หนัังสืือสวดมนต์์ ทำำ�วััแตปลร ปัักหมุุดเมืืองไทย
www
Website
อุุทยานประวััติศิ าสตร์์สุโุ ขทััย
ตั้้� ง อยู่่� ที่่� ตำำ� บลเมืื อ งเก่่า อำำ� เภอ เมืืองสุุโขทััย จัังหวััดสุุโขทััย สถานที่่ซึ่� ง่� ถููกยก ให้้เป็็นมรดกโลก เป็็นอุุทยานที่่�ถ่่ายทอด ความรุ่่�งเรื่่�องของสุุโขทััยในอดีีตได้้ดีีที่่�สุุด สิ่่�งก่่อสร้้างต่่างๆของล้้วนแสดงให้้เห็็นถึึง ความยิ่่ง� ใหญ่ข่ องอาญาจัักรแห่่งนี้้�ที่เ่� คยเป็็น ศูู น ย์์ ก ลางการปกครอง ศาสนา และ เศรษฐกิิจของชาวสยาม
สารบััญ หน้้า ๑๗ ภาค ๑ ทำำ�วััตรเช้้า
๑๘ ปุุพพภาคนมการ ๑๘ พุุทธาภิิถุุติิง ๒๐ ธััมมาภิิถุติุ ิง ๒๐ สัังฆาภิิถุติุ ิง ๒๒ ระตะนััตตะยััปปะณามะคาถา ๒๓ สัังเวคะปะริิกิิตตะนะปาฐะ ๒๗ ตัังชณิิกปััจจเวกขณปาฐะ ๒๘ คารวะคาถา ๒๙ อารัักขะกรรมฐาน ๓๐ พุุทธชััยมงคลคาถา ๓๒ ชยปริิตร (มหาการุุณิิโก) ๓๒ ชิินบััญชรคาถา ๓๖ ปััตติิทานคาถา ๓๖ บทแผ่่เมตตาแบบสั้้�น ๓๗ บทแผ่่เมตตาให้้สรรพสััตว์์
๓๘ ภาค ๒ ทำำ�วััดเย็็น
๓๙ คำำ�บููชาพระรััตนตรััย ๔๐ ปุุพพภาคนมการ ๔๑ พุุทธานุุสสติิ ๔๒ พุุทธาภิิคีีติิง ๔๔ ธััมมานุุสสติิ ๔๔ ธััมมาภิิคีีติิง ๔๖ สัังฆานุุสสติิ ๔๗ สัังฆาภิิคีีติิง ๔๙ อดีีตปััจจเวกขณ ๕๑ ธาตุุปฏิิกููลปััจจเวกขณาปาฐะ ๕๔ อุุททิิสสนาธิิฏฐานคาถา ๕๖ บทสวดหลัังทำำ�วััตรเย็็น
หน้้า ๕๗ ภาค ๓ บทสวดหลัังทำำ�วััตรเย็็น ๕๗ ปุุพพภาคนมการ ๕๗ สรณคมนปาฐ ๕๘ สััจจะกิิริิยาคาถา ๕๘ เขมาเมสรณคมนปริิทีปิี กิ าคาถา ๕๙ ภารสุุตตคาถา ๖๐ มิิตตามิิตตะคาถา ๖๑ โอวาทะปาติิโมกขาทิิปาโฐ ๖๒ กะระณีียะเมตตสุุดตััง ๖๓ สาอริิยสััจจคาถา ๖๔ พระคาถาธรรมบรรยาย ๖๖ บทพิิจารณาสัังขาร ๖๖ มรณััสติิ ๖๗ อาตุุรกายภาวนา ๖๗ การสรรเสริิญคุุณพระรััตนตรััย ๖๘ อภิิณหปััจจเวกขณปาฐะ ๖๙ กายคตาสติิ ๗๐ สััพปััตติิทานคาถา ๗๑ ปััจฉิิมพุุทโธวาทปาฐะ ๗๒ บทสวดมนต์์พิิเศษ
๗๓ ภาค ๔ บทสวดมนต์์พิิเศษ ๗๓ ชุุมนุุมเทวดา ๗๓ ปุุพพภาคนมการ ๗๔ สรณคมนปาฐ ๗๔ นะมะการะสิิทธิิคาถา ๗๕ นะโมการะอััฏฐะกะ ๗๕ มัังคะละสุุดตััง ๗๖ ระตะนะสุุตตััง ๗๘ กะระณีียะเมตตะสุุดตััง ๗๙ ขัันธะปะริิตตััง
สารบััญ หน้้า
๗๙ โมระปะริิตตััง ๘๐ วััฏฏะกะปะริิตตััง ๘๐ ธะชััคคะสุุตตััง ๘๑ อาฏานาฏิิยะปะริิตตััง ๘๒ อัังคุุลิิมาละปะริิตตััง ๘๓ โพชฌัังคะปะริิตตััง ๘๓ อะภะยะปะริิตตััง ๘๔ เทวะตาอุุยโยชะนะคาถา ๘๔ ชยปริิตร (มะหาการุุณิิโก) ๘๕ บทสวด โส อััตถะลััทโธ ๘๕ สััพพมงคลคาถา ๘๕ บทขััดธััมมจัักกััปปวััตตนสููตร ๘๖ ธััมมะจัักกััปปะวััตตะนะสุุดตััง ๙๐ พระอภิิธรรม ๙๓ ธััมมะสัังคิิณีีมาติิกา ๙๔ บทสวดมนต์์พระพุุทธมนต์์ ๙๔ อะริิยะธะนะคาถา ๙๔ บทขััดธรรมนิิยามสููตร ๙๕ ธััมมะนิิยามสุุดตััง ๙๕ ติิลัักขะณาทิิคาถา ๙๖ ปะฏิิจจะสะมุุปปาทะปาฐา ๙๗ พุุทธอุุทานะคาถา ๙๗ ภััทเทกะรััตตะคาถา ๙๗ ปฐมพุุทธะวะจะนะ ๙๘ อภิิธััมมนทาน ๙๙ ติิโรกุุฑฑะกััณฑะสตตะคาถา ๑๐๐ บทสวดยทิิหิิเน ๑๐๒ บทสวดพระเจ้้าสืืบชาติิ ๑๐๓ คาถามหาจัักรพรรดิิ ๑๐๓ เชิิญพระเข้้าตััว
หน้้า
๑๐๓ แผ่่เมตตาออกไปให้้กัับ ดวงจิิตวิิญญาณ ๑๐๔ คาถาเงิินล้้าน ๑๐๖ ศาสนพิิธีี
๑๐๗ ภาค ๕ ศาสนพิิธีี
๑๐๗ คำำ�อาราธนาและเบ็็ดเตล็็ด ๑๐๗ คำำ�อาราธนาธรรม ๑๐๘ บทปลงสัังขาร ๑๑๑ ผีี ๖ ตััว ทางสู่่�ความฉิิปหาย ๑๑๑ ทาง ๗ สาย ๑๑๑ คำำ�อาราธนาศีีล ๕ ๑๑๑ คำำ�อาราธนาศีีล ๘ ๑๑๒ คำำ�อาราธนาอุุโบสถศีีล ๑๑๒ ศีีล ๘ และอุุโบสถศีีล ๑๑๓ คำำ�ปฏิิญาณตนถึึงไตรสรณะคมน์์ ๑๑๔ วิิธีีนั่่�งสมาธิิและเดิินจงกลม ๑๑๗ คำำ�ขอขมา ๑๑๗ คำำ�ถวายทานในพิิธีีต่่างๆ ๑๒๐ คำำ�บููชาในวัันสำำ�คััญต่่างๆ
๑๒๑ ภาค ๖ คำำ�บููชาในวัันสำำ�คััญต่่างๆ ๑๒๑ คำำ�บููชาในวัันมาฆปุุณณมีี ๑๒๒ คำำ�บููชาในวัันวิิสาขบููชา ๑๒๔ คำำ�บููชาในวัันอััฏฐะมีีบููชา ๑๒๕ คำำ�บููชาในวัันอาสาฬหปุุณณมีี ๑๒๗ ภาพกิิจกรรมต่่างๆ วััดกัันทรอมน้้อย ๑๓๐ รายนามผู้้�บริิจาคจััดพิิมพ์์ หนัังสืือสวดมนต์์
บทสวดมนต์์
หนัังสืือทำำ�วััตร
6
สวดมนต์์แปล
ภาค ๑ ทำำ�วััตรเช้้า
คำำ�บููชาพระรััตนตรััย โย โส ภะคะวา อะระหััง สััมมาสััมพุุทโธ, พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้านั้้�น พระองค์์ใด, เป็็นพระอรหัันต์์, ดัับเพลิิงกิิเลส เพลิิงทุุกข์์สิ้้�นเชิิง, ตรััสรู้้�ชอบได้้โดยพระองค์์เอง สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธััมโม, พระธรรม เป็็นธรรมอัันพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า พระองค์์ใด, ตรััสไว้้ดีีแล้้ว สุุปะฏิิปัันโน ยััสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสัังโฆ, พระสงฆ์์สาวกของพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า พระองค์์ใด, ปฏิิบััติิดีีแล้้ว ตััมมะยััง ภะคะวัันตััง สะธััมมััง สะสัังฆััง,อิิเมหิิ สัักกาเรหิิ ยะถาระหััง อาโรปิิเตหิิ อะภิิปููชะยามะ ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย, ขอบููชาอย่่างยิ่่�งซึ่่�งพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้าพระองค์์นั้�้น, พร้้อมทั้้�งพระธรรมและพระสงฆ์์, ด้้วยเครื่�อ่ งสัักการะทั้้�งหลายเหล่่านี้้�, อัันยกขึ้้�น ตามสมควรแล้้วอย่่างไร สาธุุ โน ภัันเต ภะคะวา สุุจิิระปะริินิิพพุุโตปิิ, ข้้าแต่่พระองค์์ผู้้�เจริิญ, พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า แม้้ปริินิิพพานนานแล้้ว, ทรงสร้้างคุุณอัันสำำ�เร็็จประโยชน์์ ไว้้แก่่ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย ปััจฉิิมา ชะนะตานุุกััมปะมานะสา, ทรงมีีพระหฤทััยอนุุเคราะห์์แก่่ข้้าพเจ้้า อัันเป็็นชนรุ่่�นหลััง อิิเม สัักกาเร ทุุคคะตะปััณณาการะภููเต ปะฏิิคคััณหาตุุ, ขอพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้าจงรัับเครื่่�องสัักการะ อัันเป็็นบรรณาการ ของคนยากทั้้�งหลายเหล่่านี้้� อััมหากััง ทีีฆะรััตตััง หิิตายะ สุุขายะ, เพื่่อ� ประโยชน์์และความสุุข แก่่พวกข้้าพเจ้า้ ทั้้ง� หลาย ตลอดกาลนาน เทอญฯ หนัังสืือทำำ�วััตร
7
สวดมนต์์แปล
อะระหััง สััมมาสััมพุุทโธ ภะคะวา, พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า, เป็็นพระอรหัันต์์, ดัับเพลิิงกิิเลส เพลิิงทุุกข์์สิ้้�นเชิิง, ตรััสรู้้�ชอบได้้โดยพระองค์์เอง พุุทธััง ภะคะวัันตััง อะภิิวาเทมิิ, ข้้าพเจ้้าอภิิวาทพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า, ผู้้�รู้้� ผู้้�ตื่่�น ผู้้�เบิิกบาน (กราบ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธััมโม, พระธรรมเป็็นธรรมที่่�พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า, ตรััสไว้้ดีีแล้้ว ธััมมััง นะมััสสามิิ ข้้าพเจ้้านมััสการพระธรรม (กราบ) สุุปะฏิิปัันโน ภะคะวะโต สาวะกะสัังโฆ, พระสงฆ์์สาวกของพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า, ปฏิิบััติิดีีแล้้ว สัังฆััง นะมามิิ ข้้าพเจ้้านอบน้้อมพระสงฆ์์ (กราบ)
ปุุพพภาคนมการ (นำำ�) หัันทะ มะยััง พุุทธััสสะ ภะคะวะโต ปุุพพะภาคะนะมะการััง กะโรมะ เส นะโม ตััสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สััมมาสััมพุุทธััสสะ (พึึงกล่่าว ๓ จบ) ขอนอบน้้อมแด่่พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า, พระองค์์นั้้�น, ซึ่่�งเป็็นผู้้�ไกลจากกิิเลส, ตรััสรู้้�ชอบได้้โดยพระองค์์เอง.
พุุทธาภิิถุุติิง
(นำำ�) หัันทะ มะยััง พุุทธาภิิถุุติิง กะโรมะ เส โย โส ตะถาคะโต, อะระหััง, สััมมาสััมพุุทโธ, หนัังสืือทำำ�วััตร
พระตถาคตเจ้้านั้้�นพระองค์์ใด, เป็็นผู้้�ไกลจากกิิเลส, เป็็นผู้้�ตรััสรู้้�ชอบได้้โดยพระองค์์เอง 8
สวดมนต์์แปล
วิิชชาจะระณะสััมปัันโน, เป็็นผู้้�ถึึงพร้้อมด้้วยวิิชชาและจรณะ สุุคะโต, เป็็นผู้้�เสด็็จไปแล้้วด้้วยดีี โลกะวิิทูู, เป็็นผู้้�รู้้�โลกอย่่างแจ่่มแจ้้ง อะนุุตตะโร ปุุริิสะทััมมะสาระถิิ, เป็็นผู้้�สามารถฝึึกบุุรุุษที่่�สมควรฝึึกได้้อย่่างไม่่มีีใครยิ่่�งกว่่า สััตถา เทวะมะนุุสสานััง, เป็็นครููผู้้�สอนของเทวดาและมนุุษย์์ทั้้�งหลาย พุุทโธ, เป็็นผู้้�รู้้� ผู้้�ตื่่�น ผู้้�เบิิกบานด้้วยธรรม ภะคะวา, เป็็นผู้้มี� คี วามจำำ�เริิญจำำ�แนกธรรมสั่่�งสอนสััตว์์ โย อิิมััง โลกััง สะเทวะกััง สะมาระกััง สะพรััหมะกััง, สััสสะมะณะพรััาหมะณิิง ปะชััง สะเทวะมะนุุสสััง สะยััง อะภิิญญา สััจฉิิกััตวา ปะเวเทสิิ, พระผู้้� มีี พ ระภาคเจ้้ า พระองค์์ ใ ด, ได้้ทรงทำำ� ความดัับทุุ ก ข์์ ใ ห้้แจ้้ ง ด้้วย พระปััญญาอัันยิ่่�งเองแล้้ว, ทรงสอนโลกนี้้�, พร้้อมทั้้ง� เทวดา, มาร, พรหม, และหมู่่�สััตว์์, พร้้อมทั้้�งสมณพราหมณ์์, พร้้อมทั้้�งเทวดาและมนุุษย์์ให้้รู้้�ตาม โย ธััมมััง เทเสสิิ, พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้าพระองค์์ใด, ทรงแสดงธรรมแล้้ว อาทิิกััลยาณััง, ไพเราะในเบื้้�องต้้น มััชเฌกััลยาณััง, ไพเราะในท่่ามกลาง ปะริิโยสานะกััลยาณััง, ไพเราะในที่่�สุุด สาตถััง สะพยััญชะนััง เกวะละปะริิปุุณณััง ปะริิสุุทธััง พรััหมะจะริิยััง ปะกาเสสิิ, ทรงประกาศพรหมจรรย์์, คืือแบบแห่่งการปฏิิบััติอัันป ิ ระเสริิฐ, บริิสุทธิ์์ ุ บ� ริิบููรณ์์ สิ้้�นเชิิง, พร้้อมทั้้�งอรรถะ, พร้้อมทั้้�งพยััญชนะ ตะมะหััง ภะคะวัันตััง อะภิิปููชะยามิิ, ข้้าพเจ้้าบููชาอย่่างยิ่่�ง, เฉพาะพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า, พระองค์์นั้้�น ตะมะหััง ภะคะวัันตััง สิิระสา นะมามิิ, ข้้าพเจ้้านอบน้้อมพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้าพระองค์์นั้้�น, ด้้วยเศีียรเกล้้า (กราบ)
หนัังสืือทำำ�วััตร
9
สวดมนต์์แปล
ธััมมาภิิถุุติิง
(นำำ�) หัันทะ มะยััง ธััมมาภิิถุุติิง กะโรมะ เส โย โส สวากขาโต ภะคะวะตา ธััมโม, พระธรรมนั้้�นใด, เป็็นสิ่่�งที่่�พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า,ได้้ตรััสไว้้ดีีแล้้ว สัันทิิฏฐิิโก, เป็็นสิ่่ง� ที่่ผู้� ศึึก �้ ษาและปฏิิบััติพึึิ งเห็็นได้้ด้้วยตนเอง, อะกาลิิโก, เป็็นสิ่่�งที่่�ปฏิิบััติิได้้และให้้ผลได้้, ไม่่จำำ�กััดกาล เอหิิปััสสิิโก, เป็็นสิ่่�งที่่�ควรกล่่าวกะผู้้อื่� ่�นว่่า, ท่่านจงมาดููเถิิด, โอปะนะยิิโก, เป็็นสิ่่�งที่่�ควรน้้อมเข้้ามาใส่่ตััว, ปััจจััตตััง เวทิิตััพโพ วิิญญููหิิ, เป็็นสิ่่�งที่่�ผู้้�รู้้�ก็็รู้้�ได้้เฉพาะตน, ตะมะหััง ธััมมััง อะภิิปููชะยามิิ, ข้้าพเจ้้าบููชาอย่่างยิ่่�ง, เฉพาะพระธรรมนั้้�น, ตะมะหััง ธััมมััง สิิระสา นะมามิิ, ข้้าพเจ้า้ นอบน้้อมพระธรรมนั้้น� , ด้้วยเศีียรเกล้้า (กราบ)
สัังฆาภิิถุุติิง
(นำำ�) หัันทะ มะยััง สัังฆาภิิถุุติิง กะโรมะ เส โย โส สุุปะฏิิปัันโน ภะคะวะโต สาวะกะสัังโฆ, สงฆ์์สาวกของพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้านั้้�นหมู่่�ใด, ปฏิิบััติิดีีแล้้ว, อุุชุุปะฏิิปัันโน ภะคะวะโต สาวะกะสัังโฆ, สงฆ์์สาวกของพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้าหมู่่�ใด, ปฏิิบััติิตรงแล้้ว, ญายะปะฏิิปัันโน ภะคะวะโต สาวะกะสัังโฆ, สงฆ์์สาวกของพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้าหมู่่�ใด, ปฏิิบััติิเพื่่�อรู้้�ธรรมเป็็นเครื่่�องออก จากทุุกข์์แล้้ว, สามีีจิิปะฏิิปัันโน ภะคะวะโต สาวะกะสัังโฆ, สงฆ์์สาวกของพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้าหมู่่�ใด, ปฏิิบััติิสมควรแล้้ว ยะทิิทััง, ได้้แก่่บุุคคลเหล่่านี้้�คืือ, หนัังสืือทำำ�วััตร
10
สวดมนต์์แปล
จััตตาริิ ปุุริิสะยุุคานิิ อััฏฐะ ปุุริิสะปุุคคะลา, คู่่�แห่่งบุุรุุษสี่่�คู่่�, นัับเรีียงบุุรุุษได้้แปดบุุรุุษ, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสัังโฆ, นั่่�นแหละสงฆ์์สาวกของพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า, อาหุุเนยโย, เป็็นสงฆ์์ควรแก่่สัักการะที่่�เขานำำ�มาบููชา, ปาหุุเนยโย, เป็็นสงฆ์์ควรแก่่สัักการะที่่�เขาจััดไว้้ต้้อนรัับ, ทัักขิิเณยโย, เป็็นผู้้�ควรรัับซึ่่�งทัักษิิณาทาน, อััญชะลิิกะระณีีโย, เป็็นผู้้�ที่่�บุุคคลทั่่�วไปควรทำำ�อััญชลีี, อะนุุตตะรััง ปุุญญัักเขตตััง โลกััสสะ, เป็็นเนื้้�อนาบุุญของโลก,ไม่่มีีนาบุุญอื่่�นยิ่่�งกว่่า ตะมะหััง สัังฆััง อะภิิปููชะยามิิ, ข้้าพเจ้้าบููชาอย่่างยิ่่�ง, เฉพาะพระสงฆ์์หมู่่�นั้้�น, ตะมะหััง สัังฆััง สิิระสา นะมามิิ. ข้้าพเจ้้านอบน้้อมพระสงฆ์์หมู่่�นั้้�น, ด้้วยเศีียรเกล้้า (กราบ)
จิิตฺฺตํํ ทนฺฺตํํ สุุขาวหํํ จิิตที่่�ฝึึกดีีแล้้ว ย่่อมนำำ�ความสุุขมาให้้
หนัังสืือทำำ�วััตร
11
สวดมนต์์แปล
ระตะนััตตะยััปปะณามะคาถา
(นำำ�) หัันทะ มะยััง ระตะนััตตะยััปปะณามะคาถาโย เจวะ, สัังเวคะปะริิกิิตตะนะปาฐััญจะ ภะณามะ เส พุุทโธ สุุสุุทโธ กะรุุณามะหััณณะโว, พระพุุทธเจ้้าผู้้�บริิสุุทธิ์์�, มีีพระกรุุณาดุุจห้้วงมหรรณพ, โยจจัันตะสุุทธััพพะระญาณะโลจะโน, พระองค์์ใด, มีีตาคืือพระญาณอัันประเสริิฐหมดจดถึึงที่่�สุุด, โลกััสสะ ปาปููปะกิิเลสะฆาตะโก, เป็็นผู้้�ฆ่่าเสีียซึ่่�งบาปและอุุปกิิเลสของโลก, วัันทามิิ พุุทธััง อะหะมาทะเรนะ ตััง, ข้้าพเจ้้าไหว้้พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้าพระองค์์นั้้�น, โดยใจเคารพเอื้้�อเฟื้้�อ, ธััมโม ปะทีีโป วิิยะ ตััสสะ สััตถุุโน, พระธรรมของพระศาสดา, สว่่างรุ่่�งเรืืองเปรีียบดวงประทีีป, โย มััคคะปากามะตะเภทะภิินนะโก, จำำ�แนกประเภทคืือมรรค ผล, นิิพพานส่่วนใด, โลกุุตตะโร โย จะ ตะทััตถะทีีปะโน, ซึ่่�งเป็็นตััวโลกุุตตระ, และส่่วนใดที่่�ชี้้�แนวแห่่งโลกุุตตระนั้้�น, วัันทามิิ ธััมมััง อะหะมาทะเรนะ ตััง, ข้้าพเจ้้าไหว้้พระธรรมนั้้�น, โดยใจเคารพเอื้้�อเฟื้้�อ, สัังโฆ สุุเขตตาภ๎๎ยะติิเขตตะสััญญิิโต, พระสงฆ์์เป็็นนาบุุญอัันยิ่่�งใหญ่่กว่่านาบุุญอัันดีีทั้้�งหลาย, โย ทิิฏฐะสัันโต สุุคะตานุุโพธะโก, เป็็นผู้้�เห็็นพระนิิพพาน, ตรััสรู้้�ตามพระสุุคตหมู่่�ใด, โลลััปปะหีีโน อะริิโย สุุเมธะโส, เป็็นผู้้�ละกิิเลสเครื่่�องโลเล, เป็็นพระอริิยเจ้้ามีีปััญญาดีี, วัันทามิิ สัังฆััง อะหะมาทะเรนะ ตััง, ข้้าพเจ้้าไหว้้พระสงฆ์์หมู่่�นั้้�น, โดยใจเคารพเอื้้�อเฟื้้�อ, หนัังสืือทำำ�วััตร
12
สวดมนต์์แปล
อิิจเจวะเมกัันตะภิิปููชะเนยยะกััง, วััตถุุตตะยััง วัันทะยะตาภิิสัังขะตััง,ปุุญญััง มะยา ยััง มะมะ สััพพุุปััททะวา, มา โหนตุุ เว ตััสสะ ปะภาวะสิิทธิิยา. บุุ ญ ใดที่่� ข้้ าพเจ้้ า ผู้้� ไ หว้้ อ ยู่่�ซึ่่� ง วััตถุุ ส าม, คืือพระรััตนตรััยอัันควรบููชายิ่่� ง โดยส่่วนเดีียว,ได้้กระทำำ�แล้้วเป็็นอย่่างยิ่่�งเช่่นนี้้�นี้้�, ขออุุปััทวะทั้้�งหลายจงอย่่าได้้มีี แก่่ข้้าพเจ้้าเลย, ด้้วยอำำ�นาจความสำำ�เร็็จอัันเกิิดจากบุุญนั้้�น.
สัังเวคะปะริิกิิตตะนะปาฐะ อิิธะ ตะถาคะโต โลเก อุุปปัันโน พระตถาคตเจ้้าเกิิดขึ้้�นแล้้ว ในโลกนี้้� อะระหััง สััมมาสััมพุุทโธ เป็็นผู้้�ไกลจากกิิเลส, ตรััสรู้้�ชอบได้้โดยพระองค์์เอง ธััมโม จะ เทสิิโต นิิยยานิิโก และพระธรรมที่่�ทรงแสดง เป็็นธรรมเครื่่�องออกจากทุุกข์์ อุุปะสะมิิโก ปะริินิิพพานิิโก เป็็นเครื่่�องสงบกิิเลส, เป็็นไปเพื่่�อปริินิิพพาน สััมโพธะคามีี สุุคะตััปปะเวทิิโต เป็็นไปเพื่่�อความรู้้�พร้้อม, เป็็นธรรมที่่�พระสุุคตทรงประกาศ มะยัันตััง ธััมมััง สุุตวา เอวััง ชานามะ พวกเราเมื่่�อได้้ฟัังธรรมนั้้�นแล้้ว, จึึงได้้รู้้�อย่่างนี้้�ว่่า ชาติิปิิ ทุุกขา, แม้้ความเกิิดก็็เป็็นทุุกข์์ ชะราปิิ ทุุกขา, แม้้ความแก่่ก็็เป็็นทุุกข์์ มะระณััมปิิ ทุุกขััง, แม้้ความตายก็็เป็็นทุุกข์์ โสกะปะริิเทวะทุุกขะโทมะนััสสุุปายาสาปิิ ทุุกขา, แม้้ความโศก ความร่ำำ��ไรรำำ�พััน, ความไม่่สบายกาย ความไม่่สบายใจ ความคัับแค้้นใจ ก็็เป็็นทุุกข์์ อััปปิิเยหิิ สััมปะโยโค ทุุกโข, ความประสบกัับสิ่่�งไม่่เป็็นที่่�รัักที่่�พอใจก็็เป็็นทุุกข์์ หนัังสืือทำำ�วััตร
13
สวดมนต์์แปล
ปิิเยหิิ วิิปปะโยโค ทุุกโข, ความพลััดพรากจากสิ่่�งเป็็นที่่�รัักที่่�พอใจก็็เป็็นทุุกข์์ ยััมปิิจฉััง นะ ละภะติิ ตััมปิิ ทุุกขััง, มีีความปรารถนาสิ่่�งใด ไม่่ได้้สิ่่�งนั้้�นนั่่�นก็็เป็็นทุุกข์์ สัังขิิตเตนะ ปััญจุุปาทานัักขัันธา ทุุกขา, ว่่าโดยย่่อ อุุปาทานขัันธ์์ทั้้�ง ๕ เป็็นตััวทุุกข์์ เสยยะถีีทััง, ได้้แก่่สิ่่�งเหล่่านี้้�คืือ รููปููปาทานัักขัันโธ, ขัันธ์์ อัันเป็็นที่่�ตั้้�งแห่่งความยึึดมั่่�น คืือรููป เวทะนููปาทานัักขัันโธ, ขัันธ์์ อัันเป็็นที่่�ตั้้�งแห่่งความยึึดมั่่�น คืือเวทนา สััญญููปาทานัักขัันโธ, ขัันธ์์ อัันเป็็นที่่�ตั้้�งแห่่งความยึึดมั่่�น คืือสััญญา สัังขารููปาทานัักขัันโธ, ขัันธ์์ อัันเป็็นที่่�ตั้้�งแห่่งความยึึดมั่่�น คืือสัังขาร วิิญญาณููปาทานัักขัันโธ, ขัันธ์์ อัันเป็็นที่่ตั้� ง�้ แห่่งความยึึดมั่่น คืื � อวิิญญาณ เยสััง ปะริิญญายะ, เพื่่�อให้้สาวกกำำ�หนดรอบรู้้�อุุปาทานขัันธ์์ เหล่่านี้้�เอง, ธะระมาโน โส ภะคะวา, จึึงพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้านั้้�น เมื่่�อยัังทรงพระชนม์์อยู่่�, เอวััง พะหุุลััง สาวะเก วิิเนติิ, ย่่อมทรงแนะนำำ�สาวกทั้้�งหลาย เช่่นนี้้�เป็็นส่่วนมาก เอวััง ภาคา จะ ปะนััสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุุ อะนุุสาสะนีี, พะหุุลา ปะวััตตะติิ, อนึ่่�ง คำำ�สั่่�งสอนของพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้านั้้�น, ย่่อมเป็็นไปในสาวกทั้้�งหลาย, ส่่วนมาก, มีีส่่วนคืือการจำำ�แนกอย่่างนี้้�ว่่า รููปััง อะนิิจจััง, รููปไม่่เที่่�ยง เวทะนา อะนิิจจา, เวทนาไม่่เที่่�ยง สััญญา อะนิิจจา, สััญญาไม่่เที่่�ยง สัังขารา อะนิิจจา, สัังขารไม่่เที่่�ยง
หนัังสืือทำำ�วััตร
14
สวดมนต์์แปล
วิิญญาณััง อะนิิจจััง, วิิญญาณไม่่เที่่�ยง รููปััง อะนััตตา, รููปไม่่ใช่่ตััวตน เวทะนา อะนััตตา, เวทนาไม่่ใช่่ตััวตน สััญญา อะนััตตา, สััญญาไม่่ใช่่ตััวตน สัังขารา อะนััตตา, สัังขารไม่่ใช่่ตััวตน วิิญญาณััง อะนััตตา, วิิญญาณไม่่ใช่่ตััวตน สััพเพ สัังขารา อะนิิจจา, สัังขารทั้้�งหลายทั้้�งปวงไม่่เที่่�ยง สััพเพ ธััมมา อะนััตตาติิ. ธรรมทั้้�งหลายทั้้�งปวงไม่่ใช่่ตััวตน ดัังนี้้�. เต (ตา) มะยััง โอติิณณามหะ, พวกเราทั้้�งหลาย เป็็นผู้้�ถููกครอบงำ��แล้้ว ชาติิยา, โดยความเกิิด ชะรามะระเณนะ, โดยความแก่่ และความตาย โสเกหิิ ปะริิเทเวหิิ ทุุกเขหิิ โทมะนััสเสหิิ อุุปายาเสหิิ, โดยความโศก ความร่ำำ��ไรรำำ�พััน, ความไม่่สบายกาย, ความไม่่สบายใจ, ความคัับแค้้นใจทั้้�งหลาย, ทุุกโขติิณณา, เป็็นผู้้�มีีความทุุกข์์ หยั่่�งเอาแล้้ว ทุุกขะปะเรตา, เป็็นผู้้�มีีความทุุกข์์ เป็็นเบื้้�องหน้้าแล้้ว อััปเปวะนามิิมััสสะ เกวะลััสสะ ทุุกขัักขัันธััสสะ อัันตะกิิริิยา ปััญญาเยถาติิ, ทำำ�ไฉน การทำำ�ที่่�สุุดแห่่งกองทุุกข์์ทั้้�งสิ้้�นนี้้�, จะพึึงปรากฏชััดแก่่เราได้้,
อสาธุุ สาธุุนา ชิิเน. พึึงชนะคนไม่่ดีี ด้้วยความดีี
หนัังสืือทำำ�วััตร
15
สวดมนต์์แปล
(สำำ�หรัับพระภิิกษุุสามเณรสวดต่่อ) จิิระปะริินิิพพุุตััมปิิ ตััง ภะคะวัันตััง อุุททิิสสะ อะระหัันตัังสััมมาสััมพุุทธััง, เราทั้้�งหลาย, อุุทิิศเฉพาะพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า, ผู้้�ไกลจากกิิเลส, ตรััสรู้้�ชอบได้้โดยพระองค์์เอง, แม้้ปริินิิพพานนานแล้้ว, พระองค์์นั้้�น สััทธา อะคารััสสะมา อะนะคาริิยััง ปััพพะชิิตา, เป็็นผู้้�มีีศรััทธา ออกบวชจากเรืือน ไม่่เกี่่�ยวข้้องด้้วยเรืือนแล้้ว, ตััสสะมิิง ภะคะวะติิ พรััหมะจะริิยััง จะรามะ, ประพฤติิอยู่่�ซึ่่�งพรหมจรรย์์ในพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้าพระองค์์นั้้�น, ภิิกขููนััง๒ สิิกขาสาชีีวะสะมาปัันนา, ถึึงพร้้อมด้้วยสิิกขาและธรรมเป็็นเครื่อ�่ งเลี้้ย� งชีีวิตข ิ องภิิกษุุ (สามเณร)ทั้้ง� หลาย, ตััง โน พรััหมะจะริิยังั อิิมัสส ั ะ เกวะลััสสะ ทุุกขัักขัันธััสสะ อัันตะกิิริยิ ายะ สัังวััตตะตุุ. ขอให้้พรหมจรรย์์ของเราทั้้�งหลายนั้้�น จงเป็็นไปเพื่่�อการทำำ�ที่่�สุุดแห่่ง กองทุุกข์์ทั้้�งสิ้้�นนี้้� เทอญ. (สำำ�หรัับฆราวาสสวดต่่อ) จิิระปะริินิิพพุุตััมปิิ ตััง ภะคะวัันตััง สะระณััง คะตา, เราทั้้�งหลายผู้้�ถึึงแล้้วซึ่่�งพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า แม้้ปริินิิพพานนานแล้้ว, พระองค์์นั้้�นเป็็นสรณะ, ธััมมััญจะ สัังฆััญจะ, ถึึงพระธรรมด้้วย, ถึึงพระสงฆ์์ด้้วย ตััสสะ ภะคะวะโต สาสะนััง ยะถาสะติิ ยะถาพะลััง มะนะสิิกะโรมะ, อะนุุปะฏิิปััชชามะ, จัักทำำ�ในใจอยู่่�, ปฏิิบััติิตามอยู่่�, ซึ่่�งคำำ�สั่่�งสอนของพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้านั้้�น, ตามสติิกำำ�ลััง, สา สา โน ปะฏิิปััตติิ, ขอให้้ความปฏิิบััติินั้้�น ๆ ของเราทั้้�งหลาย, อิิมััสสะ เกวะลััสสะ ทุุกขัักขัันธััสสะ อัันตะกิิริิยายะ สัังวััตตะตุุ. จงเป็็นไปเพื่่�อการทำำ�ที่่�สุุดแห่่งกองทุุกข์์ทั้้�งสิ้้�นนี้้� เทอญ. หนัังสืือทำำ�วััตร
16
สวดมนต์์แปล
ตัังขณิิกปััจจเวกขณปาฐะ
(นำำ�) หัันทะ มะยััง ตัังขะณิิกะปััจจะเวกขะณะปาฐััง ภะณามะ เส ปะฏิิสัังขา โยนิิโส จีีวะรััง ปะฏิิเสวามิิ, เราย่่อมพิิจารณาโดยแยบคาย แล้้วนุ่่�งห่่มจีีวร, ยาวะเทวะ สีีตััสสะ ปะฏิิฆาตายะ, เพีียงเพื่่�อบำำ�บััดความหนาว, อุุณหััสสะ ปะฏิิฆาตายะ, เพื่่�อบำำ�บััดความร้้อน, ฑัังสะมะกะสะวาตาตะปะสิิริิงสะปะสััมผััสสานััง ปะฏิิฆาตายะ, เพื่่�อบำำ�บััดสััมผััสอัันเกิิดจากเหลืือบ ยุุง ลม แดด และสััตว์์เลื้้�อยคลานทั้้�งหลาย, ยาวะเทวะ หิิริิโกปิินะปะฏิิจฉาทะนััตถััง, และเพีียงเพื่่�อปกปิิดอวััยวะอัันให้้เกิิดความละอาย ปะฏิิสังั ขา โยนิิโส ปิิณฑะปาตััง ปะฏิิเสวามิิ, เราย่่อมพิิจารณาโดยแยบคายแล้้วฉัันบิิณฑบาต, เนวะ ทะวายะ, ไม่่ให้้เป็็นไปเพื่่�อความเพลิิดเพลิิน สนุุกสนาน, นะ มะทายะ, ไม่่ให้้เป็็นไปเพื่่อ� ความเมามััน เกิิดกำำ�ลัังพลัังทางกาย นะ มััณฑะนายะ, ไม่่ให้้เป็็นไปเพื่่�อประดัับ, นะ วิิภููสะนายะ, ไม่่ให้้เป็็นไปเพื่่�อตกแต่่ง, ยาวะเทวะ อิิมััสสะ กายััสสะ ฐิิติิยา, แต่่ให้้เป็็นไปเพีียงเพื่่�อความตั้้�งอยู่่�ได้้แห่่งกายนี้้�, ยาปะนายะ, เพื่่�อความเป็็นไปได้้ของอััตภาพ, วิิหิิงสุุปะระติิยา, เพื่่�อความสิ้้�นไปแห่่งความลำำ�บากทางกาย, พรััหมะจะริิยานุุคคะหายะ, เพื่่�ออนุุเคราะห์์แก่่การประพฤติิพรหมจรรย์์, อิิติิ ปุุรานััญจะ เวทะนััง ปะฏิิหัังขามิิ, ด้้วยการทำำ�อย่่างนี้้�,เราย่่อมระงัับเสีียได้้ซึ่่�งทุุกขเวทนาเก่่า คืือความหิิว, นะวััญจะ เวทะนััง นะ อุุปปาเทสสามิิ, และไม่่ทำำ�ทุุกขเวทนาใหม่่ให้้เกิิดขึ้้�น, ยาตรา จะ เม ภะวิิสสะติิ อะนะวััชชะตา จะ ผาสุุวิิหาโร จาติิ. อนึ่่�ง, ความเป็็นไปโดยสะดวกแห่่งอััตภาพนี้้�ด้้วย, ความเป็็นผู้้�หาโทษมิิได้้ด้้วย. และความเป็็นอยู่่�โดยผาสุุกด้้วย, จัักมีีแก่่เรา, ดัังนี้้�. หนัังสืือทำำ�วััตร
17
สวดมนต์์แปล
ปะฏิิสังั ขา โยนิิโส เสนาสะนััง ปะฏิิเสวามิิ, เราย่่อมพิิจารณาโดยแยบคายแล้้วใช้้สอยเสนาสนะ ยาวะเทวะ สีีตััสสะ ปะฏิิฆาตายะ, เพีียงเพื่่�อบำำ�บััดความหนาว, อุุณหััสสะ ปะฏิิฆาตายะ, เพื่่�อบำำ�บััดความร้้อน, ฑัังสะมะกะสะวาตาตะปะสิิริิงสะปะสััมผััสสานััง ปะฏิิฆาตายะ, เพื่่�อบำำ�บััดสััมผััสอัันเกิิดจากเหลืือบ ยุุง ลม แดด และสััตว์์เลื้้�อยคลานทั้้�งหลาย, ยาวะเทวะ อุุตุุปะริิสสะยะวิิโนทะนััง ปะฏิิสััลลานารามััตถััง. เพีียงเพื่่�อบรรเทาอัันตรายอัันจะพึึงมีีจากดิินฟ้้าอากาศ, และเพื่่�อความเป็็น ผู้้�ยิินดีีอยู่่�ได้้ ในที่่�หลีีกเร้้นสำำ�หรัับภาวนา. ปะฏิิสัังขา โยนิิโส คิิลานะปััจจะยะเภสััชชะปะริิกขารััง ปะฏิิเสวามิิ, เราย่่อมพิิจารณาโดยแยบคายแล้้วบริิโภคเภสััชบริิขาร อัันเกื้้�อกููลแก่่คนไข้้, ยาวะเทวะ อุุปปัันนานััง เวยยาพาธิิกานััง เวทะนานััง ปะฏิิฆาตายะ, เพีียงเพื่่�อบำำ�บััดทุุกขเวทนาอัันบัังเกิิดขึ้้�นแล้้ว มีีอาพาธต่่าง ๆ เป็็นมููล, อััพยาปััชฌะปะระมะตายาติิ. เพื่่�อความเป็็นผู้้�ไม่่มีีโรคเบีียดเบีียน เป็็นอย่่างยิ่่�ง ดัังนี้้�.
คาระวะคาถา
(นำำ�) หัันทะ มะยััง คาระวะคาถาโย ภะณามะ เส สััตถุุครุุ ธััมมครุุ, สัังเฆ จะ ติิพพะคารโว, สะมาธิิคะรุุ อาตาปีี, สิิกขายะ ติิพพะคาระโว, อััปปมาทคะรุุ ภิิกขุุ, ปฏิิสัันถาระคาระโว, อะภััพโพ ปะริิหานายะ, นิิพพานััสเสวะ สัันติิเก, หนัังสืือทำำ�วััตร
ผู้้�เคารพหนัักแน่่นในพระศาสดา, ผู้้�เคารพ หนัักแน่่นในพระธรรม, และผู้้�มีีความเคารพแก่่กล้้าในพระสงฆ์์, ผู้้�มีีความเพีียรหนัักแน่่นในสมาธิิ, มีีความเคารพแก่่กล้้าในไตรสิิกขา, ผู้้�เห็็นภััย, หนัักแน่่นในความไม่่ประมาท, มีีความเคารพในการปฏิิสัันถาร, ย่่อมเป็็นผู้้�ไม่่พอเพื่่�อจะเสื่่�อมเสีีย, เป็็นผู้้�ปฏิิบััติิใกล้้พระนิิพพานโดยแท้้แล ฯ 18
สวดมนต์์แปล
อารัักขะกรรมฐาน พุุทธานุุสสะติิ เมตตา จะ อะสุุภััง มะระณััสสติิ, อิิจจิิมา จะตุุรารัักขา กาตััพพาจะ วิิปััสสะนา ฯ ภาวนาทั้้�ง ๔ นี้้�, คืือ พุุทธานุุสสติิ, ระลึึกถึึงพระคุุณพระพุุทธเจ้้า,เมตตา, ปรารถนาจะให้้เป็็นสุขุ , อะสุุภะ, พิิจารณากายให้้เห็็นเป็็นของไม่่งาม, มะระณััสสะติิ, ระลึึกถึึงความตาย, ชื่่�อว่่าจตุุรารัักข์์, และวิิปััสสนาอัันพึึงบำำ�เพ็็ญ ฯ วิิสุุทธะธััมมะสัันตาโน อนุุตะรายะโพธิิยา, โยคะโต จะ ปโพธา จะ พุุทโธ พุุทโธติิ ญายะเต ฯ พระพุุทธเจ้้ามีีพระสัันดานอัันบริิบููรณ์์ด้้วยพระธรรมอัันบริิสุุทธิ์์�,อัันสััตวโลก รู้้�อยู่่�ว่่า พุุทโธ ๆ ดัังนี้้�, เพราะพระปััญญาตรััสรู้้�อย่่างเยี่่�ยม,เพราะทรงชัักโยงหมู่่�สััตว์์ ไว้้ในธรรมปฏิิบััติิ, และเพราะทรงปลุุกใจหมู่่�สััตว์์ให้้ตื่่�นอยู่่� ฯ นะราระติิรััจฉาน เภทา สััตตา สุุเขสิิโน, สััพเพปิิ สุุขิิโน โหนตุุ สุุขิิตตะตา จะ เขมิิโน ฯ สััตว์์ทั้้�งหลาย, ต่่างโดยมนุุษย์์และดิิรััจฉาน, เป็็นผู้้�แสวงหาความสุุข,ขอสััตว์์เหล่่า นั้้�นแม้้ทั้้�งสิ้้�นจงเป็็นผู้้�ถึึงซึ่่�งความสุุข, และเป็็นผู้้�เกษมสำำ�ราญเพราะถึึงซึ่่�งความสุุขเถิิด ฯ
เกสะโลมาทิิฉะวานััง อะยะเมวะ สะมุุสสะโย, กาโย สััพโพปิิ เชคุุจโฉ วััณณาทิิโต ปฏิิกกุุโล ฯ กายนี้้�แล, เป็็นที่่�ประชุุมแห่่งซากศพมีีผมขนเป็็นต้้น,แม้้ทั้้�งสิ้้�น, เป็็นของ น่่าเบื่่�อหน่่าย,เป็็นปฏิิกููลโดยส่่วนมีีสีีเป็็นต้้น ฯ ชีีวิิติินทริิยุุปััจเฉทะ สัังขาตะมะระณััง สิิยา, สััพเพสัังปีีธะ ปาณีีนััง ตััญหิิ ธุุวััง นะ ชีีวิิตััง ฯ ความตาย, กล่่าวคืือ ความแตกขาดแห่่งชีีวิิติินทรีีย์์, พึึงมีีแก่่สััตว์์ทั้้�งหลาย ในโลกนี้้�แม้้ทั้้�งสิ้้�น, เพราะว่่าความตายเป็็นของเที่่�ยง, ชีีวิิตความเป็็นอยู่่�เป็็นของ ไม่่เที่่�ยงแล ฯ
หนัังสืือทำำ�วััตร
19
สวดมนต์์แปล
พุุทธชััยมงคลคาถา พาหุุง สะหััสสะมะภิินิิมมิิตะสาวุุธัันตััง ครีีเมขะลััง อุุทิิตะโฆระสะเสนะมารััง ทานาทิิธััมมะวิิธิินา ชิิตะวา มุุนิินโท,ตัันเตชะสา ภะวะตุุ เต ชะยะมัังคะลานิิ ฯ (พระจอมมุุนีี ได้้เอาชนะพระยามารผู้้เ� นรมิิตแขนมากตั้้ง� พััน ถืืออาวุุธครบทุุกมืือ
ขี่่�ช้้างครีีเมขละ มาพร้้อมกัับเหล่่าเสนามารซึ่่�งโห่่ร้้องกึึกก้้อง ด้้วยวิิธีีอธิิษฐานถึึง ทานบารมีี ขอชััยมงคลทั้้�งหลายจงมีีแก่่ท่่าน ด้้วยเดชแห่่งพระพุุทธชััยมงคลนั้้�นเถิิดฯ)
มาราติิเรกะมะภิิยุชฌิ ุ ติ ะสััพพะรััตติิง โฆรััมปะนาฬะวะกะมัักขะมะถััทธะยัักขััง ขัันตีีสุุทัันตะวิิธิินา ชิิตะวา มุุนิินโท ตัันเตชะสา ภะวะตุุ เต ชะยะมัังคะลานิิ ฯ (พระจอมมุุนีไี ด้้ทรงชนะอาฬวกยัักษ์์ ผู้้มี� จิี ตก ิ ระด้้าง ดุุร้้ายเหี้้ย� มโหด มีีฤทธิ์์�ยิ่่ง� กว่่าพญามาร ผู้้เ� ข้้ามาต่่อสู้้ยิ่่� ง� นััก จนตลอดรุ่่�ง ด้้วยวิิธีที่่ี ท� รงฝึึกฝนเป็็นอัันดี คืื ี อ ขัันติิบารมีี (คืือ ความอดทน อดกลั้้น � ซึ่่ง� เป็็น ๑ ในพระบารมีี ๑๐ ประการ) ขอชััยมงคลทั้้ง� หลายจง มีีแก่่ท่า่ น ด้้วยเดชแห่่งพระพุุทธชััยมงคลนั้้น� )
นาฬาคิิริิง คะชะวะรััง อะติิมััตตะภููตััง ทาวััคคิิจัักกะมะสะนีีวะ สุุทารุุณัันตััง เมตตััมพุุเสกะวิิธิินา ชิิตะวา มุุนิินโท, ตัันเตชะสา ภะวะตุุ เต ชะยะมัังคะลานิิ ฯ (พระจอมมุุนีี ได้้เอาชนะช้้างตััวประเสริิฐชื่่อ� นาฬาคิิรี ที่่ ี เ� มายิ่่ง� นััก และแสนจะ ดุุร้้าย ประดุุจไฟป่่าและจัักราวุุธและสายฟ้้า ด้้วยวิิธีีรดลงด้้วยน้ำำ��คืือ ความมีีพระทััย เมตตา, ขอชััยมงคลทั้้�งหลายจงมีีแก่่ท่่าน ด้้วยเดชแห่่งพระพุุทธชััยมงคลนั้้�นเถิิด)
อุุกขิิตตะขััคคะมะติิหััตถะ สุุทารุุณัันตััง ธาวัันติิโยชะนะปะถัังคุุลิิมาละวัันตััง อิิทธีภิี สัิ งั ขะตะมะโน ชิิตะวา มุุนินิ โท, ตัันเตชะสา ภะวะตุุ เต ชะยะมัังคะลานิิ ฯ
(พระจอมมุุนี ท ี รงคิิดจะแสดงฤทธิ์์�ปาฏิิหารย์์ จึึงได้้เอาชนะโจรชื่่อ� องคุุลิมิ าล ผู้้แ� สน จะดุุร้้าย มีีฝีมืืี อ ถืือดาบวิ่่ง� ไล่่พระองค์์ไปสิ้้�นระยะทาง ๓ โยชน์์, ขอชััยมงคลทั้้ง� หลายจงมีีแก่่ท่า่ น ด้้วยเดชแห่่งพระพุุทธชััยมงคลนั้้�นเถิิด ฯ)
หนัังสืือทำำ�วััตร
20
สวดมนต์์แปล
กััตวานะ กััฏฐะมุุทะรััง อิิวะ คััพภิินีียา จิิญจายะ ทุุฏฐะวะจะนััง ชะนะกายะมััชเฌ สัันเตนะ โสมะวิิธิินา ชิิตะวา มุุนิินโท, ตัันเตชะสา ภะวะตุุ เต ชะยะมัังคะลานิิฯ (พระจอมมุุนีี ได้้เอาชนะคำำ�กล่า่ วใส่่ร้้ายของ นางจิิญจมาณวิิกา ซึ่่ง� ทำำ�อาการเหมืือนดั่่�ง
มีีครรภ์์ เพราะเอาท่่อนไม้้กลมผููกไว้้ที่่หน้้ � าท้้อง ด้้วยวิิธีที รงสมาธิิอัันงาม คืือความกระทำำ�พระทััย ให้้ตั้้ง� มั่่นนิ่่ � ง� เฉย ในท่่ามกลางหมู่่�ชน, ขอชััยมงคลทั้้�งหลายจงมีีแก่่ท่่าน ด้้วยเดชแห่่งพระพุุทธ ชััยมงคลนั้้�นเถิิด ฯ)
สััจจััง วิิหายะ มะติิสััจจะกะวาทะเกตุุง วาทาภิิโรปิิตะมะนััง อะติิอัันธะภููตััง ปััญญาปะทีีปะชะลิิโต ชิิตะวา มุุนิินโท, ตัันเตชะสา ภะวะตุุ เต ชะยะมัังคะลานิิ ฯ (พระจอมมุุนีผู้ี รุ่่�้� งเรืืองด้้วยแสงสว่่างคืือปััญญา ได้้เอาชนะ สััจจกะนิิครนถ์์ผู้มี้� คี วามคิิด มุ่่�งหมายในอัันจะละทิ้้�งความสััตย์์ มีีใจคิิดจะยกถ้้อยคำำ�ของตนให้้สููงประดุุจยกธง และมีีใจมืืดมน ยิ่่�งนััก ด้้วยการแสดงเทศนาให้้ถููกใจ, ขอชััยมงคลทั้้�งหลายจงมีีแก่่ท่่าน ด้้วยเดชแห่่งพระพุุทธ ชััยมงคลนั้้�นเถิิด ฯ)
นัันโทปะนัันทะภุุชะคััง วิิพุุธััง มะหิิทธิิง ปุุตเตนะ เถระภุุชะเคนะ ทะมาปะยัันโต อิิทธููปะเทสะวิิธิินา ชิิตะวา มุุนิินโท, ตัันเตชะสา ภะวะตุุ เต ชะยะมัังคะลานิิ ฯ
(พระจอมมุุนีี ได้้เอาชนะพญานาคราชชื่่อ� นัันโทปนัันทะ ผู้้มี� คี วามรู้้ผิ� ดิ มีีฤทธิ์์�มาก ด้้วย วิิธีบี อกอุุบายให้้พระโมคคััลลานเถระพุุทธชิิโนรส แสดงฤทธิ์์�เนรมิิตกายเป็็นนาคราช ไปทรมาน พญานาคชื่่อ� นัันโทปนัันทะนั้้น� , ขอชััยมงคลทั้้ง� หลายจงมีีแก่่ท่า่ น ด้้วยเดชแห่่งพระพุุทธชััยมงคล นั้้�นเถิิด ฯ)
ทุุคคาหะทิิฏฐิิภุุชะเคนะ สุุทััฏฐะหััตถััง พรััหมััง วิิสุุทธิิชุุติิมิิทธิิพะกาภิิธานััง ญาณาคะเทนะ วิิธิินา ชิิตะวา มุุนิินโท, ตัันเตชะสา ภะวะตุุ เต ชะยะมัังคะลานิิ ฯ (พระจอมมุุนีี ได้้เอาชนะพระพรหมผู้้�มีีนามว่่า ท้้าวพกาพรหม ผู้้�มีีฤทธิ์์� คิิดว่่าตนเป็็นผู้้�
รุ่่�งเรืืองด้้วยคุุณอัันบริิสุุทธิ์์� ผู้้�ถููกพญานาครััดมืือไว้้แน่่น เพราะมีีจิิตคิิดถืือเอาความเห็็นผิิด ด้้วย วิิธีีวางยาคืือทรงแสดงเทศนาให้้ถููกใจ, ขอชััยมงคลทั้้�งหลายจงมีีแก่่ท่่าน ด้้วยเดชแห่่งพระพุุทธ ชััยมงคลนั้้�นเถิิด ฯ)
เอตาปิิ พุุทธะชะยะมัังคะละอััฏฐะคาถา โย วาจะโน ทิินะทิิเน สะระเต มะตัันทีี หิิตวานะเนกะวิิวิิธานิิ จุุปััททะวานิิ โมกขััง สุุขััง อะธิิคะเมยยะ นะโร สะปััญโญฯ (บุุคคลใดมีีปััญญา ไม่่เกีียจคร้้าน สวดและระลึึกถึึงพระพุุทธชััยมงคล ๘ คาถาเหล่่านี้้� ทุุก ๆ วััน บุุคคลนั้้�นจะพึึงละความจััญไรอัันตรายทั้้�งหลายทุุกอย่่างเสีียได้้ และเข้้าถึึงความหลุุดพ้้น คืือ พระนิิพพานอัันบรมสุุขแล ฯ) หนัังสืือทำำ�วััตร
21
สวดมนต์์แปล
ชยปริิตร (มหาการุุณิิโก) มหาการุุณิิโก นาโถ ปููเรตวา ปาระมีี สััพพา เอเตนะ สััจจะวััชเชนะ ชะยัันโต โพธิิยา มููเล เอวััง ตวััง วิิชะโย โหหิิ อะปะราชิิตะปััลลัังเก อะภิิเสเก สััพพะ พุุทธานััง สุุนัักขััตตััง สุุมัังคะลััง สุุขะโณ สุุมุุหุุตโต จะ ปะทัักขิิณััง กายะกััมมััง ปะทัักขิิณััง มโนกััมมััง ปะทัักขิิณานิิ กััตวานะ
หิิตายะ สััพพะปาณิินััง ปััตโต สััมโพธิิมุุตตะมััง โหตุุ เต ชะยะมัังคะลััง ฯ สัักยานััง นัันทิิวััฑฒะโน ชะยััสสุุ ชะยะมัังคะเล สีีเส ปะฐะวิิโปกขะเร อััคคััปปััตโต ปะโมทะติิ ฯ สุุปะภาตััง สุุหุุฏฐิิตััง สุุยิิฏฐััง พรััหมะ จารีีสุุ วาจากััมมััง ปะทัักขิิณััง ปะณิิธีี เต ปะทัักขิิณา ละภัันตััดเถ ปะทัักขิิเณ ฯ
ชิินบััญชรคาถา ชะยา สะนา กะตา พุุทธา เชตะวา มารััง สะวา หะนััง จะตุุ สััจจา สะภััง ระสััง เย ปิิวิิงสุุ นะรา สะภา พระพุุทธเจ้้าและพระนราสภาทั้้�งหลาย ผู้้� ประทัับนั่่�งแล้้วบนชััยบััลลัังก์์ ทรงพิิชิิตพระยามาราธิิราชผู้้�พรั่่�งพร้้อมด้้วยเสนาราชพาหนะแล้้ว เสวยอมตรสคืือ อริิยสััจธรรมทั้้�งสี่่�ประการ เป็็นผู้้�นำำ�สรรพสััตว์์ให้้ข้้ามพ้้นจากกิิเลสและกองทุุกข์์ ตััณหัังกะราทะโย พุุทธา อััฏฐะวีีสะติิ นา ยะกา สััพเพ ปะติิฏฐิิตา มััยหััง มััตถะเก เต มุุนิิส สะรา มีี ๒๘ พระองค์์ คืือ พระผู้้�ทรงนามว่่า ตัันหัังกร เป็็นอาทิิ พระพุุทธเจ้้า จอมมุุนีีทั้้�งหมดนั้้�น
หนัังสืือทำำ�วััตร
22
สวดมนต์์แปล
สีีเส ปะติิฏฐิิโต มััยหััง พุุทโธ ธััมโม ทะวิิโล จะเน สัังโฆ ปะติิฏฐิิโต มััยหััง อุุเร สััพพะคุุณา กะโร ข้้าพระพุุทธเจ้้าขออััญเชิิญมาประดิิษฐานเหนืือเศีียรเกล้้า องค์์สมเด็็จ พระสััมมาสััมพุุทธเจ้้าประดิิษฐานอยู่่�บนศรีีษะ พระธรรมอยู่่�ที่่�ดวงตาทั้้�งสอง พระสงฆ์์ผู้้�เป็็นอากรบ่่อเกิิดแห่่งสรรพคุุณอยู่่�ที่่�อก หะทะเย เม อะนุุรุุทโธ สารีีปุุตโต จะ ทัักขิิเณ โกณฑััญโญ ปิิฏฐิิภา คััสสะมิิง โมคคััลลาโน จะวา มะเก พระอนุุรุุทธะอยู่่�ที่่�ใจ พระสารีีบุุตรอยู่่�เบื้้�องขวา พระโมคคััลลาน์์อยู่่� เบื้้�องซ้้าย พระอััญญาโกณฑััญญะอยู่่�เบื้้�องหลััง ทัักขิิเณ สะวะเน มััยหััง อาสุุง อานัันทะราหุุโล กััสสะโป จะมะหา นาโม อุุภาสุุง วามะโส ตะเก พระอานนท์์กัับพระราหุุลอยู่่�หููขวา พระกััสสปะกัับพระมหานามะอยู่่�ที่่�หููซ้้าย เกสะโต ปิิฏฐิิภา คััสสะมิิง สุุริิโย วะ ปะภััง กะโร นิิสิินโน สิิริิสััม ปัันโน โสภีีโต มุุนิิปุุง คะโว มุุนีีผู้้�ประเสริิฐ คืือ พระโสภิิตะผู้้�สมบููรณ์์ด้้วยสิิริิดัังพระอาทิิตย์์ส่่องแสง อยู่่�ที่่�ทุุกเส้้นขน ตลอดร่่างทั้้�งข้้างหน้้าและข้้างหลััง กุุมาระกััสสะโป เถโร มะเหสีี จิิตตะวา ทะโก โส มััยหััง วะทะเน นิิจจััง ปะติิฏฐาสิิ คุุณา กะโร พระเถระกุุมาระกััสสปะผู้้�แสวงบุุญทรงคุุณอัันวิิเศษ มีีวาทะอัันวิิจิิตรไพเราะ อยู่่�ปากประจำำ� ปุุณโณ อัังคุุลิิมาโร จะ อุุปาลีี นัันทะสีี วะลีี เถรา ปััญจะอิิเม ชาตา นะลาเต ติิละกา มะมะ พระปุุณณะ พระองคุุลิิมาล พระอุุบาลีี พระนัันทะ และพระสีีวลีี พระเถระทั้้�ง ๕ นี้้� จงปรากฏเกิิดเป็็นกระแจะจุุณเจิิมที่่�หน้้าผาก
หนัังสืือทำำ�วััตร
23
สวดมนต์์แปล
เสสา สีีติิ มะหาเถรา วิิชิิตา ชิินะสา วะกา เอเตสีีติิ มะหาเถรา ชิิตะวัันโต ชิิโน ระสา ชะลัันตา สีีละเต เชนะ อัังคะมัังเค สุุสััณ ฐิิตา ส่่วนพระอสีีติิมหาเถระที่่�เหลืือ ผู้้�มีีชััยและเป็็น พระโอรสเป็็นพระสาวก ของพระพุุทธเจ้้าผู้้�ทรงชััย แต่่ละองค์์ล้้วนรุ่่�งโรจน์์ด้้วยเดชแห่่งศีีลให้้ดำำ�รงอยู่่� ทั่่�วอวััยวะน้้อยใหญ่่ ระตะนััง ปุุระโต อาสิิ ทัักขิิเณ เมตตะสุุต ตะกััง ธะชััคคััง ปััจฉะโต อาสิิ วาเม อัังคุุลิิมา ละกััง พระรััตนสููตรอยู่่�เบื้้�องหน้้า พระเมตตาสููตรอยู่่�เบื้้�องขวา พระธชััคคสููตร อยู่่�เบื้้�องหลัังพระอัังคุุลิิมาลปริิตรอยู่่�เบื้้�องซ้้าย ขัันธะโม ระปะริิตััญ จะ อาฏานาฏิิยะสุุต ตะกััง อากาเส ฉะทะนััง อาสิิ เสสา ปาการะ สััณฐิิตา พระขัันธปริิตร พระโมรปริิตร และพระอาฏานาฏิิยสููตรเป็็นเครื่่�องกางกั้้�น ดุุจหลัังคาอยู่่�บนนภากาศ ชิินานา วะระสัังยุุตตา สััตตััปปาการะลััง กะตา วาตะปิิตตาทิิสััญ ชาตา พาหิิรััช ฌััตตุุปััท ทะวา อนึ่่ง� พระชิินเจ้า้ ทั้้ง� หลาย นอกจากที่่�ได้้กล่่าวมาแล้้วนี้้� ผู้้ป� ระกอบพร้้อมด้้วย กำำ�ลัังนานาชนิิดมีีศีีลาทิิคุุณอัันมั่่�นคง คืือ สััตตะปราการเป็็นอาภรณ์์มาตั้้�งล้้อม เป็็นกำำ�แพงคุ้้�มครองเจ็็ดชั้้�น
หนัังสืือทำำ�วััตร
24
สวดมนต์์แปล
อะเสสา วิินะยััง ยัันตุุ อะนัันตะ ชิินะเต ชะสา วะสะโต เม สะกิิจเจ นะ สะทา สััมพุุทธะปััญชะเร ด้้วยเดชานุุ ภ าพแห่่ ง พระอนัันตชิิ น เจ้้ า ไม่่ ว่่ า จะทำำ� กิิ จก ารใดๆ เมื่่� อ ข้้าพระพุุทธเจ้้าเข้้าอาศััยอยู่่�ในพระบััญชรแวดวงกรงล้้อมแห่่งพระสััมมาสััมพุุทธเจ้า้ ขอ โรคอุุ ปัั ทว ทุุ ก ข์์ ทั้้� ง ภายนอกและภายใน อัันเกิิ ด แต่่ โรคร้้าย คืือ โรคลมและ โรคดีีเป็็นต้้น เป็็นสมุุฏฐาน จงกำำ�จััดให้้พิินาศอย่่าให้้เหลืือ ชิินะ ปััญชะระ มััชฌััมหิิ วิิหะรัันตััง มะหีี ตะเล สะทา ปาเลนตุุมััง สััพเพ เต มะหาปุุริิสา สะภา ขอพระมหาบุุรุษุ ผู้้ท� รงพระคุุณอัันล้ำำ��เลิิศทั้้ง� ปวงนั้้น จ � งอภิิบาลข้้าพระพุุทธเจ้้า ผู้้�อยู่่�ในภาคพื้้�น ท่่ามกลางพระชิินบััญชร ข้้าพระพุุทธเจ้้าได้้รัับการคุ้้�มครองปกปััก รัักษาภายในเป็็นอัันดีี ฉะนี้้�แล อิิจเจวะมัันโต สุุคุุตโต สุุรัักโข ชิินานุุภาเวนะ ชิิตุุปััททะโว ธััมมานุุภาเวนะ ชิิตา ริิสัังโฆ สัังฆานุุภาเวนะ ชิิตันั ตะ ราโย สััทธััมมานุุภาวะ ปาลิิโต จะรามิิ ชิินะ ปััญชะเรติิ ฯ ข้้าพระพุุ ท ธเจ้้ า ได้้รัับการอภิิ บ าลด้้วยคุุ ณ านุุ ภ าพแห่่ ง สััทธรรม จึึงชนะ เสีียได้้ซึ่่�งอุุปััทวอัันตรายใดๆ ด้้วยอานุุภาพแห่่งพระชิินะพุุทธเจ้้า ชนะข้้าศึึกศััตรูู ด้้วยอานุุ ภ าพแห่่ ง พระธรรม ชนะอัันตรายทั้้� ง ปวงด้้วยอานุุ ภ าพแห่่ ง พระสงฆ์์ ขอข้้าพระพุุทธเจ้้าจงได้้ปฏิิบััติิ และรัักษาดำำ�เนิินไปโดยสวััสดีีเป็็นนิิจนิิรัันดรเทอญฯ
หนัังสืือทำำ�วััตร
25
สวดมนต์์แปล
ปััตติิทานคาถา
(นำำ�) หัันทะ มะยััง ปััตติิทานะ คาถา โย ภะณามะ เส ฯ ยา เทวะตา สัันติิ วิิหาระวาสิินีี ถููเป ฆะเร โพธิิฆะเร ตะหิิง ตะหิิง ตา ธััมมะทาเนนะ ภะวัันตุุ ปููชิิตา โสตถิิง กะโรนเตธะ วิิหาระมััณฑะเล เถรา จะ มััชฌา นะวะกา จะ ภิิกขะโว สารามิิกา ทานะปะตีี อุุปาสะกา คามา จะ เทสา นิิคะมา จะ อิิสสะรา สััปปาณะภููตา สุุขิิตา ภะวัันตุุ เต ชะลาพุุชา เยปิิ จะ อััณฑะสััมภะวา สัังเสทะชาตา อะถะโวปะปาติิกา นิิยยานิิกััง ธััมมะวะรััง ปะฏิิจจะ เต สััพเพปิิ ทุุกขััสสะ กะโรนตุุ สัังขะยััง ฯ ฐาตุุ จิรััิ ง สะตััง ธััมโม ธััมมััทธะรา จะ ปุุคคะลา สัังโฆ โหตุุ สะมััคโค วะ อััตถายะ จะ หิิตายะ จะ อััมเห รัักขะตุุ สััทธััมโม สััพเพปิิ ธััมมะจาริิโน วุุฑฒิิง สััมปาปุุเณยยามะ ธััมเม อะริิยััปปะเวทิิเต ปะสัันนา โหนตุุ สััพเพปิิ ปาณิิโน พุุทธะสา สะเน สััมมาธารััง ปะเวจฉัันโต กาเลเทโว ปะวััสสะตุุ วุุฑฒิิ ภาวายะ สััตตานััง สะมิิทธััง เนตุุ เมทะนิิง มาตาปิิตา จะ อััตระชััง นิิจจััง รัักขัันติิ ปุตต ุ ะกััง เอวััง ธััมเมนะ ราชาโน ปะชััง รัักขัันตุุ สััพพะทา
บทแผ่่เมตตาแบบสั้้�น
สััพเพ สััตตา สะทา โหนตุุ อะเวรา สุุขะชีีวิิโน, ขอปวงสััตว์์ทั้้�งหลาย,จงเป็็นผู้้�ไม่่มีีเวรต่่อกััน, เป็็นผู้้�ดำำ�รงชีีพอยู่่�เป็็นสุุข ทุุกเมื่่�อเถิิด กะตััง ปุุญญััง ผะลััง มััยหััง สััพเพ ภาคีี ภะวัันตุุเต. ขอให้้สััตว์์ทั้้�งสิ้้�นนั้้�น, จงเป็็นผู้้�มีีส่่วนได้้เสวยผลบุุญ, อัันข้้าพเจ้้าได้้บำำ�เพ็็ญ แล้้วนั้้�น เทอญ.
หนัังสืือทำำ�วััตร
26
สวดมนต์์แปล
บทแผ่่เมตตาให้้สรรพสััตว์์
สััพเพ สััตตา สััตว์์ทั้้�งหลายทั้้�งปวง ที่่�เป็็นเพื่่�อนทุุกข์์ เกิิด แก่่ เจ็็บ ตาย ด้้วยกัันทั้้�งสิ้้�น อะเวรา โหนตุุ จงเป็็นสุุขเป็็นสุุขเถิิด อย่่าได้้มีีเวรแก่่กัันและกัันเลย อััพพะยาปััชฌา โหนตุุ จงเป็็นสุุขเป็็นสุุขเถิิด อย่่าได้้เบีียดเบีียนซึ่่�งกัันและกัันเลย อะนีีฆา โหนตุุ จงเป็็นสุุขเป็็นสุุขเถิิด อย่่าได้้มีีความทุุกข์์กายทุุกข์์ใจเลย สุุขีี อััตตานััง ปะริิหะรัันตุุ จงมีีความสุุขกาย สุุขใจ รัักษาตนให้้พ้้นจากทุุกข์์ภััยทั้้�งสิ้้�นเทอญ
ธมฺฺโม สุุจิิณฺฺโณ สุุขมาวหาติิ. ธรรมที่่�ประพฤติิดีีแล้้ว นำำ�สุุขมาให้้
หนัังสืือทำำ�วััตร
27
สวดมนต์์แปล
ทำำ�วััตรเย็็น
หนัังสืือทำำ�วััตร
28
สวดมนต์์แปล
ภาค ๒ ทำำ�วััตรเย็็น
คำำ�บููชาพระรััตนตรััย โย โส ภะคะวา อะระหััง สััมมาสััมพุุทโธ, พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้านั้้�น พระองค์์ใด, เป็็นพระอรหัันต์์, ดัับเพลิิงกิิเลส เพลิิงทุุกข์์สิ้้�นเชิิง, ตรััสรู้้�ชอบได้้โดยพระองค์์เอง สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธััมโม, พระธรรม เป็็นธรรมอัันพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า พระองค์์ใด, ตรััสไว้้ดีีแล้้ว สุุปะฏิิปัันโน ยััสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสัังโฆ, พระสงฆ์์สาวกของพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า พระองค์์ใด, ปฏิิบััติิดีีแล้้ว ตััมมะยััง ภะคะวัันตััง สะธััมมััง สะสัังฆััง,อิิเมหิิ สัักกาเรหิิ ยะถาระหััง อาโรปิิเตหิิ อะภิิปููชะยามะ ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย, ขอบููชาอย่่างยิ่่�งซึ่่�งพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้าพระองค์์นั้้�น, พร้้อมทั้้�งพระธรรมและพระสงฆ์์,ด้้วยเครื่่�องสัักการะทั้้�งหลายเหล่่านี้้�, อัันยกขึ้้�นตามสมควรแล้้วอย่่างไร สาธุุ โน ภัันเต ภะคะวา สุุจิิระปะริินิิพพุุโตปิิ, ข้้าแต่่พระองค์์ผู้้�เจริิญ, พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า แม้้ปริินิิพพานนานแล้้ว, ทรงสร้้างคุุณอัันสำำ�เร็็จประโยชน์์ ไว้้แก่่ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย ปััจฉิิมา ชะนะตานุุกัมั ปะมานะสา, ทรงมีีพระหฤทััยอนุุเคราะห์์แก่่ข้้าพเจ้้า อัันเป็็นชนรุ่่�นหลััง อิิเม สัักกาเร ทุุคคะตะปััณณาการะภููเต ปะฏิิคคััณหาตุุ, ขอพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้าจงรัับเครื่่�องสัักการะ อัันเป็็นบรรณาการ ของคนยากทั้้�งหลายเหล่่านี้้� อััมหากััง ทีีฆะรััตตััง หิิตายะ สุุขายะ, เพื่่�อประโยชน์์และความสุุข แก่่พวกข้้าพเจ้า้ ทั้้�งหลาย ตลอดกาลนาน เทอญฯ หนัังสืือทำำ�วััตร
29
สวดมนต์์แปล
อะระหััง สััมมาสััมพุุทโธ ภะคะวา, พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า, เป็็นพระอรหัันต์์, ดัับเพลิิงกิิเลสเพลิิงทุุกข์์สิ้้�นเชิิง, ตรััสรู้้�ชอบได้้โดยพระองค์์เอง พุุทธััง ภะคะวัันตััง อะภิิวาเทมิิ, ข้้าพเจ้้าอภิิวาทพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า, ผู้้�รู้้� ผู้้�ตื่่�น ผู้้�เบิิกบาน (กราบ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธััมโม, พระธรรมเป็็นธรรมที่่�พระผู้้มี� พี ระภาคเจ้า้ , ตรััสไว้้ดีีแล้้ว ธััมมััง นะมััสสามิิ ข้้าพเจ้้านมััสการพระธรรม (กราบ) สุุปะฏิิปัันโน ภะคะวะโต สาวะกะสัังโฆ, พระสงฆ์์สาวกของพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า, ปฏิิบััติิดีีแล้้ว สัังฆััง นะมามิิ ข้้าพเจ้้านอบน้้อมพระสงฆ์์ (กราบ)
ปุุพพภาคนมการ
(นำำ�) หัันทะทานิิ มะยััง ตััง ภะคะวัันตััง วาจายะ, อะภิิคายิิตุุง ปุุพพะภาคะนะมะการััญเจวะ, พุุทธานุุสสะติินะยััญจะ กะโรมะ เส. นะโม ตััสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สััมมาสััมพุุทธััสสะ (พึึงกล่่าว ๓ จบ) ขอนอบน้้อมแด่่พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า,พระองค์์นั้้�น,ซึ่่�งเป็็นผู้้�ไกลจากกิิเลส, ตรััสรู้้�ชอบได้้โดยพระองค์์เอง.
หนัังสืือทำำ�วััตร
30
สวดมนต์์แปล
พุุทธานุุสสติิ
(นำำ�) หัันทะ มะยััง พุุทธานุุสสะติินะยััง กะโรมะ เส. ตััง โข ปะนะ ภะคะวัันตััง เอวััง กััลยาโณ กิิตติิสััทโท อััพภุุคคะโต, ก็็แลกิิตติิศััพท์์อัันงามของพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้านั้้�น, ได้้ฟุ้้�งไปแล้้วอย่่างนี้้�ว่่า อิิติิปิิ โส ภะคะวา, เพราะเหตุุอย่่างนี้้� ๆ พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้านั้้�น อะระหััง, เป็็นผู้้�ไกลจากกิิเลส สััมมาสััมพุุทโธ, เป็็นผู้้�ตรััสรู้้�ชอบได้้โดยพระองค์์เอง วิิชชาจะระณะสััมปัันโน, เป็็นผู้้�ถึึงพร้้อมด้้วยวิิชชาและจรณะ สุุคะโต, เป็็นผู้้�ไปแล้้วด้้วยดีี โลกะวิิทูู, เป็็นผู้้�รู้้�โลกอย่่างแจ่่มแจ้้ง อะนุุตตะโร ปุุริิสะทััมมะสาระถิิ, เป็็นผู้้�สามารถฝึึกบุุรุุษที่่�สมควรฝึึกได้้อย่่างไม่่มีีใครยิ่่�งกว่่า สััตถา เทวะมะนุุสสานััง, เป็็นครููผู้้�สอนของเทวดาและมนุุษย์์ทั้้�งหลาย พุุทโธ, เป็็นผู้้�รู้้� ผู้้�ตื่่�น ผู้้�เบิิกบานด้้วยธรรม ภะคะวา ติิ. เป็็นผู้้�มีีความจำำ�เริิญ จำำ�แนกธรรมสั่่�งสอนสััตว์์ ดัังนี้้�.
เย ปมตฺฺตา ยถา มตา. ผู้้�ประมาทแล้้ว เหมืือนคนตายแล้้ว
หนัังสืือทำำ�วััตร
31
สวดมนต์์แปล
พุุทธาภิิคีีติิง
(นำำ�) หัันทะ มะยััง พุุทธาภิิคีีติิง กะโรมะ เส. พุุทธวาระหัันตะวะระตาทิิคุุณาภิิยุุตโต, พระพุุทธเจ้้าประกอบด้้วยพระคุุณ, มีีความประเสริิฐแห่่งอรหัันตคุุณเป็็นต้้น สุุทธาภิิญาณะกะรุุณาหิิ สะมาคะตััตโต, มีีพระองค์์อัันประกอบด้้วยพระญาณ และพระกรุุณาอัันบริิสุุทธิ์์� โพเธสิิ โย สุุชะนะตััง กะมะลัังวะ สููโร, พระองค์์ใด, ทรงกระทำำ�ชนที่่�ดีีให้้เบิิกบาน, ดุุจอาทิิตย์์ทำำ�บััวให้้บาน วัันทามะหััง ตะมะระณััง สิิระสา ชิิเนนทััง. ข้้าพเจ้้าไหว้้พระชิินสีีห์์, ผู้้�ไม่่มีีกิิเลส พระองค์์นั้้�น, ด้้วยเศีียรเกล้้า. พุุทโธ โย สััพพะปาณีีนััง สะระณััง เขมะมุุตตะมััง, พระพุุทธเจ้้าพระองค์์ใด, เป็็นสรณะอัันเกษมสููงสุุดของสััตว์์ทั้้�งหลาย ปะฐะมานุุสสะติิฏฐานััง วัันทามิิ ตััง สิิเรนะหััง, ข้้าพเจ้้าไหว้้พระพุุทธเจ้้าพระองค์์นั้้�น, อัันเป็็นที่่�ตั้้�งแห่่งความระลึึก, องค์์ที่่�หนึ่่�ง, ด้้วยเศีียรเกล้้า พุุทธััสสาหััสมิิ ทาโส (ทาสีี) วะ พุุทโธ เม สามิิกิิสสะโร, ข้้าพเจ้้าเป็็นทาสของพระพุุทธเจ้้า, พระพุุทธเจ้้าเป็็นนาย, มีีอิิสระเหนืือข้้าพเจ้้า พุุทโธ ทุุกขััสสะ ฆาตา จะ วิิธาตา จะ หิิตััสสะ เม, พระพุุทธเจ้้าเป็็นเครื่่�องกำำ�จััดทุุกข์์ และทรงไว้้ซึ่่�งประโยชน์์แก่่ข้้าพเจ้้า พุุทธััสสาหััง นิิยยาเทมิิ สะรีีรััญชีีวิิตััญจิิทััง, ข้้าพเจ้้ามอบกายถวายชีีวิิตนี้้�, แด่่พระพุุทธเจ้้า วัันทัันโตหััง (ตีีหััง) จะริิสสามิิ พุุทธััสเสวะ สุุโพธิิตััง, ข้้าพเจ้้าผู้้�ไหว้้อยู่่�จัักประพฤติิตาม ซึ่่�งความตรััสรู้้�ดีี ของพระพุุทธเจ้้า
หนัังสืือทำำ�วััตร
32
สวดมนต์์แปล
นััตถิิ เม สะระณััง อััญญััง พุุทโธ เม สะระณััง วะรััง, สรณะอื่่�นของข้้าพเจ้้าไม่่มีี, พระพุุทธเจ้้าเป็็นสรณะอัันประเสริิฐของข้้าพเจ้้า เอเตนะ สััจจะวััชเชนะ วััฑเฒยยััง สััตถุุสาสะเน, ด้้วยการกล่่าวคำำ�สััจจ์์นี้้� ข้้าพเจ้้าพึึงเจริิญในพระศาสนา ของพระศาสดา พุุทธััง เม วัันทะมาเนนะ (มานายะ) ยััง ปุุญญััง ปะสุุตััง อิิธะ, ข้้าพเจ้้าผู้้�ไหว้้อยู่่�ซึ่่�งพระพุุทธเจ้้า ได้้ขวนขวายบุุญใด ในบััดนี้้� สััพเพปิิ อัันตะรายา เม มาเหสุุง ตััสสะ เตชะสา. อัันตรายทั้้�งปวง อย่่าได้้มีีแก่่ข้้าพเจ้้า ด้้วยเดชแห่่งบุุญนั้้�น. (หมอบกราบลง กล่่าวคำำ�พร้้อมกััน) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ด้้วยกายก็็ดีี ด้้วยวาจาก็็ดีี ด้้วยใจก็็ดีี พุุทเธ กุุกััมมััง ปะกะตััง มะยา ยััง, กรรมน่่าติิเตีียนอัันใด ที่่�ข้้าพเจ้้ากระทำำ�แล้้ว ในพระพุุทธเจ้้า พุุทโธ ปะฏิิคคััณหะตุุ อััจจะยัันตััง, ขอพระพุุทธเจ้้า จงงดซึ่่�งโทษล่่วงเกิินอัันนั้้�น กาลัันตะเร สัังวะริิตุุง วะ พุุทเธ. เพื่่�อการสำำ�รวมระวััง ในพระพุุทธเจ้้า ในกาลต่่อไป.
อตฺฺตานํํ ทมยนฺฺติิ ปณฺฺฑิติ า. บััณฑิิต ย่่อมฝึึกตน
หนัังสืือทำำ�วััตร
33
สวดมนต์์แปล
ธััมมานุุสสติิ
(นำำ�) หัันทะ มะยััง ธััมมานุุสสะติินะยััง กะโรมะ เส. สวากขาโต ภะคะวะตา ธััมโม, พระธรรม เป็็นสิ่่�งที่่�พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า ได้้ตรััสไว้้ดีีแล้้ว สัันทิิฏฐิิโก, เป็็นสิ่่�งที่่�ผู้้�ศึึกษาและปฏิิบััติิพึึงเห็็นได้้ด้้วยตนเอง อะกาลิิโก, เป็็นสิ่่�งที่่�ปฏิิบััติิได้้ และให้้ผลได้้ไม่่จำำ�กััดกาล เอหิิปััสสิิโก, เป็็นสิ่่�งที่่�ควรกล่่าวกะผู้้�อื่่�นว่่า, ท่่านจงมาดููเถิิด โอปะนะยิิโก, เป็็นสิ่่�งที่่�ควรน้้อมเข้้ามาใส่่ตััว ปััจจััตตััง เวทิิตััพโพ วิิญญููหีี ติิ. เป็็นสิ่่�งที่่�ผู้้�รู้้�ก็็รู้้�ได้้เฉพาะตน ดัังนี้้�.
ธััมมาภิิคีีติิง
(นำำ�) หัันทะ มะยััง ธััมมาภิิคีีติิง กะโรมะ เส. สวากขาตะตาทิิคุุณะโยคะวะเสนะ เสยโย, พระธรรม เป็็นสิ่่�งที่่�ประเสริิฐ เพราะประกอบด้้วยคุุณ, คืือ ความที่่�พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า ตรััสไว้้ดีีแล้้ว เป็็นต้้น โย มััคคะปากะปะริิยััตติิวิิโมกขะเภโท, เป็็นธรรมอัันจำำ�แนกเป็็น มรรค ผล, ปริิยััติิ และนิิพพาน ธััมโม กุุโลกะปะตะนา ตะทะธาริิธารีี, เป็็นธรรมทรงไว้้ซึ่่�งผู้้�ทรงธรรม, จากการตกไปสู่่�โลกที่่�ชั่่�ว วัันทามะหััง ตะมะหะรััง วะระธััมมะเมตััง, ข้้าพเจ้้าไหว้้พระธรรมอัันประเสริิฐนั้้�น, อัันเป็็นเครื่่�องขจััดเสีียซึ่่�งความมืืด, หนัังสืือทำำ�วััตร
34
สวดมนต์์แปล
ธััมโม โย สััพพะปาณีีนััง สะระณััง เขมะมุุตตะมััง, พระธรรมใด, เป็็นสรณะอัันเกษมสููงสุุด ของสััตว์์ทั้้�งหลาย ทุุติิยานุุสสะติิฏฐานััง วัันทามิิ ตััง สิิเรนะหััง, ข้้าพเจ้้าไหว้้พระธรรมนั้้�น, อัันเป็็นที่่�ตั้้�งแห่่งความระลึึก, องค์์ที่่�สอง, ด้้วยเศีียรเกล้้า ธััมมััสสาหััสมิิ ทาโส (ทาสีี) วะ ธััมโม เม สามิิกิิสสะโร, ข้้าพเจ้้าเป็็นทาสของพระธรรม, พระธรรมเป็็นนาย, มีีอิิสระเหนืือข้้าพเจ้้า ธััมโม ทุุกขััสสะ ฆาตา จะ วิิธาตา จะ หิิตััสสะ เม, พระธรรมเป็็นเครื่่�องกำำ�จััดทุุกข์์, และทรงไว้้ซึ่่�งประโยชน์์แก่่ข้้าพเจ้้า ธััมมััสสาหััง นิิยยาเทมิิ สะรีีรััญชีีวิิตััญจิิทััง , ข้้าพเจ้้ามอบกายถวายชีีวิิตนี้้�, แด่่พระธรรม วัันทัันโตหััง (ตีีหััง) จะริิสสามิิ ธััมมััสเสวะ สุุธััมมะตััง, ข้้าพเจ้้าผู้้�ไหว้้อยู่่�จัักประพฤติิตาม, ซึ่่�งความเป็็นธรรมดีีของพระธรรม นััตถิิ เม สะระณััง อััญญััง ธััมโม เม สะระณััง วะรััง, สรณะอื่่�นของข้้าพเจ้้าไม่่มีี, พระธรรมเป็็นสรณะอัันประเสริิฐของข้้าพเจ้้า เอเตนะ สััจจะวััชเชนะ วััฑเฒยยััง สััตถุุสาสะเน, ด้้วยการกล่่าวคำำ�สััจจ์์นี้้�, ข้้าพเจ้้าพึึงเจริิญในพระศาสนา, ของพระศาสดา ธััมมััง เม วัันทะมาเนนะ (มานายะ) ยััง ปุุญญััง ปะสุุตััง อิิธะ, ข้้าพเจ้้าผู้้�ไหว้้อยู่่�ซึ่่�งพระธรรม, ได้้ขวนขวายบุุญใด ในบััดนี้้� สััพเพปิิ อัันตะรายา เม มาเหสุุง ตััสสะ เตชะสา. อัันตรายทั้้�งปวง อย่่าได้้มีีแก่่ข้้าพเจ้้า ด้้วยเดชแห่่งบุุญนั้้�น. (หมอบกราบลง กล่่าวคำำ�พร้้อมกััน) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ด้้วยกายก็็ดีี ด้้วยวาจาก็็ดีี ด้้วยใจก็็ดีี ธััมเม กุุกััมมััง ปะกะตััง มะยา ยััง, กรรมน่่าติิเตีียนอัันใด ที่่ข้้� าพเจ้้ากระทำำ�แล้้ว ในพระธรรม ธััมโม ปะฏิิคคััณหะตุุ อััจจะยัันตััง, ขอพระธรรม จงงดซึ่่�งโทษล่่วงเกิินอัันนั้้�น กาลัันตะเร สัังวะริิตุุง วะ ธััมเม. เพื่่�อการสำำ�รวมระวััง ในพระธรรม ในกาลต่่อไป หนัังสืือทำำ�วััตร
35
สวดมนต์์แปล
สัังฆานุุสสติิ
(นำำ�) หัันทะ มะยััง สัังฆานุุสสะติินะยััง กะโรมะ เส. สุุปะฏิิปัันโน ภะคะวะโต สาวะกะสัังโฆ, สงฆ์์สาวกของพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า หมู่่�ใด, ปฏิิบััติิดีีแล้้ว อุุชุุปะฏิิปัันโน ภะคะวะโต สาวะกะสัังโฆ, สงฆ์์สาวกของพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า หมู่่�ใด, ปฏิิบััติิตรงแล้้ว ญายะปะฏิิปัันโน ภะคะวะโต สาวะกะสัังโฆ, สงฆ์์สาวกของพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า หมู่่�ใด, ปฏิิบััติิเพื่่�อรู้้�ธรรม เป็็นเครื่่�องออกจากทุุกข์์แล้้ว สามีีจิิปะฏิิปัันโน ภะคะวะโต สาวะกะสัังโฆ, สงฆ์์สาวกของพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า หมู่่�ใด, ปฏิิบััติิสมควรแล้้ว ยะทิิทััง, ได้้แก่่บุุคคลเหล่่านี้้�คืือ จััตตาริิ ปุุริิสะยุุคานิิ อััฏฐะ ปุุริิสะปุุคคะลา, คู่่�แห่่งบุุรุุษ ๔ คู่่�, นัับเรีียงบุุรุุษ ได้้แปดบุุรุุษ เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสัังโฆ, นั่่�นแหละสงฆ์์สาวกของพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า อาหุุเนยโย, เป็็นสงฆ์์ควรแก่่สัักการะที่่�เขานำำ�มาบููชา ปาหุุเนยโย, เป็็นสงฆ์์ควรแก่่สัักการะที่่�เขาจััดไว้้ต้้อนรัับ ทัักขิิเณยโย, เป็็นผู้้�ควรรัับทัักษิิณาทาน อััญชะลีีกะระณีีโย, เป็็นผู้้�ที่่�บุุคคลทั่่�วไปควรทำำ�อััญชลีี อะนุุตตะรััง ปุุญญัักเขตตััง โลกััสสา ติิ. เป็็นเนื้้�อนาบุุญของโลก, ไม่่มีีนาบุุญอื่่�นยิ่่�งกว่่า ดัังนี้้�.
หนัังสืือทำำ�วััตร
36
สวดมนต์์แปล
สัังฆาภิิคีีติิง
(นำำ�) หัันทะ มะยััง สัังฆาภิิคีีติิง กะโรมะ เส. สััทธััมมะโช สุุปะฏิิปััตติิคุุณาทิิยุุตโต, พระสงฆ์์ที่่�เกิิดโดยพระสััทธรรม, ประกอบด้้วยคุุณ มีีความปฏิิบััติิดีีเป็็นต้้น โยฏฐััพพิิโธ อะริิยะปุุคคะละสัังฆะเสฏโฐ, เป็็นหมู่่�แห่่งพระอริิยบุุคคลอัันประเสริิฐ, แปดจำำ�พวก สีีลาทิิธััมมะปะวะราสะยะกายะจิิตโต, มีีกายและจิิต อัันอาศััยธรรมมีีศีีลเป็็นต้้น, อัันบวร วัันทามะหััง ตะมะริิยานะคะณััง สุุสุุทธััง, ข้้าพเจ้้าไหว้้หมู่่�แห่่งพระอริิยะเจ้้าเหล่่านั้้�น, อัันบริิสุุทธิ์์�ด้้วยดีี, สัังโฆ โย สััพพะปาณีีนััง สะระณััง เขมะมุุตตะมััง, พระสงฆ์์หมู่่�ใด, เป็็นสรณะอัันเกษมสููงสุุด ของสััตว์์ทั้้�งหลาย ตะติิยานุุสสะติิฏฐานััง วัันทามิิ ตััง สิิเรนะหััง, ข้้าพเจ้้าไหว้้พระสงฆ์์หมู่่�นั้้�น, อัันเป็็นที่่�ตั้้�งแห่่งความระลึึก, องค์์ที่่�สาม, ด้้วยเศีียรเกล้้า สัังฆััสสาหััสมิิ ทาโส (ทาสีี) วะ สัังโฆ เม สามิิกิิสสะโร, ข้้าพเจ้้าเป็็นทาสของพระสงฆ์์, พระสงฆ์์เป็็นนาย, มีีอิิสระเหนืือข้้าพเจ้้า สัังโฆ ทุุกขััสสะ ฆาตา จะ วิิธาตา จะ หิิตััสสะ เม, พระสงฆ์์เป็็นเครื่่�องกำำ�จััดทุุกข์์, และทรงไว้้ซึ่่�งประโยชน์์แก่่ข้้าพเจ้้า สัังฆััสสาหััง นิิยยาเทมิิ สะรีีรััญชีีวิิตััญจิิทััง, ข้้าพเจ้้ามอบกายถวายชีีวิิตนี้้�, แด่่พระสงฆ์์ วัันทัันโตหััง (ตีีหััง) จะริิสสามิิ สัังฆััสโสปะฏิิปัันนะตััง, ข้้าพเจ้้าผู้้�ไหว้้อยู่่�จัักประพฤติิตาม, ซึ่่�งความปฏิิบััติิดีีของพระสงฆ์์
หนัังสืือทำำ�วััตร
37
สวดมนต์์แปล
นััตถิิ เม สะระณััง อััญญััง สัังโฆ เม สะระณััง วะรััง, สรณะอื่่�นของข้้าพเจ้้าไม่่มีี, พระสงฆ์์เป็็นสรณะอัันประเสริิฐของข้้าพเจ้้า เอเตนะ สััจจะวััชเชนะ วััฑเฒยยััง สััตถุุสาสะเน, ด้้วยการกล่่าวคำำ�สััจจ์์นี้้�, ข้้าพเจ้้าพึึงเจริิญในพระศาสนา, ของพระศาสดา สัังฆััง เม วัันทะมาเนนะ (มานายะ) ยััง ปุุญญััง ปะสุุตััง อิิธะ, ข้้าพเจ้้าผู้้�ไหว้้อยู่่�ซึ่่�งพระสงฆ์์, ได้้ขวนขวายบุุญใด ในบััดนี้้� สััพเพปิิ อัันตะรายา เม มาเหสุุง ตััสสะ เตชะสา. อัันตรายทั้้�งปวง อย่่าได้้มีีแก่่ข้้าพเจ้้า ด้้วยเดชแห่่งบุุญนั้้�น. (หมอบกราบลง กล่่าวคำำ�พร้้อมกััน) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ด้้วยกายก็็ดีี ด้้วยวาจาก็็ดีี ด้้วยใจก็็ดีี สัังเฆ กุุกััมมััง ปะกะตััง มะยา ยััง, กรรมน่่าติิเตีียนอัันใด ที่่�ข้้าพเจ้้ากระทำำ�แล้้ว ในพระสงฆ์์ สัังโฆ ปะฏิิคคััณหะตุุ อััจจะยัันตััง, ขอพระสงฆ์์ จงงดซึ่่�งโทษล่่วงเกิินอัันนั้้�น กาลัันตะเร สัังวะริิตุุง วะ สัังเฆ. เพื่่�อการสำำ�รวมระวััง ในพระสงฆ์์ ในกาลต่่อไป.
ธมฺฺมจารีี สุุขํํ เสติิ. ผู้้�ประพฤติิธรรม อยู่่�เป็็นสุุข
หนัังสืือทำำ�วััตร
38
สวดมนต์์แปล
อตีีตปััจจเวกขณ
(นำำ�) หัันทะ มะยััง อะตีีตะปััจจะเวกขะณะปาฐััง ภะณามะ เส. อััชชะ มะยา อะปััจจะเวกขิิตวา ยััง จีีวะรััง ปะริิภุุตตััง, จีีวรใดอัันเรานุ่่�งห่่มแล้้ว ไม่่ทัันพิิจารณา ในวัันนี้้� ตััง ยาวะเทวะ สีีตััสสะ ปะฏิิฆาตายะ, จีีวรนั้้�น เรานุ่่�งห่่มแล้้ว เพีียงเพื่่�อบำำ�บััดความหนาว อุุณหััสสะ ปะฏิิฆาตายะ, เพื่่�อบำำ�บััดความร้้อน ฑัังสะมะกะสะวาตาตะปะสิิริิงสะปะสััมผััสสานััง ปะฏิิฆาตายะ, เพื่่อ� บำำ�บััดสััมผััสอัันเกิิดจากเหลืือบ ยุุง ลม แดด และสััตว์์เลื้้อ� ยคลานทั้้ง� หลาย ยาวะเทวะ หิิริิโกปิินะปะฏิิจฉาทะนััตถััง. และเพีียงเพื่่�อปกปิิดอวััยวะ อัันให้้เกิิดความละอาย. อััชชะ มะยา อะปััจจะเวกขิิตวา โย ปิิณฑะปาโต ปะริิภุุตโต, บิิณฑบาตใด อัันเราฉัันแล้้ว ไม่่ทัันพิิจารณา ในวัันนี้้� โส เนวะ ทะวายะ, บิิณฑบาตนั้้�น เราฉัันแล้้ว ไม่่ใช่่เป็็นไปเพื่่�อความเพลิิดเพลิิน สนุุกสนาน นะ มะทายะ, ไม่่ใช่่เป็็นไปเพื่่�อความเมามััน เกิิดกำำ�ลัังพลัังทางกาย นะ มััณฑะนายะ, ไม่่ใช่่เป็็นไปเพื่่�อประดัับ นะ วิิภููสะนายะ, ไม่่ใช่่เป็็นไปเพื่่�อตกแต่่ง ยาวะเทวะ อิิมััสสะ กายััสสะ ฐิิติิยา, แต่่ให้้เป็็นไปเพีียงเพื่่�อความตั้้�งอยู่่�ได้้แห่่งกายนี้้� ยาปะนายะ, เพื่่�อความเป็็นไปได้้ของอััตภาพ วิิหิิงสุุปะระติิยา, เพื่่�อความสิ้้�นไปแห่่งความลำำ�บากทางกาย พรััหมะจะริิยานุุคคะหายะ, เพื่่�ออนุุเคราะห์์แก่่การประพฤติิพรหมจรรย์์
หนัังสืือทำำ�วััตร
39
สวดมนต์์แปล
อิิติิ ปุุรานััญจะ เวทะนััง ปะฏิิหัังขามิิ, ด้้วยการทำำ�อย่่างนี้้�, เราย่่อมระงัับเสีียได้้ซึ่่�งทุุกขเวทนาเก่่าคืือความหิิว นะวััญจะ เวทะนััง นะ อุุปปาเทสสามิิ, และไม่่ทำำ�ทุุกขเวทนาใหม่่ให้้เกิิดขึ้้�น ยาตรา จะ เม ภะวิิสสะติิ อะนะวััชชะตา จะ ผาสุุวิิหาโร จาติิ. อนึ่่ง� , ความเป็็นไปโดยสะดวกแห่่งอััตภาพนี้้�ด้้วย, ความเป็็นผู้้ห� าโทษมิิได้้ด้้วย, และความเป็็นอยู่่�โดย ผาสุุกด้้วย, จัักมีีแก่่เรา ดัังนี้้�. อััชชะ มะยา อะปััจจะเวกขิิตวา ยััง เสนาสะนััง ปะริิภุุตตััง, เสนาสนะใด อัันเราใช้้สอยแล้้ว ไม่่ทัันพิิจารณา ในวัันนี้้� ตััง ยาวะเทวะ สีีตััสสะ ปะฏิิฆาตายะ, เสนาสนะนั้้�น เราใช้้สอยแล้้ว เพีียงเพื่่�อบำำ�บััดความหนาว อุุณหััสสะ ปะฏิิฆาตายะ, เพื่่�อบำำ�บััดความร้้อน ฑัังสะมะกะสะวาตาตะปะสิิริิงสะปะสััมผััสสานััง ปะฏิิฆาตายะ, เพื่่�อบำำ�บััดสััมผััสอัันเกิิดจากเหลืือบ ยุุง ลม แดด และสััตว์์เลื้้�อยคลานทั้้�งหลาย ยาวะเทวะ อุุตุุปะริิสสะยะวิิโนทะนััง ปะฏิิสััลลานารามััตถััง, เพีียงเพื่่�อบรรเทาอัันตรายอัันจะพึึงมีีจากดิินฟ้้าอากาศ, และเพื่่�อความเป็็น ผู้้�ยิินดีีอยู่่�ได้้ ในที่่�หลีีกเร้้นสำำ�หรัับภาวนา. อััชชะ มะยา อะปััจจะเวกขิิตวา โย คิิลานะปััจจะยะเภสััชชะปะริิกขาโร ปะริิภุุตโต, คิิลานเภสััชบริิขารใด อัันเราบริิโภคแล้้ว ไม่่ทัันพิิจารณา ในวัันนี้้� โส ยาวะเทวะ อุุปปัันนานััง เวยยาพาธิิกานััง เวทะนานััง ปะฏิิฆาตายะ, คิิลานเภสััชบริิขารนั้้�น เราบริิโภคแล้้ว เพีียงเพื่่�อบำำ�บััด ทุุกขเวทนา อัันบัังเกิิดขึ้้�นแล้้ว มีีอาพาธต่่างๆ เป็็นมููล อััพยาปััชฌะปะระมะตายาติิ. เพื่่�อความเป็็นผู้้�ไม่่มีีโรคเบีียดเบีียน เป็็นอย่่างยิ่่�ง ดัังนี้้�. หนัังสืือทำำ�วััตร
40
สวดมนต์์แปล
ธาตุุปฏิิกููลปััจจเวกขณปาฐะ
(หัันทะ มะยััง ธาตุุปะฏิิกููละปััจจะเวกขะณะปาฐััง ภะณามะ เส) ยะถาปััจจะยััง ปะวััตตะมานััง ธาตุุมััตตะเมเวตััง , สิ่่�งเหล่่านี้้�นี่่�เป็็นสัักว่่าธาตุุตามธรรมชาติิเท่่านั้้�น , กำำ�ลัังเป็็นไปตามเหตุุ ตามปััจจััยอยู่่�เนืืองนิิจ ยะทิิทััง จีีวะรััง ตะทุุปะภุุญชะโกจะ ปุุคคะโล , สิ่่�งเหล่่านี้้�คืือ จีีวร , และบุุคคลผู้้�ใช้้สอยจีีวรนั้้�น ธาตุุมััตตะโก เป็็นสัักว่่าธาตุุตามธรรมชาติิ นิิสสััตโต มิิได้้เป็็นสััตวะ อัันยั่่�งยืืน นิิชชีีโว มิิได้้เป็็นชีีวะ อัันเป็็นบุุรุุษบุุคคล สุุญโญ ว่่างเปล่่าจากความหมายแห่่งความเป็็นตััวตน สััพพานิิ ปะนะ อิิมานิิ จีีวะรานิิ อะชิิคุุจฉะนีียานิิ , ก็็จีีวรทั้้�งหมดนี้้� , ไม่่เป็็นของน่่าเกลีียดมาแต่่เดิิม อิิมััง ปููติิกายััง ปััต๎๎วา ครั้้�นมาถููกเข้้ากัับกายอัันเน่่าอยู่่�เป็็นนิิจนี้้�แล้้ว อะติิวิิยะ ชิิคุุจฉะนีียานิิ ชายัันติิ , ย่่อมกลายเป็็นของน่่าเกลีียดอย่่างยิ่่�งไปด้้วยกััน ยะถาปััจจะยััง ปะวััตตะมานััง ธาตุุมััตตะเมเวตััง , สิ่่�งเหล่่านี้้�นี่่�เป็็นสัักว่่าธาตุุตามธรรมชาติิเท่่านั้้�น , กำำ�ลัังเป็็นไปตามเหตุุ ตามปััจจััยอยู่่�เนืืองนิิจ ยะทิิทััง ปิิณฑะปาโต ตะทุุปะภุุญชะโก จะ ปุุคคะโล , สิ่่�งเหล่่านี้้�คืือ บิิณฑบาต , และบุุคคลผู้้�บริิโภคบิิณฑบาตนั้้�น ธาตุุมััตตะโก เป็็นสัักว่่าธาตุุตามธรรมชาติิ นิิสสััตโต มิิได้้เป็็นสััตวะ อัันยั่่�งยืืน
หนัังสืือทำำ�วััตร
41
สวดมนต์์แปล
นิิชชีีโว มิิได้้เป็็นชีีวะ อัันเป็็นบุุรุุษบุุคคล สุุญโญ, ว่่างเปล่่าจากความหมายแห่่งความเป็็นตััวตน สััพโพ ปะนายััง ปิิณฑะปาโต อะชิิคุุจฉะนีีโย , ก็็บิิณฑบาตทั้้�งหมดนี้้� , ไม่่เป็็นของน่่าเกลีียดมาแต่่เดิิม อิิมััง ปููติิกายััง ปััต๎๎วา ครั้้�นมาถููกเข้้ากัับกายอัันเน่่าอยู่่�เป็็นนิิจนี้้�แล้้ว อะติิวิิยะ ชิิคุุจฉะนีีโย ชายะติิ , ย่่อมกลายเป็็นของน่่าเกลีียดอย่่างยิ่่�งไปด้้วยกััน ยะถาปััจจะยััง ปะวััตตะมานััง ธาตุุมััตตะเมเวตััง , สิ่่�งเหล่่านี้้�นี่่�เป็็นสัักว่่าธาตุุตามธรรมชาติิเท่่านั้้�น , กำำ�ลัังเป็็นไปตามเหตุุ ตามปััจจััยอยู่่�เนืืองนิิจ ยะทิิทััง เสนาสะนััง ตะทุุปะภุุญชะโก จะ ปุุคคะโล , สิ่่�งเหล่่านี้้�คืือ เสนาสนะ , และบุุคคลผู้้�ใช้้สอยเสนาสนะนั้้�น ธาตุุมััตตะโก เป็็นสัักว่่าธาตุุตามธรรมชาติิ นิิสสััตโต มิิได้้เป็็นสััตวะ อัันยั่่�งยืืน นิิชชีีโว มิิได้้เป็็นชีีวะ อัันเป็็นบุุรุุษบุุคคล สุุญโญ , ว่่างเปล่่าจากความหมายแห่่งความเป็็นตััวตน สััพพานิิ ปะนะ อิิมานิิ เสนาสะนานิิ อะชิิคุุจฉะนีียานิิ , ก็็เสนาสะทั้้�งหมดนี้้� ไม่่เป็็นของน่่าเกลีียดมาแต่่เดิิม อิิมััง ปููติิกายััง ปััต๎๎วา ครั้้�นมาถููกเข้้ากัับกายอัันเน่่าอยู่่�เป็็นนิิจนี้้�แล้้ว อะติิวิิยะ ชิิคุุจฉะนีียานิิ ชายัันติิ , ย่่อมกลายเป็็นของน่่าเกลีียดอย่่างยิ่่�งไปด้้วยกััน
หนัังสืือทำำ�วััตร
42
สวดมนต์์แปล
ยะถาปััจจะยััง ปะวััตตะมานััง ธาตุุมััตตะเมเวตััง , สิ่่�งเหล่่านี้้�นี่่�เป็็นสัักว่่าธาตุุตามธรรมชาติิเท่่านั้้�น , กำำ�ลัังเป็็นไปตามเหตุุตาม ปััจจััยอยู่่�เนืืองนิิจ ยะทิิทััง คิิลานะปััจจะยะเภสััชชะปะริิกขาโร , ตะทุุปะภุุญชะโก จะ ปุุคคะโล , สิ่่�งเหล่่านี้้�คืือเภสััชบริิขารอัันเกื้้�อกููลแก่่คนไข้้ , และบุุคคล - ผู้้�บริิโภคเภสััช บริิขารนั้้�น ธาตุุมััตตะโก เป็็นสัักว่่าธาตุุตามธรรมชาติิ นิิสสััตโต มิิได้้เป็็นสััตวะ อัันยั่่�งยืืน นิิชชีีโว , มิิได้้เป็็นชีีวะ อัันเป็็นบุุรุุษบุุคคล สุุญโญ , ว่่างเปล่่าจากความหมายแห่่งความเป็็นตััวตน สััพโพ ปะนายััง คิิลานะปััจจะยะเภสััชชะปะริิกขาโร อะชิิคุุจฉะนีีโย , ก็็คิิลานะเภสััชบริิขารทั้้�งหมดนี้้� , ไม่่เป็็นของน่่าเกลีียดมาแต่่เดิิม อิิมััง ปููติิกายััง ปััต๎๎วา , ครั้้�นมาถููกเข้้ากัับกายอัันเน่่าอยู่่�เป็็นนิิจนี้้�แล้้ว อะติิวิิยะ ชิิคุุจฉะนีีโย ชายะติิ , ย่่อมกลายเป็็นของน่่าเกลีียดอย่่างยิ่่�งไปด้้วยกััน
สุุขํํ ยาว ชรา สีีลํํ. ศีีลนำำ�สุุขมาให้้ตราบเท่่าชรา
หนัังสืือทำำ�วััตร
43
สวดมนต์์แปล
อุุททิิสสนาธิิฏฐานคาถา
(หัันทะ มะยััง อุุททิิสสะนาธิิษฐานะคาถาโย ภะณามะ เส) อิิมิินา ปุุญญะกััมเมนะ ด้้วยบุุญนี้้�อุุทิิศให้้ อุุปััชฌายา คุุณุุตตะรา อุุปััชฌาย์์ผู้้�เลิิศคุุณ อาจะริิยููปะการา จะ แลอาจารย์์ผู้้�เกื้้�อหนุุน มาตา ปิิตา จะ ญาตะกา ทั้้�งพ่่อแม่่แลปวงญาติิ สุุริิโย จัันทิิมา ราชา สููรย์์จัันทร์์และราชา คุุณะวัันตา นะราปิิ จะ ผู้้�ทรงคุุณหรืือสููงชาติิ พ๎๎รััห๎๎มะมารา จะ อิินทา จะ พรหมมารและอิินทราช โลกะปาลา จะ เทวะตา ทั้้�งทวยเทพและโลกบาล ยะโม มิิตตา มะนุุสสา จะ ยมราชมนุุษย์์มิิตร มััชฌััตตา เวริิกาปิิ จะ ผู้้�เป็็นกลางผู้้�จ้้องผลาญ สััพเพ สััตตา สุุขีี โหนตุุ ขอให้้เป็็นสุุขศานติ์์ทุ� กุ ทั่่ว� หน้้าอย่่าทุุกข์์ทน ปุุญญานิิ ปะกะตานิิ เม บุุญผองที่่�ข้้าทำำ�จงช่่วยอำำ�นวยศุุภผล สุุขััง จะ ติิวิิธััง เทนตุุ ให้้สุุขสามอย่่างล้้น ขิิปปััง ปาเปถะ โว มะตััง ให้้ลุุถึึงนิิพพานพลััน อิิมิินา ปุุญญะกััมเมนะ ด้้วยบุุญนี้้�ที่่�เราทำำ� อิิมิินา อุุททิิเสนะ จะ แลอุุทิิศให้้ปวงสััตว์์ ขิิปปาหััง สุุละเภ เจวะ เราพลัันได้้ซึ่่�งการตััด ตััณหุุปาทานะเฉทะนััง ตััวตััณหาอุุปาทาน เย สัันตาเน หิินา ธััมมา สิ่่�งชั่่�วในดวงใจ ยาวะ นิิพพานะโต มะมััง กว่่าเราจะถึึงนิิพพาน นััสสัันตุุ สััพพะทา เยวะ มลายสิ้้�นจากสัันดาน ยััตถะ ชาโต ภะเว ภะเว ทุุกๆ ภพที่่�เราเกิิด หนัังสืือทำำ�วััตร
44
สวดมนต์์แปล
อุุชุุจิิตตััง สะติิปััญญา มีีจิิตตรงและสติิทั้้�งปััญญาอัันประเสริิฐ สััลเลโข วิิริิยััมหิินา พร้้อมทั้้ง� ความเพีียรเลิิศเป็็นเครื่่อ� งขููดกิิเลสหาย มารา ละภัันตุุ โนกาสััง โอกาสอย่่าพึึงมีีแก่่หมู่่�มารสิ้้�นทั้้�งหลาย กาตุุญจะ วิิริิเยสุุ เม เป็็นช่่องประทุุษร้้ายทำำ�ลายล้้างความเพีียรจม พุุทธาธิิปะวะโร นาโถ พระพุุทธผู้้�บวรนาถ ธััมโม นาโถ วะรุุตตะโม พระธรรมที่่�พึ่่�งอุุดม นาโถ ปััจเจกะพุุทโธ จะ พระปััจเจกะพุุทธสม สัังโฆ นาโถตตะโร มะมััง ทบพระสงฆ์์ที่่�พึ่่�งผยอง เตโสตตะมานุุภาเวนะ ด้้วยอานุุภาพนั้้�น มาโรกาสััง ละภัันตุุ มา ขอหมู่่�มาร อย่่าได้้ช่่อง ทะสะปุุญญานุุภาเวนะ ด้้วยเดชบุุญทั้้�งสิิบป้้อง มาโรกาสััง ละภัันตุุ มา อย่่าเปิิดโอกาสแก่่มารเทอญ ฯ
นตฺฺถิิ สนฺฺติิปรํํ สุุขํํ. ความสุุข (อื่่�น) ยิ่่�งกว่่าความสงบไม่่มีี
หนัังสืือทำำ�วััตร
45
สวดมนต์์แปล
บทสวดหลัังทำำ�วััตรเย็็น
หนัังสืือทำำ�วััตร
46
สวดมนต์์แปล
ภาค ๓ บทสวดหลัังทำำ�วััตรเย็็น ปุุพพภาคนมการ
(นำำ�) หัันทะ มะยััง พุุทธัสส ั ะ ภะคะวะโต ปุุพพะภาคะนะมะการััง กะโรมะ เส. นะโม ตััสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สััมมาสััมพุุทธััสสะ (พึึงกล่่าว ๓ จบ) ขอนอบน้้อมแด่่พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า พระองค์์นั้้�น, ซึ่่�งเป็็นผู้้�ไกล จากกิิเลส, ตรััสรู้้�ชอบได้้โดยพระองค์์เอง.
สรณคมนปาฐ
(นำำ�) หัันทะ มะยััง ติิสะระณะคะมะนะปาฐััง ภะณามะ เส. พุุทธััง สะระณััง คััจฉามิิ, ข้้าพเจ้้าถืือเอาพระพุุทธเจ้้า เป็็นสรณะ ธััมมััง สะระณััง คััจฉามิิ, ข้้าพเจ้้าถืือเอาพระธรรม เป็็นสรณะ สัังฆััง สะระณััง คััจฉามิิ, ข้้าพเจ้้าถืือเอาพระสงฆ์์ เป็็นสรณะ ทุุติิยััมปิิ พุุทธััง สะระณััง คััจฉามิิ, แม้้ครั้้�งที่่�สอง, ข้้าพเจ้้าถืือเอาพระพุุทธเจ้้า เป็็นสรณะ ทุุติิยััมปิิ ธััมมััง สะระณััง คััจฉามิิ, แม้้ครั้้�งที่่�สอง, ข้้าพเจ้้าถืือเอาพระธรรม เป็็นสรณะ ทุุติิยััมปิิ สัังฆััง สะระณััง คััจฉามิิ, แม้้ครั้้�งที่่�สอง, ข้้าพเจ้้าถืือเอาพระสงฆ์์ เป็็นสรณะ ตะติิยััมปิิ พุุทธััง สะระณััง คััจฉามิิ, แม้้ครั้้�งที่่�สาม, ข้้าพเจ้้าถืือเอาพระพุุทธเจ้้า เป็็นสรณะ ตะติิยััมปิิ ธััมมััง สะระณััง คััจฉามิิ, แม้้ครั้้�งที่่�สาม, ข้้าพเจ้้าถืือเอาพระธรรม เป็็นสรณะ ตะติิยััมปิิ สัังฆััง สะระณััง คััจฉามิิ. แม้้ครั้้�งที่่�สาม, ข้้าพเจ้้าถืือเอาพระสงฆ์์ เป็็นสรณะ.
หนัังสืือทำำ�วััตร
47
สวดมนต์์แปล
สััจจะกิิริิยาคาถา
(นำำ�) หัันทะ มะยััง สััจจะกิิริิยาคาถาโย ภะณามะ เส. นััตถิิ เม สะระณััง อััญญััง พุุทโธ เม สะระณััง วะรััง เอเตนะ สััจจะวััชเชนะ โสตถิิ เม โหตุุ สััพพะทา นััตถิิ เม สะระณััง อััญญััง ธััมโม เม สะระณััง วะรััง เอเตนะ สััจจะวััชเชนะ โสตถิิ เม โหตุุ สััพพะทา นััตถิิ เม สะระณััง อััญญััง สัังโฆ เม สะระณััง วะรััง เอเตนะ สััจจะวััชเชนะ โสตถิิ เม โหตุุ สััพพะทา
ที่่�พึ่่�งอย่่างอื่่�นของข้้าพเจ้้าไม่่มีี พระพุุทธเจ้า้ เป็็นที่่พึ่� ง�่ อัันประเสริิฐของข้้าพเจ้า้ ด้้วยการกล่่าวคำำ�สััจจ์์นี้้� ขอความสวััสดีีจงมีีแก่่ข้้าพเจ้้าทุุกเมื่่�อ ที่่�พึ่่�งอย่่างอื่่�นของข้้าพเจ้้าไม่่มีี พระธรรมเป็็นที่่�พึ่่�งอัันประเสริิฐของข้้าพเจ้้า ด้้วยการกล่่าวคำำ�สััจจ์์นี้้� ขอความสวััสดีีจงมีีแก่่ข้้าพเจ้้าทุุกเมื่่�อ ที่่�พึ่่�งอย่่างอื่่�นของข้้าพเจ้้าไม่่มีี พระสงฆ์์เป็็นที่่�พึ่่�งอัันประเสริิฐของข้้าพเจ้้า ด้้วยการกล่่าวคำำ�สััจจ์์นี้้� ขอความสวััสดีีจงมีีแก่่ข้้าพเจ้้าทุุกเมื่่�อ
เขมาเขมสรณคมนปริิทีีปิิกาคาถา
(นำำ�) หัันทะ มะยััง เขมาเขมะสะระณะคะมะนะปะริิทีปิี ิกาคาถาโย ภะณามะ เส. พะหุุง เว สะระณััง ยัันติิ ปััพพะตานิิ วะนานิิ จะ, อารามะรุุกขะเจตยานิิ มะนุุสสา ภะยะตััชชิิตา, มนุุษย์์ทั้้�งหลายเป็็นอัันมาก, เมื่่�อเกิิดมีีภััยคุุกคามแล้้ว, ก็็ถืือเอาภููเขาบ้้าง, ป่่าไม้้บ้้าง, อาราม และรุุกขเจดีีย์์บ้้าง, เป็็นสรณะ เนตััง โข สะระณััง เขมััง เนตััง สะระณะมุุตตะมััง, เนตััง สะระณะมาคััมมะ สััพพะทุุกขา ปะมุุจจะติิ, นั่่�น มิิใช่่สรณะอัันเกษมเลย, นั่่�น มิิใช่่สรณะอัันสููงสุุด เขาอาศััยสรณะ นั่่�นแล้้ว ย่่อมไม่่พ้้นจากทุุกข์์ทั้้�งปวงได้้, หนัังสืือทำำ�วััตร
48
สวดมนต์์แปล
โย จะ พุุทธััญจะ ธััมมััญจะ สัังฆััญจะ สะระณััง คะโต, จััตตาริิ อะริิยะสััจจานิิ สััมมััปปััญญายะ ปััสสะติิ, ส่่วนผู้้�ใดถืือเอาพระพุุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์์, เป็็นสรณะแล้้ว เห็็นอริิยสััจจ์์คืือ ความจริิงอัันประเสริิฐสี่่�, ด้้วยปััญญาอัันชอบ ทุุกขััง ทุุกขะสะมุุปปาทััง ทุุกขััสสะ จะ อะติิกกะมััง, อะริิยััญจััฏฐัังคิิกััง มััคคััง ทุุกขููปะสะมะคามิินััง, คืือเห็็นความทุุกข์์, เหตุุให้้เกิิดทุุกข์์, ความก้้าวล่่วงทุุกข์์เสีียได้้, และหนทางมีีองค์์แปดอัันประเสริิฐ, เครื่่�องถึึงความระงัับทุุกข์์ เอตััง โข สะระณััง เขมััง เอตััง สะระณะมุุตตะมััง, เอตััง สะระณะมาคััมมะ สััพพะทุุกขา ปะมุุจจะติิ. นั่่�นแหละ เป็็นสรณะอัันเกษม, นั่่�น เป็็นสรณะอัันสููงสุุด เขาอาศััยสรณะ นั่่�นแล้้ว ย่่อมพ้้นจากทุุกข์์ทั้้�งปวงได้้. นิิจจััง ปััชชะลิิเต สะติิ เมื่่�อถึึงคราวทุุกข์์ ก็็ควรมีีสติิ
ภารสุุตตคาถา
(นำำ�) หัันทะ มะยััง ภาระสุุตตะคาถาโย ภะณามะ เส. ภารา หะเว ปััญจัักขัันธา, ภาระหาโร จะ ปุุคคะโล, ภาราทานััง ทุุกขััง โลเก, ภาระนิิกเขปะนััง สุุขััง, นิิกขิิปิิตวา คะรุุง ภารััง, อััญญััง ภารััง อะนาทิิยะ, สะมููลััง ตััณหััง อััพพุุยหะ, นิิจฉาโต ปะริินิิพพุุโต. เหลืือ.
ขัันธ์์ทั้้�งห้้า เป็็นของหนัักเน้้อ บุุคคลแหละ เป็็นผู้้�แบกของหนัักพาไป การแบกถืือของหนััก เป็็นความทุุกข์์ ในโลก การสลััดของหนััก ทิ้้�งลงเสีีย เป็็นความสุุข พระอริิยะเจ้้า สลััดทิ้้�งของหนััก ลงเสีียแล้้ว ทั้้�งไม่่หยิิบฉวยเอาของหนัักอัันอื่่�น ขึ้้�นมาอีีก ก็็เป็็นผู้้�ถอดตััณหาขึ้้�นได้้ กระทั้้�งราก เป็็นผู้้�หมดสิ่่�งปรารถนา ดัับสนิิทไม่่มีีส่่วน
หนัังสืือทำำ�วััตร
49
สวดมนต์์แปล
มิิตตามิิตตะคาถา
(นำำ�) หัันทะ มะยััง มิิตตามิิตตะคาถาโย ภะณามะ เส. อััญญะทััตถุุหโร มิิตโต, มิิตรปอกลอกนำำ�ไปถ่่ายเดีียว, โย จ มิิตโต วจีีปะระโม, มิิตรใด มีีวาจาปราศรััยเป็็นอย่่างยิ่่�ง, อะนุุปปิิยััญจะ โย อาหุุ, มิิตรใด กล่่าวคำำ�ประจบ, อะปาเยสุุ จะ โย สะขา, มิิตรใด เป็็นเพื่่�อนในความฉิิบหาย, เอเต อะมิิตเต จััตตาโร อิิติิ วิิญญายะ ปััณฑิิโต, บััณฑิิตพิิจารณาเห็็นว่่า, ทั้้�ง ๔ จำำ�พวกนี้้�มิิใช่่มิิตรแล้้ว, อาระกาปริิวััชเชยยะ, พึึงหลีีกเลี่่�ยงเสีียให้้ห่่างไกล, มััคคััง ปฎิิภะยัังยะถา, เหมืือนคนเดิินทาง, เว้้นทางอัันมีีภััยเสีียฉะนั้้�น, อุุปะกาโร จะ โย มิิตโต, มิิตรใด มีีอุุปการะ, สุุขะทุุกโข จะ โย สะขา, เพื่่�อนใด ร่่วมสุุขร่่วมทุุกข์์กัันได้้, อััตถัักขาขีี จะ โย มิิตโต, มิิตรใด มีีปกติิบอกประโยชน์์ให้้, โย จะ มิิตตานุุกััมปะโก, และมิิตรใด เป็็นผู้้�อนุุเคราะห์์เอ็็นดููซึ่่�งมิิตร, เอเตปิิ มิิตเต จััตตาโร อิิติิ วิิญญายะ ปััณฑิิโต, บััณฑิิตพิิจารณาเห็็นว่่า, ทั้้�ง ๔ จำำ�พวกนี้้�เป็็นมิิตรจริิงแล้้ว, สัักกััจจััง ปะยิิรุุปาเสยยะ, พึึงเข้้าไปคบหาโดยเคารพ, มาตา ปุุตตัังวะ โอระสััง, ให้้เหมืือนมารดากัับบุุตรอัันเป็็นโอรส ฉะนั้้�น ฯ
หนัังสืือทำำ�วััตร
50
สวดมนต์์แปล
โอวาทะปาติิโมกขาทิิปาโฐ
(นำำ�) หัันทะ มะยััง โอวาทะปาติิโมกขาทิิปาฐััง ภะณามะ เส. ขัันตีี ปะระมััง ตะโป ตีีติิกขา, ความอดกลั้้�น คืือความทนทาน เป็็นตบะอย่่างยิ่่�ง, นิิพพานััง ปะระมััง วะทัันติิ พุุทธา, ท่่านผู้้�รู้้�ทั้้�งหลายกล่่าวพระนิิพพานว่่า เป็็นธรรมอย่่างยิ่่�ง, นะ หิิ ปััพพะชิิโต ปะรููปะฆาติิ, สะมะโณ โหติิ ปะรััง วิิเหฐะยัันโต, ผู้้�ฆ่่าสััตว์์อื่่�น เบีียดเบีียนสััตว์์อื่่�น, ไม่่ชื่่�อว่่าบรรพชิิตสมณะเลย, สััพพะปาปััสสะ อะกะระณััง, ความไม่่ทำำ�บาปทั้้�งปวง, กุุสะลััสสููปะสััมปะทา, ความให้้กุุศลถึึงพร้้อม, สะจิิตตะปะริิโยทะปะนััง, ความให้้จิิตของตนผ่่องแผ้้ว, เอตััง พุุทธานะสาสะนััง, ๓ อย่่างนี้้� เป็็นคำำ�สอนของพระพุุทธเจ้้าทั้้�งหลาย, อะนููปะวาโท, ความไม่่กล่่าวร้้าย, อะนููปะฆาโต, ความไม่่ล้้างผลาญ, ปาติิโมกเข จะสัังวะโร, ความสำำ�รวมในพระปาฏิิโมกข์์, มััตตััญญุุตา จะภััตตััสมิิง, ความเป็็นผู้้�รู้้�จัักประมาณในภััตตาหาร, ปัันตััญจะ สะยะนาสะนััง, ที่่�นอนที่่�นั่่�งอัันสงััด, อะธิิจิิตเต จะ อาโยโค, และความประกอบโดยเอื้้�อเฟื้้�อในอธิิจิิต, เอตััง พุุทธานะสาสะนัันติิ. ๖ อย่่างนี้้� เป็็นคำ�ำ สอนของพระพุุทธเจ้า้ ทั้้ง� หลาย ฉะนี้้� ฯ
หนัังสืือทำำ�วััตร
51
สวดมนต์์แปล
กะระณีียะเมตตสุุตตััง
(นำำ�) หัันทะ มะยััง กะระณีียะเมตตะสุุตตััง ภะณามะ เส. กะระณีียะมััตถะกุุสะเลนะ ยัันตััง สัันตััง ปะทััง อะภิิสะเมจจะ, อัันผู้้�ฉลาดในประโยชน์์, พึึงทำำ�ซึ่่�งกิิจที่่�ท่่านผู้้�ได้้บรรลุุถึึงซึ่่�งทางอัันสงบกระทำำ� แล้้ว, สัักโก, พึึงเป็็นผู้้�องอาจ, อุุชูู จะ, เป็็นผู้้�ซื่่�อตรงด้้วย, สุุหุุชูู จะ, เป็็นผู้้�ซื่่�อตรงอย่่างดีีด้้วย, สุุวะโจ จััสสะ, เป็็นผู้้�ว่่าง่่ายสอนง่่ายด้้วย, มุุทุุ, เป็็นผู้้�อ่่อนโยน, อะนะติิมานีี, เป็็นผู้้�ไม่่ดููหมิ่่�นผู้้�อื่่�น, สัันตุุสสะโก จะ, เป็็นผู้้�ยิินดีีด้้วยของอัันมีีอยู่่�ด้้วย, สุุภะโร จะ, เป็็นผู้้�เลี้้�ยงง่่ายด้้วย, อััปปะกิิจโจ จะ, เป็็นผู้้�มีีกิิจการพอประมาณด้้วย, สััลละหุุกะวุุตติิ, ประพฤติิตนเป็็นผู้้�เบากายเบาจิิต, สัันติินทริิโย จะ, มีีอิินทรีีย์์อัันสงบระงัับด้้วย, นิิปะโก จะ, มีีปััญญารัักษาตนได้้ด้้วย, อััปปะคััพโภ, เป็็นผู้้�ไม่่คะนองกายวาจา, กุุเลสุุ อะนะนุุคิิทโธ, เป็็นผู้้�ไม่่ติิดพัันในสกุุลทั้้�งหลาย, นะ จะ ขุุททััง สะมาจะเร กิิญจิิ เยนะ วิิญญูู ปะเร อุุปะวะเทยยุุง, วิิญญููชนติิเตีียนเหล่่าชนอื่่�นได้้ด้้วยการกระทำำ�อย่่างใด, ไม่่พึึงประพฤติิการ ทำำ�การอย่่างนั้้�นหน่่อยหนึ่่�งแล ฯ สุุกรํํ สาธุุนา สาธุุ ความดีี อัันคนดีีทำำ�ง่่าย
หนัังสืือทำำ�วััตร
52
สวดมนต์์แปล
สาอริิยสััจจคาถา เย ทุุกขััง นััปปะชานัันติิ, ชนเหล่่าใด, ไม่่รู้้�ทั่่�วถึึงซึ่่�งทุุกข์์, อะโถ ทุุกขััสสะ สััมภะวััง, ทั้้�งเหตุุเป็็นแดนเกิิดแห่่งทุุกข์์, ยััตถะ จะ สััพพะโส ทุุกขััง อะเสสััง อุุปะรุุชฌะติิ, ทั้้�งความทุุกข์์ย่่อมดัับไม่่เหลืือโดยประการทั้้�งปวง, ในเพราะมรรคใด, ตััญจะ มััคคััง นะ ชานัันติิ, ทั้้�งไม่่รู้้�ซึ่่�งมรรคนั้้�น, ทุุกขููปะสะมะคามิินััง, อัันเป็็นข้้อปฏิิบััติิให้้ถึึงซึ่่�งความสงบแห่่งทุุกข์์, เจโตวิิมุุตติิหีีนา เต, ชนเหล่่านั้้�น, เป็็นผู้้�เหิินห่่างจากเจโตวิิมุุตติิ, อะโถปััญญาวิิมุุตติิยา, ทั้้�งจากปััญญาวิิมุุตติิ, อะภััพพา เต อัันตะกิิริิยายะ, เขาเป็็นผู้้�ไม่่พอเพื่่�อจะทำำ�ที่่�สุุดแห่่งทุุกข์์ได้้, เต เว ชาติิชะรููปะคา, เขาต้้องเข้้าถึึงซึ่่�งชาติิและชราแน่่แท้้, เย จะ ทุุกขััง ปะชานัันติิ, ฝ่่ายชนเหล่่าใด, รู้้�ทั่่�วถึึงซึ่่�งทุุกข์์ได้้, อะโถ ทุุกขััสสะ สััมภะวััง, ทั้้�งเหตุุเป็็นแดนเกิิดแห่่งทุุกข์์, ยััตถะ จะ สััพพะโส ทุุกขััง อะเสสััง อุุปะรุุชฌะติิ, ทั้้�งความทุุกข์์ย่่อมดัับไม่่เหลืือโดยประการทั้้�งปวง, ในเพราะมรรคใด, ตััญจะ มััคคััง ปะชานัันติิ, ทั้้�งรู้้�ทั่่�วถึึงซึ่่�งมรรคนั้้�น, ทุุกขููปะสะมะคามิินััง, อัันเป็็นข้้อปฏิิบััติิให้้ถึึงซึ่่�งความสงบแห่่งทุุกข์์, เจโตวิิมุุตติิสััมปัันนา, ชนเหล่่านั้้�น,เป็็นผู้้�สมบููรณ์์ด้้วยเจโตวิิมุุตติิ, อะโถ ปััญญาวิิมุุตติิยา, ทั้้�งด้้วยปััญญาวิิมุุตติิ, ภััพพา เต อัันตะกิิริิยายะ, เขาเพีียงพอเพื่่�อจะทำำ�ที่่�สุุดแห่่งทุุกข์์ได้้, นะ เต ชาติิชะรููปะคาติิ, เขาไม่่ต้้องเข้้าถึึงซึ่่�งชาติิและชรา ฉะนี้้�แล ฯ ธุุ ปาเปน ทุุกฺฺกรํํ ความดีี อัันคนชั่่�วทำำ�ยาก
หนัังสืือทำำ�วััตร
53
สวดมนต์์แปล
พระคาถาธรรมบรรยาย สััพเพ สััตตา มะริิสสัันติิ, สััตว์์ทั้้�งหลายทั้้�งสิ้้�นจัักตาย, มะระณัันตััง หิิ ชีีวิิตััง, เพราะชีีวิิตมีีความตายเป็็นที่่�สุุด, ชะรัังปิิ ปััตวา มะระณััง, แม้้อยู่่�ได้้ถึึงชราก็็ต้้องตาย, เอวััง ธััมมา หิิ ปาณิิโน, เพราะสััตว์์ทั้้�งหลายมีีอย่่างนี้้� เป็็นธรรมดา, ยะมะกััง นามะรููปััญจะ, ก็็นามและรููปเป็็นคู่่�กััน, อุุโภ อััญโญญะนิิสสิิตา, ต่่างอาศััยกัันและกัันทั้้�งสอง, เอกััสมิิง ภิิชชะมานััสมิิง, เมื่่�อฝ่่ายหนึ่่�งแตกสลาย, อุุโภ ภิิชชัันติิ ปััจจะยา, ทั้้�งสองฝ่่ายอัันอาศััยกัันก็็ต้้องสลาย, ยะถาปิิ อััญญะตะรััง พีีชััง, เปรีียบเหมืือนพืืชชนิิดใด ชนิิดหนึ่่�ง, เขตเต วุุตตััง วิิรููหะติิ, ที่่�หว่่านลงในนาแล้้วย่่อมงอกได้้, ปะฐะวีีระสััญจะ อาคััมมะ, เพราะอาศััยรสแห่่งแผ่่นดิิน, สิิเนหััญจะ ตะทููภะยััง, และยางในพืืชเป็็นสองประการนั้้�น, เอวััง ขัันธา จะ ธาตุุโย, ฉะ จะ อายะตะนา อิิเม, ขัันธ์์ ๕ และธาตุุทั้้�งหลาย, ทั้้�งอายตนะ ๖ เหล่่านี้้�ก็็เหมืือนกััน, เหตุุง ปะฏิิจจะ สััมภููตา, อาศััยเหตุุจึึงเกิิดขึ้้�นได้้, เหตุุงภัังคา นิิรุุชฌะเร, เพราะเหตุุแตกสลายก็็ย่่อมดัับไป, ยะถา หิิ อัังคะสััมภารา, เปรีียบเหมืือนการคุุมสััมภาระเครื่่�องรถเข้้าได้้, โหติิ สััทโท ระโถ อิิติิ, เสีียงเรีียกว่่ารถก็็มีีได้้, เอวััง ขัันเธสุุ สัันเตสุุ, เมื่่�อขัันธ์์ ๕ ยัังมีีอยู่่�ก็็เหมืือนกััน, โหติิ สััตโตติิ สััมมะติิ, การสมมติิว่่าสััตว์์ก็็มีีได้้, อุุโภ ปุุญญััญจะ ปาปััญจะ ยััง มััจโจ กุุรุุเต อิิธะ, อัันผู้้�จะต้้องตาย, ทำำ�บุุญและบาปทั้้�งสองอย่่าง อย่่างใดไว้้ในโลกนี้้�,
หนัังสืือทำำ�วััตร
54
สวดมนต์์แปล
ตััญหิิ ตััสสะ สะกััง โหติิ, บุุญและบาปนั้้�น, คงเป็็นของของผู้้�นั้้�นแท้้, ตััญจะ อาทายะ คััจฉะติิ, ผู้้�นั้น้� , ก็็ต้้องรัับรองบุุญหรืือบาปนั้้�นไป, ตััญจััสสะ อะนุุคััง โหติิ, บุุญหรืือบาปนั้้�นก็็ย่่อมติิดตามผู้้�นั้้�นไป, ฉายาวะ อะนุุปายิินีี, เหมืือนเงาอัันติิดตามผู้้�นั้้�นไปฉะนั้้�น, สััทธายะ สีีเลน จะ โย ปะวััฑฒะติิ, ผู้้�ใด เจริิญด้้วยศรััทธาและศีีล, ปััญญายะ จาเคนะ สุุเตนะ จููภะยััง, และปััญญา การบริิจาค การสดัับศึึกษาทั้้�งสองฝ่่าย, โส ตาทิิโส สััปปุุริิโส วิิจัักขะโณ, ผู้้�นั้้�น เป็็นสััตบุุรุุษเฉีียบแหลมเช่่นนั้้�น, อาทีียะติิ สาระมิิเธวะ อััตตะโน, ย่่อมถืือไว้้ได้้ซึ่่�งสาระประโยชน์์ของตนในโลกนี้้�แท้้, อััชเชวะ กิิจจะมาตััปปััง, ควรรีีบทำำ�ความเพีียรในวัันนี้้�ทีีเดีียว, โก ชััญญา มะระณััง สุุเว, ใครจะรู้้�ได้้ว่่าความตายจะมีีในพรุ่่�งนี้้�, นะ หิิ โน สัังคะรัันเตนะ มะหาเสเนนะ มััจจุุนา, เราทั้้�งหลาย, จะผลััดเพี้้�ยนด้้วยมััจจุุราชผู้้�มีีเสนาใหญ่่นั้้�นไม่่ได้้เลย, เอวััมภููเตสุุเปยเตสุุ สาธุุ ตััตถาชฌุุเปกขะณา, เมื่่�อสัังขารเหล่่านั้้�นต้้องเป็็นอย่่างนี้้�แน่่แท้้แล้้ว, การวางอุุเบกขาในสัังขาร เหล่่านั้้�นได้้เป็็นดีี, อะปิิ เตสััง นิิโรธายะ ปะฏิิปััตยาติิสาธุุกา, อนึ่่�ง, การปฏิิบััติิเพื่่�อความสงบสัังขารเหล่่านั้้�นได้้, ก็็ยิ่่�งเป็็นความดีี, สััพพััง สััมปาทะนีียััญหิิ อััปปะมาเทนะ สััพพะทาติิ, กิิจทั้้�งสิ้้�นนี้้� ควรบำำ�เพ็็ญให้้บริิบููรณ์์ได้้, ด้้วยความไม่่ประมาท ในการ ทุุกเมื่่�อแล ฯ
หนัังสืือทำำ�วััตร
55
สวดมนต์์แปล
บทพิิจารณาสัังขาร
(หัันทะ มะยััง ธััมมะสัังเวคะปััจจะเวกขะณะปาฐััง ภะณามะ เส) สััพเพ สัังขารา อะนิิจจา สัังขารคืือร่่างกายจิิตใจ , แลรููปธรรมนามธรรมทั้้�งหมดทั้้�งสิ้้�น , มัันไม่่เที่่�ยง , เกิิดขึ้้�นแล้้วดัับไปมีีแล้้วหายไป สััพเพ สัังขารา ทุุกขา สัังขารคืือร่่างกายจิิตใจ , แลรููปธรรมนามธรรมทั้้�งหมดทั้้�งสิ้้�น , มัันเป็็นทุุกข์์ทนยาก เพราะเกิิดขึ้้�นแล้้วแก่่เจ็็บตายไป สััพเพ ธััมมา อะนััตตา สิ่่�งทั้้�งหลายทั้้�งปวง , ทั้้�งที่่�เป็็นสัังขารแลมิิใช่่สัังขารทั้้�งหมดทั้้�งสิ้้�น , ไม่่ใช่่ตััวไม่่ใช่่ตน ไม่่ควรถืือว่่าเราว่่าของเราว่่าตััวว่่าตนของเรา
มรณััสติิ (การระลึึกถึึงความตาย)
อััทธุุวััง ชีีวิิตััง, ชีีวิิตเป็็นของไม่่ยั่่�งยืืน ธุุวััง มะระณััง, ความตายเป็็นของยั่่�งยืืน อะวััสสััง มะยา มะริิตััพพััง, เราจะพึ่่�งตายเป็็นแน่่แท้้ มะระณะปะริิโยสาณััง เม ชีีวิิตััง, ชีีวิิตของเรามีีความตายเป็็นที่่�สุุดรอบ ชีีวิิตััง เม อะนิิยะตััง, ชีีวิิตของเราเป็็นของมัันไม่่เที่่�ยง มะระณััง เม นิิยะตััง, ความตายของเราเป็็นของเที่่�ยงแท้้ฯ วะตะ, ควรที่่�จะสัังเวช อะยััง กาโย อะจิิรััง, ร่่างกายนี้้�มิิได้้ตั้้�งอยู่่�นาน อะเปตะวิิญญาโณ, ครั้้�นปราศจากวิิญญาณ ฉุุฑโฑ, อัันเขาทิ้้�งเสีียแล้้ว อะธิิเสสสะติิ, จัักนอนทัับ ปะฐะวิิง, ซึ่่�งแผ่่นดิิน กะลิิงคะรััง อิิวะ, ประดุุจดัังว่่าท่่อนไม้้และท่่อนฟืืน หนัังสืือทำำ�วััตร
56
สวดมนต์์แปล
นิิรััตถััง, อะนิิจจา วะตะ สัังขารา, อุุปปาทะวะยะธััมมิิโน, อุุปปััชชิิตวา นิิรุุชฌัันติิ, เตสััง วููปะสะโม สุุโข,
หาประโยชน์์มิิได้้ สัังขารทั้้�งหลายไม่่เที่่�ยงหนอ มีีความเกิิดขึ้้�นแล้้ว มีีความเสื่่�อมไปเป็็นธรรมดา ครั้้�นเกิิดขึ้้�นแล้้วย่่อมดัับไป ความเข้้าไปสงบระงัับสัังขารทั้้ง� หลาย , เป็็นสุขุ อย่่างยิ่่ง�
อาตุุรกายภาวนา(การฝึึกอบรมจิิตในเมื่่�อร่่างกายป่่วยหนััก) อาตุุระกายััสสะ เม สะโต, เมื่่�อเรามีีกายอาดููรกระวนกระวาย อยู่่�ด้้วยทุุกขเวทนา จิิตตััง อะนาตุุรััง ภะวิิสสะติิ, จิิตของเราจัักไม่่อาดููรกระวนกระวายไปตามกาย ภิิทุุรายััง กาโย, กายนี้้�มัันจัักแตก วิิราคะธััมมััง วิิญญาณััง. วิิญญาณนี้้มัันจัักดัั � บ,เป็็นของไม่่เที่่ย� ง,ไม่่ใช่่ของเรา, ช่่างมััน
การสรรเสริิญคุุณพระรััตนตรััยโดยย่่อ
อะโห พุุทโธ, พระพุุทธเจ้้าเป็็นที่่�พึ่่�งของเรา, พระองค์์ตรััสรู้้�ดีี, เป็็นอััศจรรย์์น่่าเลื่่�อมใสจริิง, เพราะพระองค์์ตรััสรู้้�, ดัับเพลิิงกิิเลสเพลิิงทุุกข์์ของพระองค์์ได้้แล้้ว, ทรงสั่่�งสอนสััตว์์ ให้้รู้้�ตามเห็็นตาม, ดัังเพลิิงกิิเลสเพลิิงทุุกข์์ได้้ด้้วย. อะโห ธััมโม, พระธรรมเป็็นที่่พึ่� ง�่ ของเรา, ท่่านทรงคุุณเป็็นอััศจรรย์์น่า่ เลื่่อ� มใสจริิง, เพราะท่่าน ทรงคุุณ, คืือ ดัับเพลิิงกิิเลสเพลิิงทุุกข์์ของสััตว์์ผู้้�ปฏิิบััติิชอบ, ช่่วยให้้พ้้นจากทุุกข์์ภััย ทั้้�งสิ้้�นได้้, คืือ ศีีล สมาธิิ ปััญญา มรรค ผล นิิพพาน. อะโห สัังโฆ, พระสงฆ์์เป็็นที่่พึ่� ง�่ ของเรา, ท่่านปฏิิบััติดีิ ,ี เป็็นอััศจรรย์์น่า่ เลื่่อ� มใสจริิง, เพราะท่่านปฏิิบััติ,ิ ทำำ�ให้้บริิบููรณ์์ในศีีล สมาธิิ ปัญ ั ญา, บรรลุุมรรคผลทำำ�ให้้แจ้้งซึ่่ง� พระนิิพพาน, ดัับเพลิิงกิิเลส เพลิิงทุุกข์์ของตนได้้แล้้ว, สั่่�งสอนผู้้�อื่่�นให้้ปฏิิบััติิตาม, ดัับเพลิิงกิิเลสเพลิิงทุุกข์์ได้้ด้้วย. หนัังสืือทำำ�วััตร
57
สวดมนต์์แปล
อภิิณหปััจจเวกขณปาฐะ
(นำำ�) หัันทะ มะยััง อะภิิณหะปััจจะเวกขะณะปาฐััง ภะณามะ เส. ชะราธััมโมมหิิ ชะรััง อะนะ ตีีโต(ตา), เรามีีความแก่่เป็็นธรรมดา, ไม่่ล่่วงพ้้นความแก่่ไปได้้, พยาธิิธััมโมมหิิ พยาธิิง อะนะตีีโต(ตา), เรามีีความเจ็็บไข้้เป็็นธรรมดา, ไม่่ล่่วงพ้้นความเจ็็บไข้้ไปได้้, มะระณะธััมโมมหิิ มะระณััง อะนะตีีโต(ตา), เรามีีความตายเป็็นธรรมดา, ไม่่ล่่วงพ้้นความตายไปได้้ สััพเพหิิ เม ปิิเยหิิ มะนาเปหิิ นานาภาโว วิินาภาโว เราจัักต้้องพลััดพรากจากของรัักของชอบใจทั้้�งสิ้้�นไป, กััมมััสสะโกมหิิ, เราเป็็นผู้้�มีีกรรมเป็็นของ ๆ ตน, กััมมะทายาโท(ทายาทา), เป็็นผู้้�รัับผลของกรรม, กััมมะโยนิิ(โยนีี), เป็็นผู้้�มีีกรรมเป็็นกำำ�เนิิด, กััมมะพัันธุุ, เป็็นผู้้�มีีกรรมเป็็นเผ่่าพัันธุ์์�, กััมมะปะฏิิสะระโณ(สะระณา), เป็็นผู้้�มีีกรรมเป็็นที่่�พึ่่�งอาศััย, ยััง กััมมััง กะริิสสามิิ, เราจัักทำำ�กรรมอัันใดไว้้, กััลยาณััง วา ปาปะกััง วา, เป็็นบุุญหรืือเป็็นบาป, (ดีีหรืือชั่่�ว) ตััสสะ ทายาโท(ทายาทา) ภะวิิสสามิิ, เราจัักเป็็นทายาท, คืือว่่าจะต้้องได้้รัับผลของกรรมนั้้�นสืืบไป, เอวััง อััมเหหิิ อะภิิณหััง ปััจจะเวกขิิตััพพััง. เราทั้้�งหลายควรพิิจารณาอย่่างนี้้�เนืือง ๆ เถิิด.
หนัังสืือทำำ�วััตร
58
สวดมนต์์แปล
กายคตาสติิ
(นำำ�) หัันทะ มะยััง กายะคะตาสะติิ นะยััง กะโรมะ เส. อะยััง โข เม กาโย กายของเรานี้้�แล อุุทธัังปาทะตะลา เบื้้�องบนแต่่พื้้�นเท้้าขึ้้�นมา อะโธ เกสะมััตถะกา เบื้้�องต่ำำ��แต่่ปลายผมลงไป ตะจะ ปะริิยัันโต มีีหนัังหุ้้�มอยู่่�เป็็นที่่�สุุดรอบ ปููโรนานััปปะการััสสะ อะสุุจิโิ น เต็็มไปด้้วยของไม่่สะอาดมีีประการต่่าง ๆ อััตถิิ อิิมััสมิิง กาเย มีีอยู่่�ในกายนี้้� เกสา ผมทั้้�งหลาย โลมา ขนทั้้�งหลาย นะขา เล็็บทั้้�งหลาย ทัันตา ฟัันทั้้�งหลาย ตะโจ หนััง มัังสััง เนื้้�อ นะหารูู เอ็็นทั้้�งหลาย อััฏฐีี กระดููกทั้้�งหลาย อััฏฐิิมิิญชััง เยื่่�อในกระดููก วัักกััง ไต หะทะยััง หััวใจ ยะกะนััง ตัับ กิิโลมะกััง พัังผืืด ปิิหะกััง ม้้าม ปััปผาสััง ปอด อัันตััง ไส้้ใหญ่่ อัันตะคุุณััง ไส้้น้้อย อุุทธะริิยััง อาหารใหม กะรีีสััง อาหารเก่่า มััตถะเก มััตถะลุุงคััง เยื่่อ� มัันสมองในกะโหลกศีีรษะ ปิิตตััง น้ำำ��ดีี เสมหััง น้ำำ��เสลด ปุุพโพ น้ำำ��หนอง โลหิิตััง น้ำำ��เลืือด เสโท น้ำำ��เหงื่่�อ เมโท น้ำำ��มัันข้้น อััสสุุ น้ำำ��ตา วะสา น้ำำ��มัันเหลว ขโฬ น้ำำ��ลาย สิิงฆานิิกา น้ำำ��มููก ละสิิกา น้ำำ��ไขข้้อ มุุตตััง น้ำำ��มููตร เอวะมะยััง เม กาโย กายของเรานี้้�มีีอย่่างนี้้� อุุทธััง ปาทะตะลา เบื้้�องบนแต่่พื้้�นเท้้าขึ้้�นมา อะโธ เกสะมััตถะกา เบื้้�องต่ำำ��แต่่ปลายผมลงไป ตะจะ ปะริิยัันโต มีีหนัังหุ้้�มอยู่่�เป็็นที่่�สุุดรอบ ปููโรนานััปปะการััสสะ อะสุุจิโิ น เต็็มไปด้้วยของไม่่สะอาดมีีประการต่่าง ๆ อย่่างนี้้�แล.
หนัังสืือทำำ�วััตร
59
สวดมนต์์แปล
สััพพปััตติิทานคาถา
(นำำ�) หัันทะ มะยััง สััพพะปััตติิทานะคาถาโย ภะณามะ เส. ปุุญญััสสิิทานิิ กะตััสสะ ยานััญญานิิ กะตานิิ เม, เตสััญจะ ภาคิิโน โหนตุุ สััตตานัันตาปปะมาณะกา, สััตว์์ทั้้�งหลาย ไม่่มีีที่่�สุุด ไม่่มีีประมาณ, จงเป็็นผู้้�มีีส่่วนแห่่งบุุญที่่�ข้้าพเจ้้า ได้้ทำำ�ในบััดนี้้�, และแห่่งบุุญอื่่�นที่่�ได้้ทำำ�ไว้้ก่่อนแล้้ว เย ปิิยา คุุณะวัันตา จะ มััยหััง มาตาปิิตาทะโย, ทิิฏฐา เม จาป๎๎ยะทิิฏฐา วา อััญเญ มััชฌััตตะเวริิโน, คืือจะเป็็นสััตว์์เหล่่าใด, ซึ่่�งเป็็นที่่�รัักใคร่่และมีีบุุญคุุณ เช่่นมารดาบิิดาของ ข้้าพเจ้า้ เป็็นต้้น ก็ดี็ ,ี ที่่�ข้้าพเจ้า้ เห็็นแล้้วหรืือไม่่ได้้เห็็น ก็ดี็ ,ี สััตว์์เหล่่าอื่่นที่่ � เ� ป็็นกลาง ๆ , หรืือเป็็นคู่่�เวรกััน ก็็ดีี สััตตา ติิฏฐัันติิ โลกััสมิิง เต ภุุมมา จะตุุโยนิิกา, ปััญเจกะจะตุุโวการา สัังสะรัันตา ภะวาภะเว, สััตว์์ทั้ง�้ หลาย ตั้้ง� อยู่่�ในโลก, อยู่่�ในภููมิิทั้ง�้ สาม, อยู่่�ในกำำ�เนิิดทั้้ง� สี่่,� มีีขัันธ์ห้้์ าขัันธ์์ มีีขัันธ์์ ขัันธ์์เดีียว มีีขัันธ์์สี่่�ขัันธ์์, กำำ�ลัังท่่องเที่่�ยวอยู่่�ในภพน้้อยภพใหญ่่ ก็็ดีี ญาตััง เย ปััตติิทานััมเม อะนุุโมทัันตุุ เต สะยััง, เย จิิมััง นััปปะชานัันติิ เทวา เตสััง นิิเวทะยุุง, สััตว์์เหล่่าใด รู้้ส่� วนบุ ่ ญ ุ ที่่ข้้� าพเจ้า้ แผ่่ให้้แล้้ว, สััตว์์เหล่่านั้้น จ � งอนุุโมทนาเองเถิิด, ส่่วนสััตว์์เหล่่าใด ยัังไม่่รู้้�ส่่วนบุุญนี้้�, ขอเทวดาทั้้�งหลายจงบอกสััตว์์เหล่่านั้้�นให้้รู้้� มะยา ทิินนานะ ปุุญญานััง อะนุุโมทะนะเหตุุนา, สััพเพ สััตตา สะทา โหนตุุ อะเวรา สุุขะชีีวิิโน, เขมััปปะทััญจะ ปััปโปนตุุ เตสาสา สิิชฌะตััง สุุภา. เพราะเหตุุที่่ไ� ด้้อนุุโมทนาส่่วนบุญ ุ ที่่�ข้้าพเจ้้าแผ่่ให้้แล้้ว, สััตว์์ทั้ง�้ หลายทั้้ง� ปวง, จงเป็็นผู้้�ไม่่มีีเวร อยู่่�เป็็นสุุขทุุกเมื่่�อ, จนถึึงบทอัันเกษม กล่่าวคืือพระนิิพพาน, ความปรารถนาที่่�ดีีงามของสััตว์์เหล่่านั้้�น จงสำำ�เร็็จเถิิด. หนัังสืือทำำ�วััตร
60
สวดมนต์์แปล
ปััจฉิิมพุุทโธวาทปาฐะ
( หัันทะ มะยััง ปััจฉิิมะพุุทโธวาทะปาฐััง ภะณามะ เส ฯ) หัันทะทานิิ ภิิกขะเว อามัันตะยามิิ โว ดููก่่อนภิิกษุุทั้้�งหลาย บััดนี้้�, เราขอเตืือนเธอทั้้�งหลายว่่า วะยะธััมมา สัังขารา สัังขารทั้้�งหลาย, มีีความเสื่่�อมไปเป็็นธรรมดา อััปปะมาเทนะ สััมปาเทถะ เธอทั้้�งหลาย, จงยัังกิิจทั้้�งปวงให้้ถึึงพร้้อมด้้วยความไม่่ประมาทเถิิด อะยััง ตะถาคะตััสสะ ปััจฉิิมา วาจา นี้้�เป็็นวาจาครั้้�งสุุดท้้ายของตถาคต ฯ
สพฺฺพทานํํ ธมฺฺมทานํํ ชิินาติิ. การให้้ธรรมะ ย่่อมชนะการให้้ทั้้�งปวง
หนัังสืือทำำ�วััตร
61
สวดมนต์์แปล
บทสวดมนต์์พิเิ ศษ
หนัังสืือทำำ�วััตร
62
สวดมนต์์แปล
ภาค ๔ บทสวดมนต์์พิิเศษ ชุุมนุุมเทวดา
(สวดสิิบสอง ตำำ�นานใช้้) สะมัันตา จัักกะวาเฬสุุ สััทธััมมััง มุุนิิราชััสสะ
อััตรา คััจฉัันตุุ เทวะตา สุุณัันตุุ สััคคะโมกขะทััง ฯ
(สวดเจ็็ดตำำ�นาน) สะรััชชััง สะเสนััง สะพัันธุุง นะริินทััง ปะริิตตานุุภาโว สะทา รัักขะตููติิ ผะริิต๎๎วานะ เมตตััง สะเมตตา ภะทัันตา อะวิิกขิิตตะจิิตตา ปะริิตตััง ภะณัันตุุ สััคเค กาเม จะ รููเป คิิริิสิิขะระตะเฏ จัันตะลิิกเข วิิมาเน ทีีเป รััฏเฐ จะ คาเม ตะรุุวะนะคะหะเน เคหะวััตถุุมหิิ เขตเต ภุุมมา จายัันตุุ เทวา ชะละถะละวิิสะเม ยัักขะคัันธััพพะนาคา ติิฏฐัันตา สัันติิเก ยััง มุุนิิวะระวะจะนััง สาธะโว เม สุุณัันตุุ ฯ ธััมมััสสะวะนะกาโล อะยััมภะทัันตา ธััมมััสสะวะนะกาโล อะยััมภะทัันตา ธััมมััสสะวะนะกาโล อะยััมภะทัันตา ฯ
ปุุพพภาคนมการ
(นำำ�) หัันทะ มะยััง พุุทธััสสะ ภะคะวะโต ปุุพพะภาคะนะมะการััง กะโรมะ เส. นะโม ตััสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สััมมาสััมพุุทธััสสะ ( ๓ หน )
หนัังสืือทำำ�วััตร
63
สวดมนต์์แปล
สรณคมนปาฐ
(นำำ�) หัันทะ มะยััง ติิสะระณะคะมะนะปาฐััง ภะณามะ เส. พุุทธััง สะระณััง คััจฉามิิ ธััมมััง สะระณััง คััจฉามิิ สัังฆััง สะระณััง คััจฉามิิ ทุุติิยััมปิิ พุุทธััง สะระณััง คััจฉามิิ ทุุติิยััมปิิ ธััมมััง สะระณััง คััจฉามิิ ทุุติิยััมปิิ สัังฆััง สะระณััง คััจฉามิิ ตะติิยััมปิิ พุุทธััง สะระณััง คััจฉามิิ ตะติิยััมปิิ ธััมมััง สะระณััง คััจฉามิิ ตะติิยััมปิิ สัังฆััง สะระณััง คััจฉาม
นะมะการะสิิทธิิคาถา
สััมพุุทเธ อััฏฐะวีีสััญจะ ปััญจะสะตะสะหััสสานิิ เตสััง ธััมมััญจะ สัังฆััญจะ นะมะการานุุภาเวนะ อะเนกา อัันตะรายาปิิ สััมพุุทเธ ปััญจะปััญญาสััญจะ ทะสะสะตะสะหััสสานิิ เตสััง ธััมมััญจะ สัังฆััญจะ นะมะการานุุภาเวนะ อะเนกา อัันตะรายาปิิ สััมพุุทเธ นะวุุตตะระสะเต วีีสะติิสะตะสะหััสสานิิ เตสััง ธััมมััญจะ สัังฆััญจะ นะมะการานุุภาเวนะ อะเนกา อัันตะรายาปิิ หนัังสืือทำำ�วััตร
64
ทวาทะสััญจะ สะหััสสะเก นะมามิิ สิิระสา อะหััง อาทะเรนะ นะมามิิหััง หัันตวา สััพเพ อุุปััททะเว วิินััสสัันตุุ อะเสสะโต ฯ จะตุุวีีสะติิสะหััสสะเก นะมามิิ สิิระสา อะหััง อาทะเรนะ นะมามิิหััง หัันตวา สััพเพ อุุปััททะเว วิินััสสัันตุุ อะเสสะโต ฯ อััฏฐะจััตตาฬสะสะหััสสะเก นะมามิิ สิิระสา อะหััง อาทะเรนะ นะมามิิหััง หัันตวา สััพเพ อุุปััททะเว วิินััสสัันตุุ อะเสสะโต ฯ สวดมนต์์แปล
นะโมการะอััฏฐะกะ นะโม อะระหะโต สััมมา สััมพุุทธััสสะ มะเหสิิโน นะโม อุุตตะมะธััมมััสสะ สวากขาตััสเสวะ เตนิิธะ นะโม มะหาสัังฆััสสาปิิ วิิสุุทธะสีีละทิิฏฐิิโน นะโม โอมาตยารััทธััสสะ ระตะนััตตะยััสสะ สาธุุกััง นะโม โอมะกาตีี ตััสสะ ตััสสะวััตถุุตตะยััสสะปิิ นะโมการััปปะภาเวนะ วิิคััจฉัันตุุ อุุปััททะวา นะโม การานุุภาเวนะ สุุวััตถิิ โหตุุ สััพพะทา นะโม การััสสะ เตเชนะ วิิธิิมหิิ โหมิิ เตชะวา ฯ
มัังคะละสุุตตััง เอวััมเม สุุตััง เอกััง สะมะยััง ภะคะวา สาวััตถิิยััง วิิหะระติิ เชตะวะเน อะนาถะปิิณฑิิกััสสะ อาราเม อะถะ โข อััญญะตะรา เทวะตา อะภิิกกัันตายะ รััตติิยา,อะภิิกกัันตะวััณณา เกวะละกััปปััง เชตะวะนััง โอภาเสตวา เยนะ ภะคะวา เตนุุปะสัังกะมิิ อุุปะสัังกะมิิตวา ภะคะวัันตััง อะภิิวาเทตวา เอกะมัันตััง อััฏฐาสิิ เอกะมัันตััง ฐิิตา โข สา เทวะตา, ภะคะวัันตััง คาถายะ อััชฌะภาสิิ พะหูู เทวา มะนุุสสาจะ มัังคะลานิิ อะจิินตะยุุง, อากัังขะมานา โสตถานััง พรููหิิ มัังคะละมุุตตะมััง อะเสวะนา จะ พาลานััง ปััณฑิิตานััญจะ เสวะนา ปููชา จะ ปููชะนีียานััง เอตััมมัังคะละมุุตตะมััง ฯ ปะฏิิรููปะเทสะวาโส จะ ปุุพเพ จะ กะตะปุุญญะตา อััตตะสััมมาปะณิิธิิ จะ เอตััมมัังคะละมุุตตะมััง ฯ พาหุุสััจจััญจะ สิิปปััญจะ วิินะโย จะ สุุสิิกขิิโต สุุภาสิิตา จะ ยา วาจา เอตััมมัังคะละมุุตตะมััง ฯ มาตาปิิตุุอุุปััฏฐานััง ปุุตตะทารััสสะ สัังคะโห อะนากลา จะ กััมมัันตา เอตััมมัังคะละมุุตตะมััง ฯ หนัังสืือทำำ�วััตร
65
สวดมนต์์แปล
ทานััญจะ ธััมมะจะริิยา จะ ญาตะกานััญจะ สัังคะโห อะนะวััชชานิิ กััมมานิิ เอตััมมัังตะละมุุตตะมััง ฯ อาระตีี วิิระตีี ปาปา มััชชะปานา จะ สััญญะโม อััปปะมาโท จะ ธััมเมสุุ เอตััมมัังคะละมุุตตะมััง ฯ คาระโว จะ นิิวาโต จะ สัันตุุฏฐีี จะ กะตััญญุุตา กาเลนะ ธััมมััสสะวะนััง เอตััมมัังคะละมุุตตะมััง ฯ ขัันตีี จะ โสวะจััสสะตา สะมะณานััญจะ ทััสสะนััง กาเลนะ ธััมมะสากััจฉา เอตััมมัังคะละมุุตตะมััง ฯ ตะโป จะ พรััห๎๎มะจะริิยััญจะ อะริิยะสััจจานะ ทััสสะนััง นิิพพานะสััจฉิิกิิริิยา จะ เอตััมมัังคะละมุุตตะมััง ฯ ผุุฏฐััสสะ โลกะธััมเมหิิ จิิตตััง ยััสสะ นะ กััมปะติิ อะโสกััง วิิระชััง เขมััง เอตััมมัังคะละมุุตตะมััง ฯ เอตาทิิสานิิ กััตวานะ สััพพััตถะมะปะราชิิตา สััพพััตถะ โสตถิิง คััจฉัันติิ ตัันเตสััง มัังคะละมุุตตะมัันติิ ฯ
ระตะนะสุุตตััง ยานีีธะ ภููตานิิ สะมาคะตานิิ ภุุมมานิิ วา ยานิิวะ อัันตะลิิกเข สััพเพวะ ภููตา สุุมะนา ภะวัันตุุ อะโถปิิ สัักกััจจะ สุุณัันตุุ ภาสิิตััง ตััสมา หิิ ภููตา นิิสาเมถะ สััพเพ เมตตััง กะโรถะ มานุุสิิยา ปะชายะ ทิิวา จะ รััตโต จะ หะรัันติิ เย พะลิิง ตััสมา หิิ เน รัักขะถะ อััปปะมััตตา ฯ ยัังกิิญจิิ วิิตตััง อิิธะ วา หุุรััง วา สััคเคสุุ วา ยััง ระตะนััง ปะณีีตััง นะ โน สะมััง อััตถิิ ตะถาคะเตนะ อิิทััมปิิ พุุทเธ ระตะนััง ปะณีีตััง เอเตนะ สััจเจนะ สุุวััตถิิ โหตุุ ฯ ขะยััง วิิราคััง อะมะตััง ปะณีีตััง ยะทััชฌะคา สัักยะมุุนีี สะมาหิิโต นะ เตนะ ธััมเมนะ สะมััตถิิ กิิญจิิ อิิทััมปิิ ธััมเม ระตะนััง ปะณีีตััง เอเตนะ สััจเจนะ สุุวััตถิิ โหตุุ ฯ ยััมพุุทธะเสฏโฐ ปะริิวััณณะยีีสุุจิิง สะมาธิิมานัันตะริิกััญญะมาหุุ หนัังสืือทำำ�วััตร
66
สวดมนต์์แปล
สะมาธิินา เตนะ สะโม นะ วิิชชะติิ อิิทััมปิิ ธััมเม ระตะนััง ปะณีีตััง เย ปุุคคะลา อััฏฐะ สะตััง ปะสััฏฐา เต ทัักขิิเณยยา สุุคะตััสสะ สาวะกา อิิทััมปิิ สัังเฆ ระตะนััง ปะณีีตััง เย สุุปปะยุุตตา มะนะสา ทััฬเหนะ เต ปััตติิปััตตา อะมะตััง วิิคััยหะ อิิทััมปิิ สัังเฆ ระตะนััง ปะณีีตััง ยะถิินทะขีีโล ปะถะวิิง สิิโต สิิยา ตะถููปะมััง สััปปุุริิสััง วะทามิิ อิิทััมปิิ สัังเฆ ระตะนััง ปะณีีตััง เย อะริิยะสััจจานิิ วิิภาวะยัันติิ กิิญจาปิิ เต โหติิ ภุุสััปปะมััตตา อิิทััมปิิ สัังเฆ ระตะนััง ปะณีีตััง สะหาวััสสะ ทััสสะนะสััมปะทายะ สัักกายะทิิฏฐิิ วิิจิิกิิจฉิิตััญจะ จะตููหะปาเยหิิ จะวิิปปะมุุตโต อิิทััมปิิ สัังเฆ ระตะนััง ปะณีีตััง กิิญจาปิิ โส กััมมััง กะโรติิ ปาปะกััง อะภััพโพ โสตััสสะ ปะฏิิฐฉะทายะ อิิทััมปิิ สัังเฆ ระตะนััง ปะณีีตััง วะนััปปะคุุมเพ ยะถา ผุุสสิิตััคเค ตะถููปะมััง ธััมมะวะรััง อะเทสะยิิ อิิทััมปิิ พุุทเธ ระตะนััง ปะณีีตััง วะโร วะรััญญูู วะระโท วะราหะโร อิิทััมปิิ พุุทเธ ระตะนััง ปะณีีตััง ขีีณััง ปุุราณััง นะวััง นััตถิิ สััมภะวััง หนัังสืือทำำ�วััตร
67
เอเตนะ สััจเจนะ สุุวััตถิิ โหตุุ ฯ จััตตาริิ เอตานิิ ยุุคานิิ โหนติิ เอเตสุุ ทิินนานิิ มะหััปผะลานิิ เอเตนะ สััจเจนะ สุุวััตถิิ โหตุุ ฯ นิิกกามิิโน โคตะมะสาสะนััมหิิ ลััทธา มุุธา นิิพพุุติิง ภุุญชะมานา เอเตนะ สััจเจนะ สุุวััตถิิ โหตุุ ฯ จะตุุพภิิ วาเตภิิ อะสััมปะกััมปิิโย โย อะริิยะสััจจานิิ อะเวจจะ ปััสสะติิ เอเตนะ สััจเจนะ สุุวััตถิิ โหตุุ ฯ คััมภีีระปััญเญนะ สุุเทสิิตานิิ นะ เต ภะวััง อััฏฐะมะมาทิิยัันติิ เอเตนะ สััจเจนะ สุุวััตถิิ โหตุุ ฯ ตะยััสสุุ ธััมมาชะหิิตา ภะวัันติิ สีีลััพพะตััง วาปิิ ยะทััตถิิกิิญจิิ ฉะจาภิิฐานานิิ อะภััพโพ กาตุุง เอเตนะ สััจเจนะ สุุวััตถิิ โหตุุ ฯ กาเยนะ วาจายุุทะ เจตะสา วา อะภััพพะตา ทิิฏฐะปะทััสสะ วุุตตา เอเตนะ สััจเจนะ สุุวััตถิิ โหตุุ ฯ คิิมหานะมาเส ปะฐะมััสมิิง คิิมเห นิิพพานะคามิิง ปะระมััง หิิตายะ เอเตนะ สััจเจนะ สุุวััตถิิ โหตุุ ฯ อะนุุตตะโร ธััมมะวะรััง อะเทสะยิิ เอเตนะ สััจเจนะ สุุวััตถิิ โหตุุ ฯ วิิรััตตะจิิตตายะติิเก ภะวััสมิิง สวดมนต์์แปล
เต ขีีระพีีชา อะวิิรุุฬหิิฉัันทา อิิทััมปิิ สัังเฆ ระตะนััง ปะณีีตััง ยานีีธะ ภููตานิิ สะมาคะตานิิ ตะถาคะตััง เทวะมะนุุสสะ ปููชิิตััง ยานีีธะ ภููตานิิ สะมา คะตานิิ ตะถาคะตััง เทวะมะนุุสสะ ปููชิิตััง ยานีีธะ ภููตานิิ สะมาคะตานิิ ตะถาคะตััง เทวะมะนุุสสะปููชิิตััง
นิิพพัันติิ ธีีรา ยะถายััมปะทีีโป เอเตนะ สััจเจนะ สุุวััตถิิ โหตุุ ฯ ภุุมมานิิ วา ยานิิวา อัันตะลิิกเข พุุทธััง นะมััสสามะ สุุวััตถิิ โหตุุ ฯ ภุุมมานิิ วา ยานิิวะ อัันตะลิิกเข ธััมมััง นะมััสสามะ สุุวััตถิิ โหตุุ ฯ ภุุมมานิิ วา ยานิิวะ อัันตะลิิกเข สัังฆััง นะมััสสามะ สุุวััตถิิ โหตุุ ฯ
กะระณีียะเมตตะสุุตตััง
กะระณีียะมััตถะกุุสะเลนะ ยัันตััง สัันตััง ปะทััง อะภิิสะเมจจะ สัักโก อุุชูู จะ สุุหุุชูู จะ สุุวะโจ จััสสะ มุุทุุ อะนะติิมานีี สัันตุุสสะโก จะ สุุภะโร จะ อััปปะกิิจโจ จะ สััลละหุุกะวุุตติิ สัันติินทริิโย จะ นิิปะโก จะ อััปปะคััพโภ กุุเลสุุ อะนะนุุคิิทโธ นะ จะ ขุุททััง สะมาจะเร กิิญจิิ เยนะ วิิญญูู ปะเร อุุปะวะเทยยุุง สุุขิิโน วา เขมิิโน โหนตุุ สััพเพ สััตตา ภะวัันตุุ สุุขิิตััตตา เย เกจิิ ปาณะภููตััตถิิ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา ทีีฆา วา เย มะหัันตา วา มััชฌิิมา รััสสะกา อะณุุกะถููลา ทิิฏฐา วาเย จะ อะทิิฏฐา เย จะ ทููเร วะสัันติิ อะวิิทููเร ภููตา วา สััมภะเวสีี วา สััพเพ สััตตา ภะวัันตุุ สุุขิิตััตตา นะ ปะโร ปะรััง นิิกุุพเพถะ นาติิมััญเญถะ กััตถะจิิ นััง กิิญจิิ พยาโรสะนา ปะฏีีฆะสััญญา นาญญะมััญญััสสะ ทุุกขะมิิจเฉยยะ มาตา ยะถา นิิยััง ปุุตตััง อายุุสา เอกะปุุตตะมะนุุรัักเข เอวััมปิิ สััพพะภููเตสุุ มานะสััมภาวะเย อะปะริิมาณััง เมตตััญจะ สััพพะโลกััสมิิง มานะสััมภาวะเย อะปะริิมาณััง อุุทธััง อะโธ จะ ติิริิยััญจะ อะสััมพาธััง อะเวรััง อะสะปััตตััง ติิฏฐััญจะรััง นิิสิินโน วา สะยาโน วา ยาวะตััสสะ วิิคะตะมิิทโธ เอตััง สะติิง อะธิิฏเฐยยะ พรััหมะเมตััง วิิหารััง อิิธะมาหุุ ทิิฏฐิิญจะ อะนุุปะคััมมะ สีีละวา ทััสสะเนนะ สััมปัันโน กาเมสุุวิิเนยยะ เคธััง นะหิิ ชาตุุ คััพภะเสยยััง ปุุนะเรตีีติิ ฯ หนัังสืือทำำ�วััตร
68
สวดมนต์์แปล
ขัันธะปะริิตตััง วิิรููปัักเขหิิ เม เมตตััง เมตตััง เอราปะเถหิิ เม ฉััพยาปุุตเตหิิ เม เมตตััง เมตตััง กััณหาโคตะมะเกหิิ จะ อะปาทะเกหิิ เม เมตตััง เมตตััง ทิิปาทะเกหิิ เม จะตุุปปะเทหิิ เม เมตตััง เมตตััง พะหุุปปะเทหิิ เม มา มััง อะปาทะโก หิิงสิิ มา มััง หิิงสิิ ทิิปาทะโก มา มััง จะตุุปปะโท หิิงสิิ มา มััง หิิงสิิ พะหุุปปะโท สััพเพ สััตตา สััพเพ ปาณา สััพเพ ภููตา จะ เกวะลา สััพเพ ภััทรานิิ ปััสสัันตุุ มา กิิญจิิ ปาปะมาคะมา อััปปะมาโณ พุุทโธ, อััปปะมาโณ ธััมโม, อััปปะมาโณ สัังโฆ, ปะมาณะวัันตานิิ สิิริงิ สะปานิิ, อะหิิ วิจฉิ ิ กิ า สะตะปะทีี อุณ ุ ณานาภีี สะระภูู มููสิิกา, กะตา เม รัักขา กะตา เม ปะริิตตา, ปะฏิิกกะมัันตุุ ภููตานิิ, โสหังั นะโม ภะคะวะโต, นะโม สัันตัันนััง สััมมาสััมพุุทธานัังฯ
โมระปะริิตตััง อุุเทตะยััญจัักขุุมา เอกะราชา หะริิสสะวััณโณ ปะฐะวิิปปะภาโส ตััง ตััง นะมััสสามิิ หะริิสสะวััณณััง ปะฐะวิิปปะภาสััง ตะยััชชะ คุุตตา วิิหะเรมุุ ทิิวะสััง เย พราหมะณา เวทะคุุ สััพพะธััมเม เต เม นะโม เต จะมััง ปาละยัันตุุ นะมััตถุุ พุุทธานััง นะมััตถุุ โพธิิยา นะโม วิิมุุตตานััง นะโม วิิมุุตติิยา อิิมััง โส ปะริิตตััง กััตวา โมโร จะระติิ เอสะนาฯ อะเปตะยััญจัักขุุมา เอกะราชา หะริิสสะวััณโณ ปะฐะวิิปปะภาโส ตััง ตััง นะมััสสามิิ หะริิสสะวััณณััง ปะฐะวิิปปะภาสััง ตะยััชชะ คุุตตา วิิหะเรมุุ รััตติิง เย พราหมะณา เวทะคุุ สััพพะธััมเม เต เม นะโม เต จะมััง ปาละยัันตุุ นะมััตถุุ พุุทธานััง นะมััตถุุ โพธิิยา นะโม วิิมุุตตานััง นะโม วิิมุุตติิยา อิิมััง โส ปะริิตตััง กััตวา โมโร วา สะมะกััปปะยีีติิฯ หนัังสืือทำำ�วััตร
69
สวดมนต์์แปล
วััฏฏะกะปะริิตตััง อััตถิิ โลเก สีีละคุุโณ สััจจััง โสเจยยะนุุททะยา เตนะ สััจเจนะ กาหามิิ สััจจะกิิริิยะมะนุุตตะรััง อาวััชชิิตวา ธััมมะพะลััง สะริิตวา ปุุพพะเก ชิิเน สััจจะพะละมะวััสสายะ สััจจะกิิริิยะมะกาสะหััง สัันติิ ปัักขา อะปััตตะนา สัันติิ ปาทา อะวััญจะนา มาตา ปิิตา จะ นิิกขัันตา ชาตะเวทะ ปะฏิิกกะมะ สะหะ สััจเจ กะเต มััยหััง มะหาปััชชะลิิโต สิิขีี วััชเชสิิ โสฬะสะ กะรีีสานิิ อุุทะกััง ปััตวา ยะถา สิิขีี สััจเจนะ เม สะโม นััตถิิ เอสา เม สััจจะปาระมีีติิฯ
ธะชััคคะสุุตตััง อิิติิปิิ โส ภะคะวา อะระหััง สััมมาสััมพุุทโธ, วิิชชาจะระณะสััมปัันโน สุุคะโต โลกะวิิทูู, อะนุุตตะโร ปุุริสิ ะทััมมะสาระถิิ สััตถา เทวะมะนุุสสานััง พุุทโธ ภะคะวาติิ, มะมััง หิิ โวภิิกขะเว อะนุุสสะระตััง, ยััมภะวิิสสะติิ ภะยััง วา ฉััมภิิตััตตััง วา โลมะหังั โส วา, โส ปะหิิยยิิสสะติิ โน เจ มััง อะนุุสสะเรยยาถะ, อะถะ ธััมมััง อะนุุสสะเรยยาถะ สวากขาโต ภะคะวะตา ธััมโม, สัันทิิฏฐิโิ ก อะกาลิิโก เอหิิปัสั สิิโก, โอปะนะยิิโก ปััจจััตตััง เวทิิตััพโพ วิิญญููหีีติิ, ธััมมััง หิิโว ภิิกขะเว อะนุุสสะระตััง, ยััมภะวิิสสะติิ ภะยััง วา ฉััมภิิตััตตััง วา โลมะหังั โส วา, โส ปะหิิยยิิสสะติิ โน เจ ธััมมััง อะนุุสสะเรยยาถะ, อะถะ สัังฆััง อะนุุสสะเรยยาถะ สุุปะฏิิปันั โน ภะคะวะโต สาวะกะสัังโฆ, อุุชุปุ ะฏิิปันั โน ภะคะวะโต สาวะกะสัังโฆ, ญายะปะฏิิปันั โน ภะคะวะโต สาวะกะสัังโฆ, สามีีจิปิ ะฏิิปันั โน ภะคะวะโต สาวะกะสัังโฆ, ยะทิิทััง จััตตาริิ ปุริุ สิ ะยุุคานิิ อััฏฐะ ปุุริสิ ะปุุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสัังโฆ, อาหุุเนยโย ปาหุุเนยโย ทัักขิิเณยโย อััญชะลิิกะระณีีโย, อะนุุตตะรััง ปุุญญัักเขตตััง โลกััสสาติิ, หนัังสืือทำำ�วััตร
70
สวดมนต์์แปล
อาฏานาฏิิยะปะริิตตััง วิิปััสสิิสสะ นะมััตถุุ จัักขุุมัันตััสสะ สิิรีีมะโต สิิขิิสสะปิิ นะมััตถุุ สััพพะภููตานุุกััมปิิโน เวสสะภุุสสะ นะมััตถุุ นหาตะกััสสะ ตะปััสสิิโน นะมััตถุุ กะกุุสัันธััสสะ มาระเสนััปปะมััททิิโน โกนาคะมะนััสสะ นะมััตถุุ พราหมะณััสสะ วุุสีีมะโต กััสสะปััสสะ นะมััตถุุ วิิปปะมุุตตััสสะ สััพพะธิิ อัังคีีระสััสสะ นะมััตถุุ สัักยะปุุตตััสสะ สิิรีีมะโต โย อิิมััง ธััมมะมะเทเสสิิ สััพพะทุุกขาปะนููทะนััง เย จาปิิ นิิพพุุตา โลเก ยะถาภููตััง วิิปััสสิิสุุง เต ชะนา อะปิิสุุณา มะหัันตา วีีตะสาระทา หิิตััง เทวะมะนุุสสานััง ยััง นะมััสสัันติิ โคตะมััง วิิชชาจะระณะสััมปัันนััง มะหัันตััง วีีตะสาระทััง ฯ (วิิชชาจะระณะสััมปัันนััง พุุทธััง วัันทามะ โคตะมัันติิ) นััตถิิ เม สะระณััง อััญญััง พุุทโธ เม สะระณััง วะรััง เอเตนะ สััจจะวััชเชนะ โหตุุ เต ชะยะมัังคะลััง นััตถิิ เม สะระณััง อััญญััง ธััมโม เม สะระณััง วะรััง เอเตนะ สััจจะวััชเชนะ โหตุุ เต ชะยะมัังคะลััง นััตถิิ เม สะระณััง อััญญััง สัังโฆ เม สะระณััง วะรััง เอเตนะ สััจจะวััชเชนะ โหตุุ เต ชะยะมัังคะลััง ฯ
หนัังสืือทำำ�วััตร
71
สวดมนต์์แปล
ยัังกิิญจิิ ระตะนััง โลเก วิิชชะติิ วิิวิิธััง ปุุถุุ ระตะนััง พุุทธะสะมััง นััตถิิ ตััสมา โสตถีี ภะวัันตุุ เต ยัังกิิญจิิ ระตะนััง โลเก วิิชชะติิ วิิวิิธััง ปุุถุุ ระตะนััง ธััมมะสะมััง นััตถิิ ตััสมา โสตถีี ภะวัันตุุ เต ยัังกิิญจิิ ระตะนััง โลเก วิิชชะติิ วิิวิิธััง ปุุถุุระตะนััง สัังฆะสะมััง นััตถิิ ตััสมา โสตถีี ภะวัันตุุ เต ฯ สัักกััตวา พุุทธะระตะนััง โอสะถััง อุุตตะมััง วะรััง หิิตััง เทวะมะนุุสสานััง พุุทธะเตเชนะ โสตถิินา นััสสัันตุุปััททะวา สััพเพ ทุุกขา วููปะสะเมนตุุ เต สัักกััตวา ธััมมะระตะนััง โอสะถััง อุุตตะมััง วะรััง ปะริิฬาหููปะสะมะนััง ธััมมะเตเชนะ โสตถิินา นััสสัันตุุปััททะวา สััพเพ ภะยา วููปะสะเมนตุุ เต สัักกััตวา สัังฆะระตะนััง โอสะถััง อุุตตะมัังวะรััง อาหุุเนยยััง ปาหุุเนยยััง สัังฆะเตเชนะ โสตถิินา นััสสัันตุุปััททะวา สััพเพ โรคา วููปะสะเมนตุุ เต
อัังคุุลิิมาละปะริิตตััง ยะโตหััง ภะคิินิิ อะริิยายะ ชาติิยา ชาโต, นาภิิชานามิิ สััญจิิจจะ ปาณััง ชีีวิิตา โวโรเปตาฯ เตนะ สััจเจนะ โสตถิิ เต โหตุุ โสตถิิ คััพภััสสะ ฯ ยะโตหััง ภะคิินิิ อะริิยายะ ชาติิยา ชาโต, นาภิิชานามิิ สััญจิิจจะ ปาณััง ชีีวิิตา โวโรเปตาฯ เตนะ สััจเจนะ โสตถิิ เต โหตุุ โสตถิิ คััพภััสสะ ฯ ยะโตหััง ภะคิินิิ อะริิยายะ ชาติิยา ชาโต, นาภิิชานามิิ สััญจิิจจะ ปาณััง ชีีวิิตา โวโรเปตาฯ เตนะ สััจเจนะ โสตถิิ เต โหตุุ โสตถิิ คััพภััสสะ ฯ หนัังสืือทำำ�วััตร
72
สวดมนต์์แปล
โพชฌัังคะปะริิตตััง โพชฌัังโค สะติิสัังขาโต วิิริิยััมปีีติิ ปััสสััทธิิ- สะมาธุุเปกขะโพชฌัังคา มุุนิินา สััมมะทัักขาตา สัังวััตตัันติิ อะภิิญญายะ เอเตนะ สััจจะวััชเชนะ เอกััสมิิง สะมะเย นาโถ คิิลาเน ทุุกขิิเต ทิิสวา เต จะ ตััง อะภิินัันทิิตวา เอเตนะ สััจจะวััชเชนะ เอกะทา ธััมมะราชาปิิ จุุนทััตเถเรนะ ตััญเญวะ สััมโมทิิตวา จะ อาพาธา เอเตนะ สััจจะวััชเชนะ ปะหีีนา เต จะ อาพาธา มััคคาหะตะกิิเลสา วะ เอเตนะ สััจจะวััชเชนะ
ธััมมานััง วิิจะโย ตะถา โพชฌัังคา จะ ตะถาปะเร สััตเตเต สััพพะทััสสิินา ภาวิิตา พะหุุลีีกะตา นิิพพานายะ จะ โพธิิยา โสตถิิ เต โหตุุ สััพพะทา ฯ โมคคััลลานััญจะ กััสสะปััง โพชฌัังเค สััตตะ เทสะยิิ โรคา มุุจจิิงสุุ ตัังขะเณ โสตถิิ เต โหตุุ สััพพะทาฯ เคลััญเญนาภิิปีีฬิิโต ภะณาเปตวานะ สาทะรััง ตััมหา วุุฏฐาสิิ ฐานะโส โสตถิิ เต โหตุุ สััพพะทา ฯ ติิณณัันนััมปิิ มะเหสิินััง ปััตตานุุปปััตติิธััมมะตััง โสตถิิ เต โหตุุ สััพพะทา ฯ
อะภะยะปะริิตตััง ยัันทุุนนิิมิิตตััง อะวะมัังคะลััญจะ ปาปััคคะโห ทุุสสุุปิินััง อะกัันตััง ยัันทุุนนิิมิิตตััง อะวะมััง คะลััญจะ ปาปััคคะโห ทุุสสุุปิินััง อะกัันตััง ยัันทุุนนิิมิิตตััง อะวะมัังคะลััญจะ ปาปััคคะโห ทุุสสุุปิินััง อะกัันตััง หนัังสืือทำำ�วััตร
โย จามะนาโป สะกุุณััสสะ สััทโท พุุทธานุุภาเวนะ วิินาสะเมนตุุ ฯ โย จามะนาโป สะกุุณััสสะ สััทโท ธััมมานุุภาเวนะ วิินาสะเมนตุุ ฯ โย จามะนาโป สะกุุณััสสะ สััทโท สัังฆานุุภาเวนะ วิินาสะเมนตุุ ฯ 73
สวดมนต์์แปล
เทวะตาอุุยโยชะนะคาถา ทุุกขััปปััตตา จะ นิิททุุกขา ภะยััปปััตตา จะ นิิพภะยา โสกััปปััตตา จะ นิิสโสกา โหนตุุ สััพเพปิิ ปาณิิโน เอตตาวะตา จะ อััมเหหิิ สััมภะตััง ปุุญญะสััมปะทััง สััพเพ เทวานุุโมทัันตุุ สััพพะสััมปััตติิสิิทธิิยา ทานััง ทะทัันตุุ สััทธายะ สีีลััง รัักขัันตุุ สััพพะทา ภาวะนาภิิระตา โหนตุุ คััจฉัันตุุ เทวะตาคะตา ฯ สััพเพ พุุทธา พะลััปปััตตา ปััจเจกานััญจะ ยััง พะลััง อะระหัันตานััญจะ เตเชนะ รัักขััง พัันธามิิ สััพพะโส ฯ
ชยปริิตร (มหาการุุณิิโก) มหาการุุณิิโก นาโถ หิิตายะ สััพพะปาณิินััง ปููเรตวา ปาระมีี สััพพา ปััตโต สััมโพธิิมุุตตะมััง เอเตนะ สััจจะวััชเชนะ โหตุุ เต ชะยะมัังคะลััง ฯ ชะยัันโต โพธิิยา มููเล สัักยานััง นัันทิิวััฑฒะโน เอวััง ตวััง วิิชะโย โหหิิ ชะยััสสุุ ชะยะมัังคะเล อะปะราชิิตะปััลลัังเก สีีเส ปะฐะวิิโปกขะเร อะภิิเสเก สััพพะพุุทธานััง อััคคััปปััตโต ปะโมทะติิ ฯ สุุนัักขััตตััง สุุมัังคะลััง สุุปะภาตััง สุุหุุฏฐิิตััง สุุกขะโณ สุุมุุหุุตโต จะ สุุยิิฏฐััง พรััหมะจารีีสุุ ปะทัักขิิณััง กายะกััมมััง วาจากััมมััง ปะทัักขิิณััง ปะทัักขิิณััง มะโนกััมมััง ปะณิิธีี เต ปะทัักขิิณา ปะทัักขิิณานิิ กััตวานะ ละภัันตััตเถ ปะทัักขิิเณ ฯ
หนัังสืือทำำ�วััตร
74
สวดมนต์์แปล
บทสวด โส อััตถะลััทโธ โส อััตถะลััทโธ สุุขิิโต วิิรุุฬโห พุุทธะสาสะเน อะโรโค สุุขิิโต โหหิิ สะหะ สััพเพหิิ ญาติิภิิ สา อััตถะลััทธา สุุขิิตา วิิรุุฬหา พุุทธะสาสะเน อะโรคา สุุขิิตา โหหิิ สะหะ สััพเพหิิ ญาติิภิิ เต อััตถะลััทธา สุุขิิตา วิิรุุฬหา พุุทธะสาสะเน อะโรคา สุุขิิตา โหถะ สะหะ สััพเพหิิ ญาติิภิิ ฯ
สััพพมงคลคาถา ภะวะตุุ สััพพะมัังคะลััง รัักขัันตุุ สััพพะเทวะตา สััพพะพุุทธานุุภาเวนะ สะทา โสตถีี ภะวัันตุุ เต ภะวะตุุ สััพพะมัังคะลััง รัักขัันตุุ สััพพะเทวะตา สััพพะธััมมานุุภาเวนะ สะทา โสตถีี ภะวัันตุุ เต ภะวะตุุ สััพพะมัังคะลััง รัักขัันตุุ สััพพะเทวะตา สััพพะสัังฆานุุภาเวนะ สะทา โสตถีี ภะวัันตุุ เต ฯ
บทขััดธััมมจัักกััปปวััตตนสููตร อะนุุตตะรััง อะภิิสััมโพธิิง สััมพุุชฌิิตวา ตะถาคะโต ปะฐะมััง ยััง อะเทเสสิิ ธััมมะจัักกััง อะนุุตตะรััง สััมมะเทวะ ปะวััตเตนโต โลเก อััปปะฏิิวััตติิยััง ยััตถากขาตา อุุโภ อัันตา ปะฎิิปััตติิ จะ มััชฌิิมา จะตููสวาริิยะสััจเจสุุ วิิสุุทธััง ญาณะทััสสะนััง เทสิิตััง ธััมมะราเชนะ สััมมาสััมโพธิิกิิตตะนััง นาเมนะ วิิสสุุตััง สุุตตััง ธััมมะจัักกััปปะวััตตะนััง เวยยากะระณะปาเฐนะ สัังคีีตัันตััมภะฌามะ เส ฯ หนัังสืือทำำ�วััตร
75
สวดมนต์์แปล
ธััมมะจัักกััปปะวััตตะนะสุุตตััง เอวััมเม สุุตััง ฯ เอกััง สะมะยััง ภะคะวา พาราณะสิิยััง วิิหะระติิ อิิสิปิ ะตะเน มิิคะทาเย ฯ ตััต๎๎ระ โข ภะคะวา ปััญจะวััคคิิเย ภิิกขูู อามัันเตสิิ ฯ เท๎๎วเม ภิิกขะเว อัันตา ปััพพะชิิเตนะ นะ เสวิิตััพพา โย จายััง กาเมสุุ กามะสุุขััล ลิิกานุุโยโค หีีโน คััมโม โปถุุชชะนิิโก อะนะริิโย อะนััตถะ สััญหิิโต โย จายััง อััตตะกิิละ มะถานุุโยโค ทุุกโข อะนะริิโย อะนััตถะสััญหิิโต ฯ เอเต เต ภิิกขะเว อุุโภ อัันเต อะนุุปะคััมมะ มััชฌิิมา ปะฏิิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิิสััมพุุทธา จัักขุุกะระณีี ญาณะกะระณีี อุปุ ะสะมายะ อะภิิญญายะ สััมโพธายะ นิิพพานายะ สัังวััตตะติิ ฯ กะตะมา จะ สา ภิิกขะเว มััชฌิิมา ปะฏิิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิิสััมพุุทธา จัักขุุกะระณีี ญาณะกะระณีี อุุปะสะมายะ อะภิิญญายะ สััมโพธายะ นิิพพานายะ สัังวััตตะติิ ฯ อะยะเมวะ อะริิโย อััฏฐัังคิิโก มััคโค ฯ เสยยะถีีทััง ฯ สััมมาทิิฏฐิิ สััมมาสัังกััปโป สััมมาวาจา สััมมากััมมัันโต สััมมาอาชีีโว สััมมาวายาโม สััมมาสะติิ สััมมาสะมาธิิ ฯ อะยััง โข สา ภิิกขะเว มััชฌิิมา ปะฏิิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิิสััมพุุทธา จัักขุุกะระณีี ญาณะกะระณีี อุุปะสะมายะ อะภิิญญายะ สััมโพธายะ นิิพพานายะ สัังวััตตะติิ ฯ อิิทััง โข ปะนะ ภิิกขะเว ทุุกขััง อะริิยะสััจจััง ฯ ชาติิปิิ ทุุกขา ชะราปิิ ทุุกขา มะระณััมปิิ ทุุกขััง โสกะปะริิเทวะทุุกขะโทมะนััสสุุปายาสาปิิ ทุุกขา อััปปิิเยหิิ สััมปะโยโค ทุุกโข ปิิเยหิิ วิิปปะโยโค ทุุกโข ยััมปิิจฉััง นะ ละภะติิ ตััมปิิ ทุุกขััง สัังขิิตเตนะ ปััญจุุปาทานัักขัันธา ทุุกขา ฯ อิิทััง โข ปะนะ ภิิกขะเว ทุุกขะสะมุุทะโย อะริิยะสััจจััง ฯ ยายััง ตััณหา โปโนพภะวิิกา นัันทิิราคะสะหะคะตา ตััต๎๎ระ ตััต๎๎ราภิินัันทินีิ ี ฯ เสยยะถีีทััง ฯ กามะตััณหา ภะวะตััณหา วิิภะวะตััณหา ฯ อิิทััง โข ปะนะ ภิิกขะเว ทุุกขะนิิโรโธ อะริิยะสััจจััง ฯ โย ตััสสาเยวะ ตััณหายะ อะเสสะวิิราคะนิิโรโธ จาโค ปะฏิินิิสสััคโคมุุตติิ อะนาละโย ฯ อิิทััง โข ปะนะ ภิิกขะเว ทุุกขะนิิโรธะคามิินี ป ี ะฏิิปะทา อะริิยะสััจจััง ฯ หนัังสืือทำำ�วััตร
76
สวดมนต์์แปล
อะยะเมวะ อะริิโย อััฏฐัังคิิโก มััคโค ฯ เสยยะถีีทััง ฯ สััมมาทิิฏฐิิ สััมมาสัังกััปโป สััมมาวาจา สััมมากััมมัันโต สััมมาอาชีีโว สััมมาวายาโม สััมมาสะติิ สััมมาสะมาธิิ ฯ อิิทััง ทุุกขััง อะริิยะสััจจัันติิ เม ภิิกขะเว ปุุพเพ อะนะนุุสสุุเตสุุธััมเมสุุ จัักขุุง อุุทะปาทิิ ญาณััง อุุทะปาทิิ ปััญญา อุุทะปาทิิ วิิชชา อุุทะปาทิิ อาโลโก อุุทะปาทิิ ฯ ตััง โข ปะนิิทััง ทุุกขััง อะริิยะสััจจััง ปะริิญเญยยัันติิ เม ภิิกขะเว ปุุพเพ อะนะนุุส สุุเตสุุ ธััมเมสุุ จัักขุุง อุุทะปาทิิ ญาณััง อุุทะปาทิิ ปััญญา อุุทะปาทิิ วิิชชา อุุทะปาทิิ อาโลโก อุุทะปาทิิ ฯ ตััง โข ปะนิิทััง ทุุกขััง อะริิยะสััจจััง ปะริิญญาตัันติิ เม ภิิกขะเว ปุุพเพ อะนะนุุสสุุ เตสุุ ธััมเมสุุ จัักขุุง อุุทะปาทิิ ญาณััง อุุทะปาทิิ ปััญญา อุุทะปาทิิ วิิชชา อุุทะปาทิิ อาโลโก อุุทะปาทิิ ฯ อิิทััง ทุุกขะสะมุุทะโย อะริิยะสััจจัันติิ เม ภิิกขะเว ปุุพเพ อะนะนุุสสุุเตสุุ ธััมเมสุุ จัักขุุง อุุทะปาทิิ ญาณััง อุุทะปาทิิ ปัญ ั ญา อุุทะปาทิิ วิชช ิ า อุุทะปาทิิ อาโลโก อุุทะปาทิิ ฯ ตััง โข ปะนิิทััง ทุุกขะสะมุุทะโย อะริิยะสััจจััง ปะหาตััพพัันติิเม ภิิกขะเว ปุุพเพ อะนะนุุสสุุเตสุุ ธััมเมสุุ จัักขุุง อุุทะปาทิิ ญาณััง อุุทะปาทิิ ปััญญา อุุทะปาทิิ วิิชชา อุุทะปาทิิ อาโลโก อุุทะปาทิิ ฯ ตััง โข ปะนิิทััง ทุุกขะสะมุุทะโย อะริิยะสััจจััง ปะหีีนัันติิ เม ภิิกขะเว ปุุพเพ อะนะ นุุสสุุเตสุุ ธััมเมสุุ จัักขุุง อุุทะปาทิิ ญาณััง อุุทะปาทิิ ปััญญา อุุทะปาทิิ วิชช ิ า อุุทะปาทิิ อาโลโก อุุทะปาทิิ ฯ อิิทััง ทุุกขะนิิโรโธ อะริิยะสััจจัันติิ เม ภิิกขะเว ปุุพเพ อะนะนุุสสุุเตสุุ ธััมเมสุุ จัักขุงุ อุุทะปาทิิ ญาณััง อุุทะปาทิิ ปััญญา อุุทะปาทิิ วิิชชา อุุทะปาทิิ อาโลโก อุุทะปาทิิ ฯ ตััง โข ปะนิิทััง ทุุกขะนิิโรโธ อะริิยะสััจจััง สััจฉิิกาตััพพัันติิ เม ภิิกขะเว ปุุพเพ อะนะ นุุสสุุเตสุุ ธััมเมสุุ จัักขุุง อุุทะปาทิิ ญาณััง อุุทะปาทิิ ปััญญา อุุทะปาทิิ วิชช ิ า อุุทะปาทิิ อาโลโก อุุทะปาทิิ ฯ ตััง โข ปะนิิทััง ทุุกขะนิิโรโธ อะริิยะสััจจััง สััจฉิิกะตัันติิ เม ภิิกขะเว ปุุพเพ อะนะ นุุสสุุเตสุุ ธััมเมสุุ จัักขุุง อุุทะปาทิิ ญาณััง อุุทะปาทิิ ปััญญา อุุทะปาทิิ วิชช ิ า อุุทะปาทิิ อาโลโก อุุทะปาทิิ ฯ หนัังสืือทำำ�วััตร
77
สวดมนต์์แปล
อิิทััง ทุุกขะนิิโรธะคามิินี ป ี ะฏิิปะทา อะริิยะสััจจัันติิ เม ภิิกขะเว ปุุพเพ อะนะนุุสสุุเตสุุ ธััมเมสุุ จัักขุุ ง อุุ ท ะปาทิิ ญาณััง อุุ ท ะปาทิิ ปัั ญ ญา อุุ ท ะปาทิิ วิิ ชช า อุุ ท ะปาทิิ อาโลโก อุุทะปาทิิ ฯ ตััง โขปะนิิทััง ทุุกขะนิิโรธะคามิินี ป ี ะฏิิปะทา อะริิยะสััจจัังภาเวตััพพัันติิ เม ภิิกขะเว ปุุพเพ อะนะนุุสสุุเตสุุ ธััมเมสุุ จัักขุุง อุุทะปาทิิ ญาณััง อุุทะปาทิิ ปััญญา อุุทะปาทิิ วิิชชา อุุทะปาทิิ อาโลโก อุุทะปาทิิ ฯ ตััง โข ปะนิิทััง ทุุกขะนิิโรธะคามิินีี ปะฏิิปะทา อะริิยะสััจจัังภาวิิตัันติิ เม ภิิกขะเว ปุุพเพ อะนะนุุสสุุเตสุุ ธััมเมสุุ จัักขุุง อุุทะปาทิิ ญาณััง อุุทะปาทิิ ปััญญา อุุทะปาทิิ วิิชชา อุุทะปาทิิ อาโลโก อุุทะปาทิิ ฯ ยาวะกีีวััญจะ เม ภิิกขะเว อิิเมสุุ จะตููสุุ อะริิยะสััจเจสุุ เอวัันติิปะริิวััฏฏััง ท๎๎วาทะสาการััง ยะถาภููตััง ญาณะทััสสะนััง นะ สุุวิิสุุทธััง อะโหสิิ ฯ เนวะ ตาวาหััง ภิิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพ๎๎รััห๎๎มะเก สััสสะมะณะพ๎๎ ราห๎๎มะณิิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุุสสายะ อะนุุตตะรััง สััมมาสััมโพธิิง อะภิิสััมพุุทโธ ปััจจััญญาสิิงฯ ยะโต จะ โข เม ภิิกขะเว อิิเมสุุ จะตููสุุ อะริิยะสััจเจสุุ เอวัันติิปะริิวััฏฏััง ท๎๎วาทะสาการััง ยะถาภููตััง ญาณะทััสสะนััง สุุวิิสุุทธััง อะโหสิิ ฯ อะถาหังั ภิิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพ๎๎รััห๎ม๎ ะเก สััสสะมะณะพ๎๎ราห๎๎มะณิิยา ปะชายา สะเทวะมะนุุสสายะ อะนุุตตะรัังสััมมาสััมโพธิิง อะภิิสััมพุทุ โธ ปััจจััญญาสิิง ฯ ญาณััญจะ ปะนะ เม ทััสสะนััง อุุทะปาทิิ อะกุุปปา เมวิิมุุตติิ อะยะมัันติิมา ชาติิ นััตถิิทานิิ ปุุนััพภะโวติิ ฯ อิิทะมะโวจะ ภะคะวา ฯ อััตตะมะนา ปััญจะวััคคิิยา ภิิกขูู ภะคะวะโต ภาสิิตััง อะภิินัันทุุง ฯ อิิมััส๎๎มิิญจะ ปะนะ เวยยากะระณััส๎๎มิิง ภััญญะมาเน อายััส๎๎มะโต โกณฑััญญััสสะ วิิระชััง วีีตะมะลััง ธััมมะจัักขุุง อุุทะปาทิิ ยัังกิิญจิิ สะมุุทะยะธััมมััง สััพพัันตััง นิิโรธะธััมมัันติิ ฯ
หนัังสืือทำำ�วััตร
78
สวดมนต์์แปล
ปะวััตติิเต จะ ภะคะวะตา ธััมมะจัักเก ภุุมมา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง เอตััม ภะคะวะตา พาราณะสิิยััง อิิสิิปะตะเน มิิคะทาเย อะนุุตตะรััง ธััมมะจัักกััง ปะวััตติิตััง อััปปะฏิิวััตติิยััง สะมะเณนะ วา พ๎๎ราห๎๎มะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พ๎๎รััห๎๎มุุนา วาเกนะจิิ วา โลกััส๎๎มิินติิ ฯ ภุุมมานััง เทวานััง สััททััง สุุต๎๎วา จาตุุมมะหาราชิิกา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ จาตุุมมะหาราชิิกานััง เทวานััง สััททััง สุุต๎ว๎ า ตาวะติิงสา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ ตาวะติิงสานััง เทวานััง สััททััง สุุต๎๎วา ยามา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ ยามานััง เทวานััง สััททััง สุุต๎๎วา ตุุสิิตา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ ตุุสิิตานััง เทวานััง สััททััง สุุต๎๎วา นิิมมานะระตีี เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ นิิมมานะระตีีนััง เทวานััง สััททััง สุุต๎ว๎ า ปะระนิิมมิิตะวะสะวััตตีี เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ ปะระนิิมมิิตะวะสะวััตตีีนััง เทวานััง สััททััง สุุต๎๎วา (เมื่่อ� จะสวดย่่อเพีียงสวรรค์์ ๖ ชั้้น � ครั้้น� สวดมาถึึงตรงนี้้�แล้้วสวด พ๎๎รััห๎ม๎ ะกายิิกา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง แล้้วลง เอตััมภะคะวะตา พาราณะสิิยััง อิิสิปิ ะตะเน มิิคะทาเย ฯลฯ เหมืือนกัันไปจนจบ) พ๎๎รััห๎ม๎ ะปาริิสััชชา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ พ๎๎รััห๎ม๎ ะปาริิสััชชานััง เทวานััง สััททััง สุุต๎ว๎ า พ๎๎รััห๎ม๎ ะปะโรหิิตา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ พ๎๎รััห๎ม๎ ะปะโรหิิตานััง เทวานััง สััททััง สุุต๎ว๎ า มะหาพ๎๎รััห๎๎มา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ มะหาพ๎๎รััห๎๎มานััง เทวานััง สััททััง สุุต๎๎วา ปะริิตตาภา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ ปะริิตตาภานััง เทวานััง สััททััง สุุต๎๎วา อััปปะมาณาภา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ อััปปะมาณาภานััง เทวานััง สััททััง สุุต๎๎วา อาภััสสะรา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ อาภััสสะรานััง เทวานััง สััททััง สุุต๎๎วา ปะริิตตะสุุภา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ ปะริิตตะสุุภานัังเทวานััง สััททััง สุุต๎ว๎ า อััปปะมาณะสุุภา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ อััปปะมาณะสุุภานััง เทวานััง สััททััง สุุต๎๎วา สุุภะกิิณ๎๎หะกา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ สุุภะกิิณ๎๎หะกานััง เทวานััง สััททััง สุุต๎๎วา ( อะสััญญิิสััตตา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง อะสััญญิิสััตตานััง เทวานััง สััททััง สุุต๎๎วา) เวหััปผะลา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ เวหััปผะลานััง เทวานััง สััททััง สุุต๎๎วา อะวิิหา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ อะวิิหานััง เทวานััง สััททััง สุุต๎๎วา หนัังสืือทำำ�วััตร
79
สวดมนต์์แปล
อะตััปปา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ อะตััปปานััง เทวานััง สััททััง สุุต๎๎วา สุุทััสสา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ สุุทััสสานััง เทวานััง สััททััง สุุต๎๎วา สุุทััสสีี เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ สุุทััสสีีนััง เทวานััง สััททััง สุุต๎๎วา อะกะนิิฏฐะกา เทวา สััททะมะนุุสสาเวสุุง ฯ เอตััมภะคะวะตา พาราณะสิิยััง อิิสิปิ ะตะเน มิิคะทาเย อะนุุตตะรััง ธััมมะจัักกััง ปะวััตติิตััง อััปปะฏิิวััตติิยััง สะมะเณนะ วา พ๎๎ราห๎๎มะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พ๎๎รััห๎๎มุุนา วา เกนะจิิ วา โลกััส๎๎มิินติิ ฯ อิิติหิ ะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุุหุตุ เตนะ ยาวะ พ๎๎รััห๎ม๎ ะโลกา สััทโท อััพภุุคคััจฉิิ ฯ อะยััญจะ ทะสะสะหััสสีี โลกะธาตุุ สัังกััมปิิสััมปะกััมปิิ สััมปะเวธิิ ฯ อััปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส โลเกปาตุุระโหสิิ อะติิกกััมเมวะ เทวานััง เทวานุุภาวััง ฯ อะถะโข ภะคะวา อุุทานััง อุุทาเนสิิ อััญญาสิิ วะตะ โภ โกณฑััญโญ อััญญาสิิ วะตะ โภ โกณฑััญโญติิ ฯ อิิติิหิิทััง อายััส๎๎มะโต โกณฑััญญััสสะ อััญญาโกณฑััญโญ เต๎๎ววะ นามััง อะโหสีีติิ ฯ
พระอภิิธรรม พระสัังคณีี
กุุสะลา ธััมมา อะกุุสะลา ธััมมา อััพยากะตา ธััมมาฯ กะตะเม ธััมมา กุุสะลาฯ ยััสมิิง สะมะเย กามาวะจะรััง กุุสะลััง จิิตตััง อุุปปัันนััง โหติิ, โสมะนััสสะสะหะคะตััง ญาณะสััมปะยุุตตััง, รููปารััมมะณััง วา สััททารััมมะณััง วา, คัันธารััมมะณััง วา ระสารััมมะณััง วา, โผฎฐััพพารััมมะณััง วา ธััมมารััมมะณััง วา, ยััง ยััง วา ปะนะรััพภะ ตััสมิิง สะมะเย ผััสโส โหติิ อะวิิกเขโป โหติิ, เย วา ปะนะ ตััสมิิง สะมะเย อััญเญปิิ อััตถิิ ปะฏิิจจะสะมุุปปัันนา, อะรููปิิโน ธััมมา, อิิเม ธััมมา กุุสะลาฯ
หนัังสืือทำำ�วััตร
80
สวดมนต์์แปล
พระวิิภัังค์์
ปััญจัักขัันธา, รููปัักขัันโธ, เวทนากขัันโธ, สััญญากขัันโธ, สัังขารัักขัันโธ, วิิญญาณัักขัันโธฯ ตััตถะ กะตะโม รููปัักขัันโธฯ ยัังกิิญจิิ รููปััง อะตีีตานาคะตะ ปััจจุุปปัันนััง, อััชฌััตตััง วา พหิิทธา วา, โอฬาริิกััง วา สุุขุุมััง วา, หีีนััง วา ปณีีตััง วา, ยััง ทููเร วา สัันติิเก วา, ตะเทกััชฌััง อะภิิสััญญููหิิตวา อะภิิสัังขิิปิิตวา, อะยััง วุุจ จะติิ รููปัักขัันโธฯ
พระธาตุุกะถา
สัังคะโห อะสัังคะโหฯ สัังคะหิิเตนะ อสัังคะหิิตััง, อะสัังคะหิิเตนะ สัังคะหิิตััง, สัังคะหิิเตนะ สัังคะหิิตััง, อะสัังคะหิิเตนะ อะสัังคะหิิตััง, สััมปะโยโค วิิปปะโยโค, สััมปะยุุตเตนะ วิิปปะยุุตตััง, วิิปปะยุุตเตนะ สััมปะยุุตตััง, อะสัังคะหิิตัังฯ
พระปุุคคะละปััญญััตติิ ฉะ ปััญญััตติิโย, ขัันธะปััญญััตติิ, อายะตะนะปััญญััตติิ, ธาตุุปััญญััตติิ, สััจจะปััญญััตติิ, อิินทริิยะปััญญััตติิ, ปุุคคะละปััญญััตติิฯ กิิตตาวะตา ปุุคคะลานััง ปุุคคะละปััญญััตติิฯ สะมะยะวิิมุตุ โต อะสะมะยะวิิมุตุ โต, กุุปปะธััมโม อะกุุปปะธััมโม, ปะริิหานะธััมโม อะปะริิหานะธััมโม, เจตะนาภััพโพ อะนุุรัักขะนาภััพโพ, ปุุถุุชชะโน โคตระภูู, ภะยููปะระโต อะภะยููปะระโต, ภััพพาคะมะโน อะภััพพาคะมะโน, นิิยะโต อะนิิยะโต, ปฏิิปัันนะโก ผะเล ฐิิโต, อะระหา อะระหััตตายะ ปะฏิิปัันโนฯ
พระกะถาวััตถุุ
ปุุคคะโล อุุปะลััพภะติิ, สััจฉิิกััตถะปะระมััตเถนาติิ, อามัันตาฯ โย สััจฉิิกััต โถ ปะระมััตโถ ตะโต โส ปุุคคะโล อุุปะลััพภะติิ, สััจฉิิกััตถะปะระมััตเถนาติิฯ นะ เหวััง วััตตััพเพฯ อาชานาหิิ นิคิ คะหังั หัญ ั จิิ, ปุุคคะโล อุุปะลััพภะติิ, สััจฉิิกััตถะปะระ มััตเถนะ, เตนะ วะตะ เร วััตตััพเพ, โย สััจฉิิกััตโถ ปะระมััตโถ, ตะโต โส ปุุคคะโล อุุปะลััพภะติิ สััจฉิิกััตถะปะระมััตเถนาติิฯ มิิจฉาฯ หนัังสืือทำำ�วััตร
81
สวดมนต์์แปล
พระยะมะกะ
เย เกจิิ กุุสะลา ธััมมา, สััพเพ เต กุุสะละมููลาฯ เย วา ปะนะ กุุสะละมููลา สััพเพ เต ธััมมา กุุสะลาฯ เย เกจิิ กุุสะลา ธััมมา สััพเพ เต กุุสะละมููเลนะ เอกะมููลาฯ เย วา ปะนะ กุุสะละมููเลนะ เอกะมููลา สััพเพ เต ธััมมา กุุสะลาฯ
พระมหาปััฏฐาน เหตุุปััจจะโย, อารััมมะณะปััจจะโย, อะธิิปะติิปััจจะโย, อะนัันตะระปััจจะโย, สะมะนัันตะระปััจจะโย, สะหะชาตะปััจจะโย, อััญญะมััญญะปััจจะโย, นิิสสะยะปััจจะโย, อุุปะนิิสสะยะปััจจะโย, ปุุเรชาตะปััจจะโย, ปััจฉาชาตะปััจจะโย, อาเสวะนะปััจจะโย, กััมมะปััจจะโย, วิิปากะปััจจะโย, อาหาระปััจจะโย, อิินทริยิ ะปััจจะโย, ฌานะปััจจะโย, มััคคะปััจจะโย, สััมปะยุุตตะปััจจะโย, วิิปปะยุุตตะปััจจะโย, อััตถิิปัจจ ั ะโย, นััตถิิปัจจ ั ะโย, วิิคะตะปััจจะโย, อะวิิคะตะปััจจะโยฯ
บัังสุุกุุลตาย
อะนิิจจา วะตะ สัังขารา อุุปปาทะวะยะธััมมิิโน อุุปปััชชิิตวา นิิรุุชฌัันติิ เตสััง วููปะสะโม สุุโขฯ สััพเพ สััตตา มะรัันติิ จะ มะริิงสุุ จะ มะริิสสะเร ตะเถวาหััง มะริิสสามิิ นััตถิิ เม เอตถะ สัังสะโย
บัังสุุกุุลเป็็น
อะจิิรััง วะตะยััง กาโย ปะฐะวิิง อะธิิเสสสะติิ ฉุุฑโฑ อะเปตะวิิญญาโณ นิิรััตถัังวะ กะลิิงคะรััง ฯ
สุุวิิชาโน ภวํํ โหติิ. ผู้้�รู้้�ดีี เป็็นผู้้�เจริิญ หนัังสืือทำำ�วััตร
82
สวดมนต์์แปล
ธััมมะสัังคิิณีีมาติิกา กุุสะลา ธััมมา, อะกุุสะลา ธััมมา, อััพยากะตา ธััมมา ฯ สุุขายะ เวทะนายะ สััมปะยุุตตา ธััมมา, ทุุกขายะ เวทะนายะ สััมปะยุุตตา ธััมมา, อะทุุกขะมะสุุขายะ เวทะนายะ สััมปะยุุตตา ธััมมา ฯ วิิปากา ธััมมา, วิิปากะธััมมะธััมมา, เนวะวิิปากะนะวิิปากะธััมมะธััมมาฯ อุุปาทิินนุปุ าทานิิยา ธััมมา,อะนุุปาทิินนุปุ าทานิิยา ธััมมา,อะนุุปาทิินนานุุปาทานิิยา ธััมมา ฯ สัังกิิลิฏิ ฐะสัังกิิเลสิิกา ธััมมา, อะสัังกิิลิฏิ ฐะสัังกิิเลสิิกา ธััมมา, อะสัังกิิลิฏิ ฐะสัังกิิเลสิิกา ธััมมา ฯ สะวิิตัักกะสะวิิจารา ธััมมา, อะวิิตัักกะวิิจาระมััตตา ธััมมา, อะวิิตัักกาวิิจารา ธััมมา ฯ ปีีติิสะหะคะตา ธััมมา, สุุขะสะหะคะตา ธััมมา, อุุเปกขาสะหะคะตา ธััมมา ฯ ทััสสะเนนะ ปะหาตััพพา ธััมมา, ภาวะนายะ ปะหาตััพพา ธััมมา, เนวะทััสสะเนนะ นะภาวะนายะ ปะหาตััพพา ธััมมา ฯ ทััสสะเนนะ ปะหาตััพพะเหตุุกา ธััมมา, ภาวะนายะ ปะหาตััพพะเหตุุกา ธััมมา, เนวะทััส สะเนนะ นะภาวะนายะ ปะหาตััพพะเหตุุกา ธััมมา ฯ อาจะยะคามิิโน ธััมมา, อะปะจะยะคามิิโน ธััมมา, เนวาจะยะคามิิโน นาปะจะยะคามิิโน ธััมมา ฯ เสกขา ธััมมา, อะเสกขา ธััมมา, เนวะเสกขานาเสกขา ธััมมา ฯ ปะริิตตา ธััมมา, มะหััคคะตา ธััมมา, อััปปะมาณา ธััมมา ฯ ปะริิตตารััมมะณา ธััมมา, มะหัคั คะตารััมมะณา ธััมมา, อััปปะมาณารััมมะณา ธััมมา ฯ หีีนา ธััมมา, มััชฌิิมา ธััมมา, ปะณีีตา ธััมมา ฯ มิิจฉััตตะนิิยะตา ธััมมา, สััมมััตตะนิิยะตา ธััมมา, อะนิิยะตา ธััมมา ฯ มััคคารััมมะณา ธััมมา, มััคคะเหตุุกา ธััมมา, มััคคาธิิปะติิโน ธััมมา ฯ อุุปปัันนา ธััมมา, อะนุุปปัันนา ธััมมา, อุุปปาทิิโน ธััมมา ฯ อะตีีตา ธััมมา, อะนาคะตา ธััมมา, ปััจจุุปปัันนา ธััมมา ฯ อะตีีตารััมมะณา ธััมมา, อะนาคะตารััมมะณา ธััมมา, ปััจจุปปั ุ นน ั ารััมมะณา ธััมมา ฯ อััชฌััตตา ธััมมา, พะหิิทธา ธััมมา, อััชฌััตตะพะหิิทธา ธััมมา ฯ อััชฌััตตารััมมะณา ธััมมา, พะหิิทธารััมมะณา ธััมมา, อััชฌััตตะพะหิิทธารััมมะณา ธััมมา ฯ สะนิิทััสสะนะสััปปะฏิิฆา ธััมมา, อะนิิทััสสะนะสััปปะฏิิฆา ธััมมา, อะนิิทััสสะนาปปะฏิิฆา ธััมมา ฯ หนัังสืือทำำ�วััตร
83
สวดมนต์์แปล
บทสวดพระพุุทธมนต์์ ปััพพะโตปะมะคาถา
ยะถาปิิ เสลา วิิปุุลา สะมัันตา อะนุุปะริิเยยยุุง เอวััง ชะรา จะ มััจจุุ จะ ขััตติิเย พราหมะเณ เวสเส นะ กิิญจิิ ปะริิวััชเชติิ นะ ตััตถะ หััตถีีนััง ภููมิิ นะ จาปิิ มัันตะยุุทเธนะ ตััสมา หิิ ปััณฑิิโต โปโส พุุทเธ ธััมเม จะ สัังเฆ จะ โย ธััมมะจารีี กาเยนะ อิิเธวะ นััง ปะสัังสัันติิ
นะภััง อาหััจจะ ปััพพะตา นิิปโปเถนตา จะตุุททิิสา อะธิิวััตตัันติิ ปาณิิโน สุุทเท จััณฑาละปุุกกุุเส สััพพะเมวาภิิมััททะติิ นะ ระถานััง นะ ปััตติิยา สัักกา เชตุุง ธะเนนะ วา สััมปััสสััง อััตถะมััตตะโน ธีีโร สััทธััง นิิเวสะโย วาจายะ อุุทะ เจตะสา เปจจะ สััคเค ปะโมทะติิ ฯ
อะริิยะธะนะคาถา
ยััสสะ สััทธา ตะถาคะต สีีสััญจะ ยััสสะ กััลยาณััง สัังเฆ ปะสาโท ยััสสััตถิิ อะทะสิิทโทติิ ตััง อาหุุ ตััสมา สััทธััญจะ สีีลััญจะ อะนุุยุุญเชถะ เมธาวีี
อะจะลา สุุปะติิฏฐิิตา อะริิยะกัันตััง ปะสัังสิิตััง อุุชุุภููตััญจะ ทััสสะนััง อะโมฆัันตััสสะ ชีีวิิตััง ปะสาทััง ธััมมะทััสสะนััง สะรััง พุุทธานะ สาสะนัันติิ ฯ
บทขััดธรรมนิิยามสููตร ยััง เว นิิพพานะญาณััสสะ ตััสเสวะ วิิสะยีีภููตา อะนิิจจะตา ทุุกขะตา จะ ตััสสา ปะกาสะกััง สุุตตััง สาธููนััง ญาณะจาเรนะ โยนิิโส ปะฏิิปััตยััตถััง หนัังสืือทำำ�วััตร
84
ญาณััง ปุุพเพ ปะวััตตะเต ยายััง ธััมมะนิิยามะตา สััพเพสััง จะ อะนััตตะตา ยััง สััมพุุทเธนะ ภาสิิตััง ยะถา พุุทเธนะ เทสิิตััง ตััง สุุตตัันตััง ภะณามะ เส ฯ
สวดมนต์์แปล
ธััมมะนิิยามะสุุตตััง
เอวััมเม สุุตััง ฯ เอกััง สะมะยััง ภะคะวา สาวััตถิิยััง วิิหะระติิ เชตะวะเน อะนาถะปิิณฑิิกััสสะ อาราเม ฯ ตััตระ โข ภะคะวา ภิิกขูู อามัันเตสิิ ภิิกขะโวติิ ฯ ภะทัันเตติิ เต ภิิกขูู ภะคะวะโต ปััจจััสโสสุุง ฯ ภะคะวา เอตะทะโวจะ อุุปปาทา วา ภิิกขะเว ตะถาคะตานััง อะนุุปปาทา วาตะถาคะตานััง ฐิิตา วะสา ธาตุุ ธััมมััฏฐิิตะตา ธััมมะนิิยามะตา สััพเพสัังขารา อะนิิจจาติิ ฯ ตััง ตะถาคะโต อะภิิสััมพุุชฌะติิ อะภิิสะเมติิ อะภิิสััมพุุชฌิิตวา อะภิิสะเมตวา อาจิิกขะติิ เทเสติิ ปััญญะเปติิ ปััฏฐะเปติิ วิวิ ะระติิ วิิภะชะติิ อุุตตานีีกะโรติิ สััพเพ สัังขารา อะนิิจจาติิ ฯ อุุปปาทา วา ภิิกขะเว ตะถาคะตานััง อะนุุปปาทา วา ตะถาคะตานััง ฐิิตา วะ สา ธาตุุ ธััมมััฏฐิิตะตา ธััมมะนิิยามะตา สััพเพ สัังขารา ทุุกขาติิ ฯ ตััง ตะถาคะโต อะภิิสััมพุชุ ฌะติิ อะภิิสะเมติิ อะภิิสััมพุชฌิ ุ ตว ิ า อะภิิสะเมตวา อาจิิกขะติิ เทเสติิ ปััญญะ เปติิ ปััฏฐะเปติิ วิิวะระติิ วิิภะชะติิ อุุตตานีีกะโรติิ สััพเพ สัังขารา ทุุกขาติิ ฯ อุุปปาทา วา ภิิกขะเว ตะถาคะตานััง อะนุุปปาทา วา ตะถาคะตานััง ฐิิตา วะ สา ธาตุุ ธััมมััฏฐิิ ต ะตา ธััมมะนิิ ย ามะตา สััพเพ ธััมมา อะนััตตาติิ ฯ ตััง ตะถาคะโต อะภิิสััมพุุชฌะติิ อะภิิสะเมติิ อะภิิสััมพุุชฌิิตวา อะภิิสะเมตวา อาจิิ กข ะติิ เทเสติิ ปัั ญ ญะเปติิ ปัั ฏ ฐะเปติิ วิิ ว ะระติิ วิิ ภ ะชะติิ อุุ ตต านีี ก ะโรติิ สััพเพ ธััมเม อะนััตตาติิ ฯ อิิทะมะโว จะ ภะคะวา ฯ อััตตะมะนา เต ภิิกขูู ภะคะวะโต ภาสิิตััง อะภิินัันทุุนติิ ฯ
ติิลัักขะณาทิิคาถา สััพเพ สัังขารา อะนิิจจาติิ อะถะ นิิพพิินทะติิ ทุุกเข สััพเพ สัังขารา ทุุกขาติิ อะถะ นิิพพิินทะติิ ทุุกเข สััพเพ ธััมมา อะนััตตาต อะถะ นิิพพิินทะติิ ทุุกเข อััปปะกา เต มะนุุสเสส อะถายััง อิิตะรา ปะชา
หนัังสืือทำำ�วััตร
ยะทา ปััญญายะ ปััสสะติิ เอสะ มััคโค วิิสุุทธิิยา ยะทา ปััญญายะ ปััสสะติิ เอสะ มััคโค วิิสุุทธิิยา ยะทา ปััญญายะ ปััสสะติิ เอสะ มััคโค วิิสุุทธิิยา เย ชะนา ปาระคามิิโน ตีีระเมวานุุธาวะติิ 85
สวดมนต์์แปล
เย จะ โข สััมมะทัักขาเต เต ชะนา ปาระเมสสัันติิ กััณหััง ธััมมััง วิิปปะหายะ โอกา อะโนกะมาคััมมะ ตััตราภิิระติิมิิจเฉยยะ ปะริิโยทะเปยยะ อััตตานััง เยสััง สััมโพธิิยัังเคส อาทานะปะฏิินิิสสััคเค ขีีณาสะวา ชุุติิมัันโต
ธััมเม ธััมมานุุวััตติิโน มััจจุุเธยยััง สุุทุุตตะรััง สุุกกััง ภาเวถะ ปััณฑิิโต วิิเวเก ยััตถะ ทููระมััง หิิตวา กาเม อะกิิญจะโน จิิตตัักเลเสหิิ ปััณฑิิโต สััมมา จิิตตััง สุุภาวิิตััง อะนุุปาทายะ เย ระตา เต โลเก ปะริินิิพพุุตาติิ ฯ
ปะฏิิจจะสะมุุปปาทะปาฐะ อะวิิชชาปััจจะยา สัังขารา สัังขาระปััจจะยา วิิญญาณััง วิิญญาณะปััจจะยา นามะรููปััง นามะรููปะปััจจะย สะฬายะตะนััง สะฬายะตะนะปััจจะยา ผััสโส ผััสสะปัั จจ ะยา เวทะนา เวทะนาปัั จจ ะยาตััณหา ตััณหาปัั จจ ะยา อุุ ป าทานััง อุุปาทานะปััจจะยา ภะโว ภะวะปััจจะยา ชาติิ ชาติิปััจจะยา ชะรามะระณััง โสกะปะริิเทวะทุุกขะโทมะนััสสุุปายาสา สััมภะวัันติิ ฯ เอวะเมตััสสะ เกวะลััสสะ ทุุกขัักขัันธััสสะ สะมุุทะโย โหติิ ฯ อะวิิชชายะเตววะ อะเสสะวิิราคะนิิโรธา สัังขาระนิิโรโธ สัังขาระนิิโรธา วิิญญาณะนิิโรโธ วิิญญาณะนิิโรธา นามะรููปะนิิโรโธ นามะรููปะนิิโรธา สะฬายะตะ นะนิิ โรโธ สะฬายะตะนะนิิ โรธา ผััสสะนิิ โรโธ ผััสสะนิิ โรธา เวทะนานิิ โรโธ เวทะนานิิโรธา ตััณหานิิโรโธ ตััณหานิิโรธา อุุปาทานะนิิโรโธ อุุปาทานะนิิโรธา ภะวะนิิโรโธ ภะวะนิิโรธา ชาติินิิโรโธ ชาติินิิโรธา ชะรามะระณััง โสกะปะริิเทวะทุุกข ะโทมะนััสสุุปายาสา นิิรุุชฌัันติิ ฯ เอวะเมตััสสะ เกวะลััสะ ทุุกขัักขัันธััสสะ นิิโรโธ โหติิ ฯ
หนัังสืือทำำ�วััตร
86
สวดมนต์์แปล
พุุทธะอุุทานะคาถา ยะทา หะเว ปาตุุภะวัันติิ ธััมมา อะถััสสะ กัังขา วะปะยัันติิ สััพพา ยะทา หะเว ปาตุุภะวัันติิ ธััมมา อะถััสสะ กัังขา วะปะยัันติิ สััพพา ยะทา หะเว ปาตุุภะวัันติิ ธััมมา วิิธููปะยััง ติิฏฐะติิ มาระเสนััง
อาตาปิิโน ฌายะโต พราห๎๎มะณััสสะ ยะโต ปะชานาติิ สะเหตุุธััมมััง ฯ อาตาปิิโน ฌายะโต พราห๎๎มะณััสสะ ยะโต ขะยััง ปััจจะยานััง อะเวทิิ ฯ อาตาปิิโน ฌายะโต พราห๎๎มะณััสสะ สููโรวะ โอภาสะยะมัันตะลิิกขัันติิ ฯ
ภััทเทกะรััตตะคาถา อะตีีตััง นานวาคะเมยยะ ยะทะตีีตััมปะหีีนัันตััง ปััจจุุปปัันนััญจะ โย ธััมมััง อะสัังหิิรััง อะสัังกุุปปััง อััชเชวะ กิิจจะมาตััปปััง นะ หิิ โน สัังคะรัันเตนะ เอวััง วิิหาริิมาตาปิิง ตััง เว ภััทเทกะรััตโตต
นััปปะฏิิกัังเข อะนาคะตััง อััปปััตตััญจะ อะนาคะตััง ตััตถะ ตััตถะ ตััตถะ วิิปััสสะติิ ตััง วิิทธา มะนุุพรููหะเย โก ชััญญา มะระณััง สุุเว มะหาเสเนนะ มััจจุุนา อะโหรััตตะมะตัันทิิตััง สัันโต อาจิิกขะเต มุุนีีติิ ฯ
ปฐมพุุทธะวะจะนะ
อะเนกะชาติิสัังสารััง คะหะการััง คะเวสัันโต คะหะการะกะ ทิิฏโฐสิิ สััพพา เต ผาสุุกา วิิสัังขาระคะตััง จิิตตััง
หนัังสืือทำำ�วััตร
สัันธาวิิสสััง อะนิิพพิิสััง ทุุกขา ชาติิ ปุุนััปปุุนััง ปุุนะ เคหััง นะ กาหะสิิ ภััคคา คะหะกููฏััง วิิสัังขะตััง ตััณหานััง ขะยะมััชฌะคาติิฯ
87
สวดมนต์์แปล
อภิิธััมมนิิทาน กะรุุณา วิิยะ สััตเตสุุ ปััญญายััสสะ มะเหสิิโน เญยยะธััมเมสุุ สััพเพส ปะวััตติิตถะ ยะถารุุจิิง ทะยายะ ตายะ สััตเตสุุ สะมุุสสาหิิตะมานะโส ปาฏิิเหราวะสานััมหิิ วะสัันโต ติิทะสาละเย ปาริิจฉััตตะกะมููลััมหิิ ปััณฑุุกััมพะละนามะเก สิิลาสะเน สัันนิิสิินโน อาทิิจโจวะ ยุุคัันธะเร จัักกะวาฬะสะหััสเสหิิ ทะสะหาคััมมะ สััพพะโส สัันนิิสิินเนนะ เทวานััง คะเณนะ ปะริิวาริิโต มาตะรััง ปะมุุขััง กััตวา ตััสสา ปััญญายะ เตชะสา อะภิิธััมมะกะถััง มััคคััง เทวานััง สััมปะวััตตะยิิ ตััสสะ ปาเท นะมััสสิิตวา สััมพุุทธััสสะ สิิรีีมะโต สััทธััมมััญจััสสะ ปููเชตวา กััตวา สัังฆััสสะ จััญชะลิิง นิิปััจจะการััสเส ตััสสะ กะตััสสะ ระตะนััตตะเย อานุุภาเวนะ โสเสตวา อัันตะราเย อะเสสะโต อิิติิ เม ภาสะมานััสสะ อะภิิธััมมะกะถััง อิิมััง อะวิิกขิิตวา นิิสาเมถะ ทุุลละภา หิิ อะยััง กะถา ฯ เอกััง สะมะยััง ภะคะวา เทเวสุุ วิหิ ะระติิ ตาวะติิงเสสุุ ปาริิจฉััตตะกะมููลััมหิิ ปััณฑุุกััมพะละสิิลายััง ตััตระ โข ภะคะเว เทวานััง ตาวะติิงสานััง อะภิิธััมมะกะถััง กะเถสิิ จิิตตะวิิภััตติิรููปััญจะ นิิกเขโป อััตถะโชตะนา คััมภีีรััง นิิปุุณััง ฐานััง ตััมปิิ พุุทเธนะ เทสิิตััง ฯ
หนัังสืือทำำ�วััตร
88
สวดมนต์์แปล
ติิโรกุุฑฑะกััณฑะสตตะคาถา
ติิโรกุุฑเฑ สุุติิฏฐัันติิ ทะวาระพาหาสุุ ติิฏฐัันติิ ปะหุุเต อัันนะปานััมหิิ นะ เตสััง โกจิิ สะระติิ เอวััง ทะทัันติิ ญาตีีนััง สุุจิิง ปะณีีตััง กาเลนะ อิิทััง โว ญาตีีนััง โหตุุ เต จะ ตััตถะ สะมาคัันตะวา ปะหุุเต อัันนะปานััมหิิ จิิรััง ชีีวัันตุุ โน ญาตีี อััมหากััญจะ กะตา ปููชา นะ หิิ ตััตถะ กะสิิ อััตถิิ วะณิิชชา ตาทิิสีี นััตถิิ อิิโต ทิินเนนะ ยาเปนติิ อุุณณะเต อุุทะกััง วุุฏฐััง
หนัังสืือทำำ�วััตร
89
สัันธิิสิิงฆาฏะเกสุุ จะ อาคัันตะวานะ สะกััง ฆะรััง ขััชชะโภชเช อุุปััฏฐิิเต สััตตานััง กััมมะปััจจะยา เย โหนติิ อะนุุกััมปะกา กััปปิิยััง ปานะโภชะนััง สุุขิิตา โหนตุุ ญาตะโย ญาติิเปตา สะมาคะตา สัักกััจจััง อะนุุโมทะเร เยสััง เหตุุ ละภามะ เส ทายะกา จะ อะนิิปผะลา โครัักเขตถะ นะ วิิชชะติิ หิิรััญเญนะ กะยากะยััง เปตา กาละกะตา ตะหิิง ยะถานิินนััง ปะวััตตะติิ
สวดมนต์์แปล
บทสวดยทิิหิิเน
ยะทิิหิิเน คะ โต ฐาเน อิิมิินา ปุุญญะเตเชนะ ยะทิิเทวะ ปุุเรรััมเม อิิมิินา ปุุญญะเตเชนะ เอวััง มะหิิทธิิกา เอสา ตััสมา ธีีรา ปะสัังสัันติิ สุุโข วิิปาโก ปุุญญานััง ขิิปปััญจะ ปาริิโยสาเน โย ภาชะนะสะหััสเสหิิ ทะเทยยาปะริิมาณานััง พุุทโธปาเท สารีีปุุตโต ปััตตะปููรานุุภาเวนะ
กายะทุุจจะริิเตนะ วา ตุุมหา ทานััง ปะมุุญจะตุุ วิิมาเน ระตะนะโสภิิเต ภิิยโย ภิิยโย ปะวััตตะติิ ยะทิิทััง ปุุญญะสััมปะทา ปััณฑิิตา กะตะปุุญญะตััง อะธิิปเปยโย สะมิิชฌะติิ นิิพพานััง สะมาธิิคััจฉะติิ ปุุราณััง วะระโภชะนััง เอกะปััตตััมปิิ นาละเภ เย จััญเญ อััคคะสาวะกา มาตาปิิตา ปะมุุญจะเรฯ
วรรคที่่� ๑ วิิภัังคปกรณ์์ ตะทะนัันตะรััง วิิภัังคััปปะกะระณััง นาเมตััง ขัันธะวิิภัังโค อายะตะนะวิิภัังโค ธาตุุวิิภัังโค สััจจะวิิภัังโค อิินทรีียะวิิภัังโค ปััจจะยะการะวิิภัังโค สะติิปััฏฐานะวิิภัังโค สะมััปปะธานะวิิภัังโค อิิทธิปิ าทะวิิภัังโค โพชฌัังคะวิิภัังโค มััคคะวิิภัังโค ฌานะวิิภัังโค อััปปะมััญญาณะวิิภัังโค สิิกขาปะทะวิิภัังโค ปะฏิิสััมภิทิ าวิิภัังโค ญาณะวิิภัังโค ขุุททะ กะวััตถุุวิิภัังโค ธััมมะทะยะวิิภัังโค อััฎฐะระสะ วิิเธนะ วิิภััตตััง วิิภััตตััง วิิภัังคััปปะกะ ระณััง นามะสััมมะตัังฯ วรรคที่่� ๒ ธาตุุกถาปกรณ์์ ตะทะนัันตะรััง ธาตุุกะถาปะกะระณััง นาเมตััง สัังคะโห อะสัังคะโห สัังคะหิิ เตนะ อะสัังคะหิิตััง อะสัังคะหิิเตนะ สัังคะหิิตััง สัังคะหิิเตนะ สัังคะหิิตััง อะสัังคะหิิ เตนะ อะสัังคะหิิตััง สััมปะโยโค วิิปปะโยโค สััมปะโยโค สััมปะยุุตเตนะ วิิปปะยุุตตััง วิิปปะ ยุุตเตนะ สััมปะยุุตตััง อะสัังคะหิิตัันติ จ ิ ะตุุวิเิ ธนะ วิิภััตตััง ธาตุุกะถาปะกะระณััง นามะ หนัังสืือทำำ�วััตร
90
สวดมนต์์แปล
สััมมะตัังฯ วรรคที่่� ๓ ปุุคคะลละปััญญััติิปกรณ์์ ตะทะนัันตะรััง ปุุคคะละปััญญััติิปะกะระณััง นาเมสา ขัันธะปััญญััตติิ อายะตะนะปััญญััตติิ ธาตุุปััญญััตติิ สััจจะปััญญััตติิ อิินทรีียะปััญญััตติิ ปุุคคะละปััญญััตติิ ฉะวิิเธนะ วิิภััตตััง ปุุคคลละปััญญััติิปะกะระณััง นามะสััมมะตััง ฯ วรรคที่่� ๔ กถาวััตวััตถุุปกรณ์์ ตะทะนัันตะรััง กะถาวััตถุุปะกะระณััง นาเมตััง สะกะวาทีี ปััญจะสุุตตะสะตานิิ ปะระวาทีี ปัญ ั จะสุุตตะสะตานีีติ สุ ิ ตต ุ ะสะหัสั สััง สโมธาเนตวา วิิภััตตััง กะถาวััตถุุปะกะระณััง นามะสััมมะตัังฯ วรรคที่่� ๕ ยมกปกรณ์์ ตะทะนัันตะรััง ยะมะกััปปะกะระณััง นาเมตััง มููละยะมะกััง ขัันธะยะมะกััง อายะตนะยะมะกััง ธาตุุยะมะกััง สััจจะยะมะกััง สัังขาระยะมะกััง อะนุุสสะยะมะกััง จิิตตะยะมกััง ธััมมะยะมะกััง อิินทรียี ะยะมะกัันติิ ทะสะวิิเธนะ วิิภััตตััง ยะมะกััปปะกะระณััง นามะสััมมะตัังฯ วรรคที่่� ๖ มหาปััฏฐานะปกรณ์์ ตะทะนัันตะรััง มหาปััฏฐานะปะกะระณััง นาเมตััง เหตุุปัจจ ั ะโย อารััมมะณะปััจจะโย อะธิิปะติิปััจจะโย อะนัันตะระปััจจะโย สะมะนัันตะระปััจจะโย สะหะชาตะปััจจะโย อััญญะมััญญะปัั จจ ะโย นิิ ส สะยะปัั จจ ะโย อุุ ปนิิ ส สะยะปัั จจ ะโย ปุุ เรชาตะปัั จจ ะโย ปััจฉาชาตะปััจจะโย อาเสวะนะปััจจะโย กััมมะปััจจะโย วิิปากะปััจจะโย อาหาระปััจจะโย อิินทรีียะปััจจโย ฌานะปััจจะโย มััคคะปััจจะโย สััมปะยุุตตะปััจจะโย วิิปปะยุุตตะปััจจะโย อััตถิิปััจจะโย นััตถิิปััจจะโย วิิคะตะปััจจะโย อะวิิคะตะปััจจะโย จตุุวีีสะติิวิิเธนะ วิิภััตตััง มะหาปััฏฐานััปปะกะระณััง นามะสััมมะตัังฯ
หนัังสืือทำำ�วััตร
91
สวดมนต์์แปล
บทสวดพระเจ้้าสิิบชาติิ ๑. เตมีีโย โพธิิสััตโต นามะ ภะคะวา จิิตตััง วััตตะกััง อารััมมะณััง ตุุวััง โสหััง พุุทโธ ภะวิิสสะติิ กุุสละตา ธััมเม สััมมาสััมพุุทโธ อิิติิปิิโส ภควา ๒. มหาชนโก โพธิิสััตโต นามะ ภะคะวา จิิตตััง วััตตะกััง อารััมมะณััง ตุุวััง โสหังั พุุทโธ ภะวิิสสะติิ กุุสละตา ธััมเม สััมมาสััมพุุทโธ อิิติิปิิโส ภควา ๓. สุุวรรณสาโม โพธิิสััตโต นามะ ภะคะวา จิิตตััง วััตตะกััง อารััมมะณััง ตุุวััง โสหััง พุุทโธ ภะวิิสสะติิ กุุสละตา ธััมเม สััมมาสััมพุุทโธ อิิติิปิิโส ภควา ๔. เนมิิราชาโน โพธิิสััตโต นามะ ภะคะวา จิิตตััง วััตตะกััง อารััมมะณััง ตุุวััง โสหััง พุุทโธ ภะวิิสสะติิ กุุสละตา ธััมเม สััมมาสััมพุุทโธ อิิติิปิิโส ภควา ๕. มะโหสะโถ โพธิิสััตโต นามะ ภะคะวา จิิตตััง วััตตะกััง อารััมมะณััง ตุุวััง โสหังั พุุทโธ ภะวิิสสะติิ กุุสละตา ธััมเม สััมมาสััมพุุทโธ อิิติิปิิโส ภควา ๖. ภููริทัิ ตั โต โพธิิสััตโต นามะ ภะคะวา จิิตตััง วััตตะกััง อารััมมะณััง ตุุวััง โสหังั พุุทโธ ภะวิิสสะติิ กุุสละตา ธััมเม สััมมาสััมพุุทโธ อิิติิปิิโส ภควา ๗. จัันทกุุมาโร โพธิิสััตโต นามะ ภะคะวา จิิตตััง วััตตะกััง อารััมมะณััง ตุุวััง โสหััง พุุทโธ ภะวิิสสะติิ กุุสละตา ธััมเม สััมมาสััมพุุทโธ อิิติิปิิโส ภควา ๘. นารโท โพธิิสััตโต นามะ ภะคะวา จิิตตััง วััตตะกััง อารััมมะณััง ตุุวััง โสหััง พุุทโธ ภะวิิสสะติิ กุุสละตา ธััมเม สััมมาสััมพุุทโธ อิิติิปิิโส ภควา ๙.วิิทููโร โพธิิสััตโต นามะ ภะคะวา จิิตตััง วััตตะกััง อารััมมะณััง ตุุวััง โสหััง พุุทโธ ภะวิิสสะติิ กุุสละตา ธััมเม สััมมาสััมพุุทโธ อิิติิปิิโส ภควา ๑๐. เวสสัันโร โพธิิสััตโต นามะ ภะคะวา จิิตตััง วััตตะกััง อารััมมะณััง ตุุวััง โสหััง พุุทโธ ภะวิิสสะติิ กุุสละตา ธััมเม สััมมาสััมพุุทโธ อิิติิปิิโส ภควา ๑๑. สิิทธัตั โถ โพธิิสััตโต นามะ ภะคะวา จิิตตััง วััตตะกััง อารััมมะณััง ตุุวััง โสหังั พุุทโธ ภะวิิสสะติิ กุุสละตา ธััมเม สััมมาสััมพุุทโธ อิิติิปิิโส ภควา
หนัังสืือทำำ�วััตร
92
สวดมนต์์แปล
คาถามหาจัักรพรรดิิ นะโมพุุทธายะ พระพุุทธะ ไตรรััตนะญาณ พุุทโธ ธััมโม สัังโฆ ยะธาพุุทโมนะ อััคคีีทานััง วะรัังคัันธััง สีีวลีี จะมหาเถรััง อะหัังวัันทามิิ สััพพะโส
มณีีนพรััตน์์ สีีสะหััสสะ สุุธรรมา พุุทธะบููชา ธััมมะบููชา สัังฆะบููชา อะหัังวัันทามิิ ทููระโต อะหัังวัันทามิิ ธาตุุโย พุุทธะ ธััมมะ สัังฆะ ปููเชมิิ
เชิิญพระเข้้าตััว แผ่่บุุญปรัับภพภููมิิส่่งวิิญญาน สััพเพพุุทธา สััพเพธััมมา สััพเพสัังฆา พะลััปปััตตา ปััจเจกานััญ จะยัังพลััง อรหัันตานััญ จะ เตเชนะรัักขััง พัันธามิิ สััพพะโส (๕จบ)
แผ่่เมตตาออกไปให้้กัับดวงจิิตวิิญญาณทั้้�งหลาย พุุทธััง อธิิษฐามิิ ธััมมััง อธิิษฐามิิ สัังฆััง อธิิษฐามิิ
กมฺฺมุุนา วตฺฺตตีี โลโก. สััตว์์โลกย่่อมเป็็นไปตามกรรม
หนัังสืือทำำ�วััตร
93
สวดมนต์์แปล
๓ คาถาเงิินล้้าน
คาถาที่่� ๑ คาถาเงิินล้้าน ของ หลวงพ่่อฤาษีีลิิงดำำ�
คาถาเงิินล้้าน ของหลวงพ่่อฤาษีีลิิงดำำ� วััดท่่าซุุง สวดมนต์์ภาวนา เป็็นประจำำ�ทุุกวััน วัันละ ๙ จบ (ตั้้�ง นะโม ๓ จบ ) นาสัังสิิโม พรหมา จะ มหาเทวา สััพเพยัักขา ปะรายัันติิ (คาถาปััดอุุปสรรค) พรหมา จะ มหาเทวา อภิิลาภา ภะวัันตุุ เม (คาถาเงิินแสน ) มหาปุุญโญ มหาลาโภ ภะวัันตุุเม (คาถาลาภไม่่ขาดสาย) มิิเตภาหุุหะติิ (คาถาเงิินล้้าน) พุุทธะมะอะอุุ นะโมพุุทธายะ วิิระทะโย วิิระโคนายััง วิิระหิิงสา วิิระทาสีี วิิระทาสา วิิระอิิทถิิโย พุุทธััสสะ มานีีมามะ พุุทธััสสะ สวาโหม (คาถาพระปััจเจกพุุทธเจ้้า) สััมปะติิจฉามิิ (คาถาเร่่งลาภให้้ได้้เร็็วขึ้้�น) เพ็็ง ๆ พา ๆ หา ๆ ฤา ๆ ( บููชา ๙ จบ ตััวคาถาต้้องว่่าทั้้�งหมด)
หนัังสืือทำำ�วััตร
94
สวดมนต์์แปล
คาถาที่่� ๒ คาถาเรีียกเงิิน เสริิมทรััพย์์ (หลวงพ่่อปาน )
(ตั้้�งนะโม ๓ จบ) พุุทธะ มะอะอุุ นะโมพุุทธายะ (ว่่า ๑ จบ) วิิระทะโย วิิระโคนายััง วิิระหิิงสา วิิระทาสีี วิิระทาสา วิิระอิิตถิิโย พุุทธััสสะ มาณีีมามะ พุุทธััสสะ สะวาโหมฯ ใช้้สวดภาวนาเวลาตื่่�นนอน ๓ จบ หรืือเวลาใส่่บาตร ๑ จบ ก่่อนนอน ๓ จบ หรืือเวลาค้้าขายจะทํําให้้มีีโภคทรััพย์์มากมาย เรีียกเงิิน เรีียกทอง โชคลาภ ค้้าขายร่ำ���รวย
คาถาที่่� ๓ คาถามหาลาภ (หลวงพ่่อรวย ปาสาทิิโก)
(ตั้้�งนะโม ๓ จบ) สััมพุุทธชิิตา จะสััจจานิิ สััพพะโส คุุณะวิิภา มหาลาภััง สััพพะสิิทธิิ
เกรััตน์์สะ พระพุุทธชิิตา สััมปััจโต นะรุุตตะโม ภะวัันตุุเม
รกฺฺเขยฺฺย อตฺฺตโน สาธุุ ลวณํํ โลณตํํ ยถา. พึึงรัักษาความดีีของตนไว้้ ดัังเกลืือรัักษาความเค็็ม.
หนัังสืือทำำ�วััตร
95
สวดมนต์์แปล
ศาสนพิิธีี
หนัังสืือทำำ�วััตร
96
สวดมนต์์แปล
ภาค ๕ ศาสนพิิธีี
คำำ�อาราธนาและเบ็็ดเตล็็ด คำำ�อาราธนาพระปริิตร(เจริิญพระพุุทธมนต์์) วิิปััตติิปะฏิิพาหายะ สััพพะสััมปััตติิสิิทธิิยา, สััพพะ ทุุกขะ วิินาสายะ ปะริิตตััง พรููถะ มัังคะลััง. วิิปััตติิปะฏิิพาหายะ สััพพะสััมปััตติิสิิทธิิยา, สััพพะ ภะยะ วิินาสายะ ปะริิตตััง พรููถะ มัังคะลััง. วิิปััตติิปะฏิิพาหายะ สััพพะสััมปััตติิสิิทธิิยา, สััพพะ โรคะ วิินาสายะ ปะริิตตััง พรููถะ มัังคะลััง.
คำำ�อาราธนาธรรม(พระเทศน์์) พรััหมา จะ โลกาธิิปะตีี สะหััมปะติิ, กััตอััญชะลีี อัันธิิวะรััง อะยาจะถะ, สัันตีีธะ สััตตาปปะระชัักขะชาติิกา, เทเสตุุ ธััมมััง อะนุุกััมปิิมััง ปะชััง. ท้้าวสะหััมบดีีพรหม เป็็นบรมของพรหมมา ทรงมะเหทะระศัักดา กว่่าบริิษััททุุกหมู่่�พรหม น้้อมหััตถ์์นมััสการ ประดิิษฐาน ณ ที่่�สม แด่่องค์์พระบรม สััมพุุทธะอะระหัันต์์ โดยเหตุุว่่าจอมปราชญ์์ ผู้้�โลกนาถภะคะวััน ว่่าสััตว์์ทั้้�งหลายนั้้�น มีีธุุลีีอัันเบาบาง โปรดแสดงธรรมทาน เทศนาและวาทีี เพื่่�อให้้สำำ�เร็็จผล แก่่ปวงชนทุุกหมู่่�มีี สู่่�สุุขเกษมศรีี สมดัังเจตะนาเทอญฯ
หนัังสืือทำำ�วััตร
97
สวดมนต์์แปล
บทปลงสัังขาร (มนุุษย์์เราเอ๋๋ย) มนุุษย์์เราเอ๋๋ย อยู่่�ใยมิิไป ฉัันไปมิิได้้ ห่่วงลููกห่่วงหลาน จะได้้ไปนิิพพาน หน้้าตาแช่่มช้้อย แต่่ล้้วนเครื่่�องเหม็็น มัันมาทำำ�เข็็ญใจ ขนคิ้้�วก็็ขาว ดำำ�แล้้วกลัับหงอก จะนั่่�งก็็โอย ไม่่มีีเกสร พระอนิิจจััง รัังแต่่จะตาย เงิินทองทั้้�งนั้้�น ลููกเมีียผััวรััก เปื่่�อยเน่่าพุุพอง เขาวางลงไว้้ อยู่่�แต่่ผู้้�เดีียว เห็็นแต่่ฝููงแร้้ง ยื้้�อแย่่งกัันกิิน เรี่่�ยรายแผ่่นดิิน เที่่�ยงคืืนสงััด พี่่�น้้องเผ่่าพัันธุ์์� เห็็นแต่่นกแสก
เกิิดมาทำำ�ไม ตััณหาหน่่วงหนััก ตััณหาผููกพััน ห่่วงทรััพย์์สิินศฤงคาร ข้้ามพ้้นภพสาม งามแล้้วทุุกประการ เอ็็นใหญ่่เก้้าร้้อย ให้้ร้้อนให้้เย็็น นััยน์์ตาก็็มััว หน้้าตาเว้้าวอก จะลุุกก็็โอย จะเข้้าที่่�นอน พระอนััตตา ผู้้�ดีีเข็็ญใจ มิิติิดตััวไป เขาชัักหน้้าหนีี หมู่่�ญาติิพี่่�น้้อง เขานั่่�งร้้องไห้้ ป่่าไม้้ชายเขีียว เห็็นแต่่ฝููงกา ดููน่่าสมเพช แร้้งกาหมากิิน ตื่่�นขึ้้�นมิินาน เห็็นแต่่นกเค้้า ร้้องแรกแหกขวััญ
หนัังสืือทำำ�วััตร
98
นิิพานมีีสุุข หน่่วงชัักหน่่วงไว้้ ห่่วงนั้้�นพัันผููก จงสละเสีียเถิิด ยามหนุ่่�มสาวน้้อย แก่่เฒ่่าหนัังยาน เอ็็นน้้อยเก้้าพััน เมื่่�อยขบทั้้�งตััว เส้้นผมบนหััว ดููน่่าบััดสีี เหมืือนดอกไม้้โรย พึึงสอนภาวนา เราท่่านเกิิดมา ก็็ตายเหมืือนกััน ตายไปเป็็นผีี เขาเหม็็นซากผีี เขาหามเอาไป แล้้วกลัับคืืนมา เหลีียวไม่่เห็็นใคร เห็็นแต่่ฝููงหมา กระดููกกููเอ๋๋ย เอาเป็็นอาหาร ไม่่เห็็นลููกหลาน จัับเจ่่าเรีียงกััน เห็็นแต่่ฝููงฝีี
สวดมนต์์แปล
ร้้องไห้้หากััน มนุุษย์์เราเอ๋๋ย อย่่าหลงนัักเลย ไม่่มีีแก่่นสาร อุุตส่่าห์์ทำำ�บุุญ ค้ำำ��จุุนเอาไว้้ จะได้้ไปสวรรค์์ จะได้้ทัันพระพุุทธเจ้้า จะได้้เข้้านิิพพาน อะหััง วัันทามิิ สััพพะโส อะหััง วัันทามิิ นิิพพานะปััจจะโย โหตุุ
บทปลงสัังขาร (เกศาผมหงอก) เกศาผมหงอก แก่่แล้้วทุุกประการ บ่่มิิเป็็นแก่่นสาร เครื่่�องประดัับกายเรา เส้้นสายพัันพััว ให้้มึึนให้้เมื่่�อย แก่่แล้้วโรคา โศกาอาวรณ์์ เหมืือนดอกไม้้โรย เข้้ามาวิิงวอน ครั้้�นสิ้้�นลมปาก ลููกรัักผััวรััก เปื่่�อยเน่่าพุุพอง เขาบ่่ได้้ต้้อง มืือเท้้าเขามััด ทิ้้�งไว้้ป่่าช้้า ตนอยู่่�เอกา ทรััพย์์สิินของตน ไม่่ใช่่ของเรา เดี๋๋�ยวนี้้�เป็็นของเขา
บอกว่่าตััวเฒ่่า ตามืืดหููหนััก ใช่่ตััวตนของเรา โสโครกทั้้�งตััว เห็็นหน้้าเกลีียดกลััว ให้้เจ็็บให้้เหนื่่�อย เข้้ามาหาตน จะนั่่�งก็็โอย ไม่่มีีเกสร ได้้ความทุุกข์์ร้้อน กลัับกลายหายจาก เขาชัักหน้้าหนีี เขาเสีียมิิได้้ เกลีียดกลััวนัักหนา รััดรึึงตรึึงตรา เขากลัับคืืนมา อยู่่�กัับหมููหมา ขนมาปัันกััน เมื่่�อตนยัังอยู่่� แต่่เงิินใส่่ปาก
หนัังสืือทำำ�วััตร
99
ฟัันฟางผมเผ้้า ร้้ายนัักสาธารณ์์ แต่่ล้้วนเปื่่�อยเน่่า แข้้งขามืือสั่่�น อยู่่�ในตััวของเรา ไปทั่่�วเส้้นขน ได้้ความทุุกข์์ทน จะลุุกก็็โอย แก่่แล้้วโรคา ทั่่�วกายอิินทรีีย์์ เรีียกกัันว่่าผีี เขาว่่าซากผีี เขาไปเยี่่�ยมมอง เขาผููกคอรััด เขาหามเอาไป สู่่�เหย้้าเรืือนพลััน ยื้้�อคร่่าพััลวััน ข้้าวของทั้้�งนั้้�น เรีียกว่่าของกูู เขายัังควัักล้้วง
สวดมนต์์แปล
เอา ไปแต่่ตััวเปล่่า ได้้ยิินเสีียงนก ร้้องไห้้ครวญคราง มีีหมู่่�นกแขวก เหลีียวไม่่เห็็นใคร รำำ�พึึงถึึงตััว ทิ้้�งไว้้น่่ากลััว รำำ�พึึงถึึงตััว ยิ่่�งแลยิ่่�งลัับ เมตตาภาวนา ศีีลทานมาช่่วย ตบแต่่งสมบััติิ อััตตะกิิเลสมากมีี ประเสริิฐโฉมศรีี ขัับกล่่อมดีีดสีี แก้้วเก้้าเนาวรััตน์์ ที่่�ตนนัับถืือ พระสงฆ์์องค์์อารีีรััก เอออวยสมบััติิ ประเสริิฐเพริิดเพรา รัักเขาเสีียเปล่่า ไปหลงรัักเขา จำำ�ศีีลภาวนา ให้้พ้้นสงสาร ผู้้�ใดใจพาล เป็็นห่่วงตััณหา ตกจตุุรบาย ฯ
เน่่าทั่่�วสรรพางค์์กาย กึึกก้้องดงยาง ใจจิิตอ้้างว้้าง บิินมาร้้องแรก อกใจวัังเวง ตายไปเป็็นผีี ยิ่่�งคิิดยิ่่�งพลััน อยู่่�ในป่่าช้้า ไม่่เห็็นตามมา ตามเลี้้�ยงรัักษา ได้้เป็็นเพื่่�อนม้้วย นพรััตน์์โพยภััย ศีีลพาไปเกิิด นางฟ้้าแห่่ล้้อม ฟัังเสีียงบรรเลง นัับน้้อยไปหรืือ พระธรรมนั้้�นหรืือ มาเป็็นปิ่่�นปััก นพรััตน์์โอฬาร ลููกผััวที่่�รััก เขามิิตามช่่วย เห็็นไม่่เป็็นการ บำำ�เพ็็ญศีีลทาน ลุุถึึงสถาน หลงรัักลููกหลาน เข้้ามารัับรอง นิิพพานนััง
หนัังสืือทำำ�วััตร
100
อยู่่�ในป่่ารก ได้้ยิินหมาใน วิิเวกวัังเวง แถกขวััญของตน ให้้อยู่่�ครื้้�นเครง เขาไม่่ไยดีี กายสั่่�นระรััว ผััวมิ่่�งสิินทรััพย์์ เห็็นแต่่ศีีลทาน อุ่่�นเนื้้�ออุ่่�นใจ เมื่่�อตนตายไป เลิิศล้ำำ��อำำ�ไพ ได้้วิิมานเลิิศ ห้้อมล้้อมมากมีี บรรเลงสมบััติิ คุุณพระทศพล สั่่�งสอนทุุกวััน พระกรรมฐาน ดีีกว่่าลููกหลาน บ่่มิิเป็็นตำำ�หนััก เพื่่�อนม้้วยด้้วยเรา รัักตนดีีกว่่า จะได้้ช่่วยตน ได้้วิิมานทอง จะต้้องจำำ�จอง ตายไปจะต้้อง สััมปััจจะโย โหตุุ
สวดมนต์์แปล
ผีี ๖ ตััว ทางสู่่�ความฉิิบหาย ผีี...ที่่� ๑ ชอบดื่่�มสุุรา เป็็นอาจิินต์์ ผีี...ที่่� ๒ ชอบเที่่�ยว ยามวิิกาล ผีี...ที่่� ๓ ชอบเที่่�ยวดูู การละเล่่น ผีี...ที่่� ๔ ชอบคบคนชั่่�ว มั่่�วกัับโจร ผีี...ที่่� ๕ ชอบเล่่นม้้า กีีฬาบััตร ผีี...ที่่� ๖ ชอบเกีียจ การทำำ�กิิน
ไม่่ชอบกิิน ข้้าวปลา เป็็นอาหาร ไม่่รัักบ้้าน รัักลููก รัักเมีียตน ไม่่ละเว้้น บาร์์คลัับ ละครโขน หนีีไม่่พ้้น อาญา ตราแผ่่นดิิน สารพััดไพ่่ หวยถั่่�วโปว์์ ไฮโลสิ้้�น มีีทั้้�งสิ้้�น หกผีี อััปรีีย์์เอย. พุุทธทาสภิิกขุุ
ทาง ๗ สาย หลัักธรรมทางศาสนาในเรื่่�องทางแห่่งบุุญบาปทั้้�ง ๗ สาย คืือ ๑. ทางไปนรก ได้้แก่่ โทสะ ๒. ทางไปเปรตและอสุุรกาย ได้้แก่่ โลภะ ๓. ทางไปเดีียรฉาน ได้้แก่่ โมหะ ๔. ทางไปมนุุษย์์ ได้้แก่่ ศีล ี ๕ หรืือกุุศลกรรมบท ๑๐ ๕. ทางไปสวรรค์์ ได้้แก่่ มหากุุศล ๘ ๖. ทางไปพรหมโลก ได้้แก่่ สมถกรรมฐาน ๗. ทางไปนิิพพาน ได้้แก่่ วิิปััสสนากรรมฐาน
คำำ�อาราธนาศีีล ๕ มะยััง ภัันเต วิิสุุง วิิสุุง รัักขะนััตถายะ ติิสะระเณนะสะหะ ปััญจะ สีีลานิิยาจามะ ทุุติิยััมปิ ม ิ ะยัังภัันเต วิิสุุง วิิสุุง รัักขะนััตถายะ ติิสะระเณนะสะหะ ปััญจะ สีีลานิิยาจามะ ตะติิยััมปิ ม ิ ะยัังภัันเต วิิสุุง วิิสุุง รัักขะนััตถายะ ติิสะระเณนะสะหะ ปััญจะ สีีลานิิยาจามะ
คำำ�อาราธนาศีีล ๘ มะยััง ภัันเต ติิสะระเณนะ สะหะ อััฏฐะ สีีลานิิ ยาจามะ ฯ ทุุติิยััมปิิ มะยััง ภัันเต ติิสะระเณนะ สะหะ อััฏฐะ สีีลานิิ ยาจามะ ฯ ตะติิยััมปิิ มะยััง ภัันเต ติิสะระเณนะ สะหะ อััฏฐะ สีีลานิิ ยาจามะ ฯ หนัังสืือทำำ�วััตร
101
สวดมนต์์แปล
คำำ�อาราธนาอุุโบสถศีีล มะยััง ภัันเต ติิสะระเณนะ สะหะ อััฏฐัังคะสะมัันนาคะตััง อุุโปสะถััง ยาจามะ. ทุุติิยััมปิิ มะยััง ภัันเต ติิสะระเณนะ สะหะ อััฏฐัังคะสะมัันนาคะตััง อุุโปสะถััง ยาจามะ. ตะติิยััมปิิ มะยััง ภัันเต ติิสะระเณนะ สะหะ อััฏฐัังคะสะมัันนาคะตััง อุุโปสะถััง ยาจามะ.
ศีีล ๘ และอุุโบสถศีีล ๑. ปาณาติิปาตา เวระมะณีี สิิกขาปะทััง สะมาทิิยามิิ. ๒. อะทิินนาทานา เวระมะณีี สิิกขาปะทััง สะมาทิิยามิิ. ๓. อะพรััหมะจะริิยา เวระมะณีี สิิกขาปะทััง สะมาทิิยามิิ. ๔. มุุสาวาทา เวระมะณีี สิิกขาปะทััง สะมาทิิยามิิ. ๕. สุุราเมระยะมััชชะปะมาทััฏฐานา เวระมะณีี สิิกขาปะทััง สะมาทิิยามิิ. ๖. วิิกาละโภชะนา เวระมะณีี สิิกขาปะทััง สะมาทิิยามิิ. ๗.นััจจะคีีตะวาทิิตะวิิสููกะทััสสะนา มาลาคัันธะ วิิเลปะนะ ธาระณะ มััณฑะนะ วิิภููสะนััฏฐานาเวระมะณีี สิิกขาปะทััง สะมาทิิยามิิ. ๘. อุุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณีี สิิกขาปะทััง สะมาทิิยามิิ. อิิมััง อััฏฐัังคะสะมัันนาคะตััง, พุุทธะปััญญััตตััง อุุโปสะถััง, อิิมััญจะ รััตติิง, อิิมััญจะ ทิิวะสััง, สััมมะเทวะ อะภิิรัักขิิตุุง สะมาทิิยามิิ. ข้้าพเจ้้าสมาทานซึ่่�งอุุโบสถศีีล, ที่่�พระพุุทธเจ้้าได้้ทรงบััญญััติิไว้้ อัันประกอบ ไปด้้วยองค์์ ๘ ประการนี้้�, เพื่่�อจะรัักษาไว้้ให้้ดีีไม่่ให้้ขาด ไม่่ให้้ทำำ�ลาย, สิ้้�นวัันหนึ่่�งกัับ คืืนหนึ่่�ง ณ เวลาวัันนี้้�. (พระสงฆ์์กล่่าวว่่า) อิิมานิิ อััฎฐะ สิิกขาปะทานิิ, อััชเชกััง รััตติินทิิวััง อุุโปสะถะวะเสนะ สาธุุกััง รัักขิิตััพพานิิ (ผู้้�สมาทานรัับว่่า อามะ ภัันเต) สีีเลนะ สุุคะติิง ยัันติิ, สีีเลนะ โภคะสััมปะทา, สีีเลนะ นิิพพุุติิง ยัันติิ ตััสมา สีีลััง วิิโสธะเย. ( รัับว่่า ) อามะภัันเต
หนัังสืือทำำ�วััตร
102
สวดมนต์์แปล
คำำ�ปฏิิญาณตนถึึงไตรสรณะคมน์์ ศีีล ๘ และอุุโบสถศีีล
อะหััง พุุทธััญจะ ธััมมััญจะ สัังฆััญจะ, สะระณัังคะโต (หญิิงว่่า คะตา) อุุปาสะกััตตััง, เทเสสิิง, ภิิกขุุสังั ฆััสสะ, สััมมุุขา เอตััง เม สะระณััง เขมััง, เอตััง สะระณะมุุตตะมััง, เอตััง สะระณะ มาคััมมะ, สััพพะทุุกขาปะมุุจจะเย, เอสาหััง ภัันเต, สุุจิิระปะริินิิพพุุตััมปิิ, ตััง ภะคะวัันตััง สะระณััง คััจฉามิิ. ข้้าแต่่พระสงฆ์์ผู้้�เจริิญ ข้้าพเจ้้าขอถึึงซึ่่�งพระผู้้�มีีพระภาค กัับทั้้�งพระธรรม และพระอริิยสงฆ์์ ว่่าเป็็นที่่�พึ่่�งที่่�ระลึึก ขอพระสงฆ์์จงจำำ�ไว้้ว่่า ข้้าพเจ้้าเป็็นอุุบาสก อุุบาสิิกา นัับแต่่วัันนี้้�เป็็นต้้นไป ตราบสิ้้�นชีีวิิตแห่่งข้้าพเจ้้านี้้�แล.
คำำ�สมาทานกรรมฐาน
อิิมาหััง ภัันเต ภะคะวา อััตตะภาวััง ตััสสะ ภะคะวะโต ปะริิจจััชชามิิ ข้้าแต่่พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้าผู้้�เจริิญ ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย ขอมอบอััตภาพร่่างกายและ ชีีวิิต แด่่พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า เพื่่�อปฏิิบััติิวิิปััสสนากรรมฐาน ตามเวลาอัันสมควรต่่อไป อิิมาหััง ภัันเต อาจะริิยะ อััตตะภาวััง อาจะริิยััสสะ ปะริิจจััชชามิิ ข้้าแต่่พระอาจารย์์ผู้้�เจริิญ ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย ขอมอบอััตภาพร่่างกายและชีีวิิต ถวายต่่อท่่านพระอาจารย์์ ขอพระอาจารย์์โปรดให้้พระกรรมฐานแก่่พวกข้้าพเจ้้าทั้้ง� หลาย เพื่่�อจะได้้ปฏิิบััติิในโอกาสอัันสมควรต่่อไป นิิพพานััสสะ เม ภัันเต สััจฉิิกะระณััตถายะ วิิปััสสะนากััมมััฏฐานััง เทหิิ อุุ ก าสะ อุุ ก าสะ สาธุุ สาธุุ ณ โอกาสบััดนี้้� ข้้ าพเจ้้ า จะขอสมาทานเอา ซึ่่�งพระกรรมฐานทั้้�ง ๒ คืือ สมถกรรมฐาน และวิิปััสสนากรรมฐาน ขอขณิิกะสมาธิิ อุุปะจาระสมาธิิ อััปปะณาสมาธิิ จงบัังเกิิดมีีในจิิตตะสัันดานของข้้าพเจ้้า ข้้าพเจ้้า จะตั้้�งสติิกำำ�หนดไว้้ ที่่�ลมหายใจเข้้าออก ลมหายใจเข้้ารู้้� ลมหายใจออกรู้้� รู้้�สามหน และเจ็็ ด หน รู้้� ร้้ อยหนและพัันหน ด้้วยความไม่่ ป ระมาท ขอวิิ ปัั ส สนาญาณ คืือดวงธรรมอัันประเสริิฐ จงบัังเกิิดมีี ในจัักขุุทะวาร โสตะทะวาร ฆานะทะวาร ชิิวหาทะวาร กายะทะวาร มะโนทะวาร ของข้้าพเจ้า้ ตั้้�งแต่่บััดนี้้�เป็็นต้้นไปเทอญ. หนัังสืือทำำ�วััตร
103
สวดมนต์์แปล
วิิธีีนั่่�งสมาธิิ-เดิินจงกรม วิิธีีนั่่�งสมาธิิ ๑. นั่่�งขััดสมาธิิ ตามแบบพระพุุทธรููป เอาขาขวาทัับขาซ้้าย มืือขวาทัับมืือซ้้าย วางมืือทั้้�งสองไว้้บัันตััก ๒. ตั้้�งกายให้้ตรง อย่่าให้้ก้้มนัักเงยนััก อย่่าให้้เอีียงซ้้ายเอีียงขวาจนผิิดธรรมดา ไม่่กดหรืือเกร็็งอวััยวะส่่วนใดส่่วนหนึ่่�ง อัันเป็็นการบัังคัับให้้ลำำ�บาก ปล่่อยวางอวััยวะ ทุุกส่่วนไว้้ตามปกติิ ๓. ระลึึก พุุทโธ ธััมโม สัังโฆ ๓ ครั้้�ง อัันเป็็นองค์์พระรััตนตรััย ๔. นึึกคำำ�บริิกรรมภาวนาโดยกำำ�หนดเอาเพีียงบทเดีียวติิดต่่อกัันไป ด้้วยความมีีสติิ เช่่น พุุทโธ พุุทโธ พุุทโธ..เป็็นต้้น ให้้นึึก พุุทโธ พุุทโธ พุุทโธ...สืืบเนื่่อ� งกัันไปด้้วยความมีีสติิ และพยายามทำำ�ความรู้้สึึกตััว � อยู่่�กัับพุุทโธ พุุทโธ พุุทโธ อย่่าให้้จิิตเผลอตััวไปสู่่�อารมณ์์อื่น�่ ระหว่่าง จิิตสติิ กัับ คำำ�บริิกรรม มีีความกลมกลืืนกัันได้้เพีียงไร ยิ่่�งเป็็นความหมุ่่�งหมาย ของการภาวนาเพีียงนั้้�น ผลคืือความสงบเย็็นใจจะพึึงเกิิดขึ้้�น
หลัักปฏิิบััติิในการเดิินจงกรม
๑. ยืืนตััวตรง หลัังตรง หน้้ามองตรง ๒. เท้้าไม่่ชิดิ หรืือห่่างเกิินไป ควรอยู่่�ในลัักษณะที่่พ� อดีี คืือไม่่ชิดิ และไม่่ห่า่ งเกิินไป ๓. ทอดสายตาไปห่่างจากปลายเท่่าประมาณ ๔ ศอก โดยเก็็บเปลืือกตาด้้วย การหุุบตาลงครึ่่�งหนึ่่�ง หากไม่่หุุบเปลืือกตาลงครึ่่�งหนึ่่�ง จะทำำ�ให้้มองเห็็นได้้ไกลไป ซึ่่�งอาจเป็็นตััวกระตุ้้�นให้้จิิตคิิดฟุ้้�งซ่่านได้้ง่่าย ๔. ก่่อนเริ่่�มเดิินจะต้้อง “เก็็บมืือไว้้ด้้านหน้้า” ค่่อยๆ ยกมืือมาผสานไว้้ด้้านหน้้า โดยใช้้คำำ�ว่่า “ยกหนอ” หรืือ “เคลื่่�อนหนอ” แล้้วจึึงเคลื่่�อนที่่�ให้้เป็็นธรรมชาติิที่่�สุุด ๕. เวลาปล่่อยมืือก็็เช่่นเดีียวกััน ให้้ค่่อยๆ ปล่่อยมืือออกทีีละข้้างอย่่างช้้าๆ ไม่่ว่่าจะเป็็นท่่าเก็็บมืือหรืือท่่าเก็็บมืือแบบกอดอก หนัังสืือทำำ�วััตร
104
สวดมนต์์แปล
วิิธีีการเดิินจงกรม ๖ ระยะ ในขณะที่่�ยืืนอยู่่�ให้้ท่่องในใจว่่ายืืนหนอ ๓ ครั้้�ง ก่่อนที่่�จะค่่อยๆ ยกส้้นเท้้าขึ้้�น โดยที่่�ปลายเท้้ายัังแตะพื้้�นอยู่่� (ยกหนอ) จากนั้้�นให้้ยกเท้้าขึ้้�นออกจากพื้้�น (ยกหนอ) เคลื่่อ� นไปข้้างหน้้าโดยที่่เ� ท้้ายัังไม่่แตะพื้้น � (ย่่างหนอ) ลดระดัับเท้้าให้้ต่ำำ�ล � งก่่อนแตะพื้้น � (ลงหนอ) ให้้ใช้้ปลายเท้้าแตะกัับพื้้�นโดยยัังไม่่ลงส้้น (ถููกหนอ) จากนั้้�นกดส้้นเท้้าลง กัับพื้้�น (กดหนอ) แล้้วจึึงทำำ�ซ้ำำ��เมื่่�อเดิินก้้าวถััดไป ดููตััวอย่่างจัังหวะการเดิินจาก ด้้านล่่างนี้้� ๑. ยืืนหนอ ยืืนหนอ ยืืนเหนอ ๒. ยกส้้นหนอ ยกหนอ ย่่างหนอ ลงหนอ ถููกหนอ กดหนอ (ขยัับเท้้าซ้้าย) ๓. ยกส้้นหนอ ยกหนอ ย่่างหนอ ลงหนอ ถููกหนอ กดหนอ (ขยัับเท้้าขวา) ๔. เมื่่�อจะหัันหลัังกลัับให้้ หยุุดหนอ ยืืนหนอ ยืืนหนอ ยืืนหนอ ยืืนหนอ กลัับหนอ กลัับหนอ กลัับหนอ หยุุดหนอ ๕. ทำำ�ซ้ำำ��ตั้้�งแต่่ขั้้�นตอนแรกวนไปเรื่่�อยๆ จนกว่่าจะหยุุดเดิินจงกรม
ความสำำ�คััญของการกำำ�หนดรู้้� การกำำ�หนดรู้หรืื �้ อการท่่องในใจ เป็็นสิ่่ง� ที่่ทำ� �ำ ให้้เราไม่่รู้สึึก �้ ไขว้เ้ ขว้ใ้ นขณะเจริิญสติิ โดยปล่่อยให้้ความคิิดเป็็นไปตามธรรมชาติิอย่่างที่่�ควรจะเป็็น อย่่างเช่่นการใช้้คำำ�ว่่า ยุุบหนอ พองหนอ หรืือ ยืืนหนอ ยกหนอ ฯลฯ ประโยชน์์ของการกำำ�หนดรู้้�แบบนี้้� คืือ ๑. ทำำ�ให้้เกิิดสมาธิิ ๒. ป้้องกัันไม่่ให้้จิิตใจฟุ้้�งซ่่าน ๓. ทำำ�ให้้รู้้�เท่่าทัันต่่อสิ่่�งที่่�ปรากฎ
หนัังสืือทำำ�วััตร
105
สวดมนต์์แปล
วิิธีีควบคุุมอารมณ์์ เมื่่�อนั่่�งสมาธิิหรืือเดิินจงกรมอยู่่� เมื่่�อมีีอารมณ์์เป็็นตััวแทรกเข้้ามา จะทำำ�ให้้จิิต ของเราเสีียการควบคุุม ให้้หยุุดเดิินและคิิดในใจตามสิ่่�งที่่�ปรากฎ เช่่น เกิิดความง่่วงให้้ คิิดว่่า “ง่่วงหนอๆๆ” รู้้สึึก � เบื่่อ� ให้้คิิดว่่า “เบื่่อ� หนอๆๆ” เมื่่อ� จิิตเริ่่มคิ � ดิ ฟุ้้�งซ่่านให้้คิิดในใจว่่า “ฟุ้้�งหนอๆๆ” ด้้วยการทำำ�แบบนี้้�จะการบอกทบทวนตััวเองให้้มีีสติิ ไม่่ให้้หลงไปกัับ อารมณ์์ที่่�เกิิดขึ้้�น ช่่วยให้้ผู้้�ปฏิิบััติิสามารถกลัับมาเจริิญสติิทำำ�lสมาธิิได้้อีีกครั้้�งหนึ่่�ง แต่่เมื่่�อใดที่่�เกิิดอารมณ์์ขึ้้�นอีีก ก็็ให้้ใช้้วิิธีีควบคุุมแบบเดิิมจััดการ
เดิินจงกรมมีีประโยชน์์อย่่างไร นอกจากในเรื่่�องของการฝึึกสมาธิิ หรืือเป็็นวิิธีีเจริิญสติิแล้้ว การเดิินจงกรม ยัังมอบประโยชน์์ให้้อีีกหลายอย่่างแก่่ผู้้�ที่่�ปฏิิบััติิอีีกด้้วย เช่่น ๑. การเดิินจงกรมช่่วยให้้ฝึึกความอดทนของร่่างกาย สามารถเดิินทางได้้ไกลยิ่่�งขึ้้น� ๒. มีีจิิตใจที่่�อดทนไม่่ย่่อท้้อต่่ออุุปสรรคใด ๓. เป็็นวิิธีีที่่�ช่่วยให้้ย่่อยอาหารหลัังรัับประทาน ๔. สมาธิิจากการเดิินจงกรมสามารถติิงอยู่่�ได้้นาน ๕. มีีสุุขภาพจิิตและร่่างกายที่่�แข็็งแรง
คำำ�ลากลัับบ้้าน หัันทะทานิิ มะยััง ภัันเต อาปุุจฉามะ พะหุุกิิจจา มะยััง พะหุุกะระณีียา คำำ�แปล ข้้าแต่่ท่่านผู้้�เจริิญ ข้้าพเจ้้าขอโอกาสลาไปในบััดนี้้� เพราะข้้าพเจ้้ามีีกิิจธุุระมาก มีีสิ่่�งที่่�ต้้องทำำ�มาก (พระสงฆ์์ผู้้�รัับลากล่่าวว่่า) ยััสสะทานิิ ตุุมเห กาลััง มััญญะถะ คำำ�แปล ไปแล้้ว อย่่าไปลัับ กลัับมาเยี่่�ยมกัันบ้้าง (รัับ) สาธุุ ภัันเต คำำ�แปล ขอรัับพระคุุณท่่าน แล้้วกราบ ๓ ครั้้�ง หนัังสืือทำำ�วััตร
106
สวดมนต์์แปล
คำำ�ขอขมา
คำำ�ขอขมาพระรััตนตรััย เมื่่�อจะขอขมาโทษจากผู้้�ใดให้้กราบ ๓ ครั้้�งก่่อน แล้้วว่่านะโม ๓ จบ ต่่อไปกล่่าวคำำ�ขอขมา ๓ จบ แล้้วหมอบลงตามระยะคำำ�บาลีี ท่่านอโหสิิว่่า “อะหััง ขะมามิิ ตุุมเหหิิปิิ เม ขะมิิตััพพััง” ผู้้�ขอขมาว่่า “ขะมามะ ภัันเต” แล้้วหมอบอยู่่�รอรัับท่่านให้้พร เมื่่�อท่่านให้้พรจบแล้้ว พึึงรัับว่่า “สาธุุ ภัันเต”ระตะนััตตะเย ปะมาเทนะ ทะวาระตะเยนะ กะตััง สััพพััง อะปะราธััง ขะมะตุุ โน ภัันเต. หมายเหตุุ อายััสมัันเต, เถเร, มหาเถเร, อาจะริิเย, อุุปััชฌาเย, ถ้้าเป็็นอาจารย์์ พึึงเปลี่่�ยนว่่า อาจะริิเย แทนคำำ�ว่า่ ระตะนััตตะเย ถ้้าอยู่่�ในฐานะอะไรพึึงเปลี่่�ยนอย่่างนั้้น� ถ้้าคนเดีียวคำำ�ว่่า ขะมะตุุ โน เป็็น ขะมะถะ เม
คำำ�ถวายทานในพิิธีีต่่าง ๆ คำำ�ถวายผ้้ากฐิิน
อิิมังั ภัันเต, สัังฆััสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุุ โน ภัันเต, สัังโฆ, อิิมังั สะปะริิวารััง, กะฐิินะทุุสสััง, ปะฎิิคคััณหาตุุ, ปะฏิิคคะเหตวา จะ, อิิมิินา ทุุสเสนะ, กะฐิินััง, อััตถะระตุุ, อััมหากััง, ทีีฆะรััตตััง, หิิตายะ, สุุขายะ. ข้้าแต่่พระสงฆ์์ผู้้�เจริิญ ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย ขอน้้อมถวายผ้้ากฐิิน กัับทั้้�งบริิวาร ทั้้�งหลายเหล่่านี้้� แด่่พระสงฆ์์ ขอพระสงฆ์์จงรัับ ผ้้ากฐิิน กัับทั้้�งบริิวารทั้้�งหลายเหล่่า นี้้� ของข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย ครั้้�นรัับแล้้ว จงกรานด้้วยผ้้านี้้� เพื่่�อประโยชน์์ เพื่่�อความสุุข แก่่ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย ตลอดกาลนานเทอญ.
หนัังสืือทำำ�วััตร
107
สวดมนต์์แปล
คำำ�ถวายผ้้าป่่าบัังสุุกุุล อิิ ม านิิ มะยัั ง ภัั น เต, ปัั ง สุุ กุุ ล ะจีี ว ะรานิิ , สะปะริิ ว ารานิิ , สัั ง ฆัั สส ะ, โอโณชะยามะ, สาธุุ โน ภัันเต, สัังโฆ, อิิมานิิ ปัังสุุกุุละจีีวะรานิิ, สะปะริิวารานิิ, ปะฎิิคคััณหาตุุ, อััมหากััง, ทีีฆะรััตตััง, หิิตายะ, สุุขายะ. ข้้าแต่่พระภิิกษุุสงฆ์์ผู้้�เจริิญ ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย ขอน้้อมถวายซึ่่�งผ้้าบัังสุุกุุล กัับ บริิวารทั้้�งหลายเหล่่านี้้� แด่่พระสงฆ์์ ขอพระสงฆ์์จงรัับ ซึ่่�งผ้้าบัังสุุกุุล กัับบริิวาร ทั้้�งหลายเหล่่านี้้� ของข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย เพื่่�อประโยชน์์ เพื่่�อความสุุข แก่่ข้้าพเจ้้า ทั้้�งหลาย ตลอดกาลนานเทอญฯ
คำำ�ถวายสัังฆทาน อิิมานิิ มะยััง ภัันเต, สัังฆะทานานิิ, (ภััตตานิิ) สะปะริิวารานิิ, ภิิกขุุสังั ฆััสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุุ โน ภัันเต, ภิิกขุุสัังโฆ, อิิมานิิ, สัังฆะทานานิิ, (ภััตตานิิ) สะปะริิวารานิิ, ปะฎิิคคััณหาตุุ, อััมหากััง, ทีีฆะรััตตััง, หิิตายะ, สุุขายะ.
ข้้าแต่่พระสงฆ์์ผู้้�เจริิญ ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย ขอน้้อมถวายสัังฆทาน (ภััตตาหาร) กัับทั้้ง� บริิวารทั้้ง� หลายเหล่่านี้้� แด่่พระสงฆ์์ ขอพระสงฆ์์จงรัับ ซึ่่ง� สัังฆทาน (ภััตตาหาร) กัับทั้้�งบริิวารทั้้�งหลายเหล่่านี้้� ของข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย เพื่่�อประโยชน์์และความสุุข แก่่ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลายสิ้้�นกาลนานเทอญ ฯ.
คำำ�ถวายผ้้าอาบน้ำำ��ฝน อิิมานิิ มะยััง ภัันเต, วััสสิิกะสาฏิิกานิิ, สะปะริิวารานิิ, ภิิกขุุสัังฆััสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุุ โน ภัันเต, ภิิกขุุสังั โฆ, อิิมานิิ, วััสสิกิ ะสาฏิิกานิิ, สะปะริิวารานิิ, ปะฏิิคคััณหาตุุ, อััมหากััง, ทีีฆะรััตตััง, หิิตายะ, สุุขายะ. ข้้าแต่่พระสงฆ์์ผู้้�เจริิญ ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย ขอน้้อมถวาย ผ้้าอาบน้ำำ��ฝน กัับ ทั้้ง� บริิวารทั้้ง� หลายเหล่่านี้้ ข � อพระสงฆ์์จงรัับ ผ้้าอาบน้ำำ�ฝน กัั � บทั้้ง� บริิวารทั้้ง� หลายเหล่่านี้้� ของข้้าพเจ้้าทั้้ง� หลาย เพื่่อ� ประโยชน์์ และความสุุขแก่่ข้้าพเจ้า้ ทั้้ง� หลาย สิ้้นก � าลนาน เทอญฯ. หนัังสืือทำำ�วััตร
108
สวดมนต์์แปล
คำำ�ถวายสัังฆทาน (อุุทิิศให้้ผู้้�ตาย) อิิมานิิ มะยััง ภัันเต, มะตะกะภััตตานิิ, สะปะริิวารานิิ, ภิิกขุุสัังฆััสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุุ โน ภัันเต, ภิิกขุุสัังโฆ, อิิมานิิ, มะตะกะภััตตานิิ, สะปะริิวารานิิ, ปะฏิิคคััณหาตุุ, อััมหากััญเจวะ, มาตาปิิตุ,ุ อาทีีนัญ ั จะ, ญาตะกานััง, กาละกะตานััง, ทีีฆะรััตตััง, หิิตายะ, สุุขายะ. ข้้าแต่่พระสงฆ์์ผู้้�เจริิญ ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย ขอน้้อมถวาย มะตะกะภััตตาหาร กัับทั้้�งบริิวารทั้้�งหลายเหล่่านี้้� แด่่พระสงฆ์์ ขอพระสงฆ์์จงรัับมะตะกะภััตตาหาร กัับทั้้�งบริิวารทั้้�งหลายเหล่่านี้้� ของข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย เพื่่�อประโยชน์์ และความสุุข แก่่ข้้าพเจ้า้ ทั้้ง� หลาย แก่่ญาติิของข้้าพเจ้า้ ทั้้ง� หลาย มีีมารดาบิิดาเป็็นต้้นด้้วย แก่่............ (ออกชื่่�อผู้้�ที่่�จะอุุทิิศไปให้้) ผู้้�ล่่วงลัับไปแล้้วด้้วย สิ้้�นกาลนานเทอญฯ.
คำำ�ถวายเทีียนพรรษา ยััคเฆ ภัันเต สัังโฆ ปะฏิิชานาตุุ, มะยััง ภัันเต, เอตััง ปะทีีปััง สะปะริิวารััง, เตมาสััง พุุทธััสสะ,ปููชะนััตถายะ, อิิมััสสะมิิง, อุุโปสะถาคาเร(วิิหาเร) นิิยยาเทมะ, สาธุุ โน ภัันเต, อะยััง เตมาสััง,พุุทธัสส ั ะ, ปููชะนััตถายะ, ปะทีีปะทานััสสะ, อานิิสังั โส, อััมหากััญเจวะ, มาตาปิิตุุ, อาทีีนััญจะ,ปิิยะชะนานััง, ทีีฆะรััตตััง, หิิตายะ, สุุขายะ, สัังวััตตะตุุ. ข้้าแต่่พระภิิกษุุสงฆ์์ผู้้�เจริิญ ขอพระสงฆ์์จงรัับทราบ ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย ขอมอบ ถวายเทีียนพรรษา กัับทั้้�งบริิวารทั้้�งหลายเหล่่านี้้�ไว้้ ณ พระอุุโบสถ (วิิหาร) นี้้� เพื่่�อเป็็น พุุทธบููชาตลอดพรรษา ขออานิิสงส์์แห่่งการถวายเทีียนพรรษานี้้� ของข้้าพเจ้า้ ทั้้ง� หลาย จงเป็็นไปเพื่่�อประโยชน์์ และความสุุข แก่่ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย แก่่ปิิยะชนทั้้�งหลาย มีีมารดาบิิดาเป็็นต้้นด้้วย สิ้้�นกาลนานเทอญฯ.
หนัังสืือทำำ�วััตร
109
สวดมนต์์แปล
คำำ�บููชาในวัันสำำ�คััญต่่าง ๆ
หนัังสืือทำำ�วััตร
110
สวดมนต์์แปล
ภาค ๖ คำำ�บููชาในวัันสำำ�คััญต่่าง ๆ คำำ�บููชาในวัันมาฆปุุณณมีี
อััชชายััง, มาฆะปุุณณะมีี สััมปััตตา, มาฆะนัักขััตเตนะ ปุุณณะจัันโท ยุุตโต, ยััตถะ ตะถาคะโต, อะระหัั ง สััมมาสััมพุุ ท โธ, จาตุุ รัั งคิิ เ ก สาวกสัันนิิ ป าเต, โอวาทะปาฏิิโมกขััง อุุททิสิิ ิ. ตะทา หิิ อััฑฒะเตระสานิิ ภิกขุ ิ ุสะตานิิ, สััพเพสัังเยวะ ขีีณาสะวานััง, สััพเพเต เอหิิภิกขุ ิ กุ า, สััพ-เพปิิ เต อะนิิมัันติติ าวะ, ภะคะวะโต สัันติิกััง อาคะตา เวฬุุวะเน กะลัันทะกะนิิวาเป, มาฆะปุุณณะมิิยััง วััฑฒะมานะกััจฉายายะ ตััสมิิง สัันนิิปาเต, ภะคะวา วิิสุุทธุุตตะมุุโปสะถััง อะกาสิิ, โอวาทะปาฏิิโมกขััง อุุททิิสิิ. อะยััง อััมหากััง ภะคะวะโต เอโกเยวะ, สาวะกะสัันนิิปาโต อะโหสิิ จาตุุรัังคิิโก, อััฑฒะ เตระสานิิ ภิิกขุุสะตานิิ, สััพเพสัังเยวะ ขีีณาสะวานััง. มะยัันทานิิ อิิมััง มาฆะปุุณณะมีีนัักขััตตะสะมะยััง ตัักกาละสะทิิสัังสััมปััตตา, สุุจิิระปะริินิิพพุุตััมปิิ ตััง ภะคะวัันตััง สะมะนุุสสะระมานา, (๑อิิเม ทััณฑะทีีปะธููปะปุุปผาทิิสัักกาเร คะเหตวา อััตตะโน กายััง สัักการููปะธานััง กะริิตวา ตััสสะ ภะคะวะโต เตสััญจะ อััฑฒะเตรสานััง, ภิิกขุุสะตานััง, ยะถาภุุจเจ คุุเณ อะนุุสสะรัันตา อิิมััง พุุทธะปะฏิิมััง ติิกขััตตุุง ปะทััก ขิิณััง กะริิสสามะ, ยะถาคะหิิเตหิิ สัักกาเรหิิ ปููชััง กุุรุุมานา) สาธุุ โน ภัันเต ภะคะวา, สะสาวะกะสัังโฆ สุุจิิระปะริินิิพพุุโตปิิ คุุเณหิิ ธะระมาโน, อิิเม สัักกาเร ปะฏิิคคััณหาตุุ อััมหากััง ทีีฆะรััตตััง หิิตายะ สุุขายะ. คำำ�แปล ณ วัันนี้้� เป็็นวัันพระจัันทร์์เพ็็ญเต็็มดวง ประกอบด้้วยฤกษ์์มาฆะมาถึึงด้้วยดีี ณ วัันนี้้�แล้้ว ในวัันใดเล่่า พระตถาคต อรหัันตสััมมาสััมพุุทธเจ้้า ได้้ทรงแสดง พระปาฏิิโมกข์์ ในท่่ามกลาง ณ วัันนี้้� เป็็นวัันพระจัันทร์์เพ็็ญเต็็มดวง ประกอบด้้วยฤกษ์์มาฆะมาถึึงด้้วยดีี ณ วัันนี้้�แล้้ว ในวัันใดเล่่า พระตถาคต อรหัันตสััมมาสััมพุุทธเจ้้า ได้้ทรงแสดงพระปาฏิิโมกข์์ ในท่่ามกลางพระภิิกษุสุ งฆ์์ หนึ่ง่� พัันสองร้้อยห้้าสิิบองค์์ ล้้วนแต่่พระขีีณาสพ ล้้วนได้้เป็็น เอหิิภิกขุ ิ ปุ ฏิิสััมภิทิ าญาณ อยู่่�ในทิิศต่่าง ๆ ไม่่มีใี ครนิิมนต์์นััดหมาย ได้้มาประชุุมพร้้อมกััน ในสำำ�นัักพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า ที่่�เวฬุุวนารามเวลาตะวัันบ่่าย ในวัันมาฆปุุณณมีี หนัังสืือทำำ�วััตร
111
สวดมนต์์แปล
พระองค์์ได้้ทรงกระทำำ�วิิสุุทธิิอุุโบสถ ทรงแสดงโอวาทปาฏิิโมกข์์ สามพระคาถากึ่่�ง ณ ที่่�ประชุุมพระอรหัันต์์หนึ่่�งพัันสองร้้อยห้้าสิิบองค์์นั้้�น อนึ่่�ง สาวกสัันนิิบาตของ พระผู้้มี� พี ระภาคเจ้้าแห่่งเราทั้้ง� หลาย หนึ่่ง� พัันสองร้้อยห้้าสิิบองค์์นั้น ล้้วน �้ แต่่พระขีีณาสพ ล้้วนเป็็นเอหิิภิกขุ ิ อุุ ปุ สมบท มาประชุุมพร้้อมด้้วยองค์์สี่่ป� ระการ ได้้มีีคราวเดีียวเท่่านั้้น � บััดนี้้ ข้้ � าพเจ้า้ ทั้้ง� หลายได้้มีีชีวิี ตม ิ าถึึง วัันมาฆปุุณณมีีนี้้� ซึ่่ง� คล้้ายกัับวัันสาวกสัันนิิบาตนั้้น� ข้้าพเจ้า้ ระลึึกถึึงพระผู้้มี� พี ระภาคเจ้า้ นั้้น � แม้้เสด็็จปรินิิ พิ พานนานแล้้ว ( ๑ ได้้ถืือ เครื่่อ� งสัักการะทั้้ง� หลาย มีีเทีียน ธููป ดอกไม้้เป็็นต้้น กระทำำ�กายของตนให้้เป็็นเชิิงรอง เครื่อ�่ งสัักการะ ระลึึกถึึงพระคุุณที่่เ� ป็็นจริงิ ของพระผู้้มี� พี ระภาคเจ้า้ นั้้น � และของพระภิิกษุุ ๑,๒๕๐ องค์์เหล่่านั้้�น กระทำำ�การบููชาด้้วยเครื่่�องสัักการะตามที่่�ถืืออยู่่�นี้้� จัักกระทำำ� ประทัักษิิณซึ่่�งพระพุุทธปฏิิมานี้้� ๓ รอบ) สาธุุ ข้้าแต่่พระองค์์ผู้เ้� จริิญ ข้้าพระองค์์ขอพระวโรกาส ขอพระผู้้มี� พี ระภาคเจ้า้ พร้้อมด้้วยพระสงฆ์์สาวก แม้้เสด็็จปริินิิพพานไปนานแล้้ว แต่่ยัังคงดำำ�รงอยู่่�ด้้วย พระคุุณทั้้ง� หลาย ขอจงทรงรัับเครื่อ�่ งสัักการะเหล่่านี้้ ข � องข้้าพเจ้้าทั้้ง� หลาย เพื่่อ� ประโยชน์์ เพื่่�อความสุุข แก่่ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย ตลอดกาลนานเทอญ.
คำำ�บููชาในวัันวิิสาขบููชา อััชชายััง, วิิสาขะปุุณณะมีี สััมปัตต ั า, วิิสาขะนัักขััตเตนะ, ปุุณณะจัันโท, ยุุตโต ยััตถะ ตะถาคะโต, อะระหังั สััมมาสััมพุุทโธ, วิิสาขะปุุณณะมิิยััง, ชาโต, อัันติิมะชาติิยา, ปััตโต จะ, อะภิิ-สััมโพธิิง, อะโถปิิ, ปะริินิิพพุุโต, โลเก ชาโต จะ, กะรุุณาเวคะโจทิิโต, เทวานััญเจวะ, มะ-นุุสสานััญจะ, อะเนเกสะมะเนกะธา, ทิิฏฐะธััมมะสััมปะรายะ, ปะระมััตถะปะเภทะโต, ติิวิิธััชเถ, อะสาเธสิิ, ธััมเมนะ, วิินะเยนะ จะ, สััทธััมมััง, ติิวิธััิ ง, โลเก, สััมมะเทวะ, ปะวััตตะยิิ มะยัันทานิิ, อิิมััง, วิิสาขะปุุณณะมีีนัักขััตตะสะมะยััง, ตัักกาละสะทิิสััง, สััมปััตตา, สุุจิิระปะนิิพพุุตััมปิิ, ตััง ภะคะวัันตััง, อะนุุสสะระมานา, อิิมััสสะมิิง, ตััสสะ ภะคะวะโต, สัักขิิภููเต เจติิเย, ยะถาระหััง, อาโรปิิเตหิิ, อิิเมหิิ, ทีีปะธููปะปุุปผาทิิสัักกาเรหิิ, ตััง ภะคะวัันตััง, สััทธััมมััง, สะสัังฆััง, อะภิิปููชะยามะ, สาธุุ โน ภัันเต, ภะคะวา, สุุจิิระปะริินิิพพุุโตปิิ, กะรุุณาทีีหิิ, คุุเณหิิ, ธะระมาโน, อิิเม สัักกาเร, ทุุคคะตะปััณณาการะภููเต, ปะฏิิคคััณหาตุุ, อััมหากััง, ทีีฆะรััตตััง, หิิตายะ, สุุขายะ. หนัังสืือทำำ�วััตร
112
สวดมนต์์แปล
คำำ�แปล วัันเพ็็ญฤกษ์์วิสิ าขะมาถึึงด้้วยดีี ณ วัันนี้้�แล้้ว พระจัันทร์์เพ็็ญเต็็มดวง ประกอบด้้วย ฤกษ์์วิิสาขะแล้้ว ในวัันใดเล่่า พระตถาคตอรหัันตสััมมาสััมพุุทธเจ้้า ได้้บัังเกิิดขึ้้�นแล้้ว ในศากยะตระกููลโคตมะวงศ์์ ในมััชฌิิมประเทศ ซึ่่�งเป็็นที่่�อยู่่�ของชาวอริิยกะทั้้�งหลาย พระองค์์นั้้�นเป็็นสุุขุุมาลชาติิ ตั้้�งอยู่่�ในความเป็็นสุุขอย่่างยิ่่�ง ควรจะพิิจารณาโดย เอนกประการ พระสััมมาสััมพุุทธเจ้้า มีีมงคลสมััยอัันพิิเศษ ซึ่่�งบุุรพาจารย์์ หากนิิยมกำำ�หนดไว้้ว่า่ พระองค์์ประสููติิ และตรััสรู้�้ และเสด็็จดัับขัันธ์์ปรินิิ พิ พาน สามสมััยกาลนี้้� ในวัันวิิสาขปุุณณมีี ดิิถีีวัันเพ็็ญพระจัันทร์์เสวยนัักขััตฤกษ์์ เป็็นมหามงคลกาลพิิเศษ พระองค์์บัังเกิิดขึ้้น� แล้้วในโลก เป็็นพระศาสดาสั่่ง� สอนสััตว์์ ให้้ปฏิิบััติใิ นหนทางแห่่งความสุุข และประโยชน์์ อัันกำำ�ลัังแห่่งพระกรุุณา หากตัักเตืือนให้้ทรงสั่่�งสอนประโยชน์์ทั้้�งสาม คืือ ประโยชน์์ในชาติินี้้� และประโยชน์์ชาติิหน้้า และประโยชน์์อย่่างยิ่่ง� คืือพระนิิพพาน ให้้สำำ�เร็็จแก่่เทพยดา และมนุุษย์์เป็็นอัันมาก ด้้วยเทศนาวิิธีีต่่าง ๆ ผ่่อนผัันตามจริิตและ อััธยาศััยแห่่งสััตว์์นั้น �้ ๆ ทรงแสดงธรรม และทรงบััญญััติิวินััิ ย ให้้พระสััทธรรมทั้้ง� สามประการ คืือ พระปริิยััติิสััทธรรม, พระปฏิิบััติิสััทธรรม และพระปฏิิเวธสััทธรรม เป็็นไปในโลก โดยชอบแล้้ว พระองค์์ดัับขัันธ์์ปรินิิ พิ พาน แห่่งพระสััมมาสััมพุุทธเจ้า้ นั้้น ข้้ � าพเจ้า้ ทั้้ง� หลาย มาถึึงวัันวิิสาขะปุุณณมีีนี้้� ซึ่่�งคล้้ายกัับวัันประสููติิ, ตรััสรู้้� และเสด็็จดัับขัันธ์์ปริินิิพพาน แห่่งพระสััมมาสััมพุุทธเจ้้านั้้�น ข้้าพเจ้า้ ทั้้ง� หลาย ระลึึกถึึงพระผู้้มี� พี ระภาคเจ้้านั้้น � แม้้เสด็็จดัับขัันธ์์ปรินิิ พิ พานนานแล้้ว เคารพบููชาพระองค์์กัับพระธรรมและพระสงฆ์์ ด้้วยเครื่อ�่ งสัักการะ มีีเทีียน ธููป ดอกไม้้ เหล่่านี้้� เป็็นต้้น ขอพระองค์์ซึ่่�งดำำ�รงอยู่่�โดยพระคุุณทั้้�งหลาย มีีพระกรุุณาคุุณ เป็็นต้้น จงทรงรัับ สัักการะบรรณาการ ของข้้าพเจ้้าคนยากทั้้�งหลายเหล่่านี้้� เพื่่�อประโยชน์์และความสุุข แก่่ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย สิ้้�นกาลนาน เทอญฯ
หนัังสืือทำำ�วััตร
113
สวดมนต์์แปล
คำำ�บููชาในวัันอััฏฐะมีีบููชา อััชชายััง, วิิสาขะปุุณณะมิิโต ปะรััง, อััฏฐะมีี, สััมปััตตา, ยาทิิเส, สุุนิิพพุุตััสสะ, ภะคะวะโต, อะระหะโต สััมมาสััมพุุทธััสสะ, สะรีีรััชฌาปะนะกาละภููโต, อะโหสิิ, สััทเธหิิ, มััลเลหิิ, สััพพะคัันธานััง, กะตะจีีตะกา, ปาฏิิเหรััง, ทััสสะยัันตีี, สะยะเมวะ, อะปััชชะลิิ, ตััสสะ ภะคะวะโต, สุุนิิพพุุตััสสะ, อะระหะโต สััมมาสััมพุุทธััสสะ, อัันติิมะเทหะภููตััง, ทะวััตติิงสะปะวะระมะหาปุุริสิ ะลัักขะณะ, ปะฏิิมััณฑิิตััง, ธาตุุภููเตนะ, เตเชนะ, อััชฌายิิตถะ, ตาทิิโสวะ, อะภิิลัักขิิโต, มะยัันทานิิ, ตััสสะ ภะคะวะโต, อิิมััง, สะรีีรััชฌาปะนะกาละภููตััง, พุุทธานุุสสะ-ระณาระหััง, อะนุุกาเลนะ สััมปััตตา, สุุ จิิ ร ะปะริิ นิิ พ พุุ ตััมปิิ , ตััง ภะคะวัันตััง, อะนุุ ส สะระมานา อิิ มัั สสะมิิ ง , ตััสสะ ภะคะวะโต, สัักขิิภููเต, เจติิเย, ยะถาระหังั , อาโรปิิเตหิิ, อิิเมหิิ, ทีีปะธููปะปุุปผาทิิสัักกาเรหิิ, ตััง ภะคะวัันตััง, อะภิิปููชะยามะ, สาธุุ โน ภัันเต, ภะคะวา, สุุจิริ ะปะริิพพุุโตปิิ, กะรุุณาทีีหิ,ิ คุุเณหิิ, ธะระมาโน, อิิเม สัักกาเร, ทุุคคะตะปััณณาการะภููเต, ปะฏิิคคััณหาตุุ, อััมหากััง, ทีีฆะรััตตััง, หิิตายะ สุุขายะ. คำำ�แปล ดิิถีีที่่� ๘ เบื้้�องหน้้า แต่่วัันวิิสาขปุุณณมีี มาถึึงด้้วยดีี ณ วัันนี้้�แล้้ว ในวัันเช่่นไรเล่่า เป็็นวัันถวายพระเพลิิง พระสรีีระแห่่งพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้าได้้มีีแล้้ว จิิตตกาธารแห่่ง พระผู้้มี� พี ระภาคเจ้้า อัันกษััตริิย์มััลล ์ ราชทั้้ง� หลายทรงศรััทธาบููชาแล้้ว ล้้วนด้้วยเครื่อ�่ งหอม สำำ�แดงปาฏิิหาริิย์์เปลวเพลิิง ได้้รุ่่�งเรืืองขึ้้�นแล้้วเอง ถวายพระเพลิิงพระสรีีระพระกาย ที่่สุ� ดุ ประดัับด้้วยมหาปุุริสิ ลัักษณะ อัันประเสริิฐสามสิิบสองประการ แห่่งพระผู้้มี� พี ระภาคเจ้้า เสด็็จปรินิิ พิ พานแล้้ว ด้้วยอาการอัันดีีพระองค์์นั้น วััน �้ เช่่นนี้้แ� ล กำำ�หนดว่่าเป็็นวัันเจริิญยิ่่ง� มาถึึงด้้วยดีีแล้้ว ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลาย มาถึึงกาลซึ่่�งคล้้ายกัันกัับวัันเช่่นนั้้�น ควรระลึึกถึึง พระพุุทธคุุณเป็็นอารมณ์์ มาระลึึกถึึงพระผู้้มี� พี ระภาคเจ้า้ นั้้น � แม้้เสด็็จปรินิิ พิ พานนานแล้้ว ข้้าพเจ้า้ ทั้้ง� หลาย เคารพบููชาพระองค์์ด้้วยเครื่อ�่ งสัักการะ มีีเทีียน ธููป ดอกไม้้ เหล่่านี้้� เป็็นต้้น ขอพระผู้้มี� พี ระภาคเจ้้านั้้น � แม้้ปริินิพิ พานนานแล้้ว ซึ่่ง� ดำำ�รงอยู่่�โดยพระคุุณทั้้ง� หลาย มีีพระกรุุณาคุุณเป็็นต้้น จงทรงรัับ เครื่่�องสัักการะบรรณาการเหล่่านี้้� ของข้้าพเจ้้า คนยากทั้้�งหลาย เพื่่�อประโยชน์์ และความสุุข แก่่ข้้าพเจ้้าทั้้�งหลายสิ้้�นกาลนานเทอญฯ หนัังสืือทำำ�วััตร
114
สวดมนต์์แปล
คำำ�บููชาในวัันอาสาฬหปุุณณมีี ยะมััมหะ โข มะยััง, ภะคะวัันตััง สะระณััง คะตา, โย โน ภะคะวา สััตถา, ยััสสะ จะ มะยััง ภะคะวะโต ธััมมััง โรเจมะ, อะโหสิิ โข โส ภะคะวา, อะระหัั ง สััมมาสััมพุุ ท โธ, สััตเตสุุ ก ารุุ ญ ญััง ปะฏิิ จจ ะ, กะรุุ ณ ายะโก หิิ เ ตสีี , อะนุุกััมปััง อุุปาทายะ, อาสาฬะหะปุุณณะมิิยััง, พาราณะสิิยััง อิิสิิ-ปะตะเน มิิคะทาเย, ปััญจะวััคคิิยานััง ภิิกขููนััง, อะนุุตตะรััง ธััมมะจัักกััง ปะฐะมััง ปะวััตเตตตะวา, จััตตาริิ อะริิยะสััจจานิิ ปะกาเสสิิ. ตััสสะมิิญจะ โข สะมะเย ปััญจะวััคคิิยานััง ภิิกขููนััง ปะมุุโข, อายััสสะมา อััญญาโกณฑััญโญภะคะวะโต ธััมมััง สุุตตะวา, วิิระชััง วีีตะมะลััง ธััมมะจัักขุุง ปะฏิิละภิิตตะวา, ยัังกิิญจิิ สะมุุทะยะธััมมััง สััพพัันตััง นิิโรธะธััมมัันติิ, ภะคะวัันตััง อุุปะสััมปะทััง ยาจิิตตะวา, ภะคะวะโตเยวะ สัันติิกา, เอหิิภิกขุ ิ อุุ ปุ ะสััมปะทััง ปะฏิิละภิิตตะวา, ภะคะวะโต ธััมมะวิินะเย อะริิย-ะสาวะกะสัังโฆ, โลเก ปะฐะมััง อุุปปัันโน อะโหสิิ. ตััสสะมิิญจาปิิ โข สะมะเย, สัังฆะระตะนััง โลเก ปะฐะมััง อุุปปัันนััง อะโหสิิ, พุุทธะระตะนััง ธััมมะระตะนััง สัังฆะระตะนัันติิ, ติิระตะนััง สััมปัันณััง อะโหสิิ. มะยััง โข เอตะระหิิ, อิิมััง อาสาฬะหะปุุณณะมีีกาลััง, ตััสสะ ภะคะวะโต ธััมมะจัักกััปปะวััตตะนััง กาละสััมมะตััง, อะริิยะสาวะกะสัังฆะอุุปปะติิกา ละสััมมะตััญจะ, ระตะนััตตะยะสััมปุุ ณ ณะกาละสััมมะตััญจะ ปัั ตต ะวา, อิิมััง ฐานััง สััมปััตตา, อิิเม สัักกาเร คะเหตตะวา, อััตตะโน กายััง สัักการููปะธานััง กะริิตตะวา, ตััสสะ ภะคะวะโต, ยะถาภุุจเจ คุุเณ, อะนุุสสะรัันตา, อิิมััง พุุทธะปะฏิิมััง, ติิกขััตตุุง, ปะทัักขิิณััง กะริิสสามะ, ยะถาคะหิิเตหิิ, สัักกาเรหิิ ปููชััง กุุรุุมานา, สาธุุ โน ภัันเต ภะคะวา, สุุจิริ ะปะริินิพิ พุุโตปิิ, ญาตััพเพหิิ คุเุ ณหิิ, อะตีีตารััมมะณะตายะ, ปััญญายะมาโน, อิิเม อััมเหหิิ, คะหิิเต สัักกาเร ปะฏิิคคััณหาตุุ, อััมหากััง ทีีฆะรััตตััง หิิตายะ สุุขายะ.
หนัังสืือทำำ�วััตร
115
สวดมนต์์แปล
คำำ�แปล เราทั้้ง� หลาย ถึึงแล้้วซึ่่ง� พระผู้้มี� พี ระภาค พระองค์์ใด ว่่าเป็็นที่่พึ่� ง�่ พระผู้้มี� พี ระภาค พระองค์์ใด เป็็นพระศาสดาของเราทั้้�งหลาย อนึ่่�ง เราทั้้�งหลาย ชอบใจซึ่่�งธรรมะ ของพระผู้้�มีีพระภาคพระองค์์ใด พระผู้้�มีีพระภาคเจ้า้ พระองค์์นั้น ้� เป็็นพระอรหัันต์์ ตรััสรู้้�ชอบเอง ทรงอาศััยความกรุุณาในสััตว์์ทั้้�งหลาย ทรงพระกรุุณาแสวงหา ประโยชน์์เกื้้�อกููล ทรงอาศััยความเอ็็นดูู ได้้ยัังพระธรรมจัักรอัันยอดเยี่่�ยมให้้เป็็นไป ทรงประกาศอริิยสััจจ์์สี่่เ� ป็็นครั้ง�้ แรก แก่่พระภิิกษุปัุ ญ ั จวััคคีีย์ ที่่ ์ ป่� า่ อิิสิปตนม ิ ฤคทายวััน ใกล้้กรุุงพาราณสีี ในวัันอาสาฬหปุุณณมีี อนึ่่�ง ในสมััยนั้้�นแลท่่าน พระอััญญาโกณฑััญญะ ผู้้�เป็็นหััวหน้้าของพระภิิกษุุปััญจวััคคีีย์์ ฟัังธรรม ของพระผู้้มี� พี ระภาคเจ้า้ แล้้ว ได้้ธรรมจัักษุุอัันบริิสุทธิ์์ ุ ป� ราศจากมลทิินว่า่ สิ่่�งใดสิ่่ง� หนึ่่ง� มีีความเกิิดขึ้้�นเป็็นธรรมดา สิ่่�งทั้้�งปวงนั้้�น มีีความดัับไปเป็็นธรรมดา จึึงทููลขอ อุุปสมบทกัับพระผู้้มี� พี ระภาคเจ้า้ เป็็นองค์์แรกในโลก อนึ่่ง� ในสมััยนั้้น� แล พระสัังฆรััตนะ ได้้บัังเกิิดขึ้้�นเป็็นครั้้�งแรก พระรััตนตรััย คืือ พระพุุทธรััตนะ พระธรรมรััตนะ พระสัังฆรััตนะ ได้้สมบููรณ์์แล้้วในโลก บััดนี้้� เราทั้้�งหลายแล มาประจวบมงคลสมััย อาสาฬหปุุณณะมีีวัันเพ็็ญอาสาฬหมาส ที่่�รู้พ�้ ร้้อมกัันว่่า เป็็นวัันที่่พ� ระผู้้มี� พี ระภาคเจ้า้ พระองค์์นั้้�น ทรงประกาศพระธรรมจัักร เป็็นวัันที่่�เกิิดขึ้้�นแห่่งพระอริิยสงฆ์์สาวก และเป็็นวัันที่่�พระรััตนตรััยสมบููรณ์์ คืือ ครบสามรััตนะ จึึงมาประชุุมกัันแล้้ว ณ ที่่�นี้้� ถืือสัักการะเหล่่านี้้� ทำำ�กายของตนให้้เป็็นดัังภาชนะ รัับเครื่่�องสัักการะ ระลึึกถึึง พระคุุณทั้้�งหลายของพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้านั้้�นตามเป็็นจริิง บููชาอยู่่�ด้้วยสัักการะ อัันถืือไว้้แล้้วอย่่างไร จัักทำำ�ประทัักษิิณสิ้้�นวาระสามรอบ ซึ่่�งพระพุุทธปฏิิมานี้้� ข้้าแต่่พระองค์์ผู้้�เจริิญ ขอพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า แม้้เสด็็จปริินิิพพานนาน มาแล้้วยัังปรากฏโดยพระคุุณสมบััติิ อัันข้้าพระพุุทธเจ้้าทั้้�งหลาย จะพึึงรู้้�ได้้โดย ความเป็็นอตีีตารมณ์์ จงทรงรัับซึ่่�งเครื่่�องสัักการะ อัันข้้าพระพุุทธเจ้้าทั้้�งหลาย ถืือไว้แ้ ล้้วนี้้� เพื่่อ� ประโยชน์์ และความสุุข แก่่ข้้าพระพุุทธเจ้า้ ทั้้ง� หลาย สิ้้นก � าลนานเทอญฯ
หนัังสืือทำำ�วััตร
116
สวดมนต์์แปล
หนัังสืือทำำ�วััตร
117
สวดมนต์์แปล
หนัังสืือทำำ�วััตร สวดมนต์์แปล
www
Website
issuu
ปัักหมุุดเมืืองไทย
ปัักหมุุดเมืืองไทย