ข่าว ม.อ. วิทยาเขตหาดใหญ่ ฉบับพิเศษ : รับมือโคโรนาไวรัส

Page 1


News โรงพยาบาล ม.อ. พร้อมใช้ประสบการณ์การ เฝ้าระวังโรคซาร์สและ MERS-CoV

รับมือโคโรนาไวรัส

รองศาสตราจารย นายแพทย ศรัญู ชูศร� ผู ช วยคณบดีฝ ายโรงพยาบาล สงขลานคร�นทร คณะแพทยศาสตร มหาว�ทยาลัยสงขลานคร�นทร กล าวถึง ความพร อมของโรงพยาบาลสงขลานคร�นทร ในการรับมือการระบาดของ โคโรนาไวรัสสายพันธุใ หม วา โรงพยาบาลมีระบบการเฝ าระวังผูป ว ยตั�งแต ครั�งการระบาดของโรคซาร ส และ MERS-CoV ซ�่งเป นไวรัสชนิดเดียวกัน ดังนั้ น เราจะใช ร ะบบการเฝ า ระวั ง การคั ด กรองผู ป ว ย การรั ก ษา แบบเดี ย วกั น และคณะผู ทํ า การรั ก ษาชุ ด เดี ย วกั น ในการรองรั บ สถานการณ ดังกล าวโรงพยาบาลสงขลานคร�นทร มีหน วยการคัดกรอง ผู ป่วยโดยหากมีผู ป วยที่เข าข ายเป นผู น าสงสัยซึ่งมาจากเมืองอู ฮั่น รองศาสตราจารย นายแพทย ศรัญู ชูศร� และมีอาการระบบทางเดินหายใจทีร่ นุ แรงจะถูกส งไปคัดกรอง มีระบบ ผู ช วยคณบดีฝ ายโรงพยาบาลสงขลานคร�นทร ส งสิ่งส งตรวจจากโรงพยาบาลไปส วนกลาง และในอีกไม นานนี้ โรงพยาบาล คณะแพทยศาสตร มหาว�ทยาลัยสงขลานคร�นทร สงขลานคร�นทร ก็จะสามารถตรวจได เองโดยไม ต องส งไปส วนกลาง ทางโรงพยาบาลมีระบบการประสานงานทีด่ กี บั โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในจังหวัดสงขลา คือโรงพยาบาล สงขลาและโรงพยาบาลหาดใหญ รวมทั�งเคร�อข ายโรงพยาบาลเอกชน โดยใช เกณฑ เดียวกันในการส งต อผูป ว ย การคัดกรอง ผู ป วย มีคณะแพทย พยาบาล เจ าหน าทีใ่ นห องปฏิบตั กิ ารทีไ่ ด รบั การฝ กให สามารถดูแลผูป ว ยกลุม นีไ้ ด นอกจากนั�นยังมี “ห องความดันลบ” ซ�่งสามารถป องกันการแพร กระจายของเช�้อในกรณีที่มีผู ป วยเข ามา ถึง 13 ห อง ซ�่งโดยปกติจะใช ในการรับผูป ว ยกลุม วัณโรค ไข หวัดใหญ และในจํานวนนั�นมี 8 ห องทีเ่ ตร�ยมสําหรับผูป ว ยอาการว�กฤติ ทีส่ ามารถใส ทอ ช วยหายใจ เคร�่องพยุงช�ว�ต การติดตามสัญญาณช�พอย างใกล ชด� ซ�่งนับว าพร อมเต็มทีใ่ นการดูแลผูป ว ยจากเช�้อโคโรน าไวรัส


News แม ในขณะนี้ (28 มกราคม 2563) ในจังหวัดสงขลายังไม มผี ป ู ว ยโรคดังกล าว และประเทศจ�นได ยกเลิกการเดิน ทางออกนอกประเทศแล ว แต อาจจะมีผป ู ว ยจากประเทศอืน่ ทีเ่ คยเดินทางไปเมืองอูฮ น่ั และประเทศอืน่ ๆ ทีม่ ผี ป ู ว ยในช วง ระยะเวลา 14 วัน ซ�่งอยู ในระยะเฝ าระวัง โดยเฉพาะการเดินทางไปในช วงเวลาเทศกาลตรุษจ�นอาจจะต องระมัดระวัง เป นพิเศษ และมหาว�ทยาลัยสงขลานคร�นทร และกระทรวงการอุดมศึกษา ว�ทยาศาสตร ว�จยั และนวัตกรรม ก็มคี าํ แนะนํา ในการปฏิบตั ติ วั ของนักศึกษาต างชาติ หร�อนักศึกษาต างชาติทกี่ ลับบ านช วงตรุษจ�น หร�อนักศึกษาไทยทีเ่ ดินทางไปประเทศจ�น และกําลังจะกลับเข าประเทศ “เราต องมีการตื่นตัวแต ไม ควรตื่นตระหนกจนเกินไป บร�โภคข าวสารอย างมีสติ ควรใช ข าวสารของหน วยงาน ทางการหร�อทีเ่ ช�่อถือได ในการส งต อ การปฏิบตั ติ วั กินร อน ช อนกลาง ล างมือ การใส หน ากากเมือ่ เข าทีช่ มุ ชน การไม เดินทาง เข าไปในทีท่ มี่ ีการระบาด การช วยกันสังเกตอาการทั�งตนเองและผู อื่น จะช วยป องกันและควบคุมการระบาดของโรคได โดยทุกโรงพยาบาลจะพร อมในการเฝ าระวังและการดูแลผู ป วย” ผู ช วยคณบดีฝ ายโรงพยาบาลฯ คณะแพทยศาสตร มหาว�ทยาลัยสงขลานคร�นทร กล าว


News

วิทยาศาสตร์

กับไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019

ผศ.ดร.ว�ภาวดี เสียงลํ�า อาจารย ประจําภาคว�ชาจุลช�วว�ทยา คณะวิ ท ยาศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร ได พู ด ถึ ง ไวรั สโคโรน าสายพันธุ ใหม 2019 ซึ่งมีข าวมาเป นระยะหนึ่งแล วว า มีความคล ายคลึงกับโคโรน าไวรัส โดยปกติ รวมทั�งมีความคล ายคลึง กับโคโรนาไวรัสที่ก อโรคที่รุนแรงและมีการระบาดที่ผ านมา 2 ครั้ง ผศ.ดร.ว�ภาวดี เสียงลํ้า การรายงานป 2003 คือโรคซาร สและโรคเมอร ส ซึ่งโรคซาร ส คือ อาจารย ประจําภาคว�ชาจุลช�วว�ทยา กลุ มอาการระบบทางเดินหายใจเฉียบพลัน รุนแรง สําหรับเมอร ส คือ คณะว�ทยาศาสตร กลุม อาการระบบทางเดินหายใจตะวันออกกลาง ทีม่ าของโรคนีม้ คี วาม เกีย่ วข องกับตลาดสดทีจ่ าํ หน ายปลาและสัตว มชี �ว�ต ในเมืองอูฮ นั่ ประเทศจ�น ซ�่งมีความเป นไปได เช�้ออาจสามารถก อโรค ในสัตว หลายๆ ชนิด ไม ว าจะเป นค างคาว หร�อแม แต สัตว เลี้ยงลูกด วยนม เช น สุนัข หมู โรคนี้ถือว าเป นโรคอุบัติใหม คนไม มภี มู คิ ม ุ กัน หมายถึงประชากรทัว่ โลก ไม มภี มู คิ ม ุ กันต อโรคนี้ เรายังไม มวี คั ซ�น ดังนั�นนักว�ทยาศาสตร โดยเฉพาะ นักจุลช�วว�ทยามีส วนร วมเกี่ยวกับประเด็นนี้ในหลายๆ จุดตัง� แต การจําแนก ว�นิจฉัยเช�อ้ ในเบื้องต น เพื่อให ทราบว า เช�้อตัวนีเ้ ป นสายพันธุท เี่ คยปรากฏมาก อนไหม หร�อเป นโรคติดเช�้ออุบตั ใิ หม หร�อโรคติดเช�้ออุบตั ซิ ํ�า การจําแนกสายพันธุ เป นหน าที่ของนักจุลช�วว�ทยา ในประเด็นต อมาสําหรับการป องกันรักษา เราก็สามารถมีส วนในการเก็บข อมูลและแชร ข อมูลให กบั นักว�จยั ทัว่ โลกเพือ่ ศึกษาเกีย่ วกับระบาดว�ทยาเพือ่ ให ทราบแนวทางเกีย่ วกับแหล งกําเนิดโรค พืน้ ทีก่ ารกําเนิดโรค การป องกันรักษา เช�้อตัวนีเ้ ป นเช�้ออุบตั ใิ หม เรายังมีบทบาทในการหาวัคซ�น ในการป องกันโรคและหายาทีม่ ปี ระสิทธ�ภาพ ในการป องกันรักษาโรคอีกด วย รวมทั�งงงานว�จยั นักว�ทยาศาสตร มีบทบาทในการพัฒนา ไม วา จะเป นสารในการต านเช�้อ ในการป องกันโรค การสร างองค ความรูใ ห แก ประชาชนทัว่ ไป คาดว าเช�้อตัวนีป้ น โรคติดเช�้อมาจากสัตว สค ู น แต ณ ป จจุบนั พบว ามีการแพร กระจายของเช�อ้ ไปยังผูอ นื่ ทีไ่ ม ได สมั ผัสกับสัตว โดยตรงได ดว ย ดังนั�นจ�งเป นแนวทางหนึง่ ทีพ่ อจะตัดสินได วา เช�้อสามารถแพร กระจายจากคนสูค น ดังนั�นเราควรมีการป องกัน ไม วา จะเป นการทีผ่ ป ู ว ยป องกันตนเองด วยการใส หน ากาก อนามัย ล างมือ ป ดปาก ป ดจมูก ขณะไอ จาม สําหรับผู ท่ีเป นบุคคลทั่วไปที่มีสุขภาพแข็งแรงก็ควรที่จะหมั่นล างมือ รักษาสุขภาพ ตรวจสอบตัวเองถ าเกิดมีความผิดปกติในระบบทางเดินหายใจ ซ�ง่ อาการของผูต ดิ เช�้อไวรัสโคโรน าสายพันธุ ใหม 2019 จะคล ายๆ กับซาร สและเมอร ส ซ�่งจะมีอาการไข ไอ ปวดหัว หายใจลําบาก หายใจถี่ มีอุณหภูมิร างกายสูง ถ าหากมีอาการดังกล าว ควรทีจ่ ะเฝ าระวังหร�อไปพบแพทย เพือ่ ทํากาว�นจิ ฉัยว าเราติดเช�้อนีห้ ร�อไม อยากฝากว าผูร บั ข าว สารทุกท านอย าตืน่ ตระหนก ควรจะรับข าวสารโดยการใช ว�จารณญาณและเลือกแหล งข อมูลในการอ านและการรับข อมูล ทีถ่ กู ต องและน าเช�่อถือ มีการปฏิบตั ติ นให ถกู ต องตามข อแนะนําของกรมควบคุมโรค WHO หร�อ CDC โดยเคร งครัด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.