. “This is the most impression-fi lled story of my entire life. I remember it happened before the summer course in Grade 11. I applied to join the school orchestra. As an aside, I want to say thank you to Aj.Nui (Yutthapol Sakthamjareun) for giving me the chance to participate. It was the beginning point of my life and made me feel that if you dream about something, you should do it, otherwise the dream will remain a dream forever.” The turning point from musician to novelist. “I had an eyesight problem when I was in school. I had Age-related Macular Degeneration. It’s hard for me to see long distances. So, my eyesight problem is an obstacle for the kind of work that involves many details. When I studied in M.6 and it was close to the time for the Entrance exam, I took a rest from reading my text book and switched to reading a novel about the French Revolution. The novel was titled “Les Misérables” by Victor Hugo. At the end of story the protagonist dies by a guillotine, a France execution machine. I felt very sad and was very into the story. So I decided to choose political science for the Quota test. At fi rst I really didn’t know about my career in the future, I just wanted to learn this faculty. From that day until today, even though I didn’t directly apply what I learned in this faculty to a career, I used my knowledge for my romance novel, then developed it further to earn my Master’s Degree. Can you tell us about your vacation time? “I can’t say much about my vacation time because it seems everyone else has more time than me. My vacation began when the university term ended. I had a chance to go to work and travel in the United States of America. The project allowed me to choose where I worked. I chose an amusement park because I want to play and ride the rides (laughing again). Going to a foreign land was the biggest opportunity my parents gave me. I decided to work hard and save money to pay them back, but when I was in the United States, my dad told me, ‘The chance is harder to fi nd than the money. Use it to do what you like.’ Sounds alright! So I traveled all around, from New York City, Washington DC, Chicago, and Niagara Falls to Los Angeles. I was also able to see the Royal Police Cadet Academy. I believe that everything I got and learned followed me until I today. After that year, I had the chance to work in the USA when I graduated.” I heard that you stayed in Europe for many years. “For six years, Europe was the place I wanted to visit since I was young. I like Europe’s architecture, art, music, food and cold temperatures. I decided to go to Australia and started to learn German languages and Hotel Management and got to work in a hotel. I worked in a ski area in The Alps too. I wanted to save money to travel in England. I also worked at Royal Thai Embassy in Stockholm, and traveled in Denmark, Germany, and Switzerland. When I saved enough money, I applied for a Visa to go to England. Can you believe that? When I stood on the Westminster Bridge and could see Big Ben, I felt like my dreams came true! I stayed in London for two years and decided to study for a Master’s Degree. But this decision came from my dad (laughing).” What made you want to write a novel? “I wanted to tell everyone about my life and my feelings in society, all my own opinions. But literary novels can be stressful to write and writing a travelogue did not seem interesting to me. So I created characters connected with my story, with the themes of decisions, love, happiness, sadness, hope, and disappointment. Readers easily connect with these themes, and love is especially close to home. I didn’t expect everyone to read and love my novels. I would have been happy if just one person read my novel, got some idea and applied it in their life. It’s so successful”. Finally, What has P.R.C. given you? “Life” she answers quickly. “As I’ve said, The Prince Royal’s College is a place for opportunity. We choose whether we take that opportunity or not. When we fi nish the fi rst step, another step comes. The important part in my experience was the friendships I made. I believe that people will never be complete without friends. Friends in school means not taking advantage of each other, but friends walking on the road in different lines. The destination of life is different, but moving in parallel, side by side, for the rest of their lives. When one falls, the other steps in to hold them. When I was young, I went to the SongKran Festival at school. I never knew why everyone stands up together, singing, laughing, and crying when the school theme song opens. I got the answer when I became a freshmen in Grade 10. The answer was on the back cover of a book. ‘What is a Friend? I will tell you. It is a person with whom you dare to be yourself…’ This is not only a friend, but a brother and sister. When I visited the USA, Sweden, and even England, I met P.R.C. students everywhere. Everyone was so cute, and they made me feel like a big sister, especially since I had gone to London by myself. I met P’ Aek (Piriya Asanajinda) from “Peem”. He is an architect in London and he helped me fi nd recreation places and gave me great advice. It’s just like when we are alone and need help at P.R.C., and someone comes to help us. That is why P.R.C. has given and continues to give me life.” I want you to tell about your work. “Now, I have four novels published by A-run press in Amarin Pocketbook in book and E-book formats. They are titled The Sweetest Winter, Hopelessly in Love, Mon Tara and Mon luang rak. This October ‘Love at First Light’ will be published. Do you want to say something to students in P.R.C.? “The Prince Royal’s college is the place for opportunity. You can create your fi rst opportunity by ‘Daring to be yourself’. This world doesn’t need the second Einstein, the second Leonardo Da Vinci or the second Mozart. Find yourself and be yourself. Do it intentionally. Everything is possible. Make today the best. If you have ‘P.R.C. Spirit’ you will have friends who walk by your side and rejoice with you when the day of success comes.” Translated by Pornsinee Sinyoo Grade 11 49 Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


FEP : Focused English Program BY Aj. Saifon Leerattanawalee

”P.R.C. : Striving for Excellence in English“ Learning English has become an integral part of studying at The Prince Royal’s College. In an effort to adhere to international standards of education, teachers and administrators try to use innovative and holistic methods of teaching to encouraging creativity and make learning fun. This year the school introduced the Integrated English Program (IEP) and an intensified Focused English Program (FEP). P.R.C. also has more native English teachers than ever before in an effort to cement English into our curriculum and school life.

The Integrated English Program (IEP) In the IEP program, students have an opportunity to study different subjects in English. As the name suggests, English is integrated in their school life inside and outside of the classroom. Students have morning assemblies, scouts and other extracurricular activities in English. This creates an environment that precipitates natural language acquisition. Each IEP classroom is outfitted with a smart board to make learning visual and exciting. Teachers can show videos, photographs and play games to accommodate different learning styles. It’s a hands-on way to attract the attention of young learners because they need see, touch, and hear to process information. 50

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


The Focused English Program (FEP) P.R.C. continues to improve the FEP program by incorporating new, innovative methods of teaching. In English class, students are taught using communicative and active methods. These methods proved to be successful in the past. Last year, six of our FEP students scored 100 on their English O-NET exam. This year the FEP rooms are equipped with new computers so students can interact with and produce digital media. In science, teachers are using the Gakken manual designed to help students conduct hands-on experiments and solve problems independently. In math, ORIGO, a world core math program was introduced to deliver comprehensive coverage by using a combination of print and digital technology. Computer Science is now also taught in English. Students are introduced to programs such as PhotoShop, Microsoft Publisher, Flash and website design. The program has incorporated more technology to make learning more interactive and to help students become digitaly savy in an increasingly computerized world.

Native English Teachers (NETs) P.R.C. has been employing more and more foreign English teachers every year. With more than 50 foreign teachers this year, NETs have an undeniable presence in the school. NETs now have a collaborative environment to share resources and knowledge. Foreign teachers are also more involved in extracurricular activities and student welfare than before. The presence of native speakers in and outside the classroom can provide conversational opportunities that closely mirror conversations in the real world. The diversity of native English speakers also expose the students to a variety of new cultures. Each teacher brings in a unique culture and perspectives and experiences whether they are from US, UK, Australia, Canada, the Philippines or South Africa. This diversity benefits the students by broadening their worldview.

51

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


School Mental Health โดย : อ.ฐาปนิก พญามงคล

นักจิตวิทยาหวั่นเฟซบุ๊กท�ำเด็กหลงตัวเอง

มีปัญหาสุขภาพ

นักจิตวิทยาในแคลิฟอร์เนียระบุ บริการเครือข่ายสังคมอย่างเฟซบุ๊ก (Facebook) มี ความเสีย่ งทำ�ให้เด็กกลายเป็นคนหลงตัวเองและมีปญ ั หาด้านสุขภาพอืน่ ตามมา เช่นเดียวกับ ปัญหาสุขภาพที่มักพบในเด็กติดอินเทอร์เน็ตและเกมส์คอมพิวเตอร์ แลร์รี่ โรเซน (Larry Rosen) ศาสตราจารย์นักจิตวิทยาจากสถาบัน Dominguez Hills ของมหาวิทยาลัย California State University นำ�เสนอผลงานวิจยั เรือ่ งผลกระทบจากกระแสความนิยมเครือ ข่ า ยสั ง คมในวงกว้ า งที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น กั บ เด็ ก ในงานประชุ ม สมาคมนั ก จิ ต วิ ท ยาอเมริ กั น American Psychological Association เมือ่ ปลายสัปดาห์ทผี่ า่ นมา โดยระบุวา่ ปัญหาสุขภาพ ทีอ่ าจเกิดในเด็กทีใ่ ช้งานบริการเครือข่ายสังคมออนไลน์คอื ความเสีย่ งเป็นโรคกระเพาะอาหาร มีปัญหานอนไม่หลับ วิตกกังวล และเสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้า ข้อสรุปนี้มีลักษณะเหมือนกับเด็ก ที่ใช้งานบริการเทคโนโลยีทั้งวิดีโอเกมส์และอินเทอร์เน็ตมากจนเกินไป โดยโรเซนนั้นเป็นผู้ ศึกษาพฤติกรรมวัยรุ่นที่ใช้เทคโนโลยีมากเกินไปมานานกว่า 20 ปี แต่สิ่งที่แตกต่างคือสาวก เครือข่ายสังคมมีความเสี่ยงเป็นคนหลงตัวเองหรือ narcissistic เนื่องจากอิสระในการเผย แพร่ข้อมูลของตัวเองได้มากและบ่อยเท่าที่ต้องการ ไม่เพียงแต่เด็ก ดร.โรเซน ระบุว่าผู้ใหญ่ และคนส่วนใหญ่ที่ใช้เครือข่ายสังคมล้วนมีแนวโน้มเกิดปัญหาด้านจิตวิทยาที่รุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะปัญหาด้านบุคลิกภาพทีส่ ะท้อนในรูปการต่อต้านสังคม อาการจิตหวาดระแวง และ อาจมีแนวโน้มหันไปพึ่งพา เหล้ายา เครื่องดื่มแอลกอฮอลล์ ทัง้ หมดนี้ ศาสตราจารย์โรเซนสรุปมาจากการสัมภาษณ์นกั เรียนทีเ่ ล่นเครือข่ายสังคมนาน 15 นาทีกว่า 300 คน และวัยรุน่ กว่า 1,000 คนทีร่ ว่ มตอบแบบสอบถาม โดยพบว่าวัยรุน่ กลุม่ ตัวอย่างกว่า 42% บอกว่าสามารถพิมพ์ขอ้ ความบนอุปกรณ์ไอทีได้แม้จะมีผา้ ปิดตาอยู่ งานวิจัยของโลเซนสอดคล้องกับการศึกษาก่อนหน้านี้ที่พบว่าชาวเครือข่ายสังคมนั้น ใช้งานบริการอย่าง facebook และ twitter ชนิดไม่เลือกเวลา โดยเมื่อเดือนมีนาคม 2010 การสำ�รวจพบว่าผู้ใช้ facebook และ twitter กว่า 48% อัพเดทข้อมูลเวลากลางคืนหรือ ทันทีที่ตื่นนอน โดย 19% ของกลุ่มที่มีอายุต่ำ�กว่า 25 ปีนั้นอัพเดทสถานะทุกเวลาที่ลืมตาตื่น กลางดึก นีไ่ ม่ใช่ครัง้ แรกทีพ่ บว่าเครือข่ายสังคมนัน้ ส่อแววมีผลกระทบต่อการสือ่ สารในสังคม มนุษย์ เพราะการสำ�รวจก่อนหน้านี้พบว่าผู้หญิง 57% ของกลุ่มตัวอย่างยอมรับว่าพูดคุยกับ เพื่อนบนโลกออนไลน์มากกว่าเพื่อนที่เห็นหน้ากัน และ 39% ระบุว่าตัวเองเป็นผู้"เสพติด facebook" ข้อมูลโดย ASTV ผู้จัดการออนไลน์ เว็ปไซต์อ้างอิง : http://www.manager.co.th 52

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


Psychologist claims Facebook users tend to be narcissistic A psychologist from California has claimed that social networks like Facebook tend to make young users vain and self-centered, possibly causing the same health problems found in children who are addicted to the internet and computer games. Larry Rosen, a professional psychologist from Dominguez Hills Institute of California State University, submitted his research about social networking and mainstream media’s effects on adolescents at the American Psychologist Association convention last week. He mentioned that those who regularly use social networks are more likely to get stomach ulcers, suffer from insomnia, confront anxiety, and become depressed. After his studies, which were conducted over 20 years, Rosen claimed that social media websites encourage self-promotion due to how these websites function. Not only does this problem exacerbate the insecure teenage years, but those in adulthood as well. The impacts of mental disorders on adults are even worse when considering the possibility of them turning to alcohol when suffering from social network depression. Professor Rosen gathered this information by interviewing 300 students who use social networks for more than 15 minutes a day. In over a thousand teenagers who applied for the interview, 42% of the sample teenager group could type a message on their phones and computers even if their eyes were covered. Rosen’s research also conformed to previous studies which found that social networkers use these websites compulsively, as though they are addictions. In March 2010, the survey result found that around 48% of people who use Facebook and Twitter usually update information at night or as soon as they wake up. 19% of teenage users always update their status when they wake up during the night. This is not the first time researches have realized that social networks affect how people communicate. Research has found that 57% of women sampled confessed that they typically chat online more than talk in person and 39% of them identified themselves as Facebook addicts.

53

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.

Translated by Purichaya Shinawatra Chanya Khamkhananon Mathanaphada Prasertdee (10th grade)


- ฮิปสเตอร์ อ.ภัทราณี เวียงนาค

นักเรียนมักถามกันอยูบ่ อ่ ย ๆ ว่า “ ครูเป็นฮิปสเตอร์รเึ ปล่าครับ ? ” เป็นคำ�ถามที่ชวนให้ฉงนยิ่งกับคนที่เคยได้ยินคำ�ว่า “ฮิปสเตอร์” (Hipster) ครั้งแรก ขณะนั้นคิดว่า “ฮิปสเตอร์” อะไรนี่น่าจะหมายถึง “เด็กแนวรึเปล่านะ! หรือมีที่มาจากคำ�ว่า ฮิปปี้ส์” (Hippies) ในฐานะครูภาษาไทยตัวเล็กๆ ที่ไม่ค่อยได้เชื่อมกับโลก ออนไลน์อะไรมากนัก ช่างเป็นคำ�ที่ชวนให้ค้นหาความหมาย เสียเหลือเกิน จุดเริ่มต้นของคำ�ถามข้างต้นสำ�หรับฉัน คงจะเป็นเพราะ “อินสตาแกรม” (Instagram) ที่ซึ่งเอาไว้เก็บเรื่องราวดีๆ ของตัวเอง รูปถ่าย กับเพื่อนที่สนิทๆ กัน จนทุกวันนี้มีนักเรียน มาติดตามอยู่บ้าง ช่วงแรกของการโพสต์ ก็จะเป็นรูป นักศึกษาวัยใส วัยกำ�ลังฝัน เริ่มการเดิน ทางไปนั่นไปนี่ ก็คิดว่านั่นเป็นความสุข แต่ช่วงหลังมานี้กลับเป็นรูปที่ตั้งใจถ่าย มากขึ้น และตั้งใจจัดองค์ประกอบให้ออก มาสวยงาม นี่กระมังจึงเป็นที่มาของข้อครหา ว่า “เราเป็นฮิปสเตอร์” ที่ผ่านมาเคยเห็นแต่คำ�ว่า “ฮิปปี้ส์” “คือพวกที่ไม่อยู่ในกรอบและปฏิเสธสังคม อุตสาหกรรม ปฏิเสธการใช้ชวี ติ อันทีเ่ ป็นเหตุผล แต่จะมุง่ ใช้ชวี ติ ทีค่ กุ รุน่ ไปด้วยอารมณ์แบบ Romantic คำ�ว่า Hip ว่ากันว่า หมายถึงชือ่ จังหวะการเต้นรำ�ซึง่ มีการส่ายสะโพก เมือ่ กว่า 30 ปีกอ่ นของอเมริกา แต่ค�ำ ว่า Hipster อาจมาจากสองคำ�ประกอบกันด้วย คือคำ�ว่า Hip เป็นคำ�แสลง ทีห่ มายถึง คนตามแฟชัน่ (แต่โดยตัวศัพท์แล้วหมายถึงสะโพก) แล้วมาประกอบกับคำ�หลังคำ�ว่า ster ใช้เติมเพือ่ ให้เห็นชัดว่าเป็นคำ�นาม หมายถึง คนที-่ (แปลจากหลังไปหน้า)” จากหนังสือ “ หลงกลิ่นกัญชา” ของรงค์ วงษ์สวรรค์

ด้วยเหตุน้ี “ฮิปสเตอร์” จึงถูกจำ�กัดความหมายว่า “คนทีว่ ง่ิ ตามแฟชัน่ หรือสมัยนิยม” มารู้ตอนหลังว่า สังคมไทยเข้าใจ Hipster ในทำ�นองว่า “คนที่หลุดออกจากกรอบของ สังคม คนเป็นตัวของตัวเอง” ตามทีเ่ หล่าวัยรุน่ มักเข้าใจกัน ในโลก social media ก็ให้ คำ�จำ�กัดความของคำ�นี้ไปต่างๆ นานา เช่น ฮิปสเตอร์ต้องปั่นจักรยาน เลี้ยงแมว ปลูก กระบองเพชร นั่งร้านกาแฟ ดูหนัง – ฟังเพลงตามกระแสอย่างที่ สังคมกำ�หนดกรอบ ดูแล้ววิถีแบบนี้ช่างวุ่นวายไม่น้อยสำ�หรับฉันเอง สำ�หรับตัวฉันแล้วไม่เห็นว่ามันจะเป็นวิถีที่หลุด กรอบแปลกแยก หรือถึงขั้นดีมากพอให้ใครซัก คนเอาเวลามาทิ้งขว้าง และหมดเปลืองไปกับ การพยายามวิ่งตามให้ทันกระแส เพื่อแลก กับการสร้างข้อจำ�กัดให้ตัวเอง แต่หากดูเผินๆ Hipster มันเหมือน กับลัทธิหนึ่งที่เกิดขึ้นใหม่ในสังคมไทย ซึ่ง ไม่แปลกเพราะสังคมเราเป็นสังคมที่วิ่งตาม ตะวันตกอยู่แล้ว สำ�หรับคนไทย “ฮิปสเตอร์” อาจเป็นสิ่งใหม่ แต่ที่จริงในสังคมตะวันตก มัน มีมานานแล้ว สรุปง่ายๆ คือ “เรายืมเขามา” เช่นเดียวกันกับอีกหลายๆ สิ่งอย่างที่เกิดในสังคมไทย มันมักจะเกิดขึน้ จากกลุม่ คนวัยหนุม่ สาว เป็นวัยทีผ่ ลิดอก ออกผล ในลักษณะที่กึ่งรู้และกึ่งไม่รู้ หลายๆ อย่างที่เกิดขึ้นจากการบุกเบิกและ สร้างสรรค์ของตัวเองจึง มีทั้งที่ดีและไม่ดีปนกันไปอย่าง ก็ไม่รู้แน่ชัดว่า “จะเรียกว่าน่า ชื่นชมดีหรือเปล่า ? ”

54

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


Hipster

among teenagers, “hipster” is defined in many different ways. For instance, It’s a confusing question for someone who has just heard “hipsters” must ride a bike, plant a cactus, chill out at coffee shops and the word “hipster” for the first time. At the time, I thought that “hipster” also watch and listen to things that aren’t popular in the mainstream yet. might be something like “individualist” or it might relate to the word It seems like a confusing life to me. “hippies”. For me, I didn’t think that it’s strange or uninteresting for someone Being a young Thai teacher, I don’t always have contact with to research or follow new things or to try to be like others. But if we look social media, but the question of the word “hipster” inspired me to more closely, being a “hipster” is like one of the new creeds in Thailand, a trend, based on the West. find out the definition for myself. Being “hipster” may be new for Thais but in Western society, The beginning of my quest into my own hipster-ness was on Instragram, “hipsters” have existed for a long time. In short, we have borrowed their where I collect good memories and some pictures with my close friends. coolness. Some students follow me on the app as well. Young people propel society more than we think, and youth is a My earliest posts are pictures as a freshmen student, my era of dreaming and travelling to many places. I just thought that collecting good time to decide what you like and what you care about. You can learn these photos made me happy and were a collection of my happiness. or create something completely new. Many “hip” movements start from But then, I spent more concentrating on these pictures. I had tried to reclamation and creative energy, but there can be good or bad outcomes edit and manage all the images so that they would be more beautiful depending on how they are used, or borrowed. We don’t clearly know whether we will be glad or not to be borrowing so much from other cultures. and I thought this might be the reason why I am called “hipster”. In the past, I only knew the word “hippy”, so I searched into Translated by the roots of this word as well. A “hippy” is person who thinks outside Nuttakitta Nakum of the box and denies industrial society as well as a logical lifestyle. Tonsai Rakchana Their lives are filled with romantic notions. “hippies” were against war Tanaporn Ratajaroen in America in the 1960s and 70s. The word “hip” was also known as a )10th grade( style of American hip-shaking dancing 30 years ago. So the word “hipster” consists of two words related to “hip”. It’s a slang word that means a fashionable like if you call someone a “hip” guy or girl and is compounded with the word “ster” which points out that this word is a noun. For this reason, “hipsters” are defined as “fashionable”. Thai people understand the meaning of this word as a person who lives apart from social convention and is self- confident. On social media

I am always asked by students, “Are you a hipster?”

55

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


P.R.C. ASEAN Way

เปดประตูสูกัมพูชา เมื่ อ วั น ที่ 8 มิ ถุ น ายน 2558 คณะผู้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นปริ น ส์ ร อยแยลส์ วิ ท ยาลั ย ให้การต้อนรับคณะ ผูบ้ ริหารจาก NTC Group น�าโดย Mr.Chea Thilay เจ้าของ NTC Group และคณะ ผู้บริหารจัดการ 20 โรงเรียนสุวรรณภูมิ และ 5 โรงเรียนนานาชาติของประเทศ กัมพูชา ในโอกาสลงนามเพือ่ ร่วมด�าเนินงานโครงการและกิจกรรมต่างๆ ในการพัฒนาคุณภาพ ด้านการศึกษาของทั้งสองสถาบันในอนาคต คณะผู้ บ ริ ห ารจาก NTC Group ร่ ว มเยี่ ย มชมการเรี ย นการสอนภาษาอั ง กฤษ การเรียน STEM การเรียน Robot และการเรียนการสอนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จากนั้นได้เยี่ยมชมห้องเกียรติประวัติ ศึกษาประวัติศาสตร์ของโรงเรียน ห้องดูดาว และ ชมภาพยนตร์ 3 มิติ ณ อาคาร 100 ปี สถาบันแฮรีส การลงนามความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย และโรงเรียนสุวรรณภูมิในครั้งนี้ ถือเป็นการร่วมกันพัฒนาด�าเนินงาน โครงการและกิจกรรม ต่างๆ ในการพัฒนาคุณภาพด้านการศึกษาของทั้งสองสถาบันในอนาคต ทั้งในด้านของ โปรแกรมการศึ ก ษา โปรแกรมบู ร ณาการ การออกแบบหลั ก สู ต ร โครงการพั ฒ นาครู มืออาชีพ ระเบียบวินัยของนักเรียน ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ การออกแบบและ การวางระบบ Software และระหว่างวันที่ 29 มิถุนายน - 9 กรกฎาคม 2558 คณะด�าเนินงานโครงการฯ ได้เดิน ทางไปประชุมร่วมกับ ดร. Hang Chuon Naron รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ เยาวชน และกีฬา ราชอาณาจักรกัมพูชา ท่านทูตณัฐวุฒิ โพธิสาโร เอกอัคราชทูตไทย ณ กรุงพนมเปญ พลเอกวาภิรมย์ มนัสรังษี สมุหราชองครักษ์ ประธานคณะกรรมการโครงการพระราชทาน ความช่วยเหลือแก่ราชอาณาจักรกัมพูชาด้านการศึกษา และผู้บริหาร โรงเรียนสุวรรณภูมิใน ราชอาณาจักรกัมพูชา (NTC Group) เพื่อร่วมหารือและวางแผนการด�าเนินโครงการโรงเรียน เพือ่ นบ้านอาเซียน: ค่ายอาสาพัฒนา The Regional ASEAN Service to Learn Camp 2016 ครั้งที่ 4 ที่จะมีขึ้นในเดือนมีนาคม 2559 ณ โรงเรียนกัมปงเฌอเตียล อ�าเภอปราสาทซอมโบว์ เมื อ งกั ม ปงธม ซึ่ ง เป็ น โรงเรี ย นที่ ส มเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ได้พระราชทานให้กับราชอาณาจักรกัมพูชา และโรงเรียนสุวรรณภูมิ (Don Penh และ Siem Reap Campus) ราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งโครงการครั้งนี้ ทางได้รับความร่วมมือและ ให้การสนับสนุนในด้านต่างๆ ดังนี้ - ที่พัก อาหารให้กับนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ - จั ด นั ก เรี ย นร่ ว มเป็ น บั ด ดี้ กั บ นั ก เรี ย นไทยในการร่ ว มกั น เรี ย นรู้ ศิ ล ปวั ฒ นธรรม สถานที่ส�าคัญต่างๆ ในเมืองเสียมเรียบ - จัดวิทยากร บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี และ วัฒนธรรมของประเทศกัมพูชา และทัศนศึกษาในแหล่งเรียนรู้ต่างๆ

56

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


P.R.C. ASEAN Way

Open the door to Cambodia On 8 June 2015, the administration of the Prince Royal’s College welcomed a delegation from the NTC Group led by owner, Mr. Chea Thilay and the administration of 20 members from Suvarnabhumi School, as well as fi ve from the International School of Cambodia. The two parties signed an agreement to help each other develop projects and activities to enhance the quality of education in both institutions in the future. The administration from the NTC Group had a chance to explore English language teaching, STEM learning, Robot learning and primary school classes. They also visited an exhibition room featuring the history of the school, the auditorium room and the 3D theater at the 100 Years Building in the Harris Institute. The signing of the amity agreement and collaboration between PRC and the Suvarnabhumi School marked the opportunity to help each school enhance the quality of education for both institutions. Areas of improvement include the school syllabi, integrated learning programs, curriculum design, professional teacher training, vocational teacher training, students’ discipline, library design, the computer workshop room, software design and system development. From 29 June - 9 July 2015, the project team will travel to meet with Dr. Hang Chuon Naron, Minister of Education, Youth and Sports, the Kingdom of Cambodia, HE Ambassador Nutthawut Pothisaro, of the Thai Embassy in Phnom Penh, Gen. Waphirom Manasrangsi, Chief Aide-de-Camp and President of the Royal Project for Assistance for the Education of the Kingdom of Cambodia and the administration of the Suvarnabhumi School in the Kingdom of Cambodia (NTC Group) in order to meet and set out a plan for collaborating on school projects with ASEAN neighbors. The Fourth Regional ASEAN Service to Learn Camp 2016 will be held in March 2016 at Kampong Chertial School in Prasat Sombow, Kampong Thong, the school given to the Kingdom of Cambodia by HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn and the Suvarnabhumi School (Don Penh and Siem Reap Campus) in the Kingdom of Cambodia. To make this project possible, the School has given the following contribution; - Lodging and food for the participating students - Providing a buddy student for each of the Thai students in order to exchange and visit sites of cultural and artistic importance in Sieam Reap - Provide resource people to speak on the traditional way of life, culture and tradition of Cambodia while conducting site visits.

57

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.

Translated by Tara Udomittipong (11th grade)


P.R.C. Band : Music Tips โดย : อ.ธนบดี เกษสุวรรณ

พัฒนาด้านสติปัญญา

สวัสดีครับ กลับมาอีกครั้งกับ

Music Tips ฉบับนี้เราอยากจะชี้ให้ ทุกๆ ท่านเห็นถึงคุณประโยชน์ของ การเล่นดนตรี และฟังดนตรีที่มี มากกว่าแค่ความสนุกสนานเพลิดเพลิน เพราะจริงๆ แล้วดนตรียังประโยชน์อีก หลายๆ ด้านซึ่งในฉบับนี้ขอหยิบยกมา เล่าให้ทุกท่านได้รับทราบเพียง 3 ข้อ สั้นๆ ครับ

เป็นที่ทราบกันดีว่าดนตรีสามารถช่วยพัฒนาในด้านสติปัญญาได้ เนื่องจากในขณะที่เล่นดนตรีนั้น สมองทั้งสองซีกจะถูกใช้งาน พัฒนา และสามารถทำ�งานประสานสัมพันธ์กันได้ดีขึ้น โดยในขณะที่อ่านโน้ต เพลง จำ�โน้ตเพลง และปฏิบัติเครื่องดนตรีนั้น สมองซีกซ้ายซึ่งเป็นสมองส่วนที่ทำ�หน้าที่ในเรื่องของการใช้ ภาษา การเขียน การอ่าน ทักษะด้านการคำ�นวณ การคิดวิเคราะห์ การใช้เหตุผล และการควบคุมการทำ�งาน ของมือขวาจะทำ�งานอย่างเต็มที่ ในขณะเดียวกันนั้นเองสมองซีกขวา ที่เป็นสมองในส่วนที่ควบคุมในด้าน ความเข้าใจ การเห็นภาพสามมิติ การใช้จินตนาการในการดำ�เนินชีวิต รวมทั้งควบคุมการทำ�งานของมือซ้าย ก็ยังทำ�งาน และได้รับการพัฒนาไปพร้อมกันจากการซึมซับต่อความไพเราะ ความสนุกสนาน และอารมณ์ ต่างๆในบทเพลงที่บรรเลง ดังจะเห็นได้จากการทดลองของ Dr. Georgi Lozanov ที่ได้ทดลองจัดการเรียน การสอนดนตรีควบคู่กับการเรียนปกติในโรงเรียนประถมศึกษา ประเทศบัลกาเรีย โดยปกติแล้วจะใช้เวลา เรียนจนจบหลักสูตรเป็นเวลา 4 ปี แต่กลุม่ นักเรียนทีเ่ รียนดนตรีควบคูไ่ ปด้วยใช้เวลาในการเรียนจนจบหลักสูตร เพียงแค่ 2 ปี เนื่องมาจากการพัฒนาของสมองที่รวดเร็วกว่า นอกจากนี้ใน Mission Viejo High School รัฐ แคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกายังได้นำ�วิธีการของ Dr. Georgi Lozanov ไปทดลองเพิ่มเติมปรากฏว่า นักเรียนกลุม่ ทีเ่ รียนดนตรีควบคูน่ นั้ มีคะแนนเฉลีย่ สะสม (GPA) โดยรวมอยูท่ ี่ 3.57 ในขณะทีก่ ลุม่ ทีไ่ ม่ได้เรียน ดนตรีควบคู่คะแนนเฉลี่ยสะสม (GPA) โดยรวมอยู่ที่ 2.91 เท่านั้น นอกจากการพัฒนาของสมองทั้งสองซีก แล้วการเล่นดนตรียังเป็นการฝึกสมาธิชั้นเยี่ยมอีกด้วย ซึ่งการมีสมาธิที่ดีก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่จะสร้างการเรียน รู้ที่รวดเร็วขึ้น 58

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


พัฒนาด้านอารมณ์ นอกจากจะพัฒนาทางด้านสติปญ ั ญาแล้วดนตรียงั สามารถพัฒนาทาง ด้านอารมณ์หรือที่เรียกกันติดปากว่า Emotional Quotient (EQ) ซึ่งก็คือ ระดับความสามารถในการควบคุมอารมณ์ การมองโลกในแง่ดี การมีมนุษย์ สัมพันธ์ที่ดี การปรับตัวเข้าสังคม และการมีปฏิสัมพันธ์ทางอารมณ์กับผู้อื่น ที่ ดนตรีสามารถพัฒนาด้านอารมณ์ได้นั้นเป็นเพราะสมองของมนุษย์สามารถ จำ�แนกความแตกต่างของอารมณ์เพลงในแบบต่างๆ ได้โดยอัตโนมัติ ไม่ว่าจะ เป็นสุข เศร้า เหงา กลัว ทั้งยังส่งคลื่นไฟฟ้าสมองไปยังระบบประสาทต่างๆ โดยอัตโนมัติ เช่น อัตราการเต้นของหัวใจ อุณหภูมริ า่ งกาย การเกร็งของกล้าม เนือ้ จากทีก่ ล่าวมาทำ�ให้ดนตรีเปรียบเสมือนกับสถานการณ์จำ�ลองของอารมณ์ ในแบบต่างๆ ที่มนุษย์ทุกคนต้องเผชิญ เพราะฉะนั้นผู้ที่เล่นดนตรี หรือฟัง ดนตรีมากๆ จึงเป็นเหมือนกับการฝึกซ้อมในการที่จะรับมือกับอารมณ์ของ ตนเอง และผู้อื่นในแบบต่างๆ เมื่อเจอเหตุการณ์จริงจึงไม่หวั่นไหว และ แสดงออกได้อย่างเหมาะสม

Hello, welcome back to “Music Tips”. In this issue we would like to tell you about the beneffiits of playing an instrument and listening to music. It is more than just amusement. In fact, music is advantageous in our lives in many ways. In this issue we will share three topics with you.

พัฒนาด้านบุคลิกภาพ

ดนตรีสามารถช่วยพัฒนาบุคลิกภาพได้อย่างชัดเจนเนือ่ งด้วยในขัน้ ต้น ของการเล่นเครือ่ งดนตรีในแต่ละชนิดนัน้ ผูเ้ รียนจะถูกสอนในเรือ่ งของการนัง่ การยืน หรือแม้กระทั่งการเดิน หรือที่มักจะเรียกรวมๆกันว่า Posture เพราะ การมี Posture ทีด่ จี ะนำ�มาซึง่ คุณภาพเสียงทีด่ ี และง่ายต่อการพัฒนาในภาย ภาคหน้า ซึง่ Posture เหล่านีเ้ ป็นจุดเริม่ ต้นของบุคลิกภาพทีด่ ี อีกส่วนซึง่ เป็น ที่รู้กันดีว่าผู้ที่มีความมั่นใจ และกล้าแสดงออกก็มักจะเป็นผู้ที่มีบุกคิกภาพที่ดี ซึง่ ในส่วนนีด้ นตรีกส็ ามารถช่วยได้อย่างชัดเจนเพราะเมือ่ เล่นดนตรีไปในระดับ หนึ่งก็จำ�เป็นที่จะต้องออกแสดงต่อหน้าสาธารณะชน และมักจะได้แสดงอยู่ เป็นประจำ� ทำ�ให้ช่วยเสริมสร้างได้ทั้งความมั่นใจในตัวเอง และการกล้า แสดงออก

“เห็นถึงประโยชน์ของดนตรีแบบนี้แล้วก็อยากเชิญชวนให้ทุกๆท่าน

หันมาเล่นดนตรี ฟังดนตรีกันเถอะครับ พบกันใหม่ฉบับหน้า สวัสดีครับ

Intellectual Development

As we know, music can develop our intellect. While playing music, both sides of the brain are used, developed, and work better together as a result while we are reading notes, remembering notes and physically playing the instrument. The left cerebral hemisphere (left-side brain), which controls language, writing, reading, calculating, analyzing, and reasoning is fully working at that time. At the same time, the right cerebral hemisphere (the right-side brain), which controls understanding, seeing three-dimensionally, imagination, and left hand motor controls is working and also develops from absorbing sweet-sounding, enjoyable, engaging music. From Dr.Georgi Lozanov’s experimental research showing that learning music together with normal education in Bulgarian primary schools produces great results. Researchers have seen that students perform better when music education is mixed in with regular education. In Dr. Lozanov’s research, genarally it takes four years to graduate but these students took only two years. Furthermore, in Mission Viejo High School in California, U.S. researchers did an additional experiment to Dr. Georgi Lozanov’s. The results showed that the students who learned music as well as regular subjects had a 3.57 overall GPA. On the other hand, the normal students had only a 2.91 overall GPA. Besides developing both sides of brain, playing music is also one of the best ways to train meditation. Having good concentration is one of the factors that enhances learning music and other subjects. 59

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


Emotional Development

Aside from intellectual and musical development, emotional development or an increased Emotional Quotient (QC) develops with music as well. The QC is the level of the ability to control emotions, resulting in more positive thinking, good relationships, and better adjustment in society. Music can help emotional development because human brains can classify the difference between emotional songs automatically as happy, sad, or scared and send the appropriate electroencephalograms to the nervous system the same way as with heart rate, body temperature, and convulsions. In all the abovementioned, a piece of music or a song is a hypothetical emotional situation. So those who play or listen to music frequently get more practice in how to handle their emotions and the emotions of others. When they come into real-life situations, they know what to do.

Personality Development Learning how to play music develops a person’s character from the beginning. Novices have to learn to have proper sitting, standing and even walking postures. Having a good posture is required for the best quality singing and instrument playing. Maintaining a good posture and the discipline required is also the starting point of good personality. People are drawn to confidence. Music is clearly helpful to develop the attribute of confidence because performing in public requires a possession of oneself and the preparedness and calmness to play. As you can see, learning music is full of benefits. So I would like to invite you to learn and listen to music. See you next issue.

Translated by

Anna Mesaman Thanakarn Chaiboon Chabordee Keawussadon Worawaran chaiwipassatorn Nutthanicha kaweera Nattaporn Rattanaphom (11th grade) 60

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


Student’s talk

สิ่งสําคัญของความสําเร็จ นายกรธวัช สําราญ ป.ร. 35897

แรงบันดาลใจสําคัญในการเปนนักกีฬาข�่มาคือ “พอ”

พ่อของผมท่านมีอาชีพเป็นทหารม้า จากสิ่งนี้ท�าให้ผมอยากขี่ม้ามาตั้งแต่ตัวเล็กๆ ท�าให้ชีวิตการขี่ม้าของผม เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่อายุ 8 ขวบ ความรู้สึกผูกพันกับม้าก็เริ่มต้นขึ้นพร้อมๆ กัน ทุกวันนี้ผมเห็นเขาเป็นเพื่อนสนิทของผมคน หนึง่ ฝีมอื การขีม่ า้ ของผมมีขนึ้ เรือ่ ยๆ ตามอายุ และเวลาทีใ่ ช้กนั มัน และโอกาสก็ได้เกิดขึน้ กับผม ต้องขอบคุณผูท้ ใี่ ห้โอกาส และให้การสนันสนุนความส�าเร็จนี้ ท่านเป็นเลขาสมาคมกีฬาขี่ม้าแห่งประเทศไทย ผู้ผลักดันผมจนเข้าสู่วงการกีฬาระดับ ชาติเป็นหนึ่งในนักกีฬาทีมชาติ

แตวามันไมไดงายอยางที่คิด

โค้ชหรือผู้ฝึกซ้อมของผมนั้นท่านอยู่ที่กรุงเทพฯ ในปีแรกที่ผมขี่ม้ากับโค้ชผมต้องเดินทางเชียงใหม่–กรุงเทพฯ กรุงเทพ ฯ–เชียงใหม่ทุกวันเสาร์-อาทิตย์ กิจวัตรประจ�าสุดสัปดาห์ก็คือ ทุกวันศุกร์หลังเลิกเรียนผมก็ต้องกลับบ้านอย่าง รวดเร็วเพื่อเตรียมตัวเดินทาง จากนั้นก็ต้องไปนั่งรถทัวร์ และถึงกรุงเทพฯ เช้าวันเสาร์ โดยใช้รถทัวร์เป็นที่นอนหลับพัก ผ่อน พ่อจะมารับที่สถานีรถ แล้วก็ไปซ้อมที่คอกม้าของโค้ช พอวันอาทิตย์ตอนเย็นผมก็นั่งรถทัวร์กลับเชียงใหม่ และ ถึงสถานีรถตอนเช้าวันจันทร์ แม่จะมารับกลับบ้าน ผมต้องรีบอาบน้�า แต่งตัวไปโรงเรียนต่อ ชีวติ ตอนนั้นผมยังเรียนอยู ่ ม.4 การแบ่งชีวิตส�าหรับการฝึกซ้อม กิจกรรมทางโรงเรียนทีค่ ่อนข้างมากมาย ท�าให้ เวลาเรียนส�าหรับผมลดน้อยลง สิง่ นีท้ า� ให้ผมต้องแบ่งเวลาให้ถกู และให้เป็น และใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ทสี่ ดุ ผมต้องเรียน ให้ทันเพื่อน ต้องท�างานล่วงหน้าเผื่อช่วงที่ไม่อยู่ และในบางทีก็ต้องกลับมาสอบทีหลังเพื่อน เวลาว่างจากการฝึกซ้อมคือ ทบทวนบทเรียน ปี 2013 ผมเดินทางไปเก็บตัวฝึกซ้อมที่พัทยา 2 สัปดาห์ เพื่อเตรียมตัวส�าหรับการแข่งขันเอเชียนเกมส์ ปี 2014 นัน่ ก็หมายความว่าผมจะต้องลาหยุดเรียนยาว ดีทตี่ ามมาหลังจากนัน้ ก็คอื ผมผ่านเกณฑ์และได้ไปเก็บตัวต่อทีฝ่ รัง่ เศส ในช่วงตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์จนถึงสิงหาคม ผมจึงต้องรีบจัดการทุกอย่างที่โรงเรียนให้เสร็จ เพื่อที่ผมจะได้เดินทางไปเก็บ ตัว ทั้งการสอบ งานส่งครูทุกวิชา สารพัดเรื่อง แต่ที่โชคดีคุณครูทุกท่านเข้าใจผมและก็พยายามหาทางช่วยมาโดยตลอด ชีวิตก็ไม่โชคดีอย่างเดียว ข่าวร้ายเดินทางมาหลังจากที่ผมไปถึงฝรั่งเศสได้หนึ่งสัปดาห์ คือ “ผมไม่สามารถ แข่งขันได้” เพราะทางเกาหลีเจ้าภาพการแข่งขันเปลีย่ นกติกาการแข่งขันใหม่ให้จากเดิมก�าหนดให้ผมู้ สี ทิ ธิเข้าแข่งขันมีอายุ 16 ปี ขึ้นไป กลายเป็น 18 ปี ขึ้นไป ดังนั้นผมจึงต้องกลับมาประเทศไทย ผมเสียใจมากกับเหตุการณ์ครั้งนั้นแต่ก็ถือว่า เป็นโอกาสที่ดีที่ได้ไปอยู่ฝรั่งเศสถึง 4 เดือน และคิดอยู่เสมอว่า “ครั้งนี้คงยังไม่ใช่โอกาสของผมและก็คิดว่าผมควรท�าตัว ให้พร้อมส�าหรับโอกาสครั้งต่อไปที่จะมาถึงในครั้งที่ผมสามารถแข่งขันได้” ส�าหรับชีวิตเด็กคนหนึ่ง ไม่ง่ายเลยที่จะท�าอะไรทั้ง 2 อย่างไปพร้อมๆ กัน แต่ก็ไม่ใช่เรื่องยากถ้าเราจะท�า เพียง เราต้องรูจ้ กั แบ่งเวลาให้ถกู ทัง้ ต้องเรียนหนังสือและต้องฝึกซ้อมหนัก “เราต้องมีความอดทน ความรับผิดชอบ และทีส่ า� คัญ คือระเบียบวินัย ที่เราต้องบังคับใจตัวเองให้ได้” เจาของเหรียญทองแดง กีฬาขี่มากระโดดขามเครื่องกีดขวาง ประเภททีม งานกีฬาซีเกมส 2015 ณ ประเทศสิงคโปร

61

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


Student’s talk

The most important thing to achieve in life “Father” is my powerful inspiration to be an equestrian.

My father is a cavalryman. His infl uence made me want to ride horses since I was young. I began practicing as a jockey starting from when I was eight years old. The relationship between my horse and me started at the same time. Nowadays, I think he is one of my best friends. My jockey skills have been developing for a long time, thanks to time, opportunity, and the support of people who care about me. Specifi cally, I want to thank the person who gave me a chance and supported me. He is the secretary of the Thailand Equestrian Federation and he pushed me forward to become a Thai national athlete.

However, it isn’t as easy as we think.

My coach lives in Bangkok. In my fi rst year of practicing jockeying with my coach, I had to travel from Chiang Mai to Bangkok and from Bangkok to Chiang Mai every week. My weekend routine was to come home from school early so that I could pack. After that, I had to travel by overnight bus. Then, I would arrive in Bangkok the next morning. My father would pick me up at the bus station and then I went to my coach’s stable for practice. When Sunday came, I had to take a bus back to Chiang Mai in the evening and the bus would actually arrive at the station on Monday morning. After that, my mother would wait for me and take me home. When I reached home, I had to rush my shower and quickly get dressed to go to school. In that time of my life, I was in Mathayom 4. Managing time for practicing and joining my school’s activities decreased my study time a great deal. Because of this, I have learned to manage my time well and use it productively. I have had to catch up with what my friends learned and make up work from when I was absent in school. Sometimes I also had to come back and take make up tests. My free time from practicing is mostly spent on my revision. In 2013, I had to travel to Pattaya to practice for the upcoming ASEAN GAME 2014 competition. This meant that I had to stop going to school for a long period of time. The good news was that I had been selected to go to France from February until August. So, I had to quickly clear everything for the school year including exams, homework, and other projects, so that I could take part in special training in France. Fortunately, all of my teachers were understanding and supported me all along. Not everything worked perfectly for me. One week had passed and the bad news came. I was not able to participate in the competition anymore. The reason was because the host of the competition had changed one of the rules. At fi rst the rules had said that 16 year-olds or older are able to participate, but changed it to state that only 18 year-olds or more are able to participate. Because of this I had to come back to Thailand. I was so sad about not being able to participate, but it was a great opportunity for me to stay in France for four months. I always remind myself, “This is not my chance yet, but I should be getting myself ready for the next time I have a chance to participate.” For a child, it is not easy to do two things at once, but it is not impossible to make it happen, if we know how to manage our time well. It’s not easy to practice and study, but I must bear it for the effort will become success in the future. From Thailand’s representative in competing ASEAN game winning 3rd place Translated by Narvepon Jakmunee, Chalitphakorn Phrommin and Kullacha Phoying (11th grade) 62 Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


เรื่องเล่าจากรุ่นพี่

เบื้องหลังความสําเร็จคือสิ่งใด ?

น.ส.มัทนพร จ�งมั่นคง ป.ร. 39101

รางวัลเหร�ยญเง�น การแขงขันเคมีโอลิมปกว�ชาการ ระดับชาติ ครั้งที่ 11

กว่าจะมาถึงจุดนี้ได้ ไม่ใช่เรื่องง่ายเลย เหตุผลที่ฉันเลือกวิชาเคมีนั้น เพราะว่าฉันชอบวิชาเคมี และรักที่จะเรียนรู้ในสิ่งใหม่ ๆ ฉันคิดว่าค่ายโอลิมปิกวิชาการนั้นไม่ได้ให้แค่ความรู้เพียงวิชาการเพียงอย่างเดียว แต่ยังให้เรารู้จักกับเพื่อนใหม่ ๆ ที่มีความสนใจคล้าย ๆ กัน และอีกทั้งได้ฝึกและเรียนรู้ที่จะปรับตัวภายใต้ภาวะที่กดดัน สิ่งที่ส�าคัญที่สุดที่ท�าให้ประสบความส�าเร็จนั้น ต้องเริ่มจากความคิดที่ว่า “เราสามารถท�ามันได้” หากมัวแต่กังวลว่า “ตนเองไม่สามารถท�าได้” ก็เสมือนว่าใจยอมแพ้ไปแล้ว 50% ต่อไปต้องพยายามรักในสิ่งที่เราท�า เราไม่จ�าเป็นต้องชอบทั้งหมด แต่ให้พยายามหาข้อดีและ หัวข้อที่เราชอบให้ได้มากที่สุด แล้วจงลงมือท�าอย่างเต็มที่ พยายามให้ดีที่สุดเท่าที่เราท�าได้ หากท้อแท้ก็ลองมองหาแรงบันดาลใจ อาจจะเป็นรุ่นพี่ที่เคยประสบความส�าเร็จมากก่อน ก็จะท�าให้เรามีก�าลังใจและมีแรงผลักดันที่จะสู้ต่อไปค่ะ กว่าจะมีวันนี้ได้ก็ต้องขอบพระคุณคุณครูที่ให้การสนับสนุนและค�าปรึกษา ขอบคุณเพื่อน ๆ ทั้งในโรงเรียนและในค่ายที่คอยช่วยเหลือกันทั้งด้านความรู้และวิชาการ ขอบคุณ รุ่นพี่ที่คอยแนะแนวข้อสอบและแบ่งปันประสบการณ์ให้ฟัง ขอบคุณอาจารย์ในค่ายที่ได้ให้สอนและเอาใจใส่เป็นอย่างดี และที่ส�าคัญที่สุดขอขอบคุณคุณแม่ที่คอยให้ก�าลังใจเสอมมา 63 Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


Student’s talk

Behind the success

Ms. Matanaporn Jungmankong

Silver medal in The 11th Thailand Chemistry Olympiad. It is not easy to reach this point.

I chose chemistry as my subject in the International Science Olympiads exam because I like chemistry and love learning new things. I think the Academic Olympiad camp gave me not only knowledge, but also new friendships with people who have the same interests. I also learned and practiced how to be fl exible under pressure. The most important key to success has to begin with the thought, “We can do it”. If you are always worried that “I can’t”, it is like you have already given up. Together, we must try to love what we do. We do not need to like all of it, but try to fi nd pros and topics that we like the most then do the best that we can in all things. If you feel downhearted, try to fi nd your inspiration. It might be a senior student that has been successful before. This can become be your motivation to carry on. Finally, I want to say thank you to my lovely teachers for supporting and advising me, thank you to my friends also new friends in the Academic Olympiad Camp for helping me and sharing your knowledge. I’m thankful to senior students for their suggestions and experience and give many thanks to teachers in the Academic Olympiad Camp for teaching and caring. I’m obliged to my mother for her love and motivation. I really appreciate all of it. Translated by Pornsinee Sinyoo and Natthanicha Kaweera (11th grade)

64

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


ตัวแทนนักกีthฬาเยาวชนยิงปนทีมชาติ ไทยสูเ อเชีย

ช�อ ่ รายการแขงขัน 13 Asian Shooting Championship Kuwait 2015 โคชฝกสอน อาจารยสุว�ทย กาเยาว อาจารยชํานาญการ 3 ระดับ 8 สถาบันการพลศึกษาเช�ยงใหม

นินัทธ กิตติปภัสสร (ฟู) ป.ร.32982 ม.5/4 แขงประเภท ปนยาวอัดลมชาย รุน Youth

ตอนอยู่ ป.5 ได้มีโอกาสไปเรียนตีแบดมินตันที่สนามกีฬาเทศบาลนครเชียงใหม่ เพราะเพื่อนชวน ระหว่ า งที่ พ่ อ รอผมซ้ อ มแบดมิ น ตั น ก็ เ ดิ น ไปเจอสนามยิ ง ปื น ซึ่ ง อยู่ ข้ า งสนามแบดมิ น ตั น จึ ง ได้ พ บกั บ อาจารย์สุวิทย์ กาเยาว์ หรือ ลุงวิทย์ และได้ลองสอบถามเรื่องของกีฬายิงปืน หลังจากนั้นไม่นานผมก็เลิกเล่น แบดมินตันเนื่องจากเวลาค่อนข้างดึก พ่อเลยชวนผมไปเรียนยิงปืน จากนั้นก็เริ่มฝึกยิงปืน ซ้อมและแข่งมา จนถึงปัจจุบัน การเล่นกีฬาชนิดนี้ช่วยให้ผมมีสมาธิมากขึ้น ฝึกความอดทน การเล่นกีฬายังช่วยให้ผ่อนคลาย ด้วย ได้ทา� กิจกรรมมากกว่าทีจ่ ะเรียนแต่วชิ าการเพียงอย่างเดียว ทัง้ หมดนีต้ อ้ งขอขอบพระคุณ อาจารย์สวุ ทิ ย์ ที่ช่วยฝึกสอนมานานถึง 5 ปี

กฤตภาส กิตติปภัสสร (กัปตัน) ป.ร.33201 ม.4/1 แขงประเภท ปนยาวอัดลมชาย รุน Junior

จุดเริม่ ต้นของผมในการเริม่ ยิงปืน คือ ผมได้เริม่ เล่นกีฬานีต้ อนอยูช่ นั้ ป.5 ซึง่ ผมเห็นพวกพีข่ องผมไปยิง ปืนกันได้ซักอาทิตย์หนึ่งจากนั้นด้วยความที่ตัวผมนั้นชอบยิงปืนอยู่แล้วก็เลยสนใจที่จะไปยิงปืนกับพวกพี่ๆ ก็เลยตามไปยิงจากนัน้ ก็เล่นมาจนถึงทุกวันนี ้ สิง่ ทีผ่ มได้รบั มาจากการยิงปืน คือ การฝึกสมาธิและร่างกาย การ ฝึกสมาธิก็เพื่อเอาไว้ในการยิงให้ไม่ยิงออกจากเป้าส่วนด้านร่างกายนั้นก็ต้องออกก�าลังกายทุกวันเพื่อที่จะได้ มีแรงยกปืนได้นาน เวลาไปแข่งก็ต้องฟิตร่างกายก่อนไปเป็นพิเศษ บางครั้งก็แพ้บางครั้งก็ชนะมันเป็นเรื่อง ธรรมดาถ้าเราไม่มีสมาธิเราก็สู้คนอื่นไม่ได้ครับ

65

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


Thai shooting youth athletes to ASEAN th Competition :

13 Asian Shooting Championship Kuwait 2015

Coach : Master Suwit Kayao Proficient instructor 3 level 8 Chiang Mai Physical Education Institute

Ninat Kittapaphatsorn (Fu) student I.D. 32982 (11th grade) Competition Type : Youth Air Rifle When I was in the 5th grade, my friend invited me to start playing badminton at Mueang Chiang Mai Stadium with him. While I was playing badminton, my father walked around and found the shooting range near the badminton court. My father met Mr. Suwit Kayao or Uncle Wit and had a conversation with him about the sport of shooting. Shortly afterwards, I stopped playing badminton because the practices took place too late at night. My father asked me if I wanted to shoot instead. I began playing then and have been playing ever since. This sport makes me more focused, builds my endurance, and relaxes me after studying at school. For all of these reasons, I want to thank Uncle Wit for teaching and mentoring me these past fi ve years.

Krittaphat Kittapaphatsorn (Captain) student I.D. 33201 (10th grade) Competition Type : Junior Air Rifle

I began shooting when I was in 5th grade after I saw my cousins play the sport of shooting, so I started playing with them and found that I love shooting. I have been shooting since that day. Shooting gives me concentration and health because I have to concentrate to shoot the target. Carrying a rifl e is heavy, so it makes me stronger and gives me the opportunity to exercise. This is a sport so it’s either win or lose. Sometimes we lose because we don’t concentrate enough. 66 Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


ÁØÁˌͧÊÁØ´

Í.ÈÁ¹ ¡ÅÔè¹Êؤ¹¸

เทคนิคการใชหองสมุดอยางฉลาด

เรื่องง่ายๆ ที่บางคนไม่เคยรู้มาก่อนเกี่ยวกับการใช้ห้องสมุด ส�าหรับบางคนอาจจะเข้าใจ ค�าว่า “ˌͧÊÁØ´” มักเป็นชื่อที่น่าเบื่อ น่าหลับมากกว่าน่าสนใจ ห้องใหญ่ ๆ มีคนเยอะแยะ แต่บรรยากาศกลับเงียบเชียบ รอบ ๆ ตัวเต็มไปด้วยหนังสือ หากใครเคยคิดและเข้าใจอย่างนี้ตลอดมา ก็จงรีบเดินเข้าห้องสมุดและท�าความรู้จักกับ เอกสาร หนังสือและชั้นวางสื่อการเรียนต่างๆ ของห้องสมุดอีกครั้งเลยดีกว่า เพื่อพิสูจน์และ ท�าความรู้จักเสียใหม่ว่า ห้องสมุดนั้นมีอะไรที่เร้นลับและน่าสนใจกว่าที่คิดไว้เยอะ รู้หรือไม่ว่า สิ่งที่บางคนก�าลังเบื่ออยู่นั้น คือ “¢ØÁ·ÃѾ ÍѹÅíéÒ¤‹Ò·Ò§»˜ÞÞÒ” ของตัวเราเอง ฉะนั้นจงอย่ารอคอยจนถึงเวลาที่เราจะต้องเข้าห้องสมุด เพื่อไปค้นคว้าข้อมูลมาท�ารายงานหรือ ใกล้สอบเพียงอย่างเดียว บรรณารักษ์และเจ้าหน้าทีห่ อ้ งสมุด มีความยินดีทจี่ ะให้บริการ เพือ่ ให้ทกุ ๆ คนได้เข้าไปสัมผัสและได้เรียนรูว้ ธิ กี ารใช้หอ้ งสมุดอย่างเต็มที ่ และเข้าใจใน กฎระเบียบขัน้ ตอนการค้นหาข้อมูลความรูแ้ ละทักษะทีจ่ �าเป็นต่าง ๆ กับการหาข้อมูลในแหล่งขุมทรัพย์ทางปัญญานี้ ก็จะได้ประโยชน์ อย่างมหาศาลเลยทีเดียว การเข้ า ห้ อ งสมุ ด นั้ น จ� า เป็ น ที่ จ ะต้ อ งรู้ ห ลั ก และ วิธีการใช้อย่างถูกต้อง จึงจะได้รับประโยชน์อย่างสูงสุด ไม่เสียเวลาไปโดยเปล่าประโยชน์ทงั้ หมดนัน้ เป็นอย่างไร ลอง ติดตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ à·¤¹Ô¤áÅТÑ鹵͹¡ÒÃ㪌ˌͧÊÁشẺ§‹Ò æ áÅÐä´Œ¼Å 1. ค้นหาแหล่งข้อมูลของเอกสารต่าง ๆ เช่น การใช้ คอมพิวเตอร์ การสืบค้นหนังสือ การใช้ซดี รี อมต่าง ๆ ก�าหนดการ ยืมหนังสือ ซีดี และโสตทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ รวมถึงการคืนด้วย ว่ามีวิธีการและขั้นตอนเป็นอย่างไร 2. เรียนรู้กฎระเบียบของการใช้ห้องสมุด การสมัครเป็นสมาชิก เวลาเปิด - ปิดในวันธรรมดา และวันเสาร์ - อาทิตย์ มีสิ่งไหนที่ให้บริการยืมได้บ้าง และอย่างไหน ที่ยืมไม่ได้บ้าง ทั้งนี้ก็เพื่อความพร้อมใน การเตรี ย มกระดาษไปจดในคราว ที่ต้องการ ส�าหรับข้อมูลที่น�าออกนอก ห้องสมุดไม่ได้ 3. ฝึกฝนอุปกรณ์อ�านวย ความสะดวกต่าง ๆ ของห้องสมุด และส�ารวจว่าห้องสมุดนั้นมี อะไรบ้ า ง และยั ง ขาดอะไรบ้ า งการใช้ ค อมพิ ว เตอร์ การใช้ อิ น เตอร์ เ น็ ต และสิ่ ง อ� า นวย ความสะดวกต่าง ๆ 4. ท� า ความรู้ จั ก กั บ รายวิ ช าแต่ ล ะวิ ช าที่ ตั ว เองเรี ย น หรื อ ที่ อ าจารย์ ก� า ลั ง สอนว่ า อยูท่ ไี่ หน แถวไหน โดยฝึกหัดการสืบค้นจากระบบห้องสมุดอัตโนมัต ิ เพือ่ ค้นหารายชือ่ ผูแ้ ต่งหนังสือ ในรายวิชาที่เรียน 67

5. อ่ า นหนั ง สื อ พิ ม พ์ นิ ต ยสารต่ า ง ๆ เพื่ อ รั บ รู้ ค วามเคลื่ อ นไหวของสั ง คม ดูวา่ หนังสือใหม่หนังสือเก่าของห้องสมุดนัน้ ๆ มีอะไรบ้าง หรือหนังสือวรรณกรรมเล่มไหนบ้าง ที่ออกมาแต่ละช่วงเวลาเป็นอย่างไร 6. พูดคุยสอบถาม และขอค�าแนะน�าจากอาจารย์ เจ้าหน้าที่บรรณารักษ์ เพื่อรับทราบ ถึงวิธีการใช้ห้องสมุด ขอความช่วยเหลือในการก�าหนดแหล่งอ้างอิง ข้อมูลส�าหรับการท�า รายงานต่าง ๆ 7. ติดต่อกับเพื่อนคนอื่นๆ บ้างเพื่อเพิ่มทักษะ แม้ในห้องสมุดไม่ควรส่งเสียงดังรบกวน แต่ลองมองดูเพื่อน ๆ หรือรุ่นพี่ที่อ่านหนังสือหรือก�าลังค้นหาหนังสืออยู่ใกล้ ๆ ควรรู้จักสอบถาม ทักทายบ้าง เพราะบางครั้ง บางคนก็ไม่ทราบว่าจะเริ่มต้นอ่านหนังสือหรือค้นหา หนังสือจากไหนอย่างไร จะต้องไปติดต่อกับใครก่อน หรือยังไม่ทราบ แน่ชัดว่าข้อมูลหรือรายละเอียดต่าง ๆ เป็นอย่างไร จึงต้องอาศัย การพูดคุยไต่ถาม ซึ่งอาจจะได้รับการแนะน�าที่ดีจากรุ่นพี่ที่ มีประสบการณ์มาก่อนก็ได้ 8. อย่าลืมว่าห้องสมุดไม่ได้มีแต่ในโรงเรียน เพียงอย่างเดียว บางทีข้อมูลที่น้อง ๆ ก�าลังต้องการ อยู่นั้น อาจไม่ได้จ�ากัดอยู่เพียงแค่ห้องสมุดโรงเรียน เท่านั้น ลองมองหาห้องสมุดในชุมชน ห้องสมุด ประชาชนหรือห้องสมุดประจ�าเขต อ�าเภอ หรือจังหวัด ต่างๆ บ้าง เพราะข้ อ มู ล เหล่ า นั้ น อาจจะท� า ให้ ไ ด้ เกรดเอ จากการอ่านก็ได้ 9. ข้อปฏิบตั ทิ กุ ครัง้ ทีน่ อ้ ง ๆ เข้าห้องสมุดควรมีสมุด จดบันทึกเล่มเล็กติดตัวไปด้วยเสมอ เพื่อจดรายละเอียดต่าง ๆ ที่จ�าเป็น อย่าหวังการถ่ายเอกสารหรือการยืมเพียงอย่างเดียว 10. สิง่ ควรท�าในการเข้าห้องสมุดทุกครัง้ ควรเคารพมารยาท ในการใช้ห้องสมุดเสมอ แต่ไม่ควรกลัวว่าจะเป็นการรบกวนคนอื่นจน ไม่กล้าค้นหนังสือหรือสอบถามเพื่อน หรือครู บรรณารั ก ษ์ ควรมี ค วามมั่ น ใจในการ สอบถามค้นคว้าควรจดรายละเอียดการ ค้ น หาหรื อ สิ่ ง ที่ จ ะต้ อ งถามไว้ ใ น กระดาษล่วงหน้าก่อนก็ได้ หรือไม่ก็ ตั้ ง เป้ า หมายส� า หรั บ การอ่ า น หนั ง สื อ ไว้ ล่ ว งหน้ า ว่ า วั น นี้ ต้องการอ่านหนังสืออะไร เรือ่ ง ไหนจะท�าให้ไม่เสียเวลาในการเลือกหนังสือที่ต้องการ Tips จงอย่าลืมแหล่งความรูท้ เี่ ป็นหัวข้อส�าคัญของการศึกษาทีส่ ามารถหาข้อมูลความ รู้ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ก็คือ ห้องสมุด รู้อย่างนี้แล้ว อย่ามัวรอให้เสียเวลา เข้าไปหาความรู้ใน ห้องสมุดกันดีกว่านะจ๊ะ บรรณานุกรม : ครูแวน. (2549). 1 นาที แนะวิธีเรียนเกง (ฉบับสมบูรณ). พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บุคส ทูยู.

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.

THAT IS P.R.C.

1


Library Corner

Easytechniques for enjoying the library

Some people think that libraries are boring: just big, quiet rooms full of people and books. But there are some easy ways to customize the library according to what you are interested in, and to get the information you are curious about more quickly. One student’s boredom is another student’s treasure. Do not waste your time before reports or exams, of course, but why not visit the library for fun, just to explore new ideas? You might end up with new things you are interested in. The library is open to all students. To share the resources that the community provides, however, it is important to know the following rules and tips to enjoy the library responsibly. 1. Look for details by using a computer, searching through the index at the backs of books, and borrowing educational CD-ROMs. You can borrow all of these things from the library, but keep in mind there is a due date. 2. Know the rules for borrowing. Apply for a membership so that you can check out. books. Some books can only be borrowed at certain times of the day and week, while reference books are only available in the library. There are papers and pencils there so that you can note down details from the books that cannot be lent from the library. 3. Return things where you left them. Check what the library room has and what things that are missing. When using the computer, internet, and facilities, make sure you clean up for the next person.

4. Familiarize yourself with subjects already learned. Take what you have learned from your teachers and familiarize yourself with other authors on the same subject by using the library’s online system and searching by name. 5. Read newspapers and magazines. Read the latest news on society. See what is new including new books and current events from around the world. 6. Get recommendations. Librarians know how to use the library. Get their help to fi nd new references for projects or just for fun. 7. Contact friends. When you’re in the library you should keep quiet, but you can still meet and talk quietly with friends. 8. Look at your town. There are a lot of libraries outside of school. Sometimes documents that you want can be found in the public library or a library around your town if not at school. 9. Take notes. You should take a notebook with you to write down book titles, new information, or information that relates to your lecture notes. This can help you get a good grade. 10. Make a plan. You have to follow the library’s rules and try to fi nd your books without disturbing others. You should plan what books you want to read before go to library. This way you will avoid wasting time and being bored. Tips The easiest way to get good documents is to fi nd them in the library, so don’t waste your time by doing nothing. Let’s go to the library!

Translated by Kornchalee Srigen, Pasikarn Vachahon and Siraphat Saelee (11th grade) 2

Hearts are strong and spirits free

68

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


นานาภาษา อ.ทัศนีย เกสรศรี

France

อำลาสะพานคูรัก Pont des Arts

Say Goodbye to Pont des Arts Pont des Arts is a famous pedestrian bridge used for crossing the River Seine in Paris. It connects visitors to the Institut de France and Musée du Lourve. One of the purposes for sweethearts or tourists who visit Paris, a romantic city, is to lock their lovelocks on the bridge by writing their names and their lovers’ on the master key. Then, throw the key off the bridge into the river. They believe that their love will be for eternity and use the locks as a symbol that they will never leave each other. Due to the popularity of this practice, there are too many lovelocks for this bridge to hold. Because of this problem, a part of the bridge railing recently collapsed. The bridge is the fi rst iron bridge that contains nine curved gaps. It was built around 1802-1804 in Napoléon Bonaparte l’s era. In World War II, it was bombed and destroyed. Therefore, it was renovated in 1981-1984, when the bridge curves were decreased to seven gaps in order to match the Pont Neuf, the fi rst bridge uses for crossing Seine River, in a nearby area. To save the bridge, on July 1, 2015, the government of Paris issued an order to destroy the lovelocks wall and put street art on the iron structure instead. There is now a rule against hanging lovelocks on the bridge. Don’t be too disappointed. There is another bridge like Pont des Arts, called Pont de l’ Archevêché that is located near Notre-Dame de Paris which is also popular for couples to visit and lock their lovelocks.

ปงเดซาร์ (Pont des Arts) เป็นสะพานคนเดินเท้าข้ามแม่นา�้ แซนใน ปารีส เชือ่ มสองฝัง่ ระหว่างสถาบันแห่งฝรัง่ เศส (Institut de France) กับจัตรุ สั หน้าพิพธิ ภัณฑ์ลฟู วร์ ( Musée du Louvre) เป็นสะพานเหล็กแห่งแรกประกอบ ด้วยช่องโค้งจ�านวน 9 ช่องสร้างขึ้นราว ค.ศ. 1802-1804 ในสมัยจักรพรรดิน โปเลียนที่ 1 ค่ะ สะพานแห่งนี้เคยช�ารุดเนื่องจากกาลเวลาและถูกระเบิดเสีย หายในสมัยสงครามโลกทัง้ สอง จึงได้ถกู ปรับปรุงใหม่ในปี ค.ศ.1981-1984 โดย ปรับลดช่องโค้งเหลือเพียง 7 ช่องเพื่อให้สอดรับกับปงเนิฟ (Pont Neuf) ซึ่ง เป็นสะพานข้ามแม่น�้าแซนแห่งแรกที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง จุดประสงค์ขอ้ หนึง่ ของบรรดาคูร่ กั หรือนักท่องเทีย่ วทีม่ าเยีย่ มชมกรุง ปารีสซึ่งเป็นนครแห่งความโรแมนติกก็คือการได้ไปคล้องกุญแจคู่รักที่ราว สะพานแห่งนี้กันค่ะ โดยเขียนชื่อของตัวเองกับคู่รักไว้ที่แม่กุญแจแล้วโยน ลูกกุญแจทิ้งแม่น�้าด้วยความเชื่อว่าจะท�าให้ความรักของพวกเขาไม่มีวันพราก จากกัน และเนื่องจากค่านิยมนี้เองท�าให้มีจ�านวนกุญแจเป็นจ�านวนมาก จน ท�าให้ราวสะพานส่วนหนึ่งหักช�ารุดและร่วงลงมา เบื้องต้นคาดว่าเกิดจากการ ที่ราวสะพานไม่สามารถรับน�้าหนักของพวงกุญแจได้ เพื่อรักษาตัวสะพานไว้เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2558 ที่ผ่านมา ทางการ ของกรุงปารีสจึงได้มคี า� สัง่ ให้ทา� ลายก�าแพงแม่กญ ุ แจออกจนหมด และติดภาพ วาดศิลปะบาทวิถีเข้าไปที่ตัวโครงลวดเหล็กแทน โดยห้ามไม่ให้มีการน�ากุญแจ มาแขวนที่สะพานอีก อย่าเพิง่ เสียใจและผิดหวังกันนะคะ เพราะนอกเหนือจากสะพานแห่ง นี้ แ ล้ ว ที่ ป ารี ส ยั ง มี ส ะพานอี ก แห่ ง คื อ ปงเดอลาร์ เชอเวเช (Pont de l’Archevêché) ตั้งอยู่บริเวณใกล้กับวิหารนอตเทอร์ดาม (Notre-Dame de Paris) ที่ผู้คนก็นิยมน�ากุญแจคู่รักไปคล้องเช่นกันค่ะ

Translated by :

Pailin Makee Wansiri Suttipintu And nutchanun patnnitichai (10th grade)

69

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


นานาภาษา อ.อัญชรีย์ ศรีอุทธา

Germany

อากาศร้อนๆ แบบนีน้ กั เรียนคงคิดถึงสถานทีค่ ลายร้อนพร้อมกับเครือ่ งเล่น มากมาย ที่จะสามารถปลดปล่อยความสนุกสุดเหวี่ยง สวนน�้าน่าจะเป็นค�าตอบที่ใช่ ส�าหรับใครหลายๆ คน มันไม่แปลกเลยถ้าสวนน�้าจะถูกสร้างขึ้นมาในประเทศที่มี อากาศร้อนแบบบ้านเรา แต่จะมีสกั กีค่ นทีร่ วู้ า่ สวนน�า้ ทีส่ ดุ อลังการงานสร้างได้ถกู สร้าง ขึน้ ในประเทศแถบยุโรปอย่างเยอรมนีดว้ ย เนือ่ งจากในฤดูหนาวดินแดนแถบยุโรปมัก ประสบปัญหาอากาศเย็นจัดถึงขั้นติดลบหลายองศา ท�าให้ผู้คนไม่สามารถออกมาท�า กิจกรรมต่างๆ ได้เหมือนช่วงฤดูอื่น แล้วพวกเขาจะท�าอย่างไรดีล่ะกับสภาพอากาศ หนาวเย็นเช่นนี้? ผู้คนทางฝั่งตะวันตกบางคนก็ต้องออกเดินทางมาท่องเที่ยวในเขต อบอุ่น หนีหนาว อาบแดดแถวทะเลแคริบเบียน บ้างก็หนีหนาวมาเที่ยวทะเลที่ ประเทศไทยดีกว่า แล้วคนที่เหลือที่ไม่ได้หนีความหนาวเย็นเขาไปไหนกัน จะมีทะเล ให้เขาได้เล่นเหมือนคนอื่นๆ ที่มาบ้านเราบ้างไหมนะ แม้ประเทศเขตอบอุ่นส่วนใหญ่ที่ชาวต่างชาติเลือกไปเที่ยวกันจะมีค่าครอง ชีพไม่สูงมาก แต่ท�าไมต้องเสียเวลาเดินทางไกลกว่าถึงจุดหมาย แล้วท�าไมไม่สร้าง รีสอร์ทหรือสวนสนุกหน้าร้อนขึ้นมาเที่ยวกันเองส�าหรับฤดูหนาวเลยล่ะ? ว่าแล้ว รีสอร์ทหรูริมทะล และสวนน�้าจ�าลอง โดยมีกลิ่นอายของบรรยากาศเขตร้อนก็เกิดขึ้น มาในนามว่า “Tropical Islands“ เจ้า Tropical Islands สวนรีสอร์ทและทะเลเทียมนี ้ ตัง้ อยูท่ เี่ มือง Krausnick ประเทศเยอรมนี สิ่งก่อสร้างภายในประกอบไปด้วยหาดทรายสีขาว น�้าสีฟ้าสะอาด น�า้ พุกลางสระ และต้นปาล์มหลายร้อยต้นปลูกอยูร่ มิ หาดทราย บังกะโลและป่าเขตร้อน นอกจากนีย้ งั มีเก้าอี ้ ผ้าปูสา� หรับนอนอาบแดดไว้ให้บริการอีกด้วย เรียกว่าลอกเลียนแบบ ให้คณ ุ เสมือนอยูร่ มิ ทะเลของจริง โดยทัง้ หมดถูกครอบด้วยโครงสร้างเหล็ก วัสดุเหล็ก ที่ใช้ท�าเหมือนที่หอไอเฟล ประกอบออกมาคล้ายโดมขนาดยักษ์คลุมพื้นที่ 710,000 ตารางฟุต ซึ่งมีขนาดความยาว 360 เมตร กว้าง 210 เมตร และสูงกว่า 107 เมตร Tropical Islands ถือว่าเป็นสวนน�้าเขตร้อนขนาดใหญ่ที่สุดในโลก อีกทั้งยังมีสวนน�้า แสนสนุก และเครื่องเล่นต่างๆ ให้เล่นอีกด้วย เช่น สไลด์เดอร์ขนาดใหญ่ หรือเมื่อเดิน ขึ้นมาจากบริเวณชายหาดก็จะพบกับป่าจ�าลองเขตร้อน หมู่บ้านเล็กๆ คล้ายบังกะโล และบ้านเรือนทรงไทยเหมือนได้เที่ยวอยู่ในประเทศไทยเลยล่ะ หรือใครอยากจะเช่า นอนค้างคืนก็มีบริการให้อีกด้วย นอกจากนั้นยังมีบริการสปานวดให้ผ่อนคลายสบาย ตัว ถ้าหิวยังมีรา้ นอาหารและเครือ่ งดืม่ ไว้บริการนักท่องเทีย่ ว และการแสดงโชว์ดนตรี เต้นร�า คาบาเร่ต์ ให้แขกผู้มีเกียติได้เพลินเพลิดตา สนุกสนานไปกับค�่าคืนสุดวิเศษ ส�าหรับนักเรียนที่อยากไปเที่ยวสวนน�้าแห่งนี้ ราคาอยู่ที่ 36 ยูโรหรือ ประมาณ 1,300 บาท ใครสนใจก็รีบเก็บเงินรอไว้เลย เผื่อจะได้สัมผัสประสบการณ์ ใหม่ ที่น่าประทับใจในต่างแดนค่ะ

This summer you may have visited a cool, wet place with lots of slides and had an extremely enjoyable time. Have you guessed it? A water park is probably the place many of you thought of. It’s not strange when water parks are built in tropical countries like Thailand, but how many of you know that a luxurious water park was built in a dry European country like Germany? In the winter season in European countries, there is always cold weather, sometimes minus several degrees. Many people cannot take part in any outdoor activities like they do in other seasons. So what do they do in such extreme cold? Most Western people decide to travel to temperate zones to escape from the cold weather. Sunbathing in the Caribbean or traveling to Thailand are easy choices, but not everyone can visit those places. Where do the rest of those ice-cold Europeans go? Is there any sea that they can swim in like people do in Thailand? Traveling takes time and money, and not everyone can afford it. So, a group of people decided to build a summer amusement park to enjoy in the winter – right in Europe. They built an elegant resort near the seaside and built a water park. It even smelled like a tropical atmosphere, so it was named, “Tropical Islands.” Tropical Islands Resort Garden and Water Park is located in Krausnick, Germany. Its landscape includes a white and beach, clear blue sea fountain in the middle of the pool and hundreds of Palm trees beside the beach. Campgrounds and tropical forests mingle together and include lounge areas, beach blankets and sunbathe areas too. This will make you feel like you are staying at a real seaside. Despite its sunny exterior, the entire water park infrastructure is steel-based, the same material that makes up the Eiffel Tower. The steel covers 710,000 square feet. The length is 360 meters long. The width is 210 meters and height is 107 meters. Tropical Islands is regarded as the biggest tropical water park in the world. In the water park itself, there are enormous slides and water rides, around it are faux forests to explore, and even a small village of bungalows that look like Thailand. Like Thailand, there are massages to help you relax. If you get hungry there are good restaurants and beverages for travelers, with entertainment including a music performance, a dance and a cabaret show for a visitor out to enjoy the night. For students who visit this water park, the price is about 36€ or about 1300 baht. Who is interested? Quick: pinch some pennies and save up for a new experience in the world’s newest tropical wonderland.

ข้อมูลจาก http://travel.mthai.com/world-travel/46574.html

70

Translated by Sasipha Sirikhan Phichayakan Satsue and Natwadee Pradap

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


JAPAN MATSUTAKE Autumn in Japan can fi nd a lot of delicious food such as baked sweet potato, saury, and chestnuts. The most famous fall food is “Matsutake.” Matsutake can be harvested only in this season so the price is very very high. Because of its good smell, Matsutake is loved by Japanese.

71

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.

นานาภาษา Ms.Miku TANAKA (11THgrade)


ฮอกไกโด

เรื่อง อ.นันทกา ปินตาอุ่น

ไปฮอกไกโด

HOKKAIDO

กันเถอะ

P.R.C. ตัวแทนประเทศไทย ร่วมประกวดภาพถ่ายระดับมัธยมนานาชาติครั้งที่ 1 เมืองฮิกาชิคาวะ (Higashikawa) เกาะฮอกไกโด

เป็นโครงการที่จัดตั้งโดยสมาคม TENKAWA/เท็งคาวา ซึ่งได้เริ่มขึ้นจากความ เสนอภาพพร้อมแนวคิด ในช่วงเย็นของวันเดียวกัน รูส้ กึ ทีอ่ ยากขอบคุณผูบ้ ริจาค และช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยทซึนามิทางภาคตะวันออกเฉียง สำ�หรับ “เชียงใหม่ ในมุมมองใหม่” ของทีมพวกเรา ได้ตงั้ ชือ่ ว่า “ETC.” เพราะ เหนือของประเทศญี่ปุ่น จากการจัดงานการบริจาคการกุศลที่ผ่านมา คณะกรรมการเท็ง ในภาษาอังกฤษ ETC. มีความหมายคล้ายกับคำ�ว่า และอื่นๆ ดังนั้นเราจึงจับเอาประเด็น คาวา ได้เปลี่ยนจากจุดประสงค์เพื่อแสดงความขอบคุณผู้บริจาคและสนับสนุนผู้ประสบ ทีแ่ ตกต่างกันมากมายของมุมมองใหม่ทแี่ สดงให้เห็นในภาพถ่ายโดย E= Education (การ ภัยทซึนามิ มาเป็นการสร้างความสัมพันธ์มิตรภาพทางวัฒนธรรมระหว่างไทยและญี่ปุ่น ศึกษา) T =Tourism (การท่องเที่ยว) C= Culture (วัฒนธรรม) กล่าวโดยย่อคือเมือง จึงได้จัดการการประกวดรูปถ่ายไปฮอกไกโดกันเถอะ โดยในปีนี้ มีโรงเรียนเข้าร่วมการ เชียงใหม่ในมุมมองใหม่ของพวกเรา คือเมืองที่เป็นแหล่งเรียนรู้ การศึกษาไม่ได้จำ�กัดแต่ คัดเลือกทั้งหมด 6 โรงเรียน และนี่คือความรู้สึกในการครั้งนี้ของพวกเรา ในห้องเรียน เป็นจุดหมายของนักท่องเทีย่ วทีเ่ ข้ามาค้นหาประสบการณ์ใหม่ๆ โดยยังดำ�รง เริม่ จากวันที่ 21 มิถนุ ายน 2558 ณ หอศิลป์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทางทีมงาน ไว้ซึ่งวัฒนธรรมและประเพณีอันดีงาม ได้กำ�หนดหัวข้อการแข่งขันว่า “เชียงใหม่ ในมุมมองใหม่” ให้แต่ละทีมจะออกไปเก็บภาพ พวกเราได้เป็นตัวแทนประเทศไทยไปฮอกไกโด และทีมเราได้รับคัดเลือกให้ ให้ได้ตามหัวข้อภายในเวลา 2 ชั่วโมง โดยทีมงานได้จัด “รถสี่ล้อแดง” ให้พวกเราได้ เป็นทีมตัวแทน ไปประกวดภาพถ่ายระดับมัธยมนานาชาติครั้งที่ 1ของเมืองฮิกาชิคาวะ ตระเวนถ่ายภาพทั่วเมืองเชียงใหม่ตามสถานที่ที่เราได้วางแผนไว้ โดยไม่สามารถควบคุม (Higashikawa) ปี 2015 ซึง่ ได้สมญานามว่าเป็นเมืองแห่งภาพถ่าย ตัง้ อยูท่ เี่ กาะฮอกไกโด เหตุการณ์ หรือจัดฉากใดๆได้เลย หลังจากนั้นภาพทุกภาพจะถูกนำ�มารวบรวมตอนบ่าย ในระหว่างวันที่ 3-11 สิงหาคม 2558 โดยในการแข่งครั้งนี้นั้น ต้องใช้กล้องที่ผู้จัดเตรียม และคัดให้เหลือเพียงทีมละ 8 ภาพทีจ่ ะบรรยายถึง “เชียงใหม่ ในมุมมองใหม่”ของแต่ละ ให้เท่านั้น โดยจะใช้เวลาแข่งขัน 3 วัน ทีม ภาพทั้ง 8 ภาพต้องถ่ายโดยใช้เทคนิคการถ่ายภาพที่สวย มีมุมมองที่น่าสนใจ และนำ� 72

Hearts are strong and spirits free That is P.R.C.


อ.นันทกา ปินตาอุ่น คุณครูที่ปรึกษา ได้เล่าถึงความรู้สึกการร่วมงานในครั้งนี้ว่า

ครูมัด

การเข้าร่วมงาน International High School Students’ Photo Festival Exchange ในครั้งนี้เราได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้เทคนิคและมุมมอง การถ่ายภาพจากทีมอื่นๆ อีก10 ประเทศ ซึ่งความสนุกของงานนี้ก็คือทุกทีมจะได้รับหัวข้อในการถ่ายภาพเหมือนกัน สถานที่เดียวกัน ซึ่งเราทุกคนนึก ภาพของแต่ละสถานที่ไม่ออกเลย และถึงแม้ว่าเราจะได้ทำ�การประชุมวางแผน Concept ของการถ่ายภาพในแต่ละ หัวข้อแล้ว แต่สถานการณ์จริงนัน้ เราควบคุมทุกอย่างไม่ได้เลย ทุกคนจะต้องดึงทักษะการถ่ายภาพของตัวเอง ออกมาใช้ในการถ่ายภาพทุกรูปแบบเมือ่ จังหวะทีด่ มี าถึง นอกจากนีแ้ ล้วก็ได้เรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ และวัฒนธรรมของ ชาวเมืองฮิกาชิคาว่า ซึ่งเป็นประสบการณ์ที่มีคุณค่าและมีความหมายต่อตัวเราทุกคนเป็นอย่างมากค่ะ

รางวัลที่พวกเราภาคภูมิใจ

- นายพรหมวัฒน์ อังศุรัตนเวช ม.5/5 ได้รับรางวัล Higashikawa Tourism Association Award - นายจิตตบุณย์ ไชยกอ (นักเรียนเก่ารุ่นพิชญ์) ได้รับรางวัล Special Award ประเภทบุคคล - พร้อมด้วย นายธนกฤต ผาแสนเถิน ม.5/2 และ อ.นันทกา ปินตาอุ่น ครูที่ปรึกษา ได้รับรางวัล Students and Teachers’ Choice Award ประเภททีม ณ เมือง Higashikawa, Hokkaido วันที่ 4 – 11 สิงหาคม 2558

ไกด์

นายพรหมวัฒน์ อังศุรัตนเวช

ผมไม่เคยคิดไม่เคยฝันเลยครับ ว่าจะได้ไปเกาะฮอกไกโด ประเทศญี่ปุ่น ถือว่าคุ้มค่ามากครับ ประสบการณ์ในครั้งนี้ กับการที่ต้องลาโรงเรียนไป 1 อาทิตย์ กับอีก 2 วัน ไม่เหมือนกับการไปเที่ยวญี่ปุ่นทั่วๆ ไป เพราะครั้งนี้เราไปในนามตัวแทนของประเทศไทยเพื่อเข้าร่วมงานแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมผ่านทางภาพถ่าย ซึง่ ไม่ใช่แค่ได้สมั ผัสธรรมชาติ เรียนรูว้ ฒ ั นธรรม และประเพณี ของประเทศญีป่ นุ่ แบบแท้ๆ แต่ได้เพือ่ นต่างชาติ อีก 10 ประเทศ ได้พบกับประสบการณ์ที่มีค่าจริงๆ ซึ่งภาพความทรงจำ� และมิตรภาพก็จะยังคงอยู่ตลอดไป

อม นายธนกฤต ผาแสนเถิน อ การได้เป็นตัวแทนของประเทศไทย ไปแข่งที่ญี่ปุ่นผมมีความรู้สึกว่าโลกของผมได้กว้างขึ้นอีกขั้นหนึ่ง นี่ไม่ใช่ครั้งแรกที่โลกของผมกว้างขึ้น

โลกของผมกว้างขึ้นทุกครั้งที่เปิดรับอะไรใหม่ๆ เข้ามา มันทำ�ให้ผมไม่หยุดอยู่กับที่ ทำ�ให้ผมสามารถหมุนตามโลกใหม่ได้ โดยที่ยังหมุนไปพร้อม กับโลกเดิม และสามารถนำ�ทั้งสองโลกมาเชื่อมเข้าหากันได้ สุดท้ายนี้การได้เป็นตัวแทนของประเทศไทยครั้งนี้มีความหมายสำ�หรับผมมาก มันคือความภูมิใจ การได้รับโอกาสที่ดีที่สุด ประสบการณ์ที่ไม่สามารถรับจากที่ไหนได้ครับ

พี่ธาม นายจิตตบุณย์ ไชยกอ

การได้เป็นตัวแทนของประเทศไทยทีไ่ ด้เข้าร่วมการแข่งขันในครัง้ นี้ ผมรูส้ กึ ยินดีเป็นอย่างมากทีไ่ ด้เป็นตัวแทนของโรงเรียน ซึง่ ถือเป็นผลงานชิน้ สำ�คัญ ก่อนที่ผมจะจบจากโรงเรียนฯ ผมได้สร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียน และในการแข่งขันถ่ายรูปที่ญี่ปุ่นครั้งนี้ทำ�ให้ผมได้ประสบการณ์และเปลี่ยนมุมมอง เทคนิคความรูก้ ารถ่ายภาพจากเพือ่ นๆ แต่ละประเทศ เพือ่ มาปรับปรุงและเป็นมุมมองแนวการถ่ายภาพใหม่ของผม ขอบคุณครูมดั ทีค่ อยให้คำ�แนะนำ� และดูแลพวกเราตลอดการแข่งขัน และที่สำ�คัญขอบคุณโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัยที่สนับสนุนและให้กำ�ลังใจพวกเรามาโดยตลอดครับ 73

Hearts are strong and spirits free That is P.R.C.


Let’s go to

HOKKAIDO

Hokkaido

The Prince Royal’s College, Thailand’s representative, participated in The 1st International High School Students Photo Festival Exchange at Higashikawa, Hokkaido, Japan in August along with six other schools. For our “Chiang Mai in new perspective”, we used “ETC.” as a team name. Our focus for our photographs was “E=Education”, “T=Tourism”, and “C=Culture”. We can say briefly that Chiang Mai from our new perspective is a learning center, where education is not only in the classroom, but also at tourists’ destination where they gain new experiences, in a city that still keeps its traditions and cultures. Our team was chosen to be a representative team to join The 1st International High School Students Photo Festival Exchange Higashikawa 2015, where it has been referred to as a city of photos. We had to use The event is a project established by TENKAWA, which started the provided camera only and the competition took three days to from an appreciation for people who donate and help tsunami victims complete. in the northeast of Japan. Departing from previous charity events, the board of TENKAWA has changed the topic from tsunami victim relief to creating culture-sharing relationships between Thailand and Japan. So, (Aj. Nuntaka Pintaun: Adviser) “Let’s go to Hokkaido” was held from Aug. 3-11, 2015 in Hokkaido, has told about the feelings participating this activity. Japan. There were six schools joining the activity this year and these Joining the International High School Students’ Photo Festival are our feelings regarding the event. Exchange this time, we had a chance to exchange skills and photog On June 21, 2015 at the Chiang Mai University Art Center, the raphy perspectives with other teams from 10 countries. The core of staff set the topic: “Chiang Mai in a new perspective” and gave each this event was that every team got the same topic and same shooting team two hours to take photographs based on the topic. Minibuses locations. Even though we planned the concept of each topic, we were provided to take us to locations around Chiang Mai. After that, couldn’t control anything in the real photo situation in Hokkaido. in the afternoon, all of the photos were compiled and selected until Everybody on our team needed to use their abilities in taking photos each team had eight remaining photos that could describe “Chiang and use them at the right time. Moreover, we have learned the lifestyle Mai in a new perspective”. All of the photos needed to be beautiful and tradition of Higashikawa citizens, which was a really valuable and examples of photography, have interesting perspective, and be taken a meaningful experience for all of us. at noon.

Aj. Mud

74

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


Aom:

Thanakrit Phasaentheon

Being a representative of Thailand to go to Japan, my world became a step bigger. And this wasn’t the first time. My world gets bigger every time I let new things and experiences in. It forced me out of my comfortable surroundings, led me to follow the new world while stll going on with the old one, and then to connect the two together. Finally, being a representative of Thailand was really meaningful for me; it was a pride, the best opportunity, and an experience that I couldn’t find anywhere else.

Our achievements: - Promwat Angsuratanawech (11th grade) got Higashikawa Tourism Association Award - Jittaboon Chaikor (Alumni: Pitch’14) got Special Award (Individual) - With Thanakrit Phasaentheon (11th grade) and Aj. Nuntaka Pintaun (Adviser) got Students and Teacher’s Choice Award (Team) at Higashikawa, Hokkaido on Aug. 4-11, 2015.

Guide:

Time:

Jittaboon Chaikor

I was very appreciative to be a representative of The Prince Royal’s School and Thailand, which was my last important work before I graduated. I’ve gained fame for our school. In this photography competition in Japan, I gained experiences and had some of my attitudes about photography change thanks to foreign friends. Thank you Ajarn Mat for making suggestions and taking care of us all time and thank you P.R.C. for supporting and always encouraging us.

Promwat Angsuratanawech

I’ve always wondered about going to Hokkaido, Japan. It was a worthwhile experience despite being absent for a week and two days for an educational event. This wasn’t like a normal trip to Japan because we went there as the representatives of Thailand to join a culture exchanging fair via photos. We not only experienced the nature of Hokkaido, we learned about the cultures and traditions of real native Japanese people, and also made friends from 10 foreign countries. I’ve gained such a precious experience that the memory and friendships will stay forever. 75

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.

Translated by Chanasphorn Karnchanaphitak (11th grade)


Special News • เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2558 หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล รัฐมนตรีประจ�าส�านักนายก

รัฐมนตรี ปลัดส�านักนายกรัฐมนตรี ให้โอวาท แก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เพื่อส่งเสริม ให้เยาวชนรัก และเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รวมทั้งสมัครสมานสามัคคีปรองดอง เป็นอันหนึง่ อันเดียวกัน มีระเบียบวินยั และมีวฒ ั นธรรม ซึง่ เป็นคุณลักษณะส�าคัญของไทย อีกทัง้ น้อมน�า หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลักปรัชญาในการด�าเนินชีวิต เพื่อมุ่งให้เกิดภูมิคุ้มกัน และ มีการบริหารจัดการความเสีย่ งอย่างเหมาะสม ณ ห้องประชุม Cornelia McGilvary Harris Auditorium อาคาร 100 ปี สถาบันแฮรีส

• On June 29, 2015, ML Panadda Diskul, Minister in the Offi ce of

the Prime Minister gave a speech to the Matthayom 6 students to encourage them to keep up their love for the nation, religion and King, also to foster love among the party to unify it, in order to maintain the important identity of Thai people. He also wanted the students to use the Suffi ciency Economy philosophy in their lives to build protect their cultural heritage. This even took place at the Cornelia McGilvary Harris Auditorium in the Harris institute.

• ระหว่างวันที่ 7 - 8 กรกฎาคม 2558 ส�านักงานรับรองและประเมิน

คุณภาพการศึกษา (สมศ.) เข้ามาถ่ายท�าและสัมภาษณ์สารคดี “วัฒนธรรม คุณภาพ” ของโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย ในโอกาสที่โรงเรียนฯ ได้รับ การยอมรับจาก สมศ. ว่าเป็น Best Practice และเป็นส่วนส�าคัญที่ท�าให้โรงเรียน ได้รับการพัฒนาและสร้างคุณภาพการบริหารจัดการศึกษาและการจัดการเรียน การสอนที่มีคุณภาพ

• On July 7 and 8, 2015, the Offi ce of Nation Education

Standards and Quality Assessment came to school to fi lm a documentary titled “Quality Tradition” about The Prince Royal’s College and the opportunity for the school to be accepted as Best Practice. It also important that the school continues working in education development and quality teaching processes.

76

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.


Special News • ระหว่างวันที่ 3-7 สิงหาคม 2558 โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย ร่วมกับบริษัท

นานมีบคุ ส์ จ�ากัด และสถาบันนานมีบคุ ส์อนิ โนเวชัน่ จัดงาน “Harris Institute Open House เทศกาล รักการอ่านและการเรียนรู้สู่เชียงใหม่ ณ อาคาร 100 ปี สถาบันแฮรีส โดยได้รับเกียรติจาก นายสุริยะ ประสาทบัณฑิตย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วย นายทัศนัย บูรณปกรณ์ นายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ และนางสาวคิม จงสถิตย์วัฒนา รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท นานมีบุ๊คส์ จ�ากัด ภายในงานจัดกิจกรรมแห่งการอ่านและเรียนรู้ กิจกรรม STEM Walk Rally, Science Show การเรียนรู้ดาราศาสตร์ การอบรมเชิงปฏิบัติการ 5 หลักสูตรพัฒนาครูผู้สอน และมหกรรมหนังสือดี พร้อมพบกับนักเขียนมือรางวัลสร้างแรงบันดาลใจให้ชีวิต

• On Aug. 3-7, 2015, The Prince Royal’s College, Nanmeebook Co.,Ltd and Nanmeebook Innovation arranged a “Harris Institute Open House”, a festival for book lovers and education experts in Chiang Mai at the P.R.C. Harris institute. Attendees received the honor of a visit from Mr. Suriya Prasartbandit, Chiang Mai provincial governor for the opening ceremony with Mr. Tassanai Buranapakorn, the mayor of Chiang Mai, and Miss Kim Jongsatitwattana, vice-manager of Nanmeebook Co.,Ltd. The festivities included education activities such as a STEM Walk Rally, Science Show, Astronomy education, fi ve teaching training operations and a book fair. There was also a meeting with a prize winning author Translated by Phurin Pattanatanang • เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2558 ส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา

เชียงใหม่เขต 1 จัดกิจกรรม “เรียนรู้ค่านิยมไทย นักเรียนเชียงใหม่สู่ประชาคม อาเซียน” โดยได้รบั เกียรติจาก นายนาวิน สินธุสอาด รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธานในพิธเี ปิด โดยภายในงานมีการจัดนิทรรศการ อาเซียนศึกษา จากโรงเรียน ต่างๆ การแข่งขันมิสอาเซียน และมีการแสดงสัตว์แปลก หายาก (สนับสนุนสัตว์แปลกหา ยากโดย บ้าน Kellermorph) ณ อาคาร 100 ปี สถาบันแฮรีส (11th grade)

• On Sept. 4, 2015, Primary Educational Service Area Offi ce district 1 Chiang Mai arranged the activity, “Learning Thai Popularity, Chiang Mai students to ASEAN” by receiveding an honor from Mr. Nawin Sinsaard, vice-provincial governor of Chiang Mai who was the host of the ceremony. The event provided books about ASEAN learning from other schools, the Miss ASEAN competition and an exotic pet exhibition 77

Hearts are strong and spirits free That Is P.R.C.





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.