Anual Report 2017 - TH

Page 1


พลังแห่งความคิดสร้างสรรค์ เพื่อต่อยอดความส�ำเร็จสู่อนาคตที่ยั่งยืน



ขยายการลงทุนเพื่อสร้างโอกาส ทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง พฤกษา ขยายการลงทุนในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และธุรกิจใหม่ เพื่อสร้างฐานลูกค้าที่หลากหลาย ด้วยการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง เพิ่มความแข็งแกร่ง ให้กับแบรนด์ และมอบความพึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้า


ด�ำเนินธุรกิจด้วย หลักธรรมาภิบาลควบคู่กับ การสร้างสรรค์สังคมให้ยั่งยืน หลักธรรมาภิบาลเป็นหัวใจส�ำคัญที่ พฤกษา ยึดถือปฏิบัติ ตลอดระยะเวลาในการด�ำเนินธุรกิจควบคู่ความรับผิดชอบ ต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อมอยู่เสมอ เพราะการเติบโต ของธุรกิจที่ดีต้องมีความเกื้อกูลเคียงข้างกัน สู่อนาคตอย่างมั่นคง




สารบัญ วิสัยทัศน์ พันธกิจ

08 19

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

61

นโยบายและ การจ่ายเงินปันผล

173

การควบคุมภายใน และการบริหารจัดการ ความเสี่ยง

184

รายงานของผู้สอบ บัญชีรับอนุญาตและ งบการเงิน

ข้อมูลสรุป ทางการเงิน

11 22

ลักษณะ การประกอบธุรกิจ

62

13

14

สารจากประธาน กรรมการและประธาน กรรมการบริหาร

คณะกรรมการบริษัท

รางวัลและความภูมิใจ ของบริษัท

44

52

56

ปัจจัยความเสี่ยง

73

ข้อมูลทั่วไป และข้อมูลส�ำคัญอื่น

104

โครงสร้างการจัดการ

ประวัติกรรมการและ ผู้บริหาร

การก�ำกับดูแลกิจการ

176

179

181

รายการระหว่างกัน

16

การวิเคราะห์และ ค�ำอธิบาย ของฝ่ายจัดการ

รายงาน ความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อ รายงานทางการเงิน

ข้อมูลหลักทรัพย์ และการถือหุ้น

169

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

182

รายงาน คณะกรรมการ ตรวจสอบ


วิสัยทัศน์ PSH มุ่งมั่นที่จะเป็นบริษัทอสังหาริมทรัพย์ชั้นน�ำของประเทศไทย ที่มีธุรกิจและบริการที่หลากหลาย เพื่อตอบสนองรูปแบบ การด�ำเนินชีวิตสมัยใหม่ และสามารถตอบโจทย์ ทุกความต้องการของลูกค้าได้อย่างครบถ้วน

พันธกิจ PSH มุ่งมั่นช่วยเหลือลูกค้าเติมเต็มความฝัน ด้วยการส่งมอบความสุข และรูปแบบการด�ำเนินชีวิตที่ทันสมัย เพื่อสมาชิกทุกคนในครอบครัว



รายงานประจํ​ํ า ปี 2560 รายงานประจ

10


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ข้อมูลทางการเงินที่ส�ำคัญ (ล้านบาท)

2559 2560

สินทรัพย์รวม 66,344 หนี้สินรวม 30,180 ส่วนของผู้ถือหุ้น 35,413 ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม 751 รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ 46,926 รายได้รวม 47,173 ก�ำไรขั้นต้นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ 15,742 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 8,153 ก�ำไรสุทธิส�ำหรับปี 6,069 ก�ำไรสุทธิ - ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ 5,940

72,244 33,584 37,909 750 43,935 44,113 15,713 8,537 5,574 5,456

ข้อมูลต่อหุ้น

มูลค่าหุ้นช�ำระแล้ว (ล้านบาท) 2,186 2,186 จ�ำนวนหุ้นช�ำระแล้ว (ล้านหุ้น) 2,186 2,186 มูลค่าทางบัญชีต่อหุ้น (บาท) 16.2 17.3 ก�ำไรต่อหุ้น (บาท) 2.72 2.50 เงินปันผลต่อหุ้น (จากผลการด�ำเนินงานในปีเดียวกัน)(1) (บาท) - 2.09 ราคาหุ้น ณ ปลายงวด (บาท) 22.5 22.5 ราคาหุ้น/ก�ำไรต่อหุ้น (เท่า) 8.3 9.0 ราคาหุ้น/มูลค่าทางบัญชี (เท่า) 1.4 1.3 ขนาดของมูลค่าหุ้นในตลาด (ล้านบาท) 49,182 49,182

อัตราส่วนทางการเงินที่ส�ำคัญ อัตราหมุนเวียนเฉลี่ยของสินทรัพย์ (เท่า) 0.72 0.64 (2) อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยจากสินทรัพย์ (%) 11.9 10.6 อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยจากส่วนของผู้ถือหุ้น (%) 17.1 14.9 (3) อัตราก�ำไรขั้นต้น (%) 33.5 35.8 อัตราก�ำไรสุทธิ (%) 12.7 12.4 เงินสดและเงินลงทุนระยะสั้น (ล้านบาท) 832 1,348 อัตราหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 0.85 0.89 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (ล้านบาท) 19,898 24,300 อัตราหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 0.56 0.64 อัตราหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 0.54 0.61 หมายเหตุ: (1) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2561 (2) อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยจากสินทรัพย์ = ก�ำไรก่อนดอกเบี้ยจ่ายและภาษีเงินได้/สินทรัพย์รวม (เฉลี่ย) (3) อัตราก�ำไรขั้นต้น = (รายได้จากการขายอสังหาฯ - ต้นทุนขายอสังหาฯ)/รายได้จากการขายอสังหาฯ

11


รายงานประจํ า ปี 2560

12


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

สารจากประธานกรรมการ และประธานกรรมการบริหาร ในปี 2560 ที่ผ่านมา ถือเป็นปีแรกที่ได้ด�ำเนินธุรกิจในนามพฤกษา โฮลดิ้ง อย่างเต็มรูปแบบ โดยบริษัทฯ ยังคงมีรายได้และผลการด�ำเนินงานมาจากกลุ่ม ธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ภ ายใต้ ก ารบริ ห ารงานของพฤกษา เรี ย ลเอสเตทเป็ น หลั ก ซึ่ ง บริ ษั ท ฯ ได้ ด� ำ เนิ น งานตามหนึ่ ง ในกลยุ ท ธ์ ห ลั ก ขององค์ ก รที่ ว างไว้ นั่ น ก็ คื อ การขยายธุรกิจหลักในอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย และขยายฐานลูกค้าไปยังกลุ่มลูกค้า รายได้ใหม่ คือ กลุ่มธุรกิจพรีเมียม ซึ่งเป็นกลุ่มลูกค้าที่มีก�ำลังซื้อสูงและเติบโตได้ดี แม้ในสถานการณ์เศรษฐกิจชะลอตัว ซึ่งในปีที่ผ่านมาได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี จากลูกค้า โดยจะเห็นได้จากยอดขายของกลุ่มธุรกิจพรีเมียมที่ได้ผลเป็นที่น่าพอใจ ส่วนกลยุทธ์หลักอีกข้อที่ส�ำคัญของพฤกษา โฮลดิ้ง ได้แก่ การกระจายการลงทุน และหาโอกาสในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ใหม่ ๆ เพิ่ ม เติ ม จากธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เพื่อการอยู่อาศัย เพื่อสร้างรายได้อย่างต่อเนื่อง (Recurring Income) โดยบริษัทฯ ได้เริ่มมีการลงทุนในธุรกิจโรงพยาบาลและศูนย์บริการสุขภาพ และอีกหนึ่งในนโยบายที่พฤกษา ได้ให้ความส�ำคัญมาตลอด ได้แก่การด�ำเนินธุรกิจ ด้วยความส�ำนึกด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ภายใต้หลักบรรษัทภิบาล มุ่งสร้าง ความเติบโตอย่างยั่งยืนให้แก่บริษัทฯ ในปีที่ผ่านมาพฤกษา โฮลดิ้ง จึงได้เข้าร่วม เป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Against Corruption หรือ CAC ) และได้รับ 2 รางวัลจากตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ได้แก่ รางวัล SET Sustainability Awards 2017 ประเภท Rising Star ในกลุ่มบริษัทที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด 30,000 - 100,000 ล้านบาท และรางวัล Thailand Sustainability Investment (THSI) หรือ “หุ้นยั่งยืน” ซึ่งได้รับ รางวัลนี้ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 แสดงถึงการยอมรับเรื่องการด�ำเนินธุรกิจตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนได้อย่างโดดเด่นของบริษัทฯ ตลอดจนมีการเปิดเผยข้อมูล ผลการด�ำเนินงานด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างครบถ้วน และโปร่งใส ควบคู่ไปกับการสร้าง “คุณค่าร่วมกับสังคม” อย่างต่อเนื่อง ส�ำหรับทิศทางในปีหน้านี้ เรายังคงมุ่งด�ำเนินงานตามวิสัยทัศน์ที่วางไว้ขององค์กร ได้แก่ “PSH มุ่งมั่นที่จะเป็นบริษัทอสังหาริมทรัพย์ชั้นน�ำของประเทศไทย ที่มีธุรกิจ และบริการที่หลากหลายเพื่อตอบสนองรูปแบบการด�ำเนินชีวิตสมัยใหม่ และสามารถ ตอบโจทย์ทุกความต้องการของลูกค้าได้อย่างครบถ้วน” โดยจะยังคงเน้นการพัฒนา โครงการที่อยู่อาศัยขยายฐานกลุ่มลูกค้าให้ครอบคลุมในทุกเซ็กเมนต์ รวมถึงศึกษา โอกาสในการท�ำธุรกิจใหม่ๆ ที่สามารถสร้างรายได้อย่างต่อเนื่องเพิ่มเติม นอกเหนือ จากธุรกิจโรงพยาบาลที่กล่าวไปแล้วข้างต้น และพร้อมมุ่งมั่นที่จะสร้างความเติบโต ให้บริษัทฯ อย่างยั่งยืน

ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม

นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์

ประธานกรรมการ

ประธานกรรมการบริหารและ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม 13


รายงานประจํ า ปี 2560

คณะกรรมการบริษัท

1

2

3

4

1. ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม • ประธานกรรมการบริษัท • กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน • กรรมการอิสระ

2. นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์ 3. ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ • รองประธานกรรมการบริษัท • กรรมการอิสระ • ประธานกรรมการบริหาร • ประธานกรรมการตรวจสอบ • กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน • ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่

5. นายวีระชัย งามดีวิไลศักดิ์ • กรรมการอิสระ • กรรมการตรวจสอบ • กรรมการบริหารความเสี่ยง ระดับองค์การ • ประธานกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน

6. ดร.อนุสรณ์ แสงนิ่มนวล • กรรมการอิสระ • ประธานกรรมการ บรรษัทภิบาล • กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน

14

5

6

4. นายอดุลย์ จันทนจุลกะ • กรรมการอิสระ • กรรมการตรวจสอบ • กรรมการบรรษัทภิบาล


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

7

7. ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล • กรรมการอิสระ • กรรมการตรวจสอบ • ประธานกรรมการบริหาร ความเสี่ยงระดับองค์การ

8

9

8. ศ.นพ.ปิยะมิตร ศรีธรา • กรรมการอิสระ

10

9. นายวิเชียร เมฆตระการ • กรรมการ • กรรมการบริหาร • กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน

11

12

10. นางรัตนา พรมสวัสดิ์ • กรรมการ • กรรมการบรรษัทภิบาล

11. นายปิยะ ประยงค์ 12. นายประเสริฐ แต่ดุลยสาธิต • กรรมการ • กรรมการ • กรรมการบริหาร • กรรมการบริหาร • กรรมการบริหารความเสี่ยง • กรรมการบริหารความเสี่ยง ระดับองค์การ ระดับองค์การ

15


รายงานประจํ า ปี 2560

รางวัลและความภูมิใจของบริษัท

16


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

รางวัล Set Sustainability Awards 2017 ประเภท Rising Star จาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รางวัล Thailand Sustainability Investment (THSI) ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 จาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

การก�ำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทย ประจ�ำปี 2560 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2017) ในระดับดีเลิศ (Excellent) จาก สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การประเมินคุณภาพการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจ�ำปี 2560 (Annual General Meeting หรือ “AGM”) มีระดับ ผลคะแนนร้อยละ 100 จาก สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย รับรองการเข้าร่วมโครงการจัดท�ำดัชนีเป้าหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืนระดับองค์กร หรือ Corporate SDG Index จาก สถาบันไทยพัฒน์

รางวัลองค์กรโปร่งใส ครั้งที่ 7 (NACC Integrity Awards) ประเภทชมเชย จาก ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ รางวัล Sustainability Report Award 2017 ประเภท Recognition ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 จาก CSR Club, สมาคมบริ ษั ท จดทะเบี ย นไทย, ส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และสถาบัน ไทยพัฒน์ ประกาศเกียรติคุณองค์กรที่ท�ำคุณประโยชน์ให้แก่กระทรวง ศึกษาธิการ จาก กระทรวงศึกษาธิการ เกียรติบัตรเชิดชูองค์กรที่ท�ำคุณประโยชน์ทางสังคม ด้าน การสนับสนุนการจ้างงานคนพิการ ประจ�ำปี 2560 จาก กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และกระทรวง แรงงาน ประกาศนียบัตรรับรองการเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของ ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต (Thailand’s Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC) จาก The CAC Council รับเลือกให้อยู่ในกลุ่ม ESG100 Company ประจ�ำปี 2560 (Environmental, Social and Governance: ESG) ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 จาก สถาบันไทยพัฒน์

โล่ประกาศเกียรติคุณ “บุคคลตัวอย่างในภาคธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์” ให้กับ คุณปิยะ ประยงค์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มธุรกิจพฤกษา เรียลเอสเตท ในฐานะที่เป็นบุคคลตัวอย่างในภาคธุรกิจที่น�ำความรู ้ และเทคโนโลยีใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ จาก มูลนิธิสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย โล่ประกาศเกียรติคุณ “ผู้สร้างคุณประโยชน์ให้กับสังคม” ให้กับ คุณประเสริฐ แต่ดุลยสาธิต ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มธุรกิจ พฤกษา เรียลเอสเตท-พรีเมียม ในฐานะที่เป็นนักธุรกิจและบุคคล ที่ประสบความส�ำเร็จในวงการธุรกิจทั้งภาครัฐและเอกชน ที่มีการ สร้างคุณประโยชน์ต่อสังคมและเศรษฐกิจโดยรวม จาก งาน INTV AWARD 2017 รางวัล Asia’s Most Promising Brands 2017 จาก World Consulting & Research Corporation บริษัทที่ปรึกษา และบริหารจัดการเรื่องแบรนด์ชั้นน�ำระดับโลก

17


รายงานประจํ า ปี 2560

รางวัล International Star for Quality Award 2017 ประเภท Platinum

รางวัลสถานประกอบกิจการต้นแบบด้านความปลอดภัย ระดับจังหวัด ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2

จาก Business Initiative Directions (B.I.D.)

จาก ส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดปทุมธานี

รางวัล BCI Asia Top 10 Developers Awards 2017 ต่อเนือ่ งเป็นปีที่ 7

- โรงงานพฤกษา พรีคาสท์ นวนคร

จาก BCI Media Group - โครงการ เออร์บาโน่ ราชวิถี

ประกาศนียบัตรรับรองมาตรฐานอาคารเขียว ระดับ Platinum จาก สถาบัน DGNB ประเทศเยอรมนี

- โครงการ แชปเตอร์วัน อีโค รัชดา-ห้วยขวาง

- บ้านต้นแบบ “พฤกษา พลัส เฮาส์” โครงการ เดอะแพลนท์ เอสทีค พัฒนาการ

- โครงการ พลัมคอนโด รามค�ำแหง

ประกาศนียบัตรรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 3 ระบบสีเขียว

รางวัลโครงการอสังหาริมทรัพย์ดีเด่น ปี 2560

จากกระทรวงอุตสาหกรรม

จาก ศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย

- โรงงาน พฤกษา พรีคาสท์ ล�ำลูกกา

- โครงการ เดอะไพรเวซี่ ลาดพร้าว-เสนา

โรงงาน พฤกษา พรีคาสท์ นวนคร

- โครงการ บ้านพฤกษา ปู่เจ้า-ส�ำโรง

ประกาศนียบัตรรับรองการขึ้นทะเบียนการจัดท�ำคาร์บอน ฟุตพริ้นท์ขององค์กร ประจ�ำปี 2560

รางวัลบ้านจัดสรรอนุรักษ์พลังงานดีเด่น ประจ�ำปี 2560 ประเภทบ้านต้นแบบทาวเฮาส์ จาก กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน - โครงการ เดอะคอนเนค

จาก องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) - โรงงาน พฤกษา พรีคาสท์ ล�ำลูกกา - โรงงาน พฤกษา พรีคาสท์ นวนคร

รางวัล Smart Green Energy Award 2017

ประกาศนียบัตรรับรองระบบการบริหารจัดการนวัตกรรม CEN/TS 16555-1 : 2013

จาก ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

จาก สถาบันรับรองมาตฐานไอเอสโอ

- โรงงานพฤกษา พรีคาสท์ นวนคร

18


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ ประวัติความเป็นมา บริ ษั ท พฤกษา โฮลดิ้ ง จ� ำ กั ด (มหาชน) (“บริ ษั ท ฯ”) จดทะเบี ย น ก่อตั้งเป็นบริษัทมหาชน เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2559 เพื่อประกอบธุรกิจ ที่มีรายได้จากการถือหุ้นในบริษัทอื่นเป็นหลัก (Holding Company) ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 10,000 บาท ต่อมาที่ประชุมวิสามัญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ครั้ ง ที่ 1/2559 ได้ อ นุ มั ติ เ พิ่ ม ทุ น จดทะเบี ย นของ บริ ษั ท ฯ จากเดิม 10,000 บาท เป็นทุนจดทะเบียนใหม่ 2,273,217,600 บาท โดยการออกหุ้นสามัญใหม่จ�ำนวน 2,273,207,600 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท เพื่อรองรับการท�ำค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ และการออก ใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ จ ะซื้ อ หุ ้ น สามั ญ ของบริ ษั ท ฯ รวมถึ ง เพื่ อ ให้ สอดคล้องกับการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ และได้เข้าท�ำการ ซื้ อ ขายในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย เป็ น ครั้ ง แรกในวั น ที่ 1 ธันวาคม 2559 ภายใต้สัญลักษณ์ “PSH” บริ ษั ท ฯ มี ธุ ร กิ จ หลั ก คื อ ธุ ร กิ จ พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ พื่ อ ขาย โดย บริษทั ฯ จะรักษาสัดส่วนในการประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพื่ อ ขายซึ่ ง เป็ น ธุ ร กิ จ หลั ก ให้ มี สั ด ส่ ว นไม่ น ้ อ ยกว่ า ร้ อ ยละ 75 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั ฯ และภายหลังการปรับโครงสร้างแล้วเสร็จ บริษทั ฯ จะมีบริษทั พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) เป็นบริษทั ย่อย ที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ หลั ก และจะมี ร ายได้ ห ลั ก จากเงิ น ปั น ผลที่ ไ ด้ รั บ จากการถือหุ้นใน บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัทย่อย และ/หรือบริษัทร่วม ที่บริษัทฯ จะเข้าลงทุนในอนาคต

บริษัทฯ มีนโยบายเน้นการกระจายการลงทุนและหาโอกาสในการ ด�ำเนินธุรกิจใหม่ๆ เพิ่มเติมจากธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอยู่อาศัย เพื่ อ การเติ บ โตที่ ยั่ ง ยื น และสามารถสร้ า งรายได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง (Recurring Income) จึงได้มีการอนุมัติการลงทุนในธุรกิจโรงพยาบาล และศู น ย์ บ ริ ก ารสุ ข ภาพ โดยมี ก ารด� ำ เนิ น การผ่ า นบริ ษั ท ย่ อ ย 2 บริษัท ได้แก่ (1) บริษัท โรงพยาบาลวิมุต โฮลดิ้ง จํากัด ซึ่งเป็นบริษัท ที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ ลงทุ น ในบริ ษั ท อื่ น และ (2) บริ ษั ท โรงพยาบาล วิมุต อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด ซึ่งประกอบกิจการโรงพยาบาลเอกชน สถานพยาบาลและรักษาคนไข้ ปัจจุบันอยู่ระหว่างการวางแผนธุรกิจ คาดว่ า จะสามารถเปิ ด ให้ บ ริ ก ารได้ ใ นปี 2563 เป็ น ต้ น ไป ดั ง นั้ น ในปี 2560 นี้ รายได้ แ ละผลการด� ำ เนิ น การยั ง มาจากกลุ ่ ม ธุ ร กิ จ อสังหาริมทรัพย์เป็นหลัก

19


รายงานประจํ า ปี 2560

การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส�ำคัญ ปี

พัฒนาการที่สำ�คัญ

2559

• •

จัดตั้งบริษัทโฮลดิ้งภายใต้ชื่อ “บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน)” เพื่อประกอบธุรกิจด้านการลงทุน และมีการถือหุ้น ใน บมจ. พฤกษา เรียลเอสเตท โดย บริษัทฯ ทำ�คำ�เสนอซื้อหลักทรัพย์ของ บมจ. พฤกษา เรียลเอสเตท ได้จำ�นวนร้อยละ 98 บริษัทฯ ได้เพิ่มทุนจดทะเบียน 2,273,217,600 บาทโดยการออกหุ้นสามัญใหม่จำ�นวน 2,273,207,600 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท

2560

• • • •

บริษัท โรงพยาบาลวิมุตติ โฮลดิ้ง จํากัด และบริษัท โรงพยาบาลวิมุตติ อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน) ได้ดําเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงชื่อบริษัท เป็น บริษัท โรงพยาบาลวิมุต โฮลดิ้ง จํากัด และ บริษัท โรงพยาบาลวิมุต อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด ตามลำ�ดับ รับมอบรางวัล SET Sustainability Awards 2017 ประเภท Rising Star ในกลุ่มบริษัทที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด 30,000 - 100,000 ล้านบาท เพื่อประกาศเกียรติคุณและยกย่องบริษัทจดทะเบียนที่เริ่มมีการดำ�เนินธุรกิจตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนได้อย่างโดดเด่น และรางวัล Thailand Sustainability Investment (THSI) หรือ “หุ้นยั่งยืน” ต่อเนื่อง เป็นปีที่ 2 เพื่อประกาศเกียรติคุณและเชิดชูบริษัท ที่มีการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและดำ�เนินธุรกิจโดยคำ�นึงถึงผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุ่ม เข้าเป็นสมาชิก “แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต” และได้รับมอบใบประกาศรับรองการเป็นสมาชิก แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต และได้มีการจัดงาน “ชาวพฤกษา ร่วมเดินหน้าต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่น” เพื่อสร้างจิตสำ�นึกแก่บุคลากรทุกระดับให้ดำ�เนินงานด้วยความโปร่งใส ภายใต้หลักธรรมาภิบาล ในปี 2560 บริษทั พฤกษา เรียลเอสเตท จำ�กัด (มหาชน) บริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ออกหุน้ กู้ จำ�นวน 3 ชุด มูลค่า 9,500 ล้านบาท

โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท ในการด�ำเนินการตามแผนการปรับโครงสร้างกิจการ ของ บริษทั พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) (“พฤกษาฯ”) นั้น บริษัทฯ ท�ำค�ำเสนอ ซื้อหลักทรัพย์ของ พฤกษาฯ โดยการแลกเปลี่ยนกับหุ้นสามัญของ บริษัทฯ ซึ่งมีสิทธิและเงื่อนไขเหมือนกับหุ้นสามัญเดิมของ พฤกษาฯ ทุ ก ประการ โดยมี อั ต ราการแลกหลั ก ทรั พ ย์ เ ท่ า กั บ 1 ต่ อ 1 ซึ่งในที่นี้เท่ากับ 1 หุ้นสามัญของ พฤกษาฯ ต่อ 1 หุ้นสามัญของบริษัทฯ โดยเมื่ อ สิ้ น สุ ด การท� ำ ค� ำ เสนอซื้ อ บริ ษั ท ฯ สามารถซื้ อ หุ ้ น สามั ญ ของพฤกษาฯ ได้ร้อยละ 98 ท�ำให้ บริษัทฯ มีหุ้นภายหลังการปรับ โครงสร้างเป็นทุนเรียกช�ำระแล้ว จ�ำนวน 2,185,857,580 บาท มูลค่าหุน้ ที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท โดยเป็นหุ้นสามัญจ�ำนวน 2,273,217,600 หุ้น ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้นที่ท�ำการแลกหุ้นตามแผนการปรับโครงสร้างจะได้รับ ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ซื้อหุ้นสามัญของ บริษัทฯ ตามสัดส่วนการถือหุ้น ที่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น แต่ ล ะรายถื อ อยู่ในบริษัท ฯ ภายหลัง การด�ำเนิน การปรับ โครงสร้างเป็นผลส�ำเสร็จ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปีของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2560 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติการลดทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ จ�ำนวน 46.84 ล้านบาท จากทุนจดทะเบียนเดิม 2,273.22 ล้านบาท เป็นทุน จดทะเบียนใหม่ 2,226.38 ล้านบาท โดยการตัดหุ้นสามัญที่ออกไว้ เพื่อรองรับการท�ำค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ของพฤกษาฯ จ�ำนวน 46.84

20

ล้านหุ้น โดยบริษัทฯ ได้จดทะเบียนการลดทุนกับกระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2560 บริษัทฯ มีทุนที่เรียกช�ำระแล้ว จ�ำนวน 2,186,796,580 บาท ภายหลังจากบริษทั ฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และมี น โยบายเน้ น การกระจายการลงทุ น และหาโอกาสในการ ด�ำเนินธุรกิจใหม่เพิ่มเติมจากธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอยู่อาศัย เพื่ อ การเติ บ โตที่ ยั่ ง ยื น และสามารถสร้ า งรายได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง (Recurring Income) ส� ำ หรั บ การลงทนในธุ ร กิ จ โรงพยาบาล (Healthcare Business) ตามที่แจ้งสารสนเทศต่อตลาดหลักทรัพย์ แห่ ง ประเทศไทย ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ มี ม ติ ใ นการ ประชุมครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 อนุมัติการลงทุน ในธุรกิจโรงพยาบาลและศูนย์บริการสุขภาพ โดยมีการด�ำเนินการ ผ่านบริษทั ย่อย 2 บริษทั ได้แก่ (1) บริษทั โรงพยาบาลวิมตุ โฮลดิง้ จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทที่ประกอบธุรกิจลงทุนในบริษัทอื่น ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 ได้ลงทุนในบริษัท โรงพยาบาลวิมุต อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (2) บริษัท โรงพยาบาลวิมุต อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ซึ่งประกอบ กิจการโรงพยาบาลเอกชน สถานพยาบาลและรักษาคนไข้ ปัจจุบัน อยู ่ ร ะหว่ า งการวางแผนธุ ร กิ จ คาดว่ า จะสามารถเปิ ด ให้ บ ริ ก ารได้ ในปี 2563 เป็นต้นไป


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ผู้ถือหุ้น 100% บมจ. พฤกษา โฮลดิ้ง

97.90%

99.99%

บมจ. พฤกษา เรียลเอสเตท

บจ. โรงพยาบาลวิมุต โฮลดิ้ง

99.99% บจ. โรงพยาบาลวิมุต อินเตอร์เนชั่นแนล นโยบายการแบ่งการด�ำเนินงานของบริษัทในกลุ่ม

- การให้บริการด้านการเงินและบัญชี

บริษัทฯ จะประกอบธุรกิจดังต่อไปนี้

- การให้บริการด้านการบริหารความเสี่ยง

1. ลงทุนในบริษัทย่อยและ/หรือบริษัทร่วมในกลุ่ม

- การให้บริการด้านทรัพยากรบุคคล

2. จัดหาเงินทุนเพื่อด�ำเนินธุรกิจของบริษัทและบริษัทในกลุ่ม

- การให้บริการด้านกฎหมาย

3. ลงทุนในบริษัทอื่นใดที่ไม่ได้อยู่ในกลุ่มเพื่อประโยชน์ในการบริหาร - การให้บริการด้านระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศ สภาพคล่องและเพื่อผลตอบแทนของบริษัท - การให้ บ ริ ก ารด้ า นการพั ฒ นาการตลาด บริ ห ารแบรนด์ แ ละ สื่อสารองค์กร 4. ให้บริการทางด้านการงานสนับสนุนแก่บริษัทในกลุ่ม ภายหลังการปรับโครงสร้างกิจการในระยะแรก บริษัทฯ จะใช้บริการ จากหน่วยงานของ 4 สายงานหลักและหน่วยงานสนับสนุนบางส่วน จากพฤกษาฯ เพื่ อ เป็ น การบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรบุ ค คลที่ มี อ ยู ่ ของบริษัทฯ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งประกอบด้วย สายงานการเงิน และบริ ห ารความเสี่ ย ง สายงานบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คล สายงาน กลยุ ท ธ์ และกลุ ่ ม ธุ ร กิ จ สนั บ สนุ น ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ฝ่ า ยกฎหมาย สายงานการตลาดและสื่อสารองค์กร จะยังคงอยู่ที่ พฤกษาฯ ซึ่งเป็น ธุรกิจหลักของบริษัทฯ

- การให้บริการด้านธุรการและการจัดซื้อ

ปั จ จุ บั น พฤกษาฯ จะบริ ก ารสนั บ สนุ น แก่ บ ริ ษั ท ฯ ในด้ า นต่ า งๆ ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้

ความสัมพันธ์กับกลุ่มธุรกิจของผู้ถือหุ้นใหญ่

อย่างไรก็ตาม กลุ่มธุรกิจสนับสนุนที่ บริษัทฯ จะก�ำกับดูแลภาพรวม ของ บริษัทฯ และบริษัทย่อยและ/หรือบริษัทร่วมในอนาคตของบริษัทฯ นอกจากนี้บริษัทฯ จะมอบหมายให้สายงานกลยุทธ์ร่วมกับสายงาน การเงินและบริหารความเสีย่ งท�ำหน้าทีก่ ำ� กับดูแลและควบคุมนโยบาย การลงทุนใหม่ของบริษัทฯ และก�ำกับดูแลธุรกิจใหม่ท่ีบริษัทฯ จะมี การเข้าลงทุนในอนาคต -ไม่มี-

21


รายงานประจํ า ปี 2560

ลักษณะการประกอบธุรกิจ โครงสร้างรายได้ กลุ่มบริษัท มีรายได้ทั้งหมดมาจากธุรกิจเรียลเอสเตท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีโครงสร้างรายได้แยกตามประเภทผลิตภัณฑ์ ได้ดังนี้ ประเภทผลิตภัณฑ์ ทาวน์เฮ้าส์ (ไทย) บ้านเดี่ยว (ไทย) อาคารชุด (ไทย) ต่างประเทศ รวม อื่นๆ (1) รายได้อสังหาริมทรัพย์ รายได้อื่น รายได้รวมทั้งหมด หมายเหตุ:

22

(1)

ปี 2558 ล้านบาท 23,023 10,135 17,236 278 50,672 568 51,240 198 51,438

% 44.8 19.7 33.5 0.5 98.5 1.1 99.6 0.4 100.0

งบการเงินรวม ปี 2559 ล้านบาท % 23,529 49.9 9,413 20.0 13,849 29.4 129 0.3 46,920 99.5 6 0.0 46,926 99.5 247 0.5 47,173 100.0

อื่นๆ ประกอบด้วยรายได้จากการขายที่ดินเปล่าและรายได้จากค่าก่อสร้าง

ปี 2560 ล้านบาท 22,694 9,159 12,068 13 43,935 0 43,935 178 44,113

% 51.4 20.8 27.4 0.0 99.6 0.0 99.6 0.4 100.0


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

โครงการปัจจุบันของพฤกษาฯ ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ประกอบด้วย 181 โครงการ แบ่งเป็นมูลค่าทั้งหมด ขายได้แล้วและส่วนที่เหลือขาย ดังนี้ มูลค่าโครงการ

รายได้

ยอดรอรับรู้รายได้

ยอดขาย

ยอดส่วนที่เหลือ

โครงการ ณ ธ.ค. 60

จำ�นวน โครงการที่ เปิดขาย

บ้านพฤกษา พาทิโอ พฤกษา ไลท์ พฤกษา ทาวน์ พฤกษา วิลเลต พฤกษา วิลล์ เดอะ คอนเนค เดอะ แพลนท์ วิลเลต ยอดรวม ทาวน์เฮ้าส์ ภัสสร พฤกษา วิลเลจ เดอะ ปาล์ม (กลุ่มธุรกิจแวลู) เดอะ แพลนท์ พฤกษา ทาวน์ พฤกษา นารา ยอดรวม บ้านเดี่ยว ฟิวส์ พลัม คอนโด ไพเวซี่ เดอะ ทรี เออร์บาโน่ ยอดรวมอาคารชุด (กลุ่มธุรกิจแวลู) แชปเตอร์วัน เดอะรีเซิร์ฟ ฮาว ยอดรวมอาคารชุด (กลุม่ ธุรกิจพรีเมียม) โครงการทีก่ ำ� ลังจะปิด ยอดรวมทั้งหมด

35 7 1 10 3 38 16 2 1

14,002 27,158 1,517 6,644 267 582 3,194 9,172 375 900 11,221 29,978 4,657 13,406 763 2,977 390 961

5,594 10,797 485 1,969 166 336 1,284 3,381 232 550 4,162 10,347 2,061 5,935 582 2,189 151 363

178 28 10 35 12 378 71 10 -

385 137 25 119 31 1,090 215 45 0

113

36,386 91,777 14,717 35,868

722

2,047 15,439 37,915 20,947 53,862

13 12

ยูนิต

ล้านบาท

ล้านบาท

ยูนิต

ล้านบาท

ยูนิต

ล้านบาท

5,772 11,182 513 2,106 176 362 1,319 3,500 244 580 4,540 11,437 2,132 6,150 592 2,234 151 363

ยูนิต

ล้านบาท

8,230 15,975 1,004 4,537 91 221 1,875 5,672 131 319 6,681 18,541 2,525 7,257 171 743 239 598

1,769 1,124

7,308 4,160

131 46

626 197

1,900 1,170

7,934 4,356

1,682 2,133

8,430 8,117

1,234

25

256

3

32

28

288

92

946

15 3 1

3,363 15,010 568 2,668 300 1,038

1,612 226 181

7,316 1,048 642

118 3 -

587 17 0

1,730 229 181

7,903 1,064 642

1,633 339 119

7,107 1,604 396

45

11,236 48,787

4,937 20,730

301

1,458

5,238 22,187

5,998 26,600

1 8 2 5 1

815 1,587 13,770 21,426 1,655 4,711 2,927 8,664 325 1,367

681 5,022 - 1,008 -

1,209 5,707 0 2,670 0

7 3,811 670 1,295 157

16 8,001 1,994 3,846 697

688 1,225 8,833 13,708 670 1,994 2,303 6,516 157 697

127 4,937 985 624 168

17

19,492 37,755

6,711

9,585

5,940 14,554 12,651 24,139

1

3,582 16,364 3,303 12,474

ยูนิต

120

363 7,718 2,717 2,148 670

6,841 13,616

2 3 1

2,478 556 55

7,381 6,205 461

0 0 0

0 0 0

1,680 329 7

5,058 3,674 62

1,680 329 7

5,058 3,674 62

798 227 48

2,323 2,531 399

6

3,089 14,047

0

0

2,016

8,794

2,016

8,794

1,073

5,253

181

70,203 192,367 26,365 66,183

66 180 9,045 27,033 35,344 93,035 34,859 99,331

23


รายงานประจํ า ปี 2560

ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ

ที่ เ ข้ ม แข็ ง และมี ศั ก ยภาพ เพื่ อ พั ฒ นาในระยะยาว ทั้ ง นี้ พฤกษาฯ มีการเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาดที่อยู่อาศัยในระดับบน (Premium) บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) ประกอบธุรกิจ เพื่อครอบคลุมลูกค้าทุกกลุ่ม ที่มีรายได้จากการถือหุ้นในบริษัทอื่นเป็นหลัก (holding company) ซึ่งมีธุรกิจหลักคือ ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย ซึ่งบริษัทฯ ปัจจุบัน บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) มีการแยก มีแนวทางจะรักษาสัดส่วนเงินลงทุนในบริษัทประกอบธุรกิจพัฒนา การประกอบธุ ร กิ จ หลั ก เป็ น 2 กลุ ่ ม ได้ แ ก่ กลุ ่ ม ธุ ร กิ จ แวลู และ อสังหาริมทรัพย์เพื่อขายในสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 บริษัทฯ กลุ่มธุรกิจพรีเมียม ซึ่งเป็นธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย ยังมีนโยบายมุ่งเน้นการกระจายการลงทุนและหาโอกาสในการด�ำเนิน ธุรกิจใหม่ เพิ่มเติมจากธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอยู่อาศัย พฤกษา เรียลเอสเตท กลุ่มธุรกิจแวลู เพื่อการเติบโตที่ยั่งยืน โดยบริษัทฯ เลือกเน้นธุรกิจที่มีความสามารถ โดยสรุป พฤกษา เรียลเอสเตท กลุ่มธุรกิจแวลู มีโครงการที่เปิดขายแล้ว ในการสร้ า งรายได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง (Recurring Income) ซึ่ ง ธุ ร กิ จ ภายใต้ชื่อ (แบรนด์) ดังนี้ โรงพยาบาล (Healthcare Business) เป็นธุรกิจที่น่าลงทุนในปัจจุบัน บริ ษั ท ฯ ประกอบธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ แ ละธุ ร กิ จ โรงพยาบาล บ้านทาวน์เฮ้าส์/ บ้านเดี่ยว อาคารชุด โดยมีรายละเอียดของธุรกิจบริษัท ดังนี้ อาคารพาณิชย์ บ้านพฤกษา ภัสสร พลัม คอนโด การประกอบธุรกิจแยกตามกลุ่มธุรกิจ พฤกษาวิลล์ เดอะแพลนท์ เดอะ ทรี 1. ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เดอะคอนเนค เดอะปาล์ม เดอะ ไพรเวซี่ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) (“พฤกษาฯ”) ด�ำเนินธุรกิจ พาทิโอ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อที่อยู่อาศัย 3 ประเภท ได้แก่ บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์/บ้านแฝด และอาคารชุด โดยเน้นการพัฒนาโครงการ 1.1 บ้านทาวน์เฮ้าส์/บ้านแฝด/อาคารพาณิชย์ ทุ ก พื้ น ที่ ข องกรุ ง เทพฯ และปริ ม ณฑล รวมถึ ง เขตศู น ย์ ก ลางธุ ร กิ จ พฤกษา เรียลเอสเตท กลุ่มธุรกิจแวลู ได้ด�ำเนินการก่อสร้างพัฒนา ของกรุงเทพฯ ในท�ำเลที่มีศักยภาพและการเจริญเติบโตสูง ในปี 2553 โครงการบ้านทาวน์เฮ้าส์ ภายใต้ตราสินค้าต่างๆ และรูปแบบบ้าน พฤกษาฯ ได้เริ่มเปิดขายโครงการในต่างจังหวัด ได้แก่ นครปฐม ชลบุรี ที่แตกต่างกันออกไป โดยตั้งราคาของทาวน์เฮ้าส์ตั้งแต่ 1 ล้านบาท และภูเก็ต ในปี 2554 ได้เปิดโครงการแรกในขอนแก่น และเปิดขาย ถึง 5 ล้านบาท และมีกลุ่มเป้าหมายของสินค้ากลุ่มทาวน์เฮ้าส์หลัก เพิ่มในจังหวัดภูเก็ต นอกจากนี้ ในปี 2557 - 2558 พฤกษาฯ ได้ขยาย คือ ลูกค้ากลุ่มผู้มีรายได้ระดับต�่ำจนถึงปานกลาง รวมถึงขยายไปยัง สิ น ค้ า แนวราบไปในกลุ ่ ม ตลาดระดั บ ราคาสู ง ขึ้ น พร้ อ มปรั บ ปรุ ง ผู ้ มี ร ายได้ ร ะดั บ ค่ อ นข้ า งสู ง ที่ ต ้ อ งการมี ที่ อ ยู ่ อ าศั ย เป็ น ของตนเอง ภาพลักษณ์ของแบรนด์ให้เกิดความชัดเจนในการบริหารของแต่ละกลุม่ และมิใช่เพื่อการเก็งก�ำไร อีกทั้ง ยังมีการขยายโครงการในต่างจังหวัด ธุรกิจมากยิ่งขึ้นเพื่อให้ธุรกิจยั่งยืน มีการเติบโตต่อเนื่อง และรักษา โดยเพิ่ ม จ� ำ นวนโครงการมากขึ้ น เพื่ อ ตอบสนองต่ อ การขยายตั ว สถานะทางการเงินที่มั่นคง ส�ำหรับในปี 2559 พฤกษาฯ มีการพัฒนา ทางด้านเศรษฐกิจ แบรนด์ สิ น ค้ า ต่ า งๆ โดยมี ก ารปรั บ เปลี่ ย นกลยุ ท ธ์ ส ร้ า งแบรนด์

24


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ตลาดทาวน์ เ ฮ้ า ส์ อาคารพาณิชย์และบ้า นแฝด มีขนาดประมาณ พฤกษา เรียลเอสเตท กลุ่มธุรกิจพรีเมียม ร้อยละ 20 ของตลาดรวมที่อยู่อาศัยจากหน่วยบ้านที่จดทะเบียน และ โดยสรุป พฤกษา เรียลเอสเตท กลุ่มธุรกิจพรีเมียม มีโครงการที่เปิด กลุ่มธุรกิจแวลู มีสัดส่วนรายได้จากบ้านทาวน์เฮ้าส์ประมาณร้อยละ ขายแล้วภายใต้ช่ือ (แบรนด์) ดังนี้ 50 ของรายได้อสังหาริมทรัพย์ของกลุ่มธุรกิจแวลู 1.2 บ้านเดี่ยว

แนวสูง (คอนโดมิเนียม)

แนวราบ (บ้านเดี่ยว/แฝด, ทาวน์เฮาส์, อาคารพาณิชย์) เดอะปาล์ม ฮาว*

ระดั บ ราคาส� ำ หรั บ กลุ ่ ม เป้ า หมายของสิ น ค้ า กลุ ่ ม บ้ า นเดี่ ย วของ เดอะรีเซิร์ฟ กลุ่มธุรกิจแวลู คือ ลูกค้าในกลุ่มหลักที่ระดับราคา 3 - 7 ล้านบาท แชปเตอร์วัน ดังนั้น กลุ่มธุรกิจแวลู จึงมีนโยบายที่มุ่งเน้นการออกแบบบ้านเดี่ยว ทั้งในด้านสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม ด้วยการเพิ่มนวัตกรรมต่างๆ หมายเหตุ: *แบรนด์ใหม่ และวิธีการก่อสร้างเพื่อให้ได้บ้านที่มีคุณภาพ ภายใต้การบริหารต้นทุน ที่เพิ่มประสิทธิภาพมากขึ้น ท�ำให้สามารถสร้างบ้านได้รวดเร็วกว่าเดิม กลุ ่ ม ธุ ร กิ จ พฤกษา เรี ย ลเอสเตท พรี เ มี ย ม ได้ ด� ำ เนิ น การพั ฒ นา ประหยัดต้นทุนขึ้น ส่งผลให้ลูกค้าสามารถซื้อบ้านในราคาที่คุ้มค่าขึ้น โครงการทั้งแนวสูงและแนวราบในระดับพรีเมียมโดยมีกลุ่มเป้าหมาย ของสินค้าคือลูกค้ากลุ่มผู้มีรายได้ระดับค่อนข้างสูงทั้งเพื่อการอยู่อาศัย นอกจากนี้ กลุม่ ธุรกิจแวลู ยังได้มกี ารขยายตลาดบ้านเดีย่ วเข้าในตลาด และเพื่อการลงทุน ราคา 10 ล้านบาท เพิ่มเติมจากโครงการเดิม (The Palm) โดยมี แผนขยายตัวท�ำโครงการ ซึ่งมีมูลค่าบ้านพร้อมที่ดิน 10 ล้านบาท ขึ้นไป ตลาดสิ น ค้ า พรี เ มี ย มในปั จ จุ บั น มี ข นาดประมาณร้ อ ยละ 30 ของมู ล ค่ า ตลาดรวมที่ อ ยู ่ อ าศั ย ในกรุ ง เทพฯ และปริ ม ณฑล เพิ่มเติมอีกในปี 2561 ด้วยศักยภาพของตลาดพรีเมียม การเติบโตของกลุ่มธุรกิจ พฤกษา ตลาดบ้านเดี่ยวมีขนาดประมาณร้อยละ 28 ของตลาดรวมที่อยู่อาศัย เรียลเอสเตท พรีเมียม นับเป็นการเติบโตเป็นธุรกิจใหม่ที่จะผลักดัน จากหน่ ว ยบ้ า นที่ จ ดทะเบี ย นและกลุ ่ ม ธุ ร กิ จ แวลู มี สั ด ส่ ว นรายได้ การเจริญเติบโตของพฤกษาฯ ในอนาคต ซึ่งถึงแม้จะเริ่มเข้าตลาด จากบ้านเดี่ยวประมาณร้อยละ 20 ของรายได้อสังหาริมทรัพย์ของ ปีแรกในปี 2560 ก็สามารถเปิดโครงการใหม่ถึง 5 โครงการ และ กลุ่มธุรกิจแวลู ท�ำยอดขายรวมของกลุ่มธุรกิจมากกว่า 8,000 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็น สั ดส่วนร้อยละ 17 ของยอดขายรวมของพฤกษาฯ และมีส่วนแบ่งการ 1.3 อาคารชุด (Condominium) ตลาดคิดเป็นร้อยละ 7 ของยอดขายรวมของตลาดพรีเมียมในกรุงเทพฯ กลุ่มธุรกิจแวลู ได้ปรับกลยุทธ์การตลาดและโครงสร้างรายได้จาก และปริมณฑล และมียอดรับรู้รายได้รวมของกลุ่มธุรกิจเป็น 1,866 การเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงของความต้องการที่อยู่อาศัยในกรุงเทพฯ ล้านบาท ในอนาคตมีแผนการเปิดโครงการอย่างต่อเนื่อง และปริมณฑลอย่างรวดเร็ว ประกอบกับระบบการขนส่งสาธารณะ ที่ เ ปลี่ ย นแปลง เช่ น โครงการรถไฟฟ้ า ท� ำ ให้ เ กิ ด ความต้ อ งการ กลุ่มธุรกิจ พฤกษา เรียลเอสเตท พรีเมียม ใช้จุดแข็งในการสามารถ ที่อยู่อาศัยประเภทอาคารชุดสูงมากตั้งแต่ปี 2550 โดยมีกลุ่มลูกค้า พัฒนาโครงการด้วยหลักการ เป้าหมาย คือกลุ่มผู้มีรายได้ระดับน้อยถึงปานกลาง กลุ่มธุรกิจแวลู • เน้นจุดขายในแต่ละโครงการตามท�ำเลและไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภค ได้มีการพัฒนารูปแบบโครงการภายใต้ตราสินค้าดังกล่าว ซึ่งมีระดับ (Product Differentiation) ราคาตั้งแต่ 0.7 ล้านบาท จนถึง 5 ล้านบาท โดยภายหลังปี 2555 ที่ เ ศรษฐกิ จ เริ่ ม ฟื ้ น ตั ว จากภาวะน�้ ำ ท่ ว ม และมี ค วามต้ อ งการ • มีการควบคุมขนาดโครงการและการลงทุนเพื่อกระจายการลงทุน ที่อยู่อาศัยตามเส้นทางที่มีการก่อสร้างทางเดินรถไฟฟ้า ความต้องการ และลดความเสี่ ย ง สอดคล้ อ งกั บ ช่ อ งว่ า งทางการตลาดที่ มี มีบ้านที่ 2 เพื่ออยู่อาศัยเป็นครั้งคราว และการเดินทางเข้ามาท�ำงาน ในแต่ละโครงการและพื้นที่ ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลเพิ่มขึ้น กลุ่มธุรกิจแวลู จึงได้เข้าสู่ กลุ่มลูกค้าที่เน้นท�ำเลย่านใจกลางเมือง หรือท�ำเลที่ใกล้รถไฟฟ้า หรือ โดยกลยุทธ์ข้างต้นเพื่อรับมือการเปลี่ยนแปลงของตลาดและคู่แข่ง แนวรถไฟฟ้าในอนาคต เช่น สาทร สะพานควาย จรัญสนิทวงศ์ ฯลฯ ซึ่ ง มี ทั้ ง ผู ้ ป ระกอบการขนาดใหญ่ ใ นธุ ร กิ จ เดี ย วกั น และนอกธุ ร กิ จ โดยกลุ ่ ม ธุ ร กิ จ แวลู จ ะเน้ น โครงการอาคารชุ ด ระดั บ ราคา 1 - 2 รวมถึงกลุ่มร่วมทุน (JV) และ โครงการ Mix Used ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ล้านบาท และราคา 2 - 3 ล้านบาท เนื่องจากแนวโน้มของอาคารชุด และอนาคต ระดับราคาดังกล่าวเป็นตลาดที่มีแนวโน้มการขยายตัวในอัตราสูง กลุ ่ ม ธุ ร กิ จ พฤกษา เรี ย ลเอสเตท พรี เ มี ย ม มี ก ารพั ฒ นาโครงการ อย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้น กลุ่มธุรกิจแวลู จะขยายตลาดโครงการ ทั้ ง แนวสู ง และแนวราบในระดั บ พรี เ มี ย ม โครงการแนวสู ง มี ก าร อาคารชุดระดับราคา 3 - 5 ล้านบาท และมีท�ำเลใกล้แนวรถไฟฟ้า พั ฒ นาโครงการภายใต้ แ บรนด์ เดอะรี เ ซิ ร ์ ฟ ซึ่ ง เป็ น สิ น ค้ า ระดั บ ตลาดอาคารชุดในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลมีขนาดร้อยละ 51 พรี เ มี ย ม และแบรนด์ แชปเตอร์ วั น ซึ่ ง เป็ น สิ น ค้ า พรี เ มี ย มแมส ของตลาดรวมที่อยู่อาศัยจากหน่วยบ้านที่จดทะเบียน และกลุ่มธุรกิจ ส� ำ หรั บ กลุ ่ ม ชนชั้ น กลางซึ่ ง มี ก ารออกแบบคาแรคเตอร์ ต ามกลุ ่ ม แวลู มีสัดส่วนรายได้จากอาคารชุดประมาณร้อยละ 30 ของรายได้ ผู ้ บ ริ โ ภค มี จุ ด ขายในรู ป แบบโครงการที่ แ ตกต่ า ง ส่ ว นโครงการ แนวราบมีการพัฒนาโครงการภายใต้แบรนด์ เดอะปาล์ม ซึง่ เป็นบ้านเดีย่ ว อสังหาริมทรัพย์ของกลุ่มธุรกิจแวลู

25


รายงานประจํ า ปี 2560

ระดั บ พรี เ มี ย มสไตล์ Modern Luxury ที่ มี แ ผนการเปิ ด โครงการ ในปี 2561 และแบรนด์ ฮาว ซึ่งเป็นแบรนด์ใหม่ในรูปแบบ Modern Luxury Shophouse ที่สามารถตอบรับความต้องการลูกค้าได้ทั้ง เชิงการพาณิชย์และการอยู่อาศัย ซึ่ง Soft Launch เมื่อปลายปี 2560 และได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี 2. ธุรกิจโรงพยาบาล ตามสารสนเทศที่แถลงต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่ประชุม คณะกรรมการ บริ ษั ท พฤกษา โฮลดิ้ ง จ� ำ กั ด (มหาชน) ได้ มี ม ติ ในการประชุมครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 อนุมัติ การลงทุนในธุรกิจโรงพยาบาลและศูนย์บริการสุขภาพ โดยมีรูปแบบ การด�ำเนินธุรกิจผ่านบริษัทย่อยจ�ำนวน 2 บริษัทได้แก่ (1) บริษัท โรงพยาบาลวิ มุ ต ติ โฮลดิ้ ง จ� ำ กั ด ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท โฮลดิ้ ง ซึ่ ง ถื อ หุ ้ น ในกลุ ่ ม บริ ษั ท ด� ำ เนิ น การที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ โรงพยาบาล และ (2) บริษัท โรงพยาบาลวิมุตติ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (“บริษัท วิมุตฯ”) ซึ่งเป็นบริษัทด�ำเนินการประกอบธุรกิจโรงพยาบาล

1. ชื่อบริษัท ภาษาไทย : บริษัท โรงพยาบาลวิมุต โฮลดิ้ง จํากัด ภาษาอังกฤษ : Vimut Hospital Holding Company Limited 2. ชื่อบริษัท ภาษาไทย : บริษัท โรงพยาบาลวิมุต อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด ภาษาอังกฤษ : Vimut International Hospital Company Limited การลงทุนในโรงพยาบาลแห่งแรกของบริษัท วิมุตฯ จะเป็นรูปแบบ สถานพยาบาลแบบพั ก ค้ า งคื น General Hospital ขั้ น ตติ ย ภู ม ิ (Tertiary Care) ขนาด 250 เตียง บริการรักษาพยาบาลทั้งโรคทั่วไป และโรคที่มีความซับซ้อนโดยออกแบบสอดคล้องตามมาตรฐานสากล JCI ตั้งแต่เริ่มต้น โดยมีสถานที่ตั้งอยู่ในย่านธุรกิจของกรุงเทพมหานคร บนพื้นที่ขนาดประมาณ 4 ไร่ 55.60 ตารางวา ริมถนนพหลโยธิน ใกล้สี่แยกสะพานควาย บริษัท วิมุตฯ ประมาณการเงินลงทุนทั้งสิ้น ประมาณ 4,900 ล้านบาท แบ่งเป็นค่าที่ดิน 950 ล้านบาท และ ค่าก่อสร้าง ค่าอุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ และอื่นๆ อีก 3,950 ล้านบาท โดยคาดว่าจะสามารถเริ่มด�ำเนินการได้ภายในปี 2563

เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2560 ได้ดําเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลง ทั้ ง นี้ บริ ษั ท วิ มุ ต ฯ ได้ ซื้ อ ที่ ดิ น ดั ง กล่ า วเสร็ จ สิ้ น และได้ รั บ อนุ มั ติ ชื่ อ บริ ษั ท ต่ อ กรมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค้ า กระทรวงพาณิ ช ย์ โดยมี รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) และใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร รายละเอียดดังนี้ โรงพยาบาล (39 ทวิ) จากทางราชการแล้ว

26


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

การตลาดและการแข่งขัน

ครองใจตลาดมหาชนได้อย่างต่อเนื่องนั้น ต่อยอดด้วยการเพิ่มคุณค่า ทางจิ ต ใจและอารมณ์ ม ากขึ้ น เพื่ อ ขยายฐานการตลาดทั้ ง ในด้ า น ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ภาพลักษณ์และยอดขาย โดยการออกแบบแนวคิดหลักการสื่อสาร (Communication Design) เพราะที่พฤกษา…เราไม่ได้สร้างบ้านเพื่อ นโยบายการตลาด แค่การอยู่อาศัย แต่เราสร้างพื้นที่แรงบันดาลใจ เพื่อให้การใช้ชีวิต บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) (“พฤกษาฯ”) ในฐานะ ของทุกคนดีขึ้น และสื่อสารเรื่องการสร้างแรงบันดาลใจให้กับกลุ่มคน ที่เป็นบริษัทแกนของ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) มีการ ในบริบทที่แตกต่างกัน (Communicate INSPIRING content certain วางนโยบายและกลยุทธ์ต่างๆ เพื่อส่งเสริมการจ�ำหน่ายดังนี้ Living Content) โดยข้อความหลักในการสื่อสาร (Key Message) คือ Live INSPIRED. A Drive for BETTER Living เติมเต็มแรง กลยุทธ์ดา้ นผลิตภัณฑ์: ในปี 2560 พฤกษาฯ ยังคงมุง่ มัน่ ในการพัฒนา บันดาลใจ เพื่อขับเคลื่อนการใช้ชีวิตที่ดีข้ึน ที่อยู่อาศัยให้ตอบสนองพฤติกรรมผู้บริโภคทุกยุคทุกสมัย และสื่อสาร กับผู้บริโภคผ่านแคมเปญ “Invisible Care” “ถึงคุณจะมองไม่เห็นแต่ จากแนวคิดดังกล่าวถูกน�ำมาพัฒนาเป็นภาพยนตร์โฆษณา 3 เรื่อง เราไม่เคยมองข้าม” เพราะพฤกษาฯ มองไกลไปมากกว่าความต้องการ สือ่ สารกับกลุม่ เป้าหมาย 3 กลุม่ ทีม่ องคุณค่าในชีวติ แตกต่างกัน ได้แก่ ขั้ น พื้ น ฐานของผู ้ บ ริ โ ภค ใส่ ใ จลงไปในเรื่ อ งเล็ ก ๆ ที่ ผู ้ ซื้ อ บ้ า นอาจ กลุ่มที่มองหาความมั่นคงในชีวิต (Be Stable) กลุ่มปัจเจกบุคคล มองไม่ เ ห็ น หรื อ มองข้ า มไป เพื่ อ ท� ำ ให้ เ กิ ด เป็ น มาตรฐานใหม่ ข อง (Be Myself) และกลุ ่ ม ที่ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ ฐานะทางสั ง คม การอยู่อาศัย หลายคนอาจให้ความส�ำคัญเรื่องรูปแบบและดีไซน์บ้าน (Be Wealthy) โดยแคมเปญนี้ สื่ อ สารให้ เ ห็ น ว่ า บ้ า นสามารถ แต่กลับลืมเรื่องส�ำคัญที่ควรใส่ใจที่สุด นั่นคือเรื่องของโครงสร้างบ้าน เป็ น สถานที่ ส ร้ า งแรงบั น ดาลใจ และจุ ด ประกายความฝั น ของ ที่ต้องแข็งแรง ปลอดภัย แต่พฤกษาฯ ก่อสร้างด้วยนวัตกรรม Safety ผู ้ อ ยู ่ อ าศั ย ให้ ไ ด้ ท� ำ ในสิ่ ง ที่ อ ยากท� ำ และสร้ า งความเป็ น ต้ น แบบ Home เพือ่ ให้บา้ นแข็งแรง ปลอดภัย ด้วยการเพิม่ ความยาวเข็มหลังบ้าน ของการใช้ชีวิตด้วยตัวเอง (Inspirer) ทั้งนี้การน�ำเสนอเรื่องราวและ ช่วยให้บ้านแข็งแรงไม่เสี่ยงต่อการทรุด พฤกษาฯ สร้างนวัตกรรม บรรยากาศภาพยนตร์ โ ฆษณาสะท้ อ นภาพลั ก ษณ์ ใ หม่ ( Mood& Green Home บ้านประหยัดพลังงาน ด้วยการเพิ่มช่องแสง Sky light Tone) เพื่อให้บุคลิกภาพของแบรนด์พฤกษา (Brand Personality) ช่วยน�ำแสงธรรมชาติส่งเข้าสู่ตัวบ้าน ท�ำให้บ้านไม่มืดทึบ ลดการใช้ ชัดเจนและเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ไฟฟ้า ประหยัดค่าไฟฟ้า และช่วยโลกของเราอีกด้วย การที่ พฤกษาฯ เข้าใจการใช้ชีวิต จึงเพิ่มความสะดวกสบายด้วยนวัตกรรม Smart ส�ำหรับช่องทางการสื่อสารเป็นการบูรณาการทั้ง offline และ online home ที่สามารถควบคุมการท�ำงาน เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน และ เพื่อให้แต่ละสื่อท�ำหน้าที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายทั้ง 3 กลุ่ม ทั้งการสร้าง ตรวจสอบความเคลื่อนไหวภายในบ้านด้วยระบบสัญญานกันขโมย การรั บ รู ้ (Awareness) ในวงกว้ า ง และสร้ า งความเข้ า ใจเนื้ อ หา พร้อมชุดกล้อง ผ่านมือถือของทุกคน สบายใจได้แม้ไม่ได้อยู่บ้าน (Understanding) ให้ตรงกับความสนใจของแต่ละกลุ่ม เพื่อให้การใช้ ผู ้ บ ริ โ ภคปั จ จุ บั น ให้ ค วามส� ำ คั ญ เรื่ อ งการดู แ ลสุ ข ภาพ พฤกษาฯ งบประมาณสื่ อ สารเกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด รวมทั้ ง ขยายช่ อ งทาง จึ ง การใช้ วั ส ดุ ก ่ อ สร้ า ง การจั ด สรรพื้ น ที่ ส ่ ว นกลางภายในโครงการ การสื่อสารผ่านการประชาสัมพันธ์อีกด้วย จนเป็นนวัตกรรม Healthy Home บ้านใส่ใจสุขภาพ ที่ช่วยระบาย กลยุ ท ธ์ ด ้ า นการจ� ำ หน่ า ย: พฤกษาฯ ได้ จั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม ความร้อน ลดความชื้น ลดกลิ่นอับ พร้อมมี เส้นทางจักรยาน ลู่วิ่ง การขาย 3 แคมเปญ ได้แก่ (1) “Best Buy Moment” (ลุ้นรวยทอง) ที่ใช้งานได้จริง ท�ำให้การอยู่อาศัยมีคุณภาพ ยิ่งอยู่ ยิ่งสุขภาพดี ครั้งที่ 4 (2) “Big Luck Big Life” (สุขบิ๊ก บิ๊ก รับสิทธิลุ้นรถยนต์ 10 คัน) กลยุทธ์ดา้ นราคา: พฤกษาฯ ยังคงค�ำนึงถึงก�ำลังความสามารถในการซือ้ และ (3) “Pruksa Wonder move” (บ้านพร้อมอยู่ ส่วนลดสูงสุด ของกลุ่มผู้บริโภคที่มีรายได้ระดับต�่ำถึงปานกลางซึ่งเป็นฐานหลักของ 1 ล้านบาท) เพื่อให้ผู้บริโภคได้มีโอกาสพิจารณาเลือกบ้านที่เหมาะสม ประเทศไทยและเป็นกลุ่ม ลูกค้าหลักของพฤกษาฯ ที่มีความกังวล กับความต้องการของตนเอง และมีโอกาสได้ลุ้นรางวัลใหญ่ ลูกค้า กับความไม่มั่นใจในเสถียรภาพการเงินในการซื้อที่อยู่อาศัยของตัวเอง สามารถเข้าเยี่ยมชมเลือกซื้อผ่านช่องทางการจัดจ�ำหน่ายที่ส�ำนักงาน พฤกษาฯ จึงให้ความส�ำคัญในการบริหารจัดการต้นทุนการก่อสร้าง ขายของ พฤกษาฯ กว่ า 160 โครงการตลอดระยะเวลาแคมเปญ จากการเป็ น ผู ้ น� ำ เทคโนโลยี แ ละกระบวนการบริ ห ารการก่ อ สร้ า ง จากการประเมิ น ผลลั พ ธ์ ท้ั ง 3 แคมเปญ พบว่ า สามารถกระตุ ้ น ด้วยระบบพรีคาสท์ และ REM (Real Estate Manufacturing) สามารถ ยอดขายและยอดโอนได้ตามเป้าหมาย รวมทัง้ บริหารการใช้งบประมาณ ก� ำ หนดราคาขายได้ ต่� ำ กว่ า ผู ้ ป ระกอบการทั่ ว ไป ประมาณร้ อ ยละ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 10 - 15 ส�ำหรับบ้านทาวน์เฮ้าส์และบ้านเดี่ยว นอกจากนี้ได้เข้าร่วมการจัดงานของสมาคมอสังหาริมทรัพย์ต่างๆ กลยุทธ์ด้านโฆษณาประชาสัมพันธ์: พฤกษาฯ ปรับความชัดเจน เช่น งานมหกรรมบ้านและคอนโด ทีศ่ นู ย์การประชุมแห่งชาติสริ กิ ติ ิ์ ฯลฯ ในวิสัยทัศน์ของแบรนด์ (Brand Vision) เพื่อก้าวไปข้างหน้า สอดรับ รวมทั้งยังมีแคมเปญการส่งเสริมการขายการมอบสิทธิพิเศษเฉพาะ กับธุรกิจที่ต้องเปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่หยุดนิ่ง (Business Move) พนั ก งานบริ ษั ท เอกชน สถาบั น การเงิ น องค์ ก รภาครั ฐ ที่ ล งนาม โดยเป้าหมายของแบรนด์ จากแบรนด์ที่มียอดขายอันดับ 1 ในกลุ่ม เป็นพันธมิตรกับพฤกษาฯ เพือ่ ขยายฐานลูกค้าและเพิม่ ขีดความสามารถ Mass Market สู่แบรนด์ที่เป็น Top of Mind ในทุกกลุ่มเป้าหมาย ในการแข่งขันมากขึน้ มีชอ่ งทางการจัดจ�ำหน่ายอืน่ ๆ พฤกษาฯ ยังคัดเลือก จากแบรนด์ ที่ แ ข็ ง แกร่ ง ด้ า นอรรถประโยชน์ ซึ่ ง ท� ำ ให้ พ ฤกษาฯ บ้านมาน�ำเสนอขายราคาพิเศษ “Hot deal” ผ่านเว็บไซต์พฤกษา

27


รายงานประจํ า ปี 2560

สภาวะตลาดและสภาพการแข่งขัน สรุปสภาวะตลาดที่อยู่อาศัยไทยปี 2560 ในปี 2560 เศรษฐกิจโลกฟื้นตัวต่อเนื่องส่งผลต่อภาคการส่งออกของประเทศไทยฟื้นตัว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวได้ต่อเนื่อง โดยเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ ภาคการท่องเที่ยวยังคงขยายตัวดี รวมทั้งนโยบายการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานที่มีความคืบหน้า อย่างชัดเจน ถือเป็นแรงขับเคลื่อนหลักของเศรษฐกิจในปีที่ผ่านมา ขณะที่ก�ำลังซื้อของครัวเรือนส่วนใหญ่ยังคงชะลอตัวและเป็นอุปสรรค ต่อการจับจ่ายใช้สอย จากภาระหนี้ครัวเรือนที่สะสมเพิ่มขึ้นอยู่ในระดับสูง อีกทั้งแนวโน้มรายได้ครัวเรือนยังซบเซาจากราคาสินค้าเกษตร และค่าจ้างนอกภาคเกษตรที่ยังไม่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ท�ำให้โดยภาพรวมในปี 2560 ตลาดที่อยู่อาศัยทั้งประเทศเติบโตขึ้นไม่มากนัก ยกเว้น ตลาดกรุงเทพฯ และปริมณฑลที่มีการเติบโตมากถึงร้อยละ 19 มูลค่าการโอนกรรมสิทธิ์ที่อยู่อาศัยประเทศไทยในปี 2560 ประมาณ 636,380 ล้านบาท โดยกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีสัดส่วน มากที่สุดร้อยละ 63 ภาคตะวันออกมีสัดส่วนร้อยละ 12 ภาคใต้มีสัดส่วนร้อยละ 8 ภาคเหนือมีสัดส่วนร้อยละ 7 ภาคกลางและภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือมีสัดส่วนภาคละ ร้อยละ 5 ตารางที่ 1 : แสดงมูลค่าการโอนกรรมสิทธิ์ที่อยู่อาศัยในประเทศไทย แบ่งตามภูมิภาค ปี 2560 ปี

ภาคเหนือ

2560 สัดส่วนร้อยละ

44,940 7

ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ 32,074 5

ภาคกลาง

ภาคตะวันออก

ภาคใต้

30,886 5

79,527 12

48,411 8

กรุงเทพฯ และ ทั่วประเทศ ปริมณทล 400,542 636,380 63 100

ที่มา: วิเคราะห์โดยสายงานกลยุทธ์และพัฒนาธุรกิจใหม่, บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน)

สภาวะตลาดที่อยู่อาศัยในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ปี 2560 ตลาดที่อยู่อาศัยในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จากหนี้ครัวเรือนอยู่ในระดับที่ยังสูงอยู่ ส่งผลกระทบต่อกลุ่มลูกค้าระดับกลาง-ล่าง ท�ำให้ผู้ประกอบการปรับกลยุทธ์ชะลอการเปิดโครงการในระดับราคาดังกล่าว และเน้นการเปิดโครงการในระดับกลาง-บนมากขึ้น ท�ำรายการ ส่งเสริมการขายกับกลุ่มลูกค้าที่มีศักยภาพด้านการเงินที่ดี และการขยายกลุ่มลูกค้ากลุ่มนักลงทุนต่างประเทศต่อเนื่อง ส่งผลต่อมูลค่า การซื้อที่อยู่อาศัยโดยรวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 19 เมื่อเทียบกับปี 2560 ด้วยมูลค่า 431,970 ล้านบาท แผนภาพที่ 1 : แสดงมูลค่าตลาดของที่อยู่อาศัยในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ปี 2557 - 2560

431,970 293,438

354,799

ที่มา : สายงานกลยุทธ์และพัฒนาธุรกิจใหม่, บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน)

28

362,456


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ตลาดคอนโดมิเนียม และบ้านแฝดมีสัดส่วนเพิ่มขึ้น โดยเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 57 และ 5 (ตามล�ำดับ) ส�ำหรับตลาดทาวน์เฮ้าส์มีสัดส่วนตลาด เท่ากับปี 2559 ที่ร้อยละ 18 และบ้านเดี่ยวมีสัดส่วนลดลงเหลือร้อยละ 18 แผนภาพที่ 2 : สัดส่วนประเภทที่อยู่อาศัยในกรุงเทพฯและปริมณฑล ปี 2557 - 2560

3%

3%

3%

2%

48%

51%

51%

57%

19% 4%

20% 4% 22%

25%

18% 4% 24%

18% 5% 18%

ที่มา : สายงานกลยุทธ์และพัฒนาธุรกิจใหม่, บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน)

ตลาดบ้านเดี่ยว (รวมบ้านแฝด) ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ตลาดบ้านเดีย่ ว (รวมบ้านแฝด) ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลปี 2560 มีมลู ค่า 100,059 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 1 จากปี 2559 จากการชะลอตัว ของระดับราคา 7 - 10 ล้านบาท และระดับราคาต�่ำกว่า 5 ล้านบาท โดยระดับราคาต�่ำกว่า 2 ล้านบาท และระดับราคา 2 - 3 ล้านบาท ปรับตัวตัวลดลงสูงสุดร้อยละ 42 และ ร้อยละ 26 (ตามล�ำดับ) ซึ่งระดับราคา 3 - 5 ล้านบาท ยังคงมีสัดส่วนสูงสุดของตลาด อยู่ที่ร้อยละ 31 ของมูลค่าตลาดบ้านเดี่ยว (รวมบ้านแฝด) ทั้งหมด แผนภาพที่ 3-4 : มูลค่าตลาดและยอดขาย (จ�ำนวนหน่วย) บ้านเดี่ยว (รวมบ้านแฝด) ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ปี 2557 - 2560

ที่มา : สายงานกลยุทธ์และพัฒนาธุรกิจใหม่, บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน)

เมื่อเปรียบเทียบราคาขายเฉลี่ยในปี 2560 ราคาขายเฉลี่ยปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 7 อยู่ที่ 5.9 ล้านบาท (ปี 2559 ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 5.5 ล้านบาท) เนื่องมาจากราคาบ้านเดี่ยว (รวมบ้านแฝด) ของโครงการเปิดใหม่ปรับตัวสูงขึ้น

29


รายงานประจํ า ปี 2560

ตลาดทาวน์เฮ้าส์ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ตลาดทาวน์เฮ้าส์ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลปี 2560 มีมูลค่า 77,927 ล้านบาท เติบโตเพิ่มขึ้นร้อยละ 17 จากปี 2559 โดยบริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) ยังคงรักษาส่วนแบ่งตลาดไว้ที่ร้อยละ 23 และยังครองส่วนแบ่งตลาดสูงสุด เป็นผู้น�ำตลาดทาวน์เฮ้าส์ ที่ระดับราคาไม่เกิน 5 ล้านบาท ที่มีสัดส่วนอยู่ท่ี ร้อยละ 87 ของตลาดทาวน์เฮ้าส์ทั้งหมด แผนภาพที่ 5-6 : มูลค่าตลาดและยอดขาย (จ�ำนวนหน่วย) ทาวน์เฮ้าส์ ในกรุงเทพฯและปริมณฑล ปี 2557 - 2560

ที่มา : สายงานกลยุทธ์และพัฒนาธุรกิจใหม่, บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน)

เมื่อเปรียบเทียบราคาขายเฉลี่ยในปี 2560 ราคาขายเฉลี่ยปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยอยู่ที่ 2.7 ล้านบาท (ปี 2559 ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 2.6 ล้านบาท) เนื่องมาจากราคาทาวน์เฮ้าส์ของโครงการเปิดใหม่มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อย

30


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ตลาดคอนโดมิเนียมในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ปัญหาหนี้ครัวเรือน และ NPL ยังอยู่ระดับสูงต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2559 ซึ่งกระทบกับก�ำลังซื้อของระดับกลาง-ล่างในการขอสินเชื่อที่อยู่อาศัย ท�ำให้อัตราการดูดซับของโครงการเปิดใหม่ปี 2560 ในระดับราคาต�่ำกว่า 3 ล้านบาท เริ่มมีสัญญาณชะลอตัวลง มีความเสี่ยงเรื่องการโอน ซึ่งผู้ประกอบการหลายรายเริ่มเจอปัญหาการโอนที่ต�่ำกว่าเป้า ส่งผลให้ผู้ประกอบการมีการปรับกลยุทธ์โดยพัฒนาโครงการคอนโดมิเนียม เพื่อรองรับความต้องการของลูกค้าระดับกลาง-บนมากขึ้น ในท�ำเลใจกลางเมือง ศูนย์กลางธุรกิจ ศูนย์กลางที่อยู่อาศัยระดับบน และบริเวณ แนวรถไฟฟ้า ซึ่งเป็นย่านที่มีความต้องการมาโดยตลอด กอปรกับผู้ประกอบการมีการขยายฐานลูกค้าเป็นกลุ่มนักลงทุนชาวต่างประเทศ ต่อเนื่อง ส่งผลให้โดยรวมตลาดคอนโดมิเนียมเติบโตเพิ่มขึ้นร้อยละ 34 จากปี 2559 ด้วยมูลค่า 245,985 ล้านบาท แผนภาพที่ 7-8 : มูลค่าตลาดและยอดขาย (จ�ำนวนหน่วย) คอนโดมิเนียม ในกรุงเทพฯและปริมณฑล ปี 2557 - 2560

ที่มา : สายงานกลยุทธ์และพัฒนาธุรกิจใหม่, บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน)

เมื่อเปรียบเทียบราคาขายเฉลี่ยในปี 2560 ราคาขายเฉลี่ยปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 อยู่ที่ 4.0 ล้านบาท (ปี 2559 ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 3.3 ล้านบาท) เนื่องมาจากโครงการคอนโดมิเนียมส่วนใหญ่เปิดที่ระดับราคามากกว่า 3 ล้านบาท และเป็นโครงการระดับลักชัวรีจ�ำนานมาก

31


รายงานประจํ า ปี 2560 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 6 0

สภาวะตลาดที่อยู่อาศัยในต่างจังหวัด เนื่องจากผลกระทบภาคการเกษตรจากราคาสินค้าเกษตรตกต�่ำ และปัญหาหนี้สินครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ก�ำลังซื้อที่อยู่อาศัย ในจังหวัดหลัก 5 จังหวัดในปี 2560 ภาพรวมชะลอตัวเล็กน้อย ได้แก่ เชียงใหม่, ชลบุรี, ขอนแก่น , ภูเก็ต และสงขลา (หาดใหญ่) แต่พบว่า ตลาดคอนโดมิเนียมในกลุ่มจังหวัดภาคการท่องเที่ยว ได้แก่ ภูเก็ต, เชียงใหม่ และชลบุรี เป็นจังหวัดที่มีการเติบโตเล็กน้อย โดยเป็นการ เติบโตจากกลุ่มนักลงทุนต่างประเทศเป็นหลัก ส�ำหรับจังหวัดระยอง จากความชัดเจนเรื่องนโยบายการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ส่งผลให้ตลาดที่อยู่ อาศัยโดยเฉพาะแนวราบมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 42 หรือคิดเป็นมูลค่า 2,675 ล้านบาท โดยมูลค่าตลาดที่อยู่อาศัยรวมของจังหวัดหลัก 6 จังหวัดในปี 2560 มีมูลค่ารวมกันอยู่ที่ 97,239 ล้านบาท แผนภาพที แผนภาพท่ 9ี 9: แสดงมู : แสดงมูลลคค่าาตตลาดที ลาดทีอ่ ยยู​ูอ่ าาศัศัยใน ใน 6 จัจงั หวั หวดัดหลั หลกัก ปีปี 2557 2557-22560 560

Upcountry 15,309

14,115

15,995

1,924 5,094 394 7,897

2,014 4,419 740 6,941

8,288

8,406

2557

2558

2559

2560

52,356

49,088

44,959

5,214

3,502

51,938 2,960

27,204

23,473

25,033

5,851 14,087

7,845 14,268

10,369 13,576

8,787 12,356

2557

2558

2559

2560

17,777

14,135

20,441 489

17,960

1,473 4,733 1,501

15,265 1,073 5,038 748

บ านเด ียว (รวมบ านแฝด)

Chiang Mai -5% YoY

4,043 951

Khon Kaen

Chon Buri excluding

1,281 1,207 6,413

716 6,646 1,457 5,315

1,595 8,442

2557

2558

2559

8,875

9,915

Bo Win, Rayong Province

-13% 1,835 YoY 21,981

324

Phuket -12% YoY

11,517 1,236 4,882

Songkhla (Hat Yai)

2560

6,133

4,747

4,633

4,417

1,163 1,921 1,141 1,907

841 948 885 2,072

900 841 734 2,157

270 1,205 612 2,331

2557

2558

2559

2560

หน วย : ล านบาท อาคารชุด

3,802

3,682

3,569

256 847 355

98 655 441 2,376 2560

1,688 431 1,873

2,343

45 1,067 281 2,289

2557

2558

2559

8,103

Rayong

ทาวน เฮ าส

8,297

8,836

1,252 1,598 1,161 4,093

1,101 1,059 1,510

758 1,627 1,826

4,627

4,626

2557

2558

2559

11,069 1,245 697 2,630

อ ืนๆ

-3% YoY

25% YoY

6,497 2560

-5% YoY

ที่มทีา่มา: : สายงานกลยุ ำกัดด (มหาชน) สายงานกลยุททธ์ธแและพั ละพัฒฒนาธุ นาธุรรกิกิจจใหม่ ใหม,, บริ บริษษัทัท พฤกษา พฤกษา เรีเรียยลเอสเตท ลเอสเตท จ�จากั (มหาชน)

แนวโน้มธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ปี 2561 ตารางต่อไปนี้สรุปดัชนีช้ีวัดหลักของสภาวะเศรษฐกิจประเทศไทยในปี 2557 - 2561 ข้อมูลสำ�คัญของเศรษฐกิจไทย อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์ มวลรวมของประเทศ (YoY%) ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ ปีปัจจุบัน (ล้านล้านบาท) อัตราเงินเฟ้อเฉลี่ย (ร้อยละ) อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (ร้อยละ)

3226

2557

2558

2559

2560F

2561F

0.8

2.8

3.2

3.9

3.6 - 4.6

12.91

13.67

14.37

15.26

16.26

1.9 2.00

-0.9 1.50

0.2 1.50

0.7 1.50

0.9 - 1.9 1.50


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ข้อมูลสำ�คัญของเศรษฐกิจไทย อัตราดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร 1 ปี เฉลี่ย 5 ธนาคารใหญ่ (ร้อยละ) อัตราดอกเบี้ยกู้ยืมส�ำหรับลูกค้าชั้นดี เฉลี่ย 5 ธนาคารใหญ่ (MLR) (ร้อยละ) ค่าเงินบาทเฉลี่ย (บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ) เงินส�ำรองระหว่างประเทศ (พันล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ)

2557

2558

2559

2560F

2561F

1.73

1.40

1.40

1.40

N.A.

6.94

6.68

6.43

6.32

N.A.

32.48

34.29

35.29

34.00

34.0 - 35.0

157.11

156.51

171.85

202.56

196.00

ที่มา : IMF, World Bank, Bloomberg, ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ธนาคารแห่งประเทศไทย

โดยรวมเศรษฐกิจไทยในปี 2560 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.9 โดยมูลค่าการส่งออกสินค้าจะขยายตัวร้อยละ 8.6 การบริโภคภาคเอกชน และ การลงทุ น รวมขยายตั ว ร้ อ ยละ 3.2 และร้ อ ยละ 2.0 ตามล� ำ ดั บ อั ต ราเงิ น เฟ้ อ ทั่ ว ไปเฉลี่ ย อยู ่ ที่ ร ้ อ ยละ 0.7 และบั ญ ชี เ ดิ น สะพั ด เกิ น ดุ ล ร้อยละ 10.4 ของ GDP แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2561 ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คาดการณ์ว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.6 - 4.6 โดยมี ป ั จ จั ย สนั บ สนุ น ที่ ส� ำ คั ญ ต่ อ เนื่ อ งจากในปี 2560 ประกอบด้ ว ย (1) การขยายตั ว ในเกณฑ์ ดี ข องเศรษฐกิ จ โลก (2) แรงขั บ เคลื่ อ น จากการลงทุนภาครัฐที่มีแนวโน้มเร่งตัวขึ้นตามความคืบหน้าของโครงการลงทุนที่ส�ำคัญและการเพิ่มขึ้นของกรอบงบประมาณด้านการลงทุน (3) การปรับตัวดีขึ้นของการลงทุนภาคเอกชน (4) แนวโน้มการขยายตัวในเกณฑ์ดีต่อเนื่องของสาขาเศรษฐกิจส�ำคัญๆ และ (5) การปรับตัว ในทิศทางที่ดีขึ้นของการจ้างงานและฐานรายได้ของประชาชนในระบบเศรษฐกิจ ทั้งนี้ คาดว่ามูลค่าการส่งออกสินค้าจะขยายตัวร้อยละ 5.0 การบริโภคภาคเอกชนและการลงทุนรวมขยายตัวร้อยละ 3.1 และร้อยละ 5.5 ตามล�ำดับ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยอยู่ในช่วงร้อยละ 0.9 - 1.9 และบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 8.1 ของ GDP ปัจจัยสนับสนุนเศรษฐกิจไทยในปี 2561 1. ทิศทางเศรษฐกิจในปี 2561 จากเศรษฐกิจโลกและการส่งออกที่ขยายตัวดีอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ภาคอุตสาหกรรมเร่งตัวขึ้นและสนับสนุน เศรษฐกิจมากขึ้น พร้อมกับความคืบหน้าการลงทุนภาครัฐในโครงการลงทุนส�ำคัญและกรอบงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่เพิ่มขึ้น 2. ภาคอุตสาหกรรมส่งออกมีอัตราการใช้ก�ำลังการผลิตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากความสนใจของต่างชาติที่จะลงทุนในโครงการระเบียง เศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) และจากการเข้าบุกตลาดผู้บริโภคไทยของกลุ่มธุรกิจอีคอมเมิร์ซ ที่จะน�ำไปสู่ความต้องการการลงทุน ในด้านต่างๆ เช่น การขนส่ง การเก็บและกระจายสินค้า การเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล เป็นต้น 3. การลงทุนภาคเอกชนได้รับปัจจัยหนุนจากนโยบายส่งเสริมการลงทุนทั้ง BOI, โครงการระเบียงเขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) และ การร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (PPP) ตลอดจนเป็นบริษัทที่อยู่ในอุตสาหกรรมที่มีแนวโน้มเติบโตดี ในหมวดบริการ อาทิ การสื่อสารและโทรคมนาคม การก่อสร้างของโครงการใหญ่ และหมวดอุตสาหกรรม ได้แก่ ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ ปิโตรเคมี 4. ภาคการท่องเที่ยวยังคงมีแนวโน้มขยายตัวในเกณฑ์ดี ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกทั้งประเทศเศรษฐกิจหลักและประเทศส�ำคัญๆ ในเอเชีย และมาตรการส่งเสริมของภาครัฐ 5. คาดการณ์อัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทยยังไม่มีการปรับตัวขึ้นยังคงอยู่ที่ 1.5% ซึ่งจะช่วยกระตุ้นภาคบริโภคและ ภาคอสังหาริมทรัพย์ได้ดี

33


รายงานประจํ า ปี 2560

ปัจจัยเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยในปี 2561 1.

แนวโน้ ม รายได้ ค รั ว เรื อ นซบเซาจากราคาสิ น ค้ า เกษตรตกต�่ ำ ภาคเกษตรได้รับผลกระทบหลังการยกเลิกมาตรการอุดหนุนราคา สินค้าเกษตร ประกอบกับภาวะภัยแล้งในช่วงทีผ่ า่ นมาท�ำให้ผลผลิต ได้น้อยกว่าที่คาด กระทบรายได้และท�ำให้ภาระหนี้ของเกษตรกร เพิ่มสูงขึ้น คาดว่าราคาสินค้าเกษตรจะทรงตัวในระดับต�่ำ

2. หนี้ภาคครัวเรือนยังคงอยู่ในระดับสูงซึ่งจะเป็นข้อจ�ำกัดในการ ก่อหนี้ใหม่ และสถาบันการเงินยังคงมีความเข้มงวดในการปล่อย สินเชื่อ ซึ่งจะส่งผลต่อการเข้าถึงสินเชื่อที่อยู่อาศัยของประชาชน 3.

ขณะที่ ความท้าทายของภาคอสังหาริมทรัพย์ คือ ปัจจัยด้านระดับหนีส้ นิ ครัวเรือน และระดับสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Non-Performing Loan : NPL) อยู่ในระดับสูง ส่งผลให้สถาบันการเงินมีความเข้มงวด ในการปล่อยสินเชื่อที่อยู่อาศัย จึงคาดการณ์แนวโน้มตลาดที่อยู่อาศัย ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ในปี 2561 ขยายตัวร้อยละ 10 มีมูลค่า ตลาดประมาณ 474,000 ล้านบาท โดยราคาขายเฉลี่ยที่อยู่อาศัย แนวราบปรั บ สู ง ขึ้ น ผั น แปรตามต้ น ทุ น ค่ า ที่ ดิ น , ค่ า ก่ อ สร้ า ง และ ค่าแรงงานที่ปรับเพิ่มขึ้น ขณะที่ตลาดคอนโดมิเนียมยังครองสัดส่วน ตลาดฯ สู ง สุ ด ร้ อ ยละ 55 - 60 และตลาดที่ อ ยู ่ อ าศั ย ต่ า งจั ง หวั ด ที่ เ ป็ น จั ง หวั ด หลั ก คาดว่ า ตลาดจะทรงตั ว เท่ า กั บ ปี 2560 ยกเว้ น จังหวัดหลักในด้านภาคการท่องเที่ยวและภาคอุตสาหกรรมคาดว่า จะยังมีการขยายตัวต่อเนื่องปี 2561

การปรับขึน้ อัตราค่าแรงขัน้ ต�ำ ่ ส่งผลกระทบให้ตน้ ทุนค่าแรงเพิม่ ขึน้ 2.6% ท�ำให้ภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานโดยตรง แบกภาระต้นทุนที่สูงขึ้น เช่น ธุรกิจก่อสร้าง, ธุรกิจค้าปลีกค่าส่ง, ธุรกิจโรงพยาบาล ธุรกิจสิ่งทอ และภาคเกษตรกรรม เป็นต้น ธุ ร กิ จ โรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทยมี โ อกาสในการขยายตั ว อย่างต่อเนือ่ ง เนือ่ งจากการขยับตัวขึน้ ของเศรษฐกิจ ฐานะของประชากร แนวโน้มตลาดที่อยู่อาศัยปี 2561 โลกาภิ วั ต น์ และการที่ จ� ำ นวนเตี ย งผู ้ ป ่ ว ยต่ อ ประชากรยั ง คงน้ อ ย จากการพิจารณาปัจจัยสนับสนุนตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัยทีค่ าดการณ์แนวโน้ม เมือ่ เทียบกับค่ากลางและค่ามาตรฐานของประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ว นอกจากนี ้ เศรษฐกิจไทยปี 2561 มีดังนี้ ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทยยังมีปัจจัยสนับสนุนพิเศษ 1) โครงการลงทุ น ด้ า นการคมนาคม 44 โครงการ มู ล ค่ า ลงทุ น เช่ น บุ ค ลากรทางการแพทย์ และโรงเรี ย นแพทย์ ที่ มี คุ ณ ภาพและ ประมาณ 1.9 ล้านล้านบาท ส่งผลให้การลงทุนภาครัฐยังคงมีแนวโน้ม ศั ก ยภาพสู ง เป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ นานาชาติ รวมถึ ง ค่ า บริ ก าร ขยายตัวโครงสร้างพืน้ ฐานด้านคมนาคมต่อเนือ่ ง อาทิ โครงการรถไฟ รักษาพยาบาลที่เหมาะสมยังไม่สูงเกินไปเมื่อเทียบกับต่างประเทศ ทางคู่ รถไฟฟ้าในเขตเมือง และทางหลวงพิเศษเชื่อมหัวเมืองใหญ่ เป็นต้น ส�ำหรับกลุ่มเป้าหมายหลักในการสร้างโรงพยาบาลแห่งแรก ของบริ ษั ท ฯ บริ ษั ท วิ มุ ต ฯ เลื อ กเน้ น กลุ ่ ม ที่ มี ศั ก ยภาพ และเป็ น 2) โครงการลงทุ น โครงสร้ า งพื้ น ฐานในระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ กลุ ่ ม ลู ก ค้ า ที่ บ ริ ษั ท ฯ มี ค วามช� ำ นาญจากประสบการณ์ ใ นธุ ร กิ จ ภาคตะวันออก (EEC) วงเงิน 1 ล้านล้านบาท และมีแผนการประกาศใช้ อสังหาริมทรัพย์ คือ ลูกค้าระดับกลาง (Middle Income) ซึ่งเป็น พ.ร.บ. ระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาคตะวั น ออกภายในไตรมาส กลุ่มประชากรที่มีขนาดใหญ่ ไม่จ�ำเป็นต้องพึ่งพาระบบสาธารณสุข 1 ปี 2561ช่ ว ยเพิ่ ม ความเชื่ อ มั่ น แก่ นั ก ลงทุ น ที่ จ ะเข้ า มาลงทุ น ขั้นมูลฐานของภาครัฐ ที่มีปัญหาขาดแคลนทั้งปริมาณและคุณภาพ ระยะเวลารอคอยรั ก ษาโรคยาวนาน ทั้ ง นี้ ก ลุ ่ ม ลู ก ค้ า ระดั บ กลาง ในพื้นที่ มี ก� ำ ลั ง ซื้ อ พอประมาณ ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ ความสะดวกสบาย 3) กระทรวงการคลังคาดการณ์อัตราการเติบโตของ GDP ร้อยละ 3.8 การบริการที่ดีมีประสิทธิภาพ โดยไม่จ�ำเป็นต้องหรูหราจนเกินไป และอัตราเงินเฟ้อทั่วไปปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 1.4 เนื่ อ งจากพื้ น ที่ โ ดยรอบโครงการ มี โ รงพยาบาลทั้ ง ภาครั ฐ และ 4) ภาคการท่องเทีย่ วยังคงมีแนวโน้มขยายตัวในเกณฑ์ดี ตามการฟืน้ ตัว ภาคเอกชนขนาดใหญ่ อ ยู ่ ห ลายแห่ ง ซึ่ ง เป็ น ทั้ ง ข้ อ ดี แ ละข้ อ เสี ย ของเศรษฐกิจโลกทั้งประเทศเศรษฐกิจหลักและประเทศส�ำคัญๆ นั่นคือ บุคลากรทางการแพทย์ ซึ่งเป็นปัจจัยหลักของความส�ำเร็จ ในเอเชีย และมาตรการส่งเสริมของภาครัฐ จากโรงพยาบาลต่ า งๆ สามารถหมุ น เวี ย นมาที่ โ ครงการฯ ได้ ง ่ า ย 5) การลงทุนภาคเอกชนและการส่งออกมีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง แต่ โ ครงการ จ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ ก ลยุ ท ธ์ ที่ ห ลากหลายและเหมาะสม จากปัจจัยดังกล่าวสะท้อนถึงสัญญาณที่ดีของการขยายตัวของ ในการรักษาบุคลากรทางการแพทย์เหล่านั้นให้อยู่กับโครงการให้ได้ เช่น ผลประโยชน์ตอบแทน การลงทุนในเครื่องมือแพทย์ที่ใหม่และ เศรษฐกิจของประเทศ ทันสมัย ระบบสารสนเทศที่ดี เหมาะสม และทันสมัย เป็นต้น

34


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

การจัดหาผลิตภัณฑ์หรือบริการ (ทุกผลิตภัณฑ์) ผู้รับเหมาก่อสร้าง ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ การจัดซื้อที่ดิน บริษทั พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) (“พฤกษาฯ”) มีความสนใจ ทีจ่ ะด�ำเนินการก่อสร้างและพัฒนาทีด่ นิ บริเวณใด พฤกษาฯ จะด�ำเนินการ ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการโดยส�ำรวจสภาวการณ์ของตลาด และสภาวะการแข่ ง ขั น ตลอดจนความต้ อ งการของลู ก ค้ า ในพื้ น ที ่ เป้าหมายที่จะด�ำเนินโครงการ หลังจากนั้น พฤกษาฯ จึงจะด�ำเนินการ เจรจาซื้อที่ดินโดยด�ำเนินการซื้อที่ดินจากเจ้าของที่ดินหรือนายหน้า ขายทีด่ นิ โดยตรงเพือ่ ด�ำเนินการพัฒนาต่อไปซึง่ พฤกษาฯ จะเปรียบเทียบ ราคาที่ ดิ น กั บ ราคาประเมิ น หรื อ ราคาตลาดเพื่ อ ให้ แ น่ ใ จว่ า ที่ ดิ น ที่จะซื้อมีราคาที่ไม่แพงเกินไป วัสดุก่อสร้าง เนื่องจากพฤกษาฯ เป็นผู้บริหารจัดการงานก่อสร้างโครงการต่างๆ ด้ ว ยตั ว เอง พฤกษาฯ จึ ง เป็ น ผู ้ ด� ำ เนิ น การจั ด ซื้ อ วั ส ดุ ก ่ อ สร้ า งเอง โดยหลังจากที่ฝ่ายจัดซื้อได้รับรายละเอียดของวัสดุก่อสร้างที่ต้องการ ใช้ในโครงการต่างๆ แล้วโดยส่วนใหญ่ฝ่ายจัดซื้อจะด�ำเนินการติดต่อ กับผู้ผลิตวัสดุก่อสร้างแต่ละแห่งโดยตรงเพื่อตรวจสอบราคาของวัสดุ ก่อสร้างที่จะซื้อ โดยปกติพฤกษาฯ จะได้ส่วนลดค่อนข้างสูงเนื่องจาก ซื้อวัสดุก่อสร้างในปริมาณที่มาก เมื่อสามารถตกลงปริมาณของวัสดุ ก่อสร้างและราคากับผู้ผลิตได้แล้ว พฤกษาฯ จะสั่งซื้อวัสดุก่อสร้าง ผ่านตัวแทนของผู้ผลิตเพื่อให้ด�ำเนินการส่งวัสดุก่อสร้างไปยังโครงการ ต่างๆ โดยตรงซึ่งพฤกษาฯ จะมีระยะเวลาการจ่ายค่าวัสดุก่อสร้าง (Credit Term) อยู่ในช่วงเวลาระหว่าง 30 - 60 วัน นอกจากนี้นับตั้งแต่ ปี 2549 พฤกษาฯ ได้ลดความเสี่ยงด้านวัสดุก่อสร้างโดยเริ่มด�ำเนินการ เปลี่ ย นแปลงการจั ด ซื้ อ วั ส ดุ ห ลั ก ในการก่ อ สร้ า งเช่ น ปู น ซี เ มนต์ เหล็ก กระเบื้อง สายไฟ ฯลฯ โดยเป็นการประมูลและตกลงราคา ในระยะยาวเช่น 1 ปี หรือ 3 - 6 เดือน ซึ่งท�ำให้ พฤกษาฯ ลดความเสี่ยง ในเรื่องของความผันผวนในราคาและการที่ พฤกษาฯ มีความสัมพันธ์ อันดีกับผู้จ�ำหน่ายวัสดุก่อสร้างจึงสามารถสั่งซื้อวัสดุก่อสร้างได้ตาม ปริ ม าณที่ ต ้ อ งการและไม่ เ คยมี ป ั ญ หาการขาดแคลนวั ส ดุ ก ่ อ สร้ า ง แต่อย่างใดทั้งนี้ พฤกษาฯ มิได้พึ่งพาผู้จ�ำหน่ายวัสดุก่อสร้างรายใด รายหนึ่งเป็นพิเศษรวมทั้ง พฤกษาฯ ได้สร้างระบบการวางแผนความ ต้องการในการใช้งานของวัสดุหลักที่ส�ำคัญทุกประเภทที่สอดคล้อง กับแผนการขยายธุรกิจ เพื่อให้มั่นว่า พฤกษาฯ จะมีวัสดุเพียงพอ ต่ อ การใช้ ง านอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและเพื่ อ วางแผนการสรรหาคู ่ ค ้ า วั ส ดุ ทั้งรายหลักและรายรองได้อย่างมีประสิทธิภาพ

พฤกษาฯ เป็ น หนึ่ ง ในผู ้ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เพี ย งไม่ กี่ ร ายที่ ส ามารถบริ ห ารจั ด การงานก่ อ สร้ า งได้ ด ้ ว ยตั ว เอง โดยในการด�ำเนินโครงการ พฤกษาฯ จะเป็นผู้ก�ำหนดรูปแบบโครงการ และรายละเอียดการออกแบบส่วนการด�ำเนินการก่อสร้างโครงการ พฤกษาฯ จะบริหารจัดการงานก่อสร้างเองโดยจะแบ่งงานออกเป็น ส่วนๆ เช่น งานฐาน รากงานปูน งานติดตั้งชิ้นส่วนอาคาร งานปูพื้น กระเบื้องและงานหลังคา เป็นต้น โดย พฤกษาฯ จะว่าจ้างผู้รับเหมา ทีม่ ีความช�ำนาญเฉพาะด้านเพือ่ รับผิดชอบงานดังกล่าวและจะควบคุม การก่อสร้างเองโดยการจัดส่งเจ้าหน้าที่ของพฤกษาฯ อันได้แก่วิศวกร และผู้ควบคุมงานก่อสร้าง (Foremen) เข้าไปตรวจสอบให้เป็นไปตาม รูปแบบและมาตรฐานที่ก�ำหนด ทั้งนี้ พฤกษาฯ จะเป็นผู้จัดหาวัสดุ ก่อสร้างเองซึ่งท�ำให้ พฤกษาฯ สามารถบริหารต้นทุนการก่อสร้าง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีการผลิต พฤกษาฯ ได้ใช้เทคโนโลยีในการก่อสร้างเพื่อช่วยในการก่อสร้างบ้าน ซึ่งในส่วนของทาวน์เฮ้าส์มีการใช้โครงสร้างเป็น 2 ระบบ คือ 1. ผนัง รับน�้ำหนักแบบหล่อในที่ด้วยเทคโนโลยีแ บบอุโมงค์ หรือ Tunnel Technology 2. ระบบแบบผนั ง ส� ำ เร็ จ รู ป รั บ น�้ ำ หนั ก (RC Load Bearing Wall Prefabrication) หรือ Precast Technology เพื่อใช้ ในการก่อสร้างบ้านทาวน์เฮ้าส์สองชั้น ส�ำหรับบ้านเดี่ยวใช้เทคโนโลยี การก่อสร้างแบบผนังส�ำเร็จรูปรับน�้ำหนัก (RC Load Bearing Wall Prefabrication) หรือ Precast Technology คือ การน�ำวิธีการก่อสร้าง ระบบโครงสร้ า งผนั ง รั บ น�้ ำ หนั ก แบบคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก ส� ำ เร็ จ รู ป มาใช้ ส่วนโครงการอาคารชุดขนาดใหญ่และขนาดเล็ก พฤกษาฯ ได้มี การน�ำระบบพรีคาสท์ที่เป็นจุดแข็งของ พฤกษาฯ มาใช้ส�ำหรับการ ก่อสร้างทั้งโครงการ (Full Precast) ซึ่งนอกจากชิ้นงานที่ผลิตจาก โรงงานที่ ทั น สมั ย และได้ คุ ณ ภาพทั้ ง ความสวยงามและความ แข็งแรงแล้วนั้น ยังสามารถช่วยให้กระบวนการก่อสร้างเป็นไปได้อย่าง แม่นย�ำ รวดเร็ว และลดข้อผิดพลาดที่เกิดจากการท�ำงานในช่วงของ การก่อสร้างอันเนื่องมาจากฝีมือแรงงาน ตลอดจนช่วยบรรเทาปัญหา การขาดแคลนแรงงานฝีมือในตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย

ในปี 2557 พฤกษาฯ ได้ น� ำ นวั ต กรรมห้ อ งน�้ ำ ส� ำ เร็ จ รู ป มาใช้ ง าน ในกระบวนการก่อสร้าง โดยเฉพาะการก่อสร้างอาคารชุด แบบ Low Rise โดยเริ่มต้นใช้ในโครงการ “พลัม” ซึ่งการใช้ห้องน�้ำส�ำเร็จรูปนี้ จะสามารถช่ ว ยลดระยะเวลาและขั้ น ตอนต่ า งๆ ที่ ยุ ่ ง ยากในการ ก่อสร้างห้องน�้ำในอาคารชุดโดยเฉพาะอย่างยิ่งจะท�ำให้คุณภาพดีขึ้น ด้วยรูปแบบทีส่ วยงามและมีคณ ุ ค่าในสายตาลูกค้า สร้างความพึงพอใจ ให้ ก ั บ ลู ก ค้ า ได้ ส ู ง ที ่ ส ุ ด นอกจากนี้ พฤกษาฯ ได้พัฒนากระบวนการสรรหาและประเมินคู่ค้า เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความโปร่ ง ใสและได้ คู ่ ค ้ า ที่ มี ศั ก ยภาพรองรั บ งาน และ ในปี 2558 พฤกษาฯ ท�ำการศึกษาและพัฒนานวัตกรรมห้องน�ำ้ ส�ำเร็จรูป ได้น�ำระบบ e-Auction เข้ามาใช้เพื่อให้เกิดการเสนอราคาที่ยุติธรรม ส�ำหรับทาวน์เฮ้าส์และบ้านเดี่ยวโดยจ้างที่ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญจาก ต่อคู่ค้าและเพื่อให้ได้ราคาที่เหมาะสมอีกด้วย ต่างประเทศมาร่วมทดสอบและออกแบบโรงงานผลิตห้องน�้ำส�ำเร็จรูป

35


รายงานประจํ า ปี 2560

ที่มีขั้นตอนการผลิตด้วยระบบอัตโนมัติ ซึ่งการผลิตห้องน�้ำส�ำเร็จรูป จากโรงงานน�ำไปติดตั้งหน้างานนั้นสามารถควบคุมคุณภาพ ต้นทุน และรูปแบบที่สวยงามของห้องน�้ำในบ้านทุกหลัง เพื่อส่งมอบบ้าน ที่มีคุณภาพสูงสุดให้กับลูกค้า ในปี 2559 พฤกษาฯ ได้มีการน�ำระบบ Fully Precast และห้องน�้ำ ส�ำเร็จรูปมาใช้กับก่อการสร้างอาคารชุด แบบ High rise โดยเริ่มต้น ใช้ ที่ โ ครงการ Plum Condo Central Station ความสู ง 38 ชั้ น ซึ่งจะช่วยลดระยะเวลาการก่อสร้างได้เป็นอย่างมาก รวมถึงจะได้ สิ น ค้ า ที่ มี ค วามแข็ ง แรง รู ป แบบที่ ส วยงามและคุ ณ ภาพดี มี คุ ณ ค่ า สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าสูงสุด หน่วย: วัน ทาวน์เฮ้าส์และบ้านเดี่ยว คอนโดมิเนียม

2556 146 780

ในปี 2560 พฤกษาฯ ได้ มี ก ารขยายการน� ำ ระบบ Fully Precast มาใช้ในการก่อสร้างแนวราบ ในกลุ่มธุรกิจทาวน์เฮ้าส์ ในโครงการใหม่ ทุกโครงการ และกลุ่มธุรกิจบ้านเดี่ยว ซึ่งจะช่วยลดระยะเวลาการ ก่อสร้างได้เป็นอย่างมาก รวมถึงจะได้สินค้าที่มีความแข็งแรง รูปแบบ ทีส่ วยงามและคุณภาพดีมคี ณ ุ ค่า สร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกค้าสูงสุด ด้ ว ยเทคโนโลยี ก ารผลิ ต และการพั ฒ นากระบวนการก่ อ สร้ า งตาม ที่กล่าวข้างต้น ท�ำให้พฤกษาฯ สามารถปรับรอบการด�ำเนินธุรกิจ (ตั้งแต่วันจองจนถึงวันโอน) ให้เร็วขึ้นได้อย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2556 ถึงปี 2560 พฤกษาฯ มีรอบการด�ำเนินธุรกิจตั้งแต่วันจองจนถึงวันโอน ดังนี้

2557 87 817

2558 79 739

2559 77 631

2560 73 619

สิ่ ง แวดล้ อ มให้ เ ป็ น ไปตามกฎเกณฑ์ ข องส� ำ นั ก งานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และผู้ช�ำนาญการพิเศษ การก่อสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัยและการก่อสร้างสาธารณูปโภคต่างๆ ของโครงการ จากหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง จะอยู่ภายใต้การควบคุมของประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เรื่อง ก�ำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและ ในส่วนของโรงงานผลิตชิ้นส่วนคอนกรีตเสริมเหล็กส�ำเร็จรูป (Precast แนวทางในการจั ด ท� ำ รายงานการวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม Concrete Factory) จะอยู่ภายใต้การควบคุมของพระราชบัญญัติ ซึ่งออกโดยอาศัยอ�ำนาจพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ โรงงาน พ.ศ. 2535 โดยพฤกษาฯ ได้มีการก�ำหนดมาตรฐานและ สิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2535 โดยภายใต้ ป ระกาศดั ง กล่ า ว วิธีการควบคุมการปล่อยของเสีย มลพิษหรือสิ่งใดๆ ที่มีผลกระทบ ได้กำ� หนดให้บริษทั ทีม่ กี ารจัดสรรทีด่ นิ เพือ่ อยูอ่ าศัยหรือเพือ่ ประกอบการ ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น จากการประกอบกิ จ การโรงงานดั ง กล่ า ว พาณิชย์ในขนาดที่ดินแปลงย่อยตั้งแต่ 500 แปลงขึ้นไป หรือเนื้อที่ ซึ่ ง พฤกษาฯ ได้ มี ก ารก� ำ หนดมาตรการควบคุ ม ในเรื่ อ งผลกระทบ เกินกว่า 100 ไร่ จะต้องมีการจัดท�ำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ ที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจว่า พฤกษาฯ สิ่งแวดล้อมเพื่อเสนอในขั้นตอนของการขออนุญาตจัดสรรที่ดินตาม ด�ำเนินการด้วยความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม กฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน และก่อนเริ่มการก่อสร้างจะต้องยื่น รายงานดังกล่าวต่อส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ พฤกษาฯ มีมาตรการควบคุมมลพิษ 3 ประเภทคือ (ก) น�้ำเสียจาก และสิ่งแวดล้อม ซึ่งในส่วนนี้ พฤกษาฯ ได้จัดเตรียมรายงานผลกระทบ กระบวนการผลิ ต คอนกรี ต จะถู ก ควบคุ ม ให้ ไ หลไปที่ บ ่ อ ตกตะกอน สิ่ ง แวดล้ อ ม (EIA Report) เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายแล้ ว จากนั้นจะคัดแยกหินและทรายน�ำกลับไปใช้ ส่วนน�้ำก็น�ำกลับไปใช้ ผลิต ไม่มีการปล่อยน�้ำเสียสู่ชุมชนหรือที่สาธารณะ (ข) การควบคุม โดยรายงานดังกล่าวได้จัดท�ำโดยบุคคลผู้เชี่ยวชาญภายนอก มลพิษทางอากาศได้มีการพ่นสเปรย์พ่นน�้ำที่บริเวณโรงผสมคอนกรีต นอกจากนี้ ในการก่ อ สร้ า งที่ อ ยู ่ อ าศั ย โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง โครงการ ทั้ ง ขณะเทหิ น ทรายเข้ า กองสต็ อ กตลอดจนสเปรย์ น�้ ำ ขณะซั ก ล้ า ง บ้านเดี่ยว อาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยสิ่งที่ส�ำคัญ ได้แก่ ระบบ หิน ทราย เพื่อเข้าสู่กระบวนการผสมคอนกรีตเพื่อมิให้เกิดฝุ่นรบกวน บ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย พฤกษาฯ ได้จัด ให้มีระบบบ�ำบัด น�้ำเสีย ส�ำหรับบ้าน ชุมชนข้างเคียงและในโรงงาน นอกจากนี้ใ นกระบวนการการผลิต แต่ละหลัง และระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส่วนกลาง เพื่อมิให้ส่งผลกระทบ ยั ง ได้ ติ ด ตั้ ง เครื่ อ งดู ด ฝุ ่ น ตลอดจนมี เ ครื่ อ งขั บ ท� ำ ความสะอาดพื้ น เพื่อลดฝุ่นตกค้างในอาคารส�ำหรับพื้นที่ถนนภายในบริเวณโรงงาน ต่อแหล่งน�้ำสาธารณะ ทั้ ง หมดได้ มี ก ารฉี ด พรมน�้ ำ ก่ อ นท� ำ การกวาดถนนเพื่ อ ป้ อ งกั น โครงการคอนโดมิเนียมของบริษัททุกโครงการ มีการจัดท�ำรายงาน การฟุ้งกระจายของฝุ่น (ค) การควบคุมมลพิษทางเสียง จากการผลิต การวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม (EIA Report) โดยบุ ค คล ส่วนใหญ่เกิดจากการใช้เครื่องอัดคอนกรีต โดยในปี 2551 พฤกษาฯ ผู้เชี่ยวชาญภายนอก และยื่นรายงานดังกล่าวต่อส�ำนักงานนโยบาย ได้ ติ ด ตั้ ง แผ่ น ซั บ เสี ย ง (Noise Barrier) เพื่ อ ดู ด ซั บ เสี ย งที่ เ กิ ด ขึ้ น และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมก่อนเริ่มการก่อสร้าง จากการผลิ ต และต่ อ มาได้ มี ก ารสั่ ง ซื้ อ เครื่ อ งอั ด คอนกรี ต แบบใหม่ ซึ่ ง ผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มจะท� ำ การรวบรวมข้ อ มู ล ต่ า งๆ โดยใช้ระบบเขย่า (Shaking System) แทนระบบเดิมที่เป็นระบบสั่น ท�ำประชาพิจารณ์ ท�ำการวิเคราะห์ผลกระทบอันเนื่องมาจากโครงการ (Vibrating system) ซึ่ ง สามารถลดความเข้ ม ข้ น ของเสี ย งลง ตั้ ง แต่ ช ่ ว งก่ อ สร้ า งและเปิ ด ใช้ อ าคาร ก� ำ หนดมาตรการควบคุ ม ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

36


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ได้อย่างมาก นอกจากนี้ พฤกษาฯ ยังได้มีการตรวจวัดระดับความดัง ในปี 2559 โรงงานพฤกษาพรีคาสท์ ล�ำลูกกา ได้น�ำระบบการบริหาร ของเสียงทั้งภายในบริเวณโรงงานและชุมชนข้างเคียงทุกปี จัดการน�้ำทิ้งของ Batching Plant และน�้ำที่ใช้ล้างในกระบวนการผลิต ชิ้นส่วนคอนกรีตเสริมเหล็ก รวมถึงเศษคอนกรีตสด พฤกษาฯ จึงท�ำบ่อ ในปี 2557 ได้ก่อสร้างโรงงานพฤกษาพรีคาสท์ นวนคร ซึ่งเป็น Green ตกตะกอนและน�ำเครื่อง Recycling concrete มาใช้เพื่อน�ำน�้ำที่ผ่าน Factory (Precast concrete Factory) แห่งแรกของไทยได้น�ำระบบ กระบวนการตกตะกอนแล้วกลับไปใช้หมุนเวียนในกระบวนการผลิต การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมาด�ำเนินงานประกอบไปด้วย (ก) คอนกรีตอีกครั้งในส่วนของหินและทรายที่ถูกแยกออกมาก็สามารถน�ำ ระบบการบริหารจัดการน�้ำทิ้งของ Batching Plant และน�้ำที่ใช้ล้าง กลั บ ไปใช้ เ ป็ น ส่ ว นผสมของคอนกรี ต อี ก ครั้ ง ท� ำ ให้ ไ ม่ มี เ ศษวั ส ดุ ในกระบวนการผลิตชิ้นส่วนคอนกรีตเสริมเหล็ก รวมถึงเศษคอนกรีต เหลือทิ้งจากการผลิตโดยลงทุนก่อสร้างทั้งหมดประมาณ 20 ล้านบาท สดจะมีค่าความเป็นด่างสูงท�ำให้เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม พฤกษาฯ ซึ่งก่อสร้างแล้วเสร็จในเดือนธันวาคม 2559 จึ ง ท� ำ บ่ อ ตกตะกอนและน� ำ เครื่ อ ง Recycling concrete มาใช้ เพื่ อ น� ำ น�้ ำ ที่ ผ ่ า นกระบวนการตกตะกอนแล้ ว กลั บ ไปใช้ ห มุ น เวี ย น ในปี 2560 โรงงาน พฤกษาพรีคาสท์ได้รับการรับรอง Green Industrial ในกระบวนการผลิตคอนกรีตอีกครั้ง ในส่วนของหินและทรายที่ถูก (GI) ระดับ 3 จากกระทรวงอุตสาหกรรมทั้งโรงงานที่ล�ำลูกกาและ แยกออกมาก็สามารถน�ำกลับไปใช้เป็นส่วนผสมของคอนกรีตอีกครั้ง นวนครซึ่งทั้ง 2 โรงงานได้ด�ำเนินการผลิตภายใต้การบริหารจัดการ ท�ำให้ไม่มีเศษวัสดุเหลือทิ้งจากการผลิต (ข) ระบบป้องกันและก�ำจัด สิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ มีการติดตามประเมินผล และทบทวน ฝุ่นมีการติดตั้งเครื่องดักฝุ่น (Dust Collector), เครื่องท�ำความสะอาด เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง พร้อมกันนี้ ทางพฤกษาฯ ยังได้จัดท�ำ แบบข้างพร้อมระบบดูดฝุ่น (Shuttering cleaner with dust collect) ระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Cell) ส�ำหรับระบบบ�ำบัด เครื่องท�ำความสะอาด pallet พร้อมระบบดูดฝุ่น (Cleaning pallet น�้ำเสียของโครงการและส�ำนักงานนิติบุคคล ซึ่งเป็นการใช้พลังงาน with dust collector) และเลือกใช้ Batching plant ระบบปิด (Tower สะอาดจากธรรมชาติโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์มาทดแทนพลังงานไฟฟ้า plant) โดยมี Conveyor ล�ำเลียงหินทรายซีเมนต์ในระบบปิดเพื่อ รูปแบบเดิม สามารถลดการใช้พลังงานไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ป้ อ งกั น การฟุ ้ ง กระจายของฝุ ่ น จากหิ น ทราย และฝุ ่ น ผงคอนกรี ต และเป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ทั้ ง นี้ พฤกษาฯ ได้ มี น โยบายที่ จ ะน� ำ ที่อาจเกิดขึ้นจากกระบวนการผลิต (ค) การป้องกันและลดผลกระทบ โครงการดังกล่าวมาใช้ในโครงการใหม่ทุกโครงการ ด้ า นเสี ย งในโรงงานโดยใช้ ร ะบบ Shaking System แทนระบบ Compacting System (เครื่องเขย่าคอนกรีต) ท�ำให้ไม่เกิดมลพิษ ธุรกิจโรงพยาบาล ทางเสียงในโรงงาน รูปแบบของโรงพยาบาล สถานพยาบาลแบบพักค้างคืน General ในปี 2558 โรงงาน พฤกษาพรีคาสท์ได้รับการรับรอง Green Industrial Hospital ขั้นตติยภูมิ (Tertiary Care) ขนาด 250 เตียง บริการรักษา (GI) ระดั บ 2 จากกระทรวงอุ ต สาหกรรมทั้ ง โรงงานที่ ล� ำ ลู ก กาและ พยาบาลทั้งโรคทั่วไปและโรคที่มีความซับซ้อนโดยออกแบบสอดคล้อง นวนคร พร้อมทั้งได้เริ่มมีการน�ำระบบ Solar Cell มาใช้กับระบบ ตามมาตรฐานสากล JCI ตั้งแต่เริ่มต้น โดยมีสถานที่ตั้งอยู่ในย่านธุรกิจ แสงสว่างและระบบสูบน�ำ้ เพือ่ ท�ำการ Reused น�ำ้ ส�ำหรับรดน�ำ้ ต้นไม้ดแู ล ของกรุงเทพมหานครบนพื้นที่ขนาดประมาณ 4 ไร่ 55.60 ตารางวา สวนในพื้นที่โรงงานเพื่อลดการใช้ทรัพยากรไฟฟ้าและใช้ทรัพยากร ริมถนนพหลโยธินใกล้สี่แยกสะพานควาย น�้ำอย่างคุ้มค่า ทั้ ง นี้ บริ ษั ท วิ มุ ต ฯ ได้ ซื้ อ ที่ ดิ น ดั ง กล่ า วเสร็ จ สิ้ น และได้ รั บ อนุ มั ติ รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) และใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร โรงพยาบาล (39 ทวิ) จากทางราชการแล้ว

37


รายงานประจํ า ปี 2560

การบริหารการผลิต •

วั ต ถุ ดิ บ ที่ ใ ช้ ส ่ ว นใหญ่ คื อ ปู น ซี เ มนต์ หิ น เหล็ ก ซึ่ ง หาซื้ อ ได้ จ ากผู ้ ผ ลิ ต และจ� ำ หน่ า ยในประเทศทั่ ว ไป ตั้ ง แต่ ป ี 2549 เป็นต้นมา พฤกษาฯ ได้ใช้กลยุทธ์คัดเลือกผู้ขายวัสดุก่อสร้างหลัก โดยวิธีจัดประกวดราคารายปี หรืออาจสั้นกว่าตามความเหมาะสม เพื่อให้พฤกษาฯ มีต้นทุนค่าก่อสร้างที่คงที่ได้ตลอดทั้งปี

• ส่วนผู้รับเหมาแรงงานมีจ�ำนวนอยู่ในระบบของพฤกษาฯ ประมาณ 2,500 ราย •

การออกแบบบ้าน ในการออกแบบบ้านในแต่ละโครงการ ฝ่ายการตลาด และการขายจะประสานงานกั บ ฝ่ า ยพั ฒ นาโครงการเพื่ อ ก� ำ หนด แนวทาง ลั ก ษณะและรู ป แบบ (Conceptual Design) ของบ้ า น ที่ต้องการจะสร้างในแต่ละโครงการ รวมถึงงบประมาณและเทคนิค ในการสร้ า งบ้ า น หลั ง จากนั้ น ฝ่ า ยพั ฒ นาโครงการจะมอบหมาย ให้สถาปนิกออกแบบโครงบ้านตามแนวทาง ลักษณะและรูปแบบ ดังกล่าว เมื่อฝ่ายพัฒนาโครงการเห็นว่าแบบโครงบ้านที่ออกแบบ โดยสถาปนิกมีความเหมาะสมแล้ว สถาปนิกจะด�ำเนินการออกแบบ ในส่ ว นที่ เ ป็ น รายละเอี ย ด (Detailed Design) เพื่ อ ให้ แ บบบ้ า น มีความสมบูรณ์ก่อนที่พฤกษาฯ จะเริ่มด�ำเนินการก่อสร้าง

พฤกษาฯ ได้ พั ฒ นาความสั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ รั บ เหมาในงานส� ำ คั ญ ซึ่งเป็นที่ต้องการในตลาด เช่น งานถมดิน งานเสาเข็ม งานรับเหมา ในการก่อสร้างบ้านทาวน์เฮ้าส์ พฤกษาฯ จะแบ่งงานก่อสร้างออก ก่ อ สร้ า งอาคาร ให้ เ ป็ น คู ่ ค ้ า พั น ธมิ ต ร เพื่ อ รองรั บ การขยายตั ว เป็นสายการผลิต (Production Line) แต่ละสายการผลิตจะสามารถ ก่ อ สร้ า งบ้ า นทาวน์ เ ฮ้ า ส์ 2 ชั้ น ได้ ป ระมาณ 21 หลั ง ต่ อ เดื อ น ของพฤกษาฯ ตามแผนในอนาคต โดยในโครงการหนึ่งๆ อาจมีสายการผลิตมากกว่าหนึ่งสายการผลิต 1. การบริ ห ารจั ด การงานก่ อ สร้ า ง (Construction ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับขนาดโครงการ พฤกษาฯ จะส่งพนักงานของพฤกษาฯ Management) - บ้านทาวน์เฮ้าส์ เข้ า ท� ำ การดู แ ลควบคุ ม งานก่ อ สร้ า งซึ่ ง จะมี ป ระมาณ 10 คนต่ อ สายการผลิต ประกอบด้วย ผู้จัดการโครงการเป็นผู้ดูแลโครงการ และ ในการบริหารจัดการงานก่อสร้างพฤกษาฯ ได้แบ่งการบริหารออกเป็น จะมีวิศวกรโครงการ วิศวกรสนาม และผู้ควบคุมงานก่อสร้างเป็น 2 ฝ่าย ได้แก่ ผู ้ ดู แ ลงานก่ อ สร้ า งในแต่ ล ะระดั บ ขั้ น ของงาน รวมถึ ง ดู แ ลควบคุ ม • ฝ่ายบริหารงานก่อสร้าง ซึง่ จะท�ำหน้าทีด่ แู ลและด�ำเนินการก่อสร้าง ผูร้ บั เหมาทีม่ คี วามช�ำนาญเฉพาะด้านทีพ่ ฤกษาฯ ว่าจ้างเพือ่ เข้าท�ำงาน โครงการก่ อ สร้ า งทุ ก โครงการให้ เ ป็ น ไปตามแผนและรู ป แบบ ที่ เ ป็ น รายละเอี ย ดปลี ก ย่ อ ยต่ า งๆ เช่ น งานเสาเข็ ม งานฐานราก ที่ก�ำหนด นอกจากนี้ยังท�ำหน้าที่ดูแลค่าใช้จ่ายต่างๆ ให้อยู่ใน งานติดตั้งชิ้นส่วนอาคาร งานหลังคา งานสถาปัตยกรรม งานไฟฟ้า งบประมาณที่ ก� ำ หนด รวมทั้ ง ติ ด ต่ อ ประสานงานกั บ ฝ่ า ย และประปา ทั้ ง นี้ พฤกษาฯ จะว่ า จ้ า งผู ้ รั บ เหมาที่ มี ค วามช� ำ นาญ เฉพาะด้ า น และลู ก จ้ า งรายวั น ในจ� ำ นวนที่ พฤกษาฯ เห็ น สมควร งบประมาณของพฤกษาฯ ในแต่ละสายการผลิต ในระหว่างการก่อสร้าง ฝ่ายควบคุมคุณภาพ • ฝ่ า ยควบคุ ม คุ ณ ภาพ (Quality Assurance) ซึ่ ง จะท� ำ หน้ า ที่ จะเข้ า ตรวจสอบคุ ณ ภาพของบ้ า นเป็ น ระยะๆ รวมทั้ ง ตรวจสอบ ตรวจสอบคุณภาพของบ้านแต่ละหลังที่สร้างเพื่อให้ได้มาตรฐาน คุณภาพ เมื่อการก่อสร้างบ้านเสร็จสมบูรณ์ก่อนการเสนอขายหรือ ตามที่ก�ำหนด ส่งมอบบ้านให้แก่ลูกค้าต่อไป นอกจากนี้ พฤกษาฯ ยังมีฝ่ายงานสนับสนุนกลางในการบริหารจัดการ พฤกษาฯ สามารถสร้างบ้านประเภทนีไ้ ด้ในราคาทีต่ ำ�่ กว่าผูป้ ระกอบการ งานก่อสร้าง ซึ่งท�ำหน้าที่สนับสนุนทั้งในส่วนของบ้านทาวน์เฮ้าส์ และ อื่ น แต่ มี คุ ณ ภาพเที ย บเท่ า กั น และมี พื้ น ที่ ใ ช้ ส อยมากกว่ า บ้ า น บ้านเดี่ยว โดยฝ่ายสนับสนุนดังกล่าวได้แก่ ในรูปแบบ ขนาดและท�ำเลที่ใกล้เคียงกันที่สร้างโดยผู้ประกอบการ • ฝ่ายสรรหาผู้รับเหมาซึ่งจะท�ำหน้าที่หาผู้รับเหมาที่มีความช�ำนาญ รายอื่น โดยนอกเหนือจากการที่ พฤกษาฯ มีความสามารถในการ เฉพาะด้าน และแรงงานเพื่อช่วยในการก่อสร้างตามจ�ำนวนที่ต้อง บริหารจัดการงานก่อสร้างได้เองดังที่กล่าวข้างต้นแล้ว ยังมีสาเหตุ ที่ส�ำคัญอีกประการหนึ่ง อันได้แก่ การที่ พฤกษาฯ มีการใช้เทคโนโลยี ใช้ในแต่ละโครงการ การผลิตที่ช่วยลดระยะเวลาการก่อสร้าง ท�ำให้ประหยัดต้นทุนและ • ฝ่ า ยจั ด ซื้ อ ซึ่ ง จะท� ำ หน้ า ที่ จั ด ซื้ อ วั ส ดุ ท่ี ใ ช้ ใ นการก่ อ สร้ า งเพื่ อ ค่าแรงงาน รวมถึงชิ้นงานที่ได้ยังมีคุณภาพดีอีกด้วย โดยใช้เทคโนโลยี สนับสนุนให้การบริหารจัดการงานก่อสร้างเป็นไปอย่างคล่องตัว การก่ อ สร้ า งบ้ า นด้ ว ยระบบโครงสร้ า งผนั ง รั บ น�้ ำ หนั ก แบบหล่ อ ใน และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ในปี 2556 พฤกษาฯ ได้มีการปรับ ที่ใช้ส�ำหรับบ้านในโครงการบ้านพฤกษา และใช้เทคโนโลยีการก่อสร้าง โครงสร้างการบริหารจัดการภายใน โดยโอนย้ายฝ่ายสนับสนุน แบบผนังส�ำเร็จรูปรับน�้ำหนัก ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่พฤกษาฯ ใช้ในการ ดังต่อไปนี้ไปอยู่ภายใต้การบริหารของแต่ละหน่วยธุรกิจ ก่อสร้างบ้านเดี่ยวมาใช้ในการก่อสร้างบ้านในโครงการพฤกษาวิลล์ และเดอะคอนเนค • ฝ่ายวิจัยและพัฒนาซึ่งจะท�ำหน้าที่ในการน�ำเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาปรับใช้ในการออกแบบและการก่อสร้าง โดยช่วงแรกการก่อสร้างทาวน์เฮ้าส์ใช้เทคโนโลยีการก่อสร้างบ้าน ด้วยระบบโครงสร้างผนังรับน�้ำหนักแบบหล่อในที่พฤกษาฯ ได้ซื้อ • ฝ่ายวิศวกรรมซึ่งจะท�ำหน้าที่ออกแบบและแก้ปัญหาทางเทคนิค เทคโนโลยีการก่อสร้างระบบผนังรับแรงแบบหล่อในที่จากประเทศ • ฝ่ายพัฒนาโครงการซึง่ จะท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูป้ ระสานงานและร่วมพัฒนา ฝรั่งเศส ซึ่งเทคโนโลยีน้ีเราเรียกว่า Tunnel Technology โดยระบบนี ้ การออกแบบที่อยู่อาศัยในโครงการต่างๆ

38


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

จะใช้ผนังเป็นตัวรับน�้ำหนักแทนเสาและคาน ขั้นตอนการก่อสร้าง เริ่มตั้งแต่การก่อสร้างโดยประกอบติดตั้งแบบเหล็กผนัง และพื้นชั้นบน ในขั้นตอนเดียวกัน หลังจากนั้นจึงผูกเหล็กโครงสร้างและท�ำการเท คอนกรี ต พร้ อ มกั น ทั้ ง ผนั ง ชั้ น ล่ า งและพื้ น ชั้ น บน ขั้ น ตอนต่ อ ไปจึ ง สร้างผนังชั้นต่อไป และติดตั้งโครงหลังคาให้ได้งานภายนอกที่สมบูรณ์ ในระยะเวลาทีส่ นั้ กว่าการก่อสร้างทัว่ ไป (Conventional) เป็นอย่างมาก โดยใช้กับการก่อสร้างทาวน์เฮ้าส์ พฤกษา, พฤกษาวิลล์, เดอะ คอนเนค

30 - 60 ชิ้นเทคโนโลยีการก่อสร้างแบบนี้เป็นการหล่อชิ้นงานแต่ละชิ้น ในโรงงาน จากนั้นจึงขนส่งชิ้นงานมาประกอบเป็นบ้านที่โครงการ ก่อสร้าง ทั้งนี้จุดเด่นของเทคโนโลยีชนิดนี้ นอกจากจะมีจุดเด่นในท�ำนองเดียว กับจุดเด่นของเทคโนโลยีการก่อสร้างบ้านด้วยระบบโครงสร้างผนัง รั บ น�้ ำ หนั ก แบบหล่ อ ในที่ แ ล้ ว ยั ง มี จุ ด เด่ น อื่ น ๆ ที่ ส� ำ คั ญ ซึ่ ง รวมถึ ง การที่ไม่ต้องเสียพื้นที่คาน เสาท�ำให้มีพ้ืนที่ใช้สอยมากขึ้น ผนังมีความ ต้านทานไฟสูง มีความทึบเสียงมากกว่าการก่อสร้างโดยใช้อิฐมอญ หรืออิฐมวลเบา รวมถึงมีความต้านทานการซึมน�้ำสูงด้วย นอกจากนี้ เทคโนโลยีดงั กล่าวต้องการการบ�ำรุงรักษาทีต่ ำ �่ เนือ่ งจากเป็นโครงสร้าง ส�ำเร็จและท�ำให้ผู้อยู่อาศัยเสียค่าเบี้ยประกันภัยต�่ำ เนื่องจากบ้าน ทีส่ ร้างเป็นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก มีความสามารถในการทนไฟสูง มีความแข็งแรงและมีความทนทาน การก่อสร้างด้วยระบบนี้ พฤกษาฯ ได้ศึกษาและพัฒนาร่วมกับสถาบัน AIT จนสามารถต้านทานแรง ที่เกิดจากแผ่นดินไหวได้ถึงระดับ 7 ริกเตอร์

ภายหลัง พฤกษาฯ ได้มีการก่อสร้างโรงงานผลิตชิ้นส่วนคอนกรีต เสริมเหล็กส�ำเร็จรูป ที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยจากเยอรมันนี มาใช้ กับการก่อสร้างบ้านเดี่ยว เมื่อด�ำเนินการผลิตไประยะหนึ่ง สามารถ บริหารและควบคุมต้นทุนที่เหมาะสม จึงเริ่มน�ำเทคโนโลยีการก่อสร้าง แบบผนังส�ำเร็จรูปรับน�ำ้ หนัก (RC Load Bearing Wall Prefabrication) ซึ่งเราเรียกว่า Precast Technology มาใช้กับการก่อสร้างทาวน์เฮ้าส์ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ทันสมัยและชิ้นงานมีคุณภาพที่ดี เนื่องจากมีการ ควบคุมคุณภาพการผลิตชิน้ งานมาจากโรงงาน โดย พฤกษาฯ มีนโยบาย ปรั บ เปลี่ ย นการก่ อ สร้ า งทาวน์ เ ฮ้ า ส์ จ ากการก่ อ สร้ า ง Tunnel Technology มาเป็น Precast Technology ทั้งหมดกับโครงการ บ้านที่ก่อสร้างด้วยเทคโนโลยีนี้ จะสามารถก่อสร้างได้ภายในระยะ เวลา 30 - 45 วัน ซึ่งหากเป็นการก่อสร้างด้วยวิธีการก่อสร้างแบบ พฤกษา, พฤกษาวิลล์, เดอะ คอนเนค, พาทิโอ ทั่วไปแล้วจะใช้ระยะเวลาประมาณ 180 วัน เทคโนโลยี ก ารก่ อ สร้ า งบ้ า นด้ ว ยระบบโครงสร้ า งผนั ง รั บ น�้ ำ หนั ก แบบหล่อในที่ (Cast-In Situ Load Bearing Wall Structure) โปรดดู พฤกษาฯ ยั ง มี โ รงงานผลิ ต รั้ ว และเสาส� ำ เร็ จ รู ป โดยใช้ เ ทคโนโลยี การผลิ ต ด้ ว ยระบบ Battery Mold เพื่ อ ใช้ ผ ลิ ต รั้ ว และเสา โดย รายละเอียดเพิ่มเติมในหัวข้อการบริหารงานก่อสร้างบ้านเดี่ยว ในกระบวนการผลิ ต จะมี ก ารวางแบบเหล็ ก ซึ่ ง ควบคุ ม ด้ ว ยระบบ 2. การบริ ห ารจั ด การงานก่ อ สร้ า ง (Construction ไฮโดรลิคในการดันและถอดแบบเหล็กให้ประกบและห่างออกจากกัน Management) - บ้านเดี่ยว หลังจากที่แบบเหล็กประกบกัน โดยมีระยะห่างตามที่ต้องการแล้ว จะมี ก ารเทปู น ลงในแบบเหล็ ก หลั ง จากนั้ น จะถอดแบบเหล็ ก ออก การบริหารจัดการงานก่อสร้างบ้านเดี่ยวจะเป็นไปในลักษณะเดียวกับ เพื่อน�ำรั้วและเสาส�ำเร็จรูปไปใช้ในการก่อสร้างบ้านต่อไป โรงงาน การบริหารจัดการงานก่อสร้างของโครงการบ้านทาวน์เฮ้าส์ แต่ส�ำหรับ ดังกล่าวมีก�ำลังการผลิตส�ำหรับรั้วบ้านจ�ำนวน 12 หลังต่อวันและได้ ในส่วนการก่อสร้างในแต่ละโครงการ พฤกษาฯ จะแบ่งเจ้าหน้าที่ เพิ่มการผลิตในส่วนเสาและรั้วบ้าน รั้วโครงการของโครงการบ้านเดี่ยว รับผิดชอบเป็นแต่ละโครงการแทนการแบ่งเป็นสายการผลิต เนื่องจาก และบ้านทาวน์เฮ้าส์ รวมถึงเสาโชว์ และ Parapet ของทาวน์เฮ้าส์ โครงการบ้านเดี่ยวมีจ�ำนวนบ้านในการก่อสร้างต่อโครงการน้อยกว่า อีกด้วย ของบ้ า นทาวน์ เ ฮ้ า ส์ ทั้ ง นี้ พฤกษาฯ จะส่ ง พนั ก งานของพฤกษาฯ เข้าท�ำการควบคุมดูแลงานก่อสร้างประมาณ 30 - 40 คนต่อโครงการ ในปี 2550 ทาง พฤกษาฯ ได้เข้ามาบุกตลาดคอนโดมิเนียม จึงได้ และจะว่าจ้างผู้รับเหมาที่มีความช�ำนาญเฉพาะด้านและลูกจ้างรายวัน มีนโยบายให้ก่อสร้างโรงงาน PCF3 เพื่อผลิตชิ้นส่วนผนังภายนอก ในจ�ำนวนที่พฤกษาฯ เห็นสมควรในแต่ละโครงการ ของคอนโดมิเนียม โดยผนังภายในและโครงสร้างหลักยังเป็นระบบ ก่อสร้างระบบเดิม ต่อมาในปี 2553 ได้มีนโยบายการก่อสร้างระบบ เทคโนโลยีการก่อสร้างแบบผนังส�ำเร็จรูปรับน�ำ้ หนัก (RC Load Bearing Fully Precast ท�ำให้ก�ำลังการผลิตของ PCF3 ไม่เพียงพอ จึงได้ Wall Prefabrication) ในระยะแรก พฤกษาฯ ได้ ร ่ ว มกั บ สถาบั น ก่อสร้างโรงงาน PCF4 เพื่อรองรับงานคอนโดมิเนียม ส�ำหรับโรงงาน เทคโนโลยีแห่งเอเชีย (Asian Institute of Technology) ในการน�ำ PCF3 มีการดัดแปลงโรงงานไปผลิตพื้น Pre-stress เพื่อรองรับแผน วิธีการก่อสร้างระบบโครงสร้างผนังรับน�้ำหนักแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก ความต้องการบ้านเดี่ยวที่มากขึ้น ส� ำ เร็ จ รู ป หรื อ เรี ย กสั้ น ๆ ว่ า “พรี ค าสท์ ” มาใช้ โดยการหล่ อ ผนั ง ส�ำเร็จรูปรับน�้ำหนักจะด�ำเนินการในพื้นที่ของแต่ละโครงการ ต่อมา ปี 2553 พฤกษาฯ มีส่วนแบ่งการตลาดของบ้านเดี่ยวมากขึ้น ท�ำให้ ในปี 2547 พฤกษาฯ ได้สร้างโรงงานผลิตชิ้นส่วนคอนกรีตเสริมเหล็ก ก�ำลังการผลิตของโรงงานที่มีอยู่ไม่เพียงพอ จึงได้ก่อสร้างโรงงาน ส�ำเร็จรูป (Precast Concrete Factory) ขึ้นโดยซื้อเทคโนโลยีดังกล่าว PCF4 และ โรงงาน PCF5 ด้วยเงินลงทุน 1,050 ล้านบาท และ จากประเทศเยอรมั น ซึ่ ง ใช้ ร ะบบการผลิ ต แบบ Semi-Automated เริ่ม test run ผลิตได้เมื่อกลางเดือนธันวาคม 2553 โดยโรงงาน PCF5 Pallet Circulating System อันเป็นระบบการผลิตที่ทันสมัยที่สุด สามารถผลิตบ้านได้ 400 หลังต่อเดือน เมื่อรวมกับก�ำลังการผลิต ในประเทศไทยในขณะนั้น และได้ใช้เทคโนโลยีการก่อสร้างชนิดนี้ ปัจจุบันของโรง PCF1 ท�ำให้ก�ำลังการผลิตบ้านรวมเป็น 640 หลัง ส� ำ หรั บ โครงการบ้ า นเดี่ ย วแบบสองชั้ น เนื่ อ งจากบ้ า นเดี่ ย วจะมี ต่ อ เดื อ น โดยโรงงาน PCF5 ที่ ส ร้ า งใหม่ เ ป็ น โรงงานผลิ ต แผ่ น รูปแบบผนังทีห่ ลากหลาย โดยบ้านหลังหนึง่ จะมีสว่ นประกอบประมาณ พรีคาสท์ที่มีก�ำลังการผลิตสูงที่สุดในประเทศไทยในขณะนั้น

39


รายงานประจํ า ปี 2560

ปี 2554 โรงงาน PCF4 และ โรง PCF5 ที่เริ่มทดลองผลิต (test run) เมื่อปลายปี 2553 สามารถขยายความพร้อมก�ำลังการผลิตให้เต็มที่ ได้ในกลางปี 2554 ต่อมาในช่วงปลายเดือนตุลาคม 2554 เกิดอุทกภัย ครั้ ง ใหญ่ ใ นกรุ ง เทพฯ และปริ ม ณฑล แต่ โ รงงานสามารถป้ อ งกั น น�้ำท่วมในตัวโรงงานไว้ได้ แต่ต้องหยุดผลิตเนื่องจากไม่สามารถขนส่ง ไปยังโครงการได้ โรงงานได้กลับมาผลิตอีกครั้งในเดือนมกราคม 2555

การใช้แรงงานและท�ำให้ผลิตภาพ (Productivity) สูงขึ้นนอกจากนี้ ยั ง ได้ น� ำ ระบบ Concrete Recycling มาใช้ เ พื่ อ น� ำ น�้ ำ ทิ้ ง และ เศษคอนกรีตจากการท�ำงานกลับมาใช้ในขบวนการผลิตอีกครั้งพร้อม ท�ำการแยกหินทรายน�ำกลับมาใช้ทำ� ให้ไม่มเี ศษวัสดุเหลือทิง้ จากการผลิต เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมและถือว่าเป็น Green Factory แห่งแรกของไทย ที่น�ำระบบนี้มาใช้ในอุตสาหกรรมผลิต Precast Concrete

ปี 2556 ทางพฤกษาฯ มีการปรับเปลี่ยน ระบบก่อสร้างทาวน์เฮ้าส์ จากระบบโครงสร้างผนังรับน�้ำหนักแบบหล่อในที่ (Cast In Situ Load Bearing Wall Structure) มาเป็น ระบบผนังส�ำเร็จรูปรับน�้ำหนัก (RC Load Bearing Wall Prefabrication) อีกทั้งมีส่วนแบ่งในตลาด บ้านเดี่ยวมากขึ้น ท�ำให้ครึ่งปีหลัง โรงงาน PCF1-PCF5 ใช้ก�ำลัง การผลิตเกิน100% เพื่อรองรับการเติบโตของบริษัทตามแผนธุรกิจ จึ ง มี แ ผนในการก่ อ สร้ า งโรงงานพรี ค าสท์ PCF6 และPCF7 โดย พฤกษาฯ ได้ซื้อที่ดิน 130 ไร่ ที่นวนคร จังหวัดปทุมธานี

ทาง พฤกษาฯ ได้ขยายไปยังตลาดคอนโดมิเนียมมากขึ้นจึงมีนโยบาย ให้ใ ช้ห้องน�้ำส�ำเร็จรูปเพื่อลดเวลาในการก่อสร้างและปรับเปลี่ยน โรงงาน PCF2 จากเดิมผลิตรัว้ มาผลิตห้องน�ำ้ ส�ำเร็จรูปซึง่ เริม่ ด�ำเนินการ ผลิ ต ในเดื อ นพฤษภาคม 2557 มี ก� ำ ลั ง การผลิ ต ห้ อ งน�้ ำ ส� ำ เร็ จ รู ป 4,000 ยูนิตต่อปี

ปี 2557 พฤกษาฯ ได้ ก ่ อ สร้ า งโรงงานพฤกษาพรี ค าสท์ แ ห่ ง ใหม่ ขึ้นที่นวนคร จ�ำนวน 2 โรงงานประกอบไปด้วยโรงงาน PCF6 และ PCF7 ด้ ว ยเงิ น ลงทุ น 2,300 ล้ า นบาท โดยโรงงาน PCF6 ผลิ ต แผ่ น ผนั ง คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก ส� ำ เร็ จ รู ป มี ก� ำ ลั ง การผลิ ต 480 หลั ง ต่อเดือนเริ่มท�ำการผลิตในเดือนกันยายนและโรงงาน PCF7 เพื่อผลิต พื้ น คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก อั ด แรง (Pre stressed concrete Slab) โดยใช้ ร ะบบ Long Bed System โดยท� ำ การติ ด ตั้ ง เครื่ อ งจั ก ร ในเดือนกันยายนและเริ่มผลิตต้นปี 2558 โรงงานพฤกษาพรี ค าสท์ แ ห่ ง ใหม่ นี้ ใ ช้ เ ทคโนโลยี แ ละเครื่ อ งจั ก รที ่ ทั น สมั ย ที่ สุ ด ในโลกจากประเทศเยอรมั น นี ใ ช้ ร ะบบอั ต โนมั ติ แ ละ ควบคุ ม ด้ ว ยคอมพิ ว เตอร์ ทุ ก ขั้ น ตอนการผลิ ต ท� ำ ให้ ไ ด้ ชิ้ น งานที่ มี คุณภาพสูงกว่ามาตรฐานทั่วไปอีกทั้งมีการน�ำ Robot มาใช้เพื่อลด

ปี 2558 โรงงาน PCF7 เริ่ ม ผลิ ต ในเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ ท� ำ ให้ ก� ำ ลั ง การผลิตรวมของโรงงานเป็น 1,120 หลังต่อเดือนหรือคิดเป็น 5.2 ล้าน ตารางเมตรต่อปีถือว่าเป็นโรงงานที่มีก�ำลังการผลิตสูงที่สุดในประเทศ ปี 2559 พฤกษาฯ มีการขยายโครงการก่อสร้างอาคารชุดทั้งแนวราบ และแนวสู ง ท� ำ ให้ ค วามต้ อ งการห้ อ งน�้ ำ ส� ำ เร็ จ รู ป มี ป ริ ม าณเพิ่ ม มากขึ้นทางโรงงาน PCF2 จึงได้ปรับปรุงกระบวนการผลิตท�ำให้มีก�ำลัง การผลิตห้องน�้ำส�ำเร็จรูปเพิ่มขึ้นเป็น 7,200 ยูนิตต่อปี ปี 2560 มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นวิ ธี ก ารก่ อ สร้ า งจากพื้ น ชั้ น ล่ า ง เทในที่ (Flat Slab) มาเป็น ระบบ Precast พื้นชั้นล่าง (Ground Beam + Slab 1) ท�ำให้โรงงานเพิ่ม Product ในการผลิตที่โรงงาน PCF3 และ โรงงาน PCF7 และมีการปรับเปลี่ยนระบบการก่อสร้างงานบันได ของทาวน์ เ ฮ้ า ส์ จากบั น ไดโครงสร้ า งเหล็ ก มาเป็ น บั น ไดคอนกรี ต ส�ำเร็จรูป ท�ำให้มีการเพิ่ม Product บันได มาผลิตที่โรงงาน PCF3 ก�ำลังการผลิต 900 Unit/เดือน

ตารางสรุปย่อของโรงงานพรีคาสท์ ที่ตั้ง

โรงงาน PCF1 (Carrousel I)

ระบบการผลิต Semi-Automated Carrousel System

PCF2

ล�ำลูกกา

40

PCF3

Pre-stressed Long Line System

PCF4

Battery Mold system

PCF5 (Carrousel II)

Fully Automated Carrousel System

ผลิตภัณฑ์ Bearing Wall (ผนังบ้าน/คอนโด) Bathroom Pods (ห้องน�้ำส�ำเร็จรูป) Pre stressed Concrete Slab (พืน้ คอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรง), Stair (บันได), Ground Beam (คานคอดิน) Special Element (ชิ้นงานพิเศษ), Bearing Wall (Condo High Rise), ชิ้นงานห้องน�้ำส�ำเร็จรูป, รั้วหลังบ้านทาวน์เฮ้าส์ Bearing Wall (ผนังบ้าน/คอนโด)

กำ�ลังการผลิตต่อเดือน 700,000 ตร.ม. ห้องน�้ำส�ำเร็จรูป 7,200 Pods 600,000 ตร.ม.

400,000 ตร.ม. 1,300,000 ตร.ม.


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ที่ตั้ง

โรงงาน PCF6

นวนคร

PCF7

ระบบการผลิต Fully Automated Carrousel System Pre-stressed Long Bed System

ผลิตภัณฑ์ Bearing Wall (ผนังบ้าน/คอนโด) Pre stressed Concrete Slab (พืน้ คอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรง), Ground Beam (คานคอดิน)

กำ�ลังการผลิตต่อเดือน 1,500,000 ตร.ม. 700,000 ตร.ม.

การได้รับการส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) - บ้านทาวน์เฮ้าส์ และอาคารชุด หลักเกณฑ์การให้การส่งเสริมการลงทุนเดิม

หลักเกณฑ์การให้การส่งเสริมการลงทุน หลักเกณฑ์การให้การส่งเสริมการลงทุนใหม่ ใหม่ สำ�หรับ BOI 1 ล้านบาท สำ�หรับ BOI 1.2 ล้านบาท (อาคารชุด) (ห้องแถวหรือบ้านเดี่ยว)

• ต้องจัดที่อยู่อาศัยไม่น้อยกว่า 150 หน่วยส�ำหรับในเขต 1 และ ไม่น้อยกว่า 75 หน่วย ส�ำหรับเขต 2 และ 3

• ต้องจัดที่อยู่อาศัยไม่น้อยกว่า 50 หน่วย • ต้องจัดที่อยู่อาศัยไม่น้อยกว่า 50 หน่วย ทุกเขต ทุกเขต

• พื้นที่ต่อหน่วยต้องไม่น้อยกว่า 31 ตารางเมตร • ต้องจ�ำหน่ายในราคาต่อหน่วยละ ไม่เกิน 6 แสนบาท (รวมราคาที่ดิน) • ต้องได้รับอนุญาตก่อสร้างอาคาร ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

• พื้นที่ต่อหน่วยต้องไม่น้อยกว่า 28 ตารางเมตรส�ำหรับเขต 1 และ ไม่น้อยกว่า 31 ตารางเมตร ส�ำหรับเขต 2 และ 3 • ต้องจ�ำหน่ายในราคาต่อหน่วยละไม่เกิน 1 ล้านบาท (รวมราคาที่ดิน) ส�ำหรับเขตที่ 1 และไม่เกิน 6 แสนบาท ส�ำหรับเขตที่ 2 และ 3 • ต้องได้รับอนุญาตก่อสร้างอาคาร ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

• พื้นที่ต่อหน่วยต้องไม่น้อยกว่า 70 ตารางเมตรส�ำหรับเขต 1 • ต้องจ�ำหน่ายในราคาต่อหน่วยละไม่เกิน 1.2 ล้านบาท (รวมราคาที่ดิน) ส�ำหรับเขตที่ 1 และไม่เกิน 6 แสนบาท ส�ำหรับเขตที่ 2 และ 3 • ต้องได้รับอนุญาตก่อสร้างอาคาร ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

หมายเหตุ : 1) โครงการในเขต 1 ประกอบด้วย 6 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพฯ สมุทรปราการ สมุทรสาคร ปทุมธานี นนทบุรี และนครปฐม 2) โครงการในเขต 2 ประกอบด้วย 10 จังหวัด ได้แก่ ชลบุรี ฉะเชิงเทรา สมุทรสงคราม นครนายก สระบุรี อยุธยา ราชบุรี อ่างทอง สุพรรณบุรี และ กาญจนบุรี 3) โครงการในเขต 3 ได้แก่ จังหวัดอื่นๆ ที่เหลือและนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง

มาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมของงานคอนโดมิเนียม มาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม แบ่งออกเป็น 2 ช่วง คือ 1. ช่วงด�ำเนินการก่อสร้าง 2. ช่วงเปิดด�ำเนินการ ทั้งนี้ มาตรการทั้ง 2 ช่วง ส่วนใหญ่จะคล้ายกัน โดยมาตรการในช่วงด�ำเนินการก่อสร้างจะมีรายละเอียดไม่ค่อยแตกต่างกันมากนักในแต่ละ โครงการ ส่วนมาตรการในช่วงเปิดด�ำเนินการมาจากการออกแบบอาคารด้วยส่วนหนึ่ง และจะเป็นส่วนที่มีความต่างกันไปในแต่ละโครงการ

41


รายงานประจํ า ปี 2560

มาตรการ 1. คุณภาพทางอากาศ 2. เสียง 3. การสั่นสะเทือน 4. การพังทลายของดิน 5. น�้ำใช้ 6. สระว่ายน�้ำ 7. น�้ำเสีย 8. การระบายน�้ำ 9. การจัดการมูลฝอย 10. ระบบไฟฟ้า 11. การอนุรักษ์พลังงาน 12. ระบบป้องกันอัคคีภัย 13. การจราจร 14. อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 15. ทัศนียภาพ 16. การบดบังแสงแดดและทิศทางลม 17. การบดบังคลื่นวิทยุและโทรทัศน์ ตัวอย่างการปฏิบัติตามมาตรการ 1. มาตรการคุณภาพทางอากาศ

ช่วงดำ�เนินการก่อสร้าง / / / / / / / / / / / / -

ช่วงเปิดดำ�เนินการ / / / / / / / / / / / / / / /

- โครงการก่อสร้างรั้วก�ำแพงกันดินรอบโครงการ เพื่อป้องกัน การพังทลายของดิน ท�ำความเสียหายแก่บ้านข้างเคียง

- ตอกเข็มกันพัง (Sheet Pile) และท�ำค�ำ้ ยัน (Bracing) เพือ่ ป้องกัน - โครงการติดตัง้ ผ้าใบทึบตัง้ แต่ชนั้ ล่างจนถึงชัน้ สูงสุดโดยรอบอาคาร การพังทลายของดินรวมทั้งในช่วงการถอนเข็มกันพัง ต้องรีบ เพื่อป้องกันฝุ่นละอองฟุ้งกระจาย ด�ำเนินการกลบร่องที่เกิดขึ้นจากการถอนเข็มกันพังดังกล่าว - โครงการโปรยน�ำ้ บนพืน้ ถนนทีด่ นิ ภายในโครงการ เพือ่ ลดปริมาณ โดยทันที และบดอัดดินที่กลบให้แน่นเพื่อป้องกันการเคลื่อนตัว ของดิน ฝุ่นอันเกิดจากการสัญจรในพื้นที่ก่อสร้าง - โครงการจัดให้มเี จ้าหน้าทีจ่ ากโครงการเข้าพบผูพ้ กั อาศัยข้างเคียง 4. มาตรการน�้ำเสีย เพื่อสอบถามถึงผลกระทบจากการก่อสร้างโครงการ - โครงการมีถังบ�ำบัดน�้ำเสียส�ำเร็จรูปชนิดเติมอากาศ เพื่อบ�ำบัด น�้ำเสียก่อนระบายออกสู่ท่อระบายน�้ำริมถนนของโครงการ 2. มาตรการทางเสียง - โครงการก�ำหนดเวลาท�ำงานทีก่ อ่ ให้เกิดเสียงในช่วงเวลากลางวัน 5. มาตรการระบายน�้ำ เพื่อหลีกเลี่ยงการก่อให้เกิดความร�ำคาญต่อบ้านข้างเคียง - โครงการมีการออกแบบระบบระบายน�้ำตามกฏเกณฑ์ส�ำหรับ - โครงการก่อสร้างฐานรากโดยใช้เสาเข็มเจาะ และเสาเข็ม แบบ ระบายน�้ำ ก�ำหนดเพื่อให้การระบายน�้ำจากในโครงการออกสู่ Jack in pile เพื่อลดผลกระทบด้านความสั่นสะเทือนต่อชุมชน ภายนอกโครงการไม่ทำ� ให้เกิดความเดือดร้อนแก่บริเวณข้างเคียง ทั้งช่วงก่อสร้างและช่วงเปิดด�ำเนินการ ข้างเคียง - โครงการก�ำชับผู้รับเหมาไม่ให้ท�ำกิจกรรมที่ก่อให้เกิดเสียงดัง 6. มาตรการจัดการมูลฝอย พร้อมกันในเวลาเดียวกัน เพื่อป้องกันการเกิดเสียงดังเกินควร - โครงการมี ก ารจั ด เตรี ย มถั ง รองรั บ มู ล ฝอย วางไว้ ใ นบริ เ วณ พื้นที่ก่อสร้าง และรวบรวมไว้ตามจุดต่างๆ เพื่อให้รถเก็บขน 3. มาตรการการพังทลายของดิน มูลฝอยมาเก็บขนไปก�ำจัดต่อไป - โครงการก่อสร้างเขื่อนกันดินในบริเวณแนวเขตพื้นที่ริมคลอง สาธารณะ เพื่อป้องกันการพังทลายของตลิ่ง

42


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

7. มาตรการจราจร

8. อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

- โครงการมีการติดป้ายประชาสัมพันธ์โครงการตามที่มาตรการ - โครงการติ ด ตั้ ง รั้ ว ที่ แ ข็ ง แรงและสั ง เกตเห็ น ได้ ชั ด โดยรอบ ก� ำ หนดเพื่ อ ให้ ผู ้ พั ก อาศั ย ใกล้ เ คี ย งสามารถติ ด ต่ อ ได้ กรณี โครงการ เพื่อหลีกเลี่ยงผู้สัญจรไปมาโดยรอบโครงการเข้ามา ทีไ่ ด้รบั ความเดือนร้อน และมีปา้ ยชือ่ โครงการ ทีส่ ามารถมองเห็น ในเขตพื้นที่ก่อสร้าง ได้ชัดเจน - โครงการติดป้ายประชาสัมพันธ์บริเวณด้านหน้าพื้นที่ก่อสร้าง - โครงการมีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยคอยอ�ำนวยความสะดวก เพื่อให้ผู้ที่พักอาศัยอยู่ใกล้เคียงได้รับทราบข้อมูล กรณีได้รับ ให้กับรถที่เข้า - ออก ได้โดยสะดวกและปลอดภัย เพื่อไม่ให้ ความเดือดร้อนจากพื้นที่ก่อสร้าง กีดขวางการจราจร - โครงการมีการจัด Safety Talk ในตอนเช้าทุกวัน โดยมีการ ให้ความรู้ในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลให้แก่คนงาน

43


รายงานประจํ า ปี 2560

ปัจจัยความเสี่ยง เนื่องจากบริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) จัดตั้งขึ้น เพื่ อ ประกอบธุ ร กิ จ ที่ มี ร ายได้ จ ากการถื อ หุ ้ น ในบริ ษั ท อื่ น เป็ น หลั ก (Holding Company) ดั ง นั้ น ความเสี่ ย งที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น กั บ บริ ษั ท ฯ จึงเป็นความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจของบริษัทย่อย และ/หรือ บริ ษั ท ร่ ว มในอนาคต ซึ่ ง สามารถวิ เ คราะห์ ป ระเด็ น ความเสี่ ย ง วิธีการป้องกัน และลดความเสี่ยง โดยสรุปได้ดังนี้

ความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจหลักของบริษัทฯ ความเสี่ ย งจากการเป็ น บริ ษั ท ที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ หลั ก โดยการ ถือหุ้นในบริษัทอื่น

ความสามารถในการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลของบริ ษั ท ฯ ขึ้ น อยู ่ กั บ เงิ น ปั น ผลที่ ไ ด้ รั บ จากบริ ษั ท ย่ อ ยและบริ ษั ท ร่ ว มที่ บ ริ ษั ท ฯ เข้าไปลงทุน เนื่องจาก บริษัทฯ มีวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งเพื่อไปลงทุนในบริษัทอื่น เป็นหลัก นอกจากผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ที่จะขึ้นอยู่กับผลการ ด�ำเนินงานของบริษัทที่บริษัทฯ เข้าลงทุนแล้วนั้น ความสามารถในการ จ่ายเงินปันผลของ บริษัทฯ ยังขึ้นอยู่กับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของ บริษัทย่อยและ/หรือบริษัทร่วมที่บริษัทฯ จะเข้าลงทุนอีกด้วย ปัจจุบัน บริษัทฯ ได้เข้าลงทุนในบริษัทย่อย 2 บริษัทคือ บริษัท พฤกษา เรียล เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทในเครือ โรงพยาบาลวิมุต ดังนั้น ความสามารถในการจ่ายเงินปันผลของบริษัทฯ จะขึ้นอยู่กับนโยบาย การจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อยทั้ง 2 เป็นหลัก ทั้งนี้บริษัทย่อยทั้ง 2 บริษัท มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของก�ำไร สุทธิจากงบการเงินรวมของแต่ละบริษัท หลังจากหักทุนส�ำรองต่างๆ ตามกฎหมายแล้ว

เนื่องจากบริษัทฯ มีวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งเพื่อไปลงทุนในบริษัท อื่นเป็นหลัก ผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ โดยส่วนใหญ่จะมาจาก ผลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ที่ เ ข้ า ลงทุ น การตั ด สิ น ใจเลื อ กบริ ษั ท ที่จะเข้าลงทุนจึงมีความส�ำคัญต่อการด�ำเนินงานของบริษัทฯ มาก ปัจจุบัน บริษัทฯ มีการลงทุนในบริษัทย่อย 2 บริษัท คือ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัทในเครือโรงพยาบาลวิมุต และ บริษัทในเครือโรงพยาบาลวิมุต คงยังไม่สามารถจ่ายเงินปันผลให้แก่ ไม่ได้มีการลงทุนเพิ่มเติมในบริษัทย่อยอื่นและบริษัทร่วมในปีที่ผ่านมา บริ ษั ท ฯ ได้ เ พราะอยู ่ ร ะหว่ า งการลงทุ น และก่ อ สร้ า งโรงพยาบาล บริษัทฯ จะรับรู้ก�ำไรและขาดทุนจากบริษัทย่อย ที่เข้าไปร่วมลงทุน เพื่อเปิดด�ำเนินการ คาดว่าคงใช้เวลาอีก 2 - 3 ปี จนกว่าการก่อสร้าง คือ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) (“พฤกษาฯ”) และ จะแล้ ว เสร็ จ พร้ อ มเปิ ด ด� ำ เนิ น การได้ และมี ผ ลก� ำ ไรเพี ย งพอที่ จ ะ บริษัทในเครือโรงพยาบาลวิมุต หากบริษัทย่อยมีผลการด�ำเนินงาน จ่ายเงินปันผลได้ ดังนั้น ช่วงระหว่างนี้ รายได้และผลก�ำไรจะมาจาก ที่ ดี ก็ จ ะสามารถสร้ า งก� ำ ไรให้ กั บ บริ ษั ท ฯ แต่ ห ากในทางกลั บ กั น บริ ษั ท พฤกษา เรี ย ลเอสเตท จ� ำ กั ด (มหาชน) ซึ่ ง ประกอบธุ ร กิ จ หากบริษัทย่อยและบริษัทร่วม มีผลการด�ำเนินงานลดลงหรือขาดทุน อสังหาริมทรัพย์และเป็นผู้น�ำในตลาดอสังหาริมทรัพย์ของประเทศไทย มีรายได้ค่อนข้างมั่งคง มีผลก�ำไรสม�่ำเสมอและมีผลการด�ำเนินงาน ก็จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อบริษัทฯ ที่เติบโตอย่างต่อเนื่องซึ่งจะเป็นบริษัทย่อยหลักที่อยู่ในเกณฑ์ที่สามารถ จ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นทั้งหมดของบริษัทฯ

44


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ความเสีย่ งจากการประกอบธุรกิจหลักของบริษทั ย่อย การด�ำเนินการเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาจากความเสี่ยงดังกล่าว คื อ การจั ด ให้ มี ที ม งานส� ำ รวจกายภาพของที่ ดิ น ที่ มี ค วามรู ้ และ ของบริษัทฯ 1. ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ความเสี่ยงจากการสรรหาที่ดินเพื่อการพัฒนา

ประสบการณ์ สู ง ในการออกส� ำ รวจตรวจสอบที่ ดิ น ทุ ก แปลงก่ อ น ตัดสินใจซื้อ ร่วมกับการจ้างให้มีบริษัทประเมินราคาอิสระภายนอก ท�ำการส�ำรวจ และประเมินราคา รวมถึงการจัดจ้างให้มกี ารรังวัดสอบเขต ตรวจระดับดินและอื่นๆ อย่างรอบคอบรัดกุมที่สุด

- ความเสี่ยงจากการจัดหาและจัดซื้อที่ดินได้ไม่เพียงพอกับความ นอกจากนี้ หากมี ข ้ อ สงสั ย ประเด็ น ความกว้ า งของเขตทาง หรื อ ต้องการตามเป้าหมายหรือแผนธุรกิจ ความเป็นสาธารณะ หรือประเด็นกฎระเบียบข้อห้ามของทางราชการ ช่องทางเพื่อให้ได้ที่ดินที่มีศักยภาพในการพัฒนาโครงการมากที่สุด ก็จะมีหน่วยงานที่ท�ำหน้าที่ในการติดต่อประสานงานเพื่อขอค�ำรับรอง คือ นายหน้าที่ดิน และอีกส่วนหนึ่งจะมาจากเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดิน จากหน่ ว ยงานราชการต่ า งๆ อี ก ส่ ว นหนึ่ ง ครอบคลุ ม ถึ ง เรื่ อ งผั ง สี ที่น�ำมาเสนอขายเองกับพฤกษาฯ จึงได้ก�ำหนดแผนเชิงรุกเพื่อที่จะ แนวเวนคืน การเชื่อมทาง และประเด็นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด กระตุ้นหรือจูงใจนายหน้าทั้งที่เป็นพันธมิตรเก่าและนายหน้ากลุ่ม ใหม่ๆ ให้เสาะหาและน�ำที่ดินที่อยู่ในท�ำเลเป้าหมายมาเสนอให้เร็ว - ความเสี่ยงจากการซื้อที่ดินแพงเกินกว่าที่ควรจะเป็น หรือซื้อที่ดิน และมากที่สุด ส่วนกรณีที่เจ้าของที่ดินน�ำมาเสนอขายเองนั้นจะมีการ ที่อยู่ในละแวกที่ไม่มีก�ำลังซื้อ หรือมีความต้องการน้อย พั ฒ นากระบวนการให้ มี ก ารคั ด เลื อ กและตั ด สิ น ใจให้ เ ร็ ว ขึ้ น ทั้ ง นี้ ด้วยกระบวนการที่รัดกุมก่อนตัดสินใจซื้อ กลุ่มงานธุรกิจจะท�ำการ ไม่ว่าแหล่งที่มาของที่ดินจะได้มาจากวิธีหรือช่องทางใด กระบวนการ เก็บข้อมูลการตลาด การวิเคราะห์ศึกษาความเป็นไปได้ทางการลงทุน คัดเลือกและตัดสินใจซื้อที่ดินยังเน้นเรื่องกระบวนการที่โปร่งใส บริสุทธิ์ ศึกษาตลาดและคู่แข่ง เปรียบเทียบราคาตลาดของที่ดินเป้าหมาย เป็นธรรมทั้งกับเจ้าของที่ดิน รวมทั้ง พฤกษาฯ ยังได้ก�ำหนดมาตรการ ราคาที่ดินแปลงเปรียบเทียบราคาประเมินราชการ และราคาประเมิน ในการป้องกัน และขจัดปัญหาการแสวงหาผลประโยชน์ที่จะเป็นเหตุ ของผู้ประเมินอิสระ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบในการท�ำรายงานศึกษา ให้ต้นทุนที่ดินสูงขึ้นออกให้หมด ความเป็นไปได้ของโครงการและผ่านการตรวจสอบโดยฝ่ายการเงิน - ความเสี่ยงจากการตัดสินใจซื้อที่ดินผิดพลาด อาทิ ที่ดินตาบอด จึงเป็นการลดความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดความเสียหายจากการพัฒนาโครงการ ที่ ดิ น ที่ อ งค์ ป ระกอบไม่ เ พี ย งพอต่ อ การขออนุ ญ าตจั ด สรรได้ ที่ ดิ น แล้วไม่สามารถขายได้ตามแผนที่วางไว้หรือขาดทุนจากการพัฒนา ที่อาจจะมีผลการทบต่อชุมชนระหว่างก่อสร้าง ฯลฯ

45


รายงานประจํ า ปี 2560

นอกจากนี้ กระบวนการสรรหาและจั ด ซื้ อ ที่ ดิ น จะกระท�ำ ในรู ป ของ คณะกรรมการ อั น ประกอบด้ ว ยผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ที่ ช� ำ นาญการ ทั้งด้านที่ดินและการพัฒนาที่ดิน ด้านธุรกิจ ด้านการเงิน ด้านกฎหมาย และข้ อ ก� ำ หนดของราชการ ด้ า นการควบคุ ม ความเสี่ ย ง และอื่ น ๆ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่า พฤกษาฯ สามารถซื้อที่ดินที่มีคุณภาพได้ในช่วง เวลา และจ�ำนวนแปลงที่เหมาะสม เพื่อให้สามารถสร้างรายได้ตาม แผนธุรกิจที่พฤกษาฯ ก�ำหนดไว้ได้ ความเสีย่ งจากผลของการเปลีย่ นแปลงนโยบายการปล่อยสินเชือ่ ของธนาคารพาณิชย์ จากภาวะหนี้สินภาคครัวเรือนของประเทศยังอยู่ในระดับสูง ท�ำให้ ธนาคารพาณิ ช ย์ ท้ั ง ระบบยั ง คงเข้ ม งวดการอ� ำ นวยสิ น เชื่ อ ให้ แ ก่ ผู ้ บ ริ โ ภค ซึ่ ง ร้ อ ยละกว่ า 90 ของลู ก ค้ า ที่ จ ะซื้ อ บ้ า นและที่ ดิ น จาก พฤกษาฯ ได้รบั ผลกระทบเช่นเดียวกันเพราะอาจถูกปฏิเสธจากธนาคาร พาณิชย์ในการอ�ำนวยสินเชื่อ ท�ำให้ลูกค้าไม่สามารถหาแหล่งเงินกู ้ เพื่ อ สนั บ สนุ น ค่ า บ้ า นและที่ ดิ น ได้ ซึ่ ง จะเป็ น การจ� ำ กั ด อ� ำ นาจซื้ อ ของลู ก ค้ า และจะมี ผ ลกระทบต่ อ รายได้ ข องพฤกษาฯ โดยตรง ในการนี้ พฤกษาฯ จึ ง ได้มีแบบฟอร์ม ให้พนัก งานขายกรอกข้อมูล เบือ้ งต้นทีส่ ำ� คัญของผูซ้ อื้ บ้านเมือ่ แสดงความจ�ำนงในการจองบ้านและ ขอกู้เงินเพื่อน�ำส่งธนาคารให้ความเห็นเบื้องต้น (Pre-Approved) จากธนาคารภายใน 7 วั น ท� ำ การว่ า จะสามารถให้ เ งิ น กู ้ ไ ด้ ห รื อ ไม่ เพื่ อ ลดความเสี่ ย งของทั้ ง ผู ้ ซื้ อ บ้ า นและพฤกษาฯ อี ก ทั้ ง พฤกษาฯ มีบ้านหลายระดับราคา และราคาไม่สูงให้เลือกค่อนข้างมาก ลูกค้า ยังสามารถเลือกบ้านที่ราคาต�่ำลงให้สอดคล้องกับกฎหรือนโยบาย ของธนาคารพาณิชย์แต่ละแห่งในแต่ละช่วงเวลาด้วย ปัจจุบัน พฤกษาฯ ได้จัดตั้งคณะท�ำงานเพื่อติดตามเศรษฐกิจ และ ปรับกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงกับสถานการณ์ และ นโยบายของธนาคารพาณิชย์และธนาคารของรัฐแต่ละแห่ง รวมถึง ใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศเพื่ อ สนั บ สนุ น และอ� ำ นวยความสะดวก ให้กับลูกค้าในการติดต่อขอสินเชื่อกับธนาคารและจัดหามาตรการ ในการสนับสนุนลูกค้าให้ได้รับสินเชื่ออย่างรวดเร็ว โดยมีพันธมิตร ทั้งธนาคารพาณิชย์และธนาคารของรัฐให้ลูกค้าของ พฤกษาฯ สามารถ เลือกใช้บริการได้ถึง 12 แห่ง ความเสี่ยงจากภาวะการแข่งขันที่สูง ปัจจุบันธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มีการแข่งขันที่สูงขึ้น ซึ่งจะเห็น ได้ว่ามีโครงการใหม่ๆ เปิดตัวเพิ่มขึ้นจ�ำนวนมาก ส่งผลให้อุปทาน ของอสังหาริมทรัพย์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว อีกทั้งผู้ประกอบการรายใหญ่ หลายรายมีการปรับตัวอย่างเห็นได้ชัด โดยน�ำเทคโนโลยีที่ทันสมัยและ นวัตกรรมที่อยู่อาศัยมาเป็นตัวขับเคลื่อนในการด�ำเนินธุรกิจ เพื่อสร้าง ความโดดเด่นและความแตกต่างในการพัฒนาทีอ่ ยูอ่ าศัยในยุคปัจจุบนั พฤกษาฯ เป็นผู้ประกอบการรายใหญ่ที่อยู่ในตลาดมานาน มีชื่อเสียง ในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับการยอมรับและความไว้วางใจใน กลุ่มผู้บริโภค โดย พฤกษา เรียลเอสเตท พัฒนาที่ดินในหลายท�ำเล ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ความเป็นอยู่ของลูกค้าหลากหลายกลุ่ม และ

46


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

เน้นกระจายการพัฒนาไปในทุกระดับราคา จึงท�ำให้ พฤกษาฯ เข้าถึง กลุ่มลูกค้าได้กว้างมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ พฤกษาฯ ได้พัฒนาคุณภาพ การก่ อ สร้ า งอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยนํ า นวั ต กรรมการควบคุ ม คุ ณ ภาพ บ้านและการก่อสร้างแบบ Real Estate Manufacturing (REM) หรืออาร์อเี อ็ม เข้ามาใช้เพือ่ ควบคุมการก่อสร้างบ้าน โดยจะให้ผรู้ บั เหมา ท�ำงานก่อสร้างเฉพาะในส่วนงานทีต่ นเองมีความถนัด เช่น งานปูกระเบือ้ ง ก็จะทาํ เฉพาะปูกระเบือ้ ง หรืองานทาสีกจ็ ะทาํ เฉพาะทาสี จากกระบวนการ ท�ำงานดังกล่าวท�ำให้ทีมงานก่อสร้างของพฤกษาฯ ได้ท�ำงานในส่วน ทีต่ วั เองรับผิดชอบประเภทเดิมๆ จนเกิดการพัฒนาทักษะ มีความช�ำนาญ ซึ่งแน่นอนว่าบ้านที่ก่อสร้างด้วยช่างฝีมือที่มีความเชี่ยวชาญย่อมมี คุณภาพและแข็งแรงทนทาน และตลอดการก่อสร้างจะมี Quality Improvement Team คอยเข้ า ไปควบคุ ม คุ ณ ภาพการก่ อ สร้ า ง ในทุกขั้นตอน ร่วมด้วยทีม Quality Construction Service ที่จะเข้าไป ตรวจสอบและจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการก่อสร้างก่อนที่ ลูกค้าจะเข้ามาตรวจรับบ้าน ทุกองค์ประกอบดังกล่าวจึงผนึกก�ำลัง ร่วมกันเพื่อเป็นหัวใจส�ำคัญที่ท�ำให้บ้านของพฤษาฯ มีคุณภาพและ แข็งแรง ตอบสนองความต้องการของลูกค้าทุกกลุ่ม ทุกไลฟ์สไตล์ ความเสี่ ย งเรื่ อ งราคาต้ น ทุ น การก่ อ สร้ า งและวั ส ดุ ก ่ อ สร้ า ง ขาดแคลน การขายบ้ า นของ พฤกษาฯ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น การขายก่ อ นสร้ า งบ้ า น โดยพฤกษาฯ ตั้ ง ราคาขายโดยใช้ วิ ธี บ วกก� ำ ไรที่ ต ้ อ งการ (cost plus basis) ดังนั้นถ้าหากเกิดความผันผวนของราคาวัสดุก่อสร้าง หรือมีการปรับเปลี่ยนอัตราค่าจ้างแรงงาน ภายหลังจากที่พฤกษาฯ ได้ ก� ำ หนดราคาขาย และได้ มี ลู ก ค้ า จองซื้ อ บ้ า นและที่ ดิ น ไปแล้ ว ย่อมจะท�ำให้ต้นทุนการขายของพฤกษาฯ สูงขึ้น ท�ำให้อัตราก�ำไร ขั้นต้นของพฤกษาฯ ลดลง วัสดุกอ่ สร้างถือเป็นต้นทุนการก่อสร้างทีส่ ำ� คัญ ราคาของวัสดุกอ่ สร้างหลัก เช่น เหล็ก และน�้ำมัน มีการปรับราคาเพิ่มขึ้น ขณะที่คอนกรีต มีการ ปรับราคาลดลงเล็กน้อย จากอุปสงค์และอุปทาน และสภาวะเศรษฐกิจ ของโลก ซึง่ ได้สง่ ผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตและต้นทุนการขนส่งสูงขึน้ รวมทั้งต้นทุนที่ดินที่สูงขึ้น จะท�ำให้พฤกษาฯ มีต้นทุนบ้านพร้อมที่ดิน สูงขึ้นตามพฤกษาฯ อาจไม่สามารถปรับราคาขายได้ในทันที หรือ ในกรณีที่สามารถปรับราคาขายให้สอดคล้องกับต้นทุนรวมที่สูงขึ้น ดั ง กล่ า ว ก็ อ าจส่ ง ผลกระทบต่ อ ปริ ม าณการขายและเหตุ ดั ง กล่ า ว จะมีผลกระทบต่อฐานะทางการเงินและผลการด�ำเนินของพฤกษาฯ นอกจากนี้ การที่มีโครงการก่อสร้างเพิ่มมากขึ้น อาจท�ำให้ปริมาณ ของวัสดุก่อสร้างมีจ�ำนวนไม่พอกับความต้องการ ซึ่งหากเหตุการณ์ ดังกล่าวเกิดขึ้นและพฤกษาฯ อาจต้องจ่ายค่าวัสดุแพงขึ้น หรือต้องรอ วัสดุ จนไม่สามารถด�ำเนินการก่อสร้างบ้านได้ครบในเวลาที่ก�ำหนด จะส่งผลกระทบต่อธุรกิจ ฐานะทางการเงิน และผลการด�ำเนินงาน ของ พฤกษาฯ ด้วยเช่นกัน แต่จากการที่ พฤกษาฯ มีกระบวนการก่อสร้างที่รวดเร็วสามารถสร้าง บ้านแนวราบให้เสร็จได้ภายใน 73 วัน จะช่วยลดความเสี่ยงลงได้ ในระดับหนึง่ โดยพฤกษาฯ สามารถก�ำหนดราคาวัสดุกอ่ สร้างทีจ่ ะต้องใช้ ในระยะเวลา 2 - 3 เดือนล่วงหน้าได้ การก�ำหนดราคาขายจะปรับไป

ตามต้นทุนดังกล่าว นอกจากนี้ พฤกษาฯ มีนโยบายทีจ่ ะขายบ้านระหว่าง ก่อสร้างให้มากขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงของต้นทุนที่อาจเปลี่ยนแปลง ของบ้านสั่งสร้าง ในส่วนของอาคารชุด พฤกษาฯ ยังคงมีความเสี่ยงอยู่ เนือ่ งจากระยะเวลาการก่อสร้างทีย่ าวนานขึน้ อย่างไรก็ตามเพือ่ ป้องกัน ความเสี่ยง ตั้งแต่ปี 2549 เป็นต้นมา พฤกษาฯ ได้ใช้กลยุทธ์คัดเลือก ผู้ขายวัสดุก่อสร้างหลักโดยวิธีจัดประกวดราคาในกลุ่มวัสดุก่อสร้าง หลักทั้งหมดเพื่อให้ พฤกษาฯ มีต้นทุนค่าก่อสร้างที่คงที่ตลอดทั้งปี และเพื่อป้องกันปัญหาการขาดแคลนวัสดุ โดยเฉพาะวัสดุหลักที่มี ความส�ำคัญ พฤกษาฯ มีนโยบายในการสร้างคู่ค้าพันธมิตร โดยมีการ ก�ำหนดรูปแบบตั้งแต่การคัดเลือก การดูแล การประเมินผล ตลอดจน แนวทางการด�ำเนินงานร่วมกันที่ชัดเจน นอกจากนี้ พฤกษาฯ ได้จัด ให้ มี ก ารประชุ ม รายงานการเปลี่ ย นแปลงราคาวั ส ดุ ก ่ อ สร้ า งหลั ก เป็ น ประจ� ำ ทุ ก เดื อ น พร้ อ มทั้ ง ค� ำ นวณหาผลกระทบต่ อ ต้ น ทุ น ขาย เพื่อพิจารณาปรับเปลี่ยนราคาขายหรือจัดหาวัสดุทดแทน ความเสี่ยงจากการขาดแคลนแรงงาน ปัญหาการขาดแคลนแรงงานก่อสร้างยังคงเป็นปัญหาใหญ่กับภาค อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ซึ่ ง ในขณะนี้ ผู ้ ป ระกอบการหลายรายมี โ ครงการ ก่อสร้างเป็นจํานวนมาก และภาครัฐได้ประกาศใช้กฎหมายแรงงาน ต่างด้าวฉบับใหม่ ซึ่งมีความเข้มงวดมากขึ้น จึงท�ำให้ผู้ประกอบการ หลายรายประสบปัญหาเรื่องการขาดแคลนแรงงานที่มีฝีมือในบาง สาขา แม้กระทั่ง พฤกษาฯ ก็ประสบปัญหาดังกล่าวด้วยเช่นกัน หาก พฤกษาฯ ไม่สามารถจัดหาผู้รับเหมาที่มีความชํานาญเฉพาะด้าน และ แรงงานที่มีฝีมือเข้าดําเนินงานในโครงการของพฤกษาฯ ได้ อาจทําให้ งานก่อสร้างล่าช้าไม่สามารถโอนบ้านให้แก่ผู้ซื้อได้ภายในระยะเวลา ที่กําหนดและอาจส่งผลต่อคุณภาพงานก่อสร้างที่อาจไม่เป็นไปตาม มาตรฐาน พฤกษาฯ จึ ง ได้ คิ ด วิ ธี ก ารก่ อ สร้ า งบ้ า นแนวราบ ซึ่ ง ออกแบบให้ มี กระบวนการเป็นระบบติดตั้ง ณ สถานที่ก่อสร้าง โดยมีแผ่นคอนกรีต หล่อส�ำเร็จ (Precast Concrete Panel) เป็นโครงสร้างหลัก และ พฤกษาฯ เป็นผู้บริหารจัดการงานก่อสร้างหลักของโครงการต่างๆ ด้ ว ยตั ว เอง โดยมี วิ ศ วกรและผู ้ ค วบคุ ม งานก่ อ สร้ า ง (Foreman) ของพฤกษาฯ ทําหน้าที่ควบคุมดูแลงานก่อสร้าง และว่าจ้างผู้รับเหมา ที่มีความชํานาญเฉพาะด้าน หรือผู้รับเหมาแรงงาน เพื่อเข้าดําเนินการ ก่อสร้างในแต่ละส่วนงาน เช่น งานฐานราก งานติดตั้งชิ้นส่วนอาคาร งานปูพื้นกระเบื้อง งานหลังคา และงานสี เป็นต้น โดยก่อสร้างภายใต้ การควบคุมดูแลจากบุคลากรของพฤกษาฯ ในด้านอาคารชุด เริ่มจากปี 2552 พฤกษาฯ ได้ มี ก ารจ้ า งเหมางานแบบเบ็ ด เสร็ จ เป็ น ครั้ ง แรก ในการก่ อ สร้ า งตึ ก สู ง หรื อ คอนโดมิ เ นี ย ม ตลอดจนสร้ า งพั น ธมิ ต ร กั บ ผู ้ รั บ เหมารายที่ มี ผ ลงานโดดเด่ น คุ ณ ภาพสู ง เพื่ อ เป็ น การลด ความเสี่ ย งในการขยายกํ า ลั ง การผลิ ต หรื อ ก่ อ สร้ า ง เพื่ อ รองรั บ การขยายตัวอย่างก้าวกระโดดของพฤกษาฯ เพื่อลดการพึ่งพิงแรงงาน ลดชั่วโมงท�ำงาน และใช้แ รงงานที่มีอยู่ อย่างจํากัดให้คุ้มค่าที่สุดพฤกษาฯ ได้นําเทคโนโลยีการก่อสร้างบ้าน แบบ Real Estate Manufacturing (REM) หรืออาร์อีเอ็ม เข้ามาใช้ เพื่อควบคุมการก่อสร้างบ้านแนวราบตามลําดับขั้นตอน ในระหว่าง การก่อสร้างเพื่อให้บ้านมีคุณภาพ อาร์อีเอ็ม เป็นระบบที่ใช้แรงงาน

47


รายงานประจํ า ปี 2560

ก่อสร้างอย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะให้ผู้รับเหมาก่อสร้างนั้นท�ำงาน ก่อสร้างเฉพาะในส่วนงานที่ตนเองมีความถนัด เช่น งานปูประเบื้อง ก็จ ะทํ าเฉพาะปูกระเบื้ อง หรืองานทาสีก็จะทําเฉพาะงานดังกล่าว ซึ่ ง กระบวนการผลิ ต จะเหมื อ นกั บ การผลิ ต รถยนต์ ซึ่ ง ในปี 2560 สําหรับบ้านแนวราบ พฤกษาฯ สามารถบริหารระยะเวลาตั้งแต่การจอง บ้านจนถึงลูกค้าได้รับบ้าน (Business cycle time) เฉลี่ยอยู่ที่ 73 วัน นอกจากนี้ พฤกษาฯ ได้ศึกษานวัตกรรมใหม่ๆ ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยี ระบบบริ ห ารจั ด การงานก่ อ สร้ า งใหม่ ๆ หรื อ การสรรหาวั ส ดุ ห รื อ องค์ประกอบสาํ เร็จรูป เช่น ห้องน�ำ้ ส�ำเร็จรูป ซึง่ จะช่วยลดการพึง่ พิงแรงงาน ลดระยะเวลาการก่อสร้าง รวมถึงเพิม่ คุณภาพของงานก่อสร้างให้ดยี งิ่ ขึน้

กับการส่งเสริมความก้าวหน้าทางอาชีพของพนักงานที่เปิดโอกาส ให้พนักงานทุกคนเติบโตอย่างเท่าเทียมกัน โดยสร้างเครื่องมือและ ระบบเส้นทางการเติบโตในสายอาชีพ พร้อมทั้งมีระบบที่จะสนับสนุน สร้ า งความพร้ อ มเพื่ อ ให้ พ นั ก งานได้ เ ติ บ โตในสายอาชี พ ควบคู ่ กั บ การเติบโตทางธุรกิจขององค์กร เช่น การฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร อย่างต่อเนื่อง การวางแผนผู้สืบทอดต�ำแหน่ง (Succession Planning) การเลื่ อ นต� ำ แหน่ ง (Promotion) การบริ ห ารคนเก่ ง (Talent Management) Leadership Opportunity Matching (LOM) การพัฒนา ความสามารถด้านภาวะผู้น�ำ (Leadership Competency) ทัง้ นี้ พฤกษาฯ มีนโยบายในการให้สวัสดิการและรางวัลทีม่ คี วามเหมาะสม กับบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเหล่านี้ ซึ่งส่งผลให้พฤกษาฯ สามารถ ลดความเสี่ยงดังกล่าวลงได้

ความเสีย่ งจากการพึง่ พิงบุคลากรทีม่ คี วามรูแ้ ละความเชีย่ วชาญ ในการปฏิบัติงาน การพัฒนาบุคลากร พฤกษาฯ เป็นบริษัท ที่มีการสร้างบ้านด้วยเทคโนโลยีการก่อสร้างแบบ บริ ษั ท พฤกษา เรี ย ลเอสเตท จ� ำ กั ด (มหาชน) มุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะพั ฒ นา ผนังส�ำเร็จรูปรับน�้ำหนัก ซึ่งเป็นระบบการก่อสร้างแบบล่าสุด ซึ่งต้องมี ศั ก ยภาพและความสามารถของบุ ค ลากรให้ สู ง ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง บุ ค ลากรที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญ และมี ป ระสบการณ์ เ ฉพาะด้ า น เช่ น เพื่อให้พนักงานสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุ นักออกแบบ ทีมก่อสร้าง ทีมขาย ทีมการตลาด โดยพฤกษาฯ มีการ เป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ ทั้งในต�ำแหน่งงานปัจจุบัน และอนาคตโดย ออกแบบระบบให้ รั ก ษาและกระตุ ้ น ให้ บุ ค ลากรมี ค วามเชี่ ย วชาญ พฤกษาฯ มี Model การพัฒนา 70:20:10 กล่าวคือ ในการท�ำงาน เพือ่ ให้พนักงานสามารถปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ ทั้งในต�ำแหน่งงานปัจจุบันและอนาคต • 70 เรียนรูจ้ ากการปฏิบตั จิ ริง (Experiential Learning) เป็นรูปแบบ การพัฒนาที่เกิดจากประสบการณ์จากการท�ำงาน และการคิด พฤกษาฯ ได้ตระหนักถึงปัจจัยทางด้านบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ แก้ปัญหาผ่านจากการท�ำงานจริงทั้งที่เกิดจากการท�ำงานประจ�ำวัน และเตรียมความพร้อมในการรับมือกับความเสี่ยงดังกล่าวโดยการ หรืออาจมาจากการได้รับมอบหมายงานใหม่ๆ หรือโครงการใหม่ๆ พัฒนาบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญให้ครบทุกส่วนงานทีส่ ามารท�ำงาน ท�ำให้ต้องเรียนรู้และฝึกทักษะหลายๆอย่าง เพื่อให้งานประสบ ทดแทนกันได้ รวมทั้ง พฤกษาฯ มีการก�ำหนดนโยบายที่เกี่ยวข้อง

48


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ความส�ำเร็จ เช่น การเป็น Project Leader ของโครงการ Innovation กลางอื่นๆ ในกรณีที่มีข้อสงสัย หรือข้อร้องเรียนจากบุคคลภายนอก การเป็น Project Leader ของโครงการ Improvement การเป็น ท�ำให้สามารถสร้างความเข้าใจ แก้ไขปัญหาให้ลูกค้าจนเป็นที่ยอมรับ Change Agent การเป็นผู้น�ำทีมในการแก้ไขปัญหาต่างๆ เป็นต้น ด้วยดีเสมอมา •

20 การเรียนรูจ้ ากสิง่ รอบตัว (Learning from Others) เป็นการเรียนรู ้ ทีเ่ กิดจากทุกอย่างรอบตัว เช่น การสอนงาน (Coaching) จากหัวหน้างาน การได้รับข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) จากผู้บังคับบัญชา พี่เลี้ยง หรือจากบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องในการท�ำงาน การสังเกตผูอ้ นื่ (Observing) การขอความคิ ด เห็ น จากผู ้ อื่ น (Peer Reviewing) การเรี ย นรู ้ จากผู้เชี่ยวชาญ (Shadowing and Expert) การเรียนรู้จากจาก อินเทอร์เน็ต หรือในบางครั้งก็สามารถใช้การประชุมทีม เพื่อที่จะ ได้ เ รี ย นรู ้ ซึ่ ง กั น และกั น ในที ม งาน ซึ่ ง วิ ธี ก ารเหล่ า นี้ ก็ ถื อ เป็ น การเรียนรู้จากสิ่งรอบตัว

ทัง้ นี้ บริษทั พฤกษา โฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) เชือ่ มัน่ ว่าในการด�ำเนินธุรกิจ ของ พฤกษาฯ นั้น ได้ใช้หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ท�ำให้สามารถ พั ฒ นาสิ น ค้ า มี ก ารจั ด ซื้ อ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ หรื อ จั ด จ้ า งผู ้ รั บ จ้ า งที่ มี ประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) จึงมีความมั่นใจและไว้วางใจว่า การมีหลักการก�ำกับดูแล กิจการที่ดีของพฤกษาฯ เป็นไปเพื่อรักษาผลประโยชน์ของบริษัทเอง และเพื่อผู้ถือหุ้นอย่างเต็มที่ จึงไม่มีความเสี่ยง ทางกฎหมายจากการ ประกอบธุรกิจแต่อย่างใด

ความเสี่ยงจากภาวะวิกฤตต่างๆ อันส่งผลต่อความไม่ปลอดภัย 10 เรียนรู้ในห้องเรียน (Formal Learning) เป็นการเรียนรู้ที่เป็น ของโครงการก่อสร้าง รูปแบบมาตรฐานที่เราคุ้นเคย เช่น การเรียนรู้จากการเข้าอบรม สัมมนาทัง้ การอบรมในห้องเรียน การอบรมเชิงปฎิบตั กิ าร (Workshop) เนื่องจากธุรกิจหลักของพฤกษาฯ เป็นการก่อสร้างที่อยู่อาศัยประเภท การเข้าอบรมตามที่บริษัทก�ำหนด รวมทั้งการเข้าอบรมภายนอก ทาวน์เฮ้าส์ บ้านเดี่ยว และอาคารชุดจัดจ�ำหน่าย ซึ่งตามธรรมชาติ ของธุรกิจประเภทนีส้ งิ่ ส�ำคัญทีต่ อ้ งค�ำนึงถึงคือ อุบตั เิ หตุทอี่ าจจะเกิดขึน้ ความเสีย่ งจากการประกอบธุรกิจซึง่ อยูภ่ ายใต้กฎหมายทีเ่ ข้มงวด ในการปฏิบตั งิ าน ซงึ่ การเกิดอุบตั เิ หตุในแต่ละครัง้ อาจเกิดความสูญเสีย ทั้งชีวิตและทรัพย์สินอย่างประมาณค่ามิได้ อย่างไรก็ตาม พฤกษาฯ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจในลักษณะเป็น ได้ ต ระหนั ก และให้ ค วามส� ำ คั ญ ในการดู แ ลเรื่ อ งความปลอดภั ย Holding Company โดยการถื อ หุ ้ น ใน พฤกษาฯ ตั้ ง แต่ ป ี 2559 ต่อชีวิตและทรัพย์สินของพนักงานเป็นอย่างมาก โดยจัดให้มีการอบรม ซึ่ ง มี ธุ ร กิ จ หลั ก คื อ การพั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ก่ อ สร้ า งที่ อ ยู ่ อ าศั ย หลั ก สู ต รเกี่ ย วกั บ ความปลอดภั ย ในการปฏิ บั ติ ง านให้ กั บ พนั ก งาน ประเภททาวน์เฮ้าส์ บ้านเดี่ยว และอาคารชุด จ�ำหน่ายแก่ประชาชน ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงพนักงานใหม่ทุกคนก่อนเริ่มปฏิบัติงานกับพฤกษาฯ ทั่วไป ในการด�ำเนินการธุรกิจตลอดมา พฤกษาฯ ได้ถือปฏิบัติตาม มีก�ำหนดแนวปฏิบัติส�ำหรับการใช้อุปกรณ์ความปลอดภัย ส�ำหรับ ข้ อ บั ง คั บ ของกฎหมาย ระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ และข้ อ ก� ำ หนดของ พนักงานที่ปฏิบัติงานในพื้นที่เขตก่อสร้าง และจัดให้มี จป.วิชาชีพ หน่วยงานราชการมาโดยตลอด และสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ลูกค้าว่า ประจ�ำแต่ละโครงการ เพื่อสุ่มตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้รับเหมา สินค้าทุกประเภทของพฤกษาฯ เป็นไปตามกฎหมาย ได้รับอนุญาต และคนงานก่อสร้าง ให้เป็นไปตามหลักปฏิบัติด้านความปลอดภัย จากหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องอย่างถูกต้อง รวมถึงมีการปฏิบัติ รวมถึ ง ปรั บ ปรุ ง มาตรฐานที่ พั ก อาศั ย ของคนงานก่ อ สร้ า งให้ เ ป็ น ตามค�ำแนะน�ำ หรือค�ำสั่งของหน่วยงานราชการ หรือองค์กรหน่วยงาน •

49


รายงานประจํ า ปี 2560

มาตรฐานสากล ทั้งนี้ พฤกษาฯ ได้รับการรับรองมาตรฐานระบบบริหาร จัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHSAS 18001:2007) ในโครงการแนวสูง จึงมั่นใจได้ว่าพฤกษาฯ มีการดูแลในเรื่องความ ปลอดภัยอย่างเป็นมาตรฐานสากล

ช่องทางการบริการที่หลากหลาย นอกจากการแข่งขันกับโรงพยาบาล เอกชนในระดับเดียวกันแล้ว ยังต้องแข่งขันกับการขยายการให้บริการ ของโรงพยาบาลรัฐ เช่น คลินิกพิเศษนอกเวลา ซึ่งอาจส่งผลต่อการดึง ฐานลูกค้าของ บริษัท วิมุตฯ

2. ธุรกิจโรงพยาบาล

เพือ่ เป็นการเพิม่ ประสิทธิภาพในการให้บริการ และเพิม่ ขีดความสามารถ ในการแข่งขัน บริษัท วิมุตฯ จึงได้มีการวางกลยุทธ์ และแผนพัฒนา ธุรกิจ เพื่อเป็นโรงพยาบาลชั้นน�ำ โดยการลงทุนในอุปกรณ์การแพทย์ และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย การศึกษาข้อมูลจากลุ่ม ผู้เชี่ยวชาญ ในการน�ำเทคโลยีมาใช้ยกระดับสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ต่างๆ ให้ครอบคลุมทัง้ ด้าน Clinical และ Healthcare Facility services เพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพ และขยายการให้บริการรักษาพยาบาล อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการพิจารณาน�ำระบบการรับรองคุณภาพระดับ สากลจากสถาบัน Joint Commission International Accreditation (JCI) มาปรับใช้ตั้งแต่การวางรากฐานในการก่อสร้าง เพื่อตอกย�้ำ ความมุง่ มัน่ ในการเป็นโรงพยาบาลทีใ่ ห้มาตรฐานการรักษาระดับสากล อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันสถานการณ์ธุรกิจโรงพยาบาลยังมีแนวโน้ม การเติ บ โตที่ ดี ประชากรในพื้ น ที่ ยั ง มี ค วามต้ อ งการบริ ก ารทาง การแพทย์อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถรองรับความต้องการบริการ ทีห่ ลากหลาย รวมถึงการเข้าถึงบริการทีส่ ะดวก และรวดเร็ว บริษทั วิมตุ ฯ อาจมีการปรับเปลี่ยนแผนธุรกิจให้เหมาะสมกับสถานการณ์ทางธุรกิจ ในแต่ละช่วงเวลาได้

การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของโครงการโรงพยาบาลวิ มุ ต (โรงพยาบาลฯ) ภายใต้บริษทั โรงพยาบาล วิมตุ อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด (บริษทั วิมตุ ฯ) ต้องเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินงาน ของบริ ษั ท วิ มุ ต ฯ โดยปั จจัย เสี่ย งต่อไปนี้เป็น เพีย งประเด็น ส�ำคัญ บางประการ ที่ อ าจส่ ง ผลกระทบต่ อ บริ ษั ท วิ มุ ต ฯ และก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี่ยงในการลงทุนอย่างมีนัยส�ำคัญ ทั้งนี้ ปัจจัยเสี่ยงที่ระบุไว้ ได้อ้างอิงจากข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน และการคาดการณ์ในอนาคต เท่าที่สามารถระบุได้ แต่ในอนาคตอาจมีปัจจัยเสี่ยงที่เกิดขึ้นใหม่ เนื่องจากปัจจัยแวดล้อมของ บริษัท วิมุตฯ ที่มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งอาจ ส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท วิมุตฯ ในอนาคตได้ ความเสี่ยงจากการก่อสร้างของโครงการที่อาจคาดเคลื่อนจาก แผนการที่ก�ำหนดไว้

บริ ษั ท วิ มุ ต ฯ ได้ ก� ำ หนดแผนธุ ร กิ จ รวมถึ ง กลยุ ท ธ์ ก ารเติ บ โต ในการลงทุนก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลซึ่งมีมูลค่า 4.9 พันล้านบาท โดยวางแผนเริ่ ม ก่ อ สร้ า งในปี 2560 และมี ก� ำ หนดแล้ ว เสร็ จ ในปี 2563 ทั้งนี้ อาจมีความเสี่ยงที่ก�ำหนดการก่อสร้าง แล้วเสร็จล่าช้า ความเสีย่ งจากการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์และพยาบาล ไปกว่าแผนการที่วางไว้ ซึ่งอาจส่งผลกระทบในต่อผลการด�ำเนินงาน การให้บริการทางการแพทย์ จะต้องพึ่งพาบุคลากรทางการแพทย์ และโอกาสทางธุรกิจของ บริษัท วิมุตฯ ได้ และพยาบาลในสาขาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งปัจจุบันสามารถผลิตได้ จากปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวที่อาจเกิดขึ้น บริษัท วิมุตฯ จึงได้มีการว่าจ้าง ในจ�ำนวนจ�ำกัด นอกจากนี้ปัจจุบันผลกระทบจากการขยายตัวของ ผู ้ อ อกแบบ และที่ ป รึ ก ษาที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญและมี ป ระสบการณ์ ธุรกิจการให้บริการทางการแพทย์ ท�ำให้เกิดความต้องการบุคลากร ในการออกแบบอาคารและควบคุ ม การก่ อ สร้ า งโรงพยาบาล เพื่ อ ที่ มี คุ ณ ภาพและประสบการณ์ เ ข้ า ร่ ว มงานกั บ องค์ ก ร ซึ่ ง บุ ค ลากร ประมาณการระยะเวลาที่ เ หมาะสมในการด� ำ เนิ น การก่ อ สร้ า ง ดังกล่าวจะต้องใช้ระยะเวลานานในการพัฒนาความรู้ ความสามารถ รวมถึ ง การพิ จ ารณาจั ด ท� ำ กรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย ในระยะที่ เ ริ่ ม มี ที่เหมาะสม บริษัท วิมุตฯ จึงมีความเสี่ยงที่จะขาดแคลนบุคลากร การก่อสร้างอาคาร เพื่อรองรับความเสี่ยงจากความเสียหายที่อาจจะ วิ ช าชี พ เหล่ า นี้ จ ากความต้ อ งการที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ของโรงพยาบาลรั ฐ บาล เกิดขึ้นกับโครงการก่อสร้างดังกล่าว และพิจารณาการก�ำหนดเงื่อนไข และเอกชนในอนาคต ในสั ญ ญาว่ า จ้ า งผู ้ รั บ เหมาหลั ก (Main Contractor) โดยก� ำ หนด บริษทั วิมตุ ฯ จึงมีการพิจารณาการร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างๆ ทีม่ กี าร ค่าปรับจากการท�ำงานล่าช้า เพื่อให้สามารถเรียกเก็บจากผู้รับเหมา ผลิตบุคลากรทางการแพทย์และพยาบาล ในการให้ทุนการศึกษา หลักได้ กรณีท่ีก่อสร้างไม่แล้วเสร็จตามสัญญาที่ก�ำหนด ในรู ป แบบต่ า งๆ แก่ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาเพื่ อ ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาความรู ้ ที่ ต ่ อ เนื่ อ ง และน� ำ ความรู ้ ที่ ไ ด้ ม าใช้ กั บ การท� ำ งานร่ ว มกั บ องค์ ก ร ในอนาคตภายหลังจบการศึกษา นอกจากนีย้ งั ได้มกี ารพิจารณาก�ำหนด ปัจจุบนั การประกอบธุรกิจให้บริการทางการแพทย์ มีแนวโน้มการแข่งขัน อัตราค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสมเพื่อให้สามารถแข่งขันกับ ที่รุนแรงขึ้น จากการที่ผู้ประกอบการรายใหญ่ในตลาดมีการควบรวม ผู้ประกอบการรายอื่นในกลุ่มธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน ซึ่งคาดการณ์ว่า กิจการอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้มีข้อได้เปรียบเรื่องต้นทุนการรักษา รวมถึง จะสามารถลดผลกระทบด้านลบในปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวลง ความเสี่ยงจากการแข่งขันในธุรกิจให้บริการทางการแพทย์

50


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ปัจจัยความเสี่ยงอื่นๆ ความเสี่ยงจากการด�ำเนินงานอยู่ภายใต้การควบคุมของกลุ่ม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เมื่ อ 31 ธั น วาคม 2560 กลุ ่ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ ที่ สุ ด คื อ กลุ ่ ม วิจิตรพงศ์พันธุ์ ซึ่งถือหุ้นใน บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) จ�ำนวน 1,650,215,749 หุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 75.46 ของทุนช�ำระแล้วทั้งหมดของบริษัทฯ ทั้งนี้กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ยังคง สามารถทีจ่ ะควบคุมการลงมติผถู้ อื หุน้ ในเรือ่ งทีส่ ำ� คัญต่างๆ ทีก่ ฎหมาย หรื อ ข้ อ บั ง คั บ ได้ ก� ำ หนดให้ ต ้ อ งได้ รั บ คะแนนเสี ย งข้ า งมาก ของจ�ำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง ลงคะแนน นอกจากนี้ นายทองมา วิ จิ ต รพงศ์ พั น ธุ ์ ซึ่ ง เป็ น ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายหนึ่ ง ในกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ โดยถือหุ้นจ�ำนวน 1,314,009,986 หุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 60.09 ของทุนช�ำระแล้วทั้งหมดของบริษัทฯ และยังจะคงด�ำรงต�ำแหน่งเป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มและ เป็ น กรรมการผู ้ มี อ� ำ นาจลงนามของบริ ษั ท ฯ ดั ง นั้ น ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายอื่ น จึ ง อาจไม่ ส ามารถรวบรวมคะแนนเสี ย งเพื่ อ ตรวจสอบและถ่ ว งดุ ล กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ได้ ความเสี่ยงเรื่องผลกระทบต่อส่วนแบ่งก�ำไรต่อหุ้นและอ�ำนาจ ควบคุ ม จากการใช้ สิ ท ธิ์ ต ามใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ จ ะซื้ อ หุ ้ น สามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ บริษัทฯ มีการออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ (“ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ”) ให้แก่กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ, พฤกษาฯ และ/หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ยของพฤกษาฯ ทั้ ง หมด 2 ชุ ด คื อ PSH-WF และ PSH-WG เพื่อทดแทนใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น สามัญของพฤกษาฯ ที่ถูกยกเลิกไปตามแผนการปรับโครงสร้างกิจการ ทั้งนี้ หากใบส�ำคัญแสดงสิทธิดังกล่าวถูกใช้สิทธิ ผู้ถือหุ้นจะได้รับ ผลกระทบต่ อ ส่ ว นแบ่ ง ก� ำ ไรต่ อ หุ ้ น (earnings dilution) และผล กระทบด้านสัดส่วนการถือหุ้น (control dilution) โดยหากใบส�ำคัญ แสดงสิทธิทั้ง 2 ชุดถูกจัดสรรทั้งหมดและมีการใช้สิทธิเต็มจ�ำนวน

51


รายงานประจํ า ปี 2560

ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลส�ำคัญอื่น ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ ชื่อบริษัท

:

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ประเภทธุรกิจ

:

ประกอบธุรกิจถือหุ้นในบริษัทอื่น (Holding company)

ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

1177 อาคารเพิร์ล แบงก์ค็อก ชั้น 24 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400

เลขทะเบียนบริษัท

:

0107559000052

Home Page

:

http://www.psh.co.th

โทรศัพท์

:

66 (0) 2080 1739

โทรสาร

:

66 (0) 2080 1700

ทุนจดทะเบียน (บาท)

:

2,226,383,180 บาท

ทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว (บาท) :

2,186,796,580 บาท

แบ่งออกเป็น

หุ้นสามัญ 2,186,796,580 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท

:

ข้อมูลของนิติบุคคลที่บริษัทฯ ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป ชื่อบริษัท

:

บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน)

ประเภทธุรกิจ

:

ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทบ้านทาวน์เฮ้าส์ บ้านเดี่ยว และอาคารชุด

ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

1177 อาคารเพิร์ล แบงก์ค็อก ชั้น 23 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400

เลขทะเบียนบริษัท

:

0107548000307

Home Page

:

http://www.pruksa.com

โทรศัพท์

:

66 (0) 2080 1735

โทรสาร

:

66 (0) 2080 1700

ทุนจดทะเบียน (บาท)

:

2,232,682,000 บาท

ทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว (บาท) :

2,232,682,000 บาท

แบ่งออกเป็น

หุ้นสามัญ 2,232,682,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท

52

:


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ข้อมูลทั่วไปของบริษัทในเครือ 1) บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) สถานที่ต้ังส�ำนักงานใหญ่ : เลขที่ 1177 อาคารเพิร์ล แบงก์ค็อก ชั้น 23 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 ประเภทธุรกิจ : ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทบ้านทาวน์เฮ้าส์ บ้านเดี่ยว และอาคารชุด เลขทะเบียนบริษัท : บมจ. 0107548000307 โทรศัพท์ : 0-2080-1739 โทรสาร : 0-2080-1700 Homepage : www.pruksa.com 2) ส�ำนักงานสาขา ที่ 1 โรงงาน PS Precast (ล�ำลูกกา) สถานที่ต้ังโรงงาน : 54/1 หมู่ 4 ถนนล�ำลูกกา ต�ำบลลาดสวาย อ�ำเภอล�ำลูกกา จังหวัดปทุมธานี ประเภทธุรกิจ : โรงงานผลิตชิ้นส่วนคอนกรีตเสริมเหล็กส�ำเร็จรูป ผลิตรั้ว และเสาส�ำเร็จรูป โทรศัพท์ : 0-2532-8124 -32 โทรสาร : 0-2532-8123 3) ส�ำนักงานสาขาที่ 2 โรงงาน PS Precast (นวนคร) สถานที่ต้ังโรงงาน : 69/5 หมู่ 11 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ประเภทธุรกิจ : โรงงานผลิตชิ้นส่วนคอนกรีตเสริมเหล็กส�ำเร็จรูป ผลิตรั้ว และเสาส�ำเร็จรูป โทรศัพท์ : 0-2532-8124-32 โทรสาร : 0-2532-8123 4) บริษัท เกสรก่อสร้าง จ�ำกัด (บริษัทย่อย) สถานที่ต้ังส�ำนักงานใหญ่ : เลขที่ 1177 อาคารเพิร์ล แบงก์ค็อก ชั้น 21 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 ประเภทธุรกิจ : รับเหมาและตกแต่ง โทรศัพท์ : 0-2080-1739 5) บริษัท พุทธชาด เอสเตท จ�ำกัด (บริษัทย่อย) สถานที่ต้ังส�ำนักงานใหญ่ : เลขที่ 1177 อาคารเพิร์ล แบงก์ค็อก ชั้น 21 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 ประเภทธุรกิจ : พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โทรศัพท์ : 0-2080-1739 6) บริษัท พนาลี เอสเตท จ�ำกัด (บริษัทย่อย) สถานที่ต้ังส�ำนักงานใหญ่ : เลขที่ 1177 อาคารเพิร์ล แบงก์ค็อก ชั้น 20 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 ประเภทธุรกิจ : พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โทรศัพท์ : 0-2080-1739

53


รายงานประจํ า ปี 2560

7) บริษัท พฤกษา โอเวอร์ซีส์ จ�ำกัด (บริษัทย่อย) สถานที่ต้ังส�ำนักงานใหญ่ : เลขที่ 1177 อาคารเพิร์ล แบงก์ค็อก ชั้น 23 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 ประเภทธุรกิจ : ลงทุนในหุ้น โทรศัพท์ : 0-2080-1739 8) บริษัท พฤกษา อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (บริษัทย่อย) สถานที่ต้ังส�ำนักงานใหญ่ : เลขที่ 1177 อาคารเพิร์ล แบงก์ค็อก ชั้น 23 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 ประเภทธุรกิจ : พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในต่างประเทศ โทรศัพท์ : 0-2080-1739 9) บริษัท พฤกษา โอเวอร์ซีส์ เซอร์วิส จ�ำกัด (บริษัทย่อย) สถานที่ต้ังส�ำนักงานใหญ่ : เลขที่ 1177 อาคารเพิร์ล แบงก์ค็อก ชั้น 23 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 ประเภทธุรกิจ : ให้บริการสนับสนุนแก่วิสาหกิจในเครือ หรือสาขาของตนทั้งภายในและภายนอกประเทศ (ROH) โทรศัพท์ : 0-2080-1739 (อยู่ระหว่างช�ำระบัญชี) 10) บริษัท พฤกษา อินเดีย เฮาส์ซิ่ง จ�ำกัด (Pruksa India Housing Private Limited) (บริษัทย่อย) สถานที่ต้ังส�ำนักงานใหญ่ : Ground Floor, No. 61/1 Commercial Complex, Near Gokul Towers, Dr. M.S. Ramaiah Road, Gokula, Bangalore-560054 Karnataka, Republic of India ประเภทธุรกิจ : พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในอินเดีย 11) บริษัท พฤกษา อินเดีย คอนสตรัคชั่น จ�ำกัด (Pruksa India Construction Private Limited) (บริษัทย่อย) สถานที่ต้ังส�ำนักงานใหญ่ : Ground Floor, No. 61/1 Commercial Complex, Near Gokul Towers, Dr. M.S. Ramaiah Road, Gokula, Bangalore-560054 Karnataka, Republic of India ประเภทธุรกิจ : รับเหมาก่อสร้างในอินเดีย (อยู่ระหว่างช�ำระบัญชี) 12) บริษัท พฤกษา ลักโซร่า เฮ้าส์ซิ่ง จ�ำกัด (Pruksa-Luxora Housing Private Limited) (บริษัทร่วมทุน) สถานที่ต้ังส�ำนักงานใหญ่ : Soham House, Hari Om Nagar, Off. Eastern Express Highway, Muland (East), Mumbai - 400081 Maharashtra, Republic of India ประเภทธุรกิจ : พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในอินเดีย 13) บริษัท พฤกษา เวียดนาม จ�ำกัด (Pruksa Vietnam Company Limited) (บริษัทย่อย) สถานที่ต้ังส�ำนักงานใหญ่ : Unit A, 8th Floor, No.116 Nguyen Duc Canh, Cat Dai Ward, Le Chan District, Hai Phong, Vietnam ประเภทธุรกิจ : พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในเวียดนาม 14) บริษัท พฤกษา-เอชดีซี เฮาส์ซิ่ง จ�ำกัด (Pruksa-HDC Housing Private Limited) (บริษัทร่วมทุน) สถานที่ต้ังส�ำนักงานใหญ่ : 2nd Floor, HDC Building, Hulhumale, Republic of Maldives ประเภทธุรกิจ : พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในมัลดีฟส์

54


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

15) บริษัท เกสร ก่อสร้าง จ�ำกัด สาขามัลดีฟส์ (บริษัทย่อย) สถานที่ต้ังส�ำนักงานใหญ่ : 2nd Floor, HDC Building, Hulhumale, Republic of Maldives ประเภทธุรกิจ : รับเหมาก่อสร้างและตกแต่ง 16) บริษัท โรงพยาบาลวิมุต โฮลดิ้ง จํากัด สถานที่ต้ังส�ำนักงานใหญ่ : เลขที่ 1177 อาคารเพิร์ล แบงก์ค็อก ชั้น 14 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 เลขทะเบียนบริษัท บมจ. : 0105560030421 โทรศัพท์ : 0-2080-1739 โทรสาร : 0-2080-1700 17) บริษัท โรงพยาบาลวิมุต อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด สถานที่ต้ังส�ำนักงานใหญ่ : เลขที่ 1177 อาคารเพิร์ล แบงก์ค็อก ชั้น 14 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 เลขทะเบียนบริษัท บมจ. : 0105560032106 โทรศัพท์ : 0-2080-1739 โทรสาร : 0-2080-1700

ข้อมูลของบุคคลอ้างอิงอื่นๆ นายทะเบียนหลักทรัพย์ ชื่อบริษัท สถานที่ต้ังส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร

: : : :

บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 93 อาคารส�ำนักงานตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 0-2009-9000 0-2009-9991

นายทะเบียนหุ้นกู้ (หุ้นกู้ออกโดย บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน)) ชื่อบริษัท : ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) สถานที่ต้ังส�ำนักงานใหญ่ : 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120 เบอร์โทรศัพท์ : 1572 ผู้สอบบัญชี นางสาววรรณพร จงพีรเดชานนท์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 4098 และ/หรือ นายเจริญ ผู้สัมฤทธิ์เลิศ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 4068 และ/หรือ นางสาวมาริษา ธราธรบรรพกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 5752 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชยสอบบัญชี จ�ำกัด สถานที่ต้ังส�ำนักงานใหญ่ : 195 เอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 22 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ : 0-2677-2000

55


รายงานประจํ า ปี 2560

ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น 1. จ�ำนวนทุนจดทะเบียนและทุนช�ำระแล้ว ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 บริ ษั ท ฯ มี ทุ น จดทะเบี ย นจ� ำ นวน 2,226,383,180 บาท แบ่ ง เป็ น หุ ้ น สามั ญ จ� ำ นวน 2,226,383,180 หุ ้ น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท โดยเป็นทุนช�ำระแล้วจ�ำนวน 2,186,796,580 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจ�ำนวน 2,186,796,580 หุ้น โดยที่ประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2560 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2560 มีมติให้ลดทุนจดทะเบียนจาก 2,273,217,600 บาท เป็น 2,226,383,180 บาท โดยการตัดหุ้นสามัญที่เหลือจากการรองรับการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ของบริษัทฯ จ�ำนวน 46,834,420 หุ้น

2. ผู้ถือหุ้น รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีดังนี้

กลุ่มวิจิตรพงศ์พันธุ์

การถือหุ้น จำ�นวนหุ้นที่ถือ สัดส่วนการถือหุ้น (หุ้น) (ร้อยละ) 1,650,251,749 75.46

นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์

1,314,009,986

60.09

นางทิพย์สุดา วิจิตรพงศ์พันธุ์

85,000,000

3.89

นางสาวชัญญา วิจิตรพงศ์พันธุ์

85,000,000

3.89

นางสาวมาลินี วิจิตรพงศ์พันธุ์

85,000,000

3.89

นางรัตนา พรมสวัสดิ์

42,221,462

1.93

นายจีระเทพ พรมสวัสดิ์

13,000,000

0.59

นางสาวจันทร์ธนา พรมสวัสดิ์

13,000,000

0.59

นายจ�ำลอง พรมสวัสดิ์

12,500,000

0.57

นายโสฬส วิจิตรพงศ์พันธุ์

415,100

0.02

นางพัดชา วิจิตรพงศ์พันธุ์

76,000

0.00

นายถาวร วิจิตรพงศ์พันธุ์

29,200

0.00

1

0.00

ลำ�ดับที่ 1.

รายชื่อผู้ถือหุ้น

(1)

นางสาวอัญชลี วิจิตรพงศ์พันธุ์

56

2.

ส�ำนักงานประกันสังคม

84,452,800

3.86

3.

บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด

47,856,603

2.19

4.

STATE STREET BANK EUROPE LIMITED

20,026,161

0.92

5.

บริษัทหลักทรัพย์ เมย์แบงก์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน)

13,611,500

0.62

6.

กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ เค มาสเตอร์ พูล ฟันด์ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว

11,283,000

0.52

7.

นายอนุชา กิจธนามงคลชัย

10,970,000

0.50


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ลำ�ดับที่ 8. 9. 10.

รายชื่อผู้ถือหุ้น

(1)

STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY EAST FOURTEEN LIMITED-DFA EMERG MARKET CORE EQ PORT กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ พนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ซึ่งจดทะเบียนแล้ว โดย บลจ. บัวหลวง จ�ำกัด รวม 10 อันดับแรก จากจ�ำนวนหุ้นทั้งหมด

การถือหุ้น จำ�นวนหุ้นที่ถือ สัดส่วนการถือหุ้น (หุ้น) (ร้อยละ) 8,677,400

0.40

7,775,400

0.36

7,446,600

0.34

1,862,351,213 2,186,796,580

85.16 100.00

หมายเหตุ : (1) โครงสร้างผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรกของบริษัทฯ ถูกจัดกลุ่มตามความสัมพันธ์ของผู้ถือหุ้น ซึ่งเป็นการเปิดเผยตามมาตรา 69 ของพระราชบัญญัติ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ พ.ศ. 2535 โดยไม่ เ กี่ ย วกั บ ลั ก ษณะความสั ม พั น ธ์ ห รื อ พฤติ ก รรมที่ เ ข้ า ลั ก ษณะเป็ น การกระท� ำ ร่ ว มกั บ บุ ค คลอื่ น ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 7/2552 แต่อย่างใด

ข้อจ�ำกัดการถือหุ้นของชาวต่างชาติ ผู้ถือหุ้นที่เป็นชาวต่างชาติสามารถถือหุ้นของบริษัทฯ รวมกันได้ไม่เกินร้อยละ 40 ของหุ้นที่ออกและช�ำระแล้ว

3. ผู้ถือรายใหญ่ของบริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจหลักของบริษัท (ตามเกณฑ์ Holding Company) ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ของบริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจหลักของบริษัท วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีดังนี้ ลำ�ดับที่

รายชื่อผู้ถือหุ้น

1.

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

2.

HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD

3.

การถือหุ้น จำ�นวนหุ้นที่ถือ สัดส่วนการถือหุ้น (หุ้น) (ร้อยละ) 2,185,847,580

97.90

19,036,290

0.85

CHASE NOMINEES LIMITED

7,721,100

0.35

4.

นายประยุทธ เอื้อวัฒนา

3,060,000

0.14

5.

นายพิสิฐ ลี้อาธรรม

1,329,900

0.06

6.

นางสุภาพร จันทร์เสรีวิทยา

1,000,000

0.04

7.

นายบาห์รัทบูซัน กวาตรา

1,000,000

0.04

8.

นายสุโชติ ฉันท์วิภว

875,900

0.04

9.

BNP PARIBAS SECURITIES SERVICES ZWEIGNIEDERLASSUNG FRANKFURT AM MAIN

727,800

0.03

10.

นายสมิทธิ เก่งอนันต์สกุล

585,400

0.03

รวม 10 อันดับแรก

2,221,183,970

99.48

จากจ�ำนวนหุ้นทั้งหมด

2,232,682,000

100.00

57


รายงานประจํ า ปี 2560

4. หุ้นกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ออกโดย บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) มีหุ้นกู้ที่ยังไม่ครบก�ำหนดไถ่ถอนจ�ำนวนรวม 21,500 ล้านบาท แบ่งออกเป็น 7 ชุด รายละเอียดมีดังนี้ ชื่อเฉพาะของหุ้นกู้ของ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จำ�กัด (มหาชน) ประเภทของหุ้นกู้

ครั้งที่ 1/2556 ครั้งที่ 2/2557 ครั้งที่ 1/2558 ครบกำ�หนดไถ่ถอน ครบกำ�หนดไถ่ถอน ครบกำ�หนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2560 และ พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2561 และ พ.ศ. 2563 หุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน ไม่มีหลักประกันและไม่ด้อยสิทธิ

สถานะของหุ้นกู้ ผู้จัดการการจัดจำ�หน่ายหุ้นกู้, นายทะเบียนหุ้นกู้และ ตัวแทนชำ�ระเงิน

ธนาคารกสิกรไทย, ธนาคารไทยพาณิชย์

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา, ธนาคารยูโอบี

มูลค่าที่ตราไว้ต่อหน่วย

1,000 (หนึ่งพัน) บาท

ราคาเสนอขายต่อหน่วย

1,000 (หนึ่งพัน) บาท

ธนาคารกสิกรไทย

มูลค่ารวมของหุ้นกู้ที่เสนอขาย

6,000,000,000 บาท (คงเหลือ 3,000,000,000 บาท)

4,000,000,000 บาท (คงเหลือ 2,000,000,000 บาท)

3,000,000,000 บาท

จำ�นวนหุ้นกู้ที่เสนอขาย

6,000,000 หน่วย (คงเหลือ 3,000,000,000 หน่วย)

4,000,000 หน่วย (คงเหลือ 2,000,000,000 หน่วย)

3,000,000 หน่วย

อายุหุ้นกู้

3 ปี 1 เดือน และ 5 ปี นับจากวันออกหุ้นกู้

2 ปี 9 เดือน และ 3 ปี 6 เดือน นับจากวันที่ออกหุ้นกู้

3 ปี 6 เดือน และ 5 ปี นับจากวันที่ออกหุ้นกู้

วันที่ออกหุ้นกู้

15 พฤษภาคม 2556

17 กันยายน 2557

13 พฤษภาคม 2558

ชุดที่ 1: 15 มิถุนายน 2559 (ครบกำ�หนดไถ่ถอนแล้ว)

ชุดที่ 1: 17 มิถุนายน 2560 (ครบกำ�หนดไถ่ถอนแล้ว)

ชุดที่ 1: 13 พฤศจิกายน 2561

ชุดที่ 2: 15 พฤษภาคม 2561

ชุดที่ 2 : 17 มีนาคม 2561

ชุดที่ 2 : 13 พฤษภาคม 2563

ชุดที่ 1 : 3.58% ต่อปี จำ�นวน 3,000,000,000 บาท

ชุดที่ 1 : 3.71% ต่อปี จำ�นวน 2,000,000,000 บาท**

ชุดที่ 1 : 2.68% ต่อปี จำ�นวน 1,000,000,000 บาท**

ชุดที่ 2 : 4.09% ต่อปี จำ�นวน 3,000,000,000 บาท**

ชุดที่ 2 : 3.90% ต่อปี จำ�นวน 2,000,000,000 บาท**

ชุดที่ 2 : 3.23% ต่อปี จำ�นวน 2,000,000,000 บาท**

การชำ�ระดอกเบี้ย

ทุกๆ 3 (สาม) เดือน

ทุกๆ 3 (สาม) เดือน

ทุกๆ 3 (สาม) เดือน

การไถ่ถอนหุ้นกู้

ผู้ออกหุ้นกู้จะทำ�การไถ่ถอนหุ้นกู้ในวันครบกำ�หนดไถ่ถอนหุ้นกู้โดยการชำ�ระเงินต้นตามมูลค่าที่ตราไว้ ของหุ้นกู้และดอกเบี้ยงวดสุดท้ายที่ยังไม่ได้ชำ�ระ (ถ้ามี)

การซื้อคืนหุ้นกู้

ผู้ออกหุ้นกู้มีสิทธิซื้อคืนหุ้นกู้จากตลาดรองหรือแหล่งอื่นๆ ได้ไม่ว่าในเวลาใดๆ

วันครบกำ�หนดไถ่ถอนหุ้นกู้

อัตราดอกเบี้ยของหุ้นกู้

การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ของหุ้นกู้ โดย บริษัท ทริส เรทติ้ง จำ�กัด (TRIS)

“A” เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2556

** มีการปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ย 0.10% เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2559

58

“A” เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2557

“A” เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2558


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ครั้งที่ 1/2559 ครบกำ�หนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2562

ครั้งที่ 1/2560 ครั้งที่ 2/2560 ครบกำ�หนดไถ่ถอน ครบกำ�หนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2562 และ พ.ศ. 2563 ปี พ.ศ. 2563 หุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน

ครั้งที่ 3/2560 ครบกำ�หนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2564

ไม่มีหลักประกันและไม่ด้อยสิทธิ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา, ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย, ธนาคารธนชาต

ธนาคารกรุงไทย, ธนาคารยูโอบี

ธนาคารยูโอบี

ธนาคารไทยพาณิชย์

1,000 (หนึ่งพัน) บาท 1,000 (หนึ่งพัน) บาท 4,000,000,000 บาท

5,000,000,000 บาท

2,500,000,000 บาท

2,000,000,000 บาท

4,000,000 หน่วย

5,000,000 หน่วย

2,500,000 หน่วย

2,000,000 หน่วย

3 ปี และ 3 ปี 6 เดือน นับจากวันที่ออกหุ้นกู้

2 ปี 9 เดือน 26 วัน และ 3 ปี 5 เดือน 28 วัน นับจากวันที่ออกหุ้นกู้

3 ปี 5 เดือน 5 วัน นับจากวันที่ออกหุ้นกู้

3 ปี 6 เดือน นับจากวันที่ออกหุ้นกู้

17 มีนาคม 2559

3 กุมภาพันธ์ 2560

15 มิถุนายน 2560

19 กันยายน 2560

ชุดที่ 1: 21 มีนาคม 2562

ชุดที่ 1: 29 พฤศจิกายน 2562

ชุดที่ 1: 20 พฤศจิกายน 2563

ชุดที่ 1: 19 มีนาคม 2564

ชุดที่ 2 : 17 กันยายน 2562

ชุดที่ 2 : 31 กรกฎาคม 2563

ชุดที่ 1 : 2.05% ต่อปี จำ�นวน 2,300,000,000 บาท

ชุดที่ 1 : 2.63% ต่อปี จำ�นวน 2,400,000,000 บาท

ชุดที่ 1 : 2.64% ต่อปี จำ�นวน 2,500,000,000 บาท

ชุดที่ 1 : 2.27% ต่อปี จำ�นวน 2,000,000,000 บาท

ชุดที่ 2 : 2.08% ต่อปี จำ�นวน 1,700,000,000 บาท

ชุดที่ 2 : 2.85% ต่อปี จำ�นวน 2,600,000,000 บาท

ทุกๆ 3 (สาม) เดือน

ทุกๆ 3 (สาม) เดือน

ทุกๆ 6 (หก) เดือน

ทุกๆ 6 (หก) เดือน

ผู้ออกหุ้นกู้จะทำ�การไถ่ถอนหุ้นกู้ในวันครบกำ�หนดไถ่ถอนหุ้นกู้โดยการชำ�ระเงินต้นตามมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นกู้และดอกเบี้ย งวดสุดท้ายที่ยังไม่ได้ชำ�ระ (ถ้ามี) ผู้ออกหุ้นกู้มีสิทธิซื้อคืนหุ้นกู้จากตลาดรองหรือแหล่งอื่นๆ ได้ไม่ว่าในเวลาใดๆ “A” เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2559

“A” เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2560

“A” เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560

“A” เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2560

59


รายงานประจํ า ปี 2560

5. การออกหลักทรัพย์อื่น บริษัทฯ มีใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ให้กรรมการและผู้บริหารของกลุ่มบริษัทฯ ทั้งหมด 3 รุ่น ได้แก่ PSH-WE จ�ำนวน 13,591,700 หน่วย, PSH-WF จ�ำนวน 11,933,900 หน่วย และ PSH-WG จ�ำนวน 15,000,000 หน่วย โดยใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ทั้ง 3 รุ่นสามารถใช้สิทธิได้ปีละ 4 ครั้งคือ ระหว่างเวลา 8.30 น. ถึง 15.30 น. ของวันท�ำการสุดท้ายของเดือนกุมภาพันธ์ พฤษภาคม สิ ง หาคม และพฤศจิ ก ายนของแต่ ล ะปี เว้ น แต่ ก ารใช้ สิ ท ธิ ค รั้ ง สุ ด ท้ า ยซึ่ ง สามารถใช้ สิ ท ธิ ไ ด้ ภ ายในวั น ครบก� ำ หนดอายุ ข องใบส� ำ คั ญ แสดงสิทธิ

60


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

นโยบายและการจ่ายเงินปันผล นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท บริษัทฯ มีนโยบายที่จะพิจารณาจ่ายเงินปันผลประจ�ำปีให้แก่ผู้ถือหุ้นปีละ 2 ครั้ง ในอัตรารวมแล้วไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 50 ของก�ำไรสุทธิของ งบการเงินรวมของบริษัทฯ ภายหลังหักภาษีเงินได้นิติบุคคลประจ�ำปีและเงินทุนส�ำรองต่างๆ ตามกฎหมายแล้ว โดยบริษัทฯ มีวัตถุประสงค์ ในการจัดตั้งเพื่อไปลงทุนในบริษัทอื่นเป็นหลัก โดยในการจ่ายเงินปันผลของบริษัทฯ นอกจากจะขึ้นอยู่กับผลการด�ำเนินงานของบริษัท ทีเ่ ข้าไปลงทุนแล้ว ยังขึน้ อยู่กบั นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย และ/หรือบริษัทร่วมทีบ่ ริษัทฯ เข้าไปลงทุนอีกด้วย โดยในปัจจุบันบริษัทฯ มีการลงทุนในบริษัทย่อย 2 บริษัท คือ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) (“พฤกษาฯ”) และ บริษัท โรงพยาบาลวิมุต โฮลดิ้ง จ�ำกัด แต่เนื่องจาก บริษัท โรงพยาบาลวิมุต โฮลดิ้ง จ�ำกัด อยู่ในช่วงลงทุนในธุรกิจโรงพยาบาลและยังไม่มีรายได้ ดังนั้น ความสามารถในการ จ่ายเงินปันผลของบริษัทฯ จะขึ้นอยู่กับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) อีกทั้งยังขึ้นอยู่กับ แผนการลงทุน เงื่อนไขและข้อจ�ำกัดตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) ความจ�ำเป็นและความเหมาะสม รวมถึงปัจจัยด้านอื่นๆ ในอนาคต ตามที่คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควร เพื่อให้เป็นไปตามแผนการเติบโตทางธุรกิจของบริษัทฯ ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลดังกล่าว จะไม่เกินก�ำไรสะสมที่ปรากฏอยู่ในงบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ และเป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

เงินปันผลที่บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นมีดังนี้ กำ�ไรสุทธิจาก สำ�หรับ งบการเงิ นรวม ผลการดำ�เนินงาน (ล้านบาท) 2560

5,574.13

กำ�ไรสุทธิ ส่วนทีเ่ ป็นของ บริษทั ใหญ่ (ล้านบาท) 5,456.42

อัตรากำ�ไรสุทธิ อัตราร้อยละ ต่อหุ้น เงินปันผลต่อหุน้ ของการจ่าย (งบการเงินรวม) เงินปันผล (%) 2.50

2.09

84

วันที่จ่าย เงินปันผล 23 พ.ค. 61

หมายเหตุ: 1) การจ่ายเงินปันผลจากผลการด�ำเนินงานประจ�ำปี 2560 จ�ำนวน 2.09 บาทต่อหุ้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญประจ�ำปีผู้ถือหุ้นที่จัดขึ้น ในวันศุกร์ที่ 27 เมษายน 2561 2) เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2560 มีการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจากผลการด�ำเนินงานงวด 4 เดือนแรก ในอัตรา 0.80 บาทต่อหุ้นและวันที่ 8 กันยายน 2560 มีการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจากผลการด�ำเนินงานงวด 6 เดือนแรก ในอัตรา 0.57 บาทต่อหุ้น

นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย/บริษัทร่วม บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) (“พฤกษาฯ”) มีนโยบายที่จะพิจารณาจ่ายเงินปันผลประจ�ำปีให้แก่ผู้ถือหุ้นปีละ 2 ครั้ง ในอัตราไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 50 ของก�ำไรสุทธิของงบการเงินรวมของพฤกษาฯ ภายหลังจากการหักทุนส�ำรองต่างๆ ทั้งหมดแล้ว อย่างไรก็ตาม การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับแผนการลงทุน ความจ�ำเป็นและความเหมาะสมอื่นๆ ในอนาคต ตามที่ คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควร ส�ำหรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อยนั้น บริษัทย่อยจะจ่ายเงินปันผลให้พฤกษาฯ จากก�ำไรสุทธิ ของบริ ษั ท ย่ อ ย ทั้ ง นี้ การจ่ า ยเงิ น ปั น ผลให้ น� ำ ปั จ จั ย ต่ า งๆ มาพิ จ ารณาประกอบกั น ได้ แ ก่ ผลการด� ำ เนิ น งานและฐานะการเงิ น ของ บริษัทย่อย สภาพคล่องของบริษัทย่อย การขยายธุรกิจและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการบริหารงานของบริษัทย่อย นอกจากนี้ ในการจ่ายเงินปันผลของ บมจ. พฤกษา เรียลเอสเตท เฉพาะกรณีจ่ายจากก�ำไรสุทธิจากกิจการของ บมจ. พฤกษา เรียลเอสเตท ที่ บมจ. พฤกษา เรียลเอสเตท ได้รับสิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI ผู้ที่ได้รับเงินปันผลดังกล่าวจะได้รับการยกเว้น ไม่ต้องน�ำเงินปันผลที่ได้รับไปรวมค�ำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ และ บมจ. พฤกษา เรียลเอสเตท ไม่มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายในเงินปันผลดังกล่าว

61


รายงานประจํ า ปี 2560

โครงสร้างการจัดการ 1. โครงสร้างองค์กร โครงสร้างองค์กรของ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 สามารถแสดงได้ดังแผนผังต่อไปนี้ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบรรษัทภิบาล สายงานตรวจสอบภายใน และก�ำกับดูแลกิจการ

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ระดับองค์การ คณะกรรมการตรวจสอบ เลขานุการบริษัท

คณะกรรมการบริหาร

ประธานกรรมการบริหาร และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม

รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม

กลุ่มธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์

62

กลุ่มธุรกิจ โรงพยาบาลวิมุต โฮลดิ้ง

สายงาน การเงินกลุ่ม

สายงาน จัดซื้อจัดจ้าง และ ซัพพลายเชนกลุ่ม

สายงานบริหาร กลางกลุ่ม

สายงานการตลาด องค์กรกลุ่ม


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

2. คณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย ปัจจุบันโครงสร้างการจัดการของบริษัทฯ ประกอบด้วยคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย 5 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งระดั บ องค์ ก าร คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าล คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน และ คณะกรรมการบริหาร โดยปัจจุบัน คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยของบริษัทฯ มีดังนี้ 2.1 คณะกรรมการบริษัท ตามข้อบังคับของบริษัทฯ ระบุว่า คณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อย 5 คน โดยกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมดจะต้องมีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย ทั้งนี้ในการด�ำเนินกิจการนั้นกรรมการต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ฯ ตลอดจนมติ ข องที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต และระมั ด ระวั ง รั ก ษาผลประโยชน์ ของบริษัทฯ โดยปัจจุบันคณะกรรมการของบริษัทฯ (ตามหนังสือรับรองกระทรวงพาณิชย์ ลงวันที่ 4 ธันวาคม 2560) ซึ่งมีคุณสมบัติตาม มาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จ�ำกัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง มีจ�ำนวน 12 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้ ชือ่ 1. ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม 2. นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์ 3. ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ 4. นายอดุลย์ จันทนจุลกะ 5. นายวีระชัย งามดีวิไลศักดิ์ 6. ดร.อนุสรณ์ แสงนิ่มนวล 7. ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล 8. ศ.นพ.ปิยะมิตร ศรีธรา(1) 9. นายวิเชียร เมฆตระการ 10. นางรัตนา พรมสวัสดิ์ 11. นายปิยะ ประยงค์ 12. นายประเสริฐ แต่ดุลยสาธิต(2)

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการและกรรมการอิสระ รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

หมายเหตุ : (1) ศ.นพ. ปิยะมิตร ศรีธรา ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท ตั้งแต่วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 เป็นต้นมา (2) นายประเสริฐ แต่ดุลยสาธิต ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท ตั้งแต่วันที่ 27 เมษายน 2560 เป็นต้นมา นายเลอศักดิ์ จุลเทศ พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการบริษัท ตั้งแต่วันที่ 27 เมษายน 2560 เป็นต้นมา

เลขานุการคณะกรรมการบริษัท ได้แก่ นายไพศาล ร�ำพรรณ์ ต�ำแหน่งเลขานุการบริษัท กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัท กรรมการผู ้ มี อ� ำ นาจลงนามแทนบริ ษั ท ฯ คื อ นายทองมา วิ จิ ต รพงศ์ พั น ธุ ์ หรื อ นายประเสริ ฐ แต่ ดุ ล ยสาธิ ต ลงลายมื อ ชื่ อ ร่ ว มกั บ นายปิยะ ประยงค์ หรือนายวิเชียร เมฆตระการ หรือนางรัตนา พรมสวัสดิ์ รวมเป็นสองคนและประทับตราส�ำคัญของบริษัทฯ การรวม หรือแยกต�ำแหน่ง ประธานกรรมการบริษัทไม่ได้เป็นกรรมการที่เป็นผู้บริหารและไม่เป็นบุคคลเดียวกันกับประธานกรรมการบริหารหรือประธานเจ้าหน้าที่ บริหารกลุ่ม อีกทั้งไม่มีความสัมพันธ์ใดๆ กับฝ่ายบริหาร ซึ่งเป็นการแบ่งแยกหน้าที่ในการก�ำหนดนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการและการบริหาร งานประจ�ำไว้อย่างชัดเจน

63


รายงานประจํ า ปี 2560

บทบาทหน้าที่ของประธานกรรมการบริษัท ประธานกรรมการบริ ษั ท มี ห น้ า ที่ แ สดงบทบาทของผู ้ น� ำ และเป็ น ผู ้ ค วบคุ ม การประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท และการประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยสนับสนุนให้กรรมการทุกคน มีส่วนร่วมในการประชุม ช่วยเหลือ แนะน�ำ สอดส่องดูแลและสนับสนุน การด�ำเนินธุรกิจของฝ่ายบริหาร รวมทั้งมีความเป็นอิสระในการเสนอ วาระการประชุม การแสดงความคิดเห็นต่อการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ในด้านต่างๆ รวมถึงการร่วมพิจารณาอย่างรอบคอบในเรื่องที่อาจ ขัดแย้งทางผลประโยชน์เพื่อให้มีความถูกต้องโปร่งใส

ถึงฐานะทางการเงินและผลการด�ำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา และ น�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาและอนุมัติ 7.

พิ จ ารณาอนุ มั ติ แ ต่ ง ตั้ ง บุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ แ ละไม่ มี ลั ก ษณะ ต้ อ งห้ า มตามที่ ก� ำ หนดในพระราชบั ญ ญั ติ บ ริ ษั ท มหาชนจ� ำ กั ด พ.ศ. 2535 และกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย รวมถึงประกาศข้อบังคับ และ/หรือ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท ในกรณีที่ต�ำแหน่ง กรรมการบริษัทว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากออกตามวาระ

8. พิจารณาแต่งตัง้ หรือแก้ไขเปลีย่ นแปลง กรรมการอิสระ โดยพิจารณา ขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั จากคุ ณ สมบั ติ แ ละลั ก ษณะต้ อ งห้ า มของกรรมการอิ ส ระตาม กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1. ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความรับผิดชอบ ความระมัดระวังและความซือ่ สัตย์ ประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน รวมถึงประกาศข้อบังคับ สุจริต รวมทั้ง ต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และ/หรือระเบียบที่เกี่ยวข้องของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ข้อบังคับบริษัทฯ ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น เว้นแต่ในเรื่อง หรือเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อพิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการ ที่ ต ้ อ งได้ รั บ อนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ก่ อ นการด� ำ เนิ น การ อิสระของบริษัทฯ ต่อไป เช่ น เรื่ อ งที่ ก ฎหมายก� ำ หนดให้ ต ้ อ งได้ รั บ มติ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น การท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันและการซื้อหรือขายสินทรัพย์ ที่ส�ำคัญ 9. พิจารณาแต่งตั้งหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลง คณะกรรมการตรวจสอบ ตามกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือตามที่ โดยมีคณ ุ สมบัตติ ามทีก่ ฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หน่วยงานราชการอื่นๆ ก�ำหนด เป็นต้น และมีหน้าที่ดูแลให้บริษัทฯ แห่งประเทศไทย ประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน รวมถึง และบริษัทย่อยปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ประกาศข้อบังคับ และ/หรือระเบียบของตลาดหลักทรัพย์แห่ง กับการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทย่อย รวมทั้งกฎหมาย ประเทศไทย ทีเ่ กีย่ วกับการห้ามจ่ายสินบน หรือการสนับสนุนการทุจริตคอร์รปั ชัน่ 10. พิจารณาแต่งตั้งหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงกรรมการบริหาร โดยเลือก 2. ก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ง านอย่ า งมี จ ริ ย ธรรม เช่ น จากกรรมการบริษัท หรือผู้บริหารของบริษัทฯ หรือบุคคลภายนอก จัดท�ำนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ และบริษัทย่อย พร้ อ มทั้ ง ก� ำ หนดขอบเขต อ� ำ นาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบ ตามหลักธรรมาภิบาล คู่มือจรรยาบรรณทางธุรกิจส�ำหรับกรรมการ ของกรรมการบริหาร ผู้บริหาร พนักงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อยรวมทั้ง เปิดเผย 11. พิจารณาแต่งตั้งหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการชุดย่อย ให้รับทราบ ก�ำหนดให้ปฏิบัติตามและติดตามให้มีการปฏิบัติ เพื่อช่วยปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 3. พิจารณาอนุมัตินโยบายทางธุรกิจ รวมถึงวิสัยทัศน์ เป้าหมาย แผนการด�ำเนินงาน กลยุทธ์ทางธุรกิจ และงบประมาณประจ�ำปี 12. พิจารณาก�ำหนดและแก้ไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการผู้มีอ�ำนาจ ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย รวมถึงการควบคุมดูแล (Monitoring ลงนามผูกพันบริษัทฯ และบริษัทย่อย and Supervision) การบริหารและการจัดการของฝ่ายบริหาร 13. พิจารณาเสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ แต่งตัง้ กรรมการของบริษทั ฯ ให้ เ ป็ น ไปตามนโยบาย แผนงานและงบประมาณที่ ก� ำหนดไว้ และพิจารณาแต่งตั้งกรรมการของบริษัทย่อยโดยสอดคล้องกับ อย่างมีประสิทธิภาพ สั ด ส่ ว นการถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ ในบริ ษั ท ย่ อ ยดั ง กล่ า ว รวมทั้ ง 4. ติดตามผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ บริษัทย่อย และบริษัทร่วม พิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนของกรรมการดังกล่าว อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามแผนการด� ำ เนิ น งานและ 14. แต่งตัง้ บุคคลอืน่ ใดให้ดำ� เนินกิจการของบริษทั ฯ ภายใต้การควบคุม งบประมาณของบริษัทฯ และของบริษัทย่อย ของคณะกรรมการบริ ษั ท หรื อ อาจมอบอ� ำ นาจเพื่ อ ให้ บุ ค คล 5. จัดให้มีการท�ำงบการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ณ วันสิ้นสุด ดังกล่าวมีอ�ำนาจ และ/หรือภายในเวลาตามที่คณะกรรมการบริษัท รอบระยะเวลาบัญชีให้มีความถูกต้อง เพื่อแสดงฐานะทางการเงิน เห็นสมควร ซึง่ คณะกรรมการบริษทั อาจยกเลิก เพิกถอน เปลีย่ นแปลง และผลการด�ำเนินงานในรอบบัญชีทผี่ า่ นมาให้ตรงต่อความเป็นจริง หรือแก้ไขอ�ำนาจนั้นๆ ได้ ทั้งนี้ การมอบอ�ำนาจตามขอบเขตอ�ำนาจ ครบถ้วน และถูกต้อง เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรอง หน้ า ที่ ที่ ก� ำ หนดนั้ น ต้ อ งไม่ มี ลั ก ษณะเป็ น การมอบอ� ำ นาจหรื อ โดยทั่วไป และตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีก่อนที่จะน�ำเสนอต่อ มอบอ�ำนาจช่วงที่ท�ำให้คณะกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที ่ บริหารกลุม่ และคณะอนุกรรมการชุดต่างๆ ดังกล่าวสามารถพิจารณา ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาและอนุมัติ และอนุ มั ติ ร ายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง มี ส ่ ว นได้ เ สี ย หรื อ มี 6. จั ด ให้ มี ก ารท� ำ รายงานประจ� ำ ปี ข องบริ ษั ท ฯ และรั บ ผิ ด ชอบ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย ต่อการจัดท�ำและการเปิดเผยงบการเงินของบริษัทฯ เพื่อแสดง ยกเว้นเป็นการอนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ ที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการพิจารณาและอนุมัติไว้แล้ว

64


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

15. พิจารณาก�ำหนดโครงสร้างองค์กร และโครงสร้างการบริหารงาน 25. ก� ำ กั บ ดู แ ลบริ ษั ท ย่ อ ยเสมื อ นหน่ ว ยงานหนึ่ ง ของบริ ษั ท ฯ และ ควบคุ ม ดู แ ลบริ ษั ท ย่ อ ยให้ ป ฏิ บั ติ ต ามข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ย่ อ ย 16. พิจารณาแต่งตั้งเลขานุการบริษัท พร้อมทั้งก�ำหนดขอบเขตอ�ำนาจ อย่างเคร่งครัด หน้าที่และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท ให้คณะกรรมการบริษทั เลือกกรรมการคนหนึง่ เป็นประธานกรรมการ 17. พิจารณาคัดเลือกและให้ความเห็นชอบการเสนอรายชื่อผู้สอบ บริษทั ในกรณีทคี่ ณะกรรมการพิจารณาเห็นสมควรจะเลือกกรรมการ บัญชีของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย และพิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทน คนหนึง่ หรือหลายคนเป็นรองประธานกรรมการก็ได้ โดยรองประธาน ทีเ่ หมาะสม ตามทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบน�ำเสนอ ก่อนน�ำเสนอต่อ กรรมการมี ห น้ า ที่ ต ามข้ อ บั ง คั บ ในกิ จ การซึ่ ง ประธานกรรมการ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญประจ�ำปี เพื่อพิจารณาและ มอบหมาย ทั้งนี้ คณะกรรมการของบริษัทฯ จะต้องประชุมกัน อนุมัติ อย่างน้อย 6 ครั้งต่อปี 18. ด�ำเนินการให้บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีระบบงานทางบัญชี ทีเ่ หมาะสม ทัง้ นีก้ ารมอบหมายอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการ และมีประสิทธิภาพ มีการรายงานทางการเงินที่น่าเชื่อถือ มีระบบ บริ ษั ท นั้ น จะไม่ มี ลั ก ษณะเป็ น การมอบอ� ำ นาจ หรื อ มอบอ� ำ นาจ การควบคุมภายใน และระบบการตรวจสอบภายในที่เพียงพอ ช่วงที่ท�ำให้คณะกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม และ และเหมาะสม และมีระบบจัดเก็บเอกสารทีท่ ำ� ให้สามารถตรวจสอบ คณะอนุกรรมการชุดต่างๆ สามารถอนุมัติรายการที่ตน หรือบุคคล ความถูกต้องของข้อมูลได้ในภายหลัง ที่อาจมีความขัดแย้ง (ตามที่นิยามไว้ในประกาศคณะกรรมการก�ำกับ 19. พิ จ ารณาอนุ มั ติ น โยบายด้ า นการบริ ห ารความเสี่ ย ง (Risk Management) ให้ ค รอบคลุ ม ทั้ ง องค์ ก ร และก� ำ กั บ ดู แ ลให้ ม ี กระบวนการในการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อลดผลกระทบต่อ ธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทย่อยอย่างเหมาะสม

หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อยของบริษัทฯ ยกเว้น เป็นการอนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ที่ประชุม ผู้ถือหุ้น หรือคณะกรรมการบริษัท พิจารณาอนุมัติไว้

20. พิจารณาอนุมัติการท�ำรายการได้มา หรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย เว้ น แต่ ร ายการดั ง กล่ า วจะต้ อ ง ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ ในการพิจารณาอนุมัติ ดั ง กล่ า วจะเป็ น ไปตามประกาศคณะกรรมการก�ำ กั บ ตลาดทุ น และ/หรื อ ประกาศ ข้ อ บั ง คั บ และ/หรื อ ระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการบริษัท 1. ผู้ถือหุ้นเป็นผู้พิจารณาอนุมัติแต่งตั้งกรรมการบริษัท 2.

คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยประธานกรรมการ รองประธาน กรรมการและกรรมการอื่ น มี จ� ำ นวนที่ เ หมาะสมกั บ ขนาดของ กิจการของบริษัทฯ และการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ โดยเมื่อ รวมแล้ ว มี จ� ำ นวนไม่ น ้ อ ยกว่ า 5 คนและมี ก รรมการที่ มี ค วาม เป็นอิสระอย่างแท้จริงจากฝ่ายบริหารและปราศจากความสัมพันธ์ ทางธุ ร กิ จ หรื อ ความสั ม พั น ธ์ อื่ น ใดอั น อาจมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การใช้ ดุลยพินิจอย่างเป็นอิสระไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการ ทั้งหมดและต้องไม่น้อยกว่า 3 คน

21. พิจารณาอนุมัติการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน ของบริษัทฯ และ บริ ษั ท ย่ อ ย เว้ น แต่ ร ายการดั ง กล่ า วจะต้ อ งได้ รั บ อนุ มั ติ จ าก ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ทั้ ง นี้ ในการพิ จ ารณาอนุ มั ติ ดั ง กล่ า วจะเป็ น ไปตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และ/หรือประกาศ ข้ อ บั ง คั บ และ/หรื อ ระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้ อ งของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทยก�ำกับควบคุม และป้องกันมิให้เกิดความขัดแย้ง 3. ให้คณะกรรมการบริษัทเลือกกรรมการบริษัทคนหนึ่งเป็นประธาน ทางผลประโยชน์ ร ะหว่ า งผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ของบริ ษั ท ฯ และ กรรมการบริษทั ในกรณีทคี่ ณะกรรมการบริษทั พิจารณาเห็นสมควร ของบริษัทย่อย อาจจะเลือกกรรมการบริษัทคนหนึ่ง หรือหลายคนเป็นรองประธาน กรรมการบริษัทก็ได้ 22. พิ จ ารณาอนุ มั ติ ก ารจ่ า ยเงิ น ปั น ผลระหว่ า งกาลให้ แ ก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น เมื่อเห็นว่าบริษัทฯ มีก�ำไรพอสมควรที่จะท�ำเช่นนั้น และรายงาน 4. การแต่งตั้งกรรมการบริษัท ให้เป็นไปตามข้อบังคับบริษัท และ การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุม ข้อก�ำหนดของกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ นี้ จะต้องมีความโปร่งใสและ ผู้ถือหุ้นคราวต่อไป ชัดเจน โดยการพิจารณาจะต้องมีประวัตกิ ารศึกษา และประสบการณ์ การประกอบวิชาชีพของบุคคลนั้นๆ โดยมีรายละเอียดที่เพียงพอ 23. ด�ำเนินการให้มีการเผยแพร่ข้อมูลที่เหมาะสมและมีการเปิดเผย เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการตั ด สิ น ใจของคณะกรรมการบริ ษั ท และ ข้อมูลให้แก่ผู้มีส่วนได้เสีย บุคคลผู้มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ผู้ถือหุ้น และผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างถูกต้อง ครบถ้วน เหมาะสม และตรงต่อเวลา 5. ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ 24. ขอความเห็นทางวิชาชีพจากองค์กรภายนอก หากมีความจ�ำเป็น ในคณะกรรมการบริษัทโดยต�ำแหน่ง เพื่อประกอบการตัดสินใจที่เหมาะสม

65


รายงานประจํ า ปี 2560

กรรมการอิสระต้องไม่ท�ำหน้าที่เป็นผู้บริหาร เป็นอิสระจากฝ่ายจัดการ และผู้ถือหุ้นที่มีอ�ำนาจควบคุม เป็นผู้ซึ่งไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจ กับบริษัทฯ ในลักษณะที่จะท�ำให้มีข้อจ�ำกัดในการแสดงความเห็น ที่เป็นอิสระ และต้องมีคุณสมบัติตามที่ประกาศคณะกรรมการก�ำกับ ตลาดทุนก�ำหนดไว้ ดังนี้ 5. 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด ของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ ให้นบั รวม การถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย 2. เป็นกรรมการที่ไม่มี หรือเคยมีส่วนร่วมในการบริหารงาน รวมทั้ง ไม่เป็น หรือเคยเป็นลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือน ประจ�ำ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม 6. บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรือของผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้น จากการมี ลั ก ษณะดั ง กล่ า วแล้ ว ไม่ น ้ อ ยกว่ า 2 ปี ก ่ อ นได้ รั บ การแต่งตั้ง กรรมการอิสระ

มูลค่าของรายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับ ตลาดทุ น ว่ า ด้ ว ยหลั ก เกณฑ์ ใ นการท� ำ รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น โดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนีด้ งั กล่าว ให้นบั รวมภาระหนี้ ทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่าง 1 ปีกอ่ นวันทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคล เดียวกัน เป็นกรรมการทีไ่ ม่เป็น หรือเคยเป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริ ษั ท ร่ ว ม นิ ติ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู ้ มี อ� ำ นาจควบคุ ม ของบริ ษั ท ฯ และไม่ เ ป็ น ผู ้ ถื อ หุ ้ น ที่ มี นั ย ผู ้ มี อ� ำ นาจควบคุ ม หรื อ หุ ้ น ส่ ว นของส� ำ นั ก งานสอบบั ญ ชี ซึ่ ง มี ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม นิติบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้ง ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ สั ง กั ด อยู ่ เว้ น แต่ จ ะได้ พ ้ น จากการมี ลั ก ษณะดั ง กล่ า วมาแล้ ว ไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง

3.

เป็นกรรมการที่ไม่เป็น หรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่ ง รวมถึ ง การให้ บ ริ ก ารเป็ น ที่ ป รึ ก ษากฎหมาย หรื อ ที่ ป รึ ก ษา ทางการเงิน ซึง่ ได้รบั ค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปี จากบริษทั ฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั เป็ น กรรมการที่ ไ ม่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างสายโลหิ ต หรื อ โดยการ ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการ ทางวิชาชีพนั้นด้วย จดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คู่สมรส เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า พี่ น ้ อ งและบุ ต ร รวมทั้ ง คู ่ ส มรสของบุ ต ร ของกรรมการรายอื่ น 2 ปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับ 7. เป็นกรรมการทีไ่ ม่ได้รบั การแต่งตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็นตัวแทนของกรรมการ การเสนอให้ เ ป็ น กรรมการ ผู ้ บ ริ ห าร หรื อ ผู ้ มี อ� ำ นาจควบคุ ม ของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้อง ของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย กับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ

4.

เป็นกรรมการที่ไม่มี หรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ ในลักษณะที่อาจเป็น การขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็น หรื อ เคยเป็ น ผู ้ ถื อ หุ ้ น ที่ มี นั ย หรื อ ผู ้ มี อ� ำ นาจควบคุ ม ของผู ้ ที่ ม ี ความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุม ของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง

ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคแรก รวมถึงการท�ำรายการทาง การค้าที่กระท�ำเป็นปกติ เพื่อประกอบกิจการ การเช่า หรือให้เช่า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ รายการเกี่ ย วกั บ สิ น ทรั พ ย์ หรื อ บริ ก าร หรื อ การให้ หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับ หรือให้กู้ยืม ค�ำ้ ประกัน การให้สนิ ทรัพย์เป็นหลักประกันหนีส้ นิ รวมถึงพฤติกรรมอืน่ ท� ำ นองเดี ย วกั น ซึ่ ง เป็น ผลให้บริษัท ฯ หรือคู่สัญ ญามีภ าระหนี้ ที่ต้องช�ำระต่ออีกฝ่ายหนึ่ง ตั้งแต่ร้อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตัวตน สุทธิ หรือตั้งแต่ 20 ล้านบาทขึ้นไป แล้วแต่จ�ำนวนใดจะต�่ำกว่า ทั้งนี้ การค�ำนวณภาระหนี้ดังกล่าว ให้เป็นไปตามวิธีการค�ำนวณ

66

8.

ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขัน ที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วน ที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจ�ำ หรือถือหุ้นเกิน ร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขัน ที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย

9. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ท�ำให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระ เกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ภายหลั ง ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น กรรมการอิ ส ระที่ มี ลั ก ษณะ เป็นไปตามข้อ (1) - (9) แล้ว กรรมการอิสระอาจได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท ให้ตัดสินใจในการด�ำเนินกิจการของบริษัทฯ บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม บริ ษั ท ย่ อ ยล�ำ ดั บ เดี ย วกั น นิ ติ บุ ค คลที่ อ าจ มีความขัดแย้ง ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะ (collective decision) ได้


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

2.2 คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการ 4 ท่าน ชือ่ 1. ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ 2. นายอดุลย์ จันทนจุลกะ 3. นายวีระชัย งามดีวิไลศักดิ์ (1) 4. ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

หมายเหตุ : (1) นายวีระชัย งามดีวิไลศักดิ์ เป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ทางบัญชีและการเงิน

เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ได้แก่ นายเปรมศักดิ์ วัลลิกุล 6. สอบทานรายงานผลการตรวจสอบภายในที่เสนอต่อฝ่ายบริหาร ต�ำแหน่งรักษาการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานตรวจสอบ รวมถึ ง การสอบทานความเห็ น ของฝ่ า ยบริ ห ารที่ มี ต ่ อ ประเด็ น ภายในและก�ำกับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบที่ได้มีการเสนอและรายงานไว้ ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 7. สามารถเข้าพบผูบ้ ริหาร ติดต่อพนักงานและเข้าถึงข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้อง ตรวจสอบ ได้โดยไม่มีข้อจ�ำกัด 1. สอบทานกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง 8. สอบทานร่ ว มกั บ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง (เช่ น ฝ่ า ยกฎหมาย) และพิจารณาแก้ไขในประเด็นที่เห็นว่าจ�ำเป็นและเหมาะสม ให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. สอบทานรายงานทางการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อยเพื่อให้ กั บ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ รวมทั้ ง สอบทานให้ บ ริ ษั ท ย่ อ ยของบริ ษั ท มั่นใจว่ามีความถูกต้องและเชื่อถือได้รวมถึงการเปิดเผยข้อมูล ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดในนโยบายการควบคุม และกลไก อย่างเพียงพอ โดยการประสานงานกับผู้สอบบัญชีภายนอกและ การก�ำกับดูแลกิจการที่บริษัทฯ เข้าไปลงทุน ผู ้ บ ริ ห ารที่ รั บ ผิด ชอบจัด ท�ำรายงานทางการเงิน ทั้งรายไตรมาส และประจ�ำปี 9. พิ จ ารณาคั ด เลื อ ก เสนอแต่ ง ตั้ ง เสนอค่ า ตอบแทนบุ ค คลซึ่ ง มี ความเป็นอิสระเพื่อท�ำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และ 3. พิจารณาและให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงหลักการ เสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับ บั ญ ชี หรื อ วิ ธี ป ฏิ บั ติ ท างบั ญ ชี ที่ ส� ำ คั ญ ที่ เ สนอโดยฝ่ า ยบริ ห าร ผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อย ของบริษัทฯ ปีละ 1 ครั้ง เพื่อรับทราบผลการสอบทานงบการเงินประจ�ำไตรมาส 4. สอบทานระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบ ผลการตรวจสอบงบการเงินประจ�ำปี และหารือเกี่ยวกับปัญหา ตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย อุปสรรค ที่อาจพบจากการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชี ให้มีความเหมาะสมและมีประสิทธิผล และอาจเสนอแนะให้มีการ 10. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้ง สอบทานหรื อ ตรวจสอบรายการใดที่ เ ห็ น ว่ า จ� ำ เป็ น และ ทางผลประโยชน์ ใ ห้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายและข้ อ ก� ำ หนด เป็นสิ่งส�ำคัญพร้อมทั้งน�ำข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปรับปรุงแก้ไข ของตลาดหลักทรัพย์ และพิจารณารายการได้มาหรือจ�ำหน่ายไป ระบบการควบคุมภายในที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นเสนอคณะกรรมการ ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อก�ำหนด บริษัท โดยสอบทานร่วมกับผู้สอบบัญชีภายนอกและผู้จัดการ ของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ตลอดจนนโยบาย แผนกตรวจสอบระบบงานภายใน และประชุ ม ร่ ว มกั บ หั ว หน้ า การควบคุม และกลไกการก�ำกับดูแลกิจการที่บริษัทฯ เข้าไปลงทุน ผู ้ บ ริ ห ารงานตรวจสอบภายในโดยไม่ มี ฝ ่ า ยจั ด การอยู ่ ด ้ ว ย เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง สูงสุดต่อบริษัทฯ และบริษัทย่อย 5.

พิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน และ ให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้งโยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้า หน่ ว ยงานตรวจสอบภายใน หรื อ หน่ ว ยงานอื่ น ใดที่ รั บ ผิ ด ชอบ เกีย่ วกับการตรวจสอบภายใน รวมถึงพิจารณาเห็นชอบงบประมาณ ประจ�ำปี อัตราก�ำลังคน และทรัพยากรที่จ�ำเป็นในการปฏิบัติงาน ของฝ่ายตรวจสอบภายใน และอนุมัติแผนการตรวจสอบประจ�ำปี รวมถึงการพิจารณาอนุมัติทบทวนปรับเปลี่ยนแผนงานตรวจสอบ ภายในส่วนที่มีนัยส�ำคัญ

11. จั ด ท� ำ รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิ ด เผยไว้ ในรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนาม โดยประธานกรรมการตรวจสอบและต้ อ งประกอบด้ ว ยข้ อ มู ล อย่างน้อยดังต่อไปนี้ 11.1 ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อย

67


รายงานประจํ า ปี 2560

11.2 ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน 14. รายงานต่อคณะกรรมการบริษทั อย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ ให้คณะกรรมการ บริษัทรับทราบกิจกรรมของคณะกรรรมการตรวจสอบ ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย 11.3 ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ 15. ในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ห ากพบ หรื อ มี ข ้ อ สงสั ย ว่ า มี ร ายการที่ เ กิ ด และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือการทุจริตหรือ มีสิ่งผิดปกติ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทย่อย หรือมีความบกพร่องทีส่ ำ� คัญในระบบควบคุมภายในหรือการฝ่าฝืน กฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้ อ ก� ำ หนด 11.4 ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กั บ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง อาจมี ผ ลกระทบอย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ 11.5 ความเห็ น เกี่ ย วกั บ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทาง ต่อฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ผลประโยชน์ ให้รายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไข 11.6 จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการเข้าร่วม ภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร ประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน การสรรหากรรมการตรวจสอบ 11.7 ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัท เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อย ได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร 3 ท่ า น โดยแต่ ง ตั้ ง จากกรรมการอิ ส ระของบริ ษั ท ฯ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ 11.8 รายการอื่ น ที่ เ ห็ น ว่ า ผู ้ ถื อ หุ ้ น และผู ้ ล งทุ น ทั่ ว ไปควรทราบ ตามที่ ก ฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ประกาศ ภายใต้ ข อบเขตหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ รั บ ของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน รวมถึงประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ระเบียบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยทีก่ ำ� หนด ว่าด้วยคุณสมบัต ิ และขอบเขตการด� ำ เนิ น งานของคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้ ง นี้ 12. ปฏิบัติการอื่นตามขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบ ที่ก�ำหนดไว้ในกฎบัตร หรือตามที่คณะกรรมการบริษัท มอบหมาย กรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 คน ต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ ด้ า นบั ญ ชี ห รื อ การเงิ น และมี ป ระสบการณ์ เ พี ย งพอที่ จ ะท� ำ หน้ า ที ่ ด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ในการสอบทานความน่าเชือ่ ถือของงบการเงินของบริษทั ฯ โดยแต่ละท่าน จะมี วาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี โดยครบรอบออกตามวาระ 13. รายงานอื่นใดที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ ขอบเขตหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจาก การด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท 2.3 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการ 5 ท่าน ชือ่ 1. ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล 2. นายวีระชัย งามดีวิไลศักดิ์ 3. นายปิยะ ประยงค์ 4. นายประเสริฐ แต่ดุลยสาธิต 5. นางสาวไตรทิพย์ ศิวะกฤษณ์กุล

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ กรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ กรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ กรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ระดับองค์การ

เลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ ได้แก่ นางสาวไตรทิพย์ ศิวะกฤษณ์กุล ต�ำแหน่งรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินกลุ่มและกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท โรงพยาบาลวิมุต โฮลดิ้ง จ�ำกัด

68


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 4. บริหารความเสี่ยงระดับองค์การ 5. 1. รับทราบและให้ข้อเสนอแนะต่อนโยบาย กลยุทธ์และแนวทาง ในการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ 2. สอบทานแผนจัดการความเสีย่ งของฝ่ายจัดการ รวมทัง้ กระบวนการ บริหารความเสี่ยงในภาพรวมขององค์การ 6. 3. รับทราบถึงความเสี่ยงที่ส�ำคัญๆ และพิจารณาว่าฝ่ายจัดการได้ ตอบสนองต่อความเสี่ยงอย่างเหมาะสมหรือไม่

ติดตามผลการปฏิบตั ติ ามกรอบการบริหารความเสีย่ งระดับองค์การ รายงานผลการประเมินความเสี่ยง และผลการด�ำเนินงานเพื่อลด ความเสี่ยงเพื่อให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบเป็นประจ�ำ ในกรณี ที่มีเรื่องที่ส�ำคัญซึ่งส่งผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ จะต้องรายงานต่อคณะกรรมการ บริษัทเพื่อพิจารณาโดยเร็วที่สุด ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย

2.4 คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะกรรมการบรรษัทภิบาลของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ชือ่ 1. ดร.อนุสรณ์ แสงนิ่มนวล 2. นายอดุลย์ จันทนจุลกะ 3. นางรัตนา พรมสวัสดิ์

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบรรษัทภิบาล

เลขานุการคณะกรรมการบรรษัทภิบาล ได้แก่ นายเปรมศักดิ์ วัลลิกุล ต�ำแหน่ง รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานตรวจสอบ ภายในและการก�ำกับการปฏิบัติงาน ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 3. ติดตามและทบทวนระบบงานต่างๆ ภายในองค์กรให้สอดคล้อง บรรษัทภิบาล กับจรรยาบรรณและแนวปฏิบัติที่ดีตามที่ได้ก�ำหนดไว้ 1.

พิจารณา ทบทวน น�ำเสนอ เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทอนุมัต ิ ในเรื่อง นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีจรรยาบรรณทางธุรกิจ นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม นโยบายเพื่อการ พั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ของบริ ษั ท ฯ นโยบายและแนวปฏิ บั ติ อื่ น ใด ที่ จ ะสนั บ สนุ น การด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ตามแนวทางของ ธรรมาภิบาล เพื่อก่อให้เกิดความโปร่งใส เป็นธรรมและสนับสนุน การเจริญเติบโตของบริษัทฯ อย่างยั่งยืน

2.

ดูแลให้ฝ่ายบริหารจัดการน�ำนโยบาย/แนวปฏิบัติต่างๆ ในข้อ 1 6. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ไปใช้พัฒนาบริษัทฯ อย่างต่อเนื่องโดยนโยบายและแนวปฏิบัติ ดั ง กล่ า วต้ อ งสอดคล้ อ งและเหมาะสมกั บ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ข้ อ เสนอแนะของหน่ ว ยงานที่ ก� ำ กั บ ดู แ ล หรื อ เกี่ ย วข้ อ งและ เทียบเคียงได้กับมาตรฐานสากล

4. ติดตามและสั่งการในกรณีที่การปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการและ พนักงานมีประเด็นในการไม่ปฏิบัติตามนโยบายและแนวปฏิบัต ิ ที่วางไว้ 5. ติดตามและรายงานผลการปฏิบัติงานขององค์กร ตามนโยบาย การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและนโยบายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อรายงาน แก่คณะกรรมการบริษัทและองค์กรภายนอกตามความเหมาะสม

2.5 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการ 5 ท่าน ชือ่

ตำ�แหน่ง 1. นายวีระชัย งามดีวิไลศักดิ์ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 2. ดร.อนุสรณ์ แสงนิ่มนวล กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 3. ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 4. นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 5. นายวิเชียร เมฆตระการ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เลขานุการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ได้แก่ นายอุดมศักดิ์ แย้มนุ่น ต�ำแหน่ง รักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหารกลางกลุ่ม

69


รายงานประจํ า ปี 2560

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบคณะกรรมการสรรหา 4. ก� ำ หนดค่ า ตอบแทนที่ จ� ำ เป็ น และเหมาะสมทั้ ง ที่ เ ป็ น รู ป แบบ และพิจารณาค่าตอบแทน ตัวเงินและมิใช่ตัวเงิน เพื่อจูงใจและรักษาคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ กรรมการผูอ้ ำ� นวยการ 1. ก�ำหนดนโยบายและหลักเกณฑ์ในการสรรหาคณะกรรมการบริษัท และกรรมการผู้จัดการ คณะกรรมการชุดย่อย กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ กรรมการผูอ้ ำ� นวยการ และกรรมการผู้จัดการ 5. ก� ำ หนดหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน ของคณะกรรมการบริ ษั ท คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย กรรมการ 2. พิ จ ารณาสรรหาคณะกรรมการบริ ษั ท คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย ผู้จัดการใหญ่ กรรมการผู้อ�ำนวยการและกรรมการผู้จัดการ กรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ กรรมการผู ้ อ� ำ นวยการและกรรมการ ผู้จัดการ เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ และ/หรือ 6. พิจารณาทบทวนนโยบาย หลักเกณฑ์ในการสรรหาและก�ำหนด เสนอขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้วแต่กรณี ค่าตอบแทนและระบบการจ่ายค่าตอบแทนให้เหมาะสมกับหน้าที่ ความรับผิดชอบ รวมทั้ง สอดคล้องกับผลการด�ำเนินงานของ 3. ก� ำ หนดนโยบายและหลั ก เกณฑ์ ใ นการก� ำ หนดค่ า ตอบแทน บริษัทฯ และสภาวะตลาดโดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ที่จะสร้าง ของคณะกรรมการบริ ษั ท คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยกรรมการ ให้กับบริษัทฯ เป็นส�ำคัญ ผู ้ จั ด การใหญ่ กรรมการผู ้ อ� ำ นวยการและกรรมการผู ้ จั ด การ เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ และ/หรือเสนอ 7. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้วแต่กรณี 2.6 คณะกรรมการบริหาร เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการบริหารจัดการบริษัทฯ ให้เป็นไปตามทิศทาง นโยบายและเป้าหมายที่คณะกรรมการบริษัทก�ำหนด และมอบหมาย รวมทั้ ง สร้ า งความมั่ น คงและยั่ ง ยื น ในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ อ นุ มั ติ จั ด ตั้ ง คณะกรรมการบริ ห าร ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ ต ามพระราชบั ญ ญั ติ บ ริ ษั ท มหาชน จ� ำ กั ด พ.ศ. 2535 และตามประกาศส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ ควบคุ ม ดู แ ลและรั บ ผิ ด ชอบในกิ จ การต่ า งๆ ตามขอบเขตที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษั ท โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยกรรมการ จ�ำนวน 9 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้ ชือ่ 1. นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์ 2. นางสุพัตรา เป้าเปี่ยมทรัพย์ 3. นายวิเชียร เมฆตระการ 4. นายปิยะ ประยงค์ 5. นายประเสริฐ แต่ดุลยสาธิต 6. นางสาวไตรทิพย์ ศิวะกฤษณ์กุล 7. นายพรเทพ ศุภธราธาร 8. นายอุดมศักดิ์ แย้มนุ่น 9. นายธีรเดช เกิดส�ำอางค์

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร และเลขานุการคณะกรรมการบริหาร

เลขานุการคณะกรรมการบริหาร ได้แก่ นายธีรเดช เกิดส�ำอางค์ ต�ำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ กลุ่มธุรกิจทาวน์เฮ้าส์ 1 บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) 3. ก�ำหนดนโยบาย เป้าหมาย กลยุทธ์ แผนการด�ำเนินงาน งบประมาณ ประจ� ำ ปี และอ� ำ นาจการบริ ห ารงานต่ า งๆ ของบริ ษั ท ฯ และ บริษัทย่อย เพื่อเสนอให้คณะกรรมการบริษัทอนุมัติ ควบคุ ม ดู แ ลการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย 4. ให้เป็นไปตามนโยบาย เป้าหมาย กลยุทธ์ แผนการด�ำเนินงาน และงบประมาณประจ�ำปีท่ีได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเอื้อต่อสภาพธุรกิจ พร้อมให้ ค�ำปรึกษา แนะน�ำ การบริหารจัดการแก่ผู้บริหารระดับสูง

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. 2.

70

พิจารณาอนุมัติการใช้จ่ายเงินเพื่อการลงทุน การจัดท�ำธุรกรรม ทางการเงินกับสถาบันการเงินเพือ่ การเปิดบัญชี กูย้ มื จ�ำน�ำ จ�ำนอง ค�้ำประกัน และการอื่นใด รวมถึงการซื้อขาย/จดทะเบียนกรรมสิทธิ ์ ที่ ดิ น เพื่ อ การท� ำ ธุ ร กรรมตามปกติ ข องบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย ภายใต้อ�ำนาจวงเงินที่ได้ก�ำหนดไว้ ก�ำหนดโครงสร้างองค์กรและการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ โดยครอบคลุมทั้ง เรื่องการคัดเลือก การฝึกอบรม การว่าจ้าง และการเลิ ก จ้ า งพนั ก งานของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยที่ เ ป็ น คณะผูบ้ ริหาร หรือผูบ้ ริหารระดับสูง โดยอาจมอบหมายให้กรรมการ


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ผู้จัดการใหญ่ หรือ กรรมการผู้อ�ำนวยการ หรือกรรมการผู้จัดการ คณะกรรมการบริหารนั้น จะไม่มีลักษณะเป็นการมอบอ�ำนาจ ของบริษัทฯ เป็นผู้มีอ�ำนาจแทนบริษัทฯ ที่จะลงนามในสัญญาจ้าง หรือมอบอ�ำนาจช่วงที่ท�ำให้คณะกรรมการบริหารหรือผู้รับมอบ แรงงาน อ�ำนาจจากคณะกรรมการบริหารสามารถอนุมัติรายการที่ตน หรือ บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้ง 5. ก�ำกับดูแลและอนุมัติเรื่องที่เกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ทางผลประโยชน์ อื่ น ใดกั บ บริ ษั ท ฯ หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ยของบริ ษั ท ฯ และอาจแต่งตัง้ หรือมอบหมายให้บคุ คลใดบุคคลหนึง่ หรือหลายคน (ตามที่นิยามไว้ในประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ กระท� ำ การอย่ า งหนึ่ ง อย่ า งใดแทนคณะกรรมการบริ ห ารตาม ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ) ซึ่ ง การอนุ มั ติ ร ายการในลั ก ษณะดั ง กล่ า ว ที่เห็นสมควรได้ และคณะกรรมการบริหารและกลยุทธ์สามารถ จะต้องเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/หรือที่ประชุม ยกเลิก เปลีย่ นแปลง หรือ แก้ไขอ�ำนาจนัน้ ๆ ได้ ทัง้ นี้ การมอบอ�ำนาจ ผู ้ ถื อ หุ ้ น (แล้ ว แต่ ก รณี ) เพื่ อ พิ จ ารณาอนุ มั ติ ร ายการดั ง กล่ า ว ตามขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ที่ก�ำหนดนั้น ต้องไม่มีลักษณะเป็นการ ตามทีข่ อ้ บังคับของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ หรือกฎหมาย มอบอ� ำ นาจหรื อ มอบอ� ำ นาจช่ ว งที่ ท� ำ ให้ ผู ้ รั บ มอบอ� ำ นาจจาก ที่เกี่ยวข้องก�ำหนดยกเว้นเป็นการอนุมัติรายการที่มีเงื่อนไขปกติ คณะกรรมการบริหารสามารถอนุมตั ริ ายการทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมี ธุรกิจที่มีการก�ำหนดขอบเขตที่ชัดเจน ความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อื่นใดกับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย ยกเว้นเป็นการอนุมัติรายการ การสรรหากรรมการบริหาร ที่ เ ป็ น ไปตามนโยบายและหลั ก เกณฑ์ ที่ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น หรื อ คณะกรรมการบริ ษั ท เป็ น ผู ้ แ ต่ ง ตั้ ง กรรมการบริ ห ารโดยเลื อ กจาก คณะกรรมการพิจารณาและอนุมัติไว้แล้ว กรรมการบริ ษั ท ฯ ผู ้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท ฯ และ/หรื อ บุ ค คลภายนอก 6. พิจารณากลั่นกรองงานทุกประเภทที่เสนอคณะกรรมการบริษัท โดยกรรมการบริหารจะต้องมีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ ยกเว้ น งานที่ อ ยู ่ ภ ายใต้ ห น้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบ และ/หรื อ ที่เหมาะสม สามารถอุทิศเวลาให้กับบริษัทฯ มีความรู้ความเข้าใจ เป็นอ�ำนาจของคณะกรรมการชุดย่อยอื่นของบริษัทฯ ที่จะเป็น ถึงคุณสมบัติ หน้าที่และความรับผิดชอบของตน รวมถึงไม่มีลักษณะ ผู้พิจารณากลั่นกรองเพื่อน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทโดยตรง ต้องห้ามตามกฎหมาย 7. ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อ่ื น ใดตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท มอบหมาย ทั้ ง นี้ การมอบหมายอ� ำ นาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของ 2.7 คณะผู้บริหาร คณะผู้บริหารของบริษัทฯ ประกอบด้วยผู้บริหารซึ่งมีคุณสมบัติตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จ�ำกัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มี จ�ำนวน 6 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้ ชือ่ 1. นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์ 2. นางสุพัตรา เป้าเปี่ยมทรัพย์ 3. นางสาวไตรทิพย์ ศิวะกฤษณ์กุล 4. นายพรเทพ ศุภธราธาร 5. นายอุดมศักดิ์ แย้มนุ่น 6. นายคมกริช นงค์สวัสดิ์

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินกลุ่ม รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานจัดซื้อจัดจ้าง และซัพพลายเชนกลุ่ม รักษาการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหารกลางกลุ่ม รักษาการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาด องค์กรกลุ่ม

หมายเหตุ : ผู้บริหาร (ตามนิยาม ก.ล.ต.) หมายถึง กรรมการผู้จัดการ หรือผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารสี่รายแรกนับต่อจากกรรมการผู้จัดการลงมา ผู้ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่ง เทียบเท่ากับผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารรายที่สี่ทุกราย และให้หมายรวมถึงผู้ด�ำรงต�ำแหน่งในระดับบริหารในสายงานบัญชีและการเงิน ที่เป็นระดับ ผู้จัดการฝ่ายขึ้นไป หรือเทียบเท่า

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของประธานกรรมการบริหารและประธาน 2. ประสานงานกับฝ่ายตรวจสอบภายในในเรื่องบัญชี การเบิกจ่าย เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม เงินใดๆ ของบริษัทฯ หากตรวจพบ หรือมีข้อสงสัยว่าไม่เป็นไปตาม นโยบายของบริษัทฯ 1. รับผิดชอบดูแลเรื่องการด�ำเนินกิจการ และ/หรือ การบริหารงาน ประจ�ำวันของบริษัทฯ

71


รายงานประจํ า ปี 2560

3. 4. 5. 6. 7.

จั ด โครงสร้ า งองค์ ก ารและการบริ ห ารจั ด การที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ตามแนวทางที่คณะกรรมการบริหารของบริษัทฯ อาจจะก�ำหนดให้ ทั้งนี้ โดยครอบคลุมทั้งเรื่อง การคัดเลือก การฝึกอบรม การว่าจ้าง และการเลิ ก จ้ า งพนั ก งานของบริ ษั ท ฯ ที่ ไ ม่ ใ ช่ ค ณะผู ้ บ ริ ห าร หรือผูบ้ ริหารระดับสูง โดยจะเป็นผูม้ อี ำ� นาจแทนบริษทั ฯ ทีจ่ ะลงนาม ในสัญญาจ้างแรงงาน

8. มอบหมายให้บคุ คลใดบุคคลหนึง่ หรือหลายคนกระท�ำการอย่างหนึง่ อย่ า งใดแทนตามที่ เ ห็ น สมควรได้ โดยการมอบอ� ำ นาจช่ ว ง และ/หรือการมอบหมายดังกล่าวให้อยู่ภายในขอบเขตแห่งการ มอบอ� ำนาจตามหนั ง สื อ มอบอ�ำนาจให้ ไ ว้ และ/หรื อ ให้ เ ป็ น ไป ตามระเบี ย บ ข้ อ ก� ำ หนด หรื อ ค� ำ สั่ ง ที่ ค ณะกรรมการและ/หรื อ คณะกรรมการบริหาร และ/หรือของบริษัทฯ หรือประธานกรรมการ บริ ห ารและประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารกลุ ่ ม สามารถยกเลิ ก มี อ� ำ นาจพิ จ ารณาอนุ มั ติ ก ารใช้ จ ่ า ยเงิ น เพื่ อ การลงทุ น หรื อ เปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขอ�ำนาจนั้นๆ ได้ การด�ำเนินงานต่างๆ การกู้ยืม หรือการขอสินเชื่อใดๆ จากสถาบัน การเงิ น การให้ กู ้ ยื ม เงิ น ตลอดจนการเข้ า เป็ น ผู ้ ค�้ ำ ประกั น ทั้งนี้ การมอบหมายอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของประธาน เพื่ อ การท� ำ ธุ ร กรรมตามปกติ ข องบริ ษั ท ฯ ภายในวงเงิ น ไม่ เ กิ น กรรมการบริหารและประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มนั้น จะไม่มีลักษณะ 20 ล้านบาท หรือเทียบเท่า เป็นการมอบอ�ำนาจที่ท�ำให้ประธานกรรมการบริหารและประธาน เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มสามารถอนุมัติรายการที่ตน หรือบุคคลที่อาจ มี อ� ำ นาจอื่ น ๆ ซึ่ ง จ� ำ เป็ น ในการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ตามที่ มีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการ และ/หรือคณะกรรมการบริหารของบริษทั ฯ อืน่ ใดกับบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ (ตามทีน่ ยิ ามไว้ในประกาศ มอบหมาย คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) ซึ่งการอนุมัติ เข้าร่วมพิจารณาเกีย่ วกับงบประมาณของบริษทั ฯ กับคณะกรรมการ รายการในลักษณะดังกล่าวจะต้องเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัท และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี) เพื่อพิจารณาอนุมัติ และ/หรือคณะกรรมการบริหารของบริษัทฯ รายการดังกล่าว ตามทีข่ อ้ บังคับของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ เจรจา พิจารณา เอกสารสัญญาเกี่ยวกับการด�ำเนินงานตามปกติ หรื อ กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งก� ำ หนด ยกเว้ น เป็ น การอนุ มั ติ ร ายการ ของบริ ษั ท ฯ ให้ ค� ำ แนะน� ำ และข้ อ เสนอแนะในเรื่ อ งดั ง กล่ า ว ที่มีเงื่อนไขปกติธุรกิจที่มีการก�ำหนดขอบเขตที่ชัดเจน เพื่อให้คณะกรรมการ และ/หรือคณะกรรมการบริหารของบริษัทฯ และ/หรื อ ผู ้ มี ส ่ ว นรั บ ผิ ด ชอบในเรื่ อ งนั้ น ๆ พิ จ ารณากลั่ น กรอง และหาข้อสรุป

2.8 เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้แต่งตั้งเลขานุการบริษัท เพื่อท�ำหน้าที่ดูแลการประชุมของคณะกรรมการบริษัท การประชุมผู้ถือหุ้นและกิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมการบริษัท เพื่อช่วยให้คณะกรรมการบริษัทและบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสนับสนุนให้การ ก�ำกับดูแลกิจการเป็นไปตามมาตรฐานบรรษัทภิบาลที่ดี ปัจจุบันคณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งให้ นายไพศาล ร�ำพรรณ์ เป็นเลขานุการ บริษัท ตั้งแต่วันที่ 19 เมษายน 2559 โดยคุณสมบัติของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งเลขานุการบริษัทปรากฏในประวัติกรรมการและผู้บริหาร ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท

2.

6. ติดต่อสื่อสารกับผู้ถือหุ้นทั่วไปให้ได้รับทราบสิทธิต่างๆ ของผู้ถือหุ้น และข่าวสารของบริษัทฯ จั ด การประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท และ คณะกรรมการเฉพาะเรื่ อ งให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมาย ข้ อ บั ง คั บ 7. เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการ หรือ ของบริษทั ฯ กฎบัตรของคณะกรรมการแต่ละชุดและข้อพึงปฏิบตั ทิ ดี่ ี ผู้บริหารและเอกสารส�ำคัญอื่นๆ เช่น ทะเบียนกรรมการบริษัท (Best Practices) หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท รายงานการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท และรายงานประจ� ำ ปี ข องบริ ษั ท รวมถึ ง แจ้งมติและนโยบายของคณะกรรมการบริษทั และผูถ้ อื หุน้ ให้ผบู้ ริหาร หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นและรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น ที่เกี่ยวข้องทราบและติดตามการปฏิบัติตามมติและนโยบาย

3.

ให้ค�ำปรึกษาและข้อเสนอแนะเบื้องต้นแก่คณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการเฉพาะเรื่องในประเด็นที่เกี่ยวกับข้อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับของบริษัทฯ และข้อพึงปฏิบัติด้านการก�ำกับดูแล กิจการและติดตามให้มีการปฏิบัติตามอย่างถูกต้องและสม�่ำเสมอ รวมถึงรายงานการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยส�ำคัญแก่กรรมการบริษัท

1.

8. ดูแลให้หน่วยงานเลขานุการบริษัทเป็นศูนย์กลางของข้อมูลองค์กร (Corporate Records) อาทิ หนั ง สื อ จดทะเบี ย นนิ ติ บุ ค คล บริคณห์สนธิ ข้อบังคับ ทะเบียนผู้ถือหุ้น ฯลฯ 9. ให้ค�ำแนะน�ำและค�ำปรึกษาในการเข้ารับต�ำแหน่งของกรรมการ บริษัทที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่

4. บันทึกรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นและการประชุมคณะกรรมการ 10. ดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบริษัทและด�ำเนินการเรื่องอื่นๆ บริษัท รวมทั้งติดตามให้มีการปฏิบัติตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นและ ตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด หรือ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท บริษัท หรือตามที่คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนประกาศก�ำหนด 5. ดู แ ลให้ มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล และรายงานสารสนเทศในส่ ว น ที่ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ หน่ ว ยงานก� ำ กั บ ดู แ ลให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมาย ระเบียบและนโยบายการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของบริษัทฯ

72


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ประวัติกรรมการและผู้บริหาร ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม อายุ 67 ปี

ประธานกรรมการบริษัท กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ (วันที่เข้าเป็นกรรมการ 29 เมษายน 2559) สัดส่วนในการถือหุ้น (%) ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : เปลี่ยนแปลง (เพิ่ม/ลด) 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ :

0.0047% (103,500 หุ้น) ไม่มี ไม่มี 0.0047% (103,500 หุ้น) ไม่มี ไม่มี -

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • - การศึกษา • ปริญญาเอก (เศรษฐศาสตร์) The Netherlands School of Economics, Erasmus University, Netherlands • ปริญญาโท (เศรษฐศาสตร์) The Netherlands School of Economics, Erasmus University, Netherlands • ปริญญาตรี (เศรษฐศาสตร์) The Netherlands School of Economics, Erasmus University, Netherlands

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน (บริษัทจดทะเบียน, บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ) บริษัทจดทะเบียน • รองประธานกรรมการ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท หลักทรัพย์ เคจีไอ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ถิรไทย จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท โกลบอล คอนเน็คชั่นส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ • ประธานกรรมการบริษัท / กรรมการอิสระ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท ไทย แท็งค์ เทอร์มินัล จ�ำกัด • กรรมการและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการอิสระ บริษัท เฌอร่า จ�ำกัด (มหาชน) • นายกสมาคม สมาคมกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ • ประธานกรรมการ สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย • อุปนายก สภามหาวิทยาลัย ราชมงคลกรุงเทพ • กรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นต้น ประสบการณ์หลักในอดีต • ปี 2549 - ประธานประจ�ำประเทศไทย พฤษภาคม 2560 กลุ่มบริษัท จาร์ดีน แมธีสัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด • ปี 2551 - 2559 คณบดี คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • ปี 2549 - 2559 ประธานหอการค้าเนเธอร์แลนด์-ไทย • ปี 2557 - 2558 สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ • ปี 2544 - 2546 กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ทีทีแอนด์ที จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2540 - 2544 รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง • ปี 2538 - 2540 ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2534 - 2537 ผู้อ�ำนวยการส�ำนักผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย • ปี 2530 - 2533 Economist, Exchange and Trade Relations Department, The International Monetary Fund, Washington D.C., USA การฝึกอบรม • Director Certification Program - DCP รุ่น 18/2545 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Corporate Governance for Capital Market Intermediaries - CGI รุ่น 2/2558 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

73


รายงานประจํ า ปี 2560

นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์ อายุ 60 ปี

กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม / รองประธานกรรมการบริษัท / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน / ประธานกรรมการบริหาร / ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน (บริษัทจดทะเบียน, บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ) บริษัทจดทะเบียน • บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ • รองประธานกรรมการบริษัท บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลวิมุต โฮลดิ้ง จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท พฤกษา โอเวอร์ซีส์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท พฤกษา อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ประสบการณ์หลักในอดีต • ปี 2541 - 2548 บริษัท เกสร ภัตตาคาร จ�ำกัด • ปี 2528 - 2530 ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด สยามเอ็นจิเนียริ่ง

การฝึกอบรม • Director Certification Program - DCP รุ่น 51/2547 / สัดส่วนในการถือหุ้น (%) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 • Finance for Non-Finance Directors / 1. ตนเอง : 60.1142% (1,314,009,986 หุ้น) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2. คู่สมรส : 3.8886% (85,000,000 หุ้น) 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : 3.8886% (85,000,000 หุ้น) ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 1. ตนเอง : 60.0884% (1,314,009,986 หุ้น) 2. คู่สมรส : 3.8870% (85,000,000 หุ้น) 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : 3.8870% (85,000,000 หุ้น) เปลี่ยนแปลง (เพิ่ม/ลด) 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : -

(วันที่เข้าเป็นกรรมการ 16 มีนาคม 2559)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • พี่ชายนางรัตนา พรมสวัสดิ์ การศึกษา • ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี • ปริญญาวิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาวิศวกรรม โยธา มหาวิทยาลัยศรีปทุม • ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพฯ • ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

74


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ อายุ 64 ปี

กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ

(วันที่เข้าเป็นกรรมการ 29 เมษายน 2559) สัดส่วนในการถือหุ้น (%) ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : เปลี่ยนแปลง (เพิ่ม/ลด) 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ :

ไม่มี ไม่มี ไม่มี

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน (บริษัทจดทะเบียน, บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ) บริษัทจดทะเบียน • ประธานกรรมการ (กรรมการอิสระ) บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ) ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ • ประธานกรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ) บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม ประสบการณ์หลักในอดีต • ปี 2552 - 2555 กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ บริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2551 - 2552 ประธานที่ปรึกษาประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2549 - 2551 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน การฝึกอบรม • Director Accreditation Program - DAP รุ่น 35/2548 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

ไม่มี ไม่มี ไม่มี -

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • - การศึกษา • ปริญญาเอก เศรษฐศาสตร์, London School of Economics มหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศอังกฤษ • ปริญญาโท (Distinction) เศรษฐศาสตร์ (Econometrics and Mathematical Economics), London School of Economics, มหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศอังกฤษ • ปริญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัย Oxford ประเทศอังกฤษ

75


รายงานประจํ า ปี 2560

นายอดุลย์ จันทนจุลกะ อายุ 71 ปี

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการบรรษัทภิบาล (วันที่เข้าเป็นกรรมการ 29 เมษายน 2559) สัดส่วนในการถือหุ้น (%) ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : เปลี่ยนแปลง (เพิ่ม/ลด) 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ :

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี -

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • - การศึกษา • ปริญญาตรี (พาณิชยศาสตร์และการบัญชี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

76

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน (บริษัทจดทะเบียน, บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ) บริษัทจดทะเบียน • กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท จุฑานาวี จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ • กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) ประสบการณ์หลักในอดีต • ปี 2546 - 2547 กรรมการ บริษทั สยามเพรส แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด • ปี 2544 - 2545 ประธานกรรมการ บริษทั สยามอินทิเกรเต็ด เซอร์วสิ จ�ำกัด, กรรมการ บริษทั ดุสติ สินธร จ�ำกัด • ปี 2543 - 2545 กรรมการ บริษทั ชลประทานซีเมนต์ จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2511 - 2545 ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การใหญ่ (ต�ำแหน่งสุดท้าย) ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) การฝึกอบรม • Director Accreditation Program - DAP รุ่น 5/2546 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Audit Committee Program - ACP รุ่น 7/2548 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Role of the Compensation Committee - RCC รุ่น 3/2550 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

นายวีระชัย งามดีวิ ไลศักดิ์ อายุ 55 ปี

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ / ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (วันที่เข้าเป็นกรรมการ 29 เมษายน 2559) สัดส่วนในการถือหุ้น (%) ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : เปลี่ยนแปลง (เพิ่ม/ลด) 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ :

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี -

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • - การศึกษา • ปริญญาตรี (พาณิชยศาสตร์และการบัญชี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ประกาศนียบัตรชั้นสูง การบริหารภาครัฐและ การกฎหมายมหาชน สถาบันพระปกเกล้า

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน (บริษัทจดทะเบียน, บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ) บริษัทจดทะเบียน • กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน / ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ศรีสวัสดิ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ออล่า จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท สินมั่นคงประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ • กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ออโตคอร์ปโฮลดิ้ง จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ออดิท วัน จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เอฟ แอนท์ เอ โซลูชั่น จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท สมายล์ พี จ�ำกัด ประสบการณ์หลักในอดีต • ปี 2546 - 2558 กรรมการ บริษทั โปรเฟสชัน่ แนล เอ้าท์ซอสซิง่ โซลูชนั่ ส์ จ�ำกัด กรรมการ บริษทั ส�ำนักงานทีป่ รึกษาทางธุรกิจและบัญชี จ�ำกัด • ปี 2542 - 2546 กรรมการบริหาร กลุม่ บริษทั อาร์เธอร์ แอนเดอร์เซ่น ประเทศไทย • ปี 2539 - 2542 ผูช้ ว่ ยกรรมการ บริษทั เอสจีวี - ณ ถลาง จ�ำกัด • ปี 2535 - 2539 ผูจ้ ดั การสายงานตรวจสอบ บริษทั เอสจีวี - ณ ถลาง จ�ำกัด • ปี 2528 - 2535 ผูช้ ว่ ยผูต้ รวจสอบ บริษทั เอสจีวี - ณ ถลาง จ�ำกัด การฝึกอบรม • Director Certification Program - DCP รุ่น 0/2543 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Finance for Non-Finance Director - FN รุ่น 1/2546 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Role of the Compensation Committee - RCC รุ่น 3/2550 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Successful Formulation & Execution of Strategy - SFE รุ่น 4/2552 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Chartered Director Class - CDC รุ่น 8/2557 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

77


รายงานประจํ า ปี 2560

ดร.อนุสรณ์ แสงนิ่มนวล อายุ 63 ปี

กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (วันที่เข้าเป็นกรรมการ 29 เมษายน 2559) สัดส่วนในการถือหุ้น (%) ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : เปลี่ยนแปลง (เพิ่ม/ลด) 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ :

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี -

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน (บริษัทจดทะเบียน, บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ) บริษัทจดทะเบียน • กรรมการอิสระ บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการอิสระ บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ • กรรมการอิสระ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี • ที่ปรึกษา บริษัท อุบล ไบโอเอทานอล จ�ำกัด ประสบการณ์หลักในอดีต • ปี 2556 - 2559 กรรมการ บริษทั กรุงเทพธนาคม จ�ำกัด • ปี 2557 - 2558 สมาชิกสภาปฏิรปู แห่งชาติ • ปี 2557 - 2558 กรรมการ บริษทั ล็อกซเล่ย์ จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2556 - 2558 ทีป่ รึกษาอาวุโส บริษทั บางจากปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2548 - 2555 กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั บางจากปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2554 - 2555 ประธานกรรมการ บริษทั บางจากโซลาร์เอนเนอร์ยี จ�ำกัด • ปี 2554 - 2555 ประธานกรรมการ บริษทั อุบล ไบโอเอทานอล จ�ำกัด • ปี 2551 - 2555 ประธานกรรมการ บริษทั บางจากไบโอฟูเอล จ�ำกัด • ปี 2551 - 2554 ประธานองค์กรธุรกิจเพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (TBCSD) • ปี 2551 - 2554 กรรมการสภาธุรกิจตลาดทุนไทย • ปี 2550 - 2554 กรรมการสมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย • ปี 2549 - 2551 สมาชิกสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ / กรรมาธิการและเลขานุการคณะกรรมาธิการพลังงาน

การฝึกอบรม • ปริญญาบัตร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน / วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ. 20) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • ประกาศนียบัตร หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 10 / • - สถาบันวิทยาการตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (วตท.10) การศึกษา • ประกาศนียบัตรขั้นสูง การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน • ปริญญาเอก (วิศวกรรมเคมี) Monash University, รุ่นที่ 5 / สถาบันพระปกเกล้า (ปรม. 5) Melbourne, Australia • หลักสูตรการก�ำกับดูแลกิจการส�ำหรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูง • ปริญญาโท (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย ของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน รุ่นที่ 1 / สถาบันพัฒนากรรมการ และผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ (PDI) • ปริญญาตรี (เคมีวิศวกรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Director Certification Program - DCP รุ่น 62/2548 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Director Accredited Program - DAP รุ่น 40/2548 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

78


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล อายุ 65 ปี

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ (วันที่เข้าเป็นกรรมการ 29 เมษายน 2559) สัดส่วนในการถือหุ้น (%) ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : เปลี่ยนแปลง (เพิ่ม/ลด) 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ :

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี -

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • - การศึกษา • ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย • เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น • บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ • Doctor of Business Administration, Harvard University, Massachusetts, USA

• Master in Business Administration, Harvard University, Massachusetts, USA • Master of Engineering in Industrial Engineering and Management, Asian Institute of Technology, Bangkok, Thailand • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาไฟฟ้า (เกียรตินิยมอันดับ 1) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน (บริษัทจดทะเบียน, บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ) บริษัทจดทะเบียน • กรรมการ / กรรมการพิจารณาผลตอบแทน / กรรมการกิจการสังคม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ • กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ศาสตราภิชาน คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • กรรมการ คณะกรรมการบริหารจัดการทรัพย์สิน วชิราวุธวิทยาลัย • กรรมการ โครงการทุนเล่าเรียนหลวงสําหรับพระสงฆ์ไทย • ประธานคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ • กรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา • กรรมการ คณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ • ประธานคณะกรรมการกํากับการจัดจ้างของหน่วยงานของรัฐ • Chairman of the Council of Trustees and the Board of Director, Thailand Development Research Institute (TDRI) • ที่ปรึกษาอาวุโส บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จ�ำกัด • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • กรรมการ มูลนิธิมั่นพัฒนา • ที่ปรึกษา คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน • ที่ปรึกษา ส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ • กรรมการ คณะกรรมการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ • กรรมการ คณะกรรมการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ • กรรมการ คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ • กรรมการ และกรรมการบริหาร สภากาชาดไทย ประสบการณ์หลักในอดีต • ปี 2553 - 2558 ผูว้ า่ การธนาคารแห่งประเทศไทย • ปี 2553 - 2553 รองประธานกรรมการ บริษทั เมืองไทยประกันชีวติ จ�ำกัด • ปี 2553 - 2553 ประธานกรรมการสมาคมธนาคารไทย • ปี 2551 - 2559 กรรมการสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเภทผูท้ รงคุณวุฒิ • ปี 2548 - 2553 ประธานกรรมการ บริษทั ลีสซิง่ กสิกรไทย จ�ำกัด • ปี 2548 - 2552 ประธานกรรมการ บริษทั แฟคเตอริง่ กสิกรไทย จ�ำกัด

79


รายงานประจํ า ปี 2560

• ปี 2547 - 2553 • ปี 2547 - 2553 • ปี 2545 - 2546 • ปี 2544 - 2548 • ปี 2544 - 2546 • ปี 2543 - 2546 • ปี 2542 - 2546 • ปี 2541 - 2547 • ปี 2541 - 2543 • ปี 2535 - 2542

80

ประธานชมรมผูร้ บั พระราชทานทุนมูลนิธิ อานันทมหิดล กรรมการผูจ้ ดั การ ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) คณะท�ำงานนโยบายเศรษฐกิจ กระทรวงการคลัง ประธานกรรมการ คณะกรรมการจัดหาและ บริการดวงตา แห่งสภากาชาดไทย กรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบ บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ คณะกรรมการนโยบายทุนรัฐวิสาหกิจ เลขาธิการ ส�ำนักงานคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) กรรมการพัฒนากฎหมาย ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ คณะกรรมการทีป่ รึกษา เพือ่ การปฏิรปู ระบบสถาบันการเงิน กระทรวงการคลัง รองเลขาธิการ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)

• ปี 2526 - 2535 - ปี 2524 - 2526

ธนาคารแห่งประเทศไทย - เศรษฐกร ฝ่ายวิชาการ - หัวหน้าหน่วย ฝ่ายก�ำกับและตรวจสอบ ธนาคารพาณิชย์ - รองผูอ้ ำ� นวยการ ฝ่ายก�ำกับและตรวจสอบ สถาบันการเงิน Research Fellow, International Food Policy Research Institute, Washington, D.C., USA

การฝึกอบรม • Role of the Chairman Program - RCP รุ่น 2/2544 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Director Certification Program - DCP รุ่น 21/2545 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Ethical Leadership Program - ELP รุ่น 2/2558 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 9 / สถาบันวิทยาการพลังงาน • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 15 / วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ศ.นพ.ปิยะมิตร ศรีธรา อายุ 59 ปี

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน (บริษัทจดทะเบียน, บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ) บริษัทจดทะเบียน • บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ • คณบดีคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล • หัวหน้าคลัสเตอร์วิจัยหัวใจหลอดเลือดและเมแทบอลิซึม มหาวิทยาลัยมหิดล • กรรมการการสอบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ สาขาวิชาอายุรศาสตร์โรคหัวใจ แพทยสภา

กรรมการอิสระ

(วันที่เข้าเป็นกรรมการ 16 กุมภาพันธ์ 2560) สัดส่วนในการถือหุ้น (%) ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : เปลี่ยนแปลง (เพิ่ม/ลด) 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ :

• ปี 2525 แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล • ปี 2523 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี -

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • - การศึกษา • ปี 2561 หลักนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย (นปธ) รุ่นที่ 6 วิทยาลัยศาลรัฐธรรมนูญ • ปี 2559 Fellow of Royal College of Physician (LONDON) • ปี 2558 Fellow of American College of Physician • ปี 2551 หลักสูตรผู้บริหารยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุ่นที่ 12 • ปี 2537 Thai Board of Cardiovascular Medicine, FRCP (Thailand) • ปี 2533 Diploma in Cardiology, Royal Postgraduate Medical School, Hammersmith Hospital, University of London • ปี 2531 Thai Board of Internal Medicine , FRCP (Thailand)

ประสบการณ์หลักในอดีต • ปี 2558 - ปัจจุบนั คณบดีคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล • ปี 2555 - 2560 ประธานวิชาการของราชวิทยาลัยอายุรแพทย์ แห่งประเทศไทย • ปี 2554 - ปัจจุบนั หัวหน้าคลัสเตอร์วิจัยหัวใจหลอดเลือดและ เมแทบอลิซึม มหาวิทยาลัยมหิดล • ตุลาคม 2553 - 2557 หัวหน้าภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล • ปี 2551 - 2554 เมธีวิจัยอาวุโส ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย (สกว) • ปี 2550 - 2553 ผูอ้ ำ� นวยการศูนย์หวั ใจหลอดเลือดและเมแทบอลิซมึ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล • ปี 2549 - 2553 รองหัวหน้าภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล • กันยายน 2549 ศาสตราจารย์ประจ�ำหน่วยโรคหัวใจ มหาวิทยาลัยมหิดล • ปี 2548 แพทย์ดีเด่นด้านวิชาการ ของราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย • ปี 2545 - 2548 รองคณบดีฝ่ายสารสนเทศ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล • ปี 2542 - ปัจจุบนั กรรมการการสอบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ สาขาวิชาอายุรศาสตร์โรคหัวใจ แพทยสภา • ปี 2539 รองศาสตราจารย์ประจ�ำหน่วยโรคหัวใจ มหาวิทยาลัยมหิดล • ปี 2535 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจ�ำหน่วยโรคหัวใจ • ปี 2533 - 2535 แพทย์โรคหัวใจประจ�ำ Hammersmith Hospital • ปี 2531 อาจารย์ประจ�ำหน่วยโรคหัวใจ โรงพยาบาลรามาธิบดี • ปี 2526 - 2528 แพทย์ใช้ทนุ โรงพยาบาลเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี การฝึกอบรม • Director Certification Program - DCP รุ่น 244/2560 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

81


รายงานประจํ า ปี 2560

นายวิเชียร เมฆตระการ อายุ 63 ปี

กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (วันที่เข้าเป็นกรรมการ 16 มีนาคม 2559) สัดส่วนในการถือหุ้น (%) ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : เปลี่ยนแปลง (เพิ่ม/ลด) 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ :

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี -

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • - การศึกษา • ปริญญาตรี (วิศวกรรมไฟฟ้า - เกียรตินิยม) California State Polytechnic University, Pomona, USA

82

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน (บริษัทจดทะเบียน, บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ) บริษัทจดทะเบียน • กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน บริษัท อาปิโก ไฮเทค จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ • กรรมการ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท ไอร่า แอนด์ ไอฟุล จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ บริษัท ธนชาต ประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) ประสบการณ์หลักในอดีต • ปี 2552 - ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร มิถุนายน 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2549 - 2552 กรรมการผู้อ�ำนวยการ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) การฝึกอบรม • Advanced Technical in Microwave / California State University - Northridge • Mini MBA for Shinawatra Executives / จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Advanced Executive Program Kellogg School of Management, Northwestern University, USA • ประกาศนียบัตร หลักสูตร “ผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 8 (วตท.8) / สถาบันวิทยาการตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • Director Certification Program - DCP รุ่น 107/2551 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยส�ำหรับ นักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 17 / สถาบันพระปกเกล้า (ปปร.17) • Board that Make a Difference - BMD รุ่น 3/2559 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Role of the Chairman Program - RCP รุ่น 40/2560) / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

นางรัตนา พรมสวัสดิ์ อายุ 56 ปี

กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม / กรรมการบรรษัทภิบาล

(วันที่เข้าเป็นกรรมการ 29 เมษายน 2559) สัดส่วนในการถือหุ้น (%) ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : เปลี่ยนแปลง (เพิ่ม/ลด) 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ :

1.8400% (40,220,401 หุ้น) 0.5856% (12,800,000 หุ้น) ไม่มี 1.9307% (42,221,462 หุ้น) 0.5716% (12,500,000 หุ้น) ไม่มี

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน (บริษัทจดทะเบียน, บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ) บริษัทจดทะเบียน • บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ • กรรมการ / ผู้อ�ำนวยการส�ำนักกรรมการผู้จัดการ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท พฤกษา โอเวอร์ซีส์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท พฤกษา อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เกสรก่อสร้าง จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท พฤกษา อินเดีย เฮ้าส์ซิ่ง จ�ำกัด ประสบการณ์หลักในอดีต • ปี 2546 - 2548 ที่ปรึกษาฝ่ายการเงิน บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด • ปี 2541 - 2547 กรรมการ บริษัท เกสรภัตตาคาร จ�ำกัด (ปิดกิจการเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2548) • ปี 2536 - 2546 ผู้จัดการฝ่ายการเงิน บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด • ปี 2529 - 2544 ผู้จัดการฝ่ายการเงิน ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด สยามเอ็นจิเนียริ่ง การฝึกอบรม • Director Certification Program - DCP รุ่น 52/2547 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

2,001,061 หุ้น (300,000) หุ้น -

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • น้องสาวนายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์ การศึกษา • ปริญญาตรี (นิติศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง

83


รายงานประจํ า ปี 2560

นายปิยะ ประยงค์ อายุ 48 ปี

กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม / กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ (วันที่เข้าเป็นกรรมการ 16 มีนาคม 2559) สัดส่วนในการถือหุ้น (%) ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : เปลี่ยนแปลง (เพิ่ม/ลด) 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ :

0.0484% (1,056,901 หุ้น) 0.0022% (49,000 หุ้น) ไม่มี 0.0624% (1,364,002 หุ้น) 0.0037% (80,000 หุ้น) ไม่มี 307,101 หุ้น 31,000 หุ้น -

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • - การศึกษา • ปริญญาตรี (วิศวกรรมศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

84

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน (บริษัทจดทะเบียน, บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ) บริษัทจดทะเบียน • บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ • กรรมการ / ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มธุรกิจพฤกษาเรียลเอสเตท บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท เกสรก่อสร้าง จ�ำกัด ประสบการณ์หลักในอดีต • ปี 2559 - กรรมการ / กรรมการบริหารและกลยุทธ์ / มกราคม 2560 กรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์กร / กรรมการผู้อ�ำนวยการกลุ่มธุรกิจกลุ่มธุรกิจแวลู บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2553 รองกรรมการผู้จัดการ สายงานพัฒนาธุรกิจ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2551 รองกรรมการผู้จัดการ ส�ำนักปฏิบัติการ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2547 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด • ปี 2546 ผู้จัดการฝ่ายก่อสร้างโครงการ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด การฝึกอบรม • Director Certification Program - DCP รุ่น 59/2548 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Risk Management Program for Corporate Leaders - RCL รุ่น 8/2560 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่น 25/2560 / สถาบันวิทยาการตลาดทุน


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

นายประเสริฐ แต่ดุลยสาธิต อายุ 50 ปี

กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม / กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ (วันที่เข้าเป็นกรรมการ 27 เมษายน 2560) สัดส่วนในการถือหุ้น (%) ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : เปลี่ยนแปลง (เพิ่ม/ลด) 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ :

0.0000% (1 หุ้น) ไม่มี ไม่มี 0.0000% (1 หุ้น) ไม่มี ไม่มี -

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • - การศึกษา • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (การตลาด, การเงิน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี (บัญชี) (เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน (บริษัทจดทะเบียน, บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ) บริษัทจดทะเบียน • บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ • นายก สมาคมอาคารชุดไทย • กรรมการ คณะกรรมการสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย

• ที่ปรึกษา สมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร • กรรมการ คณะกรรมการบริหารส�ำนักงานพัฒนาที่อยู่อาศัย (กทม.) • กรรมการ คณะกรรมการด�ำเนินการศูนย์ขอ้ มูลอสังหาริมทรัพย์ (REIC) • ทีป่ รึกษา สมาคมผูป้ กครองและครูโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ที่ปรึกษา สมาคมนิสิตเก่าเอ็มบีเอ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • กรรมการ / ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มธุรกิจ พฤกษา เรียลเอสเตท-พรีเมียม บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) ประสบการณ์หลักในอดีต • ปี 2559 - กรรมการ / กรรมการบริหารและกลยุทธ์ / มกราคม 2560 กรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์กร / กรรมการ / ผู้อ�ำนวยการกลุ่มธุรกิจพรีเมียม บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2556 - 2559 กรรมการ / กรรมการผู้จัดการ กลุ่มธุรกิจ คอนโดมิเนียม 1 บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2553 - 2556 กรรมการ / รองกรรมการผู้จัดการ ส�ำนักพัฒนา ธุรกิจ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2551 - 2552 กรรมการ / รองกรรมการผู้จัดการ ส�ำนักปฏิบัติการ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2550 - 2551 กรรมการ / รองกรรมการผูจ้ ดั การ ส�ำนักพัฒนาธุรกิจ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2548 - 2550 กรรมการ / ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การ สายงานการตลาด และพัฒนาธุรกิจ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2545 - 2548 กรรมการ / กรรมการบริหาร / ผู้ช่วยกรรมการ ผู้จัดการ สายงานการตลาดและพัฒนาธุรกิจ บริษัท ลลิลพร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2542 - 2545 ผู้จัดการฝ่ายอาวุโสการตลาดและพัฒนาธุรกิจ บริษัท ลลิลแลนด์แอนด์เฮ้าส์ จ�ำกัด • ปี 2536 - 2542 ผู้จัดการฝ่ายการตลาดและพัฒนาธุรกิจ บริษัท ลลิลแลนด์แอนด์เฮ้าส์ จ�ำกัด การฝึกอบรม • หลักสูตรการบริหารจัดการด้านความมั่นคงขั้นสูง รุ่นที่ 8 / สมาคมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ในพระบรมราชูปถัมภ์ • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ 21 / สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูงด้านการบริหารงานพัฒนาเมือง (มหานคร รุน่ ที่ 3) / วิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช • Director Certification Program - DCP รุ่น 56/2548/ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Director Accreditation Program - DAP รุ่น 1/2546 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะ ส�ำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 5/2549 / สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รุ่น 10 (RECU 10)

85


รายงานประจํ า ปี 2560

นางสุพัตรา เป้าเปี่ยมทรัพย์ อายุ 54 ปี

รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม / กรรมการบริหาร

(วันที่เข้าเป็นผู้บริหาร 14 กรกฎาคม 2560) สัดส่วนในการถือหุ้น (%) ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : เปลี่ยนแปลง (เพิ่ม/ลด) 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ :

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี -

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • - การศึกษา • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาการตลาด Georgia State University, USA • ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ สาขาการบัญชี มหาวิทยาอัสสัมชัญ (ABAC) ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน (บริษัทจดทะเบียน, บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ) บริษัทจดทะเบียน • -

86

บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ • ประธานที่ปรึกษาด้านนโยบายความยั่งยืน กลุ่มบริษัทยูนิลีเวอร์ในประเทศไทย • นายกสมาคม สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย • ที่ปรึกษา บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด • ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • ผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิชาการประจ�ำภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ผู้ทรงคุณวุฒิ สาขาวิชาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ประสบการณ์หลักในอดีต • ปี 2557 - ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทยูนิลีเวอร์ เมษายน 2560 ในประเทศไทย • ปี 2556 รองประธานกรรมการบริหาร กลุ่มธุรกิจเครื่องใช้ ในครัวเรือน อาหารและไอศกรีม บริษัท ยูนิลีเวอร์ ไทย เทรดดิ้ง จ�ำกัด • ปี 2552 - 2555 รองประธานกรรมการบริหาร กลุ่มธุรกิจ อาหาร และไอศกรีม บริษัท ยูนิลีเวอร์ ไทย เทรดดิ้ง จ�ำกัด • ปี 2549 - 2552 รองประธานกรรมการบริหาร ฝ่ายพัฒนาแบรนด์ ผลิตภัณฑ์อาหาร ภูมิภาคจีนและเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ บริษัท ยูนิลีเวอร์ (พ�ำนักที่เมืองเซี่ยงไฮ้) ประเทศจีน • ปี 2547 - 2548 รองประธานกรรมการบริหาร ผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ ในครัวเรือนและผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ส่วนบุคคล บริษัท ยูนิลีเวอร์ ประเทศมาเลเซีย • ปี 2544 - 2546 ผู้อ�ำนวยการ การตลาด ผลิตภัณฑ์ดูแล ท�ำความสะอาดผ้า บริษัทยูนิลีเวอร์ ประเทศไทย • ปี 2541 - 2543 ผู้อ�ำนวยการบริการทางการตลาด บริษัท ยูนิลีเวอร์ ประเทศไทย • ปี 2539 - 2540 ผู้อ�ำนวยการแผนกวิจัยตลาด บริษัท ยูนิลีเวอร์ ประเทศไทย • ปี 2535 - 2539 ผู้จัดการวิจัยตลาดผลิตภัณฑ์เส้นผม ศูนย์นวัตกรรมเส้นผม เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริษัท ยูนิลีเวอร์ • ปี 2532 - 2535 ผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ การฝึกอบรม • ปี 2558 คอร์สผู้น�ำธุรกิจโลก มหาวิทยาลัยฮาวาร์ด สหรัฐอเมริกา • ปี 2557 คอร์สสร้างผู้น�ำ 2020 จากวิสัยทัศน์สู่ความส�ำเร็จ เป็นคอร์สผู้บริหารระดับสูงของยูนิลีเวอร์ จัดที่สิงคโปร์และอังกฤษ • ปี 2557 คอร์สผู้น�ำธุรกิจระดับโลก เจาะตลาดเอเซีย โดยรัฐบาลสิงคโปร์ จัดที่ประเทศสิงคโปร์และอินโดนีเซีย • ปี 2555 คอร์สผู้น�ำหญิงโลก โดยสถาบันอินเซส (INSEAD) ที่ประเทศอังกฤษ


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

นางสาวไตรทิพย์ ศิวะกฤษณ์กุล อายุ 52 ปี

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินกลุ่ม

(วันที่เข้าเป็นผู้บริหาร 1 กันยายน 2560) สัดส่วนในการถือหุ้น (%) ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : เปลี่ยนแปลง (เพิ่ม/ลด) 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ :

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี -

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • - การศึกษา • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา Kellogg Graduate of Management, Northwestern University, USA • ปริญญาตรี สาขาการเงินการธนาคาร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน (บริษัทจดทะเบียน, บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ) บริษัทจดทะเบียน • กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทรทัน โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ • กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ โรงเรียนนานาชาติสิงคโปร์ • กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท คิงส์ เทเลคอม จ�ำกัด (มหาชน) ประสบการณ์หลักในอดีต • เมษายน 2559 - ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน สิงหาคม 2560 บริษัท เอก-ชัย ดิสทริบิวชั่น ซิสเทม จ�ำกัด • ธันวาคม 2554 - ประธานเจ้าหน้าที่การเงินส่วนกลาง มีนาคม 2559 บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน) • มกราคม - รองกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงิน ตุลาคม 2554 บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) • กันยายน 2550 - ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานแผนและ มกราคม 2554 พัฒนาธุรกิจ บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2549 - 2550 กรรมการ บริษัท โอเพ่นเทคโนโลยี่ จ�ำกัด • ปี 2549 - ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ด้านบัญชีและการเงิน กันยายน 2550 บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2548 - 2554 กรรมการ บริษัท ซุปเปอร์บล๊อก จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2546 - 2549 คณะท�ำงานสายงานการเงิน ของคณะผู้บริหารแผน บริษทั อุตสาหกรรม ปิโตรเคมีกลั ไทย จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2544 - 2546 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายจัดการสินทรัพย์ 2 บรรษัท บริหารสินทรัพย์ไทย • ปี 2540 - 2544 Partner บริษัท ดีลอยท์ ทู้ช โธมัทสุ คอร์ปอเรท รีสตรัคเจอริ่ง จ�ำกัด • ปี 2537 - 2540 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายวานิชธนกิจ บริษัท Peregrine Nithi Finance & Securities จ�ำกัด อื่นๆ • มกราคม - ที่ปรึกษาด้านการบริหารต้นทุน มิถุนายน 2551 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ปี 2548 - ที่ปรึกษากรรมการผู้จัดการ มกราคม 2550 บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จ�ำกัด • ปี 2546 ที่ปรึกษา กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและ พัฒนาระบบสถาบันการเงิน การฝึกอบรม • Director Certification Program - DCP รุ่น 158/2555 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Director Accreditation Program - DAP รุ่น 31/2548 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (หลักสูตร วตท. รุ่นที่ 9) / สถาบันวิทยาการตลาดทุน • TLCA Executive Development Program รุ่นที่ 2 (EDP 2) / สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย • Corporate Secretary Development Program / สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย

87


รายงานประจํ า ปี 2560

นายพรเทพ ศุภธราธาร อายุ 55 ปี

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานจัดซื้อจัดจ้าง และ ซัพพลายเชนกลุ่ม / กรรมการบริหาร วันที่เข้าเป็นผู้บริหาร 7 พฤศจิกายน 2559) สัดส่วนในการถือหุ้น (%) ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : เปลี่ยนแปลง (เพิ่ม/ลด) 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ :

0.0009% (19,501 หุ้น) ไม่มี ไม่มี 0.0001% (2,555 หุ้น) ไม่มี ไม่มี (16,946 หุ้น) -

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • - การศึกษา • ปริญญาโท (บริหารธุรกิจ) สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ • ปริญญาตรี (วิศวกรรมศาตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

88

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน (บริษัทจดทะเบียน, บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ) บริษัทจดทะเบียน • บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานซัพพลายเชน บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) ประสบการณ์หลักในอดีต • ปี 2559 - ปัจจุบนั รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานซัพพลายเชน บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2556 - 2558 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการสายงานบริหารบุคคล บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2551 - 2556 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการสายงานโรงงาน วิศกวกรรมและคุณภาพ บริษัท น�้ำตาลมิตรผล จ�ำกัด • ปี 2548 - 2551 Associate Director บริษัท พรอคเตอร์ แอนด์แกมเบิล เวียดนาม จ�ำกัด • ปี 2543 - 2548 Operations Manager บริษัท พรอคเตอร์ แอนด์แกมเบิล แมนูเฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด • ปี 2540 - 2543 Operations Manager บริษัท พรอคเตอร์แอนด์แกมเบิล แคนาดา จ�ำกัด • ปี 2532 - 2540 Operations Manager บริษัท พรอคเตอร์แอนด์แกมเบิล แมนูเฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด การฝึกอบรม • -


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

นายอุดมศักดิ์ แย้มนุ่น อายุ 56 ปี

รักษาการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหารกลางกลุ่ม / กรรมการบริหาร (วันที่เข้าเป็นผู้บริหาร 6 พฤษภาคม 2559) สัดส่วนในการถือหุ้น (%) ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : เปลี่ยนแปลง (เพิ่ม/ลด) 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ :

0.0000% (1 หุ้น) ไม่มี ไม่มี 0.0001% (1,764 หุ้น) ไม่มี ไม่มี 1,763 หุ้น -

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน (บริษัทจดทะเบียน, บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ) บริษัทจดทะเบียน • บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ • ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการสายงานบริหารทรัพยากรบุคคล บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) ประสบการณ์หลักในอดีต • ปี 2558 - ปัจจุบนั ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การสายงานบริหาร ทรัพยากรบุคคล บริษทั พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2556 - 2557 ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายบุคคลสายงานอุตสาหกรรม บริษทั สยามมิชลิน จ�ำกัด • ปี 2554 - 2556 ผูจ้ ดั การฝ่ายบุคคล โรงงานสยามมิชลินแหลมฉบัง บริษทั สยามมิชลิน จ�ำกัด • ปี 2549 - 2554 ผูจ้ ดั การฝ่ายผลิต โรงงานสยามมิชลินพระประแดง บริษทั สยามมิชลิน จ�ำกัด • ปี 2543 - 2548 ผูจ้ ดั การฝ่ายบุคคล โรงงานสยามมิชลินพระประแดง บริษทั สยามมิชลิน จ�ำกัด • ปี 2541 - 2542 ผูจ้ ดั การฝ่ายบุคคล โรงงานสยามมิชลินหนองแค บริษทั สยามมิชลิน จ�ำกัด • ปี 2539 - 2540 ผูจ้ ดั การส่วนบุคคล บริษทั ไทยวนภัณฑ์ จ�ำกัด เครือซิเมนต์ไทย การฝึกอบรม • Management Development Program รุ่นที่ 17 จัดโดย ศูนย์ฝึกอบรมปูนซิเมนต์ไทย (2003) • Empowerment Program and OR Coordinator : Michelin Siam 2012 • Managing Daily Performance and MDP Coach : Michelin Siam 2009

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • - การศึกษา • ปริญญาตรี (รัฐศาสตร์) เกียรตินิยมอันดับสอง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

89


รายงานประจํ า ปี 2560

นายคมกริช นงค์สวัสดิ์ อายุ 53 ปี

รักษาการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาดองค์กรกลุ่ม (วันที่เข้าเป็นผู้บริหาร 1 พฤศจิกายน 2560) สัดส่วนในการถือหุ้น (%) ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : เปลี่ยนแปลง (เพิ่ม/ลด) 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ :

ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี -

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • - การศึกษา • ปริญญาตรี (บริหารธุรกิจ) มหาวิทยาลัยรัฐแคลิฟอร์เนีย

90

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน (บริษัทจดทะเบียน, บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ) บริษัทจดทะเบียน • บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ • - ประสบการณ์หลักในอดีต • ตุลาคม 2559 - ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ตุลาคม 2560 บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2557 - 2559 ผู้จัดการทั่วไป (Aston Martin Bangkok) หัวหน้าฝ่ายการตลาดและการสื่อสาร (Azimut Yachts Thailand) บริษัท มาสเตอร์กรุ๊ปคอร์ปอเรชั่น (เอเชีย) จ�ำกัด • ปี 2554 - 2557 ผู้จัดการทั่วไปฝ่ายการตลาดและการสื่อสาร บริษัท เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด • ปี 2547 - 2553 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาด บริษัท ฟอร์ดมอเตอร์ คัมปะนี (ประเทศไทย) จ�ำกัด • ปี 2546 - 2547 ผู้จัดการฝ่ายขายของ Fleet บริษัท ฟอร์ดมอเตอร์ คัมปะนี (ประเทศไทย) จ�ำกัด • ปี 2554 - 2546 ผู้จัดการแบรนด์ / ผู้จัดการฝ่ายสื่อสารแบรนด์องค์กร อาวุโส บริษัท ฟอร์ดมอเตอร์ คัมปะนี (ประเทศไทย) จ�ำกัด • ปี 2539 - 2554 ผู้จัดการฝ่ายส่งเสริมการขายและการตลาดของ บริษัท บริษัท ฟอร์ดมอเตอร์ คัมปะนี (ประเทศไทย) จ�ำกัด • ปี 2536 - 2539 ผูจ้ ดั การฝ่ายส่งเสริมการขายและการประชาสัมพันธ์ (New Era Cycle and Carriage Company) บริษัท ฟอร์ดมอเตอร์ คัมปะนี (ประเทศไทย) จ�ำกัด การฝึกอบรม • -


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

นายเปรมศักดิ์ วัลลิกุล อายุ 53 ปี

เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ

(วันที่เข้าเป็นผู้บริหาร 19 เมษายน 2559) สัดส่วนในการถือหุ้น (%) ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : เปลี่ยนแปลง (เพิ่ม/ลด) 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ :

ไม่มี ไม่มี ไม่มี 0.0001% (1,249 หุ้น) ไม่มี ไม่มี 1,249 หุ้น -

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน (บริษัทจดทะเบียน, บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ) บริษัทจดทะเบียน • บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ • รักษาการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ตรวจสอบภายใน และก�ำกับการปฏิบัติงาน / เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) ประสบการณ์หลักในอดีต • ปี 2560 - รักษาการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปัจจุบัน ตรวจสอบภายในและก�ำกับการปฏิบัติงาน บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2558 - 2559 ผู้อ�ำนวยการอาวุโสฝ่ายตรวจสอบภายใน บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2552 - 2557 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายตรวจสอบภายใน บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2551 - 2552 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายสรรหาที่ดิน บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2550 - 2551 ผู้อ�ำนวยการ บริษัท แกรนด์ แอสเสท ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2547 - 2550 ผู้จัดการ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2546 - 2547 ผู้จัดการอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบภายใน บริษัท เบทาโกร กรุ๊ป จ�ำกัด • ปี 2542 - 2545 ผู้จัดการ บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ จ�ำกัด • ปี 2539 - 2542 ผู้ตรวจสอบภายในอาวุโส บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด การฝึกอบรม • Director Certification Program - DCP รุ่น 56/2548 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • - การศึกษา • วุฒิบัตร Certified Information Systems Auditor - CISA (0126580/2001 / ISACA) • ปริญญาโท (บริหาร) มหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย • อนุปริญญาโท (สารสนเทศ) มหาวิทยาลัยวูลลองกอง ประเทศออสเตรเลีย • ปริญญาตรี (บัญชี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

91


รายงานประจํ า ปี 2560

นายไพศาล ร�ำพรรณ์ อายุ 58 ปี

เลขานุการบริษัท

(วันที่เข้าเป็นผู้บริหาร 19 เมษายน 2559) สัดส่วนในการถือหุ้น (%) ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : เปลี่ยนแปลง (เพิ่ม/ลด) 1. ตนเอง : 2. คู่สมรส : 3. บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ :

ไม่มี ไม่มี ไม่มี 0.0000% (982 หุ้น) ไม่มี ไม่มี 982 หุ้น -

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • - การศึกษา • เนติบัณฑิตไทย ส�ำนักอบรมศึกษากฎหมาย แห่งเนติบัณฑิตยสภา • ปริญญาตรี (นิติศาสตร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

92

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน (บริษัทจดทะเบียน, บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ) บริษัทจดทะเบียน • บริษัทและหน่วยงานอื่นๆ • เลขานุการบริษัท บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) ประสบการณ์หลักในอดีต • ปี 2552 - ปัจจุบนั เลขานุการบริษัท บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2551 - 2552 ผู้จัดการอาวุโสฝ่ายกฎหมาย / เลขานุการบริษัท บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2548 - 2549 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายธุรกิจผ่านนายหน้า บริษัท อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี. ประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) • ปี 2535 - 2548 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายกฎหมาย บริษัท อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี. ประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) อนุกรรมการกฎหมาย สมาคมประกันชีวิตไทย การฝึกอบรม • Company Secretary Program - CSP รุ่น 27/2551 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Effective Minute Taking - EMT รุ่น 13/2552 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Board Reporting Program - BRP รุ่น 3/2553 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • CGM Workshop ปี 2560 / สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ผู้มีอ�ำนาจควบคุมในบริษัทฯ และบริษัทย่อย (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) ชื่อ 1. ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม

บมจ. บจ. บจ. บจ. บจ. บจ.พฤกษา บจ. พฤกษา บจ. พฤกษา บริษัทฯ เรียล เกสร พนาลีฯ พุทธ อินเตอร์ฯ พฤกษา โอเวอร์ซีส์ ร.พ.วิมุต ชาดฯ โอเวอร์ซีส์ เซอร์วิส ** โฮลดิ้ง * เอสเตท ก่อสร้าง X

X

-

-

-

-

-

-

-

2. นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์

/&//

/

-

-

-

X

X

X

X

3. ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

/

/

-

-

-

-

-

-

-

4. นายอดุลย์ จันทนจุลกะ

/

/

-

-

-

-

-

-

-

5. นายวีระชัย งามดีวิไลศักดิ์

/

/

-

-

-

-

-

-

-

6. ดร.อนุสรณ์ แสงนิ่มนวล

/

/

-

-

-

-

-

-

-

7. ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

/

/

-

-

-

-

-

-

-

8. ศ.นพ. ปิยะมิตร ศรีธรา (2)

/

-

-

-

-

-

-

-

-

9. นายวิเชียร เมฆตระการ

/ & //

/

-

-

-

-

-

-

-

10. นางรัตนา พรมสวัสดิ์

/

/

/

-

-

/

/

-

-

11. นายปิยะ ประยงค์

/ & //

/

/

-

-

-

-

/

-

12. นายประเสริฐ แต่ดุลยสาธิต (3)

/ & //

/

-

-

-

-

-

-

-

13. นายธีรเดช เกิดส�ำอางค์ (6)

//

/

-

/

-

-

-

-

-

14. นายนิมิตร พูลสวัสดิ์

-

/

-

-

-

-

-

-

-

15. นายเลอศักดิ์ จุลเทศ (1)

/

-

-

-

-

-

-

-

-

16. นางสุพัตรา เป้าเปี่ยมทรัพย์ (6)

//

-

-

-

-

-

-

-

-

17. นายพรเทพ ศุภธราธาร (6)

//

-

-

-

-

-

-

-

-

18. นายอุดมศักดิ์ แย้มนุ่น (6)

//

-

-

-

-

-

-

-

-

19. นางสาวสุภรณ์ ตรีวิชยพงศ์ (4)

//

-

/

/

/

/

/

/

-

20. นายแพทย์ส�ำเริง แก่นยะกูล (5)

//

-

-

-

-

-

-

-

/

21. นางสาวไตรทิพย์ ศิวะกฤษณ์กุล (7)

//

-

-

-

-

-

-

-

/

22. นายวัชรกฤษณ์ นพคุณ

-

-

-

-

-

-

-

-

/

93


รายงานประจํ า ปี 2560

หมายเหตุ : / = กรรมการ X = ประธานกรรมการ // = กรรมการบริหาร (1) นายเลอศักดิ์ จุลเทศ พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการบริษัท โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 27 เมษายน 2560 (2) ศ.นพ. ปิยะมิตร ศรีธรา ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท ตั้งแต่วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 เป็นต้นมา (3) นายประเสริ ฐ แต่ ดุ ล ยสาธิ ต ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการบริ ษั ท ตั้ ง แต่ วั น ที่ 27 เมษายน 2560 และได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการบริ ห าร ตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2560 เป็นต้นมา (4) นางสาวสุภรณ์ ตรีวิชยพงศ์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหาร ตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2560 และพ้นจากต�ำแหน่งกรรมการบริหาร โดยมีผล ตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน 2560 เป็นต้นมา (5) นายแพทย์ ส� ำ เริ ง แก่ น ยะกู ล ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการบริ ห ารตั้ ง แต่ วั น ที่ 20 มกราคม 2560 และพ้ น จากต� ำ แหน่ ง กรรมการบริ ห าร และ กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลวิมุต โฮลดิ้ง จ�ำกัด ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2560 (6) นางสุพัตรา เป้าเปี่ยมทรัพย์, นายพรเทพ ศุภธราธาร, นายอุดมศักดิ์ แย้มนุ่น และนายธีรเดช เกิดส�ำอางค์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหาร ตั้งแต่วันที่ 14 กรกฎาคม 2560 เป็นต้นมา (7) นางสาวไตรทิพย์ ศิวะกฤษณ์กุล ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหาร ตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน 2560 เป็นต้นมา

บริษัท โรงพยาบาลวิมุต โฮลดิ้ง จ�ำกัด จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 (เปลี่ยนชื่อบริษัทจาก “บริษัท โรงพยาบาลวิมุตติ โฮลดิ้ง จ�ำกัด” เป็น “บริษัท โรงพยาบาลวิมุต โฮลดิ้ง จ�ำกัด” เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2560) ** บริษัท พฤกษา โอเวอร์ซีส์ เซอร์วิส จ�ำกัด จดทะเบียนยกเลิกบริษัทเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2560 *

การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการในรอบ ปี 2560

1. ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม

คณะ คณะ คณะ กรรมการ กรรมการ คณะ คณะ คณะ กรรมการ สรรหาและ กรรมการ บริหาร กรรมการ กรรมการ บรรษัทภิ พิจารณา บริหาร บริษัท ตรวจสอบ เสี่ยความ บาล งระดับ ค่ า ตอบแทน องค์การ ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 11/11 3/3 - 12/12 -

2. นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์

10/11 3/4

3. นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

ชื่อ

-

-

-

-

11/12

-

8/9

-

10/11 3/3 12/12 6/6

-

-

-

-

-

-

-

-

4. นายอดุลย์ จันทนจุลกะ

11/11 3/3 12/12 6/6

-

-

8/8

-

-

-

-

-

5. นายวีระชัย งามดีวิไลศักดิ์

11/11 3/3 12/12 6/6 12/12

-

-

-

12/12

-

-

-

6. ดร.อนุสรณ์ แสงนิ่มนวล

10/11 3/3

-

8/8

-

10/12

-

-

-

7. ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

11/11 3/3 12/12 5/6 12/12

-

-

-

-

-

-

-

8. ศ.นพ. ปิยะมิตร ศรีธรา (1)

9/9

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

9. นายวิเชียร เมฆตระการ

11/11 4/4

-

-

-

-

-

-

12/12

-

9/9

-

10. นางรัตนา พรมสวัสดิ์

10/11 3/3

-

-

-

-

7/8

-

-

-

-

-

11. นายปิยะ ประยงค์

10/11 4/4

-

-

10/12

-

-

-

-

-

9/9

-

12. นายประเสริฐ แต่ดุลยสาธิต (3)

8/8

1/1

-

-

10/12

-

-

-

-

-

8/9

-

13. นายเลอศักดิ์ จุลเทศ (2)

0/3

4/4

-

-

1/1

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

2/4

-

14. นางสุพัตรา เป้าเปี่ยมทรัพย์ (8)

94


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ชื่อ

คณะ คณะ คณะ กรรมการ กรรมการ คณะ คณะ คณะ กรรมการ สรรหาและ กรรมการ บริหาร กรรมการ กรรมการ บรรษัทภิ พิจารณา บริหาร บริษัท ตรวจสอบ เสี่ยความ บาล งระดับ ค่ า ตอบแทน องค์การ ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559

15. นางสาวไตรทิพย์ ศิวะกฤษณ์กุล (6)

-

-

-

-

4/4

-

-

-

-

-

2/2

-

16. นายชาลี มาดาน (4)

-

-

-

-

1/1

-

-

-

-

-

-

-

17. นายพรเทพ ศุภธราธาร (8)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

3/4

-

18. นายอุดมศักดิ์ แย้มนุ่น (8)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

4/4

-

19. นายธีรเดช เกิดส�ำอางค์ (8)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

4/4

-

20. นางสาวสุภรณ์ ตรีวิชยพงศ์ (5)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

7/7

-

21. นายส�ำเริง แก่นยะกูล (7)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

5/5

-

หมายเหตุ : (1) ศ.นพ. ปิยะมิตร ศรีธรา ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท ตั้งแต่วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 (2) นายเลอศักดิ์ จุลเทศ พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการบริษัท ตั้งแต่วันที่ 27 เมษายน 2560 และพ้นจากต�ำแหน่งกรรมการบริหารตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2560 เป็นต้นมา (3) นายประเสริฐ แต่ดุลยสาธิต ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท ตั้งแต่วันที่ 27 เมษายน 2560 (4) นายชาลี มาดาน พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ ตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม 2560 (5) นางสาวสุภรณ์ ตรีวิชยพงศ์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหาร ตั้งแต่วันที่ 2 มกราคม 2560 และพ้นจากต�ำแหน่งกรรมการบริหาร ตั้งแต่วันที ่ 18 กันยายน 2560 (6) นางสาวไตรทิพย์ ศิวะกฤษณ์กุล ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ และได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหาร ตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน 2560 (7) นายส� ำ เริ ง แก่ น ยะกู ล ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการบริ ห าร ตั้ ง แต่ วั น ที่ 20 มกราคม 2560 และพ้ น จากต� ำ แหน่ ง กรรมการบริ ห าร ตั้ ง แต่ วั น ที่ 14 กรกฎาคม 2560 (8) นางสุพัตรา เป้าเปี่ยมทรัพย์ นายพรเทพ ศุภธราธาร นายอุดมศักดิ์ แย้มนุ่น และนายธีรเดช เกิดส�ำอางค์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหาร ตั้งแต่ วันที่ 14 กรกฎาคม 2560

95


รายงานประจํ า ปี 2560

รายงานคณะกรรมการบริษัท

3. รางวัล Asia’s Most Promising Brands 2017 จาก World Consulting & Research Corporation บริษัทที่ปรึกษาและ บริ ษั ท พฤกษา โฮลดิ้ ง จ� ำ กั ด (มหาชน) (“บริ ษั ท ฯ”) ประกอบ ธุ ร กิ จ หลั ก โดยการถื อ หุ ้ น ในบริษัท อื่น (Holding Company) และ บริหารจัดการเรื่องแบรนด์ช้ันน�ำระดับโลก มีความคาดหวังที่จะเป็นบริษัทชั้นน�ำของประเทศไทยที่มีธุรกิจ และ 4. รางวัล International Star for Quality Award 2017 ประเภท บริการที่หลากหลาย เพื่อตอบสนองรูปแบบการด�ำเนินชีวิตสมัยใหม่ Platinum จาก Business Initiative Directions (B.I.D.) และสามารถตอบโจทย์ ค วามต้ อ งการของลู ก ค้ า ได้ อ ย่ า งครบถ้ ว น รวมทั้งยังมุ่งมั่นช่วยเหลือและเติมเต็มความฝันของลูกค้า ด้วยการ 5. รางวัล BCI Asia Top 10 Developers Awards 2017 ต่อเนื่อง ส่งมอบความสุข และรูปแบบการด�ำเนินชีวิตที่ทันสมัยเพื่อสมาชิก เป็นปีที่ 7 จาก BCI Media Group ทุกคนในครอบครัว - โครงการ เออร์บาโน่ ราชวิถี ในปี 2560 ที่ ผ ่ า นมา บริ ษั ท ฯ มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท รวมทั้งสิ้น 11 ครั้ง และการประชุมของกรรมการ ที่ไม่เป็นผู้บริหาร - โครงการ แชปเตอร์วัน อีโค รัชดา-ห้วยขวาง คือ การประชุมร่วมกันเฉพาะกรรมการอิสระของบริษัทฯ โดยไม่มี - โครงการ พลัมคอนโด รามค�ำแหง ฝ่ายบริหารเข้าร่วมในการประชุมด้วยจ�ำนวน 1 ครั้ง ซึ่งที่ประชุมได้ หารือและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันในเรื่องต่างๆ โดยมีสาระส�ำคัญ 6. รางวัลโครงการอสังหาริมทรัพย์ดีเด่น ปี 2560 จาก ศูนย์ข้อมูล คือ การวางแผนรับมือกับเหตุการณ์ต่างๆ หากเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ, วิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย หลักในการก�ำหนด Incentive ให้กับ SBU ส�ำหรับปี 2561, การวัด Corporate Performance Evaluation, การน�ำเสนอเรื่องยุทธศาสตร์ - โครงการ เดอะไพรเวซี่ ลาดพร้าว-เสนา และกลยุ ท ธ์ ต ่ อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ พิ จ ารณาให้ - โครงการ บ้านพฤกษา ปู่เจ้า-ส�ำโรง มากยิ่งขึ้น, การลงทุนในธุรกิจอื่นๆ เพื่อก่อให้เกิดรายได้แก่บริษัทฯ, การเอาใจใส่ดูแลพนักงาน และการพัฒนาพนักงานอย่างอย่างต่อเนื่อง 7. รางวัลบ้านจัดสรรอนุรักษ์พลังงานดีเด่น ประจ�ำปี 2560 ประเภท โดยเฉพาะระดับจูเนียร์ ทั้งนี้ ในปีที่ผ่านมาบริษัทฯ มีการด�ำเนินงาน บ้านต้นแบบทาวเฮาส์ จาก กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์ ซึ่งมีสาระส�ำคัญ คือ การเปิดโครงการที่พักอาศัยของ บริษัท พฤกษา พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน เรี ย ลเอสเตท จ� ำ กั ด (มหาชน) ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ย่ อ ยของบริ ษั ท ฯ รวมจ�ำนวน 56 โครงการ แบ่งเป็นทาวน์เฮ้าส์ 36 โครงการ บ้านเดี่ยว - โครงการ เดอะคอนเนค 10 โครงการ และคอนโดมิเนียม 10 โครงการ 8. รางวัล Smart Green Energy Award 2017 จาก ส�ำนักงาน เศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม นอกจากนั้นแล้วบริษัทฯ ยังได้ประกาศเจตนารมณ์เข้าร่วมโครงการ แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น - โรงงานพฤกษา พรีคาสท์ นวนคร (Collective Action Coalition) และได้ รั บ การรั บ รองเมื่ อ วั น ที่ 10 พฤศจิกายน 2560 และการทีบ่ ริษทั ฯ เห็นความส�ำคัญของการด�ำเนิน 9. รางวัลสถานประกอบกิจการต้นแบบด้านความปลอดภัย ระดับจังหวัด ธุรกิจอย่างสมดุลระหว่างผลประกอบการทางการเงิน และความรับผิดชอบ ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 จาก ส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ต่อผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนการดูแลสังคม สิ่งแวดล้อม และสามารถ จังหวัดปทุมธานี น� ำ ประเด็ น ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม สั ง คม และบรรษั ท ภิ บ าล หรื อ ESG (Environmental, Social and Governance) ไปใช้เป็นกลไกใน - โรงงานพฤกษา พรีคาสท์ นวนคร การพัฒนาธุรกิจสู่ความยั่งยืน และการให้ความส�ำคัญกับการก�ำกับ 10. ประกาศนียบัตรรับรองมาตรฐานอาคารเขียว ระดับ Platinum ดู แ ลกิ จ การที่ ดี และปฏิ บั ติ ต ามอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จึ ง ส่ ง ผลให้ บ ริ ษั ท ฯ จาก สถาบัน DGNB ประเทศเยอรมนี ได้รับรางวัลต่างๆ อาทิเช่น - บ้านต้นแบบ “พฤกษา พลัส เฮาส์” โครงการ เดอะแพลนท์ รางวัลที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เอสทีค พัฒนาการ 1. โล่ ป ระกาศเกี ย รติ คุ ณ “บุ ค คลตั ว อย่ า งในภาคธุ ร กิ จ พั ฒ นา 11. ประกาศนียบัตรรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 3 ระบบสีเขียว อสังหาริมทรัพย์” ให้กับ นายปิยะ ประยงค์ ประธานเจ้าหน้าที ่ จาก กระทรวงอุตสาหกรรม บริ ห าร กลุ ่ ม ธุ ร กิ จพฤกษา เรีย ลเอสเตท ในฐานะที่เป็น บุคคล ตัวอย่างในภาคธุรกิจทีน่ ำ� ความรูแ้ ละเทคโนโลยีใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้ - โรงงาน พฤกษา พรีคาสท์ ล�ำลูกกา ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ จาก มูลนิธิสภาวิทยาศาสตร์และ - โรงงาน พฤกษา พรีคาสท์ นวนคร เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย 2. โล่ประกาศเกียรติคุณ “ผู้สร้างคุณประโยชน์ให้กับสังคม” ให้กับ 12. ประกาศนียบัตรรับรองการขึน้ ทะเบียนการจัดท�ำคาร์บอนฟุตพริน้ ท์ นายประเสริฐ แต่ดุลยสาธิต ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มธุรกิจ ขององค์กร ประจ�ำปี 2560 จาก องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก พฤกษา เรียลเอสเตท-พรีเมียม ในฐานะที่เป็นนักธุรกิจและบุคคล (องค์การมหาชน) ที่ประสบความส�ำเร็จในวงการธุรกิจทั้งภาครัฐและเอกชน ที่มีการ - โรงงาน พฤกษา พรีคาสท์ ล�ำลูกกา สร้างคุณประโยชน์ต่อสังคมและเศรษฐกิจโดยรวม จาก งาน INTV - โรงงาน พฤกษา พรีคาสท์ นวนคร AWARD 2017

96


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

13. ประกาศนียบัตรรับรองระบบการบริหารจัดการนวัตกรรม CEN/TS 6. รางวัล Sustainability Report Award 2017 ประเภท Recognition 16555-1 : 2013 จาก สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 จาก CSR Club, สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย, ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รางวัลด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ความยั่งยืน และความรับผิดชอบ และสถาบันไทยพัฒน์ ต่อสังคม สิ่งแวดล้อม 7. ประกาศเกี ย รติ คุ ณ องค์ ก รที่ ท� ำ คุ ณ ประโยชน์ ใ ห้ แ ก่ ก ระทรวง 1. ผลประเมินโครงการประเมินคุณภาพการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ ศึกษาธิการ จาก กระทรวงศึกษาธิการ ประจ� ำ ปี 2560 (Annual General Meeting หรื อ “AGM”) โดยบริษัทฯ ได้รับคะแนนประเมินเต็ม 100 คะแนน จาก สมาคม 8. เกี ย รติ บั ต รเชิ ด ชู อ งค์ ก รที่ ท� ำ คุ ณ ประโยชน์ ท างสั ง คม ด้ า นการ ส่งเสริมผู้ลงทุนไทย สนั บ สนุ น การจ้ า งงานคนพิ ก าร ประจ� ำ ปี 2560 จาก กองทุ น สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และกระทรวงแรงงาน (ทั้งนี้ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทย่อย ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท แกนของบริ ษั ท ฯ เคยได้ รั บ คะแนนประเมิ น เต็ ม 9. ประกาศนี ย บั ต รรั บ รองการเป็ น สมาชิ ก แนวร่ ว มปฏิ บั ติ ข อง 100 คะแนน ต่อเนื่อง 4 ปีซ้อน ตั้งแต่ปี 2556 - 2559 ก่อนที่ ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต (Thailand’s Private Sector จะเพิกถอนชื่อ จาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) Collective Action Coalition Against Corruption (CAC)) จาก The CAC Council 2. ผลประเมินการก�ำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทยประจ�ำปี 2560 ในระดั บ “ดี เ ลิ ศ ” คื อ ได้ ผ ลคะแนนประเมิ น มากกว่ า 10. รั บ เลื อ กให้ อ ยู ่ ใ นกลุ ่ ม ESG100 Company ประจ� ำ ปี 2560 90 คะแนน จาก สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) (Environmental, Social and Governance: ESG) ต่อเนื่อง เป็นปีที่ 2 จาก สถาบันไทยพัฒน์ (ทั้งนี้ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทย่อย ซึ่งเป็นบริษัทแกนของบริษัทฯ เคยได้ผลคะแนนประเมินมากกว่า 11. รับรองการเข้าร่วมโครงการจัดท�ำดัชนีเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 90 คะแนน ต่อเนื่อง 3 ปีซ้อน ตั้งแต่ปี 2557 - 2559 ก่อนที ่ ระดับองค์กร หรือ Corporate SDG Index จาก สถาบันไทยพัฒน์ จะเพิกถอนชื่อ จาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) คณะกรรมการบริษัทหวังเป็นอย่างยิ่งว่า บริษัทฯ จะสามารถสร้าง 3. รางวัล Set Sustainability Awards 2017 ประเภท Rising Star ผลประกอบการที่ดีในระยะยาว และเป็นที่ยอมรับส�ำหรับผู้ถือหุ้น จาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อประโยชน์ของบริษัทฯ ในการสร้างคุณค่าให้เกิดแก่กิจการ ทั้งนี้ บริษัทฯ ขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย อาทิเช่น ผู้ถือหุ้น 4. รางวัล Thailand Sustainability Investment (THSI) ต่อเนื่อง ลูกค้า คู่ค้า สถาบันการเงิน องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน รวมทั้ง เป็นปีที่ 2 จาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พนั ก งาน และขอให้ เ ชื่ อ มั่ น ว่ า บริ ษั ท ฯ จะด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า ง รอบคอบ โปร่ ง ใส มี จ ริ ย ธรรม มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผู ้ ถื อ หุ ้ น 5. รางวัลองค์กรโปร่งใส ครั้งที่ 7 (NACC Integrity Awards) ประเภท ชมเชย จาก ส�ำนัก งานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปราม ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย สั ง คม และจะไม่ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ ส ่ ง ผลกระทบ ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม เพื่ อ ความสุ ข ร่ ว มกั น ในทุ ก ๆ ภาคส่ ว น และ การทุจริตแห่งชาติ เพื่อความยั่งยืนของบริษัทฯ สืบไป

(ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม) ประธานคณะกรรมการบริษัท 25 มกราคม 2561

97


รายงานประจํ า ปี 2560

รายงานคณะกรรมการบริหาร

(1) มุ่งสู่การเป็นแบรนด์อันดับหนึ่งของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และ เติบโตอย่างยัง่ ยืน (Sustain Pruksa #1 Leadership in Real Estate)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เข้าเป็นหลักทรัพย์ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม (2) สร้างความเชื่อมั่นในแบรนด์พฤกษาในฐานะผู้น�ำมาตรฐานของ 2559 โดยประกอบธุรกิจหลัก ได้แก่ อุตสาหกรรม (Establish Pruksa as Trust Mark) 1.

ธุรกิจที่มีรายได้จากการถือหุ้นในบริษัทอื่น (Holding Company) เช่น ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพือ่ ขายทีบ่ ริษทั ฯ ลงทุนในสัดส่วน ร้อยละ 100 ของสินทรัพย์รวมของบริษัทฯ คือ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพื่อขาย

(3) การขยายธุรกิจให้เติบโตผ่านช่องทางใหม่ หรือกลุ่มธุรกิจใหม่ ที่มีศักยภาพ (Explore New Growth Engine) (4) มุ่งพัฒนาประสิทธิภาพและเพิ่มความสามารถในการท�ำก�ำไร (Improve Efficiency & Profitability)

2. ธุรกิจทีม่ คี วามสามารถในการสร้างรายได้อย่างต่อเนือ่ ง (Recurring (5) วางรากฐานขององค์กรให้พร้อมส�ำหรับการเติบโตอย่างก้าวกระโดด ทั้งในด้านของ โครงสร้างองค์กร, วัฒนธรรมองค์กร และระบบ Income) เทคโนโลยีสารสนเทศ (Enhance Key Enablers) คณะกรรมการบริ ห ารมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะควบคุ ม ดู แ ลการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของ บริษัทฯ และบริษัทย่อยให้เป็นไปตามเป้าหมายการด�ำเนินงานของ ท้ายที่สุดนี้ คณะกรรมการบริหารเชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่า จะบริหาร บริ ษั ท ฯ โดยยึ ดหลั ก ผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น และผู้มีส่ว นได้เ สีย จัดการและก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของ บริษทั ฯ ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริต และสอดคล้องกับกฎหมาย รวมทั้งหลักการ ทุกฝ่ายเป็นส�ำคัญ ดังนี้ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อความมั่นคงและยั่งยืนของบริษัทฯ สืบไป

(นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม 15 ธันวาคม 2560

98


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานคณะกรรมการสรรหาพิจารณาค่าตอบแทน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่อยู่ในอุตสาหกรรมและธุรกิจ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่า ตอบแทนชุด ปัจจุบัน โดยมี นายวีระชัย งามดีวิไลศักดิ์ เป็นประธานกรรมการ ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์ นายวิเชียร เมฆตระการ ดร.อนุสรณ์ แสงนิ่มนวล เป็นกรรมการ และนายอุดมศักดิ์ แย้มนุ่น เป็นเลขานุการ โดยประกอบด้วยกรรมการอิสระ 4 ท่านจาก 5 ท่าน และมีกรรมการ อิสระเป็นประธานกรรมการตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทฯ และกฎบัตรคณะกรรมการสรรหาฯ ในการคัดเลือกและเสนอรายชื่อบุคคลที่มีความเหมาะสมเพื่อเป็น กรรมการบริษัท และกรรมการผู้จัดการใหญ่น้ัน คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน ได้พิจารณาโดยค�ำนึงถึงคุณสมบัติ ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และประวัตกิ ารท�ำงานทีด่ ี และมีภาวะผูน้ ำ � วิสัยทัศน์กว้างไกล รวมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม สามารถอุทิศเวลา ได้อย่างเพียงพออันเป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินกิจการของบริษัทฯ นอกจากนี้ การสรรหากรรมการบริษัทยังค�ำนึงถึงความหลากหลาย ในโครงสร้างของคณะกรรมการ (Board Diversity) โดยได้จัดท�ำ Board Skill Matrix เพื่อก�ำหนดคุณสมบัติของกรรมการที่ต้องการ สรรหา โดยพิ จ ารณาจากทัก ษะจ�ำเป็น ที่ยัง ขาด รวมถึงคุณสมบัต ิ ทีเ่ หมาะสมและสอดคล้องกับองค์ประกอบและโครงสร้างของกรรมการ ตามกลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษัทฯ เป็นส่วนประกอบในการสรรหา กรรมการใหม่ โดยมีกระบวนการที่โปร่งใส สร้างความมั่นใจให้แก่ ผู้ถือหุ้น ปัจจุบันคณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 12 ท่าน เป็นกรรมการอิสระ 7 ท่าน กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 1 ท่าน และกรรมการที่ เ ป็ น ผู ้ บ ริ ห ารอี ก 4 ท่ า น โดยมี ข ้ อ มู ล ประวั ติ ข อง แต่ ล ะท่ า นปรากฏในรายงานประจ� ำ ปี ฉ บั บ นี้ ภ ายใต้ หั ว ข้ อ ประวั ติ กรรมการและผู้บริหาร

ขนาดใกล้เคียงกัน เพื่อที่จะรักษาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ ให้อยู่คู่กับบริษัท และสร้างแรงจูงใจให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ให้บรรลุ เป้าหมายตามกลยุทธ์ทบี่ ริษทั ฯ ก�ำหนด โดยมีกระบวนการทีโ่ ปร่งใส และ เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ถือหุ้น โดยข้อมูลค่าตอบแทนแต่ละท่าน ปรากฏอยู ่ ใ นรายงานประจ� ำ ปี ฉ บั บ นี้ ภ ายใต้ หั ว ข้ อ ค่ า ตอบแทน กรรมการและผู้บริหาร ในปี 2560 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน มีการ ประชุมรวม 12 ครั้ง เพื่อปฏิบัติหน้าที่ในการสรรหาบุคคลผู้มีคุณสมบัติ เหมาะสมในการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท และท�ำหน้าที่พิจารณา ค่าตอบแทนของกรรมการบริษัทเพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทก่อนน�ำเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ นอกจากนี้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ยังมีการพิจารณา เกี่ยวกับศึกษาเพื่อ

1.

การปรับปรุงเกีย่ วกับหลักเกณฑ์และวิธกี ารในการก�ำหนดโครงสร้าง ค่าตอบแทนเพื่อรองรับการเติบโตทางธุรกิจของบริษัทในอนาคต ซึ่งครอบคลุมถึงการก�ำหนดตัวชี้วัดในการประเมินผลการปฏิบัต ิ หน้าที่ของคณะกรรมการและผู้บริหารระดับสูง

2. ในการพิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ และกรรมการ ผู้จัดการ จะค�ำนึงถึงความเหมาะสมกับภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ ที่ได้รับมอบหมาย ให้สามารถเทียบเคียงได้กับบริษัทที่จดทะเบียน

การก�ำหนดขั้นตอนและกระบวนการต่อเนื่องเพื่อให้มีการบริหาร จั ด การที่ เ ป็ น ระบบในการวางแผนสื บ ทอดต� ำ แหน่ ง งานหลั ก ในระดับกรรมการและผู้บริหารอย่างต่อเนื่อง (Succession Plan) ซึ่งครอบคลุมถึงให้มีรายละเอียดขั้นตอน หลักเกณฑ์และวิธีการ และในลักษณะของแผนในการพัฒนากรรมการ และเจ้าหน้าที่ ในระดั บ บริ ห าร การมอบหมายกรรมการและหรื อ ผู ้ ที่ มี ค วาม สามารถเป็ น ที่ ย อมรั บ เพื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ ใ ห้ ค� ำ ปรึ ก ษาและแนะน� ำ ช่วยเหลือผู้บริหารที่มีผลงานและศักยภาพ (Mentoring System) เพื่อให้มีผู้สืบทอดงานอย่างต่อเนื่องเพื่อความยั่งยืนในการด�ำเนิน กิจการของบริษัทในอนาคตต่อไป

(นายวีระชัย งามดีวิไลศักดิ์) ประธานกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน วันที่ 30 มกราคม 2561

99


รายงานประจํ า ปี 2560

รายงานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (PSH) ได้มุ่งเน้นการด�ำเนิน ธุรกิจโดยยึดมั่นในจริยธรรม และหลักธรรมาภิบาลมาโดยตลอด และ ในปี 2560 ทางบริษัทฯ ได้ด�ำเนินงานด้านการก�ำกับดูแลกิจการและ ได้รับรางวัล อาทิ บริษัทฯ ได้รับการรับรองเป็นแนวร่วมปฏิบัติของ ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC-Thailand’s Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption) เมื่อวันที ่ 10 พฤศจิกายน 2560 และได้รับการประเมิน CGR ประจ�ำปี 2560 ของบริษัทจดทะเบียน (บจ.)ไทย อยู่ในระดับ “ดีมาก” ส่วนบริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) (บริษัทย่อย) ได้รับรางวัล ชมเชยองค์กรโปร่งใส ครั้งที่ 7 (NACC Integrity Awards 2017) จากทาง ส�ำนักงาน ปปช. โดยการรับรองนี้เป็นผลมาจากการที่บริษัทฯ ได้ก�ำหนดนโยบายอย่างชัดเจน เพื่อให้กรรมการบริษัทฯ ผู้บริหาร และ พนักงาน น�ำนโยบายการต่อต้านทุจริตไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม พร้ อ มทั้ ง วางมาตรการป้ อ งกั น การทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น ภายในองค์ ก ร อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง นอกจากนี้ ใ นเดื อ นพฤศจิ ก ายน 2560 ทางบริ ษั ท ฯ ได้จัดงาน Supplier CG’s Day : JOIN TOGETHER สร้างแนวร่วม ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น” เพื่อเชิญชวนคู่ค้าของบริษัทฯ ร่วมกัน ประกาศเจตนารมณ์ ใ นการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น รวมถึ ง การยึ ด มั่ น ในการประกอบธุ ร กิ จ ตามหลั ก คุ ณ ธรรม จริ ย รรม และ ด�ำเนินธุรกิจ โดยยึดหลักในการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ เพื่อเป็น เครือข่ายให้แข็งแรงยิ่งขึ้น รวมถึงการสื่อสารแก่นายหน้า คู่ค้า และ สถาบันการเงินต่างๆ ว่าทางบริษัทฯ ขอความร่วมมืองดให้ของขวัญ ของก�ำนัล และงบสนับสนุนต่างๆ หรือผลประโยชน์อื่นใดในทุกรูปแบบ ในช่วงเทศกาลปีใหม่และเทศกาลอื่นๆ กับกรรมการ ผู้บริหารและ พนักงาน รวมทั้ง ได้ออกนโยบายองค์กร เรื่องระเบียบการให้ การรับ ของขวัญของก�ำนัล การเลี้ยงรับรองหรือผลประโยชน์อื่น เพื่อเป็น แนวทางในการปฏิบัติงานที่โปร่งใส และปลอดจากการทุจริตหรือ การให้ สิ น บนแก่ ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชา เพื่ อ นร่ ว มงาน คู ่ ค ้ า Supplier ลู ก ค้ า หน่ ว ยงานราชการและหน่ ว ยงานภายนอก อั น เป็ น ไปตาม ข้ อ กฎหมาย และหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องบริ ษั ท มหาชน ที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

แผนการด�ำเนินการในปี 2561 ที่ส�ำคัญเพื่อให้การก�ำกับดูแลกิจการ เป็นไปอย่างต่อเนื่อง มีดังต่อไปนี้ - ด� ำ เนิ น การยื่ น ต่ อ อายุ ใ บรั บ รอง (Recertification) โครงการ แนวร่วมของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต หรือ CAC ของ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) -

การสนับสนุนให้คู่ค้าของบริษัทฯ สมัครเข้าร่วมโครงการแนวร่วม ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต หรือ CAC ให้เข้าร่วม โครงการ CAC SME Certification เพื่อเป็นการเสริมสร้างแนวร่วม ต่อต้านการให้และรับสินบนในภาคเอกชน

- ทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการบรรษัทภิบาล คู่มือจรรยาบรรณ นโยบายและมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น และอื่นๆ -

การก�ำหนดแนวทางที่เหมาะสม เป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและ ต่ า งประเทศ เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า สามารถติ ด ตามควบคุ ม ดู แ ลการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ ได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับกฎหมาย และการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี

นอกจากกิจกรรมข้างต้นแล้ว ทางบริษทั ฯ ยังจะคงด�ำเนินกิจกรรมพืน้ ฐาน ด้านการก�ำกับดูแลกิจการ อาทิ อบรมให้ความรู้เรื่องการก�ำกับดูแล กิจการแก่พนักงานใหม่ และจัดอบรมรวมถึงการทดสอบทางระบบ อิเล็กทรอนิกส์แก่ผ้บู ริหารและพนักงานปัจจุบัน รวมถึงการเข้าไปอบรม พนักงานโครงการ ( Site Visit ) เพื่อสร้างความตระหนักถึงความส�ำคัญ ของธรรมาภิบาล และการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ให้แก่พนักงานได้อย่างทัว่ ถึง รวมถึงการกระตุ้นให้ผู้บริหารและพนักงานเปิดเผยความสัมพันธ์กับ คู่ค้า การรณรงค์และประชาสัมพันธ์นโยบายงดรับของขวัญ รวมถึง การจัดกิจกรรม CG Day เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียทุกท่าน มั่นใจได้ว่าการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทย่อยจะเป็นไปด้วย ความโปร่ ง ใส ปราศจากการทุ จ ริ ต และเป็ น ธรรมแก่ ทุ ก ฝ่ า ย ในส่ ว นของกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม จริ ย ธรรม ทางบริ ษั ท ฯมี แ ผนเข้ า ร่ ว ม กิจกรรมกับหน่วยงานภายนอกต่างๆ เช่น พิพธิ ภัณฑ์ตา้ นโกง ส�ำนักงาน คณะกรรมการ ปปช. เป็ น ต้ น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และตระหนั ก ถึ ง หน้ า ที่ ในการมี ส ่ ว นร่ ว มป้ อ งกั น และปราบรามการทุ จ ริ ต และส่ ง เสริ ม ส� ำ หรั บ ด้ า นสั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม หนึ่ ง ในนโยบายที่ บ ริ ษั ท ฯ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ความซื่อสัตย์สุจริตต่อไป ให้ความส�ำคัญมาตลอด คือการด�ำเนินธุรกิจด้วยความส�ำนึกด้าน ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมที่ มุ ่ ง สร้ า งความเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ให้ แ ก่ บริษัทฯ ในปีที่ผ่านมาบริษัทฯ ได้รับ 3 รางวัลจากตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ได้แก่ รางวัล SET Sustainability Awards 2017 ประเภท Rising Star ในกลุม่ บริษทั ทีม่ ีมลู ค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด 30,000 - 100,000 ล้ า นบาท, รางวั ล Thailand Sustainability (ดร.อนุสรณ์ แสงนิ่มนวล) Investment (THIS) หรือ “หุ้นยั่งยืน” ซึ่งได้รับรางวัลนี้ต่อเนื่องเป็น ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล ปีที่ 2 และรางวัล Sustainability Report Awards 2017 ประเภท Recognition และได้รับคัดเลือกให้เข้าอยู่ใน Universe ของกลุ่ม 18 มกราคม 2561 หลักทรัพย์ ESG100 ประจ�ำปี 2560 จากการด�ำเนินงานที่โดดเด่น ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม สั ง คม และธรรมาภิ บ าล จากสถาบั น ไทยพั ฒ น์ ซึ่งแสดงถึงการยอมรับเรื่องการด�ำเนินธุรกิจตามแนวทางการพัฒนา อย่างยั่งยืนได้อย่างโดดเด่นของบริษัทฯ ตลอดจนมีการเปิดเผยข้อมูล ผลการด�ำเนินงานด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างครบถ้วน และโปร่งใสควบคู่ไปกับการสร้าง “คุณค่าร่วมกับสังคม” อย่างต่อเนื่อง

100


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งระดั บ • สอบทานแผนจั ด การความเสี่ ย งของฝ่ า ยจั ด การ รวมทั้ ง กระบวนการบริหารความเสี่ยงในภาพรวมขององค์การ องค์การ บริ ษั ท พฤกษา โฮลดิ้ ง จ� ำ กั ด (มหาชน) ตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของการบริหารความเสี่ยงต่อการบรรลุเป้าหมายขององค์การทั้งใน ระยะสั้นและระยะยาว เพื่อให้การเติบโตขององค์การเป็นไปอย่าง ยั่งยืน ภายใต้ภาวะการณ์ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงระดับองค์การประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิทั้งหมด 5 ท่านเป็นกรรมการที่เป็นผู้บริหารจ�ำนวน 3 ท่านและกรรมการอิสระ จ�ำนวน 2 ท่าน ซึ่งเป็นคณะกรรมการตรวจสอบด้วยในขณะเดียวกัน โดยมี ดร.ประสาร ไตรรั ต น์ ว รกุ ล เป็ น ประธานกรรมการบริ ห าร ความเสี่ยงระดับองค์การ จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ ย งฯ ทุ ก เดื อ น เพื่ อ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ก� ำ กั บ ดู แ ลการบริ ห าร ความเสี่ ย งตามขอบเขต อ� ำ นาจหน้ า ที่ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริ ษั ท และรายงานการด� ำ เนิ น งานด้ า นการบริ ห าร ความเสี่ยงให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบอย่างต่อเนื่อง

ให้ความเห็นต่อความเหมาะสมของแผนบริหารความเสี่ยงและ ตัวชี้วัดความเสี่ยงที่ส�ำคัญ (KRI : Key Risk Indicator) ที่จะส่ง สั ญ ญาณให้ บ ริ ษั ท รั บ ทราบล่ ว งหน้ า ถึ ง ความเสี่ ย งที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น เพื่ อ ปรั บ แผนการบริ ห ารความเสี่ ย งให้ มี ค วามเหมาะสมต่ อ สถานการณ์ ป ั จ จุ บั น ยกตั ว อย่ า งเช่ น ความเสี่ ย งจากการ สรรหาที่ดินโดยจัดให้มีการประเมินตนเอง CSA ความเสี่ยงด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการพิจารณาความเสี่ยงที่เกิดขึ้นใหม่ และให้ค�ำเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ ยกตัวอย่างเช่น ความเสี่ยง ด้านกฎหมายเรื่องร่างพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 ซึ่งน�ำไปใช้สนับสนุนการก�ำหนดกลยุทธ์ระยะยาวของ องค์การ

• รายงานผลการผลการด�ำเนินงานต่อคณะกรรมการบริษัทและ คณะกรรมการตรวจสอบ

ในปี 2560 คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งจั ด ให้ มี ก ารประชุ ม ทั้งสิ้น 12 ครั้ง และรายงานการด�ำเนินงานให้คณะกรรมการบริษัท วาระการรายงานผลการด�ำเนินงานของคณะกรรมการชุดย่อย รับทราบทุกไตรมาส โดยสรุปการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญของการบริหาร ซึ่งรวมถึง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ ได้รับ การบรรจุเป็นวาระประจ�ำของการประชุมคณะกรรมการบริษัท ความเสี่ยงระดับองค์การ ดังนี้ ทุกไตรมาสๆ ละ 1 ครั้งรวมทั้งสิ้น 4 ครั้งในรอบ 1 ปี โดยประธาน กรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งระดั บ องค์ ก าร เป็ น ผู ้ ร ายงานต่ อ • ให้ข้อเสนอแนะต่อการก�ำหนดนโยบาย กลยุทธ์และแนวทาง คณะกรรมการบริ ษั ท และเลขานุ ก ารคณะกรรมการบริ ห าร ในการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ ความเสีย่ งระดับองค์การ เป็นผูร้ ายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ 1. พิจารณาแนวทางการก�ำหนดดัชนีชวี้ ดั ความเสีย่ ง และมาตรการ อย่างต่อเนื่อง จัดการความเสี่ยงประจ�ำปี 2560 เพื่อน�ำไปใช้ในการติดตาม สถานะความเสีย่ งและความคืบหน้าการบริหารจัดการปัจจัยเสีย่ ง คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งระดั บ องค์ ก ารมี ค วามมุ ่ ง มั่ น ภายในปี 2560 เพื่ อ ลดผลกระทบที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ต่ อ ธุ ร กิ จ ของ ที่จะด�ำเนินการให้บริษัทฯ มีการก�ำกับดูแล และบริหารความเสี่ยง ในระดับที่เหมาะสม พร้อมสนับสนุนให้บริษัทในเครือมีการพัฒนา กลุ่มบริษัทฯ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยงที่เป็นมาตรฐานสากล เพื่อประโยชน์ 2. พิจารณาประเด็นความเสีย่ งทีส่ ำ� คัญและแนวทางการก�ำหนดดัชนี กับผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียอย่างยั่งยืนต่อไป ชี้วัดความเสี่ยง และมาตรการจัดการความเสี่ยงประจ�ำปี 2561 เพื่อน�ำไปใช้ในการติดตามสถานะความเสี่ยงที่ผ่านการประเมิน โดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและผู้บริหารระดับสูง และ ติดตามความคืบหน้าของแผนการการบริหารจัดการปัจจัยเสี่ยง เพื่อลดผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ต่อไป

3. พิจารณาให้แนวทางการบริหารความเสีย่ งเรือ่ งระบบการบริหาร ความต่ อ เนื่ อ งทางธุ ร กิ จ ของกลุ ่ ม บริ ษั ท ฯ โดยตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ในเรื่ อ งการรั ก ษาความสามารถในการด� ำ เนิ น ธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในสถานการณ์ฉุกเฉินเพื่อให้สามารถ ส่งมอบสินค้าและบริการต่อลูกค้าและคู่ค้าได้อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การได้สนับสนุน ให้มีการจัดท�ำแผนบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจทั้งในระดับ องค์การและระดับหน่วยธุรกิจ พร้อมก�ำหนดให้มีการฝึกซ้อม ในแต่ละสถานการณ์เป็นประจ�ำทุกปี รวมถึงสนับสนุนให้มีการ พั ฒ นาระบบเพื่ อ เตรี ย มการขอรั บ รองระบบ ISO 22301 มาตรฐานการบริหารจัดการความต่อเนื่องทางธุรกิจ

(ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล) ประธานกรรมการบริหาร ความเสี่ยงระดับองค์การ 29 ธันวาคม 2560

101


รายงานประจํ า ปี 2560

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร 1. ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน 1.1 ค่าตอบแทนกรรมการอิสระและกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2560 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 27 เมษายน 2560 ให้ก�ำหนดค่าตอบแทน รวมถึงผลประโยชน์พิเศษอื่นๆ ประจ�ำปี 2560 ของคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งระดับองค์การ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการบริหาร เป็นจ�ำนวนเงินไม่เกิน 30,000,000 บาท และเงินรางวัลกรรมการส�ำหรับผลการด�ำเนินงาน ปี 2560 (โบนัส) ในอัตราระหว่างร้อยละ 0.3 - 0.5 ของจ�ำนวนเงินเทียบเท่าเงินปันผลทีป่ ระกาศจ่าย ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ บั ตัวชีว้ ดั ผลการด�ำเนินงานทีก่ ำ� หนดไว้ โดยค่าตอบแทนกรรมการจะจ่ายให้เฉพาะกรรมการอิสระ และกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร (Non-executive Directors) ที่ด�ำรงต�ำแหน่ง ในคณะกรรมการดังกล่าวเท่านัน้ โดยกรรมการทีไ่ ม่ได้เป็นผูบ้ ริหาร (Non-executive Directors) ทีจ่ ะมีสทิ ธิได้รบั ค่าตอบแทนจะต้องไม่เป็นตัวแทน ผู้ถือหุ้นด้วย ส�ำหรับกรรมการท่านอื่นจะไม่ได้รับค่าตอบแทน รายละเอียดค่าตอบแทนกรรมการอิสระและกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารมีดังนี้ ปี 2560

ชื่อ/ตำ�แหน่ง 1. 2.

ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม ประธานกรรมการบริษัท, กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน, กรรมการอิสระ นายวีระชัย งามดีวิไลศักดิ์ กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ, กรรมการบริหารความเสีย่ งระดับองค์การ, ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

ค่าตอบแทน 4,320,000.00

โบนัส(1) 1,794,236.59

6,114,236.59 3,480,000.00

815,741.06

4,295,741.06

3. นายอดุลย์ จันทนจุลกะ กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ, กรรมการบรรษัทภิบาล

2,720,000.00

4. ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ กรรมการอิสระ, ประธานกรรมการตรวจสอบ

2,640,000.00

553,491.06

3,273,491.06

3,153,491.06

5. นายวิเชียร เมฆตระการ กรรมการบริหาร, กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

2,760,000.00

6. 7.

2,600,000.00

ดร.อนุสรณ์ แสงนิ่มนวล กรรมการอิสระ, ประธานกรรมการบรรรษัทภิบาล, กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ, ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ

513,491.06 953,491.06

3,713,491.06 673,491.06

3,273,491.06 3,000,000.00

593,491.06

3,593,491.06 1,569,642.86

8. ศ.นพ.ปิยะมิตร ศรีธรา กรรมการอิสระ

338,239.19

1,907,882.05 รวม

23,089,642.86

6,235,672.14

29,325,315.00

หมายเหตุ : (1) บริษัทจ่ายโบนัสส�ำหรับกรรมการ ปีละ 2 ครั้ง แบ่งเป็นผลงานครึ่งปีแรกจะจ่ายเดือนกันยายนผลงานครึ่งปีหลังจะจ่ายในเดือนเมษายนในปีถัดไป ยอดที่รายงานในปีนี้จึงยังไม่รวมโบนัสครึ่งปีหลังของปี 2560

102


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

1.2 ค่าตอบแทนกรรมการบริหารและผู้บริหาร เนื่องจากบริษัทฯ ได้รับการจัดตั้งขึ้น ณ วันที่ 16 มีนาคม 2559 และจะยังไม่มีการด�ำเนินธุรกิจอย่างมีนัยส�ำคัญในปี 2559 ดังนั้น บริษัทฯ ได้เริ่มด�ำเนินการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่ผู้บริหารของ บริษัทฯ ในปี 2560 โดยมีรายละเอียดดังนี้ ลักษณะค่าตอบแทน

ปี 2560 จำ�นวน (ท่าน) 2

จำ�นวนเงิน (บาท) 6,800,000.00

โบนัส(1)

2

2,649,885.69

เงินสะสมกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ

2

-

เงินได้อ่ืนๆ

2

2,000.00

2

9,451,885.69

เงินเดือน/ค่าแรง

รวม 1.3 ค่าตอบแทนอื่น (ถ้ามี) - ไม่มี 2. บุคลากร 2.1 จ�ำนวนพนักงาน

เนื่องจากบริษัทฯ ได้รับการจัดตั้งขึ้น ณ วันที่ 16 มีนาคม 2559 ดังนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีพนักงานเพียง 2 คน ด�ำเนินงาน ในส่วนตรวจสอบภายในและเลขานุการบริษัท 2.2 การเปลี่ยนแปลงจ�ำนวนพนักงานที่ส�ำคัญในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ไม่รวมผู้บริหาร) - ไม่มี2.3 ข้อพิพาทด้านแรงงานที่ส�ำคัญในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา - ไม่มี3. ค่าตอบแทนรวมของพนักงาน เนื่องจากบริษัทฯ ได้รับการจัดตั้งขึ้น ณ วันที่ 16 มีนาคม 2559 จึงไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่พนักงานในปี 2559 นับตั้งแต่วันจัดตั้ง บริษัทฯ จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560 แต่อย่างใด ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการจัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพให้แก่พนักงานแล้ว ณ วันที ่ 11 พฤษภาคม 2559

103


รายงานประจํ า ปี 2560

การก�ำกับดูแลกิจการ

แก่พนักงานที่ปฏิบัติงานเดิม และพนักงานเข้าใหม่ตั้งแต่เริ่มต้น การเข้าท�ำงาน ซึ่งพนักงานทุกคนจะต้องผ่านการอบรมและผ่าน การทดสอบในหลักสูตรดังกล่าว พร้อมลงนามรับทราบ และยึดถือ นโยบายการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การและจรรยาบรรณ ปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัด โดยถือเสมือนเป็นส่วนหนึง่ ของ “ระเบียบ ทางธุรกิจ ข้ อ บั ง คั บ การท� ำ งานของบริ ษั ท ฯ” ซึ่ ง ได้ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง การมี หลักธรรมาภิบาลทีด่ ี มีความโปร่งใสในการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) จดทะเบียนก่อตั้ง ที่ค�ำนึงถึงผู้ถือหุ้น ลูกค้า พนักงานและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย เป็นบริษัทมหาชนจ�ำกัด เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2559 และน�ำหุ้นสามัญ ของบริษัทฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ 4. สื่ อ สารให้ พ นั ก งานรั บ ทราบและตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของ เพิกถอนหุ้นของ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) แล้วเสร็จ ธรรมาภิบาล และการทุจริตคอร์รัปชั่นอย่างต่อเนื่อง ผ่านช่องทาง เมื่ อ วั น ที่ 1 ธั น วาคม 2559 บริ ษั ท ฯ ประกอบธุ ร กิ จ หลั ก โดยการ ต่างๆ อาทิเช่น EC News, Line ของพนักงาน, วารสารใต้รม่ พฤกษา, ถือหุ้นในบริษัทอื่น (Holding Company) โดยจะมีรายได้หลักจาก Digital Signage รวมถึงการรวบรวมข้อมูล ความรู้ และกิจกรรม เงินปันผลที่ได้รับจากการถือหุ้นในบริษัทย่อย หรือบริษัทร่วมที่บริษัทฯ ที่เกี่ยวข้องของหน่วยงาน CG ผ่านทาง Google Site ที่หน่วยงาน จะเข้าลงทุนในอนาคต จัดท�ำขึ้น โดยพนักงานสามารถเข้าถึงข้อมูลโดยผ่านทาง Link, QR Code และข่าวประชาสัมพันธ์ บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญและปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ซึ่ ง มี ม าตรฐานสากลสอดคล้ อ งกั บ นโยบายของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ 5. สือ่ สารถึงประเด็นปัญหาการทุจริต และการลงโทษ ให้แก่ พนักงาน แห่งประเทศไทย และหลักเกณฑ์ ASEAN Corporate Governance ผู้บริหาร เพื่อเป็นกรณีศึกษา โดยเป็นทั้งการป้องกันและป้องปราม Scorecard (ASEAN CG Scorecard) โดยมีการจัดการด้านความ มิให้พนักงานประพฤติผิดจรรยาบรรณ ยั่งยืนขององค์กรที่ชัดเจน ดังนี้ 6. จั ด ให้ มี ก ารทดสอบหลั ก สู ต ร CG เพื่ อ สร้ า งความตระหนั ก 1. คณะกรรมการมี ก ารจั ด ท� ำ และอนุ มั ติ น โยบายการก� ำ กั บ ดู แ ล รู้เรื่อง จรรยาบรรณและธรรมาภิบาล ให้แก่ผู้บริหาร และพนักงาน กิจการที่ดี รวมทั้งจัดให้มีคู่มือจรรยาบรรณธุรกิจส�ำหรับกรรมการ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ผู้บริหารและพนักงาน นโยบายการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย รวมทัง้ กฎบัตรของคณะกรรมการบริษทั 7. จัดกิจกรรมให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานที่เกี่ยวข้อง และคณะกรรมการชุดย่อยของบริษทั ฯ เพือ่ ให้สอดคล้องกับหลักการ ร่วมรับฟังหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ส�ำหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2560 (CG Code ใหม่) จากผู้เชี่ยวชาญ เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม ก�ำกับดูแลกิจการที่ดีปี 2560 2560 ทั้งนี้ เพื่อเป็นการสนับสนุนจรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจที่ดี บริษัทฯ จึงก�ำหนดเป็นนโยบายโดยจัดให้มีการทบทวนนโยบาย 8. ส่งตัวแทนของบริษัทฯ เข้าร่วมงานวันต่อต้านคอร์รัปชั่น เมื่อวันที่ การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณธุรกิจ เป็นประจ�ำทุกปี 6 กันยายน 2560 เพื่ อ ให้ มี ค วามทั น สมั ย และสอดคล้ อ งกั บ แผนการด� ำ เนิ น งาน 9. จัดกิจกรรมให้ผู้บริหาร และพนักงาน ดูงานที่พิพิธภัณฑ์ต้านโกง กลยุทธ์ระยะสั้นและระยะยาวของบริษัทฯ (Anti-Corruption Museum) เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2560 2. การให้ความรู้เกี่ยวกับหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัท 10. จั ด งาน Supplier CG Day เมื่ อ วั น ที่ 22 พฤศจิ ก ายน 2560 จดทะเบียนปี 2560 (Corporate Governance Code for Listed เพื่ อ สร้ า งแนวร่ ว มในการประกาศเจตนารมณ์ ใ นการต่ อ ต้ า น Companies 2017) โดยผู้เชี่ยวชาญจากบริษัทที่ปรึกษาภายนอก การทุจริตคอร์รัปชั่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเชิญชวนคู่ค้าร่วมกัน แก่คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ผู้บริหาร ประกาศเจตนารมณ์ในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น รวมถึง และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง การยึดมั่นในการประกอบธุรกิจตามหลักคุณธรรม จริยธรรม และ 3. จัดให้มีการอบรมเรื่อง การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี จรรยาบรรณธุรกิจ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ยหลั ก การในการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต ทุ ก รู ป แบบ จริยธรรมพฤกษา (Ethic) และการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น เพื่อเป็นเครือข่ายให้แข็งแรงยิ่งขึ้น

104


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

11. จัดงาน Pruksa CG Day เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2560 เพื่อส่งเสริม ให้เกิดแนวคิดตามหลักธรรมาภิบาลในการท�ำงานที่ควรปฏิบัต ิ และหลักคุณธรรมกับการท�ำงาน ตลอดจนช่องทางการร้องเรียน แจ้งเบาะแส ขอความเป็นธรรม

ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและหลักเกณฑ์ ASEAN Corporate Governance Scorecard (ASEAN CG Scorecard) อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ท� ำ ให้ ใ นปี 2560 ที่ ผ ่ า นมา บริ ษั ท ฯ ได้ รั บ ผล การประเมินและรางวัลเกีย่ วกับการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ความยัง่ ยืน ความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม รวมทั้งรางวัลด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจเป็นจ�ำนวนมากโดยมีรายละเอียด ดังนี้

รางวั ล ด้ า นการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ความยั่ ง ยื น และ ความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม 1.

ผลประเมินโครงการประเมินคุณภาพการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ ประจ� ำ ปี 2560 (Annual General Meeting หรื อ “AGM”) โดยบริษัทฯ ได้รับคะแนนประเมินเต็ม 100 คะแนน จาก สมาคม ส่งเสริมผู้ลงทุนไทย

(ทั้งนี้ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทย่อย ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท แกนของบริ ษั ท ฯ เคยได้ รั บ คะแนนประเมิ น เต็ ม 100 คะแนน ต่อเนื่อง 4 ปีซ้อน ตั้งแต่ปี 2556 - 2559 ก่อนที่จะ เพิกถอนหลักทรัพย์ออกจาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย)

2. ผลประเมินการก�ำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทยประจ�ำปี 2560 ในระดั บ “ดี เ ลิ ศ ” คื อ ได้ ผ ลคะแนนประเมิ น มากกว่ า 90 คะแนน จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) 12. จั ด ตั้ ง หน่ ว ยงานก� ำ กั บ การปฏิ บั ติ ง าน (Compliance Unit) โดยใช้ช่ือเรียกภายในบริษัทฯ ว่า “หน่วยงานก�ำกับดูแลกิจการ” หรื อ CG Management และมี ห น้ า ที่ ห ลั ก ด้ า น Corporate, Governance และ Compliance นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ ์ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารกลุ ่ ม ได้ เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของ จรรยาบรรณทางธุ ร กิ จ เป็ น อย่ า งยิ่ ง และเป็ น ผู ้ ผ ลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การจัดการความยั่งยืนขององค์กร รวมทั้งได้เชิญชวนให้ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ เห็นถึงความส�ำคัญดังกล่าว และได้ให้ โอวาทแก่พนักงานในงาน Pruksa CG Day โดยเน้นในเรื่อง ความส�ำคัญของ “คุณธรรม” ทัง้ นี้ บริษทั ฯ มีความเชือ่ มัน่ เป็นอย่างยิง่ ว่าการมีหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (The Principles of Good Corporate Governance) จะช่วยสนับสนุนให้บริษัทฯ ด�ำเนิน ธุ ร กิ จ ให้ มี ผ ลก� ำ ไรเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น มี ค วามโปร่ ง ใสในการ บริหารจัดการธุรกิจ ค�ำนึงถึงบทบาทหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ มีระบบ ควบคุมภายใน/ระบบการบริหารจัดการความเสีย่ งทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และมีความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม ซึ่งถือเป็น หัวใจในการบรรลุเป้าหมายพื้นฐานที่ส�ำคัญยิ่ง

(ทั้งนี้ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทย่อย ซึ่งเป็นบริษัทแกนของบริษัทฯ เคยได้ผลคะแนนประเมินมากกว่า 90 คะแนน ต่อเนื่อง 3 ปีซ้อน ตั้งแต่ปี 2557 - 2559 ก่อนที่จะ เพิกถอนหลักทรัพย์ออกจาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย)

3. รางวัล Set Sustainability Awards 2017 ประเภท Rising Star จาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4. รางวัล Thailand Sustainability Investment (THSI) ต่อเนื่อง เป็นปีที่ 2 จาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 5. รางวัลองค์กรโปร่งใส ครั้งที่ 7 (NACC Integrity Awards) ประเภท ชมเชย จาก ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ 6.

รางวัล Sustainability Report Award 2017 ประเภท Recognition ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 จาก CSR Club, สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย, ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และสถาบันไทยพัฒน์

7. ประกาศเกี ย รติ คุ ณ องค์ ก รที่ ท� ำ คุ ณ ประโยชน์ ใ ห้ แ ก่ ก ระทรวง ศึกษาธิการ จาก กระทรวงศึกษาธิการ

8. เกี ย รติ บั ต รเชิ ด ชู อ งค์ ก รที่ ท� ำ คุ ณ ประโยชน์ ท างสั ง คม ด้ า นการ จากการที่บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญและปฏิบัติตามหลักการก�ำกับ สนับสนุนการจ้างงานคนพิการ ประจ�ำปี 2560 จาก กองทุนสนับสนุน ดูแลกิจการที่ดี ที่มีมาตรฐานสากลและสอดคล้องกับนโยบาย การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และกระทรวงแรงงาน

105


รายงานประจํ า ปี 2560

9.

ประกาศนียบัตรรับรองการเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาค 8. รางวัล Smart Green Energy Award 2017 จาก ส�ำนักงาน เอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต (Thailand’s Private Sector เศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม Collective Action Coalition Against Corruption (CAC)) จาก - โรงงานพฤกษา พรีคาสท์ นวนคร The CAC Council 10. รั บ เลื อ กให้ อ ยู ่ ใ นกลุ ่ ม ESG100 Company ประจ� ำ ปี 2560 9. รางวัลสถานประกอบกิจการต้นแบบด้านความปลอดภัย ระดับ (Environmental, Social and Governance: ESG) ต่อเนื่อง จังหวัด ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 จาก ส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานจังหวัดปทุมธานี เป็นปีที่ 2 จาก สถาบันไทยพัฒน์ 11. รับรองการเข้าร่วมโครงการจัดท�ำดัชนีเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน - โรงงานพฤกษา พรีคาสท์ นวนคร ระดับองค์กร หรือ Corporate SDG Index จาก สถาบันไทยพัฒน์ 10. ประกาศนียบัตรรับรองมาตรฐานอาคารเขียว ระดับ Platinum จาก สถาบัน DGNB ประเทศเยอรมนี รางวัลที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ 1.

โล่ ป ระกาศเกี ย รติ คุ ณ “บุ ค คลตั ว อย่ า งในภาคธุ ร กิ จ พั ฒ นา อสังหาริมทรัพย์” ให้กบั นายปิยะ ประยงค์ ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร กลุ่มธุรกิจพฤกษา เรียลเอสเตท ในฐานะที่เป็นบุคคลตัวอย่าง ในภาคธุ ร กิ จ ที่ น� ำ ความรู ้ แ ละเทคโนโลยี ใ หม่ ๆ มาประยุ ก ต์ ใช้ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ จาก มูลนิธิสภาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย

2.

โล่ประกาศเกียรติคุณ “ผู้สร้างคุณประโยชน์ให้กับสังคม” ให้กับ นายประเสริฐ แต่ดุลยสาธิต ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มธุรกิจ พฤกษา เรียลเอสเตท-พรีเมียม ในฐานะที่เป็นนักธุรกิจและบุคคล ที่ประสบความส�ำเร็จในวงการธุรกิจทั้งภาครัฐและเอกชน ที่มีการ สร้างคุณประโยชน์ต่อสังคมและเศรษฐกิจโดยรวม จาก งาน INTV AWARD 2017

- บ้านต้นแบบ “พฤกษา พลัส เฮาส์” โครงการ เดอะแพลนท์ เอสทีค พัฒนาการ 11. ประกาศนียบัตรรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 3 ระบบสีเขียว จาก กระทรวงอุตสาหกรรม - โรงงาน พฤกษา พรีคาสท์ ล�ำลูกกา - โรงงาน พฤกษา พรีคาสท์ นวนคร 12. ประกาศนียบัตรรับรองการขึน้ ทะเบียนการจัดท�ำคาร์บอนฟุตพริน้ ท์ ขององค์กร ประจ�ำปี 2560 จาก องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือน กระจก (องค์การมหาชน) - โรงงาน พฤกษา พรีคาสท์ ล�ำลูกกา

3. รางวัล Asia’s Most Promising Brands 2017 จาก World - โรงงาน พฤกษา พรีคาสท์ นวนคร Consulting & Research Corporation บริษัทที่ปรึกษาและบริหาร 13. ประกาศนียบัตรรับรองระบบการบริหารจัดการนวัตกรรม CEN/ จัดการเรื่องแบรนด์ชั้นน�ำระดับโลก TS 16555-1 : 2013 จากสถาบันรับรอง มาตรฐานไอเอสโอ 4. รางวัล International Star for Quality Award 2017 ประเภท ทั้ ง นี้ หลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องบริ ษั ท ฯ มี เ นื้ อ หาแบ่ ง เป็ น Platinum จาก Business Initiative Directions (B.I.D.) 7 หมวด ได้แก่ 5. รางวัล BCI Asia Top 10 Developers Awards 2017 ต่อเนื่อง 1) คณะกรรมการบริษัท เป็นปีที่ 7 จาก BCI Media Group 2) สิทธิของผู้ถือหุ้น - โครงการ เออร์บาโน่ ราชวิถี - โครงการ แชปเตอร์วัน อีโค รัชดา - ห้วยขวาง

3) การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน

- โครงการ พลัมคอนโด รามค�ำแหง

4) บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย

6. รางวัลโครงการอสังหาริมทรัพย์ดีเด่น ปี 2560 จาก ศูนย์ข้อมูลวิจัย 5) การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส และประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย 6) การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง - โครงการ เดอะไพรเวซี่ ลาดพร้าว - เสนา 7) ปรัชญาและจรรยาบรรณ - โครงการ บ้านพฤกษา ปู่เจ้า - ส�ำโรง

บริษัทฯ ได้ส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติตามคู่มือจรรยาบรรณของบริษัทฯ 7. รางวัลบ้านจัดสรรอนุรักษ์พลังงานดีเด่น ประจ�ำปี 2560 ประเภท โดยได้มีการสื่อสารหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณ บ้านต้นแบบทาวน์เฮาส์ จาก กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ ทางธุรกิจผ่านทาง คู่มือจรรยาบรรณ, วารสารใต้ร่มพฤกษา, EC News, อนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน - โครงการ เดอะคอนเนค

106


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ตู้สื่อประชาสัมพันธ์ระบบภาพดิจิตอล (Digital Signage), โปสเตอร์ ประชาสัมพันธ์, Line ของพนักงาน, รวมถึงการรวบรวมข้อมูล ความรู ้ และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องของหน่วยงาน CG ผ่านทาง Google Site ที่ ห น่ ว ยงานจั ดท� ำขึ้น และเว็บไซต์ของบริษัท ฯ (www.psh.co.th) หมวดนักลงทุนสัมพันธ์ เรื่อง บรรษัทภิบาล เพื่อให้คณะกรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของบริษัทฯ รับทราบถึงหลักการดังกล่าวและ ถื อ ปฏิ บั ติ ต ามอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและติ ด ตามผลการปฏิ บั ติ ง าน คื อ การปฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งใด ก็จะต้องปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัด และเรื่องที่มีความส�ำคัญจะต้องผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ชุ ด ต่ า งๆ เช่ น คณะจั ด การ คณะกรรมการบริ ห าร คณะกรรมการ บรรษัทภิบาล คณะกรรมการตรวจสอบ หรือคณะกรรมการบริษัท

นอกจากนั้นแล้ว หน่วยงาน CG ของบริษัทฯ ยังจัดให้พนักงาน ในองค์กรท�ำแบบทดสอบหลักสูตร เรื่อง “นโยบายและมาตรการ ต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน ประจ�ำปี 2560” โดยมีวตั ถุประสงค์ ดังนี้ มาตรการต่อต้านการคอร์รปั ชันนีเ้ ป็นแนวทางให้ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกระดับตระหนักถึงการปฏิบัติหน้าที่ด้วยจิตส�ำนึก ในการยึดถือความซื่อสัตย์สุจริตในการปฏิบัติหน้าที่ โดยปราศจาก การทุจริตคอร์รปั ชัน หรือการแสวงหาผลประโยชน์ในหน้าทีโ่ ดยมิชอบ ซึ่งเป็น ปัจจัยส�ำคัญที่จะช่วยจรรโลงไว้ซึ่งชื่อเสียงและเกื้อหนุน ต่อการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ

(3) สื่ อ สารให้ พ นั ก งานรั บ ทราบและตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของธรรมาภิบาล การทุจริตคอร์รัปชั่น โดยสื่อสารบทความหรือ 1) คณะกรรมการบริษัท ช่องทางประชาสัมพันธ์ต่างๆ ของบริษัทฯอย่างต่อเนื่อง รวมถึง การรวบรวมข้อมูล ความรู้ และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องของหน่วยงาน คณะกรรมการบริ ษั ท มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ทั้ ง หมดของ CG ผ่านทาง Google Site ที่หน่วยงานจัดท�ำขึ้น โดยพนักงาน บริษัทฯ ในการบริหารกิจการของบริษัทฯ เพื่อประโยชน์ของผู้ถือหุ้น สามารถเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล โดยผ่ า นทาง Link, QR Code และ และผู้มีส่วนได้เสียอื่น ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม คณะกรรมการบริษัท ข่าวประชาสัมพันธ์ มีบทบาทส�ำคัญในการก�ำกับดูแลการบริหารงานของบริษัทฯ เพื่อให้ มั่ น ใจได้ ว ่ า ผู ้ บ ริ ห ารบริ ษั ท ฯ ได้ มุ ่ ง มั่ น สู ่ ก ารด� ำ เนิ น งานที่ เ ป็ น เลิ ศ (4) สื่อสารถึงประเด็นปัญหาการทุจริต และการลงโทษ ให้กับผู้บริหาร อย่างต่อเนื่อง โดยค�ำนึงถึงสภาวะของความเสี่ยง และพนักงาน เพื่อเป็นกรณีศึกษา โดยเป็นทั้งการป้องกันและ ป้องปรามมิให้พนักงานประพฤติผิดจรรยาบรรณ 1.1 การจัดท�ำนโยบายก�ำกับดูแลกิจการและคู่มือจรรยาบรรณ ทางธุรกิจ 1.2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัฒนธรรมและค่านิยมของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทได้จัดท�ำนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการและคู่มือ จรรยาบรรณส� ำ หรั บ กรรมการ ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งานของบริ ษั ท ฯ และได้เปิดเผยไว้ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ที่ www.psh.co.th หมวด บรรษัทภิบาล และส่งเสริมให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ฯ ปฏิบัติตามนโยบายก�ำกับดูแลกิจการและคู่มือจรรยาบรรณทางธุรกิจ รวมทั้งยังได้มีวิธีการติดตามการปฏิบัติตามคู่มือดังกล่าว คือ

คณะกรรมการบริษัทได้มีส่วนร่วมในการก�ำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัฒนธรรม กลยุทธ์ และค่านิยมของบริษัทฯ ทั้งระยะสั้นและระยะยาว และมีการทบทวนในทุกๆ รอบปีบัญชี เพื่อให้ผู้บริหารและพนักงาน มีจุดมุ่งหมายไปในทิศทางเดียวกัน และสอดคล้องกับสถานการณ์ นโยบายของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และหลั ก เกณฑ์ ASEAN Corporate Governance Scorecard (ASEAN CG Scorecard) (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน หมวด วิสัยทัศน์ พันธกิจ (1) จั ด ให้ มี ก ารอบรมด้ า นคอร์ รั ป ชั่ น แก่ พ นั ก งานตั้ ง แต่ เ ริ่ ม ต้ น วัฒนธรรมและค่านิยมพฤกษา) การเข้าท�ำงาน การบรรจุอบรมหลักสูตรจริยธรรมพฤกษา (Ethic) ส�ำหรับปฐมนิเทศพนักงานเข้าใหม่ และพนักงานเข้าใหม่ทุกคน 1.3 นโยบายความหลากหลายในโครงสร้างของคณะกรรมการ จะต้องผ่านการอบรม และผ่านการทดสอบในหลักสูตรดังกล่าว บริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญกับเรื่อง ความหลากหลายในโครงสร้าง พร้อมลงนามรับทราบและยึดถือปฏิบัติ ของคณะกรรมการ (Board Diversity) อาทิ เช่น ทางด้านทักษะวิชาชีพ (2) จัดให้มกี ารอบรม/สัมมนาหลักสูตร CG ให้แก่ผบู้ ริหาร และพนักงาน ความเชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า นและเพศ เป็ น อย่ า งมาก โดยบริ ษั ท ฯ ในองค์กรทุกคน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อสร้างความตระหนัก ได้ จั ด ท� ำ แบบสอบถามเรื่ อ ง คุ ณ สมบั ติ แ ละการพั ฒ นากรรมการ รูเ้ รือ่ ง จรรยาบรรณและธรรมภิบาล และภายหลังจากจบการอบรม/ บริษัทฯ และจัดส่งไปยังคณะกรรมการทุกคน เพื่อส�ำรวจความคิดเห็น สัมมนาแล้ว บริษทั ฯ จะจัดให้มกี ารท�ำแบบทดสอบในภาคปฏิบตั วิ า่ ว่าบุคคลที่บริษัทฯ จะสรรหาเข้ามาเป็นกรรมการเพิ่มเติมควรมีความรู้ พนักงานมีความรู้ ความเข้าใจ และวิธกี ารแก้ไขปัญหาอย่างถูกต้อง ความสามารถ หรือประสบการณ์ด้านใด เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง หรือไม่ในกรณีมีเหตุการณ์เกิดขึ้นจริง และหากพนักงานคนใด โครงสร้างองค์กรของบริษทั ฯ ในอนาคต ทัง้ นี้ ปัจจุบนั บริษทั ฯ อยูร่ ะหว่าง ทีท่ ำ� แบบทดสอบไม่ผา่ นเกณฑ์ทบี่ ริษทั ฯ ก�ำหนดไว้ พนักงานคนนัน้ การสรรหากรรมการเพศหญิ ง เพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ให้ มี ค วามหลากหลาย จะต้องศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมและท�ำแบบทดสอบใหม่จนกว่า ของโครงสร้างคณะกรรมการมากขึ้น จะผ่ า นเกณฑ์ ที่ บ ริ ษั ท ฯ ก� ำ หนดไว้ ทั้ ง นี้ ในกรณี ที่ พ นั ก งาน มี ข ้ อ สงสั ย ประการใดบริ ษั ท ฯ ก็ จ ะเปิ ด โอกาสให้ ซั ก ถามและ คณะกรรมการบริษัท (ณ วันที่ 1 มกราคม 2561) มีจ�ำนวน 12 ท่าน แลกเปลี่ยนความคิ ด เห็ น ร่ ว มกั น ตลอดระยะเวลาที่ ท� ำ งานกั บ กล่าวคือ เป็นชาย 11 ท่าน หญิง 1 ท่าน อยู่ในช่วงอายุ 30 - 50 ปี จ� ำ นวน 2 ท่ า น และช่ ว งอายุ ม ากกว่ า 50 ปี จ� ำ นวน 10 ท่ า น บริษัทฯเพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนยิ่งขึ้น ซึ่งประกอบด้วย

107


รายงานประจํ า ปี 2560

1. กรรมการอิสระ และกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร จ�ำนวน 8 ท่าน ซึ่งกรรมการอิสระ จ�ำนวน 2 ท่าน มีประสบการณ์การท�ำงาน ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ คือ (1.1) นายอดุลย์ จันทนจุลกะ (2) (1.2) ศ. นพ.ปิยะมิตร ศรีธรา 2. กรรมการอิสระ จ�ำนวน 7 ท่าน ซึ่งเกิน 1 ใน 3 ของกรรมการ ทั้งคณะ คือ (3) (2.1) ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม (2.2) นายวีระชัย งามดีวิไลศักดิ์ (2.3) นายอดุลย์ จันทนจุลกะ

ที่ จ ะได้ รั บ ความไว้ ว างใจให้ บ ริ ห ารจั ด การกิ จ การที่ มี มหาชนเป็นผู้ถือหุ้นตามที่ก�ำหนดไว้ในมาตรา 89/3 แห่ง พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 กรรมการบริ ษั ท ต้ อ งเป็ น บุ ค คลที่ มี ค วามรู ้ ความสามารถ ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต มี จ ริ ย ธรรมในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ และมี เ วลา อย่างเพียงพอทีจ่ ะอุทศิ ความรู้ ความสามารถและปฏิบตั หิ น้าที ่ ให้บริษัทฯ ได้ กรรมการอิ ส ระต้ อ งมี คุ ณ สมบั ติ เ กี่ ย วกั บ ความเป็ น อิ ส ระ ตามที่ บ ริ ษั ท ฯ ก� ำ หนดและเป็ น ไปตามแนวทางเดี ย วกั น กั บ คุ ณ สมบั ติ ข องกรรมการตรวจสอบตามประกาศ ของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน

(2.5) ดร.อนุสรณ์ แสงนิ่มนวล

(4) กรรมการอิสระต้องสามารถดูแลผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น ทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและไม่ให้เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ รวมทั้งสามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระได้

(2.6) ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

1.5 วาระการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท

(2.7) ศ. นพ.ปิยะมิตร ศรีธรา

จ�ำนวนปีที่ด�ำรงต�ำแหน่งในแต่ละวาระ

(2.4) ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

3. กรรมการที่เป็นผู้บริหาร (มีส่วนร่วมในการบริหารงาน) จ�ำนวน นโยบายก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ก� ำ หนดให้ ก รรมการบริ ษั ท ฯ ด� ำ รง ต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี โดย 1 ปีในที่นี้หมายถึงช่วงเวลาระหว่างการ 4 ท่าน คือ ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของปีที่ได้รับการแต่งตั้ง และการประชุมสามัญ (3.1) นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์ ผู้ถือหุ้นในปีถัดไป และเมื่อครบก�ำหนดออกตามวาระก็อาจได้รับการ พิจารณาจากผู้ถือหุ้นให้เป็นกรรมการต่อไปได้อีก (3.2) นายปิยะ ประยงค์ ส�ำหรับวาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการชุดย่อยให้เป็นไปตาม (3.3) นายประเสริฐ แต่ดุลยสาธิต วาระการด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการบริ ษั ท เมื่ อ ครบก� ำ หนดออกตาม (3.4) นางรัตนา พรมสวัสดิ์ วาระ ก็อาจได้รับแต่งตั้งจากคณะกรรมการให้ด�ำรงต�ำแหน่งต่อไปได้ 4. กรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหาร (ไม่มสี ว่ นร่วมบริหารงาน) จ�ำนวน 1 ท่าน จ�ำนวนวาระการด�ำรงต�ำแหน่งติดต่อกันของกรรมการ คือ นายวิเชียร เมฆตระการ บริษัทฯ เห็นว่ากรรมการของบริษัทฯ ทุกคน ซึ่งได้รับการเลือกตั้งจาก นอกจากนี้ ประธานกรรมการบริษัท (ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม) ไม่ได้เป็น ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ต่างเป็นกรรมการทีท่ รงคุณวุฒิ มีความรู้ ความสามารถ บุคคลเดียวกันกับ ประธานกรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าที ่ มี คุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรม ตลอดจนปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ไ ด้ เ ป็ น อย่ า งดี บริหารกลุ่ม (นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์) รวมทั้งมีขอบเขตหน้าที ่ ตลอดมาและหากที่ประชุมผู้ถือหุ้นยังคงให้ความไว้วางใจ โดยเลือกตั้ง และความรับผิดชอบแยกจากกันอย่างชัดเจน (โปรดดูรายละเอียด กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิดังกล่าวเป็นกรรมการของบริษัทฯ ก็ย่อมจะต้อง เพิ่มเติมในหมวด ประวัติกรรมการและผู้บริหาร หมวด บทบาท เคารพสิ ท ธิ ข องผู ้ ถื อ หุ ้ น บริ ษั ท ฯ ไม่ ไ ด้ มี ก ารก� ำ หนดจ� ำ นวนวาระ อ�ำนาจหน้าที่ของประธานกรรมการบริษัท และหมวด ขอบเขต การด�ำรงต�ำแหน่งติดต่อกันของกรรมการไว้อย่างชัดเจน อ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร) อย่ า งไรก็ ต าม ตามกฎบั ต รคณะกรรมการบริ ษั ท จะก� ำ หนดให้ 1.4 คุณสมบัติของกรรมการบริษัท กรรมการบริษัทพ้นจากต�ำแหน่งเมื่อมีอายุครบ 72 ปี โดยในกรณีนี้ ให้ พ ้ น จากต� ำ แหน่ ง กรรมการบริ ษั ท นั บ แต่ วั น สิ้ น สุ ด รอบปี บั ญ ชี ข อ (1) กรรมการบริ ษั ท ต้ อ งมี คุ ณ สมบั ติ ค รบถ้ ว นตามกฎหมาย งบริษัทฯ ว่ า ด้ ว ยบริ ษั ท มหาชนจ� ำ กั ด และกฎหมายอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง รวมทั้ง ต้องไม่มีลักษณะที่แสดงถึงการขาดความเหมาะสม

108


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

1.6 การประชุมคณะกรรมการบริษัท การก�ำหนดวันประชุมคณะกรรมการบริษัทและผู้ถือหุ้นล่วงหน้า คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ก� ำหนดวั น ประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย และการประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ล่ ว งหน้ า ทุ ก ปี และแจ้ ง ให้ ก รรมการทุ ก คนทราบก� ำ หนดการดั ง กล่ า วในทุ ก สิ้ น ปี เพื่ อ ให้ ก รรมการสามารถจั ด สรรเวลาเข้ า ร่ ว มประชุ ม ได้ อ ย่ า งพร้ อ มเพรี ย งกั น ทั้งนี้ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทและผู้ถือหุ้น กรรมการบริษัททุกคนมีส่วนร่วมในการพิจารณาเพื่อเลือกเรื่องเข้าวาระการประชุม ด้วยทุกครั้ง โดยส่วนงานเลขานุการบริษัทจะจัดส่งร่างหนังสือเชิญประชุมให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาล่วงหน้าก่อนการประชุมทุกครั้ง เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาแก้ไข/เพิ่มเติมวาระการประชุม ในปี 2560 บริษัทฯ ได้ก�ำหนดตารางการประชุมคณะกรรมการบริษัท การประชุมคณะกรรมการชุดย่อยชุดต่างๆ และการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2561 (ล่วงหน้า) โดยไม่รวมการประชุมวาระพิเศษอื่นๆ ดังนี้ การประชุม การประชุม คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการ (ครั้งที่/วันที่) บริหาร (ครั้งที่/วันที่)

การประชุม คณะกรรมการ ตรวจสอบ (ครั้งที่/วันที่)

การประชุม การประชุม คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการบริ และพิจารณา ความเสีย่ งระดับองค์หการ าร ค่าตอบแทน (ครั ง ้ ที / ่ วั น ที ) ่ (ครั้งที่/วันที่)

การประชุม คณะกรรมการ บรรษัทภิบาล (ครั้งที่/วันที่)

1. 25 ม.ค. 61

1. 12 ม.ค. 61

1. 19 ม.ค. 61

1. 19 ม.ค. 61

1. 12 ม.ค. 61

1. 8 ก.พ. 61

2. 9 ก.พ. 61

2. 13 ก.พ. 61

2. 13 ก.พ. 61

2. 9 ก.พ. 61

2. 13 ก.พ. 61

2. 3 พ.ค. 61

3. 16 มี.ค. 61

3. 13 มี.ค. 61

3. 13 มี.ค. 61

3. 15 มี.ค. 61

3. 13 มี.ค. 61

3. 2 ส.ค. 61

4. 9 พ.ค. 61

4. 10 เม.ย. 61

4. 10 เม.ย. 61

4. 12 เม.ย. 61

4. 10 เม.ย. 61

4. 1 พ.ย. 61

5. 22 มิ.ย. 61

5. 8 พ.ค. 61

5. 8 พ.ค. 61

5. 4 พ.ค. 61

5. 8 พ.ค. 61

-

6. 20 ก.ค. 61

6. 12 มิ.ย. 61

6. 12 มิ.ย. 61

6. 15 มิ.ย. 61

6. 12 มิ.ย. 61

-

7. 9 ส.ค. 61

7. 12 ก.ค. 61

7. 12 ก.ค. 61

7. 13 ก.ค. 61

7. 12 ก.ค. 61

-

8. 21 ก.ย. 61

8. 8 ส.ค. 61

8. 8 ส.ค. 61

8. 3 ส.ค. 61

8. 8 ส.ค. 61

-

9. 19 ต.ค. 61

9. 13 ก.ย. 61

9. 13 ก.ย. 61

9. 14 ก.ย. 61

9. 13 ก.ย. 61

-

10. 12 พ.ย. 61

10. 11 ต.ค. 61

10. 11 ต.ค. 61

10. 12 ต.ค. 61

10. 11 ต.ค. 61

-

11. 21 ธ.ค. 61

11. 8 พ.ย. 61

11. 8 พ.ย. 61

11. 9 พ.ย. 61

11. 8 พ.ย. 61

-

12. 13 ธ.ค. 61

12. 13 ธ.ค. 61

12. 14 ธ.ค. 61

12. 13 ธ.ค. 61

-

-

การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2561 จะจัดประชุมในวันที่ 27 เมษายน 2561 หมายเหตุ : 1. การประชุมกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร (Non Executive Director) จะจัดขึ้นในวันที่ 21ธันวาคม 2561 2. ตารางการประชุมนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับความจ�ำเป็นและเหมาะสมในอนาคต

ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท วาระการประชุมหลัก ได้แก่ (1) เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ

(3) เรื่องเพื่อพิจารณา/อนุมัติ

(2) เรื่องสืบเนื่องจากการประชุมครั้งก่อน

(4) เรื่องเพื่อทราบ

109


รายงานประจํ า ปี 2560

ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี วาระการประชุมหลัก ได้แก่

1.7 การเปิ ด เผยจ� ำ นวนครั้ ง ของการประชุ ม คณะกรรมการ ตรวจสอบในรอบปี

(1) พิจารณารายงานของคณะกรรมการที่แสดงถึงกิจการของบริษัท ในรอบปีที่ผ่านมา (โปรดดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ในหมวด การเข้ า ร่ ว มประชุ ม ของ คณะกรรมการในรอบปี 2560) (2) พิจารณาอนุมัติงบดุลและบัญชีก�ำไรขาดทุน 1.8 การวางแผนกลยุทธ์ของบริษัทฯ และการน�ำไปปฏิบัติ (3) พิจารณาอนุมัติจัดสรรเงินก�ำไรและการจ่ายเงินปันผล ในการประชุมคณะกรรมการบริษัททุกปี คณะกรรมการจะร่วมกัน (4) พิจารณาเลือกตั้งกรรมการใหม่แทนกรรมการที่พ้นจากต�ำแหน่ง พิจารณาแผนงานการวางแผนกลยุทธ์ประจ�ำปีและแผนงานการวางแผน ตามวาระ และก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ กลยุทธ์ล่วงหน้า 5 ปี โดยในปี 2560 ที่ผ่านมาคณะกรรมการได้ร่วมกัน (5) พิจารณาแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและก�ำหนดจ�ำนวนเงินค่าสอบบัญชี พิจารณาแผนงานการวางแผนกลยุทธ์ประจ�ำปี 2561 - 2565 ล่วงหน้า และภายหลังจากนั้นคณะกรรมการก็จะติดตามว่าฝ่ายจัดการได้น�ำ และกิจการอื่นๆ แผนงานการวางแผนกลยุทธ์ดังกล่าวไปปฏิบัติตามหรือไม่ โดยฝ่าย การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการ/การได้รับเอกสารประกอบ จัดการจะต้องรายงานเรื่อง แผนงานการวางแผนกลยุทธ์ดังกล่าว การประชุมล่วงหน้า ให้ที่ประชุม คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการบริษัท รับทราบ ตามล� ำดับเป็นประจ�ำทุกเดือน โดยก�ำหนดไว้เป็นวาระ เรื่อง รับทราบ บริษัทฯ มีนโยบายก�ำหนดจ�ำนวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการ บริษัทและการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี ไว้ล่วงหน้าตลอดทั้งปี ผลการด�ำเนินงานประจ�ำเดือน รายงานความคืบหน้าการด�ำเนินธุรกิจ โดยจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทมากกว่า 6 ครั้ง ต่อปี และทบทวนแผนกลยุทธ์รายไตรมาส โดยมีรายละเอียดดังนี้

และจัดส่งเอกสารประกอบการประชุมให้แก่กรรมการเป็นการล่วงหน้า (1) วาระเรื่อง เพื่อทราบ (ประจ�ำทุกเดือน) จะรายงานเรื่อง ไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่อนวันประชุม - รับทราบผลการด�ำเนินงานประจ�ำเดือน โดยในปี 2560 ที่ผ่านมา บริษัทฯ จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการ รวมทั้ ง สิ้ น 11 ครั้ ง และกรรมการบริ ษั ท ทุ ก คนเข้ า ร่ ว มประชุ ม (2) วาระเรื่อง เพื่อทราบ (ทุกไตรมาส) จะรายงานเรื่อง คณะกรรมการเกิ น กว่ า ร้ อ ยละ 80 ของการประชุ ม คณะกรรมการ - รับทราบรายงานความคืบหน้าการด�ำเนินธุรกิจ ทั้งหมดในรอบปีที่ผ่านมาและไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของการประชุม ทั้งปี และในกรณีที่ไม่ได้มีการประชุมทุกเดือนบริษัทฯ จะส่งรายงาน : รายงานของกลุ่มธุรกิจพฤกษา เรียลเอสเตท ผลการด�ำเนินงานให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบในเดือนที่ไม่ได้ มีการประชุมเพื่อให้คณะกรรมการบริษัทสามารถก�ำกับควบคุมและ : รายงานของกลุ่มธุรกิจพฤกษา พรีเมียม ดูแลการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการได้อย่างต่อเนื่องและทันเหตุการณ์ : รายงานของกลุ่มธุรกิจโรงพยาบาลวิมุต (โปรดดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ในหมวด การเข้ า ร่ ว มประชุ ม ของ นอกจากนั้นแล้ว ฝ่ายเลขานุการบริษัทยังได้มีการก�ำหนดวาระเรื่อง คณะกรรมการในรอบปี 2560) ทบทวนแผนกลยุ ท ธ์ ร ายไตรมาส เพื่ อ ที่ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการ นอกจากนั้ น ภายหลั ง จากการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท และ บริ ห าร และคณะกรรมการบริ ษั ท จะได้ รั บ ทราบข้ อ เท็ จ จริ ง และ คณะกรรมการชุดย่อย เสร็จสิ้นลง เลขานุการบริษัท และเลขานุการ ให้ข้อเสนอแนะในเรื่องที่เห็นว่าฝ่ายจัดการควรปรับปรุง/แก้ไขต่อไป คณะกรรมการชุดย่อย จะแจ้งมติของที่ประชุมให้คณะกรรมการ และ ฝ่ายจัดการ รับทราบอย่างรวดเร็ว เพื่อฝ่ายจัดการจะได้น�ำความเห็น 1.9 คณะกรรมการชุดย่อย และข้อเสนอแนะของที่ประชุมไปด�ำเนินการต่อในทันที และเลขานุการ บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ให้ มี ค ณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยตามข้ อ ก� ำ หนดของ บริษัท และเลขานุการคณะกรรมการชุดย่อยก็จะติดตามความคืบหน้า ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย คื อ คณะกรรมการตรวจสอบ ว่าฝ่ายจัดการได้ด�ำเนินการตามความเห็นและข้อเสนอแนะหรือไม่ นอกจากนี้ ยังได้จัดตั้งคณะกรรมการชุดย่อยอื่น เพื่อแบ่งเบาภาระ อย่างไร และน�ำมารายงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ ของคณะกรรมการบริษัท เช่น คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับ คณะกรรมการชุดย่อย เพื่อพิจารณาหรือรับทราบต่อไป องค์การ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการ องค์ประชุมขั้นต�่ำขณะที่คณะกรรมการบริษัทจะลงมติ

บรรษัทภิบาล และคณะกรรมการบริหาร

บริษัทฯ ก�ำหนดนโยบายว่าในขณะที่คณะกรรมการบริษัทจะลงมติ 1.9.1 คณะกรรมการตรวจสอบ ในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ต้องมีกรรมการอยู่ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้าที่สอบทาน ให้บริษัทฯ จัดท�ำรายงาน ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด ทางการเงิ น อย่ า งถู ก ต้ อ งและเพี ย งพอ ให้ ค วามเห็ น ชอบเกี่ ย วกั บ การเปลี่ ย นแปลงหลั ก การบั ญ ชี หรื อ วิ ธี ป ฏิ บั ติ ท างบั ญ ชี ที่ ส� ำ คั ญ

110


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

มีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่เหมาะสมและ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ล รวมถึ ง การพิ จ ารณาความเป็ น อิ ส ระของหน่ ว ยงาน ตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือ หน่วยงานอืน่ ใด ที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน สอบทานรายงานผลการ ตรวจสอบภายในที่เสนอต่อฝ่ายบริหาร รวมถึงการสอบทานความเห็น ของฝ่ายบริหารที่มีต่อประเด็นการตรวจสอบ เข้าพบผู้บริหารติดต่อ พนักงานและเข้าถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยไม่มีข้อจ�ำกัด พิจารณา การเปิดเผยข้อมูลของบริษัทฯ ในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือ รายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมาย และข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจ ว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ จัดท�ำรายงานคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยในรายงานประจ�ำปี ของบริ ษั ท ฯ และสอบทานให้บริษัท ฯ ปฏิบัติต ามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตัง้ และก� ำ หนดค่ า ตอบแทนผู ้ ส อบบั ญ ชี สอบทานกฎบั ต รอย่ า งน้ อ ย ปีละ 1 ครั้ง และปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย คณะกรรมการตรวจสอบปฏิบัติหน้าที่และแสดงความคิดเห็นได้อย่าง อิ ส ระ โดยมี ฝ ่ า ยตรวจสอบภายในของบริ ษั ท ฯ ที่ ร ายงานตรงต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบเป็นหน่วยงานปฏิบัติ รวมทั้งมีการปรึกษา หารือกับผู้สอบบัญชีภายนอกเป็นประจ�ำ 1.9.2 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ

1.9.4 คณะกรรมการบรรษัทภิบาล คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าล มี ห น้ า ที่ พิ จ ารณา ทบทวน น� ำ เสนอ เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทอนุมัตินโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี จรรยาบรรณทางธุรกิจ นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม นโยบายเพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของบริษทั ฯ นโยบายและแนวปฏิบตั ิ อื่ น ใดที่ จ ะสนั บ สนุ น การด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ตามแนวทางของ ธรรมาภิบาล ดูแลให้ฝา่ ยบริหารจัดการน�ำนโยบาย/แนวปฏิบตั ดิ งั กล่าว ข้ า งต้ น ไปใช้ พั ฒ นาบริ ษั ท ฯ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ติ ด ตามและทบทวน ระบบงานต่ า งๆ ภายในองค์ ก รให้ ส อดคล้ อ งกั บ จรรยาบรรณและ แนวปฏิบัติที่ดี ติดตามและสั่งการในกรณีที่การปฏิบัติงานของฝ่าย จั ด การและพนั ก งานมี ป ระเด็ น ในการไม่ ป ฏิ บั ติ ต ามนโยบายและ แนวปฏิบัติที่วางไว้ ติดตามและรายงานผลการปฏิบัติงานขององค์กร ตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและนโยบายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องแก่ คณะกรรมการบริษัทและองค์กรภายนอกตามความเหมาะสม 1.9.5 คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร มีหน้าที่ก�ำหนดนโยบาย เป้าหมาย กลยุทธ์ แผนการด�ำเนินงาน งบประมาณประจ�ำปี และอ�ำนาจการบริหารงานต่างๆ ของบริษัทฯ เพื่อเสนอให้คณะกรรมการบริษัทอนุมัติ ควบคุมดูแล การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ให้ เ ป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ เอื้อต่อสภาพธุรกิจ พร้อมให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำ การบริหารจัดการแก่ ผู้บริหารระดับสูง อนุมัติการใช้จ่ายเงินเพื่อการลงทุน การจัดท�ำธุรกรรม ทางการเงินกับสถาบันการเงิน การซื้อขาย/จดทะเบียนกรรมสิทธิ์ที่ดิน เพื่อการท�ำธุรกรรมตามปกติของบริษัทฯ ก�ำหนดโครงสร้างองค์กร และการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ก�ำกับดูแลและอนุมัติเรื่อง ที่เกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ รวมทั้งกลั่นกรองงานทุกประเภท ทีเ่ สนอคณะกรรมการบริษทั ยกเว้นงานทีอ่ ยูภ่ ายใต้หน้าทีค่ วามรับผิดชอบ และ/หรือเป็นอ�ำนาจของคณะกรรมการชุดย่อยอื่น

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ มีหน้าที่รับทราบและ ให้ ข ้ อ เสนอแนะต่ อ นโยบาย กลยุ ท ธ์ แ ละแนวทางในการบริ ห าร ความเสีย่ งระดับองค์การ สอบทานแผนจัดการความเสีย่ งของฝ่ายจัดการ รวมทั้งกระบวนการบริหารความเสี่ยงในภาพรวมขององค์กร รับทราบ ความเสี่ ย งที่ ส� ำ คั ญ และพิ จ ารณาว่ า ฝ่ า ยจั ด การได้ ต อบสนองต่ อ ความเสี่ยงอย่างเหมาะสมหรือไม่ ติดตามผลการปฏิบัติตามกรอบ 1.10 การเชิญผู้บริหารระดับสูงเข้าร่วมประชุม การบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ บริษัทฯ มีนโยบายเชิญผู้บริหารระดับสูงเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ 1.9.3 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริ ษั ท ทุ ก ครั้ ง และเชิ ญ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ล� ำ ดั บ ถั ด ลงมาเข้ า ร่ ว ม คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน มีหน้าทีก่ ำ� หนดนโยบาย ประชุมในวาระที่เกี่ยวข้องกับผู้บริหารท่านนั้นๆ เพื่อตอบข้อซักถาม หลักเกณฑ์ในการสรรหาและพิจารณาสรรหาคณะกรรมการบริษัท พร้อมให้ข้อมูลรายละเอียดที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม รวมทั้งจะได้มีโอกาส คณะกรรมการชุดย่อย ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ ประธานเจ้าหน้าที ่ ให้คณะกรรมการบริษัทรู้จักผู้บริหารระดับสูงและผู้บริหารล�ำดับถัดลง บริ ห าร กรรมการผู ้ อ� ำ นวยการและกรรมการผู ้ จั ด การทั้ ง ในส่ ว น มาแต่ละท่านส�ำหรับประกอบการพิจารณาแผนการสืบทอดงานอีกด้วย ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณา 1.11 กฎบัตรคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย อนุมัติ และ/หรือเสนอขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น ก�ำหนดนโยบาย และหลักเกณฑ์ในการก�ำหนดค่าตอบแทนและก�ำหนดค่าตอบแทน เพื่อให้การปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการ ที่จ�ำเป็นและเหมาะสมทั้งที่เป็นรูปแบบตัวเงินและมิใช่ตัวเงิน ก�ำหนด ชุดย่อยมีระเบียบวิธีปฏิบัติที่ชัดเจน บริษัทฯ ได้จัดท�ำกฎบัตรของ หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน พิจารณาทบทวน คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการย่อยชุดต่างๆ เช่น กฎบัตรคณะ นโยบาย หลักเกณฑ์ในการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนและระบบ กรรมการตรวจสอบ กฎบัตรคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับ การจ่ายค่าตอบแทนให้เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบ สอดคล้อง องค์การ กฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กฎบัตร คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าลและกฎบั ต รคณะกรรมการบริ ห าร กับผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ และสภาวะตลาดอยู่เสมอ ซึ่งเนื้อหาในกฎบัตรจะแบ่งออกเป็นหมวดต่างๆ และมีการทบทวน ปรับปรุงอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ อาทิเช่น หมวดวัตถุประสงค์ องค์ประกอบ

111


รายงานประจํ า ปี 2560

และคุณสมบัติ วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง อ�ำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ - การน�ำกรรมการเยี่ยมชมโรงงานพรีคาสท์ และโครงการต่างๆ การประชุม องค์ประชุมและการรายงาน โดยรายละเอียดเปิดเผย ของบริษทั ฯ ทีอ่ ยูใ่ นความสนใจ เช่น โครงการบ้านเดีย่ ว ทาวน์เฮ้าส์ อยู่ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ที่ www.psh.co.th และคอนโดมิเนียม 1.12 การปฐมนิเทศกรรมการเข้าใหม่ / การอบรมและพัฒนาความรู้ (3) การพบปะ และแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์กับคณะกรรมการ กรรมการ บริษทั และผูบ้ ริหารระดับสูง อาทิเช่น ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม (1) บริษัทฯ ก�ำหนดให้มีการปฐมนิเทศกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง ธุรกิจพฤกษา เรียลเอสเตท ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มธุรกิจ ใหม่ ทุ ก คน โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มในการ พฤกษา เรียลเอสเตท-พรีเมียม ฯลฯ ปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ และสนับสนุนให้ปฏิบัติหน้าที่อย่าง มีประสิทธิภาพ โดยสายงานเลขานุการบริษัทจะเป็นผู้ประสานงาน โดยในปี 2560 ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้มีการเลือกตั้งกรรมการเข้าใหม่ และน�ำเสนอข้อมูลส�ำคัญในเรื่องต่างๆ ดังนี้ วิสัยทัศน์ พันธกิจ จ� ำ นวน 2 คน คื อ ศ.นพ.ปิ ย ะมิ ต ร ศรี ธ รา และนายประเสริ ฐ ค่านิยม ข้อบังคับ กฎระเบียบ โครงสร้างการจัดการ รวมทัง้ ข้อมูลอืน่ ๆ แต่ดุลยสาธิต ที่เกี่ยวข้อง อย่างเพียงพอก่อนการปฏิบัติหน้าที่ อาทิเช่น นอกจากนั้นคณะกรรมการบริษัทยังมีนโยบายส่งเสริมให้กรรมการ - นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ ได้รบั การอบรมและพัฒนาความรูอ้ ย่างต่อเนือ่ งทัง้ ภายในและภายนอก บริษัทฯ เช่น การเข้ารับการอบรมหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบัน - คู่มือจรรยาบรรณธุรกิจ กรรมการบริษัทไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ส�ำนักงาน คณะกรรมการก� ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และหลักสูตรอื่นๆ - กฎบัตรของคณะกรรมการบริษัท ทีจ่ ดั โดยหน่วยงานภาครัฐและเอกชน รวมทัง้ การศึกษาดูงาน ณ สถานทีจ่ ริง - รายงานประจ�ำปี เช่น โครงการก่อสร้างของบริษัทฯ ณ โครงการต่างๆ การศึกษาดูงาน - รายงานการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท และการประชุ ม ณ โรงงานพรี ค าสท์ และนอกจากนั้ น ยั ง ได้ ส� ำ รวจความคิ ด เห็ น ของกรรมการเพิ่มเติมว่ากรรมการแต่ละคนต้องการจัดให้มีการอบรม ผู้ถือหุ้นในช่วงระยะเวลา 1 ปี ที่ผ่านมา และพัฒนาความรู้ทั้งในประเทศและต่างประเทศในด้านใดเพิ่มเติม อีกหรือไม่ เพื่อช่วยให้คณะกรรมการสามารถปฏิบัติหน้าที่และก�ำกับ (2) ข้อมูลธุรกิจของบริษัทฯ ดูแลกิจการของบริษัทฯ อย่างมีประสิทธิภาพ - กลยุทธ์ แนวทางการด�ำเนินงาน ประวัติการเข้าร่วมอบรมหลักสูตรหรือเข้าร่วมกิจกรรมสัมมนาของคณะกรรมการบริษัท ลำ�ดับ 1

2

3

112

ชื่อ-นามสกุล ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม

ตำ�แหน่ง

หลักสูตรที่อบรม/สัมมนา

สถาบัน

ประธานกรรมการบริษัท / 1. Director Certification สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการสรรหาและพิจารณา Program - DCP กรรมการบริษัทไทย ค่าตอบแทน / กรรมการอิสระ รุ่น 18/2545 2. Corporate Governance for Capital Market Intermediaries - CGI รุ่น 2/2558 นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์ กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม / 1. Director Certification สมาคมส่งเสริมสถาบัน รองประธานกรรมการบริษัท / Program - DCP กรรมการบริษัทไทย ประธานกรรมการบริหารและ รุ่น 51/2547 กลยุทธ์ / กรรมการสรรหา 2. Finance for Non-Finance และพิจารณาค่าตอบแทน / Directors ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม นางรัตนา พรมสวัสดิ์ กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม / Director Certification สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบรรษัทภิบาล Program - DCP กรรมการบริษัทไทย รุ่น 52/2547


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ลำ�ดับ

ชื่อ-นามสกุล

ตำ�แหน่ง

4

นายปิยะ ประยงค์

กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม / กรรมการบริหาร / กรรมการ บริหารความเสี่ยงระดับ องค์การ

5

นายวีระชัย งามดีวิไลศักดิ์

กรรมการอิสระ / กรรมการ ตรวจสอบ / กรรมการบริหาร ความเสี่ยงระดับองค์การ / ประธานกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน

6

นายอดุลย์ จันทนจุลกะ

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการบรรษัทภิบาล

7

ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

8

นายวิเชียร เมฆตระการ

กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม / กรรมการบริหารและกลยุทธ์ / กรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน

หลักสูตรที่อบรม/สัมมนา

สถาบัน

1. Director Certification 1. สมาคมส่งเสริมสถาบัน Program - DCP กรรมการบริษัทไทย รุ่น 59/2548 2. สมาคมส่งเสริมสถาบัน 2. Risk Management กรรมการบริษัทไทย Program For Corporate 3. สถาบันวิทยาการตลาดทุน Leader - RCL รุ่น 8/2560 3. หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท. รุ่น 25/2560) 1 Director Certification สมาคมส่งเสริมสถาบัน Program - DCP รุ่น 0/2543 กรรมการบริษัทไทย 2. Finance for Non - Finance Director - FN รุ่น 1/2546 3. Role of the Compensation Committee - RCC รุ่น 3/2550 4. Successful Formulation & Execution of Strategy รุ่น 4/2552 5. Chartered Director Class - CDC รุ่น 8/2557 1. Director Accreditation สมาคมส่งเสริมสถาบัน Program - DAP กรรมการบริษัทไทย รุ่น 5/2546 2. Audit Committee Program - ACP รุ่น 7/2548 3. Role of the Compensation Committee - RCC รุ่น 3/2550 Director Accreditation สมาคมส่งเสริมสถาบัน Program - DAP รุ่น 35/2548 กรรมการบริษัทไทย 1. Advanced Technical in 1. California State Microwave University - Northridge 2. Mini MBA for Shinawatra 2. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Executives 3. Kellogg School of 3. Advanced Executive Management, Northwestern Program University, USA 4. ประกาศนียบัตร หลักสูตร 4. สถาบันวิทยาการตลาดทุน “ผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 8 ตลาดหลักทรัพย์แห่ง (วตท.8) ประเทศไทย 5. Director Certification 5. สมาคมส่งเสริมสถาบัน Program - DCP กรรมการบริษัทไทย รุ่น 107/2551 6. สถาบันพระปกเกล้า 6. หลักสูตรการเมือง (ปปร.17) การปกครองในระบอบ 7. สมาคมส่งเสริมสถาบัน ประชาธิปไตยส�ำหรับ กรรมการบริษัทไทย นักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 17 8. สมาคมส่งเสริมสถาบัน 7. Board that Make a กรรมการบริษัทไทย Difference - BMD รุ่น 3/2559 8. Role of the Chairman Program - RCP รุน่ 40/2560

113


รายงานประจํ า ปี 2560

ลำ�ดับ

114

ชื่อ-นามสกุล

ตำ�แหน่ง

หลักสูตรที่อบรม/สัมมนา

สถาบัน

9

ดร.อนุสรณ์ แสงนิ่มนวล

กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการบรรรษัท ภิบาล / กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน

1. ปริญญาบัตร หลักสูตร การป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน 2. ประกาศนียบัตร หลักสูตร ผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 10 3. ประกาศนียบัตรขั้นสูง การบริหารงานภาครัฐและ กฎหมายมหาชน รุ่นที่ 5 4. หลักสูตรการก�ำกับดูแล กิจการส�ำหรับกรรมการ และผู้บริหาร ระดับสูง ของรัฐวิสาหกิจและ องค์การมหาชน รุ่นที่ 1 5. Director Certification Program - DCP รุ่น 62/2548 6.Director Accredited Program - DAP รุ่น 40/2548

1. วิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร (วปรอ. 20) 2. สถาบันวิทยาการตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย (วตท.10) 3. สถาบันพระปกเกล้า (ปรม. 5) 4. สถาบันพัฒนากรรมการ และผู้บริหารระดับสูง ภาครัฐ (PDI) 5. สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย 6. สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

10

ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการบริหาร ความเสี่ยงระดับองค์การ

1. หลักสูตรการป้องกัน ราชอาณาจักรภาครัฐ ร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 15 2. Role of the Chairman Program - RCP รุ่น 2/2544 3. Director Certification Program - DCP รุ่น 21/2545 4. บทบาทของคณะกรรมการ บริษัทจดทะเบียนในการ ลดความเสี่ยงองค์กร ด้านภัยไซเบอร์ ความท้าทายและทางออก

1. วิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร 2. สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย 3. สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย 4. ส�ำนักงานคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์

11

ศ.นพ.ปิยะมิตร ศรีธรา

กรรมการอิสระ

Director Certification Program - DCP รุ่น 244/2560

สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ลำ�ดับ 12

ชื่อ-นามสกุล

ตำ�แหน่ง

นายประเสริฐ แต่ดุลยสาธิต กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม / กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสี่ยง ระดับองค์การ

หลักสูตรที่อบรม/สัมมนา

สถาบัน

1. หลักสูตรการบริหารจัดการ ด้านความมั่นคงขั้นสูง รุ่นที่ 8 2. หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 21 3. หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านการบริหารงาน พัฒนาเมือง (มหานคร รุน่ ที่ 3) 4. Director Certification Program - DCP รุ่น 56/2548 5. Director Accreditation Program - DAP รุ่น 1/2546 6. หลักสูตรการบริหาร เศรษฐกิจสาธารณะ ส�ำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 5/2549 7. หลักสูตรผู้บริหาร อสังหาริมทรัพย์ รุ่น 10 (RECU 10)

1. สมาคมวิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2. สถาบันวิทยาการตลาดทุน 3. วิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัย นวมินทราธิราช 4. สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย 5. สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย 6. สถาบันพระปกเกล้า 7. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการอบรมหลักสูตรหรือเข้าร่วมกิจกรรมสัมมนาของคณะกรรมการบริษัท ในปี 2560 ในรอบปี 2560 ที่ผ่านมา กรรมการของบริษัทฯ ได้เข้ารับการอบรมหลักสูตรหรือเข้าร่วมกิจกรรมสัมมนาเพื่อเพิ่มพูนความรู้ในการปฏิบัติงาน เพิ่มเติม จ�ำนวน 4 คน คือ ชื่อ-นามสกุล 1. ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

2. ศ.นพ.ปิยะมิตร ศรีธรา 3. นายปิยะ ประยงค์

4. นายวิเชียร เมฆตระการ

ตำ�แหน่ง

หลักสูตรที่อบรม/สัมมนา

กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการ บทบาทของคณะกรรมการบริษัท บริหารความเสี่ยงระดับองค์การ จดทะเบียนในการลดความเสี่ยง องค์กรด้านภัยไซเบอร์ ความท้าทายและทางออก กรรมการอิสระ Director Certification Program - DCP 244/2560 กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม / 1. Risk Management กรรมการบริหาร และ Program for Corporate กรรมการบริหารความเสี่ยง Leader - RCL 8/2560 ระดับองค์การ 2. หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท. รุ่น 25/2560) กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม / Role of the Chairman กรรมการบริหาร และกรรมการ Program - RCP 40/2560 สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

สถาบัน ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย 1. สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย 2. สถาบันวิทยาการตลาดทุน สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย

115


รายงานประจํ า ปี 2560

1.13 การอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่กรรมการ 1.15 การจัดให้มีและเปิดเผยถึงระบบควบคุมภายในและระบบ บริหารความเสี่ยง บริษัทฯ มีนโยบายสนับสนุนให้กรรมการแต่ละท่านเข้าร่วมฝึกอบรม ที่จัดขึ้นส�ำหรับกรรมการอย่างสม�่ำเสมอ โดยกรรมการบริษัท จ�ำนวน คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีและเปิดเผยถึงระบบควบคุมภายใน 12 ท่าน ได้เข้ารับการอบรมหลักสูตรต่างๆ ซึ่งจัดโดยสมาคมส่งเสริม และระบบบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ โดยก�ำหนดเป็นแนวทาง ในการจั ด การกั บ ความเสี่ ย ง (Key Risk) ให้ ค รอบคลุ ม ถึ ง องค์ ก ร สถาบันกรรมการบริษัทไทย ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ซึ่ ง มี ก ารพิ จ ารณาและทบทวนระบบ หรื อ ประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพ (1) Director Certification Program (DCP) จ�ำนวน 8 ท่าน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และในทุกๆ ระยะเวลาที่พบว่าระดับความเสี่ยง มี ก ารเปลี่ ย นแปลง ทั้ ง นี้ รวมถึ ง การให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ สั ญ ญาณ (2) Director Accreditation Program (DAP) จ�ำนวน 3 ท่าน เตือนภัยล่วงหน้าและระบบผิดปกติทั้งหลาย โดยคณะกรรมการบริษัท (3) Audit Committee Program (ACP) จ�ำนวน 1 ท่าน หรือคณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ความคิดเห็นที่มีต่อความเพียงพอ (4) Role of the Compensation Committee (RCC) จ�ำนวน 2 ท่าน ของระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ ไว้ ใ นรายงานประจ� ำ ปี ด ้ ว ย (โปรดดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ในหมวด (5) Successful Formulation & Execution of Strategy จ�ำนวน การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง) 1 ท่าน 1.16 ความคิดเห็นที่มีต่อความเพียงพอและเหมาะสมของระบบ ควบคุมภายในและระบบบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ ของ (6) Finance for Non-Finance Directors (FN) จ�ำนวน 2 ท่าน คณะกรรมการบริษัท (7) Chartered Director Class จ�ำนวน 1 ท่าน คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นต่อความเพียงพอของระบบควบคุม (8) Corporate Governance for Capital Market Inter Mediaries ภายในและระบบบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ ว่าบริษัทฯ มีระบบ (CGI) จ�ำนวน 1 ท่าน การควบคุมภายในและการดูแลเกีย่ วกับความเสีย่ งทีเ่ หมาะสมเพียงพอ (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมในหมวด รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ) (9) The Role of Chairman (RCP) จ�ำนวน 1 ท่าน 1.17 แนวทางในการจัดการกับความเสีย่ งหลัก (Key Risk) ของบริษทั ฯ (10) Board that Make a Difference (BMD) จ�ำนวน 1 ท่าน (11) บทบาทของคณะกรรมการบริษัทจดทะเบียนในการลดความเสี่ยง บริษัทฯ มีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ ท�ำหน้าที่ให้ องค์กรด้านภัยไซเบอร์ความท้าทายและทางออก จ�ำนวน 1 ท่าน ข้อเสนอแนะต่อฝ่ายบริหารในการก�ำหนดกรอบและแนวทางให้มีการ จัดการและดูแลเกี่ยวกับความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ คณะกรรมการ (12) Risk Management Program for Corporate Leader จ�ำนวน บริ ษั ท และผู ้ บ ริ ห ารได้ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การบริ ห ารความเสี่ ย ง 1 ท่าน โดยก� ำ หนดให้ มี ก ารประเมิ น ปั จ จั ย ความเสี่ ย งและระบบป้ อ งกั น เพือ่ ลดผลกระทบทีอ่ าจมีตอ่ การด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ในการประชุม 1.14 นโยบายการควบคุมภายใน / การบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ ได้มีการเชิญตัวแทน บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญต่อนโยบายด้านการควบคุมภายใน (Internal จากสายการปฏิบัติงานแต่ละสายงานมาน�ำเสนอสิ่งที่ได้ด�ำเนินการ Control Policy) และการบริหารความเสี่ยง (Risk Management ตามแนวทางการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ ให้คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง Policy) คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่สอบทานผลการประเมิน ระดับองค์การได้รับฟังถึงปัญหา หรือข้อขัดข้องในการปฏิบัติ ตลอดจน ความเพี ย งพอของระบบการควบคุ ม ภายใน เพื่ อ มุ ่ ง เน้ น ให้ ร ะบบ ให้ข้อสังเกต หรือข้อเสนอแนะเพิ่มเติม การควบคุมภายในมีความเพียงพอและเหมาะสมกับการด�ำเนินธุรกิจ นอกจากนี้ บ ริ ษั ท ฯ ยั ง ได้ จั ด ตั้ ง โครงการ Business Continuity โดยน�ำกรอบแนวทางปฏิบัติด้านการควบคุมภายในตามมาตรฐาน Management (BCM) ขึน้ เพือ่ เป็นแนวทางในการพัฒนาและก�ำกับดูแล สากลของ COSO (The Committee of Sponsoring Organizations ระบบบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจให้บริษัทฯ สามารถด�ำเนินธุรกิจ of the Tread way Commission) มาใช้ปรับปรุงพัฒนาควบคู่กับกรอบ ได้อย่างต่อเนื่องและลดผลกระทบต่อบริษัทฯ ในด้านต่างๆ เมื่อเกิดเหตุ แนวทางบริหารจัดการความเสี่ยง (Enterprise Risk Management : ขั ด ข้ อ ง โดยจั ด หาที่ ป รึ ก ษาที่ มี ป ระสบการณ์ แ ละความเชี่ ย วชาญ ERM) เพื่อเป็นเครื่องมือของฝ่ายจัดการในการพัฒนาให้ระบบการ เข้ามาด�ำเนินโครงการ (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมในหมวด การควบคุม ควบคุมภายในและบริหารจัดการความเสี่ยงมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง) (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหมวด การควบคุมภายในและการ บริหารจัดการความเสี่ยง)

116


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

1.18 หน่วยงานก�ำกับการปฏิบัติงาน (Compliance Unit)

นโยบายความขัดแย้งทางด้านผลประโยชน์ของบริษัทฯ

บริษัทฯ จัดตั้งหน่วยงานก�ำกับการปฏิบัติงาน (Compliance Unit) (1) พนักงานต้องหลีกเลีย่ งการขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์สว่ นตัวและ ขึ้น โดยใช้ชื่อเรียกภายในบริษัทฯ ว่า “หน่วยงานก�ำกับดูแลกิจการ” ผลประโยชน์ของบริษัทในการติดต่อกับคู่ค้าและบุคคลอื่นใด หรือ “CG Management” ซึง่ มีหน้าทีห่ ลักด้าน Corporate Governance (2) การที่พนักงานไปเป็นกรรมการ หรือที่ปรึกษาในบริษัท องค์กร หรือ และ Compliance โดยภารกิจของหน่วยงานมีดังนี้ สมาคมทางธุรกิจอื่น จะต้องไม่ขัดต่อประโยชน์และการปฏิบัต ิ (1) เพื่อให้มีหลักการในการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีมีความสอดคล้อง หน้าที่โดยตรง กับวิสัยทัศน์และพันธกิจขององค์กร โดยแสดงให้เห็นถึงการมี ระบบบริ ห ารจั ด การที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โปร่ ง ใส ตรวจสอบได้ (3) ไม่เข้าเป็นหุ้นส่วน หรือผู้ถือหุ้นที่มีอ�ำนาจตัดสินใจ หรือผู้บริหาร ซึ่ ง ช่ ว ยสร้ า งความเชื่ อ มั่ น และความมั่ น ใจต่ อ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ผู ้ ล งทุ น ในกิจการที่เ ป็นการแข่งขัน หรือมีลักษณะเดียวกันกับบริษัทฯ แต่ในกรณีที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ ให้รายงานผู้บังคับบัญชาทราบ ผู้มีส่วนได้เสียและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย โดยทันที (2) เพื่อจัดให้มีโครงสร้างและกระบวนการของความสัมพันธ์ระหว่าง คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการและผู้ถือหุ้น เพื่อสร้างความสามารถ (4) ระหว่ า งที่ ป ฏิ บั ติ ง านให้ บ ริ ษั ท ฯ และหลั ง จากพ้ น สภาพการ ในการแข่ ง ขั น น�ำไปสู่ค วามเจริญ เติบโตและเพิ่มมูล ค่าให้กับ ปฏิ บั ติ ง านแล้ ว พนั ก งานจะต้ อ งไม่ เ ปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ ถื อ ว่ า เป็ น ความลับของบริษัทฯ เพื่อประโยชน์แก่ผู้ใดทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็น ผู้ถือหุ้นในระยะยาว โดยค�ำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียอื่น ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลการปฏิบัติงาน ข้อมูล ธุรกิจ แผนงานในอนาคตของบริษัทฯ และอื่นๆ 1.19 การจัดตั้งหน่วยงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการบริ ษั ท จั ด ตั้ ง ฝ่ า ยตรวจสอบภายในขึ้ น โดยมี นายเปรมศักดิ์ วัลลิกลุ ต�ำแหน่ง รักษาการผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การ สายงาน ตรวจสอบภายในและก�ำกับการปฏิบัติงาน เป็นหัวหน้างานตรวจสอบ ภายใน (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหมวด ประวัติกรรมการและ ผู้บริหาร) และเพื่อให้การท�ำงานของหน่วยงานตรวจสอบภายในมี ความเป็นอิสระ คณะกรรมการบริษัทจึงก�ำหนดให้หน่วยงานตรวจสอบ ภายในรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งคณะกรรมการ ตรวจสอบได้รายงานการปฏิบัติหน้าที่ที่ส�ำคัญและผลการปฏิบัติ หรือ ความเห็นในเรื่องต่างๆ เช่น การเปิดเผยจ�ำนวนครั้งของการประชุม คณะกรรมการตรวจสอบในรอบปี การประเมินและสอบทานระบบการ ควบคุมภายใน การท�ำรายการระหว่างกัน การพิจารณาเสนอแต่งตั้ง ผู้สอบบัญชี การสอบทานรายงานทางการเงิน การดูแลด้านการปฏิบัติ ตามกฎ ระเบียบและนโยบายและข้อสรุป/ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบต่อการด�ำเนินการต่างๆ โดยรวม (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติม ในหมวด การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบในรอบปี 2560 และหมวด รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ) 1.20 นโยบายความขัดแย้งทางด้านผลประโยชน์ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ให้ ค วามส� ำคั ญ ในเรื่ อ งการจั ด การเกี่ ย วกั บ ความขัดแย้งในด้านผลประโยชน์ของผู้เกี่ยวข้อง ทั้งในระดับองค์กร ธุรกิจ และในระดับบุคลากรของบริษัทฯ อย่างรอบคอบ เป็นธรรม และโปร่ ง ใส รวมทั้ ง การก� ำ หนดนโยบายและแนวทางปฏิ บั ติ ที่ ดี เกี่ยวกับรายการผลประโยชน์ที่ขัดแย้ง และการก�ำหนดให้มีการเปิด เผยข้อมูลในเรื่องดังกล่าวอย่างครบถ้วน

(5) ในกรณีที่พนักงาน หรือบุคคลในครอบครัวเข้าไปมีส่วนร่วม หรือ เป็นผู้ถือหุ้นในกิจการใดๆ ซึ่งอาจมีผลประโยชน์ หรือก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางธุรกิจต่อบริษัทฯ จะต้องแจ้งให้ผู้บังคับบัญชา ทราบเป็นลายลักษณ์อักษร (6) พนักงานจะต้องไม่กู้ยืมเงินจากคู่ค้าที่บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจด้วย ยกเว้นสถาบันการเงิน เนื่องจากอาจมีอิทธิพลต่อการปฏิบัติหน้าที่ ในฐานะตัวแทนบริษัทฯ (7) หลี ก เลี่ ย งการเข้ า ไปเกี่ ย วข้ อ งกั บ กิ จ กรรมที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของบริษัทฯ หรือก่อภาระผูกพัน ทางการเงินในรูปแบบใดๆ กับผู้เกี่ยวข้องทางธุรกิจกับบริษัทฯ หรือพนักงานของบริษัทฯ เอง (8) ห้ามพนักงานจ่ายเงิน หรือทรัพย์สนิ ของบริษทั ฯ แก่ผใู้ ดโดยไม่ได้รบั อนุมัติจากผู้มีอ�ำนาจ (9) พนักงานทุกคนต้องอุทิศตนและเวลาให้แก่กิจการของบริษัทฯ อย่างเต็มที่ ในกรณีมคี วามจ�ำเป็นต้องท�ำงานอืน่ เพือ่ เพิม่ พูนรายได้ หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นนอกเวลาท�ำงาน งานนั้นต้อง 9.1 ไม่ ฝ ่ า ฝื น กฎหมาย หรื อ ขั ด ต่ อ ความสงบเรี ย บร้ อ ย และ ศีลธรรมอันดีของประชาชน 9.2 ไม่ขัดต่อผลประโยชน์ของบริษัทฯ 9.3 ไม่ประกอบกิจการที่เป็นการแข่งขัน หรือมีลักษณะเดียวกัน กับบริษัทฯ

ในกรณีทกี่ รรมการบริษทั รวมทัง้ ผูบ้ ริหารคนหนึง่ คนใดมีสว่ นได้สว่ นเสีย กับผลประโยชน์ของเรื่องที่ก�ำลังมีการพิจารณา ก็จะไม่เข้าร่วมประชุม 9.4 ไม่มีผลเสียถึงชื่อเสียง หรือกิจการของบริษัทฯ หรืองดออกเสียงในวาระนั้นๆ 9.5 ไม่เป็นการน�ำความลับของบริษัทฯ ไปใช้

9.6 ไม่เป็นการกระทบกระเทือนต่องานในหน้าที่ของตน

117


รายงานประจํ า ปี 2560

1.21 ความเป็นอิสระจากฝ่ายจัดการของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษั ท มี ค วามเป็ น อิ ส ระในการให้ ค วามเห็ น เกี่ ย วกั บ การท�ำงานของฝ่ า ยจั ด การ เพื่ อ ก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ บริ ษั ท ฯ และผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ บริษัทฯ มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการบริษัทและฝ่ายจัดการอย่างชัดเจน (โปรดดูรายละเอียด เพิ่มเติมในหมวด ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท และประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม) รวมทั้งมีกรรมการบริษัท (กรรมการอิสระ) ที่ไม่ได้เป็นกรรมการบริหาร จ�ำนวน 2 คน มีประสบการณ์ในกลุ่มธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และธุรกิจโรงพยาบาล โดยมีรายละเอียดดังนี้ ชื่อ

ปี พ.ศ.

ดำ�รงตำ�แหน่ง

บริษัท / โรงพยาบาล

1. นายอดุลย์ จันทนจุลกะ

2543 - 2545

กรรมการ

2. ศ.นพ.ปิยะมิตร ศรีธรา

2558 - ปัจจุบัน 2545 - 2558

คณบดี รองคณบดี

บริษัท ชลประทานซีเมนต์ จ�ำกัด (มหาชน) โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลรามาธิบดี

(5) นอกเหนือจากกฎหมายและข้อบังคับก�ำหนดไว้แล้ว คณะกรรมการ บริ ษั ท ยั ง มี อ� ำ นาจอนุ มั ติ เ รื่ อ งต่ า งๆ ตามที่ ก� ำ หนดไว้ ใ นกฎบั ต ร ของคณะกรรมการบริษัทดังนี้ (1) ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด ้ ว ยความรั บ ผิ ด ชอบ ความระมั ด ระวั ง และ ความซื่อสัตย์สุจริต รวมทั้งต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย (6) วั ต ถุ ป ระสงค์ ข้ อ บั ง คั บ บริ ษั ท ตลอดจนมติ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น เว้ น แต่ ใ นเรื่ อ งที่ ต ้ อ งได้ รั บ อนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ก่ อ น การด� ำ เนิ น การ เช่ น เรื่ อ งที่ ก ฎหมายก� ำ หนดให้ ต ้ อ งได้ รั บ มติ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ การท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันและการซือ้ หรือขาย สิ น ทรั พ ย์ ที่ ส� ำ คั ญ ตามกฎเกณฑ์ ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง (7) ประเทศไทย หรือตามทีห่ น่วยงานราชการอืน่ ๆ ก�ำหนด เป็นต้น และ มี ห น้ า ที่ ดู แ ลให้ บ ริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยปฏิ บั ติ ใ ห้ เ ป็ น ไปตาม กฎหมายต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การประกอบธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ และบริษทั ย่อย รวมทัง้ กฎหมายทีเ่ กีย่ วกับการห้ามจ่ายสินบน หรือ การสนับสนุนการทุจริตคอร์รัปชั่น 1.22 อ�ำนาจอนุมัติของคณะกรรมการ

(8) (3) พิจารณาอนุมัตินโยบายทางธุรกิจ รวมถึงวิสัยทัศน์ เป้าหมาย แผนการด�ำเนินงาน กลยุทธ์ทางธุรกิจ และงบประมาณประจ�ำปี ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย รวมถึงการควบคุมดูแล (Monitoring (9) and Supervision) การบริหารและการจัดการของฝ่ายบริหาร ให้เป็นไปตามนโยบาย แผนงานและงบประมาณที่ก�ำหนดไว้ อย่างมีประสิทธิภาพ (4) ติดตามผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ บริษัทย่อย และบริษัทร่วม อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามแผนการด� ำ เนิ น งานและ งบประมาณของบริษัทฯ และของบริษัทย่อย (2)

118

ก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ง านอย่ า งมี จ ริ ย ธรรม เช่ น จัดท�ำนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ตามหลักธรรมาภิบาล คูม่ อื จรรยาบรรณทางธุรกิจส�ำหรับกรรมการ ผู้บริหาร พนักงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อยรวมทั้ง เปิดเผย ให้รับทราบก�ำหนดให้ปฏิบัติตามและติดตามให้มีการปฏิบัติ

จัดให้มีการท�ำงบการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ณ วันสิ้นสุด รอบระยะเวลาบัญชีให้มคี วามถูกต้อง เพือ่ แสดงฐานะทางการเงิน และผลการด�ำเนินงานในรอบบัญชีทผี่ า่ นมาให้ตรงต่อความเป็นจริง ครบถ้วน และถูกต้อง เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรอง โดยทั่วไป และตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีก่อนที่จะน�ำเสนอต่อ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาและอนุมัติ จัดให้มีการท�ำรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ และรับผิดชอบต่อ การจัดท�ำและการเปิดเผยงบการเงินของบริษัทฯ เพื่อแสดงถึง ฐานะทางการเงินและผลการด�ำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา และ น�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาและอนุมัติ พิ จ ารณาอนุ มั ติ แ ต่ ง ตั้ ง บุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ แ ละไม่ มี ลั ก ษณะ ต้องห้ามตามที่ก�ำหนดในพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 และกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย รวมถึงประกาศข้อบังคับ และ/หรือ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท ในกรณีที่ต�ำแหน่ง กรรมการบริษัทว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากออกตามวาระ พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง หรื อ แก้ ไ ขเปลี่ ย นแปลง กรรมการอิ ส ระ โดยพิจารณาจากคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของกรรมการ อิ ส ระตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย ประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน รวมถึง ประกาศข้อบังคับ และ/หรือระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย หรือเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อพิจารณา แต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระของบริษัทฯ ต่อไป พิจารณาแต่งตั้งหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลง คณะกรรมการตรวจสอบ โดยมี คุ ณ สมบั ติ ต ามที่ ก ฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประกาศคณะกรรมการก�ำกับ ตลาดทุ น รวมถึ ง ประกาศข้ อ บั ง คั บ และ/หรื อ ระเบี ย บของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

(10) พิจารณาแต่งตั้งหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงกรรมการบริหาร โดยเลือก จากกรรมการบริษทั หรือผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ หรือบุคคลภายนอก พร้ อ มทั้ ง ก� ำ หนดขอบเขต อ�ำนาจหน้า ที่และความรับผิดชอบ ของกรรมการบริหาร

(20) พิจารณาอนุมัติการท�ำรายการได้มา หรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย เว้ น แต่ ร ายการดั ง กล่ า วจะต้ อ ง ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ ในการพิจารณาอนุมัติ ดังกล่าวจะเป็นไปตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และ/หรือประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือระเบียบที่เกี่ยวข้องของ (11) พิจารณาแต่งตั้งหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการชุดย่อย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อช่วยปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท (21) พิจารณาอนุมัติการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน ของบริษัทฯ และ (12) พิจารณาก�ำหนดและแก้ไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการผู้มีอ�ำนาจ บริ ษั ท ย่ อ ย เว้ น แต่ ร ายการดั ง กล่ า วจะต้ อ งได้ รั บ อนุ มั ติ จ าก ลงนามผูกพันบริษัทฯ และบริษัทย่อย ที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ ในการพิจารณาอนุมัติดังกล่าวจะเป็น ไปตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และ/หรือประกาศ (13) พิ จ ารณาเสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น เพื่ อ แต่ ง ตั้ ง กรรมการ ของบริ ษั ท ฯ และพิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง กรรมการของบริ ษั ท ย่ อ ย ข้ อ บั ง คั บ และ/หรื อ ระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้ อ งของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ โดยสอดคล้องกับสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทฯ ในบริษัทย่อย แห่ ง ประเทศไทย ก� ำ กั บ ควบคุ ม และป้ อ งกั น มิ ใ ห้ เ กิ ด ความ ดั ง กล่ า ว รวมทั้ ง พิ จ ารณาก� ำ หนดค่ า ตอบแทนของกรรมการ ขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ร ะหว่ า งผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ของบริ ษั ท ฯ และ ของบริษัทย่อย ดังกล่าว (14) แต่ ง ตั้ ง บุ ค คลอื่ น ใดให้ ด� ำ เนิ น กิ จ การของบริ ษั ท ฯ ภายใต้ การควบคุ ม ของคณะกรรมการบริ ษั ท หรื อ อาจมอบอ� ำ นาจ เพื่ อ ให้ บุ ค คลดั ง กล่ า วมี อ� ำ นาจ และ/หรื อ ภายในเวลาตามที ่ คณะกรรมการบริษทั เห็นสมควร ซึง่ คณะกรรมการบริษทั อาจยกเลิก เพิกถอน เปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขอ�ำนาจนั้นๆ ได้ ทั้งนี้ การมอบ อ�ำนาจตามขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ที่ก�ำหนดนั้น ต้องไม่มีลักษณะ เป็นการมอบอ�ำนาจหรือมอบอ�ำนาจช่วงที่ท�ำให้คณะกรรมการ บริหาร ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ และคณะอนุกรรมการชุดต่างๆ ดังกล่าวสามารถพิจารณาและอนุมตั ริ ายการทีอ่ าจมีความขัดแย้ง มีสว่ นได้เสียหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อนื่ ใดกับบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย ยกเว้นเป็นการอนุมตั ริ ายการทีเ่ ป็นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการพิจารณา และอนุมัติไว้แล้ว (15) พิจารณาก�ำหนดโครงสร้างองค์กร และโครงสร้างการบริหารงาน

(22) พิจารณาอนุมัติการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลให้แก่ผู้ถือ หุ้น เมื่อเห็นว่าบริษัทฯ มีก�ำไรพอสมควรที่จะท�ำเช่นนั้น และรายงาน การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทราบในการประชุม ผู้ถือหุ้นคราวต่อไป (23) ด�ำเนินการให้มีการเผยแพร่ข้อมูลที่เหมาะสมและมีการเปิดเผย ข้อมูลให้แก่ผมู้ สี ว่ นได้เสีย บุคคลผูม้ คี วามขัดแย้งทางผลประโยชน์ และผูท้ เี่ กีย่ วข้องอย่างถูกต้อง ครบถ้วน เหมาะสม และตรงต่อเวลา (24) ขอความเห็นทางวิชาชีพจากองค์กรภายนอก หากมีความจ�ำเป็น เพื่อประกอบการตัดสินใจที่เหมาะสม (25) ก�ำกับดูแลบริษัทย่อยเสมือนหน่วยงานหนึ่งของบริษัทฯ และ ควบคุมดูแลบริษัทย่อยให้ปฏิบัติตามข้อบังคับของบริษัทย่อย อย่างเคร่งครัด

1.23 การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท (16) พิจารณาแต่งตัง้ เลขานุการบริษทั พร้อมทัง้ ก�ำหนดขอบเขตอ�ำนาจ (ทั้งคณะและรายบุคคล) และคณะกรรมการชุดย่อยทุกชุด หน้าที่และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท บริษัทฯ ก�ำหนดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ (17) พิจารณาคัดเลือกและให้ความเห็นชอบการเสนอรายชื่อผู้สอบ บริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยประเมิน บัญชีของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย และพิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทน การปฏิบัติงานของคณะกรรมการทั้งคณะและรายบุคคล เพื่อประโยชน์ ที่เหมาะสม ตามที่คณะกรรมการตรวจสอบน�ำเสนอ ก่อนน�ำเสนอ ต่อการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทโดยรวม และยังแสดงถึง ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญประจ�ำปี เพื่อพิจารณา ประเด็นส�ำคัญทีค่ ณะกรรมการบริษทั เชือ่ ว่าจะท�ำประโยชน์ให้แก่บริษทั ฯ และอนุมัติ ได้มากกว่าที่เป็นอยู่ จุดประสงค์ของการประเมินผลการปฏิบัติงานนี ้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการ (18) ด� ำ เนิ น การให้ บ ริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยมี ร ะบบงานทางบั ญ ชี ชุดย่อย รวมถึงน�ำผลไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงการปฏิบัติหน้าที่ ทีเ่ หมาะสม และมีประสิทธิภาพ มีการรายงานทางการเงินทีน่ า่ เชือ่ ถือ ของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยอีกด้วย มี ร ะบบการควบคุ ม ภายใน และระบบการตรวจสอบภายใน ที่ เ พี ย งพอและเหมาะสม และมี ร ะบบจั ด เก็ บ เอกสารที่ ท� ำ ให้ กระบวนการในการประเมินผลงาน สามารถตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลได้ในภายหลัง (1) คณะกรรมการบริษัท (ทั้งคณะและรายบุคคล) (19) พิ จ ารณาอนุ มั ติ น โยบายด้ า นการบริ ห ารความเสี่ ย ง (Risk Management) ให้ครอบคลุมทั้งองค์กร และก�ำกับดูแลให้ม ี (2) คณะกรรมการชุดย่อย กระบวนการในการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อลดผลกระทบ ต่อธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทย่อยอย่างเหมาะสม

119


รายงานประจํ า ปี 2560

บริ ษั ท ฯ ก� ำ หนดนโยบายและกระบวนการในประเมิ น ผลงานของ ในการประเมิ น ผลปฏิ บั ติ ง านคณะกรรมการบริ ษั ท (ทั้ ง คณะและ คณะกรรมการบริษัท (ทั้งคณะและรายบุคคล) รวมทั้งคณะกรรมการ รายบุคคล) และคณะกรรมการชุดย่อย มีหัวข้อพิจารณาหลัก ได้แก่ ชุดย่อย ดังนี้ - โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 1. ในทุ ก สิ้ น ปี ส ่ ว นงานเลขานุ ก ารบริ ษั ท และส่ ว นงานเลขานุ ก าร คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย ได้ แ ก่ คณะกรรมการตรวจสอบ - บทบาท/หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ คณะกรรมการ - การประชุมคณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการบริหาร จัดส่งแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน - การสือ่ สารและการประสานงานระหว่างคณะกรรมการชุดย่อย ของคณะกรรมการบริ ษั ท (ทั้ ง คณะและรายบุ ค คล) และ และคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย เพื่อประเมินผลงานประจ�ำปี - การปฏิบัติหน้าที่ให้สอดคล้องกับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี 2.

ภายหลังจากที่คณะกรรมการบริษัท (ทั้งคณะและรายบุคคล) และคณะกรรมการชุดย่อย ประเมินผลงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็ จั ด ส่ ง แบบประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านกลั บ มายั ง ส่ ว นงาน เลขานุการบริษทั และเลขานุการคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะ เพื่ อ รวบรวมผลประเมิ น ของกรรมการแต่ ล ะคนและสรุ ป ผล การประเมินของคณะกรรมการบริษัท (ทั้งคณะและรายบุคคล) และคณะกรรมการชุดย่อยเพื่อรายงานให้คณะกรรมการบริษัท และ/หรือคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะรับทราบ

- สรุปความเห็นโดยรวม

ภาพรวมผลการประเมินเฉลี่ยของคณะกรรมการบริษัท (ทั้งคณะและ รายบุคคล) และคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะ 1. คณะกรรมการบริ ษั ท (ทั้ ง คณะ) ผลการประเมิ น ในปี 2560 ได้คะแนนร้อยละ 91.95 อยู่ในเกณฑ์ ดีมาก - ดีเยี่ยม

2. คณะกรรมการบริษัท (รายบุคคล) ผลการประเมินในปี 2560 3. คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนจะรวบรวม ได้คะแนนร้อยละ 89.49 อยู่ในเกณฑ์ดีมาก - ดีเยี่ยม ผลประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท (ทั้งคณะและ 3. คณะกรรมการบริหาร ผลการประเมินในปี 2560 ได้คะแนนร้อยละ รายบุคคล) และคณะกรรมการชุดย่อย เพื่อน�ำมาเป็นส่วนหนึ่ง 85.09 อยู่ในเกณฑ์ ดี ในการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการบริษัทต่อไป 4. คณะกรรมการตรวจสอบ ผลการประเมินในปี 2560 คะแนน หลักเกณฑ์การประเมินผลงาน ร้อยละ 98.68 อยู่ในเกณฑ์ ดีมาก - ดีเยี่ยม (1) คณะกรรมการบริษัทฯ (ทั้งคณะและรายบุคคล) 5. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ ผลการประเมิน ในปี 2560 คะแนนร้อยละ 94.29 อยู่ในเกณฑ์ ดีมาก - ดีเยี่ยม (2) คณะกรรมการชุดย่อย 6. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ผลการประเมิน ในปี 2560 คะแนนร้อยละ 95.08 อยู่ในเกณฑ์ ดีมาก - ดีเยี่ยม

บริษทั ฯ ได้นำ� ตัวอย่างแบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ บริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มาปรั บ ใช้ และมี ก ารปรั บ ปรุ ง หลั ก เกณฑ์ ก ารประเมิ น ผลงานให้ สอดคล้องกับโครงสร้างของคณะกรรมการ โดยมีรายละเอียดดังนี้

7. คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ผลการประเมินในปี 2560 คะแนน ร้อยละ 97.86 อยู่ในเกณฑ์ ดีมาก - ดีเยี่ยม

การให้คะแนน

1.24 การจัดท�ำแผนการพัฒนาคณะกรรมการบริษัท

-

คะแนนที่ได้รับร้อยละ 85 - 100 หมายถึง ดีมาก - ดีเยี่ยม

-

คะแนนที่ได้รับร้อยละ 75 - 85 หมายถึง ดี

-

คะแนนที่ได้รับร้อยละ 65 - 75 หมายถึง ค่อนข้างดี

-

คะแนนที่ได้รับร้อยละ 50 -65 หมายถึง พอสมควร

-

คะแนนที่ได้รับต�่ำกว่า 50 หมายถึง ควรปรับปรุง

นอกเหนือจากการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท (ทั้งคณะและรายบุคคล) แล้ว บริษัทฯ เล็งเห็นว่า เพื่อให้การท�ำหน้าที่ ของคณะกรรมการบริ ษั ท ซึ่ ง ถื อ เสมื อ นเป็ น ตั ว แทนของผู ้ ถื อ หุ ้ น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด ตามแผนการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ และ บริษัทย่อย ดังนั้น บริษัทฯ จึงมอบหมายให้ Mckinsey & Company ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาของบริษัทฯ ช่วยดูแลจัดท�ำแผนการพัฒนา คณะกรรมการบริษัท ซึ่งที่ปรึกษาของบริษัทฯ ได้ด�ำเนินการจัดท�ำ Board Effectiveness Survey จ�ำนวน 2 ครั้ง ต่อปี และรายงานผล การส�ำรวจให้ทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั รับทราบ เพือ่ น�ำผลดังกล่าว มาประกอบการจัดท�ำแผนการพัฒนาของคณะกรรมการบริษัทต่อไป

การประเมินผลปฏิบัติงาน 1. คณะกรรมการบริษัท (ทั้งคณะและรายบุคคล) 2. คณะกรรมการชุดย่อย

120


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

สรุปสาระส�ำคัญจากการส�ำรวจปี 2560

ต่อไป ทั้งนี้ คะแนนการประเมินผลดังกล่าวถือเป็นข้อมูลลับเฉพาะ บุคคล บริษัทฯ จึงไม่สามารถน�ำมาเปิดเผยได้

(1) Board Effectiveness ปี 2560 เปรียบเทียบกับปี 2559 มีการ (1) พัฒนาขึ้นทั้งสามด้าน คือ 1.1 คุ ณ สมบั ติ ข องคณะกรรมการบริ ษั ท (Board Platfore) (ปี 2559 ร้อยละ 76 - ปี 2560 ร้อยละ 90) ได้แก่ - องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการ ชุดย่อย

กรรมการอิสระจะประเมินผลการปฏิบตั งิ านของประธานเจ้าหน้าที่ บริหารกลุม่ ในด้านพฤติกรรมภาวะผูน้ ำ � (Leadership Behaviors) โดยมีหลักเกณฑ์ ดังนี้ 1.1 การก�ำกับดูแลกิจการ (Corporate Governance) 1.2 วัฒนธรรมและค่านิยมพฤกษา (Pruksa Culture and Values)

- ความสอดคล้องของบทบาทคณะกรรมการบริษัท

1.3 การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning)

- การให้เวลากับงานคณะกรรมการบริษัท

1.4 การแก้ไขปัญหา (Problem-solving)

- พลวัตของทีมคณะกรรมการบริษัท

1.5 ความรับผิดชอบในการปฏิบตั งิ าน (Holding Accountability)

- ความรู้ของคณะกรรมการบริษัท

1.6 การสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovation)

1.2 กิ จ กรรมของคณะกรรมการบริ ษั ท (Board Activities) (ปี 2559 ร้อยละ48 - ปี 2560 ร้อยละ 73) ได้แก่ - บทบาท ของคณะกรรมการบริษัทด้านยุทธศาสตร์ ด้านการลงทุน และควบรวม/เข้าซื้อกิจการ

1.7 การพัฒนาพนักงาน (Developing People)

- บทบาทของคณะกรรมการบริ ษั ท ในการบริ ห ารผลการ ปฏิบัติงาน

1.10 การสร้างแรงจูงใจและโน้มน้าวผู้อื่น (Motivating and Influencing Others)

- บทบาทของคณะกรรมการบริ ษั ท ในการบริ ห ารจั ด การ (2) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะประเมินผล คนเก่ง การปฏิบตั งิ านของประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ โดยมีหลักเกณฑ์ ดังนี้ - บทบาทของคณะกรรมการบริษัทในการบริหารความเสี่ยง

1.3 การปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการบริ ษั ท (Board Performance) (ปี 2559 ร้อยละ 46 - ปี 2560 ร้อยละ 83) ได้แก่

2.1 ผลการประเมินพฤติกรรมด้านภาวะผู้น�ำ (Leadership Behaviors) ของกรรมการอิสระ

- บทบาทในการรักษาผลประโยชน์ผู้ถือหุ้น

- ผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ

2.3 การด� ำ เนิ น งานตามนโยบายที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท

- สุขภาพองค์กร

2.4 การปฏิบัติหน้าที่ให้สอดคล้องกับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี

อย่างไรก็ตาม Mckinsey & Company ที่ปรึกษาของบริษัท ได้ให้ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมว่า บริษัทฯ สามารถวางแผนเพื่อพัฒนาคณะ กรรมการบริษัทให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นได้ในเรื่อง Board Role in Strategy, Board’s Role in investment เป็นต้น 1.25 การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารสูงสุด (ประธาน เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม) ในทุกสิ้นปีบริษัทฯ จะก�ำหนดให้กรรมการอิสระของบริษัทฯ ทุกคน ประเมิ น พฤติ ก รรมด้ า นภาวะผู ้ น� ำ (Leadership Behaviors) ของผู้บริหารสูงสุด (ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม) ก่อนในเบื้องต้น และภายหลั ง จากนั้ น ฝ่ า ยจั ด การจะน� ำส่ ง ผลการประเมิ น ดั ง กล่ า ว ให้ แ ก่ ค ณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน เพื่ อ น� ำ ไป ประกอบการพิจารณาประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารสูงสุด

1.8 การพัฒนาทีมงาน (Team Building) 1.9 ผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง (Leading Change)

2.2 ผลการด�ำเนินงานทางธุรกิจของบริษัทฯ

1.26 นโยบายค่าตอบแทนของประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม การจ่ายค่าตอบแทนให้แก่ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม ทั้งระยะสั้น และระยะยาวนั้ น บริ ษั ท ฯ มี ขั้ น ตอนการพิ จ ารณาอย่ า งโปร่ ง ใส และเป็นธรรม โดยคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เป็ น ผู ้ ก� ำ หนดหลั ก เกณฑ์ แ ละนโยบายในการก� ำ หนดค่ า ตอบแทน ของประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มและผู้บริหารระดับสูงในทุกๆ ปี รวมทัง้ ประเมินผลการท�ำงานด้วย ทัง้ นี้ ในการก�ำหนดนโยบายค่าตอบแทน ทั้งระยะสั้นและระยะยาวนั้น จะพิจารณาจากคะแนนการประเมินผล การปฏิบัติงาน ผลการด�ำเนินงานทางธุรกิจของบริษัทฯ การด�ำเนิน งานตามนโยบายที่ไ ด้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท การ ปฏิบัติหน้าที่ให้สอดคล้องกับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และแนวปฏิบัต ิ ของกลุ ่ ม ธุ ร กิ จ ใหญ่ ๆ เพื่ อ เป็ น แรงจู ง ใจและรั ก ษาบุ ค ลากรส� ำ คั ญ เพื่อดึงดูดให้ท�ำงานกับบริษัทฯ ต่อไปในระยะยาว

121


รายงานประจํ า ปี 2560

ค่ า ตอบแทนรวมของประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารกลุ ่ ม และผู ้ บ ริ ห าร 1.31 กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารและมีประสบการณ์การท�ำงาน ระดับสูง จ�ำนวน 2 คน เท่ากับ 9,451,885.69 บาท ซึ่งประกอบด้วย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ เงินเดือน/ค่าแรง โบนัส เงินสะสมกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ และเงินได้อนื่ ๆ บริ ษั ท ฯ มี ก รรมการที่ ไ ม่ เ ป็ น ผู ้ บ ริ ห ารและมี ป ระสบการณ์ ท� ำ งาน ค่าตอบแทนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ คือ เพื่อเป็นการรักษาบุคลากรส�ำคัญให้ท�ำงานกับบริษัทฯ ในระยะยาว และสร้างผลการด�ำเนินงานให้แก่บริษัทฯ เติบโตอย่างยั่งยืน ดังนั้น คณะกรรมการบริษทั จึงก�ำหนดนโยบายจ่ายค่าตอบแทนในรูปแบบอืน่ ๆ ที่ไม่เป็นตัวเงิน เช่น ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ (ESOP), โครงการร่วมทุนระหว่างนายจ้างและลูกจ้างของบริษัทฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย (EJIP) (โปรดดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ในหมวด การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารกลุ ่ ม และหมวด ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร) 1.27 โครงสร้างค่าตอบแทนของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร

ดำ�รง บริษัท / ตำ�แหน่ง โรงพยาบาล 1. นายอดุลย์ 2543 - 2545 กรรมการ บริษัท จันทนจุลกะ ชลประทาน ซีเมนต์ จ�ำกัด (มหาชน) 2. ศ.นพ.ปิยะมิตร 2558 - ปัจจุบัน คณบดี โรงพยาบาล ศรีธรา รามาธิบดี 2545 - 2558 รองคณบดี โรงพยาบาล รามาธิบดี ชื่อ

ปี พ.ศ.

คณะกรรมการบริษัทได้เปิดเผยโครงสร้างค่าตอบแทนของกรรมการ ที่ไม่เป็นผู้บริหารไว้ โดยโครงสร้างค่าตอบแทนดังกล่าวจะต้องได้รับ ความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการบริ ษั ท และน� ำ เสนอต่ อ ผู ้ ถื อ หุ ้ น 1.32 การกระท� ำ ผิ ด กฎระเบี ย บของส� ำ นั ก งานคณะกรรมการ พิจารณาอนุมตั ใิ นการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี (โปรดดูรายละเอียด ก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย เพิ่มเติมในหมวด ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร) คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มี น โยบายที่ จ ะด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ ถู ก ต้ อ งตาม 1.28 ค่าตอบแทนของกรรมการบริหาร/ผู้บริหารระดับสูง กฎหมาย ข้อบังคับบริษัทฯ ข้อก�ำหนดของส�ำนักงานคณะกรรมการ ในการพิจารณาค่าตอบแทนของกรรมการบริหารจะต้องได้รับความ ก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง เห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทและน�ำเสนอต่อผู้ถือหุ้นพิจารณา ประเทศไทย ฯลฯ ดังนัน้ ในปีทผี่ ่านมาบริษัทฯ จึงไม่มีประวัติการกระท�ำ อนุมัติในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี ส่วนค่าตอบแทนผู้บริหาร ผิดกฎหมายดังกล่าวและกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องแต่อย่างใด ระดับสูงนั้น คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะเป็นผู้ พิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนที่เหมาะสม ทั้งที่เป็นรูปแบบตัวเงินและ 1.33 การจัดท�ำแผนสืบทอดต�ำแหน่งผู้บริหารสูงสุด มิใช่ตัวเงิน เพื่อจูงใจและรักษาบุคคลากรที่มีคุณภาพให้ท�ำงานกับ ในกรณีที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม ซึ่งเป็นผู้บริหารสูงสุดของ บริษัทฯ ในระยะยาว เช่น ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของ บริษัทฯ ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ บริษัทฯ ได้ก�ำหนดให้มีการจัดท�ำ บริษัทฯ (ESOP), โครงการร่วมทุนระหว่างนายจ้างและลูกจ้างของ แผนสื บ ทอดงานในต� ำ แหน่ ง ดั ง กล่ า ว (Sucession Plan) บริษัทฯ และบริษัทย่อย (EJIP) (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหมวด โดยคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร) ค่ า ตอบแทนจะเตรี ย มความพร้ อ มส� ำ หรั บ บุ ค คลที่ เ ป็ น ผู ้ สื บ ทอด ต�ำแหน่ง (Sucessor) ในด้านความรู้ ความสามารถ ทักษะจ�ำเป็น 1.29 บทบาทหน้าที่ของประธานกรรมการ ทีย่ งั ขาดอยู่ และแผนพัฒนารายบุคคล รวมทัง้ ยังต้องพิจารณาควบคูก่ บั คณะกรรมการได้ ก� ำ หนดและเปิ ด เผยบทบาทหน้ า ที่ ข องประธาน ผลการปฏิบัติงาน วิสัยทัศน์ และประสบการณ์ที่เหมาะสมกับบริษัทฯ กรรมการไว้ (โปรดดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ในหมวด บทบาทหน้ า ที ่ เพื่ อ สื บ ทอดงานในต� ำ แหน่ ง ดั ง กล่ า ว และน� ำ เสนอคณะกรรมการ ของประธานกรรมการบริษัท) บริษัท และ/หรือ ผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติให้ด�ำรงต�ำแหน่งแทนต่อไป 1.30 การเสนอแต่ ง ตั้ ง และเลิ ก จ้ า งผู ้ ส อบบั ญ ชี ภ ายนอก/ 1.34 หลักเกณฑ์และกระบวนการในการแต่งตั้งกรรมการและ ผู้ตรวจสอบภายใน ผู้บริหารระดับสูงใหม่ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ มีอ�ำนาจหน้าที่พิจารณา คัดเลือก ในกรณีที่กรรมการและผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ ว่างลง บริษัทฯ เสนอแต่ ง ตั้ ง และเลิ ก จ้ า งผู ้ ส อบบั ญ ชี ภ ายนอก เพื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น มีหลักเกณฑ์และกระบวนการในการสรรหากรรมการและผู้บริหาร ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ รวมทั้งมีบทบาทหน้าที่ในการเสนอแต่งตั้ง ระดับสูงอย่างโปร่งใส คือ โยกย้ายและเลิกจ้างผู้ตรวจสอบภายในของบริษัทฯ อีกด้วย

122


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

หลักเกณฑ์ในการแต่งตั้งกรรมการและผู้บริหารระดับสูงใหม่ (1)

คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน จะท�ำหน้าที ่ ในการพิจารณาสรรหากรรมการ และผู้บริหารระดับสูงคนใหม่ โดยมี ห ลั ก เกณฑ์ คื อ จะพิ จ ารณาจากคุ ณ สมบั ติ ความรู ้ ความสามารถ ประสบการณ์ ใ นการท� ำ งาน ทั ก ษะจ� ำ เป็ น ที่ ยั ง ขาดอยู ่ ใ นคณะกรรมการบริ ษั ท และผู ้ บ ริ ห าระดั บ สู ง โดยไม่ จ� ำ กั ด เพศ และพร้ อ มอุ ทิ ศ เวลาเพื่ อ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อย่างเต็มที่

(2) ไม่ มี ลั ก ษณะต้ อ งห้ า มตามกฎหมายและหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ล กิจการที่ดี กระบวนการในการแต่งตั้งกรรมการและผู้บริหารระดับสูงใหม่ (1)

ในการแต่งตั้งกรรมการของบริษัทฯ นั้น ส่วนหนึ่งจะพิจารณา จากฐานข้อมูลกรรมการ (Director Pool) หรือบริษัทที่ปรึกษา แล้ ว แต่ ก รณี (Professional Search Firm) เพื่ อ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความหลากหลายในโครงสร้างของคณะกรรมการ

(2)

จัดท�ำ Board Skill Matrix เพื่อก�ำหนดคุณสมบัติของกรรมการ ที่ ต ้ อ งการสรรหา โดยพิจารณาจากทัก ษะจ�ำเป็นที่ยังขาดอยู ่ ในคณะกรรมการและกลยุท ธ์ในการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ เช่น หากบริษัทฯ มีกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจใหม่ที่นอกเหนือ จากธุรกิจเดิมที่ด�ำเนินการอยู่ การสรรหากรรมการก็จ�ำเป็นต้อง สรรหาผู ้ มี คุ ณ สมบั ติ แ ละประสบการณ์ ใ ห้ ต รงกั บ ธุ ร กิ จ ใหม่ ที่บริษัทฯ จะด�ำเนินการต่อไป

ทั้งนี้ การแต่งตั้งกรรมการเข้าใหม่ไม่ได้ส่งผลให้จ�ำนวนกรรมการ ของบริษัทฯ ขัดต่อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และข้อบังคับบริษัทฯ

1.35 ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร บริษัทฯ ก�ำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และขั้นตอนการเสนอค่าตอบแทน กรรมการแต่ละต�ำแหน่งในระดับทีเ่ หมาะสมจูงใจพอทีจ่ ะรักษากรรมการ ที่มีคุณภาพไว้ ซึ่งแบ่งเป็นสองส่วน คือ ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินและ ค่าตอบแทนอื่นๆ ได้แก่ค่าตอบแทนประจ�ำ ค่าตอบแทนรายเดือน เบี้ยประชุม เงินรางวัลกรรมการ (โบนัส) และเงินผลประโยชน์พิเศษ อื่นๆ (ค่าวิทยากรบรรยายในกิจกรรมต่างๆ ของบริษัทฯ และอื่นๆ) ไว้อย่างชัดเจน และโปร่งใส โดยพิจารณาเทียบเคียงกับบริษัทชั้นน�ำ ซึ่ ง อยู ่ ใ นกลุ ่ ม ธุ ร กิ จ เดี ย วกั น หรื อ นอกกลุ ่ ม ธุ ร กิ จ ข้ อ มู ล จากสถาบั น กรรมการบริษัทไทย แผนการประชุมของคณะกรรมการแต่ละคณะ รวมถึงการขยายตัวทางธุรกิจ และการเติบโตของผลก�ำไรของบริษัทฯ โดยมีคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เป็นผู้พิจารณา กลั่ น กรองเป็ น รายปี และเสนอ ค่ า ตอบแทนกรรมการในแต่ ล ะปี ให้ผถู้ อื หุน้ พิจารณาอนุมตั ิ กรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารจะได้รบั ค่าตอบแทน ในฐานะผู้บริหารเท่านั้น ค่าตอบแทนผู้บริหารแต่ละท่าน จะเชื่อมโยง กับผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ และผลการปฏิบัติงานของผู้บริหาร แต่ละท่าน 1.36 การประชุมของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร

คณะกรรมการบริษัทก�ำหนดให้กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารมีการประชุม กันเองตามความเหมาะสมเป็นประจ�ำในทุกปี โดยในการประชุมดังกล่าว จะไม่มกี รรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร หรือฝ่ายบริหารเข้าร่วมในการประชุมด้วย (3) ในกรณีที่คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนเห็นว่า เพื่อจะเปิดโอกาสให้กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารได้อภิปรายปัญหาต่างๆ บริษทั ฯ ยังขาดผูม้ คี วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์เฉพาะด้าน ทั้งที่เกี่ยวกับธุรกิจของบริษัทฯ เช่น กลยุทธ์การบริหารงาน แนวทาง เรือ่ งใดเพิม่ เติมอีก คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน การเติบโตอย่างยั่งยืน หรือเรื่องอื่นๆ ที่อยู่ในความสนใจ ก็จะสรรหากรรมการเพิ่มเติม เพื่อมาช่วยงานบริษัทฯ ทั้งนี้ในปี 2560 ที่ผ่านมา มีการประชุมของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร

(4) คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนน� ำ เสนอชื่ อ รวม 1 ครั้ง คือ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2560 และที่ประชุมได้ร่วมกัน กรรมการ และผูบ้ ริหารระดับสูงคนใหม่ตอ่ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการ พิจารณา และอภิปรายปัญหาส�ำคัญต่างๆ รวมทั้งแนวทางแก้ไข ดังนี้ บริษัท และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น พิจารณาอนุมัติแล้วแต่กรณี 1. การวางแผนรับมือกับเหตุการณ์ต่างๆ หากเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ 4.1) จากการปรับโครงสร้างกิจการในลักษณะของบริษัทโฮลดิ้ง 2. หลักในการก�ำหนด Incentive ให้กับ SBU ส�ำหรับปี 2561 และมี ก ารขยายการลงทุ น ไปยั ง ธุ ร กิ จ ใหม่ คื อ ธุ ร กิ จ โรงพยาบาล ดังนั้น ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/ 3. การวัด Corporate performance evaluation 2560 เมื่ อ วั น ที่ 16 กุ ม ภาพั น ธ์ 2560 จึ ง มี ม ติ แ ต่ ง ตั้ ง ศ.นพ.ปิยะมิตร ศรีธรา เป็นกรรมการเข้าใหม่ของบริษัทฯ 4. การน�ำเสนอเรือ่ งยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ตอ่ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการ เนือ่ งจากเป็นผูม้ คี วามรู้ ความสามารถ รวมทัง้ มีประสบการณ์ บริษัทเพื่อพิจารณาให้มากยิ่งขึ้น ในวิชาชีพ และการบริหารโรงพยาบาล สามารถช่วยงาน 5. การลงทุนในธุรกิจอื่นๆ เพื่อก่อให้เกิดรายได้แก่บริษัทฯ บริษัทฯ ได้เป็นอย่างมาก 6. การเอาใจใส่ดูแลพนักงาน และการพัฒนาพนักงานอย่างต่อเนื่อง 4.2) ที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ� ำ ปี 2560 เมื่ อ วั น ที่ 27 โดยเฉพาะพนักงานระดับจูเนียร์ เมษายน 2560 ได้ มี ม ติ แ ต่ ง ตั้ ง นายประเสริ ฐ แต่ดลุ ยสาธิต เป็นกรรมการเข้าใหม่ของบริษทั ฯ เนือ่ งจาก 1.37 การไปด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการที่บริษัทจดทะเบียนอื่นของ เป็ น ผู ้ มี ค วามรู ้ ความสามารถ และมี ประสบการณ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม ด้านการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สามารถช่วยงานบริษัทฯ บริ ษั ท ฯ ก� ำ หนดให้ ป ระธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารกลุ ่ ม ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ได้เป็นอย่างมาก ในบริษัทจดทะเบียนได้เพียง 1 บริษัทเท่านั้น คือ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

123


รายงานประจํ า ปี 2560

1.38 การด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการในบริ ษั ท จดทะเบี ย นของ 1.44 การแต่งตั้งเลขานุการบริษัท กรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งนายไพศาล ร�ำพรรณ์ ด�ำรงต�ำแหน่ง เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการ เป็นเลขานุการบริษัท โดยมีคุณวุฒิการศึกษาด้านกฎหมายโดยตรง บริ ษั ท ทุ ก คนจึ ง ด�ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการในบริ ษั ท จดทะเบี ย นต่ า งๆ เพื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ ใ ห้ ค� ำ แนะน� ำ ด้ า นกฎหมายและกฎเกณฑ์ ต ่ า งๆ ไม่ เ กิ น 5 บริ ษั ท เพื่ อ จะได้ ส ามารถอุ ทิ ศ เวลาในการปฏิ บั ติ ง าน ที่คณะกรรมการต้องทราบ, สนับสนุนการท�ำหน้าที่ของคณะกรรมการ ได้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ แ ละมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้ ง ยั ง สามารถให้ ข ้ อ เสนอ บริษัทเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อบริษัทฯ ผู้ถือหุ้น ตลอดจน แนะ และค�ำแนะน�ำต่างๆ แก่ฝ่ายจัดการในการบริหารงานให้บรรลุ ผู้เกี่ยวข้องทั้งหลาย, ดูแลกิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมการทั้งภายใน ผลส�ำเร็จตามเป้าหมายที่บริษัทฯ ก�ำหนดไว้ด้วย และภายนอกบริ ษั ท ฯ อาทิ เ ช่ น การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ พันธกิจและกลยุทธ์ขององค์กร, การให้ค�ำปรึกษาแก่ผู้บริหารระดับสูง, 1.39 ระยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการอิสระ Board Off Site, การศึ ก ษาดู ง าน, การอบรมสั ม มนา ฯลฯ และ ปัจจุบันกรรมการอิสระของบริษัทฯ ทุกคนด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการใน ประสานงานให้ฝ่ายจัดการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการอย่างครบถ้วน บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ไม่เกินกว่า 6 ปี (โปรดดูราย นอกจากนั้นแล้วเลขานุการบริษัทยังได้ผ่านการอบรมหลักสูตรต่างๆ ที่ช่วยสนับสนุนการท�ำหน้าที่ของตนเองอีก อาทิเช่น ละเอียดเพิ่มเติมในหมวด ประวัติกรรมการและผู้บริหาร) 1.40 การเปิดเผยรายชื่อกรรมการอิสระของบริษัทฯ

(1) หลักสูตร Company Secretary Program - CSP รุ่น 27/2551

บริษัทฯ ได้เปิดเผยรายชื่อของคณะกรรมการทั้งคณะ ณ สิ้นปี ไว้ใน (2) หลักสูตร Effective Minute Taking - EMT รุ่น 13/2552 รายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ และหากกรรมการคนใดเป็นกรรมการ (3) Board Reporting Program - BRP รุ่น 3/2553 อิสระ บริษัทฯ ก็จะเปิดเผยรายชื่อกรรมการท่านนั้นไว้อย่างชัดเจนด้วย (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหมวด โครงสร้างการจัดการ และหมวด (4) CGR Workshop ปี 2560 คณะกรรมการบริษัท) อนึ่ ง บริ ษั ท ฯ ได้ เ ปิ ด เผยข้ อ มู ล และบทบาทหน้ า ที่ ข องเลขานุ ก าร นอกจากนั้นบริษัทฯ ยังได้เปิดเผยรายชื่อคณะกรรมการบริษัท และ บริษัทไว้แล้ว ในเรื่อง โครงสร้างการจัดการ หมวด เลขานุการบริษัท กรรมการอิ ส ระของบริ ษั ท ฯ (ล่ า สุ ด ) พร้ อ มรายละเอี ย ดข้ อ มู ล ของ นอกจากนั้นแล้วผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียสามารถติดต่อเลขานุการ กรรมการแต่ละท่านไว้บนเว็บไซด์ของบริษัทฯ ที่ www.psh.co.th บริษัทโดยตรงได้ที่ หมวด คณะกรรมการบริษัท อีกด้วย (1) นายไพศาล ร�ำพรรณ์ 1.41 การเป็นพนักงาน หรือหุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอก บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 1177 อาคารเพิร์ล แบงก์ค็อก ชั้น 24 ถนนพหลโยธิน ในช่ ว ง 2 ปี ที่ ผ ่ า นมา กรรมการและผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของบริ ษั ท ฯ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10800 ไม่ได้เป็นพนักงาน หรือหุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกที่บริษัทฯ ใช้บริการอยู่แต่อย่างใด (2) โทรศัพท์ 02-0801739 ต่อ 48010 / โทรสาร 02-0801700 1.42 การด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการในบริ ษั ท จดทะเบี ย นของ (3) E-mail : paisarl_r@pruksa.com กรรมการอิสระ (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหมวด เลขานุการบริษัท และหมวด กรรมการอิสระของบริษัทฯ ไม่ได้ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการในบริษัท ประวัติของเลขานุการบริษัท) จดทะเบียนมากกว่า 5 แห่ง (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหมวด 1.45 การเข้ า ร่ ว มเป็ น แนวร่ ว มปฏิ บั ติ ข องภาคเอกชนไทยใน ประวัติกรรมการและผู้บริหาร) การต่อต้านการทุจริต 1.43 การด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการในบริ ษั ท จดทะเบี ย นของ บริษัทฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 1 ธั น วาคม 2559 โดยบริ ษั ท ฯ ยึ ด มั่ น ที่ จ ะด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ยความ กรรมการที่เป็นผู้บริหารของบริษัทฯ ไม่ได้ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการ ซื่อสัตย์ โปร่งใส และไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทุจริตคอร์รัปชั่น ในบริษัทจดทะเบียนอื่นที่อยู่นอกกลุ่มธุรกิจมากกว่า 2 แห่ง (โปรดดู บริษัทฯ มีนโยบายรณรงค์ให้พนักงาน และผู้บริหาร ต่อต้านทุจริต รายละเอียดเพิ่มเติมในหมวด ประวัติกรรมการและผู้บริหาร) คอร์รัปชั่น โดยแสดงให้เห็นว่าการทุจริตมีผลร้ายแรงต่อคุณภาพบ้าน การให้บริการลูกค้า และการด�ำเนินงานต่างๆ ภายในบริษทั ฯ ซึง่ พนักงาน

124


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

คนใดที่พบเบาะแสการทุจริต การคอร์รัปชั่น การมีส่วนได้เสียในงาน เพือ่ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ มีสทิ ธิเลือกกรรมการทีต่ อ้ งการได้อย่างแท้จริง หรือการเรียกร้องค่าตอบแทนก็ตาม พนักงานจะสามารถร้องเรียน/ สิทธิในการพิจารณาค่าตอบแทนของกรรมการและ สิทธิในการออกเสียง แจ้งเบาะแส/ขอความเป็นธรรมได้ แต่งตั้งและก�ำหนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี และไม่ได้กีดกัน หรือ สร้ า งอุ ป สรรคในการเปิ ด โอกาสให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น สามารถติ ด ต่ อ สื่ อ สาร ทั้งนี้ บริษัทฯ เล็งเห็นว่าพนักงานมีส่วนส�ำคัญในการช่วยขับเคลื่อน ระหว่างกัน รวมทั้งหากมีข้อตกลงระหว่างผู้ถือหุ้น (Shareholders องค์กร ดังนั้น พนักงานที่ร้องเรียน/แจ้งเบาะแสที่สามารถพิสูจน์ได้ Agreement) ที่มีผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อบริษัทฯ หรือผู้ถือหุ้น จะได้รับเงินรางวัลมูลค่าสูงสุด 30,000 บาท ต่อเคส พร้อมใบประกาศ รายอื่น บริษัทฯ จะเปิดเผยให้ทราบโดยทันที เกี ย รติ คุ ณ ความดี จ ากประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารกลุ ่ ม และบริ ษั ท ฯ มีนโยบายปกปิดข้อมูลของผู้แจ้งเบาะแสโดยเก็บเป็นความลับและ 2.2 สิทธิในการพิจารณาค่าตอบแทนกรรมการ มีมาตรการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสไม่ให้ได้รับความเดือดร้อนอีกด้วย ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ มีสิทธิในการพิจารณาอนุมัติค่าตอบแทนของ จากการให้ความส�ำคัญและยึดมั่นในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น กรรมการทุกรูปแบบเป็นประจ�ำทุกปี ทั้งที่เป็นตัวเงินและค่าตอบแทน อย่างจริงจัง ดังนั้น เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 บริษัทฯ ได้ประกาศ อื่ น ๆ ที่ ไ ม่ ใ ช่ ตั ว เงิ น เช่ น ค่ า ตอบแทนประจ� ำ เบี้ ย ประชุ ม โบนั ส / เจตนารมณ์เป็นแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน บ� ำ เหน็ จ และสิ ท ธิ ป ระโยชน์ พิ เ ศษอื่ น ๆ เช่ น ค่ า วิ ท ยากรบรรยาย การทุจริต (CAC) และต่อมาเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2560 บริษัทฯ ในกิจกรรมต่างๆ ของบริษัทฯ ค่าเป็นที่ปรึกษา (Mentor) ให้กับผู้บริหาร ได้รับการรับรองเป็นสมาชิกของแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย ของบริษัทฯและอื่นๆ ในการต่อต้านทุจริต บริษัทฯ มีนโยบาย วิธีการ และหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนในการพิจารณา นอกจากนั้นแล้ว ในส่วนของ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด ค่ า ตอบแทนส� ำ หรั บ กรรมการแต่ ล ะต� ำ แหน่ ง ก่ อ นน� ำ เสนอเรื่ อ ง (มหาชน) ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ก็ได้รบั การรับรองเป็นสมาชิกของ ค่าตอบแทนให้ผู้ถือหุ้นพิจารณา คือ พิจารณากลั่นกรองอย่างละเอียด แนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตเรียบร้อยแล้ว ถึ ง ความเหมาะสมประการต่ า งๆ โดยเที ย บเคี ย งกั บ อุ ต สาหกรรม เช่นเดียวกัน โดยได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2559 เดียวกัน แผนการประชุมของคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อย แต่ละคณะ ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ 1.46 การไม่ ก ระท� ำ ผิ ด ด้ า นการทุ จ ริ ต /กระท� ำ ผิ ด จริ ย ธรรม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ คณะกรรมการสรรหา การก�ำกับดูแลกิจการและชื่อเสียงในทางลบ และพิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการบรรษัทภิบาล รวมถึง ในปี 2560 ที่ผ่านมา คณะกรรมการบริษัท ผู้บริหารและพนักงาน การขยายตัวทางธุรกิจและการเติบโตทางผลก�ำไรของบริษัทฯ ซึ่งผ่าน ไม่มีการกระท�ำผิดด้านการทุจริต (Fraud) หรือกระท�ำผิดจริยธรรม ความเห็นชอบของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนและ (Penalty) หรือกระท�ำการใดที่เป็นการฝ่าฝืนกฎระเบียบของส�ำนักงาน คณะกรรมการบริษัทก่อนน�ำเสนอให้ท่ีประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 2.3 การประชุมผู้ถือหุ้น แห่งประเทศไทย รวมทั้งไม่มีผู้บริหารลาออกเนื่องจากประเด็นเรื่อง การก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ และบริษัทฯ ไม่มีชื่อเสียงในทางลบ 2.3.1 นโยบายการก� ำ หนดวั น เวลาและสถานที่ ใ นการประชุ ม อั น เนื่ อ งมาจากความล้ ม เหลวในการท� ำ หน้ า ที่ ส อดส่ อ งดู แ ลของ เพื่ อ อ� ำ นวยความสะดวกและส่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ทุ ก กลุ ่ ม คณะกรรมการแต่อย่างใด ซึง่ รวมถึงนักลงทุนสถาบันเข้าร่วมประชุม 2.1 สิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ตระหนักและให้ความส�ำคัญถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น โดยไม่กระท�ำ การใดๆ อันเป็นการละเมิด ริดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้น หรือไม่ได้ละเลย ต่อการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ค�ำนึง ถึงสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถือหุ้น ได้แก่ สิทธิการได้รับส่วนแบ่งในผลก�ำไร เงินปันผลอย่างเท่าเทียมกัน สิทธิในการซื้อหุ้นเพิ่มทุน การปฏิบัติ อย่ า งเท่ า เที ย มกั น ในการซื้ อ หุ ้ น คื น โดยบริ ษั ท ฯ สิ ท ธิ ใ นการติ ด ต่ อ สื่ อ สารระหว่ า งกั น สิ ท ธิ ใ นการเสนอวาระการประชุ ม สิ ท ธิ ใ นการ เสนอชื่อกรรมการ สิทธิในการส่งค�ำถามล่วงหน้าที่เกี่ยวข้องกับวาระ การประชุม สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นและออกเสียงลงคะแนน สิทธิในการมอบฉันทะให้บุคคลอื่นเข้าประชุมและออกเสียงลงคะแนน แทน สิทธิในการแสดงความคิดเห็นและซักถามในการประชุมผู้ถือหุ้น สิ ท ธิ ใ นการออกเสี ย งลงคะแนนเลื อ กตั้ ง กรรมการเป็ น รายบุ ค คล 2) สิทธิของผู้ถือหุ้น

บริ ษั ท ฯ จั ด การประชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ� ำ ปี ขึ้ น ภายใน 4 เดื อ น นั บ แต่ วั น ปิ ด บั ญ ชี ง บดุ ล ประจ� ำ ปี และก� ำ หนด วั น เวลา และสถานที่ ที่ จ ะจั ด ประชุ ม ซึ่ ง มี ค วามพร้ อ มที่ จ ะ อ�ำนวยความสะดวกและส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นทุกกลุ่ม ซึ่งรวมถึง ผู้ถือหุ้นที่เป็นนักลงทุนสถาบันได้เข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นของ บริษัทฯ โดยบริษัทฯ มีนโยบาย คือ (1)

ไม่จัดประชุมในวันหยุดนักขัตฤกษ์ วันหยุดท�ำการของ ธนาคารพาณิชย์ และเริม่ ประชุมในช่วงเวลา 8.30 - 16.00 น. อีกทัง้ ยังเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ทุกคนสามารถ ส่งใบลงทะเบียน หรือหนังสือมอบฉันทะมายังบริษัทฯ เพื่อรับลงทะเบียน ล่วงหน้า

(2) จัดประชุมในเขตกรุงเทพมหานคร หรือท้องที่อันเป็นที่ตั้ง ของส�ำนักงานใหญ่ของบริษัทฯ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถ เดินทางไปร่วมประชุมได้ง่าย

125


รายงานประจํ า ปี 2560

(3)

ให้ข้อมูล วัน เวลา สถานที่และวาระการประชุมเป็นเรื่องๆ อย่างชัดเจน โดยมีค�ำชี้แจงและเหตุผลประกอบในแต่ละ วาระ หรือประกอบมติที่ขอตามที่ระบุไว้ในหนังสือเชิญ ประชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ� ำ ปี แ ละวิ ส ามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น หรือในเอกสารแนบวาระการประชุม

2.4 โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัทฯ

โครงสร้างการถือหุน้ ของบริษทั ฯ แสดงให้เห็นถึงการมีกลไกในการป้องกัน การครอบง� ำ กิ จ การที่ จ ะท� ำ ให้ ฝ ่ า ยจั ด การ หรื อ ผู ้ มี อ� ำ นาจควบคุ ม ใช้ เ ป็ น เกราะป้ อ งกั น ตนเอง ในกรณี ที่ มี ก ารบริ ห ารงานอย่ า งขาด ประสิทธิภาพ หรือไม่โปร่งใส เช่น ไม่มีการถือหุ้นไขว้ในกลุ่มของ (4) ไม่มีการจ�ำกัดโอกาสของผู้ถือหุ้นในการศึกษาสารสนเทศ บริ ษั ท ฯ ไม่ มี โ ครงสร้ า งการถื อ หุ ้ น แบบปิ ร ามิ ด ในกลุ ่ ม ของบริ ษั ท ฯ ของบริษัทฯ มีสัดส่วนของหุ้น free float มากกว่ากฎหมายก�ำหนด โดยในปี 2560 ที่ผ่านมาบริษัทฯ มีสัดส่วนของหุ้น free float เท่ากับร้อยละ 24.50 (5) บริ ษั ท ฯ สามารถเรี ย กประชุ ม วิ ส ามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ได้ หาก คณะกรรมการบริษัทเห็นความจ�ำเป็นหรือสมควร 2.5 การเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอวาระการประชุม เสนอชื่อ กรรมการและส่งค�ำถามล่วงหน้าก่อนวันประชุม ในปี 2560 บริษัทฯ จัดการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี เมื่อวัน พฤหัสบดีที่ 27 เมษายน 2560 เวลา 10.00 น. ณ ห้องบันยัน บอลรูม บริษัทฯ มีนโยบายเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอเพิ่มวาระการประชุม ชั้น 10 โรงแรมบันยันทรี เลขที่ 21/100 ถนนสาทรใต้ แขวงสาทร เสนอชื่ อ กรรมการและส่ ง ค� ำ ถามเกี่ ย วกั บ บริ ษั ท ฯ ล่ ว งหน้ า ก่ อ น เขตสาทร กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นนโยบายของบริษัทฯ ที่ต้องการ วันประชุมผู้ถือหุ้น โดยบริษัทฯ ได้ก�ำหนดช่องทางและหลักเกณฑ์ ให้ผู้ถือหุ้นสามารถเดินทางมาเข้าร่วมประชุมได้โดยสะดวก เนื่องจาก อย่ า งชั ด เจนเพื่ อ แสดงถึ ง ความเป็ น ธรรมและความโปร่ ง ใสในการ อยู่ในย่านใจกลางเมือง มีการคมนาคมสะดวกและใกล้ระบบขนส่ง พิจารณาและแจ้งให้ผถู้ อื หุน้ ทราบ รวมทัง้ เผยแพร่หลักเกณฑ์ดงั กล่าวไว้ สาธารณะ ได้แก่ รถประจ�ำทาง รถไฟฟ้า บีทีเอส รถไฟฟ้ามหานคร บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ ด้วย (รถไฟฟ้ า ใต้ ดิ น MRT) รวมทั้ ง ในการจั ด ส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ให้แก่ผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ได้จัดส่งแผนที่ของสถานที่ประชุม ซึ่งแสดง ส� ำ หรั บ การประชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ� ำ ปี 2560 บริ ษั ท ฯ ได้ เ ปิ ด โอกาสให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น เสนอวาระการประชุ ม เสนอชื่ อ กรรมการและ รายละเอียดการเดินทางอย่างชัดเจน ส่งค�ำถามก่อนวันประชุมเป็นการล่วงหน้า ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2559 2.3.2 การรับลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นล่วงหน้า จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2560 โดยได้ประกาศต่อตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยและเผยแพร่หลักเกณฑ์ต่างๆ บนเว็บไซต์ของบริษัท บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ทั้งผู้ถือหุ้นรายย่อย และผู้ถือหุ้นที่เป็นนักลงทุน (www.psh.co.th หัวข้อนักลงทุนสัมพันธ์) ซึ่งภายหลังพ้นก�ำหนด สถาบัน จัดส่งหนังสือมอบฉันทะมายังบริษัทฯ เพื่อลงทะเบียนเข้าร่วม เวลาดั ง กล่ า วแล้ ว ปรากฏว่ า ไม่ มี ผู ้ ถื อ หุ ้ น เสนอวาระการประชุ ม ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ล่วงหน้าก่อนวันประชุมจริงได้ เพราะ เสนอชื่อกรรมการ และส่งค�ำถามล่วงหน้าแต่อย่างใด บริษัทฯ เล็งเห็นว่าการรับลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นล่วงหน้า เป็นช่องทางส�ำคัญที่จะช่วยอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้นทุกคน อย่างไรก็ตาม ในกรณีทพี่ น้ ก�ำหนดระยะเวลาให้สง่ ค�ำถามล่วงหน้าแล้ว รวมทั้งผู้ถือหุ้นรายย่อย และผู้ถือหุ้นที่เป็นนักลงทุนสถาบัน เนื่องจาก หากยังมีผู้ถือหุ้นส่งค�ำถามมายังบริษัทฯ ก่อนวันประชุมอีก บริษัทฯ นักลงทุนสถาบันจะต้องใช้เอกสารประกอบการประชุมค่อนข้างมาก ก็พร้อมจะรับฟังและรวบรวมค�ำถามดังกล่าว เพื่อตอบให้แก่ผู้ถือหุ้น เพราะในกรณีที่มาลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมในวันประชุมจริง บริษัทฯ ทางช่องทางต่างๆ ที่เห็นว่าเหมาะสมต่อไป จะต้องใช้เวลาตรวจสอบความครบถ้วนสมบูรณ์ และความถูกต้อง ของเอกสารตามที่กฎหมายก�ำหนดมากกว่าผู้ถือหุ้นทั่วๆ ไป ซึ่งหาก 2.6 การด�ำเนินการในวันประชุมผู้ถือหุ้น มีผู้ถือหุ้นที่เป็นนักลงทุนสถาบันหลายราย ก็จะส่งผลให้การรับลง 2.6.1 การเข้าร่วมประชุมและการลงทะเบียน ทะเบียนต้องใช้เวลานาน ในการเข้ า ร่ ว มประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ควรน� ำ เอกสารที่ ใ ช้ แ สดงตั ว เพื่ อ ดังนั้น การรับลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นล่วงหน้านี้ จึงก่อให้เกิด เข้าร่วมประชุม อาทิ บัตรประจ�ำตัวประชาชน หรือหนังสือเดินทาง ประโยชน์แก่ผู้ถือหุ้น และบริษัทฯ เป็นอย่างมาก เพราะเป็นการช่วย หรือในกรณีที่รับมอบฉันทะจากบุคคลธรรมดา จะต้องน�ำหลักฐาน ป้ อ งกั น ปั ญ หาติ ด ขั ด แก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ในวั น ประชุ ม และยั ง ช่ ว ยให้ ก าร ของผู้มอบฉันทะมาแสดงด้วย อาทิ หนังสือมอบฉันทะ และส�ำเนา ลงทะเบี ย นในวั น ประชุ ม ไม่ ล ่ า ช้ า ตลอดจนยั ง แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง บัตรประชาชน หรือส�ำเนาหนังสือเดินทาง หรือในกรณีที่รับมอบฉันทะ ความเอาใจใส่ของบริษัทฯ ที่มีต่อผู้ถือหุ้นทุกกลุ่ม ซึ่งสอดคล้องกับ จากนิติบุคคลในฐานะเป็นผู้แทน จะต้องน�ำหลักฐานของผู้มอบฉันทะ หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีที่สนับสนุนให้บริษัทฯ ใช้เวลาในขั้นตอน มาแสดงด้วย อาทิ หนังสือมอบฉันทะและหนังสือรับรองการจดทะเบียน การรับลงทะเบียนที่รวดเร็วอีกด้วย นิติบุคคล ที่มีการรับรองส�ำเนาที่ถูกต้อง โดยบริษัทฯ จะเปิดให้ผู้ถือหุ้น สามารถลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมได้ล่วงหน้าก่อนเวลาประชุมได้ 2.3.3 การบริการติดอากรแสตมป์ในหนังสือมอบฉันทะ ตามที่ได้กล่าวไว้แล้วในหัวข้อ 2.3.2 เรื่อง การรับลงทะเบียนเข้าร่วม บริษัทฯ บริการติดอากรแสตมป์ในหนังสือมอบฉันทะให้แก่ผู้รับมอบ ประชุมผู้ถือหุ้นล่วงหน้า ฉันทะทีเ่ ข้าร่วมประชุม โดยไม่คดิ ค่าบริการ ณ จุดตรวจเอกสารลงทะเบียน เพื่ออ�ำนวยความสะดวก และลดภาระการจัดหาอากรแสตมป์ของ ผู้ถือหุ้น

126


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

2.6.2 การเข้ า ร่ ว มประชุม ผู้ถือหุ้น ของประธานกรรมการ ประธาน บริษัทฯ มีนโยบายไม่เพิ่มวาระอื่นๆ ที่ไม่ได้ก�ำหนดไว้ล่วงหน้าในการ คณะกรรมการชุดย่อยและผู้บริหารสูงสุดของบริษัทฯ ประชุมผู้ถือหุ้น เหตุเพราะการเพิ่มวาระอื่นๆ ที่จะต้องมีการลงมติ โดยไม่ได้ก�ำหนดไว้ในวาระการประชุมเป็นการไม่เป็นธรรมต่อผู้ถือหุ้น บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ การประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น และมี น โยบายให้ ที่ไม่ได้เข้าร่วมประชุม คณะกรรมการบริ ษั ท เข้ า ร่ ว มประชุ ม โดยพร้ อ มเพรี ย ง โดยมี ประธานกรรมการบริ ษั ท ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น ประธานในที่ ป ระชุ ม และ 2.6.4 ผู้ตรวจสอบการนับคะแนนเสียง ประธานคณะกรรมการชุดย่อยทุกคณะ ผู้บริหารสูงสุดของบริษัทฯ (ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม) ผู้บริหารล�ำดับ 4 รายแรก ผู้สอบบัญชี บริษัทฯ มีนโยบายที่จะก�ำหนดให้มีบุคคลที่เป็นอิสระเป็นผู้ตรวจนับ ภายนอก หรือตัวแทน จะเข้าร่วมประชุมด้วยเพือ่ รับฟังความคิดเห็น และ หรื อ ตรวจสอบคะแนนเสี ย งในการประชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ� ำ ปี และวิสามัญผู้ถือหุ้น รวมทั้งเปิดเผยให้ที่ประชุมทราบพร้อมบันทึก ตอบข้อซักถามของผู้ถือหุ้นอย่างครบถ้วนเช่นกัน ไว้ในรายงานการประชุม รายชื่อคณะกรรมการบริษัท 1. ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม

จำ�นวนครั้งที่ร่วมประชุม/ จำ�นวนครั้งที่มีสิทธิ เข้าร่วมประชุม การประชุมผู้ถือหุ้น ปี 2560 (สามัญประจำ�ปี) 1/1

2. นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์

1/1

3. นายวีระชัย งามดีวิไลศักดิ์

1/1

4. นายอดุลย์ จันทนจุลกะ

1/1

5. ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

1/1

6. ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

1/1

7. ดร.อนุสรณ์ แสงนิ่มนวล

1/1

8. นายเลอศักดิ์ จุลเทศ*

0/0

9. ศ.นพ.ปิยะมิตร ศรีธรา**

1/1

10. นายวิเชียร เมฆตระการ

1/1

11. นายปิยะ ประยงค์

1/1

12. นางรัตนา พรมสวัสดิ์

1/1

2.6.5 การแจ้ ง วิ ธี ป ฏิ บั ติ ใ นการนั บ คะแนน และการเปิ ด โอกาสให้ ผู้ถือหุ้นซักถาม/แสดงความคิดเห็น ในการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ มีนโยบายที่จะชี้แจงวิธีการลงคะแนน และวิธีการนับคะแนนให้ผู้ถือหุ้นทราบก่อนเริ่มการประชุมตามวาระ ซึ่งแยกอธิบายวิธีการนับคะแนนของผู้ที่มาประชุมด้วยตนเอง และ ผู้รับมอบฉันทะ โดยให้มีการใช้บัตรลงคะแนนเสียง ส�ำหรับผู้ถือหุ้น ใช้ในการลงคะแนนเสียงกรณีผู้ถือหุ้นที่ไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียง ทั้งนี้ ในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการ บริษัทฯ เปิดโอกาส ให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ลงคะแนนเสี ย งเลื อ กตั้ ง กรรมการเป็ น รายบุ ค คลโดยใช้ บั ต รลงคะแนนเสี ย ง และภายหลั ง การลงคะแนนเสี ย งเสร็ จ สิ้ น ลง แล้วบริษทั ฯ จะเก็บบัตรลงคะแนนเป็นรายบุคคล โดยเรียงล�ำดับทีละคน ทั้งที่ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง และน�ำมารวบรวมผลคะแนน เพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น มี สิ ท ธิ เ ลื อ กกรรมการที่ ต ้ อ งการได้ อ ย่ า ง แท้จริง และระหว่างการประชุมจะเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นทุกคนมีสิทธิ อย่างเท่าเทียมกันในการแสดงความคิดเห็นและซักถามโดยให้เวลา อย่างเหมาะสม ซึ่งการออกเสียงลงคะแนนบริษัทฯ จะนับ 1 หุ้นเป็น 1 เสียง และถือเสียงข้างมากเป็นมติ ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธาน ที่ประชุมเป็นผู้ช้ีขาดอีกเสียงหนึ่งต่างหาก นอกเหนือจากการออกเสียง ในฐานะเป็นผู้ถือหุ้น 2.6.6 การใช้บัตรลงคะแนนเสียง

บริษัทฯ มีนโยบายที่จะจัดให้มีการใช้บัตรลงคะแนนเสียงในทุกวาระ การประชุม ทั้งในวาระหลักทั่วไปตามกฎหมาย และวาระที่ส�ำคัญ เช่น การท�ำรายการเกี่ยวโยง การท�ำรายการได้มา หรือจ�ำหน่ายไปซึ่ง หมายเหตุ : * 1. นายเลอศั ก ดิ์ จุ ล เทศ พ้ น จากต� ำ แหน่ ง กรรมการบริ ษั ท สินทรัพย์ การเปลีย่ นแปลงโครงสร้างกิจการ การเพิม ่ ทุน การลดทุน ฯลฯ โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 27 เมษายน 2560 เพื่อแสดงให้เห็นถึงความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และในกรณี ** 2. ศ.นพ.ปิ ยะมิ ต ร ศรี ธรา ได้ รั บการแต่ งตั้ งเป็ นกรรมการอิส ระ ที่มีข้อโต้แย้งในภายหลัง รวมทั้งเพื่อให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วม ของบริษัทฯ โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 ประชุมได้มคี วามมัน่ ใจในผลของคะแนนเสียงในแต่ละวาระการประชุม 2.6.3 การก�ำหนดวาระการประชุม

2.6.7 การบันทึกรายงานการประชุม

ในการประชุมผู้ถือหุ้น กรณีที่วาระการประชุมวาระใดมีหลายรายการ บริษัทฯ จะก�ำหนดวาระการประชุมไว้เป็นเรื่องๆ อย่างชัดเจน และ จั ด ให้ มี ก ารลงมติ เ ป็ น แต่ ล ะรายการ เช่ น วาระเลื อ กตั้ ง กรรมการ การก�ำหนดอ�ำนาจกรรมการ และค่าตอบแทนกรรมการ

บริษัทฯ มีนโยบายบันทึกการแจ้งวิธีการลงคะแนน นับคะแนน การใช้ บัตรลงคะแนน ให้ผู้ถือหุ้นทราบก่อนเริ่มการประชุม ตลอดจนรายชื่อ พร้อมต�ำแหน่งของกรรมการที่เข้าร่วมประชุม กรรมการที่ลาประชุม และค�ำถาม ค�ำตอบ ค�ำชี้แจง ความคิดเห็น มติที่ประชุมในแต่ละวาระ โดยแบ่งเป็นจ�ำนวนเสียงที่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง และ แจ้ ง จ� ำ นวนบั ต รเสี ย (ถ้ า มี ) ไว้ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรในรายงาน

127


รายงานประจํ า ปี 2560

การประชุมอย่างละเอียด เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ทีไ่ ม่ได้เข้าร่วมประชุมได้รบั ทราบ และสามารถตรวจสอบถึ ง การมี ส ่ ว นร่ ว มของกรรมการบริ ษั ท ในการประชุมผู้ถือหุ้นแต่ละครั้ง ทั้งนี้ กรณีที่กรรมการบริษัทคนใด มีสว่ นได้เสียเป็นพิเศษในวาระการประชุมเรือ่ งใด กรรมการคนนัน้ จะต้อง ไม่อยู่ในที่ประชุมและไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น ยกเว้น การออกเสียงเลือกตั้ง หรือถอดถอนกรรมการ 2.7 การเปิดเผยมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น

3) การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษทั ฯ รับผิดชอบให้มกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ท่าเทียมกันและเป็นธรรมต่อผูถ้ อื หุน้ ทุกราย ซึ่งรวมถึงผู้ถือหุ้นส่วนน้อยและผู้ถือหุ้นต่างชาติ โดยผู้ถือหุ้น ส่วนน้อยจะได้รับการคุ้มครองสิทธิจากการกระท�ำที่เป็นการเอาเปรียบ ทั้งทางตรงและทางอ้อมของผู้ถือหุ้นที่มีอ�ำนาจควบคุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้น ได้รับการปฏิบัติและปกป้องสิทธิขั้นพื้นฐานอย่างเท่าเทียมกัน รวมทั้ง บริษัทฯ ยังให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นในการออกเสียงลงคะแนนในแบบ 1 หุ้น ต่อ 1 เสียง โดยบริษัทฯ มีหุ้นประเภทเดียว คือ หุ้นสามัญ

บริ ษั ท ฯ มี น โยบายเปิ ด เผยมติ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น พร้ อ มผลการลง คะแนนเสียงภายหลังจากการประชุม หรืออย่างช้าในช่วงเช้าของ 3.1 การเสนอชื่อบุคคลเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท วั น ถั ด ไปจากวั น ประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น โดยแจ้ ง เป็ น จดหมายข่ า วไปยั ง บริษัทฯ มีนโยบายก�ำหนดให้มีกระบวนการที่เหมาะสมเพื่อเปิดโอกาส ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยและเปิ ด เผยไว้ บ นเว็ บ ไซต์ ข อง ให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยสามารถเสนอชื่อบุคคล พร้อมข้อมูลประกอบการ บริษัทฯ ที่ www.psh.co.th อีกด้วย พิจารณาและการให้ความยินยอมของผูไ้ ด้รบั การเสนอชือ่ เพือ่ เข้าด�ำรง ต�ำแหน่งกรรมการต่อประธานกรรมการบริษัทฯ ล่วงหน้าก่อนประชุม 2.8 การจ่ายเงินปันผล ผู้ถือหุ้น รวมทั้งบริษัทฯ มีกระบวนการที่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยมั่นใจได้ว่า คณะกรรมการบริ ษั ท อาจพิ จ ารณาการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลประจ� ำ ปี สามารถเลือกตั้งกรรมการที่เป็นอิสระ เพื่อดูแลผลประโยชน์แทนตนได้ ของบริษัทฯ โดยจะต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ บริษัทฯ คือ การพิจารณาสรรหากรรมการบริษทั ทุกคนจะต้องผ่านความเห็นชอบ จะจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นได้ในกรณีที่ผลประกอบการของบริษัทฯ ของที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนและ มี ก� ำ ไรและไม่ มี ย อดขาดทุ น สะสมอยู ่ โดยการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลนั้ น ผ่านการอนุมัติแต่งตั้งจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/หรือ จะแบ่งตามจ�ำนวนหุ้น หุ้นละเท่าๆ กัน ที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้วแต่กรณี ทั้งนี้ ตามนโยบายของบริษัทฯ จะจ่ายเงินปันผลประจ�ำปีให้แก่ผู้ถือหุ้น ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2560 บริษัทฯ ได้เปิดโอกาส ปี ล ะ 2 ครั้ ง ในอั ต ราไม่ น ้ อ ยกว่ า ร้ อ ยละ 50 ของก� ำ ไรสุ ท ธิ ข อง ให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น เสนอชื่ อ บุ ค คลที่ ไ ด้ พิ จ ารณาเห็ น ว่ า มี คุ ณ สมบั ติ และ งบการเงินรวมของบริษทั ฯ หลังจากหักเงินส�ำรองตามกฎหมาย โดยในการ ความรู้ ความสามารถ เหมาะสมทีจ่ ะเป็นตัวแทนในการท�ำหน้าทีก่ รรมการ พิ จ ารณาจ่ า ยเงิ น ปั น ผล บริ ษั ท ฯ จะค� ำ นึ ง ถึ ง ผลประกอบการและ บริษัทฯ เป็นการล่วงหน้าตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2559 จนถึงวันที่ 31 ผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นในระยะยาว มกราคม 2560 โดยได้ประกาศต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นอกจากนี้ หากคณะกรรมการบริษัทเห็นว่า บริษัทฯ มีผลก�ำไรเพียงพอ และเผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษัท (www.psh.co.th หัวข้อนักลงทุน ที่จะจ่ายเงินปันผล ก็อาจจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลให้แก่ผู้ถือหุ้น สัมพันธ์) เป็นครั้งคราวได้และรายงานให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุม 3.2 การประชุมผู้ถือหุ้น คราวต่ อ ไป ทั้ ง นี้ เ งิ น ก� ำ ไรส่ ว นที่ เ หลื อ จากการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลตาม มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น หรือส่วนที่เหลือจากการจ่ายปันผลระหว่างกาล 3.2.1 การมอบฉันทะให้บุคคลอื่นเข้าประชุมผู้ถือหุ้นและออกเสียง ให้จัดสรรเป็นเงินส�ำรองต่างๆ ได้ตามแต่คณะกรรมการบริษัทจะเห็น ลงคะแนนแทนแบบหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง สมควร หรือจัดสรรเป็นทุนส�ำรอง เพื่อเป็นเงินกองทุนของบริษัทฯ ในกรณี ที่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใดไม่ ส ามารถเข้ า ร่ ว มประชุ ม ได้ บริ ษั ท ฯ ต่อไป บริษัทฯ จะจ่ายเงินปันผลภายใน 1 เดือนนับแต่วันที่ที่ประชุม จะอ�ำนวยความสะดวกโดยการส่งหนังสือมอบฉันทะทั้งแบบ ข. และ ผู้ถือหุ้นลงมติ หรือภายใน 1 เดือนนับแต่วันที่คณะกรรมการบริษัท แบบ ค. ไปพร้อมกับหนังสือนัดประชุม ซึ่งได้ระบุถึงเอกสาร/หลักฐาน ลงมติในกรณีที่บริษัทฯ จะจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล โดยบริษัทฯ จะมี รวมทั้งค�ำแนะน�ำ ขั้นตอนในการมอบฉันทะ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถ หนังสือแจ้งให้ผถู้ อื หุน้ ทราบ และแจ้งการจ่ายปันผลในหนังสือพิมพ์ดว้ ย จัดเตรียมได้อย่างถูกต้องและไม่เ กิดปัญหาในการเข้าร่วมประชุม ของผู้รับมอบฉันทะ ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะให้บุคคลอื่น 2.9 การแต่งตั้งและก�ำหนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี เข้ า ร่ ว มประชุ ม และออกเสี ย งลงคะแนนแทนตนแบบหนึ่ ง หุ ้ น ต่ อ ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้แต่งตั้งและก�ำหนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี หนึ่งเสียง โดยกรอกเอกสารหนังสือมอบฉันทะตามแนวทางที่อธิบาย ของบริษัทฯ ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการบริษัท ผู้สอบบัญชีนั้น ไว้ในรายละเอียด วิธีการมอบฉันทะที่บริษัทฯ จัดส่งให้พร้อมกับหนังสือ ต้องไม่เป็นกรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ด�ำรงต�ำแหน่งหน้าที่ใดๆ นัดประชุม ซึ่งจะเห็นว่าบริษัทฯ ไม่ได้ก�ำหนดเงื่อนไขที่ยุ่งยากต่อการ ในบริษัทฯ มอบฉันทะให้ผู้อื่นเข้าร่วมประชุมแทน แต่อย่างใด นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้น ยังสามารถดาวน์โหลดหนังสือมอบฉันทะทั้งแบบ ข. และแบบ ค. ได้จากเว็บไซต์ของบริษัท www.psh.co.th หัวข้อนักลงทุนสัมพันธ์/ ประชุมผู้ถือหุ้นได้ด้วย

128


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้มีการเสนอชื่อกรรมการอิสระไว้ จ�ำนวน 3 คน เพื่อเป็น ทางเลือกในการมอบฉันทะของผู้ถือหุ้น ซึ่งการเสนอชื่อกรรมการอิสระ จ�ำนวน 3 คนนี้ แสดงให้เห็นว่าบริษัทฯ ค�ำนึงถึงสิทธิประโยชน์ของ ผู้ถือหุ้นเข้มมากกว่านโยบายของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และหลั ก เกณฑ์ ASEAN Corporate Governance Scorecard (ASEAN CG Scorecard) ที่ก�ำหนดให้บริษัทฯ เสนอชื่อกรรมการอิสระ อย่างน้อยเพียง จ�ำนวน 2 คน 3.2.2 การส่งหนังสือนัดประชุม ตามข้อบังคับของบริษัทฯ ระบุให้จัดส่งหนังสือนัดประชุมให้แก่ผู้ถือหุ้น อย่างน้อย 7 วันล่วงหน้าก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น แต่ในทางปฏิบัติ บริษัทฯ มีนโยบายจัดส่งหนังสือนัดประชุมพร้อมเอกสารประกอบการ ประชุม ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้แก่ผู้ถือหุ้นชาวไทยและ ชาวต่ า งชาติ ล ่ ว งหน้ า อย่ า งน้ อ ย 21 วั น ก่ อ นการประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีระยะเวลาในการพิจารณาเกี่ยวกับวาระการประชุม และเรื่องที่จะเสนอต่อที่ประชุมพร้อมด้วยรายละเอียดที่เพียงพอที่จะใช้ ประกอบการตั ด สิ น ใจ ซึ่ ง แต่ ล ะเรื่ อ งจะมี ก ารระบุ ไ ว้ อ ย่ า งชั ด เจน ว่าเป็นเรื่องที่จะเสนอเพื่อทราบ เพื่ออนุมัติ หรือเพื่อพิจารณาแล้วแต่ กรณี รวมทั้ ง มี ก ารระบุ ถึ ง วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละเหตุ ผ ลของแต่ ล ะวาระ การประชุม ความเห็นของคณะกรรมการชุดย่อยที่เกี่ยวข้องในวาระนั้น และความเห็นของคณะกรรมการบริษัทในเรื่องดังกล่าวด้วย

3.4 การเก็ บ รั ก ษาความลั บ การเก็ บ รั ก ษาข้ อ มู ล และป้ อ งกั น การใช้ข้อมูลภายใน บริษัทฯ มีนโยบายในการเก็บรักษาความลับ การเก็บรักษาข้อ มูล และป้องกันการใช้ข ้อมูลภายในที่เ ป็นลายลักษณ์อักษรและมีการ แจ้งนโยบายดังกล่าวให้กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานในองค์กร ถื อ ปฏิ บั ติ รวมทั้ ง บริ ษั ท ฯ ยั ง มี ม าตรการที่ จ ะสร้ า งความมั่ น ใจว่ า นโยบายดังกล่าวเป็นที่รับทราบและปฏิบัติตาม โดยได้มีการจัดงาน CG Day ขึ้น เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2560 เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนศึกษา เรียนรู้และท�ำความเข้าใจจรรยาบรรณ ของบริ ษั ท ฯ นโยบายการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี นโยบายป้ อ งกั น การใช้ข้อมูลภายใน และยึดถือเป็นหลักการและแนวทางในการปฏิบัต ิ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ และผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มอย่าง เคร่งครัดตลอดระยะเวลาในการปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละก�ำหนดให้มกี ารลงนาม รับทราบและยึดถือปฏิบัติไว้ทุกคน

นอกจากนั้ น บริ ษั ท ฯ ยั ง ก� ำ หนดให้ ก รรมการและผู ้ บ ริ ห าร รวมถึ ง คู่สมรสหรือผู้ที่อยู่กินด้วยกันฉันสามีภรรยา และบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะของกรรมการและผู้บริหาร รายงานการถือครองหลักทรัพย์ ของบริษัทฯ ครั้งแรก ภายใน 30 วัน นับแต่วันได้รับการแต่งตั้งและ รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ทุกครั้งที่มีการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพย์ ภายใน 3 วันท�ำการ รวมทั้งจะต้องรายงาน ให้คณะกรรมการรับทราบเป็นประจ�ำทุกไตรมาส ทั้งนี้ บริษัทฯ ก�ำหนด ทั้งนี้ ในปี 2560 ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ส่งหนังสือนัดประชุม พร้อม เป็นนโยบายที่เคร่งครัดในเรื่อง การห้ามมิให้กรรมการและผู้บริหาร เอกสารประกอบการประชุม ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (ฉบับ ของบริษัทฯ ซื้อขายหุ้นโดยใช้ข้อมูลภายใน ซึ่งในปี 2560 ที่ผ่านมา สมบูรณ์) ให้แก่ผู้ถือหุ้นล่วงหน้า จ�ำนวน 23 วัน โดยบริษัทฯ ได้จัดส่ง ก็ไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม พร้ อ มเอกสารประกอบการประชุ ม เมื่ อ วั น ที่ 4 เมษายน 2560 และจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี เมื่อวันที่ นโยบายป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน 27 เมษายน 2560 ข้อมูลที่เป็นความลับให้หมายถึงข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลสาธารณะ หรือ บริ ษั ท ฯ ประกาศการนั ด ประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ทางหนั ง สื อ พิ ม พ์ ร ายวั น ข้ อ มู ล ที่ ห ากเปิ ด เผยต่ อ สาธารณชน หรื อ ตกอยู ่ ใ นมื อ คู ่ แ ข่ ง แล้ ว ภาษาไทยฉบับใดฉบับหนึ่งติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 วัน และเผยแพร่ ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบร้ายแรงต่อบริษัทฯ รวมทั้งข้อมูลที่คู่ค้าและ ในเว็บไซต์ของบริษัท www.psh.co.th ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ลูกค้าให้ไว้แก่บริษัทฯ ทุกประเภท (ฉบับสมบูรณ์) ล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วันก่อนวันประชุม ซึ่งบริษัทฯ ได้เผยแพร่เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2560 และจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น (1) บริ ษั ท ฯ มี ก ารก� ำ หนดชั้ น ความลั บ ของข้ อ มู ล และการปฏิ บั ติ ประจ�ำปี เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2560 เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้ เพื่อรักษาความลับ โดยเอกสารส�ำคัญและข้อมูลที่เป็นความลับ กับผู้ถือหุ้นชาวไทยและชาวต่างประเทศ โดยบริษัทฯ ได้แจ้งข้อมูล จะต้องได้รบั การดูแลด้วยวิธกี ารเฉพาะทีก่ ำ� หนดไว้ในแต่ละระดับ วัน เวลา สถานที่ วาระการประชุม ตลอดจนข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ แต่ละชนิด หรือประเภทของข้อมูล เรื่องที่ต้องตัดสินใจในที่ประชุมแก่ผู้ถือหุ้นอย่างเพียงพอและทันเวลา (2) บริษัทฯ ต้องรักษาและปกปิดข้อมูลลูกค้าและข้อมูลทางการค้า ไว้เป็นความลับ ต้องไม่เปิดเผยความลับของลูกค้าต่อพนักงาน 3.3 รายการให้ความช่วยเหลือทางการเงิน ของบริ ษั ท ฯ และบุ ค คลภายนอกที่ ไ ม่ เ กี่ ย วข้ อ ง เว้ น แต่ เ ป็ น ในปี 2560 ที่ผ่านมา บริษัทฯ ไม่มีรายการระหว่างกันในลักษณะ ข้ อ บั ง คั บ โดยกฎหมายให้ เ ปิ ด เผย โดยเป็ น การเปิ ด เผย ที่เป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงิน เช่น การให้กู้ยืมเงิน การ เพื่อวัตถุประสงค์ทางการฟ้องร้องคดี หรือคณะกรรมการบริษัท ค�้ำประกันสินเชื่อแก่บริษัทที่ไม่ใช่บริษัทย่อยของตนเองแต่อย่างใด อนุมัติให้มีการเปิดเผย นอกจากนั้นบริษัทฯ ก็ไม่มีการให้กู้ยืม หรือค�้ำประกันเงินกู้ตามสัดส่วน (3) ในการว่าจ้างบุคคลที่เคยท�ำงานกับคู่แข่งทางการค้า หรือรัฐบาล การถือหุ้นที่เป็นไปตามสัญญาร่วมทุนอีกด้วย มาก่อน บริษัทฯ ต้องค้นหาและศึกษาข้อตกลงการรักษาความลับ ที่บุคคลนั้นเคยท�ำไว้กับคู่แข่งทางการค้า หรือรัฐบาลมาก่อน บริษัทฯ และต้องไม่กระท�ำการใดเพื่อให้บุคคลนั้นกระท�ำการ อันเป็นการผิดข้อตกลงกับคู่แข่งทางการค้า หรือรัฐบาล อันจะ ก่อให้เกิดการฟ้องร้องด�ำเนินคดีตามมา

129


รายงานประจํ า ปี 2560

3.5 การท�ำรายการเกี่ยวโยงกัน ในกรณี ที่ มี ก ารท� ำ รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ที่ เ ข้ า ข่ า ยจะต้ อ งเปิ ด เผยข้ อ มู ล หรื อ ขออนุ มั ติ จ ากผู ้ ถื อ หุ ้ น ตามข้ อ ก� ำ หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย ก่อนท�ำรายการบริษัทฯ มีนโยบายเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับชื่อและความสัมพันธ์ของบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน รายละเอียดและ เหตุผลของการท�ำรายการ นโยบายการก�ำหนดราคาและมูลค่าของรายการ รวมทั้งความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการ บริษัทเกี่ยวกับรายการดังกล่าวให้ผู้ถือหุ้นทราบอย่างชัดเจนผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและรายการที่เกี่ยวโยงกัน ดังกล่าว ได้กระท�ำอย่างยุติธรรม ตามราคาตลาดและเป็นไปตามปกติธุรกิจการค้า (Fair and at arms’ length) โดยในปี 2560 ที่ผ่านมาบริษัทฯ ไม่ได้ท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันโดยฝ่าฝืน และ/หรือไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งบริษัทฯ ไม่มีโครงสร้างแบบกลุ่มธุรกิจที่มีการท�ำรายการเกี่ยวโยงกัน ในลักษณะที่อาจมีความขัดแย้งของผลประโยชน์ คือ เมื่อพิจารณาระดับของการท�ำรายการไม่ว่าจะเป็นรายได้ หรือรายจ่ายจะน้อยกว่า ร้อยละ 25 โดยไม่มีข้อยกเว้น รวมทั้งบริษัทฯ ไม่ได้ปฏิบัติฝ่าฝืนหลักเกณฑ์การซื้อขายสินทรัพย์แต่อย่างใดด้วย 3.6 การท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันในปี 2560 ในปี 2560 ที่ผ่านมา บริษัทฯ มีการท�ำรายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน จ�ำนวน 5 รายการ โดยมีรายละเอียดดังนี้ บุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ รายการที่ 1. นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์

130

มูลค่าของ รายการ ราคาและรายละเอียด เกี่ยวโยงกัน (ล้านบาท) กรรมการบริษัทฯ และ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท 2.9 สัญญาเช่าและบริการพื้นที่ ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ จ�ำกัด (มหาชน) เช่า พื้นที่ 425.68 ตารางเมตร ตั้งแต่ ในอาคารหลักสี่พลาซ่า ชั้น 10 1 ตุลาคม 2556 - 30 กันยายน ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของ 2558 และต่อสัญญาถึง นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์ เดือนพฤศจิกายน 2560 ในอัตรา เพื่อใช้เป็นศูนย์ฝึกอบรม เดือนละ 268,148 บาทโดยอัตรา ส่วนกลาง ค่าเช่าและค่าบริการดังกล่าว เป็นอัตราค่าเช่าและค่าบริการ ที่ใกล้เคียงกับราคาตลาด และ ในเงื่อนไขที่ไม่แตกต่างจากที่ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) เข้าท�ำกับบุคคล ภายนอก โดยเทียบกับอัตรา ค่าเช่าพื้นที่และค่าบริการที่ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) เช่ากับ ผู้ให้เช่ารายอื่น ความสัมพันธ์ กับบริษัทฯ

ลักษณะของรายการและ ความจำ�เป็น


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ รายการที่ 2. บริษัท ที ซี ที จ�ำกัด (ถือหุ้นโดย นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์)

รายการที่ 3. นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์

มูลค่าของ รายการ ราคาและรายละเอียด เกี่ยวโยงกัน (ล้านบาท) กรรมการบริษัทฯ และ บริษัท โรงพยาบาลวิมุต 950.0 บริษัท โรงพยาบาลวิมุต อินเตอร์ ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัดซื้อ เนชั่นแนล จ�ำกัด ได้ซื้อที่ดินเปล่า ที่ดินเปล่าจากบริษัท ที ซี ที จากบริษัท ที ซี ที จ�ำกัด จ�ำนวน จ�ำกัด เพื่อใช้เป็นที่ตั้งของ 10 แปลง มีพื้นที่รวม 4 ไร่ 55.60 โครงการฯ ตามแผนธุรกิจ ตารางวา จ�ำนวนเงิน 950 ล้านบาท ของบริษัทฯ เพื่อใช้เป็นที่ตั้งของ โครงการฯ บริษัทฯ พิจารณา ซื้อที่ดินดังกล่าวโดยเงื่อนไขและ ราคาเป็นไปตามหลักเกณฑ์ ที่ตกลงกันระหว่างคู่สัญญา รายการดังกล่าวถือเป็นรายการ ที่เกี่ยวโยงกัน โดยเป็นรายการ เกี่ยวกับสินทรัพย์และบริการ และขนาดของรายการดังกล่าว เกินกว่าร้อยละ 0.03 แต่ตํ่ากว่า ร้อยละ 3 ของมูลค่าของทรัพย์สิน ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัท จดทะเบียน ทั้งนี้รายการดังกล่าว ได้รับอนุมัติจากที่ประชุม คณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 3/2560 เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2560 เนื่องจากการซื้อที่ดินดังกล่าว เพือ่ เป็นทีต่ งั้ โครงการ มีความเหมาะสม และเป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ และราคาซือ้ ทีด่ นิ มีความเหมาะสม และต�่ำกว่าราคาประเมินเฉลี่ย ของผู้ประเมินอิสระจ�ำนวน 2 ราย ซึ่งได้รับอนุญาตจากส�ำนักงาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ กรรมการบริษัทฯ และ บริษัท เกสร ก่อสร้าง จ�ำกัด 2.0 ที่ดินแปลงพัฒนาการ 32 ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ได้ซื้อที่ดินแปลงพัฒนาการ 32 พื้นที่ 0-1-55 ไร่ จ�ำนวนเงิน เนื่องจากปัจจุบันที่ดินแปลงนี้ 1,998,381.25 บาท (รวมภาษี มีสภาพเป็นทางเข้า-ออก และค่าธรรมเนียมโอน) อีกเส้นทางหนึ่งที่เป็นประโยชน์ ราคาประเมิน 3,797,500 บาท อย่างมากกับลูกค้า จากคุณทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์ ในกลุ่มโครงการพัฒนาการ เนื่องจากปัจจุบันที่ดินแปลงนี้ มีสภาพเป็นทางเข้า-ออก อีกเส้นทางหนึ่งที่เป็นประโยชน์ อย่างมากกับลูกค้าในกลุ่ม โครงการพัฒนาการ รายการดังกล่าวถือเป็นรายการ ที่เกี่ยวโยงกัน โดยเป็นรายการ เกี่ยวกับสินทรัพย์และบริการ และขนาดของรายการดังกล่าว น้อยกว่า ร้อยละ 0.03 ของมูลค่า สินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิ ซึ่งอยู่ ในอ�ำนาจอนุมัติจากฝ่ายจัดการ ความสัมพันธ์ กับบริษัทฯ

ลักษณะของรายการและ ความจำ�เป็น

131


รายงานประจํ า ปี 2560

มูลค่าของ รายการ ราคาและรายละเอียด เกี่ยวโยงกัน (ล้านบาท) รายการที่ 4. กรรมการบริษัทฯ และ บริษัท โรงพยาบาลวิมุต 8.0 บริษัท โรงพยาบาลวิมุต อินเตอร์ ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด เนชั่นแนล จ�ำกัด ได้จ่ายค่า บริษัท โรงพยาบาลวิมุตติ ได้ จ ่ า ยค่ า แผนผั ง และ แผนผังและการก่อสร้างอาคาร จ�ำกัด ซึ่งถือหุ้นโดยบริษัท การก่ อ สร้ า งอาคารโรงพยาบาล โรงพยาบาลให้กับ บริษัท ที ซี ที จ�ำกัด (ถือหุ้นโดย โรงพยาบาลวิมุตติ จ�ำกัด นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์ ซึ่งถือหุ้นโดยบริษัท ที ซี ที จ�ำกัด (คือ นายทองมา วิจติ รพงศ์พนั ธ์) เป็นจ�ำนวนเงิน 8 ล้านบาท รายการดังกล่าวถือเป็นรายการ ที่เกี่ยวโยงกัน โดยเป็นรายการ เกี่ยวกับสินทรัพย์และบริการ และขนาดของรายการดังกล่าว น้อยกว่า ร้อยละ 0.03 ของมูลค่า สินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิ ซึ่งอยู่ ในอ�ำนาจอนุมัติจากฝ่ายจัดการ รายการที่ 5. กรรมการบริษัทฯ และ บริษัทฯ และกลุ่มบริษัท เช่า 57.6 สัญญาเช่าพื้นที่และบริการ ผู ้ ถ ื อ หุ ้ น ของบริ ษ ั ท ฯ พื ้ น ที ่ ใ นอาคาร Pearl Bangkok 19,125 ตารางเมตร ระยะเวลา บริษัท ที ซี ที จ�ำกัด จ� ำ นวนพื ้ น ที ่ 19,125 ตารางเมตร ตามสั ญ ญา 3 ปี เริ่มตั้งแต่ (ถือหุ้นโดย นายทองมา ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของ บริษัท พฤศจิกายน 2560 - 31 ตุลาคม วิจิตรพงศ์พันธุ์) ที ซี ที จ�ำกัด เพื่อเป็นอาคาร 2563 โดยอัตราค่าเช่าและค่า ส�ำนักงาน บริการดังกล่าวเป็นอัตราค่าเช่า และค่าบริการที่ใกล้เคียงกับราคา ตลาด และในเงื่อนไขที่ไม่ แตกต่างจากที่บริษัทฯเข้าท�ำกับ บุคคลภายนอก โดยเทียบกับ อัตราค่าเช่าพื้นที่และค่าบริการ ที่บริษัทฯเช่ากับผู้ให้เช่ารายอื่น บุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์

ความสัมพันธ์ กับบริษัทฯ

ลักษณะของรายการและ ความจำ�เป็น

3.7 การฝ่าฝืน/ไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การซื้อขายสินทรัพย์

4) บทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ในปี 2560 ที่ผ่านมา บริษัทฯ ไม่มีการซื้อขายสินทรัพย์ ในลักษณะ ที่ เ ป็ น การฝ่ า ฝื น /ไม่ ป ฏิ บั ติ ต ามกฎเกณฑ์ ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทยและส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์

บริษัทฯ เคารพในสิทธิของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่างๆ และได้ก�ำหนด เป็นแนวปฏิบัติไว้ในจรรยาบรรณของ บริษัทฯ เพื่อให้เกิดความมั่นใจ ว่าสิทธิตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องใดๆ ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งผู้ถือหุ้น พนักงาน ผู้บริหาร ลูกค้า คู่แข่ง คู่ค้า-คู่สัญญา เจ้าหนี้ ชุมชนสังคม และสิ่งแวดล้อมจะได้รับการดูแล และได้เสริมสร้างความร่วมมือกัน ระหว่ า งผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย ในกลุ ่ ม ต่ า งๆ ตามบทบาทและหน้ า ที่ ทั้งนี้ เพื่อให้กิจการของบริษัทฯ ด�ำเนินไปด้วยดี มีความมั่นคงและ ตอบสนองผลประโยชน์ที่เป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้จัดท�ำ รายงานความรับผิดชอบทางสังคม (รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน) ตามกรอบของ Global Reporting Initiative (GRI) แยกเป็นเล่มต่างหาก จากรายงานประจ�ำปีด้วย

3.8 นโยบายให้กรรมการและผู้บริหารระดับสูงแจ้งการซื้อ/ขาย หุ้นของบริษัทตนเอง บริษัทฯ ก�ำหนดนโยบายให้กรรมการและผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ แจ้ ง ต่ อ เลขานุ ก ารบริ ษั ท ทราบ เกี่ ย วกั บ การซื้ อ /ขายหุ ้ น ตนเอง อย่างน้อย 1 วันล่วงหน้า ก่อนท�ำการซื้อ/ขาย เพื่อเลขานุการบริษัท จะได้เก็บเป็นฐานข้อมูลส�ำหรับกรรมการและผู้บริหารแต่ละคน

132


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

: สวัสดิการเงินช่วยเหลือ เช่น การมอบของขวัญในพิธีมงคลสมรส การให้ทุนการศึกษาบุตร ของเยี่ยมกรณีเจ็บป่วยต้องเข้ารักษาตัว 4.1.1 คณะกรรมการได้ ก� ำ หนดนโยบายการปฏิ บั ติ ต ่ อ ผู ้ มี ส ่ ว น ที่โรงพยาบาล เงินช่วยเหลือกรณีประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติ ได้เสียแต่ละกลุ่ม ดังนี้ เงินช่วยเหลือกรณีเสียชีวิต และค่าพวงหรีดเพื่อเคารพศพ กรณี ผู ้ ถื อ หุ ้ น : บริ ษั ท ฯ มุ ่ ง มั่ น เป็ น ตั ว แทนที่ ดี ข องผู ้ ถื อ หุ ้ น เหตุ เ พราะ พนักงาน คู่สมรส บิดา มารดา ของพนักงานเสียชีวิต ตระหนักดีว่าผู้ถือหุ้น คือ เจ้าของกิจการ ดังนั้นในการด�ำเนินธุรกิจ : ประกันสุขภาพและประกันชีวิต เช่น การตรวจสุขภาพพนักงาน บริ ษั ท ฯ จึ ง มุ ่ ง มั่ น สร้ า งความพึ ง พอใจสู ง สุ ด ให้ กั บ ผู ้ ถื อ หุ ้ น โดย ประจ� ำ ปี , การประกั น สุ ข ภาพกลุ ่ ม และประกั น อุ บั ติ เ หตุ ก ลุ ่ ม ค�ำนึงถึงการเจริญเติบโตของมูลค่าบริษทั ฯ ในระยะยาวด้วยผลตอบแทน ซึ่งพนักงานในระดับเท่ากัน (แบ่งตาม Band) จะได้รับสวัสดิการ ที่ดีและต่อเนื่อง รวมทั้งด�ำเนินการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใสและ เท่ า เที ย มกั น โดยไม่ แ บ่ ง แยกเพศ เชื้ อ ชาติ อายุ และศาสนา เชื่อถือได้ต่อผู้ถือหุ้น โดยมีแนวปฏิบัติ ดังนี้ โดยจะคุ้มครองทั้งตัวพนักงาน คู่สมรส และบุตรของพนักงาน (1) ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด ้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ตลอดจนตั ด สิ น ใจ : สวัสดิการ ซื้อที่อยู่อาศัย, การได้รับส่วนลดพิเศษกรณีซื้อบ้าน ด�ำเนินการใดๆ ด้วยความระมัดระวังรอบคอบ และเป็นธรรม ทาวน์เฮ้าส์ คอนโดมิเนียมของ บริษัทฯ ต่อผู้ถือหุ้นทุกราย เพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นโดยรวม : กองทุน เช่น กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพเพื่อเป็นการเก็บออมและ (2) น�ำเสนอรายงานสถานภาพของบริษัทฯ ผลประกอบการ ฐานะ สร้างหลักประกันให้แก่พนักงานและครอบครัว โดยเงินสะสม ข้อมูลทางการเงิน การบัญชีและรายงานอื่นๆ โดยสม�่ำเสมอ ส่ ว นนี้ จ ะขึ้ น อยู ่ กั บ ความสมั ค รใจและอายุ ง านของพนั ก งาน และครบถ้วนตามความเป็นจริง โดยอั ต ราเงิ น สมทบของบริ ษั ท ฯ อยู ่ ร ะหว่ า งร้ อ ยละ 5 - 10, (3) รายงานให้ผู้ถือหุ้นทราบอย่างเท่าเทียมกันถึงแนวโน้มในอนาคต กองทุนประกันสังคม, กองทุนเงินทดแทนกรณีเ จ็บป่วยได้รับ ของบริ ษั ท ฯ ทั้ง ในด้า นบวกและด้า นลบ ซึ่ง ตั้ง อยู่บนพื้นฐาน อุบัติเหตุเนื่องจากการท�ำงาน ของความเป็นไปได้ มีขอ้ มูลสนับสนุน และมีเหตุมผี ลอย่างเพียงพอ : สิทธิประโยชน์อื่นๆ เช่น ค่าคอมมิชชั่น การให้ทุนการศึกษาบุตร, (4) ไม่แสวงหาผลประโยชน์ให้ตนเองและผู้อื่น โดยใช้ข้อมูลใดๆ Fitness & Sport club ค่ า โทรศั พ ท์ ป ระจ� ำ เดื อ น ค่ า ตั ด ชุ ด ของบริษัทฯ ซึ่งยังไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณะ หรือด�ำเนินการใดๆ เครือ่ งแบบพนักงาน (สูทสากล) เงินรางวัลให้กบั พนักงานทีม่ อี ายุครบ ในลั ก ษณะที่อาจก่อให้เกิด ความขัด แย้ง ทางผลประโยชน์กับ 10 ปี และ 20 ปี การหยุดพักผ่อนประจ�ำปี การลาเพื่อรับราชการ ทหาร การลาคลอดบุตร ตั๋วหนังหรือบัตรก�ำนัลส�ำหรับซื้อสินค้า องค์กร ในวันเกิด ของขวัญในเทศกาลปีใหม่ ฯลฯ (5) บริ ษั ท ฯ ต้ อ งปฏิ บั ติ ต ่ อ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ทุ ก รายอย่ า งเท่ า เที ย มกั น นอกจากนั้นบริษัทฯ ยังมีแนวปฏิบัติที่ดีส�ำหรับพนักงาน เนื่องจาก ในการประชุมผู้ถือหุ้น บริษทั ฯ เล็งเห็นว่าการให้ความส�ำคัญกับพนักงาน ถือเป็นความรับผิดชอบ พนั ก งาน : พนั ก งานเป็ น ทรั พ ยากรอั น มี ค ่ า สู ง สุ ด และเป็ น ปั จ จั ย ต่อสังคมอันดับแรกทีบ่ ริษทั ฯ พึงกระท�ำ เพราะการทีพ่ นักงานมีความสุข ส�ำคัญสู่ความส�ำเร็จของบริษัทฯ ในการท�ำงาน จะสะท้อนออกมาในรูปของผลงานที่มีคุณภาพและ บริ ษั ท ฯ จึ ง ได้ มุ ่ ง พั ฒ นาเสริ ม สร้ า งวั ฒ นธรรมและบรรยากาศการ ความยั่งยืนขององค์กร โดยมีแนวปฏิบัติ ดังนี้ 4.1 การก�ำหนดนโยบายการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย

ท�ำงานที่ดี รวมทั้งส่งเสริมการท�ำงานเป็นทีม ปฏิบัติต่อพนักงานด้วย ความสุภาพและให้ความเคารพต่อความเป็นปัจเจกชน การว่าจ้าง แต่ ง ตั้ ง และโยกย้ า ยพนั ก งานจะพิ จ ารณาบนพื้ น ฐานของคุ ณ ธรรม และการใช้ทรัพยากรบุคคลให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่บริษัทฯ และ ถื อ ปฏิ บั ติ ต ่ อ พนั ก งานอย่ า งเท่ า เที ย มกั น ไม่ ค� ำ นึ ง ถึ ง เพศ สั ญ ชาติ เชื้อชาติ ศาสนาหรือความเชื่อ

(1) ความเป็นส่วนตัว

สิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล ต้องได้รับความคุ้มครองไม่ให้ถูกล่วงละเมิด จากการใช้ การเปิ ด เผย หรื อ การถ่ า ยโอนข้ อ มู ล ส่ ว นบุ ค คล เช่ น ชีวประวัติ ประวัติสุขภาพ ประวัติการท�ำงาน หรือข้อมูลส่วนตัวอื่นๆ ไปยังบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจท�ำให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของ หรื อ บุ ค คลอื่ น ใด ทั้ ง นี้ การล่ ว งละเมิ ด ถื อ เป็ น ความผิ ด ทางวิ นั ย นโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับค่าตอบแทน สวัสดิการ สิทธิ เว้ น แต่ ไ ด้ ก ระท� ำ ไปตามหน้ า ที่ โ ดยสุ จ ริ ต หรื อ ตามกฎหมาย หรื อ ประโยชน์ของพนักงาน และกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ เพื่อประโยชน์ของส่วนรวม บริษัทฯ มีความรับผิดชอบในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อมการท�ำงาน ให้มีความปลอดภัยต่อชีวิต ทรัพย์สินของพนักงานอยู่เสมอและยึด มั่นปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานอย่างเคร่งครัด นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังมีนโยบายดูแลเรื่องค่าตอบแทน ซึ่งสอดคล้อง กั บ ผลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ทั้ ง ในระยะสั้ น และระยะยาว โดยจะพิจารณาจากความสามารถในการท�ำก�ำไรในแต่ละปี และ การวัดผลการปฏิบัติงานตาม Balanced Scorecard รวมทั้งสวัสดิการ ของพนักงาน อาทิ เช่น

1.1 คุ้มครองข้อมูลส่วนตัวของพนักงานที่อยู่ในความครอบครอง หรืออยู่ในการดูแลรักษาของบริษัทฯ 1.2 การเปิดเผย หรือถ่ายโอนข้อมูลส่วนตัวของพนักงานสูส่ าธารณะ จะท�ำได้ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจากพนักงานผู้นั้น 1.3 จ�ำกัดการเปิดเผยและการใช้ข้อมูลส่วนตัวของพนักงานและ ผู้เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ เท่าที่จ�ำเป็น

133


รายงานประจํ า ปี 2560

(2) ความเสมอภาคและโอกาสที่เท่าเทียม

สั ม มนาที่ บ ริ ษั ท ฯ จั ด ขึ้ น ภายใน และการอบรมสั ม มนา/ กั บ หน่ ว ยงานภายนอก เพราะบริ ษั ท ฯ เชื่ อ ว่ า “พนั ก งาน พฤกษา” คื อ ทรั พ ยากรที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ของบริ ษั ท ฯ ดั ง นั้ น บริษัทฯ จึงมุ่งพัฒนาพนักงานทุกต�ำแหน่งให้มีความรู้และ ทักษะที่พัฒนาต่อยอดไม่มีวันสิ้นสุด ทั้งนี้ ศูนย์รวมการเรียนรู้ หรือเว็บไซด์ Pruksa School ของบริษัทฯ จัดท�ำขึ้นโดยมี วัตถุประสงค์ เพือ่ เป็นการยกระดับความรู้ ทักษะ ความสามารถ ของพนั ก งาน และพั ฒ นาการท� ำ งานอย่ า งมื อ อาชี พ โดยพนักงานของบริษัทฯ ทุกคนสามารถเข้าถึงระบบการ ฝึกอบรมได้อย่างสะดวก ทุกที่ ทุกเวลา ผ่าน PC, Notebook, Tablet และ Smart phone เพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ พ นั ก งาน มีความก้าวหน้าในการท�ำงานต่อไป

2.1 บริ ษั ท ฯ จะปฏิ บั ติ ต ่ อ พนั ก งานด้ ว ยความเคารพในเกี ย รติ และศักดิ์ศรี

2.2 บริษัทฯ จะคัดเลือกบุคคลเพื่อว่าจ้างให้ด�ำรงต�ำแหน่งต่างๆ ด้ ว ยความเป็ น ธรรม โดยค� ำ นึ ง ถึ ง คุ ณ สมบั ติ ข องแต่ ล ะ ต� ำ แหน่ ง งาน คุ ณ วุ ฒิ ท างการศึ ก ษา ประสบการณ์ แ ละ ข้อก�ำหนดอื่นๆ ที่จ�ำเป็นแก่งานโดยไม่มีข้อกีดกันเรื่องเพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา

2.3 บริษัทฯ จะก�ำหนดค่าตอบแทนแก่พนักงานอย่างเป็นธรรม ตามความเหมาะสมกั บ สภาพและลั ก ษณะของงาน ผลการปฏิบัติงานและความสามารถของบริษัทฯ ในการจ่าย โดยในปี 2560 ที่ผ่านมา พนักงานทั้งหมดของบริษัทฯ ตั้งแต่ระดับ ค่าตอบแทนนัน้ ปฏิบัติการ ผู้บังคับบัญชาระดับต้น ผู้บังคับบัญชาระดับกลาง และ 2.4 บริษัทฯ โดยหน่วยงาน Pruksa School Learning Center ผู้บังคับบัญชาระดับสูง ได้เข้ารับการฝึกอบรมและพัฒนาซึ่งครอบคลุม จะสนั น สนุ น ให้ พ นั ก งานได้ รั บ การฝึ ก อบรมและพั ฒ นา ทุกสายอาชีพ เฉลี่ย 22 ชั่วโมงต่อคน แบ่งเป็นพนักงานหญิงเฉลี่ย เพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพในการท�ำงาน ทั้งการอบรม/ 17 ชั่ ว โมงต่ อ คน และพนั ก งานชายเฉลี่ ย 25 ชั่ ว โมงต่ อ คน และ หลักสูตรที่บริษัทฯ ได้จัดขึ้นส�ำหรับพนักงานเข้าใหม่และพนักงาน ที่ปฏิบัติงานเดิมมีดังนี้

ประเภทพนักงาน 1. พนักงานใหม่

134

หมวดวิชา หมวดวิชาส�ำหรับพนักงานใหม่

ชื่อหลักสูตร 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ปฐมนิเทศพนักงานใหม่ โดยจัดสอนเรื่อง - สิทธิมนุษยชน - การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี - จรรยาบรรณธุรกิจ - จริยธรรมพฤกษา (Ethic) - การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ความรู้พื้นฐานด้านเทคโนโลยีการก่อสร้างของพฤกษา การใช้งานระบบ ESS, MSS Corporate IT System ความรู้เรื่องระบบ SAP ส�ำหรับ Site Staff ความรู้เรื่องระบบ SAP ส�ำหรับ Store Staff ความปลอดภัยในการท�ำงาน การเรียนรู้พฤกษาเทคโนโลยี ความรู้เบื้องต้นของห่วงโซ่อุปทานในงาน อสังหาริมทรัพย์


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ประเภทพนักงาน 2. พนักงานที่ปฏิบัติงานเดิม

หมวดวิชา หมวดวิชาตามกลุ่มอาชีพ

หมวดวิชาพัฒนาตนเอง

หมวดวิชาด้านคุณภาพและ ความปลอดภัย

ชื่อหลักสูตร 1. Project Feasibility & Project Budgeting 2. CRM for Sales & Marketing 3. การฝึกซ้อมแผนรับมือเหตุฉุกเฉินของโครงการ และ โรงงาน Precast 4. การบริหารจัดการอาคารชุด 5. Basic Property Management แนวราบ 6. Update หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการพิจารณาสินเชื่อ ส�ำหรับพนักงานขาย 7. How to turn data to be an opportunity 8. Pruksa Digital Academy 2017 (เจาะการตลาดด้วยการ ค้นหาด้วย Google Adsword) 9. พัฒนาบุคลิกภาพเพื่อยกระดับมาตรฐานพนักงานขาย (Personality for Success) 10. การใช้งานปั้นจั่นเคลื่อนที่ให้ปลอดภัย ผู้ให้สัญญาณ ผู้ยึดเกาะ 11. Foreman Skill Development 12. Sales for Success 13. มุมมองการวิเคราะห์กลุ่มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 1. ก้าวสู่การเป็นพี่เลี้ยงอย่างมืออาชีพ 2. Active Listening 3. ครบเครื่องเรื่อง การเป็นหัวหน้างาน 4. การแต่งหนังสือเสริมสร้างบุคลิกภาพ 5. Finance for Non Finance 6. Time Management 7. Change Agent 8. Presentation Essentials Band 4 - 5 9. บริการเหนือชั้นด้วยจิตคิดบวก 10. กลยุทธ์การท�ำ Improvement & Roll Out Award 11. Negotiation 12. Train the Trainer 13. Bank Matching & Online Approval System 14. เทคนิคการเจรจาต่อรองและสร้างความพึงพอใจ ให้กับลูกค้า 15. โครงการพัฒนาผู้บริหารธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ (Mini MRE) 1. คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน 2. การอบรมดับเพลิงขั้นต้น 3. การใช้งานปั้นจั่นเคลื่อนที่ให้ปลอดภัย ผู้ให้สัญญาณ ผู้ยึดเกาะ 4. Introduction ISO 9001:2015 และเทคนิคการเขียน WI

135


รายงานประจํ า ปี 2560

ประเภทพนักงาน

หมวดวิชา

ชื่อหลักสูตร

หมวดวิชาพัฒนาภาวะผู้น�ำและ การบริหารจัดการ หมวดวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. Leadership Program (2) 2. IDP for Subordinate 1. การใช้งานโปรแกรม MS Project 2. การใช้งานโปรแกรม Excel ชั้นสูง 3. การใช้งานระบบ I Construction V2 4. การอนุมัติงบประมาณเพื่อการก่อสร้างเพราะ การตรวจสอบงบเบื้องต้น 5. การใช้งานโปรแกรม Powerpoint ชั้นสูง

(โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน “รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน” หมวด การพัฒนาบุคลากร และการส่งเสริมความก้าวหน้าทางอาชีพ/ข้อมูล การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน)

2.5 บริษัทฯ ตระหนักว่า การสื่อสารที่ดีจะน�ำมาซึ่งประสิทธิภาพ และความสัมพันธ์อันดีในการท�ำงานร่วมกัน โดยบริษัทฯ จะส่งเสริมให้พนักงานได้รับแจ้งข่าวสารที่เกี่ยวข้องอยู่เสมอ ตามโอกาสอันควรและเท่าที่จะท�ำได้

เป็นผู้ดูแลพนักงาน เพราะตระหนักว่าพนักงานเป็นสินทรัพย์ที่คุ้มค่า กับการลงทุน บริษัทฯ จะเป็นแบรนด์อันดับ 1 ในใจลูกค้า ไม่ได้เกิด จากการด�ำเนินการของประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม หรือผู้บริหาร เท่านั้น แต่เชื่อว่าจะสามารถสร้างได้โดยพนักงานทุกคนของบริษัทฯ โดยมีวิธีการพัฒนาที่หลากหลาย อาทิ

2.6 บริ ษั ท ฯ จะเปิ ด โอกาสให้ พ นั ก งานมี ช ่ อ งทางการสื่ อ สาร เสนอแนะและร้องทุกข์ในเรื่องคับข้องใจเกี่ยวกับการท�ำงาน (1) การจัดท�ำวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัฒนธรรมพฤกษา (Pruksa Culture) ซึ่งข้อเสนอต่างๆ จะได้รับการพิจารณาอย่างจริงจังและ ค่านิยมพฤกษา (Pruksa Value) และภาวะผู้น�ำ (Leadership ก�ำหนดวิธีการแก้ไข เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ทุกฝ่ายและ Competency) เพือ่ ให้เป็นแนวทางในการปฏิบตั ขิ องคนทัง้ องค์กร สร้างความสัมพันธ์อันดีในการท�ำงานร่วมกัน (2) การสรรหาและคั ด เลื อ กพนั ก งานที่ เ ข้ า มาท� ำ งานโดยใช้ (3) การล่วงละเมิด Competency Based Interview เพื่อให้สามารถรับผู้สมัคร ที่ ส อดคล้ อ งกั บ วั ฒ นธรรม ค่ า นิ ย มและ Leadership 3.1 ผูบ้ งั คับบัญชาพึงปฏิบตั ติ นให้เป็นทีเ่ คารพนับถือของพนักงาน Competency ในแบบของพฤกษา โฮลดิ้ ง เพราะบริ ษั ท ฯ และพนักงานไม่พึงกระท�ำการใดๆ อันเป็นการไม่เคารพ เชื่ อ ว่ า สิ่ ง เหล่ า นี้ ท� ำ ให้ ป ระสบความส� ำ เร็ จ ในรอบระยะเวลา นับถือผู้บังคับบัญชา มากกว่า 20 ปีที่ผ่านมา 3.2 พนักงานต้องไม่กระท�ำการใดๆ ทีเ่ ป็นการละเมิด หรือคุกคาม (3) ระบบการอบรมตามแผนการอบรมประจ�ำปี โดยหลักสูตรการ ไม่ว่าจะเป็นทางวาจา หรือการกระท�ำต่อผู้อื่นบนพื้นฐาน ฝึกอบรมทีม่ ที งั้ ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั จิ ริง การสร้างวัฒนธรรม ของเชื้อชาติ เพศ ศาสนา อายุ ความพิการทางร่างกาย การสอนงาน (Coaching) โดยหัวหน้างานอย่างเป็นระบบ ระบบ และจิตใจ การดู แ ลพนั ก งานใหม่ โ ดยระบบพี่ เ ลี้ ย ง (Mentor Program) (โปรดดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ใน “รายงานการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ” หมวด การจัดการด้านสิทธิมนุษยชน)

การพัฒนาในรูปแบบการมอบหมายงานที่ให้พนักงานสามารถ ฝึกปฏิบัติจริงได้และมีกรอบการด�ำเนินงานที่เป็นนโยบายชัดเจน ซึ่งทั้งหมดนี้เอื้อให้หัวหน้างานและพนักงานสามารถวางแผน เพื่อรับการพัฒนาร่วมกันได้อย่างเหมาะสม

นโยบายการพัฒนาความรู้ศักยภาพของพนักงาน

การจัด Talent & Succession Planning โดยมีการก�ำหนด Talent โดยมี หั ว หน้ า งานร่ ว มกั บ สายงานทรั พ ยากรบุ ค คล เพื่ อ ระบุ ผู ้ ที่ มี ค วามสามารถสู ง (Talent) ซึ่ ง พิ จ ารณาจากผล การปฏิบัติงานและคุณลักษณะส่วนบุคคลที่มีศักยภาพ ทั้งด้าน ความสามารถในการบริหารจัดการและความสามารถในการ ปฏิ บั ติ ง าน การระบุ จั ด ท� ำ แผนทดแทนต� ำ แหน่ ง งานส� ำ หรั บ ผู้บริหารระดับฝ่ายขึ้นไป (Department, Division, SBU/BU) โดยการก�ำหนดทัง้ Talent, Successor นัน้ ยังค�ำนึงถึงความจ�ำเป็น ทางธุรกิจ โดยวิเคราะห์เป้าหมายเชิงกลยุทธ์ระยะยาวขององค์กร ร่วมด้วย

3.3 เคารพความคิดเห็นซึ่งกันและกัน

บริ ษั ท ฯ มี น โยบายและแนวคิด ในการพัฒนาพนักงานให้เป็นผู้ที่มี ความสามารถและมีแนวทางการพัฒนา เพื่อให้พร้อมที่จะปฏิบัติงาน ในหน้าทีข่ องตนเองอย่างสมบูรณ์ ครบถ้วนและยังมีแนวทางการพัฒนา เพื่อการเติบโตก้าวหน้าในต�ำแหน่งงาน ส่งผลให้บุคลากรสามารถใช้ ศักยภาพในการท�ำงานได้อย่างเต็มความสามารถ เพื่อส่งมอบผลงาน ที่ มี คุ ณ ภาพไปยั ง ลู ก ค้ า ทั้ ง ภายในและภายนอก อี ก ทั้ ง ความรู ้ แ ละ ทั ก ษะที่ พ นั ก งานได้ รั บ นั้ น ยั ง เป็ น ความรู ้ ที่ ติ ด ตั ว ไปกั บ พนั ก งาน ซึ่งสามารถน�ำไปต่อยอดในการท�ำงานในอนาคตและหลังจากเกษียณ อายุไปแล้วได้อีกด้วย โดยบริษัทฯ ได้จัดให้สายงานทรัพยากรบุคคล

136

(4)


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

(5)

สนับสนุนให้พนักงานทราบเส้นทางการเติบโต (Career Path) ที่ ชั ด เจน โดยพนั ก งานจะทราบว่ า ต� ำ แหน่ ง ถั ด ไปของตนเอง ตามสายอาชี พ คื อ อะไรและมี ก ารก� ำ หนดความรู ้ ทั ก ษะและ ตัววัดผลงานของต�ำแหน่งถัดไป เพือ่ ให้พนักงานสามารถวางแผน อาชี พร่ วมกั บหัวหน้า งาน ตลอดจนก�ำหนดวิธีการปฏิบัติงาน และวิ ธี ก ารพั ฒ นาตนเอง เพื่ อ ให้ ส ามารถไปสู ่ เ ป้ า หมาย ทางอาชีพที่ได้ตั้งไว้

(6)

ส�ำรวจความผูกพันของพนักงานที่มีต่อองค์กรอย่างสม�่ำเสมอ ปีละ 1 ครัง้ โดยผลการส�ำรวจดังกล่าวจะถูกน�ำมาก�ำหนดแผนงาน ร่วมกันทั้งองค์กรในการที่จะเพิ่มระดับความผูกพันของพนักงาน ต่อองค์กรให้มากยิ่งขึ้น ผ่านกิจกรรม แผนงานที่ต้องด�ำเนินการ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งและบรรจุ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของตั ว ชี้ วั ด ผลงานของ ผู้บริหารด้วย

(โปรดดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ใน “รายงานการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ” หมวด การพัฒนาบุคลากร ) นโยบายการสนับสนุนความก้าวหน้าทางอาชีพอย่างเท่าเทียมกัน ในการพัฒนาตนเอง พนักงานทุกคนจะต้องวางแผนการพัฒนาตนเอง ร่วมกับผูบ้ งั คับบัญชา ในการก�ำหนดแผนพัฒนาส่วนบุคคล (Individual Development Plan) โดยพิจารณาจากจุดแข็ง และจุดที่ต้องพัฒนา ของพนักงาน เพื่อน�ำมาก�ำหนดเป็นแผนพัฒนารายบุคคล โดยล�ำดับ ความส�ำคัญในการพัฒนา และใช้หลักในการพัฒนาแบบ 70 - 20 - 10 คือ (1)

ซึ่งบริษัทฯ จะยึดหลักจริยธรรมในการสรรหาและว่าจ้าง โดยไม่มี การเลือกปฏิบัติทั้งในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา สีผิว ความบกพร่องทาง ด้านร่างกาย เพศ ภาษา ความเชื่อทางการเมือง ความเชื่อในทางอื่น ใด ชาติพันธุ์หรือก�ำเนิด พื้นเพทางสังคม/ทรัพย์สิน หรือสถานะ โดย จะพิ จ ารณาถึ ง ความเหมาะสมของหน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบเป็ น รายๆ ไป รวมทั้ ง ไม่ มี ก ารใช้ แ รงงานเด็ ก แรงงานเกณฑ์ หรื อ แรงงานบั ง คั บ และบริษัทฯ ไม่อนุมัติให้ว่าจ้างพนักงานเข้าด�ำรงต�ำแหน่งใดๆ โดยที่ ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาและผู ้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาโดยตรงมี ค วามสั ม พั น ธ์ แ บบ เครือญาติ หรือสมาชิกในครอบครัว ท�ำให้ทุกคนมีโอกาสเท่าเทียมกัน ในการเข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงานของ บริษัทฯ โดยมุ่งเน้นที ่ ความสามารถและความเหมาะสมกับต�ำแหน่งงานนั้นๆ อีกทั้งบริษัทฯ ยังได้ปฏิบัติตามกฎหมายเรื่อง การจ้างคนงานพิการโดยประสานงาน กับหน่วยงานราชการ สมาคมคนพิการต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้ผู้พิการ ได้มีงานท�ำ ในปีใดที่บริษัทฯ ไม่สามารถจัดจ้างพนักงานผู้พิการได้ บริษัทฯ จะส่งเงินสมทบเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต คนพิการ เพือ่ เป็นทุนส�ำหรับการใช้จา่ ยเกีย่ วกับการคุม้ ครองและพัฒนา คุณภาพชีวิตคนพิการต่อไป นอกจากนั้ น แล้ ว บริ ษั ท ฯ ยั ง ปฏิ บั ติ ต ่ อ พนั ก งานด้ ว ยความเคารพ ในเกียรติ และศักดิ์ศรี รวมทั้งสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล และพนักงาน ทุกคนจะได้รับความคุ้มครองไม่ให้ถูกละเมิดจากการใช้ การเปิดเผย หรือการถ่ายโอนข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ชีวประวัติ ประวัติสุขภาพ ประวัติการท�ำงาน หรือข้อมูลส่วนตัวอื่นๆ ไปยังบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจท�ำให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของหรือบุคคลอื่นใด เว้นแต่ ได้กระท�ำไปตามหน้าที่โดยสุจริต หรือตามกฎหมาย หรือเพื่อประโยชน์ ของส่วนรวม โดยหากพนักงานไม่ได้รับความเป็นธรรมหรือถูกละเมิด สิ ท ธิ บริ ษั ท ฯ เปิ ด โอกาสให้ พ นั ก งานสามารถร้ อ งเรี ย นขอความ เป็นธรรมได้ อีกทั้งยังส่งเสริมและเปิดโอกาสให้พนักงานได้ร่วมแสดง ความคิดเห็น หรือร้องเรียนเกี่ยวกับการถูกละเมิดสิทธิของแต่ละบุคคล

มอบหมายหน้าที่งานที่ท้าทาย ที่มุ่งเพื่อการพัฒนา (Experiential Learning) ในอัตราส่วน 70% ซึ่งพนักงานจะได้รับการสนับสนุน จากองค์ ก รเพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มในการเข้ า รั บ งานดั ง กล่ า ว การมอบหมายงานนี้เป็นไปเพื่อพัฒนาทักษะภาวะผู้น�ำ ผู้เข้าร่วม โครงการมีบทบาทหลักในการท�ำความเข้าใจ ความคาดหวังต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเป้าหมายของงาน ความส�ำเร็จ สิ่งที่จะต้องเรียนรู้ ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังได้ตระหนักและให้ความส�ำคัญในด้านสิทธิมนุษยชน และวิธีการน�ำสิ่งที่เรียนรู้ไปใช้ รวมถึงวิธีการวัดผลส�ำเร็จ เกี่ยวกับความเสมอภาคในการจัดซื้อ จัดหา และการปฏิบัติต่อคู่ค้า (2) จั ด ให้ พ นั ก งานได้ รั บ ค� ำ แนะน� ำ จากผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง หรื อ และคู ่ สั ญ ญา โดยมี ก ารแข่ ง ขั น บนข้ อ มู ล ที่ เ ท่ า เที ย มกั น และคู ่ ค ้ า ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง เช่น มีพี่เลี้ยง (Coaching & Mentoring) คู่สัญญา จะต้องไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือกระท�ำการใดที่เป็นการ หรือได้รับการ Feedback จากผู้บังคับบัญชา หรือการประชุมทีม ฝ่าฝืนต่อกฎหมาย เช่น การใช้แรงงานเด็ก เป็นต้น เพื่อจะได้เรียนรู้ซึ่งกันและกันในทีม ในอัตราส่วน 20% (โปรดดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ใน “รายงานการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ” (3) เรียนรู้อย่างเป็นทางการ (Formal Learning) เช่น การเข้าอบรม หมวด แนวทางการจัดการด้านสิทธิมนุษยชน)

ในอัตราส่วน 10%

ลูกค้า : บริษัทฯ มุ่งด�ำเนินธุรกิจโดยประสงค์ที่จะให้มีการสร้างสรรค์ โดยก� ำ หนดต� ำ แหน่ ง งานในอนาคตทั้ ง ระยะสั้ น และระยะยาว น�ำเสนอและบริหารจัดการสินค้าและบริการแก่ลูกค้าอย่างมีมาตรฐาน เพื่อก�ำหนดทิศทางในการพัฒนาตนเองส�ำหรับการเข้าด�ำรงต�ำแหน่ง และมีจริยธรรม ภายใต้หลักการด�ำเนินงานดังนี้ ในอนาคต ทั้งการโอนย้ายต�ำแหน่งในระดับเดียวกัน หรือการเลื่อน (1) ส่งมอบผลิตภัณฑ์และบริการที่มีคุณภาพ ตรงตามมาตรฐาน ต�ำแหน่งในระดับที่สูงขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้ เ งื่ อ นไขที่ เ ป็ น ธรรมและมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะยกระดั บ มาตรฐาน ให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องและจริงจัง รวมทั้งเปิดเผยข่าวสารข้อมูล นโยบายที่จะไม่เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน เกี่ยวกับสินค้าและบริการอย่างครบถ้วน ถูกต้องและไม่บิดเบือน บริ ษั ท ฯ มี น โยบายที่ จ ะไม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การละเมิ ด สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ข้อเท็จจริง โดยมีแนวทางการจัดการด้านสิทธิมนุษยชน คือ เรื่อง การสรรหาว่าจ้าง (2) ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการที่ถูกต้อง เพียงพอ และ ทันต่อเหตุการณ์แก่ลูกค้า เพื่อให้ลูกค้ามีข้อมูลเพียงพอในการ

137


รายงานประจํ า ปี 2560

ตัดสินใจ โดยไม่มีการกล่าวเกินความเป็นจริง ทั้งในการโฆษณา ทราบทันที พร้อมเสนอแนะแนวทางปรับปรุง เพื่อให้เกิดความโปร่งใส หรือในการสื่อสารช่องทางอื่นๆ กับลูกค้า อันเป็นเหตุให้ลูกค้า เป็นธรรมในการจัดซื้อ จัดจ้างแก่คู่ค้าทุกราย ซึ่งบริษัทฯ จะให้ความ เกิดความเข้าใจผิดเกี่ยวกับคุณภาพ ปริมาณ หรือเงื่อนไขใดๆ เป็นธรรม และคุ้มครองแก่คู่ค้าทุกรายอย่างเสมอภาค และเท่าเทียม ของสินค้าหรือบริการ การสรรหา จัดซื้อ จัดจ้าง และการปฏิบัติต่อคู่ค้า (3) ตอบสนองความต้ อ งการของลู ก ค้ า ด้ ว ยความรวดเร็ ว และ จั ด ให้ มี ร ะบบ และช่องทางการติด ต่อ หรือร้องเรีย นเกี่ยวกับ 1. บริษัทฯ ประสงค์ที่จะให้การจัดหาสินค้าและบริการเป็นไปอย่าง คุณภาพของสินค้าและบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอด มีมาตรฐานภายใต้หลักการดังต่อไปนี้ 24 ชั่ ว โมง ผ่ า น www.psh.co.th และ Pruksa Contact 1.1 มีการแข่งขันบนข้อมูลที่เท่าเทียมกัน Center 1739 1.2 มีหลักเกณฑ์ในการประเมินและคัดเลือกคู่ค้าและคู่สัญญา (4) รั ก ษาข้ อ มู ล และความลั บ ของลู ก ค้ า โดยไม่ น� ำ ข้ อ มู ล ไปใช้ ในทางที่มิชอบ เว้นแต่เป็นข้อมูลที่ต้องเปิดเผยต่อบุคคลภายนอก 1.3 จัดท�ำรูปแบบสัญญาที่เหมาะสม ที่เกี่ยวข้องตามบทบังคับของกฎหมาย 1.4 จั ด ให้ มี ร ะบบการจั ด การ และติ ด ตามเพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า คู่แข่ง : บริษัทฯ มุ่งด�ำเนินธุรกิจ โดยประสงค์ที่จะประสบความส�ำเร็จ อย่ า งยั่ ง ยื น และด� ำ รงความเป็ น บริ ษั ท ฯ ชั้ น น� ำ ในธุ ร กิ จ ภายใต้ การแข่งขันในอุตสาหกรรมอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม โดยการ สนับสนุนและส่งเสริมนโยบายการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรีและ เป็นธรรม ไม่ผูกขาด หรือก�ำหนดให้คู่ค้าต้องขายสินค้าของบริษัทฯ เท่านั้น และไม่มีนโยบายในการแข่งขันทางการค้า โดยใช้วิธีการใดๆ ให้ได้มาซึ่งข้อมูลของคู่แข่งขันอย่างผิดกฎหมายและขัดต่อจริยธรรม โดยมีหลักการปฏิบัติตัวต่อคู่แข่งทางการค้า ดังนี้ (1) ประพฤติปฏิบัติภายใต้กรอบกติกาของการแข่งขันที่ดี

มีการปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขของสัญญาอย่างครบถ้วน และป้องกัน การทุ จ ริ ต ประพฤติ มิ ช อบในทุ ก ขั้ น ตอนของกระบวนการ จัดหา

1.5 จ่ายเงินให้คคู่ า้ และคูส่ ญ ั ญาตรงเวลา ตามเงือ่ นไขการช�ำระเงิน ที่ตกลงกัน

2.

บริ ษั ท ฯ มุ ่ ง หมายที่ จ ะพั ฒ นาและรั ก ษาสั ม พั น ธภาพที่ ยั่ ง ยื น กับคู่ค้าและคู่สัญญาที่มีวัตถุประสงค์ชัดเจนในเรื่องคุณภาพ ของสินค้าและบริการทีค่ มุ้ ค่ากับมูลค่าเงิน คุณภาพทางด้านเทคนิค และมีความเชื่อถือซึ่งกันและกัน

(2) ไม่แสวงหาข้อมูลที่เป็นความลับของคู่แข่งทางการค้า ด้วยวิธีการ 3. ห้ามผู้บริหารและพนักงานทุกคนรับผลประโยชน์ใดๆ เป็นส่วนตัว ที่ไม่สุจริต หรือไม่เหมาะสม เพื่อผลประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจ จากคู่ค้าและคู่สัญญาไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม ของบริษัทฯ 4. ออกหนังสือแจ้งแก่นายหน้า คู่ค้า และสถาบันการเงินต่างๆ ว่า (3) ไม่กล่าวหาในทางร้าย หรือมุง่ ท�ำลายชือ่ เสียงแก่คแู่ ข่งทางการค้า บริษทั ฯ งดรับของขวัญ ของก�ำนัล และมีนโยบายไม่รบั งบสนับสนุน (4) ไม่ร่วมในการท�ำสัญญา หรือข้อตกลง อันอาจจะมีผลให้เกิด จากสถาบันการเงินไม่ว่าในรูปแบบใด การขจัดคู่แข่งขันทาง การค้าอย่างไม่สมเหตุสมผล 5. ไม่ เ ข้ า ไปเกี่ ย วข้ อ งในการจั ด ซื้ อ จั ด หากั บ คู ่ ค ้ า หรื อ คู ่ สั ญ ญา คู ่ ค ้ า คู ่ สั ญ ญา : บริ ษั ทฯ มีน โยบายการปฏิบัติต ่อคู่ค ้า ตามหลัก ธรรมาภิบาล (CG) ในการด�ำเนินการสรรหา คัดเลือกคู่ค้า การจัดซื้อ จัดจ้างผู้รับเหมา จัดจ้างผู้ออกแบบ จัดจ้างบริษัทที่ปรึกษานั้น บริษัทฯ ได้เปิดโอกาสให้คู่ค้า ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง/ผู้ให้เช่า ซึ่งต่อไปจะเรียกว่าคู่ค้า ทุกรายเข้ามาประมูลงาน เสนอราคางานจ้างเหมา เสนอราคาขาย วั ส ดุ อุ ป กรณ์ หรื อ รั บ งานออกแบบกั บ บริ ษั ท ฯ ด้ ว ยความโปร่ ง ใส ยุติธรรม เปิดเผย และเป็นธรรมกับคู่ค้าทุกราย ดังนั้น ในกรณีที่คู่ค้า ได้รับการติดต่อจากผู้บริหาร พนักงาน หรือบุคคลใดๆ ในลักษณะ ที่เป็นการเรียกร้องค่าตอบแทน หรือผลตอบแทน หรือประโยชน์อื่นใด เว้นแต่การให้โดยธรรมจรรยา ไม่ว่าจะโดยทางตรง หรือทางอ้อม เพื่ อ ให้ คู ่ ค ้ า ได้ ม าซึ่ ง ประโยชน์ ท างธุ ร กิ จ ของตนเป็ น การตอบแทน หรื อ ในกรณี ที่ คู ่ ค ้ า เห็ น ว่ า กระบวนการสรรหา และคั ด เลื อ กคู ่ ค ้ า ของบริษัทฯ ไม่เป็นไปโดยโปร่งใส ไม่เป็นธรรมกับคู่ค้า หรือเป็นการ ขจัดคู่แข่งทางการค้า บริษัทฯ ขอความร่วมมือให้คู่ค้าแจ้งให้บริษัทฯ

138

ที่ มี ค วามเกี่ ย วพั น กั บ ตนเอง เช่ น เป็ น ครอบครั ว หรื อ ญาติ หรือที่ตนเป็นเจ้าของ หรือหุ้นส่วน

6. ไม่ใช้ขอ้ มูลทีไ่ ด้ทราบอันเนือ่ งมาจากการจัดซือ้ จัดหาเพือ่ ประโยชน์ ส่วนตัว หรือผู้อื่น วิธีการคัดเลือกประเมินคู่ค้า 1. ตรวจสอบและประเมินความพร้อมในการท�ำงาน 2. ประเมินคุณภาพของงาน สินค้าและบริการ 3. ประเมินความตรงต่อเวลาในการส่งมอบงาน สินค้าและบริการ 4. ประเมินความสามารถในการประสานงาน การแก้ไขปัญหา และ ความพร้อมของทีมงาน


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

จรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจของคู่ค้า 1. จรรยาบรรณด้านธุรกิจ

ละเว้นการกระท�ำใดๆ ทีก่ อ่ ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และ/หรือผลประโยชน์ทับซ้อน ละเว้นการละเมิดสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ก�ำหนดช่องทางการรับเรื่องร้องเรียน การมีส่วนร่วมในการพัฒนาและมีความรับผิดชอบต่อสังคม

: รักษาความลับระหว่างกัน

:

:

:

:

2. จรรยาบรรณด้านสิทธิมนุษยชนและแรงงาน

: คู่ค้า จะต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมที่บังคับใช้อย่างเคร่งครัด :

คูค่ า้ จะต้องมัน่ ใจในกระบวนการผลิต มีการติดตัง้ ระบบก�ำจัด และจัดการของเสีย การปล่อยมลพิษทั้งทางอากาศ บนดิน และการระบายน�้ำทิ้งที่เหมาะสม ปลอดภัย โดยจัดให้มี การเฝ้ า ระวั ง ควบคุ ม และตรวจสอบคุ ณ ภาพอยู ่ เ สมอ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าของเสียและผลิตผลจากการผลิตทีป่ ล่อยออก สู่สิ่งแวดล้อมจะไม่ก่อให้เกิดมลพิษใดๆ ทั้งในระยะสั้นและ ระยะยาว

4. จริยธรรมและการปฏิบัติตามกฎหมาย : คู่ค้า จะต้องด�ำเนินธุรกิจด้วยคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัต ิ ตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด

:

คู่ค้า ควรให้ความเคารพต่อสิทธิมนุษยชน ค�ำนึงถึงศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ ความเท่าเทียมกัน ไม่ว่าจะเป็นเพราะ : คู่ค้า จะต้องด�ำเนินธุรกิจโดยปราศจากการให้สินบนในทุก ความแตกต่างทางเชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา เพศ การศึกษา รูปแบบ ความพิการ และมีการปฏิบตั ติ อ่ พนักงานของตนอย่างเป็นธรรม : คู่ค้า จะต้องด�ำเนินธุรกิจด้วยการแข่งขันอย่างเป็นธรรม ตามมาตรฐานสากลและกฎหมาย : คู่ค้า จะต้องมีการจัดท�ำบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการท�ำธุรกิจ : คู ่ ค ้ า จะต้ อ งไม่ มี ก ารบั ง คั บ ใช้ แ รงงานโดยที่ พ นั ก งาน อย่างถูกต้อง และครบถ้วน ของตนไม่สมัครใจ : คู่ค้า จะต้องปกป้องข้อมูลที่เป็นความลับของลูกค้า : คู่ค้า จะต้องไม่จ้างแรงงานเด็กที่อายุไม่ถึงเกณฑ์ตามที ่ กฎหมายก�ำหนด และต้องจัดให้แรงงานได้รับความคุ้มครอง กิจกรรม Supplier CG’s Day ตามที่กฎหมายก�ำหนดทุกประการ ด้วยเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2560 บริษัทฯ ได้จัดงาน Supplier : คูค่ า้ จะต้องจ่ายค่าจ้างและผลประโยชน์อนื่ ใดทีพ่ นักงานของตน CG’s Day ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเชิญชวนคู่ค้าเข้าเป็นแนวร่วม ในการประกาศเจตนารมณ์ในการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่น และยึดมั่น พึงได้รับอย่างถูกต้อง เป็นธรรม ตรงตามก�ำหนดเวลา ในการประกอบธุรกิจตามหลักคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งด�ำเนินธุรกิจ : คูค่ า้ จะต้องไม่ให้พนักงานของตนท�ำงานเป็นเวลานานเกินกว่า ด้วยหลักการในการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ เพื่อสนับสนุนให้ กฎหมายก�ำหนด หากมีความจ�ำเป็นต้องให้ท�ำงานล่วงเวลา เครือข่ายของบริษัทฯ แข็งแรงยิ่งๆ ขึ้นไป จะต้องเป็นไปตามความสมัครใจ การร้องเรียน 3. ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม 1. การแจ้งข้อร้องเรียน : คู่ค้า จะต้องจัดเตรียมสภาพแวดล้อมในการท�ำงานให้มี ความปลอดภั ย และมี สุ ข อนามั ย ให้ แ ก่ พ นั ก งานของตน กรณีที่พบว่า ผู้บริหาร พนักงาน เจ้าหน้าที่ และ/หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมถึ ง จั ด หาอุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น อั น ตรายส่ ว นบุ ค คลให้ แ ก่ กั บ บริ ษั ท ฯ มี พ ฤติ ก รรมอย่ า งใดอย่ า งหนึ่ ง ซึ่ ง ส่ อ ไปในทางทุ จ ริ ต ไม่เป็นธรรม หรือเรียกร้องค่าตอบแทนดังกล่าว คู่ค้าทุกรายสามารถ พนักงานของตนอย่างเพียงพอและเหมาะสม แจ้งให้บริษัทฯ ทราบทันทีผ่านช่องทาง : กรณี เ กิ ด สถานการณ์ ฉุ ก เฉิ น คู ่ ค ้ า จะต้ อ งเตรี ย มพร้ อ ม ต่อสถานการณ์ฉุกเฉิน โดยจะต้องก�ำหนดให้มีการประเมิน - : แจ้งโดยตรงที่ สถานการณ์ มาตรการจัดการด้านผลกระทบ แผนการเตือนภัย (1) ประธานกรรมการบริษัท และจั ด ให้ มี ก ารอบรมให้ แ ก่ พ นั ก งานอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและ เหมาะสม (2) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม

: คูค่ า้ จะต้องมีนโยบายในการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมอย่างชัดเจน (3) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และมีความมุง่ มัน่ ในการใช้ทรัพยากรต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ (4) ประธานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล มีการใช้พลังงานอย่างประหยัดและเหมาะสม (5) ผู้บังคับบัญชา

139


รายงานประจํ า ปี 2560

-

: ทางไปรษณีย์

: Line ID: @pruksacg

: E-mail: cg@pruksa.com

2.4 กรณีที่ผู้ร้องเรียน หรือผู้ที่ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบ ข้ อ เท็ จ จริ ง เห็ น ว่ า ตนอาจได้ รั บ ความไม่ ป ลอดภั ย หรื อ ฝ่ายสื่อสารองค์กร อาจเกิ ด ความเดื อ ดร้ อ นเสี ย หาย ผู ้ ร ้ อ งเรี ย น หรื อ ผู ้ ที่ ใ ห้ ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริงสามารถร้องขอ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) อาคารเพิร์ล แบงก์ค็อก ชั้น 24 เลขที่ 1177 ถนนพหลโยธิน ให้บริษัทฯ ก�ำหนดมาตรการคุ้มครองตามความเหมาะสม หรือบริษัทฯ อาจก�ำหนดมาตรการคุ้มครอง โดยผู้ร้องเรียน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 หรือผู้ที่ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริงไม่ต้อง หรือ ร้องขอก็ได้ หากเห็นว่าเป็นเรื่องที่มีแนวโน้มที่จะเกิดความ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ หรือประธานคณะกรรมการตรวจสอบ เดือดร้อนเสียหาย หรือความไม่ปลอดภัย ผู้ที่ได้รับความ เดื อ ดร้ อ นเสี ย หายจะได้ รั บ การบรรเทาความเสี ย หาย ด้วยกระบวนการที่มีความเหมาะสมและเป็นธรรม บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) อาคารเพิร์ล แบงก์ค็อก ชั้น 24 เลขที่ 1177 ถนนพหลโยธิน เจ้ า หนี้ : บริษัทฯ ก�ำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับเจ้าหนี้ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โดยเฉพาะเรื่องเงื่อนไขค�้ำประกัน การบริหารเงินทุนและกรณีที่เกิด การผิดนัดช�ำระหนี้ไ ว้อย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นเจ้าหนี้ทางการค้า : ทางโทรศัพท์: 1739 หรือเจ้าหนี้สถาบันการเงิน โดยไม่ใ ห้มีการผิดนัดช�ำระหนี้ รวมถึง : ทางเว็บไซต์: www.psh.co.th (หัวข้อร้องเรียน แจ้งเบาะแส การปฏิบัติตามเงื่อนไขที่เจ้าหนี้ก�ำหนดอย่างเคร่งครัด ดังนี้ ขอความเป็ น ธรรม ถึง ประธานกรรมการบริษัท ประธาน กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหาร และ/หรือ (1) ช�ำระหนี้คืนต่อเจ้าหนี้ตรงต่อเวลาตามเงื่อนไขที่ก�ำหนดเพื่อมิให้ เกิดการผิดนัดช�ำระหนี้ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม)

นอกจากผู ้ แ จ้ ง ข้ อ ร้ อ งเรี ย นจะมี ส ่ ว นส� ำ คั ญ ในการช่ ว ยองค์ ก รแล้ ว ผู้แจ้งข้อร้องเรียนยังจะได้รับเงินรางวัลมูลค่าสูงสุด 30,000 บาท (สามหมื่ น บาท) ต่ อ เคส พร้ อ มใบประกาศเกี ย รติ คุ ณ ความดี จ าก ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม อีกด้วย 2.

140

(2) ในการช�ำระหนี้ เงินกูย้ มื ดอกเบีย้ และความรับผิดชอบในหลักประกัน หรือการค�ำ้ ประกันต่างๆ บริษทั ฯ ยึดมัน่ ในสัญญา หรือเงือ่ นไขต่างๆ ที่ตกลงกันไว้อย่างเคร่งครัด (3)

เมื่ อ มี เ หตุ ส� ำ คั ญ อั น อาจกระทบต่ อ สถานะการเงิ น โดยมี นัยส�ำคัญและอาจกระทบต่อหนี้ที่ต้องช�ำระ บริษัทฯ จะบริหาร เงินทุนโดยจะแจ้งให้เจ้าหนี้ทราบเพื่อร่วมกันหาวิธีป้องกัน หรือ แก้ไข เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหาย

มาตรการคุ้ม ครองผู้ร้องเรียน หรือผู้ที่ให้ค วามร่วมมือในการ (4) ปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ ที่เจ้าหนี้ก�ำหนดอย่างเคร่งครัด ตรวจสอบผู้ร้องเรียน หรือผู้ที่ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบ จะได้รับความคุ้มครองตามที่ก�ำหนดไว้ในนโยบายรับข้อร้องเรียน ชุมชนและสังคม : บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญกับชุมชนและสังคมโดยรอบ ด้วยตระหนักดีวา่ เราเปรียบเสมือนส่วนหนึง่ ของสังคม ทีจ่ ะร่วมก้าวเดิน (Whistleblower Policy) โดยมีหลักเกณฑ์ ดังนี้ ไปสู่การพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืนสืบไป บริษัทฯ 2.1 ผูร้ อ้ งเรียน หรือผูท้ ใี่ ห้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริง จึงได้ด�ำเนินกิจกรรมเพื่อชุมชนและสังคมอย่างต่อเนื่องและก�ำหนด สามารถเลือกทีจ่ ะไม่เปิดเผยตนเองได้ หากเห็นว่าการเปิดเผย นโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อเป็นกรอบในการปฏิบัติงาน นัน้ จะท�ำให้เกิดความไม่ปลอดภัย หรือเกิดความเสียหายใดๆ ด้ า นต่ า งๆ ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งานทุ ก คน แต่หากมีการเปิดเผยตนเอง ก็จะท�ำให้บริษัทฯ สามารถ ยึดถือปฏิบัติ เพื่อให้มีการด�ำเนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม รายงานความคืบหน้า ชี้แจงข้อเท็จจริงให้ทราบ หรือบรรเทา ตลอดทุกกระบวนการ (Process) และทั่วทั้งองค์กร ควบคู่ไปกับการ ความเสียหายได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น ด�ำเนินธุรกิจภายใต้ความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคมโดยรวม ดังนี้ 2.2 ผูร้ อ้ งเรียน หรือผูท้ ใี่ ห้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริง (1) มีนโยบายในการประกอบธุรกิจเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจ และสังคม บริษทั ฯ จะไม่เปิดเผย ชือ่ ตัว ชือ่ สกุล ทีอ่ ยู่ ภาพ หรือข้อมูลอืน่ ใด โดยอนุรักษ์ และค�ำนึงถึงสภาพสิ่งแวดล้อมเป็นส�ำคัญรวมทั้ง ที่สามารถระบุตัวผู้แจ้งได้แล้วด�ำเนินการสืบสวนว่ามีมูล ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่บังคับใช้ ความจริงเพียงใดหรือไม่ อยู่อย่างเคร่งครัด 2.3 ผู้รับข้อร้องเรียนต้องเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องเป็นความลับ และ (2) มีนโยบายการด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) เปิ ด เผยเท่ า ที่ จ� ำ เป็ น โดยค� ำ นึ ง ถึ ง ความปลอดภั ย และ และได้ พั ฒ นาการด� ำ เนิ น งานด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ความเสี ย หายของผู ้ ร ้ อ งเรี ย น หรื อ ผู ้ ที่ ใ ห้ ค วามร่ ว มมื อ มาเป็นกลยุทธ์ทางธุรกิจเพื่อตอบโจทย์ทางสังคม เป็นการสร้าง ในการตรวจสอบข้อเท็จจริง แหล่งที่มาของข้อมูล หรือบุคคล คุณค่าร่วมระหว่างธุรกิจและสังคม (Creating Share Value : CSV) ที่เกี่ยวข้อง


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

(3) (4) (5) (6) (7) (8)

เพื่ อ สร้ า งการเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ด้ ว ยการน� ำ ความเชี่ ย วชาญ ของบริษัทฯ มาใช้สร้างคุณค่าทางเศรษฐกิจให้แก่องค์กรและ สั ง คมอย่ า งยั่ง ยืน ไปพร้อมกัน และยึด ถือเป็น แนวทางปฏิบัต ิ ภายในองค์กร ส่งเสริมให้พนักงานของบริษัทฯ มีจิตส�ำนึกและความรับผิดชอบ ต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม เคารพต่อขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิน่ ในทุกประเทศที่บริษัทฯ เข้าไปด�ำเนินธุรกิจ ด�ำเนินกิจกรรมเพื่อร่วมสร้างสรรค์สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม อย่ า งสม�่ำ เสมอ เพื่ อ ให้ ชุ ม ชนที่ บ ริ ษั ท ฯ ตั้ ง อยู ่ มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ดีขึ้น ทั้งที่ด�ำเนินการเองและร่วมมือกับหน่วยงานของภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน ให้ ค วามร่ ว มมื อ ในกิ จ กรรมต่ า งๆ กั บ ชุ ม ชนโดยรอบในพื้ น ที่ ที่บริษัทฯ เข้าไปด�ำเนินธุรกิจอยู่ตามควรแก่กรณี ด�ำเนินการป้องกันอุบัติเหตุ ควบคุมการด�ำเนินงาน ตลอดจน ควบคุมการปล่อยของเสียให้อยู่ในเกณฑ์ค่ามาตรฐาน ตอบสนองอย่ า งรวดเร็ ว และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพต่ อ เหตุ ก ารณ์ ที่ ม ี 3 ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม ชุมชน ชีวติ และทรัพย์สนิ อันเนือ่ งมาจาก การด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ โดยให้ ค วามร่ ว มมื อ อย่ า งเต็ ม ที ่ กับเจ้าหน้าที่ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

- บริจาคที่ดิน จ�ำนวน 144 ไร่ เพื่อขยายผลโครงการตามแนว พระราชด�ำริ - ร่วมประกาศความร่วมมือสนับสนุนการขับเคลื่อนโครงการ สานพลังสู่มิติใหม่ สร้างงาน สร้างอาชีพคนพิเศษ 10,000 อัตรา - สนับสนุนงานวันเด็กแห่งชาติ - Pruksa Caring : Green Living Health เพื่อตรวจสุขภาพฟรี ให้กับลูกค้าและชุมชนใกล้เคียง - การด�ำเนินธุรกิจที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย - มอบอาหารกลางวันแก่น้องผู้พิการ -

ผู้บริหารและพนักงานเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ เรื่อง “สิทธิเ ด็กและหลักปฏิบัติทางธุรกิจ” ตามนโยบาย “โครงการส่ ง เสริ ม การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ เด็ ก ” จากสถาบันไทยพัฒน์

- ร่วมด้วยช่วยซื้อข้าวจากชาวนา ฯลฯ ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม ได้แก่ - การสนับสนุนมูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย - โครงการธรรมะสร้างสุข

นอกจากการด�ำเนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมทีอ่ ยูใ่ นกระบวนการ ท� ำ งาน (CSR IN PROCESS) แล้ ว บริ ษั ท ฯ ยั ง มี ก ารด� ำ เนิ น การ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมที่อยู่นอกกระบวนการ (CSR AFTER PROCESS) เพื่อร่วมสร้างความยั่งยืนให้กับสังคม ผ่านการมีส่วน ร่วมพัฒนาชุมชนและสังคมเพื่อความยั่งยืน โดยมุ่งเน้น 3 ด้าน ได้แก่ ด้ า นการศึ ก ษา ด้ า นสั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม และด้ า นศาสนาและ ศิลปวัฒนธรรม โดยมีรายละเอียด ดังนี้

บริษัทฯ มีนโยบายในการเข้าไปมีส่วนร่วมสนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับการพัฒนาชุมชน อาทิเช่น

- ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารกลุ ่ ม ส่ ง มอบหนั ง สื อ ธรรมะ “บั น ทึ ก คติ ธ รรมและธรรมเทศนาของพระราชวุ ฒ าจารย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล) ให้กับพนักงาน ฯลฯ

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีการพัฒนายกระดับมาตรฐานการด�ำเนินธุรกิจ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม โดยการจัดท�ำรายงานผลการด�ำเนินการ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลของ Global Reporting Initiative (GRI version 3.1) เพื่อให้การรายงาน 1. ด้านการศึกษาและพัฒนาเยาวชน ได้แก่ ครอบคลุมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุน การพั ฒนาทีย่ งั่ ยืนได้อย่างเป็นรูปธรรมและชัดเจน (โปรดดูรายละเอียด - ทุนพฤกษา เพิ่มเติมใน “รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน” หมวด การมีส่วนร่วม - ผู้บริหารระดับสูงร่วมเป็นวิทยากรรับเชิญเผยแพร่ความรู้ พัฒนาชุมชนและสังคมเพื่อความยั่งยืน) ด้านการด�ำเนินธุรกิจอสังหาริมทรัพย์แก่สถาบันการศึกษา การสนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชน และองค์กรธุรกิจต่างๆ

- โครงการ Pruksa Precast Factory Learning Center

- โครงการความร่วมมือเพือ่ สร้างนวัตกรรมทางด้านสถาปัตยกรรม ระหว่างบริษัทฯ กับคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ - มหาวิทยาลัย ฯลฯ 2. ด้านสังคม และสิ่งแวดล้อม ได้แก่ - ร่ ว มน้ อ มเกล้ า ถวายพระราชกุ ศ ลแด่ พ ระบาทสมเด็ จ - พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร

โครงการ “Pruksa Caring : Green Living Health” ต่อเนื่อง เป็ น ปี ที่ 15 โดยที ม แพทย์ จ ากโรงพยาบาลชั้ น น� ำ เพื่ อ ตรวจ สุขภาพฟรีให้กบั ลูกค้า พนักงาน และผูท้ อี่ ยูอ่ าศัยโดยรอบโครงการ รวมทั้งสอนให้รู้จักการดูแลสุขภาพเบื้องต้นให้กับตนเอง โครงการแจกแว่นตาฟรีให้กับผู้สูงอายุที่มีสายตายาว รวมกว่า 200 คน

141


รายงานประจํ า ปี 2560

-

โครงการ “พฤกษา ใจอาสา บริจาคโลหิต” เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วย 1. รางวัล SET Sustainability Awards 2017 ประเภท Rising Star ทั่วประเทศ จาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

- -

โครงการ “การจัดการสิ่งแวดล้อมโดยชุมชน” เพื่อส่งเสริมให้ 2. รางวัล Thailand Sustainability Investment (THSI) ต่อเนื่อง ชุมชนได้เรียนรูก้ ารก�ำจัดขยะและน�ำ้ เสียจากแหล่งก�ำเนิด ป้องกัน เป็นปีที่ 2 จาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การเกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมในชุมชนอย่างยั่งยืน 3. รางวั ล องค์ ก รโปร่ ง ใส ครั้ ง ที่ 7 (NACC Integrity Awards) การให้ ค วามรู ้ เ รื่ อ ง การคั ด แยกขยะ เพื่ อ น� ำ กลั บ มารี ไ ซเคิ ล ประเภทชมเชย จาก ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม เป็นปุ๋ยหมักชีวภาพและสร้างความยั่งยืนแก่โรงเรียนในชุมชน การทุจริตแห่งชาติ

-

บริจาคถังเก็บน�้ำขนาด 2,000 ลิตร จ�ำนวน 3 ถัง ให้แก่โรงเรียน ซึ่ ง ประสบปั ญ หาในการขาดแคลนน�้ ำ ในฤดู แ ล้ ง ให้ ไ ด้ มี ถั ง เก็บน�้ำไว้ใช้เพียงพอส�ำหรับกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจ�ำวัน เช่น น�้ำดื่ม น�้ำใช้ และการปลูกพืชผักภายในสถานศึกษา

4.

รางวัล Sustainability Report Award 2017 ประเภท Recognition ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 จาก CSR Club สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย, ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และสถาบันไทยพัฒน์

-

มอบเก้ า อี้ จ� ำ นวน 2,000 ตั ว ให้ แ ก่ ก องทั พ ภาคที่ 1 และ 5. ประกาศเกี ย รติ คุ ณ องค์ ก รที่ ท� ำ คุ ณ ประโยชน์ ใ ห้ แ ก่ ก ระทรวง ร่วมแจกจ่ายอาหาร จ�ำนวน 15,000 ชุด น�ำ้ ดืม่ จ�ำนวน 17,000 ขวด ศึกษาธิการ จาก กระทรวงศึกษาธิการ ให้ แ ก่ ป ระชาชนที่ ม ารอคิ ว เข้ า ถวายสั ก การะพระบรมศพ 6. เกี ย รติ บั ต รเชิ ด ชู อ งค์ ก รที่ ท� ำ คุ ณ ประโยชน์ ท างสั ง คม ด้ า น ณ ท้องสนามหลวง การสนับสนุนการจ้างงานคนพิการ ประจ�ำปี 2560 จาก กองทุน - บริจาคที่ดิน จ�ำนวน 144 ไร่ ในเขตต�ำบลคลองสาม อ�ำเภอ สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และกระทรวงแรงงาน คลองหลวง จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี โดยจะใช้ จั ด ท� ำ เป็ น แก้ ม ลิ ง เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ เกษตรกรช่ ว งประสบภั ย แล้ ง และเป็ น สถานที่ 7. ประกาศนี ย บั ต รรั บ รองการเป็ น สมาชิ ก แนวร่ ว มปฏิ บั ติ ข อง ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต (Thailand’s Private Sector เก็บกักน�้ำเพื่อบรรเทาปัญหาอุทกภัย Collective Action Coalition Against Corruption (CAC)) - เข้ า ร่ ว มโครงการ “สานพลั ง สู ่ มิ ติ ใ หม่ สร้ า งงาน สร้ า งอาชี พ จาก The CAC Council คนพิการ 10,000 อัตรา” ร่วมกับกระทรวงการพัฒนาสังคมและ 8. รั บ เลื อ กให้ อ ยู ่ ใ นกลุ ่ ม ESG100 Company ประจ� ำ ปี 2560 ความมั่นคงของมนุษย์ และ 6 องค์กรวิชาชีพ (Environmental, Social and Governance: ESG) ต่อเนื่อง - เข้ า ร่ ว มโครงการ “ค่ า ยศิ ล ปะเพื่ อ มวลมนุ ษ ย์ Art for All” เป็นปีที่ 2 จาก สถาบันไทยพัฒน์ เพื่อร่วมกิจกรรม ออกแบบเครื่องแต่งกายให้กับน้องๆ เยาวชน ผู้พิการ (ตาบอด หูหนวก พิการแขนขา และสติปัญญา) ที่สมัคร 9. รั บ รองการเข้ า ร่ ว มโครงการจั ด ท� ำ ดั ช นี เ ป้ า หมายการพั ฒ นา ที่ยั่งยืนระดับองค์กร หรือ Corporate SDG Index จากสถาบัน เข้าร่วมโครงการฯ กว่า 150 คน ไทยพัฒน์ - พลิกวิกฤติขยะชุมชน สู้ภัยน�้ำเค็มดินเค็ม สู่แปลงผักและภูมิทัศน์ กิ น ได้ ตามวิ ถี พ อเพี ย ง ณ ชุ ม ชน แลโรงเรี ย นต� ำ รวจตะเวน ความปลอดภัย สุขอนามัย และสิ่งแวดล้อม : บริษัทฯ ได้จัดตั้ง คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อม ชายแดน บ้านน�้ำแดง จังหวัดจันทบุรี ในการท�ำงาน (คปอ.) ซึ่งมาจากการแต่งตั้ง (ระดับบังคับบัญชา) - การพัฒนาระบบบริหารจัดการน�้ำชุมชนอย่างยั่งยืน และมาจากการเลื อ กตั้ ง ของสมาชิ ก ในองค์ ก ร (ระดั บ ปฏิ บั ติ ก าร) รวมจ�ำนวนทั้งสิ้น 13 ท่าน เพื่อให้การด�ำเนินการด้านความปลอดภัย - บ�ำเพ็ญสาธารณประโยชน์ ท�ำความสะอาดวัด ทาสีผนังห้องน�้ำ อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล้ อ มในการท� ำ งานเป็ น ไปอย่ า งมี เนื่องในวันเข้าพรรษา ประสิทธิภาพ โดยมีรายละเอียดดังนี้ ผลของการด�ำเนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้บริษัทฯ ได้รับรางวัลต่างๆ ดังนี้ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน (คปอ.) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย กรรมการและเลขานุการ กรรมการผู้แทนลูกจ้าง ระดับบังคับบัญชา

142

กรรมการผู้แทนลูกจ้าง ระดับปฏิบัติการ


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7)

พิจารณานโยบายและแผนงานด้านความปลอดภัยในการท�ำงาน รวมทั้ ง ความปลอดภั ย นอกงาน เพื่ อ ป้ อ งกั น และลดการเกิ ด อุบัติเหตุ การประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุ เดือดร้อนร�ำคาญ อันเนื่องจากการท�ำงานหรือความไม่ปลอดภัย ในการท�ำงานเสนอต่อผู้บริหาร

นโยบายความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล้ อ ม ในการท�ำงาน

(1) บริษทั ฯ ถือว่าความปลอดภัยในการท�ำงานเป็นหน้าทีข่ องพนักงาน ทุกคน ทุกระดับ ทีจ่ ะต้องร่วมมือปฏิบตั ิ เพือ่ ให้เกิดความปลอดภัย ทั้งของตนเองและผู้อื่น ตลอดจนทรัพย์สินของบริษัทฯ เป็นส�ำคัญ ตลอดเวลาปฏิบัติงาน และที่ส�ำคัญจะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย และข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด และพนักงานทุกคน รายงานและเสนอแนะมาตรการหรื อ แนวทางปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข ยั ง มี สิ ท ธิ เ สนอความคิ ด เห็ น ในการปรั บ ปรุ ง สภาพการท� ำ งาน ให้ถกู ต้องตามกฎหมายเกีย่ วกับความปลอดภัยในการท�ำงาน และ และวิธีการท�ำงานให้ปลอดภัย มาตรฐานความปลอดภัยในการท�ำงานต่อผูบ้ ริหาร เพือ่ ความปลอดภัย ในการท�ำงานของพนักงาน ผูร้ บั เหมาและบุคคลภายนอก ทีเ่ ข้ามา (2) บริษัทฯ สนับสนุนให้มีการพัฒนา และปรับปรุงสภาพแวดล้อม ปฏิบัติงานหรือเข้ามาใช้บริการในสถานประกอบการ ในการท�ำงาน วิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย ตลอดจนการใช้ อุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น อั น ตรายที่ เ หมาะสม รวมถึ ง การรั ก ษาไว้ ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมด้านความปลอดภัยในการท�ำงานของ ซึ่งคุณภาพ อนามัยที่ดีของพนักงานทุกคนอย่างต่อเนื่อง บริษัทฯ (3) บริษทั ฯ ส่งเสริมให้มกี จิ กรรมความปลอดภัยต่างๆ ทีจ่ ะช่วยกระตุน้ พิจารณาข้อบังคับและคู่มือว่าด้วยความปลอดภัยในการท�ำงาน จิตส�ำนึกของพนักงาน เช่น การอบรม การจูงใจ และการประชาสัมพันธ์ รวมทั้งมาตรฐานด้านความปลอดภัยในการท�ำงานของสถาน ด้านความปลอดภัย ประกอบกิจการเสนอต่อผู้บริหาร (4) บริษทั ฯ ติดตามและทบทวนการด�ำเนินงานด้านอาชีวอนามัย และ ส�ำรวจการปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการท�ำงาน และ ความปลอดภัย เพื่อการพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ตรวจสอบสถิติการประสบอันตรายที่เกิดขึ้นในบริษัทฯ อย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง การที่บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับความปลอดภัย สุขอนามัยภายใน บริษทั ฯ ตลอดจนชุมชนสังคมและสิง่ แวดล้อมโดยรอบ ด้วยตระหนักดีวา่ พิจารณาโครงการหรือแผนการฝึกอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัย เราเปรียบเสมือนส่วนหนึ่งของสังคม ที่จะร่วมก้าวเดินไปสู่การพัฒนา ในการท�ำงาน รวมถึงโครงการหรือแผนการอบรมเกี่ยวกับบทบาท สังคมและสิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืนสืบไป บริษัทฯ จึงได้ด�ำเนิน หน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบในด้ า นความปลอดภั ย ของพนั ก งาน กิจกรรมเพื่อชุมชนและสังคม อย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับการด�ำเนิน และบุคลากรทุกระดับเพื่อเสนอความเห็นต่อผู้บริหาร ธุรกิจภายใต้ความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคมโดยรวม ดังนี้ วางระบบการรายงานสภาพการท� ำ งานที่ ไ ม่ ป ลอดภั ย ให้ เ ป็ น (1) มุ่งมั่นสนับสนุนให้การด�ำเนินกิจกรรมของบริษัทฯ ควบคู่ไปกับ หน้าที่ของพนักงานทุกคนทุกระดับต้องปฏิบัติ การปฏิบัติตามกฎหมาย ความปลอดภัย และข้อก�ำหนดอื่นๆ

(8) ติดตามผลความคืบหน้าเรื่องที่เสนอต่อผู้บริหาร

(9) รายงานผลการปฏิบตั งิ านประจ�ำปี รวมทัง้ ระบุปญ ั หาอุปสรรคและ ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการเมื่อปฏิบัติ หน้าที่ครบหนึ่งปี เพื่อเสนอต่อผู้บริหาร (10) ประเมิ น ผลการด� ำ เนิ น งานด้ า นความปลอดภั ย ในการท� ำ งาน ของบริษัทฯ

ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อาทิ เ ช่ น การจั ด ท� ำ รายงานวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบ สิ่ ง แวดล้ อ ม เพื่ อ วิ เ คราะห์ ประเมิ น ผลกระทบ และก� ำ หนด มาตรการป้ อ งกั น และลดผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มโดยรอบ โครงการ ซึ่งแบ่งเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ก่อนก่อสร้างโครงการ ระหว่าง การก่อสร้างโครงการ และช่วงด�ำเนินโครงการ ซึ่งการด�ำเนินงาน ทั้ ง 3 ระยะ ครอบคลุ ม องค์ ป ระกอบทางสิ่ ง แวดล้ อ มและ คุณค่าต่างๆ ดังนี้

(11) ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยในการท�ำงานอื่นตามที่ผู้บริหาร มอบหมาย นอกจากนั้ น แล้ ว บริ ษั ท ฯ ยั ง มี น โยบายที่ ชั ด เจนและเป็ น รู ป ธรรม เกี่ยวกับการดูแลเรื่องความปลอดภัย สุขอนามัย และสิ่งแวดล้อม ทั้งภายในบริษัทฯ และภายนอกบริษัทฯ (ชุมชน และสังคม) เพื่อเป็น แนวทางในการปฏิ บั ติ ข องพนั ก งาน และถ่ า ยทอดไปยั ง พนั ก งาน ทุกระดับ โดยการจัดท�ำโครงสร้างการบริหารจัดการ อาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย ให้เป็นการปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งมีการก�ำหนด ผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน

- ทรัพยากรสิง่ แวดล้อมทางกายภาพ เช่น คุณภาพอากาศ มลพิษ ทางอากาศ เสียง ความสั่นสะเทือน การพังทลายของดิน คุณภาพน�้ำ - ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ เช่น ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย ระบบนิเวศวิทยาสังคมเมือง - คุ ณ ค่ า การใช้ ป ระโยชน์ ข องมนุ ษ ย์ เช่ น น�้ ำ ใช้ น�้ ำ เสี ย การระบายน�้ำ การป้องกันน�้ำท่วม การจัดการขยะมูลฝอย ระบบไฟฟ้า การป้องกันอัคคีภัย - คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต เช่น ผลกระทบต่อสุขภาพ สังคม อาชีวอนามัย และความปลอดภัย

143


รายงานประจํ า ปี 2560

(2) ก�ำหนดให้ความปลอดภัยในการท�ำงานถือเป็นหน้าที่รับผิดชอบ อันดับแรกในการปฏิบัติงานของพนักงานทุกคน (3) ก�ำหนดให้ผบู้ งั คับบัญชาทุกระดับต้องกระท�ำตนเป็นแบบอย่างทีด่ ี เป็ น ผู ้ น� ำ อบรม ฝึ ก สอน จู ง ใจให้ พ นั ก งานปฏิ บั ติ ง านด้ ว ย ความปลอดภัย (4) ก�ำหนดให้พนักงานทุกคนต้องค�ำนึงถึงความปลอดภัยของตนเอง เพื่อนร่วมงาน ตลอดจนทรัพย์สินของบริษัทฯ เป็นส�ำคัญตลอด เวลาที่ปฏิบัติงาน (5) ก� ำ หนดให้ พ นั ก งานทุ ก คนต้ อ งดู แ ล ท� ำ ความสะอาด และ ความเป็ น ระเบี ย บเรี ย บร้ อ ยในพื้ น ที่ ที่ ป ฏิ บั ติ ง านของตนเอง อยู่เสมอ

จากมาตรฐานความปลอดภัยที่บริษัทฯ ด�ำเนินงานส่งผลให้จ�ำนวน (6) มุ ่ ง มั่ น สนั บ สนุ น ให้ มี กิ จ กรรมความปลอดภั ย ที่ ช ่ ว ยกระตุ ้ น ชั่ ว โมงในการท� ำ งานที่ ป ลอดภั ย (Work Safe Hours) ในบริ ษั ท ฯ ส่งเสริมและพัฒนาจิตส�ำนึกของพนักงานให้เกิดความปลอดภัย อยู่ที่ 2,500,000 ชั่วโมง โดยปราศจากอุบัติเหตุซ่ึงเป็นสถิติท่ีดีที่สุด ในการท�ำงาน ตั้งแต่ก่อตั้งบริษัทฯ จนถึงปัจจุบัน และผู้บริหารระดับสูงได้ออกหนังสือ (7) มุ ่ ง มั่ น สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารทบทวน ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาระบบ แสดงความชื่นชมยินดี และขอบคุณพนักงาน

การบริหารงานความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง

(8)

มุง่ มัน่ หาหนทางในการลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม โดยการตรวจ ติดตามและควบคุมการปล่อยและการระบายออกของมลพิษ รวมถึ ง การจั ด การของเสี ย อั น ตรายและไม่ อั น ตรายเพื่ อ รั ก ษา แหล่งทรัพยากรธรรมชาติ

(9)

ใช้ทรัพยากรและพลังงานให้มีประสิทธิภาพสูงสุด รวมถึงป้องกัน มลภาวะทางน�้ำ อากาศ ของเสีย และมลภาวะอื่นๆ ที่เกิดขึ้น จากกิ จ กรรมต่ า งๆ ของบริ ษั ท ให้ ส ่ ง ผลกระทบน้ อ ยที่ สุ ด ต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน

อนึ่ ง บริ ษั ท ฯ ปฏิ บั ติ ต ามมาตรฐานความปลอดภั ย สากลอย่ า ง เคร่งครัด โดยน�ำระบบการจัดการอาชีว อนามัยและความปลอดภัย มาประยุ ก ค์ ใ ช้ ใ นบริ ษั ท ฯ จนได้ รั บ การรั บ รองมาตรฐาน OHSAS 18001:2007 รวมถึงมาตรฐาน มอก. 18001:2554 ซึง่ เป็นมาตรฐานสากล ในกระบวนการก่อสร้างอาคารชุด โดยในปี 2560 บริษัทฯ ได้ใช้ Safety Certify Program ซึ่งเป็นระบบการรับรองมาตรฐานความปลอดภัย ที่บริษัทฯ ได้จัดท�ำขึ้นเพื่อให้โครงการใช้มาตรฐานความปลอดภัย มาตรฐานเดี ย วกั น ถู ก ต้ อ งตามหลั ก บริ ห ารจั ด การและกฎหมาย โดยโครงการที่ ไ ด้ ม าตรฐานครบตามหลั ก เกณฑ์ ก ารตรวจประเมิ น จะได้รับใบรับรอง Certificate โดยระบบนี้ใช้ในโครงการแนวราบ ของบริษัทฯ ดังนั้นจะเห็นได้ว่า บริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญในเรื่อง ความปลอดภัย โดยมีกระบวนการควบคุมทุกส่วนงานทั้งบ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ และคอนโดมิเนียม

144

ด้ า นคุ ณ ภาพชี วิ ต พนั ก งาน บริ ษั ท ฯ ได้ มี ก ารก� ำ หนดมาตรฐาน ที่พักอาศัยของพนักงานที่ท�ำงานก่อสร้างในโครงการให้เป็นมาตรฐาน เดี ย วกั น ในทุ ก มี ก ารจั ด ให้ มี ร ะบบสาธารณู ป โภคพื้ น ฐานครบถ้ ว น มีมุมสันทนาการ และระบบความปลอดภัยรวมถึงระบบรับเหตุฉุกเฉิน ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ระเบี ย บปฏิ บั ติ ง าน ด้ า นความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสภาพ แวดล้อมในการท�ำงาน

ระเบี ย บปฏิ บั ติ ด ้ า นอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย ส� ำ หรั บ ผู้รับเหมาที่รับจ้างก่อสร้างให้กับบริษัทต้องปฏิบัติตาม

เพื่ อ ให้ ก ารด� ำ เนิ น งานด้ า นอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย 6. แผนการจัดการความปลอดภัยประจ�ำโครงการเป็นคู่มือวิธีการ มีประสิทธิภาพและครอบคลุมการปฏิบัติงานตามมาตรฐานครบถ้วน บริหารจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโครงการ และมีการปฏิบตั ติ รงกันทุกภาคส่วน จึงมีการก�ำหนดระเบียบปฏิบตั งิ าน 7. การประเมิน และรับรองมาตรฐาน Safety Certify ส�ำหรับแนวราบ เชิงนโยบายโดยหลักๆ มีดังนี้ เป็นมาตรฐานแนวทางการด�ำเนินงานระบบ Safety ในโครงการ 1. นโยบายการด�ำเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ ก่อสร้างแนวราบ สภาพแวดล้อมในการก่อสร้างในแนวสูง เป็นนโยบายเพือ่ ก�ำหนด มาตรฐานระเบียบการปฏิบัติงานความปลอดภัยในการท�ำงาน 8. ระเบียบข้อบังคับมาตรการเพื่อความปลอดภัยในแนวราบเป็น แนวสู ง คลอบคลุ ม การท� ำ งานทั้ ง ในส่ ว นของพนั ก งานบริ ษั ท มาตรฐานวิธีการปฎิบัติงานส�ำหรับผู้รับเหมาเพื่อความปลอดภัย ในแนวราบ ผู้รับเหมา ผู้ควบคุมงาน ที่ปรึกษา และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. นโยบายการด�ำเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ 9. ประกาศบริษทั เรือ่ ง มาตรการในการด�ำเนินงานด้านความปลอดภัย สภาพแวดล้อมในการก่อสร้างในแนวราบเป็นนโยบายเพือ่ ก�ำหนด ที่มีความอันตรายสูง เกี่ยวกับไฟฟ้า และเครื่องจักรเป็นมาตรการ มาตรฐานระเบียบการปฏิบัติงานความปลอดภัยในการท�ำงาน ควบคุมการท�ำงานที่มีความเสี่ยงสูง แนวราบคลอบคลุ ม การท� ำ งานทั้ ง ในส่ ว นของพนั ก งานบริ ษั ท 10. มาตรฐานตู้ไฟฟ้าชั่วคราวในโครงการก่อสร้าง เป็นมาตรฐาน ผู้รับเหมา และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ตู้ไฟฟ้าในบริษัทฯ ให้ทุกโครงการใช้มาตรฐานเดียวกัน 3. นโยบายการด� ำ เนิ น การเมื่ อ เกิ ด อุ บั ติ เ หตุ จ ากการท� ำ งาน การควบคุมการปฏิบัติงานให้เกิดความปลอดภัย เป็ น นโยบายเพื่ อ ก� ำ หนดมาตรฐานระเบี ย บการด� ำ เนิ น งาน เมื่อมีอุบัติเหตุจากการท�ำงาน การรายงานอุบัติเหตุ การสอบสวน บริษัทฯ มีการควบคุมการปฏิบัติงานในกิจกรรมต่างๆ ที่มีความเสี่ยงสูง ไม่ ว ่ า จะเป็ น งานความร้ อ น (Hot Work) งานที่ สู ง (High Work) อุบัติเหตุ การป้องกันแก้ไขเพื่อไม่ให้เกิดซ�้ำ งานที่อับอากาศ (Confined Space) และงานอื่นๆ โดยมีข้อบังคับ 4. นโยบายอุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น อั น ตรายส่ ว นบุ ค คลเป็ น นโยบาย ส�ำหรับการปฏิบตั งิ านทีช่ ดั เจน ในปัจจุบนั มีกฎระเบียบข้อบังคับงานอยู่ เพื่ อ ก� ำ หนดมาตรฐานอุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น ภั ย ส่ ว นบุ ค คล (PPE) 42 ประเภทกิจกรรมที่ด�ำเนินงานในบริษัทฯ โดยมีการตรวจสอบการ ให้ เ ป็ น มาตรฐานเดี ย วกั น ในบริ ษั ท ครอบคลุ ม ทุ ก กิ จ กรรม ปฏิบัติงานแต่ละประเภทอย่างสม�่ำเสมอ และมีรายงานการตรวจสอบ ที่ปฏิบัติงาน ชัดเจน โดยกฎระเบียบข้อบังคับงานอยู่ 42 ประเภทกิจกรรมมีดังนี้ 5. ระเบียบข้อบังคับมาตรการเพื่อความปลอดภัยส�ำหรับผู้รับจ้าง 1. กฎระเบียบความปลอดภัยเรื่องการสวมใส่ PPE ก่อสร้างโครงการ เป็นเอกสารประกอบสัญญา (TOR) โดยระบุ 2. กฎระเบียบความปลอดภัยการท�ำงานของแม่บ้าน

145


รายงานประจํ า ปี 2560

3. กฎระเบียบความปลอดภัยเรื่องการป้องกันไฟไหม้

32. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงานโดยใช้เครื่อง Vibro

4. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงานบนที่สูง

33. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการติดตั้ง Tower Crane

5. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงานในที่อับอากาศ

34. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการติดตั้ง Precast

6. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการป้องกันการตกหลุม

35. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงานรังสี

7. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงานกับความร้อน

36. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการใช้คอมพิวเตอร์ (Office)

8. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการใช้ลิฟท์โดยสาร

37. กฎระเบียบเรื่องการควบคุมสารเสพติดและแอลกอฮอล์ (Office)

9. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงานกับเครื่องมือไฟฟ้า 38. กฎระเบียบความปลอดภัยกรณีไฟไหม้อาคารสูง (Office) 10. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของ 39. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการป้องกันแผ่นดินไหวบน (Office) อาคารสูง (Office) 11. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการจัดการทางเดิน 12. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการควบคุมจราจร 13. กฎระเบียบความปลอดภัยเรื่องการควบคุมยานยนต์ 14. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการใช้นั่งร้าน 15. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงานขุดเจาะ Footing

40. กฎระเบี ย บความปลอดภั ย ส� ำ หรั บ การใช้ เ ครื่ อ งถ่ า ยเอกสาร (Office) 41. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการป้องกันสึนามิ 42. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงานใน Office การด�ำเนินงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

1. 16. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงานโดยใช้ Caissons 17. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงานโดยใช้ Pile Driving 18. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงานโดยใช้ Bored Pile 2. 19. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า 3. 20. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงานกับสายพาน โซ่ สลิง 21. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงานกับ Mobile Crane 22. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงานกับ Hoists 23. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงานกับสารเคมีอันตราย 24. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการควบคุมเสียง 25. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการควบคุมฝุ่น 26. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการควบคุมขยะอันตราย

บริษัทฯ มีการประเมินความเสี่ยงในกิจกรรมต่างๆ ในองค์กร เพื่ อ ควบคุ ม ป้ อ งกั น ความเสี่ ย งที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ไม่ ใ ห้ ส ่ ง ผลต่ อ อันตรายทางร่างกาย โรคต่างๆ และสภาพจิตใจของพนักงาน บริ ษั ท ฯ ได้ มี ก ารประเมิ น ความสอดคล้ อ งกฎหมายและ ข้อก�ำหนดอื่นๆ ด้านความอาชีวอนามัยและความปลอดภัย บริ ษั ท ฯ ได้ น� ำ ระบบ Safety Defect Found and Fixed เป็นระบบรายงานสภาพแวดล้อมในการท�ำงานที่ไม่ปลอดภัย และการแก้ไขในโครงการก่อสร้าง

4. บริษัทได้น�ำระบบ BO&F (Behavior Observation & Feedback) เป็นระบบตรวจสอบพฤติกรรมการท�ำงานที่ไม่ปลอดภัย 5. บริษทั ได้นำ� ระบบ Safety Performance เพือ่ ติดตามการด�ำเนินงาน ด้านความปลอดภัยของโครงการก่อสร้างแนวราบเพื่อดูแนวโน้ม ด้านความปลอดภัย 6. บริ ษั ท ได้ จั ด ตั้ ง บุ ค ลากรที่ ถ ่ า ยทอดความรู ้ ค วามปลอดภั ย ในแต่ละโครงการก่อสร้างผ่านกิจกรรม Q&S Ambassador

27. กฎระเบี ย บความปลอดภั ย ส� ำ หรั บ การควบคุ ม ถนนในพื้ น ที ่ 7. บริษทั ได้จดั ท�ำแคมป์คนงานมาตรฐานเพือ่ ให้ถกู ต้องตามกฎหมาย ก่อสร้าง และเป็นรูปแบบมาตรฐานเหมือนกันในทุกโครงการก่อสร้าง และ ยั ง เป็ น ที่ โ ครงการตั ว อย่ า งส� ำ หรั บ ศึ ก ษาดู ง านจากหน่ ว ยงาน 28. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการติดตั้งโครงสร้างเหล็ก ภายนอก 29. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงานกับเครื่องตัดไม้ 8. บริษทั ฯ ได้จดั ท�ำกฎระเบียบและความรูต้ า่ งๆ ด้านความปลอดภัย 30. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการรื้อถอน มาตรฐานการท� ำ งาน แปลเป็ น ภาษาต่ า งๆ 4 ภาษาให้ กั บ แรงงานชาวต่างชาติได้เข้าใจ 31. กฎระเบียบความปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงานขุดเจาะ (เข็มเจาะ)

146


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

9. บริษัทฯ จัดท�ำชุมชนสัมพันธ์กับพื้นที่ข้างเคียงกับโครงการ เพื่อให้ 3. บริษัทฯ มีการตรวจสอบวัสดุอุปกรณ์จากผู้ผลิต (Audit Supplier) เกิดทัศนคติที่ดีต่อชุมชน และสนับสนุนช่วยเหลือชุมชน เพื่อเป็นการตรวจสอบให้ได้วัตถุดิบที่ได้มาตรฐานตามที่บริษัทฯ ต้องการ 10. บริษัทฯ จัดให้มีการตรวจสอบความพร้อมใช้งานของเครื่องจักร อุปกรณ์ เครือ่ งมือ เพือ่ ให้เกิดความปลอดภัยต่อชีวติ และทรัพย์สนิ การฝึกอบรมเพื่อสร้าง จิตส�ำนึก ด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย 11. บริ ษั ท ฯ มี ก ารสื่ อ สารด้ า นอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย ในปี 2560 เพื่อเพิ่มความตระหนักและสร้างจิตส�ำนึกให้กับพนักงาน ในหลายช่ อ งทาง อาทิ SMS, E-Mail, บอร์ ด ประชาสั ม พั น ธ์ บริษัทฯ จัดให้มีการฝึกอบรมด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ให้กับพนักงาน และบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง 6 หลักสูตร รวม Class อบรม 54 Class เพื่อให้มั่นใจว่าพนักงาน รวมถึงบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องได้รบั ความรู้ ความปลอดภัย ปราศจากอุบตั เิ หตุ 12. บริษทั ฯ มีการฝึกอบรมให้ความรูก้ บั พนักงาน เพือ่ ให้ทราบหลักการ และโรคจากการท�ำงาน จากศูนย์ฝึกอบรมที่ขึ้นทะเบียนกับกระทรวง ที่ถูกต้องในการปฏิบัติงาน ในลักษณะงานต่างๆ การสวมใส่ แรงงานและผู้ผ่านการอบรมจะได้รับประกาศนียบัตรรับรอง โดยมี อุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น อย่ า งถู ก วิ ธี ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม งาน และทบทวน หลักสูตรจัดฝึกอบรมดังนี้ อย่างต่อเนื่อง 1. จิตส�ำนึกความปลอดภัยในการท�ำงาน 13. บริษทั ฯ มีการซ้อมรับเหตุฉกุ เฉินในสถานการณ์ตา่ งๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ เพื่อเป็นการซักซ้อมพนักงานให้เข้าใจในขึ้นตอนการด�ำเนินงาน 2. เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับหัวหน้างาน (จป.หัวหน้างาน) วิธีการแจ้ง วิธีการประสานงาน รวมถึงบทบาทหน้าที่ 3. เจ้าหน้าที่ระดับบริหาร (จป.บริหาร) 14. บริ ษั ท ฯ จั ด ให้ มี ก ารตรวจสอบการปฏิ บั ติ ง านของพนั ก งาน เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานที่บริษัทฯ ได้ก�ำหนดไว้หากฝ่าฝืนมี 4. เจ้าหน้าที่ระดับเทคนิค (จป.เทคนิค) บทลงโทษทางวินัย 5. คณะกรรมการความปลอดภัยในการท�ำงาน (คปอ.) 15. บริษัทฯ มีการสอบสวนอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้นทุกครั้ง เพื่อหาสาเหตุ 6. อบรมเรื่องดับเพลิงขั้นต้น ที่ แ ท้ จ ริ ง ของอุ บั ติ ก ารณ์ นั้ น ๆ และเข้ า ไปด� ำ เนิ น การควบคุ ม นโยบายการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ให้ตรงจุด ป้องกันการเกินซ�้ำ 16. บริษทั ฯ มีการทบทวนการจัดการโดยผูบ้ ริหารระดับสูง เพือ่ ให้มนั่ ใจ โรงงานพฤกษาพรีคาสท์ นวนคร และล�ำลูกกา มีกจิ กรรมทีล่ ดผลกระทบ ในระบบบริ ห ารจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย ต่อสิ่งแวดล้อม และสุขภาพ ดังนี้ มีความเหมาะสม พอเพียง และมีประสิทธิผล 1. การคัดแยกขยะและก�ำจัดตามระบบอุตสาหกรรม เพื่อสามารถ 17. บริษัทฯ มีการให้ความรู้กับพนักงาน (Safety Talk) ที่ปฏิบัติงาน น�ำขยะที่ Reuse และ Recycle ได้น�ำไปใช้ประโยชน์ต่อ ในโครงการ มีการจัดท�ำ Training need ตามกิจกรรมทีม่ คี วามเสีย่ ง 2. การลดใช้กระดาษ โดยใช้ระบบจัดเก็บเอกสารด้วยคอมพิวเตอร์ ครอบคลุมทุกกิจกรรม และการน�ำกระดาษมา Reuse ใช้ 2 หน้า 18. บริษัทฯ มีการตรวจสารเสพติด พนักงาน ผู้รับเหมา จากหน่วยงาน 3. การจัดท�ำสวนสุขภาพ และการปลูกต้นสนตามแนวร่องระบายน�้ำ ภายนอกอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อป้องกันความเสี่ยงต่ออาชญากรรม และตามกฎหมาย 4. ระบบไฟแสงสว่ า งที่ ใ ช้ ร ะบบอั ต โนมั ติ ใ นการเปิ ด - ปิ ด ไฟ ในส�ำนักงานในลาน Stock, ไฟถนนและลานจอดรถ 19. บริษทั ฯ มีการตรวจวัดสภาพแวดล้อมทัง้ ในส�ำนักงานและโครงการ เพื่ อ คอยติ ด ตามสภาพแวดล้ อ มในการท� ำ งานให้ เ หมาะสม 5. ลดความเข้มของไฟส่องสว่างในจุดที่ไม่มีผู้ปฏิบัติงาน โดยการ กับพนักงาน ลดวัตต์ และเปลี่ยนชนิดของหลอดไฟจาก High Bay เป็น LED เพื่อประหยัดการใช้พลังงาน 20. บริษัทฯ ได้ประสานงานกับโรงพยาบาลในการส่งตัวพนักงาน เข้ารักษาทันทีที่ประสบอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วย 6. ลดจ�ำนวนเที่ยวขนส่งแผ่น Precast เกิดจากการ Improve Pack ชิ้นงาน ความปลอดภัยการใช้วัตถุดิบ วัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี 7. ก� ำ หนดให้ ร ถบรรทุ ก ขนส่ ง สิ น ค้ า ดั บ เครื่ อ งยนต์ ต ลอดเวลา 1. บริ ษั ท ฯ มี ก ารเลื อ กวั ต ถุ ดิ บ ที่ ไ ม่ เ ป็ น อั น ตรายต่ อ ลู ก ค้ า และ ในการ Load แผ่นพรีคาสท์ ผู้ปฏิบัติงาน เช่น เลือกใช้วัสดุและเฟอร์นิเจอร์ที่ไม่มีสารระเหย ที่เป็นมลพิษ (VOCs) จ�ำพวก Formaldehyde 8. ให้ใช้จักรยานในการเดินทางภายในโรงงานแทนการใช้รถยนต์ ส่วนตัว 2. บริษัทฯ มีการควบคุมการจัดเก็บสารเคมีที่ใช้ โดยมีการจ�ำแนก ประเภทสารเคมี และมีการให้ความรู้พนักงานเกี่ยวกับ Safety 9. ติดฟิลม์ กรองแสงภายในส�ำนักงานเพือ่ ลดความร้อนจากภายนอก Data Sheet (SDS) ของสารเคมี ต ่ า งๆ มี ป ้ า ยบ่ ง ชี้ ชั ด เจน เพื่อลดการใช้พลังงานไฟฟ้า เช่น เครื่องปรับอากาศ ตามระเบียบปฏิบัติและมาตรฐานของบริษัทฯ

147


รายงานประจํ า ปี 2560

(โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน “รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน” หมวด ความปลอดภัย อาชีวอนามัยสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน และ หมวด การด�ำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม) สรุปสถิติการเกิดอุบัติเหตุ จากการท�ำงาน ปี 2555 - 2560 บริษัทฯ ประกอบธุรกิจหลักโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่น (Holding Company) ทั้งนี้ บริษัทฯ มีการลงทุนใน บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ ซึ่งประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ดังนั้น บริษัทฯ จึงขอรายงานสรุปสถิติการเกิดอุบัติเหตุจากการท�ำงานปี 2555 - 2560 ของ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ เข้าไปถือหุ้น โดยมีรายละเอียด ดังนี้ รายละเอียด ส�ำนักงานใหญ่ อัตราการบาดเจ็บ (IR) อัตราโรคที่เกิดจากการท�ำงาน (ODR) อัตราวันขาดงาน (LDR) อัตราพนักงานที่ขาดงาน (AR) จ�ำนวนผู้ที่เสียชีวิตจากการท�ำงาน

เพศ

ปี 2555

ปี 2556

ปี 2557

ปี 2558

ปี 2559

ปี 2560

ชาย

0

0

0

0

0

0

หญิง

0.12

0.053

0

0

0

0.036

ชาย

0

0

0

0

0

0

หญิง

0

0

0

0

0

0

ชาย

0

0

0

0

0

0

หญิง

0.12

0.213

0

0

0

0

ชาย

0

0

0

0

0

0

หญิง

1,612.90

2,272.73

0

0

0

0

ชาย

0

0

0

0

0

0

หญิง

0

0

0

0

0

0

ชาย

0.07

0.465

0.421

0.330

0.732

0.299

หญิง

0.01

0.058

0.030

0.147

0

0.075

ชาย

0

0

0

0

0

0

หญิง

0

0

0

0

0

0

ชาย

1.12

4.938

2.345

0.550

6.809

0.485

หญิง

0

0.087

0.902

2.458

0

0.112

สายงานก่อสร้าง อัตราการบาดเจ็บ (IR) อัตราโรคที่เกิดจากการท�ำงาน (ODR) อัตราวันขาดงาน (LDR) อัตราพนักงานที่ขาดงาน (AR) จ�ำนวนผู้ที่เสียชีวิตจากการท�ำงาน

148

ชาย

60,925.50 96,590.91 44,318.18

หญิง

0

1,704.55

ชาย

1

2

2

หญิง

0

0

0

8,522.73 105,681.82

17,045.45 38,068.18

7,386

0

1,705

2

1

3

0

0

1


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

รายละเอียด โรงงานพฤกษา พรีคาสต์ อัตราการบาดเจ็บ (IR) อัตราโรคที่เกิดจากการท�ำงาน (ODR) อัตราวันขาดงาน (LDR) อัตราพนักงานที่ขาดงาน (AR) จ�ำนวนผู้ที่เสียชีวิตจากการท�ำงาน

เพศ

ปี 2555

ปี 2556

ปี 2557

ปี 2558

ปี 2559

ปี 2560

ชาย

1.2

0.768

1.056

0.640

0.270

0

หญิง

0.22

0

0.132

0.160

0.270

0.258

ชาย

0

0

0

0

0

0

หญิง

0

0

0

0

0

0

ชาย

5.46

1.537

3.828

1.760

0.405

0

หญิง

0.33

2,273.73

1.320

0

5

0.26

ชาย

26,881.72

7,954.55

16,477.27

6,250.00

852.27

0

หญิง

0

0

5,682

0

11,364

568

ชาย

0

1

1

0

0

0

หญิง

0

0

0

0

0

0

จากข้ อ มู ล สถิ ติ ใ นปี 2560 จะเห็ น ได้ ว ่ า ภาพรวมแนวโน้ ม อั ต รา การบาดเจ็บลดลง อัตราวันขาดงานลดลง อัตราพนักงานที่ขาดงาน ลดลงกว่าปีที่ผ่านมา ทั้งนี้บริษัทฯ ได้น�ำผลจากการเก็บสถิติการเกิด อุบัติเหตุในทุกๆ ปี มาเป็นหนึ่งในแผนการพัฒนาที่ส�ำคัญ เพื่อมุ่งมั่น ที่จะลดการเกิดอุบัติเหตุให้เป็นศูนย์ (Zero Accident) และพัฒนา คุณภาพชีวิตในการท�ำงานของพนักงาน ซึ่งเป็นสิ่งที่บริษัทฯ ใส่ใจ และให้ความส�ำคัญมาโดยตลอด

(2) ด้านคุณภาพน�้ำ

4.2 นโยบายและแนวปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การใช้ ท รั พ ยากรอย่ า งมี ประสิทธิภาพ บริษัทฯ มีการรณรงค์ในเรื่อง การประหยัดพลังงาน การใช้ทรัพยากร อย่างคุ้มค่า และการน�ำทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งจากนโยบาย และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรที่บริษัทฯ ได้ปฏิบัติอย่าง เคร่งครัด จึงส่งผลให้ในปี 2560 ที่ผ่านมา โรงงานพฤกษา พรีคาสท์ นวนคร และโรงงานพฤกษา พรี ค าสท์ ล� ำ ลู ก กา ได้ รั บ การรั บ รอง Green Industry Level 3 (อุตสาหกรรมสีเขียวระดับ 3) : ระบบสีเขียว (Green System) จากกระทรวงอุตสาหกรรม โดยทั้งสองโรงงานได้ ด�ำเนินการผลิตภายใต้การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ มีการติดตามประเมินผล และทบทวนเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (3) ซึ่งมีแนวปฏิบัติตามรายละเอียดดังนี้ (1) ด้านพลังงาน - การปิดแอร์และปิดไฟช่วงพักเที่ยง (4) - การเปิดไฟเฉพาะจุดที่ต้องการใช้งาน

- การเดินขึ้นลงบันไดในชั้นที่ไม่สูง

- การใช้รถร่วมกันในทางเดียวกัน

-

การน� ำ ระบบ Solar Cell มาใช้ กั บ ระบบแสงสว่ า งและ ระบบสูบน�้ำ เพื่อท�ำการ Reused น�้ำ ส�ำหรับรดน�้ำต้นไม้ ดูแลสวนในพื้นที่โรงงานเพื่อลดการใช้ทรัพยากรไฟฟ้าและ ใช้ทรัพยากรน�้ำอย่างคุ้มค่า

-

การน�ำหินทรายที่คัดแยกจากระบบ Recycling System น�ำกลับมาใช้ในกระบวนการผลิตคอนกรีตใหม่เป็นร้อยละ 2 ของการใช้ปริมาณหินทรายทั้งหมด และน�้ำปูนที่ผ่านจาก ระบบ Recycling System น�ำกลับมาผสมผลิตคอนกรีตใหม่ เป็นร้อยละ 25 ของปริมาณการใช้น�้ำในการผลิตทั้งหมด ท�ำให้ไม่มีการปล่อยน�้ำเสียสู่ชุมชนหรือที่สาธารณะ

-

การน�ำกากที่ได้จากบ่อตกตะกอนไปถมที่ดินหรือถมถนน ท� ำ ให้ ไ ม่ มี เ ศษวั ส ดุ เ หลื อ ทิ้ ง จากการผลิ ต ซึ่ ง เป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มและถื อ เป็ น Green Factory แห่ ง แรกของ ประเทศไทยที่ น� ำ ระบบนี้ ม าใช้ ใ นอุ ต สาหกรรมการผลิ ต Precast Concrete

ด้านการจัดการของเสีย - การน� ำ ระบบ หรื อ เครื่ อ งจั ก รที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมาใช้ ใ น กระบวนการผลิ ต เพื่ อ ลดปริ ม าณของเสี ย ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น เช่น เศษน�้ำมันที่เหลือจากโต๊ะหล่อแบบ ด้านการบริหารจัดการวัสดุ - การใช้เหล็กเสริมและวัสดุอื่นๆ โดยโรงงานพฤกษา พรีคาสท์ ได้น�ำระบบการผลิตเหล็กเสริม แบบ Automated Mesh Welding Plant และ Automated Mesh Welding Plant

149


รายงานประจํ า ปี 2560

with Automated Placing ส�ำหรับโรงงานแห่งใหม่มาใช้งาน ท�ำให้การผลิตเหล็กเสริมส�ำหรับการผลิตชิ้นงานพรีคาสท์ ทุกแผ่น ถูกต้อง แม่นย�ำ สมบูรณ์ทุกชิ้นงาน และสามารถ ลด Waste การใช้เหล็กเสริม ท�ำให้มีการใช้วัสดุส�ำหรับ การผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ

4.4 นโยบายในการต่อต้านการทุจริต การคอร์รัปชั่นและห้าม จ่ายสินบน

-

การใช้คอนกรีตปริมาณสูง และเป็นต้นทุนหลักในการผลิต Precast Concrete ส่งผลให้เกิดการใช้ทรัพยากรในปริมาณสูง ซึง่ อาจจะส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมในหลายๆ ด้าน บริษทั ฯ จึงได้มีแนวคิดลดปริมาณการใช้ซีเมนต์ในส่วนผสมคอนกรีต แต่ ยั ง คงความแข็ ง แรงของโครงสร้ า งตามหลั ก วิ ศ วกรรม ซึ่งจากแนวคิดในการประกวด SGA (กิจกรรมสร้างสรรค์ นวั ต กรรมใหม่ ๆ จากความคิ ด ริ เ ริ่ ม ของพนั ก งาน) เรื่ อ ง การลดขนาด key joint ส่งผลให้สามารถปรับเปลีย่ นส่วนผสม ของคอนกรีตในการผลิต ท�ำให้ลดการใช้ปริมาณซีเมนต์ลง และท�ำให้ต้นทุนการผลิตลดลง โดยซีเมนต์ลดลง 35 กก./ ลบ.ม. รวมทั้ ง ใช้ ขี้ เ ถ้ า ลอย (Fly ash) แทนปู น ซี เ มนต์ ร้ อ ยละ 10 ในการผสมคอนกรี ต ท� ำ ให้ ซี เ มนต์ ล ดลงอี ก 32 กก./ลบ.ม.

(1) การให้และรับสินบน

(5) ด้านการประหยัดทรัพยากร

- การน� ำ I-PAD มาใช้ในการประชุม คณะกรรมการบริษัท แทนการใช้แฟ้มเอกสาร เพื่อลดการใช้กระดาษ

4.3 นโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการไม่ล่วงละเมิดทรัพย์สิน ทางปัญญา หรือลิขสิทธิ์ บริษัทฯ มีนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการไม่ล่วงละเมิดทรัพย์สิน ทางปั ญ ญา หรื อ ลิ ข สิ ท ธิ์ ไ ว้ ซึ่ ง ถื อ เป็ น จรรยาบรรณทางธุ ร กิ จ ของ บริษัทฯ โดยมีรายละเอียดดังนี้ (1) การปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา หรือลิขสิทธิ์ของบริษัทฯ เพื่อมิให้ ข้อมูลรั่วไหล (2)

การใช้ระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยพนักงาน ที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ต้องลงลายมือชื่อรับรองว่าจะไม่ละเมิด สิทธิของบุคคลใด หรือบริษทั ฯ ใดๆ ทีไ่ ด้รบั การคุม้ ครองโดยลิขสิทธิ ์ ความลับทางการค้า สิทธิบัตร หรือทรัพย์สินทางปัญญาอื่นๆ หรือกฎหมาย หรือข้อบังคับที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ซึ่งรวม ไปถึ ง ติ ด ตั้ ง หรื อ เผยแพร่ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ซ อฟต์ แ วร์ เ ถื่ อ นหรื อ ซอฟต์แวร์ที่ไม่ได้รับอนุญาตอย่างถูกต้องให้กับทางบริษัทฯ

(3) ไม่ น� ำ ทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาประเภทต่ า งๆ ของบริ ษั ท ฯ ไปใช้ เพื่อประโยชน์ส่วนตัว หรือเพือ่ ประโยชน์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับ อนุญาต (4) พนักงานต้องเคารพ และไม่น�ำผลงานซึ่งเป็นทรัพย์สินทางปัญญา ของผู้อื่นไม่ว่าทั้งหมด หรือบางส่วนไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต จากเจ้าของ

150

บริษัทฯ มีนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น และห้ามจ่ายสินบน ทุกรูปแบบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1.1

ห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานเรียก หรือรับประโยชน์ หรือทรัพย์สินใดที่ส่อไปในทางจูงใจให้ปฏิบัติ หรือละเว้นการ ปฏิบัติหน้าที่ในทางที่มิชอบ หรืออาจท�ำให้บริษัทฯ เสียประโยชน์ อันชอบธรรม

1.2

กรรมการ ผู ้ บ ริ ห าร และพนั ก งานพึ ง ละเว้ น การเสนอ หรื อ ให้ ป ระโยชน์ หรื อ ทรั พ ย์ สิ น ใดแก่ บุ ค คลภายนอกเพื่ อ จู ง ใจ ให้ผู้นั้นกระท�ำ หรือละเว้นการกระท�ำที่ผิดกฎหมาย หรือโดย มิชอบต่อต�ำแหน่งหน้าที่ของตน

(2) ของขวัญ หรือการเลี้ยงรับรองทางธุรกิจ การห้ามให้หรือรับของขวัญ ของก�ำนัล การเลีย้ งรับรอง หรือผลประโยชน์ อื่นจากลูกค้า คู่ค้า หรือ ตัวแทนทางธุรกิจ หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับ บริษัทฯ เว้นแต่เป็นกรณีที่ด�ำเนินการได้ตามรายละเอียด ดังนี้ 2.1 การให้ของขวัญ ของก�ำนัล หรือผลประโยชน์อื่น

2.1.1 ห้ า มพนั ก งานและบุ ค คลในครอบครั ว ให้ ข องขวั ญ ของก�ำนัล หรือผลประโยชน์อื่นแก่คู่ค้า ตัวแทนทางธุรกิจ หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ทั้งในฐานะเป็นตัวแทน บริษัทฯ หรือส่วนตัว

2.1.2 ห้ามพนักงานและบุคคลในครอบครัวให้ของขวัญ ของก�ำนัล หรือผลประโยชน์อื่นแก่ผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน และบุคคลในครอบครัว ยกเว้นเป็นการให้ หรือรับตามประเพณีนิยม ในเทศกาล หรือโอกาสต่างๆ ที่มีมูลค่าเล็กน้อย โดยปราศจากเจตนาหวังผลตอบแทน

2.2 การให้ของขวัญ ของก�ำนัล หรือผลประโยชน์อื่นที่สามารถให้แก่ ลูกค้า คู่ค้า ตัวแทนทางธุรกิจ หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ได้ จะต้องเป็นไปตามเงื่อนไข ดังต่อไปนี้

2.2.1 การให้ของขวัญ ของก�ำนัล ที่มีตราสัญลักษณ์ของบริษัทฯ ตามประเพณี นิ ย ม เทศกาล ของขวั ญ ของก� ำ นั ล ที่ มี ตราสัญลักษณ์ของบริษัทฯ โดยต้องได้รับการอนุมัติใช้ ตราสัญลักษณ์บริษทั ฯ ตามระเบียบบริษทั ฯ จากหน่วยงาน Corporate Marketing

2.2.2 ของขวัญ ของก�ำนัล หรือผลประโยชน์อื่น ที่จัดท�ำขึ้นโดย ฝ่ายงาน / สายงาน เพือ่ มอบให้ลกู ค้าเพือ่ การส่งเสริมการขาย หรือสร้างความสัมพันธ์ทางธุรกิจ โดยมีระเบียบกฎเกณฑ์ การให้ของขวัญ ของก�ำนัลซึ่งพิจารณาโดยผู้บริหารสูงสุด ของสายงาน


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

2.2.3 การให้ของขวัญ ของทีร่ ะลึกได้ในโอกาสการแสดงความยินดี การให้เนื่องในโอกาสทางธุรกิจ การแสดงความขอบคุณ การต้อนรับ การแสดงความเสียใจ การให้ความช่วยเหลือ ตามมารยาททีถ่ อื ปฏิบตั ใิ นสังคม หรือ ในการจัดกิจกรรมต่างๆ ของบริษัทฯ

การเบิ ก ค่ า ใช้ จ ่ า ยส� ำ หรั บ การให้ ข องขวั ญ ของก� ำ นั ล หรื อ ผลประโยชน์การให้ในโอกาสต่างๆ ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบ ขั้นตอนการเบิกค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของบริษัทฯ และคู่มือ อ�ำนาจอนุมัติค่าใช้จ่ายเพื่อการด�ำเนินการ โดยใบขอเบิกเงิน ต้องระบุชื่อผู้รับของขวัญ ของก�ำนัลและวัตถุประสงค์ในการเบิก ด้วยทุกครั้ง

ด� ำ เนิ น งาน โดยใบขอเบิ ก เงิ น ต้ อ งระบุ ชื่ อ ผู ้ รั บ เลี้ ย ง วัตถุประสงค์ในการเบิก และไม่อนุมัติค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น ในสถานที่ที่ไม่เหมาะสม เช่น สถานบริการที่มีหญิงบริการ หรือสถานที่ใกล้เคียง เป็นต้น

2.5 การรับเชิญเข้าร่วมประชุม การอบรม สัมนา การดูงานที่จัดโดย ลูกค้า / ตัวแทนธุรกิจ / คู่ค้า

การรับเชิญเข้าร่วมประชุม การดูงานที่จัดโดยลูกค้า / ตัวแทน ธุ ร กิ จ / คู ่ ค ้ า สามารถกระท� ำ ได้ ในกรณี ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย ในฐานะตัวแทนของบริษัทฯ โดยมีเงื่อนไข ดังนี้

2.5.1 ได้รับอนุมัติจากผู้บริหารสูงสุดของสายงาน

2.3 การรับของขวัญ ของก�ำนัล หรือผลประโยชน์อื่น

2.3.1 ห้ามพนักงานและบุคคลในครอบครัวรับของขวัญ ของก�ำนัล หรือผลประโยชน์อื่น จากลูกค้า คู่ค้า ตัวแทนทางธุรกิจ หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ทั้งในฐานะที่เป็นตัวแทน บริษัทฯ หรือส่วนตัว 2.3.2 หากไม่สามารถปฏิเสธการรับของขวัญ ของก�ำนัล หรือ ผลประโยชน์อื่น ซึ่งเป็นการให้ตามประเพณี เทศกาล ผู้รับ จะต้องน�ำส่งให้สายงานทรัพยากรบุคคลกลาง ภายใน 7 วัน หลังได้รับของ เพื่อด�ำเนินการจัดสรรให้พนักงาน ของบริษัทฯ หรือบริจาคเพื่อการกุศลตามความเหมาะสม 2.6 โดยมีแนวปฏิบัติตามเอกสารแนบ 2.3.3 ห้ามผู้บังคับบัญชาและบุคคลในครอบครัวรับของขวัญ ของก�ำนัล หรือผลประโยชน์อื่นจากผู้ใต้บังคับบัญชาและ บุคคลในครอบครัว 2.4 การเลี้ยงรับรอง การรับเลี้ยงรับรอง 2.4.1 ห้ามมิให้มีการรับเลี้ยง ในกรณีที่เป็นรูปแบบที่มีเจตนา เพื่ อ สร้ า งอิ ท ธิ พ ล หรื อ มี ผ ลต่ อ การตั ด สิ น ใจทางธุ ร กิ จ 2.7 หรือเพื่อสนับสนุนกิจกรรมทางการเมือง

2.5.2 ต้องมีวัตถุประสงค์รายละเอียดของการประชุม การดูงาน ที่ชัดเจน และควรจัดท�ำแผนเป็นการล่วงหน้า 2.5.3 หลังการเข้าร่วมประชุม ดูงาน ผู้รับเชิญ ต้องท�ำสรุปผล ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม ดูงาน เสนอต่อผู้บริหารสูงสุด ของสายงาน 2.5.4 ไม่ เ ข้ า ร่ ว มการอบรม สั ม นา ดู ง าน ที่ มี ลั ก ษณะแฝง การท่องเที่ยว โดยปราศจากเจตนาในการถ่ายทอดหรือ แสวงหาความรู้อย่างแท้จริง หลักส�ำคัญที่ต้องค�ำนึงถึงเสมอในการให้ รับ ของขวัญ ของก�ำนัล การเลี้ยงรับรอง หรือผลประโยชน์อื่น ที่ด�ำเนินการได้ตามระเบียบ ฉบับนี้ 2.6.1 รูปแบบ และมูลค่าของของขวัญ ของก�ำนัล การเลีย้ งรับรอง หรือผลประโยชน์อื่น ต้องไม่ฟุ่มเฟือยเกินความจ�ำเป็น และต้องใช้จ่ายอย่างสมเหตุสมผล 2.6.2 ผูร้ บั และผูใ้ ห้ตอ้ งเปิดเผยโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ บทลงโทษ ให้พนักงานถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดและถือเป็นเงื่อนไขหนึ่งของ การว่าจ้าง หากพนักงานผู้ใดละเมิดระเบียบดังกล่าวถือว่าเป็น ความผิดทางวินัย และจะได้รับการพิจารณาโทษตามระเบียบ ของบริษัทฯ ต่อไป

2.4.2 ห้ า มพนั ก งานเลี้ ย งรั บ รอง ที่ มี ลั ก ษณะเป็ น รู ป แบบ การตอบแทนการท�ำงาน ฝ่าฝืนกฎหมาย ขัดด้วยกฎระเบียบ หรือเข้าข่ายเป็นการติดสินบน เว้นแต่การเลี้ยงรับรอง เพื่อติดต่อท�ำความรู้จัก การให้ความรู้ แลกเปลี่ยนความรู ้ และประสบการณ์ การเลี้ยงรับรองเนื่องจากการปฏิบัต ิ หน้าที่ ตามความเหมาะสมและไม่ฟุ่มเฟือยเกินสมควร

2.4.3 การเลี้ยงรับรองลูกค้า คู่ค้า หรืออื่นๆ เพื่อประชาสัมพันธ์ โครงการส่ ง เสริ ม การขาย การจั ด กิ จ กรรมเพื่ อ แนะน� ำ สินค้า บริการ กิจกรรม โครงการเพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ บริ ษั ท ฯ โดยโครงการหรื อ กิ จ กรรมดั ง กล่ า วต้ อ งได้ รั บ ความเห็นชอบจากผู้บริหารสูงสุดของสายงาน

การเบิ ก ค่ า ใช้ จ ่ า ยส� ำหรั บ การเลี้ ย งรั บ รองให้ ถื อ ปฏิ บั ต ิ 2) กรณี ข องขวั ญ ของก� ำ นั ล หรื อ ผลประโยชน์ อื่ น ที่ ไ ม่ เ ข้ า ข่ า ย ตามระเบียบขั้นตอน การเบิกค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ในข้ อ 1 ให้ แ จ้ ง รายละเอี ย ดของของขวั ญ ของก� ำ นั ล หรื อ ของบริ ษั ท ฯ และคู ่ มื อ อ� ำ นาจอนุ มั ติ ค ่ า ใช้ จ ่ า ยเพื่ อ การ

กรณี พ นั ก งานได้ รั บ ของขวั ญ ของก� ำ นั ล หรื อ ผลประโยชน์ อื่ น ให้ ปฏิบัติ ดังนี้ 1)

กรณีเป็นของขวัญ ของก�ำนัล ที่ไม่สามารถเก็บไว้ได้นาน หรือ มีตราสัญลักษณ์ของ บริษัทฯ ผู้ให้ ซึ่งเป็นการให้โดยทั่วไป หรือ มีมูลค่าเพียงเล็กน้อย เช่น อาหาร เครื่องดื่ม ปฏิทิน ปากกา สมุ ด บั น ทึ ก เป็ น ต้ น ให้ พ นั ก งานแจ้ ง หั ว หน้ า หน่ ว ยงานเพื่ อ พิ จ ารณาแจกจ่ า ยให้ พ นั ก งานในหน่ ว ยงานโดยเปิ ด เผย เป็นธรรม ทั่วถึง

151


รายงานประจํ า ปี 2560

ผลประโยชน์อื่นกับผู้บริหารสูงสุดของสายงาน โดยผู้บริหารสูงสุด ของสายงานหรือผูท้ ไี่ ด้รบั มอบหมายจากผูบ้ ริหารสูงสุดของสายงาน พิจารณาด�ำเนินการ ดังนี้ 4.2 2.1) ของขวัญ ของก�ำนัล ที่อาจมีความเสี่ยงที่จะท�ำให้ของดังกล่าว เกิดความเสียหาย หรือมีค่าใช้จ่ายในการน�ำส่งหรือเก็บรักษา ที่สูงเกินจ�ำเป็น ให้จัดท�ำทะเบียนการรับของขวัญ ของก�ำนัล และพิจารณาจัดสรรให้พนักงานในสายงานอย่างเปิดเผย เป็นธรรม 4.3 ทั่ ว ถึ ง และน� ำ ส่ ง ทะเบี ย นของขวั ญ พร้ อ มระบุ วิ ธี ก ารจั ด สรร ให้สายทรัพยากรบุคคลกลาง 2.2) ผลประโยชน์อ่ืน รวมถึงของขวัญ ของก�ำนัล ที่ไม่เข้าข่ายข้อ 2.1 ให้จัดท�ำทะเบียนการน�ำส่งของดังกล่าวให้สายงานทรัพยากร บุ ค คลกลาง เพื่ อ ด� ำ เนิ น การจั ด สรรอย่ า งเปิ ด เผย เป็ น ธรรม ทั่วถึงต่อไป (3) การช่วยเหลือทางการเมือง

และไม่ขัดต่อศีลธรรม รวมทั้งไม่เป็นการกระท�ำการใดๆ ที่จะมี ผลเสียหายต่อสังคมส่วนรวม การให้ ห รื อ รั บ เงิ น หรื อ ทรั พ ย์ สิ น บริ จ าคเพื่ อ การกุ ศ ลหรื อ เงินสนับสนุนนั้น ต้องไม่ได้ถูกน�ำไปใช้เพื่อเป็นข้ออ้างในการ ติดสินบน การเบิ ก ค่ า ใช้ จ ่ า ยเพื่ อ การกุ ศ ล และการให้ เ งิ น สนั บ สนุ น ให้ปฏิบัติตามระเบียบขั้นตอน การปฏิบัติงาน การเบิกค่าใช้จ่าย ในการบริ ห ารของบริ ษั ท ฯ และคู ่ มื อ อ� ำ นาจอนุ มั ติ ค ่ า ใช้ จ ่ า ย เพื่อการด�ำเนินงานที่บริษัทฯ ก�ำหนด ทั้งนี้ การเบิกจ่ายต้องระบุ วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน และมีหลักฐานที่ตรวจสอบได้ในกรณีที่ม ี ข้อสงสัยที่ อ าจส่ ง ผลกระทบทางกฎหมาย ให้ ข อค� ำ ปรึ ก ษา จากฝ่ายกฎหมายอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร หรือในเรื่องที่มี ความส�ำคัญอื่นๆ ให้อยู่ใน ดุลยพินิจของฝ่ายจัดการ

4.5 นโยบายการสรรหาที่ดิน

บริษัทฯ ไม่ช่วยเหลือหรือให้การสนับสนุนการเมืองแก่พรรคการเมือง บริษัทฯ ด�ำเนินนโยบายการสรรหาที่ดิน โดยก�ำหนดให้ทุกกระบวนการ กลุ่มการเมือง หรือนักการเมืองไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม รวมถึง ทีเ่ กีย่ วข้อง มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และพิจารณาคัดเลือก ไม่ใช้ทรัพย์สินใดๆ ของบริษัทฯ เพื่อด�ำเนินการดังกล่าว ที่ดินในรูปแบบของคณะกรรมการในทุกกระบวนการ โดยทุกหน่วยงาน ที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ ร วบรวมข้ อ มู ล ที่ ค รบถ้ ว นและผ่ า นการตรวจสอบ (4) การบริจาคเพื่อการกุศล การสาธารณประโยชน์ และการให้เงิน ก่ อ นน� ำ เสนอให้ ค ณะกรรมการจั ด ซื้ อ ที่ ดิ น คณะกรรมการจั ด การ สนับสนุน คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาคัดเลือก 4.1 การบริจาคเงิน หรือทรัพย์สินเพื่อการกุศล การสาธารณประโยชน์ ตามอ�ำนาจด�ำเนินการจากมูลค่าโครงการที่น�ำมาพัฒนา และการให้เงินสนับสนุนต้องเป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย กระบวนการสรรหาที่ดิน ประกอบด้วย

การรับลงทะเบียนที่ดิน การคัดกรองที่ดิน พิสูจนตัวตนนายหนา เจาของที่ดิน ผูถือกรรมสิทธิ์

แยกที่ดินตามพื้นที่ การพัฒนาของบริษัท

การประเมินศักยภาพที่ดิน การเจรจาตอรองราคา และเงื่อนไข วิเคราะหดานการตลาด ภาวะการแขงขัน เจรจากับเจาของที่ดิน ผูถือกรรมสิทธิ์ โดยเงื่อนไข และราคาที่ตกลงยินยอม ดานกายภาพกฎหมาย รวมกันระหวางผูซื้อ (บริษัทฯ) ที่เกี่ยวของกับการพัฒนา และผูขาย อสังหาริมทรัพย

การนำเสนอที่ดิน เพื่อพิจารณา นำเสนอที่ดินอยางนอย 3 - 5 แปลง ตอการนำเสนอซื้อที่ดินแปลงนั้นๆ ตอคณะกรรมการจัดซื้อที่ดิน, คณะกรรมการจัดการ, คณะกรรมการบริหารและ คณะกรรมการบริษัท พิจารณา อนุมัติตามอำนาจดำเนินการ โดยพิจารณาจากมูลคาโครงการ

หลักการพิจารณาคัดเลือกที่ดิน บริ ษั ท ฯ ด� ำ เนิ น การจั ด ท� ำ รายงานทางกายภาพเบื้ อ งต้ น ของที่ ดิ น แปลงนั้ น ๆ เพื่ อ ตรวจสอบลั ก ษณะทางกายภาพที่ ดิ น แปลงดั ง กล่ า ว เพื่อสามารถน�ำไปพัฒนาได้ โดยไม่ติดเงื่อนไข กฎระเบียบ ของหน่วยงานราชการที่ก�ำกับดูแลการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งที่ดินแปลงดังกล่าว อยู่ใกล้สถานที่ที่อาจก่อให้เกิดมลพิษจากสารเคมี เช่น โรงงานผลิตสารเคมี บ่อขยะ หรือแนวเส้นเสียงการขึ้นลง ของเครื่องบิน ทั้งนี้ บริษัทฯ จะค�ำนึงถึงสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่อาศัย และความปลอดภัยของลูกค้าเป็นส�ำคัญ

152


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

4.6 นโยบายในการปฏิบตั ติ อ่ เจ้าของทีด่ นิ นายหน้า และพนักงาน บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ของ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ที่มีพฤติกรรมส่อไป ในทางทุจริตและผิดหลักธรรมาภิบาลต่อการซื้อขายที่ดินของ บริษัท พฤกษาฯ

หลักการและเหตุผล

เพื่อหลีกเลี่ยงและป้องกันมิให้มีการกระท�ำใดๆ ที่อาจเข้าข่ายหรือ ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยเฉพาะเมื่อเกิดรายการ ที่เจ้าของที่ดินและนายหน้ามีพฤติกรรมที่ส่อไปในทางทุจริตและผิด หลักธรรมาภิบาลต่อการซื้อขายที่ดินของบริษัท พฤกษาฯ ดังนั้น บริษัท นิ ย ามการปฏิ บั ติต นของเจ้า ของที่ดิน นายหน้า และพนักงาน ที่มี พฤกษาฯ จึงก�ำหนดให้มีนโยบาย/มาตรการในเรื่องการ Blacklist พฤติกรรมส่อไปในทางทุจริตและผิดหลัก ธรรมาภิบาลต่อการซื้อขาย เจ้ า ของที่ ดิ น และนายหน้ า ที่ มี พ ฤติ ก รรมที่ ส ่ อ ไปในทางทุ จ ริ ต และ ที่ดินของบริษัท พฤกษาฯ ผิ ด หลั ก ธรรมาภิ บ าลต่ อ การซื้ อ ขายที่ ดิ น ของบริ ษั ท พฤกษาฯ ขึ้ น เพื่อให้ผู้บริหารและพนักงานรับทราบ และน�ำไปปฏิบัติเป็นบรรทัดฐาน (1) การบวกราคาที่ดินเพิ่มจากราคาที่เจ้าของที่ดินต้องการขาย เดียวกัน อันเป็นการสนับสนุนการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (2) การเพิ่มราคาที่ดินโดยไม่มีเหตุผล ขอบเขต (3) การซื้อที่ดินตัดหน้าบริษัทฯ โดยใช้ข้อมูลภายใน และน�ำมาขาย นโยบายฯ นี้ครอบคลุมผู้เกี่ยวข้อง ดังนี้ ในราคาที่สูงขึ้น (1) เจ้าของที่ดิน (4) การน�ำข้อมูลภายในที่ส�ำคัญของ บริษัท พฤกษาฯ ไปเปิดเผย ต่อบุคคลภายนอก (2) นายหน้า (5) การปิดบังข้อเท็จจริงของแปลงที่ดิน

(3) ผู ้ บ ริ ห าร และพนั ก งานของ บริ ษั ท พฤกษาฯ รวมทั้ ง บริ ษั ท ในเครือ

(6) การให้ ห รื อ ใช้ ข ้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ แปลงที่ ดิ น อั น เป็ น เท็ จ แก่ บริษัท พฤกษาฯ ขั้นตอนการปฏิบัติ

(7) การแอบอ้างชื่อบริษัท พฤกษาฯ เพื่อใช้ในการติดต่อ เจ้าของที่ดิน แนวทางการปฏิ บั ติ เ พื่ อ ให้ บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ข ้ า งต้ น จึ ง ก� ำ หนด ให้มีมาตรการดังนี้ (8) การเสนอให้สินบน สิ่งตอบแทนแก่ผู้บริหาร และพนักงานบริษัท พฤกษาฯ (1) ผู้บริหารต้องเป็นตัวอย่างที่ดีในการปฏิบัติตามนโยบายฯ นี้ (9) พนักงานที่มีส่วนร่วมกับเจ้าของที่ดิน หรือนายหน้า ในข้อใด (2) ผู้บริหารมีหน้าที่สื่อสารให้พนักงานรับทราบว่า บริษัท พฤกษาฯ ข้อหนึ่งดังกล่าวข้างต้น บริษัท พฤกษาฯ ถือว่ามีความผิดร้ายแรง ไม่สนับสนุนให้มีการด�ำเนินการทางธุรกิจกับเจ้าของที่ดิน และ/ และเป็นการทุจริตต่อหน้าที่ หรื อ นายหน้ า ที่ มี พ ฤติ ก รรมที่ ส ่ อ ไปในทางทุ จ ริ ต และผิ ด หลั ก ธรรมาภิบาลต่อการซื้อขายที่ดินของ บริษัท พฤกษาฯ (10) การปฏิบัติการอื่นๆ อันเป็นการส่อไปในทางทุจริตและผิดหลัก ธรรมาภิบาลต่อการซื้อที่ดินของ บริษัท พฤกษาฯ (3) ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งานที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ กระบวนการซื้ อ ที่ ดิ น (P0-P7) มี ห น้ า ที่ ต ้ อ งรายงานให้ ค ณะกรรมการจั ด ซื้ อ ที่ ดิ น วัตถุประสงค์ รับทราบโดยเร็ว หากพบพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของเจ้าของ (1) เพือ่ ให้เป็นทีร่ บั รูว้ า่ บริษทั พฤกษาฯ ไม่สนับสนุนให้มกี ารด�ำเนินการ ที่ดิน นายหน้า และพนักงานตามที่ระบุในนโยบายนี้ ทางธุ ร กิ จ กั บ เจ้ า ของที่ ดิ น และนายหน้ า ที่ มี พ ฤติ ก รรมที่ ส ่ อ (4) เป็นหน้าที่ของพนักงานทุกระดับที่จะต้องแจ้งให้ บริษัท พฤกษาฯ ไปในทางทุ จ ริ ต และผิ ด หลั ก ธรรมาภิ บ าลต่ อ การซื้ อ ที่ ดิ น ของ ทราบหากพบพฤติ ก รรมที่ ส ่ อ ไปในทางทุ จ ริ ต และผิ ด หลั ก บริษัท พฤกษาฯ ธรรมาภิบาลของเจ้าของที่ดิน นายหน้า และพนักงาน ตามที่ (2) เพื่อให้ผู้บริหารและพนักงานรับทราบถึงพฤติกรรม การกระท�ำ ระบุในนโยบายนีผ้ า่ นช่องทางการแจ้งเบาะแสของ บริษทั พฤกษาฯ ที่ส่อไปในทางทุจริตและผิดหลักธรรมาภิบาลต่อการซื้อขายที่ดิน ได้แก่ ของ บริษัท พฤกษาฯ - Website : www.pruksa.com ร้ อ งเรี ย น/แจ้ ง เบาะแส/ ขอความเป็นธรรม (3) เพื่ อ ให้ ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งานทราบถึ ง แนวทางการปฏิ บั ต ิ เมื่อพบพฤติกรรม การกระท�ำที่ส่อไปในทางทุจริตและผิดหลัก - E-mail : cg@pruksa.com ธรรมาภิบาลต่อการซื้อขายที่ดิน - Line : Line ID : pruksacg (4) เพื่ อ ให้ บ ริ ษั ท ฯ สามารถให้ ค วามเป็ น ธรรมแก่ เ จ้ า ของที่ ดิ น นายหน้า และพนักงาน ที่ด�ำเนินการซื้อขายที่ดินอย่างสุจริต โปร่งใส

153


รายงานประจํ า ปี 2560

-

ไปรษณี ย ์ : ส่ ง ถึ ง ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารกลุ ่ ม (Group-CEO) หรือ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) อาคารเพิร์ล แบงก์ค็อก ชั้ น 23 เลขที่ 1177 ถนนพหลโยธิ น แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400

(5) กรณี เ จ้ า ของที่ ดิ น และนายหน้ า มี พ ฤติ ก รรมตามค� ำ นิ ย าม ข้างต้น ให้เป็นหน้าที่ผู้บริหารของหน่วยงาน PO/PI น�ำเสนอ คณะกรรมการจั ด ซื้ อ ที่ ดิ น พิ จ ารณาอนุ มั ติ ก าร Blacklist โดยเร็ว (6)

กรณี ส งสั ย ว่ า พนั ก งานมี พ ฤติ ก รรมส่ อ ไปในทางทุ จ ริ ต หรื อ มีส่วนได้เสีย หรือปฏิบัติงานผิดขั้นตอนอันอาจเป็นเหตุให้บริษัท พฤกษาฯ ได้ รั บ ความเสีย หายต่อการซื้อ-ขายที่ดิน ของบริษัท พฤกษาฯ ให้ ค ณะกรรมการจั ด ซื้ อ ที่ ดิ น สามารถมี ค วามเห็ น ไปยังฝ่ายบุคคลและผู้บังคับบัญชาของพนักงานให้ด�ำเนินการ พั ก งาน เพื่ อ การสอบสวนพนั ก งานผู ้ นั้ น หรื อ จะพิ จ ารณา เป็นอย่างอื่นตามที่เห็นสมควร เพื่อด�ำเนินการสอบสวนข้อเท็จจริง ตามระเบียบของ บริษัท พฤกษาฯ ต่อไป

4.9 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลและควบคุมเพื่อป้องกัน และติดตามความเสี่ยงจากการทุจริตคอร์รัปชั่น บริษัทฯ ก�ำหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลและควบคุมเพื่อ ป้องกันและติดตามความเสี่ยงจากการทุจริตคอร์รัปชั่นโดยสรุป ดังนี้ (1)

ประเมิ น ความเสี่ ย งเกี่ ย วกั บ การส่ ง มอบสิ น ค้ า และบริ ก าร กระบวนการสรรหาที่ดินและกระบวนการจัดซื้อ จัดจ้าง ตลอดจน กระบวนการก�ำหนดราคาค่าก่อสร้างบ้านและคอนโดมิเนียม และโรงงานพรี ค าสท์ ไว้ อ ย่ า งเป็ น มาตรฐานในระเบี ย บคู ่ มื อ ปฏิบัติ

(2) เปิดช่องทาง Website Call Center ในการร้องเรียนจากผู้บริโภค พนักงาน ประชาชนและภาครัฐ (3) มี เ ครื่ อ งมื อ ในการควบคุ ม และมี ก ระบวนการในการจั ด การ ความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ โดยมีการรายงานความเสี่ยงไปยัง คณะกรรมการบริษัทในทุกๆ ไตรมาส (4) จัดตั้งหน่วยงาน CG ขึ้น เพื่อก�ำหนดแผนงานก�ำกับดูแลและ จัดการความเสี่ยงต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น

หากพบว่า ผู้บริหารและพนักงานมีการด�ำเนินการขัดต่อนโยบายฯ นี้ ถื อ ว่ า เป็ น การกระท� ำ ผิ ด วิ นั ย และให้ เ ป็ น หน้ า ที่ ข องผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชา นอกจากนั้นในปี 2560 ที่ผ ่านมา บริษัทฯ ยังได้มีการประกาศใช้ นโยบายการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่น จ�ำนวน 3 ฉบับ เพื่อเป็นแนวทาง ที่ต้องพิจารณา ให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยจิตส�ำนึกที่ด ี 4.7 แนวทางในการติดตาม/ประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบาย โดยปราศจากการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น หรื อ การแสวงหาผลประโยชน์ การต่อต้านการทุจริต โดยมิชอบ ได้แก่ นอกจากการก�ำหนดนโยบายการต่อต้านการทุจริต การคอร์รัปชั่น (1) มาตรการต่อต้านการคอร์รัปชั่น ดังกล่าวข้างต้นแล้ว บริษัทฯ มีวิธีการที่ท�ำให้คนทั้งองค์กรมีส่วนร่วม กับการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวในหลายช่องทาง เช่น ให้ความรู้ (2) ระเบียบการแจ้งเบาะแส การร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตและ ผ่านทางวารสารใต้ร่มพฤกษา E-mail Intranet ของบริษัทฯ และ คอร์รัปชั่น อบรม/ฉายวีดีทัศน์ (VDO) ให้พนักงานใหม่ทราบในวันปฐมนิเทศ (3) ระเบี ย บการให้ ข องขวั ญ ของก� ำ นั ล การเลี้ ย งรั บ รอง และ รวมทั้ ง มี ก ารติ ด ตามประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ต ามนโยบายดั ง กล่ า ว ผลประโยชน์อื่น โดยการส�ำรวจความคิดเห็นของผู้บริหารและพนักงานของบริษัทฯ ในเรื่องการต่อต้านการทุจริต เพื่อน�ำมาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุง 4.10 การฝึกอบรมแก่พนักงานเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและ การติดตามและการประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายการต่อต้าน แนวปฏิบัติในการต่อต้านการทุจริตของบริษัทฯ การทุจริตให้ดียิ่งขึ้น บริษัทฯ ได้สื่อสารและจัดอบรมให้ความรู้ด้านนโยบายและแนวปฏิบัติ 4.8 กระบวนการในการประเมิ น ความเสี่ ย งจากการทุ จ ริ ต ในการต่อต้านการทุจริตให้แก่พนักงานทุกคน โดยเริ่มต้นตั้งแต่เข้า คอร์รัปชั่น ท�ำงานกับบริษัทฯ เพื่อเป็นการป้องกันการทุจริตภายในองค์กรและ ยังได้ส่งบุคลากรไปอบรมภายนอกองค์กร ซึ่งจัดโดยหน่วยงานต่างๆ บริษัทฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ ทั้งภาครัฐและเอกชน โดยภายหลังจากการจัดอบรมให้ความรู้แก่ 1 ธันวาคม 2559 และต่อมาเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2560 บริษัทฯ พนักงานในการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ แล้ว บริษทั ฯ ยังได้ดำ� เนินการ ได้รับการรับรองเป็นสมาชิกของแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย เพิ่มเติมในหลายรูปแบบ อาทิเช่น การเปิด Video ให้ชม การเผยแพร่ ในการต่อต้านทุจริต (Collective Action Coalition) ทั้งนี้ บริษัทฯ ผ่ า น Billboard เว็ บ ไซต์ วารสารภายในบริ ษั ท ฯ ประกาศต่ า งๆ มี ก ระบวนการในการประเมิ น ความเสี่ ย งจากการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น พร้อมกับน�ำส่งคู่มือจรรยาบรรณทางธุรกิจ และประชาสัมพันธ์เรื่อง โดยการประเมินความเสี่ยงในกระบวนการหลักที่มีความเสี่ยงต่อการ ระเบี ย บการแจ้ ง เบาะแสผู ้ ก ระท� ำ การทุ จ ริ ต ขั้ น ตอนการร้ อ งเรี ย น ทุจริตสูงและจัดท�ำแผนบริหารจัดการและควบคุมภายใน เพือ่ ไม่ให้เกิด เกี่ยวกับการทุจริตและการคอร์รัปชั่น ระเบียบการให้ การรับของขวัญ การทุจริตคอร์รัปชั่นภายในองค์กร ของก�ำนัล การเลี้ยงรับรอง หรือผลประโยชน์อื่นและมาตรการต่อต้าน โดยในปี 2560 ทีผ่ า่ นมา คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งระดับองค์การ คอร์รัปชั่น โดยบริษัทฯ มีการส่งเสริมและให้ความรู้อย่างสม�่ำเสมอ ได้ประเมินความเสี่ยงจากการทุจริตแยกออกจากความเสี่ยงด้านอื่นๆ แก่พนักงาน ดังนี้ และได้รายงานผลต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบในทุกไตรมาส

154


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

(1)

อบรมหลั ก สู ต รจริ ย ธรรมพฤกษา (Ethic) ส� ำ หรั บ ปฐมนิ เ ทศ พนั ก งานเข้ า ใหม่ และทุ ก คนจะต้ อ งผ่ า นการอบรม และ ผ่ า นการทดสอบในหลั ก สู ต รดั ง กล่ า ว พร้ อ มลงนามรั บ ทราบ ในคู่มือจรรยาบรรณที่ได้รับแจกในวันแรกของการเข้ามา เป็นพนักงานบริษัทฯ

(โปรดดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ใน “รายงานการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ” หมวด การด�ำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม) 4.12 การร้องเรียน

คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ให้มชี อ่ งทางทีผ่ มู้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ สามารถ (2) จั ด ให้ มี ก ารทดสอบหลั ก สู ต ร CG เพื่ อ สร้ า งความตระหนั ก ติดต่อ/ร้องเรียน ในเรื่องที่อาจท�ำให้เกิดความเสียหายต่อบริษัทฯ หรือ รู ้ เ รื่ อ ง จรรยาบรรณ และธรรมาภิ บ าลให้ แ ก่ ผู ้ บ ริ ห ารและ ต่อคณะกรรมการโดยตรง โดยมีรายละเอียดและขั้นตอนดังนี้ พนักงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (1) การแจ้งข้อร้องเรียน (3) จัดกิจกรรม CG Day และ CG Suppliers Day เป็นประจ�ำ หากพนักงาน หรือผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มพบเห็นการกระท�ำที่สงสัย ทุ ก ปี ซึ่ ง ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ เป็ น อย่ า งดี จ าก กรรมการ ว่าฝ่าฝืน ละเมิดสิทธิ หรือการไม่ปฏิบัติตามจรรยาบรรณสามารถ ผู้บริหาร พนักงาน และคู่ค้า สอบถามข้อสงสัย หรือรายงานต่อผู้รับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ (4) สื่ อ สารให้ พ นั ก งานรั บ ทราบและตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ : แจ้งโดยตรงที่ ของธรรมาภิบาล การทุจริตคอร์รัปชั่น โดยสื่อสารผ่านบทความ (1) ประธานกรรมการบริษัท และช่องทางประชาสัมพันธ์ต่างๆ ของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง (5) สื่ อ สารถึ ง ประเด็ น ปั ญ หาการทุ จ ริ ต และการลงโทษให้ กั บ (2) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งาน เพื่ อ เป็ น กรณี ศึ ก ษาโดยเป็ น ทั้ ง การ (3) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ป้องกันและป้องปรามมิให้พนักงานประพฤติผิดจรรยาบรรณ (4) ประธานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล 4.11 การให้ความรู้และฝึกอบรมพนักงานในเรื่องสิ่งแวดล้อม (5) ผู้บังคับบัญชา บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เป็นธุรกิจหลักของบริษัทฯ และมี น โยบายที่ จ ะมุ ่ ง พั ฒ นาธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม : ทางไปรษณีย์ เศรษฐกิ จ และสั ง คม รวมทั้ ง อนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม และตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มจากการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ฝ่ายสื่อสารองค์กร ดังนั้น บริษัทฯ จึงเกิดแนวคิดที่ต้องผลักดันให้พนักงานทุกคนตระหนัก บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ถึ ง การดู แ ล เอาใจใส่ สิ่ ง แวดล้ อ มรอบตั ว โดยให้ มี ก ารฝึ ก อบรม อาคารเพิร์ล แบงก์ค็อก ชั้น 24 เลขที่ 1177 ถนนพหลโยธิน ในเรื่ อ งสิ่ ง แวดล้ อ ม ตลอดจนการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ ไ ม่ ท� ำ ลายระบบ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 นิเวศทั้งทางตรงและทางอ้อม แก่พนักงานทุกคนทั้งที่โรงงานพฤกษา พรีคาสท์ และพนักงานที่ปฏิบัติงานที่อื่นๆ รวมทั้งยังมีการเผยแพร่ หรือ ความรู ้ เ รื่ อ ง การดู แ ลสิ่ ง แวดล้ อ มแก่ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา และองค์ ก ร ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารกลุ ่ ม หรื อ ประธานคณะกรรมการ ที่สนใจ ณ โรงงานพรีคาสท์อีกด้วยหน่วยงาน Pruksa School ซึ่งดูแล ตรวจสอบ รับผิดชอบในเรื่อง การอบรมสัมมนาโดยเฉพาะ ได้จัดอบรม/สัมมนา หลักสูตรต่างๆ ที่เป็นประโยชน์แก่พนักงาน เพื่อน�ำไปใช้สนับสนุน บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) การท�ำงาน และเสริมสร้างความรู้ของตนเองให้มากยิ่งขึ้น โดยหลักสูตร อาคารเพิร์ล แบงก์ค็อก ชั้น 24 เลขที่ 1177 ถนนพหลโยธิน เรื่อง สิ่งแวดล้อมก็เป็น 1 ในหัวข้อที่บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โดยในปี 2560 ที่ ผ ่ า นมาบริ ษั ท ฯ ได้ จั ด อบรม/สั ม มนาที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กับเรื่องสิ่งแวดล้อมดังนี้ (1) ความรู้เบื้องต้นของห่วงโซ่อุปทานในงานอสังหาริมทรัพย์ (2) คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงาน (3) การใช้งานปัน้ จัน่ เคลือ่ นทีใ่ ห้ปลอดภัย ผูใ้ ห้สญ ั ญาณ ผูย้ ดึ เกาะ (4) ความรู้พื้นฐานด้านเทคโนโลยีการก่อสร้างของพฤกษา

: ทางโทรศัพท์: 1739 :

ทางเว็ บ ไซต์ : www.psh.co.th (หั ว ข้ อ ร้ อ งเรี ย น แจ้ ง เบาะแส ขอความเป็ น ธรรม ถึ ง ประธานกรรมการ บริ ษั ท ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการ บริหาร และ/หรือประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม)

: Line ID: @pruksacg : E-mail: cg@pruksa.com

(5) การเรียนรู้พฤกษาเทคโนโลยี (6) การวิเคราะห์ศักยภาพที่ดินในเชิงกฎหมายและกายภาพ

155


รายงานประจํ า ปี 2560

(2) กระบวนการด�ำเนินการเมื่อได้รับร้องเรียน

- รวบรวมข้อเท็จจริง

- ประมวลผล และกลั่นกรองข้อมูล

(3)

ผู้รับเรื่องร้องเรียนจะเป็นผู้ประมวลผล และกลั่นกรองข้อมูล เพื่ อ พิ จ ารณาขั้ น ตอนและวิ ธี ก ารจั ด การที่ เ หมาะสม ในแต่ละเรื่อง โดยอาจด�ำเนินการด้วยตนเอง หรือมอบหมาย ให้ ฝ ่ า ยทรั พ ยากรบุ ค คล หรื อ หน่ ว ยงานที่ ท� ำ หน้ า ที่ อย่างเดียวกัน แต่เรียกชือ่ อย่างอืน่ เป็นผูด้ ำ� เนินการประมวลผล และกลั่ น กรองข้ อ มู ล หรื อ มอบหมายให้ ค ณะกรรมการ สอบสวนเป็นผู้ด�ำเนินการประมวลผลและกลั่นกรองข้อมูล โดยคณะกรรมการสอบสวนจะได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง จาก คณะกรรมการบรรษัทภิบาลเป็นกรณีไป มาตรการด�ำเนินการ

-

ผูร้ บั ข้อร้องเรียนตามข้อ (1) ต้องด�ำเนินการรวบรวมข้อเท็จจริง ที่เกี่ยวข้องกับการฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามจรรยาบรรณนั้น ด้วยตนเอง หรือมอบหมายให้ฝา่ ยทรัพยากรบุคคลด�ำเนินการ หรื อ หน่ ว ยงานที่ ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น อย่ า งเดี ย วกั น แต่ เ รี ย กชื่ อ อย่างอื่น

ให้บรรลุตามเป้าหมายที่ก�ำหนด ในระยะสั้นนั้น บริษัทฯ ได้น�ำแนวคิด BSC (Balance Scorecard) ตัวชี้วัดผลงาน KPI (Key Performance Indicator) และการประเมิน 360 องศา ตาม Core Competency มาเป็ น เครื่ อ งมื อ ในการบริ ห ารการจ่ า ยค่ า ตอบแทนตามผลการ ปฏิบัติงาน รวมถึงการจัดสวัสดิการอื่นๆ เพื่อสร้างความผูกพันของ พนักงาน โดยไม่มีการแบ่งแยกอัตราเงินเดือนและค่าตอบแทนพื้น ฐาน รวมทั้ง มีอัตราผลตอบแทนระหว่างเพศหญิงและเพศชายในอัตรา ที่เท่าเทียมกัน คือ 1:1 เช่น การขึ้นเงินเดือน โบนัส ค่าคอมมิชชั่น ซึ่งถือเป็นรางวัลตามผลงาน ส�ำหรับนโยบายค่าตอบแทนพนักงาน ในระยะยาว เช่น เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ, การเสนอขาย หลักทรัพย์ต่อกรรมการหรือพนักงาน (Employee Stock Option Program : ESOP), โครงการสะสมหุ ้ น ส� ำ หรั บ พนั ก งานบริ ษั ท จดทะเบียน (Employee Joint Investment Program : EJIP) ฯลฯ 4.14 การฝ่าฝืนกฎหมายด้านแรงงาน การจ้างงาน ผู้บริโภค การ แข่งขันทางการค้า สิ่งแวดล้อม ในปี 2560 ที่ผ่านมา บริษัทฯ ไม่ได้ด�ำเนินการใดๆ อันเป็นการฝ่าฝืน กฎหมายด้านแรงงาน การจ้างงาน ผู้บริโภค การแข่งขันทางการค้า สิ่งแวดล้อม 4.15 การถูกด�ำเนินการโดยหน่วยงานก�ำกับดูแล

ผู ้ รั บ ข้ อ ร้ อ งเรี ย นน� ำ เสนอมาตรการด� ำ เนิ น การระงั บ ในปี 2560 ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ประกาศข้อมูลจากเหตุการณ์ส�ำคัญ การฝ่ า ฝื น หรื อ ไม่ ป ฏิ บั ติ ต ามจรรยาบรรณและบรรเทา ภายในระยะเวลาทีท่ างการก�ำหนด ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงไม่ได้ถกู ด�ำเนินการ ความเสี ย หายให้ กั บ ผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ โดยค� ำ นึ ง ถึ ง โดยหน่วยงานก�ำกับดูแลแต่อย่างใด ความเดือดร้อนเสียหายโดยรวมทั้งหมด 5) การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (4) รายงานผล บริ ษั ท ฯ มี น โยบายที่ จ ะเปิ ด เผยข้ อ มู ล สารสนเทศทางการเงิ น และ - ผูร้ บั ข้อร้องเรียนมีหน้าทีร่ ายงานผลให้ผทู้ เี่ กีย่ วข้องทราบ ทัง้ นี้ ไม่ใช่การเงินอย่างครบถ้วนเพียงพอ เชื่อถือได้อย่างสม�่ำเสมอและ ในกรณี ที่ เ ป็ น เรื่ อ งส� ำ คั ญ ให้ ร ายงานผลต่ อ ประธาน ทันเวลา โดยเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ ผ่านแบบแสดงรายการข้อมูล เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม และ/หรือคณะกรรมการตรวจสอบ ประจ�ำปี (แบบ 56 - 1) รายงานประจ�ำปี (Annual Report) เว็บไซต์ และ/หรื อ คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าล และ/หรื อ ของบริ ษั ท ฯ ทั้ ง ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษและสื่ อ มวลชนต่ า งๆ คณะกรรมการบริษัทรับทราบแล้วแต่กรณี พร้อมกันนี้บริษัทฯ ยังจัดให้มีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ เพื่อเป็น (5) มาตรการคุ้ม ครองผู้ร้องเรียน หรือผู้ที่ให้ค วามร่วมมือในการ ตัวแทนประสานงานระหว่างบริษทั ฯ กับผูถ้ อื หุน้ นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ตรวจสอบ ผู้ร้องเรียน หรือผู้ที่ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบ และผู้เกี่ยวข้อง จะได้ รั บ ความคุ ้ ม ครองตามหลั ก เกณฑ์ (โปรดดู ร ายละเอี ย ด บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามส� ำ คั ญ และมี น โยบายที่ จ ะเปิ ด เผยข้ อ มู ล ทั้ ง ด้ า น เพิ่มเติมในหมวด คู่ค้า คู่สัญญา เรื่อง การร้องเรียน) การเงินและไม่ใช่การเงินที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ อย่างครบถ้วน สม�่ำเสมอ 4.13 นโยบายค่าตอบแทนพนักงาน

ทั่วถึง เพียงพอต่อการตัดสินใจของนักลงทุนและทันเวลา เช่น

บริษัทฯ ก�ำหนดนโยบายค่าตอบแทนพนักงานที่สอดคล้องกับผลการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว และมีการก�ำหนด โครงสร้างเงินเดือนอย่างเหมาะสม ตามความรู้ ความสามารถ และ ประสบการณ์การท�ำงาน ซึ่งเงินเดือนขั้นต�่ำของพนักงานจะเป็นไปตาม ค่าแรงขั้นต�่ำที่รัฐบาลก�ำหนด โดยบริษัทฯ ก�ำหนดให้มีการพิจารณา ปรับเงินเดือนเป็นรายปีและโบนัสให้แก่พนักงานปีละ 2 ครั้ง ในการ จ่ายผลตอบแทนเพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน

(1)

156

โครงสร้างของกลุ่มบริษัท และการแจกแจงโครงสร้างผู้ถือหุ้น ที่แท้จริงของบริษัทฯ โดยไม่มี Nominee ถือหุ้น โดยบริษัทฯ ได้แสดงถึงผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมและสัดส่วน ของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยอย่างครบถ้วนชัดเจนและเป็นข้อมูลล่าสุด ที่ แ สดงให้ ผู ้ ใ ช้ ข ้ อ มู ล สามารถทราบถึ ง ผู ้ ถื อ หุ ้ น ที่ แ ท้ จ ริ ง (Beneficial Owner) ของบริษัทฯ อย่างชัดเจน

(2) การถือหุ้นของกรรมการ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ของกรรมการและผู้บริหารไว้ในรายงานประจ�ำปี หมวด ประวัติ กรรมการและผู้บริหาร


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

(3) นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ

5.1 การปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี

บริ ษั ท ฯ เล็ ง เห็ น และให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ด ี รวมทัง้ ยึดถือเป็นข้อพึงปฏิบตั ติ ามแนวทางการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี อง (5) นโยบายด้านการบริหารความเสี่ยง บริษทั จดทะเบียน เพือ่ ให้การด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ สร้างความเชือ่ มัน่ ต่อนักลงทุนและสร้างคุณค่าให้กิจการอย่างยั่งยืน ตลอดจนให้เป็น (6) นโยบายเกี่ยวกับการดูแลสังคมและสิ่งแวดล้อม ทีย่ อมรับและน่าเชือ่ ถือส�ำหรับผูถ้ อื หุน้ และผูค้ นรอบข้างตามความมุง่ หวัง (7) รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน ของทั้งภาคธุรกิจ ผู้ลงทุน ตลาดทุน และสังคมโดยรวม นอกจากนั้น บริ ษั ท ฯ ยั ง ดู แ ลให้ ฝ ่ า ยจั ด การน� ำ หลั ก การดั ง กล่ า วไปใช้ พั ฒ นา (8) รายงานของผู้สอบบัญชี องค์ ก รและโครงการของบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ต ่ อ บริ ษั ท ฯ (9) ค� ำ อธิ บ ายและการวิ เ คราะห์ ข องฝ่ า ยจั ด การ (Management และผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นหมวด สิทธิของผู้ถือหุ้น Discussion and Analysis หรือ MD&A) รายจ่าย R&D (ถ้ามี) การปฏิ บั ติ ต ่ อ ผู ้ ถื อ หุ ้ น อย่ า งเท่ า เที ย มกั น การค� ำ นึ ง ถึ ง บทบาทของ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใสและความรับผิดชอบ (10) ค่าสอบบัญชีและค่าบริการอื่นที่ผู้สอบบัญชีให้บริการ ของคณะกรรมการ (11) บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย บริษัทฯ ก�ำหนดให้มีการทบทวนนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ คู่มือ (12) จ�ำนวนครั้งที่กรรมการแต่ละท่านเข้าร่วมประชุมในปีที่ผ่านมา จรรยาบรรณ และกฎบัตรของคณะกรรมการชุดต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เป็นประจ�ำทุกปี หรืออย่างน้อยปีล ะ 1 ครั้ง เพื่อให้สอดคล้อ งกับ (13) การฝึกอบรมและพัฒนาความรู้ด้านวิชาชีพของคณะกรรมการ นโยบายของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และหลักเกณฑ์ ASEAN Corporate Governance Scorecard (ASEAN CG Scorecard) (14) นโยบายการจ่ายค่าตอบแทนแก่กรรมการและผู้บริหารระดับสูง และน�ำมาปรับใช้ตามความเหมาะสม พร้อมทั้งชี้แจงเหตุผลว่าเพราะ เหตุ ใ ดจึ ง ไม่ ส ามารถปฏิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ์ ดั ง กล่ า วได้ และ/หรื อ ทั้งนี้ การเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศได้ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ มาตรการทดแทนที่บริษัทฯ ได้น�ำมาใช้ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้อง งานของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน อย่างเคร่งครัด ส่วนที่บริษัทฯ ไม่สามารถปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ด ี แต่บริษัทฯ มีนโยบายที่จะน�ำหลักการดังกล่าวไปปรับใช้ให้ได้มากที่สุด ตามความเหมาะสมโดยมีรายละเอียดดังนี้ (4) จรรยาบรรณทางธุรกิจ

ข้อที่ยังไม่สามารถปฏิบัติ

เหตุผล/ความจำ�เป็น

1. คณะกรรมการยังไม่มีการก�ำหนดจ�ำนวนบริษัทจดทะเบียนที่ กรรมการแต่ละคนจะด�ำรงต�ำแหน่ง ยกเว้นของประธานเจ้าหน้าที่ บริหารกลุ่ม ที่ก�ำหนดไว้ว่าสามารถด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัท จดทะเบียนได้เพียง 1 บริษัทเท่านั้น คือ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการเห็นว่ากรรมการแต่ละคนที่เข้ามาร่วมงานกับบริษัทฯ ถือเป็นบุคคลที่มีศักยภาพ มีความรู้ ความสามารถ มีวิจารณญาณ ในการตัดสินใจ และพร้อมอุทิศเวลาในการท�ำงานให้กับบริษัทฯ อย่างเต็มที่ ไม่ท�ำให้ประสิทธิภาพในการท�ำงานให้แก่บริษัทฯ ลดลง รวมทั้งเป็นสิทธิส่วนบุคคลที่กรรมการแต่ละคนจะร่วมงานกับบริษัท อื่นๆ ที่ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับ บริษัทฯ ได้ อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันกรรมการของบริษัทฯ ไม่ได้ด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่นเกินกว่า 5 บริษัท

157


รายงานประจํ า ปี 2560

ข้อที่ยังไม่สามารถปฏิบัติ

เหตุผล/ความจำ�เป็น

2. คณะกรรมการบริษัทยังไม่มีการก�ำหนดนโยบายจ�ำกัดจ�ำนวนปี คณะกรรมการเห็นว่ากรรมการแต่ละคนที่เข้ามาร่วมงานกับบริษัทฯ ในการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการอิสระไว้ไม่เกิน 9 ปี ถือเป็นบุคคลที่มีศักยภาพ มีความรู้ ความสามารถ มีวิจารณญาณ ในการตัดสินใจ และประสบการณ์ในการท�ำงานร่วมกับบริษัทฯ จะท�ำให้กรรมการมีความเข้าใจธุรกิจของบริษัทฯ ได้มากขึ้น รวมทั้งสามารถวางกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจ เพื่อต่อยอดให้ การด�ำเนินงานของบริษัทฯ เติบโตยิ่งๆ ขึ้นไป รวมถึงกรรมการอิสระ ของบริษัทฯ ทุกคนมีคุณสมบัติครบถ้วนและเข้มกว่าข้อก�ำหนด เรื่อง คุณสมบัติของกรรมการอิสระอีกด้วย 3. บริษัทฯ ยังไม่ได้ก�ำหนดวิธีการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการ บริษัทฯ เห็นว่าการลงคะแนนเสียงแบบสะสม (Cumulative Voting) แบบสะสม (Cumulative Voting) จะท�ำให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยสามารถลงคะแนนเสียงทั้งหมดที่ตนมีอยู่ ให้กับกรรมการคนใดคนหนึ่งที่ตนต้องการเลือกเป็นกรรมการ หรือ สามารถแบ่งคะแนนเสียงเพื่อเลือกตั้งเป็นกรรมการหลายคนก็ได้ ซึ่งจะส่งผลให้บุคคลที่ได้รับการเลือกตั้งเข้ามาไม่ได้ผ่านการ พิจารณาสรรหาจากคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ของบริษัทฯ ในเรื่องคุณสมบัติที่บริษัทฯ ต้องการซึ่งจะท�ำให้ การบริหารงานภายใน การวางแผนกลยุทธ์ ไม่สอดคล้องกับ นโยบายของบริษัทฯ ซึ่งจะส่งผลต่อการด�ำเนินงานและการเจริญ เติบโตของบริษัทฯ 4. บริษัทฯ ยังไม่มีกรรมการอิสระเพศหญิง บริษัทฯ อยู่ระหว่างการสรรหากรรมการอิสระเพศหญิง ที่มีความรู้ ความสามารถ และมีคุณสมบัติเหมาะสม ที่จะมาด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการอิสระของบริษัทฯ และรองรับการเจริญเติบโตในอนาคต โดยไม่ได้มีเจตนากีดกันทางเพศแต่อย่างใด ทั้งนี้ บริษัทฯ เห็นว่า คณะกรรมการบริษัทชุดปัจจุบัน ถึงแม้จะเป็นเพศชายทุกคน แต่ก็มี มุมมองที่ละเอียดอ่อน รอบด้าน และยังยืนยันว่าสามารถสร้าง รายได้และผลก�ำไรให้แก่บริษัทฯ ได้เช่นเดียวกัน 5. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การของ บริษัทฯ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การของบริษัทประกอบ ไม่ได้เป็นระดับกรรมการทั้งคณะ ด้วยกรรมการ จ�ำนวน 5 คน โดยแบ่งเป็นกรรมการอิสระที่มีชื่อเสียง มีความรู้ ความสามารถ เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง และสร้าง ประโยชน์ไว้มาก จ�ำนวน 2 คน และกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ซึ่งมีประสบการณ์ตรง และมีศักยภาพในระดับสูง จ�ำนวน 2 คน และผู้บริหารระดับสูง ต�ำแหน่ง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินกลุ่ม จ�ำนวน 1 คน ซึ่งแม้ว่าจะไม่ได้เป็นกรรมการ ของบริษัทฯ แต่ถือว่าเป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน และมีความ สามารถเป็นอย่างมาก ในการที่จะช่วยสนับสนุนการท�ำงานของ คณะกรรมการชุดนี้ และจะน�ำพาบริษัทฯ ไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ได้ ในอนาคต 5.2 วัตถุประสงค์/เป้าหมายระยะยาวของบริษัทฯ

วิสัยทัศน์

บริ ษั ท ฯ ประกอบธุ ร กิ จ หลั ก โดยการถื อ หุ ้ น ในบริ ษั ท อื่ น (Holding Company) โดยจะมีรายได้หลักจากเงินปันผลที่ได้รับจากการถือหุ้น ในบริษัทย่อยหรือบริษัทร่วมที่บริษัทฯ จะเข้าลงทุนในอนาคต โดย บริษัทฯ ได้ก�ำหนดวัตถุประสงค์/เป้าหมายระยะยาวของบริษัทฯ ไว้ โดยสะท้อนออกมาเป็นวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายและกลยุทธ์ใน การด�ำเนินธุรกิจ ดังนี้

พฤกษา โฮลดิ้ ง มุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะเป็ น บริ ษั ท อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ชั้ น น� ำ ของประเทศไทย ที่มีธุรกิจและบริการที่หลากหลาย เพื่อตอบสนอง รูปแบบการด�ำเนินชีวติ สมัยใหม่ และสามารถตอบโจทย์ทกุ ความต้องการ ของลูกค้าได้อย่างครบถ้วน พันธกิจ พฤกษา โฮลดิ้ง มุ่งมั่นช่วยเหลือลูกค้าเติมเต็มความฝัน ด้วยการ ส่งมอบความสุข และรูปแบบการด�ำเนินชีวิตที่ทันสมัย เพื่อสมาชิก ทุกคนในครอบครัว

158


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ค่านิยม

5.3 ฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงาน

1. มุ่งมั่นเพื่อลูกค้า

(โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหมวด ค�ำอธิบายการวิเคราะห์ฐานะ ทางการเงินและผลการด�ำเนินงาน)

: มุ่งมั่น ค้นหา และเข้าใจ เพื่อตอบสนองความต้องการของ ทุกกลุ่มลูกค้าด้วยบ้านที่มีคุณค่า และบริการที่ประทับใจ 5.4 ระดับความพึงพอใจของลูกค้า (ตัวชี้วัดผลการด�ำเนินงาน ที่ไม่ใช่การเงิน) 2. ร่วมมือร่วมใจท�ำงานเป็นทีม บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นในการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า จึงให้ : ร่ ว มมื อ ร่ ว มใจท� ำ งานเป็ น ที ม เป็ น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น ความส�ำคัญกับการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ เพื่อให้เกิดผลงานประทับใจลูกค้า ที่อยู่อาศัยที่จะส่งมอบให้กับลูกค้ามีการพัฒนาให้สอดคล้องกับความ ต้องการของลูกค้า โดยมีฝ่าย Corporate Customer Ralationship 3. สร้างนวัตกรรมที่สร้างสรรค์ Management เป็ น ฝ่ า ยที่ บ ริ ห ารจั ด การจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ของลู ก ค้ า : คิดสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อสร้างสรรค์สินค้า และบริการ เพือ่ น�ำมาใช้ในการวางแผนเพือ่ ตอบสนองความต้องการและสร้างความ ชั้นยอดที่เหนือความคาดหมายและประทับใจลูกค้า สัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า นอกจากนี้บริษัทฯ ยังมีหน่วยงาน Innovation Center รวมทั้งมีการว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญจากภายนอก เพื่อท�ำการส�ำรวจ 4. มีวินัยปฏิบัติงาน วิจัยและวิเคราะห์เกี่ยวกับความต้องการของผู้บริโภคในแต่ละพื้นที่ : มีวนิ ยั ในการปฏิบตั งิ านให้แล้วเสร็จ ทันเวลา ตรงตามแผนงาน ตลอดจนศักยภาพของท�ำเลที่ตั้งโครงการในด้านสาธารณูปโภคต่างๆ ซึ่งท�ำให้บริษัทฯ มีฐานข้อมูลที่เพียงพอที่จะทราบถึงความต้องการ ด้วยผลงานที่มีคุณภาพ ในตลาดที่อยู่อาศัยของผู้บริโภค รวมถึงรูปแบบที่อยู่อาศัย ท�ำเลที่ตั้ง 5. ยึดมั่นจริยธรรม และระดับราคา และบริษทั ฯ ได้นำ� ข้อมูลไปวิเคราะห์เพือ่ พัฒนาปรับปรุง : ใจเราคิด เราพูด เรากระท�ำ เพื่อประโยชน์ลูกค้า เป็นธรรม สินค้าและบริการอย่างต่อเนื่อง การบริหารจัดการเพื่อความพึงพอใจ ของลูกค้า และผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ และเป็นประโยชน์แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ด้วยวิสยั ทัศน์ของพฤกษาทีม่ งุ่ มัน่ เพือ่ เป็นแบรนด์อนั ดับหนึง่ ในใจลูกค้า เป้าหมายและกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจ ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่อยู่อาศัย และก้าวขึ้นป็น 1 ใน 10 แบรนด์ 1. ขยายธุรกิจหลักในอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย และขยายฐานไปยัง ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของทวีปเอเซีย พฤกษาจึงให้ความส�ำคัญในการ กลุ่มลูกค้าฐานรายได้ใหม่ บริหารจัดการเพื่อความพึงพอใจของลูกค้าและผู้มีส่วนได้เสียอย่างยิ่ง โดยมีการประเมินความพึงพอใจของลูกค้าในทุกขัน้ ตอนทีล่ กู ค้าได้มกี าร 2. ขยายตลาดธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ไปยังต่างประเทศ ติดต่อกับพฤกษา ตัง้ แต่การให้บริการข้อมูลโครงการตลอดไปจนถึงการ 3. เสริ ม สร้ า งธุ ร กิ จ ที่ เ กื้ อ หนุ น กั บ ธรุ กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ พื่ อ เพิ่ ม บริการหลังการส่งมอบ การบริหารงานให้นิติบุคคลฯ ดังนี้ ความแข็งแกร่งของแบรนด์และความพึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้า 4. ขยายการลงทุนไปยังธุรกิจใหม่ที่สร้างรายได้ต่อเนื่อง (Recurring income) 5. มุง่ พัฒนาองค์กรทีม่ คี วามเป็นมืออาชีพ เพือ่ การเติบโตอย่างยัง่ ยืน

Consumer Touch Point การโฆษณา/ ประชาสัมพันธ

ทำเล, แบบบ านและ โครงการ, พนักงาน ขาย, ราคา

หาข อมูล

เยี่ยมชม โครงการ

การวัดความพ�งพอใจ

พนักงานขาย, การทำสัญญา ตัดสินใจซื้อ

คุณภาพ, บร�การ ตรวจรับบ าน/สินเชื่อ/ โอน โอนบ าน

CS1

CS2

CS3

ลูกค าเยี่ยมชม โครงการ

ลูกค าทำสัญญา

ลูกค ารับมอบ กุญแจบ าน

การดูแลโครงการ, ความปลอดภัย, บร�หารซ อมแซม, Life Time Service เข าอยู อาศัย

CS4 ลูกค า โอน 3 เดือน

CS5 ลูกค าแจ งซ อม

การดูแลโครงการ หลังการโอน ให นิติบุคคล ติดตั้ง นิติบุคคล

CS6 จัดตั้งนิติบุคคล

ประเมินความพ�งพอใจผ านช องทาง E-Mail หร�อ Contact Center ช องทางใดช องทางหนึ่ง

159


รายงานประจํ า ปี 2560

ขั้นตอน

วิธีการประเมิน

1. ความพึงพอใจต่อการให้บริการด้านข้อมูลและการเยี่ยมชม ลูกค้าสามารถประเมินความพึงพอใจผ่านทาง E-Mail หรือ SMS โครงการ หรือ Contact Center ช่องทางใดช่องทางหนึ่ง หลังจากที่ลูกค้าเข้า เยี่ยมชมโครงการแล้ว 1 วัน 2. ความพึงพอใจต่อการให้บริการของพนักงานขายเกี่ยวกับ ลูกค้าสามารถประเมินความพึงพอใจผ่านทาง E-Mail หรือ SMS การท�ำจองและการท�ำสัญญา หรือ Contact Center ช่องทางใดช่องทางหนึ่ง หลังจากจอง และ/ หรือ ท�ำสัญญา แล้ว 1 วัน 3. ความพึงพอใจต่อการให้บริการเกี่ยวกับการโอนกรรมสิทธิ์ ลูกค้าสามารถประเมินความพึงพอใจผ่านทาง E-Mail หรือ SMS และรับมอบที่อยู่อาศัย หรือ Contact Center ช่องทางใดช่องทางหนึ่ง หลังจากวันโอน กรรมสิทธิ์แล้ว 1 วัน 4. ความพึงพอใจต่อการเข้าอยู่อาศัยหลังโอนกรรมสิทธิ์ ลูกค้าสามารถประเมินความพึงพอใจผ่านทาง E-Mail หรือ SMS ไปแล้ว 3 เดือน หรือ Contact Center ช่องทางใดช่องทางหนึ่ง หลังจากที่ได้โอน กรรมสิทธิ์ไปแล้ว 3 เดือน 5. ความพึงพอใจต่อการแจ้งซ่อมหรือข้อร้องเรียน ลูกค้าสามารถประเมินความพึงพอใจผ่านทาง E-Mail หรือ SMS หรือ Contact Center ช่องทางใดช่องทางหนึ่ง หลังจากที่เจ้าหน้าที่ ได้ซ่อมแซมหรือแก้ไขปัญหาตามที่ลูกค้าแจ้งไว้เรียบร้อยแล้ว 6. ความพึงพอใจต่อการมอบกรรมสิทธิ์ให้คณะกรรมการ ลูกค้าและคณะกรรมการนิติบุคคลหมู่บ้านหรืออาคารชุดประเมิน หมู่บ้านหรือนิติบุคคล ความพึงพอใจผ่านทาง E-Mail หรือ SMS หรือ Contact Center ช่องทางใดช่องทางหนึ่ง หลังจากที่มีการจัดตั้งนิติบุคคลหรือมีการ รับมอบสาธารณูปโภคไปแล้ว และรวมถึงหลังจากโอนกรรมสิทธิ์ แล้ว 3, 5, 7 และ 10 ปี ภาพรวมองค์กร จากผลการด�ำเนินการในปี พ.ศ. 2560 พบว่าคะแนนความพึงพอใจ โดยรวมของลูกค้าปัจจุบันโดยรวมอยู่ที่ ร้อยละ 85.67 ซึ่งต�่ำกว่าปี พ.ศ. 2559 ร้อยละ 3.63 เมื่อพิจารณาออกเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงเริ่มหา ข้ อ มู ล จนถึ ง โอนกรรมสิ ท ธิ์ แ ละช่ ว งหลั ง จากโอนกรรมสิ ท ธิ์ ไ ปแล้ ว พบว่า ในช่วงของการเริ่มหาข้อมูลไปจนถึงการโอนกรรมสิทธิ์มีคะแนน ความพึงพอใจอยู่ที่ ร้อยละ 89.42 ต�่ำกว่าปีที่ผ่านมา ร้อยละ 9.08 ใน ขณะที่ช่วงหลังจากการโอนกรรมสิทธิ์มีคะแนนความพึงพอใจรวมอยู่ ที่ ร้อยละ 79.77 ซึ่งเพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.7 จากปี พ.ศ. 2560 การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ

2)

การพัฒนาการให้บริการเกี่ยวกับการแจ้งซ่อม โดย จัดตั้งทีม CS Center เพื่ อ ประสานงานนั ด ตรวจสอบ นั ด ซ่ อ มงาน ตามเวลาที่ ลู ก ค้ า สะดวก และประสานงานโครงการให้ เ ข้ า ซ่ อ มตรงตามนั ด หมาย รวมทั้ ง มี ก ารตรวจสอบงานที่ แ ก้ ไ ข ไปแล้วกับทางเจ้าของบ้านอีกครั้งเพื่อตรวจสอบคุณภาพงาน และความพึ ง พอใจในเบื้ อ งต้ น โดยจะแก้ ไ ขทั น ที ห ากงาน ไม่ เ รี ย บร้ อ ย นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารเน้ น ย�้ ำ ให้ ที ม ผู ้ รั บ เหมา คั ด คนงานที่ มี ป ระสบการณ์ ค วามช� ำ นาญเข้ า มาด� ำ เนิ น การ แก้ไขให้ลูกค้า และประเมินผู้รับเหมาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่ อ ให้ เ กิ ด การปรั บ ปรุ ง พั ฒ นา และรั ก ษาผู ้ รั บ เหมาที่ ดี ให้ท�ำงานอย่างต่อเนื่องกับโครงการ

ในปี พ.ศ. 2560 ที่ผ่านมาได้มีการพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์และ 3) การพั ฒ นาการให้ บ ริ ก ารหลั ง จากจั ด ตั้ ง นิ ติ บุ ค คล (ส� ำ หรั บ บริการเพื่อให้เกิดความพึงพอใจที่มากขึ้นของลูกค้าโดยเฉพาะในช่วง แนวราบ) หรือประชุมใหญ่สามัญครั้งที่ 1 (ส�ำหรับอาคารชุด) โดยการแนะน�ำคณะกรรมการ ในการบริหารจัดการนิติบุคคล หลังจากโอนกรรมสิทธิ์ ได้แก่ และจัดให้มีกิจกรรมหลัก ปีละ 4 ครั้ง เพื่อสร้างความสัมพันธ์ 1) การพั ฒ นาที ม บริ ห ารหลั ง การขายของโครงการให้ มี ก าร ที่ดีภายในโครงการ และ บมจ.พฤกษา เรียลเอสเตท รวมทั้ง สอบถามแนะน� ำ บริ ก าร กั บ ลู ก ค้ า ที่ เ ข้ า อยู ่ แ ล้ ว เพื่ อ สร้ า ง ก�ำหนดมาตรฐานความรับผิดชอบ และการอบรม Outsource ความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า และจัดท�ำจดหมายประชาสัมพันธ์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงาน และน�ำเสนอคณะกรรมการ อย่างต่อเนื่อง แจ้งความคืบหน้าเกี่ยวกับการใช้พื้นที่ส่วนกลาง การใช้ ป ระโยชน์ ส าธารณูปโภค ส่ว นกลางร่ว มกัน เพื่อสร้าง นอกจากนี้ พ ฤกษายั ง ได้ พั ฒ นาช่ อ งทางส� ำ หรั บ สอบถาม สั ง คมน่ า อยู ่ รวมทั้ ง จั ด ประชาสั ม พั น ธ์ ก ารท� ำ กิ จ กรรม CRM ความพึงพอใจลูกค้าให้หลากหลายเพื่อเข้าถึงลูกค้าได้มากขึ้น ในแต่ ล ะโครงการเพิ่ม เติม เพื่อสร้างความสัม พัน ธ์ที่ดีระหว่าง คือ ทาง E-Mail และ SMS โดยการพัฒนาระบบ CRM เพื่อท�ำการ ประเมินผลโดยอัตโนมัติ ในแต่ละช่วงเวลาของลูกค้าทีป่ ฏิสมั พันธ์ โครงการและลูกค้า

160


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

กับบริษัทฯ เพื่อให้ได้ผลคะแนนความพึงพอใจที่มีความน่าเชื่อถือ เที่ยงตรง อันจะน�ำไปสู่การปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ พร้อม ทัง้ มีระบบส�ำหรับประมวลผลคะแนนความพึงพอใจแบบอัตโนมัต ิ ท� ำ ให้ ส ามารถดู ค ะแนนได้ ทั น ที ตลอดเวลาแต่ ล ะหน่ ว ยงาน จึงสามารถน�ำข้อมูลไปใช้เพื่อพัฒนาความพึงพอใจได้ทันที

(1) ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ได้แก่ ค่าตอบแทนของกรรมการอิสระ กรรมการที่ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น ผู ้ บ ริ ห าร ค่ า ตอบแทนรวมของประธาน เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มและผู้บริหาร

(2) ค่าตอบแทนอื่นๆ ได้แก่ ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ ของบริษัทฯ ที่จัดสรรใบส�ำคัญแสดงสิทธิให้แก่กรรมการและ ส่วนแบ่งทางการตลาดของ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด ผู้บริหารของบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทย่อย (Employee Stock (มหาชน) (“พฤกษา”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ บริษัทฯ Option Program : ESOP), โครงการสะสมหุ้นส�ำหรับพนักงาน บริษัทจดทะเบียน (Employee Joint Investment Program : (โปรดดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ในหมวด ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ EJIP), เงินสะสมกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ หัวข้อ สภาวะตลาดและสภาพการแข่งขัน) (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหมวด ค่าตอบแทนกรรมการ สภาวะตลาดที่อยู่อาศัยในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และผู้บริหาร) (โปรดดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ในหมวด ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ 5.13 นโยบายและหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนของผู้บริหาร หัวข้อ สภาวะตลาดและสภาพการแข่งขัน) ระดับสูง 5.5 ลักษณะการประกอบธุรกิจและภาวะการแข่งขัน

บริษทั ฯ ได้กำ� หนดนโยบายและหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนส�ำหรับ (โปรดดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ในหมวด ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มและผู้บริหารระดับสูงไว้ ซึ่งมีขั้นตอน การพิจารณาอย่างโปร่งใส โดยจะพิจารณาจากคะแนนการประเมิน หัวข้อ สภาวะตลาดและสภาพการแข่งขัน) ผลการปฏิบัติงานและผลประกอบการโดยรวมของบริษัทฯ ซึ่งประกอบ 5.6 โครงสร้างกลุ่มธุรกิจ ด้วยปัจจัยในการประเมินผลงานหลายด้าน เช่น ตัวชี้วัดผลงานหลัก Key Performance Indicators (KPIs) ซึ่งสอดคล้องกับภารกิจและ (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหมวด โครงสร้างการถือหุ้น) เป้ า หมายขององค์ ก ร ผลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ และผลการ ปฏิบัติงานด้านการเงินซึ่งสอดคล้องกับภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ 5.7 ความเสี่ยงหลัก (Key Risk) ในการด�ำเนินธุรกิจ ของผู้บริหาร และสมรรถภาพในการท�ำงาน (Competency) ซึ่งเป็น (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหมวด ปัจจัยความเสี่ยง) เครื่องมือส�ำหรับประเมินความสามารถของผู้ปฏิบัติงานเชิงพฤติกรรม 5.8 นโยบายการจ่ายเงินปันผล ส�ำหรับค่าตอบแทนของประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม ได้ก�ำหนด (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหมวด นโยบายการจ่ายเงินปันผล) ภายใต้หลักเกณฑ์ที่โปร่งใส เป็นธรรม มีความเหมาะสม โดยค�ำนึง ถึงความรับผิดชอบและผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ และได้ผ่าน 5.9 นโยบายการแจ้งเบาะแสการกระท�ำผิด (Whistle Blowing) ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหมวด การร้องเรียน) 5.10 ประวัติของคณะกรรมการ (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหมวด ประวัติกรรมการและผู้บริหาร) 5.11 การระบุว่ากรรมการรายใดเป็นกรรมการอิสระ

โดยการพิจารณาค่าตอบแทนของประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มและ ผู้บริหารระดับสูง มีขั้นตอนดังนี้ (1) สายงานทรั พ ยากรบุ ค คลน� ำ เสนอที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการ สรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน ของประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มและผู้บริหารระดับสูง

(โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหมวด คณะกรรมการ หมวด โครงสร้าง (2) คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนพิ จ ารณา ประเมิ น ผลการด� ำ เนิ น งานตามหลั ก เกณฑ์ และผลการ การจัดการ และหมวด ประวัติกรรมการและผู้บริหาร) ปฏิ บั ติ ง านในระยะเวลา 1 ปี ที่ ผ ่ า นมา ซึ่ ง องค์ ป ระกอบ 5.12 การเปิดเผยหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนกรรมการและ ในการประเมินจะพิจารณาจาก Corporate KPI และภาวะ การเปิดเผยค่าตอบแทนกรรมการเป็นรายบุคคล ผู้น�ำที่สะท้อนจากการเติบโตของบริษัทฯ บริ ษั ท ฯ ได้ ก� ำ หนดนโยบายค่ า ตอบแทนกรรมการไว้ อ ย่ า งชั ด เจน (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมในหมวด การประเมินผลการปฏิบตั งิ าน และโปร่งใส โดยมีคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนท�ำ ของผู ้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด (ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารกลุ ่ ม ) และ หน้าที่พิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัท หมวด ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร) และที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น อนุ มั ติ เ ป็ น ประจ� ำ ทุ ก ปี โดยพิ จ ารณาจาก ความเหมาะสมและสอดคล้ อ งกั บ ขอบเขตหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ของกรรมการและเทียบเคียงกับอัตราค่าตอบแทนกรรมการในกลุ่ม อุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น และอุ ต สาหกรรมชั้ น น� ำ อื่ น ๆ โดยมี แ นวทาง ก�ำหนดค่าตอบแทนดังนี้

161


รายงานประจํ า ปี 2560

5.14 การเปิดเผยข้อมูลจ�ำนวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการ 5.17 นโยบายให้กรรมการและผู้บริหาร 4 รายแรก (ระดับสูง) และการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการแต่ละคน ต้ อ งเปิ ด เผย/รายงานการซื้ อ -ขายหุ ้ น /ถื อ ครองหลั ก ทรั พ ย์ ของบริษัทฯ ให้ที่ประชุมคณะกรรมการรับทราบ (โปรดดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ในหมวด การเข้ า ร่ ว มประชุ ม คณะกรรมการในรอบปี 2560) คณะกรรมการบรรษัทภิบาลก�ำหนดให้กรรมการและผูบ้ ริหาร 4 รายแรก (ระดั บ สู ง ) ที่ มี ห น้ า ที่ ร ายงานการถื อ ครองหลั ก ทรั พ ย์ รายงานการ 5.15 การเปิดเผยข้อมูลการเข้ารับการพัฒนาและฝึกอบรมของ ซื้อ-ขายหุ้นบริษัทฯ ของตนเอง คู่สมรส หรือผู้อยู่กินด้วยกันฉันสามี กรรมการแต่ละคนในปีที่ผ่านมา ภรรยา และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต่อที่ประชุมคณะกรรมการ (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหมวด คณะกรรมการบริษัท เรื่อง การ ทราบในทุกไตรมาส อบรมและพัฒนาความรู้กรรมการ) 5.18 การเปลี่ยนแปลงการถือครองหุ้นบริษัทฯของกรรมการและ ผู ้บริหารระดับสูง 5.16 การเปิดเผยข้อมูลการท�ำรายการระหว่างกัน (โปรดดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติม ในหมวด การปฏิบัติต ่อผู้ถือหุ้นอย่าง เท่าเทียมกัน เรื่อง การท�ำรายการเกี่ยวโยงกัน และรายการระหว่างกัน) หน่วย : หุ้น ในรอบปี 2559 ในรอบปี 2560 จำ�นวนหุ้นคงเหลือ จำ�นวนหุ้นคงเหลือ ณ 30 ธันวาคม 2559 ณ 30 ธันวาคม 2559 103,500 103,500 *

ชื่อ 1. ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม

ตำ�แหน่ง

2. นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์

ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ รองประธานกรรมการ

3. ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

เพิ่มขึ้น/ลดลง ระหว่างปี -

1,314,009,986

1,314,009,986

-

กรรมการอิสระ

-

-

-

4. ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

กรรมการอิสระ

-

-

-

5. ดร.อนุสรณ์ แสงนิ่มนวล

กรรมการอิสระ

-

-

-

6. นายวีระชัย งามดีวิไลศักดิ์

กรรมการอิสระ

-

-

-

7. ศ.นพ.ปิยะมิตร ศรีธรา

กรรมการอิสระ

-

-

-

8. นายอดุลย์ จันทนจุลกะ

กรรมการ

-

-

-

9. นายวิเชียร เมฆตระการ

กรรมการ

-

-

-

10. นายประเสริฐ แต่ดุลยสาธิต กรรมการ

1

1

-

11. นายปิยะ ประยงค์

กรรมการ

1,056,901

1,364,002

307,101

12. นางรัตนา พรมสวัสดิ์

กรรมการ

40,220,401

42,221,462

2,001,061

-

-

-

-

-

-

19,501

2,555

(16,946)

13. นางสุพัตรา เป้าเปี่ยมทรัพย์ รองประธานเจ้าหน้าที่ บริหารกลุ่ม 14. นางสาวไตรทิพย์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ศิวะกฤษณ์กุล สายงานการเงินกลุ่ม 15. นายพรเทพ ศุภธราธาร รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานซัพพลายเชน

162


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

หน่วย : หุ้น ชื่อ 16. นายอุดมศักดิ์ แย้มนุ่น 17. นายคมกริช นงค์สวัสดิ์

หมายเหตุ :

ตำ�แหน่ง รักษาการรองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ สายงาน บริหารกลางกลุ่ม รักษาการรองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ สายงาน การตลาดองค์กรกลุ่ม

*ในรอบปี 2559 ในรอบปี 2560 จำ�นวนหุ้นคงเหลือ จำ�นวนหุ้นคงเหลือ ณ 30 ธันวาคม 2559 ณ 30 ธันวาคม 2559 1 1,764 -

-

เพิ่มขึ้น/ลดลง ระหว่างปี 1,763 -

1. ศ.นพ.ปิยะมิตร ศรีธรา ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระของบริษัทฯ โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 2. นายประเสริฐ แต่ดุลยสาธิต ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 27 เมษายน 2560 *** 3. นางสุพัตรา เป้าเปี่ยมทรัพย์ ได้รับการแต่งตั้งเป็น รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2560 **** 4. น.ส.ไตรทิพย์ ศิวะกฤษณ์กุล ได้รับการแต่งตั้งเป็น รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินกลุ่ม โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2560 ***** 5. นายคมกริช นงค์สวัสดิ์ ได้รับการแต่งตั้งเป็น รักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาดองค์กรกลุ่ม โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 6. การถือครองหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหมวด ประวัติกรรมการและผู้บริหาร *

**

5.19 การรายงานการมีส่วนได้เสีย บริษัทฯ มีนโยบายให้กรรมการและผู้บริหารเปิดเผยข้อมูลส่วนได้เสีย ของตนเอง คู่สมรส และ บุคคลที่เกี่ยวข้องต่อคณะกรรมการบริษัท โดยส่งข้อมูลส่วนได้เสียดังกล่าวไปยังเลขานุการบริษัท และเลขานุการ บริษัทจะจัดส่งส�ำเนารายงานการมีส่วนได้เสียให้ประธานกรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบทราบภายใน 7 วันท�ำการ นับแต่ วันที่ บริษัทฯ ได้รับรายงานนั้น

คณะกรรมการตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย กฎหมายอื่ น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ในปี 2560 ที่ผ่านมา บริษัทฯ มีการท�ำรายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหมวด รายการที่เกี่ยวโยงกันในปี 2560) 5.21 งบการเงินของบริษัทฯ

บริษัทฯ เล็งเห็นว่า เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจในความโปร่งใส ในกรณีทมี่ กี ารเปลีย่ นแปลงข้อมูลในแบบแจ้งรายงานการมีสว่ นได้เสีย ของบริษัทฯ และก่อให้เกิดความเชื่อมั่นแก่ผู้ถือหุ้น นักลงทุน ตลอดจน ของกรรมการและผู้บริหาร บริษัทฯ ก�ำหนดให้กรรมการและผู้บริหาร ผูม้ สี ว่ นได้เสียกลุม่ ต่างๆ บริษทั ฯ จึงมีนโยบายว่า งบการเงินของบริษทั ฯ ส่งแบบแจ้งรายงานการมีส่วนได้เสีย (ฉบับแก้ไข) ให้แก่เลขานุการ จะต้องได้รับการรับรองโดยไม่มีเงื่อนไขจากผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัททราบภายใน 3 วันท�ำการนับแต่วันที่มีการเปลี่ยนแปลงและ 5.22 การเผยแพร่รายงานประจ�ำปี เลขานุการบริษัทจะจัดส่งส�ำเนารายงาน (ฉบับแก้ไข) ให้ประธาน กรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบทราบภายใน 7 วันท�ำการ บริษัทฯ มีนโยบายเผยแพร่รายงานประจ�ำปีทั้งฉบับภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษพร้อมกัน บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ และตลาดหลักทรัพย์ นับแต่วันที่บริษัทได้รับรายงานนั้น แห่งประเทศไทย ก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปีล่วงหน้า 5.20 นโยบายการท�ำรายการระหว่างกันที่ส�ำคัญต้องได้รับการ ไม่น้อยกว่า 30 วัน ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งการเผยแพร่ พิจารณาและอนุมัติจากคณะกรรมการ รายงานประจ�ำปีใ นระยะเวลาดังกล่าวยังสอดคล้องกับข้อ ก�ำหนด บริษัทฯ ก�ำหนดนนโยบายการท�ำรายการระหว่างกันที่ส�ำคัญไว้ว่า ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่ให้เผยแพร่รายงานประจ�ำปี จะต้ อ งผ่ า นความเห็ น ชอบจากที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบ ภายใน 120 วัน นับแต่วันสิ้นสุดรอบปีบัญชีด้วย และน�ำเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติ 5.23 ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ การท�ำรายการดังกล่าวต่อไป ทั้งนี้ ในบางรายการที่มีความละเอียด อ่อน หรือเป็นรายการที่มีความส�ำคัญ บริษัทฯ ก็มีนโยบายให้บริษัท บริ ษั ท ฯ ได้ ว ่ า จ้ า งผู ้ ส อบบั ญ ชี ที่ มี ค วามเป็ น อิ ส ระและมี คุ ณ สมบั ติ ทีป่ รึกษากฎหมายและทีป่ รึกษาทางการเงินเป็นผูใ้ ห้ความเห็นประกอบ ที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ให้ เ ป็ น ผู ้ ส อบบั ญ ชี ข อง บริ ษั ท ฯ และได้ รั บ การตัดสินใจของคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัท ความเห็ น ชอบจากส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ เพราะบริษัทฯ มีเจตนารมณ์ที่จะไม่ด�ำเนินการใดๆ ที่ขัดต่อประกาศ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ โดยบริ ษั ท ฯ ได้ เ ปิ ด เผยค่ า สอบบั ญ ชี แ ละ

163


รายงานประจํ า ปี 2560

ค่าบริการอืน่ ๆ ทีจ่ า่ ยให้กบั บริษทั ผูส้ อบบัญชีไว้ในรายงานประจ�ำปีแล้ว • การพบปะนักลงทุนสถาบัน จ�ำนวน 7 ครั้ง รวมจ�ำนวน 147 ราย (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหมวด ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี) • การแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน จ�ำนวน 5 ครั้ง มีสื่อมวลชนเข้าร่วม 5.24 นโยบายการจัดตั้งหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ ประชุมประมาณ 70 รายต่อครั้ง บริษัทฯ ได้จัดตั้งและมอบหมายให้ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ เป็นตัวแทน ประสานงานระหว่ า งบริ ษั ท ฯ กั บ ผู ้ ถื อ หุ ้ น นั ก วิ เ คราะห์ ห ลั ก ทรั พ ย์ นักลงทุนสถาบัน นักลงทุนทัว่ ไป ภาครัฐ และผูเ้ กีย่ วข้อง อย่างเท่าเทียม กั น และเป็ น ธรรม โดยเปิ ด โอกาสให้ พ บผู ้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท ฯ ได้ตามความเหมาะสมภายใต้หลักเกณฑ์ที่ว่า ข้อมูลที่ให้เป็นข้อมูล ที่ได้เปิดเผยต่อสาธารณะแล้ว ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้รายงานสารสนเทศ ผ่ า นสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย เพื่อการเผยแพร่บนเว็บไซต์ www.set.or.th รวมทั้งรายงานสารสนเทศ ต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และ ได้เปิดเผยสารสนเทศดังกล่าวและข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ของบริษัทฯ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผ่านทางเว็บไซต์ www.psh.co.th หัวข้อ นักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) บริ ษั ท ฯ มี น โยบายจั ด กิ จ กรรมนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ เพื่ อ ให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ นักลงทุน และผู้ที่สนใจ ได้รับข้อมูลอย่าง ทั่ ว ถึ ง และสม�่ ำ เสมอ ทั้ ง นี้ ในปี 2560 บริ ษั ท ฯ มี ก ารจั ด กิ จ กรรม นักลงทุนสัมพันธ์ ดังนี้

• น�ำนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และนักลงทุน เยี่ยมชมโครงการต่างๆ ทั้งที่เป็นโครงการบ้านเดี่ยว บ้านทาวน์เฮ้าส์ และคอนโดมิเนียม • ร่ ว มกิ จ กรรมกั บ ทางตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย อาทิ งาน Opportunity day เพื่ อ ให้ ข ้ อ มู ล ตอบข้ อ ซั ก ถาม ของ ผู้ถือหุ้นรายย่อย นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และสื่อมวลชน •

ร่ ว มงาน Roadshow ทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศ ตามค� ำ เชิ ญ ของบริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ ต ่ า งๆ เพื่ อ ให้ ข ้ อ มู ล ตอบข้ อ ซั ก ถามรวมถึ ง แลกเปลี่ ย นมุ ม มองธุ ร กิ จ ของผู ้ ถื อ หุ ้ น นั ก วิ เ คราะห์ ห ลั ก ทรั พ ย์ แ ละนั ก ลงทุ น สถาบั น โดยในปี 2560 มี Roadshow ในประเทศ 4 ครั้ง และต่างประเทศ 3 ครั้ง

เปิ ด โอกาสให้ สั ม ภาษณ์ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ลงหนั ง สื อ พิ ม พ์ วารสาร และออกรายการโทรทั ศ น์ รวมถึ ง การเข้ า ร่ ว มใน กิ จ กรรมต่ า งๆ ของชมรมนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ เ พื่ อ แลกเปลี่ ย น ความรู ้ แ ละประสบการณ์ เพื่ อ จะได้ น� ำ มาพั ฒ นางานด้ า น นักลงทุนสัมพันธ์ของบริษัทฯ

จั ด ประชุ ม นั ก วิ เ คราะห์ นั ก ลงทุ น (Analyst & Investor Meeting) เพื่อแถลงผลประกอบการรายไตรมาส ปีละ 3 ครั้ง แถลงผลประกอบการประจ�ำปี ปีละ 1 ครั้ง และแผนธุรกิจประจ�ำปี ปีละ 1 ครั้ง รวมถึงการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ปีละ 1 ครั้ง ภายหลังจากที่ได้น�ำส่งงบการเงินและรายงานวิเคราะห์ผลการ ด� ำ เนิ น งาน (Operating Results) ต่ อ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่ ง ประเทศไทย และคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์แล้ว

ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ นักลงทุน ภาครัฐ และผู้เกี่ยวข้อง สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ ด้านข้อมูลการลงทุน ได้ ที่ ฝ  า ยนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ทาง Email: ir@pruksa.com หมายเลขโทรศัพท์ (66) 2080 1739 ต่อ 49112, 49113, 49114

เปิ ด โอกาสให้ นั ก วิ เ คราะห์ ห ลั ก ทรั พ ย์ และนั ก ลงทุ น เข้ า พบ (Company Visit) และ/หรือ ประชุมทางโทรศัพท์ (Conference Call) กั บ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง เพื่ อ สอบถามถึ ง นโยบาย กลยุ ท ธ์ และแผนธุ ร กิ จ ข้ อ มู ล ด้ า นการเงิ น (ที่ ผ ่ า นการสอบตรวจ/ สอบทานจากผู ้ ส อบบั ญ ชี รั บ อนุ ญ าต ซึ่ ง ได้ แ จ้ ง ต่ อ ตลาด หลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และส� ำ นั ก งานคณะกรรมการ ก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหนั ก ทรั พ ย์ แ ล้ ว ) และข้ อ มู ล ทั่ ว ไป อย่ า งถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว นทั น เหตุ ก ารณ์ และเป็ น ไปตาม กฎหมายหรื อ กฎระเบี ย บต่ า งๆรวมถึ ง ความคื บ หน้ า ด้ า น การด� ำ เนิ น การโครงการต่ า งๆ ของบริ ษั ท ฯ รวมทั้ ง อาจมี การแลกเปลี่ ย นมุ ม มองเชิ ง ธุ ร กิ จ อย่ า งสม�่ ำ เสมอ เพื่ อ เป็ น ประโยชน์ ต ่ อ การตั ด สิ น ใจลงทุ น การสร้ า งความเชื่ อ มั่ น และ สร้ า งภาพลั ก ษณ์ ที่ ดี ใ ห้ แ ก่ บ ริ ษั ท ฯ โดยในปี 2560 มี Company Visit 20 ครั้ ง และมี Conference Call 7 ครั้ ง และเยี่ยมชมโครงการ รวม 5 ครั้ง

บริษทั ฯ ก�ำหนดให้มกี ารสอบทานและรายงานเกีย่ วกับระบบการควบคุม ภายใน โดยผู ้ บ ริ ห ารที่ รั บ ผิ ด ชอบและให้ มี ก ารตรวจสอบภายใน โดยฝ่ายตรวจสอบภายในที่จัดตั้งเป็นอิสระ รับผิดชอบเกี่ยวกับการ ตรวจสอบอย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ ควบคุมการบริหารงานภายในบริษทั ฯ ให้ มีความมั่นใจว่า ผู้บริหารและพนักงาน ต้องปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติ รวมทั้งคู่มือแจกแจงอ�ำนาจด�ำเนินการของบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด โดยการด�ำเนินการต่างๆ อยู่ภายใต้การก�ำกับดูแลของคณะกรรมการ ตรวจสอบ โดยผู้บริหารที่เป็นหัวหน้าของหน่วยงานตรวจสอบภายใน (Head of Internal Audit) คือ นายเปรมศักดิ์ วิลลิกลุ (โปรดดูรายละเอียด เพิ่มเติมในหมวด ประวัติกรรมการและผู้บริหาร)

6) การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง

บริษัทฯ จัดให้มีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน ที่ครอบคลุมทุกด้าน ทั้งด้านการเงิน การปฏิบัติงาน การด�ำเนินการ • จัดท�ำ / แจ้งข่าวสาร และเอกสารเกี่ยวกับแผนธุรกิจประจ�ำปี ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบที่เกี่ยวข้องและการบริหาร แ ล ะ ผ ล ป ร ะ ก อ บ ก า ร ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ ใ ห ้ กั บ นั ก วิ เ ค ร า ะ ห ์ ความเสี่ยง หลักทรัพย์ นักลงทุน และผู้ที่สนใจ รายไตรมาส 6.1 ระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน

164

6.2 การบริหารความเสี่ยง บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะบริหารความเสีย่ งต่างๆ ทีม่ ผี ลกระทบต่อบริษทั ฯ โดยพิจารณาจากทั้งปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกให้มีความเสี่ยง


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

คงเหลืออยู่ในระดับที่เหมาะสม และยอมรับได้ โดยฝ่ายบริหารของ บริษัทฯ ได้ก�ำหนดให้มีการสอบทานปัจจัยความเสี่ยงในทุกๆ ด้าน อย่างสม�่ำเสมอ ครอบคลุมถึงความเสี่ยงเชิงกลยุทธ์ ความเสี่ยงทาง การเงิน การบริหารการก่อสร้าง และความเสีย่ งด้านการปฏิบตั งิ านอืน่ ๆ การสอบทานครอบคลุ ม ถึ ง การพิ จ ารณาเกี่ ย วกั บ โอกาสที่ จ ะเกิ ด ความเสี่ยงและระดับความรุนแรงของผลกระทบ การก�ำหนดมาตรการ ในการป้องกันและบรรเทาผลกระทบ การก�ำหนดผู้รับผิดชอบตลอด จนการก�ำหนดเกี่ยวกับมาตรการในการรายงานและการติดตามเพื่อ การประเมิ น ผล ทั้ ง นี้ โ ดยมี ค ณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งระดั บ องค์การเป็นผู้ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทาง และ/หรือนโยบาย ในการก�ำกับดูแลเกี่ยวกับความเสี่ยงที่ส�ำคัญ

การก�ำกับดูแลการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทฯ มีนโยบายและวิธีการดูแลผู้บริหาร ในการน�ำข้อมูลภายใน ของบริษัทฯ ไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน ดังนี้ 1. นโยบายการเก็บรักษาความลับ การเก็บรักษาข้อมูล และ การใช้ข้อมูลภายใน บุคลากรทุกระดับขององค์กรมีหน้าที่ต้องทราบถึงขั้นตอนการรักษา ความปลอดภั ย ของข้ อ มู ล เพื่ อ ปกป้ อ งข้ อ มู ล อั น เป็ น ความลั บ และ ปฏิ บั ติ ต ามขั้ น ตอนการรั ก ษาความปลอดภั ย ของข้ อ มู ล ดั ง กล่ า ว เพื่อป้องกันไม่ให้มีการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าว

ข้อมูลที่เป็นความลับให้หมายถึงข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลสาธารณะ หรือ ข้อมูลที่หากเปิดเผยต่อสาธารณชนหรือตกอยู่ในมือคู่แข่งแล้วย่อม บริษัทฯ มีเจตนารมณ์ที่ชัดเจนที่จะเสริมสร้างให้ผู้บริหารและพนักงาน ก่อให้เกิดผลกระทบร้ายแรงต่อบริษัทฯ รวมทั้งข้อมูลที่คู่ค้าและลูกค้า ทุกคน มีมาตรฐานความประพฤติเป็น แนวทางเดียวกันภายใต้สภาพ ให้ไว้แก่บริษัทฯ ทุกประเภท ธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไป บริษัทฯ จึงได้ประกาศ “คู่มือจรรยาบรรณ ทางธุ ร กิ จ ” เพื่ อ เป็ น แนวทางในการประพฤติ ป ฏิ บั ติ ค วบคู ่ ไ ปกั บ 1. บริ ษั ท ฯ มี ก ารก� ำ หนดชั้ น ความลั บ ของข้ อ มู ล และการปฏิ บั ติ ข้อบังคับและระเบียบของกลุ่มบริษัท ภายใต้กรอบจริยธรรม คุณธรรม เพื่อรักษาความลับ โดยเอกสารส�ำคัญและข้อมูลที่เป็นความลับ ความซื่ อ สั ต ย์ ในวิ ถี ท างที่ ส ร้ า งสรรค์ เ ท่ า เที ย มกั น โดยครอบคลุ ม จะต้องได้รบั การดูแลด้วยวิธกี ารเฉพาะทีก่ ำ� หนดไว้ในแต่ละระดับ ถึงความปลอดภัยของสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม การต่อต้านการ แต่ละชนิด หรือประเภทของข้อมูล ซึง่ ข้อมูลเหล่านีอ้ าจแบ่งล�ำดับชัน้ ทุจริตคอร์รัปชั่น การต่อต้านการให้สินบน การเกี่ยวข้องกับการเมือง ความลับเป็นหลายล�ำดับตามความส�ำคัญ ได้แก่ ข้อมูลทีเ่ ปิดเผยได้ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใด การเคารพกฎหมาย และหลัก ข้อมูลปกปิด ข้อมูลลับ ข้อมูลลับมาก ทั้งนี้ การใช้ข้อมูลภายใน สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน โดยพนั ก งานทุ ก คนจะได้ รั บ คู ่ มื อ การก� ำ กั บ ดู แ ล ร่ ว มกั น ต้ อ งอยู ่ ใ นกรอบของหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ ต น กิจการที่ดีและจรรยาบรรณทางธุรกิจ พร้อมต้องลงนามรับทราบและ ได้รับมอบหมายเท่านั้น ถือปฏิบตั ิ โดยก�ำหนดให้หน่วยงานทรัพยากรบุคคลท�ำหน้าทีร่ บั ผิดชอบ 2. บริษัทฯ ต้องรักษา และปกปิดข้อมูลลูกค้า และข้อมูลทางการค้า ในการส่งเสริมให้กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานปฏิบัติตามนโยบาย ไว้เป็นความลับ ต้องไม่เปิดเผยความลับของลูกค้าต่อพนักงาน การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณทางธุรกิจ ด้วยความเข้าใจ ของบริ ษั ท ฯ และบุ ค คลภายนอกที่ ไ ม่ เ กี่ ย วข้ อ ง เว้ น แต่ เ ป็ น ยอมรับและศรัทธามาตั้งแต่ปี 2549 ข้ อ บั ง คั บ โดยกฎหมายให้ เ ปิ ด เผย โดยเป็ น การเปิ ด เผยเพื่ อ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้จดั ท�ำนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี คูม่ อื จรรยาบรรณ วัตถุประสงค์ทางการฟ้องร้องคดี หรือคณะกรรมการบริษัทอนุมัติ กฎบัตรของคณะกรรมการชุดต่างๆ และได้เผยแพร่บนระบบ Intranet ให้มีการเปิดเผย บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ ที่ www.psh.co.th หัวข้อนักลงทุนสัมพันธ์ 3. ในการว่าจ้างบุคคลที่เคยท�ำงานกับคู่แข่งทางการค้าหรือรัฐบาล วารสารใต้ร่มพฤกษา E-mail และจัดเตรียมช่องทางให้ผู้มีส่วนได้เสีย มาก่อน บริษทั ฯ ต้องค้นหา และศึกษาข้อตกลงการรักษาความลับ ซึ่งรวมถึงพนักงานสามารถร้องเรียนเรื่องต่างๆ ต่อกรรมการบริษัท ที่ บุ ค คลนั้ น เคยท� ำ ไว้ กั บ คู ่ แ ข่ ง ทางการค้ า หรื อ รั ฐ บาลมาก่ อ น ผ่านทางเว็บไซต์ได้ด้วย บริ ษั ท ฯ และต้ อ งไม่ ก ระท� ำ การใดเพื่ อ ให้ บุ ค คลนั้ น กระท� ำ นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั ง ได้ จั ด ท� ำ วี ดี ทั ศ น์ (VDO) เพื่ อ เผยแพร่ แ ละ การอั น เป็ น การผิ ด ข้ อ ตกลงกั บ คู ่ แ ข่ ง ทางการค้ า หรื อ รั ฐ บาล ส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามคู่มือจรรยาบรรณทางธุรกิจของบริษัทฯ อันจะก่อให้เกิดการฟ้องร้องด�ำเนินคดีตามมา และได้ มี ก ารเผยแพร่ ผ ่ า นสื่ อ ต่ า งๆ ภายในบริ ษั ท ฯ ให้ พ นั ก งาน 4. การเปิดเผยข้อมูลความลับต่อสาธารณชนต้องได้รบั ความเห็นชอบ รับทราบ รวมทัง้ จัดให้มกี ารฉายให้พนักงานใหม่รบั ทราบในวันปฐมนิเทศ จากประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม พนักงานใหม่ โดยบริษัทฯ ก�ำหนดให้มีการทบทวนคู่มือจรรยาบรรณ อาจจะเป็นผู้ตอบเองในกรณีที่ข้อมูลมีนัยส�ำคัญมาก หรืออาจ ทางธุ ร กิ จ ให้ มี ค วามเหมาะสมอยู ่ เ สมอ โดยในการปรั บ ปรุ ง หรื อ มอบหมายให้ ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบเป็ น ผู ้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล แก่ ส าธารณะ ทั้ ง นี้ ทบทวน คณะกรรมการบริษัทจะมีส่วนร่วมในการก�ำหนดวิสัยทัศน์ บริษทั ฯ มีผทู้ ำ� หน้าทีเ่ ผยแพร่ขอ้ มูลแก่สาธารณชน ซึง่ รับผิดชอบงาน พันธกิจ วัฒนธรรม ค่านิยมของบริษัทฯ และพิจารณาให้มีการทบทวน โดยหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ ส่วนการติดต่อกับหน่วยงาน อย่ า งสม�่ ำ เสมอ ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให้ ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งานมี จุ ด มุ ่ ง หมาย ด้านการลงทุนในโครงการต่างๆ โดยจะประสานงานกับหน่วยงาน ไปในทิศทางเดียวกัน ภายในที่เป็นเจ้าของข้อมูล 7) ปรัชญาและจรรยาบรรณ

5. บุ ค ลากรของบริ ษั ท ฯ จะไม่ ต อบค� ำ ถามหรื อ แสดงความเห็ น แก่บุคคลภายนอกอื่นใด เว้นแต่จะมีหน้าที่หรือได้รับมอบหมาย

165


รายงานประจํ า ปี 2560

ให้ตอบค�ำถามเหล่านั้น หากไม่มีหน้าที่หรือได้รับมอบหมาย 4. บริษัทฯ ได้แจ้งให้กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน ลูกจ้าง หรือ บุคลากรจะปฏิเสธการแสดงความเห็นต่างๆ ด้วยความสุภาพ บุคคลที่เกี่ยวข้องทราบว่า ผู้บริหารที่ได้รับทราบข้อมูลภายใน ที่เป็นสาระส�ำคัญซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ บริ ษั ท ฯ มี น โยบายและวิ ธี ก ารดู แ ลบุ ค ลากรทุ ก ระดั บ ขององค์ ก าร ต้องใช้ความระมัดระวังในการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ และ ซึ่งรวมถึงกรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน ลูกจ้าง หรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง ในช่วง 15 วันก่อน และ 1 วันหลังจากงบการเงิน หรือข้อมูล ในการน�ำข้อมูลภายในของบริษัทฯ ไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน ดังนี้ ภายในนั้นจะเปิดเผยต่อสาธารณชน 1. ให้ความรูแ้ ก่กรรมการ ผูบ้ ริหาร รวมถึงผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งในสายงาน 5. บริษัทฯ ได้แจ้งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลภายในว่าต้องไม่เปิดเผย บัญชีหรือการเงิน ผู้รับผิดชอบในการด�ำเนินงาน ผู้สอบบัญชี ข้อมูลนั้นให้ผู้อื่นทราบ จนกว่าจะได้มีการแจ้งข้อมูลนั้นให้แก่ พนักงาน คู่สมรสและบุตรยังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าว ตลาดหลักทรัพย์ฯ แล้ว เกี่ ย วกั บ หน้ า ที่ ที่ ก รรมการ ผู ้ บ ริ ห าร รวมถึ ง ผู ้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ในสายงานบั ญ ชี ห รื อ การเงิ น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบในการด� ำ เนิ น งาน 2. การรั ก ษาความปลอดภั ย ระบบคอมพิ ว เตอร์ แ ละข้ อ มู ล ผู ้ ส อบบั ญ ชี พนั ก งาน คู ่ ส มรสและบุ ต รยั ง ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภ าวะ สารสนเทศ ของบุคคลดังกล่าว ต้องรายงานการถือหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ และ บทก�ำหนดโทษตามพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เพื่อให้การปฏิบัติตามนโยบายเป็นไปด้วยความเรียบร้อย บริษัทฯ พ.ศ. 2535 (ตามทีไ่ ด้แก้ไขเพิม่ เติม) ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ มี ม าตรการป้ อ งกั น ความปลอดภั ย ระบบคอมพิ ว เตอร์ แ ละข้ อ มู ล สารสนเทศ ดังต่อไปนี้ แห่งประเทศไทย และหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องอื่นใด 2. บริษัทฯ ก�ำหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร รวมถึงผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง 1. จ�ำกัดการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่เปิดเผยต่อสาธารณะโดยให้รับรู้ได้ ในสายงานบั ญ ชี ห รื อ การเงิ น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบในการด� ำ เนิ น งาน เฉพาะผูบ้ ริหารระดับสูงสุดเท่าทีจ่ ะท�ำได้ และเปิดเผยต่อพนักงาน ผู ้ บ ริ ห าร ผู ้ ส อบบั ญ ชี พนั ก งาน คู ่ ส มรสและบุ ต รยั ง ไม่ บ รรลุ ของบริษัทฯ ตามความจ�ำเป็นเพียงเท่าที่ต้องทราบเท่านั้น และ นิติภาวะของบุคคลดังกล่าว รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือ แจ้งให้พนักงานทราบว่าเป็นสารสนเทศที่เป็นความลับและมี หลักทรัพย์ตอ่ ส�ำนักงาน ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัต ิ ข้อจ�ำกัดในการน�ำไปใช้ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (ตามทีไ่ ด้แก้ไขเพิม่ เติม) 2. จัดระบบรักษาความปลอดภัยในที่ท�ำงานเพื่อป้องกันการเข้าถึง และจัดส่งส�ำเนารายงานนี้ให้แก่บริษัทฯ ในวันเดียวกับวันที่ส่ง และการใช้แฟ้มข้อมูลและเอกสารลับ รายงานต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. ทุกครั้ง 3. เจ้ า ของข้ อ มู ล ที่ ยั ง ไม่ เ ปิ ด เผยต่ อ สาธารณชนจะต้ อ งก� ำ ชั บ 3. เพือ่ เพิม่ ความเชือ่ มัน่ ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ผูล้ งทุน และผูเ้ กีย่ วข้องทุกฝ่าย ผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งให้ ป ฏิ บั ติ ต ามขั้ น ตอนการรั ก ษาความปลอดภั ย บริษัทฯ จึงก�ำหนดมาตรการเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลภายในของ โดยเคร่งครัด บุคลากรของบริษทั ฯ ซึง่ หมายความรวมถึงคณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร รวมถึงผู้ด�ำรงต�ำแหน่งในสายงานบัญชีหรือการเงิน ผู้รับผิดชอบ 4. บริษัทฯ จะมีนโยบายการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์และระบบ ในการด�ำเนินงาน ผู้สอบบัญชี พนักงาน คู่สมรสและบุตรยังไม่ ข้อมูลสารสนเทศ และมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา บรรลุ นิติ ภ าวะของบุค คลดัง กล่า ว มาตรการนี้มีวัต ถุประสงค์ ตามการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นจาก กฎหมาย เพื่ อ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสมอภาค และยุ ติ ธ รรมในการใช้ ข ้ อ มู ล และข้ อ บั ง คั บ ต่ า งๆ ของหน่ ว ยงานที่ ก� ำ กั บ ดู แ ล รวมถึ ง การ ภายในของบริษัทฯ อันเป็นการเพิ่มความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น เปลี่ ย นแปลงจากกระแสการใช้ เ ทคโนโลยี เช่ น SOCIAL ผู้ลงทุน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย บริษัทฯ ก�ำหนดเป็นข้อห้ามมิให้ MEDIA ที่ เ ปลี่ ย นไป และการพั ฒ นาเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น บุคลากรทุกระดับของบริษัทฯ ดังที่ได้กล่าวข้างต้น รวมถึงสมาชิก ภายในบริษัทฯ เอง ครอบครัวของบุคลากรดังกล่าวทุกคนที่ได้รับทราบข้อมูลภายใน 5. บริษัทฯ มีระบบควบคุมต่างๆ ตามมาตรฐานสากล เช่น ก�ำหนด ของบริษทั ฯ เป็นข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญต่อการเปลีย่ นแปลง ชื่อผู้ใช้งานและรหัสส่วนตัวในการเข้าระบบต่างๆ ของบริษัทฯ ราคาของหลักทรัพย์และที่ยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณชน ไม่ว่า ตามบทบาทและหน้าที่ในการใช้งานระบบต่างๆ และขอบเขต จะเพื่อการซื้อขายหลักทรัพย์ หรือชักชวนให้บุคคลอื่น เสนอซื้อ ในการปฏิ บั ติ ที่ เ ชื่ อ มโยงถึ ง อ� ำ นาจในการอนุ มั ติ ที่ ส อดคล้ อ ง หรือเสนอขายหุน้ ของบริษทั ฯ ไม่วา่ จะด้วยตนเอง หรือผ่านนายหน้า กับการท�ำงานต่างๆ ของบุคคลนั้นในบริษัทฯ ทั้งนี้ ไม่ว่าการกระท�ำดังกล่าวจะกระท�ำเพื่อประโยชน์ต่อตนเอง หรือผู้อื่น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังห้ามมิให้บุคลากรของบริษัทฯ 3. มาตรการลงโทษ ดังกล่าวข้างต้นและสมาชิกครอบครัวของบุคลากรนัน้ น�ำข้อเท็จจริง อันเป็นสาระส�ำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์และ หากมีการกระท�ำการฝ่าฝืนระเบียบปฏิบัติงานดังกล่าวข้างต้น บริษัทฯ ที่ ยั ง ไม่ เ ปิ ด เผยต่ อ สาธารณชนไปเปิ ด เผยเพื่ อ ให้ ผู ้ อื่ น กระท� ำ จะด�ำเนินการทางวินัยเพื่อพิจารณาลงโทษตามสมควรแก่กรณี ได้แก่ ตักเตือนด้วยวาจา ตักเตือนด้วยหนังสือ ตัดค่าจ้าง พักงาน เลิกจ้าง ดังกล่าวโดยตนเองได้รับประโยชน์ตอบแทน และด�ำเนินคดีในกรณีที่มีการกระท�ำผิดกฎหมาย

166


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) และบริษัทย่อยได้จ่ายค่าสอบบัญชีประจ�ำปี 2560 ให้แก่ผู้สอบบัญชีจาก บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด ส�ำหรับการสอบทานและตรวจสอบงบการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อยในประเทศ และส�ำหรับค่าสอบบัญชี บริษัทย่อยในประเทศอินเดียโดยได้จ่ายให้กับกลุ่มบริษัท เคพีเอ็มจี มีรายละเอียดดังนี้ ค่าสอบบัญชีของบริษัทฯ และบริษัทย่อย

หน่วย : บาท

ค่าสอบบัญชีบริษัทฯ

1,100,000

2559* (ภายหลังการปรับโครงสร้างกิจการ) 500,000

ค่าสอบบัญชีบริษัทย่อยในประเทศ

3,680,000

3,880,000

ค่าสอบบัญชีบริษัทย่อยในต่างประเทศ**

514,478

1,140,922

ค่าใช้จ่ายอื่น

198,000

133,000

5,492,478

5,653,922

รายการ

รวม

2560

* ปี 2559 เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบ ** ค่าสอบบัญชีบริษัทย่อยในต่างประเทศขึ้นอยู่กับอัตราแลกเปลี่ยนในขณะนั้น

นอกจากนี้ ยังมีค่าบริการอื่นๆ ดังนี้ 3.1 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด หน่วย : บาท รายการ รายงานตรวจสอบตามเงื่อนไข BOI

2560

2559*

535,000

535,000

* ปี 2559 เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบ

167


รายงานประจํ า ปี 2560

3.2 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย ที่ปรึกษาธุรกิจ จ�ำกัด

หน่วย : บาท

รายการ

2560

2559*

ตรวจสอบตามวิธที ตี่ กลงกันเรือ่ งรายรับรายจ่าย กองทุนของโครงการที่ยังไม่โอนนิติบุคคล ตรวจสอบการตั้งหนี้และจ่ายเงินเพื่อซื้อที่ดิน และการจัดซื้อจัดจ้าง Technology Assessment for the year 2016 สอบทานผลประเมิน Anti-Corruption

-

909,500

-

535,000

-

770,400

-

385,200

ค่าที่ปรึกษาโครงการ Collective Action Coalition (CAC) ตรวจสอบ Accountability

481,500

-

674,100

-

ตรวจสอบ IT System Integration

203,300

-

รวม

1,358,900

2,600,100

* ปี 2559 เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบ หมายเหตุ : บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย ที่ปรึกษาธุรกิจ จ�ำกัด และบริษัท ส�ำนักภาษี เคพีเอ็มจี ภูมิไชย จ�ำกัด เป็นคนละนิติบุคคลกับ บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด และขอบเขตงานที่ให้ค�ำปรึกษาดังกล่าวไม่ซ�้ำซ้อนกับงานด้านการสอบบัญชี

3.3 บริษัท ส�ำนักภาษี เคพีเอ็มจี ภูมิไชย จ�ำกัด หน่วย : บาท ค่าที่ปรึกษาด้านการลงทุน ค่าจัดท�ำสัญญาบริษัท

2560

2559

2558

2557

2556

-

-

-

-

4,368,000

1,741,000

-

-

-

-

หมายเหตุ : บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย ที่ปรึกษาธุรกิจ จ�ำกัด บริษัท ส�ำนักภาษี เคพีเอ็มจี ภูมิไชย จ�ำกัด เป็นคนละนิติบุคคลกับ บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด และขอบเขตงานที่ให้ค�ำปรึกษาดังกล่าวไม่ซ�้ำซ้อนกับงานด้านการสอบบัญชี

การปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ในเรื่องอื่นๆ บริษัทฯ ได้มีการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ ก�ำหนดไว้ในเรื่องอื่นๆ อาทิเช่น การเข้าร่วมประชุมของกรรมการในคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย โดยเมื่อบริษัทฯ ได้เข้าจดทะเบียนเป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ บริษัทฯ จะด�ำเนินการโดยยึดแนวทางปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีต่อไป

168


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ความรับผิดชอบต่อสังคม

นอกเหนือจากการที่บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ) และบริษัทย่อย มุ่งมั่นด�ำเนินธุรกิจเพื่อการเจริญเติบโตอย่างมั่นคง เพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดแก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มแล้ว บริษัทฯ ยังให้ความส�ำคัญต่อการด�ำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม ทั้งในส่วนที่มีความเกี่ยวข้องกับกระบวนการ ด�ำเนินธุรกิจโดยตรง (CSR in Process) และการให้ความช่วยเหลือ ชุมชนและสังคมที่อยู่นอกเหนือกระบวนการด�ำเนินธุรกิจขององค์กร (CSR after Process) ควบคู่กันไป เพื่อสร้างคุณค่าพัฒนาสังคม ในหลากหลายมิติ รวมทั้งสร้างการมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วน เพื่อให้ เกิ ด แรงผลั ก ดั น ขยายผล ต่ อ ยอดไปสู ่ ก ารยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ทุ กๆ ด้ าน ให้ ครอบคลุม ทั่วประเทศ และร่ว มเป็น ส่วนหนึ่งในการ ขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในระดับประเทศและสากล (Sustainable Development Goals 2030)

1. ด้านการศึกษาและพัฒนาเยาวชน • โครงการ “ทุนพฤกษา” ปีที่ 16 กลุ่มบริษัท มอบทุนการศึกษาให้กับบุตรลูกค้า บุตรพนักงาน โรงเรียน ที่อยู่ในพื้นที่โดยรอบโครงการของบริษัท ตั้งแต่ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ทั่วประเทศ เพื่อช่วยเหลือ เด็กเรียนดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ที่ได้รับผลกระทบทางการศึกษาต่อ กลับมาได้รับโอกาสทางการศึกษาที่เท่าเทียมกับเด็กทั่วไป เป็นจ�ำนวน 517 ทุน รวมเป็นเงินกว่า 3.8 ล้านบาท • โครงการ “ทวิภาคี ในสถานประกอบการ”

กลุ่มบริษัท ร่วมกับ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) กระทรวงศึกษาธิการ สนับสนุนและส่งเสริมให้เยาวชนอาชีวศึกษา บริษัทฯ และบริษัทย่อย จึงแบ่งการดูแลชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม ได้ รั บ โอกาสในการเรี ย นรู ้ แ ละเข้ า ฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ใน ออกเป็ น 3 ด้ า นหลั ก ๆ ได้ แ ก่ ด้ า นการศึ ก ษาและพั ฒ นาเยาวชน สถานประกอบการ เพื่อให้เยาวชนมีคุณภาพจบออกมาแล้วสามารถ ท�ำงานได้จริง โดยกลุ่มบริษัท ได้เปิดโอกาสให้นักศึกษาระดับ ปวส. ปี 2 ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม

169


รายงานประจํ า ปี 2560

ของวิ ท ยาลั ย เทคนิ ค ธั ญ บุรี จ�ำนวน 9 คน เข้า ฝึก งานด้า นวิชาชีพ • โครงการ “พฤกษา...สานฝันการเรียนรู้สู่แคมป์คนงาน” ที่ โ รงงาน พฤกษา พรี ค าสท์ ล� ำ ลู ก กา เป็ น เวลา 1 ปี พร้ อ มทั้ ง มอบทุ น การศึ ก ษาให้ ค นละ 15,000 บาท โดยเป็ น ทุ น ให้ เ ปล่ า กลุ่มบริษัท ร่วมกับ มูลนิธิเครือข่ายพัฒนาบ้านเด็ก ภาคีเครือข่าย ขององค์ ก ารยู นิ เ ซฟ จั ด โครงการ “พฤกษา...สานฝั น การเรี ย นรู ้ สู ่ โดยไม่มีเงื่อนไข เป็นจ�ำนวนเงิน 135,000 บาท แคมป์ ค นงาน” เพื่ อ ให้ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ สิ ท ธิ แ ละบริ ก ารขั้ น พื้ น ฐาน • โครงการ “ทุนต้นกล้าพฤกษา” ในด้ า นการศึ ก ษาและสุ ข ภาพกั บ บุ ต รแรงงานต่ า งด้ า วที่ เ ป็ น คู ่ ค ้ า ของกลุ่มบริษัท และพักอาศัยในแคมป์คนงานโครงการ บ้านพฤกษา กลุ่มบริษัท มอบทุนการศึกษาให้กับนักศึกษาที่ก�ำลังศึกษาในภาควิชา ไพร์ม รังสิต-คลอง 3 และแคมป์คนงานในโครงการบริเวณใกล้เคียง วิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 ทั่วประเทศ ต่อเนื่อง รวม 11 แคมป์ รวมถึงการจัดหาสถานศึกษาที่สามารถรับบุตรแรงงาน จนจบการศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 4 และเปิ ด โอกาสให้ เ ข้ า ฝึ ก งานกั บ กลุ ่ ม ต่างด้าวเข้าศึกษาต่อได้จ�ำนวน 5 แห่ง เพื่อขจัดปัญหาแรงงานเด็ก บริษัท เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เยาวชนจบออกมาเป็นบุคลากร และสร้างความปลอดภัยให้กับเด็กในแคมป์คนงาน ตามนโยบาย ที่มีคุณภาพสามารถท�ำงานได้จริง โดยระหว่างการฝึกงานจะได้รับ การเข้าร่วมสนับสนุนโครงการส่งเสริมการด�ำเนินธุรกิจทีเ่ ป็นมิตรกับเด็ก เบี้ยเลี้ยงทุกคน จ�ำนวน 17 ทุน รวมเป็นเงิน 850,000 บาท ในสถานประกอบการที่ร่วมกับองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) องค์การช่วยเหลือเด็ก (Save the Children) และข้อตกลง • การแบ่งปันความรู้ด้านธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โลกแห่งสหประชาชาติ (United Nations Global Compact) ซึ่งเป็น ผู้บริหารระดับสูงของกลุ่มบริษัท รับเชิญเป็นวิทยากร เพื่อแบ่งปัน โครงการน�ำร่องที่ทางกลุ่มบริษัท ได้ส่งเสริมและผลักดันให้บุตรหลาน ความรู้และประสบการณ์ด้านการด�ำเนินธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ให้กับ ของแรงงานต่างด้าวได้เข้าศึกษาขัน้ พืน้ ฐานในโรงเรียนเหมือนเด็กทัว่ ไป สถาบันการศึกษา และองค์กรธุรกิจชั้นน�ำต่างๆ เช่น มหาวิทยาลัย รวมถึงการให้ความรู้เ รื่องสวัส ดิการขั้นพื้นฐานที่พึงได้รับตามสิทธิ ธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มหาวิทยาลัย กับผู้ปกครอง เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตให้ดีข้ึน ส่งผลให้แรงงาน ชินวัตร และวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ เป็นต้น มีก�ำลังใจในการสร้างบ้านที่มีคุณภาพให้กับลูกค้าต่อไป • โครงการ Pruksa Precast Factory Learning Center

2. ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม

กลุ่มบริษัท เปิดให้เข้าเยี่ยมชมเทคโนโลยี Pruksa Precast รวมถึง แบ่ ง ปั น ความรู ้ ใ นด้ า นกระบวนการผลิ ต แผ่ น พรี ค าสท์ ประโยชน์ ของนวัตกรรมใหม่ในอุตสาหกรรมการก่อสร้าง เช่น การควบคุมคุณภาพ การก่อสร้างให้มีมาตรฐานเดียวกัน ด้วยการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ทุกขั้นตอน ที่โรงงานพฤกษาพรีคาสท์ นวนคร และพาเข้าเยี่ยมชม การติ ด ตั้ ง แผ่ น พรี ค าสท์ ต ามโครงต่ า งๆ เพื่ อ เป็ น แหล่ ง การเรี ย นรู ้ นอกห้องเรียนให้กับนิสิต / นักศึกษาจากสถาบันการศึกษาทั่วประเทศ จ� ำ นวน 11 หน่ ว ยงาน รวมกว่ า 700 คน อั น ได้ แ ก่ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ รี ฯลฯ โครงการนี้ ยั ง เป็ น การเตรี ย มความพร้ อ มให้ นั ก ศึ ก ษาจบออกไปเป็ น บั ณ ฑิ ต ที่มีคุณภาพของสังคมต่อไป

กลุ่มบริษัท ส่งเสริมให้ผู้บริหาร พนักงาน ลูกค้า ร่วมสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีอันดีงาม ในวันส�ำคัญทางศาสนา รวมถึงการส่งเสริมกิจกรรม ทางศาสนาในทุกศาสนา โดยไม่มีการแบ่งแยก ผ่านกิจกรรมต่างๆ ดังนี้

กลุ ่ ม บริ ษั ท ร่ ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ ร ี เปิดโอกาสให้เยาวชนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศ ที่สนใจ ศึกษาต่อสาขาวิศวกรรมโยธา ได้เรียนรู้และสัมผัสประสบการณ์จริง ในธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เพื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล ก่ อ นการตั ด สิ น ใจเลื อ ก เข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ซึ่งสามารถสร้างบุคลากรทางวิชาชีพ ที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพแก่วงการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ไทย ต่อไปในอนาคต

• พนักงานและลูกค้าในโครงการต่างๆ ของกลุ่มบริษัท ร่วมกิจกรรม “ท� ำ บุ ญ ตั ก บาตร” เนื่ อ งในวั น ส� ำ คั ญ ทางศาสนาเป็ น ประจ� ำ อย่างต่อเนื่อง

คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน เป็นเจ้าภาพร่วมบ�ำเพ็ญ กุ ศ ล วางพวงมาลา ถวายสั ก การะ และร่ ว มในพระพิ ธี ธ รรม สวดพระอภิ ธ รรม พระบรมศพพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิ ต ร เพื่ อ น้ อ มร� ำ ลึ ก ถึ ง พระมหากรุณาธิคุณ และถวายเป็นพระราชกุศล ณ พระที่นั่งดุสิต มหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง

• • โครงการสนับสนุนค่ายวิศวกรโยธารุ่นเยาว์ 2B-KMUTT : Civil Camp ปีที่ 9

คณะผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งาน ร่ ว มกิ จ กรรม “ท� ำ บุ ญ ตั ก บาตร เพื่ อ เสริ ม ความเป็ น สิ ริ ม งคลเนื่ อ งในวั น ปี ใ หม่ ” พร้ อ มฟั ง ธรรม เทศนา เพื่ อ เพิ่ ม ความสุ ข ในการท� ำ งานกิ จ กรรม “รดน�้ ำ ขอพร ผูบ้ ริหาร” เนือ่ งในวันสงกรานต์ และร่วมฟังธรรมะ เพือ่ เป็นข้อคิดดีๆ ส�ำหรับเป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวิตและการท�ำงาน

170

โครงการ “ธรรมะ...สร้างสุข” ครั้งที่ 19 เพื่อส่งเสริมให้ผู้บริหาร พนักงาน และครอบครัว ร่วมปฏิบตั ธิ รรมตามสถานปฏิบตั ธิ รรมต่างๆ เพื่อน�ำหลักค�ำสอนในพระพุทธศาสนาไปใช้ใ นการด�ำเนินชีวิต และการท�ำงานได้อย่างมีความสุข


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

โครงการ “อิ่มบุญอิ่มใจ เนื่องในวันเข้าพรรษา” เพื่อส่งเสริมให้ • โครงการ Pruksa Community Care 2017 ผู้บริหารและพนักงาน ร่วมกิจกรรมท�ำบุญถวายเทียนพรรษาและ กลุ่มบริษัท ลงพื้นที่ส�ำรวจชุมชนรอบข้างโครงการ ทั้งในกลุ่มธุรกิจ ปัจจัย พร้อมร่วมกิจกรรมท�ำความสะอาดวัด เนื่องในวันเข้าพรรษา ทาวเฮ้าส์ บ้านเดี่ยว และคอนโด เพื่อร่วมกับผู้น�ำและคนในชุมชน ณ วัดบุญมงคล อ�ำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี ในการช่ ว ยกั น หาทางแก้ ไ ขปั ญ หาต่ า งๆ รวมถึ ง ให้ ก ารสนั บ สนุ น • ผู้บริหาร พนักงาน และชุมชนรอบพื้นที่โรงงานพฤกษา พรีคาสท์ และส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนว ล�ำลูกกา ร่วมจัด กิจกรรม “ทอดผ้าป่าสามัคคี” ณ วัดกลางคลองสี่ พระราชด� ำ ริ ใ นพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช เพื่อบูรณปฏิสังขรณ์โบสถ์หลังเก่า ให้สามารถใช้ในการวิปัสสนา เพื่อการพัฒนาและเติบโตที่ยั่งยืน โดยน�ำร่องใน 3 พื้นที่ ได้แก่ กรรมฐานและศึกษาพระธรรม - กิจกรรม “ดัดจัดสรีระบ�ำบัดออฟฟิศซินโดรมชุมชน แฟลตดินแดง” 3. ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม • โครงการ มิติใหม่สร้างงานสร้างอาชีพคนพิการ

กลุ่มบริษัท ร่วมกับ วิสาหกิจสุขภาพชุมชน จัดกิจกรรมดูแล สุขภาพของคนในชุมชนแฟลตดินแดงที่มีอาการเมื่อยล้าและ ปวดเมื่อยจากการท�ำงานฟรี โดยมีผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม เป็ น จ� ำ นวนมากกว่ า 200 คน ซึ่ ง กลุ ่ ม บริ ษั ท ได้ ส นั บ สนุ น ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมดังกล่าวและมอบให้กับวิสาหกิจ สุขภาพชุมชน จ�ำนวน 55,000 บาท เพื่อน�ำไปพัฒนาชุมชน และสังคม รวมทั้งส่งเสริมให้เยาวชนชาวดอยมีรายได้มีงานท�ำ ป้องกันการท�ำลายป่า และเพิ่มพื้นที่ป่าตามแนวพระราชด�ำริฯ

กลุ ่ ม บริ ษั ท ร่ ว มกั บ มู ล นิ ธิ น วั ต กรรมทางสั ง คม ส� ำ นั ก งานกองทุ น สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จ้างงานคนพิการเชิงสังคม และสนับสนุนอาชีพคนพิการในปี 2560 ตามมาตรา 33 และ 35 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ส ่ ง เสริ ม และพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต คนพิ ก าร อันเป็นการส่งเสริมให้คนพิการทั่วประเทศสามารถเข้าถึงโอกาสพึ่งพา ตนเองได้อย่างมีเกียรติมีศักดิ์ศรี โดยกลุ่มบริษัท ได้มีการจ้างงาน คนพิการให้ท�ำงานที่กลุ่มบริษัท จ�ำนวน 19 อัตรา และจ้างคนพิการ ให้ท�ำงานในชุมชนใกล้บ้านในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น จ�ำนวน 25 อัตรา - ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนสามแยก บางคูลด ั และศูนย์การเรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียน เพื่อส่งเสริมให้คนพิการมีรายได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน วัดโมลี (นันทวิมล) • โครงการวิ่งการกุศล You Run You Share 2017 กลุ่มบริษัท ร่วมกับ โรงเรียนสามแยกบางคูลัด และโรงเรียน กลุ ่ ม บริ ษั ท จั ด งานวิ่ ง การกุ ศ ล ณ สวนเบญจทั ศ (สวนรถไฟ) วัดโมลี (นันทวิมล) จัดสร้างศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อรณรงค์ให้ลูกค้าและบุคคลทั่วไป มีสุขภาพที่ดีและแข็งแรงด้วย ตามแนวพระราชด�ำริฯ จ�ำนวน 300,000 บาท เพื่อให้นักเรียน การหั น มาออกก� ำ ลั ง กาย พร้ อ มมอบเงิ น บริ จ าคจ� ำ นวน 100,000 และชุ ม ชนรอบข้ า งได้ มี แ หล่ ง เรี ย นรู ้ แ ละสถานที่ ฝ ึ ก ทั ก ษะ บาท ให้กับมูลนิธิอนุเคราะห์คนพิการในพระราชูปถัมภ์ ของสมเด็จ ปฏิบัติการด้านการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พระศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี เพื่ อ น� ำ ไปใช้ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต รวมถึงการน�ำผลผลิตที่ได้มาเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน ของเด็กพิการต่อไป ในโรงเรียน ลดภาระค่าใช้จ่าย และสร้างรายได้ให้กับนักเรียน และโรงเรียนต่อไปได้อย่างยั่งยืน • โครงการตรวจสุขภาพ Pruksa Caring 2017 ปีที่ 15 กลุ่มบริษัท จัดโครงการตรวจสุขภาพฟรี และกิจกรรม “สุขภาพดี... • โครงการ พฤกษา ใจอาสา บริจาคโลหิต ปีที่ 10 ชี วิ ต มี สุ ข ” โดยที ม แพทย์ แ ละผู ้ เ ชี่ ย วชาญจากโรงพยาบาลชั้ น น� ำ กลุ่มบริษัท ร่วมกับสภากาชาดไทย เชิญชวนผู้บริหาร พนักงาน และ ให้กับลูกค้าและชุมชนรอบโครงการ เพื่อส่งเสริมให้ทุกคน ทุกเพศ และ ประชาชนทั่วไป ร่วมบริจาคโลหิตให้กับศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ ทุกวัย โดยเฉพาะสตรีและผู้สูงอายุ มีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ สภากาชาดไทย เพื่อน�ำช่วยเหลือผู้ป่วยที่รอการช่วยเหลือ จ�ำนวน จ�ำนวน 20 โครงการ โดยมีผู้ให้ความสนใจเข้าร่วมตรวจสุขภาพกว่า 4 ครั้งต่อปี โดยมีผู้สนใจร่วมบริจาคโลหิตจ�ำนวน 603 คน คิดเป็น 2,100 คน และมีผู้หญิงกว่า 900 คน เข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็ง ปริมาณโลหิต 241,200 ซีซี เต้านมและมะเร็งปากมดลูก รวมถึงมีผู้สูงอายุกว่า 500 คน เข้ารับ ค�ำแนะน�ำการดูแลสุขภาพกายที่เหมาะสมกับวัย และการดูแลสุขภาพ • โครงการส่ ง เสริ ม การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ ชุ ม ชน จิตใจเพื่อการใช้ชีวิตที่มีความสุข พร้อมรับลูกบอลบีบมือและยางยืด (Community-Friendly Business) ส�ำหรับใช้บริหารร่างกายได้ด้วยตนเองอย่างถูกวิธี กลุ ่ ม บริ ษั ท ร่ ว มกั บ สถาบั น ไทยพั ฒ น์ สนั บ สนุ น สิ น ค้ า ชุ ม ชน ด้วยการอุดหนุนสินค้าของชุมชนต่างๆ เป็นอาหารว่างในกิจกรรม ต่างๆ ขององค์กร เพื่อสร้างงานสร้างรายได้ให้กับชุมชนอย่างยั่งยืน ส่งเสริมให้ชุมชนเปลี่ยนจากการเป็น “ผู้รับ” ความช่วยเหลือ มาเป็น “ผู้ส่งมอบ” สินค้าในห่วงโซ่อุปทานของบริษัท

171


รายงานประจํ า ปี 2560

• โครงการสนั บ สนุ น โรงเรี ย นต� ำ รวจตระเวนชายแดน การสนับสนุนงบประมาณในการจัดกิจกรรมต่างๆ ของสถาบัน ในถิ่นทุรกันดาร การศึกษา หน่วยงานภาครัฐ องค์กรธุรกิจ และมูลนิธิต่างๆ ผู้บริหารและพนักงาน ร่วมบริจาคเงินและอุปกรณ์การเรียนการสอน ของเล่น และสิ่งของที่จ�ำเป็น ให้กับ กองร้อยต�ำรวจตระเวนชายแดนที่ 372 อ� ำ เภอแม่ ส อด จั ง หวั ด ตาก เพื่ อ สนั บ สนุ น การเรี ย นการสอน ของโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนในถิ่นทุรกันดาร จ�ำนวน 22 แห่ง

กลุม่ บริษทั ให้การสนับสนุนงบประมาณต่อสถาบันการศึกษา หน่วยงาน ภาครัฐ องค์กรธุรกิจ และมูลนิธติ า่ งๆ เพือ่ ด�ำเนินกิจกรรมทีเ่ ป็นประโยชน์ ต่อชุมชน สังคม และสิง่ แวดล้อม โดยแบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการศึกษา และพัฒนาเยาวชน ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม ด้านสังคมและ สิ่งแวดล้อม โดยในปี 2560 กลุ่มบริษัท ให้การสนับสนุนโครงการ • โครงการมอบปฏิทินเก่าเพื่อคนตาบอด จ� ำ นวน 763 โครงการ เป็ น เงิ น 57,099,010 บาท ซึ่ ง มี โ ครงการ ผู้บริหารและพนักงาน ร่วมส่งมอบปฏิทินเก่า ให้แก่ ศูนย์เทคโนโลยี ที่ได้สร้างคุณประโยชน์ให้กับสังคมที่โดดเด่น ได้แก่ การศึกษาเพื่อคนตาบอด อ�ำเภอปากเกร็ด เพื่อน�ำไปผลิตสื่อการเรียน - สนับสนุนน�้ำดื่ม จ�ำนวน 60,000 ขวด เพื่อใช้ในงานพระราชพิธี การสอนอักษรเบลล์ ให้กับผู้พิการทางสายตา ถวายพระเพลิ ง พระบรมศพ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร • โครงการ ดอกไม้จันทน์ ท�ำจากใจ ถวายในหลวง ร.9

มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร

- • กิจกรรมสนับสนุน “งานวันเด็ก” ชุมชนรอบโรงงานพฤกษา พรีคาสท์ โรงงาน พฤกษา พรีคาสท์ ล�ำลูกกา จัดกิจกรรม “วันเด็กประจ�ำปี 2560” เพื่ อ สร้ า งความสุ ข ความสนุ ก สนาน พร้ อ มด้ ว ยการมอบ ของขวัญ ของรางวัล และอุปกรณ์ทางการศึกษาให้กับเยาวชนที่อยู่ - ในชุมชนซอยสามัคคี อ�ำเภอล�ำลูกกา จังหวัดปทุมธานี ซึ่งเป็นชุมชน ที่อยู่ใกล้กับโรงงานพฤกษา พรีคาสท์ ล�ำลูกกา ผู ้ บ ริ ห าร พนั ก งาน และลู ก ค้ า โครงการต่ า งๆ ของกลุ ่ ม บริ ษั ท ร่วมประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์ เป็นจ�ำนวน 2,900 ดอก เพื่อถวายในงาน พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร

มอบเงินสนับสนุน จ�ำนวน 1,000,000 บาท เนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ประจ�ำปี 2560 ให้กับ ชมรมแม่บ้านต�ำรวจภูธรภาค 1 พร้อมทั้ง มอบของขวัญให้กับเด็กพิเศษและเด็กทั่วไปที่เป็นบุตรข้าราชการ ต� ำ รวจ ต่ อ เนื่ อ งเป็ น ปี ที่ 2 และร่ ว มเปิ ด ห้ อ งสมุ ด สนใจรั ก ษ์ ณ กองบัญชาการต�ำรวจภูธร ภาค 1 (บช.ภ.1) เพื่อช่วยเหลือ บุตรข้าราชการต�ำรวจให้สามารถด�ำรงชีวติ ประจ�ำวันได้อย่างปกติสขุ และมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ ตลอดจนเป็นการเสริมสร้าง ขวัญก�ำลังใจ ในการปฏิบัติหน้าที่ราชการให้กับข้าราชการต�ำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ ราชการด้วยความเสียสละ เพื่อความสุขของพี่น้องประชาชน มอบเงิ น สมทบทุ น ช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบอุ ท กภั ย ในพื้ น ที่ ภ าคใต้ จ� ำ นวน 500,000 บาท ผ่ า น “กองทุ น ช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบภั ย ส�ำนักนายกรัฐมนตรี”

• กิจกรรม “Pruksa Green Society”

- มอบเงินสมทบทุน จ�ำนวนเงิน 300,000 บาท ให้กับโครงการ ผู้บริหาร พนักงาน และผู้รับเหมา (คู่ค้า) โรงงานพฤกษา พรีคาสท์ “ก้ า วคนละก้ า ว” เพื่ อ ซื้ อ อุ ป กรณ์ ท างการแพทย์ ใ ห้ กั บ 11 ล�ำลูกกา ร่วมสร้างสังคมสีเขียว โดยการปลูกต้นไม้ภายในโรงงาน โรงพยาบาลทั่วประเทศที่ยังขาดแคลน เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่ดี - สนั บ สนุ น การจั ด งาน “ราชวิ ถี วิ่ ง ไล่ โ รค ตอน รั ก เรา รั ก ษ์ เ ข่ า ไม่ เ ก่ า เลย” จ� ำ นวนเงิ น 300,000 บาท ให้ กั บ ชมรมเดิ น -วิ่ ง โรงพยาบาลราชวิถี

172

ด้านการศึกษาและพัฒนาเยาวชน

ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม

ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม

297 หน่วยงาน 6,589,000 บาท

17 หน่วยงาน 469,797 บาท

449 หน่วยงาน 50,040,213 บาท


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง 1. ความเห็นของคณะกรรมการบริษัท บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) ให้ความส�ำคัญ ต่อระบบการควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง โดย ก�ำหนดให้คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่สอบทานผลการประเมิน ความเพี ย งพอของระบบการควบคุ ม ภายใน เพื่ อ มุ ่ ง เน้ น ให้ ร ะบบ การควบคุมภายในมีความเพียงพอและเหมาะสมกับการด�ำเนินธุรกิจ โดยได้ จั ด ท� ำ การประเมิ น ความเพี ย งพอของระบบควบคุ ม ภายใน ตามแบบประเมินของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ซึ่งมี 5 องค์ประกอบ ตามมาตรฐานสากล ของ COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Tread way Commission) คือ การควบคุมภายในองค์กร การประเมินความเสีย่ ง การควบคุมการปฏิบตั งิ าน ระบบสารสนเทศและ การสือ่ สารข้อมูล และระบบการติดตาม และให้ผบู้ ริหารท�ำการประเมิน ความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ จากนั้นน�ำเสนอ ต่อคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนเข้า รายงานคณะกรรมการบริษัทในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2561 เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2561 โดยมีกรรมการอิสระ 7 คน ซึ่งเป็นกรรมการตรวจสอบ 4 คน เข้าร่วมประชุมด้วย ซึ่งคณะกรรมการ บริษัทได้พิจารณาแบบประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน ของ บริ ษั ท พฤกษา เรีย ลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) (“พฤกษาฯ”) ควบคู่กับแบบประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของ บริษัทฯ แล้ว มีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ และ บริษัทย่อยมีความเหมาะสมเพียงพอ ดังนั้น การที่บริษัทฯ ใช้แนวทาง ระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงในทิศทางเดียว กับพฤกษาฯ จึงท�ำให้เชื่อมั่นได้ว่า บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงที่มีความเหมาะสม คณะกรรมการบริ ษั ท ของบริ ษั ท ฯ ได้ พิ จ ารณาแบบประเมิ น ความ เพียงพอของระบบควบคุมภายในแล้วมีความเห็นว่าระบบการควบคุม ภายในของบริษัทฯ และบริษัทย่อย มีความเหมาะสมเพียงพอ ซึ่งจาก ผลการตรวจสอบที่ผ่านมาไม่พบข้อบกพร่องที่มีสาระส�ำคัญเกี่ยวกับ ระบบควบคุมภายใน ทั้งนี้ การควบคุมภายในของริษัทฯ และบริษัท ย่อยในด้านต่างๆ ทั้ง 5 องค์ประกอบพอสรุปสาระส�ำคัญ ได้ดังนี้ การควบคุมภายในองค์กร (Environmental Control)

คู่มือจรรยาบรรณของ บริษัทฯ ขึ้นใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ไ ด้ อ ย่ า งครบถ้ ว น พร้ อ มทั้ ง ก� ำ หนดให้ มี วัน CG Day ขึ้น เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหารระดับสูง และพนักงาน ได้ร่วมลงนามให้สัตยาบันในคู่มือจรรยาบรรณ เพื่อเป็นการแสดง ให้เห็นถึง การมีหลักธรรมาภิบาลทีด่ ี มีความโปร่งใส ในการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ที่ค�ำนึงถึงผู้ถือหุ้น ลูกค้า พนักงาน และ ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้เชิญผู้รับเหมา ผู้ผลิต ผู้จัดจ�ำหน่ายและคู่ค้าร่วมธุรกิจ ร่วมประชุมในวัน Supplier’s CG Day เพื่อท�ำความเข้าใจ และลงนามในค�ำรับรองการต่อต้านคอร์รัปชั่น ภายในองค์กรร่วมกันกับผู้บริหารระดับสูงของ บริษัทฯ ด้วย การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) บริษัทฯ มีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ ท�ำหน้าที่ ให้ข้อเสนอแนะต่อฝ่ายบริหารในการก�ำหนดนโยบาย กลยุทธ์และ แนวทางการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ ให้มีการจัดการและ ดูแลเกี่ยวกับความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ คณะกรรมการบริษัท และ ผู้บริหารได้ให้ความส�ำคัญกับการบริหารความเสี่ยง โดยก�ำหนดให้ม ี การจั ด ท� ำ นโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย ง การประเมิ น ปั จ จั ย เสี่ ย ง ในระดับองค์การพร้อมมาตรการจัดการความเสี่ยงทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านกลยุทธ์ ด้านการปฏิบัติงาน ด้านการเงิน ด้านการปฏิบัติตาม กฎหมายและระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้ อ ง รวมถึ ง การจั ด ให้ มี ก ารประเมิ น ตนเอง (Control Self-Assessment : CSA) ของกระบวนการส�ำคัญ เพื่ อ ประเมิ น ความเสี่ ย งที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น รวมถึ ง ประสิ ท ธิ ผ ลของการ ควบคุมภายใน รวมทั้งการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริต เพื่อจัด ให้ มี ร ะบบการป้ อ งกั น ที่ เ หมาะสมและเพี ย งพอ เพื่ อ ลดผลกระทบ ที่ อ าจมี ต ่ อ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ ได้เชิญตัวแทนจาก สายการปฏิบัติงานแต่ล ะสายงาน มาน�ำเสนอการด�ำเนินการตาม แนวทางการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ระดับองค์การ ได้รับฟังถึงปัญหา หรือข้อขัดข้องในการปฏิบัติ ตลอดจน ให้ ค วามเห็ น ต่ อ ความเหมาะสมของแผนบริ ห ารความเสี่ ย งและ ตัวชีว้ ดั ความเสีย่ งทีส่ ำ� คัญ (KRI : Key Risk Indicator) ทีจ่ ะส่งสัญญาณ ให้บริษัทฯ รับทราบล่วงหน้าถึงความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น เพื่อปรับแผน การบริหารความเสี่ยงให้มีความเหมาะสมต่อสถานการณ์ปัจจุบัน หรือ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ซึ่งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ จะมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท ให้รับทราบถึงการด�ำเนินงาน ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การเป็นรายไตรมาส

บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด สภาพแวดล้ อ มและโครงสร้ า งองค์ ก รที่ เ อื้ อ อ� ำ นวย ให้ระบบการควบคุมภายในด�ำเนินไปตามที่ บริษัทฯ มุ่งหวังรวมถึงการ ก�ำหนดเป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจที่ชัดเจนและชี้วัดผลได้ โดยผ่านการ นอกจากนี้ บริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญในเรื่องการรักษาความ พิจารณาจากคณะกรรมการบริษัท เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติงาน สามารถในการด�ำเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในสถานการณ์ฉุกเฉิน ของพนักงาน โดยในปี 2560 บริษัทฯ ได้มีการทบทวน และปรับปรุง เพื่อให้สามารถส่งมอบสินค้าและบริการต่อลูกค้าและคู่ค้าได้อย่าง

173


รายงานประจํ า ปี 2560

ต่ อ เนื่ อ ง ทั้ ง นี้ ค ณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งระดั บ องค์ ก ารได้ สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารจั ด ท� ำ แผนบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ งทางธุ ร กิ จ ทั้ ง ใน ระดับองค์การและระดับหน่วยธุรกิจ พร้อมก�ำหนดให้มีการฝึกซ้อม ในแต่ละสถานการณ์เป็นประจ�ำทุกปี รวมถึงสนับสนุนให้มีการพัฒนา ระบบเพื่อเตรียมการขอรับรองระบบ ISO 22301 มาตรฐานการบริหาร จัดการความต่อเนื่องทางธุรกิจต่อไป

และบริ ษั ท ย่ อ ย ได้ ป ฏิ บั ติ ต ามกฎหมายและข้ อ บั ง คั บ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง มีมาตรการที่รัดกุม เหมาะสม ในกรณีที่บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีการ ท�ำธุรกรรมกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ ฯลฯ เพื่อป้องกันการถ่ายเท ผลประโยชน์ เช่น ต้องผ่านขั้นตอนการอนุมัติโดยผู้ไม่มีส่วนได้เสีย ในธุ ร กรรมนั้ น รวมทั้ ง มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล การท� ำ ธุ ร กรรมดั ง กล่ า ว ตามระเบียบของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และระเบียบ ของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และคณะกรรมการก� ำ กั บ การควบคุมการปฏิบัติงาน (Activities Control) ตลาดทุน และเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีกิจกรรมการควบคุม โดยน�ำระบบการบริหาร ตามมาตรฐานการบัญชี งานและประเมินผลทั้งองค์กร (Balanced Scorecard) และดัชนี ระบบสารสนเทศและการสื่ อ สารข้ อ มู ล (Information & วัดความส�ำเร็จ (Key Performance Indicators : KPIs) เป็นเครื่องมือ Communication) ในการวางแผนและควบคุม ต่อเนื่องมาโดยตลอด มีการแบ่งแยก หน้าที่ความรับผิดชอบ เพื่อตรวจสอบซึ่งกันและกันบริษัทฯ และบริษัท บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย มี ก ารพั ฒ นาระบบสารสนเทศและระบบ ย่อย มีคู่มือการปฏิบัติงาน ซึ่งใช้เป็นกรอบในการก�ำหนดแนวทางการ ข้อมูลอย่างต่อเนื่อง โดยจัดให้มีระบบข้อมูล และช่องทางการสื่อสาร ปฏิบัติงานให้เป็นไปอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกัน ทั้งภายในและภายนอกองค์กร อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และลดความเสี่ ย งต่ อ ความเสี ย หายที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น จากกิ จ กรรม คือครบถ้วน ถูกต้อง และทันเวลา เพียงพอที่จะใช้ในการตัดสินใจ การด�ำเนินงานของหน่วยงานต่างๆ นอกจากนี้ บริษัทฯ และบริษัทย่อย ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลทางการเงินหรือข้อมูลอื่น ระบบด้านการสื่อสาร ยังมีระเบียบการกระจายอ�ำนาจของบริษัทฯ เพื่อใช้ในการก�ำหนด ภายในนั้นบริษัทฯ ได้ให้ข้อมูลข่าวสารที่จ�ำเป็นต่อการด�ำเนินงาน ขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ และวงเงินอนุมัติในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน ที่เพียงพอและทันต่อเหตุการณ์ โดยพนักงานทุกคนได้รับข้อมูลข่าวสาร ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความคล่องตัวและมีการควบคุมที่เหมาะสมเพียงพอ ผ่านระบบ Intranet ของบริษัทฯ ระบบการสื่อสารกับบุคคลหรือองค์กร ในปี 2560 บริษัทฯ ได้ปรับปรุงนโยบายการรับข้อร้องเรียน (Whistle ภายนอกนั้ น บริ ษั ท ฯ มี ร ะบบการติ ด ต่ อ สื่ อ สารที่ มี ก ารให้ ข ้ อ มู ล Blower Policy) รวมทั้งได้พัฒนาปรับปรุงช่องทางการรับข้อร้องเรียน ข่ า วสาร ผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ (www.psh.co.th) รวมทั้ ง ขอความเป็นธรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้พนักงาน และผู้มีส่วนได้เสีย จั ด ส่ ง รายงานการด� ำ เนิ น งานให้ ส ถาบั น ต่ า งๆ ตามระเบี ย บของ ภายนอกสามารถแจ้งข้อร้องเรียนผ่านระบบได้ โดยมั่นใจว่า ข้อมูล ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ การร้องเรียนจะได้รับการดูแลรักษาเป็นความลับ ไม่รั่วไหลไปสู่บุคคล ระเบียบของตลาดหลักทรัพย์ฯ และคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ทีไ่ ม่เกีย่ วข้อง นอกจากนีเ้ พือ่ ให้มกี ารปฏิบตั อิ ย่างถูกต้อง และสอดคล้อง ตามก�ำหนดเวลาอย่างมีประสิทธิภาพ กับกฎระเบียบบริษัทฯ มีการก�ำหนดวิธีการเพื่อให้แน่ใจว่าบริษัทฯ

174


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีระบบควบคุมการรับส่ง หรือน�ำข้อมูลเข้าสู่ ระบบ มีการแบ่งแยกงานและก�ำหนดผูม้ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบ และอ�ำนาจของ บุคลากรและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับสารสนเทศการสือ่ สารอย่างชัดเจน นอกจากนี้ บริษัทฯ และบริษัทย่อย ได้ก�ำหนดสิทธิในการเข้าถึงข้อมูล ได้เฉพาะผู้มีหน้าที่ความรับผิดชอบเท่านั้น ระบบการติดตาม (Monitoring Activities)

ผ่านแผนการตรวจสอบประจ�ำปีที่ได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ ซึ่งฝ่ายตรวจสอบภายในได้น�ำเสนอผลการตรวจสอบให้ คณะกรรมการตรวจสอบรับทราบอย่างสม�่ำเสมอเป็นประจ�ำทุกเดือน โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะมีข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะให้บริษัทฯ และบริษทั ย่อยน�ำไปปรับปรุงแก้ไขกระบวนการท�ำงานให้มปี ระสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น

นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษาภายนอก ให้ตรวจสอบ ระบบการควบคุมของระบบงานที่ส�ำคัญของ บริษัทฯ และบริษัทย่อย เพิ่มเติมจากการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายในของ บริษัทฯ ได้แก่ ระบบงานสรรหาที่ดิน จัดซื้อจัดจ้าง ความคืบหน้าของงานก่อสร้าง เป็นต้น โดยผลการตรวจสอบพบว่าบริษัทฯ และบริษัทย่อย มีระบบ การควบคุ ม ภายในและการดู แ ลเกี่ ย วกั บ ความเสี่ ย งที่ เ หมาะสม เพียงพอ โดยไม่พบจุดอ่อนหรือข้อบกพร่องในระบบการควบคุมภายใน ที่ เ ป็ น สาระส� ำ คั ญ ทั้ ง นี้ ที่ ป รึ ก ษาภายนอกที่ บ ริ ษั ท ฯ ได้ ว ่ า จ้ า งมา นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ก�ำหนดกลไกก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทย่อย ท�ำหน้าที่ตรวจสอบส�ำหรับปี 2560 คือ บริษัท EY Corporate Services และ/หรือ บริษัทร่วมที่อาจมีในอนาคต โดยจะพิจารณาส่งบุคคลไปเป็น Limited บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย ที่ปรึกษาธุรกิจ จ�ำกัด บริษัทไพร้ซ กรรมการในบริษัทย่อย และ/หรือ บริษัทร่วมนั้นอย่างน้อยตามสัดส่วน วอเตอร์เฮาส์ คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด และบริษัท เค-บิซซ่า กรุ๊ป จ�ำกัด การถือหุ้นของบริษัทฯ และมีการก�ำหนดขอบเขตหน้าที่และความ 2. ความเห็นของผู้สอบบัญชี รับผิดชอบของกรรมการและผู้บริหารที่ได้รับแต่งตั้งดังกล่าวไว้อย่าง ชัดเจน อย่างไรก็ตาม การด�ำเนินการตามนโยบายดังกล่าวส�ำหรับ บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด ซึ่งเป็นผู้สอบบัญชีของ บริ ษั ท ย่ อ ย และ/หรื อ บริ ษั ท ร่ ว มทุ น ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ในอนาคตนั้ น บริษัทฯ ได้ตรวจสอบงบการเงินส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ขึ้ น อยู ่ กั บ สั ด ส่ ว นการถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ และความเห็ น ชอบของ 2560 ของบริ ษั ท ฯ โดยไม่ พ บรายการปรั บ ปรุ ง ที่ มี ส าระส� ำ คั ญ ที่ต้องแก้ไขหรือปรับปรุงให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรอง ผู้ร่วมทุนในอนาคตด้วย ทั่วไป และไม่ได้มีการออกจดหมายชี้แจงข้อบกพร่องของระบบควบคุม โดยบริษัทฯ และบริษัทย่อย ได้ก�ำหนดให้มีกระบวนการสอบทาน ภายในถึงบริษัทฯ แต่อย่างใด โดยฝ่ายตรวจสอบภายใน เพื่อประเมินและปรับปรุงประสิทธิผลของ ระบบควบคุม การบริหารความเสีย่ ง และการก�ำกับดูแลอย่างเป็นระบบ บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีระบบการติดตามผลการด�ำเนินงาน โดย ผูบ้ ริหารในแต่ละสายงานได้เปรียบเทียบผลการด�ำเนินงานกับเป้าหมาย ที่ก�ำหนดอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ที่เหมาะสมได้อย่าง ทันท่วงที ผ่านคณะจัดการ ซึ่งมีการประชุมเป็นประจ�ำทุก 2 สัปดาห์ ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทได้รับทราบ เปรียบเทียบผลการด�ำเนินงานว่า เป็นไปตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้หรือไม่ ในการประชุมคณะกรรมการ บริษัท เป็นประจ�ำทุกเดือน

175


รายงานประจํ า ปี 2560

รายการระหว่างกัน ในปี 2560 ที่ผ่านมา บริษัทฯ มีการท�ำรายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน จ�ำนวน 5 รายการ โดยมีรายละเอียดดังนี้ บุคคลทีอ่ าจมี ความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ รายการที่ 1. นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์

มูลค่า ลักษณะของรายการและ ของรายการ ความจำ�เป็น เกี่ยวโยงกัน (ล้านบาท) กรรมการบริษัทฯ และ บริษทั พฤกษา เรียลเอสเตท 2.9 ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ จ�ำกัด (มหาชน) เช่า พื้นที่ในอาคาร หลักสี่พลาซ่า ชั้น 10 ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของ นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์ เพื่อใช้เป็นศูนย์ฝึกอบรม ส่วนกลาง ความสัมพันธ์กับ บริษัทฯ

กรรมการบริษัทฯ และ บริษัท โรงพยาบาลวิมุต ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด บริษทั ที ซี ที จ�ำกัด ซื้อที่ดินเปล่าจากบริษัท ที ซี ที จ�ำกัด เพื่อใช้เป็น (ถือหุน้ โดย ที่ตั้งของโครงการฯ นายทองมา ตามแผนธุ รกิจ วิจติ รพงศ์พนั ธุ)์ ของบริษัทฯ รายการที่ 2.

950.0

ราคาและรายละเอียด สัญญาเช่าและบริการพื้นที่ 425.68 ตารางเมตร ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2556 - 30 กันยายน 2558 และต่อสัญญาถึงเดือนพฤศจิกายน 2560 ในอัตราเดือนละ 268,148 บาทโดยอัตรา ค่าเช่าและค่าบริการดังกล่าวเป็นอัตราค่าเช่า และค่าบริการที่ใกล้เคียงกับราคาตลาด และ ในเงื่อนไขที่ไม่แตกต่างจากที่ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) เข้าท�ำกับบุคคล ภายนอก โดยเทียบกับอัตราค่าเช่าพื้นที่และ ค่าบริการที่ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) เช่ากับผู้ให้เช่ารายอื่น บริษัท โรงพยาบาลวิมุต อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ได้ซื้อที่ดินเปล่าจากบริษัท ที ซี ที จ�ำกัด จ�ำนวน 10 แปลง มีพื้นที่รวม 4 ไร่ 55.60 ตารางวา จ�ำนวนเงิน 950 ล้าบาทเพื่อใช้เป็นที่ตั้ง ของโครงการฯ บริษัทฯ พิจารณาซื้อที่ดิน ดังกล่าวโดยเงื่อนไขและราคาเป็นไปตาม หลักเกณฑ์ที่ตกลงกันระหว่างคู่สัญญา รายการดังกล่าวถือเป็นรายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยเป็นรายการเกี่ยวกับสินทรัพย์และบริการ และขนาดของรายการดังกล่าวเกินกว่าร้อยละ 0.03 แต่ตํ่ากว่าร้อยละ 3 ของมูลค่าของ ทรัพย์สินที่มีตัวตนสุทธิของบริษัทจดทะเบียน ทั้งนี้รายการดังกล่าวได้รับอนุมัติจากที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2560 เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2560 เนื่องจากการซื้อที่ดินดังกล่าวเพื่อเป็นที่ต้ัง โครงการ มีความเหมาะสมและเป็นประโยชน์ ต่อบริษัทฯ และราคาซื้อที่ดินมีความเหมาะสม และต�่ำกว่าราคาประเมินเฉลี่ยของผู้ประเมิน อิสระจ�ำนวน 2 รายซึ่งได้รับอนุญาตจาก ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์

176


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บุคคลทีอ่ าจมี ความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ รายการที่ 3. นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์

มูลค่า ลักษณะของรายการและ ของรายการ ความจำ�เป็น เกี่ยวโยงกัน (ล้านบาท) กรรมการบริษัทฯ และ บริษัท เกสร ก่อสร้าง 2.0 ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ จ�ำกัด ได้ซื้อที่ดินแปลง พัฒนาการ 32 เนื่องจาก ปัจจุบันที่ดินแปลงนี้ มีสภาพเป็นทางเข้า-ออก อีกเส้นทางหนึ่งที่เป็น ประโยชน์อย่างมาก กับลูกค้าในกลุ่ม โครงการพัฒนาการ ความสัมพันธ์กับ บริษัทฯ

รายการที่ 4.

กรรมการบริษัทฯ และ บริษัท โรงพยาบาลวิมุต ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด บริษัท โรงพยาบาล ได้จ่ายค่าแผนผังและ วิมุตติ จ�ำกัด ซึ่งถือ การก่อสร้างอาคาร หุ้นโดยบริษัท โรงพยาบาล ที ซี ที จ�ำกัด (ถือหุ้นโดย นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์)

8.0

รายการที่ 5.

57.6

กรรมการบริษัทฯ และ บริษัทฯ และกลุ่มบริษัท ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เช่า พื้นที่ในอาคาร Pearl บริษทั ที ซี ที จ�ำกัด Bangkok จ�ำนวนพื้นที่ 19,125 ตารางเมตร (ถือหุ้นโดย ซึ ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของ นายทองมา บริษัท ที ซี ที จ�ำกัด วิจิตรพงศ์พันธุ์) เพื่อเป็นอาคารส�ำนักงาน

ราคาและรายละเอียด ที่ดินแปลงพัฒนาการ 32 พื้นที่ 0-1-55 ไร่ จ�ำนวนเงิน 1,998,381.25 บาท (รวมภาษีและ ค่าธรรมเนียมโอน) ราคาประเมิน 3,797,500 บาท จากคุณทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์ เนื่องจากปัจจุบันที่ดินแปลงนี้มีสภาพเป็น ทางเข้า-ออก อีกเส้นทางหนึ่งที่เป็นประโยชน์ อย่างมากกับลูกค้าในกลุ่มโครงการพัฒนาการ รายการดังกล่าวถือเป็นรายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยเป็นรายการเกี่ยวกับสินทรัพย์และบริการ และขนาดของรายการดังกล่าวน้อยกว่า ร้อยละ 0.03 ของมูลค่าสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิ ซึ่งอยู่ในอ�ำนาจอนุมัติจากฝ่ายจัดการ บริษัท โรงพยาบาลวิมุต อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ได้จ่ายค่าแผนผังและการก่อสร้างอาคาร โรงพยาบาลให้กับ บริษัท โรงพยาบาลวิมุตติ จ�ำกัด ซึ่งถือหุ้นโดยบริษัท ที ซี ที จ�ำกัด (คือ นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธ์) เป็นจ�ำนวนเงิน 8 ล้านบาท รายการดังกล่าวถือเป็นรายการ ที่เกี่ยวโยงกัน โดยเป็นรายการเกี่ยวกับสินทรัพย์ และบริการ และขนาดของรายการดังกล่าว น้อยกว่า ร้อยละ 0.03 ของมูลค่าสินทรัพย์ ที่มีตัวตนสุทธิ ซึ่งอยู่ในอ�ำนาจอนุมัติ จากฝ่ายจัดการ สัญญาเช่าพื้นที่และบริการ 19,125 ตารางเมตร ระยะเวลาตามสัญญา 3 ปี เริ่มตั้งแต่ พฤศจิกายน 2560 - ตุลาคม 2563 โดยอัตรา ค่าเช่าและค่าบริการดังกล่าวเป็นอัตราค่าเช่า และค่าบริการที่ใกล้เคียงกับราคาตลาด และ ในเงื่อนไขที่ไม่แตกต่างจากที่บริษัทฯ เข้าท�ำ กับบุคคลภายนอก โดยเทียบกับอัตราค่าเช่า พื้นที่และค่าบริการที่บริษัทฯ เช่ากับผู้ให้เช่า รายอื่น

177


รายงานประจํ า ปี 2560

มาตรการและขั้นตอนการอนุมัติรายการระหว่างกัน ทางการค้าทีป่ ราศจากอิทธิพลในการทีต่ นมีสถานะเป็นกรรมการ ผูบ้ ริหาร กรณีทมี่ รี ายการระหว่างกันของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยกับบุคคลทีอ่ าจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์มสี ว่ นได้สว่ นเสีย หรืออาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ในอนาคต บริษทั ฯ ก�ำหนดให้คณะกรรมการตรวจสอบ จะเป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับความจ�ำเป็นในการเข้าท�ำรายการ และ ความเหมาะสมทางด้านราคาของรายการนั้นๆ โดยพิจารณาเงื่อนไข ต่างๆ ให้เป็นไปตามลักษณะการด�ำเนินธุรกิจปกติในอุตสาหกรรม และมีการเปรียบเทียบกับราคาของบุคคลภายนอกหรือราคาตลาด หากคณะกรรมการตรวจสอบไม่มคี วามช�ำนาญในการพิจารณารายการ ระหว่างกันทีอ่ าจเกิดขึน้ บริษทั ฯ จะจัดให้ผเู้ ชีย่ วชาญอิสระหรือผูส้ อบบัญชี ของบริษทั ฯ เป็นผูใ้ ห้ความเห็นเกีย่ วกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพือ่ น�ำ ไปใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยความเห็น ของคณะกรรมการตรวจสอบหรื อ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญดั ง กล่ า วจะถู ก น� ำ ไป ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการบริษทั หรือผูถ้ อื หุน้ ตามแต่กรณี โดยกรรมการผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย จะไม่ มี สิ ท ธิ อ อกเสี ย งในรายการ ดังกล่าว อีกทัง้ จะมีการเปิดเผยรายการระหว่างกันในหมายเหตุประกอบ งบการเงินที่ตรวจสอบหรือสอบทานโดยผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ

หรือบุคคลทีม่ คี วามเกีย่ วข้อง ซึง่ เป็นไปตามทีก่ ำ� หนดไว้ในพระราชบัญญัต ิ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (และที่ได้แก้ไขเพิ่มเติม) ทั้งนี้ บริษัทฯ จะจัดท�ำรายงานสรุปการท�ำธุรกรรมที่มีขนาดเกินกว่า 3,000,000 บาท (สามล้านบาทถ้วน) หรือ มีมูลค่ารายการโดยรวม ในการเข้ า ท� ำ ธุ ร กรรมของกรรมการ ผู ้ บ ริ ห าร หรื อ บุ ค คลที่ มี ค วาม เกี่ ย วข้ อ งรายใดรายหนึ่ ง ในไตรมาสมี มู ล ค่ า เกิ น กว่ า 20,000,000 บาท (ยี่สิบล้านบาทถ้วน) เพื่อรายงานในการประชุมคณะกรรมการ บริษัทในทุกไตรมาส

นอกจากนี้บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะปฏิบัติตามสัญญาที่ตกลงร่วมกัน อย่างเคร่งครัด พร้อมทั้งก�ำหนดราคาและเงื่อนไขรายการอย่างชัดเจน และเป็นธรรม และไม่ก่อให้เกิดการถ่ายเทผลประโยชน์ ในการเข้าท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการระหว่างกันของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อยอื่นๆ บริษัทฯ จะปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ และคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ที่มีผลใช้บังคับอย่างเคร่งครัด

อย่างไรก็ดี หากมีการเข้าท�ำรายการระหว่างกัน บริษัทฯ จะจัดให้ นโยบายหรื อ แนวโน้ ม การท� ำ รายการระหว่ า งกั น คณะกรรมการตรวจสอบให้ ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของ ในอนาคต รายการดังกล่าว ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความช�ำนาญ

ภายหลังจากที่บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ได้เสนอขายหุ้น ต่อผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ แล้ว อาจมีการเข้าท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการระหว่างกันของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อยกับบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีสว่ นได้สว่ นเสีย หรืออาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ในอนาคต โดยหากเป็นรายการธุรกิจปกติหรือรายการ สนับสนุนธุรกิจปกติที่มีข้อตกลงทางการค้าที่มีเงื่อนไขการค้าโดยทั่วไป (ยกตั ว อย่ า งเช่ น การขายบ้ า นหรื อ อาคารชุ ด ให้ แ ก่ ก รรมการหรื อ ผู้บริหารในราคาปกติที่ตั้งไว้เพื่อขายให้แก่บุคคลทั่วไป หรือในราคา ที่ หั ก ด้ ว ยส่ ว นลดตามนโยบายของบริ ษั ท ฯ ที่ ไ ด้ เ คยอนุ มั ติ ไ ว้ แ ล้ ว ) บริษัทฯ ได้ก�ำหนดหลักการเกี่ยวกับการท�ำธุรกรรมระหว่างบริษัทฯ และบริษัทย่อยกับกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องไว้ โดยให้ฝา่ ยจัดการสามารถอนุมตั กิ ารท�ำธุรกรรมดังกล่าวได้ หากธุรกรรม เหล่านั้นมีข้อตกลงทางการค้าในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนจะพึง กระท�ำกับคู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอ�ำนาจต่อรอง

178

ในการพิจารณารายการระหว่างกันที่เกิดขึ้น บริษัทฯ จะจัดให้มีบุคคล ที่มีความรู้ ความช�ำนาญพิเศษ เช่น ผู้สอบบัญชีหรือผู้ประเมินราคา ทรัพย์สนิ ทีม่ คี วามเป็นอิสระเป็นผูใ้ ห้ความเห็นเกีย่ วกับรายการระหว่างกัน โดยความเห็ น ของคณะกรรมการตรวจสอบหรื อ บุ ค คลที่ มี ค วามรู ้ ความช� ำ นาญพิ เ ศษ จะถู ก น� ำ ไปใช้ ป ระกอบการตั ด สิ น ใจของ คณะกรรมการบริษัท หรือผู้ถือหุ้น แล้วแต่กรณี เพื่อให้มีความมั่นใจ ว่าการเข้าท�ำรายการดังกล่าวจะไม่เป็นการโยกย้าย หรือถ่ายเทผลประโยชน์ ระหว่ า งบริ ษั ท ฯ หรื อ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ แต่ เ ป็ น การท� ำ รายการ ที่บริษัทฯ ได้ค�ำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นทุกราย

อย่างไรก็ตาม ในกรณีทมี่ กี ารเข้าท�ำรายการใหม่ หรือมีการเปลีย่ นแปลง ของราคาและเงื่อนไขที่แตกต่างจากเดิม ฝ่ายตรวจสอบจะท�ำหน้าที่ ตรวจสอบข้อมูลและจัดท�ำรายงานเพื่อให้คณะกรรมการตรวจสอบ พิจารณา และให้ความเห็นถึงความเหมาะสมของราคาและความสมเหตุ สมผลของการท�ำรายการดังกล่าวทุกๆ ไตรมาส


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

การวิเคราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) ขอชี้แจงผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 โดยมี รายละเอียดดังนี้ เปรียบเทียบผลการด�ำเนินงานส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 งบกำ�ไรขาดทุน รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์

31 ธันวาคม 2560 43,935

ร้อยละ 99.6

31 ธันวาคม 2559 46,926

ร้อยละ

99.5

เพิ่มขึ้น/ (ลดลง) (2,991)

ร้อยละ

(6.4)

รายได้อื่น

178

0.4

247

0.5

(69)

(28.0)

รายได้รวม

44,113

100.0

47,173

100.0

(3,060)

(6.5)

ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์

28,222

64.2

31,184

66.5

(2,962)

(9.5)

ก�ำไรขั้นต้น

15,891

36.2

15,989

34.1

(98)

(0.6)

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

8,537

19.4

8,153

17.3

383

4.7

ค่าใช้จ่ายในการขาย

4,383

9.9

3,983

8.4

400

10.0

ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

4,154

9.4

4,170

8.8

(17)

(0.4)

ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน

7,354

16.7

7,836

16.6

(481)

(6.1)

197

0.4

287

0.6

(90)

(31.3)

0

0.0

2

0.0

(1)

(78.4)

ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้

7,157

16.2

7,547

16.0

(390)

(5.2)

ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้

1,582

3.6

1,478

3.1

104

7.1

ก�ำไรส�ำหรับงวด

5,574

12.6

6,069

12.9

(494)

(8.1)

118

0.3

128

0.3

(11)

(7.8)

5,456

12.4

5,940

12.6

(484)

(8.1)

ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการ่วมค้า

ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุม ก�ำไรส่วนที่เป็นของบริษัท

หมายเหตุ : อัตราส่วนในงบก�ำไรขาดทุนแสดงเป็นร้อยละของรายได้รวม ยกเว้นต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ และก�ำไรขั้นต้นแสดงเป็นร้อยละของรายได้ อสังหาริมทรัพย์

179


รายงานประจํ า ปี 2560

รายได้ ส�ำหรับปี 2560 บริษัทฯ มีรายได้ทั้งหมดมาจากกลุ่มธุรกิจอสังหาฯ ประกอบด้วยรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์เท่ากับ 43,935 ล้านบาท และรายได้อ่ืน 178 ล้านบาท รวมรายได้เท่ากับ 44,113 ล้านบาท ส� ำ หรั บ ผลประกอบการของปี 2560 ภาพรวมกลุ ่ ม ธุ ร กิ จ อสั ง หาฯ มีรายได้ 43,935 ล้านบาท ลดลง 2,991 ล้านบาท หรือลดลงคิดเป็น ร้อยละ 6.4 เมื่อเทียบกับปีก่อน โดยส่วนใหญ่ลดลงจากผลิตภัณฑ์ อาคารชุด 1,781 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 12.9 เนื่องจากโครงการ อาคารชุดส่วนใหญ่ยังไม่ถึงรอบในการโอนกรรมสิทธิ์ ส�ำหรับรายได้ จากบ้านทาวน์เฮ้าส์ ลดลง 834 ล้านบาท หรือลดลงคิดเป็นร้อยละ 3.5 รายได้จากบ้านเดี่ยว ลดลงเล็กน้อย 253 ล้านบาท หรือลดลง คิดเป็นร้อยละ 2.7 และรายได้ส�ำหรับโครงการต่างประเทศ ลดลง 116 ล้านบาท หรือลดลงคิดเป็นร้อยละ 89.8 เนื่องจากโครงการโอนครบ 100% ในปี 2560 แล้ว และบริษัทฯ ยังไม่มีแผนในการเปิดโครงการ ในต่างประเทศเพิ่ม

ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ ส�ำหรับปี 2560 บริษัทฯ มีต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์เท่ากับ 28,222 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 64.2 ของรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ ในขณะที่ ต ้ น ทุ น ขายอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ข องปี ก ่ อ นเท่ า กั บ 31,184 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 66.5 ของรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ อั ต ราต้ น ทุ น ขายส� ำ หรั บ ปี 2560 ลดลงเมื่ อ เที ย บกั บ ปี ก ่ อ นเป็ น ผล มาจากการบริหารและควบคุมต้นทุนได้ดีขึ้น

ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหาร

เปิดโครงการส�ำหรับอาคารชุดเพิ่มขึ้น 125 ล้านบาท เนื่องมาจาก ในปี 2560 บริษัทฯ เปิดโครงการอาคารชุด 10 โครงการ ในขณะที่ ปี 2559 เปิ ด โครงการอาคารชุ ด 9 โครงการ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การเปิดโครงการอาคารชุดในกลุ่มธุรกิจพรีเมียม 4 โครงการ ซึ่งมี ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์โครงการค่อนข้างสูง แต่ก็ได้ผลตอบรับ อย่างดี ท�ำให้บริษัทฯ มียอดขายโดยภาพรวมเพิ่มขึ้น ค่าธรรมเนียม ในการโอนกรรมสิทธิ์เพิ่มขึ้น 92 ล้านบาท เนื่องจากเดือน ม.ค. - เม.ย. 2559 ยังอยู่ในช่วงมาตรการรัฐในการลดค่าธรรมเนียมการโอน ค่าใช้จ่ายในการบริหารมียอดรวมเท่ากับ 4,154 ล้านบาท ลดลง 17 ล้านบาท หรือลดลงคิดเป็นร้อยละ 0.4 ซึ่งค่าใช้จ่ายที่ลดลงหลักๆ ยังคงมาจากค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการว่าจ้างที่ปรึกษาต�่ำกว่ารอบระยะ เวลาเดียวกันของปีก่อน

ต้นทุนทางการเงิน ส�ำหรับปี 2560 บริษัทฯ มีต้นทุนทางการเงินประมาณ 197 ล้านบาท ลดลง 90 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปีก่อน เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยเงิน กู้ยืมถัวเฉลี่ยลดลง อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 0.64 และอัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยหักเงินสดและ รายการเที ย บเท่ า เงิ น สดต่ อ ทุ น เท่ า กั บ 0.61 ซึ่ ง เป็ น อั ต ราส่ ว นที่ ดี จากการบริหารจัดการหนี้สินของบริษัทฯ และบริษัทย่อยได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

ก�ำไรสุทธิ

บริษัทฯ มีก�ำไรส�ำหรับปี 2560 เท่ากับ 5,456 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 12.4 ของรายได้รวม และก�ำไรของปีกอ่ น เท่ากับ 5,940 ล้านบาท ส�ำหรับปี 2560 บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายในการขายที่เพิ่มขึ้นจากปีก่อน คิดเป็นร้อยละ 12.6 ของรายได้รวม โดยบริษัทฯ มีก�ำไรลดลงเท่ากับ จ�ำนวน 400 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.0 สาเหตุมาจากค่าใช้จ่าย 484 ล้านบาท ลดลงคิดเป็นร้อยละ 8.1 ส่วนใหญ่มาจากการเพิ่มขึ้น ในการโฆษณาประชาสัมพันธ์เพิ่มขึ้น 190 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการ ของค่าใช้จ่ายในการโฆษณาประชาสัมพันธ์และเปิดโครงการใหม่

180


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน คณะกรรมการ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินและงบการเงินรวมของบริษัทฯ รวมถึง ข้อมูลทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจ�ำปี งบการเงินดังกล่าว จัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยเลือกใช้นโยบาย บัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอ รวมทั้งมีการเปิดเผย ข้ อ มู ล ส� ำ คั ญ อย่ า งเพี ย งพอในหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น และ ได้ผา่ นการตรวจสอบและให้ความเห็นอย่างไม่มเี งือ่ นไข จากผูส้ อบบัญชี รับอนุญาตที่เป็นอิสระ งบการเงินจึงสะท้อนฐานะทางการเงิน รายได้ และค่าใช้จ่าย กระแสเงินสดรวมที่เป็นจริงของบริษัทฯ

เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสี่ยงจากการด�ำเนินการที่ผิดปกติอย่างมี สาระส�ำคัญ ทั้ ง นี้ คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการทีเ่ ป็นอิสระ ก�ำกับดูแลงบการเงินและประเมิน ระบบการควบคุมภายในให้มีประสิทธิผล เพื่อให้มีความมั่นใจได้ว่า มีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีถูกต้อง ครบถ้วนอย่างเพียงพอ ทันเวลา และป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือการด�ำเนินการทีผ่ ดิ ปกติ ซึง่ ความเห็น ของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏในรายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบ ซึ่งได้แสดงไว้ในรายงานประจ�ำปีนี้แล้ว

คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีและด�ำรงไว้ซึ่งระบบบริหารความเสี่ยง และระบบควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประ สิทธิผลเพื่อให้มั่นใจ คณะกรรมการบริษทั มีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ ได้อย่างมีเหตุผลว่า ข้อมูลทางบัญชีมคี วามถูกต้องครบถ้วนและเพียงพอ โดยรวมอยู ่ ใ นระดั บ ที่ น ่ า พอใจและสามารถสร้ า งความเชื่ อ มั่ น ที่จะด�ำรงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สินของบริษัทฯ และเพื่อให้ทราบจุดอ่อน อย่ า งมี เ หตุ ผ ลต่ อ ความเชื่ อ ถื อ ได้ ข องงบการเงิ น ของบริ ษั ท ฯ และ บริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

(ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม)

(นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์)

ประธานกรรมการบริษัทและ กรรมการอิสระ

ประธานกรรมการบริหารและ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม

181


รายงานประจํ า ปี 2560

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (บริ ษั ท ฯ”) ประกอบด้ ว ยกรรมการอิ ส ระ ซึ่ ง เป็ น ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ แ ละ มี ป ระสบการณ์ ด ้ า นการบริห าร โดยในระหว่า งปี 2560 กรรมการ ตรวจสอบมีจ�ำนวนทั้งสิ้น 4 ท่าน ได้แก่ ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล นายอดุลย์ จันทนจุลกะ และนายวีระชัย งามดีวิไลศักดิ์ เป็นกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขตความรับผิดชอบ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษั ท ในการก� ำ กั บ ดู แ ล การด�ำเนินงานของบริษัทฯ โดยมุ่งหมายให้เกิดความชัดเจนในการ บริหารงานด้วยความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ บริ ห ารและผู ้ บ ริ ห ารอั น จะพึ ง มี ต ่ อ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ ตลอดจน ด� ำ เนิ น การเพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า คณะกรรมการบริ ห ารและฝ่ า ยจั ด การ ได้บริหารกิจการตามนโยบายของบริษัทอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และ มีมาตรฐาน

คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า รายการดังกล่าวที่มีหรือ เกิดขึ้นในระหว่างปีเป็นรายการที่เกิดขึ้นตามปกติของธุรกิจและ เป็ น ไปเพื่ อ ประโยชน์ ข องบริ ษั ท ฯ รวมถึ ง มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล อย่างเพียงพอ

3. การสอบทานการปฏิบตั งิ านตามกฎหมาย คณะกรรมการตรวจสอบ ได้กำ� หนดให้มกี ารสอบทานและติดตามให้ บริษทั ฯ ด�ำเนินการปฏิบตั ิ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และกฎหมายอืน่ ทีส่ ำ� คัญทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจหลัก ของบริษัทฯ โดยมอบหมายให้หน่วยงานตรวจสอบภายในก�ำหนด เป็นประเด็นหลักประเด็นหนึ่งที่ต้องตรวจสอบ รวมทั้งในปัจจุบัน บริษัทฯ ได้จัดให้มีหน่วยงานก�ำกับการปฏิบัติงาน (Compliance) ที่ท�ำหน้าที่เข้าดูแลการท�ำงานของหน่วยงานต่างๆ ให้มีการก�ำกับ ดูแลการปฏิบัติงานเป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง โดยมีการ จัดประชุมเพื่อรับทราบผลการปฏิบัติงานของฝ่ายกฎหมาย และ ฝ่ า ยก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การและก� ำ กั บ การปฏิ บั ติ ง าน (Corporate Govenance & Compliance) ของบริษัทฯ เป็นประจ�ำทุกไตรมาส

ในรอบปี 2560 คณะกรรมการตรวจสอบได้จัดให้มีการประชุมทั้งสิ้น รวม 12 ครั้ง ทั้งนี้ได้ร่วมประชุมกับผู้บริหาร ผู้ตรวจ สอบภายใน และ ผู้สอบบัญชี เพื่อรับทราบ ให้ความเห็นชอบ ร่วมหารือ และแลกเปลี่ยน จากการสอบทานดังกล่าวคณะกรรมการตรวจสอบพบว่า นอกจาก ข้อคิดเห็นในเรื่องต่างๆ สรุปสาระส�ำคัญของบริษัทฯ และบริษัทย่อย คดี ค วามฟ้ อ งร้ อ งจากผู ้ บ ริ โ ภคซึ่ ง คณะกรรมการตรวจสอบได้ เน้นย�้ำให้บริษัทฯ มีความระมัดระวังในการน�ำเสนอข้อมูลโครงการ ได้ดังนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงข้อพิพาทต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากความเข้าใจที่ไม่ 1. การให้ความเห็นชอบต่องบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบ ตรงกันแล้ว คณะกรรมการตรวจสอบไม่พบข้อบ่งชี้ท่ีท�ำให้เชื่อว่า ได้ให้ความเห็นชอบงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจ�ำปี บริษทั ฯ มีเจตนาทีจ่ ะละเว้นไม่ปฏิบตั ติ าม และ/หรือ มีการด�ำเนินการ 2560 ทีผ่ า่ นการสอบทานและตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชี ก่อนน�ำเสนอ ใดๆ ที่ขัดแย้งกับข้อก�ำหนดของกฎหมายที่มีสาระส�ำคัญ ให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ โดยได้สอบถามผู้สอบ บัญชีและผูบ้ ริหารในเรือ่ งความถูกต้อง ความครบถ้วนของงบการเงิน 4. การสอบทานระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ ง และความเพียงพอในการเปิดเผยข้อมูล รวมถึงการร่วมประชุมกับ คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบการควบคุมภายใน ผูส้ อบบัญชี โดยไม่มฝี า่ ยจัดการเพือ่ ปรึกษาหารือกันอย่างเป็นอิสระ และการบริหารความเสี่ยง เพื่อประเมินความเพียงพอและความ ถึงประเด็นส�ำคัญๆ ในการจัดท�ำงบการเงินและการเปิดเผยข้อมูล เหมาะสมของระบบควบคุมภายใน รวมทั้งการบริหารความเสี่ยง ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ ผู ้ ใ ช้ ง บการเงิ น นอกจากนี้ ยั ง ได้ พิ จ ารณา ตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน รวมถึงแนวทางที่ก�ำหนด ข้ อ เสนอแนะของผู ้ ส อบบั ญ ชี เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง จุ ด อ่ อ นของระบบ โดยส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ การควบคุมภายใน และรับทราบแผนการสอบบัญชีประจ�ำปี 2560 ตลอดจนการพิ จ ารณารายงานผลการตรวจสอบภายในตาม แผนงานตรวจสอบที่ได้รับการอนุมัติ และการพิจารณารายงาน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า กระบวนการจัดท�ำรายงาน ผลการตรวจสอบของบริษัทที่ปรึกษาภายนอก โดยในปี 2560 ทางบัญชีและการเงินของบริษัทมีการควบคุมที่เพียงพอให้มั่นใจ บริษัทฯ ยังคงว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษาภายนอกให้ตรวจสอบระบบ ได้ ว ่ า รายงานทางการเงิ น แสดงฐานะทางการเงิ น และผลการ การควบคุ ม ของระบบงานที่ ส� ำ คั ญ ของบริ ษั ท ฯ เพิ่ ม เติ ม จาก ด�ำเนินงานของบริษัทถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี และมีการ การปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายในของบริษัทฯ ได้แก่ ระบบงาน เปิดเผยข้อมูลในงบการเงินอย่างเพียงพอ สรรหาที่ดิน จัดซื้อจัดจ้าง ความคืบหน้าของงานก่อสร้าง เป็นต้น ทั้ ง นี้ ผ ลการตรวจสอบไม่ พ บจุ ด อ่ อ น หรื อ ข้ อ บกพร่ อ งในระบบ 2. การสอบทานวิธีการปฏิบัติในการเข้าท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน คณะกรรมการตรวจสอบมีการสอบทานความเหมาะสมเพียงพอ การควบคุมภายในที่เป็นสาระส�ำคัญ เกี่ยวกับระเบียบ และวิธีปฏิบัติในการเข้าท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน นอกจากนี้ การที่บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการบริหาร หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมถึงการสอบทาน ความเสี่ยงต่อการบรรลุเป้าหมายขององค์การทั้งในระยะสั้นและ รายการที่เข้าลักษณะรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจ ระยะยาว เพื่อให้การเติบโตขององค์การเป็นไปอย่างยั่งยืน ภายใต้ มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นในระหว่างปี ตลอดจน ภาวะการณ์ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยในปี 2560 ได้มีการ สอบทานการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วให้ ถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น และ ด�ำเนินการในเรื่องต่างๆ อาทิเช่น การก�ำหนดนโยบาย กลยุทธ์ เป็นไปตามประกาศ ข้อก�ำหนด และแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง และแนวทางในการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การ การจัดท�ำ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย แผนบริหารความเสีย่ ง และด�ำเนินการบริหารความเสีย่ งในภาพรวม

182


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

ขององค์การ อีกทัง้ บริษทั ฯ ยังได้มกี ารจัดท�ำการประเมินความเสีย่ ง และการควบคุมภายในด้วยตนเอง (Risk Control Self-Assessment : RCSA) เพื่อประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น รวมถึงประสิทธิผล ของการควบคุมภายใน ซึ่งด�ำเนินการผ่านความร่วมมือระหว่าง ฝ่ายบริหารความเสีย่ ง ผูบ้ ริหาร ผูป้ ฏิบตั งิ าน และฝ่ายตรวจสอบภายใน โดยมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าบริษทั ฯ สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ ทางธุรกิจ และเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน มีส่วนร่วมในการประเมินความเสี่ยงขององค์กรและการควบคุม ภายในของบริษัทฯ อีกทั้งยังได้เสนอความเห็นและข้อเสนอแนะ ที่เป็นประโยชน์ต่อการบริหารงานเพื่อใช้เป็นแนวทางพัฒนาการ ปฏิ บั ติ ง านอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยทางคณะกรรมการตรวจสอบได้ มีการเสนอแนะให้หน่วยงานตรวจสอบภายใน (Internal Audit) เข้าสอบทานกระบวนการที่มีการจัดท�ำ RCSA อีกในภายหลัง

ต่อการบริหารงานของฝ่ายจัดการ ซึ่งฝ่ายจัดการได้ด�ำเนินการ ปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขตามข้ อ เสนอแนะอย่ า งเหมาะสม นอกจากนี ้ คณะกรรมการตรวจสอบยังได้จัดให้มีการประเมินตนเองเพื่อใช้ เป็นแนวทางพัฒนาการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง

8. การทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ ในระหว่างปี 2560 คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบ เพื่อพิจารณาบทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบ และ แนวทางปฏิบัติของคณะกรรมการตรวจสอบตามที่คณะกรรมการ บริ ษั ท มอบหมาย ซึ่ ง คณะกรรมการตรวจสอบมี ค วามเห็ น ให้ปรับปรุงกฎบัตรในเรือ่ งหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของคณะกรรมการ ตรวจสอบให้ครอบคลุมถึงหน้าที่ในการสอบทานที่เกี่ยวข้องกับ มาตรการต่อต้านการคอร์รัปชั่น เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องกิ จ การส� ำ หรั บ บริ ษั ท จดทะเบี ย น บริษัทฯ ยังได้จัดให้มีการประชุมร่วมกันระหว่างคณะกรรมการ ปี 2560 และท� ำ ให้ ค ณะกรรมการตรวจสอบสามารถปฏิ บั ต ิ ตรวจสอบและคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งระดั บ องค์ ก าร หน้ า ที่ ต ามข้ อ ก� ำ หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย เพื่อให้เกิดการประสานงานกันระหว่างหน่วยงานตรวจสอบภายใน ได้อย่างมีประสิทธิผล และเป็นกลไกส�ำคัญที่จะสนับสนุนการ ปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ และหน่วยงานบริหารความเสี่ยงให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

คณะกรรมการตรวจสอบจึงมีความเห็นว่า บริษทั ฯ มีระบบการควบคุม 9. การพิจารณาแต่งตั้งผู้สอบบัญชีประจ�ำปี 2560 คณะกรรมการ ตรวจสอบได้พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้ง ผู้สอบบัญชี รวมทั้ง ภายในและการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมเพียงพอ ก�ำหนดค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชีประจ�ำปี 2560 โดยพิจารณา 5. การก�ำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบ จากผลการปฏิ บั ติ ง าน ความเป็ น อิ ส ระและจรรยาบรรณ มีการก�ำกับดูแลงานของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ซึ่งครอบคลุม จากการสอบทานคุณสมบัติของผู้สอบบัญชี โดยค�ำนึงถึงประกาศ ถึงภารกิจหลัก ขอบเขตการปฏิบตั งิ าน ขอบเขตหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ความเป็นอิสระในการปฏิบัติงานตรวจสอบ รวมถึงการจัดองค์กร แห่งประเทศไทย คณะกรรมการตรวจสอบมีมติเสนอต่อคณะกรรมการ และอัตราก�ำลัง โดยการสอบทานและอนุมัติแผนงานตรวจสอบ บริษัท เพื่อขออนุมัติที่ประชุมผู้ถือหุ้นแต่งตั้งผู้สอบบัญชีจาก บริษัท ภายในประจ�ำปี 2560 ที่จัดท�ำขึ้นตามผลการประเมินความเสี่ยง เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด เป็นผู้สอบบัญชีประจ�ำปี 2560 ในหน่วยงานของบริษัทฯ การก�ำหนดแผนการพัฒนาคุณภาพงาน ต่อไปอีกวาระหนึ่ง ตรวจสอบ และการพัฒนาความรู้ ทักษะ และความช�ำนาญของ บุคลากรตรวจสอบภายใน รวมถึงการประเมินความพึงพอใจจาก ในรอบปี 2560 คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติงานตามหน้าที ่ และความรับผิดชอบทีไ่ ด้รบั มอบหมาย โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ผู้บริหารและหน่วยงานผู้รับการตรวจสอบทุกระดับ ความระมัดระวังรอบคอบ และมีความเป็นอิสระอย่างเพียงพอ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า การปฏิบตั งิ านของหน่วยงาน โดยไม่ มี ข ้ อ จ� ำ กั ด ในการได้ รั บ ข้ อ มู ล ทั้ ง จากผู ้ บ ริ ห าร พนั ก งาน ตรวจสอบภายในของบริษัทฯ เป็นไปอย่างอิสระ มีประสิทธิภาพ และผู้ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนได้ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ และประสิทธิผลเป็นที่น่าพอใจ เพื่อประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน 6. การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี คณะกรรมการตรวจสอบเห็ น ว่ า โดยสรุ ป ในภาพรวมแล้ ว คณะกรรมการตรวจสอบเห็ น ว่ า บริษัทฯ ได้มุ่งเน้นการด�ำเนินธุรกิจโดยยึดมั่นในจริยธรรม และ คณะกรรมการบริษัทและบริษัทย่อย ผู้บริหาร ตลอดจนพนักงาน หลั ก บรรษั ท ภิ บ าลมาโดยตลอด และในปี 2560 ทางบริ ษั ท ฯ ของบริษัทมีความมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ได้ด�ำเนินงานด้านการก�ำกับดูแลกิจการและได้รับรางวัล อาทิ โดยได้ให้ความส�ำคัญเป็นอย่างสูงต่อการด�ำเนินงานภายใต้ระบบ บริษัทฯ ได้รับการรับรองเป็นแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่รัดกุมเหมาะสม ในการต่อต้านทุจริต (CAC-Thailand’s Private Sector Collective มีการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีอย่างเพียงพอ โปร่งใสและเชื่อถือได้ Action Coalition Against Corruption) รางวัลชมเชยองค์กร รวมทั้งมีการพัฒนาปรับปรุงระบบการปฏิบัติงานให้มีคุณภาพดีขึ้น โปร่งใส ครัง้ ที่ 7 (NACC Integrity Awards 2017) ได้รบั การประเมิน อย่างต่อเนื่อง CGR ประจ�ำปี 2560 ของบริษัทจดทะเบียน (บจ.) ไทย อยู่ในระดับ “ดีมาก” ซึ่งเป็นผลมาจากการที่บริษัทฯ ได้ก�ำหนดนโยบายอย่าง รายงานฉบั บ นี้ ไ ด้ รั บ การสอบทานและเห็ น ชอบโดยคณะกรรมการ ชัดเจน เพื่อให้กรรมการบริษัทฯ ผู้บริหาร และพนักงาน น�ำนโยบาย ตรวจสอบ เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2561 การต่อต้านทุจริตไปปฏิบตั อิ ย่างเป็นรูปธรรม พร้อมทัง้ วางมาตรการ ป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่นภายในองค์กรอย่างต่อเนื่อง และได้ ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ บรรจุลงในแผนการตรวจสอบประจ�ำปีของบริษัทฯ 7. การรายงานผลการปฏิบัติงาน คณะกรรมการตรวจสอบมีการ รายงานผลการปฏิ บั ติ ง านต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท เป็ น ประจ� ำ ทุกไตรมาส โดยได้เสนอความเห็นและข้อเสนอแนะทีเ่ ป็นประโยชน์

ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ประธานกรรมการตรวจสอบ 19 มกราคม 2561

183


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย รายงานของผูสอบบัญชีรบั อนุญาต

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

เสนอ ผูถือหุนบริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) ความเห็น ขาพเจาไดตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย (กลุมบริษัท) และของเฉพาะบริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) (บริษัท) ตามลําดับ ซึ่งประกอบดวยงบแสดงฐานะ การเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถอื หุนรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถ ือ หุนเฉพาะกิจการและงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุ ซึ่งประกอบดวยสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญและเรื่องอื่น ๆ ขาพเจาเห็นวา งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการขางตนนี้แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ของกลุมบริษัทและบริษัท ตามลําดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ผลการดําเนินงานรวมและผลการดําเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันโดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เกณฑในการแสดงความเห็น ข าพเจ าได ป ฏิ บั ติ ง านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบั ญ ชี ความรับ ผิ ด ชอบของข าพเจาได ก ล าวไวในวรรคความ รับผิดชอบของผูสอบบัญชีตอการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในรายงานของขาพเจา ขาพเจามี ความเปนอิสระจากกลุมบริษัทและบริษัทตามขอกําหนดจรรยาบรรณของผูประกอบวิชาชีพบัญชีที่กําหนดโดยสภาวิชาชีพ บัญ ชีในสวนที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ และขาพเจาไดปฏิบัติตามความ รับผิดชอบดานจรรยาบรรณอื่น ๆ ซึ่งเปนไปตามขอกําหนดเหลานี้ ขาพเจาเชื่อวาหลักฐานการสอบบัญชีที่ขาพเจาไดรับ เพียงพอและเหมาะสมเพื่อใชเปนเกณฑในการแสดงความเห็นของขาพเจา

184


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

เรื่ องสําคัญในการตรวจสอบ เรื่ อ งสําคัญในการตรวจสอบคื อ เรื่ อ งต่ างๆ ที่ มีนัยสําคัญที่ สุดตามดุ ลยพินิจเยี่ยงผูป้ ระกอบวิชาชี พของข้าพเจ้าในการ ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการสําหรับงวดปั จ จุ บ ัน ข้า พเจ้า ได้นาํ เรื่ องเหล่ า นี้ มาพิ จ ารณาใน บริ บทของการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหากสําหรับเรื่ องเหล่านี้ มูลค่าของโครงการอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการพัฒนา อ้างอิงหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 และ 7 เรื่องสํ าคัญในการตรวจสอบ โครงการอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการพัฒนา เป็ นสิ นทรัพย์ ที่ มี ค วามสํา คัญ ในงบแสดงฐานะการเงิ น และมี บ าง โครงการที่ คา้ งนาน ซึ่ ง มูลค่ าตามบัญชี ของโครงการ อสังหาริ มทรั พย์เพื่อการพัฒนาแสดงในราคาทุนหรื อ มูลค่าสุ ท ธิ ที่คาดว่าจะได้รับแล้วแต่ ราคาใดจะตํ่ากว่า โดยผูบ้ ริ หารต้องใช้การประมาณการเพื่อ ให้ได้มาซึ่ ง มูลค่าสุ ทธิที่คาดว่าจะได้รับ

ได้ ตรวจสอบเรื่องดังกล่ าวอย่ างไร ข้าพเจ้าได้ใช้วิธีการตรวจสอบ รวมถึง การทํา ความเข้า ใจ และประเมิ น เกี่ ย วกั บ การ ประมาณมูลค่าสุ ทธิ ที่คาดว่าจะได้รับ ตลอดจนทดสอบ การควบคุมของกลุ่มบริ ษทั ในเรื่ องดังกล่าว การทํา ความเข้า ใจเกี่ ย วกับ การตรวจนับ และสุ่ ม ตัวอย่างเพื่อเข้าร่ วมสังเกตการณ์การตรวจนับ ประเมิ น ความถู ก ต้อ งของมู ล ค่ า สุ ทธิ ที่ ค าดว่า จะ ได้รับ โดยเปรี ยบเทียบกับราคาขายจริ ง ราคาขายที่ได้รับ อนุ ม ัติ เอกสารการประเมิ น มู ล ค่ า ของผูป้ ระเมิ น ราคา ข้าพเจ้าจึ งเห็ นว่าเรื่ องดังกล่ าวมี ความสําคัญเนื่ องจาก อิ ส ระสํ า หรั บ โครงการอสั ง หาริ มทรั พ ย์ ที่ ค ้า งนาน ต้องมีการใช้ประมาณการอย่างมีนยั สําคัญ ตลอดจนประมาณการค่าใช้จ่ายในการขาย กับเอกสารที่ เกี่ ยวข้อง ซึ่ งรวมถึ งการใช้ผูเ้ ชี่ ยวชาญด้านการประเมิ น มูลค่าเพื่อช่ วยในการประเมินข้อสมมติฐานการประเมิน ราคา การพิจารณาความเชี่ ยวชาญและความอิ สระของผู ้ ประเมินราคาอิสระ การสอบถามและการทําความเข้าใจ เกี่ยวกับที่มาของมูลค่าที่ประเมิน ประเมิ น ความเพี ย งพอของการเปิ ดเผยข้อ มู ล ใน หมายเหตุประกอบงบการเงิ นตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน

185


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยDraft รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

ขอมูลอื่น ผูบริหารเปนผูรับผิดชอบตอขอมูลอื่น ขอมูลอื่นประกอบดวยขอมูลซึ่งรวมอยูในรายงานประจําป แตไมรวมถึงงบการเงิน รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการและรายงานของผูสอบบัญชีที่อยูในรายงานนั้น ซึ่งคาดวารายงานประจําปจะถูกจัดเตรียม ใหขาพเจาภายหลังวันที่ในรายงานของผูสอบบัญชีนี้ ความเห็นของขาพเจาตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไมครอบคลุมถึงขอมูลอื่นและขาพเจาไมไดใหความ เชื่อมั่นตอขอมูลอื่น ความรับผิดชอบของขาพเจาที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ คือ การอานขอมูลอื่น ตามที่ระบุขางตนเมื่อจัดทําแลว และพิจารณาวาขอมูลอื่นมีความขัดแยงที่มีสาระสําคัญกับงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการหรือกับความรูที่ไดรับจากการตรวจสอบของขาพเจา หรือปรากฏวาขอมูลอื่นมีการแสดงขอมูลที่ขัดตอ ขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม ความรับผิดชอบของผูบริหารและผูมีหนาที่ในการกํากับดูแลตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผูบริหารมีหนาที่รับผิดชอบในการจัดทําและนําเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหลานี้โดยถูกตองตามที่ ควรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผูบริหารพิจารณาวาจําเปนเพื่อให สามารถจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการที่ปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ ไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผูบริหารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุมบริษัท และบริษัทในการดําเนินงานตอเนื่อง เปดเผยเรื่องที่เกี่ยวกับการดําเนินงานตอเนื่อง (ตามความเหมาะสม) และการใชเกณฑ การบัญชีสําหรับการดําเนินงานตอเนื่องเวนแตผูบริหารมีความตั้งใจที่จะเลิกกลุมบริษัทและบริษัท หรือหยุดดําเนินงาน หรือไมสามารถดําเนินงานตอเนื่องตอไปได ผูมีหนาที่ในการกํากับดูแลมีหนาที่ในการสอดสองดูแลกระบวนการในการจัดทํารายงานทางการเงินของกลุมบริษัทและ บริษัท

186


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

Draft

ความรับผิดชอบของผูสอบบัญชีตอการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ การตรวจสอบของขาพเจามีวัตถุประสงคเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลวางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการโดยรวมปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม ไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือ ขอผิดพลาด และเสนอรายงานของผูสอบบัญชีซึ่งรวมความเห็นของขาพเจาอยูดวย ความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลคือความ เชื่อมั่นในระดับสูงแตไมไดเปนการรับประกันวาการปฏิบัตงิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบ ข อ มู ล ที่ ขั ด ต อ ข อ เท็ จ จริ ง อั น เป น สาระสํ าคั ญ ที่ มี อ ยู ไ ด เสมอไป ข อ มู ล ที่ ขั ด ต อ ข อ เท็ จ จริ ง อาจเกิ ด จากการทุ จ ริ ต หรื อ ขอผิดพลาดและถือวามีสาระสําคัญเมื่อคาดการณไดอยางสมเหตุสมผลวารายการที่ขัดตอขอเท็จจริงแตละรายการหรือทุก รายการรวมกันจะมีผลตอการตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผูใชงบการเงินจากการใชงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการเหลานี้ ในการตรวจสอบของขาพเจาตามมาตรฐานการสอบบัญชี ขาพเจาไดใชดุลยพินิจและการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบ วิชาชีพตลอดการตรวจสอบ การปฏิบัติงานของขาพเจารวมถึง 

 

ระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญในงบการเงินรวมและงบ การเงินเฉพาะกิจการไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ออกแบบและปฏิบัติงานตามวิธีการตรวจสอบเพื่อ ตอบสนองตอความเสี่ยงเหลานั้น และไดหลักฐานการสอบบัญชีที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อเปนเกณฑในการแสดง ความเห็นของขาพเจา ความเสี่ยงที่ไมพบขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญซึ่งเปนผลมาจากการทุจริตจะ สูงกวาความเสี่ยงที่เกิดจากขอผิดพลาดเนื่องจากการทุจริตอาจเกี่ยวกับการสมรูรวมคิด การปลอมแปลงเอกสาร หลักฐาน การตั้งใจละเวนการแสดงขอมูล การแสดงขอมูลที่ไมตรงตามขอเท็จจริงหรือการแทรกแซงการควบคุม ภายใน ทําความเขาใจในระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสม กับสถานการณ แตไมใชเพื่อวัตถุประสงคในการแสดงความเห็นตอความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของ กลุมบริษทั และบริษัท ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผูบริหารใชและความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีและ การเปดเผยขอมูลที่เกี่ยวของซึ่งจัดทําขึ้นโดยผูบริหาร สรุปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใชเกณฑการบัญชีสําหรับการดําเนินงานตอเนื่องของผูบริหารและจากหลักฐาน การสอบบัญชีที่ไดรับ สรุปวามีความไมแนนอนที่มีสาระสําคัญที่เกี่ยวกับเหตุการณหรือสถานการณที่อาจเปนเหตุ ใหเกิดขอสงสัยอยางมีนัยสําคัญตอความสามารถของกลุมบริษัทและบริษัทในการดําเนินงานตอเนื่องหรือไม ถา ขาพเจาไดขอสรุปวามีความไมแนนอนที่มีสาระสําคัญ ขาพเจาตองกลาวไวในรายงานของผูสอบบัญชีของขาพเจา โดยใหขอสังเกตถึงการเปดเผยขอมูลในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการที่เกี่ยวของ หรือถาการเปดเผย ขอมูลดังกลาวไมเพียงพอ ความเห็นของขาพเจาจะเปลี่ยนแปลงไป ขอสรุปของขาพเจาขึ้นอยูกับหลักฐานการสอบ บัญชีที่ไดรับจนถึงวันที่ในรายงานของผูสอบบัญชีของขาพเจา อยางไรก็ตาม เหตุการณหรือสถานการณในอนาคต อาจเปนเหตุใหกลุมบริษัทและบริษัทตองหยุดการดําเนินงานตอเนื่อง 4

187


Draft

รายงานประจํ า ปี 2560

 

ประเมินการนําเสนอโครงสร งและเนื้อหาของงบการเงิ นเฉพาะกิจการโดยรวม บริษัท าพฤกษา โฮลดิ้งนจ�รวมและงบการเงิ ำกัด (มหาชน) และบริษรวมถึ ัทย่งอการยDraft เปดเผยขอมูลวางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงรายการและเหตุ ารณในรู ่ทําใหญ มีกาต าร รายงานของผู้สกอบบั ญปชีแบบที รับอนุ นําเสนอขอมูลโดยถูกตองตามที่ควรหรือไม ได รับ หลั ก ฐานการสอบบั ญ ชีาทงและเนื ี่ เหมาะสมอย างเพี ยงพอเกี ่ ยวกับ ข อ มู ล ทางการเงิ น ของกิ จการภายในกลุ ประเมิ นการนํ าเสนอโครงสร ้อหาของงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการโดยรวม รวมถึ มงหรื การอ กิเปจดกรรมทางธุ จ ภายในกลุ ม บริษั ท เพื่ อ แสดงความเห็ น ต องบการเงิน รวม ขาพเจ ารับใผินรู ดชอบต อ การกํ เผยขอมูลวรากิงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิจการแสดงรายการและเหตุ การณ ปแบบที ่ทําใหามหนด ีการ แนวทาง การควบคุ ม ดู แ ล และการปฏิ บ ั ต ิ ง านตรวจสอบกลุ  ม บริ ษ ั ท ข า พเจ า เป น ผู  ร ั บ ผิ ด ชอบแต เ พี ย งผู  เ ดี ย วต อ นําเสนอขอมูลโดยถูกตองตามที่ควรหรือไม ความเห็ าพเจา ได รับ หลันของข ก ฐานการสอบบั ญ ชี ที่ เหมาะสมอยางเพี ยงพอเกี่ ยวกับ ข อ มู ล ทางการเงิน ของกิ จการภายในกลุ ม หรือ

กิจกรรมทางธุรกิ จ ภายในกลุม บริษั ท เพื่ อ แสดงความเห็ น ต องบการเงิน รวม ขาพเจารับผิ ดชอบต อ การกําหนด ขาพเจาไดสื่อสารกับผูมีหนาที่ในการกํากับดูแลในเรื่องตาง ๆ ที่สําคัญซึ่งรวมถึงขอบเขตและชวงเวลาของการตรวจสอบ แนวทาง การควบคุมดูแล และการปฏิบัติงานตรวจสอบกลุมบริษัท ขาพเจาเป นผูรับผิดชอบแตเพี ยงผูเดียวตอ ตามที่ไดวางแผนไว ประเด็นที่มีนัยสําคัญที่พบจากการตรวจสอบรวมถึงขอบกพรองที่มีนัยสําคัญในระบบการควบคุม ความเห็นของขาพเจา ภายในหากขาพเจาไดพบในระหวางการตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจาไดสื่อสารกับผูมีหนาที่ในการกํากับดูแลในเรื่องตาง ๆ ที่สําคัญซึ่งรวมถึงขอบเขตและชวงเวลาของการตรวจสอบ ขาพเจาไดใหคํารับรองแกผูมีหนาที่ในการกํากับดูแลวาขาพเจาไดปฏิบัติตามขอกําหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวของกับความ ตามที่ไดวางแผนไว ประเด็นที่มีนัยสําคัญที่พบจากการตรวจสอบรวมถึงขอบกพรองที่มีนัยสําคัญในระบบการควบคุม เปนอิสระและไดสื่อสารกับผูมีหนาที่ในการกํากับดูแลเกี่ยวกับความสัมพันธทั้งหมดตลอดจนเรื่องอื่นซึ่งขาพเจาเชื่อวามี ภายในหากขาพเจาไดพบในระหวางการตรวจสอบของขาพเจา เหตุผลที่บุคคลภายนอกอาจพิจารณาวากระทบตอความเปนอิสระของขาพเจาและมาตรการที่ขาพเจาใชเพื่อปองกันไมให นอิสระผูมีหนาที่ในการกํากับดูแลวาขาพเจาไดปฏิบัติตามขอกําหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวของกับความ ขขาาพเจ พเจาาขาดความเป ไดใหคํารับรองแก เปนอิสระและไดสื่อสารกับผูมีหนาที่ในการกํากับดูแลเกี่ยวกับความสัมพันธทั้งหมดตลอดจนเรื่องอื่นซึ่งขาพเจาเชื่อวามี จากเรื่องที่สื่อสารกับผูมีหนาที่ในการกํากับดูแล ขาพเจาไดพิจารณาเรื่องตาง ๆ ที่มีนัยสําคัญที่สุดในการตรวจสอบงบ เหตุผลที่บุคคลภายนอกอาจพิจารณาวากระทบตอความเปนอิสระของขาพเจาและมาตรการที่ขาพเจาใชเพื่อปองกันไมให การเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในงวดปจจุบันและกําหนดเปนเรื่องสําคัญในการตรวจสอบ ขาพเจาไดอธิบาย ขาพเจาขาดความเปนอิสระ เรื่องเหลานี้ในรายงานของผูสอบบัญชีเวนแตกฎหมายหรือขอบังคับไมใหเปดเผยตอสาธารณะเกี่ยวกับเรื่องดังกลาว หรือ ในสถานการณ ที่ยากที ขาพเจาาพิกัจบารณาว ่องดั่องต งกลางาวในรายงานของข าเพราะการกระทํา จากเรื ่องที่สื่อสารกั บผู่จมะเกิ ีหนดาขึที้น่ในการกํ ดูแล ขาาไม พเจคาวรสื ไดพ่อิจสารเรื ารณาเรื ๆ ที่มีนัยสําคัญที่สาุดพเจ ในการตรวจสอบงบ ดังกลานวสามารถคาดการณ ดอยางสมเหตุ ผลวาจะมีจผจุลกระทบในทางลบมากกว ตอสวนไดขเสีายพเจ สาธารณะจาก การเงิ รวมและงบการเงินไเฉพาะกิ จการในงวดป บันและกําหนดเปนเรื่องสําาผลประโยชน คัญในการตรวจสอบ าไดอธิบาย การสื ่อสารดั กลาว เรื่องเหล านี้ใงนรายงานของผู สอบบัญชีเวนแตกฎหมายหรือขอบังคับไมใหเปดเผยตอสาธารณะเกี่ยวกับเรื่องดังกลาว หรือ ในสถานการณที่ยากที่จะเกิดขึ้น ขาพเจาพิจารณาวาไมควรสื่อสารเรื่องดังกลาวในรายงานของขาพเจาเพราะการกระทํา ดังกลาวสามารถคาดการณไดอยางสมเหตุผลวาจะมีผลกระทบในทางลบมากกวาผลประโยชนตอสวนไดเสียสาธารณะจาก การสื่อสารดังกลาว

(วรรณาพร จงพีรเดชานนท) ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4098 (วรรณาพร จงพีรเดชานนท) ัท เคพี จี ภูญมาต ิไชย สอบบัญชี จํากัด ผูบริสษอบบั ญชีเอ็รับมอนุ กรุ งเทพมหานคร เลขทะเบี ยน 4098 19 กุมภาพันธ 2561 188 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด

กรุงเทพมหานคร

5


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท พฤกษา โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบแสดงฐานะการเงิน

สิ นทรัพย์

งบแสดงฐานะการเงิน

หมายเหตุ

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

31 ธันวาคม

31 ธันวาคม

2560

2559

2560

2559

(บาท) สินทรั พย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

5

585,409,490

29,165,687

246,378,150 -

37,205,749

-

63,791,078,880

59,838,108,296

1,482,222,294 -

-

เงินมัดจําค่าซื้ อที่ดิน เงินจ่ายล่วงหน้าค่าสิ นค้า สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น

622,483,624 266,581,858 200,600,265

636,244,656 196,018,027 203,065,665

293,314 3,225,649

รวมสิ นทรัพย์ หมุนเวียน

66,228,279,597

61,705,224,284

1,552,112,693

871,637

107,540,634 640,607,687 4,633,055,874 333,600,728 52,014,136 248,592,104 6,015,411,163

107,540,634 245,170,371 3,683,088,004 334,418,725 72,063,896 196,206,736 4,638,488,366

35,523,384,576 132,501 1,788,164 1,488,954 35,526,794,195

34,523,384,599 34,523,384,599

72,243,690,760

66,343,712,650

37,078,906,888

34,524,256,236

เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนี้ อื่น - บริ ษทั ย่อย เงินให้กยู้ ืมระยะสั้นและดอกเบี้ยค้างรับบริ ษทั ย่อย

6 4 4 7

โครงการอสังหาริ มทรัพย์ระหว่างการพัฒนา

สินทรั พย์ ไม่ หมุนเวียน เงินลงทุนในการร่ วมค้า เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน

8 9 10 4, 11, 14 12 13 4

รวมสิ นทรัพย์

1,347,534,970 -

-

24,650

846,987

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้ 6

189


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยDraft

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน

หนี้สินและสวนของผูถือหุน

งบแสดงฐานะการเงิน

หมายเหตุ

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

31 ธันวาคม

31 ธันวาคม

2560

2559

2560

2559

(บาท) หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

14

2,800,000,000

1,897,950,018

-

-

เจาหนี้การคา

15

2,378,809,879

1,995,130,254

-

-

เจาหนี้อื่น - บริษัทยอย

4

เจาหนี้คาซื้อที่ดินที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป

1,697,872,385

เงินกูยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยคางจาย - บริษัทยอย

4

หุนกูระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป

14

6,000,000,000

-

-

3,404,738,861

39,592,323

-

-

724,952

-

6,000,000,000

-

-

33,924

-

-

หนี้สินตามสัญญาเชาการเงินที่ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่งป

14

-

เงินมัดจําจากลูกคา

1,061,925,502

810,395,354

-

-

ภาษีเงินไดคางจาย

296,513,484

505,008,121

-

-

3,403,790,670 17,638,911,920

2,913,343,198 17,526,599,730

หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน

16

18,981,442 19,706,394

384,175 39,976,498

หนี้สินไมหมุนเวียน เจาหนี้คาซื้อที่ดิน หุนกูระยะยาว

-

244,980,951

-

-

-

-

14

15,500,000,000

12,000,000,000

17

374,400,184

289,534,759

34

70,835,308 15,945,235,492

118,654,240 12,653,169,950

33,584,147,412

30,179,769,680

ประมาณการหนี้สินไมหมุนเวียน สําหรับผลประโยชนพนักงาน ประมาณการความเสียหายจากคดีความ รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

190

7

626,500

-

626,500

-

-

20,332,894

39,976,498


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน

หนี้สินและสวนของผูถือหุน

Draft

งบแสดงฐานะการเงิน

หมายเหตุ

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

31 ธันวาคม

31 ธันวาคม

2560

2559

2560

2559

(บาท) สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน

18

ทุนที่ออกและชําระแลว

2,226,383,180

2,273,217,600

2,226,383,180

2,273,217,600

2,186,796,580

2,185,857,580

2,186,796,580

2,185,857,580 32,337,537,019

สวนเกินมูลคาหุนสามัญ

18

1,819,142,676

1,789,836,486

32,366,843,209

ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน

19

31,911,459

20,981,036

31,911,459

-

20

223,730,753

223,730,753

222,638,318

-

33,694,950,661

31,246,374,701

2,250,384,428

(39,114,861)

(47,441,915) 37,909,090,214

(54,251,369) 35,412,529,187

37,058,573,994

34,484,279,738

สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม รวมสวนของผูถือหุน

750,453,134 38,659,543,348

751,413,783 36,163,942,970

37,058,573,994

34,484,279,738

รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

72,243,690,760

66,343,712,650

37,078,906,888

34,524,256,236

กําไร (ขาดทุน) สะสม จัดสรรแลว ทุนสํารองตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร (ขาดทุนสะสม) องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน รวมสวนของบริษัทใหญ

20

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 8

191


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยDraft

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย

งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับรอบระยะ เวลาตั้งแตวันที่ 16 มีนาคม 2559 งบการเงินรวม

(วันจดทะเบียน

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ หมายเหตุ

สําหรับปสิ้นสุด

31 ธันวาคม 2560

จัดตั้งบริษัท) ถึง

วันที่ 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2559

2560

2559

(บาท) รายได รายไดจากการขายอสังหาริมทรัพย

21

43,934,799,376

46,925,869,711

-

-

รายไดเงินปนผล

4, 9

-

-

5,508,335,902

-

4

178,095,670 44,112,895,046

247,372,962 47,173,242,673

71,770,124 5,580,106,026

-

28,221,940,659

31,184,209,549

-

-

-

-

รายไดอื่น รวมรายได คาใชจาย ตนทุนขายอสังหาริมทรัพย ตนทุนในการจัดจําหนาย

22

4,382,594,086

3,983,136,976

คาใชจายในการบริหาร

4, 23

4,154,104,948

4,170,311,256

71,306,418

39,114,861

ตนทุนทางการเงิน รวมคาใชจาย

4, 27

197,350,224 36,955,989,917

287,326,436 39,624,984,217

798,046 72,104,464

39,114,861

สวนแบงขาดทุนจากเงินลงทุนในการรวมคา กําไร (ขาดทุน) กอนภาษีเงินได

8

(347,770) 7,156,557,359

(1,606,889) 7,546,651,567

5,508,001,562

(39,114,861)

คาใชจายภาษีเงินได กําไร (ขาดทุน) สําหรับป/งวด

28

(1,582,429,221) 5,574,128,138

(1,478,097,307) 6,068,554,260

5,508,001,562

(39,114,861)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

192

9


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

Draft

งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับรอบระยะ เวลาตั้งแตวันที่ 16 มีนาคม 2559 งบการเงินรวม

(วันจดทะเบียน

สําหรับปสิ้นสุดวันที่

สําหรับปสิ้นสุด

31 ธันวาคม หมายเหตุ

2560

จัดตั้งบริษัท) ถึง

วันที่ 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2559

2560

2559

(บาท) กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รายการที่อาจถูกจัดประเภทใหมไวในกําไรหรือขาดทุน ในภายหลัง ผลตางของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงคางบการเงิน ผลกําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลคาเงินลงทุนเผื่อขาย รวมรายการที่อาจถูกจัดประเภทใหมไวในกําไรหรือขาดทุน ในภายหลัง รายการที่จะไมถูกจัดประเภทใหมไวในกําไรหรือขาดทุน ในภายหลัง

6,663,481

(20,211,427)

-

-

(53,625)

54,784

-

-

6,609,856

(20,156,643)

-

-

ผลขาดทุนจากการวัดมูลคาใหมของผลประโยชนพนักงาน ที่กําหนดไว รวมรายการที่จะไมถูกจัดประเภทใหมไวในกําไรหรือ ขาดทุนในภายหลัง กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป/งวด-สุทธิจาก ภาษีเงินได กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสําหรับป/งวด

28

(11,976,186)

-

-

-

(11,976,186)

-

-

-

(5,366,330) 5,568,761,808

(20,156,643) 6,048,397,617

5,508,001,562

(39,114,861)

5,456,416,101

5,940,293,208

5,508,001,562

(39,114,861)

117,712,037 5,574,128,138

128,261,052 6,068,554,260

5,508,001,562

(39,114,861)

5,451,249,369

5,920,559,854

5,508,001,562

(39,114,861)

117,512,439 5,568,761,808

127,837,763 6,048,397,617

5,508,001,562

(39,114,861)

2.50

2.72

2.52

(0.18)

การแบงปนกําไร (ขาดทุน) สวนที่เปนของบริษัทใหญ สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม กําไร (ขาดทุน) สําหรับป/งวด การแบงปนกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม สวนที่เปนของบริษัทใหญ สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสําหรับป/งวด กําไร (ขาดทุน) ตอหุน (บาท) กําไร (ขาดทุน) ตอหุนขั้นพื้นฐาน

30

กําไรตอหุนปรับลด 30 หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น เป น ส ว นหนึ ง ่ ของงบการเงิ น นี ้ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

10

-

-

-

193


194 19 31

ใบสําคัญแสดงสิทธิเพื่อออกทดแทนที่ยกเลิกจากการปรับโครงสราง

เงินปนผลใหผูถือหุนของบริษัท รวมรายการกับผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

รายการปรับปรุงสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมจากการรวม กิจการภายใตการควบคุมเดียวกัน

รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป

กําไร กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป

19 19

การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ

ยกเลิกใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญ

18

18, 19

หุนทุนออกใหตามสิทธิ

หมายเหตุ

เพิ่มหุนสามัญ

เงินทุนที่ไดรบั จากผูถือหุนและการจัดสรรสวนทุนใหผูถือหุน

รายการกับผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

(38,392,815) 1,789,836,486

2,185,857,580

-

(46,834,420)

-

50,280,276

-

-

-

-

50,280,276

-

1,777,949,025

มูลคาหุน

สวนเกิน

-

1,621,000

-

-

-

-

1,611,000

10,000

2,231,071,000

ชําระแลว

ที่ออกและ

ทุนเรือนหุน

20,981,036

(450,053)

-

-

(23,923,860)

-

21,431,089

(21,431,089)

1,740,337

(25,664,197)

-

45,354,949

สิทธิที่จะซื้อหุน

11

223,730,753

(4,799,127)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

228,529,880

กฎหมาย

ใบสําคัญแสดง ทุนสํารองตาม

31,246,374,701

(542,828,276)

5,940,293,208

5,940,293,208

(4,130,461,700)

(4,130,461,700)

(54,304,994)

741,027

(19,786,987) (19,786,987)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

(35,259,034)

(บาท)

งบการเงิน

การแปลงคา

(8)

53,625

-

53,633 53,633

-

-

-

-

-

-

-

-

เผื่อขาย

เงินลงทุน

(54,251,369)

741,027

(19,733,354) (19,733,354)

-

-

-

-

-

-

-

-

(35,259,042)

ของผูถือหุน

อื่นของสวน

รวมสวน ของผูถือหุน

35,412,529,187

(632,563,664)

(19,733,354) 5,920,559,854

5,940,293,208

(4,102,484,284)

(4,130,461,700)

21,431,089

(21,431,089)

1,740,337

26,227,079

10,000

34,227,017,281

ของบริษทั ใหญ

751,413,783

632,563,664

(423,289) 127,837,763

128,261,052

-

-

-

-

-

-

-

(8,987,644)

ที่ไมมีอํานาจ ควบคุม

สวนของ สวนไดเสีย

รวม องคประกอบ

องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน

-

-

-

29,979,371,469

จัดสรร

ยังไมได

กําไรสะสม

งบการเงินรวม

36,163,942,970

-

(20,156,643) 6,048,397,617

6,068,554,260

(4,102,484,284)

(4,130,461,700)

21,431,089

(21,431,089)

1,740,337

26,227,079

10,000

34,218,029,637

รวมสวน ของผูถือหุน

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

Draft

รายงานประจํ า ปี 2560


31

18, 19 19

195

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

2,186,796,580

-

939,000

939,000 -

2,185,857,580

ทุนเรื อนหุน้ ที่ออกและ หมายเหตุ ชําระแล้ว

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสํ าหรับปี

กําไร กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสํ าหรับปี

เงินปันผลให้ผถู ้ ือหุน้ ของบริ ษทั รวมรายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้าส่ วนของผู้ถือหุ้น

เงินทุนที่ได้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู อื หุ้น หุน้ ทุนออกให้ตามสิ ทธิ การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์

รายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้าส่ วนของผู้ถือหุ้น

สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น

1,819,142,676

-

29,306,190

29,306,190 -

1,789,836,486

ส่วนเกิน มูลค่าหุน้

31,911,459

-

10,930,423

(14,508,270) 25,438,693

20,981,036

223,730,753

-

-

-

223,730,753

ใบสําคัญแสดง ทุนสํารองตาม สิ ทธิ ที่จะซื้อหุน้ กฎหมาย

33,694,950,661

5,456,416,101 (11,976,186) 5,444,439,915

(2,995,863,955) (2,995,863,955)

-

31,246,374,701

ยังไม่ได้ จัดสรร

กําไรสะสม

(47,441,915)

6,863,079

6,863,079

-

-

(54,304,994)

(บาท)

-

(53,625)

(53,625)

-

-

53,625

(47,441,915)

6,809,454

6,809,454

-

-

(54,251,369)

งบการเงินรวม องค์ประกอบอื่นของส่วนของผูถ้ ือหุน้ รวม องค์ประกอบ การแปลงค่า เงินลงทุน อื่นของส่วน งบการเงิน เผื่อขาย ของผูถ้ ือหุน้

37,909,090,214

5,451,249,369

5,456,416,101 (5,166,732)

(2,995,863,955) (2,954,688,342)

15,736,920 25,438,693

35,412,529,187

รวมส่วน ของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ใหญ่

750,453,134

117,512,439

117,712,037 (199,598)

(118,023,088) (118,473,088)

(450,000) -

751,413,783

ที่ไม่มีอาํ นาจ ควบคุม

ส่วนของ ส่วนได้เสี ย

38,659,543,348

5,568,761,808

5,574,128,138 (5,366,330)

(3,113,887,043) (3,073,161,430)

15,286,920 25,438,693

36,163,942,970

รวมส่วน ของผูถ้ ือหุน้

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)


196

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

13

2,185,857,580

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

2,185,857,580 2,185,857,580

-

ชําระแลว

-

18

หมายเหตุ

ที่ออกและ

ทุนเรือนหุน

ขาดทุน รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับงวด

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับงวด

เพิ่มหุนสามัญ รวมรายการกับผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน

เงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุน

รายการกับผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 16 มีนาคม 2559 (วันจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท)

ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2559

สําหรับรอบระยะเวลาตั้งแตวันที่ 16 มีนาคม 2559 (วันจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

(บาท)

32,337,537,019

-

32,337,537,019 32,337,537,019

-

มูลคาหุน

สวนเกิน

-

-

(39,114,861)

(39,114,861) (39,114,861)

ขาดทุนสะสม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

34,484,279,738

(39,114,861) (39,114,861)

34,523,394,599 34,523,394,599

-

ของผูถือหุน

รวมสวน

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของผู้ถือหุ้น

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้งท จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

Draft

รายงานประจํ า ปี 2560


หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

2,186,796,580

29,306,190

32,366,843,209

-

-

โอนไปสํารองตามกฎหมาย

939,000

-

29,306,190

32,337,537,019

-

-

939,000

2,185,857,580

สวนเกิน มูลคาหุน

20

18, 19 19 31

หมายเหตุ

ทุนเรือนหุน ที่ออกและ ชําระแลว

-

-

-

-

(บาท)

31,911,459

31,911,459

(14,958,270) 46,869,729

ใบสําคัญแสดง สิทธิที่จะซื้อหุน

222,638,318

222,638,318

-

-

-

ทุนสํารองตาม กฎหมาย

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2,250,384,428

(222,638,318)

5,508,001,562 5,508,001,562

(2,995,863,955) (2,995,863,955)

(39,114,861)

กําไร(ขาดทุน) สะสม

37,058,573,994

-

5,508,001,562 5,508,001,562

15,286,920 46,869,729 (2,995,863,955) (2,933,707,306)

34,484,279,738

รวมสวน ของผูถือหุน

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของผู้ถือหุ้น

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

กําไร รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับงวด

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับงวด

หุน ทุนออกใหตามสิทธิ การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ เงินปนผลใหผูถือหุนของบริษัท รวมรายการกับผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน

เงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุนและการจัดสรรสวนทุนใหผูถือหุน

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 รายการกับผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

Draft

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

197


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท พฤกษา โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบกระแสเงินสด

งบกระแสเงินสด

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับรอบระยะ เวลาตั้งแต่วนั ที่ 16 มีนาคม 2559 งบการเงินรวม สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม หมายเหตุ

2560

2559

สําหรับปี สิ้ นสุ ด

(วันจดทะเบียน จัดตั้งบริ ษทั ) ถึง

วันที่ 31 ธันวาคม 2560

วันที่ 31 ธันวาคม 2559

(บาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไร (ขาดทุน) สําหรับปี /งวด ปรั บรายการที่ กระทบกําไร (ขาดทุน) เป็ นเงิ นสดรั บ (จ่ าย) ภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจําหน่าย

5,574,128,138

6,068,554,260

5,508,001,562

1,582,429,221 197,350,224 467,331,414

1,478,097,307 287,326,436 453,742,679

798,046 63,652

-

5,155,613

(4,255,920)

-

-

(498,154) (22,968,000) (5,836,000) 18,388,236 (6,407,448) 8,578,849 69,893,689 25,438,693 69,513,068

1,516,968 2,771,880 (3,202,432) (25,264,230) 42,092,000 1,740,337 26,832,000

(5,508,335,902) 626,500 -

-

(70,314) 347,770 (347,770) 7,982,427,229

(2,202,997) 1,606,889 (1,606,889) 8,327,748,288

1,153,858

(กลับรายการ) ขาดทุนจากการปรับลดมูลค่าของโครงการ อสังหาริ มทรัพย์ระหว่างการพัฒนา กลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าของอุปกรณ์ กลับรายการค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินมัดจําค่าซื้ อที่ดิน กลับรายการค่าเผื่อการด้อยค่าของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ขาดทุนจากการจําหน่ายอุปกรณ์ ขาดทุนจากการตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน กําไรจากการขายอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินปั นผลรับจากบริ ษทั ย่อย ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ประมาณการหนี้ สินสําหรับผลประโยชน์พนักงาน การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ ประมาณการความเสี ยหายจากคดีความ กําไรจากการจําหน่ายเงินลงทุนชัว่ คราว ส่ วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่ วมค้า กลับรายการส่ วนแบ่งขาดทุนจากการร่ วมค้า

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้

198

15

(39,114,861)

(39,114,861)


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท พฤกษา โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบกระแสเงินสด

งบกระแสเงินสด งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับรอบระยะ เวลาตั้งแต่วนั ที่ 16 มีนาคม 2559 งบการเงินรวม

หมายเหตุ

สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่

สําหรับปี สิ้ นสุ ด

(วันจดทะเบียน จัดตั้งบริ ษทั ) ถึง

31 ธันวาคม

วันที่ 31 ธันวาคม 2560

วันที่ 31 ธันวาคม 2559

2560

2559

(บาท) การเปลี่ยนแปลงในสิ นทรั พย์ และหนี ส้ ิ นดําเนิ นงาน ลูกหนี้ อื่นบริ ษทั ย่อย โครงการอสังหาริ มทรัพย์ระหว่างการพัฒนา เงินมัดจําค่าซื้ อที่ดิน เงินจ่ายล่วงหน้าค่าสิ นค้า สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น

(3,785,167,777) 36,729,032 (70,563,831) 2,465,400

(1,769,661,578) (12,829,756) 209,924,607 (14,447,290)

(37,205,749) (293,314) (16,362,772)

(52,385,368) 383,679,625

(19,391,758) 419,181,985

(1,488,954) -

เจ้าหนี้ อื่น - บริ ษทั ย่อย เจ้าหนี้ ค่าซื้ อที่ดิน เงินมัดจําจากลูกค้า หนี้ สินหมุนเวียนอื่น กระแสเงินสดสุ ทธิ ได้มาจากการดําเนิ นงาน ภาษีเงินได้จ่ายออก กระแสเงินสดสุ ทธิได้ มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน

(1,951,847,427) 251,530,148 363,579,590 3,160,446,621 (1,769,631,122) 1,390,815,499

(1,132,717,887) (164,523,470) 218,107,358 6,061,390,499 (1,630,454,743) 4,430,935,756

(39,592,323) 18,597,267 (75,191,987) (75,191,987)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับจากการขายอุปกรณ์ เงินสดจ่ายเพื่อซื้ อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินสดจ่ายเพื่อซื้ อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน

18,017,876 (1,404,886,616)

29,148,026 (227,150,530)

(134,317)

-

(57,798,970) 7,828,800 303,334,890 (56,941,202) (1,190,445,222)

(72,312,688) 17,360,000 3,415,418,976 (3,333,599,146) (171,135,362)

(1,850,000) (999,999,977) 5,508,335,902 (4,362,975,000) 2,941,606,545 3,084,983,153

-

สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้ การค้า

เงินสดรับจากการขายอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยเพิ่มขึ้น เงินปั นผลรับจากบริ ษทั ย่อย เงินให้กยู้ ืมระยะสั้นแก่บริ ษทั ย่อย เงินสดรับจากเงินให้กยู้ ืมระยะสั้นแก่บริ ษทั ย่อย เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนชัว่ คราว เงินสดจ่ายเพื่อซื้ อเงินลงทุนชัว่ คราว กระแสเงินสดสุ ทธิได้ มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมลงทุน

(846,987) 39,592,323 384,175 14,650 14,650

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้ 16

199


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยDraft

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด

งบกระแสเงินสด

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับรอบระยะ เวลาตั้งแตวันที่ 16 มีนาคม 2559 (วันจดทะเบียน สําหรับปสิ้นสุด

สําหรับปสิ้นสุดวันที่

วันที่ 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม

31 ธันวาคม หมายเหตุ

2560

จัดตั้งบริษัท) ถึง

2559

2560

2559

(บาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากการออกหุนทุน

15,286,920

26,237,080

902,049,982

1,897,950,018

-

-

เงินสดรับจากหุนกูระยะยาว

9,500,000,000

4,000,000,000

-

-

เงินสดจายเพื่อชําระหุนกูระยะยาว

(6,000,000,000)

(6,000,000,000)

-

-

เงินปนผลจายใหผูถือหุนของบริษัท

(2,995,863,955)

(4,130,461,700)

(2,995,863,955)

-

(118,023,088)

-

-

-

เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้นสุทธิ

เงินปนผลจายใหสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม

15,286,920

10,000

เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะสั้นจากบริษัทยอย

-

-

23,358,128

-

เงินสดจายเพื่อชําระเงินกูยืมระยะสั้นจากบริษัทยอย

-

-

(22,633,176)

-

ดอกเบี้ยจาย กระแสเงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน

(741,694,656) 561,755,203

(803,075,054) (5,009,349,656)

(798,046) (2,980,650,129)

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ

762,125,480

(749,549,262)

29,141,037

585,409,490 1,347,534,970

1,334,958,752 585,409,490

24,650 29,165,687

(10,100,775)

19,516,612

-

-

(391,022,668)

(27,162,469)

-

-

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม

5

10,000 24,650 24,650

รายการที่มิใชเงินสด: เจาหนี้คาอุปกรณเพิ่มขึ้น (ลดลง) รับโอนอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนจาก โครงการอสังหาริมทรัพยระหวางการพัฒนา, สุทธิ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

200

17


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริ ษัทยอย้ง บริ้งษจําัทกัด (มหาชน) พฤกษา โฮลดิ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

Draft

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หมายเหตุ

สารบัญ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

ขอมูลทั่วไป เกณฑการจัดทํางบการเงิน นโยบายการบัญชีที่สําคัญ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว โครงการอสังหาริมทรัพยระหวางการพัฒนา เงินลงทุนในการรวมคา เงินลงทุนในบริษัทยอย อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจาหนี้การคา หนี้สินหมุนเวียนอื่น ประมาณการหนี้สินไมหมุนเวียนสําหรับผลประโยชนพนักงาน ทุนเรือนหุน ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน สํารอง สวนงานดําเนินงาน ตนทุนในการจัดจําหนาย คาใชจายในการบริหาร คาใชจายผลประโยชนของพนักงาน สัญญาเชาดําเนินงาน คาใชจายตามลักษณะ ตนทุนทางการเงิน ภาษีเงินได สิทธิประโยชนจากการสงเสริมการลงทุน กําไร (ขาดทุน) ตอหุน เงินปนผล 18

201


รายงานประจํ า ปี 2560

บริง้ จํษากั​ัทด (มหาชน) พฤกษา โฮลดิ บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริ ษัทย่ อย้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

202

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หมายเหตุ

สารบัญ

32 33 34 35

เครื่ องมือทางการเงิน ภาระผูกพันกับบุคคลหรื อกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน

19


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริ ษัทย่ อย้ง บริง้ ษจําัทกัด (มหาชน) พฤกษา โฮลดิ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ได้รับอนุมตั ิให้ออกงบการเงินจากคณะกรรมการเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2561 1

ข้ อมูลทัว่ ไป

(ก)

ข้ อมูลทัว่ ไปของบริ ษทั บริ ษทั พฤกษา โฮลดิ้ ง จํากัด (มหาชน) “บริ ษทั ” เป็ นนิ ติบุคคลที่จดั ตั้งขึ้นในประเทศไทย และมีที่อยู่จดทะเบียน ตั้งอยูเ่ ลขที่ 77 อาคารเพิร์ล แบงก์คอ็ ก ชั้น 4 ถนนพหลโยธิ น แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร บริ ษทั จดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2559 ผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ในระหว่างปี ได้แก่ ครอบครัววิจิตรพงศ์พนั ธุ์ (ถือหุ น้ ร้อยละ 5.)

(ข)

การปรั บโครงสร้ างกิจการ ในที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั พฤกษา เรี ยลเอสเตท จํากัด (มหาชน) (“พฤกษา เรี ยลเอสเตท”) เมื่อวันที่ 8 เมษายน  ผูถ้ ือหุ ้นมีมติอนุ มตั ิแผนการปรับโครงสร้างกิ จการของบริ ษทั พฤกษา เรี ยลเอสเตท จํากัด (มหาชน) โดยการที่พฤกษา เรี ยลเอสเตทจะดําเนิ นการจัดตั้งบริ ษทั ภายใต้ชื่อ บริ ษทั พฤกษา โฮลดิ้งส์ จํากัด (มหาชน) เพื่อ ประกอบธุรกิจทางด้านลงทุนและถือหุ น้ ของพฤกษา เรี ยลเอสเตทโดยให้บริ ษทั ทําคําเสนอซื้ อหุ น้ สามัญทั้งหมดของ พฤกษา เรี ยลเอสเตทโดยแลกเปลี่ยนกับหุ น้ สามัญของบริ ษทั ในอัตราแลกหลักทรัพย์เท่ากับ  ต่อ  ณ วันที่  พฤศจิ กายน  บริ ษทั ได้สรุ ปจํานวนหุ ้นสามัญของพฤกษา เรี ยลเอสเตทที่รับซื้ อได้ คิดเป็ นสัดส่ วน ร้อยละ 7. ของจํานวนหุ ้นสามัญที่ออกแล้วของพฤกษา เรี ยลเอสเตทภายหลังจากการทําคําเสนอซื้ อหลักทรัพย์ เสร็ จ สิ้ น หุ ้ น สามัญ ของบริ ษัท ได้เ ข้า เป็ นหลัก ทรั พ ย์จ ดทะเบี ย นในตลาดหลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทยในวัน ที่ 1 ธันวาคม 2559 แทนหุ น้ สามัญของพฤกษา เรี ยลเอสเตทซึ่ งถูกเพิกถอนออกจากการเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์ฯ ในวันเดียวกัน

20

203


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิง้ จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทย่ อโฮลดิ ย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 (ค)

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ธุรกิจหลัก บริ ษัท ดํา เนิ น ธุ ร กิ จ หลัก เกี่ ย วกับ การลงทุ น กลุ่ ม บริ ษัท ดํา เนิ น ธุ ร กิ จ หลัก เกี่ ย วกับ การพัฒ นาอสั ง หาริ มทรั พ ย์ รายละเอียดของบริ ษทั ย่อย และการร่ วมค้า ณ วันที่ 3 ธันวาคม 560 และ 559 ได้เปิ ดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินระหว่างกาลข้อ 4, 8 และ 9

2

เกณฑ์ การจัดทํางบการเงิน

(ก)

เกณฑ์ การถือปฏิบตั ิ งบการเงินนี้ จดั ทําขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงแนวปฏิบตั ิทางการบัญชี ที่ประกาศใช้โดยสภา วิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ เกี่ยวข้อง สภาวิชาชี พบัญชี ได้ออกและปรั บปรุ งมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นหลายฉบับ ซึ่ งมีผลบังคับใช้ต้ งั แต่รอบ ระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2 ในเบื้องต้นการปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่ ออกและปรั บปรุ งใหม่ น้ ัน มี ผลให้เกิ ดการเปลี่ ยนแปลงนโยบายการบัญชี ของกลุ่ มบริ ษทั ในบางเรื่ อง การ เปลี่ยนแปลงนี้ไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญต่องบการเงิน นอกเหนื อจากมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ ออกและปรั บปรุ งใหม่ขา้ งต้น สภาวิชาชี พบัญชี ได้ออกและ ปรับปรุ งมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นฉบับอื่น ๆ ซึ่ งมีผลบังคับสําหรั บรอบระยะเวลาบัญชี ที่เริ่ มในหรื อหลัง วันที่  มกราคม 21 เป็ นต้นไป และไม่ได้มีการนํามาใช้สาํ หรับการจัดทํางบการเงินนี้ กลุ่มบริ ษทั ได้ประเมินใน เบื้องต้นถึ งผลกระทบที่อาจเกิ ดขึ้นต่องบการเงิ นของกลุ่มบริ ษทั จากการถื อปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงินที่ออกและปรับปรุ งใหม่เหล่านี้ ซึ่ งคาดว่าไม่มีผลกระทบที่มีสาระสําคัญต่องบการเงินในงวดที่ถือปฏิบตั ิ

(ข) เกณฑ์ การวัดมูลค่ า งบการเงินนี้จดั ทําขึ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้นรายการดังต่อไปนี้ รายการ เงินลงทุนเผือ่ ขาย หนี้สินผลประโยชน์ที่กาํ หนดไว้

เกณฑ์ การวัดมูลค่ า มูลค่ายุติธรรม มู ล ค่ า ปั จ จุ บ ัน ของภาระผู ก พัน ตามผลประโยชน์ ที่ กําหนดไว้ซ่ ึ งได้เปิ ดเผยไว้ในหมายเหตุขอ้  (ฑ) 21

204


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริ ษัทย่ อย้ง บริง้ ษจําัทกัด (มหาชน) พฤกษา โฮลดิ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 (ค)

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

สกุลเงินทีใ่ ช้ ในการดําเนินงานและนําเสนองบการเงิน งบการเงิ นนี้ จัดทําและแสดงหน่ วยเงิ นตราเป็ นเงิ นบาทซึ่ งเป็ นสกุลเงิ นที่ ใช้ในการดําเนิ นงานของบริ ษทั ข้อมูล ทางการเงินทั้งหมดมีการปั ดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อให้แสดงเป็ นหลักล้านบาท ยกเว้นที่ระบุไว้เป็ น อย่างอื่น

(ง) การใช้ วจิ ารณญาณและการประมาณการ ในการจัดทํางบการเงินให้เป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผูบ้ ริ หารต้องใช้วิจารณญาณ การประมาณ และข้อสมมติหลายประการ ซึ่ งมีผลกระทบต่อการกําหนดนโยบายการบัญชี และการรายงานจํานวนเงินที่เกี่ ยวกับ สิ นทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ผลที่เกิดขึ้นจริ งอาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้อสมมติที่ใช้ในการจัดทํางบการเงินจะได้รับการทบทวนอย่างต่อเนื่ อง การปรับประมาณการทาง บัญชีจะบันทึกโดยวิธีเปลี่ยนทันทีเป็ นต้นไป (1)

การใช้วิจารณญาณ ข้อมูลเกี่ ยวกับการใช้วิจารณญาณในการเลือกนโยบายการบัญชี ซ่ ึ งมีผลกระทบที่มีนยั สําคัญที่สุดต่อจํานวน เงินที่รับรู ้ในงบการเงินซึ่ งประกอบด้วยหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไปนี้ หมายเหตุขอ้ 25

(2)

การจัดประเภทสัญญาเช่า

ข้อสมมติและความไม่แน่นอนของการประมาณการ ข้อมูลเกี่ ยวกับข้อสมมติและความไม่แน่ นอนของการประมาณการที่สําคัญซึ่ งมีความเสี่ ยงอย่างมีนยั สําคัญ เป็ นเหตุให้ตอ้ งมีการปรับปรุ งจํานวนเงินที่รับรู ้ในงบการเงิน ซึ่ งได้เปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ต่อไปนี้ หมายเหตุขอ้ 7 หมายเหตุขอ้ 10 หมายเหตุขอ้ 13 หมายเหตุขอ้ 17

หมายเหตุขอ้ 34

การพิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของโครงการอสังหาริ มทรัพย์ ระหว่างการพัฒนา การพิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน การรับรู ้สินทรัพย์ภาษีเงินได้ การวัดมูลค่าของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ที่กาํ หนดไว้ เกี่ยวกับข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย และ การรับรู ้รายการและการวัดมูลค่าประมาณการหนี้สิน และ หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 22 205


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยอโฮลดิ ย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

Draft

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

การวัดมูลคายุติธรรม นโยบายการบัญชีและการเปดเผยขอมูลของกลุมบริษัทหลายขอกําหนดใหมีการวัดมูลคายุติธรรมทั้งสินทรัพยและ หนี้สินทางการเงินและไมใชทางการเงิน กลุมบริษัทกําหนดกรอบแนวคิดของการควบคุมเกี่ยวกับการวัดมูลคายุติธรรม กรอบแนวคิดนี้รวมถึงกลุมผูประเมิน มูลคาซึ่งมีความรับผิดชอบโดยรวมตอการวัดมูลคายุติธรรมที่มีนัยสําคัญ รวมถึงการวัดมูลคายุติธรรมระดับ 3 และ รายงานโดยตรงตอผูบริหารสูงสุดทางดานการเงิน กลุ ม ผู ป ระเมิ น มู ล ค ามี ก ารทบทวนข อ มู ล ที่ ไ ม ส ามารถสั ง เกตได และปรั บ ปรุ งการวั ด มู ล ค าที่ มี นั ย สํ าคั ญ อย าง สม่ําเสมอ หากมีการใชขอมูลจากบุคคลที่สามเพื่อวัดมูลคายุติธรรม เชน ราคาจากนายหนา หรือการตั้งราคา กลุมผู ประเมินไดประเมินหลักฐานที่ไดมาจากบุคคลที่สามที่สนับสนุนขอสรุปเกี่ยวกับการวัดมูลคารวมถึงการจัดลําดับ ชั้นของมูลคายุติธรรมวาเปนไปตามที่กําหนดไวในมาตรฐานการรายงานทางการเงินอยางเหมาะสม ประเด็นปญหาของการวัดมูลคาที่มีนัยสําคัญจะถูกรายงานตอคณะกรรมการตรวจสอบของกลุมบริษัท เมื่อวัดมูลคายุติธรรมของสินทรัพยหรือหนี้สิน กลุมบริษัทไดใชขอมูลที่สามารถสังเกตไดใหมากที่สุดเทาที่จะทําได มูลคายุติธรรมเหลานี้ถูกจัดประเภทในแตละลําดับชั้นของมูลคายุตธิ รรมตามขอมูลที่ใชในการประเมินมูลคา ดังนี้  ขอมูลระดับ 1 เปน ราคาเสนอซื้อขาย (ไมตองปรับปรุง) ในตลาดที่ มี สภาพคลองสํ าหรับสิ นทรัพ ยห รือ หนี้สินอยางเดียวกัน  ขอมูลระดับ 2 เปนขอมูลอื่นที่สังเกตไดโดยตรง (เชน ราคาขาย) หรือโดยออม (เชน ไดมาจากราคา) สําหรับ สินทรัพยนั้นหรือหนี้สินนั้นนอกเหนือจากราคาเสนอซื้อขายซึ่งรวมอยูในขอมูลระดับ 1  ขอมูลระดับ 3 เปนขอมูลสําหรับสินทรัพยหรือหนี้สินที่ไมไดมาจากขอมูลที่สามารถสังเกตได (ขอมูลที่ไม สามารถสังเกตได) หากขอมูลที่นํามาใชในการวัดมูลคายุติธรรมของสินทรัพยหรือหนี้สินถูกจัดประเภทลําดับชั้นของมูลคายุติธรรมที่ แตกตางกัน การวัดมูลคายุติธรรมโดยรวมจะถูกจัดประเภทในภาพรวมในระดับเดียวกันตามลําดับชั้นของมูลคา ยุติธรรมของขอมูลที่อยูในระดับต่ําสุดที่มีนัยสําคัญสําหรับการวัดมูลคายุติธรรมโดยรวม กลุมบริษัทรับรูการโอนระหวางลําดับชั้นของมูลคายุติธรรม ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานที่เกิดการโอนขึ้น

23

206


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริ ษัทยอย้ง บริ้งษจําัทกัด (มหาชน) พฤกษา โฮลดิ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

Draft

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับขอสมมติที่ใชในการวัดมูลคายุติธรรม อยูในหมายเหตุประกอบงบการเงินดังตอไปนี้  หมายเหตุขอ 10  หมายเหตุขอ 19  หมายเหตุขอ 32 (จ)

อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน และ เครื่องมือทางการเงิน

การปรับโครงสรางกิจการ ขอมูลเปรียบเทียบ ตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 1 บริษัทและ พฤกษา เรียลเอสเตท ไดดําเนินการตามแผนการ ปรับโครงสรางกิจการ เนื่องจากการปรับโครงสรางกิจการครั้งนี้ถือเปนการรวมกิจการภายใตการควบคุมเดียวกัน ดังนั้นบริษัทไดจัดทํางบการเงินรวมโดยรวมงบการเงินของ พฤกษา เรียลเอสเตท เสมือนวาไดมีการรวมกิจการ ตั้งแตตนป 2559 การรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน ตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 1 (ข) บริษัทบันทึกเงินลงทุนใน พฤกษา เรียลเอสเตท จํานวน 34,523 ลานบาทในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ซึ่งคํานวณราคาทุนของเงินลงทุนที่ถืออยูในพฤกษา เรียล เอสเตท ดวยสัดสวนของมูลคาตามบัญชีของรายการในสวนของผูถือหุนที่แสดงอยูในงบการเงินรวมของพฤกษา เรียลเอสเตท ณ วันที่มีการปรับโครงสรางกิจการ เนื่ องจากการปรับ โครงสรางกิจการถื อเป น การรวมธุ รกิ จภายใต การควบคุม เดี ยวกั นโดยงบการเงินรวมไดรวม งบการเงินของ พฤกษา เรียลเอสเตท และแสดงรายการในสวนของผูถือหุนเสมือนวาไดรวมกิจการมาตั้งแตตนป 2559

3

นโยบายการบัญชีที่สําคัญ นโยบายการบัญชีที่นําเสนอดังตอไปนี้ไดถือปฏิบัติโดยสม่ําเสมอสําหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลาที่รายงาน

24

207


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยอโฮลดิ ย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 (ก)

Draft

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

เกณฑในการจัดทํางบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบดวยงบการเงินของบริษัทและบริษทั ยอย (รวมกันเรียกวา “กลุมบริษัท”) และสวนไดเสียของ กลุมบริษทั ในการรวมคา การรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน การรวมธุรกิจของกิจการหรือการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกันบันทึกบัญชีโดยใชวิธีเสมือนวาเปนวิธีการ รวมสวนไดเสีย และตามแนวปฏิบัติที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีในระหวางป 2552 บริษัทยอย บริษัทยอยเปนกิจการที่อยูภายใตการควบคุมของกลุมบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุมบริษัทเปดรับหรือมีสิทธิ ในผลตอบแทนผันแปรจากการเกี่ยวของกับกิจการนั้นและมีความสามารถในการใชอํานาจเหนือกิจการนั้นทําให เกิดผลกระทบตอจํานวนเงินผลตอบแทนของกลุมบริษัท งบการเงินของบริษัทยอยไดรวมอยูในงบการเงินรวม นับ แตวันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุดลง สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม ณ วันที่ซื้อธุรกิจ กลุมบริษัทวัดมูลคาสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมตามอัตราสวนไดเสียในสินทรัพยสุทธิที่ไดมา จากผูถูกซื้อ การเปลี่ยนแปลงสวนไดเสียในบริษัทยอยของกลุมบริษัทที่ไมทําใหกลุมบริษัทสูญเสียอํานาจการควบคุมจะบันทึก บัญชีโดยถือเปนรายการในสวนของผูถือหุน การสูญเสียการควบคุม เมื่อกลุมบริษัทสูญเสียการควบคุมในบริษัทยอย กลุมบริษัทตัดรายการสินทรัพยและหนี้สินของบริษัทยอยนั้นออก รวมถึงส วนได เสี ยที่ ไม มี อํ านาจควบคุ มและส วนประกอบอื่ น ในส วนของเจาของที่ เกี่ ยวข องกับ บริษั ทยอยนั้ น กําไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการสูญเสียการควบคุมในบริษัทยอยรับรูในกําไรหรือขาดทุน สวนไดเสียในบริษัท ยอยเดิมที่ยังคงเหลืออยูใหวัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรม ณ วันที่สูญเสียการควบคุม 25

208


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริ ษัทยอย้ง บริ้งษจําัทกัด (มหาชน) พฤกษา โฮลดิ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

Draft

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

สวนไดเสียในเงินลงทุนที่บันทึกตามวิธีสวนไดเสีย สวนไดเสียของกลุมบริษัทในเงินลงทุนที่บันทึกตามวิธีสวนไดเสีย ประกอบดวยสวนไดเสียในการรวมคา การรวมคาเปนการรวมการงานที่กลุมบริษัทมีการควบคุมรวมในการงานนั้น โดยมีสิทธิในสินทรัพยสุทธิของการ รวมการงานนั้นมากกวาการมีสิทธิในสินทรัพยและภาระผูกพันในหนี้สินที่เกี่ยวของกับการรวมการงานนั้น สวนไดเสียในการรวมคาบันทึกบัญชีตามวิธีสวนไดเสีย โดยรับรูรายการเมือ่ เริ่มแรกดวยราคาทุนซึ่งรวมถึงตนทุน การทํารายการ ภายหลังการรับรูรายการเริ่มแรก สวนแบงกําไรหรือขาดทุนและกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นของเงิน ลงทุนที่บันทึกตามวิธีสวนไดเสียของกลุมบริษัท จะถูกบันทึกในงบการเงินรวมจนถึงวันทีก่ ลุมบริษัทสูญเสียการ ควบคุมรวม การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหวางกิจการในกลุม รวมถึงรายได หรือคาใชจายที่ยังไมเกิดขึ้นจริงซึ่งเปนผลมา จากรายการระหวางกิจการในกลุม ถูกตัดรายการในการจัดทํางบการเงินรวม กําไรที่ยังไมเกิดขึ้นจริงซึ่งเปนผลมา จากรายการกับการรวมคาถูกตัดรายการกับเงินลงทุนเทาที่กลุมบริษัทมีสวนไดเสียในกิจการที่ถูกลงทุนนั้น ขาดทุน ที่ยังไมเกิดขึ้นจริงถูกตัดรายการในลักษณะเดียวกับกําไรที่ยังไมเกิดขึ้นจริง แตเทาที่เมื่อไมมีหลักฐานการดอยคา เกิดขึ้น (ข)

เงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานของแตละบริษัทในกลุมบริษัท โดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพ ยและหนี้สินที่เปนตัวเงินและเปนเงินตราตางประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงคาเปนสกุลเงินที่ใชในการ ดําเนินงานโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น สินทรัพยและหนี้สินที่ไมเปนตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศ ซึ่งบันทึกตามเกณฑราคา ทุนเดิม แปลงคาเปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ 26

209


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยอโฮลดิ ย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

Draft

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ผลตางของอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจากการแปลงคา ใหรับรูเปนกําไรหรือขาดทุนในงวดบัญชีนั้น หนวยงานในตางประเทศ สินทรัพยและหนี้สินของหนวยงานในตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน รายไดและคาใชจายของหนวยงานในตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยนที่ใกลเคียงกับอัตรา ณ วันที่เกิดรายการ ผลตางจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการแปลงคา บันทึกในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และแสดงเปนรายการผลตาง จากอัตราแลกเปลี่ยนในสวนของผูถือหุน จนกวามีการจําหนายเงินลงทุนนั้นออกไป เมื่อหนวยงานตางประเทศถูกจําหนายสวนไดเสียทั้งหมดหรือเพียงบางสวนที่ทําใหสูญเสียการควบคุม ความมี อิ ท ธิ พ ลอย างมี ส าระสํ าคั ญ หรื อ การควบคุ ม ร ว มกั น ผลสะสมของผลต างจากอั ตราแลกเปลี่ ย นที่ เกี่ ย วข อ งกั บ หน วยงานตางประเทศนั้น ตองถูกจัดประเภทเป นกําไรหรือขาดทุนโดยเป นส วนหนึ่ งของกําไรขาดทุน จากการ จําหนาย หากกลุมบริษัทจําหนายสวนไดเสียในบริษัทยอยเพียงบางสวนแตยังคงมีการควบคุม ผลสะสมตองถูกปน สัดสวนใหกับสวนของผูถือหุนที่ไมมีอํานาจควบคุม หากกลุมบริษัทจําหนายเงินลงทุนในการรวมคาเพียงบางสวน โดยที่ ก ลุ ม บริ ษั ท ยั ง คงมี ก ารควบคุ ม ร ว มที่ มี ส าระสํ าคั ญ อยู กลุ ม บริ ษั ท ต อ งจั ด ประเภทยอดสะสมบางส ว นที่ เกี่ยวของเปนกําไรหรือขาดทุน รายการที่เปนตัวเงินที่เปนลูกหนี้หรือเจาหนี้กับหนวยงานในตางประเทศ ซึ่งรายการดังกลาวมิไดคาดหมายวาจะมี แผนการชําระหนี้หรือไมมีความเปนไปไดวาจะชําระเงินในอนาคตอันใกล กําไรและขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน จากรายการทางการเงินดังกลาวจะถูกพิจารณาเปนสวนหนึ่งของเงินลงทุนสุทธิในหนวยงานตางประเทศ และรับรู ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และแสดงเปนรายการผลตางจากอัตราแลกเปลี่ยนในสวนของผูถือหุน จนกวามีการ จําหนายเงินลงทุนนั้นออกไป (ค)

เครื่องมือทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธ เครื่องมือทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธไดถูกนํามาใชเพื่อจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศที่เกิดจากกิจกรรมลงทุน เครื่องมือทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธไมไดมีไวเพื่อ คา อยางไรก็ตาม ตราสารอนุพันธที่ไมเขาเงื่อนไข การกําหนดใหเปนเครื่องมือปองกันความเสี่ยงถือเปนรายการเพื่อ คา 27

210


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริ ษัทย่ อย้ง บริง้ ษจําัทกัด (มหาชน) พฤกษา โฮลดิ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

การป้ องกันความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน กลุ่มบริ ษทั มีนโยบายที่จะป้ องกันความเสี่ ยงของอัตราแลกเปลี่ยนโดยทําสัญญาซื้ อขายเงินตราต่างประเทศคุม้ ครอง รายการที่เป็ นตัวเงินซึ่ งเป็ นเงินตราต่างประเทศไว้ล่วงหน้า โดยรายการที่เป็ นตัวเงินซึ่ งเป็ นเงินตราต่างประเทศจะ แปลงค่าเป็ นสกุลเงิ นที่ใช้ในการดําเนิ นงานด้วยอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน ปรับปรุ งด้วยลูกหนี้ เจ้าหนี้ สุทธิ จากสัญญาซื้ อขายเงินตราต่างประเทศและค่าธรรมเนี ยมรอตัดบัญชี ที่คงเหลืออยู่ ค่าธรรมเนี ยมในการทําสัญญาซื้ อ ขายเงินตราต่างประเทศจะตัดเป็ นบัญชี รายได้/ค่าใช้จ่ายตามระยะเวลาของสัญญา รายได้/ค่าใช้จ่ายตัดบัญชี ดงั กล่าว และกําไรหรื อขาดทุนจากสัญญาซื้ อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าที่คุม้ ครองความเสี่ ยงจากรายการที่เป็ นตัวเงินซึ่ ง เป็ นเงินตราต่างประเทศนั้นจะบันทึกหักกลบกับกําไรหรื อขาดทุนจากการแปลงค่ารายการที่เป็ นตัวเงินที่เป็ นเงินตรา ต่างประเทศ (ง)

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดในงบกระแสเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผื่อ เรี ยก และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสู ง

(จ)

ลูกหนี้อื่น ลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้หกั ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัติการชําระหนี้ และการคาดการณ์เกี่ ยวกับการชําระหนี้ ใน อนาคตของลูกค้า ลูกหนี้จะถูกตัดจําหน่ายบัญชีเมื่อทราบว่าเป็ นหนี้สูญ

(ฉ)

โครงการอสังหาริ มทรั พย์ ระหว่ างการพัฒนา โครงการอสังหาริ มทรัพย์ระหว่างการพัฒนาคือโครงการที่ถืออสังหาริ มทรัพย์ไว้ดว้ ยความตั้งใจในการพัฒนาเพื่อ การขายในการดําเนิ นธุ รกิจปกติ อสังหาริ มทรัพย์ระหว่างการพัฒนาวัดมูลค่าด้วยราคาทุนหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ แล้วแต่ราคาใดจะตํ่ากว่า มูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับคือราคาขายโดยประมาณหักด้วยต้นทุนที่เกิดขึ้นในการขาย

28

211


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิง้ จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทย่ อโฮลดิ ย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ต้นทุนของโครงการอสังหาริ มทรัพย์ระหว่างการพัฒนาประกอบด้วย ต้นทุนของแต่ละโครงการ รวมต้นทุนจากการ ได้มา ค่าใช้จ่ายในการพัฒนา ต้นทุนการกูย้ มื และ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ต้นทุนการกูย้ มื ซึ่ งกูม้ าโดยเฉพาะเพื่อใช้ ในโครงการอสังหาริ มทรัพย์ระหว่างการพัฒนารวมเป็ นราคาทุนของสิ นทรัพย์จนกระทัง่ การพัฒนาสําเร็ จ ต้นทุนของวัสดุก่อสร้างคํานวณโดยใช้วิธีถวั เฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก ต้นทุนของบ้านตัวอย่างและโครงการระหว่างการพัฒนาคํานวณโดยการใช้ตน้ ทุนมาตรฐานซึ่ งได้รับการปรับปรุ งให้ ใกล้เคียงกับราคาทุนถัวเฉลี่ ย รวมการปั นส่ วนของค่าโสหุ ้ยการผลิ ตอย่างเหมาะสมโดยคํานึ งถึ งระดับกําลังการ พัฒนาตามปกติ ต้นทุนของที่ดินคํานวณโดยใช้วิธีเฉพาะเจาะจง (ช)

เงินลงทุน เงินลงทุนในบริ ษทั ย่ อยและการร่ วมค้ า เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยและการร่ วมค้า ในงบการเงินเฉพาะกิ จการของบริ ษทั บันทึกบัญชี โดยใช้วิธีราคาทุน ส่ วน การบันทึกบัญชีเงินลงทุนในการร่ วมค้า ในงบการเงินรวมใช้วิธีส่วนได้เสี ย เงินลงทุนในกองทุนรวม กองทุนรวมซึ่ งเป็ นหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด จัดประเภทเป็ นเงินลงทุนเผื่อขาย ภายหลังการรับรู ้มูลค่า ในครั้ งแรกเงิ นลงทุนเผื่อขายแสดงในมูลค่ายุติธรรม และการเปลี่ ยนแปลงที่ไม่ใช่ ผลขาดทุนจากการด้อยค่าและ ผลต่างจากการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของรายการที่เป็ นตัวเงิน บันทึกโดยตรงในส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น ส่ วนผล ขาดทุนจากการด้อยค่าและผลต่างจากการแลกเปลี่ ยนเงิ นตราต่างประเทศรั บรู ้ ในกําไรหรื อขาดทุน เมื่ อมี การตัด จําหน่ายเงินลงทุน จะรับรู ้ผลกําไรหรื อขาดทุนสะสมที่เคยบันทึกในส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ โดยตรงเข้ากําไรหรื อขาดทุน มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในกองทุนรวมจะใช้มูลค่าสิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันที่รายงาน การจําหน่ ายเงินลงทุน เมื่อมีการจําหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างจํานวนเงินสุ ทธิ ที่ได้รับและมูลค่าตามบัญชีและรวมถึงกําไรหรื อขาดทุน สะสมจากการตีราคาหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้องที่เคยบันทึกในส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ จะถูกบันทึกในกําไรหรื อขาดทุน 29

212


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริ ษัทย่ อย้ง บริง้ ษจําัทกัด (มหาชน) พฤกษา โฮลดิ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ในกรณี ที่กลุ่มบริ ษทั จําหน่ ายบางส่ วนของเงินลงทุนที่ถืออยู่ การคํานวณต้นทุนสําหรับเงินลงทุนที่จาํ หน่ ายไปและ เงินลงทุนที่ยงั ถืออยูใ่ ช้วิธีถวั เฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก ปรับใช้กบั มูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนที่เหลืออยูท่ ้ งั หมด (ซ) อสังหาริ มทรั พย์ เพือ่ การลงทุน อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนได้แก่อสังหาริ มทรัพย์ที่ถือครองเพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่ าหรื อจากมูลค่าที่ เพิ่มขึ้นหรื อทั้งสองอย่าง ทั้งนี้ ไม่ได้มีไว้เพื่อขายตามปกติธุรกิ จหรื อใช้ในการผลิ ตหรื อจัดหาสิ นค้าหรื อให้บริ การ หรื อใช้ในการบริ หารงาน อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนประกอบด้วยที่ดินซึ่ งแสดงในราคาทุนหักขาดทุนจากการด้อยค่า (ฌ) ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ การรั บรู้ และการวัดมูลค่ า สิ นทรั พย์ ที่เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของกิจการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์วดั มูลค่าด้วยราคาทุนหักค่าเสื่ อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ราคาทุนรวมถึ งต้นทุนทางตรงที่ เกี่ ยวข้องกับการได้มาของสิ นทรั พย์ ต้นทุนของการก่ อสร้ างสิ นทรั พย์ที่กิจการ ก่อสร้ างเอง รวมถึงต้นทุนของวัสดุ แรงงานทางตรง และต้นทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ ยวข้องกับการจัดหาสิ นทรัพย์ เพื่อให้สินทรัพย์น้ นั อยูใ่ นสภาพที่พร้อมจะใช้งานได้ตามความประสงค์ ต้นทุนในการรื้ อถอน การขนย้าย การบูรณะ สถานที่ต้ งั ของสิ นทรัพย์และต้นทุนการกูย้ มื สําหรับเครื่ องมือที่ควบคุมโดยลิขสิ ทธิ์ ซอฟต์แวร์ ซ่ ึ งไม่สามารถทํางาน ได้โดยปราศจากลิขสิ ทธิ์ ซอฟต์แวร์ น้ นั ให้ถือว่า ลิขสิ ทธิ์ ซอฟต์แวร์ ดงั กล่าวเป็ นส่ วนหนึ่งของอุปกรณ์ ส่ วนประกอบของรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์แต่ละรายการที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่เท่ากันต้องบันทึกแต่ละ ส่ วนประกอบที่มีนยั สําคัญแยกต่างหากจากกัน กําไรหรื อขาดทุนจากการจําหน่ ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ คือผลต่างระหว่างสิ่ งตอบแทนสุ ทธิ ที่ได้รับจากการ จําหน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โดยรับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุน

30

213


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยอโฮลดิ ย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

Draft

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

สินทรัพยที่เชา การเชาซึ่งกลุมบริษัทไดรับสวนใหญของความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพยสินที่เชานั้นๆ ใหจัด ประเภทเปนสัญญาเชาการเงิน อุปกรณที่ไดมาโดยทําสัญญาเชาการเงินบันทึกเปนสินทรัพยดวยมูลคายุติธรรมหรือ มูลคาปจจุบันของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายตามสัญญาเชาแลวแตจํานวนใดจะต่ํากวา หักดวยคาเสื่อมราคาสะสม และขาดทุนจากการดอยคา คาเชาที่ชําระจะแยกเปนสวนที่เปนคาใชจายทางการเงิน และสวนที่จะหักจากหนี้ตาม สัญญา เพื่อทําใหอัตราดอกเบี้ยแตละงวดเปนอัตราคงที่สําหรับยอดคงเหลือของหนี้สิน คาใชจายทางการเงินจะ บันทึกโดยตรงในกําไรหรือขาดทุน ตนทุนที่เกิดขึ้นในภายหลัง ตนทุนในการเปลี่ยนแทนสวนประกอบจะรับรูเปนสวนหนึ่งของมูลคาตามบัญชีของรายการอาคารและอุปกรณ ถามี ความเปนไปไดคอนขางแนที่กลุมบริษัทจะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนั้น และสามารถวัด มูลคาตนทุนของรายการนั้นไดอยางนาเชื่อถือ ชิ้นสวนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดจําหนายตามมูลคาตามบัญชี ตนทุน ที่เกิดขึ้นในการซอมบํารุงอาคารและอุปกรณที่เกิดขึ้นเปนประจําจะรับรูในกําไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น คาเสื่อมราคา คาเสื่อมราคาคํานวณจากมูลคาเสื่อมสภาพของรายการอาคาร และอุปกรณ ซึ่งประกอบดวยราคาทุนของสินทรัพย หรือตนทุนในการเปลี่ยนแทนอื่นหักดวยมูลคาคงเหลือของสินทรัพย คาเสื่ อ มราคาบั น ทึ ก เป น คาใช จายในกํ าไรหรือขาดทุ น คํ านวณโดยวิธี เส น ตรงตามเกณฑ อ ายุการให ป ระโยชน โดยประมาณของสวนประกอบของสินทรัพยแตละรายการ ประมาณการอายุการใหประโยชนของสินทรัพยแสดง ไดดังนี้ สวนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสวนตกแตง เครื่องจักรและอุปกรณ เครื่องตกแตง ติดตั้ง และเครื่องใชสํานักงาน สาธารณูปโภคสวนกลาง ยานพาหนะ

8 - 10 3 - 27 3 - 20 3, 5 20 5

กลุมบริษัทไมคิดคาเสื่อมราคาสําหรับที่ดินและสินทรัพยระหวางกอสรางและติดตั้ง 31

214

ป ป ป ป ป ป


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริ ษัทยอย้ง บริ้งษจําัทกัด (มหาชน) พฤกษา โฮลดิ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

Draft

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

วิธีการคิดคาเสื่อมราคา อายุการใหประโยชนของสินทรัพย และมูลคาคงเหลือ ถูกทบทวนอยางนอยที่สุดทุกสิ้น รอบปบัญชี และปรับปรุงตามความเหมาะสม (ญ) สินทรัพยไมมีตัวตน ลิขสิทธิ์ซอฟตแวร ลิขสิทธิ์ซอฟตแวรที่กลุมบริษัทซื้อมาและมีอายุการใชงานจํากัด วัดมูลคาดวยราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสมและ ขาดทุนจากการดอยคาสะสม คาตัดจําหนาย คาตัดจําหนายคํานวณจากราคาทุนของสินทรัพยหรือจํานวนอื่นที่ใชแทนราคาทุนหักดวยมูลคาคงเหลือ ค าตั ด จํ าหน ายรั บ รู ในกํ า ไรหรื อ ขาดทุ น โดยวิ ธี เส น ตรงซึ่ ง โดยส ว นใหญ จ ะสะท อ นรู ป แบบที่ ค าดว า จะได รั บ ประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากสินทรัพยนั้นตามระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชนจากสินทรัพยไมมี ตัวตน โดยเริ่มตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตนเมื่อสินทรัพยนั้นพรอมที่จะใหประโยชน ระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับ ประโยชนเทากับ 10 ป วิธีการตัดจําหนาย ระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชน และมูลคาคงเหลือ จะไดรับการทบทวนทุกสิ้นรอบปบัญชี และปรับปรุงตามความเหมาะสม (ฎ)

การดอยคา ยอดสินทรัพยตามบัญชีของกลุมบริษัทไดรับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานวา มีขอบงชี้เรื่องการดอยคาหรือไม ในกรณีที่มีขอบงชี้จะทําการประมาณมูลคาสินทรัพยที่คาดวาจะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคารับรูเมื่อมูลคาตามบัญชีของสินทรัพย หรือมูลคาตามบัญชีของหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงิน สด สูงกวามูลคาที่จะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคาบันทึกในกําไรหรือขาดทุน เวนแตเมื่อมีการกลับรายการการ ประเมินมูลคาของสินทรัพยเพิ่มของสินทรัพยชิ้นเดียวกันที่เคยรับรูในสวนของผูถือหุนและมีการดอยคาในเวลา ตอมา ในกรณีนี้จะรับรูในสวนของผูถือหุน

32

215


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยอโฮลดิ ย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

Draft

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

เมื่อมีการลดลงในมูลคายุติธรรมของสินทรัพยทางการเงินเผื่อขาย ซึ่งไดบันทึกในสวนของผูถือหุน และมีความ ชัดเจนวาสินทรัพยดังกลาวมีการดอยคา ยอดขาดทุนซึ่งเคยบันทึกในสวนของผูถือหุนจะถูกบันทึกในกําไรหรือ ขาดทุนโดยไมตองปรับกับยอดสินทรัพยทางการเงินดังกลาว ยอดขาดทุนที่บันทึกในกําไรหรือขาดทุนเปนผลตาง ระหวางราคาทุนที่ซื้อกับมูลคายุติธรรมในปจจุบันของสินทรัพย หักขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยทางการเงิน นั้นๆ ซึ่งเคยรับรูแลวในกําไรหรือขาดทุน การคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยทางการเงินสําหรับหลักทรัพยเผื่อขาย คํานวณโดยอางอิงถึงมูลคายุติธรรม มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการเงิน หมายถึงมูลคาจากการใชของสินทรัพยหรือ มูลคายุติธรรมของสินทรัพยหักตนทุนในการขายแลวแตมูลคาใดจะสูงกวา ในการประเมินมูลคาจากการใชของ สินทรัพย ประมาณการกระแสเงินสดที่จะไดรับในอนาคตจะคิดลดเปนมูลคาปจจุบันโดยใชอัตราคิดลดกอนคํานึง ภาษีเงินไดเพื่อใหสะทอนมูลคาที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบัน ซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอสินทรัพย สําหรับสินทรัพยที่ไมกอใหเกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพยอื่น จะพิจารณามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน รวมกับหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดที่สินทรัพยนั้นเกี่ยวของดวย การกลับรายการดอยคา ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยทางการเงินจะถูกกลับรายการ เมื่อมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้นสัมพันธโดยตรงกับขาดทุนจากการดอยคาที่เคยรับรูในกําไรหรือขาดทุน สินทรัพยทางการเงินที่ เปนตราสารทุนที่จัดประเภทเปนหลักทรัพยเผื่อขาย การกลับรายการจะถูกรับรูโดยตรงในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการเงินที่เคยรับรูในงวดกอนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ ที่ออกรายงานวามีขอบงชี้เรื่องการดอยคาหรือไม ขาดทุนจากการดอยคาจะถูกกลับรายการ หากมีการเปลี่ยนแปลง ประมาณการที่ใชในการคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคาจะถูกกลับรายการเพียงเทาที่มูลคา ตามบัญชีของสินทรัพยไมเกินกวามูลคาตามบัญชีภายหลังหักคาเสื่อมราคาหรือคาตัดจําหนาย เสมือนหนึ่งไมเคยมี การบันทึกขาดทุนจากการดอยคามากอน

33

216


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริ ษัทยอย้ง บริ้งษจําัทกัด (มหาชน) พฤกษา โฮลดิ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

Draft

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

(ฏ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้ สิน ที่มีภาระดอกเบี้ยบัน ทึ กเริ่มแรกในมู ลคายุติธรรมหั กคาใชจายที่ เกี่ยวกับการเกิดหนี้ สิน ภายหลังจากการ บันทึกหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยจะบันทึกตอมาโดยวิธีราคาทุนตัดจําหนาย ผลตางระหวางยอดหนี้เริ่มแรกและยอด หนี้เมื่อครบกําหนดไถถอนจะบันทึกในกําไรหรือขาดทุนตลอดอายุการกูยืม (ฐ)

เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่นแสดงในราคาทุน

(ฑ) ผลประโยชนของพนักงาน โครงการสมทบเงิน ภาระผูก พั น ในการสมทบเขาโครงการสมทบเงินจะถู กรับรูเป น คาใช จายพนั ก งานในกําไรหรือ ขาดทุ น ในรอบ ระยะเวลาที่พนักงานไดทํางานใหกับกิจการ โครงการผลประโยชนที่กําหนดไว ภาระผูกพันสุทธิของกลุมบริษัทจากโครงการผลประโยชนที่กาํ หนดไวถูกคํานวณแยกตางหากเปนรายโครงการจาก การประมาณผลประโยชนในอนาคตที่เกิดจากการทํางานของพนักงานในงวดปจจุบันและงวดกอนๆ ผลประโยชน ดังกลาวไดมีการคิดลดกระแสเงินสดเพื่อใหเปนมูลคาปจจุบัน การคํานวณภาระผูกพัน ของโครงการผลประโยชน ที่กําหนดไวนั้ นจัดทําโดยนักคณิ ตศาสตรประกันภัยที่ไดรับ อนุญาตเปนประจํา โดยวิธีคิดลดแตละหนวยที่ประมาณการไว ในการวัดมูลคาใหมของหนี้ สินผลประโยชนที่กําหนดไวสุทธิ กําไรหรือขาดทุน จากการประมาณการตามหลัก คณิ ตศาสตรประกัน ภัยจะถูกรับรูรายการในกําไรขาดทุ น เบ็ ดเสร็จอื่น ทัน ที กลุมบริษัทกําหนดดอกเบี้ยจายของ หนี้สินผลประโยชนที่กําหนดไวสุทธิโดยใชอัตราคิดลดที่ใชวัดมูลคาภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน ณ ตน ป โดยคํานึงถึงการเปลี่ยนแปลงใดๆ ในหนี้สินผลประโยชนที่กําหนดไวสุทธิซึ่งเปนผลมาจากการสมทบเงินและ การจายชําระผลประโยชน ดอกเบี้ยจายสุทธิและคาใชจายอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับโครงการผลประโยชนรับรูรายการใน กําไรหรือขาดทุน 34

217


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยอโฮลดิ ย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

Draft

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงผลประโยชนของโครงการหรือการลดขนาดโครงการ การเปลี่ยนแปลงในผลประโยชนที่ เกี่ยวของกับการบริการในอดีต หรือ กําไรหรือขาดทุนจากการลดขนาดโครงการตองรับรูในกําไรหรือขาดทุนทันที กลุมบริษัทรับรูกําไรและขาดทุนจากการจายชําระผลประโยชนพนักงานเมื่อเกิดขึ้น ผลประโยชนระยะสั้นของพนักงาน ผลประโยชนระยะสั้นของพนักงานรับรูเปนคาใชจายเมื่อพนักงานทํางานให หนี้สินรับรูดวยมูลคาที่คาดวาจะจาย ชําระ หากกลุมบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะตองจายอันเปนผลมาจากการที่ พนักงานไดทํางานใหในอดีตและภาระผูกพันนี้สามารถประมาณไดอยางสมเหตุสมผล (ฒ) การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ มูลคายุติธรรมของสิทธิซื้อหุน ณ วันที่ใหสิทธิแกพนักงาน (ชําระดวยตราสารทุน) รับรูเปนคาใชจายพรอม ๆ ไปกับ การเพิ่มขึ้นในสวนของผูถือหุน ตลอดระยะเวลาที่พนักงานสามารถเขาใชสิทธิไดอยางไมมีเงื่อนไข จํานวนที่รับรู เปนคาใชจายจะถูกปรับปรุงเพื่อใหสะทอนถึงจํานวนสิทธิซื้อหุนที่แทจริงซึ่งเขาเงื่อนไขการใหบริการที่เกี่ยวของ และเงื่อนไขการไดรับสิทธิที่ไมใชเงื่อนไขเรื่องตลาดทุน ซึ่งเปนจํานวนที่เดิมเคยรับรูตามจํานวนสิทธิซื้อหุนที่เขา เงื่อ นไขการให บ ริก ารที่ เกี่ ย วข อ งและเงื่อ นไขการได รั บ สิ ท ธิ ที่ ไม ใช เงื่อ นไขเรื่ อ งตลาดทุ น ณ วั น ที่ ไ ด รั บ สิ ท ธิ สําหรับเงื่อนไขการไดรับสิทธิที่ไมใชเงื่อนไขการบริการหรือผลงาน มูลคายุติธรรมของสิทธิซื้อหุน ณ วันที่ใหสิทธิ จะถูกวัดคาเพื่อใหสะทอนถึงเงื่อนไขนั้นและไมมีการปรับปรุงสําหรับผลตางระหวางจํานวนที่คาดไวกับผลที่เกิดขึ้น จริง มูลคายุติธรรมของจํานวนที่จายใหแกพนักงานจากราคาหุนที่เพิ่มขึ้นที่ชําระดวยเงินสดรับรูเปนคาใชจายพรอมๆ ไป กับการเพิ่มขึ้นในสวนของหนี้สิน ตลอดระยะเวลาที่พนักงานมีสิทธิไดรับชําระอยางไมมีเงื่อนไข หนี้สินถูกวัด มูลคาใหมทุกๆ วันที่ในรายงานและวันที่จายชําระ การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของหนี้สินรับรูเปนคาใชจาย พนักงานในกําไรหรือขาดทุน (ณ) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรูก็ตอเมื่อกลุมบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันจากการอนุมานที่เกิดขึ้น ในปจจุบันอันเปนผลมาจากเหตุการณในอดีตซึ่งสามารถประมาณจํานวนของภาระผูกพันไดอยางนาเชื่อถือ และมี ความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาประโยชนเชิงเศรษฐกิจจะตองถูกจายไปเพื่อชําระภาระผูกพันดังกลาว ประมาณ การหนี้สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจายในอนาคตโดยใชอัตราคิดลดในตลาดปจจุบันกอนคํานึงถึง ภาษีเงินได เพื่อใหสะทอนจํานวนที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอหนี้สิน ประมาณการหนี้สินสวนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเวลาที่ผานไปรับรูเปนตนทุนทางการเงิน 35

218


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริ ษัทยอย้ง บริ้งษจําัทกัด (มหาชน) พฤกษา โฮลดิ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

Draft

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ประมาณการคาประกันความเสียหาย ประมาณการคาประกันความเสียหายจะบันทึกเมื่อไดขายสินคาหรือใหบริการแกลูกคาแลว ประมาณการคาใชจาย พิจารณาจากประวัติการจายคาประกันความเสียหาย และปจจัยตางๆ ที่อาจเกี่ยวของกับความนาจะเปนที่จะเกิด ความเสียหายดังกลาว (ด)

รายได รายไดที่รับรูไมรวมภาษีมูลคาเพิ่มและแสดงสุทธิจากสวนลดการคา การขายสินคาและใหบริการ รายไดรับรูในกําไรหรือขาดทุนเมื่อไดโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสินคาที่มีนัยสําคัญไป ใหกับผูซื้อแลว และจะไมรับรูรายไดถาฝายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินคาที่ขายไปแลวนั้นหรือมีความไม แนนอนที่มีนัยสําคัญในการไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจจากการขายสินคาหรือใหบริการนั้น ไมอาจวัดมูลคาของ จํานวนรายไดและตนทุนที่เกิดขึ้นไดอยางนาเชื่อถือ หรือมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนที่จะตองรับคืนสินคา รายไดจากการใหบริการรับรูเมื่อมีการใหบริการ รายไดตามสัญญากอสราง รายได ค า ก อ สร า งประกอบด ว ยจํ า นวนเมื่ อ เริ่ ม แรกตามที่ ต กลงไว ใ นสั ญ ญาบวกจํ า นวนที่ เกี่ ย วข อ งกั บ การ เปลี่ยนแปลงสัญญาอันเกิดจากการดัดแปลงงาน การเรียกรองคาเสียหาย หรือการจายเงินเพื่อจูงใจหากมีความเปนไป ไดคอนขางแนที่จะกอใหเกิดรายไดและสามารถวัดมูลคาไดอยางนาเชื่อถือ เมื่อสามารถประมาณผลของงานกอสราง ตามสั ญ ญาได อ ย างน าเชื่ อ ถื อ รายได แ ละต น ทุ น ค า ก อ สร างจะถู ก รั บ รู กํ าไรหรื อ ขาดทุ น ตามสั ด ส ว นของขั้ น ความสําเร็จของงานกอสราง ขั้นความสําเร็จของงานกอสรางประมาณโดยอางอิงกับการสํารวจงานที่ทํา เมื่อไมสามารถประมาณผลของงาน กอสรางไดอยางนาเชื่อถือ รายไดคากอสรางจะถูกรับรูไดไมเกินกวาตนทุนคากอสรางที่เกิดขึ้นและมีความเปนไปได คอนขางแนที่จะไดรับตนทุนนั้นคืน ผลขาดทุนที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากงานกอสรางรับรูในกําไรหรือขาดทุนทันที

36

219


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยอโฮลดิ ย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

Draft

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย เมื่อสัญญาเปนไปตามเกณฑสําหรับการขายสินคา หรือถาอํานาจในการควบคุม ความเสี่ยง และผลตอบแทนที่มี นัยสําคัญของความเปนเจาของของงานระหวางกอสรางถูกโอนใหกับผูซื้อในคราวเดียว เชน เมื่อกอสรางเสร็จ หรือ หลังการสงมอบ ในกรณีนี้รายไดจะรับรูเมื่อเปนไปตามเกณฑการขายสินคาและบริการดังกลาวขางตน เงินปนผลรับ เงินปนผลรับบันทึกในกําไรหรือขาดทุนในวันที่กลุมบริษัทมีสิทธิไดรับเงินปนผล ดอกเบี้ยรับและรายไดอื่น ดอกเบี้ยรับและรายไดอื่นบันทึกในกําไรหรือขาดทุนตามเกณฑคงคาง (ต)

ตนทุนทางการเงิน ดอกเบี้ยจายและคาใชจายในทํานองเดียวกันบันทึกในกําไรหรือขาดทุนในงวดที่คาใชจายดังกลาวเกิดขึ้น ยกเวนใน กรณีที่มีการบันทึกเปนตนทุนสวนหนึ่งของสินทรัพย อันเปนผลมาจากการใชเวลายาวนานในการจัดหา กอสราง หรือการผลิตสินทรัพยดังกลาวกอนที่จะนํามาใชเองหรือเพื่อขาย

(ถ)

สัญญาเชาดําเนินงาน รายจายภายใตสัญญาเชาดําเนินงานบันทึกในกําไรหรือขาดทุนโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุสัญญาเชา คาเชาที่อาจเกิดขึ้นตองนํามารวมคํานวณจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตอ งจายตามระยะเวลาที่คงเหลือของสัญญาเชา เมื่อไดรับ การยืนยันการปรับคาเชา การประเมินวาขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชาหรือไม ณ วันที่ เริ่มตนขอตกลง กลุมบริษัทจะพิ จารณาวาขอตกลงดังกลาวประกอบดวยสั ญ ญาเชาหรือมีสัญ ญาเชาเป น สวนประกอบหรือไม โดยพิจารณาจากสินทรัพยที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง ถาการปฏิบัติตามขอตกลงนั้นขึ้นอยูกับ การใชสินทรัพยที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง และขอตกลงนั้นจะนําไปสูสิทธิในการใชสินทรัพย ทําใหกลุมบริษัทมี สิทธิในการควบคุมการใชสินทรัพย 37

220


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ (มหาชน) และบริ ษัทยอย้ง บริ้งษจําัทกัด พฤกษา โฮลดิ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

Draft

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ณ วันที่เริ่มตนขอตกลง หรือ มีการประเมินขอตกลงใหม กลุมบริษัทแยกคาตอบแทนสําหรับสัญญาเชา และสวนที่ เปนองคประกอบอื่นโดยใชมูลคายุติธรรมเปนเกณฑในการแยก หากกลุมบริษัทสรุปวาเปนสัญญาเชาการเงิน แตไม สามารถแบงแยกจํานวนดังกลาวไดอยางนาเชื่อถือ ใหรับรูสินทรัพยและหนี้สินในจํานวนที่เทากับมูลคายุติธรรม ของสินทรัพยที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงนั้น หลังจากนั้นจํานวนหนี้สินจะลดลงตามจํานวนที่จาย และตนทุนทางการ เงินตามนัยจากหนี้สินจะรับรูโดยใชอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมสวนเพิ่มของกลุมบริษัท (ท) ภาษีเงินได คาใชจายภาษีเงินไดสําหรับปประกอบดวยภาษีเงินไดของงวดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดของ งวดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีรับรูในกําไรหรือขาดทุนเวนแตในสวนที่เกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวของใน การรวมธุรกิจ หรือรายการที่รับรูโดยตรงในสวนของผูถือหุนหรือกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ภาษี เงิน ได ข องงวดป จ จุ บั น ได แ ก ภ าษี ที่ ค าดว าจะจ ายชํ าระหรื อ ได รั บ ชํ าระ โดยคํ านวณจากกํ าไรหรื อ ขาดทุ น ประจําป ที่ตอ งเสี ยภาษี โดยใช อัตราภาษี ที่ ประกาศใช ห รือที่ คาดวามี ผลบั งคับใช ณ วัน ที่ รายงาน ตลอดจนการ ปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปกอนๆ ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีบันทึกโดยคํานวณจากผลแตกตางชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหวางมูลคาตามบัญชีของสินทรัพย และหนี้ สิ น และจํานวนที่ ใช เพื่ อความมุ ง หมายทางภาษี ภาษี เงิน ไดรอการตั ดบั ญ ชี จะไม ถู กรับรูเมื่ อ เกิ ด จากผล แตกตางชั่วคราวตอไปนี้ การรับรูสินทรัพยหรือหนี้สินในครั้งแรกซึ่งเปนรายการที่ไมใชการรวมธุรกิจและรายการ นั้นไมมีผลกระทบตอกําไรขาดทุนทางบัญชีหรือทางภาษี และผลแตกตางที่เกี่ยวของกับเงินลงทุนในบริษัทยอยและ การรวมคาหากเปนไปไดวาจะไมมีการกลับรายการในอนาคตอันใกล การวัดมูลคาของภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีตองสะทอนถึงผลกระทบทางภาษีที่จะเกิดจากลักษณะวิธีการที่กลุม บริ ษั ท คาดว าจะได รั บ ผลประโยชน จ ากสิ น ทรั พ ยห รื อ จะจ ายชํ าระหนี้ สิ น ตามมู ล ค าตามบั ญ ชี ณ วั น ที่ สิ้ น รอบ ระยะเวลาที่รายงาน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีวัดมูลคาโดยใชอัตราภาษีที่คาดวาจะใชกับผลแตกตางชั่วคราวเมื่อมีการกลับรายการโดย ใชอัตราภาษีที่ประกาศใชหรือที่คาดวามีผลบังคับใช ณ วันที่รายงาน

38

221


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

Draft

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ในการกํ าหนดมู ล ค าของภาษี เงิ น ได ข องงวดป จ จุ บั น และภาษี เงิ น ได ร อการตั ด บั ญ ชี กลุ ม บริ ษั ท ต อ งคํ านึ ง ถึ ง ผลกระทบของสถานการณทางภาษีที่ไมแนนอนและอาจทําใหจํานวนภาษีที่ตองจายเพิ่มขึ้น และมีดอกเบี้ยที่ตอง ชํ าระ กลุ ม บริษั ท เชื่ อ ว าได ตั้ งภาษี เงิน ได ค างจ ายเพี ยงพอสํ าหรั บ ภาษี เงิน ได ที่ จ ะจ ายในอนาคต ซึ่ งเกิ ดจากการ ประเมินผลกระทบจากหลายปจจัย รวมถึงการตีความทางกฎหมายภาษี และจากประสบการณในอดีต การประเมินนี้ อยูบนพื้นฐานการประมาณการและขอสมมติ และอาจจะเกี่ยวของกับการตัดสินใจเกี่ยวกับเหตุการณ ในอนาคต ขอมูลใหมๆอาจจะทําใหกลุมบริษัทเปลี่ยนการตัดสินใจโดยขึ้นอยูกับความเพียงพอของภาษีเงินไดคางจายที่มีอยู การเปลี่ยนแปลงในภาษีเงินไดคางจายจะกระทบตอคาใชจายภาษีเงินไดในงวดที่เกิดการเปลี่ยนแปลง สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสามารถหักกลบไดเมื่อกิจการมีสิทธิตาม กฎหมายที่จะนําสินทรัพยภาษีเงินไดของงวดปจจุบันมาหักกลบกับหนี้สินภาษีเงินไดของงวดปจจุบันและภาษีเงิน ไดนี้ประเมินโดยหนวยงานจัดเก็บภาษีหนวยงานเดียวกันหรือหนวยภาษีตางกัน สําหรับหนวยภาษีตางกันนั้นกิจการ มีความตั้งใจจะจายชําระหนี้สินและสินทรัพยภาษีเงินไดของงวดปจจุบันดวยยอดสุทธิหรือตั้งใจจะรับคืนสินทรัพย และจายชําระหนี้สินในเวลาเดียวกัน สิ น ทรัพ ยภ าษี เงิน ได รอการตั ด บั ญ ชี จะบั น ทึ ก ต อเมื่ อมี ความเป น ไปได คอ นข างแน น อนว ากํ าไรเพื่ อ เสี ยภาษี ใน อนาคตจะมีจํานวนเพียงพอกับการใชประโยชนจากผลแตกตางชั่วคราวดังกลาว สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี จะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานและจะถูกปรับลดลงเทาที่ประโยชนทางภาษีจะมีโอกาสถูกใชจริง (ธ)

กําไร (ขาดทุน) ตอหุน กลุ ม บริษั ทแสดงกําไร (ขาดทุ น ) ตอ หุ น ขั้ น พื้ น ฐานและกําไร (ขาดทุ น ) ตอ หุ น ปรับ ลดสํ าหรับหุ น สามั ญ กํ าไร (ขาดทุน ) ตอหุ นขั้นพื้ นฐานคํานวณโดยการหารกําไรหรือขาดทุนของผูถือหุนสามัญของบริษัทดวยจํานวนหุ น สามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่ออกจําหนายระหวางป กําไร (ขาดทุน) ตอหุนปรับลดคํานวณโดยการหารกําไรหรือ ขาดทุนของผูถือหุนสามัญที่ปรับปรุงดวยจํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่ออกจําหนาย และผลกระทบของ ตราสารที่อาจเปลี่ยนเปนหุนสามัญปรับลดทั้งหมดและสิทธิซื้อหุนของพนักงาน

(น) รายงานทางการเงินจําแนกตามสวนงาน ผลการดําเนินงานของสวนงานที่รายงานตอคณะกรรมการบริหารของกลุมบริษัท (ผูมีอํานาจตัดสินใจสูงสุดดานการ ดําเนินงาน) จะแสดงถึงรายการที่เกิดขึ้นจากสวนงานดําเนินงานนั้นโดยตรงรวมถึงรายการที่ไดรับการปนสวนอยาง สมเหตุสมผล รายการที่ไมสามารถปนสวนไดสวนใหญเปนรายการทรัพยสินที่สํานักงานใหญ รายไดและคาใชจาย สํานักงานใหญและสินทรัพยภาษีเงินได 39

222


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริ ษัทยอย้ง บริ้งษจําัทกัด (มหาชน) พฤกษา โฮลดิ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 4

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

Draft

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน เพื่ อวัตถุป ระสงคในการจัด ทํ างบการเงิน บุ คคลหรือกิ จการเป น บุ คคลหรือ กิจการที่ เกี่ ยวข องกั น กั บกลุม บริษั ท หากกลุมบริษัทมีอํานาจควบคุมหรือควบคุมรวมกันทั้งทางตรงและทางออมหรือมีอิทธิพลอยางมีสาระสําคัญตอ บุคคลหรือกิจการในการตัดสินใจทางการเงินและการบริหารหรือในทางกลับกัน หรือกลุมบริษัทอยูภายใตการ ควบคุมเดียวกันหรืออยูภายใตอิทธิพลอยางมีสาระสําคัญเดียวกันกับบุคคลหรือกิจการนั้น การเกี่ยวของกันนี้อาจ เปนรายบุคคลหรือเปนกิจการ ความสั มพั น ธที่มีกับบริษัทยอย และการรวมคาไดเปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 8 และ 9 สํ าหรับ ความสัมพันธกับผูบริหารสําคัญและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันอื่น มีดังนี้

ชื่อกิจการ บริษัท เกสร คอนสตรัคชั่น จํากัด นาย ทองมา วิจิตรพงศพันธุ บริษัท ที ซี ที จํากัด ผูบริหารสําคัญ

ประเทศที่จัดตัง้ / สัญชาติ มัลดีฟส ไทย ไทย ไทย

ลักษณะความสัมพันธ เปนสาขาของบริษัท เกสรกอสราง จํากัด เปนผูถือหุนรายใหญ ถือหุนในบริษทั ตั้งแตรอยละ10 ขึ้นไปและเปนกรรมการของบริษัท มีกรรมการรวมกัน บุคคลที่มีอํานาจและความรับผิดชอบการวางแผน สั่ง การและควบคุ ม กิ จ กรรมต าง ๆ ของกิ จ การไม ว า ทางตรงหรือ ทางอ อ ม ทั้ งนี้ รวมถึ งกรรมการของ กลุ ม บริ ษั ท (ไม ว า จะทํ า หน า ที่ ใ นระดั บ บริ ห าร หรือไม)

40

223


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทย่อโฮลดิ ย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

นโยบายการกําหนดราคาสําหรับรายการแต่ละประเภทอธิ บายได้ดงั ต่อไปนี้ รายการ ดอกเบี้ยรับ เงินปั นผลรับ รายได้บริ หารงาน ดอกเบี้ยจ่าย ค่าบริ หารจัดการ ต้นทุนค่าเช่าและค่าบริ การ ซื้ อที่ดิน

นโยบายการกําหนดราคา อัตราดอกเบี้ยขั้นตํ่าของเงินกู้ (MLR) อัตราดอกเบี้ยขั้นตํ่าของ เงินกูล้ บด้วยร้อยละ 2 (MLR-2) และอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4 ตามจํานวนประกาศจ่าย อัตราที่ตกลงร่ วมกัน อัตราดอกเบี้ยขั้นตํ่าของเงินกู้ (MLR) อัตราดอกเบี้ยขั้นตํ่าของ เงินกูล้ บด้วยร้อยละ 2 (MLR-2) และอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4 อัตราที่ตกลงร่ วมกัน อัตราที่ตกลงร่ วมกัน อัตราที่ตกลงร่ วมกัน

รายการที่สาํ คัญกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันสําหรับแต่ละปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม สรุ ปได้ดงั นี้ สําหรั บปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม 2560 2559 (ล้ านบาท)

บริษทั ย่ อย ดอกเบี้ยรับ เงินปั นผลรับ รายได้ค่าบริ หารงาน ดอกเบี้ยจ่าย ค่าบริ หารจัดการ

-

กิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกันอืน่ ต้นทุนค่าเช่าและค่าบริ การ ซื้ อที่ดิน

57.62 950.00

ผู้บริหารสํ าคัญ ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หารสําคัญ ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน ผลประโยชน์หลังออกจากงาน การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ รวมค่ าตอบแทนผู้บริหารสํ าคัญ

218.29 4.48 5.18 227.95 41

224

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

-

36.98 5,508.34 34.77 0.56 1.31

-

-

0.82 -

-

9.45 9.45

-

209.12 3.22 0.49 212.83


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริโฮลดิ ษัทยอย้ง บริ้ง จํษากั​ัทด (มหาชน) พฤกษา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

Draft

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (ลานบาท)

ลูกหนี้อื่น - บริษัทยอย บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จํากัด (มหาชน) เงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษัทยอย บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จํากัด (มหาชน) บริษัท โรงพยาบาลวิมุต โฮลดิง้ จํากัด

ดอกเบี้ยคางรับ - บริษัทยอย บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จํากัด (มหาชน) บริษัท โรงพยาบาลวิมุต โฮลดิง้ จํากัด รวมเงินใหกูยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยคางรับ-บริษัทยอย

37.21

-

1,458.24 10.00 1,468.24

-

13.92 0.06 13.98 1,482.22

-

รายการเคลื่อนไหวของเงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษัทยอยสําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (ลานบาท) 4,409.84 (2,941.60) 1,468.24 -

ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

42

225


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยอโฮลดิ ย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

Draft

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

งบการเงินรวม 2560 2559 เงินมัดจําคาเชาและบริการ - กิจการที่ เกี่ยวของกันอื่น (แสดงภายใตสินทรัพย ไมหมุนเวียนอื่น) บริษัท ที ซี ที จํากัด

45.66

-

(ลานบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

1.26

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (ลานบาท)

เจาหนี้อื่น - บริษัทยอย บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จํากัด (มหาชน) เงินกูยืมระยะสัน้ จากบริษัทยอย บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จํากัด (มหาชน)

-

39.59

0.72

-

\

รายการเคลื่อนไหวของเงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษทั ยอยสําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (ลานบาท) 23.36 (22.64) 0.72 -

ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม สัญญาสําคัญที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่เกีย่ วของกัน (ก)

บริษัทยอยไดทําสัญญาเชาพื้นที่สํานักงาน (รวมคาบริการที่เกี่ยวของ) กับกรรมการของบริษัท ซึ่งไดสิ้นสุดลง ในเดือนพฤศจิกายน 2560 คาเชาและคาบริการสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีจํานวน 2.9 ลานบาท (2559: 3.2 ลานบาท) 43

226


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริโฮลดิ ษัทยอย้ง บริ้ง จํษากั​ัทด (มหาชน) พฤกษา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

5

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

Draft

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

(ข)

บริษัทและบริษัทยอยไดทําสัญญาเชาพื้นที่สํานักงาน (รวมคาบริการที่เกี่ยวของ) กับกิจการที่เกี่ยวของกันอื่น ระยะเวลาตามสัญญา 3 ป เริ่มตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 สิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2563 โดยผูใหเชาสง มอบสถานที่เชาใหกับกลุมบริษัทตั้งแตวันที่ 1 สิงหาคม 2560 คาเชาและคาบริการสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มีจํานวน 57.7 ลานบาท และ 0.8 ลานบาท

(ค)

บริษัทยอยไดจดภาระจํายอมในที่ดินบางสวนซึ่งมียอดสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จํานวนเงิน 1,769.9 ลานบาท (2559: 1,335.1 ลานบาท) ใหแกโครงการของกลุมบริษัทเพื่อดําเนินการดานสาธารณูปโภคโดยไม มีกําหนดเวลา ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทยอยไดจดภาระจํายอมในที่ดินรวมถึงยก ที่ ดิ น เป น ที่ ส าธารณะประโยชน เป น จํ า นวนเงิ น 718.5 ล า นบาท (2559: 219.8 ล า นบาท) โดยได รั บ คาตอบแทนเปนจํานวนเงิน 725.6 ลานบาท (2559: 222.0 ลานบาท)

(ง)

บริษัทยอยมีสัญญากูยืมเงินระหวางกันวงเงินรวม 7,702 ลานบาท โดยคิดอัตราดอกเบี้ยขั้นต่ําของเงินกูลบดวย รอยละ 2 (MLR-2) ตอป และสามารถเรียกชําระเงินคืนไดทันที และสัญญาการใชเงินทดรองจายระหวางกัน โดยคิดอัตราดอกเบี้ยขั้นต่ําของเงินกู (MLR) ตอป

(จ)

บริษัทและบริษัทยอยมีสัญญากูยืมเงินระหวางกันวงเงินรวม 4,300 ลานบาท โดยคิดอัตราดอกเบี้ยขั้นต่ําของ เงินกูลบดวยรอยละ 2 (MLR-2) ตอป และสามารถเรียกชําระเงินคืนไดทันที และสัญญาการใชเงินทดรองจาย ระหวางกันโดยคิดอัตราดอกเบี้ยขั้นต่ําของเงินกู (MLR) ตอป

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด งบการเงินรวม 2560 2559 เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย เงินฝากธนาคารประเภทเงินฝากประจํา เช็คในมือ อื่นๆ รวม

19 77 266 102 880 3 1,347

(ลานบาท) 4 27 145 408 1 585

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 -

-

28 1

29

-

44

227


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยโฮลดิ อย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 6

Draft

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

เงินลงทุนชั่วคราว งบการเงินรวม

2560 เงินลงทุนชั่วคราว เงินลงทุนในกองทุนรวมที่เปน หลักทรัพยเผื่อขาย รวม

(ลานบาท)

2559

-

246 246

รายการเคลื่อนไหวในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ของเงินลงทุนในกองทุนรวมที่เปนหลักทรัพยเผื่อขาย มีดังนี้

2560 ณ วันที่ 1 มกราคม ซื้อระหวางป ขายระหวางป ณ วันที่ 31 ธันวาคม

45

228

งบการเงินรวม (ลานบาท) 246 57 (303) -

2559 326 3,334 (3,414) 246


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริโฮลดิ ษัทยอย้ง บริ้ง จํษากั​ัทด (มหาชน) พฤกษา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 7

Draft

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

โครงการอสังหาริมทรัพยระหวางการพัฒนา

หมายเหตุ

2560

งบการเงินรวม

2559

(ลานบาท) วัสดุกอสราง บานตัวอยาง โครงการระหวางการพัฒนา - ที่ดิน - คาปรับปรุงที่ดิน - คากอสราง - คาสาธารณูปโภค - คาโสหุยการกอสราง - คาดอกเบี้ย ที่ดินและที่ดินพรอมบานเพื่อขาย ที่ดินรอการพัฒนา รวม หัก ขาดทุนจากการปรับมูลคาของโครงการ อสังหาริมทรัพยระหวางการพัฒนา สุทธิ ตนทุนการกูยืมที่รวมเปนสวนหนึ่งของ ตนทุนการพัฒนาระหวางป

27

677 1,302

455 1,083

30,353 1,473 4,114 2,233 2,279 723 41,175 11,743 8,999 63,896

27,267 1,468 4,908 1,840 1,870 594 37,947 11,363 9,090 59,938

(105) 63,791

(100) 59,838

564

502

46

229


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยอโฮลดิ ย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

Draft

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 งบการเงินรวม

2560 จํานวนโครงการที่อยูระหวางการพัฒนา ทาวนเฮาส บานเดี่ยว บานแฝด คอนโดมิเนียม ตางประเทศ รวม ง

8

(โครงการ)

-

140 51 10 20

127 41 9 16 1 194

221

โครงการอสังหาริมทรัพยระหวางพัฒนา (ที่ดินและสิ่งปลูกสราง) ไดใชเปนหลักประกันสําหรับวงเงินสินเชื่อกับ ธนาคาร (ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 14) เงินลงทุนในการรวมคา

2560 การรวมคา ณ วันที่ 1 มกราคม สวนแบงขาดทุนสุทธิจากเงินลงทุนในการรวมคา กลับรายการสวนแบงขาดทุนจากการรวมคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม (ลานบาท) 108 108

ไมมีการซื้อและจําหนายเงินลงทุนในการรวมคาในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559

47

230

2559

2559

108 (2) 2 108


80.00

50.00

มัลดีฟส

อินเดีย

50.00

80.00

สัดสวนความเปนเจาของ 2560 2559 (รอยละ)

0.3

129.6

0.3 129.9

129.6

0.3 129.9

129.6

108.0

108.0

108.0

108.0

มูลคาตาม ราคาทุน วิธีสวนไดเสีย 2560 2559 2560 2559 (ลานบาท)

กลุมบริษัทไมมีเงินลงทุนในการรวมคาที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ดังนั้นจึงไมมีราคาที่เปดเผยตอสาธารณชน

0.3

129.6

ทุนชําระแลว 2560 2559

ทั้งนี้เปนไปตามสัญญารวมทุนที่กําหนดใหบริษัทรวมทุนตองรวมกันตัดสินใจและบริหารงาน

การรวมคาทางออม (ถือหุนโดยบริษัทยอย) บริษัท พฤกษา เอช พัฒนาอสังหาริมทรัพยและ ดีซี เฮาสซิง จํากัด กอสรางที่อยูอาศัย บริษัท พฤกษา ลักซ พัฒนาอสังหาริมทรัพยและ โซรา เฮาสซิง กอสรางที่อยูอาศัย จํากัด รวม

ลักษณะธุรกิจ

ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง

งบการเงินรวม

-

-

-

-

เงินปนผลรับ 2560 2559

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

เงินลงทุนในการรวมคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 และเงินปนผลรับสําหรับแตละป มีดังนี้

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

Draft

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

231


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยอโฮลดิ ย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 9

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

เงินลงทุนในบริษัทยอย งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (ลานบาท) 34,523 1,000 34,523 35,523 34,523

ณ วันที่ 1 มกราคม/ 16 มีนาคม ซื้อเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

49

232

Draft


ขายอสังหาริมทรัพย ขายอสังหาริมทรัพย ลงทุนในบริษัทอื่น ลงทุนในบริษัทอื่น พัฒนาอสังหาริมทรัพยและ กอสรางที่อยูอาศัย

กอสรางที่อยูอาศัย พัฒนาอสังหาริมทรัพยและ กอสรางที่อยูอาศัย

บริษัท พฤกษา อินเดีย คอนสตรัคชั่น จํากัด บริษัท พฤกษา เวียดนาม จํากัด**

ใหบริการการจัดการ ตกแตง บาน และรับเหมากอสราง

ขายอสังหาริมทรัพย ลงทุนในบริษัทอื่น

บริษัท พุทธชาด เอสเตท จํากัด บริษัท พนาลี เอสเตท จํากัด บริษัท พฤกษา โอเวอรซีส จํากัด บริษัท พฤกษา อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด บริษัท พฤกษา อินเดีย เฮาสซิง จํากัด

บริษัทยอยทางออม (ถือโดยบริษัทยอย) บริษัท เกสรกอสราง จํากัด

บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จํากัด (มหาชน) บริษัท โรงพยาบาลวิมุต โฮลดิ้ง จํากัด*

บริษัทยอย บริษัทยอยทางตรง

ลักษณะธุรกิจ

เวียดนาม

233

50

100.00

100.00

100.00

อินเดีย อินเดีย

100.00 100.00 100.00 100.00

100.00

97.90 99.99

100.00

100.00

100.00

100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

-

97.90

สัดสวนความเปน เจาของ 2560 2559 (รอยละ)

ไทย ไทย ไทย ไทย

ไทย

ไทย ไทย

ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง

106.1

0.7

9.8

800.0 800.0 500.0 1,000.0

100.0

2,232.7 1,000.0

106.1

0.7

13.1

100.0 800.0 800.0 500.0 1,000.0

-

2,232.7

ทุนชําระแลว 2560 2559

-

-

-

-

-

34,523.4 1,000.0

-

-

-

-

34,523.4

วิธีราคาทุน 2560 2559 (ลานบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

-

-

-

-

-

5,508.3 -

-

-

-

-

เงินปนผลรับ 2560 2559

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

เงินลงทุนในบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 และเงินปนผลรับจากเงินลงทุนสําหรับแตละปมีดังนี้

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

Draft

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)


234

รับเหมากอสราง

ประกอบกิจการโรงพยาบาล เอกชน สถานพยาบาล สถานที่ ตรวจและรักษาคนไข

บริษัท ธนะเทพเอ็นจิเนียริ่งแอนดคอน สตรั๊คชั่น จํากัด *****

บริษัท โรงพยาบาลวิมุต อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ไทย

99.99

51.00

84.85

อินเดีย ไทย

100.00

-

51.00

84.85

100.00

สัดสวนความเปน เจาของ 2560 2559 (รอยละ)

ไทย

ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง

998.0

5.0

-

2.5

-

5.0

0.6

2.5

ทุนชําระแลว 2560 2559

35,523.4

-

-

-

34,523.4

-

-

-

วิธีราคาทุน 2560 2559 (ลานบาท) -

งบการเงินเฉพาะกิจการ

5,508.3

-

-

-

-

-

-

-

เงินปนผลรับ 2560 2559

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

51

บริษัทไมมีเงินลงทุนในบริษัทยอยที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ดังนั้นจึงไมมีราคาที่เปดเผยตอสาธารณชน * - ในเดือนกุมภาพันธ เดือนมิถุนายน และเดือนกรกฎาคม 2560 บริษัทไดลงทุนในหุนทุนของบริษัท โรงพยาบาลวิมุต โฮลดิ้ง จํากัด เปนจํานวนเงินรวม 1,000.0 ลานบาท โดยถือหุนรอยละ 99.99 ** - การถือหุนในบริษัท พฤกษา เวียดนาม จํากัด สัดสวนการถือหุนตามขอตกลงคือ 85:15 เมื่อมีการชําระคาหุนครบถวนแลว ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทถือหุนทางออมในบริษัท พฤกษา เวียดนาม จํากัด รอยละ 100 เนื่องจากผูรวมทุนยังมิไดชําระคาหุนในสวนของตน *** - บริษัท พฤกษา โอเวอรซีส เซอรวิส เรียลเอสเตท จํากัด ไดจดทะเบียนเลิกบริษัทกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2560 ขณะนี้อยูระหวางการชําระบัญชี ****- บริษัท พฤกษา โมฮัน มูธา เรียลเอสเตท จํากัด ไดชําระบัญชีเรียบรอยแลวระหวางป ***** - บริษทั ธนะเทพเอ็นจิเนียริง่ แอนดคอนสตรัค๊ ชั่น จํากัด ไดจดทะเบียนเลิกบริษทั กับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2558 ขณะนีอ้ ยูระหวางการชําระบัญชี

รวม

ใหบริการและบริหารจัดการ พัฒนาอสังหาริมทรัพยและ กอสรางที่อยูอาศัย

บริษัท พฤกษา โอเวอรซีส เซอรวิส จํากัด*** บริษัท พฤกษา โมฮัน มูธา เรียลเอสเตท จํากัด ****

ลักษณะธุรกิจ

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

Draft รายงานประจํ า ปี 2560


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริโฮลดิ ษัทย่ อย้ง บริง้ จํษากั​ัทด (มหาชน) พฤกษา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 10

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

อสั งหาริมทรัพย์ เพือ่ การลงทุน งบการเงินรวม (ล้ านบาท) ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 จําหน่าย รับโอนจากโครงการอสังหาริ มทรัพย์ระหว่างการพัฒนา โอนไปโครงการอสังหาริ มทรัพย์ระหว่างการพัฒนา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560 จําหน่าย รับโอนจากโครงการอสังหาริ มทรัพย์ระหว่างการพัฒนา โอนไปโครงการอสังหาริ มทรัพย์ระหว่างการพัฒนา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

385 (14) 71 (44) 398 (1) 427 (36) 788

ขาดทุนจากการด้ อยค่ า ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560 ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

153 153 (6) 147

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

232 245 641

มูลค่ายุติธรรมของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนของกลุ่มบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จํานวน 682.0 ล้านบาท (2559: 275.2 ล้ านบาท) ประเมินราคาโดยผูป้ ระเมินราคาอิสระโดยพิจารณาราคาตามเกณฑ์ราคาตลาดของสิ นทรัพย์ การวัดมูลค่ายุติธรรมของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ถูกจัดลําดับชั้นการวัดมูลค่ายุติธรรมอยูใ่ นระดับที่ 2 อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนของกลุ่มบริ ษทั ประกอบด้วยที่ดินที่ถือครองไว้โดยยังมิได้ระบุวตั ถุประสงค์ของการ ใช้ในอนาคต

52

235


รายงานประจํ า ปี 2560

บริ้ง จํษากั​ัทด (มหาชน) พฤกษา โฮลดิ บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริ ษัทยอย้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

การวัดมูลคายุตธิ รรม ลําดับชั้นมูลคายุติธรรม มูลคายุติธรรมของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนถูกประเมินโดยผูประเมินราคาทรัพยสินอิสระจากภายนอก ซึ่งมี คุณสมบัติในวิชาชีพที่เหมาะสมและมีประสบการณในการประเมินราคาทรัพยสินประเภทดังกลาว การวัดมูลคายุติธรรมของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนถูกจัดลําดับชั้นการวัดมูลคายุติธรรมอยูในระดับที่ 2 จาก เกณฑขอมูลที่นํามาใชในเทคนิคการประเมินมูลคายุติธรรม

236

53


11

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 เพิ่มขึ้น โอน - สุทธิ จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560 เพิ่มขึ้น โอน - สุทธิ จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ

1,675 24 1,699 16 108 (52) 1,771

846 950 5 (4) 1,797

อาคาร และสวน ตกแตง

846 -

ที่ดินและสวน ปรับปรุงที่ดิน

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

2,851 75 27 (121) 2,832

2,886 130 38 (203)

54

เครื่องจักรและ อุปกรณ

351 61 42 (92) 362

341 20 30 (40) 17 17

17 -

งบการเงินรวม เครื่องตกแตง ติดตั้ง และเครื่องใช สาธารณูปโภค สํานักงาน สวนกลาง (ลานบาท)

39 3 (5) 37

44 3 1 (9)

ยานพาหนะ

48 279 (182) 145

47 94 (93) -

สินทรัพยระหวาง กอสรางและ ติดตั้ง

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

5,851 1,384 (274) 6,961

5,856 247 (252)

รวม

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

237


238

คาเสื่อมราคาสะสมและ ขาดทุนจากการดอยคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 คาเสื่อมราคาสําหรับป จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560 คาเสื่อมราคาสําหรับป จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 416 95 511 101 (52) 560

16 4 20

อาคาร และสวน ตกแตง

12 4 -

ที่ดินและสวน ปรับปรุงที่ดิน

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

1,324 260 (105) 1,479

1,241 259 (176)

55

เครื่องจักรและ อุปกรณ

269 40 (86) 223

264 43 (38) 17 17

17 -

งบการเงินรวม เครื่องตกแตง ติดตั้ง และเครื่องใช สาธารณูปโภค สํานักงาน สวนกลาง (ลานบาท)

31 3 (5) 29

34 3 (6)

ยานพาหนะ

-

-

สินทรัพยระหวาง กอสรางและ ติดตั้ง

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

2,168 408 (248) 2,328

1,984 404 (220)

รวม

รายงานประจํ า ปี 2560


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560 ภายใตกรรมสิทธิ์ของกลุมบริษัท ภายใตสัญญาเชาการเงิน

มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 ภายใตกรรมสิทธิ์ของกลุมบริษัท ภายใตสัญญาเชาการเงิน

830 830

834 834

ที่ดินและสวน ปรับปรุงที่ดิน

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

1,188 1,188

1,259 1,259

อาคาร และสวน ตกแตง

1,527 1,527

1,645 1,645

56

เครื่องจักรและ อุปกรณ

82 82

76 1 77

-

-

งบการเงินรวม เครื่องตกแตง ติดตั้ง และเครื่องใช สาธารณูปโภค สํานักงาน สวนกลาง (ลานบาท)

8

8

10 10

ยานพาหนะ

48 48

47 47

สินทรัพยระหวาง กอสรางและ ติดตั้ง

3,683 3,683

3,871 1 3,872

รวม

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

239


240

1,777 1,777

1,211 1,211

อาคาร และสวน ตกแตง

1,353 1,353

เครื่องจักรและ อุปกรณ

139 139

-

งบการเงินรวม เครื่องตกแตง ติดตั้ง และเครื่องใช สาธารณูปโภค สํานักงาน สวนกลาง (ลานบาท)

8

8

ยานพาหนะ

145 145

สินทรัพยระหวาง กอสรางและ ติดตั้ง

4,633 4,633

รวม

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

57

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ซึ่งมีราคาตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เปนจํานวนเงิน 1,267 ลานบาทของกลุมบริษัท (2559: 1,344 ลานบาท) ไดใชเปนหลักประกันสําหรับวงเงิน สินเชื่อจากธนาคาร (ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 14)

การค้ําประกัน

ราคาทรัพยสินของกลุมบริษัทกอนหักคาเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ ซึ่งไดคิดคาเสื่อมราคาเต็มจํานวนแลว แตยังคงใชงานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีจํานวน 561 ลานบาท (2559: 685 ลานบาท) ตามลําดับ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ภายใตกรรมสิทธิ์ของกลุมบริษัท ภายใตสัญญาเชาการเงิน

ที่ดินและสวน ปรับปรุงที่ดิน

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 รายงานประจํ า ปี 2560


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษ ษัทัทพฤกษา โฮลดิ และบริโฮลดิ ษจ� ัทยำอกั ย้งด จ�(มหาชน) บริ พฤกษา บริ้ง จํษาเรีกั​ัทดย(มหาชน) พฤกษา ลเอสเตท ำกัด (มหาชน) และบริและบริ ษัทย่อษยัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิ น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

าหรั นวาคม2560 2560 ส�ำสํหรั บปีบสปิ้นสสุิ้นดสุวัดนวัทีน่ ที31่ 31ธันธัวาคม 12

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

สินทรัพยไมมีตัวตน งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ กิจการ ลิขสิทธิ์ซอฟตแวร ลิขสิทธิ์ซอฟตแวร (ลานบาท) ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 เพิ่มขึ้น จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

512 72 (6) 578 59 637

-

คาตัดจําหนายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 คาตัดจําหนายสําหรับป จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560 คาตัดจําหนายสําหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

198 49 (3) 244 59 303

-

มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

314 334 334

-

2 2

2

58

241


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยโฮลดิ อย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 13

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีรวมที่เกิดขึ้นในระหวางปมีดังนี้

ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี โครงการอสังหาริมทรัพยระหวางการพัฒนา อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ประมาณการหนี้สินผลประโยชนพนักงาน เงินมัดจําจากลูกคา ประมาณการความเสียหายจากคดีความ ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน อื่นๆ รวม

3 29 23 52 2 23 14 10 156

10 (2) (9) (8) (9)

หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ที่ดิน อาคารและอุปกรณ รวม

(84) (84)

(12) (12)

สุทธิ

72

59

242

งบการเงินรวม บันทึกเปน (รายจาย) / รายไดใน (หมายเหตุ 28) กําไรหรือ กําไรขาดทุน ขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น (ลานบาท) 1 (1)

(21)

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

(2) 1

4 28 23 65 14 12 2 148

-

(96) (96)

3

1

52


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริโฮลดิ ษัทยอย้ง บริ้ง จํษากั​ัทด (มหาชน) พฤกษา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

1

ณ วันที่ 1 มกราคม 2559

งบการเงินรวม บันทึกเปน (รายจาย) / รายไดใน (หมายเหตุ 28) กําไรหรือ กําไรขาดทุน ขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น (ลานบาท)

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี โครงการอสังหาริมทรัพยระหวางการพัฒนา อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ประมาณการหนี้สินผลประโยชนพนักงาน เงินมัดจําจากลูกคา ประมาณการความเสียหายจากคดีความ ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน อื่นๆ รวม

4 29 23 44 11 29 9 14 163

(1) 8 (9) (6) (4) (12)

-

หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ที่ดิน อาคารและอุปกรณ รวม

(65) (65)

(19) (19)

-

สุทธิ

98

(31)

5 5

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

3 29 23 52 2 23 14 10 156

(84) (84) 5

72

60

243


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิง้ จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทย่โฮลดิ อย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ง

14

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หนีส้ ิ นทีม่ ีภาระดอกเบีย้

2560 ส่ วนทีห ่ มุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ส่ วนที่มีหลักประกัน ส่ วนที่ไม่มีหลักประกัน หุ น้ กูร้ ะยะยาวส่ วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ส่ วนที่ไม่มีหลักประกัน รวมหนีส้ ิ นทีม่ ีภาระดอกเบีย้ ส่ วนทีห ่ มุนเวียน ส่ วนทีไ่ ม่ หมุนเวียน หุ น้ กูร้ ะยะยาว ส่ วนที่ไม่มีหลักประกัน รวมหนีส้ ิ นทีม่ ีภาระดอกเบีย้ ส่ วนทีไ่ ม่ หมุนเวียน รวม

งบการเงินรวม (ล้ านบาท)

2559

1,160 1,640

1,898

6,000 8,800

6,000 7,898

15,500 15,500 24,300

12,000 12,000 19,898

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยแสดงตามระยะเวลาครบกําหนดการจ่ายชําระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ได้ดงั นี้

2560

งบการเงินรวม

(ล้ านบาท) 8,800 15,500 24,300

ครบกําหนดภายในหนึ่งปี ครบกําหนดหลังจากหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี รวม

2559 7,898 12,000 19,898

ณ วันที่  ธันวาคม 60 วงเงินสิ นเชื่อซึ่ งยังมิได้เบิกใช้เป็ นจํานวนเงินรวม 23,892 ล้านบาท และ 4 ล้านเหรี ยญ สหรัฐ (131 ล้านบาท) และ 65 ล้านอินเดียรู ปี (35 ล้านบาท) (2016: 20,697 ล้ านบาท และ 4 ล้ านเหรี ยญสหรั ฐ (144 ล้ านบาท) และ 65 ล้ านอิ นเดียรู ปี (36 ล้ านบาท)) สําหรับกลุ่มบริ ษทั

61

244


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริโฮลดิ ษัทย่ อย้ง บริง้ จํษากั​ัทด (มหาชน) พฤกษา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั มีวงเงินสิ นเชื่อซึ่ งนําสิ นทรัพย์ไปเป็ นหลักประกัน ดังนี้ (ก)

วงเงินกูย้ มื จากธนาคารจํานวน 1,197 ล้านบาท (2016: 789 ล้ านบาท) สําหรับกลุ่มบริ ษทั

(ข)

วงเงินเบิกเกินบัญชีจาํ นวน 50 ล้านบาท (2016: 50 ล้ านบาท) สําหรับกลุ่มบริ ษทั

(ค)

วงเงินหนังสื อคํ้าประกันที่ออกโดยธนาคารจํานวน 5,911 ล้านบาท และ 4 ล้านเหรี ยญสหรัฐ (131 ล้านบาท) และ 65 ล้านอินเดียรู ปี (35 ล้านบาท) (2016: 5,911 ล้ านบาท และ 4 ล้ านเหรี ยญสหรั ฐ (144 ล้ านบาท) และ 65 ล้ านอิ นเดียรู ปี (36 ล้ านบาท)) สําหรับกลุ่มบริ ษทั

(ง)

วงเงินตัว๋ สัญญาใช้เงินที่ออกโดยธนาคารจํานวน 10,856 ล้านบาท (2016: 9,792 ล้ านบาท) สําหรับกลุ่มบริ ษทั

(จ)

วงเงินสิ นเชื่ออื่นจํานวน 605 ล้านบาท (2016: 605 ล้ านบาท) สําหรับกลุ่มบริ ษทั

วงเงินสิ นเชื่อดังกล่าวมีรายละเอียดของหลักประกันซึ่ งเป็ นสิ นทรัพย์แสดงราคาตามบัญชี ดังนี้

2560

งบการเงินรวม

2559

(ล้ านบาท)

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ โครงการอสังหาริ มทรัพย์ระหว่างการพัฒนา (ที่ดินและสิ่ งปลูกสร้าง) รวม

1,267

1,344

3,305 4,572

4,301 5,645

นอกจากนี้วงเงินสิ นเชื่อของบริ ษทั ย่อยบางส่ วนคํ้าประกันโดยพฤกษา เรี ยลเอสเตท เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงินมีอตั ราดอกเบี้ยในอัตราตลาด เงิ น กู้ยืมดัง กล่ าวบางส่ วนมี ขอ้ จํากัดเกี่ ยวกับการรั กษาอัตราส่ วนทางการเงิ น รวมถึ งอัตราส่ วนหนี้ สิ นที่ มีภ าระ ดอกเบี้ยต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ และการจ่ายปั นผล 62

245


246 ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ครั้งที่ 1/2555* ชุดที่ 2 ชุดที่ 4 ครั้งที่ 1/2556** ชุดที่ 2 ครั้งที่ 1/2557* ชุดที่ 1 ครั้งที่ 2/2557*** ชุดที่ 1 ชุดที่ 2

ประเภทหุนกู

ชําระดอกเบี้ยทุก 3 เดือน

ชําระดอกเบี้ยทุก 3 เดือน 2 ป 9 เดือน ชําระดอกเบี้ยทุก 3 เดือน 3 ป 6 เดือน

รอยละ 3.88

รอยละ 3.71 รอยละ 3.90

3 ป

5 ป

ชําระดอกเบี้ยทุก 3 เดือน

รอยละ 4.09

5 ป 5 ป

อายุ

ชําระดอกเบี้ยทุก 3 เดือน ชําระดอกเบี้ยทุก 3 เดือน

กําหนดชําระดอกเบี้ย

รอยละ 4.60 รอยละ 4.60

อัตราดอกเบี้ย (รอยละตอป)

63

กันยายน 2557 กันยายน 2557

มกราคม 2557

พฤษภาคม 2556

กันยายน 2555 กันยายน 2555

วันที่ออก

มิถุนายน 2560 มีนาคม 2561

มกราคม 2560

พฤษภาคม 2561

กันยายน 2560 กันยายน 2560

วันที่ครบกําหนด

-

-

-

2.0

3.0

2.0 2.0

2.0

3.0

0.6 1.4

จํานวนหนวย 2560 2559 (ลานหนวย)

(ลานบาท)

จํานวนเงิน

2,000

-

3,000

-

2560

งบการเงินรวม

2,000 2,000

2,000

3,000

600 1,400

2559

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 หุนกูของกลุมบริษัททั้งหมดออกโดย พฤกษา เรียลเอสเตท และเปนหุนกูระยะยาวประเภทไมดอยสิทธิและไมมีหลักประกัน มูลคาที่ตราไว หนวยละ 1,000 บาท ซึ่งที่ประชุมผูถือหุนของพฤกษา เรียลเอสเตท มีมติอนุมัติการออกและเสนอขายตราสารหนี้ดังกลาว โดยมีรายละเอียดดังนี้

หุนกู

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 รายงานประจํ า ปี 2560


อัตราดอกเบี้ย (รอยละตอป)

กําหนดชําระดอกเบี้ย

อายุ

วันที่ออก

วันที่ครบกําหนด

247

64

1.0 2.0 2.3 1.7 18.0 (6.0) 12.0

1.0 2.0 2.3 1.7 2.4 2.6 2.5 2.0 21.5 (6.0) 15.5

จํานวนหนวย 2560 2559 (ลานหนวย)

(ลานบาท)

จํานวนเงิน

2,000 21,500 (6,000) 15,500

2,500

2,400 2,600

2,300 1,700

1,000 2,000

2560

งบการเงินรวม

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ครั้งที่ 1/2558*** ชุดที่ 1 รอยละ 2.68 ชําระดอกเบี้ยทุก 3 เดือน 3 ป 6 เดือน พฤษภาคม 2558 พฤศจิกายน 2561 ชุดที่ 2 รอยละ 3.23 ชําระดอกเบี้ยทุก 3 เดือน 5 ป พฤษภาคม 2558 พฤษภาคม 2563 ครั้งที่ 1/2559**** ชุดที่ 1 รอยละ 2.05 ชําระดอกเบี้ยทุก 3 เดือน 3 ป มีนาคม 2559 มีนาคม 2562 ชุดที่ 2 รอยละ 2.08 ชําระดอกเบี้ยทุก 3 เดือน 3 ป 6 เดือน มีนาคม 2559 กันยายน 2562 ครั้งที่ 1/2560**** ชุดที่ 1 รอยละ 2.63 ชําระดอกเบี้ยทุก 3 เดือน 2 ป 10 เดือน กุมภาพันธ 2560 พฤศจิกายน 2562 ชุดที่ 2 รอยละ 2.85 ชําระดอกเบี้ยทุก 3 เดือน 3 ป 6 เดือน กุมภาพันธ 2560 กรกฎาคม 2563 ครั้งที่ 2/2560****’ ***** ชุดที่ 1 รอยละ 2.64 ชําระดอกเบี้ยทุก 6 เดือน 3 ป 5 เดือน มิถุนายน 2560 พฤศจิกายน 2563 ครั้งที่ 3/2560***** ชุดที่ 1 รอยละ 2.27 ชําระดอกเบี้ยทุก 6 เดือน 3 ป 6 เดือน กันยายน 2560 มีนาคม 2564 รวม หัก หุนกูที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป หุนกูประเภทไมดอยสิทธิและไมมีหลักประกัน - สุทธิจากสวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป

ประเภทหุนกู

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

18,000 (6,000) 12,000

-

-

2,300 1,700

1,000 2,000

2559

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยโฮลดิ อย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

*

ที่ประชุมสามัญผูถือหุ นประจําปของ พฤกษา เรียลเอสเตท เมื่อวัน ที่ 27 เมษายน 2555 มีมติอนุมัติการออกและ เสนอขายตราสารหนี้ เพื่อลดภาระตนทุนทางการเงินและรองรับการขยายธุรกิจของบริษัทในอนาคต โดยกําหนด วงเงินที่ออกตราสารหนี้ดังกลาวไมเกิน 7,000 ลานบาท โดยเสนอขายตอผูลงทุนทั่วไป และ/หรือเสนอขายใหแก บุคคลในวงจํากัดตามหลักเกณฑที่กําหนดไวในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย โดย อาจเสนอขายครั้งเดียวเต็มจํานวน และ/หรือเปนคราวๆ ไป โดยในระหวางไตรมาส 3 ป 2555 บริษัทไดออกหุนกู ครั้ ง ที่ 1/2555 แล ว จํ านวน 5,000 ล านบาทและในไตรมาส 1 ป 2557 พฤกษา เรี ย ลเอสเตท ได อ อกหุ น กู ค รั้ ง ที่ 1/2557 แลวจํานวน 2,000 ลานบาท

**

ที่ประชุมสามัญผูถือหุ นประจําปของ พฤกษา เรียลเอสเตท เมื่อวัน ที่ 26 เมษายน 2556 มีมติอนุมัติการออกและ เสนอขายตราสารหนี้เพื่อรองรับการขยายธุรกิจของ พฤกษา เรียลเอสเตท ในอนาคต โดยกําหนดวงเงินที่ออกตรา สารหนี้ดังกลาวไมเกิน 6,000 ลานบาท อายุไมเกิน 5 ป โดยมีประเภทและอัตราดอกเบี้ยตามความเหมาะสมของ ตลาดในขณะที่ เสนอขาย ในระหว างไตรมาส 2 ป 2556 พฤกษา เรีย ลเอสเตท ได อ อกหุ น กู ค รั้งที่ 1/2556 แล ว จํานวน 6,000 ลานบาท

*** ที่ประชุมสามัญผูถือหุ นประจําปของ พฤกษา เรียลเอสเตท เมื่อวัน ที่ 25 เมษายน 2557 มีมติอนุมัติการออกและ เสนอขายตราสารหนี้เพื่อรองรับการขยายธุรกิจของ พฤกษา เรียลเอสเตท ในอนาคต โดยกําหนดวงเงินที่ออกตรา สารหนี้ดังกลาวไมเกิน 7,000 ลานบาท อายุไมเกิน 7 ป โดยมีประเภทและอัตราดอกเบี้ยตามความเหมาะสมของ ตลาดในขณะที่ เสนอขาย ในระหว างไตรมาส 3 ป 2557 พฤกษา เรีย ลเอสเตท ได อ อกหุ น กู ค รั้งที่ 2/2557 แล ว จํานวน 4,000 ลานบาท และในระหวางไตรมาสที่ 2 ป 2558 พฤกษา เรียลเอสเตท ไดออกหุนกูครั้งที่ 1/2558 แลว จํานวน 3,000 ลานบาท **** ที่ประชุมสามัญผูถือหุ นประจําปของ พฤกษา เรียลเอสเตท เมื่อวัน ที่ 28 เมษายน 2558 มีมติอนุมัติการออกและ เสนอขายตราสารหนี้เพื่อรองรับการขยายธุรกิจของ พฤกษา เรียลเอสเตท ในอนาคต โดยกําหนดวงเงินที่ออกตรา สารหนี้ดังกลาวไมเกิน 10,000 ลานบาท อายุไมเกิน 7 ป โดยมีประเภทและอัตราดอกเบี้ยตามความเหมาะสมของ ตลาดในขณะที่ เสนอขาย ในระหว างไตรมาส 1 ป 2559 พฤกษา เรีย ลเอสเตท ได อ อกหุ น กู ค รั้งที่ 1/2559 แล ว จํานวน 4,000 ลานบาท และในระหวางไตรมาส 1 ป 2560 พฤกษา เรียลเอสเตท ไดออกหุนกูครั้งที่ 1/2560 แลว จํานวน 5,000 ลานบาท และในระหวางไตรมาส 2 ป 2560 พฤกษา เรียลเอสเตท ไดออกหุนกูครั้งที่ 2/2560 แลว จํานวน 1,000 ลานบาท ***** ที่ประชุมสามัญผูถือหุ นประจําปของ พฤกษา เรียลเอสเตท เมื่อวัน ที่ 28 เมษายน 2559 มีมติอนุมัติการออกและ เสนอขายตราสารหนี้ เพื่ อรองรับการขยายธุรกิจของ พฤกษา เรียลเอสเตท ในอนาคต โดยกําหนดวงเงิน ที่ ออก ตราสารหนี้ดังกลาวไมเกิน 7,000 ลานบาท อายุไมเกิน 7 ป โดยมีประเภทและอัตราดอกเบี้ยตามความเหมาะสมของ ตลาดในขณะที่ เสนอขาย ในระหว างไตรมาส 2 ป 2560 พฤกษา เรีย ลเอสเตท ได อ อกหุ น กู ค รั้งที่ 2/2560 แล ว จํานวน 1,500 ลานบาท และในระหวางไตรมาส 3 ป 2560 บริษัทไดออกหุนกูครั้งที่ 3/2560 แลวจํานวน 2,000 ลาน บาท 65

248


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริโฮลดิ ษัทยอย้ง บริ้ง จํษากั​ัทด (มหาชน) พฤกษา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

รายการเคลื่อนไหวในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ของหุนกู มีดังนี้

2560

(ลานบาท)

ณ วันที่ 1 มกราคม ออกหุนกูร ะหวางป ชําระหุนกูคืนระหวางป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 15

งบการเงินรวม

18,000 9,500 (6,000) 21,500

2559 20,000 4,000 (6,000) 18,000

เจาหนี้การคา งบการเงินรวม 2560 (ลานบาท) 2,379 2,379

บุคคลหรือกิจการอื่นๆ รวม 16

2559 1,995 1,995

หนี้สินหมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม 2560 2559 โครงการอสังหาริมทรัพยระหวาง การพัฒนาคางจาย เงินคาบํารุงสาธารณูปโภคคางจาย โบนัสคางจาย เงินประกันผลงานคางจาย ดอกเบี้ยคางจาย ภาษีเงินไดหัก ณ ที่จายคางจาย อื่นๆ รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (ลานบาท)

789 919 355 510 73 57 701 3,404

744 758 295 517 53 60 486 2,913

15 1 3 19

-

66

249


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยโฮลดิ อย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 17

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ประมาณการหนี้สินไมหมุนเวียนสําหรับผลประโยชนพนักงาน โครงการผลประโยชนที่กําหนดไว กลุมบริษัทจัดการโครงการผลประโยชนที่กําหนดไวตามขอกําหนดของพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ในการใหผลประโยชนเมื่อเกษียณแกพนักงานตามสิทธิและอายุงาน โครงการผลประโยชนที่กําหนดไวมีความเสี่ยงจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ไดแก ความ เสี่ยงของชวงชีวิต ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย และความเสี่ยงจากตลาด (เงินลงทุน) การเปลี่ยนแปลงในมูลคาปจจุบน ั ของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชนหลังออกจากงาน งบการเงินรวม 2560 (ลานบาท) 290

ณ วันที่ 1 มกราคม รับรูในกําไรขาดทุน ตนทุนบริการปจจุบัน ดอกเบี้ยจากภาระผูกพัน

247

68 10 78

37 8 45

รับรูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัย

15

อื่นๆ ผลประโยชนจา ย

(9)

(2)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

374

290

67

250

2559

-


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริโฮลดิ ษัทยอย้ง บริ้ง จํษากั​ัทด (มหาชน) พฤกษา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ขอสมมติในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ขอ สมมติ ห ลั ก ในการประมาณการตามหลั ก คณิ ตศาสตรป ระกั น ภั ย ณ วัน ที่ รายงาน (แสดงโดยวิธี ถัว เฉลี่ ยถว ง น้ําหนัก) ไดแก งบการเงินรวม 2560 2559 อัตราคิดลด (รอยละ) 1.41 – 4.15 3.6 การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต พนักงานประจํา (รอยละ) 5 ,6, 8 และ 9 5 และ 8 อายุครบเกษียณ (ป) 60 60 ขอสมมติเกี่ยวกับอัตรามรณะในอนาคตถือตามขอมูลทางสถิติที่เผยแพรทั่วไปและตารางมรณะ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ระยะเวลาถัวเฉลีย่ ถวงน้ําหนักของภาระผูกพันผลประโยชนที่กําหนดไวเปน 18 ป (2559: 25 ป) การวิเคราะหความออนไหว การเปลี่ยนแปลงในแตละขอสมมติที่เกี่ยวของในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยที่อาจเปนไปได อยางสมเหตุส มผล ณ วัน ที่ รายงาน โดยถื อ วาขอ สมมติ อื่น ๆ คงที่ จะมี ผลกระทบต อ ภาระผู ก พั นของโครงการ ผลประโยชนเปนจํานวนเงินดังตอไปนี้ งบการเงินรวม (ลานบาท) เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 อัตราคิดลด (เปลี่ยนแปลงรอยละ 1) (38) 44 การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต (เปลี่ยนแปลงรอยละ 1) 42 (36) อัตรามรณะในอนาคต (เปลี่ยนแปลงรอยละ 1) 1 (1) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 อัตราคิดลด (เปลี่ยนแปลงรอยละ 1) การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต (เปลี่ยนแปลงรอยละ 1) อัตรามรณะในอนาคต (เปลี่ยนแปลงรอยละ 1)

(27) 37 -

33 (32) -

68

251


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยโฮลดิ อย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

แม ว าการวิ เคราะห นี้ ไ ม ได คํ านึ งการกระจายตั ว แบบเต็ ม รูป แบบของกระแสเงิน สดที่ ค าดหวั งภายใต โครงการ ดังกลาว แตไดแสดงประมาณการความออนไหวของขอสมมติตางๆ 18

ทุนเรือนหุน

ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม/ 16 มีนาคม - หุนสามัญ ออกหุนใหม ลดหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุน  สามัญ ทุนที่ออกและชําระแลว ณ วันที่ 1 มกราคม/ 16 มีนาคม - หุนสามัญ ออกหุนใหม ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุน  สามัญ

มูลคาหุน 2560 2559 ตอหุน จํานวนหุน จํานวนเงิน จํานวนหุน จํานวนเงิน (บาท) (ลานหุน / ลานบาท)

1 1 1

2,273 (47)

2,273 (47)

2,273 -

2,273 -

1

2,226

2,226

2,273

2,273

1

2,186 1

2,186 1

2,186

2,186

1

2,187

2,186

2,186

2,187

ผูถือหุนสามัญจะไดรับสิทธิในการรับเงินปนผลจากการประกาศจายเงินปนผลและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนหนึ่ง เสียงตอหนึ่งหุนในที่ประชุมของบริษัท การเพิ่มทุนจดทะเบียน ในการประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษทั เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2559 มีมติอนุมัติใหเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจาก เดิ ม 10,000 บาท (หุ น สามั ญ 10,000 หุ น มู ล ค า ที่ ต ราไว หุ น ละ 1 บาท) เป น 2,273,217,600 บาท (หุ น สามั ญ 2,273,217,600 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท) เพื่อแลกเปลี่ยนกับหุนสามัญของบริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จํากัด (มหาชน) ภายใตแผนการปรับโครงสรางกิจการ และเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน สามัญของบริษัท โดยบริษัทไดจดทะเบียนการเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2559 69

252


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริโฮลดิ ษัทยอย้ง บริ้ง จํษากั​ัทด (มหาชน) พฤกษา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

การลดทุนจดทะเบียน ในการประชุ ม สามั ญ ผู ถื อ หุ น ประจํ าป ข องบริ ษั ท เมื่ อ วั น ที่ 27 เมษายน 2560 ผู ถื อ หุ น มี ม ติ อ นุ มั ติ ก ารลดทุ น จด ทะเบี ยนของบริษัท จํานวน 46.84 ลานบาท จากทุ น จดทะเบี ยนเดิ ม 2,273.22 ลานบาท เป น ทุ นจดทะเบี ยนใหม 2,226.38 ล านบาท โดยการตั ด หุ น สามั ญ ที่ อ อกไว เพื่ อ รองรับ การทํ าคํ าเสนอซื้ อ หลั ก ทรัพ ยของบริษั ท พฤกษา เรียลเอสเตท จํากัด จํานวน (มหาชน) 46.84 ลานหุน โดยบริษัทไดจดทะเบียนการลดทุนกับกระทรวงพาณิชยเมื่อ วันที่ 22 พฤษภาคม 2560 การออกหุนสามัญ ตามที่ ไดกลาวในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 1 ณ วัน ที่ 25 พฤศจิกายน 2559 บริษัทได ออกหุ นสามัญ เพื่ อ แลกเปลี่ยนกับหุนสามัญของพฤกษา เรียลเอสเตท เปนจํานวน 2,185,847,580 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท โดย บริษัทไดจดทะเบียนการเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2559 ในระหว า งป สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 และ 2559 มี ก ารใช สิ ท ธิ ใ บสํ า คั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ จ ะซื้ อ หุ น สามั ญ (“ใบสําคัญแสดงสิทธิฯ”) ของบริษทั ดังนี้

โครงการ PS-WF รวม

ราคาใชสิทธิหุนละ (บาท) 16.28

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (ลานหุน) 0.9 0.9 -

สวนเกินมูลคาหุน ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุนสูงกวา มูลคาหุนที่จดทะเบียนไว บริษัทตองนําคาหุนสวนเกินนี้ตั้งเปนทุนสํารอง (“สวนเกินมูลคาหุน”) สวนเกินมูลคาหุน นี้จะนําไปจายเปนเงินปนผลไมได

70

253


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยโฮลดิ อย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 19

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน PS-WE ในการประชุมสามัญ ผูถือหุ นประจําป ของ พฤกษา เรียลเอสเตทเมื่อวัน ที่ 26 เมษายน 2556 มีม ติอนุ มัติการออก ใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ของ พฤกษา เรียลเอสเตทใหแกกรรมการ (ซึ่งไดรับการจัดสรรในฐานะเปนผูบริหารของ พฤกษา เรียลเอสเตท) และผูบริห ารของ พฤกษา เรียลเอสเตทและ/หรือบริษัทยอยจํานวน 15 ลานหน วย โดยมี รายละเอียดดังนี้ รายการ ประเภทของใบสําคัญแสดงสิทธิฯ อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิฯ เสนอใหกับ

จํานวนที่ออกและจัดสรรแลว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 อัตราการใชสิทธิ ราคาในการใชสิทธิ ระยะเวลาและสัดสวนการใชสิทธิ

รายละเอียด ชนิดไมมีมูลคา 4 ป นับแตวันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ กรรมการ (ซึ่งไดรับการจัดสรรในฐานะเปนผูบริหารของ พฤกษา เรียลเอสเตท) และผูบริหารของ พฤกษา เรียลเอสเตทและ/หรือ บริษทั ยอย 4,838,447 หนวย (หนวยที่มีการใหสิทธิจริง) ใบสําคัญแสดงสิทธิฯ 1 หนวยตอหุนสามัญ 1 หุน 28.19 บาทตอหุน ป ล ะ 4 ครั้ ง ในเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ พฤษภาคม สิ ง หาคม และ พฤศจิกายนของแตละป (2557 เปนปแรก) โดยจะใชสิทธิรวมกัน ในแตละปไดไมเกิน 1 ใน 4 ของที่ไดรับจัดสรรเปนระยะเวลา 4 ป ในกรณีที่ไมไดใชสิทธิใหครบจํานวนใหสามารถไปใชสิทธิได ในคราวถัดไป

การวัดมูลคายุตธิ รรม มู ล ค ายุติธ รรมของใบสํ าคั ญ แสดงสิ ท ธิ ฯ โครงการ PS-WE ถู ก คํ านวณโดยแบบจําลอง Binomial option pricing ความผันผวนของหุนที่คาดหวังไดอิงกับความผันผวนของหุนในอดีต ระหวางวันที่ 24 กุมภาพันธ 2552 ถึงวันที่ 25 กุมภาพันธ 2557

71

254


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริโฮลดิ ษัทยอย้ง บริ้ง จํษากั​ัทด (มหาชน) พฤกษา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ขอมูลเกี่ยวกับวิธีการวัดมูลคายุติธรรมของใบสําคัญแสดงสิทธิฯ โครงการ PS-WE แสดงไดดังนี้ มูลคายุติธรรมเฉลี่ย ณ วันที่ใหสิทธิ (บาท) ราคาหุน ณ วันที่ใหสิทธิ (บาท) ราคาใชสิทธิ (บาท) ความผันผวนของหุนที่คาดหวัง (รอยละ) เงินปนผลที่คาดหวัง (รอยละ) อัตราดอกเบี้ยปลอดความเสี่ยง (รอยละ) อัตราการเลิกจางตอป (รอยละ)

2.55 18.8 28.19 45.0 3.0 2.27 - 3.09 10.0

สิทธิดังกลาว ไดใหแกกรรมการของ พฤกษา เรียลเอสเตท (ซึ่งไดรับการจัดสรรในฐานะเปนผูบริหารของ พฤกษา เรียลเอสเตท) และผูบริหารของ พฤกษา เรียลเอสเตทและ/หรือบริษัทยอยเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2557 ซึ่งเปนวันที่ พฤกษา เรียลเอสเตทไดแจงเงื่อนไขและขอตกลงตางๆ ในการใชสิทธิแกกรรมการและพนักงาน PS-WF ในการประชุมสามัญผูถือหุนประจําปของ พฤกษา เรียลเอสเตทเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2557 ผูถือหุนมีมติอนุมัติการ ออกใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ของ พฤกษา เรียลเอสเตท (PS-WF) ใหแกกรรมการ (ซึ่งไดรับการจัดสรรในฐานะเปน ผูบริหารของ พฤกษา เรียลเอสเตท) และผูบริหารของ พฤกษา เรียลเอสเตทและ/หรือบริษัทยอยจํานวน 15 ลาน หนวย โดยมีรายละเอียดดังนี้ รายการ ประเภทของใบสําคัญแสดงสิทธิฯ อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิฯ เสนอใหกับ

จํานวนที่ออกและจัดสรรแลว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 อัตราการใชสิทธิ ราคาในการใชสิทธิ

รายละเอียด ชนิดไมมีมูลคา 4 ป นับแตวันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิฯ กรรมการ (ซึ่งไดรับการจัดสรรในฐานะเปนผูบริหารของ พฤกษา เรียลเอสเตท) และผูบริหารของ พฤกษา เรียลเอสเตทและ/หรือ บริษทั ยอย 6,481,593 หนวย (หนวยที่มีการใหสิทธิจริง) ใบสําคัญแสดงสิทธิฯ 1 หนวยตอหุนสามัญ 1 หุน 16.28 บาทตอหุน 72

255


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิง้ จํากัดบริ (มหาชน) ษัทย่ อยโฮลดิ้ง ษัท และบริ พฤกษา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 รายการ ระยะเวลาและสัดส่ วนการใช้สิทธิ

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

รายละเอียด ปี ละ 4 ครั้ งในเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ พฤษภาคม สิ งหาคม และ พฤศจิ กายนของแต่ละปี (2558 เป็ นปี แรก) โดยจะใช้สิทธิ รวมกัน ในแต่ละปี ได้ไม่เกิน 1 ใน 4 ของที่ได้รับจัดสรรเป็ นระยะเวลา 4 ปี ในกรณี ที่ไม่ได้ใช้สิทธิ ให้ครบจํานวนให้สามารถไปใช้สิทธิ ได้ใน คราวถัดไป

การวัดมูลค่ ายุตธิ รรม มูลค่ายุติธรรมของใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ฯในโครงการ PS-WF ถูกคํานวณโดยแบบจําลอง Binomial option pricin ความผันผวนของหุ น้ ที่คาดหวังได้อิงกับความผันผวนของหุ น้ ในอดีตระหว่างวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2553 ถึงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2558 ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการวัดมูลค่ายุติธรรมของใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ฯในโครงการ PS-WF แสดงได้ดงั นี้ มูลค่ายุติธรรมเฉลี่ย ณ วันที่ให้สิทธิ (บาท) ราคาหุ น้ ณ วันที่ให้สิทธิ (บาท) ราคาใช้สิทธิ (บาท) ความผันผวนของหุ น้ ที่คาดหวัง (ร้อยละ) เงินปั นผลที่คาดหวัง (ร้อยละ) อัตราดอกเบี้ยปลอดความเสี่ ยง (ร้อยละ) อัตราการเลิกจ้างต่อปี (ร้อยละ)

16.01 32.75 16.28 40.00 2.86 2.00 - 2.45 10.0

สิ ทธิ ดงั กล่าว ได้ให้แก่กรรมการของ พฤกษา เรี ยลเอสเตท (ซึ่ งได้รับการจัดสรรในฐานะเป็ นผูบ้ ริ หารของ พฤกษา เรี ยลเอสเตท) และผูบ้ ริ หารของ พฤกษา เรี ยลเอสเตทและ/หรื อบริ ษทั ย่อยเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2558 ซึ่ งเป็ นวันที่ พฤกษา เรี ยลเอสเตทได้แจ้งเงื่อนไขและข้อตกลงต่างๆ ในการใช้สิทธิ แก่กรรมการและพนักงาน

73

256


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้งบริ จํากัษ ด ั(มหาชน) และบริษโฮลดิ ัทยอย ้ง ท พฤกษา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

PS-WG ในการประชุมสามัญผูถือหุนประจําปของ พฤกษา เรียลเอสเตทเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2558 ผูถือหุนมีมติอนุมัติการ ออกใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ของ พฤกษา เรียลเอสเตท (PS-WG) ใหแกกรรมการ (ซึ่งไดรับการจัดสรรในฐานะเปน ผูบริหารของ พฤกษา เรียลเอสเตท) และผูบริหารของ พฤกษา เรียลเอสเตทและ/หรือบริษัทยอยจํานวน 15 ลานหนวย โดยมีรายละเอียดดังนี้ รายการ ประเภทของใบสําคัญแสดงสิทธิฯ อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิฯ เสนอใหกับ

จํานวนที่ออกและจัดสรรแลว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 อัตราการใชสิทธิ ราคาในการใชสิทธิ ระยะเวลาและสัดสวนการใชสิทธิ

รายละเอียด ชนิดไมมีมูลคา 4 ป นับแตวันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ กรรมการ (ซึ่งไดรับการจัดสรรในฐานะเปนผูบริหารของ พฤกษา เรียลเอสเตท) และผูบริหารของ พฤกษา เรียลเอสเตทและ/หรือ บริษทั ยอย 14,810,443 หนวย (หนวยที่มีการใหสิทธิจริง) ใบสําคัญแสดงสิทธิฯ 1 หนวยตอหุนสามัญ 1 หุน 29.27 บาทตอหุน ป ล ะ 4 ครั้ ง ใน เดื อ น กุ ม ภาพั น ธ พฤษภาคม สิ ง ห าคม และ พฤศจิกายนของแตละป โดยจะใชสิทธิรวมกันในแตละปไดไมเกิน 1 ใน 4 ของที่ ไดรับจัดสรรเป น ระยะเวลา 4 ป ในกรณี ที่ไมไดใช สิทธิใหครบจํานวนใหสามารถไปใชสิทธิไดในคราวถัดไป

สิทธิดังกลาว ไดใหแกกรรมการของ พฤกษา เรียลเอสเตท (ซึ่งไดรับการจัดสรรในฐานะเปนผูบริหารของ พฤกษา เรียลเอสเตท) และผูบริหารของ พฤกษา เรียลเอสเตทและ/หรือบริษัทยอยเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ 2559 ซึ่งเปนวันที่ พฤกษา เรียลเอสเตทไดแจงเงื่อนไขและขอตกลงตางๆ ในการใชสิทธิแกกรรมการและพนักงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 2 เรื่อง การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ มีผลบังคับใชสําหรับการจายโดยใชหุน เปนเกณฑสําหรับการใหสิทธิในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 สงผลให พฤกษา เรียลเอสเตทตองวัดมูลคายุติธรรม ของใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ในโครงการ PS-WE PS-WF และ PS-WG ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกลาว

74

257


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยโฮลดิ อย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

รายการเคลือ่ นไหวในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 ของจํานวนหนวยใบสําคัญแสดงสิทธิฯ มี ดังนี้

PS-WE

รวม

ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 ใชสิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ระหวางป ยกเลิกใบสําคัญแสดงสิทธิฯ จากพนักงานลาออก ยกเลิกใบสําคัญแสดงสิทธิฯ จากการปรับ โครงสรางกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

3.1 (0.1) (3.0) -

(3.0) -

-

(6.0) -

ณ 1 มกราคม 2560 รับโอนใบสําคัญแสดงสิทธิฯ จากการปรับ โครงสรางกิจการ* ใชสิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ระหวางงวด ยกเลิกใบสําคัญแสดงสิทธิฯ จากพนักงานลาออก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

-

-

-

-

3.0 (0.2) 2.8

3.0 (0.9) (0.3) 1.8

15.0 (2.3) 12.7

21.0 (0.9) (2.8) 17.3

PS-WE ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 รับโอนใบสําคัญแสดงสิทธิฯ จากการปรับโครงสราง กิจการ* ใชสิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ระหวางงวด ยกเลิกใบสําคัญแสดงสิทธิฯ จากพนักงานลาออก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

3.0 (0.2) 2.8

75

258

งบการเงินรวม PS-WF PS-WG (ลานหนวย) 4.8 (1.6) (0.2) -

งบการเงินเฉพาะกิจการ PS-WF PS-WG (ลานหนวย) 3.0 (0.9) (0.3) 1.8

15.0 (2.3) 12.7

7.9 (1.6) (0.3)

รวม 21.0 (0.9) (2.8) 17.3


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริโฮลดิ ษัทยอย้ง บริ้ง จํษากั​ัทด (มหาชน) พฤกษา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

รายการเคลื่อนไหวในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 ในมูลคายุติธรรมของใบสําคัญแสดงสิทธิฯ มีดังนี้

PS-WE

งบการเงินรวม PS-WF PS-WG (ลานบาท) 38.6 1.6 (25.7) (14.5) -

รวม

ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 เพิ่มขึ้น ใชใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ระหวางงวด ยกเลิกใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ระหวางงวด* ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

6.8 0.1 (6.9) -

45.4 1.7 (25.7) (21.4) -

ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 รับโอนใบสําคัญแสดงสิทธิฯ จากการปรับ โครงสรางกิจการ* เพิ่มขึ้น ใชใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ระหวางงวด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

-

-

-

-

6.9 6.9

14.5 25.5 (15.0) 25.0

-

21.4 25.5 (15.0) 31.9

คาใชจายที่เกิดจากรายการจายโดยใชหุนเปนเกณฑสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีจํานวน 25.5 ลานบาท (2559: 1.7 ลานบาท) สําหรับงบการเงินรวม

PS-WE ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 รับโอนใบสําคัญแสดงสิทธิฯ จากการปรับ โครงสรางกิจการ* เพิ่มขึ้น ใชใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ระหวางงวด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

6.9 6.9

งบการเงินเฉพาะกิจการ PS-WF PS-WG (ลานบาท) 14.5 25.5 (15.0) 25.0

-

รวม 21.4 25.5 (15.0) 31.9

76

259


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยโฮลดิ อย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

*

ในการประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2559 ของ พฤกษา เรียลเอสเตทเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2559 มีมติอนุมัติยกเลิก การออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิฯ (PS-WE, PS-WF และPS-WG) ที่ออกใหแกกรรมการและผูบริหารของ พฤกษา เรียลเอสเตท และ/หรือบริษัทยอยโดยมีมูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท และในเวลาตอมาในการประชุมวิสามัญ ผูถือหุนของบริษัท เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2559 ผูถือหุนมีมติอนุมัติการออกใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของ บริษัท ใหแกกรรมการและผูบริหารของ พฤกษา เรียลเอสเตทดังกลาว และ พฤกษา เรียลเอสเตท และ/หรือบริษัท ยอย เพื่อทดแทนใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของ พฤกษา เรียลเอสเตทซึ่งถูกยกเลิกตามแผนการปรับ โครงสรางการถือหุนและการจัดการ

20

สํารอง สํารองประกอบดวย การจัดสรรกําไร และ/หรือ กําไรสะสม สํารองตามกฎหมาย ตามบทบั ญ ญั ติแห งพระราชบั ญ ญั ติบ ริษั ท มหาชนจํากั ด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษั ท จะต อ งจัดสรรทุ น สํ ารอง (“สํารองตามกฎหมาย”) อยางนอยรอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวา สํารองดังกลาวมีจํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสํารองนี้จะนําไปจายเปนเงินปนผลไมได องคประกอบอืน่ ของสวนของผูถือหุน ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ผลตางจากการแปลงคางบการเงินแสดงในสวนของเจาของประกอบดวยผลตางการแปลงคาทั้งหมดจากงบการเงิน ของหนวยงานในตางประเทศ ผลตางจากการเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของเงินลงทุนเผื่อขาย ผลตางจากการเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของเงินลงทุนเผื่อขายแสดงในสวนของเจาของประกอบดวยผลรวม การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของสินทรัพยทางการเงินเผื่อขายจนกระทั่งมีการตัดรายการหรือเกิดการดอยคา

77

260


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริโฮลดิ ษัทยอย้ง บริ้ง จํษากั​ัทด (มหาชน) พฤกษา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 21

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

สวนงานดําเนินงาน ตามแผนการปรับโครงสรางของพฤกษา เรียลเอสเตท ซึ่งไดรับมติอนุมัติจากที่ประชุมสามัญประจําปของผูถือหุน ของพฤกษา เรียลเอสเตท เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2559 พฤกษา เรียลเอสเตทไดดําเนินการใหมีการจัดตั้งบริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) (“พฤกษา โฮลดิ้ง”) ซึ่งการเสนอขายหุนตามแผนการปรับโครงสรางไดเสร็จสิ้นลงในวันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 ทั้งนี้เพื่อใหการบริหารธุรกิจของพฤกษา เรียลเอสเตทเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และเตรียม ความพรอ มให มี การเติ บ โตอยางมั่ น คงและยั่งยืน จึงมี การปรับโครงสรางส วนงาน ประกอบด วย 5 ส วนงานที่ รายงาน ดังรายละเอียดขางลาง ซึ่งเปนหนวยงานธุรกิจที่สําคัญของกลุมบริษัท หนวยงานธุรกิจที่สําคัญนี้ผลิตสินคา ที่แตกตางกัน และมีการบริหารจัดการแยกตางหาก เนื่องจากใชเทคโนโลยีและกลยุทธทางการตลาดที่แตกตางกัน ผู มีอํานาจตัดสินใจสูงสุดดานการดําเนินงานสอบทานรายงานการจัดการภายในของแตละหนวยงานธุรกิจที่สําคัญ อยางนอยทุกไตรมาส การดําเนินงานของแตละสวนงานที่รายงานของกลุมบริษัทโดยสรุปมีดังนี้ สวนงาน 1 สวนงาน 2 สวนงาน 3 สวนงาน 4 สวนงาน 5

สายงานทาวนเฮาส 1: บานพฤกษา 1 บานพฤกษา 2 และเดอะคอนเนค สายงานทาวนเฮาส 2: พฤกษาวิลล 1 พฤกษาวิลล 2 และ PAT สายงานบานเดี่ยว: พฤกษาทาวน ภัสสร 1 ภัสสร 2 ภัสสร 3 และพฤกษาวิลเลจ สายงานอาคารชุดกลุม 1: อาคารชุด 1 อาคารชุด 4 สายงานอาคารชุดกลุม 2: อาคารชุด 3 อาคารชุด 5 อาคารชุด 6

ผลการดําเนินงานวัดโดยใชกําไรกอนภาษีเงินไดของสวนงาน ซึ่งนําเสนอในรายงานการจัดการภายในและสอบ ทานโดยผูมีอํานาจตัดสินใจสูงสุดดานการดําเนินงานของกลุมบริษัท ผูบริหารเชื่อวาการใชกําไรกอนภาษีเงินไดใน การวัดผลการดําเนินงานนั้นเปนขอมูลที่เหมาะสมในการประเมินผลการดําเนินงานของสวนงานและสอดคลองกับ กิจการอื่นที่ดําเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมเดียวกัน

78

261


262

1,557

16 12,971

2,416

10,828

สินทรัพยสวนงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

13,887

14 8,911

-

11,096

8,897

11,470

1,508

14 8,571

8,557

สวนงาน 2 2560 2559

12,955

สวนงาน 1 2560 2559

รายไดจากลูกคาภายนอก 11,691 รายไดระหวางสวนงาน รายไดอื่น 12 รายไดรวม 11,703 กําไร (ขาดทุน) กอนภาษี เงินได 2,308

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

ขอมูลตามสวนงานที่รายงาน

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

17,477

1,898

22 11,288

11,266 -

16,386

1,818

20 11,414

11,394 -

สวนงาน 3 2560 2559

6,534

837

3 5,418

79

7,923

1,394

69 6,540

8,513

818

51 4,850

7,819

900

71 6,010

สวนงาน 4 สวนงาน 5 2560 2559 2560 2559 (ลานบาท) 5,415 6,471 4,799 5,939 -

57,507

7,418

102 42,170

42,068

54,426

8,036

190 45,506

45,316

รวมสวนงานที่รายงาน 2560 2559

10,994

80

2,772 13 4,652

1,867

2560

อื่นๆ

9,068

(52)

2,209 10 3,829

1,610

2559

68,501

7,498

2,772 115 46,822

43,935

2560

รวม

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

63,494

7,984

2,209 200 49,335

46,926

2559

รายงานประจํ า ปี 2560


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษ ษัทัทพฤกษา โฮลดิ และบริโฮลดิ ษจ� ัทย่ำอกั ย้งด จ�(มหาชน) บริ พฤกษา บริง้ จํษาเรีกั​ัทดย(มหาชน) พฤกษา ลเอสเตท ำกัด (มหาชน) และบริและบริ ษัทย่อษยัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิ น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

าหรั นวาคม2560 2560 ส�ำสํหรั บปีบสปีิ้นสิสุ้นดสุวัดนวัทีน่ ที31่ 31ธันธัวาคม

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

การกระทบยอดรายได้ กําไรหรื อขาดทุน และสินทรั พย์ ของส่ วนงานทีร่ ายงาน 2560

2559 (ล้ านบาท)

รายได้ รวมรายได้ตามส่ วนงานที่รายงาน รายได้อื่น ตัดรายการรายได้ระหว่างส่ วนงาน จํานวนที่ไม่ได้ปันส่ วน รายได้ รวม กําไรหรือขาดทุน รวมกําไรก่อนภาษีเงินได้จากส่ วนงานที่รายงาน กําไร (ขาดทุน) อื่นๆ ตัดรายการกําไรระหว่างส่ วนงาน จํานวนที่ไม่ได้ปันส่ วน กําไรรวมก่ อนภาษีเงินได้ สิ นทรัพย์ รวมสิ นทรัพย์ตามส่ วนงานที่รายงาน สิ นทรัพย์อื่น จํานวนที่ไม่ได้ปันส่ วน สิ นทรัพย์ รวม

42,170 4,652 46,822 (2,772) 63 44,113

45,506 3,829 49,355 (2,209) 47 47,173

7,418 80 7,498 (9) (332) 7,157

8,036 (52) 7,984 (15) (423) 7,546

57,507 10,994 68,501 3,740 72,241

54,426 9,068 63,494 2,850 66,344

ส่ วนงานภูมิศาสตร์ ในการนําเสนอการจําแนกส่ วนงานภูมิศาสตร์ รายได้ตามส่ วนงานแยกตามที่ต้ งั ทางภูมิศาสตร์ ของลูกค้า สิ นทรัพย์ ตามส่ วนงานแยกตามสถานที่ต้ งั ทางภูมิศาสตร์ ของสิ นทรัพย์ 80

263


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยโฮลดิ อย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ขอมูลเกี่ยวกับสวนงานภูมิศาสตร

2560 ไทย อินเดีย มัลดีฟส รวม 22

รายได

2559

(ลานบาท) 47,026 147 47,173

44,100 13 44,113

งบการเงินรวม (ลานบาท) 1,431 1,758 1,094 100 4,383

คาใชจายโฆษณา คาใชจายในการโอนกรรมสิทธิ์ คาใชจายในการสงเสริมการขาย คาใชจายในการประชาสัมพันธ รวม

4,622 15 1 4,638

2559 1,257 1,757 857 112 3,983

คาใชจายในการบริหาร งบการเงินรวม 2560 2559 คาใชจายผลประโยชนของพนักงาน คาที่ปรึกษา คาเชา คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย อื่นๆ รวม

2,501 219 240 117 1,077 4,154 81

264

6,002 10 6,012

ตนทุนในการจัดจําหนาย

2560

23

สินทรัพยไมหมุนเวียน 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (ลานบาท) 2,322 19 396 4 27 192 1 115 1,145 47 12 4,170 71 39


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริโฮลดิ ษัทย่ อย้ง บริง้ จํษากั​ัทด (มหาชน) พฤกษา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 24

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ค่ าใช้ จ่ายผลประโยชน์ ของพนักงาน งบการเงินรวม 2560 2559 เงินเดือนและค่าแรง โครงการสมทบเงินที่กาํ หนดไว้ อื่นๆ – โบนัสและค่าสวัสดิการ รวม

1,935 126 1,251 3,312

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (ล้ านบาท) 1,840 7 118 1 1,266 5 3,224 13 -

โครงการผลประโยชน์ ที่กาํ หนดไว้ รายละเอียดของโครงการผลประโยชน์ที่กาํ หนดเปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 17 โครงการสมทบเงินที่ กาํ หนดไว้ กลุ่มบริ ษทั ได้จดั ตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับพนักงานของกลุ่มบริ ษทั บนพื้นฐานความสมัครใจของพนักงานใน การเป็ นสมาชิกของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้อยละ 5 ถึงอัตราร้อยละ 10 ของเงินเดือนทุกเดือน และกลุ่มบริ ษทั จ่ายสมทบในอัตราร้อยละ 5 อัตราร้อยละ 10 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุนสํารองเลี้ยง ชีพนี้ ได้จดทะเบียนเป็ นกองทุนสํารองเลี้ยงชี พตามข้อกําหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผูจ้ ดั การ กองทุนที่ได้รับอนุญาต 25

สั ญญาเช่ าดําเนินงาน สั ญญาเช่ าด้ านผู้เช่ า กลุ่มบริ ษทั ได้ทาํ สัญญาเช่าอาคารสํานักงาน และสัญญาเช่าอื่นๆ ภายใต้สัญญาเช่าดําเนิ นงานหลายสัญญา สัญญาเช่า ดังกล่าวมีระยะเวลาเช่า 1 ถึง 5 ปี

82

265


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยโฮลดิ อย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ก.

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายในอนาคตทั้งสิ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม จํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายในอนาคตทั้งสิ้นภายใตสัญญาเชาดําเนินงานที่ยกเลิกไมได มีดังนี้ งบการเงินรวม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (ลานบาท)

สัญญาเชาอาคารสํานักงาน ภายในหนึ่งป หลังจากหนึ่งปแตไมเกินสามป รวม

158 290 448

-

สัญญาเชาอื่นๆ ภายในหนึ่งป หลังจากหนึ่งปแตไมเกินสามป รวม

88 40 128

52 17 69

7

4 8 12

7

-

-

-

ข. รับรูในกําไรหรือขาดทุน หมายเหตุ คาเชาจาย

งบการเงินรวม 2560 2559

23

148

83

266

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (ลานบาท) 110 1 -


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริโฮลดิ ษัทย่ อย้ง บริง้ จํษากั​ัทด (มหาชน) พฤกษา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 26

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ งบการเงิ นได้รวมการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายตามหน้าที่ ค่าใช้จ่ายตามลักษณะได้เปิ ดเผยตามข้อกําหนดในมาตรฐาน การรายงานทางการเงินฉบับต่าง ๆ ดังนี้ งบการเงินรวม 2560 2559

หมายเหตุ การเปลี่ยนแปลงในที่ดินและที่ดิน พร้อมบ้านเพื่อขายและโครงการ ระหว่างการพัฒนา วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองที่ใช้ไป ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ของพนักงาน ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจําหน่าย 27

(3,578) 20,612 3,312 467

24 11, 12

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (ล้ านบาท)

(306) 20,143 3,224 454

13 63

-

ต้ นทุนทางการเงิน

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (ล้ านบาท)

ดอกเบีย้ จ่ าย บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สถาบันการเงินและผูล้ งทุนสถาบัน รวมดอกเบีย้ จ่ าย หั ก จํานวนที่รวมอยูใ่ นต้นทุนของ สิ นทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข - ส่ วนที่บนั ทึกเป็ นต้นทุนของ โครงการอสังหาริ มทรัพย์ ระหว่างการพัฒนา สุ ทธิ

4

7

761 761

789 789

(564) 197

(502) 287

1 1

-

1

-

-

-

84

267


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยโฮลดิ อย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 28

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ภาษีเงินได ภาษีเงินไดที่รับรูในกําไรหรือขาดทุน หมายเหตุ

2560

งบการเงินรวม

2559

(ลานบาท) ภาษีเงินไดของงวดปจจุบัน สําหรับงวดปจจุบัน ภาษีงวดกอนๆ ที่บันทึกต่ําไป (สูงไป) ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงของผลตางชั่วคราว

13

รวมภาษีเงินได

1,555 6 1,561

1,448 (1) 1,447

21 21 1,582

31 31 1,478

ภาษีเงินไดที่รับรูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

กอนภาษี เงินได ผลตางจากการแปลงคา หนวยงานในตางประเทศ ผลขาดทุนจากการวัดมูลคา ใหมของผลประโยชน พนักงานที่กําหนดไว รวม

2560 รายได (คาใชจาย) ภาษีเงินได

สุทธิจาก กอนภาษี ภาษีเงินได เงินได (ลานบาท)

2559 รายได (คาใชจาย) ภาษีเงินได

สุทธิจาก ภาษีเงินได

9

(2)

7

(25)

5

(20)

(15) (6)

3 1

(12) (5)

(25)

5

(20)

85

268

งบการเงินรวม


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริโฮลดิ ษัทยอย้ง บริ้ง จํษากั​ัทด (มหาชน) พฤกษา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แทจริง

อัตราภาษี (รอยละ) กําไรกอนภาษีเงินไดรวม จํานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได ผลกระทบจากความแตกตางของอัตราภาษี สําหรับกิจการในตางประเทศ รายไดที่ไมตองเสียภาษี คาใชจายตองหามทางภาษี รายไดสุทธิที่ถูกตัดรายการ ภาษีงวดกอนๆ ที่บันทึกต่ําไป (สูงไป) รายจายที่หักไดสองเทา รวม

2560

งบการเงินรวม

20

(ลานบาท) 7,157 1,431

22

1 (6) 64 92 6 (6) 1,582

อัตราภาษี (รอยละ)

2559

20

(ลานบาท) 7,547 1,510

19

4 (104) 37 38 (1) (6) 1,478

การลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคล พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร ฉบับที่ 42 พ.ศ. 2559 ลงวันที่ 3 มีนาคม 2559 ใหปรับลดอัตราภาษี เงินไดนิติบุคคลเหลืออัตรารอยละ 20 ของกําไรสุทธิสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 เปนตนไป 29

สิทธิประโยชนจากการสงเสริมการลงทุน กลุมบริษัทไดรับการสงเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญั ติสงเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 สําหรับการประกอบ กิจการที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอยหรือรายไดปานกลาง (พืนที่ใชสอยตอหนวยของที่อยูอาศัยจะตองมีขนาดไม ต่ํากวา 31 ตารางเมตรและมูลคาซื้อขายตามสัญญาไมเกิน 600,000 บาท) เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2552 คณะกรรมการสงเสริมการลงทุนไดปรับเงื่อนไข และราคาจําหนายสําหรับโครงการ ที่ ตั้งในเขต 1 ดั งนี้ กรณี ก ารก อ สรางอาคารชุ ด จะต อ งมี พื้ น ที่ ใช ส อยต อ หน ว ยไม น อ ยกวา 28 ตารางเมตร และ จําหนายในราคาหนวยละไมเกินหนึ่งลานบาท (รวมคาที่ดิน) และกรณีการกอสรางบานแถวหรือบานเดี่ยวจะตองมี พื้นที่ใชสอยตอหนวยไมนอยกวา 70 ตารางเมตร และจําหนายในราคาหนวยละไมเกินหนึ่งลานสองแสนบาท (รวม คาที่ดิน) 86 269


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยโฮลดิ อย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

สิทธิพิเศษที่สําคัญไดแก การไดรบั ยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลเปนเวลา 5 ป นับแตวันที่เริ่มมีรายไดจากการประกอบ กิจการที่ไดรับการสงเสริมการลงทุน สิทธิพิเศษนี้จะสิ้นสุดในระยะเวลาตางๆกัน เนื่องจากเปนกิจการที่ไดรับการสงเสริมการลงทุน กลุมบริษทั จะตองปฏิบัติตามเงื่อนไขและขอกําหนดตามที่ระบุไว ในบัตรสงเสริมการลงทุน 30

กําไร (ขาดทุน) ตอหุน กําไร (ขาดทุน) ตอหุนขั้นพื้นฐาน กํ า ไร (ขาดทุ น ) ต อ หุ น ขั้ น พื้ น ฐานสํ าหรั บ แต ล ะป สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 และ 2559 คํ านวณจากกํ าไร (ขาดทุน) สําหรับปที่เปนสวนของผูถือหุนสามัญของบริษัทและจํานวนหุนสามัญที่ออกจําหนายแลวระหวางป โดย วิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก แสดงการคํานวณดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 2560 2559 (ลานบาท / ลานหุน) กําไร (ขาดทุน) ที่เปนสวนของผูถือหุนสามัญ ของบริษัท (ขั้นพื้นฐาน) จํานวนหุนสามัญที่ออก ณ วันที่ 1 มกราคม ผลกระทบจากการใชสิทธิ ณ วันที่ 29 กุมภาพันธ 2559 ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ 2560 ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2560 ผลกระทบจากการออกหุน ณ วันที่ 16 มีนาคม 2559 ผลกระทบจากการปรับโครงสรางกิจการ ณ วันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 จํานวนหุนสามัญโดยวิธีถัวเฉลีย่ ถวงน้ําหนัก (ขั้นพื้นฐาน) กําไร (ขาดทุน) ตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท) 87

270

5,456.42

5,940.29

5,508.00

(39.11)

2,185.86

2,231.07

2,185.86

-

0.74 0.03 -

1.38 0.01

0.74 0.03 -

-

(46.83)

2,186.63 2.50

2,185.63 2.72

2,186.63 2.52

0.01 220.97 220.98 (0.18)


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริโฮลดิ ษัทยอย้ง บริ้ง จํษากั​ัทด (มหาชน) พฤกษา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

กําไร (ขาดทุน) ตอหุนปรับลด บริษัทไมไดปรับปรุงผลกระทบจากการออกสิทธิที่จะเลือกซื้อหุนในใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ในโครงการตางๆ มา คํานวณกําไรตอหุนปรับลดสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ไดแก โครงการ PS-WF เนื่องจากราคาใชสิทธิ ตอหนวยของใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ในโครงการดังกลาวมีราคาสูงกวาราคาตลาดถัวเฉลี่ยสําหรับป 31

เงินปนผล ในการประชุมคณะกรรมการเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2560 คณะกรรมการบริษทั มีมติอนุมัติการจัดสรรกําไรเปนเงิน ปนผลระหวางกาลในอัตราหุนละ 0.80 บาท เปนจํานวนทั้งสิ้น 1,749.39 ลานบาท เงินปนผลดังกลาวจายใหแกผูถือ หุนในวันที่ 9 มิถุนายน 2560 ในการประชุมคณะกรรมการเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2560 คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติการจัดสรรกําไรเปนเงิน ปนผลระหวางกาลในอัตราหุนละ 0.57 บาท เปนจํานวนทั้งสิ้น 1,246.47 ลานบาท เงินปนผลดังกลาวจายใหแกผูถือ หุนในวันที่ 8 กันยายน 2560

32

เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางดานการเงิน กลุมบริษทั มีความเสี่ยงจากการดําเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ตางประเทศ และจากการไมปฏิบัติตามขอกําหนดตามสัญญาของคูสัญญา กลุมบริษัทไมมีการถือหรือออกเครื่องมือ ทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธ เพื่อการเก็งกําไรหรือการคา การจัดการความเสี่ยงเปนสวนที่สําคัญของธุรกิจของกลุมบริษัท กลุมบริษัทมีระบบในการควบคุมใหมีความสมดุล ของระดับความเสี่ยงใหเปนที่ยอมรับได โดยพิจารณาระหวางตนทุนที่เกิดจากความเสี่ยงและตนทุนของการจัดการ ความเสี่ยง ฝายบริหารไดมีการควบคุมกระบวนการการจัดการความเสี่ยงของกลุมบริษัทอยางตอเนื่องเพื่อใหมั่นใจ วามีความสมดุลระหวางความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง

88

271


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิง้ จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทย่โฮลดิ อย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

การบริ หารจัดการทุน วัตถุประสงค์ของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยในการบริ หารทางการเงินคือ การดํารงไว้ซ่ ึ งความสามารถในการดําเนิ นงาน อย่างต่อเนื่ อง และการดํารงไว้ซ่ ึ งโครงสร้างของทุนที่เหมาะสม นอกจากนี้ กลุ่มบริ ษทั ต้องรักษาอัตราส่ วนหนี้ สินที่ มีภาระดอกเบี้ยต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นไม่ให้เกินข้อกําหนดของสัญญาเงินกูย้ ืมและหุ ้นกู้ พร้อมทั้งต้องให้มีการจัด อันดับความน่าเชื่อถือของหุ น้ กูโ้ ดยสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือที่เข้าเงื่อนไข ความเสี่ยงด้ านอัตราดอกเบีย้ ความเสี่ ยงด้านอัตราดอกเบี้ย หมายถึง ความเสี่ ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบี้ยใน ตลาด ซึ่ งส่ ง ผลกระทบต่ อ การดําเนิ นงานและกระแสเงิ น สดของกลุ่ มบริ ษทั กลุ่ ม บริ ษทั มี ความเสี่ ย งด้านอัต รา ดอกเบี้ยเกิดจากเงินกูย้ มื (ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 14) กลุ่มบริ ษทั ไม่ได้ใช้เครื่ องมือทางการเงิน เพื่อใช้ใน การจัดการความเสี่ ยงที่ เกิ ดจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ ยที่ เกิ ดจากเงิ นกู้ยืมเป็ นการเฉพาะเนื่ องจากอัตรา ดอกเบี้ยจากเงินกูย้ มื เป็ นไปตามอัตราตลาด ความเสี่ยงจากเงินตราต่ างประเทศ กลุ่ มบริ ษทั มีการควบคุมความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ ยนเงิ นตราต่างประเทศตามที่ กล่าวในหมายเหตุที่เกี่ ยวข้อง ผูบ้ ริ หารเชื่อว่ากลุ่มบริ ษทั มีความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศอยูใ่ นระดับตํ่า ความเสี่ยงจากสภาพคล่ อง กลุ่มบริ ษทั มีการควบคุมความเสี่ ยงการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ให้เพียงพอต่อการดําเนินงานของกลุ่มบริ ษทั และเพื่อทําให้ผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง

89

272


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริโฮลดิ ษัทยอย้ง บริ้ง จํษากั​ัทด (มหาชน) พฤกษา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

มูลคาตามบัญชีและมูลคายุติธรรม กลุมบริษัทใชวิธีการและขอสมมติในการประมาณมูลคายุตธิ รรมของเครื่องมือทางการเงินดังตอไปนี้ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด และลูกหนี้และเจาหนี้มีราคาตามบัญชีใกลเคียงกับมูลคายุติธรรมโดยประมาณ เนื่องจากเครื่องมือทางการเงินเหลานั้น จะครบกําหนดในระยะเวลาอันสั้น เงินลงทุนชั่วคราว ไดแก เงินลงทุนในกองทุนรวมที่เปนหลักทรัพยเผื่อขายแสดงในมูลคายุติธรรม โดยอางอิงจาก มูลคาสินทรัพยสุทธิ ณ วันที่รายงาน จากบริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุน มูลคายุติธรรมดังกลาวจัดอยูในขอมูล ลําดับ 2 เงินเบิกเกินบัญชี และเงินกูยืมระยะสั้น มีราคาตามบัญชีใกลเคียงกับมูลคายุติธรรมโดยประมาณเนื่องจากเครื่องมือ ทางการเงินเหลานี้มีอัตราดอกเบี้ยในอัตราตลาด มูลคายุติธรรมของหนี้สินทางการเงินระยะยาวรวมถึงมูลคาตามบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดง ฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้

มูลคาตามบัญชี ระดับ 1

งบการเงินรวม มูลคายุติธรรม ระดับ 2 ระดับ 3 (ลานบาท)

รวม

31 ธันวาคม 2560 หุนกู

21,500

-

21,763

-

21,763

31 ธันวาคม 2559 หุนกู

18,000

-

18,224

-

1,8224

มูลคายุติธรรมของหนี้สินทางการเงินระยะยาวดังกลาว คํานวณจากมูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดในอนาคตของ เงินตนและดอกเบี้ย ซึ่งคิดลดโดยใชอัตราดอกเบี้ยในทองตลาดพิจารณาจากหนี้สินที่มีความคลายคลึงกัน ณ วันที่ใน รายงาน

90

273


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จําบริ กัด (มหาชน) และบริษัทยโฮลดิ อย ษัท พฤกษา ้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

กลุมบริษัทกําหนดกรอบแนวคิดของการควบคุมเกี่ยวกับการวัดมูลคายุติธรรม กรอบแนวคิดนี้รวมถึงกลุมผูประเมิน มูลคาซึ่งรายงานโดยตรงตอผูบริหารสูงสุดทางดานการเงิน และมีความรับผิดชอบโดยรวมตอการวัดมูลคายุติธรรม ที่มีนัยสําคัญ ผูบริหารและกลุมผูประเมินมูลคามีการทบทวนขอมูลที่ไมสามารถสังเกตได และปรับปรุงการวัดมูลคาที่มีนัยสําคัญ อยางสม่ําเสมอ หากมีการใชขอมูลจากบุคคลที่สามเพื่อวัดมูลคายุติธรรม เชน ราคาจากนายหนา หรือการตั้งราคา ผูบริหารและกลุมผูประเมินไดประเมินหลักฐานที่ไดมาจากบุคคลที่สาม ที่สนับสนุนขอสรุปเกี่ยวกับการวัดมูลคา รวมถึงการจัด ลําดับ ชั้น ของมู ล คายุติธรรมวาเป น ไปตามที่ กําหนดไวในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน อยาง เหมาะสม ประเด็นตางๆ ของการวัดมูลคาที่มีนัยสําคัญจะถูกรายงานตอคณะกรรมการตรวจสอบของกลุมบริษัท 33

ภาระผูกพันกับบุคคลหรือกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน

2560

งบการเงินรวม

(ลานบาท) 6,016 351 69 6,436

สัญญาเกี่ยวกับการซื้อที่ดิน สัญญาเกี่ยวกับการพัฒนาและกอสรางโครงการ สัญญาวาจางงานบริการและคาที่ปรึกษา สัญญาซื้อเครื่องจักร รวม

2559 5,382 1,062 116 8 6,568

อื่นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 (ก)

กลุมบริษัทมีภาระผูกพันตอธนาคารจากการที่ธนาคารในประเทศหลายแหงออกหนังสือค้ําประกันใหแก กลุมบริษัทเปนจํานวนเงิน 8,118 ลานบาท (2559: 7,090 ลานบาท)

(ข)

บริษั ทยอยมี ภาระผู กพั น ต อธนาคารเกี่ ยวกั บการค้ําประกัน วงเงิน เบิ ก เกิ น บั ญ ชี จํานวนรวม 115 ลานบาท (2559: 115 ลานบาท) วงเงินหนังสือค้ําประกันที่ออกโดยธนาคารจํานวน 8,621 ลานบาท (2559: 9,003 ลาน บาท) วงเงินตั๋วสัญญาใชเงินจํานวน 10,945 ลานบาท (2559: 9,700 ลานบาท) และวงเงินสินเชื่ออื่นจํานวน 770 ลานบาท (2559: 570 ลานบาท) ของบริษทั ยอย 91

274


บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา โฮลดิ และบริโฮลดิ ษัทย่ อย้ง บริง้ จํษากั​ัทด (มหาชน) พฤกษา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 34

จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หนีส้ ิ นทีอ่ าจเกิดขึน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั มีหนี้ สินที่อาจเกิดขึ้นจากการถูกบริ ษทั และบุคคลธรรมดาฟ้ องร้องในคดีต่างๆ จากการผิดสัญญา การเรี ยกร้องค่าเสี ยหายและอื่นๆ โดยมีทุนทรัพย์ที่ฟ้องร้องและอาจเรี ยกได้เป็ นจํานวน 304 ล้าน บาท (2559: 216 ล้ านบาท) ขณะนี้คดีอยูใ่ นระหว่างการไต่สวนของศาล อย่างไรก็ตาม กลุ่มบริ ษทั ได้บนั ทึกประมาณ การเสี ยหายจากคดีความดังกล่าวตามความเห็นของฝ่ ายบริ หารและฝ่ ายกฎหมายของกลุ่มบริ ษทั รวมจํานวน 71 ล้าน บาท (2559: 119 ล้ านบาท) ไว้ในบัญชี

35

เหตุการณ์ ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2561 ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ได้มีมติเห็นชอบในเรื่ องดังนี้ (ก)

อนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผลประจําปี 2560 ในอัตราหุ น้ ละ 2.09 บาท ซึ่ งบริ ษทั ได้จ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลไป แล้วในอัตราหุ น้ ละ 1.37 บาท คงเหลือเงินปั นผลที่จะจ่ายในครั้งนี้ ในอัตราหุ น้ ละ 0.72 บาท ทั้งนี้ ข้ ึนอยูก่ บั ผลการอนุมตั ิจากที่ประชุมสามัญประจําปี ผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั ซึ่ งจะจัดขึ้นในวันที่ 27 เมษายน 2561

(ข)

อนุมตั ิออกตราสารหนี้ทางการเงินตามความเหมาะสม ในวงเงินไม่เกิน 20,000 ล้านบาท และมีอายุสัญญาไม่ เกิน 7 ปี โดยจะเสนอขายต่อผูล้ งทุนตามหลักเกณฑ์ที่กาํ หนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์

92

275



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.