PukmudmuangThai
ปักหมุดเรือ่ งรำว เส้นทำง 6 จังหวัด
วัดเมืองไทย ไหว้พระ ท�ำบุญ
6 เมืองอีสำน
แบ่งปันเรือ่ งรำววัดเมืองไทย อย่ำงลึกซึ้ง ทั้งอิม ่ บุญ อิ่มใจ และได้ควำมเป็นสิริมงคล
นครพนม มุกดาหาร ยโสธร ศรีสะเกษ อ�านาจเจริญ อุบลราชธานี
www
Website
ปักหมุด
วัดเมืองไทย ปักหมุดเส้นทำงบุญ เส้นทำงธรรม
ปักหมุดเมืองไทย PUKMUDMUANGTHAI
WEBSITE www.pukmudmuangthai.com FACEBOOK Fanpage : ปักหมุดเมืองไทย Fanpage : ปักหมุดวัดเมืองไทย
2
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ปักหมุดวัดเมืองไทย
บริษัท เอทีพีอาร์ ส�ำนักงำนใหญ่ เลขที่ 23 หมู่ 1 ต�ำบลนอกเมือง อ�ำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ 32000 044-060-459, 082-036-5590
ปักหมุดเมืองไทย
ยโสธร
อ�ำนำจเจริญ
์ เพอร์
อุบลรำชธำนี
ปักหมุดชวนเทีย ่ ว 6 จังหวัด ภาคอีสาน ศรีสะเกษ
มุกดำหำร
นครพนม
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
3
วัดเจียงอีศรีมงคลวราราม พระอารามหลวง ต�าบลเมืองใต้ อ�าเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Chiang Ei Si Mongkol Wararam (Phra Aram Luang) Mueang Tai Subdistrict, Mueang Sisaket District, Sisaket Province
4
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
5
วัดมหาธาตุ (พระอารามหลวง)
ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร
Wat Mahathat (Phra Aram Luang)
Nai Mueang Subdistrict, Mueang Yasothon District, Yasothon Province
พระธาตุอานนท์ เจดีย์ทรงมณฑปยอดบัวเหลี่ยม สร้างก่ออิฐถือปูนในผังสี่เหลี่ยม คล้ายกับเจดีย์ พระธาตุตาดทอง และพระธาตุหนองสามหมื่น ประกอบด้วยส่วนฐานบัวท้องไม้ ลูกแก้วอกไก่ บนฐานเขียงที่ซ้อนลดหลั่นกัน ๔ ชั้น ส่วนตอนกลางเป็นมณฑปย่อเก็จ มีซุ้มพระทั้ง ๔ ด้าน ส่วน ยอดเป็นบัวเหลี่ยมซ้อนกัน ๓ ชั้นที่เฉพาะบัวเหลี่ยมตอนล่างท�าย่อเก็จเป็นรูปบัวเหลี่ยมตกแต่ง เครื่องยอดแหลมทั้ง ๔ ด้าน 6
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
พระพุทธบุษยรัตน์ หรือ พระแก้วหยดน�้าค้าง ตามข้อสันนิษฐานที่สืบทราบความว่า พระยาพิชัยราชขัตติยวงศาเจ้าผู้ครองนครจ�าปาศักดิ์ เมื่อถึงแก่พิราลัยเจ้าสิงห์ ราชวงศ์ได้อญ ั เชิญพระแก้วหยดน�า้ ค้างและอัฐสิ ว่ นหนึง่ มาไว้ทวี่ ดั มหาธาตุ เมือ่ พ.ศ. ๒๓๕๗ รัชกาลที ่ ๒ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านสิงห์ท่าขื้นเป็นเมืองในนามว่า เมืองยศสุนทร ให้เจ้าราชวงศ์สิงห์เจ้า ครองเมืองมีราชทินนามว่า พระสุนทรราชวงศา ท่านเจ้าสิงห์ดีใจจึงน�าพระแก้วหยดน�้าค้างเข้าถวายรัชกาลที่ ๒ เมื่อครั้งเจ้าพระยาราชสุภาวดี (สิงห์ สิงหเสนี) ยกทัพไปตีเมืองเวียงจันทน์ เจ้าอุปฮาดบุตร เจ้าฝ่ายบุตร เจ้าค�าม่วง ซึ่ง มีศักดิ์เป็นหลานของเจ้าพระยาขัตติวงศา ได้น�าทัพร่วมรบด้วย โดยมีท่านพระครูหลักค�ากุ ผู้มีภูมิความรู้ถนัดในทางโหราศาสตร์ เป็นผูใ้ ห้ฤกษ์และท�าพิธตี ดั ไม้ขม่ นามพิธปี ฐมกรรมอันเป็นการให้ขวัญและก�าลังใจแก่เหล่าทหาร จึงได้ชยั ชนะความทราบถึงรัชกาลที ่ ๓ จึงได้มรี บั สัง่ ให้พาเข้าเฝ้าโดยด่วน โดยมีทา้ วฝ่ายบุตรและพระครูหลักค�ากุ ณ กรุงเทพมหานคร แล้วจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสัญญาบัตรให้ทา้ วฝ่ายบุตร เป็น พระสุนทรราชวงศา และพระครูหลักค�ากุ เป็น พระครูวชิรปัญญา แล้วพระราชทาน ปืนนางป้อม ๑ กระบอกให้ และ พระราชทาน พระแก้วหยดน�้าค้าง เพื่อเป็นบ�าเหน็จความชอบให้แก่พระสุนทรราชวงศา เจ้าเมืองคนที่ ๓ ของเมืองยโสธร ทั้งนี้เพื่อเป็นสิริมงคลให้แก่ชาวเมืองยโสธรอีกด้วย
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
7
บริษัท เอทีพีอาร์ เพอร์เฟคท์ จ�ากัด ATPR PERFECT Co.,Ltd. 23 หมู่ที่ 1 ต�าบลนอกเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000 atpr.perfect@gmail.com 082-036-5590 044-060-459 นายณัฏฐพัฒน์ แจ่มจันทร์ Nattapat Jamjan ที่ปรึกษาฝ่ายประสานงานและสื่อสารองค์กร Corporate Cordination and Commucination Consultant ไพรัตน์ กลัดสุขใส Pirat Kludsuksai ภูษิต วิทยา Phusit Wittaya ถาวร เวปุละ Taworn Wapula พุฒิธร จันทร์หอม Puttitorn Janhom ธนิน ตั้งธ�ารงจิต Thanin Tangtamrongjit
ฝ่ายประสานงานและ สื่อสารองค์กร Corporate Coordination and Commucination
ชัชญาณิช วิจิตร Chatchayanit Wijit นายวิทยา วิจิตร Wittaya Wijit
เรียบเรียงข้อมูล Editor
ชัชญาณิช วิจิตร Chatchayanit Wijit ธัญภรณ์ สมดอก Thunyaporn Somdok ภาณุวัฒน์ ประสานสุข MR.PANUWT PRASANSUK ดวงดาว บุญท่วม Duangdao Boontuam
ติดต่อประสานงาน Coordinator
คมสันต์ สีหะวงษ์ Komsan Sihawong
ออกแบบกราฟฟิค Graphic Designer
พรเทพ ลักขษร Bhonthep Luckasorn
ตัดต่อวีดิโอ VDO Editor
พร โพชารี Porn Pocharee ชัยวิชญ์ แสงใส Chaiwit Sangsai
ถ่ายภาพ Photographer
ปักหมุดเส้นทางบุญ เส้นทางธรรม คณะสงฆ์ จังหวัดยโสธร คณะสงฆ์ จังหวัดศรีสะเกษ คณะสงฆ์ จังหวัดอ�ำนำจเจริญ คณะสงฆ์ จังหวัดอุบลรำชธำนี คณะสงฆ์ จังหวัดมุกดำหำร คณะสงฆ์ จังหวัดนครพนม ผลงำนปักหมุดเมืองไทย วัดมหำธำตุ(พระอำรำมหลวง) วัดอัมพวัน วัดสิงห์ท่ำ วัดศรีธงทอง วัดบ้ำนกว้ำง วัดศรีธำตุ วัดเชียงหวำง วัดกุดชุม วัดทองเกี้ยงเก่ำ วัดป่ำพุทธิคุณ วัดสว่ำง วัดเหล่ำไฮ วัดบูรพำรำมใต้, โรงเรียนทรำยมูลปริยัติวิทยำ วัดหนองไก่ขำว วัดนำโป่ง
20 22 26 28 30 32 33 36 38 42 46 48 52 56 58 60 62 64 66 68 74 76
80 84 86 88 90 92 94 96 100 104 106 110 112 114 116 118 120 122
วัดโพธิ์ไทร วัดเชียงเพ็ง วัดกระจำยนอก วัดไทยเจริญ วัดฟ้ำหยำด วัดป่ำจันทวนำรำม วัดห้วยกอย วัดมัคคำพัฒนำรำม วัดเจียงอีศรีมงคลวรำรำม พระอำรำมหลวง วัดมหำพุทธำรำม(วัดพระโต) วัดสุวรรณำรำม(ค�ำเนียม) วัดโพธิ์น้อย วัดปรำสำทภูฝ้ำย วัดหนองปลำเข็ง วัดบ้ำนเหลำเสน วัดจินดำรำม วัดบ้ำนเขิน วัดสว่ำงวำรีรัตนำรำม
ปักหมุดเส้นทางบุญ เส้นทางธรรม วัดโพธิ์ศรี วัดเวฬุวันธรรมำรำม แผนที่อ�ำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ วัดบ้ำนโดด วัดป่ำโพธิ์ศรีสุวรรณ วัดบ้ำนสำมขำ วัดบ้ำนผือ วัดบ้ำนอีเซ วัดหนองหงอก วัดป่ำฝำงวรำรำม วัดปลำเดิด วัดหนองกกยูง วัดปรำสำทเยอเหนือ วัดศรีสุขสวัสดิ์
124 126 128 130 134 136 140 142 146 148 150 152 154 156 158 160 162 166 168 170 172 174 176 182 184 186 188 190 192
วัดโนนติ้ว วัดบ้ำนโนนสูง วัดดวนใหญ่ วัดดงยำง วัดบ้ำนเจ้ำทุ่ง วัดวำรีศิลำรำม วัดทุ่งสว่ำง วัดสระก�ำแพง วัดป่ำเวฬุวัน แผนที่อ�ำนำจเจริญ วัดบ่อชะเนง วัดอ�ำนำจเจริญ วัดโนนโพธิ์ วัดถ�้ำแสงเพชร วัดศรีโพธิ์ชัย
ปักหมุดเส้นทางบุญ เส้นทางธรรม วัดวังแคน 194 วัดหนองตำใกล้ 196 วัดดอนหวำย 198 วัดศรีสุขเกษม 200 วัดเทพมงคล 202 วัดวิเวกแสงธรรม 204 วัดหนองขำม 206 วัดศรีชมภู่ 208 วัดดอนขวัญ 210 วัดอ�ำนำจ 212 วัดอินทรำรำม 214 วัดโพธำรำม 220 วัดศรีโพธิ์ชัย 224
226 230 234 236 238 242 244 248 252 254 256 258 260 262 264 266 272 274
วัดหนองหลัก วัดพระโรจน์ วัดป่ำหนองไข่นก วัดศรีสุพนอำรำม วัดหนองสองห้อง วัดศรีบุญเรือง วัดศรีมงคลใต้ วัดรอยพระพุทธบำทภูมโนรมย์ วัดค�ำสำยทอง วัดศรีโพธิ์ชัย วัดพุทธนครำภิบำล วัดเกษมสุข วัดเหล่ำต้นยม วัดพระศรีมหำโพธิ์ วัดลัฎฐิกวัน วัดป่ำวิเวก ไหว้พระประจ�ำวันเกิด เที่ยววัดสุรินทร์-บุรีรัมย์
12
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ประเพณีไหลเรือไฟ จังหวัดนครพนม งานประเพณีไหลเรือไฟ (เฮือไฟ) จัดขึ้นในวันออกพรรษา คือวันขึ้น 15 ค�่า เดือน 11 การไหลเรือไฟถือเป็นการบูชาพระพุทธเจ้า ในวันทีพ่ ระพุทธเจ้าเสด็จมาจาก เทวโลก หลังจากทีพ่ ระพุทธองค์ได้เสด็จขึน้ ไปจ�าพรรษาทีด่ าวดึงษ์ เพือ่ แสดงพระธรรม เทศนาโปรดพระพุทธมารดา เมือ่ ออกพรรษาแล้วพระพุทธเจ้าก็เสด็จลงมาสูม่ นุษย์โลก โดยบันไดทิ พ ย์ทั้ง ๓ วันนี้เรียกว่า วันพระเจ้าโปรดโลก พระองค์เสด็จมา ณ เมืองสัง กัสสะ สถานที่นั้นเรียกว่า อจลเจดีย์ (อ่านว่า อะ-จะ-ละ-เจ-ดี) ทวยเทพทั้งหลายส่ง เสด็จ มวลมนุ ษย์ทั้งหลายรับเสด็จ ด้วยเครื่องสักการะบูชามโหฬาร การไหลเรือไฟก็ คือการสักการะบูชาอย่างหนีง่ ในวันนัน้ และได้ทา� เป็นประเพณีสบื ทอดกันมาจนถึงทุก วันนี้ นอกจากนีย้ งั มีตา� นานการไหลเรือไฟทีแ่ ตกต่างกันก็ ถือว่าท�าให้ได้รบั อานิสงฆ์ เหมือนกัน เดิมเรือไฟท�าด้วยท่อนกล้วยหรือไม้ไผ่ตอ่ เป็นล�าเรือ ยาวประมาณ ๕ - ๖ วา ข้างในบรรจุไว้ด้วยขนม ข้าวต้มมัด หรือสิ่งของที่ต้องการจะบริจาคทาน ข้างนอกเรือ มีดอกไม้ ธูป เทียน ตะเกียง ขี้ไต ส�าหรับจุดให้สว่างไสว ก่อนจะปล่อยเรือไฟ ปัจจุบัน มีการจัดท�าเรือไฟเป็นรูปแบบต่าง ๆ ทีข่ นาดใหญ่โตขึน้ มีวธิ กี ารประดับตกแต่งให้วจิ ติ ร ตระการตามากยิ่งขึ้น เมื่อปล่อยเรือไฟเหล่านี้ลงกลางล�าน�้าโขงภายหลังการจุดไฟ ให้ลุกโชติช่วงจะเป็นภาพที่งดงาม ข้อมูล : ส�านักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครพนม ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
13
14
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
สายธรรมน�าใจ สู่เมืองมุกดาหาร วัดรอยพระพุทธบาทภูมโนรมย์ อ�าเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
15
วัดอัมพวัน อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร
16
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
พระแก้วศรีวิเศษ (พระหยก) วัดเจียงอีศรีมงคลวราราม อ�าเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
17
วัดสว่างวารีรัตนาราม อ.น�้าเกลี้ยง จ.ศรีสะเกษ
วัดดอนหวาย อ.เมืองอ�านาจเจริญ จ.อ�านาจเจริญ
วัดหนองหลัก อ.ม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี
18
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
วัดรอยพระพุทธบาทภูมโนรมย์ อ.เมืองมุกดาหาร จ.มุกดาหาร
วัดป่าพุทธิคุณ อ.กุดชุม จ.ยโสธร
พระศรีสัตตนาคราช อ.เมืองนครพนม จ.นครพนม ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
19
ท�ำเนียบพระสังฆำธิกำร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย จังหวัดยโสธร
พระเทพวงศาจารย์ เจ้าคณะจังหวัดยโสธร
พระราชสุตาลงกรณ์ รองเจ้าคณะจังหวัดยโสธร
พระอุดมปัญญาภรณ์ รองเจ้าคณะจังหวัดยโสธร
พระครูอนุรักษ์วรดิตถ์ เจ้าคณะอ�าเภอเมืองยโสธร
พระครูอุดมศาส์นธรรม
เจ้าคณะอ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว
พระครูศรีธรรมคณารักษ์ เจ้าคณะอ�าเภอเลิงนกทา
20
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
พระครูเมธีธรรมบัณฑิต
พระครูปริยัติวีรวงศ์ เลขาฯเจ้าคณะจังหวัดยโสธร
พระครูฉันทกิจโกศล รองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองยโสธร
พระมหาเจริญ จกฺกวโร
รองเจ้าคณะอ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว
รองเจ้าคณะอ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว
พระครูครูสุตาลังการ รองเจ้าคณะอ�าเภอเลิงนกทา
พระครูศรีปุญญาภิรัตน์ รองเจ้าคณะอ�าเภอเลิงนกทา
พระครูปริยัติบูรพาภิรักษ์ เลขาฯรองเจ้าคณะจังหวัดยโสธร
พระครูปริยัติกิตตยากร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอเมือง
พระมหาธีระโรจน์ ติกฺขวิริโย
เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว
พระครูเมธีธรรมบัณฑิต
เลขาฯรองเจ้าคณะจังหวัดยโสธร
พระพรหมมา ภูริจิตฺโต เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอเมือง
พระมหาศุภชัย ญาณธีโร
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว
พระครูสมุห์ จิรพงษ์ จิรธมฺโม พระครูสังฆรักษ์ยมนา สนฺตจิตฺโต เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอเลิงนกทา เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอเลิงนกทา
พระอุดร ติสฺสโร
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว
พระมหานัฐพล อิสฺสรธมฺโม
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอเลิงนกทา
พระครูประโชติวรกิจ เจ้าคณะอ�าเภอกุดชุม
พระครูอรัญวัฒนคุณ รองเจ้าคณะอ�าเภอกุดชุม
พระอุดมปัญญาภรณ์
พระครูวิสิฐปัญญาคม รองเจ้าคณะอ�าเภอกุดชุม
พระครูประภัสรธรรม
พระสุทิน กิตติโก เลขาเจ้าคณะอ�าเภอกุดชุม
พระครูปริยัติวีรวงศ์
รักษาการ เจ้าคณะอ�าเภอมหาชนะชัย รองเจ้าคณะอ�าเภอมหาชนะชัย รองเจ้าคณะอ�าเภอมหาชนะชัย
พระปริญญา อนุตตโร
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอกุดชุม
พระครูสิริชัยสาทร
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอมหาชนะชัย
พระวรเทศก์ กตปุญโญ
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอกุดชุม
พระครูปิยธรรมวิสุทธิ์
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอมหาชนะชัย
พระครูโพธิธรรมสถิต เจ้าคณะอ�าเภอป่าติ้ว
พระครูพัฒนธรรมกิจ รองเจ้าคณะอ�าเภอป่าติ้ว
พระครูสุกิจธรรมากร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอป่าติ้ว
พระครูสมุห์สุวิท กิตฺติญาโณ เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอป่าติ้ว
พระครูชินธรรมวิมล เจ้าคณะอ�าเภอทรายมูล
พระครูเมธีปริยัติธาดา รองเจ้าคณะอ�าเภอทรายมูล
พระมหาไพฑูรย์ วิสุทฺธสาโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอทรายมูล
พระมหาทศพร ฐิตปุญฺโญ เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอทรายมูล
พระครูปริยัติคณาภิรักษ์ เจ้าคณะอ�าเภอค้อวัง
พระอิทธิพล อิทฺธิญาโน เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอค้อวัง
พระครูศรีธรรมานุกูล เจ้าคณะอ�าเภอไทยเจริญ
พระครูพิบูลวรานุกิจ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอไทยเจริญ ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
21
ท�ำเนียบพระสังฆำธิกำร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย จังหวัดศรีสะเกษ
พระราชกิตติรังษี เจ้าคณะจังหวัดศรีสะเกษ
พระครูศรีมงคลปริยัติกิจ รจจ.ศรีสะเกษ
พระครูสิริปริยัติการ รจจ.ศรีสะเกษ
พระครูสันติธรรมานุวัตร จอ.เมืองศรีสะเกษ
22
พระครูสังฑรักษ์อภิศักดิ์ เลข.จจ.ศรีสะเกษ
พระครูสุตกัลยาณคุณ รจอ.เมืองศรีสะเกษ
พระมหาพุทธิวัฒน์ ปญฺญาธโร เลข.รจจ.ศรีสะเกษ
พระใบฎีกาสุทธิ สุทฺธิปภาโส เลข.จอ.เมืองศรีสะเกษ
พระมหาค�าตัล พุทฺธงฺกุโร เลข.รจจ.ศรีสะเกษ
พระค�า มหาคมฺดิโร เลข.รจอ.เมืองศรีสะเกษ
พระศรีธรรมาภรณ์ จอ.อุทุมพร
พระครูจารุวรรณโสภณ รจอ.อุทุมพร
พระมหาชัชวาลย์ รจอ.อุทุมพร
พระปลัดธนาทิพย์ ธนวิชฺโช
เลข.จอ.อุทุมพร
พระมหามานะ ฐิตเมธี เลข.รจอ.อุทุมพร
พระมหาพุทธิวัฒน์ พุทฺธิภทฺโท
พระครูโสภิตสารธรรม จอ.กันทรารมย์
พระมหาเจษฎา จนฺทาโภ รจอ.กันทรารมย์
พระครูบวรสังฆรัตน์ รจอ.กันทรารมย์
พระเทิดศักดิ์ อรุโณ เลข.จอ.กันทรารมย์
พระมหาญาณกีรติ อมโร เลข.รจอ.กันทรารมย์
พระสมุห์เอกรินทร์ นรินฺโท เลข.รจอ.กันทรารมย์
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
เลข.รจอ.อุทุมพร
พระมหาสมชาย ขนฺติธโร จอ.ราษีไศล
พระครูโกศลสุตาการ รจอ.ราษีไศล
พระครูสุเมธีศีลคุณ รจอ.ราษีไศล
พระรัตนญาณ ภูริปญฺโญ เลข.จอ.ราษีไศล
พระปลัดอภิสรณ์ อภิวฑฺฒโน
พระมหาอภิวัฒน์ อภิวณฺโณ
พระศรีวรเวที จอ.กันทราลักษ์
พระครูวารีคุณากร รจอ.กันทราลักษ์
พระมหาสนอง ขนฺติธโร รจอ.กันทราลักษ์
พระครูวิสุทธิ์ธรรมาภิรัต เลข.จอ.กันทราลักษ์
พระครูพิพิธเมธากร เลข.รจอ.กันทราลักษ์
พระครูศรีวชิรปัญญาคม เลข.รจอ.กันทราลักษ์
พระครูพิศิษฎ์ธรรมานุศาสก์
จอ.ขุขันธ์
พระมหามังกร กนฺตปุญโญ รจอ.ขุขันธ์
พระครูสุตธรรมวิวัฒน์ รจอ.ขุขันธ์
พระปลัดบ�ารุง สุวณฺณวณฺณี
เลข.จอ.ขุขันธ์
พระมหาวราวุฒิ ถาวโร เลข.รจอ.ขุขันธ์
พระฤทธิไกร เตชธมฺโม เลข.รจอ.ขุขันธ์
พระครูพิพิธสังฆการ จอ.ปรางค์กู่
พระครูวรรณสารโสภณ รจอ.ปรางค์กู่
พระครูสิรินพวัฒน์ รจอ.ปรางค์กู่
พระมหาดนัยธร ติกขปญโญ
พระบุญเพ็ง ชยสาโร
พระมหาวินัย จินฺตามโย
พระครูศรีโพธาลังการ รก.จอ.ขุนหาญ
พระครูปัญญาพัฒนาทร รจอ.ขุนหาญ
เลข.จอ.ปรางค์กู่
พระปลัดเสาร์ ติกฺขวีโร เลข.รจอ.ขุนหาญ
เลข.รจอ.ราษีไศล
เลข.รจอ.ปรางค์กู่
เลข.รจอ.ราษีไศล
เลข.รจอ.ปรางค์กู่
พระหวัน กิตฺติสาโร เลข.รจอ.ขุนหาญ
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
23
พระครูวาปีคณาภิรักษ์ จอ.ไพรบึง
พระมหาจันทร์ดี ปญฺญาวชิโร
พระครูปภาสธรรมากร
เลข.จอ.ไพรบึง
พระใบฎีกาเอกชัย ฐิตว�งโส เลข.รจอ.ไพรบึง
พระครูวรธรรมคณารักษ์ จอ.วังหิน
พระครูสิริวงศานุวัตร รจอ.วังหิน
พระมหารฐนนท์ อธิปุญฺโญ เลข.จอ.วังหิน
พระอธิการสมสวย อาสโภ เลข.รจอ.วังหิน
พระครูสุทธิธรรมพิทักษ์ จอ.น�้าเกลี้ยง
พระครูจินดากัลยาณกิจ รจอ.น�้าเกลี้ยง
พระมหาฐวิกร ปภสฺสโร
พระครูสุทธิปุญญาภรณ์ จอ.เบญจลักษณ์
พระครูไพโรจน์กิตยาภรณ์ รจอ.เบญจลักษณ์
พระครูสุตวราทร เลข.จอ.เบญจลักษณ์
พระอธิการถนอม ฐานุตฺตโร
พระประจวบ สจฺจวโร เลข.จอ.พยุห์
พระสายฟ้า นาถสีโล เลข.รจอ.พยุห์
พระครูจันทสารพิมล จอ.พยุห์
24
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
รจอ.ไพรบึง
พระครูสุจิตโพธิธรรม รจอ.พยุห์
เลข.จอ.น�้าเกลี้ยง
พระมหาสมยศ ยสวฑฺฒโน เลข.รจอ.น�้าเกลี้ยง
เลข.รจอ.เบญจลักษณ์
พระครูประภัศร์สุตาลังการ จอ.ภูสิงห์
พระครูสถิตกิจจาทร รจอ.ภูสิงห์
พระปลัดสมพงษ์ ฐานวโร เลข.จอ.ภูสิงห์
พระครูสมุห์ภมร จนฺทว�งโส เลข.รจอ.ภูสิงห์
พระครูศรีรัตนาภิรักษ์ จอ.ศรีรัตนะ
พระครูอินทวีรานุยุต รจอ.ศรีรัตนะ
พระมหาดอนไชย สิริวฑฺฒโน
เลข.จอ.ศรีรัตนะ
พระครูสิริบุญกิจ จอ.ศิลาลาด
พระครูสิริคณาภิรักษ์ จอ.ยางชุมน้อย
พระมหาพุทธาปรัชญุภัทร เลข.จอ.ยางชุมน้อย
พระครูเมธีปัญญาภิวัฒน์ จอ.โนนคูน
พระนิธิพล วิสุทฺธธมฺโม เลข.จอ.โนนคูน
พระครูปริยัติคณานุรักษ์ จอ.บึงบูรพ์
พระเดชยอด ธมฺมรตโน เลข.จอ.บึงบูรพ์
พระมหาส�าราญ สุเมโธ จอ.เมืองจันทร์
พระปลัดวรวุฒิ ธมฺมาวุโธ เลข.จอ.เมืองจันทร์
พระครูสุจิตโพธาลังการ จอ.โพธิ์ศรีสุวรรณ
พระครูสุจิตวรานุกูล เลข.จอ.โพธิ์ศรีสุวรรณ
พระครูศรีปริยัติวงศ์ จอ.ห้วยทับทัน
พระมหานิริศ กลฺยาโณ เลข.จอห้วยทับทัน
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
25
ท�ำเนียบพระสังฆำธิกำร สังกัดคณะสงฆ์จังหวัดอ�ำนำจเจริญ (มหำนิกำย)
พระราชปรีชาญาณมุนี เจ้าคณะจังหวัดอ�านาจเจริญ
พระครูสิริสีลวัตร
รองเจ้าคณะจังหวัดอ�านาจเจริญ
พระครูมงคลวรวัฒน์ เจ้าคณะอ�าเภอเมืองอ�านาจเจริญ
พระครูสิริวรานุกูล
เจ้าคณะอ�าเภอปทุมราชวงศา
พระครูปริยัติวีราภรณ์ เจ้าคณะอ�าเภอลืออ�านาจ
พระครูสิริสมาจารคุณ รองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองอ�านาจเจริญ
26
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
พระมหาส�าลี กิตฺติปญฺโญ เจ้าคณะอ�าเภอพนา
พระมหาอาคม สุมณีโก เจ้าคณะอ�าเภอเสนางคนิคม
พระครูสุตกิจพิมล รองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองอ�านาจเจริญ
พระครูปทีปธรรมานุยุต
พระครูกิตติโกศล เจ้าคณะอ�าเภอหัวตะพาน
พระมหาทินกร อิสฺสโร เจ้าคณะอ�าเภอชานุมาน
รองเจ้าคณะอ�าเภอปทุมราชวงศา
พระครูศรีวนานุรักษ์ รองเจ้าคณะอ�าเภอพนา
พระครูปิยวรธรรม รองเจ้าคณะอ�าเภอหัวตะพาน
พระครูศรีกิตติคุณาธาร รองเจ้าคณะอ�าเภอลืออ�านาจ
พระครูปริยัติวีราภรณ์
พระมหาชัยณรงค์ โชติโสภโณ
เลขานุการเจ้าคณะอ�าเภอเมืองอ�านาจเจริญ
เลขานุการรองเจ้าคณะจังหวัดอ�านาจเจริญ
พระปลัดนนทวัตร์ ฐานวีโร เลขานุการเจ้าคณะอ�าเภอปทุมราชวงศา
พระครูพุทธิปัญญาคุณ เลขานุการเจ้าคณะอ�าเภอพนา
พระมหาไทยรัฐ ทินฺนวโร
พระมหาภัทรกันต์ ภทฺรปญฺโญ
พระครูวิโรจน์วรานุกูล
เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดอ�านาจเจริญ
เลขานุการเจ้าคณะอ�าเภอลืออ�านาจ
เลขานุการรองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองอ�านาจเจริญ
พระครูวิสุทธิธรรมโสภณ รองเจ้าคณะอ�าเภอเสนางคนิคม
พระมหาโชคทวี ยสินฺธโร
เลขานุการเจ้าคณะอ�าเภอเสนางคนิคม
พระใบฎีกาบุญทวี วณฺณคุตโต
เลขานุการรองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองอ�านาจเจริญ
พระสมุห์วินัย สุทฺธสีโล
เลขานุการรองเจ้าคณะอ�าเภอหัวตะพาน
เจ้าอธิการขวัญใจ กนตสีโล
เลขานุการเจ้าคณะอ�าเภอชานุมาน
พระมหาวันดี กิตฺติญาโณ เลขานุการรองเจ้าคณะอ�าเภอปทุมราชวงศา
พระมหานันทวุฒิ วุฑฺฒิญาโณ
เลขานุการรองเจ้าคณะอ�าเภอลืออ�านาจ
พระมหาเอกรัฐ เอกรฏโฐ
เลขานุการเจ้าคณะอ�าเภอหัวตะพาน
พระชาติมนตรี จนฺทว�โส เลขานุการรองเจ้าคณะอ�าเภอพนา
พระครูไพศาลธรรมกิตต์ เลขานุการรองเจ้าคณะอ�าเภอเสนางคนิคม ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
27
ท�ำเนียบพระสังฆำธิกำร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย จังหวัดอุบลราชธานี
พระเทพวราจารย์ เจ้าคณะจังหวัดอุบลราชธานี
พระศรีวิสุทธิมุนี รองเจ้าคณะจังหวัดอุบลราชธานี
28
พระครูวิสิฐพัฒนาภรณ์ รองเจ้าคณะจังหวัดอุบลราชธานี
พระครูสารสีลคุณ เลข.เจ้าคณะจังหวัดอุบลราชธานี
พระครูศรีสุตาลังการ เจ้าคณะอ�าเภอเขมราฐ
พระครูสารกิจโกศล เจ้าคณะอ�าเภอเมืองอุบล
พระครูปริยัติธัญญาภรณ์ เจ้าคณะอ�าเภอกุดข้าวปุ้น
พระครูโพธิเขตวรคุณ เจ้าคณะอ�าเภอโขงเจียม
พระครูวิลาสกิจจาทร เจ้าคณะอ�าเภอดอนมดแดง
พระครูเวตวันวรกิจ เจ้าคณะอ�าเภอเดชอุดม
พระครูเกษมธรรมานุวัตร เจ้าคณะอ�าเภอตระการพืชผล
พระสุนทรปริยัติเมธี เจ้าคณะอ�าเภอตาลสุม
พระครูไพศาลธรรมประสุต เจ้าคณะอ�าเภอทุ่งศรีอุดม
พระครูสุนทรสารวัฒน์ เจ้าคณะอ�าเภอนาจะหลวย
พระครูวีรวรานุกูล เจ้าคณะอ�าเภอนาตาล
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
พระครูโสภณอาภากร รักษาการเจ้าคณะอ�าเภอเขื่องใน
พระครูอรุณธรรมโกศล เจ้าคณะอ�าเภอนาเยีย
พระครูสุทธิพัฒนกิจ เจ้าคณะอ�าเภอน�้าขุ่น
พระครูศรีธรรมโสภิต เจ้าคณะอ�าเภอน�้ายืน
พระครูปริยัติคณานุกิจ รักษาการเจ้าคณะอ�าเภอบุณฑริก
พระครูพิศาลโพธานุวัตร เจ้าคณะอ�าเภอพิบูลมังสาหาร
พระครูปัญญาเขมาภิรักษ์ เจ้าคณะอ�าเภอโพธิ์ไทร
พระครูศรีธรรมวิบูล เจ้าคณะอ�าเภอม่วงสามสิบ
พระศรีรัตโนบล เจ้าคณะอ�าเภอวารินช�าราบ
พระครูมงคลชยานุรักษ์ เจ้าคณะอ�าเภอศรีเมืองใหม่
พระครูวีรวงศ์บรรหาร เจ้าคณะอ�าเภอสว่างวีระวงศ์
พระมหาบุญเฮ็ง ปญฺญาสิริ เจ้าคณะอ�าเภอสิรินธร
พระครูปภาตจันทคุณ เจ้าคณะอ�าเภอส�าโรง
พระครูสารสีลคุณ เจ้าคณะอ�าเภอเหล่าเสือโก้ก
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
29
ท�ำเนียบพระสังฆำธิกำร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย จังหวัดมุดหาหาร
พระราชรัตนโมลี เจ้าคณะจังหวัดมุกดาหาร
พระมหามงคล มงฺคลคุโณ รองเจ้าคณะจังหวัดมุกดาหาร
30
พระมหายุทธวัฒน์ ธมฺมวุฑฺโฒ รองเจ้าคณะอ�าเภอเมือง
พระครูประจักษ์บุญญาทร เจ้าคณะอ�าเภอเมือง
พระครูวชิรสารธรรม รองเจ้าคณะอ�าเภอเมือง
พระครูสิทธิสารธรรม เจ้าคณะอ�าเภอดงหลวง
พระอธิการอนุพงษ์ อุตฺตโม เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอดงหลวง
พระมหาเกษมณี เตชปญฺโญ เจ้าคณะอ�าเภอหว้านใหญ่
พระอธิการโสฬส สญฺญโม เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอหว้านใหญ่
พระครูศรีอุดมวาปีคณารักษ์ เจ้าคณะอ�าเภอหนองสูง
พระมหาทรงสิทธิ์ อภิวฑฺฒโน เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอหนองสูง
พระครูสันตจิตตานุรักษ์ เจ้าคณะอ�าเภอดอนตาล
พระมหาสายัญ สิริปญฺโญ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอดอนตาล
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
พระมหายุทธวัฒน์ ธมฺมวุฑฺโฒ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอเมือง
พระครูนิโครธโพธิวัฒน์ เจ้าคณะอ�าเภอค�าชะอี
พระครูวิมลฉันทกิจ รองเจ้าคณะอ�าเภอค�าชะอี
พระปลัดบัญญัติ ธมฺมกาโม เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอค�าชะอี
พระครูวิชัยธรรมสิริ เจ้าคณะอ�าเภอนิคมค�าสร้อย
พระครูวชิรธรรมพินิต รองเจ้าคณะอ�าเภอนิคมค�าสร้อย
พระครูประโชติจันทรังษี เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอนิคมค�าสร้อย
พระเจ้าองค์หลวง วัดศรีมงคลใต้ อ�าเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
31
ท�ำเนียบพระสังฆำธิกำร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย จังหวัดนครพนม
พระเทพวรมุนี เจ้าคณะจังหวัดนครพนม
พระครูกิตติสุตานุยุต เจ้าคณะอ�าเภอเมือง
32
พระศรีวิสุทธิเมธี
พระราชสิริวัฒน์ รองเจ้าคณะจังหวัดนครพนม
เลขาฯเจ้าคณะจังหวัดนครพนม
พระครูสุวิมลธรรมสถิต เจ้าคณะอ�าเภอธาตุพนม
พระครูสิริปุญญโสภณ เจ้าคณะอ�าเภอท่าอุเทน
พระครูธรรมวงศ์วินิต เจ้าคณะอ�าเภอเรณูนคร
พระครูสุนันท์ธรรมสถิต เจ้าคณะอ�าเภอปลาปาก
พระครูปิยคามเขตคณาภิรักษ์ เจ้าคณะอ�าเภอบ้านแพง
พระมหาสมัคร วรปุณฺโณ เจ้าคณะอ�าเภอนาหว้า
พระครูบวรโพธิวัฒน์ เจ้าคณะอ�าเภอนาแก
พระครูสิริปัญญาวิชัย เจ้าคณะอ�าเภอศรีสงคราม
พระครูวิชิตวรเขต เจ้าคณะอ�าเภอวังยาง
พระครูบวรธรรโมภาส เจ้าคณะอ�าเภอโพนสวรรค์
พระมหาศิริวัฒน์ สิริวุฑฺโฒ เจ้าคณะอ�าเภอนาทม
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
33
เส้นทางแห่งบุญ
จังหวัดยโสธร Yasothon Province
34
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
พระพุทธปฏิมาบุษยรัตน์ (พระแก้วหยดน�้าค้าง) ณ วัดมหาธาตุ (พระอารามหลวง) ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
35
วัดมหาธาตุ (พระอารามหลวง) ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร
Wat Mahathat (Phra Aram Luang) Nai Mueang Subdistrict, Mueang Yasothon District, Yasothon Province
พระเทพวงศาจารย์ เจ้าคณะจังหวัดยโสธร / เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุ (พระอารามหลวง)
36
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา ด้วยวัดมหาธาตุ พระอารามหลวงชัน้ ตรี ชนิดสามัญ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๒ มีประวัติความส�าคัญ คือ จากประชุม พงศาวดาร ภาคที ่ ๗๐ ลงจารึกไว้เมือ่ จุลศักราช ๑๒๕๙ (พ.ศ. ๒๔๔๐) ตรงกับวันที่ ๒๘ ร.ศ. ๑๑๕ ความว่า พระวรวงศา (พระวอ) ต�าแหน่งเสนาบดีเก่าเมืองเวียงจันทร์ผิดใจกันกับ พระเจ้าสิริบุญสาร ผู้ครองเมืองศรีสัตนาคนหุต (เวียงจันทร์) จึงพาพวกพ้องพงศ์พันธุ์มีท้าวก�่า (บุตร) ท้าวฝ่ายหน้า (ต่อมา ได้รับความดีความชอบ ความยกทัพไปปราบกบฏเชียงแก้ว และฆ่ากบฏได้ รัชกาลที่ ๑ โปรดให้ตั้งท่านเป็น เจ้าพระยา วิชัยราชขัตติยวงศา) ท้าวค�าผง และท้าวทิดพรม จะไปอาศัย อยูก่ บั เจ้าไชยกุมารผูค้ รองนครจ�าปาศักดิ ์ ครัน้ มาถึงดงสิงห์โคก สิงห์ท่า เห็นเป็นชัยภูมิที่ดี จึงพากันตั้งบ้าน พวกหนึ่งตั้งที่ บ้านสิงห์โคก (บ้านสิงห์) อีกพวกหนึง่ ไปสร้างเมืองทีบ่ า้ นสิงห์ทา่ (เมืองยโสธร) ส่วนพระวอ ท้าวฝ่ายหน้า ท้าวค�าผง ท้าวทิดพรม ท้าวก�า่ พากันไปอาศัยอยูก่ บั เจ้าไชยกุมาร ผูค้ รองนครจ�าปาศักดิ์ ต่อมาเมื่อปีจุลศักราช ๑๑๔๐ (พ.ศ. ๒๓๒๐) ท้าว ฝ่ายหน้าพร้อมด้วยไพร่พลขอแยกไปอยู่ที่บ้านสิงห์ท่า (เมือง ยโสธร) และต้องการที่จะสร้างบ้านสิงห์ท่าให้เจริญ จึงได้ ปรับปรุงพัฒนาบ้าน จากนัน้ ท้าวฝ่ายหน้า ท้าวค�าสิงห์ ท้าวค�าผง พร้อมด้วยพีน่ อ้ ง พากันพร้อมใจกันสร้างวัดมหาธาตุนขี้ นึ้ เมือ่ พ.ศ. ๒๓๒๑ (เดิมชือ่ วัดทุง่ เพราะติดกับทุง่ นา) วัดนีเ้ ป็นวัดแรก เป็ น มิ่ ง ขวั ญ ของเมื อ งยโสธร เพราะสร้ า งขึ้ น เป็ น วั ด แรก วัดมหาธาตุนี้ เป็นวัดที่มีเกียรติยศ เพราะเป็นวัดของเจ้าผู้ ครองนครประเทศราช คือ เจ้าพระยาวิชยั ราชขัตติยวงศา เป็น ผู้สร้างขึ้น และวัดนี้ด�ารงฐานะเป็นวัดเจ้าคณะเมือง และ ปัจจุบนั ก็เป็นวัดของเจ้าคณะจังหวัดยโสธรด้วยนับว่า เป็นวัด มิ่งขวัญเมืองอย่างศักดิ์สิทธิ์แท้จริง
โบราณสถาน / อาคารเสนาสนะที่ส�าคัญ ๑. พระอุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๗ ๒. พระธาตุพระอานนท์ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๑๒๑๘ ๓. หอไตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ ๔. ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๕ ๕. โรงเรียนพระปริยัติธรรม สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๕ หอไตรกลางน�้า ตั้งอยู่กลางสระน�้าด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ พระธาตุ อ านนท์ ภายในเป็ น ที่ เ ก็ บ รั ก ษาหนั ง สื อ ใบลาน พระไตรปิฎก พร้อมหีบใส่พระไตรปิฎก เสลี่ยงชั้นวางคัมภีร์ และวัตถุโบราณต่าง ๆ ซึ่งน�ามาจากเวียงจันทร์ หลังจากที่ พระครูหลักค�ากุ เรียนพระธรรมจนมีความรู้แตกฉานหวังน�า พระคัมภีร์ธรรม และพระไตรปิฎกมาให้พระสงฆ์สามเณรได้ ศึกษาเล่าเรียน ด้วยความศรัทธาของชาวเมืองยศสุนทร จึงได้ ขุ ด สระและสร้ า งหอเก็ บ หนั ง สื อ ขึ้ น โดยช่ า งหลวงจาก กรุงเทพฯ มาเขียนลายรดน�้าปิดทองอย่างงดงาม และเมื่อวัน ที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ทางหน่วยอนุรักษ์ศิลปกรรม กรมศิลปกรที ่ ๑๑ อุบลราชธานี ได้มาท�าการบูรณะหอไตรใหม่ โรงเรียนพระปริยัติธรรมพระยาบดินทรเดชา ให้การศึกษาแก่กุลบุตรผู้ที่สนใจจะบวชเรียน ทาง โรงเรียนจะบวชให้ฟรี พร้อมทั้งแจกอัฐบริขารและ ทุนการ ศึกษา มี ๓ แผนก ซึ่งเป็นภารกิจหลักอันส�าคัญดังนี้ ๑. แผนกนักธรรม ศึกษานักธรรมตรี โท เอก ๒. แผนกศึกษาบาลี เป็นการศึกษาพระบาลี เพื่อ รักษาไว้ซึ่งพุทธพจน์ ประโยค ๑ - ๒ ,ป.ธ.๓, ป.ธ.๔ เป็นต้น ๓. แผนกสามัญศึกษา ม.๑ - ม.๖ เพือ่ เป็นพืน้ ฐานใน การศึกษาวิชาการชัน้ สูงในทางพระพุทธศาสนา ถ้าไม่ลาสิกขา ก็จะอยู่เพื่อพัฒนาสืบทอดศาสนทายาทต่อ ถ้าออกมาใช้ชีวิต ครองเพศคฤหัตถ์ก็จะมีวิชาการพร้อมหลักธรรมด�ารงค์ชีวิต เพื่อพัฒนาประเทศชาติสืบต่อไป ท่านใดสนใจร่วมท�าบุญถวายทุนการศึกษา และ ภัตตาหารแด่พระภิกษุสามเณรที่ก�าลังศึกษา สามารถติดต่อ สอบถามได้ท ี่ ๐๘-๑๘๗๘-๔๒๔๔ หรือโปรดโอนปัจจัยท�าบุญ ได้ที่บัญชีธนาคารกรุงไทย ชื่อบัญชี การศึกษาโรงเรียนพระ ปริยัติธรรมเจ้าพระยาบดินทรเดชา
เลขที่บัญชี ๓๑๕-๐-๓๐๑๖๒-๙
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
37
วัดอัมพวัน
ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร
Wat Amphawan
Nai Mueang Subdistrict, Mueang Yasothon District, Yasothon Province
พระอุดมปัญญาภรณ์ รองเจ้าคณะจังหวัดยโสธร/เจ้าอาวาสวัดอัมพวัน
38
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดอัมพวัน ตั้งเมื่อ พศ. ๒๔๐๒ เดิมมีชื่อว่า วัดป่า โดยมีพระสุนทรราชวงศา และอุปฮาดเงาะ พร้อมด้วยญาติ พี่น้องได้ร่วมกันสร้างวัดขึ้น ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมือ่ พ.ศ. ๒๔๒๒ เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง ๑๓ เมตร ยาว ๑๖ เมตร การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าทีท่ ราบนามคือ รูปที่ ๑ พระต่อ รูปที่ ๒ พระจิตตโสธนาจารย์ รูปที่ ๓ พระใบฎีกาพุฒ รูปที่ ๔ พระชาลี รูปที่ ๕ พระมหาเขีย รูปที่ ๖ พระราชมงคล พ.ศ. ๒๔๘๐ - ๒๕๔๙ รูปที ่ ๗ พระอุดมปัญญาภรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ถึงปัจจุบนั
ปัจจุบันวัดอัมพวัน ตั้งอยู่เลขที่ ๒๗ บ้านในเขต เทศบาล ถนนแจ้งสนิท ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร รอยพระพุทธบาทจ�าลอง วัดอัมพวัน วัดอัมพวันอยู่ห่างจากที่ว่าการอ�าเภอเมืองยโสธร เพียง ๔๐๐ เมตร ลักษณะสภาพของวัดอัมพวันเป็นวัดเก่าแก่ ทีถ่ กู สร้างขึน้ เมือ่ ครัง้ ทีเ่ มืองยโสธรมีเจ้าเมืองตามการปกครอง หัวเมืองลาว มีอุโบสถและมณฑปครอบรอยพระพุทธบาท จ�าลอง ตัวรอยพระพุทธบาทสร้างขึน้ จากหินทรายสีแดง กว้าง ประมาณ ๘๐ เซนติเมตร ยาว ๓ เมตร ตรงตัวรอยขุดเจาะหิน เป็นรอยเท้า ส่วนขอบรอยมีลายสลัก ลักษณะหินเป็นลาย คล้ายก้านขด ฐานด้านล่างเป็นรอย กลีบบัวซ้อนเหลื่อมกัน มีประวัตจิ ากพงศาวดารยโสธรว่า พระสุนทรราชวงศา (ศรีสุพรหม) ได้ยกทัพไปปราบฮ่อที่เมืองหนองคาย และ
รบชนะ พระบาทสมเด็จพระจอมกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) จึงพระราชทานยศ เจ้าอุปฮาด (อุปราช) มีความปลื้มปิติ จึงพาญาติพี่น้อง บ่าว ไพร่ ไปเลือกหินจากล�าห้วยทวน ข้างบ้านสิงห์โคก มาสร้างเป็นรอยพระพุทธบาทจ�าลองและ ประดิษฐานบนแท่น ชาวจึงบ้านเรียกว่า หอพระบาท
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
39
40
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
41
วัดสิงห์ท่า
ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร
Wat Sing Tha
Nai Mueang Subdistrict, Mueang Yasothon District, Yasothon Province
พระครูอนุรักษ์วรดิตถ์ เจ้าคณะอ�าเภอเมืองยโสธร/เจ้าอาวาสวัดสิงห์ท่า
42
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดสิงห์ท่า เป็นวัดที่เหล่อกอในวงศ์ของพระวอ พระตา คือ ท้าวค�าสิงห์ ท้าวค�าสุ ท้าวค�าผุ ท้าวทิตพรหม ท้าวทิตก�่า เมืองแสน เมืองจันทร์ ท้าวเพี้ย กรมการ พร้อมทั้ง ประชาชนพลเมืองทัง้ หลาย มีศรัทธาพร้อมกัน สร้างวัดสิงห์ทา่ เมื่อราวจุลศักราช ๑๑๓๓ มีเนื้อที่ กว้าง ๑ เส้น ๑๔ วา ยาว ๑๒ เส้น จากค� า บอกเล่ า ของชนชั้ น ผู ้ เ ฒ่ า สื บ ต่ อ กั น มาว่ า ในระหว่างที่จารบุรุษ ผู้หาชัยภูมิสร้างเมือง ที่บริเวณดงไม่ได้ พบพระพุทธรูปปางมารวิชัย ก่อด้ว ยอิฐ โบกปูน มี ข นาด หน้าตักประมาณ ๖ คอก ส่วนสูงสุดยอดเปลวรัศมี ประมาณ ๑๐ ศอกเศษ ตั้งอยู่บนแท่นสูงจากพื้นประมาณ ๙ ศอก และ อุโมงค์ที่ซ่อนเร้นของสิงห์อยู่ไม่ห่างกัน (เชื่อว่ามีผู้คนบ่าวไพร่ ของพระวอ พระตา บางคนเคยพบเห็นสิงห์ ซึ่งไม่มีลักษณะ ดุร้ายเลย) แล้วจึงช่วยกับถางป่าและเสี่ยงทายในการสร้าง เมืองปรากฎว่า จับฉลากได้ อุตตระ แปลว่า ดีมาก ถึง ๓ ครั้ง จึงตกลงสร้างบ้านเมืองบริเวณนั้น ซึ่งตั้งอยู่ติดริมฝั่งแม่น�้าชี และมีทา่ น�า้ จึงได้ตงั้ ชือ่ หมูบ่ า้ นว่า บ้านสิงห์ทา่ ตามนิมติ ทีไ่ ด้ เห็น สิงห์ ในครั้งแรกและที่ตั้งใกล้ท่าน�้า ต่อมาได้สร้างวัดขึ้น แล้วในนามวัดว่า วัดสิงห์ท่า มีเจ้าอาวาสปกครองดูแลวัด มาโดยตลอดไม่ได้ขาด แต่ละรูปล้วนเป็นผูม้ จี ริยาวัตรทีง่ ดงาม บางรูปเป็นผูท้ มี่ คี าถาอาคมขลังมาก เช่น พระครูสริ สิ มณวัฒน์ (พระอุปชั ฌาย์โฮม) ได้บรู ณะพระพุทธรูปใหญ่ หรือทีเ่ รียกขานว่า พระพุทธรูปองค์หลวง ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะ
งดงามสมส่วนมาก เชื่อกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์มาก มีผู้ได้ ประสบกับพุทธานุภาพด้วยตัวเองหลายครั้ง ต่ อ มาเมื่ อ พ.ศ. ๒๕๐๘ พระครู วิ นั ย กรโกศล เจ้าอาวาสในสมัยนั้น ได้รื้อถอนอุโบสถแล้วสร้างขึ้นใหม่ ได้บูรณะพระพุทธรูป ท�าการลงลักปิดทองใหม่ให้ดูสง่างาม จนถึ ง ปั จ จุ บั น และได้ ตั้ ง ชื่ อ ว่ า หลวงพ่ อ สิ ง ห์ ฤ ทธิ์ ป ราบ ปวงมาร เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ บ้านสิงห์ทา่ และวัดสิงห์ทา่ มีอายุ ครบ ๒๔๐ ปี ถือเป็นมงคลสมัย พระครูอนุรักษ์วรดิตถ์ เจ้าอาวาส จึงได้ทา� พิธหี ล่อองค์จา� ลอง หลวงพ่อสิงห์ฤทธิป์ ราบ ปวงมาร เพื่อให้สาธุชนได้น�าไปสักการบูชา หลวงพ่อฯ เป็น นิมิตแห่งความเจริญของบ้านเมืองมาโดยล�าดับ และจะเจริญ สืบต่อไป
ล�าดับสมภารการผู้ครองวัดสิงห์ท่า เดิมสมัยเป็นบ้านสิงห์ท่า ไม่ปรากฏนามสมภาร ผู้ครองวัด ภายหลังเมื่อยกศักดิ์ขึ้นเป็น เมืองยศสุนทร แล้วก็ ไม่ปรากฏนามสมภารรูปที่ ๑ ส่วนสมภารผู้ครองวัดสืบต่อมา จนถึงปัจจุบันมีดังนี้คือ สมภารรูปที่ ๒ พระครูหลักค�ากุ ท่านผู้นี้มีความรู้ เรียนมูลกัจจายน์จบได้เรียน สัททาสังคหะและพระคัมภีร์ทั้ง ๕ จบ มีชอื่ เสียงลือชาปรากฏมาก สมัยนัน้ วัดเจริญรุง่ เรืองมาก สมภารรูปที่ ๓ พระครูพุฒ (ราชวงศ์พุฒ) แต่ชาว บ้านนิยมเรียกว่า พระญาครูเสือ ท่านเป็นครูมวยให้แก่ ลูกศิษย์จ�านวนมาก ต่อมาได้เข้าบวชเป็นสมภาร จนอายุได้ ๘๐ ปีเศษจึงมรณภาพ
สมภารรู ป ที่ ๔ พระครู ป ั ่ น ได้ ชั ก ชวนอุ บ าสก อุบาสิกา ชาวเมือง ปฏิสังขรณ์โบสถ์จนส�าเร็จ ครองวัดนี้ได้ นานจนถึงมรณภาพ สมภารรูปที่ ๕ พระโฮม โชตสิริ เป็นพระอุปัชฌาย์ เป็นพระครูสญ ั ญาบัตรที ่ พระครูสริ สิ มณวัฒน์ เจ้าคณะต�าบล ในเมือง เป็นพระเถระที่ชาวเมืองนับถือเป็นอย่างมาก โดย เฉพาะแล้วท่านมีความรู้ความสามารถรักษาคนป่วยด้วยยา สมุนไพร และเป็นผู้แก่คาถาอาคมเป็นที่เลื่องลือ ท่านถึง มรณภาพเมื่อวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๔๙๖ ด้วยอายุ ๕๘ ปี สมภาพรูปที่ ๖ พระครูวินัยกรโกศล (พระมหาค�า ญาธโร) ป.ธ.๖ เป็นสมภารระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๙๕ - ๒๕๓๒ ท่านได้รื้อโบสถ์หลังเก่าที่ช�ารุดมาก แล้วสร้างขึ้นใหม่เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๙ โดยปฏิสงั ขรณ์พระพุทธรูปใหญ่ (พระเจ้าองค์หลวง) ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
43
ลงรักปิดทองและขนานนามว่า หลวงพ่อสิงห์ฤทธิป์ ราบปวงมาร ท่านเป็นที่เคารพนับถือของประชาชนเป็นอย่างมากรูปหนึ่ง ท่านถึงแก่มรณภาพเมือ่ วันที ่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๒ ด้วยอายุ ๗๔ ปี ๕๐ พรรษา สมภารรูปที่ ๗ คือ พระครูอนุรักษ์วรดิตถ์ ป.ธ.๔ น.ธ.เอก เจ้าคณะอ�าเภอเมืองยโสธร เป็นเจ้าอาวาสวัดสิงห์ทา่ ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. ๒๕๓๒ จนถึงปัจจุบัน ท่านได้ด�าเนินการ พัฒนาวัดสิงห์ทา่ หลายอย่าง เช่น สร้างศาลาการเปรียญ สร้าง กุฎิสงฆ์ สร้างเมรุ ปรับปรุงซ่อมแซมอุโบสถ และอื่น ๆ อีก หลายรายการ
44
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
สิ ง ห์ ท ่ า จ� า ลองมาจากองค์ เ ดิ ม ปั จ จุ บั น ตั้ ง ประดิษฐานหน้าศาลาอเนกประสงค์
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
45
วัดศรีธงทอง
ต�ำบลหนองคู อ�ำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร
Wat Sri Thong Thong
Nong Khu Subdistrict, Mueang Yasothon District, Yasothon Province
พระครูธวัชธรรมกิจ (มังกร พลไชย) เจ้าอาวาสวัดศรีธงทอง
46
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดศรีธงทอง เดิมชือ่ วัดสิงห์ทอง ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันออก ของพื้นที่วัดในปัจจุบัน ชาวบ้านเรียกว่า วัดเก่า สร้างขึ้นเป็น วัดเมือ่ ประมาณ พ.ศ. ๒๔๐๔ โดยการน�าของพระอธิการสิงห์ พระภิกษุ สามเณรและญาติโยม ช่วยกันสร้างพัทธสีมาหลัง เล็ก ๆ มุงด้วยแฝก เสาโบสถ์ใช้เสาไม้แก่น ก่ออิฐรอบ เหลือ ไว้แต่ประตู หน้าต่าง และสร้างกุฏเิ พิม่ อีก สร้างรัว้ วัด และขุด บ่อน�า้ ใช้ ปลูกต้นไม้ เช่น มะม่วง มะขามหวาน ต่อมาได้มกี าร บูรณปฏิสงั ขรณ์ขนึ้ ใหม่ให้มคี วามเจริญรุง่ เรืองขึน้ ตามสมควร และได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น วัดศรีธงทอง ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา ประมาณ พ.ศ. ๒๔๔๐ ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ ๙๔ หมูท่ ี่ ๒ บ้านหนองคู ต�าบลหนองคู อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัด ยโสธร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เนื้อที่ ๑๙ ไร่ ๓๘ ตารางวา ปัจจุบันมีพระครูธวัชธรรมกิจ เป็นเจ้าอาวาส และเป็นเจ้า คณะต�าบลตาดทอง เขต ๑ ศาสนสถานและปูชนียวัตถุที่ส�าคัญ อุโบสถ ประดิษฐานพระประธานปางมารวิชัย ผนัง อุโบสถยังมีภาพวาดสีนา�้ มันเกีย่ วกับพุทธประวัต ิ และลายไทย ทีส่ วยงาม พระประธานประจ�าศาลาการเปรียญ พระประธาน ประจ�าวิหาร ปูชนียวัตถุอื่น ๆ อาทิ หลวงพ่อศรีธงทอง พระประจ�าวันเกิดปางต่าง ๆ ศาลเจ้าปูว่ ดั เก่า ซึง่ เป็นทีเ่ คารพ ของชาวบ้านหนองคู
รายนามเจ้าอาวาส รูปที่ ๑ พระอธิการสิงห์ รูปที่ ๒ พระครูโคตร รูปที่ ๓ พระวุฒิศาล รูปที่ ๔ พระบุญมี รูปที่ ๕ พระมหาทองแดง รูปที ่ ๖ พระทอง ขันเงิน รูปที่ ๗ พระอาจารย์เสงี่ยม อินโธ รูปที่ ๘ พระอาจารย์ค�า มารมย์ รูปที่ ๙ พระปุ้ย ขันเงิน รูปที่ ๑๐ พระอุย ขันเงิน รูปที่ ๑๑ หลวงพ่อผุย ชุตินธโร (พระครูธวัชสิริคุณ) รู ป ที่ ๑๒ พระครู ธ วั ช ธรรมกิ จ (มั ง กร พลไชย) พ.ศ. ๒๕๓๙ จนถึงปัจจุบัน ประวัติพระครูธวัชธรรมกิจ พระครูธวัธธรรมกิจ เกิดเมื่อวันที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๒ ณ บ้านเลขที ่ ๑๓๖ หมูท่ ี่ ๒ ต�าบลหนองคู อ�าเภอเมือง ยโสธร จังหวัดยโสธร
อุปสมบท เมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๓ ณ พัทธสีมา วัดศรีธงทอง ต�าบลหนองคู อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร มีเจ้าอธิการวัณณ์ ภคฺคุโน เป็นพระอุปัชฌาย์ ได้รับฉายาว่า จกฺกวโร เกียรติประวัติและสมณศักดิ์ - พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้รับแต่งตั้งเป็นครูพระปริยัติธรรม แผนกธรรม ประจ�าส�านักศาสนศึกษาวัดโพนขวาว ต�าบลจิกดู่ อ�าเภอหัวตะพานจังหวัดอ�านาจเจริญ - พ.ศ. ๒๕๒๙ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการสนามหลวง แผนกธรรม วัดประชาระบือธรรม
- พ.ศ. ๒๕๓๙ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาส วัดศรีธงทอง - พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์พัดยศ พระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชั้นโทที่ พระครู ธวัชธรรมกิจ - พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็น เจ้าคณะต�าบล ตาดทอง เขต ๑ - พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้รับแต่งตั้งให้เป็น พระอุปัชฌาย์ งานการศึกษาและเผยแผ่ - จั ด โครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดู ร ้ อ น วัดศรีธงทอง ต�าบลหนองคู อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๐ - ๒๕๕๐ - เป็ น พระธรรมกถึ ก อบรมศี ล ธรรมแก่ ท ายก ทายิกา เยาวชน บ้านหนองคู และประชาชนในเขตต�าบล หนองคู อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร พ.ศ. ๒๕๔๐ - เป็นประธานฝ่ายบรรพชิต จัดงานอยูป่ ริวาสกรรม ที่ป่าช้าวัดศรีธงทอง - เป็นประธานฝ่ายบรรพชิต ร่วมกับทายก ทายิกา ชาวต�าบลหนองคู จัดงานปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ วันที่ ๑๒ สิงหาคมและวันที่ ๕ ธันวาคม เป็นประจ�าทุกปี ร่วมสร้างเส้นทางบุญ สาธุชนท่านใดสนใจมาสักการะ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือประสงค์จะร่วมสร้างเส้นทางบุญและ ร่วมปฏิบัติธรรมได้ทุกวันได้ที่ วัดศรีธงทอง สามารถติดต่อได้ที่ พระครูใบฎีกาวานิช ปภสฺสโร โทรศัพท์ ๐๘-๙๒๑๒-๕๖๗๘
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
47
"
ไหว้พระเจ้าใหญ่ ให้อาหารปลา ชมวังมัจฉายโสธร
"
วัดบ้านกว้าง
ต�าบลเขื่องค�า อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธรร์
Wat Ban Kwang
Khuangkham Subdistrict, Mueang Yasothon District, Yasothon Province
พระครูโสภณรัตนไพศาล เจ้าอาวาสวัดบ้านกว้าง
48
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดบ้านกว้าง ตั้งอยู่ที่ ๑๒๗ หมู่ที่ ๑ ต�าบลเขื่องค�า อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๒๗ ไร่ ๑ งาน ๑๖ ตารางวา นส.๓ ก เลขที่ ๑๓๐๐ อาณาเขต ทิศเหนือ จดทางสาธารณะ ทิศใต้ จดล�าน�้ากว้าง ทิศตะวันออก จดทางสาธารณะ ทิศตะวันตก จดหมู่บ้าน อาคารเสนาสนะประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง ๑๑.๕๐ เมตร ยาว ๒๑.๖๐ เมตร สร้าง เมื่อ พศ. ๒๕๐๐ ศาลาการปรียญ กว้าง ๑๔.๓๐ เมตร ยาว ๒๐.๓๐ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๓๔ กุฏิสงฆ์ จ�านวน ๓ หลัง เป็นอาคารไม้ ๒ หลัง ครึ่ง ตึกครึ่งไม้ ๑ หลัง ศาลาอเนกประสงค์กว้าง ๖ เมตร ยาว ๑๒ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๙ ปูชนียวัตถุ พระพุทธรูปองค์ใหญ่ ขนาดหน้าตักกว้าง ๒.๑๔ เมตร สูง ๓.๕๐ เมตร
วัดบ้านกว้าง ตั้งเมื่อ พ.ศ.๒๔๖๑ โดยชาวบ้านได้ ร่ ว มกั น ตั้ ง วั ด และตั้ ง ชื่ อ วั ด ตามชื่ อ ของหมู ่ บ ้ า น ได้ รั บ พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที ่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๐ เขตวิสุงคามสีมากว้าง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าทีท่ ราบนาม คือ รูปที่ ๑ พระพุฒ พ.ศ. ๒๔๖๑ – ๒๔๗๗ รูปที่ ๒ พระบัวสอน พ.ศ. ๒๔๗๘ – ๒๔๘๐ รูปที่ ๓ พระจันดี พ.ศ. ๒๔๘๑ - ๒๔๘๖ รูปที่ ๔ พระบุญชู พ.ศ. ๒๔๘๖ - ๒๔๙๘ รูปที่ ๕ พระครูวิสาลสังฆกิจ พ.ศ. ๒๔๘๙ - ๒๕๔๒ รูปที่ ๖ พระครูโสภณรัตนไพศาล พ.ศ. ๒๕๔๔ ถึงปัจุบัน
ความเป็นมาของพระพุทธรูปวัดบ้านกว้าง เมือ่ ท้าวหน้า ท้าวก�า่ ท้าวค�าผง ท้าวนุม่ ท้าวทิดพรม และท้าวค�าสิงห์ ได้พากันตั้งบ้านสิงห์ท่าส�าเร็จแล้ว ได้พากัน สร้างวัดสิงห์ และอุโบสถ สร้างพระเจ้าองค์ใหญ่เป็นมิง่ ขวัญเมืองแล้ว จึ ง ได้ พ ากั น สร้ า งวั ด ที่ ลุ ่ ม น�้ า กว้ า งและสร้ า งพระพุ ท ธรู ป องค์ใหญ่องค์หนึง่ ก่อด้วยอิฐลงรักปิดทอง หน้าตักกว้างสามศอกเศษ สูงหกศอกเศษ ซึง่ อยูท่ ศิ ตะวันออกเฉียงใต้ของเมือง ห่างจาก เมืองประมาณหนึ่งร้อยเส้น พระพุทธรูปองค์นี้ก็ทรงไว้เพื่อ ความศักดิส์ ทิ ธิ ์ มีอภินหิ ารเป็นอันมาก ถึงฤดูปชี าวเมืองก็ปา่ วร้อง กันไปเพื่อให้ทุกคนได้มานมัสการสักการะบูชา งานประจ�าปี ของพระพุทธเจ้าใหญ่วัดบ้านกว้าง นับถือว่าเป็นปูชนียวัตถุ อั น ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ แ ห่ ง หนึ่ ง คู ่ บ ้ า นคู ่ เ มื อ งยโสธร ถึ ง เวลาเดื อ น
พฤษภาคมของทุกปี ชาวบ้านได้พากันตีฆอ้ งร้องป่าวเรียกกันว่า สรงน�้าพระเจ้าใหญ่ วัดบ้านกว้างมาจนทุกวันนี้ พระเจ้าใหญ่บ้านกว้าง ปางมารวิชัย ก่อสร้างอิฐเผา โบราณถือปูน ศิลปะ ลาวเชียงรุ้ง ฐานกว้าง ๒.๑๔ เมตร สูงถึง พระเกศ ๓.๕๐ เมตร สร้างสมัยช่วงต้นรัตนโกสินทร์ เป็นอารยะธรรม ของชาวลาวล้านช้าง ปี พ.ศ. ๒๓๙๙ โดยการน�าของ พระสุนทรราชวงศา เจ้าฝ่ายบุต เจ้าเมืองยศสุนทร องค์ที่ ๓ และ - เจ้ามหาราช มาจากนครเวียงจันทร์ เจ้าบ้านโนนจิก - เจ้าหลวงราช มาจากนครเวียงจันทร์ เจ้าบ้านโนนค้อ - เจ้าไชยราช มาจากนครหลวงพระบาง เจ้าบ้าน เหล่าคา - ท้าวพรมพิสาร มาจากนครเวี ย งจั น ทร์ ผู ้ น� า ชาวบ้านติดล�าน�้ากว้างสมัยนั้น ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
49
วังมัจฉา ณ วัดบ้านกว้าง
บุคคลส�าคัญที่ค้นพบฐานพระ ๑. ท้าวก�่า ๒. ท้าวหน้า ๓. ท้าวค�าผง ๔. ท้าวทิดพรม ประวัติการก่อสร้างพระเจ้าใหญ่ ปีพุทธศักราช ๒๓๑๔ ตั้งบ้านสิงห์โดยการน�าของ เจ้าค�าสู เป็นราชบุตรของพระเจ้าตา แห่งนครเขื่อนขัน กาบแก้วบัวบาน พระสุนทรราชวงศาเจ้าฝ่ายบุต เป็นราชบุตร ของพระสุนทรราชวงศาเจ้าสิงห์ เจ้าเมืองยศสุนทร ซึ่งเป็น ราชบุตรของเจ้าค�าสู ปี พ.ศ. ๒๓๖๗ พระเจ้าแผ่นดินสยาม พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงสวรรคตลง เจ้ า มั น ธาตุ ร าชเจ้ า เมื อ งนครหลวงพระบาง ส� า นึ ก ใน พระกรุ ณ าธิ คุ ณ จึ ง ได้ ล งมาขออุ ป สมบทหน้ า พระศพที่ พระนครสยามฯ ขณะนัน้ จึงมอบเมืองให้เจ้าอุปฮาด ดูแลแทน 50
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ส่วนเจ้าราชวงศ์ไชยราช ขอลาออกจากราชการในต�าแหน่ง อัญญาสี่ เหตุเพราะไม่อยากชิงบ้านชิงเมืองกับน้องกับหลาน จึงลาราชการเพื่อไปหาสร้างบ้านสร้างเมืองใหม่ จึงเดินทาง มาหาญาติผู้พี่ที่นครเวียงจันทร์ หาเจ้าทรงวิชัย ต่อมาปี พ.ศ. ๒๓๘๙ หลังสงครามอนุวงศ์กับสยาม จึงได้ข้ามแม่น�้าโขงมา ฝัง่ เมืองนครพมนพบกับญาติพระสุนทรราชวงศา เจ้าฝ่ายบุต แล้ ว ท่ า นจึ ง ชั ก ชวนเจ้ า ทรงวิ ชั ย จากนครเวี ย งจั น ทร์ กั บ เจ้าราชวงศ์ไชยราช แห่งนครหลวงพระบาง เพื่อมาหาสร้าง บ้านใหม่ ในแผ่นดินเมืองยศสุนทร สมัยนั้นคือบ้านทุ่งนม ในปัจจุบันนี้ จนเป็นบ้านที่สมบูรณ์ปัจจุบัน คือ บ้านทุ่งมน ต่อมาเจ้าไชยราช จึงมาสมรสกับหญิงชาวบ้านโนนค้อ เป็น ราชธิดาเจ้าหลวงราชซึง่ ปกครองอยูก่ อ่ นนัน้ จึงได้แยกมาสร้าง บ้านใหม่ เรียกว่า บ้านเหล่าคา บริเวณบ้านเขื่องค�าปัจจุบัน ในอดีตมี ๓ บ้าน อยู่รอบหนองน�้าใหญ่เรียกว่าหนองเขื่องค�า สมัยนั้นและมีเจ้าบ้านดูแลในช่วงปี พ.ศ. ๒๓๙๖
- บ้านโนนจิก ปกครองโดยเจ้าบ้าน คือ เจ้ามหาราช มาจากนครเวียงจันทร์ - บ้านโนนค้อ ปกครองโดยเจ้าบ้าน คือ เจ้าหลวงราช มาจากนครเวียงจันทร์ - บ้านเหล่าคา ปกครองโดยเจ้าบ้านคือ เจ้าไชยราช มาจากนครหลวงพระบาง (๓ หมู่บ้านนี้ได้รวมเป็นหมู่บ้านเดียวในปี พ.ศ. ๒๔๔๘ เรียกว่า บ้านเขื่องค�า ถึงปัจจุบันนี้) สมัยตั้งบ้านเหล่าคา ท่านเจ้าไชยราชสมรสกับอัญญา เจ้านางลา ปกครองญาติพี่น้องอย่างมีความสุขได้คบ ๓ ปี และ ได้มเี จ้ามหาราช เจ้าหลวงราช เจ้าราชวงศ์ไชยราช และท้าวพรม พิสาร เจ้าบ้านบ้านติดล�าน�้ากว้างสมัยนั้น มาร่วมกันสร้าง พระเจ้าใหญ่ริมน�้ากว้าง ยังปรากฎปัจจุบันนี้เพื่อเป็นถาวรวัตถุ ทางพระพุทธศาสนาให้คนในชุมชนไว้สักการบูชาทางจิตใจ ปี พ.ศ. ๒๓๙๙ เป็นปีทพี่ ระสุนทรราชวงศาเจ้าฝ่ายบุต ปกครอง เมืองยศสุนทรได้ครบ ๒๙ ปี เป็นนิมติ หมายการสร้างพระเจ้าใหญ่ พอดีร่วมกันสร้างจนเสร็จในปีมงคลนี้ ครั้งต่อมาสถานที่แห่งได้ ร้างมานาน จนมีกลุ่มชุมชนเข้ามาอาศัยใหม่ในบริเวณนี้ ท่าน ผู้น�าชุมชนสมัยนั้นจึงพากันมาท�าหลังคาคอบพระเจ้าใหญ่และ
ซ่อมแซมองค์พระเจ้าใหญ่ เป็นที่สักการะของคนในชุมชน ต่อมาเป็นความเชื่อตามคติของกลุ่มที่แยกชุมชนมาจากเมือง ยศสุนทร ตามค�าบอกของพระสุนทรราชวงศา เจ้าฝ่ายบุต ที่อพยพมาตั้งถิ่นฐาน ณ ที่ใดจะต้องสร้างพระพุทธไว้สักการะ บูชา ตามคติพทุ ธศาสนาเช่นเดียวกับทีน่ ี้ แลเห็นเวิง้ น�า้ กว้างก่อน ไหลลงแม่น�้าชีเป็นชัยภูมิที่เหมาะสม
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
51
วัดศรีธาตุ
ต�าบลสิงห์ อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร
Wat Si That
Sing Subdistrict, Mueang Yasothon District, Yasothon Province
พระครูฉันทกิจโกศล (จิม ฉนฺทวโร) รองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองยโสธร/เจ้าอาวาสวัดศรีธาตุ
52
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดศรีธาตุ ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๐ เดิมเป็นวัดร้าง ชาวบ้านเรียกบริเวณนี้ว่า ดงผีสิงห์ ต่อมาคณะของเจ้าค�าสู เจ้าค�าโส เจ้าค�าขุย ท้าวปุ่ม ฯลฯ พร้อมด้วยพระมหาเซียงสา ย้ายมาจากนครเขือ่ นขันธ์กาบแก้วบัวบาน (ปัจจุบนั คือจังหวัด หนองบั ว ล� า ภู ) ได้ ม าบู ร ณะวั ด นี้ ขึ้ น ได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ ๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๐ ปัจจุบัน ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นสิงห์ หมูท่ ี่ ๑ ต�าบลสิงห์ อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัด ยโสธร สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ ๕ ไร่ ๒๙ ตารางวา ปัจจุบนั มี พระครูฉนั ทกิจโกศล เป็นเจ้าอาวาส และรองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองยโสธร สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด พระเจ้าใหญ่ เป็นพระพุทธรูปปางเสวยวิมตุ สิ ขุ (มาร สะดุ้ง) ชาวบ้านถือว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ เมื่อชาวบ้านมีทุกข์ จะน�าดอกไม้ธปู เทียน ทองเพือ่ ไปสักการะ อธิษฐานขอให้ขจัด ปัดเป่าทุกข์ภัยและได้ผลดังปรารถนา ในเดือน ๕ จะมีงาน สรงน�้าเป็นประจ�าทุกปี พระธาตุองค์อาจกะบาลหลวง เป็นธาตุเก่าแก่ทชี่ าว บ้านนับถือบูชามาตลอด มีเรือ่ งเล่าว่า มีคนไม่เชือ่ อยากทดลอง โดยน�าเอาก้อนอิฐของพระธาตุไปโดยมิได้บอกกล่าว ปรากฏว่า เขาปวดท้องอย่างรุนแรง ครั้นน�ากลับมาและขอขมาจึงหาย ปวดท้องเป็นปลิดทิ้ง
ในปี พ.ศ.๒๕๓๒ ได้ท�าพิธีบวงสรวงเพื่อขอบูรณะ โดยการน�าของพระครูฉันทกิจโกศล เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ท�าการบวงสรวงอยู่ ๓ คืนโดยมีทายก ทายิก บวชชีพราหมณ์ คืนละ ๑,๐๐๐ คนเศษ จึงได้สร้างค่อมไว้โดยมิได้รื้อถอน คืนแรกของการบวงสรวง มีเกจิอาจารย์รูปหนึ่งร่วมในพิธี ท่านคงมาด้วยความอยากทดลอง ปรากฏว่าก้อนอิฐหล่นลง มาตรงหน้ า ท่ า น ทั้ ง ที่ ก ่ อ นหน้ า นี้ ช าวบ้ า นได้ ดู แ ลความ เรียบร้อยและท�าความสะอาดอยู่ทั้งวัน รายนามเจ้าอาวาส (เท่าที่ทราบนาม) พระมหาเชี ย งสา, พระโอ๊ ะ , พระโคตรหลั ก ค� า , พระกันยา,พระสิงห์, พระผง, พระโต อิสสฺ โร, พระครูสวุ รรณสิงหเขต (ทอง เรวโต) พ.ศ. ๒๔๗๘ - ๒๕๑๘, พระครูสุวรรณสิกขการ (สังวร ขตฺตโิ ย) พ.ศ. ๒๕๑๙ - ๒๕๒๔ และพระครูฉนั ทกิจโกศล (จิม ฉนฺทวโร) พ.ศ. ๒๕๒๕ - ปัจจุบัน ประวัติพระครูฉันทกิจโกศล สถานะเดิม ชือ่ จิม นามสกุล ไชยมาตย์ เกิดวันอังคาร แรม ๑๕ ค�า่ เดือน ๖ ปีขาล ตรงกับวันที ่ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ ณ บ้านเลขที่ ๑๐๔ หมู่ ๑ ต�าบลสิงห์ อ�าเภอเมือง ยโสธร จังหวัดยโสธร บิดาชื่อ นายทอง มารดาชื่อ นางนาง ไชยมาตย์
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
53
อุปสมบท เมื่อวันจันทร์ แรม ๑ ค�่า เดือน ๗ ปีชวด ตรงกับวัน ที่ ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๑๕ ณ พัทธสีมาวัดศรีธาตุ ต�าบล สิงห์ อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร พ.ศ.๒๕๑๗ สอบได้ นักธรรมชั้นเอกในสนามหลวงในนามวัดศรีธาตุ ต�าบลสิงห์ ส�านักเรียนคณะ จังหวัดยโสธร งานการปกครอง - พ.ศ. ๒๕๑๙ - ๒๕๒๕ ได้รับแต่งตั้งให้ด�ารง ต�าแหน่งผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดศรีธาตุ - พ.ศ. ๒๕๒๕ - ปัจจุบันได้รับแต่งตั้งให้ด�ารง ต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดศรีธาตุ - พ.ศ. ๒๕๓๕ - ๒๕๓๗ ไต้รับแต่งตั้งให้ด�ารง ต�าแหน่งเจ้าคณะต�าบลสิงห์ เขต ๑ อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัด ยโสธร - พ.ศ. ๒๕๓๖ ถึ ง ปั จ จุ บั น ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ เ ขตการปกครองคณะสงฆ์ ต� า บลสิ ง ห์ อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร 54
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
- พ.ศ. ๒๕๓๖ - ๒๕๓๗ ได้รับแต่งตั้งให้เป็น เลขานุการเจ้าคณะอ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร - พ.ศ. ๒๕๒๓ - ๒๕๔๗ ได้รับแต่งตั้งให้ด�ารง ต�าแหน่งเจ้าคณะต�าบลสิงห์ อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร - พ.ศ.๒๕๔๗ ถึงปัจจุบัน ได้รับแต่งตั้งให้ด�ารง ต�าแหน่งรองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร สมณศักดิ์ - พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้รับแต่งตั้งเป็นฐานานุกรมใน พระครูสาธรกิจโกศล ที่ พระสมุห์ เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๒ - พ.ศ. ๒๕๓๑ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น พระครูสญ ั ญาบัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชนั้ ตรี ในราชทินนาม ที่ พระครูฉันทกิจโกศล เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๑ - พ.ศ. ๒๕๔๑ ได้ รั บ พระราชทานเลื่ อ นชั้ น พระสังฆาธิการ เป็นพระครูเจ้าคณะต�าบลชัน้ โท เมือ่ วันที ่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๑
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
55
วัดเชียงหวาง
ต�าบลส�าราญ อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร
Wat Xieng Wang
Samran Subdistrict, Mueang Yasothon District, Yasothon Province
พระอธิการสุทิน จันทสโร เจ้าอาวาสวัดเชียงหวาง
56
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดเชียงหวาง ตั้งอยู่ที่บ้านเชียงหวางหมู่ ๙ ต�าบล ส�าราญ อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร สังกัดมหานิกาย เดิมชื่อว่า วัดสาฑัณท์ ได้สร้างขึ้นประมาณปี พ.ศ. ๒๕๔๐ แต่ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อตามชื่อของหมู่บ้านเป็น วัดเชียงหวาง ชาวบ้านได้ช่วยกันท�านุบ�ารุงเรื่อยมาจนมาถึงปี พ.ศ. ๒๔๖๐ ท่านเจ้าอาวาสพร้อมทั้งชาวบ้านได้ร่วมกันผูกพัทธสีมาสร้าง อุโบสถ์ขึ้น โดยมีขนาดความกว้าง ๘ เมตร ยาว ๑๘ เมตร และได้รับวิสุงคามสีมาในปี พ.ศ. ๒๔๗๖ วัดเชียงหวางมีพระประธานในพระอุโบสถปางขอพร ขนาดหน้าตักกว้าง ๑.๕๐ สูง ๑.๘๐ เมตร มีเสนาสนะ กุฏสิ งฆ์ ๖ หลัง, ศาลาการเปรียญ ๑ หลัง, อุโบสถ ๑ หลัง, เมรุ ๑ และ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ถึงปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้สร้างพระพุทธเมตตา ประทานพรขึน้ ๑ องค์ มีขนาดหน้าตักกว้าง ๕ เมตร สูง ๙.๗๙ เมตร สีขาวมุขเพื่อให้เป็นที่สักการะบูชาของชาวบ้านและบุคคล ทั่วไป วัดเชียงหวางมีเจ้าอาวาสมาแล้วหลายรูป แต่ไม่ได้ บันทึกไว้ที่ได้บันทึกไว้มี ดังนี้ ๑. พระทู ล มาเป็ น สมภารถึ ง ปี . พ.ศ. ๒๔๗๙ ก็ได้ลาสิกขา ๒. พระคู ณ มาเป็ น สมภารถึ ง ปี พ.ศ. ๒๔๘๔ ลาสิกขาต่อมา
๓. พระทา ยาวะโนภาส มาเป็ น สมภารถึ ง ปี พ.ศ. ๒๔๙๕ แล้วเปิดสอนนักธรรมตรี โท เอก อยู่หลายรุ่น แล้วก็ลาสิกขา ๔. พระค� า ตั น สุ จิ ต โต มาเป็ น เจ้ า อาวาสถึ ง ปี พ.ศ. ๒๕๐๓ ๕. พระทองสุข สุขกาโม เป็นเจ้าอาวาส ถึงปี พ.ศ. ๒๕๐๗ ก็ลาสิกขา (อุโบสถได้รับการบูรณะใหม่ในปี พ.ศ. ๒๕๐๖ โดยพระทองสุข สุขกาโม) ๖. พระประดิษฐ จกกวโรถึงปี พ.ศ. ๒๕๑๕ แล้วก็ ลาสิกขา ๗. พระไสว ทิตะธัมโม มาอยูต่ออีกหลายปี แล้ว ก็มรณภาพ ๘. พระสุภีมาอยู่ต่ออีกจนถึงปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ๙. พระถาวร พละปัญโญ มาเป็นเจ้าอาวาสถึงปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ก็ลาสิกขา ๑๐. พระอธิการสุทิน จันทสโร เป็นเจ้าอาวาสรูป ปัจจุบัน
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
57
วัดกุดชุม
ต�ำบลกุดชุม อ�ำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร
Wat Kut Chum
Kut Chum Subdistrict, Kut Chum District, Yasothon Province
พระครูวิสิฐปัญญาคม รองเจ้าคณะอ�าเภอกุดชุม/เจ้าอาวาสวัดกุดชุม
58
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดกุดชุม ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ วันเสาร์ท ี่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๖ ตลอดระยะเวลาทีต่ งั้ วัดมา ยังไม่มเี จ้าอาวาส มีกเ็ พียง แต่หลวงตามาบวชได้สองพรรษา ก็ลาสิกขาออกไปเวียนอยู่ อย่ า งนี้ ม า จนมาถึ ง วั น ที่ 17 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ. ๒๔๙๗ กรมศิลปากรได้เข้ามาส�ารวจและได้มาสร้างสิม (โบสถ์ไม้หลัง ที่เห็นในปัจจุบัน) การปกครองและการพัฒนาวัด ในปี พ.ศ. ๒๕๑๐ พระครูวินิจธรรมสาธร มาเป็น เจ้าอาวาสองค์แรกของวัดกุดชุม ซึ่งท่านได้ดูแลรักษาและ พัฒนาวัดนี้มาเรื่อย ๆ จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๔๑ ท่านก็ได้ก่อสร้าง วิหารหลังปัจจุบันนี้ขึ้น ๑ หลัง แต่ยังสร้างยังไม่ทันแล้วเสร็จ ท่านก็ละสังขารเสียก่อน ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ หลวงพ่อสุพัฒน์ หรือ พระครูสุวิมลพัฒนกิจ สุมโน ก็ได้เข้ามาเป็นเจ้าอาวาส และ มีพระลูกวัด ๔ รูป ท่านเข้ามาพัฒนาวัดนีไ้ ด้ไม่นาน ก็ได้เลือ่ น ขั้นขึ้นรับต�าแหน่งเป็นเจ้าคณะต�าบล อยู่ต่อมาเพียงไม่กี่ป ี ท่านก็ได้เลื่อนสมณศักดิ์ขึ้นมาเป็นรองคณะเจ้าอ�าเภอ
พระครูสุวิมลพัฒนกิจ ท่านเป็นพระนักพัฒนา เมื่อ ท่านไปอยู่ที่ใดก็จะสร้างที่นั่นให้เจริญ โดยเฉพาะที่วัดกุดชุม นัน้ ท่านได้สร้างและพัฒนาให้เจริญรุง่ เรืองได้อย่างรวดเร็ว ด้วย ศรัทธาบารมีของท่าน ญาติโยมจึงให้ความศรัทธาเลือ่ มใสท่าน อย่างล้นหลาม เพียงท่านเอ่ยว่าจะสร้างอะไร เป็นต้องได้อย่าง ทันตาเห็นเลยทีเดียว และสิ่งที่ท่านพูดและลงมือท�าเป็นต้อง ส�าเร็จทุกเรื่อยไป อันด้วยศรัทธาบารมีท่ีญาติโยมมีต่อท่าน มาตลอด ท�าให้ทกุ สิง่ ทุกอย่างทีท่ า่ นคิดและท�าจึงเป็นผลส�าเร็จ ตามปรารถนา ไม่เพียงเท่านั้นท่านยังเป็นพระอุปัชฌาย์ที่มี บารมีสูงส่ง เป็นที่ศรัทธาของสานุศิษย์และสาธุชนทั้งหลาย
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
59
วัดธาตุทองเกี้ยงเก่า ต�าบลโพนงาม อ�าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร
Wat That Thong Kiang Kleang
Phon Ngam Subdistrict, Kut Chum District, Yasothon Province
พระครูสุทธิธรรมาลังการ เจ้าอาวาสวัดธาตุทองเกี้ยงเก่า
60
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดธาตุทองเกีย้ งเก่า ตัง้ อยูบ่ า้ นเกีย้ งเก่า เลขที ่ ๑๒๒ หมู่ที่ ๔ ต�าบลโพนงาม อ�าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย เดิมชือ่ วัดขามเฒ่า ตามชือ่ ต้นมะขามใหญ่ ตรงทางเข้าวัดซึง่ ปัจจุบนั ก็ยงั คงมีอยู ่ ต่อมาปี พ.ศ. ๒๔๔๙ ได้ บรรจุอฐั หิ ลวงปูช่ าลี และเงินทอง ของมีคา่ ไว้ในเจดีย ์ ชาวบ้าน จึงเปลี่ยนชื่อมาเป็น วัดธาตุทอง และเพิ่มชื่อหมู่บ้านเข้ารวม จึงได้ชื่อ วัดธาตุทองเกี้ยงเก่า จนถึงทุกวันนี้ที่ดินตั้งวัด มี เนื้อที่ ๗ ไร่ โฉนดที่ดินเลขที่ ๑๒๔๙๑ มีที่ธรณีสงฆ์จ�านวน ๒ แปลง เนือ้ ที ่ ๑๐ ไร่ ซึง่ เป็นทีว่ ดั เก่าทีย่ า้ ยออกมาเมือ่ สมัยก่อน วัดธาตุทองเกี้ยงเก่า ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๐ โดยมีพ่อเฒ่า สีหราช - แม่เฒ่าค�ามี ไชยแสง บริจาคที่ดินให้สร้างวัด ได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที ่ ๒๐ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๔๐๕ เขตวิสุคามสีมา กว้าง ๒๐ เมตร ยาว ๒๕เมตร การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าทีท่ ราบนามคือ ๑. เจ้าอธิการชาลี ธมฺมิโก พ.ศ. ๒๔๐๐ - ๒๔๔๘ ๒. พระแก้ว วรปญฺโญ พ.ศ. ๒๔๔๙ - ๒๔๕๗ ๓. พระบอน ธมฺมยาโค พ.ศ. ๒๔๕๘ - ๒๔๖๕ ๔. พระท้าว ยาณวุโธ พ.ศ. ๒๔๖๕ - ๒๔๗๒ ๕. พระทอก โชติปญฺโญ พ.ศ. ๒๔๗๓ - ๒๔๑๘ ๖. พระเกิ่ง ชินวโร พ.ศ. ๒๔๘๒ - ๒๔๘๙ ๗. พระอ่อนสา จนฺทสโร พ.ศ. ๒๔๙๐ - ๒๔๙๓
๘. พระห�า คุณวโร พ.ศ. ๒๔๙๓ - ๒๔๙๖ ๙. พระด�า กตสาโร พ.ศ. ๒๔๙๗ - ๒๔๙๙ ๑๐. พระอุดม อุปสโม พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๖ ๑๑. พระสม อาภาธโร พ.ศ. ๒๕๑๑ - ๒๕๑๓ ๑๒. พระสายันต์ สนฺติกโร พ.ศ. ๒๕๑๔ - ๒๕๑๕ ๑๓. พระอธิการนิรนั ดร์ กนฺตวีโร พ.ศ. ๒๕๓๗ - ๒๕๔๕ ๑๔. พระครูสทุ ธิธรรมาลังการ พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
61
วัดป่าพุทธิคุณ
ต�าบลหนองแหน อ�าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร
Wat Pa Putthikhun
Nong Han Subdistrict, Kut Chum District, Yasothon Province
พระครูอรัญวัฒนคุณ รองเจ้าคณะอ�าเภอกุดชุม / เจ้าอาวาสวัดป่าพุทธิคุณ
62
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดป่าพุทธิคุณแห่งนี้ก่อตั้งในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ จาก ความร่วมมือของชาวบ้านจ�านวน ๑๐ กว่าหลังคาเรือน ณ ที่ บ้านหนองแหน หมู่ที่ ๗ ต�าบลหนองแหน อ�าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร โดยมี พระอาจารย์สมบูรณ์ พุทธิวัฑฒโน เป็น ผู้น�าชาวบ้านสร้างวัดแห่งนี้ขึ้นมาและในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ได้ ประกาศเป็นวัดถูกต้องตามกฎหมายและกฎมหาเถรสมาคม โดยมีส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติรับรองในการขึ้น ทะเบียน และมีพระปลัดสมบูรณ์ พุทธิวฑฺฒโน เป็นปฐม เจ้าอาวาสรูปแรกจวบจนในปัจจุบัน (พระครูอรัญวัฒนคุณ) รองเจ้าคณะอ�าเภอกุดชุม เจ้าอาวาสวัดป่าพุทธิคุณ ศาสนวัตถุที่ส�าคัญภายในวัด คือ ๑. พระใหญ่ประจ�าวัด พระพุทธวโรดมบรมพุทธิคณ ุ สมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรมหลวงญาณสังวรฯทรงประทาน พระนามถวายเป็นมงคลแก่วัด ๒. พระธาตุเจดีย์บารมีพุทธิคุณ บรรจุพระบรม สารีริกธาตุและพระธาตุเขี้ยวแก้ว (จ�าลอง) จากวัดพระธาตุ เขี้ ย วแก้ ว เมื อ งแคนดี้ ประเทศศรี ลั ง กา โดยสมเด็ จ พระ สังฆราชศรีลังกานิกายสยามวงศ์ ทรงประทานมอบมาให้วัด แห่งนีพ้ ร้อมหน่อต้นพระศรีมหาโพธิจ์ ากเมือง อนุราธะปุรใี นปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ๓. พระพุทธไสยาสน์นมิ ติ มงคล (หลวงพ่อพระนอนฝันดี) ๔. รอยพระพุทธบาทจ�าลอง ๕. วิหารรูปปั้นเหมือน ๙ เกจิดัง
กิจกรรมของทางวัดจัดประจ�าเสมอมาตลอด ๑ .งานนมัสการสักการะใหญ่บูชาพระธาตุเจดีย์ปิด ทองประจ�าปีในวันขึ้น ๖ - ๗ -๘ ค�่า เดือน ๓ ทุกปี ๒. งานบวชสามเณรภาคฤดู ร ้ อ นเดื อ นเมษายน ๑๕ วันทุกปี ๓. งานอาบน�้ามนต์พุทธคุณ ๑๐๘ จบ ทุกวันที่ ๑๕ เมษายน เทศกาลสงกรานต์ทุกปี ๕. งานสวดสะเดาะเคราะห์เสริมพลังบุญหนุนพลัง ดวงชะตาชีวิตให้ดี ทุกวันที่ ๒๘-๒๙ เดือนธันวาคม ปัจจุบันวัดป่าพุทธิคุณ เป็นลานธรรมลานวิถีไทย แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วนวั ต วิ ถี ชุ ม ชนคุ ณ ธรรม ของกระทรวง วัฒนธรรม ในชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ กลุ่มงานทอผ้าอาหาร พื้นเมืองและกลุ่มโคขุนหนองแหน ค�าขวัญหมู่บ้าน สวยเด่นพระธาตุเจดีย์ ประเพณี พระใหญ่เดือนสาม งดงามภูเขาแนวป่า มากค่าแหล่งเรียนรู้ อยู่อย่างวิถีพอเพียง ท่านสนใจเข้ากราบพระไหว้พระธาตุเขีย้ วแก้ว ติดต่อ ๐๘-๙๒๘๕-๕๙๒๘ เจ้าอาวาสวัดป่าพุทธิคุณ
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
63
วัดสว่าง
ต�าบลกุดน�้าใส อ�าเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร
Wat Sa Wang
Kut Nam Sai Subdistrict, Khorang District, Yasothon Province
พระครูปริยัติคณาภิรักษ์ เจ้าคณะอ�าเภอค้อวัง / เจ้าอาวาสวัดสว่าง
64
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา ประมาณ พ.ศ. ๒๓๔๔ หมู่บ้านแห่งนี้ได้มีกลุ่ม ชาติพันธุ์ย้ายถิ่นมาจากบ้านนาส่วงนาเยี่ย จังหวัดอุบลฯ ในปัจจุบนั และอีกกลุม่ มาจากทางบ้านพยุห ์ จังหวัดศรีษะเกษ ในปัจจุบนั มาช่วยกันสร้างถิน่ ฐานให้สมบูรณ์ขณะทีก่ า� ลังถากป่า ช่วยกันนั้น ได้มีพระภิกษุหนึ่งรูปเดินธุดงค์ผ่านมาบิณฑบาต ทีห่ มูบ่ า้ น แล้วชาวบ้านสอบถามขอนิมนต์ให้อยูเ่ ป็นหลักของ หมูบ่ า้ น ท่านก็รบั นิมนต์อยูก่ บั ชาวบ้านจนช่วยสร้างเป็นหลัก เป็นฐานของหมูบ่ า้ นและวัดมาจนถึงให้ลกู หลานได้เห็น เป็นชือ่ บ้ า นกุ ด น�้ า ใส ซึ่ ง มี ห นองน�้ า ใหญ่ เ ป็ น หั ว ใจของชาวบ้ า น ประมาณ พ.ศ. ๒๔๗๕ ได้ยา้ ยวัดจากทีเ่ ดิมคือตรงทีต่ งั้ มเหศักดิ์ ของหมู่บ้าน (ศาลปู่ตา) ลงมาอยู่ที่ท่าน�้าใหญ่ของหมู่บ้าน เหตุ ผ ลเพราะคนโบราณนิ ย มตั ก น�้ า ให้ พ ระสงฆ์ ฉั น สรงน�้าสะดวกขึ้นซึ่งเป็นที่ตั้งวัดสว่าง ในปัจจุบันมีเนื้อที่ จ�านวน ๗ ไร่ ๒ งาน ๙๓ ตารางวา
ล�าดับเจ้าอาวาสที่พอทราบบ้างไม่ทราบบ้าง ดังนี้ ๑. พระภิกษุเงาะ ผู้เริ่มสร้างวัดและบ้านกุดน�้าใส กั บ ชาวบ้ า นหลั ง พ.ศ. ๒๔๗๕ ที่ ป รากฏชื่ อ เจ้าอาวาสดังนี้ ๒. อุปัชฌาย์ผุย ๓. ครูบานวน ๔. พระอุปัชฌาย์ค�า ๕. พระอุปัชฌาย์โส ๖. พระจันทา (จาครูจันทา) ๗. พระบุญ (จาร์ครูบุญ) ๘. พระไม (จาร์ครูไม) ๙. พระจันทร์ ๑๐. พระหลาง ๑๑. พระจิตร ๑๒. พระพา ๑๓. พระพวน ๑๔. พระสมัย ๑๕. พระครูโอภาสวราภรณ์ (สุดใจ เตขธมฺโม) พ.ศ. ๒๕๑๘ ถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๖ ๑๖. เจ้าอธิการเฉลิม โขติธมฺโม ผู้รักษาการแทน เจ้าอาวาส (พระครูวโิ รจน์คมุ ภีรเขต เจ้าอาวาสวัดค้อวัง) ๑๗. พระครูปริยัติคณาภิรักษ์ (ผุดผอง อคฺคธมฺโม) วันที่ ๒๑ เดือนมินายน พ.ศ. ๒๕๔๘ ถึงปัจจุบัน ศูนย์เด็กเล็กวัดสว่าง
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
65
วัดบ้านเหล่าไฮ
ต�าบลเหล่าไฮ อ�าเภอค�าเขือ่ นแก้ว จังหวัดยโสธร
Wat Ban Lao Hai
Lao Hai Subdistrict, Kham Khuean Kaeo District, Yasothon Province
พระครูอุดมศาส์นธรรม เจ้าคณะอ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว / เจ้าอาวาสวัดบ้านเหล่าไฮ
66
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา เดิมบ้านเหล่าไฮ คือ บ้านใฝ่ ตั้งทางทิศใต้ของ บ้ า นเหล่ า ไฮ ห่ า งจากบ้ า นเหล่ า ไฮปั จ จุ บั น ประมาณ ๓ กิโลเมตร ตามค�าบอกเล่าของคนเฒ่าคนแก่บอกเล่าต่อกันมา ว่า เมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๓๗๐ น�้าท่วมที่บ้านใฝ่เพราะบ้าน ตั้งอยู่ที่ลุ่มทุ่งนา จึงย้ายบ้านมาตั้งอยู่ที่ไร่ฝ้ายของบ้านใฝ่ ที่ ได้ชื่อว่า บ้านเหล่าไฮ ตั้งตามภูมิประเทศ ค�าว่า เหล่าไฮ คือ ที่ตรงนั้นเป็นที่ท�าไร่เก่า คนอิสานเรียกว่า เหล่า ที่ตรงนั้นมี ต้นไทรใหญ่อยู ่ (คนอิสานเรียกต้นไฮ) เมือ่ รวมทัง้ ๒ ค�าเข้ากัน จึงชือ่ บ้านเหล่าไฮ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๔๘ ร.ศ. ๑๒๕ ต�าบลเหล่าไฮ ขึน้ ตรงต่ออ�าเภออุทยั แขวงเมืองยโสธร วิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๔๙ ร.ศ. ๑๒๕
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
67
วัดบูรพารามใต้
ต�าบลทรายมูล อ�าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร
Wat Burapha Ram Tai
Sai Mun Subdistrict, Sai Mun District, Yasothon Province
พระราชสุตาลงกรณ์ รองเจ้าคณะจังหวัดยโสธร / เจ้าอาวาสวัดบูรพารามใต้
68
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดบูรพารามใต้ เดิมชาวบ้านเรียกว่า “วัดใต้” เป็น วัดเก่าแก่ของบ้านทรายมูล สร้างเมื่อปีพ.ศ. ๒๓๕๐ ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา ในปีพ.ศ. ๒๔๗๑ มีประวัติความเป็นมาที่เล่าสืบต่อกันมาว่า เมื่อสอง ร้อยกว่าปีก่อน มีพระเถระผู้เคร่งในธรรมวินัยรูปหนึ่งจาริก ธุดงค์ไปในหลายประเทศ อาทิ พม่า อินเดีย ลาว เป็นต้น กระทัง่ ปีพ.ศ. ๒๓๕๐ ท่านได้กลับมายังบ้านทรายมูลถิ่นก�าเนิดของ ท่านและชักชวนชาวบ้านสร้างวัดแห่งนีข้ นึ้ แรกเริม่ ได้สร้างกุฎี ทรงไทยประยุกต์แบบพม่าหนึ่งหลัง และขุดบ่อน�้าดื่มน�้าใช้ ปลูกต้นไม้พฒ ั นาวัดเรือ่ ยมา เวลาผ่านไปกระทัง่ พระอาจารย์นอ้ ย สุวโจ มาจ�าพรรษาท่านได้ชักชวนชาวบ้านสร้างอุโบสถ โดย ขอพระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ พ.ศ. ๒๔๗๑ ขนาด ๒๐x๔๐ เมตร เริ่มก่อสร้างปีพ.ศ. ๒๔๙๑ และผูกพัทธสีมาปีพ.ศ. ๒๕๐๓ สมัยเจ้าอธิการจันดี เป็นเจ้าอาวาส สูย่ คุ ทอง ในปีพ.ศ. ๒๕๒๘ คณะสงฆ์และชาวบ้านได้ นิมนต์พระมหาเดือน สิริธมฺโม จากวัดบูรพาภิราม จังหวัด ร้ อ ยเอ็ ด มาเป็ น เจ้ า อาวาสและได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ วั ด ใหม่ ว ่ า “วัดบูรพารามใต้” จากนัน้ การพัฒนาวัดก็เป็นไปอย่างรอบด้าน ทั้งการก่อสร้าง การศึกษาของพระสงฆ์ การเผยแผ่หลักธรรม เป็นต้น ท�าให้วดั แห่งนีก้ ลายเป็นทีร่ จู้ กั ของผูค้ นมากขึน้ ด้วยผลงาน
ทีโ่ ดดเด่น วัดบูรพารามใต้จงึ ได้รบั ประกาศเกียรติคณ ุ มากมาย และท่ า นก็ ไ ด้ รั บ พระราชทานตั้ ง และเลื่ อ นสมณศั ก ดิ์ จ าก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ตามล�าดับจนเป็นพระราชาคณะ ในราชทินนามที่ “พระราชสุตาลงกรณ์” ศาสนสถานและปูชนียวัตถุส�าคัญ อุ โ บสถศิ ล ปะโบราณอิ ส าน อุ โ บสถเก่ า หลั ง นี้ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๑ ศิลปะแบบโบราณอิสาน เป็นอุโบสถ ขนาดเล็กที่สร้างด้วยอิฐดินเผา ฉาบทาด้วยดินผสมยางไม้ ลักษณะหลังคาสามชั้นท�าด้วยไม้เนื้อแข็ง มุงด้วยสังกะสี เดิม มีเสมาหินโบราณฝังอยู่รอบอุโบสถด้วย ภายในประดิษฐาน พระพุทธบูรพามิ่งมงคล เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย สิ่ง ศักดิส์ ทิ ธิท์ เี่ คารพยึดเหนีย่ วจิตใจของชาวบ้านมาช้านาน และ เป็นพระประธานประจ�าอุโบสถหลังเก่ามาแต่โบราณ
อุโบสถหลังใหญ่ทสี่ ดุ ในจังหวัดยโสธร มีขนาดกว้าง ๑๗ เมตร ยาว ๔๕ เมตร ศิลปะทรงไทยประยุกต์ มีมขุ ยืน่ หน้า และหลัง เสาทั้งหมด ๕๒ ต้น หน้าต่าง ๘๐ บาน ประดับด้วย ลายปูนปั้นสวยงาม ภายในประดิษฐาน พระพุทธชินราช จ�าลอง เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชยั นัง่ สมาธิราบ จ�าลองแบบ จากพระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก มีขนาดหน้าตัก ๗๙ ซม. ประดิษฐานเป็น พระประธานประจ�าอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปทีส่ วยทีส่ ดุ องค์หนึง่ หลวงปู่พระอุปัชฌาย์น้อย สุวโจ (รูปเหมือน) ประดิษฐานภายในมณฑป ตั้งอยู่ด้านทิศเหนือของอุโบสถ หลังเก่า เป็นบูรพาจารย์ผู้น�าทางจิตวิญญาณและเป็นผู้ที่พา ชาวบ้านสร้างอุโบสถหลังเก่า เป็นพระเถระผูเ้ คร่งในธรรมวินยั และเป็นที่พึ่งของพระสงฆ์ญาติโยมสามารถกราบขอพรได้
เกียรติคุณของวัดบูรพารามใต้ วัดบูรพารามใต้ ได้รับการยกย่องและประกาศ เกียรติคุณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ พ.ศ. ๒๕๓๒ ได้รับการยกฐานะเป็น โรงเรียน พระปริยัติธรรมประจ�าจังหวัดยโสธร จากกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ได้ รั บ การยกฐานะเป็ น อุ ท ยาน การศึกษา จากกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๓๖ ได้รับการยกฐานะเป็น วัดพัฒนา ตัวอย่าง จากกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ได้รับการยกฐานะเป็น วัดพัฒนา ตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น จากกรมการศาสนา กระทรวง ศึกษาธิการ ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
69
พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้รับการยกฐานะเป็น โรงเรียน พระปริยัติธรรมแผนกบาลีประจ�าจังหวัดยโสธรแห่งที่ ๑ จากแม่กองบาลีสนามหลวง ประวัติพระราชสุตาลงกรณ์ พระเดชพระคุณพระราชสุตาลงกรณ์ นามเดิมชื่อ เดือน นามสกุล คงศรี เกิดวันศุกร์ ที ่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๕ ตรงกับวันขึน้ ๘ ค�า่ เดือน ๗ ณ บ้านเลขที ่ ๑๔ หมูท่ ี่ ๓ ต�าบล ชุมพร อ�าเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด บิดาชื่อ นายเขียน มารดาชื่อ นางเงิน นามสกุล คงศรี บรรพชาอุปสมบท เมื่อวันที่ ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๖ ณ วัดสว่างอรุณ ต�าบลชุมพร อ�าเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด พระอุปชั ฌาย์ พระครูนคิ มคณาจารย์ วัดนิคมคณาราม ต�าบลแวง อ�าเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด พระกรรมวาจาจารย์ พระสมุหเ์ คนจันทร์ พุทธฺ สโร วัดสว่างอรุณ ต�าบลชุมพร อ�าเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด 70
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
พระอนุสาวนาจารย์ พระสวัสดิ ์ อชิโต วัดประสิทธิ-์ โพธาราม ต�าบลชุมพร อ�าเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด ประวัติการศึกษา พ.ศ. ๒๔๙๖ ส�าเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนบ้านหนองเดิ่น ต�าบลชุมพร อ�าเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. ๒๕๑๐ สอบได้นักธรรมชั้นเอก จากส�านัก ศาสนศึกษาวัดบูรพาภิราม ส�านักเรียนคณะจังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. ๒๕๑๙ สอบได้ประโยค ป.ธ.๔ จากส�านัก ศาสนศึกษา วัดบูรพาภิราม ส�านักเรียนคณะจังหวัดร้อยเอ็ด เกียรติคุณที่ได้รับ พระเดชพระคุณฯ มีผลงานทีได้รบั การยกย่องทัง้ โดย ส่วนตัวและส่วนร่วม กล่าวคือ โดยส่วนตัวนั้น มีผลงานจนได้ รับพระราชทานตั้งสมณศักดิ์ ตั้งแต่ระดับพระครูสัญญาบัตร และเป็นพระราชาคณะ ตามล�าดับดังนี้
สมณศักดิ์ พ.ศ. ๒๕๓๓ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น พระครูสัญญาบัตรรองเจ้าคณะอ�าเภอชั้นโทที่ พระครูปริยัติ ธรรมธาดา เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๓ พ.ศ. ๒๕๓๙ ได้รับพระราชทานตั้งสมณศักดิ์เป็น พระราชาคณะชั้นสามัญเปรียญที่ พระโสภณสุตาลังการ เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๙ พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็น พระราชาคณะชั้นราชที่ พระราชสุตาลงกรณ์ เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๙ ประวัติโรงเรียนทรายมูลปริยัติวิทยา “ธ�ารงพุทธศาสน์ ศาสนทายาทงามสรรพ์ ปริยัติสามัญมีคุณภาพ” โรงเรี ย นทรายมู ล ปริ ยั ติ วิ ท ยา เป็ น โรงเรี ย น พระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา ตัง้ อยูใ่ นเขตวัดบูรพารามใต้ ต�าบลทรายมูล อ�าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร สังกัดส�านักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ (เดิมทีขนึ้ ต่อกรมการศาสนา) ได้รบั อนุมัติให้จัดตั้งและเปิดท�าการเรียนการสอนเมื่อวันที่ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ โดยมีพระครูปริยตั ธิ รรมธาดา (เดือน สิรธิ มฺโม) น.ธ.เอก ป.ธ.๔ ปัจจุบนั ได้รบั พระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นราชที่ พระราชสุตาลงกรณ์ ด�ารง ต�าแหน่ง รองเจ้าคณะจังหวัดยโสธร เจ้าอาวาสวัดบูรพารามใต้ และเจ้าส�านักศาสนศึกษาโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกบาลี ประจ�าจังหวัดยโสธร วัดบูรพารามใต้ ได้ขออนุญาตจัดตัง้ ตาม หนังสือที่ ๑ / ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๒๐ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้รบั อนุญาตจัดตัง้ จาก กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตามใบอนุญาตเลขที ่ ๑๔๓ / ๒๕๓๖ และขออนุญาตขยายระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เมือ่ พ.ศ. ๒๕๓๙
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
71
ที่ดินส�าหรับเป็นที่ตั้งโรงเรียนทรายมูลปริยัติวิทยา ได้ตั้งอยู่ ทิศตะวันตกในเขตพื้นที่ของวัด บนเนื้อที่ ๗ ไร่เศษ และได้ ปลูกต้นไม้เรียงรายตามถนนทางเข้าโรงเรียน หน้าอาคารเรียน และรอบ ๆ อาคาร เพื่อสภาพแวดล้อมที่ดี และใช้เป็นที่พัก ผ่อนส�าหรับผู้เข้ามายังสถานศึกษา ปีแรกของการเรียนการสอน มีนกั เรียน ๕๐ กว่ารูป ใช้ศาลาการเปรียญบ้าง อาคารมุงด้วยหญ้าบ้างเป็นสถานที่ เรี ย นชั่ ว คราว โดยอาศั ย ก� า ลั ง พระภิ ก ษุ ส ามเณรในการ ก่อสร้าง โต๊ะ เก้าอี ้ ครุภณ ั ฑ์ ได้รบั บริจาคจากศรัทธาญาติโยม ส่วนหนึ่ง ลักษณะโรงเรียนเป็นแบบโรงเรียนกินนอน ส�าหรับ พระภิกษุสามเณรทีเ่ ข้ามาศึกษา จึงต้องพักประจ�าในวัดตลอด ปีการศึกษา โดยมีกฎุ ที พี่ กั แยกเป็นคณะตามส่วน บางปีทพี่ กั อาจคับแคบไม่เพียงพอจ�าเป็นต้องสร้างกุฎหี ญ้าชัว่ คราว เพือ่ อ�านวยความสะดวก ส่วนเรื่องภัตตาหารการฉันได้รับความ อุปถัมภ์ดว้ ยดีจากศรัทธาญาติโยมชาวทรายมูล โดยมิได้ขาด ตกบกพร่องแต่ประการใด ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ - ๒๕๔๐ สร้างอาคารเรียนแบบ ป.๐๔ ขนาด ๑๔ ห้องเรียน เป็นอาคารคอนกรีต ๒ ชั้น งบ ประมาณได้รับจากศรัทธาญาติโยม ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ - ๒๕๔๖ สร้างอาคารหอพักแบบ ป.๐๔ ห้องโถงยาว เป็นอาคารคอนกรีต ๒ ชั้น งบประมาณ ได้รับจากศรัทธาญาติโยม
72
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
เปิดท�าการเรียนการสอนทัง้ ระดับมัธยมศึกษาตอน ต้น และตอนปลาย ตั้งแต่เวลา ๑๓.๐๐ ถึง ๒๐.๑๐ น. โดย มีกฎระเบียบรับเฉพาะพระภิกษุสามเณรเท่านัน้ ฆราวาสหากมี ความประสงค์จะเข้าเรียน ต้องได้รับการบรรพชาอย่างถูก ต้องก่อน และปัจจุบนั โรงเรียนทรายมูลปริยตั วิ ทิ ยา ตัง้ อยูใ่ น เขตพื้นที่การศึกษายโสธร เขต ๒ สังกัดส�านักงานพระพุทธ ศาสนาแห่งชาติ วัดบูรพารามใต้ได้รับรางวัลส�านักศาสนาศึกษาดีเด่น ทีม่ นี กั เรียนสอบผ่านบาลีสนามหลวงจ�านวนมาก ติด ๑ ใน ๑๐ ของหนตะวันออก รวม ๗ สมัย คือ พ.ศ. ๒๕๕๒ มีนักเรียนสอบผ่านบาลีสนามหลวง จ�านวน ๔๔ รูป พ.ศ. ๒๕๕๔ มีนักเรียนสอบผ่านบาลีสนามหลวง จ�านวน ๒๓ รูป พ.ศ. ๒๕๕๕ มีนักเรียนสอบผ่านบาลีสนามหลวง จ�านวน ๒๗ รูป พ.ศ. ๒๕๕๗ มีนักเรียนสอบผ่านบาลี สนามหลวง จ�านวน ๔๐ รูป พ.ศ. ๒๕๕๘ มีนักเรียนสอบผ่านบาลีสนามหลวง จ�านวน ๓๕ รูป พ.ศ. ๒๕๖๑ มีนักเรียนสอบผ่านบาลี สนามหลวง จ�านวน ๓๑ รูป พ.ศ. ๒๕๖๓ มีนักเรียนสอบผ่านบาลีสนามหลวง จ�านวน ๒๖ รูป
พระครูเมธีปริยัติธาดา ผู้อ�านวยการโรงเรียนทรายมูลปริยัติวิทยา
ข้อมูลทั่วไปของโรงเรียน ชื่อโรงเรียน โรงเรียนทรายมูลปริยัติวิทยา อักษรย่อ ท.ป.ว. ประเภท โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา สังกัด ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ที่ตั้ง อาคารเรียนโรงเรียนทรายมูลปริยัติวิทยา วัดบูรพารามใต้ เลขที ่ ๑/๑ หมู ่ ๔ ต�าบลทรายมูล อ�าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร ๓๕๑๗๐ โทรศัพท์ ๐-๔๕๗๘–๗๒๓๐ ก่อตั้งเมื่อ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๓๖ ลักษณะตราโรงเรียน รูปเสมาอยู่ตรงกลาง ด้านบน เป็นชื่อ โรงเรียนทรายมูลปริยัติวิทยา ด้านล่าง เป็นชือ่ วัดบูรพารามใต้ อ�าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร สีประจ�าโรงเรียน ฟ้า - เหลือง ฟ้า การมีวสิ ยั ทัศน์กว้างไกล การพัฒนาก้าว ไปสูเ่ ป้าหมายที่สูงสุด เหลือง ความสว่าง ความเจริญรุ่งเรือง ปรัชญา ค�าบาลี สุวิชาโน ภว� โหติ ค�าแปล ผู้รู้ดี เป็นผู้เจริญ ค�าขวัญ จริยาน�าหน้า วิชาตามหลัง จริยาน�าหน้า หมายถึง ความประพฤติด ี ประพฤติชอบ การมีจริยาวัตรที่ดีงามอันเป็นเครื่องหมายของ คนดี ย่อมมาก่อนสิ่งอื่นใด วิชาตามหลัง หมายถึง ความรู้ ความสามารถใน วิชาการต่าง ๆ เมื่อคนดีมีความรู้ ย่อมน�าความรู้ ไปใช้ในทางที่ถูกต้องได้
วิสัยทัศน์ ธ� า รงพุ ท ธศาสน์ ศาสนทายาทงามสรรพ์ ปริยัติสามัญมีคุณภาพ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา คือ จิตอาสา งามจริยา เอกลักษณ์ของสถานศึกษา คือ บาลีเป็นหนึ่ง
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
73
วัดหนองไก่ขาว
ต�าบลทรายมูล อ�าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร
Wat Nong Kai Khao
Sai Mun Subdistrict, Sai Mun District, Yasothon Province
พระครูนิวิฐสุภาจาร เจ้าคณะต�าบลทรายมูล / เจ้าอาวาสวัดหนองไก่ขาว
74
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดตั้งอยู่บ้านหนองไก่ขาว หมู่ ๑๓ ต�าบลทรายมูล อ�าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๕ ไร่ ๒ งาน ๘๗ ตารางวา วัดหนองไก่ขาว ตั้งเมื่อวันที่ ๑๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๗ ได้รับพระราชทาน วิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ ๑๘ มิ ถุ น ายน พ.ศ. ๒๕๓๖ เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๑๕ เมตร ยาว ๓๐ เมตร อาณาเขต ทิศเหนือ จดถนนสาธารณประโยชน์ จดทุ่งนา ทิศใต้ จดถนนสาธรณะประโยชน์ ทิศตะวันออก จดถนนสาธารณะประโยชน์ และหมู่บ้าน ทิศตะวันตก จดถนนสาธารณะประโยชน์ และหมู่บ้าน อาคารเสนาสนะประกอบด้วย ๑. ศาลากาเปรียญ กว้าง ๑๒ ยาว ๑๕ เมตร สร้าง เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๙ ๒. กุฎีสงฆ์ ๕ หลัง สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๓ ปูชนียวัถุ มีพระประธานขนาดหน้าตัก กว้าง ๗ ชม. สูง ๑.๑๕ เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๐
การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนามคือ รูปที่ ๑ พระอ่อนสา พ.ศ. ๒๔๙๖ ถึง ๒๕๐๐ รูปที่ ๒ ไม่ทราบชื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ ถึง ๒๕๐๓ รูปที่ ๓ ไม่ทราบชื่อ พ.ศ. ๒๕๐๓ ถึง ๒๕๐๙ รูปที่ ๔ พระสมจันทร์ จันทสาโร รูปที ่ ๕ พระถนอม อติพโล พ.ศ. ๒๕๐๙ ถึง ๒๕๑๑ รูปที่ ๖ พระสุวัฒน์ สีลเตโช รูปที่ ๗ พระอินตา พ.ศ. ๒๕๑๓ - ๒๕๑๕ รูปที่ ๘ พระค�าพอง รูปที่ ๙ พระเคน ธัมมทินโน รูปที่ ๑๐ พระครูนิวิฐสุภาจาร เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน และ เจ้าคณะต�าบลทรายมูล เขต ๒ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๘ เป็นต้นมา
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
75
วัดนาโป่ง
ต�าบลทรายมูล อ�าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร
Wat Napong
Sai Mun Subdistrict Sai Mun District, Yasothon Province
76
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดนาโป่ง ตั้งอยู่เลขที่ ๑๒๗ บ้านนาโป่ง หมู่ที่ ๖ ต�าบลทรายมูล อ�าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ภาค ๑๐ มี พระครูชินธรรมวิมล เป็นเจ้าอาวาส และเจ้าคณะอ�าเภอทรายมูล ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที ่ ๗ ไร่ ๑ งาน ๖๙ ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ ๑๑๑๕๗ อาณาเขต ทิศเหนือ จดทางสาธารณประโยชน์ ทิศใต้ จดทางหลวงชนบท (หมู่บ้าน) ทิศตะวันออกจด ทีม่ กี ารครอบครอง (ทีด่ นิ ชาวบ้าน) ทิศตะวันตก จดทางสาธารณประโยชน์ วัดนาโป่ง ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๐ ตั้งอยู่เลขที่ ๑๒๗ หมู่ที่ ๖ บ้านนาโป่ง ต�าบลทรายมูล อ�าเภอทรายมูล จังหวัด ยโสธร เดิมวัดตั้งอยู่ที่โรงเรียน ต่อมาเมื่อหมู่บ้านมากขึ้นเพื่อ ให้เป็นสัดส่วน จึงได้ย้ายมาตั้งอยู่ทิศใต้ของโรงเรียนซึ่งเป็นที่ อยูป่ จั จุบนั เพือ่ จะให้ชาวบ้านได้ดแู ลบ�ารุงรักษาและไปท�าบุญ รักษาศีลง่ายขึ้นตามความเข้าใจของคนสมัยนั้น ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ ๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๒ เขตวิสุงคามสีมากว้าง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร วัดนาโป่งมีงานประเพณี คือ ๑ มกราคม ตักบาตร ทุกปี, บุญเดือน ๓ บุญข้าวจี ่ ขึน้ ๑-๒-๓ ค�า่ ทุกปี, บุญเดือน ๔
บุญผะเหวด ขึ้น ๑-๒-๓ ค�่าทุกปี, ๑๕ เมษายนทุกปี ท�าบุญ รวมญาติ เพื่ออุทิศให้บุพการี และรดน�้าด�าหัวขอพรผู้สูงอายุ นอกจากนัน้ วันส�าคัญทางศาสนาและวันส�าคัญต่าง ๆ ของทาง ราชการ เพื่อแสดงน้อมร�าลึกถึงพระคุณและเพื่อแสดงความ จงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ได้จัดประกอบพิธี มิได้ขาด การบริหารการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนามคือ รูปที่ ๑ พระบุบผา พ.ศ. ๒๔๗๒ – ๒๕๐๗ รูปที ่ ๒ พระทองหล้า อคฺคธมฺโม พ.ศ. ๒๕๐๘ - ๒๕๑๓ รูปที่ ๓ พระบุ กิตฺติภทฺโท พ.ศ. ๒๕๑๓ - ๒๕๑๙ รูปที่ ๔ พระหลี ยติกโร พ.ศ. ๒๕๒๑ - ๒๕๒๔
รูปที่ ๕ พระกอง รูปที่ ๖ พระบู๋ รูปที่ ๗ พระจ�าปา รูปที่ ๘ พระลา รูปที่ ๙ พระบุญเพชร (มา) รูปที่ ๑๐ พระถนอม รูปที่ ๑๑ พระหล้า รูปที่ ๑๒ พระครูชินธรรมวิมล ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๘ เป็นต้นมา เจ้าอาวาส วัดนาโป่งและเจ้าคณะอ�าเภอทรายมูล
อาคารเสนาสนะ อุโบสถ กว้าง ๕.๕๐ เมตร ยาว ๑๒.๘๐ เมตร สร้าง เมือ่ วันที ่ ๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๒ เป็นอาคารคอนกรีต เสร็จ ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ ผูกพัทธสีมาเมือ่ วันที ่ ๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ ศาลาการเปรียญ (หลังเก่า) กว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๒๐ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๘ ศาลาการเปรียญ (หลังใหม่) กว้าง ๑๘ เมตร ยาว ๓๒ เมตร สร้างเมื่อ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ กุฎิสงฆ์ จ�านวน ๙ หลัง เป็นอาคารไม้ ๓ หลัง ครึ่ง ตึกครึ่งไม้ ๑ หลัง อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๕ หลัง ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง ๑๐ เมตร ยาว ๒๘ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๐ ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
77
ปูชนียวัตถุ พระประธานในอุโบสถ (ชื่อชาวบ้านเรียกหลวงพ่อ ใหญ่) ปางมารวิชัยเป็นพระพุทธรูปที่สวยงามมาก ขนาด หน้าตักกว้าง ๔๙ นิ้ว สูง ๖๙ นิ้ว สร้างเมื่อ ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๕ และยังมี พระบรมสารีริกธาตุ ในอุโบสถอีกด้วย พระประธานในศาลาพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปี หลังใหม่ ปางมารวิชยั พระพุทธชัยมงคลเสนานุสรณ์ เป็นพระพุทธรูป ที่สวยงามมาก ขนาดหน้าตักกว้าง ๕๙ นิ้ว สูง ๒.๗๙ เมตร สร้างเมื่อ ๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒ 78
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
การศึกษา โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม เปิดสอนเมือ่ พ.ศ. ๒๕๒๘ ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด (ปัจจุบัน อบต. ทรายมูล ดูแล) เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๕ จนถึงปัจจุบัน ใช้อาคารศาลาอีสานเขียวเป็นที่เรียน
ประวัติพระครูชินธรรมวิมล ชือ่ พระครูชนิ ธรรมวิมล ฉายา มารชิโน อายุ ๖๑ พรรษา ๔๑ วิทยฐานะ น.ธ.เอก วัดนาโป่ง ต�าบลทรายมูล อ�าเภอ ทรายมูล จังหวัดยโสธร ปัจจุบนั ด�ารงต�าแหน่งเป็นเจ้าอาวาส วัดนาโป่งและเจ้าคณะอ�าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร สถานะเดิม ชื่อ สายตา นามสกุล รัตนะพิมพ์ เกิดวันพฤหัสบดี ขึ้น ๑๔ ค�่า เดือน ๓ ปีกุน วันที่ ๑๒ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๒ ณ บ้านเลขที่ ๙ หมู่ที่ ๖ ต�าบล ทรายมูล อ�าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร บิดาชื่อนายพรม มารดาชื่อ นางทิ้ง นามสกุล รัตนะพิมพ์ บรรพชาอุปสมบท วันเสาร์ ขึ้น ๘ ค�่า เดือน ๔ ปีมะแม วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๓ เวลา ๐๕.๒๐ น. ณ พัทธสีมา วัดสิงห์ทองเหนือ ต�าบลทรายมูล อ�าเภอ ทรายมูล จังหวัดยโสธร พระอุปัชฌาย์ เจ้าอธิการพา ฉายา ฐิตธมฺโม วัดสิงห์ทองเหนือ ต�าบลทรายมูล อ�าเภอทรายมูล จังหวัด ยโสธร พระกรรมวาจาจารย์ พระมหาวิไล ฉายา จกฺกวโร วัดโคกยาว ต�าบลทรายมูล อ�าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร พระอนุสาวนาจารย์ พระอธิการทองด�า ฉายา ยโสธโร วัดหนองไก่ขาว ต�าบลทรายมูล อ�าเภอทรายมูล จังหวัด ยโสธร วิทยฐานะ พ.ศ. ๒๕๑๑ ส�าเร็จการศึกษาชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ จากโรงเรียนบ้านนาโป่ง ต�าบลทรายมูล อ�าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร พ.ศ. ๒๕๒๖ สอบได้นักธรรมชั้นเอก วัดนาโป่ง ส�านักเรียนคณะจังหวัดยโสธร
พระครูชินธรรมวิมล เจ้าคณะอ�าเภอทรายมูล / เจ้าอาวาสวัดนาโป่ง งานปกครอง พ.ศ. ๒๕๒๘ ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง ให้ ด� า รงต� า แหน่ ง เป็ น เจ้าอาวาสวัดนาโป่ง พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง ให้ ด� า รงต� า แหน่ ง เป็ น เจ้าคณะต�าบลทรายมูล-ไผ่ เขต ๑ อ�าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร (แบ่งเขตปกครองใหม่) พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง ให้ ด� า รงต� า แหน่ ง เป็ น เจ้าคณะอ�าเภอทรายมูล พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้รับแต่งตั้งเป็นอุปัชฌาย์ ในเขตการ ปกครองคณะสงฆ์ต�าบลทรายมูล-ไผ่ เขต ๑
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
79
วัดโพธิ์ไทร
ต�ำบลโพธิ์ไทร อ�ำเภอป่ำติ้ว จังหวัดยโสธร
Wat Pho Sai
Pho Sai Subdistrict, Pa Tiu District, Yasothon Province
พระครูโพธิธรรมสถิต เจ้าคณะอ�าเภอป่าติ้ว / เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ไทร
80
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดโพธิไ์ ทร ตัง้ เมือ่ พ.ศ. ๒๔๔๓ เดิมชาวบ้านเรียกว่า วัดสว่างโพธิไ์ ทร ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นโพธิไ์ ทร หมูท่ ี่ ๑ ต�าบลโพธิไ์ ทร อ�าเภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร ปัจจุบันเป็น เลขที่ ๖๖ หมู่ ๙ วัดโพธิ์ไทร ต�าบลโพธิ์ไทร อ�าเภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย ได้รบั วิสงุ คามสีมาเมือ่ ๓๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๕๘ จึงเปลี่ยนชื่อเป็น วัดโพธิ์ไทร ตามชื่อที่ได้รับวิสุงคามสีมา ให้ ต รงตามทะเบี ย นส� า นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ เขตวิสุงคามสีมากว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๒๐ เมตร ที่ดินตั้งวัด มีเนื้อที่ ๘ ไร่ ๖ ตารางวา
อาณาเขต ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก
จดที่ดินนายสมบูรณ์ อินอ่อน จดทุ่งนา, ล�าเซบาย จดที่ดิน นายบุญมา ผิวทน จดทางสาธารณะประโยชน์
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
81
อาคารเสนาสนะ อุโบสถ ๑ หลัง กว้าง ๘ เมตร ยาว ๑๒ เมตร สร้าง พ.ศ. ๒๕๓๐ ศาลาการเปรียญ ๑ หลัง กว้าง ๘ เมตร ยาว ๓๗ เมตร สร้าง พ.ศ. ๒๕๓๖ กุฎีสงฆ์ ๓ หลัง
82
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสที่ทราบนามคือ รูปที่ ๑ พระจันดี ไม่ทราบฉายา รูปที่ ๒ พระปาน ปภากโร พ.ศ. ๒๕๒๔ – ๒๕๓๕ รูปที่ ๓ พระถาวร ถานิสฺสโร พ.ศ. ๒๕๓๕ ถึงปัจจุบัน ปั จ จุ บั น ได้ รั บ พระราชทาน สมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระครูโพธิธรรมสถิต เจ้าคณะอ�าเภอป่าติ้ว ชั้นพิเศษ
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
83
วัดเชียงเพ็ง
ต�ำบลเชียงเพ็ง อ�ำเภอป่ำติ้ว จังหวัดยโสธร
Wat Chiang Pheng
Chiang Pheng Subdistrict, Pa Tiu District, Yasothon Province
พระครูสุกิจธรรมากร เจ้าอาวาสวัดเชียงเพ็ง / เจ้าคณะต�าบลกระจาย เลขานุการเจ้าคณะอ�าเภอป่าติ้ว
84
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดเชียงเพ็ง ตัง้ เมือ่ พ.ศ. ๒๔๓๐ ผูน้ ำ� ในกำรสร้ำงหมูบ่ ำ้ น และวัดนี้คือ เชียงเพ็ง หรือนำยเพ็ง ได้รับพระรำชทำน วิ สุ ง คำมสี ม ำ เมื่ อ วั น ที่ ๑๓ กรกฎำคม พ.ศ. ๒๕๓๖ เขตวิสุงคำมสีมำ กว้ำง ๑๘ เมตร ยำว ๔๐ เมตร วัดเชียงเพ็ง ตั้งอยู่เลขที่ ๕๓ บ้ำนเชียงเพ็ง หมู่ ๗ ต�ำบลเชียงเพ็ง อ�ำเภอป่ำติ้ว จังหวัดยโสธร สังกัดคณะสงฆ์ มหำนิกำย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๑๐ ไร่ ๗๕ ตำรำงวำ อาคารเสนาสนะประกอบด้วย - อุโบสถ - ศำลำกำรเปรียญ - กุฎีสงฆ์จ�ำนวน ๔ หลัง ปูชนียวัตถุ - พระประธำนปูนปั้น ในอุโบสถ ขนำดหน้ำตัก กว้ำง ๑.๖๐ เมตร สูง ๒.๔๓ เมตร สร้ำงเมื่อพ.ศ. ๒๔๕๑ มีพระนำมว่ำ หลวงพ่อชัยอินทร์ประสิทธิ์
- พระพุทธรูปปูนปัน้ ประดิษฐำนใต้ตน้ โพธิ์ ขนำดหน้ำตัก กว้ำง ๓.๒๙ เมตร สูง ๕ เมตร สร้ำงเมือ่ เดือนกรกฎำคม ๒๕๕๙ มีพระนำมว่ำ พระพุทธเศวตสุวรรณ (หลวงพ่อขาว) การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนามคือ รูปที่ ๑ พระสอน พ.ศ. ๒๔๓๐ – ๒๔๖๐ รูปที่ ๒ พระด�ำ พ.ศ. ๒๔๖๐ – ๒๔๗๐ รูปที่ ๓ พระตำ พ.ศ. ๒๔๗๐ – ๒๔๘๑ รูปที่ ๔ พระสำ พ.ศ. ๒๔๘๑ – ๒๔๙๐ รูปที่ ๕ พระมี พ.ศ. ๒๔๙๐ – ๒๔๙๖ รูปที่ ๖ พระบุญนำค พ.ศ. ๒๔๙๖ – ๒๕๐๐ รูปที่ ๗ พระกอง พ.ศ. ๒๕๐๐ – ๒๕๐๓ รูปที่ ๘ พระบุญยัง ชำคโร พ.ศ. ๒๕๐๓ – ๒๕๐๖ รูปที่ ๙ พระสำ สุวณฺโณ พ.ศ. ๒๕๐๖ – ๒๕๑๔ รูปที่ ๑๐ พระสมบูรณ์ ปภสฺสโร พ.ศ. ๒๕๑๔ – ๒๕๓๕ รูปที่ ๑๑ พระปิง่ ปริปณ ุ โฺ ณ พ.ศ. ๒๕๓๔ – ๒๕๔๒ รูปที่ ๑๒ พระครูกติ ติสำกำร พ.ศ. ๒๕๔๒ – ๒๕๔๘ รูปที่ ๑๓ พระครูสกุ จิ ธรรมำกร พ.ศ. ๒๕๔๘ – ปัจจุบนั
ความเป็นมาเรือโบราณ เรือโบรำณ มีขนำดยำว ๒๗.๕๐ เมตร กว้ำง ๓.๕๐ เมตร สูง ๑.๕๐ เมตร และมีกระดูกงูจำ� นวน ๖๘ ข้อ จัดอยูใ่ นประเภท เรือกระแซง หรือเรือหมำกกระแซง คล้ำยกับเรือเอี้ยมจุ๊น ในภำคกลำง แต่มีขนำดยำวกว่ำเรือเอี้ยมจุ๊นสำมเท่ำ รูปร่ำง ของเรือเรียวแคบบริเวณหัวท้ำย และกว้ำงออกบริเวณกลำงล�ำ บริเวณท้ำยเรือมีกำรปูกระดำนกว้ำงประมำณ ๒ เมตร เทคนิค กำรต่อเรือเป็นแบบข้ำงกระดำน มักพบในอีสำนโดยจะวำง กระดูกงู จำกนั้นจะเอำไม้กระดำนมำต่อเป็นตัวยึดเรือด้วย ตะปูไม้และตะปูเหล็ก ระหว่ำงรอยต่อของกระดำนจะอุดด้วย ฝ้ำย, ด้ำย หรือเชือกชุบน�ำ้ มันยำง เพือ่ ไม่ให้นำ�้ เข้ำและเอำชัน ยำเรือทับอีกชัน้ หนึง่ ควำมสมบูรณ์ของเรือทีพ่ บประมำณ ๘๐ % และยังมีสภำพแข็งแรง
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
85
วัดกระจายนอก ต�าบลกระจาย อ�าเภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร
Wat Kra Jay Nok
Kra Jay Subdistrict, Pa Tio District, Yasothon Province
พระครูพัฒนธรรมกิจ
รองเจ้าคณะอ�าเภอป่าติ้ว / เจ้าอาวาสวัดกระจายนอก
86
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดกระจายนอก ตัง้ อยูเ่ ลขที่ ๒๓๖ บ้านกระจาย หมูท่ ี่ ๓ ต�าบลกระจาย อ�าเภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๑๓ ไร่ ๒ งาน ๕๘ ตารางวา วั ด กระจายนอก ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ. ๒๔๐๗ ได้ รั บ พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ พ.ศ. ๒๔๖๘ อดีตบ้านกระจาย เป็นชุมชนขนาดใหญ่มี ๑ วัด คือ วัดเตปทุมมา (วัดกระจายใน) จึงไม่สะดวกในการท�าบุญของชาวบ้าน ดังนั้นชาวบ้านได้ ปรึกษาหารือกัน จัดตั้งวัดใหม่เพิ่มขึ้นอีก ทางทิศตะวันออก ของหมู่บ้าน โดยมีพระแดง พระอาวุโสเป็นผู้น�าฝ่ายสงฆ์ พร้อมพระเฒ่า เป็นผู้น�าร่วมกับชาวบ้าน ริเริ่มสร้างวัดใหม่ ชื่อ วัดบุปผาราม (วัดกระจายนอก) เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๐๗ อาคารเสนาสนะประกอบด้วย ๑. อุโบสถ กว้าง ๘ เมตร ยาว ๑๒ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๘ ๒. ศาลาการเปรียญ กว้าง ๑๔ เมตร ยาว ๓๘ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๒๓ เป็นอาคารคอนกรีต ๓. กุฏสิ งฆ์ จ�านวน ๔ หลัง เป็นอาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ ปูชนียวัตถุ ๑. พระประธาน ขนาดหน้าตักกว้าง ๒๔๐ นิ้ว การบริหารและการปกครองมีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ รูปที่ ๑ พระแดง รูปที่ ๒ พระเฒ่า
รูปที่ ๓ พระบุ รูปที่ ๔ พระต่าน ปภสฺสโร รูปที่ ๕ พระเพชร พลโท รูปที่ ๖ พระครูพฒ ั นธรรมกิจ พ.ศ.๒๕๑๙ ถึง ปัจจุบนั ประวัติเจ้าอาวาส พระครูพัฒนธรรมกิจ ฉายา ชาครธมฺโม วิทยฐานะ น.ธ.เอก วัดกระจายนอก ต�าบลกระจาย อ�าเภอป่าติ้ว จังหวัด ยโสธร ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่ง ๑. เจ้าอาวาสวัดกระจายนอก ๒. รองเจ้าคณะอ�าเภอป่าติ้ว สถานะเดิม ชื่อ กิตติศักดิ์ นามสกุล จันใด เกิดเมื่อวันเสาร์ แรม ๗ ค�่า เดือน ๘ ปีขาล ตรงกับวันที่ ๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ ณ บ้านเลขที่ ๒๕ หมูท่ ่ี ๓ ต�าบลกระจาย อ�าเภอลุมพุก จังหวัดอุบลราชธานี บิดาชือ่ นายเลิง - มารดาชือ่ นางทา จันใด
งานการปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้รับแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งรองเจ้า คณะอ�าเภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร ตามตราตั้งรองเจ้าคณะ อ�าเภอ ที่ ๕ / ๒๕๕๐ พ.ศ. ๒๕๑๙ ได้รับแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งเจ้า อาวาสวัดกระจายนอก ต�าบลกระจาย อ�าเภอป่าติ้ว จังหวัด ยโสธร ตามตราตั้งเจ้าอาวาส ที่ ๙๑ / ๒๕๑๙
บรรพชา – อุปสมบท ลงวันที่ ๑๐ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๑๙ พ.ศ. ๒๕๒๙ ได้รบั พระราชทานสมณศักดิเ์ ป็นพระครู สัญญาบัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชนั้ โท ที่ พระครูพฒ ั นธรรมกิจ พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้รับแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งพระ อุปชั ฌาย์ ตามตราตัง้ เลขที่ ๖๓ / ๒๕๕๕ ลงวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ วิทยฐานะ พ.ศ. ๒๕๐๔ ส�า เร็จ การศึก ษาชั้นประถมปีที่ ๔ โรงเรียนบ้านศรีฐาน อ�าเภอเขื่อนแก้ว จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. ๒๕๑๖ สอบได้ นั ก ชั้ น ธรรมเอก สั ง กั ด วั ด กระจายนอก ต�าบลกระจาย อ�าเภอป่าติ้ว ส�านักเรียนคณะ จังหวัดยโสธร
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
87
วัดไทยเจริญ
ต�ำบลไทยเจริญ อ�ำเภอไทยเจริญ จังหวัดยโสธร
Wat Thai Charoen
Thai Charoen Subdistrict, Thai Charoen District, Yasothon Province
88
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดไทยเจริญ เดิมชาวบ้านเรียกว่า วัดภูกลอย หรือ ภูฮอย ทีเ่ รียกว่า ภูกลอย เพราะมีเถาวัลย์ชนิดหนึง่ ทีช่ าวบ้าน ในแถบบริเวณนีน้ า� หัวมาเป็นอาหารมาท�าขนม เรียกว่า หัวกลอย ย้อนกลับไปเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๒-๒๔๖๓ ในภาคอีสานเกิด ทุพภิกขภัย ข้าวยากหมากแพง ดินฟ้าแห้งแล้ง ประชาชนในแถบ ภูกลอยได้อาศัยหัวมันหัวกลอยแทนข้าว ชาวบ้านก็ได้อาศัย บริเวณภูกลอยหาอยู่หากินในยามที่เกิดข้าวยากหมากแพง เพราะบริเวณภูกลอยมีธารน�้าที่ใสสะอาดไหลผ่าน มีลานหิน ลาดลงสู่ล�าธาร มีแอ่งหินเล็ก ๆ เหมาะแก่การแช่กลอย ตากกลอย ที่เรียกว่า ภูฮอย เพราะมีความเชื่อกันว่าเป็นที่ ประดิษฐานรอยพระพุทธบาทหรือฮอยคนใหญ่ ย้อนกลับในปี พ.ศ. ๒๔๙๑ หลวงพ่อพระครูวินัยกรโกศล (หลวงตามหาค�า
ในสมัยนั้น) ได้เดินธุดงค์มาจ�าพรรษา ณ สถานที่แห่งนี้และ เป็นที่พักจ�าพรรษาภิกษุสงฆ์เรื่อยมา จนในปี พ.ศ. ๒๕๐๔ ได้ มีพระภิกษุ ๒ รูป คือหลวงตากรณ์กับหลวงตาอินทร์ ได้มา จ�าพรรษาที่ภูกลอยนี้ อยู่มาวันหนึ่งหลวงตาทั้งสองปรึกษากัน ว่าพวกเราน่าจะกั้นน�้าที่ล�าธารเอาไว้ใช้ในฤดูแล้ง พอตกลงกัน ได้แล้ว ในวันต่อมาหลวงตาทั้งสองได้ช่วยกันขนหินในบริเวณ นั้นมากั้นล�าธาร นานวันไปก้อนหินท�านบก็หมด ก็อดทนและ อุตส่าห์ขนจากทีอ่ นื่ ไกลราว ๓ เส้นเศษ วันหนึง่ ก็เกิดเหตุอศั จรรย์ เทวดาดลบันดาลให้หลวงตาอินทร์ไปงัดหินก้อนหนึ่งเป็นรอย เกลี้ยง ๆ หลวงตาอินทร์บ่ายเบี่ยงเรียกหาหลวงตากรณ์ ให้มา ดูช่วยกันเก็บก้อนหินและไม้ที่ผุออก เช็ดดูเป็นรอยงามนามว่า ฮอยคนใหญ่ ฮอยยักษ์ ฮอยผี ฮอยพระมุนี ฮอยพระบาท นับแต่นนั้ มาผูค้ นทีท่ ราบข่าวก็มากราบไว้สกั การะฮอยมากมาย ภูกลอยก็กลายเป็นย่านชุมชนไม่เว้นวัน และได้พร้อมใจกันจัดงาน นมัสการรอยพระพุทธบาทในวันขึ้น ๗ - ๘ ค�่า เดือน ๓ เพื่อ เป็นพุทธบูชา เป็นประจ�าทุกปีจนถึงปัจจุบัน ในปี พ.ศ. ๒๕๓๓ นายเจียม แสวงผล ได้เสนอเรื่อง ขออนุญาตสร้างวัด และได้รบั อนุญาตให้สร้าง ได้ตงั้ วัดเมือ่ วันที่ ๒๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยเปลีย่ นชือ่ เป็น วัดไทยเจริญ ตามชือ่ อ�าเภอไทยเจริญ วัดไทยเจริญ ตั้งอยู่บ้านเลขที่ ๒๓๓ บ้านไทยเจริญ หมูท่ ี่ ๑ ต�าบลไทยเจริญ อ�าเภอไทยเจริญ จังหวัดยโสธร มีเนือ้ ที ่
๔๕ ไร่ ๒ งาน ๔๐ ตารางวา ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ วั น ที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยมี พระผัน ปภากโร เป็นผูร้ กั ษาการ แทนเจ้าอาวาส ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๔๓ มี พระครูศรีธรรมานุกูล เป็น เจ้าอาวาสและด�ารงต�าแหน่งเป็นเจ้าคณะอ�าเภอไทยเจริญ จนถึงปัจจุบัน
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
89
วัดฟ้าหยาด
ต�าบลฟ้าหยาด อ�าเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
Wat Fah Yad
Fah Yad Subdistrict, Mahachana Chai District, Yasothon Province
พระครูสถิตนภคุณ เจ้าอาวาสวัดฟ้าหยาด
90
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา ในสมั ย ต้ น กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ พ ระบาทสมเด็ จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมบรมกษัตริย์ แห่งกรุง รั ต นโกสิ น ทร์ ได้ ป ราบดาภิ เ ษกขึ้ น เป็ น พระเจ้ า แผ่ น ดิ น ปกครองราชอาณาจักรสยาม ต่อจากพระเจ้ากรุงธนบุรีขณะ นั้ น พระจ้ า สิ ริ บุ ญ สารกษั ต ริ ย ์ ผู ้ ค รองเมื อ งเวี ย งจั น ทร์ อาณาจั ก รล้ า นนา (ประเทศสาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตย ประชาชนลาว) ได้เข้ามารุกรานเมืองชายแดนโดยเข้าโจมตี ทีเ่ มืองนครเขือ่ นขันณ์ กาบแก้วบัวบาน (จังหวัดหนองบัวล�าภู) พระวอพระตา ผู ้ ป กครองเมื อ งได้ น� า พลออกต่ อ สู ้ อ ย่ า ง กล้ า หาญ พระตาเจ้ า เมื อ งถู ก ปื น ถึ ง แก่ อ สั ญ กรรมในที่ โรงพยาบาล ระหว่างที่ท�าสงครามกันนั้น ได้ให้ท้าวด�าสู ท้าวด�าสิงห์ อพยพไพร่พลลงมาตามล�าน�า้ ชี เมือ่ สร้างเมืองใหม่ ท้าวด�าสูได้มาสร้างเมืองสิงห์ท่า (จังหวัดยโสธร) ประชาชน ท�ามาหากินโดยปกติสุข ประชาชนส่ว นหนึ่งได้แ ยกย้ า ย หาท�าเล ที่ท�ากินแห่งใหม่ลงมาตามแม่น�้าชี จนพบเนินพื้นที่ กว้างขวางน�้าท่วมไม่ถึง และยังเป็ยชัยภูมิที่ดี จึงได้ถากถาง เป็นที่ท�ามาหากินและตั้งบ้านเรือน จนมีผู้อพยพเข้ามาตั้ง บ้านเรือนมากขึ้นเป็นชุมชนและหมู่บ้านแล้วได้มีการตั้งวัด เพื่อให้ลูกหลานได้ศึกษา ประชาชนได้ท�าบุญขึ้นเป็นครั้งแรก ชื่อว่า วัดหลวง (บริเวณที่ตั้งการประปาส่วนภูมิภาค) ต่อมา ได้ยา้ ยลงมาทางทิศใต้หา่ งจากสถานทีเ่ ดิมประมาณ ๓๐๐ เมตร เหตุที่ย้ายเพราะบริเวณที่ตั้งเดิมอยู่ริมฝั่งชี ตลิ่งจะพังทุกปี เมื่ อ ได้ ที่ ตั้ ง ใหม่ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า วั ด ศรี สุ มั ง (วั ด คุ ้ ม ) อยู ่ บ ริ เวณ
ที่ท�าการไปรษณีย์โทรเลข ก่อสร้างวัดอยู่ประมาณ ๒๐ ปี ได้ย้ายวัดไปสร้างใหม่อีกครั้ง ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ เหตุที่ ย้ายเพราะวัดอยูใ่ นเขตชุมชนไม่เหมาะแก่การปฏิบตั ธิ รรมของ พระภิกษุสงฆ์ ในระหว่างที่ประชาชนจัดเตรียมพื้นที่ที่จะสร้างวัด ซึ่งอยู่ในช่วงต้นฤดูฝนได้เกิดพายุฝนฟ้าคะนองฟ้าร้องค�าราม อย่างน่ากลัวเป็นเวลานาน ชาวบ้านเกิดความหวาดกลัว ได้นา� เครือ่ งมือถากถางไปซ่อนไว้โคนต้นไม้ใหญ่แล้วพากันกลับบ้าน จากนัน้ ฟ้าผ่าลงมาบริเวณต้นไม้ใหญ่นนั้ ท�าให้บริเวณโดยรอบ สว่างไสวไปทั่ว เมื่อพายุฝนฟ้าคะนองสงบลงชาวบ้านได้ไป ตรวจดูบริเวณทีต่ นน�าเครือ่ งมือไปซ่อนไว้พบว่าพร้าได้หกั ออก เป็น ๒ ท่อน เมือ่ ได้ทา� การสร้างวัดเสร็จ จึงตัง้ ชือ่ ว่า “วัดฟ้าหยาด” เหตุ ที่ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า “วั ด ฟ้ า หยาด” มี ข ้ อ สั น นิ ษ ฐาน ๓ ประการ คือ ๑. มาจากปรากฏการณ์ พายุฝนฟ้าคะนอง ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า มีแสงสว่างไสวไปทั่วบริเวณที่จะสร้างวัด ๒. มาจากฟ้าผ่าพร้าของชาวบ้านหักเป็น ๒ ท่อน ๓. มาจากชื่อบ้านฟ้าหยาดที่มีมาแต่เ ดิมเพื่อให้ สอดคล้องกับชื่อหมู่บ้าน การตั้งวัดฟ้าหยาด วัดฟ้าหยาดตั้งอยู่เลขที่ ๙๐ หมู่ที่ ๔ บ้านฟ้าหยาด ต�าบลฟ้าหยาด อ�าเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดคณะ สงฆ์มหานิกาย ได้รับอนุญาตให้ตั้งเมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๓๔๑ ผูกพัทธสีมาเมื่อ พ.ศ.๒๓๕๙ บนเนื้อที่ ๒๗ ไร่ ๖๐ ตารางวา มีอาคารเสนาสนะ ๑. พระอุโบสถ (โบสถ์,สิม) สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๓๙ ๒. ศาลาการเปรียญ (หลังใหม่) สร้างเมือ่ พ.ศ.๒๔๙๒ ๓. ศาลาการเปรียญ (หลังใหม่) สร้างเมือ่ พ.ศ.๒๕๑๕ ๔. กุฏิสงฆ์จ�านวน ๕. ศาลาบ�าเพ็ญกุศล (ร่มเย็น) ๖. ศาลาธรรมาธิปไตย
๗. โรงเรียนมัธยม ๒ ชั้น ๘. หอระฆัง ๙. โรงครัว ๑๐. ห้องน�้า,ห้องสุขา ๑๑. โรงเรียนปริยัติ เจ้าอาวาสวัดฟ้าหยาด เนื่ อ งด้ ว ยวั ด ฟ้ า หยาดได้ ตั้ ง มาเป็ น เวลานาน การสืบค้นหลักฐานและการบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ก็ไม่ สามารถบอกได้วา่ เจ้าอาวาสองค์แรก คือท่านใด เท่าทีส่ บื ค้น ได้มีดังนี้ ๑. หลวงพ่ออรินทุม พ.ศ. ๒๓๗๙ - พ.ศ. ๒๔๑๕ ๒. หลวงพ่อแอ๋ง พ.ศ. ๒๔๑๗ - พ.ศ. ๒๔๓๗ ๓. หลวงพ่อพระครูปลัดพัน พ.ศ.๒๔๔๐ - พ.ศ.๒๔๗๐ ๔. หลวงพ่อบู่ ถาวโร พ.ศ. ๒๔๗๒ - พ.ศ. ๒๔๙๒ ๕. หลวงพ่อพระครูชยาภินันท์ (ชู ชาคโร) พ.ศ. ๒๔๙๕ - พ.ศ. ๒๔๙๙ ๖. หลวงพ่อพระครูจันทรคุณ รักษาการเจ้าอาวาส ๗. หลวงพ่อพระครูมหาชัยชิโนบล (พระมหาจ�าปา ญาณงฺกโร ป.ธ.๖) พ.ศ. ๒๕๐๑ - พ.ศ. ๒๕๔๓ ๘. พระครูสถิตนภคุณ (ยืน กตปุญโฺ ญ ป.ธ.๖ ศศ.ม.) พ.ศ. ๒๕๔๔ – ปัจจุบัน
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
91
วัดป่าจันทวนาราม ต�าบลห้องแซง อ�าเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร
Wat Pa Chanthawanaram
Hong Saeng Subdistrict, Loeng Nok Tha District, Yasothon Province
พระครูสุตาลังการ เจ้าอาวาสวัดป่าจันทวนาราม รองเจ้าคณะอ�าเภอเลิงนกทา
92
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วั ด ป่ า จั น ทวนารามตั้ ง เมื่ อ พ.ศ. ๒๔๘๓ โดยมี นายด้วง พลูสวัสดิ ์ ได้บริจาคทีด่ นิ ให้สร้างวัดชาวบ้านเรียกกัน ว่า วัดป่า ปัจจุบนั มีเนือ้ ที ่ 35 ไร่ 2 งาน 53 ตารางวา เป็นวัดที่ มีสถานที่ร่มรื่นสัปปายะ มีพระภิกษุสามเณรอยู่จ�าพรรษา ตลอดมา ในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา แต่เป็นวัดที่ขาดการพัฒนาในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ ชาวบ้านจึงได้ ไปนิมนต์ทา่ น พระมหาสมหมาย กลฺยาโณ จากวัดบูรพารามใต้ อ�าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร มาเป็นเจ้าอาวาส วัดนี้จึงได้มี การพัฒนาขึ้นมาอีกระดับหนึ่ง วัดป่าจันทวนาราม ได้สร้างถาวรวัตถุไปพร้อมกับ การศึกษาด้านถาวรวัตถุ ได้สร้างที่พักอาศัยของพระภิกษุ สามเณร ห้องน�้า ห้องสุขา โรงครัว และปรับปรุงสถานที่ให้ เป็นสัดส่วนที่สวยงานดูดีขึ้น ส่วนด้านศึกษาได้จัดตั้งโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกธรรม-ธรรมศึกษาและแผนกบาลี
ปั จ จุ บั น วั ด ป่ า จั น ทวนาราม ๑๑ หมู ่ ที่ ๑๑ บ้านห้องแซงใต้ ต�าบลห้องแซง อ�าเภอเลิงนกทา จังหวัด ยโสธร สังกัดคณะมหานิกาย ปัจจุบันมี พระครูสุตาลังกา ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสวัดป่าจันทวนาราม และรองเจ้า คณะอ�าเภอเลิงนกทา อาคารเสนาะสนะ อุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๐ กว้าง ๗ เมตร ยาว ๒๕ เมตร สูง ๑๒๕ เมตร ศาลาการเปรียญ สร้างเมือ่ พ.ศ. ๒๕๐๗ กว้าง ๑๔ เมตร ยาว ๒๖ เมตร ๑ หลัง กุฏพิ ระสงฆ์-สามเณร เป็นอาคารครึง่ ปูนครึง่ ไม้ ๕ หลัง ศาลาอเนกประสงค์ สร้ า งเมื่ อ พ.ศ.๒๕๓๘ กว้าง๑๐ เมตร ยาว ๒๐ เมตร ห้องน�้า-ห้องสุขา จ�านวน ๓๕ ห้อง ความส�าคัญของวัดป่าจันทวนาราม - เป็นศูนย์โรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์สอน นักธรรมบาลี และธรรมศึกษา - เป็ น ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ธ รรม และ อบรมคุ ณ ธรรม จริยธรรม - เป็นแหล่งท่องเที่ยวและแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรม ของชุมชน - เป็นที่ฝึกอาชีพ สืบสานประเพณีวัฒนธรรม - เป็นศูนย์ทอผ้าหมัดหมี่ประจ�าต�าบล - เป็นศูนย์ดิจิตอลประจ�าต�าบล และศูนย์ไอซีที ชุมชน วัดป่าจันทวนาราม งานบุญ-กิจกรรมประจ�าปี - งานบุญผะเหวต(พระเวส) ฟังเทศน์มหาชาติ - งานสงกรานต์วันผู้สูงอายุ - งานบุญข้าวประดับดิน - งานวันเข้าพรรษา - งานตักบาตรเทโว วันออกพรรษา -งานสวดมนต์ข้ามปี
ผ้ามัดหมี่ภูไท ภาคอีสานหรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่ ๒๐ จังหวัด ประกอบด้วยกลุ่มชนชาติพันธุ์ต่าง ๆ มากกว่า ๒๐ ชาติพันธุ์ ส่วนมากเป็นกลุ่มชนชาวไทยเชื้อสายไท-ลาว หรือ ชนเผาไท-ลาว ที่คนไทยภาคอื่นมักเรียกว่า ลาว เป็นกลุ่ม ชาติพันธุ์ใหม่สุดของภาคอีสาน เป็นกลุ่มชนที่มีการผลิตผ้า พืน้ เมืองของอีสานแพร่หลายทีส่ ดุ แต่ยงั แยกเป็นกลุม่ ย่อยตาม วัฒนธรรมได้อกี หลายกลุม่ เช่น ลาวกาว ลาวพวน ลาวโซ่ง ลาวคัง่ กลุ่มชนเหล่านี้มีวัฒนธรรมคล้ายคลึงกันแต่วัฒนธรรมการ ทอผ้าและการใช้ผ้าอาจแตกต่างกันบ้าง
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
93
วัดห้วยกอย
ต�ำบลสำมแยก อ�ำเภอเลิงนกทำ จังหวัดยโสธร
Huay Koi Temple
Sam Yaek Sub-district, Loeng Nok Tha District, Yasothon Province
พระครูสุตเขมาทร
เจ้าอาวาสวัดห้วยกอย
94
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดห้วยกอย ตั้งอยู่เลขที่ ๗๑ หมู่ที่ ๒ บ้านห้วยกอย ต�าบลสามแยก อ�าเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร เดิมทีเป็นทีพ่ กั สงฆ์ เล็ก ๆ ที่ชาวบ้านห้วยกอยได้พร้อมใจกันสร้างขึ้น เพื่อเป็น ที่อยู่อาศัยของพระภิกษุ สามเณรและเป็นที่เคารพศรัทธา เป็นทีพ่ งึ่ ทางใจของคนในหมูบ่ า้ น โดยมีนายสด ขุนทอง พร้อม ครอบครัว เป็นผู้บริจาคที่ดินให้จ�านวน ๑๐ ไร่ชาวบ้านจึงได้ ร่วมกันสร้างเป็นที่พักสงฆ์ในราวปี พ.ศ. ๒๕๐๐ เป็นต้นมา จนเวลาล่วงเลยผ่านไปหลายปี ชาวบ้านได้ยนื่ เรือ่ งขออนุญาต เพือ่ สร้างวัด และต่อมาก็ได้รบั อนุญาตประกาศแต่งตัง้ เป็นวัด ถูกต้องตามกฎหมาย เมือ่ วันที ่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๐ และ ๒ ปีถัดมา ก็ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๒ วัดห้วยกอย ได้พัฒนาตามล�าดับ ได้มีการก่อสร้าง เสนาสนะ เช่น อุโบสถ ศาลา กุฎี เจดีย์ ฯลฯ ได้ท�าการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา ด้วยการจัดอบรมปฏิบัติธรรม ก่อตั้งสถานี วิทยุคลื่นธรรมะ ชื่อว่า สถานีวิทยุเพื่อพระพุทธศาสนาชุมชน วัดห้วยกอย คลืน่ ความถี ่ ๑๐๔.๕๐ เมกะเฮิรตซ์ ก่อตัง้ โรงเรียน พระปริยัติธรรมสอนบาลีนักธรรมแก่พระภิกษุสามเณร และ ฆราวาสญาติโยมทั่วไป ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน วัดห้วยกอย ได้มีพระภิกษุอยู่จ�าพรรษาหลายรุ่น จนถึงปัจจุบันได้มี พระครูสุตเขมาทร เป็นเจ้าอาวาส และ พระมหาวิชยั สิรจิ นฺโท เป็นผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสและเป็นเจ้าคณะ ต�าบลสามแยกด้วยพระอาจารย์ทงั้ ๒ รูป ได้ชว่ ยกันพัฒนาวัด
สร้างเสนาสนะวัตถุ เน้นความสะอาดสวยงามและเป็นระเบียบ ควบคูไ่ ปกับการเผยแผ่ธรรมะจัดอบรมปฏิบตั ธิ รรมกิจกรรมใน ทางพระพุทธศาสนาอยู่เนือง ๆ ภายในวัดมีต้นไม้ธรรมชาติ นานาพันธุม์ คี วามร่มรืน่ สงบ จึงเป็นวัดอีกวัดหนึง่ ทีผ่ แู้ สวงบุญ ควรแวะชม แวะท�าบุญสักครั้งเมื่อได้มาที่อ�าเภอเลิงนกทา เสนาสนะศาสนวัตถุ อุโบสถวัดห้วยกอย หลังใหม่ได้จัดสร้างขึ้นทดแทน หลังเก่าที่ช�ารุดผุพังแล้ว ได้ท�าพิธีวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็นอุโบสถ ๒ ชัน้ มีขนาดกว้าง ๑๕ เมตร ยาว ๒๕ เมตร มีลักษณะโดดเด่นสีขาวแสดงถึงความสะอาด บริสทุ ธิ ์ ได้รบั ความอนุเคราะห์แบบก่อสร้างจากวัดญาณเวสก วัน ออกแบบโดย อาจารย์ฤทัย จงใจรัก ศิลปินแห่งชาติ ภายใน อุ โ บสถมี พ ระพุ ท ธรู ป หล่ อ ทองเหลื อ งปางมารวิ ชั ย และ
พระมหาวิชัย สิริจนฺโท เจ้าคณะต�าบลสามแยก
พระพุทธรูปหินหยกขาว มีลักษณะสวยงามสง่า น่ากราบไหว้ เป็นอย่างยิ่ง อุโบสถหลังนี้ใช้เวลาในการก่อสร้าง ๓ ปีเศษจึง แล้วเสร็จ พระธาตุเจดีย ์ เจดียพ์ ระบรมธาตุโลกนาถศาสดา ได้ ท�าพิธีวางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ ๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ โดย ได้รับความเมตตาจากพระเดชพระคุณ พระเทพสารเวที วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นประธานพิธีวางศิลาฤกษ์ และได้รับ ความเมตตาอย่างสูงยิง่ จากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระ
สังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก ได้ประทานนาม เจดีย์องค์นี้ ว่า พระธาตุเจดียพ์ ระบรมธาตุโลกนาถศาสดา ใช้เวลา ๕ ปีเศษ ในการก่อสร้างจึงแล้วเสร็จโดยมีคุณพงษ์เดช-คุณสรินดา แพทย์เจริญ พร้อมด้วยญาติโยม พุทธบริษทั ทัง้ หลายให้ความ อุปถัมภ์ เจดี ย ์ อ งค์ นี้ ก ่ อ สร้ า งขึ้ น เพื่ อ ใช้ บ รรจุ พ ระบรม สารี ริ ก ธาตุ ข องพระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า และเป็ น สถานที่ ประกอบพิธใี นทางพระพุทธศาสนา เปิดโอกาสให้ผทู้ เี่ ลือ่ มใส ศรัทธาได้มากราบไหว้บูชา และเพื่อให้เป็นศาสนวัตถุอยู่คู่ ลูกหลานสืบไป ด้านการศึกษา โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดห้วยกอย ได้เปิดสอน บาลี นักธรรม แก่พระภิกษุสามเณรเปิดโอกาสให้พระภิกษุ สามเณร ได้เข้ามาศึกษาหลักสูตรการเรียนการสอนของคณะ สงฆ์ไทย มีนักธรรม ชั้น ตรี โท เอก และพระบาลี ตั้งแต่ชั้น ประโยคหนึ่ง ๑ - ๒ จนถึงเปรียญธรรม ๙ ประโยค โดยมี อาจารย์ใหญ่คือ พระมหาวุฒิชัย ยโสธโร เปรียญธรรม ๙ ประโยค เป็นผู้ดูแลงานด้านพระปริยัติธรรม
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
95
วัดมัคคาพัฒนาราม ต�าบลสามัคคี อ�าเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร
Wat Makkhaphatthanaram
Samakkhi Subdistrict, Loeng Nok Tha District, Yasothon Province
พระครูศรีธรรมคณารักษ์ เจ้าคณะอ�าเภอเลิงนกทา / เจ้าอาวาสวัดมัคคาพัฒนาราม
96
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๔ ได้มีพ่อใหญ่อาจารย์มา และ แม่ใหญ่วนั อรอินทร์ มีศรัทธาบริจาคทีด่ นิ จ�านวน ๔ ไร่ มอบ ให้เป็นทีพ่ กั สงฆ์ โดยตัง้ ชือ่ ทีพ่ กั สงฆ์มคั คาราม มีหลวงพ่อเหล่ว มาพักอยู่เป็นรูปแรกนานหลายปี เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ผู้ใหญ่บ้าน นายอ่อน พรทิพย์ น�าชาวบ้านก่อสร้างกุฏ ิ ๑ หลัง และก่อสร้างศาลาการเปรียญ ขนาด ๙ เมตร ยาว ๒๑ เมตร ขึ้น ๑ หลัง ไว้เป็นที่พ�านักและ ท�ากิจของพระภิกษุสงฆ์ผเู้ ดินทางผ่านไปมา และเป็นทีท่ า� บุญ ของชาวบ้าน เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๕ มีอาจารย์สว่าง สุธีโร ได้เข้ามา พ�านักอยูแ่ ละได้นา� ชาวบ้านพัฒนาปรับปรุงทีพ่ กั สงฆ์มคั คาราม แห่งนี้ตามล�าดับ และช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ท่านได้ย้ายไปอยู่ ที่อื่น จึงท�าให้ไม่มีพระสงฆ์อยู่จ�าพรรษามาหลายปี เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ชาวบ้านไทยเจริญได้ไปอาราธนา หลวงพ่อพระครูศรีธรรมาคณารักษ์ เจ้าคณะอ�าเภอเลิงนกทา ได้เข้ามาพ�านักอยูท่ พี่ กั สงฆ์แห่งนี ้ พร้อมกับเป็นผูน้ า� ชาวบ้าน พัฒนาปรับปรุงสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ ขึ้นเป็นอย่างมาก ได้แก่ การปรั บ ปรุ ง ศาลาการเปรี ย ญหลั ง เดิ ม สร้ า งกุ ฏิ ขึ้ น ใหม่ จ�านวน ๗ หลัง สร้างโรงครัว หอฉัน เมรุเผาศพ ศาลาบ�าเพ็ญบุญ ห้องน�้า จ�านวน ๔ หลัง รวม ๒๘ ห้อง และถมที่ทั่วบริเวณ จ�านวน ๔๐๐ รถ พร้อมกับด�าเนินการขออนุญาตสร้างวัด และขออนุญาตตั้งวัด ตามล�าดับ ในพรรษาปีนี้มีพระภิกษุ จ�านวน ๑๒ รูป จึงได้จัดชื้อที่ดินเพิ่มเพื่อให้ครบ ๖ ไร่ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ วันที ่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้ รั บ การตั้ ง วั ด โดยได้ รั บ ชื่ อ ว่ า วั ด มั ค คาพั ฒ นาราม
ซึ่ง นายสุนยี ์ ยืนยึดวงศ์ เป็นผูข้ ออนุญาตตัง้ วัด และได้ตงั้ หลวง พ่ อ พระครู ศ รี ธ รรมคณารั ก ษ์ เป็ น เจ้ า อาวาส และ พระจิระพงศ์ จิรธมฺโม เป็นผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดมัคคาพัฒนาราม ประวัติการก่อสร้างอุโบสถ วันที ่ ๓ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๙ พลเอกธีรชัย นาควานิช ผูบ้ ญ ั ชาการทหารบก ได้เดินทางมาท�าบุญทอดผ้าป่าสามมัคคี ได้ปัจจัย จ�านวน ๑๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท (สิบห้าล้านบาทถ้วน) ด�าเนินการก่อสร้างอุโบสถเสร็จเรียบร้อย วันที่ ๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙ พลเอกธีรชัย นาควานิช ได้เดินทางมาเป็นเจ้าภาพมอดกฐินสามัคคีได้ปจั จัย ๔,๒๑๐,๐๐๐ บาท เพื่อบูรณปฏิสังขรณ์วัดมัคคาพัฒนาราม และพิธียกฉัตรช่อฟ้าอุโบสถ วันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐ พิธีฉลองอุโบสถ ตัดหวายลูกนิมติ ผูกพัทธสีมาอุโบสถ วัดมัคคาพัฒนาราม โดยมี พลเอกธีรชัย นาควานิช องคมนตรี เป็นประธานฝ่ายฆราวาส และพระเดชพระคุณพระราชรัตนกวี เจ้าคณะจังหวัดยโสธร เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ หลวงพ่อพระครูศรีธรรมคณารักษ์ เจ้าคณะอ�าเภอเลิงนกทา เป็นประธานด�าเนินงาน
ประวัติการหล่อก่อสร้างพระประธานใน อุโบสถวัดมัคคาพัฒนาราม พระพุทธปฏิมากร พระประธานปางมารวิชัย องค์นี้ มีขนาด หน้าตัก ๓ เมตร ส่วนสูง ๔.๘๙ เซนติเมตร หล่อด้วยโลหะทองเหลือง ทั้งองค์ ซึ่งได้ประกอบพิธีเททองหล่อ พระประธาน ในวันศุกร์ที่ ๒๕ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๔๙ นาฬิกา ณ บริเวณพิธี วัดมัค คาพัฒนาราม บ้านไทยเจริญ หมู่ที่ ๓ ต�าบลสามัคคี อ�าเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร โดยมี - พระเดชพระคุณ พระราชรัตนกวี เจ้าคณะจังหวัดยโสธร เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ - พลเอกธีรชัย นาควานิช ผูบ้ ญ ั ชาการทหารบก เป็นประธาน ฝ่ายฆราวาส ท่ามกลางคณะสงฆ์หมู่ใหญ่ จ�านวน ๑๐๐ รูป ซึ่งมีพระครู ศรีธรรมคณารักษ์ เจ้าอาวาสวัดมัคคาพัฒนารามและเจ้าคณะอ�าเภอ เลิ ง นกทา เป็ น ประธานด� า เนิ น การจั ด งานและเหล่ า ข้ า ราชการ แขกผู ้ มี เ กี ย รติ ญาติ โ ยมพี่ น ้ อ งประชาชนเข้ า ร่ ว มพิ ธี นี้ ป ระมาณ ๑๐๐๐ คน พระประธานองค์นี้ ซึ่งเรียกนามด้วยความเคารพนับถือว่า (หลวงพ่อใหญ่) คณะกรรมการวัดมัคคาพัฒนาราม ได้ว่าจ้างช่างคือ นายศราวุฒิ พลูวงษา เจ้าของโรงหล่อ ช.ปฎิมากรรม อยู่บ้านเลขที่ ๖๒ หมู่ ๗ ต�าบลบ่อพันขัน อ�าเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นผู้ ด�าเนินการก่อสร้าง ในราคาค่าก่อสร้างจ�านวน ๑,๓๐๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งล้านสามแสนบาทถ้วน) และพระอัครสาวก ๒ องค์ องค์ละ ๑๕๐,๐๐๐ บาท รวม ๓๐๐,๐๐๐ บาท (สามแสนบาทถ้วน) (รวมราคา ก่อสร้างพระประธานและพระอัครสาวก เป็นเงิน ๑,๖๐๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งล้านหกแสนบาทถ้วน) โดยได้งบประมาณจาก พลเอกธีรชัย นาควานิช ผูบ้ ญ ั ชาการทหารบก และคณะ ซึง่ มี พันเอกอภิชา คุณสิงห์ เสนาธิการทหารราบที ่ ๒ รักษาพระองค์ เป็นผูป้ ระสานด�าเนินงานการ ก่อสร้างพระประธานเพื่อประดิษฐานในพระอุโบสถวัดมัคคาพัฒนา ราม และได้ยกขึ้นประดิษฐาน ณ อุโบสถ ในวันที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๐.๓๙ นาฬิกา โดย พระครูศรีธรรมคณารักษ์ เจ้าคณะ อ�าเภอเลิงนกทา ประธานฝ่ายสงฆ์ พันเอกณัฐ ศรีอินทร์ ผู้บัญชาการ กรมทหารราบที่ ๑๖ จังหวัดยโสธร ประธานฝ่ายฆราวาส มีคณะสงฆ์ และประชาชนร่วมในพิธีเป็นจ�านวนมาก
วันที่ ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ พลเอกธีรชัย นาควานิช และคณะ น� า กฐิ น มาทอดถวายเพื่ อ บู ร ณะปฏิ สั ง ขรณ์ วัดมัคคาพัฒนาราม ได้ปัจจัยรวม ๒,๕๘๑,๕๗๐ บาท ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
97
หลวงพ่อโต ณ วัดมหาพุทธาราม พระอารามหลวง (วัดพระโต) 98
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
เส้นทางแห่งบุญ
จังหวัดศรีสะเกษ Sisaket Province
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
99
วัดเจียงอีศรีมงคลวราราม พระอารามหลวง
ประวัติความเป็นมา วัดเจียงอีศรีมงคลวราราม ตั้งอยู่ในคุ้มบ้านเจียงอี ต�าบลเมืองใต้ อ�าเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ เหตุที่ ได้นามว่า วัดเจียงอี เพราะตั้งอยู่ในคุ้มบ้านเจียงอี การตั้งชื่อ ต�าบลเมืองใต้ อ�าเภอเมืองศรีสะเกษ บ้านชื่อวัดในสมัยก่อนนั้น นิยมตั้งไปตามชื่อของสิ่งต่าง ๆ ที่ เกิดเป็นนิมิตขึ้น ได้ทราบว่าบ้านเจียงอี ประชาชนผู้เป็น จังหวัดศรีสะเกษ เจ้าของถิน่ เดิมเป็นชนชาติไทยเผ่าส่วย ไทยเผ่านีม้ สี า� เนียงพูด Wat Chiang Ei Si Mongkol Wararam (Phra Aram Luang) แปร่งหรือเพี้ยนไปจากเผ่าอื่น ๆ เจียงอี เป็นภาษาพื้นบ้าน แยกออกได้เป็นสองศัพท์ เจียง แปลว่า ช้าง อี แปลว่า ป่วย Mueang Tai Subdistrict, Mueang Sisaket District, รวมความว่า เจียงอี แปลว่า ช้างป่วย Sisaket Province ตามประวัติศาสตร์เมืองศรีสะเกษ ตั้งขึ้นที่บ้าน พันทาเจียงอี สมัยก่อนเมืองไทย - เมืองลาว ยังเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกัน บางคราวก็เป็นอิสระแก่กนั บางครัง้ ก็รวมกันเป็น พีน่ อ้ งชาติเดียวกัน ครัง้ เมือ่ พระครูโพนสะเม็ก มาตัง้ ส�านักอยูท่ ี่ ดอนแดง (เกาะแดง) ซึ่งอยู่กลางล�าแม่น�้าโขง ตรงข้ามเมือง จ�าปาศักดิ์ ในสมัยนั้นแคว้นนครจ�าปาศักดิ์ มีสตรีเป็นเจ้าผู้ ครองนคร ชื่อ นางเพา - นางแพง ประชาชนได้หลั่งไหลไปคารวะพระครูโพนสะเม็ก เป็นจ�านวนมากไม่ขาดสาย นางเพา - นางแพง พร้อมด้วย พระราชกิตติรังษี ข้าราชบริพาร จึงพากันออกไปถวายการปกครองบ้านเมือง เจ้าคณะจังหวัดศรีสะเกษ เจ้าอาวาสวัดเจียงอีศรีมงคลวราราม พระอารามหลวง ให้หลวงพ่อเป็นผู้ปกครอง พระครูโพนสะเม็กรับปกครองอยู่ ระยะหนึ่ง พอเห็นว่าพระราชกุมารของพระจ้าไชยเชฏฐา มีพระชนมายุเจริญขึ้นพอสมควรแล้ว จึงให้ประชาชนไปรับ เสด็จมานครจ�าปาศักดิ ์ และได้สถาปนาให้ขนึ้ ครองราชสมบัต ิ ทรงพระนามว่า พระเจ้าสร้อยศรีสมุทรพุทธางกูร ครอง นครจ�าบากนครบุรีศรี (เมืองจ�าปาศักดิ์) ส่วนหลวงพ่อเป็นที่ 100
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ปรึกษาราชการบ้านเมืองเท่านั้น ในระยะนี้หลวงพ่อได้จัดส่ง ลูกศิษย์ผู้มีสติปัญญาแหลมคมไปปกครองหัวเมืองต่าง ๆ ที่ขึ้น กับนครจ�าปาศักดิ์ เฉพาะสายที่มาเมืองศรีสะเกษ สุรินทร์ ร้อยเอ็ด ที่ส่งมาครั้งแรกแบ่งเป็นห้าสาย แต่ละสายมีหัวหน้า พร้อมกับอพยพประชาชนพลเมืองมาด้วยเป็นจ�านวนมาก ผู้ที่ อพยพมาส่วนมากเป็นคนไทเผ่าส่วย (เผ่ากวย) ซึง่ มีภมู ลิ า� เนาอยู่ ทางฝั่งซ้ายแม่น�้าโขง แถบเมืองอัตตะปือ เมืองแสงปาง (รัตนะ คีร)ี อยูท่ างตะวันออกเมืองจ�าปาศักดิ ์ สายทีม่ าลงเมืองศรีสะเกษ พระครูโพนสะเม็กได้สง่ ท้าวจารย์ศรี ศิษย์ผมู้ สี ติปญ ั ญาสามารถ คนหนึ่งเป็นหัวหน้าสาย ครั้งแรกได้มาตั้งที่อ่าวยอดห้วยดวน หรือดงไม้ล�าดวน ได้ตั้งหลักก่อสร้างบ้านเมืองขึ้นที่นั่น แล้วให้ ชื่อว่า เมืองนครศรีล�าดวน (บ้านดวนใหญ่) ต่อมาสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของไทย เมื่อ พระเจ้าอยู่หัวเอกทัศน์ เสวยราชสมบัติอยู่นั้น ได้เกิดอาเพศขึ้น พระยาช้างเผือกแตกโรงหนี แล้วมุ่งหน้ามาทางทิศตะวันออก เลยเข้าเขตเมืองศรีสะเกษ พระเจ้าเอกทัศน์ ทรงจัดให้ทหาร นายกองจับช้าง ติดตามมาทันทีล่ า� ธารแห่งหนึง่ อยูใ่ นเขตอ�าเภอ อุทมุ พรพิสยั ได้เห็นตัวพระยาช้างเผือกแต่จบั ไม่ได้ ช้างวิง่ หนีไป ทางทิศใต้ถึงเชิงเขาดงเร็ก หัวหน้าผู้ปกครองบ้านเมืองแถบนั้น ก็พากันช่วยตามจับพระยาช้างเผือก แล้วไปจับได้ที่เชิงภูเขาดง เร็กในเขตอ�าเภอกันทรลักษ์ในปัจจุบัน จึงน�ากลับมาและน�าส่ง พระยาช้างเผือก เมือ่ น�าพระยาช้างเผือกมาถึงบ้านใหญ่แห่งหนึง่ ซึ่งอยู่ในตัวเมืองศรีสะเกษ พระยาช้างเผือกได้ล้มป่วยลงรักษา หายแล้วจึงออกเดินทางต่อไป ชาวบ้านเป็นไทส่วย จึงเรียก หมู่บ้านนั้นว่า บ้านเจียงอี คือ บ้านช้างป่วย สืบมา วัดก็เรียกว่า วัดเจียงอี เช่นกัน
การศาสนศึกษาและการศึกษาสงเคราะห์ การศึกษาภายในวัดเจียงอีศรีมงคลวราราม ด�าเนิน การจัดการเรียนการสอนพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม แผนกบาลี และแผนกสามัญ มาโดยตลอด เมื่อวันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ ทางราชการได้อนุญาตให้ตั้งโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ชือ่ โรงเรียนศรีเกษตรวิทยา โดยความด�าริ ของ พระเกษตรศีลาจารย์ (หนู อุสฺสาโห) อดีตรองเจ้าคณะ จังหวัดศรีสะเกษ และอดีตเจ้าอาวาสวัดเจียงอีศรีมงคลวราราม ที่ว่า พระภิกษุสามเณรที่บวชเข้ามาแล้วได้ศึกษาเฉพาะแต่ การศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกธรรม เพียงอย่างเดียว อีก อย่างหนึง่ การฟัง การอ่าน การพูด การเขียน ก็ไม่เก่งเท่าใด นัก จะเก่งเป็นบางรูปเท่านั้น และพระภิกษุสามเณรที่บวช เข้ามาจ�าพรรษาส่วนมากจะเป็นลูกหลานชาวไร่ ชาวนา ขาดโอกาสที่จะได้รับการศึกษา ทั้งคดีโลกและคดีธรรม เริ่มต้นด�าเนินการเปิดสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ถึงชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ปัจจุบันเปิดถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่น ทุรกันดาร (กพด.) ตามพระราชด�าริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ปูชนียวัตถุ ๑. พระประธานในอุโบสถ ๒. พระประธานในวิหาร ๓. พระพุทธไสยาสน์ ๔. พระแก้วศรีวิเศษ ๕. พระสังกัจจายน์ ๖. พระสีวลี
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
101
ภาพจ�าลองพระธาตุเกศแก้วจุฬามณีศรีสะเกษ ความเป็นมาของโครงการก่อสร้างพระธาตุเกศแก้วจุฬามณี ศรีสะเกษ ในสมัยที่ พระเกษตรศีลาจารย์ (หนู อุสฺสาโห) เป็น เจ้าอาวาส วัดเจียงอีศรีมงคลวรารามได้รับการพัฒนาอย่าง รวดเร็ว โดยเฉพาะในด้านศาสนวัตถุ มีเสนาสนะสิ่งก่อสร้าง เกิดขึ้นมากมาย ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๙ ผูกสีมาเมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๐๐ เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง ในปี พ.ศ. ๒๕๐๙ ยกเป็นพระอารามหลวงเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๓ เป็น พระอารามหลวงซึ่งเป็นวัดแรกของจังหวัดศรีสะเกษ เป็นวัด พัฒนาตัวอย่างดีเด่น เมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๔ หลังจากนั้นมา พระเกษตรศีลาจารย์ ได้ดา� ริกอ่ สร้างเจดีย ์ เพือ่ เป็นการสนอง พระพุทธประสงค์ ถวายเป็นพุทธบูชาเป็นทีต่ งั้ แห่งศรัทธาของ ประชาชนชาวจังหวัดศรีสะเกษ โดยได้ด�าเนินการเทรากฐาน คอนกรีตไว้แล้ว แต่การก่อสร้างได้หยุดชะงักลง เนือ่ งจากท่าน มรณภาพเสียก่อน ปี ๒๕๓๒ พระเทพวรมุน ี (วิบลู ย์ กลฺยาโณ) สมัยด�ารง สมณศักดิ์ที่ พระวิบูลธรรมวาที ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งเป็น เจ้าอาวาสวัดเจียงอีศรีมงคลวราราม ได้พฒ ั นาบูรณปฎิสงั ขรณ์ เสนาสนะวัตถุภายในวัดเจียงอีศรีมงคลวรารามขึน้ เป็นจ�านวน มาก เช่น บูรณะพระวิหาร สร้างหอประชุม สร้างศาลาบ�าเพ็ญ กุศล ตลอดจนการศึกษาพระภิกษุสามเณร แต่ยังไม่ได้ท�า ก่อสร้างพระเจดีย์ 102
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ปี ๒๕๕๒ พระราชกิตติรังษี (บุญทัน สนฺตจิตฺโต) ได้ รั บ พระบั ญ ชาสมเด็ จ พระสั ง ฆราชแต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้ า อาวาส วัดเจียงอีศรีมงคลวราราม และย้ายมาครองวัดเมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๕๒ จึงได้มีการปรับปรุงพัฒนาวัด ทั้งในส่วน ของการก่อสร้างพระอุโบสถหลังใหม่ แทนหลังเดิมทีช่ า� รุดทรุด โทรมลงไปตามกาลเวลา การบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ พ ระวิ ห าร การก่อสร้างกุฎสี งฆ์และบูรณเสนาสนวัตถุ เสนาสนสถาน และ ศาสนสถาน ให้เกิดความเรียบร้อยและเหมาะสมกับฐานะ ของวัดที่เป็นพระอารามหลวง เป็นไปโดยเรียบร้อย การที่ จ ะท� า ให้ พ ระอารามหลวง ประจ� า จั ง หวั ด ศรีสะเกษ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงโปรดฯ ให้ สถาปนาขึน้ มีความเจริญก้าวหน้าทัง้ ด้านศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และเป็นสัปปายะในกรณียะทางพระพุทธศาสนาทุกด้านนั้น หากได้รว่ มกันสร้างศูนย์รวมพลังศรัทธา รวมพลังจิตใจ รวมพลัง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องชาวจั ง หวั ด ศรี ส ะเกษ ก็ จ ะเป็ น การดี ยิ่ ง ขึ้ น วัดเจียงอีศรีมงคลวราราม จึงได้ด�าเนินการจัดท�าโครงการ ก่อสร้างพระธาตุขึ้น เพื่อสนองพุทธประสงค์ เพื่อถวายเป็น พุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา และเพือ่ สร้างสัญลักษณ์บง่ บอก ถึ ง ความยิ่ ง ใหญ่ ท างจิตใจและความดีง ามของชาวจังหวัด ศรี ส ะเกษ พระธาตุ ฯ ที่ จ ะด� า เนิ น การก่ อ สร้ า ง ได้ รั บ การ ประทานนามจาก เจ้าประคุณสมเด็จพระมหารัชมงคลมุนี (ธงชัย ธมฺมธโช) วัดไตรมิตรวิทยาราม ว่า พระธาตุเกศแก้ว จุฬามณีศรีสะเกษ ซึง่ มีนามเช่นเดียวกับพระธาตุเกศแก้วจุฬามณี บนสวรรค์ ชั้ น ดาวดึ ง ส์ พระธาตุ ฯ ที่ จ ะสร้ า งมี ข นาดกว้ า ง ๒๖.๐๐ เมตร สูง ๓๙.๐๙ เมตร
โครงการก่อสร้างพระธาตุเกศแก้วจุฬามณีศรีสะเกษ
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
103
หลวงพ่อโต วัดมหาพุทธาราม พระอารามหลวง (วัดพระโต) ต�าบลเมืองเหนือ อ�าเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Mahaphuttaram Phra Aram Luang (Wat phra To) Mueang Nuea Subdistrict, Mueang Sisaket District, Sisaket Province
104
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วั ด มหาพุ ท ธาราม เป็ น วั ด พระอารามหลวงที่ มี อาณาเขตกว้างขวาง เป็นวัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองมาตั้งแต่ สมัยเมืองศรีนครเขต ปัจจุบันมหาเถรสมาคม ประกาศให้ วั ด มหาพุ ท ธาราม เป็ น ส� า นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมประจ� า จั ง หวั ด ศรีสะเกษ แห่งที ่ ๑/๒๕๔๙ อันแสดงว่าวัดมหาพุทธาราม เป็น ศูนย์รวมจิตใจของประชาชนชาวพุทธทัง้ หลาย เป็นศูนย์กลาง การปกครอง การศึกษา การเผยแผ่พระพุทธศาสนา การศึกษา สงเคราะห์ การสาธารณูปการ และการสาธารณสงเคราะห์ของ คณะสงฆ์และประชาชน ตั้งแต่อดีตสืบทอดมาจนปัจจุบัน นอกจากนัน้ วัดมหาพุทธาราม ยังเป็นสถานทีใ่ ช้ประกอบพิธสี า� คัญ ของคณะสงฆ์แ ละพิธีถือน�้าพิพัฒ น์สัตยาของเจ้าเมืองและ ข้าหลวงในอดีต และข้าราชการทัง้ ส่วนกลาง และส่วนภูมภิ าค ตลอดมากระทั่งบัดนี้ วัดมหาพุทธาราม เป็นวัดโบราณมีอายุเก่าแก่ เดิมที ชาวบ้าน เรียกชื่อว่า วัดป่าแดง สันนิษฐานว่าน่าจะสร้างใน สมัยเมืองศรีนครเขต ซึง่ ตรงกับสมัยเจ้าสร้อยศรีสมุทรพุทธางกูร เจ้าผู้ครองนครจ�าปาสัก (ซึ่งในอดีตมีอาณาเขตครอบคลุม บริเวณพืน้ ทีอ่ สี านตอนใต้ ได้แก่ จังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรนิ ทร์ และบุรรี มั ย์ในปัจจุบนั ) สมัยนัน้ มีเจ้าราชครูหลวงโพน สะเม็ก พระมหาสมณะยอดแก้ว (เทียบพระสังฆราช) หรือ สมญานามว่า ญาครูขี้หอม เป็นพระมหาเถระผู้ทรงวิทยาคุณ และเป็นหลักชัยแห่งพระพุทธศาสนา ซึง่ เจ้าผูค้ รองนครจ�าปาสัก ข้าราชบริพาร ประชาชนชาวเมืองจ�าปาสักและเมืองเวียงจันทน์ ต่างให้ความเคารพศรัทธาเป็นอย่างยิง่ เจ้าราชครูหลวงโพนสะเม็ก เจ้าราชครูหลวงโพนสะเม็กได้สง่ ศิษย์ทมี่ คี วามรูค้ วามสามารถ
ซึง่ ล้วนผ่านการบวชเรียนมาแล้วไปตัง้ บ้านแปงเมืองในทีต่ า่ ง ๆ โดยให้จารย์เชียงแห่งบ้านโนนสามขาเป็นผู้ตั้งเมืองศรีนครเขต (ศรีสะเกษ) และสร้างวัดป่าแดง ในปี พ.ศ. ๒๒๔๕ โดยบริเวณ ทีส่ ร้างวัดเป็นป่าไม้แดง จึงได้ชอื่ ว่า วัดป่าแดง ต่อมาได้กลาย เป็นวัดร้าง ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๒๕๓ เป็นต้นไป ครั้นถึงปีพ.ศ. ๒๔๙๔ คณะสงฆ์ไทยได้แยกการ ปกครองออกเป็นคณะธรรมยุต กับคณะมหานิกาย ต�าแหน่ง เจ้ า คณะเมื อ งศรี ส ะเกษ ได้ เ ปลี่ ย นเป็ น เจ้ า คณะจั ง หวั ด พระชินวงศาจารย์ ปกครองเฉพาะคณะธรรมยุต เปลี่ยนชื่อ ต�าแหน่งว่า เจ้าคณะธรรมยุตจังหวัดศรีสะเกษ ในช่วงนี้ได้ มีการเสนอเปลีย่ นชือ่ วัดพระโตใหม่ เป็นชือ่ วัดมหาพุทธาราม เมื่อวันที่ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๐ และใช้ชื่อนี้มาจน ปัจจุบัน โดยน�าเอานามวัดพระโต ที่แปลว่า วัดพระใหญ่ ไป แปลกลับเป็นภาษาบาลี ซึ่งแยกค�าดังนี้ มหา แปลว่า โต, พุทธ แปลว่า พระ, อาราม แปลว่า วัด เมื่อน�าค�าทั้งหมดมา รวมกัน ก็จะเป็น วัดมหาพุทธาราม แปลว่า วัดพระโต หรือ วัดพระใหญ่ ซึ่งก็คือนามเดิมของวัดนั่นเอง ปูชนียวัตถุส�าคัญ หลวงพ่อโต พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์เป็นที่เคารพ สักการะของชาวศรีสะเกษ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย องค์ใหญ่ มีความสูงจากฐานถึงยอดเกศ ๖.๘๕ เมตร หน้าตัก กว้าง ๓.๕๐ เมตร เดิมเป็นพระพุทธรูปศิลาจ�าหลัก สันนิษฐานว่า เป็นพระพุทธรูปสมัยขอมซึ่งมีอายุร่วมพันปีมาแล้ว แต่มา สร้างเพิ่มเติมขึ้นเมื่อใดไม่ปรากฏแน่ชัด ปัจจุบันประดิษฐาน ในวิหาร
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
105
วัดสุวรรณาราม (บ้านค�าเนียม) ต�าบลค�าเนียม อ�าเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Suwannaram(Ban Kham Niam) Kham Niam Subdistrict, Kanthararom District, Sisaket Province
พระครูโสภิตสารธรรม เจ้าคณะอ�าเภอกันทรารมย์ วัดสุวรรณาราม
106
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดสุวรรณาราม อยู่เลขที่ ๙๖ บ้านค�าเนียม หมู่ที่ ๑ ต�าบลค�าเนียม อ�าเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๑๔ ไร่ ๑ งาน ๖๖ ตารางวา น.ส.๓ ก เลขที่ ๑๐๙๒ อาณาเขต ทิศหนือประมาณ จดถนนสาธารณะ ทิศใต้ประมาณ จดถนน – หมู่บ้าน ทิศตะวันออก จดถนนสาธารณะ ทิศตะวันตก จดถนนสาธารณะ มีที่ธรณีสงฆ์จ�านวน ๑ แปลง เนื้อที่ ๔ ไร่ วัดสุวรรณาราม ตัง้ เมือ่ พ.ศ. ๒๓๔๐ เดิมมีชอื่ วัดว่า วัดบ้านค�าเนียม ต่อมาเปลีย่ นเป็น วัดสุวรรณาราม เมือ่ พ.ศ. ๒๔๙๒ ผู้สร้างวัด คือ เจ้าพันธุราช หลวงราชบรรเทา หลวง นคร หลวงพินิตย์ นายจันดี ค�าบาล และนายบุญ บัวลา ได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที ่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๔๐๑ เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๑๐ เมตร ยาว ๒๕ เมตร อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๐ ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๕ กุฏิสงฆ์ ๑ หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ ศาลาเอนกประสงค์ สร้างเมื่อ พศ. ๒๕๓๕
ปูชนียวัตถุ พระพุทธรูปปางมารวิชยั ขนาดหน้าตักกว้าง ๓ ศอก สูง ๕ ศอก สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๔๙๘ พระพุทธรูปส�าริดและหิน จ�านวน ๔ องค์ การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ รูปที่ ๑ พระสี สีลคุโณ พ.ศ. ๒๓๕o - ๒๓๖๕ รูปที่ ๒ พระสีดา ปริสุทฺโธ พ.ศ. ๒๓๖๕ - ๒๓๘๐ รูปที ่ ๓ พระพรหม โคตรวงศ์ษา พ.ศ. ๒๓๘๐ - ๒๔๐๐ รูปที่ ๔ พระมหาธัมมสังฆราชาธัมมะวงศ์ พ.ศ. ๒๔๐o - ๒๔๒๕ รูปที ่ ๕ พระอัคคะสอน สุทอนทัน พ.ศ. ๒๔๒๕ – ๒๔๔๕ รูปที ่ ๖ พระครูพมิ พ์ อคฺคธมฺโม พ.ศ. ๒๔๔๕ - ๒๔๕๒
รูปที่ ๗ พระสี อุตฺตโม พ.ศ. ๒๔๕๒ - ๒๔๗๐ รูปที ่ ๘ เจ้าอธิการเต็ม โสรปญฺโญ พ.ศ. ๒๔๗๐ - ๒๔๙๔ รูปที ่ ๙ พระครูวศิ าลสาสนกิจ พ.ศ. ๒๔๙๔ - ๒๕๓๑ รูปที ่ ๑๐ พระครูปริยตั ธิ รรมาภิราม พ.ศ. ๒๕๓๒ - ๒๕๔๖ รูปที่ ๑๑ พระครูสุวรรณปุณโญภาส พ.ศ. ๒๕๔๗ - ๒๕๔๘ รูปที่ ๑๒ พระอธิการทอง อิสรธมฺโม พ.ศ. ๒๕๔๘ ถึงปัจจุบัน การศึกษา มีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรมเปิดสอนเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๔ โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกบาลี เปิดสอนเมือ่ พ.ศ. ๒๕๑๐ นอกจากนี ้ มีศนู ย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด เปิด สอนเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๖
ประวัติบ้านค�าเนียม บ้านค�าเนียมตั้งเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๓๓๐ สมัย กรุงเทพฯ บรรพบุรุษย้ายมาจากบ้านโพนทรายมาตั้งบ้าน ค�าเนียม และอีกส่วนหนึ่งมาจากบ้านพันทาทางศรีสะเกษ มาตั้งบ้านค�าเนียมขึ้น เรียกว่า บ้านค�าเนียม ที่เรียกว่า บ้าน ค�าเนียม เพราะมีน�้าค�าหรือน�้าซับไหลอยู่ตลอดปี ในน�้าซับมี ต้นไม้ชนิดหนึง่ เกิดอยูใ่ นน�า้ ค�า มีกลิน่ หอม คนโบราณเรียกว่า ต้นเนียม ฉะนั้นจึงตั้งชื่อบ้านว่า บ้านค�าเนียม ตลอดจนถึง ปัจจุบัน แต่เดี๋ยวนี้น�้าซับน�้าค�านั้นได้แห้งหายไปหมด เพราะ ประชาชนชาวบ้านได้ไปถางป่าท�าไร่ท�านา ต้นเนียมก็ตาย เพราะขาดน�้า ยังมีหลักฐานให้เห็นจนทุกวันนี้ชาวบ้านเรียก นาที่อยู่ต้นน�้า หรือร่องน�้าว่านาค�า เท่าทุกวันนี้ แต่ไม่ทราบ ชื่ อ ว่ า ใครมาตั้ ง บ้ า นเป็ น คนแรก คื อ ตั้ ง ก่ อ นทางการจะ ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
107
ตั้ ง จั ง หวั ด อ� า เภอ ต� า บล ผู ้ ป กครองในสมั ย นั้ น มี ชื่ อ ว่ า หลวงราชบรรเทา เป็นผู้เก็บส่วยจากชาวบ้านไปส่งทาง ราชการ มีต�าแหน่งเป็นตาแสง ต่อมาก็มาตั้งควานบ้าน หรือ จ่าบ้าน จ่าบ้านคนแรก ชื่อ นายกัญญา มีเชื้อสายมาจาก บ้านพันทา (เป็นต้นตระกูลบุญใส) ต่อมานายกัญญาออกจาก นายจ่าบ้านจึงมาตัง้ นายนวนเป็นนายบ้านคนต่อมา เมือ่ ตาแสง หลวงราชบรรเทาสิน้ ไป จึงได้ตงั้ ตาแสงคนใหม่ ชือ่ หลวงลคร ปกครองเก็บส่วยเหมือนเดิม เมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๔๖o จึง ได้ตงั้ นายจันดี เป็นนายจ่าบ้าน เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๖๔ มีการขานนาม สกุลขึ้น เมื่อหลวงลครออกจากตาแสงแล้ว จึงได้แต่งตั้ง นายจันดี ค�าบาล มาเป็นก�านันประจ�าต�าบลดูน ต่อมาได้มี การเปลีย่ นแปลงการปกครองจากเมืองมาเป็นจังหวัด อ�าเภอ ต�าบลตามล�าดับ เมื่อนายจันดี ค�าบาล ออกจึงได้ตั้งนายบุญ บัวลา เป็นก�านัน ต่อมานายบุญ บัวลา ออกจากก�านัน จึงได้ เลือกผู้ใหญ่บ้านใหม่และได้นายบัว เฉียงขวาเป็นผู้ใหญ่บ้าน เมื่อนายบัว เฉียงขวาออกได้ตั้งนายหรื่อ บัวหอม เป็นผู้ใหญ่ บ้านแทน ต่อมานายหรื่อ บัวหอม ได้รับเลือกเป็นก�านัน ประจ�าต�าบลดูน เมือ่ ก�านันหรือ่ บัวหอม ออกแล้ว นายรินทร์ 108
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
บัวหอม ได้รบั เลือกเป็นผูใ้ หญ่บา้ นค�าเนียมแทน เมือ่ นายรินทร์ บัวหอม ออกแล้ว นายสมบูรณ์ บุญเชิญ ได้รบั เลือกเป็นผูใ้ หญ่ บ้านค�า เนียม เมื่อนายสมบูรณ์ บุญเชิญ ออกแล้ว ได้ ตั้ ง นายน้อย บัวหอม เป็นผู้ใหญ่บ้านค�าเนียม ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ทางฝ่ายบ้านเมืองได้แยกต�าบลดูนออก เพราะต�าบล ดูนเป็นต�าบลใหญ่ จึงแยกการปกครอง ดังนี้ คือ ก�าหนด อาเขตถนนศรีสะเกษ - อุบลฯ เป็นจุดแบ่งเขต ทิศเหนือถนน เป็นเขตต�าบลดูน ทิศใต้ถนนเป็นเขตต�าบลค�าเนียม มีหมูบ่ า้ น ๖ หมูบ่ า้ น คือ ๑. บ้านค�าเนียม ๒. บ้านอีตอ้ ม ๓. บ้านมะกรูด ๔. บ้านหนองทามน้อย ๕. บ้านหนองอีกว่าง ๖. บ้านหนอง ทามใหญ่ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๐ นายน้อย บัวหอม ได้รับเลือก เป็นก�านันต�าบลค�าเนียม และแยกบ้านก�าเนียมน้อยออกเป็น หมู่ที่ ๘ มีนายมานิตย์ สุขอ้วน เป็นผู้ใหญ่บ้าน เมื่อนายน้อย บัวหอม ออกจากก�านันแล้ว นายพล สุขอ้วน ได้เป็นผู้ใหญ่ บ้านหมู่ ๑ แทน เมื่อนายพล สุขอ้วน ออกจากผู้ใหญ่บ้าน ได้ เลือกนายน้อย สมภาวะ เป็นผู้ใหญ่บ้านปกครองหมู่ที่ ๑ ใน ขณะนายทองอินทร์ ปกครองอยู่นั้น ได้แยกหมู่บ้านอีกเป็น หมู่ที่ ๑๐ มีนายบุญมี บัวหอม เป็นผู้ใหญ่บ้านทุกวันนี้
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
109
วัดโพธิ์น้อย
ต�ำบลกระหวัน อ�ำเภอขุนหำญ จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Pho Noi
Krawan Subdistrict, Khun Han District, Sisaket Province
พระครูศรีโพธาลังการ เจ้าอาวาสวัดโพธิ์น้อย
110
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดโพธิ์น้อยเป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ คณะ มหานิกาย ตัง้ อยู ่ ณ บ้านโพธิน์ อ้ ย เลขที ่ ๑๕๔ ถนนพระด�าเนิน หมู่ ๕ ต�าบลกระหวัน อ�าเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ มีอาณาบริเวณเนื้อที่ตั้งวัดจ�านวน ๑๓ ไร่ ๒ งาน ๔ ตารางวา โดยลักษณะที่ตั้งเป็นโฉนด และได้รับอนุญาตตั้งวั ด ตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ ๑๕ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๓ วัดโพธิ์น้อย สร้างขึ้นเมื่อวันที่ ๒๒ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๒ โดยนายกล้วย อินวันนา ซึ่งเป็นผู้ใหญ่บ้านใน ขณะนัน้ พร้อมด้วยคณะ นายพลอย เรืองฤทธิ,์ นายสวน นามนุษย์, นายเม้า สารีบุตร, นายเล็ก จิตรโสม, นายสุข นามนุษย์, นายพันธ์ พิศพงษ์ โดยมีพระครูสังฆรักษ์ จันทึก โฆสิโต เป็น ผู้อุปถัมภ์การก่อสร้าง ผู้มีจิตศรัทธาบริจาคที่ดินมีรายนาม ดังนี้ ๑. นางพร อินวันนา ๒. พ่ออุด แก้วลอย ๓. นางทุม โพธิสาร ๔. นางวิญญา น�้าหวาน ๕. นายแสน ศรีละเริญ ๖. นางสมัย นวลแสง ๗. นางอินทร์ ระงับภัย ๘. นายพันธ์ อาจภักดี ๙. นางเม้า อาจภักดี ๑๐. พ่ออ้น ขยันวงษ์ ๑๑. นายพันธ์ พิศพงษ์ ๑๒. นางไพลิน สารเดช ๑๓. นางเย็น เกษอินทร์
เสนาสนะ ๑. กุฏิ (จินตกาญจน์) ๒. ศาลา (ศาลาประชาศรัทธา) ๓. ตึกโตประเสริฐธรรมสภาบุญญนิธิ ๔. ศาลาหอฉัน (ศาลาจินตนารสา) ๕. หอระฆังทรงไทยประยุกต์ ๖. ถังประปา ๗. ศาลาอบรมธรรม ๘. หอไตรพระพุทธโสธร ๙. อุโบสถ ศาสนวัตถุที่ส�าคัญประจ�าวัด ๑. หลวงพ่อพุทธโสธร ๒. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมร�สี) ๓. รูปเหมือนพระอาจารย์สมบัต ิ ญาณวโร (บ�ารุงศิร)ิ ๔. พระพุทธสิหิงคุ์ พระประธานประจ�าอุโบสถ การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาส ๑ รูป คือ พระครูศรีโพธาลังการ เป็น เจ้าอาวาสตั้งแต่วันที่ ๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๐ ถึงปัจจุบัน มีรองเจ้าอาวาส ๑ รูป คือ พระปลัดเสาร์ ติกฺขวีโร มีผู้ช่วยเจ้าอาวาส ๑ รูป คือ พระบุญเกิด ปริสุทฺโธ ประวัติพระครูศรีโพธาลังการ ชื่อ พระครูศรีโพธาลังการ (แสวง สารเดช) ฉายา พุทธฺ ญ ิ าโณ วิทยฐานะ ป.ธ.๖, น.ธ. เอก, ปริญญาตรี นิตศิ าสตร บัณฑิต, ปริญญาโท ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
โรงเรียนวัดโพธิ์น้อย โรงเรียนวัดโพธิน์ อ้ ย ตัง้ อยูเ่ ลขที ่ ๑๕๔ ต�าบลกระหวัน อ�าเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ ๓๓๑๕๐ สังกัดส�านักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ ส�านักงานศึกษาธิการจังหวัดศรีสะเกษ เปิดสอนตั้งแต่ระดับ ชั้นอนุบาล ๑ ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ตามใบอนุญาต เลขที่ ๐๔๑๔๑.๐๕/๒๕๔๘ ตั้งแต่วันที่ ๑๒ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ โรงเรียนวัดโพธิ์น้อยเป็นโรงเรียนในระบบตาม มาตรา ๒๒ (๓) ประกอบมาตรา ๔ และมาตรา ๑๘ แห่ง พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มีเนื้อที่ ๑๔ ไร่ ๓๗ ตารางวา ท�าเนียบผู้บริหาร ๑. นายอภัยศักดิ์ ศรแก้ว พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๕๐ ๒. นางสาวสัตตรัตน์ เจริญจิตต์ พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๓ ๓. พระครูศรีโพธาลังการ (แสวง สารเดช) พ.ศ. ๒๕๕๓ ถึงปัจจุบัน
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
111
วัดปราสาทภูฝ้าย ต�าบลภูฝ้าย อ�าเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Prasat Phu Fai
Phu Fai Subdistrict, Khun Han District, Sisaket Province
พระมหาวิเชียร วชิราลังกาโร ประธานสงฆ์วัดปราสาทภูฝ้าย
112
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดปราสาทภูฝ้าย ตั้งอยู่ที่ ๑๓๐ หมู่ที่ ๑ บ้านภูฝ้าย ต�าบลภูฝ้าย อ�าเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งก่อตั้งเป็น ที่พักสงฆ์ ชื่อว่า อาศรมภูฝ้าย ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๒ โดย ประมาณ ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ แก้ไข เพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ (ฉบับที ่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐ วัดปราสาทภูฝา้ ย ได้รบั การประกาศจากส�านักพระพุทธศาสนา แห่ ง ชาติ เมื่ อ วั น ที่ ๑๓ มิ ถุ น ายน พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยมี พระมหาวิเชียร วชิราลังกาโร ประธานสงฆ์วดั ปราสาทภูฝา้ ย และ พระอธิการเทิด ภูมิปาโล เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ในการนี้ วั ด ปราสาทภู ฝ ้ า ย ได้ ข อใช้ พ้ื น ที่ ใ นเขต บริเวณโบราณสถานปราสาทภูฝ้าย ต�าบลภูฝ้าย อ�าเภอ ขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ บนเนื้อที่ประมาณ ๙๔ ไร่ เพื่อใช้ เป็นเขตพุทธอุทยาน ตามนโยบายของกรมป่าไม้ กระทรวง ทรัพยากรฯ ร่วมกับส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ใช้ เ ป็ น สถานที่ ป ระกอบกิ จ กรรมทาง พระพุทธศาสนา ส่งเสริมการประพฤติปฏิบัติตนให้ เ ป็ น พุ ท ธศาสนิ ก ชนที่ ดี และเพื่ อ ให้ เ ป็ น แหล่ ง เรี ย นรู ้ ท าง ประวั ติ ศ าสตร์ แ ละส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรม อ�านวยประโยชน์สุขสันติแก่ชุมชน ตลอดถึงได้ร่วมกับในการ อนุรักษ์บ�ารุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมของชาติเอาไว้ เพื่อเป็น แหล่งเรียนรู้ของอนุชนสืบไป ปั จ จุ บั น วั ด ปราสาทภู ฝ ้ า ย ได้ รั บ การปรั บ ปรุ ง เปลี่ยนแปลงให้เป็นอารามที่เหมาะะสม เป็นรัมมณียสถาน
ที่ร่มรื่นสวยงาม น่าอยู่น่าอาศัย มีระบบทรงระเบียบ สมเป็น พุทธอุทยานส�าหรับผู้ประพฤติปฏิบัติธรรม เป็นธรรมสถานที่ ทัศนศึกษาและเรียนรู้เชิงธรรมะ และธรรมชาติของมหาชน เป็นศรีสง่าแก่จังหวัดศรีสะเกษอีกแห่งหนึ่ง สมเด็จพระพุทธมุนีญาณอมรณ์สิทธิ์และหอธรรมหลวง เนื่องในมหามงคลสมัยในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้า เจ้าอยู่หัว เสด็จขึ้นเถลิงถวัลย์ราชสมบัติ เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ ๑๐ แห่งราชวงศ์จักรี ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เมื่อวันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ซึ่งน�าความปราบปลื้มยินดียิ่ง แก่พสกนิกรชาวไทยทั่วหล้า พระองค์ทรงเป็นพุทธมามกะ ท�านุบ�ารุงพระศาสนา ให้มคี วามมัน่ คง วัฒนาสถาพรอยูค่ แู่ ผ่นดินไทย คณะพุทธบริษทั วัดปราสาทภูฝ้าย จึงมีด�าริร่วมกันในอันที่จะกระท�าสิ่งที่เป็น ประโยชน์ ทรงคุณค่าไว้ในแผ่นดิน เพื่อถวายเป็นราชสักการะ แด่พระองค์ และสนองพระคุณชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ โดยการจัดสร้างพระพุทธปฏิมากรหินหยก เพื่อประดิษฐาน เป็นองค์พระประธานประจ�า หอธรรมหลวง อาคารปฏิบัติ ธรรมเฉลิมพระเกียรติ ภูฝ้ายและปราสาทภูฝ้าย ปราสาทภูฝ้าย เป็นปราสาทก่อด้วยอิฐและศิลาแลง แบบขอมขนาดย่อม ตัง้ อยูบ่ น เขาภูฝา้ ย ต�าบลภูฝา้ ย อ�าเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ เหตุทเี่ รียกภูฝา้ ย เนือ่ งจากภูเขาลูกนีม้ ตี น้ ไม้ ประจ�าถิน่ คือ ต้นฝ้ายป่า เป็นไม้ตระกูลต้นงิว้ ผา มีชอื่ เรียกทาง วิชาการว่า สุพรรณิกา เป็นชื่อที่ได้รับพระราชทานนามจาก สมเด็จพระกนิฏฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ จึ ง เรี ย กภู เขาลู กนั้นว่า ภูฝ้าย หมายถึง ภูเขาที่มีต้นฝ้าย ปราสาทภูฝา้ ยได้รบั ประกาศขึน้ ทะเบียนเป็นโบราณสถานตาม ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๕๒ วันที่ ๘ มีนาคม ๒๔๗๘ และประกาศขอบเขตพื้นที่ดินโบราณสถานปราสาท ภูฝ้าย ประมาณ ๔๐๕ ไร่ ๑ งาน ๙๓ ตารางวา ตามประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาฉบับพิเศษ เล่มที่ ๑๑๐ ตอนที่ ๒๒๐ ลง วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๓๖ ครอบคลุมเขาภูฝ้ายทั้งหมด
ปราสาทภูฝ้าย
ต้นฝ้ายป่า หรือ ดอกสุพรรณิกา ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
113
วัดบ้านหนองปลาเข็ง ต�าบลโพธิ์ อ�าเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Ban Nong Pla Kheng Pho Subdistrict, Non Koon District, Sisaket Province
พระครูเมธีปัญญาภิวัฒน์
เจ้าคณะอ�าเภอโนนคูณ เจ้าอาวาสวัดบ้านหนองปลาเข็ง
114
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดบ้านหนองปลาเข็ง ต�าบลโพธิ์ อ�าเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ เริ่มสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๐ ตั้งอยู่ทางทิศ ตะวันออกเฉียงใต้ของหมู่บ้านเดิม มีเนื้อที่เพียง ๔ ไร่ ๒ งาน โดยมีพระอธิการโต๊ะ กิตฺติญาโณ เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ได้ เริม่ น�าประชาชนชาวบ้านหนองปลาเข็งพัฒนา ด้านถาวรวัตถุ จนเป็ น ปึ ก แผ่ น มั่ น คง สมบู ร ณ์ ทั้ ง กุ ฎี แ ฝดกว้ า ง ๑๔ เมตร ยาว ๑๒ เมตร ศาลาการเปรียญ กว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๑๔ เมตร และสร้ า งโรงอุ โ บสถ กว้ า ง ๑๐ เมตร ยาว ๑๗.๕๐ เมตร หลังคาสองชัน้ พร้อมท�ารัว้ ล้อมรอบวัดด้วย ไม้เนื้อแข็ง พ.ศ. ๒๕๐๔ พระมหาอ้ม สิริจนฺโท ป.ธ. ๗ (ต่อมา ได้รับพระราชทานเลื่อนชั้นสมณศักดิ์เป็นพระราชคณะชั้น สามัญ ในราชทินนามที่ (พระอมรเมธี) และชั้นราช ใน ราชทินนามที่ (พระราชรัตนดิลก) ซึ่งเป็นก�าลังหลักในการ พัฒนาวัดได้รว่ มกับชาวบ้านพัฒนาวัดมาเป็นล�าดับ และมีการ ซื้อที่ดินเพิ่มอีกถึง ๔ จนมีที่ดินของวัด ณ ปัจจุบัน ๒๐ ไร่ ๒ งาน ๔๑ ตาราง ปัจจุบนั ตัง้ อยูเ่ ลขที ่ ๑๖๖ หมูท่ ี่ ๖ ต�าบลโพธิ์ อ�าเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ ล�าดับเจ้าอาวาสวัดบ้านหนองปลาเข็ง ๑. พระอธิการโต๊ะ กิตฺติญาโณ พ.ศ.๒๔๗๑ - ๒๕๐๕ ๒. พระครูปภากรวรกิจ (กมล ปภากโร) พ.ศ.๒๕๐๖-๒๕๓๑
๓. พระปลัดค�านาง ปิยธมฺโม พ.ศ. ๒๕๓๓ - ๒๕๓๗ ๔. พระปลัดโสม กตปุญฺโญ พ.ศ. ๒๕๓๗ - ๒๕๔๒ ๕. พระอมรเมธี พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๔๘ (รักษาการแทนเจ้าอาวาส) ๖. พระครูชาครธรรมกิจ (ทอน ชาคโร) พ.ศ. ๒๕๔๘ - ๒๕๕๗ ๗. พระครูเมธีปัญญาภิวัฒน์ (บุญมี ปญฺญาวฑฺฒโน) พ.ศ. ๒๕๖๐ - ปัจจุบัน ประวัติอุโบสถ เริ่มวางศิลาฤกษ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๕ กลางเดือน พฤษภาคม โดยมีเจ้าพระคุณสมเด็จพระธีรญาณมุนี เป็น ประธานวางศิลาฤกษ์ กว้าง ๗.๒๐ เมตร ยาว ๑๙.๕๐ เมตร สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก ลักษณะทรงไทย หลังคา ๒ ชั้น แล้ ว เสร็ จ เมื่ อ พ.ศ. ๒๕๑๗ ผู ก พั ท ธสี ม าเมื่ อ วั น ที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ พระประธานในอุโบสถ ปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง ๑.๖๙ เมตร สูง ๑.๗๐ เมตร ประวัติเจ้าอาสวัดบ้านหนองปลาเข็ง พระครู เ มธีป ัญ ญาภิวัฒ น์ ฉายา ปญฺญ าวฑฺฒโน อายุ ๕๑ พรรษา ๓๑ วิทยฐานะ ป.ธ.๖, น.ธ. เอก, พธ.ม. (พระพุ ท ธศาสนา) วั ด บ้ า นหนองปลาเข็ ง ต� า บลโพธิ ์ อ�าเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ สถานะเดิม ชื่ อ บุ ญ มี นามสกุ ล ทิ พ รั ก ษา เกิ ด วั น ที่ ๔ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๒ บิดา นายชม ทิพรักษา มารดา นางบั ว ลี ทิ พ รั ก ษา บ้ า นเลขที่ ๗๐/๒ หมู ่ ที่ ๗ ต�าบลเหล่ากวาง อ�าเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ บรรพชา-อุปสมบท วันที ่ ๒๖ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๒ ณ วัดหนองโพธิ์ ต�าบลศรีนาวา อ�าเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก งานการปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็นเจ้าอาวาสวัดบ้านเวาะ พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นเลขานุการเจ้าคณะอ�าเภอโนนคูณ
พ.ศ. ๒๕๕๒ พ.ศ. ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๒ พ.ศ. ๒๕๖๓
เป็นเจ้าคณะต�าบลโพธิ์ เป็นพระอุปัชฌาย์ เป็นเจ้าอาวาสวัดบ้านหนองปลาเข็ง เป็นรองเจ้าคณะอ�าเภอโนนคูณ เป็นเจ้าคณะอ�าเภอโนนคูณ
ผลงาน พ.ศ. ๒๕๖๐ ร่วมกับพระเดชพระคุณพระราชรัตน ดิลก ด�าเนินการก่อสร้างพระพุทธเมตตาประชานาถคันธาร ราชประทานพรที่วัดบ้านหนองปลาเข็ง สมณศักดิ์ พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้ รั บ พระราชทานสมณศั ก ดิ ์ เป็ น พระครู สั ญ ญาบั ต รเที ย บเจ้ า คณะอ� า เภอชั้ น เอก ใน ราชทินนามที่ พระครูเมธีปัญญาภิวัฒน์ (ทจอ.ชอ.)
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
115
วัดบ้านเหล่าเสน ต�าบลบก อ�าเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Ban Lao Sen
Bok Subdistrict, Non Koon District, Sisaket Province
พระครูวิจิตรธรรมานนท์
เจ้าคณะต�าบลโพธิ์ / เจ้าอาวาสวัดเหล่าเสน
116
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา ส�ำหรับกำรตั้งวัดบ้ำนเหล่ำเสน หลังจำกกำรตั้ง หมู่บ้ำนได้ ๕ ปี ในระหว่ำงปี พ.ศ. ๒๔๗๕ - ๒๔๗๖ ชำวบ้ำน จึ ง ได้ ป รึ ก ษำกั น เกี่ ย วกั บ กำรตั้ ง วั ด ชื่ อ เดิ ม ของวั ด คื อ วัดสว่างอารมณ์ อยู่นำนไปกำรเรียกชื่อไม่สอดคล้องกับชื่อ หมู่บ้ำนเลยได้เปลี่ยนชื่อให้สอดคล้องกับชื่อหมู่บ้ำน เพื่อกำร ติดต่องำนรำชกำรได้งำ่ ยและสะดวกขึน้ ซึง่ มีพอ่ ใหญ่บวั หมุดหมัน้ เป็นหัวหน้ำจึงตกลงกันที่จะสร้ำงวัดขึ้น เพื่อเป็นที่ศูนย์รวม จิตใจของชำวบ้ำนในกำรบ�ำเพ็ญกุศลต่ำง ๆ หลังจำกนั้นได้มี กำรสร้ำงเสนำสนะต่ำง ๆ มำเรื่อย ๆ ตำมล�ำดับ และในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้เริ่มก่อสร้ำงมหำเจดีย์ พระธำตุศรีโนนคูณ กว้ำง ๔๕ เมตร สูง ๕๙ เมตร ในยุคนี้ถือ เป็ น ยุ ค ทองของวั ด บ้ ำ นเหล่ ำ เสนในกำรสร้ ำ งและ บูรณปฏิสังขรณ์วัดวำศำสนำเป็นอย่ำงยิ่ง เจ้าอาวาสปกครองวัดล�าดับนี้ ๑. พระอำจำรย์ผัน ๒. พระอำจำรย์บุตรดี ๓. พระอำจำรย์สังข์ ๔. หลวงพ่อเป็ด ๕. หลวงพ่อโต้น ๖. พระอำจำรย์เหงี่ยง ๗. พระอำจำรย์อ่อน ๘. พระอำจำรย์เซี่ยง ๙. หลวงปู่อ่อน ๑๐. หลวงปู่เขมร ๑๑. พระอำจำรย์ทองค�ำ ๑๒. พระครูปยิ สีลโสภิต เป็นเจ้ำอำวำสและเจ้ำคณะต�ำบลบก ๑๓. พระครูวิจิตรธรรมำนนท์ เป็นเจ้ำอำวำส ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๓ จนถึงปัจจุบัน
วัดบ้านจาน
ต�าบลจาน อ�าเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Ban Chan
Chan Subdistrict, Kanthararom District Sisaket Province
หลวงปู่หมุน ฐิตสีโล
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
117
วัดจินดาราม
ต�าบลรุ่งระวี อ�าเภอน�้าเกลี้ยง จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Chindaram
Rungrawee Subdistrict, Nam Kleaeng District, Sisaket Province
พระครูจินดากัลยาณกิจ รองเจ้าคณะอ�าเภอน�้าเกลี้ยง/เจ้าอาวาสวัดจินดาราม
118
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา เมือ่ ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๓๒ ผูน้ าํ หมูบ่ า้ นหนองระไง นําโดยผู้ใหญ่บ้านในสมัยนั้น โดยความเห็นชอบของชาวบ้าน ได้ไปอาราธนาพระอภินันท์ กลฺยาโณ (ซึ่งต่อมา คือ พระครู จินดากัลยาณกิจ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั ) มาอยูจ่ าํ พรรษา และ ได้ถวายการอุปถัมภ์บํารุงด้วยปัจจัย ๔ เป็นอย่างดี นับเป็น โชคดีของชาวบ้านหนองระไงที่ได้พระสงฆ์นักพัฒนาผู้มอบ กายถวายชีวติ เป็นพุทธบูชามาเป็นเนือ้ นาบุญ โดยท่านได้ตงั้ ใจ ประพฤติ ป ฏิ บั ติ ดํ า รงตนตามหลั ก พระธรรมวิ นั ย นํ า พา ญาติโยมสร้างและพัฒนาอารามเรื่อยมาตามลําดับตั้งแต่ต้น โดยเริ่มจากการสร้างเสนาสนะ กุฎีที่พักสงฆ์ที่สําคัญขึ้น จน ได้รับหนังสืออนุญาตให้ตั้งวัดอย่างถูกต้อง เมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๓ ซึ่งเดิมที วัดจินดาราม มีนามว่า วัดท่าวารี หนองระไง ต่อมาจึงได้ปรากฏนามว่า วัดจินดาราม ฐานะเป็น วัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ที่บ้านหนองระไง หมู่ที่ ๗ ตําบลรุ่งระวี อําเภอนํ้าเกลี้ยง จังหวัดศรีสะเกษ ใน เนื้อที่ประมาณ ๒๓ ไร่ เศษ ซึ่งบริจาคโดย นายอํ่า แก้วใส ราษฎรบ้านหนองระไง เมือ่ วันที ่ ๑๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๓ จึงได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เป็นวัดที่ถูกต้องสมบูรณ์ ในทางพระพุทธศาสนา มีเสนาสนะน้อยใหญ่อันประกอบ ไปด้วย ๑. อุโบสถทรงไทยประยุกต์ ๒. กุฎีรับรองและสํานักงานรองเจ้าคณะอําเภอ ๓. กุฎีสงฆ์ ๔. ศาลาการเปรียญ
๕. อาคารศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด ๖. ห้องสมุดและอาคารพิพิธภัณฑ์ ๗. ศาลาโรงครัว ๘. สนามเด็กเล่น ๙. ห้องสุขาสาธารณะ ๑๐. เมรุ ๑๑. ศาลาบําเพ็ญกุศล ๑๒. หอระฆัง ๑๓. กุฎีเจ้าอาวาส นอกจากวัดจินดารามจะมีเสนาสนะน้อยใหญ่สาํ หรับ อยู่จําพรรษา ปฏิบัติศาสนกิจของพระสงฆ์แล้ว ยังมีการปรับ ภูมทิ ศั น์รอบวัดให้มคี วามร่มรืน่ สวยงาม ให้เหมาะแก่การเป็น ที่ตั้งแห่งการบําเพ็ญกุศลและกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา โดยในปัจจุบัน ยังมีการสร้างถาวรวัตถุ คือ ซุ้มประตูและ กําแพงรอบวัดเพิ่มเติมอีกด้วย วัดจินดาราม เป็นวัดทีส่ นับสนุนการศึกษาพระปริยตั ธิ รรม ของพระภิกษุ สามเณร ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของเยาวชน มีการจัดปฏิบตั ธิ รรมและบวชสามเณรภาคฤดูรอ้ นเป็นประจํา ทุก ๆ ปี นับเป็นวัด ๆ หนึ่งที่มีผลงานด้านการพัฒนาดีเด่น และเป็นวัดที่มีชื่อเสียงในจังหวัดศรีสะเกษ โดยเกียรติประวัติ ล่าสุด ในปีที่ผ่านมา วัดจินดารามได้รับการคัดเลือกให้เป็นวัด อุทยานการศึกษาประจําจังหวัดศรีสะเกษ วัดจินดาราม เป็นวัดที่มีสามเณร ป.ธ.๙ ขณะเป็น สามเณร อายุเพียง ๑๙ ปี (นาคหลวง) ซึ่งมีอายุน้อยที่สุดแห่ง กรุงรัตนโกสินทร์ ปัจจุบันคือ พระมหาสันติราษฎร์ ฌานสนฺติ ป.ธ.๙ (นาคหลวง) Ph.d. ประวัติพระครูจินดากัลยาณกิจ ชาติภูมิ พระครูจนิ ดากัลยาณกิจ นามเดิม อภินนั ท์ นามสกุล ยอดอ่อน เกิดเมื่อวันที่ ๒๐ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๐ ณ บ้านหนองแคน ตําบลเมืองจันทร์ อําเภออุทุมพรพิสัย จังหวัด ศรีสะเกษ โยม บิดาชือ่ นายส่วน โยมมารดาชือ่ นางคํา มีพนี่ อ้ ง ร่วมบิดามารดาจํานวน ๖ คน การศึกษา พ.ศ. ๒๕๐๒ จบชัน้ ประถมศึกษาปีท ี่ ๔ ร.ร.บ้านขะยูง "ขะยูงศิลป์ศึกษา" จังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. ๒๕๐๗ จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ร.ร.บุรีรัมย์ วิทยาลัย จังหวัดบุรีรัมย์ การบรรพชา-อุปสมบท บรรพชาและอุปสมบท เมื่อวันที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๒ ณ พัทธสีมาวัดบ้านสบาย ต.รุ่งระวี อ.นํ้าเกลี้ยง จ.ศรีสะเกษ โดยมีพระครูพุทธิธรรมมงคล เป็นพระอุปัชฌาย์
พระครู สุ น ทรธรรโมวาท เป็ น พระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการทองเลื่อน ปริปุณฺโณ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ การด�ารงต�าแหน่งและเลื่อนสมณศักดิ์ - พ.ศ. ๒๕๔๓ เป็นเจ้าอาวาสวัดจินดาราม - พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นพระฐานานุกรม ในพระครูสุทธิธรรมพิทักษ์, ดร. เจ้าคณะอําเภอนํ้าเกลี้ยง ที่นาม พระปลัดอภินันท์ กลฺยาโณ - พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะตําบล นํ้าเกลี้ยง เขต ๑ - พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าคณะตําบลชัน้ โท ในราชทินนาว่า พระครูจินดากัลยาณกิจ เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ - พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งเป็น รองเจ้าคณะอําเภอนํา้ เกลีย้ ง เมือ่ วันที ่ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๒ - พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระอุปัชฌาย์ หนึ่ง ในใต้หล้า ธาตรี หนึ่ง ในปฐพี ใหญ่กว้าง หนึ่ง ศิษย์กตัญญู ครูซึ้ง ใจนา หนึ่ง สันติราษฎร์ชื่อ สุดยอดกตัญญู
วัดจินดาราม นามวิเชียร ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
119
วัดบ้านเขิน
ต�าบลเขิน อ�าเภอน�้าเกลี้ยง จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Ban Khoen
ความเป็นมา วัดบ้านเขิน ปัจจุบันตั้งอยู่ ณ หมู่ที่ ๑๓ ต�าบลเขิน อ�าเภอน�้าเกลี้ยง จังหวัดศรีสะเกษ เป็นวัดที่ตั้งก่อน พ.ศ. ๒๔๗๖ และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ พ.ศ. ๒๕๐๖ สังกัดมหานิกาย
Khoen Subdistrict, Nam Kleaeng District, Sisaket Province
พระมหาธงชัย ฐิตโสภโณ ดร. เจ้าอาวาสวัดบ้านเขิน
120
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
พระพุทธวิริยมหาสิทธิโชค
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
121
วัดสว่างวารีรัตนาราม ต�าบลน�้าเกลี้ยง อ�าเภอน�้าเกลี้ยง จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Sawang Warirattanaram Nam Kloeng Subdistrict, Nam Kloeng District, Sisaket Province
พระครูสุทธิธรรมพิทักษ์
เจ้าคณะอ�าเภอน�้าเกลี้ยง/เจ้าอาวาสวัดสว่างวารีรัตนาราม
122
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดสว่างวารีรตั นาราม เป็นวัดราษฎร์สงั กัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ได้ประกาศตัง้ เป็นวัดขึ้นเมื่อ วันที่ ๒๐ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ตั้งอยู่ ทางทิศใต้ที่ว่าการอ�าเภอน�้าเกลี้ยง เหตุที่ได้นามว่า วัดสว่าง วารีรัตนาราม เพราะตั้งอยู่กี่งกลางระหว่างบ้านสว่างและ บ้านวารีรัตน์ การตั้งชื่อวัดจึงได้เอาชื่อสองหมู่บ้านมารวมกัน เพือ่ ให้ชาวบ้านทัง้ สองหมูบ่ า้ นได้เกิดความสามัคคีกนั เป็นอัน หนึ่งอันเดียวกัน ในสมัยโบราณถึงปัจจุบันการตั้งชื่อวัดนิยม ตัง้ ชือ่ หมูบ่ า้ นและชือ่ สิง่ ของต่าง ๆ ทีน่ มิ ติ ขึน้ ชาวบ้านทัง้ สอง หมู่บ้านเกิดความศรัทธาสนับสนุนให้ความอุปถัมภ์บ�ารุงมา จนถึงปัจจุบันนี้ โดยมีที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๒๑ ไร่กับ ๑ งาน พื้นที่ตั้งเป็นที่ราบลุ่ม รอบ ๆ เต็มไปด้วยป่าไม้ยืนต้นหลาย ชนิด วัดที่มีหลักฐานและมีความมั่นคง มีอุโบสถขนาดกว้าง ๗ เมตร ยาว ๒๑ เมตร วิหารขนาดกว้าง ๓๒ เมตร ยาว ๗๐เมตร มหาเจดีย์พระพุทธปางลีลา ฐานกว้าง ๑๑ เมตร ศาลาหอประชุมคณะสงฆ์อ�าเภอน�้าเกลี้ยง ขนาดกว้าง ๑๑ เมตร ยาว ๒๑ เมตร และส�านักเจ้าคณะอ�าเภอน�้าเกลี้ยง ขนาดกว้าง ๑๑ เมตร ยาว ๑๘ เมตร ปูชนีย์วัตถุที่ส�าคัญ ๑. พระพุทธรูปชินราชประดิษฐานในอุโบสถ ขนาด หน้าตักกว้าง ๓๐ นิ้ว ๒. พระพุทธรูปชินราชประดิษฐานในวิหาร ขนาด หน้าตักกว้าง ๙๐ นิ้ว
เจ้ า พระคุ ณ สมเด็ จ พระญาณสั ง วร สมเด็ จ พระ สั ง ฆราชสกลมหาสั ง ฆปริ น ายก และพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ ๑๐ ได้พระราชทานพระบรมสารีริกธาตุมาประดิษฐานใน พระอุโบสถและวิหาร เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้สักการบูชา เพือ่ ความเป็นสิรมิ งคล และเป็นพุทธานุสรณ์ในการน้อมร�าลึก ถึงพระคุณอันยิ่งใหญ่ของพระพุทธองค์สืบไปในภายภาคหน้า ประวัติพระครูสุทธิธรรมพิทักษ์ ชือ่ พระครูสทุ ธิธรรมพิทกั ษ์ (ดร.หลวงปูว่ ลั ลภ) ฉายา ฐิตธมฺโม อายุ ๖๐ พรรษา ๔๐ วิทยาฐานะ น.ธ.เอก ปริญญา ดุษฎีบัณฑิต (ปริญญาเอก) วัดสว่างวารีรัตนาราม ต�าบลน�้า เกลี้ยง อ�าเภอน�้าเกลี้ยง จังหวัดศรีสะเกษ ปัจจุบันด�ารง ต�าแหน่ง ๑. เจ้าอาวาสวัดสว่างวารีรัตนาราม ๒. เจ้าคณะอ�าเภอน�้าเกลี้ยง ๓. ผูร้ บั ใบอนุญาต / ผูจ้ ดั การโรงเรียนวัลลภราษฎร์บา� รุง (โรงเรียนกลุ่มการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา) บรรพชา วันที ่ ๓๐ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๗ ปีขาล ณ วัดพะแนง ต�าบลจาน อ�าเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ พระอุปัชฌาย์ พระครูสุนทรธรรมสถิต วัดพะแนง ต�าบลจาน อ�าเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ อุปสมบท วันที่ ๒๗ เดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๒๕ ปีจอ ณ วัดกันทรารมณ์ ต�าบลดูน อ�าเภอกันทรารมย์ จังหวัด ศรีสะเกษ พระอุปชั ฌาย์ พระครูกนั ทรารมณ์โกวิท วัดกันทรารมย์ ต�าบลดูน อ�าเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ พระกรรมวาจาจารย์ พระครู ป ระภั ศ รสั ง ฆกิ จ วัดกันทรารมย์ ต�าบลดูน อ�าเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ พระอนุ ส าวนาจารย์ พระชาญรงค์ อิ สิ ญ าโณ วัดกันทรารมย์ ต�าบลดูน อ�าเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ งานสมณศักดิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ได้รับพระราชทานตั้งสมณศักดิ์เป็น พระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะต�าบลชั้นตรีใน
ราชทินนามว่า พระครูสุทธิธรรมพิทักษ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้รบั พระราชทานเลือ่ นชัน้ พระสังฆธิการ เป็นพรพะครูสัญญาบัตร เจ้าคณะอ�าเภอชั้นเอก พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้รบั พระราชทานเลือ่ นชัน้ พระสังฆธิการ เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะอ�าเภอชั้นพิเศษ
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
123
วัดโพธิ์ศรี
ต�ำบลโนนเพ็ก อ�ำเภอพยุห์ จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Pho Si
Nonpek Subdistrict, Phayu District, Sisaket Province
พระครูสุจิตโพธิธรรม รองเจ้าคณะอ�าเภอพยุห์/เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ศรี
124
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดโพธิศ์ รี ตัง้ อยูเ่ ลขที ่ ๙๙ บ้านโพธิศ์ รี หมูท่ ี่ ๕ ต�าบล โนนเพ็ก อ�าเภอพยุห์ จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที ่ ๑๒ ไร่ ๕๓ ตารางวา และมีทดี่ นิ ธรณีสงฆ์ที่ดินบ้านโพธิ์น้อย หมู่ที่ ๕ ต�าบลหนองค้า อ�าเภอ พยุห์ จังหวัดศรีสะเกษ ๔๖ ไร่ ธรณีสงฆ์บ้านโพธิ์-เก่า หมู่ที่ ๔ ต�าบลโนนเพ็ก อ�าเภอพยุห์ จังหวัดศรีสะเกษ ๓ ไร่ เศษ รวมที่ดินทั้งสิ้น ประมาณ ๖๑ ไร่ เศษ โดยสร้างวัด คุณอินตา สุริเตอร์ ได้บริจาคที่ดินพร้อมชาวบ้านโพธิ์ศรี เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๔ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสิมา เมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๘ เสนาสนะประกอบด้วย อุโบสถ, ศาลาการเปรียญ, หอระฆัง, หอกลอง, กุฏิ, เจดียพ์ ระพุทธโพธิศ์ รีธาตุ, เมรุ, ศูนย์เด็กก่อนเกณฑ์, ห้องน�า้ ห้องสุขา, ห้องพัสดุ, ศาลาพักร้อน การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าทีท่ ราบนาม คือ รูปที่ ๑ พระครูเมธีธรรมศาสตร์ พ.ศ. ๒๔๘๘ - ๒๕๐๑ รูปที่ ๒ เจ้าอธิการนูญ สิริปญฺโญ พ.ศ. ๒๕๐๒ - ๒๕๒๙ รูปที ่ ๓ พระอธิการฝัน่ ปสนฺนจิตโฺ ต พ.ศ. ๒๕๓๑ - ๒๕๔๐ รูปที่ ๔ พระครูสุจิตโพธิธรรม พ.ศ.๒๕๔๒ - ถึงปัจจุบัน ทางด้านการศึกษา - มีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปิดสอน เมื่อ พ.ศ.๒๔๘๘
- มีศนู ย์เด็กก่อนเกณฑ์ในวัด เปิดสอนเมือ่ พ.ศ. ๒๕๓๖ - มีห้องสมุด - มีพิพิธภัณฑ์ - มีหอกระจายข่าว และห้องกระจายเสียง - มีอทุ ยานการเรียนรู ้ หมูบ่ า้ นศีล ๕ ตามรอยพ่ออย่าง พอเพียง แหล่งท่องเที่ยวเชิงศาสนา วัฒนธรรม และตลาดนัด ชุมชน - มีอุทยานการศึกษาในวัด ทางด้านการท่องเที่ยว - สักการะบูชาองค์พระประทาน ปางชินราช ในโรง อุโบสถ ( โบสถ์ ) - สักการะธาตุเจดีย์พระครูเมธีธรรมศาสน์ - สักการะองค์พระสิวลี - สักการะสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมร�สี) พระบรมสารีรกิ ธาตุ ในพระเจดีย ์ พุทธโพธิศ์ รีธาตุกลางสระน�า้ - ท�าบุญให้อาหารปลาในสะพานบุญ พระครูสุจิตโพธิธรรม ฉายา สุจิตฺโต น.ธ.เอก, พธ.บ. ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ศรี และรองเจ้าคณะอ�าเภอพยุห์
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
125
วัดเวฬุวันธรรมาราม ต�าบลพยุห์ อ�าเภอพยุห์ จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Weruwan Thammaram Phayu Subdistrict, Phayu District, Sisaket Province
หลวงปู่อุดมทรัพย์ สิริคุตโต เจ้าอาวาสวัดเวฬุวันธรรมาราม หลวงปู่อุดมทรัพย์ (พระอาจารย์จ่อย สิริคุตโต) ชาติภูมิและอุปสมบท ณ บ้านหนองหล่ม อ�าเภอวัฒนานคร จังหวัด สระแก้ว ในวันศุกร์ที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๐๓ ใน ครอบครัวของพ่อลี - แม่ตุ่น สว่างกุล ได้ก่อก�าเนิดลูกชาย คนที่ ๙ จากจ�านวนทั้งหมด ๑๐ คน เด็กคนนี้มีรูปร่างเล็ก กว่าลูกคนอื่น ๆ พ่อจึงได้ตั้งชื่อว่า จ่อย ซึ่งเป็นภาษาอีสาน หมายถึงผอมแห้ง เด็กชายจ่อยได้เป็นก�าลังส�าคัญของ
126
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ครอบครัวด้วยการช่วยท�างานทุกอย่างเหมือนดั่งเด็กโต ใน ยามว่างสิ่งหนึ่งที่เป็นกิจวัตรประจ�าวันของเด็กชายจ่อยคือ ชอบไปนั่งคุยกับพระที่วัด ถามถึงเรื่องบาปบุญว่ามีจริงไหม บาปอยู่ที่ไหน บุญอยู่ที่ใด เป็นค�าถามที่พระในวัดมักจะถูก ถามอยูเ่ สมอ ๆ ซึง่ พระในวัดท่านก็ตอบว่า ถ้าอยากรูว้ า่ บาป บุญมีจริงไหม ก็ลองมาบวชดูแล้วจะรู้ ค�าตอบที่พระท่านตอบมาท�าให้ในวันนั้นเด็กชาย จ่อยฝังใจในการหาค�าตอบ พอเริ่มโตเป็นวัยรุ่นจึงได้ไปขอ อนุญาตพ่อแม่วา่ บัดนีค้ รอบครัวก็เป็นปึกแผ่นแล้ว อยาก จะออกบวชเรียน เพื่อศึกษาหาค�าตอบที่สงสัยมานาน เมื่อพ่อแม่ได้ฟังดังนั้นก็ยินดีอนุโมทนาอนุญาตให้บวชเป็น สามเณรในปี พ.ศ. ๒๕๒๒ ณ วัดบ้านด่าน จนอายุครบบวช ในปี พ.ศ. ๒๕๒๓ จึงได้อุปสมบทเป็นเป็นพระภิกษุสงฆ์ ณ วัดบ้านด่าน ต.เกาะลอย อ.ประจันตคาม จ.ปราจีนบุรี และ ได้รับฉายาว่า สิริคุตฺโต อันมีความหมายถึง ผู้มีสิริคุ้มครอง หลังจากอุปสมบทพระอาจารย์จอ่ ยก็ออกธุดงค์ เพือ่ แสวงหา ธรรม และได้เรียนวิชาอาคมกับเกจิอาจารย์หลายรูป และ ได้รา�่ เรียนวิชา ปลัดคลิกกับหลวงพ่อยิด และสร้างบารมีชอื่ เสียง หลวงปู่หมุน ฐิตสีโล จนโด่งดัง ท่านจึงได้เรียนถามหลวงปู่ หมุน ฐิตสีโล ไปว่าหลวงปูบ่ วชมาก้นานแล้ว ท�าไมไม่ดงั สักที หลวงปู่หมุน ฐิตสีโล จึงตอบกับมาว่า ไม่เจอคู่บุญก็ดังไม่ได้ นี้คือประวัติความเป็นมาของครูบาอาจารย์ทั้ง ๒ ผลบุญ ท�าให้มาพบกัน และหลวงปู่หมุน ฐิตสีโล จึงได้ท�านายไว้ว่า หลวงปู่อุดมทรัพย์ สิริคุตโต จะสืบทอดวิชาอาคม จากเรา จะดังไปยังเมืองแมน ที่มาของค�าว่า ๑ บ่มี ๒ และยังมีพระ เกจิอีกมากมายที่ไม่ได้เอ่ยชื่อลือนาม ปัจจุบันพระอาจารย์ จ�าวัดอยู่ที่วัดเวฬุวันธรรมาราม หลวงปู่อุดมทรัพย์ สิริคุตโต วัดเวฬุวันธรรมาราม ทายาทเอกพุทธาคม หลวงปูห่ มุน หลวงปูล่ ะมัย หลวงปูส่ รวง ครูบาเทีย่ งธรรม โดยหลวงปูค่ รูบาเทีย่ งธรรม โชติธมั โม เป็น เจ้าอาวาสองค์เก่า
วัดไพรพัฒนา
ต�าบล ไพรพัฒนา อ�าเภอภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Phrai Phatthana
Phrai Phatthana Subdistrict, Phu Sing District, Sisaket Province
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
127
ญ ุ บ ง า ท น ้ เส ทำงธรรม วัด เส้น
ณ ร ร ว ุ ส ี ร ศ ์ ิ ธ �อำเภอโพ
วัดบ้านอีเซ ต.อีเซ
128
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
วัดป่าโพธิ์ศรีสุวรรณ ต.เสียว วัดบ้านสามขา ต.เสียว
วัดบ้านผือ ต.ผือใหญ่
วัดปลาเดิด ต.โดด วัดป่าฝางวราราม ต.โดด
วัดหนองหงอก ต.โดด
วัดบ้านโดด ต.โดด วัดหนองกกยูง ต.โดด
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
129
วัดบ้านโดด
ต�าบลโดด อ�าเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Ban Dod
Dod Subdistrict, Pho Si Suwan District, Sisaket Province
พระครูสุจิตโพธาลังการ เจ้าคณะอ�าเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ/เจ้าอาวาสวัดบ้านโดด
130
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดบ้านโดด ตัง้ เมือ่ ประมาณ พ.ศ. ๒๓๕๘ ตัง้ อยูเ่ ลขที ่ ๑ บ้านโดด หมูท่ ี่ ๒ อ�าเภอโพธิศ์ รีสวุ รรณ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาอุโบสถหลังใหม่ เมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๓๔ ทีด่ นิ ทีต่ งั้ วัดมีเนือ้ ที ่ ๑๑ ไร่ ๑ งาน ๕๐ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือ จดทุ่งนาชาวบ้าน ทิศใต้ จดหมู่บ้าน ทิศตะวันออก จดทุ่งนาชาวบ้าน ทิศตะวันตก จดทางสาธารณะ มีธรณีสงฆ์จา� นวน ๑ แปลง มีเนือ้ ที ่ ๒ ไร่ ๗๒ ตารางวา อาคารศาสนสถาน อุโบสถ ๑ หลัง สร้างใหม่เมือ่ พ.ศ. ๒๕๒๓ และสร้าง เสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ศาลาการเปรียญกว้าง ๑๖ เมตร ยาว ๒๔ เมตร สร้างเมื่อปี ๒๕๑๒ อาคารเสนาสนะ กุฏิสงฆ์ ๓ หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกไม้ ๒ หลัง และ อาคารคอนกรีต ๑ หลัง สร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๖ รายนามเจ้าอาวาส ดังนี้ ๑. พระครูศรี ๒. พระครูโพธิ์ ๓. พระครูศิลา
๔. พระครูธรรม ๕. พระบัวไข ปี พ.ศ. ๒๔๗๐ - ๒๔๗๓ ๖. พระท้าว ปี พ.ศ. ๒๔๗๔ ๗. พระสุวรรณ ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ๘. พระลออ ปี พ.ศ. ๒๔๗๗ - ๒๔๘๖ ๙. พระอาจารย์บุญมี ปี พ.ศ. ๒๔๘๗ - ๒๕๐๖ ๑๐. พระจันทา กนฺตสีโส ปี พ.ศ. ๒๕๐๗ - ๒๕๑๙ ๑๑. พระอธิการทอง สิรจิ นฺโท ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ - ๒๕๔๐ ๑๒. พระครูสุจิตโพธาลังการ ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ถึง ปัจจุบนั ปัจจุบนั ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าคณะอ�าเภอ โพธิ์ศรีสุวรรณ
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
131
ประวัติโรงเรียนโพธิ์ศรีวิทยา โรงเรียนตามตามโครงการพระราชด�าริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประวัติการก่อตั้ง โรงเรียนพระปริยัติธรรมโพธิ์ศรีวิทยา ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยเจ้าอธิการ สุรศักดิ ์ สุจติ โฺ ต (พรมสาร) (พระครูสจุ ติ โพธา ลังการ) เป็นผู้จัดตั้ง ปัจจุบนั มีการจัดการเรียนการสอนภาคปกติ สายสามัญศึกษา ซึง่ เปิดท�าการเรียนการสอนตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นต้นมา โดยมีพระครู สุจิตโพธาลังการ เจ้าอาวาสวัดบ้านโดด เป็นผู้จัดการ พระครูประสิทธิ คุณวัฒน์ เป็นผู้อ�านวยการโรงเรียน มีบุคลากร รวมจ�านวน ๑๔ รูป/คน นักเรียนมีจ�านวน 71 รูป/คน โรงเรียนโพธิ์ศรีวิทยา ตั้งอยู่บริเวณวัดบ้านโดด เลขที่ ๑ หมู่ ๒ ต�าบลโดด อ�าเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ จังหวัดศรีสะเกษ เนื้อที่บริเวณวัดมี เนื้อที่ทั้งหมด ๑๒ ไร่ ๑ งาน ๕๐ ตารางวา วัตถุประสงค์การก่อตั้งโรงเรียน ส�านักเรียนวัดบ้านโดดเป็นส�านักเรียนโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม ทั้งแผนกสามัญศึกษา คือเรียนตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ และ ทั้งแผนกธรรม - บาลี ผู้ที่จะเรียนในโรงเรียนนี้ต้องจบนักธรรมชั้นเอก และบาลีตามความสามารถ โดยรับสมัครพระภิกษุ-สามเณร ทัว่ ประเทศ ซึ่งจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ และต้องการศึกษาต่อแต่ขาดทุนทรัพย์ และเปิดโอกาสให้แก่ผดู้ อ้ ยโอกาสทางการศึกษาได้มโี อกาสศึกษาต่อ ทัง้ วิสัยทัศน์ ผู้เรียนมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาขั้น ได้ศกึ ษาพระธรรมวินยั ควบคูก่ นั ไปด้วย เมือ่ พระภิกษุ - สามเณรเหล่านัน้ ลาสิกขาบท จะได้น�าความรู้คู่คุณธรรมไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ ประกอบ พื้นฐาน มีความรู้คู่คุณธรรม การบริหารจัดการ เน้นการกระจาย อ�านาจ มีการตรวจสอบถ่วงดุล ครูมีความรู้ความสามารถ อาชีพได้ ในการใช้เทคโนโลยีเป็นสื่อการสอน และสร้างศาสนทายาท ปรัชญา สุวิชาโน ภว� โหติ. ผู้รู้ดี เป็นผู้เจริญ ค�าขวัญ เรียนดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม น�าศาสนา พัฒนาสังคม ที่ดี สนองงานตามพระราชด�าริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อัตลักษณ์ อ่อนน้อมถ่อมตน เอกลักษณ์ นุ่งห่มเป็นปริมณฑล 132
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
133
วัดป่าโพธิ์ศรีสุวรรณ
(สาขาที่ ๑๖๖ วัดหนองป่าพง) ต�าบลเสียว อ�าเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Pa Pho Si Suwan (Branch 166, Wat Nong Pa Phong) Siao Subdistrict, Pho Si Suwan District, Sisaket Province
พระครูโสตถิธรรมวงศ์ (สวัสดิ์ ติสฺสวํโส)
ความเป็นมาของวัด วัดป่าโพธิศ์ รีสวุ รรณ เป็นอีกสาขาหนึง่ ของวัดหนองป่าพง ที่ ๑๖๖ ชื่อที่ชาวบ้านคุ้นเคยเรียกกันว่า ป่าโคกเพ็ก ตั้งอยู่ เลขที่ ๙๕ หมู่ที่ ๖ ต�าบลเสียว อ�าเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ จังหวัด ศรีสะเกษ เดิมมีต้นเพ็กขึ้นมามากในป่าแห่งนี้ เริ่มมีพระ กัมมัฏฐานเข้ามาปักกลด มีชื่อว่า ๑. หลวงพ่อศรี กตปุญโญ เริม่ พ�านักปักกลดปี พ.ศ. ๒๕๑๖ - ๒๕๑๘ ก็หลีกไป ๒.หลวงพ่อ เสรี วรธัมโม มารับช่วงต่อปี ๒๕๑๙ - ๒๕๓๐ ก็จาริกไปอื่น อีกตามธรรมเนียมของพระป่า ๓. หลวงพ่อกัณหา สิรสิ าโร รูปนี้ ท่ า นอยู ่ พ� า นั ก สื บ สานจนถึ ง แก่ ม รณภาพลงเมื่ อ วั น ที่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ จึงเป็นเหตุให้ทพี่ กั สงฆ์แห่งนีว้ า่ งจาก พระอีกวาระหนึง่ คณะญาติโยมได้ปรึกษาหารือกันว่า สมควร ที่จะน�าผืนป่าแห่งนี้หรือที่พักสงฆ์แห่งนี้ได้ไปถวายให้กับ หลวงพ่อเลีย่ ม ฐิตธัมโม เจ้าอาวาสวัดหนองป่าพง เพือ่ ให้พระ ได้มาดูแลรักษาป่าแห่งนี้ไว้ ถ้าไม่อย่างนั้นป่าไม้คงไม่เหลือไว้ ให้ลกู หลานได้ความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ หลวงพ่อเลีย่ ม ท่านเมตตารับที่พักสงฆ์แห่งนี้ไว้ และได้มอบให้กับหลวงพ่อ วิจิตร อภิปุญโญ เจ้าอาวาสวัดห้วยแถลง ต�าบลห้วยแถลง
เจ้าอาวาสวัดป่าโพธิ์ศรีสุวรรณ ปี ๒๕๓๙ ถึงปัจจุบัน
ต้นหญ้าเพ็ก 134
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
อ�าเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา อีกทอดหนึง่ ชึง่ ขณะนัน้ พระอาจารย์สวัสดิ์ ติสฺสว�โส อยู่ศึกษาเป็นลูกศิษย์ของหลวง พ่อวิจติ ร อภิปญ ุ โญ ในช่วงนัน้ หลวงพ่อวิจติ ร ก็ได้มอบให้พระ อาจารย์สวัสดิ์ ติสสฺ ว�โส มาน�าพาญาติโยมพัฒนาวัดตัง้ แต่ปลายปี พ.ศ. ๒๕๓๙ จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้รับหนังสืออนุญาติให้ สร้างวัด ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน และปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้รับ ประกาศตั้งวัดขึ้นในพระพุทธศาสนามีนามว่า วัดป่าโพธิ์ศรี สุวรรณ เมือ่ วันที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๖ และเมือ่ วันที่ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดป่า โพธิศ์ รีสวุ รรณ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา ในปีเดียวกันวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ พระอธิการสวัสดิ์ ได้รบั ตัง้ สมณศักดิส์ ญ ั ญาบัตรพัดยศ ในราชทินนาม ที่ พระครู โสตถิธรรมวงศ์ ท่านได้น�าพาญาติโยมทั้งใกล้และไกลร่วมกัน พัฒนาวัตถุและพัฒนาจิตใจไปพร้อม ๆ กันเพราะวัดป่าโพธิศ์ รี สุ ว รรณ ได้ ด� า เนิ น ตามรู ป แบบของพระเดชพระคุ ณ พระโพธิญาณเถร (หลวงปู่ชา สุภัทโท แห่งวัดหนองป่าพง ตราบเท่าทุกวันนี้
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
135
วัดบ้านสามขา
ต�าบลเสียว อ�าเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Ban Sam Kha
Siao Subdistrict, Pho Si Suwan District, Sisaket Province
พระครูโพธิสัจจารักษ์ เจ้าอาวาสวัดบ้านสามขา
136
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดบ้านสามขา ได้ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๒ และได้ รับวิสุงคามสีมาในวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๕ เดิมตั้งอยู่ที่บ้านสามขา หมู่ที่ ๓ ต�าบลเสียว อ�าเภอ อุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ (ปัจจุบันเป็นอ�าเภอโพธิ์ศรี สุวรรณ) ต่อมาได้ยา้ ยจากทีเ่ ดิมมาตัง้ อยูท่ บี่ า้ นสามขา หมูท่ ี่ ๖ ต�าบลเสียว อ�าเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ จังหวัดศรีสะเกษ ในปี พ.ศ. ๒๔๖๒ ได้รับวิสุงคามสีมา ปี พ.ศ. ๒๔๖๕ สาเหตุที่ย้ายมี ผูเ้ ฒ่าอายุ ๘๐ ปี ได้เล่าว่าแผ่นดินทีต่ งั้ วัดได้แตกแยกออจากกัน เป็นรอยยาวและลึก เหตุเช่นนีค้ นโบราณถือคติวา่ เป็นเหตุไม่ดี หมู่บ้านจะอยู่ไม่ร่มเย็นเป็นสุข ผู้คนจะเจ็บป่วยล้มตาย ด้วย เหตุนี้จึงได้ย้ายจากสถานที่เดิมมาตั้งทางทิศเหนือประมาณ ๑๐๐ เมตร วัดบ้านสามขา เป็นวัดราษฎร์ สังกัดมหานิกาย มีเนื้อที่ ๕ ไร่ ๓ งาน ๔๑ ตารางวา
วัดมีพระสงฆ์ปกครองเป็นจ้าวอาวาสมาตามล�าดับ ดังนี้ ๑. หลวงพ่ออุปชั ฌาย์บญ ุ มา ธมฺโชโต (บุญมาเกษศิร)ิ ๒. หลวงพ่อพันธ์ สุมโน (พันธ์ บุญยอด) ๓. หลวงพ่อเนียม (เนียม สมาร์) ๔. หลวงพ่อโสม (โสม สมาร์) ๕. หลวงพ่อทัด กลฺยาโณ (ทัด บุญพูล) ๖. พระบุญจันทร์ กลฺยาโณ รก. (บุญจันทร์ จันทร์เพ็ง) ๗. พระครูวิมลธีรคุณ (สุภีร์ ธีรว�โส, สมศรี) ๘. พระครูโพธิสัจจารักษ์ (ส่ง สจฺจวโร จันทร์อินทร์) เป็นเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๕๔๔ ถึง ปัจจุบัน แต่ละปีมีพระภิกษุ จ�าพรรษา ๘ - ๑๐ รูป
วัดได้พฒ ั นาหลาย ๆ ด้านให้เป็นวัดทีส่ มบูรณ์ ท�าให้ สาธุชนเกิดศรัทธาเข้ามาสูว่ ดั เพือ่ บ�าเพ็ญบุญและปฏิบตั ธิ รรม เสนาสนะ ๑. อุโบสถหลังเก่า รับวิสุงคามสีมาปี พ.ศ. ๒๔๖๕ ท�าการรื้อถอนปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ๒. ศาลการเปรียญหลังเก่าสร้างปี พ.ศ. ๒๕๑๔ มี หลวงพ่อพันธ์ สุมโน เป็นผู้น�าพาการก่อสร้าง รื้อถอนปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ๓. อุโบสถหลังใหม่ สร้างในสถานที่เดิมของอุโบสถ หลังเก่า สร้างปี พ.ศ. ๒๕๒๙ โดยมีหลวงพ่อพันธ์ สุมโน เป็น ประธานน�าพาก่อสร้างผูกพัทธสีมาปี พ.ศ. ๒๕๓๒ โดยใช้ วิสุงคามสีมาเดิม
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
137
๔. ศาลาการเปรียญหลังใหม่ สร้างในสถานที่เดิม ของศาลาเก่า เริ่มก่อสร้างปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ปัจจุบันยังไม่เสร็จ โดยมีพระครูโพธิสัจจารักษ์ เป็นประธานการก่อสร้าง ๕. กุฎอี นุสรณ์พระครูวมิ ลธีรคุณ สร้างปี พ.ศ. ๒๕๔๓ ถาวรวัตถุ ๑. พระประธานในอุโบสถ ปางมารวิชัยองค์ใหญ่ สร้างปี พ.ศ. ๒๕๓๒ ๒. พระประธานในอุโบสถ ปางมารวิชัยองค์เล็ก สร้างในปี พ.ศ. ๒๔๗๑ ๓. พระประธานในศาลาการเปรียญ พระพุทธชิน ราช ปางมารวิชัย สร้างในปี พ.ศ. ๒๕๕๙
138
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
139
วัดบ้านผือ
ต�าบลผือใหญ่ อ�าเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Ban Phue
Phue Yai Subdistrict, Pho Si Suwan District, Sisaket Province
เจ้าอธิการคุณากร ฐิตปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดบ้านผือ
140
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดเริ่มก่อตั้งปี พ.ศ. ๒๔๖๘ และได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๕ การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสมาแล้วทั้งสิ้น จ�านวน ๘ รูป ล�าดับที่ ๑ พระโพธิ์ สิริวณฺโณ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๘๓ ถึง พ.ศ.๒๔๙๐ ล�าดับที่ ๒ พระบุญมา เขมิโก ตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๙๑ ถึง พ.ศ.๒๔๙๖ ล�าดับที่ ๓ พระยม อานนฺโท ตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๙๗ ถึง พ.ศ.๒๕๐๐ ล�าดับที่ ๔ พระครูโสภณสังวรคุณ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๙๗ ถึง พ.ศ.๒๕๓๒ ล�าดับที่ ๕ พระครูอุดมปัญฺณารักษ์ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๓๓ ถึง พ.ศ.๒๕๓๕ ล�าดับที่ ๖ พระครูโกศลปิยกิจ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๓๖ ถึง พ.ศ.๒๕๕๗
ล�าดับที่ ๗ เจ้าอธิการคุณากร ฐิตปญฺโญ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๕๗ ถึงปัจจุบัน อาคารเสนาสนะ - ณาปนสถาน ๑ หลัง - หอระฆัง ๑ หลัง - หอกลอง ๑ หลัง - โรงครัว ๑ หลัง - โรงพัสดุ ๑ หลัง - เรือนรับรอง ๑ หลัง ปูชนียวัตถุ ประกอบด้วย พระประธานประจ�าอุโบสถ กว้าง ๒๒ นิ้ว ยาว ๓๔ นิ้ว เจดีย์บรรจุอัฐิหลวงพ่อพระครูโสภณสังวรคุณและพระ ประธานหลวงพ่อองค์ค�า ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา วัน ที่ ๕ เดือน ธันวาคม พ.ศ.๒๕๐๕ เขตวิสุงคาม กว้าง ๑๗ เมตร ยาว ๒๖ เมตร
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
141
วัดบ้านอีเซ
ต�าบลอีเซ อ�าเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Ban Ise
Ise Subdistrict, Pho Si Suwan District, Sisaket Province
พระครูสุวรรณโพธาภิรักษ์ เจ้าอาวาสวัดบ้านอีเซ
142
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดบ้านอีเซ ตั้งอยู่บ้านเลขที่ ๖๐ หมู่ที่ ๕ ต�าบลอีเซ อ� า เภอโพธิ์ ศ รี สุ ว รรณ จั ง หวั ด ศรี ส ะเกษ สั ง กั ด คณะสงฆ์ มหานิกาย ภาค ๑๐ (พระพรหมสิทธิเป็นเจ้าคณะภาคปัจจุบนั ) มีเนื้อที่ทั้งหมด ๗ ไร่ ๑ งาน ๘๑ ตารางวา ทิศเหนือ จดทุ่งนาชาวบ้าน ทิศใต้ จดหมู่บ้าน ทิศตะวันออก จดทุ่งนาชาวบ้าน ทิศตะวันตก จดทางหลวงชนบท ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๓ ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ ๑๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๕
งานการปกครอง มีพระสังฆาธิการระดับเจ้าอาวาสเท่าทีไ่ ด้รบั ค�าบอกเล่า จากบุคคลส�าคัญของหมู่บ้านที่เล่าต่อๆกันมามีดังนี้ ๑. พระอาจารย์ลา สีลคุตฺโต ๒. พระอาจารย์เสน ปญฺญาวโร ๓. พระอาจารย์จันทา จนฺทว�โส ๔. พระอาจารย์หน่วย สุธมฺโม ๕. พระอาจารย์หนู โอภาโส ๖. พระครูอาทรอรรถกิจ (ปี ถิรคุโณ ) พ.ศ. ๒๔๙๑ - ๒๕๒๕ ๗. พระครูพิมลญาณโสภิต (สมบูรณ์ ญาณวีโร) พ.ศ. ๒๕๒๖ - ๒๕๓๙
๘. พระอธิการสมิตร กมโล พ.ศ. ๒๕๔๒- ๒๕๔๕ ๙. พระครูสุวรรณโพธาภิรักษ์ (ทองมา ฐตวณฺโณ) พ.ศ. ๒๕๔๖ - ปัจจุบัน
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
143
144
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
145
วัดหนองหงอก
ต�ำบลโดด อ�ำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Nong Ngok
Dod Subdistrict, Pho Srisuwan District, Sisaket Province
พระมหาสุชาติ ฐานิสฺสโร เจ้าอาวาสวัดหนองหงอก
146
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดหนองหงอก ตัง้ เมือ่ ประมาณ พ.ศ. ๒๔๒๔ ตัง้ อยู่ เลขที๕่ ๗ บ้านหนองหงอก หมู่ที่ ๔ ต�าบลโดด อ�าเภอโพธิ์ศรี สุวรรณ จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาอุโบสถหลังใหม่ เมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๘ ไร่ ๓ งาน ๒๘ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือ จรดถนนสาธารณะและหนองน�้า ทิศใต้ จรดถนนสาธารณะและทุ่งนา ทิศตะวันออก จรดถนนสาธารณะและหมู่บ้าน ทิศตะวันตก จรดถนนสาธารณะและโรงเรียน อาคารศาสนสถาน ประกอบด้วยอุโบสถหนึง่ หลังสร้างเมือ่ พ.ศ. ๒๕๓๕ ในสมัยพระอธิการสูรย์ ฐานุตตฺ โม เป็นเจ้าอาวาสโดยมีศรัทธา สาธุชนร่วมกันบริจาคปัจจัยในการก่อสร้างจนแล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ศาลาการเปรียญ ๑ หลังกว้าง ๑๘ เมตรยาว ๓๐ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๒ ออกแบบและดูแลการก่อสร้าง โดยพระอธิการสูรย์ ฐานุตฺตโม
อาคารเสนาสนะ มีกุฎิสงฆ์ ๑๑ หลัง เป็นอาคารตึกครึ่งไม้ ๓ หลัง กุฎิ ไม้ ๘ หลั ง โดยมี ศ รั ท ธาสาธุ ช นร่ ว มกั น สร้ า งมาตามล� า ดั บ สิ้นค่าก่อสร้างจ�านวนเงินประมาณ ๒,๕๐๐,๐๐๐ บาท ปูชนียวัตถุ มีพระพุทธรูปเก่าคูห่ มูบ่ า้ นและชุมชนศักดิส์ ทิ ธิ์ นามว่า หลวงพ่อสายฝน และพระพุทธรูปองค์ใหญ่ หน้าตักกว้าง ๕ เมตร สูง ๑๓ เมตร พระนามว่า สมเด็จพระศรีสุวรรณมหามุนี (หลวงพ่อขาวศักดิ์สิทธิ์) ด�าเนินการปั้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยการอุปถัมภ์ของนายแสวง - นางวรรณภา เสน่ห์พูด และ ศรัทธาสาธุชน ปัจจุบนั พระมหาสุชาติ ฐานิสสฺ โร (คุณสิงห์) ป.ธ.๔, น.ธ.เอก ต�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส รายนามผู้ที่ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส ดังนี้ รูปที่ ๑ พระอธิการจันทร์ รูปที่ ๒ พระอธิการเพ็ง รูปที่ ๓ พระอธิการสา รูปที่ ๔ พระอธิการเนาว์ รูปที่ ๕ พระอธิการยอด รูปที่ ๖ พระอธิการเปลี่ยน รูปที่ ๗ พระมหาจันทร์ รูปที่ ๘ พระอธิการไหล รูปที่ ๙ พระอธิการสูรย์ ฐานุตตฺ โม พ.ศ. ๒๕๒๐ - ๒๕๓๙ รูปที่ ๑๐ พระอธิการจันทร์ ปภากโร พ.ศ. ๒๕๔๐ - ๒๕๔๙ รูปที่ ๑๑ พระอธิการเพิม่ สุเมโธ พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๑ รูปที่ ๑๒ พระอธิการสา สิรจิ นฺโท พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ รูปที่ ๑๓ พระมหาสุชาติ ฐานิสสฺ โร พ.ศ. ๒๕๕๔ - ปัจจุบนั
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
147
วัดป่าฝางวราราม ต�าบลโดด อ�าเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Pa Fang Wararam
Dod Subdistrict, Pho Si Suwan District, Sisaket Province
พระครูสุจิตวรานุกูล หัวหน้าที่พักสงฆ์ป่าฝาง
148
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา ทีพ่ กั สงฆ์ปา่ ฝาง ตัง้ อยูท่ ตี่ า� บลโดด อ�าเภอโพธิศ์ รีสวุ รรณ จังหวัดศรีสะเกษ ๓๓๑๒๐ ตั้งขึ้นเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 11 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๔๓ ตรงกับวันขึ้น ๙ ปีมะโรง ได้มี นายสอน เกษศิริ เป็นผู้ใหญ่บ้านในสมัยนั้น ได้น�าพาพี่น้อง ชาวบ้านป่าฝาง บ้านหนองบวบ ได้กอ่ สร้างศาลาขึน้ หนึง่ หลัง และกุฎีสงฆ์พร้อมกับมี พระสาลี สีลเตโช ได้มาจ�าพรรษาใน ปีแรกของการก่อตั้งที่พักสงฆ์แห่งนี้ขึ้น และมีพระท�านอง กตปุณโญ เป็นผู้น�าคหบดีจากกรุงเทพฯ มาสมทบจนถึง ปัจจุบัน หัวหน้าที่พักสงฆ์ป่าฝาง ๑. พระสาลี สีลเตโช พ.ศ. ๒๕๔๓ - ๒๕๔๘ ๒. พระปลัดสุระเกียรติ สุจิตฺโต พ.ศ. ๒๕๔๘ - ๒๕๖๐ ๓. พระครูสจุ ติ วรานุกลู พ.ศ. ๒๕๖๑ - ถึงปัจจุบนั
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
149
วัดปลาเดิด
ต�าบลโดด อ�าเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Pla Doet
Dod Subdistrict, Pho Si Suwan District, Sisaket Province
พระครูประสิทธิคุณวัฒน์ เจ้าคณะต�าบลโดด / เจ้าอาวาสวัดปลาเดิด
150
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา ตัง้ อยูเ่ ลขที่ ๕ หมู่ ๑๗ ต�ำบลโดด อ�ำเภอโพธิศ์ รีสวุ รรณ จังหวัดศรีสะเกษ ๓๓๑๒๐ (เมื่อก่อน ซื่อว่ำ วัดบ้ำนปลำเดิด) ตั้งอยู่เลขที่ ๑ หมู่ ๘ ต�ำบลโดด อ�ำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัด ศรีสะเกษ เลขที่อนุญำตให้สร้ำงวัด ๐๔๓๓๒๑๐๑๐๐๖ ตั้ ง เมื่ อ วั น ที่ ๘ เดื อ นมี น ำคม พ.ศ. ๒๓๖๙ และได้ รั บ พระรำชทำนวิสงุ คำมสีมำ เมือ่ วันที่ ๓๐ เดือนกุมภำพันธ์ พ.ศ. ๒๔๑๑ นำยสุรพล ชำลีกลุ ผูช้ ว่ ยศึกษำธิกำรอ�ำเภออุทมุ พรพิสยั ผูบ้ นั ทึก หนังสือทำงรำชกำร บริเวณวัดมีเนื้อที่ ๑๓ ไร่ ๒ งำน ล�าดับเจ้าอาวาส รูปที่ ๑ ญำคูสี พ.ศ. ๒๓๖๘ - ๒๓๘๔ รูปที่ ๒ หลวงปู่บุญ พ.ศ. ๒๓๘๔ - ๒๓๙๕ รูปที่ ๓ หลวงปู่เกษ พ.ศ. ๒๓๙๖ - ๒๔๕๑ รูปที่ ๔ หลวงปู่อุปัชฌำย์อินทร์ ฉำยำ อินฺทวีโร (นำมสกุล เกษศิริ) พ.ศ. ๒๔๕๒ - ๒๔๘๖ รูปที่ ๕ หลวงปู่อุปัชฌำย์บุญมำ ฉำยำ ธมฺมโชโต (นำมสกุล เกษศิริ) พ.ศ. ๒๔๘๗ - ๒๔๘๘ เป็นเจ้ำอำวำสวัดสำมขำ ต�ำบลเสียว และ เป็นรักษำกำรแทนเจ้ำอำวำสวัดปลำเดิด รูปที่ ๖ พระครูสุภัทรธรรมำภรณ์ พิลำ สุภทฺโท (นำมสกุล เกษคิริ) พ.ศ. ๒๔๘๘ - ๒๕๓๙ ประวัติพระครูสุภัทรธรรมาภรณ์ - อุปสมบทเมื่อวันที่ ๒๖ เมษำยน พ.ศ. ๒๔๘๒ ณ พัทธสีมำวัดสำมขำ
- ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ ำ อำวำสเมื่ อ วั น ที่ ๔ กรกฎำคม พ.ศ. ๒๔๘๘ - ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้ำคณะต�ำบลโดด วันที่ ๗ สิงหำคม พ.ศ. ๒๔๘๘ - เป็ น พระอุ ป ั ช ฌำย์ เมื่ อ วั น ที่ ๑๘ กุมภำพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๖ - ได้เป็นพระครูสัญญำบัตรเจ้ำคณะต�ำบล ชั้นตรี วันที่ ๕ ธันวำคม พ.ศ. ๒๕๒๔ - ได้เลื่อนขั้นพระสังฆำธิกำร ต�ำแหน่ง พระครูเจ้ำคณะต�ำบลชัน้ ตรี เป็นชัน้ โท วันที่ ๕ ธันวำคม พ.ศ. ๒๕๓๖ - มรณภำพ วันที่ ๔ กันยำยน พ.ศ. ๒๕๓๙ รูปที่ ๗ พระอธิกำรเอีย่ ม ฉำยำ จนฺทสโร (นำมสกุลเดิม สุกเหลือง) พ.ศ. ๒๕๓๙ - ๒๕๔๖ รูปที่ ๘ พระครูประสิทธิคุณวัฒน์ (สัมฤทธิ์ อธิวโร นำมสกุล บุญเลิศ) พ.ศ.๒๕๔๖ - ปัจจุบัน ประวัติพระครูประสิทธิคุณวัฒน์ - อุปสมบทเมื่อวันที่ ๖ กรกฎำคม พ.ศ.๒๕๓๘ ณ พัทธสีมำวัดบุยำว - ต�ำรงต�ำแหน่งเจ้ำอำวำส เมือ่ วันที่ ๔ กรกฎคม พ.ศ. ๒๕๔๖ - ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้ำคณะต�ำบล เมือ่ วันที่ ๒๙ สิงหำคม พ.ศ. ๒๕๔๖ - ได้เป็นพระครูสญ ั ญำบัตรเจ้ำคณะต�ำบลชัน้ โท เมือ่ วันที่ ๕ ธันวำคม พ.ศ. ๒๕๕๒ - ได้รับแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌำย์ เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภำพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖ - ได้เลือ่ นขัน้ พระสังฆำธิกำร ต�ำแหน่ง พระครูเจ้ำคณะ ต�ำบลชั้นโทเป็นชั้นเอก เมื่อวันที่ ๕ ธันวำคม พ.ศ. ๒๕๕๗
เสนาสนะและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด ๑. อุโบสถ ได้รับพระรำชทำนวิสุงคำมสีมำ เมื่อวัน ที่ ๒ มกรำคม พ.ศ.๒๕๔๐ ๒. กุฏิสุภัทรธรรมำภรณ์ เป็นที่ท�ำกำรที่ว่ำกำรกิ่ง อ�ำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ ปี พ.ศ.๒๕๓๕ -๒๕๓๗ ๓. ศำลำเฉลิมพระเกียรติ ๔. พระพุทธสิทธิคุณวัฒน์สำมัคคีประชำบพิตร (หลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์) ๕. หลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์จ�ำลอง ๖. วิหำรพ่อหลวงโพธิ์ ประดิษฐำนหลวงพ่อโพธิแ์ ละ พระพุทธรูปไม้ศักดิ์สิทธิ์ ๓ องค์ ๗. กุฏิพุทธมงคล ๘. กุฏิสำมัคคี ๙. ศำลปู่ศรีสุทโธ - ย่ำปทุมมำนำครำช ๑๐. ศำลำปู่ชีวกโกมำรภัจจ์ ๑๑. เมรุ ๑๒. ศำลำบ�ำเพ็ญกุศล
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
151
วัดหนองกกยูง
ต�ำบลโดด อ�ำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Nong Kok Yung
Dod Subdistrict, Pho Si Suwan District, Sisaket Province
พระปลัดสุกล สุขิโต เจ้าอาวาสวัดหนองกกยูง
152
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดหนองกกยูง ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๓ เนื้อที่เริ่ม ก่อตั้ง ๖ ไร่ ปัจจุบันมีเนื้อที่ ๑๒ ไร่ พระภิษุสงฆ์จ�ำพรรษำ ๕ รูป สำมเณร ๓ รูป หัวหน้าที่พักสงฆ์ ๑. พระอำจำรย์หลวง ๒. หลวงตำพุทธ ๓. หลวงตำโฮม ๔. หลวงตำสุด ๕. หลวงตำพุทธ ๖. หลวงตำขึม ๗. หลวงตำพิมพ์ ๘. หลวงตำสำ ๙. พระปลัดสุกล สุขิโต เจ้ำอำวำสปัจจุบัน เสนาสนะ ๑. สร้ำงโบสถ์ ๑ หลัง ๒. สร้ำงศำลำกำรเปรียญ ๑ หลัง ๓. สร้ำงศำลำฌำปนสถำน ๑ หลัง ๔. สร้ำงกุฏิพระภิษุสงฆ์ ๒ หลัง
ประวัติพระปลัดสุกล สุขิโต พระปลัดสุกล สุขิโต (บัวพันธ์) เกิดวันศุกร์ท่ี ๑ กันยำยน พ.ศ. ๒๕๒๑ อำยุ ๔๒ พรรษำ ๑๐ บ้ำนเกิดเดิมบ้ำน บ้ำนหนองกำด�ำ เลขที่ ๒๙ หมู่ ๑๒ ต.โดด อ.โพธิ์ศรีสุวรรณ จ.ศรีสะเกษ บิดำ นำยเดือน - มำรดำ นำงหวัน บัวพันธ์ อุปสมบท เมื่อวันที่ ๑๔ กรกฎำคม พ.ศ. ๒๕๕๔ พระอุปัชฌาย์ พระครูสุจิตโพธำสังกำร พระคู่สวด - พระครูประสิทธิ์คุณวัฒน์ - พระมหำสุภพ สุภำวโร
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
153
วัดปราสาทเยอเหนือ ต�าบลปราสาทเยอ อ�าเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Prasat Yoe Nuea
Prasat Yoe Subdistrict, Phrai Bueng District, Sisaket Province
พระมหาจันทร์ดี ปญฺญาวชิโร เจ้าอาวาสวัดปราสาทเยอเหนือ
154
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดปราสาทเยอเหนือ ชื่อเดิม วัดศรีอุดมบรมนิมิต ตั้งอยูเลขที่ ๑๑๔ หมู่ที่ ๑ ต�าบลปราสาทเยอ อ�าเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที ่ ๑๖ ไร่ ๑ งาน ๔๔ ตารางวา น.ส.๓ เลขที่ ๓๖๓ อาคารเสนาสนะ - อุโบสถกว้าง ๗ เมตร ยาว ๑๘ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๒ - ศาลาการเปรียญกว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๒๔ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๕ - กุฏิสงฆ์จ�านวน ๓ หลัง เป็นอาคารไม้ ๑ หลัง ครึ่ง ตึกครึ่งไม้ ๑ หลัง และตึก ๑ หลัง ปูชนียวัตถุ - พระประธานในอุโบสถ - สถูปเจดีย์ - เจดีย์ทรงธาตุพนม สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๓ การบริหารและการปกครองมีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม ๑. พระปิบ ไม่ทราบปี พ.ศ. ที่แน่ชัด ๒. พระพิมพ์ ไม่ทราบปี พ.ศ. ที่แน่ชัด ๓. พระครูประสาธน์ขันธคุณ (มุม อินฺทปญฺโญ) พ.ศ. ๒๔๙๒ - ๒๕๒๒ ๔. พระอธิการวงศ์ อเวโรจโน พ.ศ. ๒๕๒๒ - ๒๕๓๐
๕. พระครูนันทสังฆกิจ (เลื่อน อานนฺโท) พ.ศ. ๒๕๓๑ - ๒๕๔๙ ๖. หลวงตาปัญญา (รักษาการเจ้าอาวาส) พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๕๓ ๗. พระอธิการแสง กิจฺจสาโร พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๖๑ ๘. พระมหาจันทร์ดี ปญฺญาวชิโร พ.ศ. ๒๕๖๑ - ปัจจุบัน
การศึกษา โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปิดสอน เมื่อ พ.ศ.๒๕๐๖
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
155
วัดศรีสุขสวัสดิ์
ต�ำบลสุขสวัสดิ์ อ�ำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Si Suksawat
Suksawat Subdistrict, Phrai Bueng District, Sisaket Province
พระอธิการนิรันดร์ จกฺกธมฺโม เจ้าอาวาสวัดศรีสุขสวัสดิ์ ความเป็นมา ปีพุทธศักราช ๒๕๒๔ ท่านพระครูศิริธรรมวงศ์ (หลวงปู่อ่อน) เจ้าอาวาสวัดส�าโรง ต�าบลพรหมสวัสดิ์ อ�าเภอ พยุห ์ จังหวัดศรีสะเกษ พร้อมคณะชาวบ้านอาลัย ขณะนัน้ ขึน้ อยู่กับต�าบลปราสาทเยอ อ�าเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ได้ มีมติร่วมกันให้สร้างส�านักสงฆ์ขึ้นเพื่อเป็นสถานที่พ�านัก แก่ พระภิกษุ - สามเณร เพือ่ ศึกษาเล่าเรียนสืบอายุพระพุทธศาสนา
และเป็นที่ประกอบศาสนกิจบ�าเพ็ญบุญของพุทธศาสนิกชน ชาวบ้าน ในยุคแรกปี พ.ศ. ๒๕๒๔ มีหลวงปูจ่ นั ทร์ วิจาโร เป็น หัวหน้าส�านักสงฆ์อยูห่ ลายพรรษา ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๓๖ หลวงปู่ ด่อน ยโสธโร เป็นหัวหน้าส�านักสงฆ์สืบต่อมาจนมาถึงยุคปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ของพระอาจารย์นิรันดร์ จกฺกธมฺโม ได้สืบต่อ เจตนารมณ์เป็นหัวหน้าส�านักสงฆ์บา้ นอาลัยมาจนถึงปัจจุบนั พระอาจารย์นิรันดร์ ท่านได้ปรับปรุงศาสนาวัตถุ ขยายเขต ของส�านักสงฆ์ ให้มีเนื้อที่พอเพียงเพื่อที่จะยกฐานะเป็นวัด ด้วยความศรัทธาจากชาวบ้านและต่างจังหวัด ซึ่งได้รับความ อุปถัมภ์สนับสนุนเป็นอย่างดีเรื่อยมา พระอาจารย์นิรันดร์ จกฺกธมฺโม ได้อทุ ศิ แรงกายแรงใจบวชแทนค่าพระบรมศาสนา ของพระพุทธศาสนาถือว่าเป็นบุญวาสนาที่ชาวบ้านอาลัย ภูมิใจ ท่านได้อุปสมบทเมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ได้ปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของการพัฒนาและเจริญก้าวหน้าได้รบั การยกฐานะจากส� า นั ก สงฆ์ แ ต่ ง ตั้ ง เป็ น วั ด ในวั น ที่ ๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้นามว่า วัดศรีสขุ สวัสดิ ์ และพระอาจารย์ นิรันดร์ ก็ได้รับตราตั้งต�าแหน่งเจ้าอาวาสที่ฐานะ พระอธิการ นิรันดร์ จกฺกธมฺโม ในปีพ.ศ. ๒๕๕๖ ในการก่อสร้างอุโบสถ ทรงเรือโดยมีทา่ น พระครูศริ พิ ชั รานุโยค (หลวงพ่อชู) เจ้าอาวาส วัดบันไดทอง จังหวัดเพชรบุร ี ในขณะนัน้ พร้อมด้วยคุณถาวร บุญศิริ (เจ๊ข่า) คุณสุรชา ทิพย์พิมล (เจ๊อ๊อด) เป็นผู้อุปถัมภ์ หลั ก และได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าในวั น ที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘ และในปีนั้นหลวงน้าสอน จนฺทสาโร วัดเขาสมโภชน์ จังหวัดลพบุร ี พร้อมด้วยสายบุญเป็นเจ้าภาพ สร้างพระพุทธรูปปางมารวิชยั คุณพิพฒ ั น์ ตรีระพงษ์ (เสีย่ แฉ) เป็ น เจ้ า ภาพสร้ า งศาลาธรรมสั ง เวช เจ้ า ภาพสร้ า งกุ ฎ ิ ป้าหนุน - คุณละออ มังกรแก้ว, ป้าหม่อน - เรือตรี สุพร ดวงชัย ที่ได้มาร่วมสร้างวัดแห่งนี้ โดยปัจจุบันมี พระอธิการนิรันดร์ จกฺกธมฺโม ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสวัดศรีสุขสวัสดิ์
156
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
157
วัดโนนติ้ว
ต�ำบลโนนคูณ อ�ำเภอยำงชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Non Tio
Non Koon Subdistrict, Yang Chum Noi District, Sisaket Province
พระครูสิริคณาภิรักษ์ ดร. เจ้าคณะอ�าเภอยางชุมน้อย / เจ้าอาวาสวัดโนนติ้ว
158
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดโนนติ้ว ตั้งอยู่บ้านโนนติ้ว หมู่ที่ ๕ ต�าบลโนนคูณ อ� า เภอยางชุ ม น้ อ ย จั ง หวั ด ศรี ส ะเกษ สั ง กั ด คณะสงฆ์ มหานิกาย สาเหตุที่ได้ชื่อ วัดโนนติ้ว เนื่องจากเมื่อราวปี พ.ศ. ๒๔๕๐ ตาทวดเขียว อพยพครอบครัวจากบ้านคอนกาม ต�าบล คอนกาม อ�าเภอยางชุมน้อย มาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านโนนติ้ว ซึง่ เคยเป็นป่าทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ และมีตน้ ติว้ ขึน้ อยูเ่ ป็นจ�านวนมาก จึงได้ตั้งชื่อว่า บ้านโนนติ้ว เมื่อตั้งบ้านเรือนเป็นหลักฐาน มัน่ คงแล้ว ชาวบ้านโนนติว้ จึงริเริม่ สร้างวัดโนนติว้ ขึน้ เพือ่ เป็น สถานที่บ�าเพ็ญกุศลและประกอบพิธีทางศาสนา โดยคณะ ศรัทธาบ้านโนนติว้ ได้รว่ มกับพระภิกษุสงฆ์พฒ ั นาวัด จนท�าให้ วัดโนนติ้วเจริญขึ้นเป็นล�าดับจวบจนปัจจุบัน โดยปัจจุบันมี พระครูสิริคณาภิรักษ์ ดร. ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดโนนติ้ว และเจ้าคณะอ�าเภอยางชุมน้อย
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
159
วัดบ้านโนนสูง
ต�าบลบึงบอน อ�าเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Ban Non Sung
Bueng Bon Subdistrict, Yang Chum Noi District, Sisaket Province
พระครูโกวิทอุดมคุณ เจ้าอาวาสวัดบ้านโนนสูง
160
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดบ้านโนนสูง ตัง้ วัดเมือ่ พ.ศ. ๒๒๓๒ แต่ไม่ปรากฏ หลักฐานแน่ชัด สันนิษฐานว่าสร้างมาก่อนกรุงรัตนโกสินทร์ หรือประมาณ ๒๐๐ กว่าปีแล้ว แล้วผูด้ า� รงต�าแหน่งเจ้าอาวาส ในสมัยก่อนนั้น ก็ไม่ได้บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร อาศัย แต่จดจ�าบอกเล่าสืบต่อ ๆ กันมา พอที่จะรวบรวมมาได้ ดังนี้ ๑. ยาครูหล่อ ๒. ยาครูแหบ ๓. ยาครูพา ๔. ยาครูอวน ๕. ยาครูค�า ๖. ยาครูเข็ม ๗. ยาครูหล้า ๘. ยาครูมา
๙. ยาครูเสน ๑๐. ยาครูดี ๑๑. ยาครูทา ๑๒. พระครูวิบูลพัฒนาภร อุปสมบท พ.ศ. ๒๔๗๓ เป็นเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๔๘๓ เริม่ มีใบตราตัง้ เจ้าอาวาสเป็นรูปแรก ๑๓. พระครูโกวิทอุดมคุณ เป็นเจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั ประวัติพระอุโบสถ พระอุปชั ฌายท่อน ขนฺตโิ ก พระภิกษุ สามเณร ชาวบ้าน โนนสูงและบ้านใกล้เคียง ได้ร่วมกันปฏิสังขรณ์พระอุโบสถ วัดโนนสูง โดยเริ่มสร้างปี พ.ศ. ๒๕๐๗ เสร็จเรียบร้อยปี พ.ศ. ๒๕๑๒ ฉลองสมโภชปี พ.ศ. ๒๕๑๓ พระอุปชั ฌาย์ทอ่ น ขนฺตโิ ก พ่อใหญ่จารย์กอง เป็นผู้ท�าแท่น
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
161
วัดดวนใหญ่
ต�ำบลดวนใหญ่ อ�ำเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Duan Yai
Duan Yai Subdistrict, Wang Hin District, Sisaket Province
พระครูวรธรรมคณารักษ์ เจ้าอาวาสวัดดวนใหญ่
162
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา เรือ่ งการตัง้ วัดบ้านดวนใหญ่ขนึ้ นี ้ ข้าพเจ้าไม่แน่ใจว่า ตั้งขึ้นตั้งแต่ วัน เดือน ปี หรือ พ.ศ. ใด แต่ตามคตินิยมของ ชาวพุทธหรือพุทธศาสนิกชน เมือ่ ไปตัง้ ถิน่ ฐานบ้านช่องขึน้ ณ ที่ใด ชาวบ้านท�ามาหากินสร้างหลักฐานได้ดีพอสมควรแล้ว ก็จะพากันสร้างวัดขึ้นควบคู่กับหมู่บ้าน หรือประจ�าหมู่บ้าน เพือ่ เป็นทีป่ ระดิษฐานพระรัตนตรัย เพือ่ เป็นทีเ่ คารพกราบไหว้ ยึดถือเป็นที่พึ่งทางใจและเพื่อสะดวกในการท�าบุญ บ�าเพ็ญ กุศล และประกอบกิจในทางพระศาสนา วัดดวนใหญ่นตี้ อ้ งได้ รับการสร้างขึน้ หลังจากตัง้ หมูบ่ า้ นแล้วหลายสิบปี จากเอกสาร หลักฐานค้นพบมีผทู้ า� บัญชีสา� รวจใว้ระบุวา่ วัดดวนใหญ่ตงั้ หรือ สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๑๖๑ ถ้านับถึงปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๔๘ ก็จะ ได้ ๓๘๗ ปี แต่ผูกพัทธสีมา(ขอดสิม) เมื่อวันที่ ๒๒ - ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๐ (เชื่อว่าผูกพัทธสีมาครั้งที่ ๒ เพราะ วัดตั้งมา ๓๐๐ กว่าปี) แล้วต้องเคยมีโบสถ์หรือสีมามาก่อน แต่เป็นโบสถ์หรือสิมโบราณ เมือ่ ถูกรือ้ ถอนสร้างอุโบสถขึน้ ใหม่ จึงผูกพัทธสีมาอีกครั้งหนึ่ง ดังที่กล่าวมาแล้วว่า วัดบ้านดวนใหญ่นี้ต้องตั้งหรือ สร้างขึ้นมาหลังจากตั้งหมู่บ้านขึ้นแล้ว ซึ่งเป็นประเพณีของ ชาวพุทธหรือพุทธศาสนิกชนทั่วไป คือ เมื่อมีหมู่บ้านขึ้นแล้ว ต้องสร้างวัดขึน้ มาควบคูก่ บั หมูบ่ า้ น เพือ่ สะดวกในการท�าบุญ ให้ทานหรือประกอบศาสนกิจ ตลอดใช้เป็นสถานที่ให้การ ศึกษาเล่าเรียนในสมัยก่อนโน้น คนทีจ่ ะรูห้ นังสืออ่านออกเขียน
ได้หรือมีความรู้ในด้านต่าง ๆ ต้องได้บวชเรียนจากวัดทั้งนั้น เพราะยังไม่มีโรงเรียนสอนหนังสือ วัดดวนใหญ่ตั้งอยู่ในชุมชนใหญ่และมีหัวหน้าผู้น�า หมู่บ้านเข้มแข็ง คือ ตากะจะและเชียงขันจึงต้องได้รับความ อุปถัมภ์บา� รุงและพัฒนากว่าวัดอืน่ ๆและก็เป็นวัดเดียวประจ�า หมู่บ้านดวนใหญ่นี้แรกๆทีเดียวคงจะมีสีมาน�้า (สิมน�้า) แห่ง ใดแห่งหนึ่งใช้เป็นที่ท�าสังฆกรรม เช่น ลงอุโบสถ์สวดพระ ปาฏิโมกข์ และให้การบรรพชาอุปสมบท ต่อมาจึงได้สร้าง โบสถ์ (สิม) แบบโบราณขึ้นในวัด ต่อมาหมู่บ้านได้ขยายตัว ใหญ่ขึ้นหลายร้อยหลังคาเรือน จึงในประมาณปี พ.ศ. ๒๔๙๘ คณะกรรมการและชาวบ้านได้พากันสร้างวัดขึน้ ใหม่อกี วัดหนึง่ ทางทิศตะวันตกหมูบ่ า้ น และให้ชอื่ ว่า วัดนิวาสสุวรรณาราม (วัดใหม่) ที่ตั้งชื่อนี้เข้าใจว่าเพื่อให้เกียรติแก่พระครูนิวาส พัฒนาการ (พันธ์ สุวณฺโณ) มาจนทุกวันนี้
ปัจจุบันที่ยอมรับกันว่า วัดดวนใหญ่ มีความเป็นมา เก่าแก่หรือนานมาก สร้างขึ้นตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. ๒๑๖๑ ถ้านับจนถึงปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๔๘) ก็มีอายุถึง ๓๘๗ ปี ผูกพัทธสีมา (ขอดสิม) เมื่อวันที่ ๒๒ - ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๐ (เข้าใจว่าครั้งที่ ๒ เพราะก่อนหน้านี้ ปรากฎหลักฐาน ว่าเคยมีการให้บรรพชาอุปสมบทที่วัดดวนใหญ่นี้มาแล้ว) มี ที่ ดิ น ที่ ตั้ ง วั ด ๑๓ ไร่ ๓๐ วา มี กุ ฏิ ห ลั ง ใหญ่ ส ร้ า งด้ ว ย คอนกรีตเสริมเหล็ก บรรจุพระภิกษุสามเณรได้หลายสิบรูป มี กุฏิทรงไทยที่อยู่ของเจ้าอาวาสและใช้เป็นส�านักงานของเจ้า คณะอ�าเภอวังหิน มีอุโบสถขนาดใหญ่ มีศาลาการเปรียญ ขนาดใหญ่และมาตรฐานถาวรสวยงาม มีหอระฆัง เมรุเผาศพ ศาลาบ�าเพ็ญกุศล สร้างก�าแพงรอบวัด มีซุ้มประตู ๔ ด้าน มี โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมทัง้ แผนกธรรม-บาลีและสามัญศึกษา มีศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดเป็นศูนย์กลางการปกครอง
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
163
คณะสงฆ์อ�าเภอวังหิน เป็นสถานที่ให้บริการกิจกรรมทาง พระพุทธศาสนาและสังคมของชาวอ�าเภอวังหิน ท�าเนียบการปกครองวัด ๑. พระโพธิญาณ (ไม่มีเอกสารหลักฐาน) ๒. พระสังฆฮาดพรหม (ไม่มีหลักฐาน) ๓. พระหลวงตาลา (ไม่มีหลักฐาน) ๔. พระอุปัชฌาย์วงศ์ (ไม่มีหลักฐาน) ๕. พระอาจารย์บุญมา (ไม่มีหลักฐาน) ๖. พระอุปัชฌาย์เกษ (ไม่มีหลักฐาน) ๗. พระครูนวิ าสวัฒนาการ (พันธ์ สุวณฺโณ) (๒๔๖๔-๒๕๐๑) ๘. พระครูนวกิจวิบูลย์ (โกวิโท) (๒๕๐๑-๒๕๑๖) ๙. พระครูพัฒนวรกิจ (บุญกอง) (๒๕๑๘-๒๕๓๖) ๑๐. พระครูวรธรรมคณารักษ์ (นิคม สีลส�วโร) (๒๕๓๗-ปัจจุบัน) ประวัติพระครูวรธรรมคณารักษ์ พระครูวรธรรมคณารักษ์ (พระมหานิคม สีลส�วโร) นอกจากจะเป็นเจ้าอาวาสวัดดวนใหญ่แล้ว ยังท�าหน้าที่เป็น เลขานุการเจ้าคณะอ�าเภอวังหินด้วย และอาศัยว่าเป็นผู้มี ความสนใจในงานคณะสงฆ์ พยายามศึกษาการงานคณะสงฆ์ อยู่ตลอดเวลาประกอบด้วยเป็นคนเสียสละ มีมนุษย์สัมพันธ์ มีความตรงไปตรงมา มองเห็นประโยชน์สว่ นรวมเป็นใหญ่ จึง มีความก้าวหน้าในต�าแหน่งหน้าที่การงานและสมณะศักดิ์ อย่างรวดเร็ว เป็นเจ้าคณะต�าบลดวนใหญ่ เป็นพระอุปชั ฌาย์ เป็นเจ้าคณะอ�าเภอวังหิน เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะ อ� า เภอชั้ น โท เข้ า รั บ พระราชทานสั ญ ญาบั ต รพั ด ยศ ใน 164
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
พระบรมมหาราชวัง ปี พ.ศ.๒๕๔๗ ได้ประทานเลื่อนชั้นเป็น คณะอ�าเภอชั้นเอก พระครูวรธรรมคณารักษ์ (พระมหานิคม สีลส�วโร) ได้สร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าแก่วดั ดวนใหญ่ แก่ชาวบ้าน ดวนใหญ่ และชาวอ�าเภอวังหินมากมาย โดยเฉพาะที่วัดดวน ใหญ่ได้รับการพัฒนาชนิดที่เรียกว่าหน้ามือเป็นหลังมือ ทั้ง บุรณะซ่อมแซมและสร้างขึ้นใหม่หลายอย่าง เอาแค่ศาลา การเปรียญหลังเดียวก็นา่ อัศจรรย์แล้ว การศึกษาเล่าเรียนของ พระภิกษุสามเณรก็จดั ขึน้ ได้อย่างน่าภาคภูมใิ จช่วยเหลืองาน ทางราชการและสงเคราะห์ชาวบ้านเกือบทุกอย่าง จนวัดดวน ใหญ่ได้รับการยกย่องเป็นพัฒนาตัวอย่าง
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
165
วัดดงยาง
ต�าบลธาตุ อ�าเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Dong Yang
That Subdistrict, Wang Hin District, Sisaket Province
พระครูวิสุทธิ์ปุญโญภาส เจ้าอาวาสวัดดงยาง
166
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดดงยาง เริม่ สร้างเป็นทีพ่ กั สงฆ์เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๗ โดยแรงศรัทธาของชาวบ้านดงยาง พ.ศ. ๒๕๑๘ ได้นมิ นต์พระสงฆ์ มาจ�าพรรษาคือ พระสิงห์ บุตศรี ได้รับอนุญาตสร้างวัด เมื่อวันที่ ๑๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๔ ได้รับอนุญาตตั้งวัดเมื่อ วันที่ ๑๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ ที่ดิน ๖ ไร่ ๕๖ ตารางวา โฉนด เลขที่ ๑๕๒ หมู่ที่ ๗ ต�าบลธาตุ อ�าเภอวังหิน จังหวัด ศรีสะเกษ ได้รับบริจาคจากนายบุญทัน บุญมาก และพวก รายนามหัวหน้าที่พักสงฆ์และเจ้าอาวาสมีดังนี้ ๑. พระสิงห์ บุตรศรี เป็นหัวหน้าที่พักสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ - ๒๕๑๙ ๒. พระกุ ส�าเภา เป็นหัวหน้าที่พักสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๑๙ - ๒๕๒๐ ๓. พระเสถียร พรรณนา เป็นหัวหน้าที่พักสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๒๐ - ๒๕๒๕ ๔. พระพัด ปคุโณ เป็นหัวหน้าที่พักสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๒๕ - ๒๕๓๐ ๕. พระบุญมี สญฺญาโต เป็นหัวหน้าที่พักสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๔๒ ๖. พระอธิการบุญมี สญญาโต เป็นเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๕๔๒ - ๒๕๔๙ ๗. พระครูวิสุทธิ์ปุญโญภาส เป็นเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๕๔๙ - ปัจจุบัน
ประวัติพระครูวิสุทธิ์ปุญโญภาส ชื่ อ พระครู วิ สุ ท ธิ์ ปุ ญ โญภาส ฉายา สญฺ ญ าโต นามสกุล นิวงษา อายุ ๕๙ ปี พรรษา ๓๔ วิทยฐานะ ปริญญาตรี นักธรรมชั้นเอก สถานะเดิม ชือ่ บุญมี นามสกุล นิวงษา เกิดวันศุกร์ที่ ๙ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๐๔ ตรงกับวันแรม ๑๑ ค�า่ เดือน ๗ บิดาชือ่ บุญรอด มารดาชือ่ ดี ณ บ้านหนองหญ้าปล้อง เลขที ่ ๑๒ หมูท่ ี่ ๕ ต�าบลทะเมนชัย อ�าเภอล�าปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ บรรพชาอุปสมบท วันอาทิตย์ที่ ๖ กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ ตรงกับวันขึน้ ๑ ค�า่ เดือน ๘ ณ วัดบ้านธาตุ ต�าบลธาตุ อ�าเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ พระอุปชั ฌาย์ พระครูไพโรจน์ พัฒนาการ วัดบ้านธาตุ พระกรรมวาจารย์ พระครูพันธ์ จนฺทโชโต วัดหนองโตน พระอนุสาวนาจารย์ พระครูตุ่น โกวิโท วัดกะเอิน งานปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๔๒ เป็ น หั ว หน้ า ที่ พั ก สงฆ์ วัดดงยาง จังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. ๒๕๔๒ - ปัจจุบัน เป็นเจ้าอาวาสวัดดงยาง จังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. ๒๕๕๒ - ปัจจุบัน เป็นเจ้าคณะต�าบลธาตุ จังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. ๒๕๕๕ - ปัจจุบัน เป็นพระอุปัชฌาย์ สมณศักดิ์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์พัดยศ จร.ชท. ในราชทินนาม พระครูวิสุทธิ์ปุญโญภาส
พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์พัดยศ จต.ชท. ในราชทินนาม พระครูวิสุทธิ์ปุญโญภาส งานเผยแพร่ พ.ศ. ๒๕๔๘ เป็นพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน อ�าเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นพระนักเผยแผ่พระพุทธศาสนา รุ่นที่ ๔๔ อ�าเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. ๒๕๕๒ เป็นพระธรรมทูต รุ่นที่ ๔๕ อ�าเภอ วังหิน จังหวัดศรีสะเกษ
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
167
วัดบ้านเจ้าทุ่ง
ต�าบลทุ่งสว่าง อ�าเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Ban Chao Thung
Thung Sawang Subdistrict, Wang Hin District, Sisaket Province
พระครูจารุเขตโสภณ เจ้าอาวาสวัดบ้านเจ้าทุ่ง
168
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา สร้างขึน้ เมือ่ พ.ศ. ๒๔๕๖ ถึงปัจจุบนั นี ้ โดยพระสอน บุญมาก พระค�าหมา สิทธิวงศ์ พระสี เฉลิม พระยอด บ้าน กะเอิน เดินธุดงธ์มาพาญาติโยมก่อสร้าง ท่านบอกว่าใครอยาก เป็นเจ้าเป็นนายให้มาขอพรที่วัดเจ้าทุ่งนี้ ตอนนี้ พระครู จารุเขตโสภณ เป็นเจ้าอาวาส และเจ้าคณะต�าบลทุ่งสว่าง อาณาเขต ทิศเหนือ ติดหมู่บ้านเจ้าทุ่ง ทิศใต้ ติดโรงเรียนบ้านเจ้าทุ่ง ทิศตะวันออก ติดถนนรอบหมู่บ้าน ทิศตะวันตก ติดหมู่บ้านเจ้าทุ่ง
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
169
วัดวารีศิลาราม ต�าบลวังหิน อ�าเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Waree Silaram
Wang Hin Subdistrict, Wang Hin District, Sisaket Province
พระอธิการทองสุข สุวณณสุโข รองเจ้าคณะต�าบลควนใหญ่ / เจ้าอาวาสวัดวารีศิลาราม
170
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา ก่อนทีจ่ ะมาเป็นวัด สถานทีแ่ ห่งนีแ้ ต่กอ่ นเป็นป่าใหญ่ คนโบราณเรียกว่า โนนเปือย ต่อมาได้มชี าวบ้านเข้ามาจับจอง พื้นที่ท�ากิน เป็นเจ้าของคนละ ๕ ไร่ ๑๐ ไร่ ชาวบ้านที่เข้ามา จับจองเป็นเจ้าของได้ท�าการโคนต้นไม้ใหญ่ ๆ จ�านวนมาก ส่วนใหญ่เป็นต้นเปือยหรือภาคกลางเรียกต้นตะแบก ในช่วง ทีโ่ คนต้นไม้ใหญ่ เพือ่ ปรับพืน้ ทีใ่ นการท�าการเกษตรนัน้ ชาวบ้าน แต่ละครอบครัวทีเ่ ข้าไปจับจองพืน้ ทีแ่ ห่งนีต้ า่ งก็ได้สญ ู เสียลูก ไปครอบครัวละ ๒ คน เนือ่ งจากสถานทีแ่ ห่งนีเ้ ชือ่ กันว่าเจ้าทีแ่ รง การที่ชาวบ้านที่เขาไปจับจองได้ตัดไม้ใหญ่ในสถานที่แห่งนี้ ท�าให้เจ้าที่เกิดความไม่พอใจ จึงท�าให้เกิดการสูญเสียขึ้น ในสมัยนัน้ ชาวบ้านส่วนใหญ่จะท�าไร่ปอ ไร่ขา้ ว เป็นระยะเวลา ประมาณ ๓๐ กว่าปี ต่อมาเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ได้มกี ารแต่งตัง้ วัดวารีศลิ าราม ขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ได้มีพระสงฆ์เข้ามาจ�าพรรษา และปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้ขออนุญาติสร้างวัดวารีศิลรามขึ้น บนเนื้อที่ ๗ ไร่ ๒ งาน ๙๕ ตารางวา และการขออนุญาตตั้งวัดส�าเร็จใน วันที่ ๑๘ มษายน พ.ศ. ๒๕๕๖
เจ้าอาวาสรูปแรกคือ พระอธิการทองสุข สุวณณสุโข ด�ารงต�าแหน่งเป็น เจ้าอาวาสวัดวีศิลาราม และปัจจุบันด�ารง ต�าแหน่งเป็นรองเจ้าคณะต�าบลควนใหญ่ อุ ป สมบท วั น ที่ ๔ พฤศจิ ก ายน พ.ศ. ๒๕๔๘ พรรษา ๑๕ อายุ ๖๖ ปื สอบนักธรรมชั้นตรี ได้เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๙ สอบนักธรรมชั้นโท ได้เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๕ สอบนักธรรมชั้นเอก ได้เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๗ จบปริญาตรีจากมหาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ศรีสะเกษ เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
171
วัดทุ่งสว่าง
ต�าบลตาเกษ อ�าเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Thung Sawang
Taket Subdistrict, Uthumphon Phisai District, Sisaket Province
172
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดทุง่ สว่าง หมูท่ ี่ 6 ต�าบลตาเกษ อ�าเภออุทมุ พรพิสยั จั ง หวั ด ศรี ส ะเกษ เป็ น วั ด ที่ พ� า นั ก ของเจ้ า คณะอ� า เภอ อุทุมพรพิสัย และมีพระพุทธเมตตาเมืองศรีเป็นพระพุทธรูป องค์ใหญ่ ทีช่ าวเมืองให้ความศรัทธา และมาสักการะขอพรให้ สมหวังในเรื่องต่าง ๆ อยู่เสมอ นายเจริญ บุญธรรม อาศัยอยู ่ ณ หมูท่ ี่ ๖ ต�าบลตาเกษ อ�าเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ ได้บริจาคที่ดิน ๖ ไร่ ๕๖ ตารางวา เลขที่ดิน ๑๗๖ โฉนดที่ดิน เลขที่ ๒๐๙๕๓ ติดถนนทางหลวง ๒๒๖ เพื่อสร้างวัด ได้ประกาศตั้งวัด ในพระพุทธศาสนา นามว่า วัดทุ่งสว่างในวันที่ ๑๗ มกราคม พ.ศ.๒๕๔๑ ตัดหวายฝังลูกนิมติ ผูกพัทธสีมาในวันที ่ ๒๗ มกราคม พ.ศ.๒๕๔๗ โดยมี พ ระธรรมปริ ยั ติ โ สภณ (พระพรหมกวี ) เจ้าคณะภาค ๑๐ ในขณะนั้น เป็นประธาน ท�าเนียบเจ้าอาวาส วัดทุ่งสว่างมีเจ้าอาวาสปกครองวัดดังนี้ ๑. พระครูโกวิทวรธรรม พ.ศ.๒๕๒๘ - ๒๕๔๑ ๒. พระศรีธรรมาภรณ์ เจ้าอาวาสและเจ้าคณะ อ�าเภออุทุมพรพิสัย พ.ศ.๒๕๔๓ - ปัจจุบัน
วัดป่าพรหมนิมิต
ต�าบลหนองไฮ อ�าเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Pa Phromnimit
Nong Hai Subdistrict, Uthumphon Phisai District, Sisaket Province
พระครูพิสุทธิ์พรหมวิหาร (หลวงปู่สุข โกวิโท)
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
173
หลวงพ่อพระมหามัยมุนีศรีสะเกษ วัดสระก�ำแพงใหญ่
ต�ำบลสระก�ำแพงใหญ่ อ�ำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Sa Kamphaeng Yai
Sa Kamphaeng Yai Subdistrict, Uthumphon Phisai District, Sisaket Province พระมงคลวุฒ "เทพเจ้าอีสานใต้" หรื อ หลวงปู ่ เ ครื่ อ ง สุ ภั ท โท อดี ต เจ้ า อาวาส วัดสระก�าแพงใหญ่ อ.อุทุมพรพิสัย จ.ศรีสะเกษ พระผู้ปฏิบัติดี ปฏิ บั ติ ช อบ เป็ น พระเกจิ อ าจารย์ อั น เป็ น ที่ เ คารพนั บ ถื อ ของคนทั้งประเทศ พระพุทธรูปปางนาคปรกศิลาอายุ ๑,๐๐๐ ปี เป็นพระพุทธรูปทีเ่ ก่าแก่ สร้างด้วยหินเขียวสวยงาม และศักดิส์ ทิ ธ์มาก เก่าแก่ถงึ ๑,๐๐๐ กว่าปี ประทับนัง่ ขัดสมาธิ เหนือขนดนาค ๓ ชั้น นาคมีทั้งหมด ๗ เศียร จัดอยู่ในศิลปะ เขมรแบบบาปวน ขุดพบทีฐ่ านปราสาทองค์ที่ ๑ เมือ่ พ.ศ.๒๔๙๒ พระมหามัยมุนีศรีสะเกษ องค์พระประธานสไตล์พม่าในวัดสระก�าแพงใหญ่ จ� า ลองแบบมาจากเมื อ งมั ณ ฑะเลย์ ประเทศเมี ย นมาร์ สีทองค�าอร่ามตาน่าเลื่อมใสศรัทธายิ่งนัก
สรีรสังขารหลวงปู่เครื่อง
และพระมหาชัชวาลย์ โอภาโส ป.ธ. ๙ ดร.
เจ้าอาวาสวัดสระก�าแพงใหญ่ รองเจ้าคณะอ�าเภออุทุมพรพิสัย
174
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
หลวงพ่อนาคปรกศิลา อายุกว่า ๑,๐๐๐ ปี
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
175
วัดป่าเวฬุวัน
ต�าบลบ้านแข้ อ�าเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ
Wat Pa Weluwan
Ban Khae Subdistrict, Uthumphon Phisai District, Sisaket Province
พระครูวิจิตรสุคันธาภิรม เจ้าอาวาสวัดป่าเวฬุวัน
176
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดป่าเวฬุวัน หรือ วัดป่าบ้านแข้ ได้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ มีเนื้อที่ ๘๔ ไร่ โดยมีหลวงปู่เผือ ฐานิสฺสโร พระวิปัสสนาจารย์ เป็นผู้ริเริ่มสร้างวัด (หลังจากที่ออกเดิน ธุดงค์ปฏิบตั ธิ รรมกลับมาทีบ่ า้ นแข้ และได้มาปักกลดในป่าช้า บ้านแข้) เพื่อให้เป็นที่ปฏิบัติธรรมกรรมฐานโดยใช้ชื่อว่า วัดป่าแสนสุขอารมณ์ ครั้นเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ) ขณะสมณศักดิ์ที่ พระพิมลธรรม ได้มา พักปฏิบตั ธิ รรม ณ ทีแ่ ห่งนี ้ เห็นว่ามีกอไผ่เป็นจ�านวนมากและ เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม จึงได้ประทานนามว่า วัดป่าเวฬุวัน ในการนี้หลวงปู่ผือ ฐานิสฺสโร และหลวงปู่เครื่อง สุภทฺโท ได้ด�าเนินการก่อสร้างวัดให้มีเสนาสนะเพียงพอต่อพระภิกษุ สามเณร และผู้ปฏิบัติธรรม โดยมีสอนกรรมฐานเรื่อยมา จน พ.ศ. ๒๕๒๙ หลวงปูเ่ ผือ ฐานิสสฺ โร ได้ถงึ แก่มรณภาพด้วย โรคชราวัย ๙๔ ปีจึงมีหลวงปู่เลื่อม ญาณวีโร ได้สืบทอด เจตนารมณ์ปณิธานการปฏิบตั ธิ รรม โดยได้มกี ารจัดงานปฏิบตั ิ ธรรมปริวาสกรรมมาจนถึงปัจจุบัน ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ หลวงปู่เลื่อม ญาณวีโร ถึงแก่การมรณภาพลง มีพระอาจารย์ บุญเส็ง อาภสฺสโร สานงานต่อในเจนารมณ์ และสร้างเสนา เสนะหลายอย่าง จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๔๙ พระอาจารย์ค�าหมาย คนฺธว�โส ได้เป็นผู้ดูแลวัดต่อมา เมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ส�านักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติได้ประกาศตั้งวัด จึงมีพระอธิการ
ค�าหมาย คนฺธว�โส เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก และในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ท่านได้รบั พระราชทานตัง้ สมณศักดิเ์ ป็นพระครูสญ ั ญาบัตรเจ้า อาวาสวัดราษฎร์ชนั้ โทในราชทินนามที ่ พระครูวจิ ติ รสุคนั ธาภิรม (ค�าหมาย คนฺธว�โส) วัดป่าเวฬุวันได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ วันที่ ๓๐ เดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๕๘ ขนาด ๒๕ เมตร ยาว ๔๐ เมตร โดยเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านแข้โนนเปือย น�า้ ท่วม โนนขามป้อม ชาวอ�าเภออุทุมพรพิสัย
ผู้ปกครองวัดปัจจุบัน พระครูวิจิตรสุคันธาภิรม เจ้าอาวาสวัดป่าเวฬุวัน / เจ้าคณะต�าบลก้านเหลือง น.ธ.เอก ประโยค ๑-๒ พธ.บ. พระปลัดธนาทิพย์ ธนวิชฺโช รองเจ้าอาวาสวัดป่า เวฬุวัน / เลขานุการเจ้าคณะอ�าเภออุทุมพรพิสัย น.ธ.เอก ประโยค ๑ - ๒ พธ.บ. พระบุญสอน ฐิตมโน ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดป่าเวฬุวัน น.ธ.เอก
เวฬุวันไพรสถานบ้านแข้นี้ มีสิ่งดีอยู่มากมายให้ค้นหา หากท่านใดได้พักอยู่สักคร จะรู้ว่าเงียบสงบร่มเย็นดี เป็นสถานที่อบรมบ่มเพราะจิต ทั่วทุกทิศชาวประชาได้อาศัย ทั้งพระเณรและนักเรียนอยู่ใกล้ไกล ต่างได้ใช้ที่แห่งนี้บ�าเพ็ญธรรม เวฬุวันเป็นสถานที่อันร่มรื่น สงัดเงียบทั้งกลางวันกลางคืนหนา เหมาะแก่การเจริญสมถะวิปัสสนา พาชีวามีความสุขพ้นทุกข์ภัย เป็นที่ให้บ�าเพ็ญธรรมตามดูจิต ท�าชีวิตให้มีค่ามหาศาล ท�าจิตให้หลุดพ้นจากบ่วงมาร เป็นสถานอันสงบพบพระธรรม ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
177
178
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
179
เส้นทำงแห่งบุญ
จังหวัดอ�ำนำจเจริญ
Amnat Charoen Province
180
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
พระมงคลมิง่ เมือง ณ พุทธอุทยำน อ�ำเภอเมืองอ�ำนำจเจริญ จังหวัดอ�ำนำจเจริญ ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
181
ญ ิ ญ ุ ร จ เ บ จ ำ ง น ำ � า อ ด ั ท ว ห น ้ ง ั เส ทำงธรรม วัด จ เส้น วัดเทพมงคล ต.บุ่ง
วัดอ�ำนำจ ต.อ�ำนำจ
หัวตะพำน
วัดบ่อชะเนง ต.หนองแก้ว
วัดอ�ำนำจเจริญ ต.บุ่ง
วัดดอนหวำย ต.พุ่ง
วัดหนองตำใกล้ ต.ห้วยไร่
วัดหนองขำม ต.สร้ำงนกทำ
182
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
พนำ
วัดโนนโพธิ์ ต.โนนโพธิ์
วัดศรีสุขเกษม ต.โนนโพธิ์
ลืออ�ำนำจ
เมืองอ�ำนำจเจริญ
วัดวังแคน ต.กุดปลำดุก
วัดวิเวกแสงธรรม ต.นำแต้
เสนำงนิคม
วัดศรีโพธิ์ชัย ต.ปลำค้ำว
วัดอินทรำรำม ต.โพนทอง วัดดอนขวัญ ต.พนำ
วัดถ�้ำแสงเพชร ต.หนองมะแซว
ปทุมรำชวงศำ ชำนุมำน
วัดปัจฉิมวัน ต.พระเหลำ
วัดศรีชมภู่ ต.นำหว้ำ
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
183
วัดบ่อชะเนง
ต�ำบลหนองแก้ว อ�ำเภอหัวตะพำน จังหวัดอ�ำนำจเจริญ
Wat Bor Chaneng
Nong Kaew Subdistrict, Hua Taphan District, Amnat Charoen Province
พระราชปรีชาญาณมุนี เจ้าคณะจังหวัดอ�านาจเจริญ / เจ้าอาวาสวัดบ่อชะเนง
184
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดบ่อชะเนง ตั้งเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๔๓๕ เป็นวัด ประจ�าหมู่บ้าน หลังจากชาวบ้านได้อพยพย้ายถิ่นฐานจาก บ้านเก่าบ่อ (วัดบ้านเก่าบ่อ) มาตัง้ หมูบ่ า้ นอยู ่ ณ บ้านบ่อชะเนง ในปัจจุบัน วัดบ่อชะเนง เดิมชื่อว่า วัดโพธิ์ศรี ตั้งอยู่ที่บ้าน บ่อชะเนง ต.หนองแก้ว อ.หัวตะพาน จ.อ�านาจเจริญ เป็นถิ่น ก�าเนิดของบูรพาจารย์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบคือหลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ�้ากลองเพล จังหวัดหนองบัวล�าภู พระกรรมฐาน ชื่อดังลูกศิษย์หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต วัดถ�้ากลองเพล จังหวัด หนองบัวล�าภู นอกจากนีย้ งั มีพระมหาเถระผูเ้ ป็นศาสนทายาท สืบอายุพระพุทธศาสนาบริหารการคณะสงฆ์ ทีถ่ อื ก�าเนิดและ บรรพชาเป็นสามเณรอยู่ ณ วัดบ่อชะเนง จ�านวน ๓ รูป คือ ๑. เจ้าประคุณสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (มานิต ถาวร มหาเถระ,ก่อบุญ ป.ธ.๙) อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม อดีต ที่ ป รึ ก ษาเจ้ า คณะภาค ๑๑ (ธ) และอดี ต เจ้ า อาวาส วัดสัมพันธวงศาราม เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร ๒. พระเดชพระคุณพระธรรมฐิตญิ าณ (สิงห์ สุทธฺ จิตตฺ มหาเถระ,ภาระมาตย์ ป.ธ.๗) อดีตเจ้าคณะภาค ๑๐ (ธ) และ อดีตเจ้าอาวาสวัดศรีอุบลรัตนาราม อ�าเภอเมือง จังหวัด อุบลราชธานี ๓. พระเดชพระคุณพระราชปรีชาญาณมุนี (หลอม มหาวิริโย,มณีวงศ์ ป.ธ.๗) เจ้าคณะจังหวัดอ�านาจเจริญ เจ้าอาวาสวัดบ่อชะเนง ต�าบลหนองแก้ว อ�าเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�านาจเจริญ
วัดบ่อชะเนง ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วัน ที่ ๒๓ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๙ เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๖๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร การบริหารและการปกครอง วัดบ่อชะเนง มีเจ้าอาวาสมาแล้ว ๑๑ รูป โดยมีล�าดับเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ดังนี้ ล�าดับที่ ๑ พระโม่ อุตฺตโม ล�าดับที่ ๒ พระขาว อนาลโย ล�าดับที่ ๓ พระสุมโน ล�าดับที่ ๔ พระสอน ฐิตปุญฺโญ ล�าดับที่ ๕ พระมหากอง กนฺตสีโล ล�าดับที่ ๖ พระมหาสิงห์ สุทฺธจิตฺโต ล�าดับที่ ๗ พระเภา ล�าดับที่ ๘ พระค�าผา มานิโต ล�าดับที่ ๙ พระเชมิโย ล�าดับที่ ๑๐ พระลี สุทฺธสีโล ล�าดับที่ ๑๑ พระอธิการค�าภา วิจิตฺตธมฺโม ล�าดับที่ ๑๒ พระราชปรีชาญาณมุนี ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๑ ถึงปัจจุบัน ได้รับรางวัล/ประกาศนียบัตร/ประกาศเกียรติคุณ พ.ศ. ๒๕๓๖ ได้รับคัดเลือกเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง พ.ศ. ๒๕๔๑ ได้รับคัดเลือกเป็นวัดพัฒนาตัวอย่างที่ มีผลงานดีเด่น
พ.ศ. ๒๕๒๘ ได้รับรางวัลส�านักศาสนศีกษาดีเด่น ระดับประเทศ จากกรมการศาสนา พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้รับรางวัลส�านักศาสนศึกษาดีเด่น จากแม่กองบาลีสนามหลวง พระราชปรีชาญาณมุนี ชือ่ พระราชปรีชาญาณมุน ี ฉายา มหาวิรโิ ย อายุ ๗๖ พรรษา ๕๕ วิทยฐานะ น.ธ.เอก,ป.ธ.๗,พธ.ด (กิตติมศักดิ)์ วัดบ่อชะเนง ต�าบลหนองแก้ว อ�าเภอหัวตะพาน จังหวัด อ�านาจเจริญ ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่ง ๑. พระอุปัชฌาย์ ๒. เจ้าอาวาสวัดวัดบ่อชะเนง ๓. เจ้าคณะจังหวัดอ�านาจเจริญ ๔. เจ้าส�านักเรียนคณะจังหวัดอ�านาจเจริญ
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
185
วัดอ�ำนำจเจริญ
ต�ำบลบุ่ง อ�ำเภอเมืองอ�ำนำจเจริญ จังหวัดอ�ำนำจเจริญ
Wat Amnatcharoen
Bung District, Mueang Amnat Charoen District, Amnat Charoen Province
186
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วั ด อ� ำ นำจเจริ ญ (วั ด หนองแซง) ย้ ำ ยมำจำก ส�ำนักสงฆ์เดิม ซึง่ มีชอื่ เรียกกันว่ำ วัดหนองเม็ก ตัง้ อยูบ่ ริเวณ สวนสำธำรณสระหนองเม็กในปัจจุบนั (ปัจจุบนั คือ ชุมชนยำงเหนือ หมูท่ ี่ ๖ ต�ำบลบุง่ ) เมือ่ ย้ำยมำได้เรียกซือ่ ตำมสระน�ำ้ สำธำรณะ ซึ่งอยู่ทำงทิศตะวันออกใกล้วัด จึงได้ชื่อว่ำ วัดหนองแซง ต่อ มำเมื่อมีกำรตั้งอ�ำเภออ�ำนำจเจริญ จังหวัดอุบลรำชธำนีขึ้น เมื่อประมำณปีพุทธศักรำช ๒๔๖๐ จึงได้มีกำรขนำนนำมวัด ใหม่เป็น วัดอ�านาจเจริญ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมำ มีพื้นที่ ๑๙ ไร่ ๘๑ ตำรำงวำ วัดอ�ำนำจเจริญ มีศำสนสถำนส�ำคัญยิง่ อันทรงคุณค่ำ ทำงศิลปวัฒนธรรม คือ อุโบสถของวัด ซึ่งสร้ำงแบบโบรำณ (ตำมค� ำ บอกเล่ ำ ของผู ้ สู ง อำยุ ที่ เ ห็ น กำรก่ อ สร้ ำ งซึ่ ง ยั ง มี ชีวติ อยู)่ เป็นอุโบสถทีไ่ ม่มเี สำ ก่อสร้ำงด้วยดินเผำผสมยำงบง
โดยมีนำยช่ำงเป็นบุคคลเชือ้ สำยเวียดนำมเป็นผูด้ ำ� เนินกำร เริม่ ก่ อ สร้ ำ งตั้ ง แต่ ป ี พุ ท ธศั ก รำช ๒๔๘๓ แล้ ว เสร็ จ สมบู ร ณ์ ประกอบพิ ธี ผู ก พั ท ธสี ม ำฝั ง ลู ก นิ มิ ต สมโภชฉลองเมื่ อ ปี พุทธศักรำช ๒๔๙๐ อุโบสถหลังนี้มีศิลปะในกำรท�ำลวดลำย ประดับที่เป็นเอกลักษณ์เฉพำะตัว ที่ปั้นแกะนูนลวดลำยจำก ปูนฉำบ ในขณะที่ท�ำกำรฉำบปูนซึ่งหำดูได้ยำกอย่ำงยิ่งใน ปัจจุบนั สมควรทีจ่ ะได้อนุรกั ษ์ไว้เป็นสมบัตชิ ำติสมบัตแิ ผ่นดิน เพื่อสืบสำนจรรโลงไว้เป็นมรดกทำงวัฒนธรรม มอบไว้ให้แก่ อนุชนคนรุ่นหลังเป็นอย่ำงยิ่ง อุโบสถที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน ซึ่งมีให้เห็นอยู่ นับได้ว่ำเป็นอุโบสถคู่กัน ในปัจจุบันคืออุโบสถ ของวัดทุ่งศรีเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลรำชธำนี อีกแห่ง หนึ่งเท่ำนั้น พระครูพิทักษ์วัฒนคุณ (อุดร ขนฺติโก) - ที่ปรึกษำเจ้ำคณะอ�ำเภอเมืองอ�ำนำจเจริญ - เจ้ำอำวำวำสวัดอ�ำนำจเจริญ
สถูปพระอมรอ�านาจ (เสือ อมรสิน) เจ้าเมืองอ�านาจเจริญคนแรก
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
187
วัดโนนโพธิ์
ต�ำบลโนนโพธิ์ อ�ำเภอเมืองอ�ำนำจเจริญ จังหวัดอ�ำนำจเจริญ
Wat Non Pho
Non Pho Subdistrict, Mueang Amnat Charoen District, Amnat Charoen Province
พระครูสิริสมาจารคุณ รองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองอ�านาจเจริญ เจ้าอาวาสวัดโนนโพธิ์
188
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดโนนโพธิ์ สังกัด มหานิกาย ตั้งอยู่บ้านโนนโพธิ ์ เลขที่ ๙๖ หมู่ที่ ๓ ต�าบลโนนโพธิ์ อ�าเภอเมืองอ�านาจเจริญ จังหวัดอ�านาจเจริญ ๓๗๐๐๐ ได้รับอนุญาตให้ตั้งเป็นวัด เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๙ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๓ ปัจจุบันมี พระครูสิริสมาจารคุณ ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาส แหล่งเรียนรู้ภายในวัดโนนโพธิ์ มีดังนี้ ๑. การจัดตั้งพิพิธภัณฑสถาน หรือพิพิธภัณฑ์พื้น บ้านภายในวัด โดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อ การศึกษาและก่อให้เกิดความเพลิดเพลินใจ ทางวัดโนนโพธิ ์ ได้มีอาคารพิพิธภัณฑ์ อยู่ภายในวัด จ�านวน ๑ หลัง ๒. การจัดกิจกรรมทางการศึกษาและการเผยแพร่ ความรู้ที่ทางวัดจัดให้แก่พระภิกษุ สามเณรและประชาชน ได้แก่ - การจัดการเรียนการสอนพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม - บาลี - จัดตัง้ หน่วยอบรมประชาชนประจ�าต�าบล โนนโพธิ์ - จัดสอนธรรมศึกษาแก่เด็กนักเรียน - จัดสอนวิปสั สนากัมมัฏฐานแก่ประชาชน ๓. เป็ น สถานที่ ร วบรวมและเผยแพร่ ข ่ า วสาร ความรู้ทางวิชาการ ในลักษณะดังนี้
๑. ห้องสมุด/มุมหนังสือ ๒. นิทรรศการ ๓. หอกระจายข่าว ๔. ป้ายคติธรรม ๕. ป้ายบอกชื่อต้นไม้ ๖. ภาพฝาผนัง ประวัติพระครูสิริสมาจารคุณ ชื่อ พระครูสิริสมาจารคุณ ฉายา สมาจาโร ชื่อเดิม ยุทธนา นามสกุล ระมา เกิด เมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๙ อุปสมบท เมื่อวันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๙ วุฒิการศึกษา น.ธ. เอก, ป.ธ.๕, ศน.ม. งานคณะสงฆ์ - ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาสวัดโนนโพธิ ์ ต�าบลโนนโพธิ์ อ�าเภอเมืองอ�านาจเจริญ จังหวัดอ�านาจเจริญ เมือ่ พ.ศ. ๒๕๔๘ - ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าคณะต�าบลนาจิก เขต ๒ อ�าเภอ เมืองอ�านาจเจริญ จังหวัดอ�านาจเจริญ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๘
- ได้รบั แต่งตัง้ เป็นพระอุปชั ฌาย์ ในเขตการปกครอง คณะสงฆ์ต�าบลนาจิก เขต ๒ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๙ - ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น รองเจ้ า คณะอ� า เภอเมื อ ง อ�านาจเจริญ จังหวัดอ�านาจเจริญ เมือ่ พ.ศ. ๒๕๕๐ - เป็นประธานจัดงานปฏิบัติธรรมประจ�าปีทุกปี ณ วัดเก่าโนนยาง ตั้งแต่เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็นต้นมา - เป็นกรรมการตรวจข้อสอบธรรมสนามหลวง ชั้นตรี ของคณะสงฆ์ภาค ๑๐ ณ ศูนย์การคณะสงฆ์ภาค ๑๐ อ�าเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๘ - เป็ น เจ้ า ส� า นั ก ศาสนศึ ก ษาวั ด โนนโพธิ์ ต� า บล โนนโพธิ์ อ�าเภอเมืองอ�านาจเจริญ จังหวัดอ�านาจเจริญ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๘ - เป็นครูสอนพระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรมและแผนก บาลี ส�านักศาสนศึกษาวัดโนนโพธิ์ ต�าบลโนนโพธิ์ อ�าเภอ เมืองอ�านาจเจริญ จังหวัดอ�านาจเจริญ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๘ - เป็นพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน เมือ่ พ.ศ. ๒๕๕๐ - เป็นพระปริยัตินิเทศประจ�าจังหวัดอ�านาจเจริญ พ.ศ. ๒๕๕๐
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
189
วัดถ�้ำแสงเพชร
ต�ำบลหนองมะแซว อ�ำเภอเมืองอ�ำนำจเจริญ จังหวัดอ�ำนำจเจริญ
Wat Tham Saeng Phet
Nong Ma Saeo Subdistrict, Mueang Amnat Charoen District, Amnat Charoen Province
พระอธิการประพัส ฐิตมโน เจ้าอาวาสวัดถ�้าแสงเพชร
190
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดถ�ำ้ แสงเพชร สำขำ ๕ ของวัดป่ำหนองพง หลวงพ่อชำ สุภทั โท เป็นผูก้ อ่ สร้ำงวัดถ�ำ้ แสงเพชรวัดนีต้ ง้ั อยูท่ ี่ บ้ำนดงเจริญ ต� ำ บลหนองมะแซว อ� ำ เภอเมื อ งอ� ำ นำจเจริ ญ จั ง หวั ด อ�ำนำจเจริญ ๓๗๐๐๐ อยู่ห่ำงจำกตัวจังหวัดอ�ำนำจเจริญ ไปทำงทิศตะวันออกตำมแนวถนนอรุณประเสริฐ เส้นทำง อ�ำนำจเจริญ อ.เขมรำฐ ประมำณ ๑๐ กิโลเมตร วั ด ถ�้ ำ แสงเพชรนี้ ตั้ ง อยู ่ บ นเชิ ง ภู เขำ เขำลู ก นี้ มี ลักษณะลำดไปทำงทิศตะวันออก จึงมีถ�้ำเกิดขึ้นจำกเพิงหิน หลำยแห่งในจ�ำนวนนีไ้ ด้มถี ำ�้ ขนำดใหญ่อยู่ ๒ แห่ง คือ ถ�ำ้ พระใหญ่ (ถ�้ำแสงเพชร) และถ�้ำพระน้อย (ถ�้ำโคนอน) เดิมชำวบ้ำนเรียกภูเขำนีว่ ำ่ ภูถำ�้ ขำม หรือถ�ำ้ พระใหญ่ อยู่ท่ำมกลำงป่ำอันร่มรื่น มีต้นไม้นำ ๆ ชนิด ขึ้นเขียวชอุ่ม อุดมสมบูรณ์ ร่มรืน่ มีเนือ้ ทีป่ ระมำณ ๑,๐๐๐ ไร่ เมือ่ ก่อนชำว บ้ำนแถวนี้อำศัยเข้ำไปหำของป่ำและล่ำสัตว์เป็นประจ�ำ ประมำณปี พ.ศ. ๒๔๙๘ พ่อใหญ่เทพ บุญหำญ, พ่อใหญ่กุ กัลยำรัตน์, พ่อใหญ่จนั ทร์ กำรินทอง และพ่อใหญ่เป็ง บุญกัณฑ์ ชำวบ้ำนหนองมะแซว ต�ำบลปลำค้ำว อ�ำเภอ อ�ำนำจเจริญ จังหวัดอุบลรำชธำนี ในขณะนัน้ ได้วำ่ จ้ำงช่ำงมำ ปั้นพระช่ำงชื่อ นำยสิงห์ โพธำริน ชำวบ้ำนปลำค้ำวมำปั้นรูป พระพุทธเจ้ำ และพระปัญจวัดคีย์ทั้งห้ำ ไว้ที่ปำกถ�้ำขำมเพื่อ เป็นที่สักกำรบูชำของชำวบ้ำนแถบนั้น ปีต่อ ๆ มำเมื่อถึงวัน สงกรำนต์ ชำวบ้ำนจะมำพร้อมกันไปสงน�ำ้ พระปัญจวัดคียท์ งั้ ห้ำ มีขบวนแห่ดอกไม้ ตีฆ้อง ตีกลอง ไปพร้อมกัน อยู่แรมคืน ตลอดมำทุกปี วันที่ ๑๙ พฤศจิกำยน พ.ศ. ๒๕๑๑ หลวงพ่อชำ สุภทั โท (พระโพธิญำณแถร) พร้อมด้วยมหำอมร เขมจิตโต (พระมงคล กิตติธำดำเจ้ำอำวำสวัดป่ำวิเวกธรรมชำน์) และพระอำจำรย์
โรเบิร์ต สุเมโธ (โรเบิร์ต แจ็คแมน) (พระเทพญำณวิเทศ) ได้ เดินทำงมำยัง อ�ำเภออ�ำนำจเจริญ ซึ่งสมัยนั้นเป็นอ�ำเภอหนึ่ง ของจังหวัดอุบลรำชธำนี และพักทีส่ ำ� นักสงฆ์บำ้ นบกเตีย้ ๑ คืน ซึ่งมีพระอำจำรย์โสม ถิรจิตโต พ�ำนักอยู่ (หลังจำกสร้ำงวัดถ�้ำ แสงเพชรแล้ว ส�ำนักสงฆ์นี้ก็ร้ำงไป ปัจจุบันนี้เรียกว่ำ วัดบ้ำน ดงเจริญ) ครั้นรุ่งขึ้นเช้ำวันที่ ๒๐ พฤศจิกำยน พ.ศ. ๒๕๑๑ หลวงพ่อชำและคณะพร้อมญำติโยมแถวนั้นอีก ๒-๓ คน เดิน ทำงขึน้ ภูถำ�้ ขำม เดินลัดเลำะไปตำมป่ำ โดยอำศัยเส้นทำงเดินป่ำ ของชำวบ้ำนถิ่นนั้น ครั้นตกเย็น หลวงพ่อชำ และคณะได้พัก ทีห่ น้ำถ�ำ้ พระใหญ่ โดยญำติโยมได้ทำ� นัง่ ร้ำนปูดว้ ยไม้กระดำน เป็นที่พักชั่วครำว และได้ท�ำวัตรเย็น นั่งสมำธิแผ่เมตตำให้ สรรพสัตว์ทั้งหลำยทุกคืนอยู่ที่หน้ำถ�้ำแห่งนี้เป็นประจ�ำ ล่วงมำคืนที่ ๔ ซีง่ ตรงกับวันที่ ๒๓ พฤศจิกำยน พ.ศ. ๒๕๑๑ หลังจำกท�ำวัตรเย็น นั่งสมำธิ และแผ่เมตตำ เวลำ ประมำณ ๓ ทุ่ม ขณะที่ก�ำลังนั่งพักผ่อนฉันน�้ำปำนะอยู่นั้น หลวงพ่อชำ สุภัทโท ได้ปรำรถกับ พระมหำอมร เขมจิตโต ว่ำ สถำนทีน่ งั่ สมำธิบำ� เพ็ญธรรมแห่งนีส้ งบเย็นสบำย ปลอดโปร่ง ใจดีเหลือเกิน เหมือนกับว่ำเป็นที่เรำเคยอยู่มำก่อน ถ้ำไม่เห็น แก่สังขำรจะนั่งสมำธิตลอดทั้งคืนโดยไม่นอนก็ได้ หลวงพ่อได้ปรำรภต่อไปว่ำ ถ�ำ้ แห่งนีเ้ รียกว่ำ ถ�า้ แสง เพชร พระมหำอมรจึงค้ำนว่ำ ชำวบ้ำนเขำเรียกว่ำ ถ�ำ้ พระใหญ่ แต่หลวงพ่อชำ ก็ยืนยันว่ำไม่ใช่ ต้องเรียกว่ำ ถ�้ำแสงเพชร ถึง จะถูก ตัง้ แต่นนั้ มำถ�ำ้ พระใหญ่จงึ กลำยเป็นถ�ำ้ แสงเพชรตำมที่ หลวงพ่อชำได้ปรำรภตั้งแต่วันนั้นเป็นต้นมำ ไม่มีใครกล้ำถำม ถึงมูลเหตุแต่อย่ำงใด พ.ศ. ๒๕๑๕ ควำมจริงได้มำเปิดเผยขึน้ มำ โดยแม่พดั ซึง่ เป็นคนบ้ำนก่อ ได้มำกรำบนมัสกำรหลวงพ่อชำหนองป่ำพง เกิ ด อำกำรเหมื อ นเจ้ ำ เข้ ำ ทรงพระมหำอมรจึ ง ถื อ โอกำส สอบถำมเกี่ยวกับ ควำมเร้นลับต่ำง ๆ หลำย ๆ อย่ำง จนกระทั้งได้ถำมถึงถ�้ำแสงเพชรจำกค�ำบอกเล่ำจำก แม่พัดที่เข้ำทรงได้ควำมว่ำที่ ถ�้ำแสงเพชร เดิมสมัยก่อน พระยาเพชรราช เป็นผู้ปกครองดั้งเดิม มีพระมเหสีอยู่ ๒ พระองค์ พระยำเพชรรำชเป็นผู้มีสมบัติเพชรนิลจินดำมำก
ไม่ยอมยกให้ใคร จำกค�ำบอกเล่ำของนำงพัด พระมหำอมร จึงนึกขึน้ ได้วำ่ คงเป็นเพรำะเหตุนนี้ นั้ เอง หลวงพ่อชำ สุภทั โท จึงได้ประวัติของถ�้ำที่แท้จริง คือ ถ�้ำแสงเพชร หลวงพ่อชำ ได้พจิ ำรณำแล้วเห็นว่ำ เป็นทีเ่ หมำะแก่ กำรปฏิบัติธรรมของผู้แสวงหำควำมหลุดพ้น จึงได้ปรับปรุง บริเวณหน้ำถ�ำ้ แสงเพชรโดยมีญำติโยมทีเ่ ป็นชำวบ้ำนใกล้เคียง มำช่วยเหลือ จึงได้ปรับปรุงพื้นที่ได้ชั่วครำวจำกพื้นที่อยู่บน ภูเขำสูง เดินทำงไปมำล�ำบำก หลวงพ่อชำจึงย้ำยลงมำอยู่ ที่รำบเชิงเขำทำงทิศใต้ ได้มีญำติโยมผู้มีจิตศรัทธำได้ปลูก สร้ำงศำลำมุงด้วยหญ้ำคำไว้ส�ำหรับ พระได้อำศัยบ�ำเพ็ญ ธรรมชั่วครำว เส้นทำงจรำจรไปมำในขณะนั้นเป็นเพียงทำง เดินเชื่อมต่อถนนใหญ่ด้ำนหน้ำเป็นระยะทำง ๓ กิโลเมตร หลวงพ่อชำ สุภัทโท คิดจะปรับปรุงถ�้ำแสงเพชร ให้เป็นวัดเป็นสำขำที่ ๕ ของวัดหนองป่ำพง จึงน�ำลูกศิษย์จำก วัดหนองป่ำพง เริ่มแผ้วถำงป่ำท�ำทำงผ่ำนป่ำละเมำะมุ่งสู้ ถ�ำ้ แสงเพชร โดยจัดให้พวกหนึง่ อยูท่ ถี่ ำ�้ แสงเพชร และตีระฆัง เป็นระยะ พวกหนึง่ แผ้วถำงทำงไปตำมเสียงระฆังเมือ่ ได้แนว ของเส้ น ทำงแล้ ว จึ ง ก� ำ หนดให้ ถ ำงออกกว้ ำ งโดยอำศั ย ไม้ ไ ผ่ ป ั ก เป็ น ระยะ ระฆั ง เป็ น สำมหลั ก เป็ น เส้ น ทำงตรง เดียวกัน ก่อนจะถอนแต่ละหลักไปปักข้ำงหน้ำเรือ่ ย ๆ ไปจน ทะลุถึงถ�้ำแสงเพชร เครื่องมือ มีด จอบ เสียม ตำมชำวบ้ำน ผูม้ จี ิตศรัทธำหำมำได้ ด้วยร่วมมือกันของชำวบ้ำนด้วยควำม เสียสละ โดยหวังเพียงบุญกุศลได้ทำงเข้ำพอรถแล่นได้บ้ำง แต่ยังไม่สะดวกนัก
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
191
วัดศรีโพธิ์ชัย
ต�ำบลปลำค้ำว อ�ำเภอเมืองอ�ำนำจเจริญ จังหวัดอ�ำนำจเจริญ
Wat Si Pho Chai
Pla Khao Subdistrict, Mueang Amnat Charoen District, Amnat Charoen Province
192
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดศรีโพรีชัย สร้างขึ้น พ.ศ. ๒๔๑๔ และได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๔ เดิมบริเวณนี้มี ต้นโพธิ์มากจึงเป็นที่มาของชื่อวัด ศาสนสถานและโบราณวัตถุ มีวิหารพระเจ้าใหญ่ศรีโพธิ์ชัย สร้าง พ.ศ. ๒๔๗๐ พระพุทธรูปพระเจ้าใหญ่ศรีโพธิช์ ยั เจดียห์ ลวงปูส่ อน หอแจก (ศาลาการเปรียญ) พระพุทธรูปไม้โบราณ แหย่งช้าง ฯลฯ โบราณวัตถุจ�านวนมากอันเป็นคลังองค์ความรู้และ ภูมปิ ญ ั ญาของบรรพชนก�าลังเสือ่ มสูญไปตามกาลเวลา ดังนัน้ คณะสงฆ์และชาวบ้านจึงร่วมกันจัดตัง้ ศูนย์วฒ ั นธรรมเฉลิมราช วัดศรีโพธิ์ชัย เพื่ออนุรักษ์และต่อยอดองค์ความรู้นั้นไม่ให้ สูญสิน้ ไป รวมทัง้ น�ามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างยัง่ ยืน พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดศรีโพธิ์ชัย วัตถุโบราณส่วนหนึ่งที่จัดแสดงภายในศูนย์ คือ ชิ้นส่วนจากศาสนสถานของวัดศรีโพธิ์ชัยในอดีต เช่น ประตู วิหารรวมทัง้ ช่อฟ้า ใบระกา และรังผึง้ ของวิหารหลังเดิม เป็น ไม้ตะเคียนแกะสลักลาย ทาสีงดงาม มีอายุกว่า ๑๐๐ ปี นอกจากนี้ ยั ง มี ส ่ ว นจั ด แสดงภาพพระบรม สาทิสลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และพระบรม วงศานุวงศ์ซึ่งเป็นภาพที่หาชมได้ยาก
พลังศรัทธาและภูมิปัญญาแห่งบรรพชน วิถชี วี ติ ความคิด และภูมปิ ญ ั ญาของชาวบ้านปลาค้าว ปรากฏผ่านวัตถุตา่ ง ๆ เช่น ความศรัทธาและความสามารถใน การจารอักษรตัวธรรมอีสาน และการสร้างคัมภีร์ใบลาน กับ ผ้าส�าหรับห่อคัมภีร ์ เหตุการณ์ของผูค้ นในภาพถ่ายเก่ารวมทัง้ ความเชื่ อ และพิ ธี ก รรมของชุ ม ชนที่ ส ะท้ อ นผ่ า นลวดลาย อันวิจิตรบรรจงของรางรดน�้าพระสงฆ์แจะบั้งไฟพญานาค เป็นต้น นอกจากนีย้ งั มีเครือ่ งมือเครือ่ งใช้ในชีวติ ประจ�าวันอีก จ�านวนมาก เช่น ชิ้นส่วนของหม้อดินที่พบในทุ่งนา พาน ขันหมาก แอบขันหมาก แอบยา กระโถนปากแตร ไม้สาวไหม และกระปุกปลาแดก เป็นต้น ซึง่ คณะผูด้ แู ลพิพธิ ภัณฑ์รว่ มกัน จั ด ท� า บั ญ ชี วั ต ถุ โ บราณเพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ แ ละการศึ ก ษา ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นบ้านปลาค้าว
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
193
วัดวังแคน
ต�ำบลกุดปลำดุก อ�ำเภอเมืองอ�ำนำจเจริญ จังหวัดอ�ำนำจเจริญ
Wat Wang Khaen
Kutpladuk Subdistrict, Mueang Amnat Charoen District, Amnat Charoen Province
พระอธิการวิชา โชติโก เจ้าอาวาสวัดวังแคน
194
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา เริ่มก่อตั้งเป็นที่พักสงฆ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๕ โดยมี พระเสิก ศรีสุนนท์ เป็นเจ้าอาวาสจนถึง พ.ศ. ๒๔๙๙ จึงได้ แต่งตั้งเป็นวัดวังแคน โดยมีพระอธิการสีปวะโร (พระครูบวร สิรคิ ณ ุ ) จนถึง พ.ศ. ๒๕๕๑ เมือ่ พระครูบวรสิรคิ ณ ุ ได้มรณภาพลง จึงแต่งตั้งเจ้าอาวาสใหม่ คือ พระอธิการเติม อนาวิโล จนถึง พ.ศ. ๒๕๕๘ เมื่อพระอธิการเติม อนาวิโล ได้ลาออกจาก ต�าแหน่ง จึงแต่งตั้ง พระอธิการวิชา โชติโก เป็นเจ้าอาวาส จนถึงปัจจุบัน
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
195
วัดหนองตาใกล้
ต�าบลห้วยไร่ อ�าเภอเมืองอ�านาจเจริญ จังหวัดอ�านาจเจริญ
Wat Nong Ta Kuai
Huai Rai Subdistrict, Mueang Amnat Charoen District, Amnat Charoen Province
พระครูปัญญาศุภกิจ เจ้าอาวาสวัดหนองตาใกล้
196
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดหนองตาใกล้ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหนองตาใกล้ เลขที ่ ๑๐ หมู ่ ๓ ต� า บลห้ ว ยไร่ อ� า เภอเมื อ งอ� า นาจเจริ ญ จั ง หวั ด อ�านาจเจริญ สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๑ ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๙ มีเนื้อที่ ๑๓ ไร่ ๘๘ ตารางวา อาณาเขตวัด ทิศเหนือ จดทางสาธารณประโยชน์ ทิศใต้ จดทางสาธารณประโยชน์ ทิศตะวันออก จดทางสาธารณประโยชน์ ทิศตะวันตก จดทางสาธารณประโยชน์ อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย ๑. อุโบสถ ๒. ศาลาการเปรียญ ๓. กุฏิสงฆ์ จ�านวน ๗ หลัง ๔. ศาลาอเนกประสงค์ ๕. ศาลาบ�าเพ็ญกุศล ๖. ฌาปนสถาน จ�านวน ๑ หลัง ๗. หอระฆัง จ�านวน ๑ หลัง ๘. หอกลอง จ�านวน ๑ หลัง ๙. โรงครัว จ�านวน ๑ หลัง ๑๐. เรือนเก็บพัสดุ จ�านวน ๑ หลัง ๑๑. เรือนรับรอง จ�านวน ๑ หลัง ปูชนียวัตถุ พระประธานประจ�าอุโบสถ ปางมารวิชยั ขนาดหน้าตัก กว้าง ๕๙ นิ้ว สูง ๑๑๒ ซม. สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๓
พระประธานประจ�าศาลาการเปรียญ ปางมารวิชัย ขนาดหน้าตัก กว้าง ๖๕ นิว้ สูง ๑๑๒ ซม. สร้างเมือ่ พ.ศ. ๒๕๖๑ พระประธาน ขนาดหน้าตัก กว้าง ๔๓ นิว้ สูง ๕๙ ซม. การเผยแผ่พระพระพุทธศาสนา เป็นหน่วยอบรมประจ�าต�าบล ( อ.ป.ต.) แต่งตั้งเมื่อ ๒๕๖๒ การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสมาแล้ว ๔ รูป ล�าดับเจ้าอาวาสตัง้ แต่อดีต จนถึงปัจจุบัน ดังนี้ - ล�าดับที่ ๑ พระพร พุทธญาโณ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๑ ถึงปี พ.ศ. ๒๕๑๖ - ล�าดับที่ ๒ พระเพ็ง ญาณพโล ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๖ ถึงปี พ.ศ. ๒๕๑๙ - ล�าดับที่ ๓ พระสวาท สมาหิโต ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๙ ถึงปี พ.ศ. ๒๕๒๙ - ล�าดับที ่ ๔ พระไพฑูรย์ ทีปงฺกโร ตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๒๙ ถึงปี พ.ศ. ๒๕๓๓ - ปัจจุบัน พระครูปัญญาศุภกิจ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๓ ถึง ปัจจุบัน
ข้อมูลเจ้าอาวาส นาม พระครูปัญญาศุภกิจ ฉายา ปญฺญาวโร อายุ ๕๕ ปี พรรษา ๓๓ ชื่อเดิม นายผิน เนตรพันธ์ เกิดวันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๐๘ อุปสมบทเมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๙ ชือ่ วัดทีอ่ ปุ สมบท วัดดอนหวาย วุฒกิ ารศึกษา (สูงสุด) พธ.บ.ปตรี จากสถาบั น การศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย มหา จุฬาลงกรณ์ ( อุบล ฯ) วิทยฐานะ (ขัน้ สูงสุด) นักธรรมชัน้ เอก ต�าแหน่งหน้าที่ทางคณะสงฆ์ ๑. ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๕๓๓ ๒. ได้รบั การแต่งตัง้ ให้ดา� รงต�าแหน่ง เจ้าคณะต�าบล ห้วยไร่ พ.ศ. ๒๕๔๕ ๓. ได้รบั การแต่งตัง้ ให้ดา� รงต�าแหน่ง พระอุปชั ฌาย์ พ.ศ. ๒๕๔๔
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
197
วัดดอนหวาย
ต�าบลบุ่ง อ�าเภอเมืองอ�านาจเจริญ จังหวัดอ�านาจเจริญ
Don Wai Temple
Bung Subdistrict, Muang Amnat Charoen District, Amnat Charoen Province
พระครุสุภาจารโสภณ เจ้าอาวาสวัดดอนหวาย
198
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดดอนหวาย ตั้งอยู่เลขที่ ๒๙ หมู่ที่ ๓ ต�าบลบุ่ง อ�าเภอเมือง จังหวัดอ�านาจเจริญ สร้างขึน้ เมือ่ วันที ่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๐ มีเนื้อที่ ๑๑ ไร่ ๓ งาน โดยการบริจาคที่ดินของ คุณพ่อบุญ - คุณแม่ลี ลุนพันธ์ ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๒ และผูกพัทธสีมาเมื่อปีพ.ศ. ๒๕๒๑ ประวัติเจดีย์ธรรมรักษ์ เจดีย์ธรรมรักษ์ เริ่มสร้างเมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๔๔ ขึ้น ๑๕ ค�่า เดือน ๖ ตรงกับวันจันทร์ ปีมะเส็ง น�าญาติโยมก่อสร้างโดย พระครูสุภาจารโสภณ เจ้าอาวาส วัดดอนหวายและเจ้าคณะต�าบลในเมืองเขต ๒
สร้ า งขึ้ น เพื่ อ บรรจุ พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ พร้ อ ม พระพุทธรูปเงินเก่าหน้าตัก ๙ นิ้ว บนยอดเจดีย์ ชั้น ๒ ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรั ก ษาพระพุ ท ธรู ป หิ น หยกสี เขี ย ว ปางมารวิ ชั ย หน้ า ตั ก ๓๙ นิ้ ว พร้ อ มรู ป เหมื อ นหุ ่ น ขี้ ผ้ึ ง พระครู สุ น ทรธรรมรั ก ษ์ (หลวงปู ่ ป า มหาปญฺ โ ญ) อดี ต เจ้าอาวาสวัดดอนหวาย ชัน้ ล่างเป็นพิพธิ ภัณฑ์เก็บรวบรวมของ โบราณพื้นบ้าน เจดีย์เป็นรูปทรงแปดเหลี่ยมยอดระฆังคว�่า ความกว้าง ๘ x ๘ เมตร ความสูง ๒๔.๘๙ เมตร สร้างเสร็จ เมื่อวันที่ ๑๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ขึ้น ๑๒ ค�่า เดือน ๑ ตรง กับวันเสาร์ ปีมะเส็ง ล�าดับเจ้าอาวาส ๑. พระชู ชาคโร ๒. พระแน่น กนฺตสีโร ๓. พระพันธ์ ปภสฺสโร ๔. พระจวง มหาวีโร ๕. พระครูสุนทรธรรมรักษ์ (หลวงปู่ป่า มหาปญฺโญ) ๖. พระครุสุภาจารโสภณ (ค�าฝั้น สุภโร) รูปปัจจุบัน
วัตถุส�าคัญภายในวัด ๑. พระประธานปางมารวิชัย ศาลาการเปรียญ ๒. พระประธานปางมารวิชัย อุโบสถ ๓. พระพุทธรักษา หินหยกเขียว เจดีย์ธรรมรักษ์ ๔. พระพุทธทันดร หินหยกขาว ศาลาร่วมใจ ๕. พระประจ�าวันเกิด ๑๒ เดือน รอบเจดีย์ ๖. รอยพระพุทธบาท ๗. หอพระอุปคุต
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
199
วัดศรีสุขเกษม
ต�ำบลโนนโพธิ์ อ�ำเภอเมืองอ�ำนำจเจริญ จังหวัดอ�ำนำจเจริญ
Wat Sri Suk Kasem
Non Pho Subdistrict, Mueang Amnat Charoen District, Amnat Charoen Province
พระครูปัญญาสิริวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดศรีสุขเกษม
200
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา เมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๔๘๔ หลวงปู่อรุณ พุ่มโพธิ์ ได้ชักชวนให้ชาวบ้านนาห้วยยางและบ้านสองคอนย้ายจาก ที่เดิม คือ วัดบ้านนาห้วยยาง (อยู่ตรงบริเวณที่ตั้งที่ท�าการ องค์การบริหารส่วนต�าบลโนนโพธิ์ในปัจจุบัน) มาตั้งวัดใหม่ ซึง่ มีผมู้ จี ติ ศรัทธา บริจาคทีด่ นิ เพือ่ สร้างวัดคือ นางชน ไหว้ครู เป็นจ�านวน ๒๔ ไร่ ซึ่งในขณะนั้นมีนายเพ็ง ไหว้ครู เป็น หัวหน้าฝ่ายบ้านเมืองได้พร้อมใจกันตั้งชื่อวัดแห่งนี้ใหม่ว่า วัดป่าศรีสุขเกษม ซึ่งวัดแห่งนี้เป็นที่ปฏิบัติกิจทางสงฆ์และ เป็นสถานทีย่ ดึ เหนีย่ วจิตใจของพุทธศาสนิกชนในบริเวณบ้าน ใกล้เรือนเคียง ได้มาร่วมปฏิบัติกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา อยู่เป็นเนืองนิจ วัดแห่งนีไ้ ด้มพี ระสงฆ์ซงึ่ เป็นเจ้าอาวาสตามล�าดับดังต่อไปนี้ ๑. หลวงปู่อรุณ พุ่มโพธิ์ ๒. พระหนูแก้ว พุ่มโพธิ์ ๓. พระปลัดบุญมา ศาสนจิตโต ๔. หลวงปู่ทา สดชื่น ๕. หลวงปู่ทา โก้หนองแวง ๖. หลวงปู่ทน พิสุทธิ์ ๗. พระธรรมธรวิชัย กันตจาโร ๘. พระชูชาติ ปุญกาโม ๙. พระครูปัญญาสิริวัฒน์ วัดแห่งนี้ประชาชนทั้งสองหมู่บ้าน คือบ้านนาห้วย ยางและบ้านสองคอน ได้ท�าการท�านุบ�ารุงปูชนียวัตถุและ
ปูชนียสถานเรื่อยมา ประวัติการก่อสร้างพระพุทธองค์ทรงสัมมาสัมโพธิญาณ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ พระธรรมธรวิชัย กัน ตจาโร เจ้าอาวาสวัดป่าศรีสุขเกษม นายบุญ เจริญวงศ์ ก�านันต�าบล โนนโพธิ์ นายล้อม พานิชกุล ผู้ใหญ่บ้านสองคอน พร้อมด้วย คณะกรรมการหมูบ่ า้ นและชาวบ้านทัง้ สองหมูบ่ า้ น ได้ประชุม กันที่ศาลาการเปรียญวัด เพื่อปรึกษาหารือเรื่องต่าง ๆ และมี และทีป่ ระชุมมีมติให้ดา� เนินการก่อสร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่ ขึ้ น ที่ วั ด แห่ ง นี้ เพื่ อ ให้ เ ป็ น ที่ เ คารพสั ก การะบู ช าของ พุทธศาสนิกชนโดยทั่วไปและให้เป็นพระคู่บ้านคู่เมืองของ ชาวจังหวัดอ�านาจเจริญอีกองค์หนึ่ง และคณะกรรมการได้ ก�าหนดวันวางศิลาฤกษ์ในวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๐ คณะกรรมการได้เรียนเชิญ ฯพณฯ นายชวน หลีกภัย มาเป็น ประธานในพิธีดังกล่าว การวางศิลาฤกษ์ได้เสร็จลุล่วงไปด้วย ดี ในส่วนงบประมาณในการด�าเนินการก่อสร้างนัน้ ได้จากแรง ศรัทธา ก�าลังใจ ก�าลังกายของประชาชนชาวบ้านทั้งสอง หมูบ่ า้ น ตลอดจนลูกหลานทีไ่ ปท�างานทีก่ รุงเทพมหานครและ ที่อื่น ได้จัดท�าผ้าป่าสามัคคีเพื่อหางบประมาณมาสร้างตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ จนส�าเร็จลุล่วงด้วยดี
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
201
วัดเทพมงคล
ต�ำบลบุ่ง อ�ำเภอเมืองอ�ำนำจเจริญ จังหวัดอ�ำนำจเจริญ
Wat Thep Mongkhon
Bung Subdistrict, Mueang Amnat Charoen District, Amnat Charoen Province
พระครูมงคลวรวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดเทพมงคล
202
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดเทพมงคล (วัดเทพนิมติ ธรรมาราม) สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ตัง้ เมือ่ พ.ศ.๒๕๑๗ ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๙ เริ่มก่อสร้างขึ้นเมื่อ วันที่ ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๐ ซึ่งตรงกับวันวิสาขบูชา เนื่องในโอกาสเฉลิมฉลองกึ่งพุทธกาล โดยฝ่ายสงฆ์มีพระครู วัฒนคุณพิทักษ์ เจ้าคณะอ�าเภออ�านาจเจริญ เป็นประธาน ทางฝ่ายบ้านเมือง มีนายอ�าเภออ�านาจเจริญ เป็นประธาน และมีพุทธศาสนิกชนชาวอ�านาจเจริญเป็นผู้อุปถัมภ์ โดย ก่ อ สร้ า งบนที่ ส าธารณะบริ เวณโสกขามป้ อ ม เดิ ม ใช้ ชื่ อ วัดเทพนิมติ ธรรมาราม ต่อมาจึงเปลีย่ นเป็นชือ่ วัดเทพมงคล เนื่ อ งจากเวลาเสนอขอตั้ ง วั ด สร้ า งวั ด ขอพระราชทาน วิ สุ ง คามสี ม า ในแบบฟอร์ ม กรมการศาสนากระทรวง ศึกษาธิการ จะถามว่า วัดเทพนิมติ ธรรมาราม ตัง้ อยูบ่ า้ นอะไร ชุมชนอะไร ผู้ที่ไปก็คิดว่า ถ้าจะชื่อบ้านน้อยคอกหมู ก็คง จะไม่เพราะ หลวงพ่อผู้ก่อตั้งจึงเปลี่ยนชื่อหมู่บ้านใหม่เป็น บ้านเทพมงคล พอเสนอไปเค้าก็เห็นว่าชื่อบ้านกับชื่อวัด ควรจะสอดคล้องกัน เพื่อการติดตามประสานงานต่าง ๆ ที่ สะดวกมากขึ้น จึงเปลี่ยนชื่อวัดจาก วัดเทพนิมิตธรรมาราม เป็นชื่อ วัดเทพมงคล ตามชื่อชุมชน ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๙ เป็นต้นมา โดยทีด่ นิ ในขณะเริม่ ก่อสร้างวัด มีเนือ้ ทีใ่ นขณะนัน้ มีเพียง ๑๐ ไร่ ต่อมามีผู้มีจิตศรัทธาบริจาคที่ดินเพิ่มเติมจนมี เนือ้ ที ่ ๓๕ ไร่ ๓ งาน ๒๕.๑/๒ ตารางวา และมีทธี่ รณีสงฆ์เป็น เขตสุสานและฌาปนกิจสถานอีก ๗ ไร่ ๒ งาน ๓๓ ตารางวา
รายนามเจ้าอาวาส ดังนี้ ๑. พระศึกษาชัยศรี กนฺตสึโล (เจ้าส�านัก) พ.ศ. ๒๕๐๐ - ๒๕o๗ ๒. พระครูรตั นทีปคุณ (พรหมมา ฐิตธมฺโม) เจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๕๐๗ - ๒๕๑๖ ๓. พระครูมงคลวรวัฒน์ (สวัสดิ์ วฑฺฒโน) เจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๕๑๖ ถึงปัจจุบัน ประวัติพระครูมงคลวรวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดเทพมงคล ๑. สถานะเดิม ชือ่ สวัสดิ ์ นามสกุล บุพศิร ิ เกิดวันพฤหัสบดีที่ ๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ ณ บ้านเลขที่ ๒๗ หมู่ ๙ บ้านค�าไฮ ต�าบลศรีสงคราม อ�าเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม บิดา นายพรม บุพศิริ มารดา นางพิมพ์ บุพศิริ ๒. อุปสมบท วันอาทิตย์ แรม ๔ ค�่า เดือน ๕ ปีมะเส็ง ตรงกับวันที่ ๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๘ ณ วัดศรีสงคราม อ�าเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม โดยพระครูศรีสงครามวิชยั วัดศรีสงคราม เจ้าคณะอ�าเภอศรีสงคราม เป็นพระอุปัชฌาย์ พระมหาเพชร ปญฺญาวิโร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระศรีเมือง สิริธมฺโม เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ๓. วิทยฐานะ วุฒทิ างธรรม สอบได้นกั ธรรมชัน้ เอก ส�านัก เรียนจังหวัดนครพนม
๔. สมณศักดิ์ พ.ศ. ๒๕๒๙ ได้รบั พระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสญั ญาบัตรเจ้าอาวาสชัน้ ตรี ที ่ พระครูมงคลวรวัฒน์ พ.ศ. ๒๕๓๐ ได้รบั การเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็น พระครูรองเจ้าคณะอ�าเภอชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้ รั บ การเลื่ อ นชั้ น พระ สังฆาธิการรองเจ้าคณะอ�าเภอชั้นโท เป็นชั้นเอก พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รบั การเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็น พระครูเจ้าคณะอ�าเภอชั้นเอก
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
203
วัดวิเวกแสงธรรม
ต�ำบลนำแต้ อ�ำเภอเมืองอ�ำนำจเจริญ จังหวัดอ�ำนำจเจริญ
Wat Vivek Saengtham
Na Tae Subdistrict, Mueang Amnat Charoen District, Amnat Charoen Province
พระครูพิพิธจันโทภาส เจ้าอาวาสวัดวิเวกแสงธรรม
204
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดวิเวกแสงธรรมเริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๓ ซึ่ง ขณะนัน้ ยังเป็นทีพ่ กั สงฆ์โดยมี หลวงปูผ่ ู ทีปงั กโร เป็นผูน้ ำ� พำ ญำติโยมชำวบ้ำนนำแต้ด�ำเนินก่อตั้งบุกเบิกและก่อร่ำงสร้ำง สถำนที่แห่งนี้ให้เป็นที่ปฏิบัติธรรมเพรำะเป็นสถำนที่ร่มรื่น มีรำวป่ำเหมือนวัด ในครั้งพุทธกำลซึ่งหลวงปู่ได้มองเห็น ควำมส�ำคัญต่อไปภำยหน้ำหำกควำมเจริญมำถึงวัดแห่งนี้จะ เป็นศูนย์รวมจิตใจของศรัทธำญำติโยมทุกสำรทิศ จึงได้สร้ำง พระพุทธรูปนำมว่ำ พระมงคลมิง่ ขวัญ พระประธำนองค์ใหญ่ ด้ำนหน้ำวัดเป็นสัญลักษณ์ของวัดนี้และเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๑ เป็นปีสิ้นบุญหลวงปู่ วัดแห่งนี้ถูกทิ้งให้รกร้ำงขำดผู้น�ำพำ ด� ำ เนิ น กำรต่ อ แต่ ก็ ยั ง มี พ ระสงฆ์ ม ำพั ก อยู ่ ค รำวละปี บ ้ ำ ง สองปีบำ้ ง จรมำพักชัว่ ครำวบ้ำง แต่กย็ งั ขำดพระสงฆ์อยูป่ ระจ�ำ และต่อมำเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ได้มีพระสงฆ์มำอยู่ประจ�ำและ พำญำติโยมพัฒนำสถำนที่แห่งนี้ต่อมำเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๐ สถำนที่แห่งนี้ได้ยกสถำนะเป็นส�ำนักสงฆ์ถูกต้องตำมกฎของ ส�ำนักงำนพระพุทธศำสนำแห่งชำติ และได้ด�ำเนินกำรขอตั้ง วัดขึ้นจนได้รับกำรอนุมัติให้ตั้งวัดขึ้นเมื่อ วันที่ ๑๕ สิงหำคม พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยให้ชื่อว่ำ วัดวิเวกแสงธรรม ซึ่งหมำยถึง ควำมสงบเงียบย่อมเห็นแสงพระธรรมน�ำควำมสว่ำงมำสูจ่ ติ ใจ และสถำนที่แห่งนี้ด้วย จวบจนได้สร้ำงศำลำนำบุญต่อมำได้ ยกเป็ น ศำลำอุ โ บสถไปในตั ว จนได้ รั บ พระรำชทำนเขต วิสุงคำมสีมำเวลำต่อมำ
ปัจจุบนั ได้ขน้ึ ทะเบียนเลขที ่ ๓๕ หมูท่ ี่ ๑ ต�ำบลนำแต้ อ�ำเภอเมืองอ�ำนำจเจริญ จังหวัดอ�ำนำจเจริญและได้แต่งตั้ง เจ้าอธิการธวัช จันทูปโม เป็นเจ้ำอำวำสและเป็นเจ้ำคณะ ต�ำบลนำแต้ รูปปัจจุบัน ต่อมำได้รับพระรำชทำนสมณะศักดิ์ เป็นพระครูชั้นโท (จต.ชร) ที่ทินนำม พระครูพิพิธจันโทภาส ตลอดระยะ ๒๐ ปีที่ผ่ำนมำวัดแห่งนี้ได้ทุ่มเททั้งก�ำลังแรงกำย และแรงศรัทธำของทัง้ พระพร้อมฆรำวำส ให้เป็นวัดพัฒนำทัง้ ทำงด้ำนจิตใจและวัตถุให้อยู่คู่พระศำสนำสืบไปเป็นที่พึ่งของ พุทธบริษัททุกสำรทิศอย่ำงแท้จริง
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
205
วัดหนองขาม
ต�าบลสร้างนกทา อ�าเภอเมืองอ�านาจเจริญ จังหวัดอ�านาจเจริญ
Wat Nong Kham
Sang Nok Tha Subdistrict, Mueang Amnat Charoen District, Amnat Charoen Province
พระครูโอภาสจันทราภรณ์ เจ้าอาวาสวัดหนองขาม
206
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดหนองขาม เดิมตัง้ อยูท่ ศิ ใต้ของทีต่ ง้ั วัดในปัจจุบนั เนือ่ งจากได้ยา้ ยจากทีเ่ ดิมแล้วมาตัง้ ทีใ่ หม่ ทีเ่ ดิมมีพนื้ ทีค่ บั แคบ เมื่อประชากรมากขึ้นมีความเจริญขึ้น ชาวบ้านจึงได้ปรึกษา หารือกัน แล้วย้ายบ้านพร้อมวัดมาตัง้ ในพืน้ ทีป่ จั จุบนั ตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๓ เป็นต้นมา แต่ยังคงใช้ชื่อเดิม เนื้อที่ของวัด ๙ ไร่ ๓ งานเศษ การปกครองภายในวัดแห่งนี้ซึ่งไม่นับก่อนจะย้าย มาทีน่ ี่ ได้แก่ พระอธิการค�าดี ฉนฺทกโร (บุญเสริฐ) เป็นเจ้าอาวาส รูปแรก จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๑๙ ท่านได้ถึงแก่มรณภาพ วัดแห่ง นีก้ ว็ า่ งเจ้าอาวาส จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๓๐ ชาวบ้านจึงได้ไปนิมนต์ พระครูโอภาสจันทราภรณ์ (นเรศ จนฺทาโภ ไชโยธา) มาท�าหน้าที่ รักษาการแทนเจ้าอาวาส และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้า อาวาสในเวลาต่อมาจนถึงปัจจุบัน วัดแห่งนี้ได้จัดการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนก ธรรม ท�าการเรียนการสอนนักธรรมชัน้ ตรี, ชัน้ โท และชัน้ เอก และศูนย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์วดั หนองขาม พร้อม ทั้งเป็นที่ตั้งหน่วยอบรมประชาชนประจ�าต�าบลสร้างนกทา ทุกปีมีพระภิกษุ สามเณรอยู่จ�าพรรษาไม่ได้ขาด เสนาสนะภายในวัด อุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฏิ มีสนามกีฬาฟุตซอล และสนามเด็กเล่นภายในวัด ปูชนียวัตถุ รูปเหมือนหลวงปูค่ า� ดี ฉนฺทกโร ซึง่ เป็นทีย่ ดึ เหนีย่ ว จิตใจของพุทธศาสนิกชนที่แวะเวียนมากราบสักการะขอพร เป็นประจ�า โดยเฉพาะลูกหลานชาวบ้านขาม บ้านนาเพียง และบ้านโคกยาว เป็นต้น
ความเป็นมา วัดปัจฉิมวัน ได้รบั อนุญาตตัง้ วัดเป็นส�านักสงฆ์ ในปี พ.ศ. ๒๔๕๓ ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าวั น ที่ ๒๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๗๙ และได้ผูกเป็นพัทธสีมาในปี พ.ศ. ๒๔๘๐ มีที่ดิน ๒๒ ไร่เศษ เป็นลักษณะสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในอุ โ บสถประดิ ษ ฐาน พระพุ ท ธชิ น สี ห ์ มุ นี รั ต นากรบวรสรรพไชยสิ ท ธิ์ ป ั จ ฉิ ม นาถบพิ ต ร ซึ่ ง เป็ น พระประธาน และประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ที่สมเด็จ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก ประทานมาเมื่อ วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๖ ทางวั ด ได้ ตั้ ง โรงเรี ย นขึ้ น เมื่ อ พ.ศ. ๒๕๓๖ คื อ โรงเรียนพระปริยัติธรรมปัจฉิมวันวิทยา โดยเจ้าอธิการวิชา ญาณธโร (พระครูโสภิตวรญาณ) ครัง้ เป็นเจ้าอาวาสในขณะนัน้ เป็นผู้ขอใบอนุญาต วัดปัจฉิมวันได้เป็นวัดอุทยานการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘ มีบอ่ น�า้ เก่าแก่อยูบ่ อ่ หนึง่ มีพพิ ธิ ภัณฑ์และมีสงิ่ ก่อสร้างต่าง ๆ มีประเพณีวฒั นธรรมต่าง ๆ และมีพระเจ้าใหญ่ไชยฤทธิส์ รรพสิทธิ์ ปรารถนาโคตมมหามุนี (หลวงพ่อส�าเร็จ) ประดิษฐานอยู่ใน ธรรมสถานสวนป่าอนัตตา (ป่าดอนใหญ่) เชิญผู้ใจบุญแวะ นมัสการได้ทุกวัน
วัดปัจฉิมวัน
ต�ำบลพระเหลำ อ�ำเภอพนำ จังหวัดอ�ำนำจเจริญ
Wat Patchimmawan
Phra Lao Subdistrict, Phana District, Amnat Charoen Province
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
207
วัดศรีชมภู่
ต�ำบลนำหว้ำ อ�ำเภอปทุมรำชวงศำ จังหวัดอ�ำนำจเจริญ
Wat Sri Chomphoo
Na Wa Subdistrict, Patumratchawongsa District, Amnat Charoen Province
พระครูสิริวารานุกูล เจ้าคณะอ�าเภอปทุมราชวงศา / เจ้าอาวาสวัดศรีชมภู่
208
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดศรีชมภู่ ตั้งอยู่ที่ เลขที่ ๑๙๖ หมู่ที่ ๒ บ้านนาหว้า ต�าบลนาหว้า อ�าเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอ�านาจเจริญ สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย เนื้อที่วัด ๕๒ ไร่ มีที่ธรณีสงฆ์ จ�านวน ๑ แปลง เนือ้ ที ่ ๙ ไร่ (ปัจจุบนั ให้เทศบาลต�าบลนาหว้า ด�าเนินการ บริ ห ารสาธารณะประโยชน์ เ ป็ น ตลาดสด) วั ด ศรี ช มภู ่ ตัง้ เมือ่ พ.ศ. ๒๔๔๗ ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ พ.ศ. ๒๕๐๓ เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๓๔ เมตร ยาว ๔๖ เมตร การบริหารและการปกครองมีเจ้าอาวาส ดังนี้ รูปที่ ๑ พระพัง กลฺยาโณ พ.ศ. ๒๔๔๗ – ๒๔๕๗ รูปที่ ๒ พระขาว อนาลโย พ.ศ. ๒๔๕๗ – ๒๔๖๔ รูปที่ ๓ พระพุฒ ธมฺมโชโต พ.ศ. ๒๔๖๔ – ๒๔๗๔ รูปที่ ๔ พระลอน กนฺตสีโล พ.ศ. ๒๔๗๔ – ๒๔๘๒ รูปที่ ๕ พระกุลี โกวิโท พ.ศ. ๒๔๘๒ – ๒๔๘๙ รูปที่ ๖ พระแซง อมโร พ.ศ. ๒๔๘๙ – ๒๔๙๐ รูปที่ ๗ พระแหว่น อภิจาโร พ.ศ. ๒๔๙๐ – ๒๕๐๐ รูปที่ ๘ พระพุฒธา สุกกฺ ธมฺโม พ.ศ. ๒๕๐๐ – ๒๕๐๗ รูปที่ ๙ พระครูพทิ ยาประสาธน์ พ.ศ. ๒๕๐๗ – ๒๕๔๑ รูปที ่ ๑๐ พระครูสทุ ธิวรธรรม พ.ศ. ๒๕๔๑ – ๒๕๔๘ รูปที ่ ๑๑ พระครูสริ วิ ารานุกลู พ.ศ. ๒๕๔๘ – ปัจจุบนั อาคารเสนาสนะ อุโบสถ อาคารคอนกรีต กว้าง ๗ เมตร ยาว ๒๑ เมตร สร้าง พ.ศ. ๒๕๑๕ ศาลาการเปรียญ กว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๒๑ เมตร สร้าง พ.ศ. ๒๕๒๗
หอระฆัง กว้าง ๔ เมตร สูง ๑๑ เมตร ศาลาบ�าเพ็ญกุศล จ�านวน ๑ หลัง กุฏิสงฆ์ จ�านวน ๑๔ หลัง เมรุ สร้างด้วยคอนกรีตมาตรฐาน ปูชนียวัตถุที่ส�าคัญ พระประธาน ประดิษฐานในพระอุโบสถ 1 องค์ พระพุทธรูป จ�านวน ๖ องค์ หน่วยงาน / องค์กร กิจกรรมที่ด�าเนินการและจัดตั้งในวัด ศรีชมภู่ ๑. ชมรมผู้สูงอายุวัดศรีชมภู่ ๒. เป็นส�านักปฏิบตั ธิ รรมประจ�าจังหวัดอ�านาจเจริญ แหล่งที่ ๕ ๓. โครงการลานธรรม ลานวิธี วัดศรีชมภู่ ๔. ศูนย์กลางการจัดกิจกรรมวันส�าคัญทาง ปฏิบัติ ธรรมในวั น ธรรมสวนะวั น มาฆบู ช า วั น วิ ส าขบู ช า วั น อาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา เป็นต้น ๕. การจัดงานวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น เช่น งาน ขึ้นปีใหม่ งานศพ งานบวช งานบุญผะเหวด งานสงกรานต์ งานบุญบั้งไฟ งานลอยกระทง งานบุญข้าวสาก ข้าวประดับ ฯ ๖. การจัดประชุม/อบรม/สัมมนา/การประชุมพระ สังฆาธิการ การประชุมของหน่วยงานราชการในชุมชน การ จัดกิจกรรมด้านศีลธรรม จริยธรรม ๗. การจัดการด้านการศึกษา การจัดการศึกษาธรรม แผนกธรรม ของภิกษุสามเณร วัดศรีชมภู่ การจัดการเรียนรู้ การเผยแผ่ ศีลธรรมครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ฯ
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
209
วัดดอนขวัญ ต�ำบลพนำ อ�ำเภอพนำ จังหวัดอ�ำนำจเจริญ
Wat Don Kwan
Phana Subdistrict, Phana District, Amnat Charoen Province
พระครูวรรณ คุณาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดดอนขวัญ
210
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดดอนขวัญ ตั้งอยู่บ้านดอนขวัญ บ้านเลขที่ ๑๕๘ หมู่ ๒ ต�าบลพนา อ�าเภอพนา จังหวัดอ�านาจเจริญ มีเนื้อที่ ๑๒ ไร่ ๒ งาน โดยรับการบริจาคของคุณแม่วณีย์ รูปแก้ว ซึ่ง มีอาชีพรับราชการครู ได้บริจาคไว้สร้างเป็นวัด เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๐ หลวงปูพ่ ระครูถาวรวนคุณ พร้อม ด้วยชาวบ้าน ได้มาตั้งเป็นส�านักสงฆ์ และก็ได้ตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ได้ รั บ ความเมตตาจากเจ้ า ประคุ ณ สมเด็ จ พระสังฆราช รูปที่ ๑๙ วัดบวรฯ เจ้าพระคุณสมเด็จท่านได้ ทรงเมตตาเป็ น พิ เ ศษ เพราะว่ า ลู ก ศิ ษ ย์ ข องท่ า นเป็ น นายต�ารวจทีไ่ ปบวชทีว่ ดั บวร ๑ พรรษา และก็ได้รางวัลมาเป็น พระปางไพรีพินาศที่อุโบสถ พระองค์ท่านได้ทรงลงนามด้วย การตั้งชื่อพระพุทธรูปที่ลานธรรม ที่อุโบสถและที่ซุ้มประตู ทางเข้า เมื่อพระชนมายุ ๙๐ พรรษา ก็ทรงมีสัญญาลักษณ์ ของท่านประทับมา ข้อมูลของวัดทีส่ า� คัญคือ พระพุทธรูป พระนิลองค์ดา� ทีด่ า้ นหน้า สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ พระสีวลี โชคลาภ ร�า่ รวย
ก็สร้างพร้อมกัน พร้อมซุ้มประตู และหลวงพ่อทันใจ ที่ด้านใต้ อุโบสถ ศาลาการเปรียญ ศาลาเครือน�าทองและพระปางมุจรินทร์ ปางนาคปรกพระองค์ก็ตั้งใจสร้าง ส่วนที่ส�าคัญที่สุดคือ การสร้างพระมหาเจดีย์ศรี อ�านาจเจริญ ก็ได้วางฤกษ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ตั้งแต่นั้นมาก็ ก่อสร้างมาเรื่อย ๆ ไปรับพระบรมสารีริกธาตุ จากเจ้าประคุณ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ไป รั บ พระบรมสารี ริ ก ธาตุ ที่ พ ระอุ โ บสถ ตอนไปรั บ ฝนตก โปรยปรายเป็นพุทธานุภาพ กลับมาถึงวัดก็ผนตกโปรยปราย จั ด งานทุ ก ปี ใ นช่ ว งเดื อ นพฤษภาคม ฝนตกทุ ก ปี มี ภ าพ มหัศจรรย์ มีพระอาทิตย์ทรงกลดตอนกลางวันเต็มยอดเจดีย ์ กลางคืน มีพระจันทร์ทรงกลดและดวงเทพเต็มไปหมด ๙ ปีที่ ผ่านมาเป็นพุทธานุภาพของพระมหาเจดียท์ ตี่ รงนี ้ และมีพระมหา เถระพระเกจิอาจารย์ที่ได้กราบนิมนต์มาร่วม คือ หลวงปู่ค�าบุ คฺตตจิตโต เทพพระเจ้าเมตตาแห่งแม่น�้าโขงที่พิบูลมังสาหาร หลวงปูจ่ นั ทร์หอม วัดบุง่ ขีเ้ หล็ก หลวงพ่อพระครูภาวนาธรรม วิสุทธิ์ วัดสุทธิกาวาส จังหวัดบึงกาฬ หลวงพ่อพระครูภาวนา กิจจาทร วัดเก่าบ่อสันติสุข และหลวงพ่อพระครูเกษม อ�าเภอ ตระการ พระมหาเถระอีกหลายรูปทีเ่ ป็นสายเกจิเจ้าพิธคี อื ปูฤ่ ษี เกศแก้ว จังหวัดหนองบัวล�าภู และรุน่ ทีท่ า่ นละสังขารไปแล้วก็ คื อ หลวงปู ่ บุ ญ หลายวั ด โนนทรายทอง สายหลวงปู ่ มั่ น อ�านาจเจริญ วัดโนนทรายทองพระธาตุส่วนหนึ่งรับมาจาก ประเทศอินเดีย ตอนทีไ่ ปทัวร์อนิ เดีย เมืองกุสนิ ารา แดนเสด็จ
ดับขันปรินิพพาน ท่านก็ถวายมารับจากหัวหน้าฝ่ายพระ ธรรมทูต สายต่างประเทศที่วัดภูเขาทอง ที่ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ไปสร้างที่วัดกุสินารา เหลือไว้ก็มอบให้วัดดอนขวัญ เป็น ดอกพิกุลแห้ง มีกลิ่นหอม และเป็นบารมีอีกส่วนหนึ่งของวัด ดอนขวัญ ที่มีสิ่งศักสิทธิ์ที่ยอดพระมหาเจดีย์บรรจุพระกริ่ง ปวเรศทองค�าหนัง ๓ บาท มีพระหยกทรงเครื่อง หยกน�าเข้า มาจากอินเดีย ราคาพอสมควร และมีวัตถุล�้าค่าอีกเยอะพอ สมควร สามารถมาเยี่ยมชมได้ที่วัดดอนขวัญ ศิลปะหลาก หลายผสมผสานเกี่ยวกับล้านนาบ้าง ทางอีสานบ้าง ทางทิศ ใต้ก็เป็นนากของนาคเจ็ดเศียรของหลวงพ่อทันใจ มีสิงห์จาก พม่า นาคของฝั่งเวียงจันทร์ สปป. ลาว ที่ใต้พระเจดีย์ ฐาน กว้าง ๑๙ เมตร จากองค์เจดีย ์ ๙ เมตร สูง ๔๙ เมตร นีค่ อื สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิป์ ระจ�าวัดทีจ่ ะให้ขอ้ มูลพอสังเขป วัดมีสถานทีร่ ม่ รืน่ ห้องน�้าประมาณ ๓๐ กว่าห้อง เหมาะแก่การพักผ่อน
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
211
วัดอ�ำนำจ
ต�ำบลอ�ำนำจ อ�ำเภอลืออ�ำนำจ จังหวัดอ�ำนำจเจริญ
Wat Amnat
Amnat Subdistrict, Lue Amnat District, Amnat Charoen Province
212
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา เมืองอ�ำนำจเจริญ ตัง้ อยูร่ มิ ฝัง่ เหนือล�ำเซบก ทิศอุดร และทิศพำยัพของเมืองอุบลรำชธำนี ระยะห่ำงประมำณ ๕๕ กิโลเมตร มีเขตติดต่อกับอ�ำเภอม่วงสำมสิบ อ�ำเภอพนำ อ�ำเภอเขมรำฐ อ�ำเภอชำนุมำน อ�ำเภอเลิงนกทำ และอ�ำเภอ เขื่อนค�ำแก้ว เมื่อได้ทรงพระรำชทำนเป็นเมืองแล้ว ก็ได้ทรงพระ กรุณำโปรดเกล้ำฯ แต่งตัง้ รำชวงศ์เสือเป็นเจ้ำเมือง และแต่งตัง้ อุ ป ฮำดรำชวงศ์ และรำชบุ ต รตำมจำรี ต ประเพณี กำรปกครองหัวเมืองภำคอีสำนในสมัยนั้น เจ้ำเมืองได้รับ พระรำชทำนยศ บรรดำศักดิเ์ ป็น พระอมรอ�านาจ ได้สถำปนำ วัดในเมืองอ�ำนำจเจริญขึน้ เป็นอำรำมหลวง เมืองนีม้ อี ยู ่ ๓ วัด คือ ๑. วัดในเมืองอ�ำนำจเจริญ (พระเจ้ำใหญ่ลือชัย ประดิษฐำนอยู่ในพระอุโบสถ) ๒. วัดทุง่ สุรยิ นั (ปัจจุบนั ทีท่ ำ� กำรประปำส่วนภูมภิ ำค) เป็นวัดร้ำง ๓. วัดสว่ำงวิทยำ (อยู่หมู่ ๕ บ้ำนสว่ำง) เป็นวัดร้ำง ปัจจุบนั วัดอ�ำนำจมี พระเจ้าใหญ่ลอื ชัย เป็นองค์พระ ศักดิ์สิทธิ์และเก่ำแก่ ประดิษฐำนอยู่ในพระอุโบสถ เป็นพระ มิ่งบ้ำนมิ่งเมือง และชำวเมืองตลอดพุทธศำสนิกชนทั้งหลำย ได้เคำรพบูชำสักกำระว่ำเป็นพระศักดิ์สิทธิ์ มีฤทธิ์เดชผล บันดำลให้ผมู้ ำบนได้ตำมปรำรถนำ ไม่ปรำกฎในต�ำนำนว่ำใคร สร้ำงพระเจ้ำใหญ่ลอื ชัย สร้ำงคูก่ บั พระเหลำเทพนิมติ อ�ำเภอ พนำ และ พระโรจน์ อ�ำเภอม่วงสำมสิบ ประวัติพระเจ้าใหญ่ลือชัย พระเจ้ำใหญ่ลือชัยไม่ปรำกฎชัดเจนว่ำใครเป็นผู้ สร้ำงและสร้ำงขึ้นในสมัยใด แต่มีเรื่องเล่ำที่ฟังจำกผู้เฒ่ำผู้แก่ ของหมู่บ้ำนได้เล่ำให้ฟังว่ำมี ๓ พี่น้องจำกประเทศลำวได้
พำกันท�ำกำรก่อสร้ำง คนหนึ่งสร้ำงพระเหลำ คนหนึ่งสร้ำง พระลือ คนหนึง่ สร้ำงพระโรจน์ แต่กไ็ ม่มหี ลักฐำนยืนยันชัดเจน แต่เมือ่ มำค้นคว้ำดูจำกหลักฐำนต�ำรำหนังสือสร้ำงบ้ำน แปลงเมืองทีค่ ณ ุ พ่อวิเชียร อุดมสันต์ เขียนเอำไว้และจำกต�ำรำ ประวัตกิ ำรตัง้ บ้ำนแปลงเมืองอ�ำนำจเจริญ ก็ได้ขอ้ มูลว่ำวัดแห่งนี้ มีกำรบูรณะอุโบสถไม้ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๓๖๐ ตอนทีท่ ำงวัดท�ำกำร บูรณะอุโบสถ ในครัง้ นัน้ ก็มอี งค์พระเจ้ำใหญ่ลอื ชัยอยูแ่ ล้ว และ จำกกำรศึ กษำดู จ ำกวัสดุอุป กรณ์ที่ใช้ใ นกำรก่อสร้ำงองค์ พระเจ้ำใหญ่ลอื ชัยตอนทีอ่ งค์พระเจ้ำใหญ่ทำ่ นร้ำวแตก ทำงวัด ได้ท�ำกำรบูรณะและได้รู้ว่ำในชั้นในจริง ๆ วัสดุที่ใช้ในกำร ก่อสร้ำงไม่ใช่ปูนสมัยใหม่เป็นดินเหนียวธรรมดำ และฉำบทำ ด้วยเปลือกหอยทีเ่ ผำไฟ และต่อมำชัน้ นอกจริงมีรอยฉำบด้วย ปูนที่คนโบรำณท�ำกันและมีปูนสมัยใหม่อยู่ด้ำนนอกบำงส่วน อันแสดงให้เห็นว่ำพระเจ้ำใหญ่ลือชัยได้มีกำรบูรณะซ่อมแชม มำหลำยยุคหลำยสมัยชัว่ คนพอสมควร และทีฐ่ ำนพระเจ้ำใหญ่ ลือชัยจะมีปลวกขึน้ อยูร่ อบฐำนตลอดเวลำท�ำอย่ำงไรก็ไม่หำย บำงทีทำงวัดต้องขุดดินปลวกออกเป็น ๕ สอบถึง ๑๐ สอบ ก็มี แต่ดนิ ปลวกก็ไม่หมดสักที ่ ซึง่ พระองค์อนื่ ไม่มอี ย่ำงนี ้ และทีน่ ำ� สังเกตอีกอย่ำงก็คือ เวลำทำงวัดจะมีงำนนมัสกำรหรือ จะมีคนมำท�ำบุญที่วัดมำกนั้น จะมีปลวกล้นพูนขึ้น มำเป็นจ�ำนวนมำกเป็นที่น่ำอัศจรรย์อย่ำงยิ่ง เพรำะเหตุเหล่ำ นีจ้ งึ แสดงให้เห็นว่ำ พระเจ้ำใหญ่ลอื ชัยหรือพระฤทธิล์ อื ชัย ได้ มีกำรบูรณะซ่อมแชมมำหลำยยุคหลำยสมัยหลำยชั่วอำยุคน พอสมควร ด้วยเหตุนที้ ำ� ให้ผเู้ ขียนประวัตไิ ม่รจู้ ะสรุปกำรสร้ำง ว่ำสร้ำงในพ.ศ.ใด จึงได้สรุปและสันนิษฐำนเอำเฉพำะตอน บูรณะอุโบสถไม้มำเท่ำนัน้ คือ ประมำณปี พ.ศ. ๒๓๖๐ ถึงกำร ตัง้ เมืองคือ พ.ศ. ๒๓๙๓ โดยมีหลวงพ่อบัณฑิตและหมืน่ ชำโนชิต เป็นผู้น�ำในกำรก่อสร้ำง ก่อนที่จะท�ำกำรก่อสร้ำงได้เกิดนิมิต แก่หลวงพ่อบัณฑิตว่ำ จะหล่อ หรือจะเหลา หรือจะเอาโลด เมื่อพิจำรณำตำมนิมิตนี้แล้ว หลวงพ่อบัณฑิตและ หลวงหมื่นชำโนชิต จึงได้น�ำศรัทธำญำติโยมท�ำกำรก่อสร้ำง พระพุทธรูปปำงมำรวิชัย โดยกำรใช้พิมพ์เทหล่อด้วยปูนผสม ทรำยส�ำเร็จเป็นพระพุทธรูประหว่ำงปี พ.ศ. ๒๓๖๐ - ๒๓๙๓ เมือ่ ส�ำเร็จแล้วก็มคี นมำขอพรกรำบไหว้ แล้วไปรบรำข้ำศึกต่ำง ๆ ก็ได้รบั ชัยชนะมำตลอด และเมืองอ�ำนำจเจริญเป็นเมืองหน้ำด่ำน เมื่อข้ำศึกยกทัพมำก็จะต้องผ่ำนเมืองอ�ำนำจเจริญแห่งนี้ก่อน แต่ข้ำศึกเหล่ำนั้นก็ไม่สำมำรถยึดและท�ำอันตรำยแก่เมือง
อ�ำนำจเจริญได้ เพรำะอำศัยพระมิ่งเมืองและพระเชื้อเมือง ตลอดถึงพระเจ้ำใหญ่ลือชัยที่ประดิษฐำนอยู่ที่อุโบสถวัด อ�ำนำจด้วย เหตุนี้จึงให้นำมพระพุทธรูปองค์นี้ว่ำ พระเจ้า ใหญ่ลือชัย ตั้งแต่นั้นมำ ต่อมำเมื่อบ้ำนอ�ำนำจได้ยกฐำนะขึ้นเป็นอ�ำเภอ จึงได้เอำซือ่ พระเจ้ำใหญ่ลอื ชัย คือ ค�ำว่ำ ลือ มำน�ำหน้ำค�ำว่ำ อ�ำนำจ จึงได้ชื่อว่ำ อ�าเภอลืออ�านาจ มำจนถึงปัจจุบัน ล�าดับเจ้าอาวาส รูปที่ ๑ เจ้ำอธิกำรสี (พระครูวุฒิเดชคณำจำรย์) พ.ศ. ๒๓๙๘ รูปที่ ๒ พระครูบัณฑิต (โสม) พ.ศ. ๒๔๓๓ รูปที่ ๓ พระภิกษุเทพวงค์ษำ พ.ศ. ๒๔๔๓ รูปที่ ๔ พระวรบุตร (จูม) พ.ศ. ๒๔๕๓ รูปที่ ๕ พระครูวรบุตร พ.ศ. ๒๔๕๘ รูปที่ ๖ พระอธิกำรมณี พ.ศ. ๒๔๖๔ รูปที่ ๗ พระอธิกำรรอง พ.ศ. ๒๔๖๙ รูปที่ ๘ พระอธิกำรเอี้ยง พ.ศ. ๒๔๗๙ (พ.ศ. ๒๕๐๔ เจ้ำอธิกำรเอี้ยงได้รับพระรำชทำน สมณศักดิเ์ ป็น พระครูสจุ ติ ธรรมบำล เจ้ำอำวำสและเจ้ำคณะ ต�ำบลอ�ำนำจ ทำงวัดและชำวบ้ำนจึงได้จำ้ งมหรสพคลองโบสถ์ และพัดยศของท่ำนพระครูสุจิตธรรมบำล) ปัจจุบนั พระครูสริ สิ ลี วัตร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้ำอำวำส วัดอ�ำนำจและรองเจ้ำคณะจังหวัดอ�ำนำจเจริญ
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
213
วัดอินทราราม
ต�าบลโพนทอง อ�าเภอเสนางคนิคม จังหวัดอ�านาจเจริญ
Wat Intharam
Phon Thong Subdistrict, Senangkhanikhom District, Amnat Charoen Province
พระครูอินทสารโกศล เจ้าคณะต�าบลโพนทอง / เจ้าอาวาสวัดอินทราราม
214
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดอินทราราม ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๕๓ โดยการ น�าพาของ นายเฮือง อุณาภาค (อินทกุมาร) ตั้งตามชื่อผู้น�าจึง ได้ชื่อว่า วัดอินทราราม เนื้อที่ ๙ ไร่ ๒ งาน คราวหลังได้ซื้อ ที่ดินเพิ่ม ๒ ไร่ ของบ้านสว่าง หมู่ ๒ ต�าบลโพนทอง อ�าเภอ เสนางคนิคม จังหวัดอ�านาจเจริญ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๖๖ ได้ สร้างพระพุทธรูปคูบ่ า้ น โดยการน�าพาของ ยารอด โชติธมฺโม (ยารอด) มีชื่อที่ชาวบ้านเรียกขานว่า หลวงพ่อใหญ่อินตา ศรีสุมังคละ เป็นที่เคารพบูชาของชาวบ้านในละแวกใกล้เคียง ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ พระยอดแก่น อนุตฺตโร ได้รับแต่งตั้ง ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส วัดอินทราราม บ้านสว่าง ต�าบล โพนทอง อ�าเภอเสนางคนิคม จังหวัดอ�านาจเจริญ ตราตั้งที ่ ๑๒๔ / ๒๕๓๗ ลงวันที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ได้ก่อสร้างศาลาอุโบสถขึ้น กว้าง ๑๕ เมตร ยาว ๓๐ เมตร โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังคาทรงไทยโครงเหล็กมุงด้วยกระเบื้องลอนคู่ ติดช่อฟ้า ใบระกา ผนังก่ออิฐถือปูน ฉาบ ฝ้าเพดานไม้พยุง ประตู หน้าต่างไม้เนือ้ แข็งแกะสลัก ซุม้ ประตูหน้าต่างติดลวดลายปูน ปั้น ทาสี พื้นลงหินขัด ติดตั้งระบบไฟฟ้าแล้วเสร็จ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ พระอธิการแก่น อนุตฺตโร ได้รับพระราชทาน สมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชั้นโท ในราชทินนามที่ พระครูอินทสารโกศล
ต่ อ มาในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ มี ก ารฉลองสมโภช พระประธานในศาลาอุโบสถหลังใหม่ขนึ้ ในเดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ต่อมาชาวบ้านได้ถวายที่ดินให้กับทางวัด เพื่อสร้าง เป็นที่พักสงฆ์ และเป็นที่ปฏิบัติธรรมประจ�าต�าบล ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ พระครูอนิ ทสารโกศล ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าอาวาส วัดราษฎร์ชั้นเอก ในราชทินนามเดิมที่ พระครูอินทสารโกศล ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ พระครูอินทสารโกศล ได้ รับการแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งเป็น เจ้าคณะต�าบลโพนทอง ต่อมาได้รับให้แต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่ง พระอุปัชฌาย์
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
215
ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ พระครู อิ น ทสารโกศล ได้ รั บ แ ต ่ ง ตั้ ง ใ ห ้ ด� า ร ง ต� า แ ห น ่ ง เจ้าคณะต�าบลโพนทอง ปัจจุบัน วัดอินทราราม เป็นวัดเจ้าคณะ ต�าบล
216
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
217
พระแก้วโกเมน ณ วัดมณีวนาราม (วัดป่าน้อย) 218
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
เส้นทางแห่งบุญ
จังหวัดอุบลราชธานี
Ubon Ratchathani Province
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
219
วัดโพธาราม
ต�าบลนาโพธิ์กลาง อ�าเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
Wat Photharam
Na Pho Klang Subdistrict, Khong Chiam District, Ubon Ratchathani Province
พระครูโพธิเขตวรคุณ เจ้าคณะอ�าเภอโขงเจียม/เป็นเจ้าอาวาสวัดโพธาราม
220
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดโพธาราม ตัง้ อยูเ่ ลขที่ ๒๑๓ หมูท่ ี่ ๑ บ้านนาโพธิก์ ลาง ต�าบลนาโพธิก์ ลาง อ�าเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย ที่ตั้งวัดทิศเหนือ จดถนนสาธารณะ ทิศใต้ จดทีห่ มูบ่ า้ น ทิศตะวันออก จดถนนสาธารณะ ทิศตะวันตก จดถนนสาธารณะ มีอาคารเสนาสนะประกอบไปด้วยอุโบสถ กว้าง ๖ เมตร ยาว ๑๒ เมตร ๑ หลัง กุฏิสงฆ์ ๔ หลัง ศาลา การเปรียญ กว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๒๔ เมตร ๑ หลัง โรงครัว ๑ หลัง อาคารศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด ๑ หลัง หอระฆัง ๑ หลัง กองอ�านวยการ ๑ หลัง ห้องน�้า ๒ หลัง เมรุ ๑ หลัง วัดโพธาราม ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๔ ชาวบ้านเรียกว่า วัดบ้านนาโพธิ์ใหญ่ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๒๑ การบริหารจัดการปกครองวัด มีรายนามเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนามดังนี้ ๑. พระเคน พ.ศ.๒๔๐๔ ปีที่ประกาศตั้งวัด ๒. พระเหลา ไม่ปรากฏ พ.ศ. ๓. พระสิงห์ ไม่ปรากฏ พ.ศ. ๔. พระอ่อน ไม่ปรากฏ พ.ศ. ๕. พระสิงห์ ไม่ปรากฏ พ.ศ. ๖. พระค�าสี ไม่ปรากฏ พ.ศ. ๗. พระสุกรี ไม่ปรากฏ พ.ศ. ๘. พระเครื่อง ไม่ปรากฏ พ.ศ. ๙. พระอธิการจันที โกวิโท พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๕๐๑
๑๐. เจ้าอธิการน้อย สุปุญฺโญ พ.ศ.๒๕๐๑ - ๒๕๑๙ ๑๑. เจ้าอธิการทารม วิสารโท พ.ศ.๒๕๑๙ - ๒๕๒๖ ๑๒. พระบัวค�า ปุณฺณโก พ.ศ.๒๕๒๖ - ๒๕๓๑ ๑๓. พระอ้น ธมฺมทตฺโต พ.ศ.๒๕๓๑ - ๒๕๓๖ ๑๔. พระครูโพธิเขตวรคุณ (บุญเลียง อินฺทปญฺโญ) พ.ศ. ๒๕๓๖-ปัจจุบัน พระครูโพธิเขตวรคุณ (บุญเลียง อินฺทปญฺโญ) เป็น เจ้าอาวาสวัดโพธารามรูปแรกที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตร และได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะอ�าเภอ โขงเจียมอีกต�าแหน่งหนึ่งด้วย
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
221
222
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
223
วัดศรีโพธิ์ชัย
ต�ำบลขุหลุ อ�ำเภอตระกำรพืชผล จังหวัดอุบลรำชธำนี
Wat Si Pho Chai
Khulu Subdistrict, Trakan Phuet Phon District, Ubon Ratchathani Province
พระมหายุธยา อภิปุญโญ เจ้าอาวาสวัดศรีโพธิ์ชัย
224
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา ตั้งอยู่เลขที่ ๑๖๓ บ้านขุหลุ หมู่ที่ ๓ ต�าบลขุหลุ อ�าเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๖ ไร่ ๒ งาน ๒๕ ตารางวา วัดศรีโพธิช์ ยั ตัง้ เมือ่ พ.ศ. ๒๓๐๕ ได้รบั พระราชทาน วิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๗ เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๒๓ เมตร อาณาเขต ทิศเหนือ จดถนน ทิศใต้ จดถนนและหมู่บ้าน ทิศตะวันออก จดถนนและหมู่บ้าน ทิศตะวันตก จดถนน อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย ๑. อุโบสถ กว้าง ๘ เมตร ยาว ๑๖ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๖ ๒. กุฏสิ งฆ์ จ�านวน ๕ หลัง เป็นอาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ ๓. ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง ๘ เมตร ยาว ๒๐ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๗ การบริหารและการปกครองมีเจ้าอาวาสแต่อดีตถึงปัจจุบนั คือ รูปที่ ๑ ญาท่านลี เจ้าอาวาสรูปแรกผู้น�าสร้างวัด รูปที่ ๒ ญาท่านหงส์ มีความรู้ทางมูลกัจจายน์ รูปที ่ ๓ ญาท่านด้วง เชีย่ วชาญด้านโหราศาสตร์และ อักษรขอม
รูปที่ ๔ ญาท่านคูณ เชีย่ วชาญด้านโหราศาสตร์และ อักษรขอม รูปที่ ๕ พระครูสิงห์ ผู้สร้างหอไตรกลางน�้าและ หนองขุหลุ รูปที่ ๖ พระสมุห์วัน (วัน ทีอุทิศ) เป็น ครูส อน โรงเรียนประชาบาลวัดศรีโพธิ์ชัย รูปที่ ๗ ญาครู สุ ด (สุ ด พุ ฒ ศรี ) เชี่ ย วชาญด้ า น เทศน์มหาชาติ รูปที่ ๘ ญาครูฉงิ่ ย้ายไปเป็นพระอุปชั ฌาย์ตา� บลโพธิไ์ ทร รูปที่ ๙ พระครูพนาภินันท์ (ลี จุใจล�้า) ย้ายไปเป็น เจ้าอาวาสวัดเอี่ยมวนาราม ต�าบลค�าเจริญ รูปที ่ ๑๐ เจ้าคุณพระมงคลปุญสาร (บุญ กมณีย)์ ป.ธ.๕ น.ธ.เอก ผู้ก่อตั้งโรงเรียนพระปริยัติธรรม และโรงเรียนปุญญสารวิสทุ ธิว์ ทิ ยา โรงเรียน การกุ ศ ลของวั ด ในพระพุ ท ธศาสนา สถาปนาวันที่ ๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๒ รูปที่ ๑๑ พระครูสริ ธิ รรมากร (บุดดา สิงโต) เป็นพระ นักพัฒนาทั้งด้านการศึกษา เผยแผ่และ สาธารณูปการและเป็นผู้ก่อตั้ง โรงเรียน พระปริยัติธรรม (แผนกสามัญ) โรงเรียน วัดศรีโพธิ์ชัยวิทยา
รูปที่ ๑๒ พระครูปริยัติวรกิจ (อ�าคา จันทะสาโร) พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๖๑ รูปที ่ ๑๓ พระมหายุธยา อภิปญ ุ โญ (บุญเติม) ป.ธ. ๗ น.ธ.เอก ปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๖๑ ถึงปัจจุบนั การศึกษามีโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรมและ แผนกบาลี เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ โรงเรียนปุญญสารวัด ศรีโพธิช์ ยั เปิดสอน พ.ศ. ๒๕๐๒ (เปลีย่ นชือ่ โรงเรียน พ.ศ. ๒๕๔๖) โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกสามัญ เปิดสอนเมือ่ พ.ศ. ๒๕๓๕ ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๖
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
225
วัดหนองหลัก
ต�ำบลเหล่ำบก อ�ำเภอม่วงสำมสิบ จังหวัดอุบลรำชธำนี
Wat Nong Lak
Lao Bok Subdistrict, Muang Sam Sip District, Ubon Ratchathani Province
พระครูศรีธรรมวิบูล เจ้าอาวาสวัดหนองหลัก
226
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา เดิมชือ่ วัดธรรมรังสี ต่อมาเปลีย่ นเป็น วัดหนองหลัก ตามชื่อของหมู่บ้าน สังกัดมหานิกาย เขตปกครองคณะสงฆ์ ต�าบลเหล่าบก อ�าเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี ภาค ๑๐ ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ ๖ ไร่ ๔๐ ตารางวา มีเอกสารแสดง กรรมสิทธิ์ โฉนดเลขที่ ๗๘๖๗ จากหลักฐาน หนังสือเอกสารการส�ารวจของกรม การศาสนา พ.ศ. ๒๕๒๑ วัดหนองหลัก ตัง้ ประมาณ พ.ศ. ๒๓๕๐ ผูกพัทธสีมา พ.ศ. ๒๓๘๐ และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา พ.ศ. ๒๕๕๐ วั ด หนองหลั ก เป็ น วั ด พั ฒ นาตามโครงการของ กรมศาสนา พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้รับเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง และ เจ้าอาวาสได้รับสมณศักดิ์ ที่ พระครูศรีธรรมวิบูล พ.ศ. ๒๕๓๙ ได้รับการคัดเลือกเป็นวัดพัฒนาดีเด่น
ถาวรวัตถุ มีอุโบสถ ศาลาการเปรียญ ฌาปนสถาน ศาลา บ�าเพ็ญกุศล ถังประปา หอสมุด หอระฆัง โรงครัว อย่างละ ๑ หลัง กุฏิตึก ๒ ชั้น จ�านวน ๕ หลัง กุฏิครึ่งตึกครึ่งไม้ จ�านวน ๓ หลัง กุฏิไม้ชั้นเดียว ๑ หลัง ปูชนียวัตถุ พระพุทธรูปประธาน ประจ�าศาลาการเปรียญ ซึง่ ได้ บรรจุพระพุทธรูปอันศักดิส์ ทิ ธิค์ วู่ ดั มาตลอดไว้ภายในโดยหลวงพ่อ พระครูอรรคธรรมวิจารณ์ ได้นา� มาบรรจุไว้ พ.ศ. ๒๕๑๓ หลวงพ่อ พระโพธิญาณเถระ วัดหนองป่าพง ได้น�าพระเกศามาบรรจุไว้ ในคราวงานวางศิลาฤกษ์ พ.ศ. ๒๕๓๑ ได้ทา� การบูรณะพระพักตร์ ใหม่ให้สวยงามขึ้น โดยพระมงคลกิตติธาดา ได้เมตตาน�า พระบรมสารีริกธาตุมาบรรจุไว้ด้วย ซึ่งได้เป็นที่ประจักษ์แก่ ผู้พบเห็นในคราวบูรณะศาลาการเปรียญ พ.ศ. ๒๕๓๔ พระพุทธปฏิมาภรณ์ ด้านหลังอุโบสถ เป็นทีบ่ รรจุอฐั ิ เกจิอาจารย์พ่อท่านบุดดี พ่อท่านเลิศ ทั้ง ๒ องค์ เป็นที่พึ่ง เคารพสักการะของชาวบ้านมาตลอด ปัจจุบันแม้งานบุญ ประเพณีประจ�า เช่น บุญเบิกบ้าน สงกรานต์ กฐิน ผ้าป่า ฯลฯ จะต้องบอกกล่าวท่านทุกครั้ง ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
227
พระพุทธรูปสัมฤทธิ์ ศิลปะล้านช้างปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง ๑ ฟุต สูง ๒ ฟุต พระเจ้าอุ่นเมือง พระเจ้ามิ่งเมือง อยู่ในอุโบสถ พระพุทธชินราชเป็นพระประธานองค์ใหญ่ในพระอุโบสถ ล�าดับเจ้าอาวาส ๑. พ่อท่านบุดดา ๒. พ่อท่านพระครูหลักค�า ๓. พ่อท่านจันทร์ ๔. พ่อท่านเงิน แสนสิงห์ พ.ศ. ๒๔๓๖ - ๒๔๔๐ ๕. พ่อท่านบุดดี (บุดดี ทิ้งชั่ว) พ.ศ.๒๔๔๐ - ๒๔๗๐ ๖. พ่อท่านพระครูอรรคธรรมวิจารณ์ (เลิศ ฉนฺโน ศาลาทอง) พ.ศ. ๒๔๗๐ - ๒๕๑๕ ๗. พ่อท่านพระครูปริยตั ยานุสฐิ (แหว่น ผาสุโก กลัวผิด) ป.ธ.5 น.ธ.เอก พ.ศ. ๒๕๑๕ - ๒๕๓๑ ๘. พ่อท่านพระครูศรีธรรมวิบูล (วิเชียร ญาณเตโช บ�ารุงชาติ) ป.ธ.6 น.ธ.เอก ปริญญาโท พ.ศ. ๒๕๓๑ – ปัจจุบนั 228
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
229
วัดพระโรจน์
ต�ำบลหนองช้ำงใหญ่ อ�ำเภอม่วงสำมสิบ จังหวัดอุบลรำชธำนี
Wat Phra Roj
Nong Chang Yai Subdistrict, Muang Sam Sip District, Ubon Ratchathani Province
พระครูศรีปัญญาภิวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดพระโรจน์
230
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดพระโรจน์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ ๑๒๖ บ้านพระโรจน์ หมูท่ ี่ ๕ ต�าบลหนองช้างใหญ่ อ�าเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ต�าบลหนองช้างใหญ่ ที่ดินตั้งวัดมี เนือ้ ที่ ๒๒ ไร่ ๑ งาน ๖๐ ตารางวา โฉนดทีด่ นิ นส.๓ก เลขที่ ๑๘๓๘ เป็นวัดเก่าแก่ สร้างขึน้ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีโบราณ วัตถุที่ใช้เป็นหลักฐาน อายุมากกว่า ๒๐๐ ปี อยู่ในเขตการ ปกครองของคณะสงฆ์มหานิกาย เดิมชือ่ ว่า วัดโพธิศ์ รีสพุ รรณ รัตนาราม ตั้งอยู่ริมล�าห้วยพระโรจน์ปัจจุบันนี้ จากหลักฐาน การตัง้ วัดเดิมประมาณปี พ.ศ. ๒๒๓๕ ชาวบ้านศรีโพธิช์ ยั ระบุ ว่า วัดโพธิศ์ รีสพุ รรณรัตนาราม บนพืน้ ทีว่ ดั เป็นเส้นทางทีป่ วงชน ในหมู่บ้านส่วนหนึ่งจะต้องใช้เป็นทางเดินข้ามไปประกอบ อาชีพบนฝั่งขวาของล�าห้วยนี้ที่บริเวณท่าน�้าเดิมของหมู่บ้าน จะเดิมทีเดียวจะเห็นเป็นแท่นทรายออกสีเขียวตะใคร่น�้าอยู่ แท่นหนึ่ง และเป็นแท่นหินที่ฝังลึกลงไปในดินโคลนของ ล�าห้วย ต่อมาเมื่อล�าน�้าได้ไหลเซาะดินบริเวณแท่นหินนี้ จน เห็นแท่นหินโผล่ขึ้นมาบนดินจนเห็นได้อย่างชัดเจน เป็น เหมือนรูปดอกบัวคว�า่ บัวหงาย ด้วยความสงสัยของหลาย ๆ คน จนชาวบ้านจึงต้องช่วยกันขุดดินรอบแท่นหินขึน้ มา ปรากฏว่า แท่นหินที่พบเห็นนั้น เป็นแท่นของพระพุทธรูปที่ถูกฝังลึกลง ไปในแนวตัง้ ให้สว่ นหนึง่ ฝังลงไปในดอน ส่วนที่เป็นแท่นตัง้ ขึน้ มาเป็ น พระพุ ท ธรู ป อยู ่ ใ นท่ า นั่ ง คล้ า ยพระหลวงพ่ อ วัดป่าเลไลยก์ โดยมีพระหัตถ์ทั้งสองวางประสานกันบน หน้าขา และมีนาคปรก ๕ ตัว มีความสูงประมาณ ๖๐ กว่า
เซนติเมตร และถือว่าเป็นนิมติ รหมายทีด่ ี ทีไ่ ด้พบพระพุทธรูป ที่สวยงามมาก พร้อมกันนี้ยังสามารถขุดค้นพนพระพุทธรูป หินทรายอีกจ�านวนหนึง่ ในบริเวญเดียวกัน แต่มขี นาดเล็กกว่า และมีรูปร่างสวยงามน้อยกว่า ทุกคนที่ค้นพบจึงเรียกท่านว่า พระสังกัจจายน์ (เป็นพระทีม่ รี ปู ร่างในการสร้างขึน้ สมัยทวาราวดี) ชาวบ้านทุกคนได้ร่วมกันท�าพิธีอัญเชิญขึ้นประดิษฐานไว้ที่ หอแจก (ศาลาการเปรียญเดิม) และถือว่าเป็นองค์พระทีไ่ ด้มา เฉย ๆ ได้มาโลด ทุกคนจึงเรียกองค์พระที่พบนี่ว่า พระโลด ต่อมาจึงเปลีย่ นภาษาเขียนเป็น พระโรจน์ หมายถึง ความรุง่ โรจน์ รุ่งเรือง ประมาณวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๕๕ ถือโอกาส เปลี่ยนเป็นชื่อหมู่บ้านเดิมจาก บ้านศรีโพธิ์ชัย มาเป็น บ้าน พระโรจน์ และเรียกชื่อล�าห้วยที่ขุดพบว่า ห้วยพระโรจน์ มา จนถึงทุกวันนี้ ด้วยความศรัทธาของชาวบ้านจากอดีตมาจนถึง ปัจจุบนั นี้ จึงได้ยดึ มัง่ ถือมัน่ ในความศักดิส์ ทิ ธิค์ บู่ า้ นคูเ่ มืองของ หลวงพ่อพระโรจน์ หลวงพ่อพระสังกัจจายน์ และองค์สิมเก่า (พระอุโบสถ อายุกว่า ๑๐๐ ปี)
ได้รบั อนุญาตให้สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๔๐ โดยมีพระโยค เป็นผู้น�าชาวบ้านในการสร้างวัดชาวบ้านจึงนิยมเรียกว่า วัด โพธิศ์ รีสพุ รรณรัตนาราม ได้รบั วิสงุ คามสีมา เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๗๘ ( ตามหลักฐานสิมเก่า) การบริหารและการปกครอง มีรายนามเจ้าอาวาสเท่าที่ ทราบดังรายนามดังต่อไปนี้ รูปที่ ๑ เดิมมาไม่ทราบรายชื่อ รูปที่ ๒ พระหลวงพ่อท่านจ�าปา หรือยาคูจ�าปา จากบ้านขาวม่วงไข่ อ.พังโคน จ.สกลนคร รูปที่ ๓ พระหลวงพ่อท่านต้น หรืออุปัชฌาย์ต้น รูปที่ ๔ พระหลวงพ่อท่านอ่อน หรืออุปชั ฌาย์ออ่ น รูปที่ ๕ พระหลวงพ่ อ ท่ า นสั ง ข์ ลั ท ธิ ว ะรรณ (พระอุปัชฌาย์สังข์) รูปที่ ๖ พระหลวงพ่อท่านเก่ง พระครูคณ ุ สัมปันมุนี (เก่ง ถาวโร พวงธรรม) รูปที่ ๗ พระหลวงพ่อท่านผุย (พระครูวิบุลย์ จนฺทโชโต บุญจันทร์ ) รูปที่ ๘ พระหลวงพ่อท่านสิทธิ์ พระครูครูจันทปัญโญภาส (ประสิทธิ์ จนฺทปญฺโญ โอภากุล) รูปที่ ๙ พระมหาทองค�า พระครูศรีปัญญาภิวัฒน์ (ทองค�า ปญฺญาทีโป มั่นจิต) เจ้าอาวาส ปัจจุบัน
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
231
ประวัติหลวงพ่อพระครูศรีปัญญาภิวัฒน์ พระครูศรีปัญญาภิวัฒน์ มหาทองค�า ปญฺญาทีโป (มั่นจิตศ์ ) ป.ช.๖.พธ.บ. อยุ ๘๘ พรรษา ๖๖ ต�าแหน่งทางคณะสงฆ์ เจ้าอาวาสวัดพระโรจน์ สถานะเดิม ชื่อ นายทองค�า นามสกุล มั่นจิดต์ เกิดเมื่อวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๗๖ ณ บ้านพระโรจน์ ต�าบล หนองช้างใหญ่ อ�าเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี บิดาชื่อ นายค�าดี มั่นจิดต์ มารดาชื่อ นางเด้ มั่นจิดต์ บรรพชา เมือ่ วันที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๕ ณ วัดพระโรจน์ ต�าบลหนองช้างใหญ่ อ�าเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี อุปสมบท เมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๙๗ ณ พัทธสีมา วั ด เวฬุ วั น ต� า บลไผ่ ใ หญ่ อ� า เภอม่ ว งสามสิ บ จั ง หวั ด อุบลราชธานี
โดยมี พระครูวจีสุนทร เป็นพระอุปัชฌาย์ เจ้าคณะอ�าเภอม่วงสามสิบ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ เจ้ า คณะหมวดอ่ อ น วั ด ม่ ว งสามสิ บ เป็ น พระ อนุสาวนาจารย์ พระใบฎีกาบุญมี วัดม่วงสามสิบ พระสมุ ห ์ ส มศั ก ดิ์ ปุ ญฺ ญ กาโม เป็ น พระกรรม วาจาจารย์ พระสมาน ธมฺมโชโด เป็นพระอนุสาวนาจารย์
232
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
วิทยฐานะ พ.ศ. ๒๔๘๗ จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ จากโรงเรียนบ้าน พระโรจน์ ต�าบลหนองช้างใหญ่ อ�าเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. ๒๔๘๗ สอบได้นักธรรรมชั้นเอก ส�านักเรียนวัดเวฬุวัน อ�าเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. ๒๕o๘ สอบได้เปรียญธรรม ๖ ประโยค ส�านักเรียน วัดเวฬุวัน อ�าเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. ๒๕๔๖ จบการศึกษาปริญญาตรี พุทธศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา เอกปรัชญา พ.ศ. ๒๕๑๗ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดนครป่าบาก เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร สมณศักดิ์ พ.ศ. ๒๕๓๔ ได้รับ พระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครู สัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชั้นเอกที่ พระครูศรีปัญญาภิวัฒน์ งานปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๔ ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดพระโรจน์ ที่ พระครูศรีปัญญาภิวัฒน์ มาจนถึงปัจจุบัน งานด้านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ ได้รับการแต่งตั้งเป็นครูสอนพระปริยัติธรรม พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้รับแต่งตั้งเป็นพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นตัวแทนแม่กองธรรม สนามหลวง พ.ศ. ๒๕๕o ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น ผู ้ อ� า นวยการโรงเรี ย น พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา วัดพระโรจน์ พ.ศ. ๒๕๔๗ ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้อ�านวยการศูนย์ศึกษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์วัดพระโรจน์ เกียรติประวัติและผลงาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้รับโล่, พัด, ย่าม วัดพัฒนาตัวอย่าง ที่มีผล งานดีเด่น พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้รับเกียรติบัตร ศูนย์ศึกษาพระพุทธศานา วันอาทิตย์ศูนย์ต้นแบบ
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
233
วัดป่าหนองไข่นก
ต�าบลหนองไข่นก อ�าเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี
Wat Pa Nong Khai Nok
Nong Khai Nok Subdistrict, Muang Sam Sip District, Ubon Ratchathani Province
ความเป็นมา ชาวบ้าน นิยมเรียกกันว่า วัดป่าพุทธญาณทรงธรรม (วัดนอก) ได้รับการประกาศ แต่งตั้งชื่อเป็นวัดในพุทธศาสนา เมื่อวันที่ ๑๐ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๒ มีพื้นที่ทั้งหมด ๑๐ ไร่ ๓ งาน ๒๕ ตารางวา ก่อนได้รับการก่อตั้งเป็นวัดป่า หนองไข่นก เมือ่ วันที ่ ๒๐ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๑๒ มีพระบุญเทีย่ ง พุทธสโร (พ่อท่าน พัว้ ) ได้เดินธุดงค์มาก อ�าเภอเสลภูม ิ จังหวัด ร้อยเอ็ด บริเวณแห่งนี้เป็นดงกะบากป่าชุมชน เขตป่าสงวน แห่งชาติ ซึง่ อยูห่ า่ งจากบ้านหนองไข่นกทางทิศตะวันเฉียงเหนือ ประมาณ ๑ กิโลเมตร จึงได้ปกั กลดพักแรม ปฏิบตั สิ มณธรรม และได้ไปกราบคารวะ พระครูวจี สุนทร (พ่อท่านบุตร) ซึ่ง เป็นเจ้าคณะต�าบลและพระอุปัชฌาย์ เขตต�าบลหนองไข่นก ต่อมามีญาติโยมเลื่อมใส ศรัทธาได้สร้างกระท่อมหลังเล็ก ๆ โดยมีพอ่ ใหญ่บญุ มาเป็นแกนน�า ต่อมาได้สร้างศาลาไม้ขนาดกลาง กว้าง ๓ เมตร ยาว ๖ เมตร เมื่อวันพุธ ที่ ๑๑ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ ขึน้ ๕ ค�า่ เดือน ๔ ปีจอ โดยมีญาติโยมกลุม่ เล็ก ๆ คือ พ่อใหญ่โส พ่อใหญ่บุญมา พ่อใหญ่ทอง สารักษ์ และลูก หลานช่วยกันสร้าง แล้วเสร็จในวันเสาร์ท ี่ ๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ แรม ๑๒ ค�่า เดือน ๕ ปีจอ ต่อมาญาติโยมที่
234
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
อ�าเภอเสลภูม ิ จังหวัดร้อยเอ็ด ได้มาเยีย่ มและช่วยสร้างกุฏ ิ หอ ฉัน กุฏิหลังเล็ก ๓ - ๔ หลัง และสร้างศาลาการเปรียญและ อุโบสถ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๖ ปัจจุบันได้รับพระราชทาน วิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที ่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ โดยความร่วมมือ ร่วมทุนร่วมแรงของญาติโยมพ่อทอง สารักษ์ พ่อใหญ่บุญมา จันทพันธ์ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๑ สร้างบริโภคเจดีย์ศรีอุบลรัตนะ เมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๓๑ เพือ่ บรรจุพระสารีรกิ ธาตุของพระอรหันตสาวก และเก็บโบราณวัตถุพระพุทธรูปสมัยเก่าหลายปางในเจดีย์ เป็ น ที่ ป ระกอบศาสนกิ จ ส� า หรั บ พระสงฆ์ และให้ อุ บ าสก อุบาสิกา พุทธบริษทั ผูเ้ ลือ่ มใสศรัทธาได้กราบนมัสการสักการะ ทุกทั่วสารทิศกันสืบมา การบริหารและการปกครองอดีตจนถึงปัจจุบัน ๑. หลวงพ่อบุญเที่ยง พุทธสโร (พ่อท่านพั่ว) เดชคุณ รักษาการเจ้าอาวาสรูปแรก มรณภาพ วันที่ ๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๓ ๒. พระอธิการพันธ์ สุเมโธ แต่งตัง้ เจ้าอาวาสเมือ่ วันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๐ ลาสิกขา พ.ศ. ๒๕๕๒ ๓. พระอธิการอวยชัย สุนทโร (ป) ธรรมสอน ป.ธ.๓ น.ธ.เอก คบ. แต่งตัง้ เจ้าอาวาสวันที ่ ๑ กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
หลวงพ่อบุญเที่ยง พุทธสโร เดชคุณ (พ่อท่านพั่ว) มรณภาพ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ อาณาเขตพื้นที่ มีเนื้อที่ ๑๐ ไร่ ๓ งาน ๒๕ ตารางวา เขตพุทธาวาส ได้แก่ พระมหาบริโภคเจดียศ์ รีอบุ ลรัตนะ ศาลา อุโบสถ หอพระสังกัจจายน์ เขตสังฆวาส ได้แก่ กุฏิพระ ๕ หลัง กุฏิแม่ชี ๒ หลัง หอฉัน และโรงครัว ๑ หลัง ศูนย์เรียนรู้ ๑ หลัง โรงกลั่นน�้าสมุนไพร ๒ หลัง เตาอบสมุนไพร ๒ ห้อง ห้องน�้า ๒๐ ห้อง ฯลฯ
พระอธิการอวยชัย สุนฺทโร เจ้าอาวาสวัดป่าหนองไข่นก ประวัติเจ้าอาวาสสังเขป พระอธิการอวยชัย สุนฺทโร (ป) ธรรมสอน เกิดวัน อาทิตย์ท ี่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๐๒ ทีบ่ า้ นป่าแข อ�าเภอเกาะ จังหวัดล�าปาง อายุ ๖๑ ปี พรรษา ๑๒ สอบได้เปรียญธรรม สามประโยค นักธรรมเอกปริญญาตรี ครุศาสตร์บณ ั ฑิตสถาบัน ราชภัฏเชียงใหม่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าหนองไข่นก วันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้พัฒนาวัดสร้าง หอฉัน โรงครัว ปรับปรุงบูรณะศาลาอุโบสถและเจดียศ์ รีอบุ ลรัตน์ สร้างกุฏ ิ ๘ หลัง โรงกลั่นน�้าสมุนไพร ๒ เตาอบสมุนไพร ห้องน�้า ๒๐ ห้อง เป็นพระบัณฑิตเผยแผ่ประจ�าจังหวัด จัดรายการธรรมของ พระพุทธเจ้าทาง Facebook ทุกวัน
วัดป่าหนองไข่นกได้รับการคัดเลือกให้เป็นวัดดีเด่น ๑. เป็นวัดส่งเสริมการเรียนรู้สุขภาพระดับจังหวัด ๒. เป็นวัดประชารัฐสร้างสุขระดับจังหวัด ๓. เป็ น วั ด ดี เ ด่ น ส่ ง เสริ ม การปฏิ บั ติ ธ รรมและ หมู่บ้านรักษาศีลห้าระดับภาค ๔. เป็นวัดส่งเสริมสัมมาชีพผลิตน�้ากลั่นสมุนไพร แปรรูปสมุนไพร ระดับจังหวัด ๕. เป็นวัดส่งเสริมคุณธรรมบวร ต้นแบบระดับ จังหวัด และเป็นวัดเครือข่ายบวรคุณธรรม ศูนย์วัดป่าวังอ้อ ของสมเด็จพระมหาธีราจารย์ ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
235
วัดศรีสุพนอาราม
ต�าบลหนองช้างใหญ่ อ�าเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี
Wat Si Supon Aram
Nong Chang Yai Subdistrict, Muang Sam Sip District, Ubon Ratchathani Province
พระอาจารย์ฉลอง ธมฺมิโก เจ้าอาวาสวัดศรีสุพนอาราม
236
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา บ้านหนองช้างน้อย ต�าบลหนองช้างใหญ่ อ�าเภอ ม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี ได้กอ่ ตัง้ หมูบ่ า้ นขึน้ ในปี พ.ศ. ๒๔๖๕ โดยได้แยกตัวออกจากบ้านหนองช้างใหญ่ เนื่องจาก อยูไ่ กลทีท่ า� มาหากิน หลังจากตัง้ หมูบ่ า้ นเสร็จก็ได้กอ่ ตัง้ วัดขึน้ ซึ่งที่แห่งนี้เคยเป็นที่อยู่ของพวกข่าและขอมโบราณอาศัยอยู่ สังเกตได้จากมีหมู่บ้านร้างของพวกข่าและขอมกระจายอยู่ โดยทัว่ ไป เช่น ดงบ้านกรุง ดงบ้านสังข์ ดงบ้านทม ดงบ้านแขม ปัจจุบันเป็นที่สาธารณะประโยชน์ของต�าบล ต่อมาเมื่อชาว บ้านซึ่งเป็นพวกลาวดั้งเดิมอพยพมาพร้อมกับการตั้งเมือง อุบลราชธานีได้เข้ามาอาศัยอยู่แทนหมู่บ้านเหล่านี้ ได้ขุดพบ ข้าวของเครื่องใช้ของพวกขอมโบราณมากมาย เช่น ไห ๔ หู พระพุทธรูปโบราณ พระอาจารย์ฉลอง ธัมฺมิโก ซึ่งเป็นคน ดั้งเดิม และบรรพบุรุษอาศัยอยู่หมู่บ้านเหล่านี้ ได้เห็นความ ส�าคัญวัตถุโบราณของเครือ่ งใช้มากมาย โดยครัง้ แรกได้จดั หา ทรัพย์ในการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ ต่อมาลูกหลานได้เห็นความ ส�าคัญจึงได้ทอดผ้าป่าสมทบทุนก่อสร้างพิพิธภัณฑ์จนเสร็จ เรียบร้อย
พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดศรีสุพนอาราม จึงถือว่าเป็น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ พื้ น บ้ า นแห่ ง แรกของอ� า เภอม่ ว งสามสิ บ เป็ น เกียรติประวัติอย่างยิ่งของคนในท้องถิ่นนี้ท่ีได้แสดงออกถึง การอนุรักษ์และสืบทอดทางวัฒนธรรมของบรรพบุรุษและ แสดงออกถึงความกตัญญูต่อบรรพชนเป็นอย่างยิ่ง บันทึกการค้นพบเรือโบราณ เจ้าแม่ตะเคียนทอง อายุ ๒๐๐ ปี เรือโบราณล�านี้ค้นพบในล�าเซบก อยู่ระหว่างบ้าน หนองช้างน้อย ต�าบลหนองช้างใหญ่ อ�าเภอม่วงสามสิบ จังหวัด อุบลราชธานี และบ้านหนองหัวลิง ต�าบลจานลาน อ�าเภอพนา จังหวัดอุบลราชธานี โดยตัวเรือฝังจมอยูใ่ นน�า้ ล�าเซบกอยูร่ มิ ฝัง่ บ้านหนองช้างน้อย ชือ่ วังวัดท่า โดยหางเรือโผล่ขนึ้ มาเหนือดิน เล็กน้อยแต่จมอยูใ่ ต้นา�้ หัวเรือหันไปทางด้านต้นน�า้ คือ ล�าเซบก มีต้นก�าเนิดในเขตอ�าเภอเมือง และอ�าเภอลืออ�านาจ (บ้าน อ�านาจน้อย) และอยูไ่ กลจากห้วยพระเหลาทีไ่ หลมาบรรจบล�า เซบก ประมาณ ๑ กิโลเมตร โดยมีชาวบ้านหนองช้างใหญ่ คือ นายบุญเพ็ง รังทอง ไปหาปลาในเขตล�าเซบก พบว่ามีขอนไม้
ขนาดใหญ่จมอยู่ใต้น�้า ด้วยความสงสัยจึงส�ารวจดูใต้น�้าพบว่า มีลกั ษณะคล้ายเรือมาก จึงบอกนายประไพ เขียวสวัสดิ ์ แล้วไป เล่าให้พระอาจารย์ฉลอง ธมฺมิโก วัดหนองช้างน้อยทราบซึ่ง ท่านมีความสนใจในการอนุรักษ์ของเก่าและเก็บรวบรวม วั ต ถุ มี ค ่ า ไว้ ใ นพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ พื้ น บ้ า นวั ด ศรี สุ พ นอาราม บ้ า น หนองช้างน้อย ก่อนหน้านี้อาจจะมีคนค้นพบอยู่ก่อนแล้วแต่ไม่ได้ สนใจและไม่คิดว่าจะเป็นเรือขนาดใหญ่ โดยหลังจากขุดแล้ว พบว่าเรือมีความกว้าง ๑.๘๕ เมตร ยาว ๒๑.๖๐ เมตร และ
คาดว่าได้ขาดหายไปประมาณ ๓ - ๕ เมตร พระอาจารย์ฉลอง ธมฺมิโก จึงได้น�าประชาชนชาวบ้านหนองช้างน้อย ชาวบ้าน หนองช้างใหญ่ และชาวบ้านใกล้เคียง ท�าการขุดเรือขึ้นมา จากล�าเซบก ในวันที ่ ๑ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ใช้เวลาขุดทัง้ สิน้ ๒ วัน จนวันที่สามจึงได้น�ารถแบคโฮมาขุด และสามารถน�า เรือขึน้ มาจากน�า้ ได้ ระหว่างท�าการขุดเรือทัง้ ๓ ปรากฏว่าฝน ตกทั้ง ๓ วัน อากาศครึ้มสบายดี เริ่มตั้งแต่วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๔ ถึงวันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๕๔ จึงเคลื่อนตัวเรือจากล�า เซบก ใช้เวลา ๘ ชั่วโมง ประมาณ ๒ ทุ่ม โดยใช้ปริมาณคน ๓๐๐ คน จึงสามารถเคลื่อนที่โดยการใช้คณะกลองยาวบ้าน หนองช้างน้อยและบ้านหนองช้างใหญ่ ร่วมแห่ขบวนเรือมา ในระหว่างการขุดพบเรือโบราณขนาดใหญ่ที่ล�าเซบก ท�าให้ ประชาชนเดินทางมาเยี่ยมชมเรือโบราณอย่างมากมายและ ต่อเนื่องมาโดยตลอด
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
237
วัดหนองสองห้อง
ต�ำบลยำงโยภำพ อ�ำเภอม่วงสำมสิบ จังหวัดอุบลรำชธำนี
Wat Nong Song Hong
Yang Yo Pap Subdistrict, Muang Sam Sip District, Ubon Ratchathani Province
พระครูวิบูลปุญญาภรณ์ เจ้าคณะต�าบลยางโยภาพ / เจ้าอาวาสวัดหนองสองห้อง
238
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดหนองสองห้อง ตั้งอยู่ที่ หมู่บ้านหนองสองห้อง หมู่ที่ ๕ ต�าบลยางโยภาพ อ�าเภอม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี ตั้งเมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๓๗๖ ได้รับวิสุงคามสีมา ในปี พ.ศ. ๒๔๗๐ เดิมชื่อ วัดบ้านหนองสอง มีเนื้อที่ ๔ ไร่ ๓ งาน ๔ ตารางวา เป็นวัดเกิดของ ท่านพ่อลี ธมฺมธโร อดีตเจ้าอาวาส วัดอโศกการาม ต� าบลท้ายบ้าน อ�าเภอปากน�้า จั ง หวั ด สมุทรปราการ ปัจจุบันอยู่ในเขตของหมู่ที่ ๑๐ ต�าบลยางโยภาพ เพราะหมู่บ้านหนองสองห้อง แบ่งเขตการปกครองออกเป็น ๒ หมู่บ้าน ตั้งแต่เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๒ ต่อมาโรงเรีบยได้ย้าย ออกไปตั้งอยู่ข้างวัดทางทิศใต้ในปี พ.ศ. ๒๔๘๙ มีพระครู วิบลู ปุญญาภรณ์ (ไพบูลย์ ปิยธฺมโม) เจ้าคณะต�าบลยางโยภาพ เขต ๑ เป็นเจ้าอาวาสวัดในปัจจุบัน
วัดหนองสองห้องมีการพัฒนามาตามล�าดับ ตามแรง ศรั ท ธาของชาวบ้ า นในชุ ม ชนและจากผู ้ มี จิ ต ศรั ท ธาทาง ภายนอก ในการบูรณปฏิสังขรณ์ ทั้งเสนาสนะและสถานที่ใน ปัจจุบัน มีการจัดลานวัดเป็นพื้นที่คอนกรีตปลูกต้นไม้ร่มรื่น และสะอาด เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของพุทธศาสนิกชน
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
239
พระเจ้าองค์หลวง ณ วัดศรีมงคลใต้ 240
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
เส้นทางแห่งบุญ
จังหวัดมุกดาหาร Mukdahan Province
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
241
วัดศรีบุญเรือง
ต�ำบลศรีบุญเรือง อ�ำเภอเมืองมุกดำหำร จังหวัดมุกดำหำร
Wat Sri Bunruang
Sribunruang Subdistrict, Mueang Mukdahan District, Mukdahan Province
พระราชรัตนโมลี เจ้าคณะจังหวัดมุกดาหาร / เจ้าอาวาสวัดศรีบุญเรือง
242
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดศรีบุญเรือง ตั้งอยู่บ้านเลขที่ ๕๐ ถนนส�าราญ ชายโขงใต้ ต�าบลศรีบุญเรือง อ�าเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัด มุกดาหาร ๔๙๐๐๐ จากหลักฐานทีค่ นเฒ่าคนแก่เล่าสืบ ๆ ต่อกันมาและ เอกสารพอที่จะเชื่อถือได้พอที่จะกล่าวได้ว่า วัดศรีบุญเรือง เป็ น วั ด ที่ ช าวบ้ า นได้ ส ร้ า งขึ้ น ในยุ ค ที่ เจ้ า กิ น รี ส ร้ า งเมื อ ง มุกดาหาร ประมาณปี พ.ศ. ๒๓๑๐ เพื่อให้พระธุดงค์ได้พัก ปฏิบัติธรรม ซึ่งในสมัยนั้นพระสงฆ์ได้ออกจารึกแสวงบุญ มี จ�านวนน้อยจึงไม่คอ่ ยมีพระอยูอ่ าศัยประจ�า วัดนีจ้ งึ เป็นทีพ่ กั อาศัยของพระธุดงค์มาโดยตลอด แม้แต่ชื่อวัดยังไม่มี พอมา ปี พ.ศ. ๒๓๑๘ พระยาจันทร์ ศรีอุปราชา (เจ้ากินรี) ซึ่งเป็น เจ้าเมืองมุกดาหารคนแรก หลังจากสร้างวัดศรีมงคลใต้เสร็จ แล้วจึงได้ชกั ชวนข้าราชการและชาวบ้านใต้ (บ้านศรีบญ ุ เรือง) ร่วมกันบูรณวัดขึ้นใหม่ ให้เป็นที่พักของพระภิกษุสามเณร ต่อไป โดยสร้างกุฏิศาลาการเปรียญและอุโบสถ เสร็จแล้วได้ ตัง้ ชือ่ ว่า วัดศรีบญ ุ เรือง และได้อญ ั เชิญพระพุทธสิงข์สอง จาก วั ด ศรี ม งคลใต้ ม าประดิ ษ ฐานไว้ ใ นโรงอุ โ บสถของวั ด ศรี บุ ญ เรื อ ง เพื่ อ เป็ น ที่ สั ก การะของพระพุ ท ธศาสนิ ก ชน มาจนถึงทุกวันนี้ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒๒ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร
ปูชนียวัตถุ - พระประธานประจ�าอุโบสถ ปางมารวิชัย - พระประธานประจ�าศาลาการเปรียญ - ปูชนียวัตถุอื่นๆ พระพุทธสิงห์สองปรางมารวิชัย การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสมาแล้ว ๙ รูป ล�าดับเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน ดังนี้ ๑. พระครูหลักค�า ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๓๓๓ ๒. พระครูชุย ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๓๓๔ - ๒๓๕๐ ๓. หลวงพ่อค�าภูมี ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๓๕๐ - ๒๓๗๕ ๔. หลวงพ่อจุลนี ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๓๗๖ - ๒๓๘๔ ว่างจากเจ้าอาวาส ๕. พระอาจารย์ลิ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๔๗๐ - ๒๔๙๐ ๖. หลวงพ่องาม ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๔๙๑ - ๒๔๙๓ ๗. พระอาจารย์หน่วย มงฺคโล ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๔๙๔ - ๒๕๐๑ ๘. พระอาจารย์ยอด ย สชาโต (พระราชมุกดาหารคณี) ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๕๐๒ - ๒๕๔๕ ๙. พระราชรัตนโมลี (สมยง กตปุญโญ) ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๕๔๖ - ปัจจุบัน ประวัติพระราชรัตนโมลี พระราชรัตนโมลี ฉายา ถตปุญโญ อายุ ๖๐ พรรษา ๓๙ ชื่อเดิม สมยง นามสกุล หินผา เกิดวันที่ ๘ เดือน มกราคม พ.ศ.๒๕๐๓ อุปสมบท วันที่ ๒๑ เดือน มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ชื่อ วัดที่อุปสมบท วัดทุ่งขุนใหญ่ แขวง/ต�าบล หนองขอน เขต/ อ�าเภอ เมือง จังหวัดอุบลราชธานี
หลวงพ่อพระพุทธสิงห์สอง ต�าแหน่งหน้าที่ทางคณะสงฆ์ (ปัจจุบัน) ๑. ได้รบั การแต่งตัง้ ให้ดา� รงต�าแหน่ง รองเจ้าอาวาส วัดศรีบุญเรือง พ.ศ. ๒๕๔๕ ๒. ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสวัด ศรีบุญเรือง พ.ศ. ๒๕๔๖ ๓. ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่ง รองเจ้าคณะ จังหวัดมุกดาหาร พ.ศ. ๒๕๔๖ ๔. ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าคณะ จังหวัดมุกดาหาร พ.ศ. ๒๕๕๕
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
243
วัดศรีมงคลใต้ พระอารามหลวง ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร
Wat Sri Mongkol Tai (Phra Aram Luang) Nai Mueang Subdistrict, Mueang Mukdahan District, Mukdahan Province
พระครูประจักษ์บุญญาทร
เจ้าคณะอ�าเภอเมืองมุกดาหาร/ ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส
244
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. ๒๒๘๕ อยู่ติดถนนส�ำรำญชำยโขง ใกล้ด่ำนตรวจคนเข้ำเมืองจังหวัดมุกดำหำร หน้ำวัดมีตลำด อินโดจีน เป็นแหล่งท�ำมำค้ำขำยของผู้คนสองฟำกฝั่งแม่น�้ำ วัดได้รับพระรำชทำนวิสุงคำมสีมำ เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๓๑ ได้ รับกำรสถำปนำขึ้นเป็นพระอำรำมหลวงชั้นตรีชนิดสำมัญ ใน โอกำสพระรำชพิธีมหำมงคลเฉลิมพระชนมพรรษำ ๖ รอบ เมื่อ ๕ ธันวำคม พ.ศ. ๒๕๔๒ วัดศรีมงคลใต้มีเนื้อที่เพียง ๔ ไร่เศษ เป็นวัดเก่ำแก่วัดหนึ่ง วัดศรีมงคลใต้ มีประวัตเิ ล่ำว่ำ เมือ่ กรุงศรีอยุธยำเสีย แก่พม่ำครั้งที่ ๒ ผู้คนได้พำกันทิ้งถิ่นฐำนอพยพครอบครัว ลงมำหำที่สร้ำงบ้ำนเมืองใหม่ เจ้ำจันทสุริวงศ์ได้พำผู้คนไปตั้ง ถิน่ ฐำนทีฝ่ ง่ั ซ้ำยของแม่นำ�้ โขงทีบ่ ำ้ นโพนสิม บริเวณพระธำตุองิ ฮัง ปัจจุบนั อยูใ่ นแขวงสะหวันนะเขต ประเทศลำว ต่อมำโอรส คือ ท้ำวกินนรี พำชำวบ้ำนมำสร้ำงเมืองที่ปำกห้วยมุกฝั่งตรงข้ำม กับสะหวันนะเขต ได้พบพระพุทธรูป ๒ องค์ อยู่ใต้ต้นโพธิ์ ริมฝั่งโขง บริเวณวัดร้ำงใกล้ตำลเจ็ดยอด พระพุทธรูป ๒ องค์ที่พบนั้น องค์ใหญ่สร้ำงด้วย สัมฤทธิ์ศิลปะตระกูลพระไชยเชษฐำธิรำชแห่งล้ำนช้ำง ส่วน องค์เล็กเป็นเหล็กผสม ท้ำวกินนรีได้อญั เชิญพระพุทธรูปทัง้ ๒ องค์ ขึ้นประดิษฐำนในพระวิหำร พระพุทธรูปองค์ใหญ่เรียกกันว่ำ พระเจ้ำองค์หลวง พระเจ้าองค์หลวง เป็นพระประธำนปำงมำรวิชัย
หน้ำตักกว้ำง ๒ เมตร ๒๐ เซนติเมตร ควำมสูงจำกฐำน ๓ เมตร ส่วนพระพุทธรูปองค์เล็กนัน้ กลับปำฏิหำริยไ์ ปอยูใ่ ต้ตน้ โพธิ์ดังเดิม เป็นเช่นนี้อยู่หลำยครั้งทำงวัดจึงได้สร้ำงแท่นบูชำ ไว้ ต่อมำตลิง่ ริมแม่นำ�้ ทรุดตัวลงพระเหล็กก็ทรุดจมลงจนเห็น แต่ส่วนพระเมำลี ชำวบ้ำนจึงสร้ำงแท่นหินครอบพระเกศนั้น ไว้ เรียกกันว่ำ พระหลุบเหล็ก ภำยหลังได้ถูกน�้ำเซำะหำยไป เหลือแต่แท่นหินเท่ำนั้น ปัจจุบันแท่นหินตั้งอยู่ตรงทำงขึ้น พระวิหำร
พระวิหาร มีขนำดกว้ำง ๑๒ เมตร ยำว ๑๘ เมตร ก่ออิฐถือปูนหลังคำมุงกระเบื้องซ้อน ๒ ชั้น มีแนวเสำกลม ขนำดใหญ่เรียงเป็นแถวรับหลังคำ รูปแบบกำรก่อสร้ำงแฝง ควำมยิ่งใหญ่มั่นคงเหมือนอำคำรที่สร้ำงในเมืองหลวง ไม่ใช่ รูปแบบที่นิยมในท้องถิ่นน่ำจะได้รับกำรบูรณะโดยเสนำบดี คนส�ำคัญ ยุคต่อมำหน้ำบรรณลำยเทพพนม ประกอบลำย กนกสีทองบนพืน้ สีแดง ลักษณะทีน่ ยิ มสร้ำงสมัยเปลีย่ นแปลง กำรเปลี่ยนแปลงกำรปกครองของไทย พระอุโบสถหรือโบสถ์นอ้ ย มีขนำดเล็กอยูถ่ ดั ไปด้ำน หลังใกล้เขตสังฆำวำส แต่น่ำแปลกที่โบสถ์หันหลังออกแม่น�้ำ จึงไม่แน่ใจว่ำแต่ก่อนเคยมีล�ำน�้ำหรือทำงสัญจรอื่นอีกหรือไม่ กำรก่อสร้ำงเป็นอำคำรก่ออิฐถือปูน กว้ำง ๕ เมตร ยำว ๘ เมตร หลังคำมุงกระเบื้องมีช่อฟ้ำใบระกำ นำคสะดุ้งรูปทรง แบบพื้นบ้ำนอีสำนคือมีผนังด้ำนหลังพระประธำนเพียงด้ำน เดียว นอกนัน้ เปิดโล่งแบบศำลำหน้ำบรรณแต่งลำยปูนปัน้ เป็น พระพุทธรูปทรงสมำธิ (Meditation) บันไดทำงขึน้ โบสถ์นอ้ ย มี ๒ ด้ำนปั้นปูนเป็นรูปสัตว์ป่ำหิมพำนต์ซึ่งไม่พบในที่อื่น
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
245
วั ด ศรี ม งคลใต้ อ ยู ่ ใ นท� ำ เลที่ เ ป็ น หน้ ำ ด่ ำ นของ มุกดำหำรเป็นประหนึง่ ปำกประตูทำงออก ของประเทศกลุม่ อินโดจีน คือ ไทย ลำว จีน เวียดนำม กัมพูชำและพม่ำรวม ๖ กลุ่มประเทศ มุกดำหำรจึงเป็นประดุจอัญมณีเม็ดงำมริม ฝัง่ โขง โดยเฉพำะวัดศรีมงคลใต้เป็นจุดแรกทีป่ ระกำศควำม เป็นเมืองพุทธในริมน�้ำแถบนี้ เป็นวัดที่มีประวัติยำวนำนมี ควำมส�ำคัญและน่ำเยี่ยมชม ล�าดับเจ้าอาวาส รูปที่ ๑ ญำท่ำนค�ำบุ นนฺทวโร (ไม่ทรำบวัน เดือน ปีที่ครองวัด) รูปที่ ๒ พระครูมกุ ดำหำรมงคล (ไม่ทรำบวัน เดือน ปีที่ครองวัด) รูปที่ ๓ พระรำชมุกดำหำรคณี (พร ธมฺมฉนฺโท) (ไม่ ท รำบวั น เดื อ น ปี ที่ ค รองวั ด ) ๑๓ กันยำยน พ.ศ. ๒๕๔๔ 246
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
รูปที่ ๔ รูปที่ ๕
พระรำชมุกดำหำรคณี (ยอด ยสชำโต) ๒๐ สิงหำคม พ.ศ. ๒๕๔๖ – ๑๙ มิถนุ ำยน พ.ศ. ๒๕๖๐ พระครูประจักษ์บญ ุ ญำทร เจ้ำคณะอ�ำเภอ เมื อ งมุ ก ดำหำร, ผู ้ ช ่ ว ยเจ้ ำ อำวำสวั ด ศรีมงคลใต้ พระอำรำมหลวง, เป็นผูร้ กั ษำ กำรแทนเจ้ำอำวำส
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
247
วัดรอยพระพุทธบาทภูมโนรมย์ ต�าบลนาสีนวน อ�าเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร
Wat Phra Phutthabat Phu Manorom Na Si Nuan Subdistrict, Mueang Mukdahan District, Mukdahan Province
248
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา การก่อตั้งวัดวัดภูมโนรมย์ จากหลักฐานการสร้างจากแผ่นศิลา ได้กล่าวว่า คนของ ท่านขุนศาลาและพระอาจารย์บุ นนฺทวโร เจ้าอาวาส วัดมโนภิรมย์ บ้านชะโนด และผู้สร้างวัดลัฎฐิกวัน เป็นผู้สร้าง และถือเป็น ที่ส�าหรับการจ�าพรรษา และปฏิบัติธรรมกัมมัฎฐานของพระภิกษุ ได้สร้าง พระธาตุรปู ทรงแปดเหลีย่ มหนึง่ องค์ พร้อมสร้างรอยพระพุทธบาทจ�าลอง และพระอาคารเพ็ญ ทีเ่ ป็นพระพุทธรูปขนาดเล็กไว้องค์หนึง่ และสร้างกุฏิ ส�าหรับพระสงฆ์อีกหลังหนึ่ง วัดภูมโนรมย์ หรือ วัดรอยพระพุทธบาทภูมโนรมย์ ตั้งอยู่เลขที่ ๕๑๙ หมู่ที่ ๙ บ้านเข้ามโนรมย์ ต�าบลนาสีนวน จังหวัดมุกดาหาร อยู่ห่าง จากตัวเมืองมุกดาหารประมาณ ๕ กม. มีเนื้อที่ประมาณ ๑๐๐ ไร่ อยู่ใน เขตพืน้ ทีข่ องอุทยานแห่งชาติมกุ ดาหาร มีพชื พันธ์ไม้หายากหลายชนิด เช่น ต้นช้างน้าว ผักหวาน ทีใ่ นอดีตชาวบ้านแถบนัน้ จะขึน้ ภูเก็บผักหวานกันอยู่ ในเขตอ�าเภอเมืองมุกดาหาร เป็นภูเขาที่มีความไม่สูงมากนัก มีพืชพันธุ์ไม้ หลายชนิดทีห่ ายาก นอกจากนัน้ ยังเป็นทีต่ งั้ วัดรอยพระพุทธบาทภูมโนรมย์ เป็นวัดเก่าแก่ มองเห็นทิวทัศน์ของจังหวัดมุกดาหาร แม่น�้าโขง และแขวง สะหวันนะเขต สปป.ลาว ภายในบริเวณวัดมีรอยพระพุทธบาทจ�าลอง สร้าง ขึ้นจากหินทราย กว้าง ๘๐ เซนติเมตร ยาว ๑.๘ เมตร ปัจจุบันมีพระพุทธ รูปเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ เนื่องใน โอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ เป็น พระพุทธรูปบางมารวิชัย ขนาดหน้าตัก ๓๙.๙๙ เมตร สูง ๕๙.๙๙ เมตร รวมความสูงจากฐานถึงยอดเศียร ๘๔ เมตร โดยได้รับการสนับสนุน งบประมาณจากรัฐบาล ๗๕ ล้านบาท โบราณสถานและโบราณวัตถุในวัดรอยพระพุทธบาทภูมโนรมย์ ได้แก่ พระธาตุภูมโนรมย์ เป็นพระธาตุทรงแปดเหลี่ยมมีเอวเป็นฐาน หักเชิงเป็นรูปแปดเหลี่ยมรัศมีประมาณ ๒.๕เมตร เป็นรูปทรงปลีแบ่งเป็น ๓ ท่อนคือเป็นลักษณะปริศนาธรรม ตามความหมายแรกเป็นนรกภูม ิ ฐาน ที่สองเป็นโลกภูมิซึ่งมาก และสุดท้ายเป็นสวรรค์ภูมิ ความสูง ๔.๕ เมตร พระอั ง คารเพ็ ญ เป็ น พระพุ ท ธรู ป ขนาดเล็ ก สร้ า งพร้ อ ม พระพุทธบาท เพือ่ ให้ครบคือพระธาตุ พระพุทธรูปและพระบาทตามความ เชื่อของผู้สร้าง บันทึกการสร้างวัด จ�านวน ๑ แผ่น ติดอยู่หลังของพระอังคาร เพ็ญ รอยพระพุทธบาทจ�าลอง เป็นรอยพระพุทธบาทขนาดเล็ก ซึ่ง สร้างขึน้ จากหินทราย มีความกว้าง ๘เซนติเมตร ความยาว ๑.๘ เมตร สร้าง เป็นลักษณะลอยตัวสูงขึ้นจากพื้นประมาณ ๙๐ เซนติเมตร องค์ พ ญาศรี มุ ก ดามหามุ นี นี ล ปาลนาคราช ลั ก ษณะของ พญานาคนัน้ จะนอนขดตัวไปมาและชูลา� คอสูงสง่าหันไปทางแม่นา�้ โขงเบือ้ ง ล่าง ล�าตัวยาว ๑๒๒ เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง ๑.๕๐ เมตร สูงประมาณ ๒๐ เมตร
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
249
250
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
พระเจ้าใหญ่แก้วมุกดาศรีไตรรัตน์ หรือพระพุทธรูปเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่ อ งในโอกาสมหามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา ๘๔ พรรษา ณ วั ด รอย พระพุทธบาทภูมโนรมย์ ต�าบล นาสีนวน อ�าเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร ลักษณะ พระพุทธรูปปางมารวิชัยขัดสมาธิเพชรสีขาวมุก ขนาดหน้าตัก ๓๙.๙๙ เมตร สูง ๘๙ เมตร ซึ่งมีการก่อสร้างมาตั้งแต่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๖ จนถึงปัจจุบันได้ ด�าเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จเรียบร้อยแล้ว เหลือเพียงตกแต่งใต้ฐาน ๔ ชั้น
ดอกช้างน้าว ดอกไม้ประจ�าจังหวัดมุกดาหาร
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
251
วัดค�ำสำยทอง
ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองมุกดำหำร จังหวัดมุกดำหำร
Wat Kam Sai Thong
Nai Mueang Subdistrict, Mueang Mukdahan District, Mukdahan Province
พระครูมงคลริหคุณ เจ้าอาวาสวัดค�าสายทอง
252
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดค�ำสำยทองได้เริ่มก่อตั้งที่พักสงฆ์ พ.ศ. ๒๔๙๖ โดยหลวงปู่กอง ธิตพโล ซึ่งเป็นพระธุดงค์รูปแรกที่มำตั้ง ปั ก กลดอยู ่ ที่ หั ว นำของคุ ณ พ่ อ หยำด แม่ ท องเภำ แก้ ว ดี ในปีนั้นญำติโยม ชำวบ้ำนเจ้ำของที่นำ นิมนต์ให้ท่ำนปักกลด อยู่จ�ำพรรษำ ณ ที่นั้นเรื่อยมำจนมีกำรสร้ำงกุฏิ สร้ำงที่พัก ศำลำ ตำมล�ำดับ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๒ ญำติโยมชำวบ้ำนได้ รวบรวมถวำยที่ดินทั้งหมด ๓๑ ไร่ จึงได้ท�ำเรื่องขออนุญำต สร้ำงวัด ได้มีกำรขอตั้งวัดตำมกรรมกำรศำสนำ ในสมัยนั้น เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๐ หลวงปู่กองได้มีกำรสร้ำงอุโบสถ ซึ่งเริ่ม สร้ำงเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๒-๒๕๐๓ ต่อมำในปี พ.ศ. ๒๕๑๑ หลวงปู ่ ไ ด้ ม รณภำพ คณะกรรมกำรได้ จั ด งำนฌำปนกิ จ หลวงปูก่ อง ธิตพโล แล้วจึงได้จดั งำนผูกพัทธสีมำ พ.ศ. ๒๕๑๒
วัดค�ำสำยทองถือว่ำเป็นวัดศูนย์กลำงของชุมชน ในปัจจุบัน และยังเป็นวัดที่ได้รับควำมไว้วำงใจในกำรจัด กิจกรรมของทำงรำชกำร จึงได้ตั้งเป็นส�ำนักปฎิบัติธรรม แห่งที่ ๓ ของจังหวัด นอกจำกนั้นได้รับเลือกเป็นวัดพัฒนำ ตัวอย่ำงดีเด่นวัดแรกของจังหวัดมุกดำหำร และยังมีโครงกำร ลำนวัดลำนวิถีไทย , ศูนย์พุทธศำสนำของนักเรียน/นักศึกษำ และหน่วยอบรมประจ�ำต�ำบลเป็นที่ตั้งของชมรมผู้สูงอำยุ แล้วยังเป็นทีต่ งั้ โรงเรียนเทศบำล๑ วัดค�ำสำยทอง มีศนู ย์พฒ ั นำ เด็กเล็ก ซึ่งเป็นศูนย์ที่ใหญ่ที่สุดของจังหวัดมุกดำหำร ต่อจำก นัน้ มีหน่วยอบรมพุทธมำมกะ อีกทัง้ ยังมีโครงกำรวัดประชำรัฐ สร้ำงสุข กล่ำวได้ว่ำวัดค�ำสำยทองเป็นศูนย์กลำงของชุมชนมี กำรจัดกิจกรรมทำงรำชกำรและกิจกรรมทำงพุทธศำสนำ อีกทั้งยังมีงำนบุญมหำชำติ บุญพระเวส วัดค�ำสำยทองมีกำรส่งเสริมกำรศึกษำโดยมอบทุนให้ นักเรียนทีเ่ รียนดี และยังมีงำนบวชภำคฤดูรอ้ นเป็นประจ�ำทุกปี
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
253
วัดศรีโพธิ์ไทร
ต�ำบลหนองเอีย ่ น อ�ำเภอค�ำชะอี จังหวัดมุกดำหำร
Wat Si Pho Sai
Nong Iian Subdistrict, Khamchaee District, Mukdahan Province
พระครูนิโครธโพธิวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดศรีโพธิ์ไทร
254
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดศรีโพธิ์ไทร ตั้งอยู่เลขที่ ๘๗ บ้านหนองเอี่ยน หมู่ที่ ๒ ต�าบลหนองเอี่ยน อ�าเภอค�าชะอี จังหวัดมุกดาหาร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ ๓ ไร่ ๑ งาน ๗๘ ตารางวา วั ด ศรี โ พธิ์ ไ ทร สร้ า งเมื่ อ พ.ศ.๒๓๐๐ ได้ รั บ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๔๘๒ เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร อาคารเสนาสนะ อุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๔๕ ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๓๓ หอฉันสร้าง สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๘ กุฏิสงฆ์
การบริหารและการปกครองมีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบ คือ รูปที่ ๑ พระทอง พ.ศ.๒๔๖๗ - ๒๔๘๗ รูปที่ ๒ พระถัน พ.ศ.๒๔๘๘ – ๒๔๙๐ รูปที่ ๓ พระวน พ.ศ.๒๔๙๐ – ๒๔๙๓ รูปที่ ๔ พระไหล พ.ศ.๒๔๙๓ – ๒๔๙๔ รูปที่ ๕ พระสาย พ.ศ. ๒๔๙๕ - ๒๔๙๗ รูปที่ ๖ พระคา พ.ศ.๒๔๙๘ - ๒๕๐๙ รูปที ่ ๗ พระครูนโิ ครธโพธิวฒ ั น์ พ.ศ.๒๕๐๙ - ปัจจุบนั ถาวรวัตถุ อุโบสถหลังเก่าอุโบสถหลังเก่า สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๒ กว้าง ๗ เมตร ยาว ๑๒ เมตร อิฐถือปูน โครงหลังคาไม้มงุ กระเบือ้ ง พระพุทธรูปพระประธานอุโบสถหลังเก่า พระพุทธรูปพระประธานอุโบสถหลังใหม่ พระพุทธรูปพระประธานบนศาลาการเปรียญ พระพุทธรูปบนหอฉัน ประวัติพระครูนิโครธโพธิวัฒน์ พระครูนิโครธโพธิวัฒน์ (เผย สปฺปญฺโญ/สาธุชาติ) อายุ ๗๙ ปี พรรษา ๕๙ วิทยฐานะ น.ธ.เอก สถานะเดิม ชือ่ เผย นามสกุล สาธุชาติ เกิดวันอาทิตย์ ที่ ๔ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๘๔ บิดา นายหมึก สาธุชาติ มารดา นางวันดี สาธุชาติ ที่บ้านดงมอญ หมู่ที่ ๙ ต�าบลดงมอญ อ�าเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร บรรพชา วันที่ ๑๓ เมษายน ๒๕๐๑ ที่วัดชัยภูมิ ต�าบล บ้านค้อ อ�าเภอค�าชะอี จังหวัดมุกดาหาร พระอธิการหงส์ สิทธโร พระอุปัชฌาย์ อุปสมบท วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๐๔ ที่พัทธสีมา วัดศรีโพธิไ์ ทร ต�าบลหนองเอีย่ น อ�าเภอค�าชะอี จังหวัดมุกดาหาร พระอธิการหงส์ สิทธโร พระอุปัชฌาย์ วิทยฐานะ พ.ศ.๒๔๙๙ จบชั้น ป.๔ จากโรงเรียนบ้านดงมอญ ต�าบลดงมอญ อ�าเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร
พ.ศ.๒๕๐๙ สอบได้นกั ธรรมชัน้ เอก จากส�านักศาสน ศึ ก ษาวั ด ศรี โ พธิ์ ไ ทร ต� า บลหนองเอี่ ย น อ� า เภอค� า ชะอี จังหวัดมุกดาหาร พ.ศ.๒๕๓๓ ผ่ า นการอบรมพระนั ก เผยแผ่ ตามโครงการของกรมการศาสนา งานการปกครอง พ.ศ.๒๕๐๙ ได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็นเจ้าอาวาสวัดศรีโพธิไ์ ทร พ.ศ.๒๕๔๐ ได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็นเจ้าคณะอ�าเภอค�าชะอี สมณศักดิ์ พ.ศ.๒๕๒๗ ได้รับพระราชทานแต่ตั้งให้เป็นพระครู สัญญาบัตรรองเจ้าคณะอ�าเภอชัน้ โท ทีพ่ ระครูนโิ ครธโพธิวฒ ั น์ พ.ศ.๒๕๔๓ ได้ รั บ พระราชทานเลื่ อ นชั้ น พระสังฆาธิการเป็นพระครูสญ ั ญาบัตรเจ้าคณะอ�าเภอชัน้ เอก ในราชทินนามเดิม พระครูนิโครธโพธิวัฒน์ พ.ศ.๒๕๕๐ ได้ รั บ พระราชทานเลื่ อ นชั้ น พระสั ง ฆาธิ ก ารเป็ น พระครู ส ้ ญ ญาบั ต รเจ้ า คณะอ� า เภอ ชั้นพิเศษ ในราชทินนามเดิม พระครูนิโครธโพธิวัฒน์
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
255
วัดพุทธนคราภิบาล ต�าบลน�้าเทีย ่ ง อ�าเภอค�าชะอี จังหวัดมุกดาหาร
Wat Buddhist
Nam Thiang Subdistrict, Khamchaee District, Mukdahan Province
พระครูวิมลฉันทกิจ
รองเจ้าคณะอ�าเภอค�าชะอี/เจ้าอาวาสวัดพุทธนคราภิบาล
256
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดพุทธนคราภิบาล ตั้งอยู่เลขที่ ๒๒๕ บ้านดอน สวรรค์ ห มู ่ ที่ ๑ ต� า บลน�้ า เที่ ย ง อ� า เภอค� า ชะอี จั ง หวั ด มุกดาหาร สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ ๘ ไร่ ๓๗ ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ ๗๕๓ วัดพุทธนคราภิบาล ตัง้ เมือ่ พ.ศ.๒๔๖๑ ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ พ.ศ. ๒๕๔๔ เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๓๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร อาคารเสนาสนะ อุโบสถ สร้าง พ.ศ.๒๕๓๐ ศาลาการเปรียญ สร้าง พ.ศ. ๒๕๑๑ กุฏิสงฆ์ โรงเรียนปริยัติธรรมครึ่งตึกครึ่งไม้ ๒ ชั้น ศาลาเอนกประสงค์ ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ โรงทาน หอกลองระฆัง ห้องน�้า ปูชนียวัตถุ พระประธานอุโบสถ คือ พุทธรูปปางพระพุทธชินราชจ�าลอง พระพุทธรูปประดิษฐานที่ศาลาการเปรียญ ต้ น พระศรี ม หาโพธิ์ น� า มาจากพุ ท ธคยาประเทศ อินเดีย น�ามาปลูกเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๑
การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาส ดังนี้ รูปที่ ๑ พระญาท่านถ่อนแก้ว พ.ศ.๒๔๖๑-๒๔๙๓ รูปที่ ๒ พระอาจารรย์เหลีย่ ม ข�าคม พ.ศ.๒๔๙๔ - ๒๕๑๑ รูปที่ ๓ พระครูสาธิตพนมการ พ.ศ.๒๕๑๒ - ๒๕๑๘ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าคณะอ�าเภอค�าชะอีด้วย รูปที่ ๔ พระครูนวการคุณากร พ.ศ.๒๕๑๙ - ๒๕๒๓ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าคณะอ�าเภอค�าชะอีด้วย รูปที่ ๕ พระครูสิริปภากร พ.ศ.๒๕๒๔ - ๒๕๓๙ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าคณะอ�าเภอค�าชะอีด้วย รูปที่ ๖ พระครูวิมลฉันทกิจ พ.ศ.๒๕๓๙ - ปัจจุบัน ด�ารงต�าแหน่งเป็นรองเจ้าคณะอ�าเภอค�าชะอี ประวัติพระครูวิมลฉันทกิจ พระครูวิมลฉันทกิจ (วิรัตน์ ฉนฺทกาโม/รัชอินทร์) อายุ ๖๓ ปี พรรษา ๔๒ สถานะเดิ ม ชื่ อ วิ รั ต น์ นามสกุ ล รั ช อิ น ทร์ เกิดวันเสาร์ที่ ๑๖ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๐๐ บ้านเลขที่ ๒๘ บ้านน�า้ เทีย่ ง ต�าบลน�า้ เทีย่ ง(สมัยนัน้ ต�าบลบ้านซ่ง) อ�าเภอค�าชะอี จังหวัดมุกดาหาร(สมัยนัน้ จังหวัดนครพนม) บิดา นายบุญ รัชอินทร์ มารดา นางวาน รัชอินทร์ เป็นบุตรคนที่ ๒ ของพี่น้อง ๗ คน บรรพชาอุปสมบท วันที่ ๑๓ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๒ พัทธสีมาวัดพุทธนคราภิบาล ต�าบลน�้าเที่ยง อ�าเภอค�าชะอี จังหวัดมุกดาหาร พระครูนวการคุณากร พระอุปัชฌาย์ วิทยฐานะ พ.ศ.๒๕๒๖ นั ก ธรรมชั้ น เอก ส� า นั ก เรี ย นวั ด พุทธนคราภิบาล พ.ศ.๒๕๕๔ ปริญญาตรี พุทธศาสตร์บญ ั ฑิต (พ.ธ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ.๒๕๕๖ ปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (ร.ป.บ.) มหาวิทยาลัยราชภัฎกาฬสินธุ์ พ.ศ.๒๕๖๓ ปริญญาโท รัฐ ประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต (ร.ป.ม.) มหาวิทยาลัยปทุมธานี งานการปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ เป็นเจ้าอาวาสวัดพุทธนคราภิบาล พ.ศ.๒๕๔๐ เป็นรองเจ้าคณะอ�าเภอค�าชะอี พ.ศ.๒๕๔๐ เป็นพระอุปัชฌาย์ สมณศักดิ์ พ.ศ.๒๕๓๗ ได้รับพระทานสมณศักดิ์เป็นพระครู สัญญาบัตรเจ้าคณะต�าบลชั้นตรีที่พระครูวิมลฉันทกิจ พ.ศ.๒๕๔๔ ได้ รั บ พระราชทานเลื่ อ นชั้ น พระสังฆาธิการ เป็นพระครูสัญญาบัตรรองเจ้าคณะอ�าเภอ ชั้นเอกในราชทินนามเดิม ที่พระครูวิมลฉันทกิจ
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
257
วัดเกษมสุข
ต�ำบลนำสะเม็ง อ�ำเภอดอนตำล จังหวัดมุกดำหำร
Wat Kasemsuk
Na Sameng Subdistrict, Don Tan District, Mukdahan Province
พระมหาสายัญ สิริปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดเกษมสุข
258
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดเกษมสุข ตั้งเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๓๘ พระอ่อน ใจทัด เป็ น ผู ้ เริ่ ม ก่ อ ตั้ ง ร่ ว มกั บ ชาวบ้ า นที่ เ ลื่ อ มใสศรั ท ธาในพระ พุทธศาสนา วัดเกษมสุขได้ขนึ้ ทะเบียนเป็นวัดเฉลิมพระเกียรติ วันที่ ๑๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ อุโบสถ เริ่มก่อสร้างเมื่อวัน ที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๔๙ ท�าเนียบคณะสงฆ์ ๑.พระมหาสายัญ สิรปิ ญฺโญ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั ๒.หลวงปู่จอม หิริธมฺโม ประวัติพระมหาสายัญ สิริปญฺโญ ชือ่ พระมหาสายัญ ฉายา สิรปิ ญฺโญ อายุ ๔๒ พรรษา ๒๑ วิทยฐานะ ป.ธ. ๔, น.ธ.เอก วัดเกษมสุข ต�าบลบ้านบาก อ�าเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่ง ๑. เจ้าอาวาสวัดเกษมสุข ๒. เลขานุการเจ้าคณะอ�าเภอดอนตาล สถานะเดิม ชื่อ สายัญ นามสกุล เลิกจันทร์ เกิดปีมะเส็ง วันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๐ บิดาชื่อ นายสุริยา นามสกุล เลิกจันทร์ มารดาชื่อ นางทองจันทร์ นามสกุล เลิกจันทร์ ณ บ้านเลขที่ ๑๒๖ หมู่ ๓ บ้านกุดคอก่าน ต�าบลโคกส�าราญ อ�าเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร บรรพชา วันที่ ๑๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ ณ วัดศรีฐานธรรมิการาม ต�าบลเหล่าหมี อ�าเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร
พระอุปัชฌาย์ พระครูสิริธรรโมภาส วัดศรีฐานธรรมิการาม ต�าบลเหล่าหมี อ�าเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร พระกรรมวาจารย์ พระครูสุนทรจักรธรรม วัดมัชฌิมาวาส ต�าบลดอนตาล อ�าเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร พระอนุสาวนาจารย์ พระอธิการมนต์ชัย อุตฺตโร วัดท่า ห้วยค�า ต�าบลเหล่าหมี อ�าเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร ปกครอง นายส�าเนียง ใจทัด ผู้ใหญ่บ้านโคกพัฒนา นายสีไพ ใจทัด ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านโคกพัฒนา นายช่อม ใจทัด ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านโคกพัฒนา นายแสงเพชร ใจทัด ผ.รส. ผูช้ ว่ ยผูใ้ หญ่บา้ นโคกพัฒนา ไวยาวัจกร นายเหงียม ใจทัด คุณพ่อหมอน ชอนภา นายส�าราญชัย ใจทัด ส.อบต.นาสะเม็ง นายช่างผู้น�าสร้างศาลาไม้แดงพันชาติ นายเฉย ชอนภา พ่อทะ - แม่ห่ม ใจทัด นายแจ้ง ใจทัด นายสง่า คนไว
นายหนูกาญจน์ คนไว นายงอน ใจทัด นายข่าย ใจทัด นายเพิ่ม ใจทัด นายสุข ใจทัด นายเขียว ใจทัด นายเติม ใจทัด นายธงไชย ใจทัด ส.อบต. นาสะเม็ง นายวิชัย ใจทัด อดีตผู้ใหญบ้านโคกพัฒนา
พระอธิการลบ ทนฺตจิตโตฺ อดีตเจ้าอาวาสวัดเกษมสุข
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
259
วัดเหล่าต้นยม
ต�าบลหนองแวง อ�าเภอนิคมค�าสร้อย จังหวัดมุกดาหาร
Wat Lao Ton Yom
Nong Waeng Subdistrict, Nikhom Kham Soi District, Mukdahan Province
พระครูวชิรธรรมพินิต เจ้าอาวาสวัดเหล่าต้นยม
260
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดเหล่าต้นยม ตั้งอยู่เลขที่ ๑๕๐ หมู่ที่ ๙ ต�าบล หนองแวง อ�าเภอนิคมค�าสร้อย จังหวัดมุกดาหาร อยู่ห่าง จากตัวอ�าเภอ ๖ กิโลเมตร ห่างจากตัวจังหวัดมุกดาหาร ๒๐ กิโลเมตร ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๒ ได้รับวิสุงคามสีมา พ.ศ. ๒๕๓๘ มีเนื้อที่ของวัด ๒๖ ไร่ การบริหารปกครอง มีเจ้าอาวาสมาแล้ว ๒ รูป ดังนี้ รูปที ่ ๑ พระอธิการคูณ กตปุญโฺ ญ พ.ศ. ๒๕๓๒ - ๒๕๔๐ รูปที ่ ๒ พระครูวชิรธรรมพินติ พ.ศ. ๒๕๔๐ - ปัจจุบนั วัดเหล่าต้นยม เป็นวัดก�าลังพัฒนา มีพระภิกษุ อยู่จ�าพรรษา พ.ศ. ๒๕๖๓ จ�านวน ๕ รูป
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
261
วัดพระศรีมหาโพธิ์ ต�าบลหว้านใหญ่ อ�าเภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร
Wat Phrasimahabodhi
Wan Yai Subdistrict, Wan Yai District, Mukdahan Province
พระอธิการแก้วทวี ขนฺติธมฺโม เจ้าอาวาสวัดพระศรีมหาโพธิ์
262
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา สร้างเมือ่ พ.ศ. ๒๔๕๙ เป็นสิมทีผ่ นัง ๓ ด้าน ภายใน ผนั ง จะมี ฮู ป แต้ ม หรื อ จิ ต กรรมฝาผนั ง เรื่ อ งราวของ พระเวสสันดรชาดก และภาพเหตุการณ์ที่สมเด็จกรมพระยา ด�ารงเดชานุภาพ เสด็จตรวจหัวเมืองในมณฑลอีสานประทับ นั่งอยู่บนเกวียน ภายในวัดยังมีกุฏิเก่าแก่ซึ่งปัจจุบันท�าเป็น ห้ อ งสมุ ด ประชาชน สร้ า งโดยช่ า งชาวเวี ย ดนามเป็ น สถาปัตยกรรมแบบฝรัง่ เศส ซึง่ มีซมุ้ ประตูและหน้าต่างเป็นรูปโค้ง สวยงามแปลกตา แตกต่างจากศาลาการเปรียญทั่วไปของ พุทธศาสนา วัดพระศรีมหาโพธิ์ เป็นศูนย์รวมจิตใจของ พุทธศาสนิกชนชาวอ�าเภอหว้านใหญ่ เป็นสถานที่ประกอบ ศาสนพิธสี า� คัญและประเพณีตา่ ง ๆ ของชาวอ�าเภอหว้านใหญ่ บริเวณโดยรอบวัดพระศรีมหาโพธิ ์ มองเห็นทิวทัศน์ทสี่ วยงาม ของแม่น้�าโขงซึ่งเป็นเส้นกั้นพรมแดนระหว่างประเทศไทย และ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในฤดูแล้งน�้า โขงบริเวณอ�าเภอหว้านใหญ่แห้งขอดและจะเกิดเกาะแก่ง เล็กน้อยขึ้นตามกลางล�าแม่น�้าโขง ประชาชนทั้งสองฝั่งโขง ท�าการเกษตรตามเกาะแก่งนั้น เพราะอุดมไปด้วยแร่ธาตุ ปุ๋ย ท�าให้พชื ผักเจริญเติบโตเร็วและสวยงาม นอกจากนีล้ า� น�า้ โขง ยังเป็นแหล่งท�าการประมงของชาวอ�าเภอหว้านใหญ่อีกด้วย อุโบสถ (สิม) วัดพระศรีมหาโพธิ์ อุโบสถ (สิม) วัดพระศรีมหาโพธิ์ สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๙ โดยขุนวิรฬุ คาม (ดี เมืองโคตร) ก�านันต�าบลหว้านใหญ่
ในขณะนัน้ ตรงกับรัชสมัยพระพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๖) อุโบสถมีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า วางตัวตามแนวทิศตะวันออก - ทิศตะวันตก หันหน้าไปทาง ทิศตะวันตก หลังคาอุโบสถเป็นหลังคาทรงจัว่ มีชายคาทัง้ ๔ ด้าน คล้ายทรงมะนิลา มีการประดับตกแต่งด้วยไม้แกะสลักในองค์ ประกอบต่าง ๆ เช่น คันทวยแกะสลักไม้เป็นรูปนาค หน้าบัน เพดาน คานไม้แกะสลักลวดลายประจ�ายาม และพรรณพฤกษา และประดับกระจก ตัวอาคารตัง้ อยูบ่ นฐานบัวคว�า่ มีบนั ไดทางขึน้ ตรงกึ่งกลางด้านหน้าด้านเดียว ส่วนหน้าเป็นพะไล (เพิงโถง) ถัดเข้าไปเป็นประตูทางเข้าอุโบสถ เหนือกรอบประตูมีอักษร ไทยระบุ สร้างพุทธศักราช ๒๔๕๙ โดยห้องแรกก่อเป็นผนัง ขึน้ มาเตีย้ ลักษณะคล้ายสิมโปร่ง มีผนังทึบเฉพาะห้องช่วงหลัง ซึ่งด้านข้างทั้งสองด้านเจาะเป็นหน้าต่างรูปสี่เหลี่ยมใส่ลูก มะหวดไม้ด้านละ ๑ ช่อง ถัดไปผนังด้านห้องหลังสุดเจาะเป็น ช่องรับแสงสีเ่ หลีย่ มเล็ก ๆ ทีผ่ นังด้านนอกมีประติมากรรมปูนปัน้ ประดับ โดยด้านทิศเหนือท�าเป็นรูปราหูอมจันทร์ ส่วนด้าน ทิศใต้เป็นรูปไก่อยู่เหนือซุ้ม บริเวณห้องหลังสุดประดิษฐาน พระประธาน เป็นพระพุทธรูปปูนปัน้ ปางมารวิชยั ผนังภายใน เขียนจิตรกรรมฝาผนังเรือ่ งพระเวสสันดรชาดก ๑๓ กัณฑ์ เริม่ จากข้างหลังพระประธานชั้นบนสุด มีอักษรไทยน้อยเขียน ก�ากับที่ภาพ ลักษณะจิตรกรรมฝีมือช่างพื้นบ้านเทคนิคสีฝุ่น ได้รับอิทธิพลช่างหลวงมาผสมผสานในการเขียนปราสาท ราชวัง โรงช้าง โรงม้า อาศรม ฯลฯ
กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียน และก�าหนด เขตที่ดินโบราณสถานส�าคัญของชาติในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๕ ตอนพิเศษ ๔ ง เมือ่ วันที ่ ๑๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๑ และก�าหนดเขตที่ดินโบราณสถานให้มีพื้นที่โบราณสถาน ประมาณ ๑ ไร่ ๑ งาน ๕๕.๗๙ ตารางวา สิ่งส�าคัญ คือ กุฏิ ทรงยุโรป และอุโบสถ (สิม) ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับการบูรณะซ่อมแซมตาม โครงการบูรณะโบราณสถาน อุโบสถ (สิม) วัดพระศรีมหาโพธิ ์ ต�าบลหว้านใหญ่ อ�าเภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร จากงบ ยุทธศาสตร์จังหวัดมุกดาหาร
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
263
วัดลัฏฐิกวัน
ต�ำบลชะโนด อ�ำเภอหว้ำนใหญ่ จังหวัดมุกดำหำร
Wat Ladthikawan
Chanot Subdistrict, Wan Yai District, Mukdahan Province
พระอธิการโสฬส สญฺญโม เจ้าอาวาสวัดลัฎฐิกวัน
264
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดลัฏฐิกวัน ขอเท้าความพระคุณเจ้า ๒ รูป คือ ท่านหอ หรืออุปัชฌาย์หอ เป็นบุตรของเท้าเมืองโครกหัวหน้าชาว สะผ่ายคอนโค ที่อพยพมาจากนครจ�าปาศักดิ์ มาอยู่ร่วมกับ ชาวชะโนดในตอนตั้งบ้านใหม่ ๆ เมืองโครกเป็นต้นตระกูล ของชาวหว้านใหญ่เมืองโคตร ท่านหอเป็นคูก่ บั พระกัสสปะ ผู้ เป็นหลานชาย แต่เกิดปีเดียวกันคือเกิดเมื่อ พ.ศ. ๒๒๖๙ พอ อายุได้ ๑๓ ปี ได้เข้าบรรพชาเป็นสามเณรทีว่ ดั มโนภิรมย์ บ้าน ชะโนด ศึกษาพระธรรมวินัยพระไตรปิฏกคัมภีร์ต่าง ๆ จน แตกฉาน ตัง้ แต่เป็นสามเณร พออายุครบ ๒๐ ปี อุปสมบททีว่ ดั เดิม ๑ ปี ต่อมาได้ไปศึกษาต่อทีน่ ครเวียงจันทร์ และได้รบั แต่ง ตัง้ เป็นพระอุปชั ฌาย์ ส่วนพระกัสสปะได้รบั แต่งตัง้ เป็นพระครู มีความชอบจนพระเจ้าแผ่นดินเวียงจันทร์ พระราชทานวัสดุ ก่อสร้างพร้อมด้วยนายช่างสถาปัตยกรรม ๓ คน มาสร้าง โบสถ์พัทธสีมาวัดมโนภิรมย์ พ.ศ. ๒๒๙๖ เมื่อเสร็ จ สิ้ น เรียบร้อยดีแล้ว ในปี พ.ศ. ๒๒๙๙ ท่านได้มอบให้พระครูกสั สปะ เป็นเจ้าอาวาส แล้วท่านได้หลีกไปบ�าเพ็ญวิปัสสนากรรมฐาน ณ ป่ า โนนรั ง เหนื อ จากวั ด เดิ ม ไปประมาณ ๑๐ เส้ น เศษ ต่ อ มาได้ ย ้ า ยไปศึ ก ษาต่ อ ที่ ก รุ ง เทพฯ แล้ ว มรณะภาพที่ กรุงเทพฯ อีกท่านหนึง่ คือ พระอุปชั ฌาย์บหุ รือพระบุ ได้รบั นิมนต์ อ้อนวอนจากชาวบ้านให้มาซ่อมแซมวัดมโนภิรมย์เพราะถูก ไฟไหม้ใน พ.ศ. ๒๔๔๘ หลังจากบูรณะวัดมโนภิรมย์ และท่าน ได้ไปสร้างวัดทีบ่ า้ นท่าสะโน แล้วได้กลับมาพัฒนาวัดป่าโนนรัง เดิมขึ้นใหม่
วัดลัฏฐิกวัน สร้างขึน้ เมือ่ วันอาทิตย์ ขึน้ ๑๒ ค�า่ เดือน ๖ ตรงกับวันที่ ๒๕ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๕๘ โดยสร้างพัทธสีมา ขึ้นแทนที่บ�าเพ็ญสมณะธรรมเดิม (วัดป่า) ของท่านหอให้ สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ในปีเดียวกันนั้นเองได้สร้างพระธรรมเจดีย์ขึ้น จากนัน้ การก่อสร้างวัดก็ดา� เนินไปอย่างต่อเนือ่ ง มีกฏุ ริ ปู จตุรมุข ศาลาการเปรียญ รอยพระพุทธบาทจ�าลอง สังเวชนียสถาน จ�าลอง ๑. พั ท ธสี ม าสร้ า งขึ้ น แทนของเดิ ม ภายในเป็ น พระประธานก่ออิฐถือปูนปางมารวิชัย ฝีมือช่างท้องถิ่นอีสาน พระพักตร์คอ่ นข้างใหญ่ พระเนตร พระนาสิก รวมถึงพระโอษฐ์ มีขนาดใหญ่ ขมวดพระเกศาขนาดเล็ก รัศมีเป็นเปลวเพลิง ครองจีวรห่มดอง สังฆาฏิเป็นแผ่นใหญ่ ปลายตัดตรงและยาว จรดพระนาภี ตอนแสดงปฐมเทศนาแก่ปญ ั จวัคคีย์ มีภาพเขียน ผนังแสดงเรื่องชาดกฝีมือช่างพื้นถิ่นอีสาน ๒. พระธรรมเจดีย์ ทรงบัวเหลี่ยมแบบเดียวกับเจดีย์ พระธาตุพนม เป็นเจดียข์ นาดกลาง ภายในบรรจุพระไตรปิฏก ที่เหลือจากไฟไหม้จึงเรียก พระธรรมเจดีย์ และพังทลายลง เมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น ๓ ค�่า ปีกุน ตรงกับวันที่ ๑๑ เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๖ เวลา ๐๖.๐๐ น. (วันเดียวกันกับองค์ พระธาตุพนมล้มแต่คนละปี องค์ใหม่สร้างแล้วเสร็จ พ.ศ. ๒๕๓๘) ๓. รอยพระพุทธบาทจ�าลอง ขนาดกว้าง ๖๐ ซม. ยาว ๑๒๐ ซม. เป็นหินดานแกะสลักตามพุทธประวัติ
๔. สระอโนดาตจ�าลอง กว้างยาว ๑๐ วา ด้านเท่า จ�าลองรูปรามสูร เมขลา แสดงก�าเนิดฝน ๕. สังเวชนียสถานพุทธประวัติ หอประสูติ วิหาร ตรัสรู้ หอปรินิพพาน และหอถวายพระเพลิง สร้างขึ้นด้วย การแกะสลักหิน ก่ออิฐถือปูนด้วยฝีมอื พระอุปชั ฌาย์บุ นันทวโร วัดลัฏฐิกวันเป็นวัดที่กรมศิลปากรขึ้นทะเบียนและ ก�าหนดเขตที่ดินโบราณสถาน นามเจ้าอาวาสวัดลัฏฐิกวัน พระอธิการโสฬส สญฺญโม รูปปัจจุบัน
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
265
วัดป่าวิเวก
ต�าบลหว้านใหญ่ อ�าเภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร
Wat Pa Vivek
Wan Yai Subdistrict, Wan Yai District, Mukdahan Province
พระมหาเกษมณี เตชปญฺโญ เจ้าคณะอ�าเภอหว้านใหญ่ / เจ้าอาวาสวัดป่าวิเวก
266
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ความเป็นมา วัดป่าวิเวก ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๒ ตัง้ อยูบ่ า้ นหนองแสง หมู่ที่ ๘ ต�าบลหว้านใหญ่ อ�าเภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัด ๑๑ ไร่ ๓๘ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือ จรดโรงเรียนหว้านใหญ่วิทยา ทิศใต้ จรดถนนสาธารณะ ทิศตะวันออก จรดถนนสาธารณะ ทิศตะวันออก จรดถนนสาธารณะ มีที่ธรณีสงฆ์จ�านวน ๑ แปลง เนื้อที่ ๖ ไร่ ๙๓ ตารางวา การบริหารและการปกครองมีเจ้าอาวาสเท่าทีท่ ราบนาม คือ รูปที่ ๑ พระอธิการเกลี้ยง จนฺทิโย (พระอุปัชฌาย์) พ.ศ. ๒๔๘๘ - ๒๕๑๔ รูปที่ ๒ เจ้าอธิการทองจันทร์ สิริจนฺโท พ.ศ. ๒๕๒๗ - ๒๕๓๖ รูปที่ ๓ พระอธิการต้าย อคฺคธมฺโม พ.ศ. ๒๕๓๗ - ๒๕๔๕ รูปที่ ๔ พระมหาเกษมณี เตชปญฺโญ ป.ธ.๙ เจ้าคณะอ�าเภอหว้านใหญ่ ด�ารงต�าแหน่งตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๐ จนถึงปัจจุบัน มีการเปิดสอนพระปริยตั ธิ รรมทัง้ แผนกธรรม แผนกบาลี และเป็นสนามสอบธรรมสนามหลวงชั้นตรี ของคณะสงฆ์ อ�าเภอหว้านใหญ่
ปูชนียวัตถุภายในวัด มี พระพุทธรูปปางไสยาสน์ สร้างโดย พระอุปชั ฌาย์เกลีย้ ง จนฺทโิ ย พร้อมศิษยานุศษิ ย์และ พี่น้องชาวต�าบลหว้านใหญ่ ได้สละก�าลังกาย ความคิด และ ก�าลังทรัพย์ สร้างพระพุทธไสยาสน์ ลักษณะนอนหันพระเศียร ไปทางทิศใต้ หันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออก ขนาดยาว ๒๓ เมตร สูงจากฐานล่าง ถึงพระเศียร ๔.๓๖ เมตร ฝ่า พระบาทยาว ๔.๕ เมตร บนฝ่าพระบาท มีรูปแกะสลักพุทธ ประวัติที่วิจิตรสวยงามมาก สร้างเมื่อวันที่ ๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ ตรงกับวันพุธ ขึ้น ๑ ค�่า เดือนอ้าย ปีขาล แล้ว เสร็จเมื่อวันที่ ๒ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๐๗ ตรงกับวันพุธ ขึน้ ๔ ค�า่ เดือน ๙ ปีมะโรง ระยะเวลาสร้าง ๒ ปี ๘ เดือน ๗ วัน
และล้ อ มรอบไปด้ ว ยพระพุ ท ธรู ป ปางต่ า ง ๆ รอบองค์ พระพุทธไสยาสน์ จ�านวน ๒๙ องค์ และมีรอยพระพุทธบาท จ�าลอง แกะด้วยหินทรายภูเขา มีรูปปั้นแสดงยมกปาฏิหาริย์ มีแท่นปรินพิ พานจ�าลอง ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ความอัศจรรย์ของพระพุทธไสยาสน์องค์นี้ ปรากฏ มีหลายครั้งที่พระปางไสยาสน์ ถูกโจรเจาะเพื่อหาสมบัติและ ของมีค่าในองค์พระพุทธไสยาสน์ แต่ไม่เคยประสบผลส�าเร็จ ต้องมีอะไรบางสิ่งบางอย่างมาแสดงปาฏิหาริย์ปรากฎให้โจร ขโมยได้พบเจออยูท่ กุ ครัง้ ทีข่ ดุ เจาะ ซึง่ โจรขโมยเหล่านัน้ ได้เล่า ปากต่อปากเป็นที่โจษขานกันอย่างมาก
อาคารเสนาสนะประกอบด้วย ๑. อุโบสถ (หลังเก่า) สร้างด้วยไม้ทั้งหลัง กว้าง ๖ เมตร ยาว ๑๘ เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๕ และได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๘ ต่อมาอุโบสถ หลังเก่าได้ชา� รุดทรุดโทรมไปตามกาลเวลา คณะสงฆ์และคณะ กรรมการ จึงได้รื้ออุโบสถหลังเก่าที่สร้างด้วยไม้ และได้สร้าง อุโบสถหลังใหม่แทน ลักษณะทรงไทยก่ออิฐถือปูน ขนาด กว้าง และยาว เท่าเดิม สร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ๒. วิหารพระพุทธไสยาสน์ ขนาดกว้าง ๓๐ เมตร ยาว ๓๖ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๔๗ แล้วเสร็จ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๓. พระเจ้าใหญ่พระพุทธรัตนมหามุนี นาคปรก ขนาดหน้าตัก ๖ เมตร สูง ๙ เมตร มีฐานยกพืน้ สูง ๒.๕๐ เมตร
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
267
และมีพญานาครายล้อมบนฐานพระชั้นสอง ๔ องค์ สร้างเมื่อวัน ที่ ๒๖ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๔. พระเจดีย์ ๑๒ ราศี ประจ�าปีเกิด เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ๕. กุฏิสงฆ์ หลังใหญ่ ๒ ชั้น จ�านวน ๑ หลัง กุฏิสงฆ์หลัง เล็ก จ�านวน ๓ หลัง อาคารส�านักงานเจ้าคณะอ�าเภอ ๑ หลัง กุฏิ รับรอง ๒ หลัง
268
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
269
เส้นทางแห่งบุญ
จังหวัดนครพนม
Nakhon Phanom Province
270
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
พระธาตุพนมบรมเจดีย์ ณ วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
271
ไหว้ 8พระธาตุ
ประจ� า วั น เกิ ด จังหวัดนครพนม
เพื่อความเป็นสิริมงคล
พระธาตุมหาชัย พระธาตุประจ�าวันพุธ ผู้ที่ไปนมัสการ จะประสบ แต่ชัยชนะในชีวิต ในทุกๆด้าน
พระธาตุศรีคูณ
พระธาตุประจ�าวันอังคาร เทพประจ�าวันอังคารเป็นนักต่อสู้ เชื่อว่าใครได้สักการะจะได้ อานิสงส์ทวีคูณ
พระธาตุเรณู
พระธาตุประจ�าวันจันทร์ ใครได้กราบไหว้จะมีรูปงาม ผ่องใส ตรงกับลักษณะของ เทพประจ�าวันจันทร์
พระธาตุพนม
พระธาตุประจ�าวันอาทิตย์ ว่ากันว่าใครได้มานมัสการ พระธาตุครบ 7 ครั้งจะถือว่า เป็น "ลูกพระธาตุ"
272
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
พระธาตุมรุกขนคร
พระธาตุประจ�าวันพุธ กลางคืน
เป็นพระธาตุประจ�าวันเกิด ของคนที่เกิดวันพุธกลางคืน พึ่งก่อสร้างได้ไม่นาน
พระธาตุประสิทธิ์
พระธาตุประจ�าวันพฤหัสบดี
ผู้ใดได้ไปนมัสการจะได้รับ อานิสงส์ให้ประสบผลส�าเร็จ ในหน้าที่การงาน
พระธาตุท่าอุเทน
พระธาตุประจ�าวันศุกร์ จะได้รับอานิสงส์ให้ชีวิต มีความรุ่งโรจน์ เปรียบเสมือนพระอาทิตย์ขึ้น ยามรุ่งอรุณ
พระธาตุนคร
พระธาตุประจ�าวันเสาร์ จะได้รับอานิสงส์ เสริมบุญบารมีและ มีอ�านาจวาสนา เป็นเจ้าคนนายคน
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
273
ไหว้ พ ระ สุรินทร์-บุรีรัมย์
274
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
ปักหมุดวัดเมืองไทย ภาค ๑๐
275
ปักหมุดเมืองไทยขอแนะน�ำสถำนทีส ่ �ำคัญทำงศำสนำ กับเรื่องรำวทีห ่ ลำกหลำย จำก 6 เมืองภำคอีสำน ที่ปักหมุดรวบรวมเพือ่ น�ำเสนอ ให้ได้ซึมซับเรือ่ งรำวอย่ำงลึกซึ้ง และอยำกทีจ่ ะเปิดประสบกำรณ์ไปสัมผัสด้วยตนเอง
www
Website
issuu
ปักหมุดเมืองไทย
LINE
ATPR PERFECT