Pitchapa Promthet “...การปฏิบัติงานสหกิจศึกษา คือการพิสูทจ์ความรู้ ความสามารถและความถนัดของเรา จากการเรียนตลอดระยะเวลาสามปีเต็ม เราจะต้องอดทนและเรียนรู้ทุกสิ่งอย่าง จากการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาให้มากที่สุด สิ่งสำ�คัญเราจะต้องมีความอดทน มีระเบียบวินัยและตรงต่อเวลาในการทำ�งาน เพื่อจะได้มีประสิทธิภาพและเตรียมความพร้อมสู่ชีวิตการทำ�งาน อย่างแท้จริง...”
นางสาวพิ ช ชาภา พรมเทศ รหั ส 5414101352 นั ก ศึ ก ษาสาขานิ ท เศศาสตร์ บ ู ร ณาการ คณะศิ ล ปศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย แม่ โจ้ ปฏิ บ ั ต ิ ง านสหกิ จ ศึ ก ษา ณ บริ ษ ั ท สหมงคลฟิ ล ์ ม อิ น เตอร์ เ นชั ่ น แนล จำ � กั ด
สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์ เนชั่นแนล ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2513 (เคยใช้ชื่อว่า สหมงคลฟิล์ม จนกระทั่ง เปลี่ยนในปี พ.ศ. 2545) ก่อนหน้านี้ได้ทำ� ธุรกิจเกี่ยวกับการจำ�หน่ายภาพยนตร์ และเมื่อเล็งเห็นถึงช่องทางที่เปิดกว้าง มากขึ้น และความเป็นนักธุรกิจใน สายเลือด สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ ได้ ล งทุ น สร้ า งภาพยนตร์ ไ ทยพร้ อ ม กันนั้นยังได้นำ�เข้าภาพยนตร์จากต่าง ประเทศไม่ว่าจะเป็นภาพยนตร์ฟอร์ม ใหญ่ จ ากฮ่ อ งกงที่ ส ร้ า งชื่ อ เสี ย งให้ บริ ษั ท เป็ น ที่ รู้ จั ก ของคนไทยและเป็ น ตั ว แทนใหญ่ ใ นการนำ � เข้ า ภาพยนตร์ จีนฟอร์มยักษ์ ไม่ว่าจะเป็นหนังของ เฉิ น หลงทุ ก เรื่ อ งหรื อ แม้ แ ต่ ห นั ง ของ โจวซิ ง ฉื อ หลายเรื่ อ งที่ ผ่ า นมาก็ เ ป็ น ลิขสิทธิ์ของบริษัททั้งนั้น ทำ�ให้บริษัท เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วและยืนหยัด มาได้ถึงปัจจุบัน จนถึงยุคปัจจุบันที่ ประเทศไทยได้มีการส่งเสริมสนับสนุน ภาพยนตร์ไทยมากขึ้น บริษัทจึงได้ พยายามสร้างสรรค์ผลงานและให้การ สนับสนุน ผลักดันภาพยนตร์ไทยให้ ก้าวไปสู่ความเป็นสากลทางบริษัทยัง เป็ น ตั ว แทนในการนำ � เข้ า ภาพยนตร์ ฟอร์มยักษ์จากฮอลลีวูดมาให้แก่ผู้ชม ปัจจุบัน
SAHA MONG KOLFILM
INTERNATIONAL CO.,LTD. สหมงคลฟิล์ม มีการขยายการ บริหารออกเป็ น หลายฝ่ ายโดยเฉพาะ ด้านภาพยนตร์ ซึ่งบริษัทลงทุนสร้าง ภาพยนตร์ไทยเอง และยังเป็นตัวแทน นำ � เข้ า ภาพยนตร์ จ ากต่ า งประเทศ ดั ง นั้ น เ พื่ อ ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ที่ มี ประสิ ท ธิ ภ าพจึ ง ได้ ทำ � การแบ่ ง การ บริ ห ารงานด้ า นภาพยนตร์ แ ต่ ล ะ ประเทศออกมาภายใต้ ชื่ อ ดั ง ต่ อ ไปนี้ •สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล Sahamongkolfilm International •มงคลภาพยนตร์ Mongkol Cinema •มงคล เมเจอร์ Mongkol Major •โรงภาพยนตร์เฮ้าส์ ราม่า อาร์ซีเอ House Rama RCA •มงคลการละคร (ผลิตละครโทรทัศน์ ให้กับ ช่อง 7)
ผลงานภาพยนตร์ พ.ศ.2557 (Mongkol Major)
•Paradise (9มกราคม 2557) •12 Years of slave(6 มกราคม 2557) •Fire Storm ( 23 มกราคม 2557) •Nursed (6 กุมภาพันธ์ 2557) •Her (6 กุมภาพันธ์ 2557) •Venus in Fur (6 กุมภาพันธ์ 2557) •Pompeii (20 กุมภาพันธ์ 2557) •Three Days To Kill (27 กุมภาพันธ์ 2557) •Will you still love me tomorrow (6 มีนาคม 2557) •Divergent (20 มีนาคม 2557) •Sabotage (28 มีนาคม 2557) •America Dream in China (3 เมษายน 2557) •Tarzan (10 เมษายน 2557) •The Lunchbox (10 เมษายน 2557) •Transcendence (17 เมษายน 2557) •Railway Man (24 เมษายน 2557) •13 sins (8 พฤษภาคม 2557) •Haunt (15 พฤษภาคม 2557) •Draft Day (22 พฤษภาคม 2557) •Le-weekend (29 พฤษภาคม 2557) •7500 (5 มิถุนายน 2557) •Mr.Jones (19 มิถุนายน 2557) •Magic Magic (26 มิถุนายน 2557) •The Rover (3 กรกฎาคม 2557) •Swelter (3 กรกฎาคม 2557) •Earth To Echo (10 กรกฎาคม 2557) •Step Up All in (17 กรกฎาคม 2557) •Rosewood Lane (31 กรกฎาคม 2557) •Third Person (31 กรกฎาคม 2557)
การส่งเสริมการตลาด คือการประสานงานของผู้ขายในการพยายาม ใช้ความคิดสร้างสรรค์เพื่อแจ้งข้อมูลจูงใจลูกค้า เพื่อ ขายสินค้า บริการหรือความคิด การส่งเสริมการ ตลาดเป็นหน้าที่หนึ่งของการตลาดในการสื่อสารกับ กลุ่มเป้าหมาย การสื่อสารเพื่อส่งเสริมการตลาดนั้น ข่าวสารอาจจะเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ หรือราคาแก่ผู้ บริโภคก็ได้ คำ�ว่า “การส่งเสริมการตลาด” ตรงกับภาษา อังกฤษว่า “promotion” เป็นองค์ประกอบตัวที่สี่ใน ส่วนประสมการตลาด ซึ่งในการดำ�เนินงานการตลาด ปัจจุบันเน้นในเรื่องการสื่อสารการตลาด (marketing communications) เป็นสำ�คัญ เป้าหมายของการส่งเสริมการตลาด (the goals of promotion) โดยปกติแล้วคนโดยทั่วไป ติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกันด้วยเหตุผลหลายประการ พวกเขาอาจแสวงหาความบันเทิง อาจขอความช่วย เหลือ ให้ความช่วยเหลือหรือคำ�แนะนำ� ให้ข่าวสาร หรือต้องการการแสดงความรู้สึกนึกคิดถ่ายทอดซึ่ง กันและกันเป็นต้น แต่ในทางตรงข้าม การส่งเสริมการ ตลาดมีจุดมุ่งหมายแตกต่างกันจากที่กล่าวมาแล้ว นั่นคือ เป็นกิจกรรมที่กระทำ�โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมและความคิดใน ทางใดทางหนึ่งต่อกลุ่มเป้าหมาย ตัวอย่างเช่น ผู้ส่ง เสริมการตลาดอาจพยายามหาวิธีการเพื่อเชิญชวน
ผู้บริโภคให้หันมาดื่มโค้ก แทนที่จะดื่มเป๊บซี่ เป็นต้น แต่บางครั้งอาจจะต้องการตอกย้ำ�เพื่อให้ผู้บริโภคคง รักษาพฤติกรรมเดิมก็มีเช่นเดียวกัน เช่น ต้องการให้ผู้ บริโภคดื่มโค้กต่อไปภายหลังจากที่หันมาดื่มโค้กครั้ง หนึ่งแล้ว เป็นต้น นอกจากนั้นผู้ส่งข่าวสาร (source) หรือผู้ขายยังคงมีความมุ่งหวังที่จะสร้างภาพลักษณ์ ในทางที่ดี (favorable image) ในสายตาของลูกค้า หรือเพื่อกระตุ้นให้เกิดการซื้อสินค้าและบริการของ บริษัท งานพื้นฐานสามประการของการส่งเสริมการ ตลาด (three basic tasks of promotion) การส่งเสริม การตลาด โดยทั่วไปมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ทำ�หน้าที่ อย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง ดังนี้คือ 1.เพื่อให้ข้อมูล ข่าวสาร (to inform) 2.เพื่อเชิญชวน (to persuade) 3.เพื่อเตือนความทรงจำ� (to remind) แก่กลุ่มผู้รับข่าวสารเป้าหมาย (target audience) บ่อยครั้งบริษัทใช้ความพยายามเพื่อให้บรรลุความมุ่ง หมายหลาย ๆ อย่างในเวลาเดียวกัน รายละเอียดมี ดังนี้ (Lamb, Hair and McDaniel.1992:429-433) เพื่อให้ข้อมูลข่าวสาร(informing)การส่งเสริม การตลาดเพื่อให้ข้อมูลข่าวสาร โดยทั่วไปจะใช้มาก ในช่ ว งระยะเริ่ ม แรกของวงจรชี วิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ เป็นการสร้างความต้องการหรืออุปสงค์ขั้นพื้นฐานให้ กับผลิตภัณฑ์ที่เพิ่งวางตลาดใหม่ๆเพราะโดยทั่วไป
แล้วคนจะไม่ซื้อสินค้าหรือบริการ หรือให้การสนับสนุนองค์การใดๆ แม้ ว่ า องค์ ก ารนั้ น จะไม่ ห วั ง ผล กำ�ไรก็ตามจนกว่าเขาจะทราบถึง ความมุ่งหมายหรือผลประโยชน์ที่ เขาจะได้รับเสียก่อน ดังนั้นการทำ� โฆษณาเพื่ อ ให้ ข้ อ มู ล ข่ า วสารจึ ง อาจมี ส่ ว นช่ ว ยเปลี่ ย นพฤติ ก รรม ของผู้ บ ริ โ ภคให้ เ กิ ด ความคล้ อ ย ตามอยากได้ หรืออย่างน้อยที่สุดก็ จะเป็นการกระตุ้นความสนใจของ ผู้ บ ริ โ ภคที่ มี อ ยู่ แ ล้ ว ให้ เ กิ ด ความ สนใจที่จะซื้อผลิตภัณฑ์นั้นเพิ่มขึ้น เพื่อเชิญชวน(persuading) การส่งเสริมการตลาดเพื่อเชิญชวน เป็ น งานอั น ดั บ ที่ ส องซึ่ ง ฟั ง ดู จ าม จุ ด มุ่ ง หมายอาจทำ � ให้ ผู้ บ ริ โ ภค จำ � นวนไม่ น้ อ ยเกิ ด ความรู้ สึ ก ใน ทางลบเป็ น ความพยายามของ นักการตลาดที่จะกระตุ้น เร่งเร้าให้ ผู้ บ ริ โ ภคตั ด สิ น ใจซื้ อ หรื อ ซื้ อ มาก ขึ้น บางครั้งการเชิญชวนไม่ได้มุ่ง หวังที่จะให้ผู้บริโภคตอบสนองใน ทันที แต่เพื่อสร้างภาพลักษณ์ใน ทางบวกให้ กั บ ผู้ บ ริ โ ภคมากกว่ า เพื่อให้ผู้บริโภคคล้อยตามยอมรับ และให้การสนับสนุนเป็นลูกค้าขา ประจำ�เป็นเวลายาวนาน
เพื่อเตือนความทรงจำ� (reminding)การส่งเสริมการตลาด เพื่อเตือนความทรงจำ� โดยทั่วไป จะนำ � มาใช้ ม ากในขั้ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เจริญเต็มที่ตอนปลาย (late maturity) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ชื่อตราสินค้าของบริษัทอยู่ในความ ทรงจำ � ของสาธารณชนตลาดไป เช่น แม่โขง โค้ก เป๊บซี่ ยาสีฟันคอล เกต เป็นต้น รูปแบบการส่งเสริม การตลาดในลักษณะนี้ ถือว่าตลาด เป้าหมายหมายได้รับการเชิญ ให้ ตัดสินใจซื้อ ด้วยข้อเสนอที่เป็นจุด ดีจุดเด่นของผลิตภัณฑ์และบริการ เพียงพอแล้ว ดังนั้นในขั้นนี้จุดมุ่ง หมายของการส่ ง เสริ ม การตลาด จึงเป็นเพียงเพื่อกระตุ้นเตือนความ ทรงจำ�เท่านั้น
P R O M O T I O N
ตำ � นานสมเด็ จ พระนเรศวร ยุ ท ธหั ต ถี รอบสื ่ อ มวลชน
KING NARAYSUAN
13 sins