QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

Page 1

ระบบป้องกันอัคคีภัย 
 Fire Protection standard

QC. INT 481 ACADEMIC YEAR 2013 / FIRST SEMESTER DEPARTMENT OF INTERIOR DESIGN


องค์ประกอบที่ทําให้เกิดอัคคีภัย

เชื้อเพลิง / วัสดุติดไฟ ออกซิเจน ความร้อน


ประเภทของการเกิดอัคคีภัยแบ่งตามชนิดของเชื้อเพลิง

Class A

เพลิงที่เกิดจาก ไม้ เสื้อผ้า กระดาษ เศษขยะ ใช้น้ํา หรืเครื่องดับเพลิงชนิดบรรจุก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

Class B

เพลิงที่เกิดจาก ของเหลว เช่น น้ํามันเบนซิน น้ํามัน เครื่อง น้ํามันจารบี ทินเนอร์ สี ดับเพลิงโดยทําให้อับ อากาศโดยใช้สารเคมีปิดผิวหน้าเพลิง ใช้โฟมร่วมกับ เครื่องก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์


ประเภทของการเกิดอัคคีภัยแบ่งตามชนิดของเชื้อเพลิง

Class C

เพลิงที่เกิดจาก เครื่องมือไฟฟ้า หรืออุปกรณ์ ไฟฟ้าที่อํานวย ความสะดวกของมนุษย์ ใช้เครื่องดับเพลิงชนิดที่ไม่เป็นตัวนํา ไฟฟ้า ดับโดยการกลบเพลิงโดยใช้เครื่องดับเพลิงชนิดบรรจุ กาซคาร์บอนได

Class D เพลิงที่เกิดจาก โลหะไหม้ไฟได้ เช่น แมกนีเซียม โพแทสเซียม ผงอะลูมิเนียม สังกะสี โซเดียม ไท ทาเนียม เซอร์โคเนียม ลิเทียม ใช้เครื่องดับเพลิง ชนิดผงแห้งกลบเพลิง หรือชนิดบรรจุก๊าซ คาร์บอนไดออก


หลักการออกแบบอาคารให้ปลอดภัยจากอัคคีภัย

ส่วน

Active

การออกแบบระบบเตือนอัคคีภัย ระบบดับเพลิง และระบบ ควบคุมไฟ เช่น ระบบ ระบบเครื่องสูบน้ําดับเพลิง ท่อดับเพลิง ระบบกระจายน้ําดับเพลิง สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ เครื่องดับ เพลิงมือถือ ระบบควบคุมควันไฟ

Passive

ส่วน การออกแบบโดยคํานึงถึง การวางตัวอาคาร การ กําหนดระยะห่างของอาคาร การจัดระบบทางสัญจร การ จัดแนวผนังกันไฟ การจัดทางหนีไฟ การจัดบันไดหนีไฟ รวมทั้งโครงสร้างอาคาร


ระบบดับเพลิงดับด้วยน้ําภายในอาคาร ระบบถังน้ําสํารองสําหรับดับเพลิง ระบบส่งน้ําดับเพลิง


ระบบส่งน้ําดับเพลิง

ท่อหลักส่งน้ําดับเพลิงท่อยืน Standpipe หัวรับน้ําดับเพลิง Fire Department Connection เครื่องสูบน้ําดับเพลิง Fire Pump สายส่งน้ําดับเพลิง Fire Hose ระบบกระจายน้ําดับเพลิง Automatic Water Sprinkler


ท่อหลักส่งน้ําดับเพลิงท่อยืน Standpipe

ระบบท่อเปียกอัตโนมัติ Automatic – Wet ระบบท่อเปียกควบคุมด้วยมือ Manual – Wet ระบบท่อยืนร่วม Combined System


ส่วนประกอบของอุปกรณ์ส่งนําดับเพลิง

เครื่องสูบน้ําดับเพลิง Fire Pump


ส่วนประกอบของอุปกรณ์ส่งนําดับเพลิง

หัวรับน้ําดับเพลิง Fire Department Connection หัวดับเพลิง Hydrant


ส่วนประกอบของอุปกรณส่งนําดับเพลิง

หัวฉีดน้ําดับเพลิง Fire Hose nozzles สายฉีดน้ําดับเพลิง Fire Hose


ส่วนประกอบของอุปกรณส่งนําดับเพลิง

เครื่องดับเพลิงมือถือ Fire Hose


ระบบกระจายน้ําดับเพลิง 
 Automatic Water Sprinkler

ระบบท่อเปียก Wet Pipe System ระบบท่อแห้ง Dry Pipe System


ชนิดหัวกระจายน้ําดับเพลิง Automatic Water Sprinkler

แบบติดแขวนลง Pendent Sprinkler แบบติดตั้งหงายขึ้น Up - Right Sprinkler แบบติดข้างผนัง Side Wall Sprinkler


อุปกรณ์สัญญาณแจ้งเหตุเตือนภัยเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm System)

อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน Heat Detector อุปกรณ์ตรวจจับควัน Smoke Detector


อุปกรณ์สัญญาณแจ้งเหตุเตือนภัยเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm System)


ระบบการออกแบบภายในอาคาร. Passive

การจัดระบบพื้นที่หนีไฟและระยะสัญจร แสงสว่างและป้ายสัญลักษณ์


มาตรฐานการทนไฟของโครงสร้างอาคาร

อาคารขนาดเล็กชั้นเดียว อัตราทนไฟไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง อาคารขนาดกลาง อัตราทนไฟไม่น้อยกว่า 1½ ชั่วโมง อาคารขนาดใหญ่ อัตราทนไฟไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง อาคารสูงทุกอาคาร อัตราทนไฟไม่น้อยกว่า 4 ชั่วโมง ประตูทนไฟต้องเป็นวัสดุไม่ติดไฟ มีจุดหลอมละลายอย่างน้อย 800˚c


การจัดระบบพื้นที่หนีไฟและระยะสัญจร

ทางหนีไฟ ประตูหนีไฟ บันไดหนีไฟ ช่องผ่านและระเบียงหนีไฟ ทางหนีไฟแนวราบละทางผ่านออก ส่วนปิดล้อมควัน Smoke proof enclosures


การจัดระบบพื้นที่หนีไฟและระยะสัญจร

ประตูหนีไฟ กุญแจหรือกลอนสามารถเปิดออกจากภายนอกได้ มีความสูงไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร กว้าง 90 เมตร แต่ไม่เกินกว่า 120 เมตร เปิดบาน สุดไม่น้อยกว่า 90 ° กับวงกบประตู ไม่เป็นประตูหมุน ประตูเลื่อน ประตูเปิดขึ้นบน ประตูเหล็ก ประตูเฟี้ยม พื้นทั้งสองด้านชองบานประตูต้องเรียบเสมอกับส่วนบนของธรณีประตู หรือไม่ต่ํากว่าระดับบน ธรณีประตูเกินกว่า 5 เซนติเมตร ทางหนีที่เปิดตรงสู่ภายนอกอาคาร ระดับภายในภายนอกประตูไม่เกิน 15 เซ็นติเมตร


การจัดระบบพื้นที่หนีไฟและระยะสัญจร


การจัดระบบพื้นที่หนีไฟและระยะสัญจร

บันหนีไฟ บันไดในอาคารเคลียร์ในต้องไม่แคบกว่า 0.90 เมตร ลูกตั้งไม่สูงกว่า 20 เซนติเมตรและความสูงทุกขั้นต้องมีขนาดเท่ากัน ลูกนอนกว้างไม่น้อยกว่า 25 เซนติเมตร บันไดเวียนความกว้างลูกนอนขอบนอกไม่เกิน 30 เซนติเมตร ส่วนแคบสุดไม่น้อย กว่า 15 เซนติเมตร ชานพักกว้างไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร บันไดลงสิ้นสุดชั้นใต้ดิน ต้องมีผนังและประตูกั้น พร้อมทั้งป้ายสัญลักษณ์


การจัดระบบพื้นที่หนีไฟและระยะสัญจร บันไดหนีไฟ


การจัดระบบพื้นที่หนีไฟและระยะสัญจร

บันหนีไฟ บันไดกว้างเกินกว่า 2.20 เมตร จะต้องเพิ่มราวจับช่องกลางด้วย ราวจับต้องติดตั้งไม่ต่ํากว่าระดับ 75 เซนติเมตร สูงไม่เกิน 90 เซนติเมตร บันไดที่กว้างไม่เกิน 120 เซนติเมตร อาจมีราวจ้บเพียงด้านใดด้านหนึ่ง


การจัดระบบพื้นที่หนีไฟและระยะสัญจร บันไดหนีไฟ


การจัดระบบพื้นที่หนีไฟและระยะสัญจร บันไดหนีไฟ


การจัดระบบพื้นที่หนีไฟและระยะสัญจร บันไดหนีไฟ


การจัดระบบพื้นที่หนีไฟและระยะสัญจร บันไดหนีไฟ


การจัดระบบพื้นที่หนีไฟและระยะสัญจร

จํานวนทางหนีไฟ ชั้นแทรกซึ่งใช้ประโยชน์อื่นนอกจากเก็บของ ที่มีพื้นที่มากกว่า 200 ตารางเมตร หรือ ความยาวเกินกว่า 18 เมตร ต้งมีบันไดหนี ไฟรับคนสู่ช้างล่างไม่น้อยกว่า 2 บันได อาคารชั้นใดหรือห้องใด ซึ่งมีความจุคน ตั้งแต่ 500- 999 คน จะต้องมีทางหนีไฟ ไม่น้อยกว่า 3 ทาง อาคารชั้นใดหรือห้องใด ซึ่งมีความจุคน ตั้งแต่ 1000 คน จะต้องมีทางหนีไฟไม่น้อย กว่า 4 ทาง


การจัดระบบพื้นที่หนีไฟและระยะสัญจร

การจัดวางทางหนีไฟ กรณีผู้ใช้อาคารไม่สามารถออกไปยังพื้นที่โล่ง จะ ต้องจัดให้มีทางหนีไฟอย่างน้อย 2 ทาง กรณีทางหนีไฟ 2 ทาง ระยะห่างทางหนีไฟทั้งสอง ต้องไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของเส้นทแยงมุมของอาคาร


การจัดระบบพื้นที่หนีไฟและระยะสัญจร

สิ่งกีดขวางทางหนีไฟ ทางที่นําไปสู่ทางหนีไฟ ต้องไม่ผ่านห้องครัว ห้องเก็บของ ห้องเปลี่ยนเสื้อผ้า หรือ ห้องอื่น ๆ ซึ่งปิดด้วยกุญแจ ยกเว้นอาคารขนาดใหญ่อนุโลมให้ผ่านห้องเก็บของได้ ทางที่นําไปสู่ทางหนีไฟและประตู ต้องไม่ประดับหรือตกแต่งจนทําให้ปิดบังหรือเป็น อุปสรรคกับการหนีไฟ ห้ามติดตั้งกระจกเงาที่ประตูหนีไฟ หรือบริเวณใก้ลเคียงจนทําให้เกิดความสับสนใน ทิศทางของการหนีไฟ


การจัดระบบพื้นที่หนีไฟและระยะสัญจร

สิ่งกีดขวางทางหนีไฟ


ระบบป้องกันอัคคีภัย 
 Fire Protection standard

ACADEMIC YEAR 2013 / FIRST SEMESTER DEPARTMENT OF INTERIOR DESIGN


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.