คำนำ ผมมี เ จตนารมณ์ อั น แน่ ว แน่ ที่ จ ะยุ ติ สถานการณ์ ค วามรุ น แรงในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ให้ ไ ด้ใ นปี ๒๕๕๙ โดยจะ ผนึกกาลังทุกภาคส่วน ทาให้เกิดความสงบสุข ไม่เกิดเหตุรุนแรง กลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐเข้าใจ ยุ ติ ก ารเคลื่ อ นไหว เข้ า มาร่ ว มแก้ ปั ญ หา กับภาครัฐ เข้าร่วมโครงการพาคนกลับบ้าน ประชาชนทุกครอบครัวหายเดือดร้อน มีรายได้ และมี ความเป็ น อยู่ ที่ ดีขึ้ น เห็ น รั ฐ เป็ น ที่ พึ่ ง สนับสนุนรัฐและปฏิเสธกลุ่ม ผกร.อย่างเป็น รูปธรรม เพื่ อ ให้ ก ารปฏิ บั ติ ง านตอบสนองต่ อ เจตนารมณ์ ดั งกล่ า ว จึ ง ก าหนดงานส าคั ญ ให้ทุกหน่วยงานได้ทุ่ม เทความพยายามและ
งบประมาณเข้าดาเนินการคือ งานควบคุมพื้นที่ งานโครงการประชารัฐ ร่ ว มใจ สร้ างอ าเภอ สันติสุข และงานโครงการพาคนกลับบ้าน กอ.รมน.ภาค ๔ สน. จึ ง จั ด ท าคู่ มื อ ฉบับนี้ขึ้น เพื่อให้เจ้าหน้าที่ทุกคน นาไปศึกษา ให้เข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในพื้นที่หมู่บ้าน ตาบล และอาเภอ รวมทั้งน าไปชี้แจง สร้าง ความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ได้ ซึ่งจะเป็น ส่วนสาคัญในการยุติสถานการณ์ในปี ๒๕๕๙ ต่อไป พล.ท. ( วิวรรธน์ ปฐมภาคย์ ) มทภ.๔/ผอ.รมน.ภาค ๔
ห น้ า | ๑
แนวความคิดของ มทภ.๔/ผอ.รมน.ภาค ๔ ในการยุติสถานการณ์ความรุนแรง ในพื้นที่ จชต. ปี ๒๕๕๙ นโยบายสาคัญ เมื่อวัน ที่ ๒๑ ธ.ค.๕๘ พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ รอง นรม./รมว.กห. เดินทาง มามอบนโยบายแก่ หัว หน้ าส่ ว นราชการ ในการดู แ ลความสงบเรี ย บร้ อ ยและ ความปลอดภัย ในชีวิ ตและทรั พย์ สิน ของ ประชาชนในพื้ นที่ ก องทัพภาคที่ ๔ และ เป็ น ประธานต้ อ นรั บ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการ พาคนกลั บ บ้ า น จ านวน ๑,๑๕๖ คน ณ ศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติ ฉ ลองสิ ริ ร าช
ห น้ า | ๒
สมบั ติ ค รบ ๖๐ ปี อ.หาดใหญ่ จว.ส.ข. หลังจากนั้นได้เดินทางกลับ กทม. เพื่อเป็น ประธานการประชุ ม คณะกรรมการ อานวยการ กอ.รมน.พิจารณาโครงสร้าง การจั ด และอั ต ราก าลั ง ของ กอ.รมน. ภาค ๔ สน.ประจาปี ๒๕๕๙, แผนปฏิบั ติ การสงขลา และแผนปฏิ บั ติ ก ารแม่ ล าน ณ ห้องประชุม กอ.รมน. ในวาระสรุปสั่งการ รอง นรม./รมว.กห.ได้กล่าวว่า สถานการณ์ ในพื้นที่ จชต. ขณะนี้มีความสงบเรียบร้อย มากขึ้ น มาตามลาดั บ ในรอบ ๓ เดือ นที่ ผ่านมา มีผู้เห็นต่างจากรัฐออกมารายงาน ตัวเข้าร่วมโครงการพาคนกลับบ้านจานวน มาก ซึ่ ง แสดงให้ เห็ น ว่ า ประชาชนไม่ เห็ น ด้วยกับ ผกร.มากขึ้นเรื่อยๆ เมื่อสถานการณ์
ห น้ า | ๓
ดีขึ้ น งบประมาณแก้ปั ญ หา จชต. จะได้ นาไปพัฒนาพื้นที่และยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชนให้ ดี ขึ้ น จึ ง ต้ อ งการยุ ติ สถานการณ์ความรุนแรงในพื้น ที่ จชต. ในปี ๒๕๕๙ นี้ ดั ง นั้ น ให้ กอ.รมน. ไปวางแผนร่ ว มกับ หน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้ อ ง และประชาชนว่ า เราจะด าเนิ น การกั น อย่างไร
ห น้ า | ๔
แนวทางการยุตสิ ถานการณ์ความรุนแรง ในพื้นที่ จชต. การแก้ ไ ขปั ญ หา จชต. ได้ดาเนิ น การ ตามขั้นการแก้ปัญหาของ กอ.รมน.ตั้งแต่ ปี ๒๕๔๗ ซึ่ ง ก าหนดไว้ ๓ ระยะ ๓ ขั้ น ปัจ จุ บั นอยู่ ใ นขั้น ที่ ๒ (ปฏิบัติก ารเชิงรุ ก ควบคู่การพัฒนา) กาลังจะเปลี่ยนผ่านไปสู่ ขั้ น ที่ ๓ (เสริ ม สร้ า งสั น ติ สุ ข และพั ฒ นา อย่างยั่งยืน) มีงานที่สาคัญในขั้นนี้ ๓ งาน ได้แ ก่ ๑) การเสริ ม สร้ างความเข้ ม แข็ ง ให้ กั บ ฝุายพลเรื อ น, ตารวจ และก าลั ง ประจาถิ่น, ๒) การส่งเสริมและสนับสนุน การมี ส่ ว นร่ ว มของก าลั ง ประชาชนทุ ก ประเภท และ ๓) การทยอยส่งมอบพื้นที่ รับผิดชอบให้กับกาลังของ ทภ.๔
ห น้ า | ๕
จ า ก น โ ย บ า ย ยุ ติ ส ถ า น ก า ร ณ์ ความรุน แรงในพื้ นที่ จชต.ในปี ๒๕๕๙ ดังนั้ น ในห้ ว งเวลาขณะนี้ เป็ น ห้ ว งเวลาที่ สาคัญเป็น อย่างยิ่งต่ อ การเปลี่ ยนผ่านขั้ น การแก้ไขปัญหาจากขั้นที่ ๒ ไปสู่ขั้นที่ ๓ กอ.รมน.ภาค ๔ สน.ต้องปรับเปูาหมายใน การทางานจากเดิม มุ่งทาให้สถานการณ์ดี ขึ้น เป็นต้องทาให้สถานการณ์ความรุนแรง ในพื้นที่ จชต. ยุติลงในปี ๒๕๕๙ ผอ.รมน. ภาค ๔ จึ ง ได้ ก าหนด แนวทางการยุ ติ สถานการณ์ ค วามรุ น แรงในพื้ น ที่ จชต. ดังนี้
ห น้ า | ๖
๑. เจตนารมณ์ของ ผอ.รมน.ภาค ๔ ความมุ่งหมาย - ต้ อ งการยุ ติ ส ถานการณ์ ค วาม รุ น แรงในพื้ น ที่ จชต.ให้ ไ ด้ ภายในปี ๒๕๕๙ วิธีการ - ขั บ เคลื่ อ นให้ ทุ ก หน่ ว ย ทุ่ ม เท ความพยายามทางานตามเข็มมุ่งที่มอบให้ และให้ ความสาคัญ และความเร่งด่ว นกั บ ๓ งานส าคั ญ คื อ งานควบคุ ม พื้ น ที่ , งานโครงการประชารัฐร่วมใจ สร้างอาเภอ สันติสุข และงานโครงการพาคนกลับบ้าน โดยดาเนินการควบคู่กันไป
ห น้ า | ๗
ผลลัพธ์ที่ต้องการ - เหตุ รุ น แรงยุ ติ ล ง, ผกร.หมด ศักยภาพในการเคลื่อนไหว, ประชาชนมี ความเป็ น อยู่ ที่ ดี ขึ้ น ให้ ความร่ ว มมื อ กั บ ภาครัฐแก้ปัญหา และปฏิเสธกลุ่ม ผกร. ๒. งานสาคัญที่ใช้ยุติปัญหา จชต. - โครงการประชารัฐร่วมใจ สร้าง อ าเภอสั น ติ สุ ข ใช้ เ ป็ น ธงน าในการรุ ก ทางการเมืองและการพัฒนา เพื่อนากลุ่ม คนที่ ต่อ ต้ านและเห็ นต่างจากรัฐ มาร่ ว ม แก้ปัญหา และร้อยรัดความคิด และจิตใจ ของประชาชนทุกครอบครัว ให้มาสนับสนุน ภาครัฐและปฏิเสธ ผกร.
ห น้ า | ๘
- โครงการพาคนกลับ บ้ าน ทาให้ กลุ่ ม ผกร./ผู้ เ ห็ น ต่ า งจากรั ฐ ออกมา รายงานตั วเข้าร่ วมโครงการมากๆ ซึ่ งจะ ทาให้ ผกร./ผู้เห็นต่ างลดจานวนลง และ หมดศักยภาพในการเคลื่อนไหวต่อต้านรัฐ - การควบคุมพื้นที่ เพื่อไม่ให้ ผกร. ก่ อ เหตุไ ด้ ซึ่ งจะท าให้ ป ระชาชนมี ความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ห น้ า | ๙
โครงการประชารัฐร่วมใจ สร้างอาเภอสันติสุข ๑. หลักการและเหตุผล จากการถอดบทเรียนการแก้ปัญหา มา ๑๒ ปี นโย บาย และแผน มี ม าก คิ ด และท ามาแล้ ว ทุ ก เรื่ อ ง สถานการณ์ ดี ขึ้ น แต่ ปั ญ หายั ง ไม่ ยุ ติ เ นื่ อ งจา ก ประชาชนที่ ต่ อต้ าน และเห็น ต่างจากรั ฐ ยังไม่ ยุ ติ ความเคลื่ อนไหว และประชาชน ที่ ส นั บ สนุ น ฝุ า ยรั ฐ ยั ง ไม่ ม ากพอ ท าให้ กลุ่ม ผกร. สามารถแอบแฝงและดารงตน อยู่ในกลุ่มประชาชนได้ วิเคราะห์ ที่ผ่านมา ภาครัฐ ทางาน การเมื อ งและพั ฒ น ามามาก แ ต่ ยั ง
ห น้ า | ๑๐
ไม่ เ กิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ ที่ เ พี ย งพอต่ อ การยุ ติ สถานการณ์ สาเหตุ น่ าจะเกิ ด จากวิ ธี คิ ด วิ ธี ก าร และวั ฒ นธรรมการท างานของ แต่ละหน่วยงานที่มุ่งทางาน ให้จบไปเป็น ปีๆ เป็นโครงการๆ และต่างหน่วยงานต่าง แยกกันทา ผอ.รมน.ภาค ๔ และเลขาธิการ ศอ.บต. ได้ คิ ด ร่ ว มกั น จั ด ท าโครงการ ประชารัฐ ร่วมใจ สร้างอาเภอสัน ติสุขขึ้ น เพื่ อ ใ ช้ เ ป็ น ธงน า ท าใ ห้ ส ถาน ก าร ณ์ ความรุ น แรงยุ ติ ล ง ด้ ว ยการผนึ ก ก าลั ง ร่ ว มกั น ระหว่ า งประชาชนทุ ก ภาคส่ ว น, กลุ่มผู้คิดเห็นต่างจากรัฐ และหน่วยงานรัฐ ที่ เ รี ย กว่ า “ประชารั ฐ ”มา“ร่ ว มคิ ด ร่วมวางแผน ร่วมทา ร่วมประเมินผล ”
ห น้ า | ๑๑
๒. วัตถุประสงค์ ๑) เพื่ อ รุ ก ทางการเมื อ งต่ อ กลุ่ ม ต่อต้าน และผู้เห็ น ต่ างจากรั ฐ ให้ยุ ติก าร เคลื่อนไหวและหันมาร่วมแก้ปัญหากับรัฐ ๒) เพื่อบังคับวิถี ให้การพัฒนาของ ภาครัฐ ลงถึ งครอบครัว ถึงตัว ถึงความคิ ด ถึ งจิ ตใจ ของประชาชน สามารถใช้เป็ น เครื่อ งมือ ร้อยรัดความคิด และจิตใจของ ประชาชนทุ ก ครอบครั ว ให้ สนั บ สนุ น รั ฐ และต่อต้านกลุ่ม ผกร. ๓) เพื่ อปรับวิ ธีคิด วิธีการทางาน ของส่ ว นราชการจากแยกกั น ท า ท าให้ จบเป็ นปี ๆ ให้จ บเป็ นโครงการๆ มาเป็ น การบู ร ณาการร่ ว มกั น ท า โดยยึ ด ถื อ ประโยชน์ที่ประชาชนควรจะได้รับเป็นตัวตั้ง
ห น้ า | ๑๒
ตามนโยบายประชารัฐของรัฐบาลเป็นหลัก ๓. แนวทางดาเนินโครงการ ๑) ดาเนินการ ๓๗ อาเภอ โดยให้ ผอ . ศ ป ก . อ . แ ล ะ ผ อ . ร ม น . จั ง ห วั ด เป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบหลั ก ผบ.ฉก.จั ง หวั ด / ผบ.ฉก.นย.ทร., ผบ.ฉก.หมายเลข/ผบ.ฉก.ทพ., ตารวจ และส่วนราชการอื่นๆ สนับสนุน ๒) ใ ห้ เ ยี่ ย มส ารวจ ข้ อ มู ลคน , ทัศนคติของคน, ความเดือดร้อน, รายได้ และความต้องการ ทุกครอบครัว นาข้อมูล มาจัดระเบียบ และใช้ข้อมูลดังกล่าวเป็ น ตั ว ตั้ ง ในการจั ด ท าโครงการทั้ ง ด้ า น การเมืองและการพัฒนา
ห น้ า | ๑๓
๓) ป รั บ เปู า หมายก ารท างาน การเมือง มุ่งให้ผู้ต่อต้านและเห็นต่างจาก รั ฐ เข้ ามาร่ ว มแก้ ปั ญ หากั บ ภาครั ฐ หรื อ เข้าร่วมโครงการพาคนกลับบ้าน ๔) ปรั บ เปู าหมายการท างานด้าน การพัฒนา มุ่งให้โครงการ และ งป.ของรัฐ ลงถึ ง ประชาชนถึ ง ครอบครั ว ถึ ง ตั ว ถึงความคิด ถึงจิตใจ และให้เป็นเครื่องมือ ในการร้ อ ยรั ด ความคิ ด และจิ ต ใจของ ประชาชนให้ ส นั บ สนุ น รั ฐ และต่ อ ต้ า น กลุ่ม ผกร. ๕) จุ ดเน้ น คื อ ปรั บ วิ ธี ก ารท างาน การเมื อ งและการพั ฒ นามาแก้ ไ ขปั ญ หา โดยงานการเมื อ ง มุ่ ง ไปสู่ ก ารน าคนที่ ก่อเหตุ/สร้างปัญหาให้ยุติก่อเหตุ กลับมา
ห น้ า | ๑๔
ร่ ว มมื อ กั บ ภาครั ฐ โดยเชิ ญ เข้ า ร่ ว ม โครงการพาคนกลั บ บ้ า นให้ ม าก และ ทาความเข้าใจ/แสวงหาจุดยืนร่วมกันกับ กลุ่ ม ผู้ เ ห็ น ต่ า งทุ ก คน ทุ ก กลุ่ ม ให้ ม า ร่ ว มกั น แก้ ไ ขปั ญ หาและพั ฒ นา จชต. สาหรับงานการพัฒนา มุ่งให้ ถึงครอบครัว ถึ งความคิ ด ถึ ง จิ ต ใจ เป็ น รายครั ว เรื อ น เชือ่ ว่า คนถึงแม้จะต่อต้านรัฐ เกลียดชังรัฐ อคติ ต่ อ รั ฐ หวาดระแวงต่ อ รั ฐ แค่ ไ หน ก็ตาม แต่ถ้าได้รับการช่วยเหลือจากรัฐให้ หายเดือ นร้ อ นและมีความเป็น อยู่ ที่ ดีขึ้ น ความคิดนั้นจะหายไป และเกิดความคิดใหม่ เห็นว่า รัฐเป็นที่พึ่งได้
ห น้ า | ๑๕
๔. ขั้นตอนการดาเนินการ ๕ ขั้นตอน ขั้ น ตอนที่ ๑ การวางแผนและ เตรียมการ (ห้วง ม.ค.๕๙) ๑) ฉก.พื้ น ที่ ร่ ว มกั บ ศปก.อ. จั ด ท าแผนรองรั บ , สร้ า งความเข้ า ใจ, จัดตั้งสานักงานที่ ศปก.อ., เตรียมชุดเยี่ยม สารวจข้อมูล และชุดการเมือง ๒) ชี้แจงทาความเข้าใจโครงการ กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนที่ ๒ การเยี่ยมและสารวจ ข้อมูล (ห้วง ก.พ.๕๙) ๑) เยี่ ย มและส ารวจข้ อ มู ล ทุ ก ครัวเรือน
ห น้ า | ๑๖
๒) น าข้ อ มู ล มาจั ด ระเบี ย บเป็ น ข้ อ มู ล ครั ว เรื อ น, หมู่ บ้ า น, ต าบล และ ข้อมูลอาเภอ ๓) วางแผนจัดโครงการ/กิจกรรม ด้านการเมืองและการพัฒนาเข้าดาเนินการ ตามข้อมูลที่ได้รับ ขั้ น ต อนที่ ๓ กา ร บู ร ณ า กา ร แผนงาน/โครงการและงบประมาณ (ห้วง มี.ค.๕๙) ๑) ใช้ ข้ อ มู ล อ าเภอเป็ น ตั ว ตั้ ง ก าหนดให้ ส านั กอ านวยการพั ฒ นา จัดประชุมและประสานงานส่วนราชการทั้ง ระดับอาเภอ, จังหวัด, กรม, กระทรวง และ ศอ.บต. นาแผนงาน/โครงการเข้าดาเนินการ
ห น้ า | ๑๗
๒) บูรณาการแผนงาน/โครงการ และปรับ งป.ของทุกส่วนราชการ เข้ามา ดาเนินการ ขั้นตอนที่ ๔ การรุ กทางการเมือง และพัฒนา (ห้วง เม.ย.- ส.ค.๕๙) ๑) น าโครงการ และ งป.ทั้ งด้า น การเมืองและการพัฒนาเข้าหาประชาชน ๒) ฉก.หมายเลข/ฉก.ทพ., ศปก.อ. และส่ ว นราชการเจ้ า ของงบประมาณ ร่ ว มท า ร่ ว มสนั บ สนุ น ตามข้ อ มู ล ความ เดือนร้อน และความต้องการของประชาชน รายครัวเรือน เยี่ยมปรับทุกข์ผูกมิตร และ ติดตามการดาเนินการ
ห น้ า | ๑๘
๓) ศอ.บต.สน.ขับเคลื่อนงานสร้าง ครอบครัวคุณธรรม ให้มีครอบครัวคุณธรรม ใน ๓๗ อาเภอ ผ่านการรับรองร้อยละ ๖๐ ของครัวเรือนทั้งหมด ภายใน ๓๐ ก.ย.๕๙ ขั้ น ตอนที่ ๕ การขยายผล จั ดตั้ ง มวลชนและร่วมแก้ปัญหา (ห้วง ก.ย.๕๙ เป็นต้นไป) ๑) จั ด ตั้ ง กลุ่ ม ป ระชาชน เป็ น มวลชนของ ฉก.หมายเลข/ฉก.ทพ. และ ศปก.อ. ๒) พัฒนาสัมพัน ธ์และมอบหมาย งานให้ช่วยทางราชการเป็นรายครอบครัว ๓) น าแผนงาน/โครงการ เข้ า ไป ขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง
ห น้ า | ๑๙
๕. กาหนดงานสาคัญ ๓ งาน งานเยี่ยมสารวจข้อมูล เป้าหมาย ๑) รู้ จั ก และสร้ างความสั ม พั น ธ์ อันดีระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐกับประชาชน ๒) จัดเก็บข้อมูล ๖ หัวข้อ ได้แก่ ๑ ) ข้ อ มู ลผู้ ชาย อ ายุ ๑๗ - ๕ ๐ ปี ที่ ห ายออกจากครอบครั ว (หลบหนี , ผกร., มี ห มาย พ.ร.ก.ฯ/ป.วิ ฯ อาญา), ๒) ข้ อ มู ล ทั ศ นคติ ข องครอบครั ว ต่ อ รั ฐ , ๓) ข้อมู ลความเดือ ดร้อ นของครอบครัว , ๔) ข้อมูลรายได้ , ๕) ข้อมูลความต้องการ ประกอบอาชี พ และ ๖) ข้ อ มู ล การ เจ็บปุวย
ห น้ า | ๒๐
การดาเนินการ ๑ ) ชุ ด เ ยี่ ย ม ส า ร ว จ ข้ อ มู ล จัดเจ้าหน้าที่ปกครอง, ทหาร, พัฒนากร, สาธารณสุ ข และบั ณ ฑิ ต อ าสา โดย ชุดสารวจต้องคัดเลือกคนที่เข้าใจโครงการ และเปู า หมาย/ต าบลละ ๒ ชุ ด /๑ ชุ ด รับผิดชอบ ๒ - ๓ หมู่บ้าน ๒) เทคนิ คการเยี่ ยมส ารวจ เข้ า หา ด้ ว ย ค วา มอ่ อ น น้ อ ม ถ่ อ มต น ปรั บ ทุ ก ข์ ผู ก มิ ต ร ซึ่ ง ต้ อ งศึ ก ษาข้ อ มู ล แต่ ล ะครอบครั ว จากส ามะโนประชากร มาก่อน โดยแบ่งหน้าที่กันเก็บข้อมูล
ห น้ า | ๒๑
๓ ) น า ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ รั บ แ ต่ ล ะ ครอบครัว มาลงในแบบฟอร์มที่ออกแบบ ไว้ นามาจัดกลุ่มจัดระเบียบข้อมูลหมู่บ้าน ตาบลและอาเภอ ๔) ใช้ ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการเก็ บ รวบรวมและจัด ระเบี ย บแล้ว ของอ าเภอ เป็นตัวตั้ง นามาวางแผนและจัดโครงการ และกิ จ กรรมเข้ า ด าเนิ น งานการเมื อ ง และการพัฒนา ๕) ชุ ด เยี่ ย มสารวจข้ อ มู ล ๖๐๐ ชุ ด ซึ่ ง ๑ ชุ ด มี ๖ คน ประกอบด้ ว ย คนที่ ๑ บั ณ ฑิต อาสาเป็ น ล่ามประจ าชุด พาเข้ า หาครั ว เรื อ น, คนที่ ๒, ๓ ทหาร
ห น้ า | ๒๒
สารวจข้อมูลคนในครัวเรือน ( ผู้ชาย อายุ ๑๗ - ๕๐ ปี ที่ ห ายออกจากครอบครั ว (หลบหนี , ผกร., มี ห มาย พ.ร.ก.ฯ/ ป.วิ ฯ อาญา)) และตรวจสอบทั ศ นคติ คน ใ น ครั วเ รื อ น ที่ มี ต่ อ รั ฐ , ค น ที่ ๔ สาธารณสุ ข ส ารวจข้ อ มู ล คนเจ็ บ ปุ ว ย ใ น ค รั ว เ รื อ น , ค น ที่ ๕ พั ฒ น า ก ร ส ารวจ ความต้ อ งก ารอ าชี พ แ ละ คนที่ ๖ ปกครอง สารวจความเดือนร้อ น ต่างๆ ๖) เริ่มปฏิบัติงานตั้งแต่ ๑ ก.พ.๕๙ ส ารวจให้ แ ล้ ว เสร็ จ ใน ๒๙ ก.พ.๕๙ โดยข้อมูลสารวจเมื่อดาเนินการเสร็จแล้ว ให้เก็บไว้ที่ ศปก.อ.พร้อมทั้งจัดทาสาเนา
ห น้ า | ๒๓
สรุ ป ส่ ง ให้ ฉก.จั ง หวั ด /ฉก.นย.ทร., กอ.รมน.จังหวัด , ฉก.หมายเลข/ฉก.ทพ. และ กอ.รมน.ภาค ๔ สน. (ผ่าน สนผ.ฯ) หน่วยละ ๑ ชุด
ห น้ า | ๒๔
แบบฟอร์มสารวจรายครัวเรือน ทัศน รายได้/ คติ ผู้หลบหนี/ ครอบครัว ที่อยู่ เดือน ต่อ ผกร. รัฐ ๑. นายดอเลาะ ๑๖ ม.๒ ๔,๐๐๐ ลบ นายดาโอ๊ะ มะเย็ง บ.ไอสเตียร์ มะเย็ง สมาชิก ๕ มีหมาย (ช.๓, ญ.๒) พ.ร.ก.
ห น้ า | ๒๕
ความเดือดร้อน
ความต้องการ คนเจ็บป่วย อาชีพ
- บุตรไม่มีเงิน - เลี้ยงแพะ - นางยาดะ เรียนต่อ - ทุนการศึกษา เป็นอัมพาต - ลูกชายติดยา - ช่างไฟฟูา - ยังไม่ได้รับเงิน เยียวยา - บ้านหลังคารั่ว - ถูกข่มขู่จาก ผู้มีอิทธิพล
ห น้ า | ๒๖
แบบฟอร์มสรุปการสารวจเป็นหมู่บ้าน ลาดับ ข้อมูล ๑. ผกร./ผู้หลบหนี ๒. ผู้มีทัศนคติเชิงลบต่อรัฐ ๓. ผู้มีความเดือนร้อน - รายได้ไม่พอจ่าย - เจ็บปุวย - ที่อยู่อาศัย - ไม่ปลอดภัย ๔. ผู้มีความต้องการประกอบอาชีพ - ทานา - ทาสวน - ช่างซ่อมมอเตอร์ไซด์ - ช่างไฟฟูา - ช่างตัดผม - ทาอาหารขาย - อส./ทพ.
ครอบครัว ๑๕ ๒๐ ๕๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๖๐ ๑๐ ๑๐ ๕ ๕ ๕ ๑๐ ๕
ห น้ า | ๒๗
คน ๑๘ ๓๕ ๑๒๐ ๒๐ ๒๐ ๓๐ ๓๐ ๑๓๐ ๓๐ ๓๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๒๐ ๑๐
การแก้ปัญหาของภาครัฐ พาคนกลับบ้าน เสวนาสัญจร แจกถุงยังชีพ บริการทางการแพทย์ ซ่อมแซม ดูแลในเรื่องความ ปลอดภัย
หน่วยรับผิดชอบ ศสว. ศสส. ฉก.ทพ.๔๘ ฉก./ศพบ.จชต. ศปก.อ./ กอ.รมน.จว. ศปก.อ.
ระบบน้า ผลผลิตทางการเกษตร ส่งเสริมอาชีพ ส่งเสริมอาชีพ ส่งเสริมอาชีพ ส่งเสริมอาชีพ คัดเลือกคนในพื้นที่
กรม ชลประทาน/ เกษตรอาเภอ และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องใน พื้นที่
ห น้ า | ๒๘
งานการเมือง เป้าหมาย เพื่อเชิญแนวร่วม หรือผู้สนับสนุน ผกร. เช่น เปอร์มูดอ, อุซตาสหัวรุนแรง, ครอบครัวผู้เห็นต่าง ในหมู่บ้าน ให้มาร่วม กั บ ฉก. ป ระจ า พื้ น ที่ แ ละ ศปก . อ . แก้ ปัญ หาให้ไ ด้ และชัก ชวน ผกร. มาเข้ า ร่ ว มโครงก ารพาคน ก ลั บ บ้ า น ใ ห้ ไ ด้ และก ารขั บ เคลื่ อ น สร้ า งครอ บ ครั ว คุณธรรม การดาเนินการ ๑ ) ฉก . หมา ย เ ลข/ ฉ ก . ท พ . ก าหนดให้ ก องร้ อ ยจั ด ชุ ดการเมื อ งเล็ ก ๆ ชุดละ ๖ คน, ตาบลละอย่างน้อย ๒ ชุด รวม ๖๐๐ ชุด รับผิดชอบประจาหมู่บ้าน
ห น้ า | ๒๙
ชุด ละ ๒ - ๓ หมู ่บ ้า น ให้พ ร้อ มเข้า ปฏิบัติงานตั้งแต่ ๑ มี.ค.๕๙ ๒) ศู น ย์ สั น ติ สุ ข จั ด วิ ท ยากร เคลื่ อ นที่ อ บรมให้ ค วามรู้ ก ารปฏิบั ติ งาน การเมืองเชิงลึก ๓) ชุดการเมืองศึกษาข้อมูลคนที่ เป็นแนวร่วมหรือสนับสนุน ผกร.ในหมู่บ้าน เดินเข้าหา เยี่ ยมท าความรู้ จั ก ปรั บทุ ก ข์ ผูกมิตร เป็นรายคนๆ ละหลายๆ ครั้ง ๔) ฉก . ห มา ย เ ลข /ฉ ก . ท พ . ร่วมกับ ศปก.อ., ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ช่วยเหลือประชาชนและบุคคลเปูาหมาย ให้ ห ายเดื อ ดร้ อ น ตามข้ อ มู ลส ารวจราย ครัวเรือน ปัญหาใดแก้ไขได้ให้ดาเนินการ
ห น้ า | ๓๐
ทั น ที ปั ญ หาใดแก้ ไ ขไม่ ไ ด้ ให้ ร ายงาน หน่วยเหนือ ๕) น าบุ คคลเปู าหมายในแต่ละ ประเภทเข้าร่วมโครงการสร้างความเข้าใจ ของศูนย์สันติสุข, ฉก.สันติสุข, ศูนย์สันติวิธี และศูนย์ปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ๖) ชั ก ชวนให้ บุ ค คลเปู า หมาย มาช่วยเหลือ ศปก.อ., ฉก.หมายเลข/ฉก.ทพ. ในการแก้ปัญหา ๗) ศอ.บต.สน.ขั บ เคลื่ อ นงาน สร้ างครอบครั วคุ ณ ธรรม ให้ มีครอบครั ว คุณธรรมใน ๓๗ อาเภอ ผ่ านการรับ รอง ร้อยละ ๖๐ ของครัวเรือนทั้งหมด ภายใน ๓๐ ก.ย.๕๙
ห น้ า | ๓๑
๘) การจั ดชุ ดการเมื อง : จั ดอย่ าง น้อย ๒ ชุด ต่อ ๑ ตาบล / ๑ ชุด มี ๖ คน โ ด ย เ ริ่ ม ป ฏิ บั ติ ง า น ใ น ๑ มี . ค . ๕ ๙ ประกอบด้ วย คนที่ ๑, ๒ ทหาร จาก ชุ ดเยี่ ย มส ารวจข้ อ มู ล ซึ่ ง มี ข้ อ มู ล จาก การส ารวจครั ว เรื อ นและรู้ จั ก บ้ านแล้ ว ส าหรั บ คนที่ ๓ - ๖ ทหาร จาก ชป.กร. ทั้ง ๕ ชุด และจากส่วนอื่นของ ฉก.หมายเลข/ ฉก.ทพ.
ห น้ า | ๓๒
งานพัฒนาและช่วยเหลือประชาชน เป้าหมาย ๑) เพื ่อ ใ ห้ป ร ะช า ช น ไ ด้ร ับ ประโยชน์จ ากแผนงาน/โครงการ และ งป . ขอ ง รัฐ อ ย่า ง เต็ ม เม็ ด เต็ ม หน่ ว ย ถึงครอบครัว ถึงตัว ถึงความคิดและจิตใจ สามารถร้ อ ยรั ด ความคิ ด และจิ ต ใจของ ประชาชนทุกครอบครัว ให้อยู่กับรัฐและ ต่อต้านกลุ่ม ผกร. ๒) เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ประชาชนเป็นรายครัวเรือน การดาเนินการ ๑) ศปก.อ. และ ฉก.หมายเลข/ ฉก.ทพ. ใช้ข้อมูลที่ได้จากการเยี่ยมสารวจ
ห น้ า | ๓๓
มาจั ด ท าโครงการพั ฒ นาช่ ว ย เหลื อ ประชาชนเป็นรายครัวเรือน ๒) ส านั ก อ านวยการพั ฒ นา จั ด การประชุ ม ท าความเข้ าใจโครงการ ประชารัฐฯ ให้ส่วนราชการตั้งแต่ ตาบล อาเภอ - จังหวัด - กรม - กระทรวง ศอ.บต. และบูรณาการแผนงาน/โครงการ และงบประมาณร่ ว มกั บ ส่ ว นราชการ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ ให้ ต อบสนองต่ อ ความ เดื อ นร้ อ นและความต้ อ งการตาม ผล ส ารวจรายครั ว เรื อ น และแจ้ ง ผลการ ดาเนินการให้ กอ.รมน.จังหวัด, ฉก.จังหวัด, ฉก.พื้นที่ และ ศปก.อ. ทราบ ภายหลังจาก ชุ ดเยี่ ย มส ารวจข้ อ มู ลด าเนิ น การส ารวจ
ห น้ า | ๓๔
ข้ อมู ลความต้ องการและความเดื อนร้ อ น ของครัวเรือนเรียบร้อยแล้ว ๓) ชุดการเมืองของ ฉก.หมายเลข/ ฉก.ทพ., ศปก.อ. และ ส่ ว นราชการ เข้ า ด าเนิ น การตามแผนงาน/โครงการ ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน ๔) ฉก.หมายเลข/ฉก.ทพ. จัดตั้ง กลุ่มที่ได้รับการช่วยเหลือ เป็นกลุ่มมวลชน ของหน่วย ๕) จั ดกิ จกรรมเข้ าไปขั บเคลื่ อ น มวลชนที่ได้จัดตั้งไว้แล้วอย่างต่อเนื่อง ๖) แผนงาน/โครงการที่จะอนุมัติ ให้ เข้ าไปด าเนิ น การในหมู่ บ้ าน จะต้อ ง ได้ ม า จ า ก ก า ร ส าร ว จ ข อ ง ชุ ด เ ยี่ ย ม สารวจข้ อ มู ล เป็ น รายครั ว เรื อ นเท่ า นั้ น
ห น้ า | ๓๕
สาหรั บ แผนงาน/โครงการอื่ น ๆ ที่ เ ป็ น ความต้ อ งการของหมู่ บ้ า น และต าบล ให้เสนอขอรับการสนับสนุนจาก งป.ปกติ ของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
ห น้ า | ๓๖
ขั้นตอนการดาเนินการ การเตรียมการ - จัดชุดเยี่ยม สารวจ - อบรม สร้าง ความเข้าใจ - ศึกษาข้อมูล ครัวเรือน
เยี่ยมสารวจ ข้อมูลครัวเรือน - อ่อนน้อม ถ่อมตน - ปรับทุกข์ ผูกมิตร - แบ่งหน้าที่ เก็บข้อมูล
ผลลัพธ์ที่ได้ - ความสัมพันธ์ อันดี - ข้อมูล ผกร. - ข้อมูล ทัศนคติ - ข้อมูลความ เดือดร้อน - ข้อมูลรายได้ - ความต้องการ อาชีพ - ข้อมูลเจ็บปุวย
ห น้ า | ๓๗
จัดโครงการ/งป. ดาเนินการ - การเมือง - การพัฒนา
เปูาหมาย - การเมือง ผู้ต่อต้าน/ ผู้เห็นต่าง หันกลับมา ร่วมมือกับรัฐ - การพัฒนา ยกระดับ คุณภาพชีวิต เป็นราย ครัวเรือน
ห น้ า | ๓๘
๖. ปัจจัยแห่งความสาเร็จ ๑) นายอ าเภอ และ ผบ.ฉก. หมายเลข/ผบ.ฉก.ทพ. ต้ อ งมี ข้ อ มู ล ใน อ าเภอ ว่า ใ ค รเ ป ็น ผ ก ร . แ ล ะบ ้า น อยู่ตรงไหน, คนที่ต่อต้านรัฐเป็นใคร และ บ้านอยู่ตรงไหน, คนที่เดือดร้อนเป็นใคร เดื อ ด ร้ อ น เ รื่ อ งอ ะไ ร แ ต่ ละ เรื่ อ ง มี กี่ ครอบครั ว และบ้ านอยู่ ตรงไหน, คนที่ ต้ อ งการให้ รั ฐ ช่ ว ยเรื่ อ งประกอบอาชี พ อะไร แต่ละอาชีพมีกี่ครอบครัว และบ้าน อ ยู่ ตรงไหน และน าข้ อ มู ล ดั ง ก ล่ า ว เป็นตัวตั้งในการทางาน ๒) ประชาสั ม พั น ธ์ โ ครงการให้ เจ้าหน้าที่รัฐ และประชาชนเข้าใจโครงการ อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะต้องชี้ให้เห็นว่า
ห น้ า | ๓๙
เจ้าหน้าที่รัฐต้องปรับอะไร และประชาชน จะได้ประโยชน์อะไร ๓) หน่ ว ยงานที่ จั ด ท าโครงการ ด้านการเมืองและด้านการพัฒนา ต้องนา ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ าก การส ารวจรอ บใ หม่ (ก.พ.๕๙) เป็นตัวตั้ง เป็นแผนความต้องการ รายครัวเรือน (คัมภีร์ ๘ เล่ มใหม่) แล้วให้ ปรั บ การใช้ งป.ปี ๕๙ มาด าเนิ น การใน ส่วนที่เหลือ ให้ดาเนินการต่อในปี งป.๖๐ ๔) หน.ชุดการเมือง ต้องคัดเลือ ก คนที่เข้าใจงานการเมือง และอยู่ปฏิบัติงาน ต่อเนื่อง นอกจากการทางานการเมืองแล้ว จะต้องเข้าไปร่วมทั้งการเยี่ยมสารวจข้อมูล และการพัฒนา ต้ องท าตนเองให้ อยู่ ในใจ ของประชาชน ในหมู่บ้านที่รับผิดชอบ
ห น้ า | ๔๐
๕ ) ส า นั ก อ า น ว ย ก า ร แ ล ะ ฝุายกิ จการพิเศษ บก.กอ.รมน.ภาค ๔ สน. จะต้องช่วยกันบังคับวิถี กากับแนวทาง และ งป. ให้ ทุ ก หน่ ว ยงานด าเนิ น การไปใน ทิศทางเดียวกัน เพื่อทาให้เกิดพลังต่อการ ยุติสถานการณ์ จชต.
ห น้ า | ๔๑
การควบคุมพื้นที่ การควบคุ ม พื้ น ที่ เป็ น งานส าคั ญ มี ค วามมุ่ ง หมายเพื่ อ ปู อ งกั น เหตุ ร้ า ย คุ้มครองชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ให้ ปลอดภั ยและสามารถด ารงชี วิ ต ประจ าวั น ได้ อ ย่ า งปกติ สุ ข โดยก าหนด แนวทางให้หน่วยที่รับผิดชอบดาเนินการ ดังนี้ ๑. เข็มมุ่งของการควบคุมพื้นที่ คื อ ไม่เกิดเหตุร้ายขึ้น, ผกร.คิดหนี และคิดเข้า ร่ ว มโครงการพาคนกลั บ บ้ า นแทนคิ ด ก่อเหตุ
ห น้ า | ๔๒
๒. มาตรการในการควบคุ ม พื้ น ที่ ประกอบด้วย งานข่าว, งานการทหาร, งานบั งคั บ ใช้ ก ฎหมาย และงานสาคั ญ ที่ ขาดไม่ได้คือ การมีส่วนร่วมของประชาชน ผู้ รั บ ผิ ด ชอบพื้ น ที่ ต้ อ งกระท าทุ ก วิ ถี ท าง เพื่ อ ท าให้ ป ระชาชนเข้ า มาช่ ว ยในการ รปภ.พื้นที่ และช่วยในการแจ้งข่าวสาร ๓ . ก า ร ค ว บ คุ ม พื้ น ที่ ใ ห้ ไ ด้ ผ ล นอกจากการควบคุมพื้นที่ และเส้นทางที่ คาดว่ากลุ่ม ผกร. จะก่อเหตุแล้ว จะต้อ ง ควบคุ ม คน, อาวุ ธ สงคราม และอุ ป กรณ์ สารตั้งต้นในการประกอบระเบิดด้วย ๓.๑ การควบคุ ม คน นายอาเภอ, ผู้บังคับหน่วยเฉพาะกิจประจาพื้นที่ และ
ห น้ า | ๔๓
ผู้ ก ากั บ การสถานี ต ารวจ จะต้ อ งเยี่ ย ม และพบปะพั ฒ นาสั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ ช ายอายุ ๑๗ – ๕๐ ปีทุกครัวเรือน เพื่อแยกแยะคน และคุ ม คนที่ เ ป็ น ผกร.หรื อ สงสั ย ว่ าเป็ น ผกร. ต้ อ งทราบว่ า อ าเภอของตนมี ผู้ก่อ เหตุ กี่คน เป็ นใครและบ้านอยู่ ที่ไหน ต้ อ งควบคุ ม และติ ด ตามจั บ กุ ม บุ ค คล เหล่านี้ ไม่ให้มีเสรีในการเคลื่อนไหว ทาให้ คิดหนีแทนคิดก่อเหตุ รวมถึงการควบคุม คนจากนอกพื้นที่ที่ต้องสงสัยว่าจะเข้ามา ลักลอบก่อเหตุด้วย ๓.๒ การควบคุ ม อาวุ ธ สงคราม ในขณะนี้ ผู้ ใ หญ่ บ้ า น ก านั น นาย ก องค์การบริหารส่วนตาบล และผู้มีอิทธิพล ครอบครองอาวุธสงครามเป็นจานวนมาก
ห น้ า | ๔๔
อ้างว่าเอาไว้ช่วยเหลือทางราชการในการ ดู แ ลควา มสงบ สุ ข คุ้ ม ครอ งตน เอ ง ประกอบกั บ เจ้ าหน้ าที่ รั ฐ บางคนในอดี ต มอบอาวุธสงครามให้กับบุคคลเหล่านี้ เพื่อ แลกกั บ การท างานให้ หรื อ หาข่ า วให้ ดังนั้ น เพื่อ ปู อ งกัน การน าอาวุ ธ เหล่ านี้ ไ ป ก่ อ เหตุ จึ ง ต้ อ งควบคุ ม อาวุ ธ สงคราม โดยเปิดโอกาสให้ผู้ครอบครองมาแจ้ง การ ถือครองต่อเจ้าหน้าที่ฝุายปกครอง ณ ที่ว่า การอ าเภอ ทาการยิงเก็ บปลอกกระสุ น พิมพ์ลายนิ้วมือ จัด ทาบัญชีควบคุมอาวุ ธ มีความเข้มงวดในการนาพา และบังคับใช้ กฎหมายกั บผู้ ครอบครองที่ ไม่ ม าแจ้ งขึ้ น บัญชีคุมอย่างเด็ดขาด
ห น้ า | ๔๕
๓.๓ การควบคุมอุปกรณ์ สารตั้ง ต้ น ป ร ะ ก อ บ ร ะ เ บิ ด เ มื่ อ ปี ๒ ๕ ๕ ๒ กอ.รมน.ภาค ๔ สน.ได้อาศัยอานาจตาม พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ ฉุ ก เฉิ น พ.ศ.๒๕๔๘ ออกค าสั่ ง ควบคุ ม การมี ครอบครอง ซื้อ ขายและเคลื่อนย้าย อุปกรณ์และสารตั้งต้น ที่สามารถนามาใช้ ประกอบระเบิ ด ได้ โดยมอบอ านาจการ ดาเนิ น การให้ กั บ กอ.รมน.จั งหวั ด และ ศปก.อ. และให้ ฉก.ประจาพื้นที่ มีอานาจ ในการตรวจสอบซ้ าอี ก ชั้น หนึ่ ง แต่เรื่ อ ง ดั ง กล่ า วถู ก ละเลยการปฏิ บั ติ ท าให้ เกิดระเบิดมาก จึงขอให้ กอ.รมน.จังหวัด, ศปก.อ. และ ฉก.ประจาพื้นที่ ทบทวนและ นาเรื่องดังกล่าวมาปฏิบัติให้จริงจัง
ห น้ า | ๔๖
๔. เป้ า หมายในการก่ อ เหตุ ข อง ผกร. ซึ่ งประกอบด้ ว ย สถานที่ (สถานที่ ราชการ, สาธารณูปโภค, เสาไฟฟูา, สถาน บั น เทิ ง , แหล่ ง รวมคนที่ มี ค นไทยพุ ท ธ พลุ ก พล่ า น, สถานประกอบการของ ประเทศตะวันตก) ต้อ งให้ความคุ้ มครอง และทาให้ปลอดภัย และบุคคล (ไทยพุทธ, ไทยมุสลิมที่ ให้ความร่วมมือกับ รัฐ, ทหาร ต ารวจ อส.ที่ อ ยู่ บ้ า นหรื อ ระหว่ า งการ ลาพัก) ต้องตรวจสอบว่าเป็นใคร กี่คนและ อยู่ที่ไหน อบรมให้ความรู้ มิให้ปฏิบัติตน ให้ ผกร.ก าหนดเป็ น เปู า หมายในการ ก่อเหตุได้ หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ต้องรู้จักวิธี เอาตัวรอด
ห น้ า | ๔๗
๕. ก าลั ง พลที่ ป ฏิ บั ติ ง านในการ ควบคุมพื้นที่ ต้องรู้หลักนิยมและยุทธวิธี รวมถึ งคิ ด ย้ อ นแย้ งการปฏิบั ติข อง ผกร. หน่วยทหาร ตารวจ และฝุายปกครองใน ทุกระดับ จะต้องจัดให้มีการศึกษาเรียนรู้ ห ลั ก นิ ย ม แ ล ะ ยุ ท ธ วิ ธี ก า ร ก่ อ เ ห ตุ ของ ผกร. ทั้งนี้หัวใจสาคัญ เจ้าหน้าที่ทุก คนต้ อ งเข้ า ใจ และไม่ ท าตนและหน่ ว ย ให้ ต กเป็ น เปู า หมายให้ ผกร.ก่ อ เหตุ ไ ด้ ในขณะเดี ย วกั น ต้ อ งคิ ดย้ อ นแย้ งยุ ท ธวิ ธี ของ ผกร.ให้ได้ สามารถหลอกล่อให้ ผกร. ติ ด กั บ ท า งยุ ท ธวิ ธี ขอ งฝุ า ย เราแ ล ะ ถูกจับกุมได้
ห น้ า | ๔๘
๖. ผบ.ทบ./รอง ผอ.รมน.มอบ นโยบายและสั่งการ ๖.๑ การ รปภ. ในเขตเมืองเศรษฐกิจ ๗ เมื องหลั ก จะต้ องไม่ ให้ เกิ ดเหตุ การณ์ รุนแรงขึ้นไม่ มี การลอบวางระเบิ ด ผบ.ฉก. จั ง หวั ด /ผบ.ฉก.นย.ทร. ให้ ล งไปดู แ ผน ปู อ งกั น เมื อ งเศรษฐกิ จมี อ ยู่ แ ล้ ว จะต้ อ ง ร่ วมมื อกั น ทั้ งพลเรื อน ต ารวจ และทหาร ต้องการให้ทางานเป็นทีม ให้เดินไปด้วยกั น เป็นพี่น้องกัน แก้ไขจุดอ่อนซึ่งกันและกัน ๖.๒ เน้ น การควบคุ ม พื้ น ที่ ใ ห้ ไ ด้ ฝุายเราจะต้องมีเสรีในการปฏิบัติ และต้อง จ ากั ดเสรี ข อง ผกร. ให้ ไ ด้ ฉก.จั งหวั ด/ ฉก.นย.ทร. ต้องควบคุมพื้นที่ได้ ผบ.ฉก. ถือว่า เป็นตัวหลัก ต้องมีเอกภาพ อะไรเกิดขึ้นหรือ
ห น้ า | ๔๙
ใครมาท าอะไรในพื้ น ที่ ต้ อ งรู้ ต้ อ งทราบ ช่ ว ยเหลื อ ประสานงานซึ่ ง กั น และกั น อย่างแน่นแฟูน ๖.๓ การฝึกกาลังประจาถิ่น (อส.) และก าลังประชาชนทุ กประเภท ทั้ง ชคต., ชรบ., อรบ., อพปร.และ ทสปช.ให้ฝึกกันเอง ในพื้นที่ ให้ ฉก.หมายเลข/ฉก.ทพ. เป็นผู้ ฝึก จะได้เห็นทหารว่า เป็ นครู เพื่อจะได้ รู้จักกันและรู้ว่ากาลังประชาชนอยู่ที่ใดบ้าง และใช้ ก าลั ง ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ในพื้ น ที่ การฝึ ก เพื่ อ ให้ เ ขาน าไปใช้ ง าน เช่น ฝึกความอยู่รอดในสนามรบ การระวัง ปูองกันหมู่บ้านตนเอง เส้นทาง, รร, และ ด่านตรวจ/จุดตรวจ
ห น้ า | ๕๐
๖.๔ งานด้ า นการข่ า ว ต้ อ งน า ข่ า วต่ า ง ๆ มาวิ เ คราะห์ แ ละกระจาย ข่ าวสารไปถึ งหน่ ว ยให้ ทั น เวลา ผบ.ฉก. จั งหวั ด /ผบ.ฉก.นย.ทร. ต้ อ งบู ร ณาการ ด้ า นการข่ า ว จั ด ประชุ ม ประชาคมข่ า ว เน้นเรื่องการข่าว หากข่าวสารดีจะปูองกัน และแก้ ไ ขได้ ทั น และให้ เ น้ น แหล่ ง ข่ า ว ภาคประชาชน ๖.๕ ฉก.ประจ าพื้ น ที่ ต้ อ งมี ชุ ด พิ เ ศษ หน่ ว ยละ ๒ ชุ ด เพื่ อ ใช้ ใ นการ ปฏิบัติการงานเชิงรุก ชป.พิเศษ ให้เข้าไป ท างานในพื้ น ที่ ที่ มี ปั ญ หา หรื อ พื้ น ที่ ที่ มี เหตุการณ์ เข้าไปนอนในปุา , เฝูาตรวจ ท้ายหมู่บ้าน เดิน ลว.หมู่บ้าน เพื่อเป็นการ
ห น้ า | ๕๑
ปูองปราม และแสดงการเคลื่อนไหวกาลัง ในทุกพื้นที่ ๖.๖ การปฏิบัติในพื้นที่ทุกอย่าง ให้ถือว่าเป็นการปฏิบัติทางยุทธการทั้งสิ้น ต้องมีการระวังปูองกันตนเองทุกขั้นตอน และอย่าประมาท ๖.๗ ให้ แ ต่ ละ ฉก.ประจ าพื้ น ที่ ท าเส้ น ทางถนนให้ ป ลอดภั ย ๒๔ ชม. โดยกาหนด ๑ ฉก./๑ เส้นทาง ให้ประชาชน ได้เห็นว่า มีความปลอดภัยจริง ยังไม่ต้อง ขยายระยะทางเพิ่ม และเน้นย้าในชุมชน ทั้งหมดต้องมีความปลอดภัยด้วย เพื่อทา ให้ พี่ น้ อ งประชาชนเกิ ด ความเชื่ อ มั่ น ใจ ในความปลอดภัย และเลิกหวาดกลัว
ห น้ า | ๕๒
๖.๘ การควบคุมพื้นที่ ต้องเข้าไป ดาเนินการในหมู่บ้านอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๒ ครั้ง และต้องเข้าให้ครบทุกหมู่บ้านใน พื้นที่รับผิดชอบ ๗. ผอ.รมน.ภาค ๔ มอบนโยบาย และสั่งการ ๗.๑ การควบคุ ม พื้ น ที่ มี เ หตุ ที่ ยอมรับไม่ได้ ๔ เรื่อง คือเกิดระเบิดในเมือง เศรษฐกิจ, ลูกน้องนั่งรถถูกโจรวางระเบิด, ถูกโจรหลอกวางระเบิด และในพื้นที่มีฐาน หรื อ ที่ พั ก ของกลุ่ ม ผกร. ถ้ า เกิ ด เหตุ ๔ เรื่ อ งนี้ ผบ.หน่ ว ยต้ อ งถู ก พั ก งาน เพื่อทบทวนตนเอง และเปิดโอกาสให้บุคคล ที่เหมาะสมไปปฏิบัติหน้าที่แทน ๓ เดือน
ห น้ า | ๕๓
๗.๒ ให้ หน.หน่วยที่สาคัญต่อการ ขั บ เคลื่ อ นการแก้ ไ ขปั ญ หา คื อ ผบ.ฉก. หมายเลข/ฉก.ทพ., ผกก.และ นอภ. อยู่ใน พื้ น ที่ ใ ห้ ม ากที่ สุ ด ให้ ห ลี ก เลี่ ย งการเชิ ญ หน.หน่ ว ย ดั งกล่ า วไปประชุม สั ม มนา ไปราชการนอกพื้นที่จังหวัด เพื่อ ที่จะได้มี เวลาคอยผลักดันงานตามเข็มมุ่ง เกาะติด พื้นที่ เกาะติดลูกน้อง เกาะติดประชาชน ท าให้ ฟั น เฟื อ งในการแก้ ปั ญ หา จชต. ทั้ ง ด้ า นความมั่ น คงและด้ า นการพั ฒ นา หมุ น อยู่ ใ นหมู่ บ้ า น ต าบล และอ าเภอ ตลอดเวลา ๗.๓ เพื่อเสริมการทาลายเสรีการ ปฏิ บั ติ ใ นการก่ อ เหตุ ข องกลุ่ ม ผกร. ให้ ฉก.ประจาพื้น ที่ ที่รั บผิ ดชอบพื้นที่ จั ด
ห น้ า | ๕๔
ชุดขนาดเล็ก ( ๖ คน ) ออกจรยุท ธเล็กๆ ครั้งละ ๒ – ๓ วัน รอนแรม ลาดตระเวน ซุ่ ม เฝู าตรวจ ลวงทางยุ ท ธวิ ธี เยี่ ย มบ้ า น ผกร. และร้านน้าชาในพื้นที่ เป็นตาข่าย ใยแมงมุม เต็มพื้นที่ เพื่อเสริมมาตรการ ควบคุมพื้นที่อีกชั้นหนึ่ง ลักษณะการ ลว. ควบคุ ม พื้ น ที่ เ ต็ ม พื้ น ที่ เ ป็ น ใยแมงมุ ม โดยให้ ก องร้ อ ย ฉก.หมายเลข/ฉก.ทพ. รวม ๒๑๒ กองร้อย จัดชุด ลว.ขนาดเล็ก ๖ คน จากฐานปฏิบัติการระดับ มว.ๆ ละ ๑ ชุด (๑ มว./๑ ชุด) รวม ๓ ชุด ออก ลว. เฝูาตรวจพื้นที่จากฐานปฏิบัติการ มว.ที่ ๑ ไปฐานปฏิบัติก าร มว.ที่ ๒ และ มว.ที่ ๓ สลั บ , แทนที่ แ ละหมุ น เวี ย นกั น ไปอย่ า ง ต่อเนื่อง โดยใช้เวลาชุดละ ๒ - ๓ วัน และ
ห น้ า | ๕๕
ให้ป ฏิบั ติภ ารกิจที่ สาคัญ ในระหว่ างการ ลว. ได้แก่ ลว.และซุ่ มเฝูาตรวจ ลวงทาง ยุ ท ธวิ ธี พบปะเยี่ ย มเยี ย นประชาชน ตามร้านน้าชา, ร้านค้าในหมู่ บ้าน, เยี่ย ม เยี ย นครอบครั ว ของ ผกร. ที่ มี ห มาย พ.ร.ก.ฯ และ ป.วิ ฯ อาญา, เยี่ ย มให้ กาลังใจและร่วมเข้าเวรยามร่วมกับ ชคต. และ ชรบ.ในเวลากลางคืน ทั้ งนี้ ชุด ลว. ห้ามเดินบนถนนโดยเด็ดขาด ให้ใช้การเดิน ข้างทางและในภูมิป ระเทศ ซึ่งจะทาให้ มี ชุด ลว. ควบคุมพื้นที่ ออก ลว.เต็มพื้นที่ เป็ น ใยแมงมุ ม จ านวน ๖๓๖ ชุ ด /วั น ส า ห รั บ ก า ร พั ก ค้ า ง แ ร ม ใ ห้ ใ ช้ ฐ า น ปฏิ บั ติ ก าร มว.ในลั ก ษณะแทนที่ กั น (ส าหรั บ การจั ด ชุ ด ลว.ควบคุ ม พื้ น ที่
ห น้ า | ๕๖
เป็ น เส้ น ใยแมงมุ ม ของ ร้ อ ย.ทพ.ให้ พิจารณาปรับการจัดกาลัง และการปฏิบัติ ให้ สอดคล้ อ งกั บ การจั ด ก าลั ง ของหน่ ว ย ที่เป็น ชป.) ๗.๔ เพื่ อ เสริ ม การบั ง คั บ ใ ช้ กฎหมาย ในการติ ด ตามจั บ กุ ม ผกร., อาวุ ธ สงคราม และวั ต ถุ ระเบิ ด ขอ ง ฉก.ประจาพื้นที่ ให้ กกล.ทพ.จชต.จัดทีม พิ เ ศษ และห้ อ งติ ด ตามสถานการณ์ ขึ้น จังหวัดละ ๑ ชุด ๗.๕ การรายงานเหตุก ารณ์ของ เจ้ า หน้ า ที่ ทุ ก หน่ ว ย จะต้ อ งไม่ ต กเป็ น แนวร่ ว มมุ ม กลั บ ช่ ว ยประชาสั ม พั น ธ์ ผลงานให้ กั บ กลุ่ ม ผกร. คื อ จะต้ อ งท า
ห น้ า | ๕๗
เรื่องใหญ่ให้เป็นเรื่องเล็ก และทาเรื่องเล็ก ให้เงียบหายไป ๗.๖ ให้มอบรางวัลให้ กับหน่วยที่ มี ผลงานการควบคุ มพื้ นที่ ดี เด่ น ในที่ ประชุ ม ประจาเดือนทุกครั้ง ๗.๗ ผอ.รมน.ภาค ๔ จะให้ เสรี กั บ ผบ.หน่ ว ยรอง ตราบเท่ าที่ ห น่ ว ยยั ง สา ม า ร ถ ค ว บ คุ ม พื้ น ที่ ไ ด้ ดี อ ยู่ แ ล ะ ไม่ เ กิ ด เหตุ ที่ ย อมรั บ ไม่ ไ ด้ ๔ เรื่ อ ง คื อ เกิดระเบิดในเมืองเศรษฐกิจ, ลูกน้องนั่งรถ ถูกโจร วางระเบิด, ถูกโจรหลอกวางระเบิด และในพื้นที่มีฐานหรือที่พักของกลุ่ม ผกร.
ห น้ า | ๕๘
โครงการพาคนกลับบ้าน ๑. กล่าวทั่วไป ภายใต้นโยบายของ พล.ท.วิวรรธน์ ปฐมภาคย์ มทภ.๔/ผอ.รมน.ภาค ๔ เจ้ า ของค าขวั ญ “ ไม่ เ สี ย สละ ชั ย ชนะ ไม่ เ กิ ด ” ต้ อ งการแก้ ไ ขปั ญ หา จชต. ให้ ต รงจุ ด และทุ่ ม เททรั พ ยากรที่ มี อ ยู่ อย่างเต็ มความสามารถ เพื่อต้อ งการให้ ผู้ ที่ เ ห็ น ต่ า งจากรั ฐ ออกมารายงานตั ว แสดงตน ทั้ ง นี้ เ ห็ น ว่ า ผู้ เห็ น ต่ างจากรั ฐ จ านวนมาก ต้ องการยุ ติ บทบาทการต่ อสู้ ด้วยวิธีรุนแรง และหันกลับมาร่วมมือกับรัฐ โครงการพาคนกลั บ บ้ า น เป็ น โครงการสลายโครงสร้ า งการจั ดตั้ ง ของ
ห น้ า | ๕๙
ผู้ ก่ อ เหตุ รุ น แรงในทุ ก ระดั บ คื อ ระดั บ แกนนา ผู้สั่งการ ผู้ปฎิบัติ แนวร่วม และ มวลชน เป็ น โครงการ เปิ ด โอกาสให้ ผู้ ที่ เ ห็ น ต่ า งจากรั ฐ และเคยต่ อ สู้ กั บ รั ฐ ด้วยวิธีรุนแรง หันกลับมามีส่วนร่วมในการ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น อีกทั้งเป็นโครงการ ที่ส่งผลให้โครงสร้างของกลุ่มผู้ก่อเหตุรุนแรง ถู ก โดดเดี่ ย ว องค์ ก รน า หรื อ ขบวนการ ของผู้ ก่ อ เหตุ รุ น แรง มี ศั ก ยภาพลดลง จนท าให้ ก ลุ่ ม ผู้ เ ห็ น ต่ า งจากรั ฐ ได้ แ สดง จุดยืน และเจตนารมณ์ ออกมารายงานตัว จานวนมาก เพื่อ ต้องการยุติการต่อสู้ด้วย วิธีรุนแรง
ห น้ า | ๖๐
๒. หลักคิดที่สาคัญ ๑) น้อมนายุทธศาสตร์พระราชทาน “ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ” ๒) ยุท ธวิธี มุ่ งเน้นแนวทางสัน ติวิ ธี กล่ าวคื อ ๑) ดึ งกลุ่ มผู้ เห็ น ต่างจากรั ฐ มา เป็นพวก (คนไทยด้วยกัน) รายงานตัวเข้า โครงการพาคนกลับบ้าน และ ๒) ผู้เห็นต่าง จากรัฐ ที่ เคลื่อ นไหวก่อเหตุรุนแรง จะถู ก กดดันให้คิดหนี แทนคิดก่อเหตุ ๓. ภาพรวมการแก้ปัญหา - ช่ ว งต้ น ปี ๔๗ – ๕๐ แนวร่ ว ม มวลชนให้ ก ารสนั บ สนุ น กลุ่ ม ผู้ ก่ อ เหตุ รุนแรงในการต่อต้าน ขัดขวางการทางาน ของเจ้าหน้าที่รัฐ หลายๆ เหตุการณ์ที่รัฐไม่ สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ เช่น กรณี
ห น้ า | ๖๑
ครูจูหลิง,นาวิกโยธินถูกทาร้าย, เหตุการณ์ ตากใบ, กรือเซ๊ะ เป็นต้น - ช่ ว งปี ๕๑ – ๕๘ ประชาชน ออกมา ร่วมมือกับเจ้าหน้าที่รัฐมากขึ้น ทา ให้กลุ่มผู้ก่อเหตุรุนแรงไม่สามารถควบคุม ประชาชน (มวลชน) ได้ แต่พื้นที่ จชต.ยัง ไม่ ส งบสุ ข อย่ า งยั่ ง ยื น ยั ง คงมี ผู้ ก่ อ เหตุ รุนแรงพยายามลอบยิง ลอบวางระเบิดและ ลอบทาลาย และทาร้ายเปูาหมายอ่อนแอ เมื่อมีโอกาส - ช่วงปี ๕๙ ต้องการยุติสถานการณ์ ความรุ น แรง กล่ า วคื อ ประชาชนหั น มา ร่วมมือกับรัฐ และที่ สาคัญ กลุ่มผู้ก่อเหตุ รุนแรง หันกลับมาร่วมมือกับเจ้าหน้าที่รัฐ โดยมารายงานตัวเข้าโครงการพาคนกลับบ้าน
ห น้ า | ๖๒
ร่วมคิด ร่วมทา และร่วมแก้ไขปัญหากับรัฐ ดังนั้น เมื่อประชาชน และผู้ก่อเหตุรุนแรง ร่วมมือกับเจ้าหน้าที่รัฐ สถานการณ์ความ รุนแรงจะยุติลงในที่สุด ๔. นโยบายของ ผอ.รมน.ภาค ๔ ๑) บุ คลากรผู้ รั บ ผิ ดชอบโครงการ พาคน ก ลั บ บ้ า น ต้ อ งเป็ น บุ ค คลที่ มี ภูมิ ลาเนาอยู่ ในพื้ นที่ รู้ จักขนบธรรมเนี ยม ประเพณี วั ฒ นธรรมและภาษาของ ประชาชนในพื้นที่เป็นอย่างดี ๒) การขั บ เคลื่ อ นโครงการพาคน กลับบ้าน ให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม ในการดาเนินการโดย ศปก.อ. เป็นหน่วย ดาเนินการหลัก
ห น้ า | ๖๓
๓) ต้ อ งสร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ เ กิ ด ขึ้นกับกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐ ทาให้ออกมา รายงานตัว เข้ าโครงการด้ว ยความเต็ม ใจ และมีความจริงใจกับรัฐ ไม่สร้างเงื่อนไขให้ เกิดขึ้นกับรัฐ ๔) ต้องดาเนินการปลดเปลื้องพันธะ ทางกฎหมายและจิ ต ใจให้ กั บ ผู้ เ ห็ น ต่ า ง จากรัฐที่ได้ออกมารายงานตัวเข้าโครงการ ๕) ต้ อ งด าเนิ น การพัฒ นาคุ ณ ภาพ ชีวิตและครอบครัวของผู้เห็นต่างจากรัฐ ๖) ต้องมีการสร้างความปลอดภัยใน ชีวิ ต ให้ เ กิ ด ขึ้ น เมื่ อ ออกมาเข้ า โครงการ แล้วจะต้องไม่สูญเสีย ๗) การด าเนิ น การจะต้ อ งส าเร็ จ ดังนั้นจะเน้นการดาเนินการแบบเบ็ดเสร็จ
ห น้ า | ๖๔
และรวดเร็ ว , มี เ อกภาพ, เป็ น รู ป ธรรม ถูกต้อง ชัดเจน ปฏิบัติงานแบบเต็มพื้น ที่ และมุ่ งให้ เข้ าถึ ง ระดับ แกนน า/ผู้ สั่ งการ ของกลุ่มผู้ก่อเหตุรุนแรง ๕. ขั้นตอนการดาเนินการ ๖ ขั้นตอน ขั้ น ตอนที่ ๑ รณรงค์ เ สริ ม สร้ า ง ความเข้าใจ และชักชวนสมาชิก ผกร. เข้าร่วมโครงการฯ หน่วยที่ขับเคลื่อนโครงการ - กอ.รมน.จังหวัด และ ศปก.อ. - ฉก.หมายเลข/ฉก.ทพ. - คณะกรรมการประสานงานและ รณรงค์ เ พื่ อ ยุ ติ ก ารต่ อ สู้ ด้ ว ยวิ ธี รุนแรงในพื้นที่ จชต. - ชุดประสานงานประจาจังหวัด
ห น้ า | ๖๕
- ชุดพิเศษในพื้นที่ (ผู้นา ๔ เสาหลัก) - ชุด ชป.กร./ชุด ชป.รพศ. (หมู่บ้านเสริมสร้างความมั่นคง) - อื่ น ๆ ที่ ก ลุ่ ม ผู้ เ ห็ น ต่ า งไว้ ว างใจ (ผู้มีอิทธิพล) ขั้น ตอนที่ ๒ การรับ รายงานตั ว / ลบฐานข้อมูลตารวจ ( เมื่อหน่วย รณรงค์ได้ผล ) ๑) ด าเนิ น การท าประวั ติ (บุ คคล พื้นฐาน/ความต้องการที่จาเป็น/ติดตามตัว) โดยให้ ศปก.อ.เป็นศูนย์กลาง และแผนก พาคนกลั บบ้าน ด าเนิ นการประสานงาน แบบเบ็ดเสร็จ ( One – Stop – Service) ๒) ให้หนังสือรับรองอานวยความ สะดวกในการเดินทาง
ห น้ า | ๖๖
๓) แจ้ง ศปก.อ., หน่วยทหาร, สภ.ตร. ขอความร่ ว มมื อดู แ ล (ติ ดตาม/เป็ น ฐาน ข้อมูล) ๔) ดาเนินการประสานงาน ๓ เรื่อง ได้แก่ ๑) กรณีมีหมาย พ.ร.ก.ฯ ดาเนินการ เพิ ก ถอนหมาย พ.ร.ก.ฯ (ศาลมี ค าสั่ ง เพิ ก ถอน), ๒) กรณี มี ป.วิ ฯ อาญา (อานวยความยุติธรรม) และ ๓) ลบชื่อจาก ฐานข้ อ มู ล ตร.(POLIS)(ท าหนั ง สื อ ถึ ง กรมการกงสุล/ตรวจคนเข้าเมือง/สตช.)
ห น้ า | ๖๗
ขั้ น ต อ นที่ ๓ กา ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง ศักยภาพผู้นา(ปรับทัศนคติ) - ให้ เจ้ าหน้ าที่ รั ฐ ๓ ฝุ าย คั ดเลื อ ก ผู้ เ ห็ น ต่ า งจากรั ฐ ที่ เ ข้ า โครงการพาคน ก ลั บ บ้ าน เ ข้ า สู่ โ ร งเ รี ย น ก าร เมื อ ง ศูนย์สันติสุข เพื่อสอนหลักศาสนาอิสลาม ที่ ถู ก บิ ด เ บื อ น ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง ก า ห น ด ความเร่ ง ด่ ว น คื อ ผู้ ที่ ยั ง มี พ ฤติ ก รรม ต่ อ ต้ า นรั ฐ เพื่ อ ต้ อ งการให้ ผู้ เ ห็ น ต่ า ง มีความคิดจิตใจสนับสนุนรัฐ และร่วมมือ ในการแก้ ปั ญ หา พร้ อ มทั้ ง คั ด แย ก พฤติกรรมเชิงบวกกับเชิงลบ
ห น้ า | ๖๘
ขั้ น ตอนที่ ๔ การอ านวยความ สะดวกด้ า นยุ ติ ธ รรม/จั ด ตั้ ง ชมรม / ช่วยเหลือทางราชการ - ผ อ . ร ม น . ภ า ค ๔ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ และคณะอนุ ก รรมการ พิจารณากลั่นกรองคดีด้วยความยุติธรรม/ ศปก.อ.จัดตั้งกลุ่ม/ชมรม เพื่อง่ายต่อการ ดูแ ล ติ ด ต่ อ ประสานงานและช่ ว ยเหลื อ พัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นโดยมุ่งให้ ศปก.อ. จั ด ตั้ ง ชมรมเป็ น รู ป ธรรมก่ อ น มี . ค.๕๙ และขอความร่ ว มมื อ ผู้ เ ห็ น ต่ า งจากรั ฐ ช่วยเหลืองานทางราชการ
ห น้ า | ๖๙
ขั้นตอนที่ ๕ การฝึกอบรมอาชีพ / หาอาชีพให้ทาและส่งเสริมรายได้ - กอ.รมน.ภาค ๔ สน.บู ร ณาการ แผนงาน/โครงการและงบประมาณร่วมกับ ศอ.บต.สน., กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดาเนินการฝึกอบรม อาชี พ ตามความต้ อ งการของผู้ เ ข้ า ร่ ว ม โครงการโดยจั ด ท าในพื้ น ที่ ลดความ หวาดระแวง และส่ ง เสริ ม อาชี พ ให้ มี รายได้เพิ่มขึ้น ขั้ น ตอนที่ ๖ การติ ด ตามพั ฒ นา สัมพันธ์ เมื่อกลับภูมิลาเนา - กาหนดให้ ฉก.จังหวัด/ฉก.นย.ทร., กอ.รมน.จั ง หวั ด และ ศปก.อ. ติ ด ตาม พฤติก รรมในห้ ว งระยะเวลาที่ เหมาะสม
ห น้ า | ๗๐
ตลอดจนดู แ ลในเรื่ อ งความปลอดภั ย สาหรับผู้เห็นต่างจากรัฐที่ไม่สามารถอยู่ใน ภูมิ ลาเนาได้ ไม่ มี ความปลอดภัย ในชีวิ ต กอ.รมน.ภาค ๔ สน. ร่วมกับ ศอ.บต.สน. จั ด ตั้ ง หมู่ บ้ า นสั น ติ สุ ข (บ้ า นปิ ย ามุ มั ง อ.ยะหริ่ง จว.ป.น. และ นิคมอุตสาหกรรม อาลาล อ.ปะนาเระ จว.ป.น.) ๖. ความคื บ หน้ า โครงการพาคน กลับบ้าน จากการดาเนินงานโครงการพาคน กลับบ้าน ทาให้มีกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐได้ ออกมารายงานตัวแสดงตนเข้าโครงการฯ จานวน ๓,๒๕๒ คน ซึ่งขณะนี้ ศปก.อ. ได้ดาเนินการงานสาคัญ ๔ เรื่อง ดังนี้
ห น้ า | ๗๑
๑) จั ดตั้ ง ชม รม /ป รั บ ทั ศน ค ติ เพื่อง่ายต่อการติดต่อและดูแลพฤติกรรม ๒) สนั บ สนุ นอาชี พ และรายได้ เพื่ อ สร้ างความมั่ น ใจให้ ผู้ ที่ ยั งไม่ อ อกมา ได้ออกมารายงานตัวเพิ่มมากขึ้น ๓) น ามาช่ ว ยเหลื อ ทางราชการ เพื่ อ ดู แล เรื่ อ งค วา มป ล อ ด ภั ย เ ช่ น เฝูาสถานที่ราชการ ดูแลเส้นทาง และงาน จิตสาธารณะ ๔) เยี่ ย มเยี ย น ช่ วย เ หลื อ ดู แ ล เพื่อ ไม่ ให้ ก ลั บ ไปสนั บ สนุ น ขบวนการอี ก โดยไม่ ใ ห้ ว่ า งงานส าหรั บ เปู า หมายกลุ่ ม ผู้เห็นต่างจากรัฐที่ยังไม่ออกมารายงานตัว เข้ าโครงการพาคนกลั บ บ้ านมี ป ระมาณ
ห น้ า | ๗๒
๓,๑๖๓ คน ขณะนี้ ศปก.อ. ได้เร่งรัดการ ดาเนินการดังนี้ - จั ด เวที เ สวนา ในหั ว ข้ อ “อดี ต ไม่สาคัญ ปัจจุบันเรารักกัน ภายใต้ร่มเงา การให้ อ ภั ย ให้ โ อกาส ให้ อ นาคต” โดยเชิ ญ ผู้ น า ๔ เสาหลั ก , เครื อ ญาติ ผู้ เ ห็ น ต่ า ง มาสร้ า งความเข้ า ใจความ เชื่อมั่นศรัทธาของเจ้าหน้าที่รัฐ โดยเชิญ แผนกพาคนกลั บ บ้ า น มาด าเนิ น การ ประกอบด้ ว ย นายอ าเภอ, ผู้ ก ากั บ การ สถานีตารวจ, ผบ.ฉก.ประจาพื้นที่ เพื่อ สร้ า งความเชื่ อ ถื อ ให้ เ กิ ด ขึ้ น จะท าให้ ผู้ เ ห็ น ต่ า งจากรั ฐ ได้ อ อกมารายงานตั ว จานวนมากขึ้น
ห น้ า | ๗๓
- จั ด ท าโครงการ “ ต าบลเป็ น ศูนย์ (๐) ” โดยให้ ฉก.ประจาพื้นที่ จัดตั้ง War Room ร่วมกับ ศปก.อ. นารายชื่อ ผู้ เ ห็ น ต่ า งจากรั ฐ มาให้ ผู้ ที่ มี ศั ก ยภาพ ตาบลละ ๔ – ๖ คน ช่วยติดตามเปูาหมาย เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้เกิดขึ้น และทาให้ เปูาหมายดังกล่าวได้ออกมาเข้าโครงการ จนปราศจากผู้ เ ห็ น ต่ า งจากรั ฐ ในต าบล นั้นๆ ๗. ผลลัพธ์สุดท้าย ๑) เพื่ อ สร้ า งให้ เ กิ ด กระแสพาคน กลับบ้าน มีจานวนคนออกมารายงานตัว เพิ่ ม มาก ขึ้ น ส่ ง ผลใ ห้ อ งค์ ก ร น าถู ก โดดเดียว
ห น้ า | ๗๔
๒) เพื่ อ หนุ น เสริ ม ต่ อ โครงการ ประชารัฐร่วมใจสร้างอาเภอสันติสุข และ กระบวนการพู ด คุ ย เพื่อ สั นติสุข ในระดับ พื้ น ที่ ที่ มุ่ ง สู่ ก ารยุ ติ ส ถานการณ์ ค วาม รุนแรงในพื้นที่ จชต. ๓) การก่อเหตุรุนแรงในพื้นที่ จชต. ลดน้ อ ยลง ควบคู่ กั บ งานข่ า วในพื้ น ที่ ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ๘. ปัจจัยแห่งความสาเร็จ ๑) ต้ อ งมี บุ ค คลรั บ ผิ ด ชอบหลั ก ต่อเนื่องหรือเข้าใจในหน้าที่และงานที่ปฏิบัติ ๒) ต้องติดตามงานตลอดเวลา ต้อง มี ข้ อ มู ล ของประชาชนที่ มี ทั ศ นคติต่ อ รั ฐ
ห น้ า | ๗๕
และความต้ อ งการเป็ น รายบุ ค คลและ ครอบครัว ๓) ต้ อ งมี ค วามคิ ด ริ เ ริ่ ม น าความ ต้องการผู้เห็นต่างจากรัฐ มาดาเนินการแก้ไข ความเดื อดร้อน ให้ส่วนราชการที่ เกี่ยวข้อ ง นาแผนงาน/โครงการและงบประมาณมา ช่วยเหลือ ๔ ) ต้ อ ง พั ฒ น า สั ม พั น ธ์ ดู แ ล สนั บ สนุ น และช่ ว ยเหลื อ ผู้ ที่ อ อกมา รายงานตัวไม่ให้ว่างงาน
ฃ
ห น้ า | ๗๖
ข้อห้ามเด็ดขาดของ กอ.รมน.ภาค ๔ สน. ๑. ห้ามทาผิดวินัยและขัดคาสั่ง ๒. ห้ามดื่มเหล้า ของมึนเมา เสพยาเสพติด เด็ดขาด ๓. ห้ามเอาทรัพย์สินของผู้อื่นมาเป็นของตน ๔. ห้ามทาสิ่งของผู้อื่นเสียหาย ๕. ห้ามทาร้ายผู้อื่นทั้งทางร่างกายและจิตใจ ๖. ห้ามดูถูก เหยียดหยาม ด่าว่าผู้อื่น ๗. ห้ามลวนลามผู้หญิง แม้กระทั่งสายตา และ วาจา ๘. ห้ามเปิดเผยความลับ และแพร่ข่าวลือ ๙. ไม่สร้างเงื่อนไขทุกชนิด