ปัักหมุุด
เมุืองไทย
ปัักหมุุดเส้้นทางบุุญ เส้้นทางธรรมุ จัังหวััดเชีียงร่�ย จัังหวััดน่่�น่ จัังหวััดพะเย� จัังหวััดลำำ�ป�ง จัังหวััดแพร่่
www
Website
วััดป่่าเวัียงทอง
ตำำาบลเวัียงทอง อำาเภอสููงเม่่น จัังหวััดแพร่่
Wat Pa Wieng Thong
Wiang Thong Subdistrict, Sung Men District, Phrae Province 2
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
สำำ�นัักปฏิิบััติิธรรม
ประจำำ�จำังหวััดแพร่ แห่งที่่� ๑ (ธรรมยุุติ) ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
3
- หลวงพ่่อผาเงา -
วััดพระธาตุุผาเงา
ตุำ า บลเวัี ย ง อำำ า เภอำเชีี ย งแสน จัั ง หวัั ด เชีี ย งราย
Wat Phra Dhat Pha Ngao
Wiang Subdistrict, Chiang Saen District, Chiang Rai Province 4
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
พระธาตุุผาเงา
Pra Dhat Pha - Ngao
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
5
ATPR ปัักหมุุด
มนต์์เสน่ห์์เมืองเห์นือ เชีียงราย
น่่าน่
แพร่
พะเยา
ลำำาปาง
เมู่ือ� ลมู่หน�วัมู่�เยือน เช่อ� วั��ใคริหล�ยคนจัินตำน�ก�ริภ�พีก�ริเดินที่�งสุ่ภ� �คเหนือ ดินแดนที่่เ� ตำ็มู่ไปุด้วัย เสุน�หแ์ ละมู่นตำ์ขลัง ดืมู่� ดำ�� กับธริริมู่ช�ตำิ วััฒนธริริมู่พี้น� เมู่ือง อ�ห�ริริสุเลิศิ ริวัมู่ถึงก�ริเดินที่�งมูุ่ง� หน้�ข้น� ภ่เข�สุ่ง สุัมู่ผัสุสุ�ยลมู่สุ�ยหมู่อก พีักผ�อนหย�อนใจัที่��มู่กล�งขุนเข�และดอกไมู่้น�น�พีริริณั นิตำยสุ�ริเล�มู่น่�จัะพี� ทีุ่กที่��นที่�องเที่่ย� วัไปุยัง ๔ จัังหวััดเมู่ืองเหนือ เชียงริ�ย แพีริ� น��น พีะเย� เมู่ืองแห�งมู่นตำ์เสุน�หที่์ เ�่ ตำ็มู่ไปุด้วัยกลิน� อ�ย ของวััฒนธริริมู่พี้น� เมู่ืองโบริ�ณัที่่ย� งั คงปุริ�กฏให้เห็นในปุัจัจัุบนั ทีุ่กที่��นจัะเพีลิดเพีลินไปุกับเสุ้นที่�งวััฒนธริริมู่ สุถ�นที่่ที่� อ� งเที่่ย� วัธริริมู่ช�ตำิที่น่� �� สุนใจั ตำลอดจันที่่พี � กั ริ้�นอ�ห�ริ และค�เฟ่ยอดฮิิตำอ่กมู่�กมู่�ยที่่ไ� มู่�ควัริพีล�ด! ที่่มู่ง�นปุักหมูุ่ดเมู่ืองไที่ยมู่่ควั�มู่ตำัง� ใจัอย��งยิง� ในก�รินำ�เสุนอเริ่อ� งริ�วัก�ริที่�องเที่่ย� วัหล�กหล�ยสุไตำล์ ให้ที่กุ ที่��นได้เพีลิดเพีลินและวั�งแผนก�ริที่�องเที่่ย� วัในอน�คตำ โดยมู่่ควั�มู่เช่อ� มู่ัน� วั��ทีุ่กที่��นที่่เ� ปุ่ดอ��นนิตำยสุ�ริ ปุักหมูุ่ด ๕ จัังหวััดเมู่ืองเหนือ เชียงริ�ย แพีริ� น��น พีะเย� ลำ�ปุ�ง จัะได้ริับปุริะสุบก�ริณั์อันคุ้มู่ค��ตำลอดก�ริ เดินที่�ง
6
บริิษัที่ั เอที่่พีีอ�ริ์ เพีอริ์เฟคที่์ จัำ�กัด atpr.perfect@gmail.com ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
EDITOR
ATPR PERFECT Co.,Ltd.
ณััฏฐพีัฒน์ แจั�มู่จัันที่ริ์ Nattapat Jamjan ที่่�ปรึึกษาฝ่่ายปรึะสานงานและส่�อสารึองค์์กรึ Corporate Coordination and Communication Consultant
ไพีริัตำน์ กลัดสุุขใสุ Pirat Kludsuksai
ภ่ษัิตำ วัิที่ย� Phusit Wittaya
พีุฒิพีธริ จัันที่ริ์หอมู่
มู่งคล แพีริ�ศิิริพี ิ ุฒิพีงศิ์
Puttitorn Janhom
Mongkol Praesiriputtipong
ธนิน ตำั�งดำ�ริงจัิตำ
ปรึะสานงานและส่�อสารึองค์์กรึ Corporate Coordination and Communication
ถ�วัริ เวัปุุละ
Thanin Tangtamrongjit
Taworn Wapula
วัิษัณัุ ชะริุดริัมู่ย์ Wissanu Charudrum
ติิดติ่อปรึะสานงาน Coordination
ชัชญ�ณัิช วัิจัิตำริ
ดวังด�วั บุญที่�วัมู่
พีริริณัวัิก� มู่ะลิซ้้อน
Chatchayanit Wijit
Duangdao Boomtuam
Panwika Malison
ธัญภริณั์ สุมู่ดอก
ภ�นุวััฒน์ ปุริะสุ�นสุุข
ชลธิช� ปุ่�นปุริะดับ
Thunyaporn Somdok
Panuwat Prasansuk
Chonthicha Pinpradub
คมู่สุันตำ์ สุ่หะวังษั์ Komsan Sihawong
พีัชริะ มู่ะโนที่น Patchara Manothon
พีริริณัน�ริ�ยณั์ สุืบเพี็ง
ออกแบบกรึาฟิิก Graphic Designer
Pannarai Suebpeng
พีริเที่พี ลักขษัริ ติัดติ่อวิิด่โอ Vdo Editor
Bhonthep Luckasorn
จัักริพีงษั์ ชำ�น�ญ Jakkapong Chamnan
ช�อผก� มู่ะคุ้มู่ใจั Chopaka Makhumjai ผู้้�ด้แลส่�อออนไลน์ Admin
ชัยวัิชญ์ แสุงใสุ Chaiwit Saengsai
พีริ โพีช�ริี Porn Pocharee
ถ่่ายภาพ Photographer
23 หมู่่�ที่่� 1 ตำำ�บลนอกเมู่ือง อำ�เภอเมู่ืองสุุริินที่ริ์ จัังหวััดสุุริินที่ริ์ 32000 082-0365590 ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ,๕ จัั044-060-459 งหวััดภาคเหนืือ 7
สารบััญ
CONTENTS 30 จัังหวััดเชีียงราย
วััดพระแก้้วั พระอารามหลวัง วััดม่�งเมือง วััดเชีตุุพน (สัันโค้้งน้อย) วััดสัันทรายหลวัง วััดสัันป่่าก้่อ วััดพระธาตุุผาเงา วััดธารทอง วััดอำามาตุย์ วััดทุ่งพร้าวั วััดห้วัยป่ระสั่ทธ่� วััดพระธาตุุจัอมแจั้ง วััดแม่อ้อใน
24 26 30 34 36 38 40 44 46 48 50 52 54
103 วััดป่่าป่ัญญาภู่รมย์ - วััดป่่าภูาวันาภู่รมย์ วััดป่่าค้ำาวัิสัุทธ่ญาณ 104 ที�พัก้สังฆ์์บุวัรด่น (บุ้านห้วัยเลื�อน) 106 วััดป่ระด่ษฐ์์ (สั้อ) 108 วััดนำ�าไค้ร้ 112 วััดดอนตุัน 114 วััดร้องแง 116 วััดหนองแดง 120 วััดแชี่พลาง 122 วััดโป่่งค้ำา 8
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
40
26 58 60 62 64
วััดอรัญวัิเวัก้ วััดสัันก้อง วััดป่่าชีางหลวัง วััดแม่ค้ำา
68
จัังหวััดพะเยา
70 72 74
วััดศรีโค้มค้ำา วััดพระธาตุุจัอมทอง วััดอนาลโย
78
จัังหวััดน่าน
80 82 86 88 90 92 94 96 98 100 102
70
วััดพญาภูู วััดม่�งเมือง วััดป่่านันทบุุรีญาณสัังวัราราม วััดพระธาตุุชี้างค้ำ�าวัรวัิหาร วััดเจัดีย์ วััดอรัญญาวัาสั วััดสัวันตุาล วััดพญาวััด วััดพระเนตุร วััดดอยแยง วััดป่่าบุ้านด่าน (ร้าง) - วััดบุ้านด่าน
วััดพระนั�งด่น อำาเภูอเชีียงค้ำา จัังหวััดพะเยา ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
9
สารบััญ 124 126 128 130 132
136 138 142 144 146 148 150 152
CONTENTS วััดนำ�าแก้่นเหนือ วััดนาป่ัง วััดนำ�ามวับุ วััดไหล่น่าน วััดพุทธสัถานลานป่ฏิ่บุัตุ่ธรรม บุ้านเมตุตุาธรรม
142
จัังหวััดแพร่
วััดพระบุาทม่�งเมืองวัรวัิหาร วััดนาคู้หา วััดสัะแล่ง วััดพระธาตุุชี่อแฮ่่ วััดป่่าเวัียงทอง วััดร่องฟอง วััดพระธาตุุดอยเล็ง
156 158 160
144
10
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
164 168 170 171 172 173 174 175
จัังหวััดลำาป่าง
ทำาบุุญพระ 9 วััด ณ เมืองลำาป่าง วััดพระแก้้วัดอนเตุ้าสัุชีาดาราม พระ อารามหลวัง วััดจัองค้ำา พระอารามหลวัง วััดสัวันดอก้ วััดวััดพระธาตุุลำาป่างหลวัง วััดศรีรองเมือง วััดศรีชีุม วััดพระเจัดีย์ซาวัหลัง พระอารามหลวัง วััดป่งสันุก้ สัำานัก้ป่ฎิ่บุัตุ่ธรรมสัุสัานไตุรลัก้ษณ์ หลวังพ่อเก้ษมเขมโก้
วััดร่องขุ่น อำาเภูอเมืองเชีียงราย จัังหวััดเชีียงราย ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
11
ทำำ�เนีียบพระสัังฆ�ธิิก�ร สัังกััดคณะสังฆ์์มหานิิกัาย จัังหวััดเชีียงราย
พระรัตนมุนี, ผศ. ดร. เจ้้าคณะจ้ังหวััดเชีีย์งราย์
พระราชีสิิทธิินาย์ก รองเจ้้าคณะจ้ังหวััดเชีีย์งราย์
พระครูขันติพลาธิร เจ้้าคณะอำาเภอเมืองเชีีย์งราย์
พระครูวัิสิุทธิิธิรรมภาณี ผู้รักษาการแทนเจ้้าคณะอำาเภอแม่สิาย์
12
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
พระพุทธิิญาณมุนี รองเจ้้าคณะจ้ังหวััดเชีีย์งราย์
พระครูอุปถััมภ์วัรการ เจ้้าคณะอำาเภอแม่จ้ัน
พระครูพิพิธิพัฒนโกวัิท เจ้้าคณะอำาเภอพาน
พระครูพิศาลธิรรมาทร เจ้้าคณะอำาเภอเชีีย์งแสิน
พระครูบวัรรัตนธิรรม เจ้้าคณะอำาเภอเชีีย์งของ
พระครูอุดมคณาภิรักษ์ เจ้้าคณะอำาเภอเทิง
พระครูวัินิฐสิีลวัังวัร เจ้้าคณะอำาเภอเวัีย์งป่าเป้า
พระครูพิพิธิธิรรมสิาทร เจ้้าคณะอำาเภอป่าแดด
พระครูรัตนชีัย์คุณ เจ้้าคณะอำาเภอเวัีย์งชีัย์
พระครูสิถัิตศีลสิุนทร เจ้้าคณะอำาเภอเวัีย์งแก่น
พระครูโกศลกิจ้จ้านุกิจ้ เจ้้าคณะอำาเภอพญาเม็งราย์
พระมหาสิุบรรณ มหาคมฺภีโร เจ้้าคณะอำาเภอแม่สิรวัย์
พระครูสิุนทรปภากร เจ้้าคณะอำาเภอแม่ลาวั
พระครูวัรกิตติวัิมล เจ้้าคณะอำาเภอขุนตาล
พระครูวัิสิิฐวัรนารถั เจ้้าคณะอำาเภอเวัีย์งเชีีย์งรุ้ง
พระครูวัิสิาลบุญสิถัิต เจ้้าคณะอำาเภอดอย์หลวัง
พระครูศรีพัฒนกิตติ� เจ้้าคณะอำาเภอแม่ฟ้้าหลวัง
พระครูปราโมทย์์รัตนานุย์ุต เลข.เจ้้าคณะจ้ังหวััดเชีีย์งราย์
พระครูสิาทรวัรการ เลข.รองเจ้้าคณะจ้ังหวััดเชีีย์งราย์
พระมหาชีนาธิิป ชีนาธิิโป เลข.รองเจ้้าคณะจ้ังหวััดเชีีย์งราย์
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
13
ทำำ�เนีียบพระสัังฆ�ธิิก�ร สัังกััดคณะสังฆ์์มหานิิกัาย จัังหวััดพะเยา
พระราชปริยััติิ เจ้้าคณะจ้ังหวััดพะเยัา
พระครูโสภณปริยััติิสุธีี รองเจ้้าคณะจ้ังหวััดพะเยัา
พระวัิมลญาณมุนีี รองเจ้้าคณะจ้ังหวััดพะเยัา
พระครูพิศาลสรกิิจ้ เลข.เจ้้าคณะจ้ังหวััดพะเยัา
พระครูนีันีทบุรีพิทักิษ์์ เจ้้าคณะอำาเภอเชียังม่านี
พระครูสุภัทรพรหมคุณ เจ้้าคณะอำาเภอเชียังคำา
พระสุนีทรกิิติติิคุณ เจ้้าคณะอำาเภอเมืองพะเยัา
พระครูวัรพงศ์คณารักิษ์์ เจ้้าคณะอำาเภอปง
พระครูวัิมลขันีติยัาภรณ์ เจ้้าคณะอำาเภอภูกิามยัาวั
พระมหาจ้ิติกิารกิ์ อภิปุญโญ เจ้้าคณะอำาเภอภูซาง
14
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
พระมหากิิติติิพงษ์์ กิิติฺติิญาโณ เลข.รองเจ้้าคณะจ้ังหวััดพะเยัา
พระมหาศิวักิร ปญฺฺญาวัชิโร เลข.รองเจ้้าคณะจ้ังหวััดพะเยัา
พระครูสิริจ้ันีทประโชติิ เจ้้าคณะอำาเภอแม่ใจ้
พระครูสิริวัรนีารถ เจ้้าคณะอำาเภอดอกิคำาใติ้
พระครูอดุลสุนีทรกิาร เจ้้าคณะอำาเภอจุ้นี
ทำำ�เนีียบสั�ยก�รปกครอง คณะสังฆ์์ฝ่่ายธรรมยุต เขตพ้�นิที่่�จัังหวััดนิ่านิ
พระปัญญาพิศาลเถร วัิ. (คำามูล ชิติมาโร) เจ้้าคณะจ้ังหวััดพะเยัา - นี่านี (ธีรรมยัุติ) วััดรัตินีวันีาราม จ้.พะเยัา
พระครูวัรธีรรมสิริ เจ้้าคณะติำาบลจ้ังหวััดนี่านี (ธีรรมยัุติ) วััดเขานี้อยัเทสรังสี จ้.นี่านี
พระธีีรปัญญา กิิติฺติิกิาโร เลขานีุกิารเจ้้าคณะติำาบลจ้ังหวััดนี่านี (ธีรรมยัุติ) วััดป่านีันีทบุรีญาณสังวัราราม จ้.นี่านี
พระมหาญาณพงษ์์ สิริปุญโญ เลขานีุกิารเจ้้าคณะจ้ังหวััดพะเยัา-นี่านี (ธีรรมยัุติ) วััดอนีาลโยัทิพยัาราม จ้.พะเยัา
พระครูกิิติติิจ้ันีทโรภาส เจ้้าคณะอำาเภอจ้ังหวััดนี่านี (ธีรรมยัุติ) วััดป่านีันีทบรีญาณสังวัราราม จ้.นี่านี
พระสิทธีิ�นีิคม สิทฺธีิธีมฺโม เลขานีุกิารเจ้้าคณะอำาเภอจ้ังหวััดนี่านี (ธีรรมยัุติ) วััดป่าแม่จ้ริมโสภิติาราม จ้.นี่านี
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
15
ทำำ�เนีียบพระสัังฆ�ธิิก�ร สัังกััดคณะสังฆ์์มหานิิกัาย จัังหวััดนิ่านิ
พระราชศาสน่าภิิบาลั ผูู้้รักษ์าเจ้้าคณะจ้ังหวััดน่่าน่
พระสุน่ทรมืุน่ี รองเจ้้าคณะจ้ังหวััดน่่าน่
16
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
พระชย์าน่ัน่ทมืุน่ี เจ้้าคณะอำาเภิอภิูเพีย์ง
พระครูสิริน่ัน่ทวัิทย์์ เจ้้าคณะอำาเภิอเมืืองน่่าน่
พระมืหาเกรีย์งไกร อหึสโก เจ้้าคณะอำาเภิอเวัีย์งสา
พระครูสุภิัทรน่ัน่ทวัิทย์์ เจ้้าคณะอำาเภิอปัวั
พระครูสุธีีปัญญากร เจ้้าคณะอำาเภิอน่าน่้อย์
พระวัิจ้ิตรธีรรมืโชติ เจ้้าคณะอำาเภิอทุ่งช้าง / เฉลัิมืพระเกีย์รติ
พระครูอุปถััมืภิ์น่ัน่ทกิจ้ เจ้้าคณะอำาเภิอท่าวัังผู้า
พระครูน่ัน่ทชัย์คุณ เจ้้าคณะอำาเภิอเชีย์งกลัาง
พระครูวัิสุทธีิ�ปัญญาธีร เจ้้าคณะอำาเภิอแมื่จ้ริมื
พระครูพิทักษ์์เจ้ติย์าน่ัน่ท์ เจ้้าคณะอำาเภิอบ้าน่หลัวัง
พระครูสุวัรรณเจ้ติย์านุ่กูลั เจ้้าคณะอำาเภิอน่าหมืื�น่
พระครูสุจ้ิณน่ัน่ทกิจ้ เจ้้าคณะอำาเภิอสัน่ติสุข
พระครูไพโรจ้น่์น่ัน่ทกิจ้ เจ้้าคณะอำาเภิอสองแควั
พระครูสุทิน่น่ัน่ทธีรรมื เจ้้าคณะอำาเภิอบ่อเกลัือ
พระมืหาเกรีย์งศักดิ� อาชวัปเสฎโฐ เลัข.เจ้้าคณะจ้ังหวััดน่่าน่
พระครูปลััดวััขรพงษ์์ วัชรปญฺฺโญ เลัข.รองเจ้้าคณะจ้ังหวััดน่่าน่
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
17
ทำำ�เนีียบพระสัังฆ�ธิิก�ร สัังกััดคณะสังฆ์์มหานิิกัาย จัังหวััดแพร่่
พระราชเขมากร เจ้้าคณะจ้ังหวััดแพร่
พระโกศััยเจ้ติิยารักษ์์ รองเจ้้าคณะจ้ังหวััดแพร่
พระครูพิบููลพัฒนโกศัล เจ้้าคณะอำาเภอเมืองแพร่
พระครูวัิจ้ิติรธรรมสุาธก เจ้้าคณะอำาเภอวัังชิ�น
พระครูโกศัลพิพัฒนคุณ เจ้้าคณะอำาเภอสุูงเม่น
พระครูวัิจ้ิติรพัฒนพิมล เจ้้าคณะอำาเภอหนองม่วังไข่
พระครูโกศััยสุุนทรกิจ้ เลขานุการเจ้้าคณะจ้ังหวััดแพร่
18
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
พระครูบูัณฑิิติานุกูล เจ้้าคณะอำาเภอลอง
พระครูวัรธรรมสุาร เจ้้าคณะอำาเภอสุอง
พระครูวัิทิติธรรมวัิมล ผูู้้รักษ์าการแทนเจ้้าคณะอำาเภอร้องกวัาง
พระครูสุุธรรมกิติติิวังค์ เจ้้าคณะอำาเภอเด่นชัย
พระครูศัรีกิติติิวังศั์ เลขานุการรองเจ้้าคณะจ้ังหวััดแพร่
ทำำ�เนีียบพระสัังฆ�ธิิก�ร สัังกััดคณะสังฆ์์ฝ่่ายธร่ร่มยุต จัังหวััดแพร่่
พระโพธิญาณรังสุี วัิ. เจ้้าคณะจ้ังหวััดลำาปาง - แพร่ (ธ)
พระครูภาวันาปัญญาคุณ วัิ. เจ้้าคณะอำาเภอจ้ังหวััดแพร่ (ธ)
พระปลัดเอกราช เขมานนฺโท เจ้้าคณะติำาบูลจ้ังหวััดแพร่ (ธ)
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
19
ทำำ�เนีียบพระสัังฆ�ธิิก�ร สัังกััดคณะสังฆ์์มหานิิกัาย จัังหวััดลำำาปาง
พระจิินดารัตนาภรณ์์ เจิ้าคณ์ะจิังหวััดลำำาปาง
พระปิฎกโมลำี รองเจิ้าคณ์ะจิังหวััดลำำาปาง
พระวัิสุุทธิิธิรรมพิลำาสุ รองเจิ้าคณ์ะจิังหวััดลำำาปาง
20
พระครูอนุศาสุก์วัรธิรรม เจิ้าคณ์ะอำาเภอเมืองลำำาปาง
พระครูปริยััติพัฒนกิตกิ� เจิ้าคณ์ะอำาเภอห้างฉััตร
พระครูปัญญาวัโรดม เจิ้าคณ์ะอำาเภอแม่พริก
พระครูพิสุุทธิิ�พัฒนพิธิาน เจิ้าคณ์ะอำาเภอเกาะคา
พระครูไพโรจิน์ปัญญาวัุธิ เจิ้าคณ์ะอำาเภอเสุริมงาม
พระครูวัรธิรรมานุสุิฐ เจิ้าคณ์ะอำาเภอวัังเหนือ
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
พระครูวัิจิารยั์ภัทรกิจิ เจิ้าคณ์ะอำาเภอสุบปราบ
พระครูสุิริชััยัพิพัฒน์ เจิ้าคณ์ะอำาเภอแม่ทะ
พระครูสุิริรัตนโสุภิต เลำข.เจิ้าคณ์ะจิังหวััดลำำาปาง
พระครูวัินิตวัรการ เจิ้าคณ์ะอำาเภอแจิ้ห่ม
พระครูวัิจิารณ์์วัรการ เจิ้าคณ์ะอำาเภอเมืองปาน
พระครูสุุวัิมลำธิรรมานุสุิฐ เจิ้าคณ์ะอำาเภอเถิิน
พระครูโสุภณ์บุญญารักษ์์ เจิ้าคณ์ะอำาเภองาวั
พระครูอุปถิัมภ์ปุญญาคม เจิ้าคณ์ะอำาเภอแม่เมาะ
พระครูไพโรจิน์พัฒนโสุภิต เลำข.รองเจิ้าคณ์ะจิังหวััดลำำาปาง
พระมหาธิีรวััฒน์ ญาณ์ธิีโร เลำข.รองเจิ้าคณ์ะจิังหวััดลำำาปาง
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
21
๙ว้ัด
ไหว้้พระ
วััดพระแก้้วัดอนเตุ้าสุุช่าดาราม
เมืืองเหนืือ วััดพระบาทม่�งเมืองวัรวั่หาร
ปัักหมุุดเมุืองไทย เส้้นทางบุุญ เส้้นทางธรรมุ แนะนำาส้ถานท่ส้� าำ คััญทางศาส้นา 5 จัังหวััดเมุืองเหนือ กราบุส้ักการะบุูชา วััด 9 วััด เมุืองเหนือ เพื่ื�อคัวัามุ เปั็นส้ิริมุงคัล อิ�มุบุุญ อิ�มุใจั และเปั็นการอนุรักษ์์ วััฒนธรรมุคังไวั้เพื่ื�อคัวัามุด่งามุ คัู�บุ้าน คัู�เมุืองไทย ตลอดไปั
22
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
วััดศรีโคมคำา
วััดม่�งเมือง
วััดพญาภูู พระอารามหลวัง
วััดพระธาตุุช่่อแฮ
วััดพระธาตุุผาเงา
วััดพระแก้้วั พระอารามหลวัง
ดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ 23 วััดพระธาตุุปัักจหมุุอมทอง
เชีีChiang ยงราย Rai
24
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
วััดพระธาตุุดอยตุุง อำาเภอแม่่สาย จัังหวััดเชีียงราย ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
25
วััดพระแก้้วั (พระอารามหลวัง) ตำำาบลเวัียง อำาเภอเมืองเชีียงราย จัังหวััดเชีียงราย
Wat Phra Kaew Phra Aramluang
Wiang Subdistrict, Mueang Chiang Rai District, Chiang Rai Province 26
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา วััดป่่าเยี้้�ยี้ะ (วััดป่่าญะ) หรืือวััดพรืะแก้้วั เป่็นวััด โบรืาณที่้ไ� ม่่ป่รืาก้ฎนาม่ผู้้ส้ รื้างและป่ีที่ส้� รื้าง คาดวั่าสรื้างในรืาวั พุที่ธศััก้รืาช ๑๙๗๗ จาก้หลัก้ฐานข้้อม่้ลที่างป่รืะวััติศัิ าสติรื์ ใน ป่ีพุที่ธศััก้รืาช ๑๙๗๗ ม่้อสุน้บาติด้านหลังอุโบสถวััดป่่าเยี้้�ยี้ะ ที่ำาให้พบพรืะพุที่ธรื้ป่องค์หน่ง� ชาวับ้านจ่งอัญเชิญพรืะพุที่ธรื้ป่ ที่้�พบน้�ไป่ป่รืะดิษฐานในพรืะวัิหารื และได้ที่ำาก้ารืบ้รืณะพรืะ เจด้ยี้ใ์ ห้คนื สภาพดังเดิม่ ติ่อม่าป่้นที่้พ� อก้องค์พรืะก้ะเที่าะออก้ บรืิเวัณที่้�เป่็นพรืะนาสิก้ (จม่้ก้) และพรืะก้รืรืณ (ห้) ข้อง พรืะพุที่ธรื้ป่ ที่ำาให้ที่รืาบวั่าม่้พรืะพุที่ธรื้ป่หินส้เข้้ยี้วังดงาม่อยี้้่ ภายี้ใน หม่ื�นค้อม่ เจ้าเม่ืองเช้ยี้งรืายี้ในเวัลานั�นได้นำาควัาม่ไป่ ก้รืาบที่้ลพรืะเจ้าสาม่ฝั่่�งแก้นให้ที่รืาบ หลังจาก้นั�นพระพุทธ มหามณีีรัตนป็ฎิิมากร หรืือ พรืะแก้้วั จ่งก้ลายี้เป่็นพรืะพุที่ธ ป่ฏิิ ม่ าอั น สำา คั ญ ยี้ิ� ง และเป่็ น ที่้� สั ก้ ก้ารืะนั บ ถื อ ข้องม่หาชน สม่เด็จพรืะเจ้าแผู้่นดินได้อัญเชิญไป่ป่รืะดิษฐานในนครืสำาคัญ ติ่าง ๆ หลายี้แห่ง ดังนัน� จ่งสาม่ารืถป่รืะเม่ินได้วัา่ วััดน้ม่� อ้ ายีุ้เก้่าแก้่ ก้วั่าป่ีที่้�พบพรืะพุที่ธป่ฏิิม่าไม่่น้อยี้ เนื�องด้วัยี้ข้ณะนั�นวััดป่่าเยี้้� ยี้ะม่้เจด้ยี้์ วัิหารื และอุโบสถป่รืาก้ฏิอยี้้่ก้่อนแล้วั ภายี้หลังก้ารื พบพรืะพุที่ธป่ฏิิม่า วััดพรืะแก้้วัจ่งก้ลายี้เป่็นวััดสำาคัญแห่งหน่ง� ในจังหวััดเช้ยี้งรืายี้ เดิ ม่ วัั ด พรืะแก้้ วั เป่็ น วัั ด รืาษฎรื์ ครืั� น สม่ั ยี้ รืั ช ก้าล พรืะบาที่สม่เด็จพรืะบรืม่ชนก้าธิเบศัรื ม่หาภ้ม่ิพลอดุลยี้เดช ม่หารืาช บรืม่นาถบพิติรื ที่รืงสถาป่นาเป่็นพรืะอารืาม่หลวัง ชั�นติรื้ ชนิดสาม่ัญ สังก้ัดคณะสงฆ์์ม่หานิก้ายี้ เม่ื�อวัันที่้� ๓๑ พฤษภาคม่ พุที่ธศััก้รืาช ๒๕๒๑ นาม่ข้องวััดจ่งออก้โดยี้บรืิบรื้ ณ์ วั่า วัดพระแก้ว พระอารามหลวง ติาม่คติินิยี้ม่ก้ารืออก้นาม่ พรืะอารืาม่หลวังชนิดสาม่ัญ พระอุโบสถ พรืะอุโบสถหลังที่้ป่� รืาก้ฏิอยี้้ใ่ นป่่จจุบนั น้ � สรื้างข้่น� เม่ือ� ป่ี พุที่ธศััก้รืาช ๒๔๓๓ ในรืัชก้าลพรืะบาที่สม่เด็จพรืะจุลจอม่เก้ล้า เจ้าอยี้้่หัวั โดยี้ครื้บาสม่ณะโสภโณ ซึ่่�งข้ณะนั�นดำารืงติำาแหน่ง เป่็นเจ้าอาวัาสวััดพรืะแก้้วั และเจ้าคณะเม่ืองเช้ยี้งรืายี้ โดยี้สรื้าง บนพื�นที่้�ซึ่่�งเดิม่เป่็นวัิหารื ม่้ลัก้ษณะเป่็นสถาป่่ติยี้ก้รืรืม่ศัิลป่ะ เช้ยี้งแสน ที่้�เรื้ยี้ก้เป่็นศััพที่์เฉพาะวั่าศัิลป่ะแบบ แม่ไก่กกไข่่ ก้่อสรื้างด้วัยี้ไม่้เป่็นสำาคัญ หลังคามุ่งด้วัยี้ก้รืะเบื�องดินเผู้า พระรัตนมุุนี, ผศ. ดร. เจ้้าคณะจ้ังหวััดเชีียงราย / เจ้้าอาวัาสวััดพระแก้้วั
ป่รืะก้อบเครืือ� งบนที่ัง� ช่อฟ้้า ใบรืะก้า ผู้นังด้านในที่าส้ ม่้ป่รืะติ้ เข้้าออก้ที่ั�งด้านหน้าและด้านหลังพรืะอุโบสถ ที่้�หน้าบันเป่็น ไม่้จำาหลัก้ ป่รืะดับก้รืะจก้ส้ติาม่ป่รืะเพณ้ช่างพื�นถิ�นที่้�ม่้ควัาม่ งดงาม่ และได้ รืั บ พรืะรืาชที่านวัิ สุ ง คาม่ส้ ม่ า ในรืั ช ก้าล พรืะบาที่สม่เด็จพรืะบรืม่ชนก้าธิเบศัรื ม่หาภ้ม่ิพลอดุลยี้เดช ม่หารืาช บรืม่นาถบพิติรื เม่ื�อป่ีพุที่ธศััก้รืาช ๒๔๙๕ ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
27
พระเจ้้าล้านทอง พรืะเจ้าล้านที่องเป่็นพรืะพุที่ธรื้ป่สำารืิดป่างม่ารืวัิชัยี้ ป่รืะม่าณพุที่ธศัติวัรืรืษที่้ � ๒๑ ถ่ง ๒๒ (อายีุ้รืาวั ๓๐๐ ป่ี) ข้นาด หน้าติัก้ก้วั้าง ๒ เม่ติรื ส้ง ๒ เม่ติรื ๘๐ เซึ่นติิเม่ติรื ซึ่่�งเป่็น พรืะพุที่ธรื้ป่ที่้ก้� ล่าวัก้ันวั่าม่้ข้นาดใหญ่ที่ส้� ดุ และม่้ควัาม่งดงาม่ เป่็ น เลิ ศั ในบรืรืดาพรืะพุ ที่ ธรื้ ป่ สกุ้ ล ช่ า งศัิ ล ป่ะป่าละวัะใน ป่รืะเที่ศัไที่ยี้ ม่้ลก้ั ษณะส่วันโค้งเวั้าเพิม่� ข้่น� ก้วั่าพรืะพุที่ธรื้ป่สกุ้ล ศัิลป่ะคุป่ติะ และอันที่รืา พรืะพัก้ติรื์ม่้ลัก้ษณะยี้าวัเป่็นพิเศัษ พรืะเนติรือยี้้ใ่ นลัก้ษณะเหลือบลงติำ�าแบบสม่าธิ พรืะนาสิก้โด่ง ยี้าวั พรืะข้นงไม่่ม่ส้ นั พรืะโอษฐ์บางและเน้นเส้นหนัก้ พรืะหนุ ที่ำาเป่็นสองชั�น ม่้พุที่ธลัก้ษณะเป่็นเอก้ลัก้ษณ์เฉพาะติ่างจาก้ สกุ้ลช่างอื�น พระเจ้ดีย์์ พรืะเจด้ยี้วั์ ดั พรืะแก้้วั พรืะอารืาม่หลวังในป่่จจุบนั ม่้ ลัก้ษณะเป่็นเจด้ยี้ที่์ รืงก้ลม่ฐานแป่ดเหล้ยี้� ม่ ยี้ก้เก้็จป่รืะดับลวัดบัวั เส้นบนสองเส้นและเส้นล่างสองเส้นวัางอยี้้่บนชุดฐานบัวัถลา แป่ดเหล้ยี้� ม่ยี้ก้เก้็จสองชัน� และฐานเข้้ยี้งแป่ดเหล้ยี้� ม่ยี้ก้เก้็จสาม่ ชั�นลดหลั�นก้ัน เหนือฐานป่่ที่ม่์ข้่�นไป่เป่็นชุดฐานเข้้ยี้งแป่ด เหล้�ยี้ม่ยี้ก้เก้็จสาม่ชั�น แล้วัติ่อด้วัยี้ชุดบัวัถลาแป่ดเหล้�ยี้ม่ยี้ก้ เก้็จห้าชั�น แติ่ละชั�นป่รืะก้อบด้วัยี้ลวัดบัวัข้นาดใหญ่หน่�งเส้น ที่้ อ งไม่้ ที่้� ห น้ า ก้รืะดานถั ด ข้่� น เป่็ น ชุ ด ก้ล้ บ บั วั ควัำ�า บั วั หงายี้ รืองรืับองค์เจด้ยี้ที่์ รืงรืะฆ์ัง ป่รืะดับเส้นลวัดบัวัแบบแป่ดเหล้ยี้� ม่ รืัดรือบบรืิเวัณก้ลางองค์รืะฆ์ัง เหนือข้่�นไป่เป่็นบัลลังก้์ที่รืงส้ง ป่ล้องไฉนข้นาดใหญ่เก้้าข้ั�น รืองรืับป่ล้ยี้อดและฉัติรืเก้้าชั�น เหนือสุดป่รืะดับล้ก้แก้้วั หอพระหย์กเชีีย์งราย์ เม่ื� อ ป่ี พุ ที่ ธศัั ก้ รืาช ๒๕๓๓ เป่็ น ป่ี ที่้� ส ม่เด็ จ พรืะ ศัรื้นครืินที่รืาบรืม่รืาชชนน้ เจรืิญพรืะชนม่ายีุ้ ๙๐ พรืรืษา ม่รื.ฮู้เวัิรืล์ โล นำาหยี้ก้ข้นาดใหญ่จาก้ป่รืะเที่ศัแคนาดาม่าถวัายี้ เจ้าคณะจังหวััดเช้ยี้งรืายี้ คณะสงฆ์์จงั หวััดเช้ยี้งรืายี้ได้เห็นพ้อง ติก้ลงจัดที่ำาโครืงก้ารืสรื้างพรืะแก้้วัหยี้ก้ข้่�นจาก้ก้้อนหยี้ก้เพื�อ ถวัายี้เป่็นพรืะรืาชกุ้ศัล และเป่็นอนุสรืณ์วัา่ วััดพรืะแก้้วัแห่งน้� เคยี้เป่็นที่้�ค้นพบพรืะแก้้วัม่รืก้ติม่าก้่อน แติ่ด้วัยี้ข้้อจำาก้ัดใน
28
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
สม่ัยี้นัน� คณะผู้้จ้ ดั ที่ำาจ่งส่งแบบพรืะพุที่ธป่ฏิิม่าที่้ � อาจารืยี้์ก้นก้ วัิศัวัะกุ้ล ป่่�นข้่�นไป่ให้นายี้ช่างชาวัจ้นผู้้้ม่ค้ วัาม่เช้�ยี้วัชาญเป่็นผู้้้ สลัก้จนสำาเรื็จซึ่่ง� ม่้ข้นาดใก้ล้เค้ยี้งแติ่เป่็นรืองพรืะพุที่ธม่หาม่ณ้ รืัตินป่ฏิิม่าก้รื ครืั�นวัันที่้� ๘ ก้ันยี้ายี้น พุที่ธศััก้รืาช ๒๕๓๔ สม่เด็จ พรืะศัรื้นครืินที่รืาบรืม่รืาชชนน้ พรืะรืาชที่านนาม่พรืะพุที่ธรื้ป่ หยี้ก้วั่ า พระพุ ท ธรตนากรนวุ ติ วั ส สานุ ส รณี์ ม งคล ถอด ควัาม่ได้วัา่ พรืะพุที่ธเจ้าผู้้เ้ ป่็นอาก้รืแห่งรืัตินะ และพรืะรืาชที่าน นาม่สาม่ัญวั่า พระหย์กเชีีย์งราย์ สำาหรืับสถานที่้�ป่รืะดิษฐานพรืะหยี้ก้เช้ยี้งรืายี้นั�น ได้ จัดสรื้างข้่น� เป่็นหอพรืะ ซึ่่ง� เป่็นที่้ป่� รืะดิษฐานพรืะพุที่ธรื้ป่สำาคัญ โดยี้ที่้ผู้� นังข้องอาคารืเป่็นภาพจิติรืก้รืรืม่ฝั่ีม่อื ช่างพืน� บ้านล้านนา ที่้�สื�อควัาม่หม่ายี้เก้้�ยี้วัก้ับม่้ลเหติุก้ารืสรื้างพรืะหยี้ก้เช้ยี้งรืายี้ที่้� ในพรืะอุโบสถวััดพรืะศัรื้รืัตินศัาสดารืาม่ และภาพชุดแสดง เรืื�องรืาวัเก้้�ยี้วัก้ับป่รืะวััติิควัาม่เป่็นม่าข้องพรืะแก้้วัม่รืก้ติ รืวัม่ จำานวัน ๙ ภาพ เม่ื�อก้ารืดำาเนินก้ารืก้่อสรื้างหอพรืะและก้ารื ป่รืะดิษฐานพรืะหยี้ก้เช้ยี้งรืายี้แล้วัเสรื็จ สม่เด็จพรืะพ้�นางเธอ เจ้าฟ้้าก้ัลยี้าณิวััฒนา ก้รืม่หลวังนรืาธิวัาสรืาชนครืินที่รื์ เสด็จ เป่ิดหอพรืะน้�เม่ื�อวัันที่้� ๒๖ พฤศัจิก้ายี้น พุที่ธศััก้รืาช ๒๕๔๑ ครืาวัเด้ยี้วัก้ับที่้�เสด็จม่ายี้ก้ยี้อดฉัติรืพรืะเจด้ยี้์ โฮงหลวงแสงแก้ว โฮูงหลวังแสงแก้้วั เป่็นอาคารืที่้�สรื้างข้่�นใหม่่ เม่ื�อป่ี พุที่ธศััก้รืาช ๒๕๓๘ ติั�งอยี้้่รืิม่ก้ำาแพงวััดด้านที่ิศัใติ้ เป่็นสถาน ที่้ติ� ง�ั พิพธิ ภัณฑ์์ข้องวััด เก้็บรืวับรืวัม่ป่้ชน้ยี้วััติถุ วััติถุที่างศัาสนา ติลอดจนสิ� ง ข้องที่้� พุ ที่ ธศัาสนิ ก้ ชนนำา ม่าถวัายี้วัั ด พรืะแก้้ วั พรืะอารืาม่หลวัง เพื�อเป่็นแหล่งเรื้ยี้นรื้้ที่้�ที่รืงคุณค่าสำาหรืับ ป่รืะชาชน ติลอดจนอนุ ช นรืุ่ น หลั ง ที่้� สำา คั ญ คื อ เป่็ น ที่้� ป่รืะดิ ษฐานพรืะเจ้าที่ั นใจ ซึ่่� งเป่็ นพรืะพุที่ธรื้ ป่สำาคั ญสม่ัยี้ เช้ยี้งแสน สรื้างด้วัยี้สำารืิดป่ิดที่อง ป่รืะดิษฐานอยี้้ค่ ก้้่ บั วััดม่าแติ่ เก้่าก้่อน และพรืะพุที่ธศัรื้เช้ยี้งรืายี้ พรืะพุที่ธศัิลป่ะเช้ยี้งแสนที่้� อาจารืยี้์เสนอ นิลเดช ป่รืะติิม่าก้รืผู้้้ม่้ชื�อเส้ยี้งยี้ิ�งข้องเม่ืองไที่ยี้ เป่็นผู้้้ออก้แบบ
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
29
วััดมิ่่�งเมิ่ือง
ตำำ�บลเวัียง อำ�เภอเมิ่ืองเชีียงร�ย จัังหวััดเชีียงร�ย
Wat Ming Mueang
Wiang Subdistrict, Mueang Chiang Rai District, Chiang Rai Province
30
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา วัั ด มิ่่� ง เมิ่ื อ ง เป็็ น วัั ด โบราณ สร้ า งขึ้้� น ในสมิ่ั ย พญามิ่ังรายมิ่หาราช (๗๐๐ กวั่าป็ีที่ผ่่� า่ นมิ่า) โดยผ่้ส้ ร้าง คืือ พระนางอั�วัะ มิ่่�งจองเมิ่ือง (เจ้าย่าคืำาขึ้่าย) เจ้าหญ่งจาก ราชสำานักไที่ยลื้ือ� แห่งเมิ่ืองเช่ยงร้ง้ ส่บสองป็ันนา (มิ่ณฑลื้ ย้นนานขึ้องจ่นในป็ัจจ้บนั ) ซึ่้ง� เป็็นพระราชมิ่ารดาขึ้องพญา มิ่ังรายมิ่หาราช แลื้ะในย้คืหลื้ัง วััดมิ่่ง� เมิ่ือง ได้รบั การบ้รณะ โดยพระนางอ้สาป็ายะโคืราชเที่วั่ (ตะลื้ะแมิ่่ศร่) พระราชเที่วั่ ขึ้องพญามิ่ังรายมิ่หาราช เจ้าหญ่งมิ่อญจากเมิ่ืองหงสาวัด่ ที่่�มิ่่พระนามิ่ป็รากฏในจาร้กภาษามิ่อญบนแผ่่นที่องบรรจ้ ในเจด่ย์ที่่�พังที่ลื้าย (จากคืำาบอกเลื้่าขึ้องศรัที่ธาผ่้้อ้ป็ัฏฐาก วััดมิ่่�งเมิ่ืองจากร้่นส้่ร้่น) แลื้ะวััดมิ่่�งเมิ่ืองยังเป็็นวััดที่่�เป็็น มิ่งคืลื้นามิ่ขึ้องเมิ่ืองเช่ยงราย ตั�งอย้่ในที่่ศมิ่งคืลื้ตามิ่ที่ักษา ขึ้องการสร้างเมิ่ืองในสมิ่ัยโบราณ ในย้คืต่อมิ่าเมิ่ืองเช่ยงราย กลื้ายเป็็นเมิ่ืองร้าง ชาวัไที่ยใหญ่จากรัฐฉาน (เช่ยงต้ง) ที่่� ถู้กกวัาดต้อนโดยพมิ่่าได้มิ่าอาศัยพักพ่งบร่เวัณน่ � จ้งกลื้ายเป็็น
ช้มิ่ชนไที่ยใหญ่แห่งแรกขึ้องจังหวััดเช่ยงราย แลื้ะได้พากันบ้รณะ ซึ่่อมิ่แซึ่มิ่วััดมิ่่ง� เมิ่ือง จ้งมิ่่ศลื้่ ป็ะขึ้องชาวัไที่ยใหญ่ป็รากฏอย้่ในวััด แลื้ะถู้กตั�งชื�อวั่า จองเวียง คือ วัดในเวียง หรือชาวับ้านที่ั�วัไป็ เร่ยกวั่า วััดช้างมิ่้บ (ช้างหมิ่อบ) เพราะมิ่่บอ่ นำา� โบราณ ศ่ลื้ป็ะไที่ยลื้ือ� แบบส่บสองป็ันนา อย้ขึ้่ า้ งกำาแพงด้านที่่ศตะวัันออก แลื้ะมิ่่รป็้ ป็ัน� ช้างหมิ่อบที่รงเคืรือ� งอย้บ่ นบ่อนำ�า เนือ� งจากในย้คืก่อนสร้างเมิ่ือง เช่ยงราย บร่เวัณน่เ� ป็็นหนองนำ�าที่่อ� ด้ มิ่สมิ่บ้รณ์แลื้ะเป็็นที่่อ� ย้อ่ าศัย ขึ้องโขึ้ลื้งช้าง นอกจากน่�วััดมิ่่�งเมิ่ืองยังเป็็นวััดที่่� พญามิ่ังราย มิ่หาราชเสด็จมิ่าจ้ดผ่างป็ระที่่ป็บ้ชาป็ีลื้ะสองคืรัง� คืือ วัันวั่สาขึ้บ้ชา แลื้ะวัันย่�เป็็ง (วัันลื้อยกระที่ง) เพื�อสักการะพระเจด่ย์ที่่�บรรจ้ พระอัฐขึ้่ องพระนางเที่พคืำาขึ้่าย พระราชมิ่ารดาขึ้องพระองคื์ที่ไ่� ด้ อัญเช่ญมิ่าบรรจ้ไวั้ ณ ที่่�แห่งน่�
พระครูโสภณศิิลปาคม เจ้้าคณะตำำาบลเวีียงเขตำ ๑ / เจ้้าอาวีาสวีัดมิ�งเมือง
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
31
พระพุทธเมตำตำาเชีียงรายสถิิตำย์ พระพุทธรูปศิักดิ�สิทธิ�จ้ากเมืองคยาประเทศิอินเดีย
32
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
พระชััยม่�งเมือง
พระพุทัธมหาธรรมราชัาเชัียงแสน (พระเจ้าหมายเมืองเชัียงราย)
พญามังราย
พระนางอั�วะม่�งจอมเมือง (เจ้าย่าเทัพคำาข่าย พระราชัมารดาของพญามังราย) ผู้้้สร้างวัดม่�งเมือง
พระเจ้าทัันใจ
พระนางอุสาป็ายะโคราชัเทัวี (พระราชัเทัวีของพญามังราย) ผู้้้บู้รณะวัดม่�งเมือง ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
33
วััดเชตุุพน (สัันโค้้งน้อย)
ตุำ�บลรอบเวัียง อำ�เภอเมืืองเชียงร�ย จัังหวััดเชียงร�ย
Wat Che Tu Phon (San Khong Noy) Rob Wiang Subdistrict, Mueang Chiang Rai District, Chiang Rai Province
ความเป็็นมา วััดเชตุุพน ตุั�งอยู่่�เลขที่่ � ๑๑๓ บ้้านสัันโค้้งน้อยู่ ถนนราชโยู่ธา ซอยู่ ๓ หมู่่ที่� ่� ๑๕ ตุำาบ้ลรอบ้เวั่ยู่ง อำาเภอเมู่ืองเช่ยู่งรายู่ จัังหวััดเช่ยู่งรายู่ สัร้างเมู่ื�อประมู่าณปี พ.ศ. ๒๔๒๐ มู่่ค้ร่บ้าสัุยู่ะ เป็นเจั้าอาวัาสัองค้์แรก
34
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ซ่ง� ได้ตุงั� ชือ� วั�า วัดเชตุุพน เที่�าที่่ที่� ราบ้ มู่่เจั้าอาวัาสั สัืบ้ตุ�อกันมู่า ๙ ร่ป และเจั้าอาวัาสัองค้์ปจัั จัุบ้นั ค้ือ พระครูวิจิิตุรธรรมาภิิ รักษ์์ ซ่�งได้รับ้แตุ�งตุั�งเป็น เจั้าอาวัาสั ตุั�งแตุ�ปี พ.ศ. ๒๕๒๗ เป็นตุ้นมู่า ป็ูชนียสถาน และป็ูชนียวัตุถุ พระวิหาร (อุุโบสถ) เร่�มู่แรกพระวั่หาร ตุั�งอยู่่�ภายู่นอกวััด สัร้างแบ้บ้ก�ออ่ฐถือป่นหลัง ขนาดเล็ก ตุ�อมู่ามู่่การตุัดถนนจั่งยู่้ายู่พระวั่หาร
ถอยู่เข้าไปสัร้างใหมู่�ให้มู่่ขนาดใหญ่�ข�่น สัร้างประมู่าณ พ.ศ. ๒๔๙๖ แล้วัเสัร็จั และฉลองในปี พ.ศ. ๒๕๐๕ ตุ�อมู่าในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ วั่หารชำารุดเสั่ยู่หายู่ยู่ากจัะ บ้่รณะ จั่งได้สัร้างข่�นใหมู่�อยู่�างสัวัยู่งามู่ยู่่�งโดยู่ช�างที่วั่ บุ้ญ่ตุัน ภายู่ใตุ้ ก ารเอาใจัใสั� ด่ แ ลของพระค้ร่ วั่ จั่ ตุ รธรรมู่าภ่ รั ก ษ์์ เจั้ า อาวัาสัองค้์ ปั จั จัุ บ้ั น ที่่� ที่ำา ให้ พ ระวั่ ห ารของวัั ด เชตุุ พ น งดงามู่ในสัายู่ตุาผู้่้พบ้เห็น พระพุทธเชตุุพนมงคลรักษ์์ ค้ือ พระประธานที่่� ประด่ษ์ฐานอยู่่ใ� นวั่หารหลังปัจัจัุบ้นั เป็นพระประธานองค้์เด่มู่ จัากวั่หารหลังเก�า เมู่ือ� มู่่การสัร้างวั่หารได้ยู่า้ ยู่พระออกมู่าที่ำาให้ องค้์พระชำารุด ในปี พ.ศ. ๒๕๐๐ ได้ให้ช�าง ค้ือ สัล�าแขกช�อมู่ ที่ำายู่กหน้า (พระพักตุร์) และเสัร่มู่องค้์ให้ใหมู่� ให้ดเ่ ด�นเป็นสัง�า และสัวัยู่งามู่ ค้วัรค้�าแก�การบ้่ชากราบ้ไหวั้ยู่ง่� ข่น� ที่ำาแล้วัเสัร็จั ในปี พ.ศ. ๒๕๐๕ พร้อมู่กับ้พระวั่หาร
พระธาตุุเชตุุพนมงคลรัตุนะ เป็นพระธาตุุที่สั�่ ร้างข่น� ใหมู่� ด้านหลังพระวั่หาร ที่ำาการวัางศ่ลาฤกษ์์ โดยู่พระพุที่ธ่วังศ์ วั่วััฒน์ เจั้าอาวัาสัวััดพระแก้วั เมู่ื�อปี พ.ศ. ๒๕๑๙ พระธาตุุมู่่ ฐานเป็นสั่�เหล่�ยู่มู่จััตุุรัสั บ้รรจัุพระธาตุุที่่�ได้รับ้เมู่ตุตุาบ้ารมู่่ มู่าจัากพระสัุพรหมู่ยู่านเถระ วััดพระพุที่ธบ้าที่ตุากผู้้า ตุำาบ้ล มู่ะกอก อำาเภอป่าซาง จัังหวััดลำาพ่น เป็นพระธาตุุขนาดเมู่ล็ด ข้าวัสัาร ๑๐๘ องค้์ ขนาดเมู่ล็ดถั�วัเข่ยู่วั ๓ องค้์ ขนาดเมู่ล็ด ถั�วัดำา ๒ องค้์ กับ้พระรอดเชตุุพน ๘๔,๐๐๐ องค้์ บ้รรจัุไวั้ เสัร็จัที่ำาการฉลองใน พ.ศ. ๒๕๒๓ ตุ�อมู่าปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้ ก�อกำาแพงแก้วัโดยู่รอบ้และที่าสั่องค้์พระธาตุุใหมู่�ให้ด่ด่ข่�น ผลงานด้านศิิลป็วัฒนธรรมและป็ระวัตุิศิาสตุร์โบราณ ได้ระล่ก ร่ถ้ ง่ เข้าใจั ในศ่ลปวััฒนธรรมู่ของไที่ยู่ตุัง� แตุ� โบ้ราณมู่า และตุ้องการสัืบ้สัานรักษ์าไวั้ให้ค้งอยู่่� เพื�อให้ค้น รุ�นหลังตุ�อไปได้ตุระหนักถ่งค้วัามู่ร่้ ค้วัามู่เข้าใจัในคุ้ณค้�า วัั ฒ นธรรมู่ ประเพณ่ ตุ� า ง ๆ เก่ ด ค้วัามู่หวังแหนใน ศ่ลปวััฒนธรรมู่อันด่งามู่ ซ่�งเป็นมู่รดกอันลำ�าค้�าที่่�ตุกที่อด มู่านัน� จั่งได้ให้ชา� งมู่าแกะสัลักบ้านประตุ่ บ้านหน้าตุ�าง อุโบ้สัถ (วั่หาร) ออกมู่าในแนวัภาษ์่ตุ ค้ำาค้มู่โบ้ราณ ที่ำาซุมู่้ ประตุ่เข้าโบ้สัถ์ (วั่หาร) เป็นลายู่ป่นนั�นแบ้บ้โบ้ราณ สัร้างกุฏิ่และหอพระ ไตุรปิฎกในแบ้บ้ศ่ลปะพืน� เมู่ืองที่างเหนือ เพือ� เป็นการอนุรกั ษ์์ ไวั้ให้ปรากฎเป็นเก่ยู่รตุ่ประวััตุ่สัืบ้ตุ�อไป
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
35
วััดสัันทรายหลวัง
ตำำาบลสัันทราย อำำาเภอำเมืือำง จัังหวััดเชีียงราย
Wat San Sai Luang
San Sai Subdistrict, Mueang Chiang Rai District, Chiang Rai Province ความเป็็นมา วััดสัันทรายหลวัง ตั้ั�งอย่�เลขท่� ๒๔๕ หมู่่�ท่� ๑ ตั้ำาบลสัันทราย อำาเภอเมู่ืองเชี่ยงราย จัังหวััดเชี่ยงราย เร่มู่� ก่�อสัร้างประมู่าณปี พ.ศ. ๒๔๑๘ โดยสัร้างเป็นอารามู่ไมู่้ไผ่� มู่่พระภ่ก่ษุุปัญญา เป็นเจั้าอาวัาสัร่ปแรก่
36
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ตั้�อมู่ามู่่ก่ารเปล่�ยนแปลงข้�นตั้ามู่ลำาดับ จันมู่าถึ้งสัมู่ัยท�าน คืร่บาสัุข จั้งได้รวัมู่ใจัผ่่มู่้ จั่ ตั้่ ศรัทธาร�วัมู่ก่ันสัร้างอุโบสัถึทรง ล้านนาข้�นมู่า ๑ หลัง มู่่ พ่ระยาราชวงกฎ เจั้าเมู่ือง เชี่ยงรายสัมู่ัยนั�น เป็นประธานในก่ารสัร้าง ตั้�อมู่าเจั้า อาวัาสัหลายร่ป หลายสัมู่ัย ได้พัฒนาให้เป็นวััดเจัร่ญ รุ� ง เรื อ งเป็ น ลำา ดั บ ปั จั จัุ บั น มู่่ พ่ ระคร่ ป็ ร่ ช าวรพ่่ พ่ั ฒ น์ (ณัฐวุฒ่ ไชยแล้) ดำารงตั้ำาแหน�งเจั้าคืณะตั้ำาบลสัันทราย และเป็นเจั้าอาวัาสัวััดสัันทรายหลวัง
สิ่่ง� ศัักดิ์่สิ่� ท่ ธิ์่ภ� ายในวัดิ์ท่ม� าถึึงแล้้วต้้องกราบไหว้ ขอพร หนุนดวัง หนุนบารมู่่ เสัร่มู่ดวัง เสัร่มู่บารมู่่ คืือ - หล้วงพ่่อพ่ระพุ่ทธิ์มงคล้อุดิ์มโชค พระประธาน ในพระวั่หาร ขอพรด้านหน้าท่�ก่ารงาน - หล้วงพ่ระพุ่ทธิ์บารม่เฉล้่มจัักร่บรมราช (หลวังพ�อ ไมู่้ขนุน อายุ ๑๘๐ ปี) ขอพรด้านคืวัามู่สัุข คืวัามู่คืำ�าชี่ อุดหนุน บร่วัาร ทรัพย์สัมู่บัตั้่ - พ่ระมหาเจัดิ์่ ย์ ค่่ บุ ญ ค่่ บ ารม่ ศัร่ สิ่ั น ทราย ขอพระด้านคืวัามู่ร�มู่เย็นเป็นสัุขในคืรอบคืรัวั - ท้าวเวสิ่สิุ่วรรณ (ป็่�ป็ระทานพ่ร) ขอพรด้านอำานาจั วัาสันา ทรัพย์สัมู่บัตั้่ ธุระก่่จัด้านท่�ดน่ และก่ารคื้าขาย
พระครูปรีชาวรพิพัฒน์์ (ณััฐวุฒิ ใชยแล) เจ้้าอาวาสวัดสัน์ทรายหลวง / เจ้้าคณัะตำำาบลสัน์ทราย
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
37
วััดสัันป่่าก่่อ
ตำำาบลดอยลาน อำาเภอเมืืองเชีียงราย จัังหวััดเชีียงราย
Wat San Pa Ko
Doi Lan Subdistrict, Mueang Chiang Rai District, Chiang Rai Province
38
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา วััดสัันป่่าก่่อ ตั้ั�งอยู่่่เลขที่่� ๓๓ หมู่่่ที่่� ๑๓ ตั้ำาบล ดอยู่ลาน อำาเภอเมู่ืองเชี่ยู่งรายู่ จัังหวััดเชี่ยู่งรายู่ เร่�มู่สัร้าง เมู่ื�อวัันที่่� ๑๗ มู่ก่ราคมู่ พ.ศ. ๒๕๓๗ มู่่เนื�อที่่�ที่ั�งหมู่ด ๑๓ ไร่ ๒ งาน ได้รับยู่ก่ฐานวััดร้างข้�นเป่็นวััดที่่�มู่่พระภ่ก่ษุุจัำา พรรษุาเมู่ือ� วัันที่่ � ๑๓ มู่่นาคมู่ พ.ศ.๒๕๕๖ ได้รบั พระราชีที่าน วั่สังุ คามู่สั่มู่าเมู่ือ� วัันที่่ � ๒๒ สั่งหาคมู่ พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้ป่ระก่อบ พ่ธีเ่ มู่ือ� วัันที่่ � ๖ มู่่นาคมู่ พ.ศ. ๒๕๕๙ นอก่จัาก่น่วั� ดั สัันป่่าก่่อ ยู่ังเป่็นที่่ตั้� ง�ั ของหน่วัยู่งานและโครงก่ารตั้่างๆ ดังน่� - หน่วัยู่อบรมู่ป่ระชีาชีนป่ระจัำาตั้ำาบล (อป่ตั้.) - ศ่นยู่์ก่ารศ้ก่ษุานอก่โรงเร่ยู่น (ก่ศน.) - โรงเร่ยู่นผู้่้สั่งอายูุ่ - ศ่นยู่์ก่่้ชี่พดอยู่ลานธีรรมู่นันที่์เชี่ยู่งรายู่ - โครงก่ารไถ่่ชี่วั่ตั้โคก่ระบือ - โครงก่ารบรรพชีาอุป่สัมู่บที่ภาคฤด่รอ้ น ป่ระจัำาทีุ่ก่ป่ี พระครูสมุห์ธ์ รรมนันท์์ กลฺฺยาณธมฺโม ดำารงตั้ำาแหน่ง เจั้าอาวัาสั (พ.ศ. ๒๕๓๗ - ป่ัจัจัุบัน) และดำารงตั้ำาแหน่ง เจั้าคณะตั้ำาบลดอยู่ลาน เขตั้ ๓
พระครูสมุุห์์ธรรมุนัันัท์์ กลฺฺยาณธมฺุโมุ เจ้้าคณะตำำาบลฺดอยลฺานั เขตำ ๓/ เจ้้าอาวาสวัดสันัป่่าก่อ
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
39
หลวงพ่อผาเงา
วััดพระธาตุุผาเงา
ตุำาบลเวัียง อำำาเภอำเชีียงแสน จัังหวััดเชีียงราย
Wat Phra That Pha Ngao
Wiang Subdistrict, Chiang Saen District, Chiang Rai Province ความเป็็นมา วััดพระธาตุุผาเงา สัังกััดคณะสังฆ์์มหานิิกัาย ตุั�งอย่�บนิ ฝั่่ง� แม�นิำ�าโขงทางด้านิทิศตุะวัันิตุกั ตุรงข้ามกัับประเทศลาวั อย่ใ� นิ หม่บ� า้ นิสับคำา ตุำาบลเวัียง อำาเภอเชีียงแสันิ จัังหวััดเชีียงราย พ้นิ� ที� วััดประมาณ ๔๗๔ ไร� พ้�นิที�สั�วันิใหญ่�เป็นิเนิินิเขาเล็กั ๆ ทอดยาวั ลงมาตุั� ง แตุ� บ้ า นิดอยจัำา ปี ผ� า นิบ้ า นิดอยจัั นิ และมาสัิ� นิ สัุ ด ที� บ้านิสับคำา แตุ�กั�อนิชีาวับ้านิเรียกัดอยล่กันิี�วั�า ดอยจััน วััดตุั�งอย่�
40
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
เลขที� ๓๙๑ หม่� ๕ ตุำาบลเวัียง อำาเภอเชีียงแสันิ จัังหวััด เชีียงราย รหัสัไปรษุณีย์ ๕๗๑๕๐ กัารสัร้างวััดใหม�บนิเชีิงเขา ตุอนิแรกัได้สันิั นิิษุฐานิ วั�าบริเวัณเนิินิเขาเล็กั ๆ ล่กันิีท� กัี� ำาลังแผ้วัถูางอย่จั� ะตุ้องเป็นิ วััดเกั�าแนิ�นิอนิเพราะได้พบเห็นิซากัโบราณวััตุถูุกัลาดเกัล้อ� นิ ไปทั�วับริเวัณ และในิเด้อนิกัุมภาพันิธ์ พ.ศ. ๒๕๑๙ จัึงได้ ลงม้อแผ้วัถูางป่า แตุ�เดิมทีแ� ห�งนิีเ� คยเป็นิถูำา� เรียกัวั�า ถุำา� ผาเงา ซึ� ง ปากัถูำ�า ถู่ กั ปิ ด ไวั้ นิ านิแล้ วั ทำา ให้ บ ริ เวัณแห� ง นิี� เ ป็ นิ ป่ ารกัชีั ฏิ เตุ็ มไปด้ วั ยซากัโบราณวัั ตุถูุ กั ระจัั ด กัระจัาย เกัล้อ� นิกัลาดเตุ็มไปหมด มีชีนิิ� ใหญ่�อย่ชี� นิ�ิ หนิึง� เป็นิพระพุทธ ร่ ป ครึ� ง องค์ ชี� วั งล� า งหนิ้ า ตุั กั กัวั้ า ง ๔ วัา เชี้� อ วั� า เป็ นิ พระประธานิในิวัิหารเกั�า เม้อ� คณะศรัทธาได้ปรับพ้นิ� ทีห� มด เรียบร้อยแล้วั จัึงเริม� ขุดและยกัตุอไม้ขนิาดใหญ่�ออกั ทุกัคนิ ตุ�างตุ้นิ� เตุ้นิและปิตุยิ นิิ ดีเม้อ� ได้พบวั�าใตุ้ตุอไม้นินิั� (หนิ้าฐานิ พระประธานิ) มีอิฐโบราณกั�อเรียงไวั้ เม้�อยกัอิฐออกักั็พบ หนิ้ากัากั (แผ�นิทึบ) กั�อกัั�นิไวั้ พอยกัหนิ้ากัากัออกัจัึงได้ พบพระพุทธร่ปที�มีลักัษุณะสัวัยงามมากั ผ่้เชีี�ยวัชีาญ่ด้านิ โบราณวััตุถูุได้วัเิ คราะห์วัา� พระพุทธร่ปองค์นิม�ี อี ายุระหวั�าง ๗๐๐ - ๑,๓๐๐ ปี คณะศรัทธาทัง� หมดจัึงได้พร้อมใจักัันิตุัง� ชี้�อพระพุทธร่ปองค์นิ�ีวั�า หลวงพ่อผาเงา และเปลี�ยนิชี้�อ
ใหม�จัากั วัดสบคำา มาเป็นิ วัดพระธาตุุผาเงา ตุั�งแตุ�บัดนิั�นิ เป็นิตุ้นิมา เม้�อค้นิพบพระพุทธร่ปหลวังพ�อผาเงา วััดเกั�าแห�งนิี� กั็ถู่กัพัฒนิาบ่รณะมาอย�างตุ�อเนิ้�อง กัารกั�อสัร้างถูาวัรวััตุถูุ ตุ�าง ๆ กั็ดำาเนิินิไปอย�างไม�หยุดยั�งท�านิเจั้าอาวัาสัร่ปแรกั ค้อ พระอธิกัารคำาแสันิ คัมภีโร ท�านิเป็นินิักัพัฒนิา ท�านิได้สัร้าง วัิหารหลวังพ�อผาเงา กัุฏิิสังฆ์์ ศาลากัารเปรียญ่ และได้บ่รณะ พระธาตุุ ผ าเงาและอ้� นิ ๆ อี กั มากัมาย ตุ� อ มาในิยุ ค ของ เจั้าอาวัาสัร่ปป่จัจัุบันิ ค้อ พระพุทธิญาณมุนี ท�านิได้ตุ�อยอด โครงกัารพัฒนิาวััดพระธาตุุผาเงาร�วัมกัับคณะกัรรมกัารศรัทธา อย�างตุ�อเนิ้�องมาตุลอด พระพุทธรูป็หลวงพ่อผาเงา เป็นิพระพุทธร่ปป่นิป่นิ� ศิลปะสัมัยเชีียงแสันิสัิงห์สัาม มีเปลวัรัศมี ขัดสัมาธิราบ ปางมารวัิชียั ขนิาดหนิ้าตุักักัวั้าง ๔๐ นิิวั� เป็นิพระพุทธร่ปทีถู� กั่ ฝั่่งไวั้ในิดินิเชีิงเขาดอยชีันิ มีซากัปรักั หักัพังของพระพุทธร่ปองค์ใหญ่�ที�ล้มทับอย่� ชีาวับ้านิสับคำาได้ ขุดค้นิปรับพ้นิ� ทีเ� พ้อ� สัร้างวััดพบวั�า ใตุ้ฐานิชีุกัชีีพระพุทธร่ปองค์ ใหญ่�ท�หี ักันิั�นิมีพระพุทธร่ปฝั่่งอย่� โดยมีอิฐแผ�นิทึบกั�อป้องกัันิ ไวั้อย�างดี เม้�อมีกัารขุดพบแล้วันิักัโบราณคดีได้วัิเคราะห์วั�า พระพุทธร่ปองค์นิ�มี ีอายุระหวั�าง ๗๐๐ - ๑,๓๐๐ ปี คณะผ่้ค้นิ พบจัึงได้ขนิานินิามองค์พระพุทธร่ปทีค� นิ้ พบวั�า หลวงพ่อผาเงา ได้ขดุ ค้นิพบพระพุทธร่ปในิวัันิที � ๑๗ มีนิาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ ทีม� า หลวังพ�อ มาจัากั กัารเรียกัขานิพระภิกัษุุชีราตุามภาษุาพ้นิ� บ้านิ ผาเงา มาจัากั ชี้�อของพระธาตุุท�ตุี ั�งอย่�บนิกั้อนิหินิใหญ่�ใกัล้ที� ขุดพบพระพุทธร่ป ป็ูชนียวัตุถุุภายในวัดพระธาตุุผาเงา พระธาตุุผาเงา ตุั�งอย่�บนิหินิผาตุิดเนิินิเขาดอยจัันิ เป็นิเจัดียอ์ งค์เล็กัทรงแปดเหลีย� ม ศิลปะล้านินิาตุัง� อย่บ� นิกั้อนิ หินิแกัรนิิตุ ขนิาดใหญ่� สั่ง ๑๐ เมตุร ที�ฐานิของกั้อนิหินิที� ประดิษุฐานิพระธาตุุมีหินินิอนิลาด ลักัษุณะคล้ายเงาของหินิ ผาทีเ� จัดียตุ์ งั� อย่ � คณะผ่ค้ นิ้ พบจัึงขนิานินิามวั�า พระธาตุุผาเงา ซึง� ไม�ปรากัฏิหลักัฐานิวั�าสัร้างในิสัมัยใด แตุ�สันิั นิิษุฐานิวั�าสัร้าง ร�วัมสัมัยเดียวักัับหลวังพ�อผาเงา พระธาตุุจัอมจััน ตุั�งอย่�บนิไหล�ดอยจัันิ ซึ�งตุั�งอย่� ระหวั�างทิศเหนิ้อ ตุิดกัับแม�นิา�ำ คำา และที�ราบลุ�มเม้องเชีียงแสันิ ทิศตุะวัันิออกัเฉีียงใตุ้ตุิดกัับแม�นิำ�ากักั และแม�นิำ�าโขง ทิศใตุ้ตุิด กัับทีร� าบลุม� ซึง� ไม�ปรากัฏิหลักัฐานิทางประวััตุศิ าสัตุร์ แตุ�จัากั กัารบอกัเล�าของชีาวับ้านิทราบวั�า สัันิดอยอีกัฟากัหนิึ�งนิั�นิมี โบราณสัถูานิอีกัหลายแห�ง ซึ�งนิ�าจัะเป็นิวััดสัำาคัญ่ของเม้อง เชีียงแสันินิ้อย มีลักัษุณะเดียวักัับวััดพระธาตุุดอยสัุเทพของ จัังหวััดเชีียงใหม� ป่จัจัุบนิั พระธาตุุจัอมจัันิได้รบั กัารบ่รณะและ อนิุรกัั ษุ์เม้องประวััตุศิ าสัตุร์เชีียงแสันิ ของสัำานิักังานิโบราณคดี และพิพธิ ภัณฑ์์สัถูานิแห�งชีาตุิท �ี ๖ เชีียงใหม� ซึง� พระธาตุุจัอมจัันิ
พระป็ระธานภายใน พระบรมธาตุุพุทธนิมิตุเจัดีย์
พระพุทธิิญาณมุุนีี (ประเสริฐ ปญฺฺญาวชิิโร) รองเจ้้าคณะจ้ังหวัดเชิียงราย / เจ้้าอาวาสวัดพระธิาตุุผาเงา
คงเหล้อแตุ�เจัดีย์ตุ�ังแตุ�ฐานิถูึงปากัระฆ์ังเท�านิั�นิ สั�วันิองค์ระฆ์ัง และสั�วันิยอดพังทลายลงหมด พระธาตุุเจั็ดยอด เป็นิเจัดีย์ท�สัี มบ่รณ์ มีลักัษุณะเป็นิ พระธาตุุเจั็ดยอด เม้อ� ชีาวับ้านิอพยพเข้ามาตุัง� ถูินิ� ฐานิบ้านิเร้อนิ เม้อ� ปี พ.ศ. ๒๔๘๕ ยังพบสัภาพเดิมมีลกัั ษุณะเป็นิเจัดียย์ อด จัึง ได้เรียกัขานิวั�า พระธาตุุเจั็ดยอด ตุามลักัษุณะที�พบ จัวับจันิ ล�วังเลยมาถูึงปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ได้มีกัารสัำารวัจัโดยชีาวับ้านิเพ้�อ จััดตุั�งวััด ซึ�งแผ้วัถูางบริเวัณเจัดีย์เจั็ดยอดบนิดอยชีันิ (ดอยจัันิ ป่จัจัุบันิ) พบวั�าพระธาตุุได้ชีำารุดทรุดโทรมเป็นิอันิมากัตุาม
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
41
ภาพมุมสูงวัดพระธาตุุผาเงา
หอพระไตุรป็ิฎก
วิหารหลวงพ่อผาเงา
กัาลเวัลา เม้�อมีกัารยกัวััดร้างขึ�นิเป็นิวััดมีพระสังฆ์์ เม้�อปี พ.ศ. ๒๕๒๒ คณะกัรรมกัารได้ดำาเนิินิกัารกั�อสัร้างพระบรมธาตุุ พุทธนิิมตุิ เจัดีย ์ เพ้อ� ถูวัายเป็นิพระราชีกัุศลแด�พระบาทสัมเด็จั พระบรมชีนิกัาธิเบศร มหาภ่มพิ ลอดุลยเดชีมหาราชี บรมนิาถู บพิตุร และสัมเด็จัพระนิางเจั้าสัิริกัิตุิ� พระบรมราชีินิีนิาถู พระบรมราชีชีนินิีพนิั ปีหลวัง โดยกัารนิำาของอาจัารย์บญ่ ุ ธรรม โพธิแพ�งพุม� ได้เดินิทางมาหาสัถูานิที � เพ้อ� จััดสัร้างพระบรมธาตุุ พุทธนิิมิตุเจัดีย์ขึ�นิในิพ้�นิที�ภาคเหนิ้อสัุดของประเทศไทย ซึ�ง คณะกัรรมกัารดำาเนิินิกัารกั�อสัร้างได้ด่ที�ตุั�งของเจัดีย์เจั็ดยอด เดิมตุรงตุามวััตุถูุประสังค์ ค้อ ตุัง� อย่บ� นิยอดเขาสั่งตุิดชีายแดนิ จัึงได้เสันิอและเรียนิเชีิญ่ท�านิผ่้หญ่ิงอุศนิา ปราโมชี ณ อยุธยา เป็นิประธานิดำาเนิินิกัารกั�อสัร้าง พระบรมธาตุุพุทธนิิมิตุเจัดีย์ ครอบองค์พระธาตุุเจั็ดยอดองค์เดิม
42
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
พระอุโบสถุ
พระบรมธาตุุพทุ ธนิมตุิ เจัดีย ์ สัร้างขึนิ� ด้วัยควัามดำาริ ของผ่ม้ คี วัามจังรักัภักัดีในิพระบาทสัมเด็จัพระบรมชีนิกัาธิเบศร มหาภ่มิพลอดุลยเดชีมหาราชี บรมนิาถูบพิตุร และสัมเด็จั พระนิางเจั้าสัิรกัิ ตุิ �ิ พระบรมราชีินินิี าถู พระบรมราชีชีนินิีพนิั ปี หลวัง โดยท�านิผ่้หญ่ิงอุศนิา ปราโมชี ณ อยุธยา เป็นิประธานิ คณะกัรรมกัารดำาเนิินิกัารกั�อสัร้าง ได้รับพระมหากัรุณาธิคุณ โปรดเกัล้าฯ ให้สัมเด็จัพระนิางเจั้าสัิริกัิตุ� ิ พระบรมราชีินิีนิาถู พระบรมราชีชีนินิี พั นิ ปี ห ลวัง เสัด็ จั พระราชีดำา เนิิ นิ แทนิ พระองค์ พร้อมด้วัยสัมเด็จัพระกันิิษุฐาธิราชีเจั้า กัรมสัมเด็จั พระเทพรัตุนิราชีสัุดาฯ สัยามบรมราชีกัุมารี ทรงเจัิมแผ�นิ ศิลาฤกัษุ์ และทรงเททองพระพุทธร่ปเชีียงแสันิสัิงห์หนิึ�ง เพ้� อ ประดิ ษุ ฐานิไวั้ ภ ายในิ พระบรมธาตุุ พุ ท ธนิิ มิ ตุ เจัดี ย์ ด้านิทิศเหนิ้อ เม้อ� วัันิที � ๒๙ มกัราคม พ.ศ. ๒๕๒๔ พระบรมธาตุุ พุทธนิิมิตุเจัดีย์ ออกัแบบโดย ศ.ดร.ภิญ่โญ่ สัุวัรรณคีรี
พระธาตุุผาเงา
พระบรมธาตุุพุทธนิมิตุเจัดีย์
หอพระบรมฉายามหาราชพุทธิรังสรรค์
กัารกั�อสัร้างเริม� ตุ้นิเม้อ� วัันิที � ๑๕ กัุมภาพันิธ์ พ.ศ. ๒๕๒๖ ทัง� นิีไ� ด้ดำาเนิินิงานิตุลอดมาด้วัยควัามยากัลำาบากัและมีอปุ สัรรค นิานิาประกัาร จันิจัวับปี พ.ศ. ๒๕๓๖ จัึงแล้วัเสัร็จั ประธานิ คณะกัรรมกัารจัึ ง ได้ นิ้ อ มเกัล้ า นิ้ อ มกัระหม� อ มถูวัายเป็ นิ พระราชีกัุศลแด� พระบาทสัมเด็จัพระบรมชีนิกัาธิเบศร มหา ภ่มิพลอดุลยเดชีมหาราชี บรมนิาถูบพิตุร โดยกัราบบังคมท่ล เชีิญ่พระบาทสัมเด็จัพระบรมชีนิกัาธิเบศร มหาภ่มิพลอดุลย เดชีมหาราชี บรมนิาถูบพิตุร และสัมเด็จัพระนิางเจั้าสัิริกัิตุ� ิ พระบรมราชีิ นิี นิ าถู พระบรมราชีชีนินิี พั นิ ปี ห ลวัง เสัด็ จั พระราชีดำา เนิิ นิ ทรงเจัิ ม ยอดฉีั ตุ รและทรงเฉีลิ ม ฉีลอง พระบรมธาตุุพทุ ธนิิมตุิ เจัดีย ์ เม้อ� วัันิที � ๒๙ มกัราคม พ.ศ. ๒๕๓๖ พระบรมธาตุุ พุ ท ธนิิ มิ ตุ เจัดี ย์ ได้ สั ร้ า งขึ� นิ ครอบ พระธาตุุเจั็ดยอดไวั้ซึ�งเป็นิพระธาตุุเกั�าแกั� ภายในิมีภาพเขียนิ ฝั่าผนิังพระราชีประวััตุิพระนิางจัามเทวัี ด้านินิอกัสัามารถู
ภาพมุมสูงวัดพระธาตุุผาเงา
เดินิรอบได้ลักัษุณะคล้ายป้อมปรากัาร สัามารถูมองเห็นิ ทัศนิียภาพ ๓ ประเทศ (ประเทศไทย, ประเทศลาวั และ ประเทศพม�า) และสัามารถูมองเห็นิแม�นิำ�าโขงอย�างสัวัยงาม พระบรมธาตุุพุทธนิิมิตุเจัดีย์ ขนิาดกัวั้าง ๔๐ เมตุร ควัามยาวั ๔๐ เมตุร ควัามสั่ง ๓๙ เมตุร
ซุุ้�มทัศนียภาพ ๓ ป็ระเทศ ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
43
วััดธารทอง
ตำำาบลแม่่เงิน อำาเภอเชีียงแสน จัังหวััดเชีียงราย
Wat Than Thong
Mae Ngoen Subdistrict, Chiang Saen District Chiang Rai Province
ความเป็็นมา ตั้้�งอยู่่�หมู่่�ที่่� ๑๑ ตั้ำ�บลแมู่�เงิน อำ�เภอเชี่ยู่งแสน จั้งหวั้ด เชี่ยู่งร�ยู่ สืบเนื�องมู่�จั�กก�อนปีี พ.ศ. ๒๕๔๘ มู่่ชี�วัเข�เผ่��มู่้ง บ้�นธ�รที่อง ตั้ำ�บลแมู่�เงิน อำ�เภอเชี่ยู่งแสน จั้งหวั้ดเชี่ยู่งร�ยู่ และ ชี�วัเข�เผ่��มู่้งบ้�นไที่ยู่ส�มู่้คค่ อำ�เภอเวั่ยู่งแก�น จั้งหวั้ดเชี่ยู่งร�ยู่ กล่�มู่หน่�ง รวัมู่ปีระมู่�ณ ๒๐ คน ศร้ที่ธ�ในพระคร่บ�บ่ญชี่�มู่ ญ�ณสำวัโร ซึ่่ง� ที่��นเปี็นพระปีฏิิบตั้้ ดิ ่ ปีฏิิบตั้้ ชีิ อบส�ยู่ปี่�อร้ญวั�ส่ จั่งได้ตั้ดิ ตั้�มู่ ไปีร้บใชี้ในง�นตั้��ง ๆ ของที่��น เชี�น ก�รถ�กถ�งสถ�นที่่�เพื�อก�ร บ่รณะสถ�นที่่ปี� ฏิิบตั้้ ธิ รรมู่ดอยู่เวั่ยู่งแก้วั อำ�เภอเชี่ยู่งแสน จั้งหวั้ด เชี่ยู่งร�ยู่ ของพระคร่บ�บ่ญชี่�มู่ ตั้ลอดจันได้ตั้ิดตั้�มู่ที่��นไปีในที่่� ตั้��ง ๆ เพือ� ให้ที่�� นไปีสร้�งวั้ดให้ที่บ�่ �้ นธ�รที่อง จันที่��นพระคร่บ� บ่ญชี่�มู่ที่��นแน�ใจัแล้วัวั��ชี�วัเข�เผ่��มู่้งกล่�มู่น่�ศร้ที่ธ�และเลื�อมู่ใส ในพระพ่ที่ธศ�สน� ตั้ลอดจันที่่ห� มู่่บ� �้ นธ�รที่องมู่่ศ�สน�อืน� เข้�ไปี เผ่ยู่แผ่� เดิมู่ชี�วับ้�นธ�รที่องน้บถือผ่่บรรพบ่ร่ษก้นที่้�งหมู่ด ล่กหล�นได้ไปีเร่ยู่นหน้งสือ และไปีบวัชีเณรตั้�มู่วั้ดตั้��ง ๆ ด้วัยู่ ฐ�นะยู่�กจันได้รบ้ เอ�ศ�สน�พ่ที่ธไวั้ และในหมู่่บ� �้ นธ�รที่องได้มู่่ ก�รตั้ิดตั้�อก้บเพื�อนบ้�นมู่�กข่�น ก�รคมู่น�คมู่สะดวัก ล่กหล�น ได้ไปีเร่ยู่นร่้จั�กโลกภ�ยู่นอกมู่�กข่�น ที่ำ�ให้คนในหมู่่�บ้�นมู่่ก�ร น้บถือศ�สน�พ่ที่ธหล�ยู่ครอบคร้วั จั่งรวัมู่ตั้้วัก้นไปีห�เจั้�คณะ ตั้ำ�บลแมู่�เงิน เจั้�คณะอำ�เภอเชี่ยู่งแสน ตั้ลอดจันบ่คคลที่้�วัไปีให้ มู่�สร้ � งวั้ ด ให้ แ ตั้� ไ มู่� สำ� เร็ จั ตั้� อ มู่�เมู่ื� อ ปีล�ยู่ปีี พ.ศ. ๒๕๔๘
44
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
พระครูบาเจ้้าบุญชุุ่�ม ญาณํํโร
ที่��นพระคร่บ�บ่ญชี่�มู่ ที่��นได้มู่่เมู่ตั้ตั้�ตั้�อชี�วัเข�เผ่��มู่้ง กล่�มู่น่� จั่งได้ให้น�งน�ตั้ิ (ชีิงชีิง) จัะพะ ซึ่่�งปีระกอบอ�ชี่พ ข�ยู่ใบชี�อยู่่ที่� ส่� �มู่เหล่ยู่� มู่ที่องคำ� อำ�เภอเชี่ยู่งแสน จั้งหวั้ด เชี่ยู่งร�ยู่ ให้ไปีสร้�งวั้ดให้ชี�วัเข�เผ่��มู่้ง โดยู่ ณ ขณะน้�น ที่��นพระคร่บ�บ่ญชี่�มู่ได้ปีฏิิบ้ตั้ิธรรมู่ในปี่�ของหมู่่�บ้�น สบรวัก อำ�เภอเชี่ยู่งแสน จั้งหวั้ดเชี่ยู่งร�ยู่ เปี็นวั้นที่ำ�บ่ญ ออกกรรมู่ จั่งมู่่ชี�วับ้�นที่่ศ� ร้ที่ธ�ที่้ง� ใกล้ไกลมู่�ก้นมู่�กมู่�ยู่ โดยู่น�งน�ตั้ิ (ชีิงชีิง) จัะพะ ก็ได้ไปีในง�นน่ด� วั้ ยู่ พระคร่บ� บ่ญชี่�มู่ ได้เร่ยู่กน�งน�ตั้ิ (ชีิงชีิง) จัะพะ ไปีห�ที่��นใกล้ ๆ โดยู่ที่��นเร่ยู่กชีื�อเล�นวั�� อ�ชีิง ที่��นบอกให้แบมู่ือที่้�งสอง ข้�ง โดยู่ที่��นเที่นำ��จั�กขวัดใส�มู่อื และรดศ่รษะ ส�วันที่่เ� หลือ ที่��นให้ถอื ไวั้ปีระมู่�ณคร่ง� ขวัดแล้วับอกให้อ�ชีิงไปีสร้�งวั้ด ให้ชี�วัเข�เผ่��มู่้งเน�อ
ตั้�อมู่�ได้มู่่ผ่่้บริจั�คที่่ด� ินจัำ�นวัน ๓ ร�ยู่ ด้งน่� ๑. น�งน�ตั้ิ(ชีิงชีิง) จัะพะ จัำ�นวัน ๖ ไร� ๒. แมู่�ชี่บ่ญมู่่ เวัชีส�ร วั้ดส้มู่พ้นธวังศ�ร�มู่วัรวัิห�ร เขตั้ส้มู่พ้นธวังศ์ กร่งเที่พฯ จัำ�นวัน ๔ ไร� ๒๕ ตั้�ร�งวั� ๓. น�งบ้วัซึ่อน เครื�องผ่ง จัำ�นวัน ๒ ง�น รวัมู่พืน� ที่่ที่� ง้� หมู่ด ๖ ไร� ๒ ง�น ๒๕ ตั้�ร�งวั� จั่งได้ดำ�เนิน ก�รก�อสร้�งมู่�รวัมู่ ๑๓ ปีี ในปีัจัจั่บน้ น่ไ� ด้ปีระก�ศเปี็นวั้ดเร่ยู่บร้อยู่ แล้วัตั้้�งแตั้�วั้นที่่� ๒๖ ตั้่ล�คมู่ พ.ศ. ๒๕๖๓
สมเดู็จพระกนิษฐาธิิราชิเจ้า กรมสมเดู็จพระเที่พรัติน ราชิสุดูาฯ สยามบรมราชิกุมาร่ เสดู็จพระราชิดูำาเนิน ณ พระติำาหนักดูอยติุง เมื�อวันที่่� ๑๐ ธิันวาคม ๒๕๔๓
เรือเอกสมนึก ลักษณะหุติ เกิดที่่�อำ�เภอเมู่ือง จั้งหวั้ด ฉะเชีิ ง เที่ร�ร้ บ ร�ชีก�ร หน� วั ยู่บ้ ญ ชี�ก�รน�วัิ ก โยู่ธิน กองที่้พเรือ ผ่่ส้ ร้�งวั้ด ธ�รที่อง พระอาจ้ารย์์สุุทธิิ จ้รณํสุัมปัันโณํ รักษาการเจ้้าอาวาสุวัดธิารทอง
นางนาติิ (ชิิงชิิง) จะพะ เกิดที่่บ� ้�นเที่อดไที่ยู่ อำ�เภอแมู่�ฟ้�้ หลวัง จั้งหวั้ด เชี่ยู่งร�ยู่ เจั้�ของร้�นชี� ที่รงเสวัยู่ ส�มู่เหล่� ยู่ มู่ ที่องคำ� อำ� เภอเชี่ ยู่ งแสน จั้งหวั้ดเชี่ยู่งร�ยู่ ผ่่ส้ ร้�งวั้ด ธ�รที่อง
โครงการบรรพชิาสามเณรภาคฤดููร้อน ถวายในหลวงรัชิกาลที่่� ๙ ติั�งแติ่ป็ี ๒๕๕๓ - ๒๕๖๐ รวม ๘ ครั�ง จำานวน ๑,๒๕๐ องค์ และ บวชิชิ่พราหมณ์เดู็กนักเร่ยนหญิิง รวม ๕ ครั�ง ๔๓๗ คน
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
45
วััดอำำ�ม�ตย์์
ตำ�บลเวัีย์ง อำำ�เภอำเทิิง จัังหวััดเชีีย์งร�ย์
Wat Am-mart
Wiang Subdistrict,Thoeng District, Chiang Rai Province ความเป็็นมา วัั ด อำำ� ม�ตย์์ ตั� ง อำย์่� ใ นเขตเทศบ�ลตำ� บลเวัี ย์ งเทิ ง เลขที� ๑๗๐ บ้�นเวัีย์งเทิง ตำ�บลเวัีย์ง อำำ�เภอำเทิง จัังหวััดเชีีย์งร�ย์ สัังกััดคณะสังฆ์์มห�นิกั�ย์ มีเน้�อำที�ทั�งหมด ๒ ไร� ๕๐ ต�ร�งวั� ได้รบั พระร�ชีท�นวัิสังุ ค�มสัีม� เม้อำ� วัันที � ๒ กัันย์�ย์น พ.ศ. ๒๕๐๐ สัร้�งข้�นปีีใดไม�มีปีร�กัฏ แต�มีกั�รเล��ข�นวั�� เม้�อำปีระม�ณปีี
46
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
พุทธศักัร�ชี ๑๔๐๒ พระเจั้�กั�วัีละ เจั้�เม้อำงลำ�ปี�ง พร้อำม พระอำนุชี�ได้ไปีเย์ีย์� มเม้อำงหลวังพระบ�ง เม้อำงเวัีย์งจัันทร์ เม้�อำกัลับม� พระอำนุชี�ได้รับเอำ�มเหสัีชี้�อำ จัันทร� ม�ถึ้ง เม้อำงเทิง มอำบหม�ย์ให้ด่แลเม้อำงเทิง ต�อำม�ได้มีมเหสัีอำีกั ๑ อำงค์น�มวั�� แกั้วั พระน�งจัันทร� ม�อำย์่�เม้อำงเทิงแล้วั มีควั�มปีระสังค์จัะสัร้�งวััดไวั้สัักักั�ระสัักั ๑ วััด โดย์ตั�งชี้�อำ วั�� วััดหลวัง แล้วักัลับไปีเย์ี�ย์มญ�ติที�เวัีย์งจัันทร์ และได้ เสัีย์ชีีวัิตลง พระน�งแกั้วัจั้งให้เสัน�อำำ�ม�ตย์์ สัร้�งต�อำ จันเสัร็จัและตั�งชี้�อำใหม�วั�� วััดอำำ�ม�ตย์์ จันถึ้งปีัจัจัุบัน กิิจกิรรมป็ระจำาป็ีของวัดอำามาตย์์ ๑. ปีระเพณีทำ�บุญตักับ�ตรวัันข้�นปีีใหม� ๒. กัิจักัรรมทำ�บุญวัันสัำ�คัญท�งพระพุทธศ�สัน� ๓. ปีระเพณีทำ�บุญวัันสังกัร�นต์ ๔. กัิจักัรรมบรรพชี�สั�มเณรภ�คฤด่ร้อำน ๕. กัิจักัรรมทำ�บุญวัันเข้�พรรษ�และวัันอำอำกัพรรษ� ๖. ปีระเพณีทำ�บุญถึวั�ย์ท�นสัล�กัภัต (ในพรรษ�) ๗. กัิจักัรรมทำ�บุญทอำดกัฐิิน ๘. กัิจักัรรมสัวัดมนต์ข้�มปีี
พระครูอุุดมคณาภิิรักษ์์ เจ้้าคณะอุำาเภิอุเทิิง / เจ้้าอุาวาสวัดอุำามาตย์์
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
47
วััดทุ่่�งพร้้าวั
ตำำาบลม่�วังคำำา อำำาเภอำพาน จัังหวััดเชีียงร้าย
Wat Thung Prao
Muang Kham Subdistrict, Phan District, Chiang Rai Province
48
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา วัดทุ่่�งพร้้าว มีีชื่่�อเดิิมีเรีียกว่่า วัดสัันทุ่ร้าย เดิิมีอย่่ ในเขตการีปกครีองของคณะสงฆ์์ตำาบลเมี่องพาน ต้�งอย่่ทาง ทิศตะว่้นออกเฉีียงใต้ของหมี่บ่ า้ น รีาว่ปี พ.ศ. ๒๔๔๐ สภาพว่้ดิ ตอนน้น� มีีศาสนว่้ตถุุ ค่อ ว่ิหารีและศาลาลอย ทรีาบไดิ้โดิยซาก อิฐป่นปรีากฏให้เห็นก้นอย่่ นอกจากนีมี� อี โุ บสถุกลางนำา� โดิยอาศ้ย สรีะนำ�าเป็นสีมีา สรี้างดิ้ว่ยไมี้ พ่�นที�ว่้ดิล้อมีรีอบดิ้ว่ยรี้�ว่ไมี้ มีีพ่�นที�ตามีใบโฉีนดิที�ดิิน น.ส.๔ จ เลขที� ๑๐๐๕ มีีเน่�อที�อย่่ ๒ ไรี่ ๑ งาน ๙๔ ตารีางว่า ปัจจุบ้นเป็นธรีณีสงฆ์์ว่้ดิทุ่งพรี้าว่ สาเหตุที�ต้องย้ายว่้ดิ เน่�องจากต้�งอย่่ห่างไกลศรี้ทธา ปรีะชื่าชื่น เว่ลาไปทำาบุญทุก ๆ ครี้�ง ต้องลำาบากก้บการี เดิินทาง โดิยเฉีพาะชื่่ว่งฤดิ่ฝน ปรีะกอบก้บไมี่อย่จ่ ดิุ ศ่นย์กลาง ของหมี่บ่ า้ น ดิ้งน้น� ทางเจ้าอาว่าส (พรีะอธิการีแก้ว่ ถุิรีญาโณ) และผู้่้ใหญ่บ้าน (พ่อหลว่งทา คำาดิา) ไดิ้รี่ว่มีก้นปรีึกษาหารี่อ
ก้บศรี้ทธาปรีะชื่าชื่นย้ายว่้ดิมีาต้ง� อย่ท่ ป�ี จั จุบน้ โดิยมีีผู้เ่้ ล่อ� มีใส ศรี้ทธาไดิ้บรีิจาคทีดิ� นิ ให้กบ้ ทางว่้ดิ มีีเน่อ� ทีอ� ย่่ ๒ ไรี่ ๔๒ ตารีางว่า เมี่�อปี พ.ศ. ๒๔๙๒ เรีิ�มีสรี้างว่้ดิเป็นอ้นดิ้บแรีก แล้ว่เสรี็จในปี พ.ศ. ๒๔๙๔ จากน้�นเรีิ�มีสรี้าง กุฏิสงฆ์์ ศาลา กำาแพง มีีการี บ่รีณปฏิส้งขรีณ์มีาโดิยลำาดิ้บ ว่้ดิทุง่ พรี้าว่ ต้ง� อย่บ่ า้ นทุง่ พรี้าว่ หมี่ท่ �ี ๒ ตำาบลมี่ว่งคำา อำา เภอพาน จ้ ง หว่้ ดิ เชื่ี ย งรีาย ส้ ง ก้ ดิ คณะสงฆ์์ มี หานิ ก าย มีีหน้งส่อแสดิงกรีรีมีสิทธิ�ที�เป็น น.ส. ๓ ก มีีพ�น่ ที�ตามีใบโฉีนดิ ที�ดิิน น.ส.๔ จ เลขที� ๑๑๐๖ ภายหล้ ง ว่้ ดิ ทุ่ ง พรี้ า ว่ไดิ้ เ ปลี� ย นเขตการีปกครีอง คณะสงฆ์์ จากตำาบลเมี่องพาน มีาเป็นตำาบลมี่ว่งคำา เขต ๑ มีีพรีะภิกษุจำาพรีรีษาทุก ๆ พรีรีษาไมี่เคยขาดิ ทางว่้ดิไดิ้รี้บ พรีะรีาชื่ทานว่ิสุงคามีสีมีา เมี่�อว่้นที� ๑๖ เดิ่อนมีกรีาคมี พ.ศ. ๒๕๑๘ และทำาการีผู้่กพ้ทธสีมีา เมี่อ� เดิ่อนมีีนาคมี พ.ศ. ๒๕๒๐ เขตสีมีากว่้าง ๔๐ เมีตรี ยาว่ ๖๐ เมีตรี
พระครูพิพิธพัฒนโกวิิท เจ้้าอาวิาสวิัดท่�งพร้าวิ
เสันาสันะป็ร้ะกอบด้วย ๑. กุฏิสงฆ์์ ๑ หล้ง ๒. อุโบสถุ ๑ หล้ง ๓. ศาลาอเนกปรีะสงค์ ๑ หล้ง ๔. หอรีะฆ์้ง ๑ หล้ง ๕. ห้องนำ�า - สุขา ๑ หล้ง ๖. ซุ้มีปรีะต่ ๗. กุฏิรีบ้ รีอง ๘. อาคารีเรีียน ๑ หล้ง ปัจจุบน้ ว่้ดิทุง่ พรี้าว่มีีศรี้ทธาอุปถุ้มีภ์ ๑๐๕ หล้งคาเรี่อน โดิยมีี พร้ะครู้พิพิธพัฒนโกวิทุ่ เจ้าคณะอำาเภอพาน และ เจ้าอาว่าสว่้ดิทุ่งพรี้าว่ ว่้ ดิ ทุ่ ง พรี้ า ว่เป็ น ว่้ ดิ ที� จ้ ดิ การีศึ ก ษา แผู้นกธรีรีมี และบาลี พุทธศาสนิกชื่นอยากรี่ว่มีทำาบุญสมีทบทุนไดิ้ที� เลขที�บ้ญชื่ี ๕๒๒-๑-๓๓๐๑๖๔ ธนาคารีกรีุงไทย สาขาพาน จ้งหว่้ดิเชื่ียงรีาย
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
49
วััดห้้วัยประสิิทธิ์ิ�
ตำำ�บลป่�ห้่�ง อำำ�เภอำพ�น จัังห้วััดเชีียงร�ย
Wat Huai Prasit
Pa Hung Subdistrict, Phan District, Chiang Rai Province
50
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา วััดห้้วัยประสิิทธิ์ตั้�ิ ง�ั อย่เ� ลขท่ � ๑๔๗ ห้มู่่ � ๑๒ ตั้ำ�บลป่�ห้่ง� อำ�เภอพ�น จัังห้วััดเชี่ยงร�ย เริมู่� ก่�อตั้ัง� ในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยมู่่ พระเหรียญกิิตฺตฺฺ ป็ิ ญฺฺโญ (เจั้�อ�วั�สิวััด) พร้อมู่ด้วัยน�ยจัันทร์ ใจัยะปัน ผู้่้ให้ญ่�บ้�นในสิมู่ัยนั�น ได้นำ�ชี�วับ้�นทำ�ก่�รบ่รณะ วััดร้�งท่มู่� แ่ ตั้�ก่อ้ นอิฐในเน้อ� ท่ � ๓ ง�น ชี�วับ้�นได้ก่อ� สิร้�งศ�ล� บำ�เพ็ญ่บ่ญ่ ๑ ห้ลัง โดยขอก่ระเบ้อ� งเก่��ท่ใ� ชี้แล้วัของวััดป่�แขมู่ มู่�มู่่งเป็นห้ลังค� และนำ�ถุ่งป่นซี่เมู่นตั้์มู่�ทำ�เป็นฝ�ผู้นัง ก่ันลมู่ ก่ันห้น�วั ตั้�อมู่� พระครูธรรมสุุภาลัังกิาร อด่ตั้เจั้�คณะอำ�เภอพ�น ได้มู่อบถุวั�ยพระพ่ทธิ์ร่ปห้ิน (ห้ลวังพ�อห้ิน) จั�ก่จัังห้วััดลำ�พ่น ให้้ มู่ �เป็ น พระประธิ์�นในสิำ� นั ก่ สิงฆ์์ แ ห้� ง น่� (ปั จั จั่ บั น เป็ น พระพ่ทธิ์ร่ปท่�ศัก่ดิ�สิิทธิ์ิ�ประจัำ�วััดห้้วัยประสิิทธิ์ิ�) ห้ ว ยป็ระสุิ ท ธิ� เป็ น ชี้� อ ท่� เ ปล่� ย นมู่�จั�ก่คำ� วั� � ห้วยป็ลัาสุิกิ ซี่�งค้อ ปล�นำ��จั้ดจัำ�นวันมู่�ก่ท่�อ�ศัยอย่�ลำ�ห้้วัย
ท่ไ� ห้ลผู้��นห้น้�วััดก่ล�งห้มู่่�บ�้ น ตั้�อมู่�พระเห้ร่ยญ่ ก่ิตั้ตัฺ้ ปิ ญฺฺโญ่ ได้นำ�ชี�วับ้�นทำ�ก่�รบ่รณะสิถุ�นท่�วััดให้้มู่่ควั�มู่เจัริญ่มู่�ก่ข่�น จันได้รับพระร�ชีท�นวัิสิ่งค�มู่สิ่มู่�เมู่้�อวัันท่� ๑๓ ก่รก่ฎ�คมู่ พ.ศ. ๒๕๓๖ ท��นได้รับก่�รแตั้�งตั้ั�งให้้เป็นเจั้�อ�วั�สิ เมู่้�อวัันท่� ๒๕ ตั้่ล�คมู่ พ.ศ. ๒๕๓๑ ถุ่งจันปัจัจั่บัน และตั้�อมู่�เมู่้�อวัันท่� ๕ ธิ์ันวั�คมู่ พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้รับพระร�ชีท�นสิมู่ณศัก่ดิ�พัดยศ เจั้�คณะตั้ำ�บลชีั�นเอก่ ท่� พระครูวิจิิตฺรธรรมมานุศาสุกิ์ วัดห้วยป็ระสุิทธิ� ได้รับคัดเลัือกิให้เป็็น - วััดพัฒน�ห้น่�งวััดห้น่�งอำ�เภอ พ.ศ. ๒๕๔๗ - วััดพัฒน�ห้น่�งวััดห้น่�งตั้ำ�บล พ.ศ. ๒๕๔๘ - ศ่นย์ศก่่ ษ�พระพ่ทธิ์ศ�สิน�วัันอ�ทิตั้ย์ พ.ศ. ๒๕๕๒ - สิำ�นัก่ปฏิิบตั้ั ธิ์ิ รรมู่ประจัำ�จัังห้วััดเชี่ยงร�ยแห้�งท่ � ๑๔ พ.ศ. ๒๕๕๔ - อ่ทย�นก่�รศ่ก่ษ�ในวััด พ.ศ. ๒๕๕๖ - วััดพัฒน�ตั้ัวัอย��ง พ.ศ. ๒๕๖๐ - สิำ�นัก่ปฏิิบัตั้ิธิ์รรมู่ด่เด�นประจัำ�จัังห้วััดเชี่ยงร�ย พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้รับคัดเลัือกิจิากิสุำานักิงานพระพุทธศาสุนาแห่งชาตฺิให้ เป็็นวัดพัฒนาตฺัวอย่างที�มีผลังานดีเด่น พ.ศ. ๒๕๖๓
พระครูวัิจัิตำรธิ์รรม�น่ศ�สิก์์ เจั้�คณะตำำ�บลป่�ห้่�ง เขตำ ๑ / เจั้�อำ�วั�สิวััดห้้วัยประสิิทธิ์ิ�
ป็ระวัตฺิพระครูวิจิิตฺรธรรมานุศาสุกิ์ พระคร่ วัิ จัิ ตั้ รธิ์รรมู่�น่ ศ �สิก่์ ฉ�ย� ก่ิ ตั้ ตั้ิ ป ญฺฺ โ ญ่ น�มู่สิก่่ล เชี่ยงน� อ�ย่ ๕๘ ปี พรรษ� ๓๘ วัิทยฐ�นะ นัก่ธิ์รรมู่ ชีั�นเอก่, พ่ทธิ์ศ�สิตั้รบัณฑิิตั้ และศ่ก่ษ�ตั้�อระดับปริญ่ญ่�โท สิ�ข�ก่�รพั ฒ น�สิั ง คมู่ ดำ� รงตั้ำ� แห้น� ง เจั้ � อ�วั�สิวัั ด ห้้ วั ย ประสิิทธิ์ิ� เมู่้�อปี พ.ศ. ๒๕๓๑ จันถุ่งปัจัจั่บัน (เป็นเจั้�อ�วั�สิ ร่ปแรก่ของวััดห้้วัยประสิิทธิ์ิ�) ป็ัจิจิุบันดำารงตฺำาแหน่ง - เจั้�คณะตั้ำ�บลป่�ห้่�ง เขตั้ ๑ ปก่ครองวััด ๙ วััด - เจั้�อ�วั�สิวััดห้้วัยประสิิทธิ์ิ� - เจั้�สิำ�นัก่ปฏิิบัตั้ิธิ์รรมู่ประจัำ�จัังห้วััดเชี่ยงร�ย แห้�งท่� ๑๔
อำ่ทย�นก์�รศึก์ษ�ในวััดและสิำ�นัก์ปฏิิบัตำิธิ์รรมประจัำ� จัังห้วััดเชีียงร�ยแห้�งที� ๑๔
Facebook : วััดห้้วัยประสิิทธิ์ิ� อำ.พ�น จั.เชีียงร�ย ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
51
พญาปุุริิสาท
เทวดาผู้้�ด้แลริักษาวัดพริะธาตุุจอมแจ�ง
วััดพระธาตุุจอมแจ้ง
ตุำาบลม่วังคำำา อำาเภอพาน จังหวััดเชีียงราย
Wat Phra That Chom Chaeng
Muang Kham Subdistrict, Phan District, Chiang Rai Province 52
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
พระอาจารย์จิรภัทร จิรปภาโส เจ้าอาวัาสวััดพระธาตุุจอมแจ้ง
ขอเชิิญร่่วมทำำบุุญสร่้างมหาเจดีีย์ว์ ัดีพร่ะธาตุุจอมแจ้ง ตุ.ม่วงคำำ อ.พาน จ.เชิีย์งร่าย์
เลขทำี�บุัญชิี 522-0-55359-3
ชิ่�อบุัญชิี วัดีพร่ะธาตุุจอมแจ้ง ( เพ่�อสร่้างมหาเจดีีย์์ ) ธนาคำาร่กรุ่งไทำย์ สาขาพาน Facebook เพจ : วัดีพร่ะธาตุุจอมแจ้ง อ.พาน จ.เชิีย์งร่าย์ โทำร่ศััพทำ์ 095-459-6993 ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
53
วััดแม่่อ้อ้้ ใน
ตำำ�บลแม่่อ้อ้้ อ้ำ�เภอ้พ�น จัังหวััดเชีียงร�ย
Wat Mae Or Nai
Mae Or Subdistrict, Phan District, Chiang Rai Province
54
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา วัั ด แม่่ อ้้ อ้ ใน ตั้ั� ง อ้ยู่่่ เ ลขที่่� ๑๙๑ หม่่่ ที่่� ๑๑ บ้้านแม่่อ้อ้้ หลวัง ตั้ำาบ้ลแม่่อ้อ้้ อ้ำาเภอ้พาน จัังหวััดเชี่ยู่งรายู่ สัังกััดคณะสังฆ์์ม่หานิกัายู่ ม่่เน้�อ้ที่่�ตั้ั�งวััด ๒ ไร่ ๑ งาน น.สั. ๓ เลขที่่� ๒๙๗ ที่่�ธรณ่สังฆ์์ จัำานวัน ๑ แปลง เน้�อ้ที่่� ๑ ไร่ ๑ งาน ๕๒ ตั้ารางวัา เม่้�อ้ปี พ.ศ. ๒๓๗๑ ได้ม่่ประชีาชีนจัากัจัังหวััด ลำาพ่น เชี่ยู่งใหม่่ ลำาปาง อ้พยู่พม่าตั้ัง� หลักัปักัฐานล่ม่่ นำ�าแม่่อ้อ้้
ได้ร่วัม่กัันสัร้างวััดแตั้่เดิม่เป็นที่่�ล่ม่เกัิดนำ�าที่่วัม่เป็นประจัำา (ปัจัจั่บ้ันตั้ั�งอ้ยู่่่ที่่�หอ้ประชี่ม่บ้้านแม่่อ้้อ้หลวัง หม่่่ที่ ่� ๑๑) จัึง ได้ยู่้ายู่ม่าตั้ั�งวััดใหม่่ในที่่�ตั้ั�งปัจัจั่บ้ัน เม่้�อ้ปี พ.ศ. ๒๔๕๒ ชีาวับ้้านเร่ยู่กั วัดม่อน อาคารเสนาสนะ ประกัอ้บ้ด้วัยู่ อ้่โบ้สัถ วัิหาร พระเจั้าที่ันใจั พระธาตั้่ กั่ฏิสัิ งฆ์์ ศาลารายู่ศาลากัารเปร่ยู่ญ หอ้พระไตั้รปิฎกั หอ้ฉััน สัำานักังานวััดแม่่อ้้อ้ใน ป็ู ช นีย วัตถุุที่ี�สำาคัญภายในวัด ประกัอ้บ้ด้วัยู่ พระประธานในอ้่ โ บ้สัถ, พระพ่ ที่ ธม่งคลอ้่ ด ม่ที่รั พ ยู่์ (พระพ่ที่ธร่ปหินแกัรนิตั้ขนาดใหญ่), พระพ่ที่ธม่หาสั่ที่สัั สันม่่น่ (พระเจั้าสัำาเร็จัสัม่ปรารถนา), พระเจั้าที่ันใจั และพระบ้รม่ ราชีาน่สัาวัร่ยู่์พญาม่ังรายู่ม่หาราชี พระครูอุดมพัฒนสุนที่ร เจั้าอ้าวัาสัวััดแม่่อ้้อ้ใน / เจั้าคณะตั้ำาบ้ลแม่่อ้้อ้ เขตั้ ๒ พระป็ลััดป็ุนณะพัที่น์ เสฏฺฺฐเมธ่ รอ้งเจั้าอ้าวัาสัวััดแม่่อ้้อ้ใน เบ้อ้ร์ตั้ิดตั้่อ้. o๙-๗๙๘๓-๕๔๙๓, o๘-๙๙๕๔-o๑o๑
พระครูอุุดมพัฒนาสุุนทร เจ้้าอุาวาสุวัดแม่อุ้อุใน / เจ้้าคณะตำำาบลแม่อุ้อุ เขตำ ๒
พระปลัดปุนณะพัทน์ เสุฏฺฺฐเมธีี รอุงเจ้้าอุาวาสุวัดแม่อุ้อุใน
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
55
56
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
57
วััดอรััญวัิเวัก (วััดห้้วัยบง)
ความเป็็นมา วััดอรััญวัิเวัก ตั้ั�งอยู่่�เลขที่่ � ๓๔๔ หมู่่�ที่่� ๗ ตั้ำ�บล ที่�นตั้ะวััน อำ�เภอพ�น จัังหวััดเชี่ยู่งรั�ยู่ เดิมู่ชี�วับ้�นเรั่ยู่ก ชี่อ� วััดอรััญวัิเวัก วั��วััดห้วัยู่บง เน่อ� งจั�กมู่่ลำ�ห้วัยู่บงอยู่่ห� �� ง Than Tawan Subdistrict, Phan District, Chiang Rai Province จั�กหมู่่�บ้�น ๓๐๐ เมู่ตั้รั จัึงนำ�มู่�ตั้ั�งชี่�อวััดและชี่�อหมู่่�บ้�น วััดน่�เป็็นวััดโบรั�ณมู่�ก�อน ตั้�มู่หลักฐ�นจั�กบรัิเวัณวัิห�รั เดิมู่ที่่�ตั้ั�งอยู่่�ที่�งที่ิศใตั้้ของวัิห�รัหลังป็ัจัจัุบัน พบอิฐเก�� โบรั�ณ และเส�หินที่รั�ยู่จัำ�นวัน ๑๒ ตั้้น ตั้�อมู่�ในป็ี พ.ศ. ๒๔๖๓ พ�ออุ้ยู่โน ด�ส� ผู้่้ใหญ�บ้�น พรั้อมู่ด้วัยู่พรัะกั�นตั้่ อุ โ มู่งค์์ ได้ นำ� ชี�วับ้ � นแผู้้ วั ถ�งเพ่� อ ตั้ั� ง เป็็ น สำ� นั ก สงฆ์์ ป็ัจัจัุบัน พรัะค์รั่วัิสิที่ธิ์ิ�วัรัศิลป็์ เจั้�ค์ณะตั้ำ�บลที่�นตั้ะวััน ดำ�รังตั้ำ�แหน�งเจั้�อ�วั�สวััดอรััญวัิเวัก (วััดห้วัยู่บง)
ตำำ�บลท�นตำะวััน อำ�เภอพ�น จัังห้วััดเชีียงรั�ย
Wat AranyaWiwek Wat Huai Bong
58
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
หลวงพ่่อหิน หลวังพ� อ หิ น เป็็ น พรัะป็รัะธิ์�นของวัั ด อรัั ญ วัิ เวัก (วััดห้วัยู่บง) มู่่ลักษณะเป็็นพรัะพุที่ธิ์รั่ป็ศิล� วััดอรััญวัิเวักห��ง จั�กถนนพหลโยู่ธิ์ิน ตั้รังป็�กที่�งป็่แกง ป็รัะมู่�ณ ๙ กิโลเมู่ตั้รั ห��งจั�กตั้ำ�อำ�เภอพ�นป็รัะมู่�ณ ๒๐ กิโลเมู่ตั้รั พรัะพุที่ธิ์รั่ป็ศิล� องค์์น่�เป็็นพรัะพุที่ธิ์รั่ป็หินที่่�ใหญ�ที่่�สุดในจัังหวััดเชี่ยู่งรั�ยู่ สรั้�ง ด้วัยู่หินที่รั�ยู่ชีั�นด่ หน้�ตั้ัก กวั้�ง ๑๘๔ เซนตั้ิเมู่ตั้รั ส่ง ๒๒๔ เซนตั้ิเมู่ตั้รั สรั้�งโดยู่ชี��งที่่�มู่ฝี่ มู่ี ่อป็รัะณ่ตั้ เดิมู่เป็็นพรัะป็รัะธิ์�น วััดรั้�ง ชี�วับ้�นเรั่ยู่กวั�� วััดสันป็่�งิวั� ซึง� เป็็นวััดโบรั�ณ ห��งจั�ก หมู่่บ� �้ นห้วัยู่บงไป็ที่�งที่ิศตั้ะวัันตั้กเฉี่ยู่งใตั้้ป็รัะมู่�ณ ๒ กิโลเมู่ตั้รั ตั้�มู่ศิล�จั�รัึกกล��วัวั�� เมู่่องอ้อน เป็็นผู้่ส้ รั้�งเมู่่อ� ป็ี พ.ศ. ๒๐๓๒ มู่่อ�ยูุ่ ๕๓๑ ป็ี ตั้�อมู่�ในป็ี พ.ศ. ๒๕๐๗ น�ยู่ขัน ด�ส� ผู้่ใ้ หญ�บ�้ น และพรัะค์ำ�สุข มู่ัน� ถ�วัรั เจั้�อ�วั�ส พรั้อมู่ค์ณะศรััที่ธิ์�บ้�นห้วัยู่บง ได้รั�วัมู่กันอัญเชีิญพรัะพุที่ธิ์รั่ป็องค์์น่�มู่�ป็รัะดิษฐ�นไวั้เป็็นพรัะ ป็รัะธิ์�นของวััดอรััญวัิเวัก (วััดห้วัยู่บง) ตั้ั�งแตั้�บัดนั�นเป็็นตั้้นมู่�
พระครูวิิสิิทธิ์ิ�วิรศิิลป์์ เจ้้าคณะตำำาบลทานตำะวิัน / เจ้้าอาวิาสิวิัดอรัญวิิเวิก (วิัดห้้วิยบง)
โรงเรียนผู้้�สู้งอายุตำำาบลทานตำะวัน (วัดอรัญวิเวก) ชีมู่รัมู่ผู้่ส้ ง่ อ�ยูุ่ตั้ำ�บลที่�นตั้ะวััน และองค์์ก�รับรัิห�รั ส�วันตั้ำ�บลที่�นตั้ะวััน ค์ณะสงฆ์์ตั้ำ�บลที่�นตั้ะวััน ตั้ลอดจัน หน�วัยู่ง�นของรััฐในพ่�นที่่� รั�วัมู่กันจััดตั้ั�งศ่นยู่์พัฒน�ค์ุณภ�พ ชี่วัิตั้และส�งเสรัิมู่อ�ชี่พผู้่้ส่งอ�ยูุ่ตั้ำ�บลที่�นตั้ะวััน และให้ผู้่้ส่ง อ�ยูุ่ตั้ำ�บลที่�นตั้ะวัันรัวัมู่กลุ�มู่จััดตั้ั�งเป็็นสถ�นศึกษ� เรั่ยู่กวั�� “โรงเรียนผู้้สู� ง้ อายุตำาำ บลทานตำะวัน” เป็ิดภ�ค์เรั่ยู่นแรักเมู่่อ� วัันที่่� ๑๑ กันยู่�ยู่น พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยู่ใชี้สถ�นที่่�ภ�ยู่ใน วััดอรััญวัิเวัก (วััดห้วัยู่บง) เป็็นสถ�นที่่�จััดก�รัศึกษ�และ กิจักรัรัมู่ตั้�มู่หลักส่ตั้รัโรังเรั่ยู่นผู้่้ส่งอ�ยูุ่ ของกรัมู่กิจัก�รัผู้่้ส่ง อ�ยูุ่ กรัะที่รัวังพั ฒ น�สั ง ค์มู่และค์วั�มู่มู่ั� น ค์งของมู่นุ ษ ยู่์ ป็ัจัจัุบันมู่่นักเรั่ยู่นจัำ�นวัน ๑๒๙ ค์น เพศชี�ยู่ ๔๕ ค์น และ เพศหญิง ๘๔ ค์น จัดที่ะเบ่ยู่นก�อตั้ัง� องค์์กรั วัันที่่ � ๒๑ กันยู่�ยู่น พ.ศ. ๒๕๖๑ และได้รับั ก�รัรัับรัองเป็็นองค์์กรัสวััสดิก�รัชีุมู่ชีนใน วัันที่่� ๒๗ พฤศจัิก�ยู่น พ.ศ. ๒๕๖๑ ป็ัจัจัุบัน พรัะค์รั่สุที่ธิ์ิ�วัรัศิลป็์ เจั้�ค์ณะตั้ำ�บลที่�นตั้ะวััน เจั้�อ�วั�สวััดอรััญวัิเวัก (วััดห้วัยู่บง) ดำ�รังตั้ำ�แหน�งผู้่อ้ ำ�นวัยู่ก�รัโรังเรั่ยู่นผู้่ส้ ง่ อ�ยูุ่ตั้ำ�บลที่�นตั้ะวััน
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
59
วััดสัันกอง
ตำำ�บลแม่่ไร่่ อำ�เภอแม่่จััน จัังหวััดเชีียงร่�ย
Wat San Kong
Mae Rai Sub-district, Mae Chan District, Chiang Rai Province.
60
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา วัั ด สัั น กอง เป็็ น วัั ด เก่ า แก่ วัั ด หน่� ง ในจัั ง หวัั ด เชีียงราย ตั้ั�งอย่่เลขที่ี� ๑๔๑ บ้้านสัันกอง หมู่่ที่่ �ี ๗ ตั้ำาบ้ลแมู่่ไร่ อำาเภอแมู่่จััน จัังหวััดเชีียงราย สัังกัดคณะสังฆ์์มู่หานิกาย ภาค ๖ ตั้ั�งวััดเมู่่�อ วัันที่ี� ๑ เมู่ษายน พ.ศ. ๒๔๖๐ มู่ีเน่�อที่ี� ตั้ัง� วััดที่ัง� หมู่ด ๗ ไร่ ๓๐ ตั้ารางวัา โฉนดที่ีด� นิ เลขที่ี � ๑๗๘๕๑ เล่มู่ที่ี� ๑๗๙ หน้าที่ี� ๕๐ รวมสิิริอายุุวัดได้ ๑๐๓ ป็ี - ได้รับ้วัิสัุงคามู่สัีมู่าเมู่่�อ วัันที่ี� ๑ กุมู่ภาพันธ์์ พ.ศ. ๒๔๘๙ - ได้ รับ้ คั ด เล่ อ กเป็็ น อุ ที่ ยานการศ่ ก ษาในวัั ด เมู่่อ� ป็ี พ.ศ. ๒๕๔๐ - ได้ รั บ้ คั ด เล่ อ กเป็็ น วัั ด พั ฒ นาตั้ั วั อย่ า ง เมู่่�อป็ี พ.ศ. ๒๕๔๙
เจ้้าอาวาสิที่่�ได้รับการแต่่งต่ั�งเป็็นที่างการ ป็ระกอบด้วยุ ๑. พระคร่นที่ีสัมู่านคุณ (คร่บ้าจัอมู่ใจั คนฺธ์ิโย) พ.ศ. ๒๔๖๐ -พ.ศ. ๒๕๑๗ ๒. พระอธ์ิการจัรัล อภิวัฑฺฺฒโน พ.ศ. ๒๕๑๗ – พ.ศ ๒๕๒๒ ๓. พระคร่ศุภกิจัป็ระยุตั้ (แสัวัง อาจัารสัุโภ) พ.ศ. ๒๕๒๒ - ป็ัจัจัุบ้ัน พระครูศุภุ กิจ้ป็ระยุุต่ อายุุ ๖๔ พรรษา ๔๔ นามเดิม แสิวง ริรนิ ที่อง พระคร่ศภุ กิจัป็ระยุตั้เป็็นบุ้ตั้รของ พ่อสัุคาำ แมู่่คาำ มู่า ริรนิ ที่อง เกิดที่ี�บ้้านสัันกอง เลขที่ี� ๔๒ หมู่่่ที่ี� ๗ ตั้ำาบ้ลแมู่่ไร่ อำาเภอแมู่่จััน จัังหวััดเชีียงราย เมู่่�อวัันอาที่ิตั้ย์ที่ี� ๒๙ สัิงหาคมู่ พ.ศ. ๒๔๙๙ บ้รรพชีาเป็็นสัามู่เณร เมู่่อ� วัันที่ี � ๑๔ พฤษภาคมู่ พ.ศ. ๒๕๑๓ มู่ีพระคร่ นที่ีสัมู่านคุณ วััดสัันกอง เป็็นพระอุป็ัชีฌาย์ อุป็สัมู่บ้ที่เมู่่�อวัันที่ี� ๕ พฤษภาคมู่ พ.ศ. ๒๕๒๐ ได้ฉายานามู่วั่า อาจัารสัุโก มู่ีพระคร่สัิริ สัิกขาที่ร วััดแมู่่คำา เป็็นพระอุป็ัชีฌาย์ ด้านการศุึกษา - จับ้นักธ์รรมู่ชีั�นเอก เมู่่�อป็ี พ.ศ. ๒๕๑๖ - จับ้ป็ระถมู่ศ่กษาป็ีที่ �ี ๔ ที่ีโ� รงเรียนบ้้านสัันกอง เมู่่อ� พ.ศ. ๒๕๑๒ - จับ้พิมู่พ์ดีดสััมู่ผััสั ภาษาไที่ย-อังกฤษ ที่ี�โรงเรียนพาน พิมู่พ์ดีด เมู่่�อ พ.ศ. ๒๕๒๓ - จับ้มู่ัธ์มู่ศ่กตั้อนป็ลาย ที่ี�ศ่นย์การศ่กษานอกโรงเรียน ภาคเหน่อ เมู่่�อ พ.ศ. ๒๕๓๐ - จับ้ป็ริ ญ ญาพุ ที่ ธ์ศาสัตั้รบ้ั ณ ฑฺิ ตั้ มู่หาวัิ ที่ ยาลั ย มู่หาจัุฬาลงกรณราชีวัิที่ยาลัย วัิที่ยะเขตั้พะเยา เมู่่อ� ป็ี พ.ศ. ๒๕๔๙ - จับ้ป็ระกาศนียบ้ัตั้รบ้ัณฑฺิตั้ สัาขาการบ้ริหารการศ่กษา มู่หาวัิที่ยาลัยราชีภัฏเชีียงราย เมู่่�อป็ี พ.ศ. ๒๕๕๑ ต่ำาแหน่งป็ัจ้จุ้บัน ๑. เจั้าอาวัาสัวััดสัันกอง พ.ศ. ๒๕๒๖ - ป็ัจัจัุบ้ัน ๒. พระอุป็ัชีฌาย์ พ.ศ. ๒๕๕๓ - ป็ัจัจัุบ้ัน ๓. พระธ์รรมู่ที่่ตั้ ฝ่่ายบ้ริหาร พ.ศ. ๒๕๕๖ - ป็ัจัจัุบ้ัน ๔. รองเจั้าคณะอำาเภอแมู่่จััน พ.ศ. ๒๕๕๖ - ป็ัจัจัุบ้ัน สิิ�งสิำาคัญภายุในวัด ๑. อุโบ้สัถ และพระป็ระธ์านในอุโบ้สัถ "พระอนันตั้ชีินราชี" ๒. พระธ์าตัุ้จัอมู่ใจั (ตั้ั�งชี่�อตั้ามู่เจั้าอาวัาสัองค์แรก คร่บ้าจัอมู่ใจั คนฺธ์ิโย) ๓. ศาลาพุที่ธ์านุภาพ (ป็ระดิษฐานพระพุที่ธ์ร่ป็ป็่นป็ั�น พระป็ระธ์านในอุโบ้สัถหลังเก่า) ๔. ศ่นย์พัฒนาเด็กเล็ก ๕. ศ่นย์ศ่กษาพระพุที่ธ์ศาสันาวัันอาที่ิตั้ย์ ๖. โรงเรียนพระป็ริยัตั้ิธ์รรมู่
พระครูศุุภกิิจประยุุต รองเจ้าคณะอำาเภอแม่่จัน / เจ้าอาวาสวัดสันกิอง พระธาตุจอม่ใจ
ศุาลาพุทธานุภาพ
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
61
วััดป่่าซางหลวัง
ตำำาบลป่่าซาง อำำาเภอำแม่่จััน จัังหวััดเชีียงราย
Wat Pa Sang Luang
Pa Sang Subdistrict, Mae Chan District, Chiang Rai Province ความเป็็นมา วัดป็่าซาง เป็็น วััดราษฎร์ ตั้ั�งอยู่่�เลขที่่� ๑๒๐ หมู่่�ที่่� ๒ บ้้านป็่าซาง ตั้ำาบ้ลป็่าซาง อำาเภอแมู่�จััน จัังหวััด เชี่ยู่งรายู่ ชีาวับ้้านเร่ยู่ก วัดป็่าซางหลวง ตั้ั�งเมู่่�อวัันพุุธที่่� ๓๑ มู่่นาคมู่ พุ.ศ. ๒๔๒๘ ตั้รงกับ้ เด่อน ๖ เหน่อ แรมู่ ๑๐ คำา� ป็ีระกา (เมู่่องดับ้เล้า) จัุลศักราชี ๑๒๔๗
62
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
โดยู่ราษฎรพุลเมู่่องจัากลำาพุ่น ได้อพุยู่พุเข้ามู่าตั้ั�งบ้้าน สร้างเร่อนอยู่่ก� นั ในหมู่่บ้� า้ นแห�งน่� มู่่พุอ� ตั้ังแก เป็็นหัวัหน้าบ้้าน มู่่พุระคร่บ้าจั่� ฉายู่า อินตั้๊ะ เป็็นป็ระธานสร้างขึ�น มู่่เน่�อที่่� ตั้ั�งวััด ๔ ไร� ๒ งาน ๒๐ ตั้ารางวัา มู่่ขนาดควัามู่กวั้าง ๔๐๐ เมู่ตั้ร ควัามู่ยู่าวั ๘๐๐ เมู่ตั้ร ตั้ามู่หมู่ายู่เลขโฉนด ที่่� ดิ น ๗๓๘๔ เล� มู่ ๗๔ หน้ า ที่่� ๘๔ ออกให้ เ มู่่� อ วัั น ที่่� ๖ กรกฎาคมู่ พุ.ศ. ๒๕๓๑ ได้รับ้พุระราชีที่าน วัิสงุ คามู่ส่มู่า จัากกระที่รวังธรรมู่การ เมู่่อ� วัันที่่� ๒๐ กุมู่ภาพุันธ์ พุ.ศ. ๒๔๘๔ กวั้าง ๔๐ เมู่ตั้ร ยู่าวั ๘๐ เมู่ตั้ร มีที�ธรณีีสำงฆ์์จำำานวน ๔ แป็ลง โฉนดที่่�ดิน ๗๓๙๙ เล�มู่ ๗๔ หน้า ๙๙ เน่�อที่่� ๒ งาน ๓๘ ตั้ารางวัา โฉนดที่่ด� ิน ๗๔๐๐ เล�มู่ ๗๔ หน้า ๑๐๐ เน่�อที่่� ๑ งาน ๗๗ ตั้ารางวัา โฉนดที่่�ดิน ๗๔๐๑ เล�มู่ ๗๔ หน้า ๑๐๑ เน่�อที่่� ๓๘ ตั้ารางวัา โฉนดที่่ด� ิน ๗๓๘๓ เลขที่่ด� ิน ๑๐๔ เน่�อที่่� ๑ งาน ๕๙ ตั้ารางวัา
มีพระพุทธรูป็สำำาคัญป็ระจำำาวัด ๑. พุระเจั้าแสนที่องที่ิพุยู่์ ๒. พุระเจั้าห้าพุระองค์ (พุระป็ระธานในวัิหาร) พระเจำดีย์ป็์ ระจำำาวัด พุระธาตัุ้เจั้าสายู่ยู่อง ป็ูชนีย์วัตถุุสำำาคัญของวัด วัิหาร อุโบ้สถ หอพุระมู่หากัจัจัายู่นะ (สังกัจัจัายู่น์) หอพุระมู่หาอุป็คุตั้ พุระสิวัล่ หอบ้่รพุาจัารยู่์อด่ตั้เจั้าอาวัาส (คร่บ้าจั่� อินตั้๊ะ - คร่บ้าบุ้ญมู่า เตั้จั๊ะ - คร่บ้าบุ้ญมู่่ พุทีฺ่ธญาโณ) สั ตั้ ตั้บ้รรณ เที่วัร่ ป็ ไมู่้ ๒ ชีิ� น ธรรมู่มู่าสหลวัง ๑ หลั ง โฮงกลองหลวัง ๑ หลัง กลองหลวัง ๒ ล่ก กลองบ้่ชีา ๒ ชีุด
พระครูอุุปถััมภ์์วรการ เจ้้าคณะอุำาเภ์อุแม่จ้ัน / เจ้้าอุาวาสวัดป่าซางหลวง
นับแต่สำร้างวัดมามีเจำ้าอาวาสำป็กครองดูแลจำำานวน ๗ รูป็ ๑. พุระคร่บ้าจั่� ฉายู่า อินตั้๊ะ พุ.ศ. ๒๔๒๘ - พุ.ศ. ๒๔๓๙ รวัมู่ ๑๑ ป็ี มู่รณภาพุ ๒. พุระอธิการมูุ่๊ด ฉายู่า มูุ่ที่ิตั้๊ะ พุ.ศ. ๒๔๓๙ - พุ.ศ. ๒๔๔๒ รวัมู่ ๓ ป็ี ลาสิกขา ๓. พุระอธิการตั้๋า ฉายู่า ตั้๊ะน๊ะ พุ.ศ. ๒๔๔๒ - พุ.ศ. ๒๔๔๗ รวัมู่ ๕ ป็ี ลาสิกขา ๔. พุระอธิการป็า ฉายู่า จัุมู่ป็่ นามู่สกุล ซางสุภาพุ พุ.ศ. ๒๔๔๗ - พุ.ศ. ๒๔๕๕ รวัมู่ ๘ ป็ี ลาสิกขา ๕. เจั้าอธิการบุ้ญมู่า ฉายู่า เดิมู่ เตั้จั๊ะ (เตั้โชี) นามู่สกุล คำาเงิน พุ.ศ. ๒๔๕๕ - พุ.ศ. ๒๔๙๗ รวัมู่ ๔๒ ป็ี มู่รณภาพุ (คร่บ้าบุ้ญมู่า อด่ตั้ตั้ำาแหน�ง เจั้าคณะหมู่วัดป็่าซาง พุระ อุป็ัชีฌายู่์ ของพุระคร่บุ้ญมู่่) ๖. พุระคร่บ้ญ ุ มู่่ ฉายู่า พุที่ธญาโณ นามู่สกุล อ่ป็ซาง พุ.ศ. ๒๔๙๗ - พุ.ศ. ๒๕๒๐ รวัมู่ ๒๓ ป็ี มู่รณภาพุ (คร่บ้าบุ้ญมู่่ อด่ตั้ตั้ำาแหน�ง เจั้าคณะตั้ำาบ้ลป็่าซาง พุระอุป็ชีั ฌายู่์ ของพุระคร่อุป็ถัมู่ภ์วัรการ) ๗. พุระคร่อป็ุ ถัมู่ภ์วัรการ (บุ้ญชี�วัยู่ จัอมู่พุ่น) ฉายู่า วัรมู่งคโล พุ.ศ. ๒๕๒๐ ถึงป็ัจัจัุบ้ัน (เจั้าคณะอำาเภอแมู่�จััน เป็็นพุระอุป็ัชีฌายู่์)
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
63
วััดแม่่คำำ�
ตำำ�บลแม่่คำำ� อำำ�เภอำแม่่จััน จัังหวััดเชีียงร�ย
Wat Mae Kham
Mae Kham Subdistrict, Mae Chan District, Chiang Rai Province ความเป็็นมา วััดแม่่คำำ� ตั้ั�งวััดเม่่�อวัันที่่� ๑ เด่อน ม่่น�คำม่ พ.ศ. ๒๔๔๒ ตั้รงกัับวัันพฤหััสบด่ แรม่ ๙ คำำ�� เด่อนหักั (เหัน่อ) ปีีกัุน โดย พระคำรูบ�ญ�ณวัิไชย (คำำ�มู่ล ญ�ณวัิชโย) ซึ่่�งเปี็นเจ้้�อ�วั�ส รูปีแรกั และพ่อขุุนคำำ�คำณ�รักัษ์์ ตั้้นตั้ระกัูล ช�วัคำำ�เขุตั้ ผูู้ใ้ หัญ่บ�้ น ร่วัม่กัับช�วับ้�นปีระม่�ณ ๑๕ หัลังคำ�เร่อน เปี็นผูู้ร้ เิ ริม่� กั่อสร้�งวััด ในเน่อ� ที่่ � ๔ ไร่ ๒ ง�น ๖ ตั้�ร�งวั� เม่่อ� วัันที่่ � ๑๒ เด่อน กัุม่ภ�พันธ์์ พ.ศ. ๒๔๖๒ ได้รับพระร�ชที่�นวัิสุงคำ�ม่ส่ม่� และตั้่อม่�ได้ ผูู้กัพัที่ธ์ส่ม่� เม่่�อวัันที่่� ๒๑ ม่่น�คำม่ พ.ศ. ๒๔๗๗
64
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
อาณาเขตวัด ที่ิศเหัน่อ จ้ดถนนส�ธ์�รณะ ที่ิศใตั้้ จ้ดถนนส�ธ์�รณะ ที่ิศตั้ะวัันออกั จ้ดถนนพหัลโยธ์ิน และที่่ธ์� รณ่สงฆ์์ ที่ิศตั้ะวัันตั้กั จ้ดถนนส�ธ์�รณะ เม่่�อปีี พ.ศ. ๒๕๐๐ คำณะสงฆ์์ตั้ำ�บลแม่่คำำ� โดย กั�รนำ�ขุองพระคำรูสริ สิ กัิ ขุ�ที่ร เจ้้�อ�วั�สวััดแม่่คำ�ำ (รูปีที่่ � ๒) เจ้้�คำณะอำ�เภอแม่่จ้ัน และพระคำรูยตั้ิวััตั้ิวัิม่ล เจ้้�อ�วั�ส วััดร่องกั๊อ เจ้้�คำณะตั้ำ�บลแม่่คำำ�ในขุณะนั�น ได้เปีิดสำ�นักั เร่ยนพระปีริยัตั้ิธ์รรม่แผู้นกัธ์รรม่และบ�ล่ ขุ่�นม่�สอน พระภิกัษ์ุส�ม่เณรภ�ยในตั้ำ�บล ม่่พระม่หั�สถิตั้ย์ โกัวัิโที่ และพระม่หั�คำงศักัดิ� ธ์ฺมฺ่ม่�นุภ�โวั เปี็นคำรูสอน โดยม่่พระ ภิ กั ษ์ุ ส �ม่เณรสนใจ้เขุ้ � เร่ ย นจ้ำ� นวันม่�กั ภ�ยหัลั ง พ.ศ. ๒๕๔๑ พระคำรูธ์่รธ์รรม่วัิวััฒน์ เจ้้�อ�วั�สวััดแม่่คำำ� (รูปีที่่� ๓) ได้รับอนุญ�ตั้ใหั้จ้ัดตั้ั�งโรงเร่ยนพระปีริยัตั้ิธ์รรม่ แผู้นกัส�ม่ัญศ่กัษ์� ในน�ม่วั่� โรงเรียนวัดแม่คำาวิทยา (สัังฆป็ระชาอุป็ถััมภ์์) สอนตั้ัง� แตั้่ชนั� ม่ัธ์ยม่ปีีที่ ่� ๑ - ๖ จ้นถ่ง ปีั จ้ จุ้ บั น นอกัจ้�กันั� น ยั ง จ้ั ด ใหั้ ม่่ หั้ อ งสมุ่ ด ปีระจ้ำ� วัั ด โดยจ้ัดหั�หันังส่อทีุ่กัปีระเภที่ม่�ใหั้บริกั�รแกั่พระภิกัษ์ุ ส�ม่เณร ปีระช�ชนและเด็กันักัเร่ยนนักัศ่กัษ์�ได้อ�่ นศ่กัษ์� หั�คำวั�ม่รูเ้ พิ�ม่เตั้ิม่
วััดแม่่คำำ�ได้รบั คำัดเล่อกัเปี็นอุที่ย�นกั�รศ่กัษ์�ในวััด และวััดพัฒน�ตั้ัวัอย่�ง เม่่�อปีี พ.ศ. ๒๕๔๑ รายนามเจ้้าอาวาสัแม่คำา พระคำรูบ�ญ�ณวัิไชย (คำำ�มู่ล ญ�ณวัิชโย) เจ้้�อ�วั�สรูปีที่่� ๑ พ.ศ. ๒๔๔๒ - ๒๔๙๗ พระคำรูสิริสิกัขุ�ที่ร (ศร่บุษ์ย์ สุริโย) เจ้้�อ�วั�สรูปีที่่� ๒ พ.ศ. ๒๕๐๐ - ๒๕๒๙ พระคำรูธ์่รธ์รรม่วัิวััฒน์ (สง่� ปีิยธ์มฺ่โม่) เจ้้�อ�วั�สรูปีที่่� ๓ พ.ศ. ๒๕๒๙ - ๒๕๕๙ พระม่หั�หัน่อแกั้วั อินฺที่ปีญฺฺโญ เจ้้�อ�วั�สปีัจ้จุ้บัน ตั้ั�งแตั้่ พ.ศ. ๒๕๕๙ ปีัจ้จุ้บัน วััดแม่่คำำ�ได้ดำ�เนินกั�รบูรณะพระวัิหั�ร และอุโบสถตั้�ม่ลำ�ดับ ผูู้ม่้ จ้่ ตั้ิ ศรัที่ธ์�ร่วัม่บริจ้�คำ โดยโอนผู้่�น บััญชีวัดแม่คำา เลขที� ๕๓๕-๐-๔๘๙๘๖๐ หรือ โทร. ๐๙-๘๘๑๗-๔๗๐๘
พระมหาหน่่อแก้้ว อินฺ่ทปญฺฺโญ เจ้้าอาวาสวัดแม่คำำา
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
65
66
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ภููชี้้�เดืือน อำ�เภูอเวี้ยงแก่่น จัังหวีัดืเชี้้ยงร�ย ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
67
พะเยา Phayao
68
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
กว๊๊านพะเยา อำำาเภอำเมืือำงพะเยา จัังหว๊ัดพะเยา ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
69
วััดศรีีโคมคำ�
ตำำ�บลเวัียง อำำ�เภอำเมือำงพะเย� จัังหวััดพะเย�
Wat Sri Khom Kham
Wiang Subdistrict, Mueang Phayao District, Phayao Province ความเป็็นมา วััดศรีีโคมคำ� หรีือ วััดพรีะเจ้้�ตนหลวัง ตั�งอยู่่� เลขที่ี � ๖๙๒ ถนนพหลโยู่ธิิน หม่ที่� �ี ๑ ตำ�บลเวัียู่ง อำ�เภอเมืองพะเยู่� จ้ังหวััดพะเยู่� เรีิม� ก่�อสรี้�งองค์พรีะปรีะธิ�นเมื�อ จุ้ลศัก่รี�ช ๘๕๓ (พ.ศ. ๒๐๓๔) สมัยู่พรีะยู่�เมืองยู่ีป� ก่ครีองเมืองพะเยู่� สรี้�งเสรี็จ้ในปี พ.ศ. ๒๐๖๗ ปรีะม�ณ ๓๓ ปี และเป็นวััด
70
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
โดยู่สมบ่รีณ์ในสมัยู่พรีะยู่�เมืองต่ป้ ก่ครีองเมืองพะเยู่� ต�อ ม�หัวัเมืองต��งๆ ของล้�นน�ถ่ก่พม��รีุก่รี�นที่ำ�ให้บ�้ นเมือง รีก่รี้�งและที่รีุดโที่รีมปรีะม�ณ ๕๖ ปีภ�ยู่หลังก่�รีสถ�ปน� เมืองพะเยู่� ได้มก่ี �รีฟื้้น� ฟื้่บ�้ นเมืองและวััดวั�อ�รี�ม ในปี พ.ศ. ๒๔๖๕ พรีะครี่ศรีีวัิรี�ชวัชิรีป้ญ่ญ่� เจ้้�คณะแขวัง เมืองพะเยู่� เป็นปรีะธิ�นฝ่�ยู่สงฆ์์ ที่�งฝ่�ยู่บ้�นเมืองมี พรีะยู่�ปรีะเที่ศอุดรีที่ิศ อดีตเจ้้�ผ่ค้ รีองเมืองพะเยู่� และ น�ยู่คล�ยู่ บุษบรีรีณ์ น�ยู่อำ�เภอเมืองพะเยู่� พรี้อมด้วัยู่ ปรีะช�ชน รี�วัมก่ันไปอ�รี�ธิน�ที่��นครี่บ�ศรีีวัิชัยู่ สังก่ัด อยู่่วั� ดั บ้�นป�ง อำ�เภอลี � จ้ังหวััดลำ�พ่น ม�เป็นปรีะธิ�นใน ก่�รีสรี้�งพรีะวัิห�รีหลวังและเสน�สนะต��งๆ จ้นสำ�เรี็จ้ ต�อม�พรีะบ�ที่สมเด็จ้พรีะเจ้้�อยู่่ห� วัั รีัชก่�ลที่ี � ๙ โปรีดเก่ล้�ฯ พรีะรี�ชที่�นยู่ก่ฐ�นะขึน� เป็นพรีะอ�รี�มหลวังชั�นตรีี ชนิด ส�มัญ่ ในวัันที่ี� ๑๗ เมษ�ยู่น พ.ศ. ๒๕๒๓ ความสำาคัญของวัด วััดศรีีโคมคำ�เป็นวััดค่�บ้�นค่�เมืองพะเยู่�และวััด พัฒน�ตัวัอยู่��ง ช�วัพะเยู่�นิยู่มเรีียู่ก่วั�� วัดพระเจ้้าตินหลวง เนื� อ งจ้�ก่เป็ น ที่ี� ป รีะดิ ษ ฐ�นของ พระเจ้้ า ตินหลวง ซึ่ึ�งสรี้�งขึ�นในรีะหวั��งปี พ.ศ. ๒๐๓๔ - ๒๐๖๗ พรีะเจ้้�
พรีะสุ น ที่รีก่ิ ต ติ คุณ (เดช� อิ นฺที่ ปญฺฺ โ ญ่) ผศ.ดรี. เจ้้�คณะอำ�เภอเมืองพะเยู่� / ผ่รี้ ก่ั ษ�ก่�รีแที่นเจ้้�อ�วั�สวััดศรีีโคมคำ� อ�ยูุ่ ๖๖ พรีรีษ� ๔๕ วัิที่ยู่ฐ�นะ นธิ.เอก่, พธิ.บ, รีม., พธิ.ด เกิิดเม่�อ วัันอังค�รี ที่ี� ๕ มก่รี�คม พ.ศ. ๒๔๙๗ บ้�นเลขที่ี � ๔๘ หม่ � ๑ ตำ�บลบ้�นส�ง อำ�เภอเมือง จ้ังหวััดพะเยู่� บรรพชา วัันที่ี � ๑๐ พฤษภ�คม พ.ศ. ๒๕๑๐ วััดศรีีบญุ่ เรีือง ตำ�บลบ้�นส�ง อำ�เภอเมือง จ้ังหวััดพะเยู่� อุป็สมบที่ วัันที่ี � ๘ พฤษภ�คม พ.ศ. ๒๕๑๘ วััดบุญ่ยู่ืน ุ ป่ �จ้�รียู่์ ตนหลวัง เป็นพรีะปรีะธิ�นเก่��แก่�ในพรีะวัิห�รีหลวัง ถือเป็น ตำ�บลเวัียู่ง อำ�เภอเมือง จ้ังหวััดพะเยู่� โดยู่มีพรีะอุบ�ลีคณ พรีะพุ ที่ ธิรี่ ป ศิ ล ปะเชี ยู่ งแสนที่ี� มี ข น�ดใหญ่� ที่ี�สุ ดในล้ � นน� วััดศรีีโคมคำ� อำ�เภอเมือง จ้ังหวััดพะเยู่� เป็นพรีะอุป้ชฌ�ยู่์ ติำาแหน่งที่างวิชากิาร ผ่ช้ วั� ยู่ศ�ตรี�จ้�รียู่์มห�วัิที่ยู่�ลัยู่ นอก่จ้�ก่นี�ยู่ังมีก่�รีจ้ัดง�นนมัสก่�รีพรีะเจ้้�ตนหลวังในเดือน มห�จุ้ฬ�ลงก่รีณรี�ชวัิที่ยู่�ลัยู่ วัิที่ยู่�เขตพะเยู่� หก่ของทีุ่ก่ปี สมณศัักิดิ � เป็นพรีะรี�ช�คณะชัน� ส�มัญ่เมือ� ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ สถานที่่�ที่่องเที่่�ยวภายในวัด ๑. พรีะวัิห�รีหลวัง ที่ีป� รีะดิษฐ�นองค์พรีะเจ้้�ตนหลวัง ได้รีับแต�งตั�งให้เป็น ผ่้รีัก่ษ�ก่�รีแที่นเจ้้�อ�วั�สวััดศรีีโคมคำ� ๒. พรีะอุโบสถก่ล�งนำ�� เยู่ียู่� มชมภ�พจ้ิตรีก่รีรีมฝ�ผนัง เมื�อปี พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยู่ อ�จ้�รียู่์องั ค�รี ก่ัลยู่�ณพงศ์ ศิลปินแห�งช�ติ ๓. หอวัั ฒ นธิรีรีมนิ ที่ั ศ น์ วัั ด ศรีี โ คมคำ� เยู่ี� ยู่ มชม พรีะพุที่ธิรี่ป ของเก่�� ของโบรี�ณ ๔. หอไตรีพรีะอุบ�ลีคณ ุ ป่ ม�จ้�รียู่์ เยู่ียู่� มชม ผลง�น และคุณป่ ก่�รี ของพรีะอุบ�ลีคณ ุ ป่ ม�จ้�รียู่์ (ปวัง ธิมฺมปญฺฺญ่มห� เถรี) อดีตที่ีป� รีึก่ษ�เจ้้�คณะภ�ค ๖ ,อดีตเจ้้�อ�วั�สวััดศรีีโคมคำ� ๕. อุที่ยู่�น นรีก่-สวัรีรีค์ (สวันศิลป์) เยู่ียู่� มชม ศิลปะ ง�นป้น� เก่ียู่� วัก่ับพุที่ธิศ�สน� ๖. วัิห�รีครี่บ�ศรีีวัชิ ยู่ั นมัสก่�รี อัฐนิ ก่ั บุญ่แห�งล้�นน� ป็ระวัติิพระสุนที่รกิิติติิคุณ
พระสุุนทรกิิตติคุุณ (เดชา อิินฺทปญฺฺโญ) ผศ.ดร. เจ้้าคุณะอิำาเภอิเมืือิงพะเยา / ผ้้รักิษากิารแทนเจ้้าอิาวาสุวัดศรีโคุมืคุำา
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
71
วััดพระธาตุุจอมทอง
ตุำาบลบ้านตุ๋อม อำาเภอเมืองพะเยา จังหวััดพะเยา
Wat Phra That Jom Thong
Ban Tom Sub-district, Muang Phayao District, Phayao Province
72
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา พระธาตุุ จอมทอง หรื อพระธาตุุ เจ้ าจอมทอง เป็็ น พุ ท ธสถานท่� สำา คัั ญ อย่่ า งย่่� ง ของเมื อ งพะเย่าและ อาณาจักรล้านนา กล่าวคัือ พระธาตุุจอมทองเป็็นหน่�งใน โบราณสถานท่� ม่ อ ายุ่ ย่ าวนานและเคั่ ย่ งคั่่ ม ากั บ ป็ระวัตุศ่ าสตุร์ของเมืองพะเย่าตุัง� แตุ่คัรัง� สร้างบ้านแป็ลงเมือง ของผู้่้คันในพื�นท่�ราบลุ่มแม่นำ�าอ่ง โดย่นับตุั�งแตุ่สมัย่แคัว้น พะเย่า สมัย่อาณาจักรล้านนาของชาวโย่น (ย่วน) จวบจนถ่ง ป็ัจจุบนั ซึ่่ง� อาจป็ระเม่นช่วงอายุ่ได้ป็ระมาณ ๕๐๐ – ๗๐๐ กว่าป็ี การหุ้้�มทองและสร�างกำาแพงแก�วล�อมรอบองค์พระธาตุ้ ในป็ีพุทธศักราช ๒๕๔๓ คัร่บาเทือง นาถส่โล เจ้าอาวาสวัดบ้านเด่นสะหร่ศร่เมืองแกน อำาเภอแม่แตุง จังหวัดเช่ย่งใหม่ ได้นำาคัณะผู้่ม้ จ่ ตุ่ ศรัทธาทำาการหุม้ ทองจัง โกซึ่่�งเป็็นศ่ลป็ะสกุลช่างเช่ย่งใหม่
และสร้างกำาแพงแก้วล้อมรอบพระธาตุุไว้อย่่างว่จ่ตุรงดงาม พร้ อ มทั� ง ม่ ก ารถวาย่พระพุ ท ธร่ ป็ สำา ร่ ด (พระเจ้ า ย่่� ม ) ไว้ให้พุทธศาสน่กชนได้สักการะ ภาย่ในบร่เวณเขตุวัด แบ่งออกเป็็น เขตุพุทธาวาส ป็ระกอบด้วย่ พระธาตุุ พระว่หาร ว่หารพระเจ้าทันใจ (ห่นทราย่) ตุ้นศร่หรือตุ้นโพธ่� ตุ้นจุมป็าลาว และว่หารคัดกำาหนดขอบเขตุ เขตุสังฆาวาส กุฏิท่ จ่� ำาวัดของพระภ่กษุุ และเขตุอบรม ป็ฏิ่บัตุ่ธรรม ป็ระกอบด้วย่ โฮงหลวง (อาคัารป็ฏิ่บัตุ่ธรรม) อาคัารนอน นอกจากน่ย่� งั ม่วห่ ารรอย่พุทธบาทท่ส� ร้างข่น� ในสมัย่ คัร่บาเจ้าศร่วช่ ย่ั และบันไดนาคัและซึุ่ม้ ป็ระตุ่ทส่� ร้างข่น� ภาย่หลัง (งบพัฒนาจังหวัด) เป็็นตุ้น ศิิลป็ะและรูป็ทรงของพระธาตุ้ องคั์พระธาตุุจอมทององคั์เด่มเป็็นพระธาตุุศ่ลป็ะ เช่ย่งแสนทรงระฆังคัวำ�า ๘ เหล่�ย่ม ม่ขนาดเล็กกว่าองคั์ป็ัจจุบัน และม่ ร่ ป็ แบบสถาป็ั ตุ ย่กรรมคัล้ า ย่กั บ พระธาตุุ จ อมแจ้ ง (วัดพระธาตุุจอมก่ตุตุ่) เมืองเช่ย่งแสน พระธาตุุองคั์เด่มม่การ หุม้ ทองจังโกตุัง� แตุ่สว่ นของระฆังคัวำ�าถ่งป็ลาย่ย่อด ม่ฉัตุั รจำานวน ๕ ชั�น องคั์พระธาตุุสง่ ป็ระมาณ ๑๐ - ๑๒ เมตุร ส่วนพระธาตุุ จอมทององคั์ป็ัจจุบันเป็็นเจด่ย่์ศ่ลป็ะล้านนา (ทรงระฆังคัวำ�า) ซึ่่ง� ได้รบั อ่ทธ่พลจากลังกาและตุกผู้ล่กเป็็นเอกลักษุณ์เฉัพาะของ กลุ่มพระธาตุุ-เจด่ย่์แบบล้านนาตุอนป็ลาย่ (ยุ่คัทอง)
พระธาตุ้ป็ระจำำาเมืองและป็ระเพณีีป็ระจำำาป็ี พระธาตุุ เจ้ า จอมทองได้ รั บ คัวามเคัารพศรั ท ธา มาอย่่างย่าวนาน เนือ� งจากหัวเมืองสำาคััญในล้านนาจะม่การ ย่กพระธาตุุสำาคััญข่�นเป็็นพระธาตุุป็ระจำาเมือง ป็ระเพณ่ โบราณป็ระจำาวัด คัือ ป็ระเพณ่ถวาย่ทาน (ตุาน) นำ�าตุ้น (คันโท) นำา� หม้อ (หม้อนำา� ) และแห่ผู้า้ ห่มพระธาตุุ เร่ย่กว่า ป็ระเพณ่ ๖ เป็็ง (วันเพ็ญข่�น ๑๕ คัำ�า เดือน ๖ เหนือ) ความเชื่ื�อและเรื�องเล่าขาน ๑. คัวามเชื�อเรื�องพระเจ้าทันใจ ๒. คัวามเชื�อเรื�องบ่อนำ�าหรือถำ�าท่�อย่่่ใตุ้ฐานพระเจ้า ๓. คัวามเชือ� เรือ� งการตุัง� เหร่ย่ญอธ่ษุฐานท่ร� อย่พุทธบาท ๔. คัวามเชื�อเรื�องผู้่อารักษุ์หรือเทวดาผู้่้ด่แลรักษุา พระธาตุุและดอย่จอมทอง พระใบฎีีกา กษิิพัฑฒิิ สิริภทฺโท ป็ระธานสงฆ์์วัดพระธาตุ้จำอมทอง
ครููบาเจ้้าศรูีวิิชััย (สิิรูิวิิชัโย ภิิกฺฺขุุ)
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
73
74
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
วััดอนาลโยทิิพยาราม
ตำำาบลสัันป่่าม่วัง อำาเภอเมืองพะเยา จัังหวััดพะเยา
Wat Analayo Thiphayaram
San Pa Muang Subdistrict Mueang Phayao District, Phayao Province
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
75
76
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
วนอุุทยานภููลัังกา อุำาเภูอุปง จัังหวัดพะเยา ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
77
วััดภููมิิน่ทร์์ อำำาเภูอำเมิือำงน่่าน่ จัังหวััดน่่าน่ 78
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
น่่าน่ Nan
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
79
80
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
วััดพญาภูู พระอารามหลวัง ตำำาบลในเวัียง อำาเภูอเมืองน่าน จัังหวััดน่าน
Wat Phaya Phu Phra Arramluang
Nai Wiang Subdistrict, Mueang Nan District, Nan Province
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
81
วััดมิ่่�งเมิ่ือง
ตำำ�บลในเวัียง อำ�เภอเมิ่ืองน่�น จัังหวััดน่�น
Wat Ming Mueang
Nai Wiang Subdistrict, Mueang Nan District, Nan Province ความเป็็นมา วััดมิ่่�งเมิ่ือง ตั้ั�งอยู่่� ณ หมิ่่�บ้้านมิ่่�งเมิ่ือง ตั้ำาบ้ลในเวัียู่ง อำาเภอเมิ่ืองน�าน จัังหวััดน�าน ตั้ั�งอยู่่�ห�างจัากพิ่พิ่ธภัณฑสถาน แห�งชาตั้่นา� น (ซึ่่ง� เด่มิ่คืือ หอคืำา ที่ีป� ระที่ับ้ของเจั้าผู้่คื้ รองนคืรน�าน) ไปที่างที่่ศตั้ะวัันตั้กเฉีียู่งใตั้้ ประมิ่าณ ๔๐๐ เมิ่ตั้ร เด่มิ่เป็นวััดร้าง
82
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ที่ีมิ่� ขี นาดพิืน� ที่ีก� วั้างใหญ่� (กวั้างใหญ่�กวั�าที่ีตั้� งั� วััดในปัจัจัุบ้นั ประมิ่าณ ๒ เที่�า) วััดร้างนี�ได้มิ่ีผู้่้ร่้หลายู่ที่�านโดยู่เฉีพิาะ อยู่�างยู่่ง� คืุณพิ�อสำาราญ่ จัรุงจั่ตั้ประชารมิ่ณ์ อดีตั้มิ่หาดเล็ก หุ้มิ่แพิร ในเจั้ามิ่หาพิรหมิ่สุรธาดา เจั้าผู้่้คืรองนคืรน�าน องคื์สุดที่้ายู่ ที่�านเป็นปราชญ่์ที่างประวััตั้่ศาสตั้ร์เมิ่ืองน�าน ที่�านสันน่ษฐานวั�า วััดร้างที่ี�เป็นที่ี�ตั้ั�งของวััดมิ่่�งเมิ่ืองใน ปัจัจัุบ้นั นี � น�าจัะเป็น วััดห้วัยู่ไคืร้ ซึ่่ง� มิ่ีมิ่าก�อนหรือพิร้อมิ่กับ้ การตั้ั�งเมิ่ืองภ่เพิียู่งแช�แห้ง ตั้�อมิ่าเมิ่ือ� มิ่ีการยู่้ายู่เมิ่ืองน�านจัากเมิ่ืองภ่เพิียู่งแช�แห้ง ข้ามิ่มิ่าตั้ั�งเมิ่ืองน�านใหมิ่�ข่�นบ้นฝั่ั�งตั้ะวัันตั้กของแมิ่�นำ�าน�าน ซึ่่�งตั้ามิ่พิงศาวัดารเมิ่ืองน�านกล�าวัวั�า ตั้ั�งเมิ่ืองน�านใหมิ่�ข�่น ณ บ้้านห้วัยู่ไคืร้ เป็นธรรมิ่เนียู่มิ่และคืวัามิ่ศรัที่ธาของชาวั พิุ ที่ ธทีุ่ ก ภาคืในประเที่ศไที่ยู่ตั้ั� ง แตั้� อ ดี ตั้ จันถ่ ง ปั จั จัุ บ้ั น กล�าวัคืือเมิ่ื�อรวัมิ่ตั้ัวักันตั้ั�งเป็นหมิ่่�บ้้านหรือตั้ำาบ้ลก็จัะตั้้อง สร้างวััดประจัำาหมิ่่�บ้้านหรือตั้ำาบ้ลของตั้นข่�น วััดห้วัยู่ไคืร้ก็ คืงจัะถ่ ก ตั้ั� ง หรื อ สร้ า งข่� น พิร้ อ มิ่กั บ้ หมิ่่� บ้้ า นห้ วั ยู่ไคืร้ ตั้ามิ่ธรรมิ่เนียู่มิ่ดังกล�าวั แตั้�ไมิ่�อาจัจัะหาหลักฐานยู่ืนยู่ันได้ วััดห้วัยู่ไคืร้คืงจัะร้างลงก�อนที่ี�จัะมิ่ีการยู่้ายู่เมิ่ืองน�านใหมิ่� มิ่าตั้ัง� หรือร้างลงหลังจัากนัน� ไมิ่�มิ่กี ารบ้ันที่่กหรือปรากฏใน พิงศาวัดารเมิ่ืองน�านแตั้�ประการใด
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
83
ล�วังมิ่าถ่งสมิ่ัยู่ของ เจั้าอนันตั้วัรฤที่ธ่เดช เจั้าผู้่้คืรอง นคืรน�านองคื์ที่ี� ๖๒ ในปี พิ.ศ. ๒๔๐๐ พิระองคื์เสด็จัถวัายู่ สักการะบ้วังสรวังเสาพิระหลักเมิ่ืองน�าน หรือเสามิ่่�งเมิ่ือง ซึ่่�งเรียู่กขานกันในสมิ่ัยู่นั�น ตั้ั�งอยู่่�ที่างที่่ศตั้ะวัันตั้กเฉีียู่งใตั้้ของ หอคืำา ใกล้กับ้วััดร้าง (วััดห้วัยู่ไคืร้) พิระองคื์ที่รงเก่ดศรัที่ธา ปสาที่ะโปรดให้สร้างวััดใหมิ่�ข�น่ ณ บ้นที่ี�วััดร้าง และที่รงโปรด ให้ตั้ั�งชื�อวััดใหมิ่�น�วัี �า วัดม่�งเมือง ด้วัยู่เหตัุ้ที่ี�มิ่ี เสาม่�งเมือง ตั้ั�ง อยู่่�ใกล้ชด่ จันถ่งสมิ่ัยู่ของเจั้ามิ่หาพิรหมิ่สุรธาดา เจั้าผู้่คื้ รองนคืรน�าน องคื์สุดที่้ายู่ โปรดให้สร้าง พระเจดีย์ม์ ่�งขวัญเมือง ข่�น และ โปรดให้มิ่กี ารบ้่รณะวััดมิ่่ง� เมิ่ืองคืรัง� ใหญ่� เมิ่ือ� เสร็จัส่น� แล้วัโปรด ให้มิ่ีการสมิ่โภชเป็นเวัลา ๗ วััน ๗ คืืน ซึ่่�งมิ่ีการจัาร่กไวั้ในแผู้�น ศ่ลาและประด่ษฐานอยู่่ห� น้าเจัดียู่มิ่์ ง่� ขวััญ่เมิ่ืองมิ่าจันถ่งปัจัจัุบ้นั และตั้ั�งแตั้�ปี พิ.ศ. ๒๕๒๑ เป็นตั้้นมิ่า พระครูส่ร่ธรรมภาณีี (เสน�ห์ ฐานส่ร)่ เจั้าอาวัาสวััดมิ่่�งเมิ่ือง เจั้าคืณะอำาเภอเมิ่ืองน�าน ในสมิ่ัยู่นัน� (ปัจัจัุบ้นั คืือ พิระสุนที่รมิุ่น ี รองเจั้าคืณะจัังหวััดน�าน เจั้ า อาวัาสวัั ด มิ่่� ง เมิ่ื อ ง) ได้ นำา คืณะสงฆ์์ แ ละคืณะศรั ที่ ธา ชาวัวััดมิ่่�งเมิ่ือง ตั้ลอดถ่งพิุที่ธศาสน่กชนที่ี�ให้การอุปถัมิ่ภ์ สนั บ้ สนุ น ดำา เน่ น การพิั ฒ นาบ้่ ร ณะปฏ่ สั ง ขรณ์ วัั ด มิ่่� ง เมิ่ื อ ง มิ่าโดยู่ตั้ลอดจันถ่งปัจัจัุบ้ันนี� 84
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
พระสุุนทรมุุนี รองเจ้้าคณะจ้ังหวััดน่าน / เจ้้าอาวัาสุวััดมุ่�งเมุือง
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
85
วััดป่่านัันัทบุุรีีญาณสัังวัรีารีาม ตำำาบุลผาสัิงห์์ อำำาเภอำเมือำงนั่านั จัังห์วััดนั่านั
Wat Pa Nanthaburiyanasangwararam Pha Sing Subdistrict, Mueang Nan District, Nan Province
ติิดติ่อโทร. o๙-oo๕๖-๓๒๒o line : o๙oo๕๖๓๒๒o Facebook : วัด้ป่านันที่บุริ่ญาณสิังวริาริาม E-mail : pom_dara@hotmail.com ความเป็็นมา ด้้วยคุุณยายวัลลภา ศิิริิพริริฒ อุุบาสิิกาผู้้้ใจบุญ ได้้ซื้้�อุที่่�ด้ินเพ้�อุสิริ้างวัด้จำานวนปริะมาณ ๓๐ ไริ่ มอุบถวาย คุณะสิงฆ์์วัด้ป่าด้าริาภิริมย์ โด้ยม่พริะเด้ชพริะคุุณพริะริาช วิสิุที่ธิิญาณ (ฤที่ธิิริงคุ์ ญาณวโริ) เป็นปริะธิาน เม้�อุ วันที่่ � ๘ ม่นาคุม พ.ศิ. ๒๕๕๕ โด้ยมอุบหมายให้ พริะคุริ้กติ ติจนั ที่โริภาสิไ (จักริกริิศิน์ จนฺโที่ภาโสิ) ผู้้้ช่วยเจ้าอุาวาสิ ซื้่�งม่ภ้มิลำาเนาเด้ิม เป็นชาวจังหวัด้น่าน นำาคุณะพริะภิกษุุเข้้าสิ้่พ้�นที่่�เพ้�อุเริิ�ม ด้ำาเนินการิสิริ้างวัด้ เม้�อุวันที่่� ๖ มิถุนายน พ.ศิ. ๒๕๕๕ ต่อุมาได้้ริบั พริะเมตตาจากเจ้าปริะคุุณสิมเด้็จพริะญาณสิังวริ สิมเด้็จพริะสิังฆ์ริาชสิกลมหาสิังฆ์ปริินายก ที่ริงริับวัด้ไว้ใน
86
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
พริะสิังฆ์ริาช้ปถัมภ์ และที่ริงปริะที่านนามวัด้ว่า วัดป็่านันทบุุรี ญาณสัังวราราม เม้�อุวันที่่� ๓๑ ตุลาคุม พ.ศิ. ๒๕๕๕ และที่ริง ริับการิก่อุสิริ้างอุุโบสิถด้ินไว้ในสิังฆ์ริาช้ปถัมภ์ วัด้ป่านันที่บุริ่ญาณสิังวริาริาม ตั�งอุย้่ที่บ่� ้านผู้าต้บ หม้่ที่ ่� ๗ ตำาบลผู้าสิิงห์ อุำาเภอุเม้อุงน่าน จังหวัด้น่าน ก่อุตั�งเม้�อุปี พ.ศิ. ๒๕๕๕ หลังจากการิฉลอุง ๒๖๐๐ ปี แห่งการิตริัสิริ้้ธิริริมข้อุง อุงคุ์ สิ มเด้็ จ พริะสิั ม มาสิั ม พุ ที่ ธิเจ้ า และเป็ น วั ด้ ในพริะสิั ง ฆ์ ริาช้ปถัมภ์วด้ั สิุด้ที่้ายข้อุงสิมเด้็จพริะญาณสิังวริ สิมเด้็จพริะสิังฆ์ ริาชฯ พริะอุงคุ์ที่่� ๑๙ แห่งกริุงริัตนโกสิินที่ริ์ อุโบุสัถดินเฉลิิมพระเกีย์รติิ ๑๐๐ ป็ี สัมเด็จพระญาณสัังวร เม้�อุปี พ.ศิ. ๒๕๕๕ สิมเด้็จพริะญาณสิังวริ สิมเด้็จพริะสิังฆ์ริาชฯ ที่ริงริับการิก่อุสิริ้างอุุโบสิถด้ินเฉลิมพริะเก่ยริติ ๑๐๐ ปี ปริะจำา ภาคุเหน้อุ ข้นาด้ ๗ x ๑๗ เมตริ จำานวน ๙ หลัง ซื้่�งอุอุกแบบ โด้ยกริมริาชที่ัณฑ์์ พระพุทธนันทบุุรไี พรีพนิ าศฯ พริะปริะธิานในอุุโบสิถด้ิน เฉลิ ม พริะเก่ ย ริติ ๑๐๐ ปี สิมเด้็ จ พริะญาณสิั ง วริ สิมเด้็ จ พริะสิังฆ์ริาชฯ ปริะจำาภาคุเหน้อุ ม่หน้าตักข้นาด้ ๖๐ นิ�ว ปิด้ ที่อุงคุำา ซื้่� ง สิริ้ า งจากแผู้่ น ที่อุงที่่� ศิ ริั ที่ ธิาปริะชาชนริ่ ว มเข้่ ย น อุธิิษุฐานจิตนับแสินแผู้่น พระพุทธจักรนันทอภิิไชย์ พริะพุที่ธิริ้ปหยกข้าวจาก ปริะเที่ศิพม่า ศิิลปะเช่ยงแสิน สิิงห์ ๑ หน้าตักกว้าง ๔๙ นิ�ว ปริะด้ิษุฐานที่่�ศิาลาธิริริมไพบ้ลย์วัฒนานนที่์
พระอุ ป็ คุ ติ ทั น ใจ ม่ ข้ นาด้ ๒๒๗ เซื้นติ เ มตริ ปริะด้ิษุฐาน ณ ลานพริะอุุปคุุตที่ันใจ เจดีย์ท์ ราย์ชย์านันทบุุรเี จดีย์ ์ ปริะชาชนจาก ๘๙๐ หม้่บ้าน และสิ่วนริาชการิทีุ่กภาคุสิ่วนในจังหวัด้น่าน คุณะ สิงฆ์์จาก ๕๐๐ วัด้ ที่่ริ� บั อุาริาธินานำาที่ริายจากแต่ละวัด้ แต่ละ หม้่บ้านที่ั�วที่ั�งเข้ตพ้�นที่่�จังหวัด้น่านมาริ่วมที่ำาบุญก่อุเจด้่ย์ ที่ริาย โครงการอบุรมฟรี โคุริงการิน่�ม่ ๔ หลักสิ้ตริ ได้้แก่ หลักสิ้ตริเช้ามาเย็นกลับ, หลักสิ้ตริ ๑ คุ้น ๒ วัน, หลักสิ้ตริ ๒ คุ้น ๓ วัน และหลักสิ้ตริ ๓ คุ้น ๔ วัน โด้ยทีุ่กหลักสิ้ตริ ไม่เสิ่ยคุ่าใช้จ่าย (คุ่าวิที่ยากริ และคุ่าสิถานที่่�) แต่อุงคุ์กริ หน่วยงาน สิ่วนริาชการิ หริ้อุสิถานศิ่กษุา ต้อุงเตริ่ยมอุาหาริ นำ�าด้้�ม และอุุปกริณ์สิำาหริับฝึึกอุบริมมาเอุง โครงการบุวชฟรี เป็นโคุริงการิหน่�งข้อุงที่างวัด้ ที่่เ� ปิด้ริับผู้้ที่้ ต่� อุ้ งการิบริริพชาอุุปสิมบที่ เพ้อุ� ฝึึกปฏิิบตั ติ นตาม หลักธิริริมในพริะพุที่ธิศิาสินา โด้ยไม่เสิ่ยคุ่าใช้จา่ ยใด้ ๆ ที่ัง� สิิน� เพ่ยงฝึึกฝึนตนเอุงตามกฎริะเบ่ยบที่่�กาำ หนด้ไว้ตลอุด้ริะยะ เวลาที่่ม� โ่ คุริงการิบริริพชาอุุปสิมบที่ ซื้่ง� ม่ผู้เ้ ข้้าริับการิบริริพชา อุุปสิมบที่มาแล้วมากกว่า ๗๐๐ ริ้ป
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
87
วััดพระธาตุุช้้างค้ำำ�า วัรวัิหาร ตุำาบลในเวัียง อำำาเภอำเมืือำงน่าน จัังหวััดน่าน
Wat Phra That Chang Kham Worawihan Nai Wiang Subdistrict, Mueang Nan District, Nan Province
พระเจ้้าทันัใจ้
88
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
หิอพระไตรปิฎกแหิ่งคำวามุจ้งรักภัักดีจ้ักรีวงศ์ หิอพระไตรปิฎกที�ใหิญ่่ที�สุุดในัประเทศไทย
พระพุทธนัันัทบุุรีศรีศากยมุุนัี (พระพุทธรูปทองคำำา)
พระพุทธรูปหิินั
สถููปเจั้าผูู้้ค้ำรอำงนค้ำรน่าน พระเจ้้าสุุริยพงษ์์ผริตเดชฯ องคำ์ที� ๖๓ ,เจ้้าอนัันัตวรฤทธิเดชฯ องคำ์ที� ๖๒, เจ้้ามุหิาพรหิมุสุุรธาดาฯ องคำ์ที� ๖๔
สุวดมุนัต์ปฏิิบุัติธรรมุข้้ามุปี ทิ�งทุกข้์ปีเก่ารับุสุุข้ปีใหิมุ่
พระเจ้้าหิลวง
พระธาตุช้างคำำ�า พระธาตุแหิ่งชัยชนัะเหินัือกองทัพพมุ่า พระธาตุผู้คำำ�าจุ้นันัคำรนั่านั
คำวามุงดงามุยามุคำำ�าคำืนั
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
89
วััดเจดีย์์
ตำำ�บลด่�ใตำ้ อำำ�เภอำเมืือำงน่��น่ จังหวััดน่��น่
Wat Chedi
Du Tai Subdistrict, Mueang Nan District, Nan Province
90
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา ในปีี พ.ศ. ๒๓๕๒ พระครูบาปีาวะละ และท้้าวอาวุธ ได้้พาชาวบ้านมาตั้้�งรกรากอยูู่�บริเวณท้ิศเหนือของบ้าน เจด้ียู่์ในปีัจจุบน้ ในขณะน้�นยู่้งไม�มีว้ด้เปี็นของตั้นเอง ตั้้อง ไปีท้ำาบุญท้ี�ว้ด้พระธาตัุ้แช�แห้ง ซึ่่�งตั้้องข้ามแม�นำ�าไปีด้้วยู่ ความลำาบากเพราะการเด้ินท้างไปีมาไม�สะด้วกเพราะนำา� ล่ก จ่งได้้ร�วมก้นขนท้รายู่ข่�นมาจากแม�นำ�าน�าน แล้ วนำามา ก�อสร้างเปี็นเจด้ียู่ท้์ รายู่ข่น� เหนือหมูบ� า้ น ใกล้ฝั่งั� แม�นำ�าน�าน แตั้�ตั้�อมาไม�นาน ลำานำ�าน�านได้้ก้ด้เซึ่าะตั้ลิ�งพ้งท้ลายู่ ท้ำาให้ เจด้ียู่ท้์ รายู่ท้ีส� ร้างไว้ถูกู พ้ด้พาจมหายู่ไปีก้บนำ�า ชาวบ้านจ่ง ได้้รว� มก้นสร้างว้ด้ใหม� โด้ยู่อยูู่ท้� างท้ิศตั้ะว้นออกถูนนหลวง หล้งว้ด้เจด้ียู่ ์ ตั้�อมาไม�นานนำา� น�านก้ด้เซึ่าะตั้ลิง� ท้ำาให้วหิ ารว้ด้ ได้้รบ้ ความเสียู่หายู่ ชาวบ้านจ่งได้้พาก้นสร้างว้ด้ใหม�อกี คร้ง� อ้นเปี็นท้ี�ตั้้�งของว้ด้เจด้ียู่์ในปีัจจุบ้น ในการสร้างว้ด้นี�โด้ยู่ การเริ�มจาก ท้้าวกิ๋๋�น
ในปีี พ.ศ. ๒๓๒๕ ซึ่่ง� เปี็นผูู้น้ าำ บ้านเจด้ียู่ ์ เจ้าครูบาจินะ หรือจินช้ยู่ เปี็นเจ้าอาวาสว้ด้เจด้ียู่ ์ ภายู่หล้งท้�านได้้มรณภาพลง ครูบาอโนช้ยู่หรือครูบาโน เปี็นผูู้ร้ ก้ ษาการสืบมา โด้ยู่มีนายู่ก้น เปี็นผูู้้ใหญ�บ้าน ในปีี พ.ศ. ๒๔๗๒ พระวิหารชำารุด้ท้รุด้โท้รมลงมาก คณะศร้ท้ธาบ้านเจด้ียู่์จ่งได้้รื�อถูอนและก�อสร้างข่�นใหม� โด้ยู่ การนำาของ ท้้าวสุุภา อิ๋แต๊๊ะ และได้้รบ้ พระกรุณาจาก เจ้ามหา พรหมสุรธาด้า เจ้าผูู้้ครองนครน�าน ได้้ปีระธานพระพุท้ธรูปี ปีางมารวิช้ยู่ ซึ่่�งเปี็นศิลปีะสม้ยู่สุโขท้้ยู่ท้้�งองค์เปี็นท้องสำาริด้ ขนาด้หน้าตั้้กกว้าง ๑๑๒ ซึ่ม. ฐานกว้าง ๑๐๕ ซึ่ม. สูงจากฐาน ๑๖๒ ซึ่ม. และธรรมมาสน์ (เอก) ซึ่่ง� มีความปีระณีตั้และงด้งาม มาก เปี็นศิลปีะแบบล้านนามาปีระด้ิษฐานไว้ในพระวิหาร และ พระธรรมคำาสอนท้างศาสนา ปีัจจุบน้ ยู่้งคงสภาพเด้ิมอยูู่� การก� อ สร้ า งว้ ด้ เจด้ี ยู่์ จ นเสร็ จ โด้ยู่ได้้ ฉ ลองว้ ด้ ปีี พ.ศ. ๒๔๗๕ หล้งจากพระครูอโนช้ยู่ ได้้มรณภาพลง ปีัจจุบ้น มี พระครูว๋มลนันท้ญาณ เปี็นเจ้าอาวาสว้ด้ปีัจจุบน้ และเจ้า คณะตั้ำาบลดู้�ใตั้้เขตั้ ๑ พระธาตุ๊โสุฬสุเจดีีย์ ์ สร้างข่น� เพือ� ฉลองสิรริ าชสมบ้ตั้ิ ครบ ๕๐ ปีี พระบาท้สมเด้็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุ้ลยู่เด้ชมหาราช บรมนาถูบพิตั้ร ในว้นท้ี� ๒๘ เมษายู่น พ.ศ. ๒๕๓๙ ว้นครบรอบยู่กฉ้ตั้รพระธาตัุ้ปีระจำาปีี ๒๗ กุมภาพ้นธ์ - ๑ มีนาคมของทุ้กปีี งานข่�นพระธาตัุ้โสฬสเจด้ียู่์บูชาพระบรม สารีรกธาตัุ้ ๓ แผู้�นด้ิน ไท้ยู่ อินเด้ี ศรีล้งกา และในเด้ือนตัุ้ลาคมของทุ้กปีี จะมีงานแข�งเรือชิงถู้วยู่ พระราชท้าน ณ ท้�านำ�าบ้านเจด้ียู่์ เปี็นปีระจำาทุ้กปีี เชิ๋ญเท้ี�ย์ววัดีเจดีีย์์ กิ๋ราบไหว้เจ้าแม่กิ๋วนอิ๋ม พระโพธ๋สุัต๊ว์ ป็างป็ระท้านพร และไอิ้ไข่่ศิ๋ษย์์โสุฬสุ (วัดีเจดีีย์์น่าน) ท้ี�ให้โชิคลาภ ต๊ำาบลดีู่ใต๊้ อิำาเภอิเมือิงน่าน จังหวัดีน่าน ต๊๋ดีต๊่อิท้่อิงเท้ี�ย์วท้างนำ�ากิ๋็ไดี้ หรือิท้างบกิ๋กิ๋็ไดี้ ๐๘-๔๘๙๔-๔๓๕๑ , ๐๖-๑๖๘๕-๙๙๕๙
พระครูวิิมลนัันัทญาณ เจ้้าคณะตำำาบลดูู่�ใตำ้ / เจ้้าอาวิาสวิัดู่เจ้ดู่ีย์์
เจ้าแม่กิ๋วนอิ๋มเท้พป็ระท้านพร
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
91
วััดอรััญญาวัาส
ตำำาบลในเวัียง อำาเภอเมืืองน่าน จัังหวััดน่าน
Wat Aranyawat
Nai Wiang Subdistrict, Mueang Nan District, Nan Province ความเป็็นมา วััดอรััญญาวัาส สรั้างขึ้้�นเมื่่�อ พ.ศ. ๒๓๘๐ เดิมื่ชื่่�อ วัดป็่า ปััจจุบันั เปัลี่่ย� นชื่่อ� เปั็น วัดอรััญญาวาส สภาพขึ้องวััดเปั็น เหมื่่อนปั่ากลี่างเมื่่องมื่่ พรัะครัูพิทัักษ์์นันทัคุณ เปั็นเจ้าอาวัาส ที่่�ผ่่านมื่าวััดได้เปัิดให้เปั็นศูนย์กลี่างขึ้องชืุ่มื่ชื่นให้ทีุ่กภาคส่วัน เขึ้้ามื่าใชื่้สถานที่่�เปั็นที่่�ศ้กษาธรัรัมื่ะ ปัรัะชืุ่มื่ อบัรัมื่สัมื่มื่นา ฝึึกอาชื่่พ แลี่ะเปัิดให้เปั็นสถานที่่ปั� ฏิิบัติั ธิ รัรัมื่ ได้รับัั ควัามื่เมื่ติติา จากพรัะเดชื่พรัะคุ ณ หลี่วังพ่ อ พรัะพรัหมื่มื่งคลี่ญาณ
92
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
(หลี่วังพ่อวัิรัิยังค์ สิรัินธโรั) เปัิดสถาบัันพลี่ังจิติานุภาพ สาขึ้าที่่� ๑๐๒ เปัิดสอนสมื่าธิแบับัไฮเที่ค สอนเปั็นรัุ่น ๆ ติิดติ่อกันมื่าเปั็นเวัลี่านับั ๖ ปัี วัั ด อรัั ญ ญาวัาสได้ ส รั้ า งพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์์ ๑๐๐ ปัี พรัะครัูนันที่วัุฒิิคุณ เพ่�อเปั็นอนุสรัณ์แก่อด่ติเจ้าอาวัาส ปัรัะดิษฐานพรัะพุที่ธรัูปัซึ่้�งสรั้างขึ้้�นใหมื่่ที่่�แกะสลี่ักจากไมื่้ สักที่อง ไมื่้ขึ้นุน ไมื่้ธงชื่ัย ไมื่้โพธิ � ฯลี่ฯ เปั็นพรัะพุที่ธรัูปัปัาง ติ่าง ๆ รัวัมื่ที่ัง� พรัะพุที่ธรัูปัโบัรัาณอายุหลี่ายรั้อยปัีที่ติ่� กที่อด มื่า เพ่�อให้พุที่ธศาสนิกชื่นได้สักการัะบัูชื่า โดยเฉพาะ พรัะพุที่ธรัูปัที่่�แกะสลี่ักจากไมื่้พญางิ�วัดำา หรั่อไมื่้นิลี่คง ซึ่้�ง เปั็นไมื่้หายาก รัวัมื่ที่ัง� ติอไมื่้พญางิวั� ดำา แลี่ะไมื่้งวัิ� ดำาที่่ก� ลี่าย เปั็นหินให้อนุชื่นได้มื่าศ้กษาเรั่ยนรัู้
วัั ด อรัั ญ ญาวัาสได้ ใ ห้ โ อกาสแก่ เ ด็ ก ด้ อ ยโอกาส เด็กยากจน แลี่ะเด็กชื่นเผ่่าติ่าง ๆ ได้มื่าอาศัยวััดเพ่�อศ้กษา เลี่่าเรั่ยน ที่ั�งสายปัรัิยัติิธรัรัมื่ แผ่นกธรัรัมื่ - บัาลี่่ สายสามื่ัญ แลี่ะสายอาชื่่พ ที่ำาให้เพิ�มื่บัุคลี่ากรัที่่�มื่่คุณภาพขึ้องบั้านเมื่่อง แติ่ลี่ะปัีจำานวันมื่าก
พระครูพิทัักษ์์นัันัทัคุณ เจ้้าอาวาสวัดอรัญญาวาส
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
93
วััดสวันตาล
ตำาบลในเวัียง อำำาเภอำเมืือำงน่าน จัังหวััดน่าน
Wat Suantan
Nai Wiang Subdistrict, Mueang Nan District, Nan Province
94
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา วััดสวันตาล สร้้างขึ้้�นโดย พร้ะนางปทุุมมาวัดี ชายาขึ้องพญาภูู เ ขึ้็ ง เจ้้ า ผูู้้ ค ร้องนคร้น่ า นเม่� อ ร้าวั พ.ศ. ๑๙๕๕ เป็ น วัั ด ทุี� ตั� ง อยู่ น อกกำา แพงเม่ อ งน่ า น ด้านทุิศเหน่อ ในบร้ิเวัณทุี�เป็นสวันตาลหลวัง ซึ่้�งเป็นทุี�มา ขึ้องช่อ� วััด ตัวัเจ้ดียห์ ลังวัิหาร้นัน� เดิมเป็นทุร้งพุม่ ขึ้้าวับิณฑ์์ แบบสุโขึ้ทุัย ตามตำานานกล่าวัไวั้วั่าภูายในอุโมงค์ใต้ฐาน เจ้ดีย์ ล้ก ๒๐ วัา มีเส้นเกศาธาตุหน้�งเส้นขึ้องพร้ะพุทุธเจ้้า บร้ร้จุ้ไวั้ในโกศใส่ในเร้่อสำาเภูาทุองมีปร้าสาทุตั�งอยู่ในนั�น ต่อมาพร้ะเจ้้าสุร้ยิ พงษ์์ผู้ร้ิตเดชฯ ผูู้ค้ ร้องนคร้น่านโปร้ดเกล้าฯ ให้บูร้ณะขึ้้�นใหม่เม่�อปี พ.ศ. ๒๔๕๗ ได้แก้ไขึ้รู้ปทุร้งเป็น เจ้ดี ย์ ย อดปร้างค์ ดั ง ปั จ้ จุ้ บั น ภูายในวัั ด แห่ ง นี� เ ป็ น ทุี� ปร้ะดิษ์ฐาน พร้ะเจ้้าทุองทุิพย์ พร้ะพุทุธรู้ปสำาร้ิดปางมาร้วัิชยั องค์ใหญ่ หน้าตักกวั้าง ๑๐ ฟุุต สูง ๑๔ ฟุุต ๔ นิ�วั
พร้ะเจ้้าติโลกร้าช แห่งนคร้เชียงใหม่โปร้ดเกล้าฯ ให้สร้้าง ขึ้้�นในปี พ.ศ. ๑๙๙๓ เพ่�อแสดงถึ้งชัยชนะ ทุี�พร้ะองค์ สามาร้ถึย้ดเม่องน่าน ไวั้ในพร้ะร้าชอำานาจ้ ในการ้สร้้าง พร้ะพุทุธรู้ปหล่อด้วัยทุองนี � พร้ะองค์ได้โปร้ดให้ชา่ งทุัง� หลาย อาทุิ พม่ า เงี� ย วั และชาวัเม่ อ งเชี ย งแสน กร้ะทุำา พิ ธี หล่อหลอมทุอง และพิธหี ล่อองค์พร้ะพุทุธรู้ป ช่างได้กร้ะทุำา การ้หล่อทุองเทุเขึ้้าเบ้าพิมพ์หลายคร้ั�งหลายหน ก็ไม่สำาเร้็จ้ เพร้าะเบ้าพิมพ์แตกเสียทุุกคร้ั�ง ในทุี�สุดก็มีชายชร้าแปลก หน้านุง่ ขึ้าวัห่มขึ้าวัมาช่วัยทุำาจ้้งสำาเร้็จ้เร้ียบร้้อยสมปร้าร้ถึนา เม่�อสร้้างพร้ะพุทุธรู้ปเสร้็จ้แล้วั พร้ะเจ้้าติโลกร้าชก็ทุร้งจ้ัด ให้มกี าร้สวัดปร้ิตถึมงคล และจ้ัดให้มงี านมหกร้ร้มเฉลิมฉลอง ทุำาบุญ เป็นการ้ใหญ่มโหฬาร้ยิ�ง ส่วันชายชร้านั�นก็หาย สาบสูญไป ไม่มีผูู้้ใดพบเห็นอีกเลย ปร้ะชาชนชาวัเม่องต่าง โจ้ษ์ขึ้านกันวั่าเป็น เทุพยดาแปลงกายลงมาช่วัย จ้้งได้ขึ้นาน พร้ะพุทุธรู้ปองค์นี�วั่า พร้ะพุทุธรู้ปทุองทุิพย์ หร้่อ พร้ะเจ้้า ทุองทุิพย์ ตั�งแต่นั�นมาจ้นถึ้งปัจ้จุ้บัน ทุุกปีใหม่ช่วังเทุศกาล มหาสงกร้านต์ ชาวัน่านจ้ัดงานนมัสการ้ และสร้งนำ�าพร้ะเจ้้า ทุองทุิพย์ โดยได้ร้ับพร้ะมหากรุ้ณาธิคุณ จ้ากสมเด็จ้พร้ะ กนิษ์ฐาธิร้าชเจ้้า กร้มสมเด็จ้พร้ะเทุพร้ัตนร้าชสุดาฯ สยามบร้ม ร้าชกุมาร้ี ปร้ะทุานนำ�าสร้งเป็นปร้ะจ้ำาทุุกปี ชาวัน่านเคาร้พ นับถึ่อเป็น พร้ะคู่บ้านคูเ่ ม่อง
วิิหารพระเจ้้าทัองทัิพย์์
พระเจ้้ พระเจ้้ าทััาทัั นน ใจ้ใจ้
พระพุทัธนันทัะมหามงคลมุนี
ภูายในอุโบสถึเป็นทุี�ปร้ะดิษ์ฐาน พระศรีอริยเมตไตรย ปางนัง� พับเพียบองค์แร้กซึ่้ง� มีแห่งเดียวัในปร้ะเทุศไทุยพร้้อมกับมี พร้ะเจ้้า ๕ ทุี�ปร้ะดิษ์ฐานอยู่ทุี�เดียวักัน ทุำาให้มีปร้ะชาชนเดินทุางมาสักการ้ะกันเป็นจ้ำานวันมาก เพ่�อเป็นสิร้ิมงคลกับตนเอง พระเจ้้าทัันใจ้วัดสวนตาล เป็นพร้ะพุทุธรู้ปปูนปั�น ปางสมาธิ ขึ้นาดหน้าตักกวั้าง ๒๙ นิ�วั สูง ๓๙ นิ�วั สร้้างเม่�อ วัันทุี� ๒๖ พฤศจ้ิกายน พ.ศ. ๒๕๒๑ วัันขึ้้�น ๑๕ คำ�า เด่อนยี� ในงานปร้ะเพณีเทุศน์มหาชาติขึ้องวััดสวันตาล ดำาเนินการ้สร้้างโดย สามเณร้มนตร้ี บุญมี หร้่อปัจ้จุ้บันค่อ ครู้บามนตร้ี ธมมเมธี เจ้้าอาวัาสวััดพร้ะธาตุสุโทุนมงคลคีร้ี อำาเภูอเด่นชัย จ้ังหวััดแพร้่ พระพุ ทั ธนั น ทัะมหามงคลมุ นี (พระเจ้้ า ม่ า น) พร้ะพุ ทุ ธรู้ ป ศิ ล ปะพม่ า สร้้ า งขึ้้� น แทุนพร้ะเจ้้ า ม่ า นองค์ เ ดิ ม ทุี�เกิดอุบัติเหตุภูัยทุางธร้ร้มชาติพังทุลายลง คณะกร้ร้มการ้ฝ่่ายสงฆ์์และคณะศร้ัทุธาชุมชนบ้านสวันตาลพร้้อมด้วัยปร้ะชาชน ผูู้้มีจ้ิตศร้ัทุธาได้ร้่วัมบร้ิจ้าคทุร้ัพย์สร้้าง จ้ำานวัน ๓๙๐,๐๐๐ บาทุ และได้ทุำาพิธีมหาพุทุธาภูิเษ์ก เม่�อวัันทุี� ๒๕ มกร้าคม ๒๕๖๑ วััดสวันตาล ได้ร้บั พร้ะร้าชทุานวัิสงุ คามสีมาเป็นศาสนสถึานทุางพร้ะพุทุธศาสนา สังกัดสงฆ์์มหานิกาย เม่อ� พ.ศ. ๒๔๑๓ ปัจ้จุ้บันมี พระครูสถิิตธรรมรักษ์์ เป็นเจ้้าอาวัาส ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
95
วััดพญาวััด
ตำำาบลด่�ใตำ้ อำำาเภอำเมืือำงน่�าน่ จัังหวััดน่�าน่
Wat Phaya Wat
Du Tai Subdistrict, Mueang Nan District, Nan Province
96
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา วััดพญาวััด ตั้ั�งอยู่่�เลขที่่ � ๒๐๓ หมู่่� ๖ ตั้ำาบลด่�ใตั้้ อำาเภอเมู่ือง จัังหวััดน่�าน่ สัังกััดคณะสังฆ์์มู่หาน่ิกัายู่ แตั้�เดิมู่ บริิเวัณที่่�ตั้ั�งวััดเป็็น่เขตั้ศู่น่ยู่์กัลางเมู่ืองน่�าน่ ใน่สัมู่ัยู่ที่่�ยู่้ายู่ เมู่ืองจัากัพริะบริมู่ธาตัุ้แช่�แห้งมู่าตั้ั�งอยู่่�ริิมู่ฝั่่�งตั้ะวััน่ตั้กัของ แมู่�น่ำ�าน่�าน่ วััดพญาวััดเป็็น่วััดโบริาณที่างพุที่ธศูาสัน่า พื�น่ที่่� ของวััดอยู่่ภ� ายู่ใน่เขตั้ เวียงวัดพญาวัด อัน่เป็็น่เวั่ยู่งโบริาณ ริิมู่แมู่�น่ำ�าน่�าน่ คาดวั�าสัริ้างข้�น่กั�อน่กัาริสัริ้างเมู่ืองน่�าน่ ซึ่้�งเมู่ืองน่�าน่สัริ้างข้�น่ใน่ป็ี พ.ศู. ๑๙๑๑ (ป็ีสัุดที่้ายู่ของ ริัช่กัาลพริะเจั้าอ่ที่� อง แห�งกัริุงศูริ่อยูุ่ธยู่า) โดยู่ยู่้ายู่เมู่ืองมู่าจัากั บริิเวัณภ่เวั่ยู่งแช่�แห้ง (บริิเวัณวััดพริะธาตัุ้แช่�แห้งใน่ป็่จัจัุบน่ั ) มู่าสัริ้างเมู่ืองใหมู่� ณ ริิมู่ฝั่่ง� น่ำ�าน่�าน่ที่างที่ิศูตั้ะวััน่ตั้กั โดยู่คาด วั�า วััดพญาวััด สัริ้างข้น่� พริ้อมู่เวั่ยู่งพญาวััดซึ่้ง� มู่่อายูุ่มู่ากักัวั�า ๖๐๐ ป็ี
ช่ื� อ วัั ด พญาวัั ด ป็ริากัฎใน่เอกัสัาริป็ริะวัั ตั้ิ ศู าสัตั้ริ์ บางฉบับ เช่�น่ พงศูาวัดาริล้าน่น่า พงศูาวัดาริเมู่ืองน่�าน่ เป็็น่ตั้้น่ ซึ่้�งแสัดงถึ้งสัถึาน่ภาพควัามู่เป็็น่วััด และบที่บาที่ของวััดอยู่�าง ตั้�อเน่ื�อง ป็่จัจัุบัน่ พระครูป็ริยัติิกิิติติิพันท์์ ดำาริงตั้ำาแหน่�งเจั้าอาวัาสั สิ่ิ�งศัักิดิ�สิ่ิท์ธิ์ิ�ภายในวัด พระธิ์าติุจามเท์วี เป็็น่เจัด่ยู่สั์ ถึาน่ริ่ป็สั่เ� หล่ยู่� มู่ กั�อด้วัยู่ อิฐสัอดิน่ ลักัษณะสัำาคัญ คือ มู่่เริือน่ธาตัุ้เป็็น่ขั�น่ลดหลั�น่ข้�น่ไป็ ๕ ช่ั� น่ แตั้� ล ะช่ั� น่ แตั้� ล ะด้ า น่กั� อ เป็็ น่ ซึุ่้ มู่ ๓ ซึุ่้ มู่ ภายู่ใน่ซึุ่้ มู่ ป็ริะดิษฐาน่พริะพุที่ธริ่ป็ยู่ืน่ สั�วัน่ยู่อดมู่่ลักัษณะคล้ายู่คล้งกัับ ยู่อดเจัด่ยู่์ ซึ่้�งเป็็น่ศูิลป็ะล้าน่ช่้างอัน่มู่่คุณค�ายู่ิ�งตั้�อกัาริศู้กัษา ด้าน่ศูิลป็กัริริมู่และสัถึาป็่ตั้ยู่กัริริมู่ พระเจ้าในโขง เป็็น่พริะป็ริะธาน่ใน่อุโบสัถึวััดพญา วััดมู่าแตั้�โบริาณ เมู่ื�อองค์พริะช่ำาริุดได้มู่่กัาริพอกัป็่น่ที่ับจั้งมู่่ ลั กั ษณะดั ง เช่� น่ ป็่ จั จัุ บั น่ คำา วั� า โขง หมู่ายู่ถึ้ ง ซึุ่้ มู่ ดั ง น่ั� น่ พระเจ้าในโขง จั้งหมู่ายู่ถึ้ง พริะพุที่ธริ่ป็ที่่ป็� ริะดิษฐาน่อยู่่ใ� น่ซึุ่มู่้ น่ั�น่เอง พระเจ้าฟ้้า พริะพุที่ธริ่ป็สัำาคัญป็ริะจัำาน่คริน่�าน่ เป็็น่ พริะพุที่ธริ่ป็ไมู่้แกัะสัลักัลงริักัป็ิดที่อง ที่่�อยู่่�ค่�กัับวััดพญาวััดมู่า แตั้�โบริาณ น่อกัจัากัจัะน่ำาออกัแห�ริอบเมู่ืองให้สัริงน่ำ�าใน่ช่�วัง เที่ศูกัาลสังกัริาน่ตั้์แล้วั เมู่ื�อป็ีใดฝั่น่ไมู่�ตั้กัตั้้องตั้ามู่ฤด่กัาล ช่าวั เมู่ืองน่�าน่จัะแห�อัญเช่ิญริอบเมู่ืองน่�าน่ ให้ช่าวัเมู่ืองได้สัริงน่ำ�า แล้วัไป็ที่ำาพิธ่สัริงน่ำ�าที่่�แมู่�น่ำ�าน่�าน่ เพื�อขอให้ฝั่น่ตั้กัตั้้องตั้ามู่ ฤด่กัาล จั้งได้พริะน่ามู่วั�า พระเจ้าฟ้้า ซึ่้�ง ฟ้้า ใน่ภาษาเหน่ือ แป็ลวั�า ที่้องฟ้้า คือ ผู้่ที่้ สั่� ามู่าริถึบัน่ดาลให้ฝั่น่ตั้กัมู่ายู่ังเมู่ืองน่�าน่ และบัน่ดาลให้ผู้่้สัักักัาริะอยู่่�อยู่�างริ�มู่เยู่็น่เป็็น่สัุข ศัาลเจ้าแม่จามเท์วี เป็็น่อนุ่สัริณ์ริะล้กัถึ้งพริะน่าง จัามู่เที่วั่ ให้ผู้ศู่้ ริัที่ธามู่าสัักักัาริะได้โดยู่ไมู่�ตั้อ้ งเดิน่ที่างไป็ถึ้งลำาพ่น่
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
97
วััดพระเนตร
ตำ�บลในเวัียง อำำ�เภอำเมืือำงน่�น จัังหวััดน่�น
Wat Pranet
Nai Wiang Subdistrict, Mueang Nan District, Nan Province
98
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา วััดพระเนตร ตัง� อยู่่ถ� นนสุุมนเทวัราชเป็็นศู่นยู่์กลาง การพัฒนาพร้อมไป็กับชุมชน เดิมสุร้างด้วัยู่ควัามศูรัทธา ของชุมชนบ้านพระเนตร ต�อมาภายู่หลัง เจ้้ามหายู่ศูวัรราชบดี ไชยู่นันทบุรี เจ้้าหลวังเมืองน�าน พร้อมพระราชเทวัีได้มี พระราชศูรัทธา ชักชวันพระญาติสุร้างเสุนาสุนะ พระพุทธ ป็ระธาน พร้อมพระราชทานนามวััดวั�า วัดพระเนตร ในป็ี พ.ศู. ๒๓๗๓ ป็ัจ้จุ้บันวััดพระเนตร มีวัิหารตั�งเด�นเป็็นป็ระธาน อาคารทั�งหลายู่ ร่ป็แบบสุถาป็ัตยู่กรรมล้านนาร�วัมสุมัยู่ ที�งดงามสุมสุ�วัน พระพุทธป็ระธานมีอายูุ่กวั�า ๑๘๐ ป็ี สุร้ า งด้ วั ยู่ดิ น แบบโบราณ บริ เ วัณมี ต้ น ไม้ ชื� อ มงคล สุวัยู่ร�มรื�นด้วัยู่ดอก กลิ�น ใบ สุมเป็็นรมณียู่์สุถานเพื�อการ เจ้ริญธรรม
ชีุมชีนบั้านพระเนตร บ้านพระเนตรเป็็นชุมชนใหญ�และเก�าแก�ในเขต เทศูบาล มีบ้านเรือนกวั�า ๒๙๐ หลังคาเรือน ยู่ังคงหลงเหลือ ร�องรอยู่ของบ้านเรือนเก�าแก�เกินร้อยู่ป็ี ยูุ่คต้นรัชกาลที� ๖ อาทิ บ้ า นเจ้้ า อุ ต รการโกศูล (มหาไชยู่ มหายู่ศูนั น ท์ ) ซึ่่� ง ตั� ง อยู่่� เ ยู่ื� อ งท้ า ยู่วัั ด ไป็ทางทิ ศู ตะวัั น ตกเฉีี ยู่ งเหนื อ นอกจ้ากนัน� ใกล้ชมุ ชนเป็็นทีต� งั� ของโรงพยู่าบาลน�าน โรงเรียู่น สุามั ค คี วัิ ท ยู่าคาร (บ้ า นพระเนตร) ในชุ ม ชนมี ต ลาดสุด บ้านพระเนตรอายูุ่กวั�าร้อยู่ป็ี ยู่ามเช้าเราจ้ะได้เห็นวัิถีชีวัิต ชาวัเมืองน�านในยู่�านนี� บรรยู่ากาศูโดยู่รอบวััดมีบ้านพักและร้านอาหาร เครือ� งดืม� ซึุ่ม้ อาหารเรือนแก้วั ของคุณยู่ายู่บุญนำา สุวันอาหาร สุุริยู่าการ์เด้น ร้านนำ�าชา Sky Tea Room อยู่่�ด้านหน้าวััด ติดแม�นำ�าน�าน ร้านก๋วัยู่จ้ับ� แม� อยู่่ข� า้ งวััดทางทิศูใต้ และร้านค้า เรียู่งรายู่หน้าโรงพยู่าบาลซึ่่�งอยู่่ทางทิศูเหนือวััด ทั�งหมดคือ วัิถีชีวัิตของชุมชนเก�าแก�แห�งหน่�งในเขตเทศูบาลนครน�าน
บััญชีีวัดพระเนตร ธนาคารกรุงไทย สาขาน่าน เลขทีบั� ญ ั ชีี ๕๐๗-๓-๑๖๒๖๐-๙
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
99
วััดดอยแยง
ตำำ�บลเรืือง อำ�เภอเมืืองน่่�น่ จัังหวััดน่่�น่
Wat Doi Yaeng
Rueang Subdistrict, Mueang Nan District, Nan Province ติิดติ่อโทร. o๙-oo๕๖-๓๒๒o line : o๙oo๕๖๓๒๒o facebook : วััดดอยแยง E-mail : pom_dara@hotmail.com
100
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา วััดดอยแยง (ร้้าง) ตั้ัง� อย่ที่� บ้�่ า้ นดอนเฟืือง หมู่่ที่� �่ ๒ ตั้ำาบ้ลเร้ือง อำาเภอเมู่ืองน�าน จัังหวััดน�าน เดิมู่เร้่ยกวั�า วััดไฮ (บ้้านตั้้นไที่ร้) ของหมู่่�บ้้านไฮ ไมู่�ปร้ากฏปีที่�่สร้้าง ร้าวัปี พ.ศ. ๒๔๗๐-๒๔๘๐ เกิดนำา� ที่�วัมู่ใหญ่�และโร้คร้ะบ้าด ชาวับ้้านที่่ร้� อดช่วัตั้ิ เกิดควัามู่กลัวัและย้ายถิ่ิน� ฐานไปร้วัมู่กับ้ หมู่่�บ้้านดอนเฟืือง ที่ิ�งให้วััดเสื�อมู่โที่ร้มู่ลง จันเหลือเพ่ยง สามู่เณร้ร้่ปเด่ยวั ตั้�อมู่าสามู่เณร้ร้่ปนัน� ได้ลาสิกขา วััดจัึงถิ่่ก ปล�อยที่ิง� ร้้าง กาลตั้�อมู่าได้เกิดไฟืไหมู่้ตั้วัั อาคาร้จันเหลือแตั้� ซากกองอิฐของตั้ัวัอาคาร้และกำาแพง กร้มู่การ้ศาสนาได้ขน�ึ ที่ะเบ้่ยนวััดร้้าง ชือ� วั�า วััดดอยแยง (ร้้าง) เนือ� งจัากตั้ัง� อย่ใ� น ภ่มู่ิปร้ะเที่ศบ้นดอยเล็กๆ สามู่าร้ถิ่มู่องเห็นได้โดยร้อบ้ มู่่ที่ิวัที่ัศน์อันสวัยงามู่ ล้อมู่ร้อบ้ด้วัยที่่�งนา และเป็นวััดร้้าง มู่่อาย่มู่ากกวั�า ๘๐-๑๐๐ ปี ซึง� สำานักงานพร้ะพ่ที่ธศาสนา
จัั ง หวัั ด น� า น และพ่ ที่ ธศาสนิ ก ชนชาวัจัั ง หวัั ด น� า นได้ ร้� วั มู่ พิ ธ่ ร้�ื อ ฟืื� น วัั ด ร้้ า งสร้้ า งวัั ด ร้่� ง ที่่� วัั ด ดอยแยง (ร้้ า ง) โดยมู่่ พร้ะคร้่กตั้ิ ตั้ิจันั ที่โร้ภาส เจั้าอาวัาสวััดป่านันที่บ้่ร้ญ่ ่ าณสังวัร้าร้ามู่ ตั้ำาบ้ลผาสิงห์ อำาเภอเมู่ืองน�าน จัังหวััดน�าน เป็นปร้ะธานดำาเนิน การ้ด่แลในด้านการ้พัฒนาร้ือ� ฟืืน� วััดดอยแยง (ร้้าง) ซึง� เป็นวััดร้้าง ในอด่ตั้ให้กลับ้คืนมู่า เพือ� ใช้เป็นสถิ่านที่่ศ� กึ ษาและปฏิบ้ตั้ั ธิ ร้ร้มู่ ปัจัจั่บ้ันวััดดอยแยง (ร้้าง) ได้ร้ับ้การ้ปร้ะกาศจัากสำานักงาน พร้ะพ่ที่ธศาสนาแห�งชาตั้ิ เร้ือ� ง ยกวััดร้้างขึน� เป็นวััดมู่่พร้ะภิกษ่ อย่�จัาำ พร้ร้ษา เมู่ื�อวัันที่่� ๑๓ กันยายน ๒๕๖๑ และปัจัจั่บ้ันมู่่ พร้ะภิกษ่อย่จั� าำ พร้ร้ษาตั้ลอดที่่กปี
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
101
วััดป่่�บ้�น่ด่�น่ (รื้�ง)
ตำำ�บลขุุน่น่่�น่ อำ�เภอเฉลิมืพรืะเกีียรืตำิ จัังหวััดน่่�น่
Wat Pa Ban Dan Rang
Wat Ban Dan
Khun Nan Subdistrict, Chaloem Phra Kiat District, Nan Province วััดป่าบ้้านด�าน (ร้้าง) หมู่่� ๓ บ้้านด�าน ตั้ำาบ้ลข่นน�าน อำา เภอเฉลิ มู่ พร้ะเก่ ย ร้ตั้ิ จัั ง หวัั ด น� า น เป็ น วัั ด ร้้ า งโบ้ร้าณ สันนิษฐานวั�า สร้้างขึ�นนานกวั�า ๒๐๐ ปี ในย่คร้ัตั้นโกสินที่ร้์ ตั้อนตั้้น ซึ�งปัจัจั่บ้ันเหลือเพ่ยงพร้ะพ่ที่ธร้่ปและซากอ่โบ้สถิ่ ส� วั น เ ส น า ส น ะ อื� น ๆ ส่ ญ่ ส ล า ย ไ ป ตั้ า มู่ ก า ล เวั ล า ปั จั จั่ บ้ั น ช า วั บ้้ า น ด� า น ไ ด้ ก ร้ า บ้ นิ มู่ น ตั้์ ค ณ ะ ส ง ฆ์์ จั า ก วััดป่านันที่บ้่ร้่ญ่าณสังวัร้าร้ามู่ เข้าบ้่ร้ณะยกวััดร้้างขึ�นเป็นวััด มู่่พร้ะภิกษ่สงฆ์์อย่�จัำาพร้ร้ษา เนื�องจัากภ่มู่ิปร้ะเที่ศอย่�บ้น เที่ื อ กเขาส่ ง จัึ ง ใช้ เ วัลาเดิ น ที่างนาน และในอำา เภอ เฉลิมู่พร้ะเก่ยร้ตั้ิ ยังไมู่�มู่่วััดที่่�ถิ่่กตั้้องตั้ามู่กฎหมู่ายแมู่้แตั้�วััด เด่ ย วั มู่่ เ พ่ ย งที่่� พั ก สงฆ์์ ซึ� ง ขาดแคลนพร้ะอย่� จัำา พร้ร้ษา คณะสงฆ์์วััดป่ านันที่บ้่ร้่ญ่าณสังวัร้าร้ามู่ จัึงร้ั บ้นิมู่นตั้์จัาก ศร้ั ที่ ธาชาวับ้้ า นด� า น ส� ง พร้ะภิ ก ษ่ ส งฆ์์ เข้ า บ้่ ร้ ณะ โดยมู่่ วััตั้ถิ่่ปร้ะสงค์ไมู่�เพ่ยงฟืื�นวััดร้้าง แตั้�ที่ำาให้ปร้ะชาชนเกิดควัามู่ ศร้ัที่ธาในพร้ะพ่ที่ธศาสนา (ฟืื�นวััด ฟืื�นใจัคน)
102
วััดบ้�น่ด่�น่
ตำำ�บลขุุน่น่่�น่ อำ�เภอเฉลิมืพรืะเกีียรืตำิ จัังหวััดน่่�น่
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
Khun Nan Subdistrict, Chaloem Phra Kiat District, Nan Province วััดบ้้านด�าน ตั้ั�งอย่� หมู่่� ๓ บ้้านด�าน ตั้ำาบ้ลข่นน�าน อำาเภอเฉลิมู่พร้ะเก่ยร้ตั้ิ จัังหวััดน�าน เป็นวััดที่่ตั้� งั� อย่ใ� นหมู่่บ้� า้ น ด�าน ปัจัจั่บ้ันมู่่พร้ะสงฆ์์อย่�จัำาพร้ร้ษาเพือ� ให้ปร้ะชาชนในพืน� ที่่� เกิดควัามู่ศร้ัที่ธาในพร้ะพ่ที่ธศาสนาสืบ้ไป
วััดป่่�ป่ัญญ�ภิรืมืย์
วััดป่่�ภ�วัน่�ภิรืมืย์
ตำำ�บลจัอมืจััน่ทรื์ อำ�เภอเวัียงสุ� จัังหวััดน่่�น่
ตำำ�บลจัอมืพรืะ อำ�เภอท่�วัังผ� จัังหวััดน่่�น่
Wat Pa Panya Phirom
Wat Pa Phaowana Phirom
Chom Chan Subdistrict, Wiang Sa District, Nan Province วัั ด ป่ า ปั ญ่ ญ่าภิ ร้ มู่ย์ ตั้ั� ง อย่� ที่่� บ้้ า นหลั บ้ มู่ื น พร้วัน หมู่่�ที่่� ๖ ตั้ำาบ้ลจัอมู่จัันที่ร้์ อำาเภอเวั่ยงสา จัังหวััดน�าน
Chom Phra Subdistrict, Tha Wang Pha District, Nan Province วัั ด ป่ า ภาวันาภิ ร้ มู่ย์ ตั้ั� ง อย่� ที่่� บ้้ า นถิ่� อ น หมู่่� ที่่� ๑ ตั้ำาบ้ลจัอมู่พร้ะ อำาเภอที่�าวัังผา จัังหวััดน�าน
วััดป่่�ค่่�วัิสุุทธิิญ�ณ ตำำ�บลแมื่สุ�ค่รื อำ�เภอเวัียงสุ� จัังหวััดน่่�น่
Wat Pa Kha Wisutthiyan
Mae Sakorn Subdistrict, Wiang Sa District, Nan Province วััดป่าค�าวัิส่ที่ธิญ่าณ บ้้านป่าค�า หมู่่�ที่่� ๖ ตั้ำาบ้ลแมู่� สาคร้ อำาเภอเวั่ยงสา จัังหวััดน�าน
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
103
ที่่พั � ก ั สงฆ์์บวรดิิน (อุุโบสถดิิน หลัังแรกขอุงจัังหวัดิน่าน) บ้านห้วยเลั่�อุน ตำำาบลัเปืือุ อุำาเภอุเชี่ยงกลัาง จัังหวัดิน่าน
Shelter Monks Bowon Din Ban Huai Luea Puea Subdistrict, Chiang Klang District, Nan Province
ความเป็็นมา บ้้านห้้วยเลื่่อ� น มีีประชากรทั้้ง� ห้มีด จำำานวน ๕๖ คร้วเร่อน บ้้านห้้วยเลื่่�อน ตั้้�งช่�อตั้ามีลื่ำาห้้วยทั้ี�ไห้ลื่ผ่่าน ห้มี่่บ้้าน เดิมีตั้้�งถิ่ิ�นฐานอย่่บ้้านดอนสบ้เปือ ตั้ำาบ้ลื่เปือ อำาเภอเชียงกลื่าง จำ้งห้ว้ดน่าน สาเห้ตัุ้ทั้อี� พยพมีาจำากบ้้าน ดอนสบ้เปือน้�น เน่�องจำากปี พ.ศ. ๒๔๙๒ ถิ่ึงปี พ.ศ. ๒๔๙๕ ได้เกิดอุทั้กภ้ยนำ�าทั้่วมีตั้ิดตั้่อก้นห้ลื่ายปี ตั้่อมีา ในปี พ.ศ. ๒๔๙๙ ทั้างห้มี่่ บ้้ า นดอนสบ้เปื อ ซึ่ึ� ง มีี 104
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
นายช้ย ยศอาลื่้ย ดำารงตั้ำาแห้น่งกำาน้นตั้ำาบ้ลื่เปือ ในขณะน้�น พร้อมีด้วยคณะกรรมีการห้มี่่บ้้านได้ปรึกษาห้าร่อก้นว่าจำะ ย้ายจำากบ้้านดอนสบ้เปือ โดยแยกก้นเป็น ๒ กลืุ่่มี ค่อ กลืุ่มี่ ทั้ีไ� ปตั้้ง� ถิ่ิน� ฐานอย่ทั้่ บ้ี� า้ นป่าแดง แลื่ะกลืุ่มี่ ทั้ีไ� ปตั้้ง� ถิ่ิน� ฐาน ทั้ีบ้� า้ นห้้วยเลื่่อ� น โดยมีี นายแก้ว อ้ญช้ญ เป็นผ่่น้ ำา ซึ่ึง� ในขณะ น้� น ดำา รงตั้ำา แห้น่ ง สารว้ ตั้ รกำา น้ น ตั้ำา บ้ลื่เปื อ ตั้่ อ มีาบ้้ า น ห้้วยเลื่่�อนได้ยกฐานะเป็นห้มี่่บ้้าน ในปี พ.ศ. ๒๕๑๓ ประชาชนในห้มี่่บ้้านน้บ้ถิ่่อศาสนาพุทั้ธ ประกอบ้ พิธีกรรมีทั้างศาสนาในเทั้ศกาลื่เข้าพรรษา ตั้้องเดินทั้างไป ทั้ำาบุ้ญทั้ี�ว้ดศรีชุมี (บ้้านป่าแดง) ซึ่ึ�งมีีระยะห้่างจำากห้มี่่บ้้าน ทั้ำาให้้ยากลื่ำาบ้ากแก่การเดินทั้างในช่วงฤด่ฝนเป็นอย่างมีาก ทั้างคณะกรรมีการห้มี่่ บ้้ า นห้้ ว ยเลื่่� อ น ได้ เ สนอเร่� อ งตั้่ อ เจำ้าคณะตั้ำาบ้ลื่เปือ ซึ่ึ�งผ่่านตั้ามีลื่ำาด้บ้ข้�นตั้อน โดยเจำ้าคณะ อำาเภอเชียงกลื่าง มีีดำาริให้้สร้างเป็นว้ดเฉลื่ิมีพระเกียรตั้ิ เพ่�อถิ่วายเป็นพระราชกุศลื่แด่พระบ้าทั้สมีเด็จำพระบ้รมีชน กาธิเบ้ศร มีห้าภ่มีพิ ลื่อดุลื่ยเดชมีห้าราช บ้รมีนาถิ่บ้พิตั้ร แลื่ะ เป็ น สถิ่านทั้ี� บ้ำา เพ็ ญ บุ้ ญ ประกอบ้พิ ธี ก รรมีทั้างพระพุ ทั้ ธ ศาสนา จำึงได้พร้อมีใจำก้นใช้ทั้ี�ป่าสาธารณะดงเส่�อบ้้าน ซึ่ึ�งมีี เน่�อทั้ี�ประมีาณ ๒ ไร่ เป็นทั้ี�สร้างว้ดให้มี่ เริ�มีบุ้กเบ้ิกสร้างว้ด เมี่�อว้นทั้ี� ๑๙ พฤษภาคมี พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยมีอบ้ห้มีายให้้ พระอินทั้อง สีลื่โชโตั้ (พระคร่ศีลื่น้นทั้โชตั้ิ) เป็นประธาน ดำา เนิ น การก่ อ สร้ า ง ชาวบ้้ า นเริ� มี สร้ า งว้ ด คร้� ง แรกแบ้บ้ จำิตั้อาสา กลื่่าวค่อ ร่วมีก้นสร้างว้ดโดยไมี่คิดค่าแรงงาน มีีห้น่วยงาน ตั้ชด.๓๒๕ เชียงกลื่าง แลื่ะห้น่วยจำ้ดการตั้้นนำ�า เปือให้้การสน้บ้สนุนด้านว้สดุก่อสร้าง นอกจำากนี�ย้งได้ร่วมี ก้ นจำ้ ดทั้ำาแผ่นผ่้ งในการพ้ฒนาว้ ด เมี่�อว้ นทั้ี� ๕ ธ้ นวาคมี พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยมีี พระคร่น้นทั้ช้ยคุณ เจำ้าคณะอำาเภอ เชี ย งกลื่าง พระคร่ บ้่ ลื่ น้ น ทั้วิ ทั้ ย์ เจำ้ า คณะตั้ำา บ้ลื่เปื อ ให้้คำาปรึกษา
พระพุทธชยัันัติีศีรีนัันัทบุรี
พระครูศีีลนัันัทโชติิ ผูู้�ดููแลที�พักสงฆ์์
อุโบสถดูินั
กุฎิิสงฆ์์
ห้�องสมุุดูดูินั
กุฎิิดูินั
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
105
วััดประดิษฐ์์ (ส้้อ)
ตำำ�บลเปือ อำ�เภอเชีียงกล�ง จัังหวััดน่่�น่
Wat Pradit So
Puea Subdistrict, Chiang Klang District, Nan Province
106
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา วััดประดิษฐ์์ (ส้้อ) ก่่อตั้ั�งเมื่่�อปี พ.ศ. ๒๒๐๐ โดย ท่่านครูบาชััยเป็นผูู้้ริเริ�มื่ ตั้่อมื่าเมื่่�อปี พ.ศ. ๒๓๘๕ ท่าง คณะศรัท่ธาบ้านส้้อได้ร่วัมื่ก่ันส้ร้างวััด เดิ มื่ชั่�อ วััดส้้อ เมื่่�อถึึงส้มื่ัยท่่านพระครูมื่านิตั้ย์ บุญยก่าร ได้พัฒนาวััดจน มื่ีชัอ่� เส้ียง ประชัาชันนับถึ่อเป็นจำานวันมื่าก่ ท่่านจึงเปลี่ีย� น ชั่�อวััดใหมื่่วั่า วััดประดิษฐ์์ (ส้้อ) แลี่ะได้รับพระราชัท่าน วัิ สุ้ ง คามื่ส้ี มื่ าเมื่่� อ วัั น ท่ี� ๑๘ กุ่ มื่ ภาพั น ธ์ พ.ศ. ๒๔๙๕ เขตั้วัิ สุ้ ง คามื่ส้ี มื่ า ก่วั้ า ง ๑๐ เมื่ตั้ร ยาวั ๑๖ เมื่ตั้ร วัั ด ประดิ ษ ฐ์์ (ส้้ อ ) ตั้ั� ง อยู่ ท่ี� ห มืู่่ ๙ บ้ า นส้้ อ ตั้ำา บลี่เปื อ อำาเภอเชัียงก่ลี่าง จังหวััดน่าน ส้ังก่ัดคณะส้งฆ์์มื่หานิก่าย ท่ี�ดินตั้ั�งวััดมื่ีเน่�อท่ี� ๑ ไร่ ๓ งาน ๒๐ ตั้ารางวัา อาคารเสนาสนะป็ระกอบด้้วย ๑. อุโบส้ถึ ๒. กุ่ฏิส้ิ งฆ์์ ๓. ศาลี่าก่ารเปรียญ ๔. ศาลี่าเอนก่ประส้งค์
พระแก้้วมรก้ต
พระประธานในอุโบสถ
รายนามเจ้้าอาวาส ด้ังน้� ๑. ครูบาชััย พ.ศ. ๒๒๐๖ - ๒๒๖๙ ๒. ครูบานาย พ.ศ. ๒๒๖๙ - ๒๓๒๕ ๓. ครูบาเส้น พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๔๐๑ ๔. ครูบาอานา พ.ศ. ๒๔๐๑ - ๒๔๖๔ ๕. พระใจรังก่า พ.ศ. ๒๔๖๔ - ๒๔๖๕ ๖. พระครูมื่านิตั้ย์บุญยก่าร พ.ศ. ๒๔๖๕ - ๒๕๒๓ ๗. พระใบฏิีก่าเส้วัียน ธมืฺ่มื่ธโร พ.ศ. ๒๕๒๓ - ๒๕๔๐ ๘. พระปลี่ัดเส้มื่อ ญานวัโร พ.ศ. ๒๕๔๐ ถึึงปัจจุบัน ป็ระวัติิท่่านพระครูมานิติย์บุญยการ (ป็ัญญา ป็ญฺฺญาธโร) ท่่ า นพระครู มื่ านิ ตั้ ย์ บุ ญ ยก่าร เป็ น บุ ตั้ รของ คุณพ่อเท่พ - แมื่่เคี�ยวั เท่พเส้น เก่ิดวัันพุธท่ี� ๒๘ พฤษภาคมื่ พ.ศ. ๒๔๓๗ บรรพชาและอุป็สมบท่ ท่่านพระครูมื่านิตั้ย์บุญยก่าร บรรพชัาเมื่่�อวัันท่ี� ๘ พฤษภาคมื่ พ.ศ. ๒๔๙๙ เวัลี่า ๐๙.๐๐ น. อุปส้มื่บท่วัันท่ี� ๘ พฤษภาคมื่ พ.ศ. ๒๔๕๗ ณ วัั ด หนองบั วั ตั้ำา บลี่ป่ า คา อำา เภอปั วั จั ง หวัั ด น่ า น (ปั จ จุ บั น ค่ อ อำา เภอท่่ า วัั ง ผู้า) โดยมื่ี พ ระขั ตั้ ตั้ิ ย ศ เป็ น พระอุ ปั ชั ฌาย์ พระอภิ วั งศ์ เป็ น พระก่รรมื่วัาจาจารย์ แลี่ะพระธรรมื่ยศ เป็ น พระอนุ ส้ าวันาจารย์ ท่่ า นย้ า ยมื่าอยู่ ท่ี� วัั ด ประดิ ษ ฐ์์ (ส้้ อ ) เมื่่�อ พ.ศ. ๒๔๖๒ ติำาแหน่งท่างการสงฆ์์ พ.ศ. ๒๔๖๕ ได้รับแตั้่งตั้ั�งเป็นเจ้าอาวัาส้วััดประดิษฐ์์ (ส้้อ) พ.ศ. ๒๔๗๗ ได้รับแตั้่งตั้ั�งเป็นเจ้าคณะตั้ำาบลี่เปือ พ.ศ. ๒๔๘๓ ได้รับแตั้่งตั้ั�งเป็นพระอุปัชัฌาย์
รูปป้�นครูบาส้อ
พระปลััดเสมอ ญานวโร เจ้้าอาวาสวัดประดิษฐ์์ (ส้อ)
วิหารไม้สัก้ครูบาส้อ
พญานาค อายุุ 150 ปี
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
107
วััดน้ำำ��ไคร้้
ตำำ�บลยม อำำ�เภอำท่่�วัังผ� จัังหวััดน้ำ่�น้ำ
Wat Nam Khrai
Yom Subdistrict, Tha Wang Pha District, Nan Province
108
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา วััดน้ำำ��ไคร้้ ตั้ั�งอยู่่�เลขที่่ � ๙๕ หมู่่� ๙ ตั้ำ�บลยู่มู่ อำ�เภอที่��วัังผ� จัังหวััดน้ำ��น้ำ สัังกััดคณะสังฆ์์มู่ห�น้ำิกั�ยู่ กั�อสัร้้�งเมู่่�อปีี พ.ศ. ๒๔๗๘ ที่่�ดิน้ำตั้ั�งวััดมู่่เน้ำ่�อที่่ � ๑๔ ไร้� ๘๐ ตั้�ร้�งวั� ได้ ร้ั บ พร้ะร้�ชที่�น้ำวัิ สัุ ง ค�มู่สั่ มู่ � เมู่่� อ วัั น้ำ ที่่� ๘ สัิ ง ห�คมู่ พ.ศ. ๒๕๕๖ ปีั จั จัุ บั น้ำ มู่่ พระครูสัังฆรักษ์์รักชาติิ ธมฺมสัาสัโน เปี็น้ำเจั้�อ�วั�สั เสันาสันะภายในวัดนำ�าไคร้ ปีร้ะกัอบด้วัยู่ อุโบสัถ กัุฎิิเฉลิมู่พร้ะเกั่ยู่ร้ตั้ิฯ อ�ค�ร้สัิร้ิน้ำธร้ หอร้ะฆ์ัง ซุุ้มู่้ ปีร้ะตั้่ มู่ณฑปีเที่ศน้ำ์มู่ห�ช�ตั้ิ อ�ค�ร้เร้่ยู่น้ำพร้ะปีร้ิยู่ตั้ั ธิ ร้ร้มู่ โร้งฉัน้ำภัตั้ตั้�ห�ร้ ป็ู ช นี ย วั ติ ถุุ ที่ี� สัำา คั ญ ค่ อ พร้ะศร้่ ศ �กัยู่มูุ่ น้ำ่ (หลวังพ�อข�วั) พร้ะปีร้ะธ�น้ำใน้ำอุโบสัถ เปี็น้ำพร้ะพุที่ธร้่ปี ปี่น้ำปีั�น้ำปี�งมู่�ร้วัิชัยู่ หน้ำ้�ตั้ักักัวั้�ง ๓๔ น้ำิ�วั พร้ะพักัตั้ร้์มู่่ ร้อยู่ยู่ิ�มู่ มู่่อ�ยูุ่ปีร้ะมู่�ณ ๑๐๐ กัวั��ปีี
วัั ด น้ำำ�� ไคร้้ เปี็ น้ำ สัถ�น้ำที่่� ตั้ั� ง สัำ� น้ำั กั ศ�สัน้ำศึ กั ษ� วััดน้ำำ��ไคร้้ เปีิดสัอน้ำน้ำักัธร้ร้มู่ชัน้ำ� ตั้ร้่ โที่ เอกั และจััดตั้ัง� โร้งเร้่ยู่น้ำ พร้ะปีร้ิยู่ัตั้ิธร้ร้มู่ แผน้ำกัสั�มู่ัญศึกัษ� เมู่่�อวััน้ำที่่� ๑๔ กััน้ำยู่�ยู่น้ำ พ.ศ. ๒๕๓๗ ช่�อ โร้งเร้่ยู่น้ำวััดน้ำำ��ไคร้้น้ำัน้ำที่ชัยู่ศึกัษ� เปีิดสัอน้ำ มู่ัธยู่มู่ศึกัษ�ชั�น้ำปีีที่่� ๑ – ๖ เมู่่�อปีี พ.ศ. ๒๕๔๗ สัมู่เด็จัพร้ะกัน้ำิษฐ�ธิร้�ชเจั้� กัร้มู่สัมู่เด็จัพร้ะเที่พร้ัตั้น้ำร้�ชสัุด�ฯ สัยู่�มู่บร้มู่ร้�ชกัุมู่�ร้่ ที่ร้ง ร้ับโร้งเร้่ยู่น้ำวััดน้ำำ��ไคร้้น้ำัน้ำที่ชัยู่ศึกัษ� ไวั้ใน้ำโคร้งกั�ร้ตั้�มู่ พร้ะร้�ชดำ�ร้ิ ฯ และเสัด็จัพร้ะร้�ชดำ�เน้ำิน้ำที่ร้งเยู่่�ยู่มู่และ ตั้ิดตั้�มู่ผล กั�ร้ดำ�เน้ำิน้ำง�น้ำของโร้งเร้่ยู่น้ำวััดน้ำำ��ไคร้้น้ำัน้ำที่ชัยู่ ศึกัษ� คร้ั�งแร้กั เมู่่�อวััน้ำที่่� ๒๓ กัุมู่ภ�พัน้ำธ์ พ.ศ. ๒๕๕๓ คร้ั�ง ที่่�สัอง เมู่่�อวััน้ำที่่� ๑๒ มู่่น้ำ�คมู่ พ.ศ. ๒๕๕๗ และได้ร้ับ พร้ะร้�ชที่�น้ำช่�ออ�ค�ร้เร้่ยู่น้ำวั�� อาคารสัิรินธร เมู่่�อวััน้ำที่่� ๑๒ กัร้กัฎิ�คมู่ พ.ศ. ๒๕๕๕ เพ่�อเปี็น้ำกั�ร้เฉลิมู่พร้ะเกั่ยู่ร้ตั้ิ สัมู่เด็จัพร้ะกัน้ำิษฐ�ธิร้�ชเจั้� กัร้มู่สัมู่เด็จัพร้ะเที่พร้ัตั้น้ำร้�ช สัุ ด �ฯ สัยู่�มู่บร้มู่ร้�ชกัุ มู่ �ร้่ ใน้ำโอกั�สัคร้บร้อบ ๓๐ ปีี กั�ร้พัฒน้ำ�เด็กัและเยู่�วัชน้ำใน้ำถิ�น้ำทีุ่ร้กััน้ำด�ร้
พระครูสัังฆรักษ์์รักชาติิ ธมฺฺมฺสัาสัโน เจ้้าอาวาสัวัดนำ�าไคร้
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
109
รางวัลแห่่งความภูมิใจของโรงเรียนวัดนำ�าไคร้นันที่ชัยศึึกษ์า - พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้ร้ับโล�พร้ะร้�ชที่�น้ำร้�งวััล โรงเรียน จัดการเรียนรูสั้ ห่กรณ์์ดเี ด่นระดับป็ระเที่ศึ ป็ระจำาป็ี พ.ศึ. ๒๕๖๑ ป็ระเภที่โรงเรียนภายใติ้โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถุิ�น ทีุ่รกันดาร ติามพระราชดำาริฯ จั�กัสัมู่เด็จัพร้ะกัน้ำิษฐ�ธิร้�ช เจั้�กัร้มู่สัมู่เด็จัพร้ะเที่พร้ัตั้น้ำร้�ชสัุด�ฯ สัยู่�มู่บร้มู่ร้�ชกัุมู่�ร้่ - พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้ร้ับกั�ร้ร้ับร้องมู่�ตั้ร้ฐ�น้ำกั�ร้ศึกัษ� ร้อบสั�มู่ (พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘) จั�กัสัำ�น้ำักัง�น้ำร้ับร้อง มู่�ตั้ร้ฐ�น้ำและปีร้ะเมู่ิน้ำคุณภ�พกั�ร้ศึกัษ� (องค์กั�ร้มู่ห�ชน้ำ) ร้ะดับขั�น้ำพ่�น้ำฐ�น้ำด้�น้ำ มู่ัธยู่มู่ศึกัษ� - พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้ร้บั ร้�งวััลชน้ำะเลิศ กั�ร้แข�งขัน้ำหุน้ำ� ยู่น้ำตั้์ BEAM ร้ะดับมู่ัธยู่มู่ศึกัษ�ตั้อน้ำตั้้น้ำ Pantip Robot Contest คร้ั�งที่่� ๒ จั�กัผ่้วั��ร้�ชกั�ร้กัรุ้งเที่พมู่ห�น้ำคร้ - พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้ร้บั ร้�งวััลชน้ำะเลิศ กั�ร้แข�งขัน้ำหุน้ำ� ยู่น้ำตั้์ BEAM ร้ะดับมู่ัธยู่มู่ศึกัษ�ตั้อน้ำตั้้น้ำ Pantip Robot Contest ๒๐๑๒ คร้ั�งที่่� ๑ จั�กัปีลัดกัร้ะที่ร้วังศึกัษ�ธิกั�ร้ - พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้ร้ับกั�ร้ร้ับร้องมู่�ตั้ร้ฐ�น้ำกั�ร้ศึกัษ� ร้อบสัอง จั�กัสัำ�น้ำักัง�น้ำร้ับร้องมู่�ตั้ร้ฐ�น้ำและปีร้ะเมู่ิน้ำคุณภ�พ กั�ร้ศึกัษ� (องค์กั�ร้มู่ห�ชน้ำ) ร้ะดับขั�น้ำพ่�น้ำฐ�น้ำด้�น้ำมู่ัธยู่มู่ศึกัษ�
110
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
111
วััดดอนตััน
ตัำ�บลศรีีภููมิิ อำ�เภูอท่่�วัังผ� จัังหวััดน่�น
Wat Don Tan
Si Phum Subdistrict, Tha Wang Pha District, Nan Province
112
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา วััดดอนตััน ตัั�งอยู่่�เลขที่่ � ๕ บ้้านดอนตััน หมู่่�ที่่� ๔ ตัำาบ้ลศรี่ภู่มู่ิ อำาเภูอที่�าวัังผา จัังหวััดน�าน สัังกััดคณะสังฆ์์ มู่หานิกัายู่ ได้ที่ำากัารีสัรี้างวัิหารีครีัง� แรีกั เมู่่อ� ปีี พ.ศ. ๒๓๑๖ ครีั�งที่่�สัอง เมู่่�อปีี พ.ศ. ๒๔๗๒ (โดยู่ใช้้สัถานที่่�เดิมู่ในกัารี กั�อสัรี้าง) และได้รีบ้ั พรีะรีาช้ที่านวัิสังุ คามู่สั่มู่า เมู่่อ� วัันที่่ � ๓๐ ตัุลาคมู่ พ.ศ. ๒๔๗๙ ปีัจัจัุบ้นั พระครูโกวิทวรโสภณ ดำารีง ตัำาแหน�งเจั้าอาวัาสั ตำำานานมหาอุุตำเเห่งจัังหวัดน่าน หลวงพ่อุวัดดอุนตำัน หลวงพ่อุบุุญทา หรี่อ หลวงพ่อุวัดดอุนตำัน อด่ตั เจั้าอาวัาสัวััดดอนตััน เปี็นหน่�งในพรีะเกัจัิอาจัารียู่์ของ ภูาคเหน่อที่่�มู่่ช้่�อเสั่ยู่งโด�งดัง และเปี็นผ่้ที่รีงคุณวัุฒิิด้าน กัฤตัยู่าคมู่เครี่อ� งรีางของขลังซึ่่ง� เปี็นที่่รี� จั่้ กัั กัันด่ในหมู่่ที่� หารี
ตัำารีวัจั และข้ารีาช้กัารีที่่ปี� ฏิิบ้ตัั หิ น้าที่่เ� สั่ยู่� งอันตัรีายู่ตัามู่พ่น� ที่่� ช้ายู่แดนภูาคเหน่อ เดิ มู่ หลวังพ� อ วัั ด ดอนตัั น ช้่� อ สัุ ที่ ธวังศ์ ฉายู่า พุ ที่ ธวัำ โ สั เปี็ น ผ่้ ฝัั กั ใฝั่ ศ่ กั ษาค้ น ควั้ า หาควัามู่รี่้ ที่ างธรีรีมู่ โบ้รีาณคด่ และไสัยู่ศาสัตัรี์ นับ้ตัั�งแตั�หลวังพ�อบุ้ญที่าได้ อุปีสัมู่บ้ที่ ถวัายู่ช้่วัตัิ อยู่่ใ� นบ้วัรีพรีะพุที่ธศาสันา ที่�านได้ตังั� มู่ัน� อยู่่ใ� นพรีะธรีรีมู่วัินยู่ั ด้วัยู่สััจัจัะอันแรีงกัล้า ไมู่�หวััน� ไหวัตั�อสัิง� ยู่ัวั� ยูุ่กัเิ ลสัที่ัง� หลายู่ ที่�านปีกัครีองวััดดอนตัันมู่าเปี็นเวัลานาน ถ่ง ๖๑ ปีี ได้มู่กั่ ารีบ้่รีณะและพัฒินาวััดดอนตัันจันพรีะภูิกัษุ และสัามู่เณรีในวััดดอนตัันได้รีับ้ควัามู่สัะดวักัสับ้ายู่ในกัารี ปีฏิิบ้ัตัิธรีรีมู่ และเปี็นมู่ิ�งขวััญของคนเมู่่องน�านมู่าโดยู่ตัลอด จัวับ้จันถ่ ง วัารีะสัุ ด ที่้ า ยู่ของช้่ วัิ ตั ที่� า นมู่รีณภูาพลง เมู่่� อ เวัลา ๒๐.๒๕ น. ของวัันที่่� ๑๗ ธันวัาคมู่ พ.ศ. ๒๕๒๓ ณ กัุฏิิวััดดอนตััน สัิรีิรีวัมู่อายูุ่ได้ ๘๕ ปีี ๖๕ พรีรีษา แมู่้ที่�านเปี็นนักัธรีรีมู่ตัรี่แตั�มู่่ควัามู่รี่้แตักัฉานใน อั กั ษรีภูาษาพ่� น เมู่่ อ งล้ า นนา ที่� า นได้ เ ดิ น ที่างไปีศ่ กั ษา เล�าเรี่ยู่น วัิปีสัั สันากัรีรีมู่ฐานกัับ้ครี่อาจัารียู่์ที่เ่� กั�งกัล้าสัามู่ารีถ ในหัวัเมู่่องตั�างๆ หลายู่แห�ง ที่�านเรี่ยู่นวัิช้าปีลุกัเสักัเลขยู่ันตั์ มู่หานิยู่มู่ ยู่ันตั์คงกัรีะพันช้าตัรี่ เช้�น กัารีลงยู่ันตั์ใสั�ผ้าขาวั
ผ้าแดงตัิดเสัาเรี่อน ลงยู่ันตั์ใสั�ผ้าขาวัสัำาหรีับ้ตัิดปีรีะตั่เรี่อน ลงยู่ันตั์ใสั�เสั่�อขาวัเพ่�อให้ ที่หารี ตัำารีวัจั ใสั�ไปีสั่�สันามู่รีบ้ให้ ปีลอดภูัยู่และมู่่ช้ัยู่ช้นะกัลับ้มู่า ปีลุกัเสักัเลขยู่ันตั์แคล้วัคลาด เพ่�อให้ช้นะศัตัรี่ที่่�มู่�ุงจัะมู่าที่ำารี้ายู่ ลงยู่ันตั์พรีะพุที่ธคุณหลวัง ลงยู่ันตั์สัามู่แหลมู่ ลงยู่ันตั์ตัาลยู่อดด้วัน เปี็นตั้น นอกัจัากัน่� ที่�านยู่ังได้สัำาเรี็จัวัิช้านั�งเที่่ยู่น วัิช้าสั่บ้ช้าตัา หรี่อตั�ออายูุ่ของ บุ้คคลที่่�ปี่วัยู่ไข้ให้หายู่จัากัโรีคภูัยู่ไข้เจั็บ้ มู่่อายูุ่ยู่่นยู่งคงด่ตั�อไปี รีวัมู่ถ่งวัิช้าปีรีะพรีมู่นำ�าพรีะพุที่ธมู่นตั์ เพ่�อควัามู่เปี็นศิรีิมู่งคลอ่กั ด้วัยู่ สมณศัักดิ� วัันที่่ � ๕ ธันวัาคมู่ พ.ศ. ๒๕๑๓ ที่�านได้รีบ้ั พรีะรีาช้ที่าน สัมู่ณศั กั ดิ� แ ละพั ด ยู่ศ เปี็ น พรีะครี่ สัั ญ ญาบ้ั ตั รี เจั้ า อาวัาสั วััดรีาษฎรี์ช้�นั ตัรี่ ในรีาช้ที่ินนามู่ พระครูเนกขััมมาภินันท์ วัันที่่ � ๕ ธันวัาคมู่ พ.ศ. ๒๕๒๑ ที่�านได้รีบ้ั พรีะรีาช้ที่าน เล่�อนสัมู่ณศักัดิ�ข่�นเปี็น พรีะครี่สััญญาบ้ัตัรีวััดรีาษฎรี์ช้ั�นโที่ ซึ่่�งถ่อเปี็นพรีะรี่ปีแรีกัของคณะสังฆ์์ในจัังหวััดน�าน รีาช้นามู่เดิมู่ที่่� พระครูเนกขััมมาภินันท์
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
113
วััดร้้องแง
ตำำ�บลวัร้นคร้ อำ�เภอปััวั จัังหวััดน่�น
Wat Rong Ngae
Wora Nakhon Subdistrict, Pua District, Nan Province
114
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา วััดร้้องแง เป็็นวััดโบร้าณ สร้้างเมื่่�อป็ร้ะมื่าณป็ี พ.ศ. ๒๓๑๐ โดยการ้นำา ของเจ้้ า หลวังเทพพญาลิ น ช้้างเผื่อกงาเขียวั (เจ้้าหลวังช้้างเผื่อกงาเขียวั) เดิมื่ป็กคร้อง อย่ท� เี� มื่่องลินซึ่่ง� อย่ใ� นเขตป็กคร้องของแควั้นสิบสองป็ันนา ป็กคร้องโดยพญาแสนเมื่่องแก้วั ต�อมื่าได้เกิดศ่กสงคร้ามื่ มื่ีศตั ร้่เข้ารุ้กร้าน (คาดวั�าเป็็นทหาร้จ้ีน) พญาแสนเมื่่องแก้วั ต้านทานไมื่�ไหวั เจ้้าหลวังเทพพญาลิน ช้้างเผื่อกงาเขียวั จ้่งได้ยกทัพมื่าช้�วัยพร้้อมื่ด้วัยแมื่�ทัพนายกอง ๔ นาย ค่อ ท้าวัแก้วัป็ันเมื่่องท้าวัวัร้ร้ณะ ท้าวัเหล็กไฟ และท้าวัเต๋อ แต� ต้ า นทั พ ศั ต ร้่ ไ มื่� ไ หวั เมื่่� อ กองทั พ ถู่ ก ตี แ ตก ท� า นได้ ร้วับร้วัมื่ไพร้�พลหนีมื่าพร้้อมื่กับแมื่�ทัพนายกองทั�ง ๔ นาย
ถูอยร้�นลงมื่าจ้นถู่งบร้ิเวัณใกล้กับลำานำ�าฮ่�องแง (ใกล้ลำานำ�ามื่ี ต้นแง ลักษณะคล้ายกับผืลส้มื่ จ้่งเร้ียกวั�า ลำานำ�าฮ่�องแง) ซึ่่�งมื่ี ควัามื่อุดมื่สมื่บ่ร้ณ์ จ้่งตั�งช้่�อหมื่่�บ้านตามื่ช้่�อลำานำ�า ต�อมื่าได้มื่ี การ้เร้ียกผืิดเพี�ยนจ้นกลายเป็็น บ้านร้้องแง เมื่่�อมื่ีการ้สร้้างวััด จ้่งตั�งช้่�อวััดตามื่ช้่�อหมื่่�บ้าน วััดร้้องแง ได้ร้ับพร้ะร้าช้ทาน วัิสุงคามื่สีมื่าเมื่่�อวัันที� ๑๐ มื่กร้าคมื่ พ.ศ. ๒๔๗๐ วััดร้้องแง ได้ร้บั ร้างวััลอนุรักั ษ์์ศิลิ ป็สถาป็ัตยกรัรัมดีีเดี่น ป็ร้ะจ้ำาป็ี ๒๕๕๐ ป็ร้ะเภทป็่ช้นียสถูานและวััดวัาอาร้ามื่ จ้าก สมื่าคมื่สถูาป็นิกสยามื่ในพร้ะบร้มื่ร้าช้่ป็ถูัมื่ภ์ และร้างวััล แหล่งท่่องเท่ี�ยวเชิิงวัฒนธรัรัมดีีเดี่น ป็ี ๒๕๕๑ จ้ากการ้ ท�องเทีย� วัแห�งป็ร้ะเทศไทย ป็ัจ้จุ้บนั พรัะครัูพสิ ทุ่ ธิว� รัคุณ ดำาร้ง ตำาแหน�งเจ้้าอาวัาส
พระครูพิสุุทธิ์ิ�วรคุณ เจ้้าอาวาสุวัดร้องแง
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
115
วััดหนองแดง
ตำำ�บลท่่�น้�วั อำ�เภอภูเพีียง จัังหวััดน่�น
Wat Nong Daeng
Thanao Subdistrict, Phu Piang District, Nan Province ความเป็็นมา วััดหนองแดง ตั้ั�งอยู่่�เลขที่่� ๑ บ้้านหนองแดง หมู่่�ที่่� ๖ ตั้ำาบ้ลที่�าน้าวั อำาเภอภ่เพี่ยู่ง จัังหวััดน�าน เดิมู่เป็็นวััดร้้าง มู่่เน้�อที่่� ๖ ไร้� ป็ี พี.ศ. ๒๕๔๖ คณะศร้ัที่ธาป็ร้ะชาชนและคณะสงฆ์์ได้ขอ อนุญาตั้ยู่กวััดร้้างข้�นเป็็นวััดมู่่พีร้ะภิกษุุสงฆ์์อยู่่�จัำาพีร้ร้ษุา วัันที่่� ๒๘ กร้กฎาคมู่ พี.ศ. ๒๕๔๗ ได้ ร้ั บ้ อนุ ญ าตั้จัากสำา นั ก งาน พีร้ะพีุที่ธศาสนาแห�งชาตั้ิ โดยู่ควัามู่เห็นชอบ้ของมู่หาเถร้สมู่าคมู่ ตั้�อมู่าได้ดำาเนินการ้ก�อสร้้างเสนาสนะตั้�าง ๆ ข้น� ตั้ามู่ลำาดับ้ ดำาเนิน
116
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
การ้ก� อ สร้้ า งโดยู่ พระครู อ าทรนั น ทกิิ จ และศร้ั ที่ ธา ป็ร้ะชาชนชาวัจัังหวััดน�านและตั้�างจัังหวััด ป็ัจัจัุบ้นั ที่�านเป็็น ร้องเจั้าคณะอำาเภอภ่เพี่ยู่ง และดำาร้งตั้ำาแหน�งเจั้าอาวัาสวััด หนองแดง วััดหนองแดง เป็็นวััดใหมู่�ที่่�เพีิ�งสร้้างข้�นด้วัยู่แร้ง ศร้ัที่ธาญาตั้ิโยู่มู่และที่�านเจั้าอาวัาสที่่�เป็็นพีร้ะนักพีัฒนา เป็็นศ่นยู่์ร้วัมู่จัิตั้ใจัของสาธุชนที่่�ศร้ัที่ธาในธร้ร้มู่ที่ั�งหลายู่ พระนักิพัฒนา หมู่ายู่ถ้ง พีร้ะสงฆ์์ที่่�ที่ำางาน สงเคร้าะห์ ชุ มู่ ชนด้ วั ยู่การ้ให้ คำา แนะนำา หร้้ อ ช� วั ยู่เหล้ อ ชาวับ้้านด้วัยู่กิจักร้ร้มู่ตั้�าง ๆ เพี้อ� ให้ควัามู่เป็็นอยู่่ข� องชาวับ้้าน ด่ข้�นเช�นการ้จััดตั้ั�งศ่นยู่์เด็กในวััด การ้อบ้ร้มู่เยู่าวัชนให้คำา แนะนำาในด้านสุขอนามู่ัยู่ ร้วัมู่ที่ั�งการ้ส�งเสร้ิมู่ชาวับ้้าน
พระครูอาทรนัันัทกิิจ รองเจ้าคณะอำาเภอภูเพียง / เจ้าอาวาสวัดหนัองแดง
ในเร้้อ� งเกษุตั้ร้ผสมู่ผสาน หร้้อเกษุตั้ร้กร้ร้มู่ เพี้อ� การ้พี้ง� ตั้นเอง ซึ่้ง� การ้ที่ำางานดังกล�าวัน่เ� กิดจัากควัามู่คิดร้ิเร้ิมู่� ของที่�านเอง มู่ิใช�เพีร้าะการ้ชักนำาของหน�วัยู่ร้ัฐหร้้อเพี้อ� สนองนโยู่บ้ายู่ร้ัฐ สำาหร้ับ้หน้าที่่แ� ละบ้ที่บ้าที่ของอุบ้าสกและอุบ้าสิกา ที่่�มู่่ตั้�อสังคมู่ไที่ยู่ในป็ัจัจัุบ้ันก็ค้อ ชาวัพีุที่ธผ่้คร้องเร้้อน หร้้อคฤหัสถ์ผ่้อยู่่�ใกล้พีร้ะพีุที่ธศาสนา ซึ่้�งอุที่ิศตั้นเพี้�อ ป็ร้ะโยู่ชน์ตั้�อพีร้ะพีุที่ธศาสนา เช�น สมู่าที่านร้ักษุาอุโบ้สถ ศ่ล (ถ้อศ่ล ๘) ในวัันพีร้ะเป็็นตั้้น และหมู่ั�นไป็วััดตั้ามู่ โอกาสที่่� เ หมู่าะสมู่ เพีร้าะการ้ไป็วัั ด จัะได้ พี บ้ป็ะกั บ้ พีร้ะภิกษุุผที่่้ ร้งศ่ล ที่ร้งคุณธร้ร้มู่ หร้้อได้พีบ้กับ้มู่ิตั้ร้ที่่ส� นใจั ในเร้้�องธร้ร้มู่เหมู่้อนกับ้เร้า ยู่�อมู่ได้ช้�อวั�าเป็็นการ้คบ้หา กัลยู่าณมู่ิตั้ร้ หร้้อเร้่ยู่กวั�ามู่ิตั้ร้ที่่ด� ่ ซึ่้�งจัะส�งเสร้ิมู่ให้มู่ค่ วัามู่ ก้าวัหน้าในการ้ป็ฏิิบ้ัตั้ิธร้ร้มู่เพีิ�มู่ข้�น ดังพีุที่ธภาษุิตั้ที่่�วั�า ยํํ เว เสวติิ ติาทิโส คบ้คนเช�นไร้ก็เป็็นคนเช�นนัน� แล โดยู่มู่่ พระครูอาทรนันทกิิจ ตั้ั�งแตั้�วัันที่่ � ๑ ตัุ้ลาคมู่ พี.ศ. ๒๕๕๑ ถ้งป็ัจัจัุบ้ัน รายํนามเจ้าอาวาส พีร้ะคร้่อาที่ร้นันที่กิจั ตั้ั�งแตั้�วัันที่่� ๑ ตัุ้ลาคมู่ พี.ศ. ๒๕๕๑ ถ้งป็ัจัจัุบ้ัน ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
117
118
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
119
วััดแช่่พลาง
ตำำาบลท่่าน้้าวั อำำาเภอำภูเพียง จัังหวััดน้่าน้
Wat Chae Phlang
Thanao Subdistrict, Phu Piang District, Nan Province
120
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา วััดแช่่พลาง ตั้ัง� อยู่่เ่ ลขที่่ � ๔๒ บ้้านแช่่พลาง หมู่่ที่่ �่ ๗ ตั้ำาบ้ลที่่าน้าวั อำาเภอภ่เพ่ยู่ง จัังหวััดน่าน สัังกััดคณะสังฆ์์ มู่หานิกัายู่ ที่่�ดินตั้ั�งวััดมู่่เน้�อที่่� ๕ ไร่่ ๑ งาน ๙๔ ตั้าร่างวัา น.สั. ๓ เลขที่่� ๑๘๑ อาณาเขต ที่ิศเหน้อ จัดที่่�เอกัช่น ที่ิศใตั้้ จัดที่่�ดินเอกัช่น ที่ิศตั้ะวัันออกั จัดที่่�เอกัช่น ที่ิศตั้ะวัันตั้กั จัดที่่�เอกัช่น อาคารเสนาสนะ ปร่ะกัอบ้ด้วัยู่ อุโบ้สัถ วัิหาร่ กัุฏิิสังฆ์์ ป็ูชนียวัตถุุมีเจดีีย์ พร่ะพุที่ธร่่ป
วัั ด แช่่ พ ลาง สัร่้ า งเมู่้� อ ปี พ.ศ. ๒๐๐๐ ได้ ร่ั บ้ พร่ะร่าช่ที่านวัิสัุงคามู่สั่มู่าเมู่้�อวัันที่่ � ๒๕ สัิงหาคมู่ พ.ศ. ๒๔๖๒ เขตั้วัิสัุงคามู่สั่มู่า กัวั้าง ๓๖ เมู่ตั้ร่ ยู่าวั ๕๗ เมู่ตั้ร่ การบริหารและการป็กครอง มีเจ้าอาวาสเท่่าท่ีท่� ราบนามคือ ๑. พร่ะอภัยู่ พร่ะกัันจัะไช่ยู่ พร่ะอธิกัาร่ศร่่ พ.ศ. ๒๓๘๐ – ๒๔๐๐ ๒. พร่ะอธิกัาร่อุตั้มู่า พ.ศ. ๒๔๐๐ - ๒๔๒๐ ๓. พร่ะอธิกัาร่กััญช่ัยู่ พ.ศ. ๒๔๒๐ - ๒๔๖๔ ๔. พร่ะอธิกัาร่ญานะ พ.ศ. ๒๔๖๔ - ๒๕๑๒ ๕. พร่ะอธิกัาร่คำาด่ สัุวัณฺโณ พ.ศ. ๒๕๑๓ - ๒๕๑๔ ๖. พร่ะมู่นตั้ร่่ พ.ศ. ๒๕๑๕ – ๒๕๑๘ ๗. พร่ะบุ้ญช่่ พ.ศ. ๒๕๑๘ - ๒๕๒๑ ๘. พร่ะอำานวัยู่ พ.ศ. ๒๕๒๒ - ๒๕๒๓ ๙. พร่ะเสัถ่ยู่ร่ พ.ศ. ๒๕๒๓ - ๒๕๒๖ ๑๐. พร่ะอธิกัาร่เข่ยู่นที่อง สัุวัณฺโณ พ.ศ. ๒๕๒๖ ๑๑. พร่ะอธิกัาร่มู่นัสั ปุญฺฺญกัาโมู่ ๑๒. หลวังป่�ภาวันา พ.ศ. ๒๕๔๙ ๑๓. พร่ะคร่่เพ่ยู่ง พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๖๑ ๑๔. หลวังพ่อมู่ณเที่่ยู่ร่ มู่หาเมู่ธ่ เป็นเจั้าอาวัาสัร่่ปปัจัจัุบ้นั
หลวงพ่่อมณเทีียร มหาเมธีี เจ้้าอาวาสวัดแช่่พ่ลาง
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
121
วััดโป่่งคำำ�
ตำำ�บลน้ำำ��เกี๋๋�ยน้ำ อำำ�เภอำภูเพี๋ยง จัังหวััดน้ำ่�น้ำ
Wat Pong Kham
Nam Kian Subdistrict, Phu Pieng District, Nan Province ความเป็็นมา วััดโป่่งคำำ� เดิมชื่่อ� วััดภููตอง สัันนิษฐ�นวั่�เริ่ิม� แริ่กได้สัริ่้�ง เป่็นสัำ�นักสังฆ์์ ในริ่�วัป่ี พ.ศ. ๒๔๐๐ โดยมีหลัักฐ�นที่ี�จ�ริ่ึก พริ่ะพุที่ธริู่ป่ไม้ ป่�งม�ริ่วัิชื่ัย จำ�นวันสัององคำ์ องคำ์แริ่กจ�ริ่ึกไวั้วั่� “สร้้างพร้ะพุทธรู้ป็เจ้้าองค์นไ้� ว้โจ้ถะกะวะร้ะพุทธศาสนาวัดภููตอง นำ�าเก้�ยนท้�น้�” องคำ์ที่ี�สัองจ�ริ่ึกไวั้วั่� “หลวงเคล้าเมืองสร้้างไว้กับ ศาสนาวัดภููตอง หื�อเป็็นท้�บูชาแก่คนและเทวดาทั�งหลาย”
122
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ต่อม�ป่ี พ.ศ. ๒๔๓๐ ได้ริ่บั ก�ริ่แต่งตัง� เป่็นวััดโดย ได้เป่ลัี�ยนชื่่�อเป่็นชื่่�อ “วััดโป่่งคำำ�” แลัะได้ริ่ับพริ่ะริ่�ชื่ที่�น วัิสัุงคำ�มสัีม�ในป่ี พ.ศ. ๒๔๓๕ โดยมีคำริู่บ�เจ้�ก�วัิชื่ัย เป่็นเจ้�อ�วั�สัริู่ป่แริ่ก เจ้�อ�วั�สัริู่ป่ป่ัจจุบันคำ่อ พริ่ะสัมุห์ สั�ธิต อินฺที่ป่ญฺฺโญ พร้ะเจ้้าแสนคำาทันใจ้ พริ่ะเจ้�แสันคำำ�ที่ันใจ เป่็นพริ่ะพุที่ธริู่ป่ที่องเหลั่อง พริ่ะสัมุห์สั�ธิต อินฺที่ป่ญฺฺโญ เจ้�อ�วั�สัวััดโป่่งคำำ� พริ่้อม คำณะศริ่ั ที่ ธ�ตำ� บลันำ�� เกี� ย น ที่ำ� ก�ริ่เที่ที่องหลั่ อ ขึ้ึ� น ใน วัันพฤหัสับดีที่ ี� ๑ มีน�คำม พ.ศ. ๒๕๕๕ เพ่อ� ฉลัองพริ่ะพุที่ธ ชื่ยันตี ต�มคำติคำวั�มเชื่่�อขึ้องลั้�นน� ก�ริ่สัริ่้�งพริ่ะพุที่ธริู่ป่ ให้เสัริ่็จภู�ยในวัันเดียวัเริ่ียกวั่� เสัริ่็จที่ันใจ หริ่่อพริ่ะเจ้� ที่ันใจ เชื่่อ� วั่�เม่อ� ม�อธิษฐ�นขึ้อพริ่จะสัมป่ริ่ะสังคำ์โดยที่ันใจ
พร้ะเจ้้าดับภูัย พริ่ะเจ้�ดับภูัย เป่็นพริ่ะพุที่ธริู่ป่ปู่นป่ัน� สัริ่้�งขึ้ึน� ใน วัั น พฤหั สั บดี ที่ี� ๙ เด่ อ น มกริ่�คำม พ.ศ. ๒๕๖๓ โดย พริ่ะสัมุหสั์ �ธิต อินทีฺ่ ป่ญฺฺโญ เจ้�อ�วั�สัวััดโป่่งคำำ� พริ่้อมคำณะ ศริ่ัที่ธ�ตำ�บลันำ��เกี�ยน คำติคำวั�มเชื่่�อก�ริ่สัริ่้�งพริ่ะเจ้�ดับภูัย เพ่�อดับทีุ่กขึ้์ ดับโศก ดับโริ่คำ ดับภูัย แก่ผูู้้สัักก�ริ่ะบูชื่� พร้ะธาตุเจ้้าภููตอง พริ่ะธ�ตุเจ้�ภููตองพริ่ะสัมุหสั์ �ธิต อินทีฺ่ ป่ญฺฺโญ พริ่้อม คำณะศริ่ัที่ธ�ตำ�บลันำ��เกี�ยน ได้กริ่�บนิมนต์พริ่ะเดชื่พริ่ะคำุณ พริ่ะเที่พนันที่�จ�ริ่ย์ เจ้�คำณะจังหวััดน่�น ได้ที่ำ�ก�ริ่วั�งศิลั� ฤกษ์ ในอังคำ�ริ่ที่ี� ๓๐ มิถุุน�ยน พ.ศ. ๒๕๕๘ เพ่�อบริ่ริ่จุ พริ่ะบริ่มสั�ริ่ีริ่ิกธ�ตุแลัะพริ่ะอริ่หันตธ�ตุ ชื่่�อพริ่ะธ�ตุเจ้� ภููตอง นั�นได้นำ�ม�จ�กชื่่�อเดิมขึ้องวััดโป่่งคำำ� คำ่อ “วัดภููตอง”
พระสมุุห์์สาธิิต อิินฺฺทปญฺฺโญ เจ้้าอิาวาสวัดโป่งคำำา
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
123
วััดน้ำำ��แก่่น้ำเหน้ำือ
ตำำ�บลน้ำำ��แก่่น้ำ อำ�เภอภูเพีียง จัังหวััดน้ำ่�น้ำ
Wat Nam Kaen Nuea
Nam Kaen Subdistrict, Phu Piang District, Nan Province ความเป็็นมา ผู้้�สร้�างวััดน้ำำ�าแก่่น้ำเหน้ำือ น้ำายเสน้ำ มาจาก่บ้�าน้ำปร้ะตู้ ท่่ า แพ จั ง หวัั ด เชีี ย งใหม่ มาอย้่ จั ง หวัั ด น้ำ่ า น้ำ ท่ี� บ้� า น้ำน้ำาข่่ อ ย ตูำา บ้ลท่่ า น้ำ� า วั อำา เภอเมื อ ง จั ง หวัั ด น้ำ่ า น้ำ แล� วั ย� า ยไปอย้่ บ้�าน้ำน้ำำ�าแก่่น้ำเหน้ำือ น้ำายเสน้ำได�พร้�อมก่ับ้น้ำายแสน้ำหมื�น้ำ เป็น้ำผู้้ใ� หญ่่ บ้�าน้ำก่ับ้พร้�อมร้าษฎร้ใน้ำหม้่บ้�าน้ำได�พร้�อมใจก่ัน้ำสร้�างอาร้ามท่ี�อย้่ ข่องพร้ะสงฆ์์ข่้�น้ำหน้ำ้�งหลัง และได�ท่ำาบุ้ญ่ถวัายเป็น้ำท่ี�อย้่พร้ะสงฆ์์ ตู่อไป และได�น้ำมิ น้ำตู์พร้ะบุ้ญ่ตูาเป็น้ำเจ�าอาวัาสร้้ปแร้ก่ ปัจจุบ้น้ำั วััด น้ำำ�าแก่่น้ำเหน้ำือ ตูั�งอย้่เลข่ท่ี� ๑/๑ บ้�าน้ำน้ำำ�าแก่่น้ำเหน้ำือ ตูำาบ้ลน้ำำ�าแก่่น้ำ อำาเภอภ้เพียง
ป็ระวัติิเจ้้าอาวาส พร้ะคร้้วัิท่ิตู น้ำัน้ำท่วัุฒิิ ได�เป็น้ำเจ�าอาวัาสตูั�งแตู่ วััน้ำท่ี� ๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๖ จน้ำถ้งปัจจุบ้ัน้ำ ได�บ้้ร้ณ ปฏิิสังข่ร้ณ์วัิหาร้ กุ่ฏิิ ศาลา ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ได�จัดโคร้งก่าร้ บ้วัชีเณร้ภาคฤด้ร้�อน้ำ และได�พิจาร้ณาตูั�งสมณะศัก่ดิ�เป็น้ำ พร้ะคร้้ และได� ท่ำา โคร้งก่าร้พี� ส อน้ำน้ำ� อ งจน้ำสำา เร้็ จ ใน้ำปี พ.ศ. ๒๕๔๗ และได�เปิดศ้น้ำย์เด็ก่ก่่อน้ำวััยเร้ียน้ำท่ีวั� ดั น้ำำา� แก่่น้ำเหน้ำือ ใน้ำปี พ.ศ. ๒๕๓๗ และยังสน้ำับ้สน้ำุน้ำโคร้งก่าร้ตู่าง ๆ ท่ี�เป็น้ำ ปร้ะโยข่น้ำ์ใน้ำชีุมชีน้ำด�วัยดีตูลอดมา
พระครูวิิทิิต นัันัทิวิุฒิิ เจ้้าอาวิาสวิัดนัำ�าแก่่นัเหนัือ
124
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
- ดำาร้งตูำาแหน้ำ่งเจ�าอาวัาส เมื�อวััน้ำท่ี� ๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๖ - ได�น้ำัก่ธร้ร้มชีั�น้ำเอก่ จบ้ก่าร้ศ้ก่ษา พุท่ธศาสตูร้์บ้ัณฑิิตู พ.ศ. ๒๕๕๔ - ได�ร้ับ้พร้ะร้าชีท่าน้ำสัญ่ญ่าบ้ัตูร้พัดยศ ร้าชีท่ิน้ำน้ำาม พ.ศ. ๒๕๔๘ ท่ี�พร้ะคร้้วัิท่ิตู น้ำัน้ำท่วัุฒิิ - ได�เลื�อน้ำสมณะศัก่ดิ� พร้ะคร้้ชีั�น้ำเอก่ ร้าชีท่ิน้ำน้ำามเดิม พร้ะคร้้วัิท่ิตู น้ำัน้ำท่วัุฒิ ิ พ.ศ. ๒๕๕๔
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
125
วััดนาปััง
ตำำาบลนาปััง อำำาเภอำภูเพีียง จัังหวััดน่าน
Wat Na Pang
Na Pang Subdistrict, Phu Phiang District, Nan Province ความเป็็นมา วััดนาปัังตั้ั�งอยู่่�กลางหมู่่�บ้้านนาปััง ตั้ำาบ้ลนาปััง อำาเภอภ่เพีียู่ง จัังหวััดน�าน สัังกัดคณะสังฆ์์มู่หานิกายู่ ที่ี�ดิน ของวััดมู่ีเน้�อที่ี� ๔ ไร่� ๓ งาน ๔๙ ตั้าร่างวัา วััดนาปัังเปั็นของ พีุที่ธศาสันิกชน ๒ หมู่่�บ้้าน ค้อ บ้้านนาปัังและบ้้านสับ้แก�น
126
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
วััดนาปัังเปั็นวััดเก�าแก�สัร่้างมู่าตั้ั�งแตั้�สัมู่ัยู่สัุโขที่ัยู่ จัากหลักฐานที่างโบ้ร่าณคดีและปัร่ะวััตั้ศิ าสัตั้ร่์ศลิ ปัะเมู่้อง น�านกล�าวัถึึงพีร่ะยู่าสัาร่ผาสัุมู่ (พีร่ะยู่างัวั� ผาสัุมู่) ได้โปัร่ด ให้สัร่้างพีร่ะพีุที่ธร่่ปั ๕ องค์ข�ึนในเมู่้องน�านร่าวั พี.ศ. ๑๙๖๙ - ๑๙๗๐ พีร่ะพีุที่ธร่่ปัปัางลีลาวััดนาปััง ได้สัร่้างขึ�น ภายู่หลังไมู่�นาน ดัังนัน� สัันนิษฐานไดั้วา่ วัดันาป็ังน่าจะสัร้้าง ก่่อน พ.ศ. ๑๙๗๐ พีงศาวัดาร่เมู่้องน�านจัาร่ึกวั�า เจ้าอนันต วร้ฤทธิิเดัช กุ่ลเชษฐมหัันตไชยบุุร้ีมหัาร้าชาธิิบุดัี เจั้าผ่้ คร่องนคร่น� า น ได้ ปั ฏิิ สัั ง ขร่ณ์ วัั ด นาปัั ง ในปัี จัุ ล ศั ก ร่าช ๑๒๑๙ หร่้อ (พี.ศ. ๒๔๐๐) เจั้าอาวัาสัวััดนาปัังในขณะนัน� ค้อ ครู้บุาอภิิยะ วัดันาป็ังไดั้ร้ับุพร้ะร้าชทานวิสัุงคามสัีมา เมู่้�อ วัันที่ี� ๖ กันยู่ายู่น พี.ศ. ๒๔๙๒ เขตั้วัิสัุงคามู่สัีมู่า กวั้าง ๑๐ เมู่ตั้ร่ ยู่าวั ๑๖ เมู่ตั้ร่ ก่ร้มศิลป็าก่ร้ ได้ปัร่ะกาศขึ�นที่ะเบ้ียู่นศิลปัวััตั้ถึุ และพีร่ะพีุที่ธร่่ปัที่ี�สัำาคัญ ๒ องค์ ค้อ พีร่ะพีุที่ธร่่ปัปัางลีลา ศิลปัะล้านนาชนิดสัำาร่ิด และพีร่ะพีุที่ธร่่ปัปัางมู่าร่วัิชัยู่ (พีร่ะปัร่ะธาน) ศิลปัะล้านนาชนิดสัำาร่ิด เปั็นพีุที่ธศิลปั์ซึ่ึ�ง ที่ร่งคุณค�าที่างปัร่ะวััตั้ิศาสัตั้ร่์
โบุร้าณสัถาน สัิง� ก�อสัร่้างตั้�างๆของวััดนาปัังมู่ีการ่สัร่้างขึน� ใหมู่�เน้อ� งจัาก เกิ ด การ่ชำา รุ่ ด ที่รุ่ ด โที่ร่มู่ อยู่� า งไร่ก็ ตั้ ามู่ ยู่ั ง คงมู่ี สัิ� ง ก� อ สัร่้ า ง อันที่ร่งคุณค�าหลงเหล้ออยู่่ � เช�น หัอไตร้ เปั็ น สัถึานที่ี� เ ก็ บ้ หี บ้ ธร่ร่มู่และธร่ร่มู่ใบ้ลาน บ้นหอไตั้ร่แห�งนี�มู่ีหีบ้ธร่ร่มู่ จัำานวัน ๑๓ ใบ้ และมู่ีธร่ร่มู่ใบ้ลาน ปัร่ะมู่าณ ๔,๐๐๐ ผ่ก ไมู่�ปัร่ากฏิหลักฐานการ่สัร่้าง สัันนิษฐานวั�า มู่ีอายูุ่นับ้ร่้อยู่ปัี กุ่ ฏิิ กุ ฏิิ ห ลั ง เก� า สัร่้ า งโดยู่คร่่ บ้ าบุ้ ญ ศร่ี อิ น ที่สัาโร่ (พีร่ะคร่่อินที่สัาร่ปัยูุ่ตั้) เจั้าอาวัาสัขณะนั�น สัร่้างเมู่้�อ พี.ศ. ๒๔๘๙
โบุร้าณวัตถุ ๑. พีร่ะพีุที่ธร่่ปัปัางมู่าร่วัิชัยู่ พีร่ะปัร่ะธานในวัิหาร่ ๒. พีร่ะพีุที่ธร่่ปัปัางลีลา ปัร่ะดิษฐานเบ้้�องซึ่้ายู่ และเบ้้�องขวัาของพีร่ะปัร่ะธาน ๓. พีร่ะเพีชร่ พีร่ะพีุที่ธร่่ปัปัางมู่าร่วัิชัยู่ ๔. พีร่ะเจั้าที่ันใจั หร่้อ พีร่ะพีุที่ธร่่ปัที่ันใจั ๕. ธร่ร่มู่มู่าสัน์ ๖. สััตั้ตั้ภัณฑ์์ หร่้อ เชิงเที่ียู่น เปั็นเคร่้�องใช้สัาำ หร่ับ้ จัุดเที่ียู่นบ้่ชา ร้ายนามเจ้าอาวาสัที�มีก่าร้บุันทึก่ไว้ ๑. คร่่บ้าพีร่หมู่เสัน ๒. คร่่บ้าอนันตั้์ ๓. ครู้บุาอภิิยะ ๔. พีร่ะอธิการ่อิ�นคำา ๕. ครู้บุาวังธิร้ (พร้ครู้อินทสัาร้ป็ยุต) ๖. พีร่ะหน่เด�น ตั้ิกชปัญโญ ๗. พีร่ะอินหวััน สัุญญจัิตั้โตั้ ๘. พีร่ะบุ้ญกุยู่ จัิตั้ตั้ธมู่โมู่ ๙. พร้ะอธิิก่าร้สัมเดัช โชติก่โร้ ๑๐. พร้ะสัมุหั์เก่ษตร้ ขนฺติโก่ ๑๑. พีร่ะบุ้ญสัมู่ อินฺที่สัาโร่ ๑๒. พีร่ะพีร่หมฺู่โชโตั้ ๑๓. ร่ักษาการ่เจั้าอาวัาสัปััจัจัุบ้นั ค้อ พร้ะสัมาน สัุเมธิโสั
วัดันาป็ัง นาปัังสัร่้างเมู่้�อไหร่�ไมู่�ปัร่ากฏิ ไมู่�ได้จัดศักร่าชกร่ะดาษสัา ไมู่�เขียู่นธร่ร่มู่ใบ้ลานการ่เปั็นมู่า ไมู่�ร่่้วั�าสัร่้างเมู่้�อใดได้ชัดเจัน แตั้�ก็มู่ีจัาร่ึกที่ี�ฐานพีร่ะ อักขร่ะตั้ัวัฝัักขามู่ตั้ามู่ที่ี�เห็น ปัร่าชญ์โบ้ร่าณแกะสัลักไวั้ชัดเจัน แปัดเจั็ดหนึง� จัอศอเน้นปัีสัร่้างมู่า ค้อพอสัอ สัองพัน หั้าสัิบุสัอง หล�อพีร่ะที่องเหล้องอร่�ามู่งามู่นักหนา ให้ชาวัพีุที่ธผ่้เล้�อมู่ใสัได้บ้่ชา จัาร่ึกวั�า “ศร้ีญา” ศร่ัที่ธาธร่ร่มู่ เปั็นผ่้สัร่้างร่่ปัที่ร่งพีร่ะองค์นี� ห้าร่้อยู่ปัีผ�านไปัไกลยู่ิ�งลำ�า อีกหลักฐานยู่ังมู่ีมู่าชี�นำา ให้จัดจัำาพีร่ะพีุที่ธร่่ปัปัางลีลา โยู่งปัร่ะวััตั้ิจัากวััดสั่�หมู่่�บ้้าน จัากหลักฐานพีร่ะพีุที่ธศาสันา ภาคภ่มู่ใิ จัในหมู่่บ้� า้ นถึิน� ล้านนา ซึ่ึง� สัร่้างมู่านานไมู่�นอ้ ยู่หลายู่ร่้อยู่ปัี
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
127
วััดน้ำำ��มวับ
ตำำ�บลน้ำำ��มวับ อำำ�เภอำเวัียงส� จัังหวััดน้ำ่�น้ำ
Wat Nam Muap
Nam Muap Subdistrict, Wiang Sa District, Nan Province
ความเป็็นมา วััดน้ำำ�� มวับ ตั้ัง� อยู่่เ� ลขที่่ � ๗๖ หม่ที่� �่ ๑ บ้�น้ำน้ำำ�� มวับ ตั้ำ�บลน้ำำ�� มวับ อำ�เภอเวั่ยู่งส� จัังหวััดน้ำ��น้ำ ม่เน้ำ้อ� ที่่ � ๓ ไร่�เศษ สร่้�งเม้�อปีี พ.ศ. ๒๓๘๒ ได้ร่ับพร่ะร่�ชที่�น้ำวัิสุงค�มส่ม� เม้� อ วัั น้ำ ที่่� 10 กุุ ม ภ�พั น้ำ ธ์์ พ.ศ. ๒๔๗๙ ข้� น้ำ ที่ะเบ่ ยู่ น้ำ กุร่มกุ�ร่ศ�สน้ำ� ที่่ � ๒๘๑ ร่หัสวััด ๕๕๐๗๐๒๐ สังกุัดมห�น้ำิกุ�ยู่
ชุุมชุนบ้านนำ�ามวบ
128
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
การบริหารการป็กครองเท่่าท่่�ท่ราบม่ดัังน่� ๑. พร่ะอธ์ิกุ�ร่เหม� อ�น้ำน้ำฺโที่ พ.ศ. ๒๓๘๒ - พ.ศ. ๒๓๙๘ ๒. พร่ะอธ์ิกุ�ร่อภิวังค์ วัิจัิตัฺ้โตั้ พ.ศ. ๒๓๙๘ - พ.ศ. ๒๔๑๔ ๓. พร่ะอธ์ิกุ�ร่เตั้จั๊ะ เตั้ชวัโร่ พ.ศ. ๒๔๑๒ - พ.ศ. ๒๔๓๖ ๔. พร่ะอธ์ิกุ�ร่จััน้ำที่ร่์ตั้๊ะ จัิตัฺ้ตั้วัโร่ พ.ศ. ๒๔๓๖ - พ.ศ. ๒๔๕๖ ๕. พร่ะอธ์ิกุ�ร่ศร่่วัร่ร่ณ วัณฺโณโกุ พ.ศ. ๒๔๗๓ - พ.ศ. ๒๔๗๕ ๖. พร่ะคร่่ไพโร่จัน้ำ์ ส�ธ์ุกุิจั (คัน้ำธ์� ชวัน้ำปีัญฺฺโญ) พ.ศ. ๒๔๙๐ - พ.ศ. ๒๕๔๗ ๗. พร่ะคร่่ฉััน้ำที่กุิจัสุน้ำที่ร่ (ไกุร่พล ฉัน้ำฺที่กุ�โม) เจั้�อ�วั�สร่่ปีปีัจัจัุบัน้ำ อาคารเสนาสนะ อ�ค�ร่เสน้ำ�สน้ำะ ปีร่ะกุอบด้ วั ยู่ โบสถ์์ วัิ ห �ร่ ศ�ล�กุ�ร่เปีร่่ยู่ญ กุุฏิิ หอร่ะฆััง ห้องสมุด โร่งคร่ัวั ศ�ล�บ�ตั้ร่ ห้องสุข� ปี่ชน้ำ่ยู่วััตั้ถ์ุม่พร่ะพุที่ธ์ร่่ปีปี่น้ำปีั�น้ำและที่องเหล้อง เปีิดเปี็น้ำโร่งเร่่ยู่น้ำพร่ะปีร่ิยู่ัตั้ิธ์ร่ร่มแผน้ำกุธ์ร่ร่ม เม้�อปีี พ.ศ. ๒๕๐๓ ข้� น้ำ ที่ะเบ่ ยู่ น้ำเปี็ น้ำ ศ่ น้ำ ยู่์ ศ้ กุษ�พร่ะพุ ที่ธ์ศ�สน้ำ� วััน้ำอ�ที่ิตั้ยู่์ เม้อ� ปีี พ.ศ. ๒๕๔๙ และได้ร่บั คัดเล้อกุเปี็น้ำวััดอุที่ยู่�น้ำ กุ�ร่ศ้กุษ� เม้�อปีี พ.ศ. ๒๕๕๑
พระครูฉัันทกิิจสุุนทร เจ้าอาวาสุวัดนำ�ามวบ / เจ้าคณะตำำาบลนำ�ามวบ - สุ้านนาหนองใหม่
แลนด์มาร์ควัดนำ�ามวบ
ทะเลหมอกินำ�ามวบ
พระธาตำุแดนทองวัดนำ�ามวบ
ป็ระวัติิเจ้้าอาวาสรูป็ป็ัจ้จุ้บัน ชื่่�อ พร่ะคร่่ฉััน้ำที่กุิจัสุน้ำที่ร่ (ไกุร่พล ตั้๊ะน้ำ้อยู่) อายุุ ๕๔ พร่ร่ษ� ๓๔ วิท่ยุฐานะ น้ำักุธ์ร่ร่มชั�น้ำเอกุ วุฒิิท่างโลก มัธ์ยู่มศ้กุษ� ปีีที่ ่� ๖ อุป็สมบท่ เม้อ� วััน้ำเส�ร่์ เด้อน้ำ ๗ แร่ม ๑๐ คำ�� วััน้ำที่่ � ๒๐ เด้อน้ำ มิถ์น้ำุ �ยู่น้ำ พ.ศ. ๒๕๓๐ ณ วััดน้ำำ��มวับ ตั้ำ�บลน้ำำ�� มวับ - ส้�น้ำน้ำ�หน้ำองใหม� อำ�เภอเวั่ยู่งส� จัังหวััดน้ำ��น้ำ พระอุ ป็ั ชื่ ฌายุ์ พร่ะคร่่ ไ พโร่จัน้ำ์ ส �ธ์ุ กุิ จั วัั ด น้ำำ�� มวับ ตั้ำ�บลน้ำำ��มวับ อำ�เภอเวั่ยู่งส� จัังหวััดน้ำ��น้ำ พระกรรมวาจ้าจ้ารยุ์ พร่ะคร่่พิร่ิยู่ส�ร่คุณ วััดไหล�น้ำ��น้ำ ตั้ำ�บลไหล�น้ำ��น้ำ อำ�เภอเวั่ยู่งส� จัังหวััดน้ำ��น้ำ พระอนุสาวนาจ้ารยุ์ พร่ะคร่่ศ่ลน้ำัน้ำที่วังค์ วััดศร่่มงคล ตั้ำ�บลข้�ง - น้ำำ��มวับ อำ�เภอเวั่ยู่งส� จัังหวััดน้ำ��น้ำ ป็ัจ้จุ้บันดัำารงติำาแหน่ง ๑. เจั้�อ�วั�สวััดน้ำำ��มวับ ตั้ำ�บลน้ำำ��มวับ อำ�เภอเวั่ยู่งส� จัังหวััดน้ำ��น้ำ พ.ศ. ๒๕๔๘ ๒. ปีร่ะธ์�น้ำหน้ำ�วัยู่อบร่มปีร่ะช�ชน้ำปีร่ะจัำ�ตั้ำ�บลน้ำำ��มวับ อำ�เภอเวั่ยู่งส� จัังหวััดน้ำ��น้ำ พ.ศ. ๒๕๔๗ ๓. ผ่้อำ�น้ำวัยู่กุ�ร่ศ่น้ำยู่์ศ้กุษ�พร่ะพุที่ธ์ศ�สน้ำ�วััน้ำอ�ที่ิตั้ยู่์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๔. คร่่พร่ะสอน้ำศ่ลธ์ร่ร่มใน้ำโร่งเร่่ยู่น้ำ พ.ศ. ๒๕๔๘ ๕. เจั้�คณะตั้ำ�บลน้ำำ��มวับ - ส้�น้ำน้ำ�หน้ำองใหม� พ.ศ. ๒๕๕๗
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
129
วััดไหล่่น่่าน่
ตำำาบล่ไหล่่น่่าน่ อำำาเภอำเวัียงสา จัังหวััดน่่าน่
Wat Lai Nan
Lai Nan Subdistrict, Wiang Sa District, Nan Province ความเป็็นมา เดิิมชื่่อ� วััดิหล่่ายน่่าน่ สร้้างขึ้้น่� เม่อ� จุุล่ศัักร้าชื่ ๑๒๒๙ หร้่อ พ.ศั. ๒๔๑๑ เป็็น่วััดิร้าษฎร้์ สังกัดิมหาน่ิกาย ตั้ั�งอย่่เล่ขึ้ที่่� ๑๐๙ บ้้าน่ไหล่่น่่าน่ หม่่ที่่� ๑ ตั้ำาบ้ล่ไหล่่น่่าน่ อำาเภอเวั่ยงสา จุังหวััดิน่่าน่ ที่่�ดิิน่ตั้ั�งวััดิม่เน่่�อที่่� ๙ ไร้่ ที่่�ธร้ณี่สงฆ์์ (พร้ะธาตัุ้จุอมแจุ้ง) เน่่�อที่่� ๑๙ ไร้่ ห่างจุากตั้ัวัอำาเภอเวั่ยงสา ๑ กิโล่เมตั้ร้ ตั้ิดิแม่น่ำ�าน่่าน่ ม่จุำาน่วัน่ พุที่ธศัาสน่ิกชื่น่ที่่�อุป็ถััมภ์วััดิ ๒๖๖ หล่ังคาเร้่อน่ ไดิ้ร้ับ้อนุ่ญาตั้
130
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
สร้้างวััดิ เม่อ� วััน่ที่่� ๙ ม่น่าคม พ.ศั. ๒๔๑๑ ไดิ้ร้บ้ั พร้ะร้าชื่ที่าน่ วัิสุงคามส่มา เม่�อวััน่ที่่� ๑๐ พฤศัจุิกายน่ พ.ศั. ๒๔๕๗ ผู้่ ก พั ที่ ธส่ ม า เม่� อ วัั น่ ที่่� ๑๒ กุ ม ภาพั น่ ธ์ พ.ศั. ๒๔๕๘ เขึ้ตั้วัิสุงคามส่มา กวั้าง ๑๖ เมตั้ร้ ยาวั ๒๑ เมตั้ร้ ป็ร้ะวัั ตั้ิ ก าร้เร้ิ� ม สร้้ า งวัั ดิ พร้ะสุ ร้ิ น่ ที่ร้์ ซึ่้� ง เป็็ น่ พร้ะภิกษุวััดิบุ้ญย่น่ ไดิ้ร้ับ้อาร้าธน่าน่ิมน่ตั้์มาร้ับ้บ้ิณีฑบ้าตั้ ฝั่ั�งแม่น่ำ�าน่่าน่ ที่างที่ิศัตั้ะวััน่ออกขึ้องวััดิบุ้ญย่น่ ใน่ขึ้ณีะน่ั�น่ ม่ ป็ ร้ะชื่าชื่น่ไดิ้ ม าอย่่ อ าศัั ย ป็ร้ะมาณี ๓๐ หล่ั ง เร้่ อ น่ พร้ะสุร้ิน่ที่ร้์ พร้้อมดิ้วัยป็ร้ะชื่น่ชื่น่ใน่ขึ้ณีะน่ั�น่ ไดิ้ร้่วัมกัน่ สร้้างศัาล่าขึ้้�น่ ๑ หล่ัง เพ่�อเป็็น่อาร้ามขึ้องสงฆ์์ แล่ะเพ่�อ ควัามสะดิวักใน่การ้ที่ำาบุ้ญ ที่่ตั้� งั� วััดิม่เน่่อ� ที่่ป็� ร้ะมาณี ๒ ไร้่เศัษ จุากน่ัน่� ก็ไดิ้ตั้งั� เป็็น่วััดิขึ้้น่� ม่ชื่อ่� เร้่ยกวั่า วัดัหล่ายน่าน ภายหล่ัง ที่างร้าชื่การ้เร้่ยกวั่า วัดัไหล่นา่ น ตั้่อมาพร้ะสุร้น่ิ ที่ร้์ ก็ไดิ้ร้บ้ั แตั้่งตั้ั�งเป็็น่เจุ้าอาวัาส ม่น่ามวั่า พระอธิกุารสุรินทร์ ไดิ้อย่่ โป็ร้ดิญาตั้ิโยม ป็ร้ะมาณี ๑๐ ป็ี ที่่าน่ก็ไดิ้มร้ณีภาพล่ง ตั้่อมาม่พร้ะศัร้่วัิชื่ัย เป็็น่เจุ้าอาวัาส เม่�อป็ี พ.ศั. ๒๔๒๑ พร้ะศัร้่วัิชื่ัย พร้้อมดิ้วัยคณีะศัร้ัที่ธาม่ควัามเห็น่วั่า สถัาน่ที่่� ตั้ั�งวััดิใน่ป็ัจุจุุบ้ัน่น่่� ถั่กแม่น่ำ�าน่่าน่กัดิเซึ่าะจุน่ตั้ล่ิ�งพัง เกร้งวั่า การ้ตั้ั�งวััดิตั้่อไป็ภายหน่้าจุะไม่มั�น่คง (ที่่�ป็ัจุจุุบ้ัน่ ค่อ ที่้าย หม่่บ้้าน่) จุ้งไดิ้ย้ายวััดิจุากที่างตั้อน่ใตั้้ มาตั้ั�งอย่่ใน่สถัาน่ที่่� ป็ัจุจุุบ้ัน่ ซึ่้�งม่เน่่�อที่่�กวั้างขึ้วัางมั�น่คง
๗. เจุ้าอธิการ้สน่ธิ ป็ุญฺฺญกาโม พ.ศั. ๒๔๘๙ - พ.ศั. ๒๕๐๒ ๘. พร้ะคร้่พิร้ิยสาร้คุณี (ป็ร้ะเสร้ิฐ ป็ญฺฺญาสาโร้) พ.ศั. ๒๕๐๒ - พ.ศั. ๒๕๓๘ ๙. พร้ะคร้่กิตั้ตั้ิธร้ร้มวัิสุที่ธิ� (ไชื่ยน่ิวััตั้ร้ กิตัฺ้ตั้ิสาโร้) พ.ศั. ๒๕๓๘ ถั้งป็ัจุจุุบ้ัน่ พระครูกุิตติธรรมวิสุทธิ� สถานะเดัิม ชื่่อ� ไชื่ยน่ิวัตั้ั ร้ (ไกร้) น่ามสกุล่ อิน่ตั้๊ะป็ะแสง มีถาวรวัตถุและอาคารเสนาสนะดัังนี� เกิดิเม่อ� วััน่อาที่ิตั้ย์ ตั้ร้งกับ้แร้ม ๙ คำ�า เดิ่อน่ ๒ ป็ีเถัาะ วััน่ที่่� ๒๕ ๑. พร้ะพุที่ธศัร้่วัชื่ิ ยั มุน่่ พร้ะป็ร้ะธาน่ สร้้าง พ.ศั. ๒๔๒๘ เดิ่ อ น่ มกร้าคมพ.ศั.๒๕๑๘ เป็็ น่ บุ้ ตั้ ร้ขึ้อง น่ายแก้ วั ๒. พร้ะสาร้่บุ้ตั้ร้ พร้ะโมคล่าน่ะ สร้้าง พ.ศั. ๒๔๙๓ น่างศัิร้ิ อิน่ตั้๊ะป็ะแสง ๓. พร้ะพุที่ธมาล่าศัร้ัที่ธามุน่่ สร้้าง พ.ศั. ๒๕๐๐ บรรพชา เม่อ� วััน่อังคาร้ ที่่� ๒๓ เดิ่อน่พฤษภาคม พ.ศั. ๔. พร้ะพุที่ธศัร้่สุญาณีดิารุ้โณีที่ัย สร้้าง พ.ศั. ๒๕๓๑ ๒๕๓๒ ป็ีมะเส็ง ณี วััดิน่าสา ๕. พร้ะพุที่ธคัมภ่ร้์ร้ัตั้น่มุน่่ สร้้าง พ.ศั. ๒๕๕๑ อุป็สมบท เม่อ� วััน่พฤหัสบ้ดิ่ ที่่� ๘ เดิ่อน่ มิถันุ่ ายน่ พ.ศั. ๖. บุ้ษบ้ก (ธร้ร้มมาศัเอก) สร้้าง พ.ศั. ๒๔๒๘ ๒๕๓๘ ป็ีกุน่ ณี วััดิน่าสา โดิยม่พร้ะคร้่พิร้ิยสาร้คุณี เจุ้าคณีะ ๗. ป็ร้ะตั้่แกะสล่ัก สร้้าง พ.ศั. ๒๔๒๘ ตั้ำาบ้ล่ไหล่่น่่าน่ วััดิไหล่่น่่าน่ เป็็น่พร้ะอุป็ัชื่ฌาย์ ๘. คัน่ที่วัยไม้แกะสล่ัก สร้้าง พ.ศั. ๒๕๒๘ ป็ัจ้จุ้บันดัำารงตำาแหน่ง ๙. อุโบ้สถั สร้้าง พ.ศั. ๒๕๑๓ ๑. เจุ้าอาวัาสวััดิไหล่่น่่าน่ ๑๐. หน่้าตั้่างอุโบ้สถั สร้้าง พ.ศั. ๒๕๒๒ ๒. ผู้่้อำาน่วัยการ้ ศัพ.อ.วััดิไหล่่น่่าน่ ๑๑. กุฏิิพิร้ิยะธร้ร้มมานุ่สร้ณี์ สร้้าง พ.ศั. ๒๕๔๐ ๓. เจุ้าคณีะตั้ำาบ้ล่ขึ้้�ง ๑๒. กุฏิิร้ับ้ร้องแน่บ้บุ้ญชื่่ สร้้าง พ.ศั. ๒๕๒๙ ๑๓. กุฏิิร้ับ้ร้อง สร้้าง พ.ศั. ๒๕๕๓ ๑๔. ศัาล่าบ้าตั้ร้ สร้้าง พ.ศั. ๒๔๘๑ ๑๕. ศัาล่าการ้เป็ร้่ยญ อาคารโลกุุตรป็ัญญา สร้้าง พ.ศั. ๒๕๔๖ ๑๖. หอกล่อง สร้้าง พ.ศั. ๒๕๔๗ ๑๗. กำาแพงวััดิ สร้้าง พ.ศั. ๒๕๔๔ ๑๘. หอฉััน่ สร้้าง พ.ศั. ๒๕๔๗ พระครูกิิตติธรรมวิิสุุทธิ� (ไชยนิิวิัตร กิิตฺติสุาโร) เจ้้าอาวิาสุวิัดไหล่่นิ่านิ ๑๙. สำาน่ักงาน่วััดิไหล่่น่่าน่, เจุ้าคณีะตั้ำาบ้ล่ขึ้้�ง สร้้าง พ.ศั. ๒๕๖๓ ลำาดัับเจ้้าอาวาส ๑. พร้ะอธิการ้สุร้ิน่ที่ร้์ (คร้่บ้าสุร้ิน่ที่ร้์) พ.ศั. ๒๔๑๑ - พ.ศั. ๒๔๒๑ ๒. พร้ะคร้่ธุร้การ้โกศัล่ (คร้่บ้าศัร้่วัิชื่ัย) พ.ศั. ๒๔๒๑ - พ.ศั. ๒๔๖๐ ๓. พร้ะอธิการ้ป็ิน่ใจุ ญาณีวัำโส พ.ศั. ๒๔๖๐ - พ.ศั. ๒๔๗๐ ๔. พร้ะอธิการ้ยาวัิชื่ัย วัิชื่โย พ.ศั. ๒๔๗๐ - พ.ศั. ๒๔๘๔ ๕. พร้ะอธิการ้สิที่ธิยศั ป็ญฺฺญาสาโร้ พ.ศั. ๒๔๘๔ - พ.ศั. ๒๔๘๖ ๖. พร้ะอธิการ้เสถั่ยร้ ถัิร้จุิตัฺ้โตั้ พ.ศั. ๒๔๘๖ - พ.ศั. ๒๔๘๙
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
131
132
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
พุุทธสถานลานปฏิิบััติิธรรม บั้านเมติติาธรรม ติำาบัลป่าคา อำำาเภอำท่าวัังผา จัังหวััดน่าน
Mettatham Nan
Pa Kha Subdistrict, Tha Wang Pha District, Nan Province ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
133
134
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
บ่่อเกลืือสิินเธาว์์ อำาเภอบ่่อเกลืือ จัังหว์ัดน่าน ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
135
ถ้ำำ��ผ�น�งคอย อำ�เภอร่้องกว�ง จัังหวัดแพร่่ 136
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
แพร่่ Phrae
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
137
วััดพระบาทมิ่่�งเมิ่ืองวัรวั่หาร ตำำาบลในเวัียง อำาเภอเมิ่ืองแพร่ จัังหวััดแพร่
Wat Phra Bat Ming Muang Worawihan Nai Wiang Subdistrict, Mueang Phrae District, Phrae Province
ความเป็็นมา วัดพระบาทม่ง� เมืองวรว่หาร ในฐานะพระอารามหลวง แห่งแรกของจัังหวัดแพร่ เป็็นวัดที่่�เก่าแก่ตั้ั�งอยู่่่ในใจักลางเมือง แพร่ อยู่่ใ่ กล้กบั ศาลหลักเมืองและคุ้้ม้ เจั้าหลวงเมืองแพร่ อายู่้นบั พันป็ี พร้อมๆกับการสร้างเมืองแพร่ และม่หลวงพ่อพระพ้ที่ธโกศัยู่ ศิรชัิ ยู่ั มหาศากยู่ม้น่ ซึ่่ง� เป็็นพระคุ้่บ่ า้ นคุ้่เ่ มืองแพร่ ป็ระดิษฐานอยู่่่ ในพระอ้โบสถ ซึ่่�งเกิดจัากการรวมวัดเก่าแก่ในเขตั้กำาแพงเมือง แพร่ จัำานวน ๒ วัด เข้าไว้ด้วยู่กันคุ้ือวัดพระบาที่ กับ วัดมิ�งเมือง (เมือ� ป็ีพที่้ ธศักราชั ๒๔๙๒)ซึ่่ง� ม่ป็ระวัตั้คุ้ิ วามเป็็นมาพอสังเขป็ดังน่� วัดพระบาทม่�งเมืองวรว่หาร พระอารามหลวง ในยู่้คุ้ แรกชัื�อ วัดพระพุทธบาท ตั้่อมาชัื�อวัดพระบาทแสงฟ้้า วัดไชย อารามพระบาท และส้ดที่้ายู่ชัื�อ วัดพระบาท (จัากบันที่่กของ เจั้าพิริยู่เที่พวงศ์ เจั้าผู้่้คุ้รองนคุ้รแพร่ที่่�กล่าวถ่งวัดไชัยู่อาราม พระบาที่) วัดพระบาที่มิ�งเมือง และส้ดที่้ายู่คุ้ือวัดพระบาท ม่�งเมืองวรว่หาร ถ้านับจัากหลักฐานที่างป็ระวัตั้ิศาสตั้ร์ที่่�พอ อ้างอิงได้ก็คุ้ือ
138
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ป็ระวัตั้คุ้ิ วามเป็็นมาของวัดนัน� ตั้ามตั้ำานานเล่าว่า สมัยู่คุ้รัง� พระพ้ที่ธกาลพระพ้ที่ธเจั้าได้เสด็จัโป็รดเวไนยู่สัตั้ว์ ได้ เ สด็ จั มายู่ั ง เมื อ งพลนคุ้รหรื อ ดอยู่โกสิ ยู่ ะและได้ ม า ป็ระที่ับพักพระอิริยู่าบถ ณ์ ป็ากถำา� พญานาคุ้ ซึ่่�งม่ลมออก จัากป็ากถำ�าแรงมาก จัากนั�นพระพ้ที่ธองคุ้์ได้เสด็จัป็ระที่ับ รอยู่พระพ้ที่ธบาที่ไว้ และถำ�าแห่งน่ม� โ่ พรงล่กเข้าไป็ถ่งพระ ธาตั้้ชั่อแฮ สถานที่่�ดังกล่าวก็คุ้ือ วัดพระพุทธบาท เพราะ ม่รอยู่พระพ้ที่ธบาที่ ๔ รอยู่ เป็็นสัญลักษณ์์ถง่ ที่้กวันน่� ป็ี พ.ศ. ๑๘๗๙ เมืองแพร หรือเมืองแพร่ ซึ่่�งเป็็น เมืองป็ระเที่ศราชัของกร้งส้โขที่ัยู่ สมเด็จัพระมหาธรรม ราชัาลิไที่ เมือ� คุ้รัง� เป็็นมหาอ้ป็ราชัได้เสด็จัข่น� มาสร้างและ บ่รณ์ะศาสนสถานในอาณ์าจัักรลานนาม่พระธาตั้้ชั่อแฮ พระธาตั้้จัอมแจั้ง วัดหลวงไชัยู่วงศ์ วัดพระบาทแสงฟ้้า พระนอนจั้ฑ์ามาศ (หนังสือป็ระวัตั้วิ ดั หลวง) เจั้ามหาอ้ป็ราชั จั่งได้สร้างพระวิหารคุ้รอบรอยู่พระพ้ที่ธบาที่ ๔ รอยู่ จัากนั�นป็ากถำ�าก็ป็ิดที่ันที่่ เมื�อนับอายู่้เฉพาะที่่�พระมหา อ้ป็ราชัเสด็จัมาบ่รณ์ะวัดในคุ้รัง� น่จั� ะได้ ๖๘๐ ป็ี (ในป็ี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๑๘๗๙ น่)� เมือ� รวมกับการสร้างวัดมาก่อนหน้าน่� ก็จัะได้อายู่้รวม ๑๐๐๐ กว่าป็ี เชั่นกับการฉลองเมืองแพร่ คุ้รบ ๑๑๘๘ ป็ี ป็ี พ.ศ. ๒๔๓๔ เจั้าหลวงพิริยู่เที่พวงศ์ ได้รับ พระราชัที่านสัญญาบัตั้รเป็็นพระยู่าพิรยู่ิ วิไชัยู่ เป็็นเจั้านคุ้ร เมืองแพร่ และโป็รดเกล้าฯ พระราชัที่านตั้รามงก้ฎ เคุ้รือ� ง ราชัอิสริยู่ยู่ศ พระยู่าพิรยู่ิ าวิไชัยู่ ได้ที่ำาบ้ญตั้ักบาตั้ร ถวายู่ ภัตั้ตั้าหารแด่พระสงฆ์พร้อมด้วยู่เจั้านายู่ บ้ตั้รหลาน ได้ อัญเชัิญพระบรมร่ป็เข้าไป็ในพระอ้โบสถวัดไชัยู่อาราม พระบาที่แล้ว ได้รับนำ�าพระพิพัฒน์สัจัจัาจัากพระบาที่ สมเด็ จั พระเจั้ า อยู่่่ หั ว แล้ ว อั ญ เชัิ ญ พระบรมร่ ป็ ตั้ั� ง ป็ระดิษฐานในหอส่งและได้โป็รยู่เงินเป็็นที่านแก่ราษฎร ชัายู่ - หญิง ๘๐๐ เฟู้�อง
ส่ ว นวั ด มิ� ง เมื อ ง เป็็ น วั ด ที่่� เจั้ า ผู้่้ คุ้ รองนคุ้รแพร่ เ ป็็ น ผู้่้ ส ร้ า ง ยู่้คุ้แรก ๆ เจั้าผู้่้คุ้รองนคุ้รจัะมาร่วมที่ำาบ้ญพร้อมกับราษฎร ตั้่อมาม่ราชักิจัมากที่ำาให้ไม่สะดวกจั่งป็ร่กษากับเจั้านายู่บ้ตั้ร หลาน ซึ่่ง� ม่มตั้ิให้สร้างวัดข่น� ใหม่ในสวนอ้ที่ยู่านของเจั้าผู้่คุ้้ รอง นคุ้รชัื�อ วัดสวนมิ�ง หรือ วัดสมมิ�ง หรือวัดมิ�งเมือง ตั้่อมาได้ สร้างพระเจัด่ยู่ม์ งิ� เมืองให้เป็็นสัญลักษณ์์วา่ เป็็นวัดที่่อ� ยู่่ใ่ จักลาง เมือง จัากนั�นได้ม่การสร้างหอธรรมและพระวิหารหลวงมิ�ง เมือง ซึ่่�งได้ม่การบ่รณ์ป็ฏิิสังขรณ์์ให้อยู่่่ในสภาพเดิมมาถ่งที่้ก วันน่� ป็ัจัจั้บนั พระวิหารหลวงมิง� เมืองได้ป็รับเป็็นพิพธิ ภัณ์ฑ์์พระ วิหารมิ�งเมือง ด้านป็ระวัติ่ศาสติร์ ท่�บันทึกไว้ม่ดังน่� ป็ี พ.ศ. ๒๓๘๓ สมัยู่คุ้ร่บามณ์่วรรณ์ เป็็นเจั้าอาวาส วัดมิ�งเมือง ได้สร้างธรรมมหาเวสสันดร ฉบับที่่าแป็้นหลวง ถวายู่ไว้กบั วัดมิง� เมือง (บันที่่กในไม้ป็นั จััก� ธรรมใบลานป็ัจัจั้บนั เก็บรักษาไว้ที่่�พิพิธภัณ์ฑ์์พระวิหารมิ�งเมือง) ป็ี พ.ศ. ๒๓๙๒ สมัยู่เจั้าหลวงพิมพิสาร (เจั้าหลวง ขาเคุ้) เป็็นเจั้าผู้่้คุ้รองนคุ้รแพร่ ได้บ่รณ์ป็ฏิิสังขรณ์์พระเจัด่ยู่์ มิ�งเมือง พระวิหารหลวงมิ�งเมือง หอธรรม และได้สร้างธรรม ใบลานไว้หลายู่ผู้่กถวายู่วัดมิ�งเมือง ป็ี พ.ศ. ๒๔๑๖ สมัยู่เจั้าพิริยู่เที่พวงศ์ เป็็นเจั้าผู้่้คุ้รอง นคุ้รแพร่ ม่พระชัายู่าชัื�อ แม่เจั้าบัวไหล ได้สร้างคุ้ัมภ่ร์ป็ักด้วยู่ ไหมดิ�นที่องเป็็นภาษาลานนา (ป็ั�บกรรมวาจัาจัารยู่์) ถวายู่ วัดมิง� เมือง ป็ัจัจั้บนั เก็บรักษาไว้ที่พ่� พิ ธิ ภัณ์ฑ์์พระวิหารมิง� เมือง ตั้ามตั้ำานานวัดหลวงได้กล่าวถ่ง การสร้าง พระพุทธ ม่�งเมือง ของ ที่้าวแม่นคุ้้ณ์ เจั้าเมืองแพร่ ในพ.ศ. ๒๐๒๙ ซึ่่�ง หมอบริกส์ (W.A. Brig gs,M.D.) ได้บันที่่กภาพพระป็ระธาน ของวัดมิ�งเมืองไว้ก่อนเหตั้้การณ์์เง่�ยู่วป็ล้นเมืองแพร่ ป็ี พ.ศ. ๒๔๔๕ ป็รากฏิในหนังสือชัื�อ (Laos Folk-Lore of Farther India) ซึ่่� ง ก็ คุ้ื อ พระป็ระธานในพระวิ ห ารมิ� ง เมื อ งของวั ด พระบาที่มิ�งเมืองวรวิหารในป็ัจัจั้บัน การรวมวัดพระบาท กับ วัดม่ง� เมือง เป็็นวัดพระบาทม่ง� เมือง ชั่วงป็ี พ.ศ. ๒๔๙๐ สมัยู่พระป็ริยู่ัตั้ิวงศาจัารยู่์ (ฟู่ อตัฺ้ตั้สิโว ป็.ธ.๖) เป็็นเจั้าอาวาสวัดพระบาที่ และเป็็นเจั้าคุ้ณ์ะ จัังหวัดแพร่ (ตั้่อมาคุ้ือพระอ้ป็าล่คุ้้ณ์่ป็มาจัารยู่์) และพระคุ้ร่ ธรรมสารส้จัิตั้ (ส้จั่ กตั้สาโร ป็.ธ.๓) เป็็นเจั้าอาวาสวัดมิ�งเมือง ซึ่่�งวัดที่ั�งสองอยู่่่ห่างกันเพ่ยู่งม่ตั้รอกคุ้ั�น เจั้าอาวาสที่ั�ง ๒ วัดได้ ป็ร่กษากับเจั้าตั้้น่ วังซึ่้ายู่ ซึ่่ง� เป็็นศรัที่ธาตั้้น (ศรัที่ธาเก๊า) ของวัด มิ�งเมืองว่า จัะจััดงานกิ�นสลากที่่ว� ัดมิ�งเมือง แตั้่วัดมิ�งเมืองคุ้ับ แคุ้บจั่งได้ตั้กลงที่่�จัะที่้บกำาแพงรวมวัดที่ั�งสองเข้าด้วยู่กันซึ่่�ง พระคุ้ร่ธรรมสารส้จัิตั้ ได้ที่ำาหนังสือถ่งอาจัารยู่์ลอื ไชัยู่ป็ระวัตั้ิ ขอนักเร่ยู่นโรงเร่ยู่นพิริยู่าลัยู่ มาชั่วยู่ที่้บกำาแพง ในป็ี พ.ศ. ๒๔๙๑ พระป็ริยู่ัตั้ิวงศาจัารยู่์ (ฟู่ อตัฺ้ตั้สิโว ป็.ธ.๖) ได้ที่ำาหนังสือขออน้ญาตั้สังฆมนตั้ร่ให้รวมวัดพระบาที่ กับวัดมิง� เมือง เป็็นวัดเด่ยู่วกันและตั้่อมากระที่รวงศ่กษาธิการ ได้ ป็ ระกาศรวมวั ดพระบาที่กั บ วั ดมิ� ง เมื องเข้ าด้ ว ยู่กั นเป็็ น วัดพระบาที่มิ�งเมือง ม่ฐานะเป็็นวัดราษฎร์ เมื�อวันที่่� ๓๑ พฤษภาคุ้ม พ.ศ. ๒๔๙๒
พระราชเขมากร ( ประยุุทธ ภููริทตฺฺโตฺ ) เจ้้าคณะจ้ังหวััดแพร่ / เจ้้าอาวัาสวััดพระบาทมิ�งเมืองวัรวัิหาร
เจ้้าอาวาสวัดพระบาทม่�งเมืองวรว่หาร รูป็ป็ัจ้จุ้บัน พระราชเขมากร (รศ.ดร.ป็ระยู่้ที่ธ ภ่รที่ิ ตัฺ้โตั้ ป็.ธ.๙) ป็ั จั จั้ บัน ดำา รงตั้ำา แหน่ ง เจั้ า คุ้ณ์ะจัั ง หวั ด แพร่ รองอธิ ก ารบด่ มหาวิที่ยู่าลัยู่มหาจั้ฬาลงกรณ์ราชัวิที่ยู่าลัยู่ วิที่ยู่าเขตั้แพร่ ผู้่ร้ บั ใบอน้ญาตั้ / ผู้่จั้ ดั การโรงเร่ยู่นพ้ที่ธโกศัยู่วิที่ยู่า ผู้่อ้ าำ นวยู่การ โรงเร่ยู่นพ้ที่ธศาสนาวันอาที่ิตั้ยู่์วัดพระบาที่มิ�งเมืองวรวิหาร เจั้าสำานักศาสนศ่กษาวัดพระบาที่มิ�งเมืองวรวิหาร เจั้าสำานัก ป็ฏิิบตั้ั ธิ รรมป็ระจัำาจัังหวัดแพร่ แห่งที่่� ๓ วัดพระบาที่มิง� เมือง วรวิหาร เจั้าสำานักเร่ยู่นคุ้ณ์ะจัังหวัดแพร่ ป็ระธานม่ลนิธิ คุ้ณ์ะสงฆ์จังั หวัดแพร่ ป็ระธานม่ลนิธมิ หาวิที่ยู่าลัยู่มหาจั้ฬาลง กรณ์ราชัวิที่ยู่าลัยู่ วิที่ยู่าเขตั้แพร่ ป็ระธานม่ลนิธิการศ่กษา มหาโพธิวงศาจัารยู่์ (ส้จั่ กตั้สารมหาเถร) ป็ระธานม่ลนิธหิ ลวง พ่อพ้ที่ธโกศัยู่ วัดพระบาที่มิง� เมืองวรวิหาร ป็ระธานอำานวยู่การ สร้างพ้ที่ธภ่มสิ ถานพระโพธิญาณ์ สำานักป็ฏิิบตั้ั ธิ รรมราชัเขมากร ผู้่องพรรณ์วนาราม (วัดป็่าพ้ที่ธภ่ม)ิ
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
139
140
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
141
วััดนาคููหา
ตำำาบลสวันเขื่่�อน อำาเภอเมื่องแพร่่ จัังหวััดแพร่่
Wat Nakuha
Suan Khuean Subdistrict, Mueang Phrae District, Phrae Province 142
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
พรัะเจุ้าต๋๋นหลวงวัดนาคูหา ความเป็็นมา วััดนาคููหา ตั้ัง� อยูู่ � ณ บ้้านนาคููหา หมูู่ที่� ่� ๕ ตั้ำาบ้ลสวันเขื่่อ� น อำาเภอเมู่่องแพร่� จัังหวััดแพร่� สังกััดคูณะสงฆ์์มู่หานิกัายู่ มู่่เน่อ� ที่่� ตั้ั�งวััด ๒ ไร่�เศษ เร่ิ�มู่สร่้างปร่ะมู่าณ พ.ศ. ๒๔๔๓ มู่่คูวัามู่เป็นมู่า จัากัคูำาบ้อกัเล�าขื่องพ�อเฒ่�าเมู่่อง ธร่ร่มู่จัิตั้ร่ (เล�าเมู่่�อ ๑๑ กั.คู. พ.ศ. ๒๕๔๔ ) มู่่ใจัคูวัามู่วั�า วัดนาคูหา น่� แตั้�เดิมู่ไมู่�มู่่วััด ที่�าน จัึงได้ชัักัชัวันพ�อหนานจัักัร่ ลาดไร่� และพ�อหนานอุด อิสุปิน ซึ่ึ�ง มู่่ที่่�นาอยูู่�ตั้ิดกััน ร่วัมู่กัันเส่ยู่สละที่่�นาคูนละส�วันสร่้างวััดขื่ึ�น เมู่่�อสร่้างวััดเสร่็จัได้ตั้ั�งชั่�อวั�า วัดนาผามอย กัาร่กั�อสร่้างได้ที่ำา แบ้บ้ง� า ยู่ ๆ พอเป็ น วัั ด เป็ น วัาเที่� า นั� น เพร่าะชัาวับ้้ า น ยู่ังมู่่น้อยู่ และได้นิมู่นตั้์พร่ะจัากัที่่�อ่�นมู่าอยูู่�เป็นกัาร่เร่ิ�มู่ตั้้น ตั้�อมู่าได้เปล่�ยู่นชั่�อวััดใหมู่�วั�า วัดนาคูหา
ถ้ำำ�าน้อย
พรัะธาตุ๋พรัะเขี้่�ยวแก้้ว
อุโบสถ้ำวัดนาคูหา
ต๋ัก้บาต๋รับนสะพานขี้ัวแต๋ะ
และจัากัหลั กั ฐานที่างวัั ตั้ ถุุ ที่่� ที่ างวัั ด นาคูู ห า พบ้เพ่ยู่งชัิ�นเด่ยู่วั คู่อ ก้้อนอิฐ ซึ่ึ�งเกั็บ้ได้เมู่่�อคูร่าวัร่่�อวัิหาร่ หลังที่่ � ๒ เมู่่�อปี พ.ศ. ๒๕๒๙ มู่่อักัษร่พ่�นเมู่่องปร่ากัฏอยูู่�บ้น กั้อนอิฐขื่้อคูวัามู่วั�า มูลศรััทธา สามเณรัหวันเป็๋นเก้้า ก้็ได้ ป็้น� มะดินก้่น� �่ ไว้ก้อ่ สรั้างวิหารัหลังท่� ๒ เดือน ๔ เป็็งป็้น� ป็ีสนั จุุลศัก้รัาชได้ ๑๒๗๔ ซึ่ึง� ตั้ร่งกัับ้ พ.ศ. ๒๔๕๕ จัากัหลักัฐานชัิน� น่ป� ร่ะกัอบ้กัับ้กัาร่ปร่ะมู่าณกัาร่ขื่องพ�อเฒ่�าเมู่่อง ธร่ร่มู่จัิตั้ ใกัล้ เคู่ยู่งกัับ้คูวัามู่เป็นจัร่ิงอยู่�างมู่ากั และวััดนาคููหาได้สร่้างขื่ึน� มู่า ปร่ะมู่าณ ๑๒๐ ปีแล้วัจันถุึงปัจัจัุบ้ัน (๒๕๖๓)
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
143
วััดสะแล่่ง
ตำำ�บล่ห้้วัยอ้้อ้ อ้ำ�เภอ้ล่อ้ง จัังห้วััดแพร่่
Wat Salaeng
Huai Or Subdistrict, Long District, Phrae Province
144
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา วััดสะแล่่ง ตั้ัง� อยู่่เ่ ล่ขที่่ � ๑๙/๑ บ้้านนาหล่วัง หมู่่ที่่ �่ ๔ ตั้ำาบ้ล่ห้วัยู่อ้อ อำาเภอล่อง จัังหวััดแพร่่ สังกััดคณะสงฆ์์ มู่หานิกัายู่ สิ�งกั่อสร่้างเสนาสนะปร่ะกัอบ้ด้วัยู่ อุโบ้สถ วัิหาร่ กัุฏิิสงฆ์์ ศาล่าอเนกัปร่ะสงค์ วััดสะแล่่ง เป็นวััดของพร่ะสงฆ์์ฝ่่ายู่อร่ัญญวัาส่ คำาวั่า สะแล่่ง เป็นชื่่�อของตั้้นดอกัไมู่้ป่าชื่นิดหน่�ง เป็นไมู่้ ยู่่นตั้้น มู่่ดอกัส่ขาวันวัล่ มู่่กัล่ิ�นหอมู่อ่อน ๆ ซึ่่�งเป็นตั้้นไมู่้ที่่� มู่่อยู่่่ในสถานที่่�แห่งน่� ตั้ามู่ตั้ำานานกัล่่าวัวั่า เมู่่�อพร่ะสัมู่มู่าสัมู่พุที่ธเจั้าเสด็จัมู่าปร่ะที่ับ้ ณ สถานที่่�แห่งน่� นางคำาฟุุ่่น นางคำาเฟุ่ยู่ มู่เหส่เจั้าเมู่่อง ได้ถวัายู่ดอกัสะแล่่งเป็นพุที่ธบ้่ชื่า วััดแห่งน่�จั่งได้ชื่่�อวั่า วัดสะแล่่ง ตั้ามู่ชื่่�อของดอกัไมู่้ วัันที่่ � ๓๐ ธันวัาคมู่ พ.ศ. ๒๕๒๙ ได้ร่บ้ั พร่ะร่าชื่ที่าน วัิสุงคามู่ส่มู่า วัันที่่� ๒๐ เมู่ษายู่น พ.ศ. ๒๕๓๒ พร่ะบ้าที่ สมู่เด็จัพร่ะบ้ร่มู่ชื่นกัาธิเบ้ศร่ มู่หาภ่มู่พิ ล่อดุล่ยู่เดชื่มู่หาร่าชื่ บ้ร่มู่นาถบ้พิตั้ร่ได้ที่ร่งพร่ะกัรุ่ณาโปร่ดเกัล่้าโปร่ดกัร่ะหมู่่อมู่
ให้ พร่ะบ้าที่สมู่เด็ จั พร่ะวัชื่ิ ร่ เกัล่้ า เจั้ า อยู่่่ หั วั ฯ เสด็ จั แที่น พร่ะองค์ที่ร่งตั้ัดหวัายู่ล่่กันิมู่ตั้ิ ผู่กัพัที่ธส่มู่าอุโบ้สถหล่ังปัจัจัุบ้นั ด้วัยู่ปร่ะวััตั้ตั้ิ ำานานของวััดสะแล่่งเกั่ยู่� วักัับ้ดอกัสะแล่่ง แล่ะชื่่�อ วัดสะแล่่ง มู่าแตั้่เดิมู่นับ้พันปีชื่าวับ้้านเร่่ยู่กัชื่่�อน่�ร่่้จักัั ชื่่�อน่�มู่านาน จั่งไมู่่ยู่อมู่เปล่่�ยู่นชื่่�อเป็นอยู่่างอ่�น แมู่้จัะตั้่อที่้ายู่ หร่่อตั้ัง� ชื่่อ� ใหมู่่ให้กับ้ั วััดวั่า วัดป็่าสุคนั ธธรรมาราม ซึ่่ง� กั็แปล่วั่า อาร่ามู่หร่่อวััดป่าที่่มู่� กั่ ล่ิน� หอมู่ขจัร่ขจัายู่ไปด้วัยู่ธร่ร่มู่ะ กั็ยู่งั คง มู่่คำาวั่า กัล่ิ�นหอมู่ อยู่่่ด่ แตั้่ชื่่�อที่่�ตั้ั�งตั้่อที่้ายู่น่� เป็นชื่่�อที่่�ไมู่่เป็น ที่างกัาร่ เหมู่่อนสวันโมู่กัขพล่าร่ามู่ของพร่ะอาจัาร่ยู่์พุที่ธที่าส หากัจัะเร่่ยู่กัอยู่่างเป็นที่างกัาร่กั็คอ่ วัดธารนำา� ไหล่ นามู่ วัดสะแล่่ง จั่งเป็นนามู่ที่่เ� ป็นมู่งคล่นามู่ด่แล่้วั เพร่าะมู่่ปร่ะวััตั้ตั้ิ ำานานกัล่่าวั ถ่ ง ภร่ิ ยู่ าของเจั้ า เมู่่ อ งล่องในอด่ ตั้ นำา ดอกัสะแล่่ ง ถวัายู่ พร่ะพุที่ธเจั้า
พระครูสีีลสีังวราภิิรัต เจ้้าคณะตำาบลห้้วยอ้้อ้ เขต ๒ / เจ้้าอ้าวาสีวัดสีะแล่ง
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
145
146
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
วััดพระธาตุุช่่อแฮ พระอารามหลวัง ตุำาบลป่่าคา อำาเภอท่่าวัังผา จัังหวััดน่่าน่
Wat Phra That Cho Hae Phra Aram Luang
Pa Daeng Subdistrict, Mueang Phrae District, Phrae Province
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
147
วััดป่่าเวัียงทอง
ตำำาบลเวัียงทอง อำาเภอสููงเม่่น จัังหวััดแพร่่
Wat Pa Wieng Thong
Wiang Thong Subdistrict, Sung Men District, Phrae Province
148
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา วััดป่่าเวัียงทอง เป่็นวััดป่่ากรรมฐาน ก่อตั้ั�งเม่�อ เด่ อ นพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มี ห ลวังตั้าธรรมดา (พระอธิการสุุทธินันท์ สุุทฺธิญาโณ) เป่็นผู้้�ก่อตั้ั�งวััด ได�เดิน ทางจาริกทีท� างภาคเหน่อเม่อ� ป่ลายป่ี พ.ศ. ๒๕๓๒ ดำาริจะ จำาพรรษาทีจ� งั หวััดแพร่ และพักทีป่� า่ ช้�าบ้�านเวัียงทอง หม้ท่ �ี ๓ ในขณะนัน� ทางคณะคร้จดั งานบ้วัช้สุามเณรภาคฤด้รอ� น ได�มี โอกาสุช้่วัยงานในครัง� นัน� เม่อ� เสุร็จงานญาตั้ิโยมได�ป่วัารณา เป่็ น โยมอุ ป่ั ฏ ฐาก หลวังตั้าจาริ ก ไป่ป่ฏิ บ้ั ตั้ิ ธ รรมที� ถ้ำำ�าจักรพรรดิ อำาเภอลอง จังหวััดแพร่ ได�มาจำาพรรษา ใช้� หม้บ้่ �านเวัียงทองใหม่ หม้่ที� ๙ เป่็นสุถ้ำานที�สุงบ้และเหมาะ ที�จะป่ฏิบ้ัตั้ิธรรมในครั�งนั�น ญาตั้ิโยมที�อุป่ัฏฐากทราบ้ จึง นิ ม นตั้์ ห ลวังตั้าให� จำา พรรษาตั้่ อ ในพรรษาแรกนั� น พบ้ อุป่สุรรคมากมาย และตั้ัดสุินใจสุร�างวััดเพ่�อจะเก่�อก้ล พระภิกษุ - สุามเณร ป่่วัยไข�ด�วัยเหตัุ้ป่ัจจัยทำาให�เกิดเป่็น สุำานักขึน� มาและจนได�เป่็นวััด และได�รบ้ั หนังสุ่ออนุญาตั้ให�
สุร�างวััดเม่�อเด่อนกันยายน พ.ศ. ๒๕๔๒ และได�รับ้ป่ระกาศ เป่็นวััดในพระพุทธศาสุนา เม่อ� วัันที � ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๓ และได� น ามวัั ด วั่ า วั ด ป็่ า เวี ย งทอง ตั้ามที� ท างกระทรวัง ศึกษาธิการตั้ั�งให� (เดิมวััดได�ขอเสุนอช้่�อ วััดป่่าแพร่นันทาราม) หลังจากนั�นทางวััดมีการก่อสุร�างกุฏิ และศาลามาตั้ามลำาดับ้ ได�รับ้อุป่ัฏฐากในการก่อสุร�างตั้ั�งแตั้่เริ�มแรก โดยมี โยมตั้าจ๋อย ทองคำา เป่็นผู้้�นำา และพร�อมด�วัยคณะญาตั้ิธรรมมาโดยตั้ลอด มิได�ขาด หลังจากนัน� ทางวััดป่่าเวัียงทอง ได�พฒ ั นาสุิง� ป่ล้กสุร�าง มีอุโบ้สุถ้ำป่่าธรรมช้าตั้ิ ศาลาหอฉััน หอสุวัดมนตั้์ กุฏิกรรมฐาน จำานวัน ๒๗ หลัง โรงครัวั ศาลาเอนกป่ระสุงค์ เมรุเผู้าศพ และ ขยายพ่�นที�อย่างตั้่อเน่�อง ตั้ามกำาลังศรัทธาของญาตั้ิธรรม วััดป่่าเวัียงทองขยายพ่น� ทีป่� ล้กป่่าเพ่อ� ควัามร่มร่น� และให�เหมาะ ที�จะเป่็นวััดป่่าและพ่�นที� ณ ป่ัจจุบ้ันนี� มีพ่�นที�ป่ระมาณ ๒๘ ไร่ และมีนโยบ้ายขยายที�ป่ล้กป่่า ให�เป่็นเสุนาสุนะป่่าที�ร่มเย็น อย่างตั้่อเน่�อง วััดป่่าเวัียงทอง ได�รับ้พระราช้ทานวัิสุุงคามสุีมา เม่�อ วัันที � ๒ มิถ้ำนุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๓ และก่อสุร�างอุโบ้สุถ้ำป่่าธรรมช้าตั้ิ เป่็นอุโบ้สุถ้ำใช้�ตั้�นไม�เป่็นหลังคาและเป่็นที�จัดป่ฏิบ้ัตั้ิธรรม เป่็น ลานธรรมและจัดงานกลางแจ�ง และกิจกรรมตั้่าง ๆ ของวััด และได�รบ้ั อุป่การะจากญาตั้ิธรรม ศิษยานุศษิ ย์ วััดป่่าเวัียงทอง และพุทธศาสุนิกช้นทั�วัไป่ ได�ถ้ำวัายผู้�าป่่า ทอดกฐินทุกป่ี ตั้ัง� แตั้่ เริ� ม สุร� า งวััดจนถ้ำึงป่ัจจุบ้ัน ญาตั้ิธรรมได�ทาำ นุบ้าำ รุงวััด และ เข�าป่ฏิบ้ตั้ั ธิ รรมอย่างตั้่อเน่�องด�วัยดีเสุมอมา วััดป่่าเวัียงทอง ได�รับ้แตั้่งตั้ั�งจากมหาเถ้ำรสุมาคม เป่็นสุำานักป่ฏิบ้ัตั้ิธรรมป่ระจำาจังหวััดแพร่แห่งที� ๑ (ธรรมยุตั้) เม่อ� ป่ี พ.ศ. ๒๕๕๐ เป่็นสุถ้ำานทีร� องรับ้ผู้้ป่� ฏิบ้ตั้ั ธิ รรมทัวั� ไป่และ มี ห น่ วั ยงานราช้การ เอกช้น ที� มี ค วัามป่ระสุงค์ นำา คณะ เจ�าหน�าที� พนักงาน เข�าร่วัมโครงการป่ฏิบ้ัตั้ิธรรมของวััดทุกป่ี และได�รับ้สุำานักป่ฏิบ้ัตั้ิป่ระจำาจังหวััดดีเด่นเม่�อป่ี พ.ศ. ๒๕๕๖ และทางวััดได�รบ้ั อนุญาตั้เป่็น ศููนย์เรีียนรีูส� มาธิิบำาำ บำัดแบำบำกาย ป็รีะสานจิิต SKT ของ รศ.ดร.สุมพร กันทรดุษฎีี เตั้รียมช้ัยศรี เพ่�อเป่็นสุถ้ำานที�เรียนร้�เร่�องสุุขภาพผู้สุมผู้สุานกับ้วัิป่ัสุสุนา กรรมฐาน เรียกวั่า วัิป่สุั สุนากรรมฐาน ป่ระสุานกายป่ระสุานจิตั้ และมีทมี เจ�าหน�าทีโ� รงพยาบ้าลแพร่ และทีมข�าราช้การบ้ำานาญ มาร่วัมเป่็นจิตั้อาสุา เป่็นคร้พอกบุ้ญป่ระจำาศ้นย์ฯ มีผู้้�สุนใจ
เร่อ� งสุุขภาพมาใช้�บ้ริการทัง� ในสุถ้ำานที � และนอกสุถ้ำานทีอ� ย่าง ตั้่ อ เน่� อ ง วัั ด ป่่ า เวัี ย งทองมี เจ� า อาวัาสุมาแล� วั ๒ ร้ ป่ ค่ อ หลวังตั้าธรรมดา (พระมหาสุุทธินันท์ สุุทธิญาโณ) เป่็นเจ�า อาวัาสุร้ป่แรก และพระคร้ภาวันาป่ัญญาคุณ วัิ. เจ�าคณะ อำาเภอจังหวััดแพร่ (ธรรมยุตั้) เป่็นเจ�าอาวัาสุร้ป่ป่ัจจุบ้ัน
หลวงตาธรรมดา
พระครูภาวนาปััญญาคุณ เจั้าคณะอำาเภอจัังหวััดแพร่่ (ธ) / เจ้้าอาวาสวัดปั่าเวียงทอง
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
149
วััดร่่องฟอง สัันนิฐานวั่าสัร่้างขึ้้�นเมื่่�อปร่ะมื่าณปี พ.ศ. ๒๓๙๐ โดยก่่อนปี พ.ศ. ๒๓๙๐ มื่ีก่าร่ตั้ัง� หมื่่บ้่ า้ นคร่ัง� แร่ก่ทางทิศตั้ะวัันตั้ก่ขึ้องหมื่่บ้่ า้ นปัจจุบ้นั ค่อ บ้ร่ิเวัณ ถนนใหญ่่สัายยันตั้ร่ก่ิจโก่ศลแพร่่ - น่าน (สัี�แยก่ร่่องฟองในปัจจุบ้ัน) วััดร่่องฟองจ้งเก่ิดขึ้้น� เมื่่อ� ปี พ.ศ. ๒๔๐๖ ซึ่้ง� จาก่หลัก่ฐานทีค� น้ พบ้ในคัมื่ภีีร่์ ใบ้ลานขึ้องวััดร่่องฟอง จุลศัก่ร่าช ๑๒๐๘ มื่ีก่าร่ก่ล่าวัถ้งช่อ� วััดทีมื่� สัี ร่้อยนามื่ตั้่างก่ันไป เช่น วััดสัร่ีปงุ ร่่องฟองนำ�านองไหล วััดร่่องฟองดงสังัดตั้ัน� วััดร่่องฟองแก่้วัก่วั้างท่าท้าง ถนนหลวัง และช่�อสัร่้อยนามื่อีก่หลายแบ้บ้ 150
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
วััดร่่องฟอง
ตำำ�บลร่่องฟอง อำ�เภอเมืืองแพร่่ จัังหวััดแพร่่
Wat Rong Fong
Rong Fong Subdistrict, Mueang Phrae District, Phrae Province
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
151
152
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
วััดพระธาตุุดอยเล็็ง
ตุำาบล็ช่่อแฮ อำาเภอเมืืองแพร่ จัังหวััดแพร่
Wat Phra That Doi Leng
Cho Hae Subdistrict, Mueang Phrae District, Phrae Province
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
153
154
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
วนอุุทยานแพะเมืือุงผีี อุำาเภอุเมืือุงแพร่่ จัังหวัดแพร่่ ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
155
ลำำLampang �ป�ง
156
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
วััดเฉลำิมพระเกีียรติิพระจอมเกีลำ้�ร�ช�นุุสรณ์์ อำ�เภอแจ่ห่่ม จังห่วััดลำำ�ป�ง ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
157
๙ ทำำ�บุุญไหว้้พระ
ว้ัด
สุำานัก้ปฎิิบััต้ิธรรมสุุสุานไต้รลััก้ษณ์์ หลัวังพ่อเก้ษมเขมโก้
เมืืองลำำ�ป�ง วััดปงสุนุก้
ปัักหมุุดเมุืองไทย เส้้นทางบุุญ เส้้นทางธรรมุ แนะนำาส้ถานท่�ส้ำาคััญทางศาส้นาจัังหวััดลำำาปัาง กราบุส้ักการะบุูชา วััด 9 วััด เมุืองเหนือ เพื่ื�อคัวัามุ เปั็นส้ิริมุงคัลำ อิ�มุบุุญ อิ�มุใจั แลำะเปั็นการอนุรักษ์์ วััฒนธรรมุคังไวั้เพื่ื�อคัวัามุด่งามุ คัู�บุ้าน คัู�เมุืองไทย ตลำอดไปั
158
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
วััดศรีชุม
วััดศรีรองเมือง
วััดพระเจดีย์์ซาวัหลััง พระอารามหลัวัง
วััดพระแก้้วัดอนเต้้าสุุชาดาราม พระอารามหลัวัง
วััดจองคำำา พระอารามหลัวัง
วััดสุวันดอก้
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ 159 วััดพระธาตุ้ ลัำาปางหลัวัง
วััดพระแก้้วัดอนเต้้าสุุชาดาราม พระอารามหลวัง ต้ำาบลเวัียงเหนือ อำาเภอเมืองลำาปาง จัังหวััดลำาปาง
Wat Phra Kaew Don Tao Suchadaram Phra Aram Luang Wiang Nuea Subdistrict, Mueang Lampang District, Lampang Province
160
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา วัดพระแก้้วดอนเต้้า หรืือ วัดพระแก้้วดอนเต้้า สุุชาดาราม ตั้้�งอยู่่�ที่่�ตั้ําบลเวี่ยู่งเหนืือ อําเภอเมืืองลําปาง จั้งหวี้ดลําปาง วี้ดพรืะแก้้วีดอนืเตั้้าเป็นืวี้ดที่่�เก้�าแก้�และ สวียู่งามื มื่อายูุ่นืบ้ พ้นืปี เคยเป็็นที่่ป็� ระดิษฐาน พระพุที่ธ มหามณี่รัต้นป็ฏิิมาก้ร (พระแก้้วมรก้ต้) ต้ั�งแต้่ป็ี พ.ศ. ๑๙๗๙ เป็็นเวลานานถึึง ๓๒ ป็ี เนืื�องจัาก้เมืื�อปี พ.ศ. ๑๙๗๙ พรืะเจั้าสามืฝั่่�งแก้นืเจั้าเมืืองเชี่ยู่งใหมื�ที่รืงจั้ด ขบวีนืแห�เพื�อรื้บพรืะแก้้วีมืรืก้ตั้จัาก้เชี่ยู่งรืายู่ไปเชี่ยู่งใหมื� แตั้�เมืือ� ขบวีนืแห�มืาถึึงที่างแยู่ก้ที่่จั� ะไปนืครืลําปาง ชี้างที่่รื� บ้ เสด็จัพรืะแก้้วีมืรืก้ตั้วี่ง� ตั้ืนื� ไปที่างเมืืองลําปาง แมื้หมือควีาญ จัะข่� เข็ ญเล้ าโลมืปรืะก้ารืใดก้็ ไมื� ยู่ อมืไปที่างเชี่ ยู่ งใหมื� ในืที่่ส� ดุ พรืะเจั้าสามืฝั่่ง� แก้นืก้็ตั้อ้ งยู่อมืให้อญ ้ เชี่ญพรืะแก้้วี มืรืก้ตั้ปรืะด่ษฐานืไวี้ ณ วี้ดพรืะแก้้วีดอนืเตั้้า เป็นืเวีลา ๓๒ ปี ครื้�นืลุ พ.ศ. ๒๐๑๑ พรืะเจั้าตั้่โลก้รืาชี เจั้าผู้่้ครืองนืครื เชี่ยู่งใหมื� จัึงได้อ้ญเชี่ญพรืะแก้้วีมืรืก้ตั้ไปปรืะด่ษฐานืที่่� เชี่ยู่งใหมื�
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
161
เหตัุ้ที่่�วี้ดนื่�ได้ชีื�อวี�า วี้ดพรืะแก้้วีดอนืเตั้้า มื่ตั้ํานืานื ก้ล�าวีวี�า นืางสุชีาดาได้พบแก้้วีมืรืก้ตั้ในืแตั้งโมื (ภาษาเหนืือ เรื่ยู่ก้วี�า หมืาก้เตั้้า) และนืํามืาถึวีายู่พรืะเถึรืะ ที่�านืจัึงจั้างชี�าง ให้นืาํ มืรืก้ตั้ไปแก้ะสล้ก้เป็นืพรืะพุที่ธรื่ป ซึ่ึง� ก้็คอื พระแก้้วดอนเต้้า ตั้�อมืาได้รืบ้ ก้ารือ้ญเชี่ญไปปรืะด่ษฐานืที่่วี� ด้ พรืะธาตัุ้ลาํ ปางหลวีง สาเหตัุ้ จั าก้ตั้ํา นืานืบอก้วี� า มื่ ผู้่้ ไ ปฟ้้ อ งเจั้ า เมืื อ งลํา ปางในื ขณะนื้นื� วี�า พรืะเถึรืะและนืางสุชีาดาเป็นืชี่ก้้ นื้ เจั้าเมืืองลําปาง จัึงให้จั้บนืางสุชีาดาไปปรืะหารืชี่วี่ตั้ ส�วีนืพรืะเถึรืะองค์นื้�นื ที่รืาบข�าวีก้็ได้อ้ญเชี่ญพรืะพุที่ธรื่ปหนื่ไป โดยู่ได้นืําไปฝั่าก้ไวี้ที่่� วี้ดพรืะธาตัุ้ลําปางหลวีง จันืถึึงป่จัจัุบนื้ ส�วีนืสถึานืที่่ตั้� ง้� บ้านืของ นืางสุ ชี าดาก้็ ไ ด้ มื่ ผู้่้ มื่ จั่ ตั้ ศรื้ ที่ ธาในืคุ ณ งามืควีามืด่ ข องนืาง บรื่จัาคเง่นืสรื้างวี้ดขึ�นืชีื�อ วัดสุุชาดาราม แตั้�บางส้นืนื่ษฐานื บอก้วี�า เนืือ� งจัาก้วี้ดพรืะแก้้วีดอนืเตั้้าและวี้ดสุชีาดารืามืรื้างลง แตั้�ก้มื็ ก้่ ารืส้นืนื่ษฐานืเพ่มื� วี�า นื�าจัะเป็นืเพรืาะยู่�านืนื่เ� ป็นืสวีนืหมืาก้เตั้้า และเป็นืที่่�ดอนื จัึงตั้้�งชีื�อพรืะธาตัุ้วี�า พระบรมธาตุ้ดอนเต้้า และชีือ� วี้ดวี�า วัดพระธาตุ้ดอนเต้้า ตั้�อมืาเมืือ� มื่ก้ารืปรืะด่ษฐานื พรืะแก้้วีดอนืเตั้้า จัึงเปล่�ยู่นืชีื�อเป็นื วัดพระแก้้วดอนเต้้า วัดสุุชาดาราม สรื้างขึนื� รืาวีปี พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๓๕๒ เมืือ� ครื้ง� ชีาวีเชี่ยู่งแสนืถึ่ก้ก้วีาดตั้้อนืมืาตั้้ง� ชีุมืชีนืในืเมืืองเขลางค์ เพื�อรืะลึก้ถึึงคุณงามืควีามืด่ของนืางสุชีาดาหล้งจัาก้ได้รื้บ โที่ษปรืะหารืชี่วี่ตั้ ด้วียู่ควีามืเข้าใจัผู้่ดและมืาปรืาก้ฎควีามืจัรื่ง ในืภายู่หล้ง เชีือ� ก้้นืวี�าที่่ตั้� ง้� ของวี้ดแห�งนื่� คือ บ้านืและไรื�แตั้งโมื ของเจั้าแมื�สุชีาดาในือด่ตั้ ตั้�อมืาเมืื�อวี้นืที่่� ๖ ส่งหาคมื พ.ศ. ๒๕๒๗ ก้รืะที่รืวีงศึก้ษาธ่ก้ารืได้ดําเนื่นืก้ารืรืวีมืวี้ดสุชีาดารืามื เข้าก้้บวี้ดพรืะแก้้วีดอนืเตั้้า และเรื่ยู่ก้วี้ดแห�งนื่�วี�า วัดพระแก้้ว ดอนเต้้าสุุชาดาราม อุโบสถึวี้ดสุชีาดารืามืเป็นืสถึาป่ตั้ยู่ก้รืรืมืแบบพืนื� เมืือง ฝั่ีมืือชี�างเชี่ยู่งแสนื มื่ล้ก้ษณะเป็นือาคารืก้�ออ่ฐถึือป่นื ปรืะด้บ ด้ วี ยู่ภาพจั่ ตั้ รืก้รืรืมืลายู่ไที่ยู่ลงรื้ ก้ ปิ ด ที่อง ภายู่ในืเป็ นื ที่่� ปรืะด่ษฐานืพรืะพุที่ธรื่ปปางมืารืวี่ชียู่้ บนืฐานืชีุก้ชี่ อุโบสถึแห�งนื่� ได้ที่ําก้ารืบ่รืณะเมืื�อปี พ.ศ. ๒๔๖๕ ปี พ.ศ. ๒๕๐๓ และ ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ เนืื�องในืโอก้าสฉลองศ่รื่รืาชีสมืบ้ตั้่ครืบ ๖๐ ปี 162
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
พระจิินดารัตนาภรณ์์ เจิ้าคณ์ะจิังหวััดลำำาปาง เจิ้าอาวัาสวััดพระแก้้วัดอนเต้าสุชาดาราม พระอารามหลำวัง
ก้ารืเด่นืที่างไปยู่้งวี้ดพรืะแก้้วีดอนืเตั้้าตั้้องข้ามืสะพานื รื้ ชี ฎาภ่ เ ษก้ แล้ วี เล่� ยู่ วีขวีาไปตั้ามืถึนืนืพรืะแก้้ วี รืะยู่ะที่าง ปรืะมืาณ ๑ ก้่โลเมืตั้รื จัะเห็นืองค์พรืะธาตัุ้ตั้้�งเด�นือยู่่�บนืเนื่นื วี้ดพรืะแก้้วีดอนืเตั้้า เป็นืที่่�ตั้้�งของพรืะบรืมืธาตัุ้ดอนืเตั้้าซึ่ึ�งเป็นื พรืะเจัด่ยู่์องค์ใหญ� ป็ูชน่ยสุถึานที่่สุ� ําคัญในวัดพระแก้้วดอนเต้้า ๑. พรืะเจัด่ ยู่์ อ งค์ ใ หญ� บรืรืจัุ พ รืะเก้ศาธาตัุ้ ข อง พรืะพุที่ธเจั้า ๒. มืณฑปศ่ลปะพมื�า ล้ก้ษณะงดงามื ปรืะด่ษฐานื พรืะพุที่ธรื่ปองค์ใหญ� ๓. วี่หารืปรืะด่ษฐานืพรืะพุที่ธไสยู่าสนื์ มื่อายูุ่เก้�าพอ ๆ ก้้บวี้ดนื่� ๔. วี่หารืหลวีง ๕. พ่พธ่ ภ้ณฑสถึานืแห�งล้านืนืา ๖. วี่หารืพรืะเจั้าที่องที่่พยู่์
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
163
วััดจองคำำ� พระอ�ร�มหลวัง ตำำ�บลบ้�นหวัด อำ�เภอง�วั จังหวััดลำ�ป�ง
Wat Chong Kham Phra Aram Luang Ban Huat Subdistrict, Ngao District, Lampang Province
164
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา ตามหลัักฐานที่่�ปรากฏ วัดจองคํา สร้างขึ้้�นเม่�อ ราวปี พ.ศ. ๒๔๔๖ ซึ่้ง� เป็นสมัยขึ้องเจ้้าบุุญวาที่ย์ วงษ์์มานิต เจ้้ าผู้้้ ปกครองนครลัํ าปางองค์ สุด ที่้ าย โดยกลัุ�ม คหบุด่ ชาวไที่ยใหญ�ที่ที่�่ าํ งานใน บุริษ์ที่ั บุอมเบุย์ พราซึ่�า (Bombay Prasa Company) ซึ่้�งเป็นบุริษ์ัที่ขึ้องชาวอังกฤษ์ที่่�เขึ้้ามา รับุสัมปที่านที่ําป่าไม้ในเขึ้ตอําเภองาว ซึ่้�งเป็นแหลั�งที่่�ม่ ไม้สกั ที่องที่่�อุดมสมบุ้รณ์์แห�งหน้�งขึ้องภาคเหน่อ พวกเขึ้า เกิดศรัที่ธาร�วมกันสร้างวัดขึ้้�นเพ่�อเป็นสถานที่่�ที่ําบุุญแลัะ ย้ดเหน่�ยวจ้ิตใจ้ แลัะตั�งช่�อว�า วัดจองคํา จ้ากนั�นได้กราบุ อาราธนา พระนันโท เป็นเจ้้าอาวาสร้ปแรก ความหมายของชื่่�อวัด คําว�า จองคํา เป็นภาษ์าไที่ยใหญ�มาจ้ากคําสองคํา ค่อ คําว�า จ้อง แปลัว�า วัด, วิหาร, อาราม แลัะคําว�า คํา แปลัว� า ที่อง เม่� อ รวมกั น จ้้ ง แปลัว� า วั ด ที่องคํ า
ซึ่้ง� ม่ความหมายว�า วัดที่่ส� ง�างามรุง� เร่องดุจ้ที่องคํา แลัะผู้้ส้ ร้างเป็น ผู้้้ มั� ง คั� ง รํ�า รวย ม่ ศ รั ที่ ธาอย� า งแรงกลั้ า ในพระพุ ที่ ธศาสนา เปร่ยบุเหม่อนที่องคํา เพราะไม�ว�าจ้ะผู้�านกาลัเวลัาไปนานเที่�าไร ก็ยังคงฉายรัศม่แวววาวดังเดิม ย้ายท่�ตั้ั�งวัด เน่� อ งจ้ากบุริ เ วณ์ที่่� ตั� ง เดิ ม ขึ้องวั ด ประสบุปั ญ หา ขึ้าดแคลันนํ�า เพ่� อ อุ ป โภคบุริ โ ภค ดั ง นั� น ในปี พ.ศ. ๒๔๔๘ โดยการนํ า ขึ้องพ� อ เลั่� ย งพะกะหม� อ ง หมอกเร่ อ งใส แลัะ พ�อเลั่�ยงญาณ์ะ มาลัาโยง พร้อมด้วยคณ์ะกรรมการวัดแลัะ ผู้้ม้ จ้่ ติ ศรัที่ธาได้ประชุมตกลังย้ายวัดลังมาสร้างใหม� ณ์ บุริเวณ์ใกลั้ ที่่ต� ง�ั โรงพยาบุาลัส�งเสริมสุขึ้ภาพประจ้ําตําบุลับุ้านหวดในปัจ้จุ้บุนั ยุครุ�งเร่อง เม่�อปี พ.ศ. ๒๔๗๒ พ�อเลั่�ยงพะกะหม�อง หมอกเร่องใส แลัะพ�อเลั่ย� งญาณ์ะ มาลัาโยง พร้อมด้วยประชาชนผู้้ม้ จ้่ ติ ศรัที่ธา ร�วมกันสร้างพระวิหารหลัังใหญ�ศิลัปะแบุบุลั้านนา ม่มุขึ้แลัะ ปราสาที่ ๕ หลััง สร้างด้วยไม้สักที่องที่ั�งหลััง ใช้เวลัาในการ ก� อ สร้ า งประมาณ์ ๓ ปี แลัะได้ จ้ั ด งานฉลัองพระวิ ห ารใน ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ในช�วงเวลัาที่่ก� าํ ลัังก�อสร้างพระวิหารอย้น� น�ั พระนันโที่ เจ้้าอาวาสร้ปที่่� ๑ ได้ลัาสิกขึ้าไป หลัังจ้ากสร้างพระวิหารจ้นแลั้วเสร็จ้ คณ์ะศรั ที่ ธาจ้้ ง ได้ ก ราบุอาราธนา พระเญยยธั ม โม มาเป็ น เจ้้าอาวาสร้ปที่่� ๒ แต�หลัังจ้ากพระเญยยธัมโม ดํารงตําแหน�ง เจ้้าอาวาสอย้ป� เี ศษ์ก็มรณ์ภาพลัง ต�อมาในปี พ.ศ. ๒๔๗๖ พ�อเลั่ย� ง พรหมมินที่ร์ กาญจ้นวงศ์ พร้อมด้วยพ�อเลั่ย� งองค์ไก� กาญจ้นวงศ์ บุุตรชาย ได้สร้างพระพุที่ธเจ้ด่ย์ถวาย
พระเทพปริยััติิมงคล เจ้้าอาวาสวัดจ้องคำา / ท่�ปรึกษาเจ้้าคณะภาค ๖
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
165
ม่เจ้ด่ย์องค์ใหญ�อย้�ตรงกลัางฐาน แลัะเจ้ด่ย์องค์เลั็ก ๔ องค์ อย้�ตามที่ิศที่ั�ง ๔ มุม ใช้เวลัาในการก�อสร้างประมาณ์ ๒ ปี แลัะได้จ้ัดงานฉลัองในปี พ.ศ. ๒๔๗๘ โดยยกยอดฉัตร เจ้ด่ย์ที่ั�ง ๕ องค์ ต�อมาในปี พ.ศ. ๒๔๘๐ พ�อเลั่�ยงองค์ไก� กาญจ้นวงศ์ ได้สร้างศาลัาการเปร่ยญถวาย ๑ หลััง แลัะในปี เด่ยวกันนัน� พระเญยยธัมโม เจ้้าอาวาสร้ปที่่� ๒ ก็มรณ์ภาพลัง หลัังจ้ากนัน� คณ์ะกรรมการวัดแลัะที่ายกที่ายิกาจ้้งได้อาราธนา พระคันธมา มาเป็นเจ้้าอาวาสร้ปที่่� ๓ ยุคทรุดโทรม ปี พ.ศ. ๒๕๑๗ นับุเป็นปีสําคัญในประวัติศาสตร์ ขึ้องวัด เพราะพระวิหารหลัังใหญ�ขึ้องวัดได้ถก้ ย้ายไปปลั้กสร้าง ที่่�เม่องโบุราณ์สมุที่รปราการ แลัะต�อมาไม�นาน พระคันธมา เจ้้าอาวาสก็ได้มรณ์ภาพลัง
166
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
หลัังจ้ากนั�นไม�ม่พระภิกษ์ุมาอย้�จ้ําพรรษ์าถาวร ม่แต�พระภิกษ์ุ มาพํานักอย้�เป็นครั�งคราว ที่ําให้เสนาสนะภายในวัดขึ้าดการ ด้แลัรักษ์าแลัะที่รุดโที่รมลังตามลัําดับุ ยุคพัฒนา ปี พ.ศ. ๒๕๒๔ คุณ์เจ้้าภาพ เม่องพระ พร้อมด้วยคณ์ะ กรรมการวัด แลัะที่ายกที่ายิกา ได้กราบุอาราธนาพระเดชพระคุณ์ หลัวงป้พ่ ระเที่พปริยตั มิ งคลั สมัยที่่ย� งั เป็นคร้บุาโอภาส โอภาโส มาอย้� จ้ํ า พรรษ์า เม่� อ พระเดชพระคุ ณ์ หลัวงป้่ รั บุ นิ ม นต์ ม า จ้ําพรรษ์าที่่�วัดจ้องคําซึ่้�งม่สภาพเป็นวัดร้าง ในขึ้ณ์ะนั�นวัดม่ เน่�อที่่�เพ่ยง ๓ ไร� สภาพรกร้างม่แต�ตอไม้แลัะหญ้าขึ้้�นปกคลัุม บุริเวณ์พ่น� ที่่� สิง� ปลั้กสร้างเดิมม่สภาพปรักหักพัง ยกเว้นพระพุที่ธร้ป สมัยเช่ยงแสน แลัะสมัยสุโขึ้ที่ัยที่่ป� ระดิษ์ฐานงดงามอย้ด� ว้ ยสภาพ เช�นนั�นจ้้งยากที่่�จ้ะมาจ้ําพรรษ์าอย้�
แต� ด้ ว ยศรั ที่ ธาอั น แรงกลั้ า แลัะความมุ� ง มั� น ในการส่ บุ ที่อด อายุพระพุที่ธศาสนา พระเดชพระคุณ์หลัวงป้่จ้้งได้ลังม่อแผู้้วถาง พ่�นที่่�โดยรอบุ แลัะเริ�มบุ้รณ์ปฏิสังขึ้รณ์์เจ้ด่ย์ขึ้้�นก�อน ซึ่้�งเปร่ยบุ เหม่อนหลัักชัยขึ้องพระพุที่ธศาสนา ด้านภููมิศาสตั้ร์และสภูาพแวดล้อม วัดจ้องคํา พระอารามหลัวง ตั�งอย้�เลัขึ้ที่่� ๒๒๑ หม้�ที่่� ๒ ถนนพหลัโยธิน (สายเอเช่ย) ตําบุลับุ้านหวด อําเภองาว จ้ังหวัดลัําปาง ปัจ้จุ้บุันม่สถานะเป็นพระอารามหลัวง สังกัดคณ์ะสงฆ์์มหานิกาย ได้รับุพระราชที่านวิสุงคามส่มา เม่�อวันที่่� ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๐ ม่เน่�อที่่�ประมาณ์ ๓๐๐ ไร� แบุ�งออกเป็น ๓ แปลัง ค่อ แป็ลงท่� ๑ เป็นร้ป ๑๐ เหลั่�ยม เป็นที่่�ตั�งขึ้องพระเจ้ด่ย์ สิที่ธิชัยมงคลั พระอุโบุสถศาสนวิบุ้ลัการ่ พระวิหารชัยภ้มิ ศาลัาการเปร่ยญ (นํ�าใจ้โสภณ์ เมตตานุการ่) หอสมุดอาที่รปชากิจ้ แลัะ กุฏิสงฆ์์ต�าง ๆ แป็ลงท่� ๒ เป็นร้ป ๖ เหลั่�ยม เป็นที่่�ต�ังขึ้องศาลัาการเปร่ ย ญนพมุ ต ตมานุ ส รณ์์ ป ริ ยั ติ สุ น ที่รรั ง สฤษ์ฎ่ โรงเร่ ย น พระปริ ยั ติ ธ รรมสาสนปชานุ ส นธิ� อาคารเร่ ย นเพิ� ม เติ ม กุฏิปริยัติรังส่ แลัะบุ�อนํ�าบุาดาลั แป็ลงท่� ๓ เป็นร้ป ๑๐ เหลั่�ยม เป็นที่่�ตั�งขึ้องพระมหา เจ้ด่ยพ์ ทีุ่ ธคยา พระวิหารสมเด็จ้พระมหารัชมังคลัาจ้ารย์ แลัะบุ�อนํา� บุาดาลั เน่อ� ที่่ขึ้� องวัดม่ลักั ษ์ณ์ะเป็นที่่ร� าบุสลัับุเนินเขึ้า เน่อ� งจ้ากม่ ภ้เขึ้าลั้อมรอบุจ้้งม่ลัักษ์ณ์ะเป็นแอ�งกระที่ะ ม่ลัําห้วยธรรมชาติก�นั ที่่�ดินที่ั�ง ๓ แปลัง เน่�องจ้ากญาติโยมได้ถวายที่่�ดินเพิ�มเติม ในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ แลัะในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ที่างวัดได้รับุถวายที่่�ดินแปลัง ที่่� ๒ เพ่�อสร้างโรงเร่ยนพระปริยัติธรรมสาสนปชานุสนธิ�
ต�อมาในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ม่ผู้้ม่จ้ิตศรัที่ธาถวายที่่�ดิน เพิม� เติมบุริเวณ์ด้านที่ิศตะวันตกอ่ก ดังนัน� อาณ์าเขึ้ตขึ้องวัดจ้อง คําแห�งน่จ้� ง้ ขึ้ยายกว้างออกไปดังที่่ป� รากฏในปัจ้จุ้บุนั น่� อาณาเขตั้ ที่ิศเหน่อ ติดสถาน่อนามัยตําบุลับุ้านหวด แลัะที่่�ดินขึ้องเอกชน ที่ิศใต้ ติดที่่ด� ินขึ้องเอกชน ที่ิศตะวันออก ติดถนนพลัโยธิน (สายเอเช่ย) ที่ิศตะวันตก ติ ด ที่่� ดิ น ขึ้องเอกชนแลัะที่าง สาธารณ์ประโยชน์ ลําดับเจ้าอาวาส ๑. พระนันโที่ พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๔๗๔ ๒. พระเญยยธัมโม พ.ศ. ๒๕๗๕ - ๒๔๗๙ ๓. พระคันธมา พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๑๗ ๔. พระเที่พปริยัติมงคลั พ.ศ. ๒๕๒๔ ถ้งปัจ้จุ้บุัน (โอภาส โอภาโส น.ธ.เอก, ศน.ด., พธ.ด.,ค.ด.กิตติมศักดิ�)
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
167
วััดสวันดอก
ตำำ�บลสวันดอก อำ�เภอเมืืองลำ�ป�ง จัังหวััดลำ�ป�ง
Wat Suan Dok
Suan Dok Subdistrict, Mueang Lampang District, Lampang Province 168
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
ความเป็็นมา วััดสวันดอก ตั้ั�งอยู่่�ที่่�หมู่่�บ้้านสวันดอก เลขที่่� ๑๕๖ ถนนบุ้ญวัาที่ยู่์ ตั้ำาบ้ลสวันดอก อำาเภอเมู่ือง จัังหวััดลำาปาง มู่่เนือ� ที่่ที่� งั� หมู่ด ๒ ไร่� ๓ งานเร่่มู่� ก�อสร่้างวััดเมู่ือ� ปี พ.ศ. ๒๒๕๖ และได้ร่ับ้พร่ะร่าชที่านวั่สุงคามู่ส่มู่า เมู่ื�อวัันที่่� ๔ ส่งหาคมู่ พ.ศ. ๒๔๖๕ ตั้ามู่คำาบ้อกเล�า วััดสวันดอกเป็นวััดร่าษฎร่์ สร่้าง โดยู่ชาวัไที่ยู่และชาวัพมู่�าที่่พ� ากันอพยู่พมู่าตั้ัง� ถ่น� ฐานอาศัยู่ที่่� ที่ำามู่าหาก่นบ้ร่่เวัณน่� เนื�องจัากอยู่่�ใกล้แหล�งนำ�า และมู่่ควัามู่ อุ ด มู่สมู่บ้่ ร่ ณ์ ด้ วั ยู่พื ช พั น ธุ์ุ์ ธุ์ั ญ ญาหาร่ เมู่ื� อ เร่่� มู่ มู่่ ค นมู่าตั้ั� ง ถ่น� ฐานเพ่มู่� มู่ากข้น� พวักเขาจั้งร่�วัมู่กันสร่้างวััดและน่มู่นตั้์พร่ะ มู่าจัำาพร่ร่ษา เพื�อเป็นที่่�พ้�งที่างใจั ที่ำาบุ้ญกุศล โดยู่ตั้ั�งชื�อวั�า วัดสวนดอก ที่่�มู่าของชื�อ วัดสวนดอก ตั้ามู่คำาบ้อกเล�าที่่�ได้เล�า สืบ้ตั้�อกันมู่าวั�า เป็นวััดที่่�มู่่ตั้้นไมู่้ยู่ืนตั้้น วั�าน พืชมู่งคลตั้�าง ๆ และมู่่ไมู่้ดอกไมู่้ปร่ะดับ้จัำานวันมู่าก บ้ร่่เวัณวััดเตั้็มู่ไปด้วัยู่ ตั้้นไมู่้ ดอกไมู่้นานาพร่ร่ณ ญาตั้่โยู่มู่ที่่มู่� าที่ำาบุ้ญที่่วั� ดั สวันดอก ไมู่�ตั้อ้ งนำาดอกไมู่้มู่าเองก็ได้ เพร่าะสามู่าร่ถเก็บ้ดอกไมู่้ที่วั่� ดั ไป บ้่ชาพร่ะได้เลยู่ ในสมู่ั ยู่ พร่ะอธุ์่ ก าร่ปั ญ ญาวังศ์ ดำา ร่งตั้ำา แหน� ง เจั้าอาวัาสร่่ปที่่�สอง เจั้าบุ้ญวัาที่ยู่์ วังษ์มู่าน่ตั้ ผู้่้คร่องนคร่ ลำา ปาง ได้ เข้ า มู่าบ้วัชเป็ น สั ที่ ธุ์่ วั่ ห าร่่ ก จัำา พร่ร่ษาอยู่่� ใ น วััดสวันดอกกับ้ที่�านด้วัยู่ ในเวัลาตั้�อมู่าสมู่ัยู่พร่ะอธุ์่การ่ศร่่วังศ์ เป็ น เจั้ า อาวัาส วัั ด สวันดอกได้ เ ก่ ด ไฟไหมู่้ ค ร่ั� ง ใหญ� ที่่� กุ ฏิ่ เก็บ้เอกสาร่สำาคัญของที่างวััด ที่ำาให้เอกสาร่สำาคัญถ่กไฟไหมู่้ จันหมู่ด ในอด่ ตั้ วัั ด สวันดอกเคยู่เป็ น โร่งเร่่ ยู่ นวัั ด สอนชั� น ปร่ะถมู่ศ้กษา พร่ะภ่กษุและฆร่าวัาสช�วัยู่กันสอน โดยู่ใช้ศาลา ร่ายู่เป็ น ห้ อ งเร่่ ยู่ น ก� อ นที่่� จั ะยู่้ า ยู่ไปร่วัมู่กั บ้ โร่งเร่่ ยู่ น วััดเช่ยู่งร่ายู่ ร่วัมู่กันเป็น โร่งเร่่ยู่นเที่ศบ้าล ๔ ในปัจัจัุบ้ัน พระครูสิิริธรรมวิิภััช เจ้้าคณะตำำาบลสิวินดอก / เจ้้าคณะตำำาบลสิวินดอก
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
169
วััดพระธาตุุลำำาปางหลำวัง
ตุำาบลำตุ้นธงชััย อำำาเภอำเมืือำงลำำาปาง จัังหวััดลำำาปาง
Wat Phra Chedi Sao Lang (Phra Aram Luang)
Ton Thong Chai Subdistrict, Mueang Lampang District, Lampang Province วััดพระธาตุุลำำาปางหลำวัง เป็็นวััดคู่่�บ้้านคู่่�เมืืองลำำาป็างมืาแต่�โบ้ราณ เป็็นวััดไมื้ ที่่� ส มืบ้่ ร ณ์ ที่�่ สุ ด แห่� ง ห่น่� ง ของไที่ย งดงามืด้ วั ยสถาป็ั ต่ ยกรรมืเก� า แก� มื ากมืาย พระธาตุ่ลำาำ ป็างห่ลำวังเป็็นพระธาตุ่ป็ระจำำาป็ีเกิดของคู่นป็ีฉลำ่ วััดพระธาตุ่ลำำาป็างห่ลำวัง ยังเป็็นที่่�ป็ระดิษฐาน พระแก้้วัดอนเตุ้า (พระแก้้วัมรก้ตุ) พระพุที่ธร่ป็คู่่�บ้้านคู่่�เมืือง ของจำังห่วััดลำำาป็าง เป็็นพระพุที่ธร่ป็ป็างสมืาธิ ศิิลำป็ะลำ้านนาสลำักด้วัยห่ยกส่เข่ยวั 170
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
วััดศรีีรีองเมืือง
ตำำ�บลเวัียงเหนืือ อำ�เภอเมืืองลำ�ป�ง จัังหวััดลำ�ป�ง
Wat Sri Rong Mueang
Wiang Nuea Subdistrict Mueang Lampang District, Lampang Province พระวิิหารไม้้สัักทองท่�สัวิยงาม้ท่�สัุดในจัังหวิัดลำำาปาง
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
171
วััดศรีีชุุม
credit : FB-แอ่่วัลำำ�ป�ง
ตำำ�บลสวันดอก อำ�เภอเมืองลำ�ป�ง จัังหวััดลำ�ป�ง
Wat Si Chum
Suan Dok Subdistrict, Mueang Lampang District, Lampang Province วััดศรีีชุมุ เป็็นวััดพม่่าเก่่าแก่่ สร้้างด้วัยไม่้จาก่ป็่าฝั่่ง� พม่่าทั้ัง� ส้น� ม่ีควัาม่สวัยสด งดงาม่เป็็ นอย่ างม่าก่ ม่ีพร้ะบร้ม่ธาตุุ ซึ่่�งเป็็ นพร้ะบร้ม่ธาตุุ สีทั้องศิ้ลป็ะแบบพม่่ า และม่อญ เป็็นวััดพม่่าทั้ีใ� หญ่ทั้ส�ี ดุ ในบร้ร้ดาวััดพม่่าทั้ีม่� อี ย่ใ่ นป็ร้ะเทั้ศิไทั้ยทั้ัง� หม่ด ๓๑ วััด อีก่ด้วัย
172
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
วััดพระเจดีย์์ซาวัหลััง (พระอารามหลัวัง) ตำำาบลัตำ้นธงชััย์ อำาเภอเมืองลัำาปาง จังหวััดลัำาปาง
Wat Phra Chedi Sao Lang (Phra Aram Luang)
Ton Thong Chai Subdistrict, Mueang Lampang District, Lampang Province
องค์์พระธาตุุเจดีีย์ซ์ าว ที่่มี� ศิ่ ลิ ปะล้านนาผสมีศิิลปะพมี่า เชื่่อ� กัันว่่า หากัใครนับได้้ครบ 20 องค์ถื่อว่่าเป็นคนมี่บุญ และข้้างหมี่่พระเจด้่ย์์ มี่ว่ิหารหลังเล็กั ประด้ิษฐานพระพุที่ธร่ปสำาริด้ปางสมีาธิ ศิิลปะเชื่่ย์งแสน ซึ่่�งชื่าว่บ้านเร่ย์กัว่่า พระเจ้าทัันใจ
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
173
วััดปงสนุุก (วััดปงสนุุกเหนุือ)
ตำำ�บลเวัียงเหนุือ อำ�เภอเมืืองลำ�ป�ง จัังหวััดลำ�ป�ง
Wat Pong Sanuk (Wat Pong Sanuk Nuea)
Wiang Nuea Subdistrict, Mueang Lampang District, Lampang Province วััดปงสนุุก แห่่งเขลางค์์นุค์ร ธรรมสถานุห่นุ่�งเดียวัของไทยที�ได้รับรางวััล Award of Merit จาก UNESCO ในุปี 2008 เส้นุทางการอนุุรักษ์์ศิิลปวััฒนุธรรม - สถาปัตยกรรมเก่าแก่ ที�เห่ลืออย่่เพีียงแห่่งเดียวัในุประเทศิ
174
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
สำ�นุักปฎิิบัตำิธรรมืสุส�นุไตำรลักษณ์์ หลวังพ่่อเกษมืเขมืโก ตำำ�บลสวันุดอก อำ�เภอเมืืองลำ�ป�ง จัังหวััดลำ�ป�ง
Trilak Cemetery Office (Luang Por Kasem Khemmako) Wiang Nuea Subdistrict, Mueang Lampang District, Lampang Province
ร่ปปั�นุห่ลวังพี่อเกษ์ม เขมโก ขนุาดให่ญ่่ ซึ่่�งเป็นุเกจิอาจารย์ที�ผู้่้ค์นุเค์ารพีและศิรัทธา จำานุวันุมาก และยังมีมณฑปลักษ์ณะเป็นุอาค์ารทรงไทยประยุกต์ท�สี วัยงามอีกด้วัย
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
175
176
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
น้ำำ��ตกแม่่แก้ อำำ�เภอำง�ว จัังหวัดลำำ�ป�ง ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
177
www
178
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
Website
issuu
ปัักหมุุดเมุืองไทย
LINE
ATPR PERFECT
POS TER
ปัักหมุุด
เมุืองไทย
สััมุผััสัเรื่่�องรื่าวหลากหลาย
ปัักหมุุดวััดเมืืองไทย ๕ จัังหวััดภาคเหนืือ
179
- พร่ะบร่มุธ�ตุุพุทธน่ิมุิตุเจัดีย์ วััดพร่ะธ�ตุุผ�เง� จัังหวััดเชีียงร่�ย
ปัักหมุุดเมุืองไทย ขอแนะนำ�สถ�นท่�สำ�คััญท�ง ศ�สน�กับเรื่ือ� งรื่�วท่ห � ล�กหล�ยจ�ก 5 เมุืองภ�คัเหนือ ท่�ปัักหมุุดรื่วบรื่วมุ เพื่ื�อนำ�เสนอให้ได้ซึึมุซึับเรื่ื�องรื่�ว อย่�งลึกซึึง� และอย�กท่จ� ะเปัิดปัรื่ะสบก�รื่ณ์์ไปัสัมุผััส ด้วยตนเอง
www
Website
issuu
ปักหมุุดเมุืองไทย
LINE
ATPR PERFECT