Thesis 2018, The Architecture Innovation Through Faithful Angles

Page 1

THE ARCHITECTURAL INNOVATION THROUGH FAITHFUL ANGLES ARCH.THESIS.RMUTT.2018 CHAWANPAT LEELAFUENGSIN



โครงการศึกษาเเละออกเเบบพื้นที่เเลกเปลี่ยนความคิดทางความเชื่อผ่านสถาปัตยกรรม

นาย ชวัลพัชร ลีลาเฟื่องศิลป์

วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2560



THE ARCHITECTURAL INNOVATION THROUGH FAITHFUL ANGLES

CHAWANPAT LEELAFUENGSIN

A THISIS SUBMITTED IN PARTAIL FULFILLMENT OF REQUIREMENT FOR THE BACHELOR DEGREE OF ARCHITECTURE DIVISION OF ARCHITECTURE TECHNOLOGY FACULTY OF ARCHITECTURE RAJMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THANYABURI 2018


contents

1

บทที่ 2 DESIGN & THEORY

INTRODUCTION บทที่ 1 INTRODUCTION 1.1 ความเป็นมาเเละความสำ�คัญ ของโครงการ

1-1

1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา

1-3

1.3 วัตถุประสงค์ของโครงการ

1-4

1.4 วิธีการเเละการดำ�เนินวิจัย

1-5

1.5 ประโยชน์ที่ดาดว่าจะได้รับ

1-7

2.1 ความหมายเเละคำ�จำ�กัดความ

2-2

2.2 ความเป็นมาของเรื่องที่จะศึกษา

2-3

2.3 นโยบายเเละแผนพัฒนาที่เกี่ยว ข้อง

2-4

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดที่เกี่ยวกับ การออกเเเบบ 2.4.1 ความศักดิ์สิทธิ์ 2.4.1.1 พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ 2.4.1.2 ช่วงเวลาศักดิ์สิทธิ์ 2.4.1.3 ความศักดิ์สิทธิ์ใน ธรรมชาติ 2.4.1.4 การดำ�รงอยู่ ของมนุษย์เเละชีวิต ศักดิ์สิทธิ์ 2.4.2 ระบบสัญลักษณ์ทางศาสนา 2.4.3 ปรากฎการณ์ศาสตร์กับการ วิเคราะห์มิติศักดิ์สิทธิ์ใน สถาปัตยกรรม

2-5 2-5 2-11 2-13 2-14 2-15 2-17 2-20

2

DESIGN & THEORY

2

บทที่ 2 DESIGN & THEORY

- Housr of Praying and learning berin 2-39 - The Hill of the Buddha 2-41 -Bruder Klaus Field Chapel 2-43

2.7 วิเคราะห์เรียบเทียบอาคาร กรณีศึกษา

DESIGN & THEORY

2-45

บทที่ 2 DESIGN & THEORY 2.4.3.1 ปรากฎการณ์ศาสตร์ ในทางศาสนา 2-21 2.4.3.2 ปรากฎการณ์ศาสตร์ สถาปัตยกรรม 2-22 2.4.3.3 การรับรู้ผ่านประสาท สัมผัสทางร่างกาย 2-25 2.4.4 การเปลี่ยนสถาวะเข้าสู่ความศักดิ์ สิทธ์ภายใต้ปรากฎการณ์ทางพิธีกรรมสถาปัตยกรรม ผ่านการรับรู้ของมนุษย์ 2-28 2.4.4.1 ประสาทการรับรู้ทาง การมองเห็น 2-29 2.4.4.2 ประสาทการรับรู้ทาง การได้ยินเสียง 2-31 2.4.4.3 ประสาทการรับรู้ทาง การได้กลิ่น 2-33 2.4.4.4 ประสาทรับรู้ทางกาย เเละเคลื่อนไหว 2-35 2.5 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2.6 กรีณีศึกษาอาคารตัวอย่าง

2-37 2-39

2

DESIGN & THEORY


3

LOCATION & SITE บทที่ 3 LOCATION & SITE 3.1 ประวัติความเป็นมาของชุมชนในพื้นที่ 3-1 3.1.1 การวิเคราะห์หาย่านที่ เหมาะสม 3-1 3.1.2 การวิเคราะห์ชุมชนกุฎี ขาว ชุมชนวัดกัลยาณ์ ชุม ชนกุฎีจีน 3-2 3.2 การศึกษาเเละวิเคราะห์องค์ประกอบ ของทั้ง 3 ชุมชน 3-9 3.2.1 จินตภาพของของทั้ง 3ชุมชน 3-9 3.3 การศึกษาเเละวิเคราะห์ทำ�เลที่ตั้ง โครงการ 3-17 3.3.1 เส้นทางการเดินของผู้ คนในทั้ง3 ชุมชน 3-17 3.3.2 การวิเคราะห์หาพื้นที่ตั้ง โครงการ 3-18 3.3.3 การวิเคราะห์องค์ประ กอบบริบทโดยรอบพื้นที่ตั้ง โครงการ 3-19 3.4 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 3-23 3.5 สรุปทำ�เลที่ตั้งโครงการ 3-24

บทที่ 4 ARCHITECTURE PROGRAMMING 4.1 ความเป็นมาเเละความสำ�คัญของ โครงการ 4-1 4.2 วัตถุประสงค์โครงการ 4-2 4.3 การกำ�หนดโครงสร้างการบริหาร 4-2 4.4 ผังโครงสร้างการบริหาร 4-3 4.5 การกำ�หนดโครงสร้างการบริหาร 4-4 4.6 วิเคราะห์พฤติกรรมผู้คนในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน 4-5 4.7 รายละเอียดผู้ใช้โครงการ 4-12 4.8 การวิเคราะห์หากิจกรรมของโครงการ4-15 4.9 การกำ�หนดรายละเอียดเเละกิจกรรม ของโครงการ 4-18 4.10 สรุปพื้นที่ใช้สอยโครงการ 4-22 4.11 การประมาณการงบประมาณก่อสร้าง4-31 4.12 ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง 4-32

5

ARCHITECTURE DESIGN

4

ARCHITECTURE PROGRAMMING

SUMMARY APPENDIX

6


IMAGE content ภาพที่ 1.00 โบสถ์ร็องเเชมป์ 1-0 ภาพที่ 2.14 มารดาให้นมบุตร ภาพที่ 1.01 วิหารลักซอร์ (Luxor temple) 1-1 ภาพที่ 2.15 ความศักดิ์สิทธิ์ในธรรมชาติ ภาพที่ 1.02 พีระมิดคูฟู 1-1 ภาพที่ 2.16 ปฏิทินพฤติกรรม ภาพที่ 1.02.1 วัดพระมหาไถ่ 1-1 ภาพที่ 2.17 เปรียบเทียบจักรวาลในศาสนาพุทธ ภาพที่ 1.03 Ronchamp 1-1 ภาพที่ 2.18 Rene Guenon ภาพที่ 1.04 พื้นที่ว่าง 1-2 ภาพที่ 2.19 Freedom of Religion ภาพที่ 1.05 พื้นที่ว่าง+สัญลักษณ์ทางศาสนาพุทธ 1-2 ภาพที่ 2.20 บัวพ้นน้ำ� ภาพที่ 1.06 พื้นที่ว่าง+สัญลักษณ์ทางศาสนาคริสต์ 1-2 ภาพที่ 2.21 A.PEREZ-GOMEZ0 ภาพที่ 1.07 สถาปัตยกรรมเป็นเปลือกห่อหุ้มความศักดิ์ 1-2 ภาพที่ 2.22 สถาปัตยกรรมเป็นเปลือกห่อหุ้มความศักดิ์ ภาพที่ 1.08 หัวใจ 1-2 ภาพที่ 2.23 JUHANI PALLASMAA ภาพที่ 1.09 share space 1-2 ภาพที่ 2.24 The Hermeneutics of Sacred Architecture, Lindsay Jones ภาพที่ 1.10 Religion community 1-2 ภาพที่ 2.25 Perception ภาพที่ 1.11 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1-3 ภาพที่ 2.26 บรรยากาศนั่งจิบชาของชาวญี่ปุ่น ภาพที่ 1.12 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1-4 ภาพที่ 2.27 ผ้าลายสวนสวรรค์ ไว้ใช้รองนั่งละหมาดของชาวมุสลิม ภาพที่ 1.13 เศียรพระพุทธรูป 1-8 ภาพที่ 2.28 Nasir-ol-molk Mosque ภาพที่ 2.0 ความศักดิ์ในหลากหลายมุมมอง 2-0 ภาพที่ 2.29 การประสานเสียงร้องเพลง ภาพที่ 2.01 sacred01 2-6 ภาพที่ 2.30 Ely Cathedral ภาพที่ 2.02 sacred02 2-7 ภาพที่ 2.31 พระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ระหว่างพิธีมิสซา ภาพที่ 2.03 Nathan Soderblom 2-7 ภาพที่ 2.32 ควันที่เกิดขึ้นสองจุดคือ การแท่นบูชาภายนอกและภายในพลับพลา ภาพที่ 2.04 Rudolf Otto 2-8 ภาพที่ 2.33 ภาพแห่งพิธีกรรมในการเตรียมศพ ภาพที่ 2.05 sacred03 2-9 ภาพที่ 2.34 ปราสาทหินนครวัด ภาพที่ 2.06 sacred04 2-9 ภาพที่ 2.35 ถ้ำ� Batu มาเลเซีย ภาพที่ 2.07 sacred05 2-9 ภาพที่ 2.36 สวนญี่ปุ่น ภาพที่ 2.08 sacred06 2-9 ภาพที่ 2.37 ผังสีกรุงเทพมหานคร ภาพที่ 2.09 sacred07 2-9 ภาพที่ 2.38 Exterior perspective House of pray ภาพที่ 2.10sacred08 2-10 ภาพที่ 2.39 Interior perspective House of pray ภาพที่ 2.11 mandala tibetana 2-11 ภาพที่ 2.40 Interior perspective - Exchange space ภาพที่ 2.12 ต้นพระศรีมหาโพธิ์ 2-12 ภาพที่ 2.41 Perspective section House of pray ภาพที่ 2.13 ต้นไม้โลกหรือ Yggdrasil ซึ่งสะท้อนคติจักรวาลวิทยาของชาว Nordic 2-12 ภาพที่ 2.42 Interior perspective - Lighting

2-13 2-14 2-15 2-16 2-17 2-18 2-19 2-24 2-25 2-26 2-27 2-28 2-29 2-30 2-30 2-32 2-32 2-34 2-34 2-34 2-35 2-35 2-36 2-37 2-39 2-39 2-39 2-40 2-40


IMAGE content [continuous] ภาพที่ 2.43 ภาพที่ 2.44 ภาพที่ 2.45 ภาพที่ 2.46 ภาพที่ 2.47 ภาพที่ 2.48 ภาพที่ 2.49 ภาพที่ 2.50 ภาพที่ 2.51 ภาพที่ 2.52 ภาพที่ 2.53 ภาพที่ 2.54 ภาพที่ 2.55 ภาพที่ 2.56 ภาพที่ 2.57 ภาพที่ 2.58 ภาพที่ 2.59 ภาพที่ 2.60 ภาพที่ 2.61 ภาพที่ 2.62 ภาพที่ 3.01 ภาพที่ 3.02 ภาพที่ 3.03 ภาพที่ 3.04 ภาพที่ 3.05 ภาพที่ 3.06 ภาพที่ 3.07 ภาพที่ 3.08 ภาพที่ 3.09

Model House of pray พระพุทธรูป นามว่า Atama Daibutsu ทุ่งลาเวนเดอร์ พระพุทธรูปปางต่างๆ บรรยากาศภายใน ไฮไลท์สำ�คัญ พระพุทธรูป นามว่า Atama Daibutsu พื้นที่แสดงภาพถ่ายการก่อสร้างงาน บรรยากาศภายนอก Bruder klaus field chapel Lighting in Bruder klaus field chapel Place to play in Bruder klaus field chapel Place to play in Bruder klaus field chapel Section Bruder klaus field chapel Lighting in Bruder klaus field chapel Exterior perspective -House of prayer

Exterior perspective - The hill of the buddha Exterior perspective - Bruder klaus field chapel Interior perspective -House of prayer Interior perspective - The hill of the buddha Interior perspective - Bruder klaus field chapel Jesus แผนที่ชุมชนวัดกัลยาณ์ ชุมชนกุฎีขาว ชุมชนกุฎีจีน ย่านวัดกัลยาณ์ ฝั่งธนบุรี ย่านสาทร บางรัก ย่านชุมชนวัดกัลยาณ์ ชุมชนกุฎีขาว ชุมชนกุฎีจีน แผนที่ชุมชนกุฎีขาว ตำ�เเหน่งต่างๆในชุมชนกุฎีขาว ทางเข้าชุมชนกุฎีขาว มัสยิดกุฎีขาว ภายในมัสยิดกุฎีขาว

2-40 2-41 2-41 2-41 2-42 2-42 2-42 2-43 2-43 2-43 2-44 2-44 2-44 2-45 2-45 2-45 2-46 2-46 2-46 2-47 3-0 3-1 3-1 3-2 3-3 3-4 3-4 3-4 3-4

ภาพที่ 3.10 ภาพที่ 3.11 ภาพที่ 3.12 ภาพที่ 3.13 ภาพที่ 3.14 ภาพที่ 3.15 ภาพที่ 3.16 ภาพที่ 3.17 ภาพที่ 3.18 ภาพที่ 3.19 ภาพที่ 3.20 ภาพที่ 3.21 ภาพที่ 3.22 ภาพที่ 3.23 ภาพที่ 3.24 ภาพที่ 3.25 ภาพที่ 3.26 ภาพที่ 3.27 ภาพที่ 3.28 ภาพที่ 3.29 ภาพที่ 3.30 ภาพที่ 3.31 ภาพที่ 3.32 ภาพที่ 3.33 ภาพที่ 3.34 ภาพที่ 3.35 ภาพที่ 3.36 ภาพที่ 3.37 ภาพที่ 3.38

ตรอกซฮยในชุมชนกุฎีขาว แผนที่ชุมชนวัดกัลยาณ์ ตำ�เเหน่งต่างๆในชุมชนวัดกัลยาณ์ ภาพมุมมองต่างในชุมชนวัดกัลยาณ์ A-C ภาพมุมมองต่างในชุมชนวัดกัลยาณ์ D-F แผนที่ชุมชนกุฎีจีน ตำ�เเหน่งต่างๆในชุมชนกุฎีจีน ภาพมุมมองต่างในชุมชนกุฎีจีน A-C ภาพมุมมองต่างในชุมชน์กุฎีจีน D-F แผนที่เส้นทางเดินในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน ย่านในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน เส้นขอบเขตในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน ชุมทางในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน ภูมิสัญลักษณ์ในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน จินตภาพของทั้ง 3 ชุมชน Path, Edge, Node, Landmark, Image of the city แผนที่ From google map Walking path analysis การวิเคราะห์หาพื้นที่ตั้งโครงการ แนวคิดการวิเคราะห์หาพื้นที่ตั้งโครงการ แผนที่องค์ประกอบบริบทโดยรอบ Public Concenteration Main & Road Pedestrian Circulation Vehicular Circulation School ภาพมุมมองต่างๆรอบๆพื้นที่ตั้งโครงการ A-E ภาพมุมมองต่างๆรอบๆพื้นที่ตั้งโครงการ F-J ตำ�เเหน่งต่างๆบนบริบทรอบบริเวณไซต์

3-4 3-5 3-6 3-6 3-6 3-7 3-8 3-8 3-8 3-9 3-10 3-11 3-12 3-13

3-14 3-15 3-16 3-17 3-18 3-18 3-19 3-20 3-20 3-20 3-20 3-20 3-21 3-21 3-22


IMAGE content [continuous] ภาพที่ 3.39 ภาพที่ 3.40 ภาพที่ 3.41 ภาพที่ 3.42 ภาพที่ 3.43 ภาพที่ 3.44 ภาพที่ 4.01 ภาพที่ 4.02 ภาพที่ 4.03 ภาพที่ 4.04 ภาพที่ 4.05 ภาพที่ 4.06 ภาพที่ 4.07 ภาพที่ 4.08 ภาพที่ 4.09 ภาพที่ 4.10 ภาพที่ 4.11 ภาพที่ 4.12 ภาพที่ 4.13 ภาพที่ 4.14 ภาพที่ 4.15 ภาพที่ 4.16 ภาพที่ 4.17 ภาพที่ 4.18 ภาพที่ 4.19 ภาพที่ 4.20 ภาพที่ 4.21 ภาพที่ 4.22

ผังสี กทม. 3-23 ผังสีน้ำ�ตาล ณ บริวเณพื้นที่ตั้งโครง 3-23 พื้นที่ตั้งโครงการ 3-24 ขนาดพื้นที่ตั้งโครงการ 3-24 วิเคราะห์พื้นที่ตั้งโครงการ 3-25 Jesus Cry 3-26 Main Idea Programs 4-0 Heart 4-1 Sharing space 4-1 Community 4-1 ผังโครงสร้างการบริหาร 4-3 ผู้สูงอายุ 4-5 กิจกรรมผู้สูงอายุในทั้ง3ชุมชน 4-5 พื้นที่ที่ผู้สูงอายุมักออกมาทำ�กิจกรรม 4-5 เด็กนักเรียน 4-5 กิจกรรมของเด็กนักเรียน 4-5 พื้นที่ที่เด็กนักเรียนออกมาทำ�กิจกรรม 4-5 นักท่องเที่ยว 4-6 กิจกรรมนักท่องเที่ยวในทั้ง3ชุมชน 4-6 พื้นที่ที่นักท่องเที่ยวออกมาทำ�กิจกรรม 4-6 นักท่องเที่ยว (นักศึกษา) 4-7 กิจกรรมของนักศึกษา 4-7 พื้นที่ที่นักศึกษาออกมาทำ�กิจกรรม 4-7 Mapping ความหนาเเน่นที่เกิดขึ้นในพื้นที่ช่วงเวลาต่างๆในหนึ่งวัน 4-10 Mapping ความหนาเเน่นที่เกิดขึ้นของผู้คนที่เข้ามาใช้ในพื้นที่ช่วงเวลาต่างๆ ในหนึ่งวัน 4-11 User 4-13 การวิเคราะห์บริบทของชุมชนวัดกัลยาณ์ 4-15 การวิเคราะห์บริบทของชุมชนกุฎีขาว 4-15

ภาพที่ 4.23 ภาพที่ 4.24 ภาพที่ 4.25 ภาพที่ 4.26 ภาพที่ 4.27 ภาพที่ 4.28 ภาพที่ 4.29 ภาพที่ 4.30 ภาพที่ 4.31 ภาพที่ 4.32 ภาพที่ 4.33 ภาพที่ 4.34 ภาพที่ 4.35 ภาพที่ 4.36 ภาพที่ 4.37 ภาพที่ 4.38 ภาพที่ 4.39 ภาพที่ 4.40 ภาพที่ 4.41 ภาพที่ 4.42 ภาพที่ 4.43 ภาพที่ 4.44 ภาพที่ 4.45

การวิเคราะห์บริบทของชุมชนกุฎีจีน การเชื่อมโยงกันของการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง 3 ชุมชน แผนที่ตำ�เเหน่งโรงเรียนในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน แผนที่ตำ�เเหน่งโรงเรียนในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน แนวความคิดสู่กิจกรรมในโครงการ เเนวความคิดกิจกรรมหลักในโครงการ งานระบบวิศวกร Flat plate Flat slab Prestressed Concrete Bearing Wall 01 Bearing Wall 02 Space frame Staircase Ramp ระบบจ่ายน้�ำ ระบบจ่ายน้�ำ ขึน้ -ลง ระบบระบายน้�ำ ระบบบำ�บัดน้�ำ เสีย ระบบไฟฟ้า เครือ่ งปัน่ ไฟ ระบบอัคคีภยั Women’s Muslim

4-15 4-16 4-17 4-17 4-18 4-19 4-32 4-33 4-33 4-33 4-34 4-34 4-34 4-35 4-35 4-36 4-36 4-37 4-38 4-39 4-39 4-39 4-40


Chart of content

table of content

แผนภูมิภาพที่ 1.01 วิธีการเเละการดำ�เนินการวิจัย 1-5 ตารางที่ 2.01 กรณีศึกษาอาคารตัวอย่าง แผนภูมิภาพที่ 3.01 คะเเนนน้ำ�หนักย่านฝั่งวัดกัลยาณ์ 3-1 ตารางที่ 4.01 สรุปพืน้ ที่ใช้สอยโครง แผนภูมิภาพที่ 3.02 คะเเนนน้ำ�หนักย่านฝั่งวัดกัลยาณ์ 3-1 แผนภูมิภาพที่ 4.01 การวิเคราะห์ช่วงเวลาที่ผู้คนเข้ามาปฏิสัมพันธ์พื้นที่ในทั้ง 3 ชุมชน 4-7 แผนภูมิภาพที่ 4.02 การวิเคราะห์ช่วงเวลาที่สถานที่ปฏิสัมพันธ์กับทั้ง 3 ชุมชน 4-8 แผนภูมิภาพที่ 4.03 การวิเคราะห์ช่วงเวลาที่เกิดการซ้อนทับกันของตัวพื้นที่กับชุมชน 4-8 แผนภูมิภาพที่ 4.04 แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละต่อวันในช่วงจันทร์ถึงศุกร์ 4-14 แผนภูมิภาพที่ 4.05 แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละต่อวันในช่วงเสาร์ถึงอาทิตย์ 4-14 แผนภูมิภาพที่ 4.06 แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละต่อวันในช่วงเทศกาลระหว่าง 3ชุมชน 4-14 แผนภูมิภาพที่ 4.07 การวิเคราะหช่วงเวลาที่เกิดกิจกรรม 4-20 แผนภูมิภาพที่ 4.08 ช่วงเวลาการเข้าใช้ของผู้ใช้โครงการต่อพื้นที่ 4-21 แผนภูมิภาพที่ 4.09 กิจกรรมส่วนย่อยในโครงการ 4-30 แผนภูมิภาพที่ 4.10 กิจกรรมส่วนหลักในโครงการ 4-30 แผนภูมิภาพที่ 4.11 เปรียบเทียบอัตราร้อยละต่อพื้นที่ 4-30

2-45 4-22


0 1 I N T R O D U C T I O N MAIN ARCHITECTURAL TOPIC


ภาพที่ 1.0 โบสถ์ร็องเเชมป์ ที่มา : CHAWANPAT, 2561


01 introduction

1-1

1.1 ความเป็นมาเเละความสำ�คัญของโครงการ

INTRODUCTION

ในยุคเเรกเริ่ม เมื่อมนุษย์ต้องดำ�รงอยู่กับธรรมชาติอันเเปรปรวน น่ากลัว เเละไม่อาจเข้าใจ พวกเขาจึงต้องเเสวงหาที่พึ่งพิง ที่มีอำ�นาจเหนือกว่าธรรมชาติสิ่งที่เรียก ว่า ศาสนา จึงถือกำ�เนิดขึ้น เเละด้วยกาลเวลาที่ผ่านไปสถาปัตยกรรมทางศาสนาจึงเกิดขึ้น เพื่อตอบสนองการใช้งานทางศาสนา

าสนากับสถาปัตยกรรม เป็นของ คู่กันมาตั้งเเต่ก่อนครั้งโบราณกาล ที่ปรากฎให้ เห็ น ได้ ชั ด ก็ ใ นยุ ค สมั ย อี ยิ ป ต์ ที่ มี ก ารสร้ า งวิ ห าร บูชาเทพเจ้า หรือ สร้างพีระมิดเพื่อตอบสนองทาง ความเชื่อเรื่องการฟื้นกลับมาจากความตายของ ฟาโรห์ จ ะเห็ น ได้ ว่ า สถาปั ต ยกรรมทางศาสนานั้ น เป็ น สถาปั ต ยกรรมที่ ส ร้ า งขึ้ น มาเพื่ อ ตอบสนอง ลักษณะการใช้งานทางศาสนา หรือการประกอบ พิธีกรรมทางความเชื่อ ทั้งนี้สถาปัตยกรรมทาง ศาสนาตั้ ง เเต่ อ ดี ต มั ก จะสั ม พั น ธ์ กั บ สิ่ ง ที่ เ รี ย กว่ า “สัญลักษณ์” ซึ่งสะท้อนภาพจากคติทางความเชื่อ ที่ถูกบันทึกเเละถ่ายทอดผ่านสิ่งที่เรียกว่า “ตำ�นาน” โดยตำ�นานเป็นสิ่งที่ถูกบันทึกไว้ในคัมภีร์ต่างๆใน ทางศาสนา สถาปัตยกรรมทางศาสนาในแต่ละแห่ง ทั่วทุกมุมโลกแสดงให้เห็นถึงความสำ�คัญของการ ทำ�ความเข้าใจคติความเชื่อผ่าน สัญลักษณ์ทาง ศาสนา ซึ่งเป็นที่มาของการออกแบบเเละการก่อ สร้างตั้งเเต่อดีตจนถึงปัจจุบันเช่น Old St.Peter

ภาพที่ 1.1 วิหารลักซอร์ (Luxor temple) ที่มา : CHAWANPAT, 2561

ภาพที่ 1.02 พีระมิดคูฟู ที่มา : CHAWANPAT, 2561

Basilica โบสถ์คริสเตียนตอนต้น ที่การออกเเบบ เกิดจากการตีความเชิงสัญลักษณ์ของไม้กางเขน ที่เรียกกันว่า ลาตินครอส (Latin Cross) แต่ทั้งนี้ ยังมีสถาปัตยกรรมทางศาสนาในบางกรณีที่อาจ จะไม่ ไ ด้ เ กิ ด จากคติ ท างความเชื่ อ ทั้ ง หมดเเต่ เ ป็ น สถาปัตยกรรมที่อยู่ในพื้นที่ในอีกรูปแบบหนึ่ง จึงมี การประยุกต์ให้เข้ากับพื้นที่ตรงนั้นอย่างเช่น โบสถ์ วัดพระมหาไถ่ ตัวโบสถ์ก่อสร้างโบสถ์ในรูปแบบ สถาปัตยกรรมไทย โดยโบสถ์แห่งนี้ออกแบบและ ควบคุ ม การก่ อ สร้ า งโดยสถาปนิ ก อิ ต าเลี ย นชื่ อ อาชิเนลลี (Acinelli) ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ของโบสถ์หลังนี้เป็นสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับวัดในพุทธศาสนา แต่ ความงามภายในถูกถ่ายทอดออกมาในสภาวะจิต ที่ เ เตกต่ า งกั น กั บ วั ด ในพุ ท ธศาสนาอย่ า งสิ้ น เชิ ง หลายครั้งที่องค์ความรู้และความหมายในเรื่องของ สัญลักษณ์ในงานสถาปัตยกรรมเหล่านั้น ไม่ได้ ถูกถ่ายทอดไปทั้งหมด (หรือถูกถ่ายทอดไปเพียง บางส่วน) และหลายครั้งที่ความหมายดั้งเดิมใน งานเหล่านั้นมิได้สอดคล้องกับ คติความเชื่อ หรือ วัฒนธรรมในการรับรู้ของผู้คนในท้องถิ่น ลักษณะ

ดังกล่าวนี้ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ของการเกิดรูป แบบระหว่างความหมายของสัญลักษณ์ที่อยู่ในคติ ความเชื่อเดิมกับโลกทัศน์ของผู้คนท้องถิ่น ซึ่งมัก จะทำ�ให้เกิดความกำ�กวมในการตีความสัญลักษณ์ ต่ า งๆและความกำ � กวมที่ ว่ า นี้ ก็ ส่ ง ผลให้ เ กิ ด การ กำ�หนดความหมายขึ้นมาใหม่ ก่อนจะส่งอิทธิพล ต่ อ การออกแบบก่ อ สร้ า งสถาปั ต ยกรรมที่ เ ป็ น ผลผลิตจากการตีความเหล่านั้น

ภาพที่ 1.2.1 วัดพระมหาไถ่ ที่มา : CHAWANPAT, 2561

ภาพที่ 1.03 Ronchamp ที่มา : CHAWANPAT, 2561

ทั้ ง นี้ ก าลเวลาเเละยุ ค สมั ย ก็ เ ป็ น ปั จ จั ย หนึ่ ง ในการเกิ ด รู ป เเบบทางสถาปั ต ยกรรมทาง ศาสนาใหม่ๆ ซึ่งเกิดจากการตีความหมายบางอย่าง แตกต่ า งออกไปเเต่ ยั ง คงไว้ ใ นด้ า นการใช้ ง านเเละ การทอดทอดความเชื่อผ่านพื้นที่ภายในต่อความ รู้สึกของผู้เข้าใช้งาน เช่น โบสถ์Ronchamp ออก เเบบโดย เลอคาปูซิเอ หรือ โบสถ์เล็กๆที่ออกเเบบ โดย ปีเตอร์ สุมทอร์ มีชื่อว่า Bruder Klaus Field Chapel เป็นการลดทอนจากรูปแบบโบสถ์ที่ผ่าน มา เหลือแก่นของความศรัทธาที่ีมีต่อพระผู้เป็นเจ้า ผ่านพื้นที่เล็กๆในนั้น


01 introduction

1-2

ภาพที่ 1.5 พื้นที่ว่าง+สัญลักษณ์ทางศาสนาพุทธ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

จะเห็นได้ว่า พื้นที่ว่างพื้นที่หนึ่งหากใส่สัญลักษณ์ทางศาสนาลงไปก็จะทำ�ให้พื้นที่นั้นเปลี่ยนเเปลงในด้านรู้สึกทางด้านความศักดิ์สิทธิ์ ของศาสนานั้นๆ ซึ่งเเท้จริงเเล้วความศักดิ์สิทธิ์ของพื้นที่หาใช่รูปเเบบทางสถาปัตยกรรมภายนอก หากเป็นพื้นที่ข้างในที่จะมอบความรู้สึก ทางอารมณ์เเละความเชื่อให้เเก่ศาสนิกชนที่เข้ามาใช้ในพื้นที่ จากการศึกษาค้นคว้าในขั้นต้น จะเห็นได้ว่ารูปแบบสถาปัตยกรรมทางศาสนานั้นเป็นเพียงเปลือกที่ห่อหุ้มพิธีกรรมเเละความศักสิทธิ์ ของศาสนานั้นไว้ ซึ่งพิธีกรรมเเละความศักดิ์สิทธิ์นั้นจะรับรู้จากภายในเสมอ จึงทำ�ให้เกิดคำ�ถามต่อตัวเองเเละโครงการว่า

Covering

Covering

RELIGION

PERCEPTION

[ Essence ]

Covering

Covering

PEOPLE

ภาพที่ 1.7 สถาปัตยกรรมเป็นเปลือกห่อหุ้มความศักดิ์ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

question

ภาพที่ 1.04 พื้นที่ว่าง ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

1.1 ความเป็นมาเเละความสำ�คัญของโครงการ

ภาพที่ 1.6 พื้นที่ว่าง+สัญลักษณ์ทางศาสนาคริสต์ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

Heart

สิ่งใดคือ “หัวใจ” หรือ “แก่นแท้” ของสถาปัตยกรรม ทางศาสนา ที่สะท้อนให้คุณค่าเเก่ผู้ใช้งาน ภาพที่ 1.8 หัวใจ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

Space of sharing

สามารถที่จะออกเเบบพื้นที่บางอย่างให้สำ�หรับผู้คน ต่างศาสนาสามารถที่จะเข้ามาใช้ร่วมกันในพื้นที่นั้น ได้โดยไม่เกิดเส้นเเบ่งเเยกทางศาสนาได้หรือไม่ ภาพที่ 1.9 share space ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

Community

พื้ น ที่ บ างอย่ า งที่ ก ล่ า วมาในข้ า งต้ น สามารถนำ � ไป ออกเเบบหรือนำ�เข้าไปเเทรกในพื้นที่ที่มีการนับถือ หลายศาสนาร่วมกันในพื้นที่(พหุศาสนา)ได้หรือไม่ ภาพที่ 1.10 Religion community ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


01 introduction

1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา

1-3

PURPOSE OF STUDY

ภาพที่ 1.11 วัตถุประสงค์ของการศึกษา ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

1.

เพื่อศึกษาถึงนิยาม ความหมาย องค์ประกอบของ การใช้ที่ว่าง ที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อ เเละความศักดิ์สิทธิ์ ในการเเสดงออกด้านอารมณ์เเละความรู้สึก

2.

เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อความ ศรัทธา ความศักดิ์สิทธิ์กับสถาปัตยกรรมทางศาสนา

3.

เพื่ อ ศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ใ นการออกเเบบ สถาปัตยกรรมที่สามารถเข้าถึงในการใช้พื้นที่ร่วมกันโดย ไม่ให้เกิดการเเบ่งเเยกทางศาสนา


01 introduction

1.3 วัตถุประสงค์ของโครงการ

1-4

PURPOSE OF project

ภาพที่ 1.12 วัตถุประสงค์ของโครงการ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

1.

เป็นพื้นที่ทำ�ให้เกิดความเข้าใจความศักดิ์สิทธิ์โดย ผ่านพื้นที่ว่างทางสถาปัตยกรรม

2.

เพื่อทำ�ให้เกิดความเข้าใจในตัวเองมากขึ้นด้านความ เชื่อ ความศรัทธา ผ่านทางจิตเเละอารมณ์ในการรับรู้ผ่าน พื้นที่

3.

ส่งเสริมคุณค่าเเละการยอมรับการอยู่ร่วมกันบน พื้นฐานสังคมพหุศาสนาอย่างมีเกียรติศักดิ์ศรี เเละเท่า เทียมกัน โดยเคารพคุณค่าของทุกศาสนาอย่างเข้าใจ

4.

เป็นพื้นที่เเห่งการเเละเปลี่ยนเเนวคิดทัศนคติในมุม มองทางศาสนา กล่าวกันในด้านปรัชญา เเต่อยู่ในพื้นฐาน ของการเคารพเเละให้เกียรติต่อทุกศาสนา


01 introduction

1-5

1 [ข้อมูล]

RESERCH DATA

3 [วิเคราะห์]

analysis

ศาสนา

สถาปัตยกรรม ทางศาสนา

1. ประวัติศาสตร์เเต่ละ ศาสนา

1. ประวัติศาสตร์สถาปัต ย ก ร ร ม ศ า ส น า ต ะ วั น ตกเเละตะวันออก

ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ 1. ปฐมภูมิ : คัมภีร์ในคติ ทางความเชื่อนั้นที่ยังไม่ ผ่านการตีความ

2. ความเชื่อมโยงศาสนา 2. ทุติยภูมิ : ข้อมูลที่มี ผู้ศึกษาเเละตีความเชื่อม

A ศึกษาข้อมูลขั้นปฐมภูมิเเละทุติยภูมิที่เกี่ยวข้องกับความเชื​ื่อ ความศรัทธา ระบบสัญลักษณ์ เเละข้อมูลทุติยภูมิคือข้อมูลที่มีผู้ศึกษาเเละตีความเชื่อมโยงประเด็นต่างๆไว้เเล้ว

ข้อมูลสำ�รวจ พื้นที่ 1. เข้าสำ�รวจพื้นที่ชุมชน ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่ ต้องการศึกษา 2. เก็บข้อมูลในชุมชนทั้ง การสังเกตุเเละสอบถาม คนในชุมชน

กรณีศึกษา

1. พื้นที่ตัวอย่าง

กฎหมายข้อ บังคับ 1. อาคารเเละที่ตั้ง

2. ชุมชนตัวอย่าง

B วิเคราะห์เชื่อมโยงข้อมูลทั้งหมดที่มีโยงเข้ากับลักษณะ ทางกายภาพของสถาปัตยกรรมทางศาสนาในอดีตเพื่อ ค้นหาจุดร่วมเเละเข้าใจทฤษฎีนำ�มาใช้ในการวิเคราะห์

C เรี ย บเรี ย งข้ อ มู ล นำ�ไปสู่ขั้นตอนการ ออกเเบบ


1.4 วิธีการเเละการดำ�เนินวิจัย

1-6

INTEREST & QUESTION

QUESTION

QUESTION

discovery

discovery

เ กิ ด จ า ก ค ว า ม ส น ใ จ เ เ ล ะ ตั้ ง คำ � ถ า ม จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ สถาปัตยกรรมทาง

สถาปั ต ยกรรมทาง ศาสนาจำ�เป็นหรือไม่ที่ จะต้ อ งยึ ด ถื อ รู ป เเบบ เดิม

ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง เ เ ล้ ว เ เ ก่ น เ เ ท้ สถาปั ต ยกรรมทาง ศาสนานั้นคืออะไร ?

สถาปั ต ยกรรมทาง ศาสนาเกิ ด การเลื อ น ห า ย บ า ง อ ย่ า ง ด้ า น สถาปั ต ยกรรมเมื่ อ เข้าไปผนวกกับท้องที่

ค้นพบการซ้อนทับกัน ของพื้นที่ศาสนาในชุม ชน (พหุวัฒนธรรม)

4.1

4.2

4.3

4.4

4.5

สร้างเเนวความคิด

สร้างทางเลือก

- ความสัมพันธ์บริบท กับพื้นที่ - การออกเเบบอาคาร - ความงามของอาคาร

- Schematic Design

ออกเเบบ+พัฒนา

แบบทางสถาปัตยกรรม +หุ่นจำ�ลองเเละเอกสาร

นำ�เสนอขั้นตอน

2

[ความเป็นมา]

4

[ออกแบบ]

back ground

design แผนภูมิภาพที่ 1.01 วิธีการเเละการดำ�เนินการวิจัย ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


01 introduction

1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1-7

BENEFITS EXPECTED 1.

2.

สร้างแนวทางการศึกษาและทำ�ความเข้าใจสถาปัตยกรรมทาง ศาสนาในรูปแบบใหม่ ที่ไม่ใช่เพียงการมองแต่คติสัญลักษณ์และ อารมณ์ความรู้สึก แบบแยกส่วนออกจากกัน แต่เป็นการมอง อย่ า งเป็ น องค์ ร วมและเข้ า ใจการทำ � งานของสถาปั ต ยกรรมในฐานะ เครื่องมือของมนุษย์เพื่อให้มนุษย์ทุกศาสนาได้เข้าไปใช้งานเเละมีส่วน ร่วมในการใช้พื้นที่นั้น มิใช่เพียงวัตถุที่ตอบสนองต่อความเชื่อในการ ออกแบบให้ความเชื่อสายใดสายหนึ่ง เท่านั้น

สร้างแนวทางการทำ�ความเข้าใจสำ�หรับการออกแบบ สถาปัตยกรรมทางศาสนาในอนาคตที่สามารถตอบสนองต่อผู้ใช้งาน ได้ทั้ง ในแง่ของความศักดิ์สิทธิ์ ประโยชน์ใช้สอยทางกายภาพ เเละ ปัจจัยทางสังคม เเละเชื่อมโยงกับบริบทในพื้นที่ต่างๆได้ดีด้วย

3.

4.

เกิดพื้นที่เเลกเปลี่ยนเเนวคิดทางด้านความเชื่อทำ�ให้เกิดความ เข้าใจเเละการยอมรับความต่างของศาสนาเเละเชื้อชาติเพื่อเกิดความ สมานฉันท์ของคนในชาติ

เกิดพื้นที่ต้นเเบบในการพัฒนาพื้นที่ชุมชนที่มีความซ้อนทับใน ความต่างศาสนา


01 introduction

1-8

Religion with architecture

ภาพที่ 1.13 เศียรพระพุทธรูป ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


0 2 d e s i g n & t h e o r y REVIEW LITERATURE


ภาพที่ 2.0 ความศักดิ์ในหลากหลายมุมมอง ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


02 DESIGN & THEORY

2-1


02 DESIGN & THEORY

2-2

2.1 ความหมายเเละคำ�จำ�กัดความ

Definitions ความหมายเเละคำ�จำ�กัดความ

sacred

symbol

phenomenon

perception

ศักดิส์ ทิ ธิ์ ตามพจนานุกรมฉบัราชบัณฑิตสถาน ให้ค�ำ นิยามไว้วา่ “ทีเ่ ชืถ่ อื ว่ามีอ�ำ นาจอาจ บันดาลให้สาเร็จได้ดงั ประสงค์, ขลัง, เช่น สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ วัตถุมงคลศักดิส์ ทิ ธิ.์ ” ซึง่ มาจากการรวมคำ�ว่า ศักดิ์ ซึง่ มี ความหมายว่า “อำ�นาจ,ความสามารถ, เช่น มีศกั ดิส์ งู ถือศักดิ;์ กำ�ลัง; ฐานะ เช่น มีศกั ดิแ์ ละสิทธิแห่งปริญญานีท้ กุ ประการ; หอก, หลาว.” กับคาว่า สิทธิ์ ซึง่ หมายถึง “อำ�นาจอันชอบธรรม” ที่ ได้รบั การรับรองหรือมอบโดยบุคคล หรือกฎเกณฑ์ตา่ งๆจากการนิยามข้าง ต้น แสดงให้เห็นว่าคาว่า ศักดิส์ ทิ ธิ์ ใน ภาษาไทยนัน้ ั ใช้บง่ บอกถึง อำ�นาจ ใน การดลบันดาลให้เกิดสิง่ ต่างๆของสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ หรือเทพเจ้าผูศ้ กั ดิส์ ทิ ธิ์ 2-1

สัญลักษณ์ “สัญลักษณ์” หรือ “Symbol” มีราก ศัพท์มาจากภาษากรีกคาว่า Sym + Ballo แปลว่า “ขว้างไปพร้อม กัน” ซึ่งสื่อถึงวิธีการที่สัญลักษณ์ นำ�จิตของมนุษย์ไปสู่สิ่งที่มันอ้างอิง (ขว้างออกไปสู่อีกสิ่งหนึ่ง) ซึ่งเป็น สิ่งที่ช่วยในการยกระดับจิตใจ (Anagoge เป็นคำ�ศัพท์ภาษากรีก ซึ่ง แปลว่า “ยกขึ้นสู่”) เพื่อทำ�ความ เข้าใจความหมายที่อยู่ระดับที่เหนือ ขึ้นไปกว่าความหมายทางรูปธรรม ที่ปรากฏ 2-2

ปรากฏการณ์ศาสตร์ มี พื้ น ฐ า น ม า จ า ก คำ � ว่ า “ปรากฏการณ์” หรือ Phenomnon(Phenomena เป็น Plural) ซึ่ ง มาจากรากศั พ ท์ ภ าษากรี ก คา ว่า phainomenon ซึ่งมาจาก กริยาคาว่า phainesthai แปลว่า “สำ�แดงตน” (to show itself) ส่วน phainomenon นั้น หมายถึง “สิ่ง ที่สำ�แดงตน” (what shows itself) หรือ “การสำ�แดงตน” (manifest) โดยประกอบมาจากคาว่า phaiหรือ phos ซึ่งแปลว่า “แสง” หรือ “ความสว่าง”phaino จึงมีความ หมายว่า “นำ�เข้ามาสู่แสงสว่าง” (to bring into daylight) หรือ “นำ�มา วางไว้ในความสว่าง” (to place in brightness) ปรากฏการณ์ หรือ Phenomenon จึงหมายถึง “สิ่งที่ ปรากฏหรือสำ�แดงตนเองออกมาใน สิ่งที่มันเป็น” (what show itself in itself) 2-3

การรับรู้ การทำ�ความเข้าใจประสบการณ์ทาง สุนทรียะที่เกิดขึ้นจากปรากฏการณ์ ทางพิ ธี ก รรม-สถาปั ต ยกรรมได้ ก็ ต้ อ งอาศั ย ประสาทการรั บ รู้ ข อง มนุษย์ เป็นพื้นฐานเสมอ 2-4


02 DESIGN & THEORY

2-3

ศาสนากับสถาปัตยกรรม เป็นของคู่ กันมาตั้งเเต่ก่อนครั้งโบราณกาล ที่ปรากฎให้เห็น ได้ ชั ด ก็ ใ นยุ ค สมั ย อี ยิ ป ต์ ที่ มี ก ารสร้ า งวิ ห ารบู ช า เทพเจ้า หรือ สร้างพีระมิดเพื่อตอบสนองทาง ความเชื่อเรื่องการฟื้นกลับมาจากความตายของ ฟาโรห์ จ ะเห็ น ได้ ว่ า สถาปั ต ยกรรมทางศาสนานั้ น เป็ น สถาปั ต ยกรรมที่ ส ร้ า งขึ้ น มาเพื่ อ ตอบสนอง ลักษณะการใช้งานทางศาสนา หรือการประกอบ พิธีกรรมทางความเชื่อ ทั้งนี้สถาปัตยกรรมทาง ศาสนาตั้ ง เเต่ อ ดี ต มั ก จะสั ม พั น ธ์ กั บ สิ่ ง ที่ เ รี ย กว่ า “สัญลักษณ์” ซึ่งสะท้อนภาพจากคติทางความเชื่อ ที่ถูกบันทึกเเละถ่ายทอดผ่านสิ่งที่เรียกว่า “ตำ�นาน” โดยตำ�นานเป็นสิ่งที่ถูกบันทึกไว้ในคัมภีร์ต่างๆใน ทางศาสนา สถาปัตยกรรมทางศาสนาในแต่ละแห่ง ทั่วทุกมุมโลกแสดงให้เห็นถึงความสำ�คัญของการ ทำ�ความเข้าใจคติความเชื่อผ่าน สัญลักษณ์ทาง ศาสนา ซึ่งเป็นที่มาของการออกแบบเเละการก่อ สร้างตั้งเเต่อดีตจนถึงปัจจุบันเช่น Old St.Peter Basilica โบสถ์คริสเตียนตอนต้น ที่การออกเเบบ เกิดจากการตีความเชิงสัญลักษณ์ของไม้กางเขน ที่เรียกกันว่า ลาตินครอส (Latin Cross) แต่ทั้งนี้ ยังมีสถาปัตยกรรมทางศาสนาในบางกรณีที่อาจ จะไม่ ไ ด้ เ กิ ด จากคติ ท างความเชื่ อ ทั้ ง หมดเเต่ เ ป็ น สถาปัตยกรรมที่อยู่ในพื้นที่ในอีกรูปแบบหนึ่ง จึงมี การประยุกต์ให้เข้ากับพื้นที่ตรงนั้นอย่างเช่น โบสถ์ วัดพระมหาไถ่ ตัวโบสถ์ก่อสร้างโบสถ์ในรูปแบบ สถาปัตยกรรมไทย โดยโบสถ์แห่งนี้ออกแบบและ ควบคุ ม การก่ อ สร้ า งโดยสถาปนิ ก อิ ต าเลี ย นชื่ อ อาชิเนลลี (Acinelli) ลักษณะทางสถาปัตยกรรม

2.2 ความเป็นมาของเรือ่ งทีจ่ ะศึกษา

ของโบสถ์หลังนี้เป็นสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับวัดในพุทธศาสนา แต่ ความงามภายในถูกถ่ายทอดออกมาในสภาวะจิต ที่ เ เตกต่ า งกั น กั บ วั ด ในพุ ท ธศาสนาอย่ า งสิ้ น เชิ ง หลายครั้งที่องค์ความรู้และความหมายในเรื่องของ สัญลักษณ์ในงานสถาปัตยกรรมเหล่านั้น ไม่ได้ ถูกถ่ายทอดไปทั้งหมด (หรือถูกถ่ายทอดไปเพียง บางส่วน) และหลายครั้งที่ความหมายดั้งเดิมใน งานเหล่านั้นมิได้สอดคล้องกับ คติความเชื่อ หรือ วัฒนธรรมในการรับรู้ของผู้คนในท้องถิ่น ลักษณะ ดังกล่าวนี้ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ของการเกิดรูป แบบระหว่างความหมายของสัญลักษณ์ที่อยู่ในคติ ความเชื่อเดิมกับโลกทัศน์ของผู้คนท้องถิ่น ซึ่งมัก จะทำ�ให้เกิดความกำ�กวมในการตีความสัญลักษณ์ ต่ า งๆและความกำ � กวมที่ ว่ า นี้ ก็ ส่ ง ผลให้ เ กิ ด การ กำ�หนดความหมายขึ้นมาใหม่ ก่อนจะส่งอิทธิพล ต่ อ การออกแบบก่ อ สร้ า งสถาปั ต ยกรรมที่ เ ป็ น ผลผลิตจากการตีความเหล่านั้น ทั้ ง นี้ ก าลเวลาเเละยุ ค สมั ย ก็ เ ป็ น ปั จ จั ย หนึ่ ง ในการเกิ ด รู ป เเบบทางสถาปั ต ยกรรมทาง ศาสนาใหม่ๆ ซึ่งเกิดจากการตีความหมายบางอย่าง แตกต่ า งออกไปเเต่ ยั ง คงไว้ ใ นด้ า นการใช้ ง านเเละ การทอดทอดความเชื่อผ่านพื้นที่ภายในต่อความ รู้สึกของผู้เข้าใช้งาน เช่น โบสถ์Ronchamp ออก เเบบโดย เลอคาปูซิเอ หรือ โบสถ์เล็กๆที่ออกเเบบ โดย ปีเตอร์ สุมทอร์ มีชื่อว่า Bruder Klaus Field Chapel เป็นการลดทอนจากรูปแบบโบสถ์ที่ผ่าน มา เหลือแก่นของความศรัทธาที่ีมีต่อพระผู้เป็นเจ้า ผ่านพื้นที่เล็กๆในนั้น จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า พื้ น ที่ ว่ า ง พื้ น ที่ ห นึ่ ง ห า ก ใ ส่

สั ญ ลั ก ษณ์ ท างศาสนาลงไปก็ จ ะทำ � ให้ พื้ น ที่ นั้ น เปลี่ยนเเปลงในด้านรู้สึกทางด้านความศักดิ์สิทธิ์ ของศาสนานั้นๆ ซึ่งเเท้จริงเเล้วความศักดิ์สิทธิ์ของ พื้นที่หาใช่รูปเเบบทางสถาปัตยกรรมภายนอก หาก เป็นพื้นที่ข้างในที่จะมอบความรู้สึกทางอารมณ์เเละ ความเชื่อให้เเก่ศาสนิกชนที่เข้ามาใช้ในพื้นที่ จากการศึกษาค้นคว้าในขั้นต้น จะเห็นได้ว่ารูป แบบสถาปัตยกรรมทางศาสนานั้นเป็นเพียงเปลือก ที่ ห่ อ หุ้ ม พิ ธี ก รรมเเละความศั ก สิ ท ธิ์ ข องศาสนา นั้นไว้ ซึ่งพิธีกรรมเเละความศักดิ์สิทธิ์นั้นจะรับรู้ จากภายในเสมอ จึงทำ�ให้เกิดคำ�ถามต่อตัวเองเเละ โครงการว่า 1. สิ่งใดคือ หัวใจ หรือ แก่นเเท้ ของ สถาปัตยกรรมทางศาสนา ที่สะท้อนให้คุณค่าเเก่ผู้ ใช้งาน 2. สามารถที่จะออกเเบบพื้นที่บางอย่างให้ สำ�หรับผู้คนต่างศาสนาสามารถที่จะเข้ามาใช้ร่วม กันในพื้นที่นั้นได้โดยไม่เกิดเส้นเเบ่งเเยกทางศาสนา ได้หรือไม่ 3. พื้นที่บางอย่างที่กล่าวมาในข้างต้นสามารถ นำ�ไปออกเเบบหรือนำ�เข้าไปเเทรกในพื้นที่ที่มีการ นับถือหลายศาสนาร่วมกันในพื้นที่(พหุศาสนา)ได้ หรือไม่


02 DESIGN & THEORY

กิจกรรมศาสนิกสัมพันธ์ กรมการศาสนา จัดโครงการศาสนิกสัมพันธ์ เพือ่ นาพลังศาสนามาเป็น พลังขับเคลือ่ นไปสูค่ วามร่วมมือ ในการสร้างความเข้าใจอันดีและความ สมานฉันท์แก่คนในชาติอย่างยัง่ ยืน โดยการปฏิบตั ติ ามหลักคาสอน ทีต่ น นับถือ น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และวิถวี ฒ ั นธรรมไทย เป็นแนวทางในการดาเนินชีวติ ทาให้ประเทศมีความสงบร่มเย็น -วัตถุประสงค์โครงการ/กิจกรรม ๑. เสริมสร้างให้เกิดการศึกษา เรียนรู้ ความเข้าใจและแลกเปลีย่ นความรู้ ในหลักธรรมทางศาสนา วัฒนธรรมและความร่วมมือทีด่ ตี อ่ กันระหว่าง องค์กรทางศาสนาทัง้ ๕ ศาสนา และสร้างความปรองดองสมานฉันท์ให้กบั คนในชาติให้อยูร่ ว่ มกันอย่างสันติสขุ ๒.เพื่อให้ผ้นู าทางศาสนาและศาสนิกชนได้นาหลักธรรมคาสอนทาง ศาสนาของตนมาหล่อหลอมจิตใจเป็นหนึง่ เดียว ให้ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ประกอบกิจกรรมทีส่ ง่ เสริมคุณธรรมจริยธรรมให้เป็นคน ดี มีคณ ุ ธรรม โดยน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็น แนวทางในการดาเนินชีวติ ๓.เพือ่ ส่งเสริมให้มคี วามรัก เทิดทูนในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และสนับสนุนการดาเนินกิจกรรมในวันสาคัญทางสถาบันพระมหากษัตริย์ เพือ่ ให้ศาสนิกชนศาสนาต่าง ๆ ได้แสดงออกถึงความจงรักภักดี ความ สามัคคี และความสมานฉันท์ของคนในชาติ

2-4

2.3 นโยบายเเละแผนพัฒนาทีเ่ กีย่ วข้อง

กิจกรรมค่ายเยาวชนสมานฉันท์ กรมการศาสนา จัดกิจกรรมค่ายเยาวชนสมานฉันท์ ให้แก่เยาวชนได้มาเข้า ค่ายทากิจกรรมร่วมกัน เรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ การปฏิบตั ทิ ต่ ี า่ งกัน เข้าใจ เข้าถึง ศาสนาทีน่ บั ถือต่างกัน ทาให้เกิดความเข้าใจและยอมรับในความแตกต่าง สามารถนาหลักธรรมทางศาสนาทีน่ บั ถือ มาเสริมสร้างคุณธรรมและนา ไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้อย่างเหมาะสม โดยมีสถาบัน พระมหากษัตริย์ เป็น ศูนย์รวมทางจิตใจในการสร้างความเข้าใจอันดี ความสามัคคี ทาให้สงั คมที่ ต่างศาสนาอยูด่ ว้ ยกันอย่างสงบสุข ไม่มคี วามขัดแย้งกัน -วัตถุประสงค์โครงการ/กิจกรรม ๑.เพือ่ ให้เยาวชนได้ศกึ ษา เรียนรูห้ ลักธรรมทางศาสนาแต่ละศาสนาและ ยอมรับในความแตกต่างหลากหลายด้านเชือ้ ชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม ก่อให้เกิดความสมานฉันท์ของคนในชาติ ๒. เพือ่ ให้เยาวชนมีความรักและเทิดทูนในสถาบันหลัก ชาติ ศาสนา และพระ มหากษัตริย์ ๓. เพือ่ ให้เยาวชนนาหลักธรรมทางศาสนามา พัฒนาตนให้เป็นคนดี มี คุณธรรมจริยธรรม เสียสละเพือ่ ส่วนรวมและร่วมกันพัฒนาประเทศให้ เจริญสืบไป

ที่มา : แผนดำ�เนินงานโครงการ/กิจกรรมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562-2565 (กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม), หน้า 21-22


02 DESIGN & THEORY 2.4.1 ความศักดิ์สิทธิ์

the sacred

“ศักดิส์ ทิ ธิ”์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานให้ค�ำ

นิยามไว้วา่ “ทีเ่ ชือ่ ถือว่ามีอานาจอาจบันดาลให้สาเร็จได้ดงั ประสงค์, ขลัง, เช่น สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ วัตถุมงคลศักดิส์ ทิ ธิ.์ ” ซึง่ มาจากการรวมคาว่า ศักดิ์ ซึง่ มีความหมายว่า “อำ�นาจ,ความสามารถ, เช่น มีศกั ดิส์ งู ถือศักดิ;์ กำ�ลัง; ฐานะ เช่น มีศกั ดิแ์ ละสิทธิแห่งปริญญานีท้ กุ ประการ; หอก, หลาว.” กับคาว่า สิทธิ์ ซึง่ หมายถึง“อำ�นาจอันชอบธรรม” ทีไ่ ด้รบั การรับรองหรือมอบโดย บุคคลหรือกฎเกณฑ์ตา่ งๆจากการนิยามข้างต้น แสดงให้เห็นว่าคำ�ว่า ศักดิส์ ทิ ธิ์ ในภาษาไทยนัน้ ั ใช้บง่ บอกถึง อำ�นาจ ในการดลบันดาลให้เกิด สิง่ ต่างๆของสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ หรือเทพเจ้าผูศ้ กั ดิส์ ทิ ธิ์ จากการนิยามข้างต้น แสดงให้เห็นว่าคาว่า ศักดิส์ ทิ ธิ์ ในภาษาไทยนัน้ ั ใช้บง่ บอกถึง อำ�นาจ ใน การดลบันดาลให้เกิดสิง่ ต่างๆของสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ หรือเทพเจ้าผูศ้ กั ดิส์ ทิ ธิ์ ซึง่ อาจหมายรวมตัง้ แต่ ผีเจ้าป่าเจ้าเขา ผีบรรพบุรษุ ศาสดาและบุคคล

2-5

สำ�คัญทางศาสนา วัตถุมงคล อำ�นาจบารมีของผูป้ กครองหรือกษัตริย์ ซึง่ เปรียบได้ดงั สมมุตเิ ทพ เป็นต้น ในขณะทีค่ �ำ ว่า ศักดิส์ ทิ ธิ์ ในศัพท์ภาษา อังกฤษจะใช้คาว่า Holy หรือ Sacred โดยคำ�ว่า Holyนัน้ มีทม่ ี าจากคาว่า Halig ในศัพท์ภาษาอังกฤษโบราณ ซึง่ เป็นคำ�วิเศษของคำ�ว่า Hal ที่ หมายถึง ความสมบูรณ์(wholeness/perfection) และยังหมายรวม ถึง ความมี ขุ ภาพดีแข็งแรงสมบูรณ์ไม่เจ็บไม่ปว่ ย (healthy anduninjured) และ ความสุข (happiness) ส่วนคำ�ว่า sacred ซึง่ มีทม่ ี าจากคำ� ภาษาละตินคำ�ว่า sacrum นัน้ หมายถึง สภาวะทีเ่ กีย่ วข้องกับเทพเจ้า หรือสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิซ์ ง่ ึ ถูกแยกตัวออกมาจากสภาวะทางโลก ซึง่ สภาวะทาง โลกนีใ้ นภาษาละตินเรียกว่า profanum ซึง่ แปลว่า เบือ้ งหน้าวิหาร ซึง่ สือ่ ถึงสิง่ ทีอ่ ยู่ ภายนอกพืน้ ทีว่ หิ าร อันเป็นเรือ่ งสิง่ ทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกับเทพเจ้า หรือสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ Catherine McCann ได้นยิ ามความแตกต่างระหว่าง Holy และ Sacred โดยมีใจความว่า คำ�ทัง้ สองนี้ เป็นคำ�ทีส่ ามารถใช้แทนกันได้ในวงกว้าง

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

แต่โดยมาก Holy จะถูกใช้ในกรณีทก่ ี ล่าวถึงบุคคล พระผูเ้ ป็นเจ้า เทพเจ้า นักบุญ หรือผูศ้ กั ดิส์ ทิ ธิท์ ง้ ั หลาย เช่น คำ�ว่า Holy One ซึง่ หมายถึงพระ ผูเ้ ป็นเจ้า ในขณะที่ sacred มักจะถูกใช้เวลาทีก่ ล่าวถึง วัตถุ สถานที่ หรือ ปรากฏการณ์ ซึง่ เป็นลักษณะเชิงสัมพัทธ์เสียมากกว่า2 เช่น ตามความ เชือ่ ของชาวฮินดูถอื ว่า วัวเป็นสิง่ (สัตว์)ศักดิส์ ทิ ธิแ์ ละการกินเนือ้ วัวเป็นสิง่ ต้องห้าม โดยทีต่ วั วัวเองไม่ใช่สง่ ิ ศักดิส์ ทิ ธิท์ ม่ ี คี วามสมบูรณ์ในตัวของมัน เอง (holy by itself) แต่เนือ่ งจากวัวเป็นพาหนะของพระศิวะ ดังนัน้ วัวจึง เป็นสัตว์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ (sacred animal) เพราะเกีย่ วข้องกับเทพเจ้าหรือพระ ผูเ้ ป็นเจ้าซึง่ เป็นสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ ส่ ี มบูรณ์ในตนเอง เป็นต้น นอกจากนี้ sacred ยังอาจถูกใช้ในลักษณะอืน่ ๆ ทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกับศาสนาด้วยก็ได้ เช่น ความทรงจาอันศักดิส์ ทิ ธิข์ องบรรดาวีรบุรษุ ทีเ่ สียชีวติ ไปแล้ว (the sacred memory of adead hero) สิทธิอ�ำ นาจอันศักดิส์ ทิ ธิ์ (sacred right) การสาบานตนอันศักดิส์ ทิ ธิ์ (sacred oath) เป็นต้น


02 DESIGN & THEORY

2-6

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

ภาพที่ 2.1 sacred01 ที่มา : https://digitaltmuseum.se, 2561

จากตัวอย่างข้างต้น แสดงให้เห็นว่า sacred อาจจะถูกใช้เพือ่ สือ่ ถึงนัยยะ ด้านจิตวิญญาณทีเ่ กิดจากความเคารพยกย่อง หรือ ความรูส้ กึ พิเศษ ทีม่ ตี อ่ คน/สิง่ /สถานทีเ่ หล่านัน้ เป็นอย่างมาก ไม่วา่ จะสิง่ ทีผ่ ค้ ู นในสังคม ยึดถือร่วมกันหรือ เป็นสงิ่ พิเศษในเชิงปัจเจก เช่น ความรูส้ กึ พิเศษทีม่ ี กับสถานทีเ่ กิด, สถานทีพ ่ บคนรักครัง้ แรก วันครบรอบวันตายของพ่อ แม่ เป็นต้น ซึง่ ในสองกรณีแรกนัน้ อาจจะถือเป็นสถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ (sacred place) ส่วนกรณีหลังถือเป็นวันเวลาทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ (sacred time) ซึง่ แสดงให้เห็นได้วา่ sacred สามารถใช้ในกรณีทไ่ ี ม่เกีย่ วข้องกับเรือ่ งราวทาง ศาสนาก็ได้ ต่างกับ holy ทีไ่ ม่ถกู นำ�มาใช้ในลักษณะดังกล่าว

Rodolf Otto miracea eliade

sacred holly numen

ในขณะที่ Rudolf Otto (ค.ศ.1869-1937) และ Mircea Eliade (ค.ศ. 1907-1986) เชื่อว่า ความศักดิ์สิทธิ์(ไม่ว่าจะเป็น sacred หรือ holy) มีลักษณะคล้ายคลึงกับแนวคิดที่มีรากมาจากภาษาละตินคำ� ว่า “numen” ซึ่งหมายถึง ความศักดิ์สิทธิ์ (divinity) ในขณะที่คา คุณศัพท์ (adjective) ของ numen คือคาว่า “numinous” จะถูก

ใช้ อ ธิ บ ายถึ ง สภาวะและการปรากฏตั ว ของความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ 2 4 แสดงให้เห็นว่า numen กับ holy จะถูกใช้ในลักษณะที่ใกล้เคียงกัน เช่นเดียวกันกับ numinous และ sacred แต่ทั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นคำ�ว่า numen/numinious หรือ holy/sacred ต่างก็มีความหมายที่แตกต่างจากคำ�ว่าศักดิ์สิทธิ์ ในภาษาไทย (ที่ สื่ อ ถึ ง อิ ท ธิ ฤ ทธิ์ แ ละอำ � นาจของสิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ด ลบั น ดาลให้ เ กิ ด สิ่งต่างๆ ขึ้น ) แต่เนื่องจากในภาษาไทย ไม่มีศัพท์คำ�อื่นที่พอจะ ทดแทน หรือ ให้ความหมายที่ใกล้เคียงกับคำ�ว่า numen / numinous และ holy / sacred ได้


02 DESIGN & THEORY

2-7

1913 ภาพที่ 2.2 sacred02 ที่มา : https://digitaltmuseum.se, 2561

ความศักดิส์ ทิ ธิ์ (sacredness) มีคณ ุ ลักษณะเป็น ประสบการณ์ (experience) คือ ต้องพบเห็นหรือสัมผัสด้วยตนเอง เมือ่ พบแล้วก็จะรูส้ กึ ได้ถงึ ความแตกต่าง เสมือนแยกออกระหว่างตอนทีห่ วิ กับตอนทีอ่ ม่ ิ หรือรูส้ กึ ได้ถงึ ความหวานทีแ่ ตกต่างกันของผลไม้ สองชนิด ดังเช่นที่ ปรีชา ช้าง ขวัญยืน และ สมภาร พรมทา ได้บรรยายไว้วา่ “การอธิบายด้วยเหตุผล เพียงแต่ทาให้เข้าใจ ไม่อาจทาให้สมั ผัสกับความจริงได้โดยตรง เหมือนคน ฟังคาอธิบายเรือ่ งความอิม่ ย่อมไม่รว้ ู า่ ความอิม่ เป็นอย่างไรถ้าไม่เคยอิม่ ” ความหมายของคำ�ว่า ศักดิส์ ทิ ธ ์ ิ เริม่ มีการพูดถึงอย่างจริงจังในวงการ วิชาการสมัยใหม่ ตัง้ แต่ปี ค.ศ.1913 โดย Nathan Soderblom (ค.ศ. 1866-1931) สังฆราชและนักเทววิทยาในคริสต์ศาสนานิกายลูเทอรัน ซึง่ ได้ อธิบายถึงคุณลักษณะของความศักดิส์ ทิ ธิไ์ ว้วา่ ... “หัวใจของศาสนาคือ ‘ความศักดิส์ ทิ ธิ’์ และการแยกตัวออกจากกัน

ภาพที่ 2.3 Nathan Soderblom ที่มา : Chawanpat, 2561

ระหว่าง ‘ศักดิส์ ทิ ธิ’์ (sacred) กับ ‘โลกียะ’ (profane) คือสิง่ ทีเ่ ป็นพืน้ pomorphism) และเหตุผลนิยม tionalism) เพือ่ ทำ�การกำ�หนดคุณค่า ทางศีลธรรม (moralization) ให้กบั แนวคิดเรือ่ งความศักดิส์ ทิ ธิม์ าโดย ฐานสำ�หรับชีวติ ทีแ่ ท้จริงในทางศาสนาทัง้ ั มวล” ตลอด ซึง่ การกระทำ�เช่นนัน้ เป็นการทำ�ให้แนวคิดเรือ่ งความศักดิส์ ทิ ธิม์ ี จากนิยามดังกล่าวของ Sonderblom ส่งอิทธิพลมาถึง Rudolf Otto ภาพลักษณ์ท่ ี ผิดเพีย้ น ไปจากความเป็นตัวตนของมันเช่นเดียวกับที่ (ค.ศ.1869-1937) ซึง่ นำ�แนวคิดดังกล่าวมาพัฒนาจนสรุปได้เป็นคำ�ทีเ่ รียก Sonderblom ได้อธิบายก่อนหน้านัน้ ) ว่า Numinous (adj.) ซึง่ มาจากรากศัพท์ภาษาละตินคำ�ว่า Numen28 ซึง่ แปลว่า ศักดิส์ ทิ ธิ์ เพียงแต่ความศักดิส์ ทิ ธิท์ ่ ี Otto กล่าวถึงในทีน่ ้ ี จากแนวคิดของ Otto ความศักดิส์ ทิ ธิม์ ลี กั ษณะเป็น สภาวะจิต (state of ไม่ใช่ความศักดิส์ ทิ ธิท์ ม่ ี ลี กั ษณะเกีย่ วข้องกับความเป็นมนุษย์หรือคุณ mind) ทีเ่ กิดขึน้ ได้จากการรับรูด้ ว้ ยประสบการณ์และอารมณ์ความรูส้ กึ ที่ เหนือกว่า (transcend) มากไปกว่าประสาทสัมผัสทัง้ ห้า เป็นความ งามความดีแต่ประการใด (หมายเหตุ: ในต้นฉบับของงานเขียนของ Otto ซึง่ เป็นภาษาเยอรมันนัน้ รู้สึกในทางศาสนาโดยตรงที่มักจะพบได้ในสถานการณ์ท่คี วามพลุ่ง ใช้ค�ำ ว่า Heilig ซึง่ เทียบเคียงได้กบั คำ�ว่า Halig ในภาษาอังกฤษโบราณ พล่านออกมาจากความศรัทธาอันแรงกล้าส่วนบุคคล (strong ebulliและเทียบได้กบั คำ�ว่าHoly ในปัจจุบนั ) Otto ได้อธิบายไว้วา่ มนุษย์มกั จะ tions of personal piety) เกิดขึน้ อย่างฉับพลัน ผ่านการปฏิบตั พ ิ ธิ กี รรม นิยามความศักดิส์ ทิ ธิโ์ ดยใช้ บุคลาธิษฐาน ( personification /anthro- อันสง่างามอย่างเคร่งครัด (fixed and ordered solemnities of rites


2-8

1869-1937

ภาพที่ 2.4 Rudolf Otto ที่มา : Chawanpat, 2561

and liturgies) ภายใต้บรรยากาศทีอ่ บอวลในศาสนาสถานทีเ่ ก่าแก่ ‘รุนแรง’ คล้ายกับ สิ่งที่ปะทุพวยพุ่งออกมาจากส่วนที่ลึกที่สุด (the atmosphere that clings to old religious monuments and ของวิญญาณพร้อมกับอาการเกร็งและชักกระตุก buildings) ซึง่ Otto ได้บรรยายสภาวะจิตในยามทีพ ่ บเจอกับความศักดิ์ สิทธ์ไว้วา่ ... ซึ่ ง นำ � ไปสู่ ค วามรู้ สึ ก ตื่ น เต้ น อั น แปลกประหลาดอย่ า งที่ สุ ด (strangest excitement), ความคุ้มคลั่ง ที่แสนจะเบิกบานใจ (in“ ‘อ่อนโยน’ คล้ายกับ คลื่นยักษ์ที่แผ่ซ่านไปทั่วทั้งจิตใจ ด้วย toxicated frenzy) ซึ่งนำ�พาไปสู่ความปิติยินดี (ecstasy)” อารมณ์ที่เปี่ยมไปด้วยความสงบเงียบ ภายใต้การสักการะบูชาอัน ลึกล้า Ottoได้นิยามและจำ�แนกคุณลักษณะที่เกิดขึ้นมากจากประสบการ ณ์อันศักดิ์สิทธิ์ ไว้ภายใต้คำ�จำ�กัดความว่า “Mysterium Tremen‘รวดเร็ว’ คล้ายกับคลื่นเสียงอันดังกังวานที่นามาซึ่งความตื่น dum et Fascinans” ซึ่งอาจแปลได้ว่า “ความเร้นลับอันน่าสะพรึง เต้น จนกระทั้งเสียงนั้น ค่อยๆแผ่วเบาลงแล้วจางหายไป ก่อนที่จิต และตราตรึงใจ” (awesome and fascinating mystery) โดยจำ�แนก วิญญาณจะกลับคือสู่โลกียสภาวะ (profane) อีกครั้งหนึ่ง แนวคิดดังกล่าว ออกมาได้เป็น 5 องค์ประกอบ ดังนี้

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ


02 DESIGN & THEORY

ภาพที่ 2.5 sacred03 ที่มา : https://digitaltmuseum.se, 2561

1. ความเป็นอืน่ อย่างสิน้ เชิง (The wholly other): คำ�น้มี กั จะถูกใช้เวลาทีจ่ ะอธิบาย สภาวะของพระผูเ้ ป็นเจ้าหรือสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิเ์ พือ่ บรรยายว่าพระผูเ้ ป็นเจ้านัน้ มีสภาวะ ของการดำ�รงอยูท่ แ่ี ตกต่างจากสรรพสิง่ ทัง้ หลายทีม่ นุษย์เคยพบเห็นในชีวติ และ ประสบการณ์ทวั่ ไป และมนุษย์กไ็ ม่อาจะทำ�ความเข้าใจต่อสิง่ เหล่านัน้ ได้ซง่ ึ นัน่ ทำ�ให้ มนุษย์เกิด ความรูส้ กึ พิศวง (mystery)

ภาพที่ 2.8 sacred06 ที่มา : https://digitaltmuseum.se, 2561

4. องค์ประกอบแห่งพลังหรือความฉับพลัน (The element of energy or urgency): เป็นสิง่ ทีพ ่ วงพุง่ ขึน้ ภายในจิตใจ สืบเนือ่ งมาจากการพบเจอกับความ น่าสะพรึงและความยิง่ ใหญ่ และถูกแสดงออกมาในเชิงสัญลักษณ์ (symbolical expressions) เช่น ความรูส้ กึ มีชวี ติ ชีวา, ความเร่าร้อน, อารมณ์ความรูส้ กึ , จิตมุง่ มัน่ ,พลัง, การเคลือ่ นไหว, ความตืน่ เต้น, กิจกรรม, แรงผลักดัน (vitality, passion, emotional temper, will, force,movement, excitement, activity, impetus)

2-9

ภาพที่ 2.6 sacred04 ที่มา : https://digitaltmuseum.se, 2561

2. องค์ประกอบแห่งความน่าสะพรึง (The element of awfulness/ tremendum): หมายถึง ความรูส้ กึ ทีม่ นุษย์เกรงกลัว (dread) ต่อสิง่ ทีต่ นเองไม่รจ้ ู กั และ ดำ�รงอยู่ เหนือกว่าความเข้าใจของตนเอง จนทำ�ให้มนุษย์เกิดความสะพรึง ต่อ สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ ่ี อยูเ่ บือ้ งหน้า

ภาพที่ 2.9 sacred07 ที่มา : https://digitaltmuseum.se, 2561

5. องค์ประกอบแห่งความงดงามตรึงใจ (The element of fascination): เป็น ความรูส้ กึ ทีเ่ บิกบานหรือปีตยิ นิ ดี ทีเ่ กิดขึน้ พร้อมกันกับ “ความน่าสะพรึง” และ “ความยิง่ ใหญ่” ในขณะทีค่ วามรูส้ กึ ข้างต้นทัง้ สอง ได้ท�ำ ให้มนุษย์เกิด “ความ ยำ�เกรง” และ “ความนอบน้อม” ในเวลาเดียวกันก็เกิดแรงกระตุน้ (impulse) ให้ มนุษย์หนั เข้าหาสิง่ นัน้ สิง่ นีค้ ล้ายๆกับ “ความงดงาม” (grace) ทีด่ งึ ดูดให้มนุษย์ เข้ามาสัมผัส และเมือ่ สัมผัสกับมันแล้วก็จะช่วยยกระดับจิตใจของมนุษย์ขน้ ึ ไปสูอ่ กี สภาวะหนึง่

ภาพที่ 2.7 sacred05 ที่มา : https://digitaltmuseum.se, 2561

3. องค์ประกอบแห่งความยิง่ ใหญ่ (The element of overwhelming/ majesta): เมือ่ มนุษย์ได้ประสบกับความรูส้ กึ น่าสะพรึง อันเกิดจากความยิง่ ใหญ่ของ สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ เ่ี หนือกว่าตนเองมากสิง่ ทีต่ ามมาก็คอื ความรูส้ กึ ต้องการการพึง่ พิง (feeling of dependence) ซึง่ องค์ประกอบจะนำ�มนุษย์ไปสู่ ความอ่อนน้อมถ่อมตน (humility) ภายในจิตใจ


2-10

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

ภาพที่ 2.10 sacred08 ที่มา : https://digitaltmuseum.se, 2561

องค์ประกอบทัง้ 5 นีถ้ อื เป็น สภาวะจิต (state of mind) ที่ Otto เชือ่ ว่าดำ�รงอยูใ่ นศาสนาและความเชือ่ ทัง้ หลายตัง้ แต่อดีตกาลจนมาถึงปัจจุบนั แนวคิดดังกล่าวนีย้ งั ได้กลายมาเป็นพืน้ ฐานสำ�คัญสำ�หรับการศึกษาทีเ่ กีย่ วข้องกับ เรือ่ งของความศักดิส์ ทิ ธิใ์ นยุคต่อมา


02 DESIGN & THEORY 2.4.1.1 พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์

2-11

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

Sacred Space พืน้ ทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์

1. พืน้ ทีศ่ กั ด์สิ ทิ ธ์ิ (Sacred Space) : การปรากฏตัวขึน้ ของ ความศักดิส์ ทิ ธิ์ (hierophany) ได้ท�ำ ให้พน้ ื ทีห่ รือสถานทีซ่ ง่ ึ เป็นพืน้ ทีท่ างโลกียะ (profane space) ซึง่ มิได้มคี วามหมาย ต่ออย่างไรแปรเปลีย่ นมาเป็น พืน้ ทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ (sacred space) การแยกตัวระหว่างพืน้ ทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิแ์ ละพืน้ ทีโ่ ลกียะถือเป็นภาพ สะท้อนของการกำ�เนิดจักรวาล (cosmogony) ทีซ่ ง่ ึ สรรพสิง่ ได้อบุ ตั ขิ น้ ึ มาจาก ความว่างเปล่าทีไ่ ร้ระเบียบและอลวน (chaos) มาสู่ จักรวาล (cosmos) ทีเ่ ปีย่ มด้วยความหมายและระเบียบ แบบแผน ณ จุดศูนย์กลางของการกำ�เนิดขึน้ ของจักรวาล ถือเป็นสถานทีต่ ง้ ั ของ แกนจักรวาล/แกนโลก(axis mundi ) ซึง่ แกนจักรวาล/แกนโลกในทีน่ ม้ ี ไิ ด้หมายถึงแกนจักรวาล/ แกนโลกในทางวิทยาศาสตร์หรือไม่ใช่โลกซึง่ เป็นดาวเคราะห์ ดวงทีส่ ามในระบบสุรยิ ะหรือจักรวาลทีอ่ ยูน่ อกเหนือจากโลก ในทางกายภาพแต่ประการใด แต่ จักรวาลและโลกในทีน่ ้ ี หมาย ถึง จักรวาลทัศน์/โลกทัศน์ (imago mundi) ทีม่ นุษย์แต่ละ บุคคลหรือกลุม่ บุคคลร่วมกัน ภายใต้ความเชือ่ ทีเ่ กิดจากการ เผยแสดงผ่านตำ�นานในศาสนา ซึง่ อุบตั ขิ น้ ึ มาทับซ้อนกับโลก แห่งความจริงทางกายภาพทีป่ รากฏอยูเ่ บือ้ งหน้า แกนจักรวาลถือเป็นจุดสาคัญที่เชื่อมต่อระหว่าง มิติ/ โลก (realm) ในระดับต่างๆ เข้าไว้ด้วยกัน ทั้ง สวรรค์ (heaven / paradise) อันเป็นพื้น ที่ของพระผู้เป็นเจ้า หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่เบื้องบนโลกมนุษย์ซึ่งอยู่กึ่งกลาง ภาพที่ 2.11 mandala tibetana ที่มา : https://en.wikipedia.org/wiki/Mandala, 2561

ของจักรวาล และโลกบาดาลหรือโลกแห่งความตาย (hell / underworld) ซึ่งอยู่ถัดลงไปเบื้องล่างจากโลกมนุษย์ โดยสัญลักษณ์ที่สื่อถึงแกนจักรวาลที่ปรากฏขึ้น ในโลก แห่งกายภาพนั้น มักจะมีลักษณะที่สื่อถึงเส้นแนวดิ่งหรือ แกนตั้ง (vertical line) เช่น ต้นไม้, ภูเขา, บ่อน้ำ� ,บันได, เป็นต้น โดยศาสนิกชนในแต่ละความเชื่อก็จะมีการรับ รู้ถึงแกนจักรวาลที่แตกต่างกันออกไปเช่น ผู้นับถือพระ ศิวะก็จะถือว่าเขาไกรลาสเป็นแกนโลก เพราะเขาไกรลาส เป็นที่ประทับของพระศิวะ ในขณะที่ชาวมุสลิมก็ถือว่า กะบะฮ์ ที่มัสยิดอัล-ฮาลาม ประเทศซาอุดิอาระเบียเป็น แกนโลก เนื่องจากเป็นสถานที่ซึ่ง นบีมูฮัมมัดได้ก้าว เท้าขึ้น สู่สรวงสวรรค์ หรือชาวคริสต์ที่ถือว่าเนินเขาหัว กะโหลกเป็นแกนโลก เพราะเป็นที่ฝังกระโหลกของอาดัม และเป็ น ที่ พ ระเยซู ถู ก ตรึ ง กางเขนเพื่ อ ไถ่ บ าปมนุ ษ ย์ เป็นต้น เมื่อมีการปรากฏขึ้นของแกนจักรวาลซึ่งมีลักษณะเป็น แกนตั้ง (vertical axis) แล้ว สิ่งที่ตามมาก็คือ แกน นอน (horizontal axis) ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สรรพสิ่งที่ในจักรวาล และจากแกนทั้ง สองนี้เอง ก็ทำ�ให้ เกิดการนิยามและให้ความหมายโลกที่แวดล้อมตนเองใน ลักษณะที่แตกต่างกันออกไปตามแต่ละสภาพแวดล้อมที่ มนุษย์แต่ละคนได้ประสบพบเจอตัวอย่างเช่น ชาวอาหรับ


02 DESIGN & THEORY

2-12

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

พืน้ ทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ การกำ�หนดและให้ความหมายกับทิศทางทีส่ มั พันธ์กบั แกน จักรวาลถือเป็นจุดเริม่ ต้นของการสร้างจักรวาลทัศน์ เพือ่ กำ�หนดขอบเขตหรือปริมณฑลของจักรวาลอันศักดิ์สิทธิ์ เหล่านัน้ หลักการนีไ้ ด้ถกู สะท้อนออกมาในการออกแบบ ศาสนสถานโดยถือว่าพืน้ ทีภ่ ายนอกวิหารนัน้ เป็นพืน้ ทีแ่ บบ โลกียะ(profane) ซึง่ สอดคล้องกับคำ�ว่า profanum ซึง่ แปล ว่าหน้าวิหาร, ในขณะทีพ ่ น้ ื ทีใ่ นวิหารนัน้ ถือเป็นพืน้ ทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิท์ ่ ี สะท้อนจักรวาลอันเป็นระเบียบและมีเต็มเปีย่ มด้วยความหมาย ซึง่ จักรวาลทัศน์นไ้ ี ด้ท�ำ ให้มนุษย์มี กรอบอ้างอิงแห่งชีวติ (frame of orientation) ทัง้ ทีเ่ ป็นรูปธรรมและนามธรรม ซึง่ ทำ�ให้มนุษย์ไม่ได้เป็นเพียงสิง่ มีชวี ติ ทีล่ อ่ งลอยและเคว้งคว้าง อยูใ่ นจักรวาลอันว่างเปล่า (void) ทีไ่ ร้ ซึง่ ขอบเขตและความ หมาย อีกต่อไป

ภาพที่ 2.12 ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ที่มา : http://www.guarboon.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539188361, 2561

ภาพที่ 2.13 ต้นไม้โลกหรือ Yggdrasil ซึ่งสะท้อนคติจักรวาลวิทยาของชาว Nordic ที่มา : http://thebrainwashedhousewife.blogspot.com/2016/12/show&ac=artcle&Id=539188361, 2561


02 DESIGN & THEORY 2.4.1.2 ช่วงเวลาศักดิ์สิทธิ์

2-13

Sacred time ช่วงเวลาศักดิส์ ทิ ธิ์

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ 2. ช่วงเวลาศักด์สิ ทิ ธ์ิ (sacred time) : สำ�หรับบรรดาศาสนิกชนทัง้ หลาย ก็คอื เวลาทีส่ รรพสิง่ ได้ถอื อุบตั ขิ น้ ึ มาใน จักรวาลนีห้ รือทีก่ นั เรียกว่า ช่วงเวลาแห่งการถือกำ�เนิด (the time of creation) หรือที่ Eliade ใช้ค�ำ ว่า illud tempus ซึง่ แปลว่า เวลานัน้ เพือ่ สือ่ ถึงเวลาแห่งการ กำ�เนิดของจักรวาลและก็เป็นเช่นเดียวกันกับการเกิดขึน้ ของพืน้ ทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ เวลา ศักดิส์ ทิ ธิน์ น้ ั ได้ถกู เผยแสดงผ่านเรือ่ งราวในตำ�นานและคติความเชือ่ ทางศาสนา จากจุดเริม่ ต้นทีไ่ ร้ซง้ ึ ระเบียบ (chaos) มาสูจ่ กั รวาล (cosmos) ทีเ่ ปีย่ มด้วยความ หมาย การเผยแสดงของความศักดิส์ ทิ ธิผ์ า่ นองค์ประกอบด้านเวลา ถูกเผยแสดง ผ่านช่วงเวลาแห่งเทศกาลทางศาสนา หรือ ช่วงเวลาแห่งปีพธิ กี รรม (litugical time) ซึง่ ช่วงเวลาดังกล่าว มิใช่เป็นเพียงช่วงเวลาทีผ่ า่ นพ้นไปเรือ่ ยๆ ตามปฏิทนิ แบบโลกียะเท่านัน้ แต่เป็นเวลาทีม่ วี ฏั จักรซึง่ จะวนกลับมาครบรอบในแต่ละปี การวน กลับมาครบรอบเช่นนี ไ้ ด้ทาให้จติ ของมนุษย์ระลึกถึงช่วงเวลาแห่งการถือกำ�เนิด และการดำ�รงอยูข่ องจักรวาลอันศักดิส์ ทิ ธิโ์ ดยในแต่ละช่วงของปีพธิ กี รรม มนุษย์ จะปฏิบตั พ ิ ธิ กี รรมทีเ่ ป็นสัญลักษณ์ สะท้อนถึงเหตุการณ์ในตำ�นานตามแต่ละช่วง เวลา และเมือ่ พิธกี รรมได้ถกู ปฏิบตั จิ นครบถ้วนทัง้ ปีแล้ว ก็เปรียบเสมือนหนึง่ ว่า จักรวาลได้ถกู สร้างขึน้ มาใหม่อกี ครัง้ (re-actualization of cosmogonic act) ซึง่ ถือเป็นการรือ้ ฟืน้ พลังแห่งชีวติ ของสรรพสิง่ ในจักรวาล ตัวอย่างเช่น พิธกี รรม ของชนเผ่านาคี (Nakhi) ทีเ่ มือ่ มีคนเจ็บป่วยในหมูบ่ า้ น คนทรงประจำ�เผ่าจะทำ�การ สวดภาวนาต่อเทพเจ้าหรือจิตวิญญาณอันศักดิส์ ทิ ธิ์ โดยทีบ่ ทสวดนัน้ เป็นการ พูดถึงการสร้างโลก/จักรวาล ทัง้ นีเ้ พือ่ เป็นการดึงสภาพร่างกายและจิตวิญญาณ ของผูท้ เ่ ี จ็บป่วยนัน้ กลับไปสูส่ ภาวะของ ช่วงเวลาแห่งการกำ�เนิด (aborigine) อีก ครัง้ หรือชาวเกาะฟิจิ ซึง่ เรียกพิธกี ารแต่งตัง้ หัวหน้าหมูบ่ า้ น/เผ่าว่าเป็น “การสร้าง จักรวาล” (creation ofthe world) เป็นต้น จากตัวอย่างข้างต้น แสดงให้เห็นว่าช่วงเวลาแห่งความศักดิส์ ทิ ธิ์ มิใช่สง่ ิ ทีจ่ ะถูกเผย แสดงได้ดว้ ยตัวของมันเอง แต่ตอ้ งอาศัย พิธกี รรม (ritual) ซึง่ เป็นการจำ�ลอง การกำ�เนิดขึน้ ของจักรวาลและแสดงถึงเป้าหมายของการดำ�รงอยู่ (ของเหล่า วีรบุรษุ ในตำ�นาน) เป็นองค์ประกอบสำ�คัญทีช่ ว่ ยให้ชว่ งเวลาศักดิส์ ทิ ธิเ์ หล่านัน้ สามารถสำ�แดงตนได้ ดังนัน้ พิธกี รรมจึงถือเป็นหัวใจสำ�คัญในการเผยแสดงเวลา ศักดิส์ ทิ ธิ์

ภาพที่ 2.14 มารดาให้นมบุตร ที่มา : https://www.tamaraphillips.ca/womyn/6xiswoy0bdjhz0pznjnea9cg2yky392561, 2561


02 DESIGN & THEORY 2.4.1.3 ความศักดิ์สิทธิ์ในธรรมชาติ

2-14

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

Sacred of nature

ภาพที่ 2.15 ความศักดิ์สิทธิ์ในธรรมชาติ ที่มา : https://www.pexels.com/photo/beautiful-holiday-lake-landscape-358482/, 2561

3. ความศักด์สิ ทิ ธ์ใิ นธรรมชาติ (Sacredness of Nature) : การเผย แสดงของความศักดิส์ ทิ ธิท์ ง้ ั ทางพืน้ ทีแ่ ละช่วงเวลา มิได้ถกู กระทำ�ขึน้ มา จากความว่างเปล่า แต่ตอ้ งอาศัย องค์ประกอบ(element) หรือ องค์ วัตถุ (object) ซึง่ ช่วยให้สง่ ิ เหล่านัน้ ปรากฏขึน้ มาเป็นรูปธรรม ซึง่ องค์ ประกอบ /องค์วตั ถุทส่ ี าคัญทีส่ ดุ และถูกใช้มาตัง้ แต่ครัง้ โบราณก็คอื ธรรมชาติทแ่ี วดล้อมตัวมนุษย์ ไม่วา่ จะเป็นท้องฟ้า, ผืนแผ่นดิน, ต้นไม้, สายน้�ำ , ลำ�ธาร, ไฟ, ภูเขา, หุบเหว, ดวงดาว, ดวงอาทิตย์ ฯลฯ ซึง่ ใน จักรวาลของศาสนานัน้ สิง่ เหล่านีล้ ว้ นอุบตั ขิ น้ ึ มาจากการสร้างสรรค์ (creation) ของสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ ง้ ั สิน้

ความศักดิส์ ทิ ธิใ์ นธรรมชาติ

ได้สร้างสรรค์สรรพสิง่ จนครบถ้วนหมดแล้ว ก็ได้ไต่ทะยานเสา (ซึง่ ทำ� หน้าทีเ่ ป็นแกนโลก) และหายขึน้ ไปในท้องฟ้าอันไร้ กว้างใหญ่ไพศาล ซึง่ นัน้ ทำ�ให้เมือ่ ใดก็ตาม ทีม่ กี ารย้ายทีต่ ง้ ั ของหมูบ่ า้ น ชนเผ่า Achilpa จะ เริม่ ต้นด้วยการตัง้ เสาหลักของหมูบ่ า้ นขึน้ และจะประกอบพิธกี รรมที่ จำ�ลองการไต่เสาของเทพ Numbakula เสมอ กรณีนแ้ ี สดงให้เห็นได้ ว่าท้องฟ้าถือเป็นส่วนหนึง่ ของการเผยแสดงตัวของความศักดิส์ ทิ ธิ์ องค์วัตถุ/องค์ประกอบทางธรรมชาติประการแรกก็คือท้องฟ้า ในทางพิธกี รรมโดยที่ สภาวะความเป็นของท้องฟ้า อันได้แก่ ความ ด้วยความกว้างใหญ่ไพศาลและไร้ขอบเขตทำ�ให้ทอ้ งฟ้ากลายมาเป็น สูง ไร้ซง่ ึ ขอบเขต ความเป็นนิรนั ดร์และความทรงพลังได้กลายมาเป็น สัญลักษณ์ทส่ ี อ่ ื ถึงสรวงสวรรค์อนั เป็นทีอ่ ยูข่ องบรรดาเทพเจ้าและ สัญลักษณ์ซง่ ึ สะท้อนถึง ความเป็นอุตรภาพ (transcendence) การ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ซ่งึ มีฤทธิ์อานาจยิ่งใหญ่เหนือสรรพสิ่งอื่นตัวอย่างเช่น สำ�แดงพลัง และความเป็นนิรนั ดร์ของเทพเจ้าผูส้ ร้างจักรวาลขึน้ มา ในขณะเดียวกันองค์วตั ถุทางธรรมชาติเหล่านัน้ ก็ยงั เป็น ภาพสะท้อน ตามตำ�นานของชนเผ่าAchilpa (ซึง่ เป็นชนเผ่าเร่รอ่ นทีอ่ าศัยอยูใ่ นทวีป นัน่ เอง (image) ทีส่ อ่ื ถึงความหมายทีอ่ ยูเ่ หนือขึน้ ไปจากตัวของมันเอง และภาย ออสเตรเลีย) หลังจากที่ Numbakula ซึง่ เป็นเทพเจ้าผูส้ ร้างจักรวาล ใต้องค์วตั ถุทางธรรมชาตินเ้ ี อง ทีม่ ติ ศิ กั ดิส์ ทิ ธิไ์ ด้ซอ่ นตัวอยู่ (conceal) และรอเวลาทีจ่ ะเผยแสดง (reveal) แก่มนุษย์ โดย Eliade ได้กล่าวถึง เรือ่ งน้ว้ ี า่ “เทพเจ้าได้เผยแสดง รูปแบบสภาวะของความศักดิส์ ทิ ธิ์ (modalities of the sacred) ผ่านบรรดาโครงสร้างและปรากฏการณ์ของ โลก/จักรวาล (ทีป่ รากฏเป็นรูปธรรม) เหล่านัน้ ”


02 DESIGN & THEORY 2.4.1.4 การดำ�รงอยู่ของมนุษย์เเละชีวิตศักดิ์สิทธิ์

2-15

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

Human Existence and Sanctified Life ชีวติ ศักดิส์ ทิ ธิ์

4. การดำ�รงอยูข่ องมนุษย์และชีวติ ศักด์สิ ทิ ธ์ิ (Human Existence and Sanctified Life): หัวข้อนีไ้ ด้แสดงให้เห็นว่า ไม่เพียงแต่การกำ�เนิดขึน้ ดำ�รง อยู่ และสลายไปของจักรวาลเท่านัน้ ทีเ่ ปีย่ มความหมายอันศักดิส์ ทิ ธิ์ แต่ ชีวติ และการดำ�รงอยูข่ องมนุษย์ในฐานะทีเ่ ป็นส่วนหนึง่ ของการสร้างสรรค์ ของจักรวาลก็ถอื เป็นส่วนหนึง่ ของความศักดิส์ ทิ ธิท์ เ่ ี ผยแสดงด้วยเช่น กันในหลากหลายความเชื่อทั่วโลกมักจะมีคาอุปมาที่ใช้ส่อื ความหมาย ระหว่างร่างกายและองค์ประกอบทางธรรมชาติอยูม่ ากมายเช่น ดวงตา เปรียบเสมือนดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ (เพราะทำ�ให้มองเห็น), ลม หายใจเปรียบดังพายุ, กระดูกทีแ่ ข็งแรงเสมือนหนึง่ หินผา, เส้นผมเปรียบ เหมือนต้นหญ้าทีพ ่ ลิว้ ไหวตามสายลม, มดลูกและท้องเปรียบเสมือนถ้�ำ ทีเ่ ป็นทีอ่ าศัย, ความคดเคีย้ วของลำ� ไส้เปรียบเสมือนเขาวงกตอันซับซ้อน, กระดูกสันหลังเสมือนหนึง่ เป็นแกนโลกทีเ่ ป็นหัวใจและรักษาระบบร่างกาย ทัง้ หมดไว้ เป็นต้น

จากการรวบรวมไว้ เ ป็ น องค์ ค วามรู้ เ หมื อ นองค์ ค วามรู้ ท าง ประวัติศาสตร์เท่านั้น แต่เป็นความจริงที่เกิดขึ้น ในอีกระนาบหนึ่งที่ เพื่อจะได้เรียนรู้บทบาทและหน้าที่ของตนบนโลกใบนี้ซึ่งถ้าเป็นผู้ชาย อุบัติขึ้นมา (emerge) ซ้อนทับกับระนาบของโลกแห่งความจริงที่ ก็มีหน้าที่ต้องหาล่าสัตว์และหาอาหาร หรือ ถ้าเป็นผู้หญิงก็จะดูแล ประจักษ์ตรงหน้า เรื่องการปรุงอาหารและการอยู่อาศัยของครอบครัว ต่อมาเมื่อเข้า สู่วัยเจริญพันธ์ุและพร้อมที่มีคู่ครอง ก็จะได้รับอนุญาตให้จบคู่และ สร้างครอบครัวโดยผ่านพิธีแต่งงาน ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของการ เปลี่ยนผ่านจากวัยรุ่นที่อยู่กับเพื่อนฝูง ไปสู่การสร้างครอบครัว และให้กาเนิดชีวิตใหม่จากผู้ชายก็จะกลายเป็น พ่อ จากผู้หญิง กลายเป็น แม่ และสุดท้ายก็คือ พิธีเปลี่ยนถ่ายจาก ความเป็น ไปสู่ ความตาย เพื่อให้เกิดการยอมรับจากสังคมของผู้ตาย/วิญญาณ (community of dead)พิธีกรรมการเปลี่ยนผ่านทั้งหมด ตั้งแต่ การกำ�เนิดจนถึงความตาย ถือเป็นเครื่องหมายสะท้อนว่ามนุษย์ มิใช่สิ่งสมบูรณ์แบบในตนเองเมื่อยามถือกาเนิดขึ้นมา เพราะชีวิต การเปลี่ยนผ่านไปสู่อีกสภาวะหนึ่งจากการเกิดไปสู่ความตายจาก ที่กำ�เนิดมานั้นก็เป็นเพียงสถานะที่ถูกมอบให้โดยธรรมชาติเท่านัน้ ภายนอกไปสู่ภายในจากดวงอาทิตย์ไปสู่ดวงจันทร์ จากวันไปสู่คืน แต่การที่มนุษย์จะมีชีวิตศักดิ์สิทธิ์อันสมบูรณ์แบบ จากโลกียะไปสู่ศักดิ์สิทธิ์ ทั้งหมดจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีช่องเปิด (opening) และเส้นทาง (passage) ที่นำ�ไปสู่อีกสภาวะหนึ่ง Eli- โดยการปรากฏของมิติศักดิ์สิทธิ์จะเป็นไปในลักษณะที่ ซ้อนทับกับ ade ได้ชี้ให้เห็นว่า ตั้ง แต่อดีตกาลมนุษย์ในแต่ละความเชื่อทั่วมุม โลกแห่งกายภาพ จนทำ�ให้กายภาพเหล่านั้นถูกยกระดับ (tranโลกจะมีพิธีกรรมอย่างหนึ่งร่วมกัน นั่นก็คือ “พิธีกรรมแห่งการ scend) จาก พื้นที่/เวลา/วัตถุ/อากัปกริยาทางโลกียะ (ที่ไม่มีความ เปลี่ยนผ่าน” (Rite of Passage) ซึ่งเป็นพิธีกรรมสำ�คัญ เพราะ หมายพิเศษใดๆ) ให้กลายมาเป็นพื้น ที่/เวลา/วัตถุ/อากัปกริยา ที่ เป็นการเปลี่ยนสภาวะ (transformation) จากสภาวะหนึ่งไปสู่อีก ดำ�รงอยู่ในสภาวะของความศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเปี่ยมไปด้วยความหมาย สภาวะหนึ่งพิธีกรรมแห่งการเปลี่ยนผ่านมีตั้งแต่ยามแรกเกิด โดย ต่อชีวิตและจิตใจของมนุษย์ทั้งหลายเราจะเห็นได้ว่าความศักดิ์สิทธิ์ บางคติความเชื่อถือว่าถ้าเด็กทารกที่ถือกาเนิดมาแต่ยังไม่ผ่าน พิธี ในทางศาสนามีลักษณะสัมพัทธ์กับสิ่งต่างๆคือเป็นความสัมพันธ์ ภาพที่ 2.16 ปฏิทินพิธีกรรม ที่มา : http://www.kamsonbkk.com/catholic-catechism/symbol-inแห่งการถือกำ�เนิดเด็กที่เกิดมานั้นก็ยังไม่ถือว่ามีชีวิตและจะไม่ได้รับ ที่เชื่อมโยงระหว่างมนุษย์กับสรรพสิ่งรอบตัวผ่าน ประสบการณ์ catholic/2374-0071692, 2561 การยอมรับเป็นสมาชิกของสังคมนั้นต่อมาเมื่อเด็กเหล่านั้น เติบโต รับรู้ที่เกิดขึ้นจริง ไม่ใช่เพียงการบรรยายด้วยคำ�พูดหรือเพียง จนถึงวัยก็จะต้องทำ�พิธีเพื่อเปลี่ยนผ่านสู่สภาวะความเป็นผู้ใหญ่


02 DESIGN & THEORY

2-16

ดังที่ อนันดา กุวารสวามี นักปรัชญาศาสนาชาวอินเดียได้บรรยายเอาไว้วา่ “เรือ่ งราว หรือประสบการณ์เหล่านนั้ ต้องเป็นความจริงเสมอหรือไม่กไ็ ม่เคยเป็นจริงเลย43 โดยที่ ความจริงทีถ่ กู เปิ ดเผยผ่านตานาน (the reality narrated in the myth) ดัง กล่าวนีอ้ าจจะไม่ใช่ความจริงทีเ่ กิดขึน้ ในทางกายภาพ หรือ จักรวาลทีป่ รากฏขึน้ ใน ตานานเหล่านัน้ ก็มใิ ช่เป็นจักรวาลตามแนวคิดของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แต่ หมายถึง จักรวาลแห่งจิตวิญญาณ ทีส่ ะท้อนภาพความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั สรรพสิง่ ดังที่ ปรีชา ช้างขวัญยืน และสมภาร พรมทา ได้บรรยายไว้วา่ ... “...ศาสนาพูดถึงจักรวาลทั้งหมด การพูดถึงจักรวาลของศาสนาไม่ใช่การ พูดในเชิงให้ข้อมูลอย่างวิทยาศาสตร์ แต่จักรวาลที่ศาสนากล่าวถึงเป็น จักรวาลทางนามธรรมที่มีตัวเราเป็นส่วนหนึ่ง และศาสนาก็สอนให้เราเชื่อม โยงตัวเราเข้าหาจักรวาลทางนามธรรมที่ยิ่งใหญ่นี้... ศาสนาคือการเชื่อม โยงตนไปหาสิ่งอื่น เริ่มจากคนรอบข้าง เพื่อนบ้าน สิ่งแวดล้อม ทุ่งหญ้า ป่าเขา ลำ�ธาร มหาสมุทร และท้องฟ้าอันกว้างใหญ่ จนที่สุดคือจักรวาล ทั้งหมด…” ทั้งนี้การเกิดขึ้น ของจักรวาลในทางศาสนา (ซึ่งสัมพันธ์กับความจริงภายใน โลกแห่งจิต และความจริงในโลกแห่งกายภาพ) มิใช่สิ่งที่เป็นไปอย่างเลื่อนลอย หรื อ ไร้ ที่ ม าที่ ไ ปแต่ ทุ ก ๆสิ่ ง ที่ ถู ก เปิ ด เผยในแต่ ล ะองค์ ป ระกอบของความ ศักดิ์สิทธิ์ ล้วนแต่สัมพันธ์กับ “ระบบสัญลักษณ์” (Symbolism) ซึ่งสะท้อนถึง เรื่องราวใน “ตำ�นาน”(Myth) ที่ปรากฏอยู่ในคติความเชื่อต่างๆ การจะทำ�ความ เข้าใจโครงสร้างและความหมายที่ซ่อนอยู่ของตานานจึงเป็นพื้นฐานสำ�คัญอีก ประการสำ�หรับการวิเคราะห์ความศักดิ์สิทธิ์

ภาพที่ 2.17 เปรียบเทียบจักรวาลในศาสนาพุทธ ที่มา : https://buddhaweekly.com/category/buddha/, 2561

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ


02 DESIGN & THEORY 2.4.2 ระบบสัญลักษณ์ทางศาสนา

symbol

2-17

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

ระบบสัญลักษณ์

ภาพที่ 2.18 Rene Guenon ที่มา : https://www.google.com// keyword “Rene Guenon”., 2561

“สัญลักษณ์”

หรือ “Symbol” มีรากศัพท์มาจากภาษา กรีกคาว่า Sym + Ballo แปลว่า “ขว้างไปพร้อมกัน” ซึง่ สือ่ ถึงวิธกี ารที่ สัญลักษณ์นาจิตของมนุษย์ไปสูส่ ง่ ิ ทีม่ นั อ้างอิง (ขว้างออกไปสูอ่ กี สิง่ หนึง่ ) ซึง่ เป็นสิง่ ทีช่ ว่ ยในการยกระดับจิตใจ (Anagoge เป็นคาศัพท์ภาษากรีก ซึง่ แปลว่า “ยกขึน้ สู”่ ) เพือ่ ทาความเข้าใจความหมายทีอ่ ยูร่ ะดับทีเ่ หนือขึน้ ไปกว่าความหมายทางรูปธรรมทีป่ รากฏ Rene Guenon ได้อธิบายไว้ว่า สัญลักษณ์เป็นการผสานสิ่งที่อยู่ใน โลกแห่งปัญญา และ โลกแห่งสัมผัส เข้าด้วยกัน กล่าวคือมนุษย์รับ รู้ระบบสัญลักษณ์ผ่านประสาทสัมผัส เช่น เรื่องเล่าหรือตำ�นานถือ เป็นสัญลักษณ์ที่รับรู้ผ่านประสาทสัมผัสทางการพูดและการได้ยิน ส่วนสถาปัตยกรรมเป็นการรับรู้สัญลักษณ์ผ่านประสาทสัมผัส

ทางพื้นที่โดยที่โลกแห่งประสาทสัมผัสนี้เป็นภาพลักษณ์ที่สะท้อน ขณะที่สาระทางนามธรรมของมัน อาจมองได้ว่าเป็นการเบ่งบาน โลกแห่งปัญญาและในทางกลับกันโลกแห่งปัญญาก็สะท้อนกลับ ออกมาเพื่อประโยชน์แก่ตัวของมันเอง และการเบ่งบานออกมา มายังโลกแห่งสัมผัสด้วยเช่นกัน จากโคลนตมนัน้ ก็เป็นภาพสะท้อนรูปแบบของการหลุดพ้นออก มาจากสภาวะหนึ่งไปสู่อีกสภาวะหนึ่ง ดังนัน้ ดอกบัวจึงถูกใช้เป็น โดย Guenon ได้จาแนกความหมายของสัญลักษณ์ออกเป็นสอง สัญลักษณ์แทนการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าที่ตื่นขึ้น และหลุดพ้น ประเภท คือ ความหมายในแนวดิ่ง(vertical meaning) และ ความ จากสภาวะทั่วไปเข้าสู่สภาวะของนิพพาน (nirvana) เป็นต้น หมายในแนวราบ (horizontal meaning) ความหมายในแนวดงิ่ นั้นหมายถึง การที่สัญลักษณ์เป็น ภาพสะท้อน ของ ต้นแบบที่อยู่ ในขณะที่ความหมายในแนวราบ หมายถึง การที่สัญลักษณ์มีความ ในโลกที่เหนือจากประสบการณ์* ซึ่งภาพสะท้อนนีป้ ระกอบด้วยรูป หมายที่ ห ลากหลาย(multicity)และสอดประสานกั น อยู่ เ หมื อ น แบบอันเป็นแก่นสารทางนามธรรม (essential form) และ เนื้อหา ตาข่าย ทัง้ นกี ้ ารพิจารณาความหมายในแนวราบของสัญลักษณ์ สาระทางวัตถุ (material substance)ตัวอย่างเช่น ดอกบัว สาระ จำ�เป็นต้องทำ�ในลักษณะเปิ ด โดยไม่ถูกจำ�กัดให้อยู่ภายใต้ทฤษฎีที่ ทางวัตถุของมัน คือความเป็นพืชชนิดหนึ่งที่แตกต่างจากพืชชนิด ตายตัว ตัวอย่างเช่น การนำ�เจดีย์หรือพระสถูปไปเทียบเคียงกับ อื่น และดอกก็เป็นส่วนของดอกมิใช่ก้านหรือรากแต่อย่างใด ใน ต้นไม้โลก ก็มิได้หมายความว่าพระสถูปมิได้เป็นอะไรนอกจากต้นไม้


02 DESIGN & THEORY

2-18

โลก ในคติของชาวไทใหญ่และลาว ซึง่ ถือว่าต้นไม้คอื แกนจักรวาล และเป็นตัวแยกฟ้าและดินออกจากกัน ในขณะทีช่ าวไทอาหม ไท ใต้คง ไทยยวน และ ไทดำ�นัน้ ถือว่าภูเขาคือแกนจักรวาล ซึง่ ทัง้ ต้นไม้และภูเขาของชาวไททัง้ สองเผ่านัน้ มีความหมายทีส่ อด ประสานกัน แต่กม็ ใิ ช่สง่ ิ เดียวกัน หลายครัง้ ทีส่ ญ ั ลักษณ์เหล่านี มีค้ วามหมายร่วมกันหรือช่วยส่งเสริมซึง่ กันและกัน ดังนัน้ การ พิจารณาความหมายของสัญลักษณ์ในแนวราบ จึงมีลกั ษณะ แบบ บูรณาการ (integration) ดังที่ Eliade ได้กล่าวว่า “การ ทำ�ความเข้าใจโครงสร้างทางสัญลักษณ์นน้ ั มิใช่การลดทอน/ จำ�กัดสิง่ ต่างๆลง แต่เป็นการสร้างบูรณาการ (ความหมาย ระหว่างสัญลักษณ์) ต่างหาก” นอกจากนี้ กระบวนการทางสัญลักษณ์นั้นถือเป็นสิ่งที่มี พลวัต (dynamic) ซึ่งสัมพันธ์กับจิตของมนุษย์อยู่ตลอด เวลา กระบวนการสื่อความหมายของสัญลักษณ์มิใช่เป็น เพียงแค่การรับรู้และเข้าใจความหมายผ่านการจดจำ�ทาง สมอง (cognition) เท่านัน้ แต่ยังต้องอาศัย ประสบการณ์ ที่มนุษย์เข้ามามีส่วนร่วมกับสัญลักษณ์โดยตรง จึงจะทา ให้ความหมายของสัญลักษณ์เหล่านั้น ประทับเข้าไปใน จิตใจของมนุษย์ ก่อนที่จะช่วยยกระดับจิตใจขึ้น ไปสู่ความ จริงในอีกขั้นหนึ่ง กระบวนการเช่นนี้เรียกว่าการสร้าง ประสบการณ์อันศักดิ์สิทธิ์ (numinous experience) ซึ่ง ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมทางด้านอารมณ์ความรู้สึกของ มนุษย์ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและเอื้อ ต่อการสื่อ ความหมายเชิงสัญลักษณ์เหล่านั้น ดังนั้นแล้วกระบวนการศึกษาวิจัยเรื่องของความศักดิ์สิทธิ์ ในสถาปัตยกรรมทางศาสนา จึงไม่อาจจะพิจารณาจาก เพียงแค่สัญลักษณ์ที่ถูกนามาประยุกต์ใช้ในงาน เช่น รูป ทรง, สัดส่วน,การตกแต่งอาคาร ฯลฯ เท่านั้น แต่ต้อง พิ จ ารณาถึ ง ประสบการณ์ ที่ ม นุ ษ ย์ มี ต่ อ สถาปั ต ยกรรม เหล่านั้นไปพร้อมๆกันเสมอ

ภาพที่ 2.19 Freedom of Religion ที่มา : https://www.loyarburok.com/2013/02/24/freedom-religion-stake-1malaysia/, 2561

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ


02 DESIGN & THEORY

2-19

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

ภาพที่ 2.20 บัวพ้นน้ำ� ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

สัญญลักษณ์

โดยทีป่ ระสบการณ์ทเ่ ี กิดขึน้ ภายใต้สถาปัตยกรรมเหล่านัน้ ก็มใิ ช่จะเป็น ประสบการณ์ใดๆ ก็ได้ แต่ตอ้ งเป็นประสบการณ์ทเ่ ี กิดขึน้ จากการมีสว่ น ร่วมใน พิธกี รรมอันศักดิส์ ทิ ธิ์ ซึง่ ถือเป็นสาระและหัวใจสำ�คัญทีส่ ดุ ของ การใช้งานสถาปัตยกรรมทางศาสนาทัง้ มวล และการทีจ่ ะทำ�ความเข้าใจ พิธกี รรมใดๆ ได้นน้ ั จำ�เป็นต้องเริม่ จากการทำ�ความเข้าใจ ตำ�นาน (Myth) ทีซ่ อ่ นอยูใ่ นแต่ละคติความเชือ่ ก่อนเสมอทัง้ นีเ้ พราะตำ�นานถือเป็นจุดเริม่ ต้นของเรือ่ งราวอันศักดิส์ ทิ ธิ์ ซึง่ เป็นเรือ่ งราวทีเ่ ปิดเผยให้เห็นถึงการอุบตั ิ ขึน้ และ การดำ�รงอยูข่ องสรรพสิง่ ทัง้ หลายในจักรวาลนี้ ส่วนพิธกี รรม ก็คอื การจำ�ลองเหตุการณ์ (เชิงสัญลักษณ์) ทีถ่ กู เปิดเผย (ให้มนุษย์ได้รบั รู)้ ผ่านเรือ่ งราวในตำ�นานเหล่านัน้ นัน่ เอง

เกี่ยวข้องกับทางศาสนา โดยคาว่า Fable นั้นมาจากภาษาละติน คำ�ว่า “Fabula”ซึ่งมาจากรากศัพท์คำ�ว่า “Fari” ซึ่งแปลว่า “พูด” ในขณะที่ “Myth” มาจากภาษากรีกคำ�ว่า “Muthos” ซึ่งมาจาก รากศัพท์คำ�ว่า “Mu” แปลว่า “พูดโดยไม่เปิดปาก” หมายความว่า “กล่าวโดยใช้ความเงียบ” นั่นเอง

ดังนั้น ตำ�นานจึงเป็นการกล่าวโดยไม่ต้องเปิดปาก หรือก็คือ การ ใช้สัญลักษณ์ในการสื่อความหมายในระดับที่สูงขึ้น ไป โดย อนันดา กุมารสวามี ได้ให้นิยามของคำ�ว่า ตำ�นาน ว่าคือ “ภาษาที่เหมาะสม สำ�หรับสิ่งเหนือโลก” และ “แสดงถึงความรู้อันลึกล้ำ� ที่สุดที่มนุษย์ มีอยู่” ดังนั้น ตำ�นานจึงดำ�รงอยู่ในฐานะของความเป็นนิรันดรและ โดยคำ�ว่า “ตำ�นาน” (Myth) เป็นคนละคำ�กับคำ�ว่า “นิทาน” (Fable) ตำ�นานก็คลี่คลายออกมาเป็นเรื่องเล่าขานกันอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ซึ่งหมายถึงเรื่องโกหกหรือเรื่องที่แต่งขึ้น เพื่อประโยชน์อื่นๆ ที่ไม่


02 DESIGN & THEORY 2.4.3 ปรากฎการณ์ศาสตร์กับการวิเคราะห์มิติศักดิ์สิทธิ์ในสถาปัตยกรรม

2-20

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

phenomology ปรากฎการศาสตร์

“ปรากฏการณ์ศาสตร์”

(Phenomenology) มีพน้ ื ฐานมาจากคำ�ว่า “ปรากฏการณ์” หรือ Phenomenon (Phenomena เป็น Plural) ซึง่ มาจากรากศัพท์ภาษากรีกคำ�ว่า phainomenon ซึง่ มาจากกริยาคำ�ว่า phainesthai แปลว่า “สำ�แดงตน” (to show itself) ส่วน phainomenon นัน้ หมายถึง “สิง่ ทีส่ �ำ แดงตน” (what shows itself) หรือ “การสำ�แดงตน” (manifest) โดย ประกอบมาจากคำ�ว่า phai- หรือ phos ซึง่ แปลว่า “แสง” หรือ “ความสว่าง” phaino จึงมีความหมายว่า “นำ�เข้ามาสูแ่ สงสว่าง” (to bring into daylight) หรือ “นำ�มาวางไว้ในความสว่าง” (to place in brightness) ปรากฏการณ์ หรือ Phenomenon จึงหมายถึง “สิง่ ทีป่ รากฏหรือสาแดงตนเองออกมาในสิง่ ทีม่ นั เป็น” (what show itself in itself)

Martin Heidegger นักปรัชญาคนสาคัญในแนวคิด สายนีไ้ ด้นยิ าม “ปรากฏการณ์ศาสตร์” ไว้วา่ เป็น apophainesthai ta phainomena ซึง่ แปลได้วา่

“ทำ � ให้ ส่ิง ที่สำ� แดงตนถู ก มองจากตั ว ของมั น เอง,เหมือนกับทีม่ นั สำ�แดงตนจากตัวของมันเอง” (to let what shows itself be seen from itself, just as it show itself from itself) ปรากฏการณ์ศาสตร์ ถือเป็นศาสตร์ที่เข้ามามี อิทธิพลต่อวงการสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะ ในหมู่นักทฤษฎีที่นิยมแนวคิดยุคหลังสมัยใหม่ (Postmodern) โดยปรากฏการณ์ศาสตร์เป็น ปรัชญาที่มุ่งเน้นทาการศึกษาประสบการณ์ของ มนุษย์ ในฐานะประธานการรับรู้สรรพสิ่งที่เกิด ขึน้ ในปรากฏการณ์ต่างๆ เข้ามาเป็นปัจจัยใน การได้มาซึ่งองค์ความรู้ (inquiry) ซึ่งแตกต่าง จากการได้ ม าซึ่ ง องค์ ค วามรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ที่แยกมนุษย์ออกจากการศึกษา เพราะเชื่อใน ความเที่ยงตรงของข้อมูลเชิง วัตถุวิสัย (objective) โดยปราศจากอคติของมนุษย์ ซึ่ง วิ ธี ดั ง กล่ าวอาจจะเป็ น วิ ธี วิ ท ยาที่เหมาะกั บ การ ศึกษา วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (natural science) ที่เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ แต่

ในขณะเดียวกันก็ไม่สามารถตอบโจทย์ของการ ศึกษาในเชิง มนุษย์ศาสตร์ (human science) ที่มีความซับซ้อนเกินกว่าจะใช้วิธีวิทยาแบบที่ใช้ ในการศึ ก ษาวิ ท ยาศาสตร์ ธ รรมชาติ ม าทไการ ศึกษาได้ ดังนั้นปรากฏการณ์ศาสตร์จึงกลายมา เป็นทั้งปรัชญาและวิธีวิทยาที่ถูกนำ�เสนอขึ้น มา เพื่อเติมเต็มปัจจัยหลายประการที่กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ไม่สามารถจะให้คำ�ตอบได้อย่าง ครบถ้วน กล่าวโดยรวมก็คือ ปรากฏการณ์ศาสตร์ เป็น แนวคิดที่มีจุดประสงค์เพื่อตอบโต้ต่อวิธีคิดแบบ วิ ท ยาศาสตร์ ยุ ค ใหม่ ( หรื อ บางที เ รี ย กกั น ว่ า วิทยาศาสตร์แบบคลาสสิก /classical science) ที่มองสรรพสิ่งในโลกแบบแยกส่วน และ ตัดทอนความหมายที่เกิดจากจินตนาการ สำ�นึก และความรู้ สึ ก ที่ ม นุ ษ ย์ มี ต่ อ สรรพสิ่ ง ออก ไป เช่น คนในอดีตมองต้นไม้ใหญ่ว่ามีเทวดา อารักษ์ นางไม้ หรือวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ ที่ช่วย ปกปักษ์รักษาสถานที่เหล่านั้นไว้ ผู้คนจึงเคารพ

ธรรมชาติ และ ไม่กระทำ�การที่จะเป็นการรบกวน ธรรมชาติและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ใ นข ณะ ที่ มุ ม ม อง ข อง วิ ท ยาศ าสต ร์ สนใ จ เพียงแต่การศึกษา สิ่งที่ปรากฏทางกายภาพ วิทยาศาสตร์จึงมองเห็นต้นไม้เป็นเพียงมวลสาร หรือพืช ที่ประกอบด้วยราก ลาต้น กิ่ง และใบ, มีคลอโรฟิลด์เพื่อสังเคราะห์แสง,เป็นอาหารของ สัตว์กินพืช เป็นต้น ซึ่งการเข้าใจความจริงเช่น นั้น โดยตัวของมันเอง (ในฐานะศาสตร์แขนง หนึ่ง) ก็มิได้เป็นเรื่องที่ผิดแต่ประการใด เพียง แต่ การมองเพียงแค่นนั้ ได้ไปลดทอนความ หมายและคุณค่าแห่งชีวิตของต้นไม้ที่มีต่อผู้คน ไปจนหมดสิ้น การที่วิธีการค้นหาความจริงแบบ วิทยาศาสตร์มีความจากัดเช่นนี้เอง ทำ�ให้เกิด แนวคิดเพื่อที่จะแสวงหาความจริงในอีกรูปแบบ หนึ่ง ผ่านประสบการณ์และจิตสานึกของผู้คน ซึ่งก็คือ แนวคิดสายปรากฏการณ์ศาสตร์


02 DESIGN & THEORY

2-21

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

ปรากฎการศาสตร์ในทางศาสนา นอกเสียจากการศึกษาศาสนาในเชิงสัญลักษณ์ เพื่อค้นหาความหมายที่ซ่อนอยู่ภายใต้เรื่องราวใน ตำ�นานเหล่านัน้ แล้ว การศึกษาทางศาสนายังจำ�เป็น ต้องศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างการเผยแสดง ของสั ญ ลั ก ษณ์ ซ่ ึง เกิ ด ขึ้น จากโลกภายนอกกั บ ประสบการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ภายใต้จติ สำ�นึกของมนุษย์ไป พร้อมกัน ทั้ ง นี้ เ พราะศาสนามิ ใ ช่ เ ป็ น เพี ย งเรื่ อ งเล่ า หรื อ ความเชื่ อ ที่ รั บ รู้ ผ่ า นทางสมองหรื อ การใช้ เหตุผลเท่านั้นแต่ประสบการณ์ทางศาสนาเป็น ประสบการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในอี ก ระนาบของความ จริ ง ภายในจิ ต ของมนุ ษ ย์ โ ดยที่ ก ารศึ ก ษาใน ลักษณะเช่นนี้ถูกเรียกว่า ปรากฏการณ์ศาสตร์ ในทางศาสนา (Phenomenology of Religion) ซึ่งหมายถึงแนวทางในการศึกษาศาสนาไม่ว่าจะ เป็นในแง่ของคติความเชื่อ สัญลักษณ์ พิธีกรรม และอื่นๆ โดยมุ่งเน้นศึกษา ประสบการณ์ที่เกิด ขึ้นจริง เพื่อทาความเข้าใจ โครงสร้าง และ ความ หมาย ที่ซ่อนอยู่ภายใต้ปรากฏการณ์ทางศาสนา เหล่านั้น ปรากฏการณ์ศาสตร์ในทางศาสนา ถูกพูดถึง ขึน้ ครั้งแรกในงานของ Pierre Daniël Chantepie de la Saussaye (1848-1920) ซึ่งพยายาม พัฒนา ศาสตร์แห่งศาสนา (science of religion / Religionswissenschaft) ต่อจากนักศาสน วิทยาหลายคนก่อนหน้านี้โดย Chantepie de la Saussaye ได้จำ�แนกคุณลักษณะของศาสตร์แห่ง

ศาสนาออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนที่เป็นการเผย แสดง (manifestation) และ ส่วนที่เป็นแก่นแท้ (essence) โดย Chantepie de la Saussaye ระบุ ว่าปรากฏการณ์ศาสตร์ทางศาสนา ซึ่งเป็นการ เข้าไปสำ�รวจและเก็บข้อมูลปรากฏการณ์ที่เกิด ขึ้นจริงในทางศาสนา (พิธีกรรมและความรู้สึก ของศาสนิกชน) ถือเป็นขัน้ ตอนแรกในการเตรี ยมข้อมูลเชิงประวัติศาสตร์เพื่อใช้วิเคราะห์ทาง ปรัชญาในขัน้ ตอนถัดไป ในมุมมองของ Chantepie de la Saussaye ปรากฏการณ์ศาสตร์จะ ช่วยทำ�ความเข้าใจส่วนที่ถูกเผยแสดง ในขณะที่ ความเข้าใจเชิงปรัชญาจะใช้วิเคราะห์แก่นแท้ของ ศาสนาในแต่ละความเชื่อ Rudolf Otto (1869 - 1937) ใช้วิธีการทาง ปรากฏการณ์ ศ าสตร์ ใ นลั ก ษณะที่ ต่ า งออก ไป กล่าวคือ Otto ได้วิเคราะห์ศาสนาโดยพุ่ง เป้ า ไปที่ เ รื่ อ งของอารมณ์ ค วามรู้ สึ ก ที่ เ กิ ด จาก ประสบการณ์ ท างศาสนาหรื อ สภาวะความ ศักดิ์สิทธิ์ แทนที่จะใช้การอธิบายเชิงเหตุผลหรือ เชิงปรัชญาเช่น นักทฤษฎีคนอื่นๆซึ่งทำ�ให้งาน ของ Otto มีลักษณะเฉพาะตัวที่น่าสนใจ ส่วน William Brede Kristensen (1867-1953) และ Gerard van der Leeuw (1890-1950) ได้นา แนวคิ ด เรื่ อ งความเร้ น ลั บ อั น น่ า สะพรึ ง และ ตราตรึงใจ หรือ Mysterium Tremendum et Fascinans ของ RudolfOtto มาพัฒนาต่อย อด โดยมองว่าเรื่องราวในทางศาสนา ถือเป็น

ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจริง และเกิดขึ้นโดยตรง ต่อศาสนิกชนทั้งหลาย ดังนั้นการจะศึกษา เรื่องราวและประวัติศาสตร์ของศาสนา (ในฐานะ ศาสตร์แขนงหนึ่ง ) จึงจำ�เป็นต้องศึกษาศาสนา ในฐานะสิ่งที่ปรากฏอยู่จริง ผ่านประสบการณ์ จริง ในพื้นที่และเวลาที่เกิดขึ้นจริงเสมอ โดย Kristensen ได้ให้ความเห็นไว้ว่าปรากฏการณ์ ศาสตร์ในการศึกษาศาสนา เป็นการเข้าไปค้นหา ความหมายที่ ซ่ อ นอยู่ ภ ายใต้ ป รากฏการณ์ ทางศาสนา (religious phenomena) ซึ่ง ส่ง อิทธิพลต่อตัวของศาสนิกชนโดยตรง วิธีการนี้สอดคล้องกับที่ Mircea Eliade เสนอ ว่า มุมมองและวิธีการทางปรากฏการณ์ศาสตร์ ถือเป็นแนวทางที่เหมาะสมที่สุด สำ�หรับการ ศึกษาปรากฏการณ์ทางศาสนา (Religious Phenomena) ทั้งนี้เพราะเรื่องราวที่เกิดขึ้น ใน ทางศาสนาไม่ ว่ า จะในเชิ ง ความเข้ า ใจที่ ส่ ง ผล ต่อจิตสานึกโดยตรง หรือ ในเชิงปฏิบัติผ่าน พิธีกรรม ล้วนแต่มีลักษณะที่เป็น ประสบการณ์ ที่มนุษย์ต้องเข้าไปมีส่วนร่วม ซึ่งการศึกษา วิเคราะห์โดยพยายามนาศาสตร์แขนงอื่นๆ เช่น สังคมวิทยา มานุษยวิทยา การเมือง ฯลฯ มา ใช้ตีความเรื่องราวทางศาสนานั้น ถือเป็นเรื่อง ที่สามารถทำ�ได้ แต่ไม่ใช่เป็น วิธีการหลัก ในการ ทำ�ความเข้าใจความหมายที่ซ่อนอยู่ในเรื่องราว ทางศาสนาเหล่านั้น โดยผู้ศึกษาสัญลักษณ์ใน ทางศาสนาทั้งหลายต้องพึงระลึกไว้เสมอว่าเรื่อง ราวและสัญลักษณ์ที่ซ่อนอยู่ในคติความเชื่อทาง

ศาสนานั้น มีความหมายในตัวของมันเองซึ่ง ความหมายที่ซ่อนอยู่นี้สามารถทำ�การศึกษาได้ จากการเผยแสดงตัวของความศักดิ์สิทธิ์ (hierophanies / manifestation of the sacred) ทั้ง ในเชิงพื้น ที่ เวลาสภาพแวดล้อม และพิธีกรรม โดยอาศัยการทาความเข้าใจประสบการณ์ของ มนุษย์ที่มีต่อความศักดิ์สิทธิ์


02 DESIGN & THEORY

2-22

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

ปรากฎการศาสตร์ในสถาปัตยกรรม จากปรัชญาและวิธกี ารทางปรากฏการณ์ศาสตร์ ได้ ส่งอิทธิพลต่อนักทฤษฎีสถาปัตยกรรมในยุคหลัง สมัยใหม่หลายคน ซึง่ หนึง่ ในนัน้ ก็คอื Christian Norberg-Schulz (1926-2000) ซึง่ ได้รบั อิทธิพล โดยตรงจากงานของ Martin Heidegger โดย เฉพาะในงาน Being and Time (1927), Building, Dwelling, Thinking (1951)และ The Thing (1950) ซึง่ Heidegger ได้น�ำ รากฐานของความคิดแบบ ปรากฏการณ์ศาสตร์ มาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหว่างมนุษย์กบั โลกแวดล้อม โดยอาศัยความเข้าใจ เรือ่ งทีว่ า่ งทางสถาปัตยกรรม และความหมายของ การ “อาศัย-อยู-่ ในโลก” ดังทีไ่ ด้อธิบายไปก่อนหน้านี้ Norberg-Schulz ได้น�ำ งานของ Heidegger มา เป็นพื้นฐานในทฤษฎีด้านสถาปัตยกรรมของเขา ซึง่ ในแต่ละงานของ Norberg-Schulz พยายามจะ พุง่ เป้าไปที่ ความหมาย ทีเ่ กิดจากสถาปัตยกรรม มากกว่าคุณลักษณะทางด้านประโยชน์ใช้สอย โดย Norberg-Schulz ได้นยิ ามคาว่า Phenomenology ว่าคือ ความพยายามในการ “กลับคืนสูค่ วามเป็น ของสิง่ นัน้ ” (return to thing) ซึง่ ในความหมาย นีห้ มายถึงความพยายามทีจ่ ะนำ�มุมมองและวิธคี ดิ เชิงปรากฏการณ์ศาสตร์ เข้ามาเติมเต็มโลกแห่งชีวติ (Life World) ทีข่ าดหายไปในวงการศึกษาและการ ออกแบบสถาปัตยกรรมนัน่ เอง งานสำ�คัญสองชิ้นของ Noberg-Schulz ที่วาง รากฐานให้กับวิธีการศึกษาสถาปัตยกรรมในเชิง ปรากฏการณ์ศาสตร์ก็คือ Existence, Space &

Architecture (1971) และ Genius Loci (1980) ในงานชิน้ แรกพูดถึงความสัมพันธ์ระหว่างมโน ทั ศ น์ ที่ อ ยู่ ภ ายใต้ จิ ต สานึ ก ของมนุ ษ ย์ กั บ โลกที่ แวดล้อมตัวมนุษย์ โดยมนุษย์จะ ค่อยๆ เรียนรู้ โลกที่แวดล้อมตน ในขณะเดียวกันก็พยายามสร้ างรูปด้วยการ เลียนแบบ ดัดแปลง และทำ�โลกที่ แวดล้อมตนเองไปพร้อมๆ กัน Norberg-Schulz ใช้ทฤษฎีจิตวิทยาของ Jean Piaget (1896-1980) เรื่อง จิตสานึกในเรื่องที่ว่าง (space consciousness) ซึ่งเชื่อว่าการรับรู้ใน เรื่องที่ว่างของมนุษย์นั้น สัมพันธ์กับมโนภาพ (schemata) ที่อยู่ภายในจิตสานึกของมนุษย์ แต่ละคน ซึ่งมโนทัศน์ดังกล่าวนั้น เกิดจากความ เข้าใจที่มนุษย์แต่ละคนมีต่อโลกที่แวดล้อมตนเอง และเวลาที่มนุษย์ได้รับประสบการณ์ใหม่ๆ เข้ามา มนุษย์ก็จะปรับความเข้าใจที่ได้รับมาให้สัมพันธ์ กับมโนทัศน์ที่ตนมี ซึ่งมีทั้ง ประสบการณ์ใหม่ที่ รับเข้ามาแล้วสามารถไปด้วยกันกับมโนทัศน์เดิม และประสบการณ์ที่รับเข้ามาใหม่ขัดแย้งกับมนโน ทัศน์เดิม ซึ่งปฏิสัมพันธ์ไม่ว่าจะในรูปแบบแบบใด ก็ตาม ล้วนแต่ทำ�ให้เกิดการสร้างสรรค์ที่มนุษย์ มี ต่ อ โลกแวดล้ อ มอย่ า งมี พ ลวั ต และไม่ ต ายตั ว จากทฤษฎีจิตวิทยาของ Piaget ดังกล่าวนี้Norberg-Schulz ได้จำ�แนก ที่ว่าง (space) ออกเป็น 5 ประเภทอันได้แก่ 1. ที่ว่างแห่งรูปธรรม (pragmatic space) 2.ที่ว่างแห่งการรับรู้/ผัสสะ(perceptual space) 3. ที่ว่างแห่งการดำ�รงอยู่ (existential space)

4. ที่ว่างแห่งความเข้าใจ (cognitive space) 5. ที่ว่างแห่งตรรกะ (logical space)

ที่ว่างแห่งรูปธรรมนั้น คือสิ่ง ที่เกิดขึ้น จริงใน โลกแห่งกายภาพ ในขณะที่ที่ว่างแห่งการรับรู้นัน้ จะเกิดขึ้นในจิตสำ�นึกของมนุษย์แต่ละคนที่มีแตก ต่างกันออกไป และมนุษย์ก็จะรับสงิ่ นัน้ มาสร้าง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ างตนเองกั บ โลกแวดล้ อ ม และผู้อื่น/สิง่อื่นที่อยู่ในโลก ด้วยการแสดงออก มาเป็นที่ว่างแห่งการดำ�รงอยู่(ของตน) ก่อน ที่จะบันทึกความเข้าใจทั้ง หมดเข้าไปอยู่ภายใต้ มโนสำ�นึก จนเกิดเป็นมโนภาพหรือองค์ความ รู้ที่ตนเองมีต่อโลกภายใต้ที่ว่างแห่งความเข้าใจ ก่ อ นที่ จ ะถ่ า ยทอดโลกที่ ต นเข้ า ใจออกมาอย่ า ง เป็นระบบระเบียบในที่ว่างแห่งตรรกะซึ่ง ถือเป็น เครื่องมือในการถ่ายทอดความคิดของตนไปสู่ ผู้อื่น ที่ว่างทั้ง 5 ประเภทนั้น สัมพันธ์กันทั้ง จากบน ลงล่างและจากล่างขึ้นบน โดยที่ว่างแห่งตรรกะ นั้ น เป็ น ตั ว ช่ ว ยควบคุ ม ทิ ศ ทางการดำ � รงอยู่ ของมนุษย์ ในขณะเดียวกันที่ว่างแห่งรูปธรรม ก็ ก่ อ ให้ เกิ ด พลั ง แห่ ง ชี วิ ต ในการปะทะสั ง สรรค์ ระหว่างโลกที่แวดล้อมกับตัวของมนุษย์โดยที่จุด กึ่งกลางของการปะทะสังสรรค์นี้ก็คือ ที่ว่างแห่ง การดำ�รงอยู่(existence) ที่ซึ่งมนุษย์ได้ถ่ายทอด ความเข้ า ใจและความหมายของการดำ � รงชี วิ ต ของตนภายใต้โลกที่แวดล้อม (being-in-theworld) และมีสัมพันธ์กับผู้อื่น/สิ่งอื่น (beingwith-the-other)

ท้ายที่สุดคือ มนุษย์ไม่เพียงแต่กระทำ�รับรู้ และ ดำ�รงอยู่ภายใต้ที่ว่างเท่านั้นแต่มนุษย์ยังรู้จักการ สร้างสรรค์สิ่งต่างๆ เพื่อแสดงออกถึง มโนภาพ แห่งจักรวาล (imago mundi) ของตนเองไป พร้อมๆกัน ซึ่งการแสดงออกในเชิงสร้างสรรค์ ดังกล่าวนี้อาจจะเรียกได้ว่าเป็น ที่ว่างแห่งการ แสดงออก (expressive space) หรือ ที่ว่าง แห่งศิลป์และการสร้างสรรค์ (artistic space) โดยที่ว่างดังกล่าวนี้ก็มีระบบหรือโครงสร้างใน การแสดงออกอย่างมีสุนทรียภาพ (aesthetic) ด้วยกระบวนการสร้างสรรค์และออกแบบโดย สถาปนิกและนักออกแบบทั้งหลายจนเกิดเป็น ที่ ว่างทางสถาปัตยกรรม (architectural space) นอกจากแนวคิดด้านจิตวิทยาของ Piaget แล้ว Norberg-Schulzยังได้นาแนวคิดของนักทฤษฎี ศิลปะและสถาปัตยกรรมอย่าง Dagobert Frey, Rudolf Schwarz และ Kevin Lynch รวมถึงนัก ปรัชญาอย่าง Martin Heidegger, Otto Friedrich Bollnow และ Gaston Bachelard มา พัฒนามาพัฒนาเป็นทฤษฎีสถาปัตยกรรมของ ตน โดย Norberg-Schulz ได้จาแนกระบบความ เข้าใจเชิงสุนทรียภาพของที่ว่างแห่งการดารงอยู่ ออกเป็น 3 องค์ประกอบสำ�คัญอันได้แก่ 1. ศูนย์กลางและสถานที่ (center and place) 2. ทิศทางและเส้นทาง (direction and path) 3. พื้นที่และอาณาเขต (area and domain)


02 DESIGN & THEORY

2-23

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

ปรากฎการศาสตร์ในสถาปัตยกรรม ศูนย์กลาง คือจุดตัง้ ตนของการรับรูโ้ ลกของมนุษย์ แต่ละคน มนุษย์แต่ละคนทีร่ บั รูโ้ ลกจึงดารงอยูภ่ าย ใต้ศนู ย์กลางของตนเสมอ การดำ�รงอยูน่ น้ ี อกจาก เป็นการแสดงถึงจุดยืนของตนเองแล้วยังเป็นการ แสดงถึงว่าตนเองนั้นสัมพันธ์กับโลกภายนอก อย่างไร โดย Norberg-Schulz ได้อา้ งถึงงานศึกษา ของ Mircea Eliade ทีว่ า่ การเดินทางเข้าสูศ่ นู ย์กลาง/ แกนโลก (axis mundi) เป็นการเดินทางทีฟ ่ นั ฝ่าความ ยากลำ�บาก โดยต้องผ่านบททดสอบมากมาย เพือ่ ไป สูศ่ นู ย์กลางแห่งชีวติ ทีซ่ ง่ ึ มนุษย์ได้จากมา จากนิยามดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าศูนย์กลางไม่ ได้เป็นเพียง จุดยืน หรือ ถิ่นที่ ของมนุษย์แต่ละ คนเท่านั้น แต่ศูนย์กลางยังแสดงเป้าหมาย ที่ มนุษย์ต้องการจะมุ่งไปอีกด้วยโดยที่การเชื่อม ต่ อ ระหว่ า งศู น ย์ ก ลางจะเกิ ด ขึ้ น ได้ ก็ ต่ อ เมื่ อ มี ทิศทาง และ เส้นทาง ในการเชื่อมต่อ เส้นทาง เป็นตัวบ่งบอกความสัมพันธ์ระหว่างศูนย์กลาง ต่างๆ เช่นในระนาบแกนนอน (horizontal axis) ทุกอย่างจะอยู่ในระดับที่เท่าเทียมกัน แต่เมื่อมี การยกระดับขึ้นหรือกดให้ต่ำ� จะเป็นการสื่อถึง สถานะที่แตกต่างกัน โดย Eliade ได้ระบุว่าแกนโลก/จักรวาล ไม่ เพียงแต่ทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางของสรรพสิ่ง ในจักรวาลเท่านั้นแต่แกนโลกยังทาหน้าที่เชื่อม ต่อระหว่างโลก/ภพภูมิต่างๆ เข้าไว้ด้วยกัน และ ด้วยการเดินทางออกจากจุดศูนย์กลางหรือแกน จั ก รวาลผ่ า นเส้ น ทางแห่ ง การเปลี่ ย นผ่ า นจาก

สภาวะหนงึ่ ไปยังอีกสภาวะหนงึ่ เท่านั้น ที่จะทำ�ให้ มนุษย์แต่ละคนสามารถเดินทางไปยังดินแดน/ ภพภูมิ (realm) ต่างๆได้ สุดท้ายเมื่อมีศูนย์กลางและทิศทางแล้ว สิ่งที่เกิด ขึ้น ตามมาก็คือ พื้นที่ ที่อยู่โดยรอบ และเมื่อ พืน้ ที่ถูกนิยามหรือให้ความหมาย พื้นที่ก็จะไม่ เป็นเพียงพื้นที่ทั่วไป แต่จะกลายเป็นอาณาเขต/ อาณาบริเวณ ซึ่งมีความหมายแตกต่างกันไป ตามแต่ที่มนุษย์จะให้นิยามหรือความหมายกับ มัน ความเข้าใจในที่ว่างแห่งการดารงอยู่นี้ถือเป็นพื้น ฐานในการวิเคราะห์ที่ว่าง ซึ่งสามารถใช้วิเคราะห์ ตั้งแต่ระดับภูมิประเทศ ภูมิสถาปัตยกรรม ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม แ ล ะ วั ต ถุ ที่ อ ยู่ ภ า ย ใ น สถาปัตยกรรม โดยลักษณะความสัมพันธ์ของ องค์ประกอบทั้ง สามนี้ก็ขึ้นอยู่กับ คุณลักษณะ (character) ที่เกิดขึ้นระหว่างมนุษย์กับโลก แวดล้อม ในแต่วัฒนธรรมที่แตกต่างกันออกไป นอกจากทฤษฎี เ รื่ อ ง“ที่ ว่ า งแห่ ง การดำ � รงอยู่ ” และ “ที่ว่างทางสถาปัตยกรรม” แล้ว Norberg-Schulzยังได้นำ�แนวคิดเรื่อง “จิต วิญญาณแห่งถิ่น” (spirit of place/ genius loci) เข้ามาประกอบในทฤษฎีปรากฏการณ์ ศาสตร์ทางสถาปัตยกรรมของตนโดยที่แนวคิด เรื่องจิตวิญญาณแห่งถิ่นเป็นความพยายามใน การวิ เ คราะห์ คุ ณ ลั ก ษณะของสภาพแวดล้ อ ม

รอบตัวมนุษย์ โดยผ่านโครงสร้างการวิเคราะห์ 3 ประการอันได้แก่ ปรากฏการณ์แห่งถิ่น (phenomenology of place) โครงสร้างแห่งถิ่น (structure of place) และจิตวิญญาณแห่งถิ่น (spirit of place) โดยขั้น แรกเป็นการวิเคราะห์ หรือบรรยายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ในแต่ละ สถานที่ ว่ามีลักษณะสำ�คัญประการใดบ้าง รวม ถึงอารมณ์ความรู้สึกที่เกิดขึ้น เมื่อมนุษย์เข้าไป มีประสบการณ์โดยตรงกับสถาปัตยกรรมหรือ สภาพแวดล้อมเหล่านั้น จากนั้นจึงเป็นการวิเคราะห์ โครงสร้างของที่ว่าง หรือสภาพแวดล้อมที่ก่อให้เกิดสิ่งนั้น ขึ้นมา เช่น การวิเคราะห์ลักษณะความต่อเนื่องของทิวเขา ความสูงและลักษณะของต้นไม้ใบหญ้าในป่าเขา สีสันขององค์ประกอบทางธรรมชาติ หรือวัสดุ ทางสถาปัตยกรรม ฯลฯ และสุดท้ายจึงเป็นการ วิเคราะห์ว่าปรากฏการณ์และโครงสร้างเหล่านี้ที่ เกิดขึ้นนั้น ได้ส่งผลอย่างไรต่อจิตสำ�นึกจนเกิด เป็นจินตภาพ (image) ภายในจิตใจของมนุษย์ แต่ละคน โดย Norberg Schulz ชี้ให้เห็นว่าความ เข้าใจเรื่องจิตวิญญาณแห่งถิ่น เป็นการตอบจุด มุ่ ง หมายในกระบวนการทางจิ ต วิ ท ยาที่ ส าคั ญ สองประการ คือ การกำ�หนดทิศทาง (orientation) และ การกำ�หนดตัวตน(identification) การที่มนุษย์จะสามารถกาหนดทิศทางแห่งชีวิต ของตนได้ มนุษย์จาเป็นต้องรู้ว่าตนเองดำ�รงอยู่ ในสถานที่ใด (where he is) และในเวลาเดียวกัน

การที่มนุษย์จะสามารถกาหนดตัวตนให้เข้ากับ โลกที่แวดล้อมตัวของพวกเค้าได้ ก็ต่อเมื่อพวก เค้ารู้ว่าจะ ดำ�รงอยู่อย่างไร (how he is) ใน สถานที่แห่งนั้น ซึ่งกระบวนการทั้งหมดนี้จะเกิด ขึ้น ได้ต่อเมื่อมนุษย์เข้าใจและตระหนักรู้ได้ถึงจิต วิญญาณแห่งถิ่นที่ตนจะเข้าไป อาศัยอยู่ (dwelling)ก่อนที่จะเกิดประสบการณ์ และสร้างความ หมายให้กับการดำ�รงอยู่ของตนเองในถิ่น/สถาน ที่แห่งนั้น


02 DESIGN & THEORY

2-24

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

ภาพที่ 2.21 A.PEREZ-GOMEZ01 ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

a.Perez-Gomez is an eminent architectural historian

ทฤษฎีการศึกษาสถาปัตยกรรมในเชิงปรากฏการณ์ศาสตร์ไว้ดงั ต่อ ไปนีโ้ ดย Perez-Gomez ได้ระบุวา่ ... “สถาปัตยกรรมได้มอบพื้นที่แห่งการกาหนดทิศทางในการ ดำ�รงอยู่ให้กับสังคมสถาปัตยกรรมเป็นตัวแทนของการก ระทำ�ที่เปี่ยมด้วยความหมาย ซึ่งบ่งบอกถึงความเข้าใจต่อ พื้นที่/จุดยืนของมนุษย์แต่ละคนในโลกใบนี้”


02 DESIGN & THEORY

2-25

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

การรับรูผ้ า่ นประสาทสัมผัสทางร่างกาย

a. PerezGomez

นอกจากนี้ Perez-Gomez ยังได้วพ ิ ากษ์สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ (ในมุมมองของนักปรากฏการณ์ ศาสตร์) ไว้วา่ ... “ทฤษฎีทางสถาปัตยกรรมสมัยใหม่มุ่งหวังจะนาคุณภาพชีวิตที่ดีมาสู่มนุษยชาติ โดยใน ทางทฤษฎีแล้ว มันอาจจะมีรากฐานที่สัมพันธ์กับความรู้ทางด้านกวีนิพนธ์, ความรู้ด้าน ปรัชญา, ความรู้ทางด้านเทววิทยา, ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ซึ่งแปรผันไปตามแต่ละ ช่วงเวลาของมัน แต่ทั้งนี้สถาปัตยกรรมโดยตัวของมันเองกลับไม่ใช่สิ่งเหล่านั้นเลย แต่ สถาปัตยกรรมนั้นเป็น ‘ปรากฏการณ์’ มันเป็นสิ่งที่ไม่จีรังยั่งยืน แต่ก็มีพลังพอจะเปลี่ยน วิถีชีวิตของผู้คนได้ประหนึ่งดังเวทมนต์ สถาปัตยกรรมโดยตัวของมัน อาจจะเป็นสิ่งที่บรรจุองค์ความรู้ไว้ แต่ถึงกระนั้นมันก็ เป็นมากกว่าเพียงการให้ข้อมูลธรรมดาๆ มันเป็นองค์ความรู้เกี่ยวกับโลกแวดล้อม ซึ่ง สามารถสัมผัสหรือรับรู้อย่างมีอารมณ์ความรู้สึกร่วมได้ โดยผ่านประสบการณ์ทาง ร่างกาย และด้วยสาเหตุนี้ ‘ความหมาย’ ของสถาปัตยกรรม จึงไม่สามารถถูกทำ�ให้เหลือ เพียงความเข้าใจเชิงวัตถุวิสัย (objectified) หรือเหลือเพียงแค่ประโยชน์ใช้สอย หรือเป็น เพียงสไตล์หรือสูตรที่เป็นระบบเท่านั้น”

ภาพที่ 2.22 A.PEREZ-GOMEZ02 ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


02 DESIGN & THEORY

2-26

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

การรับรูผ้ า่ นประสาทสัมผัสทางร่างกาย ภาพที่ 2.23 JUHANI PALLASMAA ที่มา : CHAWANPAT, 2561

ในขณะที่ Juhani Pallasmaa ได้กล่าวถึงการรับรูส้ ถาปัตยกรรมในเชิงปรากฏการณ์ศาสตร์ โดยเชือ่ มโยงเข้ากับ การรับรูด้ ว้ ยประสาทสัมผัสทางร่างกายไว้วา่ ... “ทุกๆ ประสบการณ์ในทางสถาปัตยกรรม คือความรู้สึกอันหลากหลาย (multi-sensory) ไม่ ว่าจะเป็นการรับรู้รูปทรง พื้นที่ว่าง หรือขนาด ล้วนแต่ถูกชั่งและตวงวัดด้วย ตา หู จมูก ผิวหนัง ลิ้น กระดูก และกล้ามเนื้อ สถาปัตยกรรมนั้นเกี่ยวข้องกับดินแดนแห่งประสบการณ์ทางความรู้สึกทั้ง 7 ที่มาปะทะสังสรรค์และผสมผสานเข้าด้วยกัน”

จากข้อมูลเบือ้ งต้นแสดงเห็นได้วา่ ทัง้ Perez-Gomez และ Pallasmaa ให้ความสาคัญกับการสร้างความหมายทีเ่ กิด ขึน้ จาก การทีม่ นุษย์เข้าไปมีประสบการณ์กบั สถาปัตยกรรม โดยอาศัยประสาทสัมผัสพืน้ ฐานทัง้ 5 อันได้แก่ ตา (มอง เห็น) หู (ได้ยนิ ) จมูก (ได้กลิน่ ) ลิน้ (รับรส) กาย (อุณหภูมิ ผิวสัมผัส และการเคลือ่ นที)่ ทีเ่ ข้าไปมีปฏิสมั พันธ์กบั โลกที่ แวดล้อมโดยตรง แล้วจึงส่งผลกระทบไปยังประสาทสัมผัส ทีห่ กซึง่ ก็คอื “จิตใจ” จนทำ�ให้เกิดความหมายของ การดำ�รง อยูภ่ ายในโลกแห่งชีวติ (being-in-the-life-world)

Juhani Pallasmaa is a Finnish architect and former professor of architecture

แนวคิ ด ดั ง กล่ า วนี้ แ สดงให้ เ ห็ น ว่ า การรั บ รู้ เ ชิ ง ปรากฏการณ์ศาสตร์ทางสถาปัตยกรรม มิใช่เพียง แต่เป็นการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางกายภาพที่เกิด ขึ้นเท่านั้น แต่ยังมองย้อนกลับมาที่อารมณ์ความรู้สึก ของมนุษย์ที่เกิดขึ้นจากประสบการณ์หลากสัมผัส โดย อาศัย ร่างกายของมนุษย์ แต่ละคนเป็น ตัวกลางในการ รับรู้ (mediumof perception) จึงจะทาให้การรับรู้นั้น เกิดขึ้น ได้ และด้วยเหตุนี้ร่างกายและประสาทสัมผัส ของมนุ ษ ย์ จึ ง มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ สถาปั ต ยกรรม อย่างแยกออกจากกันมิได้ เพราะการที่มนุษย์จะสร้าง

ความหมาย ให้เกิดขึ้น กับสถาปัตยกรรมและโลกที่ แวดล้อมตนเองจนก่อให้เกิดโลกแห่งชีวิตขึ้น ได้นั้น ก็ จำ�เป็นต้องอาศัยร่างกายที่เปี่ยมด้วยชีวิตของตนเอง ในฐานะตั ว กลางที่ เ ข้ า ไปสร้ า งประสบการณ์ ร่ ว มกั บ สถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อมเหล่านั้น จึงจะเกิด เป็นความหมายที่สมบูรณ์ได้

หมายเหตุ: เห็นได้วา่ มุมมองและวิธวี ทิ ยาทีใ่ ช้ในการศึกษาสถาปัตยกรรมที่ กล่าวมาทัง้ หมดข้างต้น มีพฒ ั นาการทีส่ มั พันธ์กบั แนวคิดเรือ่ ง โลกแห่งชีวติ (life-world) ของ Edmund Husserl, การดำ�รงอยู่ ในโลก(being-in the-world) และ การดำ�รงอยูร่ ว่ มกับผู/้ สิง่ อืน่ (being-with-the-other) ของ Martin Heidegger, และร่างกาย ทีเ่ ปีย่ มด้วยชีวติ (lived body) ของ Maurice Merleau-Ponty อย่างชัดเจน


02 DESIGN & THEORY

2-27

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

การรับรูผ้ า่ นประสาทสัมผัสทางร่างกาย

ปรากฏการณ์ศาสตร์ในทางศาสนา เกิดขึน้ ทัง้ จากการประสบการณ์ทาง พิธกี รรม และ การเข้าไปมีประสบการณ์กบั สถาปัตยกรรมทางศาสนา ก่อนทีจ่ ะนำ�ไปสู่ “การเปลีย่ นสภาวะจิต” (spiritual transformation) ซึง่ เปลีย่ นจากโลกแห่งโลกียะ (profane world) ให้กลายเป็นโลกแห่งความ ศักดิส์ ทิ ธิ์ (sacred world) และเปลีย่ นจากโลกียบุคคล (profane man) ให้กลายเป็นบุคคลผูศ้ กั ดิส์ ทิ ธิ์ (sacred man) ซึง่ ทัง้ หมดนีถ้ อื เป็นเป้า หมายสูงสุดของพิธกี รรมทางศาสนาทัง้ มวล โดยสถาปั ต ยกรรมทางศาสนาเปรี ย บเสมื อ นจอกศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ทำ � หน้ า ที่ เ ป็ น ภาชนะ(vessel)ซึ่ ง รองรั บ การเผยแสดงของความ ศักดิ์สิทธิ์(ผ่านกระบวนพิธีกรรม)ดังนั้นการศึกษาสถาปัตยกรรม ทางศาสนาจึ ง ไม่ ใ ช่ เ พี ย งแค่ ก ารตี ค วามหรื อ เข้ า ใจความหมาย ที่ ซ่ อ นอยู่ ภ ายใต้ สั ญ ลั ก ษณ์ ( ซึ่ ง ถู ก นำ � มาใช้ อ อกแบบเป็ น รู ป ทรงหรื อ สั ด ส่ ว นของตั ว สถาปั ต ยกรรม)เท่ า นั้ น แต่ ก ารศึ ก ษา สถาปัตยกรรมทางศาสนายังจาเป็นต้องศึกษาประสบการณ์ในเชิง พิธีกรรมที่เกิดขึ้นจริงภายในสถาปัตยกรรมเหล่านั้นไปพร้อมๆ กัน ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งพิ ธี ก รรมและสถาปั ต ยกรรมที่ เ กิ ด ขึ้ น ไป พร้อมๆ กันนี้ Lindsay Jones ได้นิยามมันไว้ว่าเป็น “ปรากฏการณ์ ทางพิธีกรรม-สถาปัตยกรรม” (Ritual Architectural Event) ซึ่ง หมายความว่าความหมาย (meaning) ที่เกิดขึ้นจากปรากฏการณ์

ทางสถาปัตยกรรมนั้นมิใช่สิ่งที่เกิดขึ้นจากตัวอาคารเอง (ในฐานะ สิ่งของที่เป็นวัตถุวิสัย) และก็มิใช่สิ่ง ที่เกิดขึ้นภายในจิตของผู้เข้าไป ใช้อาคารเอง (ในฐานะจิตที่เป็นอัตวิสัย) แต่ความหมายนั้น เกิดขึ้น จากการมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่าง ตัวอาคาร (building) และ มนุษย์ ในฐานะผู้ใช้อาคาร (beholder) และความหมายที่เกิดขึ้นระหว่าง มนุษย์และสถาปัตยกรรมนัน้ ยังเป็นสิ่งที่มี ความเฉพาะ (specific) ซึ่งแปรผันไปตามแต่ละสถานการณ์ แต่ละบุคคล แต่ละช่วงเวลา และ แต่ละสถานที่อีกด้วย จากมุ ม มองข้ า งต้ น ที่ ไ ด้ ก ล่ า วมาทั้ ง หมดนี้ ส ามารถสรุ ป ได้ ว่าการศึกษาสถาปัตยกรรมทางศาสนานัน้ไม่ใช่เพียงการศึกษา สัญลักษณ์ในเชิงรูปทรง สัดส่วน สิ่งประดับประดา ฯลฯ ที่ถูก นำ � มาใช้ สื่ อ ความหมายในการออกแบบสถาปั ต ยกรรมเท่ า นั้ น แต่ ส ถาปั ต ยกรรมทางศาสนาถื อ เป็ น ภาชนะที่ เ ข้ า มารองรั บ พิ ธี ก รรมซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น ไปพร้ อ มกั น กั บ ตั ว สถาปั ต ยกรรมก่ อ น ที่ ม นุ ษ ย์ ผู้ ซึ่ ง เข้ า ไปมี ป ระสบการณ์ ร่ ว มกั บ ปรากฏการณ์ ท าง พิธีกรรมสถาปัตยกรรม เหล่านั้นจะสร้างความหมายขึ้นใน จิตสำ�นึกเกิดเป็นประสบการณ์อันศักดิ์สิทธิ์ที่แยกตัวออกมาจาก โลกียะสภาวะในชีวิตประจาวันของพวกเขา

ภาพที่ 2.24 The Hermeneutics of Sacred Architecture, Lindsay Jones ที่มา : https://www.bookdepository.com/Hermeneutics-Sacred-Architecture-Hermeneutical-Calisthenics-Morphology-Ritual-architectural-Priorities-v-2-Lindsay-Jones/9780945454243, 2561


02 DESIGN & THEORY 2-28 2.4.4 การเปลี่ยนสถาวะเข้าสู่ความศักดิ์สิทธ์ภายใต้ปรากฎการณ์ทางพิธีกรรม-สถาปัตยกรรม ผ่านการรับรู้ของมนุษย์

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

perception

การเปลีย่ นสภาวะเข้าสูก่ ารรับรู้

การเปลีย่ นสภาวะทางอารมณ์ความรูส้ กึ ศักดิส์ ทิ ธิเ์ กิดขึน้ จาก

ปรากฏการณ์ ท างพิ ธี ก รรม-สถาปั ต ยกรรมได้ ก็ ต้ อ งอาศั ย ประสาทการรับรู้ของมนุษย์เป็นพื้นฐานเสมอโดยที่ประสาทสัมผัส ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับพิธีกรรม-สถาปัตยกรรมนั้น สามารถแบ่ง ออกได้ดังนี้ 1) ประสาทรับรู้ทางการมองเห็น (Visual Perception), 2) ประสาทรับรู้ทางการได้ยินเสียง (Auditory Perception), 3) ประสาทรับรู้ทางการดมกลิ่น (Olfactory Perception), 4) ประสาทรับรู้ทางร่างกายและการเคลื่อนไหว (Haptic and Kinesthetic Perception)

การรับรูโ้ ลกทีแ่ วดล้อมตัวมนุษย์ ในระหว่างทีเ่ ข้าไปมีประสบการณ์รว่ ม กับ ปรากฏการณ์ทางพิธกี รรม-สถาปัตยกรรม ก่อนทีก่ ารรับรูใ้ นเชิง สุนทรียภาพทีเ่ กิดจากประสบการณ์เหล่านัน้ จะช่วยยกระดับจิตใจของ มนุษย์ให้เข้าสูส่ ภาวะของความศักดิส์ ทิ ธิ์ ดังนัน้ แล้วการจะทำ�ความเข้าใจ ปรากฏการณ์ทางพิธกี รรม-สถาปัตยกรรม จึงมิใช่เพียงการพิจารณา เพียงแต่พน้ื ทีว่ า่ งหรือรูปทรงทางสถาปัตยกรรมในเชิงสัญลักษณ์เท่านัน้ แต่จาเป็นทีจ่ ะต้องพิจารณาประสบการณ์ทเ่ ี กิดขึน้ จากปรากฏการณ์ใน พืน้ ทีว่ า่ งทางสถาปัตยกรรมโดยตรง ก่อนที่ ประสบการณ์ในเชิงสุนทรี ยะ (artisticexperience) จะนำ�ไปสูก่ ารเปลีย่ นสภาวะทางด้านอารมณ์ หมายเหตุ: ความรูส้ กึ ทีช่ ว่ ยยกระดับจิตใจของมนุษย์ ประสาทการรั บ รู้ ท างรสชาติ ถื อ ว่ า ไม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การรั บ รู้ สถาปัตยกรรม เพราะโดยทั่ว ไปมนุษย์มิได้เสพสถาปัตยกรรมทาง การทำ � ความเข้ า ใจประสบการณ์ ท างสุ น ทรี ย ะที่ เ กิ ด ขึ้ น จาก รสชาติ

ภาพที่ 2.25 Perception ที่มา : https://www.researchgate.net


02 DESIGN & THEORY 2.4.4.1 ประสาทการรับรู้ทางการมองเห็น

2-29

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

visual perception ประสาทการรับรูท้ างการมองเห็น

การรับรูท้ างการมองเห็น

(visual perception) ถือเป็นประสาทการรับรูท้ ่ ี เป็นพืน้ ฐานสาคัญในการรับรูป้ รากฏการณ์ทาง พิธกี รรม-สถาปัตยกรรม มนุษย์ตงั ้ แต่โบราณกาล มีกระบวนการทางพิธกี รรมทีท่ �ำ ให้คณ ุ ลักษณะของ สิง่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับพิธกี รรม มีสภาพเหมาะสมกับ การเข้าสูค่ วามศักดิส์ ทิ ธิอ์ นั เป็นอุตรภาวะ (สิง่ ทีเ่ ราไม่ สามารถรับรูไ้ ด้ แต่ดว้ ยเหตุผลและจินตนาการทำ�ให้ เราสามารถคิดถึงมันได้) ตัง้ แต่การเปลีย่ นสภาวะการ มองเห็นทีเ่ กิดขึน้ บนร่างกายของตนเอง เช่น การ สักหรือการแต้มสีเป็นลวดลายทีส่ อ่ ื ถึงเรือ่ งราวใน ตำ�นานในระหว่างประกอบพิธกี รรม ไปจนถึงการ แปลงสภาพของอุปกรณ์ และ สถาปัตยกรรม (ใน ฐานะสภาพแวดล้อมสร้างสรรค์) ทีเ่ ข้ามารองรับ พิธกี รรมไปพร้อมๆ กัน การแปลงสภาพจากโลกียะไปสู่สภาวะของความ ศักดิ์สิทธิ์ ผ่านการรับรู้ทางสายตาขั้น พื้นฐาน ที่สุดก็คือ การรับรู้ผ่านรูปทรงและพื้นที่ซึ่งมี คุณลักษณะที่แตกต่างกัน รวมไปถึงการสร้าง

พื้ น ที่ ว่ า งภายในที่ ช่ ว ยส่ ง เสริ ม พิ ธี ก รรมและ การแปลงสภาวะจิตของผู้เข้าร่วมพิธีไปพร้อมๆ กันด้วย ตัวอย่างเช่น การเว้นช่องเปิดภายใน อาคารของสถาปัตยกรรมประเภทวัดในประเทศ ญี่ปุ่น ช่องเปิดเหล่านี้ไม่ได้มีไว้เพียงเพื่อสนอง ต่ อ ประโยชน์ ใช้ ส อยในเรื่ อ งของการนาแสงเข้ า มาภายในอาคารเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงเป็นการ สร้าง กรอบภาพ อันเป็นจุดสนใจของการรับรู้ให้ เกิดขึน้ ภายในพื้นที่ว่างนั้น กรอบภาพดังกล่าว มีไว้เพื่อให้ผู้เข้าร่วมพิธีได้ใช้พิจารณาสติ ด้วย การสังเกตการเคลื่อนไหวและเปลี่ยนแปลงของ ธรรมชาติภายนอกเพื่อให้เกิดปัญญารู้แจ้ง เข้าใจ ถึ ง ธรรมะที่ ซ่ อ นอยู่ ภ ายใต้ ค วามเปลี่ ย นแปลง ทางธรรมชาติเหล่านั้นไป เป็นต้น

ภาพที่ 2.26 บรรยากาศนั่งจิบชาของชาวญี่ปุ่น ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


02 DESIGN & THEORY

การรังสรรค์งานศิลปะและสถาปัตยกรรมทีใ่ ช้รว่ ม กับพิธีกรรมไม่ได้จำ�กัดอยู่แค่เพียงการรับรู้ทาง สายตาในฐานะเป็นผูม้ องจากภายนอกเท่านัน้ แต่ยงั รวมไปถึงการเข้าไปมีสว่ นร่วมกับการเปลีย่ นสภาวะ ทางพืน้ ทีแ่ ละเวลาในเชิงพิธกี รรม-สถาปัตยกรรมอีก ด้วย ตัวอย่างเช่น การกาหนดพืน้ ทีแ่ ละช่วงเวลาแห่ง ความศักดิส์ ทิ ธิใ์ นการละหมาดของชาวมุสลิมด้วย การใช้พรมในการรองรับพืน้ ทีล่ ะหมาดพรมแต่ละ ผืนนัน้ ล้วนแต่มลี วดลายทีแ่ ตกต่างหลากหลายกัน ออกไป แต่ลายทีเ่ ป็นทีน่ ยิ มทอมากทีส่ ดุ ลายหนึง่ ก็คอื ลาย สวนสวรรค์ (Garden of Paradise) หรือ เอเดน (Eden) ซึง่ ถูกบันทึกเรือ่ งราวไว้ในคัมภีรป์ ฐมกาล (Genesis) โดยทีภ่ าพของสวนสวรรค์ทถ่ ี กู ถักทอใน พรมที่ใช้ละหมาดเหล่านั้นมักจะประกอบด้วยภาพ ของต้นไม้แห่งชีวติ (Tree of Life) อันอุดมสมบูรณ์ซง่ ึ ตัง้ อยูก่ ลางสวนเอเดน (ปฐมกาล 2: 9) และแวดล้อม ไปด้วยปริมณฑลของสวนสวรรค์ทง้ ั 4 ทิศ ในกรณี นี้ ก ารปู พ รมที่ มี สั ญ ลั ก ษณ์ ข องสวน เอเดนในระหว่างการละหมาด คือ ส่วนหนึ่งของ พิธีกรรมที่เป็นเครื่องหมายเตือนใจให้ชาวมุสลิม ระลึกถึงการละทิ้งบาปและหวนกลับคืนไปสู่พระ ผู้เป็นเจ้า เฉกเช่นเดียวกันกับครั้ง มนุษย์ยัง

2-30

อาศัยอยู่ในสวนเอเดน อันเป็นปริมณฑลแห่ง ความสมบู ร ณ์ ใ นช่ ว งเวลาแห่ ง การถื อ กำ � เนิ ด โดยในระหว่างพิธีกรรม พรมได้กลายสภาพมา เป็นเครื่องมือทางพิธีกรรม-สถาปัตยกรรมที่ ทำ�หน้าที่กำ�หนด พื้นที่แห่งความศักดิ์สิทธิ์ ให้ แยกตั ว ออกมาจากพื้ น ที่ แ ห่ ง โลกี ย สภาวะที่ อ ยู่ โดยรอบได้ อ ย่ า งชั ด เจนและไม่ เ พี ย งแต่ ก ารใช้ พรมซึ่ง เป็นอุปกรณ์ทางพิธีกรรมเท่านั้น ตัว สถาปั ต ยกรรมเองก็ ทำ � หน้ า ที่ ใ นการเปลี่ ย น สภาวะของพื้นที่ว่างภายในได้เช่นเดียวกับการ ใช้พรม เช่น ในกรณีการใช้กระจกสีภายในช่อง เปิดของมัสยิดซึ่งทำ�ให้ได้คุณภาพของแสงอัน วิจิตรงดงามที่สาดส่องเข้ามายังพื้นที่ว่างภายใน ก็สะท้อนภาพของสรวงสวรรค์อันงดงามที่พระ ผู้เป็นเจ้าสร้างสรรค์ซึ่งปรากฏขึ้น มาในระหว่าง การประกอบพิธีกรรมด้วยเช่นกัน

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

ภาพที่ 2.27 ผ้าลายสวนสวรรค์ ไว้ใช้รองนั่งละหมาดของชาวมุสลิม ที่มา : https://storylog.co/story/55bac0e82bf1b6fdbf311c78

ภาพที่ 2.28 Nasir-ol-molk Mosque ที่มา : http://pearlvacations.co.th/public/img/upload/tour/, 2561


02 DESIGN & THEORY 2.4.4.2 ประสาทการรับรู้ทางการได้ยินเสียง

2-31

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

auditory perception ประสาทการรับรูท้ างการได้ยนิ เสียง

การเปลี่ ย นสภาวะจิ ต ด้ ว ยประสาทการรั บ รู้ ทางการได้ยนิ เสียง พบได้

ทุกวัฒนธรรมความเชือ่ แต่โบราณไม่วา่ จะเป็นในรูป แบบของการตีฆอ้ ง ตีกลอง การสวดมนต์ การ ขับร้องบทเพลงในพิธกี รรม ฯลฯ ทัง้ หมดนัน้ ถูก ใช้เพือ่ แปลงสภาพจิตของผูเ้ ข้าร่วมพิธใี ห้ตง้ ั มัน่ อยู่ ท่ามกลางปริมณฑลแห่งเสียงอันศักดิส์ ทิ ธิท์ ง้ ั นีเ้ พราะ เสียงทีเ่ กิดขึน้ ในพิธกี รรมนัน้ มิใช่เสียงธรรมดาแบบ โลกียสภาวะ แต่เป็นเสียงทีเ่ ปีย่ มไปด้วยความหมาย ของการดำ�รงอยูข่ องจักรวาลอันศักดิส์ ทิ ธิ์ ตามความเชื่ อ ของชาวฮิ น ดู ก่ อ นที่ ส รรพสิ่ ง จะอุบัติขึ้นมา จักรวาลอยู่ภายในภาวะที่เรียก ว่า“Shunyākāsha” ซึ่งมีแต่เพียงความว่างเปล่า (void) แต่เมื่อมีเสียง “โอม” (Om / A-U-M) ปรากฏขึ้น ท่ามกลางความว่างเปล่า ก็ทาให้เกิด การสนั่ สะเทือนครั้งใหญ่จนบันดาลให้สรรพสิ่ง อุบัติขึ้นมา “โอม” จึงเป็นสัญลักษณ์ทางเสียง ที่สื่อถึงจักรวาลอันศักดิ์สิทธิ์ ดังนั้น “โอม” จึง

ถูกใช้ขึ้นต้นและส่งท้ายคัมภีร์พระเวท (Vedas) รวมถึงบทสวดต่างๆของชาวฮินดูการกล่าวคำ� ว่า “โอม” ยาวๆ ซา้ ๆ ถือเป็นการทำ�สมาธิ ซึ่ง เสียงโอมที่เกิดขึ้นนั้น จะได้สะท้อนเข้าไปภายในถึง จิตใจของผู้กล่าวมนตรา จนทำ�ให้สภาวะจิตของ คนเหล่านั้นดำ�รงอยู่ในสภาวะอันสงบนิ่งและเป็น หนึ่งเดียวกับความศักดิ์สิทธิ์/พระผู้เป็นเจ้า จากตัวอย่างข้างต้นแสดงให้เห็นถึงความสำ�คัญ ของการสร้างปริมณฑลแห่งเสียงอันศักดิ์สิทธิ์ ที่ เ ผยแสดงมิ ติ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ให้ เกิ ด ขึ้ น ในเชิ ง พื้ น ที่ และเวลา ในขณะเดียวกันสถาปัตยกรรมก็ ทำ�หน้าที่มารองรับพิธีกรรมเหล่านี้ ทั้งในแง่ ที่ สถาปัตยกรรมทำ�หน้าที่สร้างสภาวะที่เหมาะ สมกับเสียงเหล่านั้นหรือ สถาปัตยกรรมทา หน้าที่เป็นตัวเปลี่ยนสภาวะทางการได้ยินเสียง เอง โดยในกรณีแรกนั้น สถาปัตยกรรมมักจะ ทำ � หน้ า ที่ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ช่ ว ยสร้ า งจุ ด กำ � เนิ ด เสียง ตัวอย่าง หอระฆังประจาโบสถ์ในคริสต์ ศาสนา ซึ่งถือเป็นองค์ประกอบสาคัญที่อยู่คู่กับ ตัวอาคารโบสถ์มาตลอด ไม่ว่าจะเป็นหอระฆังที่มี

ลักษณะแยกออกจากตัวโบสถ์ เช่น หอระฆังสมัย ศิลปะคริสเตียนยุคต้น และหอระฆังของโบสถ์ แบบ Renaissance ในอิตาลีที่เรียกว่า Campanile หรือหอระฆังที่เป็นหนึ่งเดียวกับตัวอาคาร โบสถ์ อย่างโบสถ์สไตล์ Gothic ซึ่งหอระฆังถือ เป็นส่วนหนึ่งของผนังทางเข้าด้านทิศตะวันตก (West Façade) เป็นต้น หรือในกรณีของหอ Minaret ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมที่ถูกสร้างขึ้น มา เพื่อใช้อาซาน (azan)* ในศาสนาอิสลาม หรือใน กรณีหอระฆังในวัดทางพุทธศาสนา ทั้งหมดนี้ ล้วนแต่เป็นสถาปัตยกรรมที่ถูกสร้างขึ้น เพื่อ ช่วยส่งเสริมการแปลงสภาวะจิตของมนุษย์ให้จม อยู่กับ ปริมณฑลแห่งเสียงอันศักดิ์สิทธิ์ ทั้งสิ้น การสร้างเสียงเหล่านี้ล้วนแต่เป็นพิธีกรรมที่บ่ง บอกถึ ง ช่ ว งเวลาแห่ ง ความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เ ป็ น การ สร้ า งเวลาอั น ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ทั บ ลงไปบนเวลาแบบ โลกียะตัวอย่างเช่น ในธรรมเนียมของคริสต์ ศาสนาจะมี ก ารตี ร ะฆั ง พรมถื อ สาร(Angelus) เพื่อบอกเวลาวันละ 3 ครั้ง (ครั้งละ 3 ที) เพื่อ เป็นการเตือนสติของคริสตชนให้ระลึกถึงชีวิต

ฝ่ายจิตวิญญาณ (อันเป็นชีวิตศักดิ์สิทธิ์) ใน ระหว่างการดารงชีวิตบนโลกใบนีอ้ ยู่ตลอด เวลา ความหมายที่ซ่อนอยู่ภายใต้พิธีกรรมนี้ก็ เป็นเฉกเช่นเดียวกันกับเสียงอาซาน เพื่อเรียก ไปทำ�การละหมาดของชาวมุสลิมที่กระทำ�วันละ 5 เวลาเพื่อเตือนใจให้มุสลิมระลึกถึงชีวิตฝ่ายจิต วิญญาณ (ด้วยการสรรเสริญพระผู้เป็นเจ้า) อยู่ ตลอดเวลา *อาซาน (azan) หรือ Adhan หมายถึง การเรียกมุสลิมให้ มาประกอบพิธีละหมาดที่มัสยิด โดยที่การอาซานนัน้ จะมี บทขับร้องที่มีเนื้อ หาเฉพาะเจาจะจง โดยมีผู้ขับร้องที่เรียก ว่า Muezzin คอยทำ�หน้าที่กล่าว/ขับร้องนาในบทสวดดัง กล่าว


02 DESIGN & THEORY

ในขณะเดียวกัน สถาปัตยกรรมก็ไม่ได้ท�ำ หน้าทีเ่ พียงเพือ่ มาร องรับการสร้างจุดกาเนิดเสียงภายนอกอาคารเท่านัน้ แต่ตวั สถาปัตยกรรมเองยังรองรับต่อเสียงของพิธีกรรมที่เกิดขึน้ ภายในอาคารด้วย ตัวอย่างเช่น การขับท่วงทานอง (chant) ซึง่ มี ทัง้ ทีเ่ ป็นบทเพลงหรือบทสวด รวมไปถึงการใช้อปุ กรณ์ประกอบ พิธกี รรมอืน่ ๆ อีกมากมาย ตัวอย่างอันโดดเด่นอันหนึง่ ทีแ่ สดง ถึงหน้าทีข่ องสถาปัตยกรรม กับการเปลีย่ นสภาวะจิตประสาท ด้วยการรับรูท้ างการได้ยนิ เสียง ก็คอื สถาปัตยกรรมโบสถ์สไตล์ Gothic ซึง่ มีสดั ส่วนทีส่ งู ชะลูด ด้วยความสูงและสภาพอาคารทีป่ ดิ ทึบและมีมวลทีห่ นา ทาให้เมือ่ บรรดานักขับร้องเปล่งเสียงออกมา

ภาพที่ 2.29 การประสานเสียงร้องเพลง ที่มา : CHAWNPAT LEELAFUENGSIN, 2561

2-32

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

เป็นบทเพลง เสียงทีเ่ กิดขึน้ ภายในอาคารจะเกิดสภาวะทีเ่ รียกกันว่า การสะท้อนกลับของเสียง (reverberation) เนือ่ งจากเสียงทีเ่ กิด ไม่ได้หายไปในอากาศในทันที แต่กลับสะท้อนไปมาอยูภ่ ายในอาคาร จึงทาให้เสียงทีเ่ กิดขึน้ ในอาคารมีสภาพก้องกังวาน (echo) และมี ความหน่วง (delay) เหมือนว่าเสียงนัน้ ยังคงวนเวียนอยูบ่ ริเวณ พืน้ ทีน่ น้ ั

ภาพที่ 2.30 Ely Cathedral ที่มา : CHAWANPAT, 2561


02 DESIGN & THEORY 2.4.4.3 ประสาทการรับรู้ทางการดมกลิ่น

2-33

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

auditory perception ประสาทการรับรูท้ างการดมกลิน่

การรั บ รู้ด้ว ยประสาท สัมผัสทางการดมกลิน่ ก็

เป็นหัวใจสาคัญอย่างหนึ่งในพิธีกรรมซึ่งหนึ่งใน เทคนิคโบราณทีส่ �ำ คัญและยังคงใช้สบื มาจนปัจจุบนั ก็คอื การเผากำ�ยานและเครือ่ งหอม (incense) ในสมัย อียปิ ต์การเผากำ�ยานและเครือ่ งหอมถือเป็นศาสตร์ สาคัญอันหนึง่ ในพิธกี รรมเหล่าเทพเจ้าของอียปิ ต์ ถูกขนานนามว่าเป็นผูค้ งไว้ซง่ ึ กลิน่ อันหอมหวน จาก ตำ�นานของ Osiris และ Isis ซึง่ ส่งกลิน่ อันหอมหวน ออกมาจากร่างกาย กลิน่ เหล่านีม้ ใิ ช่เป็นกลิน่ ธรรมดา สามัญทัว่ ไปแต่เป็นกลิน่ หอมวิเศษทีผ่ ค้ ู นถือว่าเป็นก ลิน่ ทีอ่ บอวลไปด้วยความศักดิส์ ทิ ธิ์ (Odor of Sanctity) การเผาเครือ่ งกายานและเครือ่ งหอม นอกจากจะ เป็นการทาให้เทพเจ้าพึงพอใจแล้ว ในขณะเดียวกันยัง เป็นการจำ�ลองถึงสภาวะแห่งกลิน่ ของเทพเจ้า ด้วย การทีม่ นุษย์สดู ดมกลิน่ อันเป็นเอกลักษณ์ทม่ ี าจาก การจำ�ลองกลิน่ ของเทพเจ้าเปรียบเสมือนว่าบรรดา เทพเจ้าได้มาปรากฏกายผ่านกลิน่ อันหอมหวนเหล่า นัน้ และเมือ่ มนุษย์ปฏิบตั พ ิ ธิ กี รรมเหล่านีบ้ อ่ ยเข้า ก็เริม่ เกิดเป็นความคุน้ ชินกับ กลิน่ อันศักดิส์ ทิ ธิ์ ซึง่ ทุกครัง้

ทีไ่ ด้กลิน่ เหล่านัน้ ั จิตใจของพวกเขาก็จะถูกดึงให้อยูก่ บั การปรากฏของสภาวะศักดิส์ ทิ ธิไ์ ปด้วย อีกหนึ่งตัวอย่างก็คือ ตามพิธีกรรมของศาสนา ยูดาย กำ�ยานและเครื่องหอมถูกใช้ในการเผา บูชาหน้าที่ตั้งของหีบพันธสัญญา (Ark of Covenant) ซึ่งตั้งอยู่ภายในห้องอภิสุทธิสถาน (The Holy of Holiest) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของ พลับพลา (Tabernacle) อันเป็นสถาปัตยกรรม ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องชาวอิ ส ราเอลช่ ว งที่ เ ดิ น ทาง เร่ร่อนอยู่ในทะเลทราย หีบพันธสัญญาถือเป็น จุดศูนย์กลางแห่งความศักดิ์สิทธิ์ที่สำ�คัญที่สุด และถื อ เป็ น หั ว ใจของพลั บ พลาเพราะเป็ น จุ ด ที่ พระผู้เป็นเจ้าจะสนทนาและสำ�แดงตนประทับอยู่ ท่ามกลางชนชาติอิสราเอลทั้ง12 เผ่า การเผากำ�ยานและเครื่องหอมภายในพลับพลา (หน้าห้องอภิสุทธิสถาน) ในช่วงเวลาเช้าและ เย็นของแต่ละวันตามบัญญัตินั้น (อพยพ 30: 6-10) ช่วยสร้างปริมณฑลแห่งกลิ่นอัน ศักดิ์สิทธิ์ (Odor of Sanctity) ให้เกิดขึ้นภายใน

สถาปัตยกรรมพลับพลา ในขณะเดียวกันควันที่ เกิดขึน้ จากการเผาเครื่องหอมซึ่งพุ่งทะยานขึ้น จากตัวพลับพลาและล่องลอยขึ้นสู่ท้องฟ้าเบื้อง บนก็กลายมาเป็นสัญลักษณ์ให้ชนชาติอิสราเอล ได้ระลึกถึงพันธสัญญาและการประทับอยู่ของ พระผู้เป็นเจ้า ท่ามกลางวงศ์วานของพวกเค้าอยู่ ตลอดเวลา ใ น ก ร ณี นี้ เ ร า จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม พลับพลา ได้ถูกสร้างขึ้นโดยคานึงถึงทั้งการ เปลี่ยนสภาวะจิตที่เกิดจากการมองเห็นและการ ดมกลิ่นไปพร้อมกัน ในขณะเดียวกันเราจะเห็น ได้ ว่ า การสร้ า งกลิ่ น และควั น ที่ เ กิ ด ขึ้ น ภายใน อาณาเขตพลับพลา (The Sanctuary) ไม่ได้มี แต่ภายในตัวอาคารพลับพลาเท่านั้น แต่ยังมี แท่นบูชา(altar) ที่ถูกใช้ในพิธีบูชายัญซึ่งตั้งอยู่ ภายนอกพลับพลา (แต่อยู่ภายในอาณาเขตของ พลับพลา) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความหมายและ ลำ�ดับความสาคัญพื้นที่ว่างทางสถาปัตยกรรม ที่สัมพันธ์กับการสร้างปริมณฑลแห่งกลิ่นที่มี ลักษณะที่แตกต่างกัน ระหว่างปริมณฑลแห่ง

กลิ่นที่เกิดขึ้นภายในพลับพลา และ ภายนอก พลับพลา การใช้กำ�ยานและเครื่องหอมประกอบพิธีกรรม เช่ น นี้ ก็ ไ ด้ ถู ก สื บ ทอดแนวคิ ด ต่ อ เมื่ อ คริ ส ต์ ศาสนาได้ ถื อ กาเนิ ด ขึ้ น โดยกายานและเครื่ อ ง หอมถือเป็นองค์ประกอบสำ�คัญอันหนึ่งในพิธี มิ ส ซาซึ่ ง กฎโดยทั่ ว ไปสำ � หรั บ มิ ส ซาตามจารี ต โรมัน ข้อ 276 ได้ให้ความหมายของการถวายกา ยานว่า เป็นการแสดงความเคารพและหมายถึง คำ�ภาวนา ดังที่มีระบุในคัมภีร์วิวรณ์ความว่า… “.ทูตสวรรค์อีกองค์หนึ่งถือถาดทองคำ�สำ�หรับเผา กำ � ยานถวายมายื น อยู่ ห น้ า พระแท่ น บู ช าทู ต สวรรค์ องค์นี้ได้รับกำ�ยานมา เพื่อถวายร่วมกับคำ�อธิษฐาน ภาวนาของผู้ศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายบนพระแท่นทองคำ� ซึ่งอยู่หน้าพระบัลลังก์ ควันของกำ�ยานจากมือของ ทูตสวรรค์พร้อมกับคำ�อธิษฐานภาวนาของบรรดาผู้ ศักดิ์สิทธิ์ลอยขึ้นไปเฉพาะพระพักตร์ของพระเจ้า...” (วิวรณ์ 8:3-4)


02 DESIGN & THEORY

2-34

ภาพที่ 2.32 ควันที่เกิดขึ้นสองจุดคือ การแท่นบูชาภายนอกและภายใน พลับพลา ที่มา : http://artisticwitch.blogspot.com/2011/04/ making-kyphi-or-kapet-egyptian.html, 2561

การออกแบบสถาปัตยกรรมให้ทาหน้าทีร่ องรับปริมณฑลแห่ง กลิน่ ทีป่ รากฏ ถือเป็นเรือ่ งสาคัญไม่แพ้เรือ่ งการรับรูท้ างสายตา เนือ่ งจากกลนิ่ ทีถ่ กู ใช้ในพิธกี รรม โดยมากจะเกิดจากการเผา กำ�ยานและเครือ่ งหอม รวมไปถึงดอกไม้และการพรมน้�ำ หอม ซึง่ ทัง้ หมดนีเ้ ป็นกลิน่ ทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะตัวทีค่ อ่ นข้างรุนแรงและเด่น ชัด การทีม่ นุษย์ตอ้ งอยูใ่ นพืน้ ทีซ่ ง่ ึ มีกลิน่ รุนแรงเป็นเวลานาน ก็ อาจจะทำ�ให้เกิดความรูส้ กึ ไม่สบายต่อประสาทการรับรูแ้ ทนทีก่ ลิน่ เหล่านัน้ จะช่วยดึงสมาธิของผูเ้ ข้าร่วมพิธใี ห้เกิดการเปลีย่ นสภาวะ จิตไปสูก่ ารยกระดับจิตใจ (ตามจุดประสงค์ของพิธกี รรม) ก็จะ กลายเป็นว่ากลิน่ เหล่านัน้ จะไปรบกวนสมาธิของผูเ้ ข้าร่วมพิธแี ทน

ภาพที่ 2.31 พระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ขณะกาลังแกว่งกระถางกายานเพื่อเสก พระแท่น (altar sanctification)ระหว่างพิธีมิสซา ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

ภาพที่ 2.33 ภาพแห่งพิธีกรรมในการเตรียมศพ (มัมมี่) ซึ่งเครื่อง หอมเป็นองค์ประกอบสำ�คัญอันหนึ่งที่ขาดมิได้ในพิธีกรรมนี้ ที่มา : http://artisticwitch.blogspot.com/2011/04/making-kyphi-or-kapet-egyptian.html, 2561

ศักดิ์สิทธิ์ให้แยกออกจากความวุ่นวายภายนอก แต่ในขณะ เดียวกันก็เปิดระนาบที่อยู่เหนือหัวทั้งหมด ซึ่งนอกจากจะ เป็นสัญลักษณ์ของการเชื่อมต่อระหว่างมนุษย์และสวรรค์ แล้ว ยังช่วยทำ�ให้เกิดการระบายอากาศควันที่ถูกจุดขึ้น มา จากธูปและการเผาเครื่องหอม ก็จะลอยสูงขึ้นไปยังท้องฟ้า เบื้องบน

ลั ก ษณะที่ ว่ า งทางสถาปั ต ยกรรมเช่ น นี้ ใ นแง่ ป ระโยชน์ ใช้สอยก็ทำ�ให้เกิดการระบายอากาศที่ดี แม้ว่าจะมีการใช้ธูป จานวนมากก็ตาม ในขณะที่ในแง่ของสุนทรียภาพและการ เปลี่ยนสภาวะจิตนั้นกระถางธูปขนาดใหญ่ที่ตั้งตระหง่าน ดังนั้น ในการออกแบบสถาปัตยกรรมจึงต้องคำ�นึงถึงการ ประกอบกับควันธูปและกลิ่นอันตลบอบอวลที่ฟุ้งกระจาย รองรับปริมณฑลแห่งกลิ่นเหล่านั้น อย่างถูกต้อง และเหมาะ อยู่ท่ามกลางพื้นที่ปิดล้อม (ก่อนจะลอยหายขึ้นไปสู่ท้องฟ้า สมกับแต่ละบริบท เช่น ลักษณะทางสถาปัตยกรรมที่มี เบื้องบน) ได้ช่วยทำ�ให้บรรยากาศที่เกิดขึ้น ภายในลานโล่ง ลักษณะปิดล้อมหมดทุกทิศทุกทาง ก็จะทำ�ให้กลิ่นและควัน นั้น เกิดการแปลงสภาพจากลานโล่งธรรมดา กลายมาเป็น พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ที่มนุษย์ได้ติดต่อกับสวรรค์ และชำ�ระจิตใจ จากการเผาเครื่องหอมไม่สามารถระบายออกไปได้ ของตนให้บริสุทธิ์ ก่อนที่จะเข้าไปสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่ วัดจำ�นวนมากในประเทศจีน ซึ่ง แม้ว่าจะมีพ้ืนที่ว่างภายใน ภายในพืน้ ที่อาคารซึ่งตั้ง อยู่ด้านหลังลานโล่งเหล่านั้น วั ด มี ลั ก ษณะโอบล้ อ มทุ ก ทางเพื่ อ สร้ า งโลกภายในอั น


02 DESIGN & THEORY 2.4.4.4 ประสาทการรับรู้ทางร่างกายเเละการเคลื่นไหว

2-35

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

haptic and kinesthetic perception ประสาทการรับรูท้ างร่างกายเเละการเคลือ่ นไหว ประสาทการรับรูท้ างร่างกายถือว่ามีความซับซ้อน มากกว่าประสาทการรับรูอ้ น่ ื ดังนัน้ การวิเคราะห์ การเปลี่ยนสภาวะจิตด้วยประสาทการรับรู้ทาง ร่างกายและการเคลื่อนไหวอาจแบ่งรายละเอียดได้ เป็น3 ประเภท ดังที่ Steven Holl ได้จ�ำ แนกไว้ซง่ ึ ได้แก่ ประสาทสัมผัสทีเ่ กิดขึน้ ทางผิวหนัง กระดูก และ กล้ามเนือ้ การเปลีย่ นสภาวะจิตผ่านประสาทการรับ รูท้ างผิวหนัง อาจเกิดขึน้ ได้ทง้ ั จากการเปลีย่ นแปลง ของระดับความชืน้ รวมไปถึง การเปลีย่ นแปลง ของแสงและเงาทีพ ่ าดผ่านผิวหนังของผูร้ ว่ มพิธี ไป จนถึงระดับอุณหภูมิท่แี ตกต่างกันในพื้นที่ว่างทาง สถาปัตยกรรม ในขณะทีค่ วามแตกต่างระหว่าง ประสาทการรับรู้ทางกระดูกและกล้ามเนื้อมีความ แตกต่างอยูใ่ นระดับหนึง่ แต่ทง้ ั นีก้ ารจะวิเคราะห์เพือ่ แยกประสาทสัมผัสทัง้ สองออกจากกัน ถือเป็นเรือ่ ง ที่ค่อนข้างลำ�บากเพราะโดยมากมนุษย์มักจะรับรู้ ประสาทสัมผัสทั้งสองนี้ผ่านการเคลื่อนไหวของ ร่างกายไปพร้อมกัน ดังนัน้ ในงานวิทยานิพนธ์ฉบับ นีผ้ วู้ จิ ยั จะขอกล่าวถึงประสาทสัมผัสทัง้ สองประการ นีไ้ ปพร้อมกัน ปรากฏการณ์ ท างพิ ธี ก รรม-สถาปั ต ยกรรม รู ป แบบหนึ่ ง ที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง การออกแบบ สถาปั ต ยกรรมให้ ก ลายเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ พิธีกรรมที่ถือว่ามีความโดดเด่น ก็คือการสร้าง

บันไดทางขึ้นศาสนสถานให้มีความสูงความชัน และระยะทางที่ยาวไกล เพื่อให้ศาสนิกชนต้อง ฟันฝ่าความยากลาบากบนเส้นทางก่อนที่จะได้ เข้าสู่อาคารศาสนสถาน ความยากลำ�บากใน การเดินทางเข้าสู่อาคารศาสนสถานถือเป็นส่วน หนึ่งของพิธีกรรมที่จะช่วยชำ�ระจิตใจของศาสนิ กชนทั้งหลายให้ บริสุทธิ์ จากความยากลำ�บาก ของการเดินทางจะทาให้สภาวะจิตตั้งมั่นอยู่กับ ปัจจุบัน ทำ�ให้จิตหลงลืมเรื่องวุ่นวายที่อยู่นอก เหนื อ ไปจากพื้ น ที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ป รากฏอยู่ เ บื้ อ ง หน้า เมื่อจิตไม่หมกมุ่นอยู่กับเรื่องทางโลกซึ่งเต็ม ไปด้วยบาปหรือกิเลสอัตตาทั้งหลาย ชั่วขณะนั้น จิตใจของมนุษย์ก็จะถูกชำ�ระให้บริสุทธิ์ขึ้น และ พร้อมเข้าสู่พิธีกรรมภายในอาคารศาสนสถาน ซึ่งเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ในลำ�ดับถัดไป ลักษณะเช่นน้ีแสดงให้เห็นว่า สถาปัตยกรรม ไม่ ไ ด้ ทำ � หน้ า ที่ เ พี ย งแต่ ส ร้ า งพื้ น ที่ ว่ า งหรื อ คุณลักษณะที่มารองรับต่อพิธีกรรมเท่านั้น แต่ ในกรณี เ หล่ า นี้ ส ถาปั ต ยกรรมได้ ทำ � หน้ า ที่ เ ป็ น เครื่องมือในการสร้างพิธีกรรมเหล่านั้น ให้เกิด ขึ้นด้วยตัวของมันเอง

ภาพที่ 2.34 ปราสาทหินนครวัด ที่มา : http://travel.trueid.net/detail/kDq4YyM67GA

ภาพที่ 2.35 ถ้ำ� Batu มาเลเซีย ที่มา : http://travel.trueid.net/detail/kDq4YyM67GA


02 DESIGN & THEORY

2-36

อีกหนึง่ ตัวอย่างทีม่ คี วามโดดเด่น ก็คอื พิธชี งชา แบบญีป่ นุ่ (Japanese Tea Ceremony) ทีก่ ระทำ� กันภายในอาคารพิธชี งชา ซึง่ เป็นอาคารหลังเล็กๆ ที่ซ่อนตัวอยู่ภายในปริมณฑลของสวนญี่ป่นุ อัน งดงาม โดยทีอ่ งค์ประกอบทัง้ หมดนีจ้ ะถูกจัดตกแต่ง ไว้ตามปรัชญาแบบลัทธิเซน (Zen) โดยมีคณ ุ ลักษณะ สำ�คัญบางประการเป็นหัวใจนัน่ คือ วาบิ-ซาบิ

สะท้อนผ่านการเดินเท้าบนทางเดินที่ถูกจัดเตรียม ไว้เป็นอย่างดี โดยทีท่ างเดินเหล่านัน้ ส่วนมากจะเป็น ก้อนหินหรือแผ่นหินทีถ่ กู ตัดแต่งไว้ตามธรรมชาติ เล็กบ้างใหญ่บา้ ง ปะปนกันไป โดยการวางจังหวะของ ก้อนหินนัน้ จะสัมพันธ์กบั การเดิน และเนือ่ งจากหิน เหล่านัน้ มักจะมีลกั ษณะเป็นก้อนใหญ่ๆ และวางห่างกัน อย่างเป็นจังหวะๆ

- วาบิ หมายถึง การดำ�รงอยูข่ องความไม่สมบูรณ์ใน สรรพสิง่ ทัง้ หลาย อันเป็นสัจธรรมของโลกใบนี้ - ซาบิ หมายถึง คราบสนิมหรือความเก่าทีส่ ะท้อน ความไม่จรี งั ของสรรพสิง่ ทีเ่ สือ่ มสลายไปตามกาล เวลา

ดั ง นั้ น ถ้ า ผู้ เ ดิ น ไม่ ร ะมั ด ระวั ง หรื อ รี บ เร่ ง เดิ น อย่างร้อนรนก็อาจจะทำ�ให้เดินสะดุดหรือตกลง จากก้อนหินได้ (ซึ่งหลายจุดของทางเดินเหล่า นี้ วางตัวอยู่บนบ่อ/สระน้ำ�ขนาดใหญ่) รวมถึง การจัดจังหวะของสวน เพื่อให้ผู้เดินได้หยุดพัก เป็ น ระยะๆเพื่ อ จะได้ มี เ วลาในการเพ่ ง มองและ พินิจพิเคราะห์ทิวทัศน์จากสภาพแวดล้อมรอบ ตั ว รวมถึ ง อาคารพิ ธี ช งชาที่ ซ่ อ นตั ว อยู่ ห ลั ง แมกไม้หรือโขดหิน หรืออยู่สุดปลายตาหลังสระ น้ำ�ขนาดใหญ่ไปตลอดเส้นทางของการเดินทาง ด้วย

หลักปรัชญาดังกล่าวนีไ้ ด้ถกู นามาใช้ในการออกแบบ สถาปัตยกรรมทางศาสนา เพือ่ ให้เกิดการเปลีย่ น สภาวะจิตทีส่ อดคล้องกับหลักการของ วาบิ-ซาบิ ทัง้ นีเ้ พราะ พิธชี งชาแบบญีป่ น่ ุ ถือเป็นกระบวนการทาง พิธกี รรม ไม่ได้เริม่ ต้นจากการชงชาในอาคารพิธี แต่ เกิดขึน้ ตัง้ แต่ทผ่ี เู้ ข้าร่วมพิธยี า่ งก้าวเข้าสูส่ วนอันสงบ ทีอ่ ยูเ่ บือ้ งหน้า สวนญีป่ น่ ุ ทีจ่ ดั ตกแต่งตามปรัชญา แบบเซน ซึง่ มีคณ ุ ลักษณะคล้ายกับไม่ได้ท�ำ การ ตกแต่ง หรือคล้ายกับเกิดขึน้ เองตามธรรมชาติ (แต่ แท้ทจ่ี ริงแล้วมีการออกแบบไว้อย่างละเอียดลุม่ ลึก) กระบวนการเปลีย่ นสภาวะจิตผ่านการขัดเกลาถูก

จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร อ อ ก แ บ บ ท า ง สถาปั ต ยกรรมและภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมที่ มี ลั ก ษณะของความยากลำ � บากในการเดิ น เข้ า สู่ อาคารพิธี และ จังหวะของการเดินเพื่อหยุด พิจารณาสติเป็นระยะๆ เช่นนี้ก็เพื่อทำ�ให้ผู้เข้า

2.4 ทฤษฎีหรือเเนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการออกเเเบบ

ร่ ว มพิ ธี ไ ด้ พิ จ ารณาถึ ง สั จ ธรรมที่ ซ่ อ นอยู่ ใ น ธรรมชาติโดยรอบ รวมถึงเป็นกระบวนการที่ดึง สติ สั ม ปชั ญ ญะของผู้ เ ข้ า ร่ ว มพิ ธี ซึ่ ง จมอยู่ กั บ ความวุ่นวายจากโลกภายนอกในชีวิตประจาวัน ให้กลับมาอยู่กับปัจจุบันขณะที่ปรากฏอยู่เบื้อง หน้า ตลอดเวลาในระหว่างที่ก้าวเดินไปตามลำ� ดับชั้นของสวน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความสงบและละ วางกิเลสอัตตาจากโลกภายนอกลงเสีย ก่อนที่จะ เข้าไปถึงพื้นที่ภายในอาคารประกอบพิธี

ภาพที่ 2.36 สวนญี่ปุ่น ที่มา : https://sp.depositphotos.com/31157429/stock-photo-japanese-tea-house-and-garden.html


02 DESIGN & THEORY 2.5.1 กฏกระทรวงให้ใช้ข้อบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาคาร

ภาพที่ 2.37 ผังสีกรุงเทพมหานคร ที่มา : http://thailand-property-news.knightfrank.co.th/ผังเมืองกรุงเทพมหานคร/

2-37

2.5 กฎหมายเฉพาะทีเ่ กีย่ วข้อง


02 DESIGN & THEORY 2.5.2 กฏหมายอาคารที่เกี่ยวข้อง

2-38

2.5 กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับอาคาร

อาคารสาธารณะ

อาคารขนาดใหญ่

ห้องน้�ำ ห้องส้วม

ห้องน้าํ คนพิการ

ทีจ่ อดรถ

หมายความว่า อาคารทีใ่ ช้เพือ่ ประโยชน์ ในการชุ ม นุ ม คนได้ โ ดยทั่ ว ไปเพื่ อ กิจกรรมทางราชการ การเมือง การ ศึกษา การศาสนา การ สังคม การ นันทนาการ หรือการพาณิชยกรรม เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม โรง พยาบาล สถานศึกษา หอสมุด สนาม กีฬากลางแจ้ง สนามกีฬาในร่ม ตลาด ห้างสรรพสินคา ศูนย์การค้า สถาน บริการ ท่าอากาศยาน อุโมงค์ สะพาน อาคารจอดรถ สถานีรถ ท่าจอด เรือ โปะจอดเรือ สุสาน ฌาปนสถาน ศาสน สถาน เป็นต้น

หมายความว่า อาคารที่มีพื้นที่รวม กั น ทุ ก ชั้ น หรื อ ชั้ น หนึ่ ง ชั้ น ใดในหลั ง เดียวกันเกิน 2,000 ตารางเมตร หรืออาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 15.00 เมตรขึ้นไป และมีพื้นที่รวมกันทุกชั้น หรื อ ชั้ น หนึ่ ง ชิ้ น ใดในหลั ง เดี ย วกั น เกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร การวัดความ สู ง ของอาคารให้ วั ด จากระดั บ พื้ น ดินที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้าสําหรับ อาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดจาก ระดับพื้นดินที่ก่อสร้าง ถึงยอดผนัง ของชั้นสูงสุด

ห้ อ งน้ํ า และห้ อ งส้ ว มจะแยกจากกั น หรืออยู่ในห้องเดียวกันได้ แต่ต้องมี ลั ก ษณะที่ รั ก ษาความสะอาดได้ ง่ า ย และต้องมีช่องระบายอากาศ ไม่น้อย กว่า ร้อยละ 20 ของพื้นที่ห้องหรือ พัดลมระบายอากาศได้เพียงพอระยะ ดิ่งระหว่างพื้นห้องกิ่ง เพดาน ยอด ฝา หรือผนังตอน ต่ําสุดต้องไม่น้อย กว่า 1.80 เมตร ในกรณีที่ห้องน้ําและ ห้ อ งส้ ว มแยกกั น ต้ อ งมี ข นาดพื้ น ที่ ของห้องไม่น้อยกว่า 1.90 เมตร แต่ถ้า ห้องน้ํา และห้องส้วมรวมอยู่ในห้อง เดี ย วกั น ต้ อ งมี พื้ น ที่ ภ ายในไม่ น้ อ ย กว่า 1.50 ตารางเมตร

อาคารที่ จั ด ให้ มี ห้ อ งส้ ว มสํ า หรั บ บุคคลทั่วไป ต้องจัดให้มีห้องส้วม สำ�หรับผู้พิการหรือทุwลภาพ และ คนชราอย่างน้อย 1 ห้องใน ห้อง ส้วมนั้น หรือแยกออกมาอยู่บริเวณ เดียวกันกับห้องส้วมสําหรับบุคคล ทั่วไปก็ได้ มีพื้นที่ว่างภายในห้องส้วม เพื่อให้เก้าอี้ล้อสามารถหมุนตัวกลับ ได้ ซึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อย กว่า 1,500 มิลลิเมตร ประตูของห้อง ที่ตั้งโถส้วมเป็นแบบบานเปิดออกสู่ ภายนอก โดยต้องเปิดค้างไว้ไม่น้อย กว่า90 องศาหรือเป็นแบบบานเลื่อน และมี สั ญ ลั ก ษณ์ ค นพิ ก ารติ ด ไว้ ที่ ประตู

จํานวนที่จอดรถยนต์ ต้องจัดให้ มิ ต ามกํ า หนดดั ง ต่ อ ไปนี้ ใ นเขต เทศบาลทุ ก แห่ ง หรื อ ในเขตท้ อ งที่ ที่ ได้ ม พระราชกฤษฎี ก าให้ ใ ช้ พ ระราช บัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร พุทธศักราช ๒๔๗๙ ใช้บังคับอาคาร ขนาดใหญ่ให้มีที่จอดรถยนต์ตามจํา นวนที่กําหนดของแต่ละประเภทของ อาคารที่ใช้เป็น ที่ประกอบกิจการใน อาคารขนาดใหญ่นั้น รวมกันหรือให้ มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คันต่อ พื้นที่อาคาร 240 ตารางเมตร เศษ ของ 250 ตารางเมตร ให้คิดเป็น 250 ตาราง เมตร ทั้งนี้ให้ถือที่จอด รถยนต์จํานวนที่มากกว่าเป็นเกณฑ์


02 DESIGN & THEORY

2-39

2.6 กรณีศกึ ษาอาคารตัวอย่าง

House of Prayer and Learning ภาพที่ 2.38 Exterior perspective House of pray ที่มา : https://www.dezeen.com/

กรณีศึกษาที่ 1 Architectture : Period : Period :

Kuehn Malvezzi Petriplatz, Berlin, Germany 2013

ภาพที่ 2.39 Interior perspective House of pray ที่มา : https://www.dezeen.com/2015/11/03/houseof-one/

ประเด็นที่จะศึกษา 1. ศึกษาโปรเเกรมกิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ ในโครงการ 2. ศึกษาเเนวความคิดการออกเเบบความศักดิ์สิทธิ์

แนวความคิดการออกแบบโปรเเกรม อาคารนีเ้ ป็นอาคารตัวอย่างของการสร้างสัมพันธ์กนั ระหว่างสามศาสนาในกรุงเบอร์ รินซึง่ ได้เเก่ศาสนาคริสต์ อิสลาม ยูดาห์ โดยจัดให้มพ ี น้ ื ทีศ่ กั สิทธิท์ ง้ ั 3 ศาสนาให้อยู่ บนชัน้ เดียวกัน จะมีโถงกลางทีท่ �ำ หน้าทีเ่ ป็นพืน้ ทีห่ มุนเวียนเเลกเปลีย่ นการเรียนรูท้ าง ศาสนาโดยจะเชือ่ มต่อกับห้องสวดมนต์ทง้ ั 3 ศาสนา

แนวความคิดการออกแบบความศักดิ์สิทธิ์ การออกเเบบองค์ประกอบเฉพาะในเเต่ละความเชือ่ นัน้ ต้องออกเเบบออกมาไม่ให้ เกิดความขัดเเย้ง ซึง่ ความเชือ่ เเต่ละศาสนานัน้ มีพน้ ื ทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิท์ เ่ ี หมาะสมกับศาสนา ตนเองซึง่ เเสงนัน้ เป็นองค์ประกอบสำ�คัญของทัง้ 3 ศาสนาทีเ่ กีย่ วข้องในโครงการ มีการนำ�อิฐทีเ่ ป็นโครงสร้างเก่าของโบสถ์เดิมในพืน้ ทีน่ �ำ มาใช้เป็นโครงสร้างในตัว อาคารทีอ่ อกแบบใหม่อกี ด้วยเพือ่ ทำ�ให้ผใ้ ู ช้เกิดความรูส้ กึ ต่อศาสนสถานเดิมโดย ยังทิง้ โครงสร้างเก่าของตัวโบสถ์เดิมไว้ใช้ใต้ดนิ ของตัวอาคารทีอ่ อกเเบบใหม่ตวั ห้อง สวดมนต์ของศาสนาอิสลามจะมีการเปิดช่องเเสงเล็กๆหลายช่องส่วนห้องสวดมนต์ ศาสนาคริสต์จะเปิดช่องสกายไลท์ขนาดใหญ่

ภาพที่ 2.40 Interior perspective - Exchange space ที่มา : https://www.dezeen.com/2015/11/03/houseof-one/


02 DESIGN & THEORY ภาพที่ 2.41 Perspective section House of pray ที่มา : https://www.dezeen.com/2015/11/03/house-of-one/

2-40

2.6 กรณีศกึ ษาอาคารตัวอย่าง ภาพที่ 2.42 Interior perspective - lighting ที่มา : https://www.dezeen.com/2015/11/03/house-of-one/

ภาพที่ 2.43 ที่มา : https://www.dezeen.com/2015/11/03/house-of-one/


02 DESIGN & THEORY

2-41

2.6 กรณีศกึ ษาอาคารตัวอย่าง

The Hill of the Buddha กรณีศึกษาที่ 2 Architectture : location : Period :

Tadao Ando Sapporo, Japn 2017

ภาพที่ 2.45 ทุ่งลาเวนเดอร์ ที่มา : https://www.archdaily.com/ ภาพที่ 2.46 พระพุทธรูปปางต่างๆ ที่มา : https://readthecloud.co/travelogue-hill-of-buddha/

ประเด็นที่จะศึกษา 1. ศึกษาเเนวความคิดการออกเเบบความศักดิส์ ทิ ธิ์

แนวความคิดการออกแบบความศักดิ์สิทธิ์

ภาพที่ 2.44 พระพุทธรูป นามว่า Atama Daibutsu ที่มา : http://www.thebuddhists.co/524/

ความตัง้ ใจในการออกแบบ คือการสร้างลำ�ดับความสำ�คัญของพืน้ ทีท่ ม่ ี ชี วี ติ ชีวา โดยเริม่ จากการเดินผ่านอุโมงค์ยาวเพือ่ เพิม่ ความคาดหมายของรูปปัน้ ซึง่ มองไม่เห็น จากภายนอก เมือ่ ถึงห้องโถงผูเ้ ข้าชมจะขึน้ ไปมองพระพุทธรูปซึง่ มีศรี ษะล้อมรอบ ด้วยรัศมีของท้องฟ้าทีป่ ลายอุโมงค์ เหมือนกับ ฉัพพรรณรังสี ของพระพุทธเจ้า ทีม่ ี หลายเฉดสี ซึง่ เป็นการออกเเบบโดยการ นำ�ผูเ้ ข้าชใเข้าสูค่ วาศักดิส์ ทิ ธิจ์ ากลำ�ดับการ เล่าเรือ่ ง


02 DESIGN & THEORY

2-42

2.6 กรณีศกึ ษาอาคารตัวอย่าง

ภาพที่ 2.47 บรรยากาศภายใน ไฮไลท์สำ�คัญ ที่มา : https://readthecloud.co/travelogue-hill-of-buddha/

ภาพที่ 2.48 พระพุทธรูป นามว่า Atama Daibutsu ที่มา : https://readthecloud.co/travelogue-hill-of-buddha/

ภาพที่ 2.49 พื้นที่แสดงภาพถ่ายการก่อสร้างงาน ที่มา : https://readthecloud.co/travelogue-hill-of-buddha/


02 DESIGN & THEORY

2-43

2.6 กรณีศกึ ษาอาคารตัวอย่าง

Bruder Klaus Field Chapel ภาพที่ 2.50 บรรยากาศภายนอก Bruder klaus field chapel ที่มา : https://www.archdaily.com/

กรณีศึกษาที่ 3 Architectture : location : Period :

Peter Zumthor Mechernich, Germany 2007

ภาพที่ 2.51 Lighting in Bruder klaus field chapel ที่มา : https://www.archdaily.com/

ภาพที่ 2.52 Place to play in Bruder klaus field chapel ที่มา : https://www.archdaily.com/

ประเด็นที่จะศึกษา 1. ศึกษาเเนวความคิดการออกเเบบพืน้ ทีว่ า่ งต่อความรูส้ กึ

แนวความคิดการออกแบบพื้นที่ว่างต่อความรู้สึก โบสถ์หลังนีห้ าดูภายนอก ตัวอาคารจะมีสที ด่ ี ลู อ้ กับธรรมชาติโดยรอบ เข้ากันอย่าง กลมกลืน เเต่หากได้เข้าไปสัมผัสภายในตัวโบสถ์จะพบถึงความรูส้ กึ อีกอารมณ์กบั บร รยากาสโยรอบอย่างสิน้ เชิง ทางเข้าภายในตัวโบสถ์นน้ ั ถูกบีบทางเดินให้เดินได้เพียง คนเดียวเท่านัน้ ซึง่ ระยะทางเข้าถึงใจกลางโบสถ์นน้ ั ห่างกันเพียงนิดเดียว เเต่การทีบ่ บี ทางเข้าเเละวัสดุภายในนัน้ เป็นสีด�ำ เนือ่ งจากเกิดการเผาของไม้เเบบทำ�ให้รส้ ู กึ กดดัน ผิว สัมผัสนัน้ ไม่เรียบ มีความขรุขระ ทำ�ให้ดงึ ความกดดัน


02 DESIGN & THEORY

ภาพที่ 2.53 Place to play in Bruder klaus field chapel ที่มา : https://www.archdaily.com/

2-44

ภาพที่ 2.54 Section Bruder klaus field chapel ที่มา : https://en.wikiarquitectura.com/building/bruder-klaus-field-chapel/

ภาพที่ 2.55 Lighting in Bruder klaus field chapel ที่มา : https://www.archdaily.com/

2.6 กรณีศกึ ษาอาคารตัวอย่าง


02 DESIGN & THEORY

2-45

2.6 กรณีศกึ ษาอาคารตัวอย่าง

วิเคราะห์เปรียบเทียบอาคารกรณีศึกษา ชื่อโครงการ Arch¡e£ure Location Period

เเนวคิดการออกเเบบ

House of Prayer and Learning Berlin Kuehn Malvezzi

e Hill of the Buddha Tadao Ando

Bruder Klaus Field Chapel Peter Zumthor

Petriplatz, Berlin, Germany

Sapporo, Japn

Mechernich, Germany

2013

2017

2007

อาคารนี้เป็นอาคารตัวอย่างของการสร้าง สัมพันธ์กันระหว่างสามศาสนาในกรุงเบอร์ รินซึ่งได้เเก่ศาสนาคริสต์ อิสลาม ยูดาห์ โดยจัดให้มีพื้นที่ศักสิทธิ์ทั้ง3 ศาสนาให้อยู่ บนชั้นเดียวกัน จะมีโถงกลางที่ทำหน้าที่เป็น พื้นที่หมุนเวียนเเลกเปลี่ยนการเรียนรู้ทาง ศาสนาโดยจะเชื่อมต่อกับห้องสวดมนต์ทั้ง3 ศาสนา

ความตั้งใจในการออกแบบ คือการสร้างลำดับความสำคัญของพื้นที่ที่มีชีวิตชีวาโดย เริ่มจากการเดินผ่านอุโมงค์ยาวเพื่อเพิ่ม ความคาดหมายของรูปปั้นซึ่งมองไม่เห็นจาก ภายนอก เมื่อถึงห้องโถงผู้เข้าชมจะขึ้นไปมอง พระพุทธรูปซึ่งมีศีรษะล้อมรอบด้วยรัศมี ของท้องฟ้าที่ปลายอุโมงค์ เหมือนกับ ฉัพพรรณรังสี ของพระพุทธเจ้า ที่มีหลายเฉดสี ซึ่งเป็นการออกเเบบโดยการ นำผู้เข้าชใเข้าสู่ ควาศักดิ์สิทธิ์จากลำดับการเล่าเรื่อง

เน้นการสร้างสภาวะให้เริ่มค่อยๆเปลี่ยนเข้าสู่ การที่อยากจะหลุดพ้นตรงพื้นที่นั้นไปยังพื้น ที่ด้านหน้า ซึ่งจากเเนวคิดการออกเเบบนี้จะ เห็นได้ว่าสถาปนิกต้องการที่จะเล่นกับความรู้ สึกของผู้เข้าใช้ให้ได้มากที่สุด ซึ่งความรู้สึก ของผู้เข้าใช้นี้จะสะท้อนออกมาจากจิตใต้สำนึก ของคนนั้นๆเองว่า รู้สึกกลัว อึดอัด หรือรู้สึก ศรัทธา

ทัศนียภาพภายนอก

ภาพที่ 2.56 Exterior perspective -House of prayer ที่มา : https://www.dezeen.com/

ภาพที่ 2.57 Exterior perspective - The hill of the buddha ที่มา : https://www.archdaily.com/

ภาพที่ 2.58 Exterior perspective - Bruder klaus field chapel ที่มา : https://www.archdaily.com/


02 DESIGN & THEORY

2-46

2.6 กรณีศกึ ษาอาคารตัวอย่าง

วิเคราะห์เปรียบเทียบอาคารกรณีศึกษา (ต่อ) ชื่อโครงการ

House of Prayer and Learning Berlin

การนำไปประยุกต์ใช้

หาจุดร่วมของศาสนาทั้งสามที่นำมาเป็นผู้ใช้ ในโครงการเเละวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของ ทั้ง3 ศาสนาว่ากิจกรรมใดที่สามารถทำร่วม กันได้บ้างเเละเสริมสร้างการเรียนด้านศาสนา ให้เยาวชนได้อย่างใดบ้าง

e Hill of the Buddha สร้างเนื้อหาการนำผู้เข้าใช้งานผ่านพื้นที่ที่ ต้องการสร้างสภาวะความรู้สึกให้กับผู้เข้า ใช้โครงการให้ได้มากที่สุด

Bruder Klaus Field Chapel เรียนรู้การออกเเบบพื้นที่ที่ส่งผลกับสภาวะ จิตใจของผู้เข้าใช้โครงการให้สอดคล้องไปกับ เนื้อหาที่ต้องการจะนำเสนอออกมาในรูปเเบบ ของพื้นที่

ภาพทัศนียภาพภายใน

ภาพที่ 2.59 Interior perspective -House of prayer ที่มา : https://www.dezeen.com/

ตารางที่ 2.01 กรณีศึกษาอาคารตัวอย่าง ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

ภาพที่ 2.60 Interior perspective - The hill of the buddha ที่มา : https://readthecloud.co/travelogue-hill-of-buddha/

ภาพที่ 2.61 Interior perspective - Bruder klaus field chapel ที่มา : https://www.archdaily.com/


02 DESIGN & THEORY

2-47

ภาพที่ 2.62 JESUS ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


02 DESIGN & THEORY

Religion with theory

2-48


03 site analysis LOCATION

r.ARUN AMARIN WAT KALAYA THONBURI BANGKOK THAILAND


ภาพที่ 3.01 แผนที่ชุมชนวัดกัลยาณ์ ชุมชนกุฎีขาว ชุมชนกุฎีจีน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


03 site & analysis 3.1.1 การวิเคราะห์หาย่านที่เหมาะสม

3-1

SITE SELECTION การเลือกไซต์ที่ตั้งนั้นจะเลือกย่านที่มีความหลากหลายทางศาสนาในพื้นที่

เพื่อศึกษาความเป็นอยู่ในบริบทนั้นๆโดยจะเน้นไปในพื้นที่ที่ไม่มีปัญหาทางด้าน ศาสนาในชุมชน เนื่องด้วยจุดประสงค์ต้องการที่จะศึกษาในพื้นที่ที่มีการอยู่ร่วม กันได้ทางพหุศาสนาของคนในพื้นที่ เพื่อศึกษาว่าเหตุใดชุมชนที่ไม่​่มีปัญหากัน เรื่องศาสนา คนในชุมชนอาศัยร่วมกันได้อย่างไร โดยที่การเลือกที่ตั้งจะใช้เกณฑ์ ทั้งหมด 6 ข้อในการการเปรียบเทียบ คือ

3.1 ประวัติความเป็นมาของชุมชนในพื้นที่

WEIGHT RATING CRITERION

A : 3 or more religions B : Acient Community C : Community Connection D : Close to school E : Accession

[4] [4] [5] [2] [2]

ย่านฝั่งธนบุรี

1.พื้นที่มีความหลากหลายทางศาสนาตั้งเเต่ 3 ศาสนาขึ้นไป 2. ความเก่าเเก่ของชุมชน 3. การปฏิสัมพันธ์ของคนในชุมชน 4. ใกล้สถานการศึกษา 5. การเข้าถึงในย่าน

A B C D E

1

2

3

4

แผนภูมิภาพที่ 3.01 คะเเนนน้ำ�หนักย่านฝั่งวัดกัลยาณ์ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

5

75 Point

ย่านฝั่งสาทร/บางรัก A B C D E

1

2

3

แผนภูมิภาพที่ 3.02 คะเเนนน้ำ�หนักย่านสาทร บางรัก ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

ภาพที่ 3.02 ย่านวัดกัลยาณ์ ฝั่งธนบุรี ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

ย่านฝั่งธนบุรี

ภาพที่ 3.03 ย่านสาทร บางรัก ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

ย่านฝั่งสาทร/บางรัก

SELECTED ย่านฝั่งธนบุรี

4

5

71 Point


03 site & analysis 3.1.2 การวิเคราะห์ชุมชนกุฎีขาว ชุมชนวัดกัลยาณ์ ชุมชนกุฎีจีน

3-2

3.1 ประวัติความเป็นมาของชุมชนในพื้นที่

ย่านฝัง่ ธนบุรี แขวงวัดกัลยาณ์ ประวัติเเละความเป็นมาของชุมชนในพื้นที่ 1.ชุมชนวัดกัลยาณ์ 2.ชุมชนกุฎีขาว 3.ชุมชนกุฎีจีน

ภาพที่ 3.04 ย่านชุมชนวัดกัลยาณ์ ชุมชนกุฎีขาว ชุมชนกุฎีจีน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


03 site & analysis 3.1.2.1 การวิเคราะห์ชุมชนกุฎีขาว

3-3

3.1 ประวัติความเป็นมาของชุมชนในพื้นที่

ชุมชนมัสยิดกุฎีขาว

สถานที่ตั้ง : ถนน อรุณอมรินทร์ แขวง วัดกัลยา เขต ธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600 สภาพทั่วไปของชุมชน ที่ตั้ง ตั้งอยู่บนฝั่งคลองบางกอกใหญ่ ตรงข้ามวัดหงส์ รัตนาราม ถนนอรุณอมรินทร์ตัดใหม่ แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี

ชุมชนกุฎีขาว

อาณาเขต ทิศเหนือ ติดกับ ชุมชนวัดกัลยาณ์ ทิศใต้ ติดกับ ชุมชนโรงคราม ทิศตะวันออก ติดกับ คลองขนมบูด ทิศตะวันตก ติดกับ คลองบางกอกใหญ่ ภาพที่ 3.05 แผนที่ชุมชนกุฎีขาว ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

มัสยิดกุฎีขาว

หรือมัสยิดบางหลวง ซึ่งสร้างขึ้นโด คหบดีท่านหนึ่ง คือ โต๊ะหยี ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามกับมัสยิด ต้นสน เป็นศาสนสถานที่มีความเก่าแก่และมีความเป็นมา ยาวนาน อีกทั้งยังเป็นศาสนสถานที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นอาคารชั้นเดียวมีลักษณะรูปแบบสถาปัตยกรรมไทย สร้างขึ้นสมัยรัตนโกสินทร์ในรัชกาลที่ 1 (คาดว่าสร้างใน ปี พ.ศ.2328) 1 เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนทรงไทย ในอดีต พื้นที่ตั้งหมู่บ้านมีลักษณะเป็นเกาะโดยมีคลองล้อมรอบ เป็นหมู่บ้านที่มีลักษณะสันโดษ เนื่องจากติดต่อกับชุมชน อื่นได้ยากชาวมุสลิมกลุ่มนี้แต่เดิมประกอบอาชีพค้าขาย ทางเรือ และทำ�การประมงน้ำ�จืด ปัจจุบันชุมชนมุสลิมกุฎี ขาวได้ตั้งสมาคมชาวหมู่บ้านบางหลวงผู้บำ�เพ็ญประโยชน์

เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิก ในด้านการศึกษา การสาธารณสุข การบรรเทาสาธารณภัย โดยได้รับการ สนับสนุนจากสำ�นักงานเขตธนบุรี ตระกูลชาวมุสลิมใน กุฎีขาวได้สมรสระหว่างกันและสืบทอดวัฒนธรรมมุสลิม จนถึงปัจจุบัน คนในชุมชนส่วนใหญ่จะนับถือศาสนาอิสลาม จะมีบาง ส่วนที่นับถือศาสนาพุทธ เพราะเข้ามาเช่าบ้านอยู่ในชุมชน นี้ ในอดีตคนในชุมชนแต่งงานกันเองในชุมชน ทำ�ให้คนใน ชุมชนเป็นญาติกันรู้จักกันหมด แต่ปัจจุบันเด็กในชุมชน ออกไปทำ�งานข้างนอกกันมาก ทำ�ให้เกิดการแต่งงานกับ คนนอกชุมชนมากขึ้นแต่หลังจากแต่งงานและก็ยังอาศัย อยู่ที่ชุมชนเหมือนเดิม และคนในชุมชนก็ยังมีความ

สัมพันธ์ที่ใกล้ชิดสนิทสนมกันเหมือนเดิมเนื่องจากชุมชน อิ ส ลามที่ มี อ ยู่ ใ นสั ง คมเมื อ งจึ ง มี ก ารติ ด ต่ อ สั ม พั น ธ์ กั บ คนภายนอกปกติเวลาชุมชนใกล้เคียงในงานคนในชุมชน ก็ไปร่วมงาน เช่น ชุมชนกุฎีจีนมีงานวันคริสต์มาส คนในชุมชนก็ไปร่วมงานซึ่งต่างจากชุมชนอิสลามในต่าง จังหวัดที่จะไม่สุงสิงกับใครนอกชุมชน ปัจจุบันนอกเหนือ จากกิจกรรมทางศาสนาในชุมชนก็ไม่ค่อยมีกิจกรรมอะไร บ้าง แต่เมื่อก่อนเมื่อมีการสร้างอะไรในชุมชน คนในชุมชน ก็จะช่วยกันทำ�และในชุมชนก็มีช่างไม้เป็นจำ�นวนมากจึงไม่ ต้องไปจ้างเขา เมื่อมีคนตายในชุมชนก็ไม่ต้องไปซื้อโลงศพ เพราะคนที่เป็นช่างมันก็จะทำ�ให้ฟรีฟรี เขาถือว่าได้บุญซึ่ง จะนำ�ศพไปฝังในกุโบร์ของชุมชน (สุสาน) และในบางครั้ง ที่ชุมชนใกล้เคียงต้องการช่างไม้ก็ไปช่วยเขา ในชุมชน

ไม่มีโรงเรียนเด็กในชุมชนจึงต้องไปเรียนร่วมกับเด็กอื่น นอกชุมชน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่ทำ�ให้คนในชุมชนมีความ สัมพันธ์ที่ดีกับชุมชนใกล้เคียง เพราะเด็กๆก็เป็นเพื่อนกัน ผู้ปกครองก็รู้จักกัน ส่วนใหญ่เด็กในชุมชนจากเรียนที่ โรงเรียนวัดกัลยาณ์ คนที่มีฐานะดีก็จะเรียนที่โรงเรียนซาง ตาครู้สคอนแวนท์


03 site & analysis

3-4

ภาพที่ 3.06 ตำ�เเหน่งต่างๆในชุมชนกุฎีขาว ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

งบาง

กอก

surround survey

ใหญ

A

3.1 ประวัติความเป็นมาของชุมชนในพื้นที่

คลอ

D

B

C

A ภาพที่ 3.07 ทางเข้าชุมชนกุฎีขาว ที่มา : https://m.edtguide.com/travel/77916

B ภาพที่ 3.08 มัสยิดกุฎีขาว ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

ถนนอรุณอมรินทร์ ชุมชนกุฎีขาว มัสยิดบางหลวง ถนนเข้ามาในชุมชน

C ภาพที่ 3.09 ภายในมัสยิดกุฎีขาว ที่มา : http://old.amnesty.or.th/

D ภาพที่ 3.10 ตรอกซฮยในชุมชนกุฎีขาว ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


03 site & analysis 3.1.2.2 การวิเคราะห์ชุมชนวัดกัลยาณ์

3-5

3.1 ประวัติความเป็นมาของชุมชนในพื้นที่ เเม่น

ภาพที่ 3.11 แผนที่ชุมชนวัดกัลยาณ์ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

ชุมชนวัดกัลยาณ์ พร

ะยา

คล

องบ

างก

อก

ใหญ

้ำ�เจ้า

สถานที่ตั้ง : ถนน อรุณอมรินทร์ แขวง วัดกัลยา เขต ธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600 สภาพทั่วไปของชุมชน ที่ตั้ง ตั้งอยู่บนถนนเทศบาลสาย ๑ แขวงวัดกัลยาณมิตร เขตธนบุรี

ชุมชนวัดกัลยาณ์

อาณาเขต ทิศเหนือ ติดกับคลองบางกอกใหญ่ ทิศใต้ ติดกับชุมชนกุฎีจีน ทิศตะวันออก ติดกับแม่น้ำ�เจ้าพระยา ทิศตะวันตก ติดกับชุมชนกุฎีขาว

ใน

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ เจ้าพระยานิกรบดินทร (เจ้าสัวโต ต้นสกุลกัลยาณมิตร) ว่าที่ สมุหนายก ชื่อจีนว่า เต๋า แซ่อึ้ง เมื่อครั้งยังเป็นพระยาราชสุภา วดี เจ้ากรมพระสุรัสวดีกลาง (ชื่อกรมในสมัยโบราณ มีหน้าที่ เกี่ยวข้องกับการทำ�บัญชีไพร่พลตลอดจนการเกณฑ์ชายฉกรรจ์ เข้ามาฝึกอาวุธและวิชาการรบ เพื่อเป็นกำ�ลังสำ�รองเวลาบ้าน เมืองมีศึกสงคราม) ได้อุทิศที่บ้านและซื้อที่ดินบริเวณใกล้เคียง เพิ่มเติมเข้าด้วยกันเพื่อสร้างพระอาราม ที่ดินบริเวณที่จะสร้าง วัดกัลยาณมิตรนี้เดิมในสมัยกรุงศรีอยุธยาไม่มีดิน เป็นแม่น้ำ� ดอนขึ้น ครั้งกรุงธนบุรีเป็นที่จอดแพได้ ครั้นนานวันผันกลับ ดอนเป็นดินกลายเป็นที่ตั้งบ้านเรือนของพ่อค้าชาวจีนฮกเกี้ยนที่ ได้รับพระราชทานที่ดินจากพระมหากษัตริย์ไทย เช่น หลวงพิชัย วารี (เจ้าสัวมั่ง แซ่อึ้ง)บิดาของเจ้าพระยานิกรบดินทร ชุมชนย่าน นี้นอกจากชาวจีนแล้ว ยังเป็นที่อยู่อาศัยของทั้งชาวโปรตุเกส ชาว

มุสลิม ชาวไทย และยังมีพระภิกษุจีนพำ�นักอยู่ด้วย ชาวบ้านจึง เรียกย่านนี้ว่า ชุมชนกะดีจีน หรือกุฎีจีน การก่อสร้างพระอาราม เริ่มลงมือเมื่อปีระกา พ.ศ.๒๓๖๘ เป็นปีที่ ๒ ในสมัยรัชกาลที่ ๓ แล้วถวายเป็นพระอารามหลวง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้า อยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า “วัดกัลยาณมิตร”

ชุ

มชนวัดกัลยาณมิตร เป็นชุมชนที่ตั้งขึ้นตั้งแต่สมัยพระเจ้า กรุงธนบุรีได้รวมรวมผู้คนที่แตกกระสานซ่านเซ็นหนีตายจาก การสู้รบกับพม่าในตอนปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาโดยอพยพ ผู้คนหลายครัวเรือนมาอยู่บริเวณธนบุรี ริมคลองบางกอกใหญ่ เพื่อสร้างราชธานีแห่งใหม่ และโปรดเกล้าให้ชาวจีนจากกรุง ศรีอยุธยาเข้ามาตั้งบ้านเรือนหรือสร้างเรือนแพอยู่เหนือคลอง กุฎีจีน ซึ่งเป็นคลองที่ชาวจีนอาศัยอยู่เนื่องจากมีพระภิกษุจีน พำ�นักอยู่ที่กุฎีจีนปัจจุบันสถานที่นี้คือ ศาลเจ้าเกียงอันเก็ง ตั้งอยู่

ทางทิศตะวันออกของวัดกัลยาณมิตร ซึ่งอยู่ในเขตพื้นที่ชุมชน วัดกัลยาณมิตรเมื่อสร้างวัดกัลยาณมิตรขึ้นในปี พ.ศ. ๒๓๖๘ ตั้งอยู่ เหนือคลองกุฎีจีนแล้ว บริเวณวัดจึงล้อมรอบไปด้วย ชุมชน

ใน

ปัจจุบันคนในชุมชนให้มีการทำ�กิจกรรมร่วมกันเท่าไหร่นะ อาจเป็นเพราะตอนนี้ทางชุมชนมีปัญหากับวัดเรื่องที่ดินคือ วัน ต้องการที่คืนจากชาวบ้านเพื่อนำ�ไปพัฒนาวัดทำ�ให้ชาวบ้านเกิด ความไม่พอใจ ซึ่งการทำ�กิจกรรมของชุมชนบ่อยครั้งที่จะใช้วัด เป็นศูนย์กลางในการทำ�กิจกรรมเช่น งานฉลองวันเกิดหลวงพ่อ แต่ในอดีตทุกครั้งที่มีการจัดงานกิจกรรมของชุมชน หรือเมื่อ ทางชุมชนมีการก่อสร้างซ่อมแซม ปรับปรุงส่วนต่างๆ ในชุมชน คนในชุมชนก็จะช่วยกันทำ�ทุกครั้งซึ่งการที่ทางชุมชนมีปัญหากับ ทางวัดทำ�ให้การพัฒนาชุมชนทำ�ได้ช้า และปัจจุบันชุมชนวัดกัลยา

ยังไม่มีหอกระจายข่าวของชุมชนเลยเพราะทางวัดไม่อนุญาตให้ ทำ� จากหัวหินจะไปสวนกับทางวัดประกาศเที่ยวหรือผู้ที่มาทำ�บุญ ทำ�ให้เมื่อมีงานอะไรในชุมชนส่วนใหญ่จะแจ้งเป็นใบปลิวแทน ซึ่ง ปัญหาเรื่องที่วัดต้องการคืนที่ดินจากชาวบ้านเกิดเนื่องมาจาก ที่ทางกรุงเทพมีนโยบายที่จะพัฒนาส่งเสริมการท่องเที่ยว (Unseen bangkok) ทำ�ให้ทางวัดจึงมีการเวนคืนที่ดินจากชาวบ้าน เพื่อที่จะนำ�ไปพัฒนาให้พ้ืนที่ตรงนั้นกลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยว แห่งใหม่ แต่หากมองกลับไปในอดีตพื้นที่วัดกัลยาณ์ในสมัยก่อน นั้นเป็นพื้นที่ที่คนในชุมชนต่างบริจาคพื้นที่ตรงนั้นให้แก่วัด และ พื้ น ที่ ที่ วั ด ได้ เ วนคื น จากชาวบ้ า นในชุ ม ชนนั้ น เป็ น พื้ น ที่ ที่ ค นใน ชุมชนสมัยก่อนตามมอบโฉนดที่ดินให้แก่วัดเพื่อที่ต้องการไม่ให้ ลูกหลานในรุ่นหลังได้ขายพื้นที่เหล่านี้ให้กับคนนอกชุมชน


03 site & analysis

3-6

ภาพที่ 3.12 ตำ�เเหน่งต่างๆในชุมชนวัดกัลยาณ์ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

เเม่น

้าพ

ระย

surround survey

คล

อง บา

งก อ

กให

ญ่

้ำ�เจ

3.1 ประวัติความเป็นมาของชุมชนในพื้นที่

E B D

A

C

F

A

B

C

E

F

ภาพที่ 3.13 ภาพมุมมองต่างในชุมชนวัดกัลยาณ์ A-C ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

ถนนในชุมชน ถนนอรุณอมรินทร์ ชุมชนวัดกัลยาณ์ วัดกัลยาณ์ ชุมชนกุฎีจีน

D ภาพที่ 3.14 ภาพมุมมองต่างในชุมชนวัดกัลยาณ์ D-F ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


03 site & analysis 3.1.2.3 การวิเคราะห์ชุมชนกุฎีจีน

3-7

3.1 ประวัติความเป็นมาของชุมชนในพื้นที่

ชุมชนกุฎีจีน เเม่น้ำ�เจ้าพระยา สถานที่ตั้ง : ซอย กุฎีจีน แขวง วัดกัลยาณ์ เขต ธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600 สภาพทั่วไปของชุมชน ที่ตั้ง ซอยวัดซางตาครู้ส ถนนเทศบาลสาย ๑ แขวงวัด กัลยาณ์ เขตธนบุรี อาณาเขต ทิศเหนือ ติดกับแม่น้ำ�เจ้าพระยา ทิศใต้ ติดกับซอยวัลกัลยาณ์ ทิศตะวันออก ติดกับวัดประยุรวงศาวาส ทิศตะวันตก ติดกับชุมชนวัดกัลยาณ์

ชุมชนกุฎีจีน

ภาพที่ 3.15 แผนที่ชุมชนกุฎีจีน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

มื่ อ สมั ย สมเด็ จ พระเจ้ า กรุ ง ธนบุ รี ท รงสถาปนากรุ ง ธนบุ รี เป็นราชธานี ชาวจีนและชาวโปรตุเกสเป็นกลุ่มคนที่อพยพ เข้ามาตั้งชุมชนบริเวณกุฎีจีน ทำ�ให้พื้นที่บริเวณนี้มีผู้คน หนาแน่นยิ่งขึ้นในสมัยต้นรัตนโกสินทร์พื้นที่บริเวณนี้ได้กลาย เป็นศูนย์กลางของการรับและการแพร่กระจายของวัฒนธรรม ตะวันตกชาวโปรตุเกสในหมู่บ้านกุฎีจีนนับถือคริสต์ศาสนานิกาย โรมันคาทอลิก มีบาทหลวงกอรร์ ซึ่งอพยพหนีสงครามจากกรุง ศรีอยุธยาไปเขมรได้เดินทางกลับเข้ามาโดยพาชาวโปรตุเกสและ เขมรเข้ารีตมาด้วย เมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีสถาปนาราชธานี แห่งใหม่แล้วได้มาสมทบและพักอาศัยอยู่ที่หมู่บ้านกุฎีจีน ต่อมา บาทหลวงกอรร์ได้รวบรวมชาวคริสต์ที่กระจัดกระจายมาอยู่รวม กันเป็นชุมชน สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรียังได้พระราชทานที่ดิน และเงินจำ�นวน๒๐ เหรียญ พร้อมเรืออีก ๒ ลำ� และที่ดินสำ�หรับ สร้างวัด ต่อมาบาทหลวงกอรร์ได้เลือกถิ่นฐานในหมู่บ้านกุฎีจีน

แห่งนี้เพื่อเป็นศูนย์กลางการเผยแพร่คริสต์ศาสนาและตั้งชื่อแผ่น ดินนี้ว่า “ค่ายซางตาครู้ส” และได้สร้างวัดซางตาครู้สขึ้นซึ่งเป็น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของการแพร่ ก ระจายวั ฒ นธรรมตะวั น ตกเข้ า มายั ง ชุมชน

ชุ

มชนมีลักษณะทางกายภาพเป็นแบบรวมศูนย์กลาง โดยมี การกระจายเส้นทางออกจากบริเวณใจกลางพื้นที่คล้ายใยแมงมุม ( Central Tape ) มีโบสถ์เป็นศูนย์กลางและมีเส้นทางออกจาก บริเวณใจกลาง และมีเส้นทางหลักทุกเส้นเชื่อมจากชุมชนเข้าหา โบสถ์ ชุ ม ชนมี ลั ก ษณะปิ ด เนื่ อ งจากทางเดิ น เข้ า ออกชุ ม ชนกั บ ภายนอกนั้นต้องผ่านศาสนสถานยกเว้นที่ติดแม่น้ำ�จะหันหน้าไป ทางแม่น้ำ� สภาพการตั้งบ้านเรือนค่อนข้างกระจุกตัวหนาแน่น ลักษณะอาคารส่วนใหญ่ในชุมชนเป็นอาคารไม้สองชั้น มีบางส่วน เป็นตึก และแบบครึ่งตึกครึ่งไม้ ในชุมชนมีพื้นที่โล่งเพียงบริเวณ

สนามเด็กเล่น และสวนสาธารณะหน้าวัด ซึ่งเป็นบริเวณที่คนใน ชุมชนมาทำ�กิจกรรมต่าง ๆ วัดซางตาครู้ส, โบสถ์ซางตาครู้ส หรือ วัดกุฎีจีน (อังกฤษ: Santa Cruz Church) เป็นโบสถ์คริสต์ นิกายโรมันคาทอลิกตั้งอยู่ริมแม่น้ำ�เจ้าพระยาในซอยกุฎีจีนแยก ซอยอรุณอมรินทร์ 4 (ถนนเทศบาล สาย 1) ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร อาคารวัดแห่ง นี้เป็นอาคารหลังที่สามซึ่งสร้างขึ้นเพื่อทดแทนอาคารวัดหลังเดิม ที่คับแคบและชำ�รุดทรุดโทรมมาก โดยมีคุณพ่อกูเลียลโมกิ๊นดา ครู้สเป็นผู้ควบคุมการก่อสร้างในปี พ.ศ. 2459 (รัชสมัยพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว)และได้รับการปฏิสังขรณ์ครั้ง ใหญ่ในปี พ.ศ. 2539 โดยมีคุณพ่อศวง ศุระศรางค์ เป็นผู้ริเริ่ม เพื่อการอนุรักษ์ต่อไป ปัจจุบันวัดหลังนี้มีอายุรวมแล้ว 101 ปี อาคารวัดซางตาครู้สเป็นอาคารรูปแบบสถาปัตยกรรมสมัย ฟื้นฟูศิลปวิทยา และสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิกเช่นเดียวกับ อาสนวิหารอัสสัมชัญ มีจุดเด่นที่ยอดโดมแบบอิตาลีซึ่งมีลักษณะ

คล้ายคลึงกับโดมแห่งมหาวิหารฟลอเรนซ์หรือโดมของพระที่นั่ง อนันตสมาคมภายในเป็นอาคารชั้นเดียว มีจุดเด่นอีกประการคือ การใช้เสาลอยรับน้ำ�หนักของฝ้าเพดานแบบโค้ง รวมถึงกระจก สีที่เป็นเรื่องราวเกี่ยวข้องกับคริสต์ศาสนา วัดซางตาครู้สเป็น ศาสนสถานที่ สำ � คั ญ ที่ อ ยู่ คู่ กั บ ชุ ม ชนกุ ฎี จี น เก่ า แก่ ริ ม ฝั่ ง แม่ น้ำ � เจ้าพระยา โดยบริเวณที่ตั้งของวัดอยู่ใกล้กับพระราชวังเดิมสมัย ธนบุรีสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชพระราชทานที่ดินให้แก่ชาว โปรตุเกส ซึ่งร่วมทำ�การศึกต่อต้านพม่าจนได้รับชัยชนะ นักบวช ชาวโปรตุเกสจึงได้เริ่มก่อสร้างอาคารวัดหลังแรกที่สร้างด้วยไม้ ทั้งหมดแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2313 ต่อมาได้เกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ ในชุมชนในปี พ.ศ. 2376 ทำ�ให้อาคารวัดพังเสียหายทั้งหมด จึง ต้องก่อสร้างใหม่ด้วยอิฐถือปูน และได้ก่อสร้างใหม่อีกครั้งในปี พ.ศ. 2459 ซึ่งคืออาคารวัดหลังที่เห็นในปัจจุบัน


03 site & analysis

3-8

ภาพที่ 3.16 ตำ�เเหน่งต่างๆในชุมชนกุฎีจีน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

เเม่น้ำ�เจ้าพระยา

F

B

3.1 ประวัติความเป็นมาของชุมชนในพื้นที่

surround survey

E

C A D

B

C

E

F

ภาพที่ 3.17 ภาพมุมมองต่างในชุมชนกุฎีจีน A-C ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

A

ถนนในชุมชน ถนนอรุณอมรินทร์ ชุมชนกุฎีจีน โบสถ์ซางตาครูส

D ภาพที่ 3.18 ภาพมุมมองต่างในชุมชนกุฎีจีน D-F ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


03 site & analysis 3.2.1 จินตภาพของทั้ง 3ชุมชน

3-9

walking street sub road main road

3.2 การศึกษาเเละวิเคราะห์องค์ประกอบของทั้ง 3 ชุมชน

PATH พื้นที่แขวงวัดกัลยาณ์ในปัจจุบันสามารถใช้การสัญจรได้ จากทั้งทางน้ํา และทางบก โดยเฉพาะ ถนนอรุณอัมรินทร์ ตัดใหม่นั้นได้สร้างเส้นทางการเข้ามาถึงพื้นที่อย่างที่ไม่เคย ปรากฏมาก่อน กล่าวคือ ในสมัยก่อนพื้นที่ที่อยู่ริมแม่น้ํ าเจ้าพระยาและริมคลองบางกอกใหญ่สามารถเข้าถึงได้ โดยอาศัยการ สัญจรตามแม่น้าลําคลอง ซึ่งถนนต่างๆใน พื้นที่ไม่ได้รับการปรับปรุงหรือสร้างใหม่เพิ่มขึ้น ทําให้การ เข้าถึงชุมชนโดยทางบกเป็นไปด้วยความยากลําบาก และ ระบบถนนในพื้นที่ไม่ได้รับการปรับปรุงให้ เป็นระบบที่สามารถเชื่อมโยงกับถนนสายหลัก จึงเป็นเพียงทางคนเดิน และทางสัญจรลําหรับรถที่มี ขนาดเล็กเท่านั้น ดังนั้นการ คมนาคมขนส่งในพื้นที่ในปัจจุบัน สามารถแบ่งตามความ สําคัญของระบบ การสัญจรได้ 2 ลักษณะ คือ 1) ระบบการสัญจรทางบก ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทคือ (1.1)ถนนสายหลั ก หมายถึ ง ถนนที่ มี ข นาดใหญ่ 1 2-18 เมตร สามารถรองรับการจราจรขนาด ใหญ่ และมีจํานว นมากได้แก่ ถนนอิสรภาพ ถนนประชาธิปก และถนน อรุณอัมรินทร์ตัดใหม่ (1.2) ถนนสายรอง หมายถึงถนนที่เชื่อมกับถนนสายหลัก และรถขนาดใหญ่สามารถสัญ จรได้ เช่น รถดับเพลิง เป็นต้น ถนนสายรองในพื้นที่ได้แก่ ถนนเทศบาลสาย1, 2 และสาย 3 นอกจากนั้นยังมี ถนนรอย ย่อยๆ อีกจํานวนหนึ่งที่สามารถเชื่อมโยงกับถนนมิตรภาพ และถนนประชาธิปก (1.3) ถนนหรือทางเดินภายในชุมชน เป็นทางเดินขนาดเล็ก ที่รถยนต์ขนาดใหญ่ไม่สามารถผ่าน เช้าออกได้ ซึ่งปรากฏ ในชุมชนเกือบทุกชุมชนในเขตพื้นที่ศึกษานี้

ภาพที่ 3.19 แผนที่เส้นทางเดินในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


03 site & analysis

DISTRICK

3-10

3.2 การศึกษาเเละวิเคราะห์องค์ประกอบของทั้ง 3 ชุมชน

ชุมชนวัดกัลยาณ์

ชุมชนกุฎีจีน

ชุมชนกุฎีขาว

ภาพที่ 3.20 ย่านในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


03 site & analysis

3-11

3.2 การศึกษาเเละวิเคราะห์องค์ประกอบของทั้ง 3 ชุมชน

ริมเเม่น้ำ�เจ้าพระยา ริมคลองบางกอกใหญ่ ถนนอรุณอมรินทร์ ถนนเทศบาล 1 คลอง เเนวกำ�เเพง

EDGE ชุมชนมัสยิดกุฎีขาว อาณาเขต ทิศเหนือ ติดกับ ชุมชนวัดกัลยาณ์ ทิศใต้ ติดกับ ชุมชนโรงคราม ทิศตะวันออก ติดกับ คลองขนมบูด ทิศตะวันตก ติดกับ คลองบางกอกใหญ่

ชุมชนวัดกัลยาณ์ อาณาเขต ทิศเหนือ ติดกับคลองบางกอกใหญ่ ทิศใต้ ติดกับชุมชนกุฎีจีน ทิศตะวันออก ติดกับแม่น้ำ�เจ้าพระยา ทิศตะวันตก ติดกับชุมชนกุฎีขาว

ชุมชนกุฎีจีน อาณาเขต ทิศเหนือ ติดกับแม่น้ำ�เจ้าพระยา ทิศใต้ ติดกับซอยวัลกัลยาณ์ ทิศตะวันออก ติดกับวัดประยุรวงศาวาส ทิศตะวันตก ติดกับชุมชนวัลกัลยาณ์

ภาพที่ 3.21 เส้นขอบเขตในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


03 site & analysis

3-12

NODE

3.2 การศึกษาเเละวิเคราะห์องค์ประกอบของทั้ง 3 ชุมชน

NODE

NODE

NODE

กิจกรรมในชุมชน

ภาพที่ 3.22 ชุมทางในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


03 site & analysis

3-13

3.2 การศึกษาเเละวิเคราะห์องค์ประกอบของทั้ง 3 ชุมชน

LAND MARK

1

2 3

LANDMARK

4

ภาพที่ 3.23 ภูมิสัญลักษณ์ในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


03 site & analysis

3-14

3.2 การศึกษาเเละวิเคราะห์องค์ประกอบของทั้ง 3 ชุมชน

IMAGE OF THE CITY จินตภาพของ3ชุมชน

ภาพที่ 3.24 จินตภาพของทั้ง 3 ชุมชน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


03 site & analysis

3-15

3.2 การศึกษาเเละวิเคราะห์องค์ประกอบของทั้ง 3 ชุมชน

IMAGE OF THE CITY PATH

EDGE

DISTRICK ภาพที่ 3.26 แผนที่ From google map ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

NODE ภาพที่ 3.25 Path, Edge, Node, Landmark, Image of the city ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

LANDMARK

IMAGE OF THE CITY


03 site & analysis

3-16

3.2 การศึกษาเเละวิเคราะห์องค์ประกอบของทั้ง 3 ชุมชน

kudi khau wat kalaya kudi jeen

3 RELIGIOUS COMMUNITIES

A B

C

ด้านการพัฒนาชุมชนและปัญหาในชุมชนกุฎีขาว

ด้านการพัฒนาชุมชนและปัญหาในชุมชนวัดกัลยาณ์

ด้านการพัฒนาชุมชนและปัญหาในชุมชนกุฎีจีน

ตอนนี้ มี โ ครงการบู ร ณะมั ส ยิ ด เพราะหลั ง คามั ส ยิ ด รั่ ว และจะมี ก ารสร้ า ง โรงเรียนสอนศาสนาใหม่ ซึ่งตอนนี้ทางเขตอนุมัติเงินให้ 10 ล้านบาทเพื่อนำ� มาซ่อมแซมแล้ว ส่วนเรื่องการศึกษาภาคสามัญของเด็กในชุมชนทางชุมชน รณรงค์ให้เด็กในชุมชนได้เรียนตั้งแต่อนุบาลจนจบปริญญาตรีทุกคนไม่ว่า กรณีใดก็ตามเช่น จัดหาทุน ส่วนบ้านที่เคร่งศาสนาที่ให้ลูกเรียนต่อทางด้าน ศาสนาตอนนี้ก็ยอมเปิดใจให้ลูกเรียนภาคสามัญเเล้วทำ�ให้เด็กในชุมชนมีการ ศึกษาที่สูงขึ้นกว่าเมื่อก่อนมาก บางคนก็อยากให้ทางชุมชนอาชีพเสริมให้ แม่บ้านและผู้สูงอายุที่อยู่บ้านว่างๆจะได้มีรายได้เสริมส่วนปัญหาที่มีในชุมชน ตอนนี้ก็มีอยู่เรื่องเดียวคือเรื่องยาเสพติด แต่ก็ไม่ได้รุนแรงอะไรเพราะทาง ชุมชนก็ร่วมมือกับตำ�รวจปราบจนแทบไม่เหลือแล้วตอนนี้อาจจะมีบ้างเล็ก น้อยแต่คนในชุมชนก็ช่วยกันสอดส่องอยู่

ตอนนี้ ก ารชุ ม ชนวั ด กั ล ยาไม่ มี โ ครงการที่ จ ะพั ฒ นาชุ ม ชนในด้ า นใดเลย เนื่องจากตอนนี้ทางชุมชนมีปัญหาเรื่องที่ดินกับทางวัด คือ ทางวัดต้องการ ที่ดินซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของชาวบ้านคืนเพื่อนำ�ไปปรับปรุงวัดเพื่อการท่อง เที่ยว ซึ่งที่ดินนี้เป็นที่ดินบรรพบุรุษของคนในชุมชนบริจาคให้กับวัดทาง ชุมชนเคยจะสร้างของกระจายข่าวของชุมชนทางวัดไม่อนุญาติให้สร้างเพราะ เสียงจากชุมชนจะไปรบกวนการประกาศของทางวัดเวลามีนักท่องเที่ยว ดัง นั้นโครงการที่ชาวบ้านอยากให้สร้างลานกีฬา สวนสาธารณะ คงเป็นไปได้ยาก นอกจากนี้ยังมีปัญหาเรื่องยาเสพติดในชุมชน และเรื่องการพัฒนาการศึกษา ของเด็กในชุมชน ซึ่งทางชุมชนไม่มีเงินทุนมากเพื่อที่จะพัฒนาในจุดนี้

ชุมชนกุฎีจีนส่วนใหญ่รู้สึกว่าชุมชนของตนมีพร้อมทุกอย่าง แต่ถ้าชุมชน เห็นว่าควรจะมีพัฒนาในส่วนใดในชุมชนก็พร้อมจะสนับสนุน เช่น ตอนนี้มี การสร้างเขื่อนกั้นน้ำ�ท่วมเพราะชุมชนนี้ติดกับแม่น้ำ�เจ้าพระยาและจำ�เป็นต้อง รื้อบ้านของคนในชุมชนหลังหนึ่งออกบางส่วนซึ่งเขาก็ยอมเพื่อชุมชน และ โครงการที่สำ�คัญตอนนี้คือ กองการท่องเที่ยวกรุงเทพได้ จัดโครงการ Unseen In Bangkok ทำ�ให้ทางชุมชนกำ�ลังทำ�ชุมชนให้เป็น แหล่งท่องเที่ยวและชุมชนได้แนะนำ�ให้คนในชุมชนนำ�ของมาขายนักท่องเที่ยว เพื่อเป็นการสร้างรายได้ให้ กับคนในชุมชนทางหนึ่ง


03 site & analysis 3.3.1 เส้นทางการเดินของผู้คนในทั้ง 3 ชุมชน

3-17

3.3 การศึกษาเเละวิเคราะห์ทำ�เลที่ตั้งโครงการ

walking path analysis เส้นทางการเดินของนักท่องเที่ยว

เส้นทางการเดินของคนชุมชนวัดกัลยาณ์

เส้นทางการเดินของคนชุมชนกุฎีจีน

เส้นทางการเดินของคนชุมชนกุฎีขาว

ภาพที่ 3.27 Walking path analysis ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

ส้นสีน้ำ�เงิน เป็นเส้นที่บอกลักษณะการเดินของนัก ท่องเที่ยวไปยังตำ�เเหน่ง NODE ต่างๆของชุมชนซึ่งจะ สังเกตุได้ว่านักท่องเที่ยวจะเข้าไปยังตำ�เเหน่ง NODE LANDMARK ของชุมชุนวัดกัลยาณ์ เเละชุมชนกุฎีจีน ซึ่งเส้นทางเหล่านี้เกิดจากการที่ได้เข้าไปสำ�รวจเก็บของ มู ล ในพื้ น ที่ ซึ่ ง สั ง เกตุ จ ากชาวต่ า งชาติ ที่ ปั่ น จั ก รยาน มากับไกด์พาทัวว์ ส่วนในชุมชนกุฎีขาว หลังจากได้ สอบถามคนในชุ ม ชนบอกไว้ ว่ า มี นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาว ต่า งชาติเข้า มาบ้า งเเต่ น้อ ยเมื่ อ เที ยบกั บทั ว ชุ ม ชนวั ด กัลยาณ์กับชุมชนกุฎีจีน

ส้นสีเขียว เป็นเส้นที่บอกลักษณะการเดินของคนใน ชุ ม ชนวั ด กั ล ยาณ์ ใ นการเข้ า ถึ ง ที่ อ ยู่ อ าศั ย ของคนใน ชุมชน โดยสถานที่ที่คนในชุมชนเข้าถึงบ่อยๆนั่นก็คือ โรงเรียน โรงเรียนที่อยู่รายล้อมทั้ง6 จะเกิดการเข้า ถึงของคนในชุมชนในทุกวันจันทร์ถึงศุกร์ ส่วนวัด กัลยาณ์ ประชาชนในชุมชนนั้นไม่มีการปฏิสัมพันธ์ กับวัดเเล้วเนื่องจากมีปัญหาการเวนคืนพื้นที่บางส่วน กลับเป็นส่วนของวัด

ส้นน้ำ�ตาล เป็นเส้นที่บอกลักษณะการเดินของคนใน ชุ ม ชนกุ ฎี จี น ในการเข้ า ถึ ง ที่ อ ยู่ อ าศั ย ของคนในชุ ม ชนเเละศาสนสถานโบสถ์ซางตาครูส โดยสถานที่ที่ คนในชุมชนเข้าถึงบ่อยๆนั่นก็คือโรงเรียน โรงเรียนที่ อยู่รายล้อมทั้ง6 จะเกิดการเข้าถึงของคนในชุมชนใน ทุกวันจันทร์ถึงศุกร์ ส่วนตัวโบสถ์ซางตาครูสประชาชน ในชุ ม ชนนั้ น จะเข้ า มาร่ ว มกิ จ กรรมในทุ ก วั น อาทิ ต ย์ เกือบตลอดทั้งวั ส่วนในวันธรรมดาจะมีการเปิดให้ คนในชุมชนเข้ามาใช้ได้ในช่วงเวลา05.00-07.00 น. เเละ 17.00-19.30 น.

ส้นเหลืองเขียว เป็นเส้นที่บอกลักษณะการเดินของ คนในชุมชนกุฎีขาวในการเข้าถึงที่อยู่อาศัยของคนใน ชุมชนเเละศาสนสถานมัสยิดบางหลวง โดยสถานที่ที่ คนในชุมชนเข้าถึงบ่อยๆนั่นก็คือโรงเรียน โรงเรียนที่ อยู่รายล้อมทั้ง6 จะเกิดการเข้าถึงของคนในชุมชนใน ทุกวันจันทร์ถึงศุกร์ ส่วนตัวมัสยิดบางหลวงนั้น จะ เป็นสถานที่ประกอบของคนในชุมชนอยู่เเล้ว ซึ่งตลอด ทั้งวันจะมีการเข้าถึงมัสยิดเเห่งนี้เพื่อทำ�พิธีละหมาด ตามช่วงเวลาในเเต่ละวัน


03 site & analysis 3.3.2 การวิเคราะห์หาพื้นที่ตั้งโครงการ

3-18

ภาพที่ 3.28 การวิเคราะห์หาพื้นที่ตั้งโครงการ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

เมื่อนำ�เเนวเส้นทางการเดินของทั้ง 4 รูปแบบนำ�มาซ้อนทับกัน ทั้ง 3 ชุมชนให้ได้เข้าถึงง่ายต่อการเดินทางเเละเป็นพื้นที่ที่มี จะเกิดการซ้อนทับของเส้น การใช้เครื่องมือนี้เป็นการสร้าง การผ่านของคนในชุมชนทั้ง 3 ชุมชนอยู่ตลอด ทั้งนี้เพื่อให้ ขอบเขตของการหาพื้นที่ตั้งของตัวโครงการให้ชัดขึ้น ว่าเเนว พืน้ ที่นี้เป็นเหมือนศูนย์กลางของทั้ง 3 ชุมชน นั่นเอง เส้นการเดินทางของคนทั้ง3ชุมชนนั้นผ่านพื้นที่บริเวณไหน มากที่สุด เนื่องด้วยตัวโครงการจำ�เป็นต้องเป็นพื้นที่ของคน

3.3 การศึกษาเเละวิเคราะห์ทำ�เลที่ตั้งโครงการ ภาพที่ 3.29 แนวคิดการวิเคราะห์ หาพื้นที่ตั้งโครงการ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


03 site & analysis 3.3.3 การวิเคราะห์องค์ประกอบบริบทโดยรอบพื้นที่ตั้งโครงการ ภาพที่ 3.30 แผนที่องค์ประกอบบริบทโดยรอบ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

3-19


3-20

3.3 การศึกษาเเละวิเคราะห์ทำ�เลที่ตั้งโครงการ

PUBLIC CONCENTRATION

MAIN & SUB ROAD ชุมชนกุฎีจีน

ชุมชนกุฎีขาว

อรุณอมรินทร์ 6

ชุมชนวัดกัลยาณ์

ถนน อรุนอมรินทร์ ซอยวัดกัลยาณ์

ซอยอรุณอมรินทร์ 4

100 m.

ภาพที่ 3.31 Public Concenteration ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

150 m.

ภาพที่ 3.32 Main & Road ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

200 m. 350 m.

PEDESTRIAN CIRCULATION

VEHICULAR CIRCULATION

ภาพที่ 3.33 Pedestrian Circulation ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

ภาพที่ 3.34 Vehicular Circulation ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

SCHOOL

รร.ซางตาครูสศึกษา รร.เเสงอรุณ รร.ซางตาครูสคอนเเวนท์

ภาพที่ 3.35 School ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

รร.วัดประยูรวงศาสวาส

รร.อนุบาลวรรณบูรณ์ศึกษา

สรุป พื้นที่โครงการอยู่ในพื้นที่ชุมชนกุฎีจีน ซึ่งใกล้กับชุมชนวัด กัลยาณ์เพียง200เมตร ใกล้กับสถานศึกษาในระยะไม่เกิน 300 เมตร มีถนนซอยวัดกัลยาณ์ตัดผ่านหน้าพื้นที่โครงการ ติดกับโรงเรียน เเสงอรุณเเละโรงเรียนซางตาครูสคอนเเวนท์ ห่างกันเพียง20 เมตร โดยพื้นที่โครงการนี้ตรงกับความต้องการของตัวโครงการเพราะใกล้ กับสถานการศึกษาเเละอยู่ในใจกลางของเเหล่งชุมชนทั้ง 3ชุมชน


03 site & analysis

3-21

SITE SURVEY A

B

C

D

E

H

I

J

I

ภาพที่ 3.36 ภาพมุมมองต่างๆรอบๆพื้นที่ตั้งโครงการ A-E ที่มา : Google Street, 2561

F

G

ภาพที่ 3.37 ภาพมุมมองต่างๆรอบๆพื้นที่ตั้งโครงการ F-J ที่มา : Google Street, 2561

ภาพที่ 3.38 ตำ�เเหน


3-22

3.3 การศึกษาเเละวิเคราะห์ทำ�เลที่ตั้งโครงการ

J

น่งต่างๆบนบริบทรอบบริเวณไซต์ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

E D

B C A

F G

H


03 site & analysis

3-23

3.4 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

raws

ภาพที่ 3.39 ผังสี กทม. ที่มา : http://thailand-property-news. knightfrank.co.th/, 2561

ภาพที่ 3.40 ผังสีน้ำ�ตาล ณ บริวเณพื้นที่ตั้งโครง ที่มา : http://thailand-property-news.knightfrank.co.th/, 2561

พื้นที่โครงการเป็นที่ดินประเภท ย.๘ เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมากที่มีวัตถุประสงค์เพื่อรองรับการอยู่อาศัยในบริเวณพื้นที่เขตเมืองชั้นในที่มีการส่งเสริมและดำ�รง รักษาทัศนียภาพและสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ให้เป็นไปดังต่อไปนี้ (๑) มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิน 6 : 1 ทั้งนี้ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือเเบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวม ต่อพื้นที่ดินของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่เกิน 6 : 1 อัตราส่วนพื้นที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวม กันต้องไม่เกิน 5 : 1 (๒) มีอัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 แต่อัตราส่วนของที่ว่างต้องไม่ต่ํากว่าเกณฑ์ขั้นต่ําของที่ว่างอันปราศจากสิ่งปกคลุมตามกฎหมายว่าด้วย การควบคุมอาคาร ทั้งนี้ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมของที่ดินแปลงที่เกิดจาก การแบ่งแยกหรือแบ่งโอนทั้งหมดรวมกันต้องไม่น้อยกว่าร้อยละห้าและให้มีพื้นที่น้ําซึมผ่านได้เพื่อปลูกต้นไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของพื้นที่ว่าง


03 site & analysis

3-24

SITE ANALYSIS 29.57 m

m

46.11 m

.0 28

38.58 m

39

.2 3

m

143/1 ซอย วัดกัลยาณ์แขวง วัดกัลยา เขต ธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600

3.5 สรุปทำ�เลที่ตั้งโครงการ

63.67 m

2,682 sq.m ภาพที่ 3.41 พื้นที่ตั้งโครงการ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

ภาพที่ 3.42 ขนาดพื้นที่ตั้งโครงการ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

สรุปการศึกษาสภาพทั่วไปของพื้นที่ตั้งโครงการ แต่เดิมพื้นที่ตั้งโครงการนั้นเป็นพื้นที่เช่าที่จอดรถในชุมชนกุฎีจีน ซึ่งเป็นพื้นที่ปล่อยเช่าโดยเจ้าของท่านหนึ่งในชุมชน มี พื้นที่ 2,682 ตร.ม หรือคิดเป็น 1.6 ไร่ โดยประมาณ โดยตัวพื้นที่ตั้งโครงการนี้อยู่ในพื้นที่ชุมชนกุฎีจีน ห่างชุมชนวัดกัลยาณ์ ประมาณ 200 เมตร เชื่อมกันโดยถนนซอยวัดกัลยาณ์ซึ่งจะตัดหน้าพื้นที่โครงการ บริเวณโดยรอบพื้นที่โครงใกล้จะโรงเรียน เเสงอรุณกับโรงเรียนซางตาครูสคอนเเวนท์ในระยะ ไม่เกิน 100 เมตร ซึ่งบริบทของที่ตั้งกับตัวพื้นที่โครงการนั้น ประกอบไป ด้วยบ้านของคนในชุมชนกุฎีจีนสูงไม่เกิน 2 ชั้น อยู่รอบพื้นที่

ที่ตั้ง 143/1 ซอย วัดกัลยาณ์แขวง วัดกัลยา เขต ธนบุรี กทม. 10600 FAR : 6 OSR : 5 TOTAL AREA : 2,682 sq.m


03 site & analysis

3-25

3.5 สรุปทำ�เลที่ตั้งโครงการ

SITE ANALYSIS

ACCESS การเข้าถึงที่ตั้งโครงการ

APPROCH มุมมองเข้ายังพื้นที่โครงการ

VIEW มุมมองออกจากพื้นที่โครงการ

SUN,WIND สภาพอากาศ

NOISE POLLUTION คลื่นเสียงรบกวน ในวันธรรมดา จะเกิดเสียงรบกวนจากโรงเรียนเเสงอรุณมากที่สุด

C A

B

PATH ถนนเข้าที่ตั้งโครงการ A : 12ม. 4เลน, B : 3ม. 1เลน, C : 5ม. 2เลน ภาพที่ 3.43 วิเคราะห์พื้นที่ตั้งโครงการ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


03 site & analysis

RELIGION WITH COMMUNITY

ภาพที่ 3.44 Jesus Cry ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

3-26


04 p r o g r a m s USER & PROGRAM

BUDDHISM

BUDDHISM

ISLAM

ISLAM

CHRISTIANITY CHRISTIANITY

ภาพที่ 4.01 Main Idea Programs ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


p r o g r a m


04 program

4-1 Heart

ภาพที่ 4.02 Heart ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561 Space of sharing

ภาพที่ 4.03 Sharing space ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

BACKGROUND OF THE PROJECT ศาสนากับสถาปัตยกรรม

4.1 ความเป็นมาเเละความสำ�คัญของโครงการ สถาปัตยกรรมทางศาสนาในแต่ละแห่งทั่วทุกมุมโลกแสดงให้เห็นถึงความสําคัญของการทําความ เข้าใจ คติความเชื่อผ่าน สัญลักษณ์ทางศาสนา ซึ่งเป็นที่มาของการออกแบบและการก่อสร้างตั้งแต่ อดีตจน ถึงปัจจุบันเช่น Old St.Peter Basilica โบสถ์คริสเตียนตอนต้น ที่การออกแบบเกิดจากการ ติความเชิงสัญลักษณ์ของไม้กางเขนที่เรียกกันว่า ลาตินครอส (Latin Cross) แต่ทั้งนี้ยังมีสถาปัตยกรรมทางศาสนาในบางกรณีที่อาจจะไม่ได้เกิดจากคติทางความเชื่อทั้งหมด แต่เป็นสถาปัตยกรรมที่อยู่ในพื้นที่ในอีกรูปแบบหนึ่ง จึงมีการประยุกต์ให้เข้ากับพื้นที่ตรงนั้นอย่าง เช่น โบสถ์วัดพระมหาไถ่ ตัวโบสถ์ก่อสร้างโบสถ์ในรูปแบบสถาปัตยกรรมไทย โดยโบสถ์แห่งนี้ ออกแบบและควบคุมการก่อสร้าง โดยสถาปนิกอิตาเลี่ยนชื่อ อาชิเนลลี (Acinelli) ลักษณะทาง สถาปัตยกรรมของโบสถ์หลังนี้เป็นสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับวัดใน พุทธ ศาสนา แต่ความงามภายในถูกถ่ายทอดออกมาในสภาวะจิตที่แตกต่างกันกับวัดในพุทธศาสนาอย่าง สิ้นเชิง หลายครั้งที่องค์ความรู้และความหมายในเรื่องของสัญลักษณ์ในงานสถาปัตยกรรมเหล่า นั้นไม่ได้ถูกถ่ายทอดไปทั้งหมด (หรือถูกถ่ายทอดไปเพียงบางส่วน) และหลายครั้งที่ความหมาย ดั้งเดิมในงานเหล่านั้นมิได้สอดคล้องกับคติความเชื่อหรือวัฒนธรรมในการรับรู้ของผู้คนในท้องถิ่น ลักษณะดังกล่าวนี้ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ของการเกิดรูปแบบระหว่างความหมายของสัญลักษณ์ที่ อยู่ในคติความเชื่อเดิมกับโลกทัศน์ของผู้คนท้องถิ่น ซึ่งมักจะทําให้เกิดความกํากวมในการตีความ สัญลักษณ์ต่างๆ และความ กํากวมที่ว่านี้ก็ส่งผลให้เกิดการกําหนดความหมายขึ้นมาใหม่ ก่อนจะส่ง อิทธิwลต่อการออกแบบก่อสร้างสถาปัตยกรรมที่เป็นผลผลิตจากการติความเหล่านั้น

Community

ภาพที่ 4.04 Community ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

เป็นของคู่กันมาตั้งแต่ก่อนครั้งโบราณกาล ที่ปรากฏให้เห็นได้ ชัดก็ในยุค สมัยอียิปต์ที่มีการสร้างวิหารบูชาเทพเจ้า หรือ สร้างพิระมิดเพื่อตอบสนองทาง ความเชื่อเรื่องการ ฟื้นกลับมาจากความตายของฟาโรห์จะเห็นได้ว่าสถาปัตยกรรมทางศาสนานั้นเป็นสถาปัตยกรรมที่ สร้างขึ้นมาเพื่อตอบสนองลักษณะการใช้งานทางศาสนาหรือการประกอบพิธีกรรมทางความเชื่อ ทั้งนี้ สถาปัตยกรรมทางศาสนาตั้งแต่อดีตมักจะสัมพันธ์กับสิ่งที่เรียกว่า “สัญลักษณ์” ซึ่งสะท้อนภาพจาก คติทางความเชื่อที่ถูกบันทึกและถ่ายทอดผ่านสิ่งที่เรียกว่า“ตํานาน” โดยตํานานเป็นสิ่งที่ถูกบันทึกไว้ใน คัมภีร์ต่างๆในทางศาสนา

ทั้งนี้กาลเวลาและยุคสมัยก็เป็นปัจจัยหนึ่งในการเกิดรูปแบบทางสถาปัตยกรรมทางศาสนาใหม่ๆ ซึ่ง เกิดจากการติความหมายบางอย่างแตกต่างออกไปแต่ยังคงไว้ในด้านการใช้งาน และการถ่าย ทอด ทางความเชื่อผ่านพื้นที่ภายในต่อความรู้สึกของผู้เข้าใช้งาน เช่น โบสถ์ Ronchamp ออกแบบโดย เลอคาปูชิเอ หรือ โบสถ์เล็กๆที่ออกแบบโดยปีเตอร์ สุมทอร์ มีชื่อว่า Bruder Klaus Field Chapel เป็นการลดทอนจากรูปแบบโบสถ์ที่ผ่านมา เหลือแก่นของความศรัทธาที่มีต่อพระผู้เป็นเจ้า ผ่านพื้น ที่เล็กๆในนั้น จึงทำ�ให้เกิดคำ�ถามต่อตัวเองเเละโครงการว่า 1. สิ่งใดคือ หัวใจ หรือ แก่นเเท้ ของสถาปัตยกรรมทางศาสนา ที่สะท้อนให้คุณค่าเเก่ผู้ใช้งาน 2. สามารถออกเเบบพื้นที่บางอย่างให้ผู้คนต่างศาสนาที่จะเข้ามาใช้ร่วมกันในพื้นที่นั้น โดยไม่เกิดเส้น เเบ่งเเยกทางศาสนาได้หรือไม่ 3. พื้นที่ที่ออกเเบบ สามารถนำ�เข้าไปเเทรกในพื้นที่ที่มีการนับถือหลากหลายศาสนาได้หรือไม่ เพื่อที่ ให้เกิดการเชื่อมโยงในชุมชน


PURPOSE OF project

04 program

4-2

เป็นพืน้ ทีท่ �ำ ให้เกิดความเข้าใจความศักดิส์ ทิ ธิ์ โดยผ่านพืน้ ทีว่ า่ งทางสถาปัตยกรรม

1

2 เพื่อทำ�ให้เกิดความเข้าใจในตัวเองมากขึ้น ด้านความเชือ่ ความศรัทธา ผ่านทางจิตเเละ อารมณ์ในการรับรูผ้ า่ นพืน้ ที่

4.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ

ส่งเสริมคุณค่าเเละการยอมรับการอยูร่ ว่ ม กั น บนพื้น ฐานสั ง คมพหุ ศ าสนาอย่ า งมี เกียรติศกั ดิศ์ รี เเละเท่าเทียมกัน โดยเคารพ คุณค่าของทุกศาสนาอย่างเข้าใจ

3

4.3 การกำ�หนดโครงสร้างการบริหาร

เนือ่ งด้วยการจัดการบริหารโครงการนัน้ ต้องสัมพันธ์กบั โครงสร้างของชุมชนในพืน้ ทีโ่ ครงการ ซึง่ บุคคลากรทีเ่ ข้ามาบริหารตัวโครงการเเน่นอนว่าต้องเป็นคนใน ชุมชนเพราะตัวโครงการจะเป็นการเน้นปฏิสมั พันธ์ของชุมชนทีต่ า่ งศาสนา เพราะฉะนัน้ ผูบ้ ริหารตัวโครงการต้องเป็นคนในชุมชนในพืน้ ที่

4 เป็นพืน้ ทีเ่ เห่งการเเละเปลีย่ นเเนวคิดทัศนคติ ในมุมมองทางศาสนากล่าวกันในด้านปรัชญา เเต่อยูใ่ นพืน้ ฐานของการเคารพเเละให้เกียรติ ต่อทุกศาสนา


04 program

ภาพที่ 4.05 ผังโครงสร้างการบริหาร ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

4-3

4.4 ผังโครงสร้างการบริหาร


04 program

4-4

4.5 การกำ�หนดโครงสร้างการบริหาร


04 program 4.6.1 การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้คนที่เข้ามาปฏิสัมพันธ์กับทั้ง 3ชุมชน

4.6 วิเคราะห์พฤติกรรมผู้คนในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน

4-5

ANALYSIS USER IN COMMUNITY [ NOW ] USER

ค70ปีนในชุ มชนทัง้ 3 ชุมชนในช่วงอายุ 25จะเเบ่งออกเป็น 2ประเภทคือ 1. วัย

ACTIVITY

คนในชุมชนทัง้ 3 ชุมชน (ผูใ้ หญ่) AGE

CATEGORY

25-70 ปี

วัยทำ�งาน ผูส้ งู อายุ working

ทำ�งาน 2.วัยผูส้ งู อายุวยั ทำ�งานยังเเบ่งออก เป็น 2 ประเภทอีกเช่นกัน 1.ประเภททีท่ �ำ งาน นอกชุมชน, 2.ประเภททีท่ �ำ งานในชุมชน

in

ประเภททีท่ �ำ งานในชุมชนคือชาวบ้านทีเ่ ปิด ร้านขายของเเละร้านขายอาหาร ส่วนผูส้ งู อายุจะอยูบ่ า้ นเเละช่วยงานในชุมชนบางส่วน

INTERACTION AT COMMUNITY วัยทำ�งาน : (ทำ�งานนอกชุมชน 08.00-17.00), (ทำ�งานนอกชุมชน 08.00-17.00) ผูส้ งู อายุ : (24 ชัว่ โมง) COMMUNICATION SPACE

ภาพที่ 4.06 ผู้สูงอายุ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

out

ภาพที่ 4.07 กิจกรรมผู้สูงอายุในทั้ง3ชุมชน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

USER

ภาพที่ 4.08 พื้นที่ที่ผู้สูงอายุมักออกมาทำ�กิจกรรม ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

ACTIVITY

เยาวชนในชุมชนทัง้ 3 ชุมชน AGE

CATEGORY

5-24 ปี

นักเรียนอนุบาล-อุดมศึกษา

รงเรียนในพืน้ ทีท่ ง้ั 3 ชุมชนมีตง้ั เเต่อนุบาล ถึงระดับมัธยมซึง่ คนในชุมชนทัง้ 3 ชุมชน จะ ส่งลูกหลานเข้าศึกษาจนจบระดับมัธยม ปลาย

INTERACTION AT COMMUNITY นักเรียน (จ-ศ เวลา 7.30-16.00)

COMMUNICATION SPACE

ภาพที่ 4.09 เด็กนักเรียน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

ภาพที่ 4.10 กิจกรรมของเด็กนักเรียน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

ภาพที่ 4.11 พื้นที่ที่เด็กนักเรียนออกมาทำ�กิจกรรม ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


04 program

4.6 วิเคราะห์พฤติกรรมผู้คนในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน

4-6

USER

ACTIVITY

ปั

นักท่องเทีย่ ว (ชาวต่างชาติ) AGE

CATEGORY

25-70 ปี

นักท่องเทีย่ ว

จจุบนั มีนโยบายส่งเสิรมการท่องเทีย่ ว (Unseen Bangkok)ทำ�ให้มนี กั เทีย่ วต่างชาติ มาเเวะเวียนท่องเทีย่ วในพืน้ ทีน่ เ้ ี เล้วโดยจะมา กับไกด์ปน่ั จักรยานเยีย่ มชมคนในชุมชนเเละ ศาสนสถานในพืน้ ที่

INTERACTION AT COMMUNITY (08.00-16.00)

COMMUNICATION SPACE

ภาพที่ 4.12 นักท่องเที่ยว ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

ภาพที่ 4.13 กิจกรรมนักท่องเที่ยวในทั้ง3ชุมชน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

USER

ภาพที่ 4.14 พื้นที่ที่นักท่องเที่ยวออกมาทำ�กิจกรรม ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

ACTIVITY

นักท่องเทีย่ ว (นักศึกษา) AGE

CATEGORY

20-30 ปี

นักศึกษาจากนอกชุมชน

รงเรียนในพืน้ ทีท่ ง้ั 3 ชุมชนมีตง้ั เเต่อนุบาล ถึงระดับมัธยมซึง่ คนในชุมชนทัง้ 3 ชุมชน จะ ส่งลูกหลานเข้าศึกษาจนจบระดับมัธยม ปลาย

INTERACTION AT COMMUNITY นักศึกษา (สำ�รวจชุมชน 09.00-17.00)

COMMUNICATION SPACE

ภาพที่ 4.15 นักท่องเที่ยว (นักศึกษา) ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

ภาพที่ 4.16 กิจกรรมของนักศึกษา ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

ภาพที่ 4.17 พื้นที่ที่นักศึกษาออกมาทำ�กิจกรรม ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


04 program 4.6.2 การวิเคราะห์ช่วงเวลาที่ผู้คนเข้ามาปฏิสัมพันธ์พื้นที่ในทั้ง 3 ชุมชน

4.6 วิเคราะห์พฤติกรรมผู้คนในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน

4-7

ANALYSIS USER IN COMMUNITY [ NOW ]

user mapping

place

00.00-06.00

ศาสนาสถาน โรงเรียน (นักเรียน) ลานกิจกรรม คนในชุมชนวัดกัลยาณ์ ศาสนาสถาน โรงเรียน (นักเรียน) ลานกิจกรรม คนในชุมชนกุฎขี าว ศาสนาสถาน โรงเรียน (นักเรียน) คนในชุมชนกุฎจี นี

ลานกิจกรรม ศาสนาสถาน พืน้ ทีช่ มุ ชน

นักท่องเทีย่ ว

ลานกิจกรรม

แผนภูมิภาพที่ 4.01 การวิเคราะห์ช่วงเวลาที่ผู้คนเข้ามาปฏิสัมพันธ์พื้นที่ในทั้ง 3 ชุมชน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

06.00-09.00

09.00-12.00

12.00-15.00

15.00-18.00

18.00-24.00


04 program 4.6.3 การวิเคราะห์ช่วงเวลาที่สถานที่ปฏิสัมพันธ์กับทั้ง 3 ชุมชน

user mapping

place

00.00-06.00

ชุมชนวัดกัลยาณ์ ชุมชนกุฎขี าว ชุมชนกุฎจี นี ชุมชนวัดกัลยาณ์ ชุมชนกุฎขี าว ชุมชนกุฎจี นี นักท่องเทีย่ ว

ชุมชนวัดกัลยาณ์ ชุมชนกุฎขี าว ชุมชนกุฎจี นี แผนภูมิภาพที่ 4.02 การวิเคราะห์ช่วงเวลาที่สถานที่ปฏิสัมพันธ์กับทั้ง 3 ชุมชน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

4.6 วิเคราะห์พฤติกรรมผู้คนในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน

4-8

06.00-09.00

09.00-12.00

12.00-15.00

15.00-18.00

18.00-24.00


04 program 4.6.3 การวิเคราะห์ช่วงเวลาที่เกิดการซ้อนทับกันของตัวพื้นที่กับชุมชน

00.00-06.00

ชุมชนวัดกัลยาณ์

06.00-09.00

09.00-12.00

ชุมชนกุฎขี าว

ช่วงเวลาทีเ่ กิดการซ้อนทับของ USER ทัง้ 4 แบบ กับตัวสถานทีใ่ นชุมชน คือ ช่วงเวลา 8.30 - 16.00 แผนภูมิภาพที่ 4.03 การวิเคราะห์ช่วงเวลาที่เกิดการซ้อนทับกันของตัวพื้นที่กับชุมชน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

4.6 วิเคราะห์พฤติกรรมผู้คนในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน

4-9

12.00-15.00

ชุมชนกุฎจี นี

15.00-18.00

18.00-24.00

นักท่องเทีย่ ว


04 program

MAPPING / PERIOD

4.6 วิเคราะห์พฤติกรรมผู้คนในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน

4-10

00.00-06.00

06.00-09.00

09.00-12.00

12.00-15.00

15.00-18.00

18.00-24.00

00.00-06.00

06.00-09.00

09.00-12.00

12.00-15.00

15.00-18.00

18.00-24.00

ภาพที่ 4.18 Mapping ความหนาเเน่นที่เกิดขึ้นในพื้นที่ช่วงเวลาต่างๆในหนึ่งวัน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


04 program

MAPPING / PERIOD

4.6 วิเคราะห์พฤติกรรมผู้คนในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน

4-11

ชุมชนวัดกัลยาณ์

ชุมชนกุฎขี าว

ชุมชนกุฎจี นี

00.00-06.00

06.00-09.00

09.00-12.00

12.00-15.00

15.00-18.00

18.00-24.00

ภาพที่ 4.19 Mapping ความหนาเเน่นที่เกิดขึ้นของผู้คนที่เข้ามาใช้ในพื้นที่ช่วงเวลาต่างๆในหนึ่งวัน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

นักท่องเทีย่ ว


04 program

4.7 รายละเอียดผู้ใช้โครงการ

4-12

user

LOCAL PEOPLE (ประชาชนในทัง้ 3 ชุมชน)

STUDENT นักเรียน

ACADEMIC นักวิชาการ

TOURIST นักท่องเที่ยว

STAFF ผู้บริหารจัดการ

เนือ่ งด้วยต้องการให้ ประชาชนในทัง้ 3 ชุมชน ได้มพ ี น้ื ทีส่ �ำ หรับทำ�กิจกรรมร่วม กัน จึงมีลานอเนกประสงค์ไว้ใช้ส�ำ หรับทำ� กิจกรรมระหว่างชุมชน หรือไว้ใช้ส�ำ หรับ ทำ�กิจกรรมเพียงชุมชนเดียวก็ได้เเล้ว ต้องการใช้ของคนในพืน้ ที่

ในพื้ น ที่ บ ริ เ วณใกล้ เ คี ย งมี ส ถาบั น ศึกษาตั้งอยู่หลายแห่งในระหว่าง 3 ชุมชน ทำ�ให้ตัวโครงการที่ต้องการ ปลู ก ฝั ง เยาวชนให้ เ ข้ า ใจเเละยอมรั บ ความต่ า งของศาสนาเเละความเชื่ อ ตัวโครงการจึงสมควรตั้งใกล้หรือเป็น ตั้งอยู่ทางผ่านไปยังสถบันการศึกษา ทั้ ง นี้ ตั ว โครงการยั ง รองรั บ สำ � หรั บ นั ก เรี ย นนั ก ศึ ก ษาจากนอกชุ ม ชนที่ ต้องการเข้ามาทำ�การเรียนรู้หรือเเลก เปลี่ยนเเนวคิดทางศาสนาได้​้อีกด้วย

รองรับนักวิชาการที่ต้องการมาเเลก เปลี่ ย นหรื อ สั ม มนาเเนวทางการจั ด ระเบียบชุมชนต่างศาสนาในพื้นที่อื่น หรื อ นั ก วิ ช าการที่ ต้ อ งการบรรยาย เเนวคิดเกี่ยวกับศาสนาหรือความเชื่อ เเก่เยาวชน

การเข้ามาของนโยบาย Unseen คณะบริ ห ารเเละเจ้ า หน้ า ที่ ดู เ เลใน Bangkok ได้ทำ�ให้พื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน โครงการ เริ่มมีการหลังไหลเข้ามาของนักท่อง เที่ยวทั้งชาวไทยเเละต่างประเทศ ที่ ต้องการมาสัมผัสในชุมชนเก่าเเก่ ตัว โครงการจึงมีพื้นที่สำ�หรับรองรับนัก ท่องเที่ยวที่เข้ามาเยี่ยมชมในโครงการ อีกด้วย


04 program

4.7 รายละเอียดผู้ใช้โครงการ

4-13

user

USER

USER

USER

USER

คนในชุมชนทัง้ 3 ชุมชน (ผูใ้ หญ่)

นักเรียน นักศึกษา

นักวิชาการ

AGE

CATEGORY

AGE

CATEGORY

AGE

CATEGORY

25-70 ปี

ผูใ้ หญ่-ผูส้ งู อายุ

5-30 ปี

นักศึกษา

30-50 ปี

ผูใ้ หญ่-ผูส้ งู อายุ

USER

นักท่องเทีย่ ว

บุคคลากรบริหารในโครงการ

AGE

CATEGORY

25-40 ปี

ชาวต่างชาติ

AGE

CATEGORY

30-60 ปี

ผูใ้ หญ่-ผูส้ งู อายุ

INTERACTION AT BETWEEN COMMUNITIES

INTERACTION AT BETWEEN COMMUNITIES

INTERACTION AT BETWEEN COMMUNITIES

INTERACTION AT BETWEEN COMMUNITIES

INTERACTION AT BETWEEN COMMUNITIES

INTERACTION AT BETWEEN PROGRAM

INTERACTION AT BETWEEN PROGRAM

INTERACTION AT BETWEEN PROGRAM

INTERACTION AT BETWEEN PROGRAM

INTERACTION AT BETWEEN PROGRAM

QUANITY

QUANITY

QUANITY

QUANITY

QUANITY

REQUIREMENT

REQUIREMENT

REQUIREMENT

REQUIREMENT

REQUIREMENT

300

ภาพที่ 4.20 User ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

200

5-8

50

43


04 program

4.7 รายละเอียดผู้ใช้โครงการ

4-14

staff local people academic tourist Student

Numbers of users

5% 5% 10% 20%

จำ�นวนผูใ้ ช้จะแปรผกผันกันไปตามช่วงวันปกติกบั วันหยุด

ซึง่ จะเห็นได้วา่ ใน ช่วงวันปกติจ�ำ นวนนักเรียนจะมีมากทีส่ ดุ ถึง 60 % เเต่ถา้ ในช่วงวันหยุดเสาร์ อาทิตย์จ�ำ นวนการใช้ของนักเรียนจะลดลงไปครึง่ หนึง่ เเต่เปอร์เซนต์จ�ำ นวนของ นักท่องเทีย่ วกับคนในชุมชนพุง่ สูงขึน้

60%

ซึ่งถ้าเป็นช่วงในการจัดกิจกรรมของคนในชุมชนช่วงเทศกาลหรือช่วงทำ� กิจกรรมร่วมกันระหว่างชุมชน เปอร์เซนต์การใช้งานของคนในชุมชนนัน้ จะสูง ทีส่ ดุ เพราะตัวโครงการจะเปิดให้ใช้เพียงคนในชุมชนเท่านัน้

แผนภูมิภาพที่ 4.04 แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละต่อวันในช่วงจันทร์ถึงศุกร์ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

staff local people academic tourist Student

5% 25% 10% 30% 30%

แผนภูมิภาพที่ 4.05 แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละต่อวันในช่วงเสาร์ถึงอาทิตย์ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

staff local people academic tourist Student แผนภูมิภาพที่ 4.06 แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละต่อวันในช่วงเทศกาลระหว่าง 3ชุมชน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

100 %


04 program 4.8.1 การวิเคราะห์กิจกรรมที่เกิดขึ้นของผู้คนในชุมชน

4.8 การวิเคราะห์หากิจกรรมของโครงการ

4-15

ANALYSIS ACTIVITY IN EACH COMMUNITY ชุมชนกุฎขี าว

UNSEEN BANGKOK

ชุมชนกุฎจี นี +

RITUALS AND TRADITIONS

PRAY

ละหมาด CONNECT

COMMUNITY STRENGHT

MON-SAT

WORKER

STUDENT

ในอดีตการปฏิสมั พันธ์ของคนในชุมชนกับวัดกัลยาณ์นน้ ั มีความสัมพันธ์ ทีด่ มี าก ทุกกิจกรรมของศาสนาพุทธเเละกิจกรรมอืน่ ในทุกปีจะไปร่วมทำ� กิจกรรมในวัดตลอด แต่ปจั จุบนั การปฏิสมั พันธ์ของวัดกับชุมชนเเห่งนีไ้ ด้ ตัดขาดลงเนือ่ งด้วยเจ้าอาวาสในปัจจุบนั ได้ท�ำ การเวนคืนพืน้ ทีข่ องวัดซึง่ ใน อดีตคนในชุมชนได้ถวายโฉนดให้วดั ไว้เพือ่ ป้องการไม่ให้ลกู หลานได้ขายพืน้ ที่ ในนีใ้ ห้คนนอกชุมชน อีกทัง้ เจ้าอาวาสปัจจุบนั ได้ท�ำ การรือ้ ถอนสิง่ ปลูกสร้าง ในวัดบางส่วนออกไปด้วยทัง้ ทีส่ ง่ ิ ปลูกสร้างเหล่านัน้ ได้มมี าตัง้ นานเเล้ว ซึง่ เจ้า อาวาสควรทีจ่ ะบำ�รุงรักษาหาใช่การทำ�ลายรือ้ ถอน ประเด็นเหล่านีจ้ งึ เป็นเหตุท่ ี ทำ�ให้การปฏิสมั พันธ์ของคนในชุมชนกับวัดถูกตัดขาดจากกัน ผูท้ อ่ ี ยูใ่ นช่วง วัยทำ�งานจะออกไปทำ�งานอกชุมชน เเละมีบางคนทีเ่ ปิดร้านอาหารในชุมชนบาง ส่วน ภาพที่ 4.21 การวิเคราะห์บริบทของชุมชนวัดกัลยาณ์ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

THE CITY

MON-FRI OR SAT-SUN

SCHOOL

THE CITY

COMMUNITY STRENGHT

TOURIST

CENTER

EVERY SUNDAY

MON-FRI OR SAT-SUN

MON-SAT

WORKER

STUDENT

ความสามัคคีของคนในชุมชนกุฎขี าวนัน้ เเข็งเเรงมากเพราะมีการจัดการทีด่ ี ของคนในชุมชน คนในชุมชนนีส้ ามารถนอนเเล้วเปิดประตูบา้ นได้โดยไม่ตอ้ ง กลัวโจรเลยเพราะคนในชุมชนเเห่งนีค้ อยดูเเลกันเสมอ อีกทัง้ ความสัมพันธ์ กับมัสยิดบางหลวงนัน้ เป็นสิง่ ทีย่ ดึ เหนีย่ วของคนในชุมชนเเละยังเป็นพืน้ ทีท่ ่ี ทำ�ให้คนในชุมชนได้เจอกันในทุกวัน โดยเฉพาะในช่วงเวลาละหมาดทัง้ 5 เวลา ของชาวมุสลิม อีกทัง้ ยังมีโรงเรียนสอนศาสนาอิสลามติดกับตัวมัสยิดอีก ด้วย เยาวชนเด็กๆทุกคนในชุมชนจะได้ผา่ นการเรียนศาสนอิสลามาในโรงเรียน แห่งนี้ ส่วนผูใ้ หญ่ในวัยทำ�งานช่วง30-50ปี จะออกไปทำ�งานนอกชุมชนในวัน ปกติ ส่วนผูส้ งู อายุตง้ ั เเต่ 50 ปี ขึน้ ไปจะอยูใ่ นชุมชน คอยช่วยกิจกรรมในชุม ชนเเล้วเเต่โอกาสในเเต่ละวัน ภาพที่ 4.22 การวิเคราะห์บริบทของชุมชนกุฎีขาว ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

CHRISTIAN SCHOOL

COMMUNITY STRENGHT

THE CITY

CONNECT

ซุบฮิ (เช้ามืด) ซุฮรฺ (ิ เทีย่ ง) อัศริ (บ่าย) มัฆริบ(ิ เย็น) อีชา(หัวค่�ำ )

EVERY SUNDAY THROUGHOUT THE YEAR

STRENGHT

SCHOOL

PAST

RITUALS AND TRADITIONS

DISCONNECT

DISCONNECT

THROUGHOUT THE YEAR

MON-FRI OR SAT-SUN

MON-SAT

WORKER

STUDENT

SCHOOL

factor ชุมชนวัดกัลยาณ์

ในชุมชนเเห่งนีศ้ นู ย์กลางของชุมชนคือ โบสถ์ซางตาครูส ทีเ่ ป็นสิง่ อยูค่ กู่ บั ตัวชุมชนมาตัง้ อดีต เป็นทีย่ ดึ เหนีย่ วของคนในชุมชน ซึง่ จะมีกจิ กรรมทุกวัน อาทิตย์ ทำ�ให้คนในชุมชนได้มปี ฏิสมั พันธ์กนั ระหว่างผูค้ น เเละโบสถ์ซางตาครูส เป็นสิง่ ทีท่ �ำ กันมาตัง้ เเต่อดีตถึงปัจจุบนั ในอดีตพืน้ ทีเ่ เห่งนีเ้ ป็นทีอ่ ยูช่ าว โปรตุเกสทำ�ให้ได้รบั การถ่ายทอดการทำ�ขนมฝรัง่ เเละได้กลายเป็นเอกลักษณ์ ของคนในชุมชนเเห่งนีม้ าถึงปัจจุบนั อีกด้วย ด้วยชุมชนเเห่งนีย้ งั หลงเหลือ ความเป็นเอกลักษณ์ทน่ ี า่ สนใจไว้มากค่อนข้างมากทำ�ให้มนี กั ท่องเทีย่ วทัง้ ไทย เเละชาวต่างชาติเข้ามาเยีย่ มชมชุมชนเเห่งนีอ้ ยูต่ ลอด อีกทัง้ ยังมีนกั ศึกษาเข้า มาศึกษาความเป็นอยูใ่ นพืน้ ทีเ่ เห่งนีใ้ นทุกๆปี จึงทำ�ให้ชมุ ชนเเห่งนีเ้ ป็นพืน้ ทีท่ เ่ี กิด การเข้าถึงของผูค้ นในหลากหลายรูปแบบอย่างน่าสนใจ ภาพที่ 4.23 การวิเคราะห์บริบทของชุมชนกุฎีจีน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


04 program 4.8.2 การเชื่อมโยงกันของการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง 3 ชุมชน

4.8 การวิเคราะห์หากิจกรรมของโครงการ

4-16

ANALYSIS ACTIVITY IN EACH COMMUNITY

t en

Student

ud

LP

St

&

FRIE ND &R EL AT HEL IV P E

IVE AT L RE

HE

FR IE ND

relationship

t

Studen

Student

C DIS

ON

NE

CT

SCHOOL

FRIEND & RELATIVE

ภาพที่ 4.24 การเชื่อมโยงกันของการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง 3 ชุมชน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

P HEL


04 program 4.8.3 การวิเคราะห์บริบทโดยรอบเพื่อหากิจกรรมของโครงการ

4.8 การวิเคราะห์หากิจกรรมของโครงการ

4-17

ANALYSIS CONTEXT TO PROGRAM factor วัดกัลยาณมิตร

ชุมชนวัดกัลยาณ์

มัสยิดบางหลวง

ชุมชนกุฎขี าว

โบสถ์ซางตาครูส

ชุมชนกุฎจี นี

โรงเรียนวัดกัลณมิตร

โรงเรียนเเสงอรุณ

ภาพที่ 4.25 แผนที่ตำ�เเหน่งโรงเรียนในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

มี

ความหลากหลายทางศาสนาพืน้ ทีต่ รงนีป้ ระกอบด้วย 3 ชุมชนทีก่ �ำ ลังศึกษา นัน่ คือชุมชนกุฎขี าว(ชุมชนอิสลาม), ชุมชนวัดกัลยาณ์(ชุมชน พุทธ), ชุมชนกุฎจี นี (ชุมชนคริสต์) เเม้จะมีความเเตกต่างทางศาสนากันทัง้ 3 ชุมชน แต่ทง้ั 3 ชุมชนก็อยูร่ ว่ มกันอย่างกลมเกลียว อีกทัง้ ในพืน้ ที่ ของทัง้ 3 ชุมชนนัน้ มีโรงเรียนถึง 6โรงเรียนทีอ่ ยูบ่ ริวเณใกล้กบั ทัง้ 3 ชุมชน ซึง่ โรงเรียนทัง้ 6นัน้ เป็นโรงเรียนทีม่ มี านาน ผูค้ นในชุมชนทัง้ 3 ต่าง ก็จบการศึกษาจาก โรงเรียนในพืน้ ทีต่ รงนัน้ ทำ�ให้เป็นอีก 1 ปัจจัยทีค่ นในชุมชนทัง้ 3 ต่างรูจ้ กั กัน

RELIGIOUS DIVERSITY

school

ภาพที่ 4.26 แผนที่ตำ�เเหน่งโรงเรียนในพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชน ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

policy

ปัจจุบัน ในปี2561 มีนโยบายจากกรมศาสนาที่ต้องการให้เยาวชนเเละประชาชนในประเทศเข้าใจเเละยอมรับความต่างทางศาสนา เชื้อ ชาติวัฒนธรรม เพื่อปลูกฝังให้คนในชาติรักกันอีกทั้งยังส่งเสริมการทำ�กิจกรรมร่วมกันของศาสนาหลายศาสนาในประเทศอีกด้วย


04 program 4.9.1 เเนวควมคิดหลักสู่กิจกรรมในโครงการ

4.9 การกำ�หนดรายละเอียดเเละกิจกรรมของโครงการ

4-18

main idea TO PROGRAM main idea BUDDHISM

BUDDHISM

ISLAM

ISLAM

CHRISTIANITY CHRISTIANITY

3 religion

cross area

intersection

common

พืน้ ทีท่ ร่ ี องรับ 3 ศาสนาในการทำ� กิจกรรมร่วมกัน

ค้นหากิจกกรรมทีเ่ เต่ละศาสนาทำ� ได้รว่ มกันแบบไม่เกิดการเเบ่งเเยก

เกิ ด กิ จ กรรมที่เ ป็ น กลางขึ้น มา สำ�หรับทุกศาสนา

เป็ น พื้น ที่ท่ ีใ ช้ ร่ว มกั น ได้ อ ย่ า งเท่ า เทียมในเเต่ละศาสนา

community

blend

strength

flow

เป็นพื้นที่ท่อี ยู่ระหว่างชุมชนที่ต่าง ศาสนากันออกไป

เกิดความรู้สึกที่ผสมผสานปะปน กันในพืน้ ที่ ทำ�ให้เเยกไม่ออกว่าพืน้ ที่ ตรงนีเ้ ป็นของศาสนาใด แต่ยงั คงความรู้สึกได้ว่าอาจจะหมายถึง ศาสนาของตนเอง

ดึงความเเข็งเเรงของความต่าง ระหว่างชุมชนออกมาให้มากที่สุด เพื่อเป็นพื้นที่ต้นเเบบในการสร้าง ชุมชนต่างศาสนาทีเ่ ข้มเเข็ง

เกิดการไหลของคนนอกเข้ามาใน ชุมชนเพื่อมาศึกษาเเละทำ�ความ เข้าใจ

ภาพที่ 4.27 แนวความคิดสู่กิจกรรมในโครงการ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


04 program 4.9.2 กิจกรรมหลักในโครงการ

4.9 การกำ�หนดรายละเอียดเเละกิจกรรมของโครงการ

4-19

main programs programs exchange space

multi sacred space

seminar sacred

multipurpose

มีพน้ ื ทีเ่ รียนรูค้ วามเชือ่ ความศักดิส์ ทิ ธิ์ ผ่านสถาปัตยกรรมให้ผ้ทู ่เี ข้ามาใช้รับรู้ เเละสัมผัสได้จากตัวพืน้ ที่ ตัวพืน้ ทีจ่ ะไม่ สื่อไปทางศาสนาใดศาสนาหนึ่งอย่าง ชัดเจน เเต่จะสือ่ ให้ผเ้ ู ข้ามาในพืน้ ทีน่ ้ ี ได้ ตีความไปตามทีผ่ ใ้ ู ช้รส้ ู กึ เอง

พื้นที่สัมมนาหรือห้องประชุมสำ�หรับ รองรับการให้ความรูผ้ า่ นผูบ้ รรยายกับ นักเรียน นักศึกษาทีม่ าเป็นหมูค่ ณะหรือ ผู้ท่ตี ้องการเเลกเปลี่ยนข้อมูลกันทาง ความเชือ่ เเละศาสนา

พืน้ ทีอ่ เนกประสงค์ของชาวบ้านระหว่าง 3 ชุมชน เป็นพืน้ ทีท่ ร่ ี องรับการทำ� กิจกรรมร่วมกันระหว่างชุมชนเพือ่ เสริม สร้างความเเข็งเเรงของระหว่างชุมชนอีก ด้วย

EXCHA NG E

EXCHAN

KNOWLEDGE

AN

GE

GE EX

CH

ภาพที่ 4.28 เเนวความคิดกิจกรรมหลักในโครงการ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

เป็นพืน้ ทีแ่ ลกเปลีย่ นความรูค้ วามด้าน ความเชือ่ เเละศาสนา


04 program 4.9.3 การวิเคราะหช่วงเวลาที่เกิดกิจกรรม

4.9 การกำ�หนดรายละเอียดเเละกิจกรรมของโครงการ

4-20

PROGRAMS IN EACH PERIOD 07.00

08.00

09.00

10.00

11.00

12.00

13.00

14.00

15.00

16.00

17.00

18.00

19.00

20.00

21.00

22.00

23.00

24.00

07.00

08.00

09.00

10.00

11.00

12.00

13.00

14.00

15.00

16.00

17.00

18.00

19.00

20.00

21.00

22.00

23.00

24.00

จันทร์ - อาทิตย์

06.00

period

multisacred space exchange space seminar multipurpose

06.00

ช่วงจัดกิจกรรมระหว่าง ชุมชน multisacred space exchange space seminar multipurpose

แผนภูมิภาพที่ 4.07 การวิเคราะหช่วงเวลาที่เกิดกิจกรรม ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


04 program 4.9.4 ช่วงเวลาการเข้าใช้ของผู้ใช้โครงการต่อพื้นที่

4.9 การกำ�หนดรายละเอียดเเละกิจกรรมของโครงการ

4-21

ACTIVITY IN EACH PERIOD

academic exchange space

student

multisacred space seminar sacred

tourist

local people

building

local people

multipurpose

แผนภูมิภาพที่ 4.08 ช่วงเวลาการเข้าใช้ของผู้ใช้โครงการต่อพื้นที่ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

12.00 P.M.

8.00 P.M

6.00 P.M

4.00 P.M

9.00 A.M

8.00 A.M

6.00 A.M

period


04 program

4.10 สรุปพื้นที่ใช้สอยโครงการ

4-22

summary of project area สรุปพืน้ ทีใ่ ช้สอยโครงการ ส่วนบริหารโครงการ องค์ประกอบ / พื้นที่ใช้สอย

ผู้ใช้โครงการ

พื้นที่/หน่วย พื้นที่รวม ตรม. ตรม.

อ้างอิง

ช่วงเวลา

จำนวนหน่วย

ห้องผู้อำนวยการ

9.00-17.00

1

1

-

16.5

16.5

A

ห้องรองผู้อำนวยการ

9.00-17.00

1

3

-

12

12

C

ห้องเลขานุการ

9.00-17.00

1

4

-

27

27

C

ฝ่ายธุรการ

9.00-17.00

1

1

-

3.75

3.75

A

ห้องหัวหน้าฝ่าย

9.00-17.00

1

6

-

14

14

A

ฝ่ายประชาสัมพันธ์

9.00-17.00

1

2

-

12.5

12.5

A

แผนกการเงิน

9.00-17.00

1

1

-

5

5

A

ห้องประชุม

9.00-17.00

1

8

-

26

26

C

ห้องรองหัวหน้าฝ่าย

9.00-17.00

1

6

-

14

14

A

24 ชม.

1

1

-

4

4

C

-

5

-

4

20

C

9.00-16.00

1

1

-

4

4

C

ป้อมรปภ. ห้องเก็บของ แผนกติดต่อการเข้าใช้โครงการ ตารางที่ 4.01 สรุปพื้นที่ใช้สอยโครงการ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

ผู้ใช้บริการ ผู้ให้​้บริการ

ระบบต่างๆ

A : (Architec Data), B : (Time saver for standards for interior design), C : (จากการวิเคราะห์, 2561)


04 program

4.10 สรุปพื้นที่ใช้สอยโครงการ

4-23

summary of project area สรุปพืน้ ทีใ่ ช้สอยโครงการ ส่วนบริหารโครงการ องค์ประกอบ / พื้นที่ใช้สอย

ผู้ใช้โครงการ

พื้นที่/หน่วย พื้นที่รวม ตรม. ตรม.

อ้างอิง

ช่วงเวลา

จำนวนหน่วย

ห้องเตรียมอาหาร

9.00-17.00

1

Value

-

16

16

C

ส่วนพักรับรอง

9.00-17.00

1

5

-

8

12

C

TOTAL AREA

ผู้ใช้บริการ ผู้ให้​้บริการ

ระบบต่างๆ

186.75

A : (Architec Data), B : (Time saver for standards for interior design), C : (จากการวิเคราะห์, 2561)


04 program

4.10 สรุปพื้นที่ใช้สอยโครงการ

4-24

summary of project area สรุปพืน้ ทีใ่ ช้สอยโครงการ พืน้ ทีส่ ว่ นกลาง องค์ประกอบ / พื้นที่ใช้สอย

ผู้ใช้โครงการ

พื้นที่/หน่วย พื้นที่รวม ตรม. ตรม.

อ้างอิง

ช่วงเวลา

จำนวนหน่วย

โถงต้อนรับ

9.00-17.00

1

100

3

100

100

C

ประชาสัมพันธ์

9.00-17.00

1

10

2

12.5

12.5

A

ห้องน้ำชาย

9.00-17.00

3

20

-

21

60

A,B

ห้องน้ำหญิง

9.00-17.00

3

20

-

21

60

A,B

ห้องน้ำคนพิการ

9.00-17.00

3

2

-

4.8

14.4

A

ร้านขายขนมฝรั่งกุฎีจีน

9.00-17.00

1

3

-

25

25

C

ผู้ใช้บริการ ผู้ให้​้บริการ

ระบบต่างๆ

1. ส่วนต้อนรับ

2. ส่วนบริการสาธารณะ

TOTAL AREA

271.9

A : (Architec Data), B : (Time saver for standards for interior design), C : (จากการวิเคราะห์, 2561)


04 program

4.10 สรุปพื้นที่ใช้สอยโครงการ

4-25

summary of project area สรุปพืน้ ทีใ่ ช้สอยโครงการ ส่วนกิจกรรมในโครงการ องค์ประกอบ / พื้นที่ใช้สอย

ผู้ใช้โครงการ

พื้นที่/หน่วย พื้นที่รวม ตรม. ตรม.

อ้างอิง

ช่วงเวลา

จำนวนหน่วย

Sculpture & Space B1

9.00-17.00

1

100

6

800

800

C

Sculpture & Space F1

9.00-17.00

1

100

6

400

400

C

ห้องดูเเล

9.00-17.00

2

4

-

9

18

C

9.00-17.00

1

100

3

200

200

C

ผู้ใช้บริการ ผู้ให้​้บริการ

ระบบต่างๆ

3. Multi Sacred Museum นิทรรศการถาวร

นิทรรศการไม่ถาวร พื้นที่จัดแสดง

TOTAL AREA

1,418

A : (Architec Data), B : (Time saver for standards for interior design), C : (จากการวิเคราะห์, 2561)


04 program

4.10 สรุปพื้นที่ใช้สอยโครงการ

4-26

summary of project area สรุปพืน้ ทีใ่ ช้สอยโครงการ ส่วนกิจกรรมในโครงการ องค์ประกอบ / พื้นที่ใช้สอย

ผู้ใช้โครงการ

พื้นที่/หน่วย พื้นที่รวม ตรม. ตรม.

อ้างอิง

ช่วงเวลา

จำนวนหน่วย

Aud§orium

9.00-17.00

1

100

5

100

300

C

Semina Room

9.00-17.00

2

20

4

40

80

C

ผู้ใช้บริการ ผู้ให้​้บริการ

ระบบต่างๆ

4. SEMINARY

TOTAL AREA

380

5. EXCHANGE Library

9.00-17.00

1

50

Exchange space

9.00-17.00

1

100

TOTAL AREA

2

150

150

C

150

150

C

300

A : (Architec Data), B : (Time saver for standards for interior design), C : (จากการวิเคราะห์, 2561)


04 program

4.10 สรุปพื้นที่ใช้สอยโครงการ

4-27

summary of project area สรุปพืน้ ทีใ่ ช้สอยโครงการ ส่วนกิจกรรมในโครงการ องค์ประกอบ / พื้นที่ใช้สอย

ช่วงเวลา

จำนวนหน่วย

6.00-24.00

1

ผู้ใช้โครงการ ผู้ใช้บริการ ผู้ให้​้บริการ

พื้นที่/หน่วย พื้นที่รวม ตรม. ตรม.

อ้างอิง

ระบบต่างๆ

6. MULTIPURPOSE ลานพื้นที่กิจกรรมของทั้ง 3 ชุมชน

500

-

1000

1000

C

1000

TOTAL AREA

SERVICE ห้องแม่บ้าน

8.00-18.00

1

3

-

9

9

C

ห้องงานเครื่องระบบไฟฟ้า

8.00-18.00

1

1

-

20

20

C

ห้องงานเครื่องสูบน้ำ

8.00-18.00

1

1

-

20

20

C

ห้องงานเครื่องระบบระบายอากาศ

8.00-18.00

1

1

-

20

20

C

ห้องพักเจ้าหน้าที่

8.00-18.00

1

1

-

5

5

C

TOTAL AREA

74 A : (Architec Data), B : (Time saver for standards for interior design), C : (จากการวิเคราะห์, 2561)


04 program

4.10 สรุปพื้นที่ใช้สอยโครงการ

4-28

summary of project area สรุปพืน้ ทีใ่ ช้สอยโครงการ สรุปพืน้ ทีใ่ ช้สอยโครงการทัง้ หมด องค์ประกอบ / พื้นที่ใช้สอย

ช่วงเวลา

จำนวนหน่วย

ผู้ใช้โครงการ ผู้ใช้บริการ ผู้ให้​้บริการ

พื้นที่/หน่วย พื้นที่รวม ตรม. ตรม.

อ้างอิง

ระบบต่างๆ

สรุป

ส่วนบริหารโครงการ

186.75

พื้นที่ส่วนกลาง - ส่วนต้อนรับ

112.5

- ส่วนบริการสาธารณะ

159.4

ส่วนพื้นที่กิจกรรมในโครงการ MULTI SACRED MUSEUM

1,418

SEMINARY

380

EXCHANGE

300

MULTIPURPOSE

1,000

SERVICE

74

TOTAL AREA

3,630.65 A : (Architec Data), B : (Time saver for standards for interior design), C : (จากการวิเคราะห์, 2561)


04 program

4.10 สรุปพื้นที่ใช้สอยโครงการ

4-29

summary of project area สรุปพืน้ ทีใ่ ช้สอยโครงการ สรุปพืน้ ทีใ่ ช้สอยโครงการทัง้ หมด องค์ประกอบ / พื้นที่ใช้สอย

ช่วงเวลา

จำนวนหน่วย

ผู้ใช้โครงการ ผู้ใช้บริการ ผู้ให้​้บริการ

พื้นที่/หน่วย พื้นที่รวม ตรม. ตรม.

อ้างอิง

ระบบต่างๆ

สรุป ทางสัญจรในโครงการ คิดเป็น 30 % ของพื้นที่ทั้งหมด

1,089.195

TOTAL AREA

4,719.85

A : (Architec Data), B : (Time saver for standards for interior design), C : (จากการวิเคราะห์, 2561)


04 program

4.10 สรุปพื้นที่ใช้สอยโครงการ

4-30

summary of project area สรุปพืน้ ทีใ่ ช้สอยโครงการ

SUB PROGRAM

532.65 ตรม.

05.14%

03.10%

186.75 ตรม.

112.50 ตรม.

ส่วนบริหารโครงการ

ส่วนต้อนรับ

04.39% 159.40 ตรม.

02.03%

ส่วนบริการสาธารณะ

SERVICE

74.00 ตรม.

14.67 %

แผนภูมิภาพที่ 4.09 กิจกรรมส่วนย่อยในโครงการ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

MAIN PROGRAM

3,098 ตรม.

10.46%

08.24%

27.54%

380.00 ตรม.

300.00 ตรม.

1,000.00 ตรม.

39.05% 1,418.ตรม.

multisacred space SEMINARY แผนภูมิภาพที่ 4.10 กิจกรรมหลักในโครงการ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561

EXCHANGE SPACE

MULTIPURPOSE

85.33 % แผนภูมิภาพที่ 4.11 เปรียบเทียบอัตราร้อยละต่อพื้นที่ ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


04 program

4.11 การประมาณการงบประมาณก่อสร้าง

4-31

การประเมินมูลค่าทีด่ นิ จากสรุปราคาประเมินทุนทรัพย์ทด่ี นิ รอบบัญชีปี พ.ศ.2559-2562 พืน้ ทีต่ ง้ั โครงการ ตัง้ อยูบ่ ริเวณ ซอยอรุณอัมรินทร์4 (ถนนเทศบาลสาย 1) มีราคา ประเมินทีด่ นิ 52,000 บาท/ตร.ว. เพราะฉะนัน้ ราคาประเมินมูลค่าทีด่ นิ ทีต่ ง้ั โครงการ 775 ตารางวา x 52,000 บาท เท่ากับ 40,300,000 บาท - ตัวอาคาร พืน้ ทีโ่ ครงการ 4,719.85 ตร.ม. ราคาค่าก่อสร้าง 15,000/ตร.ม. ราคาค่า ก่อสร้างรวม 4719.85 x 15,000 เท่ากับ 70,797,750 บาท - ภูมทิ ศั น์ พืน้ ทีโ่ ครงการ 4,719.85 ตร.ม. ราคาค่าก่อสร้าง 2500/ตร.ม. ราคาค่า ก่อสร้างรวม 4,719.85 x 2500 เท่ากับ 11,799,625 บาท - ค่าตกแต่งภายใน 20%ของค่าก่อสร้าง เท่ากับ 14,159,550 บาท - ค่าดําเนินการ 5%ของค่าก่อสร้าง เท่ากับ 3,539,887.5 บาท - ค่าบริหารโครงการ 2% ของค่าก่อสร้าง เท่ากับ 1,415,955 บาท - คาความคลาดเคลือ่ น 8%ของคากอสราง เท่ากับ 5,663,820บาท สรุปงบประมาณการลงทุนรวมทัง้ หมด 147,676,587.50 บาท


04 program

4-32

4.12 ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง

building system งานระบบวิศวกรทีเ่ กีย่ วข้อง

ภาพที่ 4.29 งานระบบวิศวกร ที่มา : http://www.seagravebuildings.com/clear-span-structures/


04 program

4.12 ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง

4-33

building system งานระบบโครงสร้าง ระบบพืน้ คานคอนกรีตเสิรมเหล็ก คือระบบพืน้ ทีป่ ระกอบด้วยเเผ่นพืน้ เเละรองรับด้วยคาน ระบบพืน้ คาน อาจจะรองรับด้วยคาน 4 ด้าน 3 ด้าน หรือ 2 ด้าน สำ�หรับั ระบบพืน้ คานทีม่ คี าน รองรับ 4 ด้าน เเบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ One way, Two way slab 1. Post - Ten Flat Plate คือแผ่นทีเ่ สริมด้วยเคบิลอัดเเรง(Tendons)ชนิดหล่อเสร็จเเล้วอัดเเรง ภายใน 2. แผ่นพืน้ ไร้คานเเบบมีแป้นหัวเสา (Flat Slab) ,มีลกั ษณะเหมือน Flat Plate ต่างกันตรง Flat Plate ไม่มเี เป้นหัวเสา

ภาพที่ 4.30 flat plate ที่มา : http://www.vhptsystem.com/services/ get_detail/2

Flat plate

ภาพที่ 4.31 flat slab ที่มา : http://www.vhptsystem.com/services/ get_detail/2

Flat slab

ระบบเสา 1. เสาคอนกรีตเสิรมเหล็ก 2. เสาคอนกรีตเสริมเหล็กรูปพรรณ ระบบโครงสร้างรับแรงในแนวราบ (Structural System for Lateral Load) โครงสร้างคอนกรีตอัดแรง แบ่งออกเป็น 2 ชนิด 1) Prestressed Concrete คือ ระบบโครงสร้างขององค่อาคารทีม่ กี าการดึงลวดก่อนแล้วเท คอนกรีตขององค์อาคารหลังจากคอนกรีตแห้งดี แล้วจึงตัดลวด ทาํ ให้เกิดแรงอัดส่งถ่ายไป ยังคอนกรีต 2) Post-Tensioned Concrete คือ ระบบโครงสร้างขององค์อาคารทีม่ กี ารเทคอนกรีตก่อน แล้วอัดแรงภายหลัง คานประกอบ โครงสร้างเหล็กทีใ่ ช้แผ่นเหล็กมาเชือ่ มตาม Profile และหน้าตัดตามทีต่ อ้ งการหน้าตัดของคาน ประกอบอาจจะเป็น I-Section หรือ Box-Section และมีความลึกเปลีย่ นแปลง ตามความต้องการ การเปลีย่ นแปลงความลึกของคานประกอบตามทีต่ อ้ งการ

Post-Tensioned Concrete ภาพที่ 4.32 Prestressed Concrete ที่มา : https://civilsnapshot.com/materials-used-in-presstressed-concrete/


04 program

4.12 ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง

4-34

building system งานระบบโครงสร้าง ระบบผนังรับน้�ำ หนัก ระบบผนังรับน้ำ�หนัก(Bearing Wall) ผนังรับน้าหนักเป็นระบบการก่อสร้างรูปแบบ หนึ่งในหลายๆรูปแบบที่มีใช้กันในปัจจุบัน ระบบผนังรับน้ําหนักจะใช้ตัวผนังเป็น ทั้ง ตัวกันห้อง และเป็นชิ้นส่วนที่ใช้รับกำ�ลังในแนวดิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นกับอาคารทั้ง แรงลม น้ำ�หนักบรรทุกจร น้ำ�หนักบรรทุกตายตัว ความแตกต่างกันนี้ทาให้การออกแบบ โครงสร้างต่างๆ ตลอดจนขั้นตอนการก่อสร้างมี ความแตกต่างกันกับระบบโครสร้าง เสาคานที่พบเห็นกันอยู่ทั่วๆไป โครงสร้างสำ�เร็จรูป - คุณสมบัติ โครงสร้างไร้ขีดจำ�กัดในการออกแบบรูปทรง และสีสันทําให้สามารถ ออกแบบสถาปัตยกรรมรูปทรงสวยงามแปลกตาและทันสมัยมีความคงทนแข็งแรง เนื่องจากส่วนประกอบทุกชิ้นมีการเคลือบผิวป้องกันการกัดกร่อน น้ําหนักเบาเมื่อ เทียบกับโครงสร้างชนิดอื่นๆ - ส่วนประกอบ Globe ซึ่งเป็นส่วนสําคัญที่สุดของ Space Frame เพราะเป็นส่วน ที่จะต้องรับ และถ่ายเทน้ําหนักหลายทิศทาง จึงจําเป็นจะต้องใช้ วิธีการขึ้นรูปแบบตี​ี อัด เพื่อทําลายรูพรุนของเนื้อโลหะ ซึ่งการขึ้นรูปของ Globe จะใช้วิธีการขึ้นรูปแบบ อื่น เช่น การหล่อ หรือ การฉีดไม่ได้ เพราะจะมีช่องว่างอยู่ใน เนื้อโลหะ ซึ่งจะทําให้เกิด ความคลาดเคลื่อนของรูปทรงขพที่ต้องรับและถ่ายเทน้าหนักมาก Sleeve หรือปลอก เป็นส่วนต่อเชื่อมระหว่าง Globe และ Pipe Driff Pin หมุดยึด Pipe ส่วนของท่อมี ความแข็งแรงผลิตจากโลหมานแรงดึงสูง High-tensile - รายละเอียด เพื่อใช้ในการออกแบบ Space Frame รูปแบบของอาคาร แบบ สถาปัตยกรรมแบบโครงสร้าง ขนาดกว้าง ยาว สูงของ Space Frame ที่ต้องการ น้ำ� หนัก (Load) รายละอียดวัสดุที่จะนามาปมาอบกับ Space Frame เช่น หลังคา ผนัง ฝ้า เพดาน ระบบท่อ ระบบไฟ เป็นต้น

ภาพที่ 4.33 Bearing Wall 01 ที่มา : https://www.hometips.com/diy-how-to/ bearing-wall.html

Bearing

space frame

ภาพที่ 4.34 Bearing Wall 02 ที่มา : https://loadbearingwall.com/faq/

Bearing

ภาพที่ 4.35 space frame ที่มา : http://atlasofplaces.com/USAF-Aircraft-Hangar-Konrad-Wachsmann


04 program

4-35

4.12 ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง

building system งานระบบขนส่งอาคาร ระบบบันได ในการออกแบบบันได จะถูกกาํ หนดความกว้างโดยคาํ นึงถึงความปลอดภัยในการหนีไฟ เป็น หลักเกณฑ์สาํ คัญ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1) ทางติดต่อระหว่างนัน้ ต่อชัน้ การเดินระหว่างประตูดา้ นนอกถึงด้านในจะต้องเป็น อิสระ สามารถถ่ายเทอากาศ และให้แสงสว่างได้พอเพียง 2) การกาํ หนดลูกตัวใน 1ช่องบันได จะต้องไม่นอ้ ยกว่า 3 ชัน้ และไม่เกิน 16 น รานพัก บันไดจะต้องมีความกว้างต่อเนือ่ งและสัมพันธ์กบั ช่อง กว้างขวบันไดและบานพักบันไดต้อง ยาวไม่นอ้ ยกว่า 1.05 เมตร ระบบทางลาด การใช้ระบบทางลาดกระทำ�เพื่อ 1)

ใช้สําหรับบุคคลที่จะต้องนั่งรถเข็น

2)

ใช้สําหรับเส้นทางบริการ ขนส่งสินค้า อุปกรณ์ที่จําเป็นต้องใช้รถเข็น

Staircase ภาพที่ 4.36 Staircase ที่มา : https://ubisafe.org/explore/staircase-drawing-stair-case/

ramp ภาพที่ 4.37 ramp ที่มา : https://www.vitalitymedical.com/ez-access-pathway-wheelchair-ramps-modular-3g-solo-kits.html


04 program

4-36

building system งานระบบสุขาภิบาล ระบบน้�ำ ใช้ ปัจจุบนั เราสามารถแบ่งระบบประปาทีใ่ ช้อยูใ่ นปัจจุบนั ได้เป็น 2 ประเภทตามลักษณะพืน้ ทีอ่ าคาร ดังนี้ ระบบจ่ายน้�ำ ขึน้ (UP FEED SYSTEM) เป็นระบบจ่ายน้�ำ ทีน่ ยิ มใช้ตามบ้านเรือนทัว่ ไป เหมาะกับอาคารทีม่ คี วามสูงไม่เกิน 3 ชัน้ โดยระบบ นีย้ งั แบ่งย่อยออกเป็น 2 ชนิดตามประเภทของการจ่ายน้�ำ คือ การจ่ายตรงจากท่อน้�ำ ประปา หลัก (Direct Feed Up) และการจ่ายผ่านปัม๊ น้�ำ (Pump Feed Up) การจ่ายตรงจากท่อน้�ำ ประปาหลัก คือ การต่อท่อเข้ากับท่อน้�ำ ในบ้านโดยตรง ซึง่ เหมาะกับบ้าน พักอาศัยทัว่ ไปขนาดไม่เกิน 2 ชัน้ แต่หากเปิดใช้น�ำ ้ พร้อมๆ กันอาจเกิดปัญหาน้�ำ ไหลอ่อนในบาง จุด ปัจจุบนั จึงนิยมจ่ายน้�ำ โดยผ่านปัม๊ น้�ำ โดยระบบนีต้ อ้ งมีการใช้ถงั เก็บน้�ำ ร่วมด้วย ซึง่ จะเลือก ใช้เป็นถังบนดินหรือใต้ดนิ ก็ได้ แล้วแต่ความเหมาะสมของพืน้ ที่ ทัง้ นีไ้ ม่แนะนำ�ให้ตอ่ ตรงจาก ท่อประปาเข้าสูป่ ม๊ ั น้�ำ โดยไม่ผา่ นถังเก็บน้�ำ นะคะ เพราะจะทำ�ให้น�ำ ้ ในเส้นท่อนัน้ ๆ ถูกดูดจากระบบ สาธารณะเข้ามาบ้านเราโดยตรง ส่งผลกระทบต่อการใช้น�ำ ้ โดยส่วนรวม และยังเป็นการกระทำ� ทีผ่ ดิ กฏหมายอีกด้วย โดยถังเก็บน้�ำ จะถูกต่อเข้ากับปัม๊ น้�ำ เพือ่ สูบน้�ำ จากถังเก็บน้�ำ เพือ่ นำ�ไปใช้ ภายในบ้านพักอาศัยต่อไป

ภาพที่ 4.38 ระบบจ่ายน้�ำ ที่มา : http://www.scgbuildingmaterials.com,2561

สำ�หรับบ้านทีใ่ ช้ระบบปัม๊ น้�ำ ควรจะมีระบบท่อบายพาส (BY PASS) สำ�รองไว้ดว้ ย เผือ่ กรณีปม๊ ั น้�ำ ไม่ท�ำ งาน (เช่นไฟดับหรือปัม๊ ชำ�รุด) ท่อบายพาสจะเป็นตัวลำ�เลียงน้�ำ จากมิเตอร์เข้าสูบ่ า้ น โดยตรง ระบบจ่ายน้�ำ ลง (DOWNFEED SYSTEM) ระบบนี้ มีหลักการทำ�งานโดยการสูบน้�ำ ขึน้ ไปยังถังเก็บน้�ำ ทีอ่ ยูบ่ นหลังคาอาคารหรือหอคอย แล้วจ่ายน้�ำ ลงมาใช้ภายในอาคารด้วยแรงโน้มถ่วง วิธนี น้ ี ยิ มใช้กบั อาคารสูงมากกว่า 3 ชัน้ ขึน้ ไป โดยยิง่ ความสูงมากเท่าไหร่น�ำ ้ จะยิง่ แรงมากขึน้ โดยชัน้ ล่างน้�ำ จะแรงทีส่ ดุ ดังนัน้ อาคารทีใ่ ช้การ จ่ายน้�ำ ระบบนีค้ วรมีความสูงไม่เกิน 56 เมตรหรือประมาณ 12 ชัน้ เพือ่ ไม่ให้เกิดปัญหาแรงดัน น้�ำ มากเกินไปทีบ่ ริเวณชัน้ ล่าง หากอาคารมีความสูงเกินกว่านีค้ วรใช้วาล์วช่วยลดความดันที่ บริเวณท่อแยกตามชัน้ ต่างๆ

ภาพที่ 4.39 ระบบจ่ายน้�ำ ขึน้ -ลง ที่มา : http://www.scgbuildingmaterials.com,2561

4.12 ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง


04 program

4.12 ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง

4-37

building system งานระบบสุขาภิบาล ส่วนบริเวณชัน้ บนทีอ่ ยูใ่ กล้ถงั เก็บน้�ำ มากเกินไป ก็อาจจะเกิดปัญหาน้�ำ แรงดันของน้�ำ ไม่พอทำ�ให้ น้�ำ ไหลไม่แรง ดังนัน้ ระยะความสูงทีเ่ หมาะสมจากถังเก็บน้�ำ ทีช่ น้ ั บนสุดของอาคารจึงควรมีระยะ อย่างน้อย 10 เมตร หากน้อยกว่านัน้ ควรมีการติดตัง้ ปัม๊ น้�ำ สำ�หรับจ่ายน้�ำ บริเวณชัน้ บนที่ แรงดันน้�ำ จากถังไม่พอ หรือติดตัง้ เครือ่ งสูบน้�ำ กับถังอัดแรงดัน เพือ่ เพิม่ ความดันน้�ำ ในเส้นท่อ ประปาบริเวณนัน้ หรืออาจเลือกใช้เป็นชุดปัม๊ น้�ำ อย่างน้อย 2 ชุด โดยชุดแรกจะทำ�หน้าทีส่ บู น้�ำ ขึน้ ไปเก็บไว้บน อาคารและจ่ายน้�ำ ลงสูบ่ ริเวณด้านล่าง (ทีม่ รี ะยะห่างจากถังเก็บน้�ำ ด้านบนอย่างน้อย10 เมตร) ส่วนบริเวณชัน้ บนๆ ทีม่ รี ะยะห่างจากถังเก็บน้�ำ น้อยกว่า 10 เมตรนัน้ จะรับน้�ำ จากปัม๊ น้�ำ ชุดที่ 2 ที่ ติดตัง้ อยูด่ า้ นบนเพือ่ แก้ปญ ั หาแรงดันน้�ำ ไม่เพียงพอนัน่ เอง ระบบระบายน้ำ� ประเภทของระบบระบายน้ําระบบระบายน้ํามีอยู่ 2 ระบบ ด้วยกัน คือ ระบบรวม และ ระบบแยก -ระบบรวม หมายถึง การรวมเอาน้ําโสโครก และน้ําทิ้งไว้ใน ท่อเดียวกัน แล้วระบายสบ สู่ท่อระบายน้ําเดียวกัน -ระบบแยก หมายถึง การแยกน้ําโสโครกกับน้ําทิ้งไว้คนละ ก่อ โดยไม่เกี่ยวข้องกันโดย น้ําโสโครกจะต้องไปผ่านกระบวนการบําบัดก่อน ส่วนท่อระบายน้ํา จะเเยกออกต่างหาก จากท่อระบายน้ําทิ้ง แลท่อระบายน้ําโสโครก เหตุผล ที่แยกท่อระบายน้ําฟนกับน้ํา ทิ้งก็ เพื่อ ป้องกันมิให้น้ํานั้นไหลย้อนกลับเข้าสู่เครื่องสุขภัณฑ์ นอกจากนี้ระบบระบายน้ํายังเป็น Sบบระบายน้ําแบบ GRAVITY จากการวิเคราะห์ ระบบ ระบายน้ําทิ้ง จึงเห็นว่าระบบระบายน้ําแบบแยก มีความเหมาะสมกับโครงการเนื่อง จากจะทําให้น้ําที่ออกสู่สาธารณะมีความ สะอาดมากกว่า และทําให้ไม่เกิดปัญหาในเรื่อง ของกลิ่น เหมือนการใช้ Sบบรวมและการระบายน้ําออกจากโครงการสู่ต่อสาธารณะก็ ใช้ระบบ GRAVITY เพราะระดับของท่อของโครงการอยู่ในระดับที่สูงกว่าระดับของท่อ สาธารณะ ภาพที่ 4.40 ระบบระบายน้�ำ ที่มา : ที่มา : http://www.scgbuildingmaterials.com,2561


04 program

4-38

building system งานระบบสุขาภิบาล ระบบบำ�บัดน้�ำ เสีย ในระบบบําบัดน้าํ เสียสาํ หรับอาคารขนาดใหญ่ สามารถแบ่ง ออกเป็น 2 วิธคี อื - ระบบกําจัดน้าํ เสียโดยใช้ออกซิเจน - ระบบกําจัดน้าํ เสีย โดยไม่ใช้ออกซิเจน ระบบทีน่ ยิ มใช้กนั ทัว่ ไป จะเป็นระบบทีใ่ ช้ออกซิเจน เพราะระบบทีไ่ ม่ใช้ ออกซิเจนจะทำ�ให้เกิด H2S ซึง่ ทําให้เกิดกลิน่ เหม็นระบบทีท่ างโครงการ เลือกใช้คอื ระบบ ACTIVATED SLUDGE เป็นวิธี ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง ใช้เนือ้ ทีส่ ร้างน้อยแบคทีเรียจะย่อยสลายสารอินทรียท์ อ่ ี ยูใ่ นรูปของแข็ง ตะกอนแขวนลอย และทีส่ ลายอยูใ่ นน้าํ โดยแบคทีเรียจะรวมกันอยูเ่ ป็น กลุม่ ลอยอยูใ่ นถังเติม อากาศ ซึง่ ส่งน้าํ เสียเข้ามาป่าบัดและมีเครือ่ งให้ อากาศทำ�งานอยูต่ ลอดเวลา จากนัน้ น้าํ เสีย ทีผ่ า่ นการบําบัดแล้วและ ตะกอนแบคทีเรียจะไหลเข้าไปในถังตกตะกอน เพือ่ แยกเอาแบคทีเรีย กลับมายังถังเติมอากาศใหม่ ส่วนน้าํ ใสไหลออกจากระบบเพือ่ ฆ่าเชือ้ โรค และทิง้ ลงสูท่ อ่ ระบาย น้าํ สาธารณถังั เติมอากาศ ควรมีระยะเวลาเก็บ น้าํ เสียได้ประมาณ 24 ชัว่ โมง และมีคา่ ออกซิเจน ทีล่ ะลายอยูใ่ นน้าํ ในถัง เติมอากาศไม่นอ้ ยกว่า 1-3 มิลลิกรัมต่อลิตร เครือ่ งเติมอากาศ สามารถ ใช้ได้ทง้ั แบบเป่าอากาศ

ภาพที่ 4.41 ระบบบำ�บัดน้�ำ เสีย ที่มา : ที่มา : http://www.pcd.go.th/info_serv/water_wt.html, 2561

4.12 ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง


04 program

4-39

4.12 ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง

building system งานระบบไฟฟ้าเเละอัคคีภยั ระบบไฟฟ้า พิจารณา ถึงความสาํ คัญในแต่ละส่วนของโครงการ จึงแบ่งเครือ่ ง กำ�เนิดไฟฟ้าฉุกเฉินเป็น 2 แบบ 1) เครือ่ งกําเนิดไฟฟ้ากลาง (GENERATOR SET) จะจ่ายไฟฟ้าไปยังส่วนกิจกรรมทีม่ ี ความ สําคัญ และมีผใู้ ช้มากมีความจาํ เป็นต้องดาํ เนินกิจกรรมต่อไปไม่ขาดตอน คือ ส่วน นิทรรศการ ส่วน โดยส่วนการแสดง และส่วนอิเลคโทรนิตย์ เช่น ส่วนรักษาความ ปลอดภัย เป็นต้น 2) เครือ่ งกําเนิดแสงสว่างฉุกเฉิน (EMERGENCY IGHTING) จะเป็นเครือ่ งให้แสงสว่างเป็นจุด เพือ่ ป้องกันปัญหา โจรกรรมทีอ่ าจเกิดขึน้ ในกรณีทร่ ี ะบบไฟฟ้าขัดข้อง ระบบอัคคีภยั

ภาพที่ 4.42 ระบบไฟฟ้า ที่มา : ที่มา : http://www.scgbuildingmaterials.com,2561

เป็นระบบที่มีวัตถุประสงค์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินได้อย่ามี ประสิทธิภาw ดังนัน้ ทางโครงการจึงจัดให้มรี ะบบในด้านนี้ คือ ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภยั (FIRE ALARM SYSTEM) แบ่งอุปกรณ์สง่ สัญญาณเตือนอัคคีภยั ได้ 4 ชนิด ดังนี้ 1) อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน (HEAT DETECTOR) 2) อุปกรณ์ตรวจจับควัน (SMOKE DETECTOR) 3) อุปกรณ์ตรวจจับเปลวไW (FLAME DETECTOR) 4) อุปกรณ์สว่ นสัญญาณโดยสวิตซ์นาํ ้ ไหล (WATER FLOW SWITCH) ภาพที่ 4.44 ระบบอัคคีภยั ที่มา : http://www.zenithimproduct.co.th, 2561

ภาพที่ 4.43 เครือ่ งปัน่ ไฟ ที่มา : http://www.stintertrade.com,2561


04 program

4-40

RELIGION WITH activity ภาพที่ 4.45 Women’s Muslim ที่มา : CHAWANPAT LEELAFUENGSIN, 2561


รายการอ้างอิง กิตติธชั ชัยประสิทธิ.์ “ มิตศิ กั ดิส์ ทิ ธิใ์ นสถาปัตยกรรมทางศาสนา กรณีศกึ ษาวัดคาทอลิกทีม่ ลี กั ษณะของการนำ�ความเชือ่ เข้าสูว่ ฒ ั นธรรมในประเทศไทย” วิทยานิพนธ์ ปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต, สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559. ว่าทีร่ อ้ ยตรีหญิงอรวรรณ หงษ์ประชา “ ศึกษาหลักการอยูร่ ว่ มกันของชุมชนทีน่ บั ถือศาสนา พุทธ คริสต์ อิสลามชุมชนวัดกัลยาณมิตร ชุมชนกุฎจี นี และชุมชนกุฎขี าว เขตธนบุรกี รุงเทพมหานคร” วิทยานิพนธ์ปริญญารปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556.




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.