เตรียมดึงทุกภาคส่วน ร่วมแก้เด็กนอกระบบการศึกษา
เมื่อวันที่ 31 มีนาคมที่ผ่านมา ได้มี การจั ด การประชุ ม วิ ช าการเรื่ อ ง “ทางสู่โอกาสที่ดีกว่า” เนื่องในโอกาส สามทศวรรษการพั ฒ นาเด็ ก และ เยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราช ดำริ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ที่ ห อประชุ ม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย สมเด็จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯสยามบรม ราชกุมารี ทรงบรรยายเรื่อง “30 ปี การพัฒนาเด็กและเยาวชน : ร่วมกัน สร้างโอกาสที่ดีกว่า”
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ได้ทรงแสดงความ สพฐ. และ ตชด. ร่วมกันจัดการเรียนการสอนให้
ห่วงใยเด็กด้อยโอกาสทางสังคมกว่า 40 ปีมาแล้ว ได้มีโอกาสตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถในถิ่น ทุรกันดาร ภาพที่ติดในใจและไม่ได้เห็นอีกแล้วคือ คนขาดสารอาหาร พอจบจากมหาวิทยาลัยจึงมอง ว่าคงต้องหาวิธีแก้ไขตามอัตภาพ โดยให้ปลูกพืชผัก ผลไม้ และได้เริ่มโครงการเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิต ที่ดีในปี 2523 โดยให้เด็กนักเรียนได้ปลูกพืชผักเป็น อาหารกลางวัน ทรงตรัสด้วยว่า ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ นอกจาก จะทำให้เด็กมีความรู้ทางวิชาการแล้ว การพัฒนา ด้านวิชาชีพยังเป็นสิ่งที่สำคัญ เพราะสำหรับเด็กไร้ สั ญ ช า ติ เ มื่ อ จ บ ก า ร ศึ ก ษ า แ ล้ ว ไ ม่ ไ ด้ ใ บ ประกาศนียบัตร จึงต้องมีการพัฒนาอาชีพให้มีงาน ทำ รวมถึงการให้ความช่วยเหลือเด็กในพื้นที่ชนบท ห่างไกล “ทุกคนคงรู้จัก Child Center หรือการศึกษาที่ผู้ เรียนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งในจังหวัดตาก ทาง กศน.
กับเด็กในพื้นที่ห่างไกล โดยเน้นที่ศักยภาพของเด็ก ว่าจะไปที่ไหนต่อได้ตามความสนใจ เช่น ศึกษาต่อ ระดับอุดมศึกษา หรือเรียนทางสายอาชีวะ ซึ่งเรียก ว่าเอาคนเป็นศูนย์กลาง มองคนทุกคนมีความหมาย สำหรับรัฐ นอกจากนี้ยังมีโรงเรียนพระปริยัติธรรม ที่สอนภาษาไทยให้กับนักเรียน เนื่องจากพบว่ามีเด็ก ที่จบ ป.6 แต่ยังอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ สำหรั บโรงเรี ย นเอกชนสอนศาสนา พบว่ า เด็ ก นักเรียนในพื้นที่ยังขาดสารอาหารอย่างรุนแรง จึง จ้างเจ้าหน้าที่คอยติดตาม และพยายามหาสื่อต่างๆ มาช่วยเสริมในภาวะที่นักเรียนขาดเรียนจากปัญหา ค ว า ม ไ ม่ ส ง บ ร ว ม ถึ ง ก า ร ขยายงานต่อให้ ครอบคลุมเด็กที่ ยังขาดโอกาสให้ มากขึ้น”
ในงานนี้ นายอมรวิ ช ช์ นาครทรรพ อาจารย์ประจำ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ก ล่ า ว ว่ า มีโรงเรียนถึง 30% ทีไ่ ม่ได้ มาตรฐานตามการประเมิ น ของกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น โรงเรี ย นขนาดเล็ ก ในชนบท เด็กด้อยโอกาสนอกระบบการศึกษาถึง 2 ล้าน คน และเด็กในกลุม่ เสีย่ ง รวมถึงความต้องการ พิเศษในระบบการศึกษา เช่น เด็กยากจนพิเศษ เด็กทีบ่ กพร่องในการเรียนรู้ สมาธิสนั้ ออทิสติก แบบไม่รุนแรง ประมาณ 5 ล้านคน ทางออกจำเป็นต้องเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของครอบครัวและระบบการศึกษา รวมทั้ง องค์กรสือ่ อย่างสร้างสรรค์ และการจัดระเบียบ พื้นที่ทางสังคม ซึ่งสิ่งที่น่าจับตามองในการ แก้ไขปัญหาคือ การก่อตั้งสำนักงานส่งเสริม สั ง คมแห่ ง การเรี ย นรู้ แ ละคุ ณ ภาพเยาวชน (สสค.) โดยมี ภ ารกิ จ หลั ก ด้ า นหนึ่ ง คื อ การเข้าไปดูแลเด็กนอกระบบการศึกษา พร้อม กั บ ประสานทุ ก ภาคส่ ว นเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มใน การแก้ไข
สำนั ก งานส่ ง เสริ ม สั ง คมแห่ ง การเรี ย นรู้ แ ละ คุ ณ ภาพเยาวชน (สสค.) เปิ ด ตั วโครงการ “เด็กไทยคืนห้อง (เรียน)” เมือ่ วันที่ 2 เมษายน ณ ชุมชนตึกแดง เขตบางซื่อ เพื่อยกระดับ คุ ณ ภาพการศึ ก ษาเด็ ก เยาวชนที่ ด้ อ ยโอกาส ทางการศึกษา และประชากรที่ต้องการพัฒนา ศักยภาพรวม 13.8 ล้านคนทั่วประเทศ
น.พ.สุภกร บัวสาย ผู้จัดการ สสค. กล่าวว่า กลุ่มเด็ก เยาวชน และประชาชนที่ด้อยโอกาสทาง สังคมถือเป็นภารกิจสำคัญที่ สสค. จะเร่งแก้ไขปัญหา ด้วยโครงการสร้างโอกาสทางการศึกษาและ พั ฒ นาทั ก ษะอาชี พ ให้ ส ามารถพึ่ ง ตนเองได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น ผ่ า นแนวทางดำเนิ น งานที่ ส ำคั ญ คื อ 1. การศึกษาข้อจำกัดของกลไกการทำงานที่มีอยู่ เพื่อนำสู่การปลดล็อคระบบและแก้ไขปัญหา ด้วย การประสานในทุกหน่วยงานที่มีภารกิจเกี่ยวข้องดำเนินนโยบายอย่างมีเป้าหมายและมีประสิทธิภาพ ยิ่ ง ขึ้ น 2. สนั บ สนุ น ให้ เ กิ ด พื้ น ที่ ต้ น แบบเพื่ อ นำสู่ ก ารขยายผลในการทำงานอย่ า งยั่ ง ยื น และ 3. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อติดตามดูแล “ยังมีเด็กเร่ร่อนกระจายอยู่ตามเขตเมืองต่างๆ ถึง 30,000 คน มากที่สุดอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร บริเวณสะพานพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ชุมชนคลองเตย ชุมชนรังสิต และชุมชนธัญญบุรี ส่วนใหญ่มี ปัญหาครอบครัวแตกแยก ถูกทารุณกรรม บางส่วนออกมาเร่ร่อนหารายได้ช่วยเหลือครอบครัว” ดร.อมรวิชช์ นาครทรรพ ที่ปรึกษาด้านวิชาการ สสค. กล่าวว่า เป้าหมายในการช่วยเหลือเด็กด้อย โอกาสในปี 2554 ประกอบด้วย 1.กระจายความช่วยเหลือร้อยละ 10 ในกลุ่มเด็กยากจนเป็นพิเศษ เด็กพิการ สมาธิสั้น และเด็กไร้สัญชาติ และร้อยละ 20 ในกลุ่มเด็กชนบทห่างไกล และเด็กใน 3 จังหวัดภาคใต้ 2.เข้าช่วยเหลือกลุ่มแม่วัยรุ่น 1 แสนคน เด็กต้องคดี 5 หมื่นคน และเด็กที่ออกจาก สถานพินิจอีก 1 หมื่นคนได้ทั้งหมด 3.คัดเลือกโครงการนำร่อง 3-5 จังหวัดที่มีความเดือดร้อนเร่งด่วน เพื่อช่วยประชากรวัยแรงงานที่ต้องการพัฒนาศักยภาพ และ 4.สำรวจกลุ่มเป้าหมาย เพื่อหามาตรการ ที่แก้ไขอย่างเหมาะสม
“ขณะนีก้ ำลังทำงานร่วมกับ สสค. เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดการขยายเครือข่ายครู อาสาสมัครหน้าใหม่อย่างเป็นระบบ ซึ่งอุปสรรคสำคัญไม่ได้อยู่ที่ว่ามีอาสา สมัครไม่เพียงพอ แต่อยู่ที่การขาดการจัดสรรอย่างเหมาะสม การเรียน การสอนของกลุ่ม ซ.โซ่อาสา เน้นการใช้จริยธรรมสอดไส้ความรู้ คือ ไม่ ได้มุ่งหวังให้ต้องเรียนเก่ง แค่เป็นเด็กดี รับผิดชอบตัวเองได้ ฉะนั้นอย่า นึกว่าโซ่ที่ครูอาสาช่วยกันจะทำจากเหล็ก แต่โซ่นี้คือ ดวงใจของพวกเราที่ ร้อยรัดเข้าด้วยกัน ผมหวังว่าโซ่เส้นนี้จะยาวขึ้นทุกวันเพื่อขยายกำลังในการช่วยเด็กสลัมทั่วประเทศ ต่อไปไม่ว่าคุณเป็นใครก็มีส่วนช่วยยกระดับการศึกษาได้” มีกลุ่มเด็ก เยาวชนที่ด้อยโอกาสทางสังคม รวม ถึงกลุ่มแรงงานขั้นต่ำ จำนวนถึง 13.8 ล้านคน จำแนกได้ 5 กลุ่มหลักคือ
• 2-3 ล้านคน => เด็กนอกระบบการศึกษา • 1.7 ล้านคน => เด็กพิการทางกายและ
ทางการเจริญทางสมอง คิดเป็น 10% ของเด็กใน ระบบการศึกษาที่มีอยู่ประมาณ 14-15 ล้านคน
• 1.6 แสนคน => เด็กชนบทห่างไกล • 50,000 คน => เด็ก เยาวชนที่ต้องคดี
และอีกกว่า 10,000 คน ที่จะพ้นการควบคุมและ ต้องการพัฒนาทักษะอาชีพในทุกปี • 8.8 ล้านคน => กลุ่มแรงงานขั้นต่ำ ซึ่ง ส่ ว นใหญ่ ห ลุ ด จากระบบการศึ ก ษาตั้ ง แต่ ร ะดั บ ประถมศึกษา จึงจำเป็นต้องการพัฒนาศักยภาพ เพื่อเพิ่มรายได้
เมือ่ วันที่ 24 มีนาคม นายชิงชัย หาญเจนลักษณ์ ประธานกรรมการบริหารสำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) กล่าวว่า ที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร สมศ. มีมติเป็น เอกฉั น ท์ ใ ห้ ป รั บ หลั ก เกณฑ์ แ นวทางการประเมิ น คุณภาพภายนอกและแนวทางการอบรมผู้ประเมิน ภายนอก ตามข้อเสนอของ สสค. ที่ว่าควรให้ค่าน้ำ หนั ก กั บ การดู แ ลและพั ฒ นาผู้ เ รี ย นที่ มี ปั ญ หาข้ อ จำกั ด และความต้ อ งการพิ เ ศษกลุ่ ม ต่ า งๆ อาทิ เด็กที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้ (LD) เด็กสมาธิ สั้น (ADHD) เด็กออทิสติคระดับที่ไม่รุนแรง กลุ่ม เด็กยากจนพิเศษที่ผลการเรียนต่ำ เด็กที่มีปัจจัย เสี่ ย งด้ า นพฤติ ก รรมทางเพศและความรุ น แรง โดยให้ถือเป็นผลงานที่สำคัญของโรงเรียน และมี ค่าน้ำหนักที่สูงขึ้นต่อคะแนนการประเมิน
การปรับหลักเกณฑ์น้ี จะเป็นผลดีตอ่ การช่วยเหลือ ในการปรับตัวปรับพฤติกรรมของเด็กกลุ่มดังกล่าว ลดอัตราการออกกลางคั น เพิ่มอัตราการจบการ ศึกษาให้เด็กกลุ่มนี้มีโอกาสพัฒนาชีวิตทัดเทียมกับ เด็กทั่วไป เพราะที่ผ่านมา เงื่อนไขในการประเมิน คุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่เน้นผลสัมฤทธิ์การ เรียนของผู้เรียนเป็นค่าน้ำหนักสำคัญ จึงพบปัญหา โรงเรียนคัดเด็กที่มีข้อจำกัดเหล่านี้ออกนอกระบบ เพราะหวั่นผลประเมินต่ำ นอกจากนี้ จ ะมี การจั ดทำคู่มื อ ประจำใจเล่ ม เล็ ก สำหรั บ ผู้ ป ระเมิ น เพื่ อให้ มี แ นวคิ ด การประเมิ น อย่างสร้างสรรค์ โดยมอบหมายให้ สมศ. ฝ่าย บริหารเร่งดำเนินการจัดทำคู่มือต่อไป
สสค.เปิดสถานการณ์เด็กประถมไทย “อ่านได้ แต่ไร้การวิเคราะห์” พร้อมเปิดทุนสนับสนุนโครงการ ระดับประถมฯ เน้น “อ่านวิเคราะห์-สนุกกับการเรียนรู้-ปลูกฝังความเป็นคนดีในสังคม” ทั่วประเทศ สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรูแ้ ละคุณภาพ เยาวชน (สสค.) จั ด งานแถลงข่ า วเปิ ดโครงการ ส่งเสริมนวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้ระดับประถม ศึกษาครั้งที่ 1/2554 ณ โรงเรียนวัดปทุมวนาราม ในพระราชู ป ภั ม ภ์ ฯ ด้ ว ยการร่ ว มแลกเปลี่ ย น สถานการณ์เด็กนักเรียนระดับประถมศึกษาที่ประสบ ปัญหาการอ่านแต่จับใจความและวิเคราะห์ไม่เป็น รศ.ดร.สมพงษ์ จิตระดับ อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ ำ ค ณ ะ ครุ ศ าสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ก ล่ า ว ว่ า เด็ ก นั ก เรี ย นวั ย ประถม ศึ ก ษาต้ อ งจั ด การศึ ก ษาที่ เรียนกว่า “เรียนปนเล่น” ฉะนั้น “ครูยุคปฏิรูป” ต้อง เปลี่ยนจาก “ครู” เป็น “วิ ท ยากรกระบวนการ” ที่ ไ ม่ ใ ช่ เ พี ย งการสอนใน หนังสือ แต่เป็นผู้อำนวยความสะดวกและส่งเสริม ให้ เ ด็ ก เกิ ด สถานการณ์ แ ห่ ง การเรี ย นรู้ ที่ ส อดคล้ อ ง ตามความต้องการของเด็ก “ปั จ จุ บั น การเรี ย นการสอนยั ง เป็ น ระบบ 70:30 คือ เรียนในตำรา 70% และทำกิจกรรม 30% ฉะนั้นสำหรับโครงการเด็กประถมนั้นก็น่าจะกระตุ้น ให้สัดส่วนของกิจกรรมมากขึ้น ซึ่งการประยุกต์ใช้
หั ว ข้ อ การให้ ทุ น ครั้ ง นี้ จ ะมุ่ ง เน้ น 1.การพั ฒ นา สมรรถนะการอ่าน 2.การเรียนรู้ที่ทำให้ผู้เรียนรู้สึก สนุกและอยากเรียนรู้ไปพร้อมกัน และ 3.การเรียน รู้ที่พัฒนาคุณลักษณะที่ดีงามของผู้เรีย น โดยแบ่ง โครงการเป็ น 2 ลั ก ษณะคื อ โครงการเดี่ ย ว: ภายใต้เงินสนับสนุน 50,000 บาท และโครงการ กลุม่ : สนับสนุนให้เกิดการช่วยเหลือแลกเปลีย่ นเรียนรู้ เพื่อสร้างเครือข่ายโรงเรียนพี่โรงเรียนน้อง ภายใต้ เงินสนับสนุน 50,000-500,000 บาท ระยะเวลา ดำเนินงานระหว่าง 8-12 เดือน โดยสามารถเริ่ม นิวมีเดียกับเด็กก็นา่ จะถือเป็นอีกช่องทางในการฉกฉวย โครงการภายในเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2554 โอกาสสร้ า งการเรี ย นรู้ ใ ห้ เ ป็ นไปตามสิ่ ง ที่ เ ขาชอบ เช่น เด็กติดเกมส์ ติดอินเตอร์เน็ต ก็ใช้สื่อเหล่านี้ สอนเด็ก เขาก็จะสนุกกับการเรียนมากขึ้น” สสค. จึงมีแนวคิดต้องการให้ภาคประชาสังคมมี ส่วนร่วมในการจัดการศึกษา เพื่อให้เด็กและเยาวชน ค้นพบศักยภาพและความถนัดของตนเอง มีทักษะ และสามารถพัฒนาตนเอง จนเป็นที่มาของโครงการ ส่งเสริมนวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้ระดับประถม ศึกษาครั้งที่ 1/2554 ประเด็นสำคัญคือ ต้องการ ส่ ง เสริ ม ค่ า นิ ย มสำนึ ก รั ก ท้ อ งถิ่ น ด้ ว ยการสร้ า ง หลักสูตร หรือกิจกรรมที่มีอัตลักษณ์เฉพาะตัว โดย เฉพาะครูท้องถิ่นจะมีกระบวนการสร้างการเรียนรู้ อย่างไรให้เด็กรักท้องถิ่นตัวเอง
สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ (สสค.) ร่วมกับ Shutterism.com ประกาศผลโครงการประกวด ภาพถ่ายเพื่อสร้าง “สังคมแห่งการเรียนรู้” ที่มุ่งเปลี่ยนชีวิตและสังคม และสร้างให้เกิดคลังภาพออนไลน์ หรือโฟโต้ แบงค์ (Photo Bank) ครั้งแรกในประเทศไทย ผู้ได้รับรางวัลภาพถ่ายยอดเยี่ยม 3 รางวัลแรก ได้แก่ นายอาหามะ สารีมา จากภาพ “พร้อมใจ”, (รับเงิน รางวัล 20,000 บาท), นางสาวพาซีลา แวดาย๊ะ จากภาพ “ดุอา” (รับเงินรางวัล 10,000 บาท) และนาย วินนิวัตร ไตรตรงสัตย์ จากภาพ “อนาคตสังคมแห่งชุมชน” (รับเงินรางวัล 5,000 บาท)
นอกจากนี้ยังมีผู้ที่ได้รับผลโหวตโดนใจจากแฟนเพจ “เลิ น นิ่ ง แอนด์ แ ชร์ ริ่ ง (Learning & Sharing)” ในเฟสบุ๊ ค ที่ ใ ช้ ส่ื อ นิ ว มี เ ดี ย เป็ น อี ก หนึ่ ง ช่ อ งทาง ในการร่ ว มสร้ า งสั ง คมแห่ ง การเรี ย นรู้ แ บบใหม่ โ ด ย น า ย สุ ช า น น ท์ กิ ติ พู ล ว ง ษ์ ว นิ ช จ า ก ภ า พ “ก่อนออกพรรษา” ได้รับผลโหวตมากที่สุดถึง 551 โหวตจากผู้ร่วมโหวตทั้งหมด 6,266 เสียง จากสมาชิก 3,459 ท่าน ผ่านภาพถ่ายทั้งสิ้น 843 ภาพ คณะกรรมการตั ด สิ น ภาพถ่ า ยครั้ ง นี้ มี ทั้ ง ช่ า งภาพ และนักเขียนสารคดีชื่อดัง อาทิ มนตรี ศรีโอภาศ บรรณาธิการภาพนิตยสาร Nature Explorer และ ธีรภาพ โลหิตกุล นักเขียนและช่างภาพสารคดี โดย
แบ่งการตัดสินเป็น 6 หัวข้อ คือ 1.การเรียนรู้ในโลก ยุ คใหม่ / นอกห้ อ งเรี ย น 2.กิ จ กรรมวั น หยุ ด 3.ศิลปะ วัฒนธรรม 4.กิจกรรมอาสาสมัคร 5.สิ่งแวดล้อม และ 6.กีฬา/นันทนาการ โดยหลักในการตัดสินมี 2 ข้อคือ 1.ผู้ถ่ายสามารถสื่อสารสิ่งที่ตนเองต้องการจะนำเสนอ ได้ตรงตามหัวข้อหรือไม่ และ 2.องค์ประกอบความ สวยงาม ทั้ ง นี้ จ ะมี ก ารจั ด นิ ท รรศการจากการประกวด และ มอบรางวั ลให้ ผู้ ไ ด้ รั บ ประกวดทั้ ง หมด ภายในเดื อ น พฤษภาคม สำหรั บ คลั ง ภาพเพื่ อ การเรี ยนรู้แห่งแรก สามารถเข้าไปใช้ประโยชน์ได้ฟรีแล้วที่ http://apps. qlf.or.th/gallery
ดร.อมรวิชช์ นาครทรรพ ที่ปรึกษาด้านวิชาการ สสค. กล่าวว่า สร้างให้ เกิ ด ความเรี ย นรู้ ที่ ส ร้ า งความเท่ า เที ย มและลดความเหลื่ อ มล้ ำในสั ง คม ผ่านการเรียนรู้แบบใหม่ เช่น การเกิดโฟโต้แบงค์ครั้งแรกนั้น ก็เพื่อแบ่งปัน ความรู้ต่างๆให้คนสังคมไทยได้ทั่วถึงมากขึ้น “ภาพภาพเดียวสามารถบอกเล่าเรื่องราวได้เป็นพันคำ ฉะนั้นการที่มีคนส่ง ภาพมาร่วมหลายพันโหวตมันก็แสดงให้เห็นว่า เขาอยากจะมีส่วนร่วมใน การเรียนรู้ค รั้ งนี้ แ ล้ว เราก็หวั งว่า ต่ อไป สั งคมจะเข้า มามี ส่ ว นร่วมในทุก ระดับ”
เริ่ ม ขยั บ กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ กั น แล้ ว สำหรับ 226 โครงการทั่วประเทศไทย ที่ ได้รับทุนส่งเสริมนวัตกรรมสร้างสรรค์การ เรียนรู้ระดับมัธยมศึกษา ครั้งที่ 1/2553 จากสำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียน รู้ แ ละคุ ณ ภาพเยาวชน (สสค.) ซึ่ ง ใน ระหว่างนี้คณะครูใจดีทั้ง 16 ท่าน ที่อยู่ ในทุกภาคของประเทศไทย นำโดย ครูนคร ตังคะพิภพ หัวหน้าคณะ ก็ได้ลงพื้นที่ไป ให้ ค ำแนะนำและกำลั ง ใจทุ ก โครงการ เพื่อให้ดำเนินงานไปตามแนวทางที่วางไว้ และกระบวนการเรียนรู้ที่ได้ขึ้นมาต่อยอด และขยายผลไปสู่การสร้างสรรค์สังคมแห่ง การเรียนรู้ต่อไป
ล่ า สุ ด ทั้ ง 2 2 6 โ ร ง เ รี ย น ก็ ไ ด้ น ำ ประสบการณ์ ที่ ไ ด้ ร ะหว่ า งการดำเนิ น กิจกรรมมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานประชุม สั ม มนาพั ฒ นาสมรรถนะ (Capacity Building) ครัง้ ที่ 1 ซึง่ ได้จดั ขึน้ ใน 6 ภาค โดย ภาคเหนือตอนบนจัดขึน้ ที่ จ.เชียงใหม่ ภ า ค เ ห นื อ ต อ น ล่ า ง จ.พิ ษ ณุ โ ลก ภาคกลาง จ.สุ พ รรณบุ รี ภาคใต้ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ภ า ค อี ส า น ต อ น ล่ า ง จ.อุบลราชธานี และภาค อี ส า น ต อ น บ น ที่ จ.ขอนแก่น
“ ‘ภาพถ่ า ย’ นั บ เป็ น สื่ อ การเรี ย นรู้ ที่ ท รงพลั ง มี ค วามเป็ น วิ ท ยาศาสตร์ แ ละสื่ อ ถึ ง ธรรมชาติ สามารถพาเราไปได้ทั่วโลกผ่านจินตนาการ มันก็จะนำมาสู่กระบวนการความคิดวิเคราะห์ ฉะนั้นสิ่ง วิเศษอย่างหนึ่งของการเรียนรู้จากภาพคือ การเรียนรู้ที่จะตั้งคำถาม ซึ่งจะนำไปสู่การค้นคว้าหา ข้อมูล และตอบคำถาม ที่นำไปสู่การสร้างกระบวนการเรียนรู้ต่อไปอย่างไม่รู้จบ”