ปักหมุดวัดเมืองไทย
1
วัดพรหมสุรินทร์
ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Phrom Surin
Nai Mueang Subdistrict, Mueang Surin District, Surin Province
พระพุทธรูปปางมารวิชัย พระประธานในอุโบสถวัดพรหมสุรนิ ทร์ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชยั ขนาดหน้าตักกว้าง ๓๕ นิว้ สร้างด้วยทองสัมฤทธิ์ ทั้งองค์ลักษณะแบบสมัยโบราณ ประทับนั่งขัดสมาธิราบบนฐานเรียบ รอบฐานมีจารึกอักษรขอม ๑ บรรทัด พระพักตร์เป็น สี่หลี่ยม มีไรพระศก ขมวดพระเกศาเล็กเป็นหนามขนุน พระรัศมีเป็นรูปดอกบัว พระขนงโก่ง พระเนตรเหลือบต�่า พระโอษฐ์ยิ้ม พระกรรณยาว ครองจีวรห่มเฉียง ชายสังฆาฏิยาวปลายตัดตรง นิ้วพระหัตถ์ทั้งสี่ยาวเสมอกัน พระหัตถ์ขวาวางคว�่าอยู่กึ่งกลาง พระชานุ พระหัตถ์ซ้ายวางหงายบนพระเพลา
2
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิมงคลพรหมสุรินทร์ ปักหมุดวัดเมืองไทย
3
วัดศาลาลอย พระอารามหลวง ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Salaloi Phra Aramluang
Nai Mueang Subdistrict, Mueang Surin District, Surin Province
พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ ดร., ป.ธ.๙, พธ.ด.) เจ้าอาวาสวัดศาลาลอย พระอารามหลวง – ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค ๑๑ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์ 4
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระอุโบสถ
วัดศาลาลอย
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
5
วัดป่าพุทธชยันตี
ต� า บลผั ก ไหม อ� า เภอศี ข รภู มิ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Pa Buddhajayantee
Phuk Mai Subdistrict, Sikhoraphum District, Surin Province
วัดป่าพุทธชยันตี เลขที ่ ๑๑๒ หมูท่ ี่ ๕ บ้านหนองยาง ต�าบล ผักไหม อ�าเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ วัดป่าพุทธชยันตี ได้รับการ ประกาศส� า นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ ใ ห้ เ ป็ น วั ด ในพระ พุ ท ธศาสนา เมื่อวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๖ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย วัดป่าพุทธชยันตีได้พฒั นาจากทีด่ นิ เดิมเป็นส�านักปฏิบตั ธิ รรม สวนป่าสักกวัน และตามเจตนารมณ์ของพระธรรมโมลี เจ้าคณะ จังหวัดในสมัยนั้นประสงค์ให้เป็นวัดที่เน้นการปฏิบัติกัมมัฏฐาน จึงให้ต่อท้ายชื่อวัดว่า “ศูนย์วิปัสสนากัมมัฏฐานคณะสงฆ์สุรินทร์” วัดป่าพุทธชยันตี ภายใต้กา� กับของเจ้าคณะจังหวัดสุรนิ ทร์ ซึ่ ง เป็ น หั ว หน้ า พระวิ ป ั ส สนาจารย์ ป ระจ� า จั ง หวั ด ได้ แ ต่ ง ตั้ ง ให้ พระวิ ป ั ส สนาจารย์ เป็นเจ้าอาวาสสนองงานด้านวิปัส สนาแก่ พระภิกษุสามเณร และมีค�าสั่งแต่งตั้งให้อุบาสก-อุบาสิกา ผู้ทรงภูมิ รูเ้ ป็นวิทยากรอบรมธรรมปฏิบตั กิ มั มัฏฐานแก่ฆราวาส ถือเป็นหน้าที่ ประจ�าในกาลอันล่วงมาแล้วเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๕๘ ได้รว่ มมือ กับจังหวัดทหารบกสุรนิ ทร์ (ต่อมาเปลีย่ นเป็นมณฑลทหารบกที ่ ๒๕)
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย 6
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ฝ่ายกลาโหม และผู้ว่าราชการจังหวัด ฝ่าย มหาดไทย และปลัดอ�าเภอทุกอ�าเภอในนาม ของกรมการปกครอง จั ด อบรมวิ ป ั ส สนา กัมมัฏฐาน เสริมศักยภาพการปฏิบตั ริ าชการ แก่ก�านัน ผู้ใหญ่บ้าน สารวัตรก�านันและ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านทุกต�าบล ทุกหมู่บ้านใน จังหวัดสุรินทร์ โดยแบ่งเป็นรุ่น รุ่นละ ๑๐๐๑๕๐ คน ใช้หลักสูตรภาคทฤษฎีและภาค ปฏิบัติ ระยะเวลา ๒ คืน ๓ วัน และโดยวิธี การเดียวกันนี้ได้อบรมนายกองค์การบริหาร ส่วนต�าบลทุกต�าบล สมาชิกองค์การบริหาร ส่วนต�าบลทุกต�าบลในจังหวัดสุรินทร์ ซึ่งได้ รั บ การอุ ป ถั ม ภ์ จ ากคณะสงฆ์ ทั้ ง จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ แ ละเป็ น ที่ พึ ง พอใจต่ อ ผู ้ เข้ า ร่ ว ม โครงการอย่างดียิ่ง
วัดกลาง พระอารามหลวง ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์
Wat Klang Phra Aram Luang
Nai Mueang Subdistrict, Mueang Buriram Thap District, Buriram Province
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
7
พระสุนทรธรรมเมธี (สุเทพ อาสโภ ป.ธ.4 ,ดร.)
รองเจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์เจ้าอาวาสวัดท่าสว่าง
วัดท่าสว่าง
ต�าบลกระสัง อ�าเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย 8
ปักหมุดวัดเมืองไทย
Wat Tha Sawang
Kra Sang Subdistrict, Kra Sang District, Buriram Province
วัดกลาง
ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Klang
Nai Mueang Subdistrict, Mueang Surin District, Surin Province
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
9
บริษัท เอทีพีอาร์ เพอร์เฟคท์ จ�ากัด ATPR PERFECT Co.,Ltd. 23 หมู่ที่ 1 ต�าบลนอกเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000 atpr.perfect@gmail.com 082-036-5590 044-060-459 พระราชวิมลโมลี (เจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์) พระสุนทรธรรมเมธี (รองเจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์) คณะที่ปรึกษา Board of consulttant ภูษิต วิทยา ฝ่ายประสานงานและ Phusit Wittaya สื่อสารองค์กร Corporate Coordination ถาวร เวปุละ and Commucination Taworn Wapula พุฒิธร จันทร์หอม Puttitorn Janhom ธนิน ตั้งธ�ารงจิต Thanin Tangtamrongjit
10
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ชัชญาณิช วิจิตร Chatchayanit Wijit นายวิทยา วิจิตร Wittaya Wijit
เรียบเรียงข้อมูล Editor
ชัชญาณิช วิจิตร Chatchayanit Wijit ธัญภรณ์ สมดอก Thunyaporn Somdok
ติดต่อประสานงาน Coordinator
ชัชญาณิช วิจิตร Chatchayanit Wijit คมสันต์ สีหะวงษ์ Komsan Sihawong พรเทพ ลักขษร Bhonthep Luckasorn
ออกแบบกราฟฟิค Graphic Designer
พร โพชารี Porn Pocharee ชัยวิชญ์ แสงใส Chaiwit Sangsai
ถ่ายภาพ Photographer
วัดบูรพาราม พระอารามหลวง
บันทึกเรือ่ งราวร้อยวัด สุรินทร์-บุรีรัมย์ 16 คณะสงฆ์ผู้ใหญ่สุรินทร์ 17 คณะสงฆ์ผู้ใหญ่บุรีรัมย์
18 ท�ำเนียบคณะสงฆ์ สุรินทร์ 22 ท�ำเนียบคณะสงฆ์ บุรีรัมย์
จังหวัดสุรินทร์ 28 วัดจ�าปา
วัดศาลาลอย วัดสังข์มงคล วัดสำมัคคี วัดอังกัญโคกบรรเลง วัดอำม็อง แผนที่กำบเชิง วัดอุดมพรหมวิหำร วัดโคกตะเคียน วัดโคกเวงวำรีรัตน์ วัดบ้ำนน้อยแสนสุข วัดใหม่พรนิมิต แผนที่เขวำสินรินทร์ วัดพะเนำรัตน์
78 82 84 88 90 92 96 98 100 102 104 106
30 36 38 44 50 52 54 60 64 68 70 76
วัดศำลำลอย วัดพรหมสุรินทร์ วัดบูรพำรำม พระอำรำมหลวง วัดกลำง วัดประทุมเมฆ วัดป่ำโยธำประสิทธิ์ วัดโคกกรวด วัดจ�ำปำ วัดประทุมธรรมชำติ วัดเพี้ยรำม วัดมงคลรัตน์ วัดรำมวรำวำส
วัดกลาง ปักหมุดวัดเมืองไทย
11
บันทึกเรื่องราวร้อยวัด สุรินทร์-บุรีรัมย์ วัดนำโพธิ์ วัดกระพุ่มรัตน์ วัดฉันเพล วัดดำวรุ่ง วัดประสำทแก้ว วัดปรำสำททอง วัดโพธิ์รินทร์วิเวก วัดไพศำลภูมิกำวำส วัดวิวิตวรำรำม วัดศำลำเย็น วัดสำมโค ส�ำนักสงฆ์หนองโพธิ์น้อย วัดจอมพระ แผนที่ชุมพลบุรี วัดแจ้งศรีโพธิ์ทอง วัดประชำสังคม วัดกลำงชุมพล วัดเกำะแก้วยำนำวำ วัดคันธำรมณ์นิวำส วัดท่ำลำด วัดทุ่งสว่ำง(หนองเรือ)
108 110 112 114 116 120 122 124 126 130 132 134 138 140 142 146 148 152 156 158 162
ศูนย์อบรมปฏิบัติธรรมสากล ริมธารธรรมสถาน
วัดสังข์มงคล
12
ปักหมุดวัดเมืองไทย
166 174 178 180 184 192 194 196 198 200 202 204 208 214 216 220 228 230 232 236 240
วัดไทรงำม (ไพรงำม) วัดบ้ำนทิพย์เนตร วัดโพธิ์งำมยะวึก วัดศรัทธำวำรินทร์ วัดศรัทธำวำรี วัดสระบัว วัดสระบัวงำม (บ้ำนขำม) วัดแสนสุข วัดโพธิ์ทอง วัดปรำสำทขุมดิน วัดอีสำนบ้ำนโนนสั้น วัดมุนีนิรมิต วัดเพชรบุรี วัดสำมรำษฏร์บ�ำรุง วัดอมรินทรำรำม วัดอุทุมพร แผนที่พนมดงรัก วัดอรุโณทยำรำม วัดหิมวันบรรพต วัดอรุนทยำรำม วัดดอนน�้ำตำล
วัดสระบัว วัดกลาง(รัตนบุรี)
วัดบ้ำนสว่ำง 310 วัดประทุมสว่ำง 314 วัดป่ำตำมอ 316 วัดสุทธำวำส 318 วัดหนองคู 320 วัดหนองหิน 324 ศูนย์ปฏิบัติธรรมสำกล ริมธำรธรรมสถำน 328 วัดโมฬีวงษำ 330 วัดศรีสว่ำงโคกสะอำด 332 วัดโพธำรำม 334 วัดวังปลัดสำมัคคี 336 วัดทุ่งนำศรีธำรำม 338 วัดป่ำพรหมจักร 340 วัดศรีหนองปลำขำว 342 วัดสำมัคคีศรีบูรพำ(ขอนแตก) 344 วัดเก่ำหลวงอำสน์ 346 วัดโพธิ์ศรีวรรณำรำม 348 วัดบูรณ์สะโน 352 วัดหนองเหล็ก 356
244 246 248 250 254 256 258 264 268 272 276 280 282 284 286 288 290 296 298 304 308
วัดนิคมสุนทรำรำม วัดปรำสำททอง วัดโพธิวนำรำม วัดวำรีวัน วัดศรีสวำย วัดสมสุธำวำส วัดดอกจำนรัตนำรำม วัดทุ่งไทรขะยุง วัดจ�ำปำ วัดโพธิ์ศรีธำตุ วัดกลำง วัดป่ำเทพนิมิต วัดนิมิตรัตนำรำม วัดทักษิณวำรีสิริสุข แผนที่อ�ำเภอศีขรภูมิ วัดบ้ำนตรมไพร วัดพันษี วัดระแงง วัดช่ำงปี่ วัดทุ่งสว่ำงนำรุ่ง วัดบ้ำนข่ำ
วัดสามัคคีศรีบูรพา (ขอนแตก) ปักหมุดวัดเมืองไทย
13
วัดกลาง (นางรอง)
ต� า บลนางรอง อ� า เภอนางรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์
Wat Klang Nang Rong
Nang Rong Subdistrict, Nang Rong District, Buriram Province
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
15
ท�ำเนียบพระสังฆำธิกำร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย จังหวัดสุรินทร์
พระธรรมโมลี ดร. ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค ๑๑
พระราชสุตาลังการ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัด
พระสิทธิการโกศล ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัด พระราชวิมลโมลี ผศ.ดร. เจ้าคณะจังหวัด
พระมหาเจริญสุข คุณวีโร รองเจ้าคณะจังหวัด
พระครูสิริธีรญาณ เลขาฯเจ้าคณะจังหวัด
16
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระมหาเสาร์ สีหสุวณฺณปุตฺโต เลขาฯรองเจ้าคณะจังหวัด
พระครูปริยัติกิจธ�ารง รองเจ้าคณะจังหวัด
พระมหาสมพงษ์ ฐิตจิตฺโต เลขาฯรองเจ้าคณะจังหวัด
ท�ำเนียบพระสังฆำธิกำร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย จังหวัดบุรีรัมย์
พระเทพปริยัตยาจารย์ เจ้าคณะจังหวัด
พระสุนทรธรรมเมธี รองเจ้าคณะจังหวัด
พระมงคลสุตกิจ เลขาฯเจ้าคณะจังหวัด
พระศรีปริยัติธาดา รองเจ้าคณะจังหวัด
พระครูศรีปริยัตยานุศาสน์ เลขาฯรองเจ้าคณะจังหวัด
พระครูสิริปริยัตยาภิรม เลขาฯรองเจ้าคณะจังหวัด
ปักหมุดวัดเมืองไทย
17
ท�ำเนียบพระสังฆำธิกำร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย จังหวัดสุรินทร์
พระราชวิมลโมลี ผศ.ดร. เจ้าคณะจังหวัด พระมหาเจริญสุข คุณวีโร รองเจ้าคณะจังหวัด
พระครูปริยัติกิจธ�ารง รองเจ้าคณะจังหวัด
พระครูปทุมสังฆการ เจ้าคณะอ�าเภอเมือง
พระครูอนุวัตปัญญาภรณ์ รองเจ้าคณะอ�าเภอเมือง
พระครูอุดรประชานุกูล รองเจ้าคณะอ�าเภอเมือง
พระปลัดกมลพัฒน์ อคฺคจิตฺโต เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอเมือง
พระครูสิริธรรมวิสิฐ เจ้าคณะอ�าเภอชุมพลบุรี
พระครูสุตพัฒนธาดา รองเจ้าคณะอ�าเภอชุมพลบุรี
พระครูสิทธิปัญญาธร รองเจ้าคณะอ�าเภอชุมพลบุรี
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอชุมพลบุรี
18
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระครูสิทธิปัญญาธร
พระในฎีกาพรศักดิ์ สุเมโธ เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอเมือง
พระปรัชญา ชยวุฑฺโฒ เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอเมือง
พระปลัดจักรกฤษ กลญาโณ
พระบัณฑิต ฐานกโร
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอวัดราษฎรนิมิตร
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอชุมพลบุรี
พระครูสิริพรหมสร เจ้าคณะอ�าเภอท่าตูม
พระครูปริยัติวิสุทธิคุณ ผศ.ดร. รองเจ้าคณะอ�าเภอท่าตูม
พระครูสุวรรณโพธิคุณ รองเจ้าคณะอ�าเภอท่าตูม
พระครูปริยัติปทุมารักษ์ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอท่าตูม
พระสมศักดิ์ โสรโต พระมหาประเสิรฐ สิรินฺธโร เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอท่าตูม เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอท่าตูม
พระครูบุญเขตวรคุณ เจ้าคณะอ�าเภอรัตนบุรี
พระครูประภัสร์สารธรรม รองเจ้าคณะอ�าเภอรัตนบุรี
พระครูรัตนธรรมานุรักษ์ รองเจ้าคณะอ�าเภอรัตนบุรี
เจ้าอธิการณรงค์ชัย ปสาโท เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอรัตนบุรี
พระสมุห์สุนทร สุภทฺโท
พระสมุห์ไพบูลย์ เตชธมฺโม
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอรัตนบุรี
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอรัตนบุรี
พระครูบริหารชัยมงคล เจ้าคณะอ�าเภอศีรขรภูมิ
พระครูวิมลศีขรคุณ รองเจ้าคณะอ�าเภอศีรขรภูมิ
พระครูสุจิตตาภิรม รองเจ้าคณะอ�าเภอศีรขรภูมิ
พระมหาสุรเดช สุทฺธิเมธี เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอศีขรภูมิ
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอศีขรภูมิ
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอศีขรภูมิ
พระครูพิทักษ์สังฆกิจ เจ้าคณะอ�าเภอสังขะ
พระครูวิศิษฏ์วิหารคุณ รองเจ้าคณะอ�าเภอสังขะ
พระครูสิริธีรญาณ รองเจ้าคณะอ�าเภอสังขะ
พระครูโกศลสมาธิวัตร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอสังขะ
พระพยัต อินฺโท เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอสังขะ
พระครูจันทรัตนาถิรม เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอสังขะ
พระครูพิบูลพัฒนประสุต
พระสุทธิวัตร ชาครธมฺโม
ปักหมุดวัดเมืองไทย
19
พระครูบรรพตสมานธรรม รองเจ้าคณะอ�าเภอพนมดงรัก
พระสมุห์ภัทรดนัย สุจิตฺตคโต
พระวรจักร เขมวีโร
เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอพนมดงรัก
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอพนมดงรัก
พระครูพรหมวิหารธรรม เจ้าคณะอ�าเภอกาบเชิง
พระมหายุทธพิชาญ โยธสาสโน รองเจ้าคณะอ�าเภอกาบเชิง
พระมหาวิสาตย์ ธมฺมิโก เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอกาบเชิง
พระครูสังฆรักษ์เกษม วิชฺชาธโร
พระครูวิวิตธรรมวงศ์ เจ้าคณะอ�าเภอจอมพระ
พระครูสิริปริยัติธ�ารง รองเจ้าคณะอ�าเภอจอมพระ
พระปลัดลุน ลทฺธปญฺโญ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอจอมพระ
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอจอมพระ
พระครูศรีปริยัติวราภรณ์ เจ้าคณะอ�าเภอโนนนาราย
พระครูมงคลรัตนาภิรักษ์ รองเจ้าคณะอ�าเภอโนนนาราย
พระปลัด สุภีร์ คมฺภีรธมฺโม พระสัญชัย ปิยธมฺโม เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอโนนนาราย เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอโนนนาราย
พระครูพนมศีลาจารย์ เจ้าคณะอ�าเภอพนมดงรัก
20
ปักหมุดวัดเมืองไทย
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอกาบเชิง
พระใบฎีกาสมร สุธมฺมญาโณ
พระครูประทีปธรรมวงศ์ เจ้าคณะอ�าเภอสนม
พระปลัดทองค�า โอภาโส เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอสนม
พระครูศรีสุนทรสรกิจ เจ้าคณะอ�าเภอล�าดวน
พระครูนิมิตรัตนาภรณ์ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอล�าดวน
พระครูประดิษฐ์ธรรมวัฒน์ เจ้าคณะอ�าเภอเขวาสินรินทร์
พระปลัดสุระ ญาณธโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอเขวาสินรินทร์
พระครูโอภาสธรรมพิทักษ์ เจ้าคณะอ�าเภอบัวเชด
พระครูปัญญาสุธรรมนิเทศก์ รองเจ้าคณะอ�าเภอบัวเชด
พระอุดมศักดิ์ อธิจตฺโต เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอบัวเชด
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอบัวเชด
พระครูธ�ารงสีลคุณ เจ้าคณะอ�าเภอปราสาท
พระครูสุพัฒนกิจ รองเจ้าคณะอ�าเภอปราสาท
พระอดิศร กิตฺติสาโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอปราสาท
เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอปราสาท
พระครูสุธรรมวรานุรักษ์ เจ้าคณะอ�าเภอส�าโรงทาบ
พระมหาบุญชอบ ปุญฺญสาทโร รองเจ้าคณะอ�าเภอส�าโรงทาบ
พระครูจันทปัญญาภรณ์ เจ้าคณะอ�าเภอศรีณรงค์
พระครูกัลยาณธรรมโฆษ รองเจ้าคณะอ�าเภอศรีณรงค์
พระภานุวัฒน์ อินฺทปญฺโญ
พระพงษ์ศักดิ์ พลญาโณ
พระปลัดสมจิต ธมฺมรกฺขิโต พระอธิการสมศักดิ์ ปภากโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอส�าโรงทาบ เลขาฯรองเจ้าคณะอ�าเภอส�าโรงทาบ
พระอุทัย อฺคปยฺโญ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอศรีณรงค์
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย
ปักหมุดวัดเมืองไทย
21
ท�ำเนียบพระสังฆำธิกำร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย จังหวัดบุรีรัมย์
พระเทพปริยัตยาจารย์ เจ้าคณะจังหวัด พระสุนทรธรรมเมธี รองเจ้าคณะจังหวัด
22
พระศรีปริยัติธาดา รองเจ้าคณะจังหวัด
พระครูอินทวนานุรักษ์ เจ้าคณะอ�าเภอเมืองบุรีรัมย์
พระครูปทุมธรรมานุรักษ์ รองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองบุรีรัมย์
พระครูสุตกิจโสภณ รองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองบุรีรัมย์
พระบุญยืน ปภสฺสโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอเมืองบุรีรัมย์
พระครูปริยัติภัทรคุณ เจ้าคณะอ�าเภอนางรอง
พระครูประสิทธิ์ธรรมวัฒน์ รองเจ้าคณะอ�าเภอนางรอง
พระครูศรีปริยัติวิบูลย์ รองเจ้าคณะอ�าเภอนางรอง
พระพรสันต์ จิตฺตโสภโณ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอนางรอง
พระครูบุญเขตวิชัย เจ้าคณะอ�าเภอล�าหานทราย
พระมหาเรืองฤทธิ์ สุธีโร รองเจ้าคณะอ�าเภอล�าหานทราย
พระครูพิทักษ์ศาสนกิจ รองเจ้าคณะอ�าเภอล�าหานทราย
พระมหาเรืองฤทธิ์ สุธีโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอล�าหานทราย
พระครูพิศาลสังฆกิจ เจ้าคณะอ�าเภอบ้านกรวด
พระครูสุนทรกิจวิจารณ์ รองเจ้าคณะอ�าเภอบ้านกรวด
พระครูพัชรกิตติโสภณ รองเจ้าคณะอ�าเภอบ้านกรวด
พระครูสุกิจพัฒนาทร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอบ้านกรวด
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระปลัดวิรุฬชิต นริสฺสโร
พระครูวีรสุธรรมาภรณ์ เจ้าคณะอ�าเภอคูเมือง
พระครูกิตติสารประภาต รองเจ้าคณะอ�าเภอคูเมือง
พระครูศรัทธาพลาธร รองเจ้าคณะอ�าเภอคูเมือง
เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอคูเมือง
พระครูสุตกิตติสุนทร เจ้าคณะอ�าเภอหนองกี่
พระครูสังวราภิราม รองเจ้าคณะอ�าเภอหนองกี่
พระครูประพัฒน์กิจจาทร รองเจ้าคณะอ�าเภอหนองกี่
พระมหาสมพร สุทฺธญาโณ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอหนองกี่
พระครูประสิทธิ์นวกร เจ้าคณะอ�าเภอหนองหงส์
พระครูปริยัติกิตติธ�ารง รองเจ้าคณะอ�าเภอหนองหงส์
พระครูสิริปัญญาธร รองเจ้าคณะอ�าเภอหนองหงส์
พระครูวิมลญาณวิสิฐ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอหนองหงส์
พระครูสิริคณารักษ์ เจ้าคณะอ�าเภอประโคนชัย
พระครูสุนทรชัยวัฒน์ รองเจ้าคณะอ�าเภอประโคนชัย
พระครูสิทธิญาณโสภณ รองเจ้าคณะอ�าเภอประโคนชัย
พระครูภัทรสมาจารคุณ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอประโคนชัย
พระครูจินดาวรวัฒน์ เจ้าคณะอ�าเภอล�าปลายมาศ
พระมหาบุญเลิศ สนฺติกโร รองเจ้าคณะอ�าเภอล�าปลายมาศ
พระครูพิพิธสารคุณ รองเจ้าคณะอ�าเภอล�าปลายมาศ
พระครูปิยธรรมทัศน์ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอล�าปลายมาศ
พระครูอัมพวันธรรมวิสิฐ เจ้าคณะอ�าเภอสตึก
พระครูสิริธรรมเมธี รองเจ้าคณะอ�าเภอสตึก
พระครูปริยัตกิตยารักษ์ รองเจ้าคณะอ�าเภอสตึก
พระครูสุวรรณกิตยาภิรม เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอสตึก
ปักหมุดวัดเมืองไทย
23
24
พระครูปริยัติธรรมาภรณ์ เจ้าคณะอ�าเภอกระสัง
พระครูสิริปริยัตยาภิรม รองเจ้าคณะอ�าเภอกระสัง
พระครูพิสิฐธรรมาภิรม รองเจ้าคณะอ�าเภอกระสัง
พระวิรุติ์ วิโรจโน เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอกระสัง
พระมงคลสุตกิจ เจ้าคณะอ�าเภอห้วยราช
พระครูวินัยธรค�้าจุน โกสโล เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอห้วยราช
พระครูสุตกันตาภรณ์ เจ้าคณะอ�าเภอโนนสุวรรณ
พระครูสมุห์สามารถ วิสุทฺธิสาโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอโนนสุวรรณ
พระครูนิเทศก์ธรรมคุณ เจ้าคณะอ�าเภอโนนดินแดง
พระปลัดศุภชัย สุนทโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอโนนดินแดง
พระครูภาวนาวิหารธรรม เจ้าคณะอ�าเภอเฉลิมพระเกียรติ
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระมหาสุเทพ วรปญฺโญ เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอเฉลิมพระเกียรติ
พระครูโพธิธรรมานุกูล เจ้าคณะอ�าเภอปะค�า
พระมหาวิจารณ์ ภาณิวโร รองเจ้าคณะอ�าเภอปะค�า
พระปลัดธาตรี ปญฺญาวชิโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอปะค�า
พระครูอมรบุญวัฒน์ เจ้าคณะอ�าเภอนาโพธิ์
พรครูโพธิคุณากร รองเจ้าคณะอ�าเภอนาโพธิ์
พระสมชาย โชติโก เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอนาโพธิ์
พระครูวิบูลธรรมธัช เจ้าคณะอ�าเภอบ้านใหม่ชัยพจน์
พระครูประดิษฐ์โชติคุณ รองเจ้าคณะอ�าเภอบ้านใหม่ชัยพจน์
พระครูอรัญธรรมรังษี เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอบ้านใหม่ชัยพจน์
พระครูวิลาศธรรมคุณ เจ้าคณะอ�าเภอพุทไธสง
พระครูโชติรสโกศล รองเจ้าคณะอ�าเภอพุทไธสง
พระครูสารธรรมประสาธน์ เจ้าคณะอ�าเภอบ้านด่าน
พระครูศรีปริยัตยานุศาสน์ รองเจ้าคณะอ�าเภอบ้านด่าน
พระครูวิมลวรธรรม วรธมฺโม เจ้าคณะอ�าเภอพลับพลาชัย
พระครูจันทศิริพิมล รองเจ้าคณะอ�าเภอพลับพลาชัย
พระครูถาวรธรรมประยุต เจ้าคณะอ�าเภอช�านิ
พระครูวิทูรธรรมาภิรม รองเจ้าคณะอ�าเภอช�านิ
พระครูโสภณธรรมประสิทธิ์ เจ้าคณะอ�าเภอแคนดง
พระครูปริยัติวิริยาทร รองเจ้าคณะอ�าเภอแคนดง
พระมหาสถาพร จารุธมฺโม เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอพุทไธสง
พระสมุห์เพียร เตชธโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอบ้านด่าน
พระจักรพงษ์ ปญฺญาธโร เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอพลับพลาชัย
พระครูวิทูรธรรมาภิรม เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอช�านิ
พระมหาโชคชัย อธิมุตฺโต เลขาฯเจ้าคณะอ�าเภอแคนดง
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
25
จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ Surin
พระพุ ท ธสุ ริ น ทรมงคล - วนอุ ท ยานเขาสวาย 26
ปักหมุดวัดเมืองไทย
หลวงปู ่ ดุ ล ย์ อตุ โ ล องค์ ใ หญ่ ที่ สุ ด
วั ด เขาศาลาอตุ ล ฐานะจาโร
ปักหมุดวัดเมืองไทย
27
วัดอังกัญโคกบรรเลง ต. บุฤาษี
วัดโคกกรวด ต. ตั้งใจ
วัดเพี้ยราม ต. เพี้ยราม
วัดปทุมธรรมชาติ ต. แกใหญ่
วัดอาม็อง ต. ท่าสว่าง
เส้นทางบุญ 14 วัด
เส้นทางธรรม เมืองสุรินทร์ 28
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดสามัคคี ต. ท่าสว่าง
วัดรามวราวาส ต. ราม
วัดสังข์มงคล ต. ตาอ็อง
วัดป่าโยธาประสิทธิ์ ต. นอกเมือง
วัดศาลาลอย
วัดประทุมเมฆ
ต. ในเมือง
วัดกลาง ต. ในเมือง
วัดพรหมสุรินทร์ ต. ในเมือง
ต. ในเมือง
วัดจ�าปา ต. ในเมือง
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
29
วัดศาลาลอย พระอารามหลวง ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Salaloi Phra Aram Luang
Nai Mueang sub-district, Mueang Surin District, Surin Province ความเป็นมา วัดศาลาลอย เป็นวัดเก่าแก่วัด หนึ่งในตัวเมืองจังหวัดสุรินทร์ ก่อสร้าง เมื่อใด ใครสร้างปรารภอะไรจึงสร้างไว้ ไม่มีข้อมูลทางประวัติศาสตร์ที่พอเป็น หลักฐานได้ แต่จากการบอกเล่าของคน รุ่นก่อน ๆ และเล่าสืบทอดกันต่อ ๆ มา พอเรียบเรียงความได้ดังนี้ วั ด ศาลาลอยเป็ น วั ด โบราณ สร้างมานานแล้ว อายุไม่ต่�ากว่าร้อยปี จากประวั ติ เ มื อ งสุ ริ น ทร์ บั น ทึ ก ไว้ ว ่ า พระยาสุรินทร์ภักดีศรีไผทสมันต์ (สุ่น) เจ้าเมืองคนที ่ ๔ ครองเมืองสุรนิ ทร์เมือ่ ปี มะแม จุลศักราช ๑๑๗๒ พุทธศักราช ๒๓๔๕ รัตนโกสินทรศก ๓๐ ถึงปีกุน
30
ปักหมุดวัดเมืองไทย
จุลศักราช ๑๒๑๓ พุทธศักราช ๒๓๙๔ เกษตรกรรมประเภทไร่ ณ บริเวณสนามบิน รัตนโกสินทรศก ๗๐ ภรรยาของท่านเจ้า แถวสนามกี ฬ าศรี ณ รงค์ ใ นปั จ จุ บั น เมืองคือนางดาม พร้อมบุตรธิดาและ นางดามเป็นคนใจบุญ ค�้าจุนอุปถัมภ์วัด บริ ว ารประกอบอาชี พ เกษตรกรรม และถวายความอุปการะพระภิกษุสามเณร บริเวณทีเ่ รียกภาษาถิน่ ว่า เวียลเวง (เวียล วัดศาลาลอยเป็นประจ�า พร้อมกันนัน้ ก็ได้ แปลว่า ทุ่ง, เวง แปลว่า ยาว, เวียลเวง ฝากบุตรหลานและบริวารให้ดแู ลบ�ารุงวัด แปลว่า ทุ่งยาว) ซึ่งอยู่นอกก�าแพงเมือง ตลอดมา การปกครอง ด้านตะวันออกของวัดในปัจจุบันนี้คือ บริเวณที่ตั้งบ้านพักผู้พิพากษา โรงเรียน วั ด ศาลาลอย มี เ จ้ า อาวาส สิรินธร โรงเรียนสุรวิทยาคาร โรงเรียน อนุบาลสุรินทร์ โรงเรียนเมืองสุรินทร์ ปกครองดูแลพระภิกษุสามเณรติดต่อกัน วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ วิทยาลัย มาหลายรูป เท่าทีจ่ ดจ�าจากการเล่าสืบต่อ เทคนิคสุรนิ ทร์ โรงพยาบาลสุรนิ ทร์ และ กันมามีดังนี้ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นอกจากนี้นางดามพร้อมด้วย พระอธิการพยุง ด�ารงต�าแหน่ง พ.ศ.๒๔๔๕ - ๒๔๔๘ บุตรธิดาและบริวารยังประกอบอาชีพ
พระอธิการเขมา ด�ารงต�าแหน่ง พ.ศ.๒๔๔๘-๒๔๖๐ เสมาธรรมจักรทองค�า สาขาการจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมดีเด่น พระอธิการมี ด�ารงต�าแหน่ง พ.ศ.๒๔๖๐-๒๔๖๑ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ณ มณฑลพิธี พระครูธรรมธัชวิมล (ดัน เจริญสุข) ด�ารงต�าแหน่ง ท้องสนามหลวง พ.ศ. ๒๔๖๑ - ๒๔๘๕ พ.ศ. ๒๕๓๓ ได้ รั บ พระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ยกเป็ น พระครูวิภัชกัลยาณธรรม (จันทร์ กลฺยาณมุตโต) พระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ ด�ารงต�าแหน่ง พ.ศ.๒๕๘๖ - ๒๕๑๘ พระมหาสุรพงษ์เตมิโย ป.ธ.๕ ด�ารงต�าแหน่ง พ.ศ.๒๕๑๙ - ๒๕๒๒ พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทโธ ป.ธ.๙, พธ.ด.) ด�ารงต�าแหน่ง พ.ศ. ๒๕๒๓ - ปัจจุบนั
เกียรติฐานะของวัด การจัดการวัดเป็นส่วนทีท่ า� ให้เกิดผลดังต่อไปนี้ พ.ศ. ๒๕๓๒ กรมการศาสนาประกาศให้เป็น วัดพัฒนาตัวอย่าง พ.ศ. ๒๕๓๓ กรมการศาสนาประกาศยกย่อง ให้เป็นวัดพัฒนาดีเด่น สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ประทานเกียรติ บัตรและพัดพัฒนาดีเด่น พ.ศ. ๒๕๓๓ เจ้าอาวาสได้รบั พระราชทานเสา
ปักหมุดวัดเมืองไทย
31
พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ ดร., ป.ธ.๙, พธ.ด.) เจ้าอาวาสวัดศาลาลอย พระอารามหลวง – ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค ๑๑ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์ พระธรรมโมลี ฉายา ญาณวิสทุ โฺ ธ อายุ ๘๗ พรรษา ๖๖ วิทยฐานะนักธรรม ชั้ น เอก เปรี ย ญธรรม ๙ ประโยค พุ ท ธศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต วั ด ศาลาลอย ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัด สุรินทร์ ปัจจุบนั ด�ารงต�าแหน่ง : เจ้าอาวาส วั ด ศาลาลอย พระอารามหลวง / ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค ๑๑
สถานะเดิม ชื่ อ ทองอยู ่ นามสกุ ล พิ ศ ลื ม เกิดวันอังคาร ขึ้น ๓ ค�่า เดือน ๙ ปีระกา ตรงกับวันที่ ๒๕ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ บิ ด าชื่ อ นายเคล็ ม มารดาชื่ อ นางแคน พิ ศ ลื ม บ้ า นตะตึ ง ไถง ต� า บล นอกเมื อ ง อ� า เภอเมื อ งสุ ริ น ทร์ จั ง หวั ด สุรินทร์
บรรพชา วันที่ ๑๗ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๒ ณ วัดกลาง ต�าบลในเมือง อ�าเภอ เมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
32
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระอุปัชฌาย์ : พระประภากร ส�านักเรียนคณะจังหวัดสุรินทร์ คณาจารย์ (เดื่อ) วัดกลาง ต�าบลในเมือง ๒ จบเปรียญธรรม ๙ ประโยค อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. ๒๕๑๓ ส�านักศาสนศึกษาวัดบุญวาทย์ วิหาร ส�านักเรียนคณะจังหวัดล�าปาง อุปสมบท ๓ ระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๑๑ วันที่ ๑๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒๔๙๗ ณ พัทธสีมาวัดกลาง ต�าบลในเมือง กรุงเทพมหานคร อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ๔ ระดับปริญญาโท พ.ศ. ๒๕๑๗ พระอุปัชฌาย์ : พระประภากร อักษรศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย คณาจารย์ (เดื่อ) วัดกลาง ต�าบลในเมือง มัทราส ประเทศอินเดีย อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ๕ ระดับปริญญาเอก พ.ศ. ๒๕๕๒ พระกรรมวาจาจารย์ : พระครู พุทธศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยมหา วิภัชกัลยาณธรรม (จันทร์) วัดศาลาลอย จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัด งานด้านปกครอง สุรินทร์ พระอนุสาวนาจารย์ : พระครูสทิ ธิ พ.ศ. ๒๕๒๓ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้า การโกศล (เทพ) วัดกลาง ต�าบลในเมือง อาวาสวัดศาลาลอย ต�าบลในเมือง อ�าเภอ อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ เมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. ๒๕๒๓ ได้รบั พระบัญชาแต่ง ประวัติการศึกษา ตั้งเป็นรองเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ ๑ จบนั ก ธรรมชั้ น เอก พ.ศ. พ.ศ. ๒๕๒๙ ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง ๒๔๙๗ ส�านักศาสนศึกษาวัดศาลาลอย เป็นพระอุปัชฌาย์
พ.ศ. ๒๕๓๔ ได้รับพระบัญชา แต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสพระอารามหลวง พ.ศ. ๒๕๓๙ ได้รับแต่งตั้งเป็น รักษาการเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. ๒๕๔๐ ได้รับพระบัญชา แต่งตั้งเป็นเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้รับพระบัญชา แต่ ง ตั้ ง เป็ น ที่ ป รึ ก ษาเจ้ า คณะจั ง หวั ด สุรินทร์ พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นที่ ปรึกษาเจ้าคณะภาค ๑๑
สมณศักดิ์ พ.ศ. ๒๕๒๔ ได้รบั พระราชทาน สมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ เปรียญ ในราชทินนามที่ พระศรีธีรพงศ์ พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้รบั พระราชทาน เลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระราชาคณะชัน้ ราช ในราชทิ น นามที่ พระราชวิ สุ ท ธิ เ มธี ตรีปฎิ กบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้รบั พระราชทาน เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้น เทพ ในราชทินนามที ่ พระเทพปัญญาเมธี ศรี ป ริ ยั ติ ธ รรมดิ ล ก ตรี ป ิ ฎ กบั ณ ฑิ ต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้รบั พระราชทาน เลื่ อ นสมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระราชาคณะ ชั้นธรรม ในราชทินนามที่ พระธรรมโมลี ศรีปริยัตโยดม วิกรมธรรมธารี ตรีปิฎก บั ณ ฑิ ต มหาคณิ ส สร บวรสั ง ฆาราม คามวาสี
ปักหมุดวัดเมืองไทย
33
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย 34
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปักหมุดวัดเมืองไทย
35
วัดพรหมสุรินทร์
ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองสุรินทร์ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Phrom Surin
Nai Mueang Subdistrict, Mueang Surin District, Surin Province
ความเป็นมาของวัด ประวัตคิ วามเป็นมา วัดพรหมสุรนิ ทร์ เป็นวัดเก่าแก่คบู่ า้ นคูเ่ มืองวัดหนึง่ ของเมืองสุรนิ ทร์ สร้างประมาณ ๓๐๐-๕๐๐ ปี มาแล้ว ชือ่ เดิม ชือ่ วัดทักษิณณรงค์ คนแก่อายุ ๗๐ ปีขึ้นไป ที่อยู่ในตัวเมืองหรือนอกเมืองไกลออกไป เมื่อพูดถึง วัดพรหมสุรินทร์ก็ไม่คอ่ ยรู้จกั พอบอกว่าวัดทักษิณณรงค์กว็ า่ อ๋อรูจ้ ักดี เป็นวัดทีม่ ี ก�าแพงเมืองเก่าอยูด่ า้ นทิศเหนือมีพระพุทธรูปองค์ใหญ่และสวยงามอยูใ่ นอุโบสถ เป็นค�าบอกเล่าของคนแก่โบราณ อนึ่ง ในระยะเวลาที่ท่านพระครูบวรวิชาญาณ ด�ารงต�าแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดพรหมสุรนิ ทร์นนั้ ท่านได้พจิ ารณาว่าสถานทีต่ งั้ วัด ยังคับแคบไม่สะดวกและไม่เพียงพอต่อการพัฒนาให้เจริญก้าวหน้า ทั้งด้าน ถาวรวัตถุและด้านการศึกษาของพระภิกษุสามเณร จึงได้สละทุนทรัพย์สว่ นตัวซือ้ ที่ดินเพิ่มอีกจ�านวน ๓ แปลง และเสียสละที่ดินส่วนตัวอีกจ�านวน ๑ แปลง นับว่า
36
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ท่านเป็นพระสงฆ์ผู้เสียสละและได้ท�าคุณประโยชน์แก่ พระพุทธศาสนาอย่างมากมาย
อุโบสถวัดพรหมสุรินทร์ วันที ่ ๓๐ เมษายน ๒๕๑๒ โดยพลต�ารวจตรีวเิ ชียร ศรีมนั ตร ผูว้ า่ ราชการจังหวัดสุรนิ ทร์ เป็นประธานวางศิลาฤกษ์ อุโบสถ พ.ศ. ๒๕๑๗ จอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี ประธานยกช้อฟ้าอุโบสถ วั น ที่ ๒๒ พฤศจิ ก ายน พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๓๙ พระบาทสมเด็จ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั ครัง้ ด�ารงพระอิสริยยศ เป็ น สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าช สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร เสด็จแทนพระองค์ ทรงตัดหวายลูกนิมติ ผูกพัทธสีมาอุโบสถ และวางศิ ล าฤกษ์ อ าคารโรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม ณ วัดพรหมสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
ล�าดับเจ้าอาวาส (ตั้งแต่รูปแรกจนถึงปัจจุบัน) ๑. พระวังแก ไม่ทราบฉายา พ.ศ. ๒๓๑๐ - ๒๓๕๐ ๒. พระเมียด ไม่ทราบฉายา พ.ศ. ๒๓๕๑ - ๒๓๗๑ ๓. พระปาน ไม่ทราบฉายา พ.ศ. ๒๓๗๒ - ๒๓๘๗ ๔. พระเศือน ไม่ทราบฉายา พ.ศ. ๒๓๘๘ – ๒๔๑๕ ๕. พระสอน ไม่ทราบฉายา พ.ศ. ๒๔๑๖ - ๒๔๕๔ ๕. หลวงพ่อผิว ไม่ทราบฉายา พ.ศ. ๒๔๕๕ – ๒๔๖๐ ๗. หลวงพ่อฤทธิ์ (พระครูวิมลศีลพรต สังฆวาหะ) พ.ศ. ๒๔๖๐ – ๒๔๙๙ หลวงพ่อฤทธิ์ เห็นว่าสถานที่ตั้งวัดทักษิณณรงค์ เป็นที่คับแคบ จึงคิดหาที่สร้างวัดใหม่ มีคหบดีท่านหนึ่ง ชื่อ ตางัม ยายสวน ซึ่งเป็นต้นตระกูล ชูโฉมงาม เป็นผู้มี จิตศรัทธาได้มอบถวายทีด่ นิ หนึง่ แปลง ทีต่ งั้ วัดพรหมสุรนิ ทร์ ในปัจจุบัน
พระราชสุตาลังการ (ฉัตต์ สจฺจวโร) ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์และ เจ้าอาวาสวัดพรหมสุรินทร์
๘. พระครูบวรวิขาญาณ พ.ศ. ๒๕๐๐ – ๒๕๒๕ ๙. พระราชสุตาลังการ พ.ศ. ๒๕๒๖ – ปัจจุบัน
พระราชสุตาลังการ (ฉัตต์ สจฺจวโร)
ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ และเจ้าอาวาสวัด พรหมสุรนิ ทร์ พระราชสุตาลังการ ฉายา สจฺจวโร อายุ ๘๔ พรรษา ๖๔ วิทยฐานะ นักธรรมชั้นเอก เปรียญธรรม ๔ ประโยค รัฐประศาสนศาสตร์ ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ วัดพรหมสุรินทร์ ต�าบลในเมือง อ�าเภอ เมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่ง ๑. เจ้าอาวาสวัดพรหมสุรินทร์ ๒. ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
37
วัดบูรพาราม
ตำาบลในเมือง อำาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Burapha Ram
Nai Mueang Subdistrict, Mueang Surin District, Surin Province
38
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดบูรพาราม
วัดบูรพาราม (เดิมเรียกว่าวัดบูรณ์) ตั้งอยู่ ใจกลางของจังหวัดสุรินทร์ หน้าศาลากลางจังหวัด หลังศาลจังหวัดสุรนิ ทร์ สร้างขึน้ เมือ่ ใดและท่านผูไ้ ด้ ริเริ่มสร้างขึ้นนั้นไม่ปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษรที่ แน่ชดั เพียงแต่สนั นิษฐานโดยอนุมานเอาคงจะอยูใ่ น ระยะใกล้เคียงกับการสร้างเมืองสุรินทร์ คือ ก่อน พุทธศักราช ๒๔๐๐ รวมกับวัดต่าง ๆ ประมาณ ๖ - ๗ วัดด้วยกัน แม้จ�านวนชื่อและล�าดับเจ้าอาวาสที่ผ่าน มา ก็ไม่อาจล�าดับได้ถกู ต้องตามจ�านวนและล�าดับได้ เช่นเดียวกัน เนื่องจากวัดบูรพาราม เป็นวัดเก่าแก่สร้าง มาตัง้ แต่เริม่ แรกของการสร้างเมืองสุรนิ ทร์นนั่ เอง จึง ต้องเป็นไปตามยุคตามสมัย ตามกาลเวลาอาจรุง่ เรือง บางครั้ง และเสื่อมโทรมเป็นบางคราว โดยธรรมดา นัยว่าบางครัง้ เจ้าอาวาสไม่อาจด�ารงรักษาศรัทธาของ ชาวบ้านไว้ได้ เป็นเหตุให้วดั เสือ่ มโทรมและทรุดลงมา เป็นเวลานาน และเจ้าอาวาสแต่ละรูปก็อยูด่ ว้ ยระยะ เวลาสั้น จึงไม่อาจพัฒนาวัดให้เจริญมาได้เท่าที่ควร
ปักหมุดวัดเมืองไทย
39
40
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ดังนั้น เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๗ ผู้บังคับบัญชาการคณะสงฆ์ในสมัยนั้น จึงมีบัญชาให้ หลวงปู่ดุลย์ อตุโล เดินทางกลับจากธุดงค์กรรมฐาน มาประจ� า อยู ่ ที่ วั ด บู ร พาราม จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ เพื่ อ ด� า เนิ น การศึ ก ษา ปริยัติธรรม และเผยแพร่ข้อปฏิบัติทางกรรมฐานไปด้วยกันพร้อมทั้ง ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส ร่วมเป็นคณะพระสังฆาธิการบริหารวัดและ คณะสงฆ์ตลอดมา นับแต่กาลนัน้ เป็นต้นมา แสงแห่งรัศมีของพระธรรมทัง้ ทางปริยตั ิ และปฏิบัติก็เริ่มรุ่งเรืองโชติช่วงตลอดมา โดยหลวงปู่รับภาระทั้งทาง คันถธุระและวิปัสสนาธุระ บริหารงานพระศาสนาอย่างเต็มความสามารถ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาวัดบูรพารามก็ท�ามาอย่างต่อเนื่อง มีการ ก่ อ สร้ า งพระอุ โ บสถแบบคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก เป็ น ครั้ ง แรก หล่ อ พระพุทธชินราชจ�าลองประดิษฐานในพระอุโบสถ และบูรณปฏิสังขรณ์ พระวิหารหลวงพ่อพระชีว์ ซึ่งเป็นพระพุทธรูปส�าคัญประจ�าเมืองสุรินทร์ แต่โบราณ ตลอดจนถึงก่อสร้างเสนาสนะกุฎวี หิ าร แบบสมัยใหม่หลายหลัง เป็นการถาวรและมีจ�านวนพระเณรเพิ่มมากขึ้นโดยล�าดับ เมือ่ พ.ศ. ๒๕๑๑ กรมการศาสนา ได้ประกาศยกให้วดั บูรพาราม ขึ้นเป็นวัดพัฒนาตัวอย่างแรกของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๐ ทรงพระกรุณาพระราชทาน วัดบูรพารามขึ้น พระอารามหลวง ชั้นตรี เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๗ กรมการศาสนา ประกาศยกย่องให้เป็นพัฒนา ดีเด่น ประจ�าปี ๒๕๓๗ ปักหมุดวัดเมืองไทย
41
ถาวรวัตถุส�าคัญภายในวัด
๑. พระอุโบสถหลังใหญ่ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๙ แล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๒ ๒. ศาลาการเปรี ย ญหลั ง ใหญ่ "อตุ ล เถระ" สร้ า งเสร็ จ เมื่ อ พ.ศ. ๒๕๒๐ ๓. โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม "ราชบู ร พา" สร้ า งเสร็ จ เมื่ อ พ.ศ. ๒๕๒๒ ๔. พิพิธภัณฑ์กัมมัฏฐาน บรรจุอัฐิธาตุ และอัฐบริขารของหลวง ปู่ดุลย์ อตุโล สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๕ แล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๘ ๕. พระวิหารจตุมขุ ประดิษฐานหลวงพ่อพระชีว ์ ซึง่ เป็นพุทธรูป โบราณถือว่าเป็นพระประธานเมืองอันส�าคัญพระวิหารนี้บูรณปฏิสังขรณ์ ขึ้นมาใหม่ แล้วเสร็จเมื่อพ.ศ. ๒๕๓๘ ๖. มีกุฎีแบบคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด ๒ ชั้น จ�านวน ๑๗ หลัง พร้อมถนนคอนกรีตรอบ ๆ บริเวณวัด มีทั้งไม้ร่มไม้ประดับเป็นระเบียบ เรียบร้อยสะอาดสะอ้าน นับว่าเป็นสง่าราศีของจังหวัดสุรินทร์แห่งหนึ่ง
42
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
ปักหมุดวัดเมืองไทย
43
วัดกลาง
ตำาบลในเมือง อำาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Klang
Nai Mueang sub-district, Mueang Surin District, Surin Province
44
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดกลาง
วัดกลางสุรนิ ทร์ ได้เริม่ สร้างขึน้ เมือ่ ใดใครเป็น ผู้สร้าง เจ้าอาวาสองค์แรกและองค์ต่อ ๆ มามีชื่อ อย่างไรบ้างไม่มีหลักฐานปรากฏชัด แต่สถานที่ตั้งวัด นัน้ พอมีเหตุผลทีน่ า่ เชือ่ ดังนี ้ เมืองสุรนิ ทร์มกี า� เนิดมาแต่ ครัง้ ใด นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่า หลายร้อยปีมา แล้วโดยมีชอื่ เดิมว่า ไผทสมันต์ ต่อมาเมือ่ ประมาณ พ.ศ. ๒๓๐๖ เชียงปุมซึง่ เดิมอยูบ่ า้ นเมืองที ได้รบั บรรดาศักดิ์ เป็น พระสุรนิ ทร์ภกั ดี และย้ายมาอยูท่ ไี่ ผทสมันต์ เมืองนี้ จึงได้ชื่อว่าเมืองสุรินทร์ ตามบรรดาศักดิ์ของเจ้าเมือง ในการอพยบครั้งแรก สันนิษฐานว่าได้เริ่มก�าหนดตั้ง สถานที่หลักเมืองขึ้น โดยถือเนื้อที่ส่วนกลางของเมือง จริง ๆ กล่าวคือประมาณอาณาเขตภายในคูกา� แพงเมือง ชั้นใน จากทิศตะวันออกจดทิศตะวันตก และจาก ทิศเหนือจดทิศใต้มีศูนย์กลางตรงที่ตั้งหลักเมืองใน ปัจจุบันพอดี ถนนสายนี้เกิดขึ้นในสมัยหลัง ส่วนจวน เจ้าเมืองนั้น ตั้งเยื้องจากศาลเจ้าหลักเมืองมาทางทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือ ตรงบริเวณตลาดเก่าตรงหน้า วัดกลางปัจจุบนั หรือบริเวณหลังโรงแรมโมเมเรียลทัง้ หมด เป็นบริเวณจวนเจ้าเมืองมาแต่เดิม แต่ปัจจุบันนี้เป็นที่ ของเอกชนหมดแล้ว วัดกลางน่าจะเริม่ ได้รบั การก่อสร้างขึน้ ในสมัย นี้ ทั้งนี้เนื่องจากตั้งในเนื้อที่แนวเดียวกับจวนเจ้าเมือง ด้านทิศตะวันออกขนานกับจวนเจ้าเมือง โดยมีทางขั้น
ปักหมุดวัดเมืองไทย
45
กลางระหว่างจวนเจ้าเมืองกับวัด ปัจจุบันทางสายนี้ คือ ถนนธนสารซึ่งเป็นทางสายเดียว ที่ตัดกลางเมืองทอดจาก ก�าแพงด้านเหนือจดด้านใต้ และมีถนนสายหลักเมือง ผ่ า กลางจากตะวั น ออกสู ่ ต ะวั น ตก ตั ด กั น เป็ น สี่ แ ยก หลักเมือง ถนนสองสายนี้เป็นถนนดั้งเดิมของเมืองสุรินทร์ การวางผังเมืองของเจ้าเมืองสุรินทร์ เข้าใจว่าได้เพ่งถึง จุดศูนย์กลางของตัวเมืองและสร้างจวนในบริเวณดังกล่าว ที่แห่งนี้เป็นเนินสูง ข้อยืนยันว่าเจ้าเมืองคนแรกสร้างวัดกลางสุรินทร์ ข้อยืนยันว่า เจ้าเมืองสุรินทร์คนแรกเป็นผู้สร้าง วั ด กลางสุ ริ น ทร์ มี เ หตุ ผ ลประกอบดั ง นี้ หลั ง จาก เชี ย งปุ ม ได้ รั บ พระราชทานยศและต� า แหน่ ง กลั บ มา สู่บ้านเดิมที่เมืองที และเห็นว่าที่บ้านเมืองทีเป็นบ้านเล็ก ชั ย ภู มิ ไ ม่ เ หมาะสมจึง ย้ายมาตั้ง เมืองที่คูป ระทาย เมื่อ ก�าหนดที่ตั้งจวนแล้วก็วางผังการสร้างวัดเคียงข้างกับเขต จวนทางทิศตะวันออก การตัง้ วัดนีน้ า่ จะเป็นการเลียนแบบ ข้าราชการทหารในสมัยนั้น ที่กลับจากการท�าศึกสงคราม ก็มกี ารสร้างวัด ซึง่ การสร้างวัดนีแ้ ม้พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยูห่ วั และพระบรมวงศานุวงศ์กส็ ร้าง ข้าราชบริพารก็สร้าง เช่นกัน จนมีค�ากล่าวในสมัยนั้นว่า “สร้างวัดให้ลูกเล่น” เจ้าเมืองสุรินทร์ได้สร้างวัดขึ้นเป็นความนิยมตามสมัยนั้น เป็นการเลียนแบบจากส่วนกลางก็ได้ เจ้าเมืองอาจตัง้ ความ ประสงค์ว่า เมื่อสร้างเมืองก็สร้างวัดเป็นคู่บ้านคู่เมืองด้วย จึงก�าหนดพื้นที่วัดกลางติดกับเขตจวน การปฏิบัติราชการ ในสมัยนัน้ ไม่มศี าลากลางเป็นเอกเทศใช้จวนเป็นทีร่ าชการ ด้วย เมื่อมีการชุมนุมเรื่องข้าราชการก็ใช้บริเวณวัดเป็นที่ ชุมนุมเป็นความสะดวกสบายโดยตลอด วัดกลางได้เป็นที่ ร่วมประชุมของทางราชการตลอดในสมัยนั้น รวมทั้งการ ระดมพล ตามที่กล่าว ณ เบื้องต้นว่า เรื่องมีปรากฏซากอิฐ เก่าที่ “โคกโพธิ์” คือบริเวณตั้งโรงเรียนราษฎร์บ�ารุงว่า
46
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระครูปริยัติกิจธำารง
รองเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ / เจ้าอาวาสวัดกลางสุรินทร์ เคยเป็นที่ตั้งวัดมาแต่เดิม เมื่อพระสุรินทร์มาสร้างเมืองแล้วเมื่อมีการวาง ผังเมืองและก�าหนดที่วัด โดยท่านเจ้าเมืองอาจโยกย้ายวัดนี้มาตั้งเป็น วัดกลางก็ได้ ทั้งนี้โดยเหตุผลตามคติพื้นบ้านถือว่า การสร้างวัดต้องให้อยู่ ทางทิศตะวันออกของหมู่บ้าน จึงจะเป็นมงคล วัดอยู่ทางทิศตะวันตกของ หมู่บ้าน ถือว่าเป็นอัปมงคล วัดอยู่ทางทิศเหนือหรือใต้หมู่บ้านไม่ถือเป็น เรือ่ งเสียหาย อาจจะเป็นเพราะเหตุทเี่ จ้าเมืองสร้างจวนอยูท่ างทิศตะวันออกวัด จึ ง ย้ า ยวั ด จากทิ ศ ตะวั น ตกมาตั้ ง ทิ ศ ตะวั น ออก แต่ ทั้ ง นี้ เ ป็ น เพี ย งข้ อ สันนิษฐานอาจจะร้างไปเอง และวัดกลางก็อาจตัง้ ขึน้ ใหม่กไ็ ด้ แต่เหตุผลที่ ยืนยันมานัน้ พอกล่าวได้วา่ วัดกลางเกิดในสมัยพระสุรนิ ทร์คนแรกแน่นอน เพราะปรากฏเรื่องของเจ้าเมืองดังกล่าวแล้ว วัดกลางสุรินทร์ ได้รับการพระราชทานวิสุงคามสีมา วัดกลาง ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ ได้รับ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า ตามประกาศส� า นั ก นายกรั ฐ มนตรี เรื่ อ ง พระราชทานวิสงุ คามสีมา ประกาศ ณ วันที ่ ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๘ ผูร้ บั สนองพระบรมราชโองการ จอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๘๒ ตอนที่ ๒๔ ๑๙ มีนาคม ๒๕๐๘ ฉบับพิเศษ หน้า ๑๘ และบัญชีรายชื่อวัดที่ขอพระราชทานวิสุงคามสีมา งวดที ่ ๑ ประจ�าปี ๒๕๐๘ ล�าดับที ่ ๙๔ วัดกลาง ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ ก�าหนดเขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๑๕ เมตร ยาว ๒๗ เมตร ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๘๒ ตอนที่ ๒๔ ๑๙ มีนาคม ๒๕๐๘ ฉบับพิเศษ หน้า ๒๒
ปักหมุดวัดเมืองไทย
47
ศูนย์ปฏิบัติธรรมวัดกลางสุรินทร์ และ ศูนย์การศึกษาพระปริยัติธรรมวัดกลางสุรินทร์
48
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระพุทธสุรินทรพร
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
ปักหมุดวัดเมืองไทย
49
วัดประทุมเมฆ
ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Phra Tum Mek
Nai Mueang Subdistrict, Mueang Surin District, Surin Province ประวัติความเป็นมาของการก่อตั้งวัด
วัดประทุมเมฆ แต่กอ่ นเป็นทีร่ าบลุม่ ทุง่ นา มีตน้ ไม้
ใหญ่ ขึ้ น หนาแน่ น โดยเฉพาะต้ น มะขามใหญ่ ขึ้ น สลั บ กั บ ไม้ยืนต้นนานาพันธุ์ มีสระน�้าใหญ่คู่กัน เป็นแหล่งน�้าอุปโภค บริ โ ภคของคนในชุ ม ชนทิ ศ ตะวั น ตกของวั ด ในสมั ย นั้ น วัดประทุมเมฆ ตั้งอยู่นอกก�าแพงเมืองชั้นนอก มีล�าคลองที่ ขุดขึ้นเป็นก�าแพงเมืองชั้นนอกตัดผ่านหน้าวัด ดังนั้นชุมชนได้ สร้างสะพานไม้ขา้ มคลองทีม่ นี า�้ ไหลตลอดทัง้ ปีมาวัดและหาบน�า้ จากสระน�า้ ทัง้ คูข่ องวัดไปใช้ ในการสร้างวัดชาวบ้านในชุมชน
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
50
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ทิศตะวันตกก็ร่วมด้วยช่วยกันสร้างศาลาหลังเล็ก ๆ สลักด้วย ไม้ เพื่อประกอบกิจทางศาสนาใกล้ ๆ ต้นโพธิ์ใหญ่ในปัจจุบัน ด้วยความสามารถของเจ้าอาวาสองค์ก่อนได้สร้างโบสถ์ไม้ทั้ง หลังขึ้น เพื่อประดิษฐ์ส ถานพระพุทธรูปส�า คัญของวั ด ใน อุโบสถและท�าสังฆกรรมของหมู่สงฆ์ในวัด วั ด ประทุ ม เมฆ ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๓๔ ชาวบ้านเรียกกันว่า วัดทุมเมฆ ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๑๙ เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๑๗ เมตร ยาว ๓๐ เมตร การบริหารการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ ทราบนาม มีด้วยกันทั้ง ๑๐ รูป
รายนามเจ้าอาวาส นับตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันและช่วงปีที่ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส พร้อมทั้งประวัติของท่าน เจ้าอาวาส การบริหารและการปกครอง โดยมีเจ้าอาวาสปกครองตามล�าดับ ดังนี้ ๑. พระต้น พุทธศักราช ๒๔๓๔ ถึง ปีพุทธศักราช ๒๔๖๐ ๒. พระค�า พุทธศักราช ๒๔๖๐ ถึง ปีพุทธศักราช ๒๔๖๖ ๓. พระเจียง พุทธศักราช ๒๔๖๖ ถึง ปีพุทธศักราช ๒๔๖๗ ๔. พระเมียะ พุทธศักราช ๒๔๖๗ ถึง ปีพุทธศักราช ๒๔๘๓ ๕. พระพวน พุทธศักราช ๒๔๘๓ ถึง ปีพุทธศักราช ๒๔๘๖ ๖. พระกิม พุทธศักราช ๒๔๘๖ ถึง ปีพุทธศักราช ๒๔๘๙ ๗. พระล้อม พุทธศักราช ๒๔๘๙ ถึง ปีพุทธศักราช ๒๔๙๒ ๘. พระครูพัชรคุณาธาร (หลวงพ่อเพชร สุปญฺโญ) พุทธศักราช ๒๔๙๒ ถึง ปีพุทธศักราช ๒๕๓๑ ๙. พระครูบรรณสารโกวิท (แป สุปญฺโญ) พุทธศักราช ๒๕๓๑ ถึง ปีพุทธศักราช ๒๕๔๐ ๑๐. พระครูปทุมสังฆการ (สุพรรณ ฐิตปญฺโญ) ดร. พุทธศักราช ๒๕๔๐-ปัจจุบัน
ความส�าคัญของวัดประทุมเมฆ ด้ า นการศึ ก ษา วั ด เป็ น สถาน ศึกษาเล่าเรียน โดยพระภิกษุสงฆ์ทา� หน้าที่ เป็ น ผู ้ อ บรมสั่ ง สอนให้ ค วามรู ้ แม้ ใ น ปั จ จุ บั น พระสงฆ์ ยั ง คงท� า หน้ า ที่ ส อน พระพุทธศาสนาในโรงเรียน ด้านสังคม วัดเป็นศุนย์กลางของ ชุมชน เป็นที่ชุมนุมเพื่อท�าบุญฟังธรรม เทศนาตลอดจนการพบปะสั ง สรรค์ พ ร ะ ส ง ฆ ์ เ ป ็ น ตั ว แ ท น ข อ ง ส ถ า บั น พระพุทธศาสนา ที่มีบทบาทส�าคัญในการ เป็นผู้น�าทางจิตใจของประชาชน
พระครูปทุมสังฆการ (สุพรรณ ฐิตปัญโญ) เจ้าคณะอ�าเภอเมืองสุรินทร์ เจ้าอาวาสวัดประทุมเมฆ
ด้านศิลปกรรม วัดเป็นที่รวม แห่งศิลปะประเภทต่าง ๆ เช่น ประติมากรรม ปูนปั้นศิลปกรรมแกะสลักไม้ จิตรกรรม ฝาผนัง ตลอดถึงถาวรวัตถุตา่ ง ๆ ทีศ่ ลิ ปิน ไทยได้ถ่ายทอดไว้ที่โบสถ์วิหาร เจดีย์ องค์พระพุทธรูป ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึง ศรัทธาที่มีต่อพระพุทธศาสนา
ปักหมุดวัดเมืองไทย
51
อุทยานหลวงปู่ดุลย์ อตุโล รูปปั้นองค์ใหญ่ทส ี่ ุด
วัดป่าโยธาประสิทธิ์
ต�าบลนอกเมือง อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Pa Yothaprasit
Nok Mueang Subdistrict, Mueang Surin District, Surin Province 52
ปักหมุดวัดเมืองไทย
รูปเหมือนหลวงปู่ดูลย์ อตุโล และ หลวงปู่โชติ คุณสัมปัณโณ
มหาเจดีย์หลวงปู่ดูลย์ อตุโล ความเป็นมา วั ด โยธาประสิ ท ธิ์ อ ยู ่ ใ นบริ เวณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เลขที่ ๑๔๘ หมู่ที่ ๑๕ บ้านตาเตียว ต�าบลนอกเมือง อ�าเภอ เมือง จังหวัดสุรนิ ทร์ พืน้ ทีบ่ ริเวณวัดเป็น ทีด่ นิ ราชพัสดุ แปลงหมายเลขทะเบียนที่ สร.๑๐๑๔ มีเนือ้ ที่ ๓๑ ไร ๔๕.๗ ตารางวา เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๓ พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร หลวงปู่สุวัจน์ สุวโจ และหลวงปู่ สุพฒั น์ สุขกาโม อาจารย์วปิ สั สนากัมมัฏฐาน ได้เดินทางมาจากจังหวัดสกลนคร มาปักกลด บริ เวณใกล้ ส ะพานห้ ว ยเสนง ซึ่ ง เป็ น ป่าดงดิบในสมัยนั้นเหมาะแก่การปฏิบัติ ธรรม เมื่อได้สถานที่อันเหมาะสมแล้ว
ลานธรรมวันสวนะ
ศาลาปฏิบัติธรรม / หอระฆัง
จึงปรับให้เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม มีกุฏิ สงฆ์ สร้ า งด้ ว ยไม้ มุ ง ด้ ว ยหญ้ า คา มีศาลาฉันภัตตาหาร นั่งได้ประมาณ ๑๐ รูป และมีศรัทธาญาติโยมที่มาท�าบุญ ประมาณ ๑๐ - ๒๐ คน เป็นประจ�า มีพระภิกษุจากวัดบูรพาราม ซึง่ มีหลวงปู่ ดุลย์ อตุโล เจ้าอาวาสวัดบูรพาราม และ มีบัญชาให้พระภิกษุ สามเณร มาร่วม ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ห ล า ย รู ป ต ่ อ ม า เ มื่ อ หลวงปู่ฝั้น อาจาโร ได้ออกเดินธุดงธ์ต่อ ไป หลวงปู่ดุลย์ อตุโล ได้ให้ หลวงปู่โชติ คุณสัมปัณโณ (พระเทพสุทธาจารย์) อดีต เจ้ า อาวาสวั ด วชิ ร าลงกรณ์ ว ราราม วรวิหารเป็นเจ้าอาวาสแทนสืบมา จนถึง ปี พ.ศ. ๒๕๐๑ หลวงปู่โชติได้ย้ายไป ประจ�าวัดวชิราลงกรณ์ วรารามวรวิหาร
อ�าเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา มี พระอาจารย์ ส� า ราญ มารั ก ษาการ เจ้าอาวาสชั่วคราว ถึงปี พ.ศ. ๒๕๐๒ ได้ มีพระภิกษุสามเณรมาร่วมปฏิบัติธรรม มากขึ้น หลวงปู่ดุลย์ อตุโล ซึ่งเป็นเจ้า คณะจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ใ นขณะนั้ น ได้ ใ ห้ หลวงปู่เปลี่ยน โอภาโส (พระราชวิสุทธิ ธรรมรังสี) มาด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส แทนจนถึงปี พ.ศ. ๒๕๓๐ จึงได้แต่งตั้ง เจ้าอาวาสรูปใหม่ คือ พระมหาสุพรรณ สุ วั ณ โณ (พระครู โ สภณธรรมรั ง สี ) เจ้าคณะอ�าเภอเมืองสุรินทร์ (ธ) เป็น เจ้าอาวาส จนถึงปัจจุบัน วั ด ป่ า โยธาประสิ ท ธิ์ ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๔
ลานหน้าวัด
อุโบสถ
ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้รับคัดเลือกเป็นวัดในโครงการสมุนไพร ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้รับคัดเลือกให้เป็นวัดอุทยานการศึกษา ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้ รั บ คั ด เลื อ กให้ เ ป็ น ส� า นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมประจ� า จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ แห่งที่ ๒ ธรรมยุต ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้รับคัดเลือกเป็นวัดพัฒนาตัวอย่างประจ�าปี ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้รับคัดเลือกให้เป็นส�านักปฏิบัติธรรมดีเด่นประจ�าปี
ศาลาหลวงปู่ฝั้น อาจาโร
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
53
วัดโคกกรวด
ต�ำบลตั้งใจ อ�ำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Khok Gruad
Tang Jai Subdistrict, Mueang Surin District, Surin Province
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย
54
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปักหมุดวัดเมืองไทย
55
56
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปักหมุดวัดเมืองไทย
57
58
ปักหมุดวัดเมืองไทย
เหรียญหลวงพ่อทวน วัดโคกกรวด รุ่นแรก แจกในงานท�าบุญอายุครบ ๖ รอบ ๗๒ ปี ๒๕๖๒
ล็อคเก็ต หลวงพ่อทวน แจกในงานท�าบุญอายุครบ ๖ รอบ ๗๒ ปี ๒๕๖๒
รูปที่ระลึกงานกฐิน ตะกรุดจารย์ด้วยมือ โดยหลวงพ่อทวน หลวงพ่อทวน พ.ศ. ๒๕๖๑ ปักหมุดวัดเมืองไทย
59
วัดจ�ำปำ
ต� ำ บลในเมื อ ง อ� ำ เภอเมื อ งสุ ริ น ทร์ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Cham Pa
Nai Mueang Subdistrict, Mueang Surin District, Surin Province
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย 60
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ความเป็นมา วั ด จ� ำ ปำมี ชื่ อ เดิ ม ว่ ำ “วั ด ยำย จ� ำ ปำ”เป็ น วั ด เก่ ำ แก่ วั ด หนึ่ ง ในจั ง หวั ด สุรินทร์ พุทธศำสนิกชนร่วมแรงร่วมใจ สร้ำงขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยำตอนปลำย เมื่อก่อน “วัดยำยจ�ำปำ” ตั้งอยู่ที่ชำยป่ำ บ้ำนโคกประทำย หรือ ประทำยสมันต์ ในปั จ จุ บัน สื บ เนื่องมีพระภิก ษุช นชำว เขมรธุดงค์จำริกมำพักที่ป่ำข้ำงบ้ำนโคก ประทำย ท่ำนมีวัตรปฏิบัติอันน่ำเลื่อมใส ศรัทธำ ช�ำนำญในด้ำนอักษรขอมท�ำให้ ชำวบ้ำนเลื่อมใสศรัทธำสร้ำงที่พักสงฆ์ ถวำย กำลต่อมำคุณยำยจ�ำปำ เห็นว่ำ บริเวณสถำนที่นี้ไม่เหมำะต่อกำรเจริญ บ� ำ เพ็ ญ สมณธรรม จึ ง ได้ ชั ก ชวนเพื่ อ น บ้ำนสร้ำงที่พักสงฆ์ให้เหมำะควรกว่ำเดิม โดยตนเองมีศรัทธำแรงกล้ำจ�ำหน่ำยวัว ๒ ตัว ได้เงิน ๘ สตำงค์ น�ำมำสร้ำงเป็นที่พักสงฆ์ ขึ้นในป่ำซึ่งติดกับหมู่บ้ำน (ที่ตั้งของวัดใน ปัจจุบัน)
ปักหมุดวัดเมืองไทย
61
๒. เป็ น วั ด ที่ ป ระกอบพิ ธี “ดื่ ม น�้ ำ พิพัฒน์สัตยำแก่ข้ำรำชกำรทุกคน” ให้มีควำม จงรักภักดี มีควำมซื่อสัตย์ต่อแผ่นดินไทยเป็น ประจ�ำทุกปี ต่อมำได้ถูกยกเลิกไป ๓. ในปี พ.ศ. ๒๔๕๓ พระบำทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยูห่ วั ได้พระรำชทำนถวำย พระธรรมำสน์ ๑ หลัง เป็นธรรมำสน์สงั เค็ดงำน พระบรมศพรัชกำลที่ ๕ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ไม้ ล งรั ก ปิ ด ทอง ลำยฉลุ ขนำดกว้ ำ ง ๙๑ เซนติเมตร ยำว ๑๒๒ เซนติเมตร สูง ๑๒๐ เซนติเมตร สลักพระนำมย่อว่ำ “จปร” อยู่ใต้ พระเกี้ ย วเพื่ อ ถวำยพระรำชอุ ทิ ศ ในงำน พระบรมศพ พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำ เจ้ำอยูห่ วั พ.ศ. ๒๔๕๓ พร้อมเหรียญรูปเหมือน ของรัฐกำลที่ ๕ ๑ เหรียญ เป็นเหรียญเงินรูป ครึ่งพระองค์ ขนำดเส้นผ่ำศูนย์กลำง ๑๖ นิ้ว
การปกครองของวัดจ�าปา เจ้ำอำวำสองค์แรกและองค์ต่อ ๆ มำ มีชื่ออย่ำงไรบ้ำง ไม่มีหลักฐำนปรำกฏชัด เท่ำ ที่ปรำกฏรำยนำมมีดังนี้ ๑. หลวงพ่อมี ๒. หลวงพ่อจิตต์ ๓. หลวงพ่อคง ๔. หลวงพ่อเกี๊ยะ ๕. หลวงพ่อพระมหำสุคนธ์ คนฺธว�โส ป.ธ.๕ ๖. หลวงพ่อคุย ๗. หลวงพ่อรัน
62
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ภำยหลังจำกยำยจ�ำปำเสียชีวิตแล้ว ชำวบ้ำน จึ ง เรี ย กวั ด นี้ ว ่ ำ “วั ด ยำยจ� ำ ปำ” เพื่ อ เป็ น อนุสรณ์แด่คุณยำยผู้เป็นก�ำลังส�ำคัญในกำร สร้ำงวัดให้เป็นศูนย์รวมกำรบ�ำเพ็ญธรรมและ พัฒนำจิตใจของชำวบ้ำนสืบมำ และเปลีย่ นชือ่ เป็น “วัดจ�ำปำ” ในกำลต่อมำ วัดจ�ำปำมีควำมส�ำคัญทำงประวัติศำสตร์ ดังนี้ ๑. ในสมัยกรุงศรีอยุธยำตอนปลำย พระเจ้ำแผ่นดินได้ส่งแม่ทัพเสนำบดีติดตำม ช้ ำ งศึ ก ของพระองค์ และได้ พั ก ที่ วั ด จ� ำ ปำ ประมำณ ๕ วัน จนสำมำรถติดตำมหำช้ำงได้ โดยมีหลวงพ่อวัดจ�ำปำได้ช่วยอ�ำนวยควำม สะดวกในกำรติดตำมช้ำง
๘. หลวงพ่อรอด ๙. หลวงพ่อบุญ ๑๐. พระประภำกรคณำจำรย์ (หลวงพ่อเดื่อ ปภำกโร/วรรณศรี ) อดี ต เจ้ ำ คณะจั ง หวั ด สุรินทร์พ.ศ. ๒๔๙๙ – ๒๕๐๖ ๑๑. พระอธิกำรไชยยศ ยนฺตสีโล (สุดอุดม) พ.ศ. ๒๕๐๖ – ๒๕๓๓ ๑๒. พระอธิกำรบรึม สุรปญฺโญ (ศรีสง่ำ) พ.ศ. ๒๕๓๔ – ๒๕๓๕ ๑๓. พระครู ส ำธุ กิ จ โกศล ดร. (สิ ท ธิ ชั ย ฐำนจำโร / เดชกุลรัมย์) พ.ศ. ๒๕๓๖ – ปัจจุบัน
ปักหมุดวัดเมืองไทย
63
วัดประทุมธรรมชาติ
ต�าบลแกใหญ่ อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Prathum Thammachat
Khae Yai Subdistrict, Mueang Surin District, Surin Province 64
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดประทุมธรรมชาติ เลขที่ ๑๔๙ หมู่ที่ ๑ ต�ำบลแกใหญ่ อ�ำเภอ เมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ วัดประทุมธรรมชำตินั้น ชำวบ้ำนเรียกกัน ว่ำ วัดบ้ำนแกใหญ่ หรือ วัดแกใหญ่ ตั้งชื่อตำม หมู่บ้ำน แต่เดิมนั้นวัดตั้งอยู่บนที่เนินสูงในที่ดิน ธรณีสงฆ์ (หอประชุมและสถำนีอนำมัยหลังเก่ำ ของบ้ำนแกใหญ่หมูท่ ี่ ๑๐ ในปัจจุบนั ) ด้ำนทิศตะวันตก ของวัดทีต่ ง้ั อยูใ่ นปัจจุบนั ต่อมำพระครูธรรมธัชพิมล (หลวงปู ่ ทุ น ธมฺ ม ปญฺ โ ญ) ท่ ำ นได้ ย ้ ำ ยวั ด มำ สร้ำงในพื้นที่ปัจจุบันโดยชักลำกมำ โดยไม่มีกำรรื้อ ถอนใช้ ค รกต� ำ ข้ ำ วเป็ น ล้ อ สำเหตุ ที่ ไ ด้ ตั้ ง ชื่ อ ว่ ำ วัดประทุมธรรมชาติ เพรำะว่ำมีดอกบัวซึ่งเกิดขึ้น เองตำมธรรมชำติในสระน�้ำ (ปัจจุบันไม่มี แ ล้ ว ) ซึง่ ท�ำกำรขุดใหม่ใช้ทำ� ประปำหมูบ่ ำ้ น ด้ำนทิศตะวันออก ของอุโบสถในปัจจุบัน
ล�าดับเจ้าอาวาส ๑. พระอำจำรย์โต๊จ พ.ศ. ๒๔๒๒ - ๒๔๓๑ ๒. พระอำจำรย์ชดิ ปรำกฏมำก พ.ศ. ๒๔๓๒-๒๔๓๗ ๓. พระอำจำรย์แรม ชำติไทย พ.ศ. ๒๔๓๘-๒๔๖๑ ๔. พระครูธรรมธัชพิมล (หลวงปู่ทุน ธมฺมปญฺโญ เมืองงำม) พ.ศ. ๒๔๖๒-๒๔๗๗ ๕. พระอำจำรย์บท พันสุเภำดี พ.ศ. ๒๔๗๘-๒๔๘๗ ๖. พระอำจำรย์ทิพย์ หำสุข พ.ศ. ๒๔๘๘-๒๔๙๕ ๗. พระอำจำรย์ล้วน พ.ศ. ๒๔๙๖-๒๕๐๒ ๘. พระครูศีลปทุมำภรณ์ (เมียก อชิโต เมืองงำม) พ.ศ. ๒๕๐๓-๒๕๔๕ ๙. พระครูประยุตปัญญำภรณ์ (วรวุฒ ิ ปยุตโฺ ต ทวีสขุ ) พ.ศ. ๒๕๔๖ – ปัจจุบัน พระครูธรรมธัชพิมล (หลวงปูท่ นุ ธมฺมปญฺโญ) อดีตเจ้ำคณะแขวงท่ำตูมองค์แรกและอดีตเจ้ำอำวำส วัดประทุมธรรมชำติ พระครูธรรมธัชพิมล ท่ำนถือก�ำเนิดอยู่ที่ บ้ำนแกใหญ่ทำ่ นเป็นบุตรชำยของ นำยกลิน่ นำงเมำ เมืองงำม มีพี่น้องร่วมมำรดำบิดำ ๑๑ คน เมื่อท่ำน มีอำยุครบ ๒๐ ปี ได้อุปสมบท ณ พัทธสีมำวัด ประทุมเมฆ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัด สุ ริ น ทร์ สมั ย นั้ น ท่ ำ นมี ค วำมสนิ ท ชิ ด ชอบกั บ หลวงพ่อทอง ศรีไทย จึงได้ไปบวชที่วัดประทุมเมฆ ซึ่งมีหลวงปู่ด�ำ เป็นเจ้ำอำวำสในขณะนั้น ท่ำนได้ ปักหมุดวัดเมืองไทย
65
พระครูประยุตปัญญาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดประทุมธรรมชาติ บวชเรียนหลำยพรรษำ สมัยนัน้ พระสงฆ์ จะร�่ำเรียนแสวงหำควำมรู้ทั้งด้ำนปริยัติ และปฏิ บั ติ วิ ป ั ส สนำกรรมฐำนตลอด จนถึงควำมรู้ทำงด้ำนเวทมนตร์คำถำ อำคม และไสยศำสตร์ ต�ำรำยำสมุนไพร เป็นต้น เมื่อวัดประทุมธรรมชำติ บ้ำน แกใหญ่ ว่ำงเจ้ำอำวำสลงชำวบ้ำนจึงได้ ไปกรำบนิมนต์ ท่ำนมำด�ำรงต�ำแหน่งเจ้ำ อำวำสรูปใหม่ พระคุณท่ำนได้บุกเบิก
66
ปักหมุดวัดเมืองไทย
สร้ำงวัดแห่งใหม่และสั่งสอนพระธรรม วินัย แก่ศิษยำนุศิษน์เป็นจ�ำนวนมำก พระครูประยุตปัญญาภรณ์ บรรพชำ วันเสำร์ แรม ๔ ค�่ำ เดือน ๖ ปีวอก ตรงกับวันที่ ๑๘ เดือน เมษำยน พ.ศ. ๒๕๒๓ วั ด อุ ด รประชำรำษฎร์ ต� ำ บลแกใหญ่ อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด สุรินทร์ พระครู ป ระยุ ต ปั ญ ญำภรณ์ เป็นพระเถระผูเ้ พียบพร้อมด้วยศีลำจำร
วัตรอันดีงำมมีควำมตั้งใจเสียสละ ทุ่มเท และอุทศิ ตนเพือ่ พระพุทธศำสนำเป็นเวลำ ยำวนำน อันก่อให้เกิดคุณปู กำรต่อพระพุทธ ศำสนำ และประเทศชำติเป็นที่ประจักษ์ คณะกรรมำธิ ก ำรกำรศำสนำ ศิลปะและวัฒนธรรมสภำผูแ้ ทนรำษฎร จึง ถวำยโล่รำงวัลพุทธคุณูปกำร ประเภทรัช ตเกียรติคณ ุ เพือ่ ยกย่อง เชิดชูและประกำศ เกียรติคณ ุ ให้ปรำกฏแผ่ไพศำล เป็นทิฏฐำนุคติ อันดีงำมแก่พุทธบริษัทสืบไป
ปักหมุดวัดเมืองไทย
67
หลวงพ่อแป้น ปญฺญาธโร
พระครูสถิตบุญโสภณ
วัดเพี้ยราม
ต� า บลเพี้ ย ราม อ� า เภอเมื อ งสุ ริ น ทร์ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Phia Ram
Phia Ram Subdistrict, Mueang Surin District, Surin Province ความเป็นมา ค�ำว่ำ พญำรำม (พระยำรำม) นำมนีม้ ปี ระวัตศิ ำสตร์ควำมเป็นมำ บ่งบอก ควำมหลังครั้งอดีตที่ผ่ำนมำช้ำนำน และสำนสัมพันธ์สนิทสอดประสำนแน่น เช่น กับนำมว่ำ เพี้ยรำม ฮ็อง ภูมิกันดำล และพญำรำม อันเป็นนำมของหมู่บ้ำนใหม่ ในส่วนของเครือข่ำยของวัดเพี้ยรำมในปัจจุบันที่จะกล่ำวถึง ตำมควำมจริงนั้นที่ ได้เลือกสรรตั้งชื่อบอกส�ำเนียงมีเค้ำเสียงต่ำงกันเช่นนี้ ก็คงเป็นเรื่องธรรมดำแท้ ของกำรเปลี่ยนแปลง เมื่อมีประชำชนมำกขึ้นก็ยำกที่จะดูแล แก้ไขปรับปรุงและ ปกครองให้ได้โดยทัว่ ถึง ด้วยเหตุผลดังกล่ำวแล้ว บ้ำนเพีย้ รำมเป็นเพียงหมูบ่ ำ้ นเดียว กำลต่อมำจ�ำเป็นอย่ำงยิ่งที่มีกำรแยกเพื่อพัฒนำให้เจริญรุ่งเรื่อง กำรก่อตั้งวัดเพี้ยรำม เมื่อครั้งอดีตนั้นมีประวัติเป็นหลักฐำนปรำกฏชัด ที่คนสมัยนั้นที่มีควำมรู้ควำมเข้ำใจจำรึกลงในสมุดใบลำน เนื่องในงำนพิธีผูก พัทธสีมำวัดพญำรำม (พระยำรำม,เพีย้ รำม) เมือ่ ร.ศ. ๙๐ หรือพุทธศักรำช ๒๔๑๔
68
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระครูประโชติจริยาภรณ์ (ไสว พฺรหฺมจาโร) เจ้าอาวาสวัดเพี้ยราม
ตรงกับปีมะแม เล่ำไว้ว่ำมีตังเคำทม (หัวหน้ำใหญ่) เดิมมีชื่อว่ำ รำม ซึ่งเมื่อก่อนท่ำน เคยเป็นพระธุดงค์จำริกแสวงหำสถำนที่วิเวก เพื่อควำมสงบกำยใจมำจำกเขมรต�่ำ ได้ ลัดเลำะมำพักปักกลดริมฝั่งด้ำนทิศใต้ตะเปียงทม (หนองใหญ่) ได้ควำมสงบวิเวก ร่มเย็นด้วยอันเนื่องมำจำกร่มไม้ชำยคำ และควำมเย็นสบำยจำกแหล่งน�้ำที่ใหญ่อีก ท่ำนอยู่ ณ สถำนที่แห่งนี้นำนถึง ๑๕ วัน แล้วเดินจำริกต่อไปยังวัดโคกสะกอ โดยเดิน ทำงผ่ำนป่ำใหญ่โคกส�ำรอง (ปัจจุบนั เรียกว่ำ โคกส�ำโรง) เพื่อนมัสกำรพระอำจำรย์ที่นั้น (ท่ำนชือ่ ว่ำ อำจำรย์เจีย) ปัจจุบนั วัดแห่งนีม้ สี ถำนะเป็นวัดร้ำง แต่ยงั มีฐำนซำกปรักหักพัง และบริเวณสีมำปรำกฏอยู ่ ซึง่ ตัง้ อยูท่ ำงทำงทิศตะวันตกเฉียงใต้ของบ้ำนขำมระกำ (หมูท่ ี่ ๙ หมูท่ ี่ ๑๐ ของต�ำบลกำเกำะในปัจจุบนั ) ต่อมำพระธุดงค์ชอื่ ว่ำ รำม อยูจ่ ำ� พรรษำในวัดแห่งนี้ เป็นเวลำ ๓ พรรษำพอพรรษำที่ ๔ ท่ำนได้รับนิมนต์จำกชมชุนตะเปียงทม(ชุมชนบ้ำน หนองทม) ให้มำเป็นประธำนทีพ่ กั สงฆ์ ซึง่ ชำวชุมชนแห่งนีเ้ ลือ่ มใสท่ำนมำก บริเวณแห่งนี้ ก็ยงั ปรำกฏซำกปรักหักพังอยูเ่ ช่นกัน ต่อมำภำยหลังท่ำนลำสิกขำแต่ดว้ ยควำมเป็นน�ำ ที่โดดเด่นในหลำยด้ำน ชำวบ้ำนจึงยกให้ท่ำนเป็น ตังเคำทม (เป็นผู้ใหญ่บ้ำน) กำรที่กล่ำวถึงท่ำนรำมมำก ก็เพรำะว่ำท่ำนเป็นผู้น�ำที่ท�ำให้เกิดวัดเพี้ยรำม เมื่ อ ประมำณปี พ.ศ.๒๓๐๓ในสมั ย พระเจ้ ำ เอกทั ต กษั ต ริ ย ์ อ งค์ สุ ด ท้ ำ ยของ กรุงศรีอยุธยำมีช้ำงเผือกหลวงแตกมำทำงอีสำน จึงมีรับสั่งให้พระเจ้ำสองพี่น้อง คือ (พระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ำจุฬำโลก กับ กรมพระรำชวงค์บวรมหำสุรสีหนำถ) เป็นหัวหน้ำเพือ่ มำสืบหำช้ำงโดยมีผตู้ ดิ ตำมมำด้วย ๓๐ คน เมือ่ คณะตำมหำช้ำงเผือก หลวงเดินทำงมำถึงพิมำย ชำวพิมำยได้แนะน�ำให้มำสืบถำมชำวกวยแทรกโพนช้ำง กลุ่มของเชียงสี (บริเวณอ�ำเภอรัตนบุรี) ระหว่ำงเดินทำงได้มำแวะพักบ้ำนหนองทม (บ้ำนพญำรำมในปัจจุบนั ) ท่ำนท�ำหน้ำทีต่ อ้ นรับคณะติดตำมช้ำงเผือกหลวงเป็นอย่ำงดี และแนะน�ำให้รู้จักหัวหน้ำกวยทุกกลุ่มจนสำมำรถจับช้ำงหลวงได้ที่บ้ำนหนองโชค (บ้ำนหนองบัว) อ�ำเภอสังขะในปัจจุบัน พระเจ้ำสองพี่น้องได้น�ำกรำบบังคมทูล พระเจ้ำอยูห่ วั ถึงควำมช่วยเหลือทีไ่ ด้รบั จำกกลุม่ ชำวกวย และนำยรำม ผูน้ ำ� หมูบ่ ำ้ นหนองทม ทุกคนได้รับบรรดำศักดิ์ดังนี้ ๑. เชียงสี ได้เป็น หลวงศรีนครเตำท้ำวเธอ ๒. เชียงฆะ (มะ) ได้เป็น หลวงสังขะบุรีศรีอัจจะ ๓. เชียงชัย ได้เป็น ขุนชัยสุริยวงศ์ ๔. เชียงปุม ได้เป็น หลวงสุรินทร์เสน่หำ ส่วนหัวหน้ำทีใ่ ห้กำรต้อนรับช่วยเหลือเลีย้ งดู เมือ่ คณะตำมหำช้ำงเผือกหลวง ที่มำพักบ้ำนหนองทม ได้รับบรรดำศักดิ์เป็น ออกญำ เทียบเท่ำ พระยำ จึงเปลีย่ นชือ่ หมูบ่ ำ้ น ตำมบรรดำศักดิ์ของผู้น�ำว่ำ พญำรำม พญำ (พระยำ) คือบรรดำศักดิ ์ รำม คือชือ่ ของท่ำนผูน้ ำ� ค�ำว่ำ พญำ ภำษำท้องถิ่น เรียกว่ำ เพญีย จึง เรียกติดปำกมำนำนกลำยเป็น เพีย้ รำม ในปัจจุบนั ซึ่งสถำนที่ปัจจุบันถูกย้ำยจำกหมู่บ้ำนพญำรำม เพรำะมีโรคระบำด โรคพยุห ์ หรือเรียกว่ำ ไข้ทรพิษ หรือฝีดำษ มีผู้คนล้มตำยเป็นจ�ำนวนมำก จึง ตกลงย้ำยป่ำช้ำจำกตะวันออกหมู่บ้ำน ไปอยู่ ตะวันตกหมู่บ้ ำน (โคกกะกี /โคกตะเคียน) ย้ำยหมู่บ้ำนไปทำงทิศตะวันออกเฉียงใต้ของ บ้ำนพญำรำม คือ วัดเพีย้ ราม และ บ้านเพีย้ ราม ในปัจจุบันนั่นเอง
ร่วมสบทบทุนสร้างมณฑป เจดีย์พระยาราม ได้ที่ ๐๘๖-๒๕๘-๐๗๖๔ (เจ้าอาวาส) / ๐๘๖-๒๕๘-๖๖๙๙ หรือคณะกรรมการวัด
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
69
วัดมงคลรัตน์
ต� ำ บลคอโค อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Mongkhonrat
Ko Kho Subdistrict, Mueang District, Surin Province
70
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปักหมุดวัดเมืองไทย
71
พระครูปิยธรรมกิตติ์ (หลวงพ่อชื่น) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้ำอำวำส วั ด มงคลรั ต น์ ต� ำ บลคอโค อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ วัดมีเนื้อที่ โดยประมำณ 25 ไร่ มีสระน�ำ้ ล้อมรอบวัด และภำยในวัดที่มีต้นไม้สวยงำมร่มรื่น เสมื อ นเป็ น วั ด ป่ ำ และมี เ สนำสนะที่ สวยงำมถูกจัดวำงด้วยควำมเป็นระบบ เรียบร้อยเหมำะกับกำรปฏิบัติวิปัสสนำ กรรมฐำนจึ ง เป็ น ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจของ พุทธศำสนิกชนทั้งหลำย อำณำเขต ทิศเหนือ ติดส�ำนักงำนองค์กำร บริหำรส่วนต�ำบลคอโต ทิศใต้ ติดบ้ำนเจิงจำบ ทิศตะวันออก ติดบ้ำนรังผึ้ง ทิศตะวันตก ติดบ้ำนตะโก วัดมงคลรัตน์เป็นทีร่ จู้ กั กันดี โดย เฉพำะคนเก่ำแก่โบรำณในนำม “วัดตะโก หลวงพ่อพวน” เป็นวัดทีม่ ชี อื่ เสียงในเรือ่ ง ของควำมศรัทธำของพุทธศำสนิกชนทั้ง
72
ปักหมุดวัดเมืองไทย
หลำยเพรำะอดี ต เจ้ ำ อำวำสวั ด คื อ พระเดชพระคุ ณ พระพิ ม ลพั ฒ นำทร (หลวงพ่อพวน วรมงฺคโล) เป็นพระเกจิชอื่ ดั ง ด้ ำ นควำมเมตตำมหำนิ ย ม ท่ ำ น สำมำรถรักษำคนไข้สติไม่ดใี ห้ทำยขำดได้ จึงเป็นที่มำของควำมศรัทธำ ปัจจุบัน พระครูปิยธรรมกิตติ์ (หลวงพ่อชืน่ ) ศิษย์เอกหลวงพ่อพวนทีไ่ ด้ รับกำรถ่ำยทอดวิชำจำกหลวงพ่อพวน ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้ำอำวำสวัดมงคลรัตน์ ได้ ด� ำ เนิ น กำรสำนต่ อ เจตนำรมณ์ ข อง หลวงพ่อพวน ในกำรสร้ำงเสนำสนะ อำทิ เช่ น ศำลำปฏิ บั ติ ธ รรมวั ด มงคลรั ต น์ , มณฑปมหำมงคล, ศำลำมงคลธรรม, สร้ ำ งเมรุ , สร้ ำ งศำลำบ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ล, เทถนนพื้นคอนกรีตภำยในวัด พร้อมทั้ง ปรับพื้นที่ภูมิทัศน์วัดมงคลรัตน์จนเกิด ควำมสวยงำมจนเป็นที่ประจักษ์แจ้งแก่ สำธำรณชนทั้งหลำย
พระครูปยิ ธรรมกิตติ ์ (หลวงพ่อชืน่ ) เป็น พระเถระทีป่ ฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ชิ อบประกอบ แต่คณ ุ งำมควำมดี มีศลี ำจำรวัตรทีง่ ดงำม และมีบำรมีธรรมสูงจึงเป็นทีเ่ คำรพและ ศรัทธำของคณะศิษย์ทั้งหลำยไม่ว่ำจะ เป็นข้ำรำชกำรพ่อค้ำ ประชำชนต่ำงเข้ำ มำกรำบนมัสกำรขอพรเพื่อควำมเป็น สิริมงคลแก่ชีวิตและครอบครัว
ปักหมุดวัดเมืองไทย
73
74
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย
ปักหมุดวัดเมืองไทย
75
วัดรามวราวาส
ต�าบลราม อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Ram Warawat
Ram Subdistrict, Mueang Surin District, Surin Province วัดรามวราวาส วัดรามวราวาส ตั้งอยู่เลขที่ ๑๔๑ หมู่ที่ ๑๔ ต�าบลราม อ�าเภอเมือง จังหวัด สุรินทร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินวัดมี เนื้อที่ ๓๙ ไร่ ๑ งาน ๒๗ ตารางวา โฉนด ที่ ดิ น เลขที่ ๙๕๗๐๑ อาณาเขตทิ ศ เหนื อ จดที่ดินถนนสาธารณะ ทิศใต้จดที่นายพจน์ ทิ ศ ตะวั น ออก จดหนองน�้ า ทิ ศ ตะวั น ตก จดที่ดินนายสวน อาคารเสนาสนะประกอบ ด้วย อุโบสถ กว้าง ๒๖ เมตร ยาว ๓๙ เมตร สร้ า งเมื่ อ พ.ศ.๒๕๒๗ ศาลาการเปรี ย ญ ๑ หลัง กว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๒๕.๕๐ เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ.๒๕๒๕ กุฏสิ งฆ์ จ�านวน ๕ หลัง เป็นปูน ๓ หลัง เป็นไม้ ๑ หลัง เป็นครึ่งตึก ครึ่งไม้ ๑ หลัง ฌาปนสถาน ๑ หลัง
76
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระครูปิยธรรมวิมล เจ้าอาวาสวัดรามวราวาส วั ด รามวราวาส ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ. ๒๔๘๔ นายชิง นาคเกี้ยว ผู้ใหญ่บ้านได้ เป็นผู้น�าชาวบ้านในการสร้างวัด ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ วันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๒๙ เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง ๖ เมตร ยาว ๑๙ เมตร การปกครองมีเจ้าอาวาสเท่าที่ ทราบนามดังนี้ ล�าดับที่ ๑ พระสม สุภทฺโท ล�าดับที่ ๒ พระอธิการแมน จิตฺตปญฺโญ ล�าดับที่ ๓ พระยวย วาจามั่น ล�าดับที่ ๔ พระวัฒนศักดิ์ สมัครสมาน
ล�าดับที่ ๕ พระยนต์ พะริ้งพร้อม ล�าดับที่ ๖ พระพจน์ สิริจนฺโท ล�าดับที่ ๗ พระจิต ลืมฉุน ล�าดับที่ ๘ พระเอิบ กตสีโล ล�าดับที่ ๙ พระประกอบ ล�าดับที่ ๑๐ พระอวน สมัครสมาน ล�าดับที่ ๑๑ พระอวย จารุวณฺโณ พ.ศ. ๒๕๒๐-๒๕๒๖ ปัจจุบัน ล�าดับที่ ๑๒ พระครูปิยธรรม วิมล ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๗-ปัจจุบัน วัดรามวราวาสจากอดีตมาสู่ ปัจจุบัน นับว่าเป็นวัดที่สะอาด พัฒนา
โดยหลวงพ่อพระครูปยิ ธรรมวิมล ได้นา� พา พระและญาติโยมพัฒนาวัดมาโดยตลอด ทั้งเทพื้นถนนคอนกรีต สร้างถาวรวัตถุ ปลูกต้นไม้ให้ความร่มรื่น สะอาด สงบ
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
77
วัดสังข์มงคล
ตำ�บลต�อ็อง อำ�เภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Sang Mong Khon
Tha Ong Subdistrict, Mueang Surin District, Surin Province
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
78
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดสังข์มงคล
วัดสังข์มงคล ต�ำบลตำอ็อง อ�ำเภอเมือง จังหวัด สุรินทร์ ตั้งอยู่ในเขตอ�ำเภอเมืองจังหวัดสุรินทร์ ติดเขตล�ำดวน เขตอ�ำเภอปรำสำท หลวงพ่ อ ญา สี ล วั ณ โณ เจ้ ำ อำวำส วัดสังข์มงคล ถิ่นก�ำเนิดอยู่ที่บ้ำนขยอง หมู่10 ต�ำบลตำอ็อง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ และเป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งส�ำนักสงฆ์ บ้ำนขยอง ต่อมำได้เสนอเรื่องตั้งวัด สร้ำงวัด เลยตั้งชื่อว่ำ วัดสังมงคล ต�ำบลตำอ็อง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ โดยได้ ก่อตั้งเมื่อวันที่ ๑๑ กุมภำพันธ์ พุทธศักรำช ๒๕๕๔ จนถึง ปัจจุบัน และได้สร้ำงศำลำเมรุ และกุฏิสงฆ์ ตำมล�ำดับ โดยที่มี ผู้ศรัทธำทั่วไป และเน้นในกำรปฏิบัติธรรม เจริญกรรมฐำน ภำวนำเป็นส่วนมำก
หลวงพ่อญา สีลวัณโณ เจ้าอาวาสวัดสังข์มงคล พระอำจำรย์เองเป็นผู้ปฏิบัติ มีครูบำอำจำรย์อยูท่ กี่ มั พูชำ (สำยเขมร) โดยที่มีที่ปรึกษำเป็นครูบำอำจำรย์ใน เขตประเทศไทยเรำ อำทิ ครูบำอำจำรย์ สำยธรรมยุต คือ สำยหลวงปูม่ นั่ เป็นต้น ได้ไปขอค�ำปรึกษำและควำมอนุเครำะห์ จำกครู บ ำอำจำรย์ ห ลำย ๆ รู ป สำย หลวงปูม่ นั่ ในกำรปฏิบตั หิ รือเจริญกรรมฐำน จนถึงปัจจุบันนี้
ปักหมุดวัดเมืองไทย
79
80
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดสังข์มงคล เป็นจุดศูนย์รวมทำงจิตใจของชำวบ้ำน และพุทธศำสนิกชนทั่วทั้ง จ.สุรินทร์ และพื้นที่จังหวัดข้ำงเคียง ภำยในวัดมีศำลำขนำดใหญ่ มีพระประธำนองค์ใหญ่สวยงำม พืน้ ทีโ่ ดยรอบของวัดสะอำดสะอ้ำน ทิศตะวันออกเฉียงใต้มศี ำลำ ใหม่อีกหนึ่งหลังที่มีควำมสะอำดสวยงำมและร่มรื่น และที่หน้ำ ศำลำหลังใหม่อยู่ใกล้ทุ่งนำของชำวบ้ำน ได้มีกำรก่อสร้ำงเมรุที่ สวยสดงดงำมเหมื อ นกั บ อยู ่ บ นสรวงสวรรค์ แ ละเป็ น สิ่ ง ที่อัศจรรย์ใจอย่ำงยิ่งว่ำ สิ่งที่เห็นอยู่ขณะนี้เป็นเมรุที่เอำไว้ เผำศพ เป็นเมรุที่วิจิตรตระกำรตำอลังกำรและนับว่ำเป็นเมรุที่ สวยสดงดงำมหนึ่งเดียวของโลก หลวงพ่อญา สีลวัณโณ เจ้ำอำวำสวัดสังข์มงคล กล่ำวว่ำ การก่อสร้างเมรุ ได้สร้างมาจากจินตนาการของ หลวงพ่อเอง ไม่ได้ไปเอาแบบของใครมา สร้างตามนิมติ ทีเ่ กิด ขึ้นและวัดอื่นเขาไม่สร้างกัน และการสร้างนี้ก็เพื่อให้ลูกให้ หลาน นอกจำกควำมสวยงำมที่ปรำกฎแล้ว กำรเผำศพก็เป็น ระบบที่ทันสมัย เป็นใช้ระบบไฟฟ้ำ ไม่ใช้น�้ำมัน จึงเป็นกำร ลดมลภำวะและสะดวกรวดเร็วอีกด้วย
ปักหมุดวัดเมืองไทย
81
วัดสามัคคี
บ้านท่าสว่าง ต�าบลท่าสว่าง อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Samakkhi
Ban Tha Sawang, Tha Sawang Subdistrict, Mueang Surin District Surin Province 82
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ความเป็นมา วัดสามัคคี บ้านท่าสว่าง ต�าบลท่าสว่าง อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัด สุรนิ ทร์ ทะเบียนวัดเลขที ่ ๑๔๖ ได้รบั อนุญาตให้ตงั้ วัดเมือ่ พุทธศักราช ๒๔๔๖ และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมื่อพุทธศักราช ๒๔๙๐ นับเป็นวัดเก่าแก่ อีกวัดในหนึ่งในเขตต�าบลท่าสว่าง บ้านท่าสว่าง เดิมชื่อบ้าน เตรี๊ยะ เรียกตามชื่อหนองน�้าขนาดใหญ่ กลางหมูบ่ า้ นว่า ตระพังเตรีย๊ ะ เพราะมีตน้ เตรีย๊ ะ (ต้นชาดขนาดใหญ่ขนึ้ อยูม่ าก) ซึ่งเป็นตระพังคู่กับ ตระพังกะฎอน (หนองน�้าที่มีต้นกระโดนขึ้นมาก) อยู่ทางทิศตะวันออกของหมู่บ้าน บรรพบุรุษของชาวบ้านเตรี๊ยะได้อพยพมา จากบ้านระเภาว์ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๔ ห่างจากบ้านเตรี๊ยะ ไปทางทิศทิศตะวันออก เฉียงเหนือ ประมาณ ๓ กิโลเมตร ผู้คนเริ่มย้ายออกมาตั้งถิ่นฐานมากขึ้นจน กลายเป็นชุมชนเตรี๊ยะและได้มีการตั้งต�าบลตะพานลาวซึ่งแยกมาจากต�าบล แกใหญ่ ต่อมาปี พุทธศักราช ๒๔๗๙ ทางราชการให้ยบุ รวมบ้านเตรีย๊ ะเหนือและ เตรีย๊ ะใต้ ให้เป็นหมูบ่ า้ นเดียวกัน ชาวบ้านเตรีย๊ ะมีหลักความเชือ่ ในเรือ่ งภูตผี และวิญญาณบรรพบุรษุ และชาวบ้านได้ปรึกษากันทีจ่ ะสร้างวัดประจ�าหมูบ่ า้ น เพื่อใช้ในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและเป็นสถานที่ในการอบรม สั่งสอนกุลบุตร-ธิดา จึงได้ตกลงสร้างวัดขึ้นประจ�าหมู่บ้าน โดยให้ชื่อว่า “วัดสามัคคี” สร้างขึน้ ในเนือ้ ที ่ ๑๔ ไร่ ๗๔ ตารางวา ตามโฉนดเลขที ่ ๓๙๒๙๓
พระครูสุนทรสีลวัฒน์ (บัญญัติ สีลสาโร) เจ้าอาวาสวัดสามัคคี
การบริหารปกครองวัด วัดสามัคคี มีเจ้าอาวาสที่ปกครองวัดมาแล้ว จ�านวน ๔ รูป ดังนี้ ๑. หลวงพ่อเสียง (ไม่ทราบฉายา) ๒. หลวงพ่อวาง ธนปญฺโญ ๓. พระครูพพิ ธิ ประชานาถ (หลวงพ่อนาน สุทธฺสโี ล) ตัง้ แต่ พ.ศ.๒๕๐๒ – ๒๕๕๘ ๔. พระครูสุนทรสีลวัฒน์ (บัญญัติ สีลสาโร) ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๕๙ – ปัจจุบัน เสนาสนะภายในวัด ๑. อุโบสถ ๒. ศาลาการเปรียญ ๓. พิพิธภัณฑ์หลวงปู่นาน ๔. ห้องสมุด ๕. หอระฆัง ๖. กุฎิสงฆ์รวม ๗. โรงครัว ๘. ศาลาหอฉัน ๙. ฌาปนสถาน ๑๐. ลานพุทธประวัติ ๑๑. พิพิธภัณฑ์ชุมชน
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย
ปักหมุดวัดเมืองไทย
83
วัดอังกัญโคกบรรเลง
ต� ำ บลบุ ฤ ำษี อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Angkan Khok Banleng
Bu Rusi Subdistrict, Mueang Surin District, Surin Province ความเป็นมา วัดอังกัญโคกบรรเลง เดิมชื่อว่า วัดโคกบรรเลงวราราม ถือก�าเนิดเมื่อปี ๒๕๒๐ มีที่ตั้งอยู่ ณ บ้านเลขที่ ๑๒๙ หมู่ท่ี ๑๐ ต.บุฤาษี อ.เมือง จ.สุรินทร์ อยู่ระหว่าง กึ่งกลางของบ้านอังกัญ หมู่ ๔ ค่อนไปทางบ้านโคกบรรเลง หมู่ ๑๐ โดยมีหมู่บ้านเล็ก ๆ ย่อย ๆ ไปอีกดังต่อไปนี้ บ้าน ถนน บ้านโคกพุทรา บ้านโคกทนง บ้านโคกโพธิ์ มีเนื้อที่ ประมาณ ๒๖ ไร่ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเป็นวัดที่ ถูกต้องตามกฎหมายคณะสงฆ์เมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๔ รายนามเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ๑. หลวงพ่อเปรม เจ้าอาวาสวัดรูปที่ ๑ ตัง้ แต่ พ.ศ.๒๕๒๐ ๒๕๒๓ (มรณภาพแล้ว) ๒. หลวงพ่อทอง เจ้าอาวาสวัดรูปที่ ๒ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๒๔๒๕๒๗ (มรณภาพแล้ว) ๓. พระครูจันทสมณคุณ (พระปลัดเสริม จนฺทว�โส) รักษา การเจ้าอาวาสตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๒๗ ๒๕๔๗ และได้รับแต่งตั้งเป็น เจ้าอาวาส วั ด อั ง กั ญ โ ค ก บ ร ร เ ล ง ตั้ ง แ ต ่ ป ี พ.ศ.๒๕๔๘ - ๒๕๕๕ (ปฏิบัติหน้าที่ เจ้าอาวาสไม่ได้ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ๒๕๖๒) และมรณภาพ เมื่ อ ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ อายุได้ ๗๑ ปี ๑๑ เดือน ๔๗ พรรษา ๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์,ดร.พระมหามงคลกานต์ ฐิตธมฺโม (กลางพนม) ป.ธ.๙ เป็ น รั ก ษาการ เจ้าอาวาสตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๖๒ และได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ถึงปัจจุบัน
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
84
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปักหมุดวัดเมืองไทย
85
รายนามไวยาวัจกรตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ๑. คุณพ่อบุญเลี้ยง กระจายศรี ๒. คุณพ่อสมพงษ์ รังแก้ว ๓. คุณพ่อเหลือ กายสง่า ๔. คุณพ่อดิบ อิสระภาพ ๕. คุณพ่อนวล สุขศิล
86
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระมหามงคลกานต์ ฐิตธมฺโม (กลางพนม) ป.ธ.๙., ผศ.ดร. เจ้าอาวาสวัดอังกัญโคกบรรเลง (รูปปัจจุบัน) ประวัติ พระมหามงคลกานต์ ฐิตธมฺโม พ.ศ. ๒๕๔๓ ศึกษาศาสตรบัณฑิต (กลางพนม) ป.ธ.๙., ผศ.ดร. (การสอนภาษาไทย เกียรตินยิ มอันดับ ๒) จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พระมหามงคลกานต์ ฐิตธมฺโม พ.ศ. ๒๕๔๕ ศึ ก ษาศาสตร (กลางพนม) เกิดเมื่อ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. บั ณ ฑิ ต (บริ ห ารการศึ ก ษา) จาก ๒๕๒๐ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ต�าแหน่งปัจจุบัน : อาจารย์ พ.ศ. ๒๕๔๕ ศิลปศาสตรบัณฑิต ประจ� า ภาควิ ช าศาสนาและปรั ช ญา (ประวั ติ ศ าสตร์ ) จากมหาวิ ท ยาลั ย คณะพุ ท ธศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย รามค�าแหง พ.ศ. ๒๕๔๗ ศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่ อ ยู ่ ป ั จ จุ บั น : วั ด อั ง กั ญ - (ไทยคดีศกึ ษา) จากมหาวิทยาลัยสุโขทัย โคกบรรเลง ต�าบลบุฤาษี อ�าเภอเมือง ธรรมาธิราช พ.ศ. ๒๕๔๙ ศิลปศาสตรบัณฑิต จังหวัดสุรินทร์ ๓๒๐๐๐ ประวัตกิ ารศึกษา การศึกษาทางธรรม– (สื่ อ สารมวลชน) จากมหาวิ ท ยาลั ย บาลี : นักธรรมเอก ป.ธ. ๙, อภิธรรม รามค�าแหง พ.ศ. ๒๕๕๐ นิตศิ าสตรบัณฑิต บัณฑิต จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช การศึกษาทางโลก พ.ศ. ๒๕๕๒ ศิลปศาสตรบัณฑิต พ.ศ. ๒๕๔๓ พุ ท ธศาสตร บัณฑิต (ปรัชญา, เกียรตินิยมอันดับ ๑) (การบริหารรัฐกิจ) จากมหาวิทยาลัย จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช รามค�าแหง วิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๕๕ ศิลปศาสตรบัณฑิต (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) จาก มหาวิทยาลัยรามค�าแหง พ.ศ.๒๕๕๖ วิทยาศาสตร์บณ ั ฑิต (อาหาร โภชนาการ และการประยุกต์) จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ.๒๕๕๘ ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การแนะแนว) จากมหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช พ.ศ. ๒๕๕๙ บริหารธุรกิจบัณฑิต (การตลาด) มหาวิทยาลัยรามค�าแหง พ.ศ. ๒๕๔๘ พุทธศาสตรมหา บัณฑิต (ปรัชญา) จากมหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๕๕ ศาสนศาสตรดุษฎี บัณฑิต (พุทธศาสนาและปรัชญา) จาก มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๖๒ D.P.A. (Public Administrarion) International Program จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย ปักหมุดวัดเมืองไทย
87
วัดอาม็อง
ต�าบลท่าสว่าง อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Ar Mong
Tha Swang Subdistrict, Muang Surin District, Surin Province
88
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประวัติความเป็นมา วัดอาม็องได้รับอนุญาตให้สร้างวัดเมื่อวันที่ ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ ตั้งชื่อ วัดอาม็อง เมื่อวันที่ ๓๐ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๘ และได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๗ ปัจจุบันมี พระครูโสภณธรรมาภิมนฑ์, ดร. (วิรัติ โสภณสีโล ป.ธ.๓ น.ธ.เอก) ผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดยานนาวา พระอารามหลวง กรุงเทพมหานคร ด�ารงต�าแหน่งผูร้ กั ษาการแทนเจ้าอาวาสวัดอาม็อง มีพระภิกษุและสามเณร ในวัดทั้งหมด ๒๗ รูป สถานที่ตั้ง วัดอาม็อง ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นอาม็อง เลขที ่ ๑๓ ต.ท่าสว่าง อ.เมืองสุรนิ ทร์ จ.สุรินทร์มีเนื้อที่ ๑๕ ไร่ ๔๐ ตารางวา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย อาณาเขต ทิศเหนือ จดทางสาธารณประโยชน์ ทิศใต้ จดทางสาธารณประโยชน์ ทิศตะวันออก จดทางสาธารณประโยชน์ ทิศตะวันตก จดสหกรณ์ปฏิรูปที่ดินจังหวัดสุรินทร์ ท�าเนียบเจ้าอาวาส ๑. พระอธิการพลัน จนฺทโชโต พ.ศ. ๒๕๒๘ - พ.ศ. ๒๕๓๓ ๒. พระอธิการน้อย โกวิโท พ.ศ. ๒๕๓๓ - พ.ศ. ๒๕๔๓ ๓. พระอธิการวิลาส กนฺตวีโร พ.ศ. ๒๕๔๓ - พ.ศ. ๒๕๕๖ ๔. พระครูโสภณธรรมาภิมณฑ์, ดร. (วิรัติ โสภณสีโล ป.ธ.๓ น.ธ.เอก) พ.ศ. ๒๕๕๖ ถึงปัจจุบัน เสนาสนะสถานภายในวัด ๑. อาคารสถานที่ภายในวัด - กุฏิเจ้าอาวาส - ห้องน�้า - กุฏิ ๒ ชั้น - ศาลาการเปรียญหลังเก่า ๒. อุโบสถ ๓. เมรุ ๔. ศาลาพักศพ ๕. ซุ้มประตู ๖. ศาลาพิพิธภัณฑ์พระพุทธรูปไม้โบราณ “พระพรหมวชิรญาณ” ๗. ศาลาพิพิธภัณฑ์ฯ ๘. วิหารหลวงพ่อ แหลมจ�าลอง ๙. ศาลา พระพรหมโมลี ๑๐. ห้องสมุด ๑๑. ศาลากาแฟ ๑๒. กุฏิรับรอง “สมเด็จพระมหาธีราจารย์”
พระครูโสภณธรรมาภิมณฑ์ เจ้าอาวาสวัดอาม็อง
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
89
วัดโคกเวงวารีรัตน์ ต. โคกตะเคียน
วัดโคกตะเคียน ต. โคกตะเคียน
วัดบ้านน้อยแสนสุข ต. โคกตะเคียน
วัดกู่ทรงธรรม ต. โคกตะเคียน
วัดสวายสวรรค์ทอง ต. โคกตะเคียน
วัดใหม่พรนิมิต ต. โคกตะเคียน
วัดโนนทอง ต. โคกตะเคียน
วัดอีสานพัฒนา ต. โคกตะเคียน
เส้นทางบุญ 9 วัด
เส้นทางธรรม กาบเชิง 90
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดอุดมพรหมวิหาร ต. คูตัน
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
91
วัดอุดมพรหมวิหาร ต�าบลคูตัน อ�าเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์
Wat Udom Phromwihan
Khu Tun Subdistrict, Kap Choeng District, Surin Province
พระครูพรหมวิหารธรรม เจ้าอาวาสวัดอุดมพรหมวิหาร 92
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดอุดมพรหมวิหาร ได้เริ่มก่อตั้งโดย ญาติโยมผู้มีศรัทธา โดยผู้ใหญ่บ้านและพระภิกษุ สามเณรร่วมกันก่อสร้างครัง้ แรก เมือ่ พ.ศ. ๒๔๙๗ หลวงพ่อผาย ได้เดินธุดงค์มาปักกลดบริเวณวัดแห่ง นี้ ได้พบว่าไม่มีพระภิกษุจ�าพรรษา ต่อมา พ.ศ. ๒๕๐๐ หลวงพ่อสม เถริโน ได้ ธุ ด งค์ ม าจากอ� า เภอชุ ม พลบุ รี ได้ เ ป็ น ประธานสงฆ์ ประชุมร่วมกับ นายโถน ศรีเนือง ผู้ใหญ่บ้านโคกสะอาด นายอึม มุ่งดี ผู้มาบุกเบิก ปักหลัก และพระบุย ปุญณ ฺ ภาโร ทุกท่านถือว่าเป็น บุคคลส�าคัญในการพัฒนาก่อตัง้ วัดและได้ตงั้ ชือ่ วัด นี้ว่า วัดอุดมพรหมวิหาร เนื่องจากมีแต่คนเฒ่าคน แก่ และที่ดินอุดมสมบูรณ์ จึงตั้งชื่อตามที่มีอยู่แต่ เดิม ต่อมาเห็นสมควร ยกวัดอุดมพรหมวิหาร ซึ่ง เป็นวัดร้าง ขึ้นเป็นวัดที่มีพระภิกษุจ�าพรรษา ตาม อ�านาจความข้อ ๖ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๓๘) ตามพระราชบั ญ ญั ติ ค ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
ปักหมุดวัดเมืองไทย
93
พระมหาเจดีย์ศรีพุทธมณฑลอาเซียน
โดยความเห็นชอบจากมหาเถรสมาคม จึงยกวัดอุดมพรหมวิหาร เป็นวัดโดยถูกต้อง เมือ่ วันที ่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๕ วัดอุดมพรหมวิหาร จึงถือว่าเป็นวัดที่สมบูรณ์ นับแต่นั้น ปัจจุบัน วัดอุดมพรหมวิหาร มีพระครูพรหมวิหารธรรม เจ้าคณะอ�าเภอกาบเชิง เป็นเจ้าอาวาส โดยได้มุ่งมั่น ในการสร้างศาสนทายาท และศาสนวัตถุ ไปพร้อมกัน พร้อมทัง้ บริหารจัดการคณะสงฆ์ทงั้ อ�าเภอด้วย นับว่า วัดอุดมพรหมวิหาร ได้เป็นวัดที่สร้างคุณูปการแก่วัดอื่น ๆ ด้วยไปพร้อมกัน ปัจจุบัน วัดอุดมพรหมวิหาร ก�าลังก่อสร้างอุโบสถทรง จตุรมุข และมีพระประธานทรงเครื่องจักรพรรดิ เป็นองค์ประธาน มีการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับวันส�าคัญพระพุทธศาสนา และวันส�าคัญที่ เกี่ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อเนื่องตลอดทั้งปี
94
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
95
วัดโคกตะเคียน
ต� ำ บลโคกตะเคี ย น อ� ำ เภอกำบเชิ ง จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Khok Takian
Khok Takian Subdistrict, Kap Choeng District, Surin Province
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย 96
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระครูสิทธิปัญญาสุนทร เจ้าอาวาสวัดโคกตะเคียน เจ้าคณะต�าบลโคกตะเคียน วัดโคกตะเคียน สร้างเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๕๑๐ เดิมวัดมีชื่อว่า วัดตะเคียนทอง เพราะมี ต้นตะเคียนในหมูบ่ า้ น เป็นวัดทีม่ อี ดีตเจ้าอาวาสและชาวบ้านได้รว่ มกันก่อสร้างขึน้ ภายในวัดมีปชู นียสถาน ส�าคัญคือ พระธาตุเจดีย์สีทอง บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งพระธรรมโมลี เจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ มอบให้กับทางวัดและบรรจุพระธาตุของพระครูภัทรสีลคุณ อดีตเจ้าอาวาสวัด นอกจากนี้ยังมีเจดีย์ ขนาดลดหลั่นกันไปล้อมรอบ ๔ ทิศ และล้อมด้วยเจดีย์เล็กเป็นชั้น ๆ ที่บรรจุอัฐิของบรรพบุรุษตั้ง อยู่โดยรอบทั้งหมด ๑๐๑ เจดีย์ นับเป็นจุดเด่นของวัด ท�าให้วัดโคกตะเคียนได้รับคัดเลือกให้เป็น แหล่งท่องเที่ยวไหว้พระ ๙ วัด ของจังหวัดสุรินทร์
วัดกู่ทรงธรรม
ต� ำ บลโคกตะเคี ย น อ� ำ เภอกำบเชิ ง จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Ku Songtham
Khok Takian Subdistrict, Kap Choeng District, Surin Province
พระอุทัย ฐานิโย รักษาการเจ้าอาวาสวัดกู่ทรงธรรม เริ่มสร้างวัดตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๕ เป็นหมู่บ้านที่แยกมาจากอ�าเภอปราสาท แยกมา อยูใ่ นอ�าเภอกาบเชิงและเป็นหมูบ่ า้ นแรกในต�าบลโคกตะเคียน มีพระมาพักจ�าพรรษาตลอด แต่อยู่กันไม่ได้นานจนถึงปัจจุบัน มีพระอุทัย ฐานิโย เป็นรักษาการเจ้าอาวาสจนถึงปัจจุบัน ได้ด�าเนินการจนสามารถสร้างและตั้งวัดจนส�าเร็จ
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
97
ที่พักสงฆ์โคกเวงวำรีรัตน์
ต� ำ บลโคกตะเคี ย น อ� ำ เภอกำบเชิ ง จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Shelter monks of Khok Weng Warirat
Khok Takian Subdistrict, Kap Choeng District, Surin Province
พระสมหยด เตชธมฺโม เจ้าอาวาสที่พักสงฆ์ โคกเวงวารีรัตน์
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย 98
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ด้วยคณะกรรมาการหมู่บ้านโดยมีนายประดุจ ลักขษร เป็นผู้ใหญ่บ้าน ได้ประชุมร่วมกับ ชาวบ้านโคกเวง เพื่อปรึกษาหารือร่วมกับหลวงพ่อจันทร์ โสรัตน์ อดีตเจ้าอาวาส และนายใบ ทองการ มัคทายกวัด ได้ถวายที่ดินจ�านวน ๘ ไร่ โดยที่ดินไม่มีเอกสารที่ดินเพื่อเป็นประโยชน์ในพิธีทางศาสนา ให้ทางหมูบ่ า้ นได้ทา� กิจกรรมร่วมกันและได้ยกศาลาขึน้ ๑ หลัง เพือ่ ให้พระภิกษุสงฆ์ได้ประกอบพิธที าง ศาสนาต่อไป
ที่พักสงฆ์โนนทอง
ต�ำบลโคกตะเคียน อ�ำเภอกำบเชิง จังหวัดสุรินทร์
Shelter monks of Non Thong
Khok Takian Subdistrict, Kap Choeng District, Surin Province
พระชุม กิตฺติโสภโณ เจ้าอาวาสที่พักสงฆ์โนนทอง เริ่มตั้งวัดโดยมีหน่วยทหารมาจัดสรรที่ดินให้ ชาวบ้านเลยจัดสรรที่ดินส�าหรับ ตั้งวัดและโรงเรียนด้วยตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ และได้มีพระมาอยู่จ�าพรรษาเรื่อยมาจนถึง ปัจจุบัน มีพระชุม กิตฺติโสภโณ ได้อุปสมบทและได้รักษาการเจ้าอาวาสจนถึงปัจจุบัน
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
99
ที่พักสงฆ์บ้ำนน้อยแสนสุข ต�ำบลโคกตะเคียน อ�ำเภอกำบเชิง จังหวัดสุรินทร์
Shelter monks of Ban Noi Saen Suk
Khok Takian Subdistrict, Kap Choeng District, Surin Province
พระบุญ จิตฺตปุญโญ เจ้าอาวาสที่พักสงฆ์บ้านน้อยแสนสุข เริ่มสร้างวัดเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๑ โดยพระสง่า ได้น�าพาชาวบ้านมาสร้างวัดที่ทุ่งนา โดยเป็น ที่นาของชุมชนบ้านน้อยแสนสุข โดยมีชาวบ้านได้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีจนถึงปัจจุบัน
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย 100
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ที่พักสงฆ์ทพ ี่ ักสงฆ์สวำยสวรรค์ทอง ต�ำบลโคกตะเคียน อ�ำเภอกำบเชิง จังหวัดสุรินทร์
Shelter monks of Sawai Sawan Thong
Khok Takian Subdistrict, Kap Choeng District, Surin Province
พระครูปลัดเหมาะ สิริปญฺโญ เจ้าอาวาสที่พักสงฆ์สวายสวรรค์ทอง เริ่มสร้างวัดตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๔ โดยมีพระเฮียง ธมฺมกาโม เริ่มมาดูแลตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ จนถึง พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้มรณะภาพลง และได้พระครูปลัดเหมาะ สิรปิ ญฺโญ เป็นผูร้ เิ ริม่ สร้างอุโบสถ จนถึงปัจจุบัน
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
101
วัดใหม่พรนิมิตร
ต�ำบลโคกตะเคียน อ�ำเภอกำบเชิง จังหวัดสุรินทร์
Wat Mai Phon Nimit
Khok Takian Subdistrict, Kap Choeng District, Surin Province
พระบัวทอง อาภาธโร เจ้าอาวาสวัดใหม่พรนิมิตร วัดใหม่พรนิมิตรเริ่มสร้างตั้งแต่ พ.ศ. 2520 โดยมีชาวบ้านร่วนกันสร้างโดยมีพระสาย มาอยู่บูรณะและสร้างจนกระทั่งได้ลาสิกขาเมื่อ พ.ศ. 2549 และมีพระมาจ�าพรรษาอยู่เรื่อยมา จนในปัจจุบันได้มีพระบัวทอง อาภาธโรมาสร้างจนถึงปัจจุบัน
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย 102
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดอีสำนพัฒนำ
ต�ำบลโคกตะเคียน อ�ำเภอกำบเชิง จังหวัดสุรินทร์
Wat Isan Phatthana
Khok Takian Subdistrict, Kap Choeng District, Surin Province
พระครูพิศาลพัฒนานุวัตร เจ้าอาวาสวัดอีสานพัฒนา
วัดอีสานพัฒนา เริ่มก่อตั้งมาประมาณ ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ โดยญาติโยมผู้มีจิตศรัทธา ร่วม กันก่อสร้างพร้อม ๆ กับการก่อตั้งหมู่บ้านอีสาน พัฒนา โดยเลือกชัยภูมทิ อี่ ยูต่ ดิ กับถนนทางทิศเหนือ ติดกับโรงเรียนเกษตรอีสานพัฒนา มีเนือ้ ที ่ ๑๕ ไร่ และเริ่ ม ก่ อ สร้ า งเสนาสนะมาเรื่ อ ย ๆ ต่ อ มา ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้ขออนุญาตตั้งวัดขึ้น กับส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เนื่องจาก ได้ ก ่ อ สร้ า งเสนาสนะได้ ม ากพอสมควรแล้ ว โดยนายปะ แซ่ล้อ ซึ่งเป็นผู้ได้รับอนุญาตสร้างวัด เป็นผูข้ อตัง้ วัดและได้รบั ใบตัง้ วัดขึน้ เมือ่ วันที ่ ๓๑ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ มีชื่อเป็นทางการ
ในทะเบียนวัดว่า "วัดอีสานพัฒนา" เมื่อได้รับ ใบตัง้ วัดแล้ว จึงเสนอแต่งตัง้ พระอธิการศักดา ฉัตติโก ให้ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส ได้เป็นเจ้าอาวาสรูป แรก นับแต่ได้ใบตั้งวัด และต่อมาเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครู สั ญ ญาบั ต รเจ้ า อาวาสวั ด ราษฎร์ ชั้ น โท ใน ราชทินนามที ่ "พระครูพศิ าลพัฒนานุวตั ร" ปัจจุบนั วัดอีสานพัฒนา ได้ก่อสร้างเสนาสนะจ�านวนมาก เช่น ฌาปนสถาน ศาลาการเปรียญ วัดได้เป็นที่ บ�าเพ็ญบุญกุศลของญาติโยม มีพระภิกษุสามเณร จ�าพรรษาเป็นล�าดับสืบมามิได้ขาด
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
103
วัดวิวิตวนาราม ต. บึง
วัดโพธิ์รินทร์วิเวก ต. เขวาสินรินทร์
วัดนาโพธิ์
ต. เขวาสินรินทร์
วัดไพศาลภูมิกาวาส ต. เขวาสินรินทร์
วัดปราสาทแก้ว ต. บ้านแร่
เส้นทางบุญ 13 วัด
เส้นทางธรรม เขวาสินรินทร์ 104
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดศาลาเย็น ต. ตากูก
วัดกระพุ่มรัตน์ ต. ตากูก
วัดดาวรุ่ง ต. ตากูก
ส�านักสงฆ์หนองโพธิ์น้อย ต. ตากูก
วัดปราสาททอง ต. ปราสาททอง
วัดฉันเพล
ต. ปราสาททอง
วัดสามโค
ต. ปราสาททอง
วัดพะเนารัตน์ ต. ปราสาททอง
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
105
วัดพะเนารัตน์
ต�าบลปราสาททอง อ�าเภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Pha Naow Rat
Prasat Thong Subdistrict, Khwaosinarin District, Surin Province
106
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
107
วัดนาโพธิ์
ต�าบลเขวาสินรินทร์ อ�าเภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Na Pho
Khwaosinarin Subdistrict, Khwaosinarin District, Surin Province
ความเป็นมา วัดนาโพธิ์ สร้างเริ่มเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๔ โดยนายปรีชา เคล้าศรี อดีต ก�านันต�าบลเขวาสินรินทร์ได้ริเริ่มก่อสร้าง เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้นิมนต์พระ อธิการแสงเดือน สนฺติธมฺโม (พระครูสันติโพธิวัตร) มาเป็นเจ้าอาวาสจนถึง ปัจจุบัน เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้รับอนุญาตให้สร้างวัดเมื่อ วันที่ ๑๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้รับอนุญาตการก่อตั้งวัดอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๑๗ พฤศจิ ก ายน พ.ศ. ๒๕๕๙ พิ ธี ตั ด หวายฝั ง ลู ก นิ มิ ต อุ โ บสถ สร้ า งเมื่ อ
108
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ กว้าง ๓๑ เมตร ยาว ๕๕ เมตร มีพระพุทธเมตตามหามงคลชัย หน้าตักกว้าง ๙๙ นิ้ว สูง ๒๙๙ นิ้ว วัด เป็นส�านักจัดอบรมคุณธรรม-จริยธรรม ส�านักจัดปริวาสกรรมประจ�าปี สถานที่ จั ด บรรพชาสามาเณรภาคฤดู ร ้ อ น ส�านักเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ และ เป็นสถานที่เจริญสมาธิภาวนาทุก ๆ วั น พระกิ จ กรรมที่ จั ด ประจ� า ปี ใ นวั น วิสาขบูชา - แสดงธรรมเทศนา - ท�าบุญตักบาตร - เวียนเทียน - เจริญสมาธิภาวนา รายละเอียดกิจกรรมประจ�าปี อื่น ๆ ที่น่าสนใจในสถานที่ปฏิบัติธรรม - มีการท�าบุญตักบาตรในวัน มาฆบูชา - มีการท�าบุญตักบาตรในวัน อาสาฬหบูชา - ท�าบุญสรงน�้าพระ และรถ น�้าด�าหัวในวันสงกรานต์ - อบรมคุณธรรม-จริยธรรม
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
109
วัดกะพุ่มรัตน์
ต� ำ บลตำกู ก อ� ำ เภอเขวำสิ น ริ น ทร์ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Kaphumrat
Takuk Subdistrict, Khwaosinarin District, Surin Province
วัดกะพุ่มรัตน์ เริ่มสร้างวัดเมื่อ พ.ศ.๒๔๓๕ เดิมมี
ชือ่ เรียกว่า วัดตากูก ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ พ.ศ.๒๔๗๔ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีทดี่ นิ ตัง้ วัด ๘ ไร่ ๒ งาน ๘๗ ตารางวา ณ บ้านตากูก ต�าบลตากูก อ�าเภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
110
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระธำตุตเจี๊ยะตจุม พระธาตุตเจี๊ยะตจุม ที่ได้สร้างขึ้นที่วัดกะพุ่มรัตน์ บ้านตากูก ได้วางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๙ และได้บรรจุพระธาตุเมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๖๑ เป็นแบบ พระธาตุเจดีย์และบริโภคเจดีย์ ส่วนพระธาตุที่บรรจุได้รับ อัญเชิญรับมาจากพระธรรมโพธิวงศ์ ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสวัด พุทธคยา ประเทศอินเดีย และพระครูสุนทร (พระอาจารย์ สมพงษ์) ท่านได้ไปอธิษฐานจิตรวบรวมมวลสารจากสถานที่ ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับพุทธประวัตอิ กี มากมาย และยังได้รบั มอบ มวลสารส� า คั ญ จากพระเถระที่ อ ยู ่ ป ระจ� า วั ด ตามสถานที่ สัง-เว-ชะ-นี-ยะ-สะ-ถาน ในประเทศอินเดีย ซึ่งได้รวบรวม อัญเชิญมาบรรจุในพระธาตุตเจี๊ยะตจุม ณ วัดกะพุ่มรัตน์ พระประธานที่ประจ�าประดิษฐาน มี ๕ องค์ องค์ ที่ ๑ ทิ ศ ตะวั น ออก จ� า ลองแบบมาจาก พุทธมณฑล มีพระพุทธรูปปางลีลา เรียกว่า พระศรีศากยะ ทศพลญาณ องค์ที่ ๒ ทิศใต้ เป็นพระปางห้ามญาติจ�าลองแบบ จากพระพุทธรูปสมัยคุปตะ เป็นยุคที่ ๓ ของการท�าพระพุทธ รูปต่อจากสมัยคันนาระและสมัยมะถุรา อันเป็นยุคศิลปะ อิ น เดี ย แท้ ยุ คนี้เรียกว่า พุ ท ธศิ ล ป์ ส มั ย คุ ป ตะ การสร้าง พุทธศิลป์สมัยคุปตะนี้ เริ่มต้นที่ พ.ศ.๘๐๐ หรือพุทธศตวรรษ ที่ ๘ จนถึง พ.ศ. ๑๒ ยุคนี้เป็นศิลปะฝีมือของอินเดียโดยแท้
องค์ท ี่ ๓ ทิศตะวันตก และ องค์ท ี่ ๔ ทิศตะวันออก ๒ องค์นี้จ�าลองมาจากประเทศกัมพูชา เป็นพระพุทธรูป พีน่ อ้ งกัน มีประวัตศิ าสตร์โดยย่อเล่ากันมาว่า องค์เจ๊กเป็นพี่ องค์จอมเป็นน้อง ทั้งคู่เป็นสุภาพสตรีมีความเลื่อมใสใน พระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิง่ อยูม่ าวันหนึง่ หลังจากไปท�าบุญ พอกลับมาทั้งคู่นอนหลับไปเฉย ๆ ไม่ตื่นขึ้นมาอีกเลยจน เสียชีวิต บิดามารดาเสียใจมากและอาลัยอาวรณ์ลูกสาวทั้ง สองที่ จ ากไปโดยมิ ไ ด้ สั่ ง เสี ย ทั้ ง บิ ด ามารดาจึ ง ได้ ส ร้ า ง พระพุทธรูปขึ้นมาสององค์ตามชื่อลูกสาว และได้ตั้งเป็น พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองประจ�าเมืองเสียมเรียบ องค์ที่ ๕ เป็นพระพุทธรูปนาคปรก ทรงเครื่อง กษัตริย์ มีชื่อเรียกว่า หลวงพ่อศิลา และได้ให้สักการะบูชา ปิดทองในวันสมโภชน์ที่ผ่านมาและเปิดให้ปิดทองตลอดไป ในส่วนเรื่องการก่อสร้างตัวเจดีย์นั้นใช้ระยะเวลา ประมาณ ๒ ปีกว่า จึงได้จัดงานสมโภชน์ยกยอดฉัตรขึ้น ในวันที่ ๓๐ และยกยอดฉัตรในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๒ ดังนัน้ ศิลปะรูปแบบของพระธาตุเจดีย์ จะเป็นแบบ ผสมทางด้านล้านนาและอีสานใต้ ที่มีรูปแบบของขอมผสม อยู่ด้วย
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
111
วัดฉันเพล
เลขที่ ๓๐๒ หมู ่ ที่ ๑ ต� ำ บลปรำสำททอง อ� ำ เภอเขวำสิ น ริ น ทร์ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Chan Pain
302 Moo.1 Prasat Thong Subdistrict, Khwaosinarin District, Surin Province วัดฉันเพล
พระปลัดชีวิน สุขกำโม เจ้ำอำวำสวัดฉันเพล
112
ปักหมุดวัดเมืองไทย
บ้านฉันเพล ตัง้ ขึน้ ตัง้ แต่เมือ่ ใดไม่ ปรากฏหลักฐาน จากการสอบถามนาย ชาม จารัตน์ อายุ ๘๕ ปี กล่าวว่า เดิมใน หมู่บ้านมีต้นจัน มีรากโผล่ออกมาเวียน รอบต้น จึงเรียกชือ่ บ้านว่า “บ้านจันเวียน” แต่การสอบถามนายมาด จารัตน์ อายุ ๘๙ ปี บอกว่ามีต�านานเล่าสู่กันฟังมาหลายชั่ว อายุคน ว่ามีชาวบ้านกวยบ้านจอมพระ พบพระพุทธรูป มีลกั ษณะสวยงาม จึงเรียก
ผูค้ นมาล้อมจับแต่จบั ไม่ได้ ชาวบ้านจึงเรียก ชื่อบริเวณที่ชาวบ้านล้อมจับพระว่า จอม เปรี๊ ย ะ หรื อ จอมพระ ชาวบ้านพร้ อ ม พระสงฆ์ จ� า นวนหนึ่ ง ได้ อ อกติ ด ตาม พระพุทธรูปองค์นนั้ ไปทางทิศตะวันออก ไป ถึงบ้านส�าโรง พระพุทธรูปได้อภินิหาร ยืน ขึน้ ได้มองเห็นบริเวณดังกล่าวชาวบ้านเรียก บ้านส�าโรงเปรีย๊ ะโชร หรือ ส�าโรงพระยืน แต่ ก็ยังจับพระไม่ได้ จึงเดินทางต่อไปจนถึง หนองน�้าแห่งหนึ่งพบแรดก�าลังเล่นโคลน และน�้าอยู่ มองเห็นแค่หัว เรียกชื่อบ้านว่า
บ้านหัวแรด เดินไปถึงหมู่บ้านช่างปี่ มอง เห็ น พระพุ ท ธรู ป อยู ่ ไ ม่ ไ กล จึ ง เร่ ง ฝี เ ท้ า ติดตาม มาถึงบริเวณแห่งหนึง่ ปรากฏว่าหา พระไม่เจอ จึงเรียกบริเวณนั้นว่า “โคกอา ปวน” หรือ “โคกอาโพน” แปลว่า โคกที่ พระซ่ อ นตั ว อยู ่ หลั ง จากนั้ น ได้ เ ดิ น ทาง ติดตามมาถึงบริเวณบ้านฉันเพลในปัจจุบนั ถึงเวลาพระเพลพอดี ชาวบ้านจึงจัดเตรียม อาหาร เพื่อถวายพระที่ติดตามมาฉันเพล จึงเรียกชื่อบ้านเก่า บ้านฉันเพล หลังจาก ฉั น อาหารเพลเสร็ จ แล้ ว จึ ง ออกเดิ น ทาง ติดตามไปหาที่ ปราสาททอง พบชาวบ้าน และหญิงสาวที่มีผิวพรรณสวยงามเรียกชื่อ บ้านว่า บ้านแซร็ยลออ (บ้านสาวสวย) หรือ บ้ า นแสรออ ในปั จ จุ บั น และเดิ น ทาง ติดตามต่อไปจนถึงเวาโพล้เพล้ ดวงอาทิตย์ ใกล้จะลับขอบฟ้า เรียกว่า บ้านแร่ และเดิน ทางติ ด ตามต่ อ ไปอี ก จนถึ ง เวลาค�่ า พระพุทธรูป ได้แสดง อภินิหาร กลายร่าง เป็นพระพุทธรูปขนาดใหญ่ชาวบ้านที่ออก ติดตามมองเห็นดังนั้นจึงตะโกนบอกกันว่า ประปืด พระปืด หมายถึง พระองค์ใหญ่ และไม่กล้าออกติดตามอีกต่อไป พระองค์ นั้ น จึ ง ประดิ ษ ฐานที่ อ ยู ่ ที่ ป ราสาทแก้ ว บ้านพระปืดจนถึงวันนี้ จากการให้ข้อมูล ของบุคคลทัง้ สอง ท�าให้ทราบประวัตคิ วาม เป็นมาของชื่อบ้านฉันเพลอีกทางหนึ่ง วั ด ฉั น เพล ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ ๓๐๒ บ้านฉันเพล หมู่ที่ ๑ ต�าบลปราสาททอง อ�าเภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๐ ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที ่ ๕ ไร่ ๙๐ ตารางวา โฉนด ที่ดินเลขที่ ๔๙๓๕๙ อาณาเขต ทิศเหนือ
ประมาณ ๒ วา เส้น ๑๙ วา ๑ ศอก จด ทางหลวง ทิศใต้ประมาณ ๒ เส้น ๕ วา จดทีด่ นิ นางสวิง ทิศตะวันออกประมาณ ๒ เส้น ๔ วา จดทางเกวียน ทิศตะวันตก ประมาณ ๑ เส้น ๑๗ วา จดทีด่ นิ นายผุย และนายค�าพุทธ และได้ด�าเนินการจัด ซื้อที่ดินเพิ่มเติม โดยมีเจ้าภาพได้ถวาย ที่ดินเพื่อเป็นศาสนสมบัติ เพิ่มเติม คือ ๑. ลูกหลานแม่โกร จารัตน์ ลูก หลานแม่สวิง-พ่อสิงห์ สุขสงวน ลูกหลาน แม่สมรส-พ่อตึด พูนชัย และลูกหลานแม่ สุ อุ ่ ม จารั ต น์ บริ จ าคที่ ดิ น สร้ า งเมรุ ๒. ลู ก หลานพ่ อ บุ ญ เลี้ ย งแม่เดียน กองทอง ซื้อที่ดินถวายวัดทาง ทิศเหนือติดทางหลวง ๓. ลูกหลานแม่เพอะ-พ่อยวน ชมชืน่ ดี ซือ้ ทีด่ นิ ถวายวัดฉันเพลด้านทิศ ใต้เมรุ
มีเจ้าอาวาสที่ปกครองวัดตามล�าดับเท่า ที่ทราบ คือ ๑. พระฮัม ๒. พระละมุย ๓. พระเทียบ ๔. พระบุญเที่ยง ๕. พระจอน ๖. พระเวียง ๗. พระบน ๘. พระอธิการลีน มหาวีโร พ.ศ. ๒๕๒๔ ๙. พระครูปิยสีลนิวิฐ พ.ศ. ๒๕๔๖ ๑๐. พระครูประสุตธรรมธาดา พ.ศ.๒๕๕๔ – ๒๕๕๖ (รักษาการ) ๑๑. พระปลัดชีวิน สุขกาโม พ.ศ. ๒๕๕๖ – ปัจจุบัน
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
113
วัดดาวรุ่ง
ต�าบลตากูก อ�าเภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Down Rung
Ta Kuk Subdistrict, Khwaosinarin District, Surin Province
อาคารเสนาสนะ พระอธิการโสม ปิยธมฺโม เจ้าอาวาสวัดดาวรุ่ง
ประวัติวัดดาวรุ่ง วัดดาวรุง่ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นอ�าปึล หมู ่ ๙ ต.ตากูก อ.เขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ เลขที่ ๑๔๘ หมู่ ๙ ต�าบลตากูก อ.เขวาสินรินทร์ จ.สุรินทร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๖ ไร่ ๒ งาน ๒๐ ตารางวา
อาณาเขต
114
ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก
ปักหมุดวัดเมืองไทย
จดทางสาธารณะประโยชน์ จดทางสาธารณะประโยชน์ จดทางสาธารณะประโยชน์ จดทางสาธารณะประโยชน์
๑. ศาลาการเปรียญบ�าเพ็ญกุศล กว้าง ๒๐.๙๐ เมตร ยาว ๒๖.๙๐ เมตร อาคารครึง่ ตึก ครึ่งไม้ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๐ ๒. ศาลาเอนกประสงค์ กว้าง ๑๖.๒๐ เมตร ยาว ๓๖.๑๐เมตร อาคารคอนกรีตเสริม เหล็ก สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๓. ศาลารับรอง เนือ้ ที ่ ๒๓๐ ตารางเมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๔. กุฏสิ งฆ์ ๓ หลัง คอนกรีตเสริมเหล็ก ๕. อุโบสถ กว้าง ๖ เมตร ยาว ๒๑ เมตร ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง ๑๐๐ เมตร ยาว ๑๐๒ เมตร การบริ ห ารและการปกครองของ วัดดาวรุ่ง เท่าที่ทราบจากคนเฒ่าคนแก่
ต�าแหน่งเจ้าอาวาส ๑. หลวงตามณี ไม่ทราบฉายา ๒. พระสุ่ม ไม่ทราบฉายา ๓. พระอธิการเกื้อบ ปภากโร ๔. พระเป็ง ไม่ทราบฉายา ๕. พระสุวรรณี ไม่ทราบฉายา ๖. พระอธิการทวน อินฺทญาโณ ๗. พระอธิการปราชญ์ กวิว�โส ๘. พระครูอธิการเกื้อบ ปภากโร ๙. พระเสงียม ปญญาคโม ๑๐. พระอธิการพรหม รตินธโร ๑๑. พระครูวิโรจน์ธรรมาภิบาล ๑๒. พระอธิการโสม ปิยธมฺโม
พ.ศ.๒๔๖๒–๒๔๗๕ พ.ศ.๒๔๗๕-๒๔๗๙ พ.ศ.๒๔๗๙-๒๔๙๕ พ.ศ.๒๔๙๕-๒๔๙๙ พ.ศ.๒๔๙๙-๒๕๐๐ พ.ศ.๒๕๐๐-๒๕๐๕ พ.ศ.๒๕๐๕-๒๕๐๙ พ.ศ.๒๕๒๐-๒๕๓๕ พ.ศ.๒๕๓๖-๒๕๓๘ พ.ศ.๒๕๓๙-๒๕๕๓ พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙-ปัจจุบัน
ปูชนียวัตถุ ๑. พระประธานประจ�าอุโบสถปางมารวิชัย หน้าตัก กว้าง ๕๙ นิ้ว สูง ๒๒๐ นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๐ ๒. พระประธานประจ�าศาลาการเปรียญปางสมาธิ ขนาดหน้าตักกว้าง ๒๙ นิ้ว สูง ๑๒๓ นิ้ว สร้างเมื่อ ร.ศ. ๑๓๐ ห้องน�้า ห้องสุขามี ๒๓ ห้อง
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
115
วัดปราสาทแก้ว
ตำ�บลบ้�นแร่ อำ�เภอเขว�สินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Pra Sat Kaew
Ban Rae Subdistrict, Khwaosinarin District, Surin Province
วัดปราสาทแก้ว หรือ บ้านพระปืด บ ้ า น พ ร ะ ป ื ด แต่ เ ดิ ม ชื่ อ บ้านประปืด ซึ่งสันนิษฐานว่า “ประปืด” คงเพีย้ นมาจากค�าว่า “เปรียะปืด” ซึง่ เป็น ค� า ผสมระหว่ า งภาษาเมื อ งเขมรกั บ กู ย ค�าว่า บ้านประปืด ได้เรียกกันมานานแล้ว แต่ตอ่ มาได้มกี ารเปลีย่ นเป็น“บ้านพระปืด” สร้างมาแต่เมือ่ ใดใครเป็นผูส้ ร้างไม่อาจจะ ค้นคว้าหาหลักฐานได้ เพราะไม่พบศิลา จารึกหรือการจดลายลักษณ์อกั ษรไว้แต่ใด แต่สนั นิษฐานว่าคงสร้างรุน่ ราวคราวเดียว กับเมืองปทายสมันต์ในอดีต (เมืองสุรนิ ทร์) ประมาณ ๒,๐๐๐ ปีเศษมาแล้ว ยังมี
116
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ชุมชนโบราณรอบ ๆ ที่เป็นเมืองบริวารอีก ๔ แห่ง กล่าวคือ ๑. ชุมชนโบราณบ้านสลักได ๒. ชุมชนโบราณบ้านแสลงพัน ๓. ชุมชนบ้านพระปืด ๔. ชุมชนบ้านแกใหญ่ ลักษณะการก่อสร้างคล้ายคลึง เมืองสุรินทร์ แต่มีขนาดเล็กกว่า โดยมีคูน�้า มีก�าแพงดินแบบเดียวกัน ซึ่งส่วนใหญ่ได้มี การอนุ รั ก ษ์ ไว้ และคงรู ป เดิ ม มากที่ สุ ด เชื่ อ แน่ ว ่ า ในอดี ต คงจะเป็ น แหล่ ง ชุ ม ชน โบราณที่ส�าคัญแห่งหนึ่ง เคยมีถนนโบราณ
ออกจากเมืองสุรนิ ทร์ ทางทิศตะวันออกขนาด กว้าง ๑๒ เมตร สูงประมาณ ๑ เมตร ผ่าน บ้านแสตง บ้านหนองตะครอง บ้านภูดิน ไป ถึงบ้านพระปืดและเลยไปบ้านแสรออ ที่มี ปราสาทโบราณ (ปราสาททอง) อยูด่ ว้ ย ๑ แห่ง แต่ บั ด นี้ ไ ด้ ถู ก ท� า ลายไปหมดสิ้ น แล้ ว จาก ต�านานค�าบอกเล่าทีเ่ ป็นทีม่ าของ บ้านพระปืด ต�านานที่ ๑ นานมาแล้วมีชาวกวย บ้านจอมพระไปขุดเผือก ขุดมันในป่า แล้วมี ตัวอะไรมาเลียแผ่นหลังชาวบ้านคนนั้นตกใจ จึงขว้างเสียมไปถูกสัตว์นั้นวิ่งหนีไป มองไว ๆ เห็นเป็นกวางขนทอง (บ้างเล่าว่ามีกระดิง่ ทอง ผูกคอด้วย) จึงวิง่ ตามไป ทว่าเห็นแต่รอยเลือด เมื่อแกะรอยไปเรื่อย ๆ ผ่านไปหลายหมู่บ้าน
พระครูสถิตวรรัตน์ เจ้าอาวาสวัดปราสาทแก้ว
(เช่น บ้านแสรออ) จนใกล้เที่ยงจึงหยุด กินข้าว (ต่อมาได้ชอื่ บ้านฉันเพล) แล้วตาม ไปจนถึง “บ้านเมืองที” จากนัน้ รอยเลือด นั้นก็หายไปบริเวณป่าแห่งหนึ่ง เขาก็ไม่ ย่ อ ท้ อ สู ้ บุ ก ฟั น ฝ่ า เข้ า ไป ในที่ สุ ด ก็ พ บ ปราสาท เมื่อเห็นพระพุทธรูปที่อยู่ข้างใน เขาก็พลันร้องขึ้นด้วยความประหลาดใจ ว่า “เปรี๊ยะปืด ๆ ๆ” เมื่อเข้าไปดูใกล้ ๆ เขาเห็ น เลื อ ดซึ ม ออกมาจากพระชงฆ์ (แข้ ง )ขวา จึ ง เชื่ อ ว่ า กวางทอง ก็ คื อ พระพุทธรูปองค์นั้นเอง เปรี๊ยะปืด เป็น ภาษากูย แปลว่า พระใหญ่ เชื่อกันว่าค�า อุทานของชาวกวยนี้เอง คือที่มาของชื่อ หมู่บ้านพระปืด ต� า นานที่ ๒ เมื่ อ ราว พ.ศ. ๒๓๐๐ เชียงปุม กับ เชียงปืด สองพี่น้อง ชาวกูยได้มาตัง้ หมูบ่ า้ นเมือง ทีต่ อ่ มาเชียง ปุ ม จั บ ช้ า งเผื อ กส่ ง คื น ให้ ก ษั ต ริ ย ์ ก รุ ง ศรีอยุธยากระทั้งได้รับบ�าเหน็จเป็นเจ้า เมืองสุรินทร์คนแรก เมื่อหมู่บ้านเมืองที่มี คนหนาแน่นมากขึน้ ตาพรหม (สันนิษฐาน ว่าเป็นลูกของเชียงปืด) จึงน�าครอบครัว บางส่วนอพยพมาอยูบ่ ริเวณปราสาทพระ ปืด ซึ่งเป็นที่ตั้งชุมชนมาก่อนนั่นเอง ดัง นัน้ ชุมชนปัจจุบนั น่าจะสืบเนือ่ งมาจากคน รุ่นตาพรหม คะเนอายุน่าจะตกประมาณ ๒๐๐ – ๕๐๐ ปี เป็นอย่างต�า่ บ้านพระปืด จึงอาจจะมาจากชือ่ เชียงปืด อีกทางหนึง่ ด้วย ปัจจุบันพระปืด เหลือแต่คนพูด ภาษาเขมร ในขณะทีช่ อื่ หมูบ่ า้ นและชือ่ วัด
เป็ น ภาษากวย ส่ ว นโบราณสถาน ภายในวัดกลับร่วมขนบของศิลปะลาว และ จากปากค�าของคนปัจจุบันที่รุ่น คุณปูเ่ คยอพยพครอบครัวมาอยูท่ บี่ า้ น
แห่งนี้เล่าว่า บ้านเมืองแถบนี้มีลาว อาศัยอยู่ก่อนแล้ว บ้านพระปืดนี้มี โบราณสถาน คือ ปราสาทแก้ว ถือว่า เป็ น ชุ ม ชนโบราณอี ก แห่ ง หนึ่ ง ของ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ การขุ ด พบกระดู ก มนุษย์โบราณบ้านพระปืด เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งมีไหท�าด้วยภาชนะดินเผา ตามความเชื่อของคนโบราณจะน�าไป ฝังอยู่ทางทิศใต้ของหมู่บ้าน และร่อง รอยการขุ ด พบมี ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ปั จ จุ บั น โดยครั้งก่อนนี้มีการพบเทวรูป เครื่อง ประดับที่เป็นก�าไล อยู่เป็นเนือง วั ด บ้ า นพระปื ด หรื อ วัดปราสาทแก้ว ตัง้ อยูภ่ ายในก�าแพง เมืองชั้นในริมคูเมือง ด้านตะวันออก ที่ ต้ั ง ของวั ด ค่ อ นไปทางทิ ศ เหนื อ ของหมู ่ บ ้ า น องค์ ป ราสาทโบราณ (ปราสาทแก้ว) สร้างด้วยศิลาแลง แต่ ไม่มลี วดลายใด ๆ ไม่ทราบว่าสร้างขึน้
ปักหมุดวัดเมืองไทย
117
สมัยใด ณ องค์ปราสาทแห่งนี้มีพระพุทธรูปเก่าแก่ อยู่ ๑ องค์ ซึ่งมีลักษณะสวยงามมาก แต่เป็นที่น่า เสียดายทีถ่ กู มารศาสนามาลักลอบตัดเอาเศียรไป เมือ่ พ.ศ. ๒๕๒๓ ปัจจุบนั ท่านเป็นเจ้าอาวาสได้ให้ชา่ งสร้าง เศียรใหม่ เล่ากันว่าเมื่อได้ท�าการถางบริเวณรอบ ๆ ปราสารทนั้น มีพระพุทธรูปเล็ก ๆ เรียงรายอยู่รอบ ปราสาทเป็นจ�านวนมาก แต่ปัจจุบันหายหมดแล้ว นอกจากพระพุ ท ธรู ป ในองค์ ป ราสาทแล้ ว ยั ง มี พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์อีก ๑ องค์ ซึ่งมีขนาดพอคนที่ ยกสบาย ๆ ความศักดิ์สิทธิ์ของพระพุทธรูปองค์นี้ อยู่ ทีก่ ารเสีย่ งทายยกองค์ทา่ น ผูเ้ สีย่ งทายต้องอธิฐานเสีย ก่อน เช่น จะประกอบกิจการสิ่งใด หากส�าเร็จดัง ปรารถนา ก็จะสามารถยกองค์พระพุทธรูปได้ ซึ่งเจ้า อาวาสและชาวบ้านก็ยืนยันเป็นเสียงเดียวกัน
118
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปราสาทแก้ว(วัดพระปืด)
โบราณสถานปราสาทแก้ว ตั้ง อยู ่ ใ นวั ด ปราสาทแก้ ว บ้ า นพระปรื อ ต� า บลบ้ า นแร่ อ� า เภอเขวาสิ น ริ น ทร์ จังหวัดสุรินทร์ เป็นอุโบสถเป็นแผนผัง รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดกว้าง ๖.๕ เมตร ยาว ๑๐.๕ เมตร ยกพื้นสูง ๑.๖ เมตร ส่วนฐานอุโบสถถมด้วยดิน มีการก่ออิฐ ที่ผนังด้านนอกโดยด้านล่างสุด รองรับ ด้วยแท่งศิลาแลง ด้านหน้าทางทิศตะวัน ออก มีขั้นบันไดทางขึ้น ๒ ข้าง ทางเดิน ปูด้วยแท่นศิลาแลงอยู่โดยรอบ ที่ขอบ นอกสุ ด มาเสารองรั บ หลั ง คาปี ก นกที่ คลุมอาคารไว้ทุกด้าน ผนังอุโบสถท�าเป็นไม้ระแนง ปูพื้นด้วยแผ่นกระเบื้องดินเผา มีเสาไม้
รองรับหลังคา ๒ ชั้น ภายในอุโบสถมี อาคารที่เรียกว่า อูบมุง ตั้งอยู่ เป็น อาคารก่ออิฐถือปูน มีแผนผังเป็นรูป สี่เหลี่ยมจัตุรัสเพิ่มมุมฐานล่างสุดเป็น ฐานเขียง ถัดขึ้นมาเป็นส่วนเรือนธาตุ ด้ า นในประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ผนั ง ด้านทิศตะวันออกท�าเป็นซุ้มทางเข้า ที่ ผนักด้านนอกประดับด้วยบัวลูกแก้ว อกไก่ ผนังด้านทิศตะวันออกปรากฏ ร่องรอยปูนฉาบไว้ค่อนข้างมาก ส่วน ยอดซ้อนลดหลั่นกันขึ้นไปคล้ายทรง กระโจม โบราณสถานหลังนี้สร้างขึ้น โดยมี รู ป แบบศิ ล ปะลาว ราวพุ ท ธ ศตวรรษที่ ๒๓-๒๔
ปักหมุดวัดเมืองไทย
119
วัดปราสาททอง
ต� า บลปราสาททอง อ� า เภอเขวาสิ น ริ น ทร์ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Prasat Thong
Prasat Thong Subdistrict, Khwaosinarin District, Surin Province ประวัติวัดปราสาททอง วัดปราสาททอง ตัง้ อยูบ่ า้ นแสรออ หมูท่ ี่ ๘ ต�าบลปราสาททอง อ�าเภอเขวาสิน รินทร์ จังหวัดสุรินทร์ สังกัดคณะสงฆ์มหา นิกาย ที่ดินตั้งวัด มีเนื้อที่ ๑๖ ไร่ ๒ งาน ๓ ตารางวา ส.ค. ๑ เลขที่ ๓๕๗ อาณาเขต ทิศเหนือ จดที่ดินชาวบ้าน ทิศใต้ จดทางสาธารณะ ประโยชน์ ทิศตะวันออก จดที่ดินชาวบ้าน ทิศตะวันตก จดทางสาธารณะ ประโยชน์
120
ปักหมุดวัดเมืองไทย
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย - อุโบสถ - ศาลาการเปรียญ - กุฏิสงฆ์ ปูชนียวัตถุมีพระพุทธรูปและโบราณสถาน คือ - ปราสาท วั ด ปราสาททอง ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ. ๒๓๐๔ ในบริเวณวัดมีปราสาททอง จึงได้ตงั้ ชื่อ วัดตามโบราณสถาน ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๒
รายนามเจ้าอาวาสตัง้ แต่อดีตถึงปัจจุบนั คือ รูปที่ ๑ พระกู่ รูปที่ ๒ พระขวัญ รูปที่ ๓ พระติ่ง รูปที่ ๔ พระพลัน รูปที่ ๕ พระเตียน รูปที่ ๖ พระด่วน รูปที่ ๗ พระฮัม รูปที่ ๘ พระประภา ปภากโร รูปที่ ๙ พระชัย สุธมฺโม รูปที่ ๑๐ พระมิน ธมฺมปญฺโญ รูปที่ ๑๑ พระเหลือง สุจิตฺโต รูปที่ ๑๒ พระฉลอง ธมฺมโชโต รูปที่ ๑๓ พระอธิการเยีย อาจิตฺตปุญโญ รูปที่ ๑๔ พระครูประพัฒน์เหมคุณ ประวัติพระครูประพัฒน์เหมคุณ เกิดเมื่อวันอาทิตย์ ที่ ๒๕ เมษายน ๒๔๙๓ ขึ้น ๙ ค�่า เดื อ น ๖ ปี ข าล ณ บ้ า นเลขที่ ๖๓ บ้ า นแสรออ หมู ่ ที่ ๘ ต.ปราสาททอง อ.เขวาสินรินทร์ จ.สุรินทร์ พระครูประพัฒน์เหมคุณ เป็นบุตรชายคนเดียวของ คุณพ่อพืน - คุณแม่เรียบ ขาวงาม อุปสมบท เมื่อวันศุกร์ที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๕ อุปสมบท ณ พัทธสีมา วัดปราสาททอง พระครูสุนทรธรรมพินิจ อุปัชฌาย์ พระครูปิยะธรรมาภรณ์ กรรมวาจาจารย์ พระครูการุณธรรมรัตน์ อนุสาวนาจารย์ ชีวิตในสมณเพศ ได้รับฉายา สิริวณฺโน ศึกษาหาความรู้ในพระธรรมวินัย มาตลอด เพื่อเอามาประกอบทางด้านพัฒนา หลวงปู่เยีย ผู้เป็น เจ้าอาวาส ในขณะนั้นท่านพาพัฒนาทั้งสร้างศาสนสถาน เช่น ฌาปณสถาน (เมรุ) จนเสร็จเรียบร้อยพร้อมศาลาพักศพ แล้วเริ่ม สร้างอุโบสถใหม่ในที่เก่า เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๘ ร่วมกับหลวงปู่เยีย เจ้าอาวาสในขณะนั้นมาโดยตลอด แต่อุโบสถยังไม่แล้วเสร็จ พ.ศ.๒๕๕๐ หลวงปู ่ เ ยี ย ก็ ม รณภาพโดยไม่ มี ใ ครคาดคิ ด จึงได้พกั การก่อสร้างอุโบสถ ๑ ปีเต็ม ๆ พ.ศ. ๒๕๕๒ จึงได้เริม่ สร้าง อุโบสถต่อ พอถึง พ.ศ. ๒๕๕๓ พระครูปิยะธรรมาภรณ์ เจ้าคณะ อ�าเภอในขณะนั้นจึงได้เสนอขอตราตั้งเจ้าอาวาสว่าที่ พระอธิการ ประเสริ ฐ สิ ริ ว ณฺ โ ณ ตั้ ง แต่ นั้ น มาจนถึ ง พ.ศ. ๒๕๕๙ พระครูประดิษฐธรรมาวัตร เจ้าคณะอ�าเภอปัจจุบันได้เสนอขอ สมณศักดิ์ในราชทินนามว่า พระครูประพัฒน์เหมคุณ
พระครูประพัฒน์เหมคุณ เจ้าอาวาสวัดปราสาททอง
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
121
วัดโพธิ์รินทร์วิเวก
ตำ�บลเขว�สินรินทร์ อำ�เภอเขว�สินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Phoh Rin Viwek
Khwao Sinarin sub-district, Khwao Sinarin District, Surin Province
ประวัติวัดโพธิ์รินทร์วิเวก
เป็นระยะเวลาถึง ๒๐๗ ปี ที่หลวงปู่สุด อดีตเจ้าอาวาส ผู้ริเริ่ม ก่อตั้งวัดโพธิ์รินทร์วิเวก และบ้าน เขวาสิ น ริ น ทร์ เป็ น มหาเถระที่ ชาวบ้ า นให้ ค วามศรั ท ธา เคารพ นับถือด้วยดีตลอดมา หลักฐานที่ ยืนยันชัดเจน คือพระเจดีย์บรรจุอัฐิ ของท่ า นด้ ว ยไม้ แ ก่ น จั น ทน์ ประดิ ษ ฐานอยู ่ ห น้ า พระประธาน ภายในอุโบสถ รุ่นที่ ๒ ส่วนอุโบสถ รุ่นที่ ๑ เดิมอยู่ที่ตรงกลางต้นโพธิ์
122
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ใหญ่ในปัจจุบนั ซึง่ เป็นสถิตขององค์เทพ ชือ่ ว่า “ตาอินทร์” และมีความศักดิส์ ทิ ธิ์ ยิง่ กล่าวคือ ใครจะตัดกิง่ หรือช้างจะกิน ใบไม่ได้ถ้าฝ่าฝืนจะถูกลงโทษ
ประวัติ อุโบสถหลังเก่า วัดโพธิ์รินทร์วิเวก
หลวงปู ่ สุ ด เคยเล่ า ประวั ติ ให้ฟังว่า เมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๐ (๑๖๓ ปีที่ แล้ว) อดีต เจ้าอาวาสชื่อ เจ้าอธิการ เหรียญ จาบทอง ก่อนบวชนั้นท่านได้ ติดตามพ่อและแม่ลงไปประกอบอาชีพ ทีป่ ระเทศเขมร (กัมพูชา) ซึง่ มีเกวียน ๑ เล่ม
ท�าการค้าขายปลาร้าที่บ้านพระเนตร ท่าน ได้ขออนุญาตพ่อและแม่บวชที่นั่น และได้ ศึ ก ษาพระธรรมวิ นั ย จนมี ค วามรู ้ ความ สามารถแตกฉานในหลักธรรมได้อย่างดี ใน สมัยนั้นพ่อและแม่ของท่านกลัวพวกฝรั่ง เลยพากันขับเกวียนกลับขึน้ มาทีส่ รุ นิ ทร์คนื บ้านเดิม คือบ้านตาเมิน เขตเมืองที โดย อาศัยอยู่กับลูกคนโต คือ นางปีน ส่วน หลวงพ่อเหรียญนั้น ท่านคิดถึงโยมพ่อกับ โยมแม่ ก็ รี บ เดิ น ทางกลั บ ขึ้ น มาอยู่ บ ้ า น ตาเมินทันที ระยะเวลาต่อมาไม่นานนัก พ่อล็องและแม่โบร มูลศาสตร์ ได้ทราบข่าวว่า
มีพระนักปราชญ์เดินทางมาจากประเทศเขมร ก็รีบน�า คณะญาติ โ ยมไปกราบนิ ม นต์ ท ่ า นมาจ� า พรรษาที่ วัดโพธิร์ นิ ทร์วเิ วก ต่อจากนัน้ ท่านก็ได้ดา� เนินการก่อสร้าง ก�าแพงรั้วด้วยไม้เนื้อแข็ง หน้า ๓ หน้า ๘ รอบบริเวณวัด มีลวดลายสวยงามมาก ปัจจุบัน พระครูปิยธรรมาภรณ์ ได้ก่อสร้างก�าแพงคอนกรีตขึ้นมาแทน และหลวงพ่อ เหรียญ ได้กอ่ สร้างอุโบสถด้วยไม้ มุงหลังคาสังกะสี หน้า จั่วหน้าและหลังแกะลายกนก มีพระอินทร์ขี่พระราหู และพระราหูอมพระจันทร์ เหมือนรูปปัจจุบัน
พระครูปิยธรรมาภรณ์ ก่อนจะเริม่ ด�าเนินการบูรณะปฏิสงั ขรณ์อโุ บสถ ในปั จ จุ บั น มี เ หตุ ก ารณ์ น ่ า อั ศ จรรย์ ป ระการหนึ่ ง คือ ฝ้าเพดานไม้ขนาดใหญ่หลุดออกมาเอง ท่าทีจะตกลง มาทับพระประธานหลวงพ่อสุดแล้ว กลับกลิ้งลงไปลง ด้านทิศตะวันออกและมีเสียงดังเปรี้ยงอย่างน่าสะพรึง กลัวยิ่ง นี้เป็นเพราะบารมีปาฏิหาริย์ของหลวงปู่สุดโดย แท้
ฉะนั้นในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยการน�า ของ พระครูปิยธรรมาภรณ์ พร้อมด้วย พระภิกษุสงฆ์และญาติโยมบ้านเขวาสินรินทร์ จึงได้รว่ มใจกันบูรณะปฏิสงั ขรณ์อโุ บสถขึน้ ใช้ระยะเวลา ๘ เดือนจึงแล้วเสร็จ
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
ปักหมุดวัดเมืองไทย
123
วัดไพศาลภูมิกาวาส
ตำาบลเขวาสินรินทร์ อำาเภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Phai San Phumi Ka Wat
Khwao Sinarin Subdistrict, Khwaosinarin District, Surin Province
ต้นส�าโรง อายุ ๒๐๐ ปี ในธรณีสงฆ์วัดไพศาลภูมิกาวาส
124
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดไพศาลภูมิกาวาส
ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๔ บ้านสดอ หมู่ที่ ๖ ต�าบล เขวาสินรินทร์ อ�า เภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุ ริน ทร์ โบสถหลังใหม่ท�าพิธีผูกพัทสีมา เมื่อปี ๒๕๑๔ อดีตเจ้าอาวาส มี ๑๒ รูป เจ้าอาวาสปัจจุบัน พระอธิการเอื้อน ทีปธมฺโม
มณฑปพระครูสุนทรธรรมพินิต อดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะ ต�าบลตากูก - ปราสาททอง สร้างเมื่อปี ๒๕๔๕
พระอธิการเอื้อน ทีปธมฺโม เจ้าอาวาสวัดไพศาลภูมิกาวาส
รูปปั้นช้างสีดอ เป็นที่มาของชื่อบ้านสดอ
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
ปักหมุดวัดเมืองไทย
125
วัดวิวิตวนาราม
ต�าบลบึง อ�าเภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Viwit Wanaram
Bueng Subdistrict, Khwaosinarin District Surin Province
126
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดบ้านบึง เป็นวัดที่เก่าแก่ อยู่คู่กับ ประชาชนชาวบ้านบึงมามากกว่า ๒๐๐ ปีแล้ว เดิมมีที่ตั้งอยู่ที่ชุมชนโบราณของบ้านบึง ทาง ทิศตะวันตกของหมู่บ้าน แต่เนื่องจากการ ประสบกับปัญหาน�้าท่วมเกือบทุกปี และโรค ระบาดที่ร้ายแรง ท�าให้ต้องย้ายหมู่บ้านและ วัดมาตั้งในที่ตั้งเป็นหมู่บ้านในปัจจุบัน วัดบ้านบึงมีชอื่ เดิมว่าวัดวิวติ ตวนาราม ซึ่งเจ้าอาวาสรูปแรกหลังจากย้ายวัด โดยมี เนือ้ ทีใ่ นการจัดตัง้ ครัง้ แรก ๔ ไร่ แต่ปจั จุบนั ได้ มี ก ารรั บ บริ จ าคและแลกเปลี่ ย นกั บ ที่ สาธารณประโยชน์ จึงมีเนื้อที่ทั้งสิ้น ๙ ไร่ ๒ งาน ๑๐ ตารางวา วัดวิวิตตวนารามได้เป็น ศูนย์รวมการพัฒนาจิตใจ และเป็นสถานที่ที่ ลู ก หลานชาวบ้ า นบึ ง ได้ ใช้ เ รี ย นหนั ง สื อ เพราะในสมั ย นั้ น ยั ง ไม่ มี ก ารตั้ ง โรงเรี ย น วัดวิวิตวนาราม ได้เปลี่ยนชื่อตามกาลเวลา เป็นวัดวิวติ วนาราม ซึง่ ไม่ทราบสาเหตุของการ เปลี่ยนที่ชัดเจน
รายนามเจ้าอาวาส
๑. หลวงพ่อตวน ๒. หลวงพ่อเว็น ๓. หลวงพ่อสา ๔. หลวงพ่อเอี้ยง ๕. หลวงพ่อปวก ๖. หลวงพ่อหาด ๗. หลวงพ่อโกวิทย์ เกยฺโร ๘. พระครูวิวิตธรรมคุณ
ปักหมุดวัดเมืองไทย
127
วัดวิวิตวนารามได้รับพระบรมราชโองการประกาศ พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที ่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๔๙๗ เป็นปีที่ ๙ ในรัชกาลที่ ๙ เพื่อสงฆ์ที่พ�านักอยู่จะได้มีอุโบสถ สังฆกรรม และประกอบพิธีทางศาสนาอนึ่ง อุโบสถหลังเก่า ของวัดมีสภาพช�ารุดทรุดโทรมตามกาลเวลา ทางวัดและคณะ กรรมการได้ประชุมปรึกษาหารือทีจ่ ะสร้างอุโบสถทรงเครือ่ ง ที่ มี ค วามกว้ า ง ๒๐ เมตร และยาว ๔๐ เมตร เมื่ อ พุทธศาสนิกชนได้ทราบข่าวได้มีศรัทธาอันแรงกล้าระดมเงิน ทุนเข้าถวายหลวงพ่อเพื่อให้สร้างอุโบสถแล้วเสร็จการสร้าง อุโบสถหลังนี้ใช้เวลาไม่นานนัก ด้วยงบประมาณ ๖ ล้านบาท และแล้วก็เสร็จสมบูรณ์ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๙ คณะกรรมการ จัดงานจึงก�าหนดที่จะจัดงานยกช่อฟ้า ผูกพัทธสีมา ปิดทอง และฝังลูกนิมิต ระหว่างวันที่ ๑๐-๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ขึ้น เพื่อสนองพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ และให้ ถูกต้องตามหลักธรรมวินัย ต่อไป
128
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
129
วั ด ศาลาเย็ น
ต�าบลตากูก อ�าเภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Sala Yen
Takuk Subdistrict, Khwaosinarin District, Surin Province
ประวัติวัดศาลาเย็น
วัดศาลาเย็น เป็นวัดเก่าแก่สร้างขึ้น ครั้งแรกบริเวณทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ป่าช้าตากแดด ในปัจจุบันหรือที่ชาวบ้านเรียก ติดปากว่า โช๊ะโชย (โช๊ะ แปลว่า โคก หรือเนิน, โชย แปลว่า ต้นประดู่) ก่อนจะมาสร้างวัดก็มี การตั้งหมู่บ้านขึ้นทางทิศตะวันตกของโรงเรียน บ้านตากแดดในปัจจุบัน ที่ชาวบ้านยังเรียก ติดปากว่า โช๊ะตี (โช๊ะ แปลว่า หมู่บ้าน, ตี แปล ว่า เก่า-หมู่บ้านเก่า) ในระหว่างการสร้างวัด มี ขบวนช้างเดินทางไปคล้องช้างป่าที่ประเทศ กัมพูชาได้หยุดพักไปพูดคุยกับชาวบ้านที่ก�าลัง สร้างวัด ควาญช้างพูดกับ ชาวบ้านว่าสร้างวัด ใกล้จะเสร็จมีพระมาจ�าพรรษาแล้วหรือยัง ชาวบ้าน ตอบว่า “ยัง” ควาญช้างจึงแนะน�าให้ ชาวบ้าน ไปนิมนต์พระที่วัดบ้านตากลาง เนื่องจากมีพระ อยูท่ วี่ ดั หลายรูป เมือ่ สร้างวัดเสร็จชาวบ้านจึงไป นิมนต์พระทีว่ ดั บ้านกลาง มาตามค�าแนะน�าของ ควาญช้าง เมื่อไปถึงบ้านตากลางก็เย็นมากแล้ว จึงเข้าวัดไปกราบนมัสการเจ้าอาวาส บอกถึง วัตถุประสงค์ของการมาเมื่อพูดคุยเข้าใจเจ้าอาวาส ก็อนุญาตให้พระมาจ�าพรรษา ในวันรุ่งขึ้นทาง วัด จึงจัดหาขบวนช้างเป็นพาหนะให้พระเดิน ทางมาทีบ่ า้ นตากแดด เมือ่ พระฉันภัตตาหารเช้า เสร็จ ก็ออกเดินทางเรื่อยมา เมื่อถึงวัดบ้านตากแดด เป็นใกล้เที่ยง วันนั้นอากาศร้อนมากเพราะเป็น ช่วงเดือน ๕ เมื่อมาถึงวัดตากแดด พระรูปนั้นก็
130
ปักหมุดวัดเมืองไทย
มองดู วั ด มองไปรอบบริ เวณวั ด ก็ ต กใจ เพราะไม่มีต้นไม้เหลืออยู่เลย เห็นแต่วัด หลังเล็กไม่มที พี่ กั พระรูปนัน้ พูดกับชาวบ้าน ว่า “ให้อาตมามาตากแดด อาตมาจะให้ชอื่ วัดนีว้ า่ วัดตากแดด ชาวบ้านจึงเรียกชือ่ วัด นี้ ว ่ า วั ด บ้ า นตากแดด ตามค� า พู ด ของ พระรูปนั้นตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา จากนั้ น วั ด บ้ า นตากแดดก็ มี พัฒนาและเจริญมาตามล�าดับ แต่ที่ต้อง ย้ายวัดมาสร้างที่แห่งใหม่ เนื่องจากโรค ระบาดเป็นเหตุให้ชาวบ้านและพระในวัด ล้มป่วยและตายเป็นจ�านวนมาก เพราะใน อดีตยังไม่มียารักษาโรค ดังนั้นเมื่อเกิดโรค ระบาดก็ ทิ้ ง ถิ่ น ฐานไปหาที่ ตั้ ง ใหม่ โ ดย กลุ่มที่ ๑ ย้ายไปตั้งหมู่บ้านขึ้นใหม่ทางทิศ ตะวันตกมีหนองน�้า ชาวบ้านเรียกติดปาก ว่ า “โกลงอาหราย” “โกลง” แปลว่ า “หนองน�า้ ” เหมือนแอ่งกระทะ “อาหราย” แปลว่า “ต้นหวาย” คือรอบหนองน�้ามี ต้ น หวายจ� า นวนมาก ชาวบ้ า นจึ ง เรี ย ก หมูบ่ า้ นนีว้ า่ “บ้านหวาย” ต่อมาเปลีย่ นชือ่ ใหม่เป็นหมูบ่ า้ นอาไรมาถึงทุกปัจจุบนั กลุม่ ที่ ๒ ย้ายมาตั้งหมู่บ้านทางทิศตะวันออก บริเวณคุ้มกลางเหนือและคุ้มกลางใต้ใน ปัจจุบัน จากนั้นมีการสร้างวัดขึ้นเป็นครั้ง ที่ ๒ โดยมี หลวงปู่สา ซึ่งเป็นทวดของ พระครูประสุตธรรมธาดา เป็นเจ้าอาวาส รูปที่ ๒ หลวงปู่สา ท่านเป็นผู้น�าชาวบ้าน ในการสร้างวัด เมื่อสร้างวัดเสร็จชาวบ้าน ได้นิมนต์ท่านเป็นเจ้าอาวาส จากนั้นวัด บ้านตากแดดก็เจริญรุ่งเรือง ก่อนที่หลวงปู่ สาท่ า ลาสิ ก ขาบทได้ ป ลู ก ต้ น โพธิ์ เ ป็ น อนุสรณ์ ๒ ต้น ต้นโพธิ์คู่นั้นก็เจริญเติบโต มาตามล�าดับ จนเป็นต้นโพธิค์ บู่ า้ นตากแดด
มาถึงปัจจุบนั เมือ่ ท่านลาสิขาบทชาวบ้านจึง ไปนิมนต์พระอาจารย์แก้ว วัดบ้านสวาย ต�าบลแตล มาเป็นเจ้าอาวาส ท่านเห็นว่า บริเวณต้นโพธิ์ที่ดินคับแคบจึงหาที่สร้างวัด ขึ้นใหม่ ต่อมามีชาวบ้านบริจาคที่ดินบริเวณ วัดศาลาเย็นในปัจจุบัน จึงย้ายวัดมาสร้างที่ แห่งใหม่ ในขณะที่ก�าลังสร้างวัดยังไม่เสร็จ พระอาจารย์แก้วก็ลาสิกขาบท ชาวบ้านจึง ได้ นิ ม นต์ พ ระอาจารย์ จิ ต ซึ่ ง เป็ น ตาของ พระครูประสุตธรรมธาดา เป็นเจ้าอาวาสรูป ที่ ๕ ระหว่างทีท่ า่ นพระอาจารย์จติ เป็น เจ้าอาวาส ท่านได้สร้างวัดต่อเสร็จสมบูรณ์ เมือ่ สร้างวัดเสร็จ ก็สร้างศาลาการเปรียญต่อ เมื่ อ ท่ า นลาสิ ข าบทชาวบ้ า นจึ ง นิ ม นต์ พระอาจารย์เพิด๊ เป็นเจ้าอาวาส เมือ่ อาจารย์ เพิ๊ ด ลาสิ ข าบท ชาวบ้ า นให้ นิ ม นต์ พระอาจารย์ดาวมาเป็นเจ้าอาวาส เมื่อพระ อาจารย์ดาว ลาสิขาบท ชาวบ้านไปนิมนต์ พระอาจารย์เภาว์ (เปา) จากบ้านกันตรงมา เป็นเจ้าอาวาส เมื่อพระอาจารย์เภาว์ ลา สิกขาบท ชาวบ้านนิมนต์พระอาจารย์แสง ซึ่งเป็นชาวกัมพูชามาเป็นเจ้าอาวาส เมื่อ
พระอาจารย์แสงกลับประเทศกัมพูชา ชาวบ้านจึงได้นิมนต์พระ อาจารย์ปดั ซึง่ มีศกั ดิเ์ ป็นลุงของพระครูประสุตธรรมธาดา เป็นเจ้า อาวาสรูปที่ ๑๐ เมื่อพระอาจารย์ปัดเป็นเจ้าอาวาสท่านเห็นว่าสถานที่ สร้างวัดในปัจจุบันมีบริเวณคับแคบ อยู่ติดกับหมู่บ้านและมีทาง เกวียนล้อมรอบ ไม่สามารถขยายได้ จึงหาสถานที่สร้างวัดขึ้นมา ใหม่ ต่อมามีผบู้ ริจาคทีด่ นิ ให้อยูท่ างทิศตะวันออกของวัดศาลาเย็น เมือ่ ได้สถานทีจ่ งึ ย้ายวัดมาสร้างบนทีด่ นิ ดังกล่าว ในปัจจุบนั ชาวบ้าน เรียกติดปากว่า “วัดร้าง” จากนั้นพระอาจารย์ปัดได้นา� ชาวบ้าน สร้างวัดขึ้นใหม่ ในขณะที่สร้างวัดยังไม่เสร็จพระอาจารย์ ก็ลา สิกขาบท ชาวบ้านจึงนิมนต์พระอาจารย์สา ซึ่งมีศักดิ์เป็นน้าของ พระครูประสุตธรรมธาดา เป็นเจ้าอาวาสรูปที่ ๑๒ เมื่อท่าน อาจารย์สาเป็นเจ้าอาวาส ท่านได้สร้างวัดต่อจนเสร็จสมบูรณ์ ต่อ มาท่านได้สร้างศาลาการเปรียญและอุโบสถในปี พ.ศ. ๒๔๙๑ จน ส�าเร็จในปี พ.ศ. ๒๔๙๕ พร้อมทั้งมีการเฉลิมฉลองในปีเดียวกัน ในช่วงที่ท่านเป็นเจ้าอาวาสท่านเห็นว่าชื่อวัดบ้านตากแดด ฟังดู แล้วมันร้อน จึงเปลี่ยนชื่อวัดใหม่เป็น วัดศาลาเย็น มาจนถึง ปัจจุบัน เมื่อท่านลาสิขาบทชาวบ้านได้นิมนต์พระอาจารย์ปัด พระอาจารย์คณ ู พระอาจารย์สมเกียรติ หลวงพ่อพัน หลวงพ่อชอม เป็นเจ้าอาวาสตามล�าดับ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๔ ชาวบ้านจึงได้นิมนต์ พระครูประสุตธรรมธาดา มาเป็นเจ้าอาวาส จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ท่านได้มรณะภาพลง และในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ พระอธิการสายแพร
กตปุญฺโญ ได้รับการแต่งตั้งต�าแหน่งเจ้าอาวาสจนถึงปัจจุบัน รายนามเจ้าอาวาสวัดบ้านตากแดด ๑. พระ (ไม่ทราบชือ่ ) วัดบ้านตากลาง ประมาณปี พ.ศ. ๒๒๓๐ ๒. หลวงปู่สา บ้านตากแดด ประมาณปี พ.ศ. ๒๒๖๐ ๓. พระอาจารย์แก้ว บ้านสวาย ต�าบลแตล ประมาณปี พ.ศ. ๒๓๐๑ ๔. พระอาจารย์ปัน บ้านแตล ประมาณปี พ.ศ. ๒๓๒๙ ๕. พระอาจารย์จิต บ้านตากแดด ประมาณปี พ.ศ. ๒๓๖๕ ๖. พระอาจารย์เพิ๊ต บ้านตากแดด ประมาณปี พ.ศ. ๒๓๙๕ ๗. พระอาจารย์ดาว บ้านตากแดด พ.ศ. ๒๔๓๘ - ๒๔๔๒ ๘. พระอาจารย์เภาว์ บ้านกันตรง พ.ศ. ๒๔๔๒ - ๒๔๕๖ ๙. พระอาจารย์แสง ชาวกัมพูชา (เขมร) พ.ศ. ๒๔๕๖ - ๒๔๗๙
๑๐. พระอาจารย์ปดั ชาวนาบ้านตากแดด พ.ศ. ๒๔๗๙ - ๒๔๘๕ ๑๑. พระอาจารย์ตวง อุ่นศรี บ้านโชค พ.ศ. ๒๔๘๕ - ๒๔๙๐ รายนามเจ้าอาวาสวัดศาลาเย็น ๑๒. พระอาจารย์สา ชาวนาบ้านตากแดด พ.ศ. ๒๔๙๐ - ๒๔๙๕ ๑๓. พระอาจารย์ปัด ชาวนาบ้านตากแดด พ.ศ. ๒๔๙๕ - ๒๕๐๑ ๑๔. พระอาจารย์คูณ พริ้งเพราะ บ้านตากแดด พ.ศ. ๒๕๐๑ - ๒๕๐๔ ๑๕. พระอาจารย์สมเกียรติ คัมภีรปญโญ พ.ศ. ๒๕๐๔ - ๒๕๐๘ ๑๖. หลวงพ่อพัน บ้านตากแดด พ.ศ. ๒๕๐๘ - ๒๕๑๑ ๑๗. หลวงพ่อชอม บ้านกาเกาะ พ.ศ. ๒๕๑๑ - ๒๕๑๔ ๑๘. พระครูประสุตธรรมธาดา (อดีตเจ้าคณะอ�าเภอเขวาสินรินทร์) พ.ศ. ๒๕๑๔ - ๒๕๕๘ ๑๙. พระอธิการสายแพร กตปุญฺโญ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ปัจจุบนั
พระอธิการสายแพร กตปุญฺโญ ดร. เจ้าอาวาสวัดศาลาเย็น
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
ปักหมุดวัดเมืองไทย
131
วัดสามโค
ตำ�บลปร�ส�ททอง อำ�เภอเขว�สินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Sam Co
Pra Sat Thong Subdistrict, Khwaosinarin District, Surin Province
ศาลาการเปรียญ ยกพื้นสูงขึ้นมาหนึ่ง ตลอดมา โดยยุคนั้นเป็นยุคที่ข้าวยาก หลัง โดยกัน้ เป็นห้องอยู ่ ๕ ห้องให้พระสงฆ์ หมากแพง ความแห้งแล้งก็เกิดขึน้ เพราะ เดิมวัดชือ่ เดิมว่า วัดราษฏร์ศรัทธาธรรม พักจ�าวัดอยู่โดย ได้นิมนต์พระสุนทร ชาวบ้านมีอาชีพเกษตรกรรมอย่างเดียว สร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๕๐ น�าโดย พ่อเสาร์ จากต�าบลเทนมีย์ อ�าเภอเมือง จังหวัด อาหารและความเป็นอยู่ไม่ค่อยสมบูรณ์ เขางาม ซึ่ ง ท่ า นด� า รงต� า แหน่ ง ผู ้ ใ หญ่ บ ้ า น สุรนิ ทร์ มาจ�าพรรษา หลังจากนัน้ อีก ๓ ปี เจ้ า อาวาสจ� า พรรษาได้ ป ระมาณ ๓ และท่านพร้อมครอบครัวมอบเนื้อที่ ๑๔ ไร่ พระสุ น ทรได้ ล าสิ ก ขาบท จึ ง ได้ ไ ป พรรษา จึงขอย้ายไปเป็นเจ้าอาวาสวัด มอบให้ ส ร้ า งโรงเรี ย น นิมนต์ พระเฉลียว อาจาโร จากอ�าเภอ บ้านแสรออ (ปัจจุบนั คือวัดปราสาททอง) ๗ ไร่ และสร้างวัด ๗ ไร่ ขุ ขั น ธ์ จั ง หวั ด ศรี ษ ะเกษ มาเป็ น เนื่องจากต�าแหน่งเจ้าอาวาสยังว่างและ และได้ชักชวนญาติ ๆ เจ้าอาวาสและมีพระสงฆ์จ�าพรรษามา วัดนี้มีหมู่บ้านรอบ ๆ วัดอยู่ ๙ หมู่บ้าน จากหมูบ่ า้ นโคกอาโพน อย่ า งต่ อ เนื่ อ งมี ก ารปฏิ บั ติ ธ รรม มี ด้วยกันความเจริญและความสมบูรณ์จึง บ้านสวาย ช่วยกันตัด กิจกรรมในวันส�าคัญต่าง ๆ โดยชาว ดีกว่าท�าให้วัดราษฎร์ศรัทธาธรรมไม่มี ปักหมุดเมืองไทย เลื่อยไม้น�ามาสร้างเป็น บ้านได้มาฟังธรรมจัดงานตามประเพณี พระสงฆ์เจ้าพรรษา และเป็นวัดที่ขึ้นต่อ
ความเป็นมา
www.pukmodmuangthai.com
132
ปักหมุดวัดเมืองไทย
กระทรวงการศึกษา วัดนี้จึงขึ้นทะเบียน เป็นวัดร้างตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๕ และต้อง จ่ายภาษีให้แก่กรมการทางศาสนามาทุกปี เรื่อยมา ในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ น�าโดยนาง ประนอมขาวงาม ได้รับคัดเลือกให้ด�ารง ต�าแหน่งเป็นผู้ใหญ่บ้านและเป็นบุตรของ พ่อเสาร์-แม่เยียน ขาวงาม จึงคิดฟื้นฟูวัด ขึน้ มาใหม่โดยได้สละทรัพย์สว่ นตัวจ�านวน ๒ แสนบาท โดยท�าการถมดินในระยะแรก และสร้างศาลาขึ้นหนึ่งหลังพร้อมกับสร้าง กุฏิขึ้นด้วย เมื่อชาวบ้านเห็นจึงเกิดการ เลื่ อ มใสศรั ท ธา จึ ง ได้ ร ่ ว มด้ ว ยช่ ว ยกั น หาเงินหรือปัจจัยต่าง ๆ ในการพัฒนาวัด โดยการจัดงานทอดผ้าป่าสามัคคีรวบรวม สร้ า งศาสนสถานที่ ถ าวร มี พ ระมาขอ จ�าพรรษาที่วัดอย่างต่อเนื่องแต่ยังไม่เป็น ทางการ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ของวันที่ ๑๓ เมษายน ได้ ไ ปนิ ม นต์ พ ระสงฆ์ จ าก วัดเทพจตุรทิศ โดยท่านได้เดินทางมาเยีย่ ม วัดทนงรัตน์ ผู้ใหญ่บ้านได้นิมนต์ท่านมา จ�าพรรษาในต�าแหน่งรักษาการเจ้าอาวาส และได้ รั บ การยกเลิ ก จากวั ด ร้ า งที่ มี พระภิกษุจา� พรรษาและใช้ชอื่ ว่า วัดสามโค เมื่อวันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๔๘ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ของวันที่ ๑ กรกฎาคม ได้ แ ต่ ตั้ ง พระสุ พิ น เป็ น
พระอธิ ก ารสุ พิ น ปั ส สั น โต เป็ น เจ้าอาวาส วันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๕๖ พระอธิ ก ารสุ พิ น ปั ส สั น โต ได้ รั บ สมณศักดิ์พัดยศเป็น พระครูปราสาท สุวรรณกิจ วันที่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับแต่ง ตัง้ พระครูปราสาทสุวรรณกิจ เป็นรอง เจ้ า คณะต� า บลตากู ก -ปราสาททอง เป็นเจ้าอาวาสวัดสามโคจนถึงปัจจุบนั
ประวัติช้างพลายบุญรอด
ถิ่ น ก� า เนิ ด ขึ้ น ที่ ป ระเทศ กัมพูชา ณ ป่าดงดิบ เมืองเสียมราฐ เข้ามาเมืองไทยที่จังหวัดสุรินทร์ ณ บ้านดงบัง อ�าเภอจอมพระ จังหวัด สุรินทร์ เมื่ออายุประมาณ ๓ ขวบ โดยคุณตากลืน เหล่างาม คุณตาจอก คุณตาจาม มุมทอง ชาวบ้านสามโคไป รับซื้อมาเลี้ยงไว้ในหมู่บ้านด้วยใจรัก เมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๙ และให้ลูกชายชื่อ นายจวน เหล่างาม และหลานชาย ชื่อนายบุญเกิด ชาวนา รับหน้าที่เป็น ควาญช้ า ง บุ ญ รอดเป็ น ช้ า งที่ เ ลี้ ย ง เชื่องไว เลี้ยงง่าย ฝึกให้ท�าอย่างไรก็ได้ อย่างนั้น บุญรอดจึงเติบโตตามล�าดับ ใช้ภาษาพูด คือ เขมรและกูย (ส่วย) เป็นสือ่ ในชุมชน, ท้องถิน่ , จังหวัดมีงาน
บวชนาค ก็มาติดต่อให้บุญรอดไปรับใช้ ถือว่าเป็นประเพณีทอ้ งถิน่ นิยมให้นาคขึน้ ขี่ช้างแห่เพราะคิดว่าช้างเป็นสัตว์ใหญ่ คู่บ้านคู่เมือง หากได้ช้างให้นาคขึ้นหลัง ก็จะเป็นสิรมิ งคลแก่ผบู้ วชและวงศ์ตระกูล โดยได้รับค่าตอบแทนไม่มากในสมัยนั้น และทีส่ า� คัญทีส่ ดุ ช้างบุญรอดได้เข้าร่วมงาน ประจ�าปีของจังหวัดสุรินทร์ คือ งานช้าง แฟร์และงานกาชาด มาเป็นเวลาหลายปี ทุกปีช้างบุญรอดจะเข้าร่วมทุกครั้ง จวบ จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ควาญช้างคือ นายจวน เหล่ า งาม โดนช้ า งเชื อ กอื่ น เหยี ย บและเสี ย ชี วิ ต ลง บุ ญ รอดแสดง อาการซึมเศร้าคล้ายกับเสียใจทีค่ วาญช้าง จากไป บุ ญ รอดเริ่ ม กิ น อาหารน้ อ ยลง ร่างกายซูบผอมและมีโรคประจ�าตัว ในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ บุญรอดก็ตายลง น�าความ เศร้าโศกแก่ผู้เป็นเจ้าของอย่างมาก และ ได้นา� ร่างของบุญรอดไปฝังไว้ทโี่ คนหญ้าคา ห่างจากหมู่บ้าน ๕ กิโลเมตร ระยะเวลา ฝังไว้ ๑๐ ปี จนในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ผู้ใหญ่ ประนอม ขาวงาม ได้ ข ออนุ ญ าตจาก คุณตาทั้งสามคน เพื่อขุดน�าเอากระดูก ของช้างบุญรอดขึ้นมา บ�าเพ็ญกุศลและ เก็บกระดูกไว้เป็นอนุสรณ์ ณ วัดสามโค ตั้ ง แต่ บั ด นั้ น เป็ น ต้ น มา ต่ อ มาผู ้ ใ หญ่ ประนอม ขาวงาม ได้ให้ชา่ งมาปัน้ เป็นรูป เหมือนของช้างบุญรอด โดยใช้ทนุ ส่วนตัว เป็นเงิน ๖๐,๐๐๐ บาท ท�าพิธีบวงสรวง โดยแม่พราหมณ์ ภายในศีรษะช้างจะบรรจุ เหรียญของหลวงพ่อเกจิอาจารย์ไว้ เช่น หลวงปู ่ ฝ ั ้ น หลวงปู ่ ส าม หลวงปู ่ ดู ล ย์ พร้อมทั้งอาภรณ์มีผ้าไหม, โสร่ง, โฮล, สาคู ฯลฯ ที่ ท ้ อ งช้ า งก็ น� า กระดู ก ของ ช้างบุญรอดเข้าเก็บไว้ เสมือนหนึง่ บุญรอด ยังมีชีวิตอยู่ เพื่อให้ชนรุ่นต่อมาได้ศึกษา และทราบเรื่องราวได้โดยตลอด
ปักหมุดวัดเมืองไทย
133
ส�ำนักสงฆ์หนองโพธิ์น้อย ต�ำบลตำกูก อ�ำเภอเขวำสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
Shelter Monks Nong Phoh Noi Ta Kuk Subdistrict, Khwaosinarin District, Surin Province
134
ปักหมุดวัดเมืองไทย
หลวงพ่อประโยค ได้บวชทีว่ ดั ปราสาททอง จ.สุรินทร์ บวชแล้วไปจ�าพรรษาที่วัดปราสาททอง ๓ พรรษา ส�านักสงฆ์หนองกะโตวา ๒ พรรษา วัดแถวเขือ่ นนางอาย กันทรลักษณ์ ๑ พรรษา หลัง จากนัน้ ติดตามหลวงปูส่ รวงไปทุกที ่ และจ�าพรรษา วัดดอนไม้งาม ๑ พรรษา ทีส่ ร้างเหรียญหลวงปูส่ รวง รุ่นสร้างศาลา ช่วงปี ๒๕๔๓ ปี ๒๕๔๔ ท่ า นได้ ก ่ อ ตั้ ง ส� า นั ก สงฆ์ หนองโพธิ์น้อย จนถึงปัจจุบัน ก่อนหน้าจะมาอยู่ วั ด ปั จ จุ บั น เคยอยู ่ วั ด ดอนไม้ ง าม อ.บ้ า นด่ า น จ.บุรีรัมย์ วัดนี้ริเริ่มสร้างเองตั้งแต่แรก เพราะเป็น สถานที่ ที่ ห ลวงปู ่ ส รวง ผ่ า นมาพั ก ก่ อ นจะไป ละสังขารที่กระท่อมบ้านรุน โดยชาวบ้านถวายที่ ๑ ไร่เศษ และมีคณะศรัทธาถวายเพิ่ม และทางวัด ซื้อที่ดินเพิ่มด้วย ปราสาทเพชรสร้างขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชา เป็นที่สักการะบูชาของพุทธศาสนิกชน งบประมาณ ในการก่อสร้างประมาณ ๑๕ ล้านบาท เริ่มสร้าง ฐานล่าง ตอกเสาเข็ม ตอม่อ และก�าลังเริม่ ท�าคาน คอดิน ขณะนี้หลวงพ่อประโยค สิริอายุ ๖๓ ปี พรรษา ๒๖
ปักหมุดวัดเมืองไทย
135
136
ปักหมุดวัดเมืองไทย
หลังจากวางศิลาฤกษ์เสร็จ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๓ และยกเสาเอกเสร็จ ณ วันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๓ นิมิตรได้วัตถุ โบราณ มีพระร่วงหลังรางปืน รุ่นชัยรามัน ที่ ๗ และได้เป็นดวงเมือง และได้ขุดได้ ตะกั่วชินเงิน ราว ๆ ๓๐ กว่าก้อน
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
137
วัดจอมพระ
ตำ�บลจอมพระ อำ�เภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์
Wat Chom Phra
Chom Phra Subdistrict, Chom Phra District, Surin Province
ประวัติวัดจอมพระ วัดจอมพระ ตัง้ อยูบ่ า้ นเลขที ่ ๔ หมูท่ ี่ ๖ ต�าบลจอมพระ อ�าเภอจอมพระ จังหวัดสุรนิ ทร์ มีเนื้อที่ทั้งหมด ๓๔ ไร่ ๒ งาน ๕๘ ตารางวา
อาณาเขต ทิศเหนือ จดที่นานายบุญเกิด นากดี ทิศใต้ จดถนนสาธารณะ ทิศตะวันออก จดที่นานายค�าขัด บูรณะ ทิศตะวันตก จดถนนสาธารณะและ โรงเรียนอนุบาลจอมพระ พื้ น ที่ วั ด จอมพระมี ลั ก ษณะเป็ น รูปสี่เหลี่ยมคางหมู บางส่วนลาดชัน เป็นทุ่งนา และเป็นป่าละเมาะ แต่ปัจจุบันได้ปรับพื้นที่ ให้เสมอ เพื่อปลูกสร้างอาคารถาวรวัตถุพร้อม ทั้งปลูกไม้ประดับ ไม้ยืนต้นเพื่อความร่มเย็น ได้รม่ เงาและเกิดความร่มรืน่ แก่ผทู้ สี่ ญ ั จรไปมา ความเป็นมา บรรจงอักษร เป็นประธานฝ่ายฆราวาส แก่ผู้พักอาศัย และมีนายบุญเกิด นางอัมภะวัน ด้ ว ยนายอ� า เภอจอมพระ ในการสร้ า งศาลาการเปรี ย ญวั ด นากดี ได้บริจาคที่เดินเพิ่มเติมประมาณ ๑ ไร่ ในพุทธศักราช ๒๕๔๕ เพือ่ สร้างศาลาธนารัตน์ปทั มา ศึกษาธิการอ�าเภอ พร้อมด้วยราชการ จอมพระ พร้อมด้วยข้าราชการ พ่อค้า พ่อค้า ประชาชน ก�านัน ผู้ใหญ่บ้าน ประชาชน เมื่อวันจันทร์ที่ ๓ เดือน และสร้างโรงครัว ผู้มีจิตศรัทธา มีความประสงค์สร้าง มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๑๒ ขึน้ ๑๕ ค�า่ วัด เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้บ�าเพ็ญ เดือน ๔ ปีระกา เวลา ๑๙.๐๙ น. กุศลในศาสนสถานที่ใกล้บ้านและ โดยมีครูวรรณรังษีโศภนเป็นประธาน เป็ น สถานที่ ให้ ส งฆ์ ไ ด้ บ� า เพ็ ญ ฝ่ายสงฆ์ พร้อมด้วยพระภิกษุ ๙ รูป เจริญ พุทธมนต์ตงั้ แต่เวลา ๒๒.๕๕ - ๒๒.๐๖ น. ศาสนกิจ ปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๑๒ โดยมีนายประสพ จงอุตส่าห์ ศึกษาธิการ นายอ�าเภอประนัย - คุณนายอุน่ เรือ่ ง อ�าเภอจอมพระ นายประกาศ บุญเรือง
138
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ผู ้ ช ่ ว ยศึ ก ษาธิ ก ารอ� า เภอจอมพระ ๓. เรียกชื่อวัดจอมพระ เพราะยัง นายบุ ญ เกิ ด นากดี อดี ต สมาชิ ก สภา ไม่มวี ดั ในเขตต�าบลจอมพระตัง้ ชือ่ นี ้ และเป็น ผูแ้ ทนราษฎร ๔ สมัย ได้รว่ มกันวางแผน/ วั ด ที่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตให้ ส ร้ า งและตั้ ง วั ด ใน โครงการสร้าง และขออนุญาตตัง้ วัดให้ถกู ปัจจุบัน ต้องตามกฎหมาย การปกครองล�าดับเจ้าอาวาส พุทธศักราช ๒๕๑๔ นายดิเรก- พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๑๒ – ๒๕๔๔ คุณนายโสภา ปัทมดิลก สร้างอุโบสถ พระครูวรรณรังษีโศภน (เขียน คุตตฺ ว�โส) และ ส� า รอง สร้ า งพระประธาน สร้ า งเมรุ ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าคณะอ�าเภอจอมพระ ชัว่ คราว ศาลา พักศพ ขุดสระน�า้ หอระฆัง พุทธศักราช ๒๕๔๔ ถึงปัจจุบัน ขนาดเขตวัดต่อไฟฟ้า และท�ารั้วรอบวัด พระครูสิริปริยัติธ�ารง (พิสิฐ ชุตินุธโร) ด�ารง ได้รับอนุญาตสร้างวัด วันที่ ต�าแหน่ง รองเจ้าคณะอ�าเภอจอมพระ ๑๓ เดือนกันยายน พุทธศักราช ๒๕๑๔ การศึกษา นายสิ น ดุ สิ ต สิ น สมาชิ ก สภาผู ้ แ ทน พุทธศักราช ๒๕๑๒ ถึงปัจจุบัน ราษฎร จังหวัดสุรินทร์ ในขณะนั้นเป็น จัดตัง้ ส�านักศาสนศึกษา แผนกธรรมและบาลี พระครูสิริปริยัติธ�ารง ผู้ขออนุญาตสร้างวัด พุทธศักราช ๒๕๒๐ ถึง ๒๕๓๖ จัด เจ้าอาวาสวัดจอมพระ ได้รับอนุญาตให้ตั้งวัด ตั้งโรงเรียนศึกษาผู้ใหญ่ รองเจ้าคณะต�าบลจอมพระ วั น ที่ ๒๙ เดื อ นพฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๑๗ พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๓๔ ถึ ง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ปัจจุบัน จัดตั้งศูนย์พระพุทธศาสนา เมื่อวันที่ ๒๙ เดือนพฤษภาคม วันอาทิตย์ พุทธศักราช ๒๕๑๘ มีขนาด กว้าง ๔๐ พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๓๖ ถึ ง เมตร ยาว ๘๐ ปัจจุบัน จัดตั้งศูนย์อบรมเด็กก่อน เรียกชื่อวัดและมูลเหตุ(วัดจอมพระ) เกณฑ์ ๑. เรียกชื่อวัดอ�าเภอ เพราะ พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๓๖ ถึ ง อยู่ในใกล้อ�าเภอและมีนายอ�าเภอเป็นผู้ ปั จ จุ บั น จั ด ตั้ ง โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ให้ความอุปถัมภ์ ธรรมแผนกสามัญศึกษา ๒. เรี ย กชื่ อ วั ด ใหม่ จ อมพระ เพราะเป็นวัดที่สร้างใหม่
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
ปักหมุดวัดเมืองไทย
139
วัดเกาะแก้วยานนาวา ต. สระขุด
วัดไทรงาม (ไพรงาม) ต. เมืองบัว
วัดบ้านทิพย์เนตร ต. กระเบื้อง
วัดประชาสังคม ต. เมืองบัว
วัดแสนสุข ต. ยะวึก
วัดศรัทธาวารินทร์ ต. ศรีณรงค์
วัดโพธิ์งามยะวึก ต. ยะวึก
วัดท่าลาด ต. ศรีณรงค์
เส้นทางบุญ 15 วัด
140
เส้นทางธรรม ชุมพลบุรี ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดแจ้งศรีโพธิ์ทอง ต. ชุมพลบุรี
วัดคันธารมย์นิวาส ต. นาหนองไผ่
วัดกลางชุมพลบุรี ต. ชุมพลบุรี
วัดสระบัว
ต. นาหนองไผ่
วัดศรัทธาวารี ต. ไพรขลา
วัดสระบัวงาม ต. ไพรขลา
วัดทุ่งสวาง (หนองเรือ) ต. หนองเรือ
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
141
วัดแจ้งศรีโพธิ์ทอง ต�ำบลชุมพลบุรี อ�ำเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
Wat Chaeng Si Pho Thong
Chumpon Buri Subdistrict, Chumpon Buri District, Surin Province
พระครูสิริธรรมวิสิฐ เจ้าอาวาสวัดแจ้งศรีโพธิ์ทอง / เจ้าคณะอ�าเภอชุมพลบุรี
142
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดแจ้งศรีโพธิ์ทองเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.๒๓๖๘ มีพระภิกษุจ�ำพรรษำเรื่ อ ยมำ หลำยปีในสมัยก่อนนัน้ ชำวบ้ำนตึกชุม หำกจะ ท�ำบุญต้องเดินทำงไปท�ำบุญที่วัดคันธำรมณ์ นิวำสบ้ำนดู่นำหนองไผ่ ซึ่งเป็นกำรล�ำบำก เพรำะสภำพพื้นที่หำกเป็น หน้ำฝนก็ต้องเดิน ลุยน�ำ้ ไป หำกเป็นหน้ำแล้งก็ดหี น่อย นัง่ เกวียน ไป หรือขีม่ ำ้ ไป เดินทำงก็สะดวกหน่อย ต่อมำ จนถึงช่วง พ.ศ.๒๔๕๒ ชำวบ้ำนตึกชุม น�ำโดย หลวงชัย และขุนจ�ำนงค์ ซึ่งเป็นผู้น�ำหมู่บ้ำน ได้พำชำวบ้ำนไปนิมนต์ หลวงพ่ออุปชั ฌำย์ถกึ อินฺทปญฺโญ จำก วัดกลำงชุมพลบุรี ได้มำ บูรณะวัดให้ดีขึ้น และจัดพระภิกษุ-สำมเณร มำจ�ำพรรษำ เพือ่ ให้ชำวบ้ำนได้ทำ� บุญ ต่อมำจึงได้มศี รัทธำญำติ โยม บริจำค ทีด่ นิ เพือ่ ขยำยเขตของวัดให้กว้ำงขวำง เพรำะ เดิมทีนั้นพื้นที่ยังน้อยอยู่ ผู้ที่บริจำคที่สวนให้ คือ ๑) คุณแม่จันดำ ภำส�ำรำญ ๒) คุณพ่อโขง - คุณแม่ตำ ภำส�ำรำญ ๓) คุณพ่อบุญมี - คุณแม่หลง สร้อยแสง
๔) คุณพ่อปั่น สนใจ ๕) คุณพ่อทอง เที่ยงตรง พ.ศ. ๒๕๕๐ คุณพ่อบุญมี สินสอน บริจำค เพิ่ ม เติ ม อี กส่ วนหนึ่ง และหลวงปู่อุป ัช ฌำย์ถึก อินทฺ ปญฺโญ ได้นมิ นต์หลวงปูอ่ ปุ ชั ฌำย์ โครตวงศ์ษำ จำกวัดคันธำรมณ์นิวำส บ้ำนดู่นำหนองไผ่ มำร่วม บูรณะปฏิสงั ขร เสนำสนะ และได้เป็นมิง่ ขวัญก�ำลัง ใจให้ชำวบ้ำน และจำกนั้น หลวงปู่อุปัชฌำย์ถึก อินฺทปญฺโญ ได้นินมนต์ หลวงพ่อแจ้ง จำกบ้ำน ตำกลำง มำจ�ำพรรษำ ส่วนกำรตั้งชื่อวัดนั้นเดิมที ชำวบ้ำนเรียกว่ำ วัดตึกชุม ต่อมำเรียกว่ำ วัดแจ้งตึกชุม ต่ อ มำอี ก ชำวบ้ ำ นว่ ำ ชื่ อ เรี ย กยำกจึ ง เรี ย กว่ ำ วัดแจ้งแสงอรุณ (เพรำะตอนเช้ำพระอำทิตย์ขึ้น จำกทุ่งนำจะเห็นแสงอรุณก่อน) ต่อมำได้เรียกใหม่ ว่ำ วัดแจ้งศรีโพธิ์ทอง
ปักหมุดวัดเมืองไทย
143
รายนามเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ๑) หลวงพ่ออุปัชฌำย์ถึก อินทฺปญฺโญ ๒) หลวงพ่อสุข ๓) หลวงพ่อแจ้ง (ครูบำแจ้ง) ๔) พระอธิกำรแสง ๕) พระอธิกำรบุญมี ๖) พระอธิกำรเห็น ๗) พระอธิกำรแหล่ ๘) พระอธิกำรสิงห์ ๙) หลวงพ่อม้ำ ๑๐) พระอธิกำรลำย (คอลำย มำจำกบ้ำนกำงกี่) ๑๑) พระอธิกำรบัว ๑๒) พระอธิกำรสนอง ๑๓) พระอธิกำรจอม ๑๔) หลวงปูช่ ม อดิชำคโร พ.ศ. ๒๕๑๒ - พ.ศ. ๒๕๒๖ ๑๕) พระอธิกำรหน ๑๖) พระอธิกำรประดิษฐ์ ๑๗) พระอธิกำรบัว ๑๘) พระอธิกำรสมศักดิ์ ๑๙) พระมหำ พรสวัสดิ์ ฐิตฺธมฺโม ปัจจุบันคือ พระครูสิริธรรมวิสิฐ เจ้ำอำวำสวัดแจ้งศรีโพธิ์ทอง / เจ้ำคณะ อ�ำเภอชุมพลบุรี
144
ปักหมุดวัดเมืองไทย
จำกพ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๖๓ ประวัตทิ งั้ หมด นี้ รวบรวมสอบถำมและฟังจดจ�ำบันทึก มำจำกผู้ เฒ่ำผูแ้ ก่มำเล่ำให้ฟงั มำโดยเรียบเรียงเมือ่ ครัง้ พ.ศ. ๒๕๔๑ เพื่อจดจ�ำประวัติวัด เพื่อขอพระรำชทำน วิสุงคำมสีมำ
ผู้ให้ข้อมูล ๑) คุณพ่อพรหมำ ภำส�ำรำญ ๒) คุณพ่อชำย ภำส�ำรำญ ๓) คุณพ่อบุญ ค�ำพำ ๔) คุณพ่อพงษ์ ระย้ำย้อย ๕) คุณพ่อทอง เที่ยงตรง ๖) คุณพ่อพุฒ เที่ยงตรง ๗) คุณพ่อบุญสุข เพชรพรำว ๘) คุณพ่อพำ ทุมทอง ๙) คุณพ่อบุญมี เพชรพรำว
พ.ศ. ๒๕๓๓ พ.ศ. ๒๕๔๑ พ.ศ. ๒๕๔๑ พ.ศ. ๒๕๔๑ พ.ศ. ๒๕๔๑ พ.ศ. ๒๕๔๑ พ.ศ. ๒๕๔๑ พ.ศ. ๒๕๔๑ พ.ศ. ๒๕๔๑
ประวัติพระครูสิริธรรมวิสิฐ ชื่ อ พระครู สิ ริ ธ รรมวิ สิ ฐ (นำมเดิ ม พรสวัสดิ์) เป็นชำวอ�ำเภอศีขรภูม ิ จังหวัดสุรินทร์ บรรพชำเป็นสำมเณรเมื่อวันที่ 14 พฤษภำคม ๒๕๑๔ อุปสมบทเมื่อวันที่ ๘ มีนำคม ๒๕๒๓ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ ำ อำวำสตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.๒๕๓๐ ถึงปัจจุบัน และปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเจ้ำคณะ อ�ำเภอชุมพลบุรี รูป ๕ ของอ�ำเภอชุมพลบุรี
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
145
วัดประชาสังคม
ต�าบลเมืองบัว อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
Wat Pracha Sangkom
Mueang Bua Subdistrict, Chumphon Buri District, Surin Province
พระครูสุตพัฒนธาดา (อดุลย์ อตุโล) เจ้าอาวาสวัดประชาสังคม 146
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประวัติความเป็นมา วัดประชาสังคม ตัง้ อยูเ่ ลขที ่ ๑๑ หมู่ที่ ๓ บ้านชาด ต�าบลเมืองบัว อ�าเภอ ชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ตั้งเมื่อพุทธศักราช ๒๔๖๑ โดยชาวบ้านได้จบั จองทีด่ นิ ไว้เพือ่ สร้างวัด ซึง่ มีหลวงพ่อสา สุขธัมโม อมตเถราจารย์ ผูเ้ รืองเวทย์แห่งวัดบ้านเหล่า ต�าบลเม็กด�า อ�าเภอพยัคฆภูมพิ สิ ยั จังหวัดมหาสารคาม ปฐมบู ร พาจารย์ ผู ้ ชี้ ส ถานที่ ก ่ อ ตั้ ง วั ด ประชาสั ง คมบ้ า นชาดเดิ ม ชื่ อ ว่ า วัดสว่างอารมณ์ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น วัดประชาสังคม เนื่องจากสถานที่ตั้งวัด เป็นศูนย์กลางของ อ�าเภอชุมพลบุรี มี เนื้อที่ทั้งหมด ๑๑ ไร่ ๙๖ ตารางวา โฉนด ที่ดินเลขที่ ๖๐๙๓ น.ส.๓ เลขที่ ๔๖๙๐
อาณาเขตของวัดประชาสังคม ทิศเหนือจดทุ่งนา ทิศตะวันออกจดทุ่งนา ทิศใต้จดถนนเข้าหมู่บ้าน ทิศตะวันตกจดถนน วั ด ประชาสั ง คมได้ รั บ พระราชทาน วิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ ๖ ตุ ล าคม ๒๕๓๒ กว้าง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร
เจ้าอาวาสปกครองวัด รูปที่ ๑ พระทอง ปกครองวัด พ.ศ. ๒๔๖๑ - ๒๔๖๖ รูปที่ ๒ พระมี ปกครองวัด พ.ศ. ๒๔๖๗ - ๒๔๗๒ รูปที่ ๓ พระทุย สายทอง ปกครองวัด พ.ศ. ๒๔๗๔ - ๒๔๗๙ รูปที่ ๔ พระเหม ปกครองวัด พ.ศ. ๒๔๘๐ - ๒๔๘๖ รูปที่ ๕ พระหนู ปกครองวัด พ.ศ. ๒๔๘๗ - ๒๔๘๙ รูปที่ ๖ พระสอน โอนไธสงค์ ปกครองวัด พ.ศ. ๒๔๙๐ - ๒๔๙๒ รูปที่ ๗ พระทุม ปโคทัง ปกครองวัด พ.ศ. ๒๔๙๒ - ๒๔๙๔ รูปที่ ๘ พระอธิการสิงห์ ญาณวีโร ปกครองวัด พ.ศ. ๒๔๙๕ - ๒๕๐๔ รูปที่ ๙ พระอธิการแวว ขันติโก ปกครองวัด พ.ศ. ๒๕๑๐ - ๒๕๑๖ รูปที่ ๑๐ พระครูกนั ตสีลากร (บุญจันทร์ กันตสีโล) ปกครองวัด พ.ศ. ๒๕๑๗ - ๒๔ มกราคม ๒๕๖๑ รูปที่ ๑๑ พระครูสุตพัฒนธาดา (อดุลย์ อตุโล) ปกครองวัด ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ - ปัจจุบัน
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย
ปักหมุดวัดเมืองไทย
147
วัดกลางชุมพลบุรี ต�าบลชุมพลบุรี อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
Wat Klang Chumphon Buri
Chumpon Buri Subdistrict, Chumpon Buri District, Surin Province
พระครูสิทธิปัญญาธร เจ้าอาวาสวัดกลางชุมพลบุรี 148
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดกลางชุมพลบุร ี พอทีม่ ผี เู้ ฒ่าผูแ้ ก่ บอกเล่าต่อกันมาพอจ�าได้ แต่ก่อนดินแดน ตรงกลางหว่ า งล� า น�้ า มู ล และล� า พลั บ พลา เรียกว่า ทุง่ กุลา อ�าเภอชุมพลบุร ี มีประวัตเิ ป็น มายาวนานเป็นแหล่งอริยธรรมแต่โบราณมี การขุดพบเครือ่ งปัน้ ดินเผาและพบการท�าศพ แบบโบราณมี อ ายุ เ ป็ น ๑๐๐๐ ปี หลาย หมู่บ้าน เช่น มีบ้านทัพค่าย หนองไห หนอง ขวาง ตึกชุม ไพรขลา พรมเทพ โนนสวรรค์ กระเบือ้ ง ขวาวโค้ง ส�าโรง โนนสูง ยะวึก เมือง ไผ่ เป็นต้น มีประวัติเกี่ยวกับพุทธศาสนาเคย มายังดินแดนนี้แต่พุทธกาล จนเรียกได้ว่าดิน แดนสุวรรณภูมิ วัดกลางชุมพลบุรี แต่ก่อนตั้งอยู่ บ้านทัพค่าย พ.ศ.๒๓๗๐ ได้เกิดกบฏเจ้า อนุวงศ์ เมื่อข่าวเจ้าอนุวงศ์เป็นกบฏได้ทราบ ถึงกรุงเทพ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้า อยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ให้สมเด็จ พระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ เป็นทัพหน้า พร้อมด้วย พระยาราชนิกุล พระยาก�าแหง พระยารองเมือง พระยาจันทบุรี คุมไพร่พล
ไปทางเมืองพระตะบองขึ้นไปเมืองสุรินทร์ เมือง สังขะ เกณฑ์เขมรป่าดงไปเป็นทัพขนาบกองทัพ กรุงเทพ ได้ตามตีกองทัพลาว ใต้จ�าปาสักตั้งอยู่ สุวรรณภูมิ ลาวกลางเวียงจันทน์ และลาวเหนือ หลวงพระบาง เรื่อยไปจนถึงเวียงจันทน์และตีเมือง เวียงจันทน์แตกเมื่อพุทธศักราช ๒๓๗๐ พ.ศ.๒๓๖๘ ได้เดินทัพผ่านชุมพลบุรีเห็น ชั ย ภู มิ ที่ เ หมาะและเห็ น ชาวบ้ า นอุ ด มสมบู ร ณ์ จึงหยุดทัพหาเสบียง พร้อมกับมีวัดอยู่ในโนนที่สูง ใกล้น�้าดื่มน�้าใช้ จึงเข้าไปหาเจ้าอาวาส ชื่อหลวงพ่อ อิน เพื่อขออนุญาตตั้งค่ายพักทหาร ท่านก็ทรง อนุญาตให้ตั้งค่ายได้ เพื่อเป็นก�าลังใจให้กับทหารที่ เดินทางมาไกล หลังจากท�าภารกิจเสร็จ ช่วงพัก ทหารก็เข้าไปหาท่านเพือ่ ขอของดีไว้ปอ้ งกันตัวตาม ความเชือ่ ของชาวพุทธ ท่านก็อนุเคราะห์ตามสมควร จนเตรียมเสบียงหาอาวุธเรียบร้อย ก่อนเดินทางต่อ ไปนั้นตอนเช้าทหารก็รวมพลกันที่โนนขามด้านทิศ ตะวันออกวัดบ้านทัพค่ายประมาณ ๑ กิโลเมตร ซึง่ เป็น ท�าเลทีก่ ว้างใหญ่ จึงไปรวมพลทีน่ นั้ เรียกว่า โนนขาม (ชุมพล) หัวหน้าก็คัดเอาทหารที่มีก�าลัง แข็งแรงแล้วเดินทางต่อไป ส่วนทหารที่อ่อนล้าไม่ สบายมีครอบครัวก็ให้ตงั้ บ้านเรือนอยูบ่ า้ นทัพค่ายที่ นั้นเอง พอทหารไปแล้วชาวบ้านโนนขามว่าบ้าน ชุมพล อยูม่ าไม่นานชาวบ้านก็ได้ไปนิมนต์หลวงพ่อ ย้ายจากบ้านทัพค่ายมาอยูบ่ า้ นชุมพล ส่วนหลวงพ่อ เห็นว่าทีอ่ ยูป่ จั จุบนั คับแคบ พร้อมกับวัดเดิมมีพระอยูแ่ ล้ว ก็เลยย้ายมาอยูท่ โี่ รงเรียนบ้านชุมพลบุรปี จั จุบนั อยู่ ทิศตะวันออกของหมูบ่ า้ น อยูม่ าประมาณ พ.ศ.๒๔๓๐ หลวงพ่อก็มรณภาพและได้นมิ นต์พระถึก อินทปญฺโญ มาอยู ่ ท ่ า นก็ ข ยั น หมันเพียร พาญาติโยมพัฒ นา วัดวาอาราม โรงเรียน และเห็นว่าที่อยู่ปัจจุบันเป็น ที่เหมาะแก่ทางราชการ ท่านจึงยกที่ให้ตั้งเป็นโรง พัก โรงเรียนท่านก็ได้ย้ายไปอยู่ทางทิศอีสานของ หลักเมืองให้เหมาะกับต�าราในการสร้างวัด พุทธศักราช ๒๔๒๕ คนเขมรเมืองสุรินทร์ ได้อพยพครอบครัวเป็นอันมาก ข้ามไปตั้งอยู่ฟาก ล�าน�้ามูลข้างเหนือ มีบ้านทัพค่าย หนองไห หนอง ขวาง ตึ ก ชุ ม ไพรขลา พรมเทพ โนนสวรรค์ กระเบื้อง ขวาวโค้ง ส�าโรง โนนสูง ยะวึก เมืองไผ่ เป็นต้น พระยาสุรินทรภักดีศรีไผทสมันต์ (ม่วง) จึงได้มีใบบอก ขอตั้งบ้านทัพค่ายเป็นเมือง ขอพระ วิ เ ศษราชา (ทองอิ น ) เป็ น เจ้ า เมื อ ง วั น อั ง คาร ปักหมุดวัดเมืองไทย
149
ขึ้น ๑๐ ค�่า เดือน ๘ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ให้ตั้งบ้านทัพค่าย เป็นเมืองชุมพลบุรี ให้พระวิเศษราชา (นัยหนึ่งว่า หลวงราชวรินทร์ ทองอิน) เป็นพระฤทธิรณยุทธ เจ้าเมืองและโปรดเกล้า ให้ตั้งท้าว เพชรเป็นที่ปลัด ให้ท้าวกลิ่นเป็นที่ยกกระบัตร ทั้งสองคนนี้เป็น พีช่ ายพระฤทธิรณยุทธ (ทองอิน) และท้าวนุด บุตรพระฤทธิรณยุทธ (ทองอิน) เป็นผู้ช่วยเมืองชุมพลบุรี พ.ศ.๒๔๔๕ หลวงพ่อถึกได้ย้ายไปตั้งวัดใหม่ ที่วัดกลาง ชุมพลบุร ี ปัจจุบนั หลวงพ่อถึก อินทฺ ปญฺโญ ท่านได้นา� ญาติโยมสร้าง วัดใหม่ โดยการได้รับที่ดินบริจาค โดยโยม ตาจันทร์ ยายแปม จิตคง พร้อมบุตรหลาน ได้บริจาคที่เพิ่มเติมในการสร้างวัด ท่านได้ พาญาติโยมสร้างกุฏิไม้หลังใหญ่ น�าพาพระสงฆ์ชาวบ้านไปเลื่อยไม้ ในป่าดงสะทอ ไม้ตะเคียนทีก่ ดุ น�าแสบ น�ามาสร้างอุโบสถ ไปหาหอย ในแม่น�้ามูลมาเผาท�าปูนสร้างอุโบสถ สร้างศาลาการเปรียญ น�าพา ญาติโยม สร้างสะพานไปน�้ามูลไปบ้านทุ่งวัง ท่าเรือ สร้างโรงเรียน บ้านชุมพลบุรีปัจจุบัน ท่านได้พัฒนาวัดจนเจริญรุ่งเรือง มีลูกศิษย์ มากมายในสมัยนั้น จนมีคนกล่าวกันว่าท่านมีคุณวิเศษ ไม่ว่าเดิน ตากฝนไม่เปียก เดินทางไกลท�าให้ใกล้ได้ และท่านได้มีช้างไว้เดิน ทางไปไกลๆ เวลาไปกิจนิมนต์ และทางคณะสงฆ์ผปู้ กครองได้ขอให้ ท่านเป็นเจ้าคณะอ�าเภอท่านก็ไม่รับ มอบให้หลวงพ่อเทิ่งบ้านตลุง รับไป ครั้งที่ ๒ เขาก็นิมนต์อีกท่านก็ไม่รับอีก มอบให้หลวงพ่อเกิด บ้านยางรับไปอีก ท่านรับเป็นแค่อปุ ชั ฌาย์ ท่านจึงมีลกู ศิษย์มากมาย จนถึง พ.ศ.๒๕๐๒ ท่านก็มรณภาพ สิริอายุ ๗๙ ปี ๓๕ พรรษา
150
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ท�าเนียบเจ้าอาวาสวัดกลางชุมพลบุรี รูปที่ ๑ พ.ศ.๒๓๗๐ รูปที่ ๒ พ.ศ.๒๔๑๐ รูปที่ ๒ พ.ศ.๒๔๔๕ รูปที่ ๓ พ.ศ.๒๕๐๓ รูปที่ ๔ พ.ศ.๒๕๐๔ รูปที่ ๕ พ.ศ.๒๕๐๕ รูปที่ ๖ พ.ศ.๒๕๑๐ รูปที่ ๗ พ.ศ.๒๕๑๒ รูปที่ ๘ พ.ศ.๒๕๒๖ รูปที่ ๙ พ.ศ.๒๕๓๓ รูปที่ ๑๐ พ.ศ.๒๕๔๗
หลวงพ่ออิน อธิปุญฺโญ หลวงพ่อฤทธิ ปญฺญาวุฑฺโฒ พระอุปัชฌาย์ถึก อินฺทปญฺโญ พระมหามณี สิริจนฺโท พระสุข สุจิตฺโต พระอุ่น ชุตินฺธโร พระวิจิตร วิทโร พระมหาคง จิตฺตทนฺโต พระวันทา โสภโณ (พระครูประจักรธรรมประเวท) พระขรรค์ชัย กนฺตสีโล (พระครูมงคลสีลาจารย์) พระสัมฤทธิ์ ปญฺญาธโร (พระครูสิทธิปัญญาธร)
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
151
วัดเกาะแก้วยานนาวา ต�าบลสระขุด อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
Wat Koh Kaew Yannava
Sra khut Subdistrict, Chumphonburi District, Surin Province
ที่ตั้งวัดเก่า เดิ ม วั ด บ้ า นม่ ว งน้ อ ยตั้ ง อยู ่ ท าง ทิศตะวันตกของหมู่บ้าน มีลักษณะเป็นเกาะ ล้อมรอบไปด้วยน�้า อยู่ตรงกลางระหว่างห้วย ล�าพังชูและหนองเลิง ต้องสัญจรเข้าออกทาง เรือเท่านั้น (ต่อมาจึงมีการสร้างสะพานไม้) ชาวบ้ า นจึ ง ขนานนามว่ า “วั ด เกาะแก้ ว ” โดยมีผู้ใหญ่บ้านพร้อมด้วยชาวบ้านช่วยกัน สร้างวัดแห่งนี้ขึ้นในราวปี พ.ศ. ๒๔๙๐
ที่ตั้งวัดใหม่
พระมหาวิษณุ กนฺตาจารี (เดชบุญ) ป.ธ. ๙ เจ้าอาวาสวัดเกาะแก้วยานนาวา
152
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ต่อมา ทางราชการได้ยกบ้านสระขุด ขึ้นเป็นต�าบลสระขุด แยกการปกครองออก จากต�าบลเมืองบัว ก�านันคนแรกของต�าบล สระขุด คือ ก�านันพรมมา พุชะโลนา ซึ่งเป็น ชาวบ้ า นม่ ว งน้ อ ย และเป็ น ผู ้ ผ ลั ก ดั น ให้ บ้านม่วงน้อยตั้งโรงเรียนประถมศึกษา ซึ่งที่ ผ่านมา เด็กๆบ้านม่วงน้อยต้องเดินเท้าไปกลับ ร่วม ๔ กิโลเมตรเพือ่ ไปเรียนหนังสือทีโ่ รงเรียน บ้านสระขุด การเดินทางไปเรียนนัน้ ค่อนข้างล�าบาก
ยิ่งถ้าเป็นหน้าฝน เด็ก ๆ ต้องเดินลุยน�้าไปโรงเรียน ซึง่ เสีย่ งต่ออันตรายไม่นอ้ ย เมือ่ ได้ปรึกษาหารือกันทัง้ ชาว บ้านและพระสงฆ์ จึงมีมติสละที่วัดให้ตั้งโรงเรียนประถม ศึกษา โดยย้ายวัดมาตัง้ อยูท่ า้ ยหมูบ่ า้ นด้านทิศตะวันออก ซึง่ มีชาวบ้านได้รว่ มกันบริจาคทีน่ าคนละแปลงเล็ก ๆ รวม เป็ น เนื้ อ ที่ ส ามไร่ เ ศษ และได้ ส ร้ า งเสนาสนะตั้ ง เป็ น ส�านักสงฆ์ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๑๓ เป็นต้นมา ส่วนโรงเรียน ประถมศึกษาได้มีชื่อว่า โรงเรียนบ้านม่วงน้อย ซึ่งตั้งอยู่ที่ เกาะแก้วที่วัดเก่า โดยมีนายสิริวัฒน์ สุขหนองบึง ผู้ซึ่ง บุกเบิกด�าเนินเรื่องตั้งโรงเรียนได้เป็นรักษาการครูใหญ่ คนแรก กาลเวลาล่วงมาหลายสิบปีจนถึงปี พ.ศ.๒๕๔๗ สามเณรวิษณุ เดชบุญ ชาวบ้านม่วงน้อย ได้ไปศึกษา พระปริ ยั ติ ธ รรมที่ ส� า นั ก เรี ย นวั ด สุ ทั ศ นเทพวราราม กรุงเทพมหานคร จนส�าเร็จเปรียญธรรม ๖ ประโยค ในปี พ .ศ.๒๕๕๑ ตลอดระยะเวลาที่ พ� า นั ก อยู ่ ท่ี วัดสุทัศนเทพวรารามแห่งนี้ ได้มีโอกาสศึกษาหลักธรรม หลายแขนง ทั้งแผนกธรรม บาลี และการฝึกเทศนา ทั้งได้มีโอกาสเรียนภาษาอังกฤษร่วมด้วย และที่ส�าคัญ อย่างยิ่งคือ ได้มีโอกาสถวายการอุปัฏฐากพระอุปัชฌาย์ อาจารย์ พระเถรานุเถระทั้งในและต่างประเทศ และด้วย อานิ ส งส์ ดั ง กล่ า วจึ ง ได้ มี สั ม พั น ธไมตรี อั น ดี ง ามกั บ คณะสงฆ์ศรีลังกานับตั้งแต่พระมหานายกะประมุขสงฆ์ สูงสุดลงมา กาลเวลาล่วงเลยมา ถึงวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๑ สามเณรวิ ษ ณุ เดชบุ ญ ป.ธ.๖ จึ ง ได้ รั บ การ อุปสมบท ณ พัทธสีมา พระอุโบสถวัดสุทัศนเทพวราราม โดยมีพระวิสุทธาธิบดี (ต่อมาเลื่อนสมณศักดิ์เป็นสมเด็จ พระพุทธโฆษาจารย์ วีระ ภทฺทจารี ป.ธ.๙) เจ้าอาวาสเป็น พระอุปชั ฌาย์พระสิรสิ ทุ ศั น์ธรรมาภรณ์เป็นกรรมวาจาจารย์ และพระธรรมรัตนดิลก (ปัจจุบันเป็นพระวิสุทธาธิบดี) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ประชุมสงฆ์ร่วม ๓๐ รูป โดยมี พระมหานายกะ ทัง้ นิกายสยามอุบาลีวงศ์ และนิกายอมระ ปุระเข้าร่วมหัตถบาส โดยการนิมนต์ของพระวิสุทธาธิบดี เจ้าอาวาสวัดสุทัศนฯ (ในขณะนั้น)
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (วีระ ภทฺทจารี ป.ธ. ๙) ปักหมุดวัดเมืองไทย
153
ด้วยประสงค์เพือ่ สร้างสัมพันธไมตรีอนั ดีงามด้านพุทธศาสนาของทัง้ สอง ประเทศ ไทย-ศรีลงั กา ให้ยงิ่ ๆขึน้ ไป และเพือ่ เป็นเกียรติแก่วดั สุทศั นเทพ วราราม ซึ่งก่อตั้งเป็นพระอารามหลวงครบ ๒๐๐ ปี ในอุปสมบทกรรม ครัง้ นี ้ พระมหาวิษณุ ได้รบั ฉายาว่า “กนฺตาจารี” และเพือ่ เป็นนิมติ หมาย และสัมพันธไมตรีอันดีงามของพระพุทธศาสนาเถรวาทของไทยและ ศรีลังกา จึงได้มีโครงการสร้างพระธาตุเจดีย์ขึ้นที่วัดเกาะแก้วยานนาวา โดยมีพระวิสุทธาธิบดี (สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์) เจ้าอาวาสวัดสุทัศน เทพวรารามเป็นผู้ประเดิมทุนสร้าง ๑๐๐,๐๐๐ บาท พระธรรมโมลี เจ้าคณะจังหวัดสุรนิ ทร์ (ในขณะนัน้ ) เป็นประธานดูแลการก่อสร้าง และ ได้ ป ระกอบพิ ธี ว างศิ ล าฤกษ์ ในวั น ที่ ๓๐ มิ ถุ น าน ๒๕๕๑ โดยมี พระมหานายกะเถระ พระธรรมโมลี เจ้ า คณะจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ แ ละ นายพูนศักดิ ์ ประณุทนรพาล ผูว้ า่ ราชการสุรนิ ทร์ เป็นประธาน ประกอบ พิธีดังกล่าวหลังจากพระมหาวิษณุได้รับการอุปสมบทเพียงแค่วันเดียว และได้รับต�าแหน่งเป็นประธานที่พักสงฆ์ในเวลาต่อมา พระเดชพระคุณอัครมหาบัณฑิต ดาวุลเดนะ ญาณิสสระ มหานายกะเถระ อมระปุระนิกาย (ประมุขสงฆ์นิกายพม่า) ประเทศศรีลงั กา มอบพระบรมสารีรกิ ธาตุ และหน่อพระศรีมหาโพธิ์แด่วัดเกาะแก้ว ยานนาวา โดยพระธรรมโมลี เป็นประธาน รับมอบ เมื่อวันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๑ ณ กรุงโคลัมโบ ประเทศศรีลังกา พระมหานายกะ อมระปุระนิกาย (ประมุขสงฆ์นิกายพม่า) ประเทศศรีลังกา เจ้าคณะจังหวัดสุรนิ ทร์ ผูว้ า่ ราชการจังหวัด สุรินทร์ ผู้อ�านวยการส�านักงานพระพุทธ ศาสนาจังหวัดสุรนิ ทร์ นายอ�าเภอชุมพลบุร ี ประธานสภาวั ฒ นธรรมอ�า เภอชุมพลบุร ี และผู้ทรงเกียรติอีกหลายท่าน ได้เมตตา ร่วมกันวางศิลาฤกษ์พระธาตุเจดีย ์ เมือ่ วันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑ พระมหานายกะ อมระปุ ร ะ นิ ก า ย ( ป ร ะ มุ ข ส ง ฆ ์ นิ ก า ย พ ม ่ า ) ประเทศศรีลังกา ประพรมน�้าพระพุทธ มนต์ที่แผ่นศิลาฤกษ์ และปลูกหน่อพระ ศรีมหาโพธิจ์ ากเมืองอนุราธปุระ ประเทศ ศรีลังกา
154
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ด้วยตามกฎระเบียบบ้านเมืองส�านักสงฆ์ จักต้องมีเนื้อที่ไม่ต�่ากว่า ๖ ไร่ จึงจะตั้งเป็นวัดได้ นายนอ เดชบุญ (โยมปูข่ องพระมหาวิษณุฯปฐมเจ้า อาวาส) ซึง่ มีที่นาจ�านวน ๕ ไร่เศษ ติดกับทีพ่ ักสงฆ์ ด้านทิศเหนือ ได้มกี ศุ ลศรัทธาอย่างแรงกล้า สละที่ นาแปลงดังกล่าวถวายเพื่อสร้างวัด เมื่อรวมกับ ที่ดินเดิมของวัดจึงเป็นเนื้อที่ ๘ ไร่เศษ ซึ่งเพียงพอ ต่อการสร้างและตัง้ วัด นายนิคม เดชบุญ (โยมบิดา ของพระมหาวิษณุฯ ไวยาวัจกรวัด) จึงได้ดา� เนินการ ขอสร้างวัดและตั้งวัด ตามล�าดับ และในที่สุดจึงได้ รั บ การประกาศตั้ ง วั ด จากส� า นั ก งานพระพุ ท ธ ศาสนาแห่งชาติ มีนามว่า “วัดเกาะแก้วยานนาวา” ประกาศ ณ วันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๕๕ โดยมี พระมหาวิษณุ กนฺตาจารี (เดชบุญ) ป.ธ.๘ (ในขณะ นั้น) ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาสรูปแรกเป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน
Facebook : WAT KOH KAEW YANNAVA
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
155
วัดคันธารมย์นิวาส
ต�าบลนาหนองไผ่ อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
Wat Khantharom Niwat
Na Nong Pha Subdistrict Chumphon Buri District Surin Province
วัดคันธารมย์นิวาส ตั้งอยู่เลขที่ ๗๒ หมู่ที่ ๑
ต.นาหนองไผ่ อ.ชุมพลบุรี จ.สุรินทร์ ตั้งอยู่สายชมพลบุรี-ท่าตูม น�าโดยหลวงปู่พระครูอุปัชฌาย์ โคตรรวงสา ตั้งวัดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๓ และเริ่มสร้างเสนาสนะ สถานต่าง ๆ ดังนี้ - อุโบสถ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๐ ได้รับวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๓ โดยการน�าของพระครูนิเทศธรรมาจารย์ อดีต เจ้าคณะอ�าเภอชุมพลบุรี เป็นผู้สร้าง
156
ปักหมุดวัดเมืองไทย
- พระพุทธรูป คือ หลวงปูพ่ ระครูอปุ ชั ฌาย์ โคตรรวงสา สร้าง เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๔ - ฌาปนสถาน สร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๕ - เจดีย์สร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๐ บรรจุอัฐิพระครูอุปัชฌาย์ โคตรรวงสา - กุฏิสงฆ์ สร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๓ - ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๕
ล�าดับเจ้าอาวาส ๑. หลวงปู่พระครูอุปัชฌาย์ โคตรวงสา พ.ศ. ๒๔๔๔ - ๒๔๖๔ ๒. พระครูชุมพลบุรี คณารักษ์ พ.ศ. ๒๔๖๐ - ๒๔๗๐ ๓. พระพรม พ.ศ. ๒๔๗๐ - ๒๔๗๒ ๔. พระสีห์ พ.ศ. ๒๔๗๒ – ๒๔๘๐ ๕. พระครูนิเทศธรรมาจารย์ พ.ศ. ๒๔๘๐ – ๒๕๑๖ อดีตเจ้าคณะอ�าเภชุมพลบุรี ๖. พระทองใส สุนทโร พ.ศ. ๒๕๑๖ - ๒๕๒๓ ๗. พระวีรวัฒน์ วิสารโท พ.ศ. ๒๕๒๓ - ๒๕๒๘ ๘. พระกอ ปภงฺกโร พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๓๓ ๙. พระครูสุทธิธรรมกันต์ พ.ศ. ๒๕๓๓ - ปัจจุบัน
พระครูสุทธิธรรมกันต์ เจ้าอาวาสวัดคันธารมย์นิวาส
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
157
วัดท่าลาด
ต�าบลศรีณรงค์ อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
Wat Tha Lat
Si Narong Subdistrict, Chumpon Buri District, Surin Province
พระครูวรดิตภัธรรโมภาส เจ้าอาวาสวัดท่าลาด 158
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดท่าลาด ตัง้ วัดเมือ่ ๓๑ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เนื่ อ งด้ ว ยวั ด ท่ า ลาด ตั้ ง อยู ่ บ ้ า น เลขที่ ๓๒ บ้านท่าลาด ต�าบลศรีณรงค์ อ�าเภอ ชุ ม พลบุ รี จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ โดยการสร้ า งขึ้ น ใน พระพุทธศาสนา โดย พระมหา โพธิล์ อ้ ม ซึง่ อยูบ่ า้ น เลขที่ ๔๔ บ้านท่าลาด หมู่ ๓ ต�าบลศรีณรงค์ อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ เป็นผู้ก่อตั้งวัดใน พระพุทธศาสนา โดยวัดท่าลาดอยูห่ า่ งจากหมูบ่ า้ น ต่าง ๆ มากการสัญจรไปท�าบุญของประชาชน ล�าบากมากในการเดินทางสมัยเก่าก่อน ถนนทัว่ ไป ไม่สะดวก และหมู่บ้านที่ประชาชนไปท�าบุญทาง ด้านทิศเหนือนั้นอยู่ห่างกันมาก เช่น บ้านส�าโรง หมู่ ๑ ห่าง ๓ กิโลเมตร บ้านหัวนาค�า หมู่ ๔ ห่าง ๔ กิโลเมตร ทางทิศตะวันออก ห่างจากบ้านทนง ๒ กิโลเมตร ทิศตะวันตกห่างจากบ้านกระเบื้อง หมู ่ ๕ ประมาณ ๓ กิโลเมตรด้านทิศใต้ตดิ แม่นา�้ มูล ดังนั้นจึงเดือดร้อนในการท�าบุญ นายสิงห์ อริยศรี นายแพง บุตรรอด ในขณะนั้นจึงได้ร่วมบริจาค ทีด่ นิ ให้กอ่ สร้างวัด มีเนือ้ ทีร่ ว่ มกัน ๖ ไร่ ๓ งาน ๗๕ ตารางวา ดังปรากฏในโฉนดทีด่ นิ นัน้ แล้ว ทีม่ าของ ประวัติ สอบถามจากท่านผู้มีอายุ ในหมู่บ้านที่มี
ประสบการณ์ แ ละความจ� า ได้ เจ้ า ของประวั ต ิ นายหา โพธิ์ล้อม อายุ ๘๙ ปี วันที่ให้ถ้อยค�า ๔ มิถุนายน ๒๕๓๘
การบริหารและการปกครอง ล�าดับที่ ๑ หลวงพ่อพรม สุจิตฺโต ตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๗๙ ถึง พ.ศ.๒๕๑๐ ล�าดับที่ ๒ พระอาจารย์ไทย มหาปุณโย ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๑๑ ถึง พ.ศ.๒๕๑๔ ล�าดับที่ ๓ พระอาจารย์ด�ามี สีลเตโช ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๑๓ ถึง พ.ศ.๒๕๑๕ ล�าดับที่ ๔ หลวงพ่อบูรณ์ ธมฺมวโร ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๑๖ ถึง พ.ศ.๒๕๓๙ ล�าดับที่ ๕ พระครูวรดิตภัธรรโมภาส ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๔๐ ถึง พ.ศ.๒๕๖๓
ปักหมุดวัดเมืองไทย
159
ข้อมูลเจ้าอาวาส นาม พระครู ว รดิ ต ภั ธ รรโมภาส ฉายา วราโภ อายุ ๖๐ พรรษา ๔๐ อุปสมบท วันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๓ ต� า แหน่ ง หน้ า ที่ ท างคณะสงฆ์ (ปัจจุบัน) ๑. ได้รบั การแต่งตัง้ ให้ดา� รงต�าแหน่ง เจ้าคณะต�าบลเมืองบัว เขต ๒ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒. ได้รบั การแต่งตัง้ ให้ดา� รงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสวัดท่าลาด พ.ศ. ๒๕๕๓
ข้อมูลวัด ตัง้ อยูบ่ า้ นท่าลาดเลขที ่ ๓๖ หมู ่ ที่ ๓ ต� า บลศรี ณ รงค์ อ� า เภอ ชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ ที่ดินที่ตั้ง วัดมีเนื้อที่ ๖ ไร่ ๓ งาน ๗๕ ตารางวา
อาคารเสนาสนะ อุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ ศาลาบ�าเพ็ญกุศล
160
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
161
วัดทุ่งสว่างหนองเรือ
ต� า บลไพรขลา อ� า เภอชุ ม พลบุ รี จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Thung Sawang Nong Ruea
Phrai Khla Subdistrict, Chumphon Buri District Surin Province 162
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ความเป็นมา บริเวณทีต่ งั้ วัดทุง่ สว่างหนองเรือปัจจุบนั เดิมเป็น กรรมสิทธิข์ องคุณพ่อเหง่า กับ คุณแม่พา เปนะนาม พร้อม ทั้งบุตรธิดา ๕ คน คือ คุณแม่ฝา เปนะนาม สมรสกับ คุณพ่อพุ้ม คารศรี คุณแม่เหมน เปนะนาม สมรสกับ คุณพ่อวัน วันลักษณ์ คุณแม่ลอด เปนะนาม สมรสกับ คุณพ่อเตี้ย คุณแม่น้อย เปนะนาม สมรสกับ คุณพ่อลุน เหลาคม คุณพ่อมา เปนะนาม สมรสกับ คุณแม่คาร เปนะนาม เดิมให้ใช้เป็นที่พักสงฆ์ ต่อมาในปีพุทธศักราช ๒๔๕๖ ได้บริจาคทีด่ นิ แปลงนีใ้ ห้สร้างวัด ซึง่ มีเนือ้ ที ่ ๑๒ ไร่ โดยประมาณ เริ่มมีการปลูกสร้าง อาคาร สถานที่ ให้เป็นที่ อยู่จ�าพาษาแก่พระสงฆ์ และเพื่อประกอบศาสนพิธี ทาง ด้านศาสนา ให้กับชาวบ้านหนองเรือ บ้านโนนพิลา และ หมูบ่ า้ นใกล้เคียง และยังได้บริจาคทีด่ นิ บริเวณทีต่ งั้ องค์การ บริหารส่วนต�าบลหนองเรือ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุข ภาพต�าบลหนองเรือ ในปัจจุบัน วัดท่าสว่างหนองเรือ (เดิม) ตั้งอยู่บ้านเลขที่ ๓๒ หมูท่ ี่ ๕ ต�าบลไพรขลา อ�าเภอชุมพลบุร ี จังหวัดสุรนิ ทร์ โดย หลวงพ่อพิบูลย์ คุณแม่หล่า เป็นครอบครัวแรกที่น�าพา ชาวบ้านเริ่มท�าการก่อสร้างวัดขึ้น เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๔ โดย มีพระอาจารย์อั๋น สุขแก้ว เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ล�าดับเจ้าอาวาสวัดทุ่งสว่างหนองเรือ ๑. พระอาจารย์อั๋น สุขแก้ว ๒. พระอาจารย์จันทร์ทา โพธิ์จิต ๓. พระอาจารย์ตา ปัจจัยยัง ๔. พระอาจารย์เทียน มาลาล�้า ๕. พระอาจารย์โดน สุขบันเทิง ๖. พระอาจารย์นุย สังโสมา ๗. พระอาจารย์สี คารศรี ๘. พระครูถาวร สมณะวัตร เสถียร (อ้าย) อิสสโร มารศรี เป็นเจ้าอาวาส เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๔ - พ.ศ. ๒๕๔๒ ๙. พระครูอุทัย ชินวงศ์ ถวัลย์ ชินวังโส แก้วหอม เป็นเจ้าอาวาส เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๒ จนถึงปัจจุบัน
ประวัติพระครูอุทัย ชินวงศ์ พระครู อุ ทั ย ชิ น วงศ์ (ถวั ล ชิ น วั ง โส แก้ ว หอม) วิทยฐานะ น.ธ.เอก สถานะเดิม ชื่อ ถวัล แก้วหอม เกิดเมื่อวัน จันทร์ที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๘ บิดาชื่อนายสอน แก้วหอม มารดาชื่อนางบัวพันธ์ แก้วหอม เกิดที่บ้านเลขที่ ๘๙ บ้านดง ยาง หมู่ที่ ๗ ต�าบลไพรขลา อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ บรรพชา อุปสมบท เมือ่ วันจันทร์ ที ่ ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๐ ขึน้ ๑๕ ค�า่ เดือน ๖ ปีเถาะ ณ วัดทุ่งสว่างหนองเรือ ต�าบลไพรขลา อ�าเภอ ชุมพลบุร ี จังหวัดสุรนิ ทร์ โดยมีพระครูถาวรสมณวัตร เจ้าอาวาส วัดทุ่งสว่างหนองเรือ เป็นพระอุปัชฌาย์ ให้ วิทยฐานะ ๑. พ.ศ. ๒๕๑๙ ส�าเร็จการศึกษาประถมศึกษาปีที่ ๔ จากโรงเรียนบ้านหนองเรือ ๒. พ.ศ. ๒๕๒๑ สอบไล่ได้ธรรมะชั้นเอก จากส�านัก ศาสนศึ ก ษาวั ด ทุ ่ ง สว่ า งหนองเรื อ ต� า บลหนองเรื อ อ� า เภอ ชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ ๓. พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้รบั การแต่งตัง้ ให้ พระครูอทุ ยั ชินวงศ์ ฉายา ชินวังโส อายุ ๔๕ ปี พรรษา ๒๔ ให้เป็น พระกรรมวาจาจารย์ วัดทุ่งสว่างหนองเรือ ต�าบลหนองเรือ อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัด สุรินทร์ เมื่อวันที่ ๒๑ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓ ๔. พ.ศ. ๒๕๕๔ ส�าเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น จากศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศัย อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ ๕. พ.ศ. ๒๕๕๖ ส�าเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย จากศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศัย อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
พระครูอทุ ยั ชินวงศ์ เจ้าอาวาสวัดทุง่ สว่างหนองเรือ
ปักหมุดวัดเมืองไทย
163
งานปกครอง พ.ศ.๒๔๔๒ ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น เจ้าอาวาสวัดทุง่ สว่างหนองเรือ ต�าบลหนองเรือ อ�าเภอ ชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ เมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๔๒ พ.ศ. ๒๔๔๒ ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น กรรมการสอบสนามหลวงแผนกธรรม สมณศักดิ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้รับการแต่งตั้งสมณศักดิ์ ใน ราชทินนาม พระครูอุทัย ชินวงศ์ เจ้าอาวาสชั้นโท พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับการแต่งตั้งสมณศักดิ์ ใน ราชทินนานาม พระครูอุทัย ชินวงศ์ เจ้าอาวาสชั้นเอก ล�าดับการก่อสร้าง ศาสนาสถาน ๑. ปี พ.ศ. ๒๔๕๖ สร้างกุฏขิ นาดเล็ก ๑ หลัง จ�านวน ๒ ห้องนอน ๒. ปี พ.ศ. ๒๔๖๕ สร้างกุฏิขนาดกลาง ๑ หลัง จ�านวน ๓ ห้องนอน ๓. ปี พ.ศ. ๒๔๘๐ สร้างกุฏิอาคารไม้ขนาด ใหญ่ ๑ หลัง จ�านวน ๗ ห้องนอน ๔. ปี พ.ศ. ๒๔๘๗ สร้างอุโบสถกลางน�า้ ๑ หลัง ๕. ปี พ.ศ. ๒๔๘๗ สร้างอุโบสถขนาดใหญ่ ๖. ปี พ.ศ. ๒๕๑๔ สร้างศาลาการเปรียญไม้ ขนาดใหญ่ ๑ หลัง จ�านวน ๗ ห้องนอน ๗. ปี พ.ศ. ๒๕๑๖ สร้างซุ้มประตูทางเข้าวัด ๑ แห่ง ๘. ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ สร้างอาคารคอนกรีต เสริมเหล็กขนาดใหญ่ ๑ หลัง จ�านวน ๙ ห้องนอน ๙. ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ สร้างฌาปนสถานเมรุ ๑ หลัง ๑๐. ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ สร้างศาลาบ�าเพ็ญ กุศล ๑ หลัง ๑๑. ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ จัดอาคารสถานที่ เพื่อ บ�าเพ็ญกุศลศพพระครูถาวรสมณวัตร อดีตเจ้าอาวาส ๑๒. ปี พ.ศ. ๒๕๔๓ สร้างเจดีย์บรรจุอัฐิ ของพระครูถาวร สมณวัตร ๑๓. ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ จัดอาคารสถานที่ เพื่อ จัดงานพระราชทานเพลิงศพ พระครูถาวร สมณวัตร อดีตเจ้าอาวาสวัดทุ่งสว่างหนองเรือ ๑๔. ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ สร้างศาลาการเปรียญ
164
ปักหมุดวัดเมืองไทย
อาคารคอนกรีตเสริมเหล็กขนาดใหญ่ ๑ หลัง จ�านวน ๗ ห้องนอน ๑๕. ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ สร้างศาลาบ�าเพ็ญกุศลขนาดใหญ่ ๑ หลัง สร้างห้องน�้า ๑ หลัง จ�านวน ๑๒ ห้อง ๑๖. ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ สร้างซุ้มประตู ๑ แห่ง ต่อเติมกุฏิ หลังใหญ่ และเทพื้นคอนกรีตรอบฌาปณสถานเมรุ รวมถึงศาลา บ�าเพ็ญกุศล ๑๗. ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ สร้างโรงครัว ๑ หลัง ขนาดพืน้ ที ่ ๔ ห้อง ๑๘. ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ สร้างซุ้มประตูทางเข้าด้านทิศ ตะวันออก ๑ แห่ง ๑๙. สร้างอุโบสถวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ แล้วเสร็จ วันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๒
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
165
วัดไทรงาม (ไพรงาม)
ต� า บลเมื อ งบั ว อ� า เภอชุ ม พลบุ รี จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Sai Ngam (Phrai Ngam)
Mueang Bua Subdistrict, Chumphon Buri District Surin Province
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย 166
ปักหมุดวัดเมืองไทย
www.watsaingam.com ติดต่อ : 086-8815692
ประวัติความเป็นมา ประวัติความเป็นมาของการก่อ ตั้งวัด โดยเป็นข้อมูลที่ได้มาจากค�าบอก เล่าสืบต่อกันมาจากความทรงจ�า วั ด ไทรงาม เดิ ม ชื่ อ วั ด สว่ า ง อรุโณทัย และไพรงาม ตั้งอยู่ที่โคกวัดร้าง ปั จ จุ บั น คื อสถานี อนามัยบ้านยางบ่ออี ภายหลังพระอาจารย์ดีได้ย้ายมาสร้างใน ที่ปัจจุบันซึ่งชาวบ้านได้ช่วยกันบริจาค ที่ดินสร้างวัดมี ดังนี้คือ ๑. คุณพ่อพา แก่นพรม
๒. คุณพ่อจุฬา เตาะไธสง ๓. คุณพ่อเกตุ แก่นพรม ๔. คุณพ่อชึง ชะอุ่มรัมย์ ๕. คุณพ่อโตบ เดือนไรรัมย์ ๖. คุณแม่สิงห์ รินไธสง ๗. คุณแม่มอญ ใจธรรม เป็นต้น รายนามท่านเจ้าอาวาส นับ ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ๑. พระอาจารย์เกตุ ๒. พระอาจารย์หยวก ๓. พระอาจารย์ดี (พลสุโพธิ์) พ.ศ.๒๔๗๘-๒๔๘๕
๔. พระครูโสภิตคณาภรณ์ (องอาจ (อ�่า) ธัมมทินโน รมศิร)ิ พ.ศ. ๒๔๘๕-๒๕๓๒ ๕. พระครูโสภณวนานุรักษ์ (พระมหาสุ กิจ สุจติ โต แก่นพรมป.ธ.๓) พ.ศ. ๒๕๓๖ ถึงพ.ศ. ๒๕๔๐ ๖. พระนิกสันต์ ติสสวโร (รมศิร)ิ พ.ศ.๒๕๔๑ ถึงพ.ศ. ๒๕๔๖ ๗. พระมหาพรหมปัญญา พรหมปัญโญ (เจริญรัมย์ ) ป.ธ.๙ พ.ศ. ๒๕๔๘ ถึง ปัจจุบัน
ปักหมุดวัดเมืองไทย
167
ประวัติพระครูโสภิตคณาภรณ์ (องอาจ ธัมมทินโน) อุปสมบท เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๘๐ พระองอาจ ได้รับฉายา ธัมมทินโน ต่ อ มาในปี พ.ศ.๒๔๙๔ พระครูโสภิตคณาภรณ์ (อ�า่ ธัมมทินโน) เจ้าอาวาสและเจ้าคณะต�าบลเมืองบัว ได้เปิดสอนพระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรม พ.ศ. ๒๕๐๐ พระครูโสภิต คณาภรณ์ได้ร่วมกับพระภิกษุสงฆ์และ ชาวบ้านสร้างกุฏธิ มั มทินโน ท�าด้วยไม้ ลักษณะทรงปันยาจตุรมุขยกพืน้ สูง เสา ๗๐ ต้น พ.ศ. ๒๕๒๖ พระครูโสภิต คณาภรณ์ได้ดา� เนินการก่อสร้างอุโบสถ พ.ศ. ๒๕๓๒ เดือน กุมภาพันธ์ วันที๗่ ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา พ.ศ. ๒๕๓๒ พระครูโสภิต คณาภรณ์ได้มรณภาพ
ชื่ อ พระมหาพรหมปั ญ ญา ฉายา พฺรหฺมปญฺโญ อายุ ๔๙ พรรษา๓๐ วิ ท ยฐานะ นั ก ธรรมชั้ น เอก, ป.ธ.๙ พธ.ด. ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่ง - เจ้าอาวาสวัดไทรงาม ต�าบลเมืองบัว อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ - เจ้าคณะต�าบลสระขุด ต�าบลสระขุด อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ - เจ้าส�านักปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัด สุรินทร์แห่งที่ ๑๗
- พระอุปัชฌาย์ - ผู้บริหารศูนย์เด็กก่อนเกณฑ์ - ผู้บริหารศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวัน อาทิตย์ - พระวิปัสสนาจารย์ - ครูสอนพระปริยัติธรรมแผนกบาลี - ครูสอนศีลธรรมในโรงเรียน บรรพชาสามเณร อายุ ๑๔ ปี วั น ที่ ๓ พ.ย. ๒๕๒๘ พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครูวิสุทธิธ ารคุณ วัดสระกุดน�้ าใส ต� า บลสระกุ ด น�้ า ใส อ� า เภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด อุปสมบท เมื่อวันที่ ๑๙ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ ตรงกั บ วั น อาทิตย์ ขึ้น ๖ ค�่า เดือน ๗ ปี มะเมีย ณ ประวั ติ พ ระมหาพรหมปั ญ ญา พ ร ะ อุ โ บ ส ถ วั ด ช น ะ ส ง ค ร า ม ร า ช พฺรหฺมปญฺโญ (เจริญรัมย์) ป.ธ.๙ วรมหาวิห าร แขวงชนะสงคราม เขต
168
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระนคร จังหวัดกรุงเทพฯ พระอุปัชฌาย์ สมเด็จพระมหา ธีราจารย์ วัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร จังหวัด กรุงเทพฯ พระกรรมวาจาจารย์ พระเทพ วิมลมุนี วัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร จังหวัด กรุงเทพฯ พระอนุสาวนาจารย์ พระพรหมกวี วัดกัลยาณมิตร แขวงวัดกัลย์ เขตธนบุรี จังหวัดกรุงเทพฯ งานการปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้รับแต่งตั้งเป็น รักษาการเจ้าอาวาสวัดไทรงาม ต�าบล เมืองบัว อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้า อาวาสวัดไทรงาม ต�าบลเมืองบัว อ�าเภอ ชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้รับแต่งตั้งเป็น รักษาการเจ้าคณะต�าบลสระขุด ต�าบลสระ ขุด อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้า คณะต�าบลสระขุด ต�าบลสระขุด อ�าเภอ ชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
งานการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๙ เป็นผูบ้ ริหารศูนย์เด็กก่อน เกณฑ์ พ.ศ. ๒๕๔๙ เปิดสอนบาลีและธรรม ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นครูสอนพระปริยัติ ธรรมแผนกบาลี พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นครูสอนศีลธรรมใน โรงเรียน พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นพระวิปัสสนาจารย์ พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็นเจ้าส�านักปฏิบตั ธิ รรม ประจ�าจังหวัดสุรินทร์แห่งที่ ๑๗ พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นผู้บริหารศูนย์ศึกษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นพระอุปัชฌาย์
ปักหมุดวัดเมืองไทย
169
ประวัติบ้านยางเก่า(สร็อกจ๊ะ) ภูมศิ าสตร์ตงั้ อยูด่ า้ นทิศตะวันตก เฉียงเหนือของบ้านยางบ่ออี มีหนองน�้า ล้อมรอบมีเศษหม้อไหและโครงกระดูก คนโบราณ มี ส ถานที่ ตั้ ง วั ด และโบสถ์ โบราณตัง้ อยูท่ างทิศเหนือหมูบ่ า้ นยางเก่า ขุ ด พบเครื่ อ งลายครามโบราณเป็ น ภาชนะสันนิษฐานว่าเป็นของใช้ยุคคน โบราณ พบเส้ น ทางเชื่ อ มโยงหมู ่ บ ้ า น โบราณสมัยก่อน ทิศเหนือจดบ้านเมือง เสือ ทิศตะวันตกจดบ้านเมืองแล้ง อ�าเภอ พยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม ทิศ ใต้จดบ้านเมืองบัว บ้านเมืองไผ่ บ้าน ยะวึก ทิศตะวันออกจดบ้านส�าโรง ต�าบล ศรีณรงค์ อ�าเภอชุมพลบุร ี จังหวัดสุรนิ ทร์ สันนิษฐานว่าเป็นเส้นทางไปมาหาสู่กัน
ประวัติบ้านยางบ่ออี-ยางบ่อเทศ บ้านยางบ่ออีย้ายมาประมาณ พ.ศ.๒๔๒๐ สมัยนั้นมีโจรผู้ร้ายมาก จึง ย้ายหมู่บ้านมาตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก คือหมูบ่ า้ นในปัจจุบนั ตาอีได้มาต้มเกลือ ในหมู่บ้านปัจจุบัน ได้ขุดบ่อน�้าเพื่อใช้ใน การต้มเกลือใกล้ ๆ ต้นยางใหญ่ เจอตาน�า้
170
ปักหมุดวัดเมืองไทย
อุดมสมบูรณ์ปัจจุบันอยู่ทางทิศตะวัน ตกของหมู่บ้าน ตาเสร็บ แก่นพรมเห็น ว่ามีภูมิประเทศเหมาะที่จะตั้งหมู่บ้าน จึงชักชวนชาวบ้านยางเก่าที่มีความ ประสงค์จะไปสร้างหมู่บ้านแห่งใหม่มี ชาวบ้านยางเก่าเห็นดีด้วยจึงย้ายตาม กันมา จึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่าบ้านยาง บ่ อ อี มี ผู ้ น� า ๙ คน ประมาณพ.ศ. ๒๔๔๐จึงได้ก่อสร้างวัดอรุโณทัย ณที่ ตั้ง รพ.สต. ยางบ่ออีปัจจุบัน ภายหลัง จึงได้ยา้ ยมาอยูใ่ นทีต่ งั้ วัดปัจจุบนั พ.ศ. ๒๕๔๐ ได้แยกการปกครองเป็นยางบ่อ เทศมีผนู้ า� จ�านวน ๓ คนโดยมีภาษาถิน่
เป็ น ของตั ว เองคื อ ภาษาเขมรและ วัฒนธรรมสืบต่อกันมาเป็นประเพณีที่ชาว บ้านนับถือคือประเพณีโฎนตาตากระยาสารท ส่วนใหญ่ ๘๐ % จะพูดภาษาเขมร นับถือ ศาสนาพุทธ
กิจกรรมที่วัดจัดขึ้นร่วมกับชุมชน - ปฏิบัติธรรมประจ�าปี - เทศน์มหาชาติ - งานวันสงกรานต์ - งานแซนโฎนตา - งานบุญกฐิน - บุญเบิกบ้าน - งานลอยกระทง
ปักหมุดวัดเมืองไทย
171
กิจกรรมต่าง ๆ
172
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปักหมุดวัดเมืองไทย
173
วัดบ้านทิพย์เนตร
ต�าบลกระเบื้อง อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
Ban Thip Pha Net Temple
Kra Bueang Subdistrict, Chumphon Buri District, Surin Province
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย 174
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประวัติวัดบ้านทิพย์เนตร
พระครูสถิตบุญญาทร เจ้าอาวาสวัดทิพย์เนตร
เมื่อปีพ.ศ.๒๕๑๗ ซึ่งเป็นวัดที่ส�ำนักสงฆ์บ้ำนทิพย์เนตรก�ำเนิดขึ้น โดยควำม ด�ำริของผูเ้ ฒ่ำผูแ้ ก่ มองเห็นว่ำกำรทีจ่ ะท�ำบุญแต่ละครัง้ ในวันศีลวันพระหรือวันอืน่ ๆ ก็ จะต้องบุกน�ำ้ ลุยโคลนไปวัดทีอ่ ยูไ่ กลจำกหมูบ่ ำ้ นมำก และประกอบกับกำรมีควำมศรัทธำ มุ่งมั่นในพระพุทธศำสนำต้องเดินเท้ำไปท�ำบุญในถิ่นอื่นที่อยู่ไกลออกไป ในระยะแรก ก็ได้แสวงหำผู้ที่จะบริจำคที่ดิน เพื่อจะสร้ำงส�ำนักสงฆ์ไว้ประจ�ำหมู่บ้ำน และก็ได้มีผู้ บริจำคที่ดินคือ (๑) นายพรมมา นางออย ปานเพชร อดีตผู้ใหญ่บ้าน (๒) นายกว้าง นางโฮม มีรัมย์ (๓) นายน้อย นางนาง อินทร์ทอง (๔) นายภู นางเกลี้ยง สอนสันติ (๕) นางจันทร์ บุญกล้า (๖) นางกิ่งแก้ว สอนสันติ (๗) นางนี เกตุแก้ว ที่ดินดังที่กล่ำวนั้น ตั้งอยู่ระหว่ำงกลำงของ ๒ คุ้ม คือ คุ้มตะวันออกกับคุ้ม ตะวันตก และได้รับกำรบริจำคบ้ำนเรือนไม้ ๑ หลังจำกนำยจันดำ นำงตู้ ศรีค�ำ เพื่อ น�ำมำปลูกสร้ำงเป็นกุฎีสงฆ์ โดยกำรก่อสร้ำงนั้นได้หำเงินส่วนหนึ่งไปซื้อไม้จำกโรง ไม้มำเพิม่ เติม จึงได้เป็นกุฏิ ๑ หลังควำมยำวประมำณ ๑๕ เมตรกว้ำง ๑๓ เมตร ในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ก็ได้ท�ำกำรรื้อถอนโยกย้ำยส�ำนักสงฆ์ออกไปอยู่ที่ใหม่ด้วยเหตุผลที่ว่ำ ทีต่ งั้ ส�ำนักสงฆ์ทตี่ งั้ อยูน่ นั้ เป็นทีล่ มุ่ พอถึงฤดูฝนเกิดน�ำ้ ท่วม น�ำ้ ก็จะท่วมสูงถึงเลยหัว เข่ำ หรือประมำณ ๖๐ - ๗๐ เซนติเมตร พระสงฆ์ที่อำศัยอยู่นั้นมีควำมล�ำบำกมำก ในกำรที่จะเข้ำหรือออกเพื่อบิณฑบำตหรือไปท�ำกิจต่ำง ๆ นอกวัด ซ�้ำยังเป็นวัดที่ ยำกจนขำดผู้อุปถัมภ์บ�ำรุง ลุ่ม ๆ ดอน ๆ บำงปีหำพระสงฆ์จ�ำพรรษำได้แค่ ๓ รูป บ้ำง ๔ รูปบ้ำง และมีเสียงพูดหนำหูของผู้คนหลำยๆคนว่ำวัดหำบบ้ำนมันไม่ดี โดย ไม่ดีในหลำย ๆ แง่มุม ผู้น�ำหมู่บ้ำนหรือ ผู้ใหญ่บ้ำน ผู้เฒ่ำ ผู้แก่ จึงปรึกษำหำรือกัน ว่ำจะหำที่ใหม่ในกำรสร้ำงวัดมีใครเห็นดีงำมด้วย ทั้งหมู่บ้ำนมีควำมคิดเห็นไปใน ทำงเดียวกัน คือ ให้ย้ำยวัด ได้มีพี่น้องหลำยคนเสนอที่ดินที่มีอยู่ทำงทิศตะวันตก เฉียงใต้ของหมู่บ้ำนคุ้มตะวันตก ซึ่งมีที่ดินของ (๑) นายนุย - นางบุญศรี เกตุแก้ว (๒) นางวัน อินทร์ส�าราญ (๓) นางเกลี้ยง - นายภู วรรณธานี (๔) นายน้อย นางนาง อินทร์ทอง (๕) นายรัตน์ - นางสุดตา เก่งไพร ได้เอำที่ดินของส�ำนักสงฆ์ แห่งเดิมแลกเปลี่ยนเอำที่ดินที่เอ่ยนำมท่ำนทั้งหลำยนั้น ชำวบ้ำนก็ขอให้บริจำค เพือ่ สร้ำงวัด ท่ำนทัง้ หลำยเหล่ำนัน้ ก็อนุโมทนำ ยกมอบถวำยให้ดว้ ยจิตใจอันประกอบ ด้วยกุศลศรัทธำอย่ำงแท้จริง ประกอบกับที่ใกล้ ๆ นั้นก็มีหนองบ้ำน (สระน�้ำ) ที่กัน ไว้ก่อนหน้ำนั้น มีเนื้อที่ประมำณ ๓ ไร่ น�ำมำรวมกันกับส่วนที่ได้รับบริจำคของชำว บ้ำนผู้มีศรัทธำอีกจ�ำนวน ๕ แปลงที่ดินก็ยังไม่พอที่จะด�ำเนินกำรขอตั้งวัด แต่ต่อมำ ทำงวัดก็ได้ชื้อที่ดินเพิ่มเติมอีกจ�ำนวน ๑ แปลงรวมแล้วมีที่ดินทั้งหมด ๖ ไร่ ๓ งำน ๑๓ ตำรำงวำ รายนามผู้บริจาคที่ดินเพื่อสร้างวัดแห่งที่ ๒ ของบ้านทิพย์เนตรเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๔ มีดังนี้ ๑. พ่อแรม - แม่วัน อินทร์ส�ำรำญ จ�ำนวน ๒ ไร่ ๒. พ่อนุย - แม่บุญศรี เกตุแก้ว จ�ำนวน ๒ ไร่ ๓. พ่อน้อย - แม่นำง อินทร์ทอง จ�ำนวน ๑ งำน ๔. พ่อมั่น - แม่กิ่งแก้ว สอนสันติ และพ่อภู - แม่เกลี้ยง วรรณธำนี จ�ำนวน ๒ งำน ปักหมุดวัดเมืองไทย
175
ทัง้ หมดนีเ้ ป็นประมำณกำร และทีด่ นิ อีกส่วนหนึง่ ได้ซอื้ จำกนำยน้อย อินทร์ทอง เป็นจ�ำนวน เงิน ๓๐,๐๐๐ บำท (สำมหมื่นบำทถ้วน) รวมกับที่หนองสระน�้ำที่ตื้นเขิน ชำวบ้ำนมีมติ ให้น�ำมำเป็นส่วนหนึ่งของวัดด้วยจึงเป็นที่ดิน ๖ ไร่ ๓ งำน ๑๓ ตำรำงวำ เมื่อที่ดินเสร็จ เรียบร้อยแล้ว ก็ได้รอื้ เอำกุฏไิ ม้ออกจำกทีต่ งั้ เดิมมำปลูกขึน้ จ�ำนวน ๑ หลังโดยยำว ๑๕ เมตร กว้ำง ๑๓ เมตรเท่ำเดิม และสร้ำงห้องน�้ำห้องส้วมจ�ำนวน ๒ ห้อง ๑ หลัง มี พระสมิง เครื่อง ไธสง (ฉำยำ) เป็นหัวหน้ำสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๒๔ ต่อมำ พ.ศ. ๒๕๒๖ ได้ไปนิมนต์พระอำจำรย์ บุญมี จนฺทร�สี นำมสกุล สังข์น้อย วัดทุ่งสว่ำงหัวนำค�ำ มำเป็นหัวหน้ำส�ำนักสงฆ์แทน พระ สมิง เครือ่ งไธสง ซึง่ ลำสิกขำไป ต่อมำเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๒๘ พระอำจำรย์บญุ มี จนฺทร�สี ก็ลำกลับ ไปอยู่จ�ำพรรษำที่วัดทุ่งสว่ำงหัวนำค�ำอีกครั้งหนึ่ง ในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ พระครูสถิตบุญญำทร ได้อุปสมบท ที่วัดศรัทธำวำรี บ้ำนไพร ขลำ ต�ำบลไพรขลำ อ�ำเภอชุมพลบุรี แล้วก็ได้ย้ำยสังกัดมำอยู่ด้วยกับพระอำจำรย์ประธำน สงฆ์ ภำยใต้ชื่อพระอำจำรย์บุญมี จนฺทร�สี ในพรรษำแรก จำกนั้นท่ำนก็ลำกลับไปจ�ำพรรษำ ที่วัดทุ่งสว่ำงหัวนำค�ำ พระบุญเพ็ง ฐิตว�โส ก็รับหน้ำที่เป็นหัวหน้ำสงฆ์และได้พัฒนำวัดเรื่อย มำจนกระทัง่ ปัจจุบนั หลังจำกทีพ่ ระครูสถิตบุญญำทร ได้ทำ� หน้ำทีเ่ ป็นประธำนสงฆ์มำหลำย ปี ก็ได้ดำ� เนินกำรขอสร้ำงวัดได้เริม่ ขอใช้ทดี่ นิ ในเขต สปก.๔-๐๑ โดยนำยภู วรรณธำนี ผูใ้ หญ่ บ้ำนขณะนั้น เป็นผู้ด�ำเนินกำรและได้รับอนุญำตจำกทำงผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดสุรินทร์และ ส�ำนักงำนปฏิรูปที่ดินจังหวัดสุรินทร์ให้ด�ำเนินกำรสร้ำงวัดได้ตำมวัตถุประสงค์ในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ แต่ก็ยังไม่ส�ำเร็จเพรำะขำดประสบกำรณ์ในกำรด�ำเนินงำนล่ำช้ำไป รอจนในที่สุด เมื่อวันที่ ๑๘ เมษำยน พ.ศ. ๒๕๔๖ ก็ได้รับข่ำวดีจำก ส�ำนักงำนพระพุทธศำสนำแห่งชำติ ได้ประกำศให้ตงั้ วัดในพระพุทธศำสนำในชือ่ ว่ำ วัดบ้ำนทิพย์เนตร ขึน้ ตรงต่อ ต�ำบลกระเบือ้ ง อ�ำเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ โดยแยกเป็นเอกเทศจำก ต�ำบลศรีณรงค์ เมื่อทำงบ้ำนเมือง ขอแยกเป็นต�ำบลใหม่ คือ ต�ำบลกระเบื้อง อ�ำเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ ดังในปัจจุบัน เสนานะ - กุฎีปัจจุบัน (ปูน) สร้ำงเมื่อ ปี ๒๕๓๖ - ซุ้มประตู สร้ำงเมื่อ มีนำคม ๒๕๔๙ - สร้ำงเมรู กุมภำพันธ์ ๒๕๔๘ - สร้ำงศำลำเมรุ ๑ มีนำคม๒๕๕๒
176
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ท�าเนียบประธานสงฆ์ (เจ้าอาวาส)วัดบ้านทิพย์เนตร ๑. พระศิลำ ฉำยำ ๒. พระบุญกอง ฉำยำ ๓. หลวงพ่อลี เผ่ำทองงำม ๔. พระสมิง เครื่องไธสง ๕. พระบุญมี ปญฺญำธโร (สังข์น้อย) ๖. พระครูสถิตบุญญำทร
พ.ศ. ๒๕๑๖ – ๒๕๑๘ พ.ศ. ๒๕๑๘ - ๒๕๒๑ พ.ศ. ๒๕๒๒ - ๒๕๒๔ พ.ศ. ๒๕๒๔ - ๒๕๒๕ พ.ศ. ๒๕๒๕ - ๒๕๒๘ พ.ศ. ๒๕๒๘ - ปัจจุบัน
ปักหมุดวัดเมืองไทย
177
วัดโพธิ์งามยะวึก
ต� า บลยะวึ ก อ� า เภอชุ ม พลบุ รี จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Pho Ngam Yawook
Yawook Subdistrict, Chumphon Buri District Surin Province
ความเป็นมา วัดโพธิ์งามยะวึก ตั้งอยู่บ้านยะวึก หมู่ที่ ๑ ต�าบลยะวึก อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๒๘ ไร่ ๔๐ ตารางวา อาณาเขตทิศเหนือประมาณ ยาว ๙ เส้น ๕ วา จดทางสาธารณะ ทิศใต้ประมาณ ๕ เส้น จดทีด่ นิ นางโต๊ะ สติพลัน ทิศตะวันออกประมาณ ๕ เส้น จดทีด่ นิ นายถวัยย์ ทิศตะวันตกประมาณ ๕ เส้น จดที่ดินนางนาค ศรีเพ็ง มีที่ธรณีสงฆ์จ�านวน ๑ แปลง เนื้อที่ ๔ ไร่ อาคารเสนาสนะประกอบด้วย
178
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระครูประกาศโพธิธรรม เจ้าอาวาสวัดโพธิ์งามยะวึก
พระธาตุหลวงปู่ยวน ประวัติพระครูประกาศโพธิธรรม หลวงปู ่ สุ ข จั น ทู ป โม วั ด โพธิ์ ง ามยะวึ ก ต.ยะวึ ก อ.ชุมพลบุรี จ.สุรินทร์ เดิ ม ชื่ อ นายทองสุข ศรีเ พ็ง เกิดวันจันทร์ ที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๔๘๑ บิดาชื่อ นายนวล ศรีเพ็ง มารดาชื่อ นางทรัพย์ ศรีเพ็ง เดิมอยู่บ้านเลขที่ ๑๑๔ หมู่ที่๑ ต.ยะวึก อ.ชุมพลบุรี จ.สุรนิ ทร์ บวชเณรตัง้ แต่ยงั เด็ก และก็สกึ ตอนอายุ ๑๘ ปี เพราะ โยมบิดามารดาขอให้ไปช่วยงานท�าไร่ทา� นา อายุได้ ๒๒ ปีบริบรู ณ์ ก็ ตั ด สิ น ใจบวชพระ ได้ อุ ป สมบท ณ พั ท ธสี ม า วั ด โนนสู ง ต.กระเบื้องใหญ่ อ.ชุมพลบุรี จ.สุรินทร์ โดยมีพระอาจารย์ปาน ชัยมุณญ ี าโน เจ้าอาวาสวัดกระเบือ้ งใหญ่ เป็นพระ อุปชั ฌาย์ หลัง จากบวชเสร็จแล้วได้จ�าพรรษาอยู่วัดโพธิ์งามยะวึก ซึ่งเป็นวัดที่ อยู่ใกล้โยมบิดามารดา แล้วได้ตั้งใจศึกษาปริยัติธรรมจนสอบได้ นักธรรมชั้น ตรี โท เอก ตามล�าดับ และได้มาศึกษาไสยเวทย์ คาถาพุทธาคมต่าง ๆ ดูได้ไปขอเรียนกับหลวงปู่ยวน ผู้เป็นเอก ในวิชาเมตตามหานิยม เจ้าอาวาสวัดโพธิ์งามยะวึกในสมัยนั้น หลวงปู่ยวนได้ถ่ายทอดวิชาให้จนหมดสิ้น จึงได้บอกให้หลวงสุข ไปเรียนกับสหธรรมของหลวงปูย่ วนก็คอื หลวงพ่อต๊ะ ธมฺมณิยโก แห่งวัดป่าเลไลย์ ต.ห้วยราช อ.ห้วยราช จ.บุรีรัมย์ ผู้เป็นเอกใน วิชา แคล้วคาด คงกระพันชาตรี และยังได้เรียนกับ หลวงพ่อทิพย์ (พระครูบริหารสุตาธรม) วัดโพธิ์ทอง พระครูใหญ่ ผู้เป็นเอกใน วิชาแคล้วคาด คงกระพันชาตรี และหลวงพ่อทิพย์ยงั เป็นสหธรรม กับหลวงพ่อต๊ะวัดป่าเลไลย์อีกด้วย และได้ไปเรียนกับหลวงพ่อ เพ็ง ธัมมทินโน วัดบ้านประเคียบ ผู้เป็นอีกหนึ่งวิชาเมตตามหา นิยม หลวงพ่อเพ็งได้ถ่ายทอดวิชาให้จนหมดสิ้น
- อุโบสถ กว้าง ๖ เมตร ยาว ๑๑ เมตร สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๘๐ เป็นอาคารคอนกรีต - กุฏิสงฆ์ เป็นอาคารไม้ ๑ หลัง ปัจจุบันเป็นอาคารคอนกรีต วัดโพธิ์งามยะวึก ตั้งเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๑๗ ที่เนินดิน ทางทิศใต้ของบ้านยะวึก มีตน้ โพธิเ์ กิดขึน้ เรียงรายสวยงามมาก หลวงพ่อพวงพร้อมด้วยชาวบ้านได้จับจองที่ดินบริเวณสร้าง วั ด จึ ง ตั้ ง ชื่ อ วั ด ว่ า วั ด โพธิ์ ง ามยะวึ ก ได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๒ เขต วิสุงคามสีมา กว้าง ๖ เมตร ยาว ๑๑ เมตร การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ รูปที่ ๑ พระพวง รูปที่ ๒ พระภู รูปที่ ๓ พระพูน รูปที่ ๔ พระหลวง รูปที่ ๕ พระยวน รูปที่ ๖ พระทราย รูปที่ ๗ พระรันต์ รูปที่ ๘ พระปา รูปที่ ๙ พระทองสี รูปที่ ๑๐ พระสุข รูปที่ ๑๑ พระจ่า รูปที่ ๑๒ พระคูณ รูปที่ ๑๓ พระทอง รูปที่ ๑๔ พระครูประกาศโพธิธรรม พ.ศ. ๒๕๐๔-ปัจจุบัน การศึกษา มีโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรม เปิดสอนเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๐๔ และศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด เปิดสอนเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๗
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
179
วัดศรัทธาวารินทร์ ต�าบลศรีณรงค์ อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
Wat Sattha Warin
Si Narong Subdistrict, Chumpon Buri District, Surin Province
พระครูโกสุมสมณวัตร เจ้าอาวาสวัดศรัทธาวารินทร์ 180
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดศรัทธาวารินทร์กอ่ ตัง้ เมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๓๘ เป็ น วั ด สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย กรมศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ เลขที่ ๒๐ หมู่ที่ ๑๐ บ้านส�าโรงเหนือ (แยกออกจาก หมู่ที่ ๑ บ้านส�าโรง) มีที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๓๒ ไร่ ๓ งาน อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถกว้าง ๑๐ เมตร ยาว ๒๔ เมตร สร้างเมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๒๘ เป็นอาคารไม้ทงั้ หลัง กุฏสิ งฆ์ เป็นอาคารตึก ๓ ชัน้ เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก มีพระภิกษุสงฆ์เจ้าอาวาส คือ ๑. หลวงทา พรมสุรินทร์ ๒. หลวงตาทอง ๓. หลวงตาอ่อน ๔. หลวงตาทา ๕. หลวงตาด�า ๖. หลวงตาสุข พระมุลิลา ๗. หลวงตาเคน แสงล�้า ๘. หลวงตาพรม ๙. หลวงตามี เกิดสุข ๑๐. พระอาจารย์น้อย บุญเสริม ๑๑. พระอาจารย์นัด วงศ์ษา ๑๒. หลวงปู่อินทร์ ธมมโฆโส ๑๓. พระครูโกสุมสมณวัตร (ปัจจุบัน)
การจัดการศึกษาพระปริยัติธรรม วั ด ศรั ท ธาวาริ น ทร์ ได้ จั ด การศึ ก ษาพระปริ ยั ติ ธ รรมแผนกธรรม มาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๘๔ จนถึงปัจจุบัน มีศิษยานุศิษย์เข้ามาศึกษาธรรมะ และ ลาสิกขาออกไปประกอบอาชีพต่าง ๆ มากมาย เช่น กสิกรรม ค้าขาย รับราชการ ครู ทหาร ต�ารวจ รับเหมาก่อสร้าง และท�างานอืน่ ๆ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ
ประวัติการก่อสร้างอุโบสถ
- พ.ศ. ๒๕๓๓ วางศิลาฤกษ์ เริ่มด�าเนินการก่อสร้าง - พ.ศ. ๒๕๔๐ ประกอบพิธีหล่อพระประธาน - พ.ศ. ๒๕๔๒ ประกอบพิธียกช่อฟ้าอุโบสถ - พ.ศ. ๒๕๔๖ ( ๒๙ ธันวาคม ๒๕๔๕ ถึง ๒ มกราคม ๒๕๔๖ ) - งานผูกพัทธสีมาปิดทองฝังลูกนิมิต ปักหมุดวัดเมืองไทย
181
ประวัติพระครูโกสุมสมณวัตร ชื่อพระครูโกสุมสมณวัตร ฉายา “กุสุโม” อายุ ๔๖ ปี พรรษา ๒๖ นักธรรมชั้นเอก วัดศรัทธาวารินทร์ บ้านส�าโรง ต�าบลศรีณรงค์ อ�าเภอ ชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่ง
๑. เจ้าอาวาสวัดศรัทธาวารินทร์ ๒. เป็นรองเจ้าคณะต�าบลศรีณรงค์
บรรพชา วันที ่ ๑๘ เมษายน ๒๕๑๙ วัดศรัทธาวารินทร์ ต�าบลศรีณรงค์ อ�าเภอ ชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
อุปสมบท วันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๑๙ วัดศรัทธาวารินทร์ ต�าบลศรีณรงค์ อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ - พระอุปัชฌาย์ พระครูวิสาลพัฒนกิจ วัดโนนสูง ต�าบลยะวึก อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ - พระกรรมวาจาจารย์ พระครูนิเวศน์พัฒนคุณ วัดบรมนิเวศน์ ศรีณรงค์ อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ - พระอนุสาวนาจารย์ พระหลั่น วัดโนนสูง ต�าบลยะวึก อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
182
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วิทยฐานะ - พ.ศ. ๒๕๔๔ ส�าเร็จการศึกษา ปริญญาตรี พ.ธ.บ. ทีม่ หาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยเขตสุรินทร์ - พ.ศ. ๒๕๒๒ สอบได้นักธรรม ชั้นเอก ที่ส�านักเรียนวัดโพธา ต�าบลดงบัง อ�าเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม
ความรู้ความสามารถ ๑. งานการออกแบบก่อการสร้างอาคาร ๒. การใช้คอมพิวเตอร์ ๓. การใช้เครื่องพิมพ์ดีดไทย-อังกฤษ ๔. การซ่อมเครื่องยนต์
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
183
วัดศรัทธาวารี
ต� า บลไพรขลา อ� า เภอชุ ม พลบุ รี จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Satthawari
Phrai Khla Subdistrict, Chumphon Buri District, Surin Province วัดศรัทธาวารี มีพื้นที่ ๖ ไร่ ๑๖ ตารางวา ได้รับการ รับรองตั้งเป็นวัดเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๘๘ แต่มีประวัติที่เล่าสืบกันมา ว่า ครูบาวงศา ซึ่งเป็นญาติผู้พี่ของพระศรีนครเตาท้าวเธอ เจ้าเมืองรัตนบุร ี ได้อพยพผูค้ นมาจากเมืองรัตนบุร ี มาตัง้ บ้านและ บ้านไพรขลา ใน ระหว่างปี พ.ศ. ๒๓๐๖ - ๒๓๓๙ ต่อมาพระ ศรี น ครเตาท้ า วเธอได้ เ ปิ ด สาสน์ ข องเมื อ งพิ ม ายที่ ส ่ ง ไปยั ง เมืองอุบลฯ ด้วยเกรงความผิดอาญาแผ่นดินจึงได้หนีมาบวชทีว่ ดั บ้านไพรขลานี ้ และได้เปลีย่ นชือ่ เป็น “เมือย” บวชจนได้เป็นพระ อุปชั ฌาย์ และมรณภาพทีว่ ดั นัน้ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๓๓๙ บริเวณทีเ่ ป็น โบสถ์เดิม คือ บริเวณ “สิมมา” ในปัจจุบัน ส่วนครูบาวงศาได้น�า ผูค้ นส่วนหนึง่ อพยพไปสร้างวัดใหม่ทบี่ า้ นดูน่ าหนองไผ่ ตัง้ แต่เริม่ ก่อตั้งวัดมามีเจ้าอาวาสเท่าที่รวบรวมได้ ดังนี้
184
ปักหมุดวัดเมืองไทย
๑. ครูบาวงศา ๒. พระอุปัชฌาย์เมือย (พระศรีนครเตาท้าวเธอ) กุฏิ วิหาร ช�ารุดทรุดโทรมตามกาลเวลา ๓. หลวงพ่อลี ๔. หลวงพ่อที่ ๕. หลวงพ่อจารย์ด่วย ๖. หลวงพ่อจารย์เพ็ง ๗. หลวงพ่อจารย์ค�า ๘. หลวงพ่อจารย์ช่วย ๙. หลวงพ่อจารย์สี ๑๐. หลวงพ่อจารย์จันทร์ กฏิไม้ ๑ หลัง ทรุมโทรม รื้อถอนหมด อุโบสถเก่า ๑ หลัง บูรณะไว้เป็น อนุสรณ์ ๑๑. หลวงพ่อปราโมช สร้างกุฏไิ ม้ ๑ หลัง ทรุมโทรม รื้อถอนหมด ๑๒. พระอาจารย์เภา ธมฺมโชโต ๑๓. หลวงพ่อเรือง ปภากโร ๑๔. พระครูกิตติวรรโณภาส (สุภาพ กิตฺติวณฺโณ) ปัจจุบัน
เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ได้ริเริ่มการพัฒนาศาสนวัตถุ อุโบสถ ๑ หลัง เทคอนกรีตเสริมเหล็ก มุงกระเบื้อง กว้าง ๖ เมตร ยาว ๑๔ เมตร ท�าการสมโภชเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๗ สิ้นค่าก่อสร้าง ๒,๕๐๐,๐๐๐ บาท (สองล้านห้าแสนบาท) ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้ด�าเนินการสร้างกุฏิสงฆ์ ๑ หลัง ลักษณะเทคอนกรีตเสริมเหล็กทรงไทยประยุกต์ กว้าง ๒๒.๕๐ เมตร ยาว ๓๐ เมตร สิ้นค่าก่อสร้าง ๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท (ห้าล้านบาท) สมโภชปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ปี พ.ศ. ๒๕๔๐, ๒๕๔๑ ด�าเนินการสร้างเมรุ (เมรุ เผาศพ) ๑ หลัง กว้าง ๔.๕๐ เมตร ยาว ๙.๕๐ เมตร สิ้นค่า ก่อสร้าง ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท (หนึง่ ล้านบาท) ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ คณะก�านัน ผู้ใหญ่บ้าน พ่อค้าประชาชน อุบาสก อุบาสิกา ในเขตบริการของวัดและเจ้าอาวาสปัจจุบันได้ร่วมด้วยช่วย กันซื้อที่ดินขยายวัด เพื่อท�าศาสนพักญาติ
ทางเมืองพิมาย และมาถึงเมืองเตา ได้พบเซียงสี กับลูกชาย ชื่อ เซียงลี ที่ไร่ข้าวไม่ไกลบ้านนัก ได้สอบถามเซียงสี ก็ได้ให้ ข้อความว่า เมื่อวานมีช้างเผือก ๒ เชือกมากินข้าวที่ไร่จึงขับ ไล่หนีไปทางตะวันออก ช้างตัวนี้ มีสีขาว ๆ มีเครื่องประดับที่ เท้า และงาสวยงามมาก เมื่อพระเจ้าพี่น้องได้ฟังก็ทราบว่า ช้างนัน้ เป็นช้างเผือกแน่นอนจึงชักชวน ให้เซียงสีชว่ ยน�าทาง ในการติดตามช้างด้วย เพราะคงรูจ้ กั พืน้ ทีด่ แี ละบอกว่าถ้าช่วย ตาม เอาช้างเผือกได้จะทูลขอรางวัลพระเจ้าอยูห่ วั ให้อย่างจุใจ ทีเดียว เซียงสีทูลว่า ตนมีวิชาอาคมดี เป็นวิชาจับสัตว์ต่างๆ ให้ได้โดยง่าย คิดว่าคงจะตามเอาช้างได้โดยไม่ยากนัก เมื่อ เซียงสี รับอาสาจะน�าพระเจ้าสองพี่น้องติดตามจับช้างเผือก แล้วท่านก็สง่ คนไปบอกพักพวกทัง้ ๕ คือ เซียงปุมทีบ่ า้ นเมืองที เซียงฆะทีบ่ า้ นอัจจะปานึง เซียงขันทีบ่ า้ นโคกล�าดวน เซียงพัน ที่ บ ้ า นเมื อ งลิ ง และเซี ย งชั ย ที่ บ ้ า นจารพั ด ให้ ช ่ ว ยสกั ด
ความเป็นมา ในราวปีพุทธศักราช ๒๒๖๐ มีคนพวกหนึ่งซึ่งคน พวกนี้ อยู่ในเมืองอัตตะปือแสนแปในฝั่งซ้ายของแม่น�้าโขง ประเทศลาว อยู ่ ทิ ศ ตะวั น ออกเมื อ งจ� า ปาสั ก ได้ อ พยพ จากถิ่นเดิม ข้ามแม่น�้าโขงทางฝั่งทางขวาเข้ามาอยู่ในเขต จังหวัดสุรินทร์ และศรีสะเกษ ยังมีคนพวกนี้ จ�านวนมากที่ หัวหน้าคุมมา ๖ คน ดังนี้พวกที่ ๑ มีหัวหน้า ชื่อ เซียงปุม ตั้งถิ่นฐานบ้านเมืองทีเขตอ�าเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ในปัจจุบัน พวกที่ ๒ มีหัวหน้าชื่อ เซียงสี ตั้งถิ่นฐานอยู่บ้าน เมืองเตาเขตอ�าเภอพยัคฆะภูมิพิสัยจังหวัดมหาสารคาม ปัจจุบัน พวกที่ ๓ มีหัวหน้าชื่อ เซียงฆะ ตั้งถิ่นฐานอยู่ บ้านอัจจะปะนึงอ�าเภอสังขะ จังหวัดสุรนิ ทร์ปจั จุบนั พวกที่ ๔ มีหัวหน้าชื่อ เซียงขันธ์ ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านโคกล�าดวน อ�าเภอขุขันธุ์จังหวัดศรีสะเกษปัจจุบัน พวกที่ ๕ มีหัวหน้า ชื่อ เซียงพัน ตั้งถิ่นฐานอยู่บ้านเมืองลิงเขตอ�าเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ปัจจุบัน พวกที่ ๖ มีหัวหน้าชื่อ เซียงชัย ตัง้ ถิน่ ฐานอยูบ่ า้ นจารพัดเขตอ�าเภอศรีขรภูมจิ งั หวัดสุรนิ ทร์ ปัจจุบันพวกส่วยทั้งหก มีอาชีพท�าไร่ท�านาและ ล่าสัตว์ แต่ เซียงสีดูจะมีวิชาท�ามาหากินพิเศากว่าเพื่อนคือมีวิชาอาคม ในการจับสัตว์ด้วยเมื่อปีพุทธศักราช ๒๓๐๓ ในสมัยของ สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั สุรนิ ามรินทร์(พระเอกทัศ) รางการที ่ ๓๓ แห่งกรุงศรีอยุธยา ช้างเผือก ๒ เชือกก็ได้หนีออกจากพระ โรงหนีหายมาทางอิสานผ่านมาทางเมืองพิมายสมัยนัน้ เมือง นครราชสีมายังไม่มี สมเด็จพระเจ้าเอกทัศจึงโปรดเกล้าให้ พระเจ้า ๒ พี่น้อง พระยาจักกรีและพระยาสุรสี น�าทหาร จ�านวน ๓๐ คน ออกติดตามขบวนติดตามช้างเผือกผ่านมา ปักหมุดวัดเมืองไทย
185
186
ปักหมุดวัดเมืองไทย
หาช้างเผือกด้วยในที่สุดคณะติดตามช้างเผือกก็มา บรรจบพบกันโดยบังเอิญอย่าง หน้ามหัสอัศจรรย์โดยมิได้นัดหมายกันเลย ณ หนองน�้าแห่งหนึ่ง อยู่กลางป่าใหญ่ มีชอื่ ว่า หนองบัวเป็น เวลาประมาณ บ่าย ๓ โมง อยูใ่ นเขต อ�าเภอศีขรภูม ิ ขณะช้างเผือก ก�าลังลงเล่นน�้าเพลิดเพลินมีช้างป่าเป็นบริวาร เล่นน�้าอยู่ด้วยมากมายหลายสิบ เชือก พระเจ้าสองพีน่ อ้ งสังเกตเห็นช้างสองเชือกทีอ่ ยูต่ รงกลางบริวารทัง้ หลายมีเครือ่ ง ประดับทีง่ าทัง้ สองข้างและสีกายก็เป็นค้อนข้างขวาก็ทราบว่าเป็นช้างเผือกแน่นอนจึง รับสั่งให้เซียงสี ประกอบพิธีจับช้างตามต�าราจับช้างของเซียงสี ทันที โดยตั้งเครื่อง ยกครูบชู าเทวดาเจ้า ทางเจ้าที ่ บอกกล่าวให้ทา่ นผูม้ เี ดชานุภาพ ได้ชว่ ยเหลือน�าช้างเผือก กลับคืนไปถวายพระเจ้าอยู่หัวให้จงได้เมื่อบอกกล่าวเทวดาจบท่านก็เอาก้อนหินที่ ปลุกเสกด้วยคาถาอาคมจ�านวนแปดก้อนขว้างไปในทิศทัง้ แปด ก่อนขว้างก้อนหินไป เซียงสีได้เอื้อนเอ่ยเผยวาจาว่า ข้าแต่ พระยาช้างเผือกผู้เป็นคู่บุญ บารมีของ พระเจ้าอยูห่ วั ทีท่ า่ นจะทิง้ หนี มาจากพระเจ้าอยูห่ วั นัน้ เป็นการไม่สมควรอย่างยิง่ บัดนี้ พระเจ้าอยูห่ วั มีรบั สัง่ ให้พระเจ้าสองพีน่ อ้ งมาเชิญท่านกลับคืนพระนครเพือ่ เป็นมิง่ ขวัญ และเพิม่ เติมบารมี ของพระเจ้าอยูห่ วั ตามเดิมและปวงข้าขอเชิญท่านกลับคืนพระนคร ในกาลบัดเดีย๋ วนีเ้ กิดหน้าอัศจรรย์เหลือ ทีจ่ ะคิดเหลือทีจ่ ะกล่าว คือพอท่านกล่าวจบแล้ว ปักหมุดวัดเมืองไทย
187
ขว้างหินแปดก้อนไปทางแปดทิศแล้วตบมือขึ้นมาสามครั้ง พร้อมส่งเสียง ร้องแฮ้ ๆ ดัง ๆ พร้อมกันเหมือนรูภ้ าษาคน พญาช้างเผือกทัง้ สองได้ชงู วงขึน้ เหนือหัวแล้วเปล่งเสียงร้อง แปร๋น ๆ สามครัง้ เท่านัน้ และบรรดาช้างป่าบริวาร ก็ตกฮือขึน้ มาจากน�้าหายเข้าไปในป่าจนหมดสิน้ พญาช้างเผือกทัง้ สองเดินขึน้ จากน�้าช้า ๆ มาตรงหน้า พระเจ้าสองพี่น้อง แล้วค่อย ๆ คุกเข่าหมอบลงผงก เหนือหัวสามครั้งประหนึ่งว่าถวายความจงรักภักดีต่อพระเจ้าอยู่หัว น�้าตา พญาช้างเผือกไหลนรินทัง้ สองข้างเหมือนหนึง่ ว่ายอมสารภาพผิดทีไ่ ด้หนีจาก พระเจ้าอยูห่ วั และดีใจทีไ่ ด้กลับเข้าสูพ่ ระนครศรีอกี ต่อจากนัน้ ขบวนติดตาม ช้างเผือกก็เดินทางกลับกรุงศรีอยุธยา ก่อนกลับพระเจ้าสองพีน่ อ้ งได้บอกกับ เซียงสี และเพื่อนๆทั้ง ห้าคน ขอเป็นสหายกันตลอดไปและก�าชับว่าในเดือน ห้า ขอให้สหายทั้งหกลงไปเยี่ยมกรุงศรีด้วยจะได้น�าเข้าเฝ้าพระเจ้าอยู่หัว ทรงกราบ มาถึงเดือนห้า เซียงสี ก็พากันไปเยี่ยมพระเจ้าสองพี่น้อง ที่ กรุงศรีอยุธยาตามทีร่ บั ปากไว้ เซียงสีกบั พวกทัง้ ห้าได้จดั หาของเอามาต้อนรับ พระสหายดังนี ้ ๑.เซียงปุม บ้านเมืองทีได้โค้งสามหวาย(หวายสามมัด) ๒. เซียง ขันธุ์ บ้านโคกล�าดวนได้ลืมสามตะบอง(กะบองคือใต้ได้สิบเล่ม เรียกว่าหนึ่ง ลืมได้ สามสามเล่มเรียกว่า สามลืม) ๓. เซียงสี บ้านเมืองเตาได้กุบ ตะกับ สอง(เต่าใหญ่สองตัว) ๔. เซียงพันธุ์ บ้านเมืองลิงได้ละอองละแอง สี่ (คือกวด หรือแลน สี่ตัว) ๕. เซียงฆะ บ้านอัจจะปะนึงได้ละวี่ละวอน บั้งห้า(คือน�้าผึ้ง ห้ากระบอกไม้ไผ่) ๖. เซียงชัย ได้ตรวยฟ้า สอง (ไก่ฟ้าสองตัว) พระเจ้า สองพี่น้อง น�าเซียงสี กับพวกห้าคนเข้าเฝ้าพระเจ้าอยู่หัวสุริยามรินทร์เพื่อ ทราบถวายรายงานให้ทรงทรายรายละเอียดเป็นที่พอพระราชหฤทัยเป็น อย่างมาก จึงพระราชทานรางวัลให้ เซียงสี กับพวกทั้งห้าได้เป็นเจ้าเมืองทุก คน ส�าหรับเซียงสี นั้นได้รับพระราชทานนามเป็นหลวงศรีพระนครเตาเท้า เธอต�าแหน่งเจ้าเมืองเตาอ�าเภอพยัคฆภูมวิ สิ ยั จังหวัดมหาสารคาม ในปัจจุบนั นี้เอง ดังนั้นพ่อศรีนครเตาท้าวเธอซึ่งเป็นชอบท่องเที่ยวสันจรไปหามาสู่กับ เพือ่ นฝูงจนได้พบ ล�าห้วยแก้ว ปัจจุบนั บ้านกุดหวาย ก็คอื บริเวณวัดเหนือโดย รอบนั่นเอง พ่อศรีนครเตาเท้าเธอได้รายงานขอพระราชทาน ต่อพระบาท สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๓ ขอยกฐานะบ้านกุดหวายขึ้นเป็น เมืองและขอพระราชทานเมืองใหม่ด้วยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่
188
ปักหมุดวัดเมืองไทย
หัวรัชกาลที่ ๓ ทรงพิจารณานกุดหวาย ตัง้ อยูใ่ กล้หว้ ยแก้วจึงพระราชทานนามเมือง ว่าเมืองรัตนบุรี มาจนบัดนี้ ล่วงมาจนถึง บั้นปลายแห่งชีวิตของพระศรีนครเตาท้าว เธอ ท่านต้องพระอาญาหลวง เปิดพระ ราชสาสน์ ลั บ ที่ ส ่ ง มาจากเมื อ ง กรุ ง ศรีอยุธยา ไปเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ยอมรับพระราชสาสน์เพราะเห็นว่ามีคน เปิ ด อ่ า นก่ อ นจึ ง ส่ ง หนั ง สื อ นั้ น คื น กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ทางกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาสอบสวน สืบสวนแล้วปรากฏว่าราชสาสน์ถูกเปิดที่ เมืองรัตนบุร ี จึงเป็นความผิดของพ่อศรีนคร เตาท้าวเธอ จะต้องถูกลงโทษประหารชีวิต เพราะล่ ว งเกิ น พระราชอ� า นาจของ พระเจ้าอยูห่ วั ตามกฎหมายสมัยนัน้ เมือ่ พ่อ ศรีนครเตาท้าวเธอเห็นภัยจะมาถึงตัวจึงหนี ไปบวชที่ วัดศรัทธาวารี ต�าบลไพรขลา อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ ในปั จ จุ บั น ท่ า นเปลี่ ย นชื่ อ ว่ า เท้าฌาย์เมย เพิ่อมิให้คนรู้จัก อยู่ที่วัดบ้าน ไพรขลา จนได้เป็นเจ้าอาวาส องค์ท ี่ ๒ ของวัด บ้ า นไพรขลา ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น พระอุปัชฌาย์ ชาวบ้านทั้งหลายจึงเรียกว่า เท้าฌาย์เมย ตลอดมา ท่านมรณภาพที่วัด บ้านไพรขลา ประมาณ พ.ศ. ๒๓๓๘ สิรอิ ายุ ๘๖ ปี ที่วัดบ้านไพรขลา ส�าหรับต้นโพธิ์มี หลายต้น แต่ไม่เหมือนต้นโพธิ์ต้นนี้ คือเมื่อ คนเจ็บไข้ได้ป่วย ชอบ กิ่งก้าน หัก เหี่ยว คงจะเป็นทีเ่ ผาศพ พระศรีนครเตาเท้าฌาย์เมย อดีตเจ้าอาวาสวัดศรัทธาวารี ต�าบลไพรขลา อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
ปักหมุดวัดเมืองไทย
189
190
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
191
วัดสระบัว
ต�ำบลนำหนองไผ่ อ�ำเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
Wat Sa Bua
Na Nong Phai Subdistrict Chumphon Buri District Surin Province
ความเป็นมา ตั้งอยู่ที่หมู่ ๓ บ้านกระเบื้อง ต�าบลนาหนองไผ่ อ�าเภอชุมพลบุร ี จังหวัดสุรินทร์ วัดสระบัว เดิมทีเริ่มแรกชื่อ วัดสระโพธิ์ เพราะสมัยก่อนมี หนองน�า้ และต้นโพธ์ ๒ ต้น อยูต่ ดิ กับหนองน�า้ เจ้าอาวาส (พระอาจารย์สงิ ห์ จิตตคุตโฺ ต) และชาวบ้านพร้อมใจกันตัง้ วัดให้สอดคล้องลักษณะของธรรมชาติ และพื้นที่ ต่อมาจึงได้เปลี่ยนชื่อใหม่ เป็น วัดเกาะแก้วยานนาวา สาเหตุที่ เปลี่ยน บริเวณนี้คล้ายเป็นเกาะ ในฤดูฝนน�้าล้อมรอบ เวลาพระออก บิณฑบาต จะต้องพายเรือต่อมา พ.ศ. ๒๔๙๘ ชาวบ้านได้พากันไปนิมนต์ พระครูประจักษ์ธรรมเวท มาพ�านักจ�าพรรษาหลังจากนัน้ จึงได้เปลีย่ นชือ่ วัด ใหม่ มาเป็นชื่อว่า วัดสระบัว จนกระทั่งปัจจุบัน รายชื่อเจ้าอาวาสที่ปกครองมีดังนี้ ๑. พระอาจารย์สิงห์ จิตตคุตฺโต พ.ศ. ๒๔๕๐ - ๒๔๖๖ ๒. พระอาจารย์ค�า สุภทฺโท พ.ศ. ๒๔๖๗ - ๒๔๗๐
192
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระครูปทุมชยาภิรักษ์ เจ้าอาวาสวัดสระบัว
๓. พระอาจารย์ชม จกฺกวโร พ.ศ. ๒๔๗๐ - ๒๔๗๔ ๔. พระอาจารย์จ่อย ธมมฺครุโก พ.ศ. ๒๔๗๕ - ๒๔๗๗ ๕. พระอาจารย์ปาน สุธีโร พ.ศ. ๒๔๗๘ - ๒๔๘๙ ๖. พระครูประจักษ์ธรรมประเวท พ.ศ. ๒๔๙๘- ๒๕๔๐ ๗. พระมหานุกุล ชุตินธโร พ.ศ. ๒๕๔๐ - ๒๕๔๒ ๘. พระครูปทุมชยาภิรักษ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ - ปัจจุบัน วัดสระบัว ตั้งอยู่ทิศตะวันออกเฉียงเหนือของหมู่บ้าน เป็นเก่าแก่มานานคู่บ้านกระเบื้องชาวบ้านมีศรัทธาร่วมแรง ร่วมใจกันสร้างขึ้น โดยมีพระอาจารย์สิงห์ จิตตคุตฺโต เป็นน�าใน การก่อตั้ง เพื่อให้เป็นศูนย์กลางในการประกอบพิธีกรรมทาง ศาสนา ของชาวบ้าน และเพือ่ เป็นสถานทีส่ ั่งสอนอบรมศีลธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม แก่ชาวพุทธทั่วไป และ วัดสระบัว ได้ตั้งวัด เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๔ ชื่อในทะเบียนวัดของส�านักงานพุทธศาสนา แห่งชาติ และได้พระราชทานวิสุงคามสีเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๗ ประวัติ พระครูปทุมชยาภิรักษ์(สุรชัย สุรชโย) พระสุรชัย ฉายา สุรชโย อายุ ๔๙ ปี พรรษา ๒๘ วิทยฐาน นักธรรมชั้นเอก (ป.บส.) ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสวัดสระบัว สถานนะเดิม ชื่อ สุรชัย นามสกุล จิตรแจ้ง เกิดวันพฤหัสบดี ขึ้น ๔ ค�่า เดือน ๑๑ วันที่ ๒๓ เดือนกันยายน พุทธศักราช ๒๕๑๔ บิดาชื่อ นายเมือง จิตรแจ้ง - มารดาชื่อ นางตุ่น จิตรแจ้ง ณ บ้านเลขที่ ๒๑ หมู่ ๑๓ ต�าบลหนองไผ่ อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ บรรพชา/อุปสมบท วันพุธ แรม ๕ ค�่า เดือน ๕ ปีวอก วันที่ ๒๒ เดือนเมษายน พุทธศักราช ๒๕๓๕ ณ วัดยางบ่อภิรมย์ ต�าบลหนองไผ่ อ�าเภอ ชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ - พระอุปัชฌาย์ : พระครูพรหมสารคุณ วัดยางบ่อภิรมย์ - พระกรรมวาจารย์ : พระอธิการสุนนั ท์ สุภทฺโท วัดไพรวัลย์บา้ นตลุง - พระอนุสาวยาจารย์ : พระอธิการส�าเรือง สิริคุตฺโต วัดขุนไชยทอง วิทยฐานะ - พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๓๗ สอบไล่ ไ ด้ นั ก ธรรมชั้ น เอก ส�านักศาสนาศึกษาวัดคันธารมย์นิวาส ส�านักคณะจังหวัดสุรินทร์ - พุทธศักราช ๒๕๔๕ ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส วัดสระบัว อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ งานปกครอง - พุทธศักราช ๒๕๔๒ ได้รับการแต่งตั้งเป็นรักษาการ เจ้าอาวาสวัดสระบัว ต�าบลนาหนองไผ่ อ�าเภอชุมพลบุร ี จังหวัดสุรนิ ทร์ - พุทธศักราช ๒๕๔๕ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาสวัดสระบัว อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
193
วัดสระบัวงาม
ต�าบลไพรขลา อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
Wat Sra Bua Ngam
Phrai Khla Subdistrict, Chumphon Buri District, Surin Province 194
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ความเป็นมา วัดสระบัวงาม ตั้งอยู่บ้านขาม หมู่ที่ ๒ ต�าบลไพรขลา อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดินตั้งวัด มีเนื้อที่ ๒๙ ไร่ ๓๙ ตารางวา วัดสระบัวงาม ตั้งเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๓๖ ชาวบ้านเรียกว่า วัดบ้านขาม โดยมี พระเช็ง สมโสม เป็นผู้น�าในการสร้างวัด ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๔ เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร การบริหารและการปกครองมีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม รูปที่ ๑ พระเช็ง สมโสม รูปที่ ๒ พระพรหม กลองชัย รูปที่ ๓ พระเรือง ชีวาจร รูปที่ ๔ พระเปรม กลองชัย รูปที่ ๕ พระพูน แก้วหอม รูปที่ ๖ พระบุญส่ง สิทธิญาโน พระครูปทุมสราภิรัต รูปที่ ๗ พระฮาด ลาภจิตร รูปที่ ๘ พระรี เจ้าอาวาสวัดสระบัวงาม รูปที่ ๙ พระครูโสภณสรคุณ พุทธศักราช ๒๔๙๘ – ๒๕๓๖ รูปที่ ๑๐ พระครูปทุมสราภิรัต (พระสมชัย ปสันนจิตโต) เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
195
วัดแสนสุข (บ้านแสนสุข) ต�าบลยะวึก อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
Wat Saen Suk (Ban Saen Suk) Yawik Subdistrict, Chumpon Buri District, Surin Province
พระอธิการสุรสั ชินวฺ โํ ส เจ้าอาวาสวัดแสนสุข (บ้านแสนสุข) / เจ้าคณะตําบลยะวึก
196
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประวัติความเป็นมา วัดแสงสุธรรม สร้างเมื่อวันจันทร์ที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ ความเป็นมาของชื่อวัด เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๘ พระอธิการส�าราญ จวงจันทร์ ได้น�าชาวบ้านบุกเบิก ถากถาง ปราบที่ ด ้ า นทิ ศ ตะวั น ออกของหมู ่ บ ้ า นเพื่ อ เตรี ย มเป็ น ที่ ก่อสร้างวัด ได้เตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้างกุฏิหนึ่งหลัง จนถึงวันจันทร์ท ี่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ ตรงกับวัน ขึน้ ๑๓ ค�่า เดือน ๖ จึงสร้างแล้วเสร็จพอจะเป็นที่พักของสงฆ์ ปีแรก นี้มีพระจ�าพรรษาทั้งสิ้น ๑๑ รูป โดยพระอธิการส�าราญ จวงจันทร์ เป็นเจ้าอาวาสวัด และได้ย้ายไปท�าวัดที่ อ�าเภอ ท่าตูม ชาวบ้านจึงนิมนต์พระสว่าง อยูต่ อ่ แทนชัว่ คราว โดยได้ ตั้งชื่อวัดว่า วัดแสงสุธรรม พ.ศ. ๒๕๒๑ ชาวบ้านได้ไปนิมนต์ พระสุรัส ชินว�โส มาจ�าพรรษาที่วัดนี้ เพราะเป็นบุตรหลานของบ้านนี้ และได้ เป็นเจ้าอาวาสวัดนีม้ าตลอด จนวันที ่ ๓๐ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดอย่างเป็นทางการ จนถึง ปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๒๕ ชาวบ้านได้บริจาคเงินสร้างก�าแพงวัด ด้านทิศใต้ และทิศตะวันตก พ.ศ. ๒๕๓๓ ชาวบ้านและผู้มิจิตศรัทธาได้บริจาค สร้าง ศาลาการเปรียญ ขนาดกว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๒๑ เมตร เป็นอาคารชั้นเดียว สร้างด้วยคอนกรีต หลังคามุงกระเบื้อง งบประมาณ ๗๐๐,๐๐๐ บาท แต่ยงั ไม่แล้วเสร็จ โดยลูกหลาน ชาวบ้านได้จัดผ้าป่ามาสมทบการก่อสร้างทุกปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ทางคณะสงฆ์ได้ตราตัง้ แต่งตัง้ เจ้าอาวาส วันนีโ้ ดยแต่งตัง้ พระอธิการสุรสั ชินว�โส นธ.เอก เป็นเจ้าอาวาส เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๕ และได้พัฒนาวัดให้เจริญ ยิ่งขึ้นทุกปี พ.ศ. ๒๕๓๙ สร้ า งศาลาเพิ่ ม เติ ม รวมเป็ น เงิ น ๒๐๐,๐๐๐ บาท รวบกับที่สร้างมาแล้ว ๗๐๐,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงินค่าก่อสร้างทั้งสิ้น ๙๐๐,๐๐๐ บาท พ.ศ. ๒๕๑๘ สร้างกุฏเิ ป็นเงิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท สร้าง เพิ่มเติม ๒๐๐,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงินค่าก่อสร้างทั้งสิ้น ๕๐๐,๐๐๐ บาท พ.ศ. ๒๕๔๓ โยมหิง นาคกระแสร์ สร้างซุม้ ประตูถวาย เป็นเงิน ๑๘๐,๐๐๐ บาท พ.ศ. ๒๕๑๙ สร้างครัว, ห้องน�้า, และขุดสระน�้า จ�านวน ๒ สระ รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๒๐๐,๐๐๐ บาท พ.ศ.๒๕๔๓ โยมพล, โยมเคน, พวงสุข สร้างมุขคลุม บันไดถวายเป็นเงิน ๓๐,๐๐๐ บาท
พ.ศ. ๒๕๔๓ องค์การบริหารส่วนต�าบลยะวึก ไปวัด เอาที่ธรณีสงฆ์ ๒ แปลง ขุดสระน�้าสาธารณะไปแล้ว พ.ศ. ๒๕๓๘ ทางคณะสงฆ์ ได้ ต ราตั้ ง แต่ ง ตั้ ง พระอธิการสุรัส ชินว�โศ นธ.เอก เจ้าอาวาสวัดบ้านแสนสุข ด� า รงต� า แหน่ ง รองเจ้ า คณะต� า บลยะวึ ก เมื่ อ วั น ที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ ผู้บริจาคที่ดินสร้างวัดและผู้ทรงคุณวุฒิประจ�า หมู ่ บ ้ า น ๑.นายสุ ด อิ น ทร์ ต าล ๒. นายไพล สุ ร ถาวร ๓. นายหวก สมรูป ๔. นายขวัญ ทรงพระ ฝ่ายสงฆ์ คือ พระครูประจักษ์ธรรมประเวทย์เจ้า คณะอ�าเภอชุมพลบุรี ส่วนราชการ คือ นายยง สิงหวระ นายอ�าเภอชุมพลบุรี เป็นประธาน มาท�าพิธีวางศิลาฤกษ์ ตั้งวัดขึ้น นายสุด อินตาล ก�านัน ต�าบลยะวึกเจ้าภาพ การบริ ห ารการปกครอง ล� า ดั บ และประวั ติ เจ้าอาวาส (ตั้งแต่รูปแรกจนปัจจุบัน) รูปที่ ๑ พระอธิการส�าราญ พ.ศ. ๒๕๑๙ ถึง พ.ศ. ๒๕๒๑ รูปที ่ ๒ พระอธิการสุรสั ชินวฺ โ� ส พ.ศ. ๒๕๒๑ ถึง พ.ศ. ปัจจุบนั
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
197
วัดโพธิ์ทอง
ต� ำ บลกระโพ อ� ำ เภอท่ ำ ตู ม จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Phoh Thong
Kra Phoh Subdistrict, Tha Toom District, Surin Province วัดโพธิท์ อง ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นกระโพ ต�าบลกระโพ อ�าเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๖ ไร่ ๑ งาน ๓๖ ตารางวา ปัจจุบันมีเจ้าอธิการแสวง อินฺทโชโต (พระครู สุวรรณโพธิคณ ุ ) เป็นเจ้าอาวาสวัดโพธิท์ องและเจ้าคณะต�าบลกระโพ
ประวัติวัดโพธิ์ทอง วัดโพธิท์ อง นับเป็นวัดเก่าแก่ในแถบนี ้ โดยอาศัยความเห็น จากพระผู้ใหญ่และผู้ทรงคุณวุฒิให้ความเห็นว่าวัดโพธิ์ทองแห่งนี้ต้ัง ตามชื่อต้นไม้ประจ�าถิ่น ต่อมาก็ได้ท�าการก่อสร้างเรื่อยมา ยังไม่เป็น หลักเป็นแหล่ง ไป ๆ มา ๆ ระหว่างหมู่บ้านกระโพกับหมู่บ้านปทาย โดยได้อาศัยพระจากวัดพรหม กับวัดจ�าปา มาดูแลเป็นครั้งคราวจน กระทั่งปี พ.ศ. ๒๓๖๔ ได้มีพระอุปัชฌาย์ปลอด ซึ่งเป็นพระเถระที่มี ความรู้ความสามารถเชี่ยวชาญทางการปกครองคณะสงฆ์ จนเป็นที่ เคารพนับถือของชาวบ้านเป็นอย่างดี จังหวัดสุรินทร์จึงได้จัดมาเป็น ผูส้ ร้างและจัดตัง้ วัดโพธิท์ องแห่งนีใ้ ห้เป็นวัดถูกต้องและถาวร ท่านก็ เป็นเจ้าสมภารหรือเจ้าอาวาสวัดโพธิท์ องแห่งนี ้ จนถึงปี พ.ศ. ๒๓๙๑ จึงมรณภาพ
198
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ต่อมาพระเหินซึง่ เป็นลูกศิษย์ของท่าน ได้ปกครองวัดโพธิ์ทอง พระเหินได้พัฒนาโดย สร้างกุฏิขึ้น ๑ หลัง และศาลาโรงธรรม ๑ หลัง หรือศาลาการเปรียญ ทรงโบราญอาคารไม้ หลังคามุงหญ้าคา ท่านได้เป็นสมภารหรือเจ้า อาวาสถึงปี พ.ศ.๒๔๑๐ โดยประมาณ ก็ได้ มรณภาพ ต่อมามีพระอาจารย์อานเป็นพระชาว จังหวัดอุบลราชธานี และเป็นพระนักพัฒนาที่ มีความรู ้ ได้มาอยูจ่ า� พรรษาทีว่ ดั โพธิท์ องแห่งนี้ โดยท่ า นเป็ น ครู ผู ้ ส อนหนั ง สื อ ไทยให้ กั บ ประชาชน และได้สอนหนังสือมูลกระจายให้กบั พระภิกษุสามเณร จนถึงปี พ.ศ. ๒๔๓๐ ท่านได้ ย้ายไปอยู่วัดที่อื่น ต่อมามีพระอาจารย์ด�า พระอาจารย์ อินทร์ พระอาจารย์พา อินทร์สา� ราญ อยูต่ ดิ ต่อ กันมาจนถึงปี พ.ศ. ๒๔๗๐ ก็มพี ระอาจารย์แกต มะลิงาม พระอาจารย์จันทร์ หอมนวล พระ อาจารย์บ ู่ หอมนวล เป็นเจ้าอาวาสติดต่อกันมา จนถึงปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ก็มพี ระอธิการสร้อย (โล้น) โสภโณ เป็นเจ้าอาวาส และทางคณะสงฆ์ได้ยก ฐานะให้ดา� รงต�าแหน่งเจ้าคณะหมวด (เจ้าคณะ ต�าบลกระโพ) ท่านได้สร้างอุโบสถขึ้น ๑ หลัง แบบทรงไทยอาคารไม้หลังมุงสังกะสี และได้รบั พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๔ แล้วท่านก็ได้ลาสิกขาบทออกไป
ต่อมาเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๘๕ ทางคณะสงฆ์อา� เภอท่าตูม ได้มอบหมายให้พระอธิการแวง สุวรณฺณปญฺโญ (พระครู สุวรรณปัญญาจารย์) มาเป็นเจ้าอาวาส แล้วได้แต่งตั้งให้เป็น เจ้าคณะต�าบลกระโพ แต่งตั้งให้เป็นอุปัชฌาย์ และเป็นเจ้า ส�านักเรียนธรรม จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๒๓ ท่านก็ได้มรณภาพ จึง ได้แต่งตั้งเจ้าอธิการพา ฐานวโร (พระครูวิบูลโพธิธรรม) เป็น เจ้าอาวาส และเจ้าคณะต�าบลกระโพ จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ท่านก็ได้มรณภาพไปด้วยโรคชรา แล้วจึงได้แต่งตั้งให้เจ้า อธิการแสวง อินฺทโชโต (พระครูสุวรรณโพธิคุณ) เป็นเจ้า อาวาสวัดโพธิ์ทอง และเจ้าคณะต�าบลกระโพจนถึงปัจจุบัน
อาคารเสนาสนะส�าคัญ ๑. อุโบสถ (หลังใหม่) มีลักษณะสถาปัตยกรรมไทย ประดับด้วยช่อฟ้า ใบระกา ก่อสร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก มีขนาดกว้าง ๘ เมตร ยาว ๒๑ เมตร ในอุโบสถมีพระประธาน ประดิษฐาน ขนาดหน้าพระเพลากว้าง ๘๐ นิ้ว ๑ องค์ ๒. ศาลาการเปรียญ ๑ หลัง กว้าง ๒๐ เมตร ยาว ๓๐ เมตร เป็นศาลาเอนกประสงค์ ให้พุทธศาสนิกชนได้มา ท�าบุญ ฟังเทศน์ ฟังธรรมในวันธรรมสวนะหรือวันส�าคัญใน ทางพระพุทธศาสนาเป็นประจ�า ๓. กุฏิ ๑ หลัง รับรองพระภิกษุสามเณร ที่บรรพชา อุปสมบทได้เข้ามาศึกษาหาความรูใ้ นทางพระธรรมวินยั อยูจ่ า� พรรษา ในแต่ละปีมพี ระภิกษุสามเณรอยูจ่ า� พรรษาไม่นอ้ ยกว่า ๑๐ รูป ขึ้นไป
ล�าดับเจ้าอาวาสวัดโพธิ์ทอง ๑. พระอธิการปลอด ๒. พระอธิการเหิน ๓. พระอธิการอาน ๔. พระอธิการด�า ๕. พระอธิการอินทร์ ๖. พระอธิการพา ๗. พระอธิการแกต โอภาโส ๘. พระอธิการสร้อย โสภโณ ๙. พระครูสุวรรณปัญญาจารย์ ๑๐. พระครูวิบูลโพธิธรรม ๑๑. พระครูสุวรรณโพธิคุณ
พ.ศ.๒๓๖๔-๒๓๙๑ พ.ศ.๒๓๙๑-๒๔๑๐ พ.ศ.๒๔๑๐-๒๔๓๐ พ.ศ.๒๔๓๐-๒๔๓๘ พ.ศ.๒๔๓๘-๒๔๔๙ พ.ศ.๒๔๔๙-๒๔๖๒ พ.ศ.๒๔๖๒-๒๔๗๕ พ.ศ.๒๔๗๕-๒๔๘๕ พ.ศ.๒๔๘๕-๒๕๒๓ พ.ศ.๒๕๒๓-๒๕๓๘ พ.ศ.๒๕๓๘-ปัจจุบนั
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
199
วัดปราสาทขุมดิน
ต�าบลหนองหลวง อ�าเภอโนนนารายณ์ จังหวัดสุรินทร์
Wat Prasat Khumdin
Nong Luang Subdistrict, Non Narai District, Surin Province
วัดปราสาทขุมดิน
วัดปราสาทขุมดิน ตั้งอยู่เลขที่ ๑๒๓ บ้ า นขุ ม ดิ น หมู ่ ที่ ๔ ต� า บล หนองหลวง อ�าเภอโนนนารายณ์ จังหวัด สุ ริ น ทร์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ปัจจุบนั มีเนือ้ ที ่ ๔๘ ไร่ ๓ งาน ๓๖ ตาราง วา อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย - ศาลาการเปรียญ - กุฏสิ งฆ์จา� นวน ๔ หลัง - ศาลาบ�าเพ็ญกุศล ๑ หลัง - หอระฆัง ๑ หลัง
200
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปูชนียวัตถุ - พระพุทธรูปจ�านวน ๑๔ องค์ โบราณวัตถุ ปราสาท ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า ธาตุ จ�านวน ๑ หลัง ประดิษฐานบริเวณ กลางวัด สร้างด้วยศิลาแลง องค์แรก ยาว ๒๔ เมตร กว้าง ๙ เมตร องค์ที่ ๒ ยาว ๗.๕ เมตร แต่ไม่สามารถค�านวณ ได้ เ พราะเหลื อ แต่ ซ ากปรั ก หั ก พั ง นอกจากนีม้ ที บั หลัง จ�านวน ๑ ชิน้ และ มีเทวรูป อีกจ�านวน ๑๓ องค์
พระครูศรีปริยัติวราภรณ์ (จิตฺตสาโร)
วัดปราสาทขุมดิน ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๑ ผู้น�าในการ เจ้าคณะอ�าเภอโนนนารายณ์ เจ้าอาวาสวัดปราสาทขุมดิน สร้าง พระอาจารย์สงั ข์ โพธิญาโณ (โพธิพ์ นั ธ์) เมือ่ พ.ศ. ๒๕๒๐ คณะกรรมการวัดเห็นว่า บริเวณวัดคับแคบ จึงได้ยา้ ยวัดมาตัง้ บริเวณป่าดงธาตุซึ่งเป็นที่สาธารณะประจ�าหมู่บ้าน การบริหารและการปกครองมีเจ้าอาวาส คือ รูปที่ ๑ พระสังข์ โพธิญาโณ พ.ศ. ๒๔๖๑ - ๒๔๖๙ รูปที่ ๒ พระจันทร์ สีลวณฺโณ พ.ศ. ๒๔๖๙ - ๒๔๗๘ รูปที่ ๓ พระจันทร์ จนฺทวณฺโณ พ.ศ. ๒๔๗๘ - ๒๔๘๒ รูปที่ ๔ พระนา ญาณวโร พ.ศ. ๒๔๘๒ - ๒๔๘๙ รูปที่ ๕ พระเคน พุทฺธสโร พ.ศ. ๒๔๘๙ - ๒๔๙๓ รูปที่ ๖ พระค�า กณฺหวณฺโณ พ.ศ. ๒๔๙๓ - ๒๔๙๕ รูปที่ ๗ พระมึ้ม อนุนาโม พ.ศ. ๒๔๙๕ - ๒๔๙๗ รูปที่ ๘ พระเหวด ปญฺญาธโร พ.ศ. ๒๔๙๗ - ๒๔๙๙ รูปที่ ๙ พระเงิน สีลคุโณ พ.ศ. ๒๔๙๙ - ๒๕๐๓ การศึกษา รูปที่ ๑๐ พระผัด ปหสฺสจิตฺโต พ.ศ. ๒๕๐๓ - ๒๕๒๙ มีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ รูปที่ ๑๑ พระสุวิทย์ จิตคุโณ พ.ศ. ๒๕๒๙ - ๒๕๓๒ พ.ศ. ๒๕๐๔ และแผนกบาลี เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๙ และศูนย์ รูปที่ ๑๒ พระครูศรีปริยัติวราภรณ์ พ.ศ. ๒๕๓๓ - ๒๕๖๓ อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. ๒๕๖๒ จนถึงปัจจุบัน
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
201
วัดอิสาณบ้านโนนสั้น
ต� า บลหนองหลวง อ� า เภอโนนนารายณ์ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Isan Ban Non San
Nong Luang Subdistrict, Non Narai District Surin Province
วัดอิสาณบ้านโนนสั้น ตั้งอยู่เลขที่ ๕๗ บ้านโนนสั้น หมู่ที่ ๖ ต�าบลหนองหลวง อ�าเภอโนนนารายณ์ จังหวัดสุรินทร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบันมีเนื้อที่ ๑๙ ไร่ ๒๔ ตารางวา อาคารเสนาสนะส�าคัญ - ศาลาการเปรียญ - กุฏิสงฆ์จ�านวน ๔ หลัง - ศาลาบ�าเพ็ญกุศล ๒ หลัง - ฌาปนสถาน ๑ หลัง - หอระฆังไม้โบราณทรงจตุรมุข ๑ หลัง - อุโบสถ ปูชนียวัตถุ - พระพุทธรูปจ�านวน ๘ องค์ - มณฑปประดิษฐานรูปเหมือนพระครูเกษมรัตนกิจ(มี เขมิโย) อดีตเจ้าอาวาสรูปที่ ๑๒
202
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระอธิการบุญทัน กตปุญโญ เจ้าอาวาสวัดอิสาณบ้านโนนสั้น
โบราณสถาน ศาลาโรงธรรม สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๔๒ (ปัจจุบนั พ.ศ. ๒๕๖๓ มีอายุ ๑๒๑ ปี) เป็นศาลาทรงไทยโบราณสร้างด้วยไม้ทงั้ หลังจ�านวนเสา ๒๖ ต้นหลังคา มุงด้วยกระเบือ้ งดินเผา ความส�าคัญเป็นโรงเรียนหลังแรกของชาวบ้านโนนสัน้ บ้านอีโกฏิ, บ้านหนองใหญ่ ฯลฯ
ความเป็นมา วัดอิสาณบ้านโนนสัน้ ตัง้ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๓๖ ผูน้ า� ในการสร้างคือ นายบ้านกัณหา นายบ้านพิม บุญยิ่ง (อดีตผู้ใหญ่บ้านคนแรกและคนที่สองของบ้านโนนสั้น) พร้อมทั้งนายแพง (หรือจ่าแพง) ได้ร่วมกันก่อตั้ง ที่ได้ชื่อว่า วัดอิสาณ เพราะตั้งชื่อเอาตามภูมิประเทศบริเวณที่ตั้ง คือวัดได้ตั้งอยู่ ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (ทิศอิสาน) ของหมู่บ้านโนนสั้นจึงตั้งชื่อว่า วัดอิสาณ และได้เอา ชื่อหมู่บ้านรวมเข้าด้วยจึงได้ชื่อว่า วัดอิสาณบ้านโนนสั้น ล�าดับเจ้าอาวาสที่ปกครองวัดตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รูปที่ ๑ พระอธิการเทศ (ไม่ทราบฉายา) พ.ศ. ๒๔๔๖-๒๔๔๙ รูปที่ ๒ พระอธิการเจื้อม รูปที่ ๓ พระปลัดตุ่ย อินทปัญโญ รูปที่ ๔ พระอธิการดี (มาจากวัดบ้านยาง รัตนบุรี ไม่ทราบฉายา) รูปที่ ๕ พระอธิการพรหม ญาณสัมปันโน รูปที่ ๖ พระอธิการมา ปัญญาวุฑโฒ รูปที่ ๗ พระอธิการสี ธัมมโชโต รูปที่ ๘ พระอธิการจันทร์ ธัมมสโร รูปที่ ๙ พระอธิการสี สีลคุโณ รูปที่ ๑๐ พระอธิการทองสุข จิตตปัญโญ รูปที่ ๑๑ พระอธิการทอง ดี จิตตสา พ.ศ. ๒๔๙๘ – ๒๕๐๙ รูปที่ ๑๒ พระครูเกษมรัตนกิจ (มี เขมิโย) พ.ศ. ๒๕๐๙ – ๒๕๓๕ รูปที่ ๑๓ พระอธิการเคน สุกวโร พ.ศ. ๒๕๓๕ – ๒๕๔๕ รูปที่ ๑๔ พระครูพิศาลสุวรรโณภาส พ.ศ. ๒๕๔๕ – ๒๕๕๓ รูปที่ ๑๕ พระอธิการบุญทัน กตปุญโญ พ.ศ. ๒๕๕๓ – ปัจจุบัน การศึกษา มีโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรม เปิดสอนมาตัง้ แต่ป ี พ.ศ. ๒๕๐๙ และมีการสนับสนุน พระภิกษุสามเณรให้ไปศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญและบาลียังส�านักเรียนต่าง ๆ
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
203
วัดมุนีนิรมิต
ตำ�บลเชื้อเพลิง อำ�เภอปร�ส�ท จังหวัดสุรินทร์
Wat Mu Nee Niramit
Cheau plerng Subdistrict, Pra Sat District, Surin Province
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
204
ปักหมุดวัดเมืองไทย
อยูใ่ นเขตปกครองต�าบลกังแอน ได้พา ให้อยู่โปรดสัตว์ โดยตาขาว ประมูลศรี ถวาย ความเป็ น มาในอดี ต กาล กันสร้างทีพ่ กั สงฆ์ขนึ้ เพือ่ เป็นสถานที่ ที่ดินสร้างวัดขึ้น ในปี พ.ศ. ๒๔๗๓ ปีมะเมีย ประมาณปี พ.ศ.๒๔๖๕ ชาวบ้านโพธิ์ บ�าเพ็ญบุญกุศล เพราะในสมัยนั้นมี ชื่อว่า วัดก�ำโปล เมือ่ พระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ ๒๔๘๕ กองได้ ออกมาตั้ ง ถิ่นฐานจับ จองที่ดิน วัดแจ้งสง่างาม ตั้งอยู่ที่บ้านไพลแห่ง สร้างบ้านเรือนที่ป่าหนองร�าเบอะ, หน เดียว การไปท�าบุญในเทศกาลต้อง การสร้างวัดให้ถกู กฎหมายต้องขออนุญาต แต่ องแสรโบราณ, โสนกจีกแดก, โคกเสม็ด, ค้างคืน ๑-๒ คืน การคมนาคมล�าบาก วัดที่สร้างมาก่อนพระราชบัญญัติให้นิรโทษ หนองเฌอเพลิง เมือ่ มีประชาชนมากขึน้ มากต้องลุยน�า้ ข้ามป่า จวบกับมีพระภิกษุ เป็นวัดที่ถูกต้องได้และได้ตั้งชื่อ วัดมุนีนิรมิต จึ ง รวมเป็ น หมู ่ บ ้ า นใหม่ ๓ หมู ่ คื อ เมร็จ มุนีโชโต ได้ไปศึกษาปริยัติธรรม แปลว่า ผูร้ สู้ ร้าง มีปราชญ์สงฆ์คอื หลวงปูร่ ตนมุนี บ้านแสรโบราณ+หนองโสนกจีกแดก+ ทีอ่ า� เภอกระโทก จังหวัดนครราชสีมา วัดอุทุมพร ได้กล่าวว่าที่ดินแดนตรงนี้เป็นที่ โคกเสม็ดเป็น ๑ หมู่ บ้านร�าเบอะ+ ผ่ า นไปมาระหว่ า งวั ด แจ้ ง สง่ า งาม บังเกิดแหล่งความรู ้ เป็นค�าท�านายบอกไว้ ต่อ โคกคล็อง+โคกขนาดปรีง เป็น ๑ หมู ่ กับวัดกันตรวจระมวล เพื่อไปเยี่ยม มามีภัยแล้งอย่างหนัก ตาแก้ว สุวรรณด�า หนองเฌอเพลิงเหนือ+เฌอเพลิงใต้+ พระอุปชั ฌาย์ของท่านคือ หลวงปูจ่ กุ บริ จ าคที่ ดิ น ด้ า นทิ ศ เหนื อ ปิ ด ท� า นบกั้ น น�้ า โคกจังเอิณ+โคกนาสาม เป็น ๑ หมู่ จนฺ โ ท จึ ง ได้ นิ ม นต์ พ ระภิ ก ษุ เ มร็ จ ตาเปรม สุรศร บริจาคที่ดินขุดสระปิดท�านบ ด้านทิศใต้ ท�าให้รอบวัดมีน�้าอุดมสมบูรณ์ถึง ปัจจุบัน
ประวัติวัดมุนีนิรมิต
เจ้ำอำวำส
๑. พระภิกษุเมร็จ มุนีโชโต เป็น พระครูไพศาลมุนธี รรม พ.ศ. ๒๔๗๓ - ๒๕๑๕ จ�านวน ๔๓ ปี (มรณภาพ) ๒. พระภิกษุด�ารง กนฺตสีโล เป็น เจ้าอาวาส ๒๕๑๖ - ปัจจุบัน จ�านวน ๔๗ ปี และในปี พ.ศ. ๒๕๓๓ ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้า คณะต�าบลไพล
ปักหมุดวัดเมืองไทย
205
- พ.ศ. ๒๕๓๔ ได้ รั บ พระราชทาน สั ญ ญาบั ต รพั ด ยศและเลื่ อ นสมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระครูธ�ำรงสีลคุณ - พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น รองเจ้าคณะอ�าเภอปราสาท และต่อมาได้รับการ แต่งตัง้ เป็นรักษาการแทนเจ้าคณะอ�าเภอปราสาท ถึง ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๓ - พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้าคณะอ�าเภอปราสาท เมื่อ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓
206
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประวัติกำรศึกษำ พระครูธ�ำรงสีลคุณ
พระครูธ�ารงสีลคุณ (เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน / เจ้าคณะอ�าเภอ ปราสาท) ส�าเร็จนักธรรมเอก สำยสำมัญ - พุทธศาสตร์บัณฑิต สาขาการจัดการเชิงพุทธ (เกียรตินิยม อันดับหนึ่ง) มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย - พุ ท ธศาสตร์ ม หาบั ณ ฑิ ต สาขาพระพุ ท ธศาสนา มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระครูธ�ำรงสีลคุณ เจ้ำคณะอ�ำเภอปรำสำท / เจ้ำอำวำสวัดมุนีนิรมิต
ปักหมุดวัดเมืองไทย
207
วัดเพชรบุรี
ต�ำบลทุ่งมน อ�ำเภอปรำสำท จังหวัดสุรินทร์
Wat Phet Buri
Tung Mon Subdistrict, Pra Sat District, Surin Province วัดเพชรบุรี วัดเพชรบุรี ได้เป็นศูนย์รวมใจ บริเวณบ้านตาปาง บ้านตาดอก บ้านสมุด ของพุทธศาสนิกชนชาวต�าบลทุ่งมนและ เพื่อที่จะได้ร่วมกันท�านุบ�ารุงอุปถัมภ์ ต�าบลสมุดมานานอย่างน้อย ๒๒๑ กว่าปี ค�้าชูวัดแห่งใหม่นี้ด้วย” การปกครอง แล้ว ในปี พ.ศ. ๒๓๔๒ ได้รับการอนุญาต ท้องที่ของราชการบ้านเมืองนั้น ในปี ให้ ตั้ ง วั ด อย่ า งเป็ น ทางการ ซึ่ ง เป็ น ปี พุทธศักราช ๒๕๓๐ วัดเพชรบุรีอยู่ใน เดี ย วกั น กั บ การประกาศจัดตั้ง หมู่บ ้าน เขตพืน้ ทีบ่ า้ นตาปาง หมูท่ ี่ ๖ ต�าบลทุง่ มน ตาปาง ต�าบลทุง่ มน อ�าเภอปราสาทจังหวัด อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ต่อมา สุรินทร์ อีกด้วย จึงตั้งข้อสันนิษฐานว่า ภายหลังเมือ่ มีการแบ่งเขตการปกครอง “เมื่อหลวงพ่อเพชร หลวงพ่อแก้ว น�าพา คณะสงฆ์ ต� า บลทุ ่ ง มนขึ้ น มาใหม่ คณะสงฆ์และญาติโยมมาร่วมสร้างวัดใหม่ วัดเพชรบุรจี งึ ถูกเปลีย่ นแปลงจัดให้อยู่ แล้ว ประชาชนชาวบ้านทุ่งมนที่เคารพ ในเขตการปกครองท้องที่บ้านทุ่งมน ศรัทธาเลื่อมใส ก็ได้พากันเทครัวอพยพ หมู่ที่ ๒ ต�าบลทุ่งมน อ�าเภอปราสาท ย้ายครัวเรือนมาตั้งถิ่นฐานที่อยู่ใหม่ตรง จังหวัดสุรินทร์ และในปีพุทธศักราช
208
ปักหมุดวัดเมืองไทย
๒๕๓๖ ทางหน่วยงานราชการได้แบ่งแยก เขตการปกครองของต�าบลทุง่ มนออกเป็น ๒ ต�าบล คือ ๑. ต�าบลทุง่ มน มี ๑๑ หมูบ่ า้ น ๒. ต�าบลสมุด มี ๘ หมูบ่ า้ น วัดเพชรบุรจี งึ เป็นส่วนหนึ่งในเขตการปกครองท้องที่ ของบ้านทุง่ มนตะวันออก บ้านเลขที ่ ๑๐๖ หมู ่ ที่ ๑ ต� า บลสมุ ด อ� า เภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ๓๒๑๔๐ วัดเพชรบุร ี เป็นวัดราษฏร์ สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งวัดเมื่อวันที่ ๖ เดื อ นพฤษภาคม พ.ศ. ๒๓๔๒ ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ ๒๗ เดื อ นพฤศจิ ก ายน พ.ศ. ๒๓๗๑
เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง ๘ เมตร ยาว ๑๖ เมตร เดิ ม ชาวบ้ า นนิ ย มเรี ย กว่ า “วัดทุ่งมนตะวันออก” โดยตั้งแต่แรก บุกเบิกสร้างวัดนั้นที่ดินตรงนี้เป็นที่ดิน ป่าไม้รกทึบ ภายหลังมีนายกฤษ – นางอี แก้วแบน, นายแก้ว – นางกลัด ลับแล, นายบูรณ์ ศรีราม, นายมี–นางมิง่ จงมีเสร็จ, นายกอง จงมีเสร็จ (พี่ชายหลวงพ่อ แก้ว) และพุทธศาสนิกชนประชาชน ชาวบ้ า นร่ ว มกั น มอบถวายหนั ง สื อ เอกสารที่ดินให้วัดเมื่อ พ.ศ. ๒๓๕๕ และได้อาราธนานิมนต์พระเดชพระคุณ หลวงปูเ่ พชร พ�านักจ�าพรรษาเป็นเจ้าอาวาส วัดรูปแรกด้วย ภายหลังจากหลวงปู่ เพชรมรณภาพแล้ว หลวงปูแ่ ก้วก็ได้รบั
เจดีย์อัฐิธาตุหลวงปู่เพชร และอัฐิธาตุหลวงปู่พระอุปัชฌาย์แก้ว
แต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสรูปใหม่ และเจ้า เมืองสุรินทร์ในสมัยนั้นได้ออกว่าราชการ ตรวจเยี่ยมวัดพอดี เจ้าเมืองสุรินทร์รับ ทราบว่า “วัดแห่งนีห้ ลวงปูเ่ พชรเป็นผูน้ า� พา คณะสงฆ์และประชาชนบุกเบิกสร้างวัดมา โดยตลอด” เจ้าเมืองสุรินทร์จึงได้ ขอ เทิดทูนเกียรติคุณของหลวงปู่เพชรและ ตั้ ง ชื่ อ วั ด ทุ ่ ง มนตะวั น ออกใหม่ ว ่ า “วัดเพชรบุรี” หลวงปูแ่ ก้ว เจ้าอาวาสวัดเพชรบุรี รูปที่ ๒ ได้สั่งสอนคณะสงฆ์และน�าพา ญาติโยม ศึกษาธรรม ปฏิบัติธรรมกัมมัฏฐาน ด้วยความวิริยะอุตสาหะอย่างยิ่ง จนเป็น ทีป่ ระจักษ์ตาต่อเจ้าคณะผูป้ กครองคณะสงฆ์ ในยุคนั้น จึงได้ออกประกาศแต่งตั้งให้
พระครูอนุรักษ์สัจธรรม หลวงปู่จริง สุวัณณโชโต
หลวงปูแ่ ก้วเป็นอุปชั ฌายะ มีตา� แหน่งหน้าที่ เป็นประธานในการให้บรรพชาอุปสมบทให้ แก่กลุ บุตร ได้สงั่ สอนกุลบุตรให้เว้นกิจควรเว้น ประพฤติกิจควรประพฤติ ในหลักธรรมแห่ง พระพุทธศาสนาตลอดไป พุทธศาสนิกชน ศิษยานุศิษย์จึงเรียกหลวงปู่แก้วอย่างเป็น ทางการว่า “หลวงปู่พระอุปัชฌาย์แก้ว” ภายหลังจากทีห่ ลวงปูพ่ ระอุปชั ฌาย์ แก้วมรณภาพแล้ว ได้มีบูรพาจารย์หลายรูป คือ หลวงปู่วาง หลวงปู่วอน หลวงปู่เสาร์ หลวงปูล่ าน ครองวัดด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส ตามล�าดับมาบางรูปก็มรณภาพ บางรูปก็ลา สิกขาบท บางรูปก็อยู่ครองวัดนานหลายปี พรรษา จวบจนมาถึงยุค สมัยของพระครู อนุรักษ์สัจธรรม (หลวงปู่จริง สุวณฺณโชโต) ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดเพชรบุรี ท่านได้ ช่ว ยเหลือชุมชนสังคมประเทศชาติ เ ป็ น ที่ เคารพศรัทธาเลื่อมใสมากมาย จึงได้รับการ แต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งเป็นเจ้าคณะต�าบล ทุง่ มน ปกครองคณะสงฆ์ทงั้ ต�าบลทุง่ มน และ ในฐานะเจ้าอาวาสผู้ปกครองวัดเพชรบุรี ได้ ด�าริน�าพาคณะพระภิกษุสงฆ์ที่บวชอยู่ด้วย กันในยุคนัน้ พร้อมทัง้ ประชาสัมพันธ์บอกบุญ
พระครูประสาทพรหมคุณ หลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ ปักหมุดวัดเมืองไทย
209
มณฑปอัฐิธาตุพระครูอนุรักษ์สัจธรรม (หลวงปู่จริง สุวณฺณโชโต/ทองนัด)
ญาติโยมให้พุทธศาสนิกชนทุกท่านร่วม สร้างกุฏสิ งฆ์ดว้ ยไม้หลังใหญ่ ๒ ชัน้ จ�านวน ๑๒ ห้อง สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๒ (มี สลั ก ปี ที่ ส ร้ า งเสร็ จ ไว้ ที่ ห น้ า บั น ของกุ ฏิ ) และในปี เ ดี ย วกั น นั้ น วั น ที่ ๑๖ เดื อ น กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๒ สังฆมนตรีว่าการ องค์การปกครอง ได้ออกหนังสือแต่งตั้งให้ เจ้าอธิการจริง สุวณฺณโชโต วัดเพชรบุรี ต�าบลทุง่ มน อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรนิ ทร์ เป็ น อุ ป ั ช ฌายะในเขตต� า บลทุ ่ ง มน มี ต� า แหน่ ง หน้ า ที่ เ ป็ น ประธานในการให้ บรรพชาอุปสมบท ตามบทบัญญัตแิ ห่งสังฆาณัติ ระเบียบพระอุปชั ฌายะ พุทธศักราช ๒๔๘๗ หลวงปู ่ จ ริ ง สุ ว ณฺ ณ โชโต ได้ น� า พา ศิ ษ ยานุ ศิ ษ ย์ ทั่ ว ทุ ก สารทิ ศ ร่ ว มสร้ า ง
210
ปักหมุดวัดเมืองไทย
สาธารณูปการต่าง ๆ เช่น อุปภัมภ์สร้าง โรงเรียนสุวรรณาคารสงเคราะห์ อุปภัมภ์ สร้างสถานีอนามัยต�าบลทุง่ มน โรงพยาบาล และอืน่ ๆ อีกมากมายตลอดชีวติ ของท่าน และเมื่อวันที่ ๒๗ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๑๕ หลวงปู่จริงได้มรณภาพลงด้วย โรคชราอย่างสงบ หลังจากหลวงปู่จริงได้มรณภาพ แล้ว คณะสงฆ์วัดเพชรบุรีและญาติโยม พุทธศาสนิกชน น�าโดย นายบรัน บานบัว ก�านันต�าบลทุ่งมน ได้อาราธนานิมนต์ พระครูประสาทพรหมคุณ (หลวงปูห่ งษ์ พรหมปัญโญ) มาพ�านักจ�าพรรษาเป็น เจ้าอาวาสวัดเพชรบุรีสืบต่อไปจนท่าน มรณภาพละสังขาร เมื่อวันที่ ๕ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ และในยุคสมัยของ หลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ ถือได้ว่าเป็น ยุคที่รุ่งเรืองมาก หลวงปู่หงษ์ท่านสร้าง ชื่อเสียงให้วัดเพชรบุรีได้เป็นที่รู้จักของ พุทธศาสนิกชนทั่วโลก โดยเฉพาะเรื่อง ที่หลวงปู่หงษ์ได้น�าพาให้ทุกคนอนุรักษ์ ป่ า ไม้ ห ลายพั น ไร่ ขุ ด สระเป็ น แหล่ ง
กักเก็บน�้าสร้ า งฝายกั้ น น�้ า เอาไว้ ใช้ ใ น หน้ า แล้ ง จนได้ รั บ พระราชทานธง “พิทักษ์ป่า เพื่อรักษาชีวิต” สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ และสุดท้ายของชีวติ หลวงปูห่ งส์ ก่ อ นมรณภาพหลายปี ไ ด้ มี ก ารเขี ย น บันทึกข้อความพินัยกรรมไว้ว่า ขอให้ ศิษยานุศษิ ย์บรรจุสรีระสังขารของหลวง ปู่ไว้ในโลงแก้วให้ ศิษยานุศิษย์ได้กราบ สักการะบูชาตลอดไป
ล�าดับเจ้าอาวาส ล�าดับที่ 1 หลวงปู่เพชร ผู้น�าพาคณะ สงฆ์ แ ละพุ ท ธศาสนิ ก ชนสร้ า งวั ด เพชรบุ รี ตั้ ง แต่ ต ้ น ยุ ค รั ต นโกสิ น ทร์ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช ล�าดับที่ 2 หลวงปูแ่ ก้ว ผูไ้ ด้รว่ มสร้างวัด เพชรบุรีในยุคสมัยของหลวงพ่อเพชร ล�าดับที่ 3 หลวงปู่วาง ล�าดับที่ 4 หลวงปู่วอน ล�าดับที่ 5 หลวงปู่เสาร์ ล�าดับที่ 6 หลวงปู่ลาน ล�าดับที่ 7 พระครูอนุรักษ์สัจธรรม (หลวงปู่จริง สุวณฺณโชโต) ล�าดับที่ 8 พระครูประสาทพรหมคุณ (หลวงปู่หงษ์ พฺรหฺมปญฺโญ) ล�าดับที่ 9 พระเอกลักษณ์ สุจิณฺโณ ปกครองวั ด ตั้ ง แต่ วั น ที่ ๓๑ มี น าคม ๒๕๖๑ ถึงปัจจุบัน
หลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ (พระครูประสาทพรหมคุณ)
หลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ (พระครูประสาทพรหมคุณ) อดีตเจ้าอาวาสวัดเพชรบุรี อดีต เจ้าคณะต�าบลทุง่ มน และอดีตทีป่ รึกษาเจ้า คณะต�าบลทุ่งมน พระครูประสาทพรหมคุณ (พระ หงษ์ ฉายา พฺรหฺมปญฺโญ นามสกุล จะมัวดี) บุตรนายโบก - นางอืน่ จะมัวดี เกิดเมือ่ วันที่ ๕ เดือนมีนาคม พุทธศักราช ๒๔๖๐ ที่ หมูบ่ า้ นทุง่ มน หมูท่ ี่ ๒ ต�าบลทุง่ มน อ�าเภอ ปราสาท จังหวัดสุรินทร์ แรกถือก�าเนิด เหล่าญาติได้ตงั้ นามว่า เด็กชายสุวรรณหงษ์ จะมัวดี พอเจริญวัยอายุได้ ๑๘ ปี บิดา มารดาอนุญาตให้นายสุวรรณหงษ์ ออก
บรรพชาตอบแทนบุ ญ คุ ณ ของผู ้ มี พระคุณ พระอุปชั ฌาย์จงึ เปลีย่ นนามให้ ใหม่วา่ สามเณรพรหมศร หลังจากได้รบั การบรรพชาเป็นสามเณรแล้ว พระอุปชั ฌาย์ ก็ได้สอนตจปัญจกกัมมัฏฐานให้ และได้ ฤกษ์อุปสมบทในวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๔๘๑ มีอายุครบ ๒๑ ปีล่วงแล้ว โดย มีเจ้าอธิการแปน (หลวงปูแ่ ป้น) เจ้าอาวาส วัดสว่างอารมณ์ เป็นพระอุปัชฌาย์ มี พระครูอนุรกั ษ์สจั ธรรม (พระอธิการจริง สุวณฺณโชโต) เจ้าอาวาสวัดเพชรบุร ี เป็น พระกรรมวาจาจารย์ และมีพระอาจารย์แวด (หลวงปู่แหงน) จากวัดเพชรบุรี เป็น พระอนุสาวนาจารย์ รับการอุปสมบท ณ พัทธสีมา วัดสว่างอารมณ์ (บ้านสวาย นาแห้ ว ) หลั ง จากอุ ป สมบทแล้ ว
พระอุปัชฌาย์ได้กล่าวสอนบอกอนุศาสน์ ๘ ประการ และเมื่อได้เดินทางไปพักจ�า พรรษาที่วัดเพชรบุรีซึ่งมีพระครูอนุรักษ์ สัจธรรม เป็นเจ้าอาวาสในขณะนั้น แล้ว พระอาจารย์ทั้งหลายก็ได้สอนให้เจริญ พระกัมมัฏฐานภาวนามิได้ขาด จนแจ้งใน พระอรรถธรรมค� า สอนของพระผู ้ มี พระภาคเจ้า จึงได้ด�าริที่จะออกจาริก แสวงหาโมกขธรรม ณ ต่างแดนต่อไปอยู่ เสมอ หลังจากที่พระภิกษุหงษ์ได้มา พักจ�าพรรษาทีว่ ดั เพชรบุรแี ล้ว ได้กลับไป ขอศึกษาวิชาความรู้ต่าง ๆมากมายกับ หลวงปู่แปน พระอุปัชฌาย์อีกหลายครั้ง จากนั้นท่านก็ได้ออกเดินทางไปศึกษา พระธรรมกัมมัฏฐานต่าง ๆ กับพระอาจารย์ ปักหมุดวัดเมืองไทย
211
อีกหลายท่าน เช่น หลวงปูด่ นิ วัดประทุมทอง บ้านพลับ ต�าบลทุ่งมน จนจบความรู้ พระอาจารย์ แ ล้ ว ได้ อ อกเดิ น ทางไป ขอศึกษาวิชากับพระอาจารย์หลวงปูแ่ จ้ม หลวงปูเ่ ทิง่ วัดตะลุง โดยสอนสรรพศาสตร์ วิชาด้านกสิณภาวนาจนจบครบวิชาของ ครู บ าอาจารย์ แล้ ว ได้ ก ลั บ มาปฏิ บั ติ ภาวนาต่อยอดพระธรรมกัมมัฏฐานด้วย ความวิรยิ ะอุตสาหะ และก็ได้ชกั ชวนสหธรรมิก อีกหลายรูปออกเดินทางจาริกธุดงค์ไป พร้อมกัน แต่สดุ ท้ายแล้วเมือ่ เดินทางเป็น หมู่คณะท�าให้การบ�าเพ็ญเพียรทางจิต ของท่านยังไม่อาจส�าเร็จถึงธรรมอันลึกซึง้ ถึงที่สุดได้ จึงได้ขอแยกตัวกับสหธรรมิก ทั้ ง หลายและออกเดิ น ทางปลี ก วิ เ วก บ�าเพ็ญเพียรอยู่แต่ล�าพังเพียงผู้เดียวอยู่ เสมอ และที่ส�าคัญที่สุด คือ การได้จาริก ธุงดงค์ไปสู่ดินแดนประเทศกัมพูชา ตาม แนวเทือกเขาพนมดงรัก ได้ศึกษาสรรพวิชา เวทมนต์คาถาอาคมจากครูบาอาจารย์ทงั้ โลกมนุษย์และโลกทิพย์ ๕๐๐ พระองค์ จนได้สา� เร็จธรรมสมปรารถนาดัง่ ตัง้ ใจ จึง ได้ออกจากป่าเขาล�าเนาไพรอันเป็นสถานที่ ปลีกวิเวกบ�าเพ็ญเพียรภาวนา มุ่งหน้าสู่ มาตุ ภู มิ ดิ น แดนบ้ า นทุ ่ ง มน เข้ า กราบ พระอุปัชฌาย์และพระอาจารย์ทั้งหลาย แล้ว เข้าพ�านักจ�าพรรษาสัง่ สอนพระธรรม กับญาติโยมที่วัดเพชรบุรี ต�าบลทุ่งมน อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ โดยมี พระครูอนุรักษ์สัจจธรรม ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสในวัดนั้น ท่านก็ได้เป็นก�าลังใน การช่วยส่งเสริมท�านุบา� รุงพระพุทธศาสนา การศึกษา การเผยแผ่พระพุทธศาสนา ช่วยเหลือเจ้าอาวาสพัฒนาวัดเรื่อยมา วัดเพชรบุรีจึงเจริญรุ่งเรืองตลอดมาจน ปรากฏหลั ก ฐานถาวรวั ต ถุ ม ากมายถึ ง ปัจจุบัน ต่อมาเมือ่ พระครูอนุรกั ษ์สจั จธรรม มรณภาพแล้ว พระหงษ์ พรหมปัญโญ ได้ รับอาราธนาจากพุทธศาสนิกชนชาวบ้านคุม้ วัดเพชรบุรีให้ด�ารงต�าแหน่งรักษาการ
212
ปักหมุดวัดเมืองไทย
เจ้าอาวาสวัดเพชรบุรสี บื ต่อไป เมือ่ วันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๑๖ และเจ้าคณะ จังหวัดสุรนิ ทร์ขณะนัน้ ได้มคี า� สัง่ แต่งตัง้ ให้พระหงษ์ พรหมปัญโญ ด�ารงต�าแหน่ง เป็นเจ้าอาวาสวัดเพชรบุร ี เมือ่ วันที ่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๑๖ และเมื่อวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๑๙ ด�ารงต�าแหน่งเป็น เจ้ า คณะต� า บลทุ ่ ง มน ในวั น ที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๒๓ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานสมณศักดิ์ พัดยศให้เจ้าอธิการหงส์ วัดเพชรบุร ี เป็น พระครูประสาทพรหมคุ ณ ที่ พ ระครู สัญญบัตรเจ้าคณะต�าบลชัน้ ตรี ต่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๕ ในหลวงรัชกาลที ่ ๙ ได้ โ ปรดเกล้ า ฯ พระราชทานเลื่ อ น สมณศักดิพ์ ดั ยศให้พระครูประสาทพรหมคุณ เป็นพระครูสัญญบัตรเจ้าคณะต�าบล ชั้นโท ในวั น ที่ ๑๒ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๔๔ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระสังฆราช สกลมหาปริณายก ลง พระนามแต่ ง ตั้ ง ให้ พ ระครู ป ระสาท พรหมคุณ (หงส์ พฺรหฺมปญฺโญ) เจ้าคณะ ต� า บลทุ ่ ง มน เป็ น ที่ ป รึ ก ษาเจ้ า คณะ ต� า บลทุ ่ ง มน ทั้ ง นี้ ตั้ ง แต่ วั น ที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๔๓ เป็นต้นไป หลวงปู ่ ห งษ์ พรหมปั ญ โญ ได้ ป ฏิ บั ติ ศ าสนกิ จ ด้ ว ยความวิ ริ ย อุตสาหะ จนเป็นที่ปรากฏแก่สายตา ของพุทธศาสนิกชนทั้งหลาย ท่านเป็น นักพัฒนาที่มีความเปี่ยมล้นด้วยเมตตาจิต หวังที่จะให้ทุกสรรพชีวิตทั้งน้อยใหญ่ มีความสุข จนเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้รบั รางวัลโล่ประกาศเกียรติคุณชนะเลิศ ด้ า นส่ ง เสริ ม สิ่ ง แวดล้ อ มดี เ ด่ น จาก จังหวัดสุรินทร์ และในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ได้รับรางวัลชนะเลิศวัดพัฒนาตัวอย่าง และในปีพ.ศ. ๒๕๓๗ ได้รบั พระราชทาน รางวั ล เสาเสมาธรรมจั ก ร ผู ้ บ� า เพ็ ญ ประโยชน์ ต ่ อ พระพุ ท ธศาสนาด้ า น อนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม และในปี พ.ศ. ๒๕๔๐
ปราสาทเพชร พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ห ลวงปู ่ ห งษ์ พรหมปัญโญ
ได้รับพระราชทานธง พิ ทั ก ษ์ ป ่ า เพื่ อ รักษาชีวิต จ�านวน ๔ ธง จากผลงานการ ร่ ว มพิ ทั ก ษ์ ป ่ า และสิ่ ง แวดล้ อ มกั บ กรม ป่าไม้ จังหวัดสุรินทร์ และได้ส่งตัวแทน เดินทางไปรับพระราชทานธงที่ต�าหนัก ภูพานราชนิเวศน์ จังหวัดสกลนคร จาก พระหัตถ์ของสมเด็จพระนางเจ้าพระบรม ราชินนี าถ และได้รบั รางวัลโล่ผใู้ ห้การช่วย เหลื อ ราชการกรมป่ า ไม้ ดี เ ด่ น ในด้ า น กิจการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และเป็น ผูน้ า� ในการฟืน้ ฟูสภาพป่า เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๓ จากหน่วยงานส�านักงานป่าไม้ จังหวัด สุรินทร์ และได้รับรางวัลโล่การอนุรักษ์ ป่าไม้ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๔ จากหน่วยงาน กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ด้านการปกครองวัดเพชรบุรีใน ฐานะเจ้าอาวาส มีพระภิกษุสงฆ์สามเณร มากมายมาฝากตั ว เป็ น ลู ก ศิ ษ ย์ มี ทั้ ง ใน และต่างประเทศ ในแต่ละปีมีพระภิกษุ สามเณรมาร่วมจ�าพรรษาที่วัดเพชรบุรี เพื่อศึกษาพระธรรมกัมมัฏฐานไม่ต�่ากว่า ปีละ ๓๐ รูป หลวงปูห่ งษ์ทา่ นเป็นพระมหาเถระ ผู้ขยันอบรมพุทธศาสนิกชนทุกวั น พระ และจัดให้มีกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่อยมาจวบจนท่านละสังขารมรณภาพ เมื่อวันที ่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๗ รวมสิริอายุได้ ๙๗ ปี ๗๖ พรรษาพอดี
พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ป ราสาทเพชร สุ ส านทุ ่ ง มน (วั ด เพชรบุ รี )
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย
ปักหมุดวัดเมืองไทย
213
วัดสามราษฎร์บ�ารุง
ต� า บลทมอ อ� า เภอปราสาท จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Sam Rat Bamrung
Thamo Subdistrict, Prasat District, Surin Province
พระครูสมุห์ชูสิทธิ์ กิตติสำโร เจ้ำอำวำส/เจ้ำคณะต�ำบลทมอ
214
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วั ดสามราษฎร์บ�ารุง ตั้งอยู่ เลขที่ ๒๓๙ บ้านโคกบุ หมู่ที่ ๕ ต�าบล ทมอ อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๐ ก�านัน ผู้ ใหญ่บ้าน พร้อมด้วยชาวบ้านใน ละแวกนี้ได้ร่วมประชุมปรึกษาหารือ กัน เห็นว่าควรที่จะสร้างวัด ณ ที่แห่ง นี้ เพื่อพุทธศาสนิกชนจะได้มีโอกาส ร่ ว มท� าบุ ญ ฟั ง ธรรมและประกอบ ศาส นกิจทางพระพุทธศาสนาต่อไป จึงได้รเิ ริม่ สร้างเป็นส�านักสงฆ์ เป็นการ ชั่ วคราว โดยมี ผู ้ น� า หมู ่ บ ้ า นที่ เ ป็ น เรี่ยวแรงในการสร้างส�านักสงฆ์แห่งนี ้ คือ คุณพ่อศรี ซะเนติยัง อดีตผู้ใหญ่ บ้า นยาง คุณพ่อปรวจ ฉวีทอง อดีต ผู้ ใหญ่บ้านโคกบุ, พ่อคลิม สุดจ�านงค์ อดีตผู้ใหญ่บ้านอ�าปึล เมื่อผู้น�าหมู่บ้านทั้ง ๓ ท่าน พร้ อมด้ ว ยประชาชนทุ ก หมู ่ บ ้ า น พร้ อมใจกั น จั ด สร้ า งส� า นั ก สงฆ์ เรี ยบร้ อ ยแล้ ว จึ ง เข้ า มนั ส การขอ อนุญาตต่อ หลวงพ่อร่วน วะระโธ ซึ่ง เป็ นเจ้าอาวาสวัดโคกบัวไรย์ เพื่อขอ อาราธนานิมนต์หลวงปูบ่ อน ปูชโิ ต มา เป็นเจ้าส�านัก ณ ส�านักสงฆ์แห่งนี ้ และ พัฒ นาพร้อมสร้าง เสริม เพิ่ม ก่อให้ เกิ ดความเจริญอย่างต่อเนื่องจนเห็น สมควร สร้างเป็นวัด จึงขอนุญาติสร้างวัด
และขออนุญาติตั้งวัด เป็นวัดสามราฎร์ บ�ารุง เพราะมีราษฎร 3 หมู่บ้านเป็นผู้ ร่วมอุปถัมภ์ ณ ปัจจุบนั วัดสามราษฎร์บา� รุง มีผู้ร่วมอุปถ้มภ์ 5 หมุ่บ้าน คือ บ้านยาง ม.๑ บ้านโคกบุ ม.๕ บ้านอ�าปึล ม.๖ บ้านเจริญสุข ม.๙ บ้านโดนเลงใต้ ม.๑๒ วั ด สามราษฎร์ บ� า รุ ง เริ่ ม ก่อสร้าง พ.ศ. ๒๔๙๐ ได้รบั อนุญาตสร้าง เมื่ อวันที่ ๑๘ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๙๗ ได้รับประกาศตั้งวัด เมื่อวันที่ ๑๘ มิ ถุ น ายน พ.ศ. ๒๔๙๗ ได้ รั บ พระร าชทานวิ สุ ง สี ม าเมื่ อ วั น ที่ ๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๐ ท�ำเนียบท่ำนเจ้ำอำวำส รูปที่ ๑ พระครูประสำธน์ยติ คุณ ( หลวงปู่บอน ปูชิโต/มีมั่น) ด�ารง ต�าแหน่งเจ้าอาวาส/เจ้าคณะต�าบลทมอ- โคกยาง ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๐ - พ.ศ. ๒๕๒๒ รูปที่ ๒ พระครูอนุสรณ์ปิยธรรม (หลวงพ่อโยธิน ปิยธัมโม/สำยแก้ว) ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส/รองเจ้าคณะ อ�าเภอปราสาท ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๔ - พ.ศ. ๒๕๖๑ รูปที่ ๓ พระครูสมุห์ชูสิทธิ์ กิตติสำโร / ปิงจุลดั ต�าแหน่งเจ้าอาวาส และเจ้ า คณะต� า บลทมอ ตั้ ง แต่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ถึงปัจจุบัน
ประวัติพระครูประสำธน์ยติคุณ พระครูประสาธน์ยติคุณ (หลวงปู่ บอน ปูชโิ ต) อดีตเจ้าคณะต�าบลทมอ โคกยาง เจ้าอาวาสวัดสามราษฎร์บ�ารุง เกิดเมื่อวันที ่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๐ ที่บ้านสก็วน ต.เฉนียง อ.เมือง จ.สุรินทร์ เป็นบุตรของพ่อ นิต - แม่แปะ มีมนั่ หลวงปูบ่ อน เมือ่ อายุครบ ๑๙ ปี หลวงปูบ่ อน ปูชโิ ต ได้ขออนุญาตบิดามารดาเข้าบรรพชาเป็นสามเณรทีว่ ดั ปราสาท ศิลาราม เมื่อวันที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๙ และอีกหนึง่ ปีตอ่ มาได้อปุ สมบทเป็นพระภิกษุ ที่วัดปราสาทศิลารามแห่งหนึ่งเมื่อวันที่ ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๐ โดยมีพระอธิการตัน พรัมมะปัญโญ เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระอาจารย์ มอญ เป็ น พระกรรมวาจาจารย์ พระครู ประสาทศีลวัตร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ หลังจากการอุปสมบทแล้วได้มาจ�าพรรษาที่ วัดโคกบัวไรย์ จังหวัดสุรินทร์ เป็นเวลา ๑๐ พรรษา ได้ศึกษาพระธรรมวินัย ถือศีลวัตร ปฏิบัติธรรมเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานอย่าง เคร่งครัด มีลูกศิษย์ลูกหาเข้ารับการศึกษา อบรมด้วยความเคารพและศรัทธาเลื่อมใส เป็นอย่างมาก ชีวิตในบั้นปลายนั้น หลวงปู่ ท่านมีภารกิจมากมาย เพราะมีพทุ ธศาสนิกชน เข้ามาพึงอาศัยมากแทบทุกวันจนเป็นเหตุให้ ร่างกายของท่านทรุดโทรมลงตามล�าดับ และ ได้มรณภาพลง เมื่อวันที่ ๑ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ ด้วยโรคอัมพาต นับเป็นเหตุ อัศจรรย์อย่างยิ่ง
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
215
วัดอมรินทราราม
ต�าบลตาเบา อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์
Wat Amarin Thara Ram
Tabao Subdistrict, Prasat District, Surin Province
216
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดอมรินทราราม
ตั้งอยู่หมู่ที่ ๓ ต�ำบล ตำเบำ อ�ำเภอปรำสำท จังหวัดสุรินทร์ ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๓ ได้รับพระรำชทำน วิสุงคำมสีมำเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๒ และได้ประกำศแต่งตั้งเมื่อ วันที่ ๒ มกรำคม พ.ศ. ๒๕๓๒ มีเจ้ำอำวำสปกครอง ๑๓ รูป ปี พ.ศ. ๒๕๑๑ พระครูโสภณบุญญกิจ ได้รับกำรแต่ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น เจ้ ำ อำวำส รู ป ที่ ๑๑ และได้ รั บ พระบรม สำรีรกิ ธำตุ จำกสมเด็จพระญำณสังวร สมเด็จพระสังฆรำช สกลมหำสังฆปรินำยก มำประดิษฐำนบรรจุไว้ ณ เจดีย์ วัดอมรินทรำรำม (บ้ำนตำเดียว) เมื่อวันที่ ๑๔ ธันวำคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ปั จ จุ บั น มี พ ระมหำเรื อ น โชติ วั ณ โณ เป็ น เจ้ำอำวำส ได้รับแต่งตั้ง พ.ศ. ๒๕๕๙ ชุมชนวัดอมรินทรำรำม (บ้ำนตำเดียว) มีเขต บริกำรวัดจ�ำนวน ๑๐ หมูบ่ ำ้ น เป็นวัดเก่ำแก่ทสี่ ดุ ในอ�ำเภอ ปรำสำท และมีสิ่งปลูกสร้ำง เช่นกุฏิ โบสถ์ เจดีย์ เป็นวัด ทีม่ ชี อื่ เสียงของอ�ำเภอปรำสำทวัดหนึง่ เป็นสถำนทีจ่ ดั งำน ประเทพณีทำงศำสนกิจที่ส�ำคัญ ๆ อำทิ งำนทอดกฐิน
ปักหมุดวัดเมืองไทย
217
จุลกฐิน ท�ำบุญฉลองโกนเนียง และร่วมกัน ทอดผ้ำไหมผลิตผ้ำไตรจีวร ซึ่งจัดขึ้นเป็น ประจ�ำทุกปี กำรท�ำบุญ จุลกฐิน มีอำนิสงส์มำก เพรำะกำรท�ำบุญฉลององค์กฐิน จุลกฐิน และพิธีท�ำบุญฉลองโกนเนียง แปลว่ำ กำร ท�ำบุญให้ตวั หมอนไหม โดยได้รว่ มกันท�ำบุญ เพือ่ เป็นสิรมิ งคลให้ตวั หม่อนไหม พร้อมกันนี้ ยังได้รบั ควำมร่วมมือจำกส�ำนักงำนหม่อนไหม เฉลิมพระเกียรติจังหวัดสุรินทร์ ได้น�ำเอำ ผู้เชี่ยวชำญด้ำนกำรทอผ้ำไหมทุกหมู่บ้ำน ของต�ำบลตำเบำ มำร่วมกำรสำธิตกำรผลิต ผ้ำไหมจำกวงจรชีวติ ไหม ตัง้ แต่กำรเพำะเลีย้ ง
พระมหาเรือน โชติวัณโณ เจ้ำคณะต�ำบลตำเบำ เจ้ำอำวำสวัดอมรินทรำรำม
218
ปักหมุดวัดเมืองไทย
กำรน�ำมำเลีย้ ง จนถึงกำรทอแบบภูมปิ ญ ั ญำ ชำวบ้ ำ นโดยใช้ เ ครื่ อ งมื อ แบบโบรำณ ผสมผสำนกับเครื่องมือปัจจุบันเพื่อให้เกิด ควำมรวดเร็ว สะดวกสบำยและมีประสิทธิภำพ ขณะเดียวกันชำวบ้ำนตำเดียว ต� ำ บลตำเบำ อ� ำ เภอปรำสำท จั ง หวั ด สุรินทร์ ได้ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันทอ ผ้ำไหม ผลิตไตรจีวรควำมยำว 4 เมตร ให้ แล้วเสร็จภำยใน 24 ชั่วโมงเพื่อทอดกฐิน ที่ ต ้ อ งท� ำ ด้ ว ยควำมรี บ ด่ ว น ถวำยให้ พระสงฆ์กรำนกฐินให้เสร็จภำยในวันเดียว จึ ง นั บ ว่ ำ กำรท� ำ จุ ล กฐิ น มี อ ำนิ ส งส์ ม ำก เพรำะต้องให้ควำมอุตสำหะมำกกว่ำกฐิน แบบธรรมดำทัว่ ไป ซึง่ ต้องท�ำในระยะเวลำ อันจ�ำกัด จึงเป็นเครื่องมือหนึ่งใช้สร้ำง ควำมสำมัคคีของคนในชุมชนได้รู้จักควำม เป็นมำทีแ่ ท้จริงของวัฒนธรรม โดยจุลกฐินนี้ ปัจจุบนั มักจัดเป็นงำนใหญ่ มีผเู้ ข้ำร่วมเป็น จ�ำนวนมำก ข้อมูลของกำรท�ำจีวรให้เสร็จใน วันเดียวปรำกฎหลักฐำนในคัมภีรอ์ รรถกถำ กล่ำวถึงเรือ่ งทีพ่ ระพุทธเจ้ำรับสัง่ ในคณะสงฆ์ ในวัดพระเซตะวัน ร่วมมือกันท�ำผ้ำไตรจีวร เพื่อถวำยแก่พระอนุรุทธะผู้มีจีวรเก่ำใช้ กำรเกือบไม่ได้แล้ว โดยในครั้งนี้นั้นเป็น งำนใหญ่ ซึ่งพระพุทธเจ้ำเสด็จมำทรงช่วย กำรท�ำไตรจีวรโดยทรงรับหน้ำที่สนเข็มใน กำรท�ำจีวรด้วย
ประเพณีกำรทอดจุลกฐิน เป็นประเพณี ที่พบเฉพำะในประเทศไทยและลำว ไม่ปรำกฏ ประเพณีกำรทอดกฐินชนิดนี้ในประเทศพุทธเถรวำทประเทศอื่ น ส� ำ หรั บ ประเทศไทยมี หลักฐำนว่ำมีกำรทอดจุลกฐินมำแล้วตัง้ แต่สมัยอยุธยำ ดังปรำกฎในหนังสือค�ำให้กำรชำวกรุงเก่ำ หน้ำ ๒๖๘ ว่ำ ถึงวันขึน้ 15 ค�า่ เดือน 12 โปรดให้ทา� จุลกฐิน ปัจจุบนั ประเพณีกำรท�ำจุลกฐินนิยมท�ำกันเฉพำะ ชุมชนทำงภำคเหนือและอีสำนเท่ำนัน้ โดยอีสำน จะเรียกกฐินชนิดนี้ว่ำ กฐินแล่น (จุลกฐินไม่ใช่ ศัพท์ที่ปรำกฏในพระวินัยปิฎก) กำรทอดกฐิน จุลกฐิน จึงเป็นงำนบุญ ที่ ถื อ ว่ ำ ได้ อ ำนิ ง สงค์ ม ำก เพรำะเป็ น กำรท� ำ กิจกรรมร่วมกันระหว่ำงคณะสงฆ์และผูป้ กครอง ชุมชน และร่วมสืบสำนวัฒนำธรรมประเพณี ที่ ดี ง ำม ตำมวิ ถี ชี วิ ต ของควำมเป็ น อยู ่ ข อง ชนพืน้ เมืองสุรนิ ทร์ และเป็นกำรอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรม ประเพณีที่ดีงำมอันล�้ำค่ำสืบไป
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
219
วัดอุทุมพร
ต� ำ บลทุ ่ ง มน อ� ำ เภอปรำสำท จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Uthumphon
Thung Mon Subdistrict, Prasat District, Surin Province
220
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ความเป็นมาของวัดอุทุมพร วั ด อุ ทุ ม พร ปั จ จุ บั น ตั้ ง อยู ่ บ ้ า น หนองโบสถ์ เลขที่ ๑๑๙ หมู่ที่ ๙ ต�าบล ทุ่งมน อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ วัดอุทุมพร เป็นวัดราษฎร์ สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย เดิมตั้งอยู่ บ้านทุ่งมน เลขที่ ๑ หมู ่ ที่ ๑ ต� า บลทุ ่ ง มน อ� า เภอ ปราสาท จังหวัดสุรินทร์ กล่าวกันว่าสร้าง ขึ้นประมาณปี ๒๓๑๐ และได้มีการตั้งวัด ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๖๐ โดยมีพระอธิการตุ้ม อิสิทตฺโต เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ตั้งอยู่ทาง ทิศอีสานของหมู่บ้าน เดิมมีเนื้อที่ ๔ ไร่ ๘ งาน ๙๑ ตารางวา และเนือ่ งจากในยุคของ พระอธิ ก ารริ ม รตนมุ ณี ด� า รงต� า แหน่ ง เจ้ า อาวาส จึ ง ได้ ข ยายพื้ น ที่ ด ้ ว ยการซื้ อ ที่ดินข้างเคียงเพิ่ม เพื่อสร้างอุโบสถจตุรมุข จึงมีที่ดินเพิ่มขึ้นเป็น ๙ ไร่ ๒ งาน ๓๘ ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ ๕๒๕๑๙ เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงและ แบ่งเขตการปกครองบ่อยครัง้ วัดอุทมุ พรจึง ได้ตั้งอยู่ บ้านทุ่งมนหมู่ที่ ๑๘ ต�าบลทุ่งมน อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ต่อมาได้มี การแยกต�าบลใหม่ จากต�าบลทุง่ มน มาเป็น ต�าบลสมุดและ บ้านทุง่ มน หมู่ท ี่ ๑๘ ต�าบล ทุง่ มน จึงได้เปลีย่ นชือ่ หมูบ่ า้ นใหม่ เป็น บ้าน หนองโบสถ์ หมูท่ ี่ ๙ ต�าบลทุ่งมน อ�าเภอ ปราสาท จังหวัดสุรินทร์ สาเหตุ ที่ ต้ั ง ชื่ อ วั ด อุ ทุ ม พร นั้ น สันนิษฐานว่าน่าจะมาจาก ต้นมะเดื่อ มีอยู่ ในวัด มะเดือ่ ภาษาบาลี ก็คอื ค�าว่า อุทมุ พร นั่นเอง
วัดอุทุมพรได้เป็นศูนย์รวมจิตใจ ของพุทธศาสนิกชนมานานประมาณ ๒๐๐ กว่ า ปี อุ โ บสถหลั ง เก่ า วั ด อุ ทุ ม พร ไม่ทราบแน่ชัดว่าสร้างเมื่อปี พ.ศ.อะไร ซึ่ง ได้ใช้เป็นสถานที่บรรพชาอุปสมบทกุลบุตร มาช้านาน ได้มีเจ้าอาวาสปกครองวัดตาม ล�าดับมา จนถึงหลวงพ่อริม รตนมุณี เริ่ม ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๕ ถึง พ.ศ.๒๕๒๘ ท่าน เป็นรูปแรกทีส่ ร้างชือ่ เสียงให้วดั อุทมุ พร ซึง่ ท่ า นเป็ น ที่ รู ้ จั ก และเคารพศรั ท ธาของ พุทธศาสนิกชนจากทั่วประเทศ ท่านจึงได้ วางศิลาฤกษ์อุโบสถจตุรมุขหลังใหม่ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๕ และยกเสาเอกเมื่อวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๒๐ โดยมีขนาดความกว้าง ๓๒ เมตร ความยาว ๓๖ เมตร และได้สร้าง จนถึงปี พ.ศ.๒๕๒๖ หมดงบประมาณขณะ นั้น ๒๖ ล้านกว่า และท่านได้มรณภาพลง วันอาทิตย์ที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๘ หลัง จากนั้ น เจ้ า อาวาสรุ ่ น ต่ อ มา ได้ น� า พา ญาติโยมสร้างต่อมาเรือ่ ย ๆ แต่ไม่แล้วเสร็จ ปัจจุบนั พระมหาชาญ อชิโต ด�ารง ต�าแหน่งเป็น เจ้าอาวาส ก็ได้จัดท�าผ้าป่า สามัคคีเมื่อวันที่ ๑๒-๑๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕ เพื่อเป็นทุนในการบูรณปฏิสังขรณ์ อุโบสถจตุรมุขดังกล่าว จนแล้วเสร็จและได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม างวดที่ ๔ ประจ�าปี ๒๕๕๖ เลขที ่ ๔๕ ประกาศราชกิจ จานุเบกษา ฉบับประกาศทัว่ ไป เล่มที ่ ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๐๕ ง วันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสมาแล้ว ๑๒ รูป ล�าดับ เจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ดังนี้ ล�าดับที่ ๑ พระตุ้ม อิสิทตฺโต ล�าดับที่ ๒ พระคง อินฺทปญฺโญ ล�าดับที่ ๓ พระชื่น ล�าดับที่ ๔ พระผึ้ง โอภาโส ล�าดับที่ ๕ พระเถาะ กิตฺติทินฺโน ตั้งแต่ พ.ศ. - ถึง พ.ศ. ๒๔๘๘ ล�าดับที่ ๖ พระอธิการริม รตนมุณี ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๘๘ ถึง พ.ศ. ๒๕๒๘ ล�าดับที่ ๗ พระครุฑ ขนฺติโก ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๘ ถึง พ.ศ. ๒๕๒๙ ล�าดับที่ ๘ พระเนือย ธีรปญฺโญ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๙ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๐ ล�าดับที่ ๙ พระอธิการหาญ ธมฺมวโร ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๐ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๖ ล�าดับที่ ๑๐ พระอธิการสุวรรณ สนฺตจิตโฺ ต ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๖ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๙ ล�าดับที่ ๑๑ พระครูวิสุทธิกิตติญาณ เจ้าคณะต�าบลทุง่ มน (รักษาการแทนเจ้าอาวาส) ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๙ - พ.ศ. ๒๕๔๘ ล�าดับที่ ๑๒ พระมหาชาญ อชิโต ป.ธ.๗ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘ ถึงปัจจุบัน
ปักหมุดวัดเมืองไทย
221
อุโบสถจตุรมุข วัดอุทุมพร ต�าบลทุ่งมน อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์
หลวงปู่ริม รตนมุณี ได้น�าช้าง ๙ เชือก มาร่วมพิธียกเสาเอกอุโบสถ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๐
222
ปักหมุดวัดเมืองไทย
เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๑ หลวงปู่ริม รตนมุณี ได้ประกอบพิธีเททองหล่อพระประธาน "พระพุทธสุชินราชารัตนมุณี"
พิธีปักหลักเขตวิสุงคามสีมาอุโบสถ จตุรมุข และตัดหวาย ฝังลูกนิมิต ผูกพัทธสีมา เมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๗
พระครูอาภัสร์ธรรมคุณ (หลวงปู่รอด อาภัสสโร) และ พล.อ. ธรากร ธรรมวินทร ร่วมพิธีวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๓ พระมหาชาญ อชิโต ได้น�าช้าง ๕ เชือก ร่วมประกอบพิธยี กเสาเอก เมือ่ วันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๓ และขณะนีก้ า� ลังด�าเนิน การก่อสร้างและระดมทุนก่อสร้างจนกว่าจะเสร็จ
ปักหมุดวัดเมืองไทย
223
รูปปั้นปู่ชีปะขาว
โลงบรรจุสรีระสังขารหลวงปู่ริม รตนมุณี
ชีวประวัติ หลวงปู่ริม รตนมุนี (แก้วกระมล) หลวงปู่ริม รตนมุณี (แก้วกระมล) เกิดเมื่อวันพฤหัสบดี ที่ ๑๕ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๖๓ ปีระกา เดิมพระอธิการริม รตนมุณี อดีตเจ้าอาวาสวัดอุทุมพร ต�าบลทุง่ มน อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรนิ ทร์(ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๘๘ ถึง พ.ศ.๒๕๒๘ ) ผู้สร้างมหาคุณูปการแก่ชุมชน ท่านได้ยึดมั่นใน ประโยชน์ตน ประโยชน์ผู้อื่น ประโยชน์สังคมนานับประการ เป็นพระสงฆ์ผนู้ า� พัฒนาชุมชนและทีพ่ งึ่ ของชุมชน เช่น การพัฒนา วัดอุทุมพร สร้างวัดสะเดารัตนาราม และวัดอื่น ๆ เป็นผู้น�าในการ ก่อตั้งหรือสร้างโรงเรียนบ้านทุ่งมน (ริมราษฎร์นุสรณ์) สร้างสถานี อนามัยต�าบลทุ่งมน สร้างสะพานข้ามแม่ชี ขุดสระน�้า ขุดบ่อน�้า สร้างถนนหนทาง และสถานที่อื่น ๆ ให้เป็นสาธารณะประโยชน์ หลายแห่ง ซึ่งเป็นแบบอย่างและเป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของ ศิษยานุศิษย์ทั้งหลายทั่วประเทศในขณะนั้น บรรพชาอุปสมบทครัง้ แรก เมือ่ มีอายุ ๒๐ ปีบริบรู ณ์ ในปี พ.ศ. ๒๔๘๓ คุณย่าทวดนิว คุณแม่เลี้ยง จึงได้จัดงานบวชให้ ณ บ้านของปูท่ วดพม-ย่าทวดแคลง บ้านทุง่ มน ได้จา� พรรษา ณ วัด อุ ทุ ม พร โดยมี พ ระครู ผึ้ ง โอภาโส เป็ น ประธานสงฆ์ ห รื อ เจ้าอาวาสวัด ท่านได้เป็นศิษย์ท่ีดีของครูบาอาจารย์ ตั้งใจศึกษา เล่าเรียนอักขระขอม ทัง้ ธรรมวินยั และการปฏิบตั ธิ รรมกัมมัฏฐาน เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของญาติโยมมาก เมื่อพระครูผึ้งจ�าเป็นต้อง ลาสิกขา ญาติโยมก็นิมนต์ท่านให้รับต�าแหน่งประธานสงฆ์หรือ เจ้าอาวาสต่อจากนั้นหลายปี เนื่องด้วยมีญาติซึ่งเป็นพระภิกษุ เหมือนกันอยากจะเป็นเจ้าอาวาส ท่านจึงต้องลาสิกขาเพือ่ หลีกทาง ให้ แต่ก็อยู่ได้ไม่นานพระภิกษุผู้เป็นญาติก็ได้ลาสิกขาออกไป และในปี พ.ศ. ๒๔๙๕ ญาติโยมจึงเกลี้ยกล่อมให้หลวงปู่ ริม รตนมุณี ได้เข้าบรรพชาอุปสมบทอีกครั้ง เพื่อให้ท่านได้เป็นที่ พึ่งของญาติโยม ท่านจึงตั้งใจศึกษาเล่าเรียนธรรมวินัย ตั้งใจฝึก ปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน จนท่านได้เป็นพระวิปัสสนาจารย์และ เกจิอาจารย์ของจังหวัดสุรินทร์ เป็นที่พึ่งที่เคารพเลื่อมใสศรัทธา
224
ปักหมุดวัดเมืองไทย
รูปปั้นแม่พิมพา
ของพุทธศาสนานิกชนทั่วประเทศ จึงได้มีการสร้างวัตถุ มงคลเพื่อแจกจ่ายให้แก่ศิษยานุศิษย์เป็นจ�านวนหลาย รุ่นด้วยกัน การศึกษาทางโลก พ.ศ.๒๔๗๗ จบชั้น ป.๔ โรงเรียนประชาบาล วัดอุทุมพร ต�าบลทุ่งมน อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ การศึกษาทางธรรม พ.ศ. ๒๔๙๗ สอบได้นักธรรมชั้นตรี จากส�านัก เรียนวัดอุทุมพร ต�าบลทุ่งมน อ�าเภอปราสาท จังหวัด สุรินทร์ พ.ศ. ๒๔๙๙ สอบได้นักธรรมชั้นโท จากส�านัก เรียนวัดสุวรรณวิจิตร ต�าบลกังแอน อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ หลวงปู่ริม รตนมุณี มรณภาพหรือละสังขาร เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๙ เดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๘ รวมสิริ อายุได้ ๖๕ ปี พรรษา ๓๓ หลวงปู่ท่านได้สั่งลูกศิษย์ ทั้งบรรพชิตและคฤหัส ถ์ ไม่ให้ฌาปนกิจสรีรสังขาร ของท่ า น ศิ ษ ยานุ ศิ ษ ย์ จึ ง ได้ ส ร้ า งมณฑปเพื่ อ ตั้ ง สรีรสังขารของหลวงปู่ริม รตนมุณี ให้ศิษยานุศิษย์และ พุทธศาสนิกชนได้กราบไหว้จนถึงทุกวันนี้
พระกริ่งโปร่งฟ้า ปี ๒๕๑๒
พระมหาชาญ อชิโต เจ้าอาวาสวัดอุทุมพร ประวัติพระมหาชาญ อชิโต (สร้อยสุวรรณ) พระมหาชาญ ฉายา อชิโต นามสกุล สร้อยสุวรรณ เกิดเมือ่ วันอาทิตย์ท ี่ ๒๐ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๗ แรม ๑๒ ค�่า ปีขาล อายุ ๔๖ พรรษา ๒๖ วิทยฐานะ ป.ธ.๗, น.ธ.เอก, พุทธศาสตรบัณฑิต ปั จ จุ บั น ด� า รงต� า แหน่ ง ทางการ ปกครองเป็น เจ้าอาวาสวัดอุทมุ พร ต�าบลทุง่ มน อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ บรรพชา วันศุกร์ที่ ๑๒ เดือน พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๓๘ ณ วัดเพชรบุรี บ้ า นทุ ่ ง มน ต� า บลสมุ ด อ� า เภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ พระอุป ั ชฌาย์ พระครูประสาท พรหมคุณ ฉายา พฺรหฺมปญฺโญ นามเดิม หงษ์ จะมัวดี วัดเพชรบุรี บ้านทุ่งมน ต�าบลสมุด อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ อุปสมบท วันศุกร์ที่ ๑๒ เดือน พฤษภาคม พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๓๘ ณ วั ด เพชรบุ รี บ้ า นทุ ่ ง มน ต� า บลสมุ ด อ� า เภอ ปราสาท จังหวัดสุรินทร์ พระอุป ั ชฌาย์ พระครูประสาท พรหมคุณ ฉายา พฺรหฺมปญฺโญ นามเดิม หงษ์ จะมัวดี วัดเพชรบุรี บ้านทุ่งมน ต�าบลสมุด อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ประวัติการศึกษา ๑.พุทธศักราช ๒๕๒๙ ส�าเร็จการ ศึกษาชั้นประถมจากโรงเรียนบ้านทุ่งมน(ริม ราษฎร์นุสรณ์) ต�าบลทุ่งมน อ�าเภอปราสาท
จังหวัดสุรินทร์ ๒.พุทธศักราช ๒๕๓๗ ส�าเร็จการ ศึกษามัธยมศึกษาปีที่ ๓ จากศูนย์การศึกษา นอกโรงเรียน อ�าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ๓.พุทธศักราช ๒๕๓๗ การศึกษา พิเศษจบหลักสูตรช่าง ๑ ปี จากวิทยาลัย สารพัดช่าง จังหวัดอุบลราชธานี ๔.พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๔๐ ส� า เร็ จ นักศึกษาชั้นเอก ส�านักเรียนวัดอิสาณ ต�าบล ในเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ๕.พุทธศักราช ๒๕๔๑ ส�าเร็จการ ศึกษามัธยมศึกษาปีท ี่ ๖ จากโรงเรียนวัดอิสาณ ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ๖. พุทธศักราช ๒๕๕๖ สอบได้ เปรียญธรรม ๗ ประโยค ส�านักเรียนวัด ยานนาวา แขวงยานนาวา เขตสาทร จังหวัด กรุงเทพมหานคร ๗. พุทธศักราช ๒๕๔๘ จบปริญญา ตรี พุทธศาสตร์บณ ั ฑิต จากมหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๘. ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู คณะ ครุศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย ด�ารงต�าแหน่งทางการปกครอง คณะสงฆ์มาแล้วคือ ๑.พุทธศักราช ๒๕๔๘ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาสวัดอุทุมพร ต�าแหน่งงานปัจจุบัน ๑.พุทธศักราช ๒๕๔๘ได้รับแต่งตั้ง เป็ น ครู พ ระสอนศี ล ธรรมในโรงเรี ย น
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒.พุทธศักราช ๒๕๕๒ ได้รบั แต่งตัง้ เป็ น ครู ส อนพระปริ ยั ติ ธ รรม-แผนกบาลี ประจ�าจังหวัดสุรินทร์ ๓. พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้รับแต่ง ตั้ ง เป็ น พระปริ ยั ติ นิ เ ทศก์ ประจ� า จั ง หวั ด สุรินทร์ ๔. พุทธศักราช ๒๕๖๒ ได้รับแต่ง ตั้งเป็นพระบัณฑิตเผยแผ่ ประจ�าจังหวัด สุรินทร์ ประวัติการฝึกอบรม พ.ศ.๒๕๕๓-ปัจจุบัน ๑. พุทธศักราช ๒๕๕๓ หัวหน้า หน่วยอบรมโครงการบวชเณรภาคฤดูรอ้ น ฯ วัดอุทุมพร ต�า บลทุ่งมน อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ๒. พุทธศักราช ๒๕๕๗ จัดตัง้ ส�านัก ศาสนศึกษาพระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรม-บาลี วัดอุทุมพร ต�าบลทุ่งมน อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ๓. พุทธศักราช ๒๕๕๗ พระวิทยากร อบรมพระนวกนั ก ธรรมชั้ น ตรี - โท-เอก ประจ�าอ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ๔. พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๖๐ พระ วิทยากรอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๑ ๕. พุทธศักราช ๒๕๖๑ จัดตั้งศูนย์ การศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์
ปักหมุดวัดเมืองไทย
225
เขำคีรีวงคต เขาคีรีวงคต (หลวงปู่ริม รตนมุณี) ป่า คือ สิง่ มหัศจรรย์ของชุมชนแห่งนี ้ ในการอนุรกั ษ์และฟืน้ ฟู ทรัพยากร ป่า นา น�้า จัดการทรัพยากรเชิงบูรณาการ ประยุกต์ใช้บญ ุ ประเพณีครี วี งคตเป็นปฏิทนิ วัฒนธรรม ในทุกวันเพ็ญ ๑๕ ค�า่ เดือน ๑๒ ของทุกปี ทัง้ เป็นพืน้ ที่ สร้างสรรค์ในการส่งเสริมความร่วมมือ ความสามัคคี สมานฉันท์ระหว่างสถาบันทางศาสนา ภาครัฐ เอกชน องค์กรชุมชน และประชาชนทั่วไปอย่างดี ความเป็นมา คีรวี งคต อยูต่ ดิ แม่นา้� ชี ประมาณ ๕๐๐ เมตร ทางผ่านไปบ้านป่าชัน อ�าเภอพลับพลาชัย จังหวัด บุรีรัมย์ โดยสมัยก่อนจะอยู่ด้านขวามือทางเกวียนไป บ้านป่าชัน ซึ่งเป็นสถานที่ที่หลวงปู่ริม รตนมุณี อดีต เจ้าอาวาสวัดอุทมุ พร ได้ใช้เป็นสถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรม เดิน จงกรม นั่งสมาธิ ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๐ หลวงปู่ริม รตนมุณี พระเกจิอาจารย์ผู้มี ภูมิปัญญาที่สูงยิ่ง ซึ่งได้เล็งเห็นเหตุการณ์ในอนาคต เกี่ ย วกั บ ปั ญ หาทรั พ ยากรธรรมชาติ ป่ า ไม้ ที่ ดิ น แหล่งน�า้ สาธารณประโยชน์ ทีอ่ าจเผชิญกับปัญหาการ พัฒนาประเทศก็เป็นได้ จึงได้ริเริ่มประสานแนวทาง ศาสนธรรมกับประเพณีและวัฒนธรรมร่วมกับชุมชน ท้องถิ่น ด�าเนินการท�าป่าชุมชนคีรีวงคตขึ้น โดยได้ น�าพาชาวบ้านท�าป่าชุมชนผืนแรกชื่อว่า ป่าชุมชนคีรี วงคต เป็นพืน้ ทีแ่ รกในต�าบลทุง่ มน เนือ้ ทีป่ ระมาณ ๖๕ ไร่ เพื่อประกอบกิจกรรมทางศาสนาโดยการจ�าลอง แบบอย่ า งเขาวงกต ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งราวจากคั ม ภี ร ์ พุทธศาสนา เรื่องพระเจ้าสิบชาติ มหาเวสสันดรชาดก โดยท�าเส้นทางทีซ่ บั ซ้อน วก วน เพือ่ เดินจงกรมปฏิบตั ิ ธรรม สมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐาน และ ประกอบกิจกรรมทางศาสนา
226
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ละลมกรม
ศูนย์ปฏิบัติธรรมป่าขุนแก้วหลวงปู่ริม รตนมุณี (หนองหินศักดิ์สิทธิ์) ตงั้ อยูใ่ กล้ฝายน�า้ ล้นต�าบลทุง่ มน มีเนือ้ ที ่ ๗๑ ไร่ ๒ งาน เป็นสถานที่ที่หลวงปู่ริม รตนมุณี ได้ใช้ใน การปฏิบตั วิ ปิ สั สนากรรมฐาน ซึง่ ในอดีตนัน้ ทางหลวงปู่ ริ ม รตนมุณี อดีตเจ้าอาวาสวัดอุทุมพร ได้ชักชวน ศิ ษยานุศิษย์ทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ์ ไปปฏิบัติธรรม และท�าบุญอุทศิ ให้บรรพบุรษุ ณ ป่าขุนแก้ว เป็นประจ�า ทุ กปี โดยมีต้นจบกใหญ่อายุหลายร้อยปี ตั้งอยู่ริม หนองหินศักดิ์สิทธิ์ (หนองละลมกรม) หนองน�้านี้เป็น หน องน�้าที่ไม่เคยแห้ง ที่เรียกว่า หนองหิน เพราะมี หิ นเดินหรือลอยน�้าได้ในหนองน�้า และเวลามีงานบุญ ต่าง ๆ เช่น ท�าบุญหมู่บ้าน ขึ้นบ้านใหม่ งานประเพณี สงกรานต์ เป็นต้น หลวงปูร่ มิ ก็จะพาญาติโยมไปจุดธูป บู ชาขอขมา เพือ่ ขอน�า้ และแห่มโหรีพนื้ บ้านรอบหนองน�า้ ๓ รอบแล้วก็ตักน�้าไป
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
227
วัดศรีสวาย ต. จีกแดก
วัดหิมวันบรรพต ต. ตาเมียง
วัดวารีวัน ต. จีกแดก
วัดโพธิวนาราม ต. ตาเมียง
วัดปราสาททอง ต. ตาเมียง
เส้นทางบุญ 10 วัด
เส้นทางธรรม พนมดงรัก 228
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดนิคมสุนทราราม ต. บักได
วัดอรุณทยาราม ต. บักได
วัดสมสุธาวาส ต. บักได
วัดอรุโณทยาราม ต. บักได
วัดดอนน�้าตาล ต. บักได
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
229
วัดอรุโณทยาราม
ตํ า บลบั ก ได อํ า เภอพนมดงรั ก จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Arunothayaram
Bak Dai Subdistrict, Phanom Dong Rak District, Surin Province ความเป็นมา วัดบ้านรุน (เดิม) หมูท่ ี่ ๒ ปัจจุบนั ชือ่ วัดอรุโณทยาราม สร้างขึ้นเมื่อปี ๒๕๐๐ ถึงปี ๒๕๖๓ เจ้าอาวาสชื่อ หลวงตาแก้ว หลังจาก หลวงตาแคร์ มรณภาพลง ก็มีหลวงพ่อแสร์ แล้วตั้งชื่อ ใหม่ว่า วัดอรุโณทยาราม วัดอรุโณทยาราม สร้างเมื่อปี ๒๕๐๐ แรกเริ่มนั้นเป็น วัดรุน ต�าบลบักได อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรนิ ทร์ โดยมีหลวงพ่อ แก้ว เป็นผู้บุกเบิกการสร้างวัดรุนขึ้น หลังจากที่หลวงพ่อแก้ว มรณภาพ ก็มหี ลวงปูแ่ สร์ (พระอรุณธรรมคุณ) อดีตเจ้าคณะต�าบล บักได ได้ปรึกษาญาติโยมท�าการเปลี่ยนชื่อวัดจากวัดรุน เป็น วั ด อรุ โ ณทยาราม หลั ง จากการเปลี่ ย นชื่ อ วั ด แล้ ว นั้ น พระครูอรุณธรรมคุณ (หลวงปู่แสร์) ก็ได้น�าพาคณะญาติโยม พัฒนาวัดและท�าการก่อสร้างเสนาสนะเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน เมื่อวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๔๑ พระครูอรุณธรรมคุณ มรณภาพ จึงท�าให้ต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดอรุโณทยารามว่างลง และได้แต่งตั้ง พระอาจารย์ต้น เป็นประธานสงฆ์ รักษาการแทน เจ้าอาวาสวัดอรุโณทยาราม และน�าพาญาติโยมปรับปรุงเสนาสนะ และท�าการก่อสร้างถาวรวัตถุเรื่อยมา
230
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประวัติล�าดับเจ้าอาวาส ๑. หลวงพ่อแก้ว ๒. พระครูอรุณธรรมคุณ ๓. พระอาจารย์ต้น ๔. หลวงพ่อพุธา ๕. พระอาจารย์เสกสรร ๖. ผศ.ดร.พระมหาวิศิต
ผศ.ดร.พระมหาวิศิต ธีรว�โส ป.ธ.๙ เจ้าคณะอ�าเภอพนมดงรัก เจ้าอาวาสวัดอรุโณทยาราม
ไม่ทราบฉายา (หลวงปู่แสร์) ไม่ทราบฉายา ไม่ทราบฉายา ไม่ทราบฉายา ธีรว�โส ป.ธ.๙
พระครูอรุณธรรมคุณ (หลวงปู่แสร์) อดีตเจ้าคณะต�าบลบักได อดีตเจ้าอาวาสวัดอรุโณทยาราม
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
231
วัดหิมวันบรรพต
ต� ำ บลตำเมี ย ง อ� ำ เภอพนมดงรั ก จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Him Mawan Banpot
Tha Miang subdistrict, Phanom Dong Rak District, Surin Province
232
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดหิมวันบรรพต
วั ด หิ ม วั น บรร พ ต ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ ๓๓๓ บ้านตาเมียง ถนนแนงนุด-ตาเมียง หมู่ที่ ๑ ต�าบล ตาเมี ยง อ�าเภอ พ นมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ สังกัด คณะสงฆ์ม หานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๑๖ ไร่ ๑ งาน ๑๐ ตารางวา น.ส. ๓ก เลขที่ ๒๐๑ อาณาเขต ทิศเหนือประมาณ ๔ เส้น ๑๐ วา จดทางหลวง ทิศ ใต้ประมาณ ๔ เส้น ๑๐ วา จดทีน่ ายปิง-นายเปรียะ ทิ ศ ตะ วั น ต ก ประม า ณ ๔ เส้ น จดโรงเรี ย น ทิศตะวัน ตกประมาณ ๔ เส้น จดที่นายยงหัว มีที่ ธรณีส งฆ์ จ�านวน ๒ แปลง เนื้อที่ ๕๑ ไร่ อาคาร เสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ กว้ าง ๖ เมตร ยาว ๑๘ เมตร
สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๔ ศาลาการเปรียญ กว้าง ๑๕ เมตร ยาว ๒๑ เมตร กุ ฏิสงฆ์ จ�านวน ๓ หลัง เป็นอาคารไม้ ๒ หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม้ ๑ หลัง วัดหิมวั น บรรพต ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๗ เดิมชื่อ วั ดบ้า น ตาเมียง ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น วัดหิ มวั น บ ร รพต เ พื่อความเหมาะสมกับสภาพ ภูมิป ระเ ท ศ ซึ่ง เ ป็นป่าทึบและอยู่ติดกับทิวเขา พนมดง รัก ผู้น�าส ร้างวัด คือ พระเวียว ได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที ่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒ ๐ เขตวิสุ งคามสีมา กว้าง ๒๘ เมตร ยาว ๔๐ เมตร
ปักหมุดวัดเมืองไทย
233
การบริหารปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ รูปที่ ๑ พระเวียว พฺรหฺมโชโต พ.ศ. ๒๔๖๓-๒๔๗๓ รูปที่ ๒ พระสุรพล ฐิตกมโล พ.ศ. ๒๔๗๓-๒๔๘๐ รูปที่ ๓ พระปุด รกฺขิตฺโต พ.ศ. ๒๔๘๐-๒๔๘๖ รูปที่ ๔ พระอธิการเสือย โกวิโท พ.ศ. ๒๔๘๖-๒๔๙๓ รูปที่ ๕ พระเร็ม รกฺขิตฺโต พ.ศ. ๒๔๙๓-๒๕๐๐ รูปที่ ๖ พระสอน พ.ศ. ๒๕๐๐-๒๕๐๘ รูปที่ ๗ พระเปรียม ปญฺญาธโร พ.ศ. ๒๕๐๘-๒๕๑๐ รูปที่ ๘ พระบาล พ.ศ. ๒๕๑๐-๒๕๑๖ รูปที่ ๙ พระเม็จ มูลโก พ.ศ. ๒๕๑๖-๒๕๒๑ รูปที่ ๑๐ เจ้าอธิการลิ้ม อนิปฺผโล พ.ศ. ๒๕๒๑- ๒๕๓๖ รูปที่ ๑๑ พระครูบรรพตสมานธรรม พ.ศ. ๒๕๔๒ ถึงปัจจุบนั เจ้าอาวาสวัดหิมวันบรรพต / รองเจ้าคณะอ�าเภอพนมดงรัก
234
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระครูบรรพตสมานธรรม เจ้าอาวาสวัดหิมวันบรรพต รองเจ้าคณะอ�าเภอพนมดงรัก
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
235
วัดอรุณทยาราม
ต� า บลบั ก ได อ� า เภอพนมดงรั ก จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Aroon Thayaram
Buk Dai subdistrict, Phanom Dongrak District, Surin Province ความเป็นมา
วัดอรุณทยาราม ตัง้ อยู ่ ณ เลขที่ ๓๒๕ หมูท่ ี่ ๑ บ้านรุน ต�าบลบักไดอ�าเภอ พนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ วั ด อรุ ณ ทยาราม เดิ ม ที นั้ น ชื่อที่พักสงฆ์ป่าวิเวกบ้านรุม โดยการเข้า มาพัฒนาและท�าเป็นกุฏิพักสงฆ์ จ�านวน ๒ หลั ง ซึ่ ง พื้ น ที่ ดั ง กล่ า วเป็ น สาธารณ ประโยชน์ ที่ป่าช้าหมู่บ้านมีเนื้อที่ ๑๖ ไร่ ๒ งาน ๗ ตารางวา วัดอรุณทยาราม (ป่าวิเวกบ้านรุน) ก่อตัง้ เมือ่ วันที ่ ๒๔ มีนาคม
236
ปักหมุดวัดเมืองไทย
๒๕๓๔ (ตรงกับขึ้น ๙ ค�่า เดือน ๓) โดยมีหลวงพ่อคลิม ขนฺตโิ ก กับ หลวพ่อ พาน ปภสฺสโร เข้ามาพัฒนาและสร้าง กุฏิที่พักสงฆ์ในพื้นที่ดังกล่าว หลังจาก ทีญ ่ าติโยมชาวบ้านรับทราบข่าวการมา พัฒนาป่าช้าเพื่อสร้างที่พักสงฆ์ ชาว บ้านก็พากันมาช่วยพัฒนาและสร้าง เสนาะสนะขึ้นมาตามล�าดับหลังจากที่ สร้างเสนาะขึ้นเรียบร้อยแล้ว ญาติโยม ได้ อ าราธนานิ ม นต์ พ ระครู ป ราสาท พรหมคุณ (หลวงปู่หงส์ พรหมปญฺโญ)
ม า ท� า พิ ธี ป ั ก ส ะ ดื อ วั ด เ พื่ อ เ ป ็ น ที่ ยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจและเป็ น สิ ริ ม งคลแก่ ญาติ โ ยมที่ ม าท� า บุ ญ ต่ อ มาปี ๒๕๕๗ พระครูปลัดภัทรดนัย สุจิตฺตคโต ร่วมกับ นายล้ ว น คลุ ้ ม กระโทก นายอมรเทพ นาคประโคน และ นายตรี พิมพ์ลา ยืน่ เรือ่ ง ขอใช้ ที่ ดิ น และวิ่ ง ขออนุ ญ าตสร้ า งวั ด และตั้งวัดจนแล้วเสร็จ และส�านักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ได้ประกาศตั้ง วัดอรุณทยาราม เมื่อปี ๒๕๖๑
ปักหมุดวัดเมืองไทย
237
ประวัติประธานสงฆ์และเจ้าอาวาส วัดอรุณทยาราม ๑. หลวงพ่อคลิม ขนฺติโก ตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๓๔ ๒. หลวงพ่อพาน ปภสฺสโร ตั้งแต่ปีพุทธศักราช – ๓. พระครูปลัดภัทรดนัย สุจิตฺตคโต ตั้งแต่ปี พุทธศักราช๒๕๖๑ - ปัจจุบัน
พระครูปลัดภัทรดนัย สุจิตฺตคโต เลขานุการเจ้าคณะอ�าเภอพนมดงรัก เจ้าอาวาสวัดอรุณทยาราม
238
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระสมุห์วรจักร เขมวีโร เลขานุการรองเจ้าคณะอ�าเภอพนมดงรัก รองเจ้าอาวาสวัดอรุณทยาราม
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
239
วัดดอนน�้ำตำล
ตำ�บลบักได อำ�เภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์
Wat Don Namtan
Buk Dai Subdistrict, Phanom Dong Rak District, Surin Province
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
240
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประวัติวัดดอนน�้ำตำล วัดดอนน�้ำตำล เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ขึ้นตรงกับบ้ำนบุอ�ำเปำว์ ต�ำบลบักได อ�ำเภอกำบเชิง จังหวัดสุรินทร์ (ในสมัยนั้น) โดยสภำพบริบทของพื้นที่ เป็นป่ำไม้เบญจพรรณนำนำชนิด พื้นดินเป็นสภำพน�้ำซับเพรำะติดหนองน�้ำหัวอ่ำง พื้นที่ดินดังกล่ำวเป็นของ นำยธนู วงศ์ษำ ผู้ใหญ่บ้ำนบุอ�ำเปำว์ (ในสมัยนั้น) โดยกำร คิดเริ่มก่อตั้งวัด เนื่องจำกประชำชนส่วนใหญ่ในพื้นที่ดังกล่ำวเป็นชำวไทยอีสำน (พูดภำษำอีสำน) ทีอ่ พยพมำจำกทำงจังหวัดบุรรี มั ย์ มหำสำรคำม ร้อยเอ็ด โดยจุดเริม่ นำยธนู วงศ์ษำ ได้บริจำคทีด่ นิ ก่อตัง้ ส�ำนักสงฆ์ และได้นมิ นต์หลวงปูจ่ นั ทร์ กิตติภทฺโท จำกอ�ำเภอหนองหงษ์ จังหวัดบุรีรัมย์ มำจ�ำพรรษำ เพื่อให้ประชำชนได้บ�ำเพ็ญบุญ และสร้ำงขวัญก�ำลังใจแก่ประชำชน และต่อมำหลวงปู่จันทร์ กิตติภฺทโท ได้ขอซื้อ ที่ดินจำกนำงนำง เดชวงษำ เพื่อขยำยพื้นที่ส�ำนักสงฆ์ และในช่วงเริ่มกำรก่อตั้งนั้น ได้อำศัยก�ำลังจำกผู้น�ำหมู่บ้ำนและกลุ่มหนุ่มสำว เป็นเรี่ยวแรงหลักในกำรจัดหำ ไม้ซุงใหญ่จำกป่ำดงดิบมำสร้ำงเสนำสนะ ศำลำกำรเปรียญ และถำวรวัตถุที่มี
พระอำทิตย์ อธิจิตฺโต รักษำกำรเจ้ำอำวำสวัดดอนน�้ำตำล
ปักหมุดวัดเมืองไทย
241
ควำมจ�ำเป็น มีกำรพัฒนำตำมล�ำดับด้ำน ประเพณี วัฒนธรรม กำรละเล่น และเป็น จุดศูนย์รวมจิตใจของพุทธศำสนิกชนใน พื้นที่ ถำวรวั ต ถุ ที่ โ ดดเด่ น คื อ สิ ม น�้ ำ (ปัจจุบนั มีกำรปรับปรุง สำมำรถใช้ประกอบ กิจของสงฆ์ได้) และมณฑลรูปปั้นหลวงปู่ จันทร์ กิตติภทฺโท และรูปปั้นเจ้ำพ่อบักได ปัจจุบนั มี พระอำทิตย์ อธิจติ โฺ ต เป็นรักษำ กำรเจ้ำอำวำสวัดดอนน�้ำตำล
242
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประเพณีวัฒนธรรมที่โดดเด่น
บุ ญ ผะเหวดเทศน์ ม หำชำติ เป็นประเพณีที่ จัดในช่วงเดือน มีนำคม, เมษำยน (หรือ เดือน ๔ ตำม จันทรคติ) เป็นกิจกรรมที่สืบสำนประเพณีวัฒนธรรมของ ภำคอีสำน เพื่อเป็นกำรศึกษำประวัติพระมหำเวสสันดร และเป็นกำรบ�ำเพ็ญบุญกุศลของพุทธศำสนิกชน อีกทั้ง ยังเป็นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดควำมสำมัคคีของคนในชุมชน ตำมหลัก บวร ประเพณีกวนข้ำวทิพย์ และตักบำตรเทโวโรหณะ (ขึน้ ๑๕ ค�ำ่ เดือน ๑๑ และ แรม ๑ ค�ำ่ เดือน ๑๑ ) ในช่วง ก่อนออกพรรษำ พุทธศำสนิกชนได้จัดกิจกรรมกวนข้ำว ทิพย์ขึ้น เพื่อที่จะตักบำตรพระสงฆ์ในช่วงออกพรรษำ เป็ น กิ จ กรรมแห่ ง กำรบ� ำ เพ็ ญ บุ ญ ของพุ ท ธศำสนิ ก ชน ทั้งยังได้อนุรักษ์ประเพณีอันดีงำมให้ลูกหลำนได้ศึกษำ และเป็นกำรส่งต่อมรดกทำงวัฒนธรรมอันทรงคุณค่ำให้ ลูกหลำนรุ่นต่อไป กำรอนุ รั ก ษ์ ป ระเพณี ขั บ ร้ อ งสรภั ญ ญะ เป็ น ประเพณีอันทรงคุณค่ำอีกประเพณีหนึ่งที่ทำงชุมชนบ้ำน ดอนน�้ำตำลได้ร่วมกันอนุรักษ์ไว้ เพรำะนับวันยิ่งหำชม หำดูยำกกลุ่มสรภัญญะบ้ำนดอนน�้ำตำล มีกำรซักซ้อมไป ร่วมขับร้องตำมชุมชนและหน่วยงำนต่ำง ๆ ทีไ่ ด้รบั เชิญให้ ไปแสดง และได้ส่งเข้ำร่วมแข่งขันประกวดตำมเวทีต่ำง ๆ เป็นประจ�ำทุกปี
ปักหมุดวัดเมืองไทย
243
วัดนิคมสุนทราราม ต� า บลบั ก ได อ� า เภอพนมดงรั ก จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Nikhom Sunthraram
Bak Dai Subdistrict, Phanom Dong Rak, Surin Province
พระอธิการสุวิน รตินฺธโร เจ้าอาวาสวัดนิคมสุนทราราม
244
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประวัติความเป็นมา วัดนิคมสุนทราราม ตั้งอยู่ ณ หมู่บ้านสกอร์ ต.บักได อ.พนมดงรัก จ.สุรินทร์ เริ่มสร้างวัดเมื่อวันที่ ๒๒ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๒ มีเนื้อที่ ๑๕ ไร่ หนังสืออนุญาตให้ สร้างวัด เมื่อวันที่ ๒๙ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๐ ประกาศ ตั้งวัด เมื่อวันที่ ๑๔ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ ให้ชื่อว่า วัดนิคมสุนทราราม (บ้านสกอร์) เลขที่ ๑๑๕ หมู่ ๑๒ ต�าบล บักได อ�าเภอพนมดงรัด จังหวัดสุรินทร์ เจ้าอาวาสรูปแรก พระอธิการสุนทร จตฺตสลฺโล (สัง สมานันท์) ได้ ลาสิกขาและถึงแก่กรรมไปแล้ว เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน คือประครูนิคมสุนทรารักษ์ (พระอธิการสุวิน รตินฺธโร กองศิริ)
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
245
วัดปราสาททอง
ต� า บลตาเมี ย ง อ� า เภอพนมดงรั ก จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Prasat Thong
Ta Myeong Subdistrict, Phanom Dong Rak District, Surin Province
พระอธิการประเสริฐ เจ้าอาวาสวัดปราสาททอง 246
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดปราสาททอง ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๓ โดยมีรายนามเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีต ถึงปัจจุบันดังนี้ ๑. พระอาจารย์เคียม มาจ�าพรรษาอยู่ถึง พ.ศ. ๒๕๒๔ แล้วก็มรณะภาพลงในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ๒. พระอาจารย์สมควร ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๕ ถึง พ.ศ. ๒๕๒๙ ๓. หลวงพ่อเป้อะ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๐ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๘ ๔. พระอาจารย์เต็ม มารักษาการปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๒ ๕. พระบุญติด ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๒ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๘ ๖. พระอธิการประเสริฐ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๙ จนถึงปัจจุบัน
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
247
วัดโพธิวนาราม
ต� า บลตาเมี ย ง อ� า เภอพนมดงรั ก จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Phohthi Wanaram
Ta Miang Subdistrict, Phanom Dongrak District, Surin Province วัดโพธิวนาราม วัดโพธิวนาราม เป็นสังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ที่ บ้าน หนองจู บ หมู ่ ที่ ๒ ต� า บลตาเมี ย ง อ�าเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ มี เนื้อที่ ประมาณ ๑๑ไร่ ๓ งาน ๐ ตารางวา สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๖ โดยมีคุณพ่อทุม ไกรเพชร คุณแม่ทา ยี่รัมย์ และคุณพ่อเป ยาเพชร คุณแม่ เละ ยาเพชร เป็นผู้มอบถวายที่ดิน สร้างวัด และมีหลวงจ�าปา เป็นรักษา การเจ้าอาวาสรูปแรก 248
ปักหมุดวัดเมืองไทย
การบริ ห ารและปกครอง ภายในวัด วัดโพธิวนาราม มีเจ้าอาวาส สืบทอดกันมาดังนี้ ๑.หลวงพ่อจ�าปา ปี พ.ศ. ๒๕๒๖ ๒.หลวงพ่อทองสา ปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ๓.หลวงพ่อทองมา ญาณธโร ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ๔.พระครูโพธิกติ ติวนารักษ์ (กิตตฺ ภิ ทฺโท) ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-ปัจจุบัน ระเบียบการปกครอง ๑. วัดหิมวันบรรพตเจ้าอาวาสเป็นผู้ ควบคุมดูแลและไม่ได้แบ่งเป็นคณะ
๒. มอบให้พระผู้มีพรรษาสมควรและ เป็นผู้มีความสามารถเป็นผู้ช่วยควบคุม ดูแลกิจการภายในวัด ๓. อบรมพระภิกษุ-สามเณรให้ปฏิบัติดี งามตามธรรมวินัย ๔. อบรมพระภิ ก ษุ - สามเณรให้ รู ้ จั ก รักษาศาสนสมบัติอันมีค่าของพระพุทธ ศาสนา ๕. อบรมพระภิกษุ-สามเณรให้เข้าใจ และช่วยกันรักษาศาสนวัตถุภายในวัด ๖. อบรมพระภิ ก ษุ - สามเณรให้ รู ้ จั ก ประพฤติปฏิบัติตามระเบียบข้อกติกา
ของวัดและอาณัติของคณะสงฆ์ ๗. อบรมพระภิ ก ษุ - สามเณรให้ รู ้ จั ก คุ ณ ค่ า ของความสะอาด โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในเฉพาะภายในบริเวณวัด กติกาของวัด ๑. ผู้ที่เข้ามาบรรพชาอุปสมบท ต้อง ฝึ ก หั ด อบรมให้ รู ้ จั ก หลั ก ธรรมทาง พระพุทธศาสนา ๒. เมื่อบรรพชาอุปสมบท ต้องปฏิบัติ กิจวัตรสวดมนต์เช้า-เย็น ทุกวัน ๓. ในระหว่างบรรพชาอุปสมบท ต้อง ศึกษาพระธรรมวินัยทุกรูป ๔. ในวันส�าคัญทางพระพุทธศาสนา ต้องปฏิบตั ศิ าสนกิจโดยพร้อมเพรียงกัน ๕. พระภิกษุทกุ รูป ต้องลงอุโบสถกรรม ทุกกึ่งเดือน ๖. เมื่อมีกิจของสงฆ์เกิดขึ้นในวัด ต้อง ช่วยกันท�างาน ตามความสามารถ เพื่อ ความสามัคคีพร้อมเพรียงกัน
๗. ต้องสอบคุณธรรมสนามหลวงทุกรูป เว้นข้าราชการที่ลาบวช ๘. ถ้ามีอาคันตุกะมาค้างคืนในวัด ต้อง แจ้งให้เจ้าอาวาสทราบทุกครั้ง ประวัติพอสังเขป พระครูโพธิกิตติวนารักษ์ พระครู โ พธิ กิ ต ติ ว นารั ก ษ์ (กิตติภทฺโท) ชื่อเดิม ประสิทธิ์ กล้า วิเศษ เกิดเมื่อวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๓ เป็นบุตรของ คุณพ่อเจริญ กล้า วิเศษ บรรพชา เมือ่ วันที ่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ อุปัชฌาย์ พระครูประสาทปริยัติคุณ พระครูโพธิกิตติวนารักษ์ (กิตติภทฺโท) เจ้าอาวาสวัดโพธิวนาราม วัดกาบเชิง พระกรรมวาจา พระจุล ฐานวีโร พระอนุสาวนาจารย์ พระธาตุ ปภสฺสโร ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้รับแต่งตั้ง เป็นรักษาการเจ้าอาวาสวัดโพธินาราม ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้รับการแต่ง ตั้งเป็นเจ้าอาวาส ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้รับพระครู สัญญาบัตรในราชทินนาม “พระครู โพธิกิตติวนารักษ์”
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
249
วัดวารีวัน
ตำ�บลจีกแดก อำ�เภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์
Wat Wa Ree Wan
Jeek Dag Subdistrict, Phanom Dong Rak District, Surin Province
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
250
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประวัติความเป็นมา
ตามที่กรมป่าไม้โดยผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ ได้ออกหนังสือ อนุญาตให้เช่าท�าประโยชน์ หรืออาศัยอยูใ่ นเขตป่าสงวนแห่งชาติ เล่มที ่ ๒๐๐ ฉบับที่ ๑๕ ลงวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๖ โดยให้กรมการศาสนา เช่น ท�าประโยชน์ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าทุง่ มน - ป่าบักได และป่าตาเบา แปลงที ่ ๒ ท้องทีต่ า� บลจีกแดก อ�าเภอกาบเชิง จังหวัดสุรนิ ทร์ เนือ้ ที ่ ๘ - ๓ - ๙๕ ไร่ เพื่อสร้างวัดเตอัมพวัน (บ้านวารี) อาศัยตามข้อ ๔ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑ (๒๕๐๗) ออกตามความ ในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ และด้วยความเห็นชอบของมหาเถรสมาคม ได้ให้เปลี่ยนชื่อวัดให้คล้องจอง กับหมู่บ้าน เมื่อวันที่ ๑๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ กระทรวงศึกษาธิการจึง ประกาศแต่งตั้งวัดขึ้นในพระพุทธศาสนามีนามว่า วัดวารีวัน ตั้งแต่บัดนี้ เป็นต้นไปจนถึงปัจจุบัน
พระครูโสภิตกิตยารักษ์ เจ้าคณะต�าบลบักได / เจ้าอาวาสวัดวารีวัน
ปักหมุดวัดเมืองไทย
251
โบราณวัตถุมีความส�าคัญ
ผูท้ มี่ จี ติ ศรัทธา ได้นา� มาถวาย ณ วัดวารีวนั เมือ่ พ.ศ. ๒๕๕๘ รายนามเจ้าอาวาส ตั้งแต่รูปแรกจนถึงปัจจุบัน รูปที่ ๑ ชื่ อ พระอธิ ก ารตุ ม เตชวโร ประมาณ พ.ศ. ๒๕๓๖ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๙ (วัดเตอัมพวัน) รูปที่ ๒ ชื่อ หลวงพ่อชิด โชติธมฺโม พ.ศ. ๒๕๓๙ ถึง พ.ศ. ๒๕๖๒ (วัดเตอัมพวัน) รูปที่ ๓ ชื่อ พระครูโสภิตกิตยารักษ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ถึง พ.ศ. ๒๕๖๒ (วัดวารีวัน) รูปที่ ๔ ชื่อ พระครูโสภิตกิตยารักษ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ถึง ปัจจุบัน
252
ปักหมุดวัดเมืองไทย
เกียรติประวัติเจ้าอาวาส (โดยสังเขป) ของแต่ละรูป รูปที่ ๑ พระอธิการตุม เตชวโร ได้สร้างศาลา การเปรียญหนึ่งหลัง เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๖ รูปที่ ๒ – รูปที่ ๓ พระครูโสภิตกิตยารักษ์ ได้สร้าง พระอุโบสถ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๙
ลักษณะพื้นที่ตั้งวัดและบริเวณโดยรอบ
เป็นพืน้ ทีช่ มุ ชนและอยูห่ า่ งหมูบ่ า้ น ประมาณ ๒๐๐ เมตร อุโบสถ ได้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๙ แต่ยัง ไม่แล้วเสร็จ
ปักหมุดวัดเมืองไทย
253
วัดศรีสวาย
ต� า บลจี ก แดก อ� า เภอพนมดงรั ก จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Sri Sawai
Chik Daek Subdistrict, Phanom Dong Rak District Surin Province 254
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ความเป็นมา
เมื่ อ ก่ อ น วั ด ศรี ส วาย มี ชื่ อ ว่ า วัดศรีวราราม (ปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ) ต่อมาเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ วัดศรีวรารามไม่มีพระสงฆ์อยู่จ�าพรรษา นายเจริญ วงค์รัมย์ ผู้ใหญ่บ้านศรีสวาย จึงได้ไป อาราธนานิมนต์ พระมหาทองเจริญ เตชธมฺโม มาจ�าพรรษา ณ วัดศรีวราราม เป็นต้นมา พ ร ะ ม ห า ท อ ง เจ ริ ญ เ ต ช ธ มฺ โ ม (พระครูพนมสุตาภรณ์) รูปปัจจุบัน เมื่อท่านมา จ� า พรรษาอยู ่ ไ ด้ ร ะยะหนึ่ ง ทางส� า นั ก งาน พระพุทธศาสนา ได้ออกส�ารวจวัดในเขตพื้นที่ ต�าบลจีกแดก มีวัดที่ยังไม่ขึ้นทะเบียน ๒ วัด คือ วัดศรีวราราม (วัดศรีสวายในปัจจุบนั ) และวัดป่า ธรรมวิ เ วกบ้ า นจี ก แดก (วั ด พนมพั ฒ นา) ตกส� า รวจวั ด พระมหาทองเจริ ญ และคณะ กรรมการในสมั ย นั้ น ได้ ป ระสานหาข้ อ มู ล หลักฐานในการขออนุญาตสร้างวัดและเอกสาร อื่น ๆ เพื่อประกอบพิจารณาในการด�าเนินการ ตั้งวัดในพระพุทธศาสนา เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ จึงได้รบั ใบประกาศ จากส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ให้ตั้ง เป็นวัดศรีสวายเป็นต้นมา โดยนายผล สนิทสนม เป็นผู้ขออนุญาตตั้ง โดยให้ชื่อว่า วัดศรีสวาย เหตุ ผ ลเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ หมู ่ บ ้ า นศรี ส วาย แปลว่า มะม่วงอันเป็นมงคล เพราะสมัยนั้นมี ต้นมะม่วงป่ามาก
พระครูพนมสุตาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดศรีสวาย
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
255
วัดสมสุธาวาส
ต� า บลบั ก ได อ� า เภอพนมดงรั ก จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Som Sutawat
Bak Dai Subdistrict, Phanom Dong Rak District, Surin Province
พระวินยาธิการ เจ้าอาวาสวัดสมสุทธาวาส 256
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดบ้านอุโลก หรือที่เรียกกันว่า วัดสมสุธาวาส ทั่วไปเรียกว่า วัดบ้านอุโลก ได้ก่อสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๗ เดิมที่ดิน เป็นของนายเสงียม มะลิแก้ว และนายวิลาศ เสาะพบดี ยายหลัง จากอ�าเภอปราสาท ได้ ร่วมบริจาคที่ดินสร้างวัดสมสุธาวาส จ�านวน ๓๐ ไร่ ให้แด่ หลวงพ่อ สม เขมิโย เจ้าอาวาส ในสมัยนัน้ โดยพืน้ ทีต่ งั้ วัดหรือจุดทีต่ งั้ วัด อยู่ ติดถนนสายตาเมียงปราสาท ๓๐๐ เมตร ทางทิศใต้ของถนนนิคม ซอย ๒๑ บ้านอุโลก ต�าบลบักได อ�าเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรนิ ทร์ และมีเจ้าอาวาสมาแล้ว ๕ รูป ๑. หลวงพ่อสม เขมิโย ๒. หลวงพ่อบวน ๓. หลวงพ่อโทน ๔. หลวงปู่ด�า หรือ พระอธิการ วัยจิตร สจฺจปาโล ๕ . พ ร ะ วิ น ย า ธิ ก า ร ห รื อ พระอธิการโรมศักดิ์ กตสาโร
ประวัติพระอธิการโรมศักดิ์ กตสาร พระอธิ ก ารโรมศั ก ดิ์ กตสาร อายุ ๔ ๒ปี เกิดเมื่อ วันพุธกลางคืน ๗ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๒๑ ปีมะเมีย ชื่อเดิม นายโรมศักดิ์ นามสกุล ยิ่งรุ่งเรือง วิทยฐานะ ม.๖ อาชีพท�านา เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย บิดานายเปราะ ยิ่งรุ่งเรือง มารดา นางยิน ยิ่งรุ่งเรือง เป็นบุตรคนที่ ๙ อุปสมบท เมื่ออายุ ๒๕ ปี ณ วันที่ ๓ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ ที่วัดอมรินทราราม ต�าบลตาเบา อ�าเภอ ปราสาท จังหวัดสุรินทร์ พระอุปัชฌาย์ พระครูโสภณปุญญกิจ พระกรรมวาจาจารย์ พระครูโอภารกิตติสาร พระอนุสาวนาจารย์ พระอธิการวิเชียร สังกัดวัดอุโลก รัตนาราม หรือวัดสมสุธาวาสในปัจจุบัน และเป็นศิษย์ องค์สุดท้ายของหลวงปู่ด�า สจฺจปาโล ความช�านาญพิเศษ มีความสามารถหลอมพระเครื่อง เนื้อส�าเร็จ แบบขอมและเขมรโบราณ จากหลวงปู่ด�า เป็นอย่างดี ด้ า นงานปกครอง เป็ น พระวิ น ยาธิ ก าร ต� า บล บักได อ�าเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เจ้าอาวาส วัดสมสุธาวาส และหัวหน้าที่พักสงฆ์ วัดไทยนิยม พระ อธิการโรมศักดิ์ กตสาร ได้บริหารจัดการทั้งสองวัด ตราบเท่าทุกวันนี้
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
257
วัดดอกจานรัตนาราม
ต� า บลทั บ ใหญ่ อ� า เภอรั ต นบุ รี จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Dokchan Ratthanaram
Thub Yai Subdistrict, Ratthana Buri District, Surin Province วัดดอกจานรัตนาราม
พระครูรัตนธรรมานุรักษ์ เจ้าอาวาสวัดดอกจานรัตนาราม รองเจ้าคณะอ�าเภอรัตนบุรี
ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นจาน ต.ทั บ ใหญ่ อ.รัตนบุรี จ.สุรินทร์, บ้านจาน มีหมู่ ๖, หมู่ ๘ และหมู่ ๙ เป็นผู้อุปถัมภ์ วัดดอก จานรัตนาราม เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๖๗ ชาวบ้าน ได้ก่อสร้างวัดขึ้น ด้านทิศตะวันออกของ หมู่บ้าน ด้วยที่ดิน ๕ ไร่เศษ สร้างกุฏิขึ้น หนึง่ หลัง มีพระอาจารย์นอ้ ย มาจ�าพรรษา ที่ วั ด สร้ า งใหม่ แ ห่ ง นี้ แล้ ว ตั้ ง ชื่ อ วั ด ว่ า “วัดบ้านจาน” เพราะบริเวณรอบหมู่บ้าน มีต้นจานขึ้นเป็นจ�านวนมาก เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๕ เกิดน�้าท่วม ใหญ่ ซึ่งช่วงนั้นก็มีพระสังฆาธิการฝ่าย ปกครอง ออกมาส�ารวจให้วัดขึ้นทะเบียน แนะน�าให้ตั้งชื่อวัดแห่งนี้ว่า “วัดสว่างพานิช” แต่ชาวบ้านยังคงเรียก วัดบ้านจาน หรือวัดสว่างบ้านจาน เรื่อยมา ต่อมาเมื่อ ปลาย ปี พ.ศ.๒๕๔๑ พระภูชิต ยสินฺธโร ได้ปรึกษาพระอธิการดี รกฺขติ ธมฺโม ซึง่ เป็น เจ้าอาวาส และได้นดั ประชุมชาวบ้านเรือ่ ง การเปลี่ยนชื่อวัด ในที่ประชุมมีมติเป็น เอกฉันท์ที่เห็นชอบอยากให้เปลี่ยนชื่อวัด และลงรายชือ่ ผูร้ ว่ มประชุม แล้วร่างหนังสือ ติดต่อหน่วยงานที่รับผิดชอบตามล�าดับ ต่อมาในเดือนกรกฎาคม ปี พ.ศ. ๒๕๔๒
ก็ได้รบั หนังสือจากมหาเถรสมาคมกระทรวง ศึ ก ษาธิ ก าร กรมการศาสนา พร้ อ มใบ ประกาศเปลีย่ นชือ่ วัด ลงวันที ่ ๒๕ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๔๒ ด้วยความเห็นชอบของมหา เถรสมาคมได้พจิ ารณาอนุญาต ให้เปลีย่ นชือ่ ได้ตามที่ร้องขอทุกประการ มีเจ้าอาวาส ผ่านมาแล้วจ�านวน ๑๑ รูป คือ ๑.พระอธิการน้อย กตธมฺโม พ.ศ. ๒๔๖๗ ๒.พระธิการทัต ถาวโร พ.ศ. ๒๔๗๐ ๓.พระอธิการผุย อภิวฑฺฒโน พ.ศ. ๒๔๗๒ ๔.พระอธิการชาลี ฐิตธมฺโม พ.ศ. ๒๔๘๓ ๕.พระอธิการบุญ ปุญญกโร พ.ศ. ๒๔๙๐ ๖.พระอธิการทอง สุวณโณ พ.ศ.๒๔๙๒ ๗.พระอธิการหวัน เชตธมฺโม พ.ศ. ๒๔๙๕ ๘.พระอธิการพรหมมา วรธมฺโม พ.ศ. ๒๔๙๘ ๙.พระอธิการเผือก จนฺทธมฺโม พ.ศ. ๒๕๑๒ ๑๐.พระอธิการดี รกฺขิตธมฺโม พ.ศ. ๒๕๒๓ ๑๑.พระครูรตั นธรรมานุรกั ษ์ (ภูชติ ยสินธฺ โร, น.ธ.เอก,/ ป.ธ. ๑-๒ / ศศ.ม./ พ.ศ.๒๕๔๓ – ปัจจุบัน) หมายเหตุ เมื่อช่วง พ.ศ.๒๕๒๐–๒๕๒๒ หลวงปู่โล้น จะท�าหน้าที่รักษาการแทน
คณะกรรมการวัดและผู้น�าชุมชนที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาวัดดอกจานรัตนาราม
258
ปักหมุดวัดเมืองไทย
กิจกรรมเวียนเทียนในวันส�าคัญทางพระพุทธศาสนา
กิจกรรมชุมชนวัดดอกจานตามฮีต ๑๒ ปักหมุดวัดเมืองไทย
259
ประวัติสถานีวิทยุพุทธศาสนิกชนคน รัตนบุรี FM 91.75 MHz คลื่นนะโมโอทอป วัดดอกจานรัตนาราม เมื่อต้นปี พ.ศ. ๒๕๔๗ พระครู รัตนธรรมานุรกั ษ์ เจ้าอาวาสวัดดอกจานรัตนาราม ได้เชิญชวนชาวบ้าน และคณะ ครูโรงเรียนในพืน้ ทีม่ าร่วมประชุม ซึง่ เป็น เวทีแจ้งสิทธ์ เพื่อจัดตั้งสถานีวิทยุชุมชน ขึ้น ตามสิทธิที่กฎหมายเปิดโอกาสให้ ที่ ป ระชุ ม มี ม ติ จั ก ร่ ว มกั น ตั้ ง สถานี ขึ้ น แล้ววางแผนระดมทุนหางบประมาณ และในวันที่ ๒๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ สถานีวิทยุกระจายเสียงชุมชน ก็ได้เปิด ออกอากาศเป็นครัง้ แรก จากวันนัน้ จนถึง ปัจจุบัน สถานีวิทยุคลื่น ๙๑.๗๕ ซึ่งมี พระครูรตั นธรรมานุรกั ษ์เป็นผูอ้ า� นวยการ สถานีวทิ ยุแห่งนี ้ และมีนกั จัดรายการวิทยุ อาสา จ�านวน ๑๙ คน เปิดออกอากาศ ตั้งแต่เวลา ๐๔.๐๐ น- เวลา ๒๒.๐๐ น ทุกวัน
พระครูรัตนธรรมานุรักษ์ (ภูชิต ยสินฺธโร) มีโอกาสเข้าร่วมประชุม สหภาพพระธรรมทูตไทยในทวีปยุโรป เมืองโบเดน ประเทศสวีเดน ปี ๒๕๖๑
ก�านันแว่นกับคุณดอกรัก ดวงมาลา มาเยี่ยมสถานี
ดีเจอาสาวัดดอกจานรัตนาราม
ผลงานของ สถานีวิทยุพุทธศาสนิกชน คนรัตนบุรี FM 91.75 MHz • พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้รับการโหวต ทางเว็ปไซต์สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (Thai PBS) นักข่าวพลเมือง http://citizen.thaipbs.or.th/ ให้เป็น สื่ อ วิ ท ยุ ชุ ม ชนที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มสู ง สุ ด อันดับที่ ๑ ใน ๕ ของประเทศ และเป็น สื่ อ วิ ท ยุ ชุ ม ชนที่ ไ ด้ รั บ การโหวตสู ง สุ ด อันดับที่ ๑ ใน ๕ ของประเทศ เช่นกัน ตามรายละเอี ย ด ที่ http://citizen. thaipbs.or.th/ • พ.ศ. ๒๕๕๓ นักข่าวพลเมือง สถานีโทรทัศน์ไทยพีบเี อส (Thai PBS)ได้ น�าสถานีวิทยุวัดดอกจานรัตนาราม ออก ข่าว • พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้รบั พระราชทาน เสาเสมาธรรมจักร สาขาเผยแผ่พระพุทธ ศาสนา ในประเทศ • พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้รับการคัด
260
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ซ�าเหมา กับ สาวมัดหมี่
จากพลอากาศเอก ชลิ ต พุ ก ผาสุ ข องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ สาขาเผยแผ่ พระพุทธศาสนา สถานที่น่าสนใจ ของวัดดอกจานรัตนาราม
ดีเจต๋อยหล๋อย และ เฉลิมพล มาลาค�า
เลือกรายการวิทยุด้านวัฒนธรรมดีเด่น ระดับจังหวัด (สุรินทร์) • พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้รับโล่รางวัล รายการวิทยุด้านวัฒนธรรมดีเด่น จาก รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงวั ฒ นธรรม (นางสุกุมล คุณปลื้ม) • พ.ศ. ๒๕๕๗ สถานีวิทยุ ได้ ผลิตเพลงธรรมะมีทา� นองเองโดยนักร้อง อาสา ในชุมชน วัดดอกจานรัตนาราม • พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้รบั พระราชทานโล่รางวัล “พระปฐมเจดีย์ทอง”
• อุโบสถสีทอง ทรงล้านนา ขนาด กว้าง 11 เมตร ยาว ๓๑ เมตร • หลวงพ่อสมใจ (พระประธานใน อุโบสถ และหลวงพ่อแดง หลวงพ่อขาว) • เรือยาว ชื่อหงส์สะอาด ความ ยาว ๔๐ เมตร ๕๓ ฝีพาย มีอายุ ๔๙ ปี • สถานที่รื่นรมด้วยป่าไผ่เวฬุวัน และสระน�้าสีมรกต • สถานีวิทยุพุทธศาสนิกชนคน รัตนบุรี FM 91.75 MHz ฟังได้ทั่วไทย ดัง ไกลทั่วโลก • www.watdokjan.org (มีคน เข้าฟังแต่ละวันหลายหมื่นคน)
ได้รับพระราชทาน เสาเสมาธรรมจักร สาขาเผยแผ่พระพุทธศาสนา ในประเทศ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ พระราชทานโล่ เข้าวัดวันอาทิตย์ใกล้ชิดพระศาสนา
ได้รับพระราชทานโล่รางวัล “พระปฐมเจดีย์ทอง” จากพลอากาศเอก ชลิต พุกผาสุข องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ สาขาเผยแผ่พระพุทธศาสนา
โล่รางวัลรายการวิทยุด้านวัฒนธรรมดีเด่น จากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ปักหมุดวัดเมืองไทย
261
262
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ผอ. สถานีวิทยุ วัดดอกจาน
ปักหมุดวัดเมืองไทย
263
วัดทุ่งไทรขะยูง
ต� ำ บลยำงสว่ ำ ง อ� ำ เภอรั ต นบุ รี จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Thung Sai Khayung Temple
Yang Sawang Subdistrict, Rattanaburi District Surin Province
264
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ความเป็นมา
แปลงนี้ ซึ่งมีเนื้อที่จ�านวน ๗ ไร่ ๓๐ วัดทุ่งไทรขะยูง ตั้งอยู่เลขที่ ๒๑ ตารางวา ให้เป็นสมบัติในพระพุทธ บ้านขะยูง หมูท่ ี่ ๗ ต�าบลยางสว่าง อ�าเภอ ศาสนา เพื่อสร้างวัดให้เป็นสถานที่ ส�าหรับประกอบพิธกี รรม และกิจกรรม รัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ ตั้งเมื่อ พ.ศ.๒๔๘๓ เป็นวัดเก่า ทางพระพุทธศาสนา เป็นศูนย์กลาง ตกส� า รวจที่ ส ร้ า งก่ อ นพระราชบั ญ ญั ติ หรื อ ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจของคนในชุ ม ชน คณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๔๘๔ ผ่านการเห็นชอบ เป็นที่ชุมนุมเพื่อท�าบุญฟังพระธรรม ของคณะกรรมการศาสนาจังหวัดสุรินทร์ เทศนา ของผู้นับถือพระพุทธศาสนาที่ และกรมศาสนาฯ พิจารณาเห็นชอบ และ สืบต่อกันมาจากบรรพบุรษุ เป็นเวลาช้า น�าขึ้นทะเบียน ภาค ๑๑ เมื่อ พ.ศ.๒๔๘๓ นาน เมือ่ มีผมู้ จี ติ ศรัทธาได้บริจาค สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย จากการบอกเล่าสืบต่อกันมาว่า ทีด่ นิ และอนุญาตให้สร้างวัดแล้ว จึงได้ เดิมพื้นที่ในบริเวณที่สร้างวัดแห่งนี้ เป็น พิ จ ารณาภู มิ ป ระเทศบริ เ วณนั้ น ที่ดินของเกษตรกรผู้มีจิตศรัทธาท่านหนึ่ง ปรากฎว่าพืน้ ทีบ่ ริเวณดังกล่าวนัน้ เป็น เกิ ด ความเลื่ อ มใส่ ศ รั ท ธาในพระพุ ท ธ ทุง่ นาทีม่ ตี น้ ไม้ชนิดหนึง่ ชือ่ ต้นรวงไทร ศาสนา มี ค วามประสงค์ ที่ จ ะยกที่ ดิ น และมี ต ้ น พะยู ง อยู ่ ใ นพื้ น ที่ บ ริ เ วณ
ใกล้ ๆ ที่ตั้งหมู่บ้านขึ้นอยู่จ�านวนมาก จึง ไ ด ้ ตั้ ง ชื่ อ วั ด ต า ม ชื่ อ ห มู ่ บ ้ า น แ ล ะ ภูมปิ ระเทศบริเวณนัน้ ว่า วัดทุง่ ไทรขะยูง (ทุง่ มาจากทุง่ นา, ไทร มาจากต้นรวงไทร, ขะยู ง มาจากต้ น พะยู ง ) และได้ ก ราบ อาราธนาพระสงฆ์ ซึ่ ง เป็ น ตั ว แทนของ สถาบั น พระพุ ท ธศาสนา ที่ มี บ ทบาท ส� า คั ญ ในการเป็ น ผู ้ น� า ทางจิ ต ใจของ ประชาชนมาอยู่จ�าพรรษาเรื่อยมาจนถึง ปัจจุบัน
ปักหมุดวัดเมืองไทย
265
พระครูประภัสร์สารธรรม เจ้าอาวาสวัดทุ่งไทรขะยูง / รองเจ้าคณะอ�าเภอรัตนบุรี ประวัติพระครูประภัสร์สารธรรม นามเดิม ประเทือง นามสกุล พันธ์งาม เกิดเมือ่ วันพุธที ่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๖ แรม ๕ ค�่า เดือน ๘ ปีมะแม ณ บ้านเลขที่ ๔๖ บ้านขะยูง หมู่ที่ ๗ ต�าบลยางสว่าง อ�าเภอรัตนบุรี จังหวัด สุรนิ ทร์ เป็นบุตรคนที ่ ๖ ในบรรดาพีน่ อ้ ง ร่วมบิดามารดาทั้งหมด ๙ คน โยมบิดา ชื่อ คุณพ่อหล่า โยมมารดาชื่อ คุณแม่ดี นามสกุล พันธ์งาม (ปัจจุบันท่านทั้ง ๒ ถึงแก่กรรมแล้ว) บรรพชา เมื่ออายุ ๑๙ ปี เมื่อ วั น ที่ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๔
266
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดโพธิ์ศรีธาตุ ต�าบลธาตุ อ�าเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ พระอุปัชฌาย์ : พระครูรัตนพุทธิคุณ วัด โพธิ์ ศ รี ธ าตุ ต� า บลธาตุ อ� า เภอรั ต นบุ รี จังหวัดสุรินทร์ อุปสมบท เมื่อวันที่ ๖ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๖ ณ พั ท ธสี ม า วั ด สว่ า ง (บ้านยาง) ต�าบลยางสว่าง อ�าเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ พระอุปัช ฌาย์ : พระครูรัตนพุทธิคุณ วัดโพธิ์ศรีธาตุ ต�าบลธาตุ อ�าเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ พระกรรมวาจาจารย์ : พระครูบรุ รี ตั นาจารย์
วั ด สว่ า ง (บ้ า นยาง) ต� า บลยางสว่ า ง อ�าเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ พระอนุสาวนาจารย์ : พระครูรัตนธรรม นิเทศก์ วัดชัยศรีสะอาด ต�าบลดอนแรด อ�าเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ ต�าแหน่งหน้าที่การงานปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๑๕ เป็นเจ้าอาวาส วัดทุ่งไทรขะยูง พ.ศ. ๒๕๔๔ เป็นเจ้าคณะต�าบล ธาตุ - ยางสว่าง พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นรองเจ้าคณะ อ�าเภอรัตนบุรี
เป็ น ครู ส อนพระปริ ยั ติ ธ รรม การด�ารงชีวิต ท�าให้ผู้คนได้รับความ (แผนกธรรม) ทุกข์เดือดร้อนเป็นจ�านวนมาก บางครัง้ เป็ น ประธานศู น ย์ ส งเคราะห์ ประชาชนมีความฟุ้งซ่านทางปราสาท ผูอ้ ยากเลิกดืม่ สุรา และยาเสพติดทุกชนิด ได้มาขอรับการบ�าบัดรักษาจากท่าน สาขาที่ ๙๓๔๖ บางรายมีอาการทุเลาลง และบางราย สมณศักดิ์ ได้รับพระราชทาน ก็หายสนิทจากโรคเหล่านั้น หลวงพ่อ สมณศักดิ์เป็น พระครูสัญญาบัตรพัดยศ ท่ า นได้ ใช้ ห ลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธ ชั้นโท ในราชทินนาม ที่ พระครูประภัสร์ ศาสนาที่ เหตุเกิดจากอะไรก็ควรดับ สารธรรม เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. เหตุนั้นเสีย ๒๕๓๖ ณ วั ด พระธาตุ พ นม จั ง หวั ด ท่ า นได้ ท� า การสงเคราะห์ นครพนม ประชาชนด้วยยาสมุนไพร ๓ ราก เฉลีย่ ไ ด ้ รั บ พ ร ะ ร า ช ท า น เ ลื่ อ น ปี ล ะไม่ ต�่ า กว่ า ปี ล ะ ๒๐๐ คน โดย สมณศักดิพ์ ดั ยศ เจ้าคณะต�าบลชัน้ ตรี เป็น ด� า เนิ น โครงสร้ า งการจั ด ตั้ ง ศู น ย์ พระครูเจ้าคณะต�าบลชั้นโท เมื่อวันที่ ๑๘ สงเคราะห์ขึ้น เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๖ สิ ง หาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ณ วั ด โสธร- รางวัลผลงานดีเด่น วรมหาวิหาร จังหวัดฉะเชิงเทรา วันที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ไ ด ้ รั บ พ ร ะ ร า ช ท า น เ ลื่ อ น ๒๕๔๓ ได้รบั โล่เกียรติคณ ุ ผลงานดีเด่น สมณศั ก ดิ์ พั ด ยศ เจ้ า คณะต� า บลชั้ น โท ศูนย์สงเคราะห์ผู้ติดยาเสพติด - โรค เป็นพระครูเจ้าคณะต�าบลชั้นเอก เมื่อ เอดส์ ณ ห้องประชุมพิพธิ ภัณฑ์ อ.พุทธ วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ มณฑล จ.นครปฐม พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้รับพระราชทาน วันที่ ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ปรั บ พั ด ยศจากพระครู เจ้ า คณะต� า บล ๒๕๕๑ ได้รับรางวัลเสาเสมาธรรมจักร ชั้นเอก เป็นรองเจ้าคณะอ�าเภอชั้นโท รางวัลผู้ท�าคุณประโยชน์ต่อพระพุทธ การสงเคราะห์ประชาชน และ ศาสนา ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ประเภท ส่งเสริมพัฒนาชุมชน พระครูประภัสร์ สงเคราะห์ ป ระชาชน และส่ ง เสริ ม สารธรรม ท่านเป็นพระสงฆ์ที่ได้บ�าเพ็ญ พั ฒ นาชุ ม ชน โดยใช้ ห ลั ก ธรรมทาง ประโยชน์ต่อศาสนา ต่อสังคมส่วนรวม พระพุ ท ธศาสนา สาขา สงเคราะห์ เป็นอย่างมาก ท่านท�าการพัฒนาชุมชน ประชาชนและส่ ง เสริ ม พั ฒ นาชุ ม ชน สงเคราะห์ ป ระชาชน ในชุ ม ชนต� า บล จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยาม ยางสว่ า งและจากที่ ต ่ า ง ๆ เนื่ อ งจาก บรมราชกุมารี ณ ลานอเนกประสงค์ สภาพการณ์ และปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น กรมทหารราบที่ ๑๑ รักษาพระองค์ ในสังคมปัจจุบัน ส่วนใหญ่จะมาจากเรื่อง เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร
โครงการ ตู้พระท�า น�าสุข (ตู้ปันสุข) ปันน�้าใจสู้ภัยโควิด 19
สงเคราะห์ผู้มาขอเลิกดื่มสุรา และยาเสพติดทุกชนิด
ชุมชนคุณธรรมขับเคลื่อนด้วยพลังบวร (บวร) โครงการ จิตอาสาพัฒนา ปฏิบัติการล้างวัด (ท�าความสะอาดศาสนสถาน เพื่อป้องกันการแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโควิด 19)
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย
สามารถติดต่อสอบถาม ๐๘๗-๘๗๗-๔๕๙๖ ปักหมุดวัดเมืองไทย
267
วัดจ�ำปำ (จ�ำปำหนองขี้เหล็กงำม) ต� ำ บลหนองบั ว ทอง อ� ำ เภอรั ต นบุ รี จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Champa (Champa Nongkhilek Ngam) Nong Bua Thong Subdistrict, Rattanaburi District, Surin Province
พระครูภาวนาประสุต พระครูภาวนาวิสุทธิญาณ พระมงคลรังษี (หลวงพ่อมหาพันธ์ สีลวิสุทฺโธ) (หลวงพ่อสุวัฒน์ จนฺทสุวณฺโณ) (หลวงพ่อสิงห์ สุธมฺโม)
เจ้าอธิการณรงค์ชยั ปสาโท (สุขส�าโรง) เจ้าอาวาสวัดจ�าปา 268
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประวัติวัดจ�าปา วัดจ�ำปำ (จ�ำปำหนองขี้เหล็กงำม) ตั้งอยู่เลขที่ ๑๙๙ (เดิม ๗๖ หมู่ที่ ๑๘) หมู่ที่ ๑ บ้ำนขี้เหล็ก ต�ำบลหนองบัวทอง อ�ำเภอรัตนบุร ี จังหวัดสุรนิ ทร์ บนเนือ้ ที ่ ๖ ไร่ ๑ งำน ๕๓ ตำรำงวำ สร้ำงขึน้ เมือ่ พ.ศ. ๒๔๕๖ ตรงกับ สมัยรัชกำลที ่ ๖ เหตุทไี่ ด้ชอื่ ว่ำ วัดจ�าปา นั้น เนื่ อ งจำกบริ เวณที่ ตั้ ง วั ด เป็ น ป่ ำ ไม้ จ� ำ ปำ เป็นจ�ำนวนมำก ผู้น�ำในกำรก่อสร้ำงวัด คือ นำยอ่อน (ไม่ทรำบนำมสกุล) โดย นำยอ่อน ได้บริจำคที่ดินส่วนตัว จ�ำนวน ๔ ไร่ ต่อมำ นำยสี สุขเป็ง และนำงเคน ฉำยำ ได้ร่วมกัน บริจำคเพิ่มอีก ๒ ไร่ ๑ งำน ๕๓ ตำรำงวำ ได้ รั บ พระรำชทำนวิ สุ ง คำมสี ม ำ ขนำดเขต กว้ำง ๒๕ เมตร ยำว ๓๘ เมตร เมื่อวันที่ ๒๖ เดือนสิงหำคม พ.ศ. ๒๕๕๙
รายนามเจ้าอาวาสตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั
๑. พระอธิกำรพำ ปภำกโร ๒. พระอธิกำรจันดี จนฺทวโร ๓. พระอธิกำรอ่อนศรี สีลคุโณ (ย่ำงเยือ้ ง) ๔. พระอธิกำรสอ ฉปุญฺโญ (หำญบำง) ๕. พระอธิกำรลุน อรุโณ (ลุนโลก) ๖. พระครูภำวนำประสุต (สิงห์ สุธมฺโม / หำญบำง) ๗. พระณรงค์ชัย ปสำโท (สุขส�ำโรง) รก. ๘. เจ้ำอธิกำรณรงค์ชยั ปสำโท (สุขส�ำโรง)
ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๕๖ ถึง พ.ศ. ๒๔๖๖ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๖๖ ถึง พ.ศ. ๒๔๗๒ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๗๒ ถึง พ.ศ. ๒๔๗๙ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๘๐ ถึง พ.ศ. ๒๔๘๐ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๐ ถึง พ.ศ. ๒๔๙๖ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๗ ถึง พ.ศ. ๒๕๕๒ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๒ ถึง พ.ศ. ๒๕๖๐ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ถึง ปัจจุบัน
ปักหมุดวัดเมืองไทย
269
อาคารเสนาสนะ ๑. อุโบสถ ๒. ศำลำกำรเปรียญ ๓. กุฏิสงฆ์ ๒ หลัง ๔. ศำลำอเนกประสงฆ์ ๕. มณฑปรอยพระพุทธบำทจ�ำลอง ๖. กุฏิกัมมัฏฐำน จ�ำนวน ๘ หลัง (อำคำรไม้) ๗. ฌำปนสถำน จ�ำนวน ๑ หลัง ๘. หอระฆัง จ�ำนวน ๑ หลัง ๙. โรงครัว จ�ำนวน ๑ หลัง ๑๐. ห้องน�้ำ – ห้องสุขำ จ�ำนวน ๒ หลัง
ปูชนียวัตถุ ๑. พระประธำนประจ�ำอุโบสถ ปำงชนะมำร ๒. พระประธำนประจ� ำ ศำลำกำรเปรี ย ญ ปำงชนะมำร ด้านการศึกษา ๑. โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรมแผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.๒๔๘๘ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา ๑. เป็นหน่วยอบรมประจ�ำต�ำบล (อ.ป.ต.) แต่งตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๐ ประวัติเจ้าอธิการณรงค์ชัย ปสาโท ชือ่ เจ้ำอธิกำรณรงค์ชยั ฉำยำ ปสำโท (สุขส�ำโรง) เกิดวัน ๑ฯ๘ ปี ๗ มะโรง ซึง่ ตรงกับวันที ่ ๑๘ เดือนกรกฎำคม พ.ศ. ๒๕๑๙ ณ บ้ำนเลขที ่ ๕๖/๑ หมูท่ ี่ ๒ บ้ำนอ้อ ต�ำบล หนองบัวทอง อ�ำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ อุ ป สมบท เมื่ อ วั น ที่ ๑๒ เดื อ นกรกฎำคม พ.ศ. ๒๕๔๐ ณ พั ท ธสี ม ำ วั ด สว่ ำ งหนองบั ว ทอง ต�ำบลหนองบัวทอง อ�ำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ พระอุปัชฌาย์ : พระครูภำวนำประสุต (สิงห์) วัดจ�ำปำ ต�ำบลหนองบัวทอง อ�ำเภอรัตนบุรี จังหวัด สุรินทร์ พระกรรมวาจาจารย์ : พระหำ โสภโณ วัดจ�ำปำ ต�ำบลหนองบัวทอง อ�ำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ พระอนุ ส าวนาจารย์ : พระอธิ ก ำรทองค� ำ กิตฺติปญฺโญ วัดสว่ำงหนองบัวทอง ต�ำบลหนองบัวทอง อ�ำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์
270
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประวัติการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๒ สอบได้นักธรรม ชั้นเอก พ.ศ. ๒๕๔๕ สอบไล่ได้ ประโยค หนึ่ง – สอง พ.ศ. ๒๕๔๗ ปริญญำตรีพุทธศำสตรบัณฑิต (พธ.บ.) รุ่นที่ ๕๑ ข้อมูลด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา พระปริยัติธรรม (แผนกธรรม) พระธรรมทูตภำยในประเทศ ประจ�ำอ�ำเภอรัตนบุร ี ฝ่ำยปฏิบัติกำร
งานด้านการปกครองตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น รองเจ้ำคณะต�ำบลหนองบัวทอง อ�ำเภอรัตนบุร ี จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น เลขำนุกำร เจ้ำคณะต�ำบลรัตนบุร ี อ�ำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น เลขำนุกำรรอง เจ้ำคณะอ�ำเภอรัตนบุรี จังหวัด สุรินทร์ พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น เลขำนุกำร เจ้ำคณะอ�ำเภอรัตนบุร ี จังหวัดสุรนิ ทร์ พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น เลขำนุ ก ำร เจ้ ำ คณะอ� ำ เภอรั ต นบุ รี จั ง หวั ด สุรินทร์
พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับแต่งตั้งเป็น เจ้ำอำวำสวัดจ�ำปำ ต�ำบลหนองบัวทอง อ�ำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้รับแต่งตั้งเป็น เจ้ำคณะต�ำบล หนองบัวทอง อ�ำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้รับแต่งตั้งเป็น พระอุปัชฌำย์
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
271
วัดโพธิ์ศรีธาตุ
ต� า บลธาตุ อ� า เภอรั ต นบุ รี จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Pho Si That
That Subdistrict, Ratthana Buri District, Surin Province
วัดโพธิ์ศรีธาตุ ก่ อ ตั้ ง วั ด เมื่ อ พุ ท ธศั ก ราช ๒๓๒๒ และได้ รั บ พระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อพุทธศักราช ๒๔๘๙ ซึ่งเจ้า คณะปกครองดูแลตลอดมาจนถึงปัจจุบัน และวัดโพธิ์ ศรีธาตุ มีชื่ออยู่ในทะเบียนวัดของส�านักงานพระพุทธ ศาสนาแห่งชาติ มีหลักฐานบันทึกไว้ ผู้เขียนได้ถามผู้เฒ่า ผู้แก่สูงอายุในบ้านธาตุได้บอกเล่าต่อกันมาว่า มีชาวลาว พวกหนึง่ อพยพมาจากบ้านน�า้ ค�า เขตยโสธร (จังหวัดยโสธร ปัจจุบัน) มาพบซากเมืองเก่า (บ้านธาตุ) บ้างเรียก (ไม้ล้ม) มีที่ดินอุดมสมบูรณ์จึงตั้งบ้านอยู่ท�านาท�าไร่ ตั้งชื่อบ้านว่า บ้านธาตุ ตามธาตุหินที่มีอยู่แล้ว ได้สร้างวัดสร้างอุโบสถ ขึ้นในบริเวณที่ตั้งธาตุเก่า ตั้งชื่อวัดว่า วัดธาตุ ภายหลัง เปลี่ยนเป็น วัดโพธิ์ศรีธาตุ มาจนถึงปัจจุบัน (ชาวลาวบ้าน น�้าค�าอพยพมาอยู่บ้านธาตุ สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย)
272
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ต่อมาพุทธศักราช ๒๔๖๒ พระอาจารย์หล้า และชาว บ้านธาตุได้สร้างกุฏิและศาลาบ�าเพ็ญกุศลขึ้น (ทรง แบบโบราณ) เสาต้นใหญ่คนโอบไม่รอบ กุฏิ มีเสา ๓๖ ต้น ใต้ถุนสูงโปร่ง หลังคามุงไม้ฝาเป็นชิ้น ๆ ภายในกุฏิกว้างเป็นห้องนอนสงฆ์ ๒ ด้าน ตรงกลาง เป็นที่สวดมนต์ท�าวัตรเช้าเย็น ฝาผนังกุฏิไม้ พื้นปูไม้ กระดานแผ่นใหญ่ไม่มเี พดานมีประตูหน้าต่าง เฉพาะ ห้องนอนพระสงฆ์ ด้านหน้าเปิดโล่งมีระเบียงตั้งโอ่ง น�้ากินน�้าใช้ มีบันไดขึ้นลงด้านทิศเหนือทางเดียวต่อ มาจากระเบียงไปทิศใต้ เป็นศาลาฉันอาหารและ ท�าครัวของพระสงฆ์ ที่สุขาหรือที่ถ่ายทุกข์ของพระ สงฆ์ อ ยู ่ ห ่ า งไปทางทิ ศ ตะวั น ตก สร้ า งเป็ น หลั ง มุงหลังคาหญ้า ฝาผนังไม้มีประตูปิดเปิด หลุมถ่าย ทุกข์ลึกพอสมควร เอาดินใส่รอบหลุมกันน�้าไหล ลงหลุม เอาไม้มาท�าฐานถ่ายทุกข์ ชาวบ้านเรียก ฐานพระ คนในสมัยโบราณอยู่ตามชนบทส่วนมาก จะไม่สร้างส้วมไว้ในบ้าน จะขุดส้วมไว้ตามพื้นดินในสวนเอาไม้วางปาก หลุมนัง่ ถ่ายทุกข์บางแห่งก็ถา่ ยทุกข์ตามป่า ตามสวน ตามบ้านและตาม ทุ่งนา ปัจจุบันไม่มีแล้วเพราะทุกบ้านสร้างห้องสุขาไว้ใช้ในบ้านตนเอง ศาลาบ�าเพ็ญกุศล อยู่ทางทิศใต้ อุโบสถห่างจากกุฏิสงฆ์ประมาณ ๓๐ เมตร สร้างทรงโบราณ เสามี ๒๔ ต้น แต่ละต้นคนโอบไม่รอบ เช่นเดียว กับเสากุฏสิ งฆ์ ศาลาสูงประมาณ ๒ เมตร มีบนั ได ขึน้ ลง ๓ ทาง อยูท่ าง ทิศตะวันออก ทิศตะวันตกและทิศใต้ตรงกลางศาลา มีห่อธรรมาสน์ ให้ขนึ้ นัง่ แสดงพระธรรมเทศนา ด้านทิศเหนือบนศาลาเป็นทีน่ งั่ พระสงฆ์ ศาลาไม่มีเพดาน ศาลาบ�าเพ็ญกุศล ทางราชการใช้เป็นที่สอนเด็ก นักเรียนประชาบาลต�าบลด้วย ต่อมาทางราชการให้ย้ายเด็กนักเรียน ออกไปตัง้ โรงเรียนใหม่อยูบ่ า้ นดูท่ างทิศตะวันตกบ้านธาตุจนถึงปัจจุบนั ภายในวัดโพธิ์ศรีธาตุมีต้นโพธิ์ขนาดใหญ่หลายต้นแต่ละต้นมีอายุ ปักหมุดวัดเมืองไทย
273
เก่าแก่มาก มีหินศิลาแงลกองทับถมกันอยู่ เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๙๒ พุทธศักราช ๒๕๒๖ พระครูรตั นพุทธิ บริเวณวัดหลายแห่งมีก้อนใหญ่ก้อนเล็กบ้าง กุฏศิ าลาบ�าเพ็ญกุศลและอุโบสถของเก่า ช�ารุด คุณ เห็นว่าพระอุโบสถได้ทรุดโทรมมาก จึงได้ ไปตามสภาพใช้งานมานานและหินกองอยู่ใน ก่ อ สร้ า งเพิ่ ม เติ ม โดยสร้ า งเป็ น คอนกรี ต บริเวณวัดฝังจมดิน ปัจจุบันทางวัดและชาว เสริมเหล็ก ก่อด้วยอิฐมุงหลังคาด้วยกระเบือ้ ง บ้านได้บูรณปฏิสังขรณ์ปรับปรุงรื้อถอนสร้าง เคลือบแบบสุโขทัย พระอุโบสถกว้าง ๖ เมตร ยาว ๑๓ เมตร สูง ๗ เมตร มีระเบียงล้อมรอบ ใหม่ดังที่เห็นอยู่ทุกวันนี้ พืน้ ขัดด้วยหินอ่อน สร้างเสร็จเมือ่ พุทธศักราช ประวัติการสร้างพระอุโบสถ (สิม) เดิ ม สร้ า งขึ้ น ในสมั ย ประมาณปี ๒๕๓๐ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่ พุทธศักราช ๒๓๓๐ โดยโบราณชาวอีสานเรียก หัวฯ ได้เสด็จมาทรงยกช่อฟ้าพระอุโบสถ แทน ว่ า สิ ม ซึ่ ง มี ข นาดเล็ ก พอบรรจุ พ ระสงฆ์ พระบาทสมเด็ จ พระบรมชนกาธิ เ บศร ประมาณ ๕-๑๐ รูป ในการท�าสังฆกรรม และ มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีการชุดโทรมซ่อมแซมหลายต่อหลายครั้ง เมื่อวันพุธที่ ๔ เดือนพฤศจิกายน พุทธศักราช พระอุโบสถเดิมมีขนาดเล็ก ๓ ห้อง ก่ออิฐพื้น ๒๕๓๐ เวลา ๑๔.๐๐ น. ตรงกับวันขึน้ ๑๔ ค�า่ สูงด้านหน้าเปิดโล่งมีฝา ๓ ด้าน หลังคามุงด้วย เดือน ๑๒ ปีเถาะ กระเบือ้ งโบราณไม่มเี พดาน สภาพพระอุโบสถ ประวัติพระธาตุมณฑปวัดโพธิ์ศรีธาตุ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ วัดโพธิ์ศรีธาตุได้ ช�ารุดมากใช้การไม่ได้ พุทธศักราช ๒๔๘๘ พระครูสมุห์ศรี อินฺทสาโร เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ จัดตัง้ ส�านักวิปสั สนากรรมฐานขึน้ โดย ท่านเจ้า ศรีธาตุ พระครูจันทร์ ธมฺมสาโร เจ้าอาวาสวัด คุณพระพิมลธรรม(อาสภะเถระ) วัดมหาธาตุ สว่างบ้านยาง เจ้าคณะต�าบลธาตุ และนายซุย ยุวราชรังสฤษฎ์ กรุงเทพฯ ได้มาเปิดส�านัก นามลี ก� า นั น ต� า บลธาตุ พ ร้ อ มชาวบ้ า นได้ วิปัสสนากรรมฐานฯ ท่านเห็นกองหินโบราณ ท�าการซ่อมแซมพระอุโบสถโดยก่อผนังด้วยอิฐ ซึ่ ง กองเป็ น รู ป เจดี ย ์ ห รื อ พระธาตุ ท่ า นจึ ง มุงหลังคาด้วยสังกะสีให้พอท�าสังฆกรรมได้ แนะน�าว่าก้อนหินเหล่านี้เป็นโบราณสถาน พุทธศักราช ๒๔๘๘ พระมหาเขียว ศักดิส์ ทิ ธิ ์ ควรจัดเป็นปูชนียสถานไว้เคารพสัก ธมฺมทินฺโน เป็นเจ้าอาวาสวัดโพธิ์ศรีธาตุได้ การะบูชา ปราสาทหรื อ พระเจดี ย ์ อยู ่ ใ น ท� า การรื้ อ ถอนและสร้ า งใหม่ โดยขอ พระราชทานวิสงุ คามสีมาใหม่และผูกพัทธสีมา วัดโพธิธ์ าตุ สร้างมาตัง้ แต่เมือ่ ไรไม่พบหลักฐาน ใหม่ สร้างด้วยอิฐล้วน ๆ (ไม่ได้เทคอนกรีต) บันทึกไว้ เพียงสันนิษฐานว่าคงจะสร้างขึ้นใน หลังคามุงด้วยกระเบือ้ งซีเมนต์ธรรมดา ส�าเร็จ สมัยขอมปกครองดินแดนส่วนนี้ ประมาณปี ๑๑๐๐-๑๗๐๐ และคงสร้างขึ้นสมัยเดียวกับ ปราสาทเมืองพิมาย จังหวัดนครราชสีมาหรือ ปราสาทวั ด สระก� า แพงใหญ่ อ� า เภอ อุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ เพราะเป็นหิน ชนิดเดียวกัน ผู้บันทึกการรื้อถอนหินโบราณออก คือ นายค�า สุขบท อดีตครูใหญ่โรงเรียนบ้าน ธาตุ “ธาตุศึกษาวิทยา” บ้านธาตุ ต�าบลธาตุ อ�าเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ พุทธศักราช ๒๕๑๐ พระครูรตั นพุทธิ คุณ ท�าการก่อสร้างพระธาตุมณฑปโดยท่าน พระครูนิมิตธีราภรณ์ ให้ ช่างพืน้ บ้านออกแบบก่อสร้าง ชือ่ นายพันธ์ เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ศรีธาตุ
274
ปักหมุดวัดเมืองไทย
บ้ า นหนองตอ ต� า บลไผ่ อ� า เภอรั ต นบุ รี ล�าดับเจ้าอาวาสวัดโพธิ์ศรีธาตุ อดีต จนถึงปัจจุบัน จังหวัดสุรนิ ทร์ ช่างออกแบบโครงสร้างเหล็ก ๒๓๒๒-๒๔๔๒ ก่ออิฐถือปูน หลังคากระเบื้องเคลือบฐาน ไม่ปรากฏนาม พระธาตุมณฑป กว้างด้านละ ๑๒ เมตร มี ๒๔๔๒-๒๔๖๙ บันไดขึ้นลง ๒ ทาง ภายในธาตุมณฑปพื้น หลวงปู่หล้า หินกาบขัดมีเจดียบ์ รรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุ ๒๔๖๙-๒๔๗๙ มีแท่นประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจ�าลอง หลวงปู่โส รอบพระธาตุมณฑปขึ้นไปถึงฐานยอดฉัตร ๒๔๗๙-๒๕๙๗ ๙ ชั้ น ระหว่ า งชั้ น ติ ด หั ว พระยานาค พระครูสมุห์ศรี อินฺทสาโร ยกช่อฟ้ายอดรูปบายศรี หรือ เศวตฉัตร ๗ ๒๔๙๗-๒๕๔๖ ชั้ น ยอดสู ง สุ ด หลอดไฟพร้ อ มสายล่ อ ฟ้ า พระครูรัตนพุทธิคุณ ความสูงจากฐานพื้นดินถึงยอดสูงสุด ๕๓ (พระมหาเขียว ธมฺมทินฺโน) เมตร ๒๕๔๖-๒๕๕๔ พระครู รั ต นพุ ท ธิ คุ ณ ท� า การ ก่อสร้างแล้วเสร็จ เมื่อพุทธศักราช ๒๕๑๙ พระครูศรีรัตนพุทธิคุณ (จันดี ฉญฺญโม) ๒๕๕๔-ปัจจุบัน และในปีเดียวกัน พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัวฯ ร.๙ เสด็จพระราชด�าเนินมาทรง พระครูนิมิตธีราภรณ์ (สุบิน สุธีโร) ประกอบพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และ เสด็จเวียนเทียนรอบพระธาตุมณฑป ๓ รอบ เสร็จแล้ว ทรงมีพระด�ารัสกับพระครูรัตน พุ ท ธิ คุ ณ เจ้ า คณะต� า บลธาตุ และทรง พระราชทานทรั พ ย์ ส ่ ว นพระองค์ ใ ห้ ผู ้ ว ่ า ราชการจังหวัดสุรินทร์ เป็นทุนจัดตั้งมูลนิธิ น�าดอกผลบูรณปฏิสงั ขรณ์วดั โพธิศ์ รีธาตุ จึง เป็นวัดอยูใ่ นพระบรมราชูถมั ภ์ ของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร
ความส�าคัญและความศักดิ์สิทธิ์ของ วัดโพธิ์ศรีธาตุ ๑. มีโบราณสถานและต้นโพธิ์เก่าแก่ ๒. เป็นที่ประดิษฐาน พระบรมสารีริกธาตุ และพระอรหันตธาตุ ๓. เป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธบาทจ�าลอง ๔. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพล อดุ ล ยเดชฯ,สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ต ิ์ พระบรมราชินีนาถฯ, สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดา สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จเจ้าฟ้า ลูกเธอจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จพระราชด�าเนินมาบรรจุพระบรมสารี ริ ก ธาตุ และทรงบ� า เพ็ ญ พระราชกุ ศ ล วิสาขะบูชา เมื่อ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๑๙ ๕. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎ ราชกุมาร ได้เสด็จพระราชด�าเนินมาทรง ยกช่อฟ้าพระอุโบสถ เมือ่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๓๐ ๖. เป็นวัดที่ตั้งอยู่ ณ เมืองเก่ า แก่ มี อ ายุ มากกว่าพันปี ๗. เป็นที่ประดิษฐาน พระอรหันต์ ๑๒๐ พระองค์
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
275
วัดกลาง(รัตนบุรี)
ต� า บลรั ต นบุ รี อ� า เภอรั ต นบุ รี จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Klang (Ratthana Buri)
Ratthana Buri Subdistrict, Ratthana Buri District, Surin Province
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย 276
ปักหมุดวัดเมืองไทย
การตั้งวัด วัดกลางด�าเนินการก่อตั้งวัดเมื่อ ๒๘ มกราคม พุทธศักราช ๒๓๘๖ ตรงกับวันศุกร์ ขึน้ ๙ ค�า่ เดือน ยี ่ ปีเถาะ ตรงกับรัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.)๖๒ พระศรีนครชัย (พวน) เจ้า เมืองรัตนบุรี คนที่ ๓ พร้อมด้วยวงศาคณาญาติ และชาวคุ้ม กลางร่วมก่อสร้างวัดในที่ดินของเจ้าเมือง เดิมมีเนี้อที่๑๕ ไร่ ต่อมากรมทางหลวงขออนุญาตตัดถนนศรีนครผ่านที่ดิน วัดกลาง แบ่งตัดเป็นถนนรอบวัดบ้าง รอบทีธ่ รณีสงฆ์ตรงข้าม วัดบ้าง แบ่งทีด่ นิ ให้เป็นทีส่ ร้างบ้านพักเจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข อ�าเภอรัตนบุรีบ้าง ปัจจุบันวัดกลางจึงมีที่ดิน ๓ แปลง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๐๑ อาณาเขต ทิศเหนือ จรดถนนศรีนคร ทิศตะวันออก เดิมจรดทีด่ นิ ของชาวบ้านได้ทา� การ ตัดถนนเพื่อแบ่งเขตกับที่ดินชาวบ้านเพื่อความ สะดวกในการสัญจร ทิศใต้ เดิมจรดที่ดินของชาวบ้านเช่นกัน จึงได้ ท�าการตัดถนนเช่นกันกับทิศตะวันออก ทิศตะวันตก จรดถนนมิ่งเมือง ลักษณะพื้นที่ตั้งวัด และบริเวณโดยรอบ ตั้งอยู่ในที่ราบตรงกลางระหว่างคุ้มเหนือ คุ้มใต้
ปักหมุดวัดเมืองไทย
277
ประวัติและความเป็นมา วัดกลางก่อตัง้ โดยพระศรีนครชัย (พวน) เจ้าเมืองรัตนบุรี คนที่ ๓ พร้อมด้วยวงศาคณาญาติ และชาวคุ้มกลางร่วมก่อสร้าง วัดในที่ดินของ พระศรีนครชัย เจ้าเมืองรัตนบุรี ก่อตั้งวัดเมื่อ ๒๘ มกราคม พุทธศักราช ๒๓๘๖ ตรงกับวันศุกร์ขึ้น ๙ ค�่า เดือนยี่ ปี เถาะ ตรงกับรัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.)๖๒ เดิมชื่อว่า วัดหลวง เนือ่ งจากพระศรีนครชัย(พวน) เจ้าเมืองรัตนบุร ี คนที ่ ๓ เป็นผูเ้ ริม่ การก่อสร้าง ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อวัดกลางป่าแก้ว รัตนบุรี แปลว่า เมืองแก้ว จึงเรียกตามชื่อเมืองให้เป็นมงคล และต่อมาได้เปลี่ยน ชือ่ เป็นวัดกลาง เนือ่ งจากวัดกลางมีทตี่ งั้ อยูต่ รงกลาง วัดใต้บรู พา ราม กับวัดเหนือ ต่อมา ชื่อวัดหลวงกับวัดกลางป่าแก้วได้เลือน หายไป ชาวบ้านและทางราชการจึงให้ชื่อว่า วัดกลาง ตามสถาน ที่ตั้งตลอดมาจนถึงทุกวันนี้ วัดกลางเป็นวัดทีม่ คี วามส�าคัญต่อเมืองรัตนบุรมี าตัง้ แต่ สมัยก่อนเพราะเป็นสถานที่ประกอบพิธีถือน�้าพิพัฒน์สัตยาของ ข้าราชการเมืองรัตนบุรี เมื่อชาวบ้านเกิดเป็นคดีความก็ใช้เป็นที่ ดืม่ น�า้ สาบานของชาวบ้านทัว่ ไป และเป็นหน่วยงานปกครองคณะ สงฆ์ อ� า เภอรั ต นบุ รี มี เ จ้ า คณะสั ง ฆาธิ ก ารมาพ� า นั ก จ�าพรรษาเป็นเวลายาวนานเป็นสถานศึกษาแห่งแรกของต�าบล รัตนบุรี เป็นศูนย์กลางการศึกษา พระปริยัติธรรมของคณะสงฆ์ อ�าเภอรัตนบุร ี ทัง้ แผนกธรรม แผนกบาลี และแผนกสามัญศึกษา และยังเป็นสนามสอบวัดความรูน้ กั ธรรมสนามหลวงของคณะสงฆ์
278
ปักหมุดวัดเมืองไทย
อ�าเภอรัตนบุรีมาโดยตลอด รายนามเจ้าอาวาส วัดกลางตัง้ แต่เริม่ ก่อตัง้ มาจนถึงปัจจุบนั มีเจ้าอาวาสปกครอง มาแล้ว ๑๒ รูปด้วยกัน รูปที่ ๑ พระครูอินทร์ พ.ศ.๒๓๘๗ - ๒๔๓๐ รูปที่ ๒ พระครูโคตร พ.ศ.๒๔๓๐ - ๒๔๖๐ รูปที่ ๓ พระครูกุล พ.ศ.๒๔๖๐ - ๒๔๖๘ รูปที่ ๔ พระอาจารย์พรม สุริอาจ พ.ศ.๒๔๖๘ - ๒๔๗๐ รูปที่ ๕ พระอาจารย์ศรี พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๓ รูปที่ ๖ พระอธิการทอง ธมฺมสโร พ.ศ.๒๔๗๓ - ๒๔๗๗ รูปที่ ๗ พระมหาลา ดวงดี พ.ศ.๒๔๗๗ - ๒๔๘๐ รูปที่ ๘ พระครูรัตนบุราจารย์ (ศรี อิจฺฉิโต ปธ.๕) พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๙๕ รูปที่ ๙ พระอาจารย์มี เพิ่มทอง (รก.เจ้าอาวาส) พ.ศ.๒๔๙๕ - ๒๔๙๘ รูปที่ ๑๐ พระรัตโนภาสวิมล (ชาลี โชติธมฺโม ปธ.๔) พ.ศ.๒๔๙๘ - ๒๕๔๖ รูปที่ ๑๑ พระปลัดประกาศิต วิเสสว�โส พ.ศ.๒๕๔๖ - ๒๕๕๐ รูปที่ ๑๒ พระครูสาธิตบุญญาภรณ์ (บุญธรรม) พ.ศ.๒๕๕๐ - ปัจจุบัน และมี พระครูรัตนกิจจาภิวัฒน์ (วิชัย วิชโย) เป็นผู้ช่วยเจ้า อาวาส
พระครูสาธิตบุญญาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดกลาง
๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๗ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�าเนินถวายผ้าพระกฐินสภากาชาดไทย
ปักหมุดวัดเมืองไทย
279
วัดป่าเทพนิมิต
ต� า บลหนองบั ว ทอง อ� า เภอรั ต นบุ รี จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Pha Thepnimit
Nong Bua Thong Subdistrict, Ratthana Buri District, Surin Province
วัดป่าเทพนิมิต วัดป่าเทพนิมิต ก่อตั้งในปี พ.ศ. ๒๔๘๐ บนเขตพื้นที่ บ้านโนนยาง หมู ่ ๘ ต�าบลหนองบัวทอง อ�าเภอรัตนบุร ี จังหวัด สุรินทร์ โดยประธานสงฆ์ในขณะนั้น มีพระสงฆ์ในพื้นที่และ จาริ ก มาจากทิ ศ ทั้ ง สี่ ม าจ� า พรรษาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งเรื่ อ ยมา
280
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ต่อมาราวปี พ.ศ. ๒๕๐๕-๒๕๒๙ ว่างเว้นไม่มีพระสงฆ์มาจ�า พรรษา โดยไม่ทราบสาเหตุ ในปี พ.ศ. ๒๔๓๐ พระครูภาวนาประสุต เจ้าคณะต�าบลหนองบัวทอง ในขณะนั้นได้น�าพระสงฆ์และ ญาติโยมเข้ามาพัฒนาและบูรณะกุฎี ศาลาการเปรียญ เวจกุฎ ิ ซึ่งเก่าช�ารุดทรุดโทรมให้กลับมาใช้สอยได้ เพื่อสงเคราะห์พุทธ ศาสนิชน ชาวบ้านโนนยางและบ้านใกล้เคียงในละแวกนั้ น
เพื่อให้มีวัดและพระสงฆ์ไว้เป็นที่บ�าเพ็ญสาธารณะกุศล คือ ทานมัย ศีลมัย และภาวนามัย จรรโลงรักษาไว้ซึ่งพระพุทธศาสนาและมีพระสงฆ์เข้ามาอยู่ จ�าพรรษารูปแรก คือ พระหา โสภโณ เป็นรักษาการเจ้าอาวาส และรูปต่อ มาคือหลวงพ่อสี สีลวิสุทโธ เป็นรูปที่สอง จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ไม่มีพระ สงฆ์จ�าพรรษาและปฏิบัติหน้าที่รักษาการเจ้าอาวาส ผู้ใหญ่บ้านหมู่ ๘ นายแสวง ศิริบุต และญาติโยม อุบาสก อุบาสิกา ได้กราบอาราธนานิมนต์ พระปรีชา ปริชาโน มาจากวัดนายโรง กรุงเทพมหานคร เพื่อรักษาการเจ้า อาวาส ตราบจนถึงปัจจุบัน พระปรีชา ปริชาโน รักษาการต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าเทพนิมิต น.ธ.เอก,ปริญญาพุทธศาสตรมหา บัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย
ปักหมุดวัดเมืองไทย
281
วัดนิมิตรัตนาราม
ต� า บลตระเปี ย งเตี ย อ� า เภอล� า ดวน จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Nimit Ratthana Ram
Tra Piang Tia Subdistrict, Lam Duan District, Surin Province
ประวัติความเป็นมาของวัด วัดนิมิตรัตนาราม จากค�าบอก เล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ ว่าเริ่มก่อตั้งขึ้นก่อนปี พ.ศ.๒๔๘๓ ได้สร้างวัดครั้งแรกขึ้นที่ป่า อยู ่ ท างทิ ศ ตะวั น ออกของหมู ่ บ ้ า น ประมาณ ๑ กิโลเมตร (ปัจจุบนั อยูใ่ นการ ดู แ ลของป่ า สงวน) ซึ่ ง มี ชื่ อ เดิ ม ว่ า วั ด หนองคู เหตุที่ได้ชื่อวัดหนองคูนั้น เป็น
282
ปักหมุดวัดเมืองไทย
เพราะว่าบริเวณพื้นที่สร้างวัดมีหนองน�้า เก่าโบราณอยู่ ลักษณะหนองน�้านั้นเป็น รูปสี่เหลี่ยมจตุรัสมีคันดินเป็นคูล้อมรอบ มีน�้าใสตลอดปีไม่เคยเหือดแห้งแต่อย่าง ใด ซึ่งผู้สูงอายุและคนรุ่นก่อนบอกเล่าว่า สมัยแต่ก่อนครั้งที่กรุงศรีอยุธยาปกครอง เขมรได้มีการใช้เส้นทางในการสัญจรเดิน ทางผ่ า นบริ เ วณนี้ แ ละเป็ น ที่ ห ยุ ด พั ก
ของกองทัพต่าง ๆ ในสมัยก่อนและ ได้กอ่ สร้างอาคารเสนาสนะถาวรขึน้ และ เป็นเส้นทางคมนาคมค้าขายในอดีต ได้มีพระภิกษุเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ประกอบ พอมีการสร้างวัดขึน้ ตรงนัน้ จึงให้ชอื่ ว่า ด้วยจ�านวนชาวบ้านก็มาปลูกสร้างบ้าน วั ด หนองคู โดยคนสมั ย เก่ า ถื อ เอา เรือนเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกันจนกลายเป็น หนองน�้าเป็นที่ตั้ง ซึ่งสมัยนั้นได้ตั้งวัด หมู่บ้านกลุ่มใหญ่ มี 3 หมู่บ้านด้วยกัน อยู่ในที่ดังกล่าวประมาณ ๕ ปี โดยมี คือ บ้านหนองคู บ้านโคกกระโดน บ้าน หลวงพ่ อ เขมา ซึ่ ง เดิ น ทางมาจาก ตาปุม จนถึงปัจจุบันนี้ จนกระทั้งเมื่อปี 2543 พระ ประเทศกัมพูชา เป็นเจ้าอาวาสในสมัย นั้น ต่อมาได้ย้ายวัดมาตั้งอยู่ทางทิศ สมุหอ์ นุรตั น์ อภิวณฺโณ ได้รบั การแต่งตัง้ เหนือติดกับหมู่บ้าน แต่ก็ไม่สะดวก เป็นรักษาการเจ้าอาวาสได้ด�าเนินการ เพราะว่ า ที่ ตั้ ง วั ด นั้ น เป็ น ที่ ร าบต�่ า มี ขอตัง้ วัด และพัฒนาวัด มาจนถึงปัจจุบนั เนื้อที่ประมาณ ๘ ไร่เวลาฝนตกท�าให้ จนได้รับอนุญาตตั้งวัดเมื่อ พ.ศ.๒๕๕๓ เกิดน�า้ ท่วมขัง ท�าให้พระสงฆ์และชาว และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ บ้านไม่สามารถสัญจรเข้าออกและท�า พ.ศ.2557 วัดนิมติ รัตนาราม ปัจจุบนั วัด กิจกรรมทางศาสนาได้จึงได้ย้ายวัดมา แห่งนี้มีเนื้อที่บริเวณวัด ๗ ไร่ ๑ งาน ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันออกของหมูบ่ า้ นใน ๓๖ ตารางวา มีเจ้าอาวาสในอดีตถึงปัจจุบัน ปัจจุบันนี้ต่อมาก็ได้มีพระสงฆ์มาจ�า พรรษาเรื่ อ ยมาจนถึ ง ปี พ .ศ.๒๕๐๕ มีจ�านวน 9 รูปด้วยกัน คือ หลวงพ่อชัยได้ดา� รงต�าแหน่งเจ้าอาวาส
รูปที่ 1 หลวงพ่อเขมา จากประเทศกัมพูชา รูปที่ 2 พระอาจารย์สิง จากประเทศกัมพูชา รูปที่ 3 หลวงพ่อชัย พุทธสโร รูปที่ 4 พระอาจารย์สุทิน จากประเทศกัมพูชา รูปที่ 5 หลวงพ่อเจน สิริมงฺคโล รูปที่ 6 พระอาจารย์สายันต์ ปญญาโภ รูปที่ 7 พระสุริยะ สุริโย รูปที่ 8 พระค�าพัน พลญาโณ รูปที่ 9 พระครูนิมิตรัตนาภรณ์ องค์ปัจจุบัน
พระครูนิมิตรัตนาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดนิมิตรัตนาราม หลวงพ่อองค์ด�า พระพุทธรูปเก่าแก่
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
283
วัดทักษิณวารีสิริสุข
ต� า บลล� า ดวน อ� า เภอล� า ดวน จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Taksin Varee Sirisuk
Lamduan Subdistrict, Lamduan District, Surin Province
"พัฒนาคน พัฒนาตน พัฒนาสังคม" ความเป็นมา
วัดทักษิณวารีสิริสุข เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่ เลขที่ ๕๘ หมู่ที่ ๒ ชุมชนล�าดวนทักษิณ ต�าบลล�าดวน อ�าเภอล�าดวน จังหวัดสุรนิ ทร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกอ�าเภอเมืองสุรินทร์ ระยะทาง ๒๖ กิโลเมตร ก่อตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๒ ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๔ เขตวิสุงคามสีมากว้าง ๑๘ เมตร ยาว ๓๖ เมตร
284
ปักหมุดวัดเมืองไทย
เขตที่ตั้งและอุปจารของวัด
ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๙ ไร่ ๒ งาน ทิศเหนือ ประมาณ ๒ เส้นมีพนื้ ทีต่ ดิ ต่อกับชุมชนคุม้ ตะบองเพชร หมู่ที่ ๑ ทิศใต้ ประมาณ ๓ เส้น ๕ วา มีพื้นที่ติดต่อกับ ที่ชุมชนคุ้มตาเปาะ หมู่ที่ ๒ ทิศตะวันออก ประมาณ ๒ เส้น ๑ วา มีพนื้ ทีต่ ดิ ต่อกับถนนสาธารณะ ทิศตะวัน ตกประมาณ ๒ เส้น มีพนื้ ทีต่ ดิ ต่อกับชุมชนคุม้ ตาเปาะ หมู ่ ที่ ๒ มี พื้ น ที่ ธ รณี ส งฆ์ ที่ ตั้ ง ฌาปนสถานทาง ทิศตะวันออก อีกประมาณ ๔ ไร่ วัดทักษิณวารีสิริสุข เป็นวัดโบราณคู่บ้านคู่เมืองมาช้านาน การพัฒนาทาง โครงสร้างกายภาพวัดทักษิณวารีสริ สิ ขุ ได้พฒ ั นาอย่าง ต่อเนื่อง จากรุ่นสู่รุ่น จนถึงปัจจุบัน
สถานที่ส�าคัญ
มณฑปวิหาร บุรพาจารย์ อตีตเจ้าอาวาส เป็นที่ประดิษฐานรูปเหมือน อดีตเจ้าอาวาส – รองเจ้าอาวาส รูปเหมือนหลวงปูห่ ว่าง ธมฺมโชโต รูปเหมือนหลวง พ่อพระครูสังขปุรานุรักษ์ (สมพงษ์กนฺตสีโล/จันทเขต) รูปเหมือนหลวงพ่อหลอด มหานาโถ/เทียนทอง รูปเหมือนหลวงพ่อพระครูโกวิทธรรมาภินันท์ (สรวิชญ์ ปณฺฑิโต/สมนึก) ซึ่งเป็นที่เคารพและสักการะของประชาชนทั่วไป เพื่อความเป็น สิริมงคล ขนาดความกว้าง ๖.๕๐ เมตร ขนาดความยาว ๖.๕๐ เมตร สูง ๑๙ เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๗ อุโบสถ หลังเดิมสร้างขึ้น พ.ศ. ๒๔๕๔ โดยใช้ไม้เป็นโครงสร้างหลัก มุงหลังคาด้วยหญ้าคา ต่อมาหลังคาช�ารุด และได้เปลี่ยนเป็นไม้ฝามุงหลังคาแทน มี พระประธานประจ�าอุโบสถเป็นพระพุทธรูปที่สลักด้วยไม้ เมื่อวันเวลาผ่านไป อุโบสถช�ารุดทรุดโทรมลงไปตามกาล ต่อมาจึงได้สร้างอุโบสถหลังใหม่ขึ้นแทน อุโบสถหลังเก่าที่ช�ารุด ทรุดโทรมโดยสร้างอุโบสถหลังใหม่เป็นลักษณะแบบ สถาปัตยกรรมไทยประยุกต์กอ่ สร้าง ขึน้ ด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก ล่วงเลย ผ่านไปอุโบสถเกิดความช�ารุดทรุด โทรมลงอี ก จึ ง ได้ มี ก ารบู ร ณ ปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่เมื่อพ.ศ. ๒๕๕๒
พระอธิการสุทิศ ญาณวุฑฺโฒ
เจ้าอาวาสวัดทักษิณวารีสิริสุข
การบริหารและการปกครองวัดทักษิณวารี สิริสุข ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันโดยมีล�าดับ เจ้าอาวาส ดังนี้ ๑. หลวงพ่อเถร หัวหน้าที่พักสงฆ์ พ.ศ. ๒๔๔๐ ๒. พระอธิการดุย่ เจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๔๔๕ ๓. พระอฺธิการเมา เจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๔๔๗ ๔. พระอธิการธิน พระงาม เจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๔๔๙ - ๒๔๕๙ ๕. เจ้าอธิการหว่าง ธมฺมโชโต เจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๔๗๖ - ๒๕๑๘ ๖. พระครูสงั ขปุรานุรกั ษ์ (สมพงษ์ กนฺตสีโล/ จันทเขต) เจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๕๑๘ - ๒๕๔๑ ๗. พระมหาบัญญัต ิ ญาณฺรส� /ี สาลี เจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๕๔๒ - ๒๕๔๕ ๘. พระบุญส่ง ขนฺติสาโร/วงศ์วรรณ รักษา การแทนเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๔๘ ๙. พระครู โ กวิ ท ธรรมาภิ นั น ท์ (สรวิ ช ญ์ ปณฺฑิโต/สมนึก) เจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๕๔๙ – ๒๕๕๙ ๑๐. พระครูรัตนธรรมนิวิฐ (ศิริ จนฺทธมฺโม) รักษาการเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๒ ๑๑. พระอธิการสุทิศ ญาณวุฑฺโฒ/จันทเขต เจ้าอาวาสวัดทักษิณวารีสิริสุข ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ถึงปัจจุบัน
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
285
วัดประทุมสว่าง ต. ช่างปี่
วัดช่างปี่ ต. ช่างปี่
วัดพันษี
วัดป่าตามอ
ต. จารพัต
ต. ตรมไพร
วัดบ้านตรมไพร
วัดศรีวิหารเจริญ
ต. ตรมไพร
ต. ระแงง
ศูนย์ปฏิบัติธรรม ริมธารธรรมสถาน ต. กุดหวาย
เส้นทางบุญ 15 วัด
เส้นทางธรรม ศีขรภูมิ 286
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดบ้านข่า ต. ช่างปี่
วัดระแงง ต. ระแงง
วัดสุทธาวาส ต. หนองขวาว
วัดหนองคู ต. แตล
วัดปราสาท ต. ระแงง
วัดทุ่งสว่างนารุ่ง ต. นารุ่ง
วัดบ้านสว่าง ต. ยาง
วัดหนองหิน ต. ตรึม
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
287
วัดบ้านตรมไพร
ตำ�บลตรมไพร อำ�เภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์
Wat Ban Trom Phrai
Trom Phrai Subdistrict, Sikhoraphum District, Surin Province
หลวงพ่อบุญธรรม ฐานิสฺสโร (พระครูบริหารชัยมงคล) เจ้าอาวาสวัดบ้านตรมไพร
ประวัติความเป็นมา ของวัดบ้านตรมไพร
วัดบ้านตรมไพร เลขที่ ๒๕๗ หมู่ที่ ๑ บ้านตรมไพร ต�าบลตรมไพร อ�าเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ เริ่มก่อตั้งเป็นที่พักสงฆ์ หรือ ชาวบ้านเรียกว่าวัดฯ นั้นเอง ตั้งแต่สมัย กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี แต่มีหลักฐาน การปกครองวั ด บ้ า นตรมไพร เมื่ อ ประมาณปี พ.ศ. ๒๓๑๗ สมัยกรุงธนบุรี เป็นราชธานี โดยมีที่ดินผืนหนึ่งและมี ชาวบ้านช่วยกันสร้างกุฏถิ วายให้ หลวงปู่ ตาแจ้ง เป็นเจ้าอาวาสในครัง้ นัน้ และท่าน ได้มรณภาพในปีใด ไม่ปรากฏชัด จนถึงปี พ.ศ. ๒๓๙๗ ชาวบ้าน ได้กราบอาราธนา หลวงปู่หวา ธมฺมโชโต ขึน้ รักษาการในต�าแหน่งเจ้าอาวาส ได้พา พระเณรพร้อมชาวบ้านพัฒนาวัดจนมี ศรั ท ธาเลื่ อ มใส รู ้ จั ก การเข้ า วั ด จ� า ศี ล ท� า บุ ญ ให้ ท าน เป็ น ต้ น และท่ า นได้ มรณภาพในปีใด ไม่ปรากฏชัด ต่อมาวันที่ ๑๐ มีนาคม ในปี พ.ศ. ๒๔๓๕ ได้รับการแต่งตั้งเป็นวัด โดยถูกต้องตามกฎหมาย ชาวบ้านเห็นว่า ขาดผู ้ ป กครองดู แ ลวั ด จึ ง ได้ ก ราบ อาราธนา หลวงปู่สี ค�าผล มารักษาการ แทนเจ้าอาวาส ในต�าแหน่งเจ้าอาวาส
(วั ด บ้ า นตรมไพร ต� า บลยาง อ� า เภอ ศี ข รภู มิ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ) และขอ พระราชทานวิสุงคามสีมา ในวันที่ ๔ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๔๗๕ (เป็นปีท ี่ ๘) ฉลอง พระอุโบสถหลังใหญ่ ต่อจากนั้นได้พา พระเณร ญาติ โ ยม พั ฒ นาถาวรวั ต ถุ ปฏิ สั ง ขรณ์ จ นวั ด วาอารามเจริ ญ พอ สมควรแล้ว ท่านได้ลาสิกขาออกไป เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๕ หลวงปู่ บุญมี รตนวิโล ขึ้นเป็นเจ้าอาวาสตาม ล�าดับมา วัดบ้านตรมไพร ได้เปลีย่ นแปลง ชื่ อ วั ด จาก วั ด บ้ า นตรมไพร เป็ น วัดชัยมงคลมุนีวาส เลขที่ ๒๕๗ หมู่ที่ ๑๕ บ้านตรมไพร ต�าบลจารพัต อ�าเภอ ศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ในขณะด�ารง ต�าแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัด ท่านได้สร้าง คุ ณ งามความดี มี ป ระโยชน์ ต ่ อ วั ด วา อาราม พระพุทธศาสนาท�าให้ญาติโยม เลื่อมใสศรัทธา ทางมหาเถรสมาคม เห็ น คุ ณ งามความดี จึ ง ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง สมณศักดิ์ เป็นพระครูชั้นตรี ที่ทินนาม
ว่า พระครูมงคลวุฒาจารย์ เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ และแต่งตั้งเป็น เจ้ า อาวาสปี พ.ศ.๒๕๐๓ จนถึ ง ปี พุทธศักราช ๒๕๓๐ ท่านได้มรณภาพ ด้วยโรคชราภาพ สิริอายุ ๙๖ ปี และได้ รั บ พระราชทานเพลิ ง ศพ วั น ที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๔ ซึ่งมี พระบุญธรรม ฐานิสสโร เป็นรองเจ้าอาวาสในขณะนัน้ ล�าดับเจ้าอาวาสรูปแรกจนถึงปัจจุบัน ๑. หลวงปู่ตาแจ้ง ปี พ.ศ. ๒๓๑๗ ๒. หลวงปูห่ วา ธมฺมโชโต ปี พ.ศ. ๒๓๙๗ ๓. หลวงปู่สี่ ค�าผล ปี พ.ศ. ๒๔๓๕ ๔. หลวงปูบ่ ญ ุ มี รตนวิโล (พระครูมงคล วุฒาจารย์) ปี พ.ศ. ๒๔๙๕-๒๕๓๐ ๕. หลวงพ่อบุญธรรม ฐานิสสฺ โร (พระครู บริ ห ารชั ย มงคล) ตั้ ง แต่ วั น ที่ ๒๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๑ จนถึงปัจจุบัน
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
วัดพันษี
ตำ�บลจ�รพัต อำ�เภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์
Wat Phan Si
Charapat Subdistrict, Sikhoraphum District, Surin Province
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
วัดเมืดอวังไทย ดเมืองไทย 290 ปักปัหมุกดหมุ 290
ประวัติความเป็นมา
วัดพันษี ตั้งขึ้นเมื่อปีพ.ศ. ๒๔๔๔ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๑๖ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๑๖ เป็นวัดเก่าแก่ สร้างมาตั้งแต่ครั้ง สมัยรัชกาลที่ ๕ ไม่ปรากฏชื่อผู้สร้าง แต่ปรากฏหลักฐานว่าสมัยรัชกาลที่ ๕ ได้ ตราพระราชบัญญัติปกครองท้องที่ พ.ศ.๒๔๔๐ (ร.ศ.๑๑๖) ขึ้น โดยเปลี่ยน การปกครองเป็นมณฑล จังหวัด อ�าเภอ ต�าบล และหมู่บ้าน ชาวบ้านจึงได้ตั้ง ชื่อบ้านและชื่อวัดว่า พันษี ตามภาษาเขมรพื้นบ้านเรียกว่า เซราะเตรียะ โดยตั้ง ขึ้นตามชื่อต้นไม้พื้นบ้านชนิดหนึ่งที่มีมากในชุมชน ตั้งอยู่ในเขตต�าบลจารพัต เดิมเป็นบ้านจารพัต มีเชียงไชยปกครอง ต่อมาบ้านจารพัตได้รับการยกขึ้น เป็ น เมื อ งศี ข รภู มิ พิ สั ย มี ห ลวงไชยสุ ริ ย ง (เชียงไชย) เป็นเจ้าเมืองคนแรก บ้านพันษีจึง เป็นชุมชนเก่าแก่ ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น หมู่บ้านแหล่งประวัติศาสตร์ทางโบราณคดี แห่งหนึง่ ของจังหวัดสุรนิ ทร์ และวัดพันษีได้รบั การตัง้ ขึน้ เป็นส�านักสงฆ์ ตามพระราชบัญญัติ ลั ก ษณะปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑ (พ.ศ. ๒๔๔๕) และได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๑๖ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๖ ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕
ปักหมุดปัวักดหมุเมืดวัอดงไทย เมืองไทย
291 291
ที่ตั้งและอาณาเขตของวัด
วัดพันษี เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหา นิกาย ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ ๑๑๘ หมู่ที่ ๕ ต�าบลจารพัต อ�าเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่หมู่บ้าน ต�าบลจารพัต จ�านวน ๕ หมู่ คือ บ้านพันษี หมู่ที่ ๕ บ้าน โคกเจริญ หมูท่ ี่ ๑๒ บ้านป่ายาว หมูท่ ี่ ๒๐ บ้านไทร-บ้าน สวาย-บ้ า นอั น ทรายเอิ ด หมู ่ ที่ ๗ และบ้ า นตะแบก หมู่ที่ ๖
อาณาเขตของวัด
ทิศเหนือ จดถนนสาธารณะ ทิศใต้ จดถนนสาธารณะ ทิศตะวันตก จดถนนสาธารณะ ทิศตะวันออก จดถนนสาธารณะ ทีต่ งั้ วัด มีทวี่ ดั จ�านวน ๖ ไร่ - งาน ๖๗ ตารางวา ตามโฉนดที่ ดิ น เลขที่ ๔๒๙๕๗ และมี ที่ ธ รณี ส งฆ์ จ� า นวน ๒ งาน ๘๒ ตารางวา ตาม โฉนดที่ ดิ น เลขที่ ๔๒๙๖๐ โดยโฉนดที่ดินทั้งสองฉบับ ทางวัดได้ส่ง ไปจัดเก็บไว้ที่ส�านักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสุรินทร์ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๖
วัดเมืดอวังไทย ดเมืองไทย 292 ปักปัหมุกดหมุ 292
พระพุทธรูปส�าคัญ/โบราณวัตถุ/ปูชนียวัตถุ ภายในวัด
พระประธานประจ�าอุโบสถปางมารวิชัย ขนาด หน้าตัก กว้าง ๕๓ นิ้ว สูง ๗๐ นิ้ว มอบถวายเมื่อวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๑๖ โดยคณะผ้าป่า - กฐินสามัคคี กรุงเทพฯ - สุรินทร์
พระประธานประจ� า ศาลา เจดีย์สีลานุยุต เป็นเจดีย์ทรง การบริหารการปกครองของวัด การเปรียญปางประทานพร ขนาดหน้า ระฆังคว�่า ขนาดกว้าง ๔ เมตร ยาว ๔ วัดพันษี มีเจ้าอาวาสมาแล้วเท่าที่ ตัก กว้าง ๖๓ นิว้ สูง ๘๒ นิว้ มอบถวาย เมตร สู ง ๑๒ เมตร สร้ า งเสร็ จ เมื่ อ ทราบชื่อจ�านวน ๗ รูป ล�าดับเจ้าอาวาส เมือ่ วันที ่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ โดยเจ้า พ.ศ. ๒๕๓๕ ใช้เป็นที่ประดิษฐานอัฐิ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ดังนี้ คณะจั ง หวั ด นครพนม และคณะ ของอดีตเจ้าอาวาสทุกรูป ๑. หลวงตาปุย (ไม่ทราบฉายา) ศิษยานุศิษย์วัดพระธาตุพนม กุ ฏิ สี ล านุ ยุ ต านุ ส รณ์ เป็ น ตั้งแต่พ.ศ. ๒๔๔๔ ถึง พ.ศ. ๒๔๖๙ พระพุทธรูปไม้ทาสีทอง ทีไ่ ด้รบั อาคารก่ออิฐถือปูน ขนาดกว้าง ๓ เมตร ๒. หลวงตาสวรรค์ (ไม่ทราบฉายา) การขึ้นทะเบียนเป็นวัตถุโบราณจากกรม ยาว ๔ เมตร หลังคามุงกระเบื้องซีแพ็ค ตั้งแต่พ.ศ. ๒๔๖๙ ถึง พ.ศ. ๒๔๗๐ ศิลปากรเมื่อปีพ.ศ. ๒๕๕๙ จ�านวน ๓ สร้างเมือ่ พ.ศ. ๒๕๕๐ ใช้เป็นทีป่ ระดิษฐาน ๓. พระสุน ธมฺมโชโต องค์ ดังนี้ รู ป เหมือนของพระครูสีลานุยุต (ลาน ตั้งแต่พ.ศ. ๒๔๗๐ ถึง พ.ศ. ๒๕๑๒ ๑. พระพุ ท ธรู ป ปางมารวิ ชั ย รมณีโย) อดีตเจ้าอาวาสวัดพันษี ๔. พระครูสีลานุยุต (ลาน รมณีโย) ศิ ล ปะรั ต นโกสิ น ทร์ ฝี มื อ ช่ า งพื้ น ถิ่ น ตั้งแต่พ.ศ. ๒๕๑๒ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๑ พุ ท ธศตวรรตที่ ๒๕ ชนิ ด ไม้ ท าสี ท อง เสนาสนะส�าคัญภายในวัด ๕. พระครูสทุ นต์กจิ จานุกจิ (ทิง ทนฺตาจาโร) ขนาดสูงรวฐาน ๘๗ เซนติเมตร หน้าตัก - อุโบสถ ตั้งแต่พ.ศ. ๒๕๓๑ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๙ กว้าง ๓๙ เซนติเมตร - ศาลาการเปรียญ ๖. พระอธิการการุณย์ ธมฺมวโร ๒. พระพุทธรูปปางสมาธิ ศิลปะ - อาคารโรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม ตั้งแต่พ.ศ. ๒๕๔๙ ถึง พ.ศ. ๒๕๕๓ รั ต นโกสิ น ทร์ ฝี มื อ ช่ า งพื้ น ถิ่ น พุ ท ธ หลังที่ ๑ ปัจจุบัน พระมหาเสาร์ สีหสุวณฺณปุตฺโต ศตวรรตที่ ๒๕ ชนิ ด ไม้ ท าสี ท อง - อาคารโรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๓ ถึง ปัจจุบัน ขนาดสู ง รวมฐาน ๙๓.๕ เซนติ เ มตร หลังที่ ๒ หน้าตักกว้าง ๓๖ เซนติเมตร - หอพระไตรปิฎก ๓. พระพุ ท ธรู ป ปางมารวิ ชั ย - หอระฆัง ศิ ล ปะรั ต นโกสิ น ทร์ ฝี มื อ ช่ า งพื้ น ถิ่ น - เมรุ พุ ท ธศตวรรตที่ ๒๕ ชนิ ด ไม้ ท าสี ท อง - กุฏิสงฆ์รวม ขนาดสูงรวมฐาน ๖๗ เซนติเมตร หน้าตัก - โรงครัว กว้าง ๒๖ เซนติเมตร
ปักหมุดปัวักดหมุเมืดวัอดงไทย เมืองไทย
293 293
งานการศึกษาและการศึกษาสงเคราะห์ของวัด
พระมหาเสาร์ สีหสุวณฺณปุตฺโต เจ้าอาวาสวัดพันษี งานการเผยแผ่ของวัด
สถานีวิทยุชุมชนวัดพันษี Fm ๑๐๖.๗๕ Mhz ออกอากาศเมือ่ ปีพ.ศ. ๒๕๔๗ ส�าหรับเผยแผ่พระ ธรรมค� า สอนของพระพุ ท ธเจ้ า และประชาสั ม พั น ธ์ ข่ า วสารต่ า งๆ ออกอากาศตั้ ง แต่ เวลา ๐๔.๓๐ – ๒๒.๐๐ น. ทุกวัน โครงการบรรพชาอุปสมบทหมู่พระภิกษุ สามเณรภาคฤดู ร ้ อ น เริ่ ม โครงการรุ ่ น แรกปี พ .ศ. ๒๕๓๕ จัดเป็นประจ�าทุกปี เพื่ออบรมเยาวชนและส่ง เสริมพระภิกษุสามเณรให้เรียนต่อในโรงเรียนพระ ปริยัติธรรม โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก องค์การบริหารส่วนต�าบลจารพัต โครงการอบรมค่ า ยคุ ณ ธรรม ค่ า ยพุ ท ธ ภราดร จั ด อบรมคุ ณ ธรรมส� า หรั บ นั ก เรี ย นและ นักศึกษาในสถานศึกษา ตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๕๓๖ จนถึง ปัจจุบัน
วัดเมืดอวั งไทย ดเมืองไทย 294 294 ปักปัหมุกดหมุ
โรงเรียนพระปริยัติแผนกธรรม เปิดสอนเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๐ เปิดสอนตั้งแต่ น.ธ.ตรี – เอก โดยมีหลวงตาปุย เป็นเจ้า ส�านักศาสนศึกษารูปแรก โรงเรียนพระปริยัติแผนกบาลี เปิดสอนเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๕ โดยมีพระครูสุทนต์กิจจานุกิจ เป็นเจ้าส�านักศาสนศึกษา รูปแรก โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา เปิดสอน เมื่ อ ปี พ.ศ.๒๕๓๖ ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ จั ด ตั้ ง เป็ น โรงเรี ย น พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ชื่อว่า โรงเรียนพระปริยัติ ธรรมพันษีวิทยา พ.ศ. ๒๕๓๗ เปิดสอนตั้งแต่ ม.๑-๓ และได้รับ อนุญาตให้ขยายเปิดเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ม.๑-๖ ปีพ.ศ. ๒๕๔๕ โดยมีพระครูสุทนต์กิจจานุกิจ เป็นผู้จัดการรูปแรก และ พระมหาธ�ารงค์ ธมฺมปาโล เป็นครูใหญ่รูปแรก ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ได้รับอนุญาต ให้จดั ตัง้ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ จดทะเบียนล�าดับที ่ ๑๐๑๕ เปิดสอน นักเรียน ๓ ระดับ คือ ชั้นต้น ชั้นกลาง และชั้นสูง โดยมีพระครู สุทนต์กิจจานุกิจ เป็นผู้อ�านวยการรูปแรก
วัดได้รับรางวัล / ใบประกาศเกียรติคุณดีเด่นด้าน ต่างๆ
พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้รบั คัดเลือกเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง อ�าเภอศีรภูมิ จากคณะสงฆ์อ�าเภอศีขรภูมิ พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้รบั คัดเลือกเป็นอุทยานการศึกษา ในวัด จากส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้รบั การยกย่องเป็นวัดส่งเสริมสุข ภาพดีเด่น ระดับจังหวัด จากกรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข
ปักหมุดปัวักดหมุเมืดวัอดงไทย เมืองไทย
295 295
พระมหาสุรเดช สุทฺธิเมธี น.ธ.เอก ป.ธ.๓ น.บ. ร.ม. เจ้าอาวาสวัดระแงง
วัดระแงง
ต� ำ บลระแงง อ� ำ เภอศี ข รภู มิ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Rangaeng
Rangaeng Subdistrict, Sikhoraphum District, Surin Province วัดระแงง วัดระแงง หรือ เรียกอีกชื่อหนึ่ง ว่า วัดบ้านระแงง ต�าบลระแงง อ�าเภอ ศี ข รภู มิ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ประกาศตั้ ง เป็นวัด เมื่อวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๓๓ นับจากวันที่ประกาศเป็นวัดขึ้นมาจนถึง บัดนี้ (พ.ศ.๒๕๖๓) เป็นเวลา ๑๓๐ ปี นั บ เป็ น วั ด เก่ า แก่ วั ด หนึ่ ง ของอ� า เภอ ศีขรภูม ิ วัดระแงงแรกเริม่ ตัง้ นัน้ ชาวบ้าน กลุม่ หนึง่ ทีอ่ พยพมา จากบ้านหนองขวาว ต�าบลหนองขวาว อ�าเภอศีขรภูม ิ จังหวัด สุรินทร์ มาตั้งหมู่บ้านระแงงซึ่งเป็นเนิน ดอนป่ า ติ้ ว ซึ่ ง ภาษาเขมรเรี ย กว่ า ต้นระแงง หรือต้นติ้วนั่นเอง ใบและดอก มีรสเปรีย้ ว ใส่ตม้ แกงดี เมือ่ มาตัง้ หมูบ่ า้ น แล้ว เมื่อถึงเวลาท�าบุญก็พากันไปท�าบุญ ที่ วั ด บ้ า นหนองขวาว หรื อ บ้ า นเก่ า
296
ปักหมุดวัดเมืองไทย
หลายปีเกิดความไม่สะดวกระยะทาง ห่างไกล จึงพากันคิดที่สร้างวัดขึ้นที่ บ้านระแงง โดยรวมกันหาที่ดินและ วัสดุสร้าง วัด กุฏิ ศาลา โดยมีบุคคล ส�าคัญทีร่ วบรวมพรรคพวกสร้างวัด คือ นายขุนราม บิดาพ่อโป๊ะ พ่อป้อง กัน นุฬา นายสิม บิดาของพ่อโต๊ะ พ่อโป๊ะ ทรัพย์อนันต์ นายเหลา บิดานายแดง นายแดงบิดาของผู้ใหญ่เฟื้อย กันนุฬา นายตั๊ น บิ ด าของพ่ อ ปั ๊ ก พ่ อ โหล นายกุล บิดาของท่านผูใ้ หญ่เป๊าะ จันทา นายเตือย บิดาแม่ผยุ นายเตือ่ ยเป็นชาว กั ม พู ช า นายตุ ่ น บิ ด าของแม่ เ มา นายสีดา บิดาของพ่อมุก แม่นอ้ ย เป็นต้น ในปี พ.ศ. ๒๔๘๘ วัดระแงง ถูกทิ้งร้าง เนื่องจากพระอาจารย์ดาว ท�าโครงการยุบ วัดระแงงไปรวมกับ
วัดใหม่ศรีวิหารเจริญ แต่ชาวบ้านไม่ยอม และเข้าลงชื่อคัดค้านยื่นหนังสือร้องเรียน ถึงจังหวัดและกระทรวงศึกษาธิการ ผล สุดท้าย กระทรวงศึกษาธิการได้สั่งระงับ และให้คงวัดระแงง ไว้ตามเดิม ในระหว่าง ทีม่ กี ารต่อสูเ้ รือ่ งยุบวัดนัน้ ก็ปล่อยให้วดั ร้าง ไม่มีพระภิกษุสามเณรจ�าพรรษาเป็นเวลา นาน ประกอบกั บ ปลายสงครามโลก ครั้งที่ ๒ กองทัพญี่ปุ่นได้น�ากองทหาร มาประจ�าการอยู่จ�านวนหนึ่ง โดยอ้างว่า เพื่ อ รั ก ษาเส้ น ทางรถไฟสายตะวั น ออก เฉียงเหนือ จากจังหวัดนครราชสีมา ถึง จังหวัดอุบลราชธานี เพือ่ รักษาเส้นทาง ไม่ ให้มีการก่อวินาศกรรม และเมื่อสงคราม โลกครัง้ ที ่ ๒ สงบลง โดยฝ่ายญีป่ นุ่ พ่ายแพ้ สงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ส่งกองก�าลัง เ พื่ อ ด� า เ นิ น ก า ร ป ล ด อ า วุ ธ แ ล ะ ส ่ ง
ทหารญี่ปุ่นกลับประเทศทั้งหมด หลังจากนั้นชาวบ้านก็ช่วยกันท�านุบ�ารุงวัด ให้สวยงามดุจเดิม และได้นิมนต์พระมาจ�าพรรษาที่วัด พร้อมทั้งมีการพัฒนา วัดอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันวัดระแงงมีเจ้าอาวาสมาแล้ว ๑๓ รูปดังนี้ ล�าดับที่ ๑ พระอาจารย์ค�า ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๓๓ - ๒๔๖๐ ล�าดับที่ ๒ พระอาจารย์ป้อง ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๖๐ - ๒๔๗๗ ล�าดับที่ ๓ พระอาจารย์นิ่ม เทียมทัน ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๗๗ – ๒๔๘๗ ล�าดับที่ ๔ พระอาจารย์พิมพ์ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๘๗ -๒๔๘๘ ล�าดับที่ ๕ พระอาจารย์ดาว ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๘๘ –๒๔๘๙ ล�าดับที่ ๖ พระอาจารย์พวง กนกฉันท์ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๘๙ ล�าดับที่ ๗ พระอาจารย์ทองพูน ค�ามาก ล�าดับที่ ๘ พระอาจารย์สงค์ ล�าดับที่ ๙ พระอาจารย์สก ล�าดับที่ ๑๐ พระอาจารย์อุ่น ล�าดับที่ ๑๑ พระอาจารย์สุวิทย์ ล�าดับที่ ๑๒ พระอธิการกฤษณะ ฐิตปุญฺโญ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๒๘ – ๒๕๕๓ ล�าดับที่ ๑๓ พระมหาสุรเดช สุทฺธิเมธี ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๕๘ -ปัจจุบัน
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
297
วัดช่างปี่
ต� า บลช่ า งปี ่ อ� า เภอศี ข รภู มิ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Chang Pee
Chang Pee Subdistrict, Sikhoraphum District, Surin Province
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย 298
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปักหมุดวัดเมืองไทย
299
วัดช่างปี่ ภาพฐานะ วัดช่างปี่เป็นวัดราษฏร์ ที่ดินเฉพาะที่ตั้งวัด มี เนือ้ ที่ ๑๐ ไร่ ๙ ตารางวา วัดช่างปีไ่ ด้จดทะเบียนวัดถูกต้องตามกฎหมาย เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๔ และได้รับพระราชวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๑ (ซึง่ เป็นอุโบสถหลังเก่า) เริม่ สร้างหลังใหม่ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ แล้วเสร็จ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา (หลังใหม่) เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๗ อาณาเขต ทิศเหนือ จดถนนทางหลวงชนบท สร.๓๐๒๑ หมู่ที่ ๑๔ บ้านอ่างสมบูรณ์ ทิศใต้ จดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านช่างปี่ ทิศตะวันออก จดที่ดิน ผืนนา นาย เฉลียว นางรื่น ปิ่นเพชร ทิศตะวันตก จดถนนทางหลวงชนบท สร.๓๐๒๑ หมู ่ ที่ ๑ บ้านช่างปี่ ลักษณะพื้นที่ตั้งวัดและบริเวณโดยรอบ วัดช่างปีต่ งั้ อยู่ เลขที่ ๑๒๕ หมูท่ ี่ ๑ ต�าบลช่างปี่ อ�าเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรนิ ทร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตัง้ อยูใ่ นอาณาเขตบริเวณทิศ ตะวันออกของชุมชนหมูท่ ี่ ๑ บ้านช่างปี่ ทิศใต้ของชุมชนหมูท่ ี่ ๑๔ บ้าน อ่างสมบูรณ์ อยู่ในเขตปกครอง ๓ หมู่บ้าน คือ ๑. บ้านช่างปี่ หมู่ที่ ๑ ๒. บ้านอ่างสมบูรณ์ หมู่ที่ ๑๔ ๓.บ้านหนองเหล็กโสน หมู่ที่ ๑๑ เนื้อที่ บริเวณโดยรอบ ทิศเหนือ ติดถนนหลวงชนบท - โรงเรียนบ้านช่างปี่ และ หมู่ที่ ๑๔ บ้านอ่างสมบูรณ์ - อ่างเก็บน�้าช่างปี่ (ชลประทาน) ทิศ ใต้ ติดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านช่างปี่ - คุ้มนาสวน หมู่ที่ ๑ และ วัดประทุมสว่างบ้านตะคร้อ โรงเรียนบ้านตะคร้อ ทิศตะวันออก
300
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ติดที่ดิน, ทุ่งนา, สระน�้าสาธารณะ, ปราสาทช่างปี่, องค์การบริหารส่วนต�าบล ช่างปี่ ทิศตะวันตก ติดถนนหลวงชนบท - หมู่บ้าน หมู่ ๑ บ้านช่างปี่, ที่ท�าการ ศูนย์เรียนรู้เจียงแป็ยบ้านช่างปี่ อาณาเขตจรดหมู่ที่ ๗ บ้านโคกอาโพน ประวัติความเป็นมา วัดช่างปีเ่ ท่าทีส่ อบถามจากบรรพบุรษุ น่าจะมีอายุไม่ตา�่ กว่า ๓๐๐ ปี ก่อน จะมาเป็นวัดช่างปี่ได้ใช้ชื่อว่า วัดจอมศรัทธาทึก ตามต�านานจากการสืบประวัติ ของชุมชนหรือผู้สูงอายุในชุมชน ซึ่งในปัจจุบันท่านเหล่านั้นได้เสียชีวิตเกือบหมด แล้ว พอได้ทราบว่ามีพระภิกษุธุดงค์รูปหนึ่ง ทราบชื่อท่านว่า หลวงปู่ม่วง (ไม่ ทราบฉายา) เป็นพระธุดงค์มาจากประเทศกัมพูชา ท่านเดินธุดงค์ลัดเลาะมาตาม ป่าภูเขาพนมตะแบง พนมดงรัก(ดองแร็ก) จนถึงวัดจอมสุทธาวาส (ต.เมืองที) และได้ เดินทางต่อมาจนถึงบริเวณป่า ซึง่ เป็นป่าไผ่ตดิ กับชุมชนโบราณ คือ ชุมชนบ้านช่าง ปี่ และบ้านอ่างสมบูรณ์ ในปัจจุบัน ท่านได้กระท�าการแผ้วถางป่าไผ่ (ซึ่งมีอยู่เป็น จ�านวนมากในบริเวณนัน้ ) เพือ่ ใช้เป็นทีพ่ กั ส�านักสงฆ์ แล้วท่านก็ได้บรู ณะ สร้างจน เป็นวัด และต่อมาได้ใช้ชอื่ ว่า วัดจอมศรัทธาทึก ซึง่ ในขณะนัน้ เป็นศูนย์รวมศรัทธา ของชุมชนหลายหมู่บ้าน เช่น ชุมชนบ้านโคกลาว, บ้านข่า, บ้านห้วย, บ้านหนอง เหล็ก-โสน, บ้านโคกอาโพน และ บ้านช่างปี่ (ซึ่งในขณะนั้นชุมชนบ้านช่างปีย่ งั ไม่ แยกเป็น ๒ หมูบ่ า้ น) และในเวลาต่อมาได้เปลีย่ นชือ่ จาก วัดจอมศรัทธาทึก มาเป็นชือ่ ว่า วัดช่างปี่ ในปัจจุบัน เกียรติประวัติของวัด วัดช่างปี่ เดิมชื่อ วัดจอมศรัทธาทึก เป็นวัดแรกในต�าบลช่างปี่ เป็นวัด ศูนย์รวมศรัทธาจากชุมชนหลายหมู่บ้านในต�าบลช่างปี่ วัดช่างปี่เป็น ๑ ใน ๑๕ แห่ง เป็นวัดเก่าแก่ทมี่ ปี ระวัตศิ าสตร์ของจังหวัดสุรนิ ทร์และจังหวัดบุรรี มั ย์ เป็นวัด เขตพัฒนาการท่องเที่ยวอีสานใต้ เป็นวัด ศูนย์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม นวัตวิถี (โอท็อป) ต�าบลช่างปี่ เป็นศูนย์พพิ ธิ ภัณฑ์ชมุ ชน รักษาวัฒนธรรม ดูแลเก็บ
ปักหมุดวัดเมืองไทย
301
พระอธิการสมศักดิ์ ปชฺโชโต เจ้าอาวาสวัดช่างปี่
302
ปักหมุดวัดเมืองไทย
รักษาวัตถุโบราณเก่าแก่ สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ที่ขุดได้จากปราสาทช่างปี่ เกียรติประวัติเจ้าอาวาส - เจ้าอาวาสอันดับที่ ๑ หลวงปู่ม่วง (ไม่ทราบฉายา) พระธุดงค์ที่ธุดงค์มา จากประเทศกัมพูชา ท่านเป็นผูส้ ร้างวัดช่างปี่ (ไม่ทราบ พ.ศ. ทีแ่ น่ชดั เท่าทีส่ อบถาม จากบรรพบุรุษ ปราชญ์ ผู้เฒ่าผู้แก่ บอกเล่าสืบทอดกันมา น่าจะมีอายุไม่ต�่ากว่า ๓๐๐ปี หลวงปู่ม่วงท่านได้กระท�าการ แผ้วถางป่าไผ่ (ซึ่งมีอยู่เป็นจ�านวนมากใน บริเวณนั้น) เพื่อเป็นที่พ�านักสงฆ์ แล้ว ท่านก็ได้บูรณะ สร้างเป็นวัด และต่อ ๆ มา ได้ชอื่ ว่า วัดจอมศรัทธาทึก คือวัดช่างปีใ่ นปัจจุบนั หลวงปูม่ ว่ งท่านได้ปกครองดูแล เรื่อยมาจนมรณภาพ - เจ้าอาวาสอันดับที่ ๒ (ไม่ทราบประวัติ) - เจ้าอาวาสอันดับที่ ๓ (ไม่ทราบประวัติ) - เจ้าอาวาสอันดับที่ ๔ (ไม่ทราบประวัติ) - เจ้าอาวาสอันดับที่ ๕ (ไม่ทราบประวัติ) - เจ้าอาวาสอันดับที่ ๖ พระเปลื้อง ปิยภานี พรรษา ๑๑ เป็นผู้ริเริ่มสร้าง อุโบสถหลังแรก ปีพ.ศ. ๒๕๑๗ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ปีพ.ศ. ๒๕๒๑ - เจ้าอาวาสอันดับที่ ๙ พระครูอนิ ทปัญญานุกลู (หลวงพ่อเชือ้ อินทปัญโญ) ได้รบั สมณศักดิเป็น รองเจ้าคณะต�าบลช่างปี่ ท่านเป็นผูม้ คี ณ ุ ปู การต่อวัดช่างปี่ เช่น เป็นผู้ริเริ่มสร้างอุโปสถหลังใหม่ - เมรุ และเสนาสนะอื่น ๆ และเป็นผู้ด�าริให้มีการ ท�าบุญถวายเพล ๙ วัด เป็นประเพณีฤดูเข้าพรรษาของพุทธศาสนิกชนต�าบล ช่างปี่ เป็นเจ้าอาวาสวัดช่างปี่ตั้งแต่ ปีพ.ศ ๒๕๓๓ จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ท่านจึงได้ มรณภาพลง - เจ้าอาวาสรูปที่ ๑๐ พระสมุห์ศรนรินทร์ ธัมมเมธี เป็นพระนักเทศก์ ได้ สร้างชื่อเสียงให้กับวัดช่างปี่ และชาวต�าบลช่างปี่ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส วัดช่างปี่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ถึง ปีพ.ศ. ๒๕๕๙ จึงลาสิกขา - เจ้าอาวาสรูปที่ ๑๒ พระครู พิ บู ล พั ฒ นประสุ ต เจ้ า คณะต� า บลช่ า งปี ่ เจ้าอาวาสวัดบ้านข่า (รักษาการเจ้าอาวาสวัดช่างปี่) พ.ศ. ๒๕๖๑ ท่านได้ดูแล ปกครองบริหารให้ค�าแนะน�าคณะสงฆ์เป็นอย่างดี จึงลาออกจากรักษาการเจ้า อาวาส วันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๒ - เจ้าอาวาส รูปที่ ๑๓ (รูปปัจจุบัน) พระอธิการสมศักดิ์ ปัชโชโต ได้รับตราตั้ง เป็นเจ้าอาวาส เมื่อวันที่ ๑ กรกฏาคม พ.ศ.๒๕๖๓
ปักหมุดวัดเมืองไทย
303
วัดทุ่งสว่างนารุ่ง
ต� า บลนารุ ่ ง อ� า เภอศี ข รภู มิ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Thung Sawang Na Rung
Na Rung Subdistrict, Sikhoraphum District Surin Province
วัดทุ่งสว่างนารุ่ง ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลนำรุง่ อ�ำเภอศีขรภูม ิ จังหวัดสุรนิ ทร์ เริม่ สร้ำงขึน้ เมือ่ พ.ศ. ๒๔๘๔ โดยมีพระอำจำรย์ทัด มีแสง เป็นเจ้ำอำวำสองค์แรก วัดนำรุ่งแต่เดิมตั้งอยู่บริเวณที่ตั้งโรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพ ต�ำบล นำรุ่ง ท่ำนพระอำจำรย์ทัด มีควำมเห็นว่ำสถำนที่นี้คับแคบมำก จึงมีควำมเห็น ว่ำควรจะหำที่จัดสร้ำงที่สมควรมำกกว่ำนี้ และเห็นว่ำที่ในปัจจุบันเหมำะสม ทีจ่ ะจัดตัง้ วัดใหม่ จึงได้มกี ำรเสีย่ งทำยว่ำเจ้ำทีไ่ ด้อนุญำตหรือไม่ โดยวิธเี สีย่ งทำย ด้วยข้ำวสำร เสี่ยงทำยด้วยกำรน�ำเอำข้ำวสำรจ�ำนวน ๗ เม็ด โดยกำรถำงที่ ให้กว้ำงพอสมควร แล้วน�ำข้ำวสำรจ�ำนวน ๗ เม็ด ไปวำงรวมกันไว้ ครั้งที่ ๑ ปรำกฏว่ำข้ำวสำรกระจัดกระจำย นีแ้ สดงว่ำกำรเสีย่ งทำยเจ้ำทีไ่ ม่อนุญำต แต่ก็ ไม่ทอ้ แท้ใจ จึงได้เสีย่ งทำยอีกครัง้ ที ่ ๒ ผลปรำกฏว่ำเป็นเหมือนครัง้ แรก จึงลงมือ เป็นครั้งที่ ๓ โดยให้สำมเณรดูอีกครั้ง ผลปรำกฏว่ำข้ำวสำรที่ถูกครอบไว้ในถ้วย ในนัน้ ปรำกฏว่ำไม่กระจัดกระจำยเหมือนแต่กอ่ น แสดงว่ำเจ้ำทีอ่ นุญำตให้สร้ำง วัดแห่งนี้ ท่ำนจึงให้สัญญำณกลองเพื่อเรียกชำวบ้ำนมำช่วยกันถำงป่ำออก สถำนที่ ส ร้ ำ งวั ด แห่ ง นี้ แ ต่ ก ่ อ นเป็ น สถำนที่ ลึ ก ลั บ ซั บ ซ้ อ นมำกใน บริเวณนี้มีป่ำไม้มำก เช่น ไม้ไผ่ ไม้ประดู่ และต้นไม้อย่ำงอื่นสลับซับซ้อนกันไป มีเรื่องเล่ำว่ำสถำนที่เป็นสถำนที่ศักดิ์สิทธิ์ มีเทวดำผู้คุ้มครองชำวบ้ำน หำกใครมี จิตใจเป็นขโมยเป็นโจร มีควำมประพฤติเช่นนีค้ อื ไปขโมยโค-กระบือ ถ้ำเกิดพลัด เข้ำในบริเวณนี้ จะจูงควำยเดินวนรอบบริเวณป่ำนี้ ไม่สำมำรถออกไปจำกป่ำได้ จนสว่ำงจึงผูกควำยไว้ในบริเวณนี ้ แล้วก็หนีไปแต่ตวั และไม่สำมำรถน�ำโค-กระบือ ไปได้ แต่นั้นชำวบ้ำนได้เคำรพนับถือและได้มำบูชำ ในวันพุธแรกของเดือน ๓ และ เดือน ๖ จึงเรียกว่ำ ศำลพระภูมิ หรือศำลเจ้ำพ่อ ซึ่งเป็นสถำนที่ศักดิ์สิทธิ์ จึงมีกำรตัง้ ศำลำมำแต่นนั้ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๐ พระครูโอภำสวรกิจ (หลวงพ่อก้อน ญำณมุนี) ได้สร้ำงลักษณะเป็นปูน ต่อมำในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ มีเจ้ำภำพบูรณะใหม่ คือคุณพ่อด้วง - คุณแม่พำนทอง, คุณพ่อเอี้ยง - คุณแม่ขน เอกวุฒิวงศำ พร้อม บุตรหลำน ได้สร้ำงเพื่อให้เกิดควำมสวยงำม และน่ำเคำรพนับถือ วัดทุ่งสว่ำง นำรุ่ง ได้รับวิสุงคำมสีมำ เมื่อวันที่ ๒ สิงหำคม ๒๔๘๙
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย
รายนามเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันที่ปกครองดังนี้ ๑. พระอำจำรย์ทัด ๒. พระอำจำรย์ถัน ๓. พระอำจำรย์วรรณำ ๔. พระอำจำรย์สอน ๕. พระอำจำรย์จันทร์ ๖. พระอำจำรย์โน ๗. พระอำจำรย์ลี ๘. พระอำจำรย์รัตน์ ๙. พระครูโอภำสวรกิจ (ก้อน ญำณมุนี) พ.ศ. ๒๕๐๐ - ๒๕๔๒ ๑๐. พระครูเกษมธรรมวิสิฐ (ส�ำรำญ ติกฺขปญฺโญ) พ.ศ. ๒๕๔๒ - ถึงปัจจุบัน
พระครูเกษมธรรมวิสิฐ (ส�าราญ ติกฺขปญฺโญ) เจ้ำคณะต�ำบลนำรุ่ง / เจ้ำอำวำสวัดทุ่งสว่ำงนำรุ่ง 306
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระครูโอภาสวรกิจ อดีตเจ้าอาวาสวัดทุ่งสว่างนารุ่ง
ปักหมุดวัดเมืองไทย
307
วัดบ้านข่า
ต� ำ บลช่ ำ งปี ่ อ� ำ เภอศี ข รภู มิ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Ban Kha
Chang Pi Subdistrict, Sikhoraphum District, Surin Province ความเป็นมา
วัดบ้านข่า ตัง้ เมือ่ พ.ศ. ๒๔๘๐ ตามทะเบียน แต่ตามประวัตแิ ล้ววัดบ้านข่าได้ดา� เนิน การสร้างวัดแต่เมื่อไรนั้นไม่มีใครสามารถจ�าปี พ.ศ.ได้ ตามค�าบอกเล่าของคนเฒ่าคนแก่ที่ มีอายุเกิน ๙๐ ปี ต่างก็พดู เป็นเสียงเดียวกันว่าเกิดมาก็เห็นเป็นวัดเลย ในการด�าเนินการสร้าง วัดบ้านข่าเท่าที่ทราบคือ เป็นวัดโบราณตั้งอยู่บนเนินโคกบันเกียร์ (ภาษาถิ่น) ตามโบราณ วัตถุที่ปรากฏคืออิฐและศิลาแลง ตรงกลางวัด ชาวบ้านจึงสันนิษฐานว่าคือฐานปราสาทเก่า ที่ได้พังลงมาจากการที่คนมีอิทธิพลในสมัยนั้นต่างก็มาขุดหาสมบัติ อาทิ
พระโบราณ เทวรูปโบราณ เป็นต้น ดังนั้นผู้น�า ชุมชน ชาวบ้านและคนเฒ่าคนแก่ จึงได้ดา� เนิน การสร้างโบถ์ทบั (สิม) เพือ่ ป้องกันคนมาขุดหา สมบั ติ และเพื่ อ ใช้ เ ป็ น ที่ ท� า สั ง ฆกรรมของ พระสงฆ์ วัดบ้านข่าตัง้ อยูใ่ นชุมชนเล็ก ๆ ท�าให้ การบูรณะสังขรณ์ วัดไม่อาจพัฒนาได้เท่าทีค่ วร บางปีกไ็ ม่มพี ระภิกษุจา� พรรษา ถึงขัน้ วัดร้างมา หลายปี จวบจนปี พ.ศ. ๒๕๑๙ หลวงปู่หิน สิรปิ ญโญ (พระอธิการสุพนิ ) พระภิกษุชาวบ้าน ช่างปี ่ ทีท่ า่ นได้ดา� เนินการสร้างวัดอยูท่ ปี่ ราสาท ช่างปี่ (ในสมัยนั้นจะเรียกวัดปราสาทช่างปี่) ท่านได้ย้ายวัดจากปราสาทช่างปี่ มาบุกเบิก และน�าพาชาวบ้านข่าบูรณะปฏิสังขรณ์พัฒนา วัดบ้านข่าขึ้นมาใหม่ และชาวบ้านมักเรียกวัด บ้านข่าเป็นภาษาถิ่น “เวื๊อดบันเกียร์” ตั้งแต่ นั้นเป็นต้นมา วัดบ้านข่าก็ได้รับการพัฒนาวัด มาตามล�าดับจนถึงปัจจุบัน และหลวงปู่หิน (พระอธิการสุพิน สิริปญโญ) จึงได้รับการแต่ง ตั้งเป็นเจ้าอาวาสรูปแรกของวัดบ้านข่า ตามที่หลักฐานปรากฏ การบริหาร ปกครองวัดบ้านข่า มีเจ้าอาวาสตามที่ทราบ รายนามดังนี้ รูปที่ ๑ พระอธิการสุพิน สิริปญโญ (หลวงปูห่ นิ ) ตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๙-๒๔๔๙
รูปที่ ๒ พระครูพิบูลพัฒนประสุต (กุมาร ญาณเมธี) ตั้งแต่วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ ถึงปัจจุบัน มีรองเจ้าอาวาสช่วยในการบริหาร ปกครองวัดอยู่ ๑ รูป คือ พระครูสังฆรักษ์ (ส�าเริง กตธุโร) วัดบ้านข่า ถึงแม้จะตั้งอยู่ในชุมชน เล็ ก ๆ มี ป ระชากรไม่ ถึ ง สิ บ หลั ง คาเรื อ น แต่ ช าวบ้ า นก็ ใ ห้ ค วามอุ ป ถั ม ภ์ บ� า รุ ง พระศาสนาดู แ ลพระภิ ก ษุ ส ามเณรอย่ า งดี ดั่งที่เห็นเป็นปัจจุบัน จะมีพระภิกษุสามเณร บวชเรี ย นศึ ก ษาพระธรรมวิ นั ย และวิ ช า ทางโลก มีเรียนจบปริญญาทุกปี วัดบ้านข่า ได้รับการพัฒนาที่เด่นชัดทั้ง ถาวรวัตถุและ ด้านการศึกษา การเผยแผ่ การสาธารณะ สงเคราะห์ อย่างเห็นเด่นชัดในยุคของ พระครู พิบูลพัฒนประสุต (กุมาร ญาณเมธี) ซึ่งเป็น เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั แต่เดิมวัดบ้านข่าในช่วง ที่ริเริ่มสร้างวัดขึ้นมาใหม่ ๆ เป็นวัดเล็ก ๆ มี พืน้ ทีไ่ ม่ใหญ่มากนัก ได้รบั การถวายทีด่ นิ จาก นายสะเมียด ซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินติดกับวัดใน สมัยนั้น ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ คุณพ่อสุทล - คุณ แม่สายรุ้ง ภูมิสุข ศิลปินเจรียงเบรินอีสานใต้ ชือ่ ดังของเมืองสุรนิ ทร์ คหบดีบา้ นข่า ได้มจี ติ ศรัทธาซื้อที่ดินของ นายชื่น จันทร์คืน เพื่อ เป็ น พุ ท ธบู ช าถวายวั ด บ้ า นข่ า ๑ แปลง จ�านวน 2 ไร่ ปัจจุบันวัดบ้านข่ามีที่ดิน ๘ ไร่ ๑ งาน ๓๔ ตารางวา
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
วัดบ้านสว่าง
ต� า บลยาง อ� า เภอศี ข รภู มิ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Ban Sawang
Yang Subdistrict, Sikhoraphum District, Surin Province
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย 310
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดบ้านสว่าง วัดบ้านสว่าง ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๑๒ ต�าบลยาง อ�าเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดบ้านสว่าง ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๐ ได้รับเป็นพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๐ มีเนื้อที่ ๖ ไร่ ๒ งาน มีศาลา การเปรียญ ๑ หลัง กว้าง ๓๐ เมตร X ยาว ๒๐ เมตร กุฏิ ๑ หลัง กว้าง ๒๐ เมตร X ยาว ๒๐ เมตร มี ๙ ห้อง ศาลา เอนกประสงค์ ๑ หลัง ๓๐ เมตร X ๒๐ เมตร วัดได้รับการคัดเลือกเป็นวัดพัฒนาตัวอย่างได้รับคัดเลือก เป็นวัดพัฒนาระดับอ�าเภอ รางวัลที ่ ๑ ในวันที ่ ๒๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖ และได้รับการคัดเลือกอีกในเดือนถัดมา ๒ รางวัล ต่อ มาในปีเดียวกันอีกก็ได้รับรางวัล วัดส่งเสริมสุขภาพดีเด่น ประจ�าปี พ.ศ ๒๕๕๖ แล้วในปีถัดมาก็ได้รับรางวัล วัดส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม ประจ�าปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ในวันที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้รับเข้าเฝ้ารับพระราชทานโล่รางวัล เป็นบุคคล ต้นแบบ
ปักหมุดวัดเมืองไทย
311
พระครูอุทัย ปุญญาตินันท์ เจ้าอาวาสวัดบ้านสว่าง วั ด บ้ า นสว่ า งเปิ ด เป็ น ศู น ย์ ศึ ก ษา พระพุทธศาสนาประจ�าวันอาทิตย์ และเป็น สมาชิกสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูปถัมภ์ เปิดสอนนักธรรม – ธรรมศึกษา ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็นต้นมา มีนักธรรม – ธรรมศึกษา เข้าสอบธรรมสนาม หลวงปีละประมาณ ๒๕๐ รูป/คน ผู้ก่อตั้งวัด เจ้าอธิการเสาร์ ธมมฺโชโต เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๐ ล�าดับเจ้าอาวาส ๑. เจ้าอธิการเสาร์ ธมมฺโชโต (หลวงปู่เสาร์) ๒. พระสอน อินทสาโร ๓. พระอธิการสงฆ์ ๔. พระสอน ธมมฺธีโป ๕. พระอธิการ กตปญโญ ๖. พระอาจารย์ใส อธิกาโธ ๗. พระอธิการก้าน ธมมฺโชโต ๘. หลวงพ่อพรมมา ถาวโร ๙. พระครูอุทัย ปุญญาตินันท์ (ส�านัก) รูป ปัจจุบัน ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ป ี พ.ศ. ๒๕๔๗ – ปัจจุบัน
ประวัติการศึกษา
- ได้นักธรรมชั้นเอก พ.ศ. ๒๕๔๕ - จบระดับปริญญาตรี ระดับชั้นปริญญาตรี สาขาวิชารัฐศาสตร์ เอกการเมืองการปกครอง - จบประกาศวิชาชีพครู พ.ศ. ๒๕๕๖ - ได้รับสัญบัตรพัศยศ ชั้นโท วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ และ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้รับ เลื่อนสัญบัตรชั้นโทเป็นชั้นเอก
312
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปักหมุดวัดเมืองไทย
313
วัดประทุมสว่าง
ต� า บลช่ า งปี ่ อ� า เภอศี ข รภู มิ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Prathum Sawang
Chang Pee Subdistrict, Sikhoraphum District, Surin Province
ประวัติความเป็นมา วั ด ประทุ ม สว่ า ง ตั้ ง ขึ้ น สมั ย ที่ หลวงปูผ่ ดุง (ทมอ) ธมฺมโชโต ท่านอุปสมบท แล้วได้จาริกมาที่ต�าบลช่างปี่ ท่านด�าริที่จะ สร้างวัด จึงได้มาอยู่ที่ท�านบข้างสระน�้าบ้าน ตะคร้ อ ได้ พ บกั บ โยมปู ่ นุ ่ น เผ่ า พั น ธ์ มี อัธยาศัยตรงกัน วันหนึง่ ท่านจึงได้มาปรึกษา ว่า “จะไปอยู่ที่อื่น” โยมปู่นุ่นไม่ต้องการให้ ท่ า นไป จึ ง นิ ม นต์ ใ ห้ อ ยู ่ ที่ บ ้ า นตะคร้ อ โดยบริจาคที่ดินให้สร้างวัดด้านตะวันออก ของหมู ่ บ ้ า น ตั้ ง แต่ ไ ด้ รั บ ริ จ าคที่ ดิ น มา หลวงปู่ผดุง (ทมอ) ธมฺมโชโต ก็ได้เริ่มสร้าง วัดประทุมสว่าง และโรงเรียนบ้านตะคร้อ เป็นต้นมา ตามหลักฐานเอกสาร วัดประทุม สว่างเริ่ม ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๐ และได้ รั บ วิ สุ ง คาม สี ม า พ . ศ . ๒๔๙๒ ตาม ประวัตหิ ลวงปู่ ผดุ ง (ทมอ) ธมฺมโชโต ท่าน ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย บวชตัง้ แต่เป็น สามเณรเดิ น
314
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ทางมาจากประเทศกัมพูชาพร้อมญาติ พี่ น ้ อ ง และได้ ก ลั บ ไปอุ ป สมบทที่ ประเทศกั ม พู ช าก่ อ นที่ จ ะมาอยู ่ บ ้ า น ตะคร้อ ได้เข้าพักทีว่ ดั ข้างเคียงหลายวัด เช่ น วั ด จอมสุ ท ธาวาส บ้ า นเมื อ งที , วั ด ประทุ น บ้ า นตากู ก และวั ด บ้ า น ช่ า งปี ่ เป็ น ต้ น ต่ อ มาได้ ม าพั ก อยู ่ ที่ กระท่ อ มบนท� า นบของสระน�้ า กลาง หมู่บ้านตะคร้อ ด้านตะวันออกเฉียง เหนื อ อยู ่ ไ ม่ ถึ ง ปี โ ยมปู ่ นุ ่ น ได้ ถ วาย ที่ดินให้สร้างวัด ท่านจึงออกมาอยู่ใน ที่ดินของโยมปู่นุ่น ต่อมาได้ซื้อและรับ บริจาคทีด่ นิ จากโยมตาปัน - ยายกิน เพิม่ อี ก ส่ ว นโยมปู ่ นุ ่ น ได้ อุ ป สมบทเป็ น พระภิกษุจนสิ้นอายุไข ด้านการสร้างวัดนั้น ท่านได้ สร้างกุฏิไม้ยกพื้นสูง สร้างอุโบสถพอ ท�าสังฆกรรมได้ก่อน และสร้างโรงเรียน เด็กเล็กอยู่ในบริเวณวัดด้านทิศเหนือ ของอุโบสถด้วย ท่านได้ช่วยสร้าง ช่วย พัฒนาวัดหลายแห่ง เช่น วัดกระโดนค้อ, วัดโคกอาโพนสวาย เป็นต้น จนได้รับ ความไว้วางใจให้เป็นพระอุปชั ฌาย์และ เจ้ า คณะต� า บลด้ ว ย ท่ า นมรณภาพ
ขณะอายุเกือบ ๙๐ ปี (ท่านมีร่างกาย เล็ก ๆ แต่แข็งแกร่ง) โยมเอ็บ อยู่ติด วัดด้านทิศเหนือมักจะได้ขับเกวียนให้ ท่านนั่งเป็นประจ�าเพราะแต่เดิมท่าน เคยไปอยู่บ้านประตุร (บ้านประทุน ต.ตากู ก ) ด้ า นการพั ฒ นาโรงเรี ย น บ้านตะคร้อ หลวงปู่ผดุงได้ซื้อที่ดิน ตาทอง - ยายสิม แลกเปลี่ยนกับที่ดิน ของ ยายยิบ - ตาพลาน เผ่าพันธ์ และ คุณตาเอ็บ - ยายยม เผ่าพันธ์ ยกให้ สร้างโรงเรียนบ้านตะคร้อปัจจุบัน
รายนามเจ้าอาวาส เจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบนั และช่วงปีทดี่ า� รงต�าแหน่งของ เจ้าอาวาสทั้ง ๓ รูป คือ ๑. เจ้าอธิการผดุง ธมฺมโชโต จต. พ.ศ. ๒๔๘๐ - ๒๕๑๔ ๒. พระครูอรุณธรรมพินิจ (วร ธมฺม สุวณฺโณ จต.) พ.ศ. ๒๕๑๕ - ๒๕๕๐ ๓. พระครูกมลวรรณรังษี (ไพบูลย์ อคฺควณฺโณ จร.) พ.ศ. ๒๕๕๑ – ปัจจุบนั
หลวงปู่ทมอ (ผดุง ธมฺมโชโต) ความศักดิ์สิทธ์ของหลวงปู่ผดุง สมัยยังมีชีวิตอยู่นั้น ยังมีโจรชุกชุมและ บางโจรที่ขโมยของวัด ท่านจะไปจับด้วย ตั ว ท่ า นเอง แล้ ว มั ด ไว้ ต ามเสากุ ฏ ิ เพื่อประจาน ท่านมีนิสัยเป็นคนใจร้อน โผงผาง เวลาไม่พอใจใครท่านกล้าเอา เหล็กชะแลงไล่ตีไม่ยั้ง แต่ไม่เคยมีคนตาย ด้วยเหตุเพราะถูกท่านตี ชาวบ้านเล่าว่า ท่านเป็นคนทีห่ นังเหนียว เวลาโกรธผิวจะ พองเป็ น ก้ อ น ๆ ลื่ น ไม่ มี ใ ครจั บ ไว้ ไ ด้ หลวงปูผ่ ดุง เวลาไม่พอใจจริง ๆ จะกล้าถึง ขั้นเปิดเครื่องขยายเสียงว่า สั่งสอนผู้ใหญ่ บ้านเลยทีเดียว ความศักดิ์สิทธิ์ของท่าน นั้น โยมพ่อเอ็บ เผ่าพันธ์ วัย ๘๓ ปี เล่าว่า เวลาเดินด้วยกันท่านสามารถหายตัวได้ เพราะบางครัง้ เดิน ๆ เผลอแป๊บเดียวหาย เห็นท่านอีกทีท่านไปก่อนไกลมากแล้ว
เวลามีงานถ้ามีใครทะเลาะกัน ท่านจะ ถือไม้หรือเหล็กชะแลงไล่ตโี ดยไม่เกรง ใด ๆ ใครหนีไม่ทันก็จะเจ็บตัว เพราะ สมัยก่อนนักเลงและโจรชุกชุม ส่วน การบวชจะมีการแห่นาคด้วยช้างเล่น เป็นวัน ๆ
หลวงพ่อผดุง ธฺมโชโต - พระครูอรุณธรรมพินิจ อดีตเจ้าอาวาสวัดประทุมสว่าง
ปักหมุดวัดเมืองไทย
315
วัดป่าตามอ
ต� า บลตรมไพร อ� า เภอศี ข รภู มิ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Pa Tamor
Tromprai Subdistrict, Si Khoraphum District, Surin Province ความเป็นมา วัดป่าตามอ ตั้งอยู่เลขที่ ๑๙๖ ตั้งอยู่ บ้านตามอ หมู ่ ๖ ต� า บลตรมไพร อ� า เภอศี ข รภู มิ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ๓๒๑๑๐ สังกัดมหานิกาย เริ่มก่อสร้างตั้งเป็นที่พักสงฆ์ เมื่อวันจันทร์ท่ี ๑ เดือน เมษายน พ.ศ.๒๕๓๕ ตรงกับ วันแรม ๑๔ ค�า่ เดือน ๔ ปีวอก โดยมี ทายก อุบาสกอุบาสิกา ผู้ใหญ่ผู้ช่วยพร้อมด้วยชาวบ้านตามอ มีจิตอันเป็นกุศล เกิดศรัทธาความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาจึงได้ประชุม ประชาคมชาวบ้านตามอให้ความคิดเห็นในการที่จะสร้าง ที่ พั ก สงฆ์ ใ นเขตป่ า ที่ ช าวบ้ า นร่ ว มกั น ท� า ประโยชน์ ข อง หมู ่ บ ้ า น มติ ใ นที่ ป ระชุ ม เสี ย งส่ ว นใหญ่ เ ห็ น สมควรให้
316
ปักหมุดวัดเมืองไทย
สร้างที่พักสงฆ์ เพราะเวลาที่ชาวบ้านไปท�าบุญที่วัดบ้าน ตรมไพร ก็ห่างไกลเป็นกิโล เลยเห็นพ้องต้องกันตกลงที่ จะสร้างในพืน้ ทีน่ ้ี และชาวบ้านยะหาญรวมก�าลังสร้างกุฎสิ งฆ์ พอเป็นที่อยู่อาศัยของพระตามอัตภาพของพี่น้องที่คิดได้ ในการพั ฒ นาครั้ ง นั้ น ตามล� าดั บ มา และชาวบ้ า นตามอก็ ได้กราบอาราธนานิมนต์หลวงตานพดล อยู่ ๑ พรรษา ต่อมา ญาติ โ ยมจึ ง อาราธนานิ ม นต์ พระมหาธ� า รง ธมฺ ม ปาโล วัดบ้านพันษี ต�าบลจารพัต มาจ�าพรรษาเป็นรูปที่ ๒ พร้อม คณะสงฆ์พระภิกษุสงฆ์สารเณร และคุณพ่อโป้ย คุณแม่ สุพรรณ เหมหงษ์ ได้มอบถวายที่ดินอีกส่วนหนึ่งให้เป็น ที่ ข องวั ด เพื่ อ ภิ ก ษุ ถ สงฆ์ ส ามเณรจะได้ ดู แ ลพื้ น ที่
ชาวบ้านยกให้นั้นแล้วดูแลรักษาต่อไป ในการตั้งชื่อว่า วัดป่าตามอ นั้นพื้นที่ตรงนี้เป็นป่าเบญจพรรณ ซึ่งชาวบ้านตามอใช้ประโยชน์ ร่วมกันหลาย ๆ หมู่บ้าน จึงลงความเห็นตั้งชื่อว่า วัดป่าตามอ เพื่อ ให้สอดคล้องใกล้เคียงกับชื่อของหมู่บ้านตามอนั่นเอง ท�าเนียบเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ๑.พระมหาธ�ารง ธมฺมปาโล พ.ศ.๒๕๓๘ (ลาสิกขา) ๒.พระอธิการสุริยา เตชวโร พ.ศ. ๒๕๔๖ ๓.พระอธิการมณเฑียร ถาวโร พ.ศ. ๒๕๖๑ ถึงปัจจุบัน และมี พระมหาฉัตรชัย จิรวฑฺฒโน รองเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๕๖๓ (ปัจจุบัน)
พระอธิการมณเฑียร ถาวโร เจ้าอาวาสวัดป่าตามอ
ปักหมุดเมืองไทย
www.pukmodmuangthai.com
ปักหมุดวัดเมืองไทย
317
วัดสุทธาวาส
ต� า บลหนองขวาว อ� า เภอศี ข รภู มิ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Sutthawat
Nong Kwao Subdistrict, Sikhoraphum District, Surin Province
รอยพระพุทธบาทจ�าลองสุทธาวาส เจ้าอธิการพวน ติสฺโส เจ้าอาวาสรูป ที่ ๒ ได้รับอัญเชิญมาจากวัดเทพธิดาราม กรุงเทพมหานคร เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๒ ฐาน กว้าง ๖๙ ซม. ยาว ๑๓๙ ซม. สูง ๑๙ ซม. เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่วัด ที่ชาวบ้านได้กราบไหว้ บูชาและขอพร
318
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดสุทธาวาสเป็นวัดที่ตั้งอยู่ใน ชุมชนบ้านขะเนก,บ้านมะเขือ และบ้าน หนองคู ทิศใต้และทิศตะวันตก ติดทาง สาธารณประโยชน์ ทิศเหนือติดที่นาชาว บ้าน ทิศตะวันออก ติดทางหลวงแผ่นดิน รัตนบุร-ี ศีขรภูม ิ พืน้ ทีโ่ ดยรอบวัดเป็นรูป สีเ่ หลีย่ มผืนผ้า บริเวณภายในวัดเป็นทีล่ มุ่ มีบ่อน�้าขนาดใหญ่อยู่ด้านทิศเหนือ ด้าน ทิศตะวันตกของวัด เป็นสวนป่า มีสระน�า้ ขนาดเล็ก ซึง่ เป็น สระโบราณ และเป็น ทีต่ งั้ ของหอพระโบราณ รวมถึงศาลปูเ่ จ้า หนองขะเนก อันเป็นที่เคารพกราบไหว้ บูชา ของชาวบ้านในละแวกใกล้เคียง
ความเป็นมา วั ด สุ ท ธาวาส เดิ ม ชื่ อ วั ด บ้านขะเนก (เพี้ยนมาจากภาษาเขมร) ขะเนก หรือ ขะเดก ในภาษาเขมร แปล ว่า พระนอน เมือ่ แรกสร้างวัดไม่ปรากฏ หลักฐานชัดเจนว่าก่อตั้งเมื่อใด อาศัยผู้ เฒ่าผู้แก่ เล่าสืบต่อกันมาว่า คูบาตา แจ้ง(พระอาจารย์สิทธิ์ สุภทฺโท) ได้เดิน ธุดงค์ มาถึงบริเวณบ้านขะเนก หน้า หมูบ่ า้ นในขณะนัน้ เป็นทุง่ นาสลับป่าไม้ และแหล่งน�า้ เหมาะแก่การปฏิบตั ธิ รรม เมื่อชาวบ้านเห็นเกิดความศรัทธา ซึ่ง คูบาตาแจ้ง ท่านตาบอดทั้ง ๒ ข้าง ตาข้างขวาบอดสนิท ตาข้างซ้ายบอด ตาใส แต่ท่านสามารถปฏิบัติศาสนกิจ ได้ปกติ เหมือนคนที่สายตาดี ท่านจ�า เสียงได้หมดว่าใครเป็นใคร ชาวบ้านจึง ศรัทธาในตัวท่านมาก ๆ และได้รว่ มแรง ร่วมใจกันสร้างวัดตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้น มา และได้ซื้อที่นาขยับขยาย จนได้เป็น พื้นที่วัดในปัจจุบัน จากนั้นส�านักงาน พระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ จึ ง ได้ ขึ้ น ทะเบียนวัดเป็นวัดที่ถูกต้อง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๔ และได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ วั ด มาเป็ น
วัดสุทธาวาส (ชื่อพรหมโลก) ตั้งแต่บัดนั้น เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน รายนามเจ้าอาวาส ตัง้ แต่รปู แรก จนถึงปัจจุบัน รูปที่ ๑ ชื่อ คูบาตาแจ้ง (พระอาจารย์สิทธิ์ สุภทฺโท) ประมาณ พ.ศ.๒๔๗๔ ถึง พ.ศ. ๒๕๐๒ รูปที่ ๒ ชื่ อ เจ้ า อธิ ก ารพวน ติ สฺ โ ส พ.ศ.๒๕๐๓ ถึง พ.ศ.๒๕๒๐ รูปที่ ๓ ชื่อ พระอธิการบุญช่วย วรธมฺโม พ.ศ.๒๕๒๐ ถึง พ.ศ.๒๕๓๑ รูปที่ ๔ ชื่อ พระอธิการน้อย ปญฺญาคโม พ.ศ.๒๕๓๒ ถึง พ.ศ.๒๕๔๔ รูปที่ ๕ ชื่อ พระอธิการติ๊ก สมาจาโร พ.ศ.๒๕๔๗ ถึง พ.ศ.๒๕๕๕ รูปที่ ๖ ชื่อ พระสมุห์เขตโศภน ธีรปญฺโญ พ.ศ.๒๕๕๖ ถึง ปัจจุบัน
พระสมุห์เขตโศภน ธีรปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดสุทธาวาส
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
319
วัดหนองคู
ต� ำ บลคำละแมะ อ� ำ เภอศี ข รภู มิ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Nong Khu Temple
Kalamla Subdistrict, Sikhoraphum District, Surin Province
พระอธิการช�านาญ เขมปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดหนองคู 320
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ความเป็นมา วัดหนองคู ตั้งอยู่ที่ เลขที่ ๙๑ หมู่ ๔ ต.คาละแมะ อ.ศีขรภูม ิ จ.สุรนิ ทร์ ๓๒๑๑๐ ตัง้ เป็น ส� า นั ก สงฆ์ วั น ที่ ๑๔ มี น าคม ๒๔๖๘ ได้ รั บ วิสงุ คามสีมาล�าดับที ่ ๘๑ วันที ่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๗ มีเนื้อที่ ๘ ไร่ ๓ งาน ๘๙ ตารางวา ล�าดับเจ้าอาวาสจนถึงปัจจุบันทั้งสิ้น ๖ รูป ดังนี้ รูปที่ ๑ พระครูพิเศษคณานุกุล พ.ศ. ๒๔๖๘-๒๕๐๕ รูปที่ ๒ พระอธิการตัน ฐานทตฺโต พ.ศ. ๒๕๑๑-๒๕๑๗ รูปที่ ๓ พระอธิการสาคร ติสาโร พ.ศ. ๒๕๑๘-๒๕๒๑ รูปที่ ๔ พระอธิการด�า ฐานจาโร พ.ศ. ๒๕๓๘-๒๕๔๓ รูปที่ ๕ พระครูโสภณจริยาภรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๕๙ สรี ร ะสั ง ขารท่ า นยั ง คง บรรจุหีบ รอสร้างเจดีย์บรรจุอัฐิ เมื่อเจดีย์สถาน สร้างได้ ๗๐% จึงจะได้ดา� เนินการขอพระราชทาน เพลิงศพต่อไป รูปที่ ๖ พระอธิการช�านาญ เขมปญฺโญ พ.ศ. ๒๕๕๙ – ปัจจุบัน
ปักหมุดวัดเมืองไทย
321
322
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
323
วัดหนองหิน
ต� ำ บลตรึ ม อ� ำ เภอศี ข รภู มิ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Nong Hin
Trum Subdistrict, Sikhoraphum District Surin Province
324
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ความเป็นมา วัดหนองหินตั้งอยู่เลขที่ ๑๐๗ บ้านหนองหิน หมู ่ ที่ ๑๑ ต� า บลตรึ ม อ� า เภอศี ข รภู มิ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ วัดหนองหินเริม่ มีการก่อสร้างเมือ่ ประมาณปีพ.ศ. ๒๕๑๓ ซึง่ มีพระครูไพโรจน์อรรถโกวิท(วัน อตฺถโกวิโท) เป็น ผู ้ ริ เริ่ ม การสร้ า งวั ด ร่ ว มกั บ คุ ณ พ่ อ ผู ้ ใ หญ่ มั ด วั ง สั น ต์ (ผู้ใหญ่บ้าน บ้านหนองหิน ในขณะนั้น) ได้ร่วมกันสร้างวัด หนองหินขึน้ เริม่ แรกนัน้ ได้มกี ารตัง้ ชือ่ วัดว่า วัดสัจจธรรม ศิลาราม ซึ่งเป็นชื่อวัดเดิมที่พระครูไพโรจน์อรรถโกวิท (วัน อตฺถโกวิโท) ได้มีการตั้งชื่อไว้ วัดหนองหินได้รับ การบริจาคที่ดินจาก คุณพ่อลี-คุณแม่กุ-คุณแม่วัน โพธิ์ศรี ได้ร่วมกันบริจาคที่ดินให้เพื่อสร้างวัด ต่อมาจึงได้มีการ ขออนุญาตสร้างวัดขึ้น โดยมีคุณพ่อผู้ใหญ่มัด วังสันต์ ได้ทา� หนังสือขออนุญาตสร้างวัด เมือ่ ปีพ.ศ.๒๕๑๕ และได้
รับอนุญาตประกาศตั้งเป็นวัดในพระพุทธศาสนาขึ้นชื่อว่า วัดหนองหิน เมื่อวันที่ ๓๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๑๘ ส่วนสาเหตุทมี่ กี ารเปลีย่ นชือ่ วัดจาก วัดสัจจธรรมศิลาราม เป็น วัดหนองหิน นั้นไม่ได้มีการชี้แจงไว้อย่างชัดเจน วัดหนองหินเป็นวัดสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ได้ รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๓๑ เดือนตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๘ และมีการผูกพัทธสีมาฝังลูกนิมิตเมื่อเดือน เมษายน พ.ศ.๒๕๕๑ รายนามเจ้าอาวาสวัดหนองหิน ๑. พระครูไพโรจน์อรรถโกวิท (วัน อตฺถโกวิโท) ปี พ.ศ. ๒๕๑๓ - ๒๕๓๘ ๒. พระครูสถิตธรรมาคม (ห่ม ฐิตธมฺโม) ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ - ปัจจุบัน
ปักหมุดวัดเมืองไทย
325
326
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประวัติพระครูสถิตธรรมาคม พระครูสถิตธรรมาคม (ห่ม ฐิตธมฺโม) ชื่อสกุลเดิม ห่ม สระศรี เกิดเมื่อวันที่ ๑๓ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๒ ณ บ้านเลขที่ ๑๕ บ้านนา หมู่ที่ ๗ ต�าบลตรึม อ�าเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ เป็นบุตรของ นายลา กับ นางจันทร์ สระศรี มีพี่น้องร่วมกันทั้งหมด ๗ คน ท่านเป็นบุตรคนโต พระครูสถิตธรรมาคมได้เข้าบรรพชาอุปสมบทเมื่อวันที่ ๑๓ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๘ ณ พัทธสีมาวัดบ้านตรึม มีพระครูถาวรศีลวิมล เป็นพระอุปัชฌาย์ พระมิตร สุจิตฺโต เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ได้รับฉายา ทางธรรมว่า ฐิตธมฺโม - ได้รับพระราชทานพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชั้นโท ที่พระครูสถิตธรรมาคม เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๒ - ได้รบั พระราชทานพระครูสญ ั ญาบัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชนั้ เอก ในราชทินนามเดิมที่ พระครูสถิตธรรมาคม เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๗ - เป็นเจ้าอาวาสวัดหนองหินจนถึงปัจจุบัน
พระครูสถิตธรรมาคม เจ้าอาวาสวัดหนองหิน
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย
ปักหมุดวัดเมืองไทย
327
ศูนย์อบรมปฏิบัติธรรมสากล ริมธารธรรมสถาน ต� า บลกุ ด หวาย อ� า เภอศี ข รภู มิ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
RIM THAN THAMMASATHAN MEDITATION CENTER Kud Wai Subdistrict, Sikhoraphum District, Surin Province
ประวัติความเป็นมา ด้วยญาติพ่ีน้องและพระค�ารณ ฐิตเมธี (สิงห์โตทอง) เป็นพระสังกัดวัดโพธิญาณ ได้ถวายที่ดินเป็นธรณีสงฆ์ให้วัดโพธิญาณ บ้านอานันท์ เมื่อวันที่ ๑๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖ และได้สานพลังศรัทธาพุทธศาสนิกชน เพื่อด�าเนินการก่อตั้ง ชื่อว่า ศูนย์อบรมปฏิบัติ ธรรมสากล ริมธารธรรมสถาน เพื่อเป็นสถานที่สร้างสรรค์สังคมอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์ ด�าเนินงานเพื่อพระศาสนาและสังคม ในการจัดกิจกรรมค่ายธรรมะ, ประชุม, อบรม, ปฏิบัติธรรมนักเรียน นักศึกษา กลุ่ม องค์กร ข้าราชการ เอกชน ประชาชนทั่วไป เพื่อ ธ�ารงไว้ซึ่งพระพุทธศาสนา และเป็นแหล่งเรียนรู้ ศึกษาดูงาน ท่องเที่ยวเชิง วิถีพุทธ วิถีธรรม วิถีธรรมชาติ ริมอ่างเก็บน�้าล�าพอก
328
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วิสัยทัศน์ ผองทั่วหล้าในสังคม อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ภารกิจ จุดมุ่งหมายในการพัฒนาจิต พัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ ที่สมบูรณ์ โดยมุ่งงานเพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ ทั้งด้านร่างกายจิตใจ สติ สมาธิ ปัญญา ความรู้สากล รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง รู้จัก สิทธิหน้าที่ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ส่งเสริมศาสนา ภูมิปัญญาไทย ศิลปวัฒนธรรม ประชาธิปไตย มีศีลธรรม คุณธรรม – จริยธรรม มีอาชีพ พึ่งตนเองได้ ใช้หลักแห่งความพอเพียง รักษ์สิ่งแวดล้อม รู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์ตน ประโยชน์สังคม และ เรียนรู้ ปฏิบัติ พัฒนา ตนเอง และสังคม ต่อไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อน�าไปสู่สังคมสันติสุข วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเป็นสถานจัดกิจกรรมเพื่อการพัฒนา เช่น ๑.๑.จัดกิจกรรมค่ายฝึกอบรมหลักสูตรต่าง ๆ ส�าหรับเด็กและเยาวชน ๑.๒.จัดกิจกรรมการสัมมนา,ฝึกอบรมผู้น�า นักพัฒนาเพื่อสร้างสรรค์ความเจริญในสังคม ๑.๓.จัดกิจกรรมด้านการปฏิบัติธรรมเพื่อการพัฒนา ส�าหรับประชาชนทั่วไป ๒. เพื่อเป็นสถานที่แบบอย่างการเรียนรู้พระพุทธศาสนา และท่องเเที่ยวศึกษาดูงาน วิถีพุทธ วิถีธรรม วิถีธรรมชาติ ของกลุ่ม องค์กรต่าง ๆ ต่อไป
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
329
วัดโมฬีวงษา
ต� า บลตรวจ อ� า เภอศรี ณ รงค์ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Molee Wongsa
Truag Subdistrict, Si Narong District, Surin Province ความเป็นมา
วัดโมฬีวงษา มีชื่อตามที่ชาว ศาสนา และเป็นแหล่งการศึกษาเรียนรูท้ าง บ้านเรียกว่า วัดบ้านดุมหรือบ้านตรวจ วัฒนธรรม ประวั ติ แ ละผลงานพระครู สังกัด มหานิกาย อยูใ่ นเขตการปกครอง คณะสงฆ์ ต�าบลตรวจ อ�าเภอศรีณรงค์ กัลยาณธรรมโฆษ พระครูกลั ยาณธรรมโฆษ นามเดิม จังหวัดสุรินทร์ ภาค ๑๑ ตั้งอยู่ท่ีบ้าน ตรวจ หมู ่ ที่ ๑ ต� า บลตรวจ อ� า เภอ รุง่ กลฺยาโณ อายุ ๖๔ พรรษา ๓๙ วิทยฐานะ ศรีณรงค์ จังหวัดสุรนิ ทร์ มีเนือ้ ทีจ่ า� นวน นักธรรมชัน้ เอก ประกาศนียบัตรการบริหาร กิจการคณะสงฆ์ (ป.บส)พุทธศาสตรบัณฑิต ๑๓ ไร่ ๕๐ ตารางวา วัดโมฬีวงษา แห่งนี้ถือได้ว่า (ปริญญาตรี) สาขาวิชา การจัดการเชิงพุทธ เป็นวัดเก่าแก่ที่ส�าคัญสร้างมานานนับ และพุทธศาสตรมหาบัณฑิต (ปริญญาโท) ร้อยปีเศษ ตั้งแต่เริ่มตั้งหมู่บ้านใหม่ ๆ ส า ข า วิ ช า พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า จ า ก เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๒๓ โดยพ่อตาแสงและ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สังกัดวัดโมฬีวงษา ต�าบลตรวจ ชาวบ้านได้คิดริเริ่มสร้างวัดขึ้นมาเพื่อ เป็นทีพ่ งึ่ ทางด้านจิตใจของชาวบ้าน โดย อ�าเภอศรีณรงค์ จังหวัดสุรินทร์ ต�าแหน่ง ตั้งชื่อวัดนี้ว่า วัดบูรพาตะวันออก และ ทางการปกครองคณะสงฆ์ ปัจจุบันด�ารง ได้นมิ นต์พระอาจารย์นนท์ มาจ�าพรรษา ต�าแหน่งเป็น เจ้าอาวาสวัดโมฬีวงษา / รอง เป็นเจ้าอาวาสปกครององค์แรก ต่อมา เจ้าคณะอ�าเภอศรีณรงค์ / พระอุปัชฌาย์ พระครู กั ล ยาณธรรมโฆษ ได้ ภายหลั ง ได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ วั ด ใหม่ เ ป็ น วัดโมฬีวงษา ซึ่งวัดแห่งนี้ มีเจ้าอาวาส ปกครองสนองงานบริหารกิจการของทาง ปกครองมาตามล� า ดั บ ๑๒ รู ป คณะสงฆ์ด้วยความเรียบร้อยดีงามมาโดย รูปปัจจุบนั คือ พระครูกลั ยาณธรรมโฆษ ตลอด ได้ใช้หลักการที่เป็นหลักธรรมทาง วัดมีภูมิทัศน์สวยงาม สะอาด พระพุทธศาสนาในการปฏิบตั งิ านในหน้าที่ สงบ เป็นรมณียสถาน มีตน้ ไม้รม่ รืน่ เป็น และการด�าเนินชีวิตด้วยหลัก ๓ ประการ สั ป ปายะในการบ� า เพ็ ญ บุ ญ กุ ศ ลทาง คือ
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย 330
ปักหมุดวัดเมืองไทย
อุโบสถพระพุทธเมตตา
พระครูกัลยาณธรรมโฆษ เจ้าอาวาสวัดโมฬีวงษา รองเจ้าคณะอ�าเภอศรีณรงค์
พระพุทธโมฬีบารมีธรรม (ปางนาคปรก)
วิหารที่ประดิษฐานพระพุทธรูปเก่าแก่
๑. การครองตน โดยใช้หลัก ธรรมการพึ่ ง ตนเอง ขยั น หมั่ น เพี ย ร ประหยัดอดออม มีความรับผิดชอบต่อ หน้าที่การงาน ๒. การครองคน โดยใช้หลัก ธรรมสังคหวัตถุ ๔ คือ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และสมานัตตตา เป็นหลัก ปฏิบัติในการครองคน พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน ๓. การครองงาน โดยใช้หลัก ธรรม คือ อิทธิบาท ๔ ได้แก่ ฉันทะ วิรยิ ะ คนโบราณจึงให้ความเคารพนับถือ กราบไหว้ จิตตะ และวิมังสา ในการปฏิบัติงาน สักการะบูชา จึงถือได้ว่าเป็น รุกขมรดกโลก พระครูกัลยาณธรรมโฆษา ได้ ความเป็นมาของต้นโพธิโ์ มฬีบารมีธรรม ปกครองสนองงานบริหารกิจการของ อยู่ที่วัดโมฬีวงษา บ้านตรวจ หมู่ที่ ๑ ต�าบลตรวจ ทางคณะสงฆ์ด้วยความเรียบร้อยดีงาม อ� า เภอศรี ณ รงค์ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ มี อ ายุ นั บ ตลอดชีวิตได้ทุ่มเทท�างานเพื่อพระพุทธ หลายร้ อ ยปี ตั้ ง แต่ ช าวบ้ า นมาตั้ ง รกรากเป็ น ศาสนา พัฒนาสังคม ชุมชนมาโดยตลอด หมู่บ้านขึ้นมา และได้สร้างวัดต่อมา เมื่อปี พ.ศ. จึงถือได้วา่ เป็นพระสงฆ์อกี รูปหนึง่ ทีก่ า้ ว ๒๔๒๓ ก็พบเห็นต้นโพธิ์ต้นนี้เกิดอยู่ก่อนแล้ว จากดินสู่ดวงดาวเปล่งประกายจรัสแสง เป็นต้นโพธิ์ใหญ่เก่าแก่ที่ส�าคัญของวัดและชุมชน ได้อย่างน่าชื่นชมยินดี หมู่บ้านในอ�าเภอศรีณรงค์ เป็นที่ตั้งแห่งศรัทธา ของผูพ้ บเห็นทัว่ ไป มีความศักดิส์ ทิ ธิป์ รากฎให้คน ต้นโพธิ์โมฬีบารมีธรรม พบเห็นหลายครั้งตามค�าบอกเล่าของคนเฒ่าคน ต้นโพธิ์ เป็นต้นไม้ที่มีความ แก่ว่า ใครที่เข้ามาในวัดแล้วไปแสดงอาการไม่ เกี่ยวข้องผูกพันกับพระพุทธศาสนามา เคารพดูหมิ่นต้นโพธิ์ เช่น ปัสสาวะรดโคนต้นโพธิ์ ตั้ ง แต่ ดึ ก ด� า บรรพ์ ส มั ย ครั้ ง พุ ท ธกาล คนนั้ น ก็ จ ะเกิ ด อาการผิ ด ปกติ ต ามร่ า งกาย มี เพราะเป็นต้นไม้ทพี่ ระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ กากเกลื้อนปรากฏเกิดขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ เป็ น พระอนุ ต ระสั ม มาสั ม โพธิ ญ าณ นอนฝันร้าย คลุ้มคลั่งมีอาการเหมือนหวาดกลัว
เวียนเทียนวันวิสาขบูชา
ญาติ พี่ น ้ อ งต้ อ งพามาขอขมาลาโทษ อาการต่าง ๆ เหล่านั้นจึงหายไป นอก เหนือจากนั้นเวลาทางวัดและชาวบ้าน จะก่อสร้างอาคารภายในวัดแห่งนี ้ หรือ จัดกิจกรรมงานภายในวัดเฉลิมฉลอง ตลอดถึงงานส�าคัญต่าง ๆ ก็ต้องมีการ เซ่ น สั ง เวยบอกกล่ า วเจ้ า ที่ เ จ้ า ทาง รุกขเทวดาที่สิงสถิตในต้นโพธิ์ขอให้ปก ปักรักษาคุม้ ครองให้การด�าเนินงานต่าง ๆ ส�าเร็จลุล่วงด้วยดี ชาวบ้านบางคนที่ มี ศ รั ท ธาได้ ก ราบไหว้ ข อพรให้ ต น ประสบความสุขความเจริญ ประสบ ความส�าเร็จในชีวิต เหมือ นได้ อ าศั ย บารมีธรรมของต้นโพธิต์ น้ นีต้ ลอดมา จึง ได้ ตั้ ง ชื่ อ ต้ น โพธิ์ นี้ ว ่ า ต้ น โพธิ์ โ มฬี บารมีธรรม มาถึงปัจจุบัน
ต้นโพธิ์โมฬีบารมีธรรม ปักหมุดวัดเมืองไทย
331
วัดศรีสว่างโคกสะอาด ต� า บลสนม อ� า เภอสนม จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Sri Sawang Koksa-art
Sa Nom Subdistrict, Sa Nom District, Surin Province ประวัติวัดศรีสว่างโคกสะอาด
วัดศรีสว่างโคกสะอาด ตั้งอยู่ บ้านเลขที่ ๖๔ หมู่ที่ ๕ บ้านโคกสะอาด ต�าบลสนม อ�าเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ วัดศรีสว่างโคกสะอาด มีที่ดิน เฉพาะที่ตั้งวัด จ�านวน ๘ ไร่ ๑ งาน ๗๑ ตารางวา โฉนดที่ ดิ น เลขที่ ๒๑๐๗๔ ทีด่ นิ ทีเ่ ป็นธรณีสงฆ์ ๙๒ ตารางวา โฉนด ที่ดินเลขที่ ๒๐๙๕๒ โดยคุณพ่อเป้า ชัย ช่วย ถวาย ได้ตั้งเป็นวัดขึ้น ณ วันที่ ๑๐ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๔๖๒ โดยได้ตั้ง วัดก่อนพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๔๘๔ ได้ รั บ พระราชวิ สุ ง คามสี ม า
332
ปักหมุดวัดเมืองไทย
เมื่อวันที่ ๑๕ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ โดยมีความกว้าง ๑๕ เมตร ยาว ๓๐ เมตร วัดศรีสว่างโคกสะอาด ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น หน่ ว ยอบรม ประชาชนประจ�าต�าบลสนม ในปีพ.ศ. ๒๕๓๖ มีชื่อย่อเป็นทางการว่า อ.ป.ต. เป็ น หน่ ว ยเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนาใน ระดับต�าบลคณะสงฆ์ไทย ภายใต้การ ก� า กั บ ของมหาเถรสมาคม ปั จ จุ บั น มี กองพุทธศาสนศึกษา ส�านักงานพระพุทธ ศาสนาแห่งชาติ เป็นหน่วยงานหลัก โดยมีวัตถุประสงค์ให้พระสงฆ์ เป็นผูน้ า� ในการเผยแพร่พระพุทธศาสนา
โดยใช้ วั ด เป็ น ศู น ย์ ก ลางในการจั ด กิ จ กรรมต่ า ง ๆ ของชุ ม ชน เพื่ อ ช่ ว ย ประชาชนให้สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ตามสมควรในด้านต่าง ๆ ตามกรอบ การด�าเนินงานที่ก�าหนดไว้ ๘ ด้าน คือ ศีลธรรมและวัฒนธรรม, สุขภาพอนามัย, สั ม มาชี , สั น ติ สุ ข , ศึ ก ษาสงเคราะห์ , สาธารณสงเคราะห์, กตัญญูกตเวทิตา ธรรมและสามัคคีธรรม ปัจจุบันวัดศรีสว่างโคกสะอาด ในฐานะเป็นที่ตั้งหน่วยอบรมประชาชน ประจ�าต�าบลสนม ก็ได้สนองงานด้วยการ ด�าเนินงานของหน่วยอบรมประชาชน
ประจ�าต�าบลในกิจกรรมทัง้ ๘ ด้าน ต่อเนือ่ ง กันมาทุกปีตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ จนถึง ปั จ จุ บั น ด้ ว ยการร่ ว มมื อ กั บ คณะสงฆ์ หน่วยงานราชการ, สถานศึกษา, องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น, องค์กรภาคเอกชน, ก�านัน, ผู้ใหญ่บ้าน, และองค์กรเครือข่าย ของชาวพุทธ โดยมีกรรมการผู้เสียสละซึ่ง ประกอบไปด้วย กรรมการโดยต�าแหน่ง ซึ่ง ก็มีทั้งฝ่ายพุทธจักร และฝ่ายอาณาจักร รายนามเจ้าอาวาสวัดรูปแรก - รูปปัจจุบัน ๑. พระอาจารย์ค�ามี (ไม่ทราบฉายา) ๒๔๖๔ - ๒๔๗๖ ๒. พระอาจารย์สุข ภาสิริ ๒๔๗๖ - ๒๔๗๘ ๓. พระอาจารย์พรหมมี สิริจนฺโท ๒๔๗๘ - ๒๔๘๐ ๔. พระอธิการทน นวโก ๒๔๘๐ - ๒๔๘๙ ๕. พระอาจารย์น้อย (ไม่ทราบฉายา) ๒๔๘๙ - ๒๕๐๓ ๖. พระอาจารย์ค�า ชินปุตฺโต ๒๕๐๓ - ๒๕๑๒ ๗. พระอธิการบุญทอง ยโสธโร ๒๕๑๒ - ๒๕๓๐ ๘. พระอธิการทูลสวัสดิ์ ญาณวโร ๒๕๓๐ -๒๕๓๔ ๙. พระครูประทีปธรรมวงศ์ ๒๕๓๕ – ปจั จุบนั พระครูประทีปธรรมวงศ์ อายุ ๖๒ พรรษา ๓๙ วิทยฐานะ นักธรรมชั้นเอก ครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสวัดศรีสว่างโคกสะอาด / เจ้าคณะอ�าเภอสนม ต�าบลสนม อ�าเภอ สนม จังหวัดสุรินทร์
พระครูประทีปธรรมวงศ์
เจ้าคณะอ�าเภอสนม เจ้าอาวาสวัดศรีสว่างโคกสะอาด
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
333
วัดโพธาราม
เทศบาลต� า บลสั ง ขะ อ� า เภอสั ง ขะ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Photharam
Sangkha Subdistrict Municipality, Sangkha District, Surin Province ประวัติความเป็นมา วัดโพธาราม ตัง้ อยูเ่ ลขที ่ ๒๔๑ เทศบาลต�าบลสังขะ อ�าเภอสังขะ จังหวัด สุ ริ น ทร์ มี น ามเดิ ม ว่ า วั ด โพธารามหั ว สะพานบ้ า นขวาว สร้ า งเมื่ อ วั น ที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ.๒๓๓๔ ต่อมาในราวปี พ.ศ.๒๔๗๙ พระอธิการเอียน โอภาโส เจ้าอาวาสในขณะนั้น ได้ท�าหนังสือแจ้งต่อเจ้าคณะ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ข อตั ด ชื่ อ หั ว สะพานบ้ า นขวาวออกให้ ค งเหลื อ ชื่ อ ไว้ เ พี ย ง วัดโพธาราม มาจนถึงทุกวันนี้ ผู ้ ส ร้ า งวั ด โพธาราม คือ คุณยายหว้า ไม่ทราบนามสกุล ซึ่งเป็น พระมารดาของ พระอนันต์เป็นผู้สร้าง โดยในวันปฐมฤกษ์ได้ปลูกต้นโพธิ์เงิน โพธิท์ อง อย่างละหนึง่ ต้น ปัจจุบนั นีค้ งเหลือแต่ตน้ โพธิท์ องซึง่ อยูต่ ดิ กับส�านักงาน คณะสงฆ์อ�าเภอสังขะในปัจจุบัน ส่วนต้นโพธิ์เงิน พระครูสังฆพงษ์พิสุทธิ์ (หลวงพ่ออ๊อม ธมฺมโิ ก) เจ้าคณะอ�าเภอสังขะองค์ปฐม เจ้าอาวาสวัดปราสาทบ้าน จารย์ ได้ตัดออกเพื่อใช้พื้นที่สร้างอุโบสถที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้ ส่วนต้นโพธิ์ที่อยู่ ด้านเหนือโรงอุโบสถในปัจจุบันนั้นเดิมอยู่นอกวัดซึ่งเป็นนาของ โยมยายสบง กรองทอง ต่อมานายเอียน สาลีโภชน์ ก�านันต�าบลสังขะ ไวยาวัจกรของวัด โพธารามในขณะนั้น ได้ขอแลกเปลี่ยนที่ดินกับคุณโยมยายสบง กรองทอง ซึ่ง กล่าวข้างต้นนัน้ ต้นโพธิท์ เี่ ห็นอยูด่ า้ นเหนือในปัจจุบนั จึงเข้ามาอยูใ่ นเขตทีด่ นิ วัด โพธารามจนถึงปัจจุบัน
334
ปักหมุดวัดเมืองไทย
กระทั่งปี พ.ศ.๒๔๗๕ - ๒๔๘๑ พระอธิการเอียน โอภาโส ซึ่งเดินทางกลับ จากการไปศึ ก ษาพระธรรมวิ นั ย ที่ ใ น ตัวเมืองสุรินทร์ จนสอบได้นักธรรมชั้นโท มาเป็นเจ้าอาวาสและได้ดา� เนินการพัฒนา วั ด โพธารามอย่ า งต่ อ เนื่ อ งจนสามารถ ก่ อ สร้ า งอุ โ บสถส� า เร็ จ และได้ ข อ พระราชทานวิสงุ คามสีมาในปี พ.ศ.๒๔๘๐ ต่ อ มาพระอธิ ก ารเอี ย น สละสมณเพศ ลงการพัฒนาวัดและศาสนวัตถุภายในวัด โพธารามก็หยุดไปด้วย
ในปี พ.ศ.๒๕๐๔ โดยการน�าของนายเอียน สาลีโภชน์ ก�านันต�าบลสังขะ กับนายศก ร่วมบุญ สารวัตรก�านันต�าบลสังขะ พร้อมอุบาสกอุบาสิกา จ�านวนหนึง่ ของวัดโพธาราม เดินทางไปขอพระภิกษุ เพื่อมาอยู่จ�าพรรษาและเป็นเจ้าอาวาสวัดโพธาราม กับพระครูสังขปุรารักษ์ (ประณต นตฺตโร) เจ้าอาวาส วั ด สุ ว ร ร ณ รั ต น ์ โ พ ธิ ย า ร า ม ต� า บ ล ล� า ด ว น
เจ้าคณะอ�าเภอสังขะในสมัยนัน้ ซึง่ ท่านได้มอบหมาย ให้ ห ลวงตาปลั่ ง สุ จิ ณฺ โ ณ กั บ คณะเดิ น ทางมา จ�าพรรษาตามค�าอาราธนา ต่อมาหลวงตาปลัง่ ได้รบั การแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดโพธาราม และด�ารง ต� า แหน่ ง เจ้ า คณะต� า บลสั ง ขะอี ก ต� า แหน่ ง หนึ่ ง เป็นพระอุปัชฌาย์ต�าบลสังขะ ด�ารงต�าแหน่งอยู่ ๘ ปี กระทั่งอาพาธจึงเดินทางกลับไปยังภูมิล�าเนาเดิม จนกระทั่งมรณภาพในปีถัดมา ต่อมาก�านันศก ร่วมบุญ ก�านันต�าบลสังขะ พร้อมด้วยคณะเดินทางไปขอพระภิกษุเพื่อมาด�ารง ต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดโพธารามกับ เจ้าคุณพระสิทธิ การโกศล เจ้าอาวาสวัดกลางสุรนิ ทร์ เจ้าคณะจังหวัด สุรินทร์ ซึ่งท่านได้มอบหมายให้พระมหาสมศักดิ์ ป.ธ.๕ วัดกลางสุรินทร์เดินทางมาด�ารงต�าแหน่ง เจ้ า อาวาสวั ด โพธาราม และด� า รงต� า แหน่ ง รองเจ้ า คณะอ� า เภอสั ง ขะอี ก ต� า แหน่ ง หนึ่ ง เมื่อท่านพระมหาสมศักดิ์ได้สละสมณเพศลงทางเจ้า คณะอ�าเภอสังขะ จึงแต่งตั้งให้พระอาจารย์พยัคฆ์ จารุวณฺโณ (จันทร์พลี) ขึ้นด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส วัดโพธารามแทน
ภายหลังมีคณะพระสงฆ์น�าโดย เจ้าอธิการพรหม กนฺตสีโล เจ้าคณะต�าบลขอนแตก อ�าเภอสังขะในขณะนั้น (ปัจจุบันได้สละ สมณเพศแล้ว) พระอธิการลุน สุภาจาโร ในสมัยนั้น ปัจจุบันคือ พระครูธรรมรัตนาภิรมย์ เจ้าคณะต�าบลพระแก้ว และเจ้าอาวาสวัด ธรรมรั ต น์ โ พธาราม พระอธิ ก ารละมั ย จนฺ ท โร ปั จ จุ บั น คื อ พระครู จั น ทธรรมานุ โ ยค เจ้ า อาวาสวั ด จั น ทธรรมาราม (ป่ า ช้ า โคกตาเขียว) และอุบาสกอุบาสิกา ภายใต้การน�าของ "แม่สุพรรณ ประดั บ สุ ข " และ คณะได้ พ ร้ อ มใจกั น เดิ น ทางไปอาราธนา พระโกสุม ติกฺขวีโร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดมูลจินดาราม ต�าบลบึงยี่โถ อ�าเภอธัญบุร ี จังหวัดปทุมธานี กับหลวงพ่อพระครูธญ ั ญเขตคณารักษ์ เจ้าอาวาสวัดมูลจินดาราม เจ้าคณะอ�าเภอธัญบุรี ในสมัยนั้น ปัจจุบัน คือ พระเทพวุฒาจารย์ เจ้าคณะจังหวัดปทุมธานีมาเป็น เจ้าอาวาสวัด โพธาราม ต่อมาท่านได้รบั การแต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาสวัดโพธาราม เป็น ทางการเมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๖ และได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้า คณะอ�าเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ล�าดับที่ ๕ ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ จนถึงปัจจุบัน
ต�าแหน่งปัจจุบัน เจ้าคณะอ�าเภอสังขะเจ้าอาวาสวัดโพธาราม และผู้จัดการ โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกสามัญวัดโพธารามเทศบาลต�าบลสังขะ อ�าเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
335
วัดวังปลัดสามัคคี
ต� า บลทั บ ทั น อ� า เภอสั ง ขะ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Wangpalad Samakkee
Thub Thun Subdistrict, Sang Kha District, Surin Province ประวัติวัดวังปลัดสามัคคี
วัดวังปลัดสามัคคี เลขที่ ๘๑ หมู่ที่ ๘ บ้านวังปลัด ต�าบลทับทัน อ�าเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๑ (เดิมชือ่ วัดใหม่สามัคคีธรรม) โดยได้รบั บริจาคทีด่ นิ จ�านวน ๖ ไร่ จากนายป้อม ค�าดี ๒ ไร่, นายแก้ว วิเศษชาติ ๒ ไร่, นายนัด ผมน้อย ๒ ไร่ และได้จัดหางบประมาณซื้อที่ดิน เพิ่มเติม จ�านวน ๑๕ ไร่ ๑ งาน ๘๐ ตรว. ปัจจุบันวัดมีที่ดิน รวมเป็นจ�านวน ๒๑ ไร่ ๑ งาน ๘๐ ตรว. เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๗ ได้ รับอนุญาตสร้างวัดในพระพุทธศาสนา พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้รับ อนุ ญ าตจั ด ตั้ ง วั ด ในพระพุ ท ธศาสนา พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้ รั บ พระราชทานวิสุงคามสีมา พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้ด�าเนินการจัดงาน ผูกพัทธสีมา ปิดทอง ฝังลูกนิมิต - ได้รับประกาศเป็นส�านักปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัดสุรินทร์ แห่งที่ ๕ - เป็นศูนย์วัฒนธรรมไทยสายใยชุมชนต�าบลทับทัน - เป็นศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ - เป็นส�านักเรียนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม - เป็นศูนย์ปฏิบัติธรรมประจ�าต�าบลทับทัน พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้รับการคัดเลือกเป็น อุทยานการศึกษาภาย ในวัด พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับการคัดเลือกเป็น วัดพัฒนาตัวอย่าง
กิจกรรมประจ�าปี
วัดวังปลัดสามัคคี ได้จัดโครงการปฏิบัติธรรม เช่น มีนาคม โครงการปฏิบัติธรรมวันมาฆบูชา เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เมษายน โครงการบรรพชา อุ ป สมบทพระภิ ก ษุ ส ามเณรภาคฤดู ร ้ อ นทุ ก ปี พฤษภาคม โครงการปฏิบัติธรรมวันวิสาขบูชา เฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ กรกฎาคม โครงการเข้าวัดปฏิบัติธรรม วัดอุโบสถศีลเฉลิมพระเกียรติ ฯ สิงหาคม โครงการเข้าวัดปฏิบตั ิ ธรรมวั น แม่ เ ฉลิ ม พระเกี ย รติ สมเด็ จ พระนางเจ้ า พระบรม ราชินนี าถ กันยายน โครงการปฏิบตั ธิ รรมครอบครัวอบอุน่ ด้วย พระธรรม เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย 336
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประวัติเจ้าอาวาส
ชื่อ พระครูโกศลสมาธิวัตร ฉายา ปญฺญาธโร (จ�าปี บุตรเงิน) อายุ ๕๓ พรรษา ๓๓ วิทยฐานะ นักธรรมชั้นเอก,ประกาศนียบัตรบัณฑิต วิชาชีพครู, พุทธศาสนบัณฑิต (พธ.บ.), ศาสนศาสตรมหาบัณฑิต(ศศ.ม.), ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่ง ๑. เจ้าอาวาสวัดวังปลัดสามัคคี ๒. รองเจ้าคณะต�าบลทับทัน ๓. เจ้าส�านักปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัดสุรินทร์ แห่งที่ ๕ ๔. เลขานุการเจ้าคณะอ�าเภอสังขะ บรรพชาอุปสมบท วันที่ ๑๙ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๒ ณ วัดกลางสังขะ ต�าบลสังขะ อ�าเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ พระอุปัชฌาย์ : พระครูกัลยาณสังฆกิจ (ลอย กลฺยาโณ) พ.ศ. ๒๕๓๔ สอบไล่ได้นักธรรม ชั้นเอก ส�านักศาสนศึกษาวัดโมฬีวงษา ต�าบลตรวจ อ�าเภอสังขะ จังหวัด สุรินทร์ ส�านักเรียนคณะจังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. ๒๕๕๒ ส�าเร็จการศึกษาพุทธศาสตรบัณฑิต (พระพุทธศาสนา) จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์
พระครูโกศลสมาธิวัตร
เจ้าอาวาสวัดวังปลัดสามัคคี รองเจ้าคณะต�าบลทับทัน เลขานุการเจ้าคณะอ�าเภอสังขะ พ.ศ. ๒๕๕๓ ส�าเร็จการศึกษาศาสนศาสตร มหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์การปกครอง) จาก มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขต ร้อยเอ็ด ศูนย์การศึกษาศรีสะเกษ พ . ศ . ๒ ๕ ๕ ๔ ส� า เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น ประกาศนี ย บั ต รบั ณ ฑิ ต วิ ช าชี พ ครู จาก มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์
สมณศักดิ์และรางวัลเกียรติคุณ ที่ได้รับ
พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้รบั พระราชทานเสา เสมาธรรมจั ก ร จากสมเด็ จ พระเทพรั ต น ราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ด้านผู้บ�าเพ็ญ ประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา ประเภท ส่งเสริมการปฏิบัติธรรม พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับพระราชทานเสาอโศก ผู้บ�าเพ็ญคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา จากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ สมณศักดิ์ พ.ศ.๒๕๕๔ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นโท วิปัสสนาธุระ ในราชทินนามที่ พระครูโกศลสมาธิวัตร (จร.ชท.วิ) พ.ศ.๒๕๖๒ ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระครูเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชั้นเอก วิปัสสนาธุระ ในราชทินนามเดิม พระครูโกศลสมาธิวัตร (จร.ชอ.วิ) สามารถติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ ๐๘๙-๔๒๖-๕๕๗๒ หรือ ๐๙๔-๖๔๑-๑๕๖๑ ปักหมุดวัดเมืองไทย
337
วัดทุ่งนาศรีธาราม ต� า บลสะกาด อ� า เภอสั ง ขะ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Thung Na Si Tharam
Sakad Subdistrict, Sang kha District, Surin Province
338
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดทุ่งนาศรีธาราม ตั้งอยู่หมู่ที่ ๑๔ ต�าบลสะกาด อ�าเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดทุ่งนาศรีธาราม ตั้งเมื่อ พ.ศ.๒๔๘๓ มีพื้นที่ทั้งหมด ๕ ไร่ ๒ งาน ๔๘ โดยมีพระตุลย์ จนฺทว�โส ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสวัดทุ่งนาศรีธาราม ความเป็นมาของอุโบสถ อุโบสถวัดทุ่งนาศรีธาราม เริ่มสร้าง เมื่อวันที่ ๔ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕ และ วางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ ๒๒ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๕ เวลา ๐๙.๐๙ น. โดยมีพระครู พิ ทั ก ษ์ สั ง ฆกิ จ เจ้ า คณะอ� า เภอสั ง ขะ เป็ น ประธานในพิธี
พระตุลย์ จนฺทวํโส เจ้าอาวาสวัดทุ่งนาศรีธาราม
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
339
วัดป่าพรหมจักร ต� า บลขอนแตก อ� า เภอสั ง ขะ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Pa Prommajak
Khon Tak Subdistrict, Sang Ka District, Surin Province วัดป่าพรหมจักร ตั้งอยู่เลขที่ ๑๕๙ หมู่ที่ ๑๗ บ้านขอนทองพัฒนา ต�าบลขอนแตก อ�าเภอสังขะ จังหวัดสุรนิ ทร์ ๓๒๑๕๐ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ผู้ใหญ่สมเจตน์ ด�าริเลิศ ได้ถวายที่ดิน จ�านวน ๖ ไร่ ๑ งาน ๑๗ ตารางวา ให้สร้างวัดและได้นมิ นต์หลวงปูบ่ ญ ุ มา เดชปญฺโญ จาก อ�าเภอศรีณรงค์ จังหวัดสุรินทร์ มาจ�าพรรษาเพื่อด�าเนินการสร้างวัด เพื่อให้ ชาวบ้านขอนทองพัฒนาได้เข้ามาท�าบุญ และได้รบั ความอุปถัมภ์ในการด�าเนิน การสร้างวัดจาก พระมหาชาฏิรฐั สิรเิ สฏโฐ จนเป็นสถานทีเ่ หมาะแก่การท�าบุญ และปฏิบัติธรรม โดยมีผู้น�าชุมชนที่ได้ร่วมมือร่วมแรงกับด�าเนินการสร้าง วัดป่าพรหมจักร ซึ่งมีเรื่องราวดังนี้ คุณพ่อธรรมซ้อม บุตรทอง ท่าน เป็นผูอ้ าวุโสในหมูบ่ า้ น และท่านเป็นคนถือศีลถือธรรม เป็นผูช้ กั น�าชาวบ้านใน การสร้างวัด ท่านได้ฝนั เห็นเทวดาพระภูมเิ จ้าที ่ ครอบครัวหนึง่ มีดว้ ยกันทัง้ หมด ๓ คน พ่อชือ่ พรหมจักร แม่ชอื่ พลอย ลูกสาวชือ่ ศรรัตน์ พายเรือมาจากหนองไผ่ มาขออาศัยอยู่ในวัดป่า ท่านมาเพื่อที่จะช่วยสร้างวัดให้มีความเจริญ และ รุ่งเรืองตลอดไป และปกปักษ์รักษาคุ้มครองให้ลูกให้หลานอยู่เย็นเป็นสุข ใคร ขออะไรก็ได้ดังใจปรารถนา พอรุ่งเช้าคุณพ่อธรรมซ้อม บุตรทอง ก็ได้น�าข่าว มาบอกผู้ใหญ่ ประกาศให้ช่วยกันไปสร้างศาลตามที่ได้ตกลงไว้ เพื่อความเป็น สิริมงคล ตามความเชื่อของชาวบ้าน จึงได้ตั้งชื่อว่า วัดป่าพรหมจักร
340
ปักหมุดวัดเมืองไทย
อาคารเสนาสนะ - อุโบสถวัดป่าพรหมจักร (ก�าลังด�าเนินการขอวิสุงคามสีมา) - ศาลาการเปรียญ - กุฏิสงฆ์ - ลานธรรม (ลานจัดปริวาสกรรม ประจ�าปี) - กุฏิรับรองสงฆ์ - ห้องน�้าลายขอนไม้ รายนามเจ้าอาวาสตั้งแต่รูปแรกจนถึงปัจจุบัน ล�าดับเจ้าอาวาสและรักษาการเจ้าอาวาส ดังนี้ รูปที่ ๑ หลวงปู่บุญมา เตชปัญโญ พ.ศ. ๒๕๕๔ รูปที่ ๒ พระสมุห์ณภสิช พุทธิสาโร พ.ศ. ๒๕๕๕ – ปัจจุบนั
พระสมุห์ณภสิช พุทฺสาโร เจ้าอาวาสวัดป่าพรหมจักร
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
341
วัดศรีหนองปลาขาว
ต� า บลขอนแตก อ� า เภอสั ง ขะ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Sri Nong Pla Khao Temple
Khon Tae Subdistrict, Sangkha District, Surin Province
พระครูสิริจันทพิมล อดีตเจ้าคณะต�าบลขอนแตก 342
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประวัติความเป็นมา วั ด ศรี ห นองปลาขาว ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ ๙๙ หมู ่ ที่ ๙ บ้านหนองปลาขาว ต�าบลขอนแตก อ�าเภอสังขะ จังหวัดสุรนิ ทร์ ๓๒๑๕๐ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีทดี่ นิ ทีต่ งั้ วัด จ�านวน ๙ ไร่ ๒ งาน ๙๖ ตารางวา ทิศเหนือ ติดต่อกับถนนสาธารณะ ทิศ ตะวันออก ติดต่อกับที่ชาวบ้าน ทิศใต้ ติดต่อกับถนนสาธารณะ ทิศตะวันตก ติดต่อกับถนนสาธารณะ โดยมีนายนาค กล้าจริง ซึง่ เป็นผูใ้ หญ่บา้ น พร้อมผูน้ า� ชุมชนและชาวบ้านหนองปลาขาว ได้รวบรวมปัจจัย เพื่อซื้อที่ดินจาก นายโสม ทองเบื้อง จ�านวน ๙ ไร่ ๒ งาน ๙๖ ตารางวา เพื่อสร้างวัด เมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๓ ชาวบ้านได้นิมนต์ หลวงพ่อปุ้ ซึ่งท่านมาจากวัดแจ้งนานวน ต�าบลนานวน อ�าเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ ได้ชักชวนหัวหน้า หมู่บ้านและชาวบ้านให้ช่วยกันสร้างวัดขึ้น มีจ�านวน ๑๑ ท่าน ดังนี้
๑. นายค�า ๒. นายจันทร์ ๓. นายดา ๔. นายเกียง ๕. นายวงค์ ๖. นายนัด ๗. นายเหลา ๘. นายมี ๙. นายมี ๑๐. นายคาน ๑๑. นายบอน
ระยับศรี พุทธานุ จันทร์สมุทร ศรีจันทร์ แปลงทับ กล้าจริง ร่วมสนุก ชัยสุวรรณ บุญหนัก บุญหนัก บุญเจาะ
ล�าดับเจ้าอาวาสและรักษาการเจ้าอาวาส ดังนี้ รูปที ่ ๑ พ.ศ. ๒๕๑๓ หลวงพ่อปุ้ รูปที ่ ๒ พ.ศ. ๒๕๑๕ หลวงพ่อโต๊ะ รูปที ่ ๓ พ.ศ. ๒๕๑๖ หลวงพ่อปิน่ รูปที ่ ๔ พ.ศ. ๒๕๑๗ หลวงพ่อโท กิตตฺ โิ ก รูปที ่ ๕ พ.ศ. ๒๕๒๒ หลวงพ่อเปลีย่ น จันทฺ โชโต รูปที ่ ๖ พ.ศ. ๒๕๒๘ พระเขือ่ น รูปที ่ ๗ พ.ศ. ๒๕๓๕ - ๒๕๖๓ พระครูสริ จิ นั ทพิมล เจ้าคณะต�าบลขอนแตก รูปที ่ ๘ พ.ศ. ๒๕๖๓ - ปัจจุบนั พระอาจารย์วรัญญู จารุธมฺโม รักษาการเจ้าอาวาส
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย
ปักหมุดวัดเมืองไทย
343
วัดสามัคคีศรีบูรพา (ขอนแตก) ต� า บลขอนแตก อ� า เภอสั ง ขะ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Samakkhi Si Burapha ( Khon Taek )
Khon Taek Subdistrict, Sangkha District, Surin Province
พระค�ำทอง ปภสฺสโร เครือธัญญำ เจ้ำอำวำสวัดสำมัคคีศรีบูรพำ (ขอนแตก) 344
ปักหมุดวัดเมืองไทย
วัดสามัคคีศรีบูรพา (ขอนแตก) ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๑ ต�าบลขอน แตก อ�าเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วั ด สามั ค คี ศ รี บู ร พา (ขอนแตก) ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ. ๒๓๗๖ วัดเดิมชือ่ วัดขอนแตก เป็นวันทีเ่ ก่าแก่มากในเขตอ�าเภอสังขะได้สร้าง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๐ เดิมขึ้นกับต�าบลสังขะ อ�าเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ได้รบั อนุญาตสร้างโบสถ์ วิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที ่ ๖ กรกฎาคม ๒๔๙๒ สมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกฯ ต่อมาได้ตั้งชื่อ วัดสามัคคีบูรพา (ขอนแตก) สามัคคี คือ ชุมชน ได้พร้อมใจกันสร้างพัฒนาให้ดีขึ้นมาได้ช่วยกันสร้างหลาย ๆ คนด้วยความสามัคคีกนั หลายหมูบ่ า้ นมาช่วยกันสมัยนัน้ มีหมูท่ ี่ ๑๔ บ้านไทยสามัคคี และหลาย ๆ หมู่บ้านในสมัยนั้น สวนศรีบูรพา คือ มีศรีสง่างาม บูรพา คือทิศตะวันออก ของหมู่บ้านขอนแตก แต่ก่อน ขอนแตก หมูท่ ี่ ๙ ต�าบลสังขะ ต่อมาได้แยกต�าบลขอนแตก เป็นหมูท่ ี่ ๑ ของขอนแตก แยกออกจากต�าบลสังขะ มีเนื้อที่ ๑๔ ไร่ มีศาลา การเปรียญ ๑ หลัง มีโบสถ์ ๑ หลัง มีโรงเรือนชั่วคราว ๑ หลัง
มีกฏุ ิ ๗ หลัง มีหอ้ งน�า้ ๒๕ ห้อง มีพระพุทธรูปองค์ใหญ่ ๑ องค์ มีหลวงพ่อ พระพุทธชินราช ในโบสถ์หน้าตัก ๙๙ นิ้ว ๑ องค์ใหญ่ที่สุดในเขต อ�าเภอสังขะ และปางหลายองค์ในบริเวณรอบโบสถ์ มีสระน�้า ๑ บ่อ มีโรงครัว ๑ หลัง ได้มกี ารพัฒนามาเรือ่ ย ๆ และมีพระพุทธรูปโบราณ ๑ องค์ได้ขึ้นทะเบียนกับกรมศิลปากร โบราณวัตถุแล้วเป็นปางพระ มารพิชัยขึ้นทะเบียนกับศิลปวัตถุโบราณ
ประวัติล�ำดับเจ้ำอำวำส ๑. หลวงพ่อ เรือน พ.ศ. ๒๔๘๘ - ๒๔๙๓ ๒. หลวงพ่อ ทองสุข มั่งคั่ง (อดีตเคยเป็นผู้ใหญ่บ้าน ขอนแตก หมู่ที่ ๑) พ.ศ. ๒๔๙๕ - ๒๕๐๐ ๓. หลวงพ่อศีร บุญเจริญ พ.ศ. ๒๕๐๒ - ๒๕๐๕ ๔. หลวงพ่อ เฮือง ปัตทาศีร พ.ศ. ๒๕๐๗ - ๒๕๑๐ ๕. หลวงพ่อ สน บุญอุ่น พ.ศ. ๒๕๑๒ - ๒๕๑๔ ๖. หลวงพี่ ตุลา บุญเจริญ พ.ศ. ๒๕๑๕ - ๒๕๑๗ ๗. พระอาจารย์แลง เตชธมฺโม วัตถุมา พ.ศ. ๒๕๑๘ – ๒๕๒๐ ๘. หลวงพ่อพันธ์ สุภฺสธมฺโม มณีรัตน์ พ.ศ. ๒๕๒๑ - ๒๕๒๖ ๙. พระค�าทอง ปภสฺสโร เครือธัญญา (พระครูประภัศร์จริยาภรณ์) องค์ปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๖๒ ปัจจุบันรักษาการ จ.ต ขอนแตก
ประวัติเข้ำอำวำสองค์ปัจจุบัน เดิมชื่อ ค�าทอง (ปั่น) เครือธัญญา เกิด ๑๐ ม.ค. ๒๕๐๑ วันพฤหัสบดี - จบ ป.๔ สมัยก่อน อุปสมบถ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๒๓ - นักธ.ม เอก ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ จบการอบรมพระวิปัสสนาจารย์ ศูนย์ วิปัสสนาเคลื่อนที่แห่งประเทศไทย วัดสุวรรณประสิทธิ์ - บึ่งกุ่ม ศูนย์ ก.ท.ม. รุ่นที่ ๑๑ จบการอบรมพระธรรมทาธาตวัดชล ประทานรังสฤษดิ์ ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ - จบการอบรมพระนักเผยแผ่จากวัดคีรีวงศ์ จังหวัดนครสวรรค์ - จบการอบรมพระธรรมฑูตของอ�าเภอ จากวัดปากน�้าภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร - ได้รบั การแต่งตัง้ พระครูสญ ั ญาบัตรพัดยศ พระครูประภัศรจริยาภรณ์ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๓ ได้จบการศึกษา ป.บส. คณะสงฆ์ จากมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัยสุรินทร์ - ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ จบปริญญาตรี สาขารัฐศาสตร์ เอกการเมืองการ ปกครอง จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์วิทยาลัยสุรินทร์ - ปัจจุบันก�าลังศึกษาปริญญาโท สาขาเชิงพระพุทธศาสนา ปี ๔ และ ได้รับรักษาการเจ้าคณะต�าบลขอนแตก
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
345
วัดเก่าหลวงอาสน์
ต� า บลหนองฮะ อ� า เภอส� า โรงทาบ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Kao Luang Art
Nong Ha Subdistrict, Samrong Thap District, Surin Province
พระใบฎีกาเสิน วณฺณธโร เจ้าอาวาสวัดเก่าหลวงอาสน์
ประวัติความเป็นมา เมื่อปี พ.ศ.๒๔๖๗ โดยผู้น�ำในกำรก่อตั้งคือ คุณพ่อบุญมำ สิงห์จำนุสงค์ คุณพ่อสิงห์ บุญโต และคุณพ่อจุ้ย ศรีโกตะเพชร หลังจำกที่ท่ำนได้น�ำครอบครัวอพยพมำจำกบ้ำนหนองฮะ ด้วยถือ เป็นพุทธศำสนิกชนโดยก�ำเนิดจึงได้พำกันก่อตั้งวัดเพื่อเป็นสถำนที่ ยึดเหนีย่ วจิตใจ โดยได้ถอื เอำทีโ่ นนหนองแวง หรือ ทีว่ ดั เก่ำหลวงอำสน์ ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นบริเวณบ้ำนเก่ำหลวงอำสน์เดิม อันมีต้นโพธิ์ใหญ่ ๓ ต้น เป็นที่ตั้งวัดและได้ร่วมกันสร้ำงสิมมีพระพุทธรูปปูนปั้น
346
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประดิ ษ ฐำนไว้ ภ ำยในสิ ม นั้ น และได้ นิ ม นต์ หลวงปู ่ ศ รี มำเป็ น เนื้ อ นำบุ ญ จ� ำ พรรษำ ณ วัดแห่งนี้ แต่ด้วยกำรเกิดภำวะข้ำวยำก หมำกแพง ต้องแสวงหำทีท่ ำ� กิน จึงท�ำให้เกิดกำร ย้ำยทีอ่ ยูท่ อี่ ำศัยอยูบ่ อ่ ยครัง้ วัดเก่ำหลวงอำสน์ ซึ่ ง ต้ อ งอำศั ย พุ ท ธศำสนิ ก ชนเป็ น ผู ้ บ� ำ รุ ง บูรณปฏิสังขรณ์ ประชำชนก็ต้องหำเช้ำกินค�่ำ แสวงหำที่อยู่ใหม่ ไม่มีเวลำบ�ำรุงวัดวำอำรำม วัดเก่ำหลวงอำสน์จึงร้ำงในที่สุด เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๙ หลวงปู่พระครู ธรรมขันธ์วุฒิคุณ (บุบผำ) ที่ปรึกษำเจ้ำคณะ ต� ำ บลศรี สุ ข และเจ้ ำ อำวำสวั ด ธรรมขั น ธ์ บ้ำนขอนแก่น ต�ำบลหนองฮะ อ�ำเภอส�ำโรงทำบ จังหวัดสุรินทร์ ได้น�ำพำพุทธศำสนิกชนชำว บ้ำนหนองผ�ำ และ ชำวบ้ำนขอนแก่น ร่วมกัน บู ร ณะสิ ม วั ด เก่ ำ หลวงอำสน์ ซึ่ ง เป็ น วั ด ร้ ำ ง พร้อมกับพำกันสร้ำงอำคำรเสนำสนะต่ำง ๆ มำตำมล�ำดับ
เดิมวัดเก่ำหลวงอำสน์มีเนื้อที่ ๓ ไร่ ๓ งำน ๖๓ ตำรำงวำ
วัดเก่าหลวงอาสน์ในปัจจุบัน วัดเก่ำหลวงอำสน์ ตั้งอยู่บ้ำนหนองผ�ำ หมู่ ๘ ต�ำบล หนองฮะ อ�ำเภอส�ำโรงทำบ จังหวัดสุรินทร์ สังกัดคณะสงฆ์ มหำนิ ก ำย ได้ รั บ กำรยกจำกวั ด ร้ ำ งเป็ น วั ด มี พ ระภิ ก ษุ จ�ำพรรษำ เมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนำยน พ.ศ. ๒๕๕๓ และได้รับ พระรำชทำนวิสงุ คำมสีมำ เมือ่ วันที ่ ๒๑ มกรำคม พ.ศ. ๒๕๕๔ มีเนื้อที่ ๖ ไร่ ๑ งำน วัดเก่ำหลวงอำสน์ได้รับกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง มี พระศรีรัตนโมลี (สมคิด สุรเตโช ป.ธ.๙) เจ้ำอำวำสวัดประดู่ ฉิมพลี กรุงเทพมหำนคร และ พระมหำบุญชอบ ปุญฺญสำทโร ป.ธ.๖ รองเจ้ ำ คณะอ� ำ เภอส� ำ โรงทำบ ซึ่ ง มี ถิ่ น ก� ำ เนิ ด บ้ำนหนองผ�ำโดยตรง พร้อมคณะศรัทธำจำกกรุงเทพมหำนคร และชำวบ้ำนให้ควำมอุปถัมภ์เป็นอย่ำงดี ปัจจุบันมี พระใบฎีกำเสิน วณฺณธโร เป็นเจ้ำอำวำส
ถาวรวัตถุและปูชนียวัตถุที่ส�าคัญ ๑. อุโบสถ ศิลปะแบบล้ำนนำประยุกต์ หนึ่งเดียวใน จังหวัดสุรินทร์ ภำยในมีภำพเขียนพุทธประวัติที่สวยงำม ประณีต ๒. พระพุทธรูปปูนปัน้ เป็นพระพุทธรูปเก่ำแก่ ศิลปะ ล้ำนช้ำง ประดิษฐำนภำยในสิมเก่ำ ๓. หลวงอำสน์ เ ป็ น ปู ช นี ย วั ต ถุ แ ละบรรพชนที่ ชำวบ้ำนให้ควำมเคำรพนับถือประดิษฐำนภำยในกุฏเิ จ้ำอำวำส
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
347
วัดโพธิ์ศรีวรรณาราม
ต� า บลหนองไผ่ ล ้ อ ม อ� า เภอส� า โรงทาบ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Pho Sri Wannaram
Nong Phai Lom Subdistrict, Samrong Thap District, Surin Province
พระครูโพธิจริยานุวัตร (สุภาพ เตชธมฺโม) เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ศรีวรรณาราม 348
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประวัติความเป็นมา วัดโพธิ์ศรีวรรณาราม มีชื่อตามที่ ชาวบ้านเรียกว่า วัดบ้านกระโพธิ์ ตั้งอยู่ที่ ๑๒๑ หมู่ที่ ๗ บ้านกระโพธิ์ ต�าบลหนองไผ่ ล้อม อ�าเภอส�าโรงทาบ จังหวัดสุรนิ ทร์ สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย ภาค ๑๑ มีเนือ้ ทีจ่ า� นวน ๔๐ ไร่ ๓ งาน ๕๑ ตารางวา โฉนดที่ดิน เลขที่ ๓๔๒๙๙ วัดโพธิศ์ รีวรรณาราม ได้รบั อนุญาต ตัง้ วัดเมือ่ ปีพทุ ธศักราช ๒๔๐๔ (ตามทะเบียน ของส� า นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ ) เป็ น วั ด ที่ เ ก่ า แก่ ที่ ส� า คั ญ สร้ า งมานานถึ ง ๑๕๙ ปี แต่ขาดการบูรณปฏิสังขรณ์มาเป็น เวลาช้านาน เพราะเหตุที่ไม่มีพระภิกษุที่จะ มาจ�าพรรษาอยูไ่ ด้นาน ได้รบั ค�าบอกเล่าจาก ผูน้ า� และผูส้ งู อายุวา่ ทีว่ ดั แห่งนีเ้ จ้าทีแ่ รงมาก เพราะเป็นวัดเก่าแก่และมีโบสถ์เก่าที่ชาว บ้ า นมี ค วามเชื่ อ ว่ า มี ค วามศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ม าก และไม่ มี ใ ครรู ้ ว ่ า สร้ า งมานานเท่ า ไรแล้ ว
บางรู ป ก็ ม าจ� า พรรษาอยู ่ ไ ด้ พ รรษาเดี ย วบ้ า ง สองพรรษาบ้าง อย่างมากสามพรรษา ก็มเี หตุให้ตอ้ ง ย้ายไปที่อื่น ต่อมาเมื่อพ.ศ. ๒๕๓๔ ชาวบ้านได้ไป กราบอาราธนา พระสุภาพ เตชธมฺโม (ปัจจุบันคือ พระครูโพธิจริยานุวตั ร) มารักษาการแทนเจ้าอาวาส จนกระทั่งได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส เป็น เจ้ า คณะต� า บลหนองไผ่ ล ้ อ มเขต ๒ และเป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ ตั้ ง แต่ นั้ น มาจึ ง ได้ รั บ การบู ร ณ ปฏิสงั ขรณ์และพัฒนาเป็นล�าดับมา จนกระทัง่ เมือ่ ปี พุทธศักราช ๒๕๕๗ ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา มี ก� า หนดเขตกว้ า ง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร และมี พ ระภิ ก ษุ ส ามเณรพ� า นั ก พั ก อาศั ย และ จ�าพรรษามาโดยตลอด
กุฏิสงฆ์ทรงไทย กิจกรรมปฏิบัติธรรมนักเรียน
พระสีวลี
พระพุทธโพธิ์ศรีวัฒนสุข ประชาจ�ารัสศิริศรัทธานิมิตมุนินทร์
พระสังกัจจายน์มหาลาภ
เกียรติประวัติของเจ้าอาวาส พระครูโพธิจริยานุวตั ร (นามเดิม สุภาพ เตชธมฺโม / สิมาจารย์) อายุ ๔๙ พรรษา ๓๐ วิทยฐานะ นักธรรมชัน้ เอก ปริญญาตรี พุทธศาสตร บัณฑิต (พธ.บ.) สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ปริญญาโท ศาสนศาสตร มหาบัณฑิต (ศน.ม.) สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง ประกาศนียบัตร วิชาชีพครู (ปว.ค.) ประกาศนียบัตรพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน (ปส.ศ.) สั ง กั ด วั ด โพธิ์ ศ รี ว รรณาราม ต� า บลหนองไผ่ ล ้ อ ม อ� า เภอส� า โรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ศรีวรรณาราม / เจ้าคณะต�าบลหนองไผ่ล้อม เขต ๒ / พระอุปัชฌาย์ เป็นพระเถระที่มี ศีลาจารวัตรงดงาม ปฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ชิ อบ เป็นพระธรรมทูต เป็นพระนักเทศน์ เป็นพระวิปัสสนาจารย์ เป็นครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน เป็นครูสอน พระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรม เป็นพระนักพัฒนา เป็นพระเถระผูม้ คี ณ ุ ปู การ ต่อพระพุทธศาสนา ได้ปกครองสนองงานบริหารกิจการคณะสงฆ์ด้วย ความวิรยิ ะอุตสาหะ เพือ่ ให้เกิดความเรียบร้อยด้วยดี จึงได้รบั โล่ประกาศ เกียรติคุณ ระดับรัชตเกียรติคุณ โดยคณะกรรมาธิการศาสนาศิลปะและ วัฒนธรรม สภาผู้แทนราษฎร เป็นที่ยอมรับนับถือและศรัทธาเลื่อมใส ของพระภิกษุสามเณรและประชาชน และได้รบั เข็มเกียรติคณ ุ พระราชทาน จาก สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
349
พระพุทธชินราชในวิหาร
พระพุทธชินราชวัดโพธิ์ศรีวรรณาราม พระพุทธชินราชองค์ที่ ๑ หน้าตัก ๔๙ นิว้ ประดิษฐาน ในศาลาหอฉัน องค์ที่ ๒ หน้าตัก ๗๙ นิว้ ประดิษฐานในอุโบสถ (ลงรักปิดทอง) บริษัทซัยโจเดนกิ เป็นเจ้าภาพองค์ที่ ๓ หน้า ตัก ๙๙ นิว้ ประดิษฐานในวิหารพระพุทธชินราช องค์นมี้ ปี ระวัติ เมื่อมีเสียงโทรศัพท์ดังขึ้น คุณบุษบง คุณเพิ่มศิริ รับสายได้ยิน เสียงพระรูปหนึ่งซึ่งเป็นเจ้าอาวาสวัดแห่งหนึ่งอยู่ที่จังหวัด ล�าพูน ซึ่งไม่เคยรู้จักกันมาก่อน แต่ท่านกดเบอร์โทรผิดคน หลายรอบ อยากให้สร้างพระพุทธชินราชเป็นพระประธาน โบสถ์ คุณบุษบงจึงน�าเรือ่ งไปปรึกษาคุณวิภารัตน์ รอดวัฒนกุล และเพื่อน ๆ ด้วยจิตศรัทธาอันแรงกล้า จึงหล่อพระพุทธชิน ราช ขนาดหน้าตัก ๙๙ นิว้ โดยมีเจ้าภาพ ๕ คน คือ คุณวิภารัตน์ รอดวัฒนกุล คุณนงนุช กิตติไพศาลนนท์ คุณบุษบง คุณเพิม่ ศิริ คุณวลีพร โชคชัยและคุณปิยะวรรณ มานิตกุล โดยน�าทองค�า หลอมหล่อกับทองเหลืองจนเป็นองค์พระ เมื่ออัญเชิญไปที่วัด แล้ว ปรากฎว่าคณะที่สร้างโบสถ์จะสร้างพระประธานเอง องค์พระจึงประดิษฐานไว้ขา้ งโบสถ์ ครัน้ ต่อมาเจ้าอาวาสฝันว่า องค์พระล้ม พอวันต่อมาท่านได้มรณภาพลงโดยไม่ทราบ สาเหตุ กอร์ปกับทางเจ้าภาพฝันว่าองค์พระอยากไปอยู่ที่ใหม่ ในช่วงนัน้ คุณสุภาพ แดงทอง ได้มาติดต่อกับพระอธิการสุภาพ เตชธมฺโม และตกลงกับคณะเจ้าภาพ จึงได้ไปอัญเชิญองค์ พระพุทธชินราช จากล�าพูนมาถวายประดิษฐาน ณ วัดโพธิศ์ รีวรรณาราม เจ้าภาพทุกคนได้อธิษฐานจิต จึงก่อให้เกิดความสุข ความเจริญและส�าเร็จในการประกอบธุระกิจ จึงเกิดศรัทธา แรงกล้าอีกครัง้ โดยพร้อมใจกันสร้างวิหารใหญ่ สิน้ งบประมาณ ๑๖ ล้านบาท เพื่อประดิษฐานองค์พระพุทธชินราชส�าเร็จ
350
ปักหมุดวัดเมืองไทย
พระพุทธชินราชในอุโบสถ
เรียบร้อยด้วยดีเป็นสถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรมและประกอบกิจในทาง พระพุทธศาสนา คณะเจ้าภาพตลอดถึงสาธุชนที่มากราบไหว้ สักการบูชา ตั้งจิตอธิษฐานแล้วก็เกิดความส�าเร็จเป็นอัศจรรย์ อย่างยิ่ง วิหารและหอระฆัง
ปฏิบัติธรรมรักษาอุโบสถศีล
พระสมเด็จหลวงพ่อทันใจ
พระสมเด็จหลวงพ่อทันใจ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย หล่อ ด้วยปูนขนาดหน้าตัก ๑.๒๙ เมตรสูง ๒.๓๙ เมตร สร้างเสร็จภายในวันเดียวเจ้าภาพคือคุณ บุษณีย์ จุนเจริญนนท์พร้อมครอบครัว ได้บรรจุ พระบรมสารีริกธาตุไว้ภายในองค์พระ ซึ่งเป็น องค์พระที่ศักดิ์สิทธิ์มาก มีบรรดาสาธุชนผู้ตั้ง มั่นในศีลธรรมเมื่อมากราบไหว้สักการะบูชา แล้วตั้งจิตอธิษฐานสิ่งใด ก็มักจะสมปรารถนา ในสิ่งนั้นได้อย่างทันใจ
เกียรติประวัติของวัด วัดโพธิ์ศรีวรรณาราม เป็นวัดโบราณเก่าแก่ที่ส�าคัญคู่บ้านคู่เมืองมาเป็นเวลาช้านาน เป็นสถานที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ของชุมชนเป็นอย่างดียิ่ง, เป็นอุทยานการศึกษา, เป็นส�านักปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัดสุรินทร์ แห่งที่ ๒๒, มีโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกธรรม, ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด, ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์, โครงการวัฒนธรรม ไทยสายใยชุมชนต�าบลหนองไผ่ล้อม, เป็นชุมชนคุณธรรมขับเคลื่อนด้วยพลังบวร, เคยได้รับผ้าไตรกฐินประทานจากสมเด็จ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก, เคยได้รบั ผ้าไตรพระราชทานจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อบรรพชาสามเณรในโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อนเพื่อเฉลิมพระเกียรติฯ
ต้นโพธิ์ศรีมหาชัยมงคล
ลานโพธิ์ ลานธรรม
ต้นโพธิ์ศรีมหาชัยมงคล วัดโพธิ์ศรีวรรณาราม มีต้นโพธิ์ใหญ่อายุประมาณ ๒๐๐ ปี โดยได้รับค�าบอกเล่า จากผู้สูงอายุว่าเกิดมาก็เห็นต้นใหญ่มากแล้ว ซึ่งเป็นต้นไม้แห่งการตรัสรู้ จึงเป็นต้นไม้ที่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ มีเทพผูม้ อี ทิ ธิฤทธิส์ ถิตรักษาอยู่ เป็นทีส่ กั การบูชาของสาธุชนเป็นอย่างยิง่ ในเวลา มีคนแก่ไม่สบายก็มักมาท�าพิธีค�้าโพธิ์ต่ออายุ ให้หายโรคและมีอายุยืนได้ ทางวัดจึงได้สร้าง ก�าแพงซุ้มพระประจ�าวันเกิดล้อมรอบ กิ่งโพธิ์ที่ยื่นออกไปยาวมาก ก็ท�าเสาค�้าให้เกิด ความมั่นคง และจัดเป็นลานโพธิ์ลานธรรม เหมาะส�าหรับเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานเป็น อย่างยิ่ง ปักหมุดวัดเมืองไทย
351
วัดบูรณ์สะโน
ต� ำ บลสะโน อ� ำ เภอส� ำ โรงทำบ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Boon Sano
Sano Subdistrict, Samrong Thap District, Surin Province
พระครูจันทโชติวรธรรม เจ้าอาวาสวัดบูรณ์สะโน 352
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ประวัติวัด วั ด บู ร ณ์ ส ะโน ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ ๙๒ หมู่ที่ ๑ บ้านสะโน ต�าบลสะโน อ�าเภอ ส�าโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที ่ ๓ ไร่ ๓ งาน ๑๔ ตารางวา โฉนดทีด่ นิ เลขที ่ ๒๑๕๕๒ อาณาเขต ทิศเหนือ จดถนนสาธารณประโยชน์ ทิศใต้ จดหมู่บ้าน ทิศตะวันออก จดที่ราชพัสดุ ทิ ศ ตะวั น ตก จดถนนสาธารณประโยชน์ (ตอนหลั ง ได้ ข ยายที่ อ อกไปอี ก ประมาณ ๒ ไร่กว่า รวมแล้วในปัจจุบนั มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ ๖ ไร่) มีที่ธรณีสงฆ์ จ�านวน ๒ แปลง วัดบูรณ์สะโน ตั้งเมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๒๓ ชาวบ้านร่วมกันสร้างขึ้นในสมัยนั้น โดยการน�าของ หลวงเดช สินสุพรรณ และ นายวงค์ อบอุ่น และได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๕๐ เขต วิสุงคามสีมา กว้าง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร วัดบูรณ์สะโน มีพระ ภิกษุสามเณรพ�านักพัก อาศัย และจ�าพรรษามาโดยตลอด
การปกครองและบริหาร - ปัจจุบัน พระครูจันทโชติวรธรรม เป็นเจ้าอาวาส การศึกษา / แหล่งเรียนรู้ - โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม - โครงการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชนต�าบลสะโน - ศูนย์การเรียนชุมชนต�าบลสะโน (กศน.ส�าโรงทาบ) - หน่วยอบรมประชาชนประจ�าต�าบลกระออม / สะโน - ส�านักปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัดสุรินทร์ แห่งที่ ๒๑ - ชุมชนคุณธรรมขับเคลื่อนด้วยพลังบวร - โครงการวัด ประชา รัฐ สร้างสุข ปักหมุดวัดเมืองไทย
353
ค�าขวัญประจ�าวัด พระนอนศักดิ์สิทธิ์ สถิตค่ามหาศาล การศึกษาก้าวไกล ใส่ใจระเบียบวินัย ใช้หลักวิปัสสนา พัฒนาจิตวิญญาณ
ประวัติพระครูจันทโชติวรธรรม พระครูจันทโชติวรธรรม ฉายา จนฺทโชโต อายุ ๔๕ พรรษา ๒๕ วิทยฐานะทางธรรม นักธรรมชั้นเอก, ทางโลกปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.)
ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่ง ๑. เจ้าอาวาสวัดบูรณ์สะโน ๒. เจ้าคณะต�าบลกระออม อุปสมบท เมื่อวันศุกร์ ขึ้น ๔ ค�่า เดือน ๘ ปีกนุ ตรงกับวันที ่ ๓๐ เดือน มิถนุ ายน พุทธศักราช ๒๕๓๘ ณ พัทธสีมาวัดศรีเมือง ต�าบลทุ่งเบญจา อ�าเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี พระอุปชั ฌาย์ : พระครูอดุ มรัตนคุณ วัดศรีเมือง ต�าบลทุ่งเบญจา อ�าเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี พระกรรมวาจาจารย์ : พระครูวีระธรรมนิวิฐ วัดหนองสีงา ต�าบลทุง่ เบญจา อ�าเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี พระอนุสาวนาจารย์ : พระสมุหจ์ า� ลอง รกฺขติ สีโล วัดศรีเมือง ต�าบลทุง่ เบญจา อ�าเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี
354
ปักหมุดวัดเมืองไทย
การศึกษา พุทธศักราช ๒๕๓๙ สอบไล่ได้นักธรรมชั้นเอก วัดศรีสวุ รรณราช ต�าบลศรีสขุ อ�าเภอส�าโรงทาบ จังหวัดสุรนิ ทร์ พุทธศักราช ๒๕๔๙ ส�าเร็จการศึกษาพุทธศาสตร บัณฑิต (พธ.บ.) คณะสังคมศาสตร์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ เอกการเมืองการปกครอง จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรนิ ทร์ การศึกษาพิเศษ พิมพ์ดดี ภาษาไทย และคอมพิวเตอร์ ความช�านาญพิเศษ งานด้านนวกรรม ช่างไม้ ช่างปูน และ การพัฒนาชุมชน
สมณศักดิ์ พุทธศักราช ๒๕๔๕ ได้รับแต่งตั้งเป็น พระครู ฐ านานุ ก รม ในพระราชปริ ยั ติ วิ ธ าน เจ้ า อาวาสวั ด สร้ อ ยทอง กรุ ง เทพมหานคร ที่ พระครูสังฆรักษ์ส�าราญ จนฺทโชโต พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้รบั พระราชทาน สมณศักดิ ์ เป็นพระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าคณะต�าบล ชั้นโท ในราชทินนาม ที่ พระครูจันทโชติวรธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๒ ได้รบั พระราชทาน เลื่อนสมณศักดิ์เป็น พระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะ ต� า บลชั้ น เอก ในราชทิ น นามเดิ ม ที่ พระครู จันทโชติวรธรรม
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
355
วัดหนองเหล็ก
ต� ำ บลกระออม อ� ำ เภอส� ำ โรงทำบ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
Wat Nong Lek
Kraom Subdistrict, Samrong Thap District, Surin Province ความเป็นมา วั ด หนองเหล็ ก เดิ ม เป็ น ที่ พั ก สงฆ์ ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ ปี พุทธศักราช ๒๔๓๐ โดยชาวบ้านรวมตัวก่อตั้งขึ้นไม่มีพระภิกษุ จ�าพรรษาหรือพักอาศัยดูแลเป็นที่แน่นอน เพราะเป็นที่พระธุดงค์ แวะพั ก ตลอด ในสมั ย นั้ น วั ด หนองเหล็ ก ตั้ ง อยู ่ ฝ ั ่ ง หนองเหล็ ก บ้านหนองเหล็กหรือ องค์การบริหารส่วนต�าบลกระออม สมัยนั้น ขึ้นต�าบลตรึมและต่อมาขึ้นต�าบลหนองฮะ อ�าเภอศีขรภูมิ จังหวัด สุรินทร์ ต่อมาวัดหนองเหล็กได้ย้ายมาทางทิศตะวันออกของ หมู่บ้านติดหน้าโรงเรียนบ้านหนองเหล็กเบญจวิทยา ปัจจุบันวัดหนองเหล็ก ได้แต่งตั้งเป็นวัดถูกต้องเมื่อ ๑๔ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๘๔ ตั้งอยู่เลขที่ ๕๖ หมู่ที่ ๓ บ้าน หนองเหล็ก ต�าบลกระออม อ�าเภอส�าโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๖ ไร่ ๓ งาน ๕๙ ตารางวา
356
ปักหมุดวัดเมืองไทย
ทิศเหนือ ติดโรงเรียนหนองเหล็กเบญจวิทยา ทิศใต้ ติดทุ่งนา ทิศตะวันออก ติดถนนใหญ่และหมู่บ้านผือ ทิศตะวันตก หมู่บ้านหนองเหล็ก มีพระภิษุสามเณรพ�านักพักอาศัยมาโดยตลอด
พระครูวิบูลปัญญาธร เจ้าอาวาสวัดหนองเหล็ก
ประวัติพระสังฆาธิการ ๑. ชื่อ ชื่ อ พระครู วิ บู ล ปั ญ ญาธร ฉายา ญาณธโร อายุ ๖๒ พรรษา ๒๖ วิทยฐานะนักธรรมชั้นโท วัดหนองเหล็ก ต�าบลกระออม อ�าเภอส�าโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ ปัจจุบนั ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสวัดหนองเหล็ก / รองเจ้าคณะ ต�าบลกระออม ๒. สถานะเดิม ชื่อ ทองพูล นามสกุล วงมณี เกิดวันที่ ๑๗ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๒ บิดาชื่อ นายสุด วงมณี มารดาชื่อ นางสิน วงมณี บ้านเลขที ่ ๑๓๔ หมูท่ ี่ ๗ บ้านหมอนเจริญ ต�าบล กาบเชิง อ�าเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ๓. บรรพชา วันที่ ๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ วัดกาบเชิง ต�าบล กาบเชิง อ�าเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ พระอุปัชฌาย์ : พระครูปราสาทปริยัติคุณ วัดกาบเชิง ต�าบล กาบเชิง อ�าเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ๔. อุปสมบท วันที่ ๖ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ วัดกาบเชิง ต�าบลกาบเชิง อ�าเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ พระอุปัชฌาย์ : พระครูปราสาทปริยัติคุณ วัดกาบเชิง ต�าบล กาบเชิง อ�าเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ พระกรรมวาจาจารย์ : พระมหาสุวิทย์ สุมงฺคโล วัดกาบเชิง ต�าบลกาบเชิง อ�าเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ๕. งานปกครอง - พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้รับการแต่งตั้งเป็น รักษาการแทน เจ้าอาวาส วัดหนองเหล็ก ต�าบลกระออม อ�าเภอส�าโรงทาบ จังหวัดสุรนิ ทร์ - พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดหนองเหล็ก ต�าบลกระออม อ�าเภอส�าโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ - พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้รับแต่งตั้งเป็นรองเจ้าคณะต�าบลกระออม มีการจัดงานปฏิบัติธรรมบวชศีลจาริณี (ชีพราหมณ์) ระหว่างวันที่ ๑๙ - ๒๕ เมษายน ของทุกปี
ปัwww.pukmodmuangthai.com กหมุดเมืองไทย ปักหมุดวัดเมืองไทย
357