สารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจำเดือน ตุลาคม - ธันวาคม 2559

Page 1

ในฉบับ

• ม.อ.น้อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ ของสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 15 • ดร.ปริศวร์ ได้รับการเสนอเพื่อโปรดเกล้าเป็น ศาสตราจารย์ภาษาเกาหลีคนแรกของประเทศไทย 4 • วิศวะ ม.อ. จับมือ ปตท.สผ.พัฒนาหุ่นยนต์เก็บขยะชายหาด ลดมลภาวะสิ่งแวดล้อม 25 • นานาชาติร่วมประชุม 10th IMT-GT UNINET 2016 30


ข่าวเด่น

ชาวบ้าน 3 จังหวัดหนุนโครงการพัฒนา 3 เมืองหลัก ของ ศอ.บต. “ม.อ.โพล” ส� ำ รวจความเชื่ อ มั่ น โครงการ เมื อ งต้ น แบบสามเหลี่ ย มมั่ น คง 3 เมื อ งหลั ก ของ ศอ.บต. พบส่ ว นใหญ่ เ ชื่ อ จะท� ำ ให้ เ กิ ด การพั ฒ นา เศรษฐกิ จ และคุ ณ ภาพชี วิ ต ดี ขึ้ น โดยขอให้ มี ก าร ด�ำเนินโครงการได้อย่างจริงจัง ณะท� ำ งานการส� ำ รวจความคิ ด เห็ น “ม.อ.โพล” มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ ส� ำ รวจความ คิ ด เห็ น ของประชาชนในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ เกี่ ย ว กั บ ประเด็ น การรั บ รู ้ ข ้ อ มู ล ข่ า วสารและความเชื่ อ มั่ น ของ ประชาชนต่ อ แผนงาน “ต้ น แบบสามเหลี่ ย มมั่ น คง มั่ ง คั่ ง ยั่งยืน พัฒนาชายแดนใต้” ของศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัด ชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ซึ่งเป็นการร่วมมือกับทุกภาคส่วน ก� ำ หนดกรอบการพั ฒ นาเมื อ งเศรษฐกิ จ 3 เมื อ ง คื อ เมื อ ง หนองจิก จังหวัดปัตตานี เมืองเบตง จังหวัดยะลา และ เมือง สุ ไ หงโกลก จั ง หวั ด นราธิ ว าส ภายใต้ แ นวคิ ด “สานพลั ง ประชารัฐ” ผ่านการลงทุนขนาดใหญ่ของธุรกิจเอกชน พัฒนา ให้ มี ค วามโดดเด่ น ทั้ ง ด้ า นเอกลั ก ษณ์ และด้ า นเศรษฐกิ จ โดยท�ำการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดจ�ำนวน 580 กลุ่ม ตั ว อย่ า งในทุ ก ต� ำ บล ของอ� ำ เภอสุ ไ หงโก-ลก อ� ำ เภอเบตง และอ�ำเภอหนองจิก โดยค�ำถามประกอบด้วยข้อมูลการรับรู้

2 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559

ข้อมูลข่าวสารโครงการ ความเชื่อมั่นต่อโครงการ และข้อเสนอแนะ ต่อโครงการ ในด้านการรับรู้ข้อมูลโครงการดังกล่าว ประชาชนในพื้นที่ เมืองต้นแบบได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารโครงการ ถึงร้อยละ 80.10 โดยผ่านสื่อสารมวลชน เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ สื่อ ออนไลน์ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 51.90 และประชาชนอายุ 60 ปี ขึ้นไปมีการรับรู้มากที่สุด โดยประชาชนในพื้นที่อ�ำเภอ สุไหงโก-ลก มีการรับรู้ข้อมูลข่าวสารโครงการฯ มากที่สุด จากการส� ำ รวจพบว่ า ค่ า คะแนนความเชื่ อ มั่ น ของ ประชาชนโดยรวมของโครงการต้นแบบสามเหลี่ยมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่ ง ยื น พั ฒ นาชายแดนใต้ อยู ่ ที่ ร ะดั บ ค่ า คะแนน 3.79 โดย ประเด็นที่ประชาชนในพื้นที่มีความเชื่อมั่นสูงสุด อันดับแรกคือ เชื่อมั่นว่าแผนงานจะน�ำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและมีความ เป็นอยู่ที่ดีขึ้นของคนในพื้นที่ มีระดับค่าคะแนน 3.86 อันดับ ที่ ส อง คื อ เชื่ อ มั่ น ว่ า แผนงานจะน� ำ พาอ� ำ เภอสุ ไ หงโก-ลก เป็ น ศู น ย์ ก ลางการค้ า ชายแดนระหว่ า งประเทศซึ่ ง จะมี ก าร จั บ จ่ า ยใช้ ส อยของคนทุ ก ระดั บ ทั้ ง ในและนอกประเทศ มี ระดั บ ค่ า คะแนน 3.85 และประเด็ น ที่ ส าม คื อ เชื่ อ มั่ น ว่ า แผนงานจะน� ำ พาอ� ำ เภอเบตงเป็ น เมื อ งต้ น แบบการพึ่ ง พา ตนเองอย่างยั่งยืน มีระดับค่าคะแนน 3.83 นอกจากนั้นยังพบว่า อ�ำเภอเบตง เป็นพื้นที่ที่ประชาชน มีระดับค่าคะแนนความเชื่อมั่นต่อโครงการสูงที่สุด โดยมีระดับ ค่ า คะแนน 3.82 รองลงมาคื อ อ� ำ เภอหนองจิ ก ส่ ว นอ� ำ เภอ สุไหงโก-ลก ซึ่งมีการรับรู้โครงการ มากที่สุด กลับมีระดับความเชื่อมั่น น้อยที่สุด คือ 3.75 ผู้ท�ำแบบสอบถาม ยังให้ข้อเสนอ แนะต่างๆ เพิ่มเติม เช่น การพัฒนา อยากให้ค�ำนึงถึงความเป็นจริงใน พื้นที่ให้มากที่สุด อยากให้ค�ำนึงถึง อัตลักษณ์ของ 3 จังหวัดชายแดน ใต้ ที่ ค รอบคลุ ม ในทุ ก ศาสนา และอยากให้ แ ผนดั ง กล่ า วมีการ ด�ำเนินการได้อย่างจริงจังดังที่ได้ ประชาสัมพันธ์ไว้ เพื่อสันติสุขและ เกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจ


สารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็ น สื่ อ กลางประชาสั ม พั น ธ์ ภารกิ จ ของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ กั บ หน่ ว ยงานภายในและภายนอกมหาวิ ท ยาลั ย โดย มุ่งเน้นหน่วยงานภาครัฐและเอกชน สื่อสร้างความเข้าใจ ที่จะท�ำให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวรู้จักมหาวิทยาลัยมาก ยิ่ ง ขึ้ น และจะเป็ น จดหมายเหตุ ห รื อ บั น ทึ ก ความทรงจ� ำ ภารกิจของสถาบัน

ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559

สารบัญ ข่าวเด่น 2 ม.อ.โพล : ชาวบ้าน 3 จังหวัดหนุนโครงการพัฒนา 3 เมืองหลัก ของ ศอ.บต. 15 ม.อ.น้อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ ของสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 22 เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ฯ ทรงเปิด “อาคารจุฬาภรณ การุณยรักษ์” คณะสัตวแพทยศาสตร์

ม.อ.ภาคภูมิ 4 ดร.ปริศวร์ ได้รับการเสนอเพื่อโปรดเกล้าเป็นศาสตราจารย์ ภาษาเกาหลีคนแรกของประเทศไทย 5 ศ.ดร.ศุภยางค์ วรวุฒิคุณชัย รับโล่อาจารย์ดีเด่นสาขา วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ปี 59 6 ผลงาน เภสัช ม.อ. คิดวิธีสกัดสารต้านมะเร็งจากชะมวง ด้วยน�้ำมันร�ำข้าว รับ 3 รางวัลระดับนานาชาติ 7 “การพัฒนาโพรไบโอติกใช้ป้องกันฟันผุในชุมชน” ชนะเลิศ รางวัลนวัตกรรม ปี 59 8 นักวิจัยพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาฯ คณะวิทยาศาสตร์ คว้ารางวัล Spallanzani Award ในเวทีระดับโลก North American Society for Bat Research 10 ศูนย์ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม ม.อ. รับรางวัล “วัฒนคุณาธร” ผลงานโดดเด่นด้านศิลปะ และวัฒนธรรม

การศึกษา 11 ปรับแผนพัฒนานักศึกษา สร้างการเรียนรู้ตามช่วงเวลาที่ เหมาะสม 12 คณะรัฐศาสตร์มอบทุนสหกิจศึกษา เปิดโอกาส นศ.ประยุกต์ใช้ทฤษฎีกับการท�ำงานจริง

ความร่วมมือสู่การพัฒนา 13 OTOP ภาคใต้ไปโลดกับศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ ม.อ 14 สัตวแพทย์ ม.อ. ลงนามองค์การส่งเสริมกิจการโคนมฯ ส่งเสริมผลิตภัณฑ์นมภาคใต้ตอนล่าง 23 ฮิลตัน ร่วมลงนาม ม.อ. เตรียมความพร้อมนักศึกษาสู่งาน บริการ 24 ศอ.บต.หนุน ม.อ. ศึกษาออกแบบการใช้ประโยชน์พื้นที่ อุตสาหกรรมฮาลาล 25 วิศวะ ม.อ. จับมือ ปตท.สผ.พัฒนาหุ่นยนต์เก็บขยะชายหาด ลดมลภาวะสิ่งแวดล้อม

Activity 28 3 มหาลัย จาก 3 ภาค ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อการขับเคลื่อน องค์กรยุคใหม่ 29 ม.อ.จัดประชุมเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ บูรณาการความรู้ทุกศาสตร์งานวิจัย 29 สหกิจศึกษา เตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติงาน สหกิจศึกษา ประจ�ำปี 2559 30 นานาชาติร่วมประชุม 10th IMT-GT UNINET 2016 30 คณะวิทยาการสื่อสาร ม.อ.ปัตตานี ส่งมอบผลิตภัณฑ์ชุมชน ต้นแบบแก่ผู้ประกอบการ 31 ม.อ. ร่วม สวก. จัดรายงานผลวิจัยการพัฒนาผู้ผลิตปาล์ม น�้ำมันรายย่อย ตามมาตรฐาน GAP และ RSPO 34 ค่าย 40 ปี อุตสาหกรรมเกษตร ม.อ. เพื่อชนบท

กิจกรรมที่น่าสนใจ 35 การประชุมวิชาการระดับชาติ ม.อ.ตรัง วิจัย ประจ�ำปี 2560 “วิจัยก้าวใหม่ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”

3 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559


ม.อ.ภาคภูมิ

ดร.ปริศวร์ ได้รับการเสนอเพื่อโปรดเกล้าเป็น

ศาสตราจารย์ภาษาเกาหลีคนแรกของประเทศไทย สภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2559 เห็นชอบให้น�ำ ทูลเกล้าฯ เพื่อโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง รองศาสตราจารย์ ดร. ปริศวร์ ยิ้นเสน คณบดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ให้ด�ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารย์ ซึ่งเมื่อได้รับการ โปรดเกล้าฯ จะนับเป็น ศาสตราจารย์ทางภาษาเกาหลีคนแรกของประเทศไทย ด้วย อายุ 39 ปี ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยท�ำให้วงการภาษาเกาหลีมีความเข้มแข็งขึ้น และน�ำ ไปสู่การสร้างความเข้มแข็งของการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ซึ่งเป็นสถานศึกษาแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนภาษาเกาหลี

รองศาสตราจารย์ ดร. ปริศวร์ ยิ้นเสน ส�ำเร็จการศึกษา จากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ปั ต ตานี ในโครงการคุ รุ ท ายาท สาขาวิ ช าการประถมศึ ก ษา และได้เลือกวิชาภาษาเกาหลี เป็นวิชาเลือกเสรี ซึ่งในขณะนั้น วิชาภาษาเกาหลียังไม่เป็นวิชาเอก หรือวิชาโท เนื่องจากเป็น ภาษาที่คนยังสนใจศึกษาน้อยและเป็นภาษาที่แปลกใหม่ หลัง จบการศึกษาแล้วได้เป็นครูประถมศึกษาอยู่ที่จังหวัดตรัง 1 ปี และสอบได้ทุนไปศึกษาต่อในระดับปริญญาโท และปริญญา เอกที่ ส าธารณรั ฐ เกาหลี โดยเริ่ ม สอนภาษาเกาหลี ที่ ค ณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ.2543 และได้ด�ำรง ต�ำแหน่งคณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เมื่อปี 2557 รองศาสตราจารย์ ดร. ปริศวร์ ยิ้นเสน กล่าวว่า ปัจจุบัน นี้หนังสือและต�ำราเรียนภาษาเกาหลีที่ผลิตโดยคนไทยยังมี น้อย ส่วนใหญ่จะเป็นภาษาเกาหลี และภาษาอังกฤษ จึงได้ ผลิ ต หนั ง สื อ เพื่ อ การเรีย นการสอนขึ้น โดยที่ใช้ในการยื่ นขอ ก�ำหนดต�ำแหน่งศาสตราจารย์มีทั้งหมด 9 เล่ม ประกอบด้วย

4 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559

ภาษาเกาหลีเพื่อการท่องเที่ยว ภาษาเกาหลีเพื่อการโรงแรม และภาษาเกาหลีเพื่องานเลขานุการ ซึ่งเป็นภาษาเกาหลีเพื่อ ประกอบอาชีพ ซึ่งเป็นต�ำราที่ช่วยให้นักศึกษาได้เรียนรู้ภาษา เกาหลีที่จะสามารถน�ำไปประกอบอาชีพได้ และผลงานต�ำรา สัทศาสตร์ภาษาเกาหลี ซึ่งเป็นต�ำราทางภาษาแบบเจาะลึก เฉพาะทางทางด้ า นภาษาศาสตร์ ซึ่ ง เป็ น เล่ ม แรกของไทย นอกจากนี้ยังมีต�ำราที่เกี่ยวกับภาษากับวัฒนธรรมเกาหลี ต�ำรา ภาษาเกาหลีกับสังคมเกาหลี ต�ำราสังคมและวัฒนธรรมเกาหลี ส่ ว นหนั ง สื อ ได้ แ ก่ พจนานุ ก รมไวยากรณ์ เ กาหลี และ พจนานุกรมค�ำกริยาภาษาเกาหลี และมีงานวิจัยมี 2 เรื่อง คือ การใช้ภาษาของเพศหญิงและเพศชายในภาษาเกาหลี โดยการ วิเคราะห์จากบทละคร เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจการใช้ภาษาของ เพศหญิงและเพศชายที่มีบทบาทในสังคมที่แตกต่างกัน และ งานวิจัยเรื่องภาพลักษณ์ของเกาหลีท่ีน�ำเสนอในหนังสือพิมพ์ ในประเทศไทย รวมผลงานที่ใช้ยื่นขอต�ำแหน่งศาสตราจารย์ รวม 11 เรื่อง ข้อมูลจาการสัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ปริศวร์ ยิ้นเสน โดย ประชาสัมพันธ์ ม.อ.วิทยาเขตปัตตานี


ม.อ.ภาคภูมิ

ศ.ดร.ศุภยางค์ วรวุฒิคุณชัย รับโล่อาจารย์ดีเด่นสาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ปี 59 ของ ปอมท.

าสตราจารย์ ดร.ศุ ภ ยางค์ วรวุ ฒิ คุ ณ ชั ย ภาควิ ช า จุ ล ชี ว วิ ท ยา คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ และผู ้ อ� ำ นวยการสถานวิ จั ย ความเป็ น เลิ ศ ด้ า น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ธ รรมชาติ ได้ รั บ การประกาศเกี ย รติ คุ ณ และรั บ มอบโล่รางวัลเกียรติยศ ในฐานะอาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ สาขา วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ประจ�ำปี 2559 ของที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) ในการ ประชุ ม วิ ช าการประจ� ำ ปี ปอมท. ณ โรงแรมนงนุ ช การ์ เ ด้ น รีสอร์ท จังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ 24-25 พฤศจิกายน 2559 โดย นายชวน หลีกภัย อดีตนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน

ศาสตราจารย์ ดร.ศุภยางค์ วรวุฒิคุณชัย เข้ารับราชการที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ตั้งแต่ปี 2522 โดยได้ตั้งปณิธานใน การใช้ความรู้ความสามารถทางวิทยาศาสตร์ในการพัฒนาบ้านเกิด อุทิศตนท�ำงานด้านการเรียนการสอนคู่ขนานกับการท�ำวิจัย โดย ใช้กระบวนการทางบัณฑิตศึกษาในการสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่ มีคุณภาพทางการวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง เป็น ผู ้ ส อนที่ ใ ห้ ผู ้ เ รี ย นรู ้ จั ก การค้ น คว้ า หาความรู ้ ใช้ ค วามคิ ด รู ้ จั ก วิเคราะห์เป็นขั้นตอนอย่างมีเหตุผล ทุ่มเทใช้เวลาส่วนใหญ่กับ บัณฑิตศึกษา จัดให้มีกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ สนับสนุนบัณฑิตศึกษาในการน�ำเสนอผลงาน ทางวิชาการและส่งเสริมให้มีโอกาสสร้างประสบการณ์ ต่างประเทศ เพื่อเปิดโลกทัศน์ในการท�ำงานวิจัย และ สร้างแรงบันดาลใจด้านการวิจัยให้กับนักศึกษาและ นักวิจัยใหม่ ได้สร้างทีมวิจัยที่มีศักยภาพสูง เกี ย รติ สู ง สุ ด ในชี วิ ต ของความเป็ น ครู ของ ศาสตราจารย์ ดร.ศุ ภ ยางค์ วรวุฒิคุณชัย คือ การได้ ถวายงานพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พ ล อดุลยเดช เป็นผู้สอนให้กับมูลนิธิการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม (King’s Project Distance Learning

Foundation) โรงเรียนวังไกลกังวล ด้าน Health Science เป็น ภาษาอังกฤษ ออกอากาศทั่วโลก ในความเป็ น นั ก วิ จั ย ได้ ส ร้ า งงานวิ จั ย ให้ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายการวิจัยของชาติ ค้นคว้าหาองค์ความรู้ใหม่คู่ขนานกับ การน�ำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ได้รับทุนวิจัยจาก หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งในประเทศ และทุนจากองค์กรระดับนานาชาติ ได้ สร้ า งงานวิ จั ยพื้ นฐานแบบมุ ่ ง เป้ า ในการค้ นหาสารที่มีฤทธิ์ดี ทางชีวภาพ จากสมุนไพรเพื่อใช้แทนที่สารเคมีและยาปฏิชีวนะ ส� ำ หรั บ ฆ่ า เชื้ อ แบคที เ รี ย ที่ เ ป็ น ปั ญ หาส� ำ คั ญ ทางสาธารณสุ ข ผลงานวิจัยเป็นที่ยอมรับจากประชาคมวิทยาศาสตร์ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ผลงานในวารสารนานาชาติกว่า 140 รายการ ผลงานเด่ น ที่ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก กั น ดี ได้ แ ก่ ก ารคิ ด ค้ น ‘สู ต รต� ำ รั บ ปู ด เบญกานี ส� ำ หรั บ รั ก ษาโรคติ ด เชื้ อ ในผู ้ ป ่ ว ยเบาหวาน’ ได้ รั บ รางวั ล ผลงานประดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้ น ระดั บ ดี ปี 2558 จากส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการวิ จั ย แห่ ง ชาติ ผลงาน ‘อุ ป กรณ์ ส� ำ หรั บ ตรวจหา เชื้ อ แคมไพโลแบคเตอร์ ’ ได้ รั บ เลื อ กเป็ น ผลงานเด่ น คลั ส เตอร์ อาหารและการเกษตร จากส� ำ นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีแห่งชาติ ได้รับรางวัลที่ 1 นวัตกรรมสงขลานครินทร์ และรางวัลประกาศเกียรติคุณ ผลงานประดิษฐ์คิดค้น ปี 2553 จาก ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ มี สิ ท ธิ บั ต รและอนุ สิ ท ธิ บั ต รกว่ า 10 รายการ ซึ่ ง ได้ น� ำ ไป ขยายผลการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ เช่น ‘สมุนไพรปูดเบญกานี (ChroniCare) ส�ำหรับรักษาแผลติดเชื้อเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวาน’ ‘Qi เจลล้างมือ ปราศจากแอลกอฮอล์’ จากสารสกัดปูดเบญกา นี ‘Acnes Serum’ จากสารโรโดไมรโทน น�ำไปประโยชน์ทางการ แพทย์ในอาสาสมัครที่เป็นสิว ‘ครีมป้ายเต้านมวัว’ จากสารสาร สกัดใบกระทุ น�ำไปขยายผลการใช้ประโยชน์ส�ำหรับป้องกันโรคเต้า นมโคนมอักเสบที่สหกรณ์โคนมพัทลุง ‘อาหารเสริม’ จากสารสกัด ใบกระทุส�ำหรับป้องกันโรค streptococcosis ในปลานิล น�ำไป ขยายผลการใช้ประโยชน์ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำเศรษฐกิจ เป็นต้น

5 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559


ม.อ.ภาคภูมิ

เภสัช ม.อ. คิดวิธีสกัดสารต้านมะเร็งจากชะมวง ด้วยน�้ำมันร�ำข้าว รับ 3 รางวัลระดับนานาชาติ ณะนั ก วิ จั ย จาก คณะเภสั ช ศาสตร์ ม.อ. คิดค้นวิธีสกัดสารต้านมะเร็งจากชะมวง ด้วย น�้ำมันร�ำข้าว ประหยัดพลังงาน ลดต้นทุนการผลิต เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม น�ำมาท�ำผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ส�ำหรับป้องกันมะเร็ง รับ 3 รางวัลระดับนานาชาติ

รองศาสตราจารย์ ดร.ภก.ภาคภูมิ พาณิชยูปการนันท์ และคณะ ประกอบด้ ว ย นางสาวพิ รุ ณ รั ต น์ แซ่ ลิ้ ม และ ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.สุ ป รี ย า ยื น ยงสวั ส ดิ์ จากสถาน วิ จั ย ความเป็ น เลิ ศ ยาสมุ น ไพรและเทคโนโลยี ชี ว ภาพทาง เภสั ช กรรม และ ภาควิ ช าเภสั ช เวทและเภสั ช พฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมวิจัยและ คิ ด ค้ น วิ ธี ก ารสกั ด สารออกฤทธิ์ ต ้ า นมะเร็ ง จาก “ใบชะมวง” ถื อ เป็ น สารตั ว ใหม่ ที่ ยั ง ไม่ มี ใ ครค้ น พบมาก่ อ น โดยตั้ ง ชื่ อ ว่ า สาร ‘ชะมวงโอน’ (Chamuangone) เพื่ อ แสดงให้ เ ห็ น ว่ า เป็ น การค้ น พบที่ เ กิ ด ขึ้ น ในประเทศไทย และพบว่ า น�้ ำ มั น ร� ำ ข้ า ว เป็นน�้ำมันพืชที่เหมาะสมที่สุดในการน�ำมาสกัดสารชะมวงโอน เพราะนอกจากจะสกั ด สารได้ ใ นปริ ม าณสู ง แล้ ว น�้ ำ มั น ร� ำ ข้ า ว ยังมีกรดไขมันจ�ำเป็นที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย และอุดมไปด้วย สารต้านอนุมูลอิสระ เช่น วิตามินอี และสารแกมมาโอรีซานอล

6 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559

(gamma oryzanol) ซึ่งมีประโยชน์ในการลดความเสี่ยงของโรค มะเร็ ง โรคหลอดเลื อ ดและหั ว ใจ และช่ ว ยบ� ำ รุ ง ผิ ว พรรณด้ ว ย เมื่ อ น� ำ สารสกั ด ที่ ไ ด้ ไ ปทดสอบฤทธิ์ ยั บ ยั้ ง เซลล์ ม ะเร็ ง ที่ เป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆ 3 ชนิด ได้แก่ มะเร็งล�ำไส้ใหญ่ มะเร็งเต้านม และ มะเร็งปอด พบว่าสารสกัดชะมวงโอนมีฤทธิ์ ยั บ ยั้ ง เซลล์ ม ะเร็ ง ดั ง กล่ า วได้ ดี โดยไม่ เ ป็ น พิ ษ ต่ อ เซลล์ ป กติ การสกั ด สารชะมวงโอนด้ ว ยวิ ธี ดั ง กล่ า ว ยั ง เป็ น กรรมวิ ธี ที่ เ ป็ น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม ประหยัดพลังงาน ลดการท�ำลายสิ่งแวดล้อม และ ลดต้นทุนการผลิต โดยคณะผู้วิจัยได้น�ำสารสกัดดังกล่าว มาท� ำ เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ สริ ม อาหารที่ บ รรจุ ใ นแคปซู ล นิ่ ม (soft gelatin capsule) ขนาดแคปซู ล ละ 800 mg นวั ต กรรมชิ้ น นี้ สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับใบชะมวงและน�้ำมันร�ำข้าว และ สามารถน� ำ กรรมวิ ธี ก ารผลิ ต นี้ ไ ปใช้ ป ระโยชน์ ใ นอุ ต สาหกรรม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ สริ ม อาหาร เพื่ อ ช่ ว ยขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ของ ประเทศไทย ในยุ ค “ประเทศไทย 4.0” หรื อ “Thailand 4.0” ผลงาน “ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารส�ำหรับป้องกันมะเร็งจากสารสกัด ชะมวงโอนด้วยน�้ำมันร�ำข้าว” ดังกล่าว ยังได้รับรางวัลจากการ เข้าร่วมประกวดนวัตกรรมรับนานาชาติหลายรางวัล เช่น รางวัล เหรียญทอง ในงาน “10th International Warsaw Invention Show” (IWIS 2016) ที่ ป ระเทศสาธารณรั ฐ โปแลนด์ รางวั ล Special Award (on Stage) จาก Malaysian Research & Innovation Society ประเทศมาเลเซี ย และ รางวั ล Special Award จาก Taiwan International Invention Award Winners Association ประเทศไต้หวัน


ม.อ.ภาคภูมิ

ผลงาน “การพัฒนาโพรไบโอติกใช้ป้องกันฟันผุในชุมชน” ชนะเลิศ รางวัลนวัตกรรม ปี 59

ผลงานนวัตกรรม “การพัฒนาโพรไบโอติก Lactobacillus paracasei SD1 เพื่อใช้ป้องกันฟันผุ:ต้นแบบการใช้ในชุมชน” ของ ศาสตราจารย์ ดร. รวี เถียรไพศาล อาจารย์ ดร.ทพญ. สุ พั ช ริ น ทร์ พิ วั ฒ น์ และที ม งาน คณะทั น ตแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ โครงการ นวัตกรรมด้านสังคม ในวันนวัตกรรม ประจ�ำปี 2559 จัดโดย ส� ำ นั ก งานนวั ต กรรมแห่ ง ชาติ กระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โพรไบโอติ ก (Probiotic) เป็ น จุ ลิ น ทรี ย ์ ที่ มี ชี วิ ต ซึ่ ง เมื่ อ ร่ า งกายได้ รั บ ในปริ ม าณที่ เ พี ย งพอจะท� ำ ให้ เ กิ ด ผลที่ เ ป็ น ประโยชน์ด้านสุขภาพ จุลินทรีย์เหล่านี้เป็นสายพันธุ์ที่ได้ผ่าน การคัดเลือกมาแล้วว่าเป็นสายพันธุ์ที่มีคุณสมบัติดี เหมาะสม และปลอดภัย จุลินทรีย์ที่ใช้เป็นโพรไบโอติกในปัจจุบันส่วนใหญ่ เป็นสายพันธุ์ในกลุ่มของจีนัส Lactobacillus โดยทั่วไปเป็น การน�ำมาใช้ในการบริโภคเพื่อสุขภาพในช่องท้องหรือทางเดิน อาหาร อย่างไรก็ตาม โพรไบโอติก ยังมีประโยชน์ในการเสริม สุ ข ภาพในช่ อ งปาก ในการช่ ว ยลดเชื้ อ ก่ อ โรคในช่ อ งปาก เป็นการป้องกันการติดเชื้อในช่องปาก มีผลในการลดเชื้อฟันผุ ส่งผลให้ความเสี่ยงในการเกิดฟันผุลดลง การคัดเลือกจุลินทรีย์เพื่อน�ำมาใช้ส�ำหรับเป็นโพรไบโอติก ในช่องปากมีอยู่จ�ำกัด เนื่องจากเป็นเรื่องใหม่ และมีผู้รายงานว่า โพรไบโอติกเหล่านั้นสามารถอยู่ในช่องปากได้เพียงชั่วคราว เท่านั้น ซึ่งอาจจะเพราะจุลินทรีย์เหล่านั้นไม่ได้มีแหล่งก�ำเนิด จากช่องปาก จึงไม่สามารถคง อยู่ได้นาน ดังนั้นการคัดเลือก สายพั น ธุ ์ ที่ มี ต ้ น ก� ำ เนิ ด จาก ช่ อ งปากของคน น่ า จะเป็ น สายพั น ธุ ์ ที่ เ หมาะสมเพื่ อ ใช้ ในการเป็ น โพรไบโอติ ก เพื่ อ

เสริมสุขภาพในช่องปากของคน ซึ่งอาจเป็นในรูปของผลิตภัณฑ์ ผสมโพรไบโอติกส�ำหรับสุขภาพในช่องปาก ซึ่งปัจจุบันยังไม่มี จ�ำหน่ายในประเทศไทย คณะผู ้ วิ จั ย ได้ คั ด เลื อ กจุ ลิ น ทรี ย ์ เ พื่ อ เป็ น โพรไบโอติ ก เสริมสุขภาพในช่องปาก โดยในระยะแรกเน้นในการช่วยให้ ฟั น แข็ ง แรง จุ ลิ น ทรี ย ์ ผ ่ า นการคั ด เลื อ กตามแนวทางของ FAO/WHO โดยต้องค�ำนึงถึง ความถูกต้องในการวินิจฉัยชนิด ของจุ ลินทรี ย์ ความปลอดภั ยในการน� ำ ไปใช้ มาตรฐานของ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ผ สมโพรไบโอติ ก ที่ เ ตรี ย ม และประสิ ท ธิ ผ ลของ โพรไบโอติกในการป้องกันฟันผุ ในภาวะที่ ป ั ญ หาฟั น ผุ เ ป็ น ปั ญ หาสุ ข ภาพที่ ส� ำ คั ญ ของ คนไทย เป็นปัญหาที่พบได้ในทุกเพศและทุกอายุ ก่อให้เกิด ผลเสียที่ตามมา ได้แก่ ส่งผลต่อการบดเคี้ยวลดลง ท�ำให้การ ได้รับสารอาหารลดลงมีผลต่อการเจริญเติบโตทั้งร่างกายและ สติปัญญา ท�ำให้ฟันซ้อนเก และฟันน�้ำนมผุเป็นแหล่งของเชื้อ ฟันผุท�ำให้ฟันแท้ที่ขึ้นใหม่มีความเสี่ยงในการเกิดฟันผุสูงขึ้น นวัตกรรม “การพัฒนาโพรไบโอติก Lactobacillus paracasei เพื่อใช้ป้องกันฟันผุ:ต้นแบบการใช้ในชุมชน” จะช่วยในการ ป้ อ งกั น ฟั น ผุ ใ นประชากรไทย ซึ่ ง เป็ น ปั ญ หาส� ำ คั ญ ของ ทั น ตสุ ข ภาพ และเป็ น ประโยชน์ อ ย่ า งยิ่ ง ต่ อ สั ง คมไทย โดย ส่ ง ผลให้ ป ระชากรมี สุ ข ภาวะที่ ดี และช่ ว ยให้ ป ระเทศชาติ ประหยัดงบประมาณที่ต้องใช้ในการแก้ไขปัญหาฟันผุและผล ที่ตามมาของฟันผุ เช่น ค่าอุดฟัน ฟันปลอม เป็นต้น ทั้งนี้ เจ้าของผลงานนวัตกรรม ได้น�ำโครงการ ต้นแบบการใช้นมผงโพรไบโอติกในการป้องกันฟันผุ ในเด็กเล็ก ไปใช้ศูนย์เด็กเล็กที่ อบต. ท่าข้าม อ�ำเภอ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และประสบผลส�ำเร็จตาม เป้าหมาย เป็นบทพิสูจน์ประสิทธิภาพในการใช้งานจริง และได้รับความสนใจในการน�ำไปขยายผลในพื้นที่อื่นๆ เช่น โรงพยาบาล จังหวัดสตูล โรงพยาบาลยะหริ่ง และ โรงพยาบาลอ�ำเภอจะนะ

7 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559


ม.อ.ภาคภูมิ

นักวิจัยพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาฯ คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. คว้ารางวัล

Spallanzani Award ในเวทีระดับโลก North American Society for Bat Research เมื่อวันที่ 12-15 ตุลาคม 2559 ดร.พิพัฒน์ สร้อยสุข นักวิจัยพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา 50 พรรษาสยามบรม ราชกุมารี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ รั บ เชิ ญ ให้ รั บ รางวั ล Spallanzani Award จาก North American Society for Bat Research หรือ NASBR เพื่อเป็น เกียรติกับนักวิจัยด้านค้างคาวจากประเทศนอกอเมริกาเหนือ ที่ มี ผ ลงานโดดเด่ น โดยมี ก ารเสนอชื่ อ ผู ้ เ ข้ า รั บ รางวั ล จาก สมาชิก NASBR ทั่วโลก และผ่านการคัดเลือกและตัดสินโดย Selection Committee ผู้ที่รับการพิจารณารับรางวัลนี้จะต้อง เป็นผู้ที่มีประวัติผลงานโดดเด่นตลอดการท�ำงานทางด้านการ พัฒนางานวิจัย มีผลงานวิจัยตีพิมพ์ที่มีผลต่อวงการวิชาการ อย่างกว้างขวาง รวมถึงการพัฒนาการศึกษา และ/หรือการ อนุรักษ์ค้างคาว และน�ำเสนอผลงานวิจัยต่อที่ประชุมวิชาการ NASBR ที่เมือง San Antonio รัฐ Texas ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยในครั้ ง นี้ ดร.พิ พั ฒ น์ สร้อยสุข เป็นตัวเเทนประเทศไทย บรรยายพิเศษเรื่อง ‘Information rich but conservation poor: How do we conserve bat diversity in the global hotspot of Southeast Asia?’ และชี้ ใ ห้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว ม ประชุมตระหนักถึงการอนุรักษ์ค้างคาว ที่ปัจจุบันนักวิจัยค้างคาว ส่วนใหญ่เน้นท�ำงานวิจัยในหัวข้อที่ตนเองสนใจเท่านั้น และไม่ได้ให้ ความส�ำคัญกับการลงมือท�ำกิจกรรมเพื่อการอนุรักษ์ค้างคาวอย่าง จริงจัง โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีความหลากหลาย ของค้างคาวสูงมาก แต่ขณะเดียวกันก็มีภัยคุกคามต่อค้างคาวสูง มากเช่นกัน ทั้งการสูญเสียถิ่นที่อยู่อาศัย ทั้งป่าและถ�้ำ การถูกล่า กินเป็นอาหาร เป็นต้น นอกจากนั้นนักวิจัยค้างคาวในภูมิภาคก็ ยั ง มี น ้ อ ยมาก จึ ง ไม่ ส ามารถท� ำ งานวิ จั ย เฉพาะที่ ต นสนใจอย่ า ง เดียวได้ ต้องหันมาท�ำกิจกรรมส่งเสริมการอนุรักษ์ควบคู่กันไปด้วย อย่างไรก็ตามด้วยบุคลากร ทรัพยากรและทุนที่มีอย่างจ�ำกัด จึง ท� ำ ให้ กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ์ เ หล่ า นี้ ยั ง ไม่ เ ห็ น ผลมากนั ก จ�ำเป็นต้องได้รับการสนุนจากประเทศที่พัฒนาแล้วที่มีทั้งแหล่งทุน อุปกรณ์วิจัยที่ทันสมัย และบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ เข้า มาช่วยกันท�ำงานวิจัยและผลักดันการอนุรักษ์ให้ส�ำเร็จเป็นรูปธรรม ขึ้นมา โดยการบรรยายนี้ได้รับเสียงตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้เข้าร่วม ประชุม และคาดหวังว่าจะมีความร่วมมือเพื่อศึกษาและอนุรักษ์ ค้างคาวระดับนานาชาติเพิ่มมากขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้

8 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559

ดร.พิพัฒน์ สร้อยสุข ถือว่าเป็นนักวิจัยคนที่ 4 จากเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นคนที่ 2 จากประเทศไทย ที่ได้รับรางวัล นี้ถัดจาก ผศ.ดร.สาระ บ�ำรุงศรี อาจารย์ภาควิชาชีววิทยา คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่ได้รับรางวัลนี้เมื่อ ปี พ.ศ. 2553 เท่าที่ผ่านมามีเพียงประเทศคิวบา และประเทศไทย เท่านั้น ที่นักวิจัยได้รับรางวัลดังกล่าวประเทศละ 2 คน ส�ำหรับใน ประเทศไทยนักวิจัยทั้ง 2 ท่าน เป็นนักวิจัยของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความ โดดเด่ น และความเป็ น ผู ้ น� ำ งานวิ จั ย ค้ า งคาวของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ในประเทศและในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ส�ำหรับ ดร.พิพัฒน์ สร้อยสุข เป็นนักวิจัยที่มีชื่อเสียงใน การค้นพบสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดใหม่ของโลก 3 ชนิด “ส�ำหรับ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ชนิดแรกคือค้างคาวจมูกหลอดบาลา หรือ Bala Tube-nosed Bat, การค้นพบซากฟอสซิลค้างคาวชนิดใหม่ ที่มีชิวิตอยู่เมื่อปลายยุคไพลสโตซีน, การค้นพบพญากระรอกบิน ลาว หรือ Laotian Giant Flying Squirrel และ การค้นพบค้างคาว แวมไพร์แปลงทองอารีย์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นนักวิจัยที่เชี่ยวชาญทาง ด้านค้างคาวระดับต้นๆ ของประเทศไทย


ม.อ.ภาคภูมิ

ศูนย์ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม ม.อ. รับรางวัล “วัฒนคุณาธร” ผลงานโดดเด่นด้านศิลปะ และวัฒนธรรม

นย์ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิสิตา บ�ำรุงวงศ์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์ ส่ ง เสริ ม ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม เข้ า รั บ โล่ เ ชิ ด ชู เ กี ย รติ ผู ้ ท� ำ คุ ณ ประโยชน์ ต ่ อ กระทรวงวั ฒ นธรรม “รางวั ล วั ฒ นคุ ณ าธร” ประจ� ำ ปี 2559 ประเภท กลุ ่ ม บุ ค คล จากนายวี ร ะ โรจน์ พ จนรั ต น์ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวง วัฒนธรรม เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2559 ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรม แห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร สังคม และประเทศชาติ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ ประเภท เด็กหรือเยาวชน ประเภทบุคคล และประเภทกลุ่มบุคคล รางวั ล ดั ง กล่ า ว พิ จ ารณาโดยการกลั่ น กรองจากคณะ กรรมการคั ด เลื อ กผู ้ ท� ำ คุ ณ ประโยชน์ ฯ ระดั บ จั ง หวั ด ทั้ ง 76 จั ง หวั ด ซึ่ ง มี ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด เป็ น ประธาน และจาก หน่วยงานระดับกรม และองค์การมหาชน ในสังกัดกระทรวง วัฒนธรรม โดยผู้ผ่านการตรวจประเมินผลงานดีเด่นในระดับ ประเทศ จะได้รับการเสนอชื่อเข้ารับโล่รางวัล “วัฒนคุณาธร” ซึ่งถือเป็นรางวัลในระดับประเทศ “รางวัลวัฒนคุณาธร” เป็นรางวัลเกียรติยศของกระทรวง วัฒนธรรม ระดับประเทศ เพื่อยกย่องและเชิดชูเกียรติบุคคล และองค์ ก รที่ ด� ำ เนิ น งานอนุ รั ก ษ์ ม รดกทางศิ ล ปวั ฒ นธรรม ของชาติ และมีผลงานโดดเด่นในการปฏิบัติงาน ส่งเสริมงาน ด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ด้วยความเสียสละ วิริยะ อุตสาหะ มี ค วามคิ ด ริ เ ริ่ ม สร้ า งสรรค์ และมี ผ ลงานเป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ แ ก่ ผู ้ ร ่ ว มงานและสาธารณชน ที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ แ ก่ ชุ ม ชน

9 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559


การศึกษา

ม.อ.ปรับแผนพัฒนา น.ศ. สร้างการเรียนรู้ตามช่วงเวลาที่เหมาะสม ช่วยศาสตราจารย์สุพจน์ โกวิทยา รองอธิการบดี ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย ส ง ข ล า น ค ริ น ท ร ์ เ ป ิ ด เ ผ ย ว ่ า มหาวิทยาลัยได้จัดท�ำแนวคิดการ พั ฒ นานั ก ศึ ก ษาเป็ น แผนพั ฒ นา แบบขั้ น บั น ไดเพื่ อ ให้ เ กิ ด การเรี ย น รู้ตามช่วงเวลาที่เ หมาะสม เพื่อให้ นักศึกษามีความสุขในการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยและส�ำเร็จ เป็ น บั ณ ฑิ ต ที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ สนองความต้ อ งการของ ตลาดแรงงานและการเปลี่ยนของสังคม อีกทั้งพัฒนาให้เป็นผู้ “ซื่อสัตย์มีวินัย ใฝ่ปัญญา จิตสาธารณะ” ซึ่งเป็นอัตลักษณ์ ของนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นอกจากนั้นยัง จะมี ก ารปรั บ ปรุ ง โครงสร้างกิจ กรรมเสริม หลัก สูตรซึ่งเป็น เครื่องมือส�ำคัญที่ใช้ ในการพัฒนานักศึกษาให้สอดคล้องกัน โดยคาดว่าจะเริ่มใช้ระบบใหม่ในปีการศึกษา 2560

กิจกรรมเสริมหลักสูตร ตามแผนดังกล่าว ได้แบ่ง ประเภทให้นักศึกษาเลือก เข้ า ร่ ว มตามชั้ น ปี เช่ น นั ก ศึ ก ษ า ชั้ น ป ี ที่ 1 มี กิ จ กรรมเพื่ อ ให้ ไ ด้ รู ้ จั ก และเกิดความภาคภูมิใจ ในสถาบัน รู้จักสิ่งแวดล้อมใหม่ ๆ เพื่อการปรับตัวอยู่ในมหาวิทยาลัย อย่างมีความสุข การเตรียมความพร้อมการเรียนแบบวิถีอุดมศึกษา เพื่อให้รู้จักตนเองและมีเป้าหมายชีวิต สามารถปรับตัวกับการเรียน ในรูปแบบ Active Learning และรู้จักค้นคว้าหาความรู้ด้วยตัวเอง และ การเตรี ย มความพร้ อ มอยู ่ ร ่ ว มในโลกสั ง คมพหุ วั ฒ นธรรม เพื่อให้ได้เห็นความงดงามของการอยู่ร่วมกับเพื่อนต่างวัฒนธรรม ชั้นปีที่ 2 เป็นการเรียนรู้ชุมชนเรียนรู้สังคม เพื่อให้นักศึกษา สามารถพื้นที่เรียนรู้ท�ำงานร่วมกับชุมชนได้ มีการพัฒนาผู้น�ำเพื่อ ฝึ ก กระบวนการท� ำ งานเป็ น ที ม พั ฒ นาทั ก ษะการบริ ห ารจั ด การ ทักษะการใช้ชีวิตเพื่อให้นักศึกษาสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ทั ก ษะการคิ ด วิ เ คราะห์ ก ารสื่ อ สารและการบริ ห ารเวลาเกิ ด จิ ต สาธารณะ และเพื่อบ่มเพาะพระราชปณิธาน “ขอให้ถือประโยชน์ ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง” ในชั้นปีที่ 3 เป็นขั้นการสัมผัสโลกกว้าง โดยมีกิจกรรมเพื่อ การเรียนรู้การเป็นพลเมืองโลก การเรียนรู้ความเท่าทันกับโลกและ การเปลี่ยนแปลง การเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนทั้งในประเทศ และนานาชาติ และการเสริมสร้างสมรรถนะสากลให้กับนักศึกษา

10 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559

ส่วนในชั้นปีที่ 4 เป็นการเตรียมพร้อมสู่วัยท�ำงานซึ่งสามารถ ปรั บ ขยายเป็ น ชั้ น ปี ที่ 4-6 ส� ำ หรั บ นั ก ศึ ก ษาด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ มี กิ จ กรรมการฝึ ก ทั ก ษะการเป็ น ผู ้ ป ระกอบการ เพื่ อ ให้ ได้เรียนรู้ช่องทางการประกอบอาชีพและสามารถเป็นผู้ประกอบ การได้ เช่น การแนะแนวและสาธิตอาชีพสร้างรายได้ โครงการ นักธุรกิจน้องใหม่ กิจกรรมการเตรียมความพร้อมสู่โลกการท�ำงาน เพื่อเปิดมุมมองของนักศึกษาสู่โลกแห่งอาชีพ พัฒนาบุคลิกภาพ และคุณธรรมจริยธรรมก่อนเข้าสู่การท�ำงาน การน�ำแนวคิดการพัฒนานักศึกษาน�ำเสนอเพื่อรับฟังข้อเสนอ แนะจากสภามหาวิทยาลัย กรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิได้ชื่นชม ในแนวคิดที่จะพัฒนานักศึกษาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายคุณสมบัติ ของนั ก ศึ ก ษาที่ ต ้ อ งการ เป็ น การด� ำ เนิ น การที่ ดี แ ละถู ก ทาง อย่างไรก็ตาม ควรเน้นไปที่การพัฒนานักศึกษามากกว่ากิจการ นั ก ศึ ก ษา โดยต้ อ งบู ร ณาการให้ เ ข้ า ไปอยู ่ ใ นทุ ก กิ จ การของ มหาวิทยาลัย ให้นักศึกษาเข้าไปมีส่วนร่วมเป็นส่วนหนึ่งของท้องถิ่น และบ้านเมือง ควรเน้นการมีความคิดริเริ่มโดยท�ำเป็นในรูปของ หมู่คณะ เป็นการสร้างภาวะผู้น�ำซึ่งเป็นที่ต้องการส�ำหรับคนยุคใหม่ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการท�ำงานเพื่อผู้อื่น นักศึกษาคือผู้ที่จะเป็นพลเมือง 4.0 ของไทยในอนาคต ซึ่ง ต้องสร้างให้เกิดความรู้ความเข้าใจในในศาสตร์หลายเรื่อง ที่ส�ำคัญ คือ ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านความคิดวิเคราะห์เรื่องต่างๆ เช่นเรื่อง ข้อมูลข่าวสารมีอยู่เป็นจ�ำนวนมาก และ ความสามารถในการอ่าน หรือดูแล้วเข้าใจโดยเฉพาะการอ่านการเขียนแบบ digital ต้อง สร้ า งบั ณ ฑิ ต ระดั บ ปริ ญ ญาตรี ใ ห้ คิ ด เป็ น ท� ำ เป็ น และพั ฒ นาได้ ต้องมีการปูพื้นฐานถึงทิศทางที่เขาจะเดินไปต่อในอนาคต ส่วน การผลิตบัณฑิตระดับหลังปริญญาก็ต้องมีจุดมุ่งไปสู่อาชีพที่เป็น ความต้ อ งการของประเทศหรื อ ของโลก และต้ อ งเลื อ กสาขา ที่เขาสามารถพัฒนาตนเองได้เช่นกัน ในการพัฒนาควรค�ำนึงถึงนักศึกษาอีกกลุ่มหนึ่ง ที่อาจเป็น ผู ้ มี ป ั ญ หาทั้ ง ในการอยู ่ ร ่ ว มกั บ ผู ้ อื่ น และการเรี ย นซึ่ ง แนวทาง การพัฒนาที่น�ำเสนอมาอาจน�ำมาใช้ไม่ได้ ต้องได้รับความสนใจ ดูแลเป็นพิเศษ แต่ไม่ควรได้รับการดูแลมากเกินไปจนคิดว่าตนเอง ต้องเป็นผู้ได้เสมอ


การศึกษา

คณะรัฐศาสตร์มอบทุนสหกิจศึกษา เปิดโอกาส นศ.ประยุกต์ใช้ทฤษฎีกับการท�ำงานจริง ณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จัดพิธีมอบทุนสหกิจศึกษา นานาชาติ ทุนคอลีฟะห์ ทุนสหกิจศึกษาภายในประเทศ รวม 54 ทุน ให้แก่นักศึกษาสหกิจศึกษาคณะรัฐศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และคณะวิทยาการ สื่อสาร เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2559 ณ ห้องศรีวังสา คณะรัฐศาสตร์ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี เป็นประธาน อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ กล่ า วว่ า ทุ น การศึกษาที่มหาวิทยาลัยได้มอบให้จะเป็นส่วนหนึ่งของการ สร้ า งโอกาสในการเรี ย นรู ้ สิ่ ง ใหม่ ๆ ก่ อ ให้ เ กิ ด ประสบการณ์ ที่ ห ล่ อ หลอมให้ นั ก ศึ ก ษาเป็ น บั ณ ฑิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพเปี ่ ย มด้ ว ย คุณธรรม ซึ่งตรงตามเป้าหมายของงานสหกิจศึกษา คือพัฒนา การเรียนรู้ของนักศึกษาให้รู้จักวิเคราะห์ สังเคราะห์ พัฒนา ทักษะสัมพันธ์กับวิชาชีพที่เป็นความต้องการขององค์กรผู้ใช้ บัณฑิตรวมถึงเปิดโอกาสให้นักศึกษามีประสบการณ์แนวคิด ใหม่ๆ เป็นแนวทางสําคัญที่ทําให้นักศึกษาสามารถเชื่อมโยง และประยุกต์ความรู้ทางทฤษฎีสู่การปฏิบัติงานจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชิดชนก ราฮิมมูลา คณบดีคณะ รัฐศาสตร์ กล่าวว่า สหกิจศึกษา เป็ น แนวทางหนึ่ ง ในการพั ฒ นา ศั ก ย ภ า พ ข องนั ก ศึ ก ษ า โ ด ย บูรณาการหลักสูตรการเรียนการ สอนในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษากั บ การเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ และ เป็นการให้ความสําคัญกับความต้องการและความพึงพอใจ ของนายจ้ า ง ผู ้ ใ ช้ บั ณ ฑิ ต โดยคณะรั ฐ ศาสตร์ ไ ด้ นําสหกิ จ ศึกษามาอยู่ในหลักสูตรการเรียนการสอนตั้งแต่ปี 2553 จนถึง ปีการศึกษา 2558 ต่อเนื่องเป็นรุ่นที่ 6 ในสาขาการปกครอง สาขาการปกครองท้องถิ่นชายแดน สาขานโยบายสาธารณะ และสาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมทั้งสิ้น 1,043 คน มีสถานประกอบการที่เข้าร่วมกว่า 500 หน่วยงาน มีประเทศ ที่นักศึกษาไปสหกิจศึกษา รวม 12 ประเทศ ได้แก่ ประเทศ มาเลเซี ย สิ ง คโปร์ อั ง กฤษ สหรั ฐ อเมริ ก า เยอรมั น อิ น เดี ย เวียดนาม ตุรกี โอมาน ลาว อินโดนีเซีย และจีน

จากผลการดําเนินงานที่ผ่านมา ทําให้คณะสามารถจัด ตั้งศูนย์ศึกษาตุรกี โดยการประสานงานของนักศึกษาสหกิจ ศึกษา มีการทําข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กร ต่างๆ อาทิ องค์กรด้านสันติภาพและการแก้ปัญหาหลังความ ขัดแย้ง Acehnese Civil Society Task Force (ACSTF) ประเทศ อินโดนีเซีย Universitas Syiah Kuala ประเทศอินโดนีเซีย The Institute of Governance Science of Indonesia เป็นต้น “สหกิจศึกษาไม่ได้มีสําหรับคนเก่ง แต่มีไว้เพื่อพัฒนา คนในแต่ละด้านตามความถนัด ประกอบกับสถาบันการ ศึกษาเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้พัฒนาความสามารถอย่าง เท่าเทียมกัน นับเป็นการสร้างกําลังคนให้กับประเทศในมิติ ที่แตกต่างกัน” ผศ.ชิดชนก ราฮิมมูลา กล่าว ด้ า นนางสาวกู ร อยฮาน นิ เ ม็ ง คณะรั ฐ ศาสตร์ ซึ่ ง มี ประสบการณ์ ส หกิ จ ศึ ก ษาที่ มู ล นิ ธิ ไ ทยเพื่ อ คนมี ป ั ญ หาสิ ท ธิ์ และสถานะบุคคล เป็นการท�ำงาน เกี่ยวกับผู้ลี้ภัย กล่าวว่า ได้มีโอกาส เ รี ย น รู ้ ทั้ ง ใ น ป ร ะ เ ด็ น ข อ ง มนุ ษ ยธรรม ปั ญ หาระหว่ า ง ประเทศ จากที่ได้เรียนสาขาความ สัมพันธ์ระหว่างประเทศเมื่อได้มาท�ำงานในสถานการณ์จริง จึ ง ได้ เ ข้ า ใจถึ ง สิ่ ง ที่ ผู ้ ที่ อ ยู ่ ใ นภาวะสงครามได้ ป ระสบทั้ ง ที่ มี การน� ำ เสนอและไม่ มี ก ารน� ำ เสนอผ่ า นสื่ อ ท� ำ ให้ เ กิ ด ทั ก ษะ ในการช่ ว ยเหลื อหน่ ว ยงาน เกิ ดการเรี ยนรู ้ แ ละเปรี ยบเทียบ เรื่องกรณีความขัดแย้งในหลากหลายพื้นที่ ว่าเกิดจากปัจจัย อะไรและส่ ง ผลกระทบอะไรต่ อ ประชาชน ซึ่ ง ปั ญ หาผู ้ ลี้ ภั ย ถือเป็นปัญหาระดับโลก

11 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559


ความร่วมมือสู่การพัฒนา

OTOP ภาคใต้ไปโลดกับศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ ม.อ. ม.อ.ร่ ว มกั บ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา น� ำ ผู ้ ป ระกอบการแถลงความส� ำ เร็ จ ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ อทอป (OTOP) ภาคใต้ตอนล่าง ด้านผลิตภัณฑ์และยอดจ�ำหน่าย และเข้าเยี่ยมชมสถานประกอบการ รศ.ดร.ชูศักด์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ ดร.สุ ภั ท ร จ� ำ ปาทอง เลขาธิ ก าร คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา และผศ.ค� ำ รณ พิ ทั ก ษ์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ร่วมกัน แถลงข่าวความส�ำเร็จของการส่งเสริม พัฒนาผลิตภัณฑ์และผู้ประกอบการสินค้าโอทอป (OTOP) เครือข่ายภาคใต้ตอนล่าง และรับฟังข้อเสนอแนะการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ และการตลาด จาก นายนรินทร์ พสุ น ธราธรรม และนายพงษ์ ศั ก ดิ์ วั ช รนุ กู ล เกี ย รติ กรรมการก� ำ กั บ การท� ำ งานและตรวจรั บ งานจ้ า งของ ที่ ป รึ ก ษา คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา พร้ อ มทั้ ง นางสาวสุมัณฑนา จันทโรจนวงศ์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก ประสานและส่งเสริมกิจการอุดมศึกษา และนางสาวนิตยา นิราศรพ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มส่งเสริมการสร้างและพัฒนา ผู ้ ป ระกอบการ เมื่ อ วั น ที่ 13 พฤศจิ ก ายน 2559 ณ ห้ อ งประชุ ม ศู น ย์ บ ่ ม เพาะวิ ส าหกิ จ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

รศ.ดร.ชูศักด์ ลิ่มสกุล กล่าวว่า ในฐานะแม่ข่ายหน่วย บ่ ม เพาะวิ ส าหกิ จ ในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา เครื อ ข่ า ยภาคใต้ ตอนล่าง ยินดีกับความส�ำเร็จของผู้ประกอบการที่ได้รับการ พัฒนาโดยใช้องค์ความรู้ และนวัตกรรมใหม่ๆ ของนักวิชาการ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ที่ ไ ด้ พั ฒ นาทั ก ษะเชิ ง ลึ ก และ ภูมิปัญญาให้กับผู้ประกอบการ โอทอป (OTOP) และส่งเสริม ผู้ประกอบการให้มีทักษะในการประกอบอาชีพ เพื่อพัฒนาเป็น ผู้ประกอบการที่มีศักยภาพ โครงการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์และผู้ประกอบ การ โอทอป (OTOP) เครื อ ข่ า ยภาคใต้ ต อนล่ า ง ได้ รั บ การ สนั บ สนุ น จากส� ำ นัก งานคณะกรรมการการอุด มศึกษา ตาม นโยบายของรัฐบาลที่สนับสนุน ผู ้ ป ระกอบการในประเทศ โอทอป (OTOP) หรือ หนึ่งต�ำบล ห นึ่ ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ์ โ ด ย ท า ง มหาวิทยาลัยได้ใช้องค์ความรู้ และเป็ น ที่ ป รึ ก ษาในการช่ ว ย เหลื อ ผู ้ ป ระกอบการ โอทอป (OTOP) ทั้ ง ด้ า นการพั ฒ นา

12 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559

ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ด้ า นมาตรฐานคุ ณ ภาพ ด้ า นการออกแบบและ พั ฒ นาบรรจุ ภั ณ ฑ์ และด้ า นเครื่ อ งหมายการค้ า การจั ด โครงการส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละผู ้ ป ระกอบการ โอทอป (OTOP) มีส่วนช่วยให้พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ให้ดีขึ้น มีการกระจายรายได้สู่ประชาชน จากผลิตภัณฑ์เล็กๆ ต�ำบลเล็กๆ เป็นที่รู้จักทั้งในประเทศและต่างประเทศ อีกทั้ง ยั ง เป็ น การสร้ า งเครื อ ข่ า ยให้ กั บ ผู ้ ป ระกอบการ เปิ ด โอกาส เกี่ ย วกั บ ช่ อ งทางทางการตลาด และเพิ่ ม ยอดขายให้ ผู้ประกอบการมากขึ้น ดร.สุ ภั ท ร จ� ำ ปาทอง เลขาธิ ก ารคณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษา กล่ า วว่ า ส� ำ นั ก คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา มี แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการ โดยใช้ อ งค์ ค วามรู ้ ข องมหาวิ ท ยาลั ย ในการสนั บ สนุ น ทุ ก เครือข่ายทั่วประเทศมีความพร้อมที่จะพัฒนาศักยภาพของ ผู้ประกอบการ และพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ของมหาวิทยาลัย การจัดโครงการนี้ ท�ำให้เห็นความสามารถของมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์และผู้ประกอบการ โอทอป (OTOP) ภาคใต้ ที่สามารถพัฒนาต่อยอดได้ไกล ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ไม่ได้หยุดอยู่ที่ค�ำว่า โอทอป (OTOP) เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศไทยที่ ดี ยิ่ ง ขึ้ น และเพื่ อ ความเป็ น อยู ่ ที่ ดี ขึ้ น ของ คนไทยทุกคน ผศ.ค�ำรณ พิทักษ์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ


ความร่วมมือสู่การพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิ ด เผยว่ า ศู น ย์ บ ่ ม เพาะ วิสาหกิจ อุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ด� ำ เ นิ น กิ จ ก ร ร ม อ บ ร ม ผู ้ ประกอบการ มี ผู ้ ส มั ค ร 163 ราย ผ่านเกณฑ์เข้าร่วมอบรม 150 ราย เป็นผู้ประกอบการ กลุ ่ ม อาหาร 138 ราย เป็ น ผู ้ ป ระกอบการเครื่ อ งส� ำ อางและ สมุ น ไพร 12 ราย มี ผู ้ ป ระกอบการและอาจารย์ ที ป รึ ก ษา มาน�ำเสนอผลงานและรับฟังข้อเสนอแนะประกอบด้วย กลุ่มที่ 1 กาละแม แม่ประคอง (กาละแมรสข้าวสังข์หยด) กาละแม แม่ ขิ้ ม (กาละแม) เฉลาปลาดุ ก ร้ า บ้ า นโงกน�้ ำ (ปลาดุกร้า)ที่ปรึกษา คือ ดร.ศุภชัย ภิสัชเพ็ญ กลุ ่ ม ที่ 2 กลุ ่ ม พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ บ ้ า นทุ ่ ง (ปลาส้ ม แดดเดี ย ว)วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนแปรรู ป ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ลู ก หยี (ลู ก หยี กวนไร้เมล็ดสอดไส้อินทผาลัม) ขนมเปี๊ยะสงวนศรี (ขนมเปี๊ยะ ไส้ลูกตาล)ที่ปรึกษา คือ ดร.ศุภชัย ภิสัชเพ็ญ กลุ่มที่ 3 วิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารบ้านหนองปริง (ข้าวพองอบกรอบข้าวสังข์หยด) วิสาหกิจชุมชนกลุ่มอนุรักษ์ ภูมิปัญญา (ขนมโบว์ไส้อินทผาลัม) วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้าน เกษตรกรบ้านทรายขาว (ส้มแขกแช่อิ่มอบน�้ำผึ้งตรา NP Smile) ที่ปรึกษา คือ ดร.ศุภชัย ภิสัชเพ็ญ กลุ ่ ม ที่ 4 เครื อ ข่ า ยแพทย์ แ ผนไทย จ.ตรั ง (ยาสี ฟ ั น สมุนไพรดอกกานพลู)ที่ปรึกษา คือ ดร.กิ่งกาญจน์ บรรลือพืช กลุ ่ ม ที่ 5 กลุ ่ ม พั ฒ นาอาชี พ บ้ า นโอบบุ ญ (น�้ ำ สลั ด โอเมก้าเพื่อสุขภาพจากถั่วดาวอินคา) วิสาหกิจชุมชนบุชรอ (ปลาสวรรค์) อาจารย์ที่ปรึกษา คืออาจารย์วราภรณ์ เพชรแก้ว

กลุ่มที่ 6 วิสาหกิจชุมชนแม่บ้านประชาบ�ำรุง (โรตีกรอบ พอดี ค� ำ ) กลุ ่ ม แม่ บ ้ า นเกษตรกรรั ก ษ์ โ ตน (ส้ ม แขกจี๊ ด จ๊ า ด) นางสาวพั ช ราภรณ์ มานะทวี (ข้ า วสั ง ข์ ห ยดกวนกรอบผสม ธัญพืช)ที่ปรึกษา คือนายพลรัตน์ ขวัญรอด กลุ่มที่ 7 สมุนไพรตาน (สบู่สมุนไพรตาน)ที่ปรึกษา คือ รศ.นัฏฐา แก้วนพรัตน์ กลุ่มที่ 8 ถั่วทอดโบราณ ข้าวเกรียบอร่อยจัง (ข้าวเกรียบ อบรสทุเรียน ตราอร่อยจัง) กลุ่มวิสาหกิจชุมชนพัฒนาแปรรูป กล้วยหินนังตา (น�้ำบูดูข้าวย�ำตูมิ) วิสาหกิจชุมชนกลุ่มน�้ำพริก เซากูน่า (น�้ำพริกขิงปลาดุกฟู)ที่ปรึกษา คือ อาจารย์สืบศักดิ์ กลิ่นสอน จากนั้น ในช่วงบ่ายของวันที่ 13 และวันที่ 14 พฤศจิกายน 2559 ทีมงานมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะกรรมการ อุดมศึกษาได้เข้าเยี่ยมชมสถานประกอบการในพื้นที่จังหวัด พัทลุง ได้แก่ กลุ่มพัฒนาอาชีพบ้านโอบบุญ (น�้ำสลัดโอเมก้า เพื่อสุขภาพจากถั่วดาวอินคา) อ.ป่าบอน วิสาหกิจชุมชนบุชรอ (ปลาสวรรค์) อ.บางแก้ว เฉลาปลาดุกร้าบ้านโงกน�้ำ (ปลาดุกร้า) อ.ควนขนุ น วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนแปรรู ป อาหารบ้ า นหนองปริ ง (ข้าวพองอบกรอบข้าวสังข์หยด) อ.เมือง และวิสาหกิจชุมชน แม่บ้านประชาบ�ำรุง (โรตีกรอบพอดีค�ำ) อ.ตะโหมด

13 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559


ความร่วมมือสู่การพัฒนา

สัตวแพทย์ ม.อ. ลงนามองค์การส่งเสริมกิจการโคนมฯ

ส่งเสริมผลิตภัณฑ์นมภาคใต้ตอนล่าง คณะสั ต วแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ องค์ ก ารส่ ง เสริ ม กิ จ การโคนมแห่ ง ประเทศไทย และสหกรณ์ โคนมพั ท ลุ ง จ� ำ กั ด ลงนามความร่ ว มมื อ ส่ ง เสริ ม การผลิ ต ผลิตภัณฑ์นมภาคใต้ตอนล่าง โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง เป็นประธานในพิธีลงนาม เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2559 ณ สหกรณ์ โคนมพัทลุง จ�ำกัด จังหวัดพัทลุง พร้อมเข้าเยี่ยมชม โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์นมยูเอชที สหกรณ์โคนมพัทลุง จ�ำกัด

บั น ทึ ก ความร่ ว มมื อ ดั ง กล่ า วลงนามโดย นายณรงค์ ฤ ทธิ์ วงศ์ สุ ว รรณ ผู ้ อ� ำ นวยการองค์ ก ารโคนมแห่ ง ประเทศไทย รองศาสตราจารย์ สพ.ญ. อุษา เชษฐานนท์ รักษาการในต�ำแหน่ง คณบดี ค ณะสั ต วแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ นายวิสุทธิ์ ธรรมเพชร ประธานสหกรณ์โคนมพัทลุง จ�ำกัด โดยมี นายวุ ฒิ ชั ย จั่ น เพ็ ช ร หัวหน้าฝ่ายวิจัยและพัฒนาการเลี้ยงโคนม องค์การโคนมแห่งประเทศไทย ดร.สฤษฎิ์วิชญ์ ปัญญาบริบาลบ์ รั ก ษาการในต� ำ แหน่ ง ผู ้ ช ่ ว ยคณบดี ฝ ่ า ยบริ ก ารวิ ช าการ คณะสั ต ว แพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และนายธี ร พั ฒ น์ บุ ญ ถาวร กรรมการและเลขานุ ก าร สหกรณ์ โ คนมพั ท ลุ ง จ� ำ กั ด เป็นพยาน นายวั น ชั ย คงเกษม ผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง ได้ขอบคุณ องค์การส่งเสริมโคนมแห่งประเทศไทยและคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ในการสนั บ สนุ น ด้ า นวิ ช าการ และ กล่ า วว่ า การผลิ ต น�้ ำ นมดิ บ ของจั ง หวั ด พั ท ลุ ง ยั ง ไม่ เ พี ย งพอต่ อ การบริโภค จึงขอฝากให้ช่วยสนับสนุนการผลิตน�้ำนมดิบของพัทลุง ให้มีปริมาณเพิ่มขึ้น รองศาสตราจารย์ สพ.ญ. อุ ษ า เชษฐานนท์ รักษาการในต�ำแหน่งคณบดีคณะ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่ า วว่ า มหาวิ ท ยาลั ย จะให้ ก ารสนั บ สนุ น ให้ ค วามรู ้ ด ้ า นการดู แ ลสุ ข ภาพสั ต ว์ ส่ ง เสริ ม

14 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559

การเลี้ยงโคนมและกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์นม ตามมาตรฐาน สากล ขณะนี้ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ไ ด้ ท� ำ การวิ จั ย เกี่ ย วกั บ การใช้สมุนไพรมาผลิตน�้ำยาส�ำหรับจุ่มเต้านม ลดการอักเสบของ เต้านมโคนม อีกทั้งส่งเสริมให้บุตรหลานของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม ของจั ง หวั ด พั ท ลุ ง เข้ า ศึ ก ษาในคณะสั ต วแพทยศาสตร์ ม.อ. เพื่ อ น�ำความรู้ท่ีได้ใช้พัฒนางานเพื่อเป็นฐานการผลิตที่ได้มาตรฐานของ ภาคใต้ตอนล่าง โดยคณะได้เปิดรับนักศึกษารุ่นแรกเมื่อปี พ.ศ.2558 และโรงพยาบาลสัตว์ ได้เปิดให้บริการดูแลรักษาสัตว์แก่ประชาชน ทั่วไปเมื่อ วันที่ 21 ธันวาคม 2558 นายณรงค์ฤทธิ์ วงศ์สุวรรณ ผู้อ�ำนวยการองค์การส่งเสริม กิ จ การโคนมแห่ ง ประเทศไทย กล่ า วว่ า สหกรณ์ โ คนมพั ท ลุ ง เป็ น สหกรณ์ชั้นน�ำ ที่จะเป็นต้นแบบให้สหกรณ์อื่นๆในประเทศ องค์การ ส่ ง เสริ ม กิ จ การโคนมแห่ ง ประเทศไทย จึ ง ส่ ง เสริ ม ให้ ค ณะสั ต ว แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มาสนับสนุนด้านวิชาการ ในการเลี้ยงโคนมและการผลิตผลิตภัณฑ์นม เพื่อความก้าวหน้าทาง วิชาการและเผยแพร่ความรู้สู่ชุมชน ทั้งนี้ องค์การส่งเสริ มกิ จ การ โคนมแห่ ง ประเทศไทย สั ง กั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ก่ อ ตั้ ง โดยความร่วมมือของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลเดช และพระเจ้าเฟรดเดอริคที่ 9 แห่งประเทศเดนมาร์ก เมื่อปี พ.ศ.2505 ตั้งอยู่ ณ อ�ำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี นายวิสุทธิ์ ธรรมเพชร ประธานสหกรณ์โคนมพัทลุง จ�ำกัด กล่ า วว่ า สหกรณ์ โ คนมพั ท ลุ ง ยิ น ดี ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น การสนั บ สนุ น บุคลากร ตลอดจนสมาชิกผู้เลี้ยงโคนมในการแลกเปลี่ยนความรู้ การ ฝึกงานการเลี้ยงโคนม และการผลิตผลิตภัณฑ์นมในภาคใต้ตอนล่าง ขณะนี้ เ กษตรกรประสบปั ญ หา การผสมพั น ธุ ์ ไ ม่ ติ ด ต้ อ งการให้ นักวิชาการมาช่วยเหลือในประเด็นดังกล่าว ทั้งนี้ สหกรณ์โคนมพัทลุง จ�ำกัด จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ.2533 จากกลุ่มผู้เลี้ยงโคนมพัทลุง มีสมาชิก เริ่มต้น 56 ราย ผลิตน�้ำนมดิบได้วันละ 450 กิโลกรัม ปัจจุบันสหกรณ์ โคนมพัทลุง มีสมาชิก 102 ราย ผลิตน�้ำนมดิบได้วันละ 12 ตัน และ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์นมยูเอชที สหกรณ์โคนมพัทลุ ง จ� ำกั ด มี เครื่องจักรทันสมัย มีคนงานจ�ำนวน 122 คน ท�ำงานวันละ 2 กะ โรงงาน ผลิต 24 ชั่วโมง สามารถผลิตนมชนิดกล่อง และชนิดถุง ได้อย่างละ 250,000 กล่อง/ถุง ต่อวัน โดยร้อยละ 90 เป็นการผลิตเพื่อส่งไปยัง โรงเรียนและจ�ำหน่ายไปยังจังหวัด สุราษฏร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ตรัง กระบี่ พังงา และภูเก็ต


ข่าวเด่น

สู่สรวงสวรรคาลัย รัชกาลนานกว่าบรรดากษัตริย์ พระด�ำริตริทางสร้างสรรค์ ไทย ลับดวงแล้วแก้วใจไทยทั้งชาติ ทุกหัวใจไหววาบอาบน�้ำตา

ทรงครองฉัตรด้วยธรรมล�้ำสมัย พระวิสัยทัศน์เอื้อเพื่อประชา เหลือรักบาดหัวใจอาลัยหา พระสู่ฟ้าไทยกราบตราบนิรันดร์

กลอนประพันธ์ โดย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์มะเนาะ ยูเด็น ภาพ : หอประวัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ครั้งที่ ๑๗ ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๓๐ เมื่อวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๓๑ ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

15 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559


ข่าวเด่น

รอยพระบาทยาตรา ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ “ครั้ ง นี้ เ ป็ น ครั้ ง แรกที่ ไ ด้ เ ข้ า มาเยี่ ย มมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ และขอแสดงความยินดีที่มหาวิทยาลัย แห่งนี้ได้ก่อตั้งขึ้นมาเป็นผลส�ำเร็จ และมีนักศึกษาได้ ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษามาแล้ ว แสดงว่ า เป็ น ผลที่ ส มบู ร ณ์ แล้ ว การที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ ตั้ ง ขึ้ น มาก็ ต ้ อ งพิ จ ารณา ดู ว ่ า ต้ อ งประกอบด้ ว ยองค์ ป ระกอบหลายอย่ า งที่ เป็ น ส� ำ นั ก ศึ ก ษา สถานศึ ก ษาใดๆ เราก็ ต ้ อ งมาคิ ด ดู ว ่ า ต้ อ งมี ส ถานที่ คื อ อาคาร ห้ อ งเรี ย น เครื่ อ งมื อ ส� ำ หรั บ สอนส� ำ หรั บ เรี ย นก็ มี อ ยู ่ แ ล้ ว โดยได้ ตั้ ง ขึ้ น มา ถึงสองแห่ง ที่หาดใหญ่และที่ปัตตานี การสร้างก็นับ ว่ า สร้ า งขึ้ น มาใช้ ไ ด้ แ ล้ ว และเข้ า ใจว่ า จะต้ อ งสร้ า ง ต่ อ ไปอี ก เพื่ อ ให้ เ หมาะสมกั บ ความต้ อ งการ .....” นี่เป็นส่วนหนึ่งของพระบรมราโชวาท ที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานแก่นักศึกษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เมื่ อ ครั้ ง เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น พร้อมด้วย สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จ พระเทพรั ต นสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี และสมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก เธอ เจ้ า ฟ้ า จุ ฬ าภรณวลั ย ลั ก ษณ์ อั ค รราช กุมารี มาพระราชทานปริญญาบัตร แก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2513 และ 2514 เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2515 ณ วิทยาเขตปัตตานี โดย ในครั้งนั้น ศาสตราจารย์ ดร.บัวเรศ ค�ำทอง อดีตอธิการบดี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ทู ล เกล้ า ฯ ถวายปริ ญ ญา วิ ศ วกรรมศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ทิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ แด่ พ ระองค์ ท ่ า น

16 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรก ที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น ในภาคใต้ เพื่ อ ให้ โ อกาสทางการศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาแก่ เ ยาวชนในท้ อ งถิ่ น ภาคใต้ เริ่ ม รั บ นั ก ศึ ก ษา ครั้งแรกในปี 2510 ปัจจุบันมีสถานศึกษาใน 5 วิทยาเขต ใน 5 จังหวัดทั่วภาคใต้ คือ วิทยาเขตปัตตานี วิทยาเขตหาดใหญ่ วิทยาเขตภูเก็ต วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี และวิทยาเขตตรัง ชื่ อ “มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ” เป็ น นาม พระราชทานซึ่ ง พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุลเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าพระราชทานพระนามของ “สมเด็จพระบรมราชชนก กรมหลวงสงขลานครินทร์” เป็น ชื่อของมหาวิทยาลัย และนับเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกที่ได้รับ พระราชทานนามจากพระองค์ ซึ่งบุคลากร นักศึกษา และศิษย์ เก่าทุกคน ต่างส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณนี้อย่างหาที่สุดมิได้


ข่าวเด่น ชาวมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ยั ง ได้ มี โ อกาสเฝ้ า ชมพระบารมี ใ น หลายโอกาสที่ เ สด็ จ ฯ ทรงประกอบ พระราชกรณี ย กิ จ ที่ม หาวิทยาลัย เช่น การเสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น มา พระราชทานปริญญาบัตร ณ วิทยาเขต ปัตตานี และ วิทยาเขตหาดใหญ่ จ�ำนวน ถึง 16 ครั้ง ตั้งแต่ปี 2515 จนถึงปี 2531 การเสด็จพระราชด�ำเนิน มาทรง เปิดพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระบรม ราชชนก ที่ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี เมื่ อ วั น ที่ 22 กันยายน 2521 และที่วิทยาเขต หาดใหญ่ เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2528 เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2519 ได้ เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น มาทรงวางศิ ล าฤกษ์ โ รงพยาบาลของ คณะแพทยศาสตร์ และได้ โ ปรดเกล้ า พระราชทานนาม โรงพยาบาลว่า “โรงพยาบาลสงขลานครินทร์” และเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2529 ได้เสด็จฯ วิทยาเขตหาดใหญ่อีกครั้งหนึ่ง เพื่อทรงเปิดและทอดพระเนตรการด�ำเนินงานของโรงพยาบาล สงขลานคริ น ทร์ ในวโรกาดั ง กล่ า วได้ พ ระราชทานพระราช ทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อก่อสร้างอาคารเย็นศิระ ซึ่งเป็นอาคาร ที่ พั ก ผู ้ ป ่ ว ยที่ วั ด โคกนาว ซึ่ ง อยู ่ ต รงกั น ข้ า มกั บ โรงพยาบาล สงขลานครินทร์

และเมื่ อ วั น ที่ 23 กั น ยายน 2528 พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จ พระราชด� ำ เนิ น มาทอดพระเนตรโรงงานสาธิ ต ต้ น แบบ โรงงานสกัดน�้ำมันปาล์มขนาดเล็ก ที่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งเป็นการติดตามโครงการส่ง เสริมอุตสาหกรรมน�้ำมันปาล์มขนาดเล็กอันเนื่องมาจากพระ ราชด�ำริ ที่ทรงให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ไปด�ำเนินการ ค้นคว้าวิจัยและพัฒนาโรงงานสกัดน�้ำมันปาล์มขนาดเล็กที่ ใช้เงินลงทุนต�่ำ เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรสวนปาล์มรายย่อย

ของประเทศไทย ได้ มี โ อกาสรวมกลุ ่ ม กั น สร้ า งโรงงานเพื่ อ สกัดน�้ำมันปาล์มดิบจ�ำหน่าย และน�ำผลพลอยได้ต่างๆ เช่น ทะลายเปล่า กากเส้นใย และกะลา มาใช้ประโยชน์ในท้องถิ่น ซึ่ ง เป็ น อี ก หนึ่ ง ความภาคภู มิ ใ จของมหาวิ ท ยาลั ย ที่ ไ ด้ รั บ ใช้ เบื้องพระยุคลบาทในการช่วยเหลือเกษตรกร

การได้ รั บ ความไว้ ว างพระราชหฤทั ย และการมี โอกาสรับใช้เบื้องพระยุคลบาท ตลอดเวลา 30 ปี ที่ผ่านมา ยังความภาคภูมิใจแก่ชาวมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นล้นพ้น ด้วยตระหนักในความเป็น “มหาวิทยาลัยของ พระราชา” และต่างตั้งใจอย่างแน่วแน่ที่จะท�ำงานสืบสาน พระราชปณิธานของพระองค์ท่านสืบต่อไป

17 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559


ข่าวเด่น

ม.อ. ถวายอาลัยเพื่อน้อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ

ของสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดพิธีถวายอาลัยเพื่อน้อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ ของสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พร้อมกันทั้ง 5 วิทยาเขต เมื่อวันศุกร์ที่ 14 ตุลาคม 2559 ที่ลาน พระราชานุ ส าวรี ย ์ ส มเด็ จ พระบรมราชชนก ของทุ ก วิ ท ยาเขตโดยทุ ก ท่ า น พร้ อ มกั น บริ เ วณพิ ธี เวลา 21.19 น.และเริ่มพิธี เวลา 21.39 น. โดยในการจัดพิธีดังกล่าวมีผู้บริหาร คณาจารย์ นักศึกษา บุคลากร และประชาชนทั่วไป เข้าร่วมนับหมื่นคน

ส� ำ หรั บ ที่ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ มี รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี เป็นประธาน โดยเริ่มจากพิธี จุ ด ธู ป เที ย นที่ เ ครื่ อ งทองน้ อ ยประธานในพิ ธิ ก ล่ า วค� ำ ถวาย อาลั ย จากการที่ ท รงเป็ น สมเด็ จ พระบรมธรรมิ ก ราช ผู ้ ท รง พระคุณอันประเสริฐสุด แก่ปวงชนชาวไทย พระราชจริยวัตร ทั้งปวง เป็นไปเพื่อประโยชน์สุข ของประชาชนชาวไทย ทรง ประกอบพระราชกรณี ย กิ จ นานั ป การ อั น เป็ น คุ ณ ประโยชน์ อย่างใหญ่หลวง เป็นที่ประจักษ์ แก่อาณาประชาราษฎร์ทุก หมู่เหล่า นับตั้งแต่เสด็จขึ้นเถลิงถวัลย์ราชสมบัติ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน ปีพุทธศักราช 2489 ได้ทรงบ�ำเพ็ญพระราชกรณียกิจ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สุ ข แก่ พ สกนิ ก ร นานั ป การสมดั ง พระ ปฐมบรมราชโองการ ที่พระราชทานไว้ ตลอดระยะเวลา 70 ปี รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี กล่าวว่า ชาวม.อ.ได้รับพระมหากรุณาธิคุณพระองค์อย่างยิ่ง ที่ท่านได้พระราชนามพระนามของสมเด็จพระบรมราชชนก มาเป็นชื่อของมหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ น ้ อ มน� ำ พระราชปณิ ธ านขอสมเด็ จ พระบรมราชชนก คื อ ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง มายึดถือ การเสด็จสวรรคต ของพระองค์ยังความเศร้าสลดเสียใจ มาสู ่ ป วงพสกนิ ก รสุ ด จะพรรณา แต่ จ ะขอน้ อ มน� ำ พระราช ปณิธานของพระองค์ มาเป็นแนวทางในการท�ำงาน เพื่อช่วย กันพัฒนาประเทศชาติบ้านเมือง ตามรอยพระยุคลบาทสืบไป

18 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559

วิทยาเขตปัตตานี น� ำ โดยรองศาสตราจารย์ อิ่ ม จิ ต เลิ ศ พงษ์ ส มบั ติ รองอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขตปั ต ตานี คณะผู ้ บ ริ ห าร อาจารย์ บุ ค ลากร และนั ก ศึ ก ษา ร่ ว มพิ ธี ถ วายอาลั ย เพื่ อ น้ อ มร� ำ ลึ ก ในพระมหากรุณาธิคุณ ของสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช ณ ลานพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระบรมราชชนก วิทยาเขตปัตตานี


ข่าวเด่น

วิทยาเขตภูเก็ต รองศาสตราจารย์ ภู ว ดล บุ ต รรั ต น์ รองอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต คณะผู ้ บ ริ ห าร อาจารย์ บุ ค ลากร นั ก ศึ ก ษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต และประชาชนทุกหมู่เหล่า ร่วมยืนแสดงความอาลัย พร้อมจัดโต๊ะหมู่บูชาแสดง เครื่องทองน้อย เบื้องหน้าพระบรมฉายาลักษณ์ และถวายน�้ำสรงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมส่งเสด็จสู่สวรรคาลัย เบื้องหน้าพระบรมฉายาลักษณ์ เพื่อแสดงออกถึงความจงรักภักดีและส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้

วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี รองศาสตราจารย์ ดร.เจริญ นาคะสรรค์ รองอธิการบดีวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี คณะผู้บริหาร อาจารย์ บุคลากร และ นักศึกษา พร้อมด้วยคณะครู และนักเรียน โรงเรียน มอ. วิทยานุสรณ์ สุราษฎร์ธานี ร่วมท�ำพิธีทางศาสนา ถวายเครื่องราช สักการะ และจุดเทียนชัยถวายบังคมแสดงความอาลัย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพระบรมโกศ วิทยาเขตตรัง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐวิทย์ พจนตันติ รองอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขตตรั ง พร้ อ มด้ ว ยคณะ ผู ้ บ ริ ห าร คณาจารย์ บุ ค ลากร นั ก ศึ ก ษา และ ตั ว แทนจากชมรมศิ ษ ย์ เ ก่ า มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั ง หวั ด ตรั ง รวมกว่ า 700 คน ร่ ว มในพิ ธี ถ วายอาลั ย แด่ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิ บ ดี จั ก รี น ฤบดิ น ทร สยามิ น ทราธิ ร าช บรมนาถบพิตร โดยรองอธิการบดีวิทยาเขตตรัง อ่านค�ำถวายอาลัย และน�ำผู้ร่วมงานยืนสงบนิ่งไว้อาลัย 9 นาที เพื่อเป็นการน้อมร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ และถวายอาลัย แด่พระองค์ท่าน อีกทั้งเพื่อเป็นการส่งดวงพระวิญญาณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จสู่สวรรคาลัย โดยหลังจากรองอธิการบดีวิทยาเขตตรังได้อ่านค�ำถวายอาลัยจบ และได้มีการยืนสงบนิ่ง ท่ามกลางบรรยากาศเป็นไปอย่างโศกเศร้า ก็ได้มีละอองฝนโปรยลงมาอย่างแผ่วเบา และเมื่อจบสิ้นพิธีฝนก็หยุดตก สร้างความอัศจรรย์ใจต่อผู้ที่ร่วมในพิธีเป็นอย่างมาก

19 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559


ข่าวเด่น

ม.อ. จัด “งานรวมพลังแห่งความภักดี” ยิ่งใหญ่ เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2559 ผู้บริหาร บุคลากร และนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทั้ ง 5 วิ ท ยาเขต จั ด กิ จ กรรม “รวมพลั ง แห่ ง ความภั ก ดี ” พร้ อ มแปรอั ก ษร และยั ง จั ด กิ จ กรรม ท� ำ ความดี ถ วายในหลวงรั ช กาลที่ 9 เพื่ อ สื บ สานพระราชปณิ ธ านให้ ส มนาม “สงขลานคริ น ทร์ มหาวิทยาลัยของพระราชา” และการยึดถือ “ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง”

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ เป็น 1 ใน 13 จุดจาก 11 จังหวัดทั่วประเทศ ถ่ายทอดงานรวมพลังแห่งความภักดี เพื่อแสดงความจงรักภักดี และร่วมร�ำลึกถึงพระบาทสมเด็จพระปรมิน ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในโอกาสวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพปีที่ 89 ซึ่งแต่ละสถานที่ซึ่งเป็นจุดถ่ายทอด ล้วนเป็นสถานที่ที่พระบาทสมเด็จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช เคยเสด็ จ มาประกอบพระราช กรณียกิจที่ส�ำคัญ โดยมีนักศึกษา บุคลากรของมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ตัวแทนหน่วยงานราชการในพื้นที่จังหวัดสงขลาและประชาชน ทั่วไป ร่วมแปรอักษรค�ำว่า “ม.อ. รักในหลวง รัชกาลที่ 9” รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม กตั ญ ญู อธิ ก ารบดี และ ตั ว แทนผู ้ บ ริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย มอบกระเช้ า เยี่ ย มผู ้ ไ ด้ รั บ บาดเจ็ บ จากเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ชายแดนใต้ และผู้ป่วยที่พักรักษาตัว ณ โรงพยาบาลสงขลานคริ น ทร์ และโรงพยาบาลปั ต ตานี จ� ำ นวน

89 กระเช้า ณ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ และได้เยี่ยม น.ส.นริศรา มากชู ชิ ต นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ที่ได้รับบาดเจ็บสาหัสจากเหตุการณ์ ความไม่สงบ เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2559 อีกด้วย อี ก ทั้ ง ยั ง มี กิ จ กรรมบริ จ าคโลหิ ต ณ อาคารกิ จ กรรมนั ก ศึ ก ษา วิทยาเขตหาดใหญ่ มีนักศึกษา ทหาร ต�ำรวจ และประชาชนทั่วไป มา บริจาคจ�ำนวน 224 คน โดยสภาพร่างกายเมื่อตรวจสุขภาพแล้วสามารถ บริ จ าคโลหิ ต ได้ จ� ำ นวน 160 คน และกิ จ กรรม “ย้ อ มผ้ า สี ด� ำ ท� ำ ดี เพื่ อ พ่ อ ” บริ ก ารย้ อ มผ้ า สี ด� ำ โดยไม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ย จั ด โดย นั ก ศึ ก ษา ปริ ญ ญาโทสาขาพั ฒ นามนุ ษ ย์ แ ละสั ง คม ร่ ว มกั บ นั ก ศึ ก ษาสาขา ชุมชนศึกษา คณะศิลปศาสตร์ โดยได้บริการย้อมผ้าสีด�ำให้กับบุคลากร ในมหาวิทยาลัยและประชาชนทั่วไป

มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี ร่ ว มกั น จั ด กิจกรรม “รวมพลังแห่งความภักดี” ทางวาจา ใจ และกาย เพื่อน้อม ถวายเป็ น พระราชกุ ศ ลแด่ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุลยเดช ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี โดยมีคณะผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาร่วมกิจกรรม

กว่า 400 คน รองศาสตราจารย์อิ่มจิต เลิศพงศ์สมบัติ รองอธิการบดี วิทยาเขตปัตตานี กล่าวกับสถานีวิทยุ ม.อ.ปัตตานีว่า กิจกรรมรวมพลัง แห่งความภักดี คณะผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ได้ ร่วมกันท�ำกิจกรรมท�ำความดีทางวาจา ใจ และกาย กิจกรรมท�ำความดี ด้วยวาจา คือ การร่วมกันปฏิญาณตน และร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี

20 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559


ข่าวเด่น กิ จ กรรมท� ำ ความดี ท างกาย คื อ การให้ ค ณะผู ้ บ ริ ห าร คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ได้เขียนค�ำสัญญาการท�ำความดีเพื่อน�ำไปติด ที่ต้นศรีตรังแห่งความดี และมีการมอบต้นกล้าต้นศรีตรัง ซึ่งเป็นต้น ประจ� ำมหาวิ ทยาลั ยสงขลานครินทร์ จ�ำนวน 9 ต้น ให้กับหน่วยงาน ต่าง ๆ และกิจกรรมท�ำความดีด้วยใจ คือ การท�ำความดีเพื่อส�ำรวมจิต

เ พื่ อ น ้ อ ม ส� ำ นึ ก ใ น พ ร ะ ม ห า ก รุ ณ า ธิ คุ ณ แ ด ่ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และได้น�ำกระเช้าเข้าเยี่ยมผู้ป่วย จากเหตุการณ์ไม่สงบ ณ โรงพยาบาลปัตตานี รวมทั้งได้รับความร่วมมือ จากโรงพยาบาลปัตตานี ในการจัดกิจกรรมบริจาคโลหิตอีกด้วย

ม.อ.ภูเก็ต รวมพลังแห่งความภักดีน้อมถวามแด่พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในหลวงรัชกาลที่ 9 ณ บริเวณลาน พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระบรมราชชนก น�ำโดย รองศาสตราจารย์ ภู ว ดล บุ ต รรั ต น์ รองอธิการบดีวิทยาเขตภูเก็ต พร้อมคณะผู้บริหาร อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา และประชาชนทั่วไป รวมพลังแห่งความภักดี

เพื่อน้อมถวายแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 ซึ่งจัดขึ้น 12 แห่งทั่วประเทศไทย โดยมีการกล่าว ค� ำ ปฏิ ญ าณ น� ำ โดย พลเอกประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา นายกรั ฐ มนตรี ร้ อ งเพลงสรรเสริ ญ พระบารมี ยื น สงบนิ่ ง ถวายอาลั ย น้ อ มร� ำ ลึ ก ใน พระมหากรุณาธิคุณ เป็นเวลา 89 วินาที

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี น�ำโดย รองศาสตราจารย์ ดร.เจริญ นาคะสรรค์ รองอธิการบดีวิทยาเขต สุราษฎร์ธานี คณะผู้บริหาร บุคลากร และนักศึกษา มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ร่วมกิจกรรม “รวมพลังแห่ง ความภักดี” ณ พระธาตุศรีสุราษฎร์ (เขาท่าเพชร) เพื่อแสดงความ จงรักภักดีและน้อมร�ำลึกถึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุ ล ยเดช ในโอกาสวั น คล้ า ยวั น พระบรมราชสมภพ ปี ที่ 89 ซึ่ ง จัดพร้อมกับอีกหลายสถานที่ทั่วประเทศ โดยมีนักศึกษาวิทยาเขต สุราษฎร์ธานี ได้ร่วมแปรอักษรค�ำว่า SURATTHANI

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง น�ำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณั ฐ วิ ท ย์ พจนตั น ติ รองอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขตตรั ง พร้ อ มคณะผู ้ บ ริ ห าร บุ ค ลากร นั ก ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตตรั ง ตั ว แทน ชมรมศิ ษ ย์ เ ก่ า มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั ง หวั ด ตรั ง ตั ว แทนองค์ ก าร บริหารส่วนต�ำบลควนปริง และประชาชนใกล้เคียง กว่า 2,000 คน ร่วมใน กิจกรรม ธ สถิตในดวงใจ ม.อ. ตรัง เพื่อน้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช โดยได้ มี ก ารแปรแถว เป็นตราสัญลักษณ์ ม.อ. ซึ่งเป็นชื่อพระราชทานจากพระองค์ และหมายเลข เก้าไทย ซึ่งหมายถึงหมายเลขประจ�ำพระองค์ รัชกาลที่ 9 และได้ยืนสงบนิ่ง เป็ น เวลา 3 นาที ก่ อ นที่ ทุ ก คนได้ ร ่ ว มกั น ร้ อ งเพลงในหลวงของแผ่ น ดิ น เพลงเหตุผลของพ่อ และเพลงพระราชาในนิทาน อย่างพร้อมเพรียงกัน เนื้อหาข่าว/ภาพ : เครือข่ายประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

21 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559


ข่าวเด่น

เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ฯ ทรงเปิด “อาคารจุฬาภรณการุณยรักษ์” คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.อ. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัย ลั ก ษณ์ อั ค รราชกุ ม ารี เสด็ จ ไปทรงเปิ ด “อาคาร จุ ฬ าภรณการุ ณ ยรั ก ษ์ ” คณะสั ต วแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 โดย ศาสตราจารย์ ดร.นั ก สิ ท ธ์ คู วั ฒ นาชั ย อุ ป นายกนายกสภา มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี รองศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิงอุษา เชษฐานนท์ คณบดี เฝ้ารับเสด็จ ทรงรับฟังการถวาย รายงานความเป็ น มาการก่ อ สร้ า งอาคารจุ ฬ าภรณ การุณยรักษ์ ทรงเปิดป้ายอาคาร จากนั้นโปรดเกล้าให้ ผู้มีอุปการคุณเข้ารับพระราชทานของที่ระลึก 29 ราย และทอดพระเนตรนิทรรศการห้องปฏิบัติการภายใน อาคาร “ อ า ค า ร จุ ฬ า ภ ร ณ ก า รุ ณ ย รั ก ษ ์ ” ได้ รั บ พระราชทานชื่ อ จาก สมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก เธอ เจ้ า ฟ้ า จุ ฬ าภรณวลั ย ลั ก ษณ์ โดยได้ เ สด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ไปทรงวางประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์อาคาร เมื่อวันที่ 16 กั น ยายน 2556 จั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ก ลางใน การให้ บ ริ ก ารสุ ข ภาพสั ต ว์ ทั้ ง สั ต ว์ เ ลี้ ย งเป็ น เพื่ อ น ปศุสัตว์ สัตว์น�้ำ สัตว์ต่างถิ่น สัตว์ชนิดพิเศษ และสัตว์ป่า เพื่อการอนุรักษ์ รวมทั้งเป็นสถานฝึกอบรมความรู้แก่ สัตวแพทย์ เกษตรกร และเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ในพื้นที่ นอกจากนี้ ใ นอนาคตจะเป็ น โรงพยาบาลสั ต ว์ ร ะดั บ ตติยภูมิ หรือโรงพยาบาลสัตว์อ้างอิง และแหล่งบริการ

22 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559

วิชาการที่ส�ำคัญของพื้นที่ภาคใต้ ประเทศไทย และภูมิภาค ด้วยความร่วมมือ ของศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) และผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงสัตว์ในภาคใต้ทุกภาคส่วน เริ่มก่อสร้างเมื่อปี 2556 อาคารเริ่มใช้งานและเปิดให้บริการการรักษาสัตว์ในวันที่ 21 ธันวาคม 2558 โดยอาคารชั้น 1 และ 2 เป็นส่วนของโรงพยาบาลสัตว์ เปิดให้บริการด้าน อายุรกรรม ศัลยกรรม ทัศนวินิจฉัย แผนกดูแลสัตว์ป่วย และห้องปฏิบัติการ ต่างๆ เช่น ห้องโลหิตวิทยา ห้องจุลชีววิทยา ส่วนชั้น 3 และ 4 ใช้เพื่อจัดการการ ศึกษาและบริการวิชาการ ประกอบด้วยห้องต่างๆ ได้แก่ ห้องบรรยายส�ำหรับ สอนนักศึกษา ห้องปฏิบัติการชีวเคมี ห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา ห้องปฏิบัติ การวิชาโครงสร้างและการท�ำงานของร่างกายสัตว์ และห้องปฏิบัติการทาง ศัลยกรรม ห้องประชุมสัมมนา ห้องสมุด


ความร่วมมือสู่การพัฒนา

ฮิลตัน ร่วมลงนาม ม.อ.

เตรียมความพร้อมนักศึกษาสู่งานบริการ เมื่ อ วั น ที่ 23 พฤศจิ ก ายน 2559 เครื อ ฮิ ล ตั น และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ร่วม ลงนามบันทึกข้อตกลง เพื่อการพัฒนาศักยภาพของ นั ก ศึ ก ษา โดยมี ก ารน� ำ เสนอโครงการฮิ ล ตั น คลาส (Hilton Class) เพื่ อ การแลกเปลี่ ย นองค์ ค วามรู ้ ด ้ า น การบริ ห ารจั ด การ โดยทรั พ ยากรบุ ค คลที่ มี ค วามรู ้ ความเชี่ ย วชาญจากทั่ ว โลกและในประเทศไทย โดย โปรแกรมนี้ จ ะมุ ่ ง เน้ น ให้ ค วามรู ้ ด ้ า นธุ ร กิ จ งานบริ ก าร การฝึกอบรมทักษะจากประสบการณ์จริง ที่จะรวมเข้า กับหลักสูตรการเรียนในระดับปริญญาตรี ในสาขาการ จั ด การธุ ร กิ จ บริ ก ารและการโรงแรม ซึ่ ง การลงนาม ครั้ ง นี้ นั บ เป็ น พั น ธมิ ต รทางวิ ช าการครั้ ง ที่ ส องใน ประเทศไทย และเป็ น การลงนามข้ อ ตกลงครั้ ง ที่ สี่ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอินเดีย

“ความร่ ว มมื อ ของเรากั บ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตภูเก็ต เป็นการตอกย�้ำความมุ่งมั่นของฮิลตัน ที่จะรองรับ การเติบโตของการท่องเที่ยวและการโรงแรมในประเทศไทย เรามี ความยินดีที่จะให้ค�ำมั่นว่าเด็ก นักเรียน และเยาวชนในชุมชนของ เรา จะมีโอกาสพัฒนาทักษะได้มากขึ้น และได้รับข้อมูลเชิงลึกของ งานบริการ ด้วยการแบ่งปันประสบการณ์จากบุคลากรของเรา เรา หวังที่จะเปิดโลกทัศน์ในด้านงานบริการให้กับนักศึกษาและหวัง ว่าจะเป็นประโยชน์กับตัวนักศึกษาเองในอนาคต” ปีเตอร์ เวปส เตอร์ ผู้จัดการทั่วไป ฮิลตันสิงคโปร์ ไทย และฟิลิปปินส์ กล่าว โครงการฮิลตัน คลาส เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ “Open Doors” ในเครื อ ฮิ ล ตั น ทั่ ว โลก ที่ มุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะเข้ า ถึ ง เยาวชนให้ มากกว่าหนึ่งล้านคน ภายในปี 2562 นี้ โดยการเป็นพันธมิตรกับ สถานศึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับเยาวชนได้ใช้ศักยภาพ ของตนเองอย่างเต็มที่ ซึ่งเยาวชนจะได้รับโอกาสฝึกงานในสถาน ประกอบการจริง และน�ำไปสู่การพัฒนาอาชีพ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของแผนพั ฒ นา ที่ จ ะร่ ว มมื อ กั น ขั บ เคลื่ อ นให้ เ กิ ด การจ้ า งงาน

เยาวชนทั่ ว โลก ความมุ ่ ง มั่ น จากโครงการ “Open Doors” เป็ น การต่อยอดโครงการ “ Travel With Purpose” ซึ่งเป็นกลยุทธ์หลัก ในการแสดงความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมของบริ ษั ท เพื่ อ การอยู ่ ร่วมกันระหว่างองค์กร ชุมชนและสิ่งแวดล้อม รองศาสตราจารย์ ภู ว ดล บุ ต รรั ต น์ รองอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต กล่ า วแสดงความยิ น ดี ที่ ไ ด้ เ ป็ น พั น ธมิ ต ร ใน ด้ า นวิ ช าการกั บ ฮิ ล ตั น ซึ่ ง เป็ น องค์ ก รที่ เ ป็ น ผู ้ น� ำ และมี ชื่ อ เสี ย ง ระดั บ โลก ในการที่ จ ะร่ ว มผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพ เพื่ อ ตอบ สนองอุตสาหกรรมการบริการในประเทศไทย และอาเซียน โดย เชื่อว่ากลยุทธ์นี้จะเพิ่มศักยภาพ และส่งเสริมความเป็นเลิศทาง วิชาการของเราในการบริการ และการท่องเที่ยวในอนาคต “ฮิ ล ตั น จะเปิ ด สอนโครงการฮิ ล ตั น คลาสให้ กั บ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ภาควิ ช าการจั ด การโรงแรม โดยที่ ม หาวิ ท ยาลั ย จะท�ำการคั ด เลื อ กนั ก ศึ ก ษาจ�ำนวน 35 คน เพื่อเข้าร่วมโครงการ โดยหลักสูตรดังกล่าวเป็น หลักสูตรที่นอกเหนือจากหลักสูตรของทางมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ ยังเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เข้าฝึกงานกับทาง โรงแรมเป็นระยะเวลา 2 ถึง 6 เดือน เพื่อนักศึกษาจะได้ สั ม ผั ส ประสบการณ์ ก ารท�ำงานโดยตรง ซึ่ ง นั ก ศึ ก ษาที่ ประสบความส�ำเร็จจากโครงการนี้ อาจมีโอกาสได้รับเลือก เข้าท�ำงานกับฮิลตันหลังจบการศึกษาแล้ว” รองอธิการบดี วิทยาเขตภูเก็ต กล่าว

23 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559


ความร่วมมือสู่การพัฒนา

ศอ.บต.หนุน ม.อ. ศึกษาออกแบบการใช้ประโยชน์ พื้นที่อุตสาหกรรมฮาลาล

หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ การสร้ า งความ ร่ ว มมื อ กั บ ศู น ย์ อ� ำ นวยการบริ ห ารจั ง หวั ด ชายแดน ภาคใต้ เพื่ อ ด� ำ เนิ น โครงการศึ ก ษาและออกแบบ เบื้ อ งต้ น การใช้ ประโยชน์พื้นที่ส่งเสริมอุตสาหกรรม ฮาลาล จั ง หวั ด ปั ต ตานี โดยการลงนามมี ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 7 ธั น วาคม 2559 ผู ้ ล งนามประกอบด้ ว ย รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี และ นายศุภณัฐ สิรันทวิเนติ เลขาธิการศูนย์อ�ำนวยการ บริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ใ น บั น ทึ ก ข ้ อ ต ก ล ง ดั ง ก ล ่ า ว มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ ศูนย์ อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ จะร่ ว มมื อ กั น ด� ำ เนินโครงการศึก ษาและ ออกแบบเบื้ อ งต้ น การใช้ ป ระโยชน์ พื้ น ที่ ส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมฮาลาล ต� ำ บลบ้ า น น�้ ำ บ่ อ อ� ำ เภอปะนาเระ จั ง หวั ด ปั ต ตานี ซึ่ ง สถาบั น ฮาลาล มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ สนั บ สนุ น งบประมาณในการจัดท�ำโครงการศึกษา และออกแบบเบื้ อ งต้ น การใช้ ป ระโยชน์ พื้นที่ส่งเสริมอุตสาหกรรมฮาลาลจังหวัด ปัตตานี โดยใช้ทรัพยากรที่ทั้งสองฝ่ายมีอยู่

24 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559

ร่วมกันสนับสนุนข้อมูล ความรู้ และผู้เชี่ยวชาญเพื่อ ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ ในการด�ำเนินโครงการ ก�ำกับ ดูแล และติดตามงาน ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ทั้ ง นี้ บั น ทึ ก ข้ อ ตกลงฉบั บ นี้ และมี ก� ำ หนดระยะ เวลา 6 เดื อ น นั บ จากวั น ที่ ล งนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลง ความร่วมมือ การลงนามดังกล่าว จัดท�ำขึ้นเนื่องจากรัฐบาล มี แ ผนด� ำ เนิ น ยุ ท ธศาสตร์ ก ารเป็ น ศู น ย์ ก ลาง อุ ต สาหกรรมฮาลาล และให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การ ส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมด้ า นฮาลาล โดยได้ ก� ำ หนด ยุทธศาสตร์การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพธุรกิจ สินค้าและบริการฮาลาล พ.ศ.2559-2560 เพื่อสร้าง ความเข้มแข็งของอุตสาหกรรมฮาลาลของประเทศ ซึ่ ง สิ น ค้ า และบริ ก ารตามหลั ก ศาสนาอิ ส ลามมี ค วามจ� ำ เป็ น ต่อการบริโภคและอุปโภคของมุสลิม และความต้องการสินค้า และบริการตามหลักฮาลาลในตลาดโลกมีการขยายตัวอย่าง รวดเร็ ว มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จึ ง ได้ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ ในเรื่ อ งการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมอาหาร สิ น ค้ า และบริ ก าร ตามมาตรฐานฮาลาลในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ โดย สอดคล้ อ งกั บ การที่ ศู น ย์ อ� ำ นวยการบริ ห ารจั ง หวั ด ชายแดน ภาคใต้ ก็ได้มีการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร สินค้าและบริการ ตามมาตรฐานฮาลาลในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เช่นกัน


ความร่วมมือสู่การพัฒนา

วิศวะ ม.อ. จับมือ ปตท.สผ.

พัฒนาหุ่นยนต์เก็บขยะชายหาด ลดมลภาวะสิ่งแวดล้อม

เมื่ อ วั น ที่ 21 ธั น วาคม 2559 ที่ ค ณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า น ค ริ น ท ร ์ วิ ท ย า เ ข ต ห า ด ใ ห ญ ่ รองศาสตราจารย์ ดร.อุ ด มผล พื ช น์ ไ พบู ล ย์ คณบดี คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และ นายวินิตย์ หาญสมุทร ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงาน บริ ห ารเทคโนโลยี แ ละองค์ ค วามรู ้ บริ ษั ท ปตท.ส� ำ รวจและ ผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด(มหาชน) หรือ ปตท.สผ. ร่วมลงนามใน โครงการพั ฒ นาหุ ่ น ยนต์ ท� ำ ความสะอาดชายหาดที่ มี ประสิทธิภาพสูงต้นทุนต�่ำและผลิตได้ในประเทศ เพื่อช่วยลด มลภาวะด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มของชายหาดให้ กั บ ชุ ม ชน ทั้ ง นี้ จ ะ ใช้เวลาในการออกแบบ พัฒนาระบบเพื่อให้ได้หุ่นยนต์ต้นแบบ ภายในปี 2560 รองศาสตราจารย์ ดร.พฤทธิ ก ร สมิ ต ไมตรี ภาควิชาวิศกรรมเครื่องกล ผู้จัดการโครงการพัฒนาหุ่นยนต์ กล่าวว่า เดิมในการเก็บขยะบนพื้นทรายชายหาดต้องใช้วิธี การเดิ น เก็ บ เพราะไม่ ส ามารถใช้ วิ ธี ก วาดหรื อ ดู ด เพื่ อ ท� ำ ความสะอาดได้ การพัฒนาเครื่องมือในการช่วยเก็บขยะเพื่อน�ำ ไปแยกรีไซเคิลหรือท�ำลายอย่างถูกวิธี จะท�ำให้การท�ำความ สะอาดมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพขึ้ น อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถใช้ เ ป็ น ต้ น แบบ กั บ การจั ด เก็ บ ขยะชายหาดให้ พื้ น ที่ อื่ น ในภู มิ ภ าคอี ก ด้ ว ย หุ่นยนต์น้ีเป็นระบบบังคับด้วยรีโมทลากสายพานหรือตะแกรง

เก็ บ ขยะที่ มี ข นาดเล็ ก เงี ย บและเป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม เพื่อเป็นทางเลือกของการท�ำความสะอาดชายหาดที่เอื้อต่อ การน�ำมาใช้กับสภานที่ท่องเที่ยว การท� ำ หุ ่ น ยนต์ ค รั้ ง นี้ นอกจากจะเพื่ อ พั ฒ นาหุ ่ น ยนต์ ต้นแบบช่วยท้องถิ่นในการรักษาความสะอาดชายหาดแล้ว ยั ง เป็ น การสร้ า งงานวิ จั ย ร่ ว มระหว่ า งเอกชนกั บ สถาบั น การ ศึ ก ษาเพื่ อ น� ำ เทคโนโลยี เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ ท้ อ งถิ่ น และ ประเทศชาติ

รองศาสตราจารย์ ดร.พฤทธิ ก ร สมิ ต ไมตรี เป็ น ผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการพั ฒ นา หุ ่ น ยนต์ เคยสร้ า งชื่ อ เสี ย งทั้ ง ระดั บ ชาติ แ ละ นานาชาติ เป็ น อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาที ม หุ ่ น ยนต์ JAVIS ที่เคยรับรางวัลชนะเลิศชิงแชมป์ประเทศไทย ปี 2555 เคยคว้าอันดับ 11 จากการเป็นตัวแทน ประเทศไทยร่วมแข่งขันหุ่นยนต์ระดับโลก “World RoboCup 2013” ที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ และยัง ก� ำ ลั ง ท� ำ โครงการวิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาหุ ่ น ยนต์ จากระบบอัจฉริยะอย่างต่อเนื่อง

25 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559


ทุนการศึกษา เมื่ อ วั น ที่ 6 กั น ยายน 2559 นั ก ศึ ก ษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมพิธีมอบทุนการ ศึกษาไทยบริดสโตน ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดยในครั้งนี้มีนักศึกษาคณะทรัพยากรธรรมชาติ เข้ า รั บจ� ำ นวน 4 ทุ นการศึ กษา /ทุ นการศึ ก ษาละ 30,000 บาท คณะวิทยาศาสตร์ สาขาพอลิเมอร์ เข้ า รั บจ� ำ นวน 4 ทุ นการศึ กษา /ทุ นการศึ ก ษาละ 30,000 บาท นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ เข้ารับ จ� ำ นวน 4 ทุ น การศึ ก ษา /ทุ น การศึ ก ษาละ 35,000 บาท และนั ก ศึ ก ษาคณะวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เข้ า รั บ จ� ำ นวน 8 ทุ น การศึ ก ษา / ทุนการศึกษาละ 30,000 บาท

เมื่ อ วั น ที่ 19 กั น ยายน 2559 มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั ด พิ ธี ม อบทุ น การศึ ก ษามู ล นิ ธิ อี ซู ซุ ประจ� ำ ปี ก ารศึ ก ษา 2559 ณ ห้ อ งประชุ ม ใหญ่ บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลล์ จ�ำกัด แก่นักศึกษาคณะ วิทยาจัดการ จ�ำนวน 6 ทุนการศึกษา /ทุนการศึกษา ละ 15,000 บาท และนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ จ�ำนวน 3 ทุนการศึกษา /ทุนการศึกษาละ 20,000 บาท

เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2558 กลุ่ม นักธุรกิจ คหบดี ชาวสงขลา และ คณะ Soddatta Charity Fund จากรัฐปีนัง ประเทศมาเลเซีย มีคุณนิตติ จิระนคร เป็นผู้ประสานงาน ได้จัดมอบทุนการศึกษา ประจ�ำปีการศึกษา 2559 แก่ นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ 79 ทุ น จ� ำ นวนเงิ น รวม 790,000 บาท โดยมี ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ สุ พ จน์ โกวิ ท ยา รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยพั ฒ นานั ก ศึ ก ษา และศิษย์เก่าสัมพันธ์ และ นายคมกฤช ชนะศรี รักษาการ ในต� ำ แหน่ ง ผู ้ อ� ำ นวยการกองกิ จ การนั ก ศึ ก ษา ร่ ว มในพิ ธี การมอบทุ น Soddatta Charity Fund ในปี นี้ จั ด เป็ น ปีที่ 9 โดยนับจากเริ่มการให้ทุนครั้งแรกเมื่อปี 2552 ได้มีการ ให้ทุนไปแล้ว 426 ทุน รวมทั้งปีนี้ 79 ทุน รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 5,010,000 บาท โดยกลุ่มผู้มอบทุนได้ตระหนักถึงความจ�ำเป็น ที่เพิ่มขึ้นตามภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว จึงขอให้ผู้รับทุนใช้เงิน ที่ได้รับอย่างคุ้มค่าตาม เมื่อส�ำเร็จการศึกษาแล้วต้องท�ำตัว เป็นคนดีของครอบครัว สังคม และประเทศชาติ และรู้จักให้ โอกาสแก่ผู้อื่นเช่นที่ผู้มอบทุนได้ให้โอกาสกับนักศึกษาในวันนี้

26 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559


ทุนการศึกษา

โครงการ “HSBC พาต้นกล้าเปิดโลกทัศน์” ครั้งที่ 1 ณ กรุงเทพมหานคร เมื่ อ วั น ที่ 20 ตุ ล าคม 2559 มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ น� ำ โดย ผศ.ชุ ติ พ ร จิ โ รจน์ กุ ล ผู ้ ช ่ ว ยอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยสวั ส ดิ ก ารนั ก ศึ ก ษา พร้ อ ม นั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาที่ 4 จ� ำ นวน 9 คนใน พื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ ที่ได้รับทุนต้นกล้าสงขลา นครินทร์ ภายใต้การสนับสนุนทุนการศึกษาจาก ธนาคารเอชเอสบีซี ประเทศไทย เข้าพบ มร. เคลวิ น แทน ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารธนาคารเอชเอสบี ซี ประเทศไทย ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ธนาคารเอชเอสบีซี ประเทศไทย เพื่อ แสดงความขอบคุณที่ธนาคาร เอชเอสบีซี ประเทศไทย ให้การ สนับสนุนทุนการศึกษานักเรียนกลุ่มดังกล่าวจนจบการศึกษา ระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งในครั้งนี้ ธนาคารเอชเอสบีซี ประเทศไทย ได้สนับสนุนโครงการ “HSBC พาต้นกล้าเปิดโลกทัศน์” ครั้งที่ 1 ณ กรุงเทพมหานคร ขึ้น เมื่อวันที่ 20-22 ตุลาคม 2559 ซึ่งนักเรียนที่ได้รับทุนฯ ได้มี โอกาสเข้ า เยี่ ย มชมที่ ส ถานที่ ท� ำ งานของธนาคารเอชเอสบี ซี ประเทศไทย ส�ำนักงานใหญ่ และพิพิธภัณฑ์และศูนย์การเรียนรู้ ต่างๆ เช่น ศูนย์การเรียนรู้คนตาบอด กรุงเทพฯ ศูนย์วิทยาศาสตร์

เพื่อการศึกษา และ Siam Ocean World กิจกรรมดังกล่าว ช่วยสร้างประสบการณ์ใหม่ๆ แก่นักเรียนทุนที่เข้าร่วมโครงการ ได้เป็นอย่างมาก

โครงการ “ติวน้อง คล้องใจ สายใยต้นกล้าสงขลานครินทร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2559” นักศึกษาทุนต้นกล้าสงขลานครินทร์ จ�ำนวน 125 คน ซึ่งเป็น นั ก เรี ย นทุ น ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา 74 คน นั ก ศึ ก ษาทุ น ระดั บ อุดมศึกษา 46 คน และศิษย์เก่าทุนการศึกษาโครงการต้นกล้า สงขลานครินทร์ 5 คน กิจกรรมดังกล่าวจัดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา แก่ นั ก เรี ย นทุ น การศึ ก ษาโครงการต้ น กล้ า สงขลานคริ น ทร์ และเพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นทุ น ฯ ได้ มี โ อกาสแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ เล่ า สู ่ กั น ฟั ง ด้ า นการเรี ย น และเป็ น การสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ระหว่างรุ่นพี่กับรุ่นน้องทุนต้นกล้าสงขลานครินทร์

เมื่ อ วั น ที่ 22-27 ตุ ล าคม 2559 มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ จั ด โครงการ “ติ ว น้ อ ง คล้ อ งใจ สายใยต้ น กล้ า สงขลานครินทร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2559” ให้แก่นักเรียน-

27 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559


Activity

3 มหาลัย จาก 3 ภาค ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อการขับเคลื่อนองค์กรยุคใหม่

หาวิทยาลัยหลักจาก 3 ภูมิภาค จัดกิจกรรมเสริม ความร่วมมือข้ามสถาบัน ครั้งที่ 2 หวังร่วมเก็บเกี่ยว ความรู ้ ป ระสบการณ์ เพื่ อ การแก้ ไ ขพั ฒ นางาน และกระชั บ สัมพันธ์ระหว่างกัน อธิการบดี 3 มหาวิทยาลัย ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ลงนามในบันทึกข้อตกลง “ความร่วมมือ มข.ม.อ.-มช. 3 พลังเพื่อแผ่นดิน ครั้งที่ 2” เพื่อพัฒนาความร่วมมือ ตามพันธกิจและยุทธศาสตร์ ของมหาวิทยาลัย การแลกเปลี่ยน ประสบการณ์การบริหารจัดการ การเปิดโลกทัศน์ให้กับบุคลากร การพั ฒ นาองค์ ค วามรู ้ น วั ต กรรม และร่ ว มเป็ น แหล่ ง เรี ย นรู ้ ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการบริหารองค์กร เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2559 ที่ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ โดยได้รับ เกียรติจาก ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บรรยายในหัวข้อ “วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เ พื่ อ การขั บ เคลื่ อ น Thailand 4.0” และในวันที่ 11 ตุลาคม 2559 ทั้ง 3 สถาบัน ได้ร่วมแบ่ง กลุ่มกันเพื่อหารือ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในประเด็น

28 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559

ที่น่าสนใจ 7 ประเด็น คือ ธุรกิจใหม่ที่เน้นการศึกษาและกิจกรรม เพื่ อ สั ง คม การบริ ห ารงานบุ ค คล ผลกระทบของการเปลี่ ย น ก� ำ หนดวั น เปิ ด -ปิ ด เทอม การตอบสนองต่ อ นโยบายรั ฐ บาล ในการน�ำงานวิจัยสู่ Thailand 4.0 ระบบประเมินและประกัน คุ ณ ภาพระดั บ หลั ก สู ต ร การพั ฒ นาสู ่ ม หาวิ ท ยาลั ย ดิ จิ ตั ล สื่ อ ใหม่ ใ นการสร้ า งภาพลั ก ษณ์ อ งค์ ก ร และ การบู ร ณาการ การเรียนการสอนกับการ พั ฒ นานั ก ศึ ก ษา โดยมี ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการ 450 คน ประกอบด้วยผู้บริหาร ทั้ ง ระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย และระดั บ คณะ และผู ้ ปฏิ บั ติ ง านที่ เ กี่ ย วข้ อ ง


Activity

ม.อ.จัดประชุมเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ

บูรณาการความรู้ทุกศาสตร์งานวิจัย

และองค์กรเครือข่ายทั้งดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ ระดับบัณฑิตศึกษา ใน 3 กลุ่มสาขา ได้แก่ กลุ่มวิทยาศาสตร์ สุ ข ภาพ กลุ ่ ม วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี และกลุ ่ ม มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีบัณฑิตวิทยาลัย 24 สถาบัน ร่วมสนับสนุน เพื่อบูรณาการความรู้ทุกศาสตร์งานวิจัย เราได้ทุนส่วนกลางของอาเซียนปีละ 60 ล้าน เป็นเวลา 5 ปี เราพยายามส่งเสริมและรับนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียน รวมถึงส่งนักศึกษาของเราไปท�ำวิจัย หรือศึกษาต่อ ความร่วมมือ ระหว่างอาเซียนบวกหกก็มีมากขึ้น บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นเจ้า ภาพจัดประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา แห่ ง ชาติ ครั้ ง ที่ 40 เมื่ อ วั น ที่ 20-21 ตุ ล าคม 2559 ณ ศู น ย์ ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จ.สงขลา หัวข้อ Higher Education Harmonization บู ร ณาการความรู ้ ทุ ก ศาสตร์ งานวิจัย รศ.ดร.ธี ร ะพล ศรี ช นะ คณบดี บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า การประชุมวิชาการ เสนอผลงานวิ จั ย ระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา เป็ น เวที แ ลกเปลี่ ย น ผลงานและข้อมูลการวิจัยสาขาต่างๆ ระหว่างมหาวิทยาลัย

สหกิจศึกษา เตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติงาน สหกิจศึกษา ประจ�ำปี 2559 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดย ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ เตรียม ความพร้ อ มนั ก ศึ ก ษาก่ อ นออกปฏิ บั ติ งานสหกิ จ ศึ ก ษา ประจ� ำ ปี ก ารศึ ก ษา 2559 หั ว ข้ อ เรื่ อ ง กระบวนการคิ ด วิเคราะห์ ให้แก่นักศึกษาชั้นปีที่ 3 และ ปีที่ 4 กว่า 500 คน จากคณะทรัพยากร ธรรมชาติ คณะวิทยาการจัดการ คณะ วิ ท ยาศาสตร์ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร ์ เ พื่ อ ฝ ึ ก ทั ก ษ ะ กระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ น�ำ ความรู้ที่เรียนมาไปปรับใช้กับการปฏิบัติ งานจริ ง ในสถานประกอบการ ซึ่ ง ได้

รับเกียรติจากจาก คุณอิสิญา สังข์ศิริ ผู้จัดการฝ่ายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย บริษัท สยามเซมเพอร์เมด จ�ำกัด เป็นวิทยากรบรรยายให้ความรู้ และฝึก workshop ในวันที่ 12 และ 19 พฤศจิกายน 2559 และคุณธีระ เหลืออักษร ผู้จัดการฝ่ายฝึกอบรม โรงแรมรายาวดี จังหวัดกระบี่ เป็นวิทยากรบรรยายให้ความรู้ และฝึก workshop ในวันที่ 26 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา

29 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559


Activity

นานาชาติร่วมประชุม 10th IMT-GT UNINET 2016 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม วิ ช าการสามเหลี่ ย มเศรษฐกิ จ ไทย มาเลเซี ย และ อิ น โดนี เ ซี ย (Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle) ครั้งที่ 10 (10th IMT-GT UNINET 2016) ในหั ว ข้ อ “Bioscience : The Element of life “ ระหว่ า งวั น ที่ 1-2 ธั น วาคม 2559 ณ คอนเฟอร์ เ รนทร์ ชั้ น 8 อาคารศู น ย์ ท รั พ ยากรการเรี ย นรู ้ คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร (อาคาร LRC ) มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี เป็นประธานเปิดการประชุม โดยการประชุม ครั้งนี้ เกี่ยวข้องกับวิชาการด้านความหลากหลายทางวิทยาศาสตร์ ชี ว ภาพ และเป็ น การต่ อ ยอดและพั ฒ นางานวิ จั ย รวมทั้ ง สร้ า ง เครือข่ายงานวิจัยด้าน Bioscience มีนักวิชาการผู้เข้าร่วมประชุม จากหลายมหาวิ ท ยาลั ย ทั้ ง ในไทยและต่ า งประเทศ ได้ แ ก่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Malaysia Terengganu (UMT) และ Universiti Sains Malaysia (USM) จากประเทศมาเลเซีย มหาวิทยาลัยมิยาซากิ ประเทศญี่ปุ่น และ มหาวิทยาลัย PMAS Arid Agriculture ประเทศปากีสถาน กว่า 100 คน

คณะวิทยาการสื่อสาร ม.อ.ปัตตานี ส่งมอบผลิตภัณฑ์ชุมชนต้นแบบแก่ผู้ประกอบการ คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ปัตตานี บูรณาการวิชา สู่กระบวนการพัฒนาสินค้าของชุมชนปัตตานี ทั้ ง คุ ณ ภาพสิ น ค้ า บรรจุ ภั ณ ฑ์ และสื่ อ เผยแพร่ เพื่ อ เพิ่ ม มู ล ค่ า และคุณภาพสินค้าท้องถิ่นให้สามารถแข่งขันได้ในระดับประเทศ เมื่ อ วั น พุ ธ ที่ 21 ธั น วาคม 2559 ที่ ค ณะวิ ท ยาการสื่ อ สาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ผศ.ดร.วลักษณ์กมล จ่างกมล คณบดีคณะวิทยาการสื่อสาร ได้เป็นประธานในพิธีมอบ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชนต้ น แบบสู ่ ผู ้ ป ระกอบการชุ ม ชน จั ง หวั ด ปั ต ตานี ทั้งนี้โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากโครงการ 1 วิทยาเขต 1 ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง ของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขต ปั ต ตานี ซึ่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละชุ ม ชนที่ ไ ด้ รั บ การสนั บ สนุ น จากคณะ วิทยาการสื่อสาร ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์เกลือหวานบานา กลุ่ม ท� ำ นาเกลื อ หมู ่ 2 ต� ำ บลบานา อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด ปั ต ตานี ผลิ ต ภั ณ ฑ์ บ านาน่ า ฟิ น เฟ่ อ ร์ กลุ ่ ม สตรี ก ล้ ว ยหิ น กรอบแก้ ว หมู ่ 2 ต� ำ บล ปิ ย ามุ มั ง อ� ำ เภอยะหริ่ ง จั ง หวั ด ปั ต ตานี และ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม ะขามทอง กลุ ่ ม เมี่ ย งค� ำ สมุ น ไพร หมู่ 1 ต�ำบลยามู อ�ำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

30 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559

คณบดีคณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ชี้แจงว่ากิจกรรมส่งมอบผลิตภัณฑ์ชุมชนต้นแบบ แก่ผู้ประกอบการ ในวันนี้เกิดขึ้นเนื่องจากนักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะ วิทยาการสื่อสาร ที่เรียนรายวิชาการฝึกปฏิบัติการสื่อสารการตลาด ได้รับมอบหมายจากอาจารย์ผู้สอนให้นักศึกษาเลือกผลิตภัณฑ์ใน ชุมชนที่ยังต้องได้รับการพัฒนาทั้งคุณภาพราคา และบรรจุภัณฑ์ แล้ว น�ำมาพัฒนากระบวนการผลิตให้มีคุณภาพ ตลอดจนการออกแบบ บรรจุภัณฑ์ รวมถึงการผลิตสื่อเผยแพร่ และการหาช่องทางการตลาด ให้แก่ผลิตภัณฑ์ด้วยการจัดกิจกรรมเปิดตัวผลิตภัณฑ์ ซึ่งนับเป็น การบริ ก ารวิ ช าการชุ ม ชนและบู ร ณาการ การเรี ย นการสอนเพื่ อ การพั ฒ นาชุ ม ชนในจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ให้ มี ค วามเข้ ม แข็ ง มากขึ้น


Activity

ม.อ. ร่วม สวก. จัดรายงานผลวิจัยการพัฒนาผู้ผลิต ปาล์มน�้ำมันรายย่อย ตามมาตรฐาน GAP และ RSPO มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่ ว มกั บ ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาการวิ จั ย การเกษตร (สวก.) จั ด สั ม มนา รายงานผลการวิจัย โครงการ “การ พั ฒ นากลุ ่ ม เกษตรกรรายย่ อ ย อย่างมีส่วนร่วมในการผลิตปาล์ม น�้ำมันอย่างยั่งยืนตามมาตรฐาน GAP และ RSPO” เพื่อส่งเสริม และพัฒนากลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน�้ำมันรายย่อยที่ผ่านการรับรอง RSPO ให้ยึดมั่นและรักษาระบบควบคุมภายใน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตปาล์มน�้ำมันบนฐานความรู้ของเกษตรกรมืออาชีพ โดยการ รายงานผลการวิ จั ย ดั ง กล่าว มีขึ้น เมื่อวัน ที่ 30 พฤศจิก ายน 2559 ที่ โรงแรมแก้วสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีผู้สนใจเข้าร่วมกว่า 170 คน จาก ภาครัฐ ภาคเอกชน โรงงานสกัดน�้ำมันปาล์มดิบ บุคลากรทางการศึกษา และเกษตรกรผู้ผลิตปาล์มน�้ำมันในภาคใต้ โดยคณะผู้วิจัยโครงการ ประกอบด้ ว ย รองศาสตราจารย์ ดร.สุ ธั ญ ญา ทองรั ก ษ์ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริรัตน์ เกียรติปฐมชัย คณะเศรษฐศาสตร์ อาจารย์ ธี ร ะพงศ์ จั น ทรนิ ย ม ผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นปาล์ ม น�้ ำ มั น จาก ศูนย์วิจัยและพัฒนาการผลิตปาล์มน�้ำมัน คณะทรัพยากรธรรมชาติ และ คุณธิตินัย พงศ์พิริยะกิจ ตัวแทน RSPO Thailand การวิ จั ย ดั ง กล่าว จัด ท�ำ ขึ้น เนื่องจากเกษตรกรราย ย่อยส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการ สวนปาล์มน�้ำมันที่เหมาะสม (GAP) ขาดการบันทึกข้อมูล ขาด แรงจูงใจในการผลิตปาล์มคุณภาพ ขาดการรวมกลุ่ม ส่งผล ให้ผลผลิตต่อไร่ต�่ำและต้นทุนการผลิตสูงกว่าที่ควรจะเป็น โรงงานสกัดยังขาดความร่วมมือกับเกษตรกรในการพัฒนา คุ ณ ภาพและพั ฒ นากลุ ่ ม เกษตรกรให้ เ ป็ น พั น ธมิ ต รทาง ธุรกิจอย่างแท้จริง นอกจากนี้อุตสาหกรรม ยังต้องเผชิญ กับการเปลี่ยนแปลง ทั้งการแข่งขัน และความต้องการของ ผู้บริโภคที่มีมากขึ้น ซึ่งการปฏิบัติตามมาตรฐาน GAP และ RSPO เป็ น แนวทางที่ ส ามารถช่ ว ยแก้ ป ั ญ หาดั ง กล่ า วได้ โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ เป็น กลุ่มเกษตรกร 8 กลุ่ม โรงงาน น�้ำมันปาล์มดิบ 7 โรง เกษตรกร 1,000 ราย เข้าร่วมโครงการ ระยะเวลาการวิจัยประมาณ 3 ปี ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มและเข้ามา มี ส ่ ว นร่ ว มในการอบรมและ ดู ง าน ได้ รั บ ความรู ้ แ ละน� ำ ความรู้ไปปฏิบัติในการจัดการ ส ว น ป า ล ์ ม ใ น ป ร ะ เ ด็ น ที่ ส�ำคัญ เช่น การใช้แม่ปุ๋ยแทน ปุ ๋ ย ผสม การใช้ ปุ ๋ ย ตามค่ า วิเคราะห์ดิน/ใบ การวางทาง ใบคลุ ม สวนปาล์ ม เพื่อ รัก ษา

ความชื้นและลดปัญหาวัชพืช มีการจดบันทึกข้อมูลละเอียดและเป็น ระบบมากขึ้น มีการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน มีการลดการใช้สาร เคมีก�ำจัดศัตรูพืชและไม่ใช้สารเคมี ขายปาล์มให้กับลานเท/โรงงานเครือ ข่ายได้ราคาส่วนเพิ่ม การรวมกันซื้อปุ๋ยกับกลุ่มและโรงงานเครือข่าย เป็นต้น และจากการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับผลผลิตและต้นทุน พบว่า เกษตรกรที่น�ำความรู้ดังกล่าวไปปฏิบัติ มีประสิทธิภาพในการ ผลิตปาล์มน�้ำมันมากขึ้น ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่สูงขึ้นและ/หรือต้นทุนการ ผลิตต่อหน่วยลดลง มีเ กษตรกรอย่างน้อย 35 ราย (จากที่วิเคราะห์ 309 ราย) ได้ผลผลิตเฉลี่ยมากกว่า 4 ตัน/ไร่/ปี บางรายได้ผลผลิตสูง ถึง 8.659 ตัน/ไร่/ปี ในปี 2558 ซึ่งถือว่าสูงมาก เนื่องจากในปี 2558 ผลผลิตเฉลี่ยในภาพรวมของประเทศ 2.576 ตัน/ไร่ และโครงการได้ คัดเลือกเกษตรกรมืออาชีพด้านการผลิตปาล์มน�้ำมันเพื่อจัดท�ำกรณี ศึกษาทั้งหมด 14 ราย เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ของเกษตรกรรายอื่นต่อไป ที ม วิ จั ย มี ข ้ อ เสนอแนะรู ป แบบการพั ฒ นากลุ ่ ม เพื่ อ ผลิ ต ปาล์ ม น�้ำมันอย่างยั่งยืนแก่ผู้เกี่ยวข้องในการผลิตปาล์มน�้ำมัน ดังนี้ ส�ำหรับ เกษตรกรรายย่อย ควรมีความมุ่งมั่นพร้อมที่จะพัฒนาการผลิต การ ท�ำงานและปฏิบัติตามกฎระเบียบของกลุ่ม มีการดูแลจัดการสวนด้วย ตนเอง น�ำความรู้ไปปฏิบัติจริง จงรักภักดีต่อกลุ่ม เชื่อและให้ความส�ำคัญ กับความรู้ ส่วนกลุ่มเกษตรกรรายย่อยนั้นควรก�ำหนดวัตถุประสงค์การ รวมกลุ่มที่ชัดเจน จัดโครงสร้างและกฎระเบียบการบริหารจัดการกลุ่ม มี กรรมการที่มีความพร้อม เสียสละในการท�ำกิจกรรมและพัฒนากลุ่ม มี ผู้จัดการกลุ่มและพี่เลี้ยงเกษตรกร ท�ำงานกับสมาชิกและจัดท�ำเอกสาร กลุ่มที่สองคล้องกับระบบที่ต้องการขอรับการรับรอง ส�ำหรับโรงงาน สกัดน�้ำมันปาล์มดิบ ควรสนับสนุนกิจกรรมกลุ่ม ให้ความช่วยเหลือด้าน วิชาการ ให้ข้อมูลข่าวสาร และให้ราคาตามคุณภาพกับสมาชิก นอกจาก นี้ ทีมวิจัยได้ให้ข้อเสนอแนะแก่หน่วยงานภาครัฐว่า ควรให้การสนับสนุน ด้านวิชาการและข้อมูลข่าวสาร วิจัยและพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาอย่างต่อ เนื่อง ก�ำหนดนโยบายและสนับสนุนการผลิตปาล์มน�้ำมันอย่างยั่งยืน ในการจัดสัมมนาครั้งนี้ ทีมผู้จัดขอขอบคุณส�ำนักงานพัฒนาการ วิจัยการเกษตรที่ให้การสนับสนุนเงินทุนวิจัย เกษตรกรและกรรมการ กลุ่ม โรงงานเครือข่าย ทีมวิจัย และพี่เลี้ยงเกษตรกร ที่ท�ำให้การวิจัย ส�ำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ทั้งนี้หากหน่วยงานใดสนใจจะน�ำผลการวิจัย ไปใช้ประโยชน์ สามารถติดต่อ หัวหน้าทีมวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.สุ ธั ญ ญา ทองรั ก ษ์ ได้ ที่ ค ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ โทร. 074-282471, 081-7381257 หรื อ อี เ มล์ sutonya.t@psu.ac.th

31 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559


แนะน�ำหลักสูตร

แนะน�ำหลักสูตร คณะแพทยศาสตร์ (วิทยาเขตหาดใหญ่) Faculty of Medicine คณะแพทยศาสตร์ ประกอบด้วย 14 ภาควิชา ดังนี้ 1. ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ 2. ภาควิชาจักษุวิทยา 3. ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ 4. ภาควิชาพยาธิวิทยา 5. ภาควิชารังสีวิทยา 6. ภาควิชาวิสัญญีวิทยา 7. ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน 8. ภาควิชาศัลยศาสตร์ 9. ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์และกายภาพบ�ำบัด 10. ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา 11. ภาควิชาอายุศาสตร์ 12. ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา 13. ภาควิชาชีวเวชศาสตร์ 14. ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน หลักสูตรคณะแพทยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ เปิดสอนหลักสูตร ทั้ง 3 ระดับ ดังนี้ 1. ระดับปริญญาตรี เปิดสอน 5 หลักสูตร 1.1 หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (MD.) 1.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทย์ 1.3 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์ (แบบก้าวหน้า) 1.4 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชากายภาพบ�ำบัด

32 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559

1.5 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารังสีเทคนิค 2. หลักสูตรหลังปริญญาตรี 2.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิสัญญีพยาบาล (Cert. in Anesth) 3. ระดับปริญญาโท เปิดสอน 3 หลักสูตร 3.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาระบาดวิทยา 3.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวเวชศาสตร์ 3.3 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ 4. หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขาวิทยาศาสตร์ การแพทย์คลินิก 5. ระดับปริญญาเอก เปิดสอน 3 หลักสูตร 5.1 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาระบาดวิทยา 5.2 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวเวชศาสตร์ 5.3 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ ประมาณการค่าใช้จ่ายในการศึกษา ตามประกาศมหาวิทยาลัยเรื่องค่าธรรมเนียมการศึกษา และหลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช ารั ง สี เ ทคนิ ค ประมาณ 18,000 บาท/ภาคการศึกษา ติดต่อเพิ่มเติม: โทรศัพท์ 0 7421 2902, 0 7445 5000 ต่อ 1100, 1102 โทรสาร 0 7421 2900 E-mail: medicine@psu.ac.th Homepage http:// www.medicine.psu.ac.th


แนะน�ำหลักสูตร

คณะการบริการและการท่องเที่ยว (วิทยาเขตภูเก็ต) Faculty of Hospitality and Tourism คณะการบริ ก ารและการท่ อ งเที่ ย ว เปิ ด สอนในระดั บ ปริญญาตรีและระดับปริญญาโท 1 หลักสูตร

คณะวิทยาการสื่อสาร (วิทยาเขตปัตตานี) Faculty of Communication Science คณะวิทยาการสื่อสาร เป็นองค์กรที่โดดเด่นด้านวิทยาการ สื่อสารและเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่บูรณาการองค์ความรู้และส่ง เสริมอัตลักษณ์ท้องถิ่นสู่สากล เพื่อร่วมสร้างสังคมสันติสุข หลักสูตรคณะวิทยาการสื่อสาร คณะศึกษาศาสตร์เปิดสอนในระดับปริญญาตรี 3 หลักสูตร คือ 1. หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต 2. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการออกแบบและสร้างสรรค์สื่อ ทุนการศึกษา 1. เป็ น ทุ น ยกเว้ น คาธรรมเนี ย มพิ เ ศษและค่ า หน่ ว ยกิ จ ในรายวิชาของคณะฯ ตลอดระยะเวลา 4 ปี ที่ศึกษา ในคณะวิทยาการสื่อสารมูลค่าทุนประมาณ 70,000 บาท โดยนั ก ศึ ก ษาจะต้ อ งรั ก ษาระดั บ ผลการเรี ย น ไม่ต�่ำกว่า 2.75 2. เป็นทุนที่มอบให้แก่นักศึกษาที่มีความประพฤติดีแต่ ขาดแคลนทุนทรัพย์ ปีละ 200,000 ทุนละ 5,000 บาท จ�ำนวน 40 ทุน 3. เป็นทุนที่หน่วยงานภายนอกสนับสนุนให้ทุนการศึกษา ผ่านทางคณะ/มหาวิทยาลัย เงื่อนไขการรับทุนขึ้นอยู่ กับเจ้าของทุน

1. ปริญญาตรี หลักสูตรบริหารธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ) เปิดสอน 2 สาขาวิชา ได้แก่ - สาขาวิชาการจัดการการบริการ (Hospitality management) - สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว (Tourism management) 2. ปริญญาโท หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต เปิดสอน 1 สาขาวิชา ได้แก่ - สาขาวิชาการจัดการบริการและการท่องเที่ยว ประมาณการค่าใช้จ่ายในการศึกษา ค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษา เหมาจ่ า ยภาคการศึ ก ษาละ 64,000 บาท จ�ำนวน 4 ภาคการศึกษา ติดต่อเพิ่มเติม: ปริญญาตรี (BBA) โทรศัพท์ 0 7627 6826 โทรสาร 0 7627 6203 ปริญญาโท (MBA) โทรศัพท์ 0 7627 6821 โทรสาร 0 7627 6014 E-mail fhtpsu@gmail.com Website http://www.fht.psu.ac.th Facebook www.facebook.com/FHT.PSU.phuket

ประมาณการค่าใช้จ่ายในการศึกษา เฉพาะค่ า เล่ า เรี ย นและค่ า หอพั ก มหาวิ ท าลั ย ประมาณ 33,000 บาท/คน/ปี ติดต่อเพิ่มเติม: โทรศัพท์ 0 7334 9692 โทรสาร 0 7334 9692 E-mail lalita-y@bunga.pn.psu.ac.th Homepage http:// www.comm-sci.pn.psu.ac.th

33 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559


Activity

ค่าย 40 ปี อุตสาหกรรมเกษตร ม.อ. เพื่อชนบท คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมใจจัดค่าย ใน โอกาสครบรอบ 40 ปี คณะอุตสาหกรรมเกษตร ณ โรงเรียน ตชด.สันติราษฎร์ ประชาบ�ำรุง ต.ปะเหลียน อ.ปะเหลียน จ.ตรัง เพื่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ให้ โรงเรียนและชุมชนได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน ระหว่างวันที่ 21-25 ธันวาคม 2559 โดย มีคณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา คณะอุตสาหกรรมเกษตร จ�ำนวน 150 คน ร่วมแรงร่วมใจในการสร้างอาคารอเนกประสงค์ ใน โอกาสครบรอบ 40 ปี อุ ต สาหกรรมเกษตร ให้ กั บ โรงเรี ย นตชด.สั น ติ ร าษฎร์ ป ระชาบ� ำ รุ ง จ.ตรั ง และ เป็นหนึ่งในกิจกรรม “ท�ำดีเพื่อพ่อ” สืบสานพระราช ปณิธานของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก “อาคารหลังนี้ไม่ใหญ่มาก แต่คุณค่าและจิตใจจากชาว ค่ายอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยที่คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ สู่ชุมชนยิ่งใหญ่นัก” สืบสานพระราชปณิธาน ประโยชน์เพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง มาอย่าง รศ.ดร.วิโรจน์ ยูรวงศ์ คณบดีคณะอุตสาหกรรม ต่อเนื่อง โดยในโอกาสที่คณะอุตสาหกรรมเกษตร ครบรอบ 30 ปี เกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่าการจัด คณะได้ จั ด สร้ า งห้ อ งสมุ ด และห้ อ งเรี ย น ณ บ้ า นน�้ ำ ร้ อ น จั ง หวั ด ค่ า ยครบรอบ 40 ปี คณะอุ ต สาหกรรมเกษตร ในครั้ ง นี้ นครศรีธรรมราช และในโอกาสครบรอบ 35 ปีได้สร้างอาคารห้องสมุด ได้ จั ด หาทุ น โดยคณะกรรมการค่ า ยอุ ต สาหกรรมเกษตร และห้องละหมาด ณ โรงเรียนบ้านท่าแคง จังหวัดสงขลา แล้วด้วย ครั้งที่ 20 และมีเงิน เหลือเก็บจากการจัดกิจกรรมค่ายชุด เก่าๆพร้อมทั้งมีการร่วมบริจาคจากศิษย์เก่า คณาจารย์ บุคลากร ได้น�ำมาเป็นทุนในการซื้อวัสดุและจ้างแรงงานบาง ส่ ว นของผู ้ ป กครองนั ก เรี ย นในท้ อ งถิ่ น จนได้ โ ครงสร้ าง และหลั ง คาอาคารอเนกประสงค์ ดั ง กล่ า ว ส� ำ หรั บ วั น ที่ 21-25 ธันวาคม 2559 จะได้เทพื้น ปรับพื้นที่รอบๆ โรงเรียน ปิดท้ายด้วยการติดตั้งระบบไฟฟ้า “อาคารหลังนี้ไม่ ใหญ่ มาก แต่คุณค่าและจิตใจจากชาวค่ายอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สู่ชุมชนยิ่งใหญ่นัก”

34 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559


กิจกรรมที่น่าสนใจ

PSU Trang National Conference on Reserch across Disciplines 2017 Sharing and Inspiring for Sustainable Development การประชุมวิชาการระดับชาติ ม.อ.ตรัง วิจัย ประจ�ำปี 2560

“วิจัยก้าวใหม่ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”

21 เมษายน 2560 ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง เปิ ด รั บ ผลงาน “บทความวิ จั ย , บทความวิ ช าการ, ผลงานสร้ า งสรรค์ (ศิ ล ปะการแสดงและการจั ด การ)” ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท อาจารย์ นักวิจัย ทั้ง ภาครัฐและเอกชน ในกลุ่มสาขาดังนี้

1. กลุ่มการจัดการ • กลุ่มวิชาบริหารธุรกิจ/การจัดการความเสี่ยง • สาขาวิชาการตลาด • สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว • สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ • สาขาวิชาการบัญชี/ การเงิน 2. กลุ่มมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ • สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์/ การบริหารรัฐกิจ • สาขาวิชาภาษาอังกฤษ 3. งานสร้างสรรค์ศิลปะการแสดงและการจัดการ • สาขาศิลปะการแสดงและการจัดการ ก�ำหนดการส่งผลงาน รับสมัครและส่งผลงาน: 1 ธันวาคม 2559-15 กุมภาพันธ์ 2560 ลงทะเบียนและช�ำระค่าลงทะเบียนผู้ผ่านการคัดเลือก: 1 ธันวาคม 2559-27 มีนาคม 2560 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมทั่วไป: 1 ธันวาคม 2559-7 เมษายน 2560 ข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อ งานประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง โทรศัพท์ 075 201 770, 075 201 731 Website: www.psunc.trang.psu.ac.th

35 ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.