Neri&Hu Material review

Page 1

neri & hu Design and Research Office

pattra khoirangub ia424


บทคัดย่ อ Neri & Hu (Lyndon Neri และ Rossana Hu) 2 สถาปนิกชาว ฟิ ลปิ ปิ น และ ไต้ หวัน ที่ได้ มีโอกาสไปเรี ยนต่อที่ประเทศสหรัฐอเมริ กา จบมาท�ำงานในสายงานสถาปั ตยกรรมอยูเ่ ป็ นเวลาหลายปี จนได้ มีโอกาส กลับมาท�ำงานที่ ประเทศจีน หลังจากนัน้ จึงมีความสนใจ ที่จะ ศึกษา บริ บท พฤติกรรม ของประเทศจีน ท�ำให้ เริ่ มมีงานออกแบบ อยุใ๋ น เซี ้ยงไฮ้ เป็ นจ�ำนวนมาก ถือได้ วา่ เป็ นหนึง่ ใน นักบุกเบิก สถาปั ตยกรรม จีนร่วมสมัยที่ก�ำลังเจริ ญเติบโต อย่างมากอยูใ่ นช่วงหลายปี มานี ้ หลังจากที่ประทเศจีนเริ่ มค่อยๆเปิ ดประเทศ ปั จจุบนั Neri & Hu มีงานออกแบบจ�ำนวนมาก ไม่วา่ จะเป็ น งาน ออกแบบผลิตภัณฑ์ เฟอร์ นิเจอร์ งานออกแบบภายใน หรื อ งานส ถาปั ตกรรม ก่อตังเป็ ้ นบริ ษัท Neri & Hu Design and Research Office ขึ ้นมา นอกจากนัน้ ยังร่วมกันก่อตัง้ Design Republic ซึง่ เป็ นเหมือน ศูนย์รวม งาน product design ต่างๆให้ ชาวจีนได้ จบั จ่าย สินค้ า จากคนจีนด้ วยกัน และยังที่จดั แสดงผลงาน หรื อ การบรรยาย ต่างๆ จาก designer ชื่อดัง เรี ยกได้ วา่ เป็ น แหล่งรวมแรงบันดาลใจ เก็บเกี่ยวความรู้ของ designer หรื อ นักเรี ยน design จีน ก็วา่ ได้ โดยที่ งานออกแบบของ สถาปนิกทังสอง ้ มักจะมี รูปแบบที่ร่วมสมัย แต่ก็มีเอกลักษณ์จากการผสมผสาน ระหว่าง วัสดุที่ดเู ก่าและ ความใหม่ กริ บ ของรูปแบบโมเดิร์น เป็ นอีกแนวทางหนึง่ ของการออกแบบงานที่มีคิดเรื่ องบริ บท และ พฤติกรรมของคน เข้ ามาเกี่ยวข้ อง ซึง่ ท�ำ อย่างมีได้ นา่ สนใจ และประสบความส�ำเร็จในระดับหนึง่ เลยทีเดียว


ค�ำน�ำ รายงานเล่มนี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของวิชา วัสดุ สถาปั ตยกรรมภายใน โดยภายในตัวรายงาน ได้ ท�ำการศึกษา ท�ำความเข้ าใจ เกี่ยวกับ แนวคิด วิธีการเลือกใช้ วสุ ดุในการออกแบบของ สถาปนิก Lyndon Neri และ Rossana Hu ซึง่ ประกอบไปด้ วยข้ อมูลงานออกแบบ และบท วิเคราะห์ความคิดเห็น ทังหมดนี ้ ้ใช้ เพื่อเป็ นแนวทางในการเอาไปต่อยอดความรู้ในภายภาคหน้ า ข้ าพเจ้ าหวังเป็ นอย่างยิ่งว่า ผู้ที่เข้ ามาอ่านจะได้ รับประโยชน์กลับไปไม่มากก็น้อย หากมีขอผิดพลาดประการใดก็ ขออภัยมา ณ ที่นี ้ นางสาว ภัทรา คอยระงับ


กิตติกรรมประกาศ

รายงานเล่มนี ้จะส�ำเร็ จลุลว่ งไปไม่ได้ หากไม่ได้ รับการสนับสนุนและช่วยเหลือจากบุคคลดังต่อไปนี ้

ขอขอบคุณ ผู้ชว่ ยศาสตรจารย์ บุญเสริ ม เปรมธาดา อาจารย์ประจ�ำวิชาวัสดุ สถาปั ตยกรรมภายใน ที่ให้ ความรู้เกี่ยวกับวัสดุตา่ งๆ และวิธีการน�ำไปใช้ เกิดเป็ นความรู้ที่เป็ นประโยชน์แก่รายงานเล่มนี ้

ขอขอบพระคุณ มา ณ ทีนี ้ นางสาว ภัทรา คอยระงับ


สารบัญ บทคัดย่อ ค�ำน�ำ กิตติกรรมประกาศ บทน�ำ ความส�ำคัญ วัตถุประสงค์ ขอบเขตการศึกษา ประโยชน์ที่ได้ รับ บทที่2 ข้ อมูลทัว่ ไป ประวัต ิ ผลงาน - The waterhouse at South Bund - Xi’an Westin Museum Hotel, Shaanxi - Le Meridien, Zhengzhou

หน้ า ก ข ค

1 1 1 2

3

4-5 6-7 8-10

11-12 13 14-15 16 17-18 19-20 21-22

23-24 25-30 31 32

- Design Republic Design Commune, Shanghi - The Commune Social, Shanghi - Design Collective, Qingpu - The Black Box, 88 Yuqing Road - Rethinking the Split House, Shanghi - Cluny House, Singapore - Yingjia Club at Vanke Beijing - Flamingo Shanghi Office, Shanghi บทที่3 บทวิเคราะห์ บทที่4 บทสรุป เอกสารอ้ างอิง


ความส�ำคัญ

บทน�ำ

ในปั จจุบนั มี สถาปนิกรุ่นใหม่ สร้ างสถาปั ตยกรรมที่มีรูปแบบที่หลากหลาย มากมาย ทังการ ้ พัฒนา สานต่อ หรื อ การผสมผสานเข้ า กับ สถาปั ตยกรรมที่มีอยูก่ ่อน LYNDON NERI และ ROSSANA HU สองสถาปนิกผู้ก่อตัง้ บริ ษัทออกแบบ Neri & Hu Design and Research Office ขึ ้นในปี 2004 ก็เป็ นหนึง่ ใน กลุม่ คนที่เล็งเห็นถึง คุณค่าของ ประวัตศิ าสตร์ รากเหง้ า ความงาม การใช้ ชีวิต ของ บุคคล และ สถานที่ จึงร่วมกันสร้ างสรรค์ งานออกแบบ ที่ มีการค�ำนึงถึงแนวความคิดดังกล่าว ออกมาในรูปแบบที่เข้ าถึงได้ งา่ ยและมีความทันสมัยมากขึ ้น ส่งผลให้ เริ่ มเป็ นที่ยอมรับและเป็ นที่ร้ ูจกั อย่างกว้ างขวาง นอกจากนัน้ LYNDON NERI และ ROSSANA HU ยังได้ สง่ ต่อแนวคิด ผ่านการ บรรยาย เป็ น วิทยากรพิเศษ และอาจารย์มหาวิทยาลัย ชื่อดังต่างๆของโลก ความรู้จากการศึกษางานออกแบบของ LYNDON NERI และ ROSSANA HU จึงน่าจะเป็ นประโยชน์ตอ่ การพัฒนา แนวความคิด สมัยใหม่ที่ยงั คงกลิน่ อายความงามในแบบดังเดิ ้ ม ผ่านการเลือกใช้ วัสดุ องค์ประกอบต่างๆ ซึง่ จะส่งผลต่อรูปแบบการออกแบบของนัก ออกแบบรุ่นใหม่ๆต่อไปในภายภาคหน้ าได้ ไม่มากก็น้อย

วัตถุประสงค์

1 เพื่อศึกษาถึงชนิด และประเภทของวัสดุที่ NERI & HU ใช้ เป็ นองค์ประกอบหลักภายในอาคาร 2 เพื่อศึกษาถึงการใช้ วสั ดุทางสถาปั ตยกรรมภายในอาคาร ทังประเภท ้ อาคารสาธารณะและอาคารส่วนบุคคล 3 เพื่อศึกษาถึงแนวคิด และหตุผล ของการเลือก ใช้ วัสดุ ที่ผสมผสาน สิง่ ใหม่ ลงไปใน สถานที่เดิม ได้ อย่างลงตัว 4 เพื่อศึกษาถึงข้ อดี-ข้ อเสียของการเลือกใช้ วสั ดุนนั ้

ขอบเขต

ด้ านกายภาพ : - อาคารสาธารณะ : โรงแรม ภัตตาคาร ร้ านค้ าปลีก ส�ำนักงาน - อาคารส่วนบุคคล : บ้ านพักอาศัย ด้ านเนื ้อหา : - ไม้ - หิน - กระจก - คอนกรี ต และ อิฐ - Corten Steel - สีทาอาคาร

ระเบียบวิธีวิจยั

- กระท�ำการ สืบค้ น และเก็บรวบรวม ข้ อมูล งานออกแบบต่างๆ ทัง้ สถาปั ตยกรรม และ ผลิตภัณฑ์ - จัดเรี ยง และ วิเคราะห์ ข้ อมูล ในทังประเด็ ้ นของ แนวความคิดในการออกแบบ และวัสดุที่เลือกใช้ - สังเคราะห์ข้อมูล ข้ อดี-ข้ อเสีย - สรุปรวม เสนอแนวทางการท�ำไปใช้

1


ระยะเวลา

วันที่ 14 สค. 57 ถึง 9 ตค. 57 สืบค้ น และ เก็บรวมรวบข้ อมูล วันที่ 9 ตค. 57 ถึง 4 ธค. 57 วิเคราะห์ข้อมูล สรุปข้ อดี-ข้ อเสีย สังเคราะห์ข้อมูล และจัดรวมรูปเล่ม

ประโยชน์ที่ได้ รับ

1 ได้ ศกึ ษาแนวความคิด และการเลือกใช้ วสั ดุของสถาปนิก เพื่อสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ ในงานออกแบบ หรื อพัฒนางานออกแบบ ให้ ตอบสนองต่อความต้ องการของผู้คน สถานที่ สภาพแวดล้ อม ได้ มากยิ่งขึ ้น 2 ได้ ศกึ ษแนวทาง ในการสร้ างภาพลักษณ์ของงานสถาปั ตยกรรมที่มีความทันสมัย แต่ในขณะเดียวกัน ยังสามารถรักษาเอกลักษณ์ ที่สอดคล้ องกับประวัตศิ าสตร์ ความเป็ นมาของแต่ละโครงการ 3 ได้ ความรู้เรื่ องวัสดุ การเลือกใช้ วสั ดุ และ การเชื่อมต่อกันของวัสดุ 2 วัสดุ อย่างลงตัว 4 ได้ ศกึ ษารูปแบบวิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล การศึกษาประวัติความเป็ นมา แนวความคิดในการออกแบบสถาปั ตยกรรม วิธีการเลือก ใช้ วสั ดุที่ตอบสนองต่อปั ญหาของโครงการนันๆ ้ เพื่อน�ำมา วิเคราห์และ สังเคราะห์ ให้ เกิดความรู้น�ำไปประยุกต์ใช้ ในวิชาชีพ ได้ อย่าง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพต่อไป

2


ข้ อมูลทั่วไป

LYNDON NERI (1965) : - Graduated : Master of Architecture at Harvard University Bachelor of Architecture at the University of California at Berkeley - Award : - Awards for Emerging Architecture 2010 by Architectural Review - AD 100 top talents in architecture and interior design in 2013 by Architectural Digest China - the Design Vanguards in 2009 by Architectural Record (US) - the 2011 INSIDE Festival Overall Winner ROSSANA HU (1968) : - Graduated : Master of Architecture and Urban Planning at Princeton University Bachelor of Arts in Architecture and Music from the University of California at Berkeley - Award : - Awards for Emerging Architecture 2010 by Architectural Review - AD 100 top talents in architecture and interior design in 2013 by Architectural Digest China - the Design Vanguards in 2009 by Architectural Record (US)

3


The Waterhouse at South Bund Location: Shanghai, China Project Year: 2010 Project Area: 800 sqm Type : Boutique Hotel

แนวความคิดในการออกแบบ และการใช้ วสั ดุ

The waterhouse เป็ นโรงแรมบูทีคสูง4ชัน้ ที่ถกู ต่อเติมเข้ าไปในอาคารส�ำนักงานการทหารของญี่ปนุ่ ซึง่ สร้ างมาตังแต่ ้ ปี 1930 เดิมมี 3 ชัน ตั ้ วโรงแรมตังอยู ้ ห่ น้ า แม่น� ้ำ Huangpu โดยที่ คอนเซปหลักๆของ Neri & Hu ในการรี โนเวชัน่ โรงแรมแห่งนี ้ เห็นได้ ชดั ว่า เน้ นเรื่ อง ความ แตกต่างระหว่างความเก่าและใหม่ อาคารคอนกรี ตเดิมได้ รับการบูรณะ มีการใช้ Cor-Trn Steel หรื อเหล็กที่ขึ ้นสนิม เพิ่มเข้ าไปในส่วนที่ตอ่ เติม ขึ ้นมา เพื่อ สะท้ อนความเป็ นอุตสหกรรมบริ เวณท่าเรื อ และเรื อที่ผา่ นไปมา ในแม่น� ้ำ HuangPu ท�ำให้ ตวั อาคารให้ บริ บทที่คล้ ายคลึง และ สอดคล้ องกับตัวสถานที่และวัฒนธรรมบริ เวณนัน้ นอกจากนี ้เขายังให้ ความส�ำคัญกับงาน interior ภายใน โดยที่แสดงออกผ่าน การผสมผสานและผกผันไปมา ของ ภายในและ ภายนอก นันรวมไปถึ ้ งการวางพื ้นที่สาธารณธและพื ้นที่สว่ นตัว ก่อให้ เกิด การเรี ยงตัวซึง่ ไม่คอ่ ยเป็ นล�ำดับ ซึง่ เป็ นประสบการณ์ที่แปลกใหม่ ส�ำหรับผู้ที่เข้ ามาพักที่โรงแรมระดับ 5 ดาว แห่งนี ้ พื ้นที่ภายนอก สามารถแอบมองได้ จาก แต่ละห้ องของห้ องส่วนตัว ในขณะที่ ภายในห้ องนัน้ ก็เชิญชวนให้ ม การมองออกไปที่ พื ้นที่ภายนอก ยอกตัวอย่างเช่น หน้ าต่างขนาดใหญ่ของห้ องในแนวตัง้ ที่อยูด่ ้ านบน โต๊ ะ reception และ ระเบียงหน้ าต่างที่สามารถมองไปยังห้ องอาหารได้ เป็ นต้ น การมองเห็นเหล่านี ้สามารถเชื่อมสู่ พื ้นที่ที่เหนือความคาดหมาย ไม่เพียงแต่ จะรู้สกึ ตื่นเต้ นแล้ ว ยังท�ำให้ แขกที่มาพัก รับรู้ถงึ สภาพพื ้นถิ่นของเมืองเซี่ยงไฮ้ จริ งๆ

4


ตังอยู ้ ท่ ี่ริมแม่น� ้ำ Huangpu ในโซนท่าเรื อเก่า The Waterhouse at South Bund โปรเจคประกอบไปด้ วย 2 ส่วน คือ ส่วนโรงแรม และ ส่วนบ้ านพักรับรอง โดย ในส่วนของ โรงแรม มีทงหมด ั้ 19 ห้ องและ rooftop bar กับร้ านอาหาร วิ่งที่นา่ สนใจคือ พื ้นที่ภายในและ ภายนอกที่สลับกันไปมา การ รี โนเวทครัง้ นี ้ เก็บ เปลือกของอาคารเรื อนรับรองเก่าไว้ เป้นการสร้ างอาคาร อุตสาหกรรมในขณะที่ก็ยงั พยามคงประวัตศิ าสตร์ ของพื ้นที่นนๆและบริ ั้ เวณใกล้ เคียงเอาไว้ ในพื ้นที่ 8000 ตารางเมตร เกิดเป็ นพื ้นที่หลายประโยชน์ใช้ สอยที่เป็ น double-storey ceiling และมีความยืดหยุน่ ง่ายต่อการเปลี่ยน layout จัดกิจดรรมที่ต้องการ พื ้นที่ขนาด ใหญ่ เช่น แฟชัน่ โชว์ นิทรรศการ และ งานแต่งงาน การท�ำงานภายใต้ กรอบอาคารเดิม Neri&Hu ได้ สร้ างสร้ าง มุมมองร่วมสมัยที่ยงั คงสอดคล้ องกับบริ ยททเดิมได้ อย่างลงตัว

5


Xi’an Westin Museum Hotel Location: Shaanxi, China Area: 80000.0 sqm Year: 2012 Type : Hotel

แนวความคิดในการออกแบบ และการใช้ วสั ดุ

จากเมืองหลวงเก่าแก่ของจีน Neri & Hu ออกแบบ Westin in Xi’an ออกมาเป็ นเหมือน hub ท�่ำคัญของเมืองที่ก�ำลังขยายตัวทางเชื ้อ ชาติ และ คงคุณค่าในฐานะ อูอ่ ารยธรรมของจีน ด้ วย ประวัตศิ าสตร์ 3100 ปี ของเมือง ซีอาน โดยที่มนั ไม่ได้ เป็ นเพียงฉากหลัง แต่มนั ยังเป็ น แรงบันดาลใจแก่ สถาปนิก ในแง่ของการสร้ างความสัมพันธ์จาก อดีตมายังปั จจุบนั และก้ าวไปสูอ่ นาคต เมื่อมาถึง ศูนย์กลางประวัตศิ าสตร์ ของ ซ๊ อาน จะพบ สิง่ ที่เหมือนป้อมปราการห่อเมืองอยู ่ The Westin ได้ น�ำสิง่ นี ้มาใช้ อย่างกลมกลืนกับสภาพแวดล้ อม ปูนปั น้ สีด�ำและ ผนังหิน สื่อถึงความเป็ นจีนพื ้นถิ่น รวมไปถึง ชายคายื่น และ ความลาดชันของ contours โดย รายละเอียดของความเป็ นจีนประเพณี ได้ ถกู ลดลง กลายเป็ นเส้ นที่เรี ยบง่าย ร่วมสมัยมากขึ ้น จังหวะของช่องเปิ ด มีความสนุกสนานในตัว คือจะเล็กลงทุก 5 ชัน้ ถัดไป ท�ำให้ เกิดการลวงตา ว่า ตึกดูสอบสูง แต่ละช่องเปิ ด เน้ นด้ วยเส้ นขอบสีแดง เอียงไปท�ำให้ มองเห็นวิว ด้ านข้ าง the Big Wild Goose Pavilion และเป็ นการเผยให้ เห็น ความหนาจองตัวอาคาร ราวกับว่า มันหยัง่ รากลึกลงอยูบ่ นดินมานาน เหมือนประวัตศิ าสตร์ ของพื ้นที่ สิง่ ที่ปรากฎเห็นอย่างชัดเจนในมิตขิ องงาน คือ ความโดดเด้ งขององค์ประกอบที่น�ำแสงเข้ าสูโ่ ครงการ จากมุมมองระยะไกล มองเห็น หลังคาที่คอ่ นข้ างดูเป็ น ประเพณีนิยม ได้ ชดั เจน มีการยกหลังคาชึ ้น แยก แมสออกมาจากตัวอาคาร ใกล้ เข้ ามา บริ เวณรอบๆอาคาร มี reflective pool ท�ำให้ ตวั อาคารดูลอยอยุใ่ นท้ องฟ้า ในแต่ละทางเข้ าหลัก มี canopies ไม้ ติดอยูก่ บั อาคาร ยอมให้ เกิดแสงและเงาเข้ าสูภ่ ายใน ด้ านใน ก็เห็นแสงจากแต่ละชัน้ ทะลุผา่ นช่องแสงแต่ละช่อง จากสวนเข้ ามา เหมือน ชิ ้นส่วนของแลนด์สเคปภายนอก ปลูกถ่ายตัวเองเข้ าสู่ ศูนย์กลางของช่องเปิ ดแต่ละช่อง ความพยายามของสถาปนิกที่จะ เชื่อมต่อภายนอกกับภายใน แสดงออกอย่างมาก ใน การวางตัวของบันได จากทางเข้ าด้ านตะวันออก ที่น�ำคนเดินลง 2 ชัน้ ไปสู่ สวนขนาดใหญ่ที่จมอยู่ ซึง่ เป็ นหัวใจของงาน โดยรอบเป็ นพื ้นที่สาธารณะ เหมือน หมูบ่ ้ าน Neolithic Banpo หรื อ สุสาน นักรบหิน อันมีชื่อเสียง

6


พื ้นที่ดงั กล่าวนี ้ ถูกใช้ เป็ น พิพิธภัณฑ์ แสงดง จิตกรรมฝาผนังของภูมิภาค โดยที่ แนวคิดของ สเปสใต้ ดนิ นี ้ ตอบสนองการจัดแสดง ภาพ ให้ ตา่ งจากการจัดแสดงรูปแบบอื่นๆ อย่างที่ร้ ูกนั ว่า งานศิลปะโบราณ ต้ องมีการรควบคุม ความชื ้น แสง และ อุณหภูมิที่เข้ มงวด รูปแบบ ของ งานจึงออกมาในรูปแบบเรี ยบง่าย คือ กล่องเหล็ก แขวนอยูบ่ นผนังสีขาวเปลือย จากแก่นไอเดีย "white cube" นี ้ แต่ละหน่วย จะตังอยู ้ ใ่ น ต�ำแหน่งที่ มองเห็นแต่ละกรอบงานต่างกัน และผลงานที่ตา่ งกันในนัน้ จากการที่แยกกรอบงานออกจากกันด้ วย ผนังสีขาวและ กรอบ ชิ ้นงาน ให้ ดแู ยกออกจากกัน ท�ำให้ สามารถ ซึมซับ ความเป็ นศิลปะของงานแต่ละชิ ้นได้ ลึกมากขึ ้น ที่ The Westin Xi'an นี ้มี ร้ านอาหาร 3 ร้ าน คือ ร้ านอาหารจีน เป็ น อาคารตังลอยออกมาเห็ ้ นความเป็ น แมสมากขึ ้น ปิ ด sunken garden ที่ด้านตะวันตก มีการเล่นกับการความรุ้สกึ หนักของหลังคาอย่างชาญฉลาด ทางเข้ าอาคาร สื่ออกมาในรูปหลังคา มังซา ที่ดรอปให้ ต�่ำ โฉบลงเล็กน้ อยกับพื ้นดิน หน้ าต่างดอร์ เมอร์ ยื่นออกมาจากแต่ละด้ าน เพื่อให้ แสง และเปิ ดให้ เห็นโครงสร้ างของหลังคาที่ด้านใน ท�ำให้ ร้ ูสกึ ถึง การมีอยูข่ องหลังคาอยุต่ ลอดเวลา ห้ องส่วนตัวตังอยู ้ ใ่ น แมสก้ อนอิฐที่เรี ยงตัวเว้ นช่องว่างแนวตังไว้ ้ น�ำพาแสง และมุมมองที่แปลกใหม่ ในการ รับประทานอาหาร ร้ านที่2 เป็ นร้ านอาหารญี่ปนุ่ มีแนวคิดมาจาก โรงละคร Kabuki ที่ซงึ่ นักแสดงจะล้ อมผู้ชม แสดงเป็ นวงกลมรอบๆ โดยใน ร้ านอาหาร ทางเดินหลัก จะยกตัวอยูบ่ ริ เวณรอบๆ ในขณะที่สว่ นรับประทานอาหารกดลงไปตรงกลาง ท�ำให้ พนักงานเสิร์ฟ และคนที่ผา่ นไป มา กลายเป็ น นักแสดง อยูบ่ นเวที ร้ านสุดท้ าย เป็ น All-day-dining ห่อหุ้มด้ วยกระจก ส่วนรับประทานอาหารและ บุฟเฟ่ ต์ ที่ตรงกลางของ สเปซ เปรี ยบเหมือน ตลาด ที่อาหารการกินเป็ นจุดเด่น จากการออกแบบที่อ้างอิงจากประวัติศาสตร์ The Westin Xi'an ยังคงให้ ความเคารพกับเมืองเก่า ในขณะเดียวกันก็ตีผา่ ความคิด ของสถาปั ตยกรรมจีนออกไป

7


Le Meridien Zhengzhou Location: Zhengzhou, Henan, China Area: 43,000 sqm Year: 2013 Type: Hospitality

แนวความคิดในการออกแบบ และการใช้ วสั ดุ

- มีความตังใจว่ ้ าอยากให้ เป็ น Landmark เพื่อเป็ นการเผยแพร่วฒ ั นธรรมของ Henan ผ่านงานศิลปะ แห่งใหม่ของเมือง Zhengzhou ซึง่ เป็ นเมืองศูนย์กลางของมณฑล Henan ซึง่ ในอดีตเคยเป็ นศูนย์กลางทางการเมือง, เศรษฐกิจ และ วัฒนธรรมของจีนในสมัยโบราณ ปั จจุบนั ได้ กลายเป็ นแหล่งท่องเที่ยวส�ำหรับชาวต่างชาติ โดยสร้ างสถาปั ตยกรรมให้ เหมือนกับสถานที่เก็บความเก่าและความใหม่ที่ได้ กลายมาเป็ นเป้า หมายให้ กบั ผู้คนในเมืองและนักท่องเที่ยวได้ เข้ ามา - รูปลักษณ์ภายนอกมีลกั ษณะเป็ นกล่องยื่นออกมาวางซ้ อนๆกัน โดยที่แต่ละกล่องมีการจัดวางองค์ประกอบให้ มีการแทรกและซ้ อน ทับกันเพื่อท�ำลายภาพรวมของโครงสร้ างเดิมของตัวอาคารที่ดใู หญ่หนาและเป็ นการสอดประสานกันทางมุมมองกับอาคารที่อยูข่ ้ างเคียงอีก ด้ วย เลือกใช้ สีเขียวของกระจกในเฉดที่แตกต่างเล็กน้ อยเพื่อสร้ างความแตกต่างระหว่างกระจกที่อยูภ่ ายในกล่องใบต่างๆ และ ใช้ กระจกใสในบริ เวณพื ้นที่วา่ งระหว่างกล่อง ด้ านข้ างของกล่องนันถู ้ กห่อหุ้มด้ วยเหล็กสีด�ำและสีกาแฟ มีการเจาะรูให้ เกิดเป็ นพื ้นผิวและ ลวดลายกุหลาบป่ าแห่งเมือง Henan ที่ถกู รองรับด้ วยกลุม่ เสาที่ท�ำจากทองแดง - ตัวอาคารสูง 25 ชัน้ ประกอบไปด้ วยพื ้นที่โพเดียมส�ำหรับการใช้ งานส่วนรวม 5 ชัน้ ได้ รับแรงบันดาลใจมาจากถ� ้ำหลงเหมินหรื อถ� ้ำ ประตูมงั กร (มีการแกะสลักหินปูนที่หน้ าผาให้ เกิดเป็ นพระพุทธรูปแกะสลักในถ� ้ำแต่ละจุด) ท�ำให้ ภายในโรงแรม มีการเจาะผนังเป็ นช่องๆเข้ าไป ให้ เหมือนกับการเจาะโพรงผนังถ� ้ำ - บริ เวณโถงกลางของโรงแรมอันเป็ นพื ้นที่เปิ ดโล่งให้ เชื่อมโยงกับพื ้นที่สว่ นรวมในชันอื ้ ่นๆ และยังเอื ้อให้ แสงธรรมชาติจากด้ านบนที่ ส่องลงมาเน้ นผนัง กรุลวดลายหินชันบนผนั ้ ง ประดับกระจกสีเขียวและโคมไฟระย้ า เติมเต็มพื ้นที่เกิดเป็ นแสงและสีแผ่กระจายไปภายในห้ อง 8


- ในระดับที่สงู ขึ ้นไปจนใกล้ ถงึ เพดานของโถงนี ้มีรายละเอียดในการจัดวางที่มากขึ ้นด้ วยกล่องไม้ สีเข้ มที่วางเรี ยงกันจากบนเพดานต่อ เนื่องลงมาถึงส่วนของผนังด้ านบน เกิดเป็ นรูปแบบทางสถาปั ตยกรรมแบบซ� ้ำๆกัน ลวดลายเส้ นสายที่ละเอียดอ่อนประดับอยูบ่ นหินใหญ่ ใน ส่วนของพื ้นที่ pre-function นัน้ เพดานและผนังจะเต็มไปด้ วยกล่องน้ อยใหญ่เรี ยงตัวกันอย่างไม่สม�่ำเสมอแต่อยูใ่ นระดับความสูงเท่ากันหมด บางกล่องได้ กลายมาเป็ นช่องหน้ าต่างที่สามารถมองผ่านพื ้นที่โถงไปได้ หรื อในส่วนของสปา กล่องจ�ำนวนหนึง่ ก็เปลี่ยนไปเป็ นกระจกแทน กล่องไม้ อาจจะท�ำให้ นกึ ถึงการตกแต่งภายในร้ านอาหารญี่ปนุ่ ซึง่ พื ้นที่ทงหมดของเพดานจะเต็ ั้ มไปด้ วยกล่องน้ อยใหญ่ตดิ อยูแ่ ละ วางเรี ยงตัวเล่นระดับกันไปมา โดยกล่องที่มีขนาดใหญ่ที่สดุ จะอยูต่ �่ำพอที่ท�ำให้ เกิดพื ้นที่รับประทานอาหารแบบกึง่ ส่วนตัวได้ เช่นเดียวกับพื ้น ซึง่ มีลกู เล่นคล้ ายกับเพดานและภูมิทศั น์ที่มีลกั ษณะขึ ้นๆลงๆ ที่พื ้นนันมี ้ การเล่นระดับความสูงที่หลากหลาย และให้ บางบริ เวณเกิดเป็ นพื ้นที่ ส�ำหรับคนที่มารับประทานอาหาร ทางเดินพื ้นหินขัดที่ซกิ แซกไปมาน�ำทางไปสูพ่ ื ้นที่หมุนเวียนหลัก การเล่นระดับของกล่องปรากฏให้ เห็นอยู่ ตลอดจากภายในไปยังภายนอกอาคารสูบ่ ริ เวณ Roof Garden ที่แสงสว่างจากด้ านบนส่องลงมายังโถงอย่างเต็มที่ โรงแรมนี ้ยังมีห้องอาหารอีกสองแห่งที่เชื่อมต่อกันในแนวดิง่ จากการออกแบ บที่ตงใจตั ั ้ ดพื ้นระหว่างชันออกไป ้ ห้ องอาหารจีนแบบ ส่วนตัวนันถู ้ กออกแบบให้ มีลกั ษณะเป็ นตะแกรงเหล็กสีด�ำจ�ำนวนมากขยายลงไปถึง All Day Dining Restaurant ที่อยูช่ นล่ ั ้ าง หากมองจาก ข้ างล่าง ห้ องอาหารทังสองจะดู ้ เหมือนกล่องสองกล่องลอยอยู่ พื ้นและผนังของ All Day Dining Restaurant นันท� ้ ำจากกระเบื ้องที่ออกแบบมา เพื่อหลอมหลวมความคลาสสิคของเซรามิคสีฟ้าลายพูก่ นั จีนและลายกังฟูที่ได้ รับแรงบันดาลใจมาจากวัดเส้ าหลิน จุดเด่นของโรงแรมอยูท่ ี่ห้องบอลรูมซึง่ มีลกั ษณะเป็ นกรงห้ อยอยูก่ บั เพดานห่อหุ้มด้ วยตาข่ายสีทองและโคมไฟระย้ ารูปทรงผลึก ผนัง ห้ องช่วงบนที่เอนเข้ ามาเกิดเป็ นเอกลักษณ์หนึง่ ของโรงแรม ภายนอกโรงแรมยังมี The Poetry Walk หรื อทางเดินให้ แขกผู้รักสุขภาพสามารถใช้ เป็ นเส้ นทางวิ่งออกก�ำลังกาย หรื อใช้ ส�ำหรับการเดินพักผ่อนชมทิวทัศน์โดยรอบโรงแรมได้ ด้วยเช่นกัน เส้ นทางนี ้จะมีความชันขึ ้นเล็กน้ อยและ

9


ท�ำให้ เห็นทัศนียภาพของ Roof Garden ก่อนที่จะชันลงไปซึง่ เป็ นทางที่เชื่อมกับ Health Club หัวใจหลักของแนวคิดในการออกแบบห้ องพักนันคื ้ อการสร้ างความขัดแย้ งกันระหว่างความสว่างและความมืด พื ้นที่พกั ผ่อนและ พื ้นที่ห้องนอนนันถู ้ กออกแบบให้ แตกต่างด้ วยผนังสีเทาโทนต่างๆและผนังห้ องที่บดุ ้ วยแผ่นไม้ ส่วนห้ องน� ้ำนันมี ้ การตกแต่งที่น้อยและเรี ยบง่าย ด้ วยกระเบื ้องสีขาว ปิ ดล้ อมด้ วยแผงกระจกลายกัดกรดให้ เหมือนกุหลาบป่ าเช่นเดียวกันกับที่ปรากฏภายนอกอาคาร และเพื่อเป็ นการฉีกกรอบ การออกแบบลิฟต์โรงแรม, ล็อบบี ้ และระเบียงห้ องพักรูปแบบเดิมๆ อาคารจึงประกอบด้ วยพื ้นที่โถงหลายแห่ง และจัดพื ้นที่ไว้ ส�ำหรับการจัด วางงานศิลปะโดยเฉพาะ ในโถงแต่ละแห่งนันจะมี ้ ธีมที่แตกต่างกันออกไป ได้ แก่ ธีมต�ำนานปรัมปรา, ธีมธรรมชาติ หรื อธีมวัฒนธรรม เป็ นต้ น นอกจากนี ้ยังใช้ ประโยชน์จากพื ้นที่แนวดิง่ เพื่อบอกเล่าเรื่ องราวที่แตกต่างกันในแต่ละชันของห้ ้ องพักอีกด้ วย นับเป็ นโปรเจคออกแบบที่มีสเกลที่ใหญ่และต้ องอาศัยความรู้จากสหสาขาวิชามากที่สดุ ตังแต่ ้ ที่ Neri และ Hu ได้ เคยท�ำมา เพราะ ต้ องออกแบบงานสถาปั ตยกรรมใหม่จากโครงสร้ างคอนกรี ตแบบเดิม, ออกแบบภายในใหม่ตงแต่ ั ้ ห้องพักไปจนถึงพื ้นที่ใช้ สอยส่วนรวมภายใน ตัวโรงแรม ออกแบบห้ องอาหาร, เฟอร์ นิเจอร์ , ป้ายต่างๆ, ภูมิทศั น์ และการตกแต่งด้ วยงานศิลปะบางส่วน ด้ วยการศึกษาในหลากหลายสเกล, หลายพื ้นผิว, หลายวัสดุ และหลายพื ้นที่ ผลงานที่ได้ จากการรังสรรค์โดย Neri และ Hu จึงเป็ นเหมือนตู้แสดงสินค้ าที่บอกเล่าเรื่ องราวมากมาย ผ่านการคิดการวางแผนหลากหลายวิธี พวกเขาท�ำงานใกล้ ชิดกับลูกค้ าและผู้อื่นที่เกี่ยวข้ อง ทังสองจึ ้ งไม่ได้ สร้ างเพียงแค่การผจญภัยทางพื ้นที่ เท่านันแต่ ้ ยงั เล่าล�ำดับเรื่ องราวของมันให้ แก่นกั ท่องเที่ยวและประสบการณ์ของพวกเขาที่มีตอ่ เมืองแห่งนี ้อีกด้ วย

วัสดุที่ใช้

กระจกสีเขียว กระจกใส เหล็กเจาะรูสีด�ำและกาแฟ หิน ไม้ ตะแกรงเหล็กสีด�ำ

10


Design Republic Design Commune Location: Shanghai, China Area: 2,400 sqm Year: 2012 Type : Commercial

แนวความคิดในการออกแบบ และ การใช้ วสั ดุ

Design Republic Design Commune ณ ใจกลางนครเซี่ยงไฮ้ เกิดขึ ้นโดยมี แนวคิดเพื่อเป็ นศูนย์กลางแห่งการออกแบบ กล่าวคือ เป็ นศูนย์ศลิ ปวัฒนธรรมกึง่ โชว์รูมส�ำหรับเหล่าดีไซน์เนอร์ และผู้ที่ชื่นชอบงานออกแบบให้ ได้ แวะเวียนเข้ ามา ชื่นชม พินิจพิจารณา แลกเปลี่ยน เรี ยนรู้ รวมไปถึงเข้ ามาเสพงานศิลป์กันได้ ภายในที่แห่งนี ้ นอกจากนี ้ยังเป็ นที่ตงของร้ ั้ าน Design Republic สาขาหลัก ซึง่ ขายเฟอร์ นิเจอร์ สไตล์โมเดิร์น รวมไปถึง หนังสือ แฟชัน่ ไฟประดับตกแต่ง และ ดอกไม้ 'คอมมุนู ' แห่งนี ้ยังมีแกลอรี ศลิ ปะ พื ้นที่จดั งานศิลปะ ร้ านกาแฟ และร้ าน อาหารโดยเชฟระดับมิเชลลิน (Jason Atherton) และอพาร์ ทเมนท์อีกหนึง่ ห้ อง นอน ดีไซน์คอมมูนแห่งนี ้ใช้ พื ้นที่ของอาคารเก่าซึง่ เดิมเป็ นส�ำนักงานต�ำรวจ สร้ างขึ ้นโดยชาวอังกฤษในช่วงปี 1910 ท�ำให้ โปรเจคดังกล่าวต้ องอาศัยการ ซ่อมแซมปรับปรุงเป็ นหลัก เริ่ มจากการน�ำส่วนของไม้ และปูนที่ผพุ งั ออกอย่าง ระมัดระวัง จากนันจึ ้ งซ่อมแซมงานอิฐสีแดงอันโดดเด่นของตัวอาคาร และตัด แต่งต่อเติมในส่วนที่จ�ำเป็ นต้ องบูรณะ และท้ ายสุดคือการสร้ างส่วนต่อเติมเพื่อ เพิ่มฟั งก์ชนั่ การใช้ งานของอาคารเดิมให้ มากขึ ้นที่ด้านหน้ า ทังหมดนี ้ ้จึงเหมือน เป็ นการท�ำให้ อาคารเก่าประหนึง่ ถูกทิ ้งร้ างได้ ถกู ปลุกให้ คืนชีพขึ ้นมาอีกครัง้ จากร้ านค้ าริ มถนนที่สภาพค่อนข้ างเก่าแก่ทรุดโทรม สถาปนิกทังสอง ้ ได้ แทนที่ด้วยส่วนต่อเติมแบบสมัยใหม่ซงึ่ ท�ำจากกระจกเพิ่มออกมาจากตัว ก�ำแพงอิฐ ทังนี ้ ้เพื่อขับเน้ นความดังเดิ ้ มของตัวอาคารหลักให้ มากขึ ้น บริ เวณ ขอบถนนบางส่วนก็ท�ำการล้ อมด้ วยกระจกเพื่อให้ สามารถมองทะลุไปถึงงานอิฐ และโครงสร้ างคอนกรี ตแบบหยาบที่อยูภ่ ายในได้ นอกจากนี ้ Neri และ Hu ได้ น�ำ พื ้น ก�ำแพง และผนังบางส่วนออกไปบ้ างเพื่อสร้ างประสบการณ์ที่แปลกใหม่แก่ อาคารหลังเก่าและเพื่อให้ เข้ ากับรูปแบบการใช้ งานในปั จจุบนั กเดิมที่เป็ นอาคาร 3 ชัน้ พวกเขาได้ ปรับให้ เหลือเป็ นอาคารแบบโถง 2 ชันแทน ้ จึงท�ำให้ มีพื ้นที่ ติดต่อกันระหว่างชันต่ ้ อชัน้ และห้ องต่อห้ องมากขึ ้น

11


ในส่วนของสถาปั ตยกรรมภายในนัน้ ทังสองได้ ้ สร้ างรอยแยกเล็กๆจ�ำนวนมากเพื่อเผยให้ เห็นถึงร่องรอยทางประวัตศิ าสตร์ และการ หลอมรวมกันระหว่างอดีตและปั จจุบนั อันเป็ นการสร้ างประสบการณ์ร่วมแห่งช่วงเวลาให้ เกิดขึ ้นขณะที่เดินอยูภ่ ายในอาคาร ขัดกับภายนอกที่ ส่วนใหญ่ยงั คงความดังเดิ ้ มของตัวอาคารไว้ เพื่อการอนุรักษ์ แต่ภายในนันได้ ้ ถกู ปรับปรุงไปจากเดิมอย่างสิ ้นเชิง ห้ องสีขาวสมัยใหม่ที่ดแู ข็งทื่อ นันท� ้ ำขึ ้นเพื่อให้ ดขู ดั กับร่องรอยความเก่าแก่ดงเดิ ั ้ มของก�ำแพงอิฐและโครงสร้ างไม้ ภายในก�ำแพงที่ผพุ งั ลงมา รายละเอียดเรื่ องความเก่าและ ใหม่ดงั กล่าวเป็ นความตังใจของทั ้ งสองสถาปนิ ้ กซึง่ ถือได้ วา่ สามารถสร้ างสมดุลในมุมมองและสมดุลของพื ้นที่ทางสถาปั ตยกรรมอย่างลงตัว พวกเขากล่าวว่าทางสื่อตะวันตกมักจะน�ำเสนอจีนในแง่มมุ ของการเป็ นมหาอ�ำนาจ เป็ นผู้น�ำ เป็ นยักษ์ ใหญ่ แต่จริ งๆแล้ วในประเทศจีนยังมีคน กลุม่ เล็กๆที่สนใจในงานขนาดเล็ก ละเอียดอ่อน และแฝงด้ วยความหมาย ถึงแม้ วา่ มันจะไม่ใช่โครงการใหญ่ และยังไม่ได้ รับความสนใจจากสื่อ มากเท่าที่ควร รวมไปถึงโอกาสที่จะเกิดโปรเจคเล็กๆยังมีไม่มากนัก แต่พวกเขาเชื่อว่ากาลเวลาจะช่วยให้ สงิ่ เล็กๆนี ้ทวีความส�ำคัญและเติบโต มากขึ ้นได้ ในอนาคต

12


The Commune Social

Location: Jiangning Road, Shanghai, China Area: 495 sqm Year: 2013 Type : Restaurant

แนวคิดในการออกแบบ

The Commune Social ที่ตงอยู ั ้ ภ่ ายใน Design Republic Design Commune นัน้ เป็ นร้ านทาปาสสร้ างใหม่ (ทาปาส = อาหารทาน เล่นที่เสิร์ฟมาในลักษณะพอดีค�ำ อันเป็ นวัฒนธรรมการกินของชาวสเปน) ในการออกแบบพื ้นที่ร้านเน้ นการ “แชร์ ” ไอเดียในการรับประทานทา ปาส การแบ่งพื ้นที่ออกเป็ น 4 ส่วนนัน้ (บาร์ ทาปาส, ห้ องรับประทานอาหาร, บาร์ ของหวาน และบาร์ ลบั ) ก็เพื่อสร้ างวัตถุดบิ และรสชาติที่หลาก หลายแก่ผ้ รู ับประทานให้ ได้ แบ่งปั นระหว่างกัน เหมือนกับตอนที่แบ่งปั นอาหาร การออกแบบพื ้นที่ดงั กล่าวจึงเป็ นการกระตุ้นให้ ลกู ค้ าเคลื่อนที่ จากพื ้นที่หนึง่ ไปยังอีกพื ้นที่หนึง่ ของร้ าน เช่น เมื่อดื่มที่บริ เวณบาร์ ลบั (Secret Bar) แล้ วก็อาจเดินไปทานต่อที่บาร์ ทาปาสหรื อห้ องอาหาร และ ตบท้ ายด้ วยของหวานที่บาร์ ของหวาน เป็ นต้ น นอกจากแต่ละส่วนของร้ านจะเสิร์ฟอาหารที่ตา่ งกันแล้ ว ยังให้ บรรยากาศในการกินที่แตกต่าง กันอีกด้ วย เป็ นการกระตุ้นให้ ลกู ค้ ารู้สกึ ตื่นตัว และเพื่อให้ เกิดกิจกรรมทางสังคมขณะรับประทานอาหารนัน่ เอง

แนวคิดในการใช้ วสั ดุ

Neri Hu ได้ เลือกใช้ วสั ดุที่สื่อถึง “ความสด” แก่สายตาผู้ที่พบเห็น พร้ อมไปกับสร้ างความผสมผสานเพื่อให้ วสั ดุที่เลือกใช้ มีความเข้ า กันกับความสดใหม่และความดิบในอาหาร อย่างการใช้ เหล็ก ไม้ เก่า ปูนเปลือย และอิฐ มาประกอบกันให้ เกิดเป็ นรูปแบบพื ้นผิวและลวดลาย ตามธรรมชาติของวัสดุนนๆ ั ้ ในขณะที่พื ้นที่สว่ นอื่นมีการออกแบบที่เน้ นความดิบสไตล์อินดัสเทรี ยล แต่บาร์ ของหวานนันแตกต่ ้ างออกไปเพราะ ใช้ สีขาวในการตกแต่งเป็ นหลัก ประดับประดาด้ วยไฟสว่าง ทังนี ้ ้ก็เพื่อขับเน้ นให้ ของหวานของร้ านมีความโดดเด่นมากยิ่งขึ ้น และไม่ใช่แค่ให้ ของหวานท�ำหน้ าที่เป็ นเพียงจานตบท้ ายเท่านัน้ แต่การตกแต่งห้ องให้ ขาวสว่างยังมีจดุ มุง่ หมายเพื่อสร้ างประสบการณ์ในมื ้ออาหารที่เหนือ ระดับเหมือนอยูบ่ นสวรรค์

13


Design Collective Location: Qingpu, China Project Year: 2012 Project Area: 2,000 sqm Type : Commercial

แนวคิดในการออกแบบ และการใช้ วสั ดุ

Design Collective ตังอยู ้ บ่ ริ เวณรอบนอกนครเซี่ยงไฮ้ ในเมืองชิงผู่ เกิดขึ ้นจากการน�ำอาคารเก่ามาออกแบบใหม่ทงภายในและ ั้ ภายนอกโดยไม่ท�ำลายโครงสร้ างเดิมของตัวอาคาร ซึง่ Neri Hu ได้ วางคอนเซปว่าจะสร้ างอัตลักษณ์ของอาคารขึ ้นมาใหม่ พร้ อมๆกับการเล่น ระดับทางพื ้นที่ภายในอาคารเพื่อให้ เป็ นเอกลักษณ์ของ Design Collective ศูนย์รวมสินค้ าประเภทเฟอร์ นิเจอร์ ล� ้ำสมัยแห่งเมืองชิงผู่ อาคารเดิมได้ ถกู ห่อหุ้มด้ วยแผงคาร์ บอนไฟเบอร์ ขนุ่ ลวดลายกราฟิ กเพื่อสร้ างสภาพทางพื ้นที่แสดงเฟอร์ นิเจอร์ ที่สามารถมองเห็นและ สัมผัสได้ ทางเข้ าหลักโดดเด่นแปลกตาด้ วยลักษณะเหมือนปล่องเหล็กทอดยาวเชื่อมต่อพื ้นที่ภายนอกอาคารกับพื ้นที่จดั แสดงภายใน น�ำผู้มา เยือนเข้ าสูพ่ ื ้นที่จดั แสดงสินค้ าความสูง 3 ชัน้ ซึง่ เปรี ยบได้ กบั การเป็ นจุดเริ่ มต้ นของการเดินทางส�ำรวจข้ างในที่จะเกิดขึ ้นต่อไป บันไดไม้ วางตัวโอบล้ อมพื ้นที่จดั แสดงหลักภายในตัว อาคาร ท�ำหน้ าที่น�ำทางผู้เข้ าชมไปยังจุดแสดงสินค้ าที่มีการเล่น ระดับแตกต่างกันไป ในจุดนี ้ผู้ชมจะสัมผัสได้ ถงึ ความสัมพันธ์ ทางพื ้นที่อนั หลากหลายและสามารถมองเห็นชิ ้นงานได้ จาก หลายต�ำแหน่ง การเดินทางเริ่ มถูกขับเน้ นให้ เข้ มข้ นเมื่อผู้ชมเดิน ขึ ้นบันไดผ่านส่วนจัดแสดงสูงขึ ้นเรื่ อยๆ เพราะจะยิ่งเข้ าใกล้ บริ เวณหลังคาที่มีชอ่ งขนาดใหญ่ 7 ช่อง ถูกเจาะไว้ เพื่อให้ แสง อาทิตย์สอ่ งผ่านเข้ ามายังพื ้นที่จดั แสดงได้ อย่างเต็มที่ ในส่วนของร้ าน Design Republic สาขาเมืองชิงผูน่ นั ้ จะตังอยู ้ ท่ ี่ชนแรกของอาคาร ั้ บนพื ้นที่ใช้ สอยรวมทังสิ ้ ้น 2,000 ตารางเมตร Design Republic วางขายคอลเลคชัน่ สินค้ าที่ ออกแบบโดยดีไซน์เนอร์ ระดับโลกทังชาวต่ ้ างชาติและชาวจีนซึง่ ร่วมมือกันสร้ างผลิตภัณฑ์ที่ท�ำให้ ผ้ ใู ช้ ได้ ค้นพบถึงสุนทรี ยะแห่ง ศิลปะจีนสมัยใหม่ Design Republic เป็ นเหมือนตัวแทนการเกิดใหม่ของ ชีวิตและสไตล์ เหมือนกับ “สาธารณรัฐแห่งชีวิต” ที่ชีวิตนันได้ ้ สร้ างความหมายและความเข้ าใจผ่านความสัมพันธ์ที่เรามีตอ่ วัตถุเพื่อการอยูอ่ าศัย ค้ นหาเพื่อค้ นพบความเกี่ยวโยงระหว่าง ผู้คนและสิง่ ที่พวกเขาใช้ ในชีวิตประจ�ำวัน ไม่วา่ จะเป็ นจานชาม ถ้ วยชา หรื อเก้ าอี ้ และที่นี่คือค�ำตอบของความงามในชีวิตประจ�ำ วัน 14


Design Republic ยังเป็ น “สาธารณรัฐแห่ง สไตล์” ที่สไตล์ได้ ก่อให้ เกิดลัทธิใหม่ในการออกแบบ การ ค้ าปลีก และแนวคิดในการจัดการสินค้ า อันเป็ นการท�ำให้ สุนทรี ยภาพของความเป็ นจีนสมัยใหม่เกิดเป็ นรูปเป็ นร่าง ข้ ามผ่านกรอบของความดังเดิ ้ มเพื่อให้ ความเก่าและความ

วัสดุที่ใช้

แผง คาร์ บอนไฟเบอร์

15


The Black Box

Location: 88 Yuqing Road, Shanghai, China Project Year: 2009 Type : Commercial

แนวคิดในการออกแบบ และการใช้ วสั ดุ

“Black Box” ที่เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทอนิกส์ซงึ่ ใช้ บนั ทึกข้ อมูลการบิน ความหมายดังกล่าวได้ ถกู น�ำมาใช้ เพื่อสื่อถึงอาคารส�ำนักงานที่ เป็ นเหมือนแหล่งเก็บข้ อมูลการสนทนา, ไอเดีย, ความคิดและการศึกษาวิจยั ที่เกิดขึ ้นภายในครี เอทีฟสตูดโิ อแห่งนี ้ นอกจากนี ้ ยังมีคณ ุ สมบัตทิ ี่ ทนทานเพื่อป้องกันข้ อมูลไม่ให้ เสียหายจากเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด เช่นเดียวกันกับออฟฟิ ศงานออกแบบที่ควรจะเป็ นสถานที่เก็บผลผลิตซึง่ กลัน่ มาจากมันสมองและต้ องสามารถป้องกันความเสียหายจากภายนอกได้ อาคารส�ำนักงาน 5 ชันตั ้ งอยู ้ ใ่ นย่าน French Concession หรื อย่านที่เป็ นอดีตเขตการปกครองของฝรั่งเศสในนครเซี่ยงไฮ้ ด้ านนอก ของอาคารชันล่ ้ างสุดจะล้ อมด้ วยไม้ ท�ำให้ ดเู หมือนเป็ นฐานของอาคาร ในชันนี ้ ้เป็ นที่ตงของร้ ั้ าน Design Republic รวมไปถึงแกลอรี และร้ านค้ า อื่นๆ โดยถัดขึ ้นไปจะเป็ นส่วนของส�ำนักงานร้ าน Design Republic และ Neri&Hu Design and Research office ที่ตวั อาคารด้ านนอกเป็ นสี ด�ำสนิทและดูเหมือนถูก”ตัด”ออกให้ เหลือเพียงช่องหน้ าต่างที่โผล่พ้นออกมาจากตัวก�ำแพงอาคาร และ ร้ านค้ าที่ชนล่ ั ้ างที่เหมือนหน้ าต่างเปิ ด แง้ มให้ เราเห็นถึงส่วนหนึง่ ของเรื่ องราวทังหมดที ้ ่เกิดขึ ้นภายในอาคาร ภายในร้ าน Design Republic ชันล่ ้ างจะเห็นเหมือนเป็ นกล่องไม้ ที่ถกู ตัดเจาะช่องเข้ าไป เผยให้ เห็นกล่องสีขาวซึง่ เป็ นส่วนของพื ้นที่ จัดแสดงสินค้ า โดยห้ องท�ำงานแบบไพรเวทนันจะอยู ้ ห่ ลังก�ำแพงกระจกเหมือนกับที่ส�ำนักงาน Design Republic สาขาเดิมที่ The Bund (หาด เจ้ าพ่อเซี่ยงไฮ้ ) อีกสองชันขึ ้ ้นไปเป็ นส�ำนักงาน Neri&Hu Design and Research Office ซึง่ ออกแบบให้ มีการเปิ ดพื ้นที่โล่งระหว่างชันและมี ้ ทางเดินเชื่อมต่อกันในแนวราบ ในส่วนของห้ องประชุมนันถู ้ กออกแบบให้ มีลกั ษณะเหมือนกล่อง 2 กล่องซ้ อนทับกัน คือ เป็ นกล่องไม้ ซ้อนอยู่ ด้ านบนกล่องสีขาว โดยห้ องประชุมนี ้สามารถมองเห็นได้ จากทางเดินในบริ เวณพื ้นที่เปิ ดโล่งชันบน ้

16


Rethinking the Split House Location: Shanghai, China Area: 193 sqm Year: 2012 Type : Residential

แนวคิดในการออกแบบ และการใช้ วสั ดุ

บ้ าน Lane house ที่เคยเป็ นโครงสร้ างส่วนใหญ่ของเมืองเซี่ยงไฮ้ อนั แสนวุน่ วายนันถู ้ กท�ำให้ สบั สนมึนเมาว่ามันอยู่ ในช่วงปี 1930 ตอนนี ้มันก�ำลังเปลี่ยนแปลงไปอย่างช้ าๆ มันถูกแทนที่ด้วยการพัฒนาที่แน่นหนาไปทัว่ ทังเมื ้ อง Neri&Hu ได้ รับภารกิจให้ สร้ างlane house ที่ผพุ งั และแทบจะไม่มีอะไรเหลือทิ ้งไว้ นอกจากเปลือกนอกอันแสนงดงามของมันในยุคสมัย ของประวัตศิ าสตร์ และศิลปะของแถบTianzifang ของเมืองเซี่ยงไฮ้ ขึ ้นมาใหม่ และภารกิจนันคื ้ อการแปลงโฉมมันให้ กลาย เป็ นอพาร์ ตเม้ นท์สามยูนิตที่แยกออกจากกัน กลยุทธของ Neri&Hu คือการพิจารณาtypologyของบ้ าน Lane house ใหม่อีกที - เก็บรูปแบบการสร้ างแบบแยกชัน้ เอาไว้ ซึง่ มันคือคุณลักษณะโดยทัว่ ไปของบ้ านLane house ในเมืองนี ้ และเพิ่มความน่าสนใจในเชิงพื ้นที่ผา่ นการเพิ่มเติมสิง่ ใหม่ๆและเพิ่ม skylights เข้ าไป เพื่อที่จะเน้ นให้ เห็นความสมบูรณ์ของสถาปั ตยกรรมของ typology นี ้ และน�ำมันมาผสม ผสานให้ ร่วมสมัยไปกับรูปแบบการด�ำเนินชีวิตในปั จจุบนั ในเชิงประวัตศิ าสตร์ แล้ วนัน้ บ้ าน Lane house จะมีการแบ่งพื ้นที่เป็ นสองพื ้นที่อย่างชัดเจน - พื ้นที่สว่ นที่มกั จะเป็ น ห้ องสี่เหลี่ยมและยาวกว่าและจะมีห้องที่เล็กกว่าที่ตงอยู ั ้ ห่ นึง่ ชันครึ ้ ่งจากตรงนัน้ นัน่ ท�ำให้ เกิดเป็ นสองส่วนที่ถกู แบ่งออกจาก กันซึง่ ได้ ถกู เชื่อมหากันโดยบันไดวนที่อยุร่ ะหว่างกลางชันทั ้ งสอง ้ บ้ านLane house เหล่านี ้ที่โดยส่วนมากแล้ วจะถูกครอบ ครองโดยครัวเรื อนเดียวภายใต้ การเปลี่ยนแปลงของศตวรรษนัน้ ได้ เปลี่ยนไปตามการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของเมือง ในตอนนี ้Lane house ได้ ถกู ครอบครองโดยสามครัวเรื อนหรื อมากกว่า และแชร์ บนั ไดกับชานพักส่วนรวมเพื่อที่เพื่อนบ้ า นทุกๆคนที่พกั อยูก่ นั ในคนละชันและคนละห้ ้ องนันจะได้ ้ มีโอกาสที่จะพบปะพูดคุยกันในระหว่างที่เข้ าและออกจากพื ้นที่สว่ น 17 ตัว


มีการใช้ บนั ไดโลหะแบบต่อเนื่องแทนบันไดไม้ เดิม เกิดเป็ นส่วนเชื่อมของชันทั ้ งสาม ้ และในขณะเดียวกันก็ยงั เป็ น ล็อคให้ กบั ห้ องด้ านหน้ าและห้ องที่อยูค่ รึ่งชันด้ ้ านบนเพื่อที่องค์ประกอบของมันจะได้ ไม่เสียหายและถูกใช้ งานอย่างคุ้มค่า เพื่อที่จะคงพื ้นที่เหล่านี ้ให้ สะอาดบริ สทุ ธิ์และเคร่งครัดนัน้ ห้ องน� ้ำทุกห้ องได้ ถกู ติดตังไว้ ้ ในส่วนพื ้นที่ของบันได ห้ องอาบน� ้ำซึง่ เป็ นส่วนที่เรี ยกได้ วา่ intimate ที่สดุ ของอพาร์ ทเม้ นท์แต่ละที่นนั ้ ได้ ถกู แทรกให้ อยูต่ ดิ กับบันไดส่วนรวมและถูกกันด้ ้ วยเพียง แค่ฉากกันกระจกแก้ ้ วพ่นทรายเท่านัน เหนื ้ อบันไดนี ้ได้ ถกู เพิ่ม clearstory skylight เข้ าไป เพื่อที่จะน�ำแสงให้ เข้ ามาสูส่ ว่ นที่ มืดที่สดุ และนอกจากนันยั ้ งน�ำแสงมาสูห่ ้ องด้ านหน้ า, ห้ องที่อยูค่ รึ่งชันด้ ้ านบน และสูต่ วั บันไดเอง ความไม่ชดั เจนของทังส่ ้ วน พื ้นที่สว่ นตัวและส่วนรวมนัน้ ได้ ท�ำหน้ าที่เป็ น central concept ที่ผกู ชันที ้ ่ถกู แยกเอาไว้ ด้วยกัน และใน ขณะเดียวกันก็ได้ เพิ่ม สีสนั และชีวิตชีวาให้ แก่สว่ นกลางและส่วนที่มืดที่สดุ ของ Lane house ในเชิงสถาปั ตยกรรมนัน้ สิง่ ของตกแต่งที่ถกู ใส่เข้ ามาก่อนช่วงหกสิบปี หลังได้ ถกู รื อ้ ถอนออก และช่องเปิ ดอันใหญ่ได้ ถูกสร้ างขึ ้นมาในส่วนด้ านหน้ าเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของแสงที่จะเข้ าไปสูพ่ ื ้นที่สว่ นรวมของแต่ละอพาร์ ตเม้ นท์ สีด�ำได้ ถกู เลือกมาใช้ เพื่อที่จะท�ำให้ ตวั ตึก "หายไป" ด้ วยความหวังว่าจะมีคนที่ได้ สมั ผัสพื ้นที่ที่ถกู แบ่งและเชื่อมต่อกันโดยบันไดส่วน กลางที่เป็ นสิง่ ที่ส�ำคัญมากในชีวิตในเมืองเซี่ยงไฮ้ ในยุค 30 Neri&Hu ได้ ใส่ชีวิตเข้ าไปในบ้ าน Lane house ในพื ้นที่ที่โครงสร้ างแบบดังเดิ ้ มก�ำลังจะถูกลบเลือนไป โดยการน�ำ เอาจิตวิญญาณของประวัตศิ าสต์ในอดีตมาท�ำการใส่สงิ่ ใหม่ๆเข้ าไปเพื่อตอบสนองความต้ องการที่ทนั สมัย

18


Cluny House

Location: Singapore Size: 2,888 sqmCompletion: November 2011 Type : House

แนวคิดในการออกแบบ และการใช้ วสั ดุ

ได้ รับแนวคิดมาจาก Siheyuan courtyard house ซึง่ เป็ น ซึง่ เป็ นสถาปั ตยกรรมพื ้นถิ่นของประเทศจีนทางตอนเหนือ โดยcourtyard ถือเป็ นสิง่ ที่ชาวจีนให้ ความหมายถึงความรู้สกึ ถึงบ้ าน แสดงออกถึงความสัมพันธ์ระหว่างขอบนอกและตรงกลาง มีสว่ นด้ านในเป็ นส่วนที่ ครอบครัวจะมารวมตัวกัน มันพูดถึงความสัมพันธ์ที่ซบั ซ้ อนระหว่าง "ตัวเอง" และ "สังคม" จัดระดับให้ สว่ นรวมและความเป็ นส่วนตัวในเชิงของ พื ้นที่ เป็ นความหมายรวมของการจัดระดับการอยูร่ วมกันของหลาย generation เป็ นความพิเศษที่ท�ำขึ ้นเพื่อแบบแผนครอบครัวจีนแบบ ดังเดิ ้ ม ตอบสนองโปรแกรมซึง่ เป็ นพื ้นที่เขตร้ อนและความต้ องการที่จะมีพื ้นที่เพียงพอส�ำหรับสี่ครอบครัวที่มีกนั มากกว่าสาม generation แปลนที่ได้ พฒ ั นามันจาก blockish mass สูร่ ูปตัว "L" ได้ เปิ ดพื ้นที่ courtyard ด้ านในสูธ่ รรมชาติเขียวชอุม่ ที่โอบล้ อมอยูด่ ้ านนอก เกิดความต่อเนื่องระหว่างภายนอกและภายใน มีการยกระดับพื ้นที่สว่ นตัวขึ ้นจากพื ้นดิน และพื ้นที่สว่ นพื ้นดินท�ำเป็ นฐานคอนกรี ต(monopolistic base) ที่สร้ างต่อเนื่องกันจากภายนอกสูภ่ ายใน กระจกใสที่ชนหนึ ั ้ ง่ นันท� ้ ำให้ ภมู ิทศั น์สามารถแทรกเข้ ามาภายใน ในขณะที่พื ้นที่การอยูอ่ าศัยก็เริ่ มที่จะเข้ าไปสูส่ วนและสระว่ายน� ้ำ หลักๆคือการครอบคลุมพื ้นที่ด้านนอก ทางเดินคดเคี ้ยงที่มีอยูร่ อบๆสถานที่นนั ้ ได้ สร้ างทัศนียภาพที่ไร้ การปิ ดกันให้ ้ กบั ตัวอาคาร ในขณะที่ ระบบน� ้ำนันได้ ้ รวมตัวอาคารให้ มีความสัมพันธ์กบั ทัศนียภาพโดยรอบ ทัว่ ทังบริ ้ เวณนันได้ ้ ถกู ใช้ งาน

19


รูปแบบของการแบ่งชันและวางทั ้ บซ้ อนกันของตัวบ้ านนัน้ เป็ นกลยุทธที่ส�ำคัญในการเน้ นย� ้ำแนวคิดของความต่อเนื่อง(continuity) จากชันพื ้ ้นดินที่สร้ างด้ วยหิน vals quartzite กับพื ้นที่สว่ นรวมที่ถกู ล้ อมรอบด้ วยกระจก ไปจนถึงพื ้นที่สว่ นตัวด้ านบนที่สร้ างด้ วยไม้ บนชันสองนั ้ นได้ ้ มีห้องนอนวางอยู่ และหน้ าต่างบานเกล็ดที่จะปรับ/เปิ ด/ปิ ด ได้ เพื่อที่ทกุ คนที่พกั อยูใ่ นห้ องนอนทังสิ ้ บสามนันจะ ้ สามารถปรับระดับของการเชื่อมต่อตนเองกับภายนอกทังในด้ ้ านของสภาพอากาศ(climatically)และการมองเห็น (visually)ในด้ านของทาง เดินข้ างห้ องนอนนัน้ มี perforated wood screen ท�ำจากไม้ โอ้ คขาวที่สามารถจะพับและน�ำออกไปเก็บไว้ ที่อื่น ช่วยให้ สามารถเปิ ดกว้ างพื ้นที่ ได้ เต็มบริ เวณส่วนลึกของอาคาร พื ้นที่ double space ของตึกนันท� ้ ำให้ เห็นการแบ่งระดับชันอย่ ้ างชัดเจนขององค์ประกอบ และยังเป็ นการท�ำให้ ขอบเขตของ ภายนอก/ภายใน, สวน/บ้ าน, ส่วนตัว/ส่วนรวมนันจางลงไป ้

20


Yingjia Club at Vanke Beijing Location: Beijing, China Year: 2012 Type : Residential

แนวคิดในการออกแบบ และการใช้ วสั ดุ

Yingjia Club ที่ต้ ้งอยูใ่ นส�ำนักงานใหญ่ของ Vanke Beijing นัน้ เป็ น VIP Sales Club อเนกประสงค์ห้าชันที ้ ่สร้ างขึ ้นภายใน ส�ำนักงานของลูกค้ า Commission นี ้เป็ นโปรเจ็คส�ำคัญว�ำหรับ Vanke ซึง่ ในช่วงหลายปี ให้ หลังมานี ้ได้ เริ่ มที่จะให้ การสนับสนุนการออกแบบ ระดับ world-class และ substainability(การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน**) ใน การตอบสนองต่อ design brief ส�ำหรับอัตลักษณ์ภายนอกที่โดดเด่น และพื ้นที่ด้านในที่มีความหลากหลายแต่ยงั มีความ flexible(ยืดหยุน่ /ใช้ งานได้ ในทุกสถานการณ์) ในระยะยาวนัน้ แรงบันดาลใจจาก Beijing's traditionalism courtyard house ท�ำให้ คอนเซ็ปทางสถาปั ตยกรรมนัน้ เป็ นการแบ่งชันกั ้ นระหว่าง พื ้นที่สว่ นตัวและส่วนรวม ทังในแนวนอนและแนวตั ้ ง้ เป็ นการก�ำหนด เส้ นทางและมุมมองที่จะส่งเสริ มให้ ผ้ มู าเยือนได้ ส�ำรวจพื ้นที่แต่ละส่วน และได้ ค้นพบช่วงเวลาที่ดีในระหว่างนัน้ ภายนอกนันได้ ้ รวมความหลาก หลายภายในให้ เหมือนเป็ นกล่องหนึง่ ใบ มันได้ ผกู ปิ ดช่องต่างๆไว้ รวม กันและนอกจากนี ้ตรงส่วนของ บานเกล็ดก็ยงั มีชอ่ งมอง เกิดความ สัมพันธ์ภายในภายนอก ค่อยๆเปลี่ยนแปลง material palette ไปทีละ นิดแบบขึ ้นบนและเข้ าข้ างในนันท� ้ ำให้ บรรยากาศภายในสดใสขึ ้น, สว่าง ขึ ้น และกว้ างขึ ้น พร้ อมกับคุณภาพของแสงไฟที่มีการผันแปรอยูาตลอด เวลา ทางเข้ าสีด�ำที่มีลกั ษณะเหมือนถ� ้ำตรงที่ชนั ้ ground นัน้ ได้ เรี ยกความรู้สกึ ของความนลึกลับและแสดงให้ เห็นถึงจุดเริ่ มต้ นของการ เดินทางที่จะด�ำเนินต่อไป เมื่อผ่านทางเดินยาวนี ้มาถึง Reception ที่ตงั ้ อยูบ่ นชันสาม ้ จะพบ พื ้นที่ที่ตอ่ เนื่องกันไปด้ วยองค์ประกอบที่ขดั กัน- กา รบีบอั (compressed) กับการขยาย (expansive), ส่วนตัวกับส่วนรวม, มืดกับสว่างและท้ องฟ้ากับพื ้นดิน- แบ่ง layer เป็ นชันๆ ้ สิง่ พวกนี ้จะถูก ปล่อยออกมาในทุกๆก้ าวที่เดิน เข้ าสูพ่ ื ้นท ี่double-height ที่ส�ำคัญสอง ส่วน ซึง่ ก็คือส่วนของ Receiving hall และส่วนของ Exhibition Gallery จากพื ้นที่สว่ นรวมส่วนนี ้นัน้ ช่องเปิ ดที่ซอ่ นอยูด่ ้ านบนและ skylights ด้ านบนนัน้ ได้ ท�ำให้ ทศั นียภาพด้ านนอกนันสามารถที ้ ่จะแทรกตัวผ่าน ห้ องต่างๆของแต่ละชันต่ ้ างๆ ยาวจนไปถึงท้ องฟ้าด้ านบน และนัน่ ก็ได้ เพิ่มความลึกให้ กบั visual connection

21


ทางบันไดแบบต่อเนื่อง (continuous stair path) ที่ยาวต่อออกมาจาก Receiving Hall นันได้ ้ บง่ บอกถึงการเชื่อมต่อในทัว่ บริ เวณ พื ้นที่ยาวจากชัน3 ้ ไปสูพ่ ื ้นที่สว่ นตัวขึ ้นบนชันที ้ ่สี่ - ห้ องดื่มชา, ห้ องสมุด, ห้ องลองไวน์- หลังจากนันก็ ้ วนขึ ้นไปสูช่ นบนสุ ั้ ด ผ่านทางด้ านในและ เล้ าจ์กบั บาร์ แบบกึง่ กลางแจ้ ง (semi-outdoor) และในที่สดุ ก็ได้ เดินมาถึงช่วงเวลาของการเปิ ดกว้ างอย่างสมบูรณ์แบบ ให้ ได้ เพลิดเพลินไปกับ ธรรมชาติ, ท้ องฟ้าและทัศนียภาพแบบไร้ ขีดจ�ำกัดของกรุงปั กกิ่ง ที่ ณ จุดชมวิวกลางแจ้ ง (outdoor viewing platform) การเปลี่ยนแปลงสลับ กันไประหว่างพื ้นที่สว่ นรวมและพื ้นท่ส่ี วนตัวนัน้ ท�ำให้ ผ้ มู าเยือนจ�ำเป็ นจะต้ องรวมตัวกันในพื ้นที่เปิ ดกว้ าง, ท�ำสมาธิอย่างสันโดษ, พักผ่อนใน ความสงบที่ไร้ สงิ่ รบกวนหรื อแม้ แต่พบกับการพบปะหรื อกิจกรรมอื่นๆที่ไม่เคยได้ คาดคิดมาก่อน ท่ามกลางระหว่างชันทุ ้ กชัน,้ ทุกๆplatform , ทุกๆ atriums ทุกหน้ าต่างและประตู , skylights และภาพสะท้ อนตามทางเดินแล้ วนัน้ ทุกคนจะได้ เป็ นผู้ก�ำหนดเส้ นทางการเดินทางของตัวเอง

22


Flamingo Shanghai Office Location: 7 Mengzi Road, Huangpu, Shanghai, China, 200231 Area: 620.0 sqm Year: 2014 Type : Office

แนวคิดในการออกแบบ และการใช้ วสั ดุ การปรับปรุงพื ้นที่โรงงานเก่าใต้ หลังคาในเซี่ยงไฮ้ ให้ กลายมาเป็ นออฟฟิ ศส�ำหรับบริ ษัทที่ปรึกษาและให้ ค�ำแนะน�ำด้ านกลยุทธ์ระดับ

โลกอย่าง Flamingo โดย Neri และ Hu นันก็ ้ ได้ แรงบันดาลใจมาจากความคิดอันขัดแย้ งและยากที่จะเข้ าใจที่มีตอ่ ห้ องใต้ หลังคา ในหนังสือ The Poetics of Space โดย Gaston Bachelard ซึง่ เป็ นงานเขียนที่มีอิทธิพลต่อวงการสถาปั ตยกรรม ได้ มีการอุปมาว่า บ้ านเปรี ยบเสมือนที่อยูอ่ าศัยของจิตวิญญาณ ซึง่ ชันใต้ ้ ดนิ เป็ นตัวแทนของจิตใต้ ส�ำนึก ห้ องใต้ หลังคาเป็ นพื ้นที่ส�ำหรับความเงียบงันและความ นึกคิดเกี่ยวกับเหตุและผล ในภาพความทรงจ�ำและจินตนาการของพวกเรานัน้ ห้ องใต้ หลังคาจะดูเหมือนเป็ นพื ้นที่ที่ถกู ลืม เป็ นพื ้นที่แห่งความ ขัดแย้ งและความเป็ นไปได้ ไม่วา่ จะมืดมนหรื อสว่างไสว ไม่วา่ จะใกล้ ชิดหรื อกว้ างไกล และไม่วา่ จะน่าหวาดหวัน่ หรื อน่าสบายกายใจก็ตาม หลังคาแบนซึง่ ถูกดัดแปลงให้ เกิดพื ้นที่ใช้ สอย ประกอบกับการมีโครงสร้ างหลังคาเป็ นรูปตัว A อยูแ่ ล้ ว พื ้นที่นี ้จึงเหมาะแก่การ ออกแบบเพื่อปรับปรุงและเน้ นลักษณะเดิมของมันนัน่ คือการเป็ นพื ้นที่ใต้ หลังคาให้ ดีขึ ้นได้ อย่างเต็มที่ การเพิ่มส่วนต่อเติมรูปทรงคล้ ายบ้ าน เข้ าไปสามารถเติมเต็มพื ้นที่โล่งที่มีอยูเ่ ดิม และท�ำให้ ไม่ได้ มีแค่หลังคาเป็ นองค์ประกอบเพียงอย่างเดียวของที่นี่ แต่ประกอบไปด้ วยการเล่น ระดับอันหลากหลายที่สามารถเห็นได้ จากมุมมองที่แตกต่างกัน เมื่อตัดข้ ามเข้ าไปยังพื ้นที่ท�ำงานแบบเปิ ดจะสามารถมองเห็นภาพโครงสร้ างของพื ้นที่นี่ได้ ในมุมกว้ าง ด้ านบนมีแผงตะแกรงเหล็กสี ด�ำตัดกับความสว่างจากหน้ าต่าง ส่วนจัดแสดงมีลกั ษณะเป็ นหลังคาลอยมาห่อหุ้มพื ้นที่ดงั กล่าวในลักษณะที่เปิ ดไว้ และพลิกแพลงได้ ในขณะ ที่ห้องประชุมจะเป็ นแบบปิ ดซึง่ หลังคามีการเล่นระดับและภายในห้ องมีการจัดแสงที่เลียนแบบแสงจากธรรมชาติ และเพื่อให้ เข้ าถึง ประสบการณ์ของความเป็ นห้ องใต้ หลังคาได้ อย่างเต็มที่จงึ มีการออกแบบบันไดแคบๆน�ำทางไปยังห้ องขนาดเล็กบนชันลอยได้ ้ ดูคล้ ายกับห้ อง ลับที่อิงแอบอยูใ่ นห้ องใหญ่ และสามารถเหลือบมองจากหน้ าต่างไปยังพื ้นที่ห้องอื่นๆได้ เหมือนเป็ นช่วงเวลาที่สะท้ อนภาพเรื่ องราวเบื ้องหลัง ของที่แห่งนี ้ว่าเคยมีการใช้ งานมาก่อน

23


ด้ วยธรรมชาติของเนื ้องานบริ ษัท Flamingo จึงจ�ำเป็ นต้ องมีการจัดกลุม่ ห้ องเป็ นคูๆ่ และแบ่งด้ วยกระจกที่มองได้ ด้านเดียว (oneway mirror) เพื่อการเฝ้าสังเกตการณ์ ท่ามกลางการใช้ กระจกที่หลากหลาย ทังกระจกใส, ้ กระจกฝ้า, กระจกมองด้ านเดียว และกระจกเงา ผู้ ใช้ งานสามารถเฝ้าสังเกตผู้อื่นและรู้สกึ ได้ ถงึ สายตาที่มองกลับมาเช่นเดียวกัน การเล่นชันของวั ้ สดุและงานช่างที่พิถีพิถนั รวมไปถึงการใช้ พื ้นที่ ปิ ดล้ อมแต่ละแห่งท�ำให้ เกิดภาพเสมือนกลไกของเครื่ องจักร และภาพมองลอดผ่านซึง่ เราได้ มองส�ำรวจผู้อื่นไปพร้ อมๆกับที่เราส�ำรวจดูตวั เอง

วัสดุที่ใช้ แผงตะแกรงเหล็กสีด�ำ กระจกใส, กระจกฝ้า, กระจกมองด้ านเดียว ,กระจกเงา ผนังไม้ ไผ่

24


The Waterhouse at South Bund

บทวิเคราะห์

แนวคิด

เป็ นงานชิ ้นแรกเริ่ มของการออกแบบของ neri & hu ในจีน ทังสองคนเลื ้ อกที่จะพยามเก็บเสน่ห์ของความเก่าแก่ทางประวัตศิ าสตร์ อารยธรรมของจีนเอาไว้ โดยน�ำเสนออกมาในรูปแบบที่ ร่วมสมัย เพราะปั จจุบนั นี ้ lane houses ในเซี่ยงไฮ้ ได้ ถกู รื อ้ ถอนท�ำลายลงไปมาก และ พวกเขาตระหนักได้ วา่ การคุกคามสถาปั ตยกรรมทางประวัตศิ าสตร์ นนอาจจะเกิ ั้ ดขึ ้นได้ ถ้ าเราไม่น�ำกลิน่ อายเอกลักษณ์ของความเป็ น lane houses กลับคืนมา แนวคิดจึงอยูท่ ี่การคืนพื ้นที่ให้ แก่สาธารณะ ไม่ใช่เป็ นพื ้นที่สว่ นตัวแค่ของใครคนใดคนหนึง่ อย่างเช่นบริ เวณระเบียงของ โรงแรมนี ้ก็ไม่ได้ เป็ นตามแบบฉบับของโรงแรมอื่นๆทัว่ ไป แต่เป็ นการน�ำองค์ประกอบบางอย่างของความเก่าแก่ที่แขกผู้เข้ าพักจะสามารถสัมผัส ได้ น�ำเอาลักษณะของความเป็ น lane houses กลับมาให้ เป็ นที่ๆเราสามารถมองเห็นห้ องพักอื่นๆ หรื อเมื่อมองจากห้ องอาหารก็สามารถมอง เห็นห้ องอื่นๆได้ สามารถมองเห็นคนอื่นก�ำลังนัง่ อยูม่ องไปยังแผนกต้ อนรับ หรื อแม้ แต่การมองจากบาร์ ขึ ้นไปยังห้ องน� ้ำ การมองเห็นกันได้ หมด เช่นนี ้ถือเป็ นปกติทวั่ ไปของ lane houses ในเซี่ยงไฮ้ ในปั จจุบนั จึงน�ำไปสูแ่ นวคิดการออกแบบที่เป็ น layer ค่อยๆคลี่คลายการมองเห็น(หรื อ มองอีกแง่คือมีความเชื่อมต่อกัน)จากพื ้นที่สว่ นรวมไปพื ้นที่สว่ นตัว หรื อกลับกันก็ตามที

ปั จจัย

ตัว neri hu เองได้ เล็งเห้ นถึงสภาพสังคมจีนที่เริ่ มเปลี่ยนแปลงไป จึงมีความคิดที่จะ บุกเบิกแนวทางใหม่ แสดงตัวตนของความเป็ น เอเชีย ที่ไม่จ�ำเป็ นต้ องตามโลกตะวันตกเสียหมด ดึงคุณค่าของแผ่นดิน ของอารยธรรมพื ้นถิ่นของเราออกมาใช้ อย่างมีประสิทธิภาพ ดังเช่นที่ Antoine De Saint Exupér กล่าวไว้ วา่ “We don’t ask to be eternal beings, we only ask that Things do not lose all their meaning.”

การรับรู้ รูปแบบของอาคารคงรูปแบบของอาคารเดิม มีการต่อเติมด้ วยกันใช้ เหล็ก Corten หรื อเหล็กสนิม เกิดเป็ นการผสมผสานระหว่าง

ความเก่าและใหม่เข้ าด้ วยกันอย่างลงตัว สีของเหล็กสนิมก็กลมกลืนกับบริ เวณข้ างเคียงเป็ นอย่างดี ลักษณะการเจาะช่องเปิ ด ท�ำให้ เกิดความ ต่อเนื่องระหว่างภายในภายนอก ส่วนรวม ส่วนตัว ที่ภายใน ยังคงมีการผสานกันอย่างลงตัวระหว่างของเก่าและของใหม่

เกณฑ์ในการเลือก

มีการเลือกวัสดุที่สื่อความหมายทางประวัตศิ าสตร์ วัสดุพื ้นถิ่น สีของชาติ ให้ ตดั กับ ความใหม่ที่ผสมผสานลงไป รวมไปถึงรูปทรงที่

พยามท�ำให้ ดกู ลมกลืนกับสภาพแวดล้ อมข้ างเคียง

แหล่งที่มาของวัสดุ

ส่วนหนึง่ มีการคงโครงสร้ างเก่า ที่ให้ กลิน่ อายของพื ้นที่เอาไว้

25


Le Meridien Zhengzhou แนวคิด

ยังคงแนวคิดของการดึงเอาความเป็ นตัวตนของบริ เวฯที่ตงแสดงออกมาในสถาปั ั้ ตยกรรม โดยในที่นี ้เป็ นการสื่อถึงเอกลักษณ์ของ เมือง Henan ดึงเอาศิลปะ วัฒนธรรมท้ องถิ่นมาใช้ ในการออกแบบ โดย มีการ ดีไซน์ให้ ร่วมสมัยมากยิ่งขึ ้น เพื่อให้ ตวั สถาปั ตยกรรมเป็ น ที่ จดจ�ำของเมืองที่ก�ำลังเติบโต มีชาวต่างชาติเข้ ามา มีการผสมผสานวัสดุเก่าใหม่เกิดเป็ นการตัดกันอย่างลงตัว เนื่องจากอาคารหลังนี ้เป็ น อาคารใหญ่หลังแรกของทัง้ neri และ hu วัสดุที่ใช้ จงึ ค่อนข้ างมีหลากหลายเพื่อให้ ประกอบออกมาเป็ นงานได้ ส�ำเร็ จ ภายในตัวอาคาร ก็ยงั คงมี การน�ำแนวคิดเรื่ องการเชื่อมต่อ ของพื ้นที่สว่นรวมและส่วนตัวใช้ และมีการเน้ น การตัดกันของ แสงและเงา เก่าและใหม่ นอกจากนี ้ ก็ยงั คง แนวคิดของร้ านอาหารภายในตัวโรงแรมเอาไว้ ให้ มี กิมมิก โดยที่รูปแบบของความเป็ นจีนร่วมสมัยได้ แสดงออกมาในโรงแรมแห่งนี ้ในทุกๆราย ละเอียด ทัง้ สเปสภายในตัวโรงแรม ร้ านอาหาร รวมไปถึง รูปแบบเฟอร์ นิเจอร์ ต่างๆ

ปั จจัย

เนื่องจากความต้ องการที่จะ พรี เซนตัวเองในฐานะ Landmark ของเมือง ท�ำให้ การออกแบบจึงต้ องผสมผสานความเป็ นเมืองเข้ าไป กับความทันสมัยเพื่อให้ คนทัว่ ไปเข้ าถึงได้ งา่ ยขึ ้น

การรับรู้ ตัวสถาปั ตยกรรม มีการแบ่งตัวเป็ นกล่อง สีด�ำกาแฟ ฉลุลวดลายกุหลาบป่ าสัญลักษณ์ของเมือง ซ้ อน กัน และเปิ ดไปสู้ทศั นียภาพต่างๆ แต่ละกล่องปิ ดด้ วยกระจกสีเขียว เฉดต่างๆ ท�ำให้ ตวั อาคารถูกลดทอนลงดูไม่ ทึบตัน ด้ านล่างรับด้ วยทิวเสาทองแดง ดูเป็ นป่ าแต่ก็หรูหรา เมื่อเข้ ามาด้ านในบริเวณโถงต้ อนรับกรุผนังด้ วยหิน ประดับไฟสีเขียว ดูตดั กัน บริ เวณโพเดีนม 5 ชันล่ ้ าง ออกแบบให้ ดเู หมือนเป็ นถ� ้ำ โถงกลางบันไดยังคง treat ให้ เป็ นโถงโล่ง แสงส่องถึงได้ เห็นถึงการเชื่อมต่อ ส่วนบริ เวณ โซนร้ านอาหาร ยังคงมีแนวคิดของแต่ละร้ าน มีการใช้ ไม้ ท�ำเป็ นฝ้ากล่อง เล่นระดับ เป็ นการแบ่งสเปสไปในตัว รอบอาคารมี The Poetry Walk เชื่อมทางเดินต่างๆ สามารถชมทัศนียภาพได้

เกณฑ์ในการเลือก

มีการเลือกวัสดุที่สื่อความหมายทางประวัตศิ าสตร์ วัสดุพื ้นถิ่น สีของชาติ ให้ ตดั กับ ความใหม่ที่ผสมผสานลงไป รวมไปถึงรูปทรงที่ พยามท�ำให้ ดกู ลมกลืนกับสภาพแวดล้ อมข้ างเคียง

แหล่งที่มาของวัสดุ

ส่วนหนึง่ มีการคงโครงสร้ างเก่า ที่ให้ กลิน่ อายของพื ้นที่เอาไว้

Xi’an Westin Museum Hotel แนวคิด

neri hu เริ่ มต้ นจากการ ศึกษา ประวัตศิ าสตร์ ของเมือง Xi’an โดยน�ำ กลิน่ อายของเมืองเก่าแก่นี ้มาใส่ลงในสถาปั ตยกรรม ของพวก เขา ท�ำให้ สถาปั ตยกรรมเป็ นมากกว่าความใหม่ คือ แสดงออกให้ ชาวโลกได้ รับรู้ถงึ กลิน่ อาย วัฒนธรรมันยาวนานของจีน ในเมืองที่ก�ำลังขยาย ตัว ไม่ได้ ตามกระแสโลกตะวันตก ได้ มีการดัดแปลง สถานที่ส�ำคัญในเมืองซีอาน ซึง่ ก็คือ สุสานทหาร มาเป็ นสเปสกดต�่ำ ของตัวอาคาร ลงไป เป็ นพิพิธภัณฑ์แสดงจิตรกรรมพื ้นบ้ าน โดยยังคงแนวคิดในการออกแบบหลักๆที่ได้ รับแรงบันดาลใจมาจาก สถาปั ตยกรรมพื ้นถิ่นของจีน ที่มี การเชื่อมต่อกันระหว่าง สเปสภายในภายนอก และ มีล�ำดับขันตอนในการเข้ ้ าถึงพื ้นที่ตา่ งๆ อย่างชัดเจน นอกจากนี ้ ร้ านอาหารภายในตัวโรงแรมแต่ละร้ านก็ยงั แอบแฝงแนวคิดเอาไว้ แสดงถึงความคิดที่ความละเอียดละออ และ ความ ตังใจจริ ้ งของ สถาปนิกที่อยากจะแสดงความเป็ นตัวตนของชาวเอเชียออกไป เห็นได้ จากทัง้ ร้ านอาหารจีน ที่มีห้องส่วนตัวก่อด้ วยอิฐตามแบบ จีน แต่มีการเรี ยงแบบใหม่เพื่อให้ คนได้ ความรู้สกึ ใหม่ๆ แต่ยงั คงกลิน่ อายเดิม หรื อ ที่ร้านอาหารญี่ปนุ่ การออกแบบนันสื ้ ่อไปถึง วัฒนธรรม ของ 26 ชาวญี่ปนุ่


การรับรู้ รูปแบบของอาคารมีลกั ษณะคล้ ายจะทึบตัน แต่ก็ถกู ลดทอนลงด้ วย ช่องเปิ ดจ�ำนวนมาก ที่เปิ ดออกสู้ ทัศนียภาพภายนอก เน้ น

หน้ าต่างด้ วยกรอบสีแดงตัดกับปูนปั น้ สีด�ำ ดูสื่อถึงประเทศจีน รูปทรงหลังคาโบราณของจีนก็ถกู ยกขึ ้น ท�ำให้ ยิ่งดูทบึ ตันน้ อยลงมีการเล่น จังหวะของช่องเปิ ด ท�ำให้ เกิดการลวงตาเห็นอาคารที่ดสู อบสูงยิ่งขึ ้น บริ เวณทางเข้ าเล่นแสงเงา เกิดจังหวะที่เปลี่ยนไปตามสภาพเวลา ทางลง ไปสู่ white cube ดูเป็ นการผสมผสานกันอย่างลงตัวของ กล่องใหม่ที่บรรจุ ศิลปะ อารยธรรมโบราณเอาไว้ เกิด คอนทราสเฉพาะตัวขึ ้น

เกณฑ์ในการเลือก

มีการเลือกวัสดุที่สื่อความหมายทางประวัตศิ าสตร์ วัสดุพื ้นถิ่น สีของชาติ ให้ ตดั กับ ความใหม่ที่ผสมผสานลงไป รวมไปถึงรูปทรงที่

พยามท�ำให้ ดกู ลมกลืนกับสภาพแวดล้ อมข้ างเคียง

แหล่งที่มาของวัสดุ

ส่วนหนึง่ มีการคงโครงสร้ างเก่า ที่ให้ กลิน่ อายของพื ้นที่เอาไว้

Design Republic Design Commune แนวคิด

ด้ วยความที่ทงั ้ neri และ hu ต่างให้ ความส�ำคัญกับ จิตวิญญาณถิ่นฐาน บวกกับความต้ องการที่จะน�ำเสนอ ความเป็ นจีนร่วมสมัย ออกไปให้ โลกรับรู้ ดังนัน้ design republic จึงเป็ นศูนย์กลาง และ ภาพลักษณ์ของ แนวคิดดังกล่าว ดังนัน้ พื ้นที่ที่ design republic ไปตังอยุ ้ ่ จึง รักษาที่มาที่ไปของความเป็ น อาคารเก่าของอังกฤษ และ เพิ่มเติม ความทันสมัยเข้ าไปโดยที่ ยังสอดแทรกความเก่าอยุเ่ ป็ นระยะๆสลับกัน ไปมา เกิดเป็ นการอยูร่ ่วมกันของ ความเก่าและใหม่ อิฐกับเหล็ก นอกจากนี ้ยังตังใจคงโครงสร้ ้ างภายในไว้ ไม่เปลี่ยนแปลง เช่น แผงไม้ ที่กรุไว้ ภายในผนังเก่าซึง่ ปูนส่วนหนึง่ ได้ ผพุ งั ลงมาแล้ ว และยังเหลือปูนอยูบ่ ้ างบางส่วน พวกเขาก็ได้ คงไว้ เพื่อให้ เป็ นเหมือนเครื่ องเตือนใจถึงเรื่ องราว ความหลังของอาคารนี ้ โดยเห็นว่าการได้ มีโอกาสสัมผัสกับเศษเสี ้ยวของประวัตศิ าสตร์ ซงึ่ ถูกเปิ ดเผยขึ ้นนี ้น่าจะเป็ นประสบการณ์ที่พิเศษ ส�ำหรับผู้ที่พบเห็น โดยที่ ส่วนที่ตอ่ เติมออกมาใหม่ ก่อให้ เกิด ฟั งก์ชนั่ ให่มๆมากมายทัง้ แกลอลี่ พื ้นที่จดั แสดงงาน ร้ านกาแฟต่างๆ เกิดเป็ น Commune

การรับรู้ จากแนวคิดดังกล่าว รูปแบบของอาคารจึงยังคงความเป็ นดังเดิ ้ มที่เพิ่มเติมส่วนด้ านหน้ าออกมา เป็ นการผสมผสานกันระหว่างเหล็ก สีด�ำกับอิฐสีส้ม ความทึบตันตัดกับโครงเบาบางของเหล็ก รวมไปถึง โครงสร้ างด้ านใน ที่กนเป็ ั ้ นห้ องสีขาว เจาะช่องเปิ ด สามารถมองทะลุออก ไปเห็นกรอบอาคารเดิม เกิดเเป็ น คอนทราส ของ space within space ที่ดรู ่วมสมัยมากขึ ้น ไม่เชิงว่าเป็ นการไปเปลี่ยนของเก่าให้ ใหม่ แต่ เหมือนกับว่า ชักชวนของเก่าให้ มาร่วมวงกับของใหม่ได้ อย่างลงตัว

เกณฑ์ในการเลือก

ดังนัน้ วัสดุที่ถกู เลือกมาใช้ เป็ นวัสดุที่ผสมผสานกับอิฐเก่า เน้ นไปที่การเกิดคอนทราสระหว่างวัสดุเก่าใหม่ ที่ท�ำให้ คนรับรู้ได้ ถงึ กาล สมัยที่เปลี่ยนไปแต่ยงั คงไว้ ซงึ่ ประวัตศิ าสตร์ อนั ยาวนานของตัวอาคาร

แหล่งที่มาของวัสดุ

ส่วนหนึง่ มีการคงโครงสร้ างเก่า ที่ให้ กลิน่ อายของพื ้นที่เอาไว้ 27


The Commune Social แนวคิด

ร้ านอาหารแนวใหม่ สไตล์สเปน ที่ตงอยุ ั ้ ใ่ น Design Republic Design Commune ออกแบบโดย คาดหวังให้ ผ้ ใู ช้ ร้ ุสกึ ตื่นตัว และเกิด กิจกรรมทางสังคม ขณะรับประทาน โดยจะเน้ นไปทางสเปสที่ท�ำให้ คนเคลี่อนย้ ายไปหลายๆพื ้นที่ หลักจึง แชร์ สเปสออกเป็ น 4 แบบ และมี การตกแต่งด้ วยวัสดุ ที่สื่อถึงความสดใหม่ ของอาหาร โดย ค�ำนึงถึง ความรู้สกึ ของผู้ใช้ งานควบคูก่ นั ไปด้ วย

การรับรู้ รูปแบบของร้ านที่ออกมา จากแนวคิดที่ต้องการสื่อถึงความสด นัน้ วัสดุจงึ ไม่เน้ นการประดับประดาใดๆ เน้ นความดิบ ที่พอประมาน ดังนัน้ บรรยากาศภายในตัวร้ านอาหาร จะมีความเป็ นกันเองมากกว่า มีชอ่ งเปิ ดที่ท�ำให้ ร้ ุสกึ ต่อเนื่อง การออกแบบค�ำนึงถึง ฟั งก์ชนั่ ของสเป สภายใน เช่น การให้ แสงสว่างกับผนังสีขาวเพื่อขับเน้ นตัวของหวาน

เกณฑ์ในการเลือก

ดังนัน้ ปั จจัยหลักๆที่ใช้ ในการเลือกวัสดุภายในงานนี ้ จึงมุง่ เน้ นไปที่อารมความรู้สกึ ของผู้ที่มาใช้ ร้านอาหาร ให้ ได้ รับความรู้สกึ ที่ แปลกใหม่ ต่างจากร้ านอาหารอื่นๆที่อาจจะเน้ นความหรูหรา แต่ร้านนี ้ให้ ความรุ้สกึ เป็ นกันเอง และสเปสก็ยงั กระตุ้นให้ เกิดปฏิสมั พันธ์กนั ระหว่างผู้ใช้ งานอีกด้ วย

Design Collective แนวคิด เน้ นการสร้ างอัตลักษณ์ของอาคารขึ ้นมาใหม่ เนื่องจาก ฟั งก์ชนั เป็ น design republic ซึง่ เป็ นแหล่งรวมสินค้ า ออกแบบที่น�ำสมัย

โดยยังคงโครงสร้ างดังเดิ ้ มเอาไว้ ความทึบตันของอาคารอาจะเป็ นเรื่ องดีที่สร้ างความโดดเด่น ดึงดูดสายตา แต่ก็ยงั คงลวดลายบางอย่างี่สื่อถึง ความเป็ นจีนเอาไว้

การรับรู้

วัสดุที่ใช้ ห้ มุ อาคารเป็ น คาร์ บอนไฟเบอร์ ดูสมัยใหม่ แต่ก็ท�ำให้ ร้ ูสกึ ทึบตัน ในขณะเดียวกัน อาจะเป็ นการเรี ยกร้ องความสนใจจาก ผู้คนที่เดินผ่านไปมาไปในตัว เนื่องด้ วย บริ เวณใกล้ เคียงไม่ปรากฎอาคารที่ขม่ กัน ทางเข้ าที่เป็ นแผ่นเหล็ก สร้ าง คอนทราส ชักชวนให้ คนเดิน เข้ าไปค้ นหา บันไดเหล็กภายใน ตัดกับผนังปูนสีขาว ท�ำให้ ดโู ดดเด่น น�ำทางเชื่อมต่อไปยังด้ านบนอย่างชัดเจน และมีมีแสงที่ลอดผ่านช่องเปิ ด ต่างๆไล้ ลงมาขับให้ เส้ นบันไดยิ่งดูโดดเด่น ตลอดข้ างทางการขึ ้นบันได มี design product จัดวางอยูส่ ง่ เสริ มบรรยากาศของ ตัวอาคาร

เกณฑ์ในการเลือก

ดังที่กล่าวไป คือ ที่มาของรูปแบบอาคารมีจดุ ประสงค์ที่จะต้ องการสร้ างความแหวกแนว เสมือนเป็ นความก้ าวหน้ าสูส่ ากลของ ประเทศจีน วัสดุที่เลือกใช้ จึงเป็ นวัสดุที่แสดงถึงความทันสมัยและรูปแบบที่ประกาศตนถึงความยิ่งใหญ่ของประเทศจีน

28


Rethinking the Split House แนวคิด การเปลี่ยนไปของกาลเวลาท�ำให้ ความเป้นอยุ่ จ�ำนวนผู้คน ครอบครัว ต่างก็มีความเป็ นอยูท่ ี่เปลี่ยนไป ดังนันการ ้ รี โนเวท อาคาร

สมัยปี 1930 เพื่อตอบสนองการใช้ ชีวิตในปั จจุบนั ที่มีสภาพสังคมแออัดมากขึ ้น การออกแบบใหม่จงึ่ มุง่ เน้ นไปในทางการแบ่ง สเปสที่เป็ น ส่วนตัวและ ส่วนรวม มากขึ ้น มีการน�ำแสง เข้ ามาสู้ พื ้นที่สว่ นรวม คือโถงบันได ที่ได้ ท�ำให้ กลายเป็ นเหล็กเชื่อมต่อตลอดแนว แทนที่ขอเดิมซึง่ เป็ นไม้ น�ำสีด�ำเข้ ามาใช้ เพื่อให้ ตวั อาคารกลืนหายไป

การรับรู้ เมื่อมีการน�ำสีด�ำเข้ ามาใช้ ท�ำให้ั วอาคารนันเกิ ้ ดรูปแบบการแสดงออกที่ตา่ งไปจากอาคารข้ างเคียง บันได้ หล็กให้ ความรุ้สกึ ที่ตอ่ เนื่อง มัน่ คงแข็งแรง ทังยั ้ งเป้นประโยชน์ในด้ านโครงสร้ าง ได้ รับแสงจาก skylight ด้ านบน ท�ำให้ พื ้นที่สว่ นรวมนี ้ น่าใช้ ดเู ป็ นสาธารณะและดูอบอุน่ มากขึ ้น นอกจากนันยั ้ งแบ่ง พื ้นที่สว่ นรวมและส่วนตัวอย่างชัดเจนมากขึ ้น

เกณฑ์ในการเลือก

การเลือกวัสดุในงานนี ้ น่าจะมุง่ เน้ นไปในด้ าน โครงสร้ างด้ วยเป็ นหลัก เนื่องจาก โปรแกรมที่มี ผู้ใช้ เพิ่มมากขึ ้น ไม่ได้ เน้ นวัสดุเพื่อ ความงามความแปลกมากนัก การเล่น คอนทราส ก็เป็ นไปในทางการใช้ แสงมากกว่าวัสดุ

แหล่งที่มาของวัสดุ

ค่อนข้ างเป็ นวัสดุทนั สมัย

Rethinking the Split House แนวคิด บ้ านหลังนี ้ มีแนวคิดที่เน้ น courtyard ซึง่ เป็ นลักษณะบ้ านของชาวจีนมาตังแต่ ้ สมัยโบราณ ซึง่ เรี ยงตัว ล้ อมรอบ สวนตรงกลาง และ

อาจหมายถึง พื ้นที่สว่ นตัว ส่วนรวม หรื อ ตัวเองกับ สังคม โดยการน�ำมาใช้ neri hu ได้ พฒ ั นารูปแบบให้ มีความซับซ้ อนมากยิ่งขึ ้น มีการคิด เรื่ อง ความเชื่อมต่อระหว่างพื ้นที่สว่ นรวมและส่วนตัวมากยิ่งขึ ้น มีการวางแปลนนิ่งที่ท�ำให้ เกิดทางเดินคดเคี ้ยวรอบๆอาคาร สร้ างทัศนียภาพที่ ไร้ การปิ ดกันให้ ้ กบั ตัวอาคารและสามารถใช้ พื ้นที่ได้ อย่างเต็มที่

การรับรู้ ื อภายในภายนอก รูปแบบผนังคลุมอาคารมีลกั ษณะ คล้ าย โรงแรม Westin Xi’an คือเป็ นช่องเปิ ดถี่ เปิ ดโล่งที่ด้านล่าง เน้ นการเช่อมต่ มีสวนอยูต่ รงกลางเหมือนกัน เพียงแต่ปรับสเกลมาให้ อยูใ่ นระดับบ้ าน ไใ่ได้ มีความเชื่อมโยงเกี่ยวกับประวัตศิ าสตร์ ของย่าน ดังนัน้ การรับรุ้ ทังหมด ้ ขึ ้นอยูก่ บั สายตาและความรุ้สกึ ของคนที่อาศัยอยู่ บริ เวณชันสองซึ ้ ง่ เป็ นห้ องนอน เน้ นวัสดุไม้ เป็ นหลัก

เกณฑ์ในการเลือก

เนื่องจากเป็ นงานบ้ าน การเลือกวัสดุจงึ มุง่ เน้ นไปที่วสั ดุที่ดู อบอุน่ กันเอง เช่นไม้ และหินที่ม�ำให้ ร้ ูสกึ มัน่ คงแข็งแรง

แหล่งที่มาของวัสดุ

ค่อนข้ างเป็ นวัสดุทนั สมัย 29


Yingjia Club at Vanke Beijing แนวคิด เนื่องจากโจทย์ที่ได้ รับคือ พื ้นที่อเนกประสงค์ ต้ องการการตอบสนองต่อ design brief ส�ำหรับอัตลักษณ์ภายนอกที่โดดเด่นและพื ้นที่ ด้ านในที่มีความหลากหลายแต่ยงั มีความ flexible ดังนัน้ แนวการออกแบบ จึงได้ แรงบันดาลใจมาจาก Beijing’s traditionalism courtyard house อีกเช่นเคย เพราะ ท�ำให้ เกิดการแบ่งชันความเป็ ้ นส่วนรวมและส่วนตัว มีการก�ำหนดทิศทาง มุมมองของผู้ใช้ งาน และมีการคลี่คลาย สเปสที่นา่ สบาย

การรับรู้ ความรุ้สกึ เมื่อเข้ ามาถึง จะค่อนข้ างปิ ดทึบ และค่อยๆมีแสงสว่างเข้ ามาเรื่ อยๆจนเปิ ดโล่ง พร้ อมๆกับการเดินผ่านพื ้นที่การใช้ งาน

ต่างๆ เชื่อมต่อพื ้นที่ตา่ งๆด้ วย บันไดเหล็กยาว อยูใ่ นพื ้นที่โถง double-height คล้ ายกับการเล่นสเปสที่ design collective และ lane house

เกณฑ์ในการเลือก การเลือกใช้ วสั ดุนนั ้ เน้ นความเป็ นไม้ ผสมผสานกับผนังแูนสีขาว ให้ ความรุ็สกึ ที่อบอุน่ ดูต้อนรับและหรูหรากว่าคอนกรี ตธรรมดา เข้ า กับฟั งก์ชนั่ คลับ ที่ต้องดูมีระดับขึ ้นมาหน่อยนอกจากนี ้นยังอาจรวมไปถึงเรื่ อง sustainable ด้ วย

แหล่งที่มาของวัสดุ

ค่อนข้ างเป็ นวัสดุทนั สมัย

Flamingo Shanghai Office แนวคิด มีแนวคิดในการปรับปรุงห้ องใต้ หลังคา มาจาก หนังสือ เล่มหนึง่ ที่อปุ มาว่า ห้ องใต้ หลังคานัน้ เป็ นพื ้นที่แห่งความเงียบ การนึกคิด

และ เหตุผล เป็ นแรงบันดาลใจในการปรับปรุงพื ้นที่ใต้ หลังคาเป็ น บริ ษัท Flamingo ซึง่ เป็ นบริ ษัทให้ ค�ำแนะน�ำด้ านกลยุทธ์ พื ้นที่ที่ได้ จงึ มเป็ น ในลักษณะแปลนแบบเปิ ด สามารถมองเห็นโครงสร้ างหลังคา มีชอ่ งเปิ ดออกสูภ่ ายนอก เปิ ดรับแสงสว่างได้ เต็มที่ ร่นเข้ ามาในอาคาร กันเป็ ้ น ห้ องต่างๆ ใช้ ส�ำหรับการประชุม มีหลากหลายรูปแบบ ทัง้ ชันลอย ้ ชันล่ ้ าง มีการเลียนแบบแสงธรรมชาติเข้ ามา เพื่อตอบสนองแนวคิด ห้ องใต้ หลังคา ท�ำให้ ดมู ี ไดนามิก ของระดับขันต่ ้ างๆมากขึ ้น

การรับรู้ รูปร่างของสเปสโดยรวม สื่อถึงห้ องใต้ หลังคา แต่มีบรรยากาศที่คอ่ นข้ างโปร่งโล่งสบาย รับรู้ถงึ คอนทราสของความสว่างตัดกับ

ตะแกรงเหล็ก บันไดถูกท�ำให้ แคบน�ำทางไปยังชันลอย ้ เหลือบมองจากหน้ าต่างไปยังพื ้นที่ห้องอื่นๆได้ ด้ านล่างชันลอย ้ ใช้ เป็ นห้ องประชุม ซึง่ มี การเล่นระดับ และ แบ่งระดับความเป็ นส่วนตัวด้ วยกระจก ท�ำให้ เกิดการเชื่อมต่อ ทางสายตาที่หลากหลายมากยิ่งขึ ้นด้ วย บางส่วนเป็ นผนัง ไม้ ไผ่ รู้สกึ อบอุน่ บริ เวฯพื ้นที่เปิ ดโล่งริ มหน้ าต่าง กันด้ ้ วยผนังคอนกรี ตสูงขึ ้นมาไม่มาก คงการเชื่อมต่อของสเปสเอาไว้ ได้ อย่างดี

เกณฑ์ในการเลือก การเลือกใช้ วสั ดุนนั ้ ตอบสนองแนวคิดและฟั งก์ชนั ของการใช้ งาน คือ กระจกต่างๆ ท�ำให้ เกิดมุมมองใหม่ๆ แต่ก็ยงั คงให้ แสงเล็ดลอด เข้ ามาได้ บ้าง พื ้นผนังคอนกรี ต สีเทาอ่อน ตัดกับโครงหลังคาเหล็กสีด�ำ ดูเรี ยบง่าย สมัยใหม่ ตัดด้ วยผนังไม้ ไผ่เพื่อไม่ให้ ดแู ข็งจนเกินไป

แหล่งที่มาของวัสดุ

ค่อนข้ างเป็ นวัสดุทนั สมัย

30


บทสรุ ป neri & hu มีความเชื่อในการออกแบบ ที่คอ่ นข้ างชัดเจน ทังสองคนไปเรี ้ ยนที่ อเมริ กาเป็ นเวลาหลายปี ในที่สดุ ก็ตดั สินใจกลับมา ฝึ กฝนทักษะในการออกแบบที่ประเทศจีน เริ่ มจาก งานเล็กๆ อย่าง ผลิตภัณฑ์ ค่อยๆไต่ระดับขึ ้นไปเรื่ อยๆ และก็ท�ำความเข้ าใจ บริ บท ความ เป็ นชุมชน อุปนิสยั ของชาวจีน ไปด้ วย เกิดเป็ น Design Republic ขึ ้น เพื่อน�ำงาน design ที่มีรากฐานมาจากจีน สามารถมีจดุ ยืน เกิดเให้ ป็น เอกลักษณ์เป็ นกระแส ของตนเองและตอบสนองความต้ องการของคนในประเทศอย่างแท้ จริ ง ไม่จ�ำเป็ นต้ องตามคนตะวันตกเสมอไป พวกเขามีแนวทางที่ชดั เจนในการออกแบบ โดยค�ำนึงถึง history of place น�ำมาผสมผสานกับ วัสดุสมัยใหม่ เพื่อให้ ผ้ ทู ี่เข้ าไปใช้ งาน ยังคงหลงเหลือความทรงจ�ำเก่าๆเอาไว้ ให้ นกึ ถึง นอกจากนัน้ พวกเขายังเน้ น เรื่ อการเชื่อมต่อกันของ space ซึง่ หลายๆโดยเฉพาะงาน Residential ได้ แรงบันดาลใจมาจาก Chinese Courtyard House ที่มกั ออกแบบโดยค�ำนึงถึง space ที่โอบล้ อม มองเห็นกันระหว่าง พื ้นที่ ภายในภายนอก พื ้นที่ ส่วนรวมส่วนตัว เชื่อมต่อกันไปทังแนวแกนนอนและแกนตั ้ ง้ โดยเอกลักษณ์ที่โดเด่น จนเกือบจะถือว่าเป็ นภาพจ�ำของ งานของทังสองคนนี ้ ้ คิดว่า คือ บันไดเหล็กที่เชื่อมยาว บิดไปมาโอบล้ อม space น�ำสายตาไปสูงด้ านบน ในกรณีที่เป็ นงาน Hospitality หรื อ Commercial มักมีล�ำดับ การเข้ าถึง ส่วนต่างๆ เหมือนการเดินทาง จากที่มืด กดทับ ไปสู่ ที่โปร่งโล่ง โดย สอดแทรกแนวคิด เรื่ องเล่าหรื อสถาน ที่ที่มีชื่อเสียง ของ เมืองที่ตงนั ั ้ นๆเอาไว้ ้ โดยที่ใช้ วสั ดุ ที่สื่อถึงความเป็ นพื ้นถิ่น ใกล้ ตวั ประชาชน หรื อไม่ก็ เก็บโครงสร้ างเดิมไว้ และต่อเติมส่วน ใหม่ ผสมลงไปในของเดิม ไม่ใช่แทนที่ของเดิม เพราะทังสองสิ ้ ง่ เก่า ใหม่ เกิดเป็ นงานที่มี contrast ค่อนข้ างมาก แต่ก็ดโู ดดเด่น สวยงาม ใน สัจจะ ทีเดียว

31


เอกสารอ้ างอิง

website http://www.neriandhu.com http://www.thedesignrepublic.com/about.php http://www.archello.com/en/company/nerihu-design-and-research-office# http://www.architonic.com/aiabt/neri-hu-design-and-research-office/5205220 http://www.dezeen.com/tag/nerihu/ http://www.thestar.com.my/Lifestyle/Features/2014/07/23/NeriHu-Design-Defining http://www.modern-Chinese-architecture-and-spaces/ http://www.archdaily.com/tag/neri-and-hu-design-and-research-office/ http://www.archdaily.com/tag/nerihu-design-and-research-office/ http://freesplans.blogspot.com/2014_01_02_archive.html http://www.iurban.in.th/design/waterhouse-at-sounth-bund/ http://waterhouseshanghai.com/ magazine Wallpaper, Shanghi Survvey http://waterhouseshanghai.com/file/review/Wallpaper,Thailand%20(P148-150).pdf FRAME magazine #97 interview http://www.youtube.com/watch?v=4GUw_md_r74 http://movingcities.org/movingmemos/neri-and-hu-interview-frame97-2014/ http://www.dezeen.com/2012/11/16/architects-feel-lost/ http://www.dezeenwatchstore.com/shop/dezeen-book-of-interviews/ http://www.dezeen.com/2011/12/07/inside-awards-the-waterhouse-at-south-bund-by-neri-hu/ http://eightsix.co/chinese-design/architecture/interview-neri-hu/ http://www.buymedesign.com/blog/lets-talk-craft-and-design-interview-with-lyndon-neri-of-neriand-hu/ http://www.interiordesign.net/idtv/detail/756/ http://www.lanciatrendvisions.com/en/article/interview-with-neri-hu-building-sense

32


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.