จัังหวััดสุุริินทร์์ ตำำ�บลท่่าสว่่าง อำำ�เภอเมืืองสุุริินทร์์
นายบุุญรวม รุ่่�งเรืือง
นายกองค์์การบริิหารส่่วนตำำ�บลท่่าสว่่าง
องค์์การบริิหารส่่วนตำำ�บลท่่าสว่่าง ตำำ�บลท่่าสว่่าง อำำ�เภอเมืืองสุุริินทร์์ จัังหวััดสุุริินทร์์ Tasawang Subdistrict Administrative Organization Tasawang Subdistrict, Mueang Surin District, Surin Province
พอเพีียง การศึึกษา
เกษตรอิินทรีีย์์นำำ�วิิถีี ร้้อยเรีียงวััฒนธรรมค้ำำ�� จุุน วััฒนธรรมภููมิิปััญญ พััฒนาผ้้าไหมทองก้้องลืือไกล
ส่่งเสริิม
เอกลัักษณ์์จุุดเด่่น ของท้้ องถิ่่�นที่่�สำำ�คััญ
ตำำ�บลท่า่ สว่่าง อยู่่ห่่� างจากตััวจัังหวััดสุุรินิ ทร์์เพีียง 5 กิิโลเมตร การเดิินทางค่่อนข้้างสะดวก ประชากรส่ว่ นใหญ่่ประกอบอาชีีพการทำำ�เกษตร ดำำ�รงชีีวิตต ิ ามวิิถีชี นบทอัันเรีียบง่่ายและมีีเสน่่ห์์ มีีสถานที่่แ� ละแหล่่งท่อ่ งเที่่ย� วที่่สำ� �คั ำ ญ ั รวมถึึงแหล่่งเรีียนรู้้�ด้้านศิิลปวััฒนธรรมประเพณีีอันั งดงาม หลายแห่่งให้้เยี่่ย� มชม
กลุ่่�มทอผ้้าไหมยกทองโบราณ
บ้้านท่่าสว่่าง หมู่่�ที่่� 1 นอกจากการได้้เยี่่�ยมชมกรรมวิิธีีการย้้อมผ้้า ด้้วยสีีธรรมชาติิ และวิิธีีการถัักทอลวดลายไทยอัันแสน งดงามด้้วยกี่่�โบราณ ณ กลุ่่�มทอผ้้ายกทองโบราณ “จัันทร์์โสมา”ของท่่านอาจารย์์วีีรธรรม ตระกููลเงิินไทย ผู้้�ออกแบบลวดลายผ้้าไหมยกทองโบราณตามแบบลาย พระราชสำำ�นัั ก แล้้ ว บ้้ า นท่่ า สว่่างยัั ง มีี แ หล่่งจำำ� หน่่าย ผลิิตภััณฑ์์ฝีีมืือชาวบ้้านสไตล์์ OTOP ที่่�ตลาดชุุมชน สารพัันงานทอผ้้าไหม การตััดเย็็บเสื้้�อผ้้าและข้้าวของ เครื่่�องใช้้ที่่�ทำำ�จากผ้้าไหมคุุณภาพดีีมากมาย รวมถึึง โฮมสเตย์์สำำ�หรัับนัักท่่องเที่่�ยวที่่�ต้้องการสััมผััสวิิถีีชีีวิิต ของคนท้้องถิ่่�นอย่่างใกล้้ชิดิ เป็็นอีีกหนึ่่�งแหล่่งท่่องเที่่�ยว ที่่�นัักท่่องเที่่�ยวทั้้�งชาวไทยและชาวต่่างชาติิไม่่ควรพลาด โอกาสในการเช้้ามาเยี่่�ยมชมเลยทีีเดีียว
ศููนย์์เรีียนรู้้�การพััฒนางานด้้านป่่าไม้้ท่่าสว่่าง อัันเนื่่�องมาจากพระราชดำำ�ริิจัังหวััดสุุริินทร์์ พระบาทสมเด็็จพระบรมชนกาธิิเบศร มหาภููมิพ ิ ลอดุุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิิตรทรงพระกรุุณาโปรดเกล้้าฯ พระราชทานที่่�ดินิ ให้้แก่่จัังหวััดสุุรินิ ทร์์ เพื่่�อมอบให้้องค์์การบริิหารส่ว่ นตำำ�บลท่า่ สว่่างดำำ�เนิินโครงการปลููกป่่าชุุมชน เผยแพร่่พระราชดำำ�ริด้ิ า้ นป่่าไม้้ และฟื้้น� ฟููป่า่ ชุุมชน งานเพาะชำำ�กล้้าไม้้ เพื่่�อเผยแพร่่พระราชดำำ�ริด้ิ า้ นป่่าไม้้แก่่ประชาชน โดยกรมป่่าไม้้ร่่วมสนัับสนุนุ ดำำ�เนิินการ ตามที่่� นายธนยศ ญาณวิิเศษกุุล ราษฎรตำำ�บลในเมืือง อำำ�เภอเมืืองสุุรินิ ทร์์ จัังหวััดสุุริินทร์์ น้้อมเกล้้าฯ ถวายที่่�ดิิน โฉนดที่่�ดิินเลขที่่� ๑๔๓๓๕๑ เนื้้�อที่่� ๔ ไร่่ ๓ งาน ๑๓ ตารางวา ตั้้�งอยู่่�ที่่� ตำำ�บลท่่าสว่่าง อำำ�เภอเมืืองสุุริินทร์์ จัังหวััดสุุริินทร์์ เพื่่�อทรงใช้้ประโยชน์์ตามพระราชอััธยาศััย
พิิพิิธภััณฑ์์พระพุุทธรููปไม้้โบราณ
บ้้านอาม็็อง หมู่่�ที่่� 13
เป็็ น พิิ พิิ ธ ภัั ณ ฑ์์ ชุุ ม ชนที่่� ร วบรวมพระพุุ ท ธรูู ป ไม้้ แ กะสลัั ก ไม้้ โบราณเป็็นแรงศรััทธาของพระครููโสภณธรรมภิิมณฑ์์,ดร. ที่่�พยายาม รวมรวมและแสวงหาพระพุุทธรููปไม่่ที่่�มีศิี ลิ ปะแตกต่่างกัันตามยุุคสมัยั จึึง ทำำ�ให้้แต่่ละองค์์มีคี วามโดดเด่่น สวยสง่่างามที่่�แตกต่่างกััน สะท้้อนศิิลปะ ในแต่่ละยุุคสมััย จนกลายเป็็น แหล่่งการศึึกษาค้้นคว้้าทางด้้านศิิลปะ ประวััติิศาสตร์์และเป็็น แหล่่งท่่องเที่่�ยวด้้านพุุทธศาสนาที่่�มีีชื่่�อเสีียงใน จัังหวััดสุุรินิ ทร์์
สะพานขาว ที่่�พัักสงฆ์์ บ้้านระเภาว์์ หมู่่�ที่่� 12 แหล่่งท่่องเที่่�ยวที่่�เป็็นจุุดเช็็คอิิน แห่่ง ใหม่่ของตำำ�บลท่่าสว่่าง กัับสะพานขาวที่่�ทอด ยาวผ่่านท้้ อ งทุ่่� ง นาที่่� เ ป็็ น ศูู น ย์์ ร วมแห่่งการ อนุุรัักษ์์ประเพณีีและวััฒนธรรมโบราณอััน งดงาม ไม่่ว่่าจะเป็็นการทำำ�นาโบราณ ,การ ตัักบาตรดอกไม้้, ประเพณีี “ลอยกระทงเคีียง เดืือน เรืือมกัันตรึึมสำำ�ราญ ณ บ้้านระเภาว์์”
เมืืองโบราณ ปราสาทเนีียงอุุมา
บ้้านระโยง หมู่่ที่่ � � 10
ตำำ�นานเล่่าขานของการสร้้างเมืืองโบราณที่่�มีีคุ้้�งน้ำำ��ล้้อม รอบหมู่่�บ้้าน และที่่�ตั้้�งของปราสาท “เนีียงอุุมา” ธิิดาเมืืองลาวที่่� หนีี ส งครามมาสร้้ า งเมืื อ งปราสาทไว้้ อ ยู่่� บ นจุุ ด สูู ง สุุ ด ใจกลาง หมู่่�บ้้าน และถืือเป็็นที่่�เคารพบููชาของชาวบ้้านแถบนี้้�มายาวนาน
ป่่าชุุมชน บ้้านโคกสวาย หมู่่�ที่่� 18 ชุุมชนแห่่งป่่า และเมืืองสมุุนไพรลุ่่�มลำำ�น้ำำ��ชีี ที่่�มีีพื้้น� ที่่�กว่่า 800 ไร่่ ที่่� ยัังคงความอุุดมสมบููรณ์์ของระบบนิิเวศน์์และทรััพยากรทางธรรมชาติิ ด้้านป่่าไม้้ โดยชุุมชนเป็็นผู้้�ทำำ�หน้้าที่่�การอนุุรัักษ์์ป่่าไม้้อย่่างต่่อเนื่่�อง
นายสุุข ณ วงศ์์ดวง ผู้้�ใหญ่่บ้้าน
ชุุมชนต้้นแบบหมู่่�บ้้านน่่าอยู่่�
บ้้านสำำ�โรง หมู่่�ที่่� 3
จากความไม่่น่่าอยู่่� ใ นอดีี ตข องบ้้ า นสำำ� โรง ที่่� มีี ปัั ญ หาทั้้� ง ด้้ า นสุุ ข ภาพชุุ ม ชน การใช้้ ส ารเคมีี การติิดสุุราและสิ่่�งแวดล้้อมเสื่่�อมโทรม ส่่งผลต่่อชีีวิิต ความเป็็นอยู่่�ของชาวบ้้าน หลายครััวเรืือนมีีหนี้้�สินิ ขาด รายได้้และขาดการมีีส่่วนร่่วมของคนในชุุมชน จึึงเกิิด การพััฒนากลไกสภาผู้้�นำำ�ชุุมชนสู่่�ชุุมชนเข้้มแข็็งและน่่า อยู่่�ในทุุกมิิติิ จนกลายเป็็นชุุมชนต้้นแบบหมู่่�บ้้านน่่าอยู่่� ในระดัับประเทศ
หมู่่�บ้้านเกษตรอิินทรีีย์วิ์ ิถีีชุุมชน
บ้้านละเอาะ หมู่่�ที่่� 7
ชุุมชนอาหารปลอดภััย แหล่่งผลิิตข้้าว หอมมะลิิอิินทรีีย์์และผัักปลอดสารแหล่่งอาหาร ปลอดภััยของตำำ�บลท่่าสว่่าง