ก
คำนำ คู%มือการปฏิบัติงาน การพัฒนาสื่อวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร<โดยใชCหลัก Storytelling Canvas คณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< จัดทำขึ้นเพื่อใหCผูCที่ปฏิบัติงานดCานประชาสัมพันธ< โดยเฉพาะ การผลิตสื่อวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<ใหCตรงกลุ%มเป^าหมายมากยิ่งขึ้น ตั้งแต%ป` 2020 พฤติกรรมของผูCบริโภคที่ เปลี่ยนแปลงไป ใชCเวลากับการเสพสื่อออนไลน<มากขึ้น ทำใหCการประชาสัมพันธ<ในรูปแบบเดิมนั้นไม%อาจดึงดูดไดC เพราะผูCบริโภคใน Social Media สนใจที่จะเสพ Story ใน Content มากขึ้น และมีผลต%อการตัดสินใจไม%ว%าจะใน เชิงบวกหรือลบ โดยคู%มือปฏิบัติงานเล%มนี้ประกอบไปดCวยประสบการณ<และเนื้อหาที่สำคัญเกี่ยวกับหลักเกณฑ< วิธีการ เทคนิค ปkญหาและแนวทางการแกCไขพัฒนาเพื่อใชCเปlนแนวทางในการผลิตสื่อวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ< วิทยาศาสตร<เริ่มตCนจนสิ้นสุดกระบวนการอย%างมีประสิทธิภาพสูงสุด ผูCจัดทำหวังเปlนอย%างยิ่งว%าคู%มือปฏิบัติงานเล%มนี้จะเปlนประโยชน<และสามารถนำไปปรับใชCกับงาน เพื่อช%วย เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของผูCปฏิบัติงานและผูCที่เกี่ยวขCองต%อไป อิสรภาพ ชุมรักษา
ข
กิตติกรรมประกาศ คู%มือปฏิบัติงาน เรื่อง "การพัฒนาสื่อวีดทิ ัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร<โดยใชCหลัก Storytelling Canvas คณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< ฉบับนี้สำเร็จลุล%วงไดCดCวยดีดCวยความกรุณาและช%วยเหลือทีม บริหารคณะวิทยาศาสตร< ศาสตราจารย< ดร.อัญชนา ประเทพ คณบดีคณะวิทยาศาสตร< และ ผูCช%วยศาสตราจารย< ดร.นัฐดา จิเบ็ญจะ รองคณบดีฝtายกิจการภายในและศิษย<เก%าสัมพันธ< ที่ใหCกำลังใจพรCอมไวCใจการทำงานของทีม หน%วยประชาสัมพันธ< คุณศิริพร เทพอรัญ หัวหนCางานบริหารทรัพยากรมนุษย< ที่ใหCคำปรึกษาที่เปlนประโยชน< จากประสบการณ<ในการจัดทำคู%มือปฏิบัติงาน คุณพิมพาภรณ< ชุมสุวรรณ< นักวิชาการอุดมศึกษา สังกัดงานบริหาร ทรัพยากรมนุษย< ที่ใหCคำแนะนำในการเริ่มตCนจัดทำคู%มือฉบับนี้ รวมถึงคุณวณิกบุตร วัฒนมติพจน< นักวิชาการ คอมพิวเตอร<ชำนาญการ ที่คอยในคำแนะนำที่ดี และนCอง ๆ ทุกคนในหน%วยประชาสัมพันธ< งานเครือข%ายและ ประชาสัมพันธ<ที่พยายามใชCวิชาชีพของตัวเองผลักดันใหCคณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< เปlนที่รูCจัก ขอขอบคุณคณาจารย<จากคณะวิทยาการจัดการ หลักสูตรนิเทศศาสตร< มหาวิทยาลัยสวนดุสิต และคณะ ศึกษาศาสตร< หลักสูตรเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณที่ไดCมอบองค<ความรูCเพื่อนำมาประยุกต<ใชCใน การปฏิบัติงาน รวมทั้งกัลยาณมิตรทุกท%านที่มิไดCเอ%ยนามในที่นี้ ที่กรุณาใหCแนะนำและความช%วยเหลือตลอด ระยะเวลาการจัดทำคู%มือ ผูCจัดทำรูCสึกซาบซึ้งในความปรารถนาดีของทุกท%านเปlนอย%างยิ่ง ขอบคุณคุณแม%มณี ชุมรักษา พี่ชายเอกสันต< ชุมรักษา ครอบครัวที่มอบแต%ความปรารถนาดี ที่สำคัญขอมอบคุณประโยชน<จากคู%มือเล%ม นี้ ใหCกับคุณพ%ออารีย< ชุมรักษา คุณพ%อที่สรCางแรงบันดาลใจและสอนใหCลูกคนนี้ไม%ละความพยายามในการทำทุก ๆ เรื่อง จึงขอขอบพระคุณไวC ณ โอกาสนี้ อิสรภาพ ชุมรักษา
ค
สารบัญ คำนำ…………………………………………………..…………………………………………………..…………………………………. ก กิตติกรรมประกาศ…………………………………………………..…………………………………………………………………… ข สารบัญ…………………………………………………..…………………………………………………………………………………… ค สารบัญภาพ…………………………………………………..…………………………………………………………………………….. จ สารบัญตาราง…………………………………………………..………………………………………………………………………….. ซ บทที่ 1 บทนำ…………………………………………………..………………………………………………………………………….. 1 ความเปlนมา/ความจำเปlน/ความสำคัญ……………………………………………………………………………….. 1 วัตถุประสงค<…………………………………………………..………………………………………………………………… 2 ขอบเขต…………………………………………………..………………………………………………………………………. 2 นิยามศัพท<เฉพาะ/คำจำกัดความ………………………………………………………………………………………… 3 บทที่ 2 บทบาทหนCาที่ความรับผิดชอบ…………………………………………………………………………………………….. 8 บทบาทหนCาที่ความรับผิดชอบของตำแหน%ง…………………………………………………………………………. 8 ลักษณะงานที่ปฏิบัต…ิ ………………………………………………………………………………………………………..10 โครงสรCางการบริหารจัดการ………………………………………………………………………………………………..13 บทที่ 3 หลักเกณฑ<วิธีการปฏิบัติงานและเงื่อนไข………………………………………………………………………………..16 หลักเกณฑ<การปฏิบัติงาน…………………………………………………..……………………………………………….16 วิธีการปฏิบัติงาน…………………………………………………..………………………………………………………….. 17 เงื่อนไข/ขCอสังเกต/ขCอควรระวัง/สิ่งที่ควรคำนึงในการปฏิบัติงาน…………………………………………….. 17 แนวคิด/งานวิจัยที่เกี่ยวขCอง……………………………………………………………………………………………….. 18 บทที่ 4 เทคนิคในการปฏิบัติงาน………………………………………………………………………………………………………33 กิจกรรม/แผนปฏิบัติงาน…………………………………………………..………..………..………..………………….. 33 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน…………………………………………………..……..……..……..……..……………………….34 วิธีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน…………………………………………………………………………54 จรรยาบรรณ/คุณธรรม/จริยธรรมในการปฏิบัติงาน………………………………………………………………. 56
ง
สารบัญ (ต3อ) บทที่ 5 ปkญหาอุปสรรคและแนวทางในการแกCไขและพัฒนางาน…………………………………………………………. 60 ปkญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน…………………………………………………..…..…..…..………………………. 60 แนวทางแกCไขและพัฒนา…………………………………………………..………..………..…………………………… 60 ขCอเสนอแนะ…………………………………………………..……………………………………………………………….. 61 บรรณานุกรม………………………………………………………………………………………………………………………………… 62 ภาคผนวก…………………………………………………………………….....…………………………………………………………… 65 ประวัติผูCเขียน…………..…………………………………………………………………………………………………………………… 76
จ
สารบัญภาพ ภาพที่ 1-1 Storytelling Canvas………………………..………………………..………………………..……………………………… 6 ภาพที่ 2-1 โครงสรCางองค<กรมหาวิทยาลัย…………..………………………..…………………………………….…………………… 13 ภาพที่ 2-1 Organization Chart………………………..………………………..……………………………………………………….. 14 ภาพที่ 2-2 Administration Chart..………………………..………………………………………………………………………………14 ภาพที่ 2-3 Activity Chart..………………………..………………………..………………………..…………………………………….. 15 ภาพที่ 3-1 Camera Shots and Angles …..…..………………………..…………………………………………………………... 28 ภาพที่ 4-1 กระบวนการก%อนการผลิตสื่อวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<..……………………..……………………………………….. 36 ภาพที่ 4-2 กระบวนการผลิตวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<..………………………...............………………………………………….. 38 ภาพที่ 4-3 กระบวนการเผยแพร%วีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<..…………………….......…..………………………………………….. 40 ภาพที่ 4-4 รูปแบบ Storytelling Canvas..…………………….………………….………………………..………………………... 42 ภาพที่ 4-5 ตัวอย%าง Storytelling Canvas เรื่องพอลิเมอร< ผูCสรCางถุงยางอนามัย………………………………………... 44 ภาพที่ 4-6 ตัวอย%างวีดิทัศน<เรื่องพอลิเมอร< ผูCสรCางถุงยางอนามัย…………...........................……………………….……. 45 ภาพที่ 4-7 ภาพตัวอย%างหัวขCอวีดิทัศน<เรื่องพอลิเมอร< ผูCสรCางถุงยางอนามัย……………..…………………………..……… 45 ภาพที่ 4-8 ภาพตัวอย%างหัวขCอวีดิทัศน<เรื่องพอลิเมอร< ผูCสรCางถุงยางอนามัยที่ใส%กราฟ‡ก........……..…………………… 46 ภาพที่ 4-9 ภาพตัวอย%างสถิติวีดิทัศน<วิทยาศาสตร<เรื่องพอลิเมอร< ผูCสรCางถุงยางอนามัย………..……………………..... 46 ภาพที่ 4-10 ตัวอย%าง Storytelling Canvas เรื่องผีกระสือกับ Anatomy Halloween 2022 ..…………..……... 48 ภาพที่ 4-11 ตัวอย%างวีดิทัศน<เรื่องผีกระสือกับ Anatomy Halloween 2022……….......………………………………. 49 ภาพที่ 4-12 ภาพตัวอย%างหัวขCอวีดิทัศน<เรื่องผีกระสือกับ Anatomy Halloween 2022...……………..………….... 49 ภาพที่ 4-13 ภาพตัวอย%างหัวขCอวีดิทัศน<เรื่องผีกระสือกับ Anatomy Halloween 2022 ที่ใส%กราฟ‡ก................. 50 ภาพที่ 4-14 ภาพตัวอย%างสถิติวีดิทัศน<วิทยาศาสตร<เรื่องผีกระสือกับ Anatomy Halloween 2022.................. 50 ภาพที่ 4-15 ตัวอย%าง Storytelling Canvas เรื่องเรือดำน้ำทัวร<ไททานิคหายไปไหน?......................................... 51 ภาพที่ 4-16 ตัวอย%างวีดิทัศน<เรื่องเรือดำน้ำทัวร<ไททานิคหายไปไหน?.……….................……..………………………..... 52 ภาพที่ 4-17 ภาพตัวอย%างหัวขCอวีดิทัศน<เรื่องเรือดำน้ำทัวร<ไททานิคหายไปไหน?.................................................. 52
ฉ
สารบัญภาพ (ต3อ) ภาพที่ 4-17 ภาพตัวอย%างหัวขCอวีดิทัศน<เรื่องเรือดำน้ำทัวร<ไททานิคหายไปไหน? ที่ใส%กราฟ‡ก….………………....…. 53 ภาพที่ 4-18 ภาพตัวอย%างสถิติวีดิทัศน<วิทยาศาสตร<เรื่องเรือดำน้ำทัวร<ไททานิคหายไปไหน? .............................. 53
ช
สารบัญตาราง ตารางที่ 4-1 วิธีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน……………………………………………………………………..…. 54
1
บทที่ 1 บทนำ ความเป(นมา/ความจำเป(นความสำคัญ ในปkจจุบันเทคโนโลยีทางการสื่อสารและสื่อสังคมออนไลน< มีบทบาทสำคัญต%อการสื่อสารรวมถึงการ ประชาสัมพันธ<องค<กร เปlนการสื่อสารสองทาง (Two way Communication) ที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ กล%าวคือ เปlนการสื่อสาร เผยแพร%ข%าวสาร การเรียนการสอน งานวิจัย งานบริการวิชาการ รวมถึงนวัตกรรมของ นักวิจัย ของคณะวิทยาศาสตร< มีความจำเปlนอย%างยิ่งในการสื่อสารในขณะเดียวกันก็เปlนการรับฟkงความคิดเห็น รับทราบขCอมูลความเคลื่อนไหวต%าง ๆ จากสาธารณชนเช%นเดียวกันขCอมูลข%าวสารที่เกิดขึ้นเมื่อนำมาวิเคราะห< ตรวจสอบขCอมูล เรียบเรียง นำมาสู%ข%าวสารการประชาสัมพันธ<ที่เปlนปkจจุบันทันต%อเหตุการณ< ตามพันธกิจ สรCาง ทรัพยากรมนุษย<ที่มีความรูC คุณธรรม และทักษะทางวิทยาศาสตร< ผลิตงานวิจัยและนวัตกรรมใหCเปlนที่ยอมรับ ระดับสากล ถ%ายทอดองค<ความรูCทางวิทยาศาสตร< และใหCบริการวิชาการที่ยอมรับในระดับชาติ ใหCเกิดประโยชน<ต%อ สังคม หน%วยประชาสัมพันธ< งานเครือข%ายและประชาสัมพันธ< คณะวิทยาศาสตร< มีหนCาที่ในการเผยแพร%ขCอมูล ข%าวสารเกี่ยวกับกิจกรรมของหน%วยงานทั้งภายในและภายนอกหน%วยงาน สรCางความเขCาใจและความสัมพันธ<อันดี ระหว%างบุคลากรภายในและภายนอกหน%วยงานตลอดจนบุคคลทั่วไป เพื่อสรCางภาพลักษณ<ที่ดีใหCเกิดขึ้นกับ หน%วยงานโดยใชCสื่อเปlนเครื่องมือหรือตัวกลางที่ใชCในการนำข%าวสาร เรื่องราว จากองค<กรหรือหน%วยงานไปสู% ประชาชนดังนั้น เพื่อพัฒนารูปแบบ วิธีการบริหาร และกระบวนการทำงานของงานประชาสัมพันธ< เพื่อใหC กลุ%มเป^าหมาย อาทิ นักเรียน นักศึกษา ผูCปกครอง คณาจารย< รวมถึงประชาชนทั่วไปไดCทราบข%าวสาร และความรูC จากคณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< ตามพันธกิจของคณะวิทยาศาสตร< ตอนหนึ่งที่ว%า ถ%ายทอด องค<ความรูCทางวิทยาศาสตร< โดยปkจจุบันไดCพัฒนามาเปlนรูปแบบวีดิทัศน<ใหCความรูCมากขึ้นซึ่งแน%นอนว%าจะตCอง พัฒนารูปแบบประชาสัมพันธ<ใหCทันสมัย และตรงกลุ%มเป^าหมายมากยิ่งขึ้น สิ่งหนึ่งที่มีความสำคัญของการประชาสัมพันธ< เพื่อใหCทุกคนไดCเขCาถึงขCอมูลข%าวสาร การบริการอย%างทั่วถึง และสื่อที่หน%วยงานใชCประชาสัมพันธ<รวมถึงหน%วยงานต%าง ๆ ใหCความสนใจที่มีประสิทธิภาพ ทำใหCดึงดูดผูCคนไดCเปlน อย%างดี คือสื่อวีดิทัศน<ซึ่งสื่อประเภทนี้ทำใหCประชาชนหรือผูCรับข%าวสารเขCาใจไดCง%ายกว%าสื่อสิ่งพิมพ< ที่บางครั้งมีการ ใชCภาษาที่กำกวม และบ%อยครั้งทำใหCประชาชนหรือผูCรับข%าวสารมีความเขCาใจคลาดเคลื่อน นอกจากสื่อดีทัศน<จะทำ ใหCเขCาใจไดCง%ายแลCว ยังทำใหCผูCรับข%าวสารมีความเพลิดเพลินและติดตามเรื่องราวไดCจนจบ เขCาใจเนื้อหาที่เรา
2
ตCองการสื่อสารเปlนอย%างดี ซึ่งการสรCางคอนเทนต<เปlนส%วนสำคัญ เพื่อใหCสามารถเจาะลึกเขCาถึงผูCบริโภคไดCตรงกลุ%ม และตอบโจทย<กับกลุ%มเป^าหมายมากขึ้น และเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อใหCสารที่สื่อออกไปไม%สูญเปล%าและก็ เช%นเดียวกับการผลิตสื่อและทำคอนเทนต<ที่จะตCองนำแนวคิดรูปแบบดังกล%าวมาใชC เพื่อใหCสามารถเขCาถึงผูCรับสาร มากที่สุดดCวยมากที่สุดดCวย โดยตCองวางตัวเองใหCอยู%ตรงกลางระหว%างสิ่งที่อยากนำเสนอ อยากเล%า และ สิ่งที่คนฟkง อยากไดCยิน อยากดู อยากฟkง โดยใหCทั้งความสำคัญกับฝk•งผูCผลิตคอนเทนต< (ถูกความเปlนตัวเราและถูกเป^าหมาย) และกลุ%มผูCรับสาร (ถูกคน ถูกใจ และ ตรงกับความตCองการ) ดังนั้นการนำ Storytelling Canvas หรือแคนวาส สำหรับคนทำคอนเทนต<เปlนสิ่งสำคัญที่นักประชาสัมพันธ<จะผลิตคอนเทนต<ที่ตรงกลุ%ม และสรCางสรรค< จากความเปlนมาขCางตCน การพัฒนาสื่อวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร<เพื่อใหCเขCาถึงกลุ%มเป^าหมาย จำเปlนตCองนำเอาหลัก Storytelling Canvas มาใชCจึงเปlนที่มาของการจัดทำคู%มือปฏิบัติงานเรื่อง การพัฒนาสื่อ วีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร<โดยใชCหลัก Storytelling Canvas วัตถุประสงค6 1. สรCางความรูCและความเขCาใจหลักการ Storytelling Canvas แก%ผูCปฏิบัติงานประชาสัมพันธ<มาใชCในการ ผลิตสื่อประชาสัมพันธ< 2. เพื่อใหCผูCปฏิบัติงานดCานประชาสัมพันธ< หรือบุคคลที่เกี่ยวขCองสามารถพัฒนานำไปปรับใชCในการผลิตสื่อ วีดิทัศน<เพื่อการประชาสัมพันธ<ใหCตรงกลุ%ม ตรงตามวัตถุประสงค<อย%างมีประสิทธิภาพ และใชCงานไดCจริง ขอบเขต ขอบเขตของการจัดทำคู%มือการปฏิบัติงานการพัฒนาสื่อวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร<โดยใชCหลัก Storytelling Canvas ในครั ้ ง นี ้ จะทำการรวบรวมความรู C จ ากปฏิ บ ั ต ิ ง านดC า นการผลิ ต และเผยแพร% สื่ อ ประชาสัมพันธ<ของคณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< โดยมีกระบวนการตั้งแต%การวางแผนและ กำหนดประเด็นเนื้อหาในการผลิตสื่อ การออกแบบและจัดทำสื่อ การตรวจสอบ ความถูกตCอง และการเผยแพร%
3
นิยามศัพท6เฉพาะ 1. การประชาสัมพันธ6 หมายถึง การชักจูงประชามติ ดCวยวิธีการติดต%อสื่อสาร เพื่อใหCกลุ%มประชาชนเกิด ความรูCความเขCาใจและมีความรูCสึกที่ดีต%อองค<กรการประชาสัมพันธ<จึงมิใช%เปlนเพียงแค%งานเผยแพร% แต%งาน ประชาสัมพันธ<เปlนงานในเชิงสรCางสรรค<ที่ก%อใหCเกิดความรูCความเขCาใจแก%ประชาชน เปlนงานส%งเสริมความ เขCาใจอันดี และสรCางความสัมพันธภาพระหว%างหน%วยงาน องค<กร โดยยึดหลักความจริงและประโยชน< ร%วมกันทั้งสองฝtาย 2. การผลิตขEาวประชาสัมพันธ6ของคณะวิทยาศาสตร6 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร6 หมายถึง การจัดทำ ข%าวประชาสัมพันธ<ในคณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< ภายใตCการดำเนินงานตามนโยบาย ของคณะผู C บ ริ ห าร ยุ ท ธศาสตร< วิ ส ั ย ทั ศ น< พั น ธกิ จ หรื อ โครงการสำคั ญ ของคณะวิ ท ยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< ซึ่งขCอมูลในการจัดทำข%าวไดCมา งาน/โครงการ/กิจกรรม และสื่อมวลชน โดย มีแหล%งข%าวเปlนคณาจารย< นักวิจัย นักศึกษา 3. การผลิตสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ6 หมายถึง สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ< เปlนเครื่องมือและสื่อกลางในการ สื ่ อสารจากองค< กรสู % กลุ % มเป^ าหมาย การสรC างความสั มพั นธ< อั นใกลC ชิ ดใหC เกิ ดขึ ้ นระหว% างองค< กรกั บ กลุ%มเป^าหมาย ในปkจจุบัน สื่อในการประชาสัมพันธ<มีมากมายและหลากหลาย อันเปlนผลเนื่องมาจากการ พัฒนาดCานเทคโนโลยีของโลกปkจจุบัน โดยพิจารณาตามลักษณะของสื่ออาทิ สื่อบุคคล สื่อมวลชน สื่อโซเชียวมีเดีย สื่อวีดิทัศน< ฯลฯ 4. การเผยแพรE ข E า วประชาสั ม พั น ธ6 หมายถึ ง การนำข% า วประชาสั ม พั น ธ< ข องคณะวิ ท ยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< ที่ผลิตเผยแพร%สู%สาธารณชน โดยตรงผ%านช%องทางประชาสัมพันธ<ต%าง ๆ อาทิ ทางเว็บไซต<ของคณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< (www.sci.psu.ac.th) สื่อออนไลน< และ ผ%านสื่อมวลชน ทางช%องทางการสื่อสาร ต%าง ๆ อาทิ จดหมายอิเล็กทรอนิกส< (e-mail) จอประชาสัมพันธ< วีดิทัศน< สปอตโฆษณา สถานีวิทยุกระจายเสียง 5. เจKาหนKาที่ผูKปฏิบัติงาน หมายถึง นักวิชาการอุดมศึกษา ปฏิบัติงานดCานประชาสัมพันธ< ผูCที่ไดCรับมอบหมาย ใหCรับผิดชอบการปฏิบัติงานภารกิจนั้น ใหCมีประสิทธิภาพสูงสุด 6. คณะวิทยาศาสตร6 หมายถึง คณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< วิทยาเขตหาดใหญ% 7. ขKอมูลขEาวสาร หมายถึง สิ่งที่สื่อความหมายใหCทราบถึงเรื่องราวหรือขCอเท็จจริงเรื่องหนึ่ง เรื่องใด โดยใน ความหมายนี้เนCนที่การสื่อความหมายเปlนหลัก มิไดCเนCนที่รูปร%างหรือรูปแบบของความเปlนขCอมูลข%าวสาร กล%าวคือ สิ่งที่เปlนขCอมูลข%าวสารไดCนั้น ไม%จำเปlนตCองอยู%ในรูปร%างหรือรูปแบบของกระดาษที่มีขCอความหรือ
4
แฟ^มเอกสาร แต%หมายความรวมถึงสิ่งต%าง ๆ ที่อาจจะปรากฎใหCเห็นเปlนขCอความ ตัวเลข สัญลักษณ< เสียง และสิ่งอื่น ๆ ที่ทำใหCมนุษย<สามารถเขCาใจและรูCความหมายไดC ไม%ว%าจะเปlนโดยสภาพของสิ่งนั้นเอง หรือ โดยผ%านกรรมวิธีใด ๆ เช%น รูปภาพ บันทึกภาพและวีดิทัศน< เปlนตCน 8. สื่อสังคมออนไลน6 (Social Media) หมายถึง สื่อที่เปlนเครื่องมือในการปฏิบัติการทางสังคม เพื่อใชC สื่อสารระหว%างกันในเครือข%ายทางสังคมผ%านทางเว็บไซต<และโปรแกรมประยุกต<บนสื่อใด ๆ ที่มีการ เชื่อมต%อกับอินเทอร<เน็ต โดยเนCนใหCผูCใชCทั้งที่เปlนผูCส%งสารและผูCรับสาร มีส%วนร%วมอย%างสรCางสรรค<ในการ ผลิตเนื้อหาขึ้นเอง ในรูปของขCอมูล ภาพ และเสียง เว็บไซต< เช%น Facebook : คณะวิทยาศาสตร< ม.อ. หาดใหญ% Twitter : PSU_SCI YouTube Chanel : PSUSci Instagram : PSUSci 9. เฟซบุ]ก (Facebook) หมายถึง การบริการในรูปแบบของเว็บไซต< เพื่อสรCางเครือข%ายสังคมสำหรับ ผูCใชCงานในอินเทอร<เน็ต เขียนและอธิบายความสนใจ และกิจการที่ไดCทำ และเชื่อมโยงกับความสนใจและ กิจกรรมของผูCอื่น ในบริการเครือข%ายสังคมมักจะประกอบไปดCวย การแชท ส%งขCอความ ส%งอีเมล วีดิทัศน< เพลงอัปโหลดรูป บล็อก การทำงานคือ คอมพิวเตอร<เก็บขCอมูลพวกนี้ไวCในรูปฐานขCอมูล sq ส%วน video หรือ รูปภาพอาจเก็บเปlนไฟล<ก็ไดC ซึ่งไดCรับความนิยมเปlนอย%างมากในประเทศไทย ซึ่งคณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< ใชCช%องทางนี้ในการสื่อสารเช%นกัน โดยใชCเพจชื่อว%า คณะวิทยาศาสตร< ม.อ. หาดใหญ% มีผูCติดตามกว%า 45,000 คน 10. ยูทูบ (YouTube) หมายถึง เปlนเว็บไซต<แลกเปลี่ยนภาพวีดิทัศน<ที่มีชื่อเสียง (www.youtube.com) โดย ในเว็บไซนี้ ผูCใชCสามารถอัพโหลดภาพวีดิทัศน<เขCาไป เป‡ดดูภาพวีดิทัศน<ที่มีอยู% และแบ%งภาพวีดิทัศน<เหล%านี้ ใหCคนอื่นดูไดCโดยไม%เสียค%าใชCจ%ายใด ๆ ใน YouTube จะมีขCอมูลเนื้อหารวมถึงคลิป ภาพยนตร<สั้น ๆ และ คลิปที่มาจากรายการโทรทัศน< มิวสิกวีดิทัศน< และวีดิทัศน<บล็อกกิ้ง (ซึ่งเปlนการสรCางบล็อกโดยมีส%วนของ ขCอมูลที่เปlนภาพ วีดิทัศน<เปlนส%วนประกอบ โดยเฉพาะเปlนภาพวีดิทัศน<ที่เกิดจากมือสมัครเล%นถ%ายกันเอง) ซึ่งคณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< ใชCช%องทางนี้ในการเผยแพร%วีดิทัศน<ชื่อช%องทางว%า PSUSci Channel 11. ติ๊กต็อก (tiktok) คืออะไร? Tiktok หรือ Douyin ที่กำเนิดในประเทศจีน คือ แพลตฟอร<มบนโลกออนไลน< ที่อยู%ในความดูแลของ ByteDance โดยเริ่มตCนใหCบริการตั้งแต%วันที่ 29 กันยายน 2559 มีจุดประสงค<ใน การสรCาง พรCอมเผยแพร%วีดิทัศน<ความยาวสั้น ๆ บนโลกออนไลน<เพื่อใหCผูCที่สนใจไดCเขCามารับชมกัน ซึ่ง ภายในแอปพลิเคชันนี้จะมีทั้งเสียง ภาพ กราฟ‡กตกแต%งต%าง ๆ ช%วยใหCผูCใชCงานเกิดความสนุกไปกับการ ตกแต%งวีดิทัศน<ตามความชอบของตนเองซึ่งทำไดCง%ายมาก ๆ
5
12. การเขียนขEาว หมายถึง การรายงานขCอเท็จจริงของเหตุการณ<ที่เกิดขึ้น ตลอดจนความคิดเห็นของบุคคล สำคัญซึ่งเปlนเรื่องราวที่น%าสนใจและประชาชนใหCความสำคัญสนใจ รวมทั้งมีผลกระทบต%อผูCคนจำนวนมาก โดยมีองค<ประกอบ ที่เรียกว%า "5 W 1 H" ไดCแก% Who = ใคร : ใครคือบุคคลสำคัญที่เกี่ยวขCองกับข%าว What = ทำอะไร : เกิดอะไรขึ้น การกระทำหรือเหตุการณ<ใดที่สำคัญ Where = ที่ไหน : การกระทำหรือเหตุการณ<นั้น ๆ เกิดขึ้นที่ไหน When = เมื่อไร : การกระทำหรือเหตุการณ<นั้น ๆ เกิดขึ้นวัน เวลาใด Why = ทำไม : ทำไมเหตุการณ<นั้นจึงเกิด How = อย%างไร : เกิดขึ้นไดCอย%างไรหรือผลเปlนอย%างไร 13. สื่อวีดิทัศน6 หมายถึง การเล%าเรื่องโดยใชCภาพเคลื่อนไหวทำหนCาที่หลักในการนำเสนอเนื้อเรื่องหรือ เรื่องราวต%าง ๆ มีเสียงเขCามาช%วยเสริมในส%วนของภาพเพื่อสื่อความหมาย สรCางความเขCาใจ สรCางความรูCสึก ใกลCชิดกับผูCชม โดยสามารถจัดเก็บไดCในหลายรูปแบบและสามารถนำมาเผยแพร%ซ้ำไดCหลายครั้ง เรื่องราว ในวีดิทัศน<มีการสื่อความหมายไดCตามวัตถุประสงค<หลักที่ตั้งเอาไวCในแต%ละตอนของการถ%ายทำ อาทิ การ นำเอาเนื้อหามาจัดทำเปlนรายการสั้น ใชCเปlนสื่อเพื่อการนำเสนอ การอธิบาย หรือเพื่อจุดประสงค<ใด จุดประสงค<หนึ่งตามความตCองการของผูCผลิต วีดิทัศน<จึงเปlนผลผลิตที่เกิดจากกระบวนการทำงานอย%างมี ระบบของคณะทำงานซึ่งจะเรียกเปlนผูCผลิต หน%วยผลิต ฝtายผลิต หรือบริษัทผลิตรายการ (Production House) เพื่อใหCไดCมาซึ่งงานวีดิทัศน<ตามความประสงค<ของงานหรือองค<กร 14. Storytelling Canvas หมายถึง เครื่องมือสำหรับคนทำคอนเทนต<เปlนครั้งแรก เพื่อใหCผูCผลิตคอนเทนต<ที่ อยู%ในอุตสาหกรรมสื่อโฆษณาสามารถร%างแนวคิดหรือเช็กลิสต<ก%อนเริ่มสรCางสรรค<คอนเทนต<ขึ้นมา ซึ่งมี ทั้งหมด 14 ขCอ ประกอบดCวย 12.1 12.2 12.3 12.4
Goal เป^าหมายของการสื่อสาร ทำไมถึงตCองเล%าเรื่องนี้ Unique Selling Point จุดแข็งที่คนอื่นไม%สามารถเลียนแบบไดC Target Audience กลุ%มเป^าหมายและเรื่องที่เขาอยากฟkง Channel เครื่องมือช%องทางที่ใชCในการสื่อสาร ทำไมถึงตCองใชCเครื่องมือนี้ ตรงกับผูCรับสารอย%างไร 12.5 Mood & Tone อารมณ< ความรูCสึก และน้ำเสียงของเรื่องนี้
6
12.6 Key Message ประเด็นสำคัญของเรื่องที่นำเสนอ, สรุปจบภายในประโยคเดียวใหCไดC 12.7 Audience-Centric Check Point ทำไมคนฟkงตCองรูCเรื่องนี้ เกี่ยวขCองกับเขาอย%างไร แลCวต%างจากที่คนอื่นนำเสนอหรือไม% 12.8 นEาสนใจอยEางไร เรื่องที่นำเสนอน%าสนใจอย%างไร 12.9 มีประโยชน6อยEางไร เรื่องที่นำเสนอมีประโยชน<อย%างไร 12.10 Before ผูCรับสารมีความรูCหรือรูCสึกกับเรื่องนี้อย%างไร ก%อนที่จะถ%ายทอดสารออกไป 12.11 Introduction ปูพื้นเล%าเรื่องอย%างไร เป‡ดเรื่องดCวยการบอกอะไร (ผูCรับสารยุคใหม%เลื่อนฟ`ดเร็วขึ้น) 12.12 AHA! Moment จุดไคลแมกซ<ของเรื่อง หรือช%วงที่ทำใหCคนประหลาดใจที่สุด 12.13 Conclusion บทสรุปของเรื่องนี้ ทำใหCคนตราตรึงไดCมากพอและนำไปสู%อะไรบางอย%าง หรือไม% 12.14 After ผูCรับสารมีความรูCหรือรูCสึกอย%างไรกับเรื่องที่ไดCนำเสนอไปแลCว (ลิงก<กับ Before)
ภาพที่ 1-1 Storytelling Canvas
7
15. คอนเทนต6 Content หมายถึง เนื้อหาการสื่อสารขCอมูลและประสบการณ<ถึงลูกคCาหรือผูCใชCงาน เพื่อใหCผูC สื่อสารสามารถบรรลุเป^าหมายที่ตCองการไดC การสื่อสารขCอมูลผ%านคอนเทนต<ที่ดี ตCองถูกออกแบบมาใหC เหมาะสมกับเป^าหมาย ผูCรับฟkง ประเภทของเนื้อหา และช%องทางการสื่อสาร 16. พันธกิจ หมายถึง พันธกิจของคณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< ที่ว%า สรCางทรัพยากรมนุษย< ที่มีความรูC คุณธรรม และทักษะทางวิทยาศาสตร< ผลิตงานวิจัยและนวัตกรรมใหCเปlนที่ยอมรับระดับสากล ถ%ายทอดองค<ความรูCทางวิทยาศาสตร< และใหCบริการวิชาการที่ยอมรับในระดับชาติ 17. วิสัยทัศน6 หมายถึง วิสัยทัศน<ของคณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< ที่ว%า คณะวิทยาศาสตร< ชั้นนำในอาเซียน (เป^าหมาย: 1 ใน 3 ของประเทศภายในป` 2566 และ 1 ใน 5 ของอาเซียนในป` 2567 18. ผูKเชี่ยวชาญ หมายถึง อาจารย<ในคณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< ที่เชี่ยวชาญในประเด็น ต%าง ๆ เช%น อาจารย<ดCานชีววิทยา ที่เชี่ยวชาญทางดCานพืช ซึ่งไดCมาใหCสัมภาษณ<วีดิทัศน<เรื่องพืช
8
บทที่ 2 บทบาทหน?าที่รับผิดชอบ บทบาทหนKาที่ความรับผิดชอบของตำแหนEง ปฏิบัติงานฐานะปฏิบัติงานระดับตCนที่ตCองใชCความรูC ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงาน ทางดCานประชาสัมพันธ<ภายใตCการกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดCรับมอบหมาย ตามมาตฐาน กำหนดตำแหน%งนักวิชาการอุดมศึกษา ระดับปฏิบัติการ ดCานการปฏิบัติการ 1. รับโจทย<จากทีมบริหาร กำหนดทิศทางในการสื่อสาร ใหCสอดคลCองกับวิสัยทัศน<และพันธกิจของคณะ วิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< ตีโจทย<ในการสื่อสารแต%ละเดือน วางแผนการประชาสัมพันธ< ดำเนินการตามแผน ถ%ายภาพ ถ%ายวีดิทัศน< ทำข%าว ใหCสำเร็จตามเป^าประสงค< 2. เลือกสรรเครื่องมือหรือช%องทางการสื่อสารที่สอดคลCองกับแผนที่วางไวC ช%องทางสื่อทางโซเชียวมีเดีย เว็บไซต< หนังสือพิมพ< หรือ รูปแบบการจัดงานต%างๆ เพื่อการประชาสัมพันธ< รวมถึงการโปรโมทผ%านสื่อ ต%างๆ ที่กำหนดไวC 3. ติดตามข%าวการประชาสัมพันธ<ที่เราไดCจัดขึ้น ไดCส%งผ%านสื่อช%องทางไหน โดยรวบรวมเก็บในเว็บไซต<ข%าว คณะวิทยาศาสตร<ในสื่อ รวมถึงการตัดข%าวหากเปlนสื่อสิ่งพิมพ< รวมทั้งการดาวน<โหลดคลิปข%าวนั้น ๆ จาก สื่อโทรทัศน<หรือสื่อออนไลน<ที่พบเห็น 4. หากมีข%าวเสียหาย หรือภาพลักษณ<ดCานลบ จะตCองหากลยุทธ<ในการแกCไขและสรCางภาพลักษณ<ที่ดีใหC องค<กรกลับมาใหม%อีกครั้ง ดCานการวางแผน ทำหนCาที่คิดวางแผนร%วมกับทีมบริหารและเมื่อผ%านมติจากผูCบริหารเรียบรCอย การประชาสัมพันธ<ตCอง เตรียมขCอมูลสำหรับการประชาสัมพันธ<โครงการนั้น อาทิ จัดทำข%าวสาร ขCอมูลและขCอความที่จะใชCในการส%งใหCสื่อ ต%าง ๆ ตCองเลือกช%องทางการสื่อสารทั้ง offline และ online การติดต%อผูCสื่อข%าวต%าง ๆ และเมื่อข%าวต%าง ๆ ออกสู% สาธารณชนแลCวจะตCองจัดเก็บข%าว พิจารณาผล และทำการประเมินเพื่อปรับปรุงแกCไขในโครงการถัดไป
9
ดCานการประสานงาน 1. ประสานการทำงานร%วมกันระหว%างทีมงานหรือหน%วยงานทั้งภายในและภายนอก เพื่อใหCเกิดความร%วมมือ และผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไวC 2. ชี้แจงและใหCรายละเอียดเกี่ยวกับขCอมูล ขCอเท็จจริง แก%บุคคลหรือหน%วยงานที่เกี่ยวขCอง เพื่อสรCางความ เขCาใจหรือความร%วมมือในการดำเนินการตามที่ไดCรับหมอบหมาย ดCานการบริการ 1. การใหCคำแนะนำและคำปรึกษา แก%ผูCบริหารในเรื่องที่เกี่ยวกับประเด็น หรือขCอปkญหาที่เปlนที่ถกเถียงของ องค<กรหรือการสรCางภาพลักษณ<ขององค<กร ในฐานะที่องค<กรเปlนส%วนหนึ่งของสังคมจึงตCองแสดงใหC สาธารณชน ทั้งนี้เพื่อจุดมุ%งหมายในการสรCางภาพลักษณ<ที่ดีขององค<การ ตัวอย%างเช%น การออกมาตอบ สังคมในประเด็นที่สังคมมีขCอคำถามซึ่งการประชาสัมพันธ<จะตCองใหCคำแนะนำและปรึกษาในการพิจารณา ถึงวิธีการที่ดีที่สุด 2. การประกาศเพื่อเผยแพร%ข%าวสารขององค<กรผ%านสื่อมวลชนที่องค<กรสามารถควบคุมไดCทั้งในดCานเนื้อหา และรูปแบบของสื่อที่ใชCเปlนการนำเสนอข%าวขององค<กรในดCานที่เกี่ยวกับการบริการวิชาการทางดCาน วิทยาศาสตร< คณาจารย<ที่เชี่ยวชาญ การเรียนการสอนทางดCานวิทยาศาสตร< รวมถึงนวัตกรรมของนักวิจัย คณะวิทยาศาสตร< เพื่อเปlนการดึงดูดความสนใจของสาธารณชนใหCรูCจักองค<กร บุคลากรมากยิ่งขึ้น 3. การเผยแพร%ข%าวสารขององค<การต%อสื่อมวลชนโดยนักประชาสัมพันธ<จะเปlนเสมือนแหล%งหรือศูนย<กลางใน การสื่อสารขององค<กร การเผยแพร%นี้มีวัตถุประสงค<เพื่อสรCางภาพลักษณ< ความเชื่อ และทัศนคติที่ดีของ สาธารณชนต%อองค<กร อาทิ ถ%ายภาพ ผลิตคลิปวีดิทัศน< ซึ่งในบางข%าวอาจตCองจ%ายเงินซื้อเนื้อที่หรือเวลาใน การเผยแพร%และอาจไม%สามารถควบคุมหรือควบคุมไดCนCอย ทั้งในดCานเนื้อหาและรูปแบบ ตัวอย%างเช%น การเผยแพร%ข%าวในสื่อออนไลน<บางสื่อ ตCองซื้อโฆษณาเพื่อใหCเขCาถึงกลุ%มเป^าหมายมากขึ้น 4. การออกแบบสื่อประชาสัมพันธ< ในช%วงป` 2010 นั้นรูปแบบการประชาสัมพันธ<จะแตกต%างจากเดิมอย%าง สิ้นเชิง การนำโซเชียลมีเดียมาใชCในการสื่อสารมีมากยิ่งขึ้น ดังนั้นรูปแบบขCอมูลข%าวสารที่เปlนลักษณะ ตัวอักษร ไม%สามารถดึงดูดความสนใจจากผูCติดตาม นักประชาสัมพันธ<จึงตCองแปลงสาร ออกแบบใน รูปแบบกราฟ‡กที่เขCาใจง%าย เพื่อใหCสื่อสารไดCตรงทุกแพลตฟอร<มซึ่งจะใชCตัวอักษรนCองลง ใชCรูปภาพ และ ขCอความชัดขึ้น
10
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ปฏิบัติงานในตำแหน%งนักวิชาการอุดมศึกษา หน%วยประชาสัมพันธ< งานเครือข%ายและประชาสัมพันธ< คณะ วิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< เพื่อสนับสนุนแนวทางการบริหารในเรื่องของการสรCางการรับรูC (Visibility) ใหCกับองค<กร ดCานการปฏิบัติการ 1. ดำเนินงานดCานการประชาสัมพันธ<ทุกโครงการที่เกิดขึ้นในคณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< โดยประสานงานกับหน%วยงานที่เกี่ยวขCอง เพื่อใหCการดำเนินงานประชาสัมพันธ<บรรลุผลสำเร็จตาม เป^าหมาย 2. สำรวจความคิดเห็นแนวโนCม ดCานการประชาสัมพันธ<พรCอมรวบรวมขCอมูลข%าวสารต%าง ๆ เพื่อเปlนขCอมูลใน การดำเนินการประชาสัมพันธ<ใหCตรงกลุ%มเป^าหมายและเปlนที่น%าสนใจ ณ ขณะนั้น 3. ออกแบบและจัดทำเอกสาร เพื่อการประชาสัมพันธ<และเผยแพร% ทั้งในรูปแบบออนไลน< และรูปแบบ เอกสาร 4. ศึกษา วิเคราะห< และเสนอแนะความคิดเห็นในการวางแผนงานการสื่อสาร ประชาสัมพันธ< เพื่อตอบโจทย< นโยบาย แผนยุทธศาสตร< วิสัยทัศน< และพันธกิจของคณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร<ใน การเผยแพร%ข%าวสารและการใชCสื่อต%าง ๆ เพื่อนำไปปรับปรุงงานการสื่อสารประชาสัมพันธ<ขององค<กรใหCดี ยิ่งขึ้น 5. จัดทำแผนประชาสัมพันธ<ในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาวขององค<กรเพื่อใหCการเผยแพร%และสื่อสาร ประชาสัมพันธ<สอดคลCองกับยุทธศาสตร< วิสัยทัศน< พันธกิจขององค<กร และสามารถสรCางภาพลักษณ<ที่ดี 6. วิเคราะห< และสังเคราะห<ขCอมูล ข%าวสาร และประเด็นต%าง ๆ ที่เกี่ยวขCอง เพื่อใหCสามารถเขียนข%าว บทความ และสารคดีเผยแพร%ประชาสัมพันธ<ไดCอย%างมีประสิทธิภาพและมีผลกระทบต%อคณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< 7. ออกแบบ และจัดกิจกรรม นิทรรศการ และโครงการต%าง ๆ รวมทั้งเผยแพร%ขCอมูลข%าวสารและการรับ สมัครนักศึกษา การประชาสัมพันธ<นวัตกรรมของนักวิจัยคณะวิทยาศาสตร< การใหCการบริการวิชาการของ คณะฯ ฯลฯ แก% น ั ก เรี ย น ผู C ป กครอง และประชาชนทั ่ ว ไป เพื ่ อ ช% ว ยกระจายขC อ มู ล ข% า วสาร และ ประชาสัมพันธ<ใหCมีความทันสมัย ทันเหตุการณ<และเปlนปkจจุบันอยู%เสมอ 8. ออกแบบ สื่อประชาสัมพันธ<ใหCสอดคลCองกับยุคสมัย และสอดคลCองกับแพลตฟอร<มสื่อออนไลน<ต%าง ๆ เพื่อ เผยแพร%และประชาสัมพันธ<ขCอมูลข%าวสาร ทั้งภายในและภายนอก
11
9. เขียนบท ออกแบบ ถ%ายทำและตัดต%อ สื่อประชาสัมพันธ<ใหCสอดคลCองกับแพลตฟอร<มสื่อออนไลน<ต%าง ๆ เพื่อเผยแพร%และประชาสัมพันธ<ขCอมูลข%าวสาร ทั้งภายในและภายนอก 10. สรCาง และรักษาสัมพันธภาพที่ดีกับสื่อมวลชน นักข%าว และหน%วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวขCอง เพื่อใหCการ ปฏิบัติงานดCานการเผยแพร%ประชาสัมพันธ<มีความง%าย และสะดวกมากขึ้น 11. ร%วมดำเนินประเมินผลการเผยแพร%ประชาสัมพันธ< การใชCสื่อ การผลิตสื่อ และการจัดโครงการและ กิจกรรมต%าง ๆ เพื่อปรับปรุงการเผยแพร%ประชาสัมพันธ< การใชCสื่อ การผลิตสื่อ และการจัดโครงการและ กิจกรรมต%าง ๆ ใหCมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และสอดคลCองกับกลุ%มเป^าหมาย 12. ศึ ก ษา และติ ด ตามเทคโนโลยี อ งค< ค วามรู C ใ หม% ๆ กฎหมาย และระเบี ย บต% า ง ๆ ที ่ เ กี ่ ย วขC อ งกั บ งานประชาสัมพันธ< เพื่อนำมาประยุกต<ใชCในการปฏิบัติงานไดCอย%างมีประสิทธิภาพสูงสุด ดCานการวางแผน วางแผนการทำงานประชาสัมพันธ< พรCอมร%วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน%วยงานต%าง ๆ ในคณะ วิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยาสงขลานครินทร<หรือโครงการต%าง ๆ เพื่อใหCการดำเนินงานเปlนไปตามเป^าหมายและ ผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด ดCานการประสานงาน 1. ประสานงานดCานการประชาสัมพันธ<กับหน%วยงานต%าง ๆ ที่เกี่ยวขCองทั้งภายในและภายนอก คณะ วิทยาศาสตร< และ มหาวิทยาลัยต%าง ๆ เพื่อสนับสนุนใหCการทำงานเปlนไปอย%างราบรื่นและเสร็จทันเวลาที่ กำหนดไวC 2. ชี้แจงและใหCรายละเอียดเกี่ยวกับขCอมูล ขCอเท็จจริง แก%บุคคลหรือหน%วยงานที่เกี่ยวขCอง เพื่อสรCางความ เขCาใจหรือความร%วมมือในการดำเนินงานตามที่ไดCรับมอบหมาย 3. ติดต%อ และประสานงานการเขCาร%วมเปlนคณะกรรมการ เพื่อร%วมกันออกแบบการดำเนินโครงการใหCเขCาถึง กลุ%มเป^าหมายที่วางไวCมากขึ้น ดCานการบริการ 1. ใหCบริการขCอมูลการประชาสัมพันธ<แก%บุคลากรทั้งภายในและภายนอก รวมถึงหน%วยงานต%าง ๆ เพื่อใหCเกิด ความรูC ความเขCาใจที่ถูกตCอง ตรงตามขCอเท็จจริงที่เกิดขึ้น 2. แนะนำใหCคำปรึกษาดCานขCอมูลข%าวสารขององค<กรเพื่อใหCตรงตามความตCองการของผูCใชCบริการ
12
หนCาที่อื่น ๆ 1. งานเผยแพร%ข%าวสารของคณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< 2. งานเผยแพร%วิสัยทัศน< พันธกิจ รวมถึงยุทธศาสตร< ของคณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< 3. งานตCอนรับ แนะนำ อำนวยความสะดวก ในการศึกษาดูงาน พรCอมเผยแพร%ความรูCทางดCานวิทยาศาสตร< ทั้งในรูปแบบภาพ และรูปแบบวีดิทัศน< 4. งานติดตามขCอมูลข%าวสาร ผลงานทางดCานวิชาการ จากสื่อต%าง ๆ เพื่อนำมาปรับพรCอมเพิ่มองค<ความรูC ทางดCานวิทยาศาสตร< และนำไปเผยแพร%ในหน%วยงานและประชาชนไดCรับทราบ 5. อำนวยความสะดวกแก%ผูCมาติดต%อทางโทรศัพท<เบอร<หลักของคณะวิทยาศาสตร< 6. งานถ%ายภาพกิจกรรมต%าง ๆ ของคณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< 7. ปฏิบัติงานอื่นตามที่ผูCบังคับบัญชามอบหมาย
13
ภาพที่ 2-1 โครงสรCางองค<กรมหาวิทยาลัย
โครงสรKางการบริหารจัดการ 1. โครงสรKางมหาวิทยาลัย
14
2. โครงสรKางองค6กร (Organization Chart)
ภาพที่ 2-2 Organization Chart 3. โครงสรKางการบริหาร (Administration Chart)
ภาพที่ 2-3 Administration Chart
15
4. โครงสรKางการปฏิบัติงาน (Activity Chart)
ภาพที่ 2-4 Administration Chart * ผูCขอกำหนดตำแหน%ง
16
บทที่ 3 หลักเกณฑHการปฏิบัติงาน หลักเกณฑ6การปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานประชาสัมพันธ< คณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< ดำเนินการภายใตCร%าง นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ<แห%งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ของกรมประชาสัมพันธ< คณะรัฐมนตรี ไดCมีมติเมื่อวันอังคารที่ 6 ตุลาคม2558 ซึ่งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร<อยู%ภายใตCกระทรวงวิทยาศาสตร<และ เทคโนโลยี ในสมัยนั้น ซึ่งไดCระบุว%า นักประชาสัมพันธ<จะตCองดำเนินงานตามยุทธศาสตร<ที่ 2 การประชาสัมพันธ< นโยบายแห%งรัฐ กลยุทธ<ที่ 1 การประชาสัมพันธ<เชิงรุกเพื่อสรCางความเขCาใจต%อแนวนโยบายพื้นฐานแห%งรัฐ ประเด็น การประชาสัมพันธ<ขCอการประชาสัมพันธ<การเปlนสมาชิกประชาคมอาเซียน และเพิ่มมาตรการประชาสัมพันธ< "ส%งเสริมและสนับสนุนใหCเกิดการมีส%วนร%วมจากหน%วยงานที่เกี่ยวขCองโดยระดมความคิดเห็นเพื่อใหCเกิดการสื่อสาร สองทางกับกลุ%มเป^าหมายและสอดคลCองกับวิสัยทัศน<ของการประชาสัมพันธ<แห%งชาติ อีกทั้งยังเพิ่มการกำหนด ประเด็นการประชาสัมพันธ<ที่เปlนวาระแห%งชาติและจัดลำดับการเผยแพร%ในแต%ละช%วงเวลาเพื่อใหCหน%วยงานต%าง ๆ นำไปปฏิบัติไดCอย%างเปlนรูปธรรม การนำนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ<แห%งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 2564) ซึ่งหากตีความตามนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ<แห%งชาติ ฉบับที่ 5 นั้น นักประชาสัมพันธ<จะตCองมี ลักษณะงานที่เกี่ยวกับการสำรวจ รวบรวม รับฟkงความคิดเห็นของบุคลากร นักศึกษา และประชาชน ศึกษา วิเคราะห< เสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินงานประชาสัมพันธ< เก็บรวบรวมขCอมูลและข%าวสารต%าง ๆ จัดทำข%าวสาร โดยเฉพาะคณะวิทยาศาสตร< นักประชาสัมพันธ<จะตCองดำเนินงานตามพันธกิจ และ วิสัยทัศน< ซึ่งไดCกำหนดไวCตอน หนึ่งว%า ถ%ายทอดองค<ความรูCทางวิทยาศาสตร< จึงเปlนโจทย<สำคัญนอกเหนือจากการดำเนินงานตามหนCาที่แลCว ตCอง เพิ่มเติมในส%วนของการผลิตวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร< เดิมการผลิตวีดิทัศน<นั้น ไม%มีรูปแบบตายตัว ซึ่ง ขึ้นอยู%กับเนื้อหา หารนำเสนอ ทำใหCผูCปฏิบัติงานไดCมองเห็นถึงความสำคัญของการผลิตวีดิทัศน<เพื่อเปlนการ ถ% า ยทอดองค< ค วามรู C ด C า นวิ ท ยาศาสตร< พ รC อ มประชาสั ม พั น ธ< ผ ู C เ ชี ่ ย วชาญ ณ ขณะเดี ย วกั น และเพื ่ อ ใหC ต รง กลุ%มเป^าหมายมากยิ่งขึ้น ผูCปฏิบัติงานจึงไดCนำหลักการ Storytelling Canvas มาทำใหCวีดิทัศน<มีคุณภาพและตรง กลุ%มเป^าหมายยิ่งขึ้น เพราะหลักการ Storytelling Canvas จะเปlนการวางแผนการทำงานใหCเกิดประสิทธิภาพ สูงสุดและสามารถระบุกลุ%มเป^าหมายและทิศทางของวีดิทัศน<คลิป ใหCสอดคลCองกับการรับชมของกลุ%มเป^าหมายใน ยุคปkจจุบัน พรCอมทั้งยังตCองคำนึงถึงกฎหมาย PDPA เพื่อใหCถูกตCอง
17
วิธีการปฏิบัติงาน การทำหนC า ที ่ ข องนั ก ประชาสั ม พั น ธ< ใ นการผลิ ต วี ด ิ ท ั ศ น< จะตC อ งเปl น ไปตามนโยบายและแผนการ ประชาสัมพันธ<แห%งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 – 2564) ของกรมประชาสัมพันธ< พรCอมทั้งพึงระวังเรื่องกฎหมาย PDPA ที่สำคัญเพื่อใหCตรงกลุ%มเป^าหมายจึงจำเปlนตCองนำหลักการ Storytelling Canvas มาใชCในการผลิตวีดิทัศน< เพื่อ นำพันธกิจ และวิสัยทัศน<เปlนหลักในการสื่อสาร โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในดCานประชาสัมพันธ<ต%าง ๆ ดังนี้ 1. รวบรวมและศึกษาขCอมูลของคณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< ศึกษายุทธศาสตร วิสัยทัศน< พันธกิจ เพื่อกำหนดงบประมาณที่การจัดสรรเพื่อการประชาสัมพันธ< ศึกษาและหาขCอมูล เกี่ยวกับสื่อประเภทต%าง ๆ พรCอม วางแผนประชาสัมพันธ< โดยกำหนดความสำคัญของภารกิจดCาน ต%าง ๆ กลุ%มเป^าหมาย ตามหลักการ Storytelling Canvas โดยจะตCองกำหนด Goal เป^าหมายของ การสื่อสาร ทำไมถึงตCองเล%าเรื่องนี้ จุดแข็งที่คนอื่นไม%สามารถเลียนแบบไดC กลุ%มเป^าหมายและเรื่องที่ เขาอยากฟkง เครื่องมือช%องทางที่ใชCในการสื่อสาร ทำไมถึงตCองใชCเครื่องมือนี้ ตรงกับผูCรับสารอย%างไร อารมณ< ความรูCสึก และน้ำเสียงของเรื่องนี้ ประเด็นสำคัญของเรื่องที่นำเสนอ, สรุปจบภายในประโยค เดียวใหCไดC ทำไมคนฟkงตCองรูCเรื่องนี้ เกี่ยวขCองกับเขาอย%างไรแลCวต%างจากที่คนอื่นนำเสนอหรือไม% น%าสนใจอย%างไร เรื่องที่นำเสนอน%าสนใจอย%างไรมีประโยชน<อย%างไร เรื่องที่นำเสนอมีประโยชน<อย%างไร ผูCรับสารมีความรูCหรือรูCสึกกับเรื่องนี้อย%างไร ก%อนที่จะถ%ายทอดสารออกไป ปูพื้นเล%าเรื่องอย%างไร เป‡ด เรื่องดCวยการบอกอะไร (ผูCรับสารยุคใหม%เลื่อนฟ`ดเร็วขึ้น) ไคลแมกซ<ของเรื่อง หรือช%วงที่ทำใหCคน ประหลาดใจที่สุด บทสรุปของเรื่องนี้ ทำใหCคนตราตรึงไดCมากพอและนำไปสู%อะไรบางอย%างหรือไม% ผูCรับสารมีความรูCหรือรูCสึกอย%างไรกับเรื่องที่ไดCนำเสนอไปแลCว (ลิงก<กับ Before) 2. พรCอมกำหนดประเภทสื่อ กิจกรรม ระยะเวลา และงบประมาณนำเสนอแผนประชาสัมพันธ< 3. กำหนดช%องทาง และระยะเวลาที่เหมาะสมกับประเภทกิจกรรมและกลุ%มเป^าหมาย โดยประมวลขCอมูล ตรวจสอบความถูกตCอง ก%อนการดำเนินงาน 4. ดำเนิ น การผลิ ต สื ่ อ วี ดิ ท ั ศ น< ป ระชาสั ม พั น ธ< เพื ่ อ ประชาสั ม พั น ธ< ผ % า นเว็ บ ไซต< กราฟ‡ ก เพื ่ อ การ ประชาสัมพันธ<บนจอ LED ในคณะวิทยาศาสตร< และ มหาวิทยาลัยฯ สื่อออนไลน< อาทิ Facebook Twitter Instagram YouTube TikTok 5. ทำหนCาที่ในการวางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ โดยเฉพาะการผลิตวีดิทัศน< จะตCองจัดทีมในการทำ หนCาที่ ทั้งประสานงานผูCเชี่ยวชาญ เขียนบท ตัดต%อ การทำโมชั่นกราฟฟ‡ค ใหCกับผูCปฏิบัติงานในหน%วย ใหCดี เพื่อใหCการดำเนินงานบรรลุตามเป^าหมายและสัมฤทธิ์ที่กำหนด
18
6. ทำหนCาที่ในการประสานการทำงานร%วมกันระหว%างทีมงานหรือหน%วยงานทั้งภายในและภายนอก เพื่อใหCเกิดความร%วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไวC 7. ทำหนCาที่ในการชี้แจงและใหCรายละเอียดเกี่ยวกับขCอมูล ขCอเท็จจริง แก%บุคคล หรือหน%วยงานที่ เกี่ยวขCอง เพื่อสรCางความเขCาใจและความร%วมมือในการดำเนินงานตามที่ไดCรับมอบหมาย 8. ทำหนCาที่ในการใหCคำปรึกษา แนะนำเบื้องตัน เผยแพร% ถ%ายทอดความรูC ทางดCานการประชาสัมพันธ< รวมทั้งตอบปkญหาและชี้แจงเรื่องต%าง ๆ เกี่ยวกับงานในหนCาที่ เพื่อใหCผูCรับบริการไดCรับทราบขCอมูล ความรูCต%าง ๆ ที่เปlนประโยชน< 9. ทำหนC า ที ่ ใ นการจั ด เก็ บ ขC อ มู ล เบื ้ อ งตC น และใหC บ ริ ก ารขC อ มู ล ทางวิ ช าการ เกี ่ ย วกั บ ดC า นการ ประชาสัมพันธ< เพื่อใหCบุคลากรทั้งภายในและภายนอกหน%วยงาน นักศึกษา ตลอดจนผูCรับบริการ ไดC ทราบขCอมูลและความรูCต%าง ๆ ที่เปlนประโยชน< สอดคลCอง และสนับสนุนยุทธศาสตร< พันธกิจและ วิสัยทัศน<ของหน%วยงาน และใชCประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงานหลักเกณฑ< มาตรการ ต%าง ๆ เงื่อนไข/ขKอสังเกต/ขKอควรระวัง/สิ่งที่ควรคำนึงในการปฏิบัติงาน การพัฒนาสื่อวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร< เพื่อใหCเกิดประสิทธิภาพและเขCาถึงกลุ%มเป^าหมายมาก ทีส่ ดุ ผูปC ฏิบตั งิ านจึงนำหลัก Storytelling Canvas มาใชCกำหนดในการสื่อสาร และการกำหนดขCอสัมภาษณ<ในการ สัมภาษณ<ผูCเชี่ยวชาญ ในการเผยแพร%ขCอมูลวิทยาศาสตร<ไดCถูกตCอง ซึ่งหากการพัฒนาสื่อวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ< วิทยาศาสตร<ไม%ไดCผ%านการวิเคราะห< ไม%ไดCกำหนดกลุ%มเป^าหมาย หรือทิศทางของการสื่อสาร อาจทำใหCการสื่อสาร ไม%ประสบความสำเร็จไดC รวมถึงพระราชบัญญัติคุCมครองขCอมูลส%วนบุคคล หรือ PDPA รวมถึง ลิขสิทธิ์รูป วีดิทัศน< และเพลง สามารถนำมาใชCงานแบบไหน มุมกลCองต%าง ๆ ที่เกี่ยวขCองกับงานวีดิทัศน<คลิป ซึ่งจากประสบการณ<ใน การปฏิบัติงาน พบว%ายังมีกระบวนการต%าง ๆ ที่สามารถนำมาประยุกต<ใชC โดยสามารถนำมาสรุปไดCดังนี้ 1. ใหKความสำคัญกับชื่อวีดิทัศน6ประชาสัมพันธ6 อันดับแรกที่สำคัญมาก ๆ คือการตั้งชื่อคลิปวีดิทัศน< ไม%ว%า เราจะตัดต%อวีดิทัศน<ดีมากแค%ไหน แต%ถCาการตั้งชื่อไม%ชวนน%าสนใจ หรืออ%านแลCวไม%ชวนใหCคนเขCามาดู คลิป ก็จะไม%ไดCผลเท%าที่ควร ดังนั้นควรตั้งชื่อคลิปใหCสั้นและอ%านแลCวทำใหCคนสนใจที่จะอยากรูCต%อว%าเราจะ สื่อสารอะไร หรือจะใชCคำพูดหรือประโยคฮิตในช%วงเวลานั้น เพื่อใหCง%ายต%อการเขCาถึงคนมากยิ่งขึ้น
19
2. หนKาปกคลิปวีดิทัศน6ควรมีความนEาสนใจ ต%อมาที่คนจะเลือกคลิกเขCามาดูก็เปlนหนCาปกคลิปวีดิทัศน< นั่นเอง หรือเราสามารถเรียกไดCว%า First Impression ก็ว%าไดC ควรตัดต%อวีดิทัศน<ที่ปกคลิปมีเอกลักษณ<และ น%าสนใจ ทำใหCคนอยากเขCาไปดูคลิปมากยิ่งขึ้น 3. ความยาวของคลิปมีผล จากการสำรวจพบว%าคนส%วนใหญ%จะใหCความสนใจคลิปเพียง 10 วินาทีสั้น ๆ เท%านั้น ถCาคลิปไม%น%าสนใจคนก็จะกดออกทันที ดังนั้นหากวีดิทัศน<มีเนื้อเรื่องที่ยาวควรตัดต%อวีดิทัศน<ใหC 10 วินาทีแรกมีความน%าสนใจเพื่อดึงดูดใหCคนดูต%อ แต%ถCาหากสามารถทำคลิปใหCสั้นภายใน 10 วินาทีไดCก็จะ เขCาถึงคนไดCง%ายมากยิ่งขึ้น 4. ตามเทรนด6อยูEเสมอ ในทุกช%วงของโลกโซเชียลมักจะมีเรื่องเด%น เรื่องประเด็นน%าสนใจอยู%ตลอดเวลา ดังนั้น เราควรที่จะสำรวจว%าความสนใจของคนในขณะนั้นคืออะไร แลCวนำมาปรับใชCใหCเขCากับการตัดต%อวีดิทัศน< ของเรา 5. สรKางความแตกตEาง เนื้อหาของวีดิทัศน<เปlนสิ่งสำคัญมากที่สุด เพราะหากวีดิทัศน<ของเราสื่อสารไม%ชัดเจน เนื้อหาไม%ครอบคลุมเรื่องที่เราตCองการจะสื่อสาร การรับขCอมูลหรือความเขCาใจของคนรับสื่อก็จะผิดเพี้ยน ไป ควรสรCางความแตกต%างและเปlนเอกลักษณ<ในการตัดต%อวีดิทัศน< จะทำใหCคนสามารถรับรูCและจดจำสิ่งที่ เราตCองการสื่อสารไดCมากยิ่งขึ้น 6. เป‹าหมายชัดเจน หลายครั้งมักจะมีคำพูดที่ว%า… “ไม%รูCจะทำจะคอนเทนต<อะไรดี ติดปkญหาคิดคอนเทนต< ไม%ออก ไม%รูCจะเขียนอะไร” รูCหรือไม%ว%า สาเหตุที่แทCจริงของเรื่องนี้ไม%ไดCเปlนเพราะว%าเราหมดไอเดียใหม% หรือคิดไม%ออกแต%อย%างใด แต%เปlนเพราะเราไม%ไดCตั้งเป^าหมายของเราใหCชัดเจนต%างหากสิ่งสำคัญคือเราตCอง ตอบไดCว%าเราทำคอนเทนต<นี้ทำไม วัตถุประสงค<คืออะไร และกลุ%มเป^าหมายคือใคร เพราะจะทำใหCผูCชม ของเราเขCาใจเรื่องที่จะสื่อสารไดC ดังนั้นการตั้งเป^าหมายจะเปlนตัวช%วยสำคัญใหCเราไม%หลงประเด็นและ มีไอเดียใหม% ใหCการสรCางสรรค<คอนเทนต<อยู%เสมอ 7. คอนเทนต6 กับ แพลตฟอร6ม ตKองสอดคลKองกัน คอนเทนต<ที่เราผลิตตCองมีความเหมาะสมกับแพลตฟอร<ม ที่เราเลือกลงและกลุ%มเป^าหมายที่เราตCองการจะสื่อสาร เนื่องจากแต%ละแพลตฟอร<มมีธรรมชาติการใชCงาน และจุดเด%นจุดดCอยที่แตกต%างกันไป เช%น ถCากลุ%มเป^าหมายเราเปlนเด็กรุ%นใหม% อย%าง Gen Z ควรสรCางคอน เทนต<ที่มีความยาวไม%มากประมาณ 1-1.30 นาที ที่เนCนความสนุกสนานและความคิดสรCางสรรค< โดย แพลตฟอร<มที่เหมาะกับคอนเทนต<ประเภทนี้ ไดCแก% TikTok ที่ไดCรับความนิยมและมีผูCใชCงานกลุ%มเป^าหมาย เปlนจำนวนมาก
20
8. ตEอเนื่องตลอด อยEาขาดตอน การเริ่มตCนที่ว%ายาก ยังไม%เท%าการทำอย%างสม่ำเสมอ เพราะความสำเร็จไม% ไดCมาเพียงขCามคืน หลายครั้งที่แค%มีความตั้งใจและความพยายามอาจไม%เพียงพอ เพราะปkจจัยหนึ่งของ ความสำเร็จอยู%ที่ความต%อเนื่องและความสม่ำเสมอ ไม%ใช%เพียงแค%ความต%อเนื่องของการผลิตคอนเทนต< แต% รวมไปถึงการหมั่นตรวจสอบผลการดำเนินงาน กระแสตอบรับจากผูCชมว%าเปlนไปตามเป^าหมายที่กำหนดไวC หรือไม% หากไม%เปlนไปตามเป^าก็ควรตรวจสอบ วิเคราะห< และประเมินว%าเปlนเพราะสาเหตุอะไร และ พยายามปรับปรุงแกCไขใหCดีขึ้น เพราะการพัฒนาผลงานจะเปlนการสรCางภาพจำที่ดี ที่แสดงใหCเห็นถึงการ พัฒนาอย%างไม%หยุดยั้งของเรา 9. Subtitle ไมEฟŒงเสียงก็รูKเรื่อง เสียงอาจจะสำคัญ แต%ถCาไม%ฟkงเสียงคนก็ตCองรูCเรื่องไดCดCวย สำหรับการทำ Video Marketing ผูCคนที่ไม%สามารถฟkงเสียงไดC เช%น ผูCคนที่เล%นสมาร<ทโฟนขณะเดินทาง ก็ตCองทำคลิปใหC สามารถเขCาใจไดC ซึ่งฟkงก<ชัน Subtitle บน Youtube อาจจะช%วยการทำคลิปไดC แต%การทำ Subtitle ฝkง ลงไปในคลิปจะทำใหCสามารถลงคลิปวีดิทัศน<ไดCทั้ง Youtube, Facebook และ IGTV 10. ระยะเวลาของ Video Content ใหKเหมาะสมกับแตEละชEองทางที่นำเสนอ บ%อยครั้งที่ลงมือทำ Video Content ขึ้นมา 1 ชิ้นงาน จากนั้นนำไปลงในทุกๆ ช%องทางที่มีอยู% ไม%ว%าจะเปlน Facebook Youtube หรือจะเปlนเว็บไซต< แต%การทำเช%นนั้น อาจทำใหCผูCรับสารเลือกที่จะเลื่อนผ%านไป แทนที่จะกดเขCาไปรับชม สุดทCาย Video Content ก็ไม%สามารถสื่อสารไปถึงกลุ%มเป^าหมายไดC ดังนั้น Video Content ที่ดีควรปรับ รูปแบบการนำเสนอ และระยะเวลาใหCเหมาะสมกับช%องทางที่ตCองการสื่อสาร ตัวอย%างเช%น Video Content ของ Workpoint ที่จะมีการนำเสนอรายการเต็มผ%านช%องทาง Youtube แต%จะตัดต%อ Video Content เปlนคลิปสั้นๆ ลง Facebook 11. การนำ Insight ของเรื่องราวนั้น มาถEายทอดผEาน Video Content เทคนิคนี้ไม%ควรมองขCาม คือ การ Research ขCอมูล Insight ของกลุ%มเป^าหมายแลCวนำมาถ%ายทอดผ%าน Video Content ซึ่งวิธีดังกล%าวไม% เพียงแต%จะช%วยเพิ่มความน%าสนใจในการรับชม แต%ยังช%วยกระตุCนใหCลูกคCาเกิดความรูCสึกคลCอยตามไปกับ เรื่องราวใน Video จนนำไปสู%กระบวนการตัดสินใจซื้อในที่สุด หนึ่งในตัวอย%างการถ%ายทอดเรื่องราว Insight ของลูกคCาผ%าน Video Content ที่น%าสนใจจนกลายเปlน Viral คือ โฆษณา GQWhite ที่สุดแห%ง เสื้อขาว 12. ใชKมุมกลKอง ใหKเกิดมุมมองภาพที่นEาสนใจ การถ%ายทอดอารมณ<ผ%านมุมกลCองเปlนเรื่องที่สำคัญอีกอย%างนึง ในงานวีดิทัศน< มุมกลCองและมุมมองจะส%งผลถึงคนดูยังไงใหCวีดิทัศน<ออกมาน%าสนใจไม%ว%าจะเปlนมุมระดับ สายตา สูง ต่ำ แทนสายตา หรือขCามไหล% ก็ลCวนทำงานกับความรูCสึกของคนดูทั้งนั้น
21
13. ตัดตEอเพื่อเสริมการเลEาเรื่องใหKดีขึ้นหากเราถ%ายวีดิทัศน< เล%าเรื่องมาอย%างดีแลCว หลายคนอาจจะพลาด เรื่องการฟุตเทจมาเรียบเรียงและนำเสนอ การตัดต%อมีความสำคัญมาก เรียกว%าเปlน Post-Production ที่ สำคัญเลย เพราะเปlนเหมือนการเล%าเรื่องใหCคนดูเขCาใจ หากเราตัดต%อ เรียบเรียงไดC ลื่นไหลดี และเขCาใจ ก็ ยิ่งเสริมและทำใหCวีดิทัศน<ของเราดียิ่งขึ้น 14. ไมโครโฟนภายนอกเป(นสิ่งจำเป(น ปkญหาที่พบกันบ%อย ๆ ในการถ%ายวีดิทัศน< คือ เรื่องเสียง เพราะว%า ส%วนมากแลCวเราจะใชCไมโครโฟนที่ติดมากับตัวกลCองถ%ายวีดิทัศน< ผลที่ไดCก็คือ ทั้งเสียงรถ เสียงคนคุยกัน เสียงเด็กรCองไหC จะมารวมอยู%ในวีดิทัศน<ของเราหมด เพราะว%าไมโครโฟนที่ติดอยู%กับตัวกลCองมีลักษณะ คือ รับเสียงจากทุกทิศทางเขCามาในตัวกลCองวิธีแกCไขง%าย ๆ คือ เราตCองเอากลCองวีดิทัศน<ไปใกลCแหล%งกำเนิด เสียงใหCมากที่สุด ซึ่งจริง ๆ แลCววิธีนี้ อาจใชCไม%ไดCในบางกรณี เช%น ผูCพูดอยู%บนเวที เราจึงตCองใชCไมโครโฟน ภายนอก (External Microphone) ช%วยในการบันทึกเสียง เราอาจจะใชCวิธีต%อสายไมโครโฟนเขCากับกลCอง เพื่อบันทึกเสียงโดยตรง หรืออาจจะใชCวิธีบันทึกเสียงแยกต%างหาก แลCวใชCโปรแกรมตัดต%อวีดิทัศน<นำเสียง นั้นมา Sync กับวีดิทัศน<อีกที 15. PDPA พ.ร.บ.คุKมครองขKอมูลสEวนบุคคล PDPA (Personal Data Protection Act, B.E. 2562 (2019)) คือ พระราชบัญญัติคุCมครองขCอมูลส%วนบุคคล พ.ศ. 2562 โดยวันที่ 1 มิถุนายน 2565 เปlนวันที่ พ.ร.บ. PDPA นี้มีผลบังคับใชCตามกฎหมายทั้งฉบับ เหตุผลในการประกาศใชC PDPA เนื่องมาจากเทคโนโลยี กCาวหนCาขึ้น ช%องทางสื่อสารต%าง ๆ มีหลากหลายขึ้น ทำใหCการละเมิดสิทธิความเปlนส%วนตัวของขCอมูลส%วน บุคคลทำไดCง%ายขึ้น และหลายครั้งก็นำมาซึ่งความเดือดรCอนรำคาญหรือสรCางความเสียหายใหCแก%เจCาของ ขCอมูล ตลอดจนสามารถส%งผลต%อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศไดCดCวย จึงตCองมีกฎหมาย PDPA ว%าดCวย การคุCมครองขCอมูลส%วนบุคคลขึ้นเพื่อกำหนดหลักเกณฑ< กลไก หรือมาตรการกำกับดูแลเกี่ยวกับการใหC ความคุCมครองขCอมูลส%วนบุคคลที่รวมถึงการเก็บรวบรวม ใชC หรือเป‡ดเผยขCอมูลส%วนบุคคลขึ้น 15.1 ขKอมูลสEวนบุคคล คือ ขCอมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งทำใหCสามารถระบุตัวบุคคลนั้นไดC ไม%ว%าทางตรง หรือทางอCอม โดยขCอมูลของผูCถึงแก%กรรม และขCอมูลนิติบุคคล ไม%ถือเปlนขCอมูลส%วนบุคคลตาม พ.ร.บ. PDPA คุCมครองขCอมูลส%วนบุคคลนี้ ขCอมูลส%วนบุคคล (Personal Data) ไดCแก% ชื่อ นามสกุล, เลขประจำตัวประชาชน, ที่อยู%, เบอร<โทรศัพท<, วันเกิด, อีเมล, การศึกษา, เพศ, อาชีพ, รูปถ%าย, ขCอมูลทางการเงิน นอกจากนี้ยังรวมถึง ขCอมูลส%วนบุคคลที่มีความละเอียดอ%อน (Sensitive Personal Data) ดCวย เช%น ขCอมูลทางการแพทย<หรือสุขภาพ, ขCอมูลทางพันธุกรรม
22
และไบโอเมทริกซ<, เชื้อชาติ, ความคิดเห็นทางการเมือง, ความเชื่อทางศาสนาหรือปรัชญา, พฤติกรรมทางเพศ, ประวัติอาชญากรรม, ขCอมูลสหภาพแรงงาน เปlนตCน 15.2 สิทธิของเจKาของขKอมูลสEวนบุคคล (Data Subject) ไดKแกE 15.2.1 สิทธิไดCรับการแจCงใหCทราบ (Right to be informed) การเก็บรวบรวมขCอมูล ส%วนบุคคล ผูCควบคุมขCอมูลส%วนบุคคลจะตCองแจCงรายละเอียดในการเก็บขCอมูล ตลอดจนการนำไปใชC หรือเผยแพร%ใหCเจCาของขCอมูลทราบก%อนหรือขณะเก็บ รวบรวมขCอมูล (ยกเวCนกรณีที่เจCาของขCอมูลทราบรายละเอียดนั้นอยู%แลCว เช%น เพื่อนำไปเป‡ดบัญชี หรือสมัครใชCผลิตภัณฑ<และบริการต%าง ๆ ) โดยเจCาของ ขCอมูลมีสิทธิที่จะทราบวัตถุประสงค<ของการเก็บขCอมูล, การนำไปใชC หรือ เผยแพร% , สิ ่ ง ที ่ ต C อ งการจั ด เก็ บ , ระยะเวลาในการเก็ บ ขC อ มู ล ตลอดจน รายละเอียดของผูCควบคุมขCอมูลส%วนบุคคล เช%น สถานที่ติดต%อ และวิธีการ ติดต%อ รวมถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการไม%ใหCขCอมูล 15.2.2 สิทธิขอเขCาถึงขCอมูลส%วนบุคคล (Right of access) เจCาของขCอมูลส%วนบุคคล มีสิทธิขอเขCาถึงและขอรับสำเนาขCอมูลส%วนบุคคลที่เกี่ยวกับตนเองจากผูC ควบคุมขCอมูลส%วนบุคคล รวมถึงสามารถขอใหCเป‡ดเผยถึงการไดCมาซึ่งขCอมูล ส%วนบุคคลดังกล%าวในกรณีเกิดความไม%แน%ใจว%าตนเองไดCใหCความยินยอมไป หรื อ ไม% โดยสิ ท ธิ ก ารเขC า ถึ ง ขC อ มู ล นั้ น ตC อ งไม% ข ั ด ต% อ กฎหมายหรื อ คำสั่ ง ศาล และการใชCสิทธินั้นตCองไม%ละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลอื่น 15.2.3 สิทธิในการขอใหCโอนขCอมูลส%วนบุคคล (Right to data portability) ในกรณี ที่เจCาของขCอมูลตCองการนำขCอมูลที่เคยใหCไวCกับผูCควบคุมขCอมูลรายหนึ่ง ไปใชC กับผูCควบคุมขCอมูลอีกราย เช%น ผูCควบคุมขCอมูลส%วนบุคคลรายแรกไดCทำจัดทำ ขCอมูลส%วนบุคคลของเราไปในอยู%ในรูปแบบต%าง ๆ ที่เขCาถึงไดCดCวยวิธีการ อัตโนมัติ เจCาของขCอมูลสามารถขอใหCผูCควบคุมขCอมูลส%วนบุคคลที่จัดทำขCอมูล นั้น ทำการส%งหรือโอนขCอมูลดังกล%าวใหCไดC หรือจะขอใหCส%งไปยังผูCควบคุม ขCอมูลส%วนบุคคลรายอื่นโดยตรงก็สามารถทำไดC หากไม%ติดขัดทางวิธีการและ เทคนิค โดยการใชCสิทธินั้นตCองไม%ขัดต%อกฎหมาย สัญญา หรือละเมิดสิทธิ เสรีภาพของบุคคลอื่น
23
15.2.4 สิทธิคัดคCานการเก็บรวบรวม ใชC หรือเป‡ดเผยขCอมูลส%วนบุคคล (Right to object) เจCาของขCอมูลสามารถคัดคCานการเก็บรวบรวม ใชC หรือเป‡ดเผยขCอมูล ส%วนบุคคล เมื่อไหร%ก็ไดC รวมถึงสามารถทำใหCขCอมูลส%วนบุคคลเปlนขCอมูลที่ไม% สามารถระบุตัวบุคคลไดC ยกเวCนมีเหตุอันควรทางกฎหมายที่สำคัญจริง ๆ เท%านั้น 15.2.5 สิทธิขอใหCลบหรือทำลาย หรือทำใหCขCอมูลส%วนบุคคลเปlนขCอมูลที่ไม%สามารถ ระบุตัวบุคคล (Right to erasure (also known as right to be forgotten) หากผูCควบคุมขCอมูลส%วนบุคคล นำขCอมูลส%วนบุคคลไปเผยแพร%ในที่สาธารณะ หรือสามารถเขCาถึงไดCง%าย เจCาของขCอมูลมีสิทธิขอใหCผูCควบคุมขCอมูลส%วนบุคคล ทำการลบหรือทำลายขCอมูลนั้น หรือทำใหCขCอมูลนั้นไม%สามารถระบุตัวตน ไดC โดยผูCควบคุมขCอมูลตCองเปlนผูCรับผิดชอบดำเนินการทั้งในทางเทคโนโลยี และค%าใชCจ%าย เพื่อใหCเปlนไปตามคำขอนั้น 15.2.6 สิทธิขอใหCระงับการใชCขCอมูล (Right to restrict processing) เจCาของขCอมูล ส%วนบุคคลมีสิทธิขอใหCผูCควบคุมขCอมูลส%วนบุคคลระงับการใชCขCอมูลส%วนบุคคล ไม%ว%าจะในกรณีที่เกิดการเปลี่ยนใจไม%ตCองการใหCขCอมูลแลCว หรือเปลี่ยนใจ ระงับการทำลายขCอมูลเมื่อครบกำหนดที่ตCองทำลาย เพราะมีความจำเปlนตCอง นำขCอมูลไปใชCในทางกฎหมาย หรือการเรียกรCองสิทธิ ก็สามารถทำไดC 15.2.7 สิทธิในการขอใหCแกCไขขCอมูลส%วนบุคคล (Right of rectification) เจCาของ ขCอมูลมีสิทธิที่จะขอแกCไขขCอมูลส%วนบุคคลของตนเองใหCมีความถูกตCอง เปlน ปkจจุบัน และไม%ก%อใหCเกิดความเขCาใจผิดไดC โดยการแกCไขนั้นจะตCองเปlนไป ดCวยความสุจริต และไม%ขัดต%อหลักกฎหมาย แมCว%าสิทธิในฐานะของการเปlน เจCาของขCอมูลจะไดCรับการคุCมครอง แต%การใชCสิทธิก็ตCองเปlนไปตามหลักเกณฑ< ของกฎหมาย และไม%ละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพของผูCอื่นเช%นกัน และจำไวCเสมอ ว%า ขCอมูลส%วนบุคคลของเรานั้น หากถูกนำไปใชCในทางที่ดี ก็จะเปlนผลดีกับ เจC า ของขC อ มู ล แต% ห ากตกอยู % ใ นมื อ ของผู C ไ ม% ห วั ง ดี ก็ ส ามารถสรC า งความ เดือดรCอนและความเสียหายกับเจCาของขCอมูลไดCเช%นกัน
24
15.3 บุคคลที่เกี่ยวขKองกับขKอมูลสEวนบุคคล 15.3.1 เจCาของขCอมูลส%วนบุคคล (Data Subject) คือ บุคคลที่ขCอมูลระบุไปถึง 15.3.2 ผูCควบคุมขCอมูลส%วนบุคคล (Data Controller) คือ บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งมี อำนาจหนCาที่ “ตัดสินใจ” เกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใชC หรือเป‡ดเผยขCอมูล ส%วนบุคคล 15.3.3 ผูCประมวลผลขCอมูลส%วนบุคคล (Data Processor) คือ บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่ง ดำเนินการเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใชC หรือเป‡ดเผยขCอมูลส%วนบุคคล “ตาม คำสั่งหรือในนามของผูCควบคุมขCอมูลส%วนบุคคล” ทั้งนี้บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่ง ดำเนินการดังกล%าว ตCองไม%เปlนผูCควบคุมขCอมูลส%วนบุคคล 15.4 การเก็บรวบรวม ใชK หรือเป”ดเผย ขKอมูลสEวนบุคคล สามารถทำไดCในกรณีต%อไปนี้ 15.4.1 ไดCรับความยินยอมจากเจCาของขCอมูลส%วนบุคคล 15.4.2 จัดทำเอกสารประวัติศาสตร< หรือจดหมายเหตุเพื่อประโยชน<สาธารณะ การ ศึกษาวิจัยหรือการจัดทำสถิติ 15.4.3 ป^องกันหรือระงับอันตรายต%อชีวิต ร%างกาย หรือสุขภาพของบุคคล 15.4.4 จำเปlนเพื่อปฏิบัติกฎหมาย หรือสัญญา 15.4.5 จำเปlนเพื่อประโยชน<โดยชอบดCวยกฎหมายของผูCควบคุมขCอมูลส%วนบุคคลหรือ ของบุคคลอื่น 15.4.6 จำเปlนเพื่อประโยชน<สาธารณะ และการปฏิบัติหนCาที่ในการใชCอำนาจรัฐ 15.5 การสE ง หรื อ โอนขK อ มู ล สE ว นบุ ค คลไปยั ง ตE า งประเทศ (Cross-border Personal Data Transfer) ประเทศปลายทางหรื อ องค< ก ารระหว% า งประเทศ ที ่ ร ั บ ขC อ มู ล ส% ว นบุ ค ลตC อ งมี มาตรฐานการคุCมครองขCอมูลส%วนบุคคล (PDPA พ.ร.บ.คุCมครองขCอมูลส%วนบุคคล) ที่เพียงพอ เวCนแต%จะไดCรับความยินยอมจากเจCาของขCอมูล หรือเปlนการปฏิบัติตามกฎหมาย/สัญญา หรือ เพื่อประโยชน<สาธารณะเปlนสำคัญเท%านั้น
25
15.6 บทลงโทษหากไมEปฏิบัติตาม PDPA เพื่อใหKขKอมูลสEวนบุคคล หรือ (PDPA พ.ร.บ.คุCมครอง ขCอมูลส%วนบุคคล) ถูกนำไปใชCในทางที่เหมาะสมและเปlนประโยชน<มากกว%าโทษ การใหCขCอมูล แต%ละครั้งจึงตCองพิจารณาอย%างรอบคอบก%อนใหCขCอมูล เช%นการใหCขCอมูลเพื่อจัดส%งสินคCา หากมี การขอขCอมูลที่ไม%เกี่ยวกับการจัดส%ง เจCาของขCอมูลก็มีสิทธิปฏิเสธการใหCขCอมูลนั้น และในส%วน ของผูCเก็บขCอมูล ก็ตCองรูCขอบเขตในการเขCาถึงขCอมูลส%วนบุคคล มีระบบในการควบคุม/ยืนยัน ตัวตนในการเขCาถึงขCอมูล และจำเปlนตCองมีการกำหนดนโยบายองค<กรเพื่อใหCบุคคลที่เกี่ยวขCอง ปฏิบัตติ าม เพราะหากไม%ทำตาม PDPA อาจไดCรับโทษดังนี้ 15.6.1 ความรับผิดทางแพ%ง ตามความเสียหายที่เกิดขึ้นจริง และอาจตCองชดใชCค%า สินไหมทดแทนเพิ่มขึ้นอีก โดยสูงสุดไม%เกิน 2 เท%าของค%าเสียหายที่แทCจริง 15.6.2 โทษทางอาญา จำคุกสูงสุดไม%เกิน 1 ป` หรือปรับไม%เกิน 1 ลCานบาท หรือทั้งจำ ทั้งปรับ 15.6.3 โทษทางปกครอง ปรับสูงสุดไม%เกิน 5 ลCานบาท 16. การละเมิดลิขสิทธิ์ คือ การทำซ้ำหรือดัดแปลง งานของคนอื่น หรือเผยแพร%ต%อสาธารณชน ดังนั้น โดยทั่วไปการนำงานเพลง หรือภาพถ%าย หรือวีดิทัศน<ของคนอื่นมาตัดต%อไวCเปlนส%วนหนึ่งของคลิปวีดิทัศน< ที่เราทำขึ้นเพื่อเผยแพร% ย%อมเขCาข%ายการละเมิดลิขสิทธิ์ แตEมีขKอยกเวKน หากเปlนกรณีการเอางานของคนอื่นมาใชC เพื่อการศึกษาวิจัย เพื่อเปlนส%วนหนึ่งของการสอน โดย ไม%แสวงหากำไร เพื่อเปlนส%วนหนึ่งของการออกขCอสอบ หรือ เพื่อไวCใชCประโยชนสำหรับตนเองและ ครอบครัว ไม%ถือเปlนการละเมิดลิขสิทธิ์ (พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ มาตรา 32) การเอางานของคนอื่นมาใชCบางส%วนตามสมควร โดยมีการรับรูCถึงเจCาของลิขสิทธิ์ เช%น มีการ อCางอิงถึง มีการกล%าวขอบคุณ เจCาของลิขสิทธิ์ตัวจริงเอาไวCดCวย ก็ไม%ถือว%าเปlนการละเมิดลิขสิทธิ์ (พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ มาตรา 33) ทั้งนี้ กรณีที่จะถือว%าไม%ละเมิดลิขสิทธิ์ ยังตCองมีลักษณะ คือ 16.1 ไมEขัดตEอการแสวงหาประโยชน6จากงานอันมีลิขสิทธิ์ตามปกติของเจKาของลิขสิทธิ์ กล%าวคือ ไม%ทำ ใหCการหาประโยชน<ของเจCาของลิขสิทธิ์เสียไป เช%น ถCาเจCาของนำเพลงออกขาย แลCวมีคนคัดลอกไป ขายแข%งในตลาดเดียวกัน ย%อมทำใหCเจCาของขายไดCนCอยลง ถือเปlนการละเมิดลิขสิทธิ์
26
16.2 ไมEกระทบกระเทือนถึงสิทธิอันชอบดKวยกฎหมายของเจKาของลิขสิทธิ์เกินสมควร กล%าวคือ เจCาของ ลิขสิทธิ์มีสิทธิแต%เพียงผูCเดียวที่จะแสดงตัวว%าเปlนเจCาของ ทำซ้ำ ดัดแปลง เผยแพร% ใหCเช%า และ อนุญาตใหCผูCอื่นใชCประโยชน< ซึ่งสิทธิเหล%านี้ของเจCาของลิขสิทธิ์ตCองไม%เสียหายเกินสมควร เงื่อนไขทั้งสองขCอเปlนคำที่กวCาง ไม%มีหลักเกณฑ<แน%นอนตายตัว ส%วนหนึ่งยังขึ้นอยู%กับการตีความ ของเจCาของงาน คลิปวีดิทัศน<ชิ้นหนึ่ง ๆ ที่มีการเอาเพลงของคนอื่นมาตัดต%อใส%ไวC หากมีผูCชมคลิปไม%มากก็ อาจไม%ขัดต%อการแสวงหาประโยชน<ของเจCาของตัวจริง แต%หากเวลาต%อมามีผูCเขCาชมคลิปจำนวนมาก จน มากกว%าคลิปของเจCาของเพลงจริง ๆ ก็อาจถือว%าขัดต%อการแสวงหาประโยชน<ของเจCาของงานนั้นๆ ไดC เนื่องจากกฎหมายเป‡ดช%องใหCมีตีความไดCมาก และมีความไม%แน%นอน ขCอแนะนำสำหรับการทำวีดิทัศน< ควรคำนึงถึง • ควรเลือกใชCงานที่ไม%มีลิขสิทธิ์ หรืองานที่เจCาของผลงานอนุญาตใหCสาธารณะใชCประโยชน<ไดC ใน ระบบ Creative Common ซึ่งสามารถคCนหาไดCจาก http://search.creativecommons.org/ • หากตC อ งการใชC ป ระโยชน< จ ากงานที ่ ม ี ล ิ ข สิ ท ธิ ์ ควรขออนุ ญ าตเจC า ของผลงานนั ้ น ๆ อย% า ง ตรงไปตรงมาก%อนดีกว%า หากเอามาใชCในทางสรCางสรรค<ไม%แสวงหากำไร ก็สามารถนำมาใชC ประโยชน<ไดCเช%นกัน 17. เจ็ดมุมกลKองถEายวีดิทัศน6พื้นฐาน สิ่งแรกที่ควรรูCก%อนจะเริ่มทำคอนเทนต<วีดิทัศน<บน Youtube หรือทำ Filmmaker คือเรื่องเกี่ยวกับมุมกลCอง ว%าควรใชCมุมกลCองแบบไหน เพื่อใหCสามารถสื่อสารใหCคนดูเขCาใจ เพราะแต%ละมุมก็ใหCอารมณ<และความรูCสึกที่แตกต%างกัน หากเลือกใชCมุมกลCองที่ถูกตCองก็จะช%วยใหCเรา สื่อสารไปยังคนดูไดCอย%างชัดเจน ลองมาดูกันว%า 7 มุมกลCองถ%ายวีดิทัศน<ที่มือใหม%ควรรูC มีอะไรบCาง 17.1 มุมกลCองระยะกลาง (Medium shot) มุมกลCองระยะกลาง มุมกลCองที่จะเขCาใกลCตัวแบบ และ วัตถุ จะเปlนช%วงกลางจนถึงขCางบนสุด หรือถCาเปlนตัวแบบ ก็ถ%ายตั้งแต%ระดับเอวขึ้นไป เพื่อใหCเห็น การแสดงออกของสีหนCาไดCอย%างชัดเจน ซึ่งส%วนใหญ%จะใชCถ%ายภาพการสนทนาของสองคน เพื่อใหCคนดูสังเกตและวิเคราะห<พฤติกรรมของคู%สนทนาไดC 17.2 มุมกลCองระยะใกลC (Close-up) มุมกลCองระยะใกลCจะโฟกัสส%วนใดส%วนหนึ่งของตัวแบบหรือวัตถุ ในระยะใกลC เกือบเต็มทั้งเฟรม เช%น เห็นตั้งแต% หัว-คอ เพื่อแสดงใหCเห็นถึงอารมณ<ของตัวแบบไดC อย%างชัดเจน และกระแทกอารมณ<ของผูCชมมากยิ่งขึ้น จากสีหนCารายละเอียดของตัวแบบอย%าง ชัดเจนมากกว%าขนาดภาพอื่น ๆ หรือถCาเปlนสิ่งของก็จะเปlนการเจาะจงการใหCความสำคัญกับสิ่งๆ นั้นโดยเฉพาะ
27
17.3 มุมกลCองระยะใกลCมาก (Extreme close-up) มุมกลCองระยะใกลCมาก จะโฟกัสที่วัตถุ หรือส%วน ใดส%วนหนึ่งของร%างกาย ซึ่งจะทำใหCเราเห็นรายละเอียดของภาพไดCอย%างใกลCชิดครบถCวน ยกตัวอย%างเช%น ดวงตาที่เหม%อลอย แสดงใหCเห็นว%าตัวละครกำลังรูCสึก เควCงควCางและว%างเปล%า เปlนตCน 17.4 มุมกลCองระยะไกลมาก (Extreme long shot) มุมกลCองระยะไกลมาก จะเปlนมุมกลCองที่เห็น ภาพกวCาง ครอบคลุมพื้นที่หรือฉาก เปlนมุมมองที่ไกลที่สุดของหมวดภาพเลย มักจะใชCซีนเป‡ด หรือป‡ดเรื่อง ว%าพื้นที่จะเล%าอยู%ที่ไหน เช%น ทะเล ภูเขา เมือง เปlนตCน เพื่อใหCคนดูเขCาใจบริบทว%า ตัวแบบอยู%ในสภาพแวดลCอมแบบไหน หรือตัวแบบกำลังทำอะไรอยู% 17.5 มุมกลCองระยะไกล (Long shot) มุมกลCองระยะไกล เปlนภาพที่ไกล แต%จะไม%ไกลเท%ากับมุมไกล มาก เพราะจะเปlนมุมมองที่โฟกัสตัวแบบและวัตถุแบบเต็มตัวตั้งแต%เทCาไปจนถึงหัว เพื่อจะใหCไดC เห็นว%าสิ่งที่เราโฟกัสอยู%ในสภาพแวดลCอมแบบไหน การแสดงท%าทางของตัวแบบ 17.6 มุมกลCองระดับต่ำ (Low angle) มุมกลCองจะเปlนมุมมองจากมุมต่ำ จะถือว%าเปlนตำแหน%งที่ต่ำ กว%าระดับสายตา ซึ่งมุมนี้ใชCถ%ายจากดCานล%างของตัวแบบ หรืออาจจะวางระนาบเดียวกันกับพื้น หรือจะถ%ายขึ้นเปlนมุมเสยเลยก็ไดC ทำใหCตัวแบบดูใหญ%ขึ้น ทรงพลังมากขึ้น มีความมั่นใจ 17.7 มุมกลCองระยะสูง (High angle) มุมกลCองระยะสูง จะใชCถ%ายจากมุมบนของตัวแบบ วัตถุ มุมนี้ จะไม%ไดCโฟกัสที่ตัวแบบหรือวัตถุมากนัก แต%จะนำสายตาคนดูไปดCานหลัง ทำใหCตัวแบบดูเล็กลง มักใชCเพื่อสรCางความรูCสึกอ%อนแอหรือเปราะบาง นอกจากนี้การจับภาพจากมุมสูงยังทำเพื่อใหC เห็นภาพรวมของสถานที่ไดCดCวยเช%นกัน
28
ภาพที่ 3-1 Camera Shots and Angles
29
แนวคิด/งานวิจัยที่เกี่ยวขKอง การพัฒนาสื่อวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร<โดยใชCหลัก Storytelling Canvas ไดCนำแนวคิดและ งานวิจัยที่เกี่ยวขCองมาเปlนแนวทางในการผลิตวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร< แนวคิดเกี่ยวกับ VDO Content ว%ากันว%าในป` 2018 คอนเทนต<ที่มาแรงที่สุดคือ "วีดิทัศน<" จากการ คาดการณ<ของ Filmora เผยว%า ในป` 2020 คอนเทนต<กว%า 80% ของกราฟ‡กทั่วโลกจะมาจากวีดิทัศน<, 90% ของ คอนเทนต<ที่ผูCบริโภคแชร<ใน Social Network จะเปlนวีดิทัศน< และ 87% ของนักการตลาด ก็จะใชCวีดิทัศน<เปlนส%วน หนึ่งในแคมเปญ ("อัปเดทการใชCงบโฆษณา", 2560) ทำใหCคุณค%าของการศึกษา VDO Content จึงมีมากขึ้นตามไป ดCวย และที่สำคัญคือดCวยปริมาณมหาศาลบน ดิจิทัล การแข%งขันการทำ VDO Content จึงดุเดือดรุนแรงเกินกว%า จะปล%อยใหCขาดความเขCาใจจนเต็มเกลื่อนไปดCวยปริมาณแต%ขาดคุณภาพแนวคิดของ การทำ วีดิทัศน<คอนเทนต<จึง สำคัญอย%างยิ่งสำหรับวงการธุรกิจสื่อดิจิทัล "สถิติชี้ วีดิทัศน< คือการทำ" (2556) กล%าวว%าการทำการตลาดออนไลน<ผ%านวีดิทัศน<มีความสำคัญมากขึ้น เพราะวีดิทัศน<รวมไปถึงมัลติมีเดียต%าง ๆ คือ เครื่องมือในการทำการตลาดที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถสื่อสารถึง ผูCรับไดCอย%างชัดเจนและเขCาใจง%าย โดยจากสถิติในป` 2015 ผ%านมาพบว%ามีจำนวนผูCเขCามาชมวีดิทัศน<แบบออนไลน< มากถึง 169.3 ลCานคน เพิ่มขึ้นกว%าป` 2015 อยู% 7.196 การสำรวจยังแสดงใหCเห็นถึงประโยชน<ของการใชCวีดิทัศน<ใน การทำการตลาดแบบออนไลน< ซึ่งมีส%วนสำคัญที่ช%วยในเรื่องของความน%าเชื่อถือและการจดจำแบรนด<สินคCา โดย ผูCบริโภคกว%า52% รูCสึกว%าการดูคลิปวีดิทัศน<สินคCาทำใหC มีความมั่นใจในการซื้อสินคCาผ%านทางออนไลน<เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้การใชCคลิปวีดิทัศน<ยังเปlนการกระตุCนความสนใจในการซื้อสินคCา ซึ่งพบว%ากว%า 85% มีแนวโนมที่จะซื้อ สินคCาหลังดูคลิปวีดิทัศน<อีกดCวย (ศุภภัทรา บุณยสุรักษ, 2559, หนCา 8) โดยปkจจุบันการนำเสนอการตลาดเชิง เนื้อหา (Content Marketing) โดยเฉพาะการนำเสนอในรูปแบบ VDO Content ซึ่งเปlนรูปแบบการนำเสนอโดยมี ภาพเคลื่อนไหว เสียงอธิบายชัดเจนลักษณะของ VDO Content ดังนี้ (ศุภภัทรา บุณยสุรักษ< ,2559, หนCา 8) 1. วีดิทัศน<ที่ใชCควรมีความยาวที่เหมาะสม คลิปไทยที่ไดCรับความนิยมที่มีเพจวิวเกิน 1 ลCานวิวขึ้นไป ส%วนใหญ%แลCวมักจะมีความยาวของวีดิทัศน<ประมาณ 2-5 นาที 2. ทดสอบการเผยแพร%ก%อน ทำการสุ%มทดลองใหCกลุ%มตัวอย%างไดCดูวีดิทัศน<ก%อนเพื่อที่จะหาขCอบกพร%อง เช%น วีดิทัศน<ยาวไป สั้นไป หรือน%าเบื่อ เพื่อนำผลที่ไดCมาปรับปรุงต%อไป 3. มี เ นื ้ อ หา Content ที ่ ด ี เนื ้ อ หาวี ด ิ ท ั ศ น< น ั ้ น ถื อ ว% า เปl น สิ ่ ง สำคั ญ ที ่ ส ุ ด เพราะหากไม% ต รงใจ กลุ%มเป^าหมายแลCว พวกเขาจะขCามผ%านวีดิทัศน<ของคุณไปเลยอย%างไม%ลังเล ดังนั้น ควรวางแผนการ วางเนื้อหา ใหCดีเพราะมันคือหัวใจ
30
4. ปล%อยวีดิทัศน<ในเวลาที่เหมาะสม เช%น ดูความหนาแน%นของประชากรที่ใชอินเทอร<เน็ตในช%วงนั้นสูง ๆ อาจจะเปlนช%วง 7-9 โมงเชCาก%อนเวลาทำงาน และช%วงบ%าย และช%วงเย็นเปlนตCน 5. ปล%อยวีดิทัศน<ในที่ที่เหมาะสม เช%น อาจจะเริ่มปล%อยจาก Social Network ตามดCวยกระจายไป แหล%งชุมชนออนไลน<ต%าง ๆ ที่มีกลุ%มเป^าหมายที่เราตCองการจะสื่อสารดCวย 6. ใชC Infuencer หรือผูCที่มีอิทธิพลทางความคิด ซึ่งบุคคลพวกนี้มีศักยภาพในการโนCมนCาวผูCที่ติดตาม พวกเขาช%วยผลักดันวีดิทัศน<ใหCแพร%หลายออกไปไดCมาก และรวดเร็วยิ่งขึน้ 7. ใชCกระแสที่อยู%ในความสนใจในช%วงนั้นใหCเปlนประโยชน< หลายคลิปวีดิทัศน<มีผูCคนมากมายเขCาไปชม ทั้ง ๆ ที่ไม%ไดCมีเนื้อหาอะไรเปlนพิเศษ แต%เปlนเพราะเพียงวีดิทัศน<คลิปนั้น ๆ มีเรื่องราวอยู%ใน ช%วงเวลาและสัมพันธ<กับกระแสที่สังคมกำลังใหCความสนใจ 8. ทำใหCวีดิทัศน<ที่นำเสนอนั้นง%ายต%อการ แชร< ส%งต%อ เพราะหากวีดิทัศน<คอนเทนต<จะยอดเยี่ยมเพียงไร แต%ขาดการส%งต%อ บอกต%อ แลCวการเขCาถึงวีดิทัศน< คอนเทนต<นั้น ๆ ของกลุ%มเป^าหมายก็จะนCอยลงไป ดCวย ซึ่งสอดคลCองกับงานวิจัยที่เกี่ยวของของ ณัฐธภา ชัยถิรสกุล (2559) ซึ่งไดCทำการศึกษาประเภทและ รูปแบบในการนำเสนอเนื้อหาเพื่อการสื่อสารการตลาดดิจิทัลสำหรับโรงแรมระดับ 5 ดาวที่ก%อใหCเกิดการมีส%วนร%วม (Engagement) จะตCองเปlนเนื้อหา (Video Content ที่อยู%ในความสนใจของสมาชิกแฟนเพจ สั้น กระชับ เขCาใจ ง% า ย และมี ส % ว นร% ว มไดC จ ริ ง ใชC เ วลาในการรั บ ขC อ มู ล ไม% น านจะทำใหC ส มาชิ ก แฟนเพจเกิ ด การมี ส % ว นร% ว ม (Engagement) กับเนื้อหา (Content) นั้นๆ และพรCอมจะบอกต%อดCวยการแชร<ออกไป ส%วนสำคัญของ VDO Content ที่จะประสบความสำเร็จหรือไม%นั้น มีผูCศึกษาเรื่องเกี่ยวกับเรื่องนี้ ไดCกล%าวไวCว%าการตลาดจาก VDO Content ตามเกณฑ<ของ Viral Marketing (ปราณิศา ธวัชร%งโรจน< และวรัชญ< คุรจิต, 2559) 1. Attractive: หัวขCอตCองน%าสนใจ คือ ชื่อเรื่อง พาดหัว หรือ Title เปlนสิ่งดึงดูดผูCชมใหCเขCาหาวีดิทัศน< ซึ่งมี โอกาสสูงมากที่วีดิทัศน<นั้นจะถูกแบ%งปkนหรือส%งต%อ รวมถึงระยะเวลาของตัววีดิทัศน<ที่ไม%ควรจะยาวเกินไป เพราะจะทำใหCผูCชมเกิดความเบื่อหน%ายและเลิกดูเสียก%อน อีกทั้งการมีรูปตัวอย%างที่น%าสนใจจะทำใหCผูCชม เกิดความสนใจจนตCองคลิกรับชมคลิปวีดิทัศน<นั้น 2. Emotional: เกี่ยวกับอารมณ< ความรูCสึก คือ วีดิทัศน<ที่เขCาถึงอารมณ<ของผูCชม ไม%ว%าจะเปlนเศรCา ตลก สนุก ประทับใจ ตื่นเตCน ชี้งกินใจ โกรธ เซ็กซี่ หรือ เรื่องน%าอับอาย เปlนตCน ที่ใหCความรูCสึกทั้งในดCานบวกและ ดCานลบ โดยผูCชมอาจมีประสบการณ<เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ จึงทำใหCมีอารมณ<ร%วมไปกับสิ่งที่ไดCพบเห็น และทำ ใหCแนวโนCมการแบ%งปkนที่สูง
31
3. Unseen: มีลักษณะที่แตกต%าง คือ การคิดและการสื่อสารที่นอกกรอบแตกต%างจากสิ่งที่เคยมีมาก%อน อาจจะเปlนวีดิทัศน<ที่ไม%ไดCถูกเผยแพร%ผ%านสื่อหลักหรือวีดิทัศน<ที่ทำขึ้นมาเพื่อนำเสนอผ%านสื่อออนไลน< โดยเฉพาะ จะทำใหCผูCชมสนใจในความแปลกใหม%และเกิดการแบ%งปkนใหCผูCอื่นในเครือข%ายไดCรับชม 4. Controversial: มีความขัดแยCง คือ วีดิทัศน<ที่เปlนประเด็นถกเถียง เปlนกระแส Talk of The Town ซึ่ง อาจจะเปlนวีดิทัศน<ที่มีความรุนแรง มีภาพที่วาบหวิว ทำใหCผูCชมต%างมีความคิดเห็นต%างกันใน แต%ละมุมมอง จนเกิดเปlนที่สนใจและเกิดการแบ%งปkนเปlนกระแสการบอกต%อไดCในที่สุด 5. Useful: ใหCประโยชน< ใหCแง%คิด คือ ลักษณะวีดิทัศน<ที่ใหCประโยชน< อาจจะในดCานใหCความรูCใหCแง%คิดการใชC ชีวิต หรือทำใหCคนหยุดคิดทบทวนไตร%ตรองสิ่งต%างๆ เช%น คำคม คำสอน ขCอคิด เปlนตCน 6. Convenient: ง%ายต%อการแบ%งปkนและไม%จำกัดการเขCาชม คือ สามารถส%งต%อแบ%งปkนไดCง%ายไม%ยุ%งยาก ไม% ซับซCอน และตCองไม%จำกัดการเขCาชม เพราะการจำกัดการเขCาชมจะทำใหCการบอกต%อมีประสิทธิภาพลดลง 7. Un-Advertising: ดูไม%เหมือนการโฆษณา คือ วีดิทัศน<ที่ไม%เนCนขายของจนเกินไปเพราะผูCชมจะเกิด ความรูCสึกอคติไม%อยากแบ%งปkน เพราะเหมือนเปlนการไปโฆษณาสินคCานั่น หรือ วีดิทัศน<ที่สรCางขึ้นมาใน รูปแบบที่จงใจใหCเหมือนว%าไม%ใชCโฆษณา เช%น คลิปวีดิทัศน<ต%างๆ ที่ทำเหมือนแอบถ%าย แต%สุดทCายมาเฉลย ว%า เปlนการโฆษณาสินคCาชนิดหนึ่งๆ 8. Unique: มีความเปlนเอกลักษณ< คือ มีลักษณะเฉพาะของตราสินคCา อาจจะเปlนเรื่องสีMood and Tone หรือรวมไปถึงนักแสดงที่เปlนคาแรกเตอร<ของสินคCานั้นๆ ซึ่งตัวนักแสดงมีส%วนที่จะทำใหCเกิดการแบ%งปkนวีดิ ทัศน<นั้นไดC 9. Sufficiently Promoted: ไดCรับการโปรโมทอย%างเพียงพอ คือ คลิปวีดิทัศน<ที่คิดเนื้อเรื่องรูปแบบการ นำเสนอต%าง ๆ มาอย%างดีแลCว ตCองไดCรับการโปรโมทส%งเสริมใหCผูCคนในเครือข%ายไดCเห็นอย%างเพียงพอ ทำใหC ไวรัลวีดิทัศน<ถูกเผยแพร<ในวงกวCาง และตัวตCนสื่อตCองปล%อยวีดิทัศน<ใหCหลากหลายช%องทาง 10. Effectively Executed: ดำเนินงานอย%างมีประสิทธิภาพ คือ การดำเนินงานในการผลิตตCองเปlนไปอย%าง ถูกวิธี ทั้งการควบคุมคุณภาพในดCานการผลิต นักแสดงรวมทั้งงบประมาณตCองเพียงพอต%อการถ%ายทำ เพื่อ ทำใหCไอเดียที่สรCางสรรค<นั้นไดCรับการเผยแพร%
32
การทำ Video Content จะมากขึ้นและหลากหลายกว%าเดิม (ณัฐพัชญ< วงษ<เหรียญทอง, 2560) เรื่องการ ทำ Video Content คงไม%ใช%เทรนด<อีกแลCว หากแต%เปlน Content Form ที่ถูกหยิบมาใชCมากขึ้นเรื่อย ๆ อัน เนื่องจากศักยภาพของการผลิตนั้นง%ายขึ้นกว%าเดิม (ในมุมผูCบริโภค) และความสามารถของ Mobile internet ที่ทำ ใหCเราดู Video Content ไดCเปlนเรื่องปรกติ พฤติกรรมการใชC VDO Content กับการทำศัลยกรรมความงาม (ศุภภัทรา บุณยสุรักษ,2559) ไดCสรุปผล วิจัยว%า ผูCตอบแบบสอบถามส%วนใหญ%รับชม VDO Content โดยดูตั้งแต%ตCนจนจบมากที่สุด รองลงมาคือ ดูแบบ Skip ดูแบบ 30 วินาที ก%อนจบดูแบบ 1 นาที ก%อนจบ และดูแบบเลื่อนไปตอนทำศัลยกรรม ตามลำดับ ทั้งนี้ เนื่องจากการศึกษาจะพบว%ากลุ%มตัวอย%างส%วนใหญ%มีแนวโนCมใการสนใจการทำศัลยกรรม และมีความตCองการศึกษา ขCอมูลเกี่ยวกับการทำศัลยกรรม ดังนั้น การรับชมคลิปวีดิทัศน<เกี่ยวกับการทำศัลยกรรมแบบจบทั้งคลิปจึงถือเปlน การศึกษาขCอมูลอย%างหนึ่ง ซึ่งสอดคลCองกับงานวิจัยของ ปราณิศา ธวัชรุงโรจน (2558) ที่ศึกษาการวิเคราะห<คลิป วีดิทัศน<ไวรัลทารเก็ตมาเก็ตติ้งและปkจจัยที่มีต%อการตัดสินใจแบ%งปkน ผลการศึกษา พบว%า เวลาในการดำเนินเรื่องใน คลิปวีดิทัศน<ไม%มีผลต%อการรับชมและแบ%งปkนของกลุ%มตัวอย%าง ถCาเนื้อหาและการนำเสนอของคลิปวีดิทัศน<มีความ น%าสนใจ และเปlนประเภทคลิปวีดิทัศน<ที่กลุ%มตัวอย%างชอบเปlนการส%วนตัว ถึงแมCคลิปวีดิทัศน<จะมีระยะเวลาเกิน 5 นาทีก็รับชม จากการศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับ video content ดังกล%าวเกี่ยวกับงานวิจัยที่อCางอิงทำใหCเราสามารถ นำองค<ความรูCเกี่ยวกับแนวคิดดังกล%าว เพื่อหากลยุทธ<ที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาสื่อวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ< วิทยาศาสตร<โดยใชCหลัก Storytelling Canvas เพื่อเกิดความน%าสนใจ เขCาถึงกลุ%มเป^าหมายมากขึ้น
33
บทที่ 4 เทคนิคในการปฏิบัติงาน กิจกรรม/แผนปฏิบัติงาน การวางแผนงาน เปlนส%วนสำคัญยิ่งในงานประชาสัมพันธ< และเปlนแนวทางที่จะทำใหCงานบรรลุเป^าหมาย แผนของงานที่วางไวCจะนำไปสู%ระบบการทำงานที่มีประสิทธิภาพ สามารถตรวจสอบควบคุม กำกับงานและ ประเมินผลงานไดCทุกระยะ ทุกขั้นตอนในขั้นตอนนี้องค<กรจะไดCรับความสำเร็จมากนCอยเพียงไรนั้น ขึ้นอยู%กับการ วางแผนงานประชาสัมพันธ< การวางแผนตCองคำนึงถึงผูCรับสารและเครื่องมือที่ใชCในการสื่อสารเพื่อที่จะเลือก เครื่องมือที่ใชCในการสื่อตรงตามกลุ%มเป^าหมายไดCอย%างมีประสิทธิภาพ สื่อเหล%านี้ หากจะใชCควรคำนึงถึง 1. การวิเคราะห<ปkญหาและสภาพการณ<ที่เกี่ยวขCอง เช%น การประชาสัมพันธ<การรับสมัครนักศึกษา การ ประชาสัมพันธ<กิจกรรม/โครงการต%าง ๆ ที่เกิดขึ้นในคณะฯ การบริการวิชาการของหน%วยงาน โดย ดำเนินการตามพันธกิจ และ แผนยุทธศาสตร<ขององค<กรในแต%ละป` แลCวตCองวิเคราะห<ปkญหาการ ประชาสัมพันธ<ในองค<กร และการวางแผนจะตCองสามารถทำนาย ประเมินผล วิเคราะห<สิ่งที่คาดว%าจะ เกิดขึ้น เพื่อเตรียมความพรCอมในการสื่อสารที่ถูกตCอง รวดเร็ว ตรงตามวัตถุประสงค<ของงาน 2. กำหนดกลุ%มเป^าหมาย การวางแผนการประชาสัมพันธ<จำเปlนตCองกำหนดกลุ%มเป^าหมายใหCชัดเจน เนื่องจากในแต%ละกิจกรรม/โครงการ กลุ%มเป^าหมายต%างกัน ย%อมมีผลถึงการประชาสัมพันธ<ผ%าน ช%องทางสื่อสารต%าง ๆ 3. กำหนดวิธีการสื่อสารและการใชCสื่อที่จะเขCาถึงกลุ%มเป^าหมาย โดยพิจารณาถึงวิธีการ หรือ ช%องทางการ รับสารของกลุ%มเป^าหมาย สารที่จะส%ง สื่อที่จะใชC และงบประมาณในการใชCสื่อ 4. จัดทำโครงการและแผนปฏิบัติงานประจำป` โดยวางโครงการเปlนแผนแม%บทไวC กำหนดวัตถุประสงค< กลุ%มเป^าหมาย กิจกรรม งบประมาณ และผูCรับผิดชอบ
34
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน กระบวนการกEอนการผลิตสื่อวีดิทัศน6ประชาสัมพันธ6 1. พิจารณางานที่ไดCรับมอบหมาย พิจารณาคัดเลือกงานของผูCบริหาร และมอบหมายงานใหCเจCาหนCาที่ ผูCปฏิบัติงานโดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1.1 เจCาหนCาที่ผูCปฏิบัติงานรับขCอมูลจากภาระงานประจำวัน หรือภาระงานตามเอกสารที่มอบหมายใหC ดำเนินการประชาสัมพันธ< (ถCามี) 1.2 หัวหนCาหน%วย และ ทีมงานประชาสัมพันธ< พิจารณาคัดเลือกภาระงานสำคัญที่สามารถนำมาเปlน ประเด็นข%าวประชาสัมพันธ< เพื่อผลิตเปlนสื่อประชาสัมพันธ<ในรูปแบบต%าง ๆ 2. วางแผนการผลิตสื่อประชาสัมพันธ< โดยมีแนวทาง ดังนี้ 1.1 ข%าวประชาสัมพันธ<ที่เปlนกระแส และตอบยุทธศาสตร<และพันธ<กิจของคณะวิทยาศาสตร< รวมถึง การดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมสำคัญของหน%วยงาน 1.2 เจC า หนC า ที ่ ประสานขC อ มู ล กำหนดการ ผลิ ต วี ดิ ท ั ศ น< เ พื ่ อ การประชาสั ม พั น ธ< ว ิ ท ยาศาสตร< ประสานงานผูCเชี่ยวชาญเพื่อสัมภาษณ< หรือรายละเอียดต%าง ๆ เพื่อเตรียมการจัดทำข%าว ประชาสัมพันธ< กระบวนการผลิตวีดทิ ัศน6ประชาสัมพันธ6 1. กำหนดประเด็นเนื้อหา/แนวคิดในการนำเสนอใหCเหมาะสมกับสื่อออนไลน<ประเภทต%าง ๆ เช%น เฟซบุ¶ก ยูทบู ทวิตเตอร< อินสตาแกรม รวมถึงช%องทางสื่อหลัก เช%น สื่อวิทยุกระจายเสียง สื่อวิทยุ โทรทัศน< เพื่อการประชาสัมพันธ< 2. มอบหมายเจCาหนCาที่ผูCปฏิบัติงานรับผิดชอบในการดำเนินงาน รวมถึงการประสานผูCเชี่ยวชาญในการ ใหCสัมภาษณ<ในคณะวิทยาศาสตร< 3. หาขCอมูลจากเอกสาร เว็บไซต< การสัมภาษณ< หรือขCอมูลอื่น ๆ อันจะเปlนประโยชน<ในการผลิตสื่อใน รูปแบบต%าง ๆ 4. ประมวลผลขCอมูล เรียบเรียง เขียนบทโดยใชCหลัก Storytelling Canvas พรCอมกำหนดขCอคำถาม สำหรับการสัมภาษณ<ผูCเชี่ยวชาญ 5. นัดวันและเวลาในการสัมภาษณ<ผูCเชี่ยวชาญ
35
6. ดำเนินการผลิตชิ้นงาน ตัดต%อ ใส%เอฟเฟค พรCอมกำหนดวันในการเผยแพร%ใหCทันสถานการณ<ปkจจุบัน สำหรับกรณีจCางเหมาบริษัท/องค<กรของรัฐ ผลิตและเผยแพร%สื่อและเขCาสู%กระบวนการจัดซื้อจัดจCาง ตามระเบียบการพัสดุ 7. ตรวจสอบความถูกตCองของสื่อ เพื่อแกCไขใหCถูกตCอง เหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงค<ในการผลิตก%อน นำเผยแพร% โดยส%งใหCผูCเชี่ยวชาญที่ใหCสัมภาษณ<ตรวจขCอมูลใหCเรียบรCอย กระบวนการเผยแพรEวีดทิ ัศน6ประชาสัมพันธ6 1. ศึ ก ษาวิ เ คราะห< ข C อ มู ล การเผยแพร% ป ระชาสั ม พั น ธ< โดยการรวบรวมขC อ มู ล ดC า นการเผยแพร% ประชาสัมพันธ< ทั้งยุทธศาสตร< และพันธกิจของคณะ แลCวนำมาวิเคราะห< เพื่อใชCในการทำแผนการ ดำเนินงานเพื่อใหCสอดคลCองกับการประชาสัมพันธ<ผ%านสื่อต%าง ๆ ใหCถึงกลุ%มเป^าหมายไดCอย%างรวดเร็ว และทั่วถึง 2. นำขCอมูลที่ไดCจากการวิเคราะห<มาจัดทำแผน และโครงการในการประชาสัมพันธ< พรCอมกำหนด วั ตถุ ประสงค< เป^ าหมาย ระยะเวลาการดำเนิ นงานและงบประมาณเพื ่ อดำเนิ นการเผยแพร% สื่อ ประชาสัมพันธ< 3. กำหนดช%องทางสื่อประชาสัมพันธ<ตามความเหมาะสม และตามแผนงานที่ไดCกำหนดไวC 4. ดำเนินการเผยแพร%ประชาสัมพันธ<ข%าวสารตามช%องทางสื่อต%าง ๆ ของคณะ อาทิ สื่อออนไลน< เว็บไซต< รวมถึงสื่อมวลชน อาทิ สื่อวิทยุกระจายเสียง สื่อวิทยุโทรทัศน< พิจารณาจากตามความเหมาะสมของ เนื้อหา โดยคำนึงถึงเป^าหมายและสถานการณ<ในปkจจุบัน 5. ดำเนินการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานที่ไดCดำเนินงานในการเผยแพร%ประชาสัมพันธ<ตาม ช%องทางสื่อต%าง ๆ เพื่อรับทราบผลการตอบรับในเรื่องต%าง ๆ ที่ไดCมีการเผยแพร%ประชาสัมพันธ< หรือ ติดตามยอดการเขCาถึง เพื่อนำกลับมาพิจารณาทบทวนและนำมาปรับปรุงแกCไขต%อไป
36
กระบวนการกEอนการผลิตสื่อวีดิทัศน6ประชาสัมพันธ6
ภาพที่ 4-1 กระบวนการก%อนการผลิตสื่อวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<
37
จากภาพที่ 4-1 กระบวนการกEอนการผลิตสื่อวีดิทัศน6ประชาสัมพันธ6 สามารถอธิบายรายละเอียดการ ทำงานไดCดังนี้ 1. เวลา 08.30 – 09.00 น. ของทุกวันผูCปฏิบัติงานจะพูดคุยกันในหน%วยประชาสัมพันธ<เพื่อติดตาม จากข%าว หรือ ประเด็นในสื่อออนไลน< ณ ปkจจุบันที่น%าสนใจและสามารถอธิบายดCวยวิทยาศาสตร< พรCอมกำหนดหัวขCอในการผลิตวีดทิ ัศน<ประเด็นดังกล%าว 2. หลังจากที่ไดCหัวขCอข%าวที่น%าสนใจแลCว จะระดมความคิดในการพิจารณาคำตอบ หรือ นำเอา หลักการทางวิทยาศาสตร< มาเพิ่มเติมในเนื้อหาว%าสามารถที่จะดำเนินการไดCหรือไม% องค<กรมี ผูCเชี่ยวชาญที่จะใหCความรูCในดCานนี้หรือไม% ถCามีผูCปฏิบัติงานจะเริ่มเขCาสู%ขั้นตอนการผลิตวีดิทัศน< และทาบทามผูCเชี่ยวชาญในลำดับต%อไป ถCาไม%มีผูCเชี่ยวชาญหรือไดCรับการโดนปฏิเสธ ก็จะหา ประเด็นอื่น ๆ ในหนCาสื่อที่น%าสนใจอื่น ๆ แทน โดยจากประสบการณ<แลCว ถCาหากเราทราบถึง ผูCเชี่ยวชาญขององค<กรดี ก็จะทราบว%าเรื่องต%างๆ สามารถผลิตวีดิทัศน<ไดC โดยจะตCองใชCเทคนิคใน การนำเสนอเรื่องที่ผูCเชี่ยวชาญถนัดพรCอมหาขCอมูลประกอบเพื่อใหCผูCเชี่ยวชาญทำงานไดCอย%างง%าย ส%วนใหญ%แลCวเกือบ 80 เปอร<เซ็นต< ก็จะตอบรับใหCสัมภาษณ< อีก 20 เปอร<เซ็นต<ส%วนใหญ%มักจะติด ภารกิจหรือไม%ก็เปlนเรื่องที่ตนไม%ถนัดซึ่งผูCปฏิบัติงานก็ตCองพยายามประสานงานผูCเชี่ยวชาญต%อไป 3. หลักจากนั้นก็จะเขCาสู%ขั้นตอนการผลิตวีดิทัศน<
38
กระบวนการผลิตวีดทิ ัศน6ประชาสัมพันธ6
ภาพที่ 4-2 กระบวนการผลิตวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<
39
จากภาพที่ 4-2 การผลิตวีดิทัศน6เพื่อประชาสัมพันธ6วิทยาศาสตร6 สามารถอธิบายรายละเอียดการ ทำงานไดCดังนี้ 1. กำหนดประเด็นเนื้อหาสำคัญที่เปlนกระแสในสื่อ/กำหนดหัวขCอวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ< โดยติดตามจากข%าว หรือ ประเด็นหนCาสนใจในสื่อออนไลน< ณ ปkจจุบันที่น%าสนใจและสามารถอธิบายดCวยวิทยาศาสตร< พรCอม กำหนดหัวขCอในการผลิตวีดิทัศน<ประเด็นดังกล%าว 2. หลั ง จากที ่ ก ำหนดประเด็ น แลC ว ผู C ป ฏิ บ ั ต ิ ง านจะประสานงานผู C เ ชี ่ ย วชาญในการใหC ค วามรู C ท างดC า น วิทยาศาสตร<เพื่อการสัมภาษณ<ประเด็นที่เกิดขึ้น ซึ่งในคณะวิทยาศาสตร<มีอาจารย<เชี่ยวชาญทั้ง 4 สาขา เมื่อไดCผูCเชี่ยวชาญแลCวจะเปlนขั้นตอนการโทรหรือส%งอีเมลประสานงานผูCเชี่ยวชาญเพื่อใหCความเห็น หาก ผูCเชี่ยวชาญตอบรับที่จะใหCสัมภาษณ< ก็เขCาสู%ขั้นตอนการส%งคำถามต%อไป แต%ถCาผูCเชี่ยวชาญปฏิเสธ ผูCปฏิบัติงานตCองเปลี่ยนเรื่องเพราะบางหัวขCอไม%สามารถดำเนินการโดยล%าชCาไดC 3. เมื่อผูCเชี่ยวชาญตอบรับการใหCสัมภาษณ<จะเขCาสู%ขั้นตอนการกำหนดคำถามในการสัมภาษณ<พรCอมนัดหมาย วันและเวลาในการเขCาถ%ายทำวีดทิ ัศน< โดยขั้นตอนนี้จะใชCเวลาไม%เกิน 2-3 วันเพื่อใหCผูCเชี่ยวชาญไดCหาขCอมูล ในการตอบคำถามเพื่อไดCขCอมูลที่ถูกตCอง เพื่อเปlนแนวทางสำหรับการสัมภาษณ<และการตัดต%อวีดิทัศน<ใหC เขCาถึงกลุ%มเป^าหมายและเปlนไปตามวัตถุประสงค<ต%อไป 4. หลังจากที่ไดCสัมภาษณ<จะเขCาสู%กระบวนการตัดต%อวีดิทัศน<โดยใชCหลัก Storytelling Canvas อีกทั้งตCอง คำนึงถึงหลัก PDPA และการไม%ละเมิดลิขสิทธิ์ มาประกอบการสัมภาษณ< ซึ่งในดCานการใหCความรูCหรือ การศึกษาผูCตัดต%อวีดิทัศน<ตCองใส%อCางอิงตCนฉบับลงในวีดิทัศน< จนจบกระบวนการตัดต%อ 5. หลังจากที่ไดCวีดิทัศน<แลCว ทางผูCปฏิบัติจะตCองส%งผูCเชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกตCอง โดยถCาผูCเชี่ยวชาญแจCง ว%าสามารถเผยแพร%ไดCก็จะเผยแพร%ตามช%องทางประชาสัมพันธ<ทุกช%องทางของคณะวิทยาศาสตร< แต%ถCา หากผูCเชี่ยวชาญแจCงที่จะแกCไข อาจจะตCองเพิ่มเติมบทสัมภาษณ<หรือตัดรายละเอียดบางอย%างออกก็ ดำเนินการตามที่ผูCเชี่ยวชาญแจCงแลCวส%งใหCผูCเชี่ยวชาญตรวจสอบอีกครั้งจนกว%าจะแจCงใหCเผยแพร%ไดC ก็จะ เขCาสู%กระบวนการเผยแพร%ตามภาพ 4-3 การเผยแพร%วีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<ต%อไป
40
กระบวนการเผยแพรEวีดิทัศน6ประชาสัมพันธ6
ภาพที่ 4-3 กระบวนการเผยแพร%วีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<
41
ดังนี้
จากภาพที่ 4-3 การเผยแพรEวีดิทัศน6ประชาสัมพันธ6วิทยาศาสตร6 สามารถอธิบายรายละเอียดการทำงานไดC 1. เมื่อไดCวีดิทัศน<ที่ผูCเชี่ยวชาญตรวจสอบว%าถูกตCองแลCวก็จะเขCาสู%ขCอมูลการเผยแพร%ตามช%องทางต%างๆ โดย กำหนดขนาดใหCรองรับสื่อออนไลน<ชนิดต%าง ๆ ซึ่งมีขนาดที่กำหนดไวCไม%เท%ากัน อาทิเช%น ขนาด 16:9 นั้น สามารถเผยแพร%ช%องทาง ทีวีประชาสัมพันธ<ในคณะวิทยาศาสตร< เว็บไซต<ของคณะวิทยาศาสตร< และส%งต%อ ใหCสื่อมวลชนไดCทันที 2. สำหรับการเผยแพร%ผ%านสื่อออนไลน<นั้น เนื่องจากแต%ละรูปแบบนั้น มีการกำหนดขนาดที่ไม%เท%ากันอาทิเช%น 2.1 Facebook กำหนดวีดิทัศน<อยู%ที่อัตราส%วน 1:1 ทางผูCปฏิบัติงานตCองปรับขนาดใหCสอดคลCองเพื่อใหC ยอดผูCเขCาถึงมากขึ้น แลCวเผยแพร% 2.2 YouTube กำหนดวีดิทัศน<อยู%ที่อัตราส%วน 16:9 ทางผูCปฏิบัติงานตCองปรับขนาดใหCสอดคลCองเพื่อใหC ยอดผูCเขCาถึงมากขึ้น แลCวเผยแพร% 2.3 TikTok กำหนดวีดิทัศน<อยู%ที่อัตราส%วน 9:16 ทางผูCปฏิบัติงานตCองปรับขนาดใหCสอดคลCองเพื่อใหCยอด ผูCเขCาถึงมากขึ้น แลCวเผยแพร% 3. หลังจากที่เผยแพร%ทุกช%องทางแลCว เราสามารถติดตามยอดผูCเขCาถึงวิเคราะห<ความพึงพอใจ ไดCจากช%องทาง ออนไลน<นั้น ๆ ไดCเลย เนื่องจากสื่อออนไลน<ต%าง ๆ ไดCออกแบบการตรวจสอบสถิติ และยอดผูCเขCาชมไดC แบบเรียลไทม< ซึ่งจะทำใหCเราสามารถที่จะวิเคราะห<คุณภาพและการเขCาถึงสื่อเพื่อนำไปพัฒนาต%อไป
42
ตัวอยEางขั้นตอนการผลิตวีดิทัศน6ประชาสัมพันธ6วิทยาศาสตร6โดยใชKหลัก Storytelling Canvas Storytelling Canvas เครื ่ อ งมื อ วางแผนคอนเทนต< เ พื ่ อ ใหC ก ารทำงานคอนเทนต< แ ละสื ่ อ ต% า งๆ มี ประสิทธิภาพมากขึ้น ตรงกลุ%มเป^าหมาย และสามารถที่จะอธิบายหรือเปlนขCอมูลในการถ%ายทำใหCกับผูCเชี่ยวชาญใน ขั้นตอนการผลิตวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ< รวมถึงผูCที่ตัดต%อคลิปวีดิทัศน<นั้น ไดCนำไปใชC ซึ่งเครื่องมือนี้จะประกอบไป ดCวย 14 หัวขCอ
ภาพที่ 4-4 รูปแบบ Storytelling Canvas 1. Goal : เป^าหมายของการสื่อสารคืออะไร ทำไมตCองเล%าเรื่องนี้ 2. Unique Selling Point : จุดแข็งที่คนอื่นเลียนแบบไม%ไดC 3. Target Audience : กลุ%มเป^าหมายคือใคร เขาอย%างฟkงเรื่องอะไร 4. Channel : เครื่องมือและช%องทางในการสื่อสารคืออะไร ทำไมใชCเครื่องมือนี้ 5. Mood & Tone : ความรูCสึกและน้ำเสียงในการเล%าเปlนอย%างไร 6. Key Message : ประเด็นสำคัญของเรื่องคืออะไร 7. Audience Centric Check Point : ทำไมผูCฟkงถึงอยากฟkงเรื่องนี้ แตกต%างจากที่คนอื่นเล%าอย%างไร 8. น%าสนใจอย%างไร : เรื่องที่เล%าน%าสนใจอย%างไร 9. มีอะไรโยชน<อย%างไร : เรื่องที่เล%ามีอะไรโยชน<อย%างไร
43
10. Before : ก%อนที่จะปล%อยคอนเทนต< ผูCรับคอนเทนต<มีความรูCสึกอย%างไร คิดอะไรอยู% 11. Introduction : เป‡ดคอนเทนต<อย%างไรใหCน%าสนใจ 12. AHA! Moment : ประเด็นสำคัญที่น%าสนใจคืออะไร 13. Conclusion : บทสรุปของเรื่องคืออะไร ส%งผลต%อเรื่องอะไรไดCต%อ 14. After : หลังจากไดCรับคอนเทนต<แลCวรูCสึกอย%างไร ซึ่งทางผูCปฏิบัติงานเห็นว%าการนำ Storytelling Canvas มาปรับใชCในการผลิตสื่อและทำคอนเทนต<ที่ก็จะ สามารถเขCาถึงผูCบริโภคมากที่สุด โดยตCองวางตัวเองใหCอยู%ตรงกลางระหว%าง สิ่งที่อยากนำเสนอ อยากเล%า และ สิ่งที่ คนฟkงอยากไดCยิน อยากดู อยากฟkง และใหCความสำคัญกับหลัก 7 ถูก คือ (ฝk•งผูCผลิตคอนเทนต<) ถูกความเปlนตัวเรา, ถูกเป^าหมาย / ฝk•งผูCรับสาร: ถูกคน, ถูกใจ, ถูกความตCองการ, ถูกที่ และถูกเวลา โดยเฉพาะเนื้อหาหรือการองค< ความรูCทางวิทยาศาสตร<ไปเผยแพร%นั้น จึงจำเปlนอย%างยิ่งที่จะใหCความรูCที่ถูกตCอง เพื่อไม%ใหCผูCรับสาร นำสารที่ผิดไป เผยแพร%ต%อโดยเฉพาะการผลิตสื่อในช%องทางออนไลน<ที่มีการส%งต%ออย%างรวดเร็วนั้น ย%อมทำใหCผูCผลิตตCองตระหนัก ในเรื่องความถูกตCองเปlนเรื่องสำคัญยิ่ง จากการสรุปดังกล%าว ผูCจัดทำคู%มือการปฏิบัติงาน การพัฒนาสื่อวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร<โดยใชC หลั ก Storytelling Canvas ขอยกตั ว อย% า งการผลิ ต วี ด ิ ท ั ศ น< ค ลิ ป วิ ท ยาศาสตร< เ พื ่ อ ใหC ท ุ ก ท% า นไดC ท ราบถึ ง กระบวนการทำงานโดยอCางอิงถึงขั้นตอนการผลิตวีดิทัศน<เพื่อประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร< ใหCเห็นภาพชัดขึ้น ดัง ตัวอย%าง วีดิทัศน<เรื่องพอลิเมอร< ผูCสรCางถุงยางอนามัย ? โดยผูCปฏิบัติงานไดCวางแผนใหCความรูCในช%วงเดือน กุมภาพันธ< ซึ่งจะมีวันสำคัญที่สามารถนำมาเปlนประเด็นสำหรับใหCความรูCทางดCานวิทยาศาสตร<ไดCนั้นคือ วันวาเลน ไทน< ขั้นตอนถัดไปคือการประสานงานไปยังผูCเชี่ยวชาญดCานยางพารา นั้นคือ รองศาสตราจารย< ดร.เอกวิภู กาล กรณ<สุรปราณี หลักสูตรพอลิเมอร< สาขาวิทยาศาสตร<กายภาพ เปlนผูCเชี่ยวชาญทางดCานนี้ และ ไดCรับการตอบรับ จึงกำหนดขCอคำถามในการสัมภาษณ<เพื่อส%งใหCกับรองศาสตราจารย< ดร.เอกวิภู กาลกรณ<สุรปราณี ดังนี้ 1. เราสามารถทำถุงยางอนามัยดCวยตัวเองไดCไหมครับ 2. เราสามารถใชCถุงพลาสติกแทนถุงยางอนามัยไดCไหมครับ ในถุงยางอนามัย มีส%วนประกอบอะไรบCาง 3. ถุงยางอนามัยในบCานเรามีหลายแบบ หลายกลิ่นตรงนี้ในทางพอลิเมอร<เรานำอะไรไปปรุงแต%ง แลCวใน มุมมองอาจารย<นั้น มันทำใหCลดประสิทธิภาพไหมครับ 4. การปรับพื้นของถุงยางอนามัย นั้น ในทางพอลิเมอร<มีความยากง%ายต%างกันอย%างไร 5. สุดทCายอยากใหCอาจารย<ทิ้งทCาย ความสุขของการนำยางพารามาต%อยอดครับ
44
เมื่อไดCวันและเวลาในการกำหนดวันสัมภาษณ< รองศาสตราจารย< ดร.เอกวิภู กาลกรณ<สุรปราณี พรCอม เตรียมทีมถ%ายทำ และเขCาบันทึกคลิปวีดิทัศน< โดยตCองคำนึงถึงเรื่อง PDPA พ.ร.บ.คุCมครองขCอมูลส%วนบุคคล เรื่อง ของลิขสิทธิ์ และการใชCมุมกลCองในการถ%ายทำวีดิทัศน<ที่ดี เพื่อใหCวีดิทัศน<ออกมาไดCอย%างถูกตCอง ทั้งในเนื้อหา และ ในทางกฎหมาย ขั้นตอนถัดไปคือขั้นตอนการออกแบบ Storytelling Canvas เพื่อใชCในการถ%ายทำ และ ใชCในการ ตัดต%อชิ้นงาน โดยในหัวขCอพอลิเมอร< ผูCสรCางถุงยางอนามัย ผูCดำเนินงานไดCออกแบบ Storytelling Canvas ดังนี้
ภาพที่ 4-5 ตัวอย%าง Storytelling Canvas เรื่องพอลิเมอร< ผูCสรCางถุงยางอนามัย ขั้นตอนถัดไปคือการถ%ายทำ โดยนำเนื้อหาของการสัมภาษณ< ตัดต%อโดยใชCพื้นฐานโครงเรื่องจากที่ไดC กำหนดใน Storytelling Canvas ซึ่งเครื่องมือตัวนี้จะช%วยใหCสามารถตั้งคำถามกับตัวเองไดCก%อนว%าตCองการทำ คอนเทนต<ไปเพื่อใคร ทำไปเพื่ออะไร ตCองการผลตอบรับอย%างไร เพื่อใหCคอนเทนต<ที่ผลิตออกมานั้นดีและมีคุณภาพ อย%างที่ควรเปlน หลักจากนั้นจึงเอาไปเผยแพร%ช%องทางต%าง ๆ
45
ภาพที่ 4-6 ตัวอย%างวีดิทัศน<เรื่องพอลิเมอร< ผูCสรCางถุงยางอนามัย
ภาพที่ 4-7 ภาพตัวอย%างหัวขCอวีดิทัศน<เรื่องพอลิเมอร< ผูCสรCางถุงยางอนามัย
46
ภาพที่ 4-8 ภาพตัวอย%างวีดิทัศน<เรื่องพอลิเมอร< ผูCสรCางถุงยางอนามัยที่ใส%กราฟ‡ก หลังจากเผยแพร%ก็สามารถเก็บสถิติในการรับชมซึ่งดังตัวอย%างเฉพาะช%องทางสื่อออนไลน< YouTube ที่ https://youtu.be/dwlnmUN4Gm0 ซึ่งมีการเขCาถึงกว%า 5 พันคน อัตราการแสดงผลที่ 1.9 เปอร<เซ็นต< และผูC เขCาชมทั้งสิ้น 996 คน
ภาพที่ 4-9 ภาพตัวอย%างสถิติวีดิทัศน<เรื่องพอลิเมอร< ผูCสรCางถุงยางอนามัย
47
ตัวอยEางที่ 2 สำหรับการผลิตวีดิทัศน<เรื่อง ผีกระสือ กับ Anatomy Halloween 2022 ? โดยผูCปฏิบัติงาน ไดCวางแผนใหCความรูCในช%วงเดือนตุลาคม ซึ่งจะมีวันสำคัญที่สามารถนำมาเปlนประเด็นสำหรับใหCความรูCทางดCาน วิทยาศาสตร<ไดCนั้นคือ วันฮาโลวีน ขั้นตอนถัดไปคือการประสานงานไปยังผูCเชี่ยวชาญดCานกายวิภาคศาสตร< นั้นคือ ดร.วิมล วิรเกียรติ หลักสูตรกายวิภาคศาสตร< สาขาวิทยาศาสตร<สุขภาพและวิทยาศาสตร<ประยุกต< เปlนผูCเชี่ยวชาญ ทาง Anatomy เพื่อใหCสัมภาษณ< ซึ่งไดCยกตัวอย%างประเด็นทางวิทยาศาสตร<ว%า หากมนุษย<ถอดหัวแลCว สามารถที่ จะใชCชีวิตไดCหรือไม% และไดCรับการตอบรับ จึงกำหนดขCอคำถามในการสัมภาษณ<เพื่อส%งใหCกับ ดร.วิมล วิรเกียรติ ดังนี้ 1. ตCองถามอาจารย<ก%อนเลยครับ อาจารย<เชื่อเรื่องภูตผี ป`ศาจไหม 2. ตำนานผีไทยที่โด%งดัง นั้นคือกระสือ อาจารย<รูCจักกระสืบ ผีไทยที่โด%งดังใช%ไหม 3. ลักษณะของกระสือตามตำราบางเล%มจะใหCคำนิยามว%า เปlนผีผูCหญิงแก%ที่ล%องลอยไปพรCอมกับหัว และไสCและอวัยวะส%วนอื่น เช%น หัวใจ, ปอด และเรืองแสงไดCเรือง ๆ ถCาเปรียบกับร%างกายมนุษย< จริง ๆ มันสามารถถอดไดCหรือไม% เพราะเหตุใด 4. ในดCานงานวิจัยที่เกิดขึ้น จากลักษณะของผีกระสือ เมื่อถอดศีรษะออกมาแลCว พรCอมหัวใจและ ปอด เราสามารถมีชีวิตอยู%ต%อไดCหรือไม% 5. กายวิภาค ร%างกายมนุษย<เมื่อถอดส%วนหัวแลCว อวัยวะส%วนอื่น ๆ เช%น ไสC, หัวใจ หรือปอด ก็จะไม% ติดออกมาดCวยอาจารย<สามารถแสดงใหCเห็นไหมครับ 6. สุดทCายนี้ ถCาสนใจเรียนรูCเรื่องร%างกายของเราอย%างจริงจังเราควรเตรียมตัวอย%างไร และเรียนไปใน ทิศทางไหนครับ เมื่อไดCวันและเวลาในการกำหนดวันสัมภาษณ< ดร.วิมล วิรเกียรติ พรCอมเตรียมทีมถ%ายทำ และเขCาบันทึก คลิปวีดิทัศน< โดยตCองคำนึงถึงเรื่อง PDPA พ.ร.บ.คุCมครองขCอมูลส%วนบุคคล เรื่องของลิขสิทธิ์ และการใชCมุมกลCอง ในการถ%ายทำวีดิทัศน<ที่ดี เพื่อใหCวีดิทัศน<ออกมาไดCอย%างถูกตCอง ทั้งในเนื้อหา และในทางกฎหมาย ขั้นตอนถัดไปคือ ขั้นตอนการออกแบบ Storytelling Canvas เพื่อใชCในการถ%ายทำ และ ใชCในการตัดต%อชิ้นงาน โดยในหัวขCอผี กระสือ กับ Anatomy Halloween 2022 ผูCดำเนินงานไดCออกแบบ Storytelling Canvas ดังนี้
48
ภาพที่ 4-10 ตัวอย%าง Storytelling Canvas เรื่องผีกระสือ กับ Anatomy Halloween 2022 ขั้นตอนถัดไปคือการถ%ายทำ โดยนำเนื้อหาของการสัมภาษณ< ตัดต%อโดยใชCพื้นฐานโครงเรื่องจากที่ไดC กำหนดใน Storytelling Canvas ซึ่งเครื่องมือตัวนี้จะช%วยใหCสามารถตั้งคำถามกับตัวเองไดCก%อนว%าตCองการทำ คอนเทนต<ไปเพื่อใคร ทำไปเพื่ออะไร ตCองการผลตอบรับอย%างไร เพื่อใหCคอนเทนต<ที่ผลิตออกมานั้นดีและมีคุณภาพ อย%างที่ควรเปlน หลังจากนั้นจึงเอาไปเผยแพร%ช%องทางต%าง ๆ
49
ภาพที่ 4-11 ตัวอย%างวีดิทัศน<เรื่องผีกระสือ กับ Anatomy Halloween 2022
ภาพที่ 4-12 ภาพตัวอย%างหัวขCอวีดิทัศน<ผีกระสือ กับ Anatomy Halloween 2022
50
ภาพที่ 4-13 ภาพตัวอย%างวีดิทัศน<เรื่องผีกระสือ กับ Anatomy Halloween 2022 ใส%กราฟ‡ก หลังจากเผยแพร%ก็สามารถเก็บสถิติในการรับชมซึ่งดังตัวอย%างเฉพาะช%องทางสื่อออนไลน< YouTube ที่ https://youtu.be/mb4jAvo6whY ซึ่งมีการเขCาถึงกว%า 8 พันคน อัตราการแสดงผลที่ 2.9 เปอร<เซ็นต< และผูCเขCา ชมทั้งสิ้น 759 คน
ภาพที่ 4-14 ภาพตัวอย%างสถิติวีดิทัศน<วิทยาศาสตร<เรื่องผีกระสือ กับ Anatomy Halloween 2022
51
ตัวอยEางที่ 3 สำหรับการผลิตวีดิทัศน<เรื่อง เรือดำน้ำทัวร<ไททานิค หายไปไหน ? โดยผูCปฏิบัติงานไดCหัวขCอ จากการรับชมข%าวสารเรื่องเรือดำน้ำไททันที่จะลงไปสำรวจเรือไททานิคหายไปเมื่อปลายเดือนมิถุนายน 2566 ซึ่ง จากการพูดคุยปรึกษากันพบว%าเรื่องนี้ทางดCานวิทยาศาสตร<สามารถใหCคำตอบไดC ขั้นตอนถัดไปคือการประสานงาน ไปยั ง ผู C เ ชี ่ ย วชาญทางดC า นฟ‡ ส ิ ก ส< นั ้ น คื อ Asst. Prof. Dr. Helmut Josef Durrast หลั ก สู ต รฟ‡ ส ิ ก ส< สาขา วิทยาศาสตร<กายภาพ เปlนผูCเชี่ยวชาญทางฟ‡สิกส< เพื่อใหCสัมภาษณ< ซึ่งไดCนำเอาเรื่องราวข%าวสารจริง ๆ มาตั้ง ประเด็นทางวิทยาศาสตร<ว%า เรือดำน้ำทัวร<ไททานิค หายไปไหน? และไดCรับการตอบรับ จึงกำหนดขCอคำถามใน การสัมภาษณ<เพื่อส%งใหCกับ Asst. Prof. Dr. Helmut Josef Durrast ดังนี้ 1. ใหCอาจารย<เล%าถึงสถานการณ<ปkจจุบันของเรือไททัน จากข%าว 2. มุมมองของอาจารย<คิดว%าเรือไททันนั้น หายไปไหน ในทางวิทยาศาสตร<คาดเดาเรื่องนี้ว%าอย%างไร 3. แน%นอนว%า เรือดำน้ำ ส%วนใหญ%ไดCรับการออกแบบที่ดี เหตุการณ<นี้อาจารย<มีความคิดเห็นเรื่องนี้ อย%างไร เนื่องจากเรื่องนี้เปlนประเด็นเร%งด%วน ทางผูCปฏิบัติงานจึงขอนัด Asst. Prof. Dr. Helmut Josef Durrast ถ%ายทำในวันนั้นเพื่อใหCออกทันข%าว โดยตCองคำนึงถึงเรื่อง PDPA พ.ร.บ.คุCมครองขCอมูลส%วนบุคคล เรื่องของ ลิขสิทธิ์ และการใชCมุมกลCองในการถ%ายวีดิทัศน<ที่ดี เพื่อใหCวีดิทัศน<ออกมาไดCอย%างถูกตCอง ทั้งในเนื้อหา และในทาง กฎหมาย ขั้นตอนถัดไปคือขั้นตอนการออกแบบ Storytelling Canvas เพื่อใชCในการถ%ายทำ และ ใชCในการตัดต%อ ชิ้นงาน โดยในหัวขCอเรือดำน้ำทัวร<ไททานิค หายไปไหน ? ผูCดำเนินงานไดCออกแบบ Storytelling Canvas ดังนี้
ภาพที่ 4-15 ตัวอย%าง Storytelling Canvas เรื่องเรือดำน้ำทัวร<ไททานิค หายไปไหน?
52
ขั้นตอนถัดไปคือการถ%ายทำ โดยนำเนื้อหาของการสัมภาษณ< ตัดต%อโดยใชCพื้นฐานโครงเรื่องจากที่ไดC กำหนดใน Storytelling Canvas ซึ่งเครื่องมือตัวนี้จะช%วยใหCสามารถตั้งคำถามกับตัวเองไดCก%อนว%าตCองการทำ คอนเทนต<ไปเพื่อใคร ทำไปเพื่ออะไร ตCองการผลตอบรับอย%างไร เพื่อใหCคอนเทนต<ที่ผลิตออกมานั้นดีและมีคุณภาพ อย%างที่ควรเปlน หลังจากนั้นจึงเอาไปเผยแพร%ช%องทางต%าง ๆ
ภาพที่ 4-16 ตัวอย%างวีดิทัศน<เรื่องเรื่องเรือดำน้ำทัวร<ไททานิค หายไปไหน?
ภาพที่ 4-17 ภาพตัวอย%างหัวขCอวีดิทัศน<เรื่องเรือดำน้ำทัวร<ไททานิค หายไปไหน?
53
ภาพที่ 4-18 ภาพตัวอย%างวีดิทัศน<เรื่องเรื่องเรือดำน้ำทัวร<ไททานิค หายไปไหน? ใส%กราฟ‡ก หลังจากเผยแพร%ก็สามารถเก็บสถิติในการรับชมซึ่งดังตัวอย%างเฉพาะช%องทางสื่อออนไลน< YouTube ที่ https://youtu.be/2ELI5QDuejw ซึ่งมีการเขCาถึงกว%า 3 หมื่นคน อัตราการแสดงผลที่ 7.1 เปอร<เซ็นต< และผูCเขCา ชมทั้งสิ้น 3,300 คน
ภาพที่ 4-18 ภาพตัวอย%างสถิติวีดิทัศน<วิทยาศาสตร<เรื่องเรือดำน้ำทัวร<ไททานิค หายไปไหน?
54
ประเด็นน%าสนใจสำหรับวีดิทัศน<วิทยาศาสตร<เรื่องเรือดำน้ำทัวร<ไททานิค หายไปไหน ? นั้น เนื่องจากเปlน เรื่องที่อยู%ในกระแส จึงทำใหCผูCติดตามชมคลิปเปlนจำนวนมาก อีกทั้งเหตุการณ<นี้เกิดขึ้นที่ต%างประเทศ การคัดเลือก ผูCใหCสัมภาษณ<ที่เปlนอาจารย<ต%างชาติ จึงไดCรับความนิยมจากผูCคนต%างชาติเปlนจำนวนมากเช%นกัน ซึ่งจะเห็นว%ายอดผูC เขCาชมสูง และไดCรับความชื่นชมจากผูCเขCาชมเปlนจำนวนมาก ซึ่งการนำเอาเหตุการณ< ณ ปkจจุบันมาผลิตสื่อเพื่อใหC ความรูCทางวิทยาศาสตร< จึงจะไดCรับยอดชมจำนวนมากเช%นกัน วิธีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน ขั้นตอน ความเสี่ยง 1. กระบวนการก%อนการผลิต 1.การไดCรับการปฏิเสธจาก วีดิทัศน<ประชาสัมพันธ< ผูCเชี่ยวชาญในคณะฯในการ สัมภาษณ< 2. กระแสมีการเปลี่ยนแปลง ไปอย%างรวดเร็ว 3. การเลือกช%องทางในการ สื่อสารที่ผิด 2. กระบวนการผลิตสื่อวีดิทัศน< 1. สรุปขCอความสัมภาษณ<ไม% ประชาสัมพันธ< โดยใชCหลัก ชัดเจนทำใหCผูCสัมภาษณ<ไม%ไดC Storytelling Canvas สัมภาษณ<ตามเนื้อหาที่ ตCองการ 2. การคCนหาวีดีคลิป ประกอบการบรรยาย เสียงที่ ใชCในวีดิทัศน<คลิปนั้นติด ลิขสิทธิ์ 3. ผูCเชี่ยวชาญขอยกเลิกการ เผยแพร%
ตัวชี้วัด การวางแผนอย%าง รวดเร็วพรCอมดำเนินการ ส%งบทและนัดวันในการ สัมภาษณ<
การติดตามประเมินผล - ไดCรับการตอบรับในการใหC สัมภาษณ<ของผูCเชี่ยวชาญใน คณะฯ - เจCาหนCาที่ปฏิบัติงานตาม ภาระงานที่ไดCรับหมอบหมาย
รCอยละ 80 ของขCอมูลใน การประชาสัมพันธ< สามารถผลิตไดCตาม ระยะเวลาที่กำหนด
- จำนวนวีดิทัศน< ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร<ที่ ผลิต - รูปแบบสื่อประชาสัมพันธ<ที่ ผลิต - ติดตามยอดเขCาถึงวีดิทัศน< เพื่อนำมาสรุปขCอมูลเพื่อ บันทึกการปฏิบัติงานของ เจCาหนCาที่
55
ขั้นตอน 3. กระบวนการเผยแพร% วีดิทัศน<ประชาสัมพันธ< วิทยาศาสตร<และการติดตาม ประเมินผล
ความเสี่ยง 1. สื่อประชาสัมพันธ<ไม%ไดCรับ ความสนใจจากผูCรับชม ทำใหC ยอดวิวนCอยและสื่อมวลชน ไม%ไดCนำไปเผยแพร%ต%อ 2. ข%าวหรือประเด็นใหม%ใน สังคมเขCามาทำใหCข%าวที่ทาง คณะฯ กำลังนำเสนอ น%าสนใจนCอยลง 3. การสื่อสารทำใหC ประชาชนหรือผูCรับสาร บางส%วนไม%เขCาใจเนื้อหา
ตัวชี้วัด การติดตามประเมินผล - ยอดวิว และ ยอด - สรุปจำนวนยอดผูCเขCาถึง เขCาถึงมีจำนวนเยอะ ยอดวิวในการเผยแพร%วีดิทัศน< และไดCรับการเผยแพร%ต%อ ประชาสัมพันธ< ในช%องทาง - สรุปจำนวนข%าวที่ลง ประชาสัมพันธ<จาก สื่อมวลชนทั้ง หน%วยงานภายนอก อาทิ วิทยุกระจายเสียง สื่อวิทยุ สื่อโทรทัศน< สื่อ หนังสือพิมพ< สื่อโทรทัศน< สิ่งพิมพ< รวมถึงสื่อ และสื่อออนไลน< ออนไลน<ที่มียอดติดตาม - จัดทำรายงานผลในรอบ 1 จำนวนมากเช%น เพจ ป` ทุกวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ< Drama-addict หรือเพจ ผ%าน google sheet และ บน อื่นๆ เว็บไซต< และใหCรางวัลสำหรับ - ใชCทรัพยากรที่มีอยู% ยอดวิวที่ไดCรับการรับชมและ อย%างคุCมค%าและมี เขCาถึงมากที่สุด 5 อันดับ ประสิทธิภาพ เพื่อใหCรางวัลในรอบ 1 ป`ใน - รCอยละของวีดิทัศน< งานวันวิทย<ภาคภูมิ ของคณะ ประชาสัมพันธ< วิทยาศาสตร< ม.อ. วิทยาศาสตร<ไดCรับการส%ง ต%อและเผยแพร%ไปยังทุก ช%องทาง - ผูCเชี่ยวชาญที่ใหC สัมภาษณ<ไดCรับความ สนใจต%อสื่อมวลชนทั้ง วิทยุ และโทรทัศน<ในการ ใหCขCอมูลต%อ
ตารางที่ 4-1 วิธีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน
56
จรรยาบรรณ/คุณธรรม/จริยธรรมในการปฏิบัติงาน ในการดำเนินการประชาสัมพันธ<ใหCประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค<ไดCนั้น ปkจจัยหนึ่งที่นับว%ามีความสำคัญ ยิ่ง คือ บุคลากร ดังนั้นองค<การจำเปlนตCองมีบุคลากรที่มีความรูCความสามารถ และมีคุณสมบัติที่เอื้ออำนวยต%อการ ปฏิบัติงานในหนCาที่ไดCอย%างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น จึงกล%าวไดCว%า นักประชาสัมพันธ< คือบุคคลที่ดำเนินงานเพื่อ สรCางสรรค<และรักษาความสัมพันธ<อันดีระหว%างองค<การกับสาธารณชน รวมถึง ทำหนCาที่เปlนสื่อกลางระหว%าง องค<การและสาธารณชน ดCวยวิธีการติดต%อสื่อสารเพื่อใหCสาธารณชนเกิดความเขCาใจที่ถูกตCองต%อองค<การ โดยนัก ประชาสัมพันธ<ที่ดีนอกจากมีความรูCความสามารถแลCวยังตCองควบคู%กับคุณธรรมหรือจริยธรรมที่ดีงามดCวย ดังนี้ 1. นักประชาสัมพันธ6ตKองเป(นผูKมีความซื่อสัตย6สุจริต ไมEแสวงหาประโยชน6ที่ มิควรไดKโดยชอบดKวย กฎหมาย สำหรับตนเองหรือผูKอื่น และปฏิบัติงานอยEางโปรEงใส พรKอมรับการตรวจสอบ ดังนี้ 1.1 ไม%ใชCตำแหน%งหนCาที่หรืออิทธิพลของตนกดดันต%อการตัดสินใจ เพื่อผลประโยชน< ในรูปแบบใด ๆ 1.2 หลีกเลี่ยงการปฏิบัติหนCาที่ก%อใหCเกิดผลประโยชน<ทับซCอนและสามารถตรวจสอบการ 1.3 ปฏิบัติหนCาที่ตามกฎ ระเบียบ และวินัยโดยเคร%งครัด 1.4 ดำเนินการใหCประชาชนรับรูCหลักเกณฑ< ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผูCรับผิดชอบ และระยะเวลาในการ ปฏิบัติดCวยความถูกตCอง และสะดวกรวดเร็ว มีจิตบริการ (Service Mind) และยืนหยัดในสิ่งถูกตCอง 2. นักประชาสัมพันธ6ตKองมีจิตสำนึกที่ดีในการบริการแกEประชาชนดKวยอัธยาศัยไมตรี และกEอใหKเกิด ความประทับใจแกEผูKรับบริการ ดังนี้ 2.1 อุทิศตนในการปฏิบัติหนCาที่ดCวยความเสียสละ เพื่อประโยชน<ของส%วนรวมและประเทศชาติ 2.2 ปฏิบัติหนCาที่อย%างเต็มความรูCความสามารถโดยชอบดCวยกฎหมาย กฎเกณฑ< และเหตุผลอันชอบ ธรรมรวมทั้งกลCายืนหยัดในสิ่งที่ถูกตCอง 2.3 ใหCบริการประชาชนดCวยความสุภาพ จริงใจ เสมอตCนเสมอปลายและไม%เลือกปฏิบัติ 2.4 มีความเปlนอิสระทางวิชาชีพ มุ%งปฏิบัติหนCาที่เพื่อสาธารณชน โดยไม%ยอมใหCอิทธิพลทางการเมือง หรือผลประโยชน<อื่นใดมาครอบงำ ความคิดเห็นหรือใหCตนเองหรือบุคคลใดไดCรับสิทธิพิเศษหรือ ประโยชน<ใด ๆ 2.5 ใหCบริการดCวยความรวดเร็ว ยึดมั่นระบบคุณธรรม
57
3. นักประชาสัมพันธ6 ตKองยึดมั่นในระบบคุณธรรม ตามหลักศาสนาและขนบธรรมเนียมประเพณีอันดี งาม ดังนี้ 3.1 ไม%กระทำการใดเพื่อเปlนการช%วยเหลือหรืออุปถัมภ<ต%อบางบุคคลเพื่อผลประโยชน<บางอย%างโดยมี ผลประโยชน<ตอบแทน 3.2 พิจารณาความดีความชอบอย%างเปlนธรรมและเสมอภาคตามผลงานที่ประจักษ< 3.3 ปฏิบัติตนใหCอยู%ในระเบียบวินัยและศีลธรรมอันดี 3.4 มีความรับผิดชอบและปฏิบัติหนCาที่อย%างเต็มความสามารถ โดยคำนึงถึงประโยชน< ขององค<กร 3.5 ไม%มุ%งหวังหรือแสวงหาประโยชน<อันมิควรไดCจากการปฏิบัติงาน รวมทั้งไม%ใชCเวลาราชการและอุปกรณ< เครื่องมือของราชการ ไปทำงานภายนอก เพื่อผลประโยชน<ของตน ทำงานอย%างมืออาชีพ และทำงาน เปlนทีม โดยมุ%งผลสัมฤทธิ์ของงาน 4. นักประชาสัมพันธ6ตKองปฏิบัติหนKาที่ดKวยความมุEงมั่น เต็มศักยภาพ เพื่อใหKบรรลุเป‹าหมายอยEางมี ประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลแกEประชาชน ดังนี้ 4.1 ทำงานโดยยึดผลลัพธ<ของงานเปlนหลัก เพื่อมุ%งประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของงาน และความคุCมค%าต%อ องค<กร 4.2 ยึดหลักการปฏิบัติงานแบบมีส%วนร%วม และรับฟkงความคิดเห็นของเพื่อนร%วมงานผูCรับบริการ ผูCมีส%วน เกี่ยวขCอง และผูCมีส%วนไดCส%วนเสียในการทำงานแบบบูรณาการ 4.3 พัฒนากระบวนการทำงาน วิธีการทำงาน และกฎเกณฑ<ที่เปlนอุปสรรคต%อผลสัมฤทธิ์ของงานอย%าง ต%อเนื่อง 4.4 พัฒนาตนเองใหCเปlนผูCมีความรูC ความสามารถและความชำนาญในการปฏิบัติงานจนเปlนที่ยอมรับเพื่อ สรCางสิ่งใหม% ๆ ใหCทันต%อความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 4.5 ปฏิบัติงานอย%างมีเป^าหมาย โดยยึดนโยบายรัฐบาล ระเบียบ กฎหมาย หลักวิชาการและจรรยา วิชาชีพเปlนหลักในการพัฒนางาน มีความเปlนธรรมและเสมอภาค 5. นักประชาสัมพันธ6ตKองปฏิบัติหนKาที่ดKวยความเสมอภาค ถูกตKอง เป(นธรรม และปราศจากอคติ ดังนี้ 5.1 ปฏิบัติหนCาที่โดยยึดมั่นความถูกตCอง เปlนธรรม และไม%เอนเอียงฝtายหนึ่งฝtายใด 5.2 ถือปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และเหตุผลอันชอบธรรมถ%ายทอดความรูC ความเขCาใจ เพิ่มขีด ความสามารถและประสบการณ<ใหCผูCรับบริการ ไดCอย%างรูCเท%าทันสถานการณ<และทั่วถึง
58
จริยธรรมและจรรยาบรรณของการประชาสัมพันธ6 ไม% ว % า จะประกอบวิ ช าชี พ ใด นอกเหนื อ จากความรู C ค วามสามารถแลC ว จำเปl น ตC อ งมี จ ริ ย ธรรมและ จรรยาบรรณในวิชาชีพของตน วิชาชีพประชาสัมพันธ<ก็เช%นกันที่จำเปlนตCองมีกฎเกณฑ<แห%งขCอบังคับที่ควบคุมการ ประกอบวิชาชีพประชาสัมพันธ< เพื่อเปlนสิ่งที่กำหนดพฤติกรรมหรือการดำเนินการประกอบวิชาชีพ สมาคมการ ประชาสั ม พั น ธ< แ ห% ง สหรั ฐ อเมริ ก า (Public Relation Society of America) ไดC ก ำหนดมาตรฐานวิ ช าชี พ การ ประชาสัมพันธ<ไวCดังนี้ 1. นักประชาสัมพันธ<มีหนCาที่ประพฤติตนในทางที่ชอบธรรมต%อลูกคCาหรือนายจCางของตน และใหCความ เปlนธรรมต%อเพื่อนสมาชิกและสาธารณชน 2. ตCองยึดหลักการประกอบวิชาชีพการประชาสัมพันธ<เพื่อประโยชน<ของสาธารณชนโดยรวม 3. ตCองยึดมั่นในมาตรฐานจรรยาบรรณแห%งวิชาชีพ 4. ตCองไม%ฝkกใฝtฝtายใดที่มีผลประโยชน<ขัดกันหรือแข%งขันอยู%โดยไม%ไดCรับความยินยอมจากคู%กรณีที่ เกี่ยวขCองไม%อาศัยตำแหน%งหนCาที่เพื่อแสวงหาผลประโยชน<ส%วนตนหรือกระทำการอันขัดต%อหนCาที่ ความรับผิดชอบของตนที่มีต%อลูกคCา นายจCาง เพื่อนสมาชิกหรือสาธารณชน โดยไม%ชี้แจงขCอเท็จจริง อันเกี่ยวขCอง 5. ตCองประพฤติปฏิบัติตนในทางที่จะสรCางความมั่นใจต%อลูกคCาหรือนายจCางทั้งในอดีตและปkจจุบัน 6. ตCองไม%ปฏิบัติตนในทางทุจริตต%อภาพลักษณ<ที่ดีขององค<การและทำใหCเกิดปkญหาในช%องทางการ สื่อสารกับสาธารณชน 7. ตCองไม%จงใจที่จะเผยแพร%ขCอมูลข%าวสารที่ผิดพลาดหรือชี้นำใหCเกิดความเขCาใจผิดต%อองค<การ 8. ตCองระบุใหCสาธารณชนทราบถึงแหล%งที่มาของขCอมูลข%าวสารที่รับผิดชอบ 9. ตCองไม%ใช%บุคคลหรือองค<การที่ตนฝkกใฝtมาปฏิบัติงานเปlนตัวแทน โดยการแสวงหาประโยชน<ส%วนตน หรือผลประโยชน<อันไม%พึงเป‡ดเผยของตน ลูกคCา หรือนายจCาง ดCวยการปฏิบัติการคลCายกับเปlนอิสระ ไม%ฝkกใฝtฝtายใด 10. ตCองไม%กระทำการใด ๆ อันเปlนการจงใจใหCสมาชิกผูCอื่นเกิดความเสียหายหรือเสื่อมเสีย 11. ตCองไม%ใชCวิธีการใด ๆ อันก%อใหCเกิดความเสียหายต%อลูกคCาของสมาชิกผูCอื่น นายจCาง ผลิตภัณฑ<และ องค<การของลูกคCาหรือของตน 12. ตCองไม%รับค%าตอบแทน ค%านายหนCาหรืออื่น ๆ จากบุคคลอื่นใดนอกเหนือจากลูกคCาหรือนายจCางของ ตนเท%านั้นเวCนแต%จะไดCรับความยินยอม
59
13. ตCองไม%ใหCคำแนะนำแก%ลูกคCาหรือนายจCางในรูปแบบที่ว%าค%าตอบแทน หรือค%าใหCบริการขึ้นอยู%กับ ความสำเร็จของผลงาน และไม%ควรทำสัญญาหรือเจรจาใหCนายจCางหรือลูกคCาตCองจ%ายค%าตอบแทนใน รูปนั้น ๆ 14. ตCองไม%แทรกแซง กCาวก%ายการรับจCางงานตามวิชาชีพของสมาชิกผูCอื่น ในกรณีที่ดำเนินงานสองแห%ง พรCอมกันจะตCองไม%ขัดผลประโยชน<ซึ่งกันและกัน 15. ตCองละเวCนไม%เกี่ยวขCองกับองค<การใด ๆ ทันทีเมื่อทราบว%าการปฏิบัติงานใหCองค<การนั้น ๆ จะยังผลใน ตCองละเมิดหลักการแห%งจรรยาบรรณ 16. ตCองใหCความร%วมมือกับสมาชิกอื่น ๆ ในการธำรงรักษาใหCมีการประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณนี้ผูC ไดCรับเชิญใหCมาเปlนสักขีพยานในการปฏิบัติใหCเปlนไปตามกฎเกณฑ<ของจรรยาบรรณนี้จะตCองมาเปlน สักขีพยานตามคำเชิญ เวCนแต%จะมีเหตุสุดวิสัย
60
บทที่ 5 ปMญหาอุปสรรคและแนวทางในการแก?ไขและพัฒนางาน ปŒญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน จากการพัฒนาสื่อวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร<โดยใชCหลัก Storytelling Canvas สามารถรวบรวม ปkญหาและอุปสรรคที่พบในการปฏิบัติงานไดC ดังนี้ 1. ผูCเชี่ยวชาญไม%สามารถที่จะใหCขCอมูลผ%านการสัมภาษณ<เนื่องจากภาระงาน และเวลาว%างไม%ตรงกัน และ บางส%วนขCอมูลจะตCองคCนหาองค<ความรูCเพิ่มเติมทำใหCไม%ทันต%อสถานการณ<นั้น ๆ 2. ความรวดเร็ ว ในการถ% า ยทำ ตั ด ต% อ และการหาสื ่ อ วี ดิ ท ั ศ น< ท ี ่ เ กี ่ ย วขC อ ง ไม% ท ั น ท% ว งที เนื ่ อ งจาก สถานการณ<ปkญหาที่เปlนกระแสที่เกิดขึ้น ในดCานการผลิตสื่อวีดิทัศน<ตCองเร็วและทันทีถึงจะไดCความ นิยม และ ตอบโจทย<ปkญหาสังคมไดC เมื่อเราผลิตสื่อชCา จะทำใหCการใหCความรูCนั้น ๆ ตกเทรน ไม%ทัน สำนักข%าวอื่น ๆ 3. การคCนหาคลิปวีดิทัศน<ประกอบการใหCสัมภาษณ< ส%วนใหญ%แลCวมักจะเจอคลิปวีดิทัศน<ที่เปlนลิขสิทธิ์ ทำ ใหCไม%สามารถนำมาประกอบการใชCงานผลิตวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<ไดC 4. เนื่องจากการสื่อสารเปlนเรื่องของวิทยาศาสตร< การพูดโดยใชCศัพท<ทางวิทยาศาสตร<ทำใหCเขCาใจยาก ผูC ที่รับชมวีดทิ ัศน<อาจจะไม%เขCาใจเนื้อหาที่ทางคณะตCองการสื่อสาร 5. เนื่องจากช%องทางการสื่อสารมีการปรับรูปแบบอยู%ตลอดเวลา ทำใหCการกำหนดขนาด ความคมชัด ฯลฯ ทำใหCบางครั้งการกำหนดขนาดไม%สอดคลCองกับช%องทางการสื่อสารดCวย แนวทางการแกKไขและพัฒนา จากการสรุปรวมรวมปkญหาและอุปสรรคที่พบในการพัฒนาสื่อวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร<โดยใชC หลัก Storytelling Canvas ที่กล%าวไวCขCางตCน สามารถนำเสนอแนวทางการแกCไขปkญหาไดC ดังนี้ 1. จัดกิจกรรมในรูปแบบการอบรมเทคนิคการสื่อสารวิทยาศาสตร<ใหCแก%คณาจารย<และนักวิจัยในคณะ เพื่อเสริมเทคนิคการสื่อสาร การใหCความรูCวิทยาศาสตร<อย%างง%ายแก%ประชาชน และสามารถเพิ่มทักษะ ความกลCาพูดในเรื่องราววิทยาศาสตร<ผ%านวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร< ก็จะทำใหCลดปkญหาการ ไม%กลCาตอบหรือใหCความรูCวิทยาศาสตร<มากขึ้น
61
2. ตCองใหCความสำคัญต%อประเด็นทางสังคมและใหCความรูCทางดCานวิทยาศาสตร<โดยกำหนดเปlนส%วนหนึ่ง ของพันธกิจของคณะวิทยาศาสตร<ที่ว%า สรCางทรัพยากรมนุษย<ที่มีความรูC คุณธรรม และทักษะทาง วิทยาศาสตร< ผลิตงานวิจัยและนวัตกรรมใหCเปlนที่ยอมรับระดับสากล ถEายทอดองค6ความรูKทาง วิทยาศาสตร6 และใหKบริการวิชาการที่ยอมรับในระดับชาติ โดยใหCระบุในขCอตกลงการทำงาน ก็จะ ทำใหCผลิตวีดิทัศน<ใหCทันท%วงที 3. ดำเนินจัดซื้อสื่อวีดิทัศน<อย%างถูกลิขสิทธิ์จากเว็บทั้งไทยและต%างประเทศเพื่อนำไปใชCประกอบการ บรรยายหรือการใหCความรูCทางดCานวิทยาศาสตร<อย%างถูกกฎหมาย 4. ติดตามการพัฒนารูปแบบการสื่อสารช%องทางออนไลน<ในแพลตฟอร<มต%าง ๆ อยู%ตลอดเวลาจะช%วยใหC การส%งสารมีประสิทธิภาพ และตรงตามแพลตฟอร<มนั้น ๆ ขKอแสนอแนะ จากปkญหาอุปสรรคและแนวทางการแกCไขปkญหาที่พบในการพัฒนาสื่อวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร< โดยใชCหลัก Storytelling Canvas สามารถสรุปขCอเสนอแนะเพื่อเปlนขCอมูลใหCผูCปฏิบัติการใชCเปlนแนวทางเพื่อ พัฒนางานและลดปkญหาอุปสรรค<ที่จะเกิดขึ้นไดC ดังนี้ 1. ควรมีการเก็บขCอมูลการสื่อสารผ%านวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร<ในช%องทางต%าง ๆ เพื่อนำมา เปรียบเทียบ และวิเคราะห<ปkญหา เพื่อนำมาพัฒนาวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร<ในครั้งต%อไป จากเพลตฟอร<มต%าง ๆ เพื่อใหCยอดคนรับชมดีขึ้น 2. จากปkญหาผูCเชี่ยวชาญที่เกี่ยวขCองกับสาขาและหลักสูตรนั้น ๆ ไม%กลCาที่จะใหCขCอมูลผ%านการสัมภาษณ< ตCองเพิ่มการอบรมและเพิ่มเกณฑ<การใหCคะแนนพิเศษเนื่องจากเนื่องจากการใหCสัมภาษณ<เปlนงาน พิเศษ จะทำใหCคณาจารย<และนักวิจัยกลCาใหCความรูCทางดCานวิทยาศาสตร<มากขึ้น 3. ตCองมีการวิเคราะห<ขCอมูลในแต%ละวัน เพื่อกำหนดเนื้อหาที่เปlนขCอคำถามทางวิทยาศาสตร<จะทำใหCยอด คนดูเยอะขึ้นเนื่องจากเปlนประเด็นอยู%ในช%วงเวลานั้น ๆ โดยใชC Storytelling Canvas เพื่อการสื่อสาร ที่ตรงกลุ%มและเขCาใจง%ายขึ้น
62
บรรณานุกรม การเอาภาพ หรือเพลง มาตัดต%อลงในคลิป อาจไม%เปlนการละเมิดลิขสิทธิ.์ สืบคCนจาก https://ilaw.or.th/node/3347 เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2566 เกียรติคุณ เยาวรัตน<. (2561). กลยุทธ<การสรCางคลิปวีดิทัศน<ในสื่อสังคมออนไลน<เพื่อแรงจูงใจในการออก กำลังกายดCวยการวิ่ง กรณีศึกษา เฟซบุ¶คแฟนเพจ “Runner’s Journeys”. วิทยานิพนธ<, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คุณสมบัติของนักประชาสัมพันธ< (2562). สืบคCนจาก https://www.stou.ac.th/stouonline/lom/data/sms/market/Unit8/SUBM1/U8141.htm เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2566 ณัฐธภา ชัยภิรสกุล. (2559). ประเภทและรูปแบบในการนำเสนอเนื้อหาเพื่อการสื่อสารการตลาด ดิจิทลั สำหรับโรงแรมระดับ 5 ดาว. การคCนควCาอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ณัฐพัชญ< วงษ<เหรียญทอง. (2560). แนวโนCมการทำ Digital Content Marketing ในป` 2017. สืบคCนจากhttp://www.nuttaputch.com/%E0%B9%81%E0%B8%99%0%B8% A7%E0%B982%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B2 %E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B3 เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2566 ปราณิศา ธวัชรุ%งโรจน< และวัรัชญ< ครุจิต. (2558). การวิเคราะห<คลิปวีดิทัศน<ไวรัลมาร<เก็ตติ้งและปkจจัยที่ มีผลต%อการตัดสินใจแบ%งปkน. วารสารการสื่อสารและการจัดการนิดCา, 2 (1). เทคนิคการตัดต%อวีดิทัศน<ใหCถูกใจคนรุ%นใหม%และโดนใจตลาด. (2563). สืบคCนจาก https://vdocon.com/5-เทคนิคการตัดต%อวีดิทัศน<ใ/ เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2566 เทคนิคการสรCาง Video Content ยังไงใหCปkง. (2565). สืบคCนจาก https://fastwork.co/blog/5trick-video-content/ เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2566 เทคนิค Video Marketing ทำคลิปครั้งเดียวลงไดCทุกช%องทาง. (2565). สืบคCนจาก https://nipa.co.th/th/article/digital-marketing/5-เทคนิค-video-marketing-ทำคลิปครั้งเดียวลงไดC ทุกช%องทาง เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2566
63
แผนปฏิบัติการดCานการประชาสัมพันธ<แห%งชาติ (2564). สืบคCนจาก https://plan.prd.go.th/th/ content/category/detail/id/1263/iid/46641 เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2566 มุมกลCองถ%ายวีดิทัศน<พื้นฐาน ที่มือใหม%ตCองรูC (2566). สืบคCนจาก https://ifootagethailand.com/7basic-camcorder-angles-that-newbies-need-to-know/ เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2566 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< (2563, หนCา 32) ประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร<เรื่อง การแบ%งโครงสรCาง หน%วยงานภายในส%วนงานประเภทนโยบายและบริหาร ประเภทวิชาการและประเภทอำนวยการและ สนับสนุนภารกิจ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร< พ.ศ. ๒๕๖๓ [ประกาศ].สงขลา รูCจัก ‘Storytelling Canvas’ โมเดลสรCางคอนเทนต<ในวันที่ผูCบริโภคคือ ‘ศูนย<กลาง’ พรCอมลิงก<ดาวน<โหลด. (2563). สืบคCนจาก https://thestandard.co/get-to-knowstorytelling-canvas/ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2566 ศุภภัทรา บุณยสุรักษ<. (2559). พฤติกรรมการใชC VDO Content กับการทำศัลยกรรมความงาม การคCนควCาอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2566 สถิติชี้ วีดิทัศน< คือการทำ Content Marketing ที่ดีที่สุด. (2556). สืบคCนจาก http://thumbsup.in.th/2013/03/content-marketing-infographic/. เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2566 อัปเดทการใชCงบโฆษณาเดือนพฤศจิกายน 2560. (2560). Marketingoops. สืบคCนจาก http://www.marketingoops.com/reports/media-stat/nielsen-november-2017/ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2566 อัปเดทตัวเลขผูCใชCอินเตอร<เน็ตทั่วโลก ป` 2017. (2560). Marketingoops. สืบคCนจาก https://www.marketingoops.com/reports/behaviors/digital-in-2017-globaloverview/. เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2566 PDPA พ.ร.บ.คุCมครองขCอมูลส%วนบุคคล เรื่องใกลCตัวที่ทุกคนตCองรูC (2562). สืบคCนจาก https://www.scb.co.th/th/personal-banking/stories/tips-for-you/pdpa-aboutus.html เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2566 PDPA ในฐานะเจCาของขCอมูล เรามีสิทธิทำอะไรไดCบCาง? (2562). สืบคCนจาก https://www.scb.co.th/th/personal-banking/stories/tips-for-you/pdparights.html เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2566
64
STEP ทำ Video Content ใหCสุดปkง แบบง%าย ๆ สไตล<มือใหม%ก็ทำไดC. (2564). สืบคCนจาก https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/Knowledge-Sharing/articles/eCommerce/VDO-Content-01.aspx เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2566
65
ภาคผนวก
66
ภาพที่ 1 ตัวอย%างการส%งอีเมลเพื่อนัดหมายผูCเชี่ยวชาญในการสัมภาษณ<ความรูCวิทยาศาสตร< พรCอมแนบไฟล<คำถามสำหรับการใหCสัมภาษณ<เพื่อเตรียมขCอมูล
ภาพที่ 2 ตัวอย%างขCอคำถามสำหรับถามผูCเชี่ยวชาญใน การสัมภาษณ<ความรูCวิทยาศาสตร<เพื่อเตรียมขCอมูล
67
ภาพที่ 3 ตัวอย%างหนCาเว็บไซต<คณะวิทยาศาสตร<ทรี่ วบรวมวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร< เพื่อสะดวกในการติดตามเนื้อหาสาระวิทยาศาสตร<
68
ภาพที่ 4 ตัวอย%างวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร< ในหนCาเฟสบุ¶กของคณะวิทยาศาสตร<
69
ภาพที่ 5 ภาพรวมสถิติการเขCาถึงหนCาเฟสบุ¶กของคณะวิทยาศาสตร<
70
ภาพที่ 6 ภาพสถิติการเขCาชมวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร<ที่มีมากที่สุดคือ 380,000 การเขCาถึงบนหนCาเฟสบุ¶กของคณะวิทยาศาสตร<
71
ภาพที่ 7 ภาพการนำวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร<ในหนCาสื่อมวลชน ดังตัวอย%างรายการข%าววันศุกร< ทางช%อง one ที่นำวีดิทัศน<เรื่องยิงปÃนขึ้นฟ^า อันตรายถึงตายไปประกอบการอ%านข%าว
72
ภาพที่ 8 ภาพช%องทางประชาสัมพันธ<วีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร< บนยูทูป PSUSci Channel ของคณะวิทยาศาสตร<ที่ไดCรับความนิยมสูงสุด
73
ภาพที่ 9 ภาพสถิติการเขCาชมวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร<ในป` 2566 เขCาถึงบนยูทูป PSUSci Channel ของคณะวิทยาศาสตร<
74
ภาพที่ 10 ภาพสถิติการเขCาชมวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร<ในป` 2565 เขCาถึงบนยูทูป PSUSci Channel ของคณะวิทยาศาสตร<
75
ภาพที่ 11 ภาพสถิติการเขCาชมวีดิทัศน<ประชาสัมพันธ<วิทยาศาสตร<ตั้งแต%เป‡ดตัว ยูทูป PSUSci Channel ของคณะวิทยาศาสตร< 15 ตุลาคม 2557 - ปkจจุบัน
76
ประวัติผู?เขียน ชื่อ-สกุล วันเดือนป`เกิด วุฒิการศึกษา
ตำแหน%ง สถานที่ปฏิบัติงาน
อิสรภาพ ชุมรักษา 15 เมษายน 2530 ปริญญาตรี ศศ.บ. สาขานิเทศศาสตร< มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ปริญญาโท กศ.ม. สาขาการศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา นักวิชาการอุดมศึกษา หน%วยประชาสัมพันธ< งานเครือข%ายและประชาสัมพันธ< คณะวิทยาศาสตร< มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร<
77