ข่าวเด่น
3 สถาบันแพทย์ วิ่ง ปั่น ปันน�้ำใจ เพื่อผู้ป่วยยากไร้ 3gether Run & Ride for Life
ณ ศาลาว่าการ กทม. (ลานคนเมือง) เช้าตรู่วันเสาร์ ที่ 22 ก.ค. 2560 มี ตั ว แทนจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ร่ ว มกั บ ศิ ล ปิ น ดาราดั ง กว่ า 80 ชีวิต ตบเท้าร่วมโครงการ 3 สถาบัน วิ่ง-ปั่น ปันน�้ำใจ นักวิ่ง และประชาชนมาร่วมวิ่ง รับบริจาค จ�ำหน่ายเสื้อ มีผู้เข้าร่วมนับพันคน ส�ำหรับโครงการนี้คณะแพทยศาสตร์ส่วนภูมิภาค ทั้ง 3 สถาบัน ได้แก่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่น ร่วมกันจัดโครงการ “3 สถาบันแพทย์ภูมิภาค รวมใจไทยวิ่ ง ปั ่ น ปั น น�้ ำ ใจ เพื่ อ ผู ้ ป ่ ว ยในภู มิ ภ าค” ระหว่ า งวั น ที่ 22 - 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 เพื่อ รณรงค์ให้เห็นความส�ำคัญของการออกก�ำลังกายเพื่อ สร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพให้ แ ข็ ง แรง ได้ ร ่ ว มกั น ท� ำ ความดี โดยการรณรงค์รับบริจาคเงินตลอดเส้นทางการวิ่ง ปั่น น�ำรายได้ทั้งหมดไปใช้ส�ำหรับผู้ป่วย ทั้งในด้านการรักษา พยาบาล การจัดซื้อเครื่องมือแพทย์ รวมทั้งการสร้าง
อาคารส�ำหรับผู้ป่วยยากไร้ ตามวัตถุประสงค์เฉพาะของแต่ละสถาบัน ได้รับความร่วมมือจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.) และ บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จ�ำกัด (มหาชน) อีกด้วย เส้นทางการวิ่งจะเริ่มออกตัวจากกรุงเทพฯ และแบ่งเส้นวิ่ง-ปั่น ไป 3 สาย เหนือ อีสาน ใต้ รวม 7 วัน 2,700 กิโลเมตร สิ้นสุดการวิ่ง-ปั่น ที่ จ.สงขลา
ซึ่ ง ตลอดเวลา ๗ วั น ต้ อ งขอขอบคุ ณ ภาคเอกชน ภาคราชการ และประชาชนตลอดสองข้างทาง ที่ให้ความร่วมมือ และร่วมบริจาค เพื่อก่อสร้างอาคาร “เย็นศิระ ๓” เสร็จสิ้นโครงการ มี ย อดบริ จ าครวมทั้ ง สิ้ น ๕๑,๗๒๘,๑๒๒ บาท และยั ง คงเปิ ด รั บ บริ จ าคอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ผูู ้ ส นใจสามารถสอบถามข้ อ มู ล ได้ ที่ มูลนิธิสงขลานครินทร์ โทร. 074 - 451599 ขอบคุณภาพและข้อมูลจาก 3gether : Run & Ride for Life • 3 สถาบัน วิ่ง-ปั่น ปันน�้ำใจ
2 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
สารบัญ
ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
ความภาคภูมิใจ
ข่าวเด่น 2 3 สถาบันแพทย์ภูมิภาค รวมใจไทยวิ่ง ปั่น ปันน�้ำใจ เพื่อผู้ป่วย 15 17 21 22
ในภูมิภาค ม.อ. พระราชทานทูลเกล้าทูลกระหม่อม ถวายปริญญาแพทยศาสตร ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ แด่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ประจ�ำปีการศึกษา 2559 24 กันยายน วันประโยชน์เพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง ผลการประกวดภาพถ่าย PSU ONLY
ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม 4 ม.อ.จับมือศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 11 กรมส่งเสริม 5 6 7 8
อุตสาหกรรม ดึง 4 จังหวัดน�ำร่อง พัฒนานวัตกรรมยางพารา คณะวิทยาศาสตร์ ลงพื้นที่ อบต.ควนรู น�ำองค์ความรู้ทางวิชาการ พัฒนาสังคม ม.อ. ภูเก็ตมุ่งวิจัยด้านท่องเที่ยว-สิ่งแวดล้อม สร้างความยั่งยืน ให้พื้นที่ฝั่งอันดามัน ผลงานวิจัย Fish X-Change ม.อ.ภูเก็ต เป็นผลงานน่าลงทุนที่สุด ในงาน Thailand Tech Show 2017 ม.อ. น�ำผลงานวิจัยเข้าร่วมจัดนิทรรศการ งาน “25 ปี สกว. สร้างคน สร้างความรู้ สร้างอนาคต”
การศึกษา 9 นศ. ม.อ. สอบผ่านเกณฑ์และขึ้นบัญชีสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ ได้สูงสุด
10 เปิดวิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ ม.อ. วิทยาเขตภูเก็ต รองรับ Smart City
ความร่วมมือสู่การพัฒนา 11 ม.อ.ร่วมกับ สปสช. และสวทช. ลงนามพัฒนาฐานข้อมูลยกระดับ 12 13 14 14
งานวิจัยสุขภาพและคุณภาพชีวิตประชาชน คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ 21 ภาคีเครือข่ายองค์กร พิทักษ์รักษ์หาดภูเก็ต ม.อ. จับมือ บ.ศรีตรังแอโกรฯ วิจัยนวัตกรรมยางพารา สัตวแพทย์ ม.อ.จับมือกรมปศุสัตว์ ร่วมเป็นแหล่งความรู้ ในการจัดการสุขภาพสัตว์เลี้ยง ม.อ. ร่วมพัฒนายางครบวงจรกับกรมส่งเสริมสหกรณ์ และนิคมอุตสาหกรรมภาคใต้
23 หน่วยงาน ม.อ. เข้ารับโล่และใบรับรองระบบการจัดการด้านความปลอดภัย ของห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี
Activity 24 พลเอกอุดมเดช เปิดงานฮาลาลนานาชาติ หนุนไทยติดอันดับ 1 ใน 5 ของโลก 25 ม.อ. จัดสัมมนาอิสลามศึกษานานาชาติ ดึงผู้เข้าร่วมจาก 37 ประเทศทั่วโลก 26 นายชวน หลีกภัย เปิดงานวันเกษตรภาคใต้ ครั้งที่ 25 “เกษตรยุคใหม่ ตามรอยพ่อ”
26 ม.อ. วิชาการ ปี 60 โชว์ผลงานฉลอง 50 ปีแห่งการสถาปนามหาวิทยาลัย 28 ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำนายกรัฐมนตรี เปิดงาน ม.อ.วิชาการ ที่ ม.อ.ปัตตานี 28 คณะวิทยาศาสตร์ ต้อนรับสภาคณบดีคณะวิทย์ฯ ในการประชุมใหญ่ ครั้งที่ 4 ปี 2560 29 ดร.สุรินทร์เชื่อ พ.อ.ถนัด คอมันตร์ ตั้ง ม.อ. เพื่อเชื่อมโยงวิชาการกับ อาเซียนตอนล่าง 29 บว. จัดสัมมนาการจัดการศึกษาต่อเนื่องระดับปริญญาโทและเอก ระบบโมดูล
เพื่อประโยชน์เพื่อนมนุษย์ 30 30 31 31 34
คณะทรัพยากรธรรมชาติ ม.อ.ส่งมอบแพะพระราชทาน ม.อ.และ อบจ.สงขลา ร่วมเปิดศูนย์เรียนรู้การผลิตผักไฮโดรโพนิกส์ ม.อ.ติดตั้งเครื่องช่วยชีวิตพร้อมอบรมวิธีช่วยชีวิตเบื้องต้น CPR ม.อ.มอบเงินผ่าน มข. เพื่อเยียวยาผู้ประสบอุทกภัยภาคอีสาน ศูนย์วิจัยภัยพิบัติฯ ม.อ. เตรียมแผนระยะสั้น-ระยะยาว รับมือน�้ำท่วมใต้
แนะน�ำหลักสูตร...32-33 กิจกรรมที่น่าสนใจ 35 Chemistry Toward a Sustainable Future 2018
สารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็ น สื่ อ กลางประชาสั ม พั น ธ์ ภารกิ จ ของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ กั บ หน่ ว ยงานภายในและภายนอกมหาวิ ท ยาลั ย โดยมุ่ ง เน้ น หน่ ว ยงานภาครั ฐ และเอกชน สื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจที่ จ ะท� ำ ให้ กลุ ่ ม เป้ า หมายดั ง กล่ า วรู ้ จั ก มหาวิ ท ยาลั ย มากยิ่ ง ขึ้ น และจะ เป็นจดหมายเหตุหรือบันทึกความทรงจ�ำภารกิจของสถาบัน
3 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม
ม.อ.จับมือศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 11 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
เมื่อวันที่ 12 ก.ค. 60 เวลา 13.30 น. ที่ห้องสราญรมย์ เอ ชั้น 2 – เฟส 2 โรงแรมนิว ซีซั่น สแควร์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา นายสุรชัย กลางพระเนตร ผู้อ�ำนวยการศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ภาคที่ 11 เป็ น ประธานในพิ ธี ป ิ ด โครงการ “การเพิ่ ม มู ล ค่ า ยาง และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย าง ปี 2560” โดยมี ผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งเข้ า ร่ ว มงานโดย พร้อมเพรียงกันรองศาสตราจารย์ อาซีซัน แกสมาน ผู้อ�ำนวยการ สถาบันวิจัยและพัฒนานวัตกรรมยางพารา ม.อ. กล่าวว่า ประเทศไทย ผลิ ต ยางพาราได้ เ ป็ น อั น ดั บ 1 ของโลก แต่ เ ราใช้ ก ารแปรรู ป เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างเพี ย งแค่ ร ้ อ ยละ 12 เท่ า นั้ น ที่ เ หลื อ เป็ น วั ต ถุ ดิ บ ซึ่ ง มี มู ล ค่ า ไม่ สู ง มาก ส� ำ หรั บ โครงการ “การเพิ่ ม มู ล ค่ า ยางและ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย าง ประจ� ำ ปี 2560” มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ใ น ฐานะสถาบันการศึกษาในพื้นที่ที่มีอาจารย์นักวิชาการผู้เชี่ยวชาญ ด้ า นยางพาราอยู ่ ม าก ถื อ เป็ น แหล่ ง ข้ อ มู ล แหล่ ง รวบรวมความรู ้ ประกอบกั บ ศู น ย์ ส ่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมภาคที่ 11 มาสนั บ สนุ น อี ก ทาง ท�ำให้การท�ำงานยิ่งแข็งแกร่งขึ้น และในเฟสแรกนี้ จะใช้สถาน ประกอบการ ทั้ ง วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม และกลุ ่ ม วิสาหกิจชุมชนใน 4 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดสตูล จังหวัดสงขลา จังหวัดพัทลุง และจังหวัดตรัง เป็นพื้นที่น�ำร่อง ซึ่งในโอกาสต่อไป จะใช้โมเดลนี้ขยายผลไปยังพื้นที่อื่นๆ ในประเทศไทย นายประสาทสุ ข นิ ย มราษฎร์ ผู ้ อ� ำ นวยการส่ ว นบริ ก าร ธุรกิจอุตสาหกรรม กล่าวว่า ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ด� ำ เนิ น โครงการเพิ่ ม มู ล ค่ า ยางและผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างปี ง บประมาณ 2560 มีสถานประกอบการ SME เข้าร่วม 5 กิจการ กลุ่มวิสาหกิจ ชุ ม ชน สหกรณ์ ย างพารา 5 กลุ ่ ม ผู ้ รั บ บริ ก ารได้ รั บ การพั ฒ นา ตามเกณฑ์ ที่ ก� ำ หนด โดยกลุ ่ ม SME และกลุ ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ได้ น� ำ เสนอผลการด� ำ เนิ น งาน โครงการเพิ่ ม มู ล ค่ า ยางและ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย าง เมื่ อ วั น ที่ 12 กรกฎาคม 2560 ณ โรงแรมนิ ว ซี ซั น
4 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
นายสุ ร ชั ย กลางพระเตร ผู ้ อ� ำ นวยการศู น ย์ ส ่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม ภาคที่ 11 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กล่าวว่าจากความร่วมมือกับ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดย สถาบันวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ยางพารา ได้ด�ำเนินการโครงการ “การเพิ่มมูลค่ายางและผลิตภัณฑ์ ยาง ประจ� ำ ปี 2560” เพื่ อ ต้ อ งการพั ฒ นาศั ก ยภาพการผลิ ต ของ วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม และกลุ ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนใน อุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ ซึ่งได้เริ่มด�ำเนินการมาตั้งแต่ปลาย ปี 2559 จนปัจจุบัน ผลการด�ำเนินงานก็เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ได้ ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ คือ รองเท้าแตะเพื่อสุขภาพจากยางพารา ผลิต โดยบริษัท รับเบอร์อินโนเทค จ�ำกัด นอกจากนั้นในโครงการได้ให้ ค�ำปรึกษาแก่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และกลุ่มวิสาหกิจ ชุ ม ชนในอุ ต สาหกรรมยางและผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย าง ทางด้ า นการเพิ่ ม ศักยภาพในการลดต้นทุนการผลิต ลดของเสีย รวมถึงการเพิ่มยอดขาย ทั้ ง นี้ จากปั ญ หาความผั น ผวนของราคายางพาราท� ำ ให้ ทุ ก ภาคส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ทั้ ง ภาครั ฐ เอกชน นั ก วิ ช าการในสถาบั น การศึกษาต่างๆ ต้องหันหน้าเข้าหากันเพื่อกู้วิกฤตในครั้งนี้ การยื่นมือ เข้าช่วยของ 2 หน่วยงาน (ม.อ. - กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม) เพื่อแก้ วิ ก ฤตราคายางพาราที่ ต กต�่ ำที่ เ กษตรกรชาวสวนยางที่ มี ม าตั้ ง แต่ ช่ ว งปลายปี 2554 จนถึ ง ปั จ จุ บั น ซึ่ ง สิ่ ง หนึ่ ง ที่ น ่ า จะเป็ น ทางออก พอที่ จ ะช่ ว ยพี่ น ้ อ งเกษตรกรชาวสวนยางรวมไปถึ ง ผู ้ ป ระกอบการ ด้านยางพาราได้นั้น คือ การแปรรูป จากที่เคยขายเป็นยางแผ่นดิบ น�ำมาแปรรูปให้เป็นผลิตภัณฑ์ยางพารา ซึ่งมูลค่าที่ได้จะเพิ่มมากขึ้น รวมถึ ง การให้ ค� ำ ปรึ ก ษาแก่ วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม และกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยาง ซึ่ง สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ ที่ เ ราจะต้ อ งคิ ด ต่ อ คื อ จะกระตุ ้ น อย่ า งไรให้ เ กิ ด การซื้อ เกิดการใช้ผลิตภัณฑ์จากยางพารา การปลุกกระแสให้คน ไทยหั น มาใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากยางพารา ซึ่ ง จะท� ำ ให้ ร ายได้ จ ากการ แปรรู ป ตกถึ ง มื อ เกษตรกรโดยตรง อี ก ทั้ ง ยั ง ส่ ง ผลดี ใ นด้ า นสั ง คม การเมือง และเศรษฐกิจ เช่น เพิ่มการจ้างงาน ลดปัญหาการเรียกร้อง ด้ า นราคา ส่ ง ผลให้ เ ศรษฐกิ จ ในส่ ว นภู มิ ภ าคที่ ผ ลิ ต ยางเติ บ โตขึ้ น ส� ำ หรั บ กิ จ กรรมภายในงานในครั้ ง นี้ ได้ มี ก ารเน้ น การน� ำ เสนอผล การด� ำ เนิ น งาน เรื่ อ ง “การเพิ่ ม ผลผลิ ต ภาพและพั ฒ นาศั ก ยภาพ สถานประกอบการ” และ “การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ้ น แบบอี ก ด้ ว ย
ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม
คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. น�ำทีมนักวิจัยลงพื้นที่ อบต.ควนรู เพื่อน�ำองค์ความรู้ทางวิชาการของคณะวิทยาศาสตร์ พัฒนาสังคม
เมื่ อ วั น จั น ทร์ ที่ 7 และ 31 สิ ง หาคม 2560 ที่ ผ ่ า นมา ทีมวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ น�ำโดย ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริการวิชาการฯ ผศ.ดร.เยาวภา สุขพรมา ได้ น� ำ ที มลงส� ำ รวจพื้นที่ อบต.ควนรู อ.รัต ภูมิ จ.สงขลา เพื่ อ หาแนวทางน�ำองค์ความรู้ทางวิชาการของคณะวิทยาศาสตร์ ไปให้ บ ริ ก ารแก่ ชุ ม ชนต่ อ ไป โดยในครั้ ง นี้ ได้ รั บ เกี ย รติ จ าก ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.วรากร ลิ่ ม บุ ต ร นั ก วิ จั ย จาก ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ น�ำงานวิจัยชุดทดสองสังกะสี ภาคสนาม ลงพื้นที่เพื่อเพิ่มศักยภาพข้าว โดยได้รับความสนใจ จากชาวบ้ า นเป็ น จ� ำ นวนมาก ส� ำ หรั บ การลงพื้ น ที่ ใ ห้ ค วามรู ้
ในรูปแบบของการบริการวิชาการในครั้งนี้ คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. ตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของการเพิ่ ม ความรู ้ เ พื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพเเละขี ด ความสามารถให้ กั บ ชาวบ้ า น เพื่ อ ต่ อ ยอด กิจกรรมของชุมชนให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะมีการลงพื้น ที่แบบนี้ตลอดทั้งปี ตามนโยบายของคณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.
5 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม
ม.อ.ภูเก็ต มุ่งวิจัยด้านท่องเที่ยว-สิ่งแวดล้อม รองศาสตราจารย์ ดร.วรวุ ธ วิ สุ ท ธิ์ เ มธางกู ร รองอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขต ภู เ ก็ ต มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ ก ล่ า วถึ ง การท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น สถาบั น ด้ า นวิ ช าการที่ เ อื้ อ กั บ พื้ น ที่ ช ายฝั ่ ง ด้ า น อันดามันของวิทยาเขตภูเก็ต ในการน�ำเสนอ “ทิ ศ ทางและงานวิ จั ย ของวิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต ที่ มี Impact ต่ อ จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต และฝั ่ ง อั น ดามั น ” ต่ อ สภา มหาวิทยาลัยเมื่อ 19 สิงหาคม 2560 ว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ถือได้ว่า เป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ ด้านการบริการและการท่องเที่ยว ของเอเชีย มีความโดดเด่นด้านภาษาและวัฒนธรรมของไทย และอาเซียน มีคณะวิชาที่สนองต่อการพัฒนาชุมชน จังหวัด พื้ น ที่ เช่ น ด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ เพื่ อ รองรั บ การเป็ น Smart City และการเป็นเมืองนานาชาติ การจัดการสิ่งแวดล้อม และภั ย พิ บั ติ ท างธรรมชาติ และเสริ ม สร้ า งชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง และยั่งยืน มีการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ สามารถเข้าสู่ตลาด แรงงานระดับสากลได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิทยาเขตภูเก็ตยังมีงานวิจัยหลายชิ้นที่เน้นแก้ปัญหา ของพื้นที่ มีการน�ำไปสู่ภาคปฏิบัติ และต่อยอดไปสู่นวัตกรรม เช่ น การบริ ห ารจั ด การน�้ ำ จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต ชุ ด ตรวจเมทแอมเฟ ตามี น ในอาหารราคาประหยั ด การประมงเพื่ อ การพั ฒ นา อย่ า งยั่ ง ยื น ระบบบู ร ณาการฐานข้ อ มู ล ด้ า นกฎหมายและ นโยบายการใช้ประโยชน์ที่ดินภาครัฐข้ามหน่วยงาน โครงการ พัฒนาเครือข่ายเส้นทางการท่องเที่ยวอัจฉริยะจังหวัดภาคใต้
6 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
ฝั ่ ง อั น ดามั น การวิ จั ย เพื่ อ บริ ห ารจั ด การหาดจั ง หวั ด ภู เ ก็ ต แปลงเพศปลาเศรษฐกิจโดยวิธีทางไฟฟ้า พัฒนาต�ำบลราไวย์ เป็นต้นแบบหมู่บ้านท่องเที่ยวชุมชน การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ สปาและการส่งเสริมสุขภาพในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต การศึกษา การจัดท�ำถนนคนเดินของชุมชนราไวย์ โครงการวิจัยชาวจีน โพ้นทะเลในจังหวัดภูเก็ต และการใช้มือถือเพื่อพัฒนาทักษะ ภาษาอังกฤษ เป็นต้น ทั้ ง นี้ ผลงานวิ จั ยดั ง กล่ า วได้ มีการน� ำ ไปเผยแพร่เ พื่อ การใช้ ป ระโยชน์ โดยค� ำ นึ ง ถึ ง ทั้ ง ด้ า นปริ ม าณและคุ ณ ภาพ เช่ น การเพิ่ มจ� ำ นวนนั กท่ องเที่ ยว การสร้ า งความประทับใจ ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว นอกจากนั้ น มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ยังได้เข้าไปร่วมคิด ร่วมแก้ปัญหากับหน่วย งานภาครัฐและภาคเอกชนในจังหวัดภูเก็ต อย่างใกล้ชิด และ เข้ า มี ส ่ ว นร่ ว มในการก� ำ หนดและให้ ข ้ อ คิ ด เห็ น ในการจั ด ท� ำ แผนยุ ท ธศาสตร์ จั ง หวั ด กลุ ่ ม อั น ดามั น มี ก ารเสนอโครงการ ที่ สอดคล้ องกั บแผนยุ ทธศาสตร์ ข องจั ง หวั ดภู เ ก็ ต ที่ เ น้น การ ไปสู ่ จั ง หวั ด 4M 2S คื อ การเป น ศู น ย ก ลางของ Maritime Hub Medical Hub Manpower Development และ Mice City และ การเป น เมื อ ง Smart City และ Sport Tourism
ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม
กระทรวงวิทยาศาสตร์-สวทช. ยกให้ “อุปกรณ์แปลงเพศปลานิลด้วยวิธี ไฟฟ้า (Fish X-Change)” ม.อ.ภูเก็ต ผลงานวิจัยที่น่าลงทุนที่สุด ในงาน Thailand Tech Show 2017
22 กันยายน 2560 ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา : กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ (สวทช.) จั ด กิ จ กรรมน� ำ เสนอพร้ อ มประกาศ รางวัลผลงานวิจัยที่น่าลงทุนประจ�ำปี 2560 หรือ “นาสด้า อินเวสเตอร์เดย์ (NSTDA Investors’ Day 2017)” ภายใต้งาน Thailand Tech Show 2017 ที่ สวทช. จั ด ขึ้ น ภายใต้ แ นวคิ ด “อิ น โนฟิ ว ชั่ น : เสริ ม พลั ง ธุ ร กิ จ ด้ ว ยวิ ท ย์ และนวั ต กรรม (INNO-FUSION : Power Up Business with STI) เพื่ อ ถ่ายทอดองค์ความรู้และต่อยอดนวัตกรรมให้กับนักลงทุนเป้าหมายและ ผู้ประกอบการไทย ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) พัฒนา กระบวนการผลิตให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน โดยปีนี้ เป็นส่วนหนึ่งของงาน Thai Tech Expo 2017 ที่กระทรวงวิทย์ฯ จัดขึ้นระหว่าง วันที่ 20 - 24 กันยายน 2560 ที่ไบเทค บางนา ส�ำหรับกิจกรรม NSTDA Investors’ Day เพื่อน�ำเสนอผลงานวิจัย ที่น่าลงทุนที่สุด (The most interesting Technology for Investment) และ ผลงานวิจัยที่น�ำเสนอดีที่สุดประจ�ำปี 2560 จากจ�ำนวน 14 ผลงานวิจัยที่ น�ำเสนอทั้งจากผลงานของ สวทช. และหน่วยงานเครือข่ายพันธมิตร ปรากฎว่า ผลงานวิจัยที่น่าลงทุนที่สุด ได้แก่ อุปกรณ์แปลงเพศปลานิลด้วยวิธีไฟฟ้า (Fish X-Change) โดย รศ.ดร.ศักย์ชิน บุญถวิล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต และ สวทช. ได้รับโล่รางวัล ส�ำหรับเทคโนโลยีของอุปกรณ์
แปลงเพศปลานิลด้วยวิธีไฟฟ้า เป็นเทคโนโลยี สะอาด ชุ ด อุ ป กรณ์ ใ ช้ ง านง่ า ยและปลอดภั ย ต่อผู้ใช้งาน ช่วยในการลดระยะเวลาแปลงเพศ ปลานิ ล ให้ น ้ อ ยลงจากวิ ธี ดั้ ง เดิ ม 21-28 วั น เหลื อ เพี ย ง 5-15 นาที / ชุ ด ลดปริ ม าณการใช้ สารเคมี ที่ใช้ในกระบวนการแปลงเพศปลานิล น้ อ ยลง 3,600 เท่ า และลดโอกาสปนเปื ้ อ น สารเคมีสู่สิ่งแวดล้อม สารละลายฮอร์โมนที่ใช้ ในกระบวนการสามารถน�ำกลับมาใช้ซ�้ำใหม่ได้ เหมาะส�ำหรับผู้ใช้งานที่เป็นกลุ่มธุรกิจเพาะเลี้ยง ปลานิล และที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเปลี่ยน เพศไข่สัตว์น�้ำเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์ ผู ้ ส น ใ จ ข อ รั บ ข ้ อ มู ล เ พิ่ ม เ ติ ม ไ ด ้ ที่ รองศาสตราจารย์ ดร.ศั ก ย์ ชิ น บุ ญ ถวิ ล คณะเทคโนโลยี แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต โทรศัพท์ 076 276154 Email: sakshin.b@phuket.psu.ac.th
7 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม
ม.อ.น�ำผลงานวิจัยเข้าร่วมจัดนิทรรศการ
งาน “25 ปี สกว. : สร้างคน สร้างความรู้ สร้างอนาคต”
เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2560 ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้ จั ด งาน “25 ปี สกว.: สร้ า งคน สร้ า งความรู ้ สร้ า งอนาคต” ณ รอยั ล พารากอน ฮอลล์ 2 ศู น ย์ ก ารค้ า สยามพารากอน โดยในงาน ดั ง กล่ า วมี นั ก วิ จั ย มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์น�ำผลงานวิ จั ยเข้ า ร่ ว ม จัดนิทรรศการ ได้แก่ ผลงานวิจัยเรื่อง “ซีรัมเติมสิวไรโดเมโทนจากสาร สกัดจากใบกระทุ” โดย ศ.ดร ศุภยางค์ วรวุฒิคุณชัย คณะวิทยาศาสตร์ ผลงานวิจัยเรื่อง “ผลิตภัณฑ์จากสารสกัดใบชะม่วง” และผลงาน วิ จั ย เรื่ อ ง “ผลิ ภั ณ ฑ์ จ ากสารสกั ด มั ง คุ ด ” โดย รศ.ดร.ภก.ภาคภู มิ พาณิ ช ยู ป การนั น ท์ คณะเภสั ช ศาสตร์ เข้ า ร่ ว มจั ด แสดงภายในงาน ในงานเปิ ด พิ ธี โ ดยพลอากาศเอก ด ร . ป ร ะ จิ น จั่ น ต อ ง รองนายกรั ฐ มนตรี พร้ อ มเยี่ ย มชมผลงานของนั ก วิ จั ย โดยมี รศ.ดร.พีระพงศ์ ทีฆสกุล รองอธิการบดีฝ่ายระบบวิจัยและบัณฑิตศึกษา เข้าร่วมในพิธีเปิดและชมงานอีกด้วย
8 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
การศึกษา
สอบผ่านเกณฑ์และขึ้นบัญชี สอบแข่งขันเพื่อบรรจุ ได้สูงสุด
นักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สอบผ่านเกณฑ์ และขึ้ น บั ญ ชี ส อบแข่ ง ขั น เพื่ อ บรรจุ ได้ สู ง สุ ด ใน 10 อั น ดั บ สถาบั น การศึ ก ษาที่ มี นั ก ศึ ก ษาสอบผ่ า นเกณฑ์ แ ละขึ้ น บั ญ ชี ในการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุแต่งตั้งเป็นข้าราชการครูสังกัด สพฐ ปี 2560 ม.ล.ปริ ย ดา ดิ ศ กุ ล เลขานุ ก ารรั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เปิ ด เผยข้ อ มู ล จากการสอบแข่ ง ขั น เพื่ อ บรรจุ แ ละแต่ ง ตั้ ง บุ ค คลเข้ า รั บ ราชการเป็ น ข้ า ราชการครู แ ละ บุคลากรทางการศึกษา ต�ำแหน่งครูผู้ช่วย ปี พ.ศ.2560 สังกัด ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า 10 อันดับ สู ง สุ ด ของสถาบั น การศึ ก ษาที่ ผ ลิ ต ครู ที่ มี นั ก ศึ ก ษาสอบผ่ า น เกณฑ์ แ ละขึ้ น บั ญ ชี ใ นการสอบแข่ ง ขั น เพื่ อ บรรจุ แ ละแต่ ง ตั้ ง เป็ น ข้ า ราชการครู คื อ จบจากมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ มากที่สุด ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.เอกริ น ทร์ สั ง ข์ ท อง คณะ ศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ กล่ า วว่ า คณะมี ยุทธศาสตร์ในการพัฒนา ห ลั ก สู ต ร ใ ห ้ มี ค ว า ม ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ เ ก ณ ฑ ์ มาตรฐานของส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษาและคุ รุ ส ภา ด้ ว ยการพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รทั้ ง ระบบ และตรงกั บ ความ ต้องการของสังคม หลักสูตรของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์มีความโดดเด่นในการผลิตบัณฑิตครูทางด้าน วิ ท ยาศาสตร์ ที่ ดี ที่ สุ ด แห่ ง หนึ่ ง ของประเทศไทย คื อ หลั ก สู ต ร วิทยาศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร์)สาขาเคมี ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ ชี ว วิ ท ยา และวิ ท ยาศาสตร์ ทั่ ว ไป เนื่ อ งจากมี ก ารผลิ ต บั ณ ฑิ ต ร่ ว มกั บ คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี เป็ น หลั ก สู ต รเดี ย ว ในประเทศที่บัณฑิตที่จบคณะศึกษาศาสตร์ ได้รับวุฒิการศึกษา
วิทยาศาสตรบัณฑิต นอกจากนี้ในส่วนของสายการเรียนทางด้าน ศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต (ศึ ก ษาศาสตร์ ) คณะศึ ก ษาศาสตร์ ยั ง ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ ผลิ ต บั ณ ฑิ ต จากคณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละ สังคมศาสตร์รวมถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในรายวิชาชีพครู ให้กับนักศึกษาทุกสาขาวิชาได้เตรียมความพร้อมอย่างเข้มข้น ก่อนก้าวสู่โลกแห่งวิชาชีพครู นอกจากเนื้อหาสาระและประสบการณ์แห่งวิชาชีพครู ที่ นั ก ศึ ก ษาได้ รั บ จากชั้ น เรี ย นแล้ ว บั ณ ฑิ ต คณะศึ ก ษาศาสตร์ ยั ง มี กิ จ กรรมในกระบวนการพั ฒ นานั ก ศึ ก ษาของคณะ ศึ ก ษาศาสตร์ ที่ ห ล่ อ เลี้ ย งและเสริ ม สร้ า งให้ นั ก ศึ ก ษาเป็ น บั ณ ฑิ ต ที่ มี ค วามพยายามอย่ า งไม่ ย ่ อ ท้ อ พร้ อ มเรี ย นรู ้ อ ยู ่ เสมอ ตั้ ง แต่ รั บ เข้ า ในปี ที่ 1 จนส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาในปี ที่ 5 ให้มีความเป็นบัณฑิตวิชาชีพครูที่มีความสมบูรณ์พร้อมออกสู่ โลกแห่ ง โลกาภิ วั ต น์ แ ละสมกั บ การเป็ น บั ณ ฑิ ต ที่ มี ทั ก ษะ แห่งวิชาชีพครูในยุดศตวรรษที่ 21 ด้วยการด�ำเนินงานของคณะศึกษาศาสตร์ตามที่กล่าว มาข้ า งต้ น และด้ ว ยความร่ ว มมื อ ของคณาจารย์ บุ ค ลากร เจ้ า หน้ า ที่ ข องคณะศึ ก ษาศาสตร์ ทุ ก ท่ า นและหน่ ว ยงาน ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และชุมชน จึ ง ส่ ง ผลให้ นั ก ศึ ก ษาคณะศึ ก ษาศาสตร์ แ สดงศั ก ยภาพที่ มี อ ยู ่ ให้สังคมได้เห็นอย่างประจักษ์ชัดในเวลานี้ ติ ด ตามข้ อ มู ล การด� ำ เนิ น งานของคณะศึ ก ษาศาสตร์ ได้ที่ || http://edu.psu.ac.th/
9 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
การศึกษา
เปิดวิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ ม.อ. วิทยาเขตภูเก็ต
รองรับ Smart City
ในปั จ จุ บั น การเติ บ โตของธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรมและ บริการจ�ำเป็นต้องอาศัยทักษะ ความสามารถในการประยุกต์ ใช้ เ ทคโนโลยี ท างวิ ศ วกรรมและสารสนเทศเพื่ อ น� ำ ไปสู ่ ก าร สร้าง และบูรณาการองค์ความรู้ใหม่ๆ เช่น องค์ความรู้ด้าน วิศวกรรมดิจิทัลและปัญญาประดิษฐ์ การพัฒนาระบบอัตโนมัติ และระบบอิ น เทอร์ เ น็ ต ของสรรพสิ่ ง รวมถึ ง การสร้ า งสรรค์ นวัตกรรมดิจิทัลเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจสารสนเทศ และสร้าง โมเดลทางธุรกิจรูปแบบใหม่ ๆ เพื่อขับเคลื่อนสู่การเป็นเมือง อั จ ฉริ ยะของจั งหวัดภูเก็ต และเพื่อ การพัฒนาและประยุกต์ ใช้นวัตกรรมเพื่อเป็นเครื่องมือในการช่วยให้ประเทศไทยก้าว พ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง ตามนโยบาย Thailand 4.0 สภามหาวิ ทยาลัย สงขลานครินทร์ เมื่อ 19 สิ ง หาคม 2560 จึ ง เห็ น ชอบให้ มี ก ารจั ด ตั้ ง วิ ท ยาลั ย การคอมพิ ว เตอร์ (College of Computing) ที่ วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต เพื่ อ จั ด การ การเรียนการสอนและบริการวิชาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยรวมหน่ ว ยงานที่ มี ภ าระงานด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ 2 หน่ ว ยเข้ า ด้ ว ยกั น คื อ สาขาเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่ อ สาร คณะเทคโนโลยี แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม และภาควิ ช า วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิทยาเขตภูเก็ต โดยจะเปิดสอนในปี การศึกษา 2562 ในสาขาที่เกี่ยวข้องกับด้านวิศวกรรมดิจิตอล วิศวกรรมซอฟแวร์ และวิทยาการข้อมูล รวมไปถึงรับผิดชอบ การจั ด การเรี ย นการสอนรายวิ ช าที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ให้กับทุกหลักสูตร ทั้ ง นี้ ไ ด้ ตั้ ง เป้ า หมายเพื่ อ การผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ มี ค วามรู ้ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ ความสามารถและความเชี่ ย วชาญใน การพั ฒ นาองค์ ค วามรู ้ แ ละเทคโนโลยี ด ้ า นวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล และวิ ศ วกรรมดิ จิ ทั ล ผ่ า นกระบวนการค้ น คว้ า วิ จั ย มี ทั ก ษะ ในการประยุกต์องค์ความรู้และเทคโนโลยี สร้างประโยชน์กับ ภู มิ ภ าคและสร้ า งความมั่ น คงให้ กั บ ประเทศได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น
10 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
มี ทั ก ษะในการถ่ า ยทอดแนวความคิ ด และน� ำ เสนอผลงาน อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และมี ทั ก ษะ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีความรับผิดชอบและตระหนักรู้ หน้าที่ของตนและบริบทสังคม นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ ด้านการวิจัยโดยเน้นการพัฒนา เครือข่ายทางวิชาการกับองค์กรต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ มีการดึงดูดนักวิชาการที่มีคุณภาพในระดับนานาชาติให้มา ท� ำ วิ จั ย โดยบางส่ ว นจะเน้ น การพั ฒ นาต่ อ ยอดความรู ้ ด ้ า น คอมพิ ว เตอร์ แ ละสารสนเทศเพื่ อ รองรั บ โครงการภู เ ก็ ต Smart City การน�ำองค์ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการ พัฒนาวิชาการการวิจัย และเผยแพร่ความรู้ที่เป็นประโยชน์ ในชีวิตประจ�ำวันของประชาชน
ความร่วมมือสู่การพัฒนา
ยกระดับงานวิจัยสุขภาพและคุณภาพชีวิตประชาชน ในฐานะองค์กรวิชาการที่มีผลงานสู่สาธารณะมาร่วมครึ่ง ศตวรรษ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ก�ำหนดเป้าประสงค์ไว้ อย่างชัดเจน คือ “การสร้างคุณค่างานวิจัยให้เป็นแก่นความรู้เฉพาะ ทางที่ เ ป็ นเลิ ศ และพั ฒ นาให้ เ กิ ดรู ปธรรมของนวั ตกรรมส�ำหรับ ขั บ เคลื่ อ นอนาคต.... ” ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ แนวทางความร่ ว มมื อ ในครั้งนี้ และเชื่อมั่นว่านักวิชาการของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จะได้ใช้ก�ำลังความรู้อย่างเต็มศักยภาพเพื่อเสริมพลังความร่วมมือ ในครั้งนี้ โดยทางมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จะได้ร่วมกับอีก 2 องค์กรหลักเพื่อบรรลุภารกิจส�ำคัญดังนี้ 1. พัฒนาการก�ำหนดโจทย์วิจัยและแนวทางการวิเคราะห์ ข้อมูลที่ตอบโจทย์วิจัยตามความต้องการของระบบหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ 2. ศึ ก ษาโครงสร้ า งการท� ำ งานของระบบเทคโนโลยี สารสนเทศของ สปสช. แล้ ว จั ด ท� ำ เป็ น ข้ อ เสนอแนะเพื่ อ การ พัฒนาระบบดังกล่าวต่อไป 3. วิเคราะห์ข้อมูลตามโจทย์วิจัยและน�ำเสนอการรายงาน รองศาสตราจารย์ ดร. ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ผลวิ เ คราะห์ ซึ่ ง ต่ อ มาจะน� ำ ไปสู ่ ก ารพั ฒ นาศั ก ยภาพบุ ค ลากร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับ นพ.ศักดิ์ชัย กาญจนวัฒนา ในการวิ เ คราะห์ ท างสถิ ติ แ ละทางระบาดวิ ท ยาเพื่ อ ตอบโจทย์ เลขาธิการส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) และ การวิจัยจากฐานข้อมูลที่มีอยู่ของ สปสช. ดร.จุ ฬ ารั ต น์ ตั น ประเสริ ฐ รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพัฒนา แนวทางดังกล่าวนี้จะสอดรับกับบทบาทและภาระหน้าที่ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกันลงนามความ ของอีกสองหน่วยงานร่วม ซึ่งจะได้ใช้ความเชี่ยวชาญของตนเอง ร่วมมือการพัฒนาการใช้งานฐานข้อมูลขนาดใหญ่ รองรับการศึกษา เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลหลักประกันสุขภาพนี้ให้มีศักยภาพ วิจัยด้านระบบหลักประกันสุขภาพ ซึ่งเป็นการน�ำร่องการพัฒนา มากยิ่งขึ้น ส�ำหรับ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยสถาบันวิจัย ระบบการออกแบบฐานข้อมูลการบริการทางการแพทย์ และการ และพั ฒ นาสุ ข ภาพภาคใต้ (วพส.) และหน่ ว ยระบาดวิ ท ยา จัดเก็บข้อมูลส�ำหรับการสืบค้นเพื่อการน�ำไปการพัฒนาด้านระบบ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จะเป็นแกนกลาง หลั ก ประกั น สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ ใ ห้ ค รอบคลุ ม ถู ก ต้ อ ง ปลอดภั ย ประสานและขับเคลื่อนโครงการต่อไป เป็นระบบมากยิ่งขึ้น โดยร่วมมือกับผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูลหรือ DATA Scient ของ สวทช. พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อยกระดับเทคโนโลยีในการพัฒนาระบบ คลั ง สุ ข ภาพและสารสนเทศสุ ข ภาพของ สปสช. ซึ่ ง สามารถ บูรณาการกับฐานข้อมูลอื่นๆ ของประเทศในการพัฒนาศักยภาพ ของการวิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ประชาชน สอดคล้ อ งกั บ นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของรั ฐ บาล ณ ส� ำ นั ก งานหลั ก ประกั น สุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2560 รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า แนวคิดความร่วมมือการ พั ฒ นาการใช้ ง านฐานข้ อ มู ล ที่ มี ข นาดใหญ่ ข องส� ำ นั ก งานหลั ก ประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือ สปสช. ถือเป็นพัฒนาการอีกล�ำดับขั้น ที่จะช่วยเสริมสร้างสุขภาพของคนไทยให้มีคุณภาพชีวิตได้ดียิ่งขึ้น ภายใต้ ก ารศึ ก ษาและวิ เ คราะห์ จ ากข้ อ มู ล ที่ มี อ ยู ่ เ พื่ อ น� ำ มาใช้ วางแผนป้ อ งกั น และรั บ มื อ กั บ ภั ย ที่ จ ะมี ต ่ อ สุ ข ภาพประชาชน ชาวไทย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับ สปสช.และ สวทช. ลงนาม MOU น�ำร่องการใช้งานพัฒนาฐานข้อมูลสุขภาพ ขนาดใหญ่ เพื่ อ การจั ด เก็ บ ที่ ป ลอดภั ย และเป็ น ระบบ ส่งผลต่อการพัฒนางานวิจัยและคุณภาพชีวิตประชาชน
11 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
ความร่วมมือสู่การพัฒนา
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต (ม.อ.ภูเก็ต) โดยคณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ 21 ภาคีเครือข่ายองค์กร
จัดงานพิทักษ์รักษ์หาดภูเก็ต (SAVE PHUKET BEACH)
เมื่อวันเสาร์ที่ 19 สิงหาคม 2560 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต (ม.อ.ภูเก็ต) โดยคณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ 21 ภาคีเครือข่ายองค์กร จัดงานพิทักษ์รักษ์หาดภูเก็ต (SAVE PHUKET BEACH) ณ สวนสาธารณะลานโลมา เทศบาลเมืองป่าตอง จังหวัดภูเก็ต โดยมี ฯพณฯนายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีคนที่ 20 ของประเทศไทย และที่ ป รึ ก ษาสภามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เป็ น ประธานในพิ ธี เปิ ด งาน เพื่ อ หวั ง ส่ ง เสริ ม การถ่ า ยทอดความรู ้ ท างวิ ช าการ และการ แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ ผลการด�ำเนินงานของโครงการวิจัย เพื่อการบริหารจัดการหาดจังหวัดภูเก็ต และประชาสัมพันธ์โครงการ ให้ ป ระชาชนทั่ ว ไปได้ รั บ รู ้ ม ากขึ้ น ส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนได้ ค วามรู ้ ความเข้าใจ และเพิ่มทักษะการติดตามสถานภาพชายหาดในชุมชน โดยมีช่องทางสื่อสารส�ำหรับประชาชนที่สามารถรายงานสถานการณ์ ต่างๆ ของชายหาดของจังหวัดภูเก็ตได้ ผ่านเว็บแอพพลิเคชัน www.smartbeachphuket.com มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ท� ำ หน้ า ที่ ผ ลิ ต บั ณ ฑิ ต บริ ก าร วิ ช าการ และท� ำ นุ บ� ำ รุ ง วั ฒ นธรรม โดยมี ก ารวิ จั ย เป็ น ฐาน โครงการ “พิทักษ์รักษ์หาดภูเก็ต” (SAVE PHUKET BEACH) ของคณะเทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ถือเป็น โครงการวิจัยบริหารจัดการหาดจังหวัดภูเก็ต ที่สอดคล้องตามนโยบาย การบริหารจัดการชายหาด ของจังหวัดภูเก็ต น�ำไปสู่การพัฒนาและ แก้ปัญหาชุมชน ท้องถิ่น ภูมิภาคและประเทศ ด้วยพระราชปณิธานของ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก “ประโยชน์ ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง” ท�ำให้ชาวสงขลานครินทร์ ไม่ว่าจะเป็น ผู ้ บ ริ ห าร อาจารย์ บุ ค ลากร และนั ก ศึ ก ษา ต่ า งตระหนั ก และมุ ่ ง มั่ น ท� ำ ประโยชน์ เ พื่ อ สั ง คมเป็ น ส� ำ คั ญ ดั่ ง เช่ น โครงการ “พิ ทั ก ษ์ รั ก ษ์ ห าด ภู เ ก็ ต ” ที่ ด� ำ เนิ น การเพราะเห็น ความส�ำคัญ ของทรัพยากรและความ ส�ำคัญของนโยบายจังหวัด เพื่อสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ การปลูกจิต ส�ำนึกให้เยาวชน ชุมชนและนักท่องเที่ยวตระหนักถึงความส�ำคัญของ การอนุรักษ์ชายหาดและทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล และรู้สึกเป็น ส่วนหนึ่งของการรักษาชายหาดในพื้นที่อย่างแท้จริง ทุกท่านก็จะได้มี ส่ ว นร่ ว มในการปกป้ อ งและดู แ ลทรั พ ยากรเหล่ า นี้ ใ ห้ มี ค วามยั่ ง ยื น ตลอดไป โดยคณะเทคโนโลยี แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ วิทยเขตภูเก็ต ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย 21 หน่วยงาน ในการจัดกิจกรรม ประกอบด้วย 1. เทศบาลเมืองป่าตอง 2. เครือข่ายฟื้นฟูปะการัง 3. ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามัน
12 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
4. ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลฝั่งอันดามัน(ภูเก็ต) 5. ส�ำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 15 ภูเก็ต 6. ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต 7. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานภูเก็ต 8. สมาคมโรตารี่ป่าตองบีช 9. องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต 10. ส�ำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคที่ 5 สาขาภูเก็ต 11. เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมู่บ้าน(ทสม.) 12. สถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาทรั พ ยากรทางทะเล ชายฝั ่ ง ทะเล และป่าชายเลน 13. หน่วยกู้ชีพ Lifeguard บริษัทภูเก็ตไลฟ์การ์ดเซอร์วิส 14. โรงพยาบาลดีบุก 15. กลุ่ม Clean the Beach Boot Camp 16. ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) 17. ส�ำนักงานบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 6 (ภูเก็ต) 18. ชุมชนบ้านบางหวานและทสม.บ้านดอน 19. ส�ำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดภูเก็ต 20. มูลนิธิกุศลธรรม 21. บริษัท Generation Water Co., Ltd. ทั้งนี้ในงานพิทักษ์รักษ์หาดภูเก็ต ส�ำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 15 ได้น�ำกิจกรรมฐานความรู้เรื่องคุณภาพน�้ำเปลี่ยนสี มาให้ความรู้กับ ประชาชนด้วย และที่ส�ำคัญขอฝากถึงประชาชนเพิ่มเติมใน เรื่องวาระ แห่งชาติ คือ การจัดการขยะ ขอฝากให้ทุกบ้านได้คัดแยกขยะตั้งแต่ ในบ้ า น หากสามารถน� ำ มารี ไ ซเคิ ล ได้ ใ ห้ ด� ำ เนิ น การ และเรื่ อ งการ ปลู ก ต้ น ไม้ ตาม “โครงการประชารั ฐ ร่ ว มใจ ปลู ก ต้ น ไม้ ใ ห้ แ ผ่ น ดิ น ” เพื่อฟื้นคืนความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรป่าไม้ ให้เป็นพื้นที่สีเขียว ในเมืองและฟื้นคืนความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรป่าไม้
ความร่วมมือสู่การพัฒนา
ม.อ.จับมือ ศรีตรังแอโกรฯ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดย รศ.ดร.พี ร ะพงศ์ ทีฆสกุล รองอธิการบดี ฝ่ายระบบวิจัยและบันฑิตศึกษา ลงนาม ข้อตกลงบันทึกความร่วมมือเกี่ยวกับโครงการวิจัยและพัฒนา ในเรื่อง นวัตกรรมยางพารา กับนายภั ท ราวุ ธ พาณิ ช ย์ กุ ล กรรมการบริหารงานบัญชีและการเงิน บริษัท ศรีตรังแอโกร อินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) โดยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมเป็นสักขีพยานเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2560 ณ ห้องประชุม ส�ำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต หาดใหญ่ รศ.ดร.พีระพงศ์ ทีฆสกุล รองอธิการบดี ฝ่ายระบบ วิจัยและบันฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า การลงนามความร่วมมือครั้งนี้เป็นการยกระดับความร่วมมือ ในการพัฒนาเทคโนโลยีและสร้างสรรค์นวัตกรรมที่มีพื้นฐาน จากผลิตภัณฑ์ยางพาราซึ่งสามารถน�ำไปพัฒนาต่อยอดไปสู่ นวั ต กรรมทางการศึ ก ษาและอุ ต สาหกรรมที่ ส ามารถน� ำ ไป ประยุกต์ใช้งานได้จริงในทางธุรกิจ ตามนโยบายของรัฐบาล “ประเทศไทย 4.0” ที่ต้องการ ปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจ ไปสู่ “Value–Based Economy” หรือ “เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม” เพื่อน�ำประเทศไทย หลุดกับดักประเทศไทยรายได้ปานกลาง การวิจัยและพัฒนา จึงเป็นส่วนหนึ่งที่ส�ำคัญในการสร้างนวัตกรรมรองรับนโยบาย ของรัฐบาล อนึ่ง บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) จัดตั้ง ขึ้นในปี พ.ศ. 2530 และในปัจจุบันถือว่าเป็น ผู้ประกอบการ ยางธรรมชาติ แ บบครบวงจรรายใหญ่ ที่ สุ ด ของโลก โดยมี ส่วนแบ่งทางการตลาดประมาณร้อยละ 12 ของความต้องการ ยางธรรมชาติ ทั่ ว โลก มี ก ารด� ำ เนิ น งานแบบครบวงจรตั้ ง แต่
การปลูกยางพารา การผลิตผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ จนกระทั่ง การผลิตถุงมือยางทางการแพทย์ ธุรกิจผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ เป็นธุรกิจหลักของกลุ่มบริษัทศรีตรัง ซึ่งในปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์ ยางขั้ น พื้ น ฐานทุ ก ประเภทเพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการ ที่หลากหลายของลูกค้าทั่วโลก ได้แก่ ยางแท่ง ยางแผ่นรมควัน และน�้ำยางข้น ด้วยก�ำลังการผลิตกว่า 2.4 ล้านตันต่อปี จาก จ�ำนวนโรงงานรวม 35 โรงงาน ซึ่งตั้งอยู่ในประเทศผู้ผลิตยาง ธรรมชาติรายใหญ่ที่สุดสองอันดับแรกของโลก ได้แก่ ประเทศ ไทยและประเทศอิ น โดนี เ ซี ย รวมทั้ ง ประเทศเมี ย นมาร์ ด ้ ว ย ทั้ ง สององค์ ก รจึ ง เห็ น ความส� ำ คั ญ และโอกาสใน อนาคต ในการน� ำ วั ต ถุ ดิ บ ยางพาราที่ เ ป็ น สิ น ค้ า เกษตร มาแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเป็นสินค้าที่ใช้ความรู้ทางด้าน เทคโนโลยี ผลงานวิจัย และนวัตกรรม ในการพัฒนาต่อยอด สร้างผลก�ำไรให้กับธุรกิจ และช่วยสร้างความเข้มแข็งทาง เศรษฐกิ จ ให้ กั บ ประเทศ ปั จ จุ บั น ผลผลิ ต ยางพาราของ ประทศไทยส่ ง ออกในรู ป วั ต ถุ ดิ บ เป็ น ส่ ว นใหญ่ คิ ด เป็ น ร้อยละ 84 มีการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ร้อยละ 12 เมื่อคิด เป็นมูลค่าพบว่า การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์มีมูลค่าสูงกว่า กล่าวคือ การการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์สามารถเพิ่มมูลค่า ไม่น้อยกว่า 5 เท่าตัว โดยงานวิจัยและพัฒนาที่ผ่านมามี การเชื่อมโยงกับผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมค่อน ข้ า งน้ อ ย โดยอนาคตการปรั บ เปลี่ ย นเพื่ อ ไปสู ่ เ ป้ า หมาย จ�ำเป็นต้องสร้างนวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากยางพาราโดย ใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนาร่วมกันระหว่างนักวิจัยและ ผู ้ ป ระกอบการ สามารถแปรรู ป เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นเชิ ง พาณิชย์ ได้
13 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
ความร่วมมือสู่การพัฒนา
สัตวแพทย์ ม.อ.จับมือกรมปศุสัตว์ ร่วมเป็นแหล่งความรู้ในการจัดการสุขภาพสัตว์เลี้ยง
เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.2560 มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ลงนามร่วมกับกรมปศุสัตว์ โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุ พ จน์ โกวิ ท ยา รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยพั ฒ นานั ก ศึ ก ษาและ ศิษย์เก่าสัมพันธ์ และ นายสัตวแพทย์ไพโรจน์ เฮงแสงชัย ต�ำแหน่งรองอธิบดีกรมปศุสัตว์ เป็นผู้แทนร่วมในการลงนาม พั ฒ นาหลั ก สู ต รสั ต วแพทย์ และน�ำองค์ความรู้จากการวิจัย สู่การใช้ประโยชน์ในการบริการ และพัฒนาการจัดการสุขภาพ และผลผลิตทางปศุสัตว์ รวมถึง สุ ข อนามั ย อั น ดี ข องประชาชน ในพื้นที่โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทร อัยรักษ์ รองอธิการบดีฝ่ายองค์กรสัมพันธ์และสารสนเทศ รองศาสตราจารย์ สัตวแพทย์ หญิงอุษา เชษฐานนท์ คณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์ คณาจารย์คณะสัตวแพทยศาสตร์และผู้บริหารกรมปศุสัตว์ ร่วมเป็นเกียรติในพิธี
ม.อ.ลงนามร่วมพัฒนายางครบวงจรกับ
กรมส่งเสริมสหกรณ์ และนิคมอุตสาหกรรมภาคใต้
เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2560 ผู้บริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ประกอบด้วย ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.ภั ท ร อั ย รั ก ษ์ รองอธิการบดีฝ่ายองค์กรสัมพันธ์และ สารสนเทศ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ค�ำรณ พิทักษ์ ผู้อ�ำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ และผู้อ�ำนวยการศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ และรองศาสตราจารย์อาซีซัน แกสมาน ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนานวัตกรรมยางพารา ร่วมลงนามความร่วมมือ พัฒนายางพาราครบวงจร โดยนายทรงพล สวาสดิ์ธรรม ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา ให้เกียรติเป็นประธานในพิธี ที่อาคารแปรรูปยางพาราสหกรณ์การเกษตรรัตภูมิ จ�ำกัด ในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมยางพารา (Rubber City) นิคมอุตสาหกรรมภาคใต้ จังหวัดสงขลา โดยมีหน่วยงานที่ร่วมลงนาม ได้แก่ จังหวัดสงขลา มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ และนิคมอุตสาหกรรมภาคใต้ เพื่อเป็นการ ส่งเสริมและผลักดันให้เกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มของยางพาราได้อย่างยั่งยืน รวมทั้ง สร้างแนวคิดด้านอุตสาหกรรมแปรรูปยางพาราให้เกิดขึ้นจริงในพื้นที่ เป็นฐานราก ให้กับการพัฒนาเศรษฐกิจของภาคใต้
14 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
ข่าวเด่น
ม.อ.พระราชทานทูลเกล้าทูลกระหม่อม ถวายปริญญาแพทย์ศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์แด่ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ในคราวประชุมครั้งที่ 387 (7/3560) เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2560 ได้ มี ม ติ เ ป็ น เอกฉั น ท์ ขอพระราชทานทู ล เกล้ า ทู ล กระหม่ อ ม ถวายปริ ญ ญาแพทยศาสตร์ ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิตติมศักดิ์ แด่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
15 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
ข่าวเด่น
ในคราวเดี ย วกั น นั้ น ขอพระราชทานทู ล เกล้ า ทู ล กระหม่ อ มถวาย ปริ ญ ญาปรั ช ญาดุ ษ ฏี บั ณ ฑิ ต กิตติมศักดิ์ (เทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดล้อม) แด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ ประทานทูลฯ ถวายปริญญาสังคมสงเคราะห์ศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แด่ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์ เจ้าพัชรกิติยาภา เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติคุณให้ปรากฏ และเป็นสิริมงคลกับทั้งเป็นเกียรติประวัติแก่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์สืบไป
16 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
ข่าวเด่น เมื่อวันที่ 30 กันยายน - 2 ตุลาคม 2560 สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จฯ แทนพระองค์ ไปพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2559 ที่ศูนย์ประชุมนานาชาติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ในโอกาสนี้ นายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กราบทูลรายงานกิจการของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ มีจ�ำนวนผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี 7,642 คน ปริญญาโท 852 คน ปริญญาเอก 138 คน จากทั้ง 5 วิทยาเขต สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า โปรดกระหม่ อ มให้ ส มเด็ จ พระเจ้ า ลู ก เธอ เจ้ า ฟ้ า จุ ฬ าภรณวลั ย ลั ก ษณ์ อั ค รราชกุ ม ารี เสด็ จ แทนพระองค์ ไ ปในการพระราชทานปริ ญ ญาบั ต รแก่ ผู ้ ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาจากมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2559 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ กราบทู ล ราชสดุ ดี พ ระเกี ย รติ คุ ณ ในโอกาสที่ ส ภามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ขอพระราชทานทู ล เกล้ า ฯ ถวายปริ ญ ญาปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ และเบิ ก ผู ้ เ ข้ า รั บ พระราชทานปริ ญ ญากิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ คื อ ศาสตราจารย์ ดร. นอร์เบิร์ด เฟนเนอมันน์
(Professor Dr. Norbert Vennemann) ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (เทคโนโลยียาง) เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี ยางที่ มี ชื่ อ เสี ย งล� ำ ดั บ ต้ น ๆ ของ ประเทศเยอรมัน และแวดวงวิชาการ ด้านเทคโนโลยียางของโลก ตลอด ชี วิ ต การท� ำ งานได้ ทุ ่ ม เทก� ำ ลั ง ใน การท� ำ งานวิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาความรู ้ ด้านเทคโนโลยียางมาโดยตลอด มี ผลงานตี พิ ม พ์ ม ากกว่ า 100 เรื่ อ ง และได้รับการจดสิทธิบัตรทั้งในประเทศเยอรมัน สหรัฐอเมริกา และยุโรป จ�ำนวนหลายเรื่อง สิทธิบัตรส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทดสอบยาง คือ เครื่ อ ง Temperature Stress Scanning Relaxation (TSSR) ที่ ส ามารถ วิ เ คราะห์ ก ารเปลี่ ย นแปลงในระดั บ โมเลกุ ล แล้ ว น� ำ ไปประยุ ก ต์ กั บ การ แปรรูปยาง ได้มีความร่วมมือด้านวิชาการกับทีมนักวิจัยของมหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ มานานกว่ า 10 ปี ท� ำ ให้ เ กิ ด งานวิ จั ย ร่ ว มจ� ำ นวนหลาย โครงการมี ก ารแลกเปลี่ ย นนั ก ศึ ก ษาบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาเอกของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จ�ำนวน 11 คน นักวิจัยหลังปริญญาเอก 1 คน และนักศึกษาบัณฑิตศึกษาของประเทศเยอรมัน จ�ำนวน 5 คน นอกจากการดูแลนักศึกษาในด้านวิชาการ อย่างเข้มแข็งและรอบด้านแล้ว ตลอดระยะเวลาที่นักศึกษาท�ำงานวิจัย ณ มหาวิทยาลัยในประเทศเยอรมัน ศาสตราจารย์ ดร. นอร์เบิร์ด เฟนเนอมันน์ ได้ดูแลด้านอื่น ๆ ตลอดจนชีวิต ความเป็นอยูข่ องนักศึกษาเป็นอย่างดี อบรม ดูแล เอาใจใส่ และเป็นกัลยาณมิตร ที่เยี่ยมยอดกับนักศึกษาและนักวิจัยของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทุกคน ท�ำให้เกิดทีมวิจัยด้านเทคโนโลยียางร่วมของทั้งสองมหาวิทยาลัยที่เข้มแข็ง จนสามารถคิ ด ค้ น นวั ต กรรมและสร้ า งผลงานใหม่ ด ้ า นวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยียางพาราได้จ�ำนวนมาก ท�ำให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน วิชาการ และสาธารณะ เป็นอย่างยิ่ง
ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม
เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (เศรษฐศาสตร์) ปั จ จุ บั น ดร.พิ สิ ฐ ลี้ อ าธรรม ด� ำ รง ต� ำ แหน่ ง ในภาคธุ ร กิ จ เอกชน ทั้ ง ที่ เ ป็ น องค์ ก รแสวงหาก� ำ ไร และไม่ ไ ด้ แ สวงหา ก� ำ ไร ซึ่ ง ภาคธุ ร กิ จ ต่ า ง ๆ เหล่ า นี้ ล ้ ว น ประสบความส� ำ เร็ จ อั น น� ำ มาสู ่ ร างวั ล แห่ ง เกี ย รติ ย ศมากมาย และในด้ า นการ พั ฒ นาการศึ ก ษา ดร.พิ สิ ฐ ลี้ อ าธรรม ได้ รั บ เชิ ญ เป็ น คณบดี ค ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ 2 วาระ
เป็นเวลา 8 ปีติดต่อกัน มีส่วนส�ำคัญอย่างยิ่งในการผลักดันคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ให้มีความเข้มแข็งระดับแนวหน้าของประเทศ สามารถ สร้างบัณฑิตที่มีคุณภาพไปสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ อย่ า งเข้ ม แข็ ง นอกจากการบริ ห ารการศึ ก ษาแล้ ว ดร.พิ สิ ฐ ลี้ อ าธรรม ยั ง สนับสนุนการศึกษาทั้งในระดับนักเรียนและอุดมศึกษาด้านทุนการศึกษาทั้ง ในภาคเหนือ โดยเฉพาะจังหวัดเชียงใหม่ในฐานะคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และการหาแหล่งเงินทุนจากภาคธุรกิจโดยเฉพาะจาก ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) เพื่อสนับสนุนการศึกษาในระดับปริญญา โทของคณะเศรษฐศาสตร์ ใ ห้ แ ก่ ก ลุ ่ ม ประเทศเพื่ อ นบ้ า น ได้ แ ก่ ประเทศ เมี ย นมาร์ ลาว กั ม พู ช า ในระหว่ า งปี พุ ท ธศั ก ราช 2551 – 2559 เป็ น ต้ น นอกจากนี้ ยั ง รวมถึ ง การพั ฒ นาบุ ค ลากรและหน่ ว ยงาน ภาครั ฐ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้านการก�ำหนดนโยบาย การก�ำกับ ตรวจสอบ และการบริหารจัดการ ตามนโยบายภาครัฐอีกทางหนึ่งด้วย และยังมีส่วน ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ การศึกษาและสังคมในภาครัฐอีกจ�ำนวนมาก
นายทศพร ศรีเอี่ยม
วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (วิศวกรรมโยธา) นายทศพร ศรี เ อี่ ย ม ส� ำ เร็ จ การศึกษาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ส า ข า วิ ศ ว ก ร ร ม โ ย ธ า จ า ก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อ ปีพุทธศักราช 2558 ปัจจุบันด�ำรง ต�ำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ บริษัท นิ ว เทคโนโลยี่ เอ็ น จิ เ นี ย ริ่ ง คอน สตรั คชั่ น จ� ำ กั ด ในปี พุทธศั ก ราช 2538 นายทศพร ศรีเอี่ยม ได้ก่อตั้งบริษัท นิวเทคโนโลยี่ เอ็นจิเนียริ่ง คอน สตรัคชั่น จ�ำกัด โดยด�ำรงต�ำแหน่งประธานบริหารและกรรมการผู้จัดการ ซึ่ง บริษัทเติบโตอย่างมั่นคงจากการด�ำเนินงาน และการบริหารด้วยความรู้ และ ระบบงานคุ ณ ภาพ ISO จนเป็ น บริ ษั ท เครื อ เทค กรุ ๊ ป ได้ รั บ รางวั ล และโล่ ประกาศ เกียรติคุณ Best Practice ด้านบุคลากร และผลประกอบการในการ บริหารจัดการธุรกิจบริการก่อสร้างและวิศวกรรม ประจ�ำปี 2559 ในโครงการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการในด้านดังกล่าว จากกรมพัฒนาธุรกิจ การค้า กระทรวงพาณิชย์ ได้รับรางวัล AFEO Honorary Member Award ใน การประชุมสมาพันธ์วิศวกรแห่งอาเซียนครั้งที่ 32 ณ สาธารณรัฐแห่งสหภาพ เมียนมาร์ อีกทั้งรางวัล “บุคคลดีเด่นแห่งปี 2558” จากโครงการคุณธรรม น� ำ แผ่ น ดิ น คนท� ำ ดี ต ้ น แบบสั ง คมแห่ ง ปี 2558 “คนดี เ พื่ อ พ่ อ ” นายทศพร ศรีเอี่ยม เป็นศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.อ. รุ่นที่ 16 ที่ได้อุทิศตนเพื่อ ประโยชน์ต่อส่วนรวมอย่างสม�่ำเสมอ โดยร่วมเป็นกรรมการและร่วมด�ำเนิน กิจกรรมกับองค์กร มูลนิธิ และสมาคมต่าง ๆ และเป็นผู้ก่อตั้งกองทุนศึกษา “ช่อ-เฟื่องฟ้า ศรีเอี่ยม” ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
17 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
ข่าวเด่น ได้บริจาคทุนทรัพย์เพื่อสนับสนุนการศึกษาให้กับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สถาบันการศึกษา และองค์กรอื่น ๆ อย่างต่อเนื่องตลอดมา และได้รับรางวัล ศิ ษ ย์ เ ก่ า ดี เ ด่ น และรางวั ล ศิ ษ ย์ เ ก่ า ที่ เ ราภู มิ ใ จของคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในปีพุทธศักราช 2556 กรรมการกองทุน 50 ปี คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และกรรมการ โครงการ “ศิลาศิษย์” และโครงการ “เกียรติภูมิอุปถัมภ์วิศวกรรมศาสตร์ ม.อ.” ที่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ จั ด หาสนั บ สนุ น กองทุ น 50 ปี คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
นายประวิทย์ แก้วทอง
การแพทย์แผนไทยมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เป็นบุคคลที่มีคุณูปการต่อบุคลากร แ ล ะ นั ก ศึ ก ษ า ค ณ ะ ก า ร แ พ ท ย ์ แผนไทยมาเป็ น ระยะเวลาหลายปี เป็ น ทั้ ง หมอและครู ที่ ใ ห้ ค� ำ ปรึ ก ษา และค� ำ แนะน� ำ ด้ า นการรั ก ษาโรค ต่าง ๆ อนุเคราะห์ข้อมูลให้นักศึกษา และบุ ค ลากรเก็ บ ข้ อ มู ล การรั ก ษา โรคส�ำหรับการเรียนการสอน และการท�ำวิจัย เป็นครูที่ทุ่มเทการสอนศาสตร์ ด้านการแพทย์แผนไทยให้กับนักศึกษาและคณาจารย์ เป็นหมอที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีความมุ่งมั่น และทุ่มเทการรักษาผู้ป่วยด้วยความเมตตา โดยไม่ คิดค่าใช้จ่าย เป็นแบบอย่างที่ดีในการเป็นแพทย์ แผนไทยให้กับนักศึกษา และเป็นแบบอย่างที่ดีในการเป็นครูให้กับคณาจารย์ และปัจจุบันคณะการ แพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับความอนุเคราะห์จาก นายประวิ ท ย์ แก้ ว ทอง เปิ ด บ้ า นเป็ น แหล่ ง ฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ การ แพทย์ แ ผนไทย ถื อ เป็ น แหล่ ง ฝึ ก ที่ ส� ำ คั ญ และมี คุ ณ ภาพ ช่ ว ยสร้ า งเสริ ม ประสบการณ์ทางวิชาชีพให้แก่นักศึกษาได้อย่างดียิ่ง นายประวิทย์ แก้วทอง เริ่ ม สนใจศึ ก ษาองค์ ค วามรู ้ ด ้ า นการแพทย์ แ ผนไทยทั้ ง ด้ า นเวชกรรมไทย และเภสัชกรรมไทยตั้งแต่อายุ 32 ปี จากหมอพื้นบ้านที่มีประสบการณ์จน เชี่ยวชาญ และเริ่มรักษาผู้ป่วย โดยใช้เวลาในการรักษาผู้ป่วยกว่า 14 ปี จึง เป็นที่ยอมรับจากชาวบ้าน มีความเชี่ยวชาญในการรักษาโรคที่เกี่ยวข้องกับ กระดูกและกล้ามเนื้อ เช่น อัมพฤกษ์ อัมพาต และโรคหมอนรองกระดูกทับ เส้นประสาท รวมทั้งโรคโลหิตระดูสตรี มีผู้ป่วยจ�ำนวนมากเดินทางมาจาก จังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศเพื่อมารับการรักษาโรคดังกล่าว จากบันทึก การรักษา โรคของนายประวิทย์ แก้วทอง พบว่าในแต่ละวันจะมีผู้ป่วยมารับการรักษา โดยแบ่ ง เป็ น ผู ้ ป ่ ว ยโรคหมอนรองกระดู ก ทั บ เส้ น ประสาท ประมาณวั น ละ 20-30 คน โรคอัมพฤกษ์ อั ม พาต ประมาณวั น ละ 15-20 คน โดยเปิ ด รักษาในวันอังคารถึงวันเสาร์ ตั้งแต่เวลา 07.00 น. – 21.00 น. โดยไม่คิด ค่าใช้จ่าย ยกเว้น ค่ายกครูในผู้ป่วยรายใหม่ รายได้ส่วนใหญ่จะได้รับใน วันไหว้ครูประจ�ำปี ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปีในช่วงสัปดาห์ที่สองของเดือน พฤษภาคม โดยผู ้ ป ่ ว ยที่ ไ ด้ รั บ การรั ก ษาจนหายหรื อ อาการดี ขึ้ น จะน� ำ เงิ น ตามก�ำลังทรัพย์ของตนเองมามอบเพื่อเป็นการตอบแทน ซึ่งจะเปิดรับเพียง 1 ครั้งต่อปีเท่านั้น นอกจากนี้พบว่าผู้ป่วยที่บ้านอยู่ห่างไกล การเดินทางเป็น ไปด้วยความล�ำบาก นายประวิ ท ย์ แก้ ว ทอง ได้ สร้ า งที่ พักอาศั ย ให้ ผู ้ ป ่ ว ย และญาติได้พักรักษาตัวจนกว่าอาการจะหายไว้ในพื้นที่บริเวณบ้าน โดยไม่ คิดค่าใช้จ่ายใด ๆ ท�ำให้ผู้ป่วยที่มารับการรักษาลดภาระค่าใช้จ่ายได้มาก
18 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
นายวิรัช ชินวินิจกุล
นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ได้ใช้ทั้งความรู้ทางด้านกฎหมาย แ ล ะ ค ว า ม เ ข ้ า ใ จ ถึ ง วิ ถี ชี วิ ต ข อ ง ประชาชนและได้ค้นพบว่าในคดีอาญา หากเป็ น คดี ที่ มี ผู ้ เ สี ย หาย การที่ ผู ้ เ สี ย หายและจ� ำ เลยได้ มี โ อกาสพบ และพูดคุยกันต่อหน้า ผู้พิพากษาอาจ ท�ำให้จ�ำเลยที่กระท�ำผิดจริงเห็นอกเห็นใจผู้เสียหายมากขึ้นและผู้เสียหายเองก็ อาจคลายความโกรธแค้นลงจนสามารถตกลงกันได้ในเรื่องค่าเสียหาย ไม่ต้อง มีข้อพิพาทในส่วนนี้กันต่อไป นายวิรัช ชินวินิจกุล เรียกวิธีการนี้ว่า “สมานฉันท์” ส่วนจ�ำเลยในคดีความผิดต่อแผ่นดินหากเข้าใจข้อกล่าวหา กระบวนการ พิจารณาคดีและประเด็นข้อกฎหมายแล้ว อาจรับสารภาพด้วยความสมัครใจ ยอมรับผลแห่งการกระท�ำของตน เรียกวิธีการนี้ว่า “สันติวิธี” นายวิรัช ชินวินิจกุล ได้ใช้กระบวนการนี้ซึ่งอยู่ในกรอบแห่งกฎหมายและประมวลกฎหมายวิธี พิ จ ารณาคดี อ าญาในการท� ำ งานที่ ศ าลจั ง หวั ด ภู เ ก็ ต และในที่ ต ่ า ง ๆ ที่ รั บ ราชการ จากประสบการณ์นี้จึงเป็นที่มาของกระบวนการสมานฉันท์และสันติ วิธี ในปีพุทธศักราช 2552 เมื่อนายวิรัช ชินวินิจกุล ด�ำรงต�ำแหน่งเลขาธิการ ส�ำนักงานศาลยุติธรรม ได้ขยายผลจากทางปฏิบัติของตนไปสู่ความเข้าใจ ของผู ้ พิ พ ากษาทั่ ว ประเทศ กระบวนการและหลั ก คิ ด ของสมานฉั น ท์ แ ละ สั น ติ วิ ธี จึ ง ถู ก น� ำ ไปใช้ ใ นทุ ก ศาลทั่ ว ประเทศส่ ง ผลให้ ค ดี อ าญาได้ รั บ การ พิสูจน์ความผิดตามความเป็นจริงที่เกิดจากความสมัครใจของคู่พิพาททุกฝ่าย คดีอาญาที่ต้องด�ำเนินการสืบพยานมีสถิติที่ลดลงด้วยผลจากการรับสารภาพ ด้วยความสมัครใจของจ�ำเลย สิ่งที่สังคมได้รับคือการที่จ�ำเลยต้องรับโทษ ตามความเป็นจริงและเป็นธรรม ผู้เสียหายได้รับการเยียวยาทั้งค่าเสียหาย และสภาพจิ ต ใจ การอุ ท ธรณ์ ค ดี ที่ ผ ่ า นกระบวนการสมานฉั น ท์ แ ละสั น ติ วิ ธี จึ ง มี ส ถิ ติ ที่ ล ดลง วิ ธี ก ารลั ก ษณะนี้ ยั ง คงได้ รั บ การปฏิ บั ติ จ นกระทั่ ง ถึ ง ทุกวันนี้ สิ่งเหล่านี้เป็นตัวอย่างที่ดีของการท�ำงานของนายวิรัช ชินวินิจกุล ที่มิได้มุ่งแต่การใช้ตัวบทกฎหมายในการพิจารณาตัดสินคดีเท่านั้น หากแต่ ยังเน้นที่การให้ความรู้และความเข้าใจของคู่ความในคดีด้วย
รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริพร ขัมภลิขิต
พยาบาลศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (พยาบาลศาสตร์) นั บ ตั้ ง แต่ ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษา ระดั บ ปริ ญ ญาเอก เมื่ อ ปี พุ ท ธศั ก ราช 2525 ได้ ก็ เ ริ่ ม ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ที่ ค ณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ ในต� ำ แหน่ ง อาจารย์ ภ าค วิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ ใน ขณะปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ที่ ค ณะพยาบาลศาสตร์ ได้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง บริ ห ารหลาย ต�ำแหน่ง ตั้งแต่ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการต่างประเทศ รองคณบดีฝ่ายวางแผน และพัฒนา รองคณบดีฝ่ายวิชาการ และคณบดี เป็นผู้สร้างการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาคณะพยาบาลศาสตร์ในหลาย ๆ ด้านเป็นอย่างมาก อาทิ ริเริ่ม ให้มีการก่อตั้งศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย โดยเน้นการให้บริการสร้างเสริมสุข ภาพ และส่งเสริมพัฒนาเด็กเล็กให้เหมาะสมกับวัย เป็นแหล่งเรียนรู้ของ นักศึกษาพยาบาล นักศึกษาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพอื่น ๆ รวมทั้งแหล่งเรียน รู้ของหน่วยงานอื่น ๆ และยังเป็นแหล่งส�ำหรับการท�ำวิจัยของอาจารย์ เป็น ผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรของคณะพยาบาลศาสตร์จากหลักสูตรวิทยา ศาสตรบัณฑิต (พยาบาล) เป็นพยาบาลศาสตรบัณฑิต ซึ่งส่งผลให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงหลักสูตรของสถาบันต่าง ๆ ในประเทศไทยเป็นพยาบาลศาสตร บัณฑิตตามมา จากการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรแบบเดิม ซึ่งเน้น “Medical Model” ได้เปลี่ยนเป็น “Nursing Model” นอกจากนี้รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริพร ขัมภลิขิต ยังเป็นคนแรกในประเทศไทยที่น�ำ “แบบแผนสุขภาพ” มาใช้ ในวิชาชีพการพยาบาลจนเป็นที่รู้จักแพร่หลายทั้งประเทศ
ข่าวเด่น
ในคราวเดียวกันนั้นสมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก เธอ เจ้ า ฟ้ า จุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี พระราชทานพระโอวาท เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2560 ความว่า “บัณฑิตทั้งหลายเป็น ผู้มีความรู้สูง ย่อมมุ่งหวังที่จะออกไปประกอบอาชีพการงาน ให้ประสบความส�ำเร็จ แต่การจะสร้างสรรค์ความส�ำเร็จใน งานได้ ยั่ ง ยื น แท้ จ ริ ง เพี ย งใดนั้ น ขึ้ น อยู ่ กั บ การประพฤติ ต น ปฏิ บั ติ ง านของแต่ ล ะคนเป็ น ส� ำ คั ญ กล่ า วคื อ หากบั ณ ฑิ ต รู้จักขวนขวายศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม และปฏิบัติงานด้วย ความขยันหมั่นเพียร ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โดยมุ่งประโยชน์ ส่ ว นรวมมากกว่ า ประโยชน์ ส ่ ว นตนแล้ ว สั ง คมส่ ว นรวมก็ จะมี ค วาม เจริ ญ มั่ น คง ส่ ง ผลให้ บั ณ ฑิ ต ผู ้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ สังคมพลอยได้รับความเจริญมั่นคงด้วย ดังนั้น ไม่ว่าบัณฑิต จะออกไปประกอบกิ จ การงานใดก็ ต าม ขอให้ ยึ ด มั่ น ในพระ ราชปฏิ ธ านของสมเด็ จ พระบรมราชชนกที่ ว ่ า “ขอให้ ถื อ ผล ประโยชน์ส่วนตัวเป็นที่สอง ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจ ที่หนึ่ง” ถ้าท�ำได้ดังนี้ ทุกคนก็จะสามารถสร้างสรรค์ประโยชน์
ทั้งโดยส่วนตนและโดยส่วนรวมได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ อัน เป็ น ความส� ำ เร็ จ แท้ แ ละยั่ ง ยื น ที่ ทุ ก คนพึ ง ปรารถนา ในพระ ปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขออวยพรให้บัณฑิตทุกคน ประสบความสุ ข และความส� ำ เร็ จ สมหวั ง ในชี วิ ต ทั้ ง ขอให้ ทุกท่านที่มาร่วมในพิธีนี้ มีความผาสุกสวัสดีโดยทั่วกัน
19 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
ข่าวเด่น
20 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
ข่าวเด่น เมื่อวันที่ 18-24 กันยายน 2560 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดงาน “ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์ เป็นกิจที่หนึ่ง” เพื่อปลูกฝังจิตวิญญาณของนักศึกษาและบุคลากร สร้างจิตส�ำนึก การมีคุณธรรม จริยธรรม ในการสร้างคุณประโยชน์ให้ แก่สังคม และประเทศชาติ ตามพระราชปณิธานของ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก มีการ จัดบรรยายพิเศษ“ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง” โดย คุณสุวรรณฉัตร - แพทย์หญิงจ�ำเนียร พรหมชาติ (แท๊กซี่จิตอาสา) นิทรรศการพระประวัติพระบรมราชชนก ผลงานของผู้ชนะการประกวดกิจกรรม/โครงการที่เน้นประโยชน์ เพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง และมอบรางวัลบุคคลและโครงการ “ประโยชน์เพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง” ในวันมหิดลที่ 24 กันยายน 2560 ณ อาคารกีฬาและนันทนาการ ศูนย์กีฬาและสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ผศ.สุพจน์ โกวิทยา รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ก�ำหนดให้วันที่ 24 กันยายน ของทุกปี เป็นวัน “ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์ เป็นกิจที่หนึ่ง” เป็นการเจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาท พร้อมกับการยึดมั่นในพระราชปณิธานของพระองค์ท่านที่ว่า
“ขอให้ถือผลประโยชน์ส่วนตัว ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์ ลาภ ทรัพย์ และเกียรติยศ ถ้าท่านทรงธรรมะแห่งอาชีพย์
เปนที่สอง เปนกิจที่หนึ่ง จะตกมาแก่ท่านเอง ไว้ให้บริสุทธิ”
21 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
ข่าวเด่น
ประกาศรายชื่อ ผู้ชนะการประกวดภาพถ่ายโครงการ
50 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หัวข้อ “PSU ONLY” เนื่ อ งด้ ว ยมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ก� ำ หนดถึ ง วาระครบรอบ 50 ปี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ในวันที่ 13 มีนาคม 2561 จึงจัดให้มีการประกวดภาพถ่าย “50 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในหัวข้อ PSU ONLY ” ขึ้น เพื่อน�ำภาพที่ชนะการประกวดน�ำมาใช้ในการจัดท�ำบัตรอวยพรมหาวิทยาลัย ประจ�ำปี 2561 บัดนี้ การพิจารณา ตัดสินได้ด�ำเนินการเสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงขอประกาศผลการพิจารณาตัดสิน ดังนี้ รางวัลชนะเลิศ เงินรางวัล 10,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร
รางวัลชมเชย เงินรางวัล 2,500 บาท พร้อมเกียรติบัตร (2 รางวัล)
แนวความคิ ด เจ้ า ของผลงาน : “เนื่องจากว่าเดือนสิงหาคมจะสามารถเห็นทาง ช้ า งเผื อ กได้ ใ นช่ ว งกลางเดื อ นผมจึ ง อยากให้ ภ าพทิ ว ทั ศ น์ ภ ายในมหาวิ ท ยาลั ย ที่มีทางช้างเผือกมาปรากฏอวดโฉมเพิ่มความสวยงามทั้งในส่วนของตัวอาคารเอง และธรรมชาติที่ผสมผสานกันอย่างลงตัว” สถานที่ : สนามกีฬา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง
แนวความคิ ด เจ้ า ของผลงาน : “เพราะมีค�ำกล่าวว่า “ปัญญาประดุจดังอาวุธ” หอสมุดจึงเปรียบดังคลังแสงสรรพาวุธ และเพราะมีค�ำกล่าวที่ว่า ปัญญาคือแสงสว่าง หอสมุดจึงเปรียบดังคลังแห่งแสง สถานที่รวบรวมความรู้และศาสตร์ทุกแขนงไว้ เพื่ อ ให้ ทุ ก คนได้ น� ำ มาใช้ ใ นการประเทื อ งปั ญ ญา ไว้ เ ป็ น อาวุ ธ และแสงสว่ า ง ประจ�ำตนเอง เป็นเครืองมือด�ำรงชีพ และการพัฒนาชาติ” สถานที่ : ส�ำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลงฯ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
รางวัลรองชนะเลิศ เงินรางวัล 5,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร (2 รางวัล)
แนวความคิดเจ้าของผลงาน : “ในความมืดมิดของความไม่รู้ในสังคมหากผู้เล่าเรียน ได้ค้นพบหนทางการชี้น�ำไปสู่แสงสว่างในชีวิตได้รับความรู้เติมปัญญาส�ำเร็จเป็น บัณฑิตผู้มีความรู้ความสามารถออกไปช่วยสังคมให้มีการพัฒนาประเทศชาติ” สถานที่ :หน้าลานพระบิดา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต
แนวความคิดเจ้าของผลงาน : “ความภูมิใจที่ ได้มาเรียนที่มหาวิทยาลัยสงลานครินทร์ ภูมิใจที่ ได้เป็นส่วนหนึ่งของลูกพระบิดาสงขลานครินทร์” สถานที่ : หน้าลานพระบิดา มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
22 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
แนวความคิดเจ้าของผลงาน : “วิวัฒนาการสถาปัตยกรรม รูปทรงจะเกลี้ยงเกลา และปราศจากการตกแต่งใช้บรรยากาศสิ่งก่อสร้างที่มีองค์ประกอบคล้ายคลึ่งกัน อาคารพรีคลินิก คณะพยาบาลศาสตร์” สถานที่ : อาคารพรี ค ลิ นิ ก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ความภาคภูมิใจ
ขอแสดงความยินดีกับหน่วยงานของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ในการเข้ารับโล่และใบรับรองระบบการจัดการด้านความปลอดภัย ของห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี
ส� ำ นั ก วิ จั ย และพั ฒ นา ขอแสดงความยิ น ดี กั บ หน่ ว ยงาน ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในการเข้ารับโล่และใบรับรอง “ระบบการจัดการด้านความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการที่เกี่ยว กั บ สารเคมี ตามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรมระบบการ จัดการด้านความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี (มอก.2677-2558)” ซึ่งเป็นการด�ำเนินงานภายใต้โครงการจัดท�ำ กระบวนการตรวจประเมินและรับรองห้อ งปฏิบัติก ารที่ เ กี่ ยวกั บ สารเคมี ข องส� ำ นั ก งานคณะกรรมการวิ จั ย แห่ ง ชาติ (วช.) เพื่ อ ส่งเสริมความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการที่มีการใช้สารเคมี ดังนี้ 1. ศู น ย์ บ ริ ก ารปฏิ บั ติ ก ารทางเภสั ช ศาสตร์ จากคณะ เภสัชศาสตร์ น�ำโดย รศ.ดร.ภก.นิมิตร วรกุล รองคณบดีฝ่ายบริหาร และแผน คณะเภสั ช ศาสตร์ ร่ ว มด้ ว ย ภก. กมล ปาลรั ต น์ หัวหน้าศูนย์บริการปฏิบัติการทางเภสัชศาสตร์ และคุณนิขจิตร คลองดี นักวิทยาศาสตร์ 2. ศู น ย์ เ ครื่ อ งมื อ วิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ น�ำโดย ผศ. จุฬาลักษณ์ พัฒนศักดิ์ภิญโญ ผู้อ�ำนวยการ ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ และคุณพิมพ์พิมล พฤกษ์ภัทรานนต์ โดยพิธีมอบโล่และใบรับรองฯ ดังกล่าว จัดขึ้นภายในงาน “มหกรรมงานวิ จั ย แห่ ง ชาติ 2560 Thailand Research Expo
2017” ระหว่างวันที่ 23-27 สิงหาคม 2560 ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิร์ด กรุงเทพฯ ส� ำ หรั บ การรั บ รองระบบการจั ด การด้ า นความปลอดภั ย ของห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมระบบการจัดการด้านความปลอดภัยของห้องปฏิบัติ การที่เกี่ยวกับสารเคมี (มอก.2677-2558)นี้ เป็นผลจากการด�ำเนิน งานด้ า นการบริ ห ารจั ด การความปลอดภั ย ในโครงการยกระดั บ มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย ของ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่เริ่มจากการลงทะเบียนห้อง ปฏิบัติการในระบบของ วช. และ ท�ำการประเมินความปลอดภัย โดยใช้ ESPReL Check list ด� ำ เนิ น การแก้ ไ ขจนกระทั่ ง ห้ อ ง ปฏิบัติการดังกล่าวมีระบบการบริหารความปลอดภัยจนได้รับการ รับรอง ซึ่งห้องปฏิบัติการ ของคณะเภสัชศาสตร์ และศูนย์เครื่อง มือวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นห้องปฏิบัติการ อั น ดั บ ต้ น ๆ ของมหาวิ ท ยาลั ย ในประเทศไทยที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รอง มาตรฐานในระดับสูงนี้ และเป็นมหาวิทยาลัยแรกในภาคใต้ที่ได้รับ การรับรองในระบบการจัดการด้านความปลอดภัยของห้องปฏิบัติ การที่เกี่ยวกับสารเคมี ตามมาตรฐาน มอก.2677-2558 อีกด้วย
23 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
Activity
พลเอกอุดมเดช เปิดงานฮาลาลนานาชาติ
หนุนไทยติดอันดับ 1 ใน 5 ของโลก
พลเอกอุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม เป็ น ประธานเปิ ด งานแสดงสิ น ค้ า และการประชุ ม สั ม มนานานาชาติ ด้ า นฮาลาล 2560 World Hapex 2017 จั ด โดยสถาบั น ฮาลาล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2560 ณ เผยรัฐบาล มีนโยบายดันไทย ครองอันดับ 1 ใน 5 ของโลก ภายในปี 2563 รองรับ ตลาดมุสลิมทั่วโลกกว่า 2,000 ล้านคน พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม เป็นประธานเปิดงานพร้อมด้วย ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ อดีตเลขาธิการ อาเซี ย น ผศ.วศิ น สุ ว รรณรั ต น์ รองอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ดร.วิสุทธิ์ บิลล่าเต๊ะ ผู้แทนจุฬาราชมนตรี ดร.ธวั ช นุ ้ ย ผอม ผู ้ อ� ำ นวยการสถาบั น ฮาลาล มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในฐานะผู้แทนนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า รัฐบาลมีนโยบายชัดเจนในการ ส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกอาหารฮาลาล ให้ติดอันดับ 1 ใน 5 ของโลก ภายในปี 2563 จากปัจจุบันที่มีการส่งออกสินค้าอาหารฮาลาล อยู่ในอันดับที่ 13 ของโลก และรัฐบาลได้ให้ความส�ำคัญต่อการสร้าง มาตรฐานฮาลาลของไทยให้ได้รับการยอมรับในระดับสากล รองรับ ตลาดผู้บริโภคชาวมุสลิมทั่วโลกกว่า 2,000 ล้านคน เพื่อสร้างความมั่นใจ ให้แก่ผู้บริโภค และส่งเสริมให้ไทยเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการด้านฮาลาลของอาเซียน ดร.ธวัช นุ้ยผอม เปิดเผยว่า ส ถ า บั น ฮ า ล า ล ม ห า วิ ท ย า ลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ มี ก ารจั ด งาน แสดงสินค้าและการประชุมสัมมนา นานาชาติด้านฮาลาล 2560 (World Hapex 2017) ครั้ ง นี้ เนื่ อ งจาก ปั จ จุ บั น ประชากรที่ นั บ ถื อ ศาสนา อิ ส ลามมี จ� ำ นวนเพิ่ ม ขึ้ น ส่ ง ผลให้ มีการบริโภค การใช้สินค้าการบริการ การลงทุ น การค้ า ขายด้ า นฮาลาล เพิ่ ม ขึ้ น ตามไปด้ ว ย ทั้ ง นี้ พั น ธกิ จ
24 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
ของสถาบั น ฮาลาล มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เป็ น แหล่ ง พั ฒ นา วิชาการ และความรู้เกี่ยวกับฮาลาลทั้งสินค้าและบริการแล้ว สถาบัน ฮาลาลยังส่งเสริมให้มีช่องทางการตลาดฮาลาลอีกด้วย การจัดงานแสดงสินค้า และการประชุมสัมมนานานาชาติ ใน ครั้งนี้ เป็นการจัดงานครั้งที่ 7 โดยปีนี้มีแนวคิดในการจัดงานครั้งนี้ว่า “ฮาลาลเพื่ อ การพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น (HALAL FOR SUSTAINABLE DEVELOPMENT)” มี เ ป้ า หมายเพื่ อ พั ฒ นาจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ของไทยให้เป็นศูนย์กลางการผลิตสินค้าบริโภค อุปโภค และบริการ ด้ า นฮาลาลในระดั บ ประเทศและนานาชาติ รวมทั้ ง กระตุ ้ น ให้ เ กิ ด การสร้ า งงาน การขยายธุ ร กิ จ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ วิ ถี วั ฒ นธรรมในพื้ น ที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้เชื่อมโยงกับประเทศมุสลิมในภูมิภาคอื่นๆ งานแสดงสิ น ค้ า และการประชุ ม สั ม มนานานาชาติ ด ้ า นฮาลาล 2560 (World Hapex 2017) มีระยะเวลาจัดงาน 4 วัน ระหว่างวันที่ 13 - 16 กรกฎาคม 2560 ที่ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ม.อ. ซึ่งในงาน ประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ อาทิเช่น นิทรรศการ ของหน่ ว ยงานภาครั ฐ เอกชน ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การขั บ เคลื่ อ นฮาลาล และการแสดงสิ น ค้ า ฮาลาล จ� ำ นวน ๒๓๐ ร้ า นค้ า ได้ แ ก่ อาหาร เครื่ อ งส� ำ อาง เครื่ อ งแต่ ง กาย การบริ ก ารฮาลาล และกิ จ กรรมของ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศ นอกจากนี้ มี กิ จ กรรมการจั ด สั ม มนาและการประชุ ม วิ ช าการ อาทิเช่น ปาฐกถาพิเศษเรื่องฮาลาลเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (HALAL FOR SUSTAINABLE DEVELOPMENT) โดย ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ อดี ต เลขาธิ ก ารอาเซี ย น และอดี ต รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงการ ต่ า งประเทศ และการน� ำ เสนอผลงานวิ จั ย แบบมุ ่ ง เป้ า ฮาลาล การ บรรยายพิเศษหัวข้อ “การสร้างนักวิจัยด้านฮาลาล” โดย รศ.ดร.วินัย ดะห์ลัน ผู้อ�ำนวยการและผู้ก่อตั้งศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เป็นต้น และที่ส�ำคัญมีพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความ ร่วมมือด้านการเงินอิสลามระหว่างสถาบันฮาลาล กับเครือข่ายชุมนุม สหกรณ์อิสลามแห่งประเทศไทย อีกด้วย
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สถาบันฮาลาล มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ โทร.074289292 www.halinst.psu.ac.th facebook:World HAPEX 2017
Activity
องคมนตรี เชื่อความขัดแย้งจัดการได้
โดยใช้กระบวนการทางอิสลามศึกษา พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ องคมนตรี เชื่อมั่นเวทีสัมมนาอิสลามศึกษานานาชาติ จากปราชญ์มุสลิมโลก ที่ ม.อ.ปัตตานี เป็น การระดมแนวคิ ด การพั ฒ นาการศึ ก ษา อิ ส ลามศึ ก ษาเพื่ อ การอยู ่ ร ่ ว มกั น อย่ า ง สันติสุข และ สร้างเครือข่ายทางการศึกษา ในการก้าวสู่ความเป็นนานาชาติ เมื่อเช้าวันที่ 24 กรกฎาคม 2560 ที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี พลเอกสุ ร ยุ ท ธ์ จุ ล านนท์ องคมนตรี เป็ น ประธาน เปิดการสัมมนาอิสลามศึกษานานาชาติ เรื่อง การศึกษาอิสลาม พลัง แห่งการขับเคลื่อนในการพัฒนาและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข โดย มี รศ.ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ กล่าวต้อนรับ รศ.อิ่ ม จิ ต เลิ ศ พงษ์ ส มบั ติ รองอธิการบดี วิทยาเขต ปัตตานี กล่าวรายงาน ทั้งนี้มีผู้เข้าร่วมสัมมนาจากทุกทวีปทั่วโลกรวม 37 ประเทศ จ�ำนวน 500 คน มีการน�ำเสนอบทความจากผู้น�ำประเทศ มุสลิมและนักวิชาการอิสลามศึกษาที่มีชื่อเสียงอาทิ เชคอุมัร อุบัยดฺ ฮาซานะฮฺ อธิบดีกรมการวิจัยและอิสลามศึกษา กระทรวงศาสนสมบัติ และกิจการอิสลาม ประเทศกาตาร์ เชคอับดุลการีม ฆอศอวะนะฮฺ ประธานศาลฎีกาสูงสุด ประเทศจอร์แดน ดร.มุหัมมัด อะฮฺมัด มุซัลลัม อั ล -คอลั ย ละฮฺ ผู ้ น� ำ สู ง สุ ด ในศาสนาอิ ส ลาม ประเทศจอร์ แ ดน ดร.อะหมัด บิน หะมัด ญีลาน ที่ปรึกษา เลขาธิการองค์กรสันนิบาต มุสลิมโลก ประเทศซาอุดิอารเบีย ดร.อั บ ดุ ล อาซี ซ อุ ส มาน อั ล -ตู วัยญีรีย์ อธิบดีองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมอิสลาม ราชอาณาจักรโมร็อกโก ศ.ดร.กุฏุบ มุสฏอฟา ซาโน รัฐมนตรีประจ�ำ ส� ำ นั ก นายก สาธารณรั ฐ กิ นี ดร.ซอและฮฺ สุ ลั ย มาน อั ล -วู ฮั ย บี ย ์ เลขาธิการสภายุวมุสลิมโลก ประเทศซาอุดิอารเบีย ผศ.ดร.อิสมาอีล ลุตฟี จะปะกียา อธิการบดีมหาวิทยาลัยฟาฏอนี ผศ.ดร.อับดุลเลาะ หนุ่มสุข วิทยาลัยอิสลามศึกษา ม.อ.ปัตตานี ศ.ดร.กนก วงษ์ตระหง่าน ที่ ป รึ ก ษาผู ้ อ� ำ นวยการวิ ท ยาลั ย อิ ส ลามศึ ก ษา ม.อ.ปั ต ตานี เป็ น ต้ น พลเอกสุ ร ยุ ท ธ์ จุ ล านนท์ องคมนตรี ประธานเปิ ด การสั ม มนา อิสลามศึกษานานาชาติ เรื่อง การศึกษาอิสลาม พลังแห่งการขับเคลื่อน ในการพัฒนาและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข กล่าวว่า การสัมมนา อิสลามศึกษานานาชาติ เรื่อง การศึกษาอิสลาม พลังแห่งการขับเคลื่อนใน การพัฒนาและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ในครั้งนี้ เป็นผลสืบเนื่องจาก การจัดสัมมนาอิสลามศึกษานานาชาติทั้งสามครั้งที่ผ่านมา เป็นโอกาส ที่ส�ำคัญในการตอบสนองความท้าทายของการศึกษาอิสลามในปัจจุบัน อันที่จะสร้างความสมดุลระหว่างอิสลามศึกษากับโลกปัจจุบัน ท�ำให้ เกิดการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข โดยรูปแบบการศึกษาอิสลามจะต้อง มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงทั้งในแนวคิดและรูปแบบการเรียนการสอน โดยมีการน�ำเสนอหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดการศึกษาอิสลาม การ สร้ า งปั จเจกชนและสั ง คมแห่ง สัน ติสุข และการวิเคราะห์สังเคราะห์ ประสบการณ์ของกลุ่มประเทศมุสลิมและไม่ใช่มุสลิมในการน�ำแนวคิดสู่
การปฏิบัติ อันที่จริงแล้ว สิ่งคุกคามสันติสุขโลกมิใช่อิสลาม แต่เป็นความ รุนแรงอันเกิดจากการขาดการยอมรับซึ่งกันและกัน และเกิดจากการ โฆษณาชวนเชื่อที่ไม่ได้มีพื้นฐานจากหลักการอิสลามที่ถูกต้อง สถาบัน การศึกษาทางด้านอิสลามศึกษา รวมทั้งปราชญ์และผู้รู้จะต้องพัฒนา หลักสูตรอิสลามศึกษาและจัดระบบการเรียนการสอนให้เป็นแนวทาง เพื่อขจัดปัญหาขัดแย้งในทุกระดับโดยใช้อัลกุรอานเป็นบรรทัดฐาน รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ กล่ า วเพิ่ ม เติ ม ว่ า สถานการณ์ ใ นปั จ จุ บั น ท� ำ ให้ เ กิ ด ความท้ า ทายอย่ า งยิ่ ง ยวดที่ จ ะพั ฒ นา สังคมมนุษย์ให้มีความเจริญเติบโตอย่าง มั่ น คงและต่ อ เนื่ อ ง บทบาทส� ำ คั ญ ของ สถาบันศึกษาทางด้านอิสลามศึกษา คือ การสร้างสังคมให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข อย่างไรก็ตามสถาบันที่มีการเรียนการสอนด้านอิสลามศึกษาถูกมอง ว่ า เป็ น แหล่ ง ที่ ท� ำให้ เ กิ ด ขบวนการต่ อ ต้ า นรั ฐ หรื อ กลุ ่ ม หั ว รุ น แรง ใน ความเป็นจริงแล้วศาสนาอิสลามเป็นศาสนาแห่งสันติสอนให้มนุษย์มี ความรักต่อกันและต่อต้านความรุนแรงทุกรูปแบบ สถาบันการศึกษา ทุกแห่งมีเป้าหมายร่วมกันที่จะระงับสถานการณ์ความรุนแรงที่เกิดขึ้น สร้างพลังในการขับเคลื่อนการพัฒนา และส่งเสริมการอยู่ร่วมกันอย่าง สันติสุข ทั้งนี้การพัฒนาจะสามารถเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อเมื่อสังคมมีความ สันติอย่างยั่งยืนเท่านั้น ดังนั้นมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ให้ความ ส�ำคัญกับการสร้างบัณฑิตเพื่อการขับเคลื่อนประเทศไทยไปข้างหน้า ดังนั้นหลักสูตรและการเรียนการสอนด้านอิสลามจะต้องเปิดโอกาสให้ นักศึกษาได้หลักการศาสนาที่เหมาะสมกับความท้าทายในความทัน สมัยของโลกปัจจุบัน การสัมมนาในครั้งจะท�ำให้เกิดหลักสูตรแนวทาง การพัฒนารายวิชา และรูปแบบการเรียนการสอนที่เป็นนวัตกรรมแห่ง การศึกษาอิสลาม เพื่อสนองแนวคิดการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขต่อไป
25 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
Activity
นายชวน หลีกภัย เปิดงานวันเกษตรภาคใต้ ครั้งที่ 25 “เกษตรยุคใหม่ตามรอยพ่อ”
นายชวน หลี ก ภั ย อดีตนายกรัฐมนตรี และที่ปรึกษาสภา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดงานวันเกษตรภาคใต้ ครั้งที่ 25 เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2560 ที่ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ และได้ เ ยี่ ย มชมนิ ท รรศการของทั้ ง ภาครั ฐ และ เอกชน การจัดแสดงและการจ�ำหน่ายสินค้าที่เกี่ยวข้องกับผลิตผล และการแปรรู ป ทางการเกษตร โดยอดี ต นายกรั ฐ มนตรี ไ ด้ ข อให้ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ นทร์ ได้ ใ ช้ ค วามเป็ นสถาบั น ทางวิช าการ ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี ด ้ า นการเกษตรสู ่ เ กษตรกรภาคใต้ ใ ห้ ทั่ ว ถึ ง เพื่ อ บรรเทาความเดื อ นร้ อ นจากราคาผลผลิ ต ตกต�่ ำ และช่ ว ยให้ ความรู ้ เ พื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพกระบวนการผลิ ต และกล่ า วว่ า พื ช เศรษฐกิ จ ของภาคใต้ เ ช่ น ยางและปาล์ ม ล้ ว นใช้ เ วลาหลายปี จึ ง จะให้ ผ ลผลิ ต ซึ่ ง ต่ า งจากพื ช ไร่ ดั ง นั้ น หากเกิ ด ปั ญ หาจะท� ำ ให้ เกษตรกรที่ ยั ง ยึ ด อาชี พ หลั ก ยากต่ อ การเปลี่ ย นแปลงและปรั บ ตั ว ซึ่งมหาวิทยาลัยอาจช่วยเหลือโดยการปรับปรุงพันธุ์พืชชนิดอื่นให้เป็น พืชเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น งานเกษตรภาคใต้ ครั้งที่ 25 ได้จัดขึ้นระหว่าง 11-20 สิงหาคม 2560 ภายใต้ แ นวคิ ด “เกษตรยุ ค ใหม่ ต ามรอยพ่ อ ” ม.อ. 50 ปี เป็นการน้อมน�ำแนวพระราชด�ำริทางการเกษตรที่พระบาทสมเด็จ
พระปรมิน ทรมหาภูมิพ ลอดุล ยเดช รัช กาลที่ 9 ที่ท รงพระราชทาน เพื่อให้ปวงชน และ เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้ และโอกาส ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ก ่ อ ตั้ ง ครบ 50 ปี ในปี นี้ คณะ ทรั พ ยากรธรรมชาติ จึ ง ได้ น� ำ เสนอการเกษตรที่ ส ะท้ อ น แนวคิ ด พอเพียง และการเรียนรู้ วิถีเกษตรตามรอยพ่อ การน�ำนวัตกรรมงาน ด้านผลผลิตทางเกษตร มุ่งน�ำเกษตรยุคใหม่ สมาร์ทฟาร์ม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น การใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นที่ก่อให้เกิดประโยชน์ งานแสดง สินค้า เครื่องจักรแปรรูปทางการเกษตร และการประชุมสัมนาด้าน การเกษตร เป็ น แหล่ ง ให้ ค วามรู ้ ท างด้ า นการเกษตร เทคโนโลยี สมัยใหม่ และเป็นเวทีให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์การท�ำงานจริง
เปิด ม.อ.วิชาการ ปี 60
โชว์ผลงานฉลองการสถาปนา 50 ปี “สงขลานคริ น ทร์ ” 5 วิ ท ยาเขต จั ด กิ จ กรรมเปิ ด มหาวิ ท ยาลั ย ให้ เ ยาวชน และ ประชาชนผู้สนใจทั่วไป เข้าชมผลงานและนวัตกรรมอันเกิดจากการสร้างสรรค์ของคณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา รวมถึงกิจกรรมให้ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชนในด้านอื่นๆ เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2560 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ วิทยาเขต ปั ต ตานี และ วิ ท ยาเขตสุ ร าษฎร์ ธ านี ได้ มี พิ ธี เ ปิ ด งาน ม.อ.วิ ช าการ ประจ� ำ ปี 2560 ซึ่ ง เป็ น กิจกรรมประจ�ำปีที่แสดงผลงานทางวิชาการของบุคลากรและนักศึกษา และเผยแพร่ชื่อเสียง ของมหาวิทยาลัยในโอกาสของการย่างเข้าปีที่ 50 แห่งการสถาปนา โดยเน้นการแสดงให้เห็น
26 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
Activity
บทบาทของมหาวิทยาลัย ในการใช้ความสามารถทางวิชาการเพื่อ น�ำสู่การพัฒนา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นองค์ความรู้ในสาขาต่างๆ ที่เน้นการ ตอบโจทย์และมุ่งมั่นที่จะเข้ามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาของภาคใต้ การจั ด กิ จ กรรมมี ใ นหลากหลายรู ป แบบ เช่ น การประชุ ม การสั ม นาทางวิ ช าการ นิ ท รรศการผลงานวิ จั ย และนวั ต กรรม การแสดง รวมทั้ง นิทรรศการตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษา ส่วนที่ วิทยาเขตตรัง จะจัดงานในวันที่ 25 สิงหาคม 2560 และ วิทยาเขต ภูเก็ต จัดระหว่างวันที่ 16 -17 พฤศจิกายน 2560
ส�ำหรับวิทยาเขตหาดใหญ่ จัดที่ศูนย์ประชุมนานาชาติ ฉลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ค รบ 60 ปี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิท ยาเขตหาดใหญ่ โดยมี ฯพณฯ ชวน หลี ก ภั ย อดีตนายก รั ฐ มนตรี และ ที่ ป รึ ก ษาสภามหาวิ ท ยาลั ย เป็ น ประธาน โดย มี ผู ้ แ ทนส่ ว นราชการและผู ้ บ ริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย ให้ เ กี ย รติ เข้ า ร่ ว มงาน และชมนิ ท รรศการที่ น ่ า สนใจ เช่ น นิ ท รรศการ “มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร วมพลั ง ขั บ เคลื่ อ น Thailand 4.0” ซึ่ ง น� ำ ส่ ว นหนึ่ ง ของนิ ท รรศการและผลงานนวั ต กรรมที่ เคยน�ำเสนอต่อนายกรัฐมนตรี โดยแยกเป็นเรื่องของยางพารา ปาล์มน�้ำมัน เทคโนโลยีชีวภาพและการแปรรูปอาหาร ระบบ สาธารณสุขและการส่งเสริมสุขภาพครบวงจร Digital Economy และ ความมั่นคงและการพัฒนาชายแดนใต้ และนิทรรศการ วิชาการ ที่แสดงถึงศักยภาพทางด้านการวิจัยของมหาวิทยาลัย การน�ำเสนอผลงานวิจัยที่มีประโยชน์ต่อชุมชนภาคใต้ งาน ม.อ.วิชาการ ประจ�ำปี 2560 ที่วิทยาเขตหาดใหญ่ ยัง ประกอบด้วยกิจกรรมหลักประจ�ำปีของคณะต่างๆ เช่น งานสัปดาห์ วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ที่คณะวิทยาศาสตร์ และงานเกษตรภาคใต้ ครั้งที่ 25 ที่ คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น
27 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
Activity
ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำนายกรัฐมนตรี
เปิดงาน ม.อ.วิชาการ ที่ ม.อ.ปัตตานี ให้ประชาชนเข้าชม ผลงานทางวิชาการ ในโอกาส 50 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำนายกรัฐมนตรี นายอดินันท์ ปากบารา เปิด งาน ม.อ. วิชาการ ในโอกาส 50 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อเช้าวันที่ 17 สิงหาคม 2560 ณ หอประชุมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เชื่อมั่นจะท�ำให้สังคมและชุมชนได้ประจักษ์ถึงผลงานด้านวิชาการ งานวิจัย การบริการวิชาการ ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนด้านการศึกษา ให้สอดคล้องกับ Thailand 4.0 การมีส่วนร่วมแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาค ใต้ ท�ำให้มหาวิทยาลัยมีความใกล้ชิด และเกิดสัมพันธภาพอันดีกับชุมชน เมื่อเช้าวันนี้ (17 สิงหาคม 2560) ที่หอประชุมมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ผู้ช่วยศาสตราจารย์พัชรียา ไชยลังกา รอง อธิการบดีฝ่ายวิชาการ วิทยาเขตปัตตานี ประธานจัดกิจกรรม ม.อ.วิชาการ ประจ�ำปี 2560 ได้กล่าวรายงานการจัดงาน ต่อผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำนายก รัฐมนตรี นายอดินันท์ ปากบารา สรุปความว่ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้ก�ำหนดจัดงาน ม.อ.วิชาการ ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ เผยแพร่ผลงานวิจัย การบริการวิชาการ การคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ วิทยาการ และเทคโนโลยี การส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม ตลอดจนการบูรณาการ เพื่ อ พั ฒ นาและต่ อ ยอดองค์ ค วามรู ้ ใ ห้ กั บ ชุ ม ชนและสั ง คมทั้ ง ในระดั บ ท้ อ งถิ่ น ระดั บ ประเทศ และระดั บ นานาชาติ และในปี นี้ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จะมี อ ายุ 50 ปี จึ ง ได้ ก� ำ หนดจั ด งาน ม.อ.วิ ช าการ ใน หั ว ข้ อ หลั ก 50 ปี ม.อ.บ่ ม เพาะคนดี ชี้ น� ำ สั ง คม สั่ ง สมปั ญ ญา พั ฒ นา งานวิจัย “2560 ม.อ.วิชาการ ศาสตร์พระราชา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” ซึ่ ง กิ จ กรรมทางวิ ช าการที่ น ่ า สนใจ ประกอบด้ ว ย ปาฐกถาพิ เ ศษ เรื่อง “ความคาดหวังต่อ ม.อ.กับการขับเคลื่อน Thailand 4.0” โดยผู้ช่วย รัฐมนตรีประจ�ำนายกรัฐมนตรี การบรรยายพิเศษ เรื่อง “วิทยาศาสตร์ใน ห้องเรียน สู่นวัตกรรมระดับโลก” และ “เปิดโลกบริหารธุรกิจสู่การเป็นผู้ ประกอบการ มืออาชีพ : เทคนิคการประกอบการผ่านออนไลน์ให้ประสบ ผลส�ำเร็จ” การสัมมนาวิชาการ การน�ำเสนอผลงานวิชาการของนักศึกษา และคณาจารย์ การประกวดสิ่งประดิษฐ์ การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สิ่งประดิษฐ์ไมโครคอนโทรลเลอร์หุ่นยนต์ เทคโนโลยีน�ำยางล้อที่หมดอายุ การใช้งานกลับมาใช้ใหม่ กิจกรรมไฮโดรโปนิคส์ “นวัตกรรมการเพาะเลี้ยง
28 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
สาหร่ายไส้ไก่และการแปรรูปสาหร่ายไส้ไก่” “การเลี้ยงสาหร่ายผมนางร่วม กับสัตว์น�้ำ และการแปรรูปสาหร่ายผมนาง” “ ชีววิทยาและการออกแบบ บ้านรังนกนางแอ่นกินรังต้นทุนต�่ำ “ การแข่งขันอ่านข่าว-โทรทัศน์ , การ ประกวดวาดภาพระบายสี หัวข้อ “ศาสตร์พระราชา” การเปิดให้เข้าชมโดม ดารศาสตร์ท้องฟ้าจ�ำลอง ,การประกวดนวัตกรรมด้านการสอนอิสลาม ศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 2 ,การแข่งขันทักษะทางคณิตศาสตร์ , นิทรรศการ และงานศิลปหัตถกรรม การท�ำผลิตภัณฑ์กาบกล้วย , โครงการน�ำเสนอ แผนธุรกิจฮาลาล , การสัมมนาวิชาการ “หยุด : วงจรค้ามนุษย์” การออก ร้านจ�ำหน่ายสินค้าโอท็อป สินค้าธงฟ้าราคาถูก การจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ จากชุมชน การสาธิต การออกร้าน ตลอดจนและ การแสดงบนเวที เป็นต้น ผู ้ ช ่ ว ยรั ฐ มนตรี ป ระจ� ำ นายกรั ฐ มนตรี นายอดิ นั น ท์ ปากบารา ประธานในพิธีเปิดกล่าวเปิดงาน ความว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยแห่งแรกในภาคใต้ที่ก่อตั้งและด�ำเนิน ภารกิจด้านการศึกษา มาร่วมระยะเวลา 50 ปี โดยได้ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ รวมทั้งให้บริการ ด้านวิชาการ แก่ชุมชนและท้องถิ่น โดยยึดมั่นในพระราชปณิธานของสมเด็จ พระบรมราชชนกที่ว่า “ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง” มาเป็น แนวทางในการปฏิบัติงานตลอดมา ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนและ ประเทศชาติ การจัดงาน ม.อ. วิชาการ ในปีนี้ ถือเป็นโอกาสดีอีกวาระหนึ่งที่ จะแสดงถึงศักยภาพ ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เนื่องในโอกาสครบ รอบ 50 ปี ให้สังคมและชุมชนได้ประจักษ์ถึงผลงานด้านวิชาการ งานวิจัย การบริการวิชาการ การเผยแพร่ด้านวิทยาการและเทคโนโลยี การคิดค้น สิ่งประดิษฐ์ การส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม ตลอดจนการมีส่วนร่วมใน การขับเคลื่อนด้านการศึกษาให้สอดคล้องกับ Thailand 4.0 การให้ความ ร่วมมือกับภาคสังคม และประชาคมในการมีส่วนร่วมแก้ปัญหาจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ท�ำให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีความใกล้ชิดและเกิด สัมพันธภาพอันดีกับชุมชนมากขึ้น จึงเชื่อมั่นว่าผู้เข้าร่วมงาน ม.อ. วิชาการ ทุกท่าน จะได้รับประโยชน์ และเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจจากการเข้า ร่วม ฟังบรรยาย อบรม สัมมนา การเข้าชมนิทรรศการ การแสดงผลงาน และ การพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความคิดเห็นกับนักวิชาการด้านต่าง ๆ
Activity
ดร.สุรินทร์เชื่อ พ.อ.ถนัด คอมันตร์ ตั้ง ม.อ.
เพื่อเชื่อมโยงวิชาการกับอาเซียนตอนล่าง ดร. สุ ริ น ทร์ พิ ศ สุ ว รรณ อดี ต เลขาธิ ก ารอาเซี ย น ให้ เ กี ย รติ ปาฐกถา หั ว ข้ อ “50 ปี อาเซี ย น กั บ ทิ ศ ทางในอนาคต” เมื่ อ วั น ที่ 5 กันยายน 2560 ในงานสัปดาห์อาเซียน ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในโอกาสการร่วมฉลองครบรอบ 50 ปี ของการก่อตั้งประชาคมอาเซียน และ 50 ปี ของการก่อตั้งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อดีตเลขาธิการอาเซียน กล่าวว่า เมื่อแรกมีการรวมตัวกันของ กลุ ่ มประเทศในภู มิ ภ าคเอเชีย ตะวัน ออกเฉีย งใต้ โดยมี พันเอกถนัด คอมันตร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศของไทย เป็นผู้น�ำ ในการก่ อ ตั้ ง เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และร่ ว มมื อ ในเรื่ อ งสั น ติ ภ าพ ความมั่ น คง เศรษฐกิจ องค์ความรู้ สังคมวัฒนธรรม บนพื้นฐานความเท่าเทียมกัน และผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก ซึ่งก็คือ สมาคมประชาชาติ แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ ASEAN ในปัจจุบัน ไม่มีใครคิดว่า การรวมกลุ่มดังกล่าวจะประสบความส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ จนเวลาผ่ า นมา 50 ปี ASEAN กลายเป็ น กลุ ่ ม ประเทศที่ ไ ด้ ช่ื อ ว่ า เป็ น หั ว รถจั ก รน� ำ ของความเจริ ญ ของโลก และรั บ ความสนใจจาก ประชาคมโลก เนื่องจากเป็นแหล่งผลิตสินค้า การบริการทางการแพทย์ ศู น ย์ ก ลางการคมนาคมขนส่ ง การเงิ น การธนาคาร เป็ น กลุ ่ ม ลู ก ค้ า เป้าหมายส�ำคัญส�ำหรับสินค้าอุตสาหกรรมจากยุโรป
อ ดี ต เ ล ข า ธิ ก า ร อาเซี ย น ตั้ ง ข้ อ สั ง เกตว่ า ประชาคมอาเซี ย น และ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า นครินทร์ ก่อตั้งขึ้นในช่วง เวลาที่ ใ กล้ เ คี ย งกั น และ โดยผู ้ น� ำ การก่ อ ตั้ ง ท่ า น เดี ย วกั น คื อ พั น เอกถนั ด คอมันตร์ ซึ่งได้รับมอบหมายจาก จอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี ในขณะนั้นให้ดูแลการก่อตั้งมหาวิทยาลัยภาคใต้ ความสอดคล้องกัน ดังกล่าว อาจจะเป็นการมองการณ์ไกลของผู้น�ำสมัยนั้นที่ต้องการให้มี สถาบันอุดมศึกษาขึ้นในพื้นที่ๆ ติดกับกลุ่มประเทศอาเซียนตอนล่างที่มี แนวโน้มว่าจะเป็นกลุ่มที่มีความส�ำคัญในอนาคต เพื่อเป็นตัวเชื่อมโยง ด้านวิชาการระหว่างประเทศไทยกับกลุ่มอาเซียนตอนล่างเข้าด้วยกัน “ซึ่ ง หากข้ อ สั ง เกตดั ง กล่ า วถู ก ต้ อ ง ทุ ก ฝ่ า ยในมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์จะต้องช่วยสร้างความปรารถนาของ พันเอกถนัด คอ มันตร์ และรัฐบาลยุคนั้นให้เกิดเป็นความจริง โดยการมุ่งสู่การเป็นผู้น�ำ ทางวิชาการในภูมิภาคเพื่อการเป็นศูนย์กลางการศึกษาระดับอุดมศึกษา ของประเทศอาเซียน” อดีตเลขาธิการอาเซียน กล่าว
บัณฑิตวิทยาลัย จัดสัมมนาการจัดการศึกษาต่อเนื่องระดับปริญญาโท และปริญญาเอกระบบโมดูล (Module System)
บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย จั ด สั ม มนาการจั ด การศึ ก ษาต่ อ เนื่ อ งระดั บ ปริญญาโทและปริญญาเอกระบบโมดูล (Module System) เมื่อวันที่ 31 สิ ง หาคม 2560 บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้จัดสัมมนาการจัดการศึกษาต่อเนื่องระดับปริญญาโทและปริญญา เอกระบบโมดู ล (Module System) ณ ห้ อ งอบรม SME คณะ วิ ท ยาการจั ด การ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ โดยการจั ด โครงการดั ง กล่ า ว มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ให้ ห ลั ก สู ต รระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาในมหาวิ ท ยาลั ย มี ก ารจั ด การศึ ก ษาต่ อ เนื่ อ งระดั บ ปริ ญ ญาโทและเอกในระบบโมดู ล มากขึ้ น รวมถึ ง เป็ น การเพิ่ ม ช่ อ งทางและรู ป แบบการศึ ก ษาในระดั บ บัณฑิตศึกษาให้มีความหลากหลาย รองศาสตราจารย์ ดร.ธี ร ะพล ศรี ช นะ คณบดี บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย ได้ ก ล่ า วต้ อ นรั บ และขอบคุ ณ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม ซึ่ ง ประกอบ
ด้วยผู้บริหาร ประธานกรรมการบริหาร หลักสูตร คณาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา จากคณะต่างๆ ที่เล็งเห็นความส�ำคัญ และให้ ค วามสนใจเข้ า ร่ ว มโครงการ ดั ง กล่ า ว โดยหวั ง ว่ า การสั ม มนาใน ครั้ ง นี้ จ ะเป็ น ประโยชน์ ต ่ อ การน� ำ ไป บริ ห ารจั ด การเรี ย นการสอนในระดั บ บัณฑิศึกษาของคณะ เพื่อเอื้อประโยชน์ ให้กับผู้เรียนโดยเฉพาะบุคลากรในหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน อีกทั้งเป็นการผลักดันนโยบายของมหาวิทยาลัยที่มุ่งเน้นให้มีการจัด การเรียนการสอนในระบบโมดูลกระจายในวงกว้างขึ้น จากนั้น วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.นริศา ค�ำแก่น ได้กล่าวบรรยายในหัวข้อ “แนวทางการจัดการศึกษาต่อเนื่อง ระดับปริญญาโทและปริญญาเอกในระบบโมดูล (Module System) และบรรยายปิ ด ท้ า ยการสั ม มนาดั ง กล่ า วด้ ว ยหั ว ข้ อ “ประสบการณ์ การจัดการเรียนการสอนในระบบโมดูล” โดย ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.ภญ. สุทธิพร ภัทรชยากุล ทั้งนี้ โครงการได้รับการตอบรับและให้ความสนใจจากผู้บริหาร และคณาจารย์จากคณะต่างๆ ในทุกวิทยาเขต โดยมีผู้เข้าร่วมสัมมนา กว่า 70 ท่าน
29 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
เพื่อประโยชน์เพื่อนมนุษย์
คณะทรัพยากรธรรมชาติ ม.อ.ส่งมอบแพะพระราชทาน
ศูนย์วิจัยและพัฒนาสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ม.อ.) ส่งมอบแพะพระราชทานแก่ตัวแทน เกษตรกร ที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยาบรมราชกุมารี ได้พระราชทาน ให้กับกลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่ภาคใต้ รศ.ดร.สัณห์ชัย กลิ่นพิกุล และนายภรัณฑ์ คชวัตร ผู้แทนมูลนิธิ ชั ย พั ฒ นา ร่ ว มกั บ ผศ.ดร.ไชยวรรณ วั ฒ นจั น ทร์ หั ว หน้ า ศู น ย์ วิ จั ย และ พัฒนาสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ พร้อมด้วยนายอภิชาติ หล่อเพชร และนางดวงใจ หล่อเพชร ได้ ด� ำ เนิ น การส่ ง มอบ และขนย้ า ยแพะ ที่ ส มเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด า ฯ สยาบรมราชกุ ม ารี ได้ พ ระราชทานให้ กั บ กลุ ่ ม เกษตรกร ในพื้ น ที่ ภ าคใต้ ประกอบด้วย ตัวแทนเกษตรกรเกาะบูโหลนดอน จ.สตูล แพะจ�ำนวน 10 ตัว ตัวแทนกลุ่มเกษตรกรบ้านโคกวังใหญ่ อ.สุไหงปาดี จ.นราธิวาส แพะจ�ำนวน
3 ตัว และตัวแทนกลุ่มบ้านบูยง อ.จะแนะ จ.นราธิวาส แพะจ�ำนวน 2 ตัว โดยมี น ายบั ญ ชา สั จ จาพั น ธ์ จาก ส� ำ นั ก งานปศุ สั ต ว์ เขต 9 นายไชยา ปัญญามงคล ปศุสัตว์อ�ำเภอคลองหอยโข่ง ผู้แทนจากปศุสัตว์จังหวัดสตูล และนายนิทัศน์ สองศรี หัวหน้าสถานีวิจัยคลองหอยโข่ง ร่วมเป็นสักขีพยาน ในการส่งมอบแพะดังกล่าว วันที่18กรกฏาคม 2560 จากนั้ น ผู ้ แ ทนจากมู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา ผู ้ แ ทนจากส� ำ นั ก งานปศุ สั ต ว์ และบุ ค ลากรจากศู น ย์ วิ จั ย และพั ฒ นาสั ต ว์ เ คี้ ย วเอื้ อ งขนาดเล็ ก คณะ ทรั พ ยากรธรรมชาติ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ เ ดิ น ทางไปติ ด ตาม ความก้าวหน้าการเลี้ยงแพะในโครงการ ณ กองพลพัฒนาที่ 4 คลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา โดยมี พั น ตรี เ สรี โพธิ์ เ งิ น ให้การต้อนรับ และน�ำเยี่ยมชม คอกแพะ ซึ่งแพะดังกล่าว สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทานให้เมื่อปี 2559 จากการเยี่ยมชม ทางคณะฯได้ให้ข้อแนะน�ำ การเลี้ยงแพะเพื่อการพัฒนาต่อไป
ม.อ.และอบจ.สงขลา ร่วมเปิดศูนย์เรียนรู้การผลิตผักไฮโดรโพนิกส์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับ องค์การบริหารจังหวัดสงขลา ร่วมเปิดศูนย์การเรียนรู้ผลิตผักไฮโดรโพนิกส์ปลอดภัยโดยชีวิวิธี ณ โรงเรียน เกาะแต้วพิทยาสรรค์ ต.เกาะแต้ว อ.เมือง จ.สงขลา เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2560 ผ ศ . ท วี ศั ก ดิ์ นิ ย ม บั ณ ฑิ ต คณบดี ค ณะทรั พ ยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ และนายนิพนธ์ บุญญามณี นายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด สงขลา ร่ ว มเปิ ด ศู น ย์ เ รี ย นรู ้ ก ารผลิ ต ผั ก ไฮโดรโปนิกส์ปลอดภัยโดยชีววิธี ของโรงเรียนเกาะแต้วพิทยาสรรค์ ต.เกาะแต้ว อ.เมือง จ.สงขลา เพื่อร่วมกันในการที่จะน�ำองค์ความรู้การปลูกผักไฮโดร โปนิ ก ส์ ป ลอดภั ย โดยชี ว วิ ธี จากมหาวิ ท ยาลั ย มาสู ่ ชุ ม ชน เพื่ อ สร้ า งงาน สร้างอาชีพได้จริง โดยเริ่มต้นที่โรงเรียนเกาะแต้วพิทยาสรรค์ ซึ่งเป็นโรงเรียน ในสังกัดของ อบจ.สงขลา เป็นแห่งแรก ผศ.ทวีศักดิ์ นิยมบัณฑิต คณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ กล่ า วว่ า คณะทรั พ ยากรธรรมชาติ ได้ ใ ห้ บ ริ ก ารวิ ช าการ ชุมชนมาอย่างต่อเนื่อง และให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินงานอย่างเบ็ดเสร็จ และครบวงจร สามารถปฎิ บั ติ ไ ด้ จ ริ ง จั บ ต้ อ งได้ เนื่ อ งจากการเกษตรใน ภาวะปัจจุบันต้องอาศัยองค์ความรู้และเทคนิคใหม่จึงจะสามารถแข่งขันได้ คณะทรัพยากรธรรมชาติ ได้มีการเรียนการสอนที่เน้นการปฎิบัติ เพื่อบัณฑิต จะได้มีทักษะและสามารถในการแก้ปัญหาและพัฒนางานให้เกิดนวัตกรรม เพื่อเพิ่มมูลค่าตามนโยบาย ไทยแลนด์ 4.0 ของรัฐบาล ศู น ย ์ เ รี ย น รู ้ ก า ร ผ ลิ ต ผั ก ไ ฮ โ ด ร โ พ นิ ก ป ล อ ด ภั ย โ ด ย ชี ว วิ ธี มี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุพัตรา เดวิสัน เป็นหัวหน้าโครงการ และคณะ ประกอบด้วย รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา เพ็งหนู นางสาวนงลักษณ์ กลับคง คณะทรัพยากรธรรมชาติ และนายพรชัย ปานรงค์ เจ้าของกิจการ ฟาร์มผักไฮโดรโพนิก จังหวัดสงขลา ซึ่งจะเป็นพี่เลี้ยงให้กับนักเรียนในการ ให้ ค วามรู ้ เ ชิ ง วิ ช าการในห้ อ งเรี ย น และฝึ ก ปฏิ บั ติ เ พื่ อ ให้ นั ก เรี ย นสามารถ
30 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
คิดวิเคราะห์ความรู้ที่ได้สู่การปฏิบัติจริง ศู น ย์ เ รี ย นรู ้ ดั ง กล่ า ว มี ชุ ด จ� ำ ลองผลิ ต และวั ส ดุ อุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ ใ นการ ผลิ ต ครบวงจร และแปลงผลิ ต ผั ก ที่ ส ามารถผลิ ต ได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู ้ แ ละฝึ ก ปฏิ บั ติ ข องนั ก เรี ย นหลั ก สู ต รเกษตรของโรงเรี ย นเกาะ แต้วพิทยาสรรค์ ให้นักเรียนได้บูรณาการความรู้ที่เรียนกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการผลิ ต เพิ่ ม ผลผลิ ต ที่ ป ลอดภั ย ส� ำ หรั บ ผู ้ บ ริ โ ภคและเป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้อม โดยนักเรียนจะได้น�ำความรู้ และวางแผนการใช้น�้ำและปุ๋ยที่เหลือ จากการผลิ ต ผั ก ไฮโดรโพนิ ก การออกแบบแปลงปลู ก การเลื อ กชนิ ด พื ช ที่ ปลูกในบริเวณได้อย่างเหมาะสม การปรับภูมิทัศน์ของแปลง การวางแผน จั ด การผลิ ต การท� ำ งานเป็ น ที ม การสื บ ค้ น ข้ อ มู ล การน� ำ เสนอ เป็ น ต้ น ศูนย์การเรียนรู้ผลิตผักไฮโดรโปนิกส์ปลอดภัยโดยชีววิธีแห่งนี้ ปัจจุบัน ได้ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์รุ่นแรกประมาณ 30 โต๊ะ โต๊ะละ 96 ต้น ซึ่งเป็นผักสลัด เช่น กรีนโอ๊ค เร็ดโอ๊ค และผักกาดหอม และเป็นผักไฮโดรโปนิกส์ปลอดสารพิษ ที่มีคุณภาพสูง ที่ทางคณะทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ และวิธีการปลูก ทุกขั้นตอน ทั้งนี้ได้มีการลงนามความร่วมมือจัดตั้งศูนย์เรียนรู้การผลิตผักไฮโดร โพนิกปลอดภัยโดยชีววิธี ระหว่างมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และองค์การ บริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด สงขลา โดยรองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี นายสมหมาย ขวั ญ ทองยิ้ ม รองนายกองค์ ก ารบริ ห าร ส่วนจังหวัดสงขลา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทวีศักดิ์ นิยมบัณฑิต คณบดีคณะ ทรัพยากรธรรมชาติ และนายนูญ สายอ๋อง ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนเกาะแต้ว พิทยาสรรค์ เพื่อพัฒนาความรู้ด้านการปลูกผักไฮโดรโพนิกให้กับนักเรียน โรงเรี ย นเกาะแต้ ว พิ ท ยาสรรค์ เพื่ อ มุ ่ ง หวั ง สู ่ ค วามเป็ น เลิ ศ ด้ า นเทคโนโลยี การเกษตร โดยคณะทรั พ ยากรธรรมชาติ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เป็นผู้ด�ำเนินการ
เพื่อประโยชน์เพื่อนมนุษย์
ม.อ.ติดตั้งเครื่องช่วยชีวิตพร้อมอบรมวิธีช่วยชีวิตเบื้องต้น CPR
มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ติ ด ตั้ ง เครื่ อ งกระตุ ก หั ว ใจด้ ว ย ไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ (AED) พร้อมจัดอบรมการใช้เครื่องกระตุกหัวใจด้วย ไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ อย่างต่อเนื่อง ผศ.วศิ น สุ ว รรณรั ต น์ รองอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า มหาวิทยาลัยให้ความส�ำคัญ เรื่ อ งการดู แ ลสุ ข ภาพและคุ ณ ภาพชี วิ ต ของบุ ค ลากร นั ก ศึ ก ษาและ ผู ้ ม าใช้ บ ริ ก ารรวมถึ ง การเปิ ด มหาวิ ท ยาลั ย เป็ น พื้ น ที่ พั ก ผ่ อ นและ ออกก�ำลังกายของคนในชุมชนและพื้นที่รอบข้าง เพื่อเป็นการเพิ่มขีด ความสามารถการบริการทางการแพทย์ในกรณีฉุกเฉิน มหาวิทยาลัย ได้ ติ ด ตั้ ง เครื่ อ งกระตุ ก หั ว ใจด้ ว ยไฟฟ้ า แบบอั ต โนมั ติ (AED) ภายใน คณะ หน่ ว ยงานและพื้ น ที่ ส ่ ว นกลาง จ� ำ นวน 7 จุ ด ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ประกอบด้วย 1. อาคารเรียนรวม และปฎิบัติการรวม ข้างสนามกีฬากลาง 2.หน่วยฉุกเฉินและบรรเทา สาธารณภัย 3.สระว่ายน�้ำ ศูนย์กีฬาและสุขภาพ 4.จุดตรวจห้าแยกอ่าง เก็บน�้ำศรีตรัง 5.อาคารทรัพยากรการเรียนรุ้ ข้างจุดรักษาความปลอดภัย 6.ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชครบ 60 ปี 7. ส�ำนักงานอธิการบดี รองอธิการบดีวิทยาเขตหาดใหญ่ กล่าวว่า เมื่อติดตั้งอุปกรณ์ ช่วยชีพแล้ว จ�ำเป็นต้องมีการฝึกอบรมให้ความรู้และทักษะแก่เจ้าหน้าที่ บุคลากรและนักศึกษาตลอดจนผู้มาใช้บริการประจ�ำภายในมหาวิทยาลัย เพื่อให้สามารถใช้อุปกรณ์ที่ติดตั้งได้อย่างทันการณ์เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน
จึ ง ได้ ก�ำ หนดให้ มี โครงการฝึ ก อบรมความรู ้ แ ละทั ก ษะการใช้ เ ครื่ อ ง กระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ(AED) ขึ้น โดยได้รับการสนับสนุน จาก ส� ำ นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) ด�ำเนินการโดยงานพัฒนาและฝึกอบรม กองการเจ้าหน้าที่ เป้ า หมายการอบรม บุ ค ลากรในวิ ท ยาเขตหาดใหญ่ จ� ำ นวน 500 คน แบ่งเป็น 10 รุ่น ๆ ละ 50 คน ณ ศูนย์ฝึกทักษะทางคลินิกฯ ชั้น 6 อาคารแพทยศาสตร์ศึกษาราชนครินทร์ และที่สนามกีฬากลาง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ ให้ มี ค วามรู ้ ความสามารถในการช่ ว ยเหลื อ เมื่ อ มี บุ ค คลภาวะหั ว ใจหยุ ด เต้ น โดยบุ ค ลากรของหน่ ว ยฉุ ก เฉิ น และบรรเทาสาธารณภั ย กองอาคาร สถานที่ และบุคลากรส�ำนักงานอธิการบดี เข้ารับการอบรม วิทยากรประกอบด้วย 1.นายแพทย์ปัณณวิชญ์ เบญจวลีย์มาศ ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ 2.แพทย์หญิงอาอัยซะห์ ดาเด๊ะ ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์ 3.นายแพทย์ ธี ร นั ย สกุ ล ชิ ต ภาควิ ช าเวชศาสตร์ ฉุ ก เฉิ น คณะแพทยศาสตร์ 4. พยาบาลภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ และผู้ช่วยวิทยากร ประกอบด้วย 1.นางสาวทิพวรรณ จันทพันธ์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ 2. นายไพรั ช นวลจริ ง ภาควิ ช าวิ สั ญ ญี วิ ท ยา คณะแพทยศาสตร์ และ3. เจ้าหน้าที่งานแพทยศาสตร์ศึกษา
ม.อ.มอบเงินผ่าน มข. เพื่อเยียวยาผู้ประสบอุทกภัยภาคอีสาน ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.ภั ท ร อั ย รั ก ษ์ รองอธิการบดีฝ่าย องค์กรสัมพันธ์และสารสนเทศ ในฐานะตัวแทนจากมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ได้เข้ามอบเงิน จ�ำนวน 138,394.43 บาท เพื่อช่วยเหลือผู้ ประสบอุทกภัยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือผ่านมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดย รองศาสตราจารย์ ดร.กิ ต ติ ชั ย ไตรรั ต นศิ ริ ชั ย อธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นผู้รับมอบ เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2560 เวลา 13.00 น. ที่ห้องอธิการบดี ชั้น 6 อาคารสิริคุณากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น ทั้ ง นี้ เนื่ อ งจากในช่ ว งเดื อ น กรกฎาคม 2560 ได้ เ กิ ด อุ ท กภั ย ขึ้ น ในหลายจั ง หวั ด ของภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ท� ำ ให้ ป ระชาชน หลายจ�ำนวนมากได้รับความเดือนร้อน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ มี ก ารเปิ ด รั บ บริ จ าคเงิ น เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ เยี ย วยาผู ้ ป ระสบอุ ท กภั ย ดั ง กล่ า ว ผ่ า นบั ญ ชี “สงขลานคริ น ทร์ เ พื่ อ ผู ้ ป ระสบภั ย ” ธนาคาร ไทยพาณิ ช ย์ สาขามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และได้ ม อบผ่ า น มหาวิ ท ยาลั ยขอนแก่ น ซึ่ง จะน�ำไปด�ำเนิน การตามวัต ถุประสงค์ข อง ผู้บริจาค โดยเบื้องต้นทางมหาวิทยาลัยขอบแก่นจะน�ำไปช่วยเหลือ น้องๆโรงเรียนศึกษาคนตาบอดที่ได้รับผลกระทบจากน�้ำท่วม
อนึ่ ง เมื่ อ เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ ที่ ผ ่ า นมา ผู ้ ช ่ ว ยอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ย ศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นพร้อมคณะ ได้ เ ข้ า มอบเงิ น บริ จ าคจากตามโครงการ KKU USR มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่นเพื่อสังคม “คนไทยไม่ทอดทิ้งกัน รวมน�้ำใจ มข. ช่วยน�้ำท่วม” แก่อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อน�ำช่วยบรรเทาความ เดือดร้อนจากอุทกภัยในจังหวัดภาคใต้เช่นกัน
31 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
แนะน�ำหลักสูตร
แนะน�ำหลักสูตร คณะวิทยาศาสตร์ Faculty of Science (วิทยาเขตหาดใหญ่) คณะวิทยาศาสตร์เปิดสอนหลักสูตรทั้ง 3 ระดับ ดังนี้ 1. ระดับปริญญาตรี เปิดสอนในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (B.Sc.) แบ่งเป็น 2 ประเภทวิชา คือ 1.1 ประเภทวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ 4 สาขาวิชาเอก 1) สาขาจุลชีววิทยา 2) สาขาชีววิทยา 3) สาขาเทคโนโลยีชีววิทยา 4) สาขาวิชาเคมี-ชีววิทยา 1.2 ประเภทวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ 9 สาขาวิชาเอก 1) สาขาวิชาคณิตศาสตร์ 2) สาขาวิชาเคมี 3) สาขาวิชาฟิสิกส์ 4) สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 5) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ 6) สาขาวิชาสถิติ 7) สาขาวิชาวัสดุศาสตร์ 8) สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 9) สาขาวิชาเคมี-ชีววิทยา 2. ระดับปริญญาโท เปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (M.Sc.) จ�ำนวน 19 สาขาวิชา ดังนี้ 1) สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) 2) สาขาวิชาคณิตศาสตร์ (Mathematics) 3) สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ (Mathematics and statistics) 4) สาขาวิชาเคมี (Chemistry) 5) สาขาวิชาเคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry) 6) สาขาวิชาชีวเคมี (Biochemistry) 7) สาขาวิชาชีววิทยาโมเลกุลและชีวสารสนเทศ (Molecular Biology and Bioinformatics) 8) สาขาจุลชีววิทยา (Microbiology) 9) สาขาวิชาฟิสิกส์ (Physics) 10) สาขาวิชาธรณีฟิสิกส์ (Geophysics) 11) สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร์(Forensic Science) 12) สาขาวิชาเภสัชวิทยาศาสตร์(Pharmacology) 13) สาขาวิชานิเวศวิทยา-หลักสูตรนานาชาติ (Ecology-International program) 14) สาขาวิชาพฤกษศาสตร์ (Botany) 15) สาขาสัตววิทยา (Zoology)
32 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
16) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์ (Polymer Science and Technology) 17) สาขาวิชาสรีรวิทยา (Physiology) 18) สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) 19) สาขาวิชาวัสดุศาสตร์ (Materials Science) 3. ระดั บ ปริ ญ ญาเอก เปิ ด สอนหลั ก สู ต รปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต (Ph.D.) จ�ำนวน 11 สาขาวิชา ดังนี้ 1) สาขาวิชาเคมี (Chemistry) 2) สาขาวิชาเคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry) 3) สาขาจุลชีววิทยา (Microbiology) 4) สาขาวิชาชีวเคมี (Biochemistry) 5) สาขาชีววิทยา (Biology) 6) สาขาวิชาชีววิทยาโมเลกุลและชีวสารสนเทศ (Molecular Biology and Bioinformatics) 7) สาขาวิชาฟิสิกส์ (Physics) 8) สาขาวิชาธรณีฟิสิกส์ ( Geophysics) 9) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์ (Polymer Science and Technology) 10) สาขาวิชาสรีรวิทยา (Physiology) 11) สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์-หลักสูตรนานาชาติ (Computer Science-International Program) ประมาณการค่าใช้จ่ายในการศึกษา ค่ า ใช้ จ ่ า ยต่ อ หั ว ต่ อ ปี ปั จ จุ บั น ใช้ ค ่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษา ในระบบเหมาจ่าย ซึ่งรวมค่าธรรมเนียมพิเศษด้วยแล้ว โดยเรียกเก็บ ในอัตรา ดังนี้ 1. หลักสูตรระดับปริญญาตรี - หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาละ 18,000 บาท (หลักสูตร 4ปี) 2. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา - ปริญญาโท ภาคการศึกษาละ 22,000 บาท - ปริญญาโท ภาคการศึกษาละ 44,000 บาท (หลักสูตรนานาชาติ/นักศึกษาต่างชาติ)
แนะน�ำหลักสูตร - ปริญญาเอก ภาคการศึกษาละ 28,000 บาท - ปริญญาเอก ภาคการศึกษาละ 56,000 บาท (หลักสูตรนานาชาติ/นักศึกษาต่างชาติ) ติดต่อเพิ่มเติม โทรศัพท์ 0 7428 8022 โทรสาร 0 7444 6657 E-mail: sci-pr@group.psu.ac.th Homepage: http://www.sc.psu.ac.th Facebook: PSUSci Twitter: PSUSci
คณะศิลปศาสตร์ Faculty of Liberal Arts (วิทยาเขตหาดใหญ่)
2. สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคม ภาคปกติ ในอัตราเหมาจ่าย 27,000บาท/ภาคการศึกษา ภาคพิเศษ ในอัตราเหมาจ่าย 33,000บาท/ภาคการศึกษา 3. สาขาวิชาภาษาไทยและภาษาไทยประยุกต์ ภาคปกติ ในอัตราเหมาจ่าย 27,000บาท/ภาคการศึกษา ระดับปริญญาเอก 1. สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ ภาคปกติ/ 3 ปีการศึกษา ในอัตราเหมาจ่าย 27,000 บาท/ภาคการศึกษา 2.สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคม ภาคปกติ ในอัตราเหมาจ่าย 27,000บาท/ภาคการศึกษา ติดต่อเพิ่มเติม โทรศัพท์ 0 7428 6709 โทรสาร 0 7428 6707 E-mail: libarts@group.psu.ac.th Homepage: http://www.libarts.psu.ac.th
คณะรัฐศาสตร์ Faculty of Political Science (วิทยาเขตปัตตานี) คณะศิลปะศาสตร์ ด�ำเนินการสอนหลักสูตร 3 ระดับ ดังนี้ 1. ระดั บ ปริ ญ ญาตรี เปิ ด สอนหลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต 4 สาขาวิชา คือ 1.1 สาขาวิชาภาษาและภาษาไทยประยุกต์ 1.2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ 1.3 สาขาวิชาภาษาจีน 1.4 สาขาวิชาชุมชนศึกษา 2. ระดับปริญญาโท เปิดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต 3 สาขา คือ 2.1 สาขาวิ ช าการสอนภาษาอั ง กฤษเป็ น ภาษานานาชาติ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) 2.2 สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคม(ภาคปกติและภาคพิเศษ) 2.3 สาขาวิชาภาษาไทยและภาษาไทยประยุกต์ (ภาคปกติ) 3. ระดับปริญญาเอก เปิดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต 2 สาขา คือ 3.1 สาขาวิ ช าการสอนภาษาอั ง กฤษเป็ น ภาษานานาชาติ (ภาคปกติ/ 3 ปีการศึกษา) 3.2 สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคม
เปิดสอนหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต( Bachelor of political Science Program) 4 แขนงวิชา คือ 1. แขนงวิชาการปกครอง 2. แขนงวิชาการปกครองท้องถิ่น 3. แขนงวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 4. แขนงวิชานโยบายสาธารณะ ประมาณการค่าใช้จ่ายในการศึกษา: ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี: ค่าใช้จ่ายการลงทะเบียนภาคการศึกษา ละ 11,000 บาท (ค่าหน่วยกิตและค่าบ�ำรุงอื่นๆ ค่าธรรมเนียม การศึกษาอื่นๆ เรียกเก็บตามประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) ติดต่อเพิ่มเติม โทรศัพท์ 0 7333 0810 Homepage: http://polsci.pn.psu.ac.th/
ประมาณการค่าใช้จ่ายในการศึกษา ระดับปริญญาตรี ประมาณภาคการศึกษาละ 16,000 บาท ระดับปริญญาโท 1. สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ ภาคปกติ ในอัตราเหมาจ่าย 27,000บาท/ภาคการศึกษา ภาคพิเศษ ในอัตราเหมาจ่าย 30,000บาท/ภาคการศึกษา
33 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
เพื่อประโยชน์เพื่อนมนุษย์
ศูนย์วิจัยภัยพิบัติฯ ม.อ.
เตรียมแผนระยะสั้น-ระยะยาว รับมือน�้ำท่วมภาคใต้
รองศาสตราจารย์ ดร.ธนิต เฉลิมยานนท์ ผู ้ อ� ำ นวยการศู น ย์ วิ จั ย ภั ย พิ บั ติ ท างธรรมชาติ ภ าคใต้ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ น� ำ เสนอแนวทาง และแผนการด�ำเนินการเพื่อแก้ปัญหาน�้ำท่วมภาคใต้ ต่อสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อ 15 กรกฎาคม 2560 โดยให้ข้อมูลสาเหตุของเหตุการณ์น�้ำท่วมภาคใต้ พ.ศ. 25592560 การจัดกิจกรรม “ภาคใต้เข้มแข็ง..สู้ภัยน�้ำท่วม” ทั้งที่ อ�ำเภอหาดใหญ่ซึ่งเริ่มมาตั้งแต่ปี 2554 และครั้งล่าสุดที่จังหวัด สุราษฎร์ธานี เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2560 และ ได้น�ำเสนอ แนวทางและแผนการด�ำเนินงานแก้ปัญหาน�้ำท่วมภาคใต้ ผูอ้ ำ� นวยการศูนย์วจิ ยั ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติภาคใต้ กล่าวว่า ในการด�ำเนินการเพื่อแก้และลดปัญหาน�้ำท่วมภาคใต้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 แนวทาง คือ แนวทางการบริหาร จัดการน�้ำท่วมเชิงพื้นที่ ในรูปแบบของ “หาดใหญ่โมเดล” ที่ได้ ประสบความส� ำ เร็ จ มาแล้ ว โดยอาศั ย ความร่ ว มมื อ จากนั ก วิ ช าการหลากหลายสาขาจากหลายคณะหลายวิ ท ยาเขต รวมทั้ ง เชื่ อ มโยงความร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงานภายนอก ซึ่ ง แนวทางนี้ ส ามารถท� ำ ได้ ทั น ที และเห็ น ผลในระยะสั้ น การ ด� ำ เนิ น การในแนวทางแรก จะมี ก ารน� ำ ความส� ำ เร็ จ ของ “หาดใหญ่ โ มเดล” ไปต่ อ ยอดเพื่ อ ช่ ว ยแก้ ป ั ญ หาอุ ท กภั ย ในจั ง หวั ด ที่ เ กิ ด ปั ญ หาซ�้ ำ ซากจากอุ ท กภั ย มี ค วามเสี ย หาย ทางเศรษฐกิจและสังคมสูง โดยเริ่มจากเมืองที่ใกล้เคียงกับ พื้ น ที่ ที่ วิ ท ยาเขตของมหาวิ ท ยาลั ย ตั้ ง อยู ่ เพื่ อ ความยั่ ง ยื น ในการด� ำ เนิ น การ คื อ ในจั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี ตรั ง และ ปัตตานี เพื่อเป็นการเน้นย�้ำถึงภาระหน้าที่ของมหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ ใ นการเข้ า ตอบโจทย์ ป ั ญ หาในพื้ น ที่ ภ าคใต้
34 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560
ส่วนอีกแนวทางหนึ่งคือ แนวทาง การศึกษายุทธศาสตร์ การบริหารจัดการน�้ำในภาคใต้และรายลุ่มน�้ำ เป็นการศึกษา ทางวิชาการ เรื่องการบริหารจัดการน�้ำ การลดปัญหาน�้ำท่วม น�้ำแล้ง โดยจะท�ำการศึกษาและคาดการณ์ความต้องการใช้น�้ำ ในอนาคต มีการประเมินสมดุลน�้ำ ศึกษาคุณสมบัติการไหล ของน�้ำ และพื้นที่เสี่ยงภัยน�้ำท่วม และจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ การบริ ห ารจั ด การน�้ ำ แบบบู ร ณาการทั้ ง อุ ท กภั ย และการ ขาดแคลนน�้ ำ ทั้ ง พื้ น ที่ ที่ เ ป็ น ลุ ่ ม น�้ ำ หลั ก และลุ ่ ม น�้ ำ ย่ อ ย แต่ในแนวทางนี้จะไม่เห็นผลในระยะสั้น เนื่องจากหลายอย่าง เป็ น มาตรการทางโครงสร้ า ง ต้ อ งมี ห น่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบ โดยตรง รับไปด�ำเนินการต่อ ทั้งนี้ สภามหาวิทยาลัยเห็นว่า การที่มหาวิทยาลัยได้ เข้ า ไปมี ส ่ ว นในการแก้ ป ั ญ หาอุ ท กภั ย ในภาคใต้ ท� ำ ให้ ภ าพ ลักษณ์ของมหาวิทยาลัยชัดเจนขึ้นในเรื่องการมีส่วนในการแก้ ปัญหาชุมชน และเสนอแนะให้มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งข้อมูล ของน�้ ำ ตามธรรมชาติ ใ นภาคใต้ เ ช่ น เส้ น ทางน�้ ำ และการใช้ ประโยชน์ โดยขอให้บูรณาการความรู้จากนักวิชาการของหน่วย งานภายในมหาวิทยาลัยในทุกสาขาทุกวิทยาเขต รวมทั้งจาก หน่วยงานภายนอก ในการช่วยศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมในเรื่องที่ ส�ำคัญในการช่วยแก้ปัญหาอุทกภัย ตั้งแต่ก่อนเกิดเหตุการณ์ จนถึ ง การเยี ย วยาผู ้ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ ซึ่ ง ได้ แ ก่ ระบบการ พยากรณ์อากาศ การเตือนภัยก่อนเกิดอุทกภัย การเรียนรู้วิธี การป้องกัน การรับมือขณะเกิดอุทกภัย การเยียวยาผู้ประสบภัย และการจัดการระบบต่างๆ เพื่อการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
กิจกรรมที่น่าสนใจ
35 ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2560