คำนำ ตามที่ ส านั ก งาน กศน. โดยหน่ ว ยศึ ก ษานิ เ ทศก์ ไ ด้ จั ด อบรมพั ฒ นาวิ ธี ก ารเขี ย นแนวปฏิ บั ติ ที่ ดี (Best Practice) ในการนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยคัดเลือกผลการปฏิบัติที่ดีจากรายงานสรุปผล การนิ เทศ ปี งบประมาณ 2561 มาดาเนินการถอดบทเรียนและพัฒ นาทักษะวิธีการเขียนแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) แก่ผู้เกี่ยวข้องซึ่งประกอบด้วย ศึกษานิเทศก์สานักงาน กศน.จังหวัด ผู้อานวยการสถานศึกษา และครู กศน. เจ้าของผลการปฏิบัติที่ดี ระหว่างวันที่ 13 – 14 กุมภาพันธ์ 2562 ณ ห้องประชุมบรรจง ชูสกุลชาติ ชั้ น 6 ส านั ก งาน กศน. ซึ่ ง จากการด าเนิ น การครั้ ง นี้ หน่ ว ยศึ ก ษานิ เ ทศก์ ได้ ร วบรวมการถอดบทเรี ย น ความส าเร็ จ ดีเด่น ของสถานศึกษาในสั งกั ดส านักงาน กศน. จ านวน 14 เรื่อง เพื่อใช้เ ป็นตัว อย่ างในเชิ ง ประจักษ์ของสถานศึกษาที่มีความสาเร็จดีเด่น (Best Practice) ตามนโยบายจุดเน้น ของสานักงาน กศน. ได้อย่างชัดเจน และมีประสิทธิภาพ หน่วยศึกษานิเทศก์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสาร “การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่น (Best Practice) ประจาปี 2561” จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางาน ตลอดจนเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างแรงจูงใจ อันจะเกิด ประโยชน์สูงสุดต่อผู้รับบริการต่อไป หน่วยศึกษานิเทศก์ สานักงาน กศน.
สำรบัญ เรื่องที่
1 การศึกษาขั้นพื้นฐาน : การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่นนวัตกรรมการใช้แถบสีเทียบอักษร เพื่อพัฒนาการอ่านคาศัพท์ภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษา กศน. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตาบลสบเมย อาเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน 2 โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน : การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่นโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น 3 การศึกษาต่อเนื่อง : การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่นโครงการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การพัฒนา คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน กศน.ตาบลหนองแหน อาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา 4 ห้องสมุดประชาชน : การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่นการศึกษาตามอัธยาศัย (กรณีศึกษา ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น สังกัด กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น 5 ห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด : การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่นห้องสมุดเคลื่อนที่ สาหรับชาวตลาดน้าวัดใหม่นาบุญ กศน.อาเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี 6 ศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบล : การถอด บทเรียนความสาเร็จดีเด่นโครงการศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจา ตาบลทุ่งท่าช้าง อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี 7 การขับเคลื่อนการดาเนินงานโครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของ พระมหากษัตริย์ไทย : การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่นการขับเคลื่อนการดาเนินงานโครงการอบรม ประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย โดยใช้ระบบ E-Learning SKNFE MOOC (Massive Open Online Course) กศน.อาเภอระโนด จังหวัดสงขลา 8 โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ : การถอดบทเรียนที่ประสบความสาเร็จดีเด่น โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ กศน.อาเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง 9 การขับเคลื่อนการดาเนินงานตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน : การถอดบทเรียนความสาเร็จ ดีเด่นโครงการสร้างชุมชน (สารสนเทศ) ต้นแบบดีเด่นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ชุมชนบ้านหินเทิน ตาบลแสงอรุณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 10 กศน.ตำบล 4 G : การถอดบทเรียนความสาเร็จของ กศน.ตาบล ๔G ดีเด่น กศน.อาเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง 11 การจัดการเรียนรู้ด้านเกษตรกรรม (Smart Farmer : เกษตรกรปราดเปรื่อง) : การถอด บทเรียนความสาเร็จดีเด่นกิจกรรมการใช้ SMART PLUG ในการบริหารจัดการน้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่น ๆ ผ่าน SMART PHONE กศน.อาเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี 12 บ้านหนังสือชุมชน : การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่นโครงการ “บ้านหนังสือชุมชนบ้าน ควนชะลิก” กศน.ตาบลควนชะลิก อาเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช
13 โครงการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนระดับตาบล : การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่น โครงการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนระดับตาบล กศน.ตาบลหนองตะพาน อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง 14 ศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตาบล : การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่นโครงการศูนย์ ส่งเสริมประชาธิปไตยตาบล กศน.อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่น นวัตกรรมการใช้แถบสีเทียบอักษรเพื่อพัฒนาการอ่านคาศัพท์ภาษาอังกฤษ สาหรับนักศึกษา กศน. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (กรณีศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตาบลสบเมย (กศน.ตาบลสบเมย) อาเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน)
ความเป็นมาของโครงการ ปัจ จุ บั น การติดต่อสื่อสารพัฒ นาขึ้นอย่างรวดเร็ว ภาษาอังกฤษนับว่าเป็นอีกหนึ่งภาษาหลั กที่มี บทบาทส าคัญในฐานะภาษาสากลที่คนนิย มใช้เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารและศึกษาค้นคว้าความรู้ วิทยาการสมัยใหม่ต่าง ๆ อีกทั้งยังใช้เป็น หนทางในการประกอบอาชีพได้อีกด้วย ดังนั้นผู้ที่มีความรู้ทักษะ ทางภาษาอังกฤษย่อมได้เปรียบผู้อื่นในการติดต่อสื่อสาร หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดให้ภาษาต่างประเทศ เป็นรายวิชาที่สถานศึกษาต้องจัดให้กับผู้เรียน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 กศน.ตาบลสบเมย สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสบเมย สานักงาน กศน.จังหวัดแม่ฮ่องสอน จัดให้ นักศึกษาลงทะเบียนเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อให้นักศึก ษาได้รับความรู้ ทักษะในสื่อสารและพัฒนา ตนเองเพื่อเตรียมพร้อมไปสู่ประชาคมอาเซียน การเรียนภาษาอังกฤษนั้นมุ่งให้นักศึกษาได้ใช้ทักษะทั้ง 4 ด้าน คือ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน มีผู้ลงทะเบียนเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 25 คน จากการทดสอบก่อ นเรีย น พบว่า มีนักศึกษาที่มีพื้ นฐานด้านภาษาอังกฤษต่ากว่าเกณฑ์ จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 40 ของจานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน นอกจากผลของการทดสอบก่อนเรียนที่ต่ากว่าเกณฑ์แล้ว ยังมีปัญหาอื่นที่สาคัญคือ นักศึกษาที่เข้า เรียนกับ กศน.ตาบลสบเมย อาเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน นั้น เป็นนักศึกษากลุ่มชนเผ่ากะเหรี่ยง ร้อยละ 97 เป็นเด็กที่ตกหล่นจากการศึกษาในระบบ ขาดโอกาสในการเรียนรู้ ประกอบกับครู กศน.ตาบลสบเมย เป็นชาติพันธุ์เผ่ากะเหรี่ยงเช่นกัน และมีภูมิลาเนาอยู่ในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอนมาแต่กาเนิด จึงรู้ซึ้งถึงข้อจากัด และอุปสรรคในการเรียนรู้ของกลุ่มชนเผ่าอย่างถ่องแท้ว่าพื้นฐานของชนเผ่ากะเหรี่ยงนั้น มีโครงสร้างทางภาษา พูดและภาษาเขียนที่แตกต่างจากภาษาอังกฤษโดยสิ้นเชิง กล่าวคือภาษากะเหรี่ยงไม่มีตัวสะกดทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน การเรียนภาษาอังกฤษจึงยากยิ่งขึ้น อุปสรรคในการเรียนรู้อีกประการหนึ่งคือนักศึกษาที่เข้าเรียนที่ กศน.ตาบลสบเมยนั้น มีพื้นฐานทางด้านภาษา ต่ากว่าเกณฑ์ การปูพื้นฐานทางด้านภาษาให้กับนักศึกษาจากความรู้ระดับพื้นฐานนั้นจึงมีความสาคัญมาก จากการสั ง เกตพฤติ ก รรมการเรี ย นรู้ ข องนั ก ศึ ก ษาในการเรี ย นภาษาอั ง กฤษ พบว่ า วั ย และ พื้นฐานความรู้ในรายวิชาภาษาอังกฤษของนักศึกษา กศน.ตาบลสบเมย มีผลให้นักศึกษาไม่สามารถจดจา พยัญชนะและสระภาษาอังกฤษได้ดีเท่าที่ควร ครูผู้สอนจึงแสวงหาแนวทางสร้างสื่อนวัตกรรมในการช่วยจาพยัญชนะและสระ เพื่อนาไปเทียบ อักษรและประสมเป็นคาอ่านภาษาอังกฤษ เริ่มแรกใช้กระดาษสีขาวและตัวหนังสือ พบว่านักศึกษาไม่ให้ความ สนใจเท่าที่ควร สาหรับผู้สอนเองพบว่า เมื่อใช้ปากกาสีเน้นข้อความเวลาอ่านหนังสือนั้น ทาให้สามารถจดจา
เนื้อหาเรื่องราวต่าง ๆ ได้ดีกว่าเดิม จึงได้ศึกษา ค้นคว้า ทฤษฎีการจาและสี เพื่อมาประยุกต์ใช้ในการสร้างสื่อ นวัตกรรมแถบสีเทียบอักษร จากการศึกษาแนวคิดในการปรับปรุงสื่อนวัตกรรมจากแถบสีสีขาวล้วนมาเป็นแถบสี 5 แถบสีเพื่อ แ ย ก ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง พ ยั ญ ช น ะ แ ล ะ ส ร ะ นั้ น ไ ด้ อ้ า ง อิ ง ห ลั ก วิ ช า ก า ร จ า ก บ ท ค ว า ม ใ น เ ว็ บ ไ ซ ต์ http://marulka.com,1 มกราคม, 2561 ของ “ดร.จูเลียต จู ผู้สอนวิชาการตลาดของมหาวิทยาลัยบริติช โคลั มเบี ย ประเทศแคนาดา ซึ่ง ทาการวิจั ยและได้ค้นพบความลึ กลั บของสี ในงานศิล ป์ต่ าง ๆ นอกจากนี้ ยังรวมถึงสีสันที่อยู่ตามสื่อต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นรูปถ่าย หนังสือ ภาพ ป้ายโฆษณา และอื่นๆ ซึ่งสีที่เรามองเห็นนั้น จะเชื่อมโยงเข้ากับการรับรู้ความรู้สึกและความทรงจาของเราได้เป็นอย่างดี จากการทดสอบกับอาสาสมัครหลายร้อยคน พบว่าสีที่แตกต่างกันก็สามารถกระตุ้นผู้คนให้มีอารมณ์ ความรู้สึกที่ต่างกันออกไปด้วย รวมถึงการกระตุ้นความทรงจาและช่วยทาให้จดจาข้อมูลได้รวดเร็ว และแม่นยา ขึ้น แต่โดยสรุปแล้ว ดร.จูเลียต จู เชื่อว่าการที่สีมีอิทธิพลต่อความทรงจาและช่วยกระตุ้นให้เกิดการจดจาและ เรี ย นรู้ ไ ด้ เ ร็ ว ขึ้ น นั้ น ไม่ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น ตามธรรมชาติ แต่ เ กิ ด จากประโยชน์ ท างอ้ อ ม เช่ น การท าให้ เ กิ ด สมาธิ การเชื่อมโยงจากข้อมูลต่าง ๆ รอบ ๆ ตัวทั้งในอดีตและปัจจุบัน รวมถึงการเห็นสีสันที่ชัดเจนและเชื่อมโยง ไปหาความทรงจาเก่าในอดีตที่เราอาจคิดว่าลืมไปแล้ว เป็นต้น
ขั้นตอนการดาเนินงาน โดยในการสร้างสื่อแถบสีเทียบอักษรนั้น ผู้ศึกษาได้เลือกใช้สี จานวน 5 สี ที่มีผลต่อการจดจามาก ที่สุด คือ สีฟ้า สีบานเย็น สีเขียว สีชมพูและสีขาว และดาเนินการสร้างนวัตกรรม โดยการใช้สื่อแถบสีเทียบ อักษรมาแก้ไขปัญหาดังกล่าว ประกอบด้วย 1. สีฟ้า แทน พยัญชนะเดี่ยว ประกอบด้วย K(k), D (d), N (n), B(b), P (p), F (f), M (m), R (r) ,L (l) ,W (w), V (v), S (s), H (h) 2. สีบานเย็น แทน พยัญชนะคู่ ประกอบด้วย KH (kh) ,NG (ng) ,CH (ch), TH (th) 3. สีเขียว แทน สระแท้ ประกอบด้วย A (a), E (e), I (i), O (o), U (u) 4. สีชมพู แทน สระประสม ประกอบด้วย AM (am), AE (ae), AI (ai), AY (ay), OR (or), OU (ou), IA (ia), EAR (ear), IU (iu), UA (ua), AO (ao), UI (ui), OI (oi), OEI (oei) 5. สีขาว แทน พยัญชนะพิเศษ ประกอบด้วย Y (y)
การดาเนินงานทดลองใช้สื่อที่พัฒนาขึ้น 1. ครู กศน.ตาบลสบเมย ได้คัดเลือกนักศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ที่ลงทะเบียนเรียน ในรายวิชาภาษาต่างประเทศ ประจาภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จานวน 25 คน 2. ให้นักศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) - จากผลการทดสอบพบว่า มีนักศึกษาที่ทาคะแนนแบบทดสอบได้ต่ากว่าเกณฑ์ จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 40 - นาผลการทดสอบมาวิเคราะห์พบว่า นักศึกษามีทักษะด้านการอ่านต่ากว่าเกณฑ์ จึงได้ศึกษา และจัดทาแบบฝึกหัดเทียบอักษรขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาให้กับนักศึกษา
ขั้นตอนการสร้างแบบฝึก ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนการสร้างนวัตกรรม แถบสีเทียบอักษรในระยะเริ่มแรกที่ใช้เพียงสีขาวสีเดียวเท่านั้น
เมื่อศึกษาข้อมูลและเอกสารต่าง ๆ แล้วจึงสร้างนวัตกรรมในการพัฒนาการเทียบอักษรโดยเริ่มแรก ได้ทาการทดลองในการอบรมค่าย English for fun จากการสอบถามผู้เข้ารับการอบรมและใช้นวัตกรรมพบว่า นักศึกษามีข้อเสนอแนะในการใช้สื่อ ดังนี้ 1. สื่อควรมีสีสันที่สะดุดตา เพื่อดึงดูดความสนใจ 2. สื่อควรมีตัวหนังสือขนาดใหญ่กว่าเดิม 3. สื่อควรใช้วัสดุที่แข็งแรง ทนทาน
ขั้นตอนที่ 2 ขั้นการพัฒนาและปรับปรุงนวัตกรรม หลังจากได้ข้อเสนอแนะจากกลุ่มทดลองที่ใช้สื่อดังกล่าว และศึกษาค้นคว้าข้อมูลเรื่องทฤษฎีสีกับการ จาของมนุษย์ รวมถึงศึกษางานวิจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจดจาของมนุษย์ผ่านรูปแบบสื่อต่าง ๆ ทาให้ทราบ ผลระดับการจดจาของนักศึกษาผ่านนวัตกรรมแถบเทียบอักษรภาษาอังกฤษ – ไทย ผู้ศึกษาได้ศึกษาทฤษฎี การจดจาเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงสื่อนวัตกรรมให้มีประสิทธิภาพในการใช้งานมากยิ่งขึ้น โดยมีการปรับ สื่อนวัตกรรมจากสีเดิมคือสีขาวล้ว นเป็นการใช้แถบสี การสร้างแถบสี เทียบอักษร เพื่อพัฒนาการอ่านคาศัพท์ภาษาอังกฤษนี้ กศน.ตาบลสบเมย สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยอาเภอสบเมย ได้เลือกใช้สีที่มีผลต่อการจามากที่สุด จานวน 5 สี ประกอบด้วย สีฟ้า สีบานเย็น สีเขียว สีชมพูและสีขาว เพื่อแทนพยัญชนะและสระในภาษาอังกฤษ ประกอบด้วย 1. สีฟ้า แทน พยัญชนะเดี่ยว ซึ่งมีพยัญชนะ ดังต่อไปนี้ K (k) ก M (m) มR(r)ร D (d) ด ฎ L (l) ล ฬ N (n) น ณ W (w) ว B (b) บ V (v) ว P (p) ป พ S (s) ศ ส ซ ษ ทร F (f) ฝ ฟ H (h) ห ฮ 2. สีบานเย็น แทน พยัญชนะคู่ ซึ่งมีพยัญชนะ ดังต่อไปนี้ KH (kh) ขคฆ NG (ng) ง CH (ch) จฉชฌ TH (th) ถ ฐ ท ฑ ธ ฒ 3. สีเขียว แทน สระแท้ (สระเดี่ยว) ซึ่งมีพยัญชนะ ดังต่อไปนี้ A (a) อะ อ อา E (e) เอะ แอ เอ I (i) อิ อี ไอ O (o) โอะ โอ เอาะ ออ U (u) อึ อือ อุ อู อ 4. สีชมพู แทน สระประสม (สระคู่) ซึ่งมีพยัญชนะ ดังต่อไปนี้ AM (am) อา อาม AE (ae) แอะ แอ AI (ai) ใอ ไอ อัย ไอย อาย AY (ay) เอ OR (or) ออ OU (ou) อัว IA (ia), EAR (ear) เอียะ เอีย IU (iu) อิว UA (ua) เอือะ เอือ อัวะ อัว AO (ao) เอา อาว UI (ui) อุย อูย OI (oi) โอย ออย OEI (oei) เอย 5. สีขาว แทน พยัญชนะพิเศษ (เป็นได้ทั้งพยัญชนะและสระ) ซึ่งมีพยัญชนะ ดังต่อไปนี้ Y (y) ญ ย และ สระอี้
นวัตกรรม : แถบสีเทียบอักษรที่ได้ปรับจากข้อเสนอแนะและการศึกษาทฤษฎีสีเพื่อการจดจาที่ดี
ขัน้ ตอนการใช้แถบสีเทียบอักษร
ขั้นตอนการใช้แบบฝึกหัดเทียบอักษร 1. แจกตารางเทียบพยัญชนะและสระให้นักศึกษาได้ศึกษาพร้อมทั้งอธิบายประกอบ 2. สอนการเทียบอักษรโดยใช้สื่อแถบสีเทียบอักษรเพื่อพัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษ (ขั้นทดสอบการใช้ แถบสี เทียบอักษร)
การนาแถบสีเทียบอักษรไปใช้ในการเล่นเกมประสมเป็นคาศัพท์ภาษาอังกฤษ
3. ทบทวนความรู้การเทียบอักษรโดยใช้แถบสีผ่านการเล่นเกม ซึ่งกิจกรรมนี้จะมีแถบสีเป็นสื่อในการ เรียนรู้ 4. นักศึกษาบอกตัวอักษรพร้อมกับตัวเทียบเทียบอักษรเพื่อพัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษจากแบบฝึก ชุดที่ 1 ได้แก่ ตัวอักษร (สระ / พยัญชนะ) 5. นักศึกษาอ่านคาศัพท์จากแบบฝึกชุดที่ 2 ได้แก่ ได้แก่ คาศัพท์ภาษาอังกฤษ 6. นักศึกษาทาแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test)
การทาแบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของแถบสีเทียบอักษร ผลการใช้แถบสีเทียบอักษร จากการนาแถบสีเทียบอักษรมาใช้กับกลุ่มเป้าหมาย พบว่าเมื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแล้วสังเกต ระดับความสามารถในการจดจาของนักศึกษาพร้อมทั้งจดบันทึกผลที่เกิดขึ้น โดยอิงจากคะแนนการทาแบบทดสอบ การเทียบอักษรภาษาอังกฤษก่อนการใช้สื่อแถบสีเทียบอักษร ผลการศึกษาและทดลองใช้สื่อนวัตกรรมแถบเทียบ อักษรภาษาอังกฤษ - ไทย ผลปรากฏว่านักศึกษาสามารถจดจาพยัญชนะภาษาอังกฤษจนสามารถเทียบอักษรได้ เพิ่มขึ้นซึ่งอ้างอิงจากคะแนนการทาแบบทดสอบ การเทียบอักษรภาษาอังกฤษหลังการใช้สื่อโดยคิดค่าผลสัมฤทธิ์ พัฒนาการด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น
จุดเด่นของนวัตกรรมนี้ 1. เป็นสื่อนวัตกรรมการเรียนรู้รูปแบบใหม่ ๆ ที่มีสีสันสวยงาม ดึงดูดความสนใจ เป็นการเรียนรู้คาศัพท์ ภาษาอังกฤษผ่านเกม ซึ่งส่งผลให้นักศึกษาไม่เบื่อหน่ายกับการเรียนรู้และสามารถจดจาได้ดีขึ้น ปรากฏในผลการ ทดสอบหลังเรียน 2. เป็นสื่อที่ใช้ง่าย ผลิตง่าย พกพาสะดวก
การเผยแผ่ความรูเ้ รื่องการใช้แถบสีเทียบอักษรให้กับบุคลากรครูในสถานศึกษาอื่น
การได้รับการยอมรับ 1. กศน.ตาบลสบเมย ได้รับคัดเลือกให้ได้รับรางวัลระดับภาคในการใช้นวัตกรรมการใช้แถบสีเทียบ อั ก ษรเพื่ อ พั ฒ นาการอ่ า นค าศั พ ท์ ภ าษาอั ง กฤษในการแก้ ไ ขปั ญ หาการจั ด การเรี ย นการสอนในรายวิ ช า ภาษาต่างประเทศ 2. กศน.ตาบลสบเมย ได้รับเชิญให้ไปเผยแพร่การใช้นวัตกรรมให้กับ ครู กศน.ตาบลอื่น
ข้อควรคานึงในการนาไปขยายผล การอ่านเป็นทักษะซึ่งจะสัมฤทธิ์ผลได้จากการกระทาอย่างต่อเนื่องและหรือสม่าเสมอ ดังนั้น จึงควรมี การพัฒนาทักษะการอ่านต่อไป โดยการกระตุ้นให้นักศึกษาเห็นความสาคัญและรักการอ่าน โดยครูผู้สอนสังเกต การอ่านของนักศึกษาเป็นระยะ ๆ
ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้ 1. สาหรับนักศึกษาที่มีพื้นฐานในด้านการอ่านระดับดีแล้ว ครูผู้สอนสามารถนาสื่อแถบสีเทียบอักษรนี้ มาผสมกัน หลาย ๆ ชุด เพื่อพัฒนาการอ่านจากการเทียบอักษรเป็นการฝึ กผสมคาศัพท์การฝึกสร้างประโยค ภาษาอังกฤษขั้นพื้นฐานง่าย ๆ ได้ 2. ครูผู้สอนสามารถนาสื่อแถบสีเทียบอักษรนี้ไปประยุกต์สร้างเป็นสื่อการสอนผสมคาให้กับนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาอ่านในรายวิชาภาษาไทยได้โดยการปรับเปลี่ยนเนื้อหาของสื่อ
เอกสารอ้างอิง ไขแข ชัยเงินตรา. ทฤษฏีเกี่ยวกับกระบวนการจดจาคาศัพท์. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, 2545. ขัติยา กรรณสูต. ทักษะการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: บริษัทธีระฟิล์มและไซแทกซ์ จากัด, 2516. จรูญ วงศ์ศายัณห์. การสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสมอง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาลัยธรรมศาสตร์,2549. ชม ภูมิภาค. เจตคติ. ปทุมธานี: วิทยาลัยครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์, 2516. ไชยยศ เรืองสุวรรณ. การสร้างนวัตกรรม. ปทุมธานี: วิทยาลัยครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์, 2527. LookMhee. (2017). ใช้ไฮไลท์ถูกสี ช่วยให้จดจาได้ดีขึ้น ลองดูนะ!. 17 ธันวาคม, 2560 จาก http://www.lookmhee.com/news/103995 Patcharee Pholkij. (2556). เทคนิคการจา กับ สีสัน. 21 ธันวาคม, 2560 จาก http://mindsupplies.blogspot.com/2013/09/blog-post.html Eduardo Willis. (2017). สีกับความทรงจา วิทยาศาสตร์ในความงามของศิลปะ. 1 มกราคม, 2561 จาก https://marulka.com มณฑนา เรืองสกุลราช และคณะ.2558. ผลของสีที่มีผลต่อความจาของนิสิตคณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์. 1 มกราคม, 2561 จาก med.swu.ac.th/research/images
ผู้เขียน
นางสาวศิริวัน สวยสุวรรณศรี ครู กศน.ตาบลสบเมย กศน.อาเภอสบเมย สานักงาน กศน.จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ผูส้ นับสนุนและตรวจสอบข้อมูล 1. นายพงษ์ศักดิ์
บุญเป็ง
2. นางสาวกัญจนสิรี ปัญญาดีมีทรัพย์
ผู้บรรณาธิการ
1. นายทวีป 2. นายอวยชัย 3. นางกฤษณา
อภิสิทธิ์ จันทปัญญาศิลป์ พลฤทธิ์
ผู้อานวยการ กศน.อาเภอสบเมย สานักงาน กศน.จังหวัดแม่ฮ่องสอน ครูผู้ช่วย สานักงาน กศน.จังหวัดแม่ฮ่องสอน อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ อดีตศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดอุตรดิตถ์
การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่น โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น (กรณีศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น (กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น) สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น)
ความเป็นมาของโครงการ โครงการศู น ย์ ฝึ ก อาชี พ ชุ ม ชน เป็ น โครงการต่ อ เนื่ อ งจากปี ง บประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ ซึ่ ง ใน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้จัดตั้งศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชนจังหวัด ๑ แห่ง สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น มอบหมายภารกิจหลัก ได้เห็นความพร้อมในการจัดงานอาชีพอย่างต่อเนื่องของ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น กศน.อ าเภอเมืองขอนแก่ น จึ งได้ เปิ ดศูน ย์ ฝึ กอาชีพ ชุมชน กศน.อ าเภอเมืองขอนแก่ นเป็นที่ แรก เพื่อ เป็ น ศูนย์กลางการจัดแสดงผลงาน/สาธิต การฝึกประกอบอาชีพและการจาหน่ายผลผลิตที่เกิดขึ้นจากผู้เรียนที่ผ่าน การสอน/ฝึกอบรมในหลักสูตรอาชีพเพื่อการมีงานทา โดยเน้นการจัดการศึกษาที่ยึดพื้นที่เป็นฐานในการพัฒ นา หลักสูตรการศึกษาที่เน้นอาชีพเป็นฐาน พร้อมทั้งได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจังหวัด ขอนแก่น เพื่อเป็นศูนย์กลางในการฝึก พัฒนา สาธิต สร้างอาชีพของผู้เรียน ชุมชน รวมทั้งเป็นที่จัดเก็บ แสดง จัดจาหน่าย และกระจายสินค้าและบริการของชุมชนในระดับพื้นที่ ประชาชนที่เข้ารับการฝึกอบรมมีอาชีพ และมีรายได้จากการประกอบอาชีพตามที่ ส่งเสริมความรู้สู่การมีอาชีพ สร้างรายได้ ทาให้ชุมชนเข้มแข็ง โดยมี หลักสูตรการฝึกอาชีพตลอดทั้งปี มีกลุ่มเป้าหมายทั้งประชากรในอาเภอเมืองขอนแก่น และผู้สนใจทั่วไป ปัจจุบันมีหลักสูตรการนวดแผนไทย ช่างตัดผมชาย ช่างตัดผมเสริมสวย การตัดเย็บเสื้อผ้า การทา ขนมไทย เบเกอรี่ ที่มีการเรียนอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งยังมีผู้เรียนมาจากจังหวัดใกล้เคียงเพื่อมาเรียนหลักสูตร ช่างตัดผมและเสริมสวย เช่น จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดมหาสารคาม และจากประเทศลาว และประเทศเวียดนามอีกด้วย ภายในบริเวณศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนบริเวณด้านหน้าทางเข้าสานักงาน กศน.อาเภอเมือง ยังให้บริการ กศน. Smart Shop เป็นแหล่งรวมสินค้าตาบล ทั้ง 18 ตาบลในอาเภอเมืองขอนแก่น ที่ กศน.อาเภอเมือง ขอนแก่น ได้ไปส่งเสริม สนับสนุนให้มี อาชีพ, กศน.ซาลอน เป็นแหล่งฝึกฝนฝีมือก่อนไปประกอบอาชีพจริง ด้านช่างตัดผมชายและช่างเสริมสวย, ห้องเรียนการนวดแผนไทย และการจาหน่ายสินค้าของผู้เรียน กศน.ด้วย
ภารกิจของศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น 1. เป็นศูนย์แนะแนวอาชีพของชุมชน ๒. เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และการฝึกปฏิบัติของผู้เรียนและประชาชนที่สนใจในการประกอบอาชีพ ๓. เป็นศูนย์กลางในการประสานงาน การดาเนินงาน ๔. เป็นศูนย์กลางแสดงผลงาน การฝึกประกอบอาชีพ และการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ผลงานของผู้เรียน ๕. เป็นศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านอาชีพของชุมชน
ขั้นตอนวิธีการดาเนินงาน ๑. การจัดทาแผนพัฒนาและแผนการปฏิบัติงาน สถานศึกษาจะต้องศึกษา รวบรวม มีการวิเคราะห์ ข้อมูล ๒. กลุ่มเป้าหมาย โดยมีการกาหนดคุณสมบัติการเข้าฝึกอบรมซึ่งเป็นประชาชนที่สนใจในการฝึก อาชีพ ต้องการเข้าสู่ อาชีพใหม่ หรือประชาชนที่มีอาชีพอยู่แล้ว และต้ องการต่อยอดอาชีพเดิม ซึ่งเมื่อจบ หลักสูตรแล้วจะต้องนาประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรไปประกอบอาชีพจริง ๓. หลักสูตรสถานศึกษา สถานศึกษามีหลักสูตรการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทาไว้ให้ครบตาม ความต้ อ งการของกลุ่ ม เป้ า หมาย เช่ น หลั ก สู ต รที่ ส ถานศึ ก ษาจั ด ท าใช้ เ อง หลั ก สู ต รกลาง หลั ก สู ต รที่ สถานศึกษาในสังกัดสร้างขึ้น เป็นต้น ๔. การคัดเลือกวิทยากร โดยมีการกาหนดคุณสมบัติ จากภูมิปัญญาท้องถิ่น/ผู้มีความเชียวชาญ หรือ ผู้ประสบผลสาเร็จ มีวุฒิบัตร เกียรติบัตร รับรองความรู้ ๕. การจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามหลักสูตรที่สถานศึกษากาหนด ๖. การออกหลักฐาน สถานศึกษา จะต้องจัดทาทะเบียนและหลักฐานการศึกษาตามระเบียบการจัด การศึกษาต่อเนื่อง พร้อมออกวุฒิบัตรให้กับผู้จบหลักสูตร
๗. งานอาชีพ ออกนิเทศ ติดตาม ประเมินผล
การปฏิบัติกิจกรรมที่ดาเนินการในศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น กิจกรรมที่ดาเนินการ ของศูนย์ฝึกอาชีพอาชีพชุมชน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ได้เปิดสอนวิชาชีพ ระยะสั้น หลักสูตร 50 - 150 ชม. ตามกาหนดระยะปีงบประมาณ และความสนใจของผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียน ได้มีหลักสูตรที่รองรับผู้สนใจ ได้แก่ - หลักสูตร วิชาชีพช่างตัดผมชาย หลักสูตร 150 ชม. - หลักสูตร วิชาชีพช่างดัดผม-เสริมสวย หลักสูตร 150 ชม. - หลักสูตร วิชาชีพนวดแผนไทยเพื่อสุขภาพ หลักสูตร 150 ชม. - หลักสูตร วิชาชีพช่างตัดเย็บเสื้อผ้า หลักสูตร 150 ชม. - หลักสูตร วิชาชีพการทาขนม หลักสูตร 50 ชม. - หลักสูตรนวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ หลักสูตร 60 ชม. ผลการปฏิบัติงานที่ถือเป็น (Best Practices) ในศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนอาเภอเมืองขอนแก่น ได้ดาเนินการ ให้มีร้านจาหน่ายสินค้า OTOP โดยนาสินค้าแต่ละตาบลใน 18 ตาบลในเขตอาเภอเมืองขอนแก่นมาวางจาหน่าย และมีการสาธิตสินค้า ในรูปแบบร้าน กศน. Smart Shop และ ร้าน กศน.ซาลอน เป็นร้านที่เปิดเพื่อให้นักศึกษา ที่มาฝึกอาชีพได้มีประสบการณ์จากการประกอบอาชีพจริง
ปัจจัยความสาเร็จ ๑. การจัดสถานที่ภายในสถานศึกษาที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของประชาชน โดยเปิดโอกาสให้คนที่สนใจ เข้ามาเรียนรู้กับแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ในสถานศึกษาได้ 2. การจัดการเรียนแบบไม่มีรอบ ไม่มีรุ่น ใช้การนับชั่วโมงเป็นตัวตั้ง เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ มาก ๆ ก่อนจบหลักสูตรและไปทางานจริง
๓. กศน. ได้จัดเตรียมสถานที่ฝึกอาชีพ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ไว้อย่างครบถ้วน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้ งานเพื่อฝึกปฏิบัติได้จริง ด้วยค่าเรียนที่ไม่แพงทาให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงการเรียนรู้ได้ ๔. วิทยากรให้ความใส่ใจในการสอน อยู่แบบเป็นพี่เป็นน้อง ทุ่มเทการทางาน
ผลที่เกิดกับชุมชน โครงการฝึกพัฒนาอาชีพสร้ างผลให้คนในเขตพื้นที่อาเภอเมืองขอนแก่น รวมทั้งอาเภอและจังหวัด ใกล้ เคีย งได้มีงานทา ตามวิสั ยทัศน์คือ “กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น จัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อปวงชน” กิจ กรรมการเรีย นการสอนในแต่ล ะหลักสูตรเป็นไปตามความต้องการของผู้เรีย น บางหลักสูตรต้องมีการ ลงทะเบียนเรียนล่วงหน้า เพราะมีข้อจากัดทางพื้นที่ห้องเรียนทาให้รับนักศึกษาได้จากัด เช่น หลักสูตรตัดผมชาย หลักสูตรตัดเย็บเสื้อผ้าสตรี หลักสูตรนวดแผนไทย ที่มีผู้เรียนให้ความสนใจอย่างมาก ซึ่งผลผลิตของ กศน. เป็นที่ต้องการของตลาด เพราะในระหว่างการเรียนรู้ ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงจนเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในหลักสูตรตัดผมชาย ครูผู้สอนได้เปิดร้านตนเองให้ เป็นที่ฝึกงานของนักศึกษาด้วย เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึ ก ทักษะจนชานาญ และไปเปิดร้านด้วยเองได้ ด้วยความเข้มของหลักสูตรจึงมีผู้เรียนมาจากทั้งจังหวัดใกล้เคียง และมาจากประเทศลาวและเวียดนามด้วย ปัญหาและอุปสรรค ๑. งบประมาณในการดาเนินงานที่ได้รับจัดสรรจาก สานักงาน กศน. ได้ล่าช้า ๒. ค่าตอบแทนวิทยากรได้น้อยถ้าเทียบกับความสามารถและประสบการณ์ที่มี ๓. สถานที่ในการจัดการเรียนการสอนในแต่ละวิชาชีพคับแคบ ไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้เรียน
รางวัลเกียรติยศที่ได้รับ 1. รางวั ล สุ ด ยอดแหล่ ง เรี ย นรู้ ประจ าปี พุทธศักราช 2550 2. รางวัลหมู่บ้านมหัศจรรย์ในการจัดกิจกรรม เศรษฐกิจพอเพียง ประจาปีพุทธศักราช 2551 3. รางวั ล สถานศึ ก ษาต้ น แบบ ประจ าปี พุทธศักราช 2554 ๔. รางวั ล สถานศึ ก ษาที่ จั ด การศึ ก ษานอก โรงเรี ย นดี เ ด่ น ประจ าปี พุ ท ธศั ก ราช 2554 ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ๕. รางวัลศูนย์เรียนรู้พระราชกรณียกิจและขยายผลแนวทางพระราชดาริในสถานศึกษาดีเด่นจังหวัด ขอนแก่น ประจาปีพุทธศักราช 2555 ๖. รางวัลสถานศึกษาพอเพียงระดับประเทศ ประจาปีพุทธศักราช 2555 7. นายธวัชชัย พลลา นักศึกษาแผนกตัดผมชาย ได้รับรางวัลการแข่งขันฝีมือแรงงานแห่งชาติ ครั้งที่ 25 ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (สาขาแต่งผม)
ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน. อาเภอเมืองขอนแก่น
จุดประสงค์/นโยบาย ประชาสัมพันธ์โครงการ/สารวจความต้องการเรียนอาชีพ โครงการอาชีพที่ต้องการ
หลักสูตรอาชีพ
ช่างตัดผมชาย - สรรหาวิทยากร - ทาหลักสูตร
ช่างดัดผม/เสริมสวย - สรรหาวิทยากร - ทาหลักสูตร
นวดแผนไทย - สรรหาวิทยากร - ทาหลักสูตร
ตัดเย็บเสื้อผ้า - สรรหาวิทยากร - ทาหลักสูตร
การทาขนม - สรรหาวิทยากร - ทาหลักสูตร
- แนะแนว - รับสมัคร
- แนะแนว - รับสมัคร
- แนะแนว - รับสมัคร
- แนะแนว - รับสมัคร
- แนะแนว - รับสมัคร
จัดการเรียนการสอน / ระยะเวลา 150 ชม.
จัดการเรียนการสอน / ระยะเวลา 50 ชม.
วัดผล / ประเมินผล / มอบใบสาคัญวิชาชีพ
สร้างอาชีพใหม่
พัฒนาอาชีพเดิม
ศูนย์ฝึกอาชีพระดับตาบล
กศน. ตาบล 18 แห่ง
ประชาคมระดับหมู่บ้าน/ตาบล (18 ตาบล)
โครงการอาชีพ 18 ตาบล
หลักสูตรอาชีพ 18 ตาบล
สรรหาวิทยากร / จัดซื้อจัดจ้างวัสดุ
จัดการเรียนการสอน
ประเมินผล
สร้างอาชีพใหม่
พัฒนาอาชีพเดิม
ภาพกิจกรรมภายในศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น จัดการเรียนวิชาชีพ ทุกวันจันทร์ – วันศุกร์ (เวลา 08.30 น. – 16.30 น.)
วิชาชีพช่างตัดผมชาย หลักสูตร 150 ชั่วโมง
วิชาชีพช่างดัดผม-เสริมสวย หลักสูตร 150 ชั่วโมง
วิชาชีพนวดไทยเพื่อสุขภาพ หลักสูตร 150 ชั่วโมง วิชาชีพนวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ หลักสูตร 60 ชั่วโมง
วิชาชีพช่างตัดเย็บเสื้อผ้าหลักสูตร 150 ชั่วโมง
วิชาชีพการทาขนมหลักสูตร 50 ชั่วโมง
ร้าน กศน.SMEs, กศน.Smart Shop
นักศึกษาวิชาชีพผู้ประสบผลสาเร็จตามโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
นายธนากร สิทธิชัยเนตร ที่อยู่ 73 ถนนศรีนวล ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น รายได้ต่อเดือน 30,000 – 40,000 บาท จบรุ่นที่ 3/2559, รุ่น 4/2559
นายปัญญา โทแก้ว ที่อยู่ เปิดร้านอยู่ที่ข้างห้างสรรพสินค้าแฟรี่พลาซ่า ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น รายได้ต่อเดือน 18,000- 22,000 บาท จบรุ่นที่ 1/2558
นักศึกษาวิชาชีพผู้ประสบผลสาเร็จตามโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น วิชาชีพช่างดัดผม-เสริมสวย
นายธนกฤต สุขพืช 154 บ้านกอก ตาบลบ้านเป็ด อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น รายได้ต่อเดือน 25,000 – 30,000 บาท จบรุ่นที่ 3/2558
วิชาชีพช่างตัดผมชาย
นางสาวดวงจันทร์ คาทะนี ที่อยู่ 488/16 หมู่ที่ 14 ซอย รพช. ถนนมิตรภาพ ตาบลศิลา อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น รายได้ต่อเดือน 25,000 – 30,000 บาท จบรุ่นที่ 3/2560
วิชาชีพนวดไทยเพื่อสุขภาพและวิชาชีพนวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ
นางรสรินทร์ กันแก้ว ที่อยู่ 222/140 บ้านกอกน้อย บ้านโจด ตาบลบ้านเป็ด อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น รายได้ต่อเดือน 40,000 – 50,000 บาท จบรุ่นที่ 4/2560
นางสาวนันทนา พูลเกษม ที่อยู่ 10/1 หมู่ที่ 8 ตาบลบ้านเป็ด อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น รายได้ต่อเดือน 40,000 – 50,000 บาท จบรุ่นที่ 3/2561
นางหนูนา ภูพรรณณา ประเทศเยอรมัน จบรุ่นที่ 3/2561 รายได้ต่อปี 1,000,000 บาท
วิชาชีพช่างตัดเย็บเสื้อผ้า
นางสาวจิราพร วรบุตร ที่อยู่ 74/3 ถนนรอบบึง ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น รายได้ต่อเดือน 9,000-15,000 บาท จบรุ่นที่ 4/2559, รุ่นที่ 1/2560
นางสาวเสาวนีย์ สมานเมือง ที่อยู่ 50/5-6 ถนนกสิกรทุ่งสร้าง ตาบลศิลา อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น รายได้ต่อเดือน 10,000-18,000 บาท จบรุ่นที่ 4/2559, รุ่นที่ 1/2560
วิชาชีพการทาขนม
นางสาวสุรีย์รัตน์ จาปาเทศ ที่อยู่ 555/56 หมู่ที่ 8 บ้านวิคตรอเรีย ตาบลเมืองเก่า อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น รายได้ต่อเดือน 15,000 – 22,000 บาท จบรุ่นที่ 4/2560, รุ่นที่ 1/2561, รุ่นที่ 2/2561, รุ่นที่ 1/2562
นางสาวสุมิตานันท์ ทิมังกูร ที่อยู่ 9 ถนนรื่นจิตร ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น รายได้ต่อเดือน 18,000 – 20,000 บาท จบรุ่นที่ 4/2560, รุ่น 1/2561, รุ่น 2/2561, รุ่นที่ 3/2561, รุ่นที่ 1/2562
ประมวลภาพกิจกรรมรับใบสาคัญวิชาชีพ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
ผู้เขียน 1. นายบุญส่ง 2. นางวิไลพร 3. นางสาวธันยพัฒน์ 4. นางสาวอามรรัตน์
ทองเชื่อม บูรณ์เจริญ นูเร ศรีสร้อย
ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ครูชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น ครูชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น บรรณารักษ์ชานาญการ สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น
ผูส้ นับสนุนและตรวจสอบข้อมูล 1. นายบุญส่ง 2. นางวิไลพร 3. นางสาวธันยพัฒน์ 4. นางสาวอามรรัตน์
ทองเชื่อม บูรณ์เจริญ นูเร ศรีสร้อย
ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ครูชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น ครูชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น บรรณารักษ์ชานาญการ สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น
ผูเ้ รียบเรียงและรวบรวม นางสาวธันยพัฒน์
นูเร
ครูชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น
อภิสิทธิ์ ล่องประเสริฐ สวัสดี
อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดสุรินทร์
ผู้บรรณาธิการ 1. นายทวีป 2. นางสาวสุวรรณา 3. นางวัชรี
แผนผัง/แผนที่โรงเรียน
การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่น โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน (กรณีศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตาบลหนองแหน (กศน.ตาบลหนองแหน) อาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา)
ความเป็นมาของโครงการ ตาบลหนองแหน ตั้งอยู่ที่ อาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ลักษณะทางกายภาพเป็นแบบเมือง ชนบท พื้นที่เหมาะแก่การทาการเกษตร เนื่องจากมีคลองส่ งน้าตลอดแนว ประชากรส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร เช่น ทานา ทาสวน ทาไร่ เลี้ยงสุกร อาชีพเสริมได้แก่ รับจ้าง ค้าขายผลผลิต ขายสินค้า ประชากรร้อยละ ๙๙ นับถือ ศาสนาพุทธ มีชาติพันธุ์เดินเป็นคนเขมร คนลาวผสมปะปนกันอยู่ จึงมีการรักษาวัฒนธรรมประเพณีของชุมชน สืบทอดกันมาแบบหลากหลาย ที่สาคัญมีชมรมผู้สูงอายุตาบลหนองแหน ที่สามารถรวมกลุ่มกันอย่างเหนียวแน่น เพื่อทากิจกรรมต่าง ๆ คาขวัญของชมรม คือ “สูงอายุอย่างมีคุณค่า สูงอายุใช่ว่าไม่กล้าหาญ สูงอายุใช่ว่าแค่อยู่ นาน สูงอายุยังเชี่ยวชาญงานทั้งปวง” สีประจาชมรมคือ สีม่วง ประธานชมรมผู้สูงอายุตาบลหนองแหน คือนางศรีเมือง โรจน์วีระ ก่อตั้งชมรมผู้สูงอายุเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๙ เริ่ ม ต้ น จากการที่ ผู้ สู ง อายุ ม าร่ ว มกั น ท าบุ ญ ที่วัดเป็นประจาทุกวันพระตามธรรมเนียมประเพณีของ ท้ อ งถิ่ น มี ก ารพู ด คุ ย กั น ในเรื่ อ งของสุ ข ภาพอนามั ย การแก้ปัญหาสุขภาพ และช่ว ยกันคิดหาวิธีการในการ ป้องกันสุขภาพกาย สุขภาพจิ ต หากิจกรรมให้ผู้สูงอายุ ได้ทาในยามว่าง ช่ว ยสร้ างรายได้ ลดรายจ่าย การให้ ความช่ว ยเหลือ ดูแล เยี่ย มเยี ยนกันอย่ างใกล้ ชิด และ ประสานงานกับกลุ่ม อสม. เพื่อวางแผนการทางานด้าน ส่ งเสริ มสุ ขภาพอนามั ย ผู้ สู งอายุ จั ดตั้ งคณะกรรมการ บริ ห ารชมรม มี ส มาชิ ก ชมรมที่ ม าจากกลุ่ ม ผู้ สู ง อายุ ในชุมชน โดยใช้สถานีอนามัยตาบลหนองแหน เป็นศูนย์กลาง มีเจ้าหน้าที่สาธารณสุ ขเป็นที่ปรึกษาและอานวย ความสะดวก ปัจจุบันได้ขยายเครือข่ายสมาชิกชมรม ครบทั้ง ๑๕ หมู่บ้าน จดทะเบียนเป็นองค์กรสาธารณะประโยชน์ เมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๒ มีโ ครงสร้างการบริหารงานที่ชัดเจน ได้รับรางวัลชนะเลิศชมรมผู้สู งอายุดีเด่น ระดับ จังหวัด เมื่อวันที่ 1 กันยายน ๒๕๕๙ มีช มรมผู้สูงอายุในระดับหมู่บ้านของตาบลหนองแหน ๑๕ ชมรม และมีชมรมเครือข่ายในระดับจังหวัด อีก ๔ ชมรม
จากการที่ชมรมผู้สูงอายุ ในพื้นที่มีกิจกรรมหลากหลาย มีความเข้มแข็ง และมีความพร้อมที่จะเรียนรู้ มีการจั ดกิ จ กรรมร่ ว มกับ โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตาบล (รพ.สต.) แต่ กิ จกรรมที่จั ดให้ กั บผู้ สู ง อายุยั งไม่ หลากหลาย กศน.ตาบลหนองแหน อาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา จึงได้เข้าไปส่งเสริม สนับสนุน และ ร่วมจัดกิจกรรมกับกลุ่มผู้สูงอายุ ช่วยให้คาปรึกษาแนะนา พร้อมทั้งนากิจกรรม ของ กศน. เข้าไปส่งเสริมคุณภาพ ชีวิตผู้ สู งอายุ ในรู ป แบบของการพัฒ นาอาชีพ พัฒ นาทักษะชีวิต พั ฒ นาสั งคมชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง และ กิจกรรมส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลชุมชนให้กับกลุ่มผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง การดาเนินงานภายใต้ความร่วมมือ ของภาคีเครือข่ายในระดับพื้นที่ ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) ที่มีงบประมาณสนับสนุนจากการจัดตั้ง โรงเรี ย นผู้ สู ง อายุ หน่ ว ยงานโรงพยาบาลส่ ง เสริ มสุ ข ภาพต าบล (รพ.สต.) ส านักงานส่ ง เสริ มสุ ข ภาพ (สสส.) สนับสนุนเรื่ององค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพอนามัย การตรวจสุขภาพและหน่วยงานของพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุ ษย์ (พม.) จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพ ที่เหมาะสมกับกลุ่ม เช่น การทาของใช้ในครัวเรือน การทาของชาร่วยที่ใช้ในกิจกรรมของชุมชน
ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. การค้นหาความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยครู กศน. ตาบล เข้าไปร่วมกิจกรรมกับชมรมผู้สูง อายุ และหน่ ว ยงานภาคี เ ครื อข่ าย พูด คุย ค้ น หาความต้ อ งการของกลุ่ มเป้ าหมายเป็ นรายบุค คลและเป็ น รายกลุ่ ม พบปัญหาที่เกิดกับผู้สูงอายุ เช่น ปัญหาความเจ็บป่วยจากโรคระบาดในชุมชน ความวิตกกังวลในเรื่องของสุขภาพ ร่างกายที่เปลี่ยนแปลง ความเงียบเหงาที่ต้องถูกทิ้งให้อยู่บ้านเพียงลาพัง ซึมเศร้า ขาดการดูแลสุขภาพ และการ ออกกาลังกายที่ถูกวิถี ขาดความเข้าใจในการกิ นอาหารที่เหมาะสมกับวัยสูงอายุ ขาดรายได้ มีความเป็ นห่ว ง ทรัพย์สินมรดก เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องของกฎหมาย การทาพินัยกรรม ขาดการเข้าสังคม เหล่านี้ เป็นต้น 2. การจัดกลุ่มตามความต้องการและการวางแผนจัดกิจกรรม ได้แก่ กลุ่มที่มีความต้องการด้านอาชีพ มีรายได้หรือลดรายจ่าย กลุ่มที่ต้องการด้านสุขภาพอนามัย กลุ่มที่ต้องการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ กลุ่มที่ ต้องการเรียนรู้เรื่องของการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในชีวิตประจาวัน กลุม่ ที่ต้องการเรียนรู้เรื่องกฎหมาย กลุ่มที่ต้องการ มี สั ง คม มี ก ารท ากิ จ กรรมร่ ว มกั น เมื่ อ ได้ ก ลุ่ ม เป้ า หมายที่ แ ยกความต้ อ งการแล้ ว จึ ง ประสานกั บ หน่ ว ยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทาหลักสูตรสาหรับจัดกิ จกรรมตามลาดับความสาคัญของปัญหา วางแผนการจัดกิจกรรม ทั้งใน ระยะสั้นและระยะยาว อย่างต่อเนื่อง 3. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายในระดับพื้นที่ 3.1 การอบรมแกนน าชมรมผู้ สูงอายุระดับตาบล เรื่องผู้สูงอายุไม่ลื ม ไม่ล้ม ตามโครงการขยาย เครือข่ายชมรมผู้สูงอายุต้นแบบ 3.2 แกนนาผู้เข้ารับอบรมให้ความรู้ด้านสุ ขภาพ “ผู้สูงอายุ ไม่ลืมไม่ล้ม ” ขยายผลสู่สมาชิกชมรม ผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุทั่วไปในชุมชน 3.3 การฝึกอาชีพระยะสั้น วิชาการทากระเป๋าผ้าด้นมือ การสานตะกร้าเชือกมัดฟาง เพื่อนาไปเป็น อาชีพสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน
ฝึกอาชีพการทากระเป๋าผ้าด้นมือ
3.4 การให้ความรู้เรื่อง “ฉะเชิงเทรา กับการพัฒนาพื้นที่พิเศษ ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC)” เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีความรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงของสังคม ผลกระทบที่ได้จากการเป็นชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ พัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก 3.5 การเตรี ยมความพร้อมสภาพร่ายกาย จิตใจในการเป็นผู้ สูงอายุ การปรับสภาพสิ่งแวดล้อม ในครอบครัวสาหรับผู้สูงอายุ การออกกาลังกายด้วยกีฬาเปตอง การเต้นบาสโลป การออกกาลังกายด้วยตาราง ๙ ช่อง การออกกาลังกายด้วยไม้พลอง การใช้ยางยืดเพื่อยืดเหยียดร่างกายและกิจกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การดูแลสุขภาพกายและสุขภาจิตอย่างต่อเนื่อง
สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ออกกาลังกายด้วยการเล่นกีฬาเปตอง
การออกกาลังกายด้วยตาราง 9 ช่อง เพือ่ ฝึกสมาธิและความแข็งแรงร่างกาย
การออกกาลังกายด้วยไม้พลอง เพื่อยืดเยียดกล้ามเนื้อ
การออกกาลังกายด้วยยางยืด เพือ่ การยืดเหยียด และการคลายกล้ามเนื้อ
3.6 อบรมให้ความรู้เรื่อง Digital Literacy การใช้ โทรศัพท์สมาร์ทโฟนให้เกิดประโยชน์ การใช้ไลน์ การใช้เฟซบุ๊ก การถ่ายรูป การแต่งภาพ การเขียนข้อความ การใช้เทคโนโลยี การใช้กูเกิล หาความรู้ให้ทันต่อความ เปลี่ยนแปลงของสังคมในยุคไทยแลนด์ ๔.๐ 3.7 อบรมให้ความรู้เรื่องกฎหมายที่ผู้สูงอายุควรรู้ เช่น เรื่องการทาพินัยกรรม มรดก กฎหมาย ในชีวิตประจาวัน
อบรมโครงการดิจิทัล หลักสูตรการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ด้วยความปลอดภัย (Digital Literacy )
กิจกรรมอบรมกฎหมายที่ผู้สูงอายุควรรู้
3.8 ฝึกอบรมการเล่นดนตรีไทย “การตีกลองยาว” เพื่อใช้ในการแสดงกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน เป็นการสืบทอด และอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามไม่ให้สูญไป 3.9 ฝึ กอบรมการทาอาหารท้องถิ่น เช่น การทาขนมชั้น ขนมหม้อแกงแบบโบราณ การทาขนม ช่อม่วง และอาหารสุขภาพ น้าพริกสูตรต่างๆ
เรียนตีกลองยาวและนาคณะกลองยาว มาร่วมต้อนรับคณะประเมินหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
ฝึกอาชีพการทาขนมช่อม่วง ขนมโบราณ
4. ผลการด าเนิ น งาน พบว่ า มี การน าความรู้ ไ ปใช้ ประโยชน์ โดยชมรมผู้ สู งอายุต าบลหนองแหน มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น สมาชิ ก ช่ ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น ในกลุ่ ม และในชุ ม ชน เข้ า ร่ ว มสั ง คมกั น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จัดกิจกรรมร่วมกันอย่างสม่าเสมอ เช่น การออกกาลังกาย มีสุขภาพร่างการแข็งแรงและออมเงินช่วยเหลือกัน ในกลุ่ม
ความสาเร็จที่เป็นจุดเด่นของโครงการ 1. ชุมชนมีความเข้มแข็ง เนื่องจากชมรมผู้สูงอายุ เป็นส่วนหนึ่งของชุมชนที่ช่วยผลั กดันให้เกิดความ เข้มแข็งในชุมชน ซึ่งเริ่มจากการมีผู้นาที่ดี สมาชิกชมรมมีความพร้อม การประสานความร่วมมือของคนในชุมชน การรวมกลุ่มกันเพื่อให้เกิดกิจกรรมต่อเนื่องในชุมชน ผู้สูงอายุใช้ชีวิตอย่างมีความสุข ด้านการมีส่วนร่วม ทาให้เกิด การอนุ รั กษ์เ ผยแพร่ วัฒ นธรรม ประเพณี พัฒ นาแหล่ งเรี ยนรู้ ทั้ งตนเองและชุม ชน เช่น การละเล่ นพื้น บ้า น การตีกลองยาว การทาอาหารท้องถิ่น ขนมไทย การเข้าร่วมประเพณีต่าง ๆ 2. ชุมชนมีค วามมั่นคง ความปลอดภัย กศน.ตาบลหนองแหน ได้จัดกิจกรรมให้กับชมรมผู้ สูงอายุ โดยให้ความรู้เรื่องฝึกอาชีพ การดูแลสุขภาพอนามัยของผู้สูงอายุ การหลีกเลี่ยงการป้องกันโรคติดต่อ การเลือก บริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายและเหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ การเรียนรู้เรื่องของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น เรื่องของมรดก การทาพินัยกรรม การใช้สมาร์ทโฟนในการสื่ อสาร การค้นคว้าหาความรู้ใหม่ ๆ ให้รู้ทันความ เปลี่ยนแปลงของสังคม ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ส่งผลให้ชุมชนมีความมั่นคงปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บ และภัยจากกลุ่ม มิจฉาชีพต่าง ๆ 3. ชุมชนได้รับความช่วยเหลือดูแลจากภาคีเครือข่ายหลายฝ่าย ได้แก่ กศน. ที่เข้ามาร่วมจัดกิจกรรม อย่างต่อเนื่อง องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากการจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ ในพื้นที่ หน่วยงานสาธารณสุข ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) หน่วยงาน สานักงานส่งเสริม สุขภาพ (สสส.) และหน่วยงานของพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ( พม.) ที่ช่วยสร้างอาชีพ สร้างรายได้กับ กับกลุ่มชมรมผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นสมาชิกของชุมชน 4. ชุมชนได้รับความรู้จากการถ่ายทอดของวิทยากรและภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่มีองค์ความรู้หลากหลาย สาขาวิชา เช่น วิทยากรฝึกอาชีพที่เหมาะสมกับกลุ่มผู้สู งอายุ วิทยากรจากสาธารณสุข เรื่องของสุขภาพอนามัย ทั้งนี้ยังมีภูมิปัญญาท้องถิ่ นในแต่ละสาขา เช่น การทาขนมไทย ดนตรีไทย การออกกาลังกายยืดเหยียดร่า งกาย กิจ กรรมเข้าจั งหวะ การร าไทเก๊ก โยคะ การออกกาลั งกายด้ว ยตาราง ๙ ช่อง ยางยืด ไม้พลอง กายบริห าร เป็นต้น 5. ชุมชนมีเงินออมเป็นสวัสดิการเพื่อช่วยเหลือกันในชุมชน กลุ่มสมาชิกชมรมผู้สูงอายุมีเงินกองทุน ที่มาจากการช่วยกันออม การจัดกิจกรรมเพื่อหารายได้เข้ากองทุน เช่น การทาพวงหรีด ดอกไม้จันทน์ขายในชุมชน เพื่อนาเงินเข้ากองทุน เป็นต้น ปัจจุบันมีเงินทุนหมุนเวียนเป็นจานวนมาก สาหรับใช้ในการเยี่ยมสมาชิกผู้ป่วย และ ช่วยเหลือสมาชิกในกลุ่มยามจาเป็นฉุกเฉิน 6. ชุมชนมีความยั่งยืน กลุ่มชมรมผู้สูงอายุในชุมชน มีกิจกรรมที่ทาอย่างต่อเนื่อง ได้รับความช่วยเหลือ ดูแลจากหน่วยงานภาคีเครือข่าย มีความเข้มแข็งจนสามารถพึ่งตนเองได้หากไม่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงาน ต่าง ๆ และสามารถเป็นต้นแบบขยายผลไปสู่ชุมชนอื่น ๆ ได้เป็นอย่างดี
รางวัลแห่งความสาเร็จของโครงการ 1. ได้รับการคัดเลือกให้เป็นชมรมผู้สูงอายุเข้มแข็ง ๑ ใน ๒๒ ของประเทศประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๘
2. สานั กงานสาธารณสุขจั งหวัดฉะเชิงเทรา มอบเกียรติบัตร ให้กับชมรมผู้ สูงอายุตาบลหนองแหน อาเภอพนมสารคามจังหวัดฉะเชิงเทรา ได้เข้าร่วมโครงการเพิ่มพูนศักยภาพบุคลากรส่งเสริมการออกกาลังกาย สาหรับผู้สูงอายุ หลักสูตรออกกาลังกาย “ไม่ลืมไม่ล้ม” จังหวัดฉะเชิงเทรา ระหว่างวันที่ ๒๗ - ๒๘ เมษายน ๒๕๕๙
3. สานักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ ด้ อ ยโอกาส และผู้ สู ง อายุ มอบเกี ย รติ บั ต ร “ชมรมผู้ สู งอายุ ต าบลหนองแหน อาเภอพนมสารคาม จั ง หวั ด ฉะเชิ งเทรา เป็ น หน่ ว ยงานที่ ท าประโยชน์ ด้ า น ผู้สูงอายุ สมควรได้รับการยกย่องเพื่อเป็นเกียรติประวัติ สืบไป
4. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มอบโล่เกียรติคุณ ชมรมผู้สูงอายุ ตาบลหนองแหน ในการรวมพลังเครือข่ายเพื่อสร้างสุขภาพผู้สูงอายุและ สร้างสังคมแห่งความดีงามด้วยคุณค่าและคุณประโยชน์ของการส่งเสริม สุขภาพผู้สูงวัย เมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๒
5. คณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่ง ชาติ และกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับสภาพ สังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ มอบโล่เกียรติ คุณให้ช มรมผู้ สูงอายุตาบลหนองแหน อาเภอพนมสารคาม จังหวัด ฉะเชิงเทรา ในฐานะองค์กรที่มีกิจกรรมทางสังคมดีเด่น ปี ๒๕๖๑
6. การได้รับการยอมรับงานวิจัย“การขับเคลื่อนชุมชนเพื่อส่งเสริมผู้สูงอายุ ให้ใช้ชีวิตอย่างมีความสามารถ”กรณีศึกษาชมรมผู้สูงอายุตาบลหนองแหน อาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัย ศิลปากร ร่วมกับ สานักงาน กศน.จังหวัดฉะเชิงเทรา
ข้อคิดควรคานึงในการนาไปขยายผลหรือนาโครงการนี้ไปดาเนินการต่อ 1. ครู กศน.ต าบล ควรเป็ น คนที่ อ ยู่ ป ระจ าในพื้ น ที่ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมของชุ ม ชนอย่ า งสม่ าเสมอ มีความสามารถในการประสานงานกับภาคีเครือข่าย และกลุ่มผู้นาต่างๆ ในชุมชนได้เป็นอย่างดี หากไม่มีคุณสมบัติ ดังกล่าว กิจกรรมในพื้นที่ไม่สามารถขับเคลื่อนได้อย่างแน่นอน 2. เครื อข่ายในชุมชนทุกภาคส่ว นต้องประสานความร่วมมือกันอย่างจริงจัง เพื่อให้การจัดกิจกรรม มีความต่อเนื่อง หากขาดความร่วมมือ และการจัดกิจกรรมที่ไม่ต่อเนื่อ ง ไม่สามารถสร้างให้เกิดชุมชนที่มีความ เข้มแข็งได้
ข้อมูล/หลักฐานอ้างอิง การสัมภาษณ์ นางบังอร ฝ่ายสัจจา ผู้อานวยการ กศน.อาเภอพนมสารคาม ครู กศน.ตาบลหนองแหน และสมาชิกชมรมผู้สูงอายุตาบลหนองแหน ภาพประกอบจาก นางสมจิตร สมาน ครู กศน.ตาบลหนองแหน
ผู้เขียน
นางวัชรินทร์ ศรีณิบูลย์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดฉะเชิงเทรา
ผูส้ นับสนุนและตรวจสอบข้อมูล 1. นางบังอร
ฝ่ายสัจจา
2. นางสมจิตร
สมาน
ผู้อานวยการ กศน.อาเภอพนมสารคาม สานักงาน กศน.จังหวัดฉะเชิงเทรา ครู กศน.ตาบลหนองแหน และสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ครู กศน.ตาบลหนองแหน สานักงาน กศน.จังหวัดฉะเชิงเทรา
ผูบ้ รรณาธิการ 1. นายทวีป อภิสิทธิ์ 2. นางสาวสุวรรณา ล่องประเสริฐ
อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ
การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่ เด่นการศึกษาตามอัธยาศัย (กรณีศึกษา : ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น (กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น) สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น)
คลิปแนะนาห้องสมุดฯ
ความเป็นมาของโครงการ ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัด ขอนแก่น เป็นห้องสมุดประชาชนประจาจังหวัด ที่ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น มีพื้นที่ให้บริการ 3 ชั้น เริ่มให้บริการเมื่อปี 2544 เปิดให้บริการ 7 วัน ระหว่างเวลา 08.30- 17.00 น. อดีตยังมีคนเข้ามาอ่าน หนังสือในห้องสมุด จานวนมาก แต่ในยุคปัจจุบัน มีคนเข้ามาอ่านหนังสือในห้องสมุดน้อยลง อ่านหนังสื อ น้อยลง คนขอนแก่นส่วนใหญ่เอา Tablet , Smartphone มาใช้งานในส่วนของบันเทิงมากกว่า อ่านหนังสือ แม้ว่าจะสามารถนามันมาเป็นเครื่องอ่าน E - book ได้ และพบว่า วัยรุ่นและวัยทางานทั่วไปใช้งาน Tablet , Smartphone เหล่านี้กับ App เกม หรือ Link Facebook , Youtube , Twitter , หรือเข้าเว็บไซต์ ตอบอีเมล์ มากกว่า รวมไปจนถึงช่องรายการ Cable มากมาย ทีด่ งึ เวลาคนขอนแก่นให้เสพรายการดูมากกว่าอ่าน
ขั้นตอนการดาเนินงาน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ได้พูดคุยกันในองค์กร ผู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา บรรณารักษ์ ครู ครู อาสาฯ ครู กศน.ตาบล ครู กลุ่ มเปู า หมายพิ เศษ และบุค ลากร กศน.อาเภอเมือ งขอนแก่น ทุ กคน ได้ ข้ อ สรุ ป ว่ า ควรต้ อ งมี กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การอ่านทั้งเชิงรับ และเชิงรุก พัฒนาห้องสมุด ให้ เ ป็ น ห้ อ งสมุ ด มี ชี วิ ต ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น บ้านหนังสือชุมชน 186 แห่ง ให้คนในชุมชนได้ มี ห นั ง สื อ อ่ า น โดยมี ทู ต การอ่ า นในชุ ม ชน (อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน) ที่นาหนังสือเข้าไป ในชุ มชน จัดมุมหนังสื อ แนะนาหนัง สื อให้ ค น ในชุมชนได้อ่าน จัดห้ องสมุดให้ มีบรรยากาศ ที่สวยงาม มีหนังสือที่ทันสมัย มี e - book การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา วางแผนการส่งเสริมการอ่าน ให้ บ ริ ก ารบนเว็ บ ไซต์ ร ะบบเชื่ อ มโยงแหล่ ง เรียนรู้ห้องสมุดฯ http://lrls.nfe.go.th/LRLS/frontend/theme/media_category.php?ID_Media_Type=153
ความสาเร็จที่เป็นจุดเด่น กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น โดยจับมือ กับ ชุม ชน เครื อข่ ายการอ่ านในชุม ชน โดยมี จุ ด เ ริ่ ม ต้ น ข อ ง ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ มื่ อ วั น ที่ 3 กรกฎาคม 2556 โดย ส านั ก หอสมุ ด มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีนโยบายที่จะทาให้ ขอนแก่ น เป็ น นครแห่ ง การอ่ า น ซึ่ ง ตรงกั บ นโยบายของ สานักงาน กศน.และสถาบันและ องค์ ก รที่ มี น โยบายตรงกั น อี ก รวม 11 แห่ ง พิธีลงนามMOUเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ ได้แก่ (1) สานักหอสมุดมหาวิทยาลัยขอนแก่น และศูนย์บริการข้อมูลจังหวัดขอนแก่นเมื่อวันจันทร์ที่ 11 กันยายน 2560 รวม 11 สถาบัน (2) ห้องสมุด วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น (3) ห้องสมุด วิทยาลัยเทคนิคขอนแก่น (4) ห้องสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานวิทยาเขต ขอนแก่น (5) สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (6) สานัก หอสมุดกลาง วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย (7) ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จั งหวัดขอนแก่น ศูน ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธ ยาศัย อาเภอเมือ ง ขอนแก่น (8) ห้องสมุด โรงพยาบาลขอนแก่น (9) สานักการศึกษา เทศบาลนครขอนแก่น (10) องค์การ บริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น (11) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีขอนแก่น ภายใต้ชื่อ “เครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ และศูนย์บริการข้อมูลจังหวัดขอนแก่น “เกือบ 6 ปี ความร่วมมือของเครือข่าย มีผลงานที่ภาคภูมิใจ ได้แก่ KKLNET Journals ฐานข้อมูลวารสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่สมาชิก MOU เครือข่ายความ ร่วมมือระหว่างห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ และศูนย์บริการข้อมูลจังหวัดขอนแก่น บอกรับ Heritage Of Khonkaen ฐานข้อมูลภาพเก่าในอดีตของจังหวัดขอนแก่น https://libapps.kku.ac.th/heritage/ KKNIE Library 360 องศา ระบบนาชมห้องสมุด 360 องศา https://library.kku.ac.th/kklnet360/nie/ ความสาเร็จที่เป็นจุดเด่น การทากิจกรรมเชิงรุก ที่หลากหลายต่อเนื่องให้กับกลุ่มเปูาหมายอย่างทั่วถึ ง เช่น กิจกรรมหนังสือข้างเตียง กิจกรรมหนังสือแซ่บ กิจกรรมหนังสือติดล้อห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด และ กิจกรรมบ้านหนังสือชุมชน
กิจกรรม “หนังสือข้างตียง” เราจับมือกับโรงพยาบาลขอนแก่น และโรงพยาบาลศรีนครินทร์ จัดมุมหนังสื อในโรงพยาบาล เพื่ อ ให้ บ ริ ก ารผู้ ปุ ว ยติ ด เตี ย ง ผู้ ปุ ว ยเรื้ อ รั ง ผู้ ปุ ว ยมะเร็ ง เด็ก ญาติผู้ปุวย และประชาชนทั่วไป โดยให้บริการสื่อคอมพิวเตอร์ สื่อหนังสือบันเทิง หนังสือสารคดี ของเล่นเด็ก วารสารบันเทิง ความรู้ทั่วไป นอกจากมุมหนังสือแล้ว ยังมีรถเข็นนิทาน ที่นา หนังสือสาหรับเด็ก ในมุมหนังสือ ไปถึงเตียงผู้ปุวยเด็ก หรือ ผู้ ปุว ยติ ดเตีย งได้ โดยมี ครู กศน.กลุ่ มเปู าหมายพิเศษ และ ทูตการอ่าน เข็นรถหนังสือนิทาน และอ่านนิทานให้เด็กฟัง รวมถึง จัดสอนอาชีพระยะสั้นให้กับญาติผู้ปุวย เพื่ อส่งเสริม ให้มีรายได้ และอ่านเสริมเพิ่มความรู้จากหนังสือได้
หนังสือแซ่บ : กศน.อาเภอเมือง ขอนแก่นที่ สถานีขนส่งผู้โดยสาร ขอนแก่น แห่งที่ 3
รถเข็นนิทาน
กิ จ กรรม “หนั ง สื อ แซ่ บ ” เป็ น การกระจายหนั ง สื อ สู่ ผู้ อ่ า นให้ ม ากที่ สุ ด สถานประกอบการ โรงพยาบาล ส่ ว นราชการ ในชุ ม ชน เพื่ อ สร้ า ง วั ฒ นธ รร ม ใน กา รอ่ า นใ ห้ ก ว้ า ง ขว าง แ ล ะ ให้ ป ระชาชนสามารถเลื อ กอ่ า นหนั ง สื อ ได้ ทุ ก ที่ ทุกเวลา เพื่อเป็ นแหล่ งบริ การสื่ อประเภทต่าง ๆ เช่น สถานีขนส่งผู้โดยสารขอนแก่น บรรณารักษ์ นาหนังสือออกให้บริการและหมุนเวียนสื่อทุกเดือน ๆ ละ 2 ครั้ง และประสานงานกับตารวจท่องเที่ยว เพื่อช่วยจัดวางเอกสารประชาสัมพันธ์การใช้รถใช้ ถนนในช่วงเทศกาลสาคัญ เช่น เทศกาลปีใหม่ ตรุษจีน สงกรานต์ เข้าพรรษา 2 เมษาวันรักการอ่าน เป็นต้น “หนังสือติดล้อ” บริการที่ สวนสาธารณะ บึงแก่นนคร ทุกวันจันทร์ เวลา 16.00 – 20.00 น.
คลิปภาพกิจกรรม หนังสือแซ่บ : กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
กิจกรรม “หนังสือติดล้อ” (ห้องสมุดเคลื่อนที่) เราน าหนั ง สื อ และกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู้ ออกบริการในรถโมบายและจักรยานยนต์พ่วงข้าง มีบรรณารักษ์ ครู กศน.ตาบล ทูตการอ่าน(อาสาสมัคร ส่งเสริมการอ่าน) ออกให้บริการทุกวันจันทร์ ระหว่าง เวลา16.00 – 20.00 น. โดยมีเทศบาลนครขอนแก่น เอื้อเฟื้อสถานที่บริเวณสวนสาธารณะแก่นนคร “หนังสือติดล้อ” บริการที มหกรรมหนังสือภาคอีสาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คลิปภาพกิจกรรม หนังสือติดล้อ
กิจ กรรมห้องสมุด เคลื่อนที่สาหรั บชาวตลาดตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จัดพิธีเปิดห้องสมุดเคลื่อนที่เพื่อชาวตลาด ตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี วันอาทิตย์ที่ 2 เมษายน 2560 ณ ตลาดสดเทศบาล 1 เทศบาลนครขอนแก่น อาเภอเมือง ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น หลังส่งมอบพ่อค้า แม่ค้า ช่วยกันดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อย และบริหารจัดการเอง ทุกคนรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของ โดยมีบรรณารักษ์ ห้องสมุดฯ นาหนังสือไปเติมเต็มและให้คาแนะนา อย่างน้อย สั ป ดาห์ ล ะ 1 ครั้ ง นอกจากนี้ ยั งจั บ มื อ กับ ศู น ย์ก ารค้ าเซ็ น ทรัล พลาซาขอนแก่ น ที่ใ ห้ พื้ นที่ ฟ รี ใ นการตั้ ง มุมหนังสือเพื่อให้บริการในชื่อ “ห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด” มุมหนังสือแซ่บ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
ภาพการใช้บริการห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับ ชาวตลาดฯ ตลาดสดเทศบาล 1 เทศบาลนคร ขอนแก่น
คลิปข่าว ห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด จ.ขอนแก่น รอบทิศถิ่นไทย วันที่ 6 พฤศจิกายน 2561
ข่าวคา #NBT2HD
คลิปข่าว NBT สัมภาษณ์ ผอ.บุญส่ง ทองเชือม
นายบุญส่ง ทองเชือม ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น นานักศึกษา กลุ่มเป้าหมายพิเศษ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น มาเรียนรู้ในมุมหนังสือฯ ประชาชนมาใช้บริการมุมหนังสือฯ
ปัญหาอุปสรรคที่พบ/วิธแี ก้ปัญหา ห้ องสมุดประชาชนเฉลิ มพระเกียรติฯ จังหวัดขอนแก่น มีการจัด กิ จกรรมเยอะ กลุ่ ม เปูาหมาย หลากหลาย แต่งบุ คลากรมีจ ากัด จึ งต้องหาอาสาสมัคร และจิตอาสา มาช่ว ยในทุกๆ กิจกรรม ด้ว ยการ ประชาสัมพัน ธ์บ นเพจเฟซบุ๊ก บนเว็บไซต์ห้องสมุดฯ เว็บไซต์ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ประชาสัมพันธ์ ผ่านเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดฯ ให้ผู้มีจิตอาสาฯ มาช่วยงานอาสาสมัครส่งเสริมการอ่านเหล่านี้ เราเรียกว่า “ทูตการอ่าน” มีจิตอาสาฯ มาช่วยกิจกรรมของห้องสมุดฯ มีทั้งในสังกัด เช่น นักศึกษา กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น อาสาสมัครฯ จาก สถาบั น เครื อข่าย และชุมชน เช่น มหาวิทยาลั ยขอนแก่น โรงเรียนแก่นนครวิทยาลั ย วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น รวมถึงประชาชนทั่วไป
อาสาสมัครฯ จาก มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อาสาสมัครฯ จาก ประชาชนทัวไป อาสาสมัครฯ จาก โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย
ห้องสมุดฯ เป็นที่ยอมรับของสถาบันการศึกษาหลายแห่งที่ถูกเลือกให้เป็นสถานที่ฝึกประสบการณ์ วิ ช าชี พ ของนั ก ศึ ก ษา จากสถาบั น การศึ ก ษา เช่ น มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย ทาให้บุคลากรในการปฏิบัติงานที่ทาทั้งเชิงรับ เชิงรุก มีประสิทธิภาพมากขึ้น
นักศึกษาวิชาเอกสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม 1 พฤศจิกายน 2561 - 15 กุมภาพันธ์ 2562
นักศึกษาวิชาเอกสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 7 มกราคม 2562 - 30 เมษายน 2562
รางวัลแห่งความสาเร็จ สิงทีได้จากการจัดกิจกรรมทั้งเชิงรับ เชิงรุก และแบบ online เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายอย่างทัวถึง ทำให้ คนอ่ำนหนังสือมำกขึ้น เข้าถึงสือมากขึ้น จากสถิติผู้เข้าใช้เพจเฟสบุ๊ค สถิติผู้เข้าใช้เว็บไซต์ห้องสมุดทีเพิมขึ้ น และ มากไปกว่านั้นยังได้รับรางวัลแห่งความสาเร็จทีภาคภูมิใจ คือ
ถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 สถานศึ ก ษาส่ ง เสริ ม การอ่ า น โครงการ “อ่า นสร้ า งสุ ข ”ในโรงเรี ย น และสถานศึ ก ษา ประจ าปี 2557 หน่วยงานที่จัด แผนงานสร้างเสริม วัฒนธรรมการอ่าน (สสส.)
รางวัลชนะเลิศ “การประกวดเว็บไซต์ ห้ อ งสมุ ด ประชาชน 2561” ได้ รั บ จาก ส านั กงาน กศน. วั นที่ 8 กั นยายน 2561 ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติฯ จังหวัด ขอนแก่น ได้รับรางวัลด้านการส่งเสริมการอ่าน มาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รายละเอี ย ดดู เ พิ่ ม เติ ม ได้ ที่ เว็ บไซต์ ห้ อ งสมุ ด ประชาชนฯ จั ง หวั ด ขอนแก่น
http://lrls.nfe.go.th/LRLS/frontend/theme/catalog.php?ID_Website_Section=4547
ห้ องสมุดประชาชนเฉลิ มพระเกี ย รติส มเด็จพระเทพรัตนราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารีมีโ อกาส นำเสนอผลงำนด้ำนส่งเสริมกำรอ่ำนในเวทีต่ำงๆ ทั้งภายในหน่วยงานในสังกัด และหน่วยงานภาคีเครือข่าย
จัดแสดงนิทรรศการ “ห้องสมุดเคลือนทีสาหรับชาวตลาด” ณ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยขอนแก่น
จัดแสดงนิทรรศการ “ห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด” ณ ตลาดท่าพระ 100 ปี
ผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น ประธานในพิธี เยีย่ มชมกิจกรรมและ นิทรรศการ “วันภาษาไทยแห่งชาติ” ณ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กิจกรรม “หนังสือติดล้อ”ห้องสมุดฯ ร่วมกับเครือข่ายฯ 11 แห่ง ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
ห้องสมุดประชาชาชนเฉลิมพระเกียรติฯ จังหวัดขอนแก่น เป็นแหล่งเรียนรู้ ต้นแบบที่มีผู้มาเรียนรู้ ศึกษาดูงาน ในระดับจังหวัด ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ รวมถึง ชาวต่างประเทศ ดังภาพตัวอย่างการเข้ามาศึกษาดูงาน ระหว่าง เดือน ตุลาคม 2559 – ธันวาคม 2561
ดร.ทองอยู่ แก้วไทรฮะ พร้อมคณะเยียมชมห้องสมุดฯ
คลิปภาพกิจกรรม มาเยี่ยม – มาเยือน ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติฯ จังหวัดขอนแก่น
ต้อนรับ Prof. Dong Geun Oh ผู้เชียวชาญจาก keimyung University สาธารณรัฐเกาหลี พร้อมด้วย ผศ.ดร. กันยารัตน์ เควียเซ่น อาจารย์ประจาสาขาวิชา สารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผู้เขียน
นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย บรรณารักษ์ชานาญการ สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น
ผูส้ นับสนุนและตรวจสอบข้อมูล 1. นายบุญส่ง 2. นางวิไลพร
ทองเชื่อม ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น บูรณ์เจริญ ครูชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น 3. นางสาวธันยพัฒน์ นูเร ครูชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น 4. นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย บรรณารักษ์ชานาญการ สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น 5. นางนฤมนต์ ต้นสีนนท์ บรรณารักษ์อัตราจ้างเหมาบริการ สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น 6. นางชลิดา อรัญรุด บรรณารักษ์อัตราจ้างเหมาบริการ สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น 7. นางสาวรวีวรรณ เชิงชัยภูมิ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น 8. ครูอาสาสมัครฯ สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น 9. ครู กศน.ตาบล สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น 10. ครู ศรช.ตาบล สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น
11. ครู ปวช. สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น 12. ครู ประจากลุ่มเปูาหมายพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น 13. ครู พัฒนาทักษะชีวิตเด็กเร่ร่อน สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น 14. ว่าที่ ร.ต.หญิงพัชรี เส็นบัตร ครู อาสาสมัครฯ กศน.อาเภอหัวไทร สานักงาน กศน.จังหวัดนครศรีธรรมราช 15. นางสาวจิรารักษ์ ประยูรวงษ์ ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอศรีมหาโพธิ สานักงาน กศน.จังหวัดปราจีนบุรี
ผู้บรรณาธิการ 1. นายทวีป 2. นายอวยชัย 3. นางรัตนา
อภิสิทธิ์ อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ จันทปัญญาศิลป์ อดีตศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ แก่นสารี ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ
การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่น ห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาดน้าวัดใหม่นาบุญ (กรณีศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอศรีมหาโพธิ (กศน.อาเภอศรีมหาโพธิ) สานักงาน กศน.จังหวัดปราจีนบุรี)
ความเป็นมาของโครงการ โครงการ “ห้ องสมุดเคลื่ อนที่ส าหรับชาวตลาด” ตามแนว พระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราช กุมารี ทรงเน้นหลักการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน มีเป้าหมายให้ ชุมชนชาวตลาด ได้มีหนังสืออ่านเป็นประจา สร้างวัฒนธรรมการ อ่าน และทรงเล็งเห็นช่องทางในการพัฒนาอาชีพสู่การมีคุณภาพ พิธีเปิดตลาดน้าวัดใหม่นาบุญ โดยนายสุรพงษ์ จาจด เป็นประธาน ชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร โดยส านั ก งานส่ ง เสริ ม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สานักงาน กศน.) ได้ขับเคลื่อนภารกิจดังกล่าวโดยจัดหามุมหนึ่ง ในตลาดจั ดเป็ น ห้ อ งสมุ ด ประชาชนส าหรั บชาวตลาด เป็น มุ ม อ่า นหนั ง สื อภายในตลาด พร้ อ มทั้ ง จัด หาหนั ง สื อ หลากหลายชนิดเข้าไปบริการบรรดาพ่อค้าแม่ค้าในตลาด ปรากฏว่าได้รับเสียงตอบรับจากพ่อค้าแม่ค้ากลับมาเป็น อย่างดี กศน.อาเภอศรีมหาโพธิ ได้มอบหมายให้ กศน.ตาบลกรอกสมบูรณ์ จัดหาสถานที่จัดทาเป็นห้องสมุดเคลื่อนที่ สาหรับชาวตลาด จึงเห็นว่าสถานที่ตลาดน้าวัดใหม่นาบุญเหมาะสมเป็นอย่างมาก จุดเริ่มต้นตลาดน้าวัดใหม่นาบุญ เกิดจากชุมชนที่เข้มแข็ง โดยมี ผู้ใหญ่บ้าน พัฒนาชุมชนอาเภอศรีมหาโพธิ กศน.ตาบล องค์การบริหารส่วนตาบลกรอกสมบูรณ์ และพระครูบุญเขตตาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดใหม่นาบุญ ได้ระดม ความคิดเชื่อมโยง ภูมิปัญญา แหล่งเรียนรู้ วิถีชีวิต วัฒนธรรม ซึ่งเป็น จุดแข็งของตาบลกรอกสมบูรณ์ โดย พระครูบุญ เขตตาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดใหม่นาบุญ ได้สนับสนุนสถานที่ให้เปิดห้อ งสมุดฯ โครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ของพัฒนาชุมชนอาเภอศรีมหาโพธิ โครงการการศึกษาต่อเนื่อง และโครงการส่งเสริมการอ่าน ของ กศน. เข้ามามี ส่วนร่วมในการสร้างตลาดน้าวัดใหม่นาบุญแห่งนี้
ห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาดน้าวัดใหม่นาบุญ
1
ห้องสมุดเคลื่อนที่ส้ำหรับชำวตลำดน้ำวัดใหม่นำบุญ
ขั้นตอนการดาเนินงาน กศน.อาเภอศรีมหาโพธิ เห็นความสาคัญของการส่งเสริมการอ่านตามนโยบายด้านการส่งเสริมการเรียนรู้ ของชุมชน จึงได้ดาเนินการจัดกิจกรรมโครงการห้องสมุดเคลื่ อนที่สาหรับชาวตลาดระดับอาเภอ เพื่อจัดกิจกรรม ส่งเสริมการอ่านในชุมชน เป็นการพัฒนาประชาชนในชุมชน ให้มีสื่อในการอ่านและเป็นการส่งเสริม ให้มีสื่อเข้าไป กระจายอยู่ในชุมชน อานวยความสะดวกให้ชุมชนมีแห่งเรียนรู้ด้านการอ่านเพิ่มขึ้น ซึ่งมีวิธีการดาเนินงาน ดังนี้ 1. วางแผนประชุมกับคณะกรรมการตลาดน้า พัฒนาชุมชน อาสาสมัคร กศน. เพื่อหาข้อคิดเห็ น และ วางแผนการดาเนินงานกิจกรรมต่าง ๆ ในตลาดน้า 2. จัดหาสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ที่หลากหลาย /หมุนเวียนสื่อจากห้องสมุดประชาชน/สื่อจากผู้บริจาค/สื่อจาก จากเครือข่ายในโรงงานอุตสาหกรรม โรงงานดับเบิ้ลเอ 3. ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อกระตุ้นกลุ่มเป้าหมายมาใช้บริการ 4. จัดกิจกรรมรูปแบบวิธีการบริการ เพื่อส่งเสริมการอ่าน โดยนักศึกษา กศน.ตาบลกรอกสมบูรณ์ เช่น - ส่งเสริมการอ่านผ่านการนวด (สาระน่ารู้ สมุนไพร)/แผ่นพับ กิจกรรมสานวนสุภาษิตไทย วาดภาพ ระบายสี อ่ า นหนั ง สื อ ดี มี ร างวั ล เกมบั น ไดงู ส่ ง เสริ ม การอ่าน เปิดตู้เย็นเห็นหนังสือ กิจกรรมการเล่านิทานหุ่นมือ ส่งเสริมการอ่าน มีสอนทาผลิตภัณฑ์ในการนวดแผนไทย ติ ด ตามผลการด าเนิ น งาน โดยใช้ แ บบความพึ ง พอใจ ในการให้บริการ 5. สรุ ป ผลการจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การอ่ า น เก็บ สถิ ติ ส ารวจความต้ องการสื่ อ ปั ญหาและอุ ปสรรค์ ในการด าเนิ น งานทุก ครั้ ง เพื่ อที่ จ ะน าไปพั ฒ นาการจั ด กิจกรรมในครั้งต่อไป
ประชุมวางแผนการดาเนินงาน สอนทาลูกประคบ
2
ห้องสมุดเคลื่อนที่ส้ำหรับชำวตลำดน้ำวัดใหม่นำบุญ
นายอ าเภอศรี ม หาโพธิ และผู้ บ ริ ห ารดั บ เบิ้ ล เอ มอบสื่ อ หนั งสื อ ให้ กั บ ครู กศน.ต าบล ทั้ ง 10 ต าบล เพื่ อ ที่ ก ระจายลงสู่ ต าบลให้ เ ป็ น ชุ ม ชน นั ก อ่ า นและพั ฒ นาบุ ค คลให้ เ ป็ น บุ ค คลแห่ ง การ เรียนรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ต่อไป
https://goo.gl/YYanhH
ความสาเร็จที่เป็นจุดเด่นของโครงการนี้ ห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาดน้าวัดใหม่นาบุญ
จุดเด่น
ห้องสมุดมีชีวิต
3
ห้องสมุดเคลื่อนที่ส้ำหรับชำวตลำดน้ำวัดใหม่นำบุญ
ตลาดน้ าวั ด ใหม่ น าบุ ญ จากเดิ ม เป็ น ที่ นั่ ง อ่ า นหนั ง สื อ และได้ มี ก ารพั ฒ นารู ป แบบการวิ ธี ก าร บริ ก าร มาเป็ น ห้ อ งสมุ ด มี ชี วิ ต แหล่ ง เรี ย นรู้ แหล่ ง รวบรวมความรู้ มี สื่ อ และกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ที่ หลากหลาย มี ก ารกิ จ กรรมเคลื่ อ นไหวตลอดเวลาที่ สามารถดึ ง ดู ด ความสนใจของผู้ ใ ช้ บ ริ ก าร โดยมี อาสาสมัคร นักศึกษา กศน. หมุนเวีย นมาทากิจกรรม ส่ ง เสริ ม การอ่ า น มี เ ครื อ ข่ า ยที่ เ ข้ ม แข็ ง สนั บ สนุ น คอย ประชาสัมพัน ธ์เรี ย กกลุ่มเป้ าหมายมาใช้บ ริการ มี การ กระตุ้นมอบของรางวัล ให้กลุ่มเป้าหมายอยากเข้ามาใช้ บริการมากขึ้น มีการสอดแทรกเนื้อหาสาระ คุณธรรม จริยธรรม กับกลุ่มเป้าหมายที่เป็น เด็ก และเยาวชน เช่น กิจ กรรมการเล่านิ ทานหุ่ นมือส่ งเสริ มการอ่าน เป็นต้น อีกทั้งห้องสมุดมีบริการนวดแผนไทย จาหน่ายผลิตภัณฑ์สมุนไพรจากกลุ่มผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง ซึ่งกิจกรรมมีการ เคลื่อนไหวตลอดเวลา และยังมีบรรยากาศที่มีชีวิตชีวาแปลกใหม่ไปจากบรรยากาศเดิม ๆ อีกด้วย การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านบ้านหนังสือสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้บรรลุเป้าหมายได้นั้น เกิดจากการ ทีส่ มาชิกในชุมชนผู้นาชุมชน/ผู้นาหมู่บ้าน เล็งเห็นความสาคัญของการส่งเสริมการอ่านของห้องสมุดตลาดน้าวัดใหม่นาบุญ ที่เ ป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ น าสิ่ งที่ ไ ด้จ ากการเรี ย นรู้ไ ปพั ฒ นาตนเอง พัฒ นางาน พั ฒ นาหมู่ บ้า น ทาให้ มี ผู้ ม าใช้บ ริก าร หลากหลายกลุ่มอายุ ทั้ง เด็ก เยาวชน ประชาชนในหมู่บ้าน และหมู่บ้านใกล้เคียง รู้จักการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ การสร้ า งเครื อ ข่ า ยอาสาสมั ค รนั กศึ ก ษา กศน.ที่ มี บ ทบาทส าคั ญ ในการรณรงค์ ส่ ง เสริ ม การอ่ า น เช่ น การหมุนเวี ยนมาจัดกิจ กรรมกระตุ้นให้ชุมชนเข้าถึงความสาคัญของการอ่านโดยทั่วไป รวมทั้งเด็ก ผู้สูงอายุ และ ช่วยสารวจหนังสือที่ตรงใจผู้อ่านในชุ มชน ซึ่งพบว่าหนังสือที่ต้องการ คือ ด้านอาชีพ การพัฒนาคุณภาพชีวิต และ ด้านความบันเทิง
รางวัลแห่งความสาเร็จของโครงการ ห้องสมุดตลาดน้าวัดใหม่นาบุญ มีประชาชนในตาบลกรอกสมบูรณ์ ให้ความสนใจในกิจกรรมเชิงรุกเพิ่ม มากขึ้น ห้องสมุดชาวตลาดได้รับการพัฒนาเป็นแหล่งการอ่าน มีสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้คนต้องการเข้าไปอ่าน หนังสือ เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีจานวนผู้มาใช้บริการเฉลี่ยเดือนละ 140 คน โดยเฉลี่ย 35 คน/ อาทิตย์ ซึ่งเป็นเด็กและประชาชนทั่วไป แต่มีผู้สนใจกิจกรรมมากกว่าที่คาดไว้ (จากการสังเกตการณ์ มีการติดตาม ผลการดาเนินงาน โดยใช้แบบความพึงพอใจในการให้บริการ ช่วงระยะเวลาที่ดาเนินการ) ความพึงพอใจของผู้ร่วม กิจกรรมไม่ต่ากว่าร้อยละ 80
4
ห้องสมุดเคลื่อนที่ส้ำหรับชำวตลำดน้ำวัดใหม่นำบุญ
ข้อคิดควรคานึงในการนาไปขยายผล จุดเด่น การมีส่วนร่วมของชุมชน ทั้งระดับผู้นาชุมชน ผู้นาท้องถิ่น ภูมิปัญญาหมู่บ้าน เห็นความสาคัญของกิจกรรม ส่งเสริมการอ่าน และสร้างนิสัยรักการอ่าน ทั้งเป็นแกนนาหลักในรูปแบบคณะกรรมการแหล่งเรียนรู้ กศน.ตาบล จากการประสานงาน และวางแผนร่วมกับภาคีเครือข่าย เพื่อจัดกิจกรรม รวมทั้งระดมทรัพยากรและสนับสนุนสื่อ หนังสือ ส่งเสริมการอ่านในรูปแบบต่างๆ ดาเนินการรับสมัครอาสาสมัคร กศน เพื่อเป็นตัวแทนในการประสานงาน เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและขับเคลื่อนการศึกษาสู่ชุมชนให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องในชุมชน จุดแข็ง - มีเครือข่ายที่สนับสนุนส่งเสริมในเรื่องสื่อ อุปกรณ์ - มีชุมชนที่เข้มแข็ ง ผู้นาชุมชน พัฒนาชุมชนอาเภอศรีมหาโพธิ กศน.ตาบล องค์การบริหารส่วนตาบล กรอกสมบูรณ์ และพระครูบุญเขตตาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดใหม่นาบุญเห็นความสาคัญของกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และ สร้างนิสัยรักการอ่าน ทั้งเป็นแกนนาหลักในรูปแบบคณะกรรมการตลาดน้า เพื่อจัดกิจกรรม รวมทั้งระดมทรัพยากร และสนับสนุนสื่อหนังสือ ส่งเสริมการอ่านในรูปแบบต่าง ๆ ขยายผล กศน.อ าเภอศรี มหาโพธิ กาหนดแผนการจั ดกิจกรรม เสริมสร้า งนิสั ยรั กการอ่ านไว้ใ นแผนปฏิบัติการ ประจาปี และดาเนินการขยายผลห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาดไปที่ ตลาดน้าตาบลบางกุ้ง และตลาดน้าตาบล ศรีมหาโพธิ
ผู้เขียน
นางสาวจิรารักษ์ ประยูรวงษ์ ครู กศน.ตาบลกรอกสมบูรณ์ กศน.อาเภอศรีมหาโพธิ์ สานักงาน กศน.จังหวัดปราจีนบุรี
ผู้สนับสนุนและให้ข้อมูล 1. นายกู้เกียรติ แสงจันทร์ 2. นายปมัตถ์ กลิ่นหอม 3. นางสังเวียน คงกะพัน 4. นางสาวนงนภัส กฤดิพรรธน์ 5. นายยุทธนา บางกุ้ง 6. นายเจน ส่งเสริม
ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 3 วังทะลุ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 3 วังทะลุ ผู้ช่วยเลขา ผู้ชว่ ยผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 3 วังทะลุ
5
ห้องสมุดเคลื่อนที่ส้ำหรับชำวตลำดน้ำวัดใหม่นำบุญ
ผูบ้ รรณาธิการ 1. นายทวีป 2. นางสาวสุวรรณา 3. นางรัตนา
อภิสิทธิ์ ล่องประเสริฐ แก่นสารี
อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ
6
ห้องสมุดเคลื่อนที่ส้ำหรับชำวตลำดน้ำวัดใหม่นำบุญ
การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่น โครงการศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบลทุ่งท่าช้าง (กรณีศึกษา : “แหลํงเรียนรู๎ นายสมนึก ปานธูป” ตาบลทุํงทําช๎าง อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี)
ความเป็นมาของโครงการ นายสมนึก ปานธูป เดิมประกอบอาชีพค๎าขายอยูํ ณ ตาบลทุํงทําช๎าง อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี นอกจากการค๎าขายเป็นอาชีพหลักแล๎ว นายสมนึก ยังได๎ใช๎พื้นที่วํางประมาณ ๓๐ ตารางวาในบริเวณบ๎านปลูก ผักสวนครัว เลี้ยงกบ และทาปุ๋ยน้าชีวภาพ และขยายพื้นที่เพื่อทาการเกษตรอีก ๒ ไรํ แม๎วํานายสมนึก จะมีความ ขยันและอดทนในการประกอบอาชีพ ก็ยังประสบปัญหาหนี้สินที่รุมเร๎าเข๎ามาในชีวิตเชํนเดียวกับอีกหลาย ๆ คน ในอาเภอสระโบสถ์ จุดเปลี่ยนในชีวิตเริ่มนับตั้งแตํปี พ.ศ. ๒๕๕๘ เมื่อนายสมนึก ได๎เข๎ารํวมโครงการศึกษาดูงานกับธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) โดยได๎ไปศึกษาดูงานโครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ๎อน อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จั งหวัดฉะเชิงเทรา ทาให๎ นายสมนึก ได๎เห็นถึงความยากลาบากของการพัฒนาพื้นที่ ที่ไมํมีความอุดมสมบูรณ์ของโครงการฯ แตํพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัว รัช กาลที่ ๙ ทรงพลิกฟื้นผืนดินนี้ให๎ ประชาชนได๎ทามาหากินได๎ จึงเกิดแรงบันดาลใจที่จะเดินตามรอยเท๎าพํอ เปลี่ยนอาชีพจากค๎าขายมาทาอาชีพทา เกษตรกรรม โดยยึ ด หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ยง และมีก ารทาบั ญชี ค รัว เรื อน เพื่ อ เป็ น ข๎ อมู ล ในการ ลดรายจํายและเพิ่มรายได๎ในครัวเรือนของตนเอง ในระหวํางที่ นายสมนึก เปลี่ยนอาชีพมาทาเกษตรกรรม กศน.อาเภอสระโบสถ์ ได๎สํงนายสมนึกเข๎ารับ การอบรมเกษตรธรรมชาติ ณ ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจาก พระราชดาริ ปลายปี ๒๕๕๘ และนาความรู๎ที่ได๎รับจากการอบรมมาใช๎ในการปรับปรุงบารุงดิน การปลูกพืช ที่หลากหลาย การกาจัดแมลงศัตรูพืชโดยวิธีธรรมชาติ พัฒนาเนื้อที่ ๒ ไรํของตนเอง
ขั้นตอนการดาเนินงาน กศน.อาเภอสระโบสถ์ ได๎ศึกษาสารวจข๎อมูลภูมิปัญญาชาวบ๎าน / ปราชญ์ชาวบ๎านของตาบลทุํงทําช๎าง และคัดเลือกให๎ นายสมนึก ปานธูป เป็นแหลํงเรียนรู๎ ของศูนย์เรียนรู๎ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษต ร ทฤษฎีใหมํประจาตาบลทุํงทําช๎าง อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี และได๎สํง นายสมนึก ปานธูป เข๎ารับการอบรม เกษตรธรรมชาติ ณ ศู น ย์ ฝึ กและพั ฒ นาอาชี พเกษตรกรรมวั ด ญาณสั ง วรารามวรมหาวิห าร อั นเนื่ องมาจาก พระราชดาริ เมื่อวันที่ ๑4 - ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๘ หลังจากผํานการอบรมแล๎ว นายสมนึก ปานธูป ได๎นาความรู๎จาก การอบรมมาใช๎ในการปรับปรุงดิน การปลูกพืชที่หลากหลาย การกาจัดแมลงศัตรูพืชโดยวิธีธรรมชาติ การปลู ก ดอกไม๎ลํอแมลง จนพัฒนาเนื้อที่ ๒ ไรํของตนเองให๎อุดมสมบูรณ์ และเป็นแหลํงเรียนรู๎ตาบลทุํงทําช๎าง และเข๎ารับ การประเมินมาตรฐานเกษตรธรรมชาติจนผํานการรับรองมาตรฐานเกษตรธรรมชาติ ตั้งแตํปี ๒๕๖๐ ถึง ปี ๒๕๖๒
กศน.อาเภอสระโบสถ์ ได๎น านักศึกษาหลั กสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ พุทธศักราช ๒๕๕๑ ศึกษาเรียนรู๎ ณ แหลํ งเรีย นรู๎ นายสมนึก ตาบลทุํงทําช๎าง อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี โดยมี นายสมนึก เป็ น วิทยากรถํายทอดความรู๎ ให๎ กับ นั กศึกษา เพื่อสร๎างความรู๎ความเข๎าใจหลั กปรัช ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เมื่อขยายผลให๎ กับ กลุํ มเป้ าหมายนั กศึกษาแล๎ว จึงสํ งเสริมให๎ นายสมนึก เป็นวิทยากรถํายทอดความรู๎ให๎ กับ ประชาชนอาเภอสระโบสถ์ โครงการจัดกระบวนการเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กศน.อาเภอ สระโบสถ์ จนได๎รับความเชื่อถือในระดับตาบล ระดับอาเภอ ระดับจังหวัด นอกจากนี้ยังได๎รับเชิญเป็นวิทยากร ให๎กับหนํวยงานอื่น ๆ ตลอดจนอาเภอใกล๎เคียง สานักงาน กศน.จังหวัดลพบุรี สํง กศน.อาเภอสระโบสถ์ เข๎ารับการประเมินเพื่อการคัดเลือกบุคคลเข๎า รับการอบรมเกษตรธรรมชาติระดับสูงในตํางประเทศ (ระดับพื้นที่) กศน.อาเภอนารํอง กลุํมที่ ๘ ประจาปี ๒๕๖๐ – ๒๕๖๑ โดยมีแหลํงเรียนรู๎ นายสมนึก ปานธูป เป็ นเกษตรกรที่ทาการเกษตรธรรมชาติ ได๎ลาดับที่ ๔ และ ๓ ตามลาดับ
ความสาเร็จที่เป็นจุดเด่นของโครงการ จุดเดํนที่ทาให๎โครงการศูนย์ เรีย นรู๎ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมํประจาตาบล ทุํงทําช๎าง (กรณี แหลํงเรียนรู๎ นายสมนึก ปานธูป) ประสบความสาเร็จเนื่องจาก นายสมนึก ปานธูป เป็นบุคคล แหํ ง การเรี ย นรู๎ พร๎ อ มในการถํ า ยทอดความรู๎ ใ ห๎ กั บ ผู๎ อื่ น การสนั บ สนุ น สํ ง เสริ ม ด๎ า นวิ ช าการ การผลิ ต สื่ อ การติดตามอยํางตํอเนื่องสม่าเสมอของสถานศึกษา
ข้อควรระวังในการจัดโครงการ ข๎อคิดควรระวังในการนาไปขยายผลหรือนาโครงการนี้ไปทาโครงการศูนย์เรียนรู๎ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมํประจาตาบลทุํงทําช๎าง (กรณี แหลํงเรียนรู๎ นายสมนึก ปานธูป) ต๎องเป็นบุคคลที่มี ความตั้งใจ มุํงมั่น ไมํล๎มเลิกความตั้งใจ มีความรู๎และพร๎อมในการถํายทอดความรู๎ให๎กับผู๎อื่น สถานศึกษาต๎อง สนับสนุน สํงเสริมด๎านวิชาการและขวัญกาลังใจในการดาเนินงานอยํางตํอเนื่อง
รางวัลแห่งความสาเร็จของโครงการ 1. ผํานการรับรองมาตรฐานเกษตรกรรมธรรมชาติ จากศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมธรรมชาติ วัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ประจาปี ๒๕๖0 ถึง ปี ๒๕๖๒ 2. ประเมินเพื่อคัดเลือกบุคคลเข๎ารับการอบรมเกษตรธรรมชาติระดับสูงในตํางประเทศ (ระดับพื้นที่) กลุํมที่ ๘ ประจาปี ๒๕๖๐ ลาดับที่ ๔ 3. ประเมินเพื่อคัดเลือกบุคคลเข๎ารับการอบรมเกษตรธรรมชาติระดับสูงในตํางประเทศ (ระดับพื้นที่) กลุํมที่ ๘ ประจาปี ๒๕๖๑ ลาดับที่ ๓
4. ได๎รับเชิญเป็นวิทยากรเผยแพรํความรู๎ เป็นแหลํงศึกษาดูงานให๎กับนักศึกษาและประชาชนในพื้นที่ อาเภอสระโบสถ์ อาเภอใกล๎เคียง 5. ได๎รับรางวัลชีวิต ในการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถอุดรอยรั่วในชีวิต ของตนเองและของลูก ๆ ชีวิตมีความสุข ภาพกิจกรรม
นายสมนึก ปานธูป
ภาคปฏิบัติ การกาจัดวัชพืชในแปลงปลูก
นักศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โครงการพัฒนาคุณภาพผู๎เรียน “การศึกษาแหลํงเรียนรู๎ในชุมชน”
นายสมนึก ปานธูป ผํานการรับรองมาตรฐานเกษตรธรรมชาติ ๓ ปีซ๎อน ตั้งแตํปี ๒๕๖๐-๒๕๖๑
สามารถแสกนคิวอาร์โค๎ดรับชมคลิปแหลํงเรียนรู๎ นายสมนึก ปานธูป
ผู้เขียน
น.ส.ณัฐพัชร์ ภูวิชญานุวัฒน์ ผู๎อานวยการ กศน.อาเภอสระโบสถ์ สานักงาน กศน.จังหวัดลพบุรี
ผูส้ นับสนุนและตรวจสอบข้อมูล 1. นายทวี สวํางมณี รักษาการผู๎อานวยการ สานักงาน กศน.จังหวัดลพบุรี 2. นายสมนึก ปานธูป ปราชญ์ชาวบ๎าน ตาบลทุํงทําช๎าง อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี 3. นางสายบัว พลมาลา ครู กศน.ตาบลทุํงทําช๎าง อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี 4. นางมยุรี เกตุคง ครูอาสาสมัคร กศน. กศน.อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี
ผูบ้ รรณาธิการ 1. นายทวีป อภิสิทธิ์ 2. นางสาวสุวรรณา ลํองประเสริฐ 3. นายอวยชัย จันทปัญญาศิลป์ 4. นางสาวพัชรา จงโกรย 5. นางสาวนิตยา
มุขลาย
อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ อดีตศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดลพบุรี ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดลพบุรี
การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่นการขับเคลื่อนการดาเนินงาน โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย โดยใช้ระบบ E-Learning SKNFE MOOC (Massive Open Online Course) (กรณีศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภภอระโนด (กศน.อาเภภอระโนด) สานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา)
ความเป็นมาของโครงการ จากนโยบายและจุดเภน้นของสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างโอกาส และความเภสมอภาคทางการศึกษา ข้อที่ ๒ สร้างกระบวนการเภรียนรู้ในรูปแบบ E-Learning MOOC Course ที่ใช้ ระบบเภทคโนโลยีเภข้ามาบริหารจัดการเภรียนรู้ เภพื่อเภป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเภรียนรู้ให้กลุ่มเภป้าหมายได้ สะดวก รวดเภร็ว ตรงตามความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ สานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา ได้สนองรับนโยบายไปดาเภนินการส่งเภสริมและสร้างกระบวนการเภรียนรู้ โดยได้ดาเภนินการโครงการ E-Learning MOOC และเภทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการจัดกระบวนการเภรียนรู้ เภพื่อสร้าง สังคมแห่งการเภรียนรู้ตลอดชีวิตผลักดัน ส่งเภสริม และสร้างกระบวนการเภรียนรู้ในรูปแบบ E-Learning MOOC กระบวนการเภรียนรู้ในรูปแบบ E-Learning MOOC เภป็นนวัตกรรมทางการศึกษา ซึ่งได้ดาเภนินการ ในระบบมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั่วโลก มานานพอสมควรแล้ว เภป็นรูปแบบการจัดการเภรียนการสอนแบบออนไลน์ ที่สามารถเภข้าถึงผู้เภรียนจานวนมากได้อย่างไม่จากัด โดยผู้เภรียนสามารถเภรียนโดยการลงทะเภบียนเภรียน ซึ่งสานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา เภล็งเภห็นถึงประโยชน์ความสาคัญ และความเภหมาะสมที่จะนาระบบดังกล่าวมาใช้กับการจัดการ เภรียนการสอนในศตวรรษที่ ๒๑ ในยุคไทยแลนด์ ๔.๐ ในภาคเภรี ย นที่ ๑ ปี ก ารศึ กษา ๒๕๖๑ ส านัก งาน กศน.จั งหวั ดสงขลาได้ จั ดการเภรี ยนการสอนวิ ช า ประวัติศาสตร์ชาติไทยทั้ง ๓ ระดับ คือ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย เภนื่องจาก วิชาประวัติศาสตร์ช าติไทยเภป็น วิช าที่ส าคัญและมีคุณค่า นักศึกษาทุกคนจะต้องได้รับความรู้ที่ถูกต้อง ชัดเภจน เภชื่อถือได้ โดยสามารถเภข้าถึงการเภรียนได้ง่าย สามารถเภรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเภวลา ส า นั ก ง า น ก ศ น . จั ง ห วั ด ส ง ข ล า จึ ง ได้ ม อบหมายให้ กศน.อ าเภภอระโนดน าวิ ช า ประวัติศาสตร์ชาติไทย ทั้ง ๓ ระดับ(ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย) โดย กศน.อ าเภภอระโนด ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะท างาน จัดทาบทเภรียนประวัติศาสตร์ชาติไทย เภพื่อนาเภข้าสู่ ระบบ E-Learning MOOC ให้นักศึกษา กศน. และประชาชนทั่วไปในจังหวัดสงขลา ได้ศึกษาหา ความรู้ได้ด้วยตนเภอง นายไพโรจน์ คเภชนทองสุวรรณ์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภภอระโนด ประชุมรับมอบนโยบาย จากผูอ้ านวยการ สานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา เภพือ่ ขับเภคลือ่ นนโยบายและจุดเภน้น ของสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
ขัน้ ตอนการดาเนินงาน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา โดยการนาของ นายธนกร เภกื้อกูล ผู้อานวยการ กศน.จังหวัดสงขลา ได้นานโยบายและจุดเภน้น สานักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ มาขับเภคลื่อนในแต่ละด้าน โดมอบหมายให้ กศน.อาเภภอระโนด ขับเภคลื่อนการจัดการเภรียนการสอนผ่านระบบ E-Learning MOOC ให้กับ กลุ่มเภป้าหมายที่เภป็นนักศึกษา กศน. และประชาชนทั่วไป โดยได้ ประสานกับสานักคอมพิวเภตอร์ มหาวิทยาลัย ทักษิณ เภพื่อขอใช้ระบบ TSU MOOC ซึ่งเภป็นระบบ E-Learning MOOC ที่ใช้ในมหาวิทยาลัย สาหรับการนาเภข้าสู่ บทเภรียนในแต่ละวิชา กศน. และในวันที่ ๒ เภมษายน ๒๕๖๑ สานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา ได้ทาบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือ (MOU) กับ สานักคอมพิวเภตอร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ เภพื่อใช้ Server ของมหาวิทยาลัย โดยในภาคเภรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ กศน.อาเภภอระโนด นารายวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย ซึ่งเภป็น รายวิชาบังคับเภลือกหลั กสูตรการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของ กศน. มาทาโครงสร้างรายวิชาและนาเภข้าสู่ระบบ E-Learning MOOC เภพื่อให้นักศึกษาและประชาชนทั่วไป เภข้าไปเภรียนรู้ด้วยตนเภองได้ ดังนี้ - วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยสมัยอยุธยา
- วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยสมัยอยุธยา
- วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยสมัยธนบุรี
- วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยสมัยรัตนโกสินทร์
กศน.อาเภภอระโนด จึงได้จัดทาคู่มือ การใช้ระบบ E-Learning MOOC สาหรับ 1) ครู และ 2) นักศึกษา และประชาชนทั่วไป โดยอธิบายขั้นตอนการสมัครเภรียนและขั้นตอนการเภรียน เภพื่อเภข้าไปใช้งานระบบและศึกษาได้ ตัวอย่าง เภช่น นักศึกษาต้องทาแบบทดสอบก่อนเภรียนก่อนจึงจะเภรียนรู้เภนื้อหาต่อไปได้ ต้องดูคลิปวีดีโอก่อน จึงจะไปทาแบบทดสอบหลังเภรียนได้หรือนักศึกษาจะสามารถจบหลักสูตรและได้รับวุฒิบัตร เภมื่อทาแบบทดสอบ ผ่านเภกณฑ์ที่ครูกาหนดไว้และได้วุฒิบัตร สามารถนาไปใช้ในการเภทียบโอนความรู้ในการเภรียนวิชานั้น ๆ ได้ กศน.อาเภภอระโนด ยังได้กาหนดเภป้าหมายเภชิงปริมาณ เภพื่อขับเภคลื่อนการใช้ E-Learning MOOC ให้ดี โดยในปีการศึกษาภาคเภรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ กศน.อาเภภอระโนดเภป็น กศน.อาเภภอนาร่อง โดยกาหนด เภป้าหมายเภชิงปริมาณ ให้ครู ๑ คน นา E-Learning MOOC วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย ไปใช้กับนักศึกษาในกลุ่ม ที่ตนเภองรับผิดชอบ และกาหนดเภป้าหมายเภชิงคุณภาพ คือจานวนนักศึกษาอย่างน้อย ๑๐ คน สามารถเภข้าไปใช้และ เภรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยในแต่ล ะระดับจนจบหลักสู ตร และได้วุฒิบัตรการจบหลั กสูตร (วุฒิ บัตรจะไม่ สามารถปลอมแปลงได้ เภนื่องจากมีระบบป้องกันการปลอมแปลง)
การนาไปใช้ ในการจัดการเภรียนการสอน ภาคเภรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ครูและนักศึกษาที่มีความรู้เภกี่ยวกับ เภทคโนโลยีเภป็นเภบื้องต้นอยู่แล้ว ให้การตอบรับเภป็นอย่างดี เภพราะมีเภนื้อหาที่เภหมาะสม มีขั้นตอนในการเภรียนที่ชัดเภจน มีระบบการให้คะแนนที่เภหมาะสม อุปสรรค ครูและนักศึกษาบางส่วนยังไม่เภข้าใจเภท่าที่ควรเภนื่องจากเภป็นเภทคโนโลยีที่ยังใหม่อยู่ ความพอใจของนักศึกษาเภกี่ยวกับ E-Learning MOOC คือ นักศึกษาสามารถนาความรู้ที่ได้เภรียนในวิชา ประวัติศาสตร์ชาติไทย มาเภทียบโอนในวิชาที่เภรียนได้ และนักศึกษาสามารถทบทวนวิชาเภรียนได้ทุกที่ทุกเภวลา โดยในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ทางสานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา ยังนาการใช้ระบบ E-Learning MOOC ของครู มาเภป็นตัวชี้วัดหนึ่งในการประเภมินพนักงานราชการ ครู กศน.ตาบลและครูอาสาสมัคร กศน. อีกด้วย
อินโฟกราฟิก ขั้นตอนการการดาเนินงานขับเคลื่อน
E-Learning MOOC
ความสาเร็จที่เป็นจุดเด่นของโครงการ ๑. การทาบั นทึกข้อตกลงความร่ วมมือ MOU ระหว่างสานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา และส านัก คอมพิวเภตอร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ เภพื่อให้ กศน. สามารถใช้ Server ของมหาลัยทักษิณ สามารถนาสาระวิชา ที่จัดการเภรียนการสอนเภข้าสู่ระบบ E-Learning MOOC ซึ่งเภป็นผลมาจากการให้ความร่วมมือของภาคีเภครือข่าย ในการจัดการศึกษานอกระบบและการให้ความร่วมมือของสถานศึกษาทั้ง ๑๖ อาเภภอในการแบ่งกลุ่มการสร้าง เภนื้อหารายวิชาต่าง ๆ ทั้ง ๙ วิชา ๒. ระบบ E-Learning MOOC ถือเภป็นระบบที่เภป็นนวัตกรรม ที่ควบคุมการจัดการเภรียนรู้ของครูและ การเภรียนของผู้เภรียนให้เภป็นระบบ ผู้เภรียนต้องเภรียนตามขั้นตอนที่กาหนด เภช่น ทาแบบทดสอบก่อนเภรี ยนก่อนถึงจะ ไปเภขียนรู้เภนื้อหาต่อไปได้ ต้องดูคลิปวีดีโอก่อนถึงจะไปทาแบบทดสอบหลังเภรียนได้หรือจะได้วุฒิบัตรก็ต่อเภมื่อผู้เภรียน ทาแบบทดสอบผ่านเภกณฑ์ที่ครูกาหนดไว้ ซึ่ง สานักงาน กศน.จังหวัดสงขลาได้นาระบบมาประยุกต์ใช้ในการจัดการ เภรียนการสอนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เภมื่อผู้เภรียนจบหลักสูตรจะได้วุฒิบัตร ซึ่งนักศึกษาสามารถนาไปใช้ในการ เภทียบโอนความรู้ในการเภรียนวิชานั้น ๆ ได้
รางวัลแห่งความสาเร็จของโครงการ 1. การทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสานักงาน กศน.จังหวัดสงขลาและสานักคอมพิวเภตอร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ เภพื่อแบ่งปันทรัพยากรในการจัดการศึกษาร่วมกัน 2. นายไพโรจน์ คเภชนทองสุวรรณ์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภภอระโนด และ นายปฐมพร ธัมมาภิรัตตระกูล ครู คศ.๑ ร่วมประชุมสัมมนาผลการจัดกิจกรรม กศน.ตามยุทธศาสตร์และจุดเภน้น ประจาปี ๒๕๖๑ ของหน่วยงาน สถานศึกษาสังกัดสานักงาน กศน.ในเภขตภาคใต้ ณ โรงแรมสินเภกียรติบุรี ตาบลพิมาน อาเภภอเภมือง จังหวัดสตูล บรรยายให้ความรู้ SKNFE MOOC แก่ผู้เภข้าร่วมประชุมระดับ กศน.ในภาคใต้
นายไพโรจน์ คเภชนทองสุวรรณ์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภภอระโนด และนายปฐมพร ธัมมาภิรัตตระกูล ครู คศ.๑ ร่วมประชุมสัมมนาผลการจัด กิจกรรม กศน.ตามยุทธศาสตร์และจุดเภน้น ประจาปี ๒๕๖๑ ของหน่วยงาน สถานศึกษาสังกัดสานักงาน กศน.ในเภขตภาคใต้ ณ โรงแรม สินเภกียรติบุรี ตาบลพิมาน อาเภภอเภมือง จังหวัดสตูล บรรยายให้ความรู้ SKNFE MOOC แก่ผู้เภข้าร่วมประชุมระดับ กศน.ในภาคใต้
3. กศน.อาเภภอระโนด ร่วมจัดนิทรรศการวิชาการ โดยนาเภสนอ E-Learning MOOC ในงานวันครู ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ณ หอประชุมเภปรม โรงเภรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา เภพื่อขยายผลการจัดการเภรียน การสอน E-Learning MOOC ให้ครูในจังหวัดสงขลาได้รับรู้และแลกเภปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน 4. กศน.อาเภภอระโนด ได้รับรางวัล Best Practice ระดับยอดเภยี่ยม จากสานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา
รางวัล Best Practice ระดับยอดเภยี่ยม จากสานักงาน กศน.จังหวัด สงขลา
5. กศน.อ าเภภอระโนด ได้ รั บ รางวั ล สถานศึ ก ษาส่ ง เภสริ ม การจั ด กระบวนการเภรี ย นรู้ ใ นรู ป แบบ E-Learning MOOC ดีเภด่น จากสานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา เภนื่องในวันครู ๒๕๖๒
รางวัล สถานศึกษาส่งเภสริมการจัดกระบวนการเภรียนรู้ในรูปแบบ E-Learning MOOC ดีเภด่น จากสานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา เภนื่องในวันครู ๒๕๖๒สงขลา
ข้อควรคานึงในการนาโครงการไปพัฒนา 1. ผู้บริหารสถานศึกษามีวิสัยทัศน์ด้านการใช้เภทคโนโลยีเภข้ามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเภรียนการสอน จัดกิจกรรม 2. ครูมีทัศนคติที่ดีและมีความพร้อมในการใช้เภทคโนโลยีในการจัดการเภรียนการสอน 3. สานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา ได้รับการสนับสนุนทรัพยากร ทั้ง Server และผู้มีความรู้จากสานัก คอมพิวเภตอร์มหาวิทยาลัยทักษิณ ซึ่งได้ทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับคณบดีมหาวิทยาลัยทักษิณ ทาให้ กศน. สามารถเภข้าไปใช้ระบบ MOOC ของมหาวิทยาลัยทักษิณในการจัดการเภรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยได้ ปัญหา/อุปสรรค จากการนิเภทศติดตามการดาเภนินการขับเภคลื่อนการดาเภนินการ E-Learning MOOC E-Learning MOOC ส าหรั บ เภมื องไทย ยั งถื อเภป็น นวั ต กรรมใหม่ ที่เภ พิ่ง เภกิ ดขึ้ น มาไม่ นาน เภป็น ระบบ ที่ผู้เภรียนจะต้องเภรียนรู้ด้วยตนเภองผ่านสมาร์ทโฟนหรือคอมพิวเภตอร์ โดยครูผู้สอนต้องคอยเภป็นโค้ช ผู้แนะนา และ จะต้องจัดกระบวนการเภรียนการสอนที่เภหมาะสม แต่เภนื่องจากครูส่วนใหญ่ยัง ขาดประสบการณ์และเภทคนิคการใช้ เภทคโนโลยี จึงทาให้การจัดการเภรียนรู้ลักษณะนี้ยังไม่ประสบความสาเภร็จเภท่าที่ควร แต่หากได้รั บการสนับสนุน ร่ว มกัน ทุกฝ่ ายไม่ว่าจะเภป็ นคณะผู้ บ ริ ห ารทั้งระดับจังหวัด ระดับอาเภภอ ข้าราชการครู และพนักงานราชการ ก็จะสามารถดาเภนินการให้สาเภร็จได้ไม่ยาก ข้อควรระวัง คือ เภนื้อหาที่ใช้อ้างอิงเภกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ ต้องอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลที่เภชื่อถือได
ข้อมูล/หลักฐานอ้างอิง
การทา MOU ระหว่าง สานักงาน กศน. กับ ม.ทักษิณ
นิทรรศการเภปิดบ้านวิชาการของสานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา กศน.ระโนดดาเภนินการจัดนิทรรศการ E-Learning MOOC
ศึกษาธิการจังหวัดสงขลาและ ผอ.ธนากร เภกื้อกูล ผอ.กศน.จังหวัดสงขลา เภยีย่ มชมนิทรรศการ E-Learning MOOC ในงานเภปิดบ้านวิชาการ
อินโฟกราฟิก ขั้นตอนการใช้งาน MOOC
การทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางการศึกษา ระหว่างสานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ กับสานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา
QR CODE วีดีทัศน์การบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ MOU https://drive.google.com/file/d/1rOmomRXqCCdGur8znuc1a-IvC99gPQbB/view?usp=sharing
คู่มือ E-Learning MOOC สาหรับนักศึกษาและประชาชนทั่วไป
ระดมความคิดเภพื่อกาหนดทิศทางการขับเภคลื่อนโครงการเภกี่ยวกับ e Learning MOOC https://krupatomporndhamma.blogspot.com/2018/11/blog-post_25.html
ผอ.ธนากร เภกื้อกูล ผู้อานวยการ กศน.จังหวัดสงขลา ให้เภกียรติถ่ายรูปกับนิทรรศการและคณะทางาน
ครูผู้ร่วมงานวันครูให้ความสนใจเภข้าร่วมชมนิทรรศการ MOOC
จัดนิทรรศการวิชาการ E-Learning MOOC เภพื่อให้ความรู้และแลกเภปลีย่ นเภรียนรู้กับบุคลากรสังกัดอื่น ๆ โดยได้รับการสนับสนุนจาก สานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา เภนื่องในวันครู ประจาปี 2562 https://krupatomporndhamma.blogspot.com/2019/01/15-2562-e-learning-mooc-2562.html
การประชุมเภชิงปฏิบัติการการจัดทา E-Learning MOOC และเภทคโนโลยีดิจิทัลเภพื่อการจัดกระบวนการเภรียนรู้ ภายใต้โครงการ การจัดการ ศึกษาโดยใช้สื่อเภทคโนโลยีดิจิทัล กลุ่มงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สถาบัน กศน.ภาคใต้ https://krupatomporndhamma.blogspot.com/2018/12/blog-post_19.html
ครู กศน.อาเภภอระโนด ให้ความรูก้ ารใช้ E-Learning MOOC สาหรับนักศึกษาของ กศน.อาเภภอบางกล่า https://krupatomporndhamma.blogspot.com/2019/01/15-2562-e-learning-mooc.html
ผู้เขียน
นายปฐมพร ธัมมาภิรัตตระกูล
ครู คศ.๑ กศน.อาเภภอระโนด/สถาบัน กศน.ภาคใต้
ผูส้ นับสนุนและตรวจสอบข้อมูล 1. นายธนกร เภกื้อกูล ผู้อานวยการ สานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา 2. นายไพโรจน์ คเภชนทองสุวรรณ์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภภอระโนด สานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา
ผูบ้ รรณาธิการ 1. นายทวีป 2. นายอวยชัย 3. นางวัชรี
อภิสิทธิ์ จันทปัญญาศิลป์ สวัสดี
อดีตศึกษานิเภทศก์เภชี่ยวชาญ อดีตศึกษานิเภทศก์ชานาญการพิเภศษ ศึกษานิเภทศก์ชานาญการพิเภศษ สานักงาน กศน.จังหวัดสุรินทร์
การถอดบทเรียนที่ประสบความสาเร็จดีเด่น โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ (กรณีศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองตรัง (กศน.อาเภอเมืองตรัง) สานักงาน กศน.จังหวัดตรัง)
ความเป็นมาของโครงการ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตรัง (สานักงาน กศน.จังหวัดตรัง) ขับเคลื่อนงานตามนโยบายพัฒนากาลังคนและสร้างความสามารถในการแข่งขัน การยกระดับมาตรฐานพัฒนา หลักสูตรสื่อ และครูด้านภาษา ประกอบกับจุดเน้นของสานักงาน กศน. ในการดาเนินงานเพื่อขยายโอกาสในการ เข้าถึงบริการการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตแก่ประชาชน โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก สานักงาน กศน. จัดการอบรมครู ซึ่งเป็นผู้แทนจากสถานศึกษาในจังหวัด โครงการพัฒนาทักษะครูต้นแบบการ สอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและเทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้ (Boot Camp) ทั้งนี้ผลจากการอบรม พบว่ า ครู มี ทั ศ นคติ ที่ ดี ต่ อ ภาษาอั ง กฤษมากขึ้ น ครู ไ ด้ รั บ ความรู้ ทั ก ษะเกี่ ย วกั บ การจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ ภาษาอังกฤษในรูปแบบ (Boot Camp) สถานศึกษา กศน.อาเภอในจังหวัดตรัง จัดอบรมขยายผลเพิ่มเติมสู่ประชาชน โดยการเปิดสอนหลักสูตร ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพต่าง ๆ หลักสูตร 40 ชั่วโมง หลักสู ตรภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว หลั ก สู ต รภาษาอั ง กฤษเพื่ อ การค้ า ออนไลน์ และหลั ก สู ต รภาษาอั ง กฤษเพื่ อ การซื้ อ ขาย ให้ กั บ ประชาชน กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมตามโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ด้ า นอาชี พ สามารถน าความรู้ ที่ ไ ด้ รั บ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการประกอบอาชี พ และ ใช้ ป ระโยชน์ ใ นการด าเนิ น ชีวิตประจาวันได้ กศน.อ าเภอเมื อ งตรั ง เป็ น สถานศึ ก ษาที่ ป ระสบความส าเร็ จ ในการจั ด โครงการอบรมหลั ก สู ต ร ภาษาอั ง กฤษเพื่ อ อาชี พ พนั ก งานขายสิ น ค้ า ซึ่ ง ผู้ เ ข้ า รั บ การอบรมพึ ง พอใจในกระบวนการจั ด อบรมค่ า ยฝึ ก ที่สนุกสนาน ทั้งภาคทฤษฎีและการฝึกปฏิบัติในรูปแบบ (Boot Camp) สามารถนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ได้จริง ในการประกอบอาชีพพนักงานขายสินค้า และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
ขั้นตอนการดาเนินงาน กศน.อาเภอเมืองตรังได้ดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1. สานักงาน กศน.จังหวัดตรัง จัดทาโครงการอบรมพัฒนาทักษะครูต้นแบบการสอนภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสารและเทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบค่ายฝึก (Boot Camp) 2. กศน.อาเภอเมืองตรั ง จั ดส่ งครู และบุ คลากรเข้ารั บการอบรมโครงการพัฒ นาทั กษะครูต้ นแบบ การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและเทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบค่ายฝึก (Boot Camp)
ภาพการอบรมครูต้นแบบภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพระหว่างวันที่ 21 – 23 กุมภาพันธ์ 2561
3. กศน.อาเภอเมืองตรั ง จั ดส่ งครู และบุ คลากรเข้ารั บการอบรมโครงการพัฒ นาทั กษะครูต้ นแบบ การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและเทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบค่ายฝึก (Boot Camp) 4. จัดประชุมวางแผนการดาเนินงานเพื่อขยายผลสู่ประชาชน แต่งตั้งคณะทางาน 5. ศึกษาความต้องการของกลุ่มเป้าหมายประชาชนในพื้นที่ 6. จัดทาหลักสูตร 6.1 ใช้ เ อกสารทางวิ ช าการของกลุ่ ม พั ฒ นาการศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย สานักงาน กศน. เป็นแนวทางในการจัดทาหลักสูตร 6.2 ประสานวิทยากรในการจัดทาหลักสูตร 6.4 วิเคราะห์ปรับปรุงหลักสูตรโดยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีส่วนเกี่ยวข้อง 6.4 หลักสูตรมีความยืดหยุ่นในด้านเนื้อหาสาระ และระยะเวลา 7. ประกาศรับสมัครผู้เข้ารับการอบรม อาชีพพนักงานขายสินค้า ผู้เกี่ยวข้องที่ต้องใช้ภาษาอังกฤษ ในการประกอบอาชีพ หรือผู้สนใจ 8. จั ด กระบวนการอบรมโดยวิ ท ยากรทั้ ง ชาวไทยและต่ า งชาติ รวมทั้ ง ครู กศน. ที่ ผ่ า นการอบรม ที่มีความสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคนิคการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ในรูปแบบค่ายฝึกที่สนุกสนาน และ การฝึกปฏิบัติในสถานที่จริง
ความสาเร็จที่เป็นจุดเด่นของโครงการ 1. กลวิธีการสอนภาษาอังกฤษให้สนุก 1.1 บรรยาย ยกตัวอย่าง เพื่อให้เห็นภาพชัดเจน (บรรยากาศสนุก ไม่น่าเบื่อ ความรู้จัดเต็ม) 1.2 Workshop / ร่วมแชร์ประสบการณ์ / แลกเปลี่ยนความคิดเห็น 1.3 ถาม-ตอบทุกปัญหา เพื่อสามารถนากลับไปใช้จริงในการทางาน
1.4 ใช้เพลงในการสอนให้ผู้เข้ารับการอบรมร้องเพลงภาษาอังกฤษ ซึ่งจะได้ทั้งความสนุกสนาน เพลิดเพลินและจะคุ้นเคยกับการใช้สาเนียงภาษาอังกฤษโดยไม่เคอะเขิน 1.5 การใช้เกมการเล่นเกมภาษาอังกฤษสอนและอธิบายอย่างไม่เร่งรีบ ทาให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่าง การเรียนรู้ 1.6 การใช้สื่อมัลติมีเดีย เป็นการเพิ่มทางเลือกในการเรียนภาษาอังกฤษได้ดีมาก ทุกวันนี้มี Website สาหรับสามารถฝึกออกเสียงได้ใกล้เคียงกับเจ้าของภาษา 1.7 การศึกษาดูงานในจังหวัดใกล้เคียง เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถสนทนากับเจ้าของภาษา ได้จริง 2.8 สรุปภาพรวม เคล็ดลับ และการนาไปประยุกต์ใช้จริงในการทางาน 2. ผู้เข้ารับการอบรมสนุกสนานในการเรียนรู้ 3. กลุ่ มเป้ าหมายที่ผ่ า นการอบรมตามโครงการภาษาอั ง กฤษเพื่ อการสื่ อสารด้ า นอาชี พ หลั กสู ต ร ภาษาอั ง กฤษเพื่ อ อาชี พ พนั ก งานขายสิ น ค้ า พึ ง พอใจกั บ การจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ ที่ ส นุ ก สนาน สื่ อ การจั ด กระบวนการเรียนรู้ทันสมัย การฝึกปฏิบัติจริง สามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ ในการประกอบอาชีพ และ ดาเนินชีวิตประจาวันได้ เกิดการเรียนรู้ในการใช้ภาษาอังกฤษในการขาย การดูแลบริการลูกค้า เพื่อให้ได้ผลสูงสุด 4. ผู้เรียนสามารถนาไปต่อยอดได้ในแต่ละสาขาอาชีพของตนเองทันที โดยใช้เวลาที่น้อยที่สุด รวมทั้ง การสร้างความเข้าใจถึงวัฒนธรรมที่มากับการใช้ภาษาอังกฤษ ที่ควรทราบ เพื่อลดความเสี่ยงทางด้านการเข้าใจผิด ของสินค้าและบริการหรือแม้กระทั่งต่อผู้ใช้ภาษาอังกฤษในการทางาน ตัวอย่างของผู้เข้ารับการอบรมที่ประสบความสาเร็จ สามารถนาไปประยุกต์ใช้พัฒนาอาชีพและในชีวิตประจาวัน 1. คุณพรองค์อินทร์ ธาระธนผล อาชีพ ดีเจ/สมาคมสื่อมวลชนเพื่อการท่องเที่ยว
ผ่านอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ หลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพพนักงานขาย สินค้า จานวน 40 ชั่วโมง ณ กศน.อาเภอเมืองตรัง
เนื้อหาสาหรับพนักงานขายสินค้า กลุ่มผู้มีอาชีพค้าขาย ทั้งขายหน้าร้านและขายของออนไลน์ ซึ่ง เมื่อผ่านการอบรมสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ และดาเนินชีวิตประจาวัน ทาให้ เรียนรู้การใช้ภาษาอังกฤษในการขาย การดูแลบริการลูกค้า ซึ่งคุณพรองค์อินทร์ กล่าวว่า “การพยายามที่จะเข้าใจภาษาอื่นนอกเหนือไปจากภาษาหลักของเรา จะทาให้เราอยู่ในจุดที่ง่ายต่อการค้นพบตัวเอง และสิ่งที่เราชอบจริงๆ เมื่อเราเปิดใจต่อวัฒนธรรมอื่น และตั้งใจ เรีย นรู้ จนประสบความส าเร็จ จะทาให้เรารู้สึกดีกับตัวเองมากขึ้น ง่ายขึ้น เกิดแรงบันดาลใจ และมีเป้า หมาย นอกจากนี้ การมีทักษะด้านภาษาที่ดี โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ก็จะทาให้เรารู้สึกมั่นใจมากขึ้น ในการเข้าสังคม ดังนั้นอย่ากลัว อย่าอาย จนไม่กล้าลงมือทาอะไรใหม่ๆ เพราะบทเรียนที่เราได้จากความผิดพลาดคือ สิ่ ง ที่ ส อนให้ เ ราพั ฒ นาขึ้ น หากไม่ ล องแล้ ว จะรู้ ไ ด้ อ ย่ า งไรว่ า สิ่ ง เหล่ า นั้ น ผิ ด หรื อ ถู ก การเรี ย นภาษาอั ง กฤษก็ เช่นเดียวกัน” 2. คุณปาริชาติ วงศ์วิวัฒน์ อาชีพ ธุรกิจร้านปักผ้า/ขายสินค้าแฮนด์เมด ผ่านอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ หลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพพนักงานขาย สินค้า จานวน 40 ชั่วโมง ณ กศน.อาเภอเมืองตรัง คุณ ปาริ ช าติ กล่ าวถึ งการเข้ า รั บการอบรมครั้ ง นี้ เกิดจากหนึ่งในปัญหาของการเรียนภาษาอังกฤษที่เคยเกิดขึ้นกับ ตัว เองคือไม่ส ามารถน ามาใช้สื่ อสารได้ในชีวิตจริง และปฏิเสธ ไม่ได้เลยว่าภาษาอังกฤษเข้ามาเป็ น ส่ ว นหนึ่งในชีวิตประจาวัน ไม่ ว่ า จะด้ า นการท างาน หรื อ แม้ แ ต่ ก ารท่ อ งเที่ ย ว หลั ง จาก ตระหนักถึงความสาคัญในจุดนี้ จึงได้พยายามฝึกภาษาอังกฤษ ลองมาหลายวิ ธี ก็ ไ ม่ ไ ด้ ผ ล จึ ง ตั ด สิ น ใจไปเรี ย นภาษา ที่ กศน. อาเภอเมื อ งตรั ง บรรยากาศในห้ องเรี ย นนั้ น เป็ นไปด้ว ยความ สนุกสนานเฮฮาแต่อัดแน่นไปด้วยความรู้ คุณครูแต่ละคนมีวิธีการ สอนที่แปลกใหม่ในแบบของตัวเองผ่านกิจกรรมกลุ่ม คู่ หรือเดี่ยว ทาให้ ผู้ เรี ย นไม่ รู้ สึ กเครี ย ดจึ งสามารถซึ มซับ สิ่ ง ที่เ รีย นได้อ ย่า ง เต็มที่ ไม่ใช่แค่การท่องจาเพื่อนาไปสอบแต่สามารถนาไปใช้ได้จริง นอกห้องเรียน
ข้อคิดข้อควรคานึงในการนาไปขยายผล 1. ควรสนับสนุนการจัดโครงการอย่างต่อเนื่อง 2. ครูผู้สอนต้องเป็นผู้ที่สอนเก่ง สอนสนุก มีเกมและกิจกรรมให้เล่น ให้ทา 3. ควรมีการนาวิทยากรที่เป็นเจ้าของภาษามาใช้ในการฝึกอบรม เพื่อความถูกต้องและชัดเจน 4. จะต้องนิเทศติดตามผลสัมฤทธิ์หลังผ่านการอบรม 5. ควรจัดโครงการต่อยอดด้านภาษาให้ผู้ผ่านการอบรมไปแล้ว
ข้อมูลอ้างอิง 1. โครงการอบรมครูต้นแบบภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารด้านอาชีพ สานักงาน กศน.จังหวัดตรัง 2. โครงการอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้าน อาชีพ หลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพสาหรับ พนักงานขายสินค้า กศน.อาเภอเมืองตรัง
ภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ เทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบค่ายฝึก (Boot Camp)
ภาพบรรยากาศการสอนภาษาอังกฤษในชั้นเรียน
ผู้ให้ข้อมูล
นายธนากร เยาว์ดา
นักวิชาการศึกษา สานักงาน กศน.จังหวัดตรัง
ผูเ้ รียบเรียงและเขียนต้นฉบับร่าง นางละออง ภู่กลาง
ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดตรัง
ผูบ้ รรณาธิการ 1. นายทวีป 2. นางรานี
อภิสิทธิ์ น้อยสกุล
อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ ศึกษานิเทศก์ชานาญการ สานักงาน กศน.จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่น โครงการสร้างชุมชน (สารสนเทศ) ต้นแบบดีเด่นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต (กรณีศึกษา : ชุมชนบ้านหินเทิน ตาบลแสงอรุณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์)
ความเป็นมาของโครงการ รัฐบาลมีมติ ครม. เมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2538 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชนบท นาข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช.2ค ทีศ่ ูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชนกระทรวงมหาดไทยจัดทาไว้ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน โดยมีนโยบายให้จัดทาสารสนเทศตาบลต้นแบบเพื่อพัฒนา คุ ณ ภาพชี วิ ต ขึ้ น แล้ ว ส่ ง เสริ ม ให้ ต าบลน าข้ อ มู ล สารสนเทศไปใช้ ป ระโยชน์ ใ นการสร้ า งชุ ม ชนให้ เ ข้ ม แข็ ง สร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน โดยให้นาข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช.2ค ที่มีอยู่ดังกล่าวไปตรวจสอบวิเคราะห์ สังเคราะห์ โดยใช้เครื่องมือ CIA (Community Information Radia Analyzes) แล้วนาไปใช้ประโยชน์ในการ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของคนในชุ ม ชน โดยการบริ ห ารจั ด การชุ ม ชนผ่ า นเวที แ ลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ แ ละเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สร้างเครือข่ายเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสร้างตาบลต้นแบบให้เป็นแหล่งศึกษา ดูงานฝึกอบรมให้ความรู้และขยายผลไปยังตาบลทั้งในและนอกจังหวัด โดยทีมขับเคลื่อนฯ ระดับตาบล อาเภอ จังหวัด ได้ออกไปสร้างการรับรู้และทาความเข้าใจกับประชาชนตั้งแต่ระดับตาบล ไปจนถึงหมู่บ้านและชุมชน และ ได้รวบรวมสภาพปัญหาความต้องการต่าง ๆ มานาเสนอให้คณะกรรมการระดับอาเภอ จังหวัด ได้รับทราบและ ดาเนินการต่อ กศน.ตาบลแสงอรุ ณ สั งกัด กศน.อาเภอทับสะแก ส านัก งาน กศน.จัง หวัด ประจวบคีรี ขัน ธ์ โดยมี นางสาวจิ ร าพร ยอดแก้ ว ครู กศน.ต าบลแสงอรุ ณ ได้ ร่ ว มรั บ ฟั ง การชี้ แ จงการด าเนิ น งาน การประชุ ม ทีมขับเคลื่อน การจัดเวทีประชาคมเพื่อร่วมกันวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการของชุมชนบ้านหินเทิน หมู่ 5 ตาบลแสงอรุณ อาเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ การดาเนินงานตามนโยบายการขับเคลื่อนโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ของชุมชนบ้านหินเทินมีการจัดเวที ประชาคม เพื่อสร้างการรับรู้ของประชาชนในชุมชน มีการดาเนินงานตามกรอบประเด็นโครงการไทยนิยมยั่งยืน ทั้ง 10 ประเด็น ได้แก่ สัญญาประชาคมผูกใจไทยเป็นหนึ่ง คนไทยไม่ทิ้งกัน ชุมชนอยู่ดีมีสุข วิถีไทยวิถีพอเพียง รู้สิทธิ รู้หน้าที่ รู้กลไกการบริหารราชการ รู้รักประชาธิปไตยไทยนิยม รู้เท่าทันเทคโนโลยี ร่วมแก้ไขปัญหายาเสพติด และงานตามภารกิจของส่วนราชการและหน่วยงานอื่น ๆ ผลที่ได้จากการดาเนินงานตามกรอบประเด็ น โครงการ ไทยนิย มยั่ งยืน จากการจั ดทาเวทีประชาคมเพื่อสร้างการรับรู้ของประชาชนในชุมชน ทาให้ ทราบปัญหาและ ความต้องการที่จาเป็นในชุมชนเพื่อพิจารณาค้นหาทางเลือกหรือพัฒนาทางเลือกใหม่ ๆ เพื่อยกระดับคุณภาพ ของชุมชนและกิจกรรม/โครงการที่เหมาะสม
ภาพเวทีประชาคม ไทยนิยม ยั่งยืน
ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. จังหวัดประจวบคีรีขันธ์แต่งตั้งคณะกรรมการขึ้น 2 คณะแบ่งเป็น 2 โซน คือ โซนเหนือและโซนใต้ 2. ให้แต่ละอาเภอเสนอรายชื่อหมู่บ้านหรือตาบลที่จะจัดสารสนเทศต้นแบบอาเภอละ 1 หมู่บ้าน หรือ 1 ตาบลให้คณะกรรมการพิจารณาโดยมีหลักเกณฑ์พิจารณา ดังนี้ 2.1. ความเข้มแข็งของหมู่บ้านหรือตาบล 2.2. การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 2.3 มีอาคารสถานที่และมีสัญญาณอินเตอร์เน็ต 2.4 จานวนหมู่บ้านไม่เกิน 10 หมู่บ้านหรือตาบล (ผลการคัดเลือกหมู่บ้านสารสนเทศของอาเภอ สามร้อยยอดตาบลไร่เก่า ได้แก่ บ้านตลาดไร่เก่า ผลการคัดเลือกตาบลสารสนเทศ ได้แก่ ตาบลแสงอรุณ อาเภอทับ สะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ) 3. กระบวนการขับเคลื่อน 3.1. จัดประชุมสร้างความเข้าใจแก่ผู้นาหมู่บ้านและผู้แทนองค์กรบริหารส่วนตาบลแสงอรุณ โดยมี นายกองค์การบริหารส่วนตาบลแสงอรุณเป็นประธาน 3.2 แต่งตั้งคณะทางานระดับสากลเพื่อร่วมกันขับเคลื่อนตาบลสารสนเทศ ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูลเพื่อเป็นทางเลือกในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 5 ด้าน คือ
1) การสารสนเทศเพื่อการพัฒนาอาชีพ 2) สารสนเทศเพื่อการจัดการทุนของชุมชนต้นแบบและพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยการจัดเวที ประชาคมเพื่อร่วมกันกาหนดความต้องการร่วมกันโดยใช้โปรแกรม CIA สารสนเทศเพื่อการเพื่อจัดการความเสี่ยง ของชุมชน 3) สารสนเทศเพื่อการแก้ไขปัญหาความยากจน 4) สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการชุมชน 5) สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการชุมชน 3.3 นาเสนอผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์แก่คณะทางานระดับตาบลเพื่อรับทราบร่วมกันและ จัดทาสารสนเทศภูมิศาสตร์ web GIS โดยการวาดขอบเขตแผนที่หมู่บ้านปักหมุดระหว่างสัญลักษณ์สถานที่สาคัญ สาคัญของตาบลเพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ตาบลสารสนเทศต้นแบบและมีแผนการบารุงรักษาการสื่อสารผ่าน ระบบออนไลน์ เช่น ไลน์กลุ่มตาบล Facebook ตาบลสารสนเทศต้นแบบเว็บไซต์ และ YouTube เป็นต้น
ความสาเร็จดีเด่นของชุมชนตาบลแสงอรุณ 1. มีผู้นาหมู่บ้าน (กานันเอก) ที่รู้ข้อมูลพื้นฐานละเอียดชัดเจน มีลักษณะผู้นาเด่น สามารถประชุมชี้แจง ทาความเข้าใจให้ผู้ร่วมงานและประชาชนในตาบลรู้และเข้าใจประโยชน์ของการนาข้อมูลพื้นฐานไปใช้ประโยชน์ ในการพัฒนาชุมชนของตนได้อย่างชัดเจน 2. ในตาบลมีทรัพยากรบุคคลและทรัพยากรธรรมชาติเป็นต้นทุนของชุมชนที่สามารถนาไปใช้ประกอบ อาชีพได้หลากหลาย เช่น กล้วยตาก เมี่ยงคาน้ามะพร้าว ถ่านกะลาอัดแท่ง วุ้นน้ามะพร้าว ขนมปังชีสเชค มีแหล่ง ท่องเที่ยว คือ ชายหาดแสงอรุณและคลองบางกลุ่มที่ใช้เป็นศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนเข้มแข็งและการจัด ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์เกษตร OTOP นวัตวิถี หมู่ที่ 4 หมู่ที่ 5 เป็นต้น 3. มีหลักเกณฑ์ให้แต่ละอาเภอพิจารณาเสนอรายชื่อหมู่บ้านหรือตาบลที่จะจัดสารสนเทศต้นแบบอาเภอ ละ 1 หมู่บ้าน หรือ 1 ตาบล โดยมีหลักเกณฑ์พิจารณาให้คณะกรรมการพิจารณา (ผลการคัดเลือกตาบล สารสนเทศได้แก่ตาบลแสงอรุณอาเภอทับสะแกจังหวัดประจวบคีรีขันธ์) 4. มีแผนการจัดการและมีกระบวนการขับเคลื่อนที่ดี 4.1 จัดประชุมสร้างความเข้าใจแก่ผู้นาหมู่บ้านและผู้แทนองค์กรบริหารส่วนตาบลแสงอรุณ โดยมี นายกองค์การบริหารส่วนตาบลแสงอรุณเป็นประธาน 4.2 แต่งตั้งคณะทางานระดับสากลเพื่อร่วมกันขับเคลื่อนตาบลสารสนเทศในการวิเคราะห์สังเคราะห์ ข้อมูลเพื่อเป็นทางเลือกในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 5 ด้าน คือ 1) การสารสนเทศเพื่อการพัฒนาอาชีพ 2) สารสนเทศเพื่อการจัดการทุนของชุมชนต้นแบบและพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยการจัดเวที ประชาคมเพื่อร่วมกันกาหนดความต้องการร่วมกันโดยใช้โปรแกรม 3) สารสนเทศเพื่อการเพื่อจัดการความเสี่ยงของชุมชน 4) สารสนเทศเพื่อการแก้ไขปัญหาความยากจน 5) สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการชุมชน
4.3 นาเสนอผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์แก่คณะทางานระดับตาบลเพื่อรับทราบร่วมกันและ จัดทาสารสนเทศภูมิศาสตร์ web GIS โดยการวาดขอบเขตแผนที่หมู่บ้านปักหมุดระหว่างสัญลักษณ์สถานที่สาคัญ สาคัญของตาบลเพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ตาบลสารสนเทศต้นแบบและมีแผนการบารุงรักษาการสื่อสารผ่าน ระบบออนไลน์ เช่น ไลน์กลุ่มตาบล Facebook ตาบลสารสนเทศต้นแบบเว็บไซต์ และ YouTube เป็นต้น 4.4 มีกระบวนการทางานที่ดี เช่น 1) มีการจัดประชุมชี้แจงทาความเข้าใจแก่ตัวแทนหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน ผู้นาท้องถิ่น นายก อบต. ปลัดอาเภอ หัวหน้ากลุ่มสารสนเทศ พร้อมคณะทางานและเจ้าหน้าที่สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ ภาคีเครือข่าย เช่น ครูโกศลครูจากโรงเรียนในตาบลและสาธารณสุขตาบล เป็นต้นเจ้าหน้าที่ร่วมกันจัดทาแผนตาบลผู้รับผิดชอบ 2) จัดเวทีประชาคมครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3 เพื่อร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน แล้วนาเสนอผลการวิเคราะห์มาจัดลาดับความสาคัญเร่งด่วนและร่วมกันจัดทาโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาในระดับ ตาบลโดยนาผลวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม CIA มาเปรียบเทียบกับผลวิเคราะห์จากการจัดเวทีไทยนิยมยั่งยืน เป็นรายหมู่บ้านเพื่อหาจุดมุ่งหมายที่ชัดเจนในการพัฒนาและขับเคลื่อน 3) คัดเลือกกิจกรรม/หรือโครงการจัดทาแผนบูรณาการแยกเป็น 3 ประเภท คือโครงการ ทาเอง โครงการทาร่วม และเสนอขอรับการสนับสนุนตามประเภท คือ โครงการทาเองโครงการทาร่ว ม และ โครงการขอรับการสนับสนุนตามการจัดลาดับความสาคัญ 4) น าผลสรุ ป ข้ อ เสนอการท าโครงการจากการจั ด เวที ป ระชาคม ทั้ ง 6 โครงการ ไปดาเนินการ ดังนี้ 1. การแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรสู่การเป็นสินค้า OTOP (โครงการทาร่วม) 2. การรวมกลุ่มเกษตรกรปลอดสารพิษ (โครงการทาร่วม) 3. การรวมกลุ่มมะพร้าวขาว (โครงการทาร่วม) 4. การขยายผลสร้างฝายมีชีวิตเพิ่มจากเดิม 8 ฝาย เพิ่มขึ้นอีก 2 สาย โดยไม่ใช้ งบประมาณเพื่อสร้างความชุ่มชื้นและทาให้มีน้าใต้ดิน (โครงการทาเอง) 5. การเพาะเลี้ยงแตนเบียนเพื่อแก้ปัญหาจากแมลงศัตรูพืชระดับตาบลและระดับอาเภอ (โครงการทาเอง) 6. OTOP นวัติวิถี 2 หมู่บ้าน และเตรียมความพร้อมที่จะเข้าร่วมทุกหมู่บ้าน โดยทุกหมู่บ้าน เข้าร่วมโครงการเป็นเจ้าบ้านที่ดี การทาโฮมสเตย์ (ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ) ส่วนที่เหลือ ส่วนใหญ่จะเป็น โครงการที่สร้างอาชีพสร้างรายได้ในส่วนของสาธารณูปโภค เสนอขอรับการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคีการพัฒนา
โครงการที่ชุมชนทาแล้วประสบผลสาเร็จดีเด่น 1. โครงการเพาะเลี้ยงแตนเบียนและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดจากทุกส่วนในตาบล มีกฎกติกาของตาบล สาหรับผู้ปลูกมะพร้าวเป็ นโครงการที่ดาเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 5 ปี และมีแผนที่จะขยายไปยังตาบล ข้างเคียงโดยจัดตั้งศูนย์เรียนรู้รักษามะพร้าวชาวแสงอรุณ 2. โครงการปฏิบัติตามแผนการขับเคลื่อนประชาสัมพันธ์ ตาบลแสงอรุ ณ โดยฝึ กอบรมการใช้อิน เตอร์เน็ตเพื่อการสื่ อสาร 1 รุ่น ให้แก่ตัวแทนจากทุกหมู่บ้าน ๆ ละ 1 คน (12 หมู่บ้าน) จัดตั้งกลุ่มตาบลสารสนเทศต้นแบบ (Line Facebook Website) มอบหมายให้ทุกหมู่บ้านมีตัวแทนรับผิดชอบระบบไอทีทุกหมู่บ้าน ประชุมประจ าเดือนทุกเดือนหลังจากรับ มอบหมายงานจากการ ประชุม กานั น ผู้ ใหญ่บ้ า นประจ าเดือ น เพื่อ วางแผนเตรีย มความ พร้อมและสร้างกระบวนการเรียนรู้และกระบวนการมีส่วนร่วมแก่ คณะกรรมการและผู้ น าชุ ม ชนเพื่ อ ให้ ห มู่ บ้ า นต าบลเป็ น ชุ ม ชน ที่เข้มแข็งมีความยั่งยืน
ข้อควรคานึงในการนาโครงการไปพัฒนา ปัญหาอุปสรรค 1. การจัดเวทีประชาคมไม่ตรงกับเวลาของประชาชนในพื้นที่ที่จะมาเข้าร่วมได้ 2. วิทยากรไม่ได้มาตามเวทีที่รับผิดชอบ ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเห็นถึงความสาคัญของการเข้าร่วมโครงการไทยนิยม ยั่งยืน อย่างต่อเนื่อง และแสดงความคิดเห็นตามความต้องการของตนเองอย่างแท้จริง 2. ครู กศน.ตาบล คณะกรรมการระดับตาบลควรมีความรู้ความเข้าใจ เป้าหมาย บทบาทหน้าที่และ แนวทางการดาเนินงานตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน 3. คณะกรรมการโครงการไทยนิยมยั่งยืน ต้องรวบรวมสภาพปัญหา ความต้องการ ข้อเสนอแนะที่ได้รับ จากการจัดทาเวที และวิเคราะห์ปัญหาและจัดลาดับความสาคัญ นาเสนอหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดหาและหา วิธีการแก้ไขให้ตรงกับความต้องการของคนในชุมชน
ผลงานดีเด่นและรางวัลต่าง ๆ ที่ได้รับ 1. รางวัลชนะเลิศศูนย์ประสานงานองค์กรชุมชนดีเด่นระดับจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พ.ศ. 2558 2. รางวัลกองทุนแม่ของแผ่นดินบ้านหินเทินดีเด่นระดับจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พ.ศ. 2559
3. รางวัลชนะเลิศตามโครงการคัดเลือกหมู่บ้านดีเด่น (บ้านสวยเมืองสุข) ระดับอาเภอระดับจังหวัด ระดับเขตตรวจราชการ พ.ศ. 2559 4. รางวัลชนะเลิศหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง (อยู่เย็นเป็นสุข) ระดับจังหวัด พ.ศ. 2559 5. รางวัลชนะเลิศหมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับเขตตรวจราชการ พ.ศ. 2559 6. รางวัลหมู่บ้านรักษาศีลห้าต้นแบบ พ.ศ. 2560 7. รางวัลชนะเลิศสารสนเทศต้นแบบเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ประจาปี พ.ศ. 2561 ระดับเขตตรวจ ราชการ 8. รางวัลชนะเลิศศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตย กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประจาปี พ.ศ. 2560 9. รางวัลหมู่บ้านท่องเที่ยวต้นแบบเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติบ้านเพชรเพลินดินปี พ.ศ. 2561 10. รางวัลชุมชนต้นแบบการขับเคลื่อนการพัฒนาตามโครงการไทยนิยมยั่งยืน พ.ศ. 2561 ภาพกิจกรรม/ความสาเร็จที่ได้รับ
รางวัลชนะเลิศ ระดับอาเภอ จังหวัด และระดับเขตราชการ เขต 5 หมูบ่ ้านดีเด่น (บ้านสวย เมืองสุข) ประจาปี 2559
รางวัลชนะเลิศหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ประจาปี 2559
รางวัลชุมชนต้นแบบการขับเคลื่อนการพัฒนาตามโครงการไทยนิยมยั่งยืน พ.ศ. 2561
ผู้ให้ข้อมูล
1. นายภัทรดนัย สมศรี กานันตาบลแสงอรุณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 2. นางสาวจิราพร ยอดแก้ว ครู กศน.ตาบลแสงอรุณ สานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ผู้เขียน
นางมณีรัตน์ อัจฉริยพันธกุล ผู้อานวยการ กศน.อาเภอทับสะแก สานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ผูบ้ รรณาธิการ 1. นายทวีป อภิสิทธิ์ 2. นายอวยชัย จันทปัญญาศิลป์
อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ อดีตศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ
การถอดบทเรียนความสาเร็จของ กศน.ตาบล ๔G ดีเด่น (กรณีศึกษา กศน.ตาบลป่ายุบใน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยวังจันทร์ (กศน.อาเภอวังจันทร์) สานักงาน กศน.จังหวัดระยอง)
ความเป็นมาโครงการ “กศน.ตาบล ๔G” เป็นนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทาง การศึกษาของส านั กงาน กศน.ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖1 ทุ ก กศน.ต าบล ต้องด าเนิ นการขับเคลื่ อน “กศน.ตาบล ๔G” ประกอบไปด้วย ๑. Good Teacher: มีความเป็นครูมืออาชีพ จัดกระบวนการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. Good Place Best Check-in สภาพแวดล้อมมีความสวยงาม สะอาด บรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้ ๓. Good Activities มีกิจกรรมยืดหยุ่น หลากหลาย ๔. Good Partnership มีภาคีเครือข่ายที่ดี ทางานร่วมกันอย่างเข้มแข็ง กศน.ตาบลป่ายุบใน ได้ดาเนินการตามนโยบายดังกล่าวและได้พัฒนา กศน.ตาบลป่ายุบใน จนเป็น “กศน.ตาบล ๔G ดีเด่น” ที่มีคุณภาพและเป็นแบบอย่างให้ กศน.ตาบลอื่นได้
ขั้นตอนการดาเนินงาน
ขั้นตอนที่ ๑ รับนโยบาย นางวรมน รัตนจีน ผู้อานวยการ กศน.อาเภอวังจันทร์ นาคณะครู กศน.อาเภอวังจันทร์ เข้ารับการ อบรม โครงการพัฒนาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา เตรียมพลิกโฉม กศน.ตาบล สู่ “กศน.ตาบล ๔G” นางวรมน รัตนจีน มอบหมายให้ ครู กศน.ตาบล ทั้ง ๔ ตาบล ของ กศน.อาเภอวังจันทร์ ได้พัฒนา กศน.ตาบล สู่ “กศน.ตาบล ๔G”
ขั้นตอนที่ ๒ วิเคราะห์ปัญหา ความต้องการ นางสาวชลจิรัศมิ์ ชิตเจริญอยู่ ครู กศน.ตาบลป่ายุบใน ได้วิเคราะห์ปัญหาของตาบลว่าขาดอะไรในการเป็น กศน.ตาบล ๔G ปรับปรุง ครู กศน.ตาบล สภาพบรรยากาศดี สิ่งแวดล้อมดี เอื้อต่อการเรียนการสอนการจัด กิจกรรม วางแผนมีกิจกรรมยืดหยุ่นหลากหลาย ลงพืน้ ที่เข้าถึงชาวบ้านและเครือข่าย สอบถามความต้องการ การพัฒนาทักษะต่าง ๆ ทั้งการเรียนการสอน การฝึกอาชีพต่าง ๆ
ขั้นตอนที่ ๓ ดาเนินการ พัฒนา กศน.ตาบล สู่ “กศน.ตาบล ๔G” นางสาวชลจีรัศมิ์ ชิตเจริญอยู่ ครูกศน.ตาบลป่ายุบใน ได้พัฒนา กศน.ตาบล เป็น กศน.ตาบล ๔G โดยให้ความสาคัญตามลาดับ ดังนี้ 1. G๑ Good Teacher ครูมืออาชีพ จัดกระบวนการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ๑.๑ นางสาวชลจีรัศมิ์ ชิตเจริญอยู่ ครู กศน.ตาบลป่ายุบ ได้รับโอกาสให้ไปเป็นวิทยากร ในโครงการต่าง ๆ ทั้งในและนอกหน่วยงาน เพิ่มศักยภาพของครูให้มากขึ้น
1.2 เข้าร่วมอบรมโครงการต่าง ๆ ทั้งจัดโดยสานักงาน กศน.จังหวัดระยอง และหน่วยงานอื่น ๆ ได้มีการมีการพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอทั้งในด้านทักษะกระบวนการต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์และนามาขยาย ผลได้
1.3 ครู สามารถสอนและถ่ายทอดความรู้ให้กับนักศึกษาและประชาชนได้อย่างสมบูรณ์ถูกต้อง สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างยั่งยืน มีการใช้เทคโนโลยี ในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้นักศึกษา อย่างสม่าเสมอ
เมื่อ ครู กศน.ตาบลป่ายุบใน มีความพร้อมทั้งเรื่องความรู้ ความสามารถ ความตั้งใจมุ่งมั่น ก็พร้อม ที่จะพัฒนาในด้านอื่นต่อไปอีก
๒. G๒ Good Place Best Check-in สภาพแวดล้อมมีความสวยงาม สะอาด บรรยากาศเอื้อ ต่อการเรียนรู้ 2.1 กศน.ตาบลป่ายุบใน มีอาคารที่ใหญ่กว้าง ครู กศน.ตาบล จึงปรับมุมให้เหมาะสาหรับการ จัดการเรียนการสอน มีมุมส่งเสริมการอ่าน มีมุมหนังสือพิมพ์ และยังเป็นศูนย์เรียนรู้ใกล้บ้านในชุมชน และมุม ไว้สาหรับจัดฝึกอาชีพ
2.2 ครู กศน.ตาบลป่ายุบใน จัดมุมห้องให้เป็นมุม ๔ ศูนย์เรียนรู้ เพื่อตอบรับภารกิจให้สอดคล้อง กับนโยบายและบริบทของพื้นที่ ตลอดจนรองรับการเป็นประชาคมอาเซียนมากขึ้น ภายใต้การขับเคลื่อน การดาเนินงาน
๓. G๓ Good Activities มีกิจกรรมยืดหยุ่น หลากหลาย 3.1 กิจกรรมที่จัดกับผู้เรียน 3.1.1 การจัดกิจกรรมขั้นพื้นฐาน กศน.ต าบลป่ ายุ บใน จั ดการเรี ยนการสอน ให้ กับ นัก ศึก ษา ๓ ระดับ ชั้น ได้แ ก่ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ในการจัดการเรียนการสอน ครู กศน.ตาบลป่ายุบใน ได้มีการใช้เทคโนโลยี เกมส์ กิจกรรม ต่างๆเข้ามาเป็นตัวช่วยให้การเรียนในห้องเรียนดูน่าสนใจขึ้น
3.1.2 การจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง กศน.ตาบลป่ายุบใน ได้จัดอบรมประชาชนใน โครงการต่าง ๆ โดยกิจกรรมและโครงการที่จัด ได้มีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละปีงบประมาณ เพื่อให้กิ จกรรม ต่าง ๆ สอดคล้องกับภารกิจและนโยบายอยู่เสมอ
4. G๔ Good Partner ship มีภาคีเครือข่ายที่ดี ทางานร่วมกันอย่างเข้มแข็ง กศน.ตาบลป่ายุบใน ให้ความสาคัญกับการจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่ายต่างๆ ทั้งกิจกรรม ที่ กศน.ตาบลป่ายุบใน เป็นผู้จัดแล้วเครือข่ายเข้ามาร่วม และ กศน.ตาบลป่ายุบใน นา นักศึกษา ครู หรือ กิจกรรมไปร่วมงานกับเครือข่ายต่าง ๆ เช่น
1) การผลิตและพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษา ระหว่างสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) และสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) ในการฝึกอบรมทักษะ อาชีพในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ได้จัดศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนให้กลับคนในชุมชน 2) คณะกรรมการการเลื อ กตั้ ง (กกต.) ได้ จั ด ตั้ ง ศู น ย์ ส่ ง เสริ ม พั ฒ นาประชาธิ ป ไตยต าบล (ศส.ปชต.) เพื่อสร้างการเรียนรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข 3) การร่วมงานกับเครือข่าย กศน.ตาบลป่ายุบใน นานักศึกษาเข้ าร่วมโครงการของหน่วยงาน ต่างๆ ทั้ง วัด อบต. อาเภอ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนอื่นๆ
ขั้นตอนที่ ๔ สรุปผลกิจกรรม กศน.ตาบลป่ายุบใน ได้พัฒนา กศน.ตาบล สู่ “กศน.ตาบล ๔G” ทุกด้านอย่างมีประสิทธิภาพตามภารกิจ พัฒนาจากตัวครูให้เป็นที่ยอมรับจากชุมชน ชาวบ้าน และคณะครู จนส่งผลให้เกิดการขับเคลื่อนกิจกรรม ที่หลากหลาย จน กศน.ตาบลป่ายุบใน เป็นศูนย์การในการเรียนรู้ของคนในตาบลป่ายุบใน มีความพร้อมในการ จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาตลอดชีวิตให้คนทุกเพศ ทุกวัย มีการจัดพัฒนาอาชีพ ส่งเสริมการมี รายได้มีงานทาของชุมชน เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ทั้งกลุ่มแม่บ้าน ผู้สูงอายุ วัยรุ่น สับเปลี่ยนหมุนเวียนกิจกรรม ร่วมกับเครื่องข่าย หน่วยงาน ชุมชน อย่างต่อเนื่อง และเป็นแบบอย่างการดาเนินงาน ในเรื่อง กศน.ตาบล ๔G สู่ตาบลอื่น ๆ จนเป็นที่ยอมรับระดับอาเภอและจังหวัด
ความสาเร็จที่เป็นจุดเด่นของโครงการหรือกิจกรรมนี้ ได้รับการคัดเลือกจากสถาบัน กศน.ภาค ในการจัดทาคลิป VDO กศน.ป่ายุบใน “กศน.ตาบล ๔G ดีเด่น” ของจังหวัดระยอง เพื่อใช้ในการเผยแพร่เป็นตัวอย่างแก่ครูของจังหวัดระยองและคนที่ต้องการได้นาไปใช้ พัฒนา กศน.ตาบล สู่ “กศน.ตาบล ๔G” ซึ่ง กศน.ตาบลป่ายุบใน มีจุดแข็งที่ทาให้ เกิดเป็น Best Practice คือ นางสางชลจีรัศมิ์ ชิตเจริญอยู่ เป็นครูกศน.ตาบล ซึ่งเป็นครูที่มีความรู้ ความสามารถ เป็นครูที่มีทักษะ การเรี ย นรู้ ใ นเรื่ องต่ าง ๆ อย่ างรวดเร็ ว และสามารถนาไปขยายผล จัด กิจ กรรมได้ อย่ างมี ประสิ ท ธิภ าพ การจัดทา “กศน.ตาบล ๔G” ของ กศน.ตาบลป่ายุบใน ได้รับการยอมรับจากคณะครูและผู้บริหารของ กศน. อาเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง
แนวทางในการนาไปประยุกต์ใช้ “กศน.ตาบล ๔G” เป็นนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน ปี ๒๕๖๑ ที่ทุก กศน.ตาบล จาเป็นต้อง ถือปฏิบัติ แต่การทาให้ “กศน.ตาบล ๔G” ของตนนั้นมีประสิทธิภาพ ส่วนสาคัญ คือ ครู กศน.ตาบล ที่จะต้อง มีความอดมน ตั้งใจ มั่งมั่ง พัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ จนเกิ โเป็น Good Teacher ครูเป็นมืออาชีพ เมื่อครู เป็ น ที่ยอมรั บ ในชุมชน ในการทางาน การขับเคลื่อน “กศน.ตาบล ๔G” จึง ๗ธเดินไปสู่ เป้าหมายอย่างมี ประสิทธิภาพ
ข้อคิดควรคานึงในการนาไปขยายผล ควรมีการจัดทา สื่อ เอกสารที่ทันสมัย มีคู่มือที่ชัดเจนในการดาเนินการ กศน.ตาบล ๔G ควรมีการจัด เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครู กศน.ตาบล และในส่วนของเครือข่าย ยังขาดการประเมินผลเพื่อนามาใช้ใน การปรับปรุงพัฒนาการจัดกิจกรรมร่วมกัน
ข้อมูล/หลักฐานอ้างอิง
ผู้เขียน
นางสาวฐิติพร พาสี ครู กศน.ตาบลป่ายุบใน กศน.อาเภอวังจันทร์สานักงาน กศน.จังหวัดระยอง
ผู้สนับสนุนและตรวจสอบข้อมูล 1. นายนิติพัฒน์ ยุทธเจริญกิจ 2. พระครูประจักษ์คุณาภรณ์ 3. นายพสิษฐ์ จิระฉัฐวัฒน์ 4. นายนิพนธ์ ศรีประเสริฐ 5. นายบัลลังก์ กิจจินดาหลาอยู่
นายก อบต.ตาบลป่ายุบใน เจ้าอาวาสวัดป่ายุบใน กานันผู้ใหญ่บ้าน ตาบลป่ายุบใน ผู้ใหญ่บ้าน ม.5 ตาบลป่ายุบใน ครู กศน.ตาบล
ผูบ้ รรณาธิการ 1. นายทวีป 2. นายอวยชัย 3. นางวรมน
อภิสิทธิ์ อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ จันทปัญญาศิลป์ อดีตศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ รัตนจีน ผู้อานวยการ กศน.อาเภอวังจันทร์ สานักงาน กศน.จังหวัดระยอง 4. นางกฤษณา พลฤทธิ์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดอุตรดิตถ์ 5. นางสาววารีทิพย์ อินบัว ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดระยอง
การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่นกิจกรรมการใช้ SMART PLUG ในการบริหารจัดการน้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่น ๆ ผ่าน SMART PHONE (กรณีศึกษา : นายกอบกฤต เกษตรากสิกรรม แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตาบลโนนห้อม กศน.อาเภอเมืองปราจีนบุรี สานกกงาน กศน.จกงหวกดปราจีนบุรี)
ความเป็นมาของโครงการ ตามที่รกฐบาลได้มีนโยบายช่วยเหลือเกษตรกร โดยให้เกษตรกรไทยต้องเป็น “เกษตรกรปราดเปรื่อง” (Smart Farmer) คือ ต้องนาความรู้ หลกกวิชาการและเทคโนโลยีสมก ยใหม่ เข้ามาช่วยการทาเกษตรกรรม ทาเอง ให้น้อยลง แต่ได้ผลผลิตมากขึ้น ใช้พื้นที่น้อยลง ใช้น้าน้อยลง แต่ผลผลิตเพิ่มขึ้น กศน.อาเภอเมืองปราจี น บุ รี จึ งได้จกดทาหลก กสู ตรความรู้ที่ส ามารถถ่ายทอดข้อมูลเชิงลึ กให้ แก่ผู้ อื่น (Smart ONIE) เพื่อสร้างเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Famer) จานวน 18 ชก่วโมง เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ทกน ต่อ การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรม ผู้บริโภค และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปในยุคดิจิทกล โดยการใช้กระบวนเรียนของเกษตรกรให้ได้รกบความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องต่าง ๆ ดกงนี้ (1) มีความรู้ ในเรื่องที่ทาอยู่ (2) มีข้อมูลประกอบการตกดสิ นใจ (3) มีการบริหารจกดการผลผลิตและการตลาด (4) มีความ ตระหนกกถึงคุณภาพสินค้าและความปลอดภกยของผู้บริโภค (5) มีความรกบผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม/สกงคม (6) มีความ ภูมิใจในความเป็นเกษตรกร เพื่อสร้างความมก่นคง มก่งคก่ง ยก่งยืน ต่อการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เป็นเกษตรกร ปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ยุค Thailand 4.0 อย่างแท้จริง จากหลกกสูตร หลกกคิด เกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Famer) หกวข้อการนาเทคโนโลยี เข้ามาช่วยทาให้ การทาเกษตรกรรมได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยวิยากรได้นา เทคโนโลยีแผ่นโซล่าเซลล์ เครื่องตก้งเวลาการทางาน และ SMART PLUG กศน.อาเภอเมืองปราจีนบุรี ได้ระดมความคิดจากเกษตรกรที่เข้าอบรมในการนาเทคโนโลยีใน 3 รายการ มาต่อยอดในพื้นที่ที่เหมาะสมที่สุด มติในที่ประชุมคือ การทดลองการนา SMART PLUG มาต่อยอด พร้อมกกบได้ คกดเลือกจุดต้นแบบในการทดลอง กศน.อาเภอเมืองปราจีนบุรี ได้นาความรู้จากโครงการ Smart Farmer หลกกสูตรเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ยุค Thailand 4.0 (การใช้ SMART PLUT ในการบริหารจกดการน้า ) มาต่อยอดในการจกดอบรม การใช้ SMART PLUG ให้กกบประชาชนในอาเภอเมืองปราจีนบุรี เพื่อจกดตก้งจุดเรียนรู้ต้นแบบ “การใช้ SMART PLUG” ในการบริหารจกดการน้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่น ๆ ผ่าน SMART PHONE” เพื่อส่งเสริมสนกบสนุนให้ประชาชน ได้พกฒนาความรู้ด้านการเกษตร และยกระดกบเกษตรกรให้เป็น เกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Famer) ตามความ เหมาะสมกกบบริบท และความต้องการของท้องถิ่นในแต่ละชุมชน
SMART PLUG (Wi-Fi Smart Plug TP-LINK) คือ ปลก๊กไฟอกจฉริยะมีคุณสมบกติ ดกงนี้ - สามารถควบคุมอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกกบ SMART PLUG ทุก ๆ ที่ที่มีอินเตอร์เน็ต โดยใช้ แอป Kasa บน SMART PHONE - กาหนดตารางเวลาให้กกบ SMART PLUG สาหรกบ การเปิดและปิด โดยอกตโนมกติ ตามต้องการ เช่นการตก้งเวลาในการเปิดไฟฟ้าในช่วงค่า ให้ปิดเองในตอนสว่าง - สามารถหาซื้อได้ที่ร้าน IT ทก่วไป มีตก้งแต่ราคา 550 – 2,000 บาท (ขึ้นอยู่กกบ คุณสมบกติของการใช้งาน)
ขั้นตอนการดาเนินงาน ผังแสดงกิจกรรมการให้ความรู้ในเรื่อง การใช้ SMART PLUG 1. การอบรมหลกกสูตรความรู้ที่สามารถถ่ายทอดข้อมูลเชิงลึกให้แก่ผู้อื่น (Smart ONIE) เพื่อสร้าง เกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Famer) และหลกกสูตรเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ยุค Thailand 4.0 ตามหลกกสูตรของสานกกงาน กศน. จกดโครงการโดย กศน.อาเภอเมืองปราจีนบุรีให้แก่เกษตรกรในอาเภอเมือง ปราจีนบุรี จานวน 20 คน 2. การนาความรู้จากการอบรมในหลกกสูตรเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ยุค Thailand 4.0 (การใช้ SMART PLUT ในการบริหารจกดการน้า) มาต่อยอดจกดอบรมการใช้ SMART PLUG ให้กกบประชาชน ในอาเภอเมืองปราจีนบุรี เพื่อจกดตก้งจุดเรียนรู้ต้นแบบ “การใช้ SMART PLUG ในการบริหารจกดการน้าและอุปกรณ์ ไฟฟ้าอื่น ๆ ผ่าน SMART PHONE” 3. ได้ทาการคกดเลือกพื้นที่ในการติดตก้งจุดการเรียนรู้ต้นแบบในตาบลโนนห้อม โดยครู กศน.ตาบลโนนห้อม เป็นผู้รกบผิดชอบ คือแหล่งเรียนรู้เป็นพื้นที่สวนสกบปะรดสี มีพื้นที่ประมาณ 3 ไร่ ซึ่งประกอบไปด้วยสวนมะนาว ในวงบ่ อ สวนมก ล เบอร์ รี่ ส ายพก น ธุ์ ต่ า งประเทศ (ลู ก หม่ อ น) ต้ น ชวนชมสายพก น ธุ์ ต่ า ง ๆ และมี แ หล่ ง เรี ย นรู้ ด้านประติมากรรม เช่น กระถางต้นไม้รูปทรงแปลกตา แผ่นปูนปูทางเดิน แผ่นปูนติดผนกง เป็นต้น นายกอบกฤต เกษตรากสิกรรม นาความรู้ที่ได้รกบจากการอบรมนามาใช้ในการบริหารจกดการน้าในสวน สกบปะรดสี โดยใช้ติดตก้งกาหนดเวลาในการเปิด – ปิดน้า เพื่อลดแรงงาน เวลา และสามารถกาหนดเวลาให้น้า ได้ตรงตามความต้องการ และมีความรู้ สึ กดีใจที่มาร่ว มกิจกรรมนี้กกบ กศน. ทาให้ ประหยกดเวลาและแรงงาน ค่าใช้จ่ายในการในการบริหารจกดการน้า โดยมีขก้นตอนในการดาเนินงานดกงนี้
ขั้นตอนการติดตั้งแอปพลิเคชัน Kasa
การติดตั้งแอปพลิเคชัน Smart Plug ใน Smart Phone
การติดตั้งกับปั๊มน้้า
เปิดใช้งานจาก Smart Phone
การให้น้าสกบปะรดสี
เปิด – ปิด พกดลม
การเปิด – ปิดสปิงเกอร์น้า
ความสาเร็จที่เป็นจุดเด่นของโครงการ ผู้เข้าร่วมอบรมในโครงการได้นา SMART PLUG ไปใช้ในสวนสกบปะรดสี ในตาบลโนนห้อม ได้ประสบ ความสาเร็จคือ 1. การควบคุมการรดน้าต้นสกบปะรดสีตามเวลาที่กาหนด ในพื้นทีประมาณ 2 ไร่ ซึ่งสกบปะรดสีมีความ ต้องการน้าอย่างสม่าเสมอ 2. ประหยกดเวลาและแรงงานในการดูแลสกบปะรดสี 3. จากประสบการณ์การนา SMART PLUG มาปรกบใช้ในบริห ารจกดการน้าและเครื่องใช้ไฟฟ้า ในครกวเรือนทาให้มีเวลาในการทากิจกรรมอย่างอื่น มากขึ้น เช่น การทาศิลปะปูนปั้น เพื่อใช้ในการประดกบตกแต่งสวน
รางวัลแห่งความสาเร็จของโครงการ สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ในเรื่อง การใช้ SMART PLUG และแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงให้กกบคน ในชุมชนที่สนใจ รวมถึงการมาศึกษาดูงานจากเกษตรกรต่างจกงหวกด เกษตรกรจากจกงหวกดปทุมธานี ศึกษาดูงานในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง นกกท่องเที่ยวต่างชาติ สนใจในเรื่อง การใช้ SMART PLUG เกษตรกรจากจกงหวกดสมุทรปราการ ศึกษาดูงานในเรื่องการขยายพกนธุ์สกบปะรดสี
กลุ่มแม่บ้านบางแค ศึกษาดูงานในเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง และการบริหารจกดการน้าโดยการใช้ SMART PLUG กลุ่มเกษตรกร หนองวกว ศึกษาดูงานในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงและการจกดสวนถาด
ข้อคิดควรคานึงในการนาไปขยายผล จุดเด่นของ SMART PLUG 1. ลดค่าใช้จ่าย แรงงาน เวลา ในการบริหารจกดการน้าในสวน 2. มีเวลาเหลือได้สร้างสรรค์งานประดิษฐ์ด้านปูนปั้น เพื่อใช้ในการตกแต่งสวน ปัญหาและอุปสรรค การใช้ SMART PLUG ต้องใช้สกญญาณอินเตอร์เน็ตในการสก่งการทาให้จากกดพื้นที่ในการติดตก้ง แนวทางการนาไปประยุกต์ใช้ และพัฒนาต่อยอด การประยุกต์ใช้กกบอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านเพื่อความสะดวกในการเปิด-ปิด
ข้อมูล/หลักฐานอ้างอิง การนา SMART PLUG ไปติดตก้งใน 12 ตาบลของอาเภอเมืองปราจีนบุรี เพื่อขยายผลการเรียนรู้ในการ ใช้ SMART PLUG ในการบริหารจกดการน้าในสวน เป็นจุดขยายผลการเรียนรู้ “การใช้ เรียนรู้ SMART PLUG ในการบริหารจกดการน้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นผ่าน SMART PHONE” ดกงนี้ 1. จุดขยายผลตาบลเนินหอม นายประเวศ แสงสี แหล่งเรียนรู้ทางด้านเกษตรบ้านเลขที่ 52 หมู่ที่ 5 บ้านเนิ นบาก ตาบลเนิน หอม อาเภอเมืองปราจีนบุรี จกงหวกดปราจีนบุรี แหล่งเรียนรู้เป็นพื้นที่ส วน ซึ่งปลูกผก ก สวนครกวไว้บริโภคในครกวเรือน โดย นายประเวศ แสงสี นาความรู้ที่ได้รกบจากการอบรมนามาใช้ในการบริหาร จกดการน้าในการปลูกผกกสวนครกว
2. จุ ดขยายผลต าบลไม้เค็ด นายพรเทพ โภชนกดศรีฉาย แหล่งเรียนรู้ชุมชนด้านเศรษฐกิจพอเพียง อาชีพการทาสวนเกษตรผสมผสาน บ้านเลขที่ 137 หมู่ 5 บ้านหนองปรือ ตาบลไม้เค็ด อาเภอเมืองปราจีนบุรี จกงหวกดปราจีนบุรี 3. จุดขยายผลตาบลบ้านพระ นายโชคชกย สีห์ประเสริฐ บ้านเลขที่ 40/1 หมู่ 7 บ้านเนินดินแดง ตาบลบ้านพระ อาเภอเมืองปราจีนบุรี จกงหวกดปราจีนบุรี เป็นแหล่งปลูกชวนชมปลูกมะนาวแป้นในวงบ่อซีเมนต์ ปลู ก ไม้ ผ ลเป็ น ต้ น แม่ พก น ธุ์ ข ยายกิ่ ง พก น ธุ์ จ าหน่ า ย และปลู ก พื ช ผก ก สวนครก ว แปลงเล็ ก ๆไว้ บ ริ โ ภคครอบครก ว การจาหน่ายผลผลิตนก้น จาหน่ายทก้งปลีก - ส่ง และออนไลน์ โดยผู้อบรมนาความรู้ที่ได้ไปใช้กกบระบบน้าในการ รดน้าพืชผกกสวนครกว 4. จุ ด ขยายผลต าบลท่ า งาม อ าเภอเมื อ งปราจี น บุ รี จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี นายยงยศ ศิ ริ โ ต (อดีตนายทหารอากาศ /การบินไทย (ช่างซ่อม) โทร 092-6792916 บ้านเลขที่ 54 หมู่ที่ 1 บ้านน้าหกก ตาบล ท่างาม อาเภอเมืองปราจีนบุรี จกงหวกดปราจีนบุรี ปัจจุบกนประกอบอาชีพ เกษตรกร ประกอบด้วยการปลูกมะนาว ในวงบ่อซีเมนต์ การเลี้ยงหนูนาเพื่อจาหน่ายแม่พกนธุ์ การปลูกต้นม่อนจาหน่ายผล การปลูกมะม่วง การพุทราพกนธุ์ แอบเปิ้ ล การปลูกมกงคุด การปลู กละมุด การเพาะเห็ ดฟางเพื่อจาหน่าย การปลู กพืช ผก กสวนครกว ต่าง ๆ และ การขยายพกนธุ์พืช การแปรรูปอาหาร เป็นต้น ได้นา SMART PLUG ไปใช้ในการเปิด-ปิดไฟฟ้ากรงหนูนา 5. จุดขยายผลตาบลโคกไม้ลาย นางฉวีวรรณ กาลกงฟู แหล่งเรียนรู้ชุมชนด้านเศรษฐกิจพอเพียง ที่อยู่ บ้านเลขที่ 136/6 หมู่ 7 ตาบลโคกไม้ลาย อาเภอเมืองปราจีนบุรี จกงหวกดปราจีนบุรี ได้นาความรู้ที่ได้รกบจากผู้เข้า รกบการอบรม ซึ่งมาแนะนาให้นาการใช้ SMART PLUG ผ่าน SMART PHONE มาใช้ในการบริหารจกดการน้า ซึ่งมีบ่อน้าในสวนไม้ผล โดยใช้วิธีการกาหนดเวลาในการเปิด - ปิดน้า 6. จุดขยายผลตาบลบางเดชะ แหล่งเรียนรู้การเลี้ยงไส้เดือนในบ่อซีเมนต์ นายธวกชชกย เชียงเดิม ที่อยู่ บ้านเลขที่ 41 หมู่ 6 บ้านสะพานหิน ตาบลบางเดชะ อาเภอเมืองปราจีนบุรี จกงหวกดปราจีนบุรี นาความรู้ที่ได้รกบ จากการอบรมนามาใช้ในการบริหารจกดการน้าในสวนสวนเกษตรผสมผสาน โดยใช้ติดตก้งกาหนดเวลา 7. จุดขยายผลตาบลวัดโบสถ์ แหล่งเรียนรู้ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเกษตรผสมผสาน นางศรีรกตน์ สร้อยกล่อม บ้านเลขที่ 40 บ้านใหม่ หมู่ที่ 5 ตาบลวกดโบสถ์ อาเภอเมืองปราจีนบุรี จกงหวกดปราจีนบุรี นาความรู้ ที่ได้รกบจากการอบรมนามาใช้ในการบริหารจกดการน้า ในสวนมะนาวและพืชสวนครกว โดยใช้ติดตก้งกาหนดเวลา ในการเปิด – ปิดน้า 8. จุ ด ขยายผลต าบลบางบริ บูร ณ์ นางส าเริง แก้ว ประดกบ แหล่ งเรียนรู้ ชุมชนด้านศูนย์การศึกษา ตลอดชีวิต กศน.ตาบลบางบริบูรณ์ ที่อยู่ บ้านเลขที่ 78 หมู่ 1 บ้านปากครอง ตาบลบางบริบูรณ์ อาเภอเมือง ปราจี น บุ รี จก งหวกด ปราจี น บุ รี น าความรู้ ที่ ได้ รกบ จากการอบรมนามาใช้ ใ นการบริ ห ารจกด การน้ า มาใช้ใ นการ กาหนดเวลาในการเปิด – ปิดน้า การปลูกผกกไฮโดรโปรนิกส์ 9. จุดขยายผลตาบลดงพระราม นายชวนชาย เกตุวงค์ ศูนย์เรียนรู้ปรกชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ เกษตรทฤษฏีใหม่ประจาตาบลดงพระราม ที่อยู่ บ้านเลขที่ 123/1 หมู่ 5 บ้านสุขทวี ตาบลดงพระราม อาเภอเมือง ปราจีนบุรี จกงหวกดปราจีนบุรี นาความรู้ที่ได้รกบจากการอบรมนามาใช้ในการบริหารจกดการน้า ในศูนย์เรียนรู้ปรกชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฏีใหม่ประจาตาบลดงพระราม โดยใช้ติดตก้งกาหนดเวลาในการเปิด – ปิด
10. จุดขยายผลตาบลรอบเมือง นางบุญสม ล้านทอง ที่อยู่ บ้านเลขที่ 6 หมู่ที่ 4 บ้านท่าเรือ ตาบล รอบเมือง อาเภอเมืองปราจีนบุรี จกงหวกดปราจีนบุรี นาความรู้ที่ได้รกบจากการอบรมนามาใช้ในการบริหารจกดการน้า ในสวนมะนาว ผกกสวนครกว 11. จุดขยายผล ตาบลดงขี้เหล็ก นางจารุวรรณ ถนกดรบ บ้านเลขที่ 32 หมู่ที่ 8 บ้านหนองจวง ตาบล ดงขี้เหล็ก อาเภอเมืองปราจีนบุรี จกงหวกดปราจีนบุรี นา SMART PLUG มาใช้ในการบริหารจกดการน้าในสวนผลไม้ 12. จุ ด ขยายผลต าบลหน้ า เมื อ ง แหล่ ง เรี ย นรู้ เ กษตรอิ น ทรี ย์ นางพรทิ พ ย์ หล่ อ ปรี ช ากุ ล ที่ อ ยู่ บ้านเลขที่ 141 ซ.ไทยวิเชียร ตาบลหน้าเมือง อาเภอเมืองปราจีนบุรี จกงหวกดปราจีนบุรี ได้นาความรู้ที่ได้รกบจาก ผู้เข้ารกบการอบรมซึ่งมาแนะนาให้นาการใช้ SMART PLUG ผ่าน SMART PHONE โดยใช้ติดตก้งกาหนดเวลา ในการเปิด – ปิดน้า
ผู้เขียน
นางสาวณกชปภา ส้มแก้ว ครู กศน.ตาบลโนนห้อม กศน.อาเภอเมืองปราจีนบุรี สานกกงาน กศน.จกงหวกดปราจีนบุรี
ผู้สนับสนุนและตรวจสอบข้อมูล 1. นายสมบูรณ์ 2. นางอรชา 3. นายกอบกฤต 4. นายสมพร
เหล่าวงศ์วกฒนา สุขประสาท เกษตรากสิกรรม สมคุณ
1. นายทวีป 2. นางกฤษณา
อภิสิทธิ์ พลฤทธิ์
ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองปราจีนบุรี ข้าราชการครูชานาญการ เจ้าของแหล่งเรียนรู้ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านเกาะแร้ง ตาบลโนนห้อม
ผูบ้ รรณาธิการ อดีตศึกษานิเทศเชี่ยวชาญ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานกกงาน กศน.จกงหวกดอุตรดิตถ์
การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่น โครงการ “บ้านหนังสือชุมชนบ้านควนชะลิก” (กรณีศึกษา : บ๎านหนังสือชุมชนตาบลควนชะลิก กศน.ตาบลควนชะลิก อาเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช)
ความเป็นมาของโครงการ บ๎านควนชะลิก ชุมชนชํางคิด เป็นชุมชนชนบทที่นําอยูํ ตั้งอยูํที่ตาบลควนชะลิก อาเภอหัวไทร จังหวัด นครศรี ธ รรมราช สภาพแวดล๎ อ มอุ ด มไปด๎ ว ย ทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ ส มบู ร ณ์ และประเพณี วัฒนธรรมที่เข๎มแข็ง ประกอบกับชาวบ๎านสํวนใหญํ ทาอาชีพการเกษตร พื้นที่หํางไกลจากตัวเมืองนี่เอง ที่ ท าให๎ ช าวบ๎ า นพลาดโอกาสของการรั บ รู๎ ข๎ อ มู ล ขําวสารตําง ๆ จากการ ลงสัมผัสพื้นที่ของ ครู กศน.ตาบล ควนชะลิก อาเภอหั วไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช ได๎ ส ารวจความต๎ อ งการ การรั บ รู๎ ข๎ อ มู ล ขํ า วสาร พร๎อมกับสํงเสริมการอําน โดยการนาหนังสือพิมพ์ และหนั ง สื อ เทคโนโลยี ช าวบ๎ า น มาวางในชุ ม ชน ภายใต๎น โยบายบ๎านหนังสื ออัจ ฉริ ยะ ตาบลควนชะลิก ที่บ๎านพักครูหลั งเกําไมํสามารถอยูํอาศัยได๎ มีลักษณะ เป็นบ๎านสองชั้น มีใต๎ถุนสูง ชั้นบนมีห๎องนอน 2 ห๎อง มีห๎องครัว 1 ห๎อง สร๎างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2515 เมื่อปี พ.ศ. 2545 โรงเรียนวัดควนชะลิกจะดาเนินการรื้อถอนเนื่องจากชารุด ไมํสามารถพักอาศัยได๎อีก ตํอไป ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชควนชะลิกจึงได๎ขออนุญาตใช๎เพื่ออนุรักษ์และปรับปรุงซํอมแซมเป็นห๎องสมุดชุมชน ตํอมาในปี พ.ศ. 2555 ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชควนชะลิก ได๎รับงบประมาณจากกรมสํงเสริมวัฒนธรรม ในการปรับปรุงซํอมแซมบ๎านพักดังกลําว โดยให๎คงสภาพโครงสร๎างเดิมของบ๎านพักไว๎ให๎มากที่สุดแตํทาสีสดใส เพื่อสร๎างบรรยากาศที่สดชื่นแจํมใสและเพื่อการยืดอายุของไม๎ รวมทั้งใช๎ต๎นไม๎เป็นรั้วเพื่อบังตาและให๎ความรํมรื่น และในปี พ.ศ. 2556 กศน.อ าเภอหั ว ไทร ได๎ คั ด เลื อ กสถานที่ แ หํ ง นี้ เ ป็น บ๎ า นหนั ง สื อ อัจ ฉริ ยะตามนโยบาย ของสานักงาน กศน. จนกระทั่งปี พ.ศ. 2559 ยังคงดาเนินการอยํางตํอเนื่อง และได๎เปลี่ยนชื่อเป็น “บ๎านหนังสือ ชุมชน” ตามที่สานักงาน กศน.กาหนด เนื่องจากทาเลที่ตั้งเหมาะสม ติดถนน สะดวกในการเข๎าถึงบริการ เพื่อให๎ ผู๎ปกครองที่มารอรับลูกหลานและประชาชนมาใช๎บริการได๎ตามโอกาส การดาเนิ น งานบ๎ านหนั งสื อชุมชน มีจุดเริ่มต๎นจากการปรับปรุงสภาพอาคารเกําได๎สร๎างและปรับปรุ ง บรรยากาศในการอําน ให๎บริการหนังสือที่หลากหลาย มีคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตให๎บริการแกํคนในชุมชน ควนชะลิ ก นอกจากนี้ ได๎มีการจัดกิจกรรมตําง ๆ เพื่อสํงเสริมการรักการอํานอยํางตํอเนื่อง อาสาสมัครนักจัด กิจกรรม นางไพรินทร์ รุยแก๎ว ข๎าราชการครู บานาญ ซึ่งเป็นประธานบ๎านหนังสือชุมชน ในปัจจุบัน รํวมกับ กศน. ตาบลควนชะลิก ได๎มีแนวคิดทาให๎ ชุมชนควนชะลิ ก เป็นแหลํ งเรียนรู๎มีชีวิต เพื่อให๎ เกิดการเรียนรู๎ตลอดชีวิต
ชํวยสนองความอยากรู๎อยากเห็น โดยเฉพาะการรับรู๎ข๎อมูล ขําวสารตําง ๆ ในยุคปัจจุบัน ที่ก๎าวล้าของเทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ทันสมัย
ขั้นตอนการดาเนินงาน จุดเริ่มต๎นจากปรับปรุงสภาพอาคารเกําและได๎ดาเนินการสร๎างและปรับปรุงบรรยากาศในการอําน การรับบริจาคหนังสือจากชาวบ๎าน ร๎านหนังสือเอกชน และหนัง สือหมุนเวียนจากห๎องสมุดประชาชน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช เกิดกิจกรรม วิธีการ สํงเสริมการอํานตํอเนื่องมามากมาย กํอนดาเนินการจัดกิจกรรมบ๎านหนังสือชุมชน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอหัวไทร ได๎จัดทาบันทึกข๎อตกลง (MOU) รํวมกับบ๎านหนังสือชุมชนบ๎านควนชะลิก ประชุมวางแผนการดาเนินงานรํวมกับ อาสาสมัครสํงเสริมการอําน บรรณารักษ์ ครูอาสาสมัคร กศน. รับผิดชอบตาบลควนชะลิก ดาเนินการจัดกิจกรรมสํงเสริมการอํานเก็บสถิติ สารวจความต๎องการสื่อ จัดทาปฏิทิน การจัดกิจกรรม ลงพื้นที่เพื่อจัดกิจกรรมตามแผนการจัดกิจกรรมสํงเสริมการอําน ดูแลให๎ความชํวยเหลือ อาสาสมัคร สํงเสริมการอําน จัดการเรียนรู๎ตลอดชีวิตสาหรับประชาชน นาการอํานให๎เข๎าถึงทุกครอบครัวประชาชนทั่วไป สร๎างโอกาสในการเรียนรู๎ พัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตเสริมสร๎างและพัฒนาความรู๎ความคิดข๎อมูลขําวสาร ให๎เพิ่มพูน ทันตํอเหตุการณ์ สร๎างความเพลิดเพลินให๎สูงขึ้นจากสื่อสิ่งพิมพ์ตํางๆ และเทคโนโลยีที่หลากหลายของประชาชนในชุมชน ตามความต๎องการของทุกกลุํมเป้าหมายในพื้นที่การเรียนรู๎ รวมกลุํ ม พั ฒ นาศั ก ยภาพบ๎ า นหนั ง สื อ ชุ ม ชนถํ า ยทอดและแลกเปลี่ ย นประสบการณ์ จากวิ ท ยากร ภูมิปัญญาของชุมชน สื่อสร๎างเสริมการอํานและการเรียนรู๎ จัดหาสื่อที่ตรงกับความต๎องการและเหมาะสมกับ คน ในชุมชนเป็นหลัก มีสื่อหลากหลายให๎เลือก เชํน หนังสือพิมพ์รายวัน นิตยสาร วารสาร หนังสือสาหรับเด็ก ผู๎สูงอายุ หนังสือ เกี่ยวกับการประกอบอาชีพ สื่อที่คนในชุมชนควรรู๎ เชํน หนังสือกฎหมายสาหรับประชาชน หนังสือเกี่ยวกับสุขภาพ อนามัย เป็นต๎น จั ด ให๎ มี เ ทคโนโลยี ส มั ย ใหมํ ใ นการสื บ ค๎ น ข๎ อ มู ล ความรู๎ ขํ า วสาร การจั ด หาสื่ อ ส าหรั บ ให๎ บ ริ ก าร ในบ๎านหนังสือชุมชน สามารถทาได๎หลายวิธี เชํน การจัดซื้อ การรับบริจาค การยืมและหมุนเวียนสื่อจากห๎องสมุด ประชาชนสูํบ๎านหนังสือชุมชน
มีกิจกรรมหลากหลายที่ดึงดูดความสนใจนักอํานนักเขียน เชํน กิจกรรมหนังสือเลํมเล็ก กิจกรรม วันที่ 2 ต๎องอําน กิจกรรมยอดนักอํานรุํนเยาว์ รุํนใหญํ กิจกรรมสํงหนังสือถึงบ๎าน (กระเป๋าหนังสือ) กิจกรรมอํานหนังสือ เลํมโปรด กิจกรรมอํานออกเสียง กิจกรรมอํานเอาเรื่อง กิจกรรมอํานเอาเป็นเอาตาย และกิจกรรมเรียนรู๎หนังสือสูํ อาชีพข๎าวยา เป็นต๎น
วิทยากรการเย็บปักถักร้อย ความสาเร็จที่เป็นจุดเด่นของโครงการ 1. เป็นการขยายโอกาสในการเข๎าถึงบริการการศึกษา 2. เป็นการดาเนินงานรํวมกันของชุมชนและภาคีเครือขํายอยํางเข๎มแข็ง ทั้ง โรงพยาบาลสํงเสริมสุขภาพ ตาบลควนชะลิก โรงเรียนวัดควนชะลิก โรงเรียนวัดปากเหมือง โรงเรียนแหลมราษฎร์บารุง ครูอาสาสมัคร กศน. บรรณารักษ์ คณะกรรมการบ๎านหนั งสือชุมชน อาสาสมัครสํงเสริมการอําน ตลอดจนนักศึกษา กศน. ประชาชน นักเรี ยน ด๎วยการจัดกิจกรรมตํางๆ เชํน กิจกรรมหนังสือเล่มเล็ก นักเรียนมีเวลาทาเพื่อรอผู้ปกครองมารั บ กิจกรรมวันที่ 2 ต้องอ่าน กิจกรรมยอดนักอ่านรุ่นเยาว์ รุ่นใหญ่ กิจกรรมส่งหนังสือถึงบ้าน (กระเป๋าหนังสือ) 3. ปลูกฝังการอํานตั้งแตํลูกจนถึงพํอแมํ โดยอาสาสมัครได๎จัดหนังสือที่หลากหลายมีทั้งหนังสือเกี่ยวกับ การเกษตรสาหรับพํอแมํ หนังสือนิยาย หนังสือเด็ก เป็นต๎น 4. จัดกิจกรรมหลากหลายเชํนกิจกรรมอํานหนังสือเลํมโปรด กิจกรรมอํานออกเสียง อาสาสมัครสํงเสริม การอําน ฝึกอํานให๎นักเรียนโรงเรียนวัดควนชะลิก ในเวลาวํางระหวํางรอผู๎ปกครองมารับกํอนเลิกเรียน กิจกรรม อํานเอาเรื่อง กิจกรรมอํานเอาเป็นเอาตาย อํานเปลี่ยนชีวิต ครูอาสาสมัคร กศน. บรรณารักษ์ อาสาสมัคร 5. นาหนังสือเกี่ยวกับการเกษตร เทคโนโลยีชาวบ๎าน หนังสืองานฝีมือเย็บปักถักร๎อย เพื่อเป็นข๎อมูล ให๎กับชาวบ๎าน ตัวอยํางเชํน นางวิลาวรรณ คงเรือง ได้นาวิธีการทาปุ๋ยมาลองทา กับพืนพันธุ์ของตัวเองเกิดผล จึงมีการจ าหน่ ายให้ กับ เพื่อนบ้าน ในชุมชน ก่อให้เกิดรายได้ 3,000บาท-5,000 บาท ต่อเดือน ได้พัฒ นา คุณภาพชีวิตดีขึ้น นางสาวสุภัตรา เพ็ชรสังข์ อ่านหนังสือ เย็บผักถักร้อย มาฝึกโดยการปักผ้า ถักริมผ้าเช็ดหน้า ผ้าปูโต๊ะ จากการทาไว้ใช้เองได้นามาขายในตลาดชุมชน เกิดรายได้ 2,000 – 2,500 บาท ต่อเดือน ได้รับการ ติดต่อ จากศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอหัวไทร ให้เป็นวิทยากรให้กับกลุ่มศูนย์ฝึก อาชีพชุมชน และกิจกรรมเรียนรู้หนังสือสู่อาชีพข้าวยา ในการจัดกิจกรรมมีการมอบรางวัลให้กับผู้ที่เข้าร่วมและมี
ชิ้นงานที่ดีเด่น ทุกวันที่ 2 ของเดือนถัดไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นขวัญกาลังใจแก่ผู้ร่วมกิจกรรมและเป็นการสร้าง แรงจูงใจให้ผู้ร่วมกิจกรรมมาร่วมสร้างสรรค์ชิ้นงานใหม่ๆ จุดแข็งของบ้านหนังสือชุมชน ซึ่งมีชุมชนและเครือข่ายที่ เข้มแข็ง
ตามหาบุคลในภาพ ผลผลิตจากการอ่าน การขายปุ๋ยชีวภาพ
6. บรรณารักษ์ พยายามหานวัตกรรมใหมํ ๆ เข๎ามาเชื่อมโยงกับการอํานสาหรับการจัดกิจกรรมสํงเสริม การอํานโดยใช๎อุปกรณ์เทคโนโลยี เชํน การนาเทคโนโลยี เติมความเป็นจริง คือ การรวม สภาพแวดล๎อมจริง กับ วัตถุเสมือน เข๎าด๎วยกันในเวลาเดียวกัน โดยวัตถุเสมือนที่วํานั้น อาจจะเป็น ภาพ, วิดิโอ, เสียง, ข๎อมูลตําง ๆ ที่ประมวลผลมาจากคอมพิวเตอร์ , มือถือ, แท็บเล็ต, หรืออุปกรณ์สวมใสํขนาดเล็กตําง ๆ และทาให๎เราสามารถ ตอบสนองกับสิ่งที่จาลองนั้นได๎ หรือเรียกยํอวํา AR (Augmented Reality) โดยให๎บริการผําน โปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมเหลํานี้จะถูกออกแบบมาให๎ทางานเฉพาะด๎าน (Application) โทรศัพท์เคลื่อนที่ เพื่อให๎ผู๎อําน ได๎รับ ประสบการณ์ใหมํ สนุกไปกับการอําน ตื่นเต๎นและเพลิดเพลินไปกับการอํานหนังสือ การนาเทคโนโลยีนี้มาใช๎เมื่อ จัดกิจกรรมสํงเสริมการอํานทาให๎เด็กๆ ได๎เห็นภาพที่เสมือนจริงมากขึ้น การเผยแพรํ กระบวนการ/ วิธีการและ นวัตกรรมที่เป็น Best Practice การเผยแพรํ/ ประชาสัมพันธ์การดานินงาน มีการประชาสัมพันธ์ผํานเสียงตามสาย แผํนพับ เพจ facebook บ๎านหนังสือชุมชนควนชะลิก Application Line และ QR Code ทาง Youtube Chanel “บ๎านหนังสือชุมชนควนชะลิก”
รางวัลแห่งความสาเร็จ บ๎านหนังสือชุมชนบ๎านควนชะลิก ได๎รับการคัดเลือกเป็นบ๎านหนังสือชุมชนต๎นแบบ - ระดับประเทศ ปี 2560 รางวัลยอดเยี่ยม จากสานักงานสํงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย กลุํมบ๎านควนชะลิก ได๎รับการคัดเลือกเป็นนักจัดกิจกรรมสํงเสริมการอํานและการเรียนรู๎ของบ๎าน หนังสือชุมชน ประเภทกลุํมบุคคล - ระดับประเทศ ปี 2560 รางวัลชนะเลิศ จากสานักงานสํงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ได๎จัดบูธนิทรรศการในการประชุมแสดงผลการดาเนินงานโครงการไทยนิยม ยั่งยืน และงานนโยบาย ของสานักงาน กศน. ปัจจุบันบ๎านหนังสือชุมชนบ๎านควนชะลิก เป็นสถานที่ศึกษาดูงานของโรงเรียน พัฒนาชุมชน และผู๎สนใจ ทั่วไป เนื่องจากบ๎านหนังสืออยูํในบริเวณเดียวกับศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชตาบลควนชะลิก และผู๎ที่มาศึกษาดูงาน ณ ศูนย์ วัฒ นธรรมเฉลิ มราชตาบลควนชะลิก จะพบเห็นบ๎านหนังสือด๎ว ย ทั้งนี้ บ๎านหนังสื อเป็นที่ชื่นชอบของ ผู๎พบเห็น ผู๎ที่มาศึกษา ดูงาน เนื่องจากมีสีสันสดใส และมีบรรยากาศที่รํมรื่น โลํรางวัลและการเข๎ารับรางวัล “บ๎านหนังสือชุมชนต๎นแบบ และ “นักจัดกิจกรรมสํงเสริมการอํานและการเรียนรู๎ของบ๎านหนังสือชุมชน”
การเยี่ยมชม ศึกษาดูงานบ๎านหนังสือชุมชนบ๎านควนชะลิก
การจัดบูธนิทรรศการในการประชุมแสดงผลการดาเนินงานโครงการไทยนิยม ยั่งยืน และงานนโยบายของสานักงาน กศน.
ผู้เขียน
วําที่ ร.ต.หญิงพัชรี เส็นบัตร ครูอาสาสมัคร กศน. กศน.อาเภอหัวไทร สานักงาน กศน.จังหวัดนครศรีธรรมราช
ผู้สนับสนุนและตรวจสอบข้อมูล 1. นางพิมลทิพย์ บัวบาน 2. นางสาวจุติมา ก๋งเม๋ง 3. นายเจษฎา วุํนพาณิชย์ 4. นางไพรินทร์ รุยแก๎ว 5. นางสาววิลาวัลย์ ทองปาน
ครู กศน.ตาบล ครูผู๎สอนคนพิการ บรรณารักษ์ ประธานบ๎านหนังสือชุมชนตาบลควนชะลิก นักจัดกิจกรรมบ๎านหนังสือชุมชนตาบลควนชะลิก
ผูบ้ รรณาธิการ 1. นายทวีป อภิสิทธิ์ อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ 2. นายอวยชัย จันทปัญญาศิลป์ อดีตศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ 3. นางเกษร ธานีรัตน์ ผู๎อานวยการ สานักงาน กศน.จังหวัดนครศรีธรรมราช 4. นางสาวณัฐชยาน์ นุํนทอง ผู๎อานวยการ กศน.อาเภอหัวไทร สานักงาน กศน.จังหวัดนครศรีธรรมราช 5. นางรัตนา แกํนสารี ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ
การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่น โครงการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนระดับตาบล (กรณีศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตาบลหนองตะพาน (กศน.ตาบลหนองตะพาน) อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง)
ความเป็นมาโครงการ ตามที่รัฐบาลมี น โยบายขับเคลื่ อนเศรษฐกิจดิจิทัล เพื่อให้เกิดการพัฒนาสั งคมและคุณภาพชีวิตของ ประชาชนด้วยการจัดตั้งศูนย์ดิจิทัลชุมชน มุ่งให้เป็นแหล่งเรียนรู้สร้างภูมิคุ้มกันให้คนในโลกดิจิทัล ได้ใช้ประโยชน์ ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างรู้เท่าทัน สานั กงาน กศน. ในฐานะเป็ น หน่ว ยงานที่ ทาหน้าที่จัดกิจกรรมด้านการศึกษาและได้รับมอบหมาย ให้ดาเนินการสร้างเครือข่ายศูนย์ดิจิทัลชุมชน อันเป็นความร่วมมือระหว่างสานักงาน กศน. กับ กระทรวงดิจิทัล เพื่ อ เศรษฐกิ จ และสั ง คม รวมทั้ ง ส านั ก งานคณะกรรมการเศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล และสั ง คม สนั บ สนุ น ประชาชน ให้ดาเนินการออนไลน์ให้สามารถค้าขายได้มากขึ้น โดยสานักงาน กศน.ได้จัดอบรมวิทยากรแกน ครู ก. ซึ่งเป็นบุคลากรจากสานักงาน กศน.จังหวัดทุก แห่ง เพื่อขยายผลให้กับครู ข. และ ครู ค. ซึ่งเป็นบุคลากรในพื้นที่ ที่จะต้องทางานเชิงรุกในการขยายผลสู่ชุมชนโดยตรง เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เท่าทันดิจิทัล ใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพ และการดารงชีวิต นอกจากนี้ศูนย์ดิจิทัล ชุมชนจะเป็นช่องทางในการเพิ่มโอกาสทางการค้าขายของคนในชุมชนผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล ส่งเสริมให้เกิดพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ในระดับชุมชน โดยจัดอบรมใน 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรการเข้าใจดิจิทัล Digital Literacy และ หลักสูตรการค้าขายออนไลน์ E-commerce สาหรับหลักสูตร Digital Literacy มีวัตถุประสงค์ให้ครูอธิบายทฤษฎีหลักการเข้าถึงการใช้ดิจิทัลสาหรับ การปฏิบัติงาน และการใช้ในชีวิตประจาวันได้ มุ่งให้ผู้เรียนรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล คิดวิเคราะห์ และแยกแยะสื่อดิจิทัล เพื่อการบริโภคได้อย่างเหมาะสม (สานักงาน กศน. 2561 : หน้า 9) เมื่อ ครู ข. และ ครู ค. ขยายผลสู่ชุมชน ทาให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในดิจิทัลมากขึ้นและปรับใช้ ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม ส่งผลให้เกิดการค้าขายออนไลน์และยกระดับคุณภาพชีวิตดีขึ้น กลุ่มหมอนดาวเพื่อสุขภาพของบ้านเกาะ ตาบลหนองตะพาน อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง เป็นกลุ่ม การค้าออนไลน์ที่เกิดจากการจัดกิจกรรมของ กศน.ตาบลหนองตะพานโดยตรง โดยเริ่ มแรกนางสาวรั ช ฎา รามนัฎ ครู กศน.ตาบลหนองตะพาน ได้เปิดกลุ่ มศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน สอนหลักสู ตรการทาหมอนดาวเพื่อสุขภาพ 20 ชั่วโมง ตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ผู้เรียนทั้งหมด 10 คน เป็นสมาชิกของกลุ่มสตรีบ้านเกาะ ชื่อกลุ่มสัมมาชีพ โดยมี นางวิเชียรรัตน์ นิเทศวิทยานุกูล เป็นวิทยากร หลังจากผ่านการอบรมแล้ว ได้ใช้วัตถุดิบที่มีในพื้นที่ จัดทา จาหน่ายภายในหมู่บ้านและตาบลของตนเอง ต่อมา กลุ่มที่จัดทาหมอนดาวนี้ ได้มีโอกาสเข้ารับการอบรมหลั กสูตร Digital Literacy การเข้าใจดิจิทัล และหลักสูตร E-commerce การค้าขายออนไลน์ จากครู กศน.ตาบล ทาให้มีช่อ งทางและตัดสินใจทาการค้าออนไลน์ ด้วยการ
มีระบบการบริหารจัดการที่ชัดเจน แบ่งหน้าที่กันจัดทาและมีฝ่ายขายออนไลน์เกิดขึ้น ช่วงแรกต้ องหมั่นศึกษา ข้อมูลการค้าออนไลน์ ส่วนฝ่ายผลิตต้องพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานและมี การปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ จากการ สื่อสารที่ดีกับลูกค้า ตลอดจนมีการพัฒนาเพจกลุ่มหมอนดาวเพื่อสุขภาพให้สวยงามเพื่อการประชาสัมพันธ์ ทาให้มี ยอดการสั่งซื้อเพิ่มขึ้น ผลจากการเพิ่มกาลังการผลิต ทาให้มีรายได้เสริมสามารถทาให้ตนเอง ครอบครัวและชุมชน เข้มแข็งขึ้น
ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. ขั้นการพัฒนาวิทยากร กศน. และจัดอบรมเพื่อการขยายผลเศรษฐกิจดิจิทัล 1.1 สานักงาน กศน. จัดอบรมวิทยาการแกนนา ครู ก. จังหวัดละ 2 คน (ปีงบประมาณ 2561 แกนนา ครู ก. จังหวัดละ 1 คน) 1.2 สานักงาน กศน.จังหวัด ให้แกนนาครู ก. จัดอบรมขยายผลให้กับแกนนา ครู ข. อาเภอละ 1 คน 1.3 สานักงาน กศน.จังหวัด ให้แกนนา ครู ก. และแกนนา ครู ข. จัดอบรม ครู ค. เพื่อไปขยายผล อบรมประชาชนในระดับตาบล 2. ขั้น กศน.อาเภอให้ ครู ข. และ ครู ค. ขยายผลด้วยการจัดอบรมประชาชนในตาบลที่ครูรับผิดชอบ ทั้ ง 2 หลั ก สู ต ร ๆ ละ 2 วั น เป้ า หมาย 15 คน/หลั ก สู ต ร (รวม 2 หลั ก สู ต ร จั ด อบรม 30 คน/ต าบล) ใช้งบประมาณโครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล รหัส 240447 (38) หลักสูตรละ 4,380 บาท (รวม 2 หลักสูตร เป็นเงิน 8,760 บาท/ตาบล โดยใช้รูปแบบและลักษณะกิจกรรม ดังนี้ 2.1 กลุ่ ม เป้ าหมาย ได้แ ก่ ประชาชนในชุมชนสหกรณ์ กลุ่ ม เกษตรกร วิส าหกิจ ชุมชน และ ผู้ประกอบการ SMEs ตาบล 2.2 หลักสูตรการเข้าใจดิจิทัล Digital Literacy เนื้อเรื่องที่ใช้ฝึกอบรม มีดังนี้ 1) ความรู้ด้านนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัลกับประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม 2) การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่ปลอดภัย มีความเข้าใจกฎระเบียบ มารยาทในการใช้เทคโนโลยี ดิจิทัล 3) การใช้งานสมาร์ทโฟนได้อย่างถูกต้องและเกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม 4) การใช้งานแอปพลิเคชันและเว็บไซต์ สรุป ครู ค. ตาบลหนองตะพาน จัดอบรมสมาชิกกลุ่ม สัมมาชีพ บ้านเกาะ ตาบลหนองตะพาน อาเภอบ้านค่าย จังหวัด ระยอง จานวน 10 คน โดยให้ความรู้ 9 เรื่อง ได้แก่ 1. การปกป้อง ตัวเองและผู้อื่น 2. การศึกษาเพิ่มความรู้ตัวเอง รู้ทันสังคม 3.การ เคารพตัวเองและผู้อื่น 4. ความปลอดภัยยุคดิจิทัล 5. ความเข้าใจ สื่ อ ดิ จิ ทั ล 6. แนวปฏิ บั ติ ใ นสั ง คมดิ จิ ทั ล 7. สิ ท ธิ แ ละความ รับผิดชอบ 8. การเข้าถึงสื่อดิจิทัล และ 9. การสื่อสารยุคดิจิทัล เนื้อหาความรู้ 9 เรื่อง
2.3. หลักสูตรการค้าขายออนไลน์ E-commerceเนื้อเรื่องที่ใช้ฝึกอบรมมีดังนี้ 1) เปิดเป็นร้านค้าออนไลน์ เช่น แฟนเพจ ไลน์ 2) ส่ ง เสริ ม การขาย ด้ ว ยการจั ด อบรมการบรรจุ ภั ณ ฑ์ การค านว ณต้ น ทุ น การผลิ ต เพื่ อ ก าหนดราคาสิ น ค้ า การประชาสัมพันธ์สิ นค้าด้วยการจัดทาคลิปวีดิ โอ โดยผ่าน ช่องทางออนไลน์ต่างๆ 3) สร้างความต่อเนื่องและคงสภาพ การเป็นสมาชิก OOCC (ONIE Online Commerce Center)โดยให้ครู กศน.ตาบล ติด ตามผู้ เข้ า รับ การอบรมในกลุ่ ม OOCC (ONIE Online Commerce Center) อย่างต่อเนื่อง 4) ประกวดผู้ ท าการค้ า ออนไลน์ ดี เ ด่ น ระดั บ อ าเภอ และ จังหวัด 5) ส่งต่อการค้าออนไลน์ไปยังหน่วยงานอื่น เช่น กรมธุรกิจการค้า และกระทรวงพาณิชย์ ฯลฯ 6) สมาชิกกลุ่มได้รวมกัน เพื่อวางแผนกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละคน การจัดทา และพัฒนากาลังการผลิต 7) การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบรรจุภัณฑ์ 8) การจัดทาและพัฒนาเพจร้านค้าออนไลน์ รวมทั้งดาเนินการประชาสัมพันธ์ 9) การเพิ่มอัตราการผลิตและยอดการจาหน่าย สรุป ครู ค. ตาบลหนองตะพาน ได้จัดอบรมสมาชิกกลุ่มสัมมาชีพ บ้านเกาะ ตาบลหนองตะพาน อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง จานวน 10 คน โดยให้ความรู้การค้าขายออนไลน์ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย 10 คน ที่จัดทาหมอนดาว รวมกลุ่มกันพัฒนามาตรฐานการผลิตและจัดทาการค้าออนไลน์ได้ถูกต้อง เหมาะสม
ผังขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ความสาเร็จที่เป็นจุดเด่นของโครงการนี้ จุดเด่นที่ทาให้โครงการนี้ประสบผลสาเร็จ มีดังนี้ 1. การจัดอบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมายได้หลากหลายรูปแบบ ได้แก่ การบรรยาย การอภิปราย กรณีศึกษา (Case Study) การมอบหมายงาน การนาเสนอผลงาน และการฝึกปฏิบัติด้วยตนเองผ่านทางช่อง ทางการสื่อสารต่าง ๆ เช่น Fan page YouTube Line Lazada Shopee และ Lnwshop ฯลฯ โดยสามารถ ศึกษาหาความรู้เพิม่ เติมได้จากเอกสารประกอบการอบรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนา สื่อการเรียนการสอนและประชาสั มพันธ์ ตลอดจนแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ (สานักงาน กศน.จังหวัดระยอง. 2560 : หน้า 1 - 51) 2. การพัฒนารูปแบบสินค้า มาตรฐานการผลิต และกาหนดราคาของสินค้า รวมทั้งผู้ผลิตต้องมีแหล่ง เงินทุน ผลิ ตสิ น ค้าให้ ได้มาตรฐานเป็ นไปตามความต้องการของท้องตลาดในขณะนั้น ถ้าเป็นไปได้ควรใช้วัส ดุ
ในท้องถิ่นเพื่อลดต้นทุนการผลิต สามารถผลิตได้อย่างต่อเนื่อง มีความซื่อสัตย์ต่อลูกค้าและกาหนดราคาอย่างเป็น ธรรมโดยไม่เอาเปรียบผู้บริโภค 3. ผ่านการอบรมและมีความรู้เรื่อง หลักสูตร Digital Literacy การเข้าใจดิจิทัล และหลักสูตร E-commerce การค้าขายออนไลน์ 4. เรี ย นรู้ แ ละหาประสบการณ์ ก ารค้ า ออนไลน์ จ ากผู้ ที่ ป ระสบความส าเร็ จ เพื่ อ เป็ น แบบอย่ า ง ในการศึกษาและเป็นแนวทางในการปฏิบัติตาม 5. การรวมกลุ่มจัดทาสินค้า เพื่อให้มีแหล่งเงินทุนและผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐาน กลุ่มสัมมาชีพบ้ านเกาะ ตาบลหนองตะพาน อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง ได้จัดตั้งกลุ่มหมอนดาว เพื่อสุขภาพ ดาเนินการผลิตสินค้าที่ทาด้วยมือให้ได้มาตรฐาน มีการจัดทาเพจร้านค้าประชาสัมพันธ์ และเปิดการ ขายของออนไลน์ กลุ่มสัมมาชีพบ้านเกาะตาบลหนองตะพาน อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และก่อให้เกิดรายได้
6. สามารถดูเว็บไซต์และรายการสินค้าผ่านโทรศัพท์มือถือ รองรับการทา M-Commerce (Mobile Commerce) หรือการซื้อ-ขายสินค้าผ่านทางระบบมือถือ 7. ผู้ซื้อมั่นใจได้ของชัวร์ 100 % ร้านของท่านจะเข้าสู่ระบบที่ผู้ซื้อมั่นใจสูงสุด มุ่งหวังให้ทุกรายการ สั่งซื้อสินค้าออนไลน์สร้างประสบการณ์ที่ดีที่สุดกับผู้ซื้อ จึงมีระบบ “Buyer Protection มั่นใจได้ของชัวร์ ” ที่รับประกันการซื้อขายสูงสุด 50,000 บาท สาหรับผู้ซื้อที่ไม่ได้รับสินค้าร่วมยกระดับ E-Commerce ประเทศ ไทยด้วยกัน สิทธิ์นี้เฉพาะร้านค้าในระบบ TARAD.com เท่านั้น 8. มีความรู้ เกี่ย วกับ สิ น ค้าห้ ามจาหน่าย พระราชบัญญัติคอมพิว เตอร์ การจัดโปรโมชั่นของร้ านค้า การจัดการข้อมูลร้านค้า และการจัดการรูปแบบร้านค้า 9. การผลิตสินค้า การบรรจุภัณฑ์ พร้อมจาหน่าย กรณีมีการสั่งสินค้าเป็นจานวนมาก สามารถเพิ่มอัตรา การผลิต 10. การประชาสัมพันธ์สินค้าและบอกประโยชน์ของสินค้าที่จาหน่าย สาหรับหมอนดาวบ้านเกาะนี้ เป็นหมอนสาหรับรองศรีษะเวลานอน ใช้หนุนนอนเพื่อสุขภาพ ป้องกันการนอนตกหมอนและอาจทาให้คอเคล็ดได้
เพจการค้าออนไลน์ การประชาสัมพันธ์และเปิดการขาย
11. เทคนิคการบริหารจัดการที่ดี 11.1 องค์ประกอบการนาเสนอร้านค้าออนไลน์ ที่ควรปฏิบัติ 1) ชื่อหรือข้อความที่บ่งบอกบอกถึงสินค้าหรือบริการ 2) มีการโพสต์รูปภาพสินค้า/บริการ 3) บอกราคาสินค้า/บริการ 4) บอกรายละเอียดอื่น ๆ ของสินค้า/บริการ เช่น กระเป๋าเป้ขนาดบรรจุ 2 ลิตร สีเทา/แดง 5) บอกช่องทางการชาระเงินและการส่งสินค้า 6) ช่องทางการติดต่อร้านค้า 7) มีเทคนิคในการนาเสนอ เช่น มีการรีวิวสินค้า, คลิปวีดิโอ, การแต่งรูปให้น่าสนใจ, ใช้ภาษาสื่อสารมากกว่า 1 ภาษา ฯลฯ 8) มีการแสดงความคิดเห็นจากลูกค้า 11.2 การพัฒนาเพื่อเป็นผู้ค้าออนไลน์ 1) ชื่อร้าน ใช้ชื่อที่เกี่ยวกับสินค้าเพื่อให้ลูกค้าจดจา เช่น ขายนาฬิกา ตั้งร้านว่า Time 2) สารวจราคาสินค้า เพราะการขายของออนไลน์มีการตัดราคาอยู่บ่อยครั้ง 3) เงินทุน มีการลงทุนโฆษณาออนไลน์ ค่าจองพื้นที่ของร้าน 4) จุดยืนของร้าน สินค้าของคุณเหมาะที่จะขายปลีกหรือขายส่งมากกว่ากัน 5) ช่องทางการจาหน่ายที่ง่ายที่สุด คือ การเปิด Facebook page 6) แผนการตลาดขายสินค้าอย่างไรให้ดึงดูดลูกค้า มีการประเมิน ตรวจสอบ และปรับปรุงแผน 7) ช่องทางชาระเงิน ควรเปิดบัญชีธนาคารที่คนส่วนใหญ่ใช้บริการ
8) ความอดทนและความมุ่งมั่น ปรับเปลี่ยนออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เพื่อเรียกลูกค้าและ อย่าท้อแท้ 9) ควรวางแผนบริหารเวลาให้ดีเพื่อโต้ตอบลูกค้าได้ทันเวลา 10. ช่องทางการชาระเงิน ช่องทางชาระเงินที่มั่นใจทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย ด้วยการสมัครเปิด ร้านค้าออนไลน์ การเข้าสู่ระบบการจัดการร้านค้า ตัวอย่างการสั่งซื้อ (สามารถสั่งซื้อได้หลายช่องทาง)
ตัวอย่างการชาระเงินด้วยสมาร์ทโฟน
11. ความรับผิดชอบด้านการผลิต มีการสื่อสารที่ดี และจัดส่งได้ทันตามกาหนดเวลา 12. ติดตามผลความพึงพอใจของลูกค้าให้ลูกค้ามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
สรุป สิ่งที่ได้รับจากการขยายผลครั้งนี้ คือ กลุ่มสัมมาชีพบ้านเกาะ มีความเข้าใจแนวทางและทิศทาง การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลในการส่งเสริมการตลาด การเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า และการโปรโมทสินค้า ในชุมชน มีการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตการค้ าขายและการซื้อผ่านตลาดออนไลน์ ที่ประสบความสาเร็จในระดับหนึ่ง เป็นต้นแบบของกลุ่ม/คนที่ต้องการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการส่งเสริมการตลาด การเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและ การโปรโมทสินค้าให้กับคนในชุมชน
ความสาเร็จของกลุ่มสัมมาชีพบ้านเกาะ กลุ่ มหมอนดาวเพื่อสุ ขภาพ (สมาชิกกลุ่ มสั มมาชีพ) บ้านเกาะ ตาบลหนองตะพาน อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง จานวน 10 คน มีการพัฒนาสินค้าด้วยการปรับขนาดให้ได้มาตรฐาน เลือกชนิดผ้าที่คงทน มีลาย และสีสันสวยงามเป็นจานวนมาก เพื่อให้ลูกค้าได้เลือกซื้อตามความต้องการและความสนใจ ต่อมฝ่ายขายได้ศึกษา ความรู้เพิ่มเติมจากเพจการค้าออนไลน์อื่น ๆ ด้วยตนเองเป็นระยะ เพื่อนาความรู้จากเพจต่าง ๆ และข้อเสนอแนะ จากลูกค้ามาพัฒนาการค้าออนไลน์ ให้ได้มาตรฐาน สรุปการเพิ่มยอดการผลิตและการพัฒนาช่องทางการจาหน่าย ที่ดี ทาให้ผู้บริโภคได้รับความสะดวกและรวดเร็วขึ้น การเพิ่มยอดการจาหน่ายเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิก ทาให้สมาชิกมีความพึงพอใจอย่างมาก
ข้อคิดควรคานึงในการนาไปขยายผล 1. ข้อมูลทั่วไป 1.1 การพัฒนาองค์ความรู้ด้านทักษะการใช้งานดิจิทัลให้มีศักยภาพเพียงพอสู่การขยายผลในชุมชน เพื่อยกระดับ คุณ ภาพชีวิตให้ กับ ประชาชนนั้น จ าเป็ นต้องได้รั บการสนับ สนุนจากภาครัฐ เช่ น การจัด อบรม 2 หลักสูตรที่ผ่านมา 1.2 การประสานความร่ ว มมื อ ไปยั ง หน่ ว ยงาน/บุ ค คลต่ า งๆที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เช่ น องค์ ก รปกครอง ส่วนท้องถิ่น ผู้ใหญ่บ้าน กานัน และผู้นาชุมชน เป็นต้น ด้วยการผลักดันประชาชนให้ใช้ประโยชน์จากดิจิทัล ทั้งนี้ ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานหลายแห่ง ได้แก่กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และบริ ษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จากัด (มหาชน) (DTAC) ฯลฯ ในการจัดทา หลักสูตรและแนวทางการดาเนินงานด้านการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลให้สมบูรณ์ต่อไป 1.3 การดาเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล คือ ต้องเปลี่ยนกรอบแนวคิดในการรับรู้และ ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ดิจิทัลเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตถึงจะปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพต่อไป 1.4 ประชาชนควรมีความรู้ทั้งในด้านการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ของตนเอง มีแหล่งงบประมาณ มีการเพิ่มกาลังการผลิตที่มีคุณภาพเพียงพอต่อการรองรับความต้องการสินค้าของผู้บิโภคตลอดจนด้านการตลาด เพราะหากมียอดการสั่งซื้อสินค้าแล้ว ไม่มีกาลังการผลิตที่เพียงพอ คุณภาพสินค้าไม่ได้มาตรฐาน อาจจะทาให้ เกิดผลกระทบต่อการค้าออนไลน์ได้ 1.5 ประชาชนควรมีความพร้อมและความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสมาร์ทโฟน เพราะเป็นเครื่องมือหลัก ในการทาร้านค้าออนไลน์เป็นอย่างยิ่ง ยิ่งสมาร์ทโฟนมีความพร้อมและมีความเสถียรมากเท่าไร ก็จะทาให้เกิดความ สะดวกรวดเร็ว และแม่นยา รวมทั้งลดความผิดพลาด ตลอดจนการเพิ่มโอกาสต่าง ๆ ได้มากขึ้นเท่านั้น 1.6 ประชาชนควรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ ยวกับพระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ มีความซื่อสัตย์ในการ ขายสินค้าผ่านหน้าเพจเฟสบุ๊ค จะทาให้การค้าเป็นที่น่าเชื่อถือของประชาชนทั่วไป 1.7 ควรพัฒนารูปแบบสินค้าและมีมาตรฐานการผลิต 1.8 ผู้ผลิตต้องมีแหล่งเงินทุน
1.9 ผลิต สินค้าเป็น ไปตามความต้องการของตลาด ควรใช้วัส ดุในท้องถิ่นเพื่อลดต้นทุนการผลิ ต สามารถผลิตได้อย่างต่อเนื่อง 1.10 มีความซื่อสัตย์ต่อลูกค้าและกาหนดราคาอย่างเป็นธรรมโดยไม่เอาเปรียบผู้บริโภค 1.11 การบริหารจัดการการค้าออนไลน์อย่างมืออาชีพ และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2. กลุ่มหมอนดาวบ้านเกาะเพื่อสุขภาพ ช่วงแรกจัดทาและจาหน่ายในหมู่บ้าน หมู่บ้านใกล้เคียง และตาบลของตนเองต่อมาเมื่อได้รับความรู้ เรื่องการค้าขายออนไลน์ให้สมาชิกในกลุ่มที่มีความรู้ความสามารถเรื่องการค้าออนไลน์และการใช้สมาร์ทโฟนมาก ที่สุดทาหน้าที่ฝ่ายขาย โดยมีหน้าที่จัดทาเพจประชาสัมพันธ์ผ่านออนไลน์ การสื่อสารที่ดีกับลูกค้า ติดตามลูกค้า รับยอดการสั่งซื้อ แจ้งวันรับของได้ตรงตามกาหนดและตกลงช่องทางการชาระเงินกับลูกค้า ส่วนฝ่ายผลิตมีหน้าที่ ดาเนินการพัฒนารูปแบบให้ได้มาตรฐานและคั ดเลือกวัสดุจัดทาหมอนที่มี สีสั นสวยงามตามความต้องการของ ตลาดควบคู่กันไปเพื่อดึงดูดลูกค้าเมื่อยอดการสั่งซื้อเพิ่มขึ้นได้เพิ่มคนเพื่อเพิ่มอัตราการผลิต คลิปตัวอย่างผู้ประสบความสาเร็จ
ที่มา : hhttps://youtu.be/b-jf2DKB-IY คลิปกลุม่ ทาหมอนดาวเพื่อสุขภาพ ของกลุ่มสัมมาชีพ ที่เกิดจาก กศน.
คลิปนี้เป็นการถ่ายทาโดยคนในชุมชน ซึ่งเป็นการจัดทาครั้งแรก สิ่งที่ควรแก้ไขข้อความมีดังนี้ คือ 1. เพื่อสร้างรายได้และวิชาชีพให้แก่ชาวบ้านเกาะ แก้ไขโดยให้ตัดคาว่า และวิชาชีพ ออก 2. สร้างเวลาว่างให้เกิดประโยชน์ แก้ไขโดยเปลี่ยนคาว่า สร้าง เป็น ใช้ 3. สร้างอาชีพเสริมและทักษะการเย็บผ้า แก้ไขโดยใช้ข้อความว่า ทักษะเย็บผ้า ชานาญจนสร้าง เป็น อาชีพเสริม 4. หมอนดาวบ้านเกาะสู่ตลาดออนไลน์ แก้ไขโดยเปลี่ยนคาว่า การ เป็น กลาย และพิมพ์ติดกัน 5. นส.ศศินิภา แก้ไขโดยเปลี่ยนคาว่า นส. เป็น นางสาว หรือ น.ส. 6. เสนาะ เพชรเจริญ ให้เพิ่มคานาหน้าว่า นาง 7. คา ปราชณ์ แก้ไขเป็น ปราชญ์ 8. ผญ. แก้ไขเป็น ผู้ใหญ่บ้าน 9. คาว่าขอขอบคุณ ให้ใช้ครั้งแรกครั้งเดียว ให้ตัดคาว่าขอบคุณครั้งหลังออก
ที่มา : https://youtu.be/MxoBBNejXzY คลิปตัวอย่างผู้ที่ประสบความสาเร็จ ที่เกิดจาก กศน.ได้แก่ การทาทองม้วนด้วยน้าตาลโตนด จังหวัดเพชรบุรี
ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=hePd3VRfvX8 คลิปตัวอย่างผู้ประสบความสาเร็จ ประชาสัมพันธ์สถานที่ขายหมึกสดย่าง
หลักฐานการอ้างอิง 1. เอกสารคู่มือการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒ นากลยุทธ์เ ขียนข่าวเล่ างานสื่ อสารองค์กร กศน. ของ สานักงาน กศน. 2. เอกสาร Digital Literacy curriculum ของสานักงาน กศน. 3. เอกสารประกอบการอบรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาสื่ อการเรียน การสอนและประชาสัมพันธ์ จัดระหว่างวันที่ 3 – 5 ตุลาคม 2560 ณ โรงแรมโกลเด้นซิตี้ อาเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ของสานักงาน กศน.จังหวัดระยอง
ผู้เขียน 1. นางสาววารีทิพย์ 2. นายอนุรักษ์ 3. นางรัชฎา 4. นางสาวชลจีรัศมิ์ 5. นางสาวศศิลดา
อินบัว คามุงคุณ รามนัฎ ชิดเจริญอยู่ แพนทิศ
ศึกษานิเทศก์ สานักงาน กศน.จังหวัดระยอง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ สานักงาน กศน.จังหวัดระยอง ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอบ้านค่าย ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอเมืองระยอง ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอแกลง
1. นายทวีป 2. นางสาวสุวรรณา
อภิสิทธิ์ อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ ล่องประเสริฐ อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ
ผูบ้ รรณาธิการ
การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่น โครงการศูนย์ส่งเสริมประชาธิปไตยตาบล (กรณีศึกษา : โครงการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยตาบลบางช้าง ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภออาเภอสามพราน (กศน.อาเภอสามพราน) สานักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม)
ความเป็นมาของโครงการ คณะกรรมการการเลือกตั้ง ได้มีมติเรื่องการขับเคลื่อนกิจกรรมการสร้างพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย และการขับเคลื่อนศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตาบล ประจาปี พ.ศ. 2559 โดยความร่วมมือกับสานักงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สานักงาน กศน.) เพื่อให้การดาเนินกิจกรรมศูนย์ส่งเสริมพัฒนา ประชาธิปไตยตาบลเป็นรูปธรรม สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ได้สนับสนุนงบประมาณให้ สานักงาน คณะกรรมการการเลือกตั้งประจาจังหวัด ดาเนินการจานวน 3 กิจกรรม ดังนี้ 1. กิจกรรม การจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตาบล 2. กิจกรรม การอบรมให้ความรู้กรรมการศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตาบล 3. กิจกรรม การติดตามและสนับสนุนการดาเนินงานของศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตาบลโดย สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจาจังหวัด ศูนย์ส่งเสริมประชาธิปไตยตาบลบางช้าง จัดตั้งกลุ่มขึ้นครั้งแรก โดยมีกานันตาบลบางช้างเป็นประธาน ๑ คน ผู้ใหญ่บ้าน ๒ คน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ๒ คน อาสาสมัครประจาตาบล ๒ คน อสม.ของตาบล ๒ คน และครู กศน.ตาบล ๑ คน รวม ๑๐ คน ต่อมาได้มีการเปลี่ ยนแปลงใหม่ ในปี ๒๕๖๐ คือให้ ผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่เข้ามาเป็นคณะกรรมการศูนย์ ส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยตาบล ตาบลบางช้าง และครู กศน.ตาบล ๑ คน รวม ๑๒ คน โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยตาบล (กรณีศึกษาศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยตาบลบางช้าง อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม) เป็นการขับเคลื่อนศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตาบล เพื่อสร้างให้ท้องถิ่นมี วิถีชีวิตประชาธิปไตยที่เข้มแข็ง และเป็นการสร้างความเป็นพลเมืองให้กับคนในชุมชน เพื่อให้คนในชุมชนเป็น สมาชิกของสังคมที่สามารถพึ่งพาตนเองได้ ให้มีความรู้จักเคารพสิทธิของผู้อื่นเคารพความเห็น ต่าง ความเสมอภาค กติกา หรือกฎหมาย รับผิดชอบต่อสังคมโดยเริ่มที่ตนเอง เมื่อสมาชิกในชุมชนมีความเป็นพลเมืองจะทาให้ชุมชนมี ความเข้มแข็ง มีวิถีชีวิตประชาธิปไตย
ขั้นตอนการดาเนินงาน ศูน ย์ ส่ งเสริ มและพัฒ นาประชาธิป ไตยตาบลบางช้าง อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม มีขั้นตอน การดาเนินงานโดยสรุป ๕ ขั้นตอน เพื่อให้ มุ่งส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตย ให้แก่ประชาชนในตาบลบางช้างได้ อย่างทั่วถึงตลอดจนส่งเสริมให้ประชาชนปราศจากการไม่ซื้อสิทธิ์ขายเสียงในการเลือกตั้งทุกระดับ หรือเป็นสถานที่ แลกเปลี่ยนพูดคุยกัน การขับเคลื่อนงานโดยคนในพื้นที่มีการประสานงานทุกภาคส่วน มีเรียนรู้โดยการกระทาอย่าง ต่อเนื่อง ดังนี้
1. การบริหารจัดการ มีการประชุม/วางแผนงานเดือนละ ๑ ครั้ง
2. การให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับ ประชาธิปไตย
3. ขยายเครือข่ายพลเมือง
4. ส่งเสริมกิจกรรมประชาธิปไตย
5. ให้มีส่วนร่วมในกระบวนการเลือกตั้ง
ความสาเร็จที่เป็นจุดเด่นของโครงการหรือกิจกรรมนี้ ความสาเร็จ ของโครงการส่งเสริ มประชาธิปไตยตาบล (กรณีศึกษาศูนย์ส่งเสริมประชาธิปไตยตาบล บางช้าง อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม) เป็นการทางานร่วมกับภาคีเครือข่ายหลายฝ่าย ทั้งเรื่ององค์ความรู้ ในการปฏิบั ติงาน งบประมาณ วัส ดุ อุ ป กรณ์ และกาลั งคน หน่ว ยสนับสนุนมี ทุกภาคส่ ว นทั้ง จังหวัด อาเภอ ส่ ว นราชการต่ า ง ๆ ครู องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ภาคเอกชน ภาคประชาสั ง คม สื่ อ มวลชน เช่ น ดี เ จ ประชาธิปไตย เป็นต้น กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นาชุมชน อาสาสมัครกลุ่มต่างๆ ฯลฯ แม้ว่าทุกภาคส่วนจะให้ความ ร่วมมือสนับสนุนอย่างดีเพียงใด
ถ้ า ประชาชนในพื้ น ที่ ไ ม่ ร่ ว มแรงร่ ว มใจขั บ เคลื่ อ นกิ จ กรรมของ ศู น ย์ ส่ ง เสริ ม ประชาธิ ป ไตยต าบล ไม่ช่วยกันพัฒนาให้เกิดวิถีชีวิตประชาธิปไตย ความสาเร็จก็ไม่อาจเกิดขึ้น แม้ว่าทุกภาคส่วนจะให้ความร่วมมือ สนับสนุนอย่างดีเพียงใด ศูน ย์ส่งเสริมประชาธิปไตยตาบล คือ พลเมือง อาสาประชาธิปไตย และสมาชิกกลุ่ ม องค์กรต่างๆ ดังนั้น หัวใจสาคัญ ของการขับเคลื่อนกิจกรรมของ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยตาบล ไปสู่ ความสาเร็จ จึงอยู่ที่ประชาชนนั่นเอง “การขับเคลื่อน ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยตาบล เกี่ยวข้องกับ หลายฝ่าย แต่หัวใจอยู่ที่ประชาชน”
รางวัลแห่งความสาเร็จของโครงการ/กิจกรรม ได้รั บรางวัล ชนะเลิศ อันดับ 1 ศูนย์ส่งเสริมพัฒ นาประชาธิปไตยตาบลบางช้าง ตามโครงการสร้าง จิตสานึกพลเมืองดีวิถีประชาธิปไตย ประจาปี 2561 กิจกรรมประกวดศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยดีเด่น (ระดับจังหวัด)
ข้อคิดควรคานึงในการนาไปขยายผลหรือนาโครงการนี้ไปทา จุดแข็ง (STRENGTH) 1. สามารถรวมกลุ่มคนได้ตามเป้าหมายเนื่องจากมีคนทั่วไปในพื้นที่และนอกพื้นที่สนใจและติดตาม การดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ 2. สถานที่มีความพร้อมในการดาเนินกิจกรรม (สะดวก) 3. คณะกรรมการศูนย์ส่งเสริมประชาธิปไตยตาบล มีองค์ความรู้และเทคนิควิธีการเป้าหมายในการ รวมกลุ่ม จุดอ่อน (WEAKNESS) คณะกรรมการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยตาบลจะมีภารกิจหน้าที่การงานของตนเองที่ต้อง รับผิดชอบค่อนข้างมากทาให้การนัดหมายทากิจกรรมต่างๆ ต้องมีการวางแผนล่วงหน้า หากเป็นการนัดหมายแบบ เร่งด่วนจะไม่สามารถเข้าร่วมได้ โอกาส (OPPORTUNITY) ปัจจัยภายนอก สถานที่ตั้งศูนย์ส่งเสริมประชาธิปไตยตาบลบางช้าง เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบบ้านหัวอ่าว ซึ่งมีประชาชนภายในหมู่บ้านและประชาชนภายนอกที่สนใจเรื่องเกษตรอินทรีย์เข้ามาศึกษาหาความรู้และดูงาน ซึ่งเป็นช่องทางในการเผยแพร่ความรู้ส่งเสริมประชาธิปไตยได้ อุปสรรค (THREAT) ปัจจัยภายใน การเปลี่ยนทัศนคติของคนในการเรื่องการเมืองได้ยาก การรณรงค์ให้ประชาชนเลิกขายเสียงก็ทาได้ยาก เช่นกัน ในการทาโครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในตาบลของศูนย์ส่งเสริมประชาธิปไตยในตาบล (กรณีศึกษา ศูนย์ส่งเสริมประชาธิปไตยตาบลบางช้าง อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม) เป็นการทางานโดยการมีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วน จึงต้องสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายมาช่วยกัน ทาให้การเลือกตั้งมีคุณภาพ ได้ผู้แทนดี ไม่มีการ ทุจริตเลือกตั้ง โดยมีส่วนร่วม ทั้งช่วงก่อน ระหว่าง และหลังการเลือกตั้ง ศูน ย์ ส่งเสริ มประชาธิปไตยตาบลบางช้า งนี้ ไม่ใช่ศูนย์ของหน่วยงานใด หากแต่เป็นศูนย์รวมใจของ ประชาชนทุกคนที่จะทากิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตย ในตาบลร่วมกัน โดยมีคณะกรรมการศูนย์ฯ หรือ กรรมการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยตาบลทาหน้าที่ บริหารจัดการศูนย์ฯ ดังนั้น ผู้ที่จะขับเคลื่อน งานของ ศูน ย์ส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยตาบล ให้เดินไปข้างหน้า เป็นที่หวังที่พึ่งของประชาชน ในการ เสริมสร้างและพัฒนาประชาธิปไตย สร้างและปลูกฝังจิตสานึกความเป็นพลเมือง ให้บ้านเมืองพัฒนา ให้ประชาชน มีความสุข
เป้าหมายการทางานให้ประสบผลสาเร็จ การทางานของกรรมการ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยตาบล จะประสบความสาเร็จได้มีแนว ทางการทางานที่ชัดเจน คือ 1. เป้าหมายต้องชัดเจน คือ เน้นการพัฒนา คน โดยการสร้ า ง ความรู้ ค วามเข้ า ใจตามหลั ก สู ต ร พลเมืองฯ ทาให้ประชาชนในชุมชน หมู่บ้าน ตาบลเป็น พลเมืองดีที่มีคุณภาพ มีวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย จาก หมู่ บ้ า น ชุ ม ชนทั่ ว ไป จะพั ฒ นาเป็ น หมู่ บ้ า นชุ ม ชน ประชาธิปไตยที่เข้มแข็ง หากมีการเลือกตั้ ง พลเมืองที่มี คุณภาพทุกหมู่บ้านชุมชนประชาธิปไตย จะมีส่วนร่วมใน กระบวนการเลือกตั้งทาให้การเลือกตั้งมีความสุจริตและ เที่ยงธรรม ไม่มีการทุจริ ตซื้อสิ ทธิขายเสีย ง ประชาชน ตื่นตัวไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ได้ตัวแทนดีที่มีคุณภาพ ซื่อสัตย์ สุจ ริ ตเป็ นที่ย อมรั บ เข้าไปทาหน้ าที่ เพื่อ ประโยชน์สุ ข ของประชาชน 2. มีฐานพลังมวลชนสนับสนุน ได้แก่ พลเมือง /นักศึกษา กศน./กลุ่มสตรี/ อาสาสมัครต่างๆ เช่น อสม. อช. อาสาสมัครแกนนาประชาธิปไตย (อสปช.) เป็นต้น รวมทั้งเยาวชนต่ าง ๆ เช่น รด.จิ ตอาสา ลู ก เสื อ อาสา กกต. 3. มีกลไกขับเคลื่อนเข้มแข็งทางานเป็นทีม ศูนย์ฯจะมีชีวิต หรือล้มหายตายจาก มิใช่อยู่ที่ กกต. กศน. หรื อหน่ ว ยงานใด ๆ แต่ คณะกรรมการศูน ย์ส่ งเสริมและพัฒ นาประชาธิปไตยตาบล ต้องเป็นกลไกขับเคลื่ อน ประชาธิปไตยตัวจริง จึงต้องทางานเป็นทีม ช่วยเหลือกันและกัน 4. หน่วยงานสนับสนุนนอกจาก กศน. และ กกต. แล้วยังมีหน่วยงาน องค์กรจานวนมากที่สามารถ สนับสนุน ศูนย์ส่ งเสริ มและพัฒนาประชาธิปไตยตาบล ทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาสังคม (การทางาน ร่วมกับภาคีเครือข่าย) 5. มีกิจกรรมเคลื่อนไหวสม่าเสมอ ได้แก่ มีการประชุมปรึกษา หารือกันประจาสม่าเสมออย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง มีการจัดทาแผน มีการทางานตามแผนโดยกิจกรรมที่ทาสอดคล้องกับวิถีชีวิต เช่น กิจกรรม ทางศาสนา การพัฒนา การส่งเสริมอาชีพ การรักษาสิ่งแวดล้อม สิทธิชุมชน วัฒนธรรมประเพณี ฯลฯ กิจกรรมนั้น ต้องไม่ใช่กิจกรรมแปลกปลอม ที่ชาวบ้านไม่ยอมรับ หรือยัดเยียดให้ทา หรือเกินขีดความสามารถ และไม่เป็นภาระ เรื่ องงบประมาณสนั บ สนุ น คือ ไม่มีเ งิน ก็ท าได้ “การขับเคลื่ อน ศู นย์ส่ ง เสริม และพั ฒ นาประชาธิปไตยตาบล เกี่ยวข้องกับหลายฝ่าย แต่หัวใจอยู่ที่ประชาชน” “ชุมชนมีความเป็นพลเมืองจะทาให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง มีวิถีชีวิตประชาธิปไตย”
ข้อมูล/หลักฐานอ้างอิง ภาพการทากิจกรรมศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยตาบลบางช้าง อาเภอสามพราน จังหวัด นครปฐม
ผู้เขียน
นางสาวตวงพร ศรีศักดา ครู กศน.ตาบลบ่อพลับ กศน.อาเภอเมืองนครปฐม สานักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม
ผูบ้ รรณาธิการ 1. นายทวีป 2. นางวิบูลผล 3. นายสมมาตร
อภิสิทธิ์ พร้อมมูล คงชื่นสิน
อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ ผู้อานวยการ สานักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม ผู้อานวยการ กศน.อาเภอสามพราน สานักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม 4. นายประชาลักณ์ ศรีคุณาภรณ์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองนครปฐม สานักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม
คณะผูด้ ำเนิ นกำร ************************* ที่ปรึกษา 1. นายศรีชัย 2. นางสาววิเลขา
พรประชาธรรม ลีสุวรรณ์
เลขาธิการ กศน. รองเลขาธิการ กศน.
คณะทางาน 1. นางทองพิน
ขันอาสา
หัวหน้าหน่วยศึกษานิเทศก์ สานักงาน กศน. อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ อดีตศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ อดีตศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน. จังหวัดสมุทรปราการ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน. จังหวัดสุรินทร์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน. จังหวัดอุตรดิตถ์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการ สานักงาน กศน. จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เจ้าพนักงานธุรการชานาญงาน หน่วยศึกษานิเทศก์ นักจัดการงานทั่วไป หน่วยศึกษานิเทศก์ นักจัดการงานทั่วไป หน่วยศึกษานิเทศก์ นักจัดการงานทั่วไป หน่วยศึกษานิเทศก์ นักวิชาการศึกษา หน่วยศึกษานิเทศก์
2. นายทวีป 3. นางสาวสุวรรณา 4. นายอวยชัย 5. นางสาวเสริมศรี 6. นางรัตนา
อภิสิทธิ์ ล่องประเสริฐ จันทปัญญาศิลป์ ศิริพยัคฆ์ แก่นสารี
7. นางวัชรี
สวัสดี
8. นางกฤษณา
พลฤทธิ์
9. นางรานี
น้อยสกุล
10. ส.ต.อ.หญิงธนิสร
ถากระแสร์
11. นางสาวสุดารัตน์
ชาญชัย
12. นางญดา
เสียงเพราะ
13. นายกิตติชัย
จิตติเจริญวิทย์
14. นางสาวอมรรัตน์
ช่วยบารุง
บรรณาธิการ 1. นางทองพิน 2. นายทวีป 3. นางสาวสุวรรณา
ขันอาสา อภิสิทธิ์ ล่องประเสริฐ
หน่วยงานรับผิดชอบ หน่วยศึกษานิเทศก์ สานักงาน กศน.
หัวหน้าหน่วยศึกษานิเทศก์ สานักงาน กศน. อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ