Quality Control and Occupation Safety Standard

Page 1

รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัย/คณะ/สาขาวิชาออกแบบภายใน คณะศิลปะและการออกแบบ สาขาวิชาออกแบบภายใน

หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา INT 481* การควบคุมคุณภาพและมาตรฐานความปลอดภัยอาคาร

( Quality Control and Occupation Safety Standard) 2. จํานวนหนวยกิต 3(3-0-3) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หลักสูตรศิลปะบัณฑิต (ออกแบบภายใน) กลุมวิชาชีพเลือก Bachelor of Fine Arts (Interior Design)

ศล.บ.(ออกแบบภายใน) B.F.A (Interior Design)

4. อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาและอาจารยผูสอน 4.1 อาจารยคงรัฐ สุนทรโรจนพัฒนา 5. ภาคการศึกษา / ชั้นปที่เรียน ภาคการศึกษาที่ 1 ชั้นปที่ 4 6. รายวิชาที่ตองเรียนมากอน (Pre-requisite) ไมมี 7. รายวิชาที่ตองเรียนพรอมกัน (Co-requisites) ไมมี 8. สถานที่เรียน คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต 9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งลาสุด วันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2555


หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค 1. จุดมุงหมายของรายวิชา 1. เพื่อใหนักศึกษามีความรูความเขาใจหลักการ การวิเคราะหในการทํางานดานออกแบบภายใน ที่เกี่ยวกับงานระบบโครงสรางสถาปตยกรรมภายใน การควบคุมคุณภาพงานออกแบบและ การดําเนินงานกอสรางตกแตงภายใน การกําหนดมาตรฐานความปลอดภัยภายในอาคาร เปน ประโยชนตอการใชอาคารของผูใชอาคาร เปนนักออกแบบภายในที่มีคุณภาพ 2. เพื่ อ ให นั ก ศึ ก ษามี ค วามรู ทางวิ ช าการและศั ก ยภาพในวิ ช าชี พดา นการออกแบบที่ ใหค วาม ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน รวมทั้งคุณภาพชีวิตความเปนอยูที่ดีของผูใชงานอาคารและเกิด ประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด รอบรูพระราชบัญญัติ กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่งทางราช การ ขอบัญญัติของกรุงเทพมหานคร ตามมาตรฐานตามกฎระเบียบขอบังคับ ตางที่กฎมายกําหนดอยางเครงครัดถูกตองที่มาตรฐานและทันสมัย ) 3. เพื่อใหนักศึกษามีจิตสํานึกในการออกแบบที่มีคุณธรรมและจริยธรรมตอสังคม มีแนวทางการ ออกแบบเพื่อการประหยัดพลังงาน การออกแบบที่ไมมีมลภาวะ โดยคนควาศึก ษาเทคโนโลยี่ ใหมๆเพื่อรักษาทรัพยากรและอนุรักษสิ่งแวดลอม (Human Environment Control Design) 2. วัตถุประสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา เพื่อใหนักศึกษามีความเขาใจขั้นตอนระบบตางๆภายในอาคารที่มกี ารควบคุมคุณภาพการ ดําเนินงานออกแบบและการกําหนดมาตรฐานความปลอดภัยภายในอาคารกับงานออกแบบภายใน เชนระบบไฟฟา (Electoral Systems) ระบบสุขาภิบาลภายในอาคารพักอาศัยและอาคารสาธารณะ (Plumbing and Sanitary Systems) และเรียนรูรูปแบบการพัฒนาดานเทคโนโลยี่งานระบบตางๆ รวมทั้งการออกแบบงานระบบในการออกแบบอาคาร เพื่อนํามาใชในการออกแบบภายใน (Design Technology and Its Application) มีความรูพื้นฐานเพื่อเตรียมความพรอมดานทักษะใน วิชาชีพที่มแี นวโนมดานเทคโนโลยีระบบอาคารที่ซับซอนมากขึน้ และตองการคุณภาพและ มาตรฐานมากขึ้นเชนกันตามความกาวหนาของเทคโนโลยีไ่ ปตามยุคสมัย เพื่อใหสอดคลองกับ สาระในกรอบมาตรฐานวิชาชีพของสมาคมมัณฑนากรแหงประเทศไทยตามกฎหมาย พระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. 2545


หมวดที่ 3 สวนประกอบของรายวิชา 1. คําอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักเกณฑและขอกําหนดในการดําเนินงาน การกอสรางงานออกแบบตกแตงภายใน การ วิเคราะหและตรวจสอบคุณภาพงานการกอสรางมาตรฐาน ความปลอดภัยตางๆที่เกี่ยวกับวัสดุและ อุปกรณ ประกอบการตกแตงภายใน การจัดทํารายละเอียดรายการประกอบการกอสราง (Specification) ตารางเวลาควบคุมงาน (Time Schedule) รายงานการควบคุมและตรวจสอบคุณภาพ งาน (Site Supervision Report) ตลอดจนกฎหมายและพระราชบัญญัติอาคารและสิ่งกอสรางที่มี ผลกระทบกับทรัพยสิน และความปลอดภัย รวมทั้งสิ่งแวดลอมและคุณภาพชีวิตของมนุษย 2. จํานวนชั่วโมงที่ใชตอภาคการศึกษา การฝกปฏิบัติงาน บรรยาย สอนเสริม การศึกษาดวยตนเอง ภาคสนาม/การฝกงาน (ชั่วโมง) (ชั่วโมง) (ชั่วโมงตอสัปดาห) (ชั่วโมง) 45 ไมมี ไมมี 30 3. จํานวนชั่วโมงตอสัปดาหที่อาจารยใหคําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนักศึกษาเปนรายบุคคล - ประกาศเวลาและใหคําปรึกษาผาน E-mail และ Facebook - จัดเวลาใหคําปรึกษาเปนรายบุคคล หรือ รายกลุมตามความตองการ 1 ชั่วโมงตอสัปดาห (เฉพาะ รายที่ตองการ)


หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรูของนักศึกษา การพัฒนาผลการเรียนรูในมาตรฐานผลการเรียนรูแ ตละดานที่มุงหวัง มีดังตอไปนี้ 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ตองพัฒนา  มีคุณธรรม วินัย จริยธรรม ความซื่อสัตยตอ หนาที่ จรรยาบรรณทางวิช าชีพ ไม ละเมิดทรัพยสินทางปญญา มีความซื่อสัตยในการดําเนินงานออกแบบ  ตระหนักในคุณคาชีวิตทรัพยสินความปลอดภัยของผูใช ภายใตหลักธรรมาภิบาล ขององคกรและสังคม 1.2 วิธีการสอน อาจารยเปนแบบอยาง โดยยกตัวอยางประสบการณทํางนจริงพรอมทั้งสอดแทรกความ ซื่อสัตยตอหนาที่ แนวทางการทํางานและการดําเนินชีวิต  กําหนดใหนักศึกษาทํางานเปนกลุมโดยฝกปฏิบัติกับการออกแบบกอสรางอาคารจริง ในประเด็นทางจรรยาบรรณทางวิชาชีพที่เกี่ยวของกับคุณภาพและมาตรฐาน เพื่อความ ปลอดภัยในชีวิตทรัพยสิน โดยจําลองเหตุการณที่เกิดขึ้นในสถานที่จริง 1.3 วิธีการประเมินผล  ประเมินผลการนําเสนอโครงงาน มีการอางอิงเอกสารทีไ่ ดนํามาทํารายงาน อยาง ถูกตองเหมาะสม โดยผูส อนซักถามประเด็นดานจรรยาบรรณวิชาชีพ เปนคะแนน เก็บรวม 10 %  ประเมินจากพฤติกรรมภายในชั้นเรียน การพัฒนาทางจิตสํานึกในการแสดงออกผาน การเสนอความคิดตาง ๆ 2. ความรู 2.1 ความรูที่ตองไดรับ  บทบาทความสําคัญของงานสถาปตยกรรมภายใน ประยุกตใชความรูภาคทฤษฎีไปสู การปฏิบัติงานจริงมีมาตรฐาน สามารถวิเคราะหผลกระทบระบบภายในอาคารตางๆ ตอชีวิตทรัพยสินความปลอดภัยของผูใชอาคาร คุณภาพชีวิตของผูใชอาคาร การ ปองกันอันตรายหรือโรคภัยจากมลพิษภายในอาคาร  การจัดทํารายละเอียดรายการประกอบการกอสราง (Specification) กระบวนการ ขั้นตอนการทํางาน ตารางเวลาควบคุมงาน (Time Schedule) การเขียนเอกสารรายงาน การควบคุมและตรวจสอบคุณภาพงาน (Site Supervision Report) กฎหมายและ พระราชบัญญัติอาคารและสิ่งแวดลอม


2.2 วิธีการสอน  บรรยาย ในชั้นเรียนโดยใชสมมุติฐานที่ตองประยุกตความรูในวิชากับปญหาจริง ยกตัวอยางกรณีศึกษาจากงานจริง โดยแนะนําขั้นตอนการทํางานเพื่อคุมคุณภาพการ ออกแบบใหไดมาตรฐาน  อธิบายการจัดทํารายละเอียดรายการประกอบการกอสราง (Specification) ตาราง เวลาควบคุมงาน (Time Schedule) รายงานการควบคุมและตรวจสอบคุณภาพงาน (Site Supervision Report) ตลอดจนกฎหมายและพระราชบัญญัติอาคารและสิ่งแวดลอม  ทัศนศึกษาและเชิญผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพมาบรรยายพิเศษ 2.3 วิธีการประเมินผล  นําเสนอผลการทํางานกรณีศึ กษาเป นงานกลุม ไดคะแนนอยางนอย 10% สามารถ วิเคราะหตอบขอซักถามโตตอบไดชัดเจน  สอบกลางภาค สอบปลายภาค ดวยขอ สอบที่เ น นการวั ดหลัก การและทฤษฎี เป น คะแนนสอบ 60% 3. ทักษะทางปญญา 3.1 ทักษะทางปญญาที่ตองพัฒนา  การมี วิจารณญาณในการวิเ คราะหปญหาในการออกแบบ แสดงความคิ ดเห็ นเกี่ ยวกั บ ขอกําหนดในการตรวจสอบคุณภาพงานการกอสรางมาตรฐานอาคารอยางเปนระบบ  การบูรณาการความรูในสาขาวิชาในศาสตรอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงาน ออกแบบใหมีคุณภาพ โดยสามารถอางอิงหลักการและทฤษฎีนําไปประยุกตใชความรูและ ทักษะอยางสรางสรรค 3.2 วิธีการสอน  กําหนดใหนักศึกษาทํางานเปนกลุมโดยฝกปฏิบัติกับ อาคารจริงเปน กรณีศึกษา ผานการ นํา เสนอผลวิ ธี ก ารแก ปญ หาในรู ปของการอภิปรายกลุ ม โดยฝ ก ควบคุ มขั้ น ตอนงาน ออกแบบจริงสามารถใชวิจารณญาณแกไขปญหาและอยางเปนระบบ  เชิญผูเชี่ยวชาญจากสถานประกอบการหรือ หนวยงานของรัฐ ภายนอกมหาวิทยาลัย มาให ขอเสนอแนะและแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน แสดงใหเห็นการประยุกตใชความรูและทักษะ แขนงตางๆมาผสมผสานในงานออกแบบตามมาตรฐานสากล 3.3 วิธีการประเมินผล  การยกตัวอยางกรณีศึกษา สามารถแสดงวิจารณญาณตอบขอซักถามจากอาจารยผูสอนได อยางชัดเจน เปนคะแนนเก็บรวม 10 %


4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบที่ตองพัฒนา  พัฒนาผูเรียนใหสามารถทํางานเปนทีม มีทักษะในการสรางสัมพันธภาพอันดีระหวาง ผูเรียนดวยกัน สามารถสื่อสารกับระหวางคนในสายงานที่เกีย่ วของ  พัฒนาความเปนผูนําและผูตาม มีสวนรวมในการรับผิดชอบงานที่ไดรับมอบหมายและ การแกปญหาของกลุม โดยมีการสลับกันเปนหัวหนากลุมในการทํางาน 4.2 วิธีการสอน  กําหนดหัวขอโครงการที่กอสรางจริง โดยฝก การวางแผนและการควบคุมคุณ ภาพงาน ตามกําหนดระยะเวลา ในลักษณะของการทํางานเปน ทีมแลวนํ าเสนอรายงานอภิปราย กรณีศึกษารวมกันเปนทีมในชั้นเรียน 4.3 วิธีการประเมินผล  ประเมินการทํางานเปนทีมจากการนําเสนองานเปนกลุม ความรับผิดชอบในการใหความ รวมมือการทํางานเปนทีม เปนคะแนนเก็บรวม 10 % 5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่ตองพัฒนา  พัฒนาทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารโดยการสืบคนขอมูลทาง อินเทอรเน็ต โดยใชรูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม เชน การสงงานทาง อีเมล การสรางหองแสดงความคิดเห็นในเรื่องตางๆ เชน Web Blog การสื่อสารการทํางาน ในกลุมผานสื่อ Facebook, Twitter 5.2 วิธีการสอน  มอบหมายงานใหนักศึกษาคนควา จาก Website สื่อการสอนผานสื่อเทคโนโลยี สารสนเทศ เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการออกแบบอาคาร เนนการนํา หลักฐานอางอิงเชิงวิชาการจากแหลงที่มาขอมูลที่นาเชื่อถือ นํามาแลกเปลี่ยนความรูและ แสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 5.3 วิธีการประเมินผล  นําเสนอผลขอมูล ดวยสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และตอบขอ ซักถามของเพื่อนรวมชั้ น เรียน เปนคะแนนเก็บรวม 10 %


หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สัปดาห ที่ 1

2

3

4

5

หัวขอ/รายละเอียด Introduction

แนะนําวิชาที่เรียน อธิบาย วัตถุประสงคในการเรียนของวิชา หลักสูตรการเรียนการสอนและเนื้อหา สาระสําคัญของวิชาเกี่ยวกับหลักเกณฑ และขอกําหนดในการดําเนินงาน การ วิเคราะหและตรวจสอบคุณภาพงานการ กอสรางมาตรฐาน ความปลอดภัยตางๆ ตลอดจนกฎหมายและพระราชบัญญัติ อาคาร แนวทางการเรียนการสอน ให นักศึกษาทําความเขาใจเกี่ยวกับกฏ ระเบียบ การเขาชั้น เรียน การแตงกาย การประเมิน ผล โดยการสอบจาก ภาคทฤษฎีและประเมิน จากผลงานปฏิบัติ บทที่ 1 การวางแผนและบริหารงาน ออกแบบตกแตงภายใน - การจัดทํารายละเอียดรายการ ประกอบการกอสราง (Specification) บทที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและ ตรวจสอบควบคุมคุณภาพ (Building Code) บทที่ 3 -กฎหมายและพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคารการกอสรางตางๆ - กฎกระทรวงและเทศบัญญัติ

บทที่ 4 มาตรฐานการออกแบบและการ ตรวจสอบควบคุมระบบไฟฟาภายใน อาคาร

จํานวน ชั่วโมง 2.50

2.50

กิจกรรมการเรียนการสอน และสื่อที่ใช

ผูสอน

บรรยายประกอบสื่อนําเสนอ ยกตัวอยางภาพประกอบ, (สื่อการสอน : ใบความรู ใบงาน ตัวอยางประกอบ)

อ.คงรัฐ สุนทร โรจนพัฒนา

บรรยาย ประกอบสื่อนําเสนอ

อ. คงรัฐ สุนทร โรจนพัฒนา

หัวขอในสัปดาหที่ 3 จากผลการ ทํากรณีศึกษา ,ยกตัวอยาง

2.50

บรรยาย ประกอบสื่อนําเสนอ จากผลการยกตัวอยาง กรณีศึกษาตัวอยาง

อ. คงรัฐ สุนทร โรจนพัฒนา

2.50

บรรยาย ประกอบสื่อนําเสนอ นําเสนอผลการวิเคราะห

อ. คงรัฐ สุนทร โรจนพัฒนา

2.50

บรรยาย ประกอบสื่อนําเสนอ สอดแทรกกรณีตัวอยาง - จัดทํากรณีศึกษาให นักศึกษาวิเคราะห, ถาม-ตอบใน

อ. คงรัฐ สุนทร โรจนพัฒนา


สัปดาห ที่

หัวขอ/รายละเอียด

จํานวน ชั่วโมง

- หลักการออกแบบระบบไฟฟาตาม มาตรฐาน (National Electrical Code)

กิจกรรมการเรียนการสอน และสื่อที่ใช

ผูสอน

กลุมยอยนําเสนอในชั้นเรียน

6 สอบกลางภาค

7

บทที่ 5 มาตรฐานการออกแบบระบบปรับ

2.50

บรรยาย ศึกษาจากอุปกรณ ระบบปรับอากาศ สาธิตการตืด ตั้งตัวอยางการใชงาน

อ. คงรัฐ สุนทร โรจนพัฒนา

อ. คงรัฐ สุนทร โรจนพัฒนา

อากาศ สําหรับงานออกแบบภายใน • ปจจัยทางจริยธรรม (ความปลอดภัย ของการออกแบบระบบปรับอากาศ) 8

บทที่ 6

มาตรฐานการควบคุมอาคาร การกอสรางที่เกี่ยวกับ ควบคุมและปองกัน มลพิษทางเสียง • ปจจัยทางจริยธรรม (ความปลอดภัย ของการออกแบบระบบเสียง)

2.50

บรรยาย ศึกษาจากอุปกรณ ระบบเสียง สาธิตการตืดตั้ง ตัวอยางการใชงาน - จัดทํากรณีศึกษาให นักศึกษาวิเคราะห, ถาม-ตอบใน กลุมยอยนําเสนอในชั้นเรียน

9

ทัศนศึกษาดูงานภายนอก : เรื่อง “มาตรฐานและปลอดภัยวัสดุอุปกรณ กอสรางงานตกแตงภายใน ที่ไดตางๆใน อาคาร”

2.50

เชิญ ผูทรงคุณวุฒมิ าบรรยาย อ. คงรัฐ สุนทร ศึกษาเอกสารกรณีตัวอยางและนํา โรจนพัฒนา ชม ณ สถานที่จริง

10

บทที่ 7 ระบบปองกันอัคคีภัย (Fire

2.50

บรรยาย ประกอบสื่อ นําเสนอ ศึกษาจากอุปกรณระบบระบบ ปองกันอัคคีภัย สาธิตการตืดตั้ง ตัวอยางการใชงาน บรรยาย สอดแทรกกรณีตัวอยาง - จัดทํากรณีศึกษาให นักศึกษาวิเคราะห, ถาม-ตอบใน กลุมยอยนําเสนอในชั้นเรียน บรรยาย ประกอบสื่อ นําเสนอ ศึกษาจากอุปกรณระบบระบบ ปองกันอัคคีภัย สาธิตการตืดตั้ง ตัวอยางการใชงาน

Protection System) หลักการปองกัน อัคคีภัย • การออกแบบภายในอาคารเพื่อการ ปองกันอัคคีภัยมาตรฐานวัสดุทนไฟและ สวนประกอบ 11

บทที่ 8 มาตรฐานโครงสรางของอาคาร (Construction fire Precaution) Compartment) ระบบเตือนอัคคีภัย ระบบ ดับเพลิง และ มาตรฐานทางสัญจรและ ทางหนีไฟ

2.50

อ. คงรัฐ สุนทร โรจนพัฒนา

อ. คงรัฐ สุนทร โรจนพัฒนา


สัปดาห หัวขอ/รายละเอียด ที่ 12 • นําเสนอโครงผลการทํากรณีศึกษา ของนักศึกษาตามใบงาน แผนกิจกรรม ของแตละกลุม พรอมสรุปเนื้อหา ทั้งหมด 13

จํานวน ชั่วโมง 2.50

กิจกรรมการเรียนการสอน และสื่อที่ใช สงงานคนควาโดยเลือกงานกลุม เพื่อนําเสนองานคนควา อธิบาย หนาชั้น โดยมีการศึกษาจาก ปญหาสถานการณจริงประเมิน ตามแบบที่กําหนด

อ. คงรัฐ สุนทร โรจนพัฒนา

อ. คงรัฐ สุนทร โรจนพัฒนา

2.50 สรุปการบรรยายเนื้อหาตลอดทั้งหมด

14

ผูสอน

สอบปลายภาค หมายเหตุ: ทัศนาศึกษา และการฝกปฏิบัติในสถานทีจ่ ริงจะกําหนดในภายหลังตามความเหมาะสม โดยนับเปนชั่วโมงการ เรียนการสอน ซึ่งจะมีจํานวนชั่วโมงฝกปฏิบัติในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนทั้งหมดไมนอยกวา 30 ชั่วโมง ดังนั้นจะทําใหมี การปรับชั่วโมงการบรรยายในชั้นเรียนใหเหมาะสมและมีเนื้อหาครบถวน

2. แผนการประเมินผลการเรียนรู ผลการเรียนรู

วิธีการประเมินผลการเรียนรู

สอบกลางภาค 1.5, 2.5, 3.5, 4.2, 5.1 สอบปลายภาค

1.4, 2.1, 3.4, 4.2, 5.4

การทํางานกลุมและผลงานวิเคราะหกรณีศึกษา คนควา การนําเสนอรายงาน สรุปบทความวิจัยและขอมูลในเชิงวิชาการ

สัปดาหที่ประเมิน

สัดสวนของการ ประเมินผล

7 15

20% 40%

5

9

13

10% 10% 10%


ผลการเรียนรู

วิธีการประเมินผลการเรียนรู

สัปดาหที่ประเมิน

สัดสวนของการ ประเมินผล

ตลอดภาค การศึกษา

10%

Workshop ในชั้นเรียน 1ครั้ง รายงานกลุมครั้งที่ 1 นําเสนอผลงานหนาชั้น เรียน การเขาชั้นเรียน 1.2, 2.3, 3.1, 4.2, 5.3 การมีสวนรวมเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. ตําราและเอกสารหลัก  ขอบังคับและมาตรฐานวิชาชีพ สมาคมมัณฑนากรแหงประเทศไทย  พระราชบัญญัติควบคุมอาคารและสิ่งกอสราง พ.ศ. 2522

 ทักษะการบริหารโครงการ : Managing Projects , Mary Grace Duffy แปล: ปฏิพ ล ตั้ ง จักรวรานนท สํานักพิมพ: เอ็กซเปอรเน็ท

 แนวทางการบริหารโครงการและควบคุมงานกอสราง (พิมพครั้งที่ 1 :มกราคม 2552 ),วิศวกรรม สถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

 คูมือเทคนิคการตรวจสอบอาคารเพื่อความปลอดภัย,วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ


2. เอกสารและขอมูลสําคัญ  มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับ ประเทศไทย (พิมพครั้งที่ 6 : 2551),วิศวกรรมสถานแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

 มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย (พิมพครั้งที่ 1 : ก.ย. 2551),วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ใน พระบรมราชูปถัมภ

 มาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ปรับปรุงใหมทั้งเลม มี.ค. 2551,วิศวกรรมสถานแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

 มาตรฐานการระบายอากาศเพื่อคุณภาพอากาศภายในอาคารที่ยอมรับ,วิศวกรรมสถานแหงประเทศ ไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

 การออกแบบระบบทอภายในอาคาร (ดร.วริ ทธิ์ อึ้งภากรณ) (พิ มพค รั้งที่ 16 : ม.ค. 2551) , วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

 “วารสารวิศวกรรมศาสตร” แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย  วารสารวิศวกรรมสิ่งแวดลอมไทย : Thai Environmental Engineering Journal,สมาคม วิศวกรรมสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทย

 Time-Saver Standards for Interior Design and Space Planning, 2nd Edition Hardcover (June 13, 2001) by Joseph DeChiara, Julius Panero, and Martin Zelnik  The Art of Construction: Projects and Principles for Beginning Engineers & Architects (Ziggurat Book) by Mario George Salvadori (Paperback - Mar. 1, 2000)  Engineering Today : มาตรฐานวิศวกรรมแหงชาติ ,วารสารรายเดือนเพื่อความกาวหนาทางดาน วิศวกรรมและอุตสาหกรรม

 Standards Library for Measurement and Control: Guidelines for Quality, Safety, and Productivity - Paperback (June 1995)  The Art of Construction: Projects and Principles for Beginning Engineers & Architects (Ziggurat Book) - Paperback (Mar. 1, 2000) by Mario Salvadori  ASTM - American Society for Testing & Materials http://www.astm.org/  American Wood Council - American Wood Council http://www.awc.org/  ASID - American Society of Interior Designers http://www.asid.org/  BOMA - Building Owners & Managers Assoc. International http://www.boma.org


 California Council for Interior Design Certif http://www.ccidc.org 4. เอกสารและขอมูลแนะนํา  การจัดการเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม : ดร.เกียงศักดิ์ อุดมสินโรจน

 Professional Practice for Interior Designers - Hardcover (Nov. 2, 2007) by Christine M. Piotrowski  ASHRAE - American Society of Heating, Refrigerating, and Air-Conditioning Engineers http://www.ashrae.org/  ANSI - American National Standards Institute http://www.ansi.org/  NCSBCS - Natl Conf of States on Building Codes & Stds http://www.ncsbcs.org/  ไฟฟาและอุตสาหกรรม :: นิตยสารราย 2 เดือน สําหรับนักอุตสาหกรรม วิศวกร ชางเทคนิค และ บุคคลทั่วๆ ไป  อินทาเนีย :: วารสารราย 2 เดือนของสมาคมนักศึกษาเกาวิศวกรรมศาสตรแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย มีเนื้อหาเกี่ยวกับแนวโนมทางวิศวกรรม  โยธาสาร :: วารสารราย 2 เดือน สําหรับวงการวิศวกรรมโยธา

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา แบบประเมินผูสอน และแบบประเมินรายวิชา ซึ่งแบบประเมินนี้จัดทําโดยสํานัก การประเมิน ประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทําโดยนักศึกษา ใหนักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ไดแก วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกหองเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบตอ การเรียนรู และผลการเรียนรู ที่ไดรับพรอมขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง เพื่อใหผูเรียนไดประเมินการ สอนของอาจารยและเนื้อหาในรายวิชา 1. อาจารยผูสอนอธิบายใหนักศึกษาเขาใจถึงการปรับปรุงรายวิชานี้จากการเรียนการสอนในภาค การศึกษาที่ผา นมา และประโยชนจากขอคิดเห็นของนักศึกษาตอการพัฒนารายวิชา ประเมิน พัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบ ความรู ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะหกอนและหลัง


การเรียนรายวิชานี้ เพื่อสงเสริมใหนักศึกษาแสดงความคิดเห็นตอการพัฒนารายวิชาในชวง ปลายของภาคการศึกษา 2. สรุปในแตละครั้งของการสอน โดยนักศึกษาทบทวนการอธิบายสิ่งที่เรียน ใหนักศึกษา ยกตัวอยางจากสิ่งที่เรียน สอบถามถึงการนําสิ่งที่เรียนไปประยุกตใช 3. สะทอนคิดจากพฤติกรรมของผูเรียน โดยสนทนาการสังเกตการณกลุมระหวางอาจารยผูสอน และเพื่อนรวมชั้นเรียนซักถามในชั้นเรียน 4. สงเสริมใหนักศึกษาแสดงความคิดเห็น เปนชองทางการสื่อสารกับนักศึกษาผานระบบ อินเตอรเนต Facebook และขอเสนอแนะตอการพัฒนาการเรียนการสอน รายวิชาผานระบบการ ประเมิน on line ของคณะ 2. กลยุทธการประเมินการสอน อาจารยผูสอนประเมินการสอนของตนเอง ดูผลการเรียนของนักศึกษา และทํารายงานสรุปการ พัฒนาการของนักศึกษา ปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา ประเมินโดยสาขาวิชาออกแบบภายในแตงตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดย อาจารยในสาขาวิชาออกแบบภายใน ในการเก็บขอมูลเพื่อประเมินการสอน มีดังนี้ 1. ผลการสอบจากการเรียนของนักศึกษา 2. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรูภายหลังการศึกษาเนื้อหาครบถวนแตละบทเปนระยะ 3. การสัมมนาแลกเปลี่ยนประสบการณการสอนจากการสังเกตการณกิจกรรมการเรียนการสอน ตลอดระยะเวลาภายในชั้นเรียน ของผูรวมทีมการสอน 4. การประเมินโดยคณะกรรมการควบคุมกํากับมาตรฐานภายนอกของคณะฯ 3. การปรับปรุงการสอน กําหนดใหอาจารยผูสอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธและวิธีการสอนจากผลการประเมิน ประสิทธิภาพของรายวิชา แลวจัดทํารายงานสรุปเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนีจ้ ะมีการจัดสัมมนา เชิงปฏิบัติการในการวางแผนกลยุทธการสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน โดยมีการ ประชุมอาจารยทั้งสาขาวิชาออกแบบภายใน เพื่อปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาใหทันสมัยและ เหมาะสมกับสถานการณในอนาคต ปญหาการเรียนรูแ ละรวมกันหาแนวทางแกไข หลังจากการ ประเมินการสอนในหัวขอที่ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหา ขอมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 1. จัดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการการจัดการองคความรูเพื่อเพิ่มพูนความรูและประสบการณ ใหกับอาจารยและบุคลากรที่เกี่ยวของกับรายวิชาการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานความ


ปลอดภัยอาคาร โดยเชิญวิทยากรผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพตางๆที่เกี่ยวของ มาใหความรูและ แลกเปลี่ยนประสบการณกับอาจารยผูสอน 2. สัมมนาการจัดการเรียนการสอนประมวลความคิดเห็นของนักศึกษา การวิจัยในชั้นเรียน เพือ่ พัฒนารูปแบบวิธีการเรียนการสอนหาแนวทางหรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชาและ การฝกปฏิบัตินอกสถานที่ โดยประเมินการสอนของตนเองและสรุปปญหา อุปสรรค แนว ทางแกไขเมื่อสิ้นสุดการสอน เพื่อเปนขอมูลกรณีศึกษาในการปรับปรุงรายวิชาในภาค การศึกษาตอไป 3. จัดทําคลังขอมูลระบบองคความรูในรายวิชาเพื่อเผยแพรความรูสูสาธารณะชน รวมทั้งเอกสาร ประกอบการสอนแบบ e-learning โดยผานระบบสาระสนเทศภายในมหาวิทยาลัย เพื่อได อานทบทวนหรือฟงบรรยายซ้ํา และจัดทําสื่อผานระบบอินเตอรเนต Facebook ใหนักศึกษา เขามาซักถามขอสงสัยและรวมกันตอบคําถามจากอาจารยและเพื่อนรวมชั้นทําการวิจัยในชั้น เรียนดูประสิทธิผลของรายวิชา 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา สาขาวิชาออกแบบภายในมีค ณะกรรมการควบคุมกํากับมาตรฐานภายนอกของคณะฯ เพื่ อ ตรวจสอบและใหคําเสนอแนะปรับปรุง แนวทางการเรียนการสอน โดยตรวจสอบทุกรายวิชาในแตล ะ ภาคการศึกษา และภายในรอบเวลาการสอนตลอดหลักสูตร มีก ารตรวจสอบผลการประเมิน การ เรีย นรูข องนักศึ ก ษา(คะแนน/เกรด) กั บขอ สอบ รายงาน โครงการ และการใหคะแนนจิต พิศัย จาก พฤติกรรมของนักศึกษา ในระหวางกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวขอ ตามที่ ค าดหวั งจากการเรี ยนรู ในวิ ช า ได จากแบบสอบถามนั ก ศึ ก ษาหรือ การสุ มตรวจผลงานของ นักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบยอย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา โดยมีการทวน สอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาไดดังนี้ 1. จัดใหอาจารยแสดงตัวอยางผลงานและการประเมินผลการเรียนในรายวิชาเพื่อการทวนสอบ 2. มีคณะกรรมการควบคุมกํากับมาตรฐานภายนอกของคณะฯ ทวนสอบสุมตรวจสอบการให คะแนนในรายวิชาหรือโครงงานศึกษากรณีศึกษาการออกแบบอาคารของผูเรียน 3. ทําการเปรียบเทียบการใหคะแนนโครงงานศึกษากรณีศึกษาการออกแบบอาคารและขอสอบแต ละหัวขอในรายวิชาแตละบท ตามหลักเกณฑที่กําหนด 4. จัดทําขอสอบหรือโครงงานมาตรฐานสําหรับรายวิชา (หรือมหาวิทยาลัยในสภาวิชาการฯ) 5. สํารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับคําถามในขอสอบจากผูใชบัณฑิต เพื่อปรับมาตรฐานขอสอบ 6. การทวนสอบการใหคะแนนจากการสุมตรวจรายงานโครงงานของนักศึกษา โดยนักวิชาชีพ งานออกแบบกอสรางสาขาอื่นๆที่เกี่ยวของหรือผูทรงคุณวุฒิ ที่ไมใชอาจารยประจําหลักสูตร 5. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา


มีการจัดระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอน โดยนักศึกษา ผลรายงานการสอนในรายวิชาโดยอาจารยผูสอน จากขอนําของคณะกรรมการควบคุม กํากับมาตรฐานภายนอกของคณะฯ โดยอาจารยผูสอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกล ยุทธการสอนที่ใช และนําเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนา เสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการ ควบคุมกํากับมาตรฐานภายนอกของคณะฯ เพื่อพิจารณาใหความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนา ปรับปรุงพรอมนําเสนอตอสํานักงานมาตรฐานวิชาการของมหาวิทยาลัยรังสิต เพื่อใชเปนขอมูลในการ ปรับปรุงหลักสูตรครั้งตอไป จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ไดมี การวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อใหเกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 1. นําแบบประเมินและแนวความคิดของนักศึกษาจากขอ 1 เปนขอมูล นํามาประมวลผล เพื่อจัด กลุมเนื้อหาความรูที่ตองปรับปรุง วิธีการศึกษาคนควาดวยตนเองและรูปแบบของการศึกษา การคนควานอกสถานที่โดยการทํางานรวมกันเปนกลุม ผลจากการประมวลจะนําไปปรับปรุง การจัดการเรียนการสอนในปการศึกษาตอไป 2. นําผลการประเมิ นการสอนของตนเองจากข อ 2 มาจั ดกลุ มเทีย บเคี ยงกั บขอ คิด เห็ น ของ นักศึกษา เพื่อพัฒนาเนื้อหาสาระและรูปแบบการสอนใหทันสมัย ปรับวิธีการเรียนการสอน และวิธีการประเมินผลใหตรงกับผลการเรียนรูใหมีประสิทธิภาพ 3. ปรับปรุงรายวิชาเปลี่ยนหรือสลับอาจารยผูสอนทุก 2 ป เพื่อใหนักศึกษามีมุมมองในเรื่องการ ประยุ ก ต ค วามรู ในเชิ ง ปฏิ บั ติ กั บ ตั ว อย า งการแก ป ญ หาที่ ม าจากผลงานออกแบบและ ประสบการณ จริงของอาจารยหรือโครงการกอสรางใหมๆ ตามขอเสนอแนะและผลการทวน สอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามขอ 7.4 3.2 ผลการเรียนรูสําหรับกลุมวิชาชีพ 3.2.1 คุณธรรม จริยธรรม 1) ตระหนักในคุณคา คุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตยสุจริต 2) มีระเบียบ วินัย ตรงตอเวลา และความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม 3) เคารพสิทธิและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น รวมทั้งเคารพคุณคาและศักดิ์ศรีของความ เปนมนุษย 4) เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข อบังคั บตาง ๆ ภายใตหลัก ธรรมาภิบาลของ องคกรและสังคม 5) เคารพและปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 3.2.2 ความรู


1) มีความรูและความเขาใจในทฤษฎี หลักการ วิธีการในสาขาวิชาชีพ 2) มีความรูและเขาใจในกฎหมายและวัฒนธรรมที่เกี่ยวของกับสาขาวิชาชีพที่ศึกษา 3) สามารถวิเคราะหปญหา เขาใจ รวมทั้งประยุกตค วามรู ทัก ษะ และการใชเ ครื่องมือที่ เหมาะสมกับการแกไขปญหา 4) สามารถติดตามความกาวหนาทางวิชาการในวิชาชีพอยางตอเนื่อ ง รวมทั้งการนําไป ประยุกตใชและพัฒนา 5) มีความรูความเขาใจการเปลี่ยนแปลง ผลกระทบของเทคโนโลยีใหมๆ และสามารถ ประยุกตใชอยางเหมาะสม 3.2.3 ทักษะทางปญญา 1) สามารถคิดอยางมีวิจารณญาณ และอยางเปนระบบ 2) สามารถสื บค น ตี ค วาม และประเมิน ข อ มูล ต างๆ เพื่ อ ใช ในการแก ไขปญ หาอย าง สรางสรรค 3) สามารถรวบรวม ศึ กษา วิ เ คราะห สั งเคราะห และสรุปประเด็น ป ญหาและความ ตองการ 4) สามารถประยุกตความรู และทักษะกับการแกไขปญหาในวิชาชีพไดอยางเหมาะสม 5) สามารถบูรณาการความรูในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรูในศาสตรอื่นๆ ที่เกี่ยวของ 3.2.4 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 1) มีความสามารถในการติดตอ สื่อสารขาวสารใหเปนที่เขาใจไดถูกตอง 2) มี ภ าวะความเป น ผู นํ า และผู ตาม สามารถทํ า งานเป น ทีม ลํ า ดั บความสํ า คั ญ และ สามารถแกไขขอขัดแยงโดยใชหลักธรรมาภิบาล 3) สามารถใชความรูในศาสตรมารับใชสังคมในประเด็นและโอกาสที่เหมาะสม 4) มีความรับผิดชอบตอความคิด คําพูด และการกระทําของตนเองและของกลุม 3.2.5 ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 1) สามารถแนะนําประเด็นการแกไขปญหาโดยใชสารสนเทศทางคณิตศาสตรหรือ การ แสดงสถิติประยุกตตอปญหาที่เกี่ยวของอยางสรางสรรค 2) มีทักษะในการใชเครื่องมือสื่อสารที่จําเปนที่มีอยูในปจจุบันในการทํางาน 3) มีทักษะในการนําเสนอ โดยเลือกใชรูปแบบและวิธีการที่เหมาะสม 4) มีความสามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางเหมาะสม


แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum Mapping)  ความรับผิดชอบหลัก 1. คุณธรรม จริยธรรม

ความรับผิดชอบรอง 2. ความรู

3. ทักษะทางปญญา

1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5

4. ทักษะความสัมพันธ 5. ทักษะการวิเคราะห ระหวางบุคคลและ เชิงตัวเลขการสื่อสาร ความรับผิดชอบ และเทคโนโลยี สารสนเทศ

1 2 3 4 1 2 3 4

              

(แสดงใหเห็นวาแตละรายวิชาในหลักสูตรรับผิดชอบตอมาตรฐานผลการเรียนรูใดบาง (ตามที่ระบุในหมวดที่ 4 ขอ 2 หรือ มคอ.1) โดยระบุวาเปนความ รับผิดชอบหลักหรือรับผิดชอบรอง ซึ่งบางรายวิชาอาจไมนําสูมาตรฐานผลการเรียนรูบางเรื่องก็ได (สาขาวิชาใดที่ยังไมมีการกําหนดกรอบมาตรฐานสาขาวิชา (มคอ.1) ใหใชกรอบมาตรฐานสาขาวิชาของมหาวิทยาลัยรังสิต)


มคอ. ๓

ใหทุกสาขาแยกรายวิชาในหลักสูตรออกมาเปนหมวดหมูดังนี้ กลุมวิชาเกี่ยวกับทฤษฏี

กลุมวิชาทักษะและการสื่อสาร

กลุมวิชาออกแบบ

กลุมวิชาความรูเทคนิค

กลุมวิชาประวัติศาสตร สัมมนา

กลุมวิชาเกี่ยวกับวิชาชีพ

การฝกงาน และสหกิจ

(Theory)

(Communication Skills)

(Design)

(Technical Knowledge)

และวิจัย (History,

(Profession)

(Training)

ธุรกิจ บริหารจัดการ การตลาด

ฝกงาน สหกิจศึกษา

Seminar, & Research) การยศาสตร จิตวิทยาสิ่งแวดลอม กระบวนการออกแบบ Intro การออกแบบ ภาษาเฉพาะสําหรับ ออกแบบ

เขียนแบบ เขียนแบบดวยคอมพิวเตอร

Oral Presentation การเขียนแบบแฟชั่น

ออกแบบ 1-5 สตูดิโอ 1-5 เตรียมวิทยานิพนธ วิทยานิพนธ

วัสดุและเทคนิคการผลิต กอสราง เทคนิคการถายภาพ ตัดเย็บ เทคนิคการซอนภาพ งานระบบ ความปลอดภัย กฎหมาย

ประวัติศาสตร สัมมนา ระเบียบวิธีวิจัย

Branding


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.