รายงานประจำปี2559

Page 1

สรุปผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 2559

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบ้านไผ่ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดขอนแก่น

สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ


คานา สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดขอนแก่น ได้จัดสรร งบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 255 9 ให้ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอ บ้านไผ่ ดําเนินภารกิจตามกรอบ จุดเน้น กลยุทธ์ของสํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยจังหวัดขอนแก่น ในแผนงบประมาณเร่งรัดปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบ้านไผ่ ได้จัดสรรให้ กศน.ตําบล ไปดําเนินการ โดยกําหนดเปูาหมายให้จัดทําแผนปฏิบัติการ และดําเนินการตามแผน ซึ่งขณะนี้ได้ดําเนินการมาถึงสิ้น ปีงบประมาณแล้ว (1 ตุลาคม 2558 ถึง 30 กันยายน 2559) จึงจัดทําสรุปผลการดําเนินงานปีงบประมาณ 2559 ขึ้น สรุปผลการดําเนินงานปีงบประมาณ 255 9 เล่มนี้ ประกอบด้วย จํานวน 5 ตอน คือ ตอนที่ 1 บทนํา ตอนที่ 2 งานตามนโยบาย ตอนที่ 3 โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตอนที่ 4 กิจกรรมที่สําคัญ ในปี 2559 และตอนที่ 5 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า สรุปผลการดําเนินงานเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการนําข้อมูลไปใช้ในการพัฒนา งาน และติดตามการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ต่อไป

ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบ้านไผ่


สารบัญ หน้า คานา สารบัญ สารบัญตาราง ตอนที่ 1 บทนา จุดเน้นการดําเนินงานของงาน/โครงการสําคัญ มุมมองของผู้บริหารระดับอําเภอ งานตามนโยบาย 1 . งานส่งเสริมการรู้หนังสือ 2. การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2 . งานส่งเสริมการศึกษาต่อเนื่องเพื่อการพัฒนาอาชีพ 3 . งานส่งเสริมการศึกษาต่อเนื่องเพื่อการพัฒนาทักษะชีวิต 4 . งานส่งเสริมการศึกษาต่อเนื่องเพื่อการพัฒนาสังคมและชุมชน 5 . จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6. กิจกรรมการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม 7. โครงการส่งเสริมการเรียนรู้เปูาหมายพิเศษ 8. กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 9. กิจกรรมตามยุทธศาสตร์และจุดเน้น ภาคผนวก บุคลากร คณะทางาน


ข้อมูลพื้นฐาน กศน.อาเภอบ้านไผ่ 1. สภาพทางกายภาพของชุมชน อาเภอบ้านไผ่ 1.1 : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบ้านไผ่ ... ( กศน.อําเภอบ้านไผ่ ) 1.2 สังกัด สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด

ขอนแก่น

สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

1.3 ประวัติความเป็นมา เดิมชื่อ ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอบ้านไผ่ ก่อตั้งขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2536 ตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ ในระยะแรกสํานักงานได้อาศัยอยู่รวมกับห้องสมุดประชาชนอําเภอบ้านไผ่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2540 ได้ก่อสร้างอาคารเป็นเอกเทศ เป็นสถานศึกษาสังกัดศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดขอนแก่น สํานักบริหารงาน การศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 20 มกราคม 2537 พร้อมกับศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอําเภออื่นๆ ทั่วประเทศ 798 แห่ง มีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. จัดและให้บริการการศึกษานอกโรงเรียน การศึกษาเพื่อส่งเสริมในระบบโรงเรียนและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามความต้องการและสภาพปัญหาของท้องถิ่น 2. จัดและประสานให้มีศูนย์การเรียน หน่วยจัดการศึกษานอกโรงเรียน เพื่อเป็นเครือข่าย การบริหารการศึกษา นอกโรงเรียน ได้อย่างกว้างขวางและทั่วถึง และส่งเสริมให้ชุมชนจัดการศึกษาของตนเองในลักษณะศูนย์การเรียนชุมชน เพื่อเป็นศูนย์กลางในการจัดการศึกษา วางแผน และบริการการศึกษาต่อสมาชิกในชุมชนและระหว่างชุมชน 3. สนับสนุนสิ่งจําเป็นด้านต่างๆ ที่ใช้ในการดําเนินงานการศึกษานอกโรงเรียนของเครือข่ายทั้งภาครัฐและ เอกชน เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนการสอนและการบริการแก่กลุ่มเปูาหมายอย่างทั่วถึง 4. กํากับ ดูแล ติดตาม และรายงานผลการดําเนินงานการศึกษานอกโรงเรียนให้กรมการศึกษานอกโรงเรียน และออกระเบียบการดําเนินงานหรือหลักเกณฑ์สําหรับศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอ เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2551 ได้มีการประกาศใช้ พระราชบัญญัติการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอบ้านไผ่ จึงได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบ้านไผ่ สังกัดสํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด ขอนแก่น ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม 2551 จนถึงปัจจุบัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2555 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบ้านไผ่ ได้รับมอบอาคารกิ่ง กาชาด จากที่ว่าการอําเภอบ้านไผ่ (อาคารสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอบ้านไผ่) ให้เป็นอาคารสํานักงานศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบ้านไผ่ และกําลังดําเนินการปรับปรุงซ่อมแซม เพื่อให้เกิดความ พร้อมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย


1.4 ขนาดพื้นที่ ที่ตั้ง อาณาเขตติดต่อ อาเภอบ้านไผ่ มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ อําเภอบ้านแฮด อําเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น และอําเภอโกสุมพิสยั จังหวัดมหาสารคาม ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อําเภอโกสุมพิสัยและอําเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม ทิศใต้ ติดต่อกับ อําเภอเปือยน้อย และอําเภอโนนศิลา จังหวัดขอนแก่น ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อําเภอชนบทและอําเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น ชื่อสถานศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบ้านไผ่ ที่อยู่ : 673 หมู่ที่ 3 ถนนเจนจบทิศ ตําบลในเมือง อําเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น เบอร์โทรศัพท์ : 0 – 4327 - 2734 เบอร์โทรสาร : 0 – 4327 - 3081 E-mail : Banphai2544@hotmail.com Website : http://khonkaen.nfe.go.th/banphai/ สังกัด : สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดขอนแก่น

1.5 สภาพทางสังคม 1.5.1 ด้านการศึกษา อําเภอบ้านไผ่ มีหน่วยงานทางการศึกษา หลายสังกัดทั้งที่อยู่ในความควบคุมดูแล ของกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงกลาโหม และองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ดังนี้ สถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษา (สพป.) และสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม (สพม.) เขต 25 และสังกัดองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น รวมจํานวน 63 แห่ง คือ 1. โรงเรียนมัธยม จํานวน 4 แห่ง 2. โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา จํานวน 53 แห่ง 3. โรงเรียนเอกชน จํานวน 4 แห่ง 4. โรงเรียนสังกัด อปท. จํานวน 2 แห่ง โรงเรียนมัธยมศึกษา มีจํานวน 4 แห่ง ดังนี้ 1. โรงเรียนบ้านไผ่ (ขก 5) โทร 2. โรงเรียนบ้านไผ่พิทยาคม โทร 3. โรงเรียนบ้านไผ่ศึกษา โทร 4. โรงเรียนบ้านลานวิทยาคม โทร

.0 .0 .0 .0

4327 4337 4327 4321

2622 4550 2541 0046


มหาวิทยาลัยและวิทยาลัย 3 แห่ง ดังนี้ 1. มหาวิทยาลัยรามคําแหง โทร . 0 4327 4250 2. วิทยาลัยการอาชีพบ้านไผ่ โทร . 0 4327 2129 3. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาขอนแก่น โทร . 0 4327 4046 1.5.2 วัดจํานวน1 แห่งคือ วัดบางนา : ตั้งอยู่ตําบลบางโพธิ์เหนือ สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2310 1.5.3 โบสถ์ จํานวน 1 แห่ง คือ โบถส์พระแม่ลูร์ด

-

1.5.4 การปกครอง 1. ตําบล จํานวน 10 ตําบล มีหมู่บ้าน จํานวน 101 หมู่บ้าน 2. เทศบาล จํานวน 2 แห่ง 2.1 เทศบาลเมืองบ้านไผ่ จํานวน 26 ชุมชน 2.2 เทศบาลตําบลในเมือง จํานวน 9 หมู่บ้าน 3. อบต. จํานวน 9 แห่ง - เทศบาลเมืองบ้านไผ่ ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตําบลบ้านไผ่ และตําบลในเมือง เทศบาลตําบลในเมือง ครอบคลุมพื้นที่ตําบลในเมือง (นอกเขตเทศบาลเมืองบ้านไผ่) - องค์การบริหารส่วนตําบลบ้านไผ่ ครอบคลุมพื้นที่ตําบลบ้านไผ่ (นอกเขตเทศบาลเมืองบ้านไผ่) องค์การบริหารส่วนตําบลเมืองเพีย ครอบคลุมพื้นที่ตําบลเมืองเพียทั้งตําบล - องค์การบริหารส่วนตําบลบ้านลาน ครอบคลุมพื้นที่ตําบลบ้านลานทั้งตําบล - องค์การบริหารส่วนตําบลแคนเหนือ ครอบคลุมพื้นที่ตําบลแคนเหนือ ทั้งตําบล - องค์การบริหารส่วนตําบลภูเหล็ก ครอบคลุมพื้นที่ตําบลภูเหล็กทั้งตําบล - องค์การบริหารส่วนตําบลปุาปอ ครอบคลุมพื้นที่ตําบลปุาปอทั้งตําบล - องค์การบริหารส่วนตําบลหินตั้ง ครอบคลุมพื้นที่ตําบลหินตั้งทั้งตําบล - องค์การบริหารส่วนตําบลหนองน้ําใส ครอบคลุมพื้นที่ตําบลหนองน้ําใสทั้งตําบล - องค์การบริหารส่วนตําบลหัวหนอง ครอบคลุมพื้นที่ตําบลหัวหนองทั้งตําบล 1.5.5 ศูนย์จาหน่ายรถยนต์จํานวน 6 แห่ง 1.5.6 กศน.ตาบล จํานวน 10 แห่ง คือ กศน.ตําบลภูเหล็ก, กศน.ตําบล หินตั้ง, กศน.ตําบลบ้าน

ลาน, กศน.ตําบลปุาปอ, กศน.หนองน้ําใส, กศน.ตําบลแคนเหนือ, กศน.ตําบลหัวหนอง, กศน.ตําบล เมืองเพีย ,กศน. ตําบลบ้านไผ่ ,กศน.ตําบลในเมือง 1.5.7 ด้านสาธารณสุข อําเภอบ้านไผ่ มีสถานพยาบาลของรัฐ เอกชนและสถานบริการด้านสาธารณสุขอยู่หลายแห่ง ดังนี้ 1. โรงพยาบาลบ้านไผ่ ขนาด 60 เตียง จํานวน 1 แห่ง 2. คลินิกเอกชน จํานวน 11 แห่ง 3. ร้านขายยาต่างๆ ทั้งแผนโบราณ/ปัจจุบัน จํานวน 27 แห่ง 4. ธนาคารยาตามหมู่บ้านต่าง ๆ จํานวน 42 แห่ง 5. สถานควบคุมโรคเรื้อนเขต 4 ขอนแก่น จํานวน 1 แห่ง


6. ศูนย์พัฒนาชนบทผสมผสานบ้านไผ่ (ศูนย์มีชัย) จํานวน 1 แห่ง 7. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลในเมือง จํานวน 1 แห่ง 8. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ้านไผ่ จํานวน 1 แห่ง 9. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลเมืองเพีย จํานวน 1 แห่ง 10 . โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลหนองน้ําใส จํานวน 2 แห่ง 11 . โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลแคนเหนือ จํานวน 1 แห่ง 12. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลหินตั้ง จํานวน 1 แห่ง 13. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลปุาปอ จํานวน 1 แห่ง 14 . โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ้านลาน จํานวน 1 แห่ง 15. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลภูเหล็ก จํานวน 1 แห่ง 16. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลหัวหนอง จํานวน 1 แห่ง

1.6 การคมนาคมขนส่ง ทางรถไฟ ผ่านตัวอําเภอบ้านไผ่ โดยมีสถานีรถไฟ 1 สถานี คือ สถานีบ้านไผ่ และสถานีบ้านแฮด ใช้เวลา เดินทาง

อําเภอบ้านไผ่ ถึงอําเภอเมืองขอนแก่น ประมาณ 45 นาที และ ใช้เวลาเดินทาง จากอําเภอบ้านไผ่ ถึง

กรุงเทพมหานคร ประมาณ 7 ชั่วโมง ทางรถยนต์ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (สระบุรี - หนองคาย) ตัดผ่านอําเภอบ้านไผ่ และสามารถเป็น เส้นทางติดต่อกับจังหวัดต่าง ๆ ได้ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุดรธานี และจังหวัดหนองคาย ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดสระบุรี

1.7 การโทรคมนาคม - มีโทรศัพท์เข้าถึงหมู่บ้าน มีหอกระจายข่าว/เสียงตามสายทุกหมู่บ้าน

1.8 การไฟฟูา 1) มีไฟฟูาเข้าถึงทั้ง 110 หมู่บ้าน 26 ชุมชน ประชากรทุกครัวเรือนมีไฟฟูาใช้ทุกหลัง 2) ไฟฟูาสาธารณะยังมีไม่เพียงพอกับเขตพื้นที่

1.9 แหล่งน้าธรรมชาติ 1) แก่งละว้า 2) คลอง 1 แห่งได้แก่ คลองห้วยทราย

1.10 แหล่งน้าอื่นๆ - ระบบประปาบาดาลหมู่บ้าน


1.11ข้อมูลที่ตั้งกศน.อาเภอบ้านไผ่ ชื่อสถานศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบ้านไผ่ ที่อยู่ : 673 หมู่ที่ 3 ถนนเจนจบทิศ ตําบลในเมือง อําเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น

แผนที่แสดง : ที่ตั้ง กศน.อําเภอบ้านไผ่


2. สภาพทางสังคม-ประชากร 2.1 ข้อมูลประชากร อําเภอบ้านไผ่ มีหมู่บ้านทั้งสิ้นจํานวน 110 หมู่บ้าน 26 ชุมชน มีจํานวน 25,763 หลังคาเรือน ประชากรมีจํานวนทั้งสิ้น 90,456 คน แบ่งเป็นชาย จํานวน 44,338 คน และหญิง จํานวน 46,118 คน (ข้อมูลจากอําเภอบ้านไผ่)

ที่

กศน.ตาบล / ศรช.

จานวน หมู่บ้าน

1

- กศน.ตําบลเมืองเพีย - ศรช.บ้านละว้า - ศรช.บ้านดู่ใหญ่ - ศรช.ชีกกค้อ - ศรช.บ้านเก่าน้อย - ศรช.บ้านศิลานาโพธิ์ - ศรช.บ้านหนองแวงไร่ - กศน.ตําบลในเมือง - ศรช.ชุมชนโนนสะอาด - ศรช.คุ้มจัดสรร - กศน.ตําบลภูเหล็ก - ศรช.บ้านหนองรูแข้ - กศน.ตําบลแคนเหนือ - ศรช.บ้านโคกโก - กศน.ตําบลหัวหนอง - ศรช.บ้านหนองร้านหญ้า - กศน.ตําบลปุาปอ - ศรช.หนองข่าลิ้น

3 4 4 3 3 3 3 5 4 4 4 4 5 4 3 3 6 5

2

3 4 5 6

จานวน ครัวเรือน

ชาย

หญิง

รวม

912 904 642 311 450 452 499 2,165 1,957 2,089 494 565 744 385 527 706 1,046 801

1,596 1,674 1,454 524 886 847 997 2,902 2,607 2,049 944 1,207 1,567 833 810 1,048 2,109 1,684

1,686 1,730 1,420 545 956 890 1,111 3,180 2,760 1,882 980 1,252 1,648 847 825 1,000 2,123 1,615

3,282 3,404 2,874 1,069 1,842 1,737 2,108 6,082 5,367 3,931 1,924 2,459 3,215 1,680 1,635 2,048 4,232 3,299


ที่ กศน.ตาบล / ศรช. 7

- กศน.ตําบลบ้านไผ่ - ศรช.บ้านธาตุ - ศรช.บ้านเปูา - ศรช.แสงทอง - ศรช.สุมนามัย - ศรช.โนนสวรรค์ 8 - กศน.ตําบลหินตั้ง - ศรช.บ้านหินตั้ง - ศรช.บ้านหนองฮี - ศรช.บ้านสว่าง 9 - กศน.ตําบลบ้านลาน - ศรช.บ้านโนนสว่างสันติ 10 - กศน.ตําบลหนองน้ําใส - ศรช.บ้านเก่าหัวนา - ศรช.บ้านใสวารี

รวม

จานวน จานวน หมู่บ้าน ครัวเรือน 5 4 4 4 4 4 3 3 3 3 8 8 4 4 4

583 510 1,051 1,355 1,220 1,460 330 339 384 288 1,118 1,074 622 786 587

136

25,764

ชาย 1,002 873 1,524 1,857 2,190 2,043 659 826 754 563 2,184 2,254 1,052 1,299 1,127

หญิง

รวม

1,059 912 1,524 1,955 2,302 2,213 651 630 780 559 2,181 2,312 1,105 1,311 1,107

44,338 46,118

2,091 1,785 3,048 3,782 4,492 4,256 1,310 1,258 1,534 1,122 4,365 4,566 2,157 2,610 2,234

90,456

3. สภาพทางเศรษฐกิจ ด้านการเกษตรอําเภอบ้านไผ่ มีพื้นที่ทางการเกษตร 22316ไร่ ทําการเกษตร 303ครัวเรือนพืช เศรษฐกิจที่สําคัญแยกดังนี้ พืชเศรษฐกิจ

พื้นที่เพาะปลูก (ไร่)

จานวนครัวเรือน

รวม

22,316 628 740 18 12,240 2 11 35,955

2131 64 217 9 1226 2 6 3,655

พื้นที่นา ไม้ผล-ไม้ยืนต้น พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ พืชไร่ พืชสมุนไพร เห็ด พืชพลังงาน


ด้านอุตสาหกรรม มีโรงงานอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ ที่ได้รับอนุญาตให้ดําเนินการและประกอบการ จํานวน 7 แห่ง

ด้านพาณิชย์และการตลาด - สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง

จํานวน 2 แห่ง

4. แหล่งวิทยาการชุมชน และทุนด้านงบประมาณที่สามารถนามาใช้ประโยชน์เพื่อการจัดการศึกษา 4.1แหล่งวิทยาการชุมชน และทุนด้านงบประมาณที่สามารถนามาใช้ประโยชน์เพื่อการจัดการศึกษา ตาบลแคนเหนือ ลาดับ ชื่อ/แหล่งวิทยาการชุมชน

ที่ตั้ง

งาน/กิจกรรม

งบประมาณ

ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง การเพาะปลูกมะนาว จักรสาน แปรรูป และเขียนปูาย ศูนย์สาธิตเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มจักสานแปรรูปไม้ไผ่และ เขียนปูาย กลุ่มออมทรัพย์

-

1.

กศน.ตําบลแคนเหนือ

หมู่ 3 ต.แคนเหนือ อ.บ้านไผ่

2. 3. 4.

นายจรรยา ภู่จิตทอง จสต.สําราญ ศรีภูมิ กลุ่มจักสานแปรรูปไม้ไผ่ และเขียนปูาย กลุ่มออมทรัพย์

หมู่ 3 ต.แคนเหนือ อ.บ้านไผ่ หมู่ 2 ต.แคนเหนือ อ.บ้านไผ่ หมู่ 3 ต.แคนเหนือ

5.

หมู่ 1 ต.แคนเหนือ

-

4.2 แหล่งวิทยาการชุมชน และทุนด้านงบประมาณที่สามารถนามาใช้ประโยชน์เพื่อการจัดการศึกษา ตาบลในเมือง หมู่ ที่ 1 6

ชุมชน คุ้มจัดสรร บ้านศิลา

แหล่งวิทยาการ วัดคุ้มจัดสรร อ่างเก็บน้ําห้วยทราย

หมายเหตุ


4.3 แหล่งวิทยาการชุมชน และทุนด้านงบประมาณที่สามารถนามาใช้ประโยชน์เพื่อการจัดการศึกษา ตาบลบ้านไผ่ ลาดับ

ชื่อ/แหล่งวิทยาการ ชุมชน

ที่ตั้ง

งาน/กิจกรรม ด้านแปรรูปอาหาร ทัศนะศึกษาทางธรรมชาติ(แก่ง ละว้า) 1.แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง (การเลี้ยงกบ)

งบประมาณ

1.

นางอนงค์ อุดช่อ

หมู่ 5 ต.บ้านไผ่ อ.บ้านไผ่

-

2.

นายสุดใจ ไทยแท้

หมู่ 13ต.บ้านไผ่ อ.บ้านไผ่

3.

นายโชคชัย ทักทุม

หมู่ 13 ต.บ้านไผ่ อ.บ้านไผ่

แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง (การเลี้ยงไก่ดํา)

-

4.

นายประวิทย์ โสมนัส

หมู่ 13 ต.บ้านไผ่ อ.บ้านไผ่

แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง (การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่)

-

5.

นางบัวเรียน วระไว

58/2 หมู่ 12ต.บ้านไผ่ อ.บ้านไผ่

อาหาร-ขนม

-

6.

นายสุรัตน์ โม้วงษ์

หมู่ 3 ชุมชนโนนสวรรค์

การเพาะพันธุ์สัตว์

-

-

4.4 แหล่งวิทยาการชุมชน และทุนด้านงบประมาณที่สามารถนามาใช้ประโยชน์เพื่อการจัดการศึกษา ตาบลบ้านลาน ลาดับ 1.

2.

3.

ชื่อ/แหล่งวิทยาการชุมชน

ที่ตั้ง

1. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตําบล

บ้านหัวนา

2. ศูนย์กําจัดศัตรูพืชตําบล 1. จิตกรรมฝาผนังวัดมัชฌิมวิทยาราม

งาน/กิจกรรม 1. เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตําบล

-

2. กําจัดศัตรูพืชตําบล บ้านลาน

1. จิตกรรมฝาผนังวัดมัชฌิมวิทยาราม

2. องค์การบริหารส่วนตําบลบ้านลาน

2. องค์การบริหารส่วนตําบลบ้านลาน

3. ห้องสมุดโชติธรรมสาร

3. ห้องสมุดโชติธรรมสาร

1. ศูนย์สาธิตการตลาด

งบประมาณ

บ้านกุดเชือก

1. สาธิตการตลาด

-

-


4.5 แหล่งวิทยาการชุมชน และทุนด้านงบประมาณที่สามารถนามาใช้ประโยชน์เพื่อการจัดการศึกษา ตาบลปุาปอ หมู่ที่ ชื่อ/แหล่งวิทยาการชุมชน 1 บ้านปุาปอ 2 3 4

บ้านหนองข่าลิ้น บ้านหนองตับเต่า นายบุญทัน สุดสี

แหล่งวิทยาการ 1. เจดีย์ศิริชัยมงคล 2. ปุาชุมชนโคกฝายหลวง 1. องค์การบริหารส่วนตําบลปุาปอ 1. รอยพระพุทธบาทหินลาด 1. การทําปุ๋ยชีวภาพ

หมายเหตุ

4.6 แหล่งวิทยาการชุมชน และทุนด้านงบประมาณที่สามารถนามาใช้ประโยชน์เพื่อการจัดการศึกษา ตาบลภูเหล็ก หมู่ที่

ชุมชน

แหล่งวิทยาการ 1. ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2. โรงเรียนสอนควาย วัดอรัญญาวาส

บ้านภูเหล็ก

บ้านโนนสวรรค์

บ้านภูเหล็กน้อย

บ้านหนองหญ้าปล้อง

1. แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ทฤษฎีใหม่ 2. สวนปุาหนองแม็ก ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองหญ้าปล้อง

บ้านหนองรูแข้

ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองรูแข้

บ้านภูเงิน

กศน.ตําบล.ภูเหล็ก

หมายเหตุ


4.7 แหล่งวิทยาการชุมชน และทุนด้านงบประมาณที่สามารถนามาใช้ประโยชน์เพื่อการจัดการศึกษา ตาบลเมืองเพีย ลาดับ ชื่อ/แหล่งวิทยาการชุมชน

ที่ตั้ง

งาน/กิจกรรม

งบประมาณ

1.

ศูนย์เรียนรู้บ้านชีกกค้อ

หมู่ 7,13 ต.เมืองเพีย อ. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ปลูก บ้านไผ่ ผักปลอดภัยจากสารพิษ

-

2.

นางอัมพร พินิจมนตรี

หมู่ 6 ต.เมืองเพีย อ. บ้านไผ่

แปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าฝูาย

-

3.

นายชูศักดิ์ โพธิ์อุดม

หมู่ 7 ศูนย์การเรียน ชุมชนบ้านชีกกค้อ

การทําน้ําหมักชีวภาพ

-

4.8 แหล่งวิทยาการชุมชน และทุนด้านงบประมาณที่สามารถนามาใช้ประโยชน์เพื่อการจัดการศึกษา ตาบลหนองน้าใส ลาดับ ชื่อ/แหล่งวิทยาการชุมชน 1. 2.

3.

4.

กลุ่มอาชีพแปรรูป ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้า นายเดชา อยู่ภัคดี

นางเคียม วันตะโพธิ์

นายทองสา หวานเหย

ที่ตั้ง งาน/กิจกรรม บ้านสําโรง หมู่ที่ 2 ต.หนอง ทําพรมเช็ดเท้าจากเศษผ้า น้ําใส อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น บ้านเก่าหัวนา หมู่ที่ 5 ต. เกษตรผสมผสาน หนองน้ําใส อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น บ้านหนองนกเขียน หมู่ที่ 8 ทอเสื่อกก ต.หนองน้ําใส อ.บ้านไผ่ จ. ขอนแก่น บ้านหลัก 16 หมู่ที่ 9 ต. ปราชญ์ชาวบ้าน หนองน้ําใส อ.บ้านไผ่ จ. ขอนแก่น

งบประมาณ -

-

-


4.9 แหล่งวิทยาการชุมชน และทุนด้านงบประมาณที่สามารถนามาใช้ประโยชน์เพื่อการจัดการศึกษา ตาบลหัวหนอง ลาดับ 1.

ชื่อ/แหล่งวิทยาการชุมชน นางน้อย

สิมสา

ที่ตั้ง

งาน/กิจกรรม

งบประมาณ

หมู่ 5 บ้านหนองร้านหญ้าต.หัว การท่อเสือกก

-

หนอง อ.บ้านไผ่ 2.

นายพัลลภ วาทะโยธา

หมู่ 3 บ้านหนองนาวัว

ศูนย์เรียนรู้ประชาธิปไตย

-

บัญชีครัวเรือน และ แหนม

-

ต.หัวหนอง อ.บ้านไผ่ 3.

นางระเบียบ สละ

หมู่ 3บ้านหนองนาวัว ต.หัวหนอง อ.บ้านไผ่

เห็ด

4.10 แหล่งวิทยาการชุมชน และทุนด้านงบประมาณที่สามารถนามาใช้ประโยชน์เพื่อการจัดการศึกษา ตาบลหินตั้ง ลาดับ

ชื่อ/แหล่งวิทยาการชุมชน

ที่ตั้ง

งาน/กิจกรรม

งบประมาณ

1.

ศูนย์เรียนรู้บ้านโคกก่อง

หมู่ 11 ต.หินตั้ง

ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

-

2.

นายทองอินทร์ สุวรรณโค

หมู่ 9 ต.หินตั้ง

วิชาการทําไม้กวาดดอกหญ้า

-

3.

นางเพลินสุข กําแพงเพชร

หมู่ 2 ต.หินตั้ง

วิชาการทําไม้กวาดดอกหญ้า

-

4.

นางสังวาล สวัสดีมูล

หมู่ 2 ต.หินตั้ง

วิชาการทอผ้าพื้นเมือง

-

5.

นายติการณ์ สีสังข์

หมู่ 1 ต.หินตั้ง

วิชาการทําปุ๋ยอัดเม็ด

-

6.

นายสมจิตร ศรีกันยา

หมู่ 9 ต.หินตั้ง

วิชาการปลูกมะม่วงนอกฤดู

-


4.10 แหล่งวิทยาการชุมชน และทุนด้านงบประมาณที่สามารถนามาใช้ประโยชน์เพื่อการจัดการศึกษา ตาบลบ้านไผ่ ลาดับ ชื่อ/แหล่งวิทยาการชุมชน

ที่ตั้ง

งาน/กิจกรรม ด้านแปรรูปอาหาร ทัศนะศึกษาทางธรรมชาติ(แก่ง ละว้า) 1.แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง (การเลี้ยงกบ)

งบประมาณ

1.

นางอนงค์ อุดช่อ

หมู่ 5 ต.บ้านไผ่ อ.บ้านไผ่

2.

นายสุดใจ ไทยแท้

หมู่ 13ต.บ้านไผ่ อ.บ้านไผ่

3.

นายโชคชัย ทักทุม

หมู่ 13 ต.บ้านไผ่ อ.บ้านไผ่

แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง (การเลี้ยงไก่ดํา)

-

4.

นายประวิทย์ โสมนัส

หมู่ 13 ต.บ้านไผ่ อ.บ้านไผ่

แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง (การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่)

-

5.

นางบัวเรียน วระไว

58/2 หมู่ 12ต.บ้านไผ่ อ.บ้านไผ่ อาหาร-ขนม

-

6.

นายสุรัตน์ โม้วงษ์

หมู่ 3 ชุมชนโนนสวรรค์

-

การเพาะพันธุ์สัตว์

-

5. ปัญหาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนที่จาแนกตามลักษณะของกลุ่มเปูาหมาย 5.1 ขนาด กศน.อาเภอบ้านไผ่ จานวนผู้เรียน/นักศึกษา ระดับการศึกษาที่ให้บริการ กศน.อําเภอบ้านไผ่ ตั้งอยู่ บ้านเลขที่ 673 หมู่ที่ 3 ถนนเจนจบทิศ ตําบลในเมือง อําเภอบ้านไผ่ จังหวัด ขอนแก่น มีขนาดพื้นที่โดยรอบ 2 งาน มีอาคารเป็นเอกเทศ จัดการศึกษาต่อเนื่อง การศึกษาตามอัธยาศัย 5.2 ปัญหาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชน กศน.

อําเภอบ้านไผ่ จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในทุกด้านโดยเน้นการมี

ส่วนร่วมและความต้องการทางการศึกษาของชุมชน โดยการมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายในชุมชน มุ่งผลสัมฤทธิ์เพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนและนโยบายของสํานักงาน กศน. โดยใช้กศน.ตําบลเป็นฐานขับเคลื่อนงานเพื่อลดความ เหลื่อมล้ํา ให้โอกาสทางการศึกษา แก้ปัญหาผู้ไม่รู้หนังสือ ตลอดจนการสร้างโอกาสความเท่าเทียมและลดความเหลื่อ มล้ํา ทางการศึกษา เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการศึกษาอย่างมีคุณภาพมีความรู้ความสามารถ และได้เรียนรู้เกี่ยวกับอาชีพตาม บริบทของพื้นที่


5.3 คณะกรรมการสถานศึกษา 1. นายปรีชา มุกนําพร ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา กศน.อําเภอบ้านไผ่ 2. นางสาวปราณี ราชแสนเมือง กรรมการสถานศึกษา 3 นายวิลัย สมีดี กรรมการสถานศึกษา 4. ร.ต.ต.พงษ์พิทักษ์ นามบุญเรือง

กรรมการสถานศึกษา

5. นายประนอม ขันทะ กรรมการสถานศึกษา 6. นางสังวาล บัวขวา

กรรมการสถานศึกษา

7. นายจรรยา ภูจิตทอง กรรมการสถานศึกษา 8. นายประวิทย์ โสมนัส กรรมการสถานศึกษา 9. นางสุพิณ เปี่ยมชาโต

กรรมการสถานศึกษาและเล

ขานุการ

SWOT ของ กศน.อาเภอบ้านไผ่ จุดแข็ง (Strengths) 1. มีการแบ่งบุคลากรลงพื้นที่ชัดเจน ครอบคลุมกับสภาพพื้นที่ มีการประชาสัมพันธ์ได้ครอบคลุมกับกลุ่มเปูาหมาย 2. ครูมีความพร้อมในการยอมรับการเปลี่ยนแปลง 3. บุคลากรมีความสามัคคี ทํางานเป็นทีมและมีความเสียสละ 4. มีการนิเทศติตามผลการจัดกิจกรรมของบุคลากรอย่างสม่ําเสมอตรงตามแผนการนิเทศ 5. มีการสร้างขวัญและกําลังใจด้วยการชมเชยและศึกษาดูงาน 6. มีการจัดสรรงบประมาณได้สอดคล้องกับกิจกรรมที่จัด 7. บุคลากรสามารถปรับตัวและปรับกิจกรรมให้เหมาะสมกับสถานการณ์ให้เข้ากับบริบทของชุมชนและวาง แผนการทํางานได้อย่างเป็นระบบ 8. สถานศึกษาจัดระบบงานให้เป็นไปตามแผนทําให้การปฏิบัติงานง่ายขึ้น 9. บุคลากรส่งงานตามกําหนดเวลาและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย 10. ผู้บริหารมีความเป็นกันเองต่อผู้ใต้บังคับบัญชาและรับฟังความคิดเห็น 11. บุคลากรทุกคนจบปริญญาตรี 12. มีระบบบริหารที่ดีตามโครงสร้างและชัดเจน 13. บุคลากรมีส่วนร่วมในการตัดสินใจอย่างเป็นประชาธิปไตย 14. บุคลากรมีความสามารถแตกต่างกันสามารถสร้างงานช่วยเหลือซึ่งกันและกันได้


จุดอ่อน (Wesknesses) 1. ครูขาดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2. การประเมินบุคลากรไม่ยุติธรรม 3. การสั่งการไม่ชัดเจนทําให้ผู้ปฏิบัติงานไม่สามารถปฏิบัติงานได้ถูกต้อง 4. การประสานงานไม่เป็นระบบ 5. ไม่ปฏิบัติงานตามระเบียบขั้นตอน 6. กศน.ตําบลไม่มีแผนการจัดงบประมาณ ได้รับงบประมาณน้อย ไม่กระจายแต่ต้องการศักยภาพ 7. การบริหารงานไม่ชัดเจน ไม่สามารถดึงเอาความสามารถของบุคลากรออกมาได้เต็มที่ 8. ผู้บริหารไม่กล้าตัดสินใจ/มีความลําเอียง ไม่ยุติธรรม 9. ครูคัดลอกงาน ทําให้งานซ้ําซาก ไม่มีความคิดใหม่ๆเกิดขึ้น 10. บุคลากรไม่กล้าแสดงความคิดเห็นและไม่กล้าแสดงออก/มาปฏิบัติงาน,ส่งงานไม่ตรงเวลา/ มีธุระเยอะ,ลาบ่อย 11. บุคลากรขาดความรู้ในการจัดการศึกษานอกโรงเรียน/แผนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12. ครูหนึ่งคนปฏิบัติงานหลายหน้าที่/ไม่ได้รับการสนับสนุนให้แสดงออกตามความสามารถ 13. บุคลากรเก่งแต่ขาดความเอาใจใส่ในงาน/ไม่ให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมและไม่ได้รับการลงโทษ 14. ไม่มีการแบ่งงานในหน้าที่ให้กับบุคลากรอย่างชัดเจน 15. บุคลากรมีจํานวนมากทําให้การกระจายงานและมอบหมายงานไม่ครบทุกคน คนที่ทําได้ทําตลอด คนที่ไม่เคยทํา ก็ไม่เคยได้รับมอบหมายงาน

โอกาส (Opportunities) 1. นักศึกษาในอําเภอบ้านไผ่มีงานทํา มีรายได้ 2. มีสถานประกอบการเยอะ เช่น โรงงาน ร้านค้า รับนักศึกษาฝึกงาน 3. มีอาชีพที่หลากหลายทําให้มีทางเลือกในการประกอบอาชีพ 4. มีสินค้า OTOP ที่เกิดจากภูมิปัญญา สามารถแปรรูปให้เกิดรายได้ 5. เป็นจุดศูนย์กลางของการคมนาคม การศึกษา เศรษฐกิจ 6. ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ และเอกชน ที่ดี 7. มีการรักษาวัฒนธรรมประเพณี ฮีตสิบสองครองสิบสี่ ทําให้ชุมชนเข้มแข็ง 8. มีระบบ ICT ที่ทันสมัย

9. พรบ.การศึกษา เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าถึงการศึกษาโดยเท่าเทียมกัน


อุปสรรค (Threats) 1. ขาดความรู้ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่ไม่ตรงกับความต้องการของตลาด 2. ขาดเงินทุนในการขยายธุรกิจ, มีหนี้สินเพิ่มขึ้น 3. ชุมชนแออัด, มลภาวะเป็นพิษ 4. เด็กออกกลางคัน 5. ขาดการติดต่อประสานจากประชาชน, ไม่ให้ความร่วมมือ 6. วัฒนธรรมต่างชาติเข้ามา และมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม 7. ขาดทักษะในการใช้เทคโนโลยี 8. อุปกรณ์ด้านเทคโนโลยีไม่เพียงพอกับความต้องการบางพื้นที่ 9. การเปลี่ยนแปลงรัฐบาลบ่อย ทําให้นโยบายการศึกษาไม่ต่อเนื่อง


ตอนที่ 1 บทนาแห่งภารกิจ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบ้านไผ่ เรียกโดยย่อว่า กศน.อําเภอบ้านไผ่ มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Banphai District Office of the Non Formal and Informal Education อันเป็นผลสืบเนื่องจากการมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2551 ทําให้มี การปรับเปลี่ยนชื่อและอํานาจหน้าที่ของศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอบ้านไผ่ เป็นชื่อ ดังกล่าวข้างต้น และมีอํานาจหน้าที่ ดังนี้

เป็นหน่วยงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใน อาเภอรวมทั้งมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2. ส่งเสริม สนับสนุนและประสานภาคีเครือข่าย เพื่อจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย 3. ดําเนินการตามนโยบายพิเศษของรัฐบาลและงานเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ 4. จัด ส่งเสริม สนับสนุนและประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดําริในพื้นที่ร่วมกับภาคีเครือข่าย 5. จัด ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. วิจัยและพัฒนาคุณภาพหลักสูตร สื่อ กระบวนการเรียนรู้และมาตรฐานการศึกษานอกระบบ


7. ดําเนินการเทียบโอนผลการเรียน และดําเนินการประเมินเทียบระดับการศึกษาและ ประสบการณ์ 8. กํากับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดําเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 9. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและภาคีเครือข่าย 10. ระดมทรัพยากรเพื่อใช้ในการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 11. ดําเนินการประกันคุณภาพภายใน ให้สอดคล้องกับระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการที่กําหนด 12. ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

วิสัยทัศน์ (Vision) กศน.อําเภอบ้านไผ่ จะดําเนินการ “จัดและส่งเสริมการศึกษาพัฒนาการเรียนรู้ตลอด ชีวิตเพื่อการมีงานทํา โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนภาคีเครือข่ายและสร้างชุมชนแห่งการ เรียนรู้ ก้าวสู่ประชาคมอาเซียนอย่างมีความสุข”

พันธกิจ (Mission) 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย แก่ประชาชนขาวอําเภอบ้านไผ่ เพื่อเสริมสร้างสังคมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ในการร่วมกันจัดการศึกษา แก่กลุ่มเปูาหมาย


3. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพที่หลากหลาย ทั่วถึง โดยเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อตอบสนองนโยบายและยุทธศาสตร์ของ สํานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น ตามยุทธศาสตร์ “กศน.สร้างสรรค์ ” 4. ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5. การบริหารจัดการเชิงรุกอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

เปูาประสงค์ ( Goal ) 1. หน่วยงานมีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล 2. ประชาชนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงครอบคลุมเป็นธรรม 3. ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน 4. ข้าราชการครูคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษามีศักยภาพในการปฏิบัติงานและการจัดการศึกษา ที่มีคุณภาพ 5. ผู้รับบริการมีและใช้ ICT ที่มีประสิทธิภาพในการเรียนรู้และบริหารจัดการให้ได้มาตรฐานและมีคุณภาพ

ตัวชี้วัด ( Key Performance Indicator ) 1. จานวนผู้รับบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ 2. จานวนผู้รับบริการการศึกษาต่อเนื่อง 3. จานวนผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย 4. จานวนภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 5. จานวนแหล่งเรียนรู้ที่มีความพร้อมในการให้บริการ 6. จานวนหน่วยงานและสถานศึกษาที่เข้าถึงและใช้ บริการ อินเตอร์อย่างมีคุณภาพ


7. จานวนผู้เรียนหรือผู้รับบริการที่เข้าถึงการเรียนรู้ทางอินเตอร์เน็ต 8. จานวนระบบข้อมูลสารสนเทศที่ให้บริการแก่หน่วยงานและสถานศึกษา 9. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบที่เพิ่มขึ้น 10. ร้อยละของผู้เรียนในแต่ละหลักสูตรที่สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ 11. จานวนข้าราชการครู/ ครูอาสาฯ/ครู กศน.ตาบล/ครูศรช. ที่ได้รับการพัฒนา 12. จานวนภาคีเครือข่าย ที่มีความพร้อมและศักยภาพในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 13. ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความพึงพอใจในระดับดีขึ้นไป 14. ระดับความสาเร็จของการดาเนินการตามมาตรการปูองกัน และปราบปรามการทุจริต 15. ระดับการประเมินการปฏิบัติราชการด้านประสิทธิภาพและ ด้านการพัฒนาองค์กรตามคารับรองการปฏิบัติราชการ

ยุทธศาสตร์ ( Strategy ) ยุทธศาสตร์ที่หวังผลใน 3 เดือน 1. การเร่งปฏิรูปการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้สามารถขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาททุกระดับในส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อนําไปสู่การปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างมี ประสิทธิภาพตามกรอบเงื่อนไขระยะเวลาที่กําหนดไว้ โดย 1.1 ) การทบทวนและปรับบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานและสถานศึกษาทุกประเภท ทุกระดับ ตลอดจนหน่วย จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในพื้นที่ ให้ทําหน้าที่ตามเจตนารมณ์ที่กําหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้ “กศน.ตําบล” เป็นฐาน(สถานี) เติมเต็มความรู้ โดยยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง 1.2 ) การประเมิน ทบทวนและปรับกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้เอื้อต่อการ เรียนรู้และสอดคล้องกับวิถีชีวิต และสภาพปัญหาความเร่งด่วนของแต่ละชุมชนตลอดจนพัฒนาทักษะที่จําเป็นในการ ดํารงชีวิต สามารถนําไปใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเอง การพัฒนาชุมชนและสังคมได้อย่างแท้จริง โดยยึดหลัก ประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความคุ้มค่าในการดําเนินงาน 1.3 ) กํากับและติดตามให้หน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับบริหารการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย โดยใช้นโยบายและแผน ตลอดจนระบบการกระจายอํานาจเป็นกลไกการดําเนินงานที่สําคัญ โดยมีการ สื่อสารสร้างความเข้าใจที่ชัดเจนระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อให้นโยบายและแผนเป็นเครื่องมือในการพัฒนาการ ดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพ มีการนิเทศ กํากับ ติดตามประเมิน และรายงานผลการนํานโยบายสู่การปฏิบัติที่เชื่อมโยง กันอย่างเป็นระบบ 1.4 ) การกระตุ้นส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของทุกภาคส่วนอย่างกว้างขวาง โดยยึดหลักความคล่องตัวในการทํางาน การเข้าถึงกลุ่มเปูาหมายการศึกษาที่มีคุณภาพ และความต่อเนื่องอย่างยั่งยืนของการเป็นภาคีเครือข่ายซึ่งกันและกันทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ


1.5 ) การเร่งรัดการสร้างความเข้าใจกรรมการ กศน. อําเภอ กรรมการสถานศึกษาและกรรมการ กศน.ตําบล ให้ เข้าใจบทบาทหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.6) การเร่งรัดพัฒนาครู กศน.ตําบล ทุกคนให้สามารถปฏิบัติงานบทบาทหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. การเร่งรัดการดําเนินการการนําคูปองการศึกษาหรือคูปองการเรียนรู้ตลอดชีวิตมาใช้ เพื่อส่งเสริมการเข้าถึง โอกาสทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของประชาชนผู้รับบริการให้เกิดประสิทธิภาพและเป็นธรรม อย่างแท้จริง 3. การเร่งรัดปรับปรุงหลักสูตรแกนกลาง และแผนพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรท้องถิ่น ตลอดจน หลักสูตรที่สอดคล้องกับบริบทของแต่ละกลุ่มเปูาหมาย รวมถึงการเรียนการสอน ที่มุ่งให้ผู้เรียนเป็นพลเมืองที่ดี มี คุณธรรมนําความรู้ และปฏิบัติตนตามค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ มีส่วนร่วมในการสร้างความสมานฉันท์ และมีความพร้อมในการเข้าสู่ประชาชนอาเซียน

3 ยุทธศาสตร์ที่หวังผลใน 1 ปี 1. การเร่งรัดการกระจายโอกาสทางการศึกษา ให้สามารถเข้าถึงประชาชนที่อยู่นอกระบบโรงเรียนอย่างทั่วถึง ทุกกลุ่มอายุ ทุกกลุ่มเปูาหมาย อย่างเสมอภาค และเป็นธรรม 1.1 ) การใช้แผนและการวิจัยเป็นเครื่องเมืองสําคัญในการดําเนินการทั้งการออกแบบ กิจกรรม การนิเทศ การ ติดตามผล การปรับปรุง การพัฒนา และการตัดสินใจทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติและสามารถรายงานสรุป ความก้าวหน้าเป็นรายไตรมาส และรองรับการเปลี่ยนแปลงทั้งในเชิงโครงสร้าง ระบบงานกฎหมาย ระบบการบริหาร จัดการและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเป็นระบบ 1.2 ) การนําสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษาที่หลากหลาย และมีคุณภาพมาใช้ในการจัดการกระบวนการเรียนรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพในการจัดการศึกษา และขายโอกาสในการเข้าถึงการจัดบริการการศึกษาและการ เรียนรู้ของกลุ่มเปูาหมายทั้งในประเทศและต่างประเทศที่หวังผลได้อย่างแท้จริง 1.3 ) การส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษา และหน่วยจัดบริการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย นําภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน หรือภูมิปัญญาพื้นบ้าน และแหล่งวิทยาการชุมชนทุกประเภทในพื้นที่มาใช้ ประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพ และมีการอนุรักษ์ สืบสาน ประยุกต์ใช้ ต่อยอดสร้างสรรค์ และ พัฒนา เพื่อความยั่งยืนและความเข้มแข็งของชุมชนและท้องถิ่นตลอดจนการพัฒนาประเทศอย่างเป็นระบบรวมทั้ง พัฒนากลุ่มเปูาหมายให้มีความคิดวิเคราะห์ มีเหตุมีผล และมีจิตวิทยาศาสตร์ 1.4 ) การปรับรูปแบบกิจกรรมและวิธีการดําเนินการจาก “บ้านหนังสืออัจฉริยะ” ไปสู่“บ้านหนังสือ ชุมชน” และขยายการบริการให้กระจายครบทุกหมู่บ้าน/ชุมชนทั่ว อําเภอบ้านไผ่ โดยคํานึงถึงความต้องการทางการศึกษา/การ เรียนรู้ของประชาชนในพื้นที่และบริบทเฉพาะของหมู่บ้าน/ชุมชนแต่ละพื้นที่ เพื่อส่งเสริมการรู้หนังสือ การเสริมสร้าง นิสัยรักการอ่าน และการเข้าถึงข่าวสารข้อมูลและความรู้ของประชาชนอย่างทั่วถึง และต่อเนื่อง 1.5 ) การพัฒนาศักยภาพและความพร้อมในการจัดการบริการการศึกษา เพื่อการเรียนรู้หนังสือการศึกษาขั้น พื้นฐาน และการศึกษาต่อเนื่อง สําหรับกลุ่มเปูาหมายทั้งในและต่างประเทศ พร้อมทั้งแสวงหาความร่วมมือจากภาค ส่วนต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ


1.6 ) การวางระบบการนิเทศการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มุ่งเพื่อการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาและความคล่องตัวในการจัดบริการการศึกษาให้กับกลุ่มเปูาหมาย โยมีการเชื่อมโยงข้อมูลและ การดําเนินการนิเทศจากระดับนโยบายสู่ระดับตําบล และระดับหน่วยจัดบริการ อย่างเป็นระบบ 1.7 ) การกําหนดแนวทางและดําเนินการในข้อกฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การศึกษาทางเลือก เป็น การศึกษาอีกประเภทหนึ่งที่สามารถตอบสนองความต้องการทางการศึกษาและการเรียนรู้ของประชาชนของผู้รับบริการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการมีส่วนร่วมในการจัดของภาคส่วนต่างๆ อย่างกว้างขวาง 2. การกําหนดให้มีแผนยุทธศาสตร์/ โดยมีการเชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร์ อําเภอ/ตําบลอย่างเป็นระบบ และ สนับสนุนซึ่งกันและกันเพื่อให้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นกลไกสําคัญกลไกลหนึ่งที่มีพลังในการ แก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่ในบทบาทที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. การเร่งรัด ติดตามให้มีการพัฒนาหน่วยงาน สถานศึกษาและหน่วยจัดบริการการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยทุกตําบลทุกศูนย์การเรียนชุมชน โดยยึดภารกิจหลักเป็นตัวตั้งเพื่อให้มีศักยภาพในการนํานโยบาย รัฐบาลและนโยบายที่เกี่ยวข้องสู่การปฏิบัติจริงอย่างมีประสิทธิภาพ

จุดเน้นการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ จุดเน้นด้านประชากรกลุ่มเปูาหมาย 1.1 ) มุ่งเน้นการสร้างโอกาสทางการศึกษาที่มีความเป็นธรรมให้กับประชากรทุกกลุ่มโดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลุ่มผู้ ด้อย ผู้พลาด และผู้ขาดโอกาสทางการศึกษา ทั้งนี้จําแนกประชากรกลุ่มเปูาหมายไว้ ดังนี้ (1) จําแนกตามช่วงอายุ มี 3 กลุ่ม ได้แก่ 1.1 ) กลุ่มวัยเรียนการศึกษาภาคบังคับ แต่อยู่นอกระบบโรงเรียน (อายุ 6 – 14 ปี) 1.2 ) กลุ่มประชากรวัยแรงงานอายุ (15 – 59 ปี) ซึ่งแบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ 1.2.1 กลุ่มวัยแรงงานอายุ 15 – 39 ปี เป็นกลุ่มวัยแรงงานที่ให้ความสําคัญในการจัดบริการ การเรียนรู้เป็นกลุ่มแรก 1.2.2 กลุ่มวัยแรงงานอายุ 40 – 59 ปี เป็นกลุ่มวัยแรงงานที่ให้ความสําคัญในการจัดบริการ การเรียนรู้รองลงมา 1.3 ) กลุ่มผู้สูงอายุ แบ่งเป็น 4 กลุ่มย่อย โดยให้ความสําคัญในการจัดบริการการเรียนรู้จากมากไปน้อย ตามลําดับ ดังนี้ 1.3.1 กลุ่มอายุ 60 – 69 ปี 1.3.2 กลุ่มอายุ 70 – 79 ปี 1.3.3 กลุ่มอายุ 80 – 89 ปี 1.3.2 กลุ่มอายุ 90 ปีขึ้นไป (2) จําแนกตามคุณลักษณะเฉพาะทางสังคม – ประชากรที่เกี่ยวเนื่องกับการเข้าสู่โอกาสทางการศึกษา แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ดังนี้


2.1) กลุ่มที่มีเงื่อนไขข้อจํากัดในการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา/การเรียนรู้ จําแนกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ 17 กลุ่มย่อยดังนี้ 2.1.1 กลุ่มผู้ด้อยโอกาส เป็นกลุ่มที่มีโอกาสในการที่จะเข้ารับบริการทางการศึกษา/ร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ด้อยกว่าคนปกติทั่วไป อันเนื่องมาจาก (1) ข้อจํากัดด้านร่างกาย/จิตใจ/สติปัญญาหรือความสามารถ ในการเรียนรู้ (2) ข้อจํากัดด้านฐานะทางเศรษฐกิจ หรือความยากจนหรือ (3) ข้อจํากัดด้านการติดต่อสื่อสารอัน เนื่องมาจากความต่างทางภาษา/วัฒนธรรม มี 3 กลุ่มย่อย ได้แก่ (1) กลุ่มผู้พิการ (2) กลุ่มผู้ประกอบอาชีพแรงงานนอกระบบ (3) กลุ่มชาติพันธุ์ (ชนกลุ่มน้อย) 2.1.2 กลุ่มผู้พลาดโอกาส เป็นกลุ่มที่พลาดโอกาสในการที่จะเข้ารับบริการทางการศึกษา/ร่วม กิจกรรมการเรียนรู้อันเนื่องมาจาก / ความไม่สามารถในการที่จะรับการศึกษา/การเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง หรือไม่มี ความประสงค์ที่จะรับการศึกษา การเรียนรู้จนจบหลักสูตรหรือระดับการศึกษาใดๆที่ผ่านมา 2.2 ) กลุ่มที่ไม่มีเงื่อนไขข้อจํากัดในการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา/การเรียนรู้ จําแนกเป็น 4 กลุ่มย่อย 2.2.1) กลุ่มบุคคลผู้เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น/ภูมิปัญญาพื้นบ้านหรือปราชญ์ชาวบ้าน 2.2.2) กลุ่มผู้นําชุมชนทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ 2.2.3) กลุ่มนักเรียน/นักศึกษาในระบบโรงเรียนที่สนใจเติมเมความรู้ 2.2.4) กลุ่มประชาชนทั่วไป

2. จุดเน้นด้านผู้จัดบริการและภาครีเครือข่าย 2.1 ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภทคณะกรรมการ กศน.อําเภอบ้านไผ่ คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการ กศน.ตําบล และครู กศน.ตําบลทุกคน ได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพและ ความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2 มีการประสานเชื่อมโยงการทํางานตามโครงสร้างภายในหน่วยงานกับภาคีเครือข่าย ทั้งระดับ นโยบายและระดับปฏิบัติอย่างเป็นระบบ โดยมีเอกภาพในเชิงนโยบาย และเน้นผลสัมฤทธิ์เป็นเปูาหมายความสําเร็จใน การทํางาน 2.3 กศน.ตําบลทุกแห่งใช้แผนจุลภาคระดับตําบลเป็นเครื่องมือในการจัดกิจกรรมหรือออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนกลุ่มเปูาหมายในพื้นที่ โดยมี ข้อมูลพื้นฐานที่สําคัญ

3. จุดเน้นด้านผลสัมฤทธิ์ 3.1 ผู้สําเร็จหลักสูตรหรือร่วมกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีผลสัมฤทธิ์ที่มี คุณภาพ ตรงตามจุดม่งหมายของหลักสูตรหรือกิจกรรมการศึกษา/การเรียนรู้ที่กําหนดไว้และสามารถนําความรู้และ ประสบการณ์เรียนรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้จริง 3.2 ผู้สําเร็จหลักสูตรหรือร่วมกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ในการดําเนินชีวิตและมีความใฝุรู้ใฝุเรียนอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต


ตัวชี้วัดความสาเร็จตามยุทธศาสตร์และจุดเน้น ความสําเร็จในการดําเนินงานตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดําเนินงาน มุ่งที่ผลลัพธ์หรือกลุ่มเปูาหมาย ผู้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นสําคัญ มี 10 ตัวชี้วัด ดังต่อไปนี้ 1. สัดส่วนประชาชนนอกระบบโรงเรียนที่ได้รับการบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษานอกระบบแต่ ละกลุ่มอายุต่อจํานวนผู้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษานอกระบบทั้งหมด และจําแนกรายประเภท กิจกรรม 2. สัดส่วนประชาชนนอกระบบโรงเรียนที่ได้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษานอกระบบกลุ่มที่มี เงื่อนไขข้อจํากัดในการเข้าถุงโอกาสทางการศึกษา/การเรียนรู้ต่อจํานวนผู้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทาง การศึกษานอกระบบทั้งหมด และจําแนกรายประเภทกิจกรรม 3. สัดส่วนประชาชนนอกระบบโรงเรียนที่ได้รับการบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษานอกระบบใน พื้นที่ชนบท/และพื้นที่เมืองต่อจํานวนผู้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษานอกระบบทั้งหมด และจําแนก รายประเภทกิจกรรม 4. สัดส่วนประชาชนนอกระบบโรงเรียนที่ได้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษาตามอัธยาศัยแต่ละ กลุ่มอายุจํานวนผู้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษานอกระบบทั้งหมด และจําแนกรายประเภทกิจกรรม 5. สัดส่วนประชาชนนอกระบบโรงเรียนที่ได้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษาตามอัธยาศัยกลุ่มที่ มีเงื่อนไขข้อจํากัดในการเข้าถึงโอกาสการศึกษา/การเรียนรู้ และกลุ่มที่ไม่มีเงื่อนไขข้อจํากัดในการเข้าถึงโอกาสทางการ ศึกษา/การเรียนรู้ต่อจํานวนผู้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ตามอัธยาศัยทั้งหมด และจําแนกรายประเภทกิจกรรม 6. สัดส่วนประชาชนนอกระบบโรงเรียนที่ได้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษาตามอัธยาศัยใน พื้นที่ชนบท/และพื้นที่เมืองต่อจํานวนผู้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษาตามอัธยาศัยทั้งหมด และจําแนก รายประเภทกิจกรรม 7. สัดส่วนผู้เรียน/ร่วมกิจกรรมทางการเรียนรู้ทางการศึกษานอกระบบแต่ละหลักสูตร/กิจกรรมที่จบหลักสูตร แต่ละระดับหรือแต่ละกิจกรรมต่อจํานวนผู้ลงทะเบียนเรียน/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษานอกระบบแต่ละ หลักสูตร หรือแต่ละกิจกรรมทั้งหมด และจําแนกรายหลักสูตรหรือรายกิจกรรม 8. ร้อยละของผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคะแนนผลการสอบแต่ละภาคเรียนในวิชาคณิตศาสตร์/ วิทยาศาสตร์/ภาษาอังกฤษ/ภาษาไทย ร้อยละ 55 ขึ้นไปของคะแนนเต็มแต่ละวิชาดังกล่าว 9. ร้อยละของผู้จบหลักสูตรการศึกษา/การฝึกอบรมทางการศึกษานอกระบบแต่ละหลักสูตรที่สามารถนําความรู้ หรือประสบการณ์การเรียนรู้ที่ได้รับไปใช้ได้จริงตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรนั้นๆ 10. ร้อยละของผู้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษานอกระบบ/การศึกษาตามอัธยาศัยที่ยึดถือ ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ


กลยุทธ์และโครงการ ( Strategy and Project ) ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมการจัดทางการศึกษาให้กับประชาชนที่อยู่นอกระบบโรงเรียนอย่างทั่ว ถึงทุกกลุ่มอายุทุกกลุ่มเปูาหมายอย่างเสมอภาค เป็นธรรมและอย่างมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 1 จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้หลากหลายครอบคลุมทุกพื้นที่และทุกกลุ่มเปูาหมาย มีกิจกรรม / โครงการดังต่อไปนี้ 2.

1. งานกิจกรรม/โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ กิจกรรม/โครงการส่งเสริมการศึกษาต่อเนื่องเพื่อการพัฒนาอาชีพ 3. กิจกรรม/โครงการส่งเสริมการศึกษาต่อเนื่องเพื่อการพัฒนาทักษะชีวิต 4. กิจกรรม/โครงการส่งเสริมการศึกษาต่อเนื่องเพื่อการพัฒนาสังคมและชุมชน 5. โครงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6. โครงการส่งเสริมการเรียนรู้เปูาหมายพิเศษ 7. กิจกรรมให้บริการส่งเสริมการศึกษาในศูนย์การเรียนรู้ชุมชน 8. โครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนมีชีวิต


ยุทธศาสตร์ที่ 2

พัฒนาแผนยุทธศาสตร์/ โดยมีการเชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร์อําเภอ/ ตําบลอย่างเป็นระบบ และสนับสนุนซึ่งกันและกันเพื่อให้การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยเป็นกลไกสําคัญกลไกลหนึ่งที่มีพลังในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่ในบทบาท ที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรม /โครงการส่งเสริมการยกระดับคุณภาพการศึกษาของประชาชน กิจกรรม/โครงการส่งเสริมการศึกษาต่อเนื่องเพื่อพัฒนาอาชีพ กิจกรรม/โครงการส่งเสริมการศึกษาต่อเนื่องเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรม/โครงการส่งเสริมการจัดการศึกษาต่อเนื่องเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน กิจกรรม/โครงการการเรียนรู้ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรม/โครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนมีชีวิต


ยุทธศาสตร์ที่ 3 ออกนิเทศ / ติดตามให้มีการพัฒนาหน่วยงาน สถานศึกษาและหน่วยจัดบริการ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทุก ตําบลทุกศูนย์การเรียนชุมชน โดยยึดภารกิจหลักเป็นตัวตั้งเพื่อให้ มีศักยภาพในการนํานโยบายรัฐบาลและนโยบายที่เกี่ยวข้องสู่การปฏิบัติจริงอย่างมีประสิทธิภาพ

2.

1. งานกิจกรรม/โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ กิจกรรม/โครงการส่งเสริมการศึกษาต่อเนื่องเพื่อการพัฒนาอาชีพ 3. กิจกรรม/โครงการส่งเสริมการศึกษาต่อเนื่องเพื่อการพัฒนาทักษะชีวิต 4. กิจกรรม/โครงการส่งเสริมการศึกษาต่อเนื่องเพื่อการพัฒนาสังคมและชุมชน 5. โครงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6. โครงการส่งเสริมการเรียนรู้เปูาหมายพิเศษ 7. กิจกรรมให้บริการส่งเสริมการศึกษาในศูนย์การเรียนรู้ชุมชน 8. โครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนมีชีวิต


ทั้งนี้การนําวิสัยทัศน์ ตามกรอบยุทธศาสตร์ กลยุทธ์และโครงการต่างๆ นําสู่การปฏิบัติ จะต้องมี คณะทํางานทําการวิเคราะห์ความจําเป็นเร่งด่วนเพื่อเสนอของบประมาณในการดําเนินการในแต่ละ ปีงบประมาณต่อไป อันจะส่งผลให้วิสัยทัศน์ดังกล่าวบรรลุผลตามเปูาประสงค์และเป็นรูปธรรมในการ ปฏิบัติต่อไป


จุดเน้นการดาเนินงาน / โครงการสาคัญ ของ กศน.อาเภอบ้านไผ่ 1. กิจกรรม/โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ ดําเนินการจัดให้ผู้ไม่รู้หนังสือหรือลืมหนังสือได้เรียนรู้จากหลักสูตร และสื่อที่เหมาะสมกับสภาพของกลุ่มเปูาหมายแต่กลุ่ม โดยมีเนื้อหา สาระครอบคลุมทั้งการอ่านออกเขียนได้ การคิดวิเคราะห์และเนื้อหา อื่นๆ ที่จําเป็นต่อการดําเนินชีวิต ทั้งนี้โดยร่วมมือกับสถานศึกษาและ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

2. กิจกรรม/โครงการส่งเสริมการยกระดับคุณภาพ การศึกษาของประชาชน ดําเนินการจัดการศึกษาให้กับกลุ่มเปูาหมายประชากรที่ลงทะเบียน เรียน ได้เรียนในรูปแบบหลากหลาย ที่เหมาะสมกับสภาพและความ ต้องการของผู้เรียน โดยมีอัตราคงอยู่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มี ผลสัมฤทธิ์ในหมวดวิชาหลักไม่ต่ํากว่าร้อยละ 60 มีผลการเรียนเฉลี่ย 2.5 ขึ้นไป และอัตราการจบหลักสูตรร้อยละ 80 ในแต่ละภาคเรียน ให้ความสําคัญกับการเทียบโอนความรู้ประสบการณ์ การเทียบระดับ การศึกษาและการประสานความร่วมมือกับองค์กรหลักในการจัด การศึกษาร่วมกัน

3. กิจกรรม/โครงการส่งเสริมการศึกษาต่อเนื่องเพื่อพัฒนาอาชีพ การจัดการศึกษาต่อเนื่อง โดยเฉพาะหลักสูตรระยะสั้น(ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน)และการฝึกทักษะวิชาชีพที่ สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย โดยมุ่งให้สามารถนําความรู้ ความสามารถที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้จริง รวมทั้งการมีคลังหลังสูตรหลากหลาย เพื่อรองรับการจัดบริการทางการศึกษา

4. กิจกรรม/โครงการส่งเสริมการศึกษาต่อเนื่องเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต มุ่งเน้นการจัดการศึกษาต่อเนื่อง เพื่อฝึกอบรมที่สองคล้องกับความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย โดยมุ่งให้ สามารถนําความรู้ ความสามารถที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้จริง รวมทั้งการมีคลังหลังสูตรหลากหลาย เพื่อรองรับการ จัดบริการทางการศึกษา


5. กิจกรรม/โครงการส่งเสริมการจัดการศึกษาต่อเนื่องเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน มุ่งเน้นการออกแบบการเรียนรู้ของชุมชนโดยใช้ปัญหาของประเทศเป็นศูนย์กลาง การพัฒนาความสามารถใน การแสวงหาความรู้ของกลุ่มเปูาหมาย การสร้างเสริมกระบวนการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชน โดยใช้ หลักการจัดการความรู้ การวิจัยชุมชน บูรณาการอยู่ในกระบวนการการเรียนรู้เพื่อนําไปสู่การแก้ปัญหาและพัฒนา ชุมชนและสังคมโดยรวม เป็นหลักสูตรวิชาใดๆ ที่ไม่ใช่อาชีพ รวมทั้งมีคลังหลักสูตรหลากหลาย เพื่อรองรับการ จัดบริการทางการศึกษา

6. กิจกรรม/โครงการการเรียนรู้ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นให้จัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเปูาหมายมีความรู้ความเข้าใจ มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ และพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัวให้เป็นไปตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง

7. กิจกรรม/โครงการการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในชุมชน มุ่งเน้นพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เป็นศูนย์เรียนรู้ในชุมชน โดยการประสานความร่วมมือกับ แหล่งเรียนรู้ต่างๆ ในการพัฒนาปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ในด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านภูมิปัญญาประจําแหล่งเรียนรู้ ฐานข้อมูลสารสนเทศของแหล่งเรียนรู้ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพ การดํารงชีวิต การสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณี และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

8. กิจกรรม/โครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนมีชีวิต มุ่งเน้นพัฒนาระบบให้บริการและสภาพแวดล้อมทั้งภายในภายนอกห้องสมุด ประชาชน พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้และจัดสื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้สอดคล้องกับความต้องการการเรียนรู้ของผู้ใช้บริการ ส่งเสริมการรู้และนิสัยรักการอ่านของกลุ่มเปูาหมาย โดยแบ่งการพัฒนาเป็นด้านต่างๆ คือ ด้านภูมิทัศน์ภายนอก ด้าน การจัดการตกแต่งภายใน ด้านสื่อการเรียนรู้ ด้านการให้บริการ ด้านการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้/การอ่าน ด้าน ชุมชนสัมพันธ์


9. กิจกรรม/โครงการพัฒนารูปแบบและวิธีการจัด การศึกษาตามอัธยาศัย มุ่งเน้นพัฒนา จัดทํา จัดหาสื่อประเภทหนังสืออ่านนอกเวลา เผยแพร่บนเครือข่ายการส่งเสริมการอ่านการเรียนรู้ของประชาชน กลุ่มเปูาหมายอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต

10. กิจกรรม/โครงการพัฒนา กศน.ตาบล ต้นแบบ มุ่งเน้นพัฒนา กศน.ตําบล ให้เป็นแบบอย่างในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นศูนย์กลางการจัด กิจกรรมการเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในชุมชน และเป็นแหล่งบริการในการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับ ความต้องการการเรียนรู้ของประชาชน โดยพัฒนาปรับปรุงด้าน อาคารสถานที่ ด้านอุปกรณ์และครุภัณฑ์ส่งเสริมการเรียนรู้ ด้านสื่อ ด้านกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

11. กิจกรรม/โครงการอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มุ่งเน้นส่งเสริมให้มีผู้มีจิตอาสา ข้าราชการบํานาญ ตลอดจนผู้รู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่นได้อาสาสมัครเข้ามามีบทบาทใน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยในชุมชน เป็นผู้สื่อสารข้อมูลความรู้ที่เป็นประโยชน์แก่ ประชาชนและนําเสนอความต้องการการเรียนรู้และการพัฒนา ชุมชนโดยดําเนินงานเป็นทีมร่วมกับ ครู กศน.

12. กิจกรรม/โครงการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสม 13. กิจกรรม/โครงการอิ เน็ตเพื่อดการเรี ยนรู้ตลอดชี วิต่มประสิทธิภาพ มุ่งเน้นนเตอร์ พัฒนาการจั กิจกรรมการเรี ยนรู้ เพิ ในการบริหารจัดการ และการพัฒนาประชาชนกลุ่มเปูาหมายอย่าง ต่อเนื่อง โดยใช้การศึกษา การภูมิปัญญาท้องถิ่น มาเป็นกลไก และ ส่งเสริมให้บุคลากรทุกระดับทุกคนได้เรียนรู้การนําความรู้การใช้ เทคโนโลยีมาดําเนินการทุกกิจกรรม/โครงการ


13. กิจกรรม/โครงการอินเตอร์เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มุ่งเน้นพัฒนาบุคลากรให้ใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ จัดทําและพัฒนาระบบการเรียนทางอินเตอร์เน็ต เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ของประชาชนกลุ่มเปูาหมายอย่างต่อเนื่อง

14. กิจกรรม/โครงการพัฒนาหลักสูตร สื่อและรูปแบบการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ มุ่งเน้นหลักสูตรระยะสั้น สื่อ รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเปูาหมายและหลากหลาย และรวบรวม หลักสูตรเป็นคลังหลักสูตรของสถานศึกษา เผยแพร่บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต

15. กิจกรรม/โครงการพัฒนาบุคลากร มุ่งเน้นส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรทุกระดับ โดยเฉพาะ ครู กศน.ตําบล ซึ่งมีบทบาทและหน้าที่หลักในการจัดการเรียนการสอน ได้พัฒนาความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงาน เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีแนวคิดสร้างสรรค์งาน โดยการจัดฝึกอบรม ประชุมเชิงปฏิบัติการ ศึกษาดูงาน ฯ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ การศึกษาของผู้เรียนและพัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย 16. กิจกรรม/โครงการนิเทศและติดตามผลการจัดการศึกษา มุ่งเน้นการนิเทศภายในเพื่อกํากับ ติดตาม และรายงานผลการดําเนินงาน การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทุกกิจกรรม และ การบริหารของหน่วยงาน/สถานศึกษาในสังกัด ส่งเสริม พัฒนาบุคลากร ผู้นิเทศ ให้มีความรู้ความสามารถในการนิเทศ และเป็นพี่เลี้ยงในการดําเนินการประกัน คุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาในสังกัด

17. กิจกรรม/ โครงการการประกันคุณภาพการศึกษา มุ่งเน้นสร้างความเข้าใจในการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และ มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และนิเทศ กํากับ ติดตามดูแล ให้สถานศึกษาในสังกัดจัดระบบประกันคุณภาพให้สอดคล้องมี มาตรฐานการศึกษานอก


18. กิจกรรม/โครงการเสริมสร้างและพัฒนาภาคีเครือข่าย มุ่งเน้นประสานงานกับภาคีเครือข่ายทุกระดับทุกประเภทให้มีความรู้ ความเข้าใจในงาน กศน. และร่วมดําเนินงานจัดการศึกษาต่อเนื่อง การส่งเสริม การเรียนรู้ตลอดชีวิต และเพิ่มพันธมิตรเครือข่ายการศึกษาขั้นพื้นฐาน

19. กิจกรรม/โครงการพัฒนาระบบบริหารการศึกษา มุ่งเน้นการบริหารตามหลักธรรมาธิบาลในหน่วยงานและสถานศึกษา ในสังกัด เพื่อให้การดําเนินงานเป็นไปตามหลักนิติธรรม หลักความโปร่งใส ตรวจสอบได้ หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า

20. กิจกรรม/โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการศึกษา มุ่งเน้นพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ โดยเฉพาะข้อมูล นักศึกษาและผู้เรียนในหลักสูตรต่างๆ ส่งเสริมให้มีการเชื่อมโยงระบบข้อมูล ข่าวสารเพื่อการบริหารจัดการ และจัดให้มีการบริการข้อมูลสารสนเทศ

21. กิจกรรม/โครงการประชาสัมพันธ์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย มุ่งเน้นประชาสัมพันธ์บทบาทภารกิจ นําเสนอผลการดําเนินงานของ องค์กรให้เป็นที่ประจักษ์แก่ผู้เกี่ยวข้องเสริมสร้างความเข้าใจอันดี มีทัศนคติที่ ถูกต้องและให้การยอมรับอย่างกว้างขวาง สร้างกระแสให้ประชาชนในพื้นที่ ตระหนัก และเห็นความสําคัญของการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยประชาสัมพันธ์ หลากหลาย ช่องทาง เช่น website หนังสือพิมพ์ส่วนกลางและท้องถิ่น วิทยุกระจายเสียง เสียงตามสาย วิทยุชุมชน เป็นต้น


ตอนที่ 2 งานตามนโยบาย


งานตามนโยบาย ผลผลิตของหน่วยงานในรายงานผล

ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ

การดําเนินงานปีงบประมาณ 2559 (1 ตุลาคม 2558– 31 มีนาคม 2559 ) ของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอําเภอบ้านไผ่ เป็นการนําเสนอ ผลผลิตตามเปูาหมายของหน่วยงาน ใน ผลผลิตที่ 4 และ ผลผลิตที่ 5 โครงการ สําคัญและโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา นอกระบบ

1. 2. 3. 4. 5. 6.

กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ กิจกรรมการส่งเสริมการรู้หนังสือ กิจกรรมการศึกษาพื้นฐานนอกระบบ กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง กิจกรรมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมกลุ่มเปูาหมายพิเศษ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบ

ผลผลิตที่ 5 ผู้รับบริการการเรียนรู้ตามอัธยาศัย กิจกรรมจัดการเรียนรู้ตามอัธยาศัย 1. กิจกรรมให้บริการส่งเสริมการอ่านในห้องสมุด ประชาชน 2. กิจกรรมให้บริการส่งเสริมการอ่านใน กศน.ตําบล/ ศูนย์การเรียนชุมชน 3. กิจกรรมให้บริการส่งเสริมการอ่านในบ้านหนังสือ ชุมชน


ตารางที่ 1 สรุปผลการดาเนินงาน จาแนกรายกิจกรรม ผลผลิต หลักสูตร/กิจกรรม ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ 1. กิจกรรมการส่งเสริมการรู้หนังสือ 2. กิจกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ 1.1 ระดับประถม 2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 2.4 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) 3. กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง 3.1 หลักสูตรกลุ่มสนใจ 3.2 ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน/พัฒนาอาชีพ/หนึ่งคน..หนึ่งอาชีพ 3.3 การศึกษาพัฒนาทักษะชีวิต 3.4 การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 4. การเสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 5. กิจกรรมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6. การเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ผลผลิตที่ 5 ผู้รับบริการการเรียนรู้ตามอัธยาศัย 1. การจัดตั้งแหล่งเรียนรู้ชุมชนในตําบล(จัดซื้อหนังสือพิมพ์) 2. กิจกรรมบรรณสัญจร 3. กิจกรรมชุมชนรักการอ่าน 4. การจัดทําฐานข้อมูล กศน.ตําบล 5. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน โครงการตามยุทธศาสตร์และจุดเน้น 1. กิจกรรมกีฬา กศน.อําเภอบ้านไผ่ 2. กิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมลูกเสือ และยุวกาชาด 3. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

หมายเหตุ : * กิจกรรมทึ่ดําเนินการได้ผลเกินเปูาหมายที่ตั้งไว้

เปูา (คน)

ผล (คน)

คิดเป็น ร้อยละ

36

36

100

107 1,000 1,324 90

107 1,000 1,324 90

100 100 100 100

200 620 300 260 140 160 200

268 753 303 274 142 254 200

100* 100* 100* 100* 100* 100* 100

10 13,400 20 10 5,000

10 18,729 20 10 5,895

100 100* 100 100 100*

500 200

600 307

100* 100*

2,000

2,880

100*


ตารางที่ 2 สรุปผลการดาเนินงาน จาแนกราย กศน.ตาบลและกิจกรรม สถานศึกษา

เปูาหมาย กศน.อําเภอบ้านไผ่ ห้องสมุดฯ กศน.ตําบลบ้านไผ่ กศนตําบลในเมือง กศน.ตําบลหัวหนอง กศน.ตําบลหนองน้ําใส กศน.ตําบลแคนเหนือ กศน.ตําบลเมืองเพีย กศน.ตําบลภูเหล็ก กศน.ตําบลหินตั้ง กศน.ตําบลบ้านลาน กศน.ตําบลปุาปอ รวม(ผล)

ส่งเสริ มการรู้ หนังสือ

18 1 6 1 1 2 7 0 0 0 0 18

การศึกษาขั้นพื้นฐาน

ประ ถม

ม. ต้น

กลุ่ม สนใจ

ศูนย์ฝึก อาชีพ ชุมชน

พัฒนา อาชีพ/ หนึ่งคน.. หนึ่ง อาชีพ

พัฒนา ทักษะ ชีวิต

ผู้สูง อายุ

เศรษฐกิจ พอเพียง

สังคม และ ชุมชน

เทคโน โลยีที่ เหมาะสม

บรรณ สัญจร

ส่งเสริม การอ่าน

กีฬา

ลูกเสือ และยุว กาชาด

พัฒนา ผู้เรียน

200

200

420

300

140

160

260

200

13,400

5,000

500

200

2,000

35 35 35 35 35 35 35 31 35 35 346

52 37 36 41 37 41 31 36 37 36 407

33 30 30 30 30 30 30 30 30 30 303

14 14 14 14 14 14 14 15 14 15 142

23 25 16 23 34 31 24 32 23 23 254

20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 200

1,421 1,740 1,631 1,342 2,413 1,398 1,379 1,355 1,356 1,779 1,494 18,729

454 960 960 320 541 320 640 320 640 420 320 5,895

50 50 50 50 50 50 100 50 50 50 600

40 75 10 20 20 28 10 20 44 40 307

700 750 195 180 100 420 0 260 165 110 2,880

ม. ปลาย

107 1,000 1,324 5 243 252 21 183 255 22 49 71 8 100 101 13 38 82 16 89 171 12 73 106 0 129 142 8 45 75 2 51 69 107 1,000 1,324

36 22 25 20 36 36 22 25 34 22 268

54 46 12 24 16 24 38 24 46 20 274


ตารางที่ 3 สรุปการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษา กศน.ตําบลบ้านไผ่ กศนตําบลในเมือง กศน.ตําบลหัวหนอง กศน.ตําบลหนองน้ําใส กศน.ตําบลแคนเหนือ กศน.ตําบลเมืองเพีย กศน.ตําบลภูเหล็ก กศน.ตําบลหินตั้ง กศน.ตําบลบ้านลาน กศน.ตําบลปุาปอ

รวม(ผล)

ภาคเรียนที่ 2 / 2558 ประถม ม.ต้น ม.ปลาย 5 243 252 21 183 255 22 49 71 8 100 101 13 38 82 16 89 171 12 73 106 0 129 142 8 45 75 2 51 69

107

1,000

รวม 500 459 142 209 133 276 181 271 128 122

1,324 2,421

ผู้จบ หลักสูตร 74 86 13 34 29 57 35 42 36 28

434

ภาคเรียนที่ 1 / 2559 ประถม ม.ต้น ม.ปลาย 202 238 169 252 49 71 83 117 30 90 1 92 164 54 67 35 108 173 13 51 69 49 71

49

887

รวม 440 421 120 200 120 257 121 316 133 120

1,312 2,248

ผู้จบ หลักสูตร 67 62 21 35 21 67 46 30 41 34

424


สถานศึกษา กศน.ตําบลบ้านไผ่

เปูา/ปี (คน) 1

รวม กศน.ตําบลในเมือง

2 6

รวม กศน.ตําบลหัวหนอง

6 1

รวม

1

ตารางที่ 4 ผลการดาเนินงานการส่งเสริมการรู้หนังสือ จาแนกรายสถานศึกษา ผลการดาเนินงาน แห่ง คน หลักสูตร/กิจกรรม สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล) 1 1 - สงเสริมการรู้หนังสือ 1. กศน.ตําบลบ้านไผ่ 1 - สงเสริมการรู้หนังสือ 2. ศรช.บ้านเปูา 1 - สงเสริมการรู้หนังสือ 3. ศรช.บ้านธาตุ 1 - สงเสริมการรู้หนังสือ 4. ศรช.แสงทอง 1 - สงเสริมการรู้หนังสือ 5. ศรช.สุมนามัย 1 - สงเสริมการรู้หนังสือ 6. ศรช.โนนสวรรค์ 6 2 1 6 - สงเสริมการรู้หนังสือ 1. กศน.ตําบลในเมือง 1 - สงเสริมการรู้หนังสือ 2. ศรช.บ้านศิลานาโพธิ์ 1 - สงเสริมการรู้หนังสือ 3. ศรช.บ้านหนองแวงไร่ 1 - สงเสริมการรู้หนังสือ 4. ศรช.เจ้าเงาะสัมพันธ์ 1 - สงเสริมการรู้หนังสือ 5. ศรช.โนนสะอาด 1 - สงเสริมการรู้หนังสือ 6. ศรช.คุ้มจัดสรร 6 6 1 1 - สงเสริมการรู้หนังสือ 1. กศน.ตําบลหัวหนอง 1 - สงเสริมการรู้หนังสือ 2. ศรช.บ้านหนองร้านหญ้า 2 1


สถานศึกษา กศน.ตําบลปุาปอ รวม กศน.ตําบลหนองน้ําใส

เปูา/ปี (คน) 0 0 1

รวม กศน.ตําบลแคนเหนือ

1 2

รวม กศน.ตําบลเมืองเพีย

1 7

รวม กศน.ตําบลภูเหล็ก

7 0

รวม

0

แห่ง คน 1 0 1 2 0 1 1 1 1 4 1 1 2 1 3 1 1 7 1 1 1 4 7 1 0 1 2 0

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร/กิจกรรม สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล) - สงเสริมการรู้หนังสือ 1. กศน.ตําบลปุาปอ - สงเสริมการรู้หนังสือ 2. ศรช.บ้านหนองข่าลิ้น - สงเสริมการรู้หนังสือ - สงเสริมการรู้หนังสือ - สงเสริมการรู้หนังสือ

1. กศน.ตําบลหนองน้ําใส 2. ศรช.บ้านหนองน้ําใส 4. ศรช. บ้านเก่าหัวนา

- สงเสริมการรู้หนังสือ - สงเสริมการรู้หนังสือ

1. กศน.ตําบลแคนเหนือ 3. ศรช.บ้านโคกโก

-

1. 2. 3. 4.

สงเสริมการรู้หนังสือ สงเสริมการรู้หนังสือ สงเสริมการรู้หนังสือ สงเสริมการรู้หนังสือ

- สงเสริมการรู้หนังสือ - สงเสริมการรู้หนังสือ

กศน.ตําบลเมืองเพีย ศรช.บ้านชีกกค้อ ศรช.บ้านละว้า ศรช. บ้านดู่ใหญ่

1. กศน.ตําบลภูเหล็ก 2. ศรช.บ้านหนองรูแข้


สถานศึกษา กศน.ตําบลหินตั้ง

รวม กศน.ตําบลบ้านลาน รวม รวมทั้งสิ้น

เปูา/ปี (คน) 0

0 0 0 18

แห่ง 1 1 1 1 4 1 1 2 34

คน 0

0 0 0 18

-

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร/กิจกรรม สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล) สงเสริมการรู้หนังสือ 1. กศน.ตําบลหินตั้ง สงเสริมการรู้หนังสือ 2. ศรช.บ้านหนองฮี สงเสริมการรู้หนังสือ 3. ศรช.บ้านหินตั้ง สงเสริมการรู้หนังสือ 4. ศรช. บ้านสว่าง

- สงเสริมการรู้หนังสือ - สงเสริมการรู้หนังสือ

1. กศน.ตําบลบ้านลาน 2. ศรช.บ้านโนนสว่างสันติ


ตารางที่ 5 ผลการดาเนินงานการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ/ระยะสั้น/หนึ่งคน..หนึ่งอาชีพ สถานศึกษา กศน.ตําบลบ้านไผ่

รวม กศน.ตําบลในเมือง

รวม กศน.ตําบลหัวหนอง

รวม กศน.ตําบลเมืองเพีย

รวม

เปูา/ปี (คน) แห่ง 20 12 42 20 94 20 42 12 74 42 20 12 74 20 42 12 20 94

1 1 1 1 4 1 1 1 3 1 1 1 3 1 1 1 1 4

คน 36 17 87 20 160 26 50 18 94 50 30 16 96 36 50 16 20 122

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร/กิจกรรม

สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล)

การทําแหนม/ไข่เค็ม/กล้วยบวช/การทํายาหม่องสมุนไพร การร้อยพวงมาลัย/ปลาส้มไร้ก้าง บรรจุภัณฑ์ปลาร้าบองสมุนไพร/ช่างเชื่อม/ทําเฟอร์นิเจอร์ การทําน้ําหมักชีวภาพร่วมกับร.ร.ขยายโอกาส

กศน.ตําบลบ้านไผ่ ม.2/ชุมชนหมู่1 พัฒนา ศาลาประชาคม บ้านธาตุ ม.5/บ้านเปูา ม.3 ศาลาประชาคม บ้านธาตุ ม.5 / กศน.ตําบลบ้านไผ่ ร.ร.เบญจมิตรวิทยาคม

ไข่ทรงเครื่อง/ไข่เค็ม/น้ําผลไม้/การทําวุ้นแฟนซี แปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะนาว/ช่างทาสี การทําวุ้นมะพร้าวน้ําหอม/การเพาะเห็ดขอนขาว

ศรช.เจ้าเงาะสัมพันธ์ ม.3 ศรช.เจ้าเงาะสัมพันธ์ ม.3 ศรช.เจ้าเงาะสัมพันธ์ ม.3 /บ้านโสกจาน ม.3

แปรรูปผลิตภัณฑ์จากกก/ทําเฟอร์นิเจอร์จากไม้ การทําสบู่เหลวจากฟักข้าว/การทําขนมทองม้วน การเลี้ยงจิ้งหรีด/การแปรรูปข้าว

กศน.ตําบลหัวหนอง ม.1 บ้านหนองนาวัว ม.3 ต.หัวหนอง บ้านหนองนาวัว ม.3 ต.หัวหนอง

การทําเมี่ยง/ก๋วยเตี๋ยว/การทําหม่ําปลา ออกแบบบรรจุภัณฑ์ปลาส้มไร้ก้าง/ช่างปูกระเบื้อง การทําวุ้นแฟนซี/ผ้ามัดย้อม การทําปลาส้มไร้ก้าง

214 บ.ละว้า ม.6 /บ้านดู่ใหญ่ ม.4 รสพ.บ้านละว้า/บ้านชีกกค้อ ม.7,13 214 บ้านละว้า /บ้านดู่ใหญ่ ม.4 ร.ร.บ้านละว้า


สถานศึกษา กศน.ตําบลปุาปอ

รวม กศน.ตําบลหนองน้ําใส

รวม กศน.ตําบลแคนเหนือ

รวม กศน.ตําบลบ้านลาน

รวม

เปูา/ปี (คน)

แห่ง

คน

20 42 12 20 94 42 12 20 74 10 42 12 20 84 20 12 42 20 94

1 1 1 1 4 1 1 1 3 1 1 1 1 4 1 1 1 1 4

22 50 6 25 103 47 12 20 79 24 45 16 20 105 34 12 50 20 116

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร/กิจกรรม สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล) นานาไส้กรอก/การทําขนมดอกจอก การแปรรูปมะม่วงและบรรจุภัณฑ์/ช่างเชื่อมโลหะ การทําขนมต้ม/ขนมถั่วแปบ การทําดอกไม้ประดิษฐ์

บ้านเสือเฒ่า ม.5/กศน.ตําบล บ้านหนองข่าลิ้น ม.6/กศน.ตําบล กศน.ตําบลปุาปอ ม.7 ร.ร.บ้านปุาปอ

การเพาะเห็ดนางรม/ช่างปูน การทําวุ้นมะพร้าว การขยายพันธุ์พืช/ขนมถั่วแปบ

บ้านเหมือดแอ่ ม.4 /กศน.ตําบล บ้านเหมือดแอ่ ม.4 /อบต.หนองน้ําใส บ้านเหมือดแอ่ ม.4 /บ้านแคนใต้ ม.3

กลุ่มสนใจ/การทําหมอนสม๊อค การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่/การทําเฟอร์นิเจอร์ การกล้วยทอด/การทําผัดไทย แปรรูปผลิตภัณฑ์จากเศษผ้า

กศน.ตําบลแคนเหนือ /บ้านหนองคูณ ม.3 บ้านหนองคูณ ม.3 /กศน.ตําบล บ้านหนองคูณ ม.3 /บ้านดอนหมากพริก ม.2 ร.ร.ไตรคามประชาสรรค์

การทําขนมไทยเพื่อจําหน่าย/การทําขนมกระหรี่ปั๊บ การทําไส้กรอกสมุนไพร/การทําขนมชั้น การบรรจุภัณฑ์ขนมไทย/ช่างปูน การเลี้ยงปลา

กศน.ตําบลบ้านลาน ม.5 บ้านกุดเชือก ม.11 /กศน.ตําบล บ้านสร้างแปูน ม.12 /กศน.ตําบล ร.ร.บ้านสร้างแปูน


เปูา/ปี (คน)

แห่ง

คน

20 42 12 20

1 1 1 1

28 50 14 20

รวม

94

4

112

กศน.ตําบลหินตั้ง

รวม

20 12 42 20 94

1 1 1 1 4

25 12 46 60 143

รวมทั้งสิ้น

870

37

1,130

สถานศึกษา กศน.ตําบลภูเหล็ก

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร/กิจกรรม สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล) การทําขนมโดนัท/โลตีโฮมเมด/โลตีกกรอบ/ดอกจอก การทําเกษตรทฤษฎีใหม่/การทําเฟอร์เจอร์จากไม้ การทําข้าวต้มหมัด/การทําขนมถั่วแปบ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเศษผ้า

บ้านหนองหญ้าปล้อง ม.4/บ้านภูเหล็ก ม.1 บ้านภูเงิน ม.7 /กศน.ตําบล บ้านภูเหล็ก ม.1/กศน.ตําบล ร.ร.บ้านภูเหล็ก

การทํากล้วยบวชชี/การถนอมอาหาร/การทําปุ๋ยหมัก การวุ้นแฟนซี/การทําเปลจากเศษผ้า การทําลูกประคบและการนวด/การทําเฟอร์นิเจอร์จากไม้ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเศษผ้า

บ้านนาโน ม.9 /บ้านโคกก่อง ม.2 บ้านนาโน ม.9 /บ้านโคกก่อง ม.2 บ้านโคกก่อง ม.2 /กศน.ตําบล โรงเรียนบ้านปุางิ้วหนองฮี ม.3


ตารางที่ 6 ผลการดาเนินงานการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สถานศึกษา กศน.ตําบลบ้านไผ่ รวม กศน.ตําบลในเมือง รวม กศน.ตําบลหัวหนอง รวม กศน.ตําบลเมืองเพีย รวม กศน.ตาบลปุาปอ รวม

เปูา/ปี (คน) แห่ง 15 14 29 15 15 30 15 15 30 15 15 30 15 15 30

1 1 2 1 1 2 1 1 2 1 1 2 1 1 2

คน 15 14 29 15 15 30 15 15 30 15 15 30 15 15 30

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร/กิจกรรม สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล) พัฒนาทักษะชีวิต เสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

บ้านทุ่งมน ม.13 ต.บ้านไผ่ บ้านทุ่งมน ม.13 ต.บ้านไผ่

การใช้สารพิษในชีวิตประจําวัน กฎหมายเบื้องต้นสําหรับชุมชน

ศรช.เจ้าเงาะสัมพันธ์ ม.3 ต.ในเมือง บ้านโสกจาน ม.3

ธรรมะกับการศึกษาตลอดชีวิต ส่งเสริมประชาธิปไตยในชุมชน

กศน.ตําบลหัวหนอง กศน.ตําบลหัวหนอง

ส่งเสริมทักษะชีวิต การรณรงค์และปูองโรคไข้เลือดออก

วัดโพธิ์ชัยบ้านละว้า ต.เมืองเพีย ศรช.บ้านดู่ใหญ่

การควบคุมและปูองกันโรคไข้เลือดออก การปูองกันสารพิษในชีวิตประจําวัน

บ้านเสือเฒ่า ม.5,11 ต.ปุาปอ กศน.ตําบล


สถานศึกษา

เปูา/ปี (คน)

โครง การ

คน

รวม

15 15 30 15 15 30 15 15 30 15 15 30 15 15 30

1 1 2 1 1 2 1 1 20 1 1 2 1 1 2

15 15 30 15 15 30 15 15 30 15 15 30 15 15 30

รวมทั้งสิ้น

300

15

300

กศน.ตําบลหินตั้ง รวม กศน.ตําบลหนองน้ําใส รวม กศน.ตําบลแคนเหนือ รวม กศน.ตําบลบ้านลาน รวม กศน.ตําบลภูเหล็ก

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร/กิจกรรม สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล) ธรรมะกับการศึกษาตลอดชีวิต ส่งเสริมประชาธิปไตยในชุมชน

บ้านนาโน ม. 9 ต.หินตั้ง บ้านโคกก่อง ม.2

กฎหมายเบื้องต้นสําหรับชุมชน เสริมสร้างคุณภาพจิตที่ดีสําหรับชุมชน

บ้านสําโรง ม.2 ต.หนองน้ําใส รพสต.หนองน้ําใส

รู้ทันปูองกันโรคเบาหวาน ลดพุง ลดอ้วน ลดโรค

กศน.ตําบลแคนเหนือ บ้านหนองคูณ ม.3

ผู้บริโภครุ่นใหม่หัวใจรักแผ่นดิน การปูองกันโครงไขเลือดออก

บ้านหัวนา ม.16 ต.บ้านลาน กศน.ตําบลบ้านลาน

การลดพุง ลดโรค ลดอ้วน อบรมกฎหมายความปลอดภัยมีวินัยจราจร

กศน.ตําบลภูเหล็ก กศน.ตําบลภูเหล็ก


ตารางที่ 7 ผลการดาเนินงานการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน สถานศึกษา กศน.ตําบลบ้านไผ่ รวม กศน.ตําบลในเมือง รวม กศน.ตําบลหัวหนอง รวม กศน.ตําบลเมืองเพีย รวม กศน.ตําบลปุาปอ รวม กศน.ตําบลหินตั้ง รวม กศน.ตําบลหนองน้ําใส รวม กศน.ตําบลแคนเหนือ รวม กศน.ตําบลบ้านลาน รวม กศน.ตําบลภูเหล็ก รวม รวมทั้งสิ้น

เปูา/ปี (คน) หมู่บ้าน 48 48 32 32 24 24 24 24 20 20 24 24 24 24 16 16 32 32 16 16 260

12 12 8 8 6 6 6 6 5 5 6 6 6 6 4 4 8 8 4 4 65

คน 54 54 46 46 27 27 24 24 20 20 24 24 24 24 20 20 46 46 38 38 323

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร/กิจกรรม

สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล)

ครอบครัวต้นแบบตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

บ้านปุาแดง ม.6

ชุมชนเข้มแข็งด้วยเศรษฐกิจพอเพียง

บ้านโสกจาน ม.3

หมู่บ้านเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท

บ้านหนองนาวัว ม.3

หมู่บ้านเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท

บ้านชีกกค้อ ม.7,13

หมู่บ้านเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท

กศน.ตําบลปุาปอ

หมู่บ้านเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท

บ้านโคกก่อง ม.2

หมู่บ้านเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท

บ้านใสวารี ม.12

การทําปุ๋ยหมักชีวภาพ

บ้านหนองคูณ ม.3

อบรมประชาชนเพื่อเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจฯ

กศน.ตําบล

อบรมเศรษฐกิจพอเพียงกับการดําเนินชีวิตประจําวัน

กศน.ตําบล


ตารางที่ 8 ผลการดาเนินงานการศึกษาตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง(ด้วยกระบวนการทาบัญชีครัวเรือน) สถานศึกษา กศน.ตําบลบ้านไผ่ รวม กศน.ตําบลในเมือง รวม กศน.ตําบลหัวหนอง รวม กศน.ตําบลเมืองเพีย รวม กศน.ตําบลปุาปอ รวม กศน.ตําบลหินตั้ง รวม กศน.ตําบลหนองน้ําใส รวม กศน.ตําบลแคนเหนือ รวม กศน.ตําบลบ้านลาน รวม กศน.ตําบลภูเหล็ก รวม รวมทั้งสิ้น

เปูา/ปี (คน)

แห่ง

คน

16 16 16 16 16 8 16 16 16 16 16 16 16 16 16 16 16 16 16 16 80

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10

23 23 25 25 36 36 31 31 23 23 32 32 23 23 34 34 23 23 24 24 114

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร/กิจกรรม สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล) กระบวนการทําบัญชีครัวเรือน

บ้านเปูา ม.3

กระบวนการทําบัญชีครัวเรือน

บ้านโสกจาน ม.3

กระบวนการทําบัญชีครัวเรือน

บ้านหนองนาวัว ม.3

กระบวนการทําบัญชีครัวเรือน

บ้านชีกกค้อ ม.7,13

กระบวนการทําบัญชีครัวเรือน

กศน.ตําบล

กระบวนการทําบัญชีครัวเรือน

บ้านโคกก่อง ม.2

กระบวนการทําบัญชีครัวเรือน

กสน.ตําบล

กระบวนการทําบัญชีครัวเรือน

บ้านดอนหมากพริก

กระบวนการทําบัญชีครัวเรือน

กศน.ตําบล

กระบวนการทําบัญชีครัวเรือน

กศน.ตําบล


ตารางที่ 9 ผลการดาเนินงานการส่งเสริมกิจกรรมผู้สูงอายุ สถานศึกษา กศน.ตําบลบ้านไผ่ รวม กศน.ตําบลในเมือง รวม กศน.ตําบลเมืองเพีย รวม กศน.ตําบลหนองน้ําใส รวม กศน.ตําบลบ้านลาน รวม กศน.ตําบลภูเหล็ก รวม กศน.ตําบลหินตั้ง รวม กศน.ตําบลหัวหนอง รวม กศน.ปุาปอ รวม กศน.ตําบลแคนเหนือ รวม รวมทั้งสิ้น

เปูา/ปี (คน)

แห่ง

คน

14 14 14 14 14 14 14 14 14 14 14 14 14 14 14 14 14 14 14 14 140

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 5

14 14 14 14 14 14 14 14 14 14 14 14 15 15 15 15 15 15 14 14 157

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร/กิจกรรม สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล) เสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

ทุ่งมน ม.13 ต.บ้านไผ่

เสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

บ้านศิลา ม.6 ต.ในเมือง

เสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

บ้านละว้า ม.6 ต.เมืองเพีย

เสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

บ้านสําโรง ม.2 ต.หนองน้ําใส

เสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

บ้านลาน ม.6 ต.บ้านลาน

เสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

บ้านหินตั้ง ม. 1

การดูแลผู้สูงอายุ

บ้านหนองร้านหญ้า ม. 5

การดูแลสุขภาพผู้สูงวัย

รพสต.ปุาปอ

เสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

บ้านหนองคูณ ม.3


ตารางที่ 10 ผลการดาเนินงานการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สถานศึกษา กศน.ตําบลบ้านไผ่ รวม กศน.ตําบลในเมือง รวม กศน.ตําบลหัวหนอง รวม กศน.ตําบลเมืองเพีย รวม กศน.ตําบลปุาปอ รวม กศน.ตําบลหินตั้ง รวม กศน.ตําบลหนองน้ําใส รวม กศน.ตําบลแคนเหนือ รวม กศน.ตําบลบ้านลาน รวม กศน.ตําบลภูเหล็ก รวม รวมทั้งสิ้น

เปูา/ปี (คน)

แห่ง

คน

20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 200

2 2 1 1 1 1 2 2 2 2 2 2 1 1 2 2 2 2 1 1 16

20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 200

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร/กิจกรรม

สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล)

จักรยานปั่นน้ํา/เตาอบไม้เป็นถ่านและผลิตน้ําส้มควันไม้

ชุมชนสุมนามัย /บ้านปุาแดง ม.6

เครื่องเพาะถั่วงอกอัตโนมัติประหยัดน้ํา/เตาเผาถ่ายชีวมวล

บ้านโสกจาน ม.3 ต.ในเมือง

เครื่องปั๊มน้ําแรงดันอากาศ/การอบไม้เป็นถ่านและการผลิตน้ําส้มควันไม้ บ้านหนองนาวัว ม. 3 ต.หัวหนอง เตาอบพลังงานจลน์/เตาอบไม้เป็นถ่านและผลิตน้ําส้มควันไม้

บ้านละว้า ม.6 /บ้านชีกกค้อ ม.7,13

ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์/การอบไม้เป็นถ่านและการผลิตน้ําส้มควันไม้

บ้านเสือเฒ่า ม.5 /กศน.ตําบล

เตาเผาถ่านชีวมวล/เตาอบไม้เป็นถ่านและการเก็บน้ําส้มควันไม้

บ้านโคกก่อง ม.11/บ้านโคกก่อง ม.2

เตาเผาถ่านชีวมวล/เตาเผาถ่านเก็บน้ําส้มควันไม้

บ้านเหมือดแอ่ ม.4 ต.หนองน้ําใส

เครื่องกําจัดยุง/การผลิตน้ําส้มควันไม้

บ้านหนองคูณ ม.3/บ้านหนองคูณ ม.3

ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์/เตาชีวมวลประหยัดพลังงาน

บ้านหัวนา ม.16/บ้านดอนเงิน ม.6

แผงโซล่าเซลล์เพื่อการเกษตร/เตาชีวมวลประหยัดพลังงาน

บ้านภูเงิน ม.7/บ้านภูเหล็ก ม.1


ตารางที่ 10 ผลการดาเนินงานการจัดกิจกรรมใน กศน.ตาบล จาแนกรายสถานศึกษา สถานศึกษา กศน.ตําบลบ้านไผ่

เปูา/ปี (คน) 960

รวม กศน.ตําบลในเมือง

960 960

6 6

960 960

960

6

960

รวม

แห่ง 6

คน 960

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร/กิจกรรม ภาพรวมกิจกรรมต่างๆที่จัดใน กศน.ตําบล ประกอบด้วย - การจัดการเรียนการสอน - บริการยืม- คืน สื่อการเรียนการสอน - จัดสอนกลุ่มวิชาชีพ/ภาษาต่างประเทศ - ให้คําปรึกษาแนะนํา - ให้บริการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต/หนังสือพิมพ์ - สัมพันธ์กับภาคีเครือข่าย/กิจกรรมทักษะชีวิต - จัดนิทรรศการวันสําคัญต่างๆ ภาพรวมกิจกรรมต่างๆที่จัดใน กศน.ตําบล ประกอบด้วย - การจัดการเรียนการสอน - บริการยืม- คืน สื่อการเรียนการสอน - จัดสอนกลุ่มวิชาชีพ/กิจกรรมทักษะชีวิต - ให้คําปรึกษาแนะนํา - ให้บริการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต/หนังสือพิมพ์ - สัมพันธ์กับภาคีเครือข่าย/ภาษาต่างประเทศ - จัดนิทรรศการวันสําคัญต่างๆ

สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล)

1. 2. 3. 4. 5. 6.

กศน.ตําบลบ้านไผ่ ศรช.บ้านเปูา ศรช.บ้านธาตุ ศรช.แสงทอง ศรช.สุมนามัย ศรช.โนนสวรรค์

1. 2. 3. 4. 5. 6.

กศน.ตําบลในเมือง ศรช.บ้านศิลานาโพธิ์ ศรช.บ้านหนองแวงไร่ ศรช.บ้านเก่าน้อย ศรช.โนนสะอาด ศรช.คุ้มจัดสรร


สถานศึกษา กศน.ตําบลปุาปอ

เปูา/ปี (คน) 320

รวม กศน.ตําบลหนองน้ําใส

รวม

แห่ง 2

คน 320

320 480

2 3

320 541

480

3

541

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร/กิจกรรม ภาพรวมกิจกรรมต่างๆที่จัดใน กศน.ตําบล ประกอบด้วย - การจัดการเรียนการสอน - บริการยืม- คืน สื่อการเรียนการสอน - จัดสอนกลุ่มวิชาชีพ/กิจกรรมทักษะชีวิต - ให้คําปรึกษาแนะนํา - ให้บริการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต/หนังสือพิมพ์ - สัมพันธ์กับภาคีเครือข่าย/ภาษาต่างประเทศ - จัดนิทรรศการวันสําคัญต่างๆ ภาพรวมกิจกรรมต่างๆที่จัดใน กศน.ตําบล ประกอบด้วย - การจัดการเรียนการสอน - บริการยืม- คืน สื่อการเรียนการสอน - จัดสอนกลุ่มวิชาชีพ/กิจกรรมทักษะชีวิต - ให้คําปรึกษาแนะนํา - ให้บริการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต/หนังสือพิมพ์ - สัมพันธ์กับภาคีเครือข่าย/ภาษาต่างประเทศ - จัดนิทรรศการวันสําคัญต่างๆ

สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล) 1. กศน.ตําบลปุาปอ 2. ศรช.บ้านหนองข่าลิ้น

1. กศน.ตําบลหนองน้ําใส 2. ศรช.บ้านใสวารี 3. ศรช.บ้านเก่าหัวนา


สถานศึกษา กศน.ตําบลหัวหนอง

เปูา/ปี (คน) 320

รวม กศน.ตําบลเมืองเพีย

320 640

2 4

320 640

640

4

640

รวม

แห่ง 2

คน 320

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร/กิจกรรม ภาพรวมกิจกรรมต่างๆที่จัดใน กศน.ตําบล ประกอบด้วย - การจัดการเรียนการสอน - บริการยืม- คืน สื่อการเรียนการสอน - จัดสอนกลุ่มวิชาชีพ/ภาษาต่างประเทศ - ให้คําปรึกษาแนะนํา - ให้บริการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต/หนังสือพิมพ์ - สัมพันธ์กับภาคีเครือข่าย/กิจกรรมทักษะชีวิต - จัดนิทรรศการวันสําคัญต่างๆ ภาพรวมกิจกรรมต่างๆที่จัดใน กศน.ตําบล ประกอบด้วย - การจัดการเรียนการสอน - บริการยืม- คืน สื่อการเรียนการสอน - จัดสอนกลุ่มวิชาชีพ/กิจกรรมทักษะชีวิต - ให้คําปรึกษาแนะนํา - ให้บริการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต/หนังสือพิมพ์ - สัมพันธ์กับภาคีเครือข่าย/ภาษาต่างประเทศ - จัดนิทรรศการวันสําคัญต่างๆ

สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล)

1. กศน.ตําบลหัวหนอง 2. ศรช.บ้านหนองร้านหญ้า

1. 2. 3. 4.

กศน.ตําบลเมืองเพีย ศรช.บ้านชีกกค้อ ศรช.บ้านละว้า ศรช.บ้านดู่ใหญ่


สถานศึกษา กศน.ตําบลภูเหล็ก

รวม กศน.ตําบลหินตั้ง

รวม

เปูา/ปี (คน) แห่ง คน 320

320 640

640

2

2 4

4

320

320 640

640

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร/กิจกรรม ภาพรวมกิจกรรมต่างๆที่จัดใน กศน.ตําบล ประกอบด้วย - การจัดการเรียนการสอน - บริการยืม- คืน สื่อการเรียนการสอน - จัดสอนกลุ่มวิชาชีพ/ภาษาต่างประเทศ - ให้คําปรึกษาแนะนํา - ให้บริการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต/หนังสือพิมพ์ - สัมพันธ์กับภาคีเครือข่าย/กิจกรรมทักษะชีวิต - จัดนิทรรศการวันสําคัญต่างๆ ภาพรวมกิจกรรมต่างๆที่จัดใน กศน.ตําบล ประกอบด้วย - การจัดการเรียนการสอน - บริการยืม- คืน สื่อการเรียนการสอน - จัดสอนกลุ่มวิชาชีพ/กิจกรรมทักษะชีวิต - ให้คําปรึกษาแนะนํา - ให้บริการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต/หนังสือพิมพ์ - สัมพันธ์กับภาคีเครือข่าย/ภาษาต่างประเทศ - จัดนิทรรศการวันสําคัญต่างๆ

สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล) 1. กศน.ตําบลภูเหล็ก 2. ศรช.บ้านหนองรูแข้

1. กศน.ตําบลหินตั้ง 2. ศรช.บ้านหนองฮี 3. ศรช.บ้านหินตั้ง 4. ศรช.บ้านสว่าง


สถานศึกษา

เปูา/ปี (คน)

แห่ง

คน

กศน.ตําบลบ้านลาน

320

2

420

รวม กศน.ตําบลแคนเหนือ

320 320

2 2

420 420

รวม ห้องสมุดประชาชนอําเภอบ้านไผ่

320 400

2 1

420 454

2,500

35

5,895

รวมทั้งสิ้น

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร/กิจกรรม ภาพรวมกิจกรรมต่างๆที่จัดใน กศน.ตําบล ประกอบด้วย - การจัดการเรียนการสอน - บริการยืม- คืน สื่อการเรียนการสอน - จัดสอนกลุ่มวิชาชีพ/ภาษาต่างประเทศ - ให้คําปรึกษาแนะนํา - ให้บริการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต/หนังสือพิมพ์ - สัมพันธ์กับภาคีเครือข่าย/กิจกรรมทักษะชีวิต - จัดนิทรรศการวันสําคัญต่างๆ ภาพรวมกิจกรรมต่างๆที่จัดใน กศน.ตําบล ประกอบด้วย - การจัดการเรียนการสอน - บริการยืม- คืน สื่อการเรียนการสอน - จัดสอนกลุ่มวิชาชีพ/กิจกรรมทักษะชีวิต - ให้คําปรึกษาแนะนํา - ให้บริการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต/หนังสือพิมพ์ - จัดนิทรรศการวันสําคัญต่างๆ ให้บริการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต/หนังสือพิมพ์ / บริการยืม- คืน สื่อ

สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล) 1. กศน.ตําบลบ้านลาน 2. ศรช.บ้านโนนสว่างสันติ

1. กศน.ตําบลแคนเหนือ 2. ศรช.บ้านโคกโก

ห้องสมุดประชาชนอําเภอบ้านไผ่


ตารางที่ 11 ผลการดาเนินงานการจัดกิจกรรมใน บ้านหนังสือชุมชน จาแนกรายสถานศึกษา สถานศึกษา กศน.ตําบลบ้านไผ่

เปูา/ปี (คน) 960

แห่ง 2

คน 960

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร/กิจกรรม สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล) ภาพรวมกิจกรรมต่างๆที่จัดในบ้านหนังสือชุมชน 1. กศน.ตําบลบ้านไผ่ ประกอบด้วย - การให้บริการหนังสือพิมพ์/นิติยสาร/วารสาร - จัดกิจกรรมการอ่านเด็กก่อนวัยเรียน 0-6 ปี/ผู้สูงอายุ - กิจกรรมทักษะชีวิต

รวม กศน.ตําบลในเมือง

รวม

960 960

960

2 2

2

960 960

960

ภาพรวมกิจกรรมต่างๆที่จัดในบ้านหนังสือชุมชน ประกอบด้วย - การให้บริการหนังสือพิมพ์/นิติยสาร/วารสาร - จัดกิจกรรมการอ่านเด็กก่อนวัยเรียน 0-6 ปี/ผู้สูงอายุ - กิจกรรมทักษะชีวิต

2. 3. 4. 5. 6.

ศรช.บ้านเปูา ศรช.บ้านธาตุ ศรช.แสงทอง ศรช.สุมนามัย ศรช.โนนสวรรค์

1. กศน.ตําบลในเมือง 2. 3. 4. 5. 6.

ศรช.บ้านศิลานาโพธิ์ ศรช.บ้านหนองแวงไร่ ศรช.บ้านเก่าน้อย ศรช.โนนสะอาด ศรช.คุ้มจัดสรร


สถานศึกษา กศน.ตําบลปุาปอ

รวม กศน.ตําบลหัวหนอง

รวม กศน.ตําบลหนองน้ําใส

รวม

เปูา/ปี (คน) 320

320 320

320 480

480

แห่ง 2

2 2

2 2

2

คน 320

320 320

320 541

541

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร/กิจกรรม ภาพรวมกิจกรรมต่างๆที่จัดในบ้านหนังสือชุมชน ประกอบด้วย - การให้บริการหนังสือพิมพ์/นิติยสาร/วารสาร - จัดกิจกรรมการอ่านเด็กก่อนวัยเรียน 0-6 ปี/ผู้สูงอายุ - กิจกรรมทักษะชีวิต

สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล) 1. กศน.ตําบลปุาปอ 2. ศรช.บ้านหนองข่าลิ้น

ภาพรวมกิจกรรมต่างๆที่จัดในบ้านหนังสือชุมชน ประกอบด้วย - การให้บริการหนังสือพิมพ์/นิติยสาร/วารสาร - จัดกิจกรรมการอ่านเด็กก่อนวัยเรียน 0-6 ปี/ผู้สูงอายุ - กิจกรรมทักษะชีวิต

1. กศน.ตําบลหัวหนอง

ภาพรวมกิจกรรมต่างๆที่จัดในบ้านหนังสือชุมชน ประกอบด้วย - การให้บริการหนังสือพิมพ์/นิติยสาร/วารสาร - จัดกิจกรรมการอ่านเด็กก่อนวัยเรียน 0-6 ปี/ผู้สูงอายุ - กิจกรรมทักษะชีวิต

1. กศน.ตําบลหนองน้ําใส

2. ศรช.บ้านหนองร้านหญ้า

2. ศรช.บ้านใสวารี 3. ศรช.บ้านเก่าหัวนา


สถานศึกษา กศน.ตําบลแคนเหนือ

เปูา/ปี (คน) 320

แห่ง 2

คน 320

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร/กิจกรรม สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล) ภาพรวมกิจกรรมต่างๆที่จัดในบ้านหนังสือชุมชน 1. กศน.ตําบลแคนเหนือ ประกอบด้วย - การให้บริการหนังสือพิมพ์/นิติยสาร/วารสาร - จัดกิจกรรมการอ่านเด็กก่อนวัยเรียน 0-6 ปี/ผู้สูงอายุ - กิจกรรมทักษะชีวิต

รวม กศน.ตําบลภูเหล็ก

รวม กศน.ตําบลเมืองเพีย

รวม

320 320

320 640

640

2 2

2 2

2

320 320

320 640

640

2. ศรช.บ้านโคกโก

ภาพรวมกิจกรรมต่างๆที่จัดในบ้านหนังสือชุมชน ประกอบด้วย - การให้บริการหนังสือพิมพ์/นิติยสาร/วารสาร - จัดกิจกรรมการอ่านเด็กก่อนวัยเรียน 0-6 ปี/ผู้สูงอายุ - กิจกรรมทักษะชีวิต

1. กศน.ตําบลภูเหล็ก

ภาพรวมกิจกรรมต่างๆที่จัดในบ้านหนังสือชุมชน ประกอบด้วย - การให้บริการหนังสือพิมพ์/นิติยสาร/วารสาร - จัดกิจกรรมการอ่านเด็กก่อนวัยเรียน 0-6 ปี/ผู้สูงอายุ - กิจกรรมทักษะชีวิต

1. กศน.ตําบลเมืองเพีย

2. ศรช.บ้านหนองรูแข้

2. ศรช.บ้านชีกกค้อ 3. ศรช.บ้านละว้า 4. ศรช.บ้านดู่ใหญ่


สถานศึกษา กศน.ตําบลบ้านลาน

เปูา/ปี (คน) 320

แห่ง 2

คน 420

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร/กิจกรรม สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล) ภาพรวมกิจกรรมต่างๆที่จัดในบ้านหนังสือชุมชน 1. กศน.ตําบลบ้านลาน ประกอบด้วย - การให้บริการหนังสือพิมพ์/นิติยสาร/วารสาร - จัดกิจกรรมการอ่านเด็กก่อนวัยเรียน 0-6 ปี/ผู้สูงอายุ - กิจกรรมทักษะชีวิต

รวม กศน.ตําบลหินตั้ง

รวม รวมทั้งสิ้น

320 640

640 2,500

2 2

2 20

420 640

640 5,441

ภาพรวมกิจกรรมต่างๆที่จัดในบ้านหนังสือชุมชน ประกอบด้วย - การให้บริการหนังสือพิมพ์/นิติยสาร/วารสาร - จัดกิจกรรมการอ่านเด็กก่อนวัยเรียน 0-6 ปี/ผู้สูงอายุ - กิจกรรมทักษะชีวิต

2. ศรช.บ้านโนนสว่างสันติ

1. กศน.ตําบลหินตั้ง 2. ศรช.บ้านหนองฮี 3. ศรช.บ้านหินตั้ง 4. ศรช.บ้านสว่าง


สถานศึกษา กศน.อําเภอบ้านไผ่

ตารางที่ 12 ผลการดาเนินงานการจัดกิจกรรมใน ห้องสมุดประชาชน/ห้องสมุดตาบล เปูา/ปี ผลการดาเนินงาน (คน) แห่ง คน หลักสูตร/กิจกรรม สถานที่ดาเนินการ (บ้านเลขที่ /ม.ที่ /ตาบล) 400 1 454 - บริการยืมคืนหนังสือ/สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ห้องสมุดประชาชน -

รวม รวมทั้งสิ้น

400 400

1 1

454 454

กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กิจกรรมพี่สอนน้องเล่านิทาน กิจกรรมแม่ลูกผูกพันรวมพลังรักการอ่าน กิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่/อําเภอยิ้ม กิจกรรมการจัดนิทรรศการวันสําคัญ การให้บริการอินเตอร์เน็ต


ตอนที่ 3 กิจกรรมและโครงการสาคัญการพัฒนาคุณภาพ

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย


ผลการดาเนินงานประจาปีงบประมาณ 2559

กศน.อาเภอบ้านไผ่ ในปีงบประมาณ 2559 กศน.อําเภอบ้านไผ่ ได้ดําเนินการงานตามแผนงานและนโยบาย ที่สําคัญ ประกอบด้วย

กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพที่ดาเนินงาน ในปีงบประมาณ 2559 1. โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ มุ่งเน้นให้สถานศึกษา สํารวจและจัดทําข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือในพื้นที่ให้ชัดเจน และดําเนินการ จัดให้ผู้ไม่รู้หนังสือหรือผู้ลืมหนังสือได้เรียนรู้จากหลักสูตรและสื่อที่เหมาะสมกับสภาพของ กลุ่มเปูาหมายแต่กลุ่ม โดยมีเนื้อหาสาระครอบคลุมทั้งการอ่านออกเขียนได้ การวิเคราะห์ และเนื้อหา อื่นๆ ที่จําเป็นต่อการดําเนินชีวิต ทั้งนี้โดยร่มมือกับสถานศึกษาและองค์กรปกครองท้องถิ่น วัตถุประสงค์ เพื่อสํารวจข้อมูลและจัดกิจกรรมให้แก่ผู้ไม่รู้หรือลืมหนังสือให้อ่านออกเขียนได้ เปูาหมายการดําเนินงาน ประชาชนที่ไม่รู้หรือลืมหนังสือ ตัวชี้วัดความสําเร็จ 1. ข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ 2. ร้อยละของกลุ่มเปูาหมายที่เข้าเรียนรู้ตามหลักสูตรการรู้หนังสือสามารถอ่านออกเขียนได้ 3. ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการที่อยู่ในระดับดี


โครงการส่งเสริมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ(ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน) มุ่งเน้นจัดการศึกษาต่อเนื่อง โดยเน้นหลักสูตรระยะสั้นและฝึกอบรมอาชีพที่สอดคล้อง กับความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ โดยมุ่งให้สามารถนําความรู้ความสามารถที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้จริงในชีวิตประจําวัน พัฒนาอาชีพ สร้างรายได้รวมทั้งการมีคลังหลักสูตรที่หลากหลาย เพื่อรองรับการจัดบริการทางการศึกษา วัตถุประสงค์ เพื่อจัดการศึกษาพัฒนาอาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย เปูาหมายการดาเนินงาน ประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 15 - พัฒนาอาชีพ - ฝึกทักษะอาชีพ

– 59 ปี

ตัวชี้วัดความสําเร็จ 1. ร้อยละของหลักสูตรที่ได้รับการพัฒนา/อนุมัติ 2. ร้อยละของผู้เรียนที่จบหลักสูตร 3. ร้อยละของผู้จบหลักสูตรที่นําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน/พัฒนาอาชีพ/สร้างอาชีพ 4. ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการที่อยู่ในระดับดี


ผลการดาเนินงาน - เชิงปริมาณ ตารางที่ 15 ผลการดาเนินงาน โครงการส่งเสริมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ(ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน) สถานศึกษา เปูาหมาย ผลการ สถานที่ ดาเนินงาน ดาเนินงาน กศน.ตําบลบ้านไผ่ 10 10 กศนตําบลในเมือง 10 10 กศน.ตําบลหัวหนอง

10

10

กศน.ตําบลหนองน้ําใส

10

10

กศน.ตําบลแคนเหนือ

10

10

กศน.ตําบลเมืองเพีย

10

10

กศน.ตําบลภูเหล็ก

10

10

กศน.ตําบลหินตั้ง

10

10

กศน.ตําบลบ้านลาน

10

10

กศน.ตําบลปุาปอ

10

10

รวม

100

100

ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนอําเภอบ้านไผ่ (กศน.อําเภอบ้านไผ่)


กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน -

โครงการพัฒนาวิชาการ โครงการพัฒนาการเรียน ICT โครงการกีฬา กศน.บ้านไผ่ต้านยาเสพติด โครงการคุณธรรม จริยธรรม โครงการส่งเสริมประชาธิปไตย โครงการสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด

เพื่อเป็นการพัฒนาและเพิ่มพูนความรู้ของผู้เรียน และผู้เรียนสามารถนําความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้ เกิดประโยชน์ในชีวิตประจําวัน ซึ่งเป็นกระบวนการที่สําคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ และมีความสามารถที่จะปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะมาถึงและเชื่อว่าการศึกษา ที่จะเป็นไปในแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสมกับสภาพทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสามารถ สร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าให้แก่สังคมไทย และเป็นการพัฒนาและเพิ่มพูนความรู้ของผู้เรียน


กิจกรรมร่วมวันสาคัญ มุ่งเน้นการพัฒนาการประสานงาน การร่วมดําเนินกิจกรรมต่างๆ กับภาคีเครือข่ายทุกระดับทุก ภาคส่วนให้มีความรู้ความเข้าใจในการร่วมดําเนินงานให้สอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐและเอกชน เพื่อยกระดับของการดําเนินงานร่วมกันให้เป็นไปตามหลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส ตรวจสอบได้ หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า ที่เกิดประโยชน์แก่ ผู้รับบริการอย่างสูงสุด และมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง


การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณ พ.ศ. 2559 ตามวงเงินอนุมัติจัดสรรงบประมาณ สําหรับการดําเนินงานการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จากสํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด ขอนแก่น จานวน 5,331,290 บาท โดยจําแนกเป็นแผนงานต่าง ๆ ดังนี้ การจัดสรรและการใช้จ่ายงบประมาณ ตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.9 255 ระดับ อาเภอ แหล่งของเงิน : 5811230 รหัสงบประมาณ 2000204004000000 รหัสย่อ : 40040000 แผนงาน : ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมการศึกษานอกระบบ ที่

1 2 3

รายการ งบประมาณที่จัดสรร ค่าใช้สอยไปราชการ ค่าอาหารทําการนอกเวลา ค่าวัสดุสํานักงาน

เงินที่ได้รับจัดสรร เบิกจ่าย (บาท) (บาท) (13,000) 5,000 5,000.00 5,000 5,000.00 3,000 3,000.00

คงเหลือ (บาท) 00.00 00.00 00.00

แผนงาน : สนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน ค่าจัดการเรียนการสอน แหล่งของเงิน : 5911410 รหัสงบประมาณ 2000289020500009 ที่

รายการ งบประมาณที่จัดสรร ภาคเรียน 2/2558 และ 1/2559 จํานวน 2,393,260 บาท

เงินที่ได้รับจัดสรร (บาท)

เบิกจ่าย (บาท)

คงเหลือ (บาท)

2,393,260.00

2,393,260.00

00.00


แผนงาน : สนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน ค่ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แหล่งของเงิน : 5911410 รหัสงบประมาณ 2000289020500008 ที่

รายการ งบประมาณที่จัดสรร ภาคเรียน 2/2558 และ 1/2559 จํานวน 638,820 บาท

เงินที่ได้รับจัดสรร (บาท)

เบิกจ่าย (บาท)

คงเหลือ (บาท)

638,820.00

638,820.00

0.00

แผนงาน : สนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน ค่าหนังสือเรียน แหล่งของเงิน : 5911410 รหัสงบประมาณ 2000289020500001 ที่

รายการ งบประมาณที่จัดสรร ภาคเรียน 2/2558 และ 1/2559 จํานวน 1,104,760 บาท

เงินที่ได้รับจัดสรร (บาท)

เบิกจ่าย (บาท)

คงเหลือ (บาท)

1,104,760.00

1,104,760.00

0.00

แหล่งของเงิน : 5811230 รหัสงบประมาณ 2000204004000000 รหัสย่อ : 40040000 แผนงาน : ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมการศึกษานอกระบบ ที่

1 2 3 4

รายการ งบประมาณที่จัดสรร กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมพัฒนาสังคมและชุมชน กิจกรรมการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม

เงินที่ได้รับจัดสรร (บาท)

เบิกจ่าย (บาท)

คงเหลือ (บาท)

34,500.00 64,000.00 104,000.00 80,000.00

34,500.00 64,000.00 104,000.00 80,000.00

0.00 0.00 0.00 0.00


แหล่งของเงิน : 5811230 รหัสงบประมาณ 2000201059700001 รหัสย่อ : 70001 แผนงาน : ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมการศึกษานอกระบบ (เร่งรัดและผลักดันการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิตโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน) ที่

1 2

รายการ งบประมาณที่จัดสรร กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เพิ่มเติมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (ตําบลบ้านไผ่)

เงินที่ได้รับจัดสรร (บาท)

เบิกจ่าย (บาท)

คงเหลือ (บาท)

400,000.00 20,000.00

400,000.00 20,000.00

0.00 0.00

แหล่งของเงิน : 5811230 รหัสงบประมาณ 2000204005000000 รหัสย่อ : 40050000 แผนงาน : ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ผลผลิตที่ 5 ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย ที่

1

2

3

4

รายการ งบประมาณที่จัดสรร งบดาเนินงาน ค่าตอบแทนใช้สอยวัสดุ 1.1 งบบริหาร 1.1.1 ไปราชการบรรณารักษ์ 1.1.2 ค่าตอบแทนนอกเวลา 1.1.3 ค่าวัสดุห้องสมุด 1.1.4 ค่าหนังสือพิมพ์ หสม. วันละ 2 ฉบับ 1.1.5 จัดซื้อหนังสือวารสานห้องสมุดประชาชน 1.1.6 ค่าจ้างบรรณารักษ์ 1.2 ค่าสาธารณูปโภค กิจกรรมจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับตําบล 2.1 ค่าหนังสือพิมพ์สําหรับ กศน.ตําบล 2.2 ค่าหนังสือ สื่อ กศน.ตําบลก่อสร้างใหม่ 2.3 ค่าสาธารณูปโภค กศน.ตําบล งบรายจ่ายอื่น กิจกรรมจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับตําบล - การเปิดศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงฯ ซื้อหนังสือ สื่อ ห้องสมุดประชาชน

เงินที่ได้รับจัดสรร (บาท)

เบิกจ่าย (บาท)

คงเหลือ (บาท)

222,950.00

222,950.00

0.00

5,000.00 6,000.00 7,000.00 7,280.00 12,000.00 180,000.00 5,670.00 84,000.00 24,000.00 60,000.00 28,000.00

5,000.00 6,000.00 7,000.00 7,280.00 12,000.00 180,000.00 5,670.00 84,000.00 24,000.00 60,000.00 28,000.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 00.00 00.00 00.00 00.00

20,000.00 40,000.00

20,000.00 40,000.00

0.00 0.00


จานวนบุคลากร กศน.อาเภอบ้านไผ่ ที่

สถานศึกษา

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

จนท.

ครู

ครู

ครู

ครู

บรรณา

จนท.

พนักงาน

พิมพ์ดีด

อาสาฯ

กศน.ตาบล

ศรช.

ปวช.

รักษ์

บันทึก

บริการ

1

1

3

-

-

1

1

2

-

-

-

-

1

5

-

-

-

-

6

-

-

-

-

2

4

-

-

-

-

6

-

-

-

-

1

1

-

-

-

-

2

-

-

-

-

1

2

-

-

-

-

3

-

-

-

-

1

1

-

-

-

-

2

-

-

-

-

2

2

-

-

-

-

4

-

-

-

-

1

1

-

-

-

-

2

-

-

-

-

1

3

-

-

-

-

4

-

-

-

-

1

1

-

-

-

-

2

-

-

-

-

1

1

-

-

-

-

2

1

1

1

3

13

21

2

1

2

1

43

ผู้บริหาร

ครู

กศน.อําเภอบ้านไผ่

1

กศน.ตําบลบ้านไผ่ กศนตําบลในเมือง กศน.ตําบลหัวหนอง กศน.ตําบลหนองน้ําใส กศน.ตําบลแคนเหนือ กศน.ตําบลเมืองเพีย กศน.ตําบลภูเหล็ก กศน.ตําบลหินตั้ง กศน.ตําบลบ้านลาน กศน.ตําบลปุาปอ รวม

รวม 10


ศน.อาเภอบ้านไผ่

นางสุพิณ เปี่ยมชาโต ผอ.กศน.อาเภอบ้านไผ่

นางบังอร สิทธิประเสริฐ จนท.พิมพ์ดีดชั้น3

นางบุหงา ผิวละมัย บรรณารักษ์

นางเพ็ญศรี ถวิลจันกลม ครู อาสาสมัครฯ

นางสาวยุวธิดา วันตะโพธิ์ ครู ปวช.

นายยุทธณา แสงใส ครู อาสาสมัครฯ

นายทัศพล ผิวละมัย ครู อาสาสมัครฯ

นางสาวพิชชานันท์ สุดเพราะ นางสาวเฟื่องฟูา อ่อนละมูล จนท.บันทึกข้อมูล จนท.บันทึกข้อมูล


กศน.ตาบลบ้านไผ่

นางสาววัชราภรณ์ ชาวค้อ ครู กศน.ตาบล

นายอังศราวุธ พลปูอง ครู ศรช.

นายไพบูลย์ มีชิน ครู ศรช.

นางละเอียด วรรณศรี ครู ศรช.

นายวิเชียร ถิ่นไผ่งาม ครู ศรช.

นายกฤษดา ปัดชา ครู ศรช.


กศน.ตาบลในเมือง

นางรัชดา อัคฮาด ครู กศน.ตาบล

นายดุสิต รุดชาติ ครู กศน.ตาบล

นางสาวเบญจวรรณ สีหัดชา ครู ศรช.

นายเทิดพร สายทอง ครู ศรช.

นางสาวอัจฉรา ซาน้อย ครู ศรช.

นายปฐพล ด่านนอก ครู ศรช.


กศน.ตาบลหัวหนอง

นายพัลลภ วาทโยธา ครู กศน.ตาบล

นางลัดดา สิงคลีบุตร ครู ศรช.


กศน.ตาบลหนองน้าใส

นางทัศนีย์ นามบุญเรือง ครู กศน.ตาบล

นางสาวศรัญญา ปุยกวาง ครู ศรช.

นางสาวสายสมร อักษรเสือ ครู ศรช.


กศน.ตาบลแคนเหนือ

นางชื่นจิต เย็นสบาย ครู กศน.ตาบล

นางสาวอัญชลี ประสิทธิ์นอก ครู ศรช.


กศน.ตาบลเมืองเพีย

นางรชตะ มุระดา ครู กศน.ตาบล

นายชูศักดิ์ โพธิ์อุดม ครู กศน.ตาบล.

นางสาวปาริตา นาทอง ครู ศรช.

นางสาวสุรินทร พินิจมนตรี ครู ศรช.


กศน.ตาบลหินตั้ง

นางศศิภรณ์ ละออง ครู กศน.ตาบล

นายวิเชียร สันเสนาะ ครู ศรช.

นายจีระศักดิ์ โยมะบุตร ครู ศรช.

นางเสาวรสจนีย์ เสาวรส ครู ศรช.


กศน.ตาบลภูเหล็ก

นางกลมทิพย์ เชื้อเมือง ครู กศน.ตาบล

นางสาวเพ็ญวิภาร์ โสภาวะนัส ครู ศรช.


กศน.ตาบลบ้านลาน

นางกนกวรรณ ไสวดี ครู กศน.ตาบล

นางสาวสุมาลี หล้าลุน

ครู ศรช.


กศน.ตาบลป่าปอ

นายศุภณมิตร ไสวดี ครู กศน.ตาบล

นางสาววัลภา นาน้อย ครู ศรช.


ภาคผนวก (ภาพกิจกรรมเป็นรายกิจกรรม) กระบวนการเรียนการสอนการศึกษานอกระบบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 การจัดการเรียนการสอน ตาบลแคนเหนือ

การจัดการเรียนการสอน ตาบลหนองน้าใส

การจัดการเรียนการสอน ศรช.แสงทอง

การจัดการเรียนการสอน ศรช.บ้านธาตุ


หลักสูตรกลุ่มสนใจ

การทายาหม่องสมุนไพร ตาบลบ้านไผ่

การเพาะเห็ดขอนขาวในวงบ่อ ซีเมนต์ ตาบลในเมือง

การทาขนมกะหรี่ปั๊บ ตาบลบ้านลาน

การทาหมอนสม๊อก ตาบลแคนเหนือ


หลักสูตรอาชีพช่างพื้นฐาน

หลักสูตรการติดตั้งไฟฟ้าภายในอาคาร ศูนย์อาชีพชุมชนอาเภอบ้านไผ่

หลักสูตรการซ่อมและประกอบคอมพิวเตอร์ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนอาเภอบ้านไผ่


หลักสูตรพัฒนาอาชีพ(หลักสูตรระยะสั้น)

หลักสูตรช่างเชื่อมเหล็กดัด ตาบลบ้านไผ่

หลักสูตรช่างปูน ตาบล บ้านลาน

หลักสูตรช่างปูน ตาบลหนองน้าใส


กิจกรรมหนึ่งคน...หนึ่งอาชีพ

การเลี้ยงกลิ้งหรีด ตาบลหัวหนอง

การทาวุ้นแฟนซี ตาบลหนองน้าใส

การทาผ้ามัดย้อม ตาบลเมืองเพีย

การทาขนมชั้น ตาบลบ้านลาน


ส่งเสริมการมีรายได้ระหว่างเรียน


กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต การรณรงค์และป้องกัน ไข้เลือดออก ตาบลบ้านลาน

การส่งเสริมประชาธิปไตยในชุมชน ตาบลในเมือง

การลดพุง ลดอ้วน ลดอ้วน ตาบลแคนเหนือ

การป้องกันสารพิษในชีวิตประจาวัน ตาบลป่าปอ


เสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ตาบลป่าปอ

การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ตาบลภูเหล็ก

การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ตาบลบ้านลาน

การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ตาบลแคนเหนือ


เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การสอนการทาบัญชีครัวเรือน ตาบลป่าปอ

การสอนการทาบัญชีครัวเรือน ตาบลเมืองเพีย

การสอนการทาบัญชีครัวเรือน ตาบลหนองน้าใส

การสอนการทาบัญชีครัวเรือน ตาบลในเมือง


กิจกรรมพัฒนาสังคมและชุมชน(หมู่บ้านเรียนรู้ตามรอบพระยุคลบาท

อบรมการทาเกษตรทฤษฎีใหม่ ตาบลในเมือง

อบรมแก่นนาหมู่บ้านละ 2 คน เพื่อเรียนรู้การถอดองค์ ความรู้จากโครงการของพ่อหลวง อ.บ้านไผ่

อบรมการปรับปรุงดินที่ใช้สาหรับการเพาะปลูก ตาบลบ้านลาน

การทาน้าหมักชีวภาพจากเศษพืชผัก ตาบลเมืองเพีย


เทคโนโลยีที่เหมาะสม

การอบไม้เป็นถ่านและเก็บน้าส้มครัวไม้ ตาบลแคนเหนือ

การอบไม้เป็นถ่านและเก็บน้าส้มครัวไม้ ตาบลบ้านลาน

การอบไม้เป็นถ่านและเก็บน้าส้มครัวไม้ ตาบลเมืองเพีย

การอบไม้เป็นถ่านและเก็บน้าส้มครัวไม้ ตาบลป่าปอ


ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมลูกเสือและยุวกาชาด กศน.


กีฬาสีกศน.


บรรณสัญจร


ส่งเสริมการอ่าน


จัดตั้งแหล่งเรียนรู้ชุมชนในตาบล


ส่งเสริมบ้านหนังสือชุมชน


ชุมชนรักการอ่าน


การจัดทาฐานข้อมูลกศน.ตาบล


พัฒนาผู้เรียน ติวเข้ม เติมเต็มความรู้


พัฒนาผู้เรียน การรณรงค์และปูองกันยาเสพติด


พัฒนาผู้เรียน การสอนคอมพิวเตอร์พื้นฐาน


พัฒนาผู้เรียน ค่ายพัฒนาวิชาการ


พัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมค่านิยม 12 ประการและคุณลักษณะที่พึงประสงค์


พัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมประชาธิปไตยและการแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อชาติ


จัดตั้งศูนย์ส่งเสริมละพัฒนา


จัดตั้งศูนย์ดิจิทัลชุมชน


คณะทางาน ที่ปรึกษา นางสุพิณ เปี่ยมชาโต

ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบ้านไผ่

ผู้สนับสนุนข้อมูล คณะครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน คณะครู กศน.ตาบล คณะครูศูนย์การเรียน ครูประกาศนียบัตรวิชาชีพ บรรณารักษ์

ผู้รวบรวม เรียบเรียงและจัดทาต้นฉบับ นายทัศพล ผิวละมัย นางสาวพิชชานันท์ สุดเพราะ

ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล

บรรณาธิการ นายทัศพล ผิวละมัย

ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.