เมื อ งไทย วัด สุรินทร์ บุรีรัมย์ ปักหมุด
Wat Khao Phra Angkhan
วัดเขาพระอังคาร
www.pukmodmuangthai.com
วัดพรหมสุรินทร์
ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Phrom Surin
Nai Mueang Subdistrict, Mueang Surin District, Surin Province
พระพุทธรูปปางมารวิชัย พระประธานในอุโบสถวัดพรหมสุรนิ ทร์ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชยั ขนาดหน้าตักกว้าง ๓๕ นิว้ สร้างด้วยทองสัมฤทธิ์ ทั้งองค์ลักษณะแบบสมัยโบราณ ประทับนั่งขัดสมาธิราบบนฐานเรียบ รอบฐานมีจารึกอักษรขอม ๑ บรรทัด พระพักตร์เป็น สี่หลี่ยม มีไรพระศก ขมวดพระเกศาเล็กเป็นหนามขนุน พระรัศมีเป็นรูปดอกบัว พระขนงโก่ง พระเนตรเหลือบต�่า พระโอษฐ์ยิ้ม พระกรรณยาว ครองจีวรห่มเฉียง ชายสังฆาฏิยาวปลายตัดตรง นิ้วพระหัตถ์ทั้งสี่ยาวเสมอกัน พระหัตถ์ขวาวางคว�่าอยู่กึ่งกลาง พระชานุ พระหัตถ์ซ้ายวางหงายบนพระเพลา
2
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิมงคลพรหมสุรินทร์ ปักหมุดวัดเมืองไทย
3
วัดศาลาลอย พระอารามหลวง ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Salaloi Phra Aramluang
Nai Mueang Subdistrict, Mueang Surin District, Surin Province
พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ ดร., ป.ธ.๙, พธ.ด.) เจ้าอาวาสวัดศาลาลอย พระอารามหลวง – ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค ๑๑ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์ 4
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระอุโบสถ
วัดศาลาลอย
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
5
วัดป่าพุทธชยันตี
ต� า บลผั ก ไหม อ� า เภอศี ข รภู มิ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Pa Buddhajayantee
Phuk Mai Subdistrict, Sikhoraphum District, Surin Province
วัดป่าพุทธชยันตี เลขที ่ ๑๑๒ หมูท่ ี่ ๕ บ้านหนองยาง ต�าบล ผักไหม อ�าเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ วัดป่าพุทธชยันตี ได้รับการ ประกาศส� า นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ ใ ห้ เ ป็ น วั ด ในพระ พุ ท ธศาสนา เมื่อวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๖ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย วัดป่าพุทธชยันตีได้พฒั นาจากทีด่ นิ เดิมเป็นส�านักปฏิบตั ธิ รรม สวนป่าสักกวัน และตามเจตนารมณ์ของพระธรรมโมลี เจ้าคณะ จังหวัดในสมัยนั้นประสงค์ให้เป็นวัดที่เน้นการปฏิบัติกัมมัฏฐาน จึงให้ต่อท้ายชื่อวัดว่า “ศูนย์วิปัสสนากัมมัฏฐานคณะสงฆ์สุรินทร์” วัดป่าพุทธชยันตี ภายใต้กา� กับของเจ้าคณะจังหวัดสุรนิ ทร์ ซึ่ ง เป็ น หั ว หน้ า พระวิ ป ั ส สนาจารย์ ป ระจ� า จั ง หวั ด ได้ แ ต่ ง ตั้ ง ให้ พระวิ ป ั ส สนาจารย์ เป็นเจ้าอาวาสสนองงานด้านวิปัส สนาแก่ พระภิกษุสามเณร และมีค�าสั่งแต่งตั้งให้อุบาสก-อุบาสิกา ผู้ทรงภูมิ รูเ้ ป็นวิทยากรอบรมธรรมปฏิบตั กิ มั มัฏฐานแก่ฆราวาส ถือเป็นหน้าที่ ประจ�าในกาลอันล่วงมาแล้วเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๕๘ ได้รว่ มมือ กับจังหวัดทหารบกสุรนิ ทร์ (ต่อมาเปลีย่ นเป็นมณฑลทหารบกที ่ ๒๕)
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย 6
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ฝ่ายกลาโหม และผู้ว่าราชการจังหวัด ฝ่าย มหาดไทย และปลัดอ�าเภอทุกอ�าเภอในนาม ของกรมการปกครอง จั ด อบรมวิ ป ั ส สนา กัมมัฏฐาน เสริมศักยภาพการปฏิบตั ริ าชการ แก่ก�านัน ผู้ใหญ่บ้าน สารวัตรก�านันและ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านทุกต�าบล ทุกหมู่บ้านใน จังหวัดสุรินทร์ โดยแบ่งเป็นรุ่น รุ่นละ ๑๐๐๑๕๐ คน ใช้หลักสูตรภาคทฤษฎีและภาค ปฏิบัติ ระยะเวลา ๒ คืน ๓ วัน และโดยวิธี การเดียวกันนี้ได้อบรมนายกองค์การบริหาร ส่วนต�าบลทุกต�าบล สมาชิกองค์การบริหาร ส่วนต�าบลทุกต�าบลในจังหวัดสุรินทร์ ซึ่งได้ รั บ การอุ ป ถั ม ภ์ จ ากคณะสงฆ์ ทั้ ง จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ แ ละเป็ น ที่ พึ ง พอใจต่ อ ผู ้ เข้ า ร่ ว ม โครงการอย่างดียิ่ง
วัดกลาง พระอารามหลวง ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์
Wat Klang Phra Aram Luang
Nai Mueang Subdistrict, Mueang Buriram Thap District, Buriram Province
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
7
พระสุนทรธรรมเมธี (สุเทพ อาสโภ ป.ธ.4 ,ดร.)
รองเจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์เจ้าอาวาสวัดท่าสว่าง
วัดท่าสว่าง
ต�าบลกระสัง อ�าเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย 8
ปักหมุดวัดเมืองไทย
Wat Tha Sawang
Kra Sang Subdistrict, Kra Sang District, Buriram Province
วัดกลาง
ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Klang
Nai Mueang Subdistrict, Mueang Surin District, Surin Province
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
9
บริษัท เอทีพีอาร์ เพอร์เฟคท์ จ�ากัด ATPR PERFECT Co.,Ltd. 23 หมู่ที่ 1 ต�าบลนอกเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000 atpr.perfect@gmail.com 082-036-5590 044-060-459 พระราชวิมลโมลี (เจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์) พระสุนทรธรรมเมธี (รองเจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์) คณะที่ปรึกษา Board of consulttant ภูษิต วิทยา ฝ่ายประสานงานและ Phusit Wittaya สื่อสารองค์กร Corporate Coordination ถาวร เวปุละ and Commucination Taworn Wapula พุฒิธร จันทร์หอม Puttitorn Janhom ธนิน ตั้งธ�ารงจิต Thanin Tangtamrongjit
10
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ชัชญาณิช วิจิตร Chatchayanit Wijit นายวิทยา วิจิตร Wittaya Wijit
เรียบเรียงข้อมูล Editor
ชัชญาณิช วิจิตร Chatchayanit Wijit ธัญภรณ์ สมดอก Thunyaporn Somdok
ติดต่อประสานงาน Coordinator
ชัชญาณิช วิจิตร Chatchayanit Wijit คมสันต์ สีหะวงษ์ Komsan Sihawong พรเทพ ลักขษร Bhonthep Luckasorn
ออกแบบกราฟฟิค Graphic Designer
พร โพชารี Porn Pocharee ชัยวิชญ์ แสงใส Chaiwit Sangsai
ถ่ายภาพ Photographer
วัดบูรพาราม พระอารามหลวง
บันทึกเรือ่ งราวร้อยวัด สุรินทร์-บุรีรัมย์ 16 คณะสงฆ์ผู้ใหญ่สุรินทร์ 17 คณะสงฆ์ผู้ใหญ่บุรีรัมย์
18 ท�ำเนียบคณะสงฆ์ สุรินทร์ 22 ท�ำเนียบคณะสงฆ์ บุรีรัมย์
จังหวัดสุรินทร์ 28 วัดจ�าปา
วัดศาลาลอย วัดสังข์มงคล วัดสำมัคคี วัดอังกัญโคกบรรเลง วัดอำม็อง แผนที่กำบเชิง วัดอุดมพรหมวิหำร วัดโคกตะเคียน วัดโคกเวงวำรีรัตน์ วัดบ้ำนน้อยแสนสุข วัดใหม่พรนิมิต แผนที่เขวำสินรินทร์ วัดพะเนำรัตน์
78 82 84 88 90 92 96 98 100 102 104 106
30 36 38 44 50 52 54 60 64 68 70 76
วัดศำลำลอย วัดพรหมสุรินทร์ วัดบูรพำรำม พระอำรำมหลวง วัดกลำง วัดประทุมเมฆ วัดป่ำโยธำประสิทธิ์ วัดโคกกรวด วัดจ�ำปำ วัดประทุมธรรมชำติ วัดเพี้ยรำม วัดมงคลรัตน์ วัดรำมวรำวำส
วัดกลาง ปักหมุดวัดเมืองไทย
11
บันทึกเรื่องราวร้อยวัด สุรินทร์-บุรีรัมย์ วัดนำโพธิ์ วัดกระพุ่มรัตน์ วัดฉันเพล วัดดำวรุ่ง วัดประสำทแก้ว วัดปรำสำททอง วัดโพธิ์รินทร์วิเวก วัดไพศำลภูมิกำวำส วัดวิวิตวรำรำม วัดศำลำเย็น วัดสำมโค ส�ำนักสงฆ์หนองโพธิ์น้อย วัดจอมพระ แผนที่ชุมพลบุรี วัดแจ้งศรีโพธิ์ทอง วัดประชำสังคม วัดกลำงชุมพล วัดเกำะแก้วยำนำวำ วัดคันธำรมณ์นิวำส วัดท่ำลำด วัดทุ่งสว่ำง(หนองเรือ)
108 110 112 114 116 120 122 124 126 130 132 134 138 140 142 146 148 152 156 158 162
ศูนย์อบรมปฏิบัติธรรมสากล ริมธารธรรมสถาน
วัดสังข์มงคล
12
ปักหมุดวัดเมืองไทย
166 174 178 180 184 192 194 196 198 200 202 204 208 214 216 220 228 230 232 236 240
วัดไทรงำม (ไพรงำม) วัดบ้ำนทิพย์เนตร วัดโพธิ์งำมยะวึก วัดศรัทธำวำรินทร์ วัดศรัทธำวำรี วัดสระบัว วัดสระบัวงำม (บ้ำนขำม) วัดแสนสุข วัดโพธิ์ทอง วัดปรำสำทขุมดิน วัดอีสำนบ้ำนโนนสั้น วัดมุนีนิรมิต วัดเพชรบุรี วัดสำมรำษฏร์บ�ำรุง วัดอมรินทรำรำม วัดอุทุมพร แผนที่พนมดงรัก วัดอรุโณทยำรำม วัดหิมวันบรรพต วัดอรุนทยำรำม วัดดอนน�้ำตำล
วัดสระบัว วัดกลาง(รัตนบุรี)
วัดบ้ำนสว่ำง 310 วัดประทุมสว่ำง 314 วัดป่ำตำมอ 316 วัดสุทธำวำส 318 วัดหนองคู 320 วัดหนองหิน 324 ศูนย์ปฏิบัติธรรมสำกล ริมธำรธรรมสถำน 328 วัดโมฬีวงษำ 330 วัดศรีสว่ำงโคกสะอำด 332 วัดโพธำรำม 334 วัดวังปลัดสำมัคคี 336 วัดทุ่งนำศรีธำรำม 338 วัดป่ำพรหมจักร 340 วัดศรีหนองปลำขำว 342 วัดสำมัคคีศรีบูรพำ(ขอนแตก) 344 วัดเก่ำหลวงอำสน์ 346 วัดโพธิ์ศรีวรรณำรำม 348 วัดบูรณ์สะโน 352 วัดหนองเหล็ก 356
244 246 248 250 254 256 258 264 268 272 276 280 282 284 286 288 290 296 298 304 308
วัดนิคมสุนทรำรำม วัดปรำสำททอง วัดโพธิวนำรำม วัดวำรีวัน วัดศรีสวำย วัดสมสุธำวำส วัดดอกจำนรัตนำรำม วัดทุ่งไทรขะยุง วัดจ�ำปำ วัดโพธิ์ศรีธำตุ วัดกลำง วัดป่ำเทพนิมิต วัดนิมิตรัตนำรำม วัดทักษิณวำรีสิริสุข แผนที่อ�ำเภอศีขรภูมิ วัดบ้ำนตรมไพร วัดพันษี วัดระแงง วัดช่ำงปี่ วัดทุ่งสว่ำงนำรุ่ง วัดบ้ำนข่ำ
วัดสามัคคีศรีบูรพา (ขอนแตก) ปักหมุดวัดเมืองไทย
13
วัดท่าสว่าง
บันทึกเรื่องราวร้อยวัด สุรินทร์-บุรีรัมย์
จังหวัดบุรีรัมย์ 358
วัดโพธิ์ย่อยบ้านยาง
วัดหนองบัวทอง วัดกลำง (นำงรอง) วัดอมรำวำส วัดบ้ำนตะโคง วัดอริยวงศ์โพธิญำณ วัดจ�ำปำ วัดปำนจัยนำรม วัดป่ำละหำนทรำย วัดโพนทอง วัดแจ้งตลำดโพธิ์ วัดปรำสำท(ศีขรภูมิ) วัดป่ำห้วยเสนง(ปรำสำท) วัดตลำดชัย
14
ปักหมุดวัดเมืองไทย
404 410 412 416 418 420 421 422 424 426 427 428
วัดบ้านตะโคง
360 364 368 372 376 384 386 394 400
วัดท่ำสว่ำง วัดโพธิ์ย่อยบ้ำนยำง วัดตลำดชัย วัดหนองบัวทอง วัดกลันทำรำม วัดบ้ำนโจด วัดเขำพระอังคำร วัดหนองไทร วัดใหม่เรไรทอง
วัดกลาง (นางรอง)
ต� า บลนางรอง อ� า เภอนางรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์
Wat Klang Nang Rong
Nang Rong Subdistrict, Nang Rong District, Buriram Province
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
15
ท�ำเนียบพระสังฆำธิกำร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย จังหวัดสุรินทร์
พระธรรมโมลี ดร. ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค ๑๑
พระราชสุตาลังการ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัด
พระสิทธิการโกศล ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัด พระราชวิมลโมลี ผศ.ดร. เจ้าคณะจังหวัด
พระมหาเจริญสุข คุณวีโร รองเจ้าคณะจังหวัด
พระครูสิริธีรญาณ เลขาฯเจ้าคณะจังหวัด
16
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระมหาเสาร์ สีหสุวณฺณปุตฺโต เลขาฯรองเจ้าคณะจังหวัด
พระครูปริยัติกิจธ�ารง รองเจ้าคณะจังหวัด
พระมหาสมพงษ์ ฐิตจิตฺโต เลขาฯรองเจ้าคณะจังหวัด
ท�ำเนียบพระสังฆำธิกำร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย จังหวัดบุรีรัมย์
พระเทพปริยัตยาจารย์ เจ้าคณะจังหวัด
พระสุนทรธรรมเมธี รองเจ้าคณะจังหวัด
พระมงคลสุตกิจ เลขาฯเจ้าคณะจังหวัด
พระศรีปริยัติธาดา รองเจ้าคณะจังหวัด
พระครูศรีปริยัตยานุศาสน์ เลขาฯรองเจ้าคณะจังหวัด
พระครูสิริปริยัตยาภิรม เลขาฯรองเจ้าคณะจังหวัด
ปักหมุดวัดเมืองไทย
17
ท�ำเนียบพระสังฆำธิกำร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย จังหวัดสุรินทร์
พระราชวิมลโมลี ผศ.ดร. เจ้าคณะจังหวัด พระมหาเจริญสุข คุณวีโร รองเจ้าคณะจังหวัด
พระครูปริยัติกิจธ�ารง รองเจ้าคณะจังหวัด
พระครูปทุมสังฆการ เจ้าคณะอ�าเภอเมือง
พระครูอนุวัตปัญญาภรณ์ รองเจ้าคณะอ�าเภอเมือง
พระครูอุดรประชานุกูล รองเจ้าคณะอ�าเภอเมือง
พระปลัดกมลพัฒน์ อคฺคจิตฺโต เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอเมือง
พระครูสิริธรรมวิสิฐ เจ้าคณะอ�าเภอชุมพลบุรี
พระครูสุตพัฒนธาดา รองเจ้าคณะอ�าเภอชุมพลบุรี
พระครูสิทธิปัญญาธร รองเจ้าคณะอ�าเภอชุมพลบุรี
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอชุมพลบุรี
18
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระครูสิทธิปัญญาธร
พระในฎีกาพรศักดิ์ สุเมโธ เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอเมือง
พระปรัชญา ชยวุฑฺโฒ เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอเมือง
พระปลัดจักรกฤษ กลญาโณ
พระบัณฑิต ฐานกโร
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอวัดราษฎรนิมิตร
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอชุมพลบุรี
พระครูสิริพรหมสร เจ้าคณะอ�าเภอท่าตูม
พระครูปริยัติวิสุทธิคุณ ผศ.ดร. รองเจ้าคณะอ�าเภอท่าตูม
พระครูสุวรรณโพธิคุณ รองเจ้าคณะอ�าเภอท่าตูม
พระครูปริยัติปทุมารักษ์ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอท่าตูม
พระสมศักดิ์ โสรโต พระมหาประเสิรฐ สิรินฺธโร เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอท่าตูม เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอท่าตูม
พระครูบุญเขตวรคุณ เจ้าคณะอ�าเภอรัตนบุรี
พระครูประภัสร์สารธรรม รองเจ้าคณะอ�าเภอรัตนบุรี
พระครูรัตนธรรมานุรักษ์ รองเจ้าคณะอ�าเภอรัตนบุรี
เจ้าอธิการณรงค์ชัย ปสาโท เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอรัตนบุรี
พระสมุห์สุนทร สุภทฺโท
พระสมุห์ไพบูลย์ เตชธมฺโม
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอรัตนบุรี
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอรัตนบุรี
พระครูบริหารชัยมงคล เจ้าคณะอ�าเภอศีรขรภูมิ
พระครูวิมลศีขรคุณ รองเจ้าคณะอ�าเภอศีรขรภูมิ
พระครูสุจิตตาภิรม รองเจ้าคณะอ�าเภอศีรขรภูมิ
พระมหาสุรเดช สุทฺธิเมธี เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอศีขรภูมิ
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอศีขรภูมิ
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอศีขรภูมิ
พระครูพิทักษ์สังฆกิจ เจ้าคณะอ�าเภอสังขะ
พระครูวิศิษฏ์วิหารคุณ รองเจ้าคณะอ�าเภอสังขะ
พระครูสิริธีรญาณ รองเจ้าคณะอ�าเภอสังขะ
พระครูโกศลสมาธิวัตร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอสังขะ
พระพยัต อินฺโท เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอสังขะ
พระครูจันทรัตนาถิรม เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอสังขะ
พระครูพิบูลพัฒนประสุต
พระสุทธิวัตร ชาครธมฺโม
ปักหมุดวัดเมืองไทย
19
พระครูบรรพตสมานธรรม รองเจ้าคณะอ�าเภอพนมดงรัก
พระสมุห์ภัทรดนัย สุจิตฺตคโต
พระวรจักร เขมวีโร
เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอพนมดงรัก
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอพนมดงรัก
พระครูพรหมวิหารธรรม เจ้าคณะอ�าเภอกาบเชิง
พระมหายุทธพิชาญ โยธสาสโน รองเจ้าคณะอ�าเภอกาบเชิง
พระมหาวิสาตย์ ธมฺมิโก เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอกาบเชิง
พระครูสังฆรักษ์เกษม วิชฺชาธโร
พระครูวิวิตธรรมวงศ์ เจ้าคณะอ�าเภอจอมพระ
พระครูสิริปริยัติธ�ารง รองเจ้าคณะอ�าเภอจอมพระ
พระปลัดลุน ลทฺธปญฺโญ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอจอมพระ
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอจอมพระ
พระครูศรีปริยัติวราภรณ์ เจ้าคณะอ�าเภอโนนนาราย
พระครูมงคลรัตนาภิรักษ์ รองเจ้าคณะอ�าเภอโนนนาราย
พระปลัด สุภีร์ คมฺภีรธมฺโม พระสัญชัย ปิยธมฺโม เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอโนนนาราย เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอโนนนาราย
พระครูพนมศีลาจารย์ เจ้าคณะอ�าเภอพนมดงรัก
20
ปักหมุดวัดเมืองไทย
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอกาบเชิง
พระใบฎีกาสมร สุธมฺมญาโณ
พระครูประทีปธรรมวงศ์ เจ้าคณะอ�าเภอสนม
พระปลัดทองค�า โอภาโส เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอสนม
พระครูศรีสุนทรสรกิจ เจ้าคณะอ�าเภอล�าดวน
พระครูนิมิตรัตนาภรณ์ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอล�าดวน
พระครูประดิษฐ์ธรรมวัฒน์ เจ้าคณะอ�าเภอเขวาสินรินทร์
พระปลัดสุระ ญาณธโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอเขวาสินรินทร์
พระครูโอภาสธรรมพิทักษ์ เจ้าคณะอ�าเภอบัวเชด
พระครูปัญญาสุธรรมนิเทศก์ รองเจ้าคณะอ�าเภอบัวเชด
พระอุดมศักดิ์ อธิจตฺโต เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอบัวเชด
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอบัวเชด
พระครูธ�ารงสีลคุณ เจ้าคณะอ�าเภอปราสาท
พระครูสุพัฒนกิจ รองเจ้าคณะอ�าเภอปราสาท
พระอดิศร กิตฺติสาโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอปราสาท
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอปราสาท
พระครูสุธรรมวรานุรักษ์ เจ้าคณะอ�าเภอส�าโรงทาบ
พระมหาบุญชอบ ปุญฺญสาทโร รองเจ้าคณะอ�าเภอส�าโรงทาบ
พระครูจันทปัญญาภรณ์ เจ้าคณะอ�าเภอศรีณรงค์
พระครูกัลยาณธรรมโฆษ รองเจ้าคณะอ�าเภอศรีณรงค์
พระภานุวัฒน์ อินฺทปญฺโญ
พระพงษ์ศักดิ์ พลญาโณ
พระปลัดสมจิต ธมฺมรกฺขิโต พระอธิการสมศักดิ์ ปภากโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอส�าโรงทาบ เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอส�าโรงทาบ
พระอุทัย อฺคปยฺโญ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอศรีณรงค์
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย
ปักหมุดวัดเมืองไทย
21
ท�ำเนียบพระสังฆำธิกำร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย จังหวัดบุรีรัมย์
พระเทพปริยัตยาจารย์ เจ้าคณะจังหวัด พระสุนทรธรรมเมธี รองเจ้าคณะจังหวัด
22
พระศรีปริยัติธาดา รองเจ้าคณะจังหวัด
พระครูอินทวนานุรักษ์ เจ้าคณะอ�าเภอเมืองบุรีรัมย์
พระครูปทุมธรรมานุรักษ์ รองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองบุรีรัมย์
พระครูสุตกิจโสภณ รองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองบุรีรัมย์
พระบุญยืน ปภสฺสโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอเมืองบุรีรัมย์
พระครูปริยัติภัทรคุณ เจ้าคณะอ�าเภอนางรอง
พระครูประสิทธิ์ธรรมวัฒน์ รองเจ้าคณะอ�าเภอนางรอง
พระครูศรีปริยัติวิบูลย์ รองเจ้าคณะอ�าเภอนางรอง
พระพรสันต์ จิตฺตโสภโณ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอนางรอง
พระครูบุญเขตวิชัย เจ้าคณะอ�าเภอล�าหานทราย
พระมหาเรืองฤทธิ์ สุธีโร รองเจ้าคณะอ�าเภอล�าหานทราย
พระครูพิทักษ์ศาสนกิจ รองเจ้าคณะอ�าเภอล�าหานทราย
พระมหาเรืองฤทธิ์ สุธีโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอล�าหานทราย
พระครูพิศาลสังฆกิจ เจ้าคณะอ�าเภอบ้านกรวด
พระครูสุนทรกิจวิจารณ์ รองเจ้าคณะอ�าเภอบ้านกรวด
พระครูพัชรกิตติโสภณ รองเจ้าคณะอ�าเภอบ้านกรวด
พระครูสุกิจพัฒนาทร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอบ้านกรวด
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระปลัดวิรุฬชิต นริสฺสโร
พระครูวีรสุธรรมาภรณ์ เจ้าคณะอ�าเภอคูเมือง
พระครูกิตติสารประภาต รองเจ้าคณะอ�าเภอคูเมือง
พระครูศรัทธาพลาธร รองเจ้าคณะอ�าเภอคูเมือง
เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอคูเมือง
พระครูสุตกิตติสุนทร เจ้าคณะอ�าเภอหนองกี่
พระครูสังวราภิราม รองเจ้าคณะอ�าเภอหนองกี่
พระครูประพัฒน์กิจจาทร รองเจ้าคณะอ�าเภอหนองกี่
พระมหาสมพร สุทฺธญาโณ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอหนองกี่
พระครูประสิทธิ์นวกร เจ้าคณะอ�าเภอหนองหงส์
พระครูปริยัติกิตติธ�ารง รองเจ้าคณะอ�าเภอหนองหงส์
พระครูสิริปัญญาธร รองเจ้าคณะอ�าเภอหนองหงส์
พระครูวิมลญาณวิสิฐ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอหนองหงส์
พระครูสิริคณารักษ์ เจ้าคณะอ�าเภอประโคนชัย
พระครูสุนทรชัยวัฒน์ รองเจ้าคณะอ�าเภอประโคนชัย
พระครูสิทธิญาณโสภณ รองเจ้าคณะอ�าเภอประโคนชัย
พระครูภัทรสมาจารคุณ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอประโคนชัย
พระครูจินดาวรวัฒน์ เจ้าคณะอ�าเภอล�าปลายมาศ
พระมหาบุญเลิศ สนฺติกโร รองเจ้าคณะอ�าเภอล�าปลายมาศ
พระครูพิพิธสารคุณ รองเจ้าคณะอ�าเภอล�าปลายมาศ
พระครูปิยธรรมทัศน์ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอล�าปลายมาศ
พระครูอัมพวันธรรมวิสิฐ เจ้าคณะอ�าเภอสตึก
พระครูสิริธรรมเมธี รองเจ้าคณะอ�าเภอสตึก
พระครูปริยัตกิตยารักษ์ รองเจ้าคณะอ�าเภอสตึก
พระครูสุวรรณกิตยาภิรม เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอสตึก
ปักหมุดวัดเมืองไทย
23
24
พระครูปริยัติธรรมาภรณ์ เจ้าคณะอ�าเภอกระสัง
พระครูสิริปริยัตยาภิรม รองเจ้าคณะอ�าเภอกระสัง
พระครูพิสิฐธรรมาภิรม รองเจ้าคณะอ�าเภอกระสัง
พระวิรุติ์ วิโรจโน เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอกระสัง
พระมงคลสุตกิจ เจ้าคณะอ�าเภอห้วยราช
พระครูวินัยธรค�้าจุน โกสโล เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอห้วยราช
พระครูสุตกันตาภรณ์ เจ้าคณะอ�าเภอโนนสุวรรณ
พระครูสมุห์สามารถ วิสุทฺธิสาโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอโนนสุวรรณ
พระครูนิเทศก์ธรรมคุณ เจ้าคณะอ�าเภอโนนดินแดง
พระปลัดศุภชัย สุนทโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอโนนดินแดง
พระครูภาวนาวิหารธรรม เจ้าคณะอ�าเภอเฉลิมพระเกียรติ
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระมหาสุเทพ วรปญฺโญ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอเฉลิมพระเกียรติ
พระครูโพธิธรรมานุกูล เจ้าคณะอ�าเภอปะค�า
พระมหาวิจารณ์ ภาณิวโร รองเจ้าคณะอ�าเภอปะค�า
พระปลัดธาตรี ปญฺญาวชิโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอปะค�า
พระครูอมรบุญวัฒน์ เจ้าคณะอ�าเภอนาโพธิ์
พรครูโพธิคุณากร รองเจ้าคณะอ�าเภอนาโพธิ์
พระสมชาย โชติโก เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอนาโพธิ์
พระครูวิบูลธรรมธัช เจ้าคณะอ�าเภอบ้านใหม่ชัยพจน์
พระครูประดิษฐ์โชติคุณ รองเจ้าคณะอ�าเภอบ้านใหม่ชัยพจน์
พระครูอรัญธรรมรังษี เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอบ้านใหม่ชัยพจน์
พระครูวิลาศธรรมคุณ เจ้าคณะอ�าเภอพุทไธสง
พระครูโชติรสโกศล รองเจ้าคณะอ�าเภอพุทไธสง
พระครูสารธรรมประสาธน์ เจ้าคณะอ�าเภอบ้านด่าน
พระครูศรีปริยัตยานุศาสน์ รองเจ้าคณะอ�าเภอบ้านด่าน
พระครูวิมลวรธรรม วรธมฺโม เจ้าคณะอ�าเภอพลับพลาชัย
พระครูจันทศิริพิมล รองเจ้าคณะอ�าเภอพลับพลาชัย
พระครูถาวรธรรมประยุต เจ้าคณะอ�าเภอช�านิ
พระครูวิทูรธรรมาภิรม รองเจ้าคณะอ�าเภอช�านิ
พระครูโสภณธรรมประสิทธิ์ เจ้าคณะอ�าเภอแคนดง
พระครูปริยัติวิริยาทร รองเจ้าคณะอ�าเภอแคนดง
พระมหาสถาพร จารุธมฺโม เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอพุทไธสง
พระสมุห์เพียร เตชธโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอบ้านด่าน
พระจักรพงษ์ ปญฺญาธโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอพลับพลาชัย
พระครูวิทูรธรรมาภิรม เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอช�านิ
พระมหาโชคชัย อธิมุตฺโต เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอแคนดง
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
25
จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ Buriram
พระสุ ภั ท รบพิ ต ร - วนอุ ท ยานเขากระโดง
พระเจ้ า ใหญ่ วั ด หงษ์
วัดท่าสว่าง
ตำาบลกระสัง อำาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์
Wat Tha Sawang
Kra Sang Subdistrict, Kra Sang District, Buriram Province
พระสุนทรธรรมเมธี (สุเทพ อาสโภ ป.ธ.4, ดร.)
รองเจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์ เจ้าอาวาสวัดท่าสว่าง
ตั้งอยู่ที่ ๒๒๖ หมู่ที่ ๑ บ้านท่าสว่าง ถนน สุขาภิบาล ๑ ต�าบลกระสัง อ�าเภอกระสัง จังหวัด บุรีรัมย์ วั ด ท่ า สว่ า ง เป็ น วั ด ในสั ง กั ด คณะสงฆ์ มหานิกาย เดิมชาวบ้านเรียกว่า วัดกระสัง เพราะตั้ง อยู่ที่หมู่บ้านกระสัง และมีเพียงวัดเดียวที่ก่อตั้งก่อน วันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๘๖ ซึ่งเป็น วันที่กฎกระทรวงออก ตามความในพระราชบัญญัติ คณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๔๘๔ มีผลบังคับให้ได้รบั ประกาศตัง้ เป็นวัดในพระพุทธศาสนาตามทะเบียนทีต่ รวจสอบได้ จากส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๙ พระสุนทรธรรมเมธี ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ จนปัจจุบัน วัดท่าสว่างได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ครั้งแรกไม่สามารถตรวจสอบหลักฐานได้ว่าเมื่อปี
พ.ศ. ใด ภายหลังพระครูประสานสังฆกิจ (ประสานกนตรมโน) อดีต เจ้าอาวาสและอดีตเจ้าคณะอ�าเภอได้สร้างอุโบสถหลังใหม่นอกเขต พัทธสีมาเดิมจากได้ขอพระราชทานผูกพัทธสีมาอุโบสถใหม่ และขอพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๖ เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๔๐ เมตร ยาว ๗๐ เมตร ตั้งอยู่ในเนื้อที่ทั้งสิ้นจ�านวน ๒๗ ไร่ ๒๕ ตารางวา มีหนังสือแสดง กรรมสิทธิ์ที่ดิน เป็นโฉนดเลขที่ ๑๘๕๙ เล่มที่ ๕๙ อ�าเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ กรรมสิทธิ์ที่ดิน เป็นของวัดท่าสว่าง
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
ปักหมุดวัดเมืองไทย
361
วัดโพธิ์ย่อยบ้านยาง
ต� า บลบ้ า นยาง อ� า เภอล� า ปลายมาศ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์
Wat Pho Yhoy Ban Yang
Ban Yang Subdistrict, Lam Plai Mat District, Buriram Province
วัดโพธิ์ย่อย เป็นวัดโบราณไม่ปรากฏหลักฐานว่าใครเป็น
ผู้สร้าง แต่ชาวบ้านคนเฒ่าคนแก่สันนิษฐานว่า พ่อเพียขัน ซึ่ง ถือว่าเป็นบรรพชนของบ้านยางเป็นผูส้ ร้าง แต่มปี รากฏหลักฐาน การตั้งวัดที่กองพุทธสถาน ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ว่าวัดโพธิ์ย่อยนี้ตั้งอย่างเป็นทางการ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๐๑ สมัย อยุธยาตอนปลาย ยุคสมัยราชวงศ์บ้านพลูหลวง และในปี พ.ศ. ๒๓๐๑ นี้ เป็นช่วงรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว บรมโกศ เสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. ๒๓๐๑ ตามหลักฐานที่ปรากฏในกองพุทธสถาน ฯ เช่นกันว่า ในปี พ.ศ.๒๓๑๐ นี้ เป็นปีที่วัดโพธิ์ย่อย ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา (อนุญาตให้สร้างโบสถ์) วัดโพธิ์ย่อยบ้านยาง มีเจ้าอาวาสปกครองวัดมาแล้ว จ�านวน ๒๘ รูป ปัจจุบันมีพระศรีปริยัติธาดา (พระมหาทองสา ฐานิสฺสโร ชาติด�าดี) ป.ธ.๙ เป็นเจ้าอาวาสและด�ารงต�าแหน่ง รองเจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์ รูปที่ ๑
364
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ความหมายของชื่อวัด
วัดโพธิ์ย่อย โดยมากคนจะรู้จักชื่อตามชื่อหมู่บ้าน มักเรียกว่าวัดบ้านยาง หรือเรียกชื่อวัด แล้วต่อด้วยชื่อบ้านว่า วัดโพธิ์ย่อยบ้านยาง ค�าว่า โพธิ์ย่อย นั้นมีความหมาย ๒ นัย คือ นัยที่ ๑ หมายถึง วัดทีม่ ตี น้ โพธิเ์ กิดกระจัดกระจ่ายอยู่ ทั่วบริเวณวัดและบริเวณใกล้เคียง ผู้ตั้งคงจะอาศัยเหตุดังกล่าว จึงตัง้ ชือ่ วัดทีแ่ สดงถึงวัดนัน้ มีตน้ โพธิเ์ กิดอยูม่ าก ปัจจุบนั ก็ยงั เหลือ ให้เห็นอยู่ เช่น ในวัดและในโรงเรียนบ้านยาง เป็นต้น
นัยที่ ๒ หมายถึง วัดที่มีต้นโพธิ์ มีใบ กิง่ ก้านสาขาห้อยย้อยสลวยสวยงามและมีมากมาย หลายต้น แต่การออกเสียงว่า ย้อย ของคนในชุมชน คงจะออกไม่ชดั เจนเพราะเป็นชุมชนทีพ่ ดู ภาษาลาว เลยออกเสียงเป็น ย่อย จึงได้ชื่อว่า วัดโพธิ์ย่อย แต่ ชาวบ้านโดยเฉพาะคนเฒ่าคนแก่ เห็นว่าเป็นนัยที่ ๑ เหมาะสมและชอบกว่า
สิ่งศักดิ์สิทธิ์และปูชนียวัตถุในวัด
๑. พระประธานในอุโบสถ ๒. พระพุทธชินราชจ�าลอง พระประธานองค์ที่ ๒ เป็นพระพุทธ ๓. พระพุทธรูปองค์รองแกะด้วยไม้ เป็นบริวาร จ�านวน ๒ องค์ ๔. พระพุทธรูปขนาดเล็กหล่อด้วยสัมฤทธิ์ จ�านวน ๔ องค์ ๕. พระพุทธรูปแกะด้วยไม้และเขาสัตว์ ขนาดเล็ก หน้าตักประมาณ ๒-๔ นิ้ว เป็นกลุ่มพระบูชา ประจ�าวัดมีประมาณ ๕๐ องค์ ๖. ตะเกียงดินเผาโบราณรูปช้าง ๗. อนุสรณ์สถานที่ฝังศพหลวงพ่อกุ ๘. รูปปั้นพ่อเพียขัน ขนาดเท่าคนจริง สูง ๑๙๐ ซม. ๙. ต้นตะเคียนทองโบราณมีอายุกว่า ๔๐๐ ปี ๑๐. หลวงพ่อใหญ่จ�าลอง หน้าตักกว้าง ๕๙ นิ้ว สูงจากหน้าตัก ๓.๕๕ เมตร หล่อด้วยทองเหลือง ประดิษฐานเป็นพระประธาน ในศาลากลางน�้าพุทธชยันตี
พระศรีปริยัติธาดา
รองเจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์ / เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ย่อยบ้านยาง ปักหมุดวัดเมืองไทย
365
เสนาสนะ ถาวรวัตถุ
๑. อุโบสถ ๒. ศาลาการเปรียญหลังใหญ่ ๓. ศาลาการเปรียญหลังน้อย ๔. กุฏิหลังที่ ๑ ๕. กุฏิสงฆ์หลังที่ ๒ ๖. เมรุเผาศพ ๗. ศาลาบ�าเพ็ญกุศลศพ ๘. ซุ้มประตูเข้าวัดด้านทิศใต้ ลักษณะทรงไทย ๙. ซุม้ ประตูดา้ นตะวันออกลักษณะเสาไม้แดงธรรมชาติ และโครงหลังคาทรงไทยใช้ไม้เนื้อแข็ง ๑๐. กุฏิมหาโพธิ์ ลักษณะทรงไทยอีสานประยุกต์ ๑๑. ศาลาพุทธชยันตี ฉลอง ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ หรือที่เรียกกันว่า ศาลากลางน�้า ๑๒. ทัศนียภาพต่าง ๆ ภายในวัด เช่น อุทยานพ่อ เพียขัน, โรงครัว, ห้องน�้า-ห้องสุขา ภายในวัดยังได้ตัดรูปถนนเป็นระเบียบและ แต่ ล ะสายเทพื้ น คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก เพื่ อ สั ญ จรได้ สะดวก ริมถนนประกอบด้วยต้นไม้รม่ รืน่ และไม้ดอกไม้ ประดับสวยงาม เป็นทีน่ า่ อยู่ น่าชม น่าอภิรมย์ยนิ ดีอย่าง ยิ่ง
พ่อเพียขัน บรรพชนผู้ก่อตั้งบ้านยาง พ่อเพียขันหรือนายกองเพียขัน มีภูมิล�าเนาเกิดที่เวียงจันทน์
มีอายุในสมัยอยุธยาตอนปลาย ในระหว่าง พ.ศ. ๒๒๓๖ – ๒๓๒๑ ท่านเป็น ลูกศิษย์ของพระครูโพนเสม็ดแห่งเวียงจันทน์ พ่อเพียขันหรือนายกองเพียขัน ได้มาตั้งหมูบ้านขึ้นใหม่ที่ริมล�าห้วยที่ไหลลงสู่ล�ามาศ โดยตั้งชื่อว่า บ้านยาง หรื อ บ้ า นยางลาว ตามลั ก ษณะสภาพแวดล้ อ มด้ ว ยป่ า ต้ น ยางนาหรื อ ต้ น ยางมาศ ต่ อ มาท่ า นจึ ง ได้ อ พยพครอบครั ว รวมทั้ ง พระหงส์ หรื อ อุปัชฌาย์หงส์ พระลูกชายของท่านมาอยู่ที่บ้านยาง (อดีตเจ้าอาวาสวัดโพธิ์ ย่อยรูปที่ ๓) และพ่อเพียขันเป็นผูน้ า� ปกครองบ้านยาง พ่อเพียขัน ถึงแก่กรรม ประมาณ พ.ศ. ๒๓๑๘-๒๓๒๑ ณ บริเวณบ้านใต้ ซึง่ เป็นสถานทีท่ ที่ า่ นไปพ�านัก เลีย้ งช้างของท่าน และท่านถือว่า เป็นต้นตระกูลเพียขันทา ทีม่ อี ยูใ่ นบ้านยาง พ.ศ.๒๕๕๒ เป็นปีที่วัดโพธิ์ย่อยบ้านยาง มีอายุครบ ๒๕๒ ปี ตั้งแต่ ตั้งวัดมาคณะกรรมการวัดซึ่งมีพระมหาทองสา ฐานิสฺสโร เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ ย่อย รองเจ้าคณะจังหวัดบุรรี มั ย์ จึงน�าชาวบ้านยางทัง้ ๖ หมู่ สร้างอนุสาวรีย์ พ่อเพียขันไว้ให้ลูกหลานบ้านยางได้เคารพสักการะ และเป็นอนุสรณ์ให้ลูก หลานบ้านยางได้สา� นึกในกตัญญูรคู้ ณ ุ บรรพชนผูก้ อ่ ตัง้ บ้านยางและบรรพบุรษุ ของตนสืบไป
366
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ศาลามหาพุทธชยันตีฉลอง ๒๖๐๐ ปีแห่งการตรัสรู้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ศาลากลางน�้า) เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๕๑ พระศรีปริยัติธาดา (ทองสา ฐานิสสฺ โร ป.ธ.๙) ได้กลับมาจ�าพรรษาทีว่ ดั โพธิ์ ย่อยบ้านยาง ได้น�าคณะสงฆ์จัดงานสมโภช ๒๕๒ ปี วัดโพธิ์ย่อยได้บูรณะซ่อมแซมเสนาสนะต่าง ๆ ภายใน วัดและได้ด�าเนินการขออนุญาตตั้งเป็นส�านักปฏิบัติ ธรรมประจ�าจังหวัดขึ้น และได้รับอนุญาตให้ตั้งเป็นวัด ส�านักปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัดบุรีรัมย์แห่งที่ ๔๓ ใน ปีพทุ ธศักราช ๒๕๕๔ ประกอบกับ พุทธศาสนิกชนชาว บ้ า นยาง มี ค วามเห็ น ร่ ว มกั น ที่ จ ะหาทุ น ทรั พ ย์ เพือ่ สมทบทุน ก่อสร้างศาลากลางสระน�า้ ด้านทิศตะวัน ตกของวัด โดยใช้ช่ือว่า “ศาลากลางน�้าพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรูพ้ ระพุทธเจ้า” ขนาดกว้าง ๓๐ เมตร ยาว ๖๐ เมตร ลั ก ษณะทรงไทยภาคอี ส าน การก่ อสร้ า งศาลากลางน�้าดัง กล่าวได้เริ่มขึ้น ตั้งแต่ เดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๕ เป็นต้นมา และเสร็จ สมบูรณ์ในเดือนมีนาคม ๒๕๖๑
อุโบสถ วัดโพธิ์ย่อยบ้านยาง
พระพุทธชินราชจ�าลอง (องค์ทุติยะ)
หลวงพ่อใหญ่ (องค์ปฐม)
ต้นตะเคียนทอง
ต้ น ตะเคี ย นทองต้ น นี้ เดิ ม อยู ่ ที่ วั ง ทบศอก (ล�ามาศมีลักษณะคดงอเหมือข้อศอก) อยู่ในลักษณะไม้ ล้มขวางล�ามาศ ชาวบ้านใช้เป็นสะพานเดินข้ามไปอีกฝัง่ หนึง่ มากว่าร้อยปีแล้ว ก่อนทีจ่ ะได้นา� ต้นตะเคียนต้นนีข้ นึ้ มาไว้ทวี่ ดั นัน้ มีชาวบ้านยางฝันว่า มีนางตะเคียนมาบอก ว่า อยากขึ้นจากล�ามาศไปอยู่วัด เพื่อให้คนได้สักการะ กราบไหว้ บู ช าและอยากอยู ่ ใ กล้ พ ระรั ต นตรั ย เพราะอยู่ในน�้าล�ามาศมานานแล้ว ชาวบ้านจึงมาเล่าให้ พระศรีปริยตั ธิ าดาฟัง ท่านจึงน�าชาวบ้านไปด�าน�า้ ค้นหา และก็พบว่าต้นตะเคียนขัวะตาลายังอยูท่ เี่ ดิม จึงได้ทา� พิธี อัญเชิญต้นตะเคียนขึ้นมาไว้ที่วัดโพธิ์ย่อย
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
ปักหมุดวัดเมืองไทย
367
วัดตลาดชัย
ต� า บลตลาดชั ย อ� า เภอเมื อ งบุ รี รั ม ย์ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์
Wat Talad Chai
Talat Chai Subdistrict, Mueang Buriram District, Buriram Province
ความเป็นมา
วัดตลาดชัย ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นตลาดชัย ต�าบลสองห้อง อ�าเภอ เมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ เริ่มก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ เดิม วัดตลาดชัยเป็นส�านักสงฆ์มาก่อนที่จะด�าเนินการขอตั้งวัดตาม พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ต่อมาจึงได้ด�าเนินขออนุญาตสร้างวัด เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ ได้รับประกาศตั้งวัดเมื่อ วันที่ ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๔
ท�าเนียบเจ้าอาวาส
๑. พระอาจารย์นาค จนทูปโม ๒. พระอาจารย์หลอด ๓. พระอาจารย์หลวงพ่อรือ ๔. พระอาจารย์น้อย คงคปญูโญ ๕. หลวงพ่อเทือน กนตสีโล ๖. พระครูสุตกิจโสภณ
พ.ศ. ๒๕๐๐ – ๒๕๑๐ พ.ศ. ๒๕๑๐ – ๒๕๑๒ พ.ศ. ๒๕๑๒ – ๒๕๑๕ พ.ศ. ๒๕๒๒ – ๒๕๒๔ พ.ศ. ๒๕๒๔ – ๒๕๓๐ พ.ศ. ๒๕๓๐ – ปัจจุบัน
ปูชนียวัตถุเป็นที่เคารพบูชา
- พระธาตุศรีมงคลชัย บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ - พระพุทธศรีมงคลชัย พระประธานอุโบสถ - หลวงพ่อสัมฤทธิ์ พระพุทธรูปโบราณสมัยลพบุรี - พระพุทธเจ้า ๕ พระองค์ ประดิษฐานที่วิหาร - พระพุ ท ธรู ป ปริ นิ พ พาน จ� า ลองแบบมาจากสาลวโนทยาน เมืองกุสินารา ประเทศอินเดีย - หลวงพ่อขาว พระพุทธรูปประดิษฐานที่วิหาร - พระสาวก ๘๐ องค์ และพระสาวิกา ๘๐ องค์
เสนาสนะถาวรวัตถุ
- กุฏิที่พักสงฆ์ - ศาลาการเปรียญและศาลาบ�าเพ็ญกุศล - อุโบสถ - โรงเรียนปริยัติธรรม - วิหารพุทธปรินิพพาน - วิหารพระพุทธเจ้า ๕ พระองค์ - วิหารหลวงพ่อขาว
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
โรงเรียนพระปริยัติธรรมตลาดชัย
โรงเรี ย นปริ ยั ติ ธ รรมตลาดชั ย วิ ท ยา ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ ๑๖๑ หมู่ที่ ๘ ต�าบลสองห้อง อ�าเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๐ เริ่มจากการสอนระดับนักธรรมและ ธรรมศึกษา โดยใช้อาคารศาลาหลังเก่าเป็นสถานที่ท�าการ เรียนการสอน โดยมีพระมหาบุญเทีย่ ง กิตตฺ โิ สภณ เป็นผูส้ อน ท�าการเรียนการสอน ๒ แผนก คือ ๑. แผนกนักธรรม ๒. แผนกบาลี ในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้เปิดสอนระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น มัธยม ๑-๓ โดยพระครูสตุ กิจโสภณ พร้อมด้วยคณะสงฆ์ จังหวัดบุรรี มั ย์ จังหวัดสุรนิ ทร์ และโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม อิสาณวิทยานุสรณ์ โดยใช้อาคารเรียนแบบชั่วคราวในการ เรียนการสอนที่ประชาชนเสียสละแรงงานในการก่อสร้าง อาคารเรียน ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๔๖ พระครูสุตกิจโสภณ พร้อม ด้วยคณะสงฆ์ ๒ ต�าบล คือ ต�าบลสองห้อง ต�าบลเมืองฝาง และชาวบ้ า นทั้ ง ๔ หมู่บ ้าน บ้านตลาดชัย บ้า นสว่าง บ้านกิจสมบูรณ์และบ้านชัยเจริญ ร่วมกันเสียสละทรัพย์ใน การก่อสร้างอาคารเรียนแบบถาวร ๑ หลัง พร้อมทั้งได้ พัฒนาโรงเรียนจนเปิดการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายตามล�าดับจนถึงปัจจุบัน
ค�าขวัญของสถานศึกษา “เน้นคุณธรรม สัมมาปฏิบัติ เรียนรู้หลักวิชาการ สืบสานงานพระพุทธศาสนา”
ปรัชญาของโรงเรียน
“สุวิชาโน โลเก อนุตฺตโร” ผู้รู้ดี เป็นเลิศในโลก
วิสัยทัศน์
โรงเรียนพระปริยัติธรรมตลาดชัย วิทยา มุง่ เน้นส่งเสริมการศึกษาให้มคี ณ ุ ภาพ เพิ่มขึ้นทุกปี พัฒนาบุคลากรให้ท�างานเต็ม ศักยภาพ จัดสิ่งแวดล้อมให้สวยงาม และ เสริ ม สร้ า งศี ล สมาธิ ปั ญ ญา มี วิ ช าการ ก้าวหน้า รักษาคุณธรรม สร้างสรรค์สังคม ให้นักเรียนห่างไกลยาเสพติด
พระครูสุตกิจโสภณ
รองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองบุรีรัมย์ / เจ้าอาวาสวัดตลาดชัย
วั ด หนองบั ว ทอง ต� ำ บลบั ว ทอง อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ Wat Nong Buatong
Buathong Subdistrict, Mueang District, Buriram Province
372
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดหนองบัวทอง ตั้งอยู่เลขที่ ๑ หมู่ที่ ๑ บ้านสวายสอ ต�าบลบัวทอง อ�าเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ตั้งวัด ๒๑ ไร่ ๒ งาน ๕๖ ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ ๔๕๐๙๔ ตั้งอยู่หมู่บ้านสวายสอ ปัจจุบันมี "พระครูปทุมธรรมานุรักษ์" พระถวัลย์ วลฺลโภ ช�าเลืองฤทธิ์ น.ธ.เอก ปริญญาตรี (ศศบ.) ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่งรองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองบุรีรัมย์ และเป็นเจ้า อาวาสวัดองค์ปัจจุบัน ปี ๒๕๖๓มีพระจ�าพรรษา ๑๒ รูป วัดหนองบัวทอง และ เป็นส�านักปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัดบุรีรัมย์แห่งที่ ๑๗ อาณาเขต - ทิศเหนือติดกับที่ดินโรงเรียน การศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) - ทิศใต้ติดกับทางสาธารณประโยชน์ - ทิศตะวันออกติดกับหนองบัวและที่ดินราชพัสดุ - ทิศตะวันตกติดกับถนนทางหลวงสายบุรีรัมย์-สตึก หมายเลข ๒๑๙
ความเป็นมา วัดหนองบัวทอง เป็นวัดเก่าแก่วัด หนึ่งในต�าบลบัวทอง ก่อสร้างขึ้นเมื่อใดไม่มี ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ที่พอเป็นหลักฐานได้ แต่เนื่องจากการบอกเล่าของคนรุ่นก่อน ๆ สืบทอดกันมา โดยเฉพาะการบันทึกประวัติ ส่วนตัวของ พ่อแดง ใหญ่เลิศ ท่านได้เล่าให้ฟงั ว่าท่านเกิดเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๕๑ และ พ.ศ. ๒๔๗๓ ท่ า นได้ บ รรพชาอุ ป สมบท ณ พั ท ธสี ม า วัดโพธิท์ องบ้านยาง ทราบว่า หมูบ่ า้ นสวายสอ หมู่ที่ ๑ ต�าบลบ้านยาง อ�าเภอเมือง จังหวัด บุรีรัมย์ มีพ่อทองอยู่ วานิช ได้มอบที่ดินแปลง นีใ้ ห้เป็นที ่ ก่อสร้างวัด ชาวบ้านจึงพร้อมใจกัน ก่ อ สร้ า งวั ด เมื่ อ วั น ศุ ก ร์ ที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๐ ขึ้น ๖ ค�่า เดือน ๖ ปี เถาะ โดยมี พ ่ อ ทองอยู ่ วานิ ช เป็ น ประธานใน ปักหมุดวัดเมืองไทย
373
การด�าเดินการก่อสร้างขึ้นจึงตั้งชื่อวัดว่า วัดหนองบัวทอง ซึ่งมีหนองบัว เป็น อาณาเขตติดต่อกับสถานที่ก่อสร้างวัด จึงน�าเอาชื่อหนองบัวขึ้นต้น ตั้งเป็นชื่อ วัดว่า วัดหนองบัวทอง และได้ปรึกษาหารือชาวบ้านไปหาหลวงพ่อพา (พระครู วิบูลธรรมาภิรม) เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ทองบ้านยาง ขอความเมตตา จากหลวง พ่อพาช่วยจัดหามาจ�าพรรษา หลวงพ่อพา จึงมอบหมายอนุญาตให้ พระภิกษุ แดง ฉายา ญาณวีโร พรรษา ๗ วิทยฐานะ นักธรรมชั้นตรี วัดโพธิ์ทอง บ้านยางต�าบลบ้านยาง อ�าเภอเมือง จังหวัดบุรรี มั ย์ เป็นพระลูกวัดมาจ�าพรรษา ที่วัดหนองบัวทอง พระภิกษุแดง ญาณวีโร รับนิมนต์ มาจ�าพรรษาในปีนั้น เมื่อวันจันทร์ที่ ๑๙ เดือน เมษายน พุทธศักราช ๒๔๘๐ จุลศักราช ๑๒๙๙ ตรงกับวันขึ้น ๙ ค�่า เดือน ๖ ปีฉลู พระภิกษุแดง ญาณวีโร ได้เป็นประธานสงฆ์ นับตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา แล้วน�าชาวบ้านพัฒนาวัดให้เจริญรุ่งเรื่องขึ้นตาม ล�าดับ ชาวบ้านพร้อมใจกันก่อสร้างเสนาสนะเพื่อเป็นที่พักอาศัยของพระสงฆ์ และเป็นทีบ่ า� เพ็ญบุญกุศลอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ มีพอ่ ทองอยู ่ วานิช เป็นประธานใน การด�าเนินการ ก่อสร้าง วัดหนองบัวทอง นามเจ้าอาวาสในการปกครองและมีการพัฒนามาตามล�าดับ ๑. พระอาจารย์ แดง ญาณวีโร พ.ศ. ๒๔๘๐ – ๒๔๙๐ ๒. พระอาจารย์ สมพงษ์ ยโสธโร พ.ศ. ๒๔๙๐ – ๒๕๒๐ ๓. พระอาจารย์ สุรัจ มหาวีโร พ.ศ. ๒๕๒๐ – ๒๕๒๘ ๔. พระอาจารย์ แก้ว อานนฺโท พ.ศ. ๒๕๒๙ – ๒๕๓๐ ๕. พระครูปทุมธรรมานุรักษ์ พ.ศ.๒๕๓๐ – ถึงปัจจุบัน
374
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระครูปทุมธรรมานุรักษ์ (ถวัลย์ วลฺลโภ ) ชือ่ พระครูปทุมธรรมานุรกั ษ์ ฉายา วลฺลโภ อายุ ๖๕ ปี พรรษา ๔๓ วิทยาฐานะ น.ธ. เอก วัดหนองบัวทอง ต�าบบัวทอง อ�าเภอเมือง จังหวัดบุรีรมย์ จบการศึกษาระดับอุดมศึกษา ปริญญาตรี ศิลปาศาสตร์บัณฑิต สาขาโปรแกรมพัฒนาชุมชน (ศศบ.) จากมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่ง - เป็นรองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองบุรีรัมย์ - เป็นเจ้าอาวาสวัดหนองบัวทอง ต�าบลบัวทอง อ�าเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ - เป็นพระครูสัญญาบัตร ชั้นเอก - เป็นพระอุปชั ฌาย์ในเขตต�าบลบัวทอง ประจ�าต�าบลบัวทอง อ�าเภอเมืองบุรีรัมย์ - เป็นพระธรรมทูต ผ่านการอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมพระ ธรรมทูต รุ่นที่ ๑๘ ตามใบตราตั้ง เลขที่ ๑๘๗/๒๕๓๘ จาก โรงเรี ย นฝึ ก สอนอบรมพระธรรมทู ต จากวั ด ปากน�้ า เขต ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร - เป็นประธาน ส�านักปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัดบุรีรัมย์ แห่ง ที่ ๑๗ ประจ�า วัดหนองบัวทอง ต�าบลบัวทอง อ�าเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ สถานเดิม ชื่อถวัลย์ นามสกล ชาเลืองฤทธิ์ เกิดเมื่อวันที่ ๑๒ เดือนตุลาตม พ.ศ. ๒๔๙๘ บิดา นายวาล มารดา นางสลาด ชาเลืองฤทธิ์ บ้านเลขที่ ๓๙ หมู่ที่ ๑ บ้านสวายสอ ต�าบล บัวทอง อ�าเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ บรรพชาและอุปสมบท เมื่อวันที่ ๓ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๐ ณ พัทธสีมา วัดอิสาณ ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ พระอุปัชฌาย์ พระเมธีธรรมาราม วัดอิสาณ ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ พระกรรมวาจารย์ พระสาลี วัดอิสาณ ต�าบลในเมือง อ�าเภอ เมือง จังหวัดบุรีรัมย์ พระอนุสาวนาจารย์ พระบัวรอง วัดอิสาณ ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ การศึกษา - พ.ศ. ๒๕๒๔ สอบได้นักธรรมประโยคนักธรรมชั้น เอก ส�านักศาสนศึกษา จังหวัดบุรีรัมย์ - พ.ศ. ๒๕๓๖ ส�าเร็จการศึกษา อบรมหลักสูตรฝึกหัด ครูสอนพระปริยัติธรรม วัดโพธิสมภรณ์จังหวัดอุดรธานี ตาม ใบตราตั้ง เลขที่ วุฒิบัตร ๓/๔๙/๒๕๓๖ - พ.ศ. ๒๕๔๔ ส�าเร็จการศึกษาอุดมศึกษาระดับ ปริญญาตรี ศิลปะศาสตร์บณ ั ฑิต (ศศบ.) จากสถาบันมหาวิทยาลัย ราชภัฏบุรีรัมย์ สังกัดวัดหนองบัวทอง
งานด้านการปกครอง - พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้รับแต่งตั้งเป็นรองเจ้าคณะอ�าเภอ เมืองบุรรี มั ย์ - พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้ า อาวาส วัดหนองบัวทอง ต�าบลบัวทอง อ�าเภอเมืองบุรรี มั ย์ - พ.ศ. ๒๕๓๙ ได้รับแต่งตั้งเป็น เจ้าคณะต�าบล บัวทอง ต�าบลบัวทอง อ�าเภอเมืองบุรรี มั ย์ - พ.ศ.๒๕๕๔ ได้รบั พระราชทานสมณศักดิส์ ญ ั ญาบัตร พัดยศ เจ้าคณะต�าบล ชัน้ เอก - พ.ศ.๒๕๔๑ ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ ประจ�าต�าบลบัวทอง อ�าเภอเมือง จังหวัดบุรรี มั ย์ - พ.ศ.๒๕๕๕ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นประธาน ส�านักปฏิบตั ิ ธรรมประจ�าจังหวัดบุรรี มั ย์ แห่งที ่ ๑๗ ประจ�าวัดหนองบัวทอง ต�าบลบัวทอง อ�าเภอเมือง จังหวัดบุรรี มั ย์ - พ.ศ.๒๕๓๘ ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น พระธรรมทู ต ประจ�าวัดหนองบัวทอง ต�าบลบัวทอง อ�าเภอเมือง บุรรี มั ย์
พระครูปทุมธรรมานุรักษ์ (ถวัลย์ วลฺลโภ ) รองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองบุรีรัมย์ เจ้าอาวาสวัดหนองบัวทอง
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
375
วัดกลันทาราม
ต� า บลกลั น ทา อ� า เภอเมื อ งบุ รี รั ม ย์ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์
Wat Klan Tha Ram
Klan Tha Subdistrict, Mueang Buri Ram District, Buriram Province 376
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระธาตุบุรีรัมย์ พระพุทธองค์ด�ามหาเจดีย์ วัดกลันทาราม วัดกลันทาราม ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๒ ต�าบลกลันทา อ�าเภอเมือง จังหวัดบุรรี มั ย์ มี ป ระวั ติ ค วามเป็ น มาในการก่ อ ตั้ ง วั ด ตั้งแต่เมื่อมีประชาชนอพยพมาอาศัยอยู่ มากขึ้นเมื่อร้อยปีก่อน ได้มีชาวบ้านผู้ ศรัทธาคือ พ่อใหญ่ทา ค�าเกิด พ่อใหญ่ริน กระแสโสม และ ตาอัก ชาวกลันทา ได้ บริจาคที่ดินรวม ๑๕ ไร่ เพื่อสร้างวัด กลันทารามให้เป็น ศูนย์ศรัทธารวมใจของ ชาวบ้ า น เริ่ ม สร้ า งวั ด ขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ. ๒๔๙๖ เจ้าอาวาสวัดรูปก่อน ๆ ได้น�า ศรัทธาชาวบ้านดูแลรักษาพัฒนาวัดมา
โดยล�าดับมาถึงพระอธิการสวิง อตฺตโม เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ท่านได้เร่งพัฒนา วั ด ในปี พ.ศ. ๒๕๔๒ พระครู ป ริ ยั ติ โพธิวเิ ทศ (ดร.พระมหาคมสรณ์ คุตตฺ ธมฺโม) เจ้าอาวาสวัดไทยเชตะวันมหาวิหารนคร สาวัตถี สาธารณรัฐอินเดีย ท่านเป็นพระ ธรรมทูตสายอินเดีย - เนปาล และเป็น ลู ก หลานชาวกลั น ทา ได้ น� า ศรั ท ธา ญาติ โ ยมสายบุ ญ พุ ท ธภู มิ มาท� า บุ ญ ทอดกฐินประจ�าทุกปีด�าเนินช่วยพัฒนา วัดด้านต่าง ๆ จนมีถาวรวัตถุสิ่งก่อสร้าง เช่น โบสถ์ ศาลาเอนกประสงค์ เมรุ กุฏิ สงฆ์ ห้องน�้า ห้องสุขา เป็นต้น ปัจจุบันวัดกลันทารามได้สร้าง วิหารพร้อมอัญเชิญพระองค์ด�าที่สร้าง ด้วยหินด�าเมืองนาลันทา ประเทศอินเดีย มาประดิษฐานให้กราบบูชาสักการะที่
พระอธิการสวิง อุตฺตโม เจ้าอาวาสวัดกลันทาราม
ปักหมุดวัดเมืองไทย
377
วัดโดยไม่ต้องเดินทางไปถึงอินเดียแล้ว และทุกวันนี้ได้มีพุทธศาสนิกชนผู้ทราบ ข่าวได้เดินทางมาสักการะ เป็นจ�านวน มาก และได้ เริ่ ม การก่ อ สร้ า งพระธาตุ บุรีรัมย์ พุทธองค์ด�ามหาเจดีย์เพื่อให้เป็น พระธาตุ เจดี ย ์ ที่ ส� า คั ญ ของจั ง หวั ด เพื่ อ บรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุและพระพุทธรูป จาก ๙ ประเทศ พระธาตุ บุ รี รั ม ย์ นี้ประกอบด้วยพิธีวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที ่ ๑๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ โดย พล.อ. สุรยุทธ จุลานนท์ องคมนตรี พิธเี ทเสาเอก วั น ที่ ๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ โดย นายด�ารงชัย เนรมิตตกพงศ์ รองผู้ว่าฯ
378
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประเพณี กิจกรรม ส�าคัญประจ�าวัด เ ท ศ ก า ล บู ช า ท า น�้ า มั น พระพุทธองค์ด�า ทุก ๆ วันที่ ๙ – ๑๕ เมษายน ของทุกปี ท�าเนียบเจ้าอาวาส ๑. พระอาจารย์หยีง ๒. พระอาจารย์แปลก ๓. พระอาจารย์เล ฐานะจาโร ๔. หลวงพ่อสี ๕. หลวงพ่อปรั่น ๖. พระอธิการสุนทร อคฺควรฺโณ ๗. พระอธิการสวิง อุตฺตโม
ประวัติหลวงพ่อพระพุทธองค์ด�า หลวงพ่อพระพุทธองค์ดา� จากบันทึก ของ ปิลาซิง นักโบราณคดีอินเดียท�าให้เรา ได้ทราบว่า พระพุทธรูปพระพุทธเจ้าองค์ดา� นี้ สร้างเมือ่ สมัยพระเจ้าเทวาปาล คือ ระหว่าง พ.ศ. ๑๓๕๓ – ๑๓๙๓ และถ้ า หาก ท่านทราบประวัติความเป็นมามากกว่านี้ ท่านจะรู้สึกศรัทธาและประหลาดใจเป็นแน่ เพราะเป็นพระพุทธรูปองค์เดียวเท่านั้น ที่ เหลือจากการท�าลายของคนศาสนาอื่นได้ อย่างไม่น่าเชื่อ กล่าวคือ เมื่อ พ.ศ. ๑๗๖๖ ชาวมุสลิมกลุ่มหนึ่งได้ใช้วิธีเผยแผ่ศาสนา
ปักหมุดวัดเมืองไทย
379
380
ปักหมุดวัดเมืองไทย
โดยใช้กา� ลังอาวุธ ถ้าใครไม่นบั ถือศาสนา ของตนจะต้องถูกท�าร้าย โดยเฉพาะผู้ที่ นั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธถื อ ว่ า เป็ น ศั ต รู ตั ว ส�าคัญ จะต้องถูกท�าลาย ไม่วา่ จะเป็นคน หรือทรัพย์สมบัติในพระพุทธศาสนา จน กระทัง่ เข้ายึดครองดินแดนชมพูทวีปฝ่าย เหนือได้ทั้งหมด ด้วยการใช้ก�าลังอ�านาจ เข้าห�า้ หัน่ ฆ่าฟัน ข่มเหง และย�า่ ยีดว้ ยวิธี การต่าง ๆ นานา ซึ่งมี อิคเทียร์ซิลจิ เป็น หัวหน้าพาสมัครพรรคพวก เอาอาวุธเข้า ห�้ า หั่ น ชาวพุ ท ธ ทุ บ ท� า ลายเผาต� า รา สถานที่ ส� า คั ญ ทางพระพุ ท ธศาสนา
เหลื อ ไว้ แ ต่ ซ ากปรั ก หั ก พั ง เป็ น ที่ น ่ า เสียดายยิ่งนัก จากการบันทึกของท่าน ตารนาท ธรรมสวามิน นักปราชญ์เขียน เอาไว้ พอกองทัพมุสลิมยกทัพกลับไป แล้ว พระ นักศึกษา และพระอาจารย์ ที่ มหาวิทยาลัยสงฆ์นาลันทา ซึ่งเหลือรอด ชีวติ ประมาณ 70 รูป จากจ�านวนนับหมืน่ รู ป ก็ พ ากั น ออกมาจากที่ ซ ่ อ น ท� า การ ส�ารวจข้าวของทีย่ งั หลงเหลืออยู ่ รวบรวม เท่าที่จะหาได้ปฏิสังขรณ์ตัดทอนกันเข้า ก็พอได้ใช้สอยกันต่อมา
และท่านมุทติ าภัทร รัฐมนตรีของกษัตริย์ ในสมัยนัน้ ได้จดั ทุนทรัพย์จา� นวนหนึง่ ส่ง ไปจากแคว้นมคธ เพือ่ ช่วยเหลือซ่อมแซม ปฏิสังขรณ์วัดวาอารามที่นาลันทาขึ้นมา ใหม่แต่กท็ า� ได้บางส่วนเท่านัน้ แต่แล้ววัน หนึ่งได้มีชูชก ๒ คน เข้ามาวางอ�านาจ ท� า ตั ว เป็ น ผู ้ มี อิ ท ธิ พ ลทางศาสนา จนกระทั่ง ๑๒ ปีผ่านไป ๒ ชูชกก็วางตน เขื่องอยู่ มาถึงคราวหนึ่ง ทั้ง ๒ ชูชกได้ ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาขึ้นและคง คิดว่าเพียงพอแล้วทีจ่ ะอยูท่ นี่ ตี่ อ่ ไปจึงได้ รวบรวมเศษไม้ แล้วก่อไฟขึ้น พร้อมทั้ง ขว้างปาดุ้นฟืนที่ติดไฟไปตามสถานที่ ต่าง ๆ โดยรอบ จนกระทั่งเกิดไฟลุกไหม้ ไปทัว่ มหาวิทยาลัยสงฆ์นาลันทาอันเลือ่ ง ชื่อลือนามก็เป็นอันสิ้นสุดลง ถูกปล่อย ให้ ร กร้ า งว่ า งเปล่ า มาตั้ ง แต่ บั ด นั้ น จนกระทัง่ ชาวอังกฤษเข้ายึดครองอินเดีย ได้ มี นั ก โบราณคดี ช าวอั ง กฤษคนหนึ่ ง ชื่ อ ท่ า นนายพล เซอร์ อ เล็ ก ซานเดอร์ คันนิงแฮม หรือที่ชาวไทยเรียกท่านว่า ท่านเซอร์คันนิงแฮม ได้อ่านบันทึกของ พระถังซัมจั๋ง ซึ่งเป็นพระจีนที่เคยเดิน ท า ง ไ ป ศึ ก ษ า พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ที่ มหาวิทยาลัยสงฆ์นาลันทาถึง ๑๔ ปี ได้ บั น ทึ ก เหตุ ก ารณ์ และสถานที่ ส� า คั ญ ต่าง ๆ เอาไว้อย่างละเอียด เมื่อท่าน เซอร์คันนิ่งแฮมได้อ่านดูแล้ว จึงได้มอบ หมายให้ เอ.เอ็ ม .พรอดเล่ ย ์ และ ดร.สปู น เนอร์ ผู ้ ช ่ ว ยเข้ า ไปค้ น หา ปูชนียวัตถุ ตามที่บันทึกนั้น ก็ปรากฏว่า ได้พระพุทธรูปมากมายหลายองค์ ส่วน มากจะเสียหายหักบิน่ จากการถูกท�าลาย ของมุสลิมดังกล่าว จึงส่งเข้าไปรักษาไว้ที่
พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ป ระเทศอั ง กฤษ ส่ ว นพระ พุทธรูป หลวงพ่อพระพุทธรูปองค์ด�า นัน้ ไม่ทราบว่า เป็นเพราะเหตุใดจึงไม่ถกู ส่งไปอังกฤษด้วย และเป็นพระพุทธรูป องค์เดียวที่ยังคงความสมบูรณ์ที่สุด สรุปแล้วก็คอื พระพุทธรูปองค์ดา� นั้นเป็นพระพุทธรูปองค์ที่มีองค์สมบูรณ์ เหลือรอดจากการถูกท�าลายของมุสลิม และไม่ ถู ก อั ง กฤษยึ ด ไปหากมองจาก ภาพทั่ว ๆ ไปแล้วพระพุทธรูปองค์ด�านี้ มี ข นาดใหญ่ แ ละประดิ ษ ฐานตั้ ง ไว้ บนฐานที่ มั่ น คงยากล� า บากต่ อ การ เคลื่อนย้าย แต่ตามค�าบอกเล่าทราบว่า ในกาลภายหลั ง ทางรั ฐ บาลอิ น เดี ย พยายามที่จะย้ายท่านไปเก็บรักษาไว้ ภายในพิพิธภัณฑ์เมืองนาลันทาซึ่งเก็บ รวบรวมหลั ก ฐานพระพุ ท ธรู ป ต่ า ง ๆ ที่ ค ้ น พบในบริ เ วณนาลั น ทา และ กรุงราชคฤห์ ทุกครั้งที่มีการโยกย้ายมัก เกิดเหตุอาเพศที่ไม่คาดฝันเสมอ เช่น ฝนตกอย่างหนัก เกิดฟ้าผ่าอย่างรุนแรง เป็นต้น เป็นเหตุให้การโยกย้ายองค์พระ ไม่ส�าเร็จ และชาวบ้านก็มาดูแลรักษา หลวงพ่ อ องค์ ด� า ไว้ เรี ย กนามว่ า เตลิย่าบาบา แปลว่า หลวงพ่อน�้ามัน
เพราะบางวันจะมีน�้ามันไหลออกมาจาก องค์ทา่ น เวลาชาวบ้านเกิดเจ็บป่วยขึน้ มา ก็ จ ะน� า น�้ า มั น มาลู บ องค์ พ ระแล้ ว อธิษฐานขอให้หลวงพ่อองค์ดา� รักษาโรค ต่าง ๆ ก็เป็นมหัศจรรย์ว่า โรคต่าง ๆ ได้ ถู ก รั ก ษาด้ ว ยพลั ง ความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข อง องค์พระ จนถึงปัจจุบัน ชาวพุทธผู้แสวง บุญชาวไทยต่างก็เดินทางไปสักการะและ อธิษฐานขอพรจากหลวงพ่อองค์ด�าท่าน ปักหมุดวัดเมืองไทย
381
ก็สามารถรักษาโรคต่าง ๆ ก็หายได้ นับว่าเป็นเรื่องมหัศจรรย์ยิ่งนัก หากมี โอกาสก็ อย่ า ลื ม ไปสัก การะหลวงพ่อ พุทธองค์ดา� ปฐม ได้ทนี่ าลันทารัฐพิหาร ประเทศอินเดีย แนวความคิ ด ในการสร้ า ง พระธาตุบุรีรัมย์พระพุทธองค์ด�ามหา เจดีย์ ๑. เป็นแผ่นดินมาตุภูมิบ้าน เกิด วัดกลันทาราม จังหวัดบุรรี มั ย์ มีชอื่
382
ปักหมุดวัดเมืองไทย
คล้ายเมืองนาลันทาอินเดีย บ้านเกิดพระ สารีบตุ ร อัครสาวก ทีป่ ระดิษฐานพระพุทธ องค์ดา� จนมีแนวคิดจะมีการเปลีย่ นจากชือ่ วั ด กลั น ทาราม เป็ น วั ด นาลั น ทา ใน อนาคต เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ วั ด ที่ ประดิษฐานพระพุทธองค์ด�า ๒. เพื่อให้พุทธศาสนิกชนผู้ไม่มี โอกาสไปไหว้พระพุทธองค์ด�าที่นาลันทา ประเทศอินเดียได้มากกราบไหว้สักการะ ได้ที่วัดกลันทารามเมืองไทยเรา ๓. เพื่อสร้างสถานที่ที่ศักดิ์สิทธิ์ ขึ้นเป็นพุทธสถาน รวมสถานที่ส�าคัญจาก พุทธภูมิ ให้เป็นศูนย์กลางแห่งศรัทธา ควร บูชาสักการะทีส่ า� คัญประจ�าจังหวัดบุรรี มั ย์ ๔. เมื่อพระธาตุบุรีรัมย์พระพุทธ องค์ด�ามหาเจดีย์สร้างส�าเร็จ จะเป็นแหล่ง ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมที่ส�าคัญอันจักน�า ความเจริญด้านอื่น ๆ ตามมาโดยล�าดับ ๕. จักขยายผลพัฒนาด้านการ ศึกษาพระพุทธศาสนาทีส่ า� คัญดุจ นาลันทา มหาวิทยาลัยสงฆ์ในอดีตทีเ่ คยเจริญรุง่ เรือง
ผลที่จะได้รับคือ ๑. จังหวัดบุรีรัมย์จะมีสถานที่ ศักดิ์สิทธิ์ พุทธสถานจากพุทธภูมิที่ส�าคัญ ของจังหวัด ๒. วัดกลันนาทาราม จะเปลี่ยน เป็นชือ่ วัดนาลันทา ตรงกับพุทธสถานและ พุทธประวัตทิ อ่ี นิ เดีย ชาวพุทธจักได้ศกึ ษา พุทธสังเวชนียสถานที่จ�าลองจากอินเดีย ณ ที่จังหวัดบุรีรัมย์ ๓. หมูบ่ า้ นกลันทา และหมูบ่ า้ น ใกล้เคียงจักได้รับอานิสงส์ ทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม ชีวิต และพัฒนาท้องถิ่น ด้านอื่น ๆ ๔. เมื่อนักท่องเที่ยวเดินทางมา บุ รี รั ม ย์ ไ ด้ ช มปราสาทหิ น เขาพนมรุ ้ ง , แข่งรถ, ฟุตบอล ยังได้มาบูชาสักการะ พระพุทธองค์ดา� จากอินเดีย ทีว่ ดั กลันทาราม ซึ่งอยู่ไม่ไกลจากตัวจังหวัด บัดนีพ้ ระพุทธองค์ดา� สลักหินด�า อินเดียจากนาลันทา บ้านเกิดพระอัครสาวก พระสารี บุ ต ร และพระโมคคั ล ลานะ ในแดนพุทธภูมไิ ด้มาสูบ่ รุ รี มั ย์แล้ว ขอเชิญ ไปกราบบูชาสักการะได้ตามศรัทธา และ วั ด ก� า ลั ง ด� า เนิ น การก่ อ สร้ า งพระธาตุ บุรีรัมย์พระพุทธองค์ด�ามหาเจดีย์ บน พืน้ ที ่ ๒๕ ไร่ พร้อมเตรียมด�าเนินการสร้าง เวชนียสถานจ�าลอง ๔ ต�าบล และเจดีย์ ประจ�าวันเกิด จักเป็นบุญเขตที่ศักดิ์สิทธิ์ ส�าคัญของบุรีรัมย์ ในเวลาอันใกล้นี้
พระธาตุบุรีรัมย์พุทธองค์ด�ามหาเจดีย์ วัดกลันทาราม ต�าบลกลันทา อ�าเภอเมือง จังหวัดบุรรี มั ย์ ก�าลังด�าเนินการ ก่อสร้าง ขอเชิญมาร่วมบุญใหญ่สร้างพระธาตุอีกแห่งให้ปรากฏ ณ จังหวัดบุรีรัมย์ แผ่ น ดิ น ไทยแผ่ น ดิ น ธรรมกั น เถิ ด อธิ ษ ฐานบุ ญ ที่ ส� า เร็ จ สมปรารถนา โอนทรัพย์ร่วมบุญนี้ได้ที่ บัญชีวัดกลันทาราม ธนาคารกรุงเทพ สาขา บุรีรัมย์ เลขที่ ๒๙๗-๔-๖๑๒๖๙-๕ ขออนุโมทนาทุกส่วนแห่งบุญทุก ๆ ท่านด้วยความยินดียิ่ง โทร. ๐๘-๙๒๘๖-๒๑๘๑ , ๐๘-๐๖๙๘-๗๔๗๘
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
383
วัดบ้านโจด หนองฮาง
ต� า บลปะเคี ย บ อ� า เภอคู เ มื อ ง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์
Wat Ban Chot - Nong Hang
Pak Kiab Subdistrict, Khu Mueang District, Buriram Province
ความเป็นมา
วัดบ้านโจด ตัง้ อยูเ่ ลขที ่ ๑๑๙ หมูท่ ี่ ๕ ต�าบลปะเคียบ อ�าเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย โดยเริ่มการสร้างวัดเมื่อวันที่ ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ เดิมเรียกที่พักสงฆ์ “วัดราษฎร์บ�ารุง” และในเวลา ต่ อ มาได้ เ ปลี่ ย นเป็ น “วั ด บ้ า นโจด” ตามชื่ อ ที่ ตั้ ง ของหมู ่ บ ้ า น ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ ๑๗ มิ ถุ น ายน พ.ศ. ๒๕๔๐ เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๒๘ เมตร ยาว ๕๗ เมตร
384
ปักหมุดวัดเมืองไทย
อาคารเสนาสนะประกอบด้วย อุโบสถ ๑ หลัง ทีไ่ ด้รบั พระราชทานเขตวิสงุ คามสีมา และ ก่ อ สร้ า งขึ้ น เพื่ อ ให้ พ ระภิ ก ษุ ส งฆ์ แ ละชุ ม ชนได้ ใช้ เ ป็ น สถานที่ ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ปฏิบัติศาสนกิจของคณะสงฆ์หรือ สวดมนต์ ปฏิบัติธรรมของพุทธศาสนิกชนในชุมชน และยังมีศาลา การเปรียญ ศาลาอเนกประสงค์ กุฏิ โรงครัว ห้องน�้า เมรุ ศาลา ธรรมสั ง เวช ศู น ย์ ศึ ก ษาพระพุ ท ธศาสนาวั น อาทิ ต ย์ และ ประดิษฐานพระพุทธรูปพระพุทธมุนีศรีนเรศวร อีกด้วย
พระครูวีรสุทธรรมาภรณ์ เจ้าคณะอ�าเภอคูเมือง เจ้าอาวาสวัดบ้านโจด หนองฮาง
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
385
วัดเขาพระอังคาร ต� า บลเจริ ญ สุ ข อ� าวั เภอเฉลิ ม พระเกี ย รติ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ด............... อ� ำ เภอเขมรำฐ จั ง หวั ด อุ บ ลรำขรำนี
Wat Khao Pra Angkhan Charoen Suk Subdistrict, Chaloem Phra Kiat District, Buriram Province WAT................
Khemarat sub-district, Khemarat District, Ubon Ratchathani Province
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
วัดเขาพระอังคาร สร้างเมือ่ สมัยใดไม่มี
ใครทราบ แต่ สั น นิ ษ ฐานว่ า สร้ า งก่ อ นปราสาท เขาพนมรุ ้ ง ในสมั ย ที่ ข อมเรื อ งอ� า นาจและ นั บ ถื อ ศาสนาพราหมณ์ อาจเป็ น สาเหตุ ที่ ท� า ให้ พระพุทธศาสนาถูกอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ เข้ า ครอบครอง สถานที่ ศั ก ดิ์ แ ห่ ง นี้ จึ ง ขาดการ ทะนุ บ� า รุ ง รั ก ษาจากผู ้ ค นมานั บ เป็ น พั น ๆ ปี บนวั ด เขาพระอั ง คารมี โ บราณวั ต ถุ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ควรแก่ ก ารสั ก การะบู ช า คื อ พระอั ง คารธาตุ รอยพระพุทธบาทจ�าลอง ใบเสมาศิลาแดง ๘ คู่ ๘ ทิศ แผ่นเสมาศิลาแลงแกะสลักเป็นรูปต่าง ๆ โดย มีรูปเสมาธรรมจักรอันเป็นสัญลักษณ์ของพระพุทธ ศาสนา ต่อมาเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๑ หลวงพ่อก้อน ยโสธโร วัดโพธารามบ้านผักหวาน ต�าบลถนนหัก อ�าเภอนางรอง ได้รับสมณศักดิ์เป็น พระครูโสภณ ธรรมคุต ต�าแหน่งเจ้าคณะอ�าเภอนางรอง ได้นา� พระ ภิกษุสามเณรและญาติโยมบ้านผักหวาน มาสร้าง ศาลาเก็บรอยพระพุทธบาทจ�าลอง เพือ่ ท�าบุญเดือน ๖ เป็นประจ�าทุกปี ต่อมา พ.ศ. ๒๔๙๔ พระครูโสภณ ธรรมคุต ได้มรณภาพลง โบราณวัตถุก็ขาดการ ท�านุบ�ารุง จะมีแต่ชาวบ้านในละแวกใกล้เคียง เช่น บ้านเจริญ บ้านหนองสะแก บ้านป่ารัง มาท�าบุญ ตักบาตรเพื่อท�าพิธีบวงสรวงขอฝนทุกปี พ.ศ. ๒๔๙๗ หลวงพ่อบุญมา ธมฺมโชโต เจ้า อาวาสวัดเจริญสุข ได้น�าญาติโยมบ้านเจริญสุขและ บ้านละเวกใกล้เคียงท�าถนนขึน้ ไปบนเขาพระอังคาร เพื่ อ สะดวกในการเดิ น ทางขึ้ น ไปท� า บุ ญ บนเขา
388
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระอังคารในเดือน ๑๐ โดยใช้เกวียนเป็นพาหนะ ต่อมา พ.ศ. ๒๕๐๐ หลวงพ่อบุญมา ธมฺมโชโต ได้ไปศึกษาปฏิบัติธรรมสมถกรรมฐานและ วิปัสสนากรรมฐานที่ วัดมหาธาตุ กรุงเทพฯ เมื่อกลับมารับนิมนต์จาก ผู้ใหญ่และข้าราชการให้ไปจัดสร้างส�านักปฏิบัติธรรมที่ วัดเขากระโดง จังหวัดบุรรี มั ย์ ก่อนไปหลวงพ่อบุญมาได้ทา� นายไว้วา่ “ตัวท่านบุญบารมี ยังน้อย ไม่สามารถจะสร้างเขาพระอังคารให้เจริญรุ่งเรืองได้ ต่อไปจะ มีผมู้ บี ญ ุ บารมีมาสร้างเขาพระอังคารให้เจริญรุง่ เรืองได้ หินก็จะขายได้ และจะมีพาหนะยวดยานขึ้นลงมากมาย” หลังจากนั้นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ บนเขาพระอังคารจึงรกร้างขาดผู้ดูแลรักษา ปีหนึ่งจะมีเฉพาะชาวบ้าน ใกล้เคียงขึ้นไปท�าบุญตักบาตรท�าบุญบวงสรวงขอฝนปีละครั้ง พ.ศ. ๒๕๒๐ พระอาจารย์ ป ั ญ ญา วุ ฒิ โ ส จากส� า นั ก ถ�้ า ผาแดง จั ง หวั ด อุ ด รธานี ได้ นั่ ง ปฏิ บั ติ ธ รรมกั ม มั ฏ ฐานได้ นิ มิ ต เห็ น หลวงปู ่ วิ ริ ย ะเมฆ ซึ่ ง เป็ น ผู ้ ส� า เร็ จ อรหั น ต์ ป ระทั บ อยู ่ บนเขาพระอังคาร มาอาราธนาท่านให้ไปท�าการก่อสร้างปฏิสังขรณ์ ปูชนียวัตถุอันล�้าค่ามี พระอังคารธาตุ ใบเสมาศิลาแดง ๘ คู่ ๘ ทิศ และ รอยพระพุทธบาทจ�าลอง เพื่อเป็นการเผยแผ่พระพุทธศาสนา สืบทอด ประเพณีของพระพุทธองค์ให้เจริญรุ่งเรืองให้แล้วเสร็จภายใน ๑๐ ปี ใน เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๒๐ พระอาจารย์ปัญญา วุฒิโส ได้เดินธุดงค์มายัง เขาพระอังคารได้พบเห็นวัตถุโบราณตามที่หลวงปู่วิริยะเมฆ นิมิตให้ทุก อย่าง จึงได้จัดตั้งส�านักปฏิบัติธรรมเรื่อยมา และมีญาติโยมจากหมู่บ้าน ใกล้เคียงและต่างจังหวัดมารักษาศีลปฏิบัติธรรมอยู่เป็นประจ�า จนถึงปัจจุบนั พระครูพนมธรรมาภินนั ท์ (ไสว นนฺทสาโร) ด�ารง ต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดเขาพระอังคาร ท่านได้ท�านุบ�ารุงวัดและส่งเสริม สนับสนุนการฝึกปฏิบตั วิ ปิ สั สนากรรมฐานตามรอยบูรพาจารย์มาโดตลอด
โบราณวัตถุเก่าแก่และสิ่งก่อสร้างใหม่
๑) ใบเสมาหินบะซอลท์ สมัยทวารวดีซึ่งพบเพียง แห่งเดียวในประเทศไทยตั้งอยู่รอบอุโบสถ ใบเสมา เหล่ า นี้ มี ภ าพสลั ก รู ป บุ ค คล สถู ป ดอกบั ว และ ธรรมจักร สันนิษฐานว่าสร้างขึน้ ในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๔ อายุประมาณ ๑,๓๐๐ ปี เป็นหลักฐานว่าที่นี่ เคยเป็นพุทธสถานมาแต่โบราณ ๒) รอยพระพุทธบาทจ�าลอง ๓) พระอั ง คารธาตุ เป็ น สิ่ ง ควรสั ก การะบู ช าได้ ประดิษฐานไว้บนอุโบสถ ๔) พระพุทธรูปปางมารีวิชัยรอบอุโบสถ ๑๐๙ องค์ ๕) ต�าหนักเสด็จปู่วิริยะเมฆ ๖) พระนอนขนาดใหญ่ ๗) มณฑปประดิษฐานพระพุทธรูป ๘) พระมหาสังกัจจายนะ ๙) ศาลเจ้าแม่กวนอิม ๑๐) ศาลาปฏิบัติธรรม
พระครูพนมธรรมาภินนั ท์
เจ้าคณะต�าบลเจริญสุข / เจ้าอาวาสวัดเขาพระอังคาร ปักหมุดวัดเมืองไทย
389
390
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ความเป็นมาของภูเขาพระอังคาร
ภู เขาพระอั ง คาร เดิ ม ชื่ อ ภู เขาลอย เหตุ ที่ เรียกว่า ภูเขาพระอังคาร เพราะตามประวัติลายแทง ธาตุพนมกล่าวไว้ว่า เมื่อ พ.ศ. ๘ ได้มีพญาทั้ง ๕ ได้นา� พระอุรังคธาตุของพระพุทธเจ้าไปบรรจุที่พระธาตุพนม จั ง หวั ด นครพนม โดยมี พ ระมหากั ส สปเถระและพระ อรหั น ต์ ๕๐๐ องค์ เ ป็ น ประธาน อี ก พวกหนึ่ ง ได้ น� า พระอังคารธาตุของพระพุทธเจ้ามาประดิษฐ์บรรจุไว้บน ภูเขาลอย ตามประวัติว่า เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จเข้าสู่ พระปรินิพพานที่เมืองกุสินารา หลังจากถวายพระเพลิง พระบรมศพแล้วโทณพรามหมณ์จึงเอาทะนานทองตวง ธาตุพระอังคาร (ขีเ้ ถ้า) ให้มา เมือ่ ได้พระอังคารธาตุจงึ เดิน ทางกลับมาทางทิศอีสานใต้ พอถึงเขาลูกหนึง่ คือภูเขาลอย มีรูปลักษณะสวยงาม รูปร่างนั้นเหมือนรูปพญาครุฑนอน คว�่าหน้า จึงมีความคิดว่าน่าจะน�าพระอังคารธาตุบรรจุไว้ ที่แห่งนี้ เมี่อลงความเห็นเป็นอันเดียวกันแล้วจึงได้สร้าง สถานทีบ่ รรจุพระอังคารธาตุไว้ทไี่ หล่ขา้ งซ้ายของพญาครุฑ และเปลี่ยนชื่อ ภูเขาลอย เป็น ภูเขาพระอังคาร ตั้งแต่ บัดนั้นเป็นต้นมา ลักษณะของเขาพระอังคาร เป็นเนินเขาฐานกว้าง เกิดจากการปะทุของภูเขาไฟในยุคควอเทอร์นารี เมื่อ ประมาณ ๗๐๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว หากมองจากที่สูงจะมอง เห็นเป็นรูปพญาครุฑที่ก�าลังกระพือปีก หรือคว�่าหน้าหัน หัวไปทางทิศใต้ โดยมีปากปล่องใหญ่อยูท่ เี่ ขากระดูกซึง่ เป็น จุดสูงสุด เกิดจากการหลอมละลายปะทุออกมาแล้วเย็นตัว เร็ว จึงพอกสะสมตัวในทางดิง่ กลายเป็นเนินเขาสูงชันแบบ Plug dome รอบเขากระดูกเป็นแอ่ง Caldera ซึง่ เกิดจาก การทรุดถล่มของปากปล่องภูเขาไฟ โดยเป็นตัวอย่างที่ ชัดเจนที่สุดในประเทศไทย วัดเขาพระอังคารตั้งอยู่ตรง ขอบของแอ่งนี้
ปักหมุดวัดเมืองไทย
391
วัดเขารัตนธงไชย
ต� า บลเจริ ญ สุ ข อ� า เภอเฉลิ ม พระเกี ย รติ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์
Wat Khao Ratana Thongchai
Charoen Suk Subdistrict, Chalerm Prakiat District, Buriram Province วัดเขารัตนธงชัย ตั้งอยู่ที่บนสายบัว หมู่ที่ ๑๒ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๗ โดยมีผู้ยื่นขอใช้ที่ดินคือ ร้อยตรีมานะ ต�าบลเจริญสุข อ�าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ เข็มปลูก มีความประสงค์ขอใช้ที่ดินเขตอนุรักษ์ป่าไม้เพื่อสร้างวัด เดิมเป็นที่พักสงฆ์ชื่อ เขาสระสะแก ประธานที่พักสงฆ์คือ อาณาเขตพื้นที่ พระครูพนมธรรมาภินันท์ (ไสว นนกาสะโร) ที่ดินอยู่ใน ด้านทิศเหนือ จด ที่นา เขตป่าอนุรักษ์ อยู่ในความดูแลของกรมป่าไม้ กระทรวง ด้านทิศตะวันออก จด ชลประทาน - ที่ระเบิด ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม มีเนือ้ ที่ ๑๔ ไร่ ๒ งาน ด้านทิศใต้ จด วัดเขาพระอังคาร ๕๐ ตารางวา ได้ด�าเนินก่อสร้างเป็นที่พักสงฆ์ ด้านทิศตะวันตก จด วัดเขาทรัพย์
392
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ลักษณะภูมิประเทศ เป็นป่า ภูเขา มีสระน�้าโบราณ และเดิมเคยมีการก่อสร้างที่อยู่แล้วและก็เคยมีพระมาอยู่ โดยถูกเผาเหลือร่องรอยไว้ โดยสภาพป่า และต้นไม้ในพื้นที่ เป็นไม้เก่า ต้นอ้อยช้าง ต้นตีนเป็ด ส่วนปลูกใหม่ก็มี มะค่า ต้นสัก และประดู่ เป็นต้น ปัจจุบันได้ด�าเนินการก่อสร้างเสนาสนะ กุฏิ กว้าง ๒.๕๐ เมตร ยาว ๕.๖๐ เมตร จ�านวน ๖ หลัง, ศาลาการเปรียญ กว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๑๓.๕๐ เมตร จ�านวน ๑ หลัง, ถังน�้า ๕ ที่,ห้องน�้า ๓ ที่, เครื่องท�าไฟ ท่อส่งน�้า, ศาลาการเปรียญ ชั่วคราว และ ตุ่มน�้า ๕ ใบ พระพุทธพจน์จากพระพระไตรปิฎก "จงมีตนเป็นทีพ่ งึ่ " ดูกรภิกษุทงั้ หลาย ก็เมือ่ ภิกษุรวู้ า่ รูปไม่เทีย่ ง แปรปรวนไป คลายไป ดับไป เห็นตามความเป็นจริงด้วยปัญญาอันชอบอย่างนี้ว่า รูปในกาลก่อนและรูปทั้งมวลในบัดนี้นั้นล้วน ไม่เที่ยงเป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ดังนี้ ย่อมละโสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และ อุปายาสได้ เพราะละโสกะเป็นต้นเหล่านั้นได้ จึงไม่สะดุ้ง เมื่อไม่สะดุ้ง ย่อมอยู่เป็นสุข ภิกษุผู้มีปกติ อยู่เป็นสุข เรากล่าวว่า ผู้ดับแล้วด้วยองค์นั้น (อัตตทีปสูตร ว่าด้วยการพึ่งตนพึ่งธรรม)
ปักหมุดวัดเมืองไทย
393
วั ด หนองไทร
ต� ำ บลหนองไทร อ� ำ เภอนำงรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์
Wat Nong Sai
Nong Sai Subdistrict, Nang Rong District, Buriram Province
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
ความเป็นมา
วั ด หนองไทร ตั้ ง อยู ่ หมู ่ ที่ ๑ บ้านหนองไทร ต�าบลหนองไทร อ�าเภอ นางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ แต่เดิมชาวบ้าน หนองไทรได้ขยายหมู่บ้านจากบ้านสะเดา บ้านจอมปราสาท และหมู่บ้านใกล้เคียง มาตั้งหมู่บ้านใหม่บริเวณหนองน�้าใหญ่ และมี ต ้ น ไทรใหญ่ ที่ แ ผ่ กิ่ ง ก้ า นสาขา ปกคลุมหนองน�้านั้นไว้ ชาวบ้านจึงพากัน ตั้งถิ่นฐานบ้านเรือน แล้วตั้งชื่อหมู่บ้าน ใหม่นี้ว่า บ้านหนองไทร เมื่ อ กาลเวลาผ่ า นไปชาวบ้ า น หนองไทรขาดที่พึ่งทางใจ ก็มีผู้ใจบุญมอบ ที่นาให้เป็นสาธารณะกุศล โดยมีนายโพน กองศักดิ ์ และนายกล�า้ จีนเกา ได้มอบทีน่ า
ของตนให้กอ่ ตัง้ วัด ชาวบ้านหนองไทรมีความ ยินดีและร่วมอนุโมทนาเห็นสมควร จึงได้ ก่อสร้างวัดหนองไทรขึ้นบนผืนนาของทั้ง ๒ ท่านนัน้ ซึง่ พืน้ ทีก่ อ่ ตัง้ วัดอยูท่ างทิศตะวันออก ของหนองน�้ า ที่ มี ต ้ น ไทรใหญ่ ป กคลุ ม อยู ่ ทั้งนี้ชาวบ้านหนองไทรจึงได้น�าต้นไทรใหญ่ และหนองน�้าอันเป็นสัญลักษณ์ของหมู่บ้าน มาขนานนามวัดนีว้ า่ วัดหนองไทร ตัง้ แต่นนั้ เป็นต้นมา วั ด หนองไทร ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ สร้างวัดเมื่อวันที่ ๑๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๔ ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที ่ ๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๐ มีเนื้อที่กว้าง ๒๕ เมตร ยาว ๔๕ เมตร และได้ประกอบพิธีผูก พัทธสีมา เมื่อวันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๑
396
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ชาวบ้านหนองไทรและหมู่บ้านใกล้เคียง มีความ ศรัทธาปสาทะในบวรพระพุทธศาสนาเป็นอย่างมาก จึงตั้งใจ เจริญสติ สมาธิ ปัญญา ตามทีพ่ ระอาจารย์ทา่ นสอน อีกทัง้ ใส่ใจ ในด้านพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับศาสนาพุทธ เกื้อกูลกับวิถีชีวิต ของเกษตรที่ ท� า งานด้ า นกสิ ก รรม การถื อ ศี ล ฟั ง ธรรม บวชเนกขัมมะในวันหยุดและวันส�าคัญทางพระพุทธศาสนาจะ น�าความร่มเย็นมาให้แก่ชาวบ้านมาโดยตลอด
ท�าเนียบเจ้าอาวาส ๑. พระอาจารย์จ้อย ๒. พระอาจารย์กลั่น ๓. พระอาจารย์สุรินทร์ ๔. พระอาจารย์อ้วน ๕. พระอาจารย์พลอย ๖. พระอาจารย์หรึ่ม ๗. พระอาจารย์วงศ์ ๘. พระอาจารย์เสมอ จิตฺตกาโร ๙. พระอธิการเกิด เตชวโร ๑๐. พระครูนิโครธรรมธาดา ๑๑. พระอธิการแป้น คุตฺตสีโล ๑๒. พระอธิการเชิด ฐิตปุญโญ ๑๓. พระครูนิโครธบุญประสิทธิ์
พ.ศ.๒๔๗๔ – ๒๔๗๖ พ.ศ.๒๔๗๖ – ๒๔๘๕ พ.ศ.๒๔๘๕ – ๒๔๘๖ พ.ศ.๒๔๘๖ – ๒๔๘๘ พ.ศ.๒๔๘๘ – ๒๔๙๒ พ.ศ.๒๔๙๒ – ๒๔๙๔ พ.ศ.๒๔๙๔ – ๒๕๐๐ พ.ศ.๒๕๐๐ – ๒๕๑๓ พ.ศ.๒๕๑๓ – ๒๕๒๙ พ.ศ.๒๕๒๙ – ๒๕๔๓ พ.ศ.๒๕๔๔ – ๒๕๔๖ พ.ศ.๒๕๔๗ – ๒๕๕๐ พ.ศ.๒๕๕๐ – ปัจจุบัน
พระครูนิโครธบุญประสิทธิ์ เจ้าคณะต�าบลหนองไทร เจ้าอาวาสวัดหนองไทร
ปักหมุดวัดเมืองไทย
397
Wat Nong Sai Phra khru Boonprasit, the abbot of Wat Nong Sai Wat Nong Sai is located at village No.1 Ban Nong Sai, Nang Rong district, Buriram province. Formerly, village’s territory from Ban Sodao, Ban Chom Prasat and other nearby villages in order to establish new village at big swamp area and there was a big banyan tree which bushed out and covered this swamp. That’s why locals moved to this place and Settled down their residences here and named this new village as “Ban Nong Sai” after an area where this village located. After that people of Nong sai village was lacked of spiritual anchor which there were philanthropists whom donated their land to be public interest which those people are Mr.Pon Kongsak and Mr.Klam Jinkao. At the same time, Nong Sai Villager were glad with this event and Expressed their gratitude to there two men. Then, Wat Nong Sai was built on the land of these two gentlemen which an area
398
ปักหมุดวัดเมืองไทย
where this temple location is on the east of asobserve religious precepts, listen to sermon and beswamp that was spread over by big banyan tree. come a monk on holiday or important day of Buddhism As a result that the big banyan tree and swamp which all the aforementioned always has bring peace to were the symbol of this village, locals then named locals. An entertainment of Nong Sai and nearby village this temple after above symbol as “Wat Nong Sai” are as same as general people in northeast like SangKran since then until today. Wat Nong Sai was permit- festival which some people will play Saba on of this day ted to build temple on 10 March 2474 B.E., it was (Saba is local traditional play of Mon people), tug of war, granted Wisungkhamsima(Land granted from climbing bamboo pillar and so on. Royal family to build temple or other religious buildings) on 14 November 2510 B.E. which scale of the land is 25 meter in width and 45 meter in length. Moreover, the monastic boundarydemarcating ceremony was performed on 18 March 2511 B.E. Villager of Nong Sai and nearby village have bright faith in the glorious creed of Buddhism considerably. That’s why they concentrate on the meditation to improve their mind and wisdom as per the master monk have taught them. In addition to that, they pay attention to ceremony related to Buddhism which support agriculturist’s way of life that the main duty is agriculture such ปักหมุดวัดเมืองไทย
399
วัดใหม่เรไรทอง
ต� ำ บลถนนหั ก อ� ำ เภอนำงรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์
Wat Mai Raerai Thong
Thanon Hak Subdistrict, Nang Rong District, Buriram Province
ความเป็นมา
จากหลักฐานโบราณสถานและโบราณวัตถุทเี่ ก่าแก่ คือ ฐานพระอุโบสถเก่า ศิลปะสมัยอยุธยา คัมภีร์ใบลานจารึกอักษรขอมโบราณรุ่นต่อรุ่น ต้นโพธิ์ลังกา อายุหลายร้อยปีและพระไม้โบราณแกะสลักทีย่ งั มีอยู ่ สันนิษฐานว่าวัดใหม่เรไรทอง มีอายุเก่าแก่หลายร้อยปี ประกอบหลักฐานหนังสือรับรองสภาพวัด ของกรมการ ศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ได้ระบุรายละเอียดว่า วัดใหม่เรไรทอง ได้ถือ ก�าเนิดขึ้นตั้งเเต่ปี พ.ศ.๒๒๔๐ มีสงฆ์อยู่อาวาสและปกครองดูเเลมาอย่างต่อ เนื่อง ในเบื้องต้นเรียกว่า “วัดบ้านสูง (วัดอนุจารีสีราม)” บ้านสูงถือได้ว่า เป็นการตัง้ ถิน่ ฐานแห่งแรก ทีข่ นึ้ ตรงต่อเมืองนางรอง ตัง้ แต่อยูใ่ นขอบขัณฑสีมา ของกรุงศรีอยุธยา ข้อสันนิฐานอนุมานได้ คือ “ภาษา” ซึ่งเป็นภาษานางรอง เป็ น ภาษาถิ่ น ที่ พั ฒ นามาจากภาษาไทยเบิ้ ง (ภาษาโคราชโบราณ)
400
ปักหมุดวัดเมืองไทย
สิ่งที่บอกถึงความเจริญทางด้านจิตใจ คือ “วัด” วัดบ้านสูงมีพระสงฆ์อยู่ประจ�าพรรษาใน อารามตลอดมาและได้รับวิสุงคามสีมาก่อนวัดอื่นๆในต�าบลเดียวกันมีการสืบต่อวัฒนธรรม หลายรุ่น จนกระทั่งวัดบ้านสูงมี พระอุปัชฌาย์จารย์ คือ “พระอุปัชฌาย์ครุฑ” และในขณะ เดียวกันก็มพี ระสงฆ์อกี รูปหนึง่ เป็นผูม้ วี ทิ ยาคมคือ “หลวงพ่อทอง” มีผคู้ นนับถือและมีลกู ศิษย์ ลูกหามากมาย ต่อมาพระอุปชั ฌาย์ครุฑและหลวงพ่อทองเกิดขัดเเย้งกันอย่างรุนเเรง เป็นเหตุ ให้หลวงพ่อทองออกจากวัดบ้านสูง มาปักกลดอยู่ที่สถานที่แห่งใหม่ซึ่งไม่ไกลจากบ้านสูงนัก ซึง่ มีประชาชนอาศัยประปรายไม่มากนัก ระยะเวลาต่อมาจึงมีผนู้ า� สงฆ์ได้เเยกมาก่อตัง้ วัดใหม่ โดยการน�าของพระอาจาย์ทอง เรียกชือ่ ว่า “วัดใหม่เรไรทอง” เป็นชุมชนโบราณมีประวัตคิ วาม เป็นมาที่ยาวนาน จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏร่องรอยให้เห็นจนถึงปัจจุบัน ซึ่งตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านสูงเป็นชุมชนแห่งเเรกและมีหลักฐานปรากฏคือ ๑. ศาสนสถานที่ทิ้งร้าง เป็นศิลปะโบราณ ๒. มีร่องรอยการตั้งถิ่นฐานของคนโบราณ ๓. บริเวณรอบหมู่บ้านมีดินน�้าชุมเหมาะแก่การท�าการเกษตรได้อย่างดี ๔. มีแหล่งน�้าโบราณส�าหรับอุปโภค-บริโภค “หลวงพ่อทอง” ด�าริว่า ท�าเลดี น่าจะสร้างวัดประกอบกับประชาชนนับถือและ มีลูกศิษย์ลูกหามากมาย จึงปลูกโพธิ์ลังกาขึ้นอธิษฐานหากจะประดิษฐานพระพุทธศาสนาให้ เจริญรุ่งเรืองสืบไป ขอโพธิ์นี้เจริญงอกงามแผ่กิ่งก้านสาขาต่อไปเถิด (โพธิ์ลังกาอายุมากกว่า ๑๐๐ ปี ปัจจุบันอยู่ที่หน้าวัดใหม่เรไรทองอายุรุ่นเดียวกับโพธิ์ลังกาวัดสูง) จึงเกิดเป็นวัดที่ ๒ ซึ่งห่างจากวัดบ้านสูงไม่ไกลนัก เนื่องจากวัดที่เกิดขึ้นใหม่ จึงชื่อว่า “วัดใหม่” และสร้อยค�าที่ ต่อท้ายว่า “เรไรทอง” นั้น ผู้เฒ่าผู้แก่มีต�านานมุขปาฐะว่า บริเวณดังกล่าวมีต้นยาและต้นไม้ ใหญ่มีจักจั่นเรไรส่งเสียงเหมือนดนตรีจึงน�าค�าว่า “เรไร” มาบวกกับค�าว่า “ทอง” เพื่อนับถือ ผูใ้ ห้กา� เนิดเป็น “เรไรทอง” วัดใหม่เรไรทอง รวมกับหมูบ่ า้ นทีม่ าท�าบุญทีว่ ดั หลายหมูบ่ า้ นเป็น “บ้านใหม่หนองโพรง”
ปักหมุดวัดเมืองไทย
401
ล�าดับเจ้าอาวาสที่ปกครองวัด ๑. พระอาจารย์ทอง ๒. พระอาจารย์เนตร ๓. พระอาจารย์หลง ๔. พระอาจารย์จันทร์ ๕. พระอาจารย์อ่อน ๖. พระอาจารย์ใย ๗. พระอาจารย์อุย ๘. พระอาจารย์คุล ๙. พระอาจารย์นาค ๑๐. พระอาจารย์เปรี่ยม ๑๑. พระอาจารย์เอื้อม ๑๒. พระอาจารย์พรหม ๑๓. พระอาจารย์ไหม ๑๔. พระอาจารย์มหาสุมล ๑๕. พระอาจารย์เม้า พลวิริโย เป็นเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๔๘๒ - ๒๔๙๗ ๑๖. พระอธิการน้อย ฆงฺปญฺโญ เป็นเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๔๙๗ - ๒๕๒๐ ๑๗. พระครูปลัดประสิทธิ ์ ฐิตปุญโญ เป็นเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๕๒๒ - ๒๕๔๕ ๑๘. พระครูอินทปัญญาภิรมย์ เป็นเจ้าอาวาส พ.ศ.๒๕๔๕ และด�ารง ต�าแหน่ง รองเจ้าคณะต�าบลถนนหัก เมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๐ จนปัจจุบัน
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย 402
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประวัติเจ้าอาวาส
พระครูอนิ ทปัญญาภิรมย์ (ค�า ต้นเเก้ว) เกิดเมือ่ วันที ่ ๖ เดือนเมษายน พ.ศ.๒๕๑๒ ปีระกา ที่บ้านระนามพลวง เลขที่ ๑๘ หมุ่ ๕ ต�าบลโคกสนวน อ�าเภอช�านิ จังหวัดบุรีรัมย์ อายุ ๕๑ ปี พรรษา ๓๒ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๖ นักธรรมเอก
การบรรพชา
บรรพชาเมื่อวันที่ ๓๑ เดือนเมษายน พ.ศ.๒๕๒๖ ที่วัดปราสาทวนาราม อ�าเภอช�านิ จังหวัดบุรีรัมย์ โดยมี พระครูโสภณอรรถกิจ เป็นพระอุปัชฌาย์
การอุปสมบท
พระครูอินทปัญญาภิรมย์ รองเจ้าคณะต�าบลถนนหัก เจ้าอาวาสวัดใหม่เรไรทอง
อุปสมบทเมื่อวันที่ ๑๕ เดือนเมษายน พ.ศ.๒๕๓๒ ที่วัดใหม่เรไรทอง โดยมีพระครูปรีชา กิจฺจานุโยค เจ้าอาวาส วัดหัวสะพาน เป็นพระอุปัชฌาย์ มีพระครูประสิทธิ์ ฐิตปุญฺโญ เจ้าอาวาสวัดใหม่เรไรทอง เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และมี พระอธิการสง่า ยสฺปาโล เจ้าอาวาสวัดถนนหัก (ศีลวิสทุ ธาราม) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ การปกครอง วันที่ ๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ ได้รับแต่งตั้ง เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดใหม่เรไรทอง วันที่ ๒๕ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้รับเเต่งตั้ง เป็นรักษาการเจ้าอาวาส วัดใหม่เรไรทอง วันที่ ๓ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้รับแต่งตั้ง เป็นเจ้าอาวาส วัดใหม่เรไรทอง ได้รับรางวัลบุคคลดีเด่นของ ชุมชนวัดใหม่เรไรทอง พ.ศ. ๒๕๔๓ วั น ที่ ๕ เดื อ นธั น วาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้ รั บ พระราชทานสมณศักดิ ์ “พระครูอนิ ทปัญญาภิรมย์” (จร.ชท.)
โครงการ ก่อสร้างฐานพระรัตนมงคลเทพเนรมิต วัดใหม่เรไรทอง ปักหมุดวัดเมืองไทย
403
วัดกลาง (นางรอง) ต� า บลนางรอง อ� า เภอนางรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์
Wat Klang Nang Rong
Nang Rong Subdistrict, Nang Rong District, Buriram Province
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย 404
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประวัติวัดกลางนางรอง เมื่ อ ย้ อ นประวั ติ ศ าสตร์ ขึ้ น ไปจนถึ ง ปี พ.ศ. ๑๘๙๕ ภายหลังจากขุนหลวงพ่องั่ว ซึ่งต่อมา ภายหลั ง ได้ เ สด็ จ เถลิ ง ถวั ล ย์ ร าชสมบั ติ ขึ้ น เป็ น พระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงศรีอยุธยา ทรงพระนามว่า สมเด็จพระบรมราชาที่ ๑ ได้ทรงมี ชัยช�านะต่อขอมที่เป็นกบฏและแผ่ขยายอาณาเขต ไทยขับไล่ขอมให้ออกไปจากดินแดนแว่นแคว้นต่าง ๆ ในเขตอีสานตอนใต้ และทรงตั้งเมืองนางรองให้ถือ ก�าเนิดเกิดขึน้ อยูใ่ นขอบขัณฑสีมาแห่งราชอาณาจักรไทย ตัง้ แต่บดั นัน้ เป็นต้นมา พร้อมทัง้ ได้ทรงก่อสร้างตัง้ วัด ให้ เ ป็ น วั ด คู ่ เ มื อ งนางรองขึ้ น วั ด หนึ่ ง ให้ ชื่ อ ว่ า “วัดอารามสามัคคี”ซึง่ ต่อมาเรียกกันว่า “วัดร่องมันเทศ” แต่ ก ่ อ สร้ า งยั ง ไม่ ทั น เสร็ จ พระองค์ ก็ ต ้ อ งยกทั พ กลั บ คื ก รุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา เพราะมี ข ้ า ศึ ก พม่ า มอญ มาประชิดติดเมืองทางด้านประจิมทิศ แต่เหล่าชาว
ประชาผูค้ นชาวเมืองนางรอง ก็ได้สบื สาน ก่ อ สร้ า งและทะนุ บ� า รุ ง กั น ต่ อ ๆ มา แม้บางช่วงบางตอนจะถูกทอดทิ้งรกร้าง ไปบ้ า ง อาจจะเป็ น ด้ ว ยเหตุ ผ ลจาก การบ้านการเมืองก็ตาม แต่ในปัจจุบันก็ เป็นวัดที่สมบูรณ์ไปด้วยเสนาสนะต่าง ๆ และเป็นศูนย์รวมแห่งชาวพุทธที่อยู่ใน บริเวณนั้น และยังเป็นความภาคภูมิใจ และร�าลึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ ขององค์ ขุนหลวงพ่องั่ว พระผู้ให้ก�าเนิดบ้านเมือง นี้ให้อยู่ในจิตใจของผู้คนพลเมืองนางรอง ตลอดไป ส�าหรับวัดกลางถือได้ว่าเป็นวัด เก่าวัดหนึ่งของเมืองนางรอง จากการ สื บ สานและตรวจค้ น ตามหลั ก ฐาน, เอกสารต่าง ๆ แล้วพบว่า วัดกลาง ได้ถือ ก�าเนิดขึน้ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนกลาง ภายหลังวัดร่องมันเทศ ประมาณ ๒๕๐ปี ไล่ เ ลี่ ย กั บ วั ด ต่ า ง ๆ ที่ อ ยู ่ ใ นละแวก เดียวกัน คือ วัดขุนก้อง หรือ วัดตะวัน ออก วัดหัวสะพาน หรือวัดนอก วัดโจด หรือวัดป่าเรไร และวัดจอมปราสาทที่ บ้านเขว้า เป็นต้น ซึ่งอยู่ประมาณ ปี พ.ศ. ๒๑๓๙ – พ.ศ. ๒๑๖๐ ในรัชสมัยของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จ พระเอกาทศรถ สองจอมกษัตริย์ ผู้มี คุณูปการแก่ปวงชนชาวไทยทั้งมวล
พระครูพิทักษ์ชินวงศ์ เจ้าอาวาสวัดกลาง (นางรอง) สื บ เนื่ อ งจากการที่ พ ระยา ละแวกกษั ต ริ ย ์ แ ห่ ง กรุ ง กั ม พู ช า ได้ กระท�าตนเปรียบเสมือนหนึ่งโจรหรือ หอกข้างแคร่ของไทย คอยลักลอบเข้า มาโจมตี ซ�้ า เติ ม และกวาดต้ อ นผู ้ ค น ชาวไทยตามหัวเมืองไปยังกัมพูชาอยู่ เสมอในขณะทีไ่ ทยมีภาระท�าการศึกเพือ่ กอบกู้เอกราชจากพม่า การกระท�าของ พระยาละแวกนี้ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ความ เคียดแค้นให้กับองค์พระประมุขแห่ง ราชอาณาจักรไทยโดยเฉพาะสมเด็จ พระนเรศวร ถึงกับทรงลั่นพระโอษฐ์ ว่ า จะจั บ พระยาละแวกมาตั ด หั ว เอา เลือดล้างพระบาทให้จงได้ ฉะนั้นจึงเมื่อเสร็จศึกสงคราม มีชยั ชนะต่อกัมพูกามประเทศ และเป็น อิสระเป็นไทแก่ตัว บ้านเมืองมีความ มั่นคงพอสมควรแล้ว ในปี พ.ศ. ๒๑๓๖ สมเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระเอกา ทศรถทั้งสองจอมกษัตริย์จึงได้ยาตรา ทัพออกจากกรุงศรีอยุธยาเพื่อไปปราบ
พระยาละแวกพร้อมด้วยขุนทัพคนส�าคัญ คู่ใจอันมี พระราชมนู ทหารเอกประแดง แก้วหรืออาจารย์แก้ว จมืน่ ศรีณรงค์ ขุนกอง สรรพกิจ ขุนจงโยธา หมื่นหาญอาษา หมืน่ ศรีวชิ ยั เป็นต้น พระองค์ทรงเดินทัพ ผ่านมาทางเมืองโคราชและโปรดให้เกณฑ์ ไพร่พลจากเมืองโคราชไปในกองทัพด้วย ได้ เ ดิ น ทั พ รอนแรมมาตามเส้ น ทางซึ่ ง บรรดาหน่วยล่วงหน้าได้มาตัดกรุยสร้าง เป็นแนวทางไว้แล้ว คือ ถนนประแดงแก้ว ในปัจจุบันก็ยังมีร่องรอยเหลืออยู่บ้างใน บางตอน ผ่านจักราช ทุ่งกระตาด ทุ่ง กระเต็น มาพักรวมพลทีบ่ ริเวณบ้านไร่โคก แต่ก่อนเคยมีชื่อว่า บ้านชุมพล ต่อมาค�า ว่าชุมพลนี้ได้เอาไปตั้งเป็นชื่อวัดที่บ้านไร่ โคก ว่า “วัดศรัทธาชุมพล” มาจนถึงทุก วันนี ้ เมือ่ เดินทางเข้าสูต่ วั เมืองนางรอง ทัง้ สองพระองค์ก็ได้เสด็จไปพักที่พลับพลา ซึง่ คณะกรรมการเมืองและหน่วยล่วงหน้า ได้ ม าจั ด สร้ า งเตรี ย มไว้ ที่ เ นิ น กลา งเมื อ งนางรองพร้ อ มกั บ ได้ ขุ ด สระน�้ า ปักหมุดวัดเมืองไทย
405
ขนาดใหญ่ เพื่ อเก็บ น�้า ไว้บ ริโภคใช้สอยและแช่ห ญ้าม้า ส�าหรับให้ม้าศึกกินอีกด้วยส่วนบรรดาแม่ทัพนายกองก็ได้ แยกย้ายกันไปตั้งค่ายพักอยู่โดยรอบพลับพลาที่ประทับไม่ ห่ า งไกลมากนั ก ทั้ ง นี้ เ พื่ อ รั ก ษาความปลอดภั ย ให้ แ ก่ องค์พระมหากษัตริย์ทั้ง ๒ เมื่อได้พักไพร่พล อยู่ ณ เมืองนางรองพอสมควร และวางแผนการศึกเสร็จแล้วก่อนที่จะเดินทัพเข้าไปยัง กัมพูชาประเทศ จอมกษัตริยท์ งั้ สองพระองค์ได้ทรงปลูกต้นโพธิ์ ไว้เป็นอนุสรณ์ข้างพลับพลาที่ประทับองค์ละ ๑ ต้น พร้อม อธิษฐานให้ชา� นะต่อการศึกสงครามครัง้ นี ้ และบรรดาแม่ทพั นายกองก็ร่วมกันปลูกต้นโพธิ์อธิษฐานรอบบริเวณพลับพลา ที่ประทับด้วย เสร็จแล้วจึงเคลื่อนพลเดินทัพเข้าไปในเขต ประเทศกัมพูชาเพื่อปราบพระยาละแวกตามเจตน์จ�านงต่อ ไป
406
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ครั้นเมื่อเสร็จศึกปราบพระยาละแวกนักพระลัทถา เจ้ากรุงกัมพูชาได้ และกระท�าพิธปี ฐมกรรมตัดศีรษะเอาเลือดมาล้าง พระบาทองค์สมเด็จพระนเรศวร สมความแค้นในพระราชหฤทัย แล้ว ทั้งสองพระองค์ก็ทรงยกกองทัพกลับคืนสู่กรุงศรีอยุธยา ราชธานีโดยสวัสดิภาพ และทรงพระราชทานบ�าเหน็จรางวัลเลือ่ น ยศเลือ่ นบรรดาศักดิใ์ ห้กบั แม่ทพั นายกองขุนทหารและไพร่พลทัง้ ปวงตามโบราณราชประเพณี เป็นที่ชื่นชมยินดีแก่เหล่าทหาร ข้าราชบริพารและไพร่ฟ้าประชาชนโดยทั่วไปในขอบขัณฑสีมา เมื่อห้วงเวลาผ่านไปนับเดือนนับปีหากเวลาใดที่บ้าน เมืองว่างเว้นต่อการศึก บรรดาขุนทหารทั้งหลายที่เคยมาพัก
ไพร่พลทีเ่ มืองนางรองเมือ่ ครัง้ ๒ กษัตริย ์ ยกกองทัพมาปราบ พระยาละแวกเจ้ากรุงกัมพูชา ก็จะทยอยกันขอพระราชทาน บรมราชานุญาตจากจอมกษัตริย์ เพื่อมาเยี่ยมเยือนชาวเมือง นางรองและทดแทนบุญคุณทีไ่ ด้เกือ้ กูลกองทัพเมือ่ ครัง้ มาพัก ไพร่พล ณ เมืองนางรองนี้ ในสมัยนั้น การสร้างวัดหรือการตั้งวัด ถือเป็นการ ท�าบุญท�ากุศลทีย่ งิ่ ใหญ่ทงั้ ตัวผูส้ ร้างและผูค้ นชาวเมืองทีจ่ ะได้ ใช้บริการแห่งวัดนัน้ ซึง่ เป็นทัง้ แหล่งวิทยาการทุกสาขาในสมัย โบราณ แหล่งบ�าเพ็ญกุศล บ�าเพ็ญเพียร ทานบารมี และเป็น ศูนย์รวมคนรวมน�้าใจของผู้คนพลเมืองทุกหมู่เหล่าอีกด้วย พระมหากษัตริย์ไทยแทบทุกพระองค์ทรงพอพระราชหฤทัย ที่จะท�าบุญบ�าเพ็ญกุศลในพระพุทธศาสนาด้วยการสร้างวัด บูรณะวัดหรือปฏิสังขรณ์วัด ทั้งนี้แล้วแต่เวลาและโอกาส จะอ�านวยให้
ฉะนัน้ ในการกลับคืนมาเยีย่ มเยือนเมืองนางรองของ ขุนทหารทั้งหลายในครั้งนี้ วัตถุประสงค์หลักก็ต้องการที่จะ มาทดแทนบุญคุณของชาวเมืองด้วยการสร้างวัดอันจะเป็น ประโยชน์แก่ทุกคนโดยทั่วถึงกัน จึงเมื่อแต่ละคนเดินทางมา ถึ ง ก็ ร วบรวมไพร่ พ ลผู ้ ค นไปท� า การก่ อ สร้ า งวั ด ขึ้ น ณ ที่ตนเองเคยพักไพร่พลกองทหารนั้น ๆ ส� า หรั บ จมื่ น ศรี ณ รงค์ เมื่ อ ได้ รั บ พระบรม ราชานุญาตจากองค์พระมหากษัตริยแ์ ล้ว ก็รบี พาไพร่พลเดิน ทางมายังเมืองนางรองทันที และเมือ่ มาถึงก็ได้รบั การต้อนรับ จากชาวเมืองด้วยความยินดีปรีดาโดยถ้วนหน้าและหลังจาก นัน้ จมืน่ ศรีณรงค์ ก็ได้แจ้งให้ชาวเมืองนางรองทราบว่าตนเอง จะขอตอบแทนคุณงามความดีของชาวเมืองนางรองโดยการ สร้างวัดให้ ณ ทีต่ งั้ พลับพลาทีป่ ระทับของสมเด็จพระนเรศวร และสมเด็ จ พระเอกาทศรถ เมื่ อ ครั้ ง ยกทั พ ไปปราบ
ปักหมุดวัดเมืองไทย
407
พระยาละแวก ชาวเมืองยินดีขออนุโมทนาและ ขอร่วมในการก่อสร้างด้วย การก่อสร้าง ก็ ไ ด้ ด� า เนิ น ด้ ว ยดี จ นกระทั่ ง เสร็ จ เรียบร้อยจึงให้ชื่อว่า “วัดกลาง” เพราะ ตั้งอยู่ในจุดศูนย์กลางของเมืองและยัง เป็นทีต่ งั้ พลับพลาทีป่ ระทับขององค์พระ มหากษัตริยอ์ กี ด้วย จึงนับเป็นมหามงคล อย่ า งยิ่ ง และโดยเฉพาะสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวทั้งสองพระองค์ก็ทรงปลูก ต้นโพธิอ์ ธิษฐานไว้ให้ชา� นะศึก และการก็ เป็นไปตามที่พระองค์ทรงอธิษฐานทุก ประการ ฉะนั้น การสร้างวัด ณ สถานที่ นีจ้ งึ เป็นวัดมหามงคล เป็นวัดแห่งชัยชนะ ที่ ส องจอมกษั ต ริ ย ์ ไ ด้ จั บ จองที่ ไว้ เ ป็ น อนุสรณ์สถานของพระองค์ทา่ นเพือ่ มอบ ไว้ให้แก่ผู้คนชาวเมืองนางรองตลอดไป ยังความภาคภูมิใจอย่างใหญ่หลวงให้กับ ชาวเมื อ งนางรองสื บ ต่ อ กั น มาจนถึ ง ยุคปัจจุบัน “วัดกลาง” จึงได้ถือก�าเนิด ขึ้นมา ณ ห้วงเวลานั้นเอง แต่จะเป็น วัน เดือน ปี ใดนั้น ไม่มีหนังสือเล่มใด เกร็ดประวัตศิ าสตร์ใด หรือค�าบอกเล่าใด ระบุ ห รื อ เขี ย นไว้ ใ ห้ ชั ด เจนเลยจึ ง
408
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประมาณการว่า “วัดกลาง” ได้ถอื ก�าเนิด ขึน้ ระหว่างปี พ.ศ. ๒๑๓๙ – พ.ศ. ๒๑๖๐ เท่านั้น ซึ่งอยู่ในยุคของกรุงศรีอยุธยา ตอนกลางตามที่ ก ล่ า วไว้ ต อนต้ น เรื่ อ ง เมื่อนับจนถึงบัดนี้ก็เป็นเวลาถึง ๒๕๐ ปี เศษแล้ว วั ด กลาง (นางรอง) เป็ น วัดราษฎร์ ตั้งอยู่เลขที่ ๓๗๗ หมู่ ๕ ใน เขตเทศบาลนางรอง ถนนโชคชั ย เดชอุดม บ้านนางรอง ต�าบลนางรอง อ�าเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์บนพื้นที ่ ๑๑ ไร่ ๑ งาน ๖๖/๑๐ ตารางวา
อาณาเขตวัดปัจจุบัน ทิศเหนือ จดถนนโชคชัยเดช – เดชอุดม ยาว ๓ เส้น ๖ วา ทิ ศ ใต้ จดถนนภั ก ดี บ ริ รั ก ษ์ ยาว ๓ เส้น ๒ วา ทิศตะวันออก จดซอยราษฎร์ บ�ารุง ยาว ๔ เส้น ๙ วา อาณาเขตวัดทางด้านทิศเหนือ และทิศใต้ เดิมเป็นทางเกวียนต่อมาได้รบั การปรั บ ปรุ ง เป็ น ถนนและตั้ ง ชื่ อ ขึ้ น
ภายหลัง ส่วนทิศตะวันออกนัน้ เดิมเป็นตรอก ได้รบั การปรับปรุงให้เป็นซอยในภายหลัง เช่นเดียวกัน สอบถามจากผู้สูงอายุและจาก ทะเบียนวัดเท่าที่ปรากฏหลักฐานพอให้ ค้นคว้า ทราบว่าสร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๒๔๙ – ๒๒๕๐ โดยปลูกสร้างเป็น โรงอุโบสถและผูกพัทธสีมา ซึ่งเจ้าอาวาส ในสมั ย นั้ น ก็ ไ ม่ ป รากฏนามว่ า เป็ น ใคร แต่จากค�าบอกเล่าของผู้สูงอายุที่ยังเหลือ อยู่หลายท่านให้ถ้อยค�าตรงกันว่าก่อนปี พ.ศ. ๒๔๓๖ ท่านพระครูเสือ (ไม่ทราบ ฉายา) ได้เดินทางมาจากจังหวัดปราจีนบุรี และได้รับนิมนต์จากอุบาสก – อุบาสิกา ชาววั ด กลางนางรอง ในขณะนั้ น ให้เป็นเจ้าอาวาส และต่อมาท่านได้รับ แต่งตั้งให้เป็น เจ้าคณะอ�าเภอนางรอง ท่ า นพระครู เ สื อ เป็ น ผู ้ มี ค วามรู ้ ท าง พระธรรมวิ นั ย อย่ า งแตกฉาน ท่ า นได้ ท�านุบ�ารุงพระศาสนาจนเจริญรุ่งเรืองขึ้น เป็นล�าดับ และเป็นที่เคารพนับถือของ ประชาชนทั่ ว ไปจนเมื่ อ ประมาณ พ.ศ. ๒๔๓๖ ท่ า นได้ ม รณภาพลง
เจ้าอาวาสต่อจากท่านพระครูเสือมีหลาย ท่าน แต่มิได้ปกครองวัดอย่างต่อเนื่อง และเป็นกิจจะลักษณะ อยู่ปกครองวัดได้ ๓ เดือนบ้าง ๖ เดือนบ้างเป็นต้น ดังมีราย นามตามล�าดับ ดังนี้ ๑. พระอาจารย์ขาว ๒. พระอาจารย์ผึ้ง ๓. พระอาจารย์อู๊ต ๔. พระอาจารย์แย้ม ๕. พระอาจารย์เบิ้ม ประมาณ พ.ศ. ๒๔๔๐ อุบาสก – อุบาสิกาชาววัดกลางนางรอง จึงได้ไป อาราธนาพระอาจารย์ ชู พฺ ร หฺ ม โชโต จากกรุงเทพมหานคร มาเป็นเจ้าอาวาส เพราะพระอาจารย์ชู พฺรหฺมโต ท่านเป็น ชาวนางรองโดยก�าเนิด เมื่อครบเกณฑ์
อุปสมบทแล้วท่านได้เดินทางไปศึกษา ธรรมะเพิ่มเติมที่กรุงเทพมหานคร จนมี ความรู ้ ท างธรรมวิ นั ย อย่ า งแตกฉาน เล่ากันว่าท่านยังมีความสามารถในการ ท�านายทายทักได้แม่นย�านัก ในช่วงที่ พระอธิการชู พฺรหฺมโชโต เป็นเจ้าอาวาส ท่านได้ท�านุบ�ารุงวักลางเจริญขึ้นมาก ท่านได้ถงึ แก่มรณภาพเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๙๕ และหลังจากนัน้ ได้มเี จ้าอาวาสปกครองวัด สื บ ต่ อ มาตามล� า ดั บ โดยได้ เริ่ ม มี ก าร บันทึกท�าเนียบเจ้าอาวาสขึ้น แต่ยังไม่ ค่อยละเอียดเท่าใดนัก นับจากหลวงปู่ชู เรียงตามล�าดับ ดังนี้ ๑. พระอธิการชู พฺรหฺมโชโต พ.ศ. ๒๔๔๐ – ๒๔๙๕ (มรณภาพ)
๒. พระอธิการด�ารง เขมงฺกโร พ.ศ. ๒๔๙๕ – ๒๔๙๘ (ลาสิกขาบท) ๓. พระอาจารย์สุวรรณ (ไม่ทราบฉายา) พ.ศ. ๒๔๙๘ – ๒๔๙๙ (ลาสิกขาบท) ๔. พระอธิการน้อม (ไม่ทราบ ฉายา) พ.ศ. ๒๔๙๙ – ๒๕๐๑ (ลาสิกขาบท) ๕. พระอาจารย์เติม จนฺทปญฺโญ พ.ศ. ๒๕๐๑ – ๒๕๐๒ (ลาสิกขาบท) ๖. พระอธิการเทียน รกฺขิต ธมฺโธ พ.ศ. ๒๕๐๔ – ๒๕๑๗ (ลา สิกขาบท) ๗. พระครูพิทักษ์ชินวงศ์ พ.ศ.๒๕๑๙ - ปัจจุบัน
โบราณสถาน โบราณวัตถุในวัด ๑. มีอโุ บสถหลังเก่า ซึง่ ก่อสร้าง มากว่าร้อยปี ๑ หลัง ปัจจุบันจัดให้เป็น วิหาร ๒. มีต้นโพธิ์ ๒ ต้น ซึ่งปลูก ในสมั ย สมเด็ จ พระนเรศวรมหาราช และพระเอกาทศรถเสด็ จ ศึ ก ปราบ พระยาละแวกประเทศเขมร (ตามประวัติ ข้างต้น) ปักหมุดวัดเมืองไทย
409
วัดอมราวาส
ต� ำ บลบ้ ำ นคู อ� ำ เภอนำโพธิ์ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์
Wat Amarawat
Ban Khu Subdistrict, Napho District, Buriram Province
ความเป็นมา
วั ด อมราวาส ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นบ้ า นบง หมู ่ ที่ ๔ ต� า บลบ้ า นคู อ�าเภอนาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์ มีเนื้อที่ ๙ ไร่ ๔๒ ตารางวา ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๒ เดิมชื่อวัดอีสาน ตั้งวัดในที่ดินชาวบ้านสงวนไว้สร้างวัดโดย เฉพาะ ซึง่ มีพระค�าเป็นผูน้ า� ชาวบ้านจัดสร้างขึน้ และให้ชอื่ ว่า "วัดอีสาน" ในปี พ.ศ. ๒๔๘๒ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น "วัดอมราวาส" จนถึงปัจจุบัน ในบริเวณมี โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.๒๔๘๒ และยังมี ฌาปนสถาน กับศาลาพักศพ อีกด้วย
410
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ท�าเนียบเจ้าอาวาส
๑. พระค�า พ.ศ. ๒๔๕๙ - พ.ศ. ๒๔๖๘ ๒. พระน้อย พ.ศ. ๒๔๖๙ - พ.ศ. ๒๔๗๕ ๓. พระบุตตา พ.ศ. ๒๔๗๖ - พ.ศ. ๒๔๘๑ ๔. พระอัน พ.ศ. ๒๔๘๒ - พ.ศ. ๒๔๙๐ ๕. พระสอน พ.ศ. ๒๔๙๑ - พ.ศ. ๒๕๐๐ ๖. พระมี พ.ศ. ๒๕๐๑ - พ.ศ. ๒๕๐๕ ๗. พระสวัสดิ์ ฐิตสาโร พ.ศ. ๒๕๑๒ - พ.ศ. ๒๕๑๖ ๘. พระบัวลอง ผลปุญโญ พ.ศ. ๒๕๑๗ - พ.ศ. ๒๕๒๕ ๙. พระวีระ ผาสุโก พ.ศ. ๒๕๒๙ - พ.ศ. ๒๕๓๔ ๑๐. พระครูอมรบุญวัฒน์ เจ้าคณะอ�าเภอนาโพธิ์ พ.ศ.๒๕๓๕ - ปัจจุบัน
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
411
วัดบ้านตะโคง
ต� า บลบ้ า นด่ า น อ� า เภอบ้ า นด่ า น จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์
Wat Ban Ta Kong
Ban Dan Subdistrict, Ban Dan District, Buriram Province
วัดบ้านตะโคง
ซึ่งมีเนื้อที่ ๙ ไร่ ๑ งาน ๘๖ ตารางวา หลวงพ่อมุได้มาอยู่จ�าพรรษาที่วัดบ้าน วั ด บ้ า นตะโคง สั ง กั ด คณะสงฆ์ แล้วได้ชกั ชวนชาวบ้านสร้างวัดขึน้ โดยมี ตะโคง ก็ได้บูรณะวัดอย่างต่อเนื่อง และ มหานิกาย เริ่มสร้างวัดเมื่อประมาณปี พ.ศ. หลวงพ่ออุปัชฌาย์ (ไม่ทราบฉายา) จาก ได้เริม่ สร้างพระอุโบสถเพือ่ ใช้เป็นสถานที่ ๒๔๖๖ โดยนายน้ อ ยสุ ข ผดุ ง ซึ่ ง ด� า รง บ้านพระครูใหญ่ ต�าบลพระครู อ�าเภอ ประกอบสังฆกรรมขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๗๒ ต�าแหน่งเป็นผู้ใหญ่บ้านสมัยนั้น มีความคิด เมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งในขณะนั้นท่าน เป็นอาคารไม้ทรงไทยชัน้ เดียว โดยมีชา่ งพึล ริเริ่มและศรัทธาอยากสร้างถาวรวัตถุไว้ใน ด�ารงต�าแหน่งเป็น เจ้าอาวาสวัดบ้านใหม่ (ไม่ทราบนามสกุล) เป็นช่างทีท่ า� หน้าทีก่ อ่ สร้าง พระพุทธศาสนา เพือ่ ให้ประชาชนได้มสี ถานที่ สามแวง เป็นแกนน�าในการก่อสร้างฝ่าย เสร็จสมบูรณ์และได้รับวิสุงคามสีมาเมื่อ บ� า เพ็ ญ กุ ศ ล เพราะเนื่ อ งจากขณะนั้ น บรรพชิ ต เมื่ อ ก่ อ สร้ า งเสร็ จ นายน้ อ ย พ.ศ.๒๔๗๗ ประชาชนต้องเดินทางไปท�าบุญที่ วัดบ้าน ทสุขผดุง ได้น�าชาวบ้านไปนิมนต์พระ ปราสาท ต�าบลปราสาท หากจะเดินทางลัดทุง่ จากวัดบ้านใหม่สามแวง อ�าเภอห้วยราช ไปต้องใช้ระยะทางราว ๕ กิโลเมตร เมื่อตก เมื่ อ มาอยู ่ จ� าพรรษาที่ วั ด บ้ า นตะโคง มาถึงฤดูฝนการสัญจรเดินทางไปกลับค่อน หลวงพ่ออุปัชฌาย์คงได้มอบให้พระมุ ข้างล�าบาก จึงได้ตัดสินใจซื้อที่ดินของนาย จะรีบรัมย์ มาพ�านักอยู่ท�าหน้าที่เป็น ปรึม (ไม่ทราบนามสกุล) เอาไว้แปลงหนึ่ง เจ้าอาวาสวัดบ้านตะโคงเป็นรูปแรก เมือ่
412
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระครูศรีปริยัตยานุศาสน์ (เรือง ปญฺญาปสุโต) เจ้าอาวาสวัดบ้านตะโคง / รองเจ้าคณะอ�าเภอบ้านด่าน ในปีต่อมา หลวงพ่อมุก็ถึงแก่มรณภาพลง และมีเจ้าอาวาส ปกครองดูแลวัดเรื่อยมา ดังรายนามตามล�าดับ ดังนี้ ๑. พระอธิการมุ จะรีบรัมย์ พ.ศ. ๒๔๖๖ - ๒๔๗๘ ๒. พระเม้า (ไม่ทราบฉายา) พ.ศ. ๒๔๗๙ - ๒๔๘๐ (รักษาการ) ๓. พระบู่ (ไม่ทราบฉายา) พ.ศ. ๒๔๘๐-๒๔๘๑ (รักษาการ) ๔. พระอธิการคุม (ไม่ทราบฉายา) พ.ศ. ๒๔๘๒ - ๒๔๘๔ ๕. พระอธิการแก้ว สังข์ทอง พ.ศ. ๒๔๘๕ - ๒๔๙๐ ๖. พระอ่อน (ไม่ทราบฉายา) พ.ศ. ๒๔๙๑ – ๒๔๙๒ (รักษาการ) ๗. พระอธิการบุญ ธาตุกาโม พ.ศ. ๒๔๙๓ - ๒๔๙๕ ๘. พระอธิการชาติชาย สุธมฺโม พ.ศ. ๒๔๙๖ - ๒๔๙๙ ๙. พระแดง (ไม่ทราบฉายา) พ.ศ. ๒๔๙๙ - ๒๕๐๑ (รักษาการ) ๑๐. พระมหาไฟฑูรย์ ปคุโณ ป.ธ.๕ พ.ศ. ๒๕๐๑ - ๒๕๐๒ (รักษาการ) ๑๑. พระอธิการสงวน สิริสมฺปนฺโน พ.ศ. ๒๕๐๒ - ๒๕๐๔ ๑๒. พระปั่น (ไม่ทราบฉายา) พ.ศ. ๒๕๐๕ - ๒๕๐๖ (รักษาการ) ๑๓. พระย่อย (ไม่ทราบฉายา) พ.ศ. ๒๕๐๖ - ๒๕๐๗ (รักษาการ) ๑๔. พระสงค์ (ไม่ทราบฉายา) พ.ศ. ๒๕๐๘ - ๒๕๐๙ (รักษาการ) ๑๕. พระอธิการเคลม (ไม่ทราบฉายา) พ.ศ. ๒๕๑๐ - ๒๕๑๔ ๑๖. พระครูสันติสาธุคุณ (สมุทร อุปสโม) พ.ศ. ๒๕๑๕ - ๒๕๔๔ ๑๗. พระครูศรีปริยัตยานุศาสน์ (เรือง ปญฺญาปสุโต) พ.ศ. ๒๕๔๗ - ปัจจุบัน ปักหมุดวัดเมืองไทย
413
วันบ้านตะโคง เป็นวัดเก่าแก่ วัดหนึ่งในจังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งได้ตั้งเป็นวัด ในทางพระพุทธศาสนาเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๒ รวมเป็ น เวลา ๙๑ ปี (๒๕๖๓) โดย พระอาจารย์มุ ร่วมกับชาวบ้านตะโคง ร่ ว มกั น จั ด สร้ า งและขออนุ มั ติ จ าก มหาเถรสมาคม โดยกรมการศาสนา ในสมัยนั้นได้เป็นวัดเต็มตัวในปีดังกล่าว พระอาจารย์ม ุ เป็นอาจารย์รปู แรก ได้รว่ ม กับศิษยานุศษิ ย์พฒ ั นาวัดให้เจริญก้าวหน้า เรือ่ ยมา โดยมีผใู้ หญ่นอ้ ย สุขผดุง ซึง่ ด�ารง ต� า แหน่ ง เป็ น ผู ้ ใ หญ่ บ ้ า นในสมั ย นั้ น ได้บริจาคที่ดินสร้างถาวรวัตถุ มีกุฏิสงฆ์ โบสถ์ ศาลาการเปรียญ ในวัดจนเพียงพอ ได้มีการผลัดเปลี่ยนเจ้าอาวาสเรื่อยมา โดยการลาสิกขาและถึงแก่มรณภาพบ้าง
414
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ต่อมาเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๘๒ ใน หลังจากทีพ่ ระอธิการสมุทร อุปสโม สมัยของก�านันขาว พรมมาโนช เป็นก�านัน เป็นเจ้าอาวาส ได้มกี ารพัฒนาวัดเปลีย่ นแปลง วัดบ้านตะโคงได้ถูกลอบวางเพลิงท�าให้ ให้วดั เจริญก้าวหน้าขึน้ ตามล�าดับ โดยได้เปิด เผาผลาญกุฏสิ งฆ์ไปจนหมดสิน้ จึงท�าให้ สอนพระปริยัติธรรมแผนกธรรมบาลี ส่ง ภิกษุสามเณรในวัดเกิดความเดือดร้อน ศิษยานุศิษย์ไปศึกษาต่อจนประสบความ ไม่มีที่อยู่อาศัย ที่จะศึกษาพระธรรม ส�าเร็จเป็นพระมหาเปรียญอย่างมากมาย วินัย ต่อมาญาติโยมได้ร่วมกันสร้างกุฏิ จบในระดับอุดมศึกษาจนเป็นที่ยอมรับของ สงฆ์ชั่วคราวขึ้นให้ภิ กษุ ส ามเณร จ�า สังคม พรรษาเรื่ อ ยมาจนถึ ง พ.ศ. ๒๕๑๕ ทางวัดบ้านตะโคง ขาดเจ้าอาวาสที่จะ ปกครองดู แ ลภิ ก ษุ ส ามเณร ทายก ทายิกา พร้อมด้วยผูใ้ หญ่บา้ นตะโคง จึงได้ พร้อมใจไปนิมนต์ พระอธิการสมุทร อุป สโม จากวัดโพธิ์งามบ้านยะวึก มาด�ารง ต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดบ้านตะโคงจนถึง ปัจจุบัน
พระเจดีย์สันติคุณานุสรณ์ มี ค วามหมายว่ า พระเจดี ย ์ อั น เป็ น ที่ ประดิษฐานพระบรมธาตุ ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระเกศาธาตุพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในรัชสมัยที่ ๙ และรู ป เหมื อ นอั ฐิ ธ าตุ พระครู สั น ติ ส าธุ คุ ณ (สมุ ท ร อุ ป สโม) เพื่ อ เป็ น เครื่ อ งร� า ลึ ก ถึ ง พระปั ญ ญาธิ คุ ณ พระบริ สุ ท ธิ คุ ณ และพระ มหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของพระบรมศาสดาที่ มี ต ่ อ เวไนยสั ต ว์ และพระมหาเมตตากรุ ณ าธิ คุ ณ ของในหลวงรัชกาลที ่ ๙ ทีม่ ตี อ่ พสกนิกรชาวไทย มาอย่ า งยาวนานและน้ อ มร� า ลึ ก ถึ ง บุ พ การี คุณของหลวงพ่อพระครูสันติสาธุคุณ (สมุทร อุปสโม) ซึ่งเป็นสิริมงคลยิ่งแล้วที่เจ้าประคุณ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ) ใน รัชกาลที่ ๙ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้เมตตา ประทานชื่อพระเจดีย์ไว้ เมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๙ และได้ประทานพระบรมธาตุ พระเกศาธาตุ เพื่อบรรจุไว้ในพระเจดีย์สันติคุณ โดยได้ รั บ ความเมตตาจาก พระเดชพระคุณ พระธรรมโพธิวงศ์ เจ้าอาวาสวัดไทยพุทธคยา หัวหน้าพระธรรมทูตสายอินเดีย - เนปาล ท่านได้ เมตตามอบไว้ ที่ บ ้ า นคุ ณ โยมทองดี และมี ดร.โฆษิต เป็นผู้ด�าเนินงานช่วยให้การอัญเชิญ พระบรมฯ มาอย่างเรียบร้อยสมบูรณ์ โดยมี ท่านเจ้าคุณ พระโสภณรัตนาภรณ์ เจ้าอาวาส วัดแก้วฟ้า จ.นนทบุรี เป็นตัวแทนคณะสงฆ์รับ พระบรมฯ มาพั ก ที่ วั ด แก้ ว ฟ้ า แล้ ว น� า ไปที่ วัดไตรมิตรวิทยาราม กรุงเทพมหานคร ได้กา� หนด ให้ทา่ นเจ้าอาวาส คณะอุบาสกอุบาสิกา วัดบ้าน ตะโคง เข้ารับกับเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ เมื่อวันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
415
วัดอริยวงศาราม
ต� า บลบ้ า นด่ า น อ� า เภอบ้ า นด่ า น จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์
Wat Ariyawongsaram
Ban Dan Subdistrict, Ban Dan District, Buriram Province ความเป็นมา
วัดอริยวงศาราม ตั้งอยู่ที่ บ้านกระดึง หมู่ที่ ๒ ต�าบลบ้านด่าน อ�าเภอบ้านด่าน จังหวัด บุรีรัมย์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เริ่มก่อตั้งขึ้นใหม่เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๕ โดยการน�าของพระอาจารย์ อริยวงศ์ อริยวังโส พร้อมคณะสงฆ์และชาวบ้านผู้มีจิตศรัทธาร่วมแรงร่วมใจกันซื้อที่ดิน เพื่อสร้างวัด ขึ้นมาให้เกิดความร่มเย็นในใจ ในครอบครัว ในชุมชนและสังคมไทย วัดมีพื้นที่ ๑๘ ไร่ ๑ งาน ซึ่งแต่ เดิมเป็นทุ่งนาและได้เริ่มปลูกต้นไม้ ก่อสร้างเสนาสนะเรื่อยมา จนกระทั่งเปลี่ยนจากทุ่งรกร้างเป็น สถานปฏิบัติธรรมที่ร่มรื่น เป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชนผู้มีจิตศรัทธาโดยทั่วไป
416
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ท�าเนียบเจ้าอาวาส
๑. พระเลอพงษ์ สุนทโร หัวหน้าที่พักสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๓๕ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๙ ๒. พระวีระ โรจนธัมโม หัวหน้าที่พักสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๓๙ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๑ ๓. พระครูธรรมวงศาภิราม (ธนพล ฐิตธัมโม) พ.ศ. ๒๕๔๒ ถึง ปัจจุบัน
อานิสงส์ในการร่วมสร้างวิหารทาน
วิหารทาน คือ การท�าบุญถวายหรือร่วมสร้างเสนาสนะต่าง ๆ ถวายไว้เป็นสมบัติพระศาสนา เช่น การสร้างพระอุโบสถ (โบสถ์) กุฏิ ศาลา วิหาร หอฉัน หอระฆัง ห้องน�้า เป็นต้น องค์ ส มเด็ จ พระทศพลบรมศาสดาสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ทรงตรัสไว้ว่า “การถวายวิหารทานมีอานิสงส์มาก” โดยมีพุทธด�ารัส ตรัสเอาไว้วา่ “แม้ถวายทานแด่องค์พระสมเด็จสัมมาสัมพุทธเจ้า ๑๐๐ ครัง้ ยังมีอานิสงส์ไม่เท่าถวายสังฆทานครั้งเดียว” และ “แม้การถวาย สังฆทาน ๑๐๐ ครั้งไม่เท่าการถวายวิหารทานครั้งเดียว”
อานิสงส์ในการร่วมสร้างอุโบสถ
๑. ก่อให้เกิดความสงบร่มเย็นในชีวิตและครอบครัว เปรียบ เหมือนการได้สร้างบ้าน สร้างที่อยู่อาศัย ๒. ก่อให้เกิดความเจริญก้าวหน้าในทรัพย์สนิ เพราะว่าอุโบสถ เป็นที่จัดกิจกรรมที่ทะนุบ�ารุงพระศาสนาให้เจริญรุ่งเรื่อง และเป็นที่ เจริญด้วย อายุ วรรณะ สุขะ พละ และปฏิภาณ ๓. ก่อให้เกิดสติปญ ั ญา ความเฉลียวฉลาด เพราะอุโบสถเป็น ทีท่ า� สังฆกรรมของพระ เช่น การท�าวัตรสวดมนต์ การบวชนาค การสวด ปาฏิโมกข์ เป็นต้น ๔. ก่อให้เกิดความสามัคคีปรองดอง เพราะอุโบสถนอกจาก จะเป็นที่ท�าสังฆกรรมของพระแล้ว ยังเป็นที่ท�ากิจกรรมของชาวบ้าน ที่มาร่วมท�าบุญต่าง ๆ
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
417
วัดจ�ำปำ
ต� ำ บลประโคนชั ย อ� ำ เภอประโคนชั ย จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์
Wat Champa
Prakhon Chai Subdistrict, Prakhon Chai District, Buriram Province วัดจ�ำปำ ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ ๒ ต�ำบลประโคนชัย อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรรี มั ย์ บนเนือ้ ที ่ ๖ ไร่ ๑ ตำรำงวำ มีกำรสร้ำงวัด เมือ่ ประมำณ พ.ศ. ๒๓๕๐ และได้รับพระรำชทำนวิสุงคำมสีมำ เมื่อวันที่ ๒๑ ธันวำคม พ.ศ. ๒๕๒๒
การบูรณปฏิสังขรณ์ ในปีที่พระครูวิลำศวัชรคุณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้ำคณะอ�ำเภอ ประโคนชัยนั้น เสนำสนะต่ำง ๆ ที่มีอยู่ อำทิ พระอุโบสถ กุฏิ ศำลำ กำรเปรียญ โรงเรียนพระปริยัติธรรม เมรุ ตลอดจนก�ำแพงวัด อยู่ใน สภำพที่ช�ำรุด ทรุดโทรมมำก เนื่องจำกได้ท�ำกำรก่อสร้ำงมำเป็นเวลำ นำน จึงมีกำรปรับปรุงบูรณะซ่อมแซมบำงส่วนที่ยังพอบูรณะได้ และ รื้อถอนบำงส่วนที่ไม่สำมำรถซ่อมแซมบูรณะได้ออกไปแล้ว ได้ด�ำเนิน กำรก่อสร้ำงขึ้นใหม่ เพื่อควำมมั่นคงแข็งแรง และท่ำนได้ควบคุมกำร ก่อสร้ำงด้วยตนเอง ดังจะเห็นผลงำนตำมล�ำดับ ดังนี้
418
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ล�าดับพระสังฆาธิการที่ปกครอง ๑. หลวงพ่อโส (ไม่ปรำกฎหลักฐำนและชีวประวัต)ิ ๒. หลวงพ่ อ ปวด (ไม่ ป รำกฎหลั ก ฐำนและ ชีวประวัติ) ๓. พระครูบริหำรโกศล (หลวงพ่อหมอก อดีตเจ้ำ คณะอ�ำเภอประโคนชัย) ๔. พระครูวิลำศวัชรคุณ (หลวงพ่อเชียร ญำณมุนี อดีตเจ้ำคณะอ�ำเภอประโคนชัย) ๕. พระครูอภิรกั ษ์ศำสนกิจ (หลวงพ่อปลิต กิตตฺ สิ ำโร อดีตเจ้ำคณะอ�ำเภอประโคนชัย) ๖. พระครูสริ คิ ณำรักษ์ (มหำผลปิยธมฺโม) เจ้ำคณะ อ�ำเภอประโคนชัย รูปปัจจุบัน
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
419
วัดปานจัยนาราม
ต� า บลโคกว่ า น อ� า เภอละหานทราย จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์
Wat Panjainaram
Khok Wan Subdistrict, Lahan Sai District, Buriram Province
วัดป่าละหานทราย
ต� า บลละหานทราย อ� า เภอละหานทราย จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์
Wat Pa Lahan Sai
Lahansai Subdistrict, Lahansai District, Buriram Province
วั ด โพนทอง
ต� ำ บลพุ ท ไธสง อ� ำ เภอพุ ท ไธสง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์
Wat Phon Thong
Phutthaisong Subdistrict, Phutthaisong District, Buriram Province ความเป็นมา
วั ด โพนทอง ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ ๒๙ มิ ถุ น ายน พ.ศ. ๒๕๐๔ ด�าเนินการโดย นายหลา ทฺมาโต ชาวบ้านร่วมบริจาคและซื้อที่ดินถวายวัด ๖ ไร่ ๑ งาน ๖๑ ตารางวา ประธานสงฆ์รูปแรกของวัด พระอธิการ สุบิน ยโสธโร เลขานุการเจ้าคณะอ�าเภอพุทไธสง โดยได้รับอนุญาตสร้างวัดจาก กรมการศาสนา เมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๙ และด�าเนินการสร้าง โดย นายณรงค์ กมลมุนีรัตน์ มีการประกาศตั้งวัดโดยกระทรวงศึกษาธิการ เมื่ อ วั น ที่ ๑๗ มิ ถุ น ายน พ.ศ. ๒๕๒๒ มี น างเสงี่ ย ม กมลมุ นี รั ต น์ เป็นผู้ด�าเนินการ
ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๔ ด�าเนิน การโดย พระครูวิลาสธรรมคุณ และผูกพัทธสีมา ฝังลูกนิมิต อุโบสถ เมื่อวันที่ ๑๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๙
การพัฒนาวัด
พ.ศ. ๒๕๒๖ พ.ศ. ๒๕๒๙ พ.ศ. ๒๕๓๔ พ.ศ. ๒๕๓๔ พ.ศ. ๒๕๓๕ พ.ศ. ๒๕๓๖ พ.ศ. ๒๕๓๙
ตั้งศูนย์ศึกษา พุทธศาสนาวันอาทิตย์ กรมการศาสนาจัดให้เป็น วัดพัฒนาตัวอย่าง เ จ ้ า อ า ว า ส ( พ ร ะ ค รู วิ ล า ศ ธ ร ร ม คุ ณ ) ไ ด ้ รั บ พระราชทานรางวัลเสาเสมาธรรมจักร และเกียรติบัตร ผู้ท�าคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา สาขาการศึกษา ศูนย์ศึกษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ตั้งโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกบาลี เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างดีเด่น ตั้งโรงเรียนพระปริยัติธรรม ประจ�าอ�าเภอที่วัดโพนทอง ตั้งโรงเรียนปริยัติสามัญ วัดโพนทองธรรมวิทย์
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย
วัดแจ้งตลาดโพธิ์
ต� ำ บลตลำดโพธิ์ อ� ำ เภอล� ำ ปลำยมำศ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์
Wat Chaeng Talad Phoh
Talad Phoh Subdistrict, Lam Plai Mat District, Buriram Province
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
424
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ความเป็นมา วัดแจ้งตลาดโพธิ์ ตั้งอยู่เลขที่ ๗๙ บ้านตลาดโพธิ ์ หมู่ที่ ๓ ตั้งขึ้นมาพร้อม ๆ กับหมู่บ้าน กระทรวงศึกษาธิการได้ตั้งเป็น วัดใน เมื่อวันที่ ๒๑ มีนาคม พ.ศ.๒๓๒๑ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย มี ที่ ดิ น ที่ ตั้ ง จ�านวน ๑๕ ไร่ ๘๐ ตารางวา หนังสือรับรอง การท� า ประโยชน์ (น.ส. ๓ ก.) เลขที่ ที่ดิน ๓๐๘ พืน้ ทีต่ งั้ วัดเป็นบริเวณทีร่ าบเนินสูง ที่สุดของบริเวณหมู่บ้าน ล้อมรอบไปด้วย หมู่บ้านตลาดโพธิ์ หมู่ที่ ๓ ซึ่งเป็นที่ตั้ง ของวัด บ้านตลาดโพธิ์ หมู่ที่ ๑ ตั้งอยู่ทาง ทิศใต้ของวัด ห่างจากวัดประมาณ ๓๐ เมตร บ้ า นตลาดโพธิ์ หมู ่ ที่ ๒ ตั้ ง อยู ่ ท างทิ ศ ตะวันตกของวัด ห่างประมาณ ๓๐ เมตร มีถนนคอนกรีตทีเ่ ชือ่ มต่อถนนลาดยาง สาย ล�าปลายมาศ - คูเมือง กิโลเมตรที่ ๑๐ การตัง้ ชือ่ วัดโดยใช้ชอื่ หมูบ่ า้ นเป็น ชื่อ แต่งเพิ่มค�าว่า “แจ้ง” เข้าไป ซึ่งค�าว่า แจ้ง นีม้ คี วามหมายว่า กระจ่าง, สว่าง, บอก, แสดง, รู้, บอกให้รู้หรือโฆษณา แต่ในที่นี้ หมายความว่า เป็นวัดทีม่ คี วามสว่างรุง่ เรือง ทางด้านพระพุทธศาสนา เป็นทีบ่ า� เพ็ญกุศล เป็นที่ศึกษาพระไตรปิฎก อันเป็นคัมภีร์ ที่ส�าคัญของพระพุทธศาสนา จึงตั้งชื่อให้ เป็นมงคลว่า “วัดแจ้งตลาดโพธิ์”
พระครูวิมลโพธิวัฒน์ สปฺปญฺโญ (ประชิด บริวาล) เจ้าคณะต�าบลตลาดโพธิ์ - บุโพธิ์ / เจ้าอาวาสวัดแจ้งตลาดโพธิ์
เจ้าอาวาสที่ปกครองวัดตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
รูปที่ ๑ ถึงรูปที่ ๔ ไม่สามารถทราบชื่อและฉายา รูปที่ ๕ หลวงพ่อทอง พ.ศ. ๒๓๒๐ (มรณภาพ) รูปที่ ๖ พระอาจารย์ไว พ.ศ. ๒๔๑๓ – ๒๔๗๖ (มรณภาพ) รูปที่ ๗ พระอาจารย์บุญนาค พ.ศ. ๒๔๗๗ – ๒๔๘๖ (ลาสิกขา) รูปที่ ๘ พระครูอรุณคุณากร (หลวงพ่อเนิน) พ.ศ. ๒๔๗๖ – ๒๕๑๗ (มรณภาพ) รูปที่ ๙ เจ้าอธิการอ�านวย โกวิโท (อาจารย์อีด) พ.ศ. ๒๕๑๘ – ๒๕๒๓ (ลาสิกขา) รูปที่ ๑๐ พระครูวิมลโพธิวัฒน์ (หลวงพ่อป้อด) พ.ศ. ๒๕๒๔ – ปัจจุบัน ปักหมุดวัดเมืองไทย
425
วัดปราสาท
ต� า บลระแงง อ� า เภอศี ข รภู มิ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Prasat
Rangang Subdistrict, Si Khoraphum District Surin Province
วัดป่าห้วยเสนง
ต� า บลหนองใหญ่ อ� า เภอปราสาท จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Pa Huay Saneng
Nong Yai Subdistrict, Prasat District, Surin Province