รายงานประกันคุณสถานศึกษา ปี ๒๕๖๒

Page 1

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ( Self-Assessment Report)

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น

สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ



คำนำ ตามกฎกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร กำหนดระบบ หลั ก เกณฑ์ และวิ ธ ี ก ารประกั น คุ ณ ภาพภายใน สำหรับสถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. ๒๕๕๕ ที่อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ วรรคสาม และมาตรา ๒๕วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติส ่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธ ยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งกำหนดให้ส ถานศึ ก ษาต้ อ งดำเนิ นการ ดังนี้ ๑) จัดให้มีมาตรฐานการ ศึ ก ษานอกระบบ ที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด ๒) จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี ๓) ดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี ๔) จัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา ๕) จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๖) จัดทำรายงานการ ประเมินตนเองประจำปี ๗) เสนอรายงานการประเมินคุณภาพภายในต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงาน ต้นสังกัด และภาคีเครือข่าย และเผยแพร่ต่อสาธารณชน ๘) นำผลการประเมินคุณภาพภายในมาเป็นส่วนหนึ่ง ของการวางแผนเพื ่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาโดยการมี ส ่ ว นร่ ว มของคณะกรรมการสถานศึ ก ษา และภาคีเครือข่าย ๙) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ ๑๐) ยึดหลักการมีส่วนร่วมของสถานศึกษา บุคลากร ทุกคนในสถานศึกษา ภาคีเครือข่าย และผู้รับบริการ ในการนี้ เพื่อเป็นการดำเนินงานให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงฯ ดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย อำเภอหนองสองห้ อ ง จึ ง ได้ ด ำเนิ น การแต่ ง ตั ้ ง คณะกรรมการประเมิ น ตนเอง ของสถานศึกษา เพื่อประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอหนองสองห้อง โดยคณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา วิเคราะห์จากแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปีร่วมกับผลการดำเนินงานของสถานศึกษา และสอบทานข้อมูล จากผู ้ ป ฏิ บ ั ต ิ ง าน คณะกรรมการสถานศึ ก ษาและผู ้ ท ี ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง เพื ่ อ จั ด ทำรายงานการประเมิ น ตนเอง ของสถานศึกษา และร่วมกันกำหนดแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป

(นายสมชาติ สง่าภาคภูมิ) ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอหนองสองห้อง 24 ตุลาคม ๒๕๖๒


ข คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ได้ประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ฉบับที่ ๒ ) พ.ศ.๒๕๖๐ ในระหว่างวันที่ ๑ - ๕ เดือน ตุลาคม พ.ศ. 256๒ และจัดทำรายงานการประเมินตนเอง ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ เสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว ประธานคณะกรรมการ (นายสมชาติ สง่าภาคภูมิ) กรรมการ (นางสาวครองหทัย ขอมีกลาง) กรรมการ (นายอุทัย สมพร) กรรมการ (นางสาวกนกวรรณ หล้าหาญ) ทั้งนี้ คณะกรรมการสถานศึกษาได้รับทราบผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าสถานศึกษาจะนำข้อมูลผลการประเมินนี้ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาต่อไป

ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา (นายสมชาย สง่าภาคภูมิ) วันที่ 24 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 256๒


สารบัญ คำนำ สารบัญ บทสรุปสำหรับผู้บริหาร และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา บทที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา บทที่ ๒ ทิศทางและผลการดำเนินงานของสถานศึกษา บทที่ ๓ ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐาน มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ มาตรฐานที่ ๓ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา บทที่ ๔ สรุปผลการประเมินตนเอง และแนวทางการพัฒนาสถานศึกษา สรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สรุปผลการวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา ภาคผนวก

หน้า ก ง จ ๑ 4๑ ๕๕ ๕๕ 10๙ 1๓๓ 1๓๗ 1๓๗ 1๓๙


บทสรุปสำหรับผู้บริหาร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองสองห้อง ตั้งอยู่ บ้านไทยเจริญ หมู่ ๑6 ตำบลหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง จังหวัด ขอนแก่น สำนักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานการศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษา ตามอัธยาศัย โดยมีบุคลากรจำนวน 8๗ คน มีผู้เรียน ผู้เข้ารับการอบรม และผู้รับบริการ จำนวน 6,๒๕๑ คน ทั้งนี้ คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ได้ดำเนินการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ในระหว่างวัน ที่ 1 - ๕ เดือน ตุล าคม พ.ศ. 256๒ ซึ่งจากการประเมินคุณภาพการจัด การศึกษาของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมิน ได้ดังนี้ ผลการประเมินตนเองในภาพรวม มีคะแนนรวม เท่ากับ 74 คะแนน ซึ่งอยู่ในระดับคุณภาพ ดี และ เมื่อพิจารณาผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐาน พบว่า มาตรฐานที ่ ๑ คุ ณ ภาพของผู ้ เ รี ย น/ผู ้ ร ั บ บริ ก าร มี ค ะแนนรวม เท่ า กั บ 18 คะแนน ซึ ่ ง อยู ่ ใ น ระดับคุณภาพ พอใช้ มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ มีคะแนนรวม เท่ากับ 25.5 คะแนน ซึ่งอยู่ใน ระดับคุณภาพ พอใช้ มาตรฐานที่ ๓ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา มีคะแนนรวม เท่ากับ 16.50 คะแนน ซึ่งอยู่ในระดับคุณภาพ ดี ตามรายละเอียด ดังนี้ ๑. สรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา มาตรฐาน/ตัวบ่งชี่ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะกระบวนการคิดทักษะการ แสวงหาความรู้เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๓ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้พื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๕ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติคนตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๖ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการบรมสามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างต่อเนื่อง

น้ำหนัก (คะแนน) ๓๕

ผลการประเมิน ตนเอง คะแนน ระดับ ที่ได้ คุณภาพ 18 ดี

3.5

ดี

3.5

ดี

4

ดี

3.5

ดี

3.5

ดี

3.5

ดี


มาตรฐาน/ตัวบ่งชี่ การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๗ ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จาก การเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ คุณภาพครูการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ คุณภาพของหลักสูตรสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ คุณภาพสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๔ คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๕ คุณภาพวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๖ คุณภาพหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๗ คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๘ คุณภาพผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๙ คุณภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ ๓ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและหลักธรรมาภิบาล ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๒ การส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาของภาคีเครือข่าย ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๓ การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๔ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา รวม

น้ำหนัก (คะแนน)

ผลการประเมิน ตนเอง คะแนน ระดับ ที่ได้ คุณภาพ

3.5

ดี

๔๕

25.5

ดี

๕ ๕ ๕ ๕

4 3.5 4 3.5

ดี ดี ดี ดี

๕ ๕ ๕

3.5 3.5 3.5

ดี ดี ดี

๕ ๕ ๒๐

3.5 3.5 ๑6.๕๐

ดี ดี ดี

4.5

ดีมาก

๕ ๕ ๕ ๑๐๐

4 4 4 ๗4

ดี ดี ดี ดี


ฉ ๒. สรุปผลการวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา สรุปผลการวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา จุดเด่น ๑. สถานศึกษาดำเนินโครงการ / กิจกรรมกระบวนการจัดการศึกษาหลากหลาย เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียนมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจและทักษะ ด้านต่าง ๆ เช่น ทักษะด้านการแสดงความสามารถของนักศึกษาในการประกวดโครงงาน วิทยาศาสตร์ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาขอนแก่น ได้รับรางวัล ชมเชย ด้าน.... และรางวัลชนะเลิศอันดับ ๑ ทักษะด้านการประกอบอาชีพ เป็นต้น พัฒนาทักษะต่าง ๆ เพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ พัฒนาสังคม ชุมชน และนำผลการประเมินความพึง พอใจของผู้รับบริการไปปรับปรุงและพัฒนาการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยทุกกิจกรรม และทุกโครงการที่ดำเนินการ มีค วามหลากหลายสอดคล้องกับผู้รับบริการ ตลอดจนจัด กิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์คิดเป็นทำ เป็นและมีความพึงพอใจในการบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๒. สถานศึกษามีการจัดทำและพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นที่หลากหลายร่วมกับภูมิ ปัญญาท้องถิ่นปราชญ์ชาวบ้าน ชุมชนและภาคีเครือข่ายและมี การขอความเห็นชอบใช้ หลักสูตรผ่านคณะกรรมการสถานศึกษา และมีการจัดการศึกษาตามหลักสูตรโดยเน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญมีการใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นที่หลากหลายมีวิทยากรครูภูมิปัญญาใน ท้องถิ่นให้ความรู้กับผู้เรียน / ผู้รับบริการและมีการฝึกให้ผู้เรียน / ผู้รับบริการรู้จักคิด เป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็นและมีความพึงพอใจในการบริการการศึกษาตามอัธยาศัย ๓. สถานศึกษามีผู้บริหารมีสมรรถนะในการบริห ารองค์กรโดยสามารถบริ หาร จัดการด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคลและการบริหารทั่วไปได้อย่าง ครบถ้วน มีการมอบหมายงานเป็นระบบ มีการใช้คนให้เหมาะสมกับงาน มีการจัดทำ แผนพัฒนาคุณภาพการศึก ษาและแผนปฏิบัติการประจำปีที่เป็นปัจจุบันและสอดคล้อง กับนโยบายของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการและสำนักงาน กศน.และมีการบริหารตาม หลัก ธรรมาภิบ าล ส่งผลให้เกิดคุณภาพของการบริ ห ารสถานศึก ษา และกรรมการ สถานศึกษาในปัจจุบันและต้องการสร้างความประทับใจให้กับผู้ที่เข้ามารับบริก าร ของสถานศึกษา ทุกคนเกิดความประทับใจและเห็นความสำคัญของสถานศึกษาและ บุคลากรเป็นองค์กรที่มีความรัก ความสามัคคี ให้ความร่วมมือช่วยเหลือเกื้อกูลในการ ปฏิบัติงานให้ประสบผลสำเร็จและเป็นแบบ อย่างที่ดีของชาว กศน. ๔.สถานศึกษามีปรัชญา วิส ัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ ที่สอดคล้องกับ มาตรฐานการศึกษาของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย และสำนั ก งาน กศน. จั ง หวั ด ขอนแก่ น มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการสถานศึ ก ษาเพื ่ อ จั ด ทำแผนพัฒ นาคุ ณ ภาพการศึก ษาอย่ า งต่ อ เนื่อง มีการนิเทศ ติดตาม และการประเมิ นผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง มีการรายงานผล การปฏิบัติงานประจำปีมีระบบการประกันคุณภาพภายใน และการประกันคุณภาพ โดยต้นสังกัด มีการจัดระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตามกฎกระทรวง ที่ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ และแนว ปฏิบัติที่เกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาโดยยึดหลักการมีส่วนร่วม ของชุมชน ๕. สถานศึกษาได้กำหนดอัตลักษณ์ร่วมกันระหว่างผู้บริหารสถานศึกษา กรรมการ สถานศึกษา ครู บุคลากร ผู้ปกครอง ชุมชน ผู้เรียนและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนวทางการ


จุดที่ควรพัฒนา

วิธีปฏิบัติที่ดี หรือ นวัตกรรม หรือตัวอย่างที่ ดีหรือต้นแบบ

ดำเนินการจัดการศึกษาผู้เรียน/ผู้รับบริการ ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมโครงการและ จัดกิจ กรรมที่เกี่ยวข้องเป็นอย่ างดี ผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีคุณภาพตามอัตลั ก ษณ์ ที่กำหนดมีการดำเนินโครงงาน/กิจกรรม ตามจุดเน้นนโยบาย กศน.ที่สะท้อนเอกลักษณ์ ในด้านต่าง ๆ เช่น ส่งเสริมด้านศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ส่งเสริมด้านเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมด้านอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมความรู้เพื่อป้องกันปัญหายาเสพติด เป็นต้น มีระบบการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ๖.สถานศึกษา มีการจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ร่วมกับภาคีเครือข่าย ทั้งในด้านสนับสนุนงบประมาณ อาคารสถานที่ และความร่วมมือในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เป็นอย่างดี ๑.การจัดทำรายงาน/ติดตามผลผู้เรียน/ผู้รับบริการที่นำความรู้ไปใช้และสรุปผล การติดตามข้อมูลของผู้เรียนผู้รับบริการที่นำความรู้ไปใช้ร้อยละเท่าไหร่ ๒. การจั ด ทำหลั ก ฐานการประเมิน ผลการใช้ห ลั ก สู ตรยั ง ไม่ ค รอบคลุ มทุก หลักสูตร ๓. ควรมีการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูล ให้ครบถ้วนและเป็น ปัจจุบัน ๔. ควรมีการจัด อบรมบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจในการจัดทำเอกสาร ประกอบการประเมินระบบประกันคุณภาพการศึกษาให้แก่บุคลากรภายในองค์กรให้มี ความชัดเจนและเกิดความเข้าใจอย่างถูกต้อง ๕. ควรมี การประสานความร่ว มมือกับ ชุมชน ภาคีเครือข่ายในการดำเนิน โครงการ/กิจกรรม ให้ครอบคลุมทุกกิจกรรม ๑.จัดทำรายงานและสรุปผลแบบติดตามผลการนำความรู้ไปใช้ของผู้เรียน ผู้รับบริการ ๒.มีการจัดทำการประเมินผลการใช้หลักสูตรให้ครอบคลุมทุกหลักสูตร ๓.นำข้อมูลสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพมาประยุกต์ใช้ในการบริหารจั ดการ ดำเนินงานให้มีความถูกต้องและครบถ้วนสมบูรณ์ ๔.จัดให้มีการอบรมบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ ระบบประกัน คุณภาพการศึกษาในทุกปีการศึกษา ๕.สถานศึกษามีการประสานความร่วมมือกับ ชุมชน ภาคีเครือข่าย ในการ ดำเนินโครงการ / กิจกรรมร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดความเข้มแข็งในกลุ่ม ภาคีเครือข่าย ๖. สถานศึกษามีการจัดทำบันทึกข้อตกลงร่วมมือกันระหว่างหน่วยงาน(MOU) เพื่อทำข้อตกลงร่วมกันในการดำเนินงานร่วมกันระหว่างภาคีเครือข่ายและ กศน.ให้ สอดคล้องกับ ปั ญหาและความต้ อ งการของชุ มชน เพื่อ มุ่ง พัฒ นาคุ ณภาพชีว ิ ต ของ ประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


1

บทที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา ๑. สภาพทั่วไปของสถานศึกษา ชื่อสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น สถานที่ตั้ง บ้านไทยเจริญ หมู่ ๑๖ ตำบลหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น รหัสไปรษณีย์ ๔๐๑๙๐ โทรศัพท์ ๐ ๔๓๔ ๙๑๑๘๑ , ๐ ๔๓๔ ๙๑๒๔๙ โทรสาร ๐ ๔๓๔ ๙๑๒๔๙ http://๒๐๒.๑๔๓.๑๓๗.๑๐๙/๐๕๓๗ สังกัด สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดขอนแก่น สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ๒. ประวัติความเป็นมาของสถานศึกษา ประวัติสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองสองห้อง จัดตั้งเป็นสถานศึกษา สังกัดกรมการศึกษานอกโรงเรียน ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดตั้งศูนย์บริการการศึกษา นอกโรงเรียนอำเภอ/กิ่งอำเภอ ประกาศ ณ วันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๓๖ โดยใช้อาคารห้องสมุดประชาชน อำเภอหนองสองห้องเป็นสำนักงานที่ตั้งสถานศึกษา เพื่อให้บริการประชาชนในพื้นที่อำเภอหนองสองห้อง ปี พ.ศ.๒๕๔๗ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนอำเภอหนองสองห้องได้ขอใช้อาคารเดิมของสำนักงานประถมศึกษา อำเภอหนองสองห้อง เขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต ๓ เป็นที่ตั้งสำนักงานเพื่อความเหมาะสมในการ ดำเนินงาน ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้เปลี่ยนชื่อสถานศึกษาจาก ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนอำเภอหนองสองห้ อ ง เป็น “ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองสองห้อง” สังกัดสำนักงานส่งเสริม การศึกษาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธ ยาศัยจังหวัดขอนแก่น สำนักงานส่งเสริมการศึ กษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ตามพระราชบัญญัติส ่ง เสริ ม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.๒๕๕๑ จนถึงปัจจุบัน ๓. ข้อมูลชุมชน อำเภอหนองสองห้อง ได้รับการประกาศจัด ตั้งเป็นกิ่งอำเภอหนองสองห้อง โดยแยกเขตการปกครอง จากอำเภอพล จังหวัดขอนแก่น ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ ๒๗ เดือนธันวาคม พ.ศ.๒๕๐๔ และได้รับการประกาศยกฐานะเป็นอำเภอ เมื่อวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๐๖ ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๔๐ ตอนที ่ ๗๒ โดยมี น ายพยุ ง ศิ ร ิ บ ู ร ณ์ เป็ น นายอำเภอคนแรก ซึ ่ ง ปั จ จุ บ ั น มี ผ ู ้ ด ำรงตำแหน่ ง นายอำเภอ หนองสองห้องทั้งสิ้นจำนวน ๓๐ คน โดยมี นายชุมพิชญ์ เดชะรัฐ เป็นนายอำเภอคนปัจจุบัน


2 ๔. อาณาเขต ที่ตั้งและอาณาเขตติดต่อ อำเภอหนองสองห้องมีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอบ้านไผ่ และอำเภอเปือยน้อย อำเภอโนนศิลา จังหวัดขอนแก่น ทิศตะวันออก ติดต่ออำเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา และอำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ ทิศใต้ ติดต่ออำเภอนาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์ และอำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอพล จังหวัดขอนแก่น ๕. สภาพชุมชน สภาพทั่วไปและลักษณะภูมิประเทศ อำเภอหนองสองห้ อ ง ตั ้ ง อยู ่ บ นที ่ ร าบสู ง โคราช บริ เ วณพิ ก ั ด T.C.๖๔๔๔๐๔ อยู ่ ท ิ ศ ใต้ ข อง จังหวัดขอนแก่น มีพื้น ที่ทั้งหมดประมาณ ๕๑๔.๕๗๔ ตารางกิโลเมตร ห่างจากตัวที่ตั้งจังหวัดขอนแก่น ประมาณ ๙๖ กิโลเมตร พื้นที่ส่วนใหญ่แห้งแล้ง มีปริมาณน้ำฝนต่อปีน้อย ดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทรายบาง พื้นที่เป็นดินเค็มตามลักษณะองค์ประกอบของที่ราบสูงโคราช อำเภอหนองสองห้องมีประชากรรวมทั้งสิ้น ๗๘,๒๗๖ คน แบ่งออกเป็นเพศชาย ๓๕,๘๒๗ คน เพศหญิง ๔๒,๔๐๔ คน การคมนาคมที่ใช้ติดต่อไปยังจังหวัด ขอนแก่น รวมทั้งจังหวัดและอำเภออื่น ๆ ที่อยู่ใกล้เคียงอำเภอหนองสองห้องมีเพียงประเภทเดียว คือ การเดินทางโดย รถยนต์ ถนนสายหลั ก คื อทางหลวงแผ่ นดิ นแยกจากถนนมิ ตรภาพ เส้ นทางแยกอำเภอพล จั งหวั ดขอนแก่ น ไปยังอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ จังหวัดบุรีรัมย์ ทางหลวงแผ่นดินเชื่อมอำเภอเปือยน้อยและอำเภอบ้านไผ่ ทางหลวงชนบทเชื่อมอำเภอนาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์ เชื่อมอำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม ประชากรส่วน ใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยพื้นที่ส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ ๙๐ เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ทำนา ทำไร่ ที่เหลือ เป็นที่อยู่อาศัยและที่สาธารณประโยชน์ ๖. ภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศ อำเภอหนองสองห้อง มี ๓ ฤดู ดังนี้ - ฤดู ร ้ อ น อุ ณ หภู ม ิ ส ู ง สุ ด โดยเฉลี ่ ย ๓๖.๓ องศาเซลเซี ย ส เริ ่ ม ตั ้ ง แต่ เ ดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ ถึ ง เดือนพฤษภาคม อากาศร้อนจัดในช่วงเดือนเมษายนของทุกปี ซึ่งในพื้นที่มักจะประสบปัญหาด้านภัยแล้ง - ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม โดยจะมีฝนตกชุกในเดือนสิงหาคมของทุกปี - ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ อากาศหนาวเย็นโดยทั่วไปและจ ะหนาวจัด ในช่วงเดือนธันวาคมจนถึงเดือนมกราคมของทุกปี ๗. ทรัพยากรธรรมชาติ - มีแหล่งน้ำธรรมชาติที่สำคัญไหลผ่านหลายสาย ได้แก่ หนองน้ำหนองสองห้อง หนองละเลิงเค็ง หนองใหญ่สระขาม หนองใหญ่หนองไผ่ล้อม ซึ่งเป็นหนองน้ำขนาดใหญ่ที่ยังคงรักษาระบบนิเวศวิทยาไว้เพื่อ การศึกษา ประกอบด้วย พันธุ์ไม้ สัตว์น้ำ และเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของนกน้ำนานาชนิด - ป่าไม้เบญจพรรณที่สำคัญ คือ สวนป่าโนนชาดอยู่ในเขตพื้นที่ตำบลดงเค็ง สวนป่าโป่งแดงอยู่ในเขต พื้นที่ตำบลหนองไผ่ล้อมและตำบลดอนดั่ง สวนป่าโคกสองคอนอยู่ในเขตพื้นที่ตำบลคึมชาด สวนป่าโคกภูดิน อยู่ในเขตพื้นที่ตำบลดอนดู่ สวนป่าโคกคึมชาดอยู่ในเขตพื้นที่ตำบลหนองเม็ก สวนป่าโนนบ้านฮ้างอยู่ในเขต พื้นทีต่ ำบลวังหิน สวนป่าโคกป่าหินลาดอยู่ในเขตพื้นที่ตำบลสำโรง สวนป่าโคกน้ำจั้นอยู่ในเขตพื้นที่ตำบลหนอง สองห้อง สวนป่าโนนชาดอยู่ในเขตพื้นที่ตำบลดงเค็ง สวนป่าหนองไผ่ อยู่ในเขตพื้นที่ตำบลหันโจด สวนป่าโคก หนองเพ็กอยู่ในเขตพื้นที่ตำบลตะกั่วป่า สวนป่าโคกพันกระดานอยู่ในเขตพื้นที่ตำบลตะกั่วป่า ซึ่งเป็นป่าที่คงยัง รักษาระบบนิเวศวิทยาไว้ได้โดยชุมชนข้างเคียงช่วยกันดูแลรักษาและใช้ประโยชน์ร่วมกัน


3 ๘. สถานที่ท่องเที่ยว - ดูนกที่หนองละเลิงเค็ง ตำบลดงเค็ง - ภาพจิตกรรมฝาผนังวัดสระบัวแก้ว บ้านวังคูณ ตำบลหนองเม็ก - พักผ่อนริมหนองที่หนองสองห้อง ตำบลหนองสองห้อง - เรียนรู้ป่าชุมชนโนนชาด ตำบลดงเค็ง - ปรางค์กู่บ้านเมย ตำบลหนองสองห้อง - สวนป่าทุกตำบล ๙. สังคมและการปกครอง แบ่งเขตการปกครอง ดังนี้ ตารางที่ 1 เขตการปกครองแบ่งออกเป็น เทศบาล จำนวน ๑ แห่ง ๑๒ ตำบล ๑๓๘ หมู่บ้าน ดังนี้ ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒

ชื่อตำบล หนองสองห้อง หนองเม็ก ดงเค็ง หันโจด โนนธาตุ ดอนดู่ ตะกั่วป่า ดอนดั่ง สำโรง คึมชาด หนองไผ่ล้อม วังหิน รวม

จำนวนหมู่บ้าน ๑๘ หมู่บ้าน ๑๕ หมู่บ้าน ๑๓ หมู่บ้าน ๑๒ หมู่บ้าน ๑๑ หมู่บ้าน ๑๒ หมู่บ้าน ๑๑ หมู่บ้าน ๑๐ หมู่บ้าน ๙ หมู่บ้าน ๑๐ หมู่บ้าน ๙ หมู่บ้าน ๘ หมู่บ้าน ๑๓๘ หมู่บ้าน

เทศบาล ๑ แห่ง คือ เทศบาลหนองสองห้อง องค์การบริหารส่วนตำบลมีจำนวนทั้งสิ้น ๑๒ แห่ง ประกอบด้วย ๑. องค์การบริหารส่วนตำบลหนองสองห้อง ๒. องค์การบริหารส่วนตำบลหนองเม็ก ๓. องค์การบริหารส่วนตำบลดงเค็ง ๔. องค์การบริหารส่วนตำบลหัดโจด ๕. องค์การบริหารส่วนตำบลโนนธาตุ ๖. องค์การบริหารส่วนตำบลดอนดู่ ๗. องค์การบริหารส่วนตำบลตะกั่วป่า ๘. องค์การบริหารส่วนตำบลดอนดั่ง ๙. องค์การบริหารส่วนตำบลสำโรง ๑๐. องค์การบริหารส่วนตำบลคึมชาด ๑๑. องค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่ล้อม ๑๒. องค์การบริหารส่วนตำบลวังหิน

หมายเหตุ


4 ๑๐. การคมนาคม การคมนาคมที่ใช้ติดต่อกับจังหวัดขอนแก่น รวมทั้งจังหวัดและอำเภออื่น ๆ ที่อยู่ใกล้เคียงอำเภอหนองสองห้อง มีเพียงประเภทเดียว คือ การเดินทางโดยรถยนต์ ถนนสายหลัก คือ ถนนสายหลักทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวง ชนบท และทางหลวงท้องถิ่น ๑๑. การไฟฟ้า สังกัดการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๑๒. การประปา สำนักงานการประปาส่วนภูมิภาค สาขาเมืองพล จังหวัดขอนแก่น ประปาหมู่บ้าน (ยังคุณภาพไม่ดีพอ) ๑๓. องค์การโทรศัพท์ TOT สาขาเมืองพล ให้บริการติดต่อสื่อสารหมายเลข ๐๔๓ – ๔๙๑๑๘๑ ,๐๔๓ – ๔๙๑๒๙๔ ๑๔. ที่ทำการไปรษณีย์ ที่ทำการไปรษณีย์สาขาอำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๑๕. สภาพเศรษฐกิจ - ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม - พื้นที่ส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ ๙๐ เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ทำนา ทำไร่ ที่เหลือเป็นที่อยู่อาศัย และที่ สาธารณประโยชน์ การถือครองที่ส่วนใหญ่เพื่อเกษตร - รายได้เฉลี่ย ๒๖,๙๑๕ บาท / ครัวเรือน / เดือน (ข้อมูล จาก สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี ๒๕๖๐) ๑๖. ข้อมูลด้านสังคม สภาพทางสังคม วัฒ นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของประชาชนมีความหลากหลาย ทำให้มี ประชากรจำนวนมากประกอบด้วยคนอีสานดั่งเดิม และประชากรบางส่วนใช้ภาษาโคราช เป็นลักษณะวิถีชีวิต ชาวอีสานโดยทั่วไปที่ผูกพันกับธรรมชาติเป็นหลักโดยเฉพาะการนำเอาทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นมาใช้ใ น ชีวิตประจำวันด้วยภูมิปัญญาชาวบ้านแต่ก็อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่มีอุปนิสัย เอื้อ อาทร มีความขยัน ซื่อสัตย์ มีความรักถิ่น บ้านเกิด วิถีความเป็นอยู่แบบเกื้อกูลซึ่งกันและกันการตั้งถิ่นฐานของ ประชาชนในเขตพื้นที่จะมีลักษณะรวมกันเป็นกลุ่มญาติ พี่น้องมีความรักเคารพในระดับอาวุโสมี ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่นที่ดีงามสืบทอดกันยาวนานจนถึงปัจจุบัน ๑๗. ประเพณีและวัฒนธรรม - อำเภอหนองสองห้องเป็นอำเภอที่มีพื้นที่อาณาเขตติดต่อระหว่าง ๔ จังหวัด ซึ่งเป็นช่วงต่อระหว่าง ภาคอีส านตอนเหนือกับอีสานตอนใต้ ที่มีประเพณีและวัฒ นธรรมที่แตกต่างกัน ดังนั้นจึงประกอบด้วย วัฒนธรรมที่หลากหลายผสมผสานกลมกลืนกันไป คำขวัญประจำอำเภอหนองสองห้อง “หนองสองห้องคู่เมือง ลือเรื่องภาพเขียนวังคูณ ศูนย์รวมนกระเลิงเค็ง นามระเบ็งสวนป่าโนนชาด ” ๑๘. จำนวนประชากร ประชากรทั้งหมดจำนวน ๑๔๖,๕๓๐ คน แบ่งออกเป็นเพศชาย ๓๕,๘๒๗ คน หญิง ๔๒,๔๐๔ คน


5 ๑๙. จำนวนสถานศึกษา - โรงเรียนเอกชน จำนวน ๑ แห่ง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน ๑๗ แห่ง - โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต ๓ จำนวน ๖๓ แห่ง - โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษาที่ ๒๕ จำนวน ๔ แห่ง - วิทยาลัยอาชีวศึกษา จำนวน ๒ แห่ง - ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จำนวน ๑ แห่ง ๒๐. จำนวนแหล่งบริการด้านสาธารณสุข - โรงพยาบาล ขนาด ๖๐ เตียง ๑ แห่ง - สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ๑ แห่ง - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนประจำตำบล ๑๓ แห่ง ๒๑. ทำเนียบผู้บริหาร ๑. นายสมชาย อนันตสุวรรณชัย ๒. พ.อ.ท.พงศธร สนธิเส็ง ๓. นางนวลจันทร์ กัมปนาวราวรรณ ๔. นายปราโมทย์ กลีบทอง ๕. ๖. ๗. ๘. ๙.

นายปัญญา ผลทิพย์ นายชาตรี เสงี่ยมวงศ์ นายไพฑูรย์ งอสอน นายเรืองเดช เงินเรืองนิรันดร์ นายสมชาติ สง่าภาคภูมิ

ตำแหน่ง ตำแหน่ง ตำแหน่ง ตำแหน่ง ตำแหน่ง ตำแหน่ง ตำแหน่ง ตำแหน่ง ตำแหน่ง

หัวหน้าศูนย์ ๑ (เม.ย. ๒๕๓๗ - ก.พ. ๒๕๓๘) หัวหน้าศูนย์ ๑ (ก.พ. ๒๕๓๘ – ธ.ค. ๒๕๔๐) หัวหน้าศูนย์ ๑ (ธ.ค. ๒๕๔๐) หัวหน้าศูนย์ ๒ (รักษาราชการ) ธ.ค. ๒๕๔๐ – ก.ค. ๒๕๔๑) หัวหน้าศูนย์ ๑,๒ ผอ.ศูนย์ (ก.ค. ๒๕๔๑ – ธ.ค. ๒๕๔๖) ผู้อำนวยการสถานศึกษา (ธ.ค. ๒๕๔๖ – พ.ย. ๒๕๔๘) ผู้อำนวยการสถานศึกษา (พ.ย. ๒๕๔๘ – มิ.ย. ๒๕๕๕) ผู้อำนวยการสถานศึกษา (มิ.ย. ๒๕๕๕ – ก.พ. ๒๕๕๗) ผู้อำนวยการสถานศึกษา (ก.พ. ๒๕๕๗ – ปัจจุบัน)


6 ๒๒. โครงสร้างการบริการงาน โครงสร้างการทำงานตามกรอบการจัดสร้างของสถานศึกษา แบ่งออกเป็น ๓ กลุ่ม ได้แก่ ผู้บริหาร คณะกรรมการ สถานศึกษา กลุ่มงานอำนวยการ

กลุ่มงานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย

- งานธุรการ,สารบรรณ,

บุคลากร,สวัสดิการ - งานการเงิน,บัญชี - งานพัสดุ - งานประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา - งานแผนงานและโครงการ - งานประชาสัมพันธ์ - งานข้อมูลสารสนเทศ - งานเลขานุการ - งานคณะกรรมการ สถานศึกษา - งานนิเทศภายใน ติดตามประเมินผล - งานอาคารสถานที่ - งานศูนย์ราชการใส สะอาด

- งานส่งเสริมการรู้หนังสือ - งานการศึกษาขั้นพื้นฐานนอก ระบบ - งาน ปวช. - งานการจัดการศึกษาต่อเนื่อง • งานการศึกษาหลักสูตร ระยะสั้น • งานการศึกษาเพื่อพัฒนา ทักษะชีวิต • งานการศึกษาเพื่อพัฒนา สังคมและชุมชน • งานการศึกษาตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - งานทะเบียนวัดผลประเมินผล - งานแนะแนว,กิจการนักศึกษา - งานพัฒนาสื่อ,หลักสูตร - งานการศึกษาตามอัธยาศัย • โครงการบ้านหนังสือชุมชน

กลุ่มประสานภาคีเครือข่ายและ กิจการพิเศษ

- งานประสานภาคีเครือข่าย

- งานกิจการพิเศษ - งานคุ้มครองผู้บริโภค - งานอาสาสมัคร กศน. - งานรณรงค์แก้ไขปัญหา ยาเสพติด - งานส่งเสริมประชาธิปไตย - งานสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา - งานกิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาดนอกโรงเรียน


7 ตารางที่ 2 จำนวนผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรม/ผู้รับบริการ และจำนวนครู/วิทยาการ/ผู้จัดกิจกรรม (ปัจจุบัน) หลักสูตร/ประเภท การศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.ระดับประถมศึกษา 2.ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 3.ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 4.ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ รวมจำนวน การจัดการศึกษาผู้ไม่รู้หนังสือ การจัดการศึกษาผู้ไม่รู้หนังสือ ภาคเรียนที่ 2/2560 การจัดการศึกษาผู้ไม่รู้หนังสือ ภาคเรียนที่ 1/2561 รวมจำนวน โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โครงการ/กิจกรรมสำคัญตามแผนงาน (พ.ร.บ.งบประมาณ รายจ่ายประจำปี)/แผนบูรณาการยกระดับคุณภาพ การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต/โครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน (1 อำเภอ 1 อาชีพ) โครงการ/กิจกรรมสำคัญตามแผนงาน (พ.ร.บ.งบประมาณ รายจ่ายประจำปี)/แผนบูรณาการยกระดับคุณภาพ การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต/โครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน (กลุ่มสนใจ-ไม่เกิน 30 ชม.) โครงการ/กิจกรรมสำคัญตามแผนงาน (พ.ร.บ.งบประมาณ รายจ่ายประจำปี)/แผนบูรณาการยกระดับคุณภาพ การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต/โครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน (ชั้นเรียนวิชาชีพ-31 ชม.ขึ้นไป) รวมจำนวน การศึกษาต่อเนื่อง การศึกษาต่อเนื่อง (การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต) การศึกษาต่อเนื่อง/การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต/ งวดที่ 1 (ต.ค.-มี.ค.) การศึกษาต่อเนื่อง/การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต/ งวดที่ 2 (เม.ย.-ก.ย.) รวมจำนวน

จำนวนผู้เรียน (คน)

รวม

จำนวนครู/ วิทยากร/ผู้ จัดกิจกรรม (คน)

ชาย

หญิง

๗๑๓ ๘๒๔ ๙๗๕ ๓๓๒ ๒,๘๔๔

๖๘๖ ๑๐๓๕ ๑,๓๑๗ ๓๖๙ ๓,๔๐๗

๑,๓๙๙ ๑,๘๕๙ ๒,๒๙๒ ๗๐๑ ๖,๒๕๑

๗๖ ๗๖ ๗๖ ๑๕ ๒๔๓

๔๐ ๔๕ ๘๕

๖๕ ๖๐ ๑๒๕

๑๐๕ ๑๐๕ ๒๑๐

๓ ๓ ๖

๒๒

๔๔

๖๖

๑๐

๑๓๕

๓๒๑

๔๕๖

๖๐

๗๕

๒๘๕

๓๖๐

๖๐

๒๓๒

๖๕๐

๘๘๒

๗๐

๑๖๑

๑๗๕

๓๓๖

๔๘

๑๔๐

๑๙๖

๓๓๖

๔๘

๓๐๑

๓๗๑

๖๗๒

๙๖


8 ตารางที่ 2 จำนวนผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรม/ผู้รับบริการ และจำนวนครู/วิทยาการ/ผู้จัดกิจกรรม (ปัจจุบัน) หลักสูตร/ประเภท

จำนวนผู้เรียน (คน) ชาย

การศึกษาต่อเนื่อง (การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน) การศึกษาต่อเนื่อง/การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน/ ๙๖ งวดที่ 1 (ต.ค. - มี.ค.) การศึกษาต่อเนื่อง/การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน/ ๘๘ งวดที่ 2 (เม.ย. - ก.ย.) รวมจำนวน ๑๘๔ การศึกษาต่อเนื่อง (การเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง) การศึกษาต่อเนื่อง/การเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ ๓๖ พอเพียง/งวดที่ 1 การศึกษาต่อเนื่อง/การเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ ๔๕ พอเพียง/งวดที่ 2 รวมจำนวน ๘๑

รวม

จำนวนครู/ วิทยากร/ผู้ จัดกิจกรรม (คน)

๑๐๘

๒๐๔

๔๘

๑๑๖

๒๐๔

๔๘

๒๒๔

๔๐๘

๙๖

๖๐

๙๖

๔๘

๕๑

๙๖

๔๘

๑๑๑

๑๙๒

๙๖

หญิง

การศึกษาตามอัธยาศัย การศึกษาตามอัธยาศัย/โครงการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ชุมชน ๓ ในตำบล/จัดซื้อหนังสือ/สื่อ สำหรับ กศน.ตำบล การศึกษาตามอัธยาศัย/กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/ ๑,๐๐๐ ๑,๒๘๐ ๒,๒๘๐ ห้องสมุดประชาชน การศึกษาตามอัธยาศัย/กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/ ๙๐๐ ๑,๓๘๐ ๒,๒๘๐ บ้านหนังสือชุมชน การศึกษาตามอัธยาศัย/กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/ ๑,๑๐๐ ๑,๑๘๐ ๒,๒๘๐ หน่วยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) การศึกษาตามอัธยาศัย/กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/ ๙๕๐ ๑,๔๓๐ ๒,๒๘๐ อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การศึกษาตามอัธยาศัย/กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/ ๘๐๐ ๑,๔๘๐ ๒,๒๘๐ ห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาดฯ รวมจำนวน ๔,๗๕๐ ๖,๗๕๐ ๑๑,๔๐๓ กิจกรรมตามนโยบาย โครงการ/กิจกรรมสำคัญตามแผนงาน (พ.ร.บ.งบประมาณ รายจ่ายประจำปี)/แผนบูรณาการยกระดับคุณภาพ ๑๒๐ ๑๔๐ ๓๖๐ การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต/โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง Smart Farmer

๒๔ ๒ ๖๙ ๒ ๑๓๘ ๒ ๒๓๗

๗๖


9 ตารางที่ 2 จำนวนผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรม/ผู้รับบริการ และจำนวนครู/วิทยาการ/ผู้จัดกิจกรรม (ปัจจุบัน) จำนวนผู้เรียน (คน)

หลักสูตร/ประเภท โครงการ/กิจกรรมสำคัญตามแผนงาน (พ.ร.บ.งบประมาณ รายจ่ายประจำปี)/แผนบูรณาการยกระดับคุณภาพ การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต/โครงการภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ โครงการ/กิจกรรมสำคัญตามแผนงาน (พ.ร.บ.งบประมาณ รายจ่ายประจำปี)/แผนบูรณาการบริหารจัดการขยะและ สิ่งแวดล้อม/โครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยโดยการมี ส่วนร่วมของชุมชน โครงการ/กิจกรรมสำคัญตามแผนงาน (พ.ร.บ.งบประมาณ รายจ่ายประจำปี)/แผนงานบูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจ ดิจิทัล/สร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนระดับตำบล รวมจำนวน รวมจำนวนทั้งสิ้น

รวม

จำนวนครู/ วิทยากร/ผู้ จัดกิจกรรม (คน)

ชาย

หญิง

๒๒

๖๘

๙๐

๗๖

๙๔

๑๑๐

๒๖๔

๗๖

๑๒๔

๒๖๐

๓๘๔

๗๖

๓๖๐ ๕๗๘ ๑,๐๙๘ ๒,๘๙๖ ๓,๓๐๑ ๒๐,๕๒๐

๓๐๔ ๙๙๕

จำนวน (คน) ป.ตรี ป.โท ป.เอก

รวมจำนวน

ตารางที่ 3 จำนวนบุคลากร (ปีปัจจุบัน) ประเภท/ตำแหน่ง ข้าราชการครู/บุคลากรการศึกษา ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ ครูศูนย์การเรียนชุมชน ครูประกาศนียบัตรวิชาชีพ จ้างเหมาบริการตำแหน่งนักวิชาการศึกษา เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล บรรณารักษ์ (จ้างเหมาบริการ) รวมจำนวน

ต่ำกว่า ป.ตรี ๑ ๑

๑ ๑๘ ๓๙ ๑๕ ๒ ๑ ๑ ๗๗

๓ ๓

๑ ๑

๒ ๑ ๒๑ ๓๙ ๑๕ ๒ ๑ ๑ ๘๒

ตารางที่ 4 งบประมาณประจำปี (ปีปัจจุบัน) ประเภทงบประมาณ เงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ

งบประมาณที่ได้รับ ๓๑,๓๑๒,๕๗๐ -

งบประมาณที่ใช้ จำนวนเงิน คิดเป็นร้อยละ ๓๑,๓๐๒,๕๗๐ ๙๙.๙๖ -


10 ตารางที่ 5 แหล่งเรียนรู้และภาคีเครือข่าย กศน.ตำบล

ที่ตั้ง

ผู้รับผิดชอบ

กศน.ตำบลดอนดู่ บ้านโนนสะอาด หมู่ ๖ ตำบลดอนดู่

นางสมร ชมภูหลง

กศน.ตำบลดอนดั่ง บ้านกระหนวน หมู่ที่ ๒

นางสมถวิล สระแก้ว

กศน.ตำบลคึมชาด บ้านศรีสมบูรณ์ หมู่ที่ ๗

นายปุวรินทร์ ทัพธานี

กศน.ตำบลสำโรง บ้านสำโรงเหนือ หมู่ที่ ๖

ว่าที ร.อ.หริดล ยืนชีวิต

กศน.ตำบลวังหิน บ้านวังทอง หมู่ที่ ๒

นางจันทร์เพ็ญ อุ่มเกต


11 กศน.ตำบล

ที่ตั้ง

ผู้รับผิดชอบ

กศน.ตำบลหนองเม็ก บ้านวังคูณ หมู่ที่ ๔

นางอภัณตรี สีหามาตย์

กศน.ตำบลหันโจด บ้านแฝก หมู่ที่ ๗

นางวนาลี ดาโสม

กศน.ตำบลโนนธาตุ บ้านสว่าง หมู่ที่ ๓

นางมัญชุภา แก้วโนนตุ่น

กศน.ตำบลหนองสองห้อง บ้านเมย หมู่ที่ ๘

นางวนิดา ยืนชีวิต

กศน.ตำบลดงเค็ง บ้านหนองบะยาว หมู่ที่ ๒

นายธณรัช เหล็กกล้า


12 กศน.ตำบล

ที่ตั้ง

ผู้รับผิดชอบ

กศน.ตำบลตะกั่วป่า บ้านเล้า หมู่ที่ ๗

นายโกศล เนื้อดี

กศน.ตำบลหนองไผ่ล้อม บ้านหนองไผ่ล้อม หมู่ที่ ๑

นายวินัย ชวนศิริ

รวมจำนวน

๑๒

ตารางที่ 6 แหล่งเรียนรู้และภาคีเครือข่าย ศูนย์การเรียนชุมชน ๑.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองแวงยาว ๒.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองไผ่น้อย ๓.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านดอนดู่ ๔.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านโนนสะอาด ๕.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหัวหนองแวง ๖.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองบัวลอง ๗.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านกุดหว้า ๘.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านห้วยตะกั่ว ๙.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านกระหนวน ๑๐.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองทุ่ม ๑๑.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองวัดป่า ๑๒.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองค่าย ๑๓.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองแวงน้อย ๑๔.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านโนนทัน 15.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านคึมชาด 16.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านชาดใหญ่ 17.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองแวงตอตั้ง

ที่ตั้ง หมู่ที่ ๑ ตำบลดอนดู่ หมู่ที่ ๔ ตำบลดอนดู่ หมู่ที่ ๕,๑๒ ตำบลดอนดู่ หมู่ที่ ๖ ตำบลดอนดู่ หมู่ที่ ๗ ตำบลดอนดู่ หมู่ที่ ๘ ตำบลดอนดู่ หมู่ที่ ๙ ตำบลดอนดู่ หมู่ที่ ๑๐ ตำบลดอนดู่ หมู่ที่ ๒ ตำบลดอนดั่ง หมู่ที่ ๓ ตำบลดอนดั่ง หมู่ที่ ๔ ตำบลดอนดั่ง หมู่ที่ ๕ ตำบลดอนดั่ง หมู่ที่ ๘ ตำบลดอนดั่ง หมู่ที่ ๙ ตำบลดอนดั่ง หมู่ที่ ๑ ตำบลคึมชาด หมู่ที่ ๓ ตำบลคึมชาด หมู่ที่ ๔ ตำบลคึมชาด

ผู้รับผิดชอบ นายทวนทอง ปัตถาระกัง นางสาวสุกัญญา เมืองขวา นายสุพรรณ ปะริโต นางสมร ชมภูหลง นางสาวสุดารัตน์ สุขแสวง นางสมร ชมภูหลง นางสาวศิริลักษณ์ ลิศรี นางปริณดา บุญชัย นางสมถวิล สระแก้ว นางสาวณัฐยดา แก้ววิไล นางธนพร ชะนะภัย นายธิติ คงหาญ นายอนุชา บุญหลิม นายธีระศักดิ์ มาตย์โค้ง นางสาวกนกวรรณ เข็มเลา นางสาวกฤติยาภรณ์ เทพชมภู นายเอกลักษณ์ ธีระรัตน์กุล


13 ศูนย์การเรียนชุมชน 18.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านศุภชัย 19.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านศรีสมบูรณ์ 20.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านวังทอง 21.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองศาลา 22.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองคลองน้อย 23.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองเสี้ยว 24.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านสำโรง 25.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านดอนแดง 26.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหินลาด 27.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านสำโรงเหนือ 28.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองคลองเจริญ 29.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองเม็ก 30.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านวังคูณ 31.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านโคกสูง 32.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านโนนสมบูรณ์ 34.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านโนนตาเถร 35.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองสรวง 36.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองเม็กเหนือ 37.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหันโจด 38.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านแฝก 39.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านขามป้อม 40.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านสว่าง 41.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านสำราญ 42.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านโนนธาตุ 43.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองสองห้อง 44.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหัวหนอง 45.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านโนนชาด 46.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านเมย 47.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านโนนรัง 48.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านเปาะ 49.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองหญ้าขาว 50.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองบะยาว 51.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านโนนชาด 52.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหัวละเลิง

ที่ตั้ง หมู่ที่ ๕ ตำบลคึมชาด หมู่ที่ ๗ ตำบลคึมชาด หมู่ที่ ๒ ตำบลวังหิน หมู่ที่ ๓ ตำบลวังหิน หมู่ที่ ๔ ตำบลวังหิน หมู่ที่ ๗ ตำบลวังหิน หมู่ที่ ๑ ตำบลสำโรง หมู่ที่ ๓ ตำบลสำโรง หมู่ที่ ๕ ตำบลสำโรง หมู่ที่ ๖ ตำบลสำโรง หมู่ที่ ๗ ตำบลสำโรง หมู่ที่ ๑ ตำบลหนองเม็ก หมู่ที่ ๔ ตำบลหนองเม็ก หมู่ที่ ๘ ตำบลหนองเม็ก หมู่ที่ ๙ ตำบลหนองเม็ก หมู่ที่ ๑๐ ตำบลหนองเม็ก หมู่ที่ ๑๒ ตำบลหนองเม็ก หมู่ที่ ๑๕ ตำบลหนองเม็ก หมู่ที่ ๓ ตำบลหันโจด หมู่ที่ ๗ ตำบลหันโจด หมู่ที่ ๙ ตำบลหันโจด หมู่ที่ ๓ ตำบลโนนธาตุ หมู่ที่ ๔ ตำบลโนนธาตุ หมู่ที่ ๙ ตำบลโนนธาตุ หมู่ที่ ๑ ตำบลหนองสองห้อง หมู่ที่ ๒ ตำบลหนองสองห้อง หมู่ที่ ๕ ตำบลหนองสองห้อง หมู่ที่ ๘ ตำบลหนองสองห้อง หมู่ที่ ๑๑ ตำบลหนองสองห้อง หมู่ที่ ๑๒ ตำบลหนองสองห้อง หมู่ที่ ๑ ตำบลดงเค็ง หมู่ที่ ๒ ตำบลดงเค็ง หมู่ที่ ๕ ตำบลดงเค็ง หมู่ที่ ๖ ตำบลดงเค็ง

ผู้รับผิดชอบ นายจักรกฤษณ์ ชาวดอน นายปุวรินทร์ ทัพธานี นางจันทร์เพ็ญ อุ่มเกต นางสุพิศ เพ็ชรน้อย นางสุภา สุดอาราม นายนิคม แก้วหาวงษ์ นายสุรีย์พงษ์ มั่นจิต นายอาทิตย์ เพ็ญศรี ว่าที่ ร.อ. หริดล ยืนชีวิต นายสุรีย์พงษ์ มั่นจิต นางสาวประคอง อดใจ นางสาวกันตนา แสงแพง นางอภัณตรี สีหามาตย์ นางสาวดรุณี เทพบรรทม นางสาวปิยนุช โคตรศรีเมือง นายอภิสิทธิ์ อุไรพงษ์ นายสมพร เพียรจันทร์ นางสาวอมรา ท้องที่พิมาย นางสาวพรฤดี สาชิน นางวนาลี ดาโสม นางสาวศิญารัตน์ แผงตัน ว่าที่ ร.อ.หริดล ยืนชีวิต นายวชิรันกรณ์ นาเขียว นางมัญชุภา แก้วโนนตุ่น นายกิติบดี อ่อนมีกุล นางสาวชมพู จงเทพ นางสาวจริศาภรณ์ กระลาม นางวนิดา ยืนชีวิต นางสาวอภิสรา สิงห์พรม นางสาวศุภกานติ์ ปุราชาเต นางสาวศรุชิตา โพธิ์อุดม นายธณรัช เหล็กกล้า นายจักรกฤษ ชาวดอน นางสาวศศิวิมล รินทะ


14 ศูนย์การเรียนชุมชน 53.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านโกรก 54.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านตะกั่วป่า 55.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองตะครอง 56.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองบัวแดง 57.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านเล้า 58.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านดอนตะแบง 59.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองไผ่ล้อม 60.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านขุมปูน 61.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองกุงสว่าง 62.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านสวอง 63.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านสวองใหม่ 64.ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองไผ่พัฒนา รวมจำนวน

ที่ตั้ง หมู่ที่ ๑๐ ตำบลดงเค็ง หมู่ที่ ๑ ตำบลตะกั่วป่า หมู่ที่ ๒ ตำบลตะกั่วป่า หมู่ที่ ๕ ตำบลตะกั่วป่า หมู่ที่ ๗ ตำบลตะกั่วป่า หมู่ที่ ๘ ตำบลตะกั่วป่า หมู่ที่ ๑ ตำบลหนองไผ่ล้อม หมู่ที่ ๒ ตำบลหนองไผ่ล้อม หมู่ที่ ๓ ตำบลหนองไผ่ล้อม หมู่ที่ ๔ ตำบลหนองไผ่ล้อม หมู่ที่ ๘ ตำบลหนองไผ่ล้อม หมู่ที่ ๙ ตำบลหนองไผ่ล้อม

ผู้รับผิดชอบ นายอิสเรศ นามไธสง นางสุนิษา วัดทุ่งใหญ่ นายธนพล ศรีจันทร์ นายวสันต์ พันธ์ไธสง นายโกศล เนื้อดี นางอรัญญา คำโอสีมา นางสาวสุดารัตน์ สันจรรัตน์ นายอัษฎางค์ สุขวัฒนกุล นายปุวรินทร์ ทัพธานี นางสาวอัมรา เชาว์นิติกร นายกรเพชร ดวงจำปา นายวินัย ชวนศิริ 64

ตารางที่ 7 แหล่งเรียนรู้และภาคีเครือข่าย ศูนย์การเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1.ศูนย์การเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพเกษตร 2.ศูนย์การเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพเกษตร 3.ศูนย์การเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพเกษตร 4.ศูนย์การเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพเกษตร 5.ศูนย์การเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพเกษตร 6.ศูนย์การเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพเกษตร 7.ศูนย์การเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพเกษตร 8.ศูนย์การเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพเกษตร 9.ศูนย์การเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพเกษตร 10.ศูนย์การเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพเกษตร 11.ศูนย์การเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพคอมพิวเตอร์ 12.ศูนย์การเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพเกษตร 13.ศูนย์การเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพไฟฟ้า 14.ศูนย์การเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพเกษตร 15.ศูนย์การเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพเกษตร รวมจำนวน

ที่ตั้ง หมู่ที่ ๖ ตำบลดอนดู่ หมู่ที่ ๒ ตำบลดอนดั่ง หมู่ที่ ๗ ตำบลคึมชาด หมู่ที่ ๖ ตำบลสำโรง หมู่ที่ ๒ ตำบลวังหิน หมู่ที่ ๔ ตำบลหนองเม็ก หมู่ที่ ๕ ตำบลหนองเม็ก หมู่ที่ ๗ ตำบลหันโจด หมู่ที่ ๓ ตำบลโนนธาตุ หมู่ที่ ๘ ตำบลหนองสองห้อง หมู่ที่ ๘ ตำบลหนองสองห้อง หมู่ที่ ๗ ตำบลตะกั่วป่า หมู่ที่ ๗ ตำบลตะกั่วป่า หมู่ที่ ๒ ตำบลดงเค็ง หมู่ที่ ๙ ตำบลหนองไผ่ล้อม

ผู้รับผิดชอบ นายอำนาจ คนรู้ นางสาวพัชราพร ทุมสิงห์ นายชูชาติ กระลาม นายชุมพล บุญภา นางสาวนวลฉวี นิทัศน์ นายพงษ์ศักดิ์ ธีระรัตนกุล นายพุทธรักษ์ มีศรี นางสาวอาภาพร ภูครองหิน นางสาวสุภาพร นารินทร์ นายวิชาสันต์ พลรักษา นางสาวลมัย ทองดี นายอนุพันธ์ จันทร์นอก นายเบญจ กิตติรัตนา นายจรูญ รัตนผูก นายมลไพร รังศรีคาร ๑๕


15 ตารางที่ 8 แหล่งเรียนรู้และภาคีเครือข่าย แหล่งเรียนรู้อื่น ๑.ห้องสมุดประชาชนอำเภอหนองสองห้อง

ที่ตั้ง /สถานที่ติดต่อ

ประเภทแหล่งเรียนรู้

สถานศึกษา หมู่ที่ ๑๖ ตำบลหนองสองห้อง

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

๒. ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง กศน.หนองสองห้อง กศน.ตำบลดอนดู่ หมู่ที่ ๖ ตำบลดอนดู่

แหล่งเรียนรู้ ประเภทกิจกรรม ทางสังคม

กศน.ตำบลดอนดู่ หมู่ที่ ๘ ตำบลดอนดู่

แหล่งเรียนรู้ ประเภทกิจกรรม ทางสังคม

๓. ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง กศน.หนองสองห้อง

๔. หมู่บ้านในโครงการตามพระราชดำริ

หมู่ที่ ๖,๙,๑๐ ตำบลดอนดู่

แหล่งเรียนรู้ ประเภทกิจกรรม ทางสังคม


16 แหล่งเรียนรู้อื่น ๕. สวนป่าโคกภูดิน

ที่ตั้ง /สถานที่ติดต่อ

ประเภทแหล่งเรียนรู้

หมู่ที่ ๑ ตำบลดอนดู่

แหล่งเรียนรู้ ประเภทกิจกรรม ทางสังคม

หมู่ที่ ๘ ตำบลดอนดู่

แหล่งเรียนรู้ ประเภทกิจกรรม ทางสังคม

๖. หมู่บ้านนวัตวิถี

๗. แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตำบลดอนดั่ง หมู่ที่ ๒ ตำบลดอนดั่ง

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

๘. กลุ่มผลิตภัณฑ์ OTOP ไข่เค็มไอโอดีน หมู่ที่ ๒ ตำบลดอนดั่ง

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

๙. กลุ่มผลิตภัณฑ์ OTOP ผ้าฝ้าย หมู่ที่ ๒ ตำบลดอนดั่ง

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น


17 แหล่งเรียนรู้อื่น ๑๐. กลุ่มผลิตภัณฑ์ OTOP

ที่ตั้ง /สถานที่ติดต่อ

ประเภทแหล่งเรียนรู้

เสื่อกก หมู่ที่ ๓ ตำบลดอนดั่ง

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

๑๑. สวนป่าวัดพรมประชานิมิต หมู่ที่ ๑ ตำบลดอนดั่ง

แหล่งเรียนรู้ ประเภท ทรัพยากรธรรมชาติ

หมู่ที่ ๘ ตำบลดอนดั่ง

แหล่งเรียนรู้ ประเภท ทรัพยากรธรรมชาติ

๑๒.สวนป่าหนองกุดตู้

๑๓. ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตำบลคึมชาด หมู่ที่ ๗ ตำบลคึมชาด

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๗ บ้านศรีสมบูรณ์ ตำบลคึมชาด

แหล่งเรียนรู้ ประเภทรายบุคคล

๑๔. ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง นายชัยพร หิรัญพร


18 แหล่งเรียนรู้อื่น ๑๕.รอยพระบาท

ที่ตั้ง /สถานที่ติดต่อ

ประเภทแหล่งเรียนรู้

หมู่ที่ ๗ บ้านศรีสมบูรณ์ ตำบลคึมชาด

แหล่งเรียนรู้ ทางวัฒนธรรม

หมู่ที่ ๕ บ้านศุภชัย ตำบลคึมชาด

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๒ บ้านหนองกุง ตำบลคึมชาด

แหล่งเรียนรู้ประเภท ทรัพยากรธรรมชาติ

หมู่ที่ ๖ บ้านสำโรงเหนือ ตำบลสำโรง

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๕ บ้านหินลาด ตำบลสำโรง

แหล่งเรียนรู้ ประเภท ทรัพยากรธรรมชาติ

๑๖. โครงการตามพระราชดำริ บ้านศุภชัย

๑๗. สวนป่าโคกสองคอน

๑๘. แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตำบลสำโรง

๑๙. สวนป่าโคกหินลาด


19 แหล่งเรียนรู้อื่น ๒๐.ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตำบลวังหิน

ที่ตั้ง /สถานที่ติดต่อ

ประเภทแหล่งเรียนรู้

หมู่ที่ ๒ บ้านวังทอง ตำบลวังหิน

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๒ บ้านวังทอง ตำบลวังหิน

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๒ บ้านวังทอง ตำบลวังหิน

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๓ บ้านหนองศาลา ตำบลวังหิน

แหล่งเรียนรู้ ประเภทกิจกรรม ทางสังคม

หมู่ที่ ๒ บ้านวังทอง ตำบลวังหิน

แหล่งเรียนรู้ ประเภทกิจกรรม ทางสังคม

๒๑. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง นายคำมา เทศชาลี

๒๒. กลุ่มผลิตภัณฑ์ ผักปลอดสารพิษ

๒๓. กลุ่ม SMART FARMER เกษตรสุแนว

๒๔. สวนป่าโนนบ้านฮ้าง


20 แหล่งเรียนรู้อื่น ๒๕. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตำบลหนองเม็ก

ที่ตั้ง /สถานที่ติดต่อ

ประเภทแหล่งเรียนรู้

หมู่ที่ ๔ บ้านวังคูณ ตำบลหนองเม็ก

แหล่งเรียนรู้ ประเภทมนุษย์สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๕ บ้านหนองบัวแดง ตำบลหนองเม็ก

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๔ บ้านวังคูณ ตำบลหนองเม็ก

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๕ บ้านหนองบัวแดง ตำบลหนองเม็ก

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๔ บ้านวังคูณ ตำบลหนองเม็ก

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

๒๖. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตำบลหนองเม็ก

๒๗. หมู่บ้านนวัตวิถี

๒๘. หมู่บ้านเกษตรอินทรีย์

2๙. จิตรกรรมฝาผนังวัดสระบัวแก้ว


21 แหล่งเรียนรู้อื่น ๓๐. กลุ่มทอผ้าไหม

ที่ตั้ง /สถานที่ติดต่อ

ประเภทแหล่งเรียนรู้

หมู่ที่ ๒ บ้านท่า ตำบลหนองเม็ก

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๔ บ้านวังคูณ ตำบลหนองเม็ก

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๕ บ้านหนองบัวแดง ตำบลหนองเม็ก

แหล่งเรียนรู้ ประเภทธรรมชาติ

หมู่ที่ ๗ บ้านแฝก ตำบลหันโจด

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๗ บ้านแฝก ตำบลหันโจด

แหล่งเรียนรู้ ประเภทธรรมชาติ

๓๑. กลุ่มทอผ้าไหม

๓๒. สวนป่าโคกคึมชาด

3๓.ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตำบลหันโจด

3๔. สวนป่าหนองไผ่


22 แหล่งเรียนรู้อื่น 3๕. ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตำบลโนนธาตุ

ที่ตั้ง /สถานที่ติดต่อ

ประเภทแหล่งเรียนรู้

หมู่ที่ ๓ บ้านสว่าง ตำบลโนนธาตุ

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๓ บ้านสว่าง ตำบลโนนธาตุ

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๙ บ้านโนนธาตุ ตำบลโนนธาตุ

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๑๐ บ้านชาด ตำบลโนนธาตุ

แหล่งเรียนรู้ ประเภทธรรมชาติ

หมู่ที่ ๘ บ้านเมย ตำบลหนองสองห้อง

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

3๖. กลุ่มเห็ดภูฐานดำ

3๗. พระธาตุโนนยายชี

3๘. สวนป่าโนนตะเหล่า

3๙. ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตำบลหนองสองห้อง


23 แหล่งเรียนรู้อื่น ๔๐. ปรางค์กู่บ้านเมย

ที่ตั้ง /สถานที่ติดต่อ

ประเภทแหล่งเรียนรู้

หมู่ที่ ๘ บ้านเมย ตำบลหนองสองห้อง

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๑ บ้านหนองสองห้อง ตำบลหนองสองห้อง

แหล่งเรียนรู้ ประเภทธรรมชาติ

หมู่ที่ ๑ บ้านหนองสองห้อง ตำบลหนองสองห้อง

แหล่งเรียนรู้ ประเภทธรรมชาติ

หมู่ที่ ๒ บ้านหนองบะยาว ตำบลดงเค็ง

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๕ บ้านโนนชาด ตำบลดงเค็ง

แหล่งเรียนรู้ ประเภทธรรมชาติ

๔๑. สวนป่าโคกน้ำจั้น

๔๒. หนองสองห้องคู่เมือง

4๓. ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตำบลดงเค็ง

4๔. สวนป่าโนนชาด


24 แหล่งเรียนรู้อื่น 4๕. สวนนกละเลิงเค็ง

ที่ตั้ง /สถานที่ติดต่อ

ประเภทแหล่งเรียนรู้

หมู่ที่ ๖ บ้านหัวละเลิง ตำบลดงเค็ง

แหล่งเรียนรู้ ประเภทธรรมชาติ

หมู่ที่ ๒ บ้านหนองบะยาว ตำบลดงเค็ง

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๖,๗,๘ ตำบลดงเค็ง

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๘ บ้านดงเค็ง ตำบลดงเค็ง

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๗ บ้านเล้า ตำบลตะกั่วป่า

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

4๖. สมุนไพรพ่อขาว เฉียบแหลม

4๗. หมู่บ้านนวัตวิถี

4๘. วัดป่าภูตคาม

4๙. ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตำบลตะกั่วป่า


25 แหล่งเรียนรู้อื่น ๕๐. ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง อบต.ตำบลตะกั่วป่า

ที่ตั้ง /สถานที่ติดต่อ

ประเภทแหล่งเรียนรู้

หมู่ที่ ๑๐ บ้านนาสวน ตำบลตะกั่วป่า

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๑ บ้านตะกั่วป่า ตำบลตะกั่วป่า

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๑๐ บ้านนาสวน ตำบลตะกั่วป่า

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๑ บ้านตะกั่วป่า ตำบลตะกั่วป่า

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๘ บ้านดอนตะแบง ตำบลตะกั่วป่า

แหล่งเรียนรู้ ประเภทธรรมชาติ

๕๑. ทุ่งข้าวมะลิ หนองเมืองแล้ง

๕๒. ศูนย์ผลิตเชื้อเห็ด คุณจงลักษณ์ ปุรา

5๓. ภูมิปัญญาสาโทหวาน

5๔. สวนป่าโคกพันกะดาน


26 แหล่งเรียนรู้อื่น 5๕. ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง อบต.ตำบลหนองไผ่ล้อม

ที่ตั้ง /สถานที่ติดต่อ

ประเภทแหล่งเรียนรู้

หมู่ที่ ๙ บ้านหนองไผ่พัฒนา ตำบลหนองไผ่ล้อม

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๑ บ้านหนองไผ่ล้อม ตำบลหนองไผ่ล้อม

แหล่งเรียนรู้ ประเภทสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น

หมู่ที่ ๑ บ้านหนองไผ่ล้อม ตำบลหนองไผ่ล้อม

แหล่งเรียนรู้ ประเภทธรรมชาติ

5๖. หนองใหญ่คู่เมือง

5๗.สวนป่าโคกโป่งแดง

รวมจำนวน

5๗


27 ตารางที่ 9 แหล่งเรียนรู้และภาคีเครือข่าย ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ความรู้ความสามารถ

ที่อยู่

1.คุณจันทร์ เทพวงศ์ ทอผ้าไหมภูฟ้า

หมู่ที่ ๑๐ บ้านห้วยตะกั่ว ตำบลดอนดู่ อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น 40190

ทอเสื่อกก

บ้านเลขที่ ๑๘๖ หมู่ที่ ๒ ตำบลดอนดู่ อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐

หมอสู่ขวัญ

หมู่ที่ ๒ ตำบลดอนดู่ อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐

ทอผ้าฝ้ายมัดหมี่

หมู่ที่ ๒ ตำบลดอนดั่ง อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐

ทอเสื่อกก

หมู่ที่ 6 ตำบลดอนดั่ง อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐ โทร 080-0125810

๒. คุณอุไรวรรณ ดาเยอ

๓. คุณอาทิตย์ พิลาไธสง

๔. คุณเบ้า ศรีสิริวรรณกุล

๕. นางไพรวัลย์ พฤษการณ์


28 ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ความรู้ความสามารถ

ที่อยู่

๖. นายเคน ระเวรี หมอสู่ขวัญ

๗. นางอำนวย ปุ่มสีดา ไข่เค็มไอโอดีน ๘. นางโสภา ชัยศิริ

หมู่ที่ 3 ตำบลดอนดั่ง อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐ โทร 081-5548861 บ้านเลขที่ 61 หมู่ที่ ๒ ตำบลดอนดั่ง อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐ โทร 090-9064467 บ้านเลขที่ 50 หมู่ที่ ๕ ตำบลคึมชาด

ทอผ้าไหมมัดหมี่

อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐ โทร 084-7916088

๙. นายบุญศรี ปะนะสุนา การจักสานไม้ไผ่

บ้านเลขที่ 143 หมู่ที่ 4 ตำบลคึมชาด อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐ โทร 087-8613528

เศรษฐกิจพอเพียง

ตำบลสำโรง อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐

๙. นางละเอียด สิมศิริวัฒน์

๑๐. นางมาลินี ทบศิลป์ ปลาร้า / สาโท

บ้านเลขที่ ๑ หมู่ที่ ๑ ต.ตะกั่วป่า อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐ โทร ๐๘๑-๙๘๗๒๕๙๑


29 ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ความรู้ความสามารถ

ที่อยู่

ปราชญ์หมอดิน / เศรษฐกิจพอเพียง

หมู่ที่ ๒ ตำบลวังหิน อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐

หมอสู่ขวัญ

หมู่ที่ ๒ ตำบลวังหิน อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐

จักสานไม้ไผ่

หมู่ที่ ๑ ตำบลวังหิน อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐

เศรษฐกิจพอเพียง / นวัตกรรม

หมู่ที่ ๒ ตำบลวังหิน อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐

๑๑. นายคำมา เทศชาลี

๑๒.นายเอี่ยม หวานแท้

๑๒.นายลา เพาะถะ

๑๓.นางสาวสุพนานต์ สุพรรณ

๑๔.นางสุพิน เตชะนอก ทอผ้าไหมมัดหมี่

๑๕.นางสุนิตย์ ทายัง ทอผ้าไหมมัดหมี่

บ้านเลขที่ ๑๕๕ หมู่ที่ ๔ ตำบลหนองเม็ก อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐ โทร ๐๙๘-๕๐๒๕๙๒๓ บ้านเลขที่ ๔๖ หมู่ที่ ๒ ตำบลหนองเม็ก อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐ โทร ๐๘๖-๐๙๓๖๕๙๒


30 ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ความรู้ความสามารถ

๑๖.นายโฮม ทะนาจาน

ที่อยู่

จักสานไม้ไผ่

บ้านเลขที่ ๑๘๒ หมู่ที่ ๔ ตำบลหนองเม็ก อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐ โทร ๐๘๘-๕๓๖๒๓๘๔

หมอสู่ขวัญ

บ้านเลขที่ ๔๕ หมู่ที่ ๑๑ ตำบลหันโจด อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐

ทอผ้าไหมมัดหมี่

บ้านเลขที่ ๑๗ หมู่ที่ ๑๐ ตำบลหันโจด อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐

หมอน้ำมนต์

บ้านเลขที่ ๒๓ หมู่ที่ ๓ ตำบลโนนธาตุ อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐ โทร ๐๘๓-๓๔๓๖๕๐๓

จักสานไม้ไผ่

บ้านเลขที่ ๖๙ หมู่ที่ ๓ ตำบลโนนธาตุ อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐

๑7.นายจวง สันทา

๑8.นางกรรณิกา ชันพิมาย

19.นายสังวาลย์ พลสงคราม

๒0.นายบุญถม ประตังเวสา


31 ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ความรู้ความสามารถ

๒1.นายไสว ทองดี

ที่อยู่

หมอสู่ขวัญ

บ้านเลขที่ ๑๖๘ หมู่ที่ ๘ ตำบลหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐ โทร ๐๘๓-๓๔๓๖๕๐๓

ผ้าไหมมัดหมี่

บ้านเลขที่ 30 หมู่ที่ 12 ตำบลหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐ โทร ๐๘๓-๓๔๓๖๕๐๓

จักสานไม้ไผ่

บ้านเลขที่ 30 หมู่ที่ 12 ตำบลหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐ โทร ๐๘๓-๓๔๓๖๕๐๓

ไม้กวาด

บ้านเลขที่ 142 หมู่ที่ 11 ตำบลหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐ โทร ๐๘๓-๓๔๓๖๕๐๓

หมอยาสมุนไพร

หมู่ที่ ๓ ตำบลดงเค็ง อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐

ศูนย์เรียนรู้จุลินทรีย์อะตอมมิกต์

หมู่ที่ ๘ ตำบลดงเค็ง อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐

๒2. นางคำปุ่น อาชนะชัย

23. นายสุเทพ เจริญ

24. นางสุปัญนา ประทุมสาย

๒5.นายขาว เฉียบแหลม

๒6.นายทองดำ คำเหนือ


32 ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ความรู้ความสามารถ

ที่อยู่

๒7.นายวิทยา มาตะวัน ฟาร์มหนูนา

หมู่ที่ ๒ ตำบลดงเค็ง อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐

ฟาร์มเห็ด / ผลิตเชื้อเห็ด

หมู่ที่ ๑๐ ตำบลตะกั่วป่า อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐

สมุนไพรพื้นบ้าน / เกษตรผสมผสาน

บ้านเลขที่ ๗๖ หมู่ที่ ๙ ตำบลหนองไผ่ล้อม อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๙๐ โทร ๐๙๓-๕๒๓๕๗๓๗

๒8.จงลักษณ์ ปุรา

๒9.นายสุเทพ แทนไธสง

รวมจำนวน

29


33 ตารางที่ 10 แหล่งเรียนรู้และภาคีเครือข่าย ภาคีเครือข่าย ๑. ที่ว่าการอำเภอหนองสองห้อง ๒. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอหนองสองห้อง ๓. สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอหนองสองห้อง ๔. สถานีตำรวจภูธรหนองสองห้อง ๕. สำนักงานเกษตรอำเภอหนองสองห้อง ๖. ปศุสัตว์อำเภอหนองสองห้อง ๗. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสำโรง, ตำบลหนองเม็ก, ตำบลวังหิน, ตำบลดอนดั่ง, ตำบลดอนดู่, ตำบลคึมชาด, ตำบลหนองสองห้อง, ตำบลหันโจด, ตำบลโนนธาตุ, บ้านโนนแต้, ตำบลดงเค็ง, ตำบลหนองไผ่ล้อม และตำบล ตะกั่วป่า ๘. องค์การบริหารส่วนตำบลสำโรง, ตำบลหนองเม็ก, ตำบลวังหิน, ตำบลดอนดั่ง, ตำบลดอนดู่, ตำบลคึมชาด, ตำบลหนองสองห้อง, ตำบลหันโจด, ตำบลโนนธาตุ, ตำบลดงเค็ง, ตำบลหนองไผ่ล้อม และ ตำบลตะกั่วป่า ๙. โรงพยาบาลหนองสองห้อง ๑๐. เทศบาลตำบลหนองสองห้อง 11. โรงเรียนบ้านสำโรง 12. โรงเรียนชุมชนหนองเม็ก 13. โรงเรียนชุมชนวังหิน 14. โรงเรียนบ้านกระหนวนดอนดั่ง 15. โรงเรียนหนองสองห้องวิทยา 16. โรงเรียนบ้านแฝก 17. โรงเรียนบ้านชาดหนองเหล็ก 18. โรงเรียนไตรคามวิทยา 19. โรงเรียนบ้านสวองหนองไผ่ล้อม 20. โรงเรียนหนองตะครองหนองโกรก 21. โรงเรียนบ้านสำโรง 22. โรงเรียนอมตวิทยา 23. โรงเรียนเทคโนโลยีอมตะ 24. วิทยาลัยการจัดการเทคโนโลยีหนองสองห้อง 25. โรงเรียนบ้านหนองไทร ตำบลหนองเม็ก (โรงเรียนผู้สูงอายุ)

ที่อยู่ / ที่ตั้ง อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง ประจำตำบล

ประจำตำบล อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง อำเภอหนองสองห้อง


34 รางวัล เกียรติบัตร เกียรติยศ และผลงานดีเด่นของสถานศึกษา ด้านสถานศึกษา ๑. ได้รับการยกย่องให้เป็นตัวอย่างที่ดี ภายใต้โครงการเมืองไทยเมืองคนดีของกรมศาสนา กระทรวง วัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๕๓ ๒. ได้รับรางวัล ชมเชย การประกวดการแสดงทางวิทยาศาสตร์ ( Science Show ) นักศึกษา กศน. ระดับมัธยมศึกษา ระดับภูมิภาค ครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๓. เข้าร่วมจัดนิทรรศการแสดงผลิตภัณฑ์ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ในงานเทศกาลไหมนานาชาติ ประเพณี ผูกเสี่ยว และงานกาชาดจังหวัดขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๕๗ ๔. เข้าร่วมเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกตั้ง โครงการส่งเสริมประชาธิปไตย ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น พ.ศ ๒๕๕๔ ๕.ได้รับการรับรองมาตรฐานสถานศึกษาพอเพียง พ.ศ.๒๕๕๘ ๖.เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างความรู้ประชาธิปไตย การเลือกตั้ง และการออกเสียงประชามติ ประจำปี ๒๕๖๑ จากสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดขอนแก่น ๗.ได้รับรางวัลโครงการสถานศึกษาสีขาว จังหวัดขอนแก่นไม่ยุ่งเกี่ยวยาเสพติด จากจังหวัดขอนแก่น ประจำปี ๒๕๕๖ ๘.ได้รับรางวัล ชมเชย การประกวดการแสดงทางวิทยาศาสตร์ (Science Show) นักศึกษา กศน. ระดับมัธยมศึกษา ระดับภูมิภาค ครั้งที่ ๗ พ.ศ. ๒๕๕๙ ๙.ได้รับรางวัล ชนะเลิศ การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนักศึกษา กศน. หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาขอนแก่น กิจกรรม ดีเด่นของสถานศึกษา ๑. โครงการแหล่งเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. โครงการบ้านหนังสือชุมชน ๓. โครงการยกระดับการศึกษาประชากรวัยแรงงาน ๔. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ๕. โครงการพัฒนา กศน.ตำบลเป็นแหล่งเรียนรู้ ๖. โครงการกิจกรรม ๕ ส. ๗. โครงการหลักสูตรระยะสั้น ๘. โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง Smart Farmer ๙. โครงการประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย ๑๐. โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ๖๗ พรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๒ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ๑๑. โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ๔๑ พรรษา ๓ มิถุนายน ๒๕๖๒ สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชราสุธาพิมลลักษณ์ พระบรมราชินี


35 ๒๖. ผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอกที่ผ่านมา ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ๑. ผลการประเมินคุณภาพภายใน ๑) ผลการประเมินคุณภาพภายใน โดยภาพรวมของสถานศึกษา ตารางที่ ๑๑ แสดงผลการประเมินตนเอง มาตรฐาน

ค่าน้ำหนัก

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ มาตรฐานที่ ๓ การบริหารการศึกษา มาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา มาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๖ มาตรการส่งเสริม รวมคะแนนโดยภาพรวมของสถานศึกษา

๓๕ ๒๕ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐๐

ผลการประเมินตนเอง คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ ๓๐.๒๒ ดี ๒๓.๓๔ ดีมาก ๙.๑๑ ดีมาก ๙.๓๒ ดีมาก ๙.๔๕ ดีมาก ๙.๖๑ ดีมาก ๙๑.๐๕ ดีมาก

(๒) การประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด ปี ๒๕๖๐ วันที่ ๒๘ - ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ตารางที่ ๑๒ แสดงการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด ปี ๒๕๖๐ มาตรฐาน มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ มาตรฐานที่

รายละเอียดมาตรฐาน

๑ คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ๓ การบริหารการศึกษา ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา ๖ มาตรการส่งเสริม สรุปผลการประเมินภาพรวมเฉลี่ย

ผลการประเมินโดยต้นสังกัด ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ ๓๐.๒๓ ดี ๒๓.๓๘ ดีมาก ๙.๑๓ ดีมาก ๙.๓๓ ดีมาก ๙.๔๘ ดีมาก ๙.๖๓ ดีมาก ๙๐.๑๘ ๙๑.๑๘


36 ๒. ผลการประเมินคุณภาพภายในรายมาตรฐาน ตารางที่ ๑๓ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา และผลการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด

มาตรฐาน มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน/ ผู้รับบริการ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ผู้เรียนมีสุขภาพกายและ สุขภาพจิตที่ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๓ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔ ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๖ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๗ ผู้เรียนมีงานทำหรือมี รายได้เสริม มีทักษะในการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติ ที่ดีต่ออาชีพสุจริต ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๘ ความพึงพอใจต่อการ ให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัย ผลรวมคะแนนมาตรฐาน คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัด การศึกษา/การให้บริการ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ คุณภาพของหลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ คุณภาพของครู ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ คุณภาพการจัดการเรียนการ สอนของครู และผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๔ คุณภาพผู้สอน/วิทยากร การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๕ คุณภาพสื่อที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ของผู้เรียนและผู้รับบริการ

น้ำหนัก (คะแนน)

ผลการประเมิน ผลการประเมิน ตนเองของ คุณภาพสถานศึกษา สถานศึกษา โดยต้นสังกัด คะแนน ระดับ คะแนน ระดับ ที่ได้ คุณภาพ ที่ได้ คุณภาพ

๓๕ ๓

๒.๘๒

ดีมาก

๒.๗๐

ดีมาก

๒.๗๖

ดีมาก

๒.๙๑

ดีมาก

๒.๘๗

ดีมาก

๒.๕๑

ดี

๒.๘๓

ดีมาก

๒.๖๓

๑๐

๖.๗๐

พอใช้

๔.๒๓

ดี ต้อง ปรับปรุง เร่งด่วน

๔.๘๑

ดีมาก

๔.๘๑

ดีมาก

๔.๖๘

ดีมาก

๔.๖๙

ดีมาก

๒.๘๐

ดีมาก

๒.๘๗

ดีมาก

๓๕

๓๐.๒๗

ดี

๒๗.๓๕

ดี

๔ ๔

๓.๖๔ ๓.๙๑

ดีมาก ดีมาก

๓.๙๐ ๔.๐๐

ดีมาก ดีมาก

๓.๙๔

ดีมาก

๔.๐๐

ดีมาก

๒.๙๔

ดีมาก

๓.๐๐

ดีมาก

๒.๘๙

ดีมาก

๓.๐๐

ดีมาก

๒๕


37

มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๖ คุณภาพการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๗ การสร้างสังคมแห่ง การเรียนรู้ ผลรวมคะแนนมาตรฐานคุณภาพ การจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๓ การบริหารการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ คุณภาพของการบริหาร สถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๒ ระบบฐานข้อมูลเพื่อการ บริหารจัดการ ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๓ ผลการบริหารความเสี่ยง ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๔ ผลการปฏิบัติหน้าที่ของ ผู้บริหารสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๕ ผลการปฏิบัติตามบทบาท ของคณะกรรมการสถานศึกษา ผลรวมคะแนนมาตรฐาน การบริหารการศึกษา มาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๑ การประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๒ การประเมินคุณภาพ สถานศึกษาโดยต้นสังกัด ผลรวมคะแนนมาตรฐาน การประกันคุณภาพ มาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๑ ผลการพัฒนาให้บรรลุ เป้าหมายตามปรัชญา พันธกิจ และ วัตถุประสงค์การจัดตั้งสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๒ ผลการพัฒนาตามจุดเน้น และจุดเด่นที่สะท้อนเอกลักษณ์ของ สถานศึกษา ผลรวมคะแนนมาตรฐาน อัตลักษณ์สถานศึกษา

น้ำหนัก (คะแนน)

ผลการประเมิน ผลการประเมิน ตนเองของ คุณภาพสถานศึกษา สถานศึกษา โดยต้นสังกัด คะแนน ระดับ คะแนน ระดับ ที่ได้ คุณภาพ ที่ได้ คุณภาพ

๓.๘๘

ดีมาก

๔.๐๐

ดีมาก

๒.๘๙

ดีมาก

๓.๐๐

ดีมาก

๒๕

๒๔.๐๙

ดีมาก

๒๔.๙๐

ดีมาก

๑.๙๗

ดีมาก

๒.๐๐

ดีมาก

๑.๙๖

ดีมาก

๒.๐๐

ดีมาก

๑.๙๘

ดี

๒.๐๐

ดีมาก

๑.๙๖

ดีมาก

๒.๐๐

ดีมาก

๑.๙๘

ดีมาก

๒.๐๐

ดีมาก

๑๐

๙.๘๕

ดีมาก

๑๐.๐๐

ดีมาก

๔.๙๕

ดีมาก

๔.๐๐

ดี

๔.๙๘

ดีมาก

๔.๖๓

ดีมาก

๑๐

๙.๙๓

ดีมาก

๘.๖๓

ดี

๔.๘๙

ดีมาก

๕.๐๐

ดีมาก

๔.๙๔

ดีมาก

๕.๐๐

ดีมาก

๑๐

๙.๘๓

ดีมาก

๑๐.๐๐

ดีมาก

๑๐

๑๐

๑๐


38

มาตรฐาน มาตรฐานที่ ๖ มาตรฐานการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษา เพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐานและ พัฒนาสู่ความยั่งยืน เพื่อให้สอดคล้องกับ นโยบายทางศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๒ ผลที่เกิดจากการส่งเสริม การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยในชุมชน ผลรวมคะแนนมาตรฐานส่งเสริม ผลรวมคะแนนทุกมาตรฐาน

น้ำหนัก (คะแนน)

ผลการประเมิน ผลการประเมิน ตนเองของ คุณภาพสถานศึกษา สถานศึกษา โดยต้นสังกัด คะแนน ระดับ คะแนน ระดับ ที่ได้ คุณภาพ ที่ได้ คุณภาพ

๑๐ ๕

๔.๙๕

ดีมาก

๕.๐๐

ดีมาก

๔.๙๓

ดีมาก

๕.๐๐

ดีมาก

๑๐ ๑๐๐

๙.๘๘ ๙๓.๘๕

ดีมาก ดีมาก

๑๐.๐๐ ๙๐.๘๘

ดีมาก ดีมาก

ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาสถานศึกษา ๑) สถานศึกษาควรแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ทำการวิเคราะห์หลักสูตร จุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ เนื้อหาสาระรายวิชา โดยการมีส่วนร่วมจากผู้บริหาร ครู ผู้เรียน ผู้รับบริการ ผู้นำท้องถิ่นและภูมิ ปัญญาท้องถิ่นและนำผลไปออกแบบจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้มีความหลากหลาย สอดคล้องกับสภาพ บริบทและความต้องการของผู้เรียน ผู้รับบริการ นอกจากนี้ ควรมีการนำผลการประเมินมาปรับปรุงหลักสูตร การประกันคุณภาพทุกหลักสูตร โดยพิจารณาความสอดคล้องของจุดหมายของหลักสูตร กิจกรรม สื่อ การวัด ประเมินผลและคุณภาพของครูผู้สอน ให้ผู้เรียน ผู้รับบริการมีคุณลักษณะตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรซึ่ง เป็นไปตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ หรือหลักสูตรขั้นพื้นฐานที่ กระทรวงกำหนด ๒) สถานศึกษาควรจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ เหมาะสมกับเพศ อายุ และระดับการศึกษาของผู้เรียน โดยใช้สื่อเทคโนโลยี อาทิ คอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน และ สื่อออนไลน์ เป็นต้น เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้เรียน ผู้รับบริการ ควรพัฒนากระบวนการวัดและประเมินผล ของผู้เรียน ผู้รับบริการ โดยใช้แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบทดสอบ และการใช้แบบสังเกตุผู้เรียน เป็นต้น เพื่อนำข้อมูลมาพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ผู้รับบริการให้สูงขึ้นและสามารถเรียนจบตามหลักสูตรทีก่ ำหนดไว้ ๓) สถานศึกษาควรพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในให้เป็นระบบ โดยการมีส่ว นร่ว มของ บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และมีการประเมินผลการดำเนินการตามแผนงาน โครงการ กิจกรรมและนำผลการ ประเมินไปใช้ในการวางแผนการปฏิบัติงานต่อไป เพื่อให้การดำเนินงานได้มาตรฐาน สร้างความมั่นใจให้กับ ผู้เรียนผู้รับบริการ ๔) สถานศึกษาควรส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาครู ให้มีโอกาสศึกษาแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดการ เรียนการสอนกับ วิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญหรือปราชญ์ชาวบ้าน โดยการศึกษาจากวิทยากร/ผู้รู้ เอกสาร ศึกษาดูงานจากสถานศึกษาทั้งในและนอกระบบที่จัดกิจกรรมการเรีย นมุ่งการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ซึ่งจะทำให้ครู ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์กับ วิทยากร/ผู้รู้ นอกจากนี้สถานศึกษาควรสร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของบุคลากรในแต่ละตำแหน่งเพื่อให้เกิดการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ


39 ๕) ผู้บริหาร ครูผู้สอน ควรศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ โดยร่วมกันวิเคราะห์ หลักสูตร จุดหมาย เนื้อหาสาระของแต่ละวิชา แล้วนำผลการศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรมาออกแบบการจัด กระบวนการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ความหลากหลายในรูปแบบการจัดกิจกรรม เพื่อให้มีความ สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของผู้เรียน ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริงและมี คุณภาพตามศักยภาพของผู้เรียน ผู้รับบริการ ๖) สถานศึกษาสามารถศึกษาแนวทางประกันคุณภาพภายในจากสถานศึกษาอื่น ๆ โดยเฉพาะโรงเรียน ที่จ ัด การศึกษาขั้น พื้น ฐานหรื อแนวการประกันคุ ณภาพภายในของโรงเรียนที่กระทรวงศึ กษากำหนดไว้ ๘ ขั้นตอน โดยสถานศึกษาสามารถพิจารณาและนำมาประยุกต์ใช้กับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอหนองสองห้องได้ อย่างเหมาะสมและให้ระบบประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของการ บริหารจัดการอย่างยั่งยืนต่อไป ผลการประเมินภายนอก  สถานศึกษายังไม่เคยได้รับการประเมินจากภายนอก  สถานศึกษาได้รับการประเมินจากภายนอก ระหว่างวันที่ ๑๐ - ๑๒ มกราคม ๒๕๕๘ โดยสถานศึกษาได้รับคะแนนผลการประเมินภายนอก รวม ๘๘.๙๔ คะแนน อยู่ในระดับคุณภาพ ดี  สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา  ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา ตารางที่ ๑๔ สรุปผลการประเมินตามกลุ่มตัวบ่งชี้ของ สมศ. กลุ่มประเภทตัวบ่งชี้ สมศ. ผลรวมคะแนนตัวบ่งชี้พื้นฐาน ผลรวมคะแนนตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ผลรวมคะแนนตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ภาพรวม

ตัวบ่งชี้ที่ ๑-๘ ๙ - ๑๐ ๑๑ - ๑๒ -

คะแนนเต็ม ๘๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐

คะแนนที่ได้ ๖๘.๙๔ ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๘๘.๙๔

ตารางที่ ๑๕ สรุปผลการประเมินตามมาตรฐานของกฎกระทรวง มาตรฐานของกฎกระทรวง ผลการจัดการศึกษา การบริหารจัดการศึกษา การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การประกันคุณภาพภายใน ภาพรวม

ตัวบ่งชี้ที่ ๑ - ๕ และ ๙ - ๑๑ ๗ และ ๑๒ ๖ ๘ -

คะแนนเฉลี่ย ๔.๖๓ ๔.๙๐ ๔.๐๐ ๔.๗๐ ๔.๕๕

ระดับคุณภาพ ดีมาก ดีมาก ดี ดีมาก ดีมาก

ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาสถานศึกษา ด้านผลการจัดการศึกษา ๑. ควรมีการกำหนดนโยบายหรือมาตรการด้านสุนทรีย ภาพให้มีระบบและมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อยคนละ ๑ กิจกรรมทุกคน และมีการมอบใบประกาศเกียรติ คุณในด้านกิจกรรมที่ผู้เรียนได้แสดงความสามารถพิเศษ เพื่อนำผลไปใช้ในการศึกษาต่อหรือการทำงานในระดับ ที่สูงขึ้นต่อไป


40 ๒. สถานศึกษาควรพัฒ นาเครื่ องมือ ที่ใช้ใ นการประเมินคุณลั กษณะอัน พึงประสงค์ข องผู้เ รี ย น ทั้งในด้านความเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวสถานศึกษาและสังคมให้ผลการประเมิน มีความน่าเชื่อถือมากขึ้น เช่น การกำหนดผู้ที่ทำหน้าที่ ในการประเมินในแต่ละคุณลักษณะรวมทั้งการพัฒนาเกณฑ์ในการประเมิน เพื่อสามารถนำผลมาพัฒนากิจกรรมให้ผู้เรียนบรรลุตามคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลาง ตามที่กระทรวงกำหนด ๓. สถานศึกษาควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนที่ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมกับสถานศึกษาได้เนื่องจากภาระ ด้ า นการประกอบอาชี พ ได้ ท ำกิ จ กรรมช่ ว ยเหลื อ สั ง คมหรื อ ชุ ม ชนที ่ ต นเองอาศั ย อยู ่ อ ย่ า งหลากหลาย ตามโอกาส อาทิ กิ จ กรรมจิ ต อาสาต่ า ง ๆ ภายในชุ ม ชน โดยมี ก ารรั บ รองกิ จ กรรมจากหั ว หน้ า ชุ ม ชน เพื่อเสริมสร้างความมีจิตสำนึกรักถิ่นฐานบ้านเกิด รวมทั้งได้รับการยอมรับจากชุมชนมากยิ่งขึ้น ๔. สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในเชิงรุกให้มีความหลากหลายและชัดเจน มากยิ่งขึ้นสร้างวัฒนธรรมแห่งการอ่านให้เกิดกับผู้เรียน เช่น กิจกรรมบันทึกรักการอ่าน การสรุปหรือรวบรวม ประเด็นที่ได้ และนำไปใช้ป ระโยชน์จากการอ่านโดยมีการบันทึกเป็นรายบุคคล ควรจัดระบบการสื บ ค้น ทรัพยากรสารสนเทศภายในห้องสมุดให้มีประสิทธิภาพ สามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้อย่างรวดเร็วและง่าย โดยยึดหลัก “หยิบก็ง่าย หายก็รู้ ดูก็งามตา” กำหนดรหัสและแถบสีตามหมวดหมู่ รวมทั้งการจัดทำทะเบียนและ รายการหนังสือตามหลักการจัดหมวดหมู่ดิวอี้ มีการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศให้ตรงกับความต้องการของ ผู้ใช้บริการ โดยการสำรวจความต้องการของผู้ใช้บริการก่อนดำเนินการจัดซื้อ ๕. สถานศึกษาควรพัฒ นาเครื่องมือแบบประเมินสมรรถนะของผู้เรีย นตามหลักสู ตรแกนกลาง ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อครอบคลุมประเด็นสำคัญและพัฒ นาเกณฑ์ในการประเมินให้มี ความ น่าเชื่อถือและมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาและส่งเสริมผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะที่ สะท้ อ นถึ ง ความสำเร็ จ ในการจั ด การศึ ก ษาตามหลั ก สู ต รแกนกลางขั ้ น พื ้ น ฐานพุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๑ โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีขีดความสามรถในการ แข่งขันในเวทีระดับโลกต่อไป ๖. สถานศึกษาควรให้ความสำคัญกับการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาควรศึกษาข้อมูลทุกกลุ่มสาระและวางแผนพัฒนาคุณภาพผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นอย่าง เร่งด่วนโดยเน้นให้ครูและผู้เรียนร่วมกันศึกษาวิเคราะห์แนวข้อสอบ N-NET และจัดอบรมโครงการติวเข้ม N-NET ก่อนการสอบ ๗. สถานศึกษาควรพัฒนาผู้เรียนเกี่ยวกับการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ทักษะการเรียนรู้ สาระทาง พัฒนาทางสังคมและสาระการประอาชีพ ทักษะการดำเนินชีวิตและสาระความรู้พื้นฐาน โดยศึกษาสาเหตุที่ทำ ให้ผู้เรียนมีปัญหาทางการเรียนให้ทุกคนร่วมกันวิเคราะห์ และร่วมกันหาวิธีแก้ไขปั ญหาอย่างต่อเนื่องทุกปี การศึกษา ๘. สถานศึกษามีการจัดทำแผนปฏิบัติการที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจและการดำเนินโครงการ/ กิจกรรม ที่ส่งเสริมอัตลักษณ์ของผู้เรียนจนเป็นที่ยอมรับของชุมชน ท้องถิ่น ขอให้ดำเนินการต่อไปอย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน ๙. สถานศึกษาควรดำเนินงานโครงการให้ต่อเนื่องและสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนจนกลายเป็นวิถี ชีวิตประชาธิปไตยที่สามารถเป็นแบบอย่างที่ดี ด้านบริหารจัดการศึกษา ๑. สถานศึกษาควรจัดทำวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการรักษาและจัดทำวิจัยเพื่อพัฒนานโยบายและแผน รวมทั้งควรมีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาทุกปี ๒. สถานศึกษาควรประสานความร่วมมือกับองค์กรต่าง ๆ และภาคีเครือข่ายในการดำเนินกิจกรรม ต่าง ๆ และมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานเกี่ยวกับองค์กรให้ผู้อื่นได้รับทราบผลการปฏิบัติงาน


41 ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๑. ผู้เรียน ทำการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ แบบประเมิน แบบทดสอบของครู มาวิเคราะห์ ออกแบบแผนการเรียนรู้ ๒. ครูควรส่งเสริมให้ผู้เรียนประเมินตนเอง โดยวัดความก้าวหน้าในการเรียนผลงาน / ชิ้นงานที่ผู้เรียน ประดิษฐ์ขึ้นและนำผลประเมินไปพัฒนาปรับปรุง ๓. ครูควรทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียนทุกปีการศึกษา ด้านการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาควรสร้างความตระหนัก มีการให้ความรู้และทักษะด้านการประกันคุณภาพภายใน แก่บุคลากรในสถานศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติอย่างถูกต้อง นวัตกรรมและสิ่งดีเด่น รวมทั้งการปฏิบัติที่เป็นเลิศของสถานศึกษา แหล่งเรียนรู้ กศน.ตำบล ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “กลุ่มเพาะเห็ด” บ้านสว่าง ตำบลโนนธาตุ อำเภอหนองสองห้อง จังหวัด ขอนแก่น ที่มีชื่อเสียงด้านเป็นแหล่งเรียนรู้ ด้านฝึกทักษะอาชีพเพาะเชื้อเห็ดและแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ด ให้กับประชาชนผู้สนใจตลอดจนนักเรียน นักศึกษา เป็นสถานที่ศึกษาดูงาน มีส่วนราชการภาคีเครื อข่าย ได้แก่ สำนักงานเกษตร สำนักงานพัฒนาชุมชน สาธารณสุขอำเภอ ที่ได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการและ ต่อยอดจนได้รับการจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน สถานศึกษาได้ประกาศให้เป็นแหล่งเรียนรู้ มีการถอดองค์ ความรู้จากภูมิปัญญาที่เป็นเจ้าของกิจการ โดยจัดทำเป็นหลัก สูตรท้องถิ่น เป็นแหล่งผลิตและเป็นทั้งสถานที่ จำหน่าย และเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนทั้งในพื้นที่และเขตอำเภอใกล้เคียง ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “แปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้าย” บ้านกระหนวน ตำบลดอนดั่ง อำเภอหนองสอง ห้อง จังหวัดขอนแก่น ที่มีชื่อเสียงด้านแหล่งฝึกอาชีพการแปรรู ปผลิตภัณฑ์ผ้า ฝ้ายให้กับประชาชนที่สนใจ ตลอดจนนั ก เรี ย น / นั ก ศึ ก ษา เป็ น สถานที ่ ศ ึ ก ษาดู งานมีส ่ ว นราชการภาคี เครื อ ข่ ายที ่ใ ห้ก ารสนับสนุน ได้แก่ พัฒนาชุมชนอำเภอหนองสองห้อง อบต.ดอนดั่ง ให้ความร่วมมือส่งเสริมและได้ขึ้นทะเบียนเป็น OTOP ของอำเภอหนองสองห้อง ทิศทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต ๑. นักศึกษาส่วนใหญ่มีคุณภาพตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก มีคุณธรรม จริยธรรมและ ค่านิยมที่พึงประสงค์โดยเฉพาะการมีจิตสารธารณะ มีความสามารถในการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองจากการศึกษา ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ห้องสมุด และจากสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย สถานศึกษาจัดกิจกรรม เสริมในด้านการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นภาษากลางที่ คนส่วนใหญ่ในโลกใช้สื่อสารกัน ให้นักศึกษา สามารถสื่อสารกั บชาวต่างชาติได้ จะเป็นการเสริมสร้างศักยภาพของคนไทยให้มีความสามารถแข่งขันกับ ต่างประเทศได้ ๒. สถานศึกษา จัดหาครูที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ตรงตามสาขาวิชาที่ทำการเปิดสอนให้ครบถ้วนทุก สาขาวิชา และมีความมุ่งมั่นตั้งใจในการปฏิบัติงาน มีความรักในวิชาชีพ มีความสามารถปรับตัวให้เข้ากับบริบท สังคม หากสถานศึกษาได้ส่งเสริมครูให้เป็นครูมืออาชีพ มีความชำนาญในการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ มีการวัดผลประเมินผลที่ตรงตามสภาพจริงจะช่วยให้ผลการประเมินมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น ๓. ผู้บริหารมีความรู้ ความสามารถในการบริหารงาน ทุ่มเทอุทิศเวลาให้กับการทำงาน มีการบริหารจัดการ งานร่วมกับภาคีเครือข่าย หน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ๔) สถานศึกษาควรมีการสนับ สนุนส่งเสริมให้มีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่กิจกรรมและผลงาน ดำเนินงานผ่านสื่อหลากหลายรูปแบบ เพื่อให้กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เข้าถึง ชุมชนและกลุ่มเป้าหมายได้อย่างทั่วถึง


42

บทที่ ๒ ทิศทางและผลการดำเนินงานของสถานศึกษา สถานศึกษาได้กำหนดทิศทางการดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการ ประจำปี โดยมีรายละเอียดดังนี้ ทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา ปรัชญา “ จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” วิสัยทัศน์ “ใช้ชุมชนเป็นฐาน ประสานสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มุ่งสู่การยกระดับการศึกษา พึ่งตนเองและมีความสุข” พันธกิจ ๑. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพื่อยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัย และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง บริบททางสังคม และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ๒. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่าย ในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยและการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งการดำเนินกิจกรรมของศูนย์การเรียนและแหล่งการ เรียนรู้อื่น ในรูปแบบต่าง ๆ ๓. ส่งเสริมและพัฒนาการนำเทคโนโลยีการศึกษาและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพใน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนอย่างทั่วถึง ๔. พัฒนาหลักสูตรรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรมการวัดและประเมินผลในทุก รูปแบบให้สอดคล้องกับบริบทในปัจจุบัน ๕. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพเพื่อมุ่งจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่ มีคุณภาพโดยยึดหลักธรรมาภิบาล เป้าประสงค์ และตัวชี้วัดความสำเร็จ เป้าประสงค์ ๑. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาสทาง การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มีคุณภาพ อย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความต้องการของแต่ละกลุ่มเป้าหมาย ๒. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริม และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมือง อันนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความ

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ๑. จำนวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานที่ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ตามสิทธิที่กำหนดไว้ ๒. จำนวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ที่เข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ / ได้รับบริการกิจกรรมการศึกษา ต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยที่สอดคล้องกับ สภาพปัญหา และความต้องการ ๓. จำนวนผู้รับบริการในพื้นที่เป้าหมายได้รับการ ส่งเสริมด้านการรู้หนังสือและพัฒนาทักษะชีวิต


43 เข้มแข็งให้ชุมขน เพื่อพัฒนาไปสู่ความมั่นคงและยั่งยืน ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และ สิ่งแวดล้อม ๓. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้และมีเจตคติทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถคิด วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันรวมทั้ง แก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างสร้างสรรค์ ๔. ประชาชนได้รับการสร้างและส่งเสริมให้มีนิสัยรักการ อ่านเพื่อการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ๕. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ร่วมจัดส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้ง มีการขับเคลื่อนกิจกรรม การเรียนรู้ของชุมชน ๖. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการ ศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ในการยกระดับคุณภาพใน การจัดการเรียนรู้และเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ให้กับ ประชาชน ๗. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อและการจัด กระบวนการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงทางบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งตามความต้องการของประชาชน และ ชุมชนในรูปแบบที่หลากหลาย ๘. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการ พัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีประสิทธิภาพ ๙.หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล

๔. ร้อยละการอ่านของคนไทยเพิ่มขึ้น ๕. จำนวนนักเรียนนักศึกษาที่ได้รับบริการติวเข้มเต็ม ความรู้ ๖. จำนวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่เข้าถึง บริการการเรียนรู้ทางด้านเทคโนโลยีในรูปแบบต่าง ๆ ๗. จำนวนประชาชนที่ได้รับการอบรมให้มีความรู้ใน อาชีพการเกษตรที่เหมาะสมกับสภาพบริบท และความ ต้องการของพื้นที่/ชุมชน ๘. จำนวนแหล่งเรียนรู้ในระดับตำบลที่มีความพร้อมใน การให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ๙. จำนวนทำเนียบศูนย์เรียนรู้เกษตรพอเพียงของตำบล และจำนวนกลุ่มเกษตรชุมชนดีเด่น ๑๐. จำนวนประชาชนได้รับการอบรมตามหลักสูตร ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ (ระยะสั้น) สำหรับประชาชนในศูนย์อาเซียนศึกษา กศน. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ๑. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ๒. ร้อยละของกำลังแรงงานที่สำเร็จการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า ได้รับการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ๓. ร้อยละของนักเรียน/นักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนในวิชาที่ได้รับบริการติวเข้มเต็มความรู้เพิ่มสูงขึ้น ๔. ร้อยละผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษานอกแบบที่ สามารถนำความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ตามจุดมุ่งของ หลักสูตร/กิจกรรมที่กำหนด ๕. ร้อยละของผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมที่สามารถอ่านออก เขียนได้และคิดเลขเป็นไปตามจุดมุ่งหมายของกิจกรรม ๖.ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ลงทะเบียนเรียน ที่มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการพัฒนาอาชีพตามโครงการศูนย์ ฝึกอาชีพชุมชน ๗.ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ป่านการอบรม ตามหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ (ระยะสั้น) มีความรู้ในการสื่อสารภาษาอังกฤษ และ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตได้ ๘.จำนวนครู กศน. ต้นแบบการสอนภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสารที่สามารถเป็นวิทยากรแกนนำได้


44 กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ ๑ ลุยถึงที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย กลยุทธ์ที่ ๒ จัดกิจกรรมหลากหลายโดนใจผู้เรียน กลยุทธ์ที่ ๓ ขยายแหล่งเรียนรู้และเทคโนโลยี กลยุทธ์ที่ ๔ ผนึกกำลังภาคีเครือข่าย และกระจายบริการการศึกษา กลยุทธ์ที่ ๕ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา เป้าประสงค์ ๑. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาด โอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชน ทั่วไปได้รับโอกาส ทางการศึกษาใน รูปแบบการศึกษา นอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตาม อัธยาศัยที่มีคุณภาพ อย่างเท่าเทียมและ ทั่วถึง เป็นไปตาม สภาพ ปัญหา และ ความต้องการของแต่ ละกลุ่มเป้าหมาย

กลยุทธ์

โครงการ

กลยุทธ์ที่ ๑ ลุยถึงที่เข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย

- การ ส่งเสริมการ รู้หนังสือ

กลยุทธ์ที่ ๒ จัดกิจกรรม หลากหลายโดนใจ ผู้เรียน กลยุทธ์ที่ ๔ ผนึกกำลังภาคี เครือข่าย และ กระจายบริการ การศึกษา กลยุทธ์ที่ ๕ พัฒนา ประสิทธิภาพการ บริหารจัดการ

- การศึกษา นอกระบบ ระดับ การศึกษา ขั้นพื้นฐาน - การจัดการ ศึกษาเพื่อ การมีงานทำ

- การเรียนรู้ หลักปรัชญา ของ เศรษฐกิจ พอเพียง

จำนวนเป้าหมาย (คน) ตัวชี้วัด ความสำเร็จ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๘๔ ๘๔ ๘๔ ๘๔ - ผู้เรียนผ่านการ ประเมินผลการ เรียนตาม หลักเกณฑ์ - ผู้เรียนมีความพึง พอใจ ๖,๑๙๗ ๖,๒๐๗ ๖,๒๑๗ ๖,๒๒๗ - ผู้เรียนผ่านการ ประเมินผลการ เรียนตาม หลักเกณฑ์ - ผู้เรียนมีความพึง พอใจ ๘๘๒ ๘๘๒ ๘๘๒ ๘๘๒ - ผู้เรียนผ่านการ ประเมินผลการ เรียนตาม หลักเกณฑ์ - นำความรู้ไป ประกอบอาชีพ - ผู้เรียนมีความพึง พอใจ ๑๙๒ ๑๙๒ ๑๙๒ ๑๙๒ - ผู้เรียนผ่านการ ประเมินผลการ เรียนตาม หลักเกณฑ์ - นำความรู้ไปปรับ ใช้ในชีวิตประจำวัน - ผู้เรียนมีความพึง พอใจ


45 จำนวนเป้าหมาย (คน) ตัวชี้วัดความสำเร็จ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒. ประชาชนได้รับการ กลยุทธ์ที่ ๑ -การศึกษา ๖๗๒ ๖๗๒ ๖๗๒ ๖๗๒ - ผู้เรียนผ่านการ ยกระดับการศึกษา ลุยถึงที่เข้าถึง เพื่อพัฒนา ประเมินผลการเรียน สร้างเสริมและปลูกฝัง กลุ่มเป้าหมาย ทักษะชีวิต ตามหลักเกณฑ์ คุณธรรม จริยธรรม - นำความรู้ไปปรับใช้ และความเป็นพลเมือง กลยุทธ์ที่ ๒ ในชีวิตประจำวัน อันนำไปสู่การยกระดับ จัดกิจกรรม -ผู้เรียนมีความพึงพอใจ คุณภาพชีวิตและ หลากหลายโดน -การศึกษา ๔๐๘ ๔๐๘ ๔๐๘ ๔๐๘ - ผู้เรียนผ่านการ เสริมสร้างความ ใจผู้เรียน พัฒนา ประเมินผลการเรียน เข้มแข็งให้ชุมขน เพื่อ สังคม ตามหลักเกณฑ์ พัฒนาไปสู่ความมั่นคง กลยุทธ์ที่ ๔ ชุมชน - นำความรู้ไปปรับใช้ และยั่งยืนทางด้าน ผนึกกำลังภาคี ในชีวิตประจำวัน เศรษฐกิจ สังคม เครือข่าย และ - ผู้เรียนมีความพึงพอใจ วัฒนธรรม กระจายบริการ -การ ๑๙๒ ๑๙๒ ๑๙๒ ๑๙๒ - ผู้เรียนผ่านการ ประวัติศาสตร์ และ การศึกษา เรียนรู้หลัก ประเมินผลการเรียน สิ่งแวดล้อม ปรัชญา ตามหลักเกณฑ์ ของ - นำความรู้ไปปรับใช้ เศรษฐกิจ ในชีวิตประจำวัน พอเพียง - ผู้เรียนมีความพึงพอใจ เป้าประสงค์

กลยุทธ์

โครงการ

กลยุทธ์ที่ ๑ ลุยถึงที่เข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย

-การศึกษา เพื่อพัฒนา ทักษะชีวิต

กลยุทธ์ที่ ๒ จัดกิจกรรม หลากหลายโดน -การศึกษา ใจผู้เรียน พัฒนา สังคม กลยุทธ์ที่ ๔ ชุมชน ผนึกกำลังภาคี เครือข่าย และ กระจายบริการ - กิจกรรม การศึกษา พัฒนา คุณภาพ ผู้เรียน

๖๗๒

๖๗๒

๖๗๒

๖๗๒

๔๐๘

๔๐๘

๔๐๘

๔๐๘

๑๙๒

๑๙๒

๑๙๒ ๑๙๒

-ผู้เรียนผ่านการ ประเมินผลการเรียน ตามหลักเกณฑ์ - นำความรู้ไปปรับใช้ ในชีวิตประจำวัน - ผูเ้ รียนมีความพึงพอใจ - ผู้เรียนผ่านการ ประเมินผลการเรียน ตามหลักเกณฑ์ - นำความรู้ไปปรับใช้ ในชีวิตประจำวัน - ผู้เรียนมีความพึงพอใจ - ผูเ้ รียนมีความพึงพอใจ


46 เป้าประสงค์

กลยุทธ์

โครงการ

จำนวนเป้าหมาย (คน) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔

- กิจกรรม ๗๔๔ ๗๔๔ ๗๔๔ ๗๔๔ พัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน [ (smart ONIE) (ดิจิทัล) ] - โครงการ ๑๗๒ ๑๗๒ ๑๗๒ ๑๗๒ พัฒนาบุคลากร [(kahoot-86) ครู ก.วิทยากร ดิจิทัล-86] - กิจกรรม ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ ๔. หน่วยงานและ กลยุทธ์ที่ ๒ สถานศึกษาพัฒนาสื่อ จัดกิจกรรมหลากหลาย พัฒนาคุณภาพ และการจัด โดนใจผู้เรียน ผู้เรียน กระบวนการเรียนรู้ (ประวัติศาสตร์) เพื่อแก้ปัญหาและ กลยุทธ์ที่ ๕ พัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาประสิทธิภาพ - การจัดทำ ๘๖ ๘๖ ๘๖ ๘๖ ที่ตอบสนองกับการ การบริหารจัดการ แผนการเรียนรู้ เปลี่ยนแปลงทาง - การจัดทำ บริบทด้านเศรษฐกิจ แผนการ สังคม การเมือง ปฏิบัติการ วัฒนธรรม (ศรช+ปวช.+ครู ประวัติศาสตร์ และ ตำบล) สิ่งแวดล้อม รวมทั้ง ตามความต้องการ ของประชาชน และ ชุมชนในรูปแบบที่ หลากหลาย ๓. หน่วยงานและ สถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการ ศึกษา เทคโนโลยี ดิจิทัล มาใช้ในการ ยกระดับคุณภาพใน การจัดการเรียนรู้ และเพิ่มโอกาสการ เรียนรู้ให้กับ ประชาชน

กลยุทธ์ที่ ๕ พัฒนาประสิทธิภาพ การบริหารจัดการ

ตัวชี้วัด ความสำเร็จ - ผู้เข้าร่วม โครงการมีความ พึงพอใจ

- ผู้เข้าร่วม โครงการมีความ พึงพอใจ

- ผู้เข้าร่วม โครงการมีความ พึงพอใจ - สถานมี แผนการเรียนรู้ ประจำปี การศึกษา 2561 - สถานศึกษามี แผนการ ปฏิบัตกิ าร ประจำปี การศึกษา 2561


47 เป้าประสงค์

กลยุทธ์

โครงการ

จำนวนเป้าหมาย (คน) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔

ตัวชี้วัด ความสำเร็จ

๕. บุคลากรของ หน่วยงานและ สถานศึกษาได้รับการ พัฒนาเพื่อเพิ่ม สมรรถนะในการ ปฏิบัติงานการศึกษา นอกระบบและ การศึกษาตาม อัธยาศัยอย่างมี ประสิทธิภาพ

กลยุทธ์ที่ ๕ พัฒนา ประสิทธิภาพการ บริหารจัดการ

- โครงการ ประกัน คุณภาพ ภายใน สถานศึกษา

- ผู้สถานศึกษา มีผลการ ประเมิน คุณภาพรายงาน การประเมิน ตนเองอยู่ใน ระดับดีขึ้นไป

๖. หน่วยงานและ สถานศึกษามีระบบ การบริหารจัดการ ตามหลักธรรมา ภิบาล

กลยุทธ์ที่ ๕ พัฒนา ประสิทธิภาพการ บริหารจัดการ

- โครงการ นิเทศภายใน สถานศึกษา

- ร้อยละผู้เรียน ผู้รับบริการ ได้รับการนิเทศ ภายในจาก สถานศึกษา


48 แผนปฏิบัติการประจำปี โครงการ/กิจกรรม 1.การศึกษาพื้นฐาน/ ผู้ไม่รู้หนังสือ/ผู้ไม่รู้หนังสือ 2.การศึกษาพื้นฐาน/ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (ภาคเรียนที่ 2)/ ประถมศึกษา 3.การศึกษาพื้นฐาน/ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (ภาคเรียนที่ 2)/ มัธยมศึกษาตอนต้น 4.การศึกษาพื้นฐาน/ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (ภาคเรียนที่ 2)/ มัธยมศึกษาตอนปลาย 5.การศึกษาพื้นฐาน/ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (ภาคเรียนที่ 2)/ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 6.การศึกษาตามอัธยาศัย/ โครงการจัดสร้างแหล่ง เรียนรู้ชุมชนในตำบล/จัดซื้อ หนังสือ/สื่อ สำหรับ กศน. ตำบล 7.การศึกษาตามอัธยาศัย/ กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/ ห้องสมุดประชาชน 8.การศึกษาตามอัธยาศัย/ กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/ บ้านหนังสือชุมชน 9.การศึกษาตามอัธยาศัย/ กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/ หน่วยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย)

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ นำไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวัน เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ นำไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวัน เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ นำไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวัน เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ นำไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวัน เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ นำไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวัน เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ นำไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวัน เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ นำไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวัน เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ นำไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวัน เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ นำไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวัน

กลุ่มเป้าหมาย นักศึกษา

นักศึกษา

นักศึกษา

นักศึกษา

นักศึกษา

นักศึกษา

จำนวน เป้าหมาย

พื้นที่

ระยะเวลา

งบประมาณ

๗๙

กศน.ตำบล ทั้ง 12 ตำบล

ต.ค.6๑ ก.ย.6๒

๔๓,๔๕0

1,๒๑๘

กศน.ตำบล ทั้ง 12 ตำบล

1,๗๔๐

กศน.ตำบล ทั้ง 12 ตำบล

ต.ค.6๑ มี.ค.6๒

1,๖87,๘๐๐

2,2๓๘

กศน.ตำบล ทั้ง 12 ตำบล

ต.ค.6๑ มี.ค.6๒

2,1๗๐,๘๖๐

647

กศน.ตำบล ทั้ง 12 ตำบล

3

กศน.ตำบล ทั้ง 3 ตำบล

นักศึกษา

๗๒๐

นักศึกษา

๗๒๐

นักศึกษา

๗๒๐

กศน.ตำบล ทั้ง 12 ตำบล กศน.ตำบล ทั้ง 12 ตำบล กศน.ตำบล ทั้ง 12 ตำบล

ต.ค.6๑ มี.ค.6๒

ต.ค.6๑ มี.ค.6๒

ต.ค.6๑ ก.ย.6๒ ต.ค.6๑ ก.ย.6๒ ต.ค.6๑ ก.ย.6๒ ต.ค.6๑ ก.ย.6๒

๙๓๗,๐๙๐

1,779,250

๖0,000

0 0

0


49 โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

10.การศึกษาตามอัธยาศัย/ เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/ นำไปปรับใช้ใน อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ชีวิตประจำวัน 11.การศึกษาตามอัธยาศัย/ กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/ เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ ห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับ นำไปปรับใช้ใน ชาวตลาดฯ ชีวิตประจำวัน 12.โครงการ/กิจกรรม สำคัญตามแผนงาน (พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่าย ประจำปี)/แผนบูรณาการ เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ ยกระดับคุณภาพการศึกษา นำไปปรับใช้ใน และการเรียนรู้ตลอดชีวิต/ ชีวิตประจำวัน โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (1 อำเภอ 1 อาชีพ) 13.โครงการ/กิจกรรม สำคัญตามแผนงาน (พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่าย ประจำปี)/แผนบูรณาการ เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ ยกระดับคุณภาพการศึกษา นำไปปรับใช้ใน และการเรียนรู้ตลอดชีวิต/ ชีวิตประจำวัน โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (กลุ่มสนใจ-ไม่เกิน 30 ชม.) 14.โครงการ/กิจกรรม สำคัญตามแผนงาน (พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่าย ประจำปี)/แผนบูรณาการ เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ ยกระดับคุณภาพการศึกษา นำไปปรับใช้ใน และการเรียนรู้ตลอดชีวิต/ ชีวิตประจำวัน โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (ชั้นเรียนวิชาชีพ-31 ชม.ขึ้น ไป)

กลุ่มเป้าหมาย นักศึกษา

นักศึกษา

นักศึกษา

นักศึกษา

นักศึกษา

จำนวน เป้าหมาย

พื้นที่

ระยะเวลา

กศน.ตำบล ทั้ง 12 ตำบล

ต.ค.6๑ ก.ย.6๒

๗๒๐

กศน.ตำบล ทั้ง 12 ตำบล

ต.ค.6๑ ก.ย.6๒

0

๑๒๐

กศน.ตำบล ทั้ง 1๒ ตำบล

ต.ค.6๑ ก.ย.6๒

๑๐๘,๐00

456

กศน.ตำบล ทั้ง 12 ตำบล

ต.ค.6๑ ก.ย.6๒

31๙,๒๐๐

360

กศน.ตำบล ทั้ง 12 ตำบล

๗๒๐

ต.ค.6๑ ก.ย.6๒

งบประมาณ 0

31๓,๒00


50 โครงการ/กิจกรรม 15.โครงการ/กิจกรรม สำคัญตามแผนงาน (พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่าย ประจำปี)/แผนบูรณาการ ยกระดับคุณภาพการศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชีวิต/ โครงการ Smart ONIE เพื่อ สร้าง Smart Farmer 16.โครงการ/กิจกรรม สำคัญตามแผนงาน (พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่าย ประจำปี)/แผนบูรณาการ ยกระดับคุณภาพการศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชีวิต/ โครงการภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสารด้านอาชีพ 1๗.โครงการ/กิจกรรม สำคัญตามแผนงาน (พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่าย ประจำปี)/แผนงานบูรณา การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล/ สร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชน ระดับตำบล 1๘.การศึกษาต่อเนื่อง/ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะ ชีวิต/งวดที่ 1 (ต.ค. - มี.ค.) ๑๙.การศึกษาต่อเนื่อง/ การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคม และชุมชน/งวดที่ 1 (ต.ค. มี.ค.) 2๐.การศึกษาต่อเนื่อง/การ เรียนรู้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง/งวดที่ 1 (ต.ค. - มี.ค.)

วัตถุประสงค์

เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ นำไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวัน

เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ นำไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวัน

เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ นำไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวัน

เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ นำไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวัน เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ นำไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวัน เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ นำไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวัน

กลุ่มเป้าหมาย

นักศึกษา

นักศึกษา

นักศึกษา

นักศึกษา

นักศึกษา

นักศึกษา

จำนวน เป้าหมาย

พื้นที่

ระยะเวลา

งบประมาณ

360

กศน.ตำบล ทั้ง 12 ตำบล

ต.ค.6๑ ก.ย.6๒

-

๘๐

กศน.ตำบล ทั้ง 3 ตำบล

ต.ค.6๑ ก.ย.6๒

9๖,000

3๖๐

กศน.ตำบล ทั้ง 12 ตำบล

ต.ค.6๑ ก.ย.6๒

1๐๘,๐00

๒๔๐

กศน.ตำบล ทั้ง 12 ตำบล

ต.ค.6๑ มี.ค.6๒

๒๗,๖๐๐

๑๘๐

กศน.ตำบล ทั้ง 12 ตำบล

ต.ค.6๑ มี.ค.6๒

๗๒,๐๐๐

๑๐๘

กศน.ตำบล ทั้ง 12 ตำบล

ต.ค.6๑ มี.ค.6๒

๔๓,๒๐๐


51 โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

2๑.การศึกษาต่อเนื่อง/ เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะ นำไปปรับใช้ใน ชีวิต/งวดที่ 2 (เม.ย. - ก.ย.) ชีวิตประจำวัน 2๒.การศึกษาต่อเนื่อง/ เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคม นำไปปรับใช้ใน และชุมชน/งวดที่ 2 (เม.ย. ชีวิตประจำวัน ก.ย.) 2๓.การศึกษาต่อเนื่อง/การ เพื่อให้ผู้เรียนรู้และ เรียนรู้หลักปรัชญาของ นำไปปรับใช้ใน เศรษฐกิจพอเพียง/งวดที่ 2 ชีวิตประจำวัน (เม.ย. - ก.ย.) รวม

กลุ่มเป้าหมาย นักศึกษา

นักศึกษา

จำนวน เป้าหมาย ๒๔๐

๑๘๐

นักศึกษา

๑๐๘

-

๑๒,๓๑๗

พื้นที่

ระยะเวลา

กศน.ตำบล เม.ย.6๒ ทั้ง 12 ก.ย.6๒ ตำบล เม.ย.6๒ กศน.ตำบล ก.ย.6๒ ทั้ง 12 ตำบล กศน.ตำบล เม.ย.6๒ ทั้ง 12 ก.ย.6๒ ตำบล -

-

งบประมาณ ๒๗,๖๐๐

๗๒,๐๐๐

๔๓,๒๐๐ ๗,๙๐๘,๔๕๐


52 เพื่อให้การดำเนิน การประกัน คุณภาพเป็นไปด้วยความเรียบร้อย สถานศึกษาจึงได้ร่วมกันกำหนด ค่าเป้าหมาย ซึ่งเป็นค่าความสำเร็จ หรือระดับผลการดำเนินงานที่สถานศึกษาคาดหวังว่าสามารถทำให้เกิดขึ้น ใน มาตรฐานที่ ๑ ดังนี้ ประเด็น การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ ๑.๑ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม ประเด็นที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม ประเด็นที่ ๕ ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบด้านคุณธรรม ตัวบ่งชี้ ๑.๒ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหา ความรู้เรียนรู้อย่างต่อเนื่องและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต ประเด็นที่ ๑ ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต ประเด็นที่ ๕ ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบด้านทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิต ตัวบ่งชี้ที่ 1.๓ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้พื้นฐาน ประเด็นที่ ๑ ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐาน ระดับประถมศึกษา 1.ทักษะการเรียนรู้ 2.ภาษาไทย 3.ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 4.คณิตศาสตร์ 5.วิทยาศาสตร์ 6.ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ 7.ทักษะการประกอบอาชีพ 8.พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน 9.เศรษฐกิจพอเพียง 10.สุขศึกษา พลศึกษา 11.ศิลปศึกษา 12.สังคมศึกษา 13.ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 14.การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 1.ทักษะการเรียนรู้ 2.ภาษาไทย 3.ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 4.คณิตศาสตร์ 5.วิทยาศาสตร์

ค่าเป้าหมาย (จำนวน หรือ ร้อยละ) ร้อยละ 8๔ 1๙2 คน ร้อยละ 7๗ 1๖๒ คน

23.30 25.97 18.87 28.11 20.16 20.86 22.83 21.25 21.51 22.25 22.55 20.24 25.52 19.06 22.05 23.43 19.35 27.00 24.24


53 ประเด็น 6.ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ 7.ทักษะการประกอบอาชีพ 8.พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน 9.เศรษฐกิจพอเพียง 10.สุขศึกษา พลศึกษา 11.ศิลปศึกษา 12.สังคมศึกษา 13.ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 14.การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1.ทักษะการเรียนรู้ 2.ภาษาไทย 3.ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 4.คณิตศาสตร์ 5.วิทยาศาสตร์ 6.ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ 7.ทักษะการประกอบอาชีพ 8.พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน 9.เศรษฐกิจพอเพียง 10.สุขศึกษา พลศึกษา 11.ศิลปศึกษา 12.สังคมศึกษา 13.ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 14.การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ประเด็นที่ ๒ ผู้เรียนนำความรู้พื้นฐานไปใช้ในการดำเนินชีวิต การทำงาน หรือ ประกอบอาชีพ ประเด็นที่ ๕ ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนำความรู้ไปใช้/ ประยุกต์ในการดำเนินชีวิต การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทักษะใน การประกอบอาชีพ ประเด็นที่ ๑ ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ประเด็นที่ ๒ ผู้เรียนนำความรู้ไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือ ประกอบอาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพ หรือการเพิ่มมูลค่าของ สินค้า หรือบริการ ประเด็นที่ ๕ ผู้เรียนเป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนำความรู้ไปใช้ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๕ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง

ค่าเป้าหมาย (จำนวน หรือ ร้อยละ) 22.87 29.98 24.59 18.79 20.36 18.52 18.95 24.95 17.76 21.54 22.64 19.55 29.06 24.11 22.07 29.75 23.69 18.46 21.40 23.71 19.95 27.77 17.87 ร้อยละ ๖๒ 7๙ คน

ร้อยละ ๗๓ ร้อยละ ๔7 ๒๒ คน


54 ประเด็น ประเด็นที่ ๑ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ในหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นที่ ๒ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นที่ ๕ ผู้เรียนเป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการปฏิบัติตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๖ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม ประเด็นที่ ๑ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจและมี ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ประเด็นที่ ๒ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ไปใช้ในการ แก้ปัญหาและพัฒนาดำรงชีวิต หรือประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม ประเด็นที่ ๕ ผู้เรียนเป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการใช้เทคโนโลยีได้อย่าง เหมาะสม การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๗ ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/ โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย ประเด็นที่ ๑ ผู้รับบริการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย ประเด็นที่ ๒ ผู้รับบริการที่ได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วม กิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย ประเด็นที่ ๕ ผู้รับบริการเป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนำความรู้จากการเข้า ร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัยไปใช้

ค่าเป้าหมาย (จำนวน หรือ ร้อยละ) ๖๒ คน ร้อยละ 6๗ 1๘ คน ร้อยละ 7๗ ร้อยละ 7๑ ๓4 คน

17,๕๘๔ คน ร้อยละ 8๖ ๑๐ คน

ผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย

1.การศึกษาพื้นฐาน/ผู้ไม่รู้หนังสือ/ผู้ไม่รู้หนังสือ 2.การศึกษาพื้นฐาน/การศึกษาขั้นพื้นฐาน (ภาคเรียนที่ 2)/ประถมศึกษา 3.การศึกษาพื้นฐาน/การศึกษาขั้นพื้นฐาน (ภาคเรียนที่ 2)/มัธยมศึกษาตอนต้น 4.การศึกษาพื้นฐาน/การศึกษาขั้นพื้นฐาน (ภาคเรียนที่ 2)/มัธยมศึกษาตอนปลาย 5.การศึกษาพื้นฐาน/การศึกษาขั้นพื้นฐาน (ภาคเรียนที่ 2)/ประกาศนียบัตรวิชาชีพ 6.การศึกษาตามอัธยาศัย/โครงการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ชุมชนในตำบล/จัดซื้อ หนังสือ/สื่อ สำหรับ กศน.ตำบล 7.การศึกษาตามอัธยาศัย/กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/ห้องสมุดประชาชน 8.การศึกษาตามอัธยาศัย/กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/บ้านหนังสือชุมชน 9.การศึกษาตามอัธยาศัย/กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/หน่วยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) 10.การศึกษาตามอัธยาศัย/กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน

๗๙ ๑,๒๑๘ ๑,๗๔๐ 2,2๓๘ 647

ผลการ ดำเนินงาน ๒๑๐ ๑,๒๑๘ ๑,๗๔๐ 2,2๓๘ 647

3

3

๗๒๐ ๗๒๐ ๗๒๐ ๗๒๐

๗๒๐ ๗๒๐ ๗๒๐ ๗๒๐


55 โครงการ/กิจกรรม 11.การศึกษาตามอัธยาศัย/กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/ห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับ ชาวตลาดฯ 12.โครงการ/กิจกรรมสำคัญตามแผนงาน (พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี)/แผน บูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต/โครงการศูนย์ฝึก อาชีพชุมชน (1 อำเภอ 1 อาชีพ) 13.โครงการ/กิจกรรมสำคัญตาแผนงาน (พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี)/แผน บูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต/โครงการศูนย์ฝึก อาชีพชุมชน (กลุ่มสนใจ-ไม่เกิน 30 ชม.) 14.โครงการ/กิจกรรมสำคัญตามแผนงาน (พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี)/แผน บูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต/โครงการศูนย์ฝึก อาชีพชุมชน (ชั้นเรียนวิชาชีพ-31 ชม.ขึ้นไป) 15.โครงการ/กิจกรรมสำคัญตามแผนงาน (พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี)/แผน บูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต/โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง Smart Farmer 16.โครงการ/กิจกรรมสำคัญตามแผนงาน (พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี)/แผน บูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต/โครงการ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ 1๗.โครงการ/กิจกรรมสำคัญตามแผนงาน (พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี)/ แผนงานบูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล/สร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนระดับตำบล 1๘.การศึกษาต่อเนื่อง/การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต/งวดที่ 1 (ต.ค. - มี.ค.) ๑๙.การศึกษาต่อเนื่อง/การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน/งวดที่ 1 (ต.ค. - มี.ค.) 2๐.การศึกษาต่อเนื่อง/การเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง/งวดที่ 1 (ต.ค. - มี.ค.) 2๑.การศึกษาต่อเนื่อง/การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต/งวดที่ 2 (เม.ย. - ก.ย.) 2๒.การศึกษาต่อเนื่อง/การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน/งวดที่ 2 (เม.ย. - ก.ย.) 2๓.การศึกษาต่อเนื่อง/การเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง/งวดที่ 2 (เม.ย. - ก.ย.) รวม

เป้าหมาย

ผลการ ดำเนินงาน

๗๒๐

๗๒๐

๑๒๐

๑๒๐

456

456

360

360

360

360

9๖

9๖

3๖๐

3๖๐

๒๔๐ ๑๘๐ ๑๐๘

๒๔๐ ๑๘๐ ๑๐๘

๒๔๐ ๑๘๐ ๑๐๘

๒๔๐ ๑๘๐ ๑๐๘

๑๒,๓๑๗

๑๒,๓๑๗


56

บทที่ ๓ ผลการประเมินตนเอง สถานศึกษาได้ดำเนินการประกันคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖2 ซึ ่ ง เป็ น ไปตามกฎกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร กำหนดระบบ หลั ก เกณฑ์ และวิ ธ ี ก ารประกั น คุ ณ ภาพภายใน สำหรับสถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. ๒๕๕๕ ที่อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ วรรคสาม และมาตรา ๒๕ วรรคหนึ่งแห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธ ยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑ และเป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย (ฉบับที่ ๒ ) พ.ศ.๒๕๖๐ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน ๒๐ ตัวบ่งชี้ ดังรายละเอียดผลการประเนิน คุณภาพการจัดการศึกษา ดังต่อไปนี้ ผลการประเมินตนเองตามรายงานมาตรฐาน มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ การประเมิ น คุ ณภาพของผู ้เรีย น / ผู ้ ร ั บบริ การ การจั ดการศึ กษาขั้ นพื้ นฐานการศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย มีผลการประเมินดังนี้ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม หัวข้อประเด็น 1. ผู้เรียนมีคุณธรรมเป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กำหนดหรือไม่ 2. สถานศึกษามีการประเมินคุณธรรมของผู้เรียนที่มี ความน่าเชื่อถืออย่างไร 3. สถานศึกษามีผลการดำเนินงานเกี่ยวกับการพัฒนาคุณธรรมอย่างต่อเนื่องอย่างไร 4. สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของสำนักงาน กศน. / นโยบาย จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ / ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการ ศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร 5. สถานศึกษามีผ ู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบ ด้านคุณธรรมเป็นไปตาม ค่าเป้าหมายที่กำหนดหรือไม่ อย่างไร สรุป

คะแนน 1 0.5 0.5 1

ระดับคุณภาพ

ดี 0.5 3.5

ผลการดำเนินงาน จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบงชี้ที่ 1.1 พบว่าสถานศึกษาได้ คะแนน 3.5 คะแนนจากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยู่ในระดับ ดี ดังนี้ ประเด็นที่ 1 ผู้เรียนมีคุณธรรมสูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอำเภอหนองสองห้อง มีผู้เรียนที่มีคุณธรรมตามเป้าหมายที่กำหนด คือดำเนินการได้คะแนนใน ระดับ ดีมาก ร้อยละ 8๔.๑๖ ของนักศึ ก ษาหลั ก สู ตรการศึ ก ษานอกระบบระดับ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุทธศักราช 2551 ทุกระดับทั้งหมด 2 ภาคเรียน คิดเป็น จำนวน ๙,๘๖๘ คน ระดับ ประถมศึกษา จำนวน 2,๓๕๑ คน ,ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 3,๑๒๗ คน ,ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 4,๓๙๐ คน ค่าเป้าหมายที่กำหนด ร้อยละ 8๔.๑๖ คือ ระดับประถมศึกษา ผ่านการประเมินในระดับดีมาก ร้อยละ 8๔.๐7 สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ (เป้าหมายกำหนดร้อยละ 8๔) ระดับ มัธ ยมศึกษาตอนต้น ผ่านการประเมินในระดับดีมาก ร้อยละ 8๔.๒๔ สูงกว่าค่าเป้าหมาย ที่กำหนดไว้ (เป้าหมายกำหนดร้อยละ 8๔)


57 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผ่านการประเมินในระดับดีมาก ร้อยละ 8๔.๑๘ สูงกว่าค่าเป้าหมาย ที่กำหนดไว้ (เป้าหมายกำหนดร้อยละ 8๔) ดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 1 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษาปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนมีคุณธรรม ภาคเรียนที่ 2/2561 ระดับ ประถม ม.ต้น ม.ปลาย

จำนวน พอใช้ ผู้เรียน (คน) ทั้งหมด 1,221 1,477 2,246 เฉลี่ย

ดี (คน)

ดีมาก (คน)

196 237 359

1,025 1,240 1,887

ภาคเรียนที่ 1/2562 ร้อยละ จำนวน พอใช้ ดี ระดับ ผู้เรียน (คน) (คน) ดีมาก ทั้งหมด 83.94 1,130 180 83.95 1,650 264 84.01 2,144 344 84 เฉลี่ย

ดีมาก (คน) 950 1,390 1,805

ร้อยละ ระดับ ดีมาก 84.07 84.24 84.18 84.16

ผลการ ดำเนินงาน (ร้อยละ ระดับดีมาก) 84.07 84.24 84.18 84.16

ตารางที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนมีคุณธรรม

ระดับ ประถม ม.ต้น ม.ปลาย เฉลี่ย

เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผลการ ดำเนินงาน (ร้อยละระดับดีมาก) ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 84 84 84 84

84.07 84.24 84.18 84.16

ผลการ เปรียบเทียบ

ผลการ ประเมิน (คะแนน)

+0.07 +0.24 +0.18 +0.16

1

ประเด็นที่ 2 สถานศึกษามีการประเมินคุณธรรมผู้เรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทุกระดับ ได้แก่ คุณธรรมพื้นฐาน ๑๑ ประการ ประกอบด้ว ย ๑.สะอาด ๒.สุภาพ ๓.ความกตัญญูกตเวที ๔.ขยัน ๕.ความประหยัด ๖.ความซื่อสัตย์สุจริต ๗.ความสามัคคี ๘.ความมีน้ำใจ ๙.ความมีวินัย ๑๐.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และ ๑๑.ยึดมั่นในวิถีชีวิต ฯ และดำเนินงานโดยยึด หลักพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร ในหลวง รัชกาลที่ 10 การศึกษาต้องมุ่งสร้ างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียน 4 ด้าน ได้แก่ 1.มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง 2.มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคงมีคุณธรรม 3.มีงานทำ มีอาชีพ 4. เป็นพลเมืองดีและสามารถนำเสนอข้อมูล หลักฐาน ร่องรอยที่น่าเชื่อถือ เป็นเหตุเป็นผล สนับสนุนผลการดำเนินงานอย่างชัดเจนครบถ้วนตามคุณลักษณะที่กำหนด ไว้ในคำอธิบายโดยได้มีการดำเนินการโดยยึดหลักวิธีการประเมินตามระเบียบ/หลักเกณฑ์ตามคู่มือพื้นฐาน พ.ศ. 2555 มีการประเมิน ผลด้านคุณธรรมจากแบบประเมินในคู่มือแบบประเมินคุณธรรมทุกภาคเรียนและมี ขั้นตอนการประเมิน ดังนี้ 1.ชี้แจงผู้เรียนก่อนเปิดภาคเรียน 2.ใช้การประเมินที่หลากหลาย เช่น การสังเกต ชิ้นงาน port การเยี่ยมบ้าน การร่วมกิจกรรม และประเมินผลโดยการสังเกต ตรวจแฟ้ม ผู้เรียนประเมินตนเอง และครูประเมินโครงการพัฒนาผู้เรียนและใช้แบบประเมินจากคู่มือ ซึ่งครูมีการสรุปผลการประเมินทุกภาคเรียน โดยบันทึกใน เอกสาร กศน.4 เพื่อเป็นหลักฐานในการกรอกข้อมูลในโปรแกรม IT แล้วจัดเก็บรวบรวมเพื่อใช้ เป็นข้อมูลในการนำเสนอผู้บริหาร ในการตรวจสอบและพิจารณาเห็นชอบ / อนุมัติ


58 ประเด็นที่ 3 สถานศึกษาได้มีการดำเนินงานเกี่ยวกับพัฒนาคุณธรรมของผู้เรียนทุกภาคเรียนอย่าง ต่อเนื่อง โดยได้จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรมผู้เรียน ได้แก่ โครงการประวัติศาสตร์ ชาติ ไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย โครงการค่ายคุณธรรมและจริยธรรม โครงการอบรมส่งเสริม ประชาธิปไตย โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีกระบวนการดำเนินงานคือ ผู้บริหารชี้แจงจุดเน้นนโยบายยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เพื่อสร้างความเข้าใจ กับครูและผู้เกี่ยวข้องถึงความสำคัญและแนวทางการพัฒนาคุณธรรมของผู้เรียน ร่วมกันจัดทำแผนงานโครงการ เพื่อพัฒนาคุณธรรมของนักศึกษา กำหนดกรอบแนวทางการประเมิน โดยในปีงบประมาณ 256๒ ได้กำหนด จัดกิจกรรม / โครงการ และนำแผนงานไปปฏิบัติ รวมทั้งมีการประเมินผลการดำเนินงานโครงการโดยใช้แบบ ประเมินโครงการ ซึ่งมีผลการดำเนินงานดังนี้ กิจกรรม/โครงการ

เป้าหมาย (คน)

ผล (คน)

ร้อยละ

1.โครงการประวัติศาสตร์ชาติไทย และ บุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย

1,๒๐๐

1,๒๐๐

100

2.โครงการค่ายคุณธรรมและจริยธรรม

24๐

24๐

100

3.โครงการอบรมส่งเสริมประชาธิปไตย

๒๗๔

๒๗๔

100

พฤติกรรมตามตัวบ่งชี้ ในแต่ละคุณภาพ - รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ - กตัญญูกตเวที - ซื่อสัตย์ - ความกตัญญูกตเวที - มีวินัย - มีความเป็นประชาธิปไตย - รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ - มีน้ำใจ - ความสามัคคี

นอกจากนั้นสถานศึกษาได้ส่งเสริมให้นักศึกษาที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการ / กิจกรรมที่ทางสถานศึกษาจัด ขึ้น แต่น ักศึกษาสามารถทำกิจ กรรมภายในชุมชนตนเอง แล้ว นำมาบันทึกในสมุดบันทึกความดีได้ เช่น วันสำคัญทางศาสนา การบำเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมรณรงค์ประชาธิปไตย กิจกรรมพัฒนา กศน.ตำบล กิจกรรม อื่นที่ร่วมจัดกับภาคีเครือข่าย เช่น รดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ ในการพบกลุ่มและการทำกิจกรรมทุกครั้ง ครู กศน. เน้นการสร้างความตระหนักถึงหลักคุณธรรมและจริยธรรม โดยมีการสอดแทรกหลักคุณธรรมและจริยธรรมใน กระบวนการจัดการเรียนรู้ ประเด็นที่ 4 สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ แผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ ข้อ ๒.๑ คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่น การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (1) ร้อยละของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่สะท้อนความรักและ การธำรงรักษาสถาบันหลักของชาติและการยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขเพิ่มขึ้น ข้อ ๒.๓ คนทุกช่วงวัยได้รับการศึกษาการดูแลและป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่ (๑) ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดกระบวนการเรียนรู้และปลูกฝังแนวทางการจัดการความ ขัดแย้งโดยแนวทางสันติวิธีเพิ่มขึ้น


59 ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ (๑) ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลักษณะที่ จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ (๒) ร้อยละของผู้เรียนทุกระดับการศึกษามีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความมีวินัยและมีจิต สาธารณะเพิ่มขึ้น นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 256๒ จุดเน้นการจัดการศึกษา 3. ระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ครูและผู้เรียนสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และจัดการเรียนรู้ แบบองค์รวม จัดแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ โดยมีจุดเน้น - เรียนภาษาไทย เน้นเพื่อการสื่อสาร และใช้เป็นเครื่องมือเพื่อเรียนวิชาอื่น - เรียนภาษาอังกฤษ เน้นเพื่อการสื่อสาร - เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เน้นพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การเรียนรู้จากสถานการณ์ จริง สถานการณ์จำลอง กิจกรรมการเรียนรู้จากปัญหาและการลงมือปฏิบัติสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาและ เรียนรู้อย่างมีความสุข - เรียนรู้ Digital และใช้ Digital เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ - ส่งเสริมการเรียนวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างนวัตกรรม - จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทำ - พัฒนาครูตามความต้องการของครูและสถานศึกษา (คูปองครู) - จัดให้มีโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ นโยบายและจุดเน้นสำนักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ๓.๑ ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ ความรับผิดชอบ ต่อส่วนรวม และการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ เช่น กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจนสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้กับบุคลากรในองค์กร ประเด็น ที่ 5 สถานศึกษามีผ ู้เรียนในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้น พื้ น ฐาน พุทธศักราช 2551 ที่เป็นตัวอย่ างที่ดีด้านคุณธรรมจำนวน ๑๙๔ คน สูงกว่า ค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ คือ จำนวน ๑๙๒ คน ซึ่งแบ่งออกดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 3 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนมีคุณธรรม ที่เป็น ตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบ ระดับ

จำนวนผู้เรียน ทั้งหมด (คน)

ประถม ม.ต้น ม.ปลาย

1,130 1,650 2,144

จำนวนผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือเป็นต้นแบบในด้านคุณธรรม (คน) ค่าเฉลี่ย 2/2561 1/2562 16 22 20 62 66 64 108 223 110 รวม

ผลการ ดำเนินงาน (คน) 20 64 110 1๙4


60 ตารางที่ 4 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียน มีคุณธรรม ที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบ รายการ ผู้เรียนมีคุณธรรมที่เป็นตัวอย่าง ที่ดหี รือต้นแบบ

เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผลการ ผลการ ดำเนินงาน (คน) เปรียบเทียบ ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 192

194

+2

ผลการ ประเมิน (คะแนน) 1

รายชื่อตัวอย่างที่ดีในด้านคุณธรรม มีจำนวนทั้งสิ้น 1๙๔ คน ซึ่งประกอบด้วย ลำดับที่ รหัสนักศึกษา 5723000842 1. 5913002957 2.

ชื่อ-สกุล นางสาวประเสริฐ สีขอน

นักศึกษาระดับ ม.ปลาย

กศน.ตำบล คึมชาด

นางคำปิว อาจจุฬา

ม.ปลาย

คึมชาด

3.

5913002966

นายทรงเดช สีหามาตย์

ม.ปลาย

คึมชาด

4.

5913002984

นางทองเพชร จันทร์พุฒ

ม.ปลาย

คึมชาด

5.

5913003048

นางเพ็ญจันทร์ พันธุ์มี

ม.ปลาย

คึมชาด

6.

5923000941

นางสาวญาณวิภา โคตรคำ

ม.ปลาย

คึมชาด

7.

5923001591

นายฐิติศักดิ์ หล้าพรม

ม.ปลาย

คึมชาด

8.

5923003009

นางสาวเนตรนภิส จำปา

ม.ปลาย

คึมชาด

9.

5923003139

นายธนากร นิสสระดู

ม.ปลาย

คึมชาด

10.

5923003782

นายแสวง นาซอน

ม.ปลาย

คึมชาด

11.

6013000564

นายจักรพันธ์ บรรยงค์

ม.ปลาย

คึมชาด

12.

6013001011

นายชลิต รานอก

ม.ปลาย

คึมชาด

13.

6013001776

นางกาญจนา นิสสระคู

ม.ปลาย

คึมชาด

14.

6013002670

นางสาวศีริญากร ช่างสากล

ม.ปลาย

คึมชาด

15.

602300253

นายยศตการณ์ ศรีพันชาติ

ม.ปลาย

คึมชาด

16.

6023000299

นายมานะ อุตมะรัตนี

ม.ปลาย

คึมชาด

17.

5711003251

นางฝน บุญหนุน

ประถม

ตะกั่วป่า

18.

5821001501

นางวรรณี พรศักดิ์หาญ

ประถม

ตะกั่วป่า

19.

5921002613

นางสาวเกษตร สอนหินลาด

ประถม

ตะกั่วป่า

20.

5712232959

นายประนุช วอไธสง

ม.ต้น

ตะกั่วป่า


61 ลำดับที่ รหัสนักศึกษา 21. 5913001008 22. 5913002274

ชื่อ-สกุล นางพัน สร้างนอก

นักศึกษาระดับ ม.ปลาย

กศน.ตำบล ตะกั่วป่า

นายอภิชาต วานไธสง

ม.ปลาย

ตะกั่วป่า

23.

5913005752

นางสาวราตรี ด้วงตะกั่ว

ม.ปลาย

ตะกั่วป่า

24.

5923001500

นางสาวปราณี ไชยสมบัติ

ม.ปลาย

ตะกั่วป่า

25.

5923002842

นางสาวขนิษฐา แสนคำ

ม.ปลาย

ตะกั่วป่า

26.

6023000105

นางสาววิภาพร เพาะไธสง

ม.ปลาย

ตะกั่วป่า

27.

5821001239

นายอุทัย ชมภูหลง

ประถม

วังหิน

28.

5912003054

นางพรมมา หวานแท้

ม.ต้น

วังหิน

29.

6012001045

นางละมุลเพชร พันโนลาด

ม.ต้น

วังหิน

30.

6012001380

นายวิฑูรย์ อรรคบุตร

ม.ต้น

วังหิน

31.

6012002510

นายเสริม คูหา

ม.ต้น

วังหิน

32.

6012002565

นางใหม ลุนสำโรง

ม.ต้น

วังหิน

33.

6022000652

นายอนุพล มัครมย์

ม.ต้น

วังหิน

34.

5823003538

นายคมสันต์ สิงห์สุพรรณ์

ม.ปลาย

วังหิน

35.

5913005127

นางชาตรี บุพล

ม.ปลาย

วังหิน

36.

5913005275

นายสุรพงษ์ ศรีมาศ

ม.ปลาย

วังหิน

37.

5913005284

นายวิเชียร กองเกิด

ม.ปลาย

วังหิน

38.

6013000591

นายคำภา เขียนคำสี

ม.ปลาย

วังหิน

39.

6013001543

นางสาวบัวผัน อุปัสสา

ม.ปลาย

วังหิน

40.

6013002483

นางสาวสุพรรษา ภูกองชนะ

ม.ปลาย

วังหิน

41.

6013002513

นางพัชรีญา กันยา

ม.ปลาย

วังหิน

42.

6023001504

นางสาวเจนจิรา ภูมะณี

ม.ปลาย

วังหิน

43.

5812000434

นายอาทิตย์ สอนฤทธิ์

ม.ต้น

หันโจด

44.

5822002501

นางมา ปาทะทา

ม.ต้น

หันโจด

45.

5912004396

นางสาวสุรีภร ชัยสุรินทร์

ม.ต้น

หันโจด

46.

5912004499

นายอดิศร พรมรักษา

ม.ต้น

หันโจด


62 ลำดับที่ รหัสนักศึกษา 47. 6012000413 48. 6012002761

ชื่อ-สกุล นายสุทิน ทุมสิงห์

นักศึกษาระดับ ม.ต้น

กศน.ตำบล หันโจด

นางสาวดาว แพงศรี

ม.ต้น

หันโจด

49.

6022000063

นางสาวทองดี คงพันแสง

ม.ต้น

หันโจด

50.

6022000072

นายศักดิ์ชัย ดีคลัง

ม.ต้น

หันโจด

51.

6022000090

นางสาวสุนิตา หลี่อินทร์

ม.ต้น

หันโจด

52.

6022000232

นายจีรพงศ์ สมีกลาง

ม.ต้น

หันโจด

53.

6022000241

นายชวัลวิทย์ ปัญญาวัฒนานนท์

ม.ต้น

หันโจด

54.

6023000217

นายสายทอง พลทา

ม.ปลาย

หันโจด

55.

6023000842

นางละออง จันนามอญ

ม.ปลาย

หันโจด

56.

6023000851

นางสมควร ขันแข็ง

ม.ปลาย

หันโจด

57.

6023000860

นายฉัตรมงคล จันทร์สม

ม.ปลาย

หันโจด

58.

6023000888

นายนิรุจน์ เศรษฐี

ม.ปลาย

หันโจด

59.

6023001166

นางหนูคิด อาษานอก

ม.ปลาย

หันโจด

60.

6023001175

นางแพงศรี จันดา

ม.ปลาย

หันโจด

61.

5912000383

นางสาวสมฤทัย มาสุขา

ประถม

ดอนดู่

62.

6012000350

นางนวลจันทร์ ไผ่นอก

ประถม

ดอนดู่

63.

5912000400

นายชินกร นาดี

ม.ต้น

ดอนดู่

64.

5922000292

นางสาวปริศรา ขันชาลี

ม.ต้น

ดอนดู่

65.

5922000322

นายนิวัฒิ มุมอภัย

ม.ต้น

ดอนดู่

66.

5922000331

นางสุภาพร มุมอภัย

ม.ต้น

ดอนดู่

67.

6022000205

นายสมควร ทับขวา

ม.ต้น

ดอนดู่

68.

6022000915

นายอภิสิทธิ์ ปัสสาวะนัง

ม.ต้น

ดอนดู่

69.

5813002776

นางรจนา จิตรนอก

ม.ปลาย

ดอนดู่

70.

5913000887

นายพิทักษ์ เทพชารี

ม.ปลาย

ดอนดู่

71.

5923000567

นางสาวรัชพร ปุสิงห์

ม.ปลาย

ดอนดู่

72.

5923000606

นางกัญญา ศรีจันทร์

ม.ปลาย

ดอนดู่


63 ลำดับที่ รหัสนักศึกษา 73. 6013002241 74. 6023000310

ชื่อ-สกุล นายอิสระ ศรียงยศ

นักศึกษาระดับ ม.ปลาย

กศน.ตำบล ดอนดู่

นายนันทวัฒน์ จันปัญญา

ม.ปลาย

ดอนดู่

75.

6023000338

นางทองฮ้วย จันปัญญา

ม.ปลาย

ดอนดู่

76.

6023000431

นายนัฐพงษ์ เมตไธสง

ม.ปลาย

ดอนดู่

77.

6023000477

นายวิชิต นาราษฎร์

ม.ปลาย

ดอนดู่

78.

6023000486

นายธรรมรัตน สะวามิ

ม.ปลาย

ดอนดู่

79.

6023000806

นางนุศรา เล็กเจ๊ก

ม.ปลาย

ดอนดู่

80.

5822002444

นางทัศนี ดีเดิม

ม.ต้น

โนนธาตุ

81.

6012000749

นายไพศาล เสาร์ศิริ

ม.ต้น

โนนธาตุ

82.

6012002480

นางสาวปวีณอร นามศรี

ม.ต้น

โนนธาตุ

83.

6012002499

นายสุชาติ การช่าง

ม.ต้น

โนนธาตุ

84.

6022000737

นายทวี พรมนอก

ม.ต้น

โนนธาตุ

85.

6022001145

นางสาวนิตยา แพงศรี

ม.ต้น

โนนธาตุ

86.

5913005622

นายมณีวรรณ แก้วนอก

ม.ปลาย

โนนธาตุ

87.

6013002867

นายบรรงยง มูลเทพ

ม.ปลาย

โนนธาตุ

88.

6023000600

นางดารารัตน์ ทิสุข

ม.ปลาย

โนนธาตุ

89.

5821000362

นายสุพันธ์ พลรักษา

ประถม

ดอนดั่ง

90.

5911001981

นายคำพี สุขวัฒน์กุล

ประถม

ดอนดั่ง

91.

6021000024

นางสมเพศ วิสูงเร

ประถม

ดอนดั่ง

92.

6021000033

นายประยงค์ศักดิ์ สุภาเชื้อ

ประถม

ดอนดั่ง

93.

6021000378

นางวิไล ศิริอุเทน

ประถม

ดอนดั่ง

94.

5912001180

นางเตือนใจ สุปะไตย

ม.ต้น

ดอนดั่ง

95.

5922002045

นางจอมศรี ดงแสง

ม.ต้น

ดอนดั่ง

96.

5922002755

นายสวัสดิ์ สร้างนอก

ม.ต้น

ดอนดั่ง

97.

5922002830

นางบุบผา ชัยบุรี

ม.ต้น

ดอนดั่ง

98.

6012001429

นายอุดม มิ่งไธสง

ม.ต้น

ดอนดั่ง


64 ลำดับที่ รหัสนักศึกษา 6022001024 99. 100. 6022001051

ชื่อ-สกุล นางแก่นจันทร์ ขุนทำนาย นางนิยม ชาวดอน

นักศึกษาระดับ ม.ต้ม

กศน.ตำบล ดอนดั่ง

ม.ต้น

ดอนดั่ง

101.

5913003712

นายชวนากร ลายเจริญ

ม.ปลาย

ดอนดั่ง

102.

5923002815

นายสุริยา ประทุน

ม.ปลาย

ดอนดั่ง

103.

6023000011

นางสาวสาวิตรี ทองอ่อน

ม.ปลาย

ดอนดั่ง

104.

6023000020

นายธนันชัย ระเวรี

ม.ปลาย

ดอนดั่ง

105.

6023001894

นายสมเกียรติ ศิริอุเทน

ม.ปลาย

ดอนดั่ง

106.

6023002042

นายธีรภัทร ม่าวไทย

ม.ปลาย

ดอนดั่ง

107.

5912002583

นางสุทธี สุขเสริม

ประถม

สำโรง

108.

5912004202

นายณัฐวุฒิ ชาดาเม็ก

ม.ต้น

สำโรง

109.

5922001730

นายนิพพิชฌน์ จันทะนันท์

ม.ต้น

สำโรง

110.

6022000157

นางสำ ราสี

ม.ต้น

สำโรง

111.

6022000166

นางสาวหนูเพียร นินชา

ม.ต้น

สำโรง

112.

6022000353

นางสาวสุภาพร แก้วพรม

ม.ต้น

สำโรง

113.

6022000362

นายอำนวย ชิมโพธิ์คลัง

ม.ต้น

สำโรง

114.

6022000607

นายไชยโย สมีกาง

ม.ต้น

สำโรง

115.

6022000616

นายประหยัด ชาสำโรง

ม.ต้น

สำโรง

116.

5913000609

นางสาวสวาท หันรุด

ม.ปลาย

สำโรง

117.

5923000923

นายสมหมาย โคตรชาดา

ม.ปลาย

สำโรง

118.

5923003287

นางสาวนิตยา ชาติทอง

ม.ปลาย

สำโรง

119.

6013001712

นายจตุพร ใคร่ควร

ม.ปลาย

สำโรง

120.

6013002362

นางจันทร์เพ็ญ กองพระ

ม.ปลาย

สำโรง

121.

6023000619

นางสาวชนาภัทร ธรรมมา

ม.ปลาย

สำโรง

122.

6023002060

นายบุญญฤทธิ์ คำภีระ

ม.ปลาย

สำโรง

123.

5921002994

นางอำ นาราษฎร์

ประถม

หนองเม็ก

124.

6011000326

นางสาวสำราญ อาริกร

ประถม

หนองเม็ก


65 ลำดับที่ รหัสนักศึกษา 125. 6011000773 126. 6011000867

ชื่อ-สกุล นางคำพัน โมกพา

นักศึกษาระดับ ประถม

กศน.ตำบล หนองเม็ก

นายสุริยน บรรยง

ประถม

หนองเม็ก

127.

5922001392

นายสิทธิชัย เขตคาม

ม.ต้น

หนองเม็ก

128.

5922001691

นางสาวอัยลดา ลาดนอก

ม.ต้น

หนองเม็ก

129.

6012000918

นายอาคม สุดทอง

ม.ต้น

หนองเม็ก

130.

6012000936

นายเชียง ไล้

ม.ต้น

หนองเม็ก

131.

6012000954

นางจิรนันท์ โคตรสีเมือง

ม.ต้น

หนองเม็ก

132.

6022000979

นางสาววิภา กองเกิด

ม.ต้น

หนองเม็ก

133.

5723002828

นายสมพร เสพธรรม

ม.ปลาย

หนองเม็ก

134.

5923000101

นายสันติภาพ ผาจันทร์

ม.ปลาย

หนองเม็ก

135.

6013000733

นางสาวนิตยา พลนงค์

ม.ปลาย

หนองเม็ก

136.

6013001600

นางบุญจันทร์ อานจำปา

ม.ปลาย

หนองเม็ก

137.

6013001637

นายวีระยุทธ ศรีเดช

ม.ปลาย

หนองเม็ก

138.

6013001664

นางละมัย สุพรรณพงษ์

ม.ปลาย

หนองเม็ก

139.

6013002278

นางมยุรา นามชาลี

ม.ปลาย

หนองเม็ก

140.

6023001531

นางสาวเรียน วิเชียร

ม.ปลาย

หนองเม็ก

141.

6023001540

นายนครเรณู ทิ้งโคตร

ม.ปลาย

หนองเม็ก

142.

6023002145

นางสาวรัตนากร ราชเทียร

ม.ปลาย

หนองเม็ก

143.

5521004295

นางหลา แทนไธสง

ประถม

หนองไผ่ล้อม

144.

5721001151

นางสุภาพร ทัดมาลา

ประถม

หนองไผ่ล้อม

145.

5722240618

นางสุรัตน์ อินชำนาญ

ม.ต้น

หนองไผ่ล้อม

146.

5722324202

นางบังอร สีหามาตย์

ม.ต้น

หนองไผ่ล้อม

147.

6012000543

นางสาววาสนา ภูขีด

ม.ต้น

หนองไผ่ล้อม

148.

6012001111

นางสาวอรวรรณ พลสุด

ม.ต้น

หนองไผ่ล้อม

149.

6012001250

นางขจร จำปามูล

ม.ต้น

หนองไผ่ล้อม

150.

6022000522

นายชัชวาลย์ สายกุล

ม.ต้น

หนองไผ่ล้อม


66 ลำดับที่ รหัสนักศึกษา 151. 6022001097 152. 5623301188

ชื่อ-สกุล นางสาวพนิตพร พลสุด

นักศึกษาระดับ ม.ต้น

กศน.ตำบล หนองไผ่ล้อม

นางคำมูล โมกไธสง

ม.ปลาย

หนองไผ่ล้อม

153.

5813001162

นายชัชวัสส์ ปัสสาวะภา

ม.ปลาย

หนองไผ่ล้อม

154.

5923002066

นางสาวกรรณิการ์ มอไธสง

ม.ปลาย

หนองไผ่ล้อม

155.

6013001132

นางคำมุก สมบูรณ์

ม.ปลาย

หนองไผ่ล้อม

156.

6013001691

นางสาวมณี ไพลาม

ม.ปลาย

หนองไผ่ล้อม

157.

6013001703

นางสาวอัลชลี ไพลาม

ม.ปลาย

หนองไผ่ล้อม

158.

6023001308

นางสาวเบญจวรรณ สีหามาตย์

ม.ปลาย

หนองไผ่ล้อม

159.

5912000950

นางสมพาน เกษี

ม.ต้น

หนองสองห้อง

160.

5922000180

นางแสงจันทร์ ประตังเวสา

ม.ต้น

หนองสองห้อง

161.

6022000184

นายอำนาจ สุขไธสง

ม.ต้น

หนองสองห้อง

162.

6022000988

นายกิตติพงษ์ นามไธสง

ม.ต้น

หนองสองห้อง

163.

6022001181

นายอัษฎาวุธ เตบุตรลวง

ม.ต้น

หนองสองห้อง

164.

6022001190

นางบัว สิงห์จันทร์

ม.ต้น

หนองสองห้อง

165.

5723004626

นายสาธิต จงเทพ

ม.ปลาย

หนองสองห้อง

166.

5823000461

นายสุวิทย์ อาษานอก

ม.ปลาย

หนองสองห้อง

167.

5913000234

นายบุญญชู สีหาบุตร

ม.ปลาย

หนองสองห้อง

168.

5923000044

นายภูวมินทร์ กองเกิด

ม.ปลาย

หนองสองห้อง

169.

5923000174

นางสาวจิระภา ปิตาระเต

ม.ปลาย

หนองสองห้อง

170.

5923000183

นายเอกสิทธ์ สีหาบุตร

ม.ปลาย

หนองสองห้อง

171.

6013000014

นางสาวกมลทิพย์ ปากศรี

ม.ปลาย

หนองสองห้อง

172.

6023000075

นางหนูเล็ก โยงไธสง

ม.ปลาย

หนองสองห้อง

173.

6023000682

นางสาวสุรัตน์ดา นอกตะแบก

ม.ปลาย

หนองสองห้อง

174.

6023000691

นายธนวัฒน์ สีหามาตย์

ม.ปลาย

หนองสองห้อง

175.

6023000721

นางสาวสมควร อาสาสร้อย

ม.ปลาย

หนองสองห้อง

176.

6023000758

นางสาวพัชรี มาตย์นอก

ม.ปลาย

หนองสองห้อง


67 ลำดับที่ รหัสนักศึกษา 177. 6023000776 178. 6023000909

ชื่อ-สกุล นางสาวรัตติกาล

นักศึกษาระดับ ม.ปลาย

กศน.ตำบล หนองสองห้อง

นายรวีโรจน์ จงเทพ

ม.ปลาย

หนองสองห้อง

179.

5912002860

นายสันทนา อินประจง

ม.ต้น

ดงเค็ง

180.

5912002776

นายไกรศักดิ์ ไกรไธสง

ม.ต้น

ดงเค็ง

181.

5912004574

นายนันทวัตร์ จันทร์มงคล

ม.ต้น

ดงเค็ง

182.

5922000386

นายพงศกร โยวะ

ม.ต้น

ดงเค็ง

183.

5922002072

นางร่วม พันธุบาล

ม.ต้น

ดงเค็ง

184.

6012000244

นายเกษมสันติ์ พิมพ์ทอง

ม.ต้น

ดงเค็ง

185.

5913004830

นางสุมาพร นาบำรุง

ม.ปลาย

ดงเค็ง

186.

5923000615

นายอภิชาติ ทาสอน

ม.ปลาย

ดงเค็ง

187.

6013000322

นายจิรายุ แขวงด่านกลาง

ม.ปลาย

ดงเค็ง

188.

6013000331

นายพงศกร ทุมมี

ม.ปลาย

ดงเค็ง

189.

6013000359

นางภูริตา มีทองหลาง

ม.ปลาย

ดงเค็ง

190.

6013000528

นายวิศรุต หาญชนะ

ม.ปลาย

ดงเค็ง

191.

6023001090

นางจิราวรรณ ธรรมวิชา

ม.ปลาย

ดงเค็ง

192.

6023001821

นายสมศรี กุดนอก

ม.ปลาย

ดงเค็ง

193.

6023002248

นายแสงชัย เรืองศิริ

ม.ปลาย

ดงเค็ง

194.

6113001416

นางสาวรุ้งทิพย์ อินประจง

ม.ปลาย

ดงเค็ง


68 ตั วบ่งชี้ที่ 1.2 ผู้เ รียนการศึกษาขั้น พื้น ฐานมีทักษะกระบวนการคิดทักษะการแสวงหาความรู้เรียนรู้ อย่างต่อเนื่องและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต หัวข้อประเด็น 1. ผู้เรียนมีความสามารถตาม คำอธิบายตัวบ่งชี้ 1.2 เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่ กำหนดหรือไม่ 2. สถานศึกษานำเสนอวิธีการประเมินความสามารถของผู้เรียนตามคำอธิบายตัว บ่งชี้ 1.2 อย่างไร 3. สถานศึกษามีผลการดำเนินงานเกี่ยวกับการพัฒนาผู้เรียนตามคำอธิบายตัวบ่งชี้ 1.2อย่างต่อเนื่องอย่างไร 4. สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นของสำนักงาน กศน. /นโยบาย จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ /ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร 5. สถานศึกษามีผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบตามคำอธิบายตัวบ่งชี้ 1.2 หรือไม่ อย่างไร สรุป

คะแนน

ระดับคุณภาพ

1 0.5 0.5 ดี 1 0.5 3.5

ผลการดำเนินงาน จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบงชี้ที่ 1.๒ พบว่าสถานศึกษาได้ คะแนน 3.5 คะแนนจากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยู่ในระดับ ดี ดังนี้ ประเด็นที่ 1 สถานศึกษามีผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะกระบวนการคิดทักษะการแสวงหา ความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่องและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต ดำเนินการได้ระดับดีมาก ร้อยละ 77.04 สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ (ค่าเป้าหมายร้อยละ 77 ) ของนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ทุกระดับทั้งหมด 2 ภาคเรียน คิดเป็นจำนวน 9,868 คน ระดั บ ประถมศึ ก ษา จำนวน 2,351 คน ดำเนิ น การได้ ร ะดั บ ดี ม าก ร้ อ ยละ 7๕.๒๘ สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ (ค่าเป้าหมายร้อยละ 75) ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น จำนวน 3,127 คน ดำเนิ น การได้ ร ะดั บ ดี ม าก ร้ อ ยละ 7๗.๒๖ สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ (ค่าเป้าหมายร้อยละ 77) ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย จำนวน 4,390 คน ดำเนิ น การได้ ร ะดั บ ดี ม าก ร้ อ ยละ ๘๐.1๔ สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ (ค่าเป้าหมายร้อยละ 79) ตารางที่ 6 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่องและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต ภาคเรียนที่ 2/2561 ระดับ

จำนวน ร้อยละ พอใช้ ดี ดีมาก ผู้เรียน ระดับ (คน) (คน) (คน) ทั้งหมด ดีมาก ประถม 1,221 366 855 70.02 ม.ต้น 1,477 414 1063 71.97 ม.ปลาย 2,246 584 1,662 73.99 เฉลี่ย 71.๙๙

ผลการ ดำเนินงาน จำนวน ร้อยละ (ค่าเฉลี่ยร้อยละ พอใช้ ดี ดีมาก ระดับดีมาก) ผู้เรียน ระดับ (คน) (คน) (คน) ทั้งหมด ดีมาก 1,130 - 2๒๐ ๙๑๐ ๘๐.๕๓ 7๕.๒๘ 1,650 - ๒๘๘ 1,๓๖๒ ๘๒.๕๕ 7๗.๒๖ 2,144 - ๒๙๔ 1,๘๕๐ ๘๖.๒๙ ๘๐.1๔ เฉลี่ย ๘๓.๑๒ 77.๕๖ ภาคเรียนที่ 1/2562


69 ตารางที่ 7 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่องและสามารถ นำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผลการ ผลการ ผลการ ดำเนินงาน(ร้อยละระดับดีมาก) ระดับ ประเมิน เปรียบเทียบ (คะแนน) ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ประถม 75 7๕.๒๘ +0.๒๘ ม.ต้น 77 7๗.๒๖ +0.๒๖ 1 ม.ปลาย 79 ๘๐.1๔ +๑.1๔ เฉลี่ย 77 77.๕๖ +0.๕๖ ประเด็นที่ ๒ วิธีการประเมินความสามารถของผู้เรียน โดยครูได้มีการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมที่หลากหลาย สอดคล้องกับความต้องการและความแตกต่างของผู้เรียน เช่น การเรียนรู้ด้วย โครงงาน การศึกษาด้วยตนเองจากสื่อที่หลากหลาย การเขียนโครงการ การทำกิจกรรม กพช. การสอนเสริม ใบงาน เป็นต้น เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตได้ ประเด็นที่ ๓ สถานศึกษามีการดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรียนรู้โครงการหรือกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการคิดการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่องเพื่อนำไปใช้ในการ ดำรงชีวิต กิจกรรมการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่ อง เพื่อนำไปใช้ใน การดำรงชีวิตที่สถานศึกษาดำเนินการจัดให้กับผู้เรียนในปีงบประมาณ 256๒ ประกอบด้วย โครงการค่าย ทักษะวิชาการ (ติวเข้ม N-Net) โครงการส่งเสริมประชาธิปไตย โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทยและ บุญคุณพระมหากษัตริย์ โครงการค่ายคุณธรรมและจริยธรรม โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะกระบวน คิดตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นที่ ๔ สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบาย แผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อ ๒.๑ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย และมีทักษะและคุณลักษณะที่จำเป็น ในศตวรรษที่ ๒๑ (๑) ร้อยละของผู้เรียนที่มีลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เพิ่มขึ้น นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 256๒ จุดเน้นการจัดการศึกษา 3. ระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ครูและผู้เรียนสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และจัดการเรียนรู้ แบบองค์รวม จัดแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ โดยมีจุดเน้น - เรียนภาษาไทย เน้นเพื่อการสื่อสาร และใช้เป็นเครื่องมือเพื่อเรียนวิชาอื่น - เรียนภาษาอังกฤษ เน้นเพื่อการสื่อสาร - เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เน้นพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การเรียนรู้จากสถานการณ์ จริง สถานการณ์จำลอง กิจกรรมการเรียนรู้จากปัญหาและการลงมือปฏิบัติสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาและ เรียนรู้อย่างมีความสุข - เรียนรู้ Digital และใช้ Digital เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ - ส่งเสริมการเรียนวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างนวัตกรรม


70 - จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทำ - พัฒนาครูตามความต้องการของครูและสถานศึกษา (คูปองครู) - จัดให้มีโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ นโยบายและจุดเน้นสำนักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ๓. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ๓.๑ ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ ความรับผิดชอบ ต่อส่วนรวม และการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ เช่น กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจนสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้กับบุคลากรในองค์กร ๓.๒ ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ รวมทั้งความ ต้องการของประชาชนและชุมชน ในรูปแบบที่หลากหลาย ให้ประชาชนคิดเป็น วิเคราะห์ได้ ตัดสินใจภายใต้ ข้อมูลที่ถูกต้อง ๓.๓ พัฒนาศักยภาพคนด้านทักษะและความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) ๑) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้สามารถ ใช้ Social Media และ Application ต่าง ๆ ในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ๒) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้ประชาชนมีทักษะความเข้าใจและใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน รวมทั้งสร้างรายได้ให้กับตนเองได้ ประเด็นที่ ๕ สถานศึกษามีตัวอย่างที่ดีในด้านทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต สู งกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ จำนวนทั้งสิ้น ๑๙๔ คน ซึ่งแบ่งออกเป็น ระดับประถมศึกษา ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีในด้านคุณธรรม จำนวน 2๐ คน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีในด้านคุณธรรม จำนวน ๖๔ คน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้เรียนที่เป็น ตัวอย่างที่ดีในด้านคุณธรรม จำนวน ๑๑๐ คน ดังตาราง ต่อไปนี้ ตารางที่ 8 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้เรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต ที่เป็นตัวอย่างที่ดี จำนวน จำนวนผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีในด้าน ทักษะ ผลการ ผู้เรียน การคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ฯ (คน) ระดับ ดำเนินงาน ทั้งหมด (คน) 2/2561 1/2562 ค่าเฉลี่ย (คน) ประถมศึกษา 1,130 26 30 28 28 มัธยมศึกษาตอนต้น 1,650 56 58 56 56 มัธยมศึกษาตอนปลาย 2,144 78 82 80 80 รวม 164


71 ตารางที่ 9 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562: ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในการดำรงชีวิตที่เป็นตัวอย่างที่ดี เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผล การดำเนินงาน(คน) ผลการ ค่าเป้าหมาย ดำเนินงาน

รายการ ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะ การแสวงหาความรู้เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการ ดำรงชีวิตที่เป็นตัวอย่างที่ดี

162

164

ผลการ เปรียบเทียบ

ผลการ ประเมิน (คะแนน)

+2

1

บัญชีรายชื่อผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้เรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง และ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน การดำรงชีวิตที่เป็นตัวอย่างที่ดีมีดังนี้ ที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23.

รหัสนักศึกษา 6022-00030-8

6022-00113-6 6112-00030-4 6112-00031-3 6112-00032-2 6112-00203-6 6112-00212-0 5722-32586-1 6112-00231-7 6012-00158-6 6112-00115-0 6112-00147-7 6122-00107-2 6112-00101-1 6012-00113-9 6112-00133-8 6112-00134-7 6112-00136-5 6122-00024-4 6212-00046-4 5822-00262-2 6112-00120-8 6112-00121-7

ชื่อ-สกุล นางเครือวัลย์ แจ่มใส นายโยธิน มาตย์นอก นายบุญส่ง บุยสวย นางนิตยา บุญสวย นายอาทิตย์ อาษานอก นายกฤษดา จงเทพ นางสาวศิริยาภา บุบผาเทพ นางบุญชู สอนนอก นางสาวอารมณ์ ไลไธสง นายโรจน์ศักดิ์ รักประสิทธิ์ นายก้าน มาตย์นอก นางสาวดมิสา อาสานอก นางสาวปาริชาติ ขันโอฬาร นายเกรียงศักด์ น่าบัณฑิต นายเฉลิมวงศ์ หลุ่มใส นางสาวบุบผา สุภะกะ นายธวัช จิตรเกาะ นางสาวรัชฎาภรณ์ ลุนละราช นางบานชื่น ศรีปนะมาณ นางสมจิตร นาสังข์ นายชานนท์ เสนาวงษ์ นายยุทธชัย นาดี นางสาวกัญญารัตน์ วิชาแหลม

นักศึกษาระดับ ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น

กศน.ตำบล หนองสองห้อง หนองสองห้อง หนองสองห้อง หนองสองห้อง หนองสองห้อง หนองสองห้อง หนองสองห้อง หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม คึมชาด ดอนดู่ ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า หนองไผ่ล้อม หนองสองห้อง หนองสองห้อง หนองสองห้อง ดอนดู่ ดอนดู่ ดอนดั่ง ดงเค็ง ดงเค็ง ดงเค็ง


72 ที่ 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52. 53. 54. 55. 56. 57. 58. 59. 60. 61.

รหัสนักศึกษา 6212-00086-6 5922-00240-1 6112-00056-4 6112-00057-3 6112-00143-1 5922-00236-2 6122-00085-1 6122-00071-2 5922-00296-0 5922-00124-4 6022-00116-3 6112-00004-1 6112-00127-1 6122-00069-1 6212-00063-3 6212-00062-4 6122-00134-4 6122-00133-5 6122-00132-6 6122-00131-7 6012-00021-7 6112-00080-9 5722-24048-5 6112-00181-5 6122-00057-0 6022-00051-3 5822-00264-0 6022-00066-1 6022-00077-3 6212-00129-2 6112-00180-6 6122-00047-7 5922-00025-6 6012-00252-9 6012-00255-6 6021-00008-8 6021-00009-7 6211-00001-4

ชื่อ-สกุล นางพอ นาพิบูลย์ นายประเวช เหลาวนาม นางสังวาลย์ ซื่อสัตย์ นางอุดม ตาสี นายนวพรรษ ชำนาญดี นางขันตรี จาดนอก นางสาวแสงจันทรื จันทร์กล้า นายวิชิต ลูกจันทร์ นางสาวลำดวน แก้วพรม นางนุช ประเสริฐสังข์ นายสมเกียรติ จำปามูล นางนาง แสนวังสี นางบุญศรี พรมนอก นายจตุรงค์ วึมชัยภูมิ นางบุญล้อม จันทร์ปัญญา นายเด่นศักดิ์ สอนสมัค นางสาวชบา ประโมนะกัง นางพวงเพ็ชร นิลไธสง นายจำเริญ ช่างทำ นายวีระ จำปามูล นายศิรินทร หงษ์หาร นายคมสันต์ บุญทัน นางหนูเย็น พลขวา นายศักดิ์ดา มาลัย นายลำใย คำนนท์ นายบุญชู โคตรศรีเมือง นางสาวเพ็ญศรี ไชยบัง นางสนั่น มาวงษ์ นางจูม มหารศ นายนันทวัตร ดีแป้น นางร่วม สินนอก นายไพรวรรณ นิตไธสง นายอุดม คนรู้ นายวิลัย ชัยพระอินทร์ นางบุญหลาย คำเตซะ นายรุ่งเจริญชัย สุขแสวง นางสำราญ สุขพลา นายพิมพ์ พลกลาง

นักศึกษาระดับ ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ประถม ประถม ประถม

กศน.ตำบล ดงเค็ง โนนธาตุ โนนธาตุ โนนธาตุ โนนธาตุ สำโรง หนองเม็ก วังหิน หนองสองห้อง หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม ดอนดู่ ดอนดู่ คึมชาด ดอนดั่ง หันโจด หนองเม็ก วังหิน วังหิน วังหิน วังหิน ดงเค็ง ดงเค็ง ตะกั่วป่า วังหิน วังหิน ดอนดู่ ดอนดู่ ดอนดู่


73 ที่ 62. 63. 64. 65. 66. 67. 68. 69. 70. 71. 72. 73. 74. 75. 76. 77. 78. 79. 80. 81. 82. 83. 84. 85. 86. 87. 88. 89. 90. 91. 92. 93. 94. 95. 96. 97. 98. 99.

รหัสนักศึกษา 6211-00002-3 5921-00043-1 5921-00171-9 5921-00125-0 6021-00012-7 6021-00013-6 6111-00038-3 5411-00043-9 5411-00040-2 5411-00013-0 6111-00030-1 6121-00021-4 6121-00044-7 5411-00041-1 5921-00283-7 5921-00284-6 5921-00285-5 5921-00286-4 5921-00149-2 5921-00150-4 5921-00151-3 6011-00026-9 6011-00007-2 5921-00075-8 5921-00076-7 5921-00077-6 5921-00071-2 6013-00021-0 6023-00090-9

6113-00043-7 6113-00044-6 6123-00009-6 5813-00132-2 6123-00163-7 6213-00274-2 6213-00275-1 5723-00430-9 5723-00431-8

ชื่อ-สกุล นายกอง พลกลาง นางสาวมุก จันอ่อน นางสาวสายฝน ทองดี นายบรรจง พลสำโรง นายชาญวิทย์ ครองจริง นายอาทิตย์ สอนโก่ย นายอาทิตย์ กองเกิด นางดวงจันทร์ แก้วพรม นางสารภี จันทาสี นายบุญโฮม เลไธสง นางสาวนงรักษ์ จันดี นางบีพียาน ประทาน นางสาวนิตยา แจ่มใส นางกัญญา พลศักดิ์หาญ นายนพพล พิลาวัลย์ นางงุ่น แก้วศรีฟอง นายวิลัย แก้วศรีฟอง นายวัชระ คนรู้ นายทองสุข บรรยงค์ นายธันวา ผลไธสง นางบู้ ศิลป์ประกอบ นางทองจันทร์ พรมใจ นางประสงค์ สมบัติราช นายใจ นานอก นางสมาน คนรู้ นายหนูดี บรรยงค์ นางแดง สร้างการนอก นายเกียรติศักดิ์ จงเทพ นายรวีโรจน์ จงเทพ นายวินัย แซ่อิ้ว นายมนตรี เอี่ยมศรี นายอาจหาญ อบกลิ่น นายสุริยันต์ ภูบาลชื่น นายพิเชษฐชัย ทองโสม นางลุนณี โสไธสง นายอาจณรงค์ หมั่นอุตส่าห์ นายทองสุข พันชัย นางสีดา พันชัย

นักศึกษาระดับ ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย

กศน.ตำบล ดอนดู่ ดอนดู่ หนองไผ่ล้อม หนองเม็ก หนองเม็ก หนองเม็ก หนองเม็ก หนองเม็ก หนองเม็ก หนองไผ่ล้อม ดงเค็ง หนองเม็ก โนนธาตุ หนองเม็ก ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า ดอนดู่ ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า หนองสองห้อง หนองสองห้อง หนองสองห้อง หนองสองห้อง หนองสองห้อง หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม คึมชาด คึมชาด


74 ที่

รหัสนักศึกษา 100. 5813-00245-9 101. 5813-00246-8 102. 6123-00022-9 103. 6123-00028-3 104. 6023-00086-0 105. 6023-00087-9 106. 6113-00048-2 107. 6113-00050-3 108. 6113-00051-2 109. 6113-00053-0 110. 6113-00054-9 111. 6113-00367-0 112. 6123-00003-2 113. 6123-00004-1 114. 6123-00005-0 115. 5923-00324-1 116. 6023-00173-7 117. 5923-00010-1 118. 6013-00163-7 119. 6013-00165-5 120. 6013-00166-4 121. 6023-00153-1 122. 6023-00154-0 123. 6023-00203-3 124. 6113-00145-2 125. 6123-00037-7 126. 6113-00211-4 127. 6113-00212-3 128. 6123-00077-9 129. 6123-00147-7 130. 6123-00148-6 131. 6123-00149-5 132. 6123-00150-7 133. 6213-00221-0 134. 6213-00272-4 135. 6213-00273-3 136. 5413-00435-8 137. 6023-00204-2

ชื่อ-สกุล นายวิชิตรา จ้อยภูเขียว นางสาวอมรรัตน์ โหว่สงคราม นางสาวดวงตา พันธ์ไธสง นายภานุพล ยวกดา นายฉัตรมงคล จันทร์สม นางพิศมัย ศรีประภา นางพิมพ์ ศรฤทธิ์ นางสาวมยุรี ภูมิบูลย์ นายธีรภัทร กันภัย นางสาววิไลพร เหลาทอง นายอานนท์ สอนบุญชู นายรัชชานนท์ พระจันทร์ นางสาวณัฐพร วิเศษศรี นางสาวจารุณี ตีระมาตย์ นางสาวแก้วหทัย เศษวิไส นางสาวอุไร จันจำปา นางบุญฐิน ลุนสำโรง นายสันติภาพ ผาจันทร์ นายวีระยุทธ ศรีเดช นางสาวหทัยชนก สีหามาตย์ นางละมัย สุวรรณพงษ์ นางสาวเรียน วิเชียร นายนครเรณู ทิ้งโคตร นางสาวฐิติชญา รักวาด นายนฤเบศ ชัยวังราช นางสาวกัญญาณัฐ เพ็งพร นายณัฐวุฒิ โนนตาเถร นางสาวนันทพร ด่างพล้อย นางสาวสุดารัตน์ โคตรศรีเมือง นางสาวรจนา ขันยะพัด นางสาวกัญญารัตน์ สิงห์ศรี นางสาวพรสุดา ชกนิกล้า นายภาณุ แก้วระวัง นายอดิศร มาลาศรี นางอารียา คามกระศก นายกฤษณะ คามกระสก นายธวัชชัย พิลาดา นายธีรภัทร ม่าวไทย

นักศึกษาระดับ ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย

กศน.ตำบล คึมชาด คึมชาด ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า หันโจด หันโจด หันโจด หันโจด หันโจด หันโจด หันโจด หันโจด หันโจด หันโจด หันโจด สำโรง สำโรง หนองเม็ก หนองเม็ก หนองเม็ก หนองเม็ก หนองเม็ก หนองเม็ก หนองเม็ก หนองเม็ก หนองเม็ก ดอนดู่ ดอนดู่ ดอนดู่ ดอนดู่ ดอนดู่ ดอนดู่ ดอนดู่ ดอนดู่ ดอนดู่ ดอนดู่ ดอนดั่ง ดอนดั่ง


75 ที่

รหัสนักศึกษา ชื่อ-สกุล 138. 6113-00318-4 นางน้อย กองเกิด 139. 6113-00319-3 นายสมศักดิ์ พันธ์ชาติ 140. 6113-00320-5 นางสุดใจ ทาธิแสง 141. 6113-00321-4 นายรันตโชติ กองเกิด 142. 6113-00322-3 นายพิทักษ์ กองเกิด 143. 6113-00323-2 นายจิรศักดิ์ เกี่ยวแก่ 144. 6113-00324-1 นายภูมินทร์ ชินรัตน์ 145. 6113-00325-0 นางสาวชินานาง ถนอมโภชน์ 146. 6113-00326-9 นายภูผา ถนอมโภชน์ 147. 6213-00233-1 นางกฤตวรรณ นาจะหมื่น 148. 6213-00276-0 นางสาวอารยา เจิงรัมย์ 149. 5723-00253-8 นางสาวธัญญลักษณ์ ไชยคต 150. 5723-00254-7 นายศราวุฒิ คมสลับแสง 151. 6113-00060-6 นางคำสี จันทร์ดา 152. 6113-00061-5 นายอภิสิทธิ์ โคตไทย 153. 6113-00062-4 นายสไกร สิงสูงเนิน 154. 6113-00064-2 นางวีรวรรณ มากไธสง 155. 6113-00065-1 นายธีรพล แบขุนทด 156. 6113-00066-0 นายสมพงษ์ โพธิ์ไพจิตร 157. 6113-00067-9 นายอังคาร เกียรตินอก 158. 6113-00082-0 นายสวรรค์ แก้วพรม 159. 6113-00084-8 นางสาวดวงใจ วงศ์เวียน 160. 6113-00085-7 นายนันทิพัฒน์ เพียรชัย 161. 6113-00086-6 นายชัยวุฒิ โนเปลือย 162. 6113-00087-5 นายรัตนโชติ ดาวศรี 163. 6113-00088-4 นางนภาพร เพ็งสวรรค์ 164. 6123-00105-7 นางสาวอัมรา บินไธสง *ผู้เรียนมีคุณลักษณะทักษะกระบวนการคิดฯ ตามประกาศของสถานศึกษา

นักศึกษาระดับ ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย

กศน.ตำบล ดอนดั่ง ดอนดั่ง ดอนดั่ง ดอนดั่ง ดอนดั่ง ดอนดั่ง ดอนดั่ง ดอนดั่ง ดอนดั่ง ดอนดั่ง ดอนดั่ง โนนธาตุ โนนธาตุ หันโจด หันโจด หันโจด หันโจด หันโจด หันโจด หันโจด สำโรง สำโรง สำโรง สำโรง สำโรง สำโรง สำโรง


76 ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๓ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้พื้นฐาน หัวข้อประเด็น 1. ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานตามคำอธิบายตัวบ่งชี้ 1.3 เป็นไปตามค่า เป้าหมายที่กำหนดไว้อย่างไร 2. ผู้เรียนนำความรู้พื้นฐานไปใช้ ในการดำรงชีวิต การทำงาน หรือการ ประกอบอาชีพได้ เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กำหนดอย่างไร 3. สถานศึกษามีผลการดำเนินงานเกี่ยวกับการพัฒนาความรู้พื้นฐานของ ผู้เรียนตามคำอธิบายตัวบ่งชี้ 1.3 อย่างต่อเนื่องอย่างไร 4. สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นของ สำนักงาน กศน. / นโยบาย จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ / ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร 5. สถานศึกษามีผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนำความรู้ไป ใช้ /ประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตหรือไม่ อย่างไร สรุป

คะแนน ๐

ระดับคุณภาพ

๑ 0.5 ๐.๕

ดี

1 ๓

ผลการดำเนินงาน จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบงชี้ที่ 1.๓ พบว่าสถานศึกษาได้ คะแนน ๓ คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยู่ในระดับ ดี ดังนี้ ประเด็นที่ 1 สถานศึกษา ได้ดำเนินการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับ ผู ้ เ รี ย น เพื ่ อ ให้ ผ ู ้ เ รี ย นมี ค วามรู้ ความสามารถ และมี ท ั ก ษะตามสาระการเรี ย นรู้ รวมทั ้ ง การนำความรู้ ความสามารถ ไปใช้ในการดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพ ซึ่งผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2562 ปรากฏว่ า ค่ า เฉลี่ ย ของคะแนนสอบปลายภาคเรี ย นของสถานศึ ก ษาต่ ำ กว่ า ค่ า เป้ า หมายทุ ก รายวิ ช า ทั ้ ง ระดั บ ประถมศึ ก ษา ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น และระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา ตอนปลายดั ง ปรากฏ ตามตารางที่ 10 ตารางที่ 10 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐาน รายวิชาบังคับ

ระดับประถมศึกษา 1.ทักษะการเรียนรู้ 2.ภาษาไทย 3.ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 4.คณิตศาสตร์ 5.วิทยาศาสตร์ 6.ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ 7.ทักษะการประกอบอาชีพ 8.พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน

ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบ ปลายภาคเรียนของสถานศึกษา 2/2561

1/2562

16.92 15.84 13.22 13.36 19.75 13.57 16.32 15.01

12.38 13.3 13.82 13.01 13.34 13.07 13.21 12.8

ผลการดำเนินงาน (ค่าเฉลี่ย)

14.65 14.57 13.52 13.18 16.5 13.32 12.65 13.9


77 รายวิชาบังคับ

ระดับประถมศึกษา 9.เศรษฐกิจพอเพียง 10.สุขศึกษา พลศึกษา 11.ศิลปศึกษา 12.สังคมศึกษา 13.ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 14.การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบ ปลายภาคเรียนของสถานศึกษา 2/2561

1/2562

17.58 12.47 16.41 16.09 18.51 16.26

12.97 13.52 13.15 13.31 12.84 12.3

ผลการดำเนินงาน (ค่าเฉลี่ย)

15.27 12.49 14.78 14.7 15.67 14.28

ตารางที่ 10 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐาน(ต่อ) รายวิชาบังคับ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 1.ทักษะการเรียนรู้ 2.ภาษาไทย 3.ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 4.คณิตศาสตร์ 5.วิทยาศาสตร์ 6.ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ 7.ทักษะการประกอบอาชีพ 8.พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน 9.เศรษฐกิจพอเพียง 10.สุขศึกษา พลศึกษา 11.ศิลปศึกษา 12.สังคมศึกษา 13.ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 14.การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบ ปลายภาคเรียนของสถานศึกษา 2/2561 1/2562 18.47 18.22 13.96 14.31 15 16.66 15.75 12.84 15.77 17.27 14.54 16.92 12.49 14.88

13.6 15.27 15.21 12.82 12.34 12.5 19.39 16.16 13.69 14.58 13.32 14.19 13.6 13.34

ผลการ ดำเนินงาน (ค่าเฉลี่ย) 16.03 16.74 14.58 13.56 13.67 14.58 17.57 14.5 14.73 15.92 13.93 15.55 13.04 14.11


78 ตารางที่ 10 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐาน (ต่อ) รายวิชาบังคับ

ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบ ปลายภาคเรียนของสถานศึกษา 2/2561 1/2562

ผลการ ดำเนินงาน (ค่าเฉลี่ย)

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1.ทักษะการเรียนรู้ 2.ภาษาไทย 3.ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 4.คณิตศาสตร์ 5.วิทยาศาสตร์ 6.ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ 7.ทักษะการประกอบอาชีพ 8.พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน 9.เศรษฐกิจพอเพียง 10.สุขศึกษา พลศึกษา 11.ศิลปศึกษา 12.สังคมศึกษา 13.ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 14.การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

17.25 18.11 14.78 18.05 15.96 14.88 15.13 15.14 15.46 15.7 15.4 16.7 13.87 15.27

12.99 15.54 13.47 13.58 12.36 12.98 13.69 12.55 13.48 14.73 14.37 12.97 14.92 13.45

15.12 16.82 14.12 15.81 14.16 13.93 14.41 13.84 14.47 15.21 14.88 14.83 14.39 14.36

สถานศึกษา ได้ดำเนินการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับผู้เรียน เพื่อให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ และมีทักษะตามสาระการเรียนรู้ รวมทั้งการนำความรู้ ความสามารถ ไปใช้ใน การดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพ และมีความพยายามให้ผู้เรียนมี ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนเฉลี่ยตามค่า เป้าหมายที่กำหนดไว้ในแต่ระดับ ซึ่งผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2562 พบว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยที่ต่ำ กว่าค่าเป้าหมายที่กำหนดแต่ทุกรายวิชา ดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 11 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนระดับประถมศึกษา มีความรู้พื้นฐาน รายวิชาบังคับ ระดับประถมศึกษา 1.ทักษะการเรียนรู้ 2.ภาษาไทย 3.ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผล การดำเนินงาน (คะแนนเฉลี่ย) ผลการ ค่าเป้าหมาย ดำเนินงาน 22.32 14.24 23.3 14.65 25.97 14.57 18.87 13.52

ผลการ เปรียบเทียบ (คะแนน)

ผลการ ประเมิน (คะแนน)

- 8.08 - 8.65 - 11.4 - 5.35

0


79 รายวิชาบังคับ 4.คณิตศาสตร์ 5.วิทยาศาสตร์ 6.ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ

เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผล การดำเนินงาน (คะแนนเฉลี่ย) ผลการ ค่าเป้าหมาย ดำเนินงาน 28.11 13.18 20.16 16.5 20.86 13.32

7.ทักษะการประกอบอาชีพ 8.พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน

22.83 21.25

9.เศรษฐกิจพอเพียง

21.51

10.สุขศึกษา พลศึกษา

22.25

11.ศิลปศึกษา

22.55

12.สังคมศึกษา

20.24

13.ศาสนาและหน้าที่พลเมือง

25.52

14.การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

19.06

12.65 13.9 15.27 12.49 14.78 14.7 15.67 14.28

ผลการ เปรียบเทียบ (คะแนน)

ผลการ ประเมิน (คะแนน)

- 14.93 - 3.66 - 7.54 - 10.18 - 7.35 - 6.24 - 9.76 - 7.77 - 5.54 - 9.85 - 4.78

ตารางที่ 11 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีความรู้พื้นฐาน (ต่อ) รายวิชาบังคับ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 1.ทักษะการเรียนรู้ 2.ภาษาไทย 3.ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผล การดำเนินงาน (คะแนนเฉลี่ย) ผลการ ค่าเป้าหมาย ดำเนินงาน 22.34 14.89 22.05 16.03 23.43 19.35

4.คณิตศาสตร์

27

5.วิทยาศาสตร์

24.24

6.ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ

22.87

7.ทักษะการประกอบอาชีพ 8.พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน 9.เศรษฐกิจพอเพียง 10.สุขศึกษา พลศึกษา 11.ศิลปศึกษา

29.98 24.59 18.79 20.36 18.52

12.สังคมศึกษา

18.95

13.ศาสนาและหน้าที่พลเมือง

24.95

14.การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

17.76

16.74 14.58 13.56 13.67 14.58 17.57 14.5 14.73 15.92 13.93 15.55 13.04 14.11

ผลการ เปรียบเทียบ (คะแนน)

ผลการ ประเมิน (คะแนน)

- 7.45 - 6.02 - 6.69 - 4.77 - 13.44 - 10.57 - 8.29 - 12.41 - 10.09 - 4.06 - 4.44 - 4.59 - 3.4 - 11.91 - 3.65

0


80 ตารางที่ 11 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีความรู้พื้นฐาน (ต่อ) รายวิชาบังคับ

เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผล การดำเนินงาน (คะแนนเฉลี่ย) ผลการ ค่าเป้าหมาย ดำเนินงาน

ผลการ เปรียบเทียบ (คะแนน)

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

22.96

14.89

- 8.07

1.ทักษะการเรียนรู้

21.54

16.03

- 5.51

2.ภาษาไทย

22.64

16.74

- 5.9

3.ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

19.55

14.58

- 4.97

4.คณิตศาสตร์

29.06

13.56

- 15.5

5.วิทยาศาสตร์

24.11

13.67

- 10.44

6.ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ

22.07

14.58

- 7.49

7.ทักษะการประกอบอาชีพ

29.75

17.57

- 12.18

8.พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน

23.69

14.5

- 9.19

9.เศรษฐกิจพอเพียง

18.46

14.73

- 3.73

10.สุขศึกษา พลศึกษา

21.40

15.92

- 5.48

11.ศิลปศึกษา

23.71

13.93

- 9.78

12.สังคมศึกษา

19.95

15.55

- 4.4

13.ศาสนาและหน้าที่พลเมือง

27.77

- 14.73

14.การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

17.87

13.04 14.11

ผลการ ประเมิน (คะแนน)

0

- 3.76

*รายวิชาใดมีคะแนนสูงขึ้นกว่าค่าเป้าหมายให้ใส่เครื่องหมายบวกไว้หน้าคะแนนผลการเปรียบเทียบ รายวิชาใดคะแนนต่ำกว่าค่าเป้าหมายให้ใส่เครื่องหมายลบ ไว้หน้าคะแนนผลการเปรียบเทียบ เพื่อจะได้ทราบ ว่าสูงกว่าหรือต่ำกว่าไปกี่คะแนน *ผลการเปรียบเทียบทั้ง 3 ระดับ ถ้ามีค่าสูงกว่าค่าเป้าหมายทุกรายวิชา ได้คะแนน 1 คะแนน ถ้าสูง กว่าค่าเป้าหมายไม่ครบทุกรายวิชา ได้คะแนน 0.5 ถ้าต่ำกว่าค่าเป้าหมายทุกรายวิชา ได้คะแนน 0 จากตารางจะเห็นได้ว่าผู้เรียนระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลายของ สถานศึกษา มีความรู้ ความสามารถ และมีทักษะตามสาระการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ คะแนนสอบปลายภาคเรียนที่ 2/2561 และภาคเรียนที่ 1/2562 เมื่อเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมายแล้วพบว่า ทุกรายวิชามีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าค่าเป้าหมายที่เป้าหมายกำหนด ซึ่งสรุปได้ว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบปลายภาคเรียน ของสถานศึกษาทุกรายวิชาต่ำกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนด


81 ประเด็นที่ 2 สถานศึกษา ได้กำหนดค่าเป้าหมายให้ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน นำความรู้พื้นฐานไปใช้ ในการดำรงชีวิต การทำงาน หรือการประกอบอาชีพได้ ในระดับประถมศึกษา ร้อยละ 35 ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ร้อยละ 72 และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 79 ซึ่งผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2562 พบว่า ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน นำความรู้พื้นฐานไปใช้ในการดำรงชีวิต การทำงาน หรือการ ประกอบอาชีพได้เฉลี่ยร้อยละ 63.33 ซึง่ สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนด (ค่าเป้าหมายร้อยละ 62) ดังนี้ ตารางที่ 12 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนนำความรู้พื้นฐาน ไปใช้ในการดำรงชีวิต การทำงาน หรือการประกอบอาชีพได้ ระดับ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

จำนวนผู้เรียน ทั้งหมด (คน) 1,130 1,650 2,144

จำนวนผู้จบ ทั้งหมด (คน) 79 308 441 เฉลี่ย

จำนวนผู้เรียนนำความรู้พื้นฐานไปใช้ใน ผลการ การดำรงชีวิต การทำงาน หรือการ ดำเนินงาน ประกอบอาชีพได้ (คน) (ร้อยละ ค่าเฉลีย่ ) 2/2561 1/2562 ค่าเฉลี่ย 46 26 36 36 75 73 74 74 90 70 80 80 63.33

ตารางที่ 13 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนนำความรู้พื้นฐานไปใช้ในการดำรงชีวิตการทำงานหรือการประกอบอาชีพได้ ระดับ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย เฉลี่ย

เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผลการดำเนินงาน (ร้อยละ) ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 35 36 72 74 79 80 62 63.33

ผลการ เปรียบเทียบ

ผลการ ประเมิน (คะแนน)

+1.00 +2.00 +1.00 +1.33

1

ประเด็นที่ 3 สถานศึกษา ได้ดำเนินการพัฒนาความรู้พื้นฐานผู้เรียนอย่างต่อเนื่องในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ด้วยการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในการสอบวัดผล สัมฤทธิ์ปลายภาคเรียนและการสอบวัดผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ (N-net) ให้ผลสอบมีคะแนนสูงขึ้น โดยครูผู้สอน ได้ออกแบบการจัดการเรีย นรู้เป็น รายบุคคลตามสภาพความพร้อมของผู้เรียน และมีการ ติดตามผู้เรียน เป็นรายบุคคลพร้อมกับทำวิจัยในชั้นเรียนโดยการบันทึกหลังสอน นำเสนอแนวทางพัฒนาร่วมกับผู้บริห าร ซึ่งการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เช่น โครงการติวเข้มเติมเต็มความรู้ ประเด็นที่ 4 สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อ ๓.๑๐ ส่งเสริม และพัฒนาระบบการสะสมและเทียบโอนหน่วยการเรียน (Credit Bank System) ของสถานศึกษา ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


82 ข้อ ๓.๑๒ ส่งเสริมการรู้ภาษาไทย เพิ่มอัตราการรู้หนังสือ และยกระดับการรู้หนังสือของประชาชน ๒) เร่งจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มอัตราการรู้หนังสือ และคงสภาพการรู้หนังสือ ให้ประชาชนสามารถอ่าน ออก เขียนได้ และคิดเลขเป็น โดยมีการวัดระดับการรู้หนังสือ การใช้สื่อ กระบวนการ และกิจกรรมพัฒนา ทักษะในรูปแบบต่าง ๆที่เหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย ๓) ยกระดับการรู้หนังสือของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการรู้หนังสือในรูปแบบ ต่าง ๆ รวมทั้งพัฒนาให้ประชาชนมีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ข้อ ๔.๑ เพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษา ๑) เร่งดาเนินการหาตัวตนของประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษาให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษา โดยใช้กลวิธี “เคาะประตูบ้าน รุกถึงที่ ลุยถึงถิ่น” โดยประสานกับสานักงานศึกษาธิการจังหวัด เพื่อดาเนินการ ตรวจสอบข้อมูลทะเบียนราษฎร์เทียบกับข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของทุกหน่วยงาน ค้นหาผู้ที่ไม่ได้อยู่ใน ระบบการศึกษาเป็นรายบุคคลและรวบรวมจัดทำเป็นฐานข้อมูลและลงพื้นที่ติดตามหาตัวตนของกลุ่มเป้าหมาย หาสาเหตุของการไม่เข้าเรียน และสอบถามความต้องการในการศึกษาต่อ พร้อมทั้งจำแนกข้อมูลตามประเภท ของสาเหตุ และประเภทความต้องการในการศึกษาต่อ และส่งต่อกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้รับการศึกษาต่อตาม ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒) ติดตามผลของกลุ่มเป้าหมายประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษาที่ได้รับการจัดหาที่เรียน และทั้งจัดทาฐานข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษาของกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งพัฒนาระบบเพื่อการติดตามกลุ่มเป้าหมาย ที่ได้รับการช่วยเหลือให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาแบบครบวงจร โดยติดตามตั้งแต่การเข้าศึกษาต่อจนจบ การศึกษา ข้อ ๔.๒ พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกล ให้มีความทันสมัย มีหลักสูตรและสาระการเรียนรู้ที่ หลากหลายและสถานศึกษา กศน. สามารถนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมายได้อย่างเหมาะสม ข้อ ๔.๖ ขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้แผนพัฒนาการศึกษาระดับภาค ๑) สร้างความรู้ความเข้าใจให้กั บบุคลากรของสำนัก งาน กศน. เกี่ยวกับการดำเนินงานภายใต้ แผนพัฒนาการศึกษาระดับภาคเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค ๒) เร่งจัดทายุทธศาสตร์และแผนพัฒนาการศึกษาระดับภาค ของสานักงาน กศน.ให้สอดคล้องกับ แผนพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประเด็นที่ 5 สถานศึกษา ได้ดำเนินการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน การดำรงชีวิต เกิดผู้เรียนที่เป็นต้นแบบในการนำความรู้ไปใช้ / ประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต ปีงบประมาณ 2562 โดยกำหนดค่าเป้าหมายผู้เรียนที่เป็นต้นแบบในการนำความรู้ไปใช้ / ประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต จำนวน 79 คน จากผลการดำเนินงาน พบว่า สามารถดำเนินการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นต้นแบบฯ ได้จำนวน 80 คน เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด ดังตารางแสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบในด้านการนำความรู้ พื้นฐานไปใช้ ประยุกต์ใช้ ในการดำรงชีวิต


83 ตารางที่ 14 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือเป็นต้นแบบในด้านการนำความรู้พื้นฐานไปใช้ ประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต ระดับ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

จำนวนผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบ จำนวน ในด้านการนำความรู้พื้นฐานไปใช้ ประยุกต์ใช้ใน ผลการ ผู้เรียน ดำเนินงาน การดำรงชีวิต (คน) ทั้งหมด (คน) (คน) 2/2561 1/2562 ค่าเฉลี่ย 1,130 79 81 80 80 1,650 79 81 80 80 2,144 79 81 80 80 รวม 80

ตารางที่ 15 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบในด้านการนำความรู้ พื้นฐานไปใช้ ประยุกต์ใช้ ในการดำรงชีวิต รายการ

เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผลการ ดำเนินงาน (คน) ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน

ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบ ในด้านการนำความรู้พื้นฐานไปใช้ ประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต

79

80

ผลการ เปรียบเทียบ

ผลการ ประเมิน (คะแนน)

+1

1

บัญชีรายชื่อผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีในด้านการนำความรู้ พื้นฐานไปใช้ ประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต มีดังนี้ ที่ 1. 2. 3.

4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13.

รหัสนักศึกษา

ชื่อ-สกุล

6112-00101-1 นายเกรียงศักด์ น่าบัณฑิต 6012-00113-9 นายเฉลิมวงศ์ หลุ่มใส 6112-00133-8 นางสาวบุบผา สุภะกะ 6112-00134-7 นายธวัช จิตรเกาะ 6112-00136-5 นางสาวรัชฎาภรณ์ ลุนละราช 6122-00024-4 นางบานชื่น ศรีปนะมาณ 6212-00046-4 นางสมจิตร นาสังข์ 5822-00262-2 นายชานนท์ เสนาวงษ์ 6112-00120-8 นายยุทธชัย นาดี 6112-00121-7 นางสาวกัญญารัตน์ วิชาแหลม 6212-00086-6 นางพอ นาพิบูลย์ 5922-00240-1 นายประเวช เหลานาม 6112-00056-4 นางสังวาลย์ ซื่อสัตย์

นักศึกษา ระดับ ม.ต้น

เรื่องที่ดีเด่น

กศน.ตำบล

มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น

หนองไผ่ล้อม

ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น

มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น

หนองสองห้อง หนองสองห้อง หนองสองห้อง ดอนดู่

ม.ต้น

มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น

ดอนดู่

ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น

มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น

ดอนดั่ง ดงเค็ง ดงเค็ง ดงเค็ง

ม.ต้น ม.ต้น ม.ต้น

มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น

ดงเค็ง โนนธาตุ โนนธาตุ


84 นักศึกษา ระดับ ม.ต้น 14. 6112-00057-3 นางอุดม ตาสี ม.ต้น 15. 6112-00143-1 นายนวพรรษ ชำนาญดี ม.ต้น 16. 5922-00236-2 นางขันตรี จาดนอก 17. 6122-00085-1 นางสาวแสงจันทร์ จันทร์กล้า ม.ต้น 18. 6122-00071-2 นายวิชิต ลูกจันทร์ ม.ต้น 19. 5922-00296-0 นางสาวลำดวน แก้วพรม ม.ต้น 20. 5922-00124-4 นางนุช ประเสริฐสังข์ ม.ต้น 21. 6022-00116-3 นายสมเกียรติ จำปามูล ม.ต้น 22. 6112-00004-1 นางนาง แสนวังสี ม.ต้น 23. 6112-00127-1 นางบุญศรี พรมนอก ม.ต้น 24. 6122-00069-1 นายจตุรงค์ วึมชัยภูมิ ม.ต้น นางบุ ญ ล้ อ ม จั น ทร์ ป ญ ั ญา 25. 6212-00063-3 ม.ต้น 26. 6212-00062-4 นายเด่นศักดิ์ สอนสมัคร ม.ต้น 27. 6122-00134-4 นางสาวชบา ประโมนะกัง ม.ต้น 28. 6122-00133-5 นางพวงเพ็ชร นิลไธสง ม.ต้น 29. 6122-00132-6 นายจำเริญ ช่างทำ ม.ต้น 30. 6122-00131-7 นายวีระ จำปามูล ม.ต้น 31. 6012-00021-7 นายศิรินทร หงษ์หาร ม.ต้น 32. 6112-00080-9 นายคมสันต์ บุญทัน ม.ต้น 33. 5722-24048-5 นางหนูเย็น พลขวา ม.ต้น 34. 6112-00181-5 นายศักดิ์ดา มาลัย ม.ต้น 35. 6122-00057-0 นายลำใย คำนนท์ ม.ต้น 36. 6022-00051-3 นายบุญชู โคตรศรีเมือง ม.ต้น 37. 5822-00264-0 นางสาวเพ็ญศรี ไชยบัง ม.ต้น 38. 6022-00066-1 นางสนั่น มาวงษ์ ม.ต้น 39. 6022-00077-3 นางจูม มหารศ ม.ต้น 40. 6212-00129-2 นายนันทวัตร ดีแป้น ม.ต้น 41. 6112-00180-6 นางร่วม สินนอก ม.ต้น 42. 6122-00047-7 นายไพรวรรณ นิตไธสง ม.ต้น 43. 5922-00025-6 นายอุดม คนรู้ ม.ต้น 44. 6012-00252-9 นายวิลัย ชัยพระอินทร์ ม.ต้น 45. 6012-00255-6 นางบุญหลาย คำเตซะ ม.ต้น 46. 6021-00008-8 นายรุ่งเจริญชัย สุขแสวง ประถม 47. 6021-00009-7 นางสำราญ สุขพลา ประถม 48. 6211-00001-4 นายพิมพ์ พลกลาง ประถม 49. 6211-00002-3 นายกอง พลกลาง ประถม 50. 5921-00043-1 นางสาวมุก จันอ่อน ประถม 51. 5921-00171-9 นางสาวสายฝน ทองดี ประถม 52. 5921-00125-0 นายบรรจง พลสำโรง ประถม 53. 6021-00012-7 นายชาญวิทย์ ครองจริง ประถม 54. 6021-00013-6 นายอาทิตย์ สอนโก่ย ประถม 55. 6111-00038-3 นายอาทิตย์ กองเกิด ประถม

ที่

รหัสนักศึกษา

ชื่อ-สกุล

เรื่องที่ดีเด่น

กศน.ตำบล

มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น

โนนธาตุ โนนธาตุ สำโรง หนองเม็ก วังหิน หนองสองห้อง หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม ดอนดู่ ดอนดู่ คึมชาด ดอนดั่ง หันโจด หนองเม็ก วังหิน วังหิน วังหิน วังหิน ดงเค็ง ดงเค็ง ตะกั่วป่า วังหิน วังหิน ดอนดู่ ดอนดู่ ดอนดู่ ดอนดู่ ดอนดู่ หนองไผ่ล้อม หนองเม็ก หนองเม็ก หนองเม็ก หนองเม็ก


85 ที่ 56. 57. 58. 59.

รหัสนักศึกษา 5411-00043-9 5411-00040-2 5411-00013-0 6111-00030-1 6121-00021-4 6121-00044-7 5411-00041-1 5921-00283-7 5921-00284-6 5921-00285-5 5921-00286-4 5921-00149-2 5921-00150-4 5921-00151-3 6011-00026-9 6011-00007-2 5921-00075-8 5921-00076-7 5921-00077-6 5921-00071-2 6013-00021-0 6023-00090-9 6113-00043-7 6113-00044-6 6123-00009-6

ชื่อ-สกุล นางดวงจันทร์ แก้วพรม นางสารภี จันทาสี นายบุญโฮม เลไธสง นางสาวนงรักษ์ จันดี นางบีพียาน ประทาน นางสาวนิตยา แจ่มใส นางกัญญา พลศักดิ์หาญ นายนพพล พิลาวัลย์ นางงุ่น แก้วศรีฟอง นายวิลัย แก้วศรีฟอง นายวัชระ คนรู้ นายทองสุข บรรยงค์ นายธันวา ผลไธสง นางบู้ ศิลป์ประกอบ นางทองจันทร์ พรมใจ นางประสงค์ สมบัติราช นายใจ นานอก นางสมาน คนรู้ นายหนูดี บรรยงค์ นางแดง สร้างการนอก นายเกียรติศักดิ์ จงเทพ นายรวีโรจน์ จงเทพ นายวินัย แซ่อิ้ว นายมนตรี เอี่ยมศรี นายอาจหาญ อบกลิ่น

60. 61. 62. 63. 64. 65. 66. 67. 68. 69. 70. 71. 72. 73. 74. 75. 76. 77. 78. 79. 80. * ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามประกาศของสถานศึกษา

นักศึกษา ระดับ ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ประถม ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย ม.ปลาย

เรื่องที่ดีเด่น

กศน.ตำบล

มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเด่น

หนองเม็ก หนองเม็ก หนองไผ่ล้อม ดงเค็ง หนองเม็ก โนนธาตุ หนองเม็ก ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า ดอนดู่ ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า หนองสองห้อง หนองสองห้อง หนองสองห้อง หนองสองห้อง หนองสองห้อง


86 ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ หัวข้อประเด็น 1. ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร เป็นไปตาม ค่าเป้าหมายที่กำหนดหรือไม่ 2. ผู้เรียนนำความรู้ไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือประกอบ อาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพ หรือเพิ่มมูลค่าของสินค้าหรือบริการ เป็นไป ตามค่าเป้าหมายที่กำหนดหรือไม่ 3. สถานศึกษามีการประเมินผู้เรียนและมีการติดตามการนำความรู้ไปใช้ตาม คำอธิบาย ตัวบ่งชี้ 1.4 ที่น่าเชื่อถืออย่างไร 4. สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นของ สำนักงาน กศน. / นโยบาย จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ / ยุทธศาสตร์ และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร 5. สถานศึกษามีผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนำความรู้ไปใช้ หรือไม่ อย่างไร สรุป

คะแนน

ระดับคุณภาพ

1 ๑ 0.5

ดี

๐.๕ ๐.๕ 3.5

ผลการดำเนินงาน จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบงชี้ที่ 1.๔ พบว่าสถานศึกษาได้ คะแนน 3.5 คะแนนจากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยู่ในระดับ ดี ดังนี้ ประเด็นที่ 1 สถานศึกษา เห็นความสำคัญในการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง โดยมีการจัดการเรียน การสอนให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร มีทักษะพื้นฐานในการดำเนินชีวิตและ ในการทำงาน ก่อให้เกิดชีวิตที่มั่นคงสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข จึงได้จัดการศึกษาต่อเนื่ องให้ ตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนา ทักษะชีวิต และการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยผลการจัดกิจกรรมผู้เรียน / ผู้เข้ารับการอบรมมี ความรู้ความสามารถในการประกอบอาชีพได้ ระดับดีมาก จำนวน 886 คิดเป็นร้อยละ 74.04 ซึ่งสูงกว่า เป้าหมายที่กำหนด (เป้าหมายกำหนดร้อยละ 73) โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ ผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน(ช่างเชื่อมเหล็ก) จำนวน 48 คน มีผลการเรียนรู้ใน ระดับดีมาก จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 75 ซึง่ สูงกว่าเป้าหมายกำหนด (เป้าหมายกำหนด ร้อยละ 73) ผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรช่างไฟฟ้า จำนวน 92 คน มีผลการเรียนรู้ในระดับดีมาก จำนวน 68คน คิดเป็นร้อยละ 73.91 ซึง่ สูงกว่าเป้าหมายกำหนด (เป้าหมายกำหนด ร้อยละ 73) ผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรอาชีพเกษตรกรทางรอดโดยการนำผักตบชวามาปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ (ทั้ง12ตำบล )จำนวน 504 คน มีผลการเรียนรู้ในระดับดีมาก จำนวน 368 คน คิดเป็นร้อยละ 73.01 ซึง่ สูง กว่าเป้าหมายกำหนด (เป้าหมายกำหนด ร้อยละ 73) ผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรมช่างพื้นฐาน (ช่างปูน) กศน.ตำบลดอนดั่ง จำนวน 22 คน มีผลการเรียนรู้ในระดับ ดีมาก จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 72.72 ซึง่ ต่ำกว่าเป้าหมายกำหนด (เป้าหมายกำหนด ร้อยละ 73) ผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรมช่างพื้นฐาน (ช่างปูน) กศน.ตำบลคึมชาด จำนวน 22 คน มีผลการเรียนรู้ในระดับ ดีมาก จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 72.72 ซึง่ ต่ำกว่าเป้าหมายกำหนด (เป้าหมายกำหนด ร้อยละ 73) ผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรมช่างพื้นฐาน (ช่างปูน) กศน.ตำบลดอนดู่ จำนวน 22 คน มีผลการเรียนรู้ในระดับดี มาก จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 72.72 ซึง่ ต่ำกว่าเป้าหมายกำหนด (เป้าหมายกำหนด ร้อยละ 73 )


87 ผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรมช่างพื้นฐาน (ช่างปูน) กศน.ตำบลวังหิน จำนวน 11 คน มีผลการเรียนรู้ในระดับดี มาก จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 63.63 ซึง่ ต่ำกว่าเป้าหมายกำหนด (เป้าหมายกำหนด ร้อยละ 73) ผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรมช่างพื้นฐาน (ช่างปูน) กศน.ตำบลวังหิน จำนวน 11 คน มีผลการเรียนรู้ในระดับดี มาก จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 63.63 ซึง่ ต่ำกว่าเป้าหมายกำหนด (เป้าหมายกำหนด ร้อยละ 73) ผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรมช่างก่อสร้าง (ช่างปูน) กศน.ตำบลสำโรง จำนวน 22 คน มีผลการเรียนรู้ในระดับ ดีมาก จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 77.27 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายกำหนด (เป้าหมายกำหนด ร้อยละ 73) ผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรมช่างพื้นฐาน (ช่างปูน) กศน.ตำบลหนองเม็ก จำนวน 11 คน มีผลการเรียนรู้ใน ระดับดีมาก จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 63.63 ซึ่งต่ำกว่าเป้าหมายกำหนด (เป้าหมายกำหนด ร้อยละ 73) ผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรมช่างพื้นฐาน (ช่างปูน) กศน.ตำบลหนองเม็ก จำนวน 11 คน มีผลการเรียนรู้ใน ระดับดีมาก จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 63.63 ซึ่งต่ำกว่าเป้าหมายกำหนด (เป้าหมายกำหนด ร้อยละ 73) ผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรมช่างก่อสร้าง (ช่างปูน) กศน.ตำบลหันโจด จำนวน 22 คน มีผลการเรียนรู้ในระดับ ดีมาก จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 72.72 ซึ่งต่ำกว่าเป้าหมายกำหนด (เป้าหมายกำหนด ร้อยละ 73) ผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรมช่างก่อสร้าง (ช่างปูน) กศน.ตำบลหนองสองห้อง จำนวน 22 คน มีผลการเรียนรู้ ในระดั บ ดี ม ากจำนวน 17 คน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 77.27 ซึ ่ ง สู ง กว่ า เป้า หมายกำหนด (เป้ า หมายกำหนด ร้อยละ 73) ผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรมช่างก่อสร้าง (ช่างปูน) กศน.ตำบลตะกั่วป่า จำนวน 22 คน มีผลการเรียนรู้ใน ระดับดีมาก จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 72.72 ซึ่งต่ำกว่าเป้าหมายกำหนด (เป้าหมายกำหนดร้อยละ 73) ผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรมช่างก่อสร้าง (ช่างปูน) กศน.ตำบลหนองไผ่ล้อม จำนวน 22 คน มีผลการเรียนรู้ใน ระดับดีมากจำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 77.27 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายกำหนด (เป้าหมายกำหนดร้อยละ 73) ผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรมช่างก่อสร้าง (ช่างปูน) กศน.ตำบลดงเค็ง จำนวน 22 คน มีผลการเรียนรู้ในระดับ ดีมากจำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 77.27 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายกำหนด (เป้าหมายกำหนดร้อยละ 73) ตารางที่ 16 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษาปีงบประมาณ 2562: ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร หลักสูตร 1. โครงการ 1 อำเภอ 1 อาชีพ 1.1 หลักสูตรศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (ช่างเชื่อมเหล็ก) 1.2 หลักสูตรช่างไฟฟ้าพื้นฐาน 2. โครงการพัฒนาอาชีพ/ กลุ่มสนใจ ๒.1 อาชีพเกษตรกรทางรอดโดย การนำผักตบชวามาปลูกพืชและ เลี้ยงสัตว์ (ทั้ง12ตำบล) 3. โครงการช่างพื้นฐาน ๓.1 ช่างพื้นฐาน (ช่างปูน) กศน.ตำบลดอนดั่ง ๓.2 ช่างพื้นฐาน (ช่างปูน) กศน.ตำบลคึมชาด

จำนวน จำนวนผู้ไม่ จำนวนผู้จบหลักสูตร (คน) ผลการดำเนินงาน ที่จัด จบหลักสูตร (ร้อยละระดับดีมาก) พอใช้ ดี ดีมาก (คน) (คน) 48

0

0

12

36

75

92

0

0

24

68

73.91

504

0

0

136

368

73.01

22

0

0

6

16

72.72

22

0

0

6

16

72.72


88 หลักสูตร ๓.3 ช่างพื้นฐาน (ช่างปูน) กศน.ตำบลดอนดู่ ๓.4 ช่างพื้นฐาน (ช่างปูน) กศน.ตำบลวังหิน ๓.5 ช่างพื้นฐาน (ช่างเชื่อม) กศน.ตำบลวังหิน ๓.6 ช่างก่อสร้าง (ช่างปูน) กศน.ตำบลสำโรง ๓.7 ช่างพื้นฐาน (ช่างปูน) กศน.ตำบลหนองเม็ก ๓.8 ช่างพื้นฐาน (ช่างก่อสร้าง) กศน.ตำบลหนองเม็ก ๓.9 ช่างก่อสร้าง (ช่างปูน) กศน.ตำบลหันโจด ๓.10 ช่างก่อสร้าง (ช่างปูน) กศน.ตำบลหนองสองห้อง ๓.11 ช่างก่อสร้าง (ช่างปูน) กศน.ตำบลตะกั่วป่า ๓.12 ช่างก่อสร้าง (ช่างปูน) กศน.ตำบลหนองไผ่ล้อม ๓.13 ช่างก่อสร้าง (ช่างปูน) กศน.ตำบลดงเค็ง รวม

จำนวน จำนวนผู้ไม่ จำนวนผู้จบหลักสูตร (คน) ผลการดำเนินงาน ที่จัด จบหลักสูตร (ร้อยละระดับดีมาก) พอใช้ ดี ดีมาก (คน) (คน) 72.72 22 0 0 6 16 11

0

0

2

9

63.63

11

0

0

2

9

63.63

22

0

0

5

17

77.27

11

0

0

2

9

63.63

11

0

0

2

9

63.63

22

0

0

6

16

72.72

22

0

0

5

17

77.27

22

0

0

6

16

72.72

22

0

0

5

17

77.27

22

0

0

5

17

77.27

886

0

0

230

656

74.04

ตารางที่ 17 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561: ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร รายการ

ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถตาม วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผลการดำเนินงาน (ค่าเฉลี่ยร้อยละระดับดีมาก) ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 73

74.04

ผลการ เปรียบเทียบ

ผลการ ประเมิน (คะแนน)

+1.04

1

ประเด็นที่ 2 สถานศึกษา มีการติดตามและประเมินผลผู้เรียนหลังจบหลักสูตรโดยใช้เครื่องมือแบบ ประเมิ น ความสำเร็ จ ของโครงการซึ ่ ง พบว่ า ผู ้ เ รี ย นสามารถนำความรู ้ ท ี ่ ไ ด้ ร ั บ ไปปรั บ ใช้ ใ นการดำเนิ น ชีวิตประจำวันส่งผลให้สามารถลดรายจ่ายหรือเพิ่ มรายได้ในครัวเรือนได้ จำนวน 4๗0 คน สามารถนำความรู้ ไปประกอบอาชีพ จำนวน 0 คน นำความรู้ไปพัฒนาต่อยอดอาชีพ จำนวน ๗2 คน และเพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่า สินค้า จำนวน 0 คน ดังรายละเอียดตามตารางแสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือประกอบอาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพ หรือเพิ่มมูลค่า ของ สินค้าหรือบริการ ซึ่งผู้เรียนได้นำความรู้ไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือ ประกอบอาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพ หรือเพิ่มมูลค่าของสินค้าหรือบริการได้ จำนวนทั้งสิ้น 542 คน


89 คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 61.17 สู ง กว่ า ค่ า เป้ า หมายที ่ก ำหนด (เป้ า หมายที ่ ก ำหนด 47) ดั ง รายละเอี ย ดตาราง เปรียบเทียบผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2562 กับค่าเป้าหมายที่กำหนด: จำนวนผู้เรียนที่มีความรู้นำ ความรู้ที่ได้ ไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือประกอบอาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพ หรือเพิ่ม มูลค่าของสินค้าหรือบริการได้ ตารางที่ 18 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้รับ ไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือประกอบอาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพ หรือ เพิ่มมูลค่าของสินค้าหรือบริการ หลักสูตร 1. โครงการ 1 อำเภอ 1 อาชีพ ๑.๑ หลักสูตรศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (ช่างเชื่อมเหล็ก) 1.2 หลักสูตรช่างไฟฟ้าพื้นฐาน 2. โครงการพัฒนาอาชีพ/ กลุ่มสนใจ ๒.1 อาชีพเกษตรกรทางรอดโดย การนำผักตบชวามาปลูกพืชและ เลี้ยงสัตว์ (ทั้ง 12 ตำบล) 3. โครงการช่างพื้นฐาน ๓.1 ช่างพื้นฐาน (ช่างปูน) กศน.ตำบลดอนดั่ง ๓.2 ช่างพื้นฐาน (ช่างปูน) กศน.ตำบลคึมชาด ๓.3 ช่างพื้นฐาน (ช่างปูน) กศน.ตำบลดอนดู่ ๓.4 ช่างพื้นฐาน (ช่างปูน) กศน.ตำบลวังหิน ๓.5 ช่างพื้นฐาน (ช่างเชื่อม) กศน.ตำบลวังหิน ๓.6 ช่างก่อสร้าง (ช่างปูน) กศน.ตำบลสำโรง ๓.7 ช่างพื้นฐาน (ช่างปูน) กศน.ตำบลหนองเม็ก ๓.8 ช่างพื้นฐาน (ช่างก่อสร้าง) กศน.ตำบลหนองเม็ก ๓.9 ช่างก่อสร้าง (ช่างปูน) กศน.ตำบลหันโจด ๓.10 ช่างก่อสร้าง (ช่างปูน) กศน.ตำบลหนองสองห้อง ๓.11 ช่างก่อสร้าง (ช่างปูน) กศน.ตำบลตะกั่วป่า

จำนวน จำนวนผู้นำความรู้ไปใช้ (คน) รวมผู้นำ ผลการ ผู้จบ พัฒนา เพิ่มมูลค่า ความรู้ไปใช้ ดำเนินงาน ลดรายจ่าย/ ประกอบ หลักสูตร ต่อยอด สินค้าหรือ (คน) (ร้อยละ) เพิ่มรายได้ อาชีพ (คน) อาชีพ บริการ 48

23

0

2

0

25

52.08

92

๕๘

0

4

0

๖๒

๖๗.3๙

504

2๕0

0

๕0

0

๓๐0

๕๙.๕๒

22

1๖

0

0

0

1๖

๗๒.๗๓

22

1๖

0

0

0

1๖

๗๒.๗๓

22

1๖

0

3

0

1๙

๘๖.๓๖

11

6

0

1

0

7

63.63

11

5

0

2

0

7

63.63

22

10

0

1

0

11

50

11

6

0

1

0

7

63.63

11

6

0

1

0

7

63.63

22

๑๔

0

2

0

1๖

๗๒.๗๓

22

๑๔

0

2

0

1๖

๗๒.๗๓

22

10

0

1

0

11

50


90 หลักสูตร ๓.12 ช่างก่อสร้าง (ช่างปูน) กศน.ตำบลหนองไผ่ล้อม ๓.13 ช่างก่อสร้าง (ช่างปูน) กศน.ตำบลดงเค็ง รวม

จำนวน จำนวนผู้นำความรู้ไปใช้ (คน) รวมผู้นำ ผลการ ผู้จบ พัฒนา เพิ่มมูลค่า ความรู้ไปใช้ ดำเนินงาน ลดรายจ่าย/ ประกอบ หลักสูตร ต่อยอด สินค้าหรือ (คน) (ร้อยละ) เพิ่มรายได้ อาชีพ (คน) อาชีพ บริการ 22 10 0 1 0 11 50 22

10

0

1

0

11

886

๔๗0 เฉลี่ย

0

๗2

0

๕42

50 61.๑7

*สถานศึกษามุ่งพัฒนาการนำความรู้ไปใช้ด้านประกอบอาชีพ ตารางที่ 19 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562: ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือประกอบอาชีพ หรือ พัฒนาต่อยอดอาชีพ หรือเพิ่มมูลค่าของสินค้าหรือบริการ การนำความรู้ไปใช้

เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผลการดำเนินงาน (ค่าเฉลี่ยร้อยละ) ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน

ผลการ เปรียบเทียบ

ผลการ ประเมิน (คะแนน)

ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ใน 47 61.17 +14.17 1 การประกอบอาชีพ *สถานศึกษากำหนดค่าเป้าหมายการนำความรู้ไปใช้ด้านการประกอบอาชีพ (หรือตามที่สถานศึกษาตั้งค่า เป้าหมายไว้ว่าด้านใด) ประเด็นที่ 3 สถานศึกษาได้ประเมินผู้เรียนและมีการติดตามการนำความรู้ที่ได้ ไปใช้ในการลด รายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือประกอบอาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพ หรือเพิ่มมูลค่าของสินค้าหรือบริการโดย การนิเทศ มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผลและดำเนินการประเมินโดยการสังเกตเพื่อ พิจารณาผลการจบหลักสูตรและสรุปรายงานผลการจัดกิจกรรม / รายงานผู้จบหลักสูตร รวมถึงการประเมิน ความพึงพอใจของผู้เรียนจากแบบสอบถามและการติดตามผลการนำความรู้ไปใช้โดยครู กศน.ตำบลและ ครู ศูนย์การเรียนชุมชนในพื้นที่ได้ทำการติดตามผู้เรียนหลังจบหลักสูตรจากการตอบแบบสอบถาม / แบบติดตาม ผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ประเด็นที่ 4 สถานศึกษา มีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้น สำนักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖2 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ข้อ ๒.๑ เร่งรัดดำเนินการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อยกระดับทักษะอาชีพของประชาชนสู่ฝีมือแรงงาน ๑) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานท าที่สอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความต้องการ ของ ตลาด ให้ประชาชนสามารถนำไปประกอบอาชีพได้จริง โดยให้เน้นหลักสูตรการศึกษาอาชีพช่างพื้นฐาน โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีพ เช่น การเรียนผ่าน YouTube การเรียนผ่าน Facebook Live ระบบการเรียนรู้ในระบบเปิดสำหรับมหาชน (Massive Open Online Courses : MOOCs) คอมพิว เตอร์ช ่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) เป็นต้น รวมถึงสนับสนุนให้เกิด ระบบการผลิต ที่ครบวงจร และเปิดพื้นที่ส่วนราชการเป็นที่แสดงสินค้าของชุมชนเพื่อเป็นการสร้างรายได้ให้กับ ชุมชน


91 ข้อ ๒.๒ พัฒนาทักษะให้ประชาชนเพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและบริการ ๑) พั ฒ นาทั ก ษะและส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนประกอบธุ ร กิ จ การค้ า ออนไลน์ (พาณิ ช ย์ อิเล็กทรอนิกส์) มีการใช้ความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรมในการประกอบอาชีพ สร้างทักษะอาชีพที่สูงขึ้นให้กับ ประชาชน เพื่อร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล ๒) ส่งเสริมให้ประชาชนใช้เทคโนโลยี ในการทำช่องทางเผยแพร่และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของ วิสาหกิจ ชุมชนให้เป็นระบบครบวงจร และสนับสนุนการจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ผ่านศูนย์จำหน่ายสินค้า และผลิตภัณฑ์ ออนไลน์ กศน. (ONIE Online Commerce Center : OOCC) เพื่อจำหน่ายสินค้าออนไลน์ ระดับตำบล รวมทั้งดำเนินการเปิดศูนย์ให้ค าปรึกษา OOCC กศน. เพื่อเปิดช่องทางในการให้ค ำปรึกษากับ ประชาชนเกี่ยวกับการค้า ออนไลน์เบื้องต้น ๓) พัฒ นาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ อย่างเป็น รูปธรรม โดยเน้นทักษะภาษาเพื่ออาชีพ ทั้งในภาคธุรกิ จ การบริการ และการท่องเที่ยว รวมทั้งพัฒนาสื่อการ เรียนการสอน ภาษาอังกฤษ เพื่อส่งเสริมการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารและการพัฒนาอาชีพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อ ๓.๔ พัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษ และภาษาอื่น ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ ๑) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และภาษาอื่น ๆ ที่สอดคล้องกับ บริบทของพื้นที่ โดยใช้สื่อเทคโนโลยีดิจิทัล Social Media และ Application ต่าง ๆ ๒) จัดและส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และภาษาอื่น ๆที่สอดคล้องกับบริบทของ พื้นที่ และความต้องการของประชาชน เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ ข้อ ๓.๗ เตรียมความพร้อมการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุที่เหมาะสมและมีคุณภาพ ๔) สร้างความตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ ศรีข องผู้ส ูงอายุ เปิดโอกาสให้มีการเผยแพร่ ภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ และให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านต่าง ๆ ในชุมชน เช่น ด้านอาชีพ กีฬา ศาสนาและ วัฒนธรรม ๕) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ โดยบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ในทุกระดับ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ๔.๑ เพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษา ๑) เร่งดำเนินการหาตัวตนของประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษา ให้กลับเข้าสู่ระบบ การศึกษา โดยใช้กลวิธี “เคาะประตูบ้าน รุกถึงที่ ลุยถึงถิ่น” โดยประสานกับสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด เพื่อดำเนินการตรวจสอบข้อมูลทะเบียนราษฎร์เทียบกับข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของทุกหน่วยงาน ค้นหาผู้ที่ ไม่ได้ อยู่ในระบบการศึกษาเป็นรายบุคคล และรวบรวมจัดทำเป็นฐานข้อมูล และลงพื้นที่ติดตามหาตัวตนของ กลุ่มเป้าหมาย หาสาเหตุของการไม่เข้าเรียน และสอบถามความต้องการในการศึกษาต่อ พร้อมทั้งจำแนกข้อมูล ตามประเภทของสาเหตุ และประเภทความต้องการในการศึกษาต่อ และส่งต่อกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้รับ การศึกษา ต่อตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒) ติดตามผลของกลุ่มเป้าหมายประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษาที่ได้รับการจัดหา ที่เรียน และทั้งจัดทำฐานข้อมูลผู้ส ำเร็จการศึกษาของกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งพัฒนาระบบเพื่อการติดตาม กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการช่วยเหลือให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาแบบครบวงจร โดยติดตามตั้งแต่การเข้าศึ กษา ต่อจนจบการศึกษา ข้อ ๔.๕ พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะสั้น ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสม กับบริบทของพื้นที่ และตอบสนองความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ


92 ประเด็นที่ ๕ สถานศึกษามีผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีในการนำความรู้ไปใช้ในการลดรายจ่าย/เพิ่มรายได้ จำนวน ๒๐ คน และนำความรู้ไปพัฒนาต่อยอดอาชีพ จำนวน ๔ คน ดังตารางแสดงผลการดำเนินงานของ สถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือเป็นต้นแบบในด้านการนำความรู้ไปใช้ในการ ลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้หรือการประกอบอาชีพหรือเพิ่มมูลค่าของสินค้าหรือบริการ ตารางที่ 20 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือเป็นต้นแบบในด้านการนำความรู้ไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้หรือการประกอบ อาชีพหรือเพิ่มมูลค่าของสินค้าหรือบริการ การนำความรู้ไปใช้

ลดรายจ่าย/เพิ่มรายได้ ประกอบอาชีพ พัฒนาต่อยอดอาชีพ เพิ่มมูลค่าสินค้าหรือบริการ รวม

จำนวนผู้จบทีน่ ำความรู้ไปใช้ (คน) 4๗0 0 ๗2 0 542

ผลการดำเนินงาน (คน) 20 0 ๔ 0 2๔

ตารางที่ 21 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562: ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบในด้านการนำความรู้ไปใช้ในในการลดรายจ่าย หรือ เพิ่มรายได้หรือการประกอบอาชีพ หรือเพิ่มมูลค่าของสินค้าหรือบริการ เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผลการดำเนินงาน (คน) ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน

รายการ ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดหี รือเป็น ต้นแบบในด้านการนำความรูไ้ ปใช้ใน การลดรายจ่าย หรือเพิม่ รายได้หรือการ ประกอบอาชีพ หรือเพิ่มมูลค่าของ สินค้าหรือบริการ

22

ผลการ เปรียบเทียบ

ผลการ ประเมิน (คะแนน)

+๒

1

2๔

บัญชีรายชื่อผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีในด้านการนำความรู้ไปใช้ในในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือการประกอบอาชีพ หรือเพิ่มมูลค่าของสินค้าหรือบริการ มีดังนี้ ที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ชื่อ-สกุล

นายมณีจักร ปุ่มสีดา นายสมัย พรมสมุทร นายชายทอง คำผาย นายคำพันธ์ บุตรดี นางบัวเงิน เศรษฐี นางต่วน แพนน้อย นางสาวบังอร แพงศรี นางจันทร์รุ่ง มีเดช นางบัวผัน ดาโสม นางกัญญา พลศักดิ์หาญ

เรียนหลักสูตร เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง

เรื่องที่ดีเด่น เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน ผักปลอดสารพิษ เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน

กศน.ตำบล ดอนดั่ง ดอนดั่ง คึมชาด คึมชาด วังหิน วังหิน หันโจด หันโจด หนองเม็ก หนองเม็ก


93 ที่ 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24.

ชื่อ-สกุล นางสาวสุปราณ๊ โมระศิลปิน นางสาวนัน นานโชยะราด นางสายลม อินนอก นางสุภาพ อินนอก นางรำไพ ภูคำเวียง นางสัมฤทธิ์ ลิมาน นางวิไลวรรณ จันทะน้อย นางโสน เจริญ นางชฎาพร ปีแหล่ นายสายันต์ ทองยุทธ นางอ่อนศรี ศรีไหว นางสาวทองสี คำหารพล นางฤดี จันแดง นางจันทา พงษ์ไสง

เรียนหลักสูตร เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง

เรื่องที่ดีเด่น เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน ปลูกผักเลี้ยงสัตว์ เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน แปรรูปผลิตภัณฑ์หญ้าแฝก ทำพืชผักสวนครัวพอเพียง

กศน.ตำบล ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า หนองสองห้อง หนองสองห้อง หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม ดงเค็ง ดงเค็ง โนนธาตุ โนนธาตุ สำโรง สำโรง ดอนดู่ ดอนดู่

ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หัวข้อประเด็น 1. ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กำหนดหรือไม่ 2. ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามคำอธิบายตัวบ่งชี้ 1.5 เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กำหนดหรือไม่ 3. สถานศึกษามีการประเมินผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมและมีการติดตามการนำ ความรู้ไปใช้ตามคำอธิบาย ตัวบ่งชี้ 1.5 ที่น่าเชื่อถือ ชัดเจนอย่างไร 4. สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นของสำนักงาน กศน. /นโยบาย จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ /ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร 5. สถานศึกษามีผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบตาม คำอธิบายตัวบ่งชี้ 1.5 หรือไม่ อย่างไร สรุป

คะแนน

ระดับคุณภาพ

1 ๑ 0.5 ดี ๐.๕ ๐.๕ 3.5

ผลการดำเนินงาน จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบงชี้ที่ 1.๕ พบว่าสถานศึกษา ได้คะแนน 3.5 คะแนนจากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยู่ในระดับ ดี ดังนี้ ประเด็นที่ 1 สถานศึกษา ได้จัดการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัช ญาของเศรษฐกิจพอเพีย ง แก่ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโครงการ จัดการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยผู้เรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับปฏิบัติตนตาม หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งและสามารถนำความรู ้ไ ปปฏิ บ ัต ิ ห รื อ ประยุ ก ต์ใ ช้ไ ด้ อ ย่ างเหมาะสม ซึ่งมีผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมที่ จบหลักสูตรและมีความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับดีมาก จำนวนทั้งสิ้น 480 คน คิดเป็นร้อยละ ๖5 ซึ่งสูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนด (ค่าเป้าหมาย กำหนดร้อยละ ๖2) รายละเอียดดังปรากฏในตารางต่อไปนี้ รายละเอียดดังปรากฏในตารางต่อไปนี้


94 ตารางที่ 22 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

หลักสูตร 1. โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา ทักษะกระบวนการคิดตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ทั้ง 12 ตำบล) รวม

จำนวนผู้จบหลักสูตร ผลการ จำนวน จำนวนผู้ (คน) ดำเนินงาน รวมผู้จบ ที่จัด ไม่จบ (ร้อยละ หลักสูตร พอ หลักสูตร ระดับดี ดี ดีมาก ใช้ มาก) 480

0

0

168 312

480

480 0 เฉลี่ย

0

168 312

480

65 65

*หลักสูตรตั้งแต่ 6 ชั่วโมงขึ้นไป ตารางที่ 23 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รายการ ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถตาม วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผลการ ผลการ ดำเนินงาน ผลการ ประเมิน (ค่าเฉลี่ยร้อยละระดับดีมาก) เปรียบเทียบ (คะแนน) ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 62

65

+3

1

ประเด็นข้อที่ 2 สถานศึกษา มีผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมีผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมรวมทั้งสิ้น 480 คน โดยการนำไปใช้ในการดำรงชีวิตในระดับดีมาก จำนวน 67.91 ซึ่งสูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนด (เป้าหมายกำหนดร้อยละ 67) ตารางแสดงการเปรียบเทียบค่า เป้าหมาย


95 ตารางที่ 24 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เรียนนำความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดำรงชีวิต

หลักสูตร

1. โครงการจัดการศึกษาเพื่อ พัฒนาทักษะกระบวนการคิดตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ทั้ง 12 ตำบล) รวม

จำนวน ผู้จบหลักสูตร (คน)

จำนวนผู้นำความรู้ไปใช้ (คน)

รวม ผู้นำ ผลการ ความรู้ ดำเนินงาน ไปใช้ (ร้อยละ) (คน)

ดำรงชีวิต

ประกอบ อาชีพ

อื่น ๆ (ระบุ)

480

300

26

0

326

480 เฉลี่ย

300

26

0

326

67.91 67.91

ตารางที่ 25 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562: ผู้เรียนนำความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดำรงชีวิต การนำความรู้ไปใช้

เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผลการ ผลการ ผลการ ดำเนินงาน (ค่าเฉลี่ยร้อยละ) ประเมิน เปรียบเทียบ (คะแนน) ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน

ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ใน 67 67.91 +0.91 1 การประกอบอาชีพ *สถานศึกษากำหนดค่าเป้าหมายการนำความรู้ไปใช้ด้านการประกอบอาชีพ (หรือตามที่สถานศึกษาตั้งค่า เป้าหมายไว้ว่าด้านใด) ประเด็นที่ 3 สถานศึกษา มีการประเมินผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมและมีการติดตามการนำความรู้ ไปใช้ โดยมีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานติดตาม ซึ่งประกอบด้วย ครู กศน. ตำบลและครู ศรช โดยมีการติดตาม ผู้เรียนจากการตอบแบบสอบถามการนำความรู้ไปใช้ ซึ่งมีการติดตามทุกกลุ่มแต่ไม่ครบทุกคน และนำข้อมูลที่ ได้มาสรุปผลโครงการประจำปีงบประมาณ 2562 ประเด็นที่ 4. สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ข้อ ๒.๑ คนทุกช่วงวัย มีจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนำแนวคิดตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ (๒) ร้อยละของผู้เรีย นทุ กระดับการศึ ก ษามี พ ฤติ กรรมที่แสดงออกถึง ความตระหนั ก ใน ความสำคัญของการดำรงชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมความมีคุณธรรม จริยธรรม และ การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิตเพิ่มขึ้น ๒.๓ ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการน้อมนำแนวคิด ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติเพิ่มขึ้น ข้อ ๒.๒ หลักสูตร แหล่งเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ


96 (๒) จำนวนสถานศึกษ/สถาบันการศึกษาที่จัดการเรียนการสอนและกิจกรรม เพื่อปลูกฝั ง คุณธรรม จริยธรรม และการนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติเพิ่มขึ้น นโยบายและจุดเน้นสำนักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๕ ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ๕.๑ ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันผลกระทบและปรับตัว ต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติธรรมชาติ ๕.๒ สร้างความตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างสังคมสีเขียว ส่งเสริมความรู้ให้กับประชาชน เกี่ยวกับการคัดแยก การแปรรูป และการกำจัดขยะ รวมทัง้ การจัดการมลพิษในชุมชน ๕.๓ ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งลดการใช้ ทรัพยากรที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น รณรงค์เรื่องการลดการใช้ถุงพลาสติก การประหยัดไฟฟ้า เป็นต้น ประเด็นที่ 5 สถานศึกษา มีผู้เรียนได้รับความรู้ เกี่ยวกับปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและที่เป็นตัวอย่างที่ดีด้านในด้านการนำความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ใช้ในการดำรงชีวิตและประกอบอาชีพอยู่ในระดับดีมาก จำนวนทั้งสิ้น 24 คน คิดเป็นร้อยละ ๖5 ซึ่งสูงกว่าค่า เป้าหมายที่กำหนด (ค่าเป้าหมายกำหนดร้อยละ 18 คน ) รายละเอียดดังปรากฏในตารางต่อไปนี้ รายละเอียด ดังปรากฏในตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 26 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562: ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือเป็นต้นแบบในด้านการนำความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ใช้ในการดำรงชีวิต การนำความรู้ไปใช้ ดำรงชีวิต ประกอบอาชีพ รวม

จำนวนผู้จบที่นำความรู้ไป ใช้ (คน) 300 26 326

ผลการดำเนินงาน (คน) 19 5 24

ตารางที่ 27 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562: ผู้เรียนทีเ่ ป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบในด้านการนำความรู้ความเข้าใจตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดำรงชีวิต รายการ ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบ ในด้านการนำความรู้ ความเข้าใจตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ในการดำรงชีวิต

เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับ ผลการดำเนินงาน(คน) ค่า ผลการ เป้าหมาย ดำเนินงาน 18

24

ผลการ เปรียบเทียบ

ผลการ ประเมิน (คะแนน)

+6

1


97 บัญชีรายชื่อผู้เรียนเป็นตัวอย่างที่ดีในด้านการนำความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ใช้ในการดำรงชีวิต มีดังนี้ ที่ ชื่อ-สกุล เรียนหลักสูตร 1 นายมณีจักร ปุ่มสีดา เศรษฐกิจพอเพียง 2 นายสมัย พรมสมุทร เศรษฐกิจพอเพียง 3 นายชายทอง คำผาย เศรษฐกิจพอเพียง 4 นายคำพันธ์ บุตรดี เศรษฐกิจพอเพียง 5 นางบัวเงิน เศรษฐี เศรษฐกิจพอเพียง 6 นางต่วน แพนน้อย เศรษฐกิจพอเพียง 7 นางสาวบังอร แพงศรี เศรษฐกิจพอเพียง 8 นางจันทร์รุ่ง มีเดช เศรษฐกิจพอเพียง 9 นางบัวผัน ดาโสม เศรษฐกิจพอเพียง 10 นางกัญญา พลศักดิ์หาญ เศรษฐกิจพอเพียง 11 นางสาวสุปราณี โมระศิลปิ่น เศรษฐกิจพอเพียง 12 นางสาวนัน นานโชยะราด เศรษฐกิจพอเพียง 13 นางสายลม อินนอก เศรษฐกิจพอเพียง 14 นางสุภาพ อินนอก เศรษฐกิจพอเพียง 15 นางรำไพ ภูคำเวียง เศรษฐกิจพอเพียง 16 นางสัมฤทธิ์ ลิมาน เศรษฐกิจพอเพียง 17 นางวิไลวรรณ จันทะน้อย เศรษฐกิจพอเพียง 18 นางโสน เจริญ เศรษฐกิจพอเพียง 19 นางชฎาพร ปีแหล่ เศรษฐกิจพอเพียง 20 นายสายันต์ ทองยุทธ เศรษฐกิจพอเพียง 21 นางอ่อนศรี ศรีไสว เศรษฐกิจพอเพียง 22 นางสาวทองสี คำหารพล เศรษฐกิจพอเพียง 23 นางฤดี จันแดง เศรษฐกิจพอเพียง 24 นางจันทา พงษ์ไสง เศรษฐกิจพอเพียง *ผู้เรียนมีคุณลักษณะ ตามประกาศของสถานศึกษา

เรื่องที่ดีเด่น เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน ผักปลอดสารพิษ เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน ปลูกผักเลี้ยงสัตว์ เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรผสมผสาน แปรรูปผลิตภัณฑ์หญ้าแฝก ทำพืชผักสวนครัวพอเพียง

กศน.ตำบล ดอนดั่ง ดอนดั่ง คึมชาด คึมชาด วังหิน วังหิน หันโจด หันโจด หนองเม็ก หนองเม็ก ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า หนองสองห้อง หนองสองห้อง หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม ดงเค็ง ดงเค็ง โนนธาตุ โนนธาตุ สำโรง สำโรง ดอนดู่ ดอนดู่


98 ตัวบ่งชี้ ๑.๖ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม หัวข้อประเด็น 1. ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยี เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กำหนดหรือไม่ 2. ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม สามารถนำความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหา และพัฒนาการดำรงชีวิต หรือการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม ตาม คำอธิบายตัวบ่งชี้ 1.6 เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กำหนดหรือไม่ 3. สถานศึกษามีการประเมินผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมและมีการติดตาม การนำความรู้ไปใช้ตามคำอธิบายตัวบ่งชี้ 1.6 ที่น่าเชื่อถือ ชัดเจนอย่างไร 4. สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นของ สำนักงาน กศน. /นโยบาย จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ /ยุทธศาสตร์ และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร 5. สถานศึกษามีผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบ ตามคำอธิบายตัวบ่งชี้ 1.6 หรือไม่ อย่างไร สรุป

คะแนน

ระดับคุณภาพ

1 ๑ 0.5

ดี

๐.๕ ๐.๕ 3.5

ผลการดำเนินงาน จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบงชี้ที่ 1.๖ พบว่าสถานศึกษาได้ คะแนน 3.5 คะแนนจากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยู่ในระดับ ดี ดังนี้ ประเด็นที่ 1 สถานศึกษา ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ในโครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนระดับตำบล หลั ก สู ต ร Digital literacy & E-commerce และ โครงการ Smart ONIE เพื ่ อ สร้ า ง smart farmer โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ในการใช้เทคโนโลยี สามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ ในการแก้ปัญหาและพัฒนาการดำรงชีวิต หรือประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม รู้เท่าทันเทคโนโลยี มีความรู้ ด้านระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้สื่อดิจิทัล สามารถสร้างช่องทางการหารายได้จากการนำเทคโนโลยี มาประยุกต์ใช้ โดยการขายสินค้าผ่านระบบร้านค้าออนไลน์ ลดการกระทำผิดอันเกิดจากการใช้เทคโนโลยี ดิจิทัล ซึ่งมีผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมที่จบหลักสูตรและมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีในระดับดีมาก จำนวนทั้งสิ้น ๓๗๒ คน คิดเป็นร้อยละ 7๘.๔๙ ซึ่งสูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนด (ร้อย ละ ๗๗) รายละเอียดดังปรากฏในตารางต่อไปนี้


99 ตารางที่ 28 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562: ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี หลักสูตร 1. โครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทัล ชุมชนระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce 2. โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer รวม

จำนวนผู้จบหลักสูตร (คน) จำนวนผู้ จำนวน รวมผู้จบ ไม่จบ ที่จัด พอใช้ ดี ดีมาก หลักสูตร หลักสูตร

ผลการ ดำเนินงาน (ร้อยละ ระดับดีมาก)

360

0

0

80

280

360

77.7

12

0

0

0

12

12

100

372 0 เฉลี่ย

0

80

292

372

78.49

*หลักสูตรตั้งแต่ 6 ชั่วโมงขึ้นไป ตารางที่ 29 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562: ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี รายการ

เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผลการดำเนินงาน ผลการ (ค่าเฉลี่ยร้อยละระดับดีมาก) ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน เปรียบเทียบ

ผลการ ประเมิน (คะแนน)

ผู้เรียน หรือผู้เข้ารับการอบรมมี ความรู้ ความเข้าใจ และมี 77 78.49 +1.49 1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ประเด็นที่ 2 สถานศึกษา ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมโครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชน ระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce และ โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer สามารถนำความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนาการดำรงชีวิต หรือการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม รวม เป็นจำนวนทั้งสิ้น ๓๗๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๔.๔๖ ซึ่งสูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนด (ร้อยละ ๗๑) รายละเอียด ดังปรากฏในตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 30 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562: ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม ที่นำความรู้ในการใช้เทคโนโลยี ไปใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนาการดำรงชีวิตหรือการ ประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม หลักสูตร 1. โครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทัล ชุมชนระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce 2. โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer รวม/เฉลี่ย

จำนวน จำนวนผู้นำความรู้ไปใช้ (คน) ผู้จบ ดำรงชีวิต ประกอบ อื่น ๆ หลักสูตร อาชีพ (ระบุ) (คน)

รวมผู้นำ ผลการ ความรู้ ดำเนินงาน ไปใช้ (ร้อยละ) (คน)

360

265

0

0

265

73.61

12

0

12

0

12

100

372

265

12

0

277

74.46


100 ตารางที่ 31 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561: ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมที่นำความรู้ในการใช้เทคโนโลยี ไปใช้ในการแก้ปัญหา และ พัฒนาการดำรงชีวิตหรือการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม การนำความรู้ไปใช้

ผู้เรียนนำความรู้การใช้เทคโนโลยี ที่ได้รับไปใช้ในการประกอบอาชีพ

เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผลการดำเนินงาน ผลการ (ค่าเฉลี่ยร้อยละ) ผลการดำเนินงาน เปรียบเทียบ ค่าเป้าหมาย 71

74.46

+3.46

ผลการ ประเมิน (คะแนน) 1

*สถานศึกษากำหนดค่าเป้าหมายการนำความรู้ไปใช้ด้านการประกอบอาชีพ (หรือตามที่สถานศึกษาตั้งค่า เป้าหมายไว้ว่าด้านใด) ประเด็นที่ 3 สถานศึกษา มีการติดตามผู้เข้ารับการอบรม หลังจากผ่านการอบรมตามหลักสูตร โดยใช้ แบบติดตามผู้จบหลักสูตร พบว่าผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ไปใช้ในการพัฒนาการดำรงชีวิต และ สามารถสร้างร้านค้าออนไลน์บ นเพจ Facebook และการขายผ่านแอพลิเคชัน SHOPEE และ LINE ซึ่ง พิจารณาได้จากข้อมูลการโพสต์จำหน่ายสินค้าบนสื่อออนไลน์ดังกล่าว ประเด็นที่ 4 สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสรสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา ข้อ 2.2 การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาสำหรับคนทุกช่วงวัย (1) มีระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาที่ทันสมัย สนองตอบความต้องการของ ผู้เรียนและผู้ใช้บริการอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ (6ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม (7) มีสื่อดิจิทัลเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการส่งเสริมการมีอาชีพเพิ่มขึ้น นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 256๒ จุดเน้นการจัดการศึกษา 3. ระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ครูและผู้เรียนสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และจัดการเรียนรู้ แบบองค์รวม จัดแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ โดยมีจุดเน้น - เรียนภาษาไทย เน้นเพื่อการสื่อสาร และใช้เป็นเครื่องมือเพื่อเรียนวิชาอื่น - เรียนภาษาอังกฤษ เน้นเพื่อการสื่อสาร - เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เน้นพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การเรียนรู้จากสถานการณ์ จริง สถานการณ์จำลอง กิจกรรมการเรียนรู้จากปัญหาและการลงมือปฏิบัติสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาและ เรียนรู้อย่างมีความสุข - เรียนรู้ Digital และใช้ Digital เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ - ส่งเสริมการเรียนวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างนวัตกรรม - จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทำ - พัฒนาครูตามความต้องการของครูและสถานศึกษา (คูปองครู) - จัดให้มีโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ


101 นโยบายและจุดเน้นสำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ 256๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ๒.๒ พัฒนาทักษะให้ประชาชนเพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและบริการ ๑) พัฒนาทักษะและส่งเสริมให้ประชาชนประกอบธุรกิจการค้าออนไลน์ (พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์) มีการใช้ความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรมในการประกอบอาชีพ สร้างทักษะอาชีพที่สูงขึ้นให้กับประชาชนเพื่อ ร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล ๒) ส่งเสริมให้ประชาชนใช้เทคโนโลยีในการทำช่องทางเผยแพร่และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจ ชุมชนให้เป็นระบบครบวงจรและสนับสนุนการจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ผ่านศูนย์จำหน่ายสินค้าและ ผลิตภัณฑ์ออนไลน์ กศน. (ONIE Online Commerce Center : OOCC) เพื่อจำหน่ายสินค้าออนไลน์ระดับ ตำบล รวมทั้งดำเนินการเปิดศูนย์ให้คำปรึกษา OOCC กศน. เพื่อเปิดช่องทางในการให้คำปรึกษากับประชาชน เกี่ยวกับการค้าออนไลน์เบื้องต้น ๓) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรม โดยเน้นทักษะภาษาเพื่ออาชีพ ทั้งในภาคธุรกิจ การบริการ และการท่องเที่ยว รวมทั้งพัฒนาสื่อการเรียนการ สอนภาษาอังกฤษ เพื่อส่งเสริมการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารและการพัฒนาอาชีพ ประเด็นที่ 5 สถานศึกษามีผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมที่เป็นตัวอย่างที่ดี ในการนำความรู้ไปใช้ในการ แก้ปัญหาและพัฒนาการดำรงชีวิต เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กำหนด (เป้าหมายกำหนด ๓๔ คน) คือ ๓๖ คน ดัง ปรากฏในตารางแสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 256๒ : ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีในด้านการนำความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนาการดำรงชีวิตหรือการประกอบ อาชีพ ตารางที่ 32 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562: ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี ใน ด้านการนำความรู้ ในการใช้เทคโนโลยีไปใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนาการดำรงชีวิต หรือการประกอบอาชีพ การนำความรู้ไปใช้ ดำรงชีวิต ประกอบอาชีพ รวม

จำนวนผู้จบทีน่ ำความรู้ไปใช้ (คน) 265 12 277

ผลการดำเนินงาน (คน) 24 12 36

ตารางที่ 33 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562: ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี ในด้านการนำความรู้ในการใช้เทคโนโลยีไปใช้ในการแก้ปัญหาและ พัฒนาการดำรงชีวิตหรือการประกอบอาชีพ เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผลการดำเนินงาน(คน) รายการ ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดหี รือเป็นต้นแบบ ในด้านการนำความรู้ ความเข้าใจในการ ใช้เทคโนโลยีไปใช้ในการดำรงชีวิตหรือ การประกอบอาชีพ

ค่าเป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

ผลการ เปรียบเทียบ

34

36

+2

ผลการ ประเมิน (คะแนน) 1


102 บัญชีรายชื่อผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี ในด้านการนำความรู้ในการใช้เทคโนโลยีไปใช้ในการแก้ปัญหา และพัฒนาการดำรงชีวิตหรือการประกอบอาชีพ มีดังนี้ ที่

ชื่อ-สกุล

1

นางยุภาพร อ่อนฤาชา

2

นายพนม ไชยคำ

3

นางทองพูน ประศรี

4

นายเทียม ขนันไทย

5

นายมณีจิตร ปุ่มสีดา

6

นายวรวุฒิ ศรีจันทร์

7

นายโกสุม บวกไธสง

8

นางธิดารัตน์ หาญสมบัติ

9

นางวนิดา อำนาจจำนงค์

10 นายไว พิมพ์โคตร 11 นางสายใจ ชัยวงศ์

12 นางกิริญา ไผ่นอก 13 นายสุริยา มหิงสา 14 นายสงัด ปอศรี 15 นายประสงค์ พุกพิลา 16 นางพิมพ์ ศรฤทธิ์

เรียนหลักสูตร โครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer โครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer โครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer โครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer โครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer โครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer โครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer โครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer

เรื่องที่ดีเด่น สามารถนำความรู้ไปต่อยอดใน การประกอบอาชีพได้ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ขยายผลแก่ผู้ทสี่ นใจได้ สามารถนำความรู้ไปต่อยอดใน การประกอบอาชีพได้ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ขยายผลแก่ผู้ทสี่ นใจได้ สามารถนำความรู้ไปต่อยอดใน การประกอบอาชีพได้ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ขยายผลแก่ผู้ทสี่ นใจได้ สามารถนำความรู้ไปต่อยอดใน การประกอบอาชีพได้ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ขยายผลแก่ผู้ทสี่ นใจได้ สามารถนำความรู้ไปต่อยอดใน การประกอบอาชีพได้ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ขยายผลแก่ผู้ทสี่ นใจได้ สามารถนำความรู้ไปต่อยอดใน การประกอบอาชีพได้ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ขยายผลแก่ผู้ทสี่ นใจได้ สามารถนำความรู้ไปต่อยอดใน การประกอบอาชีพได้ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ขยายผลแก่ผู้ทสี่ นใจได้ สามารถนำความรู้ไปต่อยอดใน การประกอบอาชีพได้ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ขยายผลแก่ผู้ทสี่ นใจได้

กศน.ตำบล ดงเค็ง ดงเค็ง ดงเค็ง ดอนดั่ง ดอนดั่ง ดอนดั่ง หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองไผ่ล้อม หนองสองห้อง หนองสองห้อง หนองสองห้อง ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า ตะกั่วป่า หันโจด


103 ที่

ชื่อ-สกุล

17 นางแพงศรี จันดา 18 นางคะนอง ทองนา 19 นายอำนวย เศรษฐี 20 นายปฏิภาญ วงค์อาจ 21 นางขวัญจิรา แสงคุณ 22 นายเขียว สิงห์คง 23 นางฤดี จันทร์แดง 24 นางสาวอุไรวรรณ ดาเยอ 25 นางอ่อนตา คำพิลา 26 นางสมเพียร จอดนอก 27 นายชวฤทธิ์ ศุภผลา 28 นางจันทร์เพ็ญ กองพระ 29 นางอมรา อิ่มละมัย 30 นางบำเพ็ญ เย็นหน้า 31 นายสมบัติ พรมกลาง 32 นางชฎาพร เกียรตินอก 33 นางศิลาพร นากุดนอก

เรียนหลักสูตร โครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer โครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer โครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer โครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer โครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer โครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer โครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer โครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer โครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce

เรื่องที่ดีเด่น สามารถนำความรู้ไปต่อยอดใน การประกอบอาชีพได้ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ขยายผลแก่ผู้ทสี่ นใจได้ สามารถนำความรู้ไปต่อยอดใน การประกอบอาชีพได้ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ขยายผลแก่ผู้ทสี่ นใจได้ สามารถนำความรู้ไปต่อยอดใน การประกอบอาชีพได้ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ขยายผลแก่ผู้ทสี่ นใจได้ สามารถนำความรู้ไปต่อยอดใน การประกอบอาชีพได้ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ขยายผลแก่ผู้ทสี่ นใจได้ สามารถนำความรู้ไปต่อยอดใน การประกอบอาชีพได้ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ขยายผลแก่ผู้ทสี่ นใจได้ สามารถนำความรู้ไปต่อยอดใน การประกอบอาชีพได้ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ขยายผลแก่ผู้ทสี่ นใจได้ สามารถนำความรู้ไปต่อยอดใน การประกอบอาชีพได้ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ขยายผลแก่ผู้ทสี่ นใจได้ สามารถนำความรู้ไปต่อยอดใน การประกอบอาชีพได้ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ขยายผลแก่ผู้ทสี่ นใจได้ สามารถนำความรู้ไปต่อยอดใน การประกอบอาชีพได้

กศน.ตำบล หันโจด หันโจด วังหิน วังหิน วังหิน ดอนดู่ ดอนดู่ ดอนดู่ หนองเม็ก หนองเม็ก หนองเม็ก สำโรง สำโรง สำโรง โนนธาตุ โนนธาตุ โนนธาตุ


104 ที่

ชื่อ-สกุล

34 นายชัยยพร หิรัญอร 35 นางอมราวดี โคผดุง 36 นายนริศชัย สกลหล้า

เรียนหลักสูตร โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer โครงการอบรมสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดับตำบล หลักสูตร Digital literacy & E-commerce โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง smart farmer

เรื่องที่ดีเด่น สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ขยายผลแก่ผู้ทสี่ นใจได้

กศน.ตำบล คึมชาด คึมชาด

สามารถนำความรู้ไปต่อยอดใน การประกอบอาชีพได้ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ขยายผลแก่ผู้ทสี่ นใจได้

คึมชาด

*ผู้เรียนมีคุณลักษณะ ตามประกาศของสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๗ ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษา ตามอัธยาศัย ประเด็น ประเด็นที่ ๑ ผู้รับบริการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กำหนดหรือไม่ ประเด็นที่ ๒ ผู้รับบริการที่ได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วม กิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กำหนด หรือไม่ ประเด็นที่ ๓ สถานศึกษามีวิธีการหาร่องรอยหลักฐานที่แสดงว่าผู้รับบริการมี ความรู้และหรือประสบการณ์ที่น่าเชื่อถืออย่างไร ประเด็นที่ ๔ สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้น ของสำนักงาน กศน./ นโยบาย จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ / ยุทธศาสตร์ และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี อย่างไร ประเด็นที่ 5 สถานศึกษามีผู้รับบริการที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้ นแบบตาม คำอธิบายตัวบ่งชี้ ๑.๗ หรือไม่อย่างไร รวม

คะแนนที่ได้

ระดับ คุณภาพ

0.5 1 0.5

ดี

1 0.5 ๓.๕

จากการประเมินสถานศึกษา พบว่า สถานศึกษาบรรลุตามเป้าหมายความสำเร็จ ของตัวบ่งชี้ที่ ๑.๗ ได้ ระดับ ๔ คะแนน จากคะแนนเต็ม ๕ คะแนน อยู่ในระดับคุณภาพ ดี ด้วยการดำเนินงานของ สถานศึกษาดังนี้ ประเด็นที่ 1 สถานศึกษาได้ดำเนินการจัดโครงการ / กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย โดยได้กำหนดไว้ ในแบบปฏิบัติการประจำปี มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความถนัดและความสนใจ ซึ่งศึกษาจาก บุคคล สภาพแวดล้อม สื่อและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ซึ่งได้กำหนดเป้าหมายไว้ที่ ๑๗,๕๘๔ คน (จากเป้าหมายใน แผนการดำเนินงานโครงการการศึกษาตามอัธยาศัย) และในการดำเนินงานสามารถดำเนินการได้น้อยกว่าค่า เป้าหมายที่กำหนดโดยสามารถดำเนินการได้ ๑๓,๕๕๙ คน โดยได้ดำเนินการจัดโครงการ / กิจกรรมที่มีความ หลากหลายเชื่อมโยงการดำเนินงานด้านการส่งเสริมการอ่านและการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยระหว่าง ห้องสมุดประชาชน กศน.ตำบล และการร่วมดำเนินการกับเครือข่าย เพื่อให้ผู้เรียน / ผู้รับบริการได้รับโอกาสใน การเรียนรู้จากการศึกษาตามอัธยาศัยได้อย่างทั่วถึง พร้อมทั้งได้รับความรู้และประสบการณ์จากการเข้าร่วม


105 กิจกรรม โดยได้ดำเนินงานภายใต้โครงการ / กิจกรรมที่ส่งเสริมการอ่านและส่งเสริมการศึกษาตามอั ธยาศัย เช่น โครงการวันเด็กแห่งชาติ โครงการรักการอ่านและการแสวงหาความรู้เพื่อเกิดภูมิคุ้มกันตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ (รถโมบายเคลื่อนที่) โครงการบ้านหนังสือชุมชน โครงการ ห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาด ตามพระราชดำริฯ การพัฒนาห้องสมุดประชาชน / กศน.ตำบล ตารางที่ 34 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562 : ผู้เข้ารับบริการที่เข้าร่วม กิจกรรม / โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรม/โครงการ

จำนวนผู้เข้าร่วม (คน) ห้องสมุด กศน.ตำบล

1. โครงการห้องสมุดประชาชน 1.1 โครงการวันเด็กแห่งชาติประจำปี ๒๕๖๒ ๒๗๕ 1.2 โครงการรักการอ่านและการแสวงหาความรู้ ๓๘๕ เพื่อเกิดภูมิคุ้มกันตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑.๓ กิจกรรมส่งเสริมการอ่านภายในห้องสมุด ๘,๗๘๐ 2. โครงการบ้านหนังสือชุมชน ๒,๔๗๓ 3. โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาด ๒๙๘ ตามพระราชดำริฯ ๔.โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่เพื่อส่งเสริมการอ่าน ๒๕๘ และการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (รถโมบายเคลื่อนที่) รวม ๑๒,๔๖๙

ผลการ ดำเนินงาน (คน)

-

-

๒๗๕ ๓๘๕

๘๔๔ -

-

๙,๖๒๔ ๒,๔๗๓ ๒๙๘

๒๔๖

-

๕๐๔

๑,๐๙๐

-

๑๓,๕๕๙

ตารางที่ 35 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562: ผู้เข้ารับบริการที่เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผลการ ผลการ ดำเนินงาน ผลการ รายการ ประเมิน (คน) เปรียบเทียบ (คะแนน) ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ๑๗,๕๘๔ ๑๓,๕๕๙ -๔,๐๒๕ ๐.๕ ผู้เข้ารับบริการที่เข้าร่วมกิจกรรม/ โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย ประเด็นที่ 2 สถานศึกษา ได้ดำเนินการจัดกิจกรรม / โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย โดยพบว่า จำนวนผู้รับบริการที่ได้รับความรู้และ / หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม / โครงการการศึกษาตาม อัธยาศัย โดยพิจารณาจากชิ้นงาน สมุดบันทึก/ ใบงานความรู้ และการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ เข้ารับบริการ


106 ตารางที่ 36 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562: ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/ หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรม/โครงการ 1. โครงการวันเด็กแห่งชาติประจำปี ๒๕๖๒ 2. โครงการรักการอ่านและการแสวงหาความรู้เพื่อ

จำนวน จำนวนผู้รับบริการ ผลการดำเนินงาน ผู้เข้าร่วม ที่ได้รับความรู้และ/ (ร้อยละ) (คน) หรือได้รับ ประสบการณ์ ๒๗๕ ๒๓๕ ๘๕.๔๕ ๓๘๕ ๓๓๕ ๘๗.๐๑

เกิดภูมิคุ้มกันตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รวม/เฉลี่ย ๖๖๐ *กิจกรรม/โครงการที่สามารถวัดและประเมินผลที่ชัดเจน 2 โครงการ *ทุกกิจกรรมต้องมีกรอบการจัดกิจกรรม

๕๗๐

๘๖.๓๖

ตารางที่ 37 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562: ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษา ตามอัธยาศัย รายการ ผู้รับบริการที่ได้รับความรู้และ/ หรือได้รับประสบการณ์เฉลี่ย

เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับ ผลการดำเนินงาน (ค่าเฉลี่ยร้อยละ) ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน แ ๘๖.๓๖

ผลการ เปรียบเทียบ

ผลการ ประเมิน (คะแนน)

+๐.๓๖

ประเด็นที่ ๓ ผู้รับบริการหรือผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และประสบการณ์จากการเข้าร่วม กิจกรรมการส่งเสริมการอ่าน การเรียนรู้และการประดิษฐ์ต่าง ๆ จากการลงมือปฏิบัติ รวมทั้งเมื่อจัดกิจกรรม โครงการต่าง ๆ นอกจากนี้ในการจัดกิจกรรมทุกครังงทำการประเมินความพึงพอใจ สรุปผลการดำเนินงานและ นำข้อเสนอแนะที่ได้รับไปใช้ในการพัฒนางานการศึกษาตามอัธยาศัยต่อไป ประเด็นที่ ๔ สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ แผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อ ๒.๔ แหล่งเรียนรู้ สื่อตำราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน และ ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่ (1) จำนวนแหล่งเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาให้สามารถจัดการศึกษา / จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น (2) จำนวนแหล่งเรียนรู้ห้องสมุดพิพิธภัณฑ์ที่ได้รับการสนับสนุนจากภาคเอกชน สถาน ประกอบการ สถาบันศาสนามูลนิธิสถาบัน / องค์กรต่าง ๆ ในสังคมเพิ่มขึ้น (3) ร้อยละของชุมชนที่มีการจัดการแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น (4) มีระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาที่ทันสมัยสนองตอบความต้องการของ ผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ


107 (9) มีระบบคลังข้อมูลเกี่ยวกับสื่อและนวัตกรรมการเรียนรู้ที่มีคุณภาพมาตรฐานสามารถ ให้บริการคนทุกช่วงวัยและใช้ประโยชน์ร่วมกันระหว่างหน่วยงานได้ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา ข้อ ๔.๒ การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาสำหรับ คนทุกช่วงวัย (๑) มีระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาที่ทันสมัย สนองตอบความต้องการของ ผู้เรียนและผู้ใช้บริการอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ (๖) ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มขึ้น (๗) มีสื่อดิจิทัลเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชน และการส่งเสริมการมีอาชีพเพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ข้อ ๒.๒ หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏิบัติ (๓) จำนวนแหล่งเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาให้สามารถจัดการศึกษา / จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ส่งเสริมในเรื่องการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 256๒ จุดเน้นการจัดการศึกษา 3. ระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ครูและผู้เรียนสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และจัดการเรียนรู้ แบบองค์รวม จัดแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ โดยมีจุดเน้น - เรียนภาษาไทย เน้นเพื่อการสื่อสาร และใช้เป็นเครื่องมือเพื่อเรียนวิชาอื่น - เรียนภาษาอังกฤษ เน้นเพื่อการสื่อสาร - เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เน้นพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การเรียนรู้จากสถานการณ์ จริง สถานการณ์จำลอง กิจกรรมการเรียนรู้จากปัญหาและการลงมือปฏิบัติสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาและ เรียนรู้อย่างมีความสุข - เรียนรู้ Digital และใช้ Digital เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ - ส่งเสริมการเรียนวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างนวัตกรรม - จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทำ - พัฒนาครูตามความต้องการของครูและสถานศึกษา (คูปองครู) - จัดให้มีโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ นโยบายและจุดเน้นสำนักงาน กศน.ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ๓. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ๓.๖ เพิ่มอัตราการอ่านของประชาชน โดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรูปแบบต่าง ๆ เช่น อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดประชาชน บ้านหนังสือชุมชน ห้องสมุดเคลื่อนที่ ผลักดันให้เกิด ห้องสมุดสู่การเป็นห้องสมุดเสมือนจริงต้นแบบ เพื่อพัฒนาให้ประชาชนมีความสามารถในระดับอ่านคล่อง เข้า ใจความ คิดวิเคราะห์พื้นฐาน และสามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและทันเหตุการณ์ รวมทั้งนาความรู้ที่ ได้รับไปใช้ปฏิบัติจริงในชีวิตประจาวัน


108 ประเด็นที่ 5 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองสองห้อง มีผู้รับบริการ ที่เป็นตัวอย่างที่ดี ตารางที่ 38 แสดงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562 : ผู้รับบริการที่เป็นตัวอย่างที่ดี ในด้านการนำความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วม กิจกรรม/โครงการการศึกษาตาม อัธยาศัยไปใช้/ประยุกต์ใช้ กิจกรรม/โครงการ 1. โครงการห้องสมุดประชาชน 1.1 โครงการวันเด็กแห่งชาติประจำปี ๒๕๖๒ 1.2 โครงการรักการอ่านและการแสวงหาความรู้เพื่อเกิด ภูมิคุ้มกันตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑.๓ กิจกรรมส่งเสริมการอ่านภายในห้องสมุด 2. โครงการบ้านหนังสือชุมชน 3. โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาด ตาม พระราชดำริฯ ๔.โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่เพื่อส่งเสริมการอ่านและ การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (รถโมบายเคลื่อนที่) รวม

ผู้รับบริการได้รับ ความรู้และ/หรือ ประสบการณ์ (คน)

ผลการดำเนินงาน (คน)

2 2

2 2

2 -

2 -

4

4

๑๐

๑๐

ตารางที่ 39 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กำหนดกับผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562: ผู้รับบริการที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบในด้านการนำความรู้และ/หรือประสบการณ์จาก การเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย ไปใช้/ประยุกต์ใช้ รายการ ผู้รับบริการที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือ เป็นต้นแบบในด้านการนำความรู้ และ/หรือประสบการณ์จาก การเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ การศึกษาตามอัธยาศัย ไปใช้/ ประยุกต์ใช้

เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผลการ ผลการ ดำเนินงาน ผลการ ประเมิน (คน) เปรียบเทียบ (คะแนน) ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ๑๐ ๑๐ ๐ ๑


109 บัญชีรายชื่อผู้รับบริการที่เป็นตัวอย่างที่ดีในด้านการนำความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วม กิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย ไปใช้/ประยุกต์ใช้ มีดังนี้ ที่

ชื่อ-สกุล

1

เด็กหญิงธัญวรัตน์ กล้าหาญ

2

เด็กหญิงพันธิตรา ปินะถา

นางปาณิสรา จันทร์โคราช

นางสาวมะยุเรศ นามไธสง

นายพิศาล อาจสม

นายสุทัศน์ ทรัพย์ สมบัติ

ที่อยู่

กิจกรรมที่เข้า ร่วม

เรื่องที่ดีเด่น

๓๐ หมู่ ๕ ตำบลหนอง โครงการวันเด็ก อ่าน สองห้อง อำเภอหนองสอง แห่งชาติประจำปี ภาษาไทยได้ ห้อง จังหวัดขอนแก่น ๒๕๖๒ ถูกต้องและมี ความกล้า แสดงออก ๑๑/๕ หมู่ ๓ ตำบลหนอง โครงการวันเด็ก อ่าน สองห้อง อำเภอหนองสอง แห่งชาติประจำปี ภาษาไทยได้ ห้อง จังหวัดขอนแก่น ๒๕๖๒ ถูกต้องและมี ความกล้า แสดงออก ๒๖ หมู่ ๗ ตำบลหนองไผ่ โครงการรักการ มั่นศึกษาหา ล้อม อำเภอหนองสองห้อง อ่านและการ ความรู้ด้วย จังหวัดขอนแก่น แสวงหาความรู้ ตนเองและนำ เพื่อเกิดภูมิคุ้มกัน ความรู้ไปใช้ ตามหลักปรัชญา ใน เศรษฐกิจ ชีวิตประจำวัน พอเพียง ๑๕ หมู่ ๑ ตำบลตะกั่วป่า โครงการรักการ มั่นศึกษาหา อำเภอหนองสองห้อง อ่านและการ ความรู้ด้วย จังหวัดขอนแก่น แสวงหาความรู้ ตนเองและนำ เพื่อเกิดภูมิคุ้มกัน ความรู้ไปใช้ ตามหลักปรัชญา ใน เศรษฐกิจ ชีวิตประจำวัน พอเพียง ๓๙ หมู่ ๓ ตำบลหนอง กิจกรรมส่งเสริม ยืม-คืน สองห้องอำเภอหนองสอง การอ่านภายใน หนังสือ ห้อง จังหวัดขอนแก่น ห้องสมุด ห้องสมุดเป็น ประจำ 21 หมู่ ๑ ตำบลหนอง กิจกรรมส่งเสริม ยืม-คืน สองห้อง อำเภอหนองสอง การอ่านภายใน หนังสือ ห้อง จังหวัดขอนแก่น ห้องสมุด ห้องสมุดเป็น ประจำ

กศน. ตำบล/ ห้องสมุด ห้องสมุด

ห้องสมุด

ห้องสมุด

ห้องสมุด

ห้องสมุด

ห้องสมุด


110 ที่

ชื่อ-สกุล

เด็กหญิงชญานี สมอคำ

ที่อยู่

กิจกรรมที่เข้า ร่วม

โรงเรียนบ้านหนองเสี้ยว โครงการห้องสมุด ตำบลวังหิน อำเภอหนอง เคลื่อนที่เพือ่ สองห้อง จังหวัดขอนแก่น ส่งเสริมการอ่าน และการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง (รถโมบาย เคลื่อนที่) ๘ เด็กหญิงอุษณีย์ โรงเรียนบ้านหนองเสี้ยว โครงการห้องสมุด สมอนา ตำบลวังหิน อำเภอหนอง เคลื่อนที่เพื่อ สองห้อง จังหวัดขอนแก่น ส่งเสริมการอ่าน และการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง (รถโมบาย เคลื่อนที่) ๙ เด็กชายณัฐกล จุล โรงเรียนบ้านหนองคลอง โครงการห้องสมุด เจือ หนองทุ่ม ตำบลวังหิน เคลื่อนที่เพื่อ อำเภอหนองสองห้อง ส่งเสริมการอ่าน จังหวัดขอนแก่น และการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง (รถโมบาย เคลื่อนที่) ๑๐ เด็กหญิงศศินิภา ตำบลวังหิน อำเภอหนอง โครงการห้องสมุด แทนหลาบ สองห้อง จังหวัดขอนแก่น เคลื่อนที่เพื่อ ส่งเสริมการอ่าน และการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง (รถโมบาย เคลื่อนที่) *ผู้รับบริการมีคุณลักษณะ ตามประกาศของสถานศึกษา

เรื่องที่ดีเด่น สามารถอ่าน และจับ ใจความ สำคัญได้

กศน. ตำบล/ ห้องสมุด ห้องสมุด

สามารถอ่าน และจับ ใจความ สำคัญได้

ห้องสมุด

สามารถอ่าน และจับ ใจความ สำคัญได้

ห้องสมุด

สามารถอ่าน และจับ ใจความ สำคัญได้

ห้องสมุด


111 มาตรฐาน 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพครูการศึกษาขั้นพื้นฐาน หัวข้อประเด็น ประเด็น ที่ 1 สถานศึกษามีการดำเนินงานที่เป็นกระบวนการในการ ส่งเสริมและหรือพัฒนาครูการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพ ประเด็นที่ 2 สถานศึกษาทราบได้อย่างไรว่าครูการศึกษาขั้นพื้นฐานมี ความรู้ตามที่ได้รับการพัฒนา ประเด็นที่ 3 สถานศึกษามีครูการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มีคุณภาพตามสิ่ง ที่ได้รับการพัฒนาจำนวนเท่าไหร่ ประเด็นที่ 4 สถานศึกษามีการดำเนินงาน ที่สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้นของ สำนักงาน กศน. / นโยบายและจุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ และแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร ประเด็นที่ 5 สถานศึกษามีการส่งเสริมและหรือพัฒนาครูการศึกษาขั้น พื้นฐานอย่างไร ที่เป็นต้นแบบ สรุป

ค่าน้ำหนัก คะแนน 1

ระดับ คุณภาพ

1 0.5 1

ดี

0.5 4

ผลการดำเนินงาน จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพครูการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ค่าน้ำหนักคะแนนเต็ม 5 คะแนน สถานศึกษา ได้ค่าคะแนน 4 คะแนน อยู่ในระดับคุณภาพ ดี ดังนี้ ประเด็น ที่ 1 สถานศึกษา ได้ดำเนินการพัฒ นาความรู้ความสามารถของครู กศน.อย่างต่อเนื่ อ ง โดยบรรจุแนวทางการพัฒนาครู กศน. ไว้ในแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ หนองสองห้อง และได้จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี (แผนปฏิบัติการประจำปี 256๒) เพื่อพัฒนาครูที่สอน การศึกษาขั้น พื้ น ฐาน โดยดำเนิน การประสานแผนการพัฒ นาร่ว มกับ สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่ น ซึ่งการพัฒนาครูเรื่องใดจะนำข้อมูลจากการนิเทศการปฏิบัติงานของครูทั้งการนิเทศภายในและการนิเทศ ภายนอกของสำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น มาวิเคราะห์และรายงานผลการนิเทศแก่ส ถานศึกษา และ สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น จากนั้นจะมีการประชุมร่วมกับครูเพื่อรับฟังความคิดเห็นของครูในเรื่องของ การพัฒนาครูในเรื่องนั้น ๆ ว่าเห็นพ้องต้องกันหรือไม่ และจะพิจารณาว่า การพัฒนานั้น ๆ จะช่วยให้ครูได้รับ การพัฒนาเป็นเช่นไร ซึ่งการพัฒนาครูที่ผ่านมาสถานศึกษาได้ ดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาบุคลากร ดังกิจกรรมโครงการต่อไปนี้ - โครงการอบรมวิ ท ยากรแกนนำครู ข และครู ค หลั ก สู ต ร Digital Literacy - E-Commerce ระหว่างวันที่ 7 - 9 มกราคม 2562 ณ สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น - โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำเครื่องมือประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ประจำปีงบ ประ มาณ ๒๕๖๒ ระหว่างวันที่ ๑๕ - ๑๖ สิงหาคม 256๒ ณ โรงแรมอำนวยสุข จังหวัดขอนแก่นๆ - โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแนวทางการจัดทำข้อมูลด้านแผนงานและงบประมาณในระบบ สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ (DMIS) ประจำปีงบประมาณ 256๒ ระหว่างวันที่ ๖-๗ กุมภาพันธ์ 256 ๒ ณ ห้องประชุมสำนักงานกศน. จังหวัดขอนแก่น - โครงการพัฒนาครู กศน. ต้นแบบการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร Boot camp ปีงบประมาณ 256๒ ระหว่างวันที่ ๕ - ๘ สิงหาคม 256๒ ณ สำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น อีกส่วนหนึ่งสถานศึกษาจะส่งครูไปเข้ารับการอบรมพัฒนาตนเองกับหน่วยงานภายนอก เช่นโครงการ อบรมครู กศน.ทางไกลสะเต็มศึกษาจำนวน ๒ รุ่น ดังนี้


112 - รุ่นที่ 1 โครงการพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้วิทยาศาสตร์การเสวนา เรื่องพัฒนากิ จกรรม STEM ชุมชนสร้างคนสู่อาชีพ ระหว่างวันที่ ๑๕ มกราคม 256๒ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาจังหวัดขอนแก่น - รุ่นที่ 2 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์สู่ชุมชนประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ระหว่างวันที่ ๗ - ๘ พฤษภาคม 256๒ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาจังหวัดขอนแก่น ประเด็นที่ 2 สถานศึกษาดำเนินการติดตามผลการดำเนินงานของครูในการจัดกระบวนการเรียนรู้โดย การพบกลุ่ม หลังการอบรมโครงการต่าง ๆ พบว่า ๑. โครงการอบรมวิทยากรแกนนำครู ข และครู ค หลักสูตร Digital Literacy – E-Commerce ครูสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับนักศึกษาและประชาชนได้ ผู้เข้ารับการอบรมมีการสร้างเพจ สร้างกลุ่ม LINE การขายของผ่านแอปพลิเคชัน SHOPEE , LASADA ในการขายสินค้าออนไลน์ที่ผลิตในชุมชนมีการ รวมกลุ่ม OOCC อำเภอหนองสองห้อง เป็นการประชาสัมพั นธ์และขยายเพิ่มช่องทางในการประกอบอาชีพที่ ประชาชนได้รับประโยชน์ ตรงกับยุคสมัยในปัจจุบัน รวมทั้งมีการสรุปผลการประเมินการจัดกิจกรรมเพื่อเสนอ ให้ผู้บริหารทราบ ๒. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำข้อมูลในระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ (DMIS) ครูได้ ความรู้มาใช้ในการบริหารจัดการข้อมูลผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษาในรูปแบบออนไลน์ ๓. โครงการพัฒนาครู กศน. ต้นแบบการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร Boot camp ครูได้รับ ความรู้และนำไปถ่ ายทอดให้ กั บ นั ก ศึก ษาและประชาชนกลุ่ม เป้ าหมาย เพื่อพัฒ นาให้ เกิดทัก ษะการใช้ ภาษาอังกฤษอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการสรุปผลการประเมินการจัดกิจกรรมเพื่อเสนอให้ผู้บริหารทราบ ประเด็นที่ 3 สถานศึกษาได้มีการส่งเสริมและพัฒนาครูการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้มีความรู้ในการจัดทำ แผนการสอนในทุกภาคเรียน โดยการจัดประชุมเพื่อวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้แก่ครู แล้วนำความรู้ที่ ได้รับไปใช้ในการจัดทำแผนการสอนและปฏิบัติการสอนจริงตามแผนการสอนให้มีประสิทธิภาพ เพื่อมุ่งเน้นให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาสูงขึ้น โดยประเมินจากแผนการสอน บันทึกหลังการสอน ผลการจัดอบรมในโครงการ พัฒนาหลักสูตรที่มีคุณภาพ ซึ่งครูการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณภาพตามสิ่งที่ได้รับการพัฒนา ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ กิจกรรม/โครงการ 1. โครงการอบรม ประวัติศาสตร์ชาติไทย และ บุญคุณของพระมหากษัตริย์ ไทย เรื่อง การจัดอบรมการ จัดกิจกรรมกระบวนการเรียน เรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ชาติไทยและ บุญคุณของพระมหากษัตริย์ ไทย (หลักสูตรวิทยากร ประวัติศาสตร์ชาติไทย)

สิ่งที่ได้รับจากการพัฒนา ครูและบุคลากรที่ผ่านการอบรมได้นำกระบวนการ จัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณ ของพระมหากษัตริย์ไทย (หลักสูตรวิทยากร ประวัติศาสตร์ชาติไทย) มาถ่ายทอดสู่นักศึกษาและ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้อย่างทั่วถึงทั้ง 12 ศูนย์ กศน.ตำบล และมีการสรุปผลการประเมินการจัด กิจกรรมเสนอผู้บริหารทราบ

ครูและบุคลากรที่ผ่านการอบรมสามารถนำความรู้ 2. โครงการอบรมวิทยากร ที่ได้รับมาไปถ่ายทอดให้กับนักศึกษาและประชาชน แกนนำครู ข และครู ค สร้างเพจ สร้างกลุ่ม LINE การขายของผ่านแอป หลักสูตร Digital Literacy พลิเคชัน SHOPEE , LASADA ในการขายสินค้า E-Commerce ออนไลน์ที่ผลิตในชุมชนมีการร่วมกลุ่ม OOCC

หลักฐานที่ปรากฏ สรุปผลการ ดำเนินงาน

-สรุปผลการ ดำเนินงาน -ภาพกิจกรรม -เพจร้านค้าออนไลน์


113 กิจกรรม/โครงการ

สิ่งที่ได้รับจากการพัฒนา หลักฐานที่ปรากฏ อำเภอหนองสองห้อง เป็นการประชาสัมพันธ์ และ -แอปพลิเคชัน Line, ขยายเพิ่มช่องทางในการประกอบอาชีพที่นักศึกษา SHOPEE,LASADA และประชาชนได้รับประโยชน์ ตรงกับยุคสมัยใน ปัจจุบัน และมีการสรุปผลการประเมินการจัด กิจกรรมเสนอผู้บริหารทราบ 3. โครงการอบรมเชิง ครูและบุคลากรที่ผ่านการอบรมได้นำความรู้ที่ -สรุปผลการ ปฏิบัติการจัดทำข้อมูลใน ได้รับมามาใช้ในการบริหารจัดการข้อมูลผลการ ดำเนินงานในระบบ ระบบสารสนเทศเพื่อการ ปฏิบัติงานของสถานศึกษาในรูปแบบออนไลน์ สารสนเทศและการ บริหารจัดการ (DMIS) บริหารจัดการ 4. โครงการพัฒนาครู กศน. ครูและบุคลากรที่ผ่านการอบรมได้นำความรู้ที่ สรุปผลการ ต้นแบบการสอนภาษาอังกฤษ ได้รับมาถ่ายทอดความรู้และกระบวนการมาสู่ ดำเนินงาน เพื่อการสื่อสาร Boot camp บุคลากรของ กศน. เพื่อนำไปถ่ายทอดให้กับ นักศึกษาและประชาชนกลุ่มเป้าหมายเกิดทักษะใน การใช้ภาษาอังกฤษ และมีการสรุปผลการประเมิน การจัดกิจกรรมเสนอผู้บริหารทราบ ประเด็นที่ 4 สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบาย แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อ 2.7 ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน (1) ร้อยละของครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษาได้รับการพัฒนาตาม มาตรฐานวิชาชีพและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น (2) ร้อยละของครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการพัฒนาให้สอดคล้องกับความต้องการและ ยุทธศาสตร์ของหน่วยงานเพิ่มขึ้น

นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 256๒ จุดเน้นการจัดการศึกษา 3. ระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ครูและผู้เรียนสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และจัดการเรียนรู้ แบบองค์รวม จัดแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ โดยมีจุดเน้น - เรียนภาษาไทย เน้นเพื่อการสื่อสาร และใช้เป็นเครื่องมือเพื่อเรียนวิชาอื่น - เรียนภาษาอังกฤษ เน้นเพื่อการสื่อสาร - เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เน้นพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การเรียนรู้จากสถานการณ์ จริง สถานการณ์จำลอง กิจกรรมการเรียนรู้จากปัญหาและการลงมือปฏิบัติสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาและ เรียนรู้อย่างมีความสุข - เรียนรู้ Digital และใช้ Digital เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ - ส่งเสริมการเรียนวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างนวัตกรรม - จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทำ - พัฒนาครูตามความต้องการของครูและสถานศึกษา (คูปองครู) - จัดให้มีโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ


114 นโยบายและจุดเน้นสำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ 256๒ ๓. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ๓.๒ ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ รวมทั้ง ความต้องการของประชาชนและชุมชน ในรูปแบบที่หลากหลาย ให้ประชาชนคิดเป็น วิเคราะห์ได้ ตัดสินใจ ภายใต้ข้อมูลที่ถูกต้อง ๓.๓ พัฒนาศักยภาพคนด้านทักษะและความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) ๑) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้สามารถใช้ Social Media และ Application ต่าง ๆ ในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ๒) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้ประชาชนมีทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งสร้างรายได้ให้กับตนเองได้ ๓.๔ พัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษ และภาษาอื่น ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ ๑) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และภาษาอื่น ๆ ที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ โดยใช้สื่อเทคโนโลยีดิจิทัล Social Media และ Application ต่าง ๆ ๒) จัดและส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และภาษาอื่น ๆ ที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่และความ ต้องการของประชาชน เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ ๓.๘ พัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้กระบวนการ “สะเต็ม ศึกษา” (STEM Education) ๓.๑๐ ส่งเสริม และพัฒนาระบบการสะสมและเทียบโอนหน่วยการเรียน (Credit Bank System) ของสถานศึกษา ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อ ประโยชน์ในการดาเนินการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓.๑๑ สร้างกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบ E-learning ที่ใช้ระบบเทคโนโลยีเข้ามาบริหารจัดการเรียนรู้ เพื่อเป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมายได้สะดวก รวดเร็ว ตรงตามความต้องการ ของประชาชนผู้รับบริการ เช่น ระบบการเรียนรู้ในระบบเปิดสาหรับมหาชน (Massive Open Online Courses : MOOCs) คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) ๓.๑๒ ส่งเสริมการรู้ภาษาไทย เพิ่มอัตราการรู้หนังสือ และยกระดับการรู้หนังสือของประชาชน ๑) ส่งเสริมการรู้ภาษาไทย ให้กับประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้สามารถฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย เพื่อประโยชน์ในการใช้ชีวิตประจาวันได้ ๒) เร่งจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มอัตราการรู้หนังสือ และคงสภาพการรู้หนังสือ ให้ประชาชนสามารถอ่านออก เขียน ได้ และคิดเลขเป็น โดยมีการวัดระดับการรู้หนังสือ การใช้สื่อ กระบวนการ และกิจกรรมพัฒนาทักษะใน รูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย ๓) ยกระดับการรู้หนังสือของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการรู้หนังสือในรูปแบบต่าง ๆ รวมทั้ง พัฒนาให้ประชาชนมีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อเป็นในการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน ประเด็นที่ 5 สถานศึกษามีครูผู้สอนที่มีความรู้ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการจัดกิจกรรมงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดังนี้ 1.นายอุทัย สมพร ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ครูดีเด่นด้านการบริหารจัดการดีเด่น ๒.นางสมร ชมภูหลง ครู กศน.ตำบล หัวหน้า กศน.ตำบลดีเด่น ๓.นายอาทิตย์ เพ็ญศรี ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบลดีเด่น ๔.นางปริณดา บุญชัย ครูศูนย์การเรียนชุมชน ครูศูนย์การเรียนรู้ชุมชนดีเด่น ๕.นางสาวพัชราพร ทุมสิงห์ ครูประกาศนียบัตรวิชาชีพ ครูประกาศนียบัตรวิชาชีพดีเด่น


115 ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 คุณภาพของหลักสูตรสถานศึกษา หัวข้อประเด็น คะแนน ระดับคุณภาพ 1. สถานศึกษามีการดำเนินงานที่เป็น กระบวนการในการพัฒนาหลักสูตร 1 สถานศึกษาอย่างไร 2. สถานศึกษามีการทบทวน หรือประเมินหลักสูตรสถานศึกษาอย่างไร 0.5 3. สถานศึกษามีการทบทวน หรือติดตาม หรือประเมินกระบวนการพัฒนา 0.5 หลักสูตรสถานศึกษาเพื่อนำไปปรับปรุงกระบวนการอย่างไร ดี 4. สถานศึ ก ษามี ก ารดำเนิ น งานที ่สอดคล้ องกั บ นโยบายและจุดเน้ นของ 1 สำนักงาน กศน. /นโยบาย จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ /ยุทธศาสตร์และ เป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร 5. สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอย่างไร ที่เป็นต้นแบบ 0.5 สรุป 3.5 ผลการดำเนินงาน จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 คุณภาพของหลักสูตร สถานศึกษา มีค่าคะแนน เท่ากับ 3.50 คะแนน ซึ่งมีค่าคุณภาพระดับ ดี ด้วยการดำเนินการดังนี้ ประเด็นที่ ๑ สถานศึกษา ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกเสรีโดยพิจารณามาจากความ ต้องการของผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อนำข้อมูลมาจัดทำแผนการเรียนรู้รายบุคคลให้มีความสอดคล้องกับสภาพ การเปลี ่ ย นแปลงของสั ง คมและชุ ม ชน โดยมี จ ุ ด มุ ่ ง หมายที ่ จ ะใช้ ห ลั ก สู ต รเป็ น สื ่ อ ในการพั ฒ นาความรู้ ความสามารถของผู้เรียน โดยสถานศึกษามีบุคลากรทั้งหมดจำนวน ๘๗ คน ประกอบด้วย ผู้บริหาร 1 คน บรรณารักษ์ปฏิบัติการ 1 คน พนักงานบริการ 1 คน ครูอาสาสมัครฯ 3 คน ครู กศน.ตำบล 18 คน ครู ศูนย์การเรียนชุมชน 46 คน ครูประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1๕ คนนักวิชาการศึกษา 2 คน เจ้าหน้าที่บันทึก ข้ อ มู ล 1 คน บรรณารั ก ษ์ จ ้ า งเหมา 1 คน ในการจั ด ทำหลั ก สู ต รสถานศึ ก ษาได้ จ ั ด ทำคำสั ่ ง แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการดำเนินงานพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อร่วมดำเนินการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกเสรี สำหรับใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับนักศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้ง 3 ระดับ ซึ่งมีความสอดคล้องกับ หลักสูตร การศึกษานอกระบบและการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กระบวนการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา ได้ดำเนินการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้เรียน สภาพทางสังคม ความต้องการของผู้เรียนในการ นำไปสู่การพัฒนาหลักสูตร โดยใช้ทฤษฎี “วงจรเดมมิ่ง PDCA” เป็นตัวกำหนดทิศทางในการดำเนินการพัฒนา หลักสูตร คือ P:Plan วางแผนให้มีความชัดเจน กำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากรและ ระยะเวลาดำเนินการ กำหนดจุดมุ่งหมาย เนื้อหา คำอธิบายรายวิชาหลักสูตร D:DO หมายถึง ปฏิบัติตามแผน กำหนดระยะเวลาดำเนินการ กำหนดจุดมุ่งหมาย เนื้อหา คำอธิบายรายวิชา สื่อที่ใช้ในการประกอบการ จัดการเรียนและรูปแบบกระบวนการวัดผลและประเมินผล C:Check ตรวจสอบ/ประเมินผลของหลักสูตรที่ได้ พัฒ นาขึ้น ให้สามารถนำไปใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้แก่ผ ู้เรียนได้จริง A: Action ปรับปรุงแก้ ไข ดำเนินการให้เหมาะสมตามผลการประเมินและพัฒนาหลักสูตรทุกภาคเรียน ในปีงบประมาณ 256๒ ได้แก่ ภาคเรียนที่ 2/256๑ ภาคเรียนที่ 1/256๒ เพื่อให้มีความสอดคล้องตอบสนองความต้องการของผู้เรียนด้วย กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลทางสังคม เพื่อศึกษาสภาพสังคมในปัจจุบันและอนาคตทั้งด้าน เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง วัฒนธรรม ระบบครอบครัว ค่านิยมของสังคม รวมถึงความเปลี่ยนแปลงทางสังคมแล้วนำมา พัฒนาปรับปรุงหลักสูตรให้ตรงตามความพร้อม ความสนใจของผู้เรียน


116 ประเด็นที่ 2 สถานศึกษา มีการดำเนินงานที่เป็นกระบวนการในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาใน รายวิชาเลือก โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคน ร่วมกับ คณะกรรมการสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีการจัดทำแผนพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ดำเนินการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับบุคลากร ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคน เพื่อพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับ บริบทความต้องการของสถานศึกษา ผู้เรียน ชุมชนและสถานการณ์ในปัจจุบัน โดยผ่านความเห็นชอบของ คณะกรรมการสถานศึกษาก่อนนำหลักสูตรสถานศึกษาไปใช้ สถานศึกษา ได้ดำเนินการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการทบทวนและประเมินพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา โดยมีการทบทวนและประเมินหลักสูตรสถานศึกษา ๓ ระยะ ได้แก่ ทบทวนและประเมินหลักสูตร สถานศึกษาก่อนนำไปใช้ ทบทวนและประเมินหลักสูตรสถานศึกษาระหว่างการใช้ ทบทวนและประเมิน หลักสูตรสถานศึกษาหลังการใช้ เพื่อนำข้อมูลต่าง ๆ มาร่วมกันวิเคราะห์ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาให้มีความสอดคล้องเหมาะสมกับผู้เรียนให้มากที่สุด สถานศึ ก ษา ได้ ด ำเนิ น การจั ด ทำคำสั ่ง แต่ ง ตั ้ง คณะกรรมการนิเ ทศการใช้ห ลั ก สูต รสถานศึกษา โดยกำหนดให้มีการทบทวน ติดตาม และประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษาทุก ๆ ๒ ปี เพื่อการพัฒนาและ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาให้มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ และความจำเป็นของผู้เรียน สถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ และเป็นไปตามบริบทของสถานศึกษา ประเด็นที่ 3 สถานศึกษามีการทบทวน ติดตาม หรือประเมินกระบวนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อนำไปปรับปรุงกระบวนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดยการนำข้อมูลผลสัมฤทธิ์จากการวัดผลและ ประเมินผลของผู้เรียนนำมาใช้ในการกำหนดทิศทางและวางแผนกระบวนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดยทั่วไปจะดำเนินการหลังจากผู้สำเร็จการศึกษาได้นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตและประสบความสำเร็จใน การทำงานเพียงใด การประเมินระบบหลักสูตรเป็นการประเมินหลักสูตรในลักษณะที่มีความสมบูรณ์และ สลับซับซ้อนมาก กล่าวคือ การประเมินระบบหลักสูตรจะมีความเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบอื่น ๆ ที่มี ส่วน เกี่ย วข้องกับ หลั กสูต รด้ว ย เช่น ทรัพยากรที ่ต ้ องใช้ ความสัมพันธ์ข องระบบหลั กสูต รกับ ระบบบริ ห าร สถานศึกษา ระบบการจัดการเรียนการสอน ระบบการวัดและประเมินผลการเรียนการสอน เป็นต้น ประเด็นที่ 4 สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบายแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความ สามารถ ในการแข่งขันของประเทศ ข้อ 2.2 สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน (8) จำนวนหลักสูตรหรือสาขาวิชาที่ผู้เรียนสามารถโอนย้ายหรือศึกษาต่อเนื่องเพิ่มขึ้น นโยบายและจุดเน้นกระมรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาน 256๒ จุดเน้นการจัดการศึกษา 3. ระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ครูและผู้เรียนสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และจัดการเรียนรู้ แบบองค์รวม จัดแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ โดยมีจุดเน้น - เรียนภาษาไทย เน้นเพื่อการสื่อสาร และใช้เป็นเครื่องมือเพื่อเรียนวิชาอื่น - เรียนภาษาอังกฤษ เน้นเพื่อการสื่อสาร - เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เน้นพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การเรียนรู้จากสถานการณ์ จริง สถานการณ์จำลอง กิจกรรมการเรียนรู้จากปัญหาและการลงมือปฏิบัติสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาและ เรียนรู้อย่างมีความสุข - เรียนรู้ Digital และใช้ Digital เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ - ส่งเสริมการเรียนวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างนวัตกรรม


117 - จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทำ - พัฒนาครูตามความต้องการของครูและสถานศึกษา (คูปองครู) - จัดให้มีโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ นโยบายและจุดเน้นสำนักงาน กศน. ปีงบประมาน 256๒ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้ อ ๓.๑ ส่ ง เสริ ม การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ป ลู ก ฝั ง คุ ณ ธรรม สร้ า งวิ น ั ย จิ ต สาธารณะ ความรับผิดชอบต่อส่ว นรวม และการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ เช่น กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจนสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้กับบุคลากรในองค์กร ข้อ ข้อ ๓.๒ ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ รวมทั้งความต้องการของประชาชนและชุมชน ในรูปแบบที่หลากหลาย ให้ประชาชนคิดเป็น วิเคราะห์ได้ ตัดสินใจภายใต้ข้อมูลที่ถูกต้อง ข้อ ๓.๓ พัฒนาศักยภาพคนด้า นทัก ษะและความเข้า ใจในการใช้เ ทคโนโลยีด ิจิ ท ัล (Digital Literacy) ๑) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้ สามารถใช้ Social Media และ Application ต่าง ๆ ในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ๒) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้ประชาชนมีทักษะความเข้าใจและ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งสร้างรายได้ให้กับตนเองได้ ข้อ ๓.๔ พัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษ และภาษาอื่น ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ ๑) พัฒนารูปแบบการจัดการเรี ยนการสอนภาษาอังกฤษ และภาษาอื่น ๆ ที่สอดคล้องกับ บริบทของพื้นทีโ่ ดยใช้สื่อเทคโนโลยีดิจิทัล Social Media และ Application ต่าง ๆ ๒) จัดและส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาอั งกฤษ และภาษาอื่น ๆที่สอดคล้องกับบริบทของ พื้นที่และความต้องการของประชาชน เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ ประเด็นที่ 5 สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอย่าง ที่เป็นต้นแบบ การประเมินผลหลักสูตร เป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งที่จะทำให้เราทราบถึงคุณภาพและ ประสิทธิภาพของหลักสูตร การประเมินผลมีประโยชน์ในการจัดการศึกษา การจัดทำหรือพัฒนาหลักสูตรจึง ต้องอาศัยผลจากการประเมินผลเป็นสำคัญ ซึ่งประโยชน์ของการประเมินผลหลักสูตรมีดังนี้ ๑ สถานศึกษาจัดทำข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาที่ เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา ๒ หลักสูตรสถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้มีความสอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้นของสำนักงาน กศน./นโยบาย จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ/ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการ ศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี ได้อย่างชัดเจน ๓ หลักสูตรสถานศึกษามีการพัฒนาตรงตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ตรงตามความต้องการของ สถานศึกษา ผู้เรียน ชุมชน และสถานการณ์ในปัจจุบัน ๔ หลักสูตรสถานศึกษามีการพัฒนาโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา ๕ หลักสูตรสถานศึกษาที่มีกระบวนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง


118 ตังบ่งชี้ 2.3 คุณภาพสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา หัวข้อประเด็น 1.สถานศึกษามีการดำเนินงานที่เป็นกระบวนการในการ จัดหาหรือจัดทำสื่อ 2.สถานศึกษามีการทบทวนหรือติดตาม หรือประเมินสื่อ ตามหลักสูตรสถานศึกษาอย่างไร 3.สถานศึกษามีการทบทวนหรือติดตาม หรือประเมิน กระบวนการจัดหาหรือจัดทำสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อนำไปปรับปรุงกระบวนการอย่างไร 4.สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบายและ จุ ด เน้ น ของ สำนั ก งาน กศน./นโยบายจุ ด เน้ น ของ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร/ยุ ท ธศาสตร์ แ ละเป้ า หมายของ แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปีอย่างไร 5.สถานศึกษามีการจัดหาสื่อหรือจัดทำสื่อตามหลักสูตร สถานศึกษาอย่างไร ที่เป็นต้นแบบ รวม

คะแนนที่ได้

ระดับคุณภาพ

1 0.5 0.5 ดี 1 1 4

ผลการดำเนินงาน จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ 2.3 คุณภาพของหลักสูตร สถานศึกษา ค่าน้ำหนัก คะแนนเต็ม 5 คะแนน สถานศึกษา ได้ค่าคะแนน 4 คะแนน อยู่ในระดับคุณภาพ ดี ประเด็นที่ 1 สถานศึกษา มีกระบวนการดำเนินงานในการจัดหาสื่อตามหลักสูตรการศึกษา ดังนี้ 1.1 ครู กศน.ตำบลทุกตำบลสำรวจสื่อการเรียนการสอนตามใบสรุปการลงทะเบียนของ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนของแต่ละภาคเรียน และสรุปภาพรวมในการจัดหาสื่อตาม รายวิชาที่ลงทะเบียนตามจำนวนงบประมาณที่ได้จัดสรร 1.2 เจ้าหน้าที่พัสดุเสนอราคากลางส่งให้บริษัทสำนักพิมพ์หลายๆ แห่ง เพื่อจัดหาแบบเรียน ตามสำนักงาน กศน. กำหนดให้พิจารณา 1.3 สถานศึ ก ษาแต่ ง ตั ้ ง คณะกรรมการพิ จ ารณารายละเอี ย ดเนื ้ อ หาหนั ง สื อ ของแต่ ล ะ สำนักพิมพ์ที่ยื่นเสนอตัวอย่าง 1.4 คณะกรรมการประชุมเลือกสื่อที่เหมาะสมและมีเนื้อหาสอดคล้องมาตรฐานแบบเรียน 1.5 ประชุมดำเนินการจัดซื้อ/จัดจ้างสื่อตามระเบียบการพัสดุฯ 1.6 ตรวจรับสื่อหนังสือโดยคณะกรรมการตรวจรับ 1.7 เจ้าหน้าที่พัสดุดำเนินการลงทะเบียนและมอบสื่อ หนังสือให้กับ กศน.ตำบลได้ดำเนินการ ลงทะเบียนให้นักศึกษายืมเรียน ประเด็นที่ 2 สถานศึกษา มีการทบทวน และติดตามการใช้สื่อของนักศึกษาโดยครู กศน, แต่ละตำบล และดำเนินการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ที่เลือกใช้อย่างสม่ำเสมอ โดยให้ครูผู้สอนเป็นผู้ประเมินคุณภาพ หรือประเมินในรูปแบบคณะกรรมการ เพื่อหาจุดอ่อนของสื่อมาปรับปรุงและพัฒนาในการจัดหาสื่อให้ สอดคล้องกับเนื้อหารายวิชา ประเด็นที่ 3 สถานศึกษาได้มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจนิเทศติดตามเพื่อทบทวน ประเมินผลการจัดซื้อสื่อการศึกษาว่าถูกต้องเป็นไปตามระเบียบว่าด้วยการพัสดุหรือไม่ เพื่อนำข้อมูล มา ปรับปรุงกระบวนการจัดซื้อสื่อให้ตามหลักสูตรสถานศึกษาต่อไป


119 ประเด็นที่ 4 สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบาย แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อ 2.4 แหล่งเรียนรู้ สื่อตำราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน และ ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่ (6) จำนวนสื่อตำราเรียน และสื่อการเรียนรู้ ที่ผ่านการรับรองมาตรฐานคุณภาพจากหน่วยงานที่ รับผิดชอบเพิ่มขึ้น (7) จำนวนสื่อตำราเรียน และสื่อการเรียนรู้ ที่ได้รับการพัฒนา โดยการมีส่วนร่วมจากภาครัฐและ เอกชนเพิ่มขึน้ นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 256๒ จุดเน้นการจัดการศึกษา ข้อ 3. ระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ครูและผู้เรียนสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และจัดการ เรียนรู้แบบองค์รวม จัดแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ โดยมีจุดเน้น - เรียนภาษาไทย เน้นเพื่อการสื่อสาร และใช้เป็นเครื่องมือเพื่อเรียนวิชาอื่น - เรียนภาษาอังกฤษ เน้นเพื่อการสื่อสาร - เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เน้นพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การเรียนรู้จาก สถานการณ์จริง สถานการณ์จำลอง กิจกรรมการเรียนรู้จากปัญหาและการลงมือปฏิบัติสามารถเรียนรู้ ได้ทุกที่ทุกเวลาและเรียนรู้อย่างมีความสุข - เรียนรู้ Digital และใช้ Digital เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ - ส่งเสริมการเรียนวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างนวัตกรรม - จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทำ - พัฒนาครูตามความต้องการของครูและสถานศึกษา (คูปองครู) - จัดให้มีโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ นโยบายและจุดเน้นสำนักงาน กศน. ปีงบประมาณ 256๒ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อ ๓.๑ ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ ความรับผิดชอบต่อส่วนรวม และการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ เช่น กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจนสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้กับบุคลากรใน องค์กร ข้อ ๓.๒ ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ รวมทั้งความต้องการของประชาชนและชุมชน ในรูปแบบที่หลากหลาย ให้ประชาชนคิดเป็น วิเคราะห์ได้ ตัดสินใจภายใต้ข้อมูลที่ถูกต้อง ข้อ ๓.๓ พัฒนาศักยภาพคนด้านทักษะและความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) ๑) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้สามารถใช้ Social Media และ Application ต่าง ๆ ในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ๒) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้ประชาชนมีทักษะความเข้าใจและใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งสร้างรายได้ให้กับตนเองได้


120 ข้อ ๓.๔ พัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษ และภาษาอื่น ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ ๑) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และภาษาอื่น ๆ ที่สอดคล้องกับ บริบทของพื้นทีโ่ ดยใช้สื่อเทคโนโลยีดิจิทัล Social Media และ Application ต่าง ๆ ๒) จัดและส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และภาษาอื่น ๆที่สอดคล้องกับบริบทของ พื้นที่และความต้องการของประชาชน เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ ประเด็นที่ 5 สถานศึกษามีการจัดหาสื่อหรือจัดทำสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา ดังนี้ 1.มีการจัดทำแผนการซื้อสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา 2.มีการจัดประชุมชี้แจงงบประมาณการจัดซื้อสื่อให้กับบุคลากรและคณะกรรมการสถานศึกษา 3.มีการสำรวจและเสนอความต้องการใช้สื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา 4.มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบราคากลางสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา 5.มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมพิจารณาจัดซื้อสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา 6.มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา 7.มี ก ารจั ด ทำคำสั ่ ง แต่ ง ตั ้ ง คณะกรรมนิ เ ทศ ติ ด ตาม กระบวนการจั ด ซื ้ อ สื ่ อ ตามหลั ก สู ต ร สถานศึกษา ให้เป็นไปตามระเบียบว่าด้วยงานพัสดุ ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ประเด็น คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ ประเด็นที่ 1 ครูการศึกษาขั้นพื้นฐานมีกระบวนการในการออกแบบและจัด กระบวนการเรียนรู้รายวิชาหรือหน่วยการเรียนรู้ที่ให้ความสำคัญกับความ 0.5 แตกต่างระหว่างบุคคลกับผู้เรียนอย่างไร ประเด็นที่ 2 ครูการศึกษาขั้นพื้นฐานศึกษาว่าผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ บรรลุตามมาตรฐานตามตัวชี้วัดของรายวิชาหรือ 1 หน่วยการเรียนรู้ ประเด็นที่ 3 ครูมีการทบทวนหรือติดตามหรือประเมินการออกแบบและ จัดกระบวนการเรียนรู้รายวิชาหรือหน่วยการเรียนรู้ เพื่อนำไปปรับปรุง 0.5 กระบวนการอย่างไร ดี ประเด็นที่ 4 สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้นของสำนักงานกศน./นโยบาย จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ/ 1 ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี อย่างไร ประเด็นที่ 5 ครูการศึกษาขั้นพื้นฐานมีการออกแบบและจัดกระบวนการ เรียนรู้รายวิชาหรือหน่วยการเรียนรู้ที่เป็นต้นแบบโดยมีการจัดกระบวนการ 0.5 เรียนรู้ที่เป็นหัวใจสำคัญที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างไร ที่เป็น ต้นแบบ รวม 3.5 ผลการดำเนิน งาน จากการประเมิน ตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ 2.4 คุณ ภาพการจัด กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ค่าน้ำหนักคะแนนเต็ม 5 คะแนน สถานศึกษา ได้ค่าคะแนน 3.5 คะแนน อยู่ในระดับคุณภาพ ดี


121 ประเด็นที่ 1 ครูการศึกษาขั้นพื้นฐานมีกระบวนการในการออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่ คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล อาจจะเป็นด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม ครอบครัว ครูจึงจำเป็นต้องศึกษา ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อเป็นการจัดการเรียนรู้ที่ตรงตามความต้องการของผู้เรีย นและเป็นการยึดผู้เรียนเป็น ศูนย์กลางในการเรียนรู้ ครูผู้สอนจึงควรมีข้อมูลของผู้เรียนเป็นรายบุคคล สำหรับใช้ในการวางแผนและ ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างเหมาะสม ครูดำเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามที่ได้กำหนดไว้ และ บันทึกผลการจัดกระบวนการเรียนรู้ทุกครั้ง เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุง พัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้มีประสิทธิภาพต่อไป ประเด็นที่ 2 ครูการศึกษาขั้นพื้นฐานมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแผนเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐาน ตัวชี้วัดของรายวิชาหรือหน่วยการเรียนรู้ โดยมีการทดสอบก่อนเรียน ระหว่างเรียน หลังเรีย น และเก็บข้อมูล การวัดผลประเมินผลตามแบบ กศน.4 เพื่อวัดคุณภาพผู้เรียนและใช้เป็นข้อมูลในการออกแบบกระบวนการ จัดการเรียนรู้ต่อไป ประเด็นที่ 3 ครูการศึกษาขั้นพื้นฐานมีการทบทวน ติดตามหรือประเมินผลการออกแบบและจัด กระบวนการเรียนรู้รายวิชาหรือหน่วยการเรียนรู้ ดังนี้ 1. สังเกตจากผู้เรียน มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาเพียงใด สามารถตอบคำถามหรือทำตามตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ได้ มีการประเมินความสามารถของผู้เรียนหลังการเรียนการสอนของหน่วยการเรียนรู้ในแต่ ละหน่วย เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ ออกแบบรูปแบบการจัดการเรียนการสอนให้มีความเหมาะสมกับผู้เรียน 2. การประเมินและติดตามผู้เรียนมีจุ ดมุ่งหมายเพื่อบ่งชี้คุณภาพของความสามารถหรือความสำเร็จ ของการลงปฏิบัติของผู้เรียนโดยพิจารณาได้จากชิ้นงานหรือผลงาน 3. กำหนดวิธีการประเมินให้มีรูปแบบที่หลากหลายเพื่อวินิจฉัยผู้เรียนให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือและช่วย ให้ทราบถึงความสามารถของผู้เรียนในแต่ละบุคคลได้อย่างชัดเจน 4. มีการ กำกับ ดูแล ติดตาม ความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของผู้เรียน 5. จัดให้มีการตรวจสอบความรอบรู้และเสียงสะท้อนจากผู้เรียน ๖. มีการออกแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนและเป้าหมายการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีส่วนร่วมใน การกำหนดเป้าหมาย วิธีการและหนทางที่จะนำไปสู่เป้าหมายนั้น ๆ ๗. ครูผู้สอนมีการจดบันทึกหลังการเรียน เพื่อทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อนำไปพัฒนาปรับปรุงการ เรียนการสอนให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น รวมไปถึงการทำวิจัยหน้าเดียวเกี่ยวกับการปัญหาด้านการจัดกระบวน การเรียนสอน เพื่อพัฒนาการสอนรวมไปถึงพัฒนาผู้เรียน ประเด็นที่ 4 สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบาย แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อ 2.3 สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรได้อย่างมี คุณภาพและมาตรฐาน (3) จำนวนสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรที่มุ่งพัฒนา ผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพิ่มขึ้น (6) ร้อยละของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่จักระบวนการเรียนรู้เชิงบูรณาการเพื่อพัฒนาทักษะ การคิดวิเคราะห์และความคิดสร้างสรรค์เพิ่มขึ้น นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จุดเน้นการจัดการศึกษา 3. ระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ครูและผู้เรียนสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และจัดการเรียนรู้ แบบองค์รวม จัดแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ โดยมีจุดเน้น


122 - เรียนภาษาไทย เน้นเพื่อการสื่อสาร และใช้เป็นเครื่องมือเพื่อเรียนวิชาอื่น - เรียนภาษาอังกฤษ เน้นเพื่อการสื่อสาร - เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เน้นพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การเรียนรู้จากสถานการณ์ จริง สถานการณ์จำลอง กิจกรรมการเรียนรู้จากปัญหาและการลงมือปฏิบัติสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาและ เรียนรู้อย่างมีความสุข - เรียนรู้ Digital และใช้ Digital เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ - ส่งเสริมการเรียนวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างนวัตกรรม - จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทำ - พัฒนาครูตามความต้องการของครูและสถานศึกษา (คูปองครู) - จัดให้มีโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ นโยบายและจุดเน้นสำนักงานกศน.ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อ ๓.๑ ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ ความรับผิดชอบต่อส่วนรวม และการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ เช่น กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจนสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้กับบุคลากรใน องค์กร ข้อ ๓.๒ ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ รวมทั้งความต้องการของประชาชนและชุมชน ในรูปแบบที่หลากหลาย ให้ประชาชนคิดเป็น วิเคราะห์ได้ ตัดสินใจภายใต้ข้อมูลที่ถูกต้อง ข้อ๓.๓ พัฒนาศักยภาพคนด้านทักษะและความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) ๑) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้ สามารถใช้ Social Media และ Application ต่าง ๆ ในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ๒) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้ประชาชนมีทักษะความเข้าใจและ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งสร้างรายได้ให้กับตนเองได้ ข้อ ๓.๔ พัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษ และภาษาอื่น ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ ๑) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษและภาษาอื่น ๆ ที่สอดคล้องกับ บริบทของพื้นที่ โดยใช้สื่อเทคโนโลยีดิจิทัล Social Media และ Application ต่าง ๆ ๒) จัดและส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษและภาษาอื่น ๆ ที่สอดคล้องกับบริบทของ พื้นที่และความต้องการของประชาชน เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ ประเด็นที่ 5 ครูการศึกษาขั้นพื้นฐานมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เป็นหัวใจสำคัญที่จะทำให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ ดังนั้นผู้สอนควรพิจารณาเลือกใช้เทคนิคและกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ เหมาะสม โดยใช้หลักการคิดแบบ ONIE MODEL คือ 1.กำหนดสภาพความต้องการในการเรียนรู้ 2.แสวงหา ข้อมูลและจัดหาแหล่งเรียนรู้ 3.ปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้ 4.ประเมินผลการเรียนรู้ โดยนำนวัตกรรมสื่อการ สอนและเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการสอน เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน น่าสนใจ อีกทั้งควรคำนึงถึงความถนัด ของผู้เรียน เลือกใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ที่จะช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรีย น และใช้วิธีการวัดผลประเมินผล ที่หลากหลาย ทั้งนี้ครูต้องเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาอย่างเต็มศักยภาพของแต่ละคนและ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้


123 ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๕ คุณภาพวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง ประเด็น คะแนนที่ได้ ประเด็นที่ ๑ สถานศึกษามีการดำเนินงานที่เป็นกระบวนการในการ 0.5 ส่งเสริมหรือพัฒนาวิทยากรการศึกษาต่อเนื่องให้มีคุณภาพอย่างไร ประเด็นที่ ๒ สถานศึกษาทราบได้อย่างไรว่าวิทยากรการศึกษา 1 ต่อเนื่องมีความรู้ตามที่ได้รับการส่งเสริมหรือพัฒนา ประเด็นที่ ๓ สถานศึกษามีการทบทวนหรือติดตามหรือประเมิน กระบวนการในการส่งเสริมหรือพัฒนาวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง 0.5 ให้มีคุณภาพอย่างไร ประเด็นที่ 4 สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นของสำนักงาน กศน./นโยบายจุดเน้นของกระทรวง 1 ศึกษาธิการ/ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปีอย่างไร ประเด็นที่ ๕ สถานศึกษามีการส่งเสริมหรือพัฒนาวิทยากร 0.5 การศึกษาต่อเนื่องอย่างไร ที่เป็นต้นแบบ รวม 3.5

ระดับคุณภาพ

ดี

ผลการดำเนินงาน จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ 2.5 คุณภาพวิทยากร การศึกษาต่อเนื่อง ค่าน้ำหนักคะแนนเต็ม 5 คะแนน สถานศึกษา ได้ค่าคะแนน 3.5 คะแนน อยู่ในระดับ คุณภาพ ดี ประเด็นที่ ๑ สถานศึกษามีการดำเนินงานกระบวนการในการส่งเสริมหรือพัฒนาวิทยากรการศึกษา ต่อเนื่อง โดยมีการสำรวจภูมิปัญญาท้องถิ่นปราชญ์ชาวบ้าน และผู้ที่มีความรู้ความสามารถในด้านต่าง ๆ ที่ตรง กับความต้องการของผู้เรียน มีการรับสมัครวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้ งวิทยากร การศึกษาต่อเนื่องมีการจัดประชุมชี้แจงบุคลกรและวิทยากรการศึกษาต่อเนื่องมีการถอดองค์ความรู้จาก วิทยากรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อนำข้อมูลมาจัดทำหลักสูตรต่อเนื่อง มีการประชุมเชิงปฏิบัติการและประชุมชี้แจง วัตถุประสงค์ แนวทางการดำเนินการกระบวนการถ่ายทอดองค์ค วามรู้ของวิทยากรการศึกษาต่อเนื่องให้ตรง ตามโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง ประเด็นที่ ๒ สถานศึกษามีการดำเนินการวัดและประเมินผลการพัฒนาของวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง มีการติดตามผลหลังการพัฒนาความรู้โดยการนิเทศติดตามกระบวนการจัดการเรียนรู้ของวิทยากรต่อเนื่อ งว่ามี การนำความรู้จากการพัฒนามาใช้ในการดำเนินชีวิตและการถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้รับบริการได้อย่างครบถ้วน ตรงตามโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง ประเด็ น ที ่ ๓ สถานศึ ก ษาได้ ด ำเนิ น การจั ด ทำคำสั ่ ง แต่ ง ตั ้ ง คณะกรรมการตรวจนิ เ ทศติ ด ตาม เพื่อทบทวน ติดตาม ประเมินผลกระบวนการในการส่งเสริมหรือพัฒนาวิทยากรการศึกษาต่อเนื่องให้มีคุณภาพ ให้เป็นไปตามลำดับขั้นตอนการปฏิบัติที่ถูกต้องครบถ้วนและมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ตรงตามหลักสูตร การศึกษาต่อเนื่อง เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์และสรุปผลแล้วนำข้อมูลมาพัฒนาวิทยากรการศึกษาต่อเนื่องต่อไป


124 ประเด็นที่ 4 สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบาย แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อ ๒.๗ ครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน (๑) ร้อยละของครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ /ประเภทการศึกษาได้รับการ พัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาน 256๒ จุดเน้นการจัดการศึกษา 3. ระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ครูและผู้เรียนสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และจัดการเรียนรู้ แบบองค์รวม จัดแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ โดยมีจุดเน้น - เรียนภาษาไทย เน้นเพื่อการสื่อสาร และใช้เป็นเครื่องมือเพื่อเรียนวิชาอื่น - เรียนภาษาอังกฤษ เน้นเพื่อการสื่อสาร - เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เน้นพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การเรียนรู้จากสถานการณ์ จริง สถานการณ์จำลอง กิจกรรมการเรียนรู้จากปัญหาและการลงมือปฏิบัติสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาและ เรียนรู้อย่างมีความสุข - เรียนรู้ Digital และใช้ Digital เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ - ส่งเสริมการเรียนวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างนวัตกรรม - จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทำ - พัฒนาครูตามความต้องการของครูและสถานศึกษา (คูปองครู) - จัดให้มีโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ นโยบายและจุดเน้นสำนักงาน กศน. ปีงบประมาน 256๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ๓.๒ ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ รวมทั้ง ความต้องการของประชาชนและชุมชน ในรูปแบบที่หลากหลาย ให้ประชาชนคิดเป็น วิเคราะห์ได้ ตัดสินใจ ภายใต้ข้อมูลที่ถูกต้อง ประเด็นที่ ๕ สถานศึกษามีการส่งเสริมหรือพัฒนาวิทยากรการศึกษาต่อเนื่องอย่างไร ที่เป็นต้นแบบ สถานศึกษามีการส่งเสริมหรือพัฒนาวิทยากรต่อเนื่อง ที่เป็นต้นแบบ ดังนี้ 1. มีการจัดทำแผนการดำเนินงานส่งเสริมหรือพัฒนาวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง 2. มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง 3. มีการจัดกระบวนการเรีย นรู้ของวิทยากรการศึกษาต่อเนื่องเป็นไปตามขั้นตอนและตรงตาม หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง


125 ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๖ คุณภาพของหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่อง ประเด็น ประเด็นที่๑ สถานศึกษามีการดำเนินงานที่เป็นกระบวนการในจัดหา / จัดทำ / พัฒนาหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่องอย่างไร ประเด็น ที่ ๒ สถานศึกษามีการทบทวนหรือติดตาม หรือประเมิน หลักสูตรและสื่อการศึกษาอย่างไร ประเด็นที่ ๓ สถานศึกษามีการทบทวน หรือติดตาม หรือประเมินการ จัดหา / จัดทำ / พัฒนาหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่อง เพื่อนำไป ปรับปรุงกระบวนการอย่างไร ประเด็นที่ 4 สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้นของสำนักงาน กศน./นโยบายจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิ การ/ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปีอย่างไร ประเด็นที่๕ สถานศึกษามีการจัดหา / จัดทำ / พัฒนาหลักสูตรและ สื่อการศึกษาต่อเนื่องอย่างไรที่เป็นต้นแบบ รวม

คะแนนที่ได้

ระดับคุณภาพ

0.5 1 0.5 ดี 1 0.5 3.5

ผลการดำเนิน งาน จากการประเมิน ตนเองของสถานศึ ก ษาในตั ว บ่ งชี ้ท ี่ ๒.๖ คุณ ภาพของ หลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่อง ค่าน้ำหนักคะแนนเต็ม 5 คะแนน สถานศึกษา ได้ค่าคะแนน 3.5 คะแนน อยูใ่ นระดับคุณภาพ ดี ประเด็นที่ ๑ สถานศึกษามีการดำเนินงานที่เป็นกระบวนการในการจัดทำหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง จากการสำรวจความต้องการของผู้เรียนและศึกษาจากบริบทของชุมชน ทำการจัดเก็บ รวบรวมข้อมูลความ ต้องการของชุมชนและผู้เรียนเพื่อนำมาถอดองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน ชุมชนและ ภาคีเครือข่าย แล้วนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่อง เพื่อนำหลักสูตรและสื่อการศึกษา ต่อเนื่องที่จัดทำขึ้นยื่นเสนอขอความเห็นชอบใช้หลักสูตรผ่านคณะกรรมการสถานศึกษา ในการจัดการศึกษา ตามหลักสูตรและใช้สื่อการศึกษาต่อเนื่องได้เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญและมีการใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่ น ที่ หลากหลาย วิทยากรครูภูมิปัญญาในท้องถิ่นให้ความรู้กับผู้เรียน/ผู้รับบริการอย่างถูกต้อง และมีการฝึกทักษะ ผู้เรียน/ผู้รับบริการให้รู้จักคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น รวมทั้ง มีการจัดทำสรุปผลการใช้หลักสูตรและ สื่อการศึกษาต่อเนื่องเพื่อนำข้อมูลมาใช้วิเคราะห์และพัฒนาหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่องต่อไป ประเด็นที่ ๒ สถานศึกษามีแนวทางการดำเนินงานโดยมีกระบวนการ จัดทำและพัฒนาหลักสูตร การศึกษาต่อเนื่อง คือ ดำเนินการจัดทำแบบสำรวจความต้องการของผู้เรียน และศึกษาจากบริบทของชุมชน แล้วจัดเก็บรวบรวมข้อมูลความต้องการของชุมชนและผู้เรียนเพื่อถอดองค์ความรู้กับภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ ชาวบ้าน ชุมชนและภาคีเครือข่าย เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่อง โดยมีคำสั่ง นิเทศติดตาม แผนนิเทศติดตาม แบบนิเทศติดตามรายงานผล และการนิเทศสรุ ปผลโครงการที่เป็นข้อมูล สารสนเทศ ทำเนียบภูมิปัญญา ทำเนียบแหล่งเรียนรู้ในชุมชน และสื่อต่าง ๆ รวมทั้งได้จัดทำข้อมูลสารสนเทศ เกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่เหมาะสมกับบริบทของอำเภอหนองสองห้อง ประเด็นที่ ๓ สถานศึกษามีการทบทวนและติดตามการพัฒนาหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่อง เพื่อ นำไปปรับปรุงกระบวนการจัดหา/จัดทำ/พัฒนาหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง ภายหลังจากนำหลักสูตรและ สื่อการศึกษาต่อเนื่องไปใช้จะดำเนินการรายงานผลการนิเทศติดตามหลังจากประเมินผลการนิเทศติดตามผู้จบ หลักสูตร ผู้นิเทศติดตามควรจัดทำรายงานผลการนิเทศติดตาม เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้เห็นความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค พร้อมทั้งความร่วมมือสนับสนุนในเรื่องต่าง ๆ


126 ประเด็นที่ 4 สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบาย แผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการ เรียนรู้ ข้อ ๒.๒ คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและ มาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ (๙) จำนวนสาขาและวิชาชีพที่เปิดโอกาสให้ผู้สูงวัยได้รับการส่งเสริมให้ทำงานและถ่ายทอด ความรู้ / ประสบการณ์เพิ่มขึ้น ข้อ ๒.๔ แหล่งเรียนรู้ สื่อตำราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนมีคุณภาพและมาตรฐาน และ ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่ (๙) มีระบบคลังข้อมูลเกี่ยวกับสื่อและนวัตกรรมการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพมาตรฐานสามารถ ให้บริการคนทุกช่วงวัยและใช้ประโยชน์ร่วมกันระหว่างหน่วยงานได้ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา ข้อ ๒.๑ ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ (๑๓) มีหลักสูตรการศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มการศึกษาเฉพาะด้าน เฉพาะทาง กลุ่มที่มี ความต้องการจำเป็นพิเศษในทุกระดับการศึกษา ทั้งทางการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ที่มี คุณภาพและมาตรฐาน ข้อ ๒.๒ การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการศึกษาสำหรับคนทุกช่วงวัย (๗) มีสื่อดิจิทัลเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชน และการส่งเสริมการมีอาชีพเพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ข้อ ๒.๒ หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ (๒) จำนวนสถานศึกษา / สถาบันการศึกษาที่จัดการเรียนการสอนและกิจกรรมเพื่อปลูกฝัง คุณธรรม จริยธรรมและการนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติเพิ่มขึ้น แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความ สามารถ ในการแข่งขันของประเทศ ข้อ 2.2 สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน (8) จำนวนหลักสูตรหรือสาขาวิชาที่ผู้เรียนสามารถโอนย้ายหรือศึกษาต่อเนื่องเพิ่มขึ้น นโยบายและจุดเน้นกระมรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาน 256๒ จุดเน้นการจัดการศึกษา 3. ระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ครูและผู้เรียนสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และจัดการเรียนรู้ แบบองค์รวม จัดแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ โดยมีจุดเน้น - เรียนภาษาไทย เน้นเพื่อการสื่อสาร และใช้เป็นเครื่องมือเพื่อเรียนวิชาอื่น - เรียนภาษาอังกฤษ เน้นเพื่อการสื่อสาร - เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เน้นพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การเรียนรู้จากสถานการณ์ จริง สถานการณ์จำลอง กิจกรรมการเรียนรู้จากปัญหาและการลงมือปฏิบัติสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาและ เรียนรู้อย่างมีความสุข - เรียนรู้ Digital และใช้ Digital เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ - ส่งเสริมการเรียนวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างนวัตกรรม


127 - จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทำ - พัฒนาครูตามความต้องการของครูและสถานศึกษา (คูปองครู) - จัดให้มีโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ นโยบายและจุดเน้นสำนักงาน กศน. ปีงบประมาน 256๒ ๓. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อ ๓.๑ ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ ความ รับผิดชอบต่อส่วนรวม และการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ เช่น กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิต อาสา ตลอดจนสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้กับบุคลากรในองค์กร ข้อ ๓.๒ ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ รวมทั้งความต้องการของประชาชนและชุมชน ในรูปแบบที่หลากหลาย ให้ประชาชนคิดเป็น วิเคราะห์ได้ ตัดสินใจภายใต้ข้อมูลที่ถูกต้อง ข้ อ ๓.๓ พั ฒ นาศัก ยภาพคนด้ า นทัก ษะและความเข้ า ใจในการใช้ เ ทคโนโลยี ดิ จิ ท ัล (Digital Literacy) ๑) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้สามารถใช้ Social Media และ Application ต่าง ๆ ในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ๒) ส่งเสริมการจัดการเรีย นรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้ประชาชนมีทักษะความเข้าใจและใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน รวมทั้งสร้างรายได้ให้กับตนเองได้ ข้อ ๓.๗ เตรียมความพร้อมการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุที่เหมาะสมและมีคุณภาพ ๑) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้กับประชาชนเพื่อสร้างความตระหนักถึงการเตรียมพร้อมเข้าสู่ส ังคม ผู้สูงอายุ (Aging Society) มีความเข้าใจในพัฒนาการของช่วงวัย รวมทั้งเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการดูแล รับผิดชอบผู้สูงอายุในครอบครัวและชุมชน ๒) พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรู้สำหรับประชาชนในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัย สูงอายุที่เหมาะสมและมีคุณภาพ ๓) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสำหรับผู้สูงอายุภายใต้แนวคิด “Active Aging” การศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ให้สามารถดูแลตนเองทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต และรู้จักใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยี ๔) สร้างความตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุ เปิดโอกาสให้มีการเผยแพร่ภูมิปัญญาของ ผู้สูงอายุ และให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านต่าง ๆ ในชุมชน เช่น ด้านอาชีพ กีฬา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ โดยบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในทุกระดับ ๓.๘ พัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้กระบวนการ “สะเต็ม ศึกษา” (STEM Education) ประเด็นที่ ๕ สถานศึกษามีการจัดทำ พัฒนาหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่องที่เป็นต้นแบบ ได้แก่ หลักสูตรเห็ดเพื่อสุขภาพ หลักสูตรผักปลอดสารพิษเกษตรอินทรีย์ หลักสูตรการเลี้ยงสัตว์ หลักสูตรเกษตรทาง รอดโดยใช้เทคโนโลยีสรรพสิ่งอะตอมมิกนาโนที่เป็นต้นแบบของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอหนองสองห้อง และได้พัฒนาหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องให้มีความหลากหลายอาชีพและ เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการและครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายในชุมชนดังนี้ ๑) พัฒ นาสมรรถนะบุคลากรด้านการจัดกิจกรรมในการพัฒนาหลักสูตรและสื่อการศึกษา ต่อเนื่อง โดยการเข้ารับการอบรมสัมมนา ศึกษาดูงาน การจัดหาวิทยากรภูมิปัญญา/ผู้รู้ มาอบรมให้ความรู้ เพิ่มเติม จัดหาสื่อการเรียนการสอนเพื่อให้เรียนรู้ด้วยตนเอง


128 ๒) จัดทำคู่มือหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่องที่เหมาะสมกับทุกกลุ่มเป้าหมายเพื่อเป็นแนว ทางการดำเนินงานให้กับบุคลากร ๓) ส่งเสริมสนับสนุนให้หน่วยงานภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกชุมชน ได้เข้ามาร่วมจัดกิจกรรมชุมชน ๔) นิเทศติดตามผลการดำเนินงานการพัฒนาหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่อง ๕) สรุป ผลการพัฒ นาหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่อง รวมทั้งมีการถอดบทเรีย นการ ดำเนินงาน เพื่อนำผลที่ได้รับไปปรับปรุงพัฒนาต่อไป ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๗ คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ การศึกษาต่อเนื่อง ประเด็น คะแนนที่ได้ ประเด็นที่ ๑ วิทยากรมีกระบวนการในการออกแบบและจัด 0.5 กระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่องอย่างไร ประเด็นที่ ๒ วิทยากรการศึกษาต่อเนื่องทราบได้อย่างไรว่าผู้เรียนหรือ ผู้ได้รับการอบรมมีความรู้ความสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการ 1 จัดการศึกษาต่อเนื่อง ประเด็นที่ ๓ วิทยากรการศึกษาต่อเนื่องมีการทบทวน หรือติดตาม การประเมิน กระบวนการ การออกแบบและจัดกระบวนการเรี ยนรู้ 0.5 การศึกษาต่อเนื่องเพื่อนำไปปรับปรุงกระบวนการอย่างไร ประเด็นที่ ๔ สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้นของสำนักงาน กศน. / นโยบายจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ 1 / ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร ประเด็นที่ 5 วิทยากรมีการออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้ 0.5 การศึกษาต่อเนื่องอย่างไรที่เป็นต้นแบบ รวม 3.5

ระดับคุณภาพ

ดี

ผลการดำเนินงาน จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ ๒.๗ คุณ ภาพการจัด กระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง ค่าน้ำหนักคะแนนเต็ม 5 คะแนน สถานศึกษา ได้ค่าคะแนน 3.5 คะแนน อยู่ในระดับคุณภาพ ดี ประเด็นที่ ๑ สถานศึกษาดำเนินการให้วิทยากรการศึกษาต่อเนื่องจัดทำแผนการเรียนรู้ที่สอดคล้อง กับหลักสูตรศึกษาต่อเนื่อง จัดทำสื่อศึกษาต่อเนื่องที่เหมาะสมกับผู้รับบริการ โดยได้มีการประชุมชี้แจงแนว ทางการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่องให้กับวิทยากรเพื่อให้วิทยากรได้จัดทำแผนการเรียนรู้โดย เน้ น การใช้ เ ทคนิ ค การจั ด กระบวนการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ห ลากหลาย เช่ น การศึ ก ษาดู ง านจากแหล่ ง เรี ย นรู้ สถานประกอบการ สร้างโอกาสและบรรยากาศให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง เช่น โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน อาทิ เช่น หลักสูตรช่างปูน ช่ างเชื่อม ช่างประปา ช่างก่อสร้าง ช่างเชื่อม ช่างไฟฟ้า ช่างเสริมสวย โครงการ หลักสูตรระยะสั้น เช่น หลักสูตรเกษตรทางรอดโดยใช้เทคโนโลยีสรรพสิ่งอะตอมมิกนาโน หลักสูตรสูตรอาชีพ เกษตรทางเลือกโดยการนำผักตบชวามาปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ หลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพเกษตรทางรอด โดยการทำน้ำสรรพสิ่งบำรุงดิน หลักสูตรเทคโนโลยีสรรพสิ่งอะตอมมิกนาโนการบำบัดและพื้นฟูดิ นเค็ ม โครงการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการให้ความรู้การคัดแยกขยะต้นทางเพื่อลดปัญหา สภาวะโลกร้อน โครงการพัฒนาสังคมและชุมชน โครงการทักษะชีวิต เป็นต้น ประเด็นที่ ๒ สถานศึกษาได้ดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้รับบริการ โดยการให้ ผู้รับบริการทำใบทดสอบความรู้ การทำแบบประเมินความรู้ การทำแบบประเมินความพึงพอใจ


129 ประเด็น ที่ ๓ วิทยากรการศึกษาต่อเนื่องมีการทบทวน หรือติดตามการประเมินกระบวนการ การออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง โดยสถานศึกษาได้ดำเนินการจัดทำคำสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมตรวจนิ เทศ ติดตาม ประเมินผล วิทยากรการศึ ก ษาต่ อเนื่ อ งในการจั ดกระบวนการเรี ยนรู ้ ที่ หลากหลาย ใช้สื่อการศึกษาต่อเนื่อง สื่อเทคโนโลยี หรือสื่อนวัตกรรมที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ตามหลักสูตร การศึกษาต่อเนื่อง มีการรายงานการนิเทศ มีการร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อนำปรับปรุงพัฒ นาการจั ด กระบวนการจัดการเรียนรู้ของวิทยากรการศึกษาต่อเนื่องในครั้งต่อไป ประเด็นที่ ๔ สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบาย แผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ข้อ ๒.๒ หลักสูตรแหล่งเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณธรรมจริยธรรมและการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ (๑) จานวนสถานศึกษา/สถาบันการศึกษาที่จัดการเรียนการสอนและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น (๒) จำนวนสถานศึกษา/สถาบันการศึกษาที่จัดการเรียนการสอนและกิจกรรมเพื่อปลูกฝั ง คุณธรรมจริยธรรมและการนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติเพิ่มขึ้น (๓) จำนวนแหล่งเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาให้สามารถจัดการศึกษา/จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ส่งเสริมในเรื่องการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น นโยบายและจุดเน้นกระมรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาน 256๒ จุดเน้นการจัดการศึกษา 3. ระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ครูและผู้เรียนสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และจัดการเรียนรู้ แบบองค์รวม จัดแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ โดยมีจุดเน้น - เรียนภาษาไทย เน้นเพื่อการสื่อสาร และใช้เป็นเครื่องมือเพื่อเรียนวิชาอื่น - เรียนภาษาอังกฤษ เน้นเพื่อการสื่อสาร - เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เน้นพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การเรียนรู้จากสถานการณ์ จริง สถานการณ์จำลอง กิจกรรมการเรียนรู้จากปัญหาและการลงมือปฏิบัติสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาและ เรียนรู้อย่างมีความสุข - เรียนรู้ Digital และใช้ Digital เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ - ส่งเสริมการเรียนวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างนวัตกรรม - จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทำ - พัฒนาครูตามความต้องการของครูและสถานศึกษา (คูปองครู) - จัดให้มีโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ นโยบายและจุดเน้นสำนักงาน กศน. ปีงบประมาน 256๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ๔.๕ พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะสั้น ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับ บริบทของพื้นที่ และตอบสนองความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ ประเด็นที่ 5 สถานศึกษาดำเนินการให้วิทยากรมีกระบวนการในการออกแบบและจัดกระบวนการ เรียนรู้การศึกษาต่อเนื่องเป็นต้นแบบ ดังนี้ - วิทยากรต่อเนื่องมีการจัดทำแผนการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับหลักสูตรศึกษาต่อเนื่อง - วิทยากรต่อเนื่องมีการจัดทำสื่อการศึกษาต่อเนื่องที่เหมาะสมกับผู้รับบริการ


130 -วิทยากรต่อเนื่องมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ใช้สื่อการศึกษาต่อเนื่อง สื่อเทคโนโลยี หรือสื่อนวัตกรรมที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง และเน้นผู้รับบริการเป็นสำคัญ - วิทยากรต่อเนื่องมีการจัดบรรยากาศการเรียนรู้และการสอดแทรกเนื้อหาความรู้หรือยกตัวอย่างแนว ทางการนำความรู้ที่ได้รับ การถ่ายทอดเพื่อให้ผู้รับบริการสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่า ง เหมาะสม ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๘ คุณภาพผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ประเด็น ประเด็นที่ ๑ สถานศึกษามีการดำเนินงานที่เป็น กระบวนการในการ พัฒนาผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีคุณภาพอย่างไร ประเด็นที่ ๒ สถานศึกษาทราบได้อย่างไรว่า ผู้จัดกิจกรรมการศึกษา ตามอัธยาศัยมีคุณภาพ ประเด็นที่ ๓ สถานศึกษามีการทบทวน หรือติดตาม หรือ ประเมิน กระบวนการดำเนินงานส่งเสริมหรือพัฒนาผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตาม อัธยาศัย และนำผลไปใช้ในการปรับปรุงกระบวนการอย่างไร ประเด็นที่ ๔ สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ นโยบายและ จุดเน้นของสำนักงาน กศน. /นโยบาย จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ /ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร ประเด็นที่ 5 สถานศึกษามีการพัฒนาผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตาม อัธยาศัยอย่างไร ทีเ่ ป็นต้นแบบ

คะแนนที่ได้

รวม

3.5

ระดับคุณภาพ

0.5 1 0.5 ดี 1 0.5

ผลการดำเนินงาน จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ ๒.๘ คุณภาพผู้จัดกิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัย ค่าน้ำหนักคะแนนเต็ม 5 คะแนน สถานศึกษา ได้ค่าคะแนน 3.5 คะแนน อยู่ใน ระดับคุณภาพ ดี ประเด็นที่ ๑ สถานศึกษา ได้มีการส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้จัดกิจกรรมการศึ กษาตามอัธยาศัยได้รับ การพัฒ นาตนเองให้ม ีความเหมาะสมและตรงกับความต้ อ งการ ซึ่งผู้ปฏิบัติงานการศึ กษาตามอัธ ยาศั ย ประกอบด้วย บรรณารักษ์ เจ้าหน้าที่ห้องสมุด ครู กศน.ตำบล และผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยบ้าน หนั ง สื อ ชุ ม ชน ได้ ร ั บ การพั ฒ นาด้ า นกระบวนการการจั ด กิ จ กรรมส่ งเสริ ม การอ่ า นในโครงการต่ า ง ๆ เช่น โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่เพื่อส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (รถโมบายเคลื่อนที่) โครงการรักการอ่านและการแสวงหาความรู้เพื่อเกิดภูมิคุ้มกันตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการบ้าน หนังสือชุมชน ฯลฯ การเข้าร่วมอบรมในโครงการส่งเสริมการอ่าน “ห้องสมุดเคลื่อนที่” ในลักษณะของกราฟิก ที่ออกแบบเป็นภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว (Information) การเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการจัดกิจกรรมส่งเสริม การอ่านและการเรียนรู้ ประเด็น ที่ ๒ สถานศึกษา ประเมินผลคุณภาพของผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยจากการ ประเมินแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมในด้านต่าง ๆ ดังนี้ ๑.ด้านผู้ให้บริการ แบ่งออกเป็น ๑.๑ ความรู้ความสามารถในเรื่องที่จัดกิจกรรม ๑.๒ เทคนิค/วิธีการจัดกิจกรรม ๑.๓ การปรับปรุงพัฒนาตนเอง อย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง ๑.๔ พฤติ ก รรมและบุ ค ลิ ก ภาพของผู ้ ใ ห้ บ ริ ก าร ๑.๕ สื ่ อ ที ่ ใ ช้ ใ นการประกอบกิ จ กรรม และความต้องการของผู้รับบริการ ๒.ด้านคุณภาพ และกระบวนการจัดกิจกรรมของผู้รับบริการ แบ่งออกเป็น


131 ๒.๑ มีการออกแบบกิจกรรม/สื่อที่เหมาะสม ๒.๒ กระบวนการในการจัดกิจกรรม ๒.๓ การเปิดโอกาสให้ ผู้รับบริการแสดงความคิดเห็น ๒.๔ การติดตามและให้คำแนะนำเพิ่มเติมหลังจากเข้าร่วมกิจกรรมของผู้จัด ๒.๕ กิจกรรมที่จัดมีประโยชน์และสอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ แล้วนำข้อมูลจากผลการวิเคราะห์ แบบสอบถามมาปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดกิจกรรมของผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยต่อไป ประเด็นที่ ๓ สถานศึกษา ได้ดำเนินการติดตาม ประเมินผลคุณภาพผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตาม อั ธ ยาศั ย ในการจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ ท ี ่ ห ลากหลาย โดยการนิ เ ทศติ ด ตามโครงการ การประเมิ น จาก แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการ แล้วนำข้อมูลที่ได้รับไปใช้ในการปรับปรุงกระบวนการจัดกิจกรรม โครงการต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ประเด็นที่ ๔ สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ แผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคม แห่งการเรียนรู้ ข้อ ๒.๗ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาทุกระดับได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามการมาตรฐาน (๑) ร้อยละของ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ / ประเภทการศึกษาได้รับ การพัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพ และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น (๒) ร้อยละของครู อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการพัฒนาให้สอดคล้องกับความ ต้องการและยุทธศาสตร์ของหน่วยงานเพิ่มขึ้น นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 256๒ จุดเน้นการจัดการศึกษา 3. ระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ครูและผู้เรียนสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และจัดการเรียนรู้ แบบองค์รวม จัดแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ โดยมีจุดเน้น - เรียนภาษาไทย เน้นเพื่อการสื่อสาร และใช้เป็นเครื่องมือเพื่อเรียนวิชาอื่น - เรียนภาษาอังกฤษ เน้นเพื่อการสื่อสาร - เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เน้นพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การเรียนรู้จากสถานการณ์ จริง สถานการณ์จำลอง กิจกรรมการเรียนรู้จากปัญหาและการลงมือปฏิบัติสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาและ เรียนรู้อย่างมีความสุข - เรียนรู้ Digital และใช้ Digital เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ - ส่งเสริมการเรียนวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างนวัตกรรม - จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทำ - พัฒนาครูตามความต้องการของครูและสถานศึกษา (คูปองครู) - จัดให้มีโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ นโยบายและจุดเน้นสำนักงาน กศน.ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อ ๓.๖ เพิ่มอัตราการอ่านของประชาชน โดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรูปแบบต่าง ๆ เช่น อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดประชาชน บ้านหนังสือชุมชน ห้องสมุดเคลื่อนที่ ผลักดันให้เกิด ห้องสมุดสู่การเป็นห้องสมุดเสมื อนจริงต้นแบบ เพื่อพัฒนาให้ประชาชนมีความสามารถในระดับอ่านคล่อง เข้า ใจความ คิดวิเคราะห์พื้นฐาน และสามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและทันเหตุการณ์ รวมทั้งนาความรู้ที่ ได้รับไปใช้ปฏิบัติจริงในชีวิตประจาวัน ประเด็นที่ ๕ สถานศึกษา มีการพัฒนาผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ที่เป็นต้นแบบ ดังนี้ - ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มีการจัดทำแผนการดำเนินกิจกรรม


132 - ผู ้ จ ั ด กิ จ กรรมการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย ได้ ร ั บ การส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาศั ก ยภาพการจั ด กระบวนการเรียนรู้ การจัดทำสื่อการศึกษาตามอัธยาศัยที่เหมาะสมกับผู้รับบริการ โดยการเข้าร่วมอบรมใน โครงการส่ ง เสริ ม การอ่ า น “ห้ อ งสมุ ด เคลื ่ อ นที ่ ” ในลั ก ษณะของกราฟิ ก ที ่ อ อกแบบเป็ น ภาพนิ ่ ง หรื อ ภาพเคลื่อนไหว (Information) การเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ - ผู ้ จ ั ด กิ จ กรรมการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย มี ก ารจั ด กระบวนการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ห ลากหลาย ใช้สื่อการศึกษาตามอัธยาศัย สื่อเทคโนโลยี หรือสื่อนวัตกรรมที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการและเน้น ผู้รับบริการเป็นสำคัญ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๙ คุณภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ประเด็น คะแนนที่ได้ ประเด็นที่ ๑ ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยมีกระบวนการในการ 0.5 ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างไร ประเด็ น ที ่ ๒ ผู ้ จ ั ด กิ จ กรรมการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย มี ว ิ ธ ี ก ารประเมิ น ผู้รับบริการว่ามีความรู้ ความสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการจัด 1 การศึกษาตามอัธยาศัยอย่างไร ประเด็นที่ ๓ ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยมีการทบทวน หรือติดตาม 0.5 หรือประเมินกระบวนการออกแบบ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างไร ประเด็นที่ ๔ สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้น ของสำนักงาน กศน. /นโยบาย จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ /ยุทธศาสตร์ 1 และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร ประเด็ น ที่ 5 สถานศึ ก ษามี ก ารออกแบบและจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ 0.5 การศึกษาตามอัธยาศัยอย่างไร รวม 3.5

ระดับคุณภาพ

ดี

จากการประเมิน ตนเองของสถานศึ ก ษาในตั ว บ่ ง ชี้ ที ่ ๒.๙ คุณ ภาพกระบวนการจัด กิ จ กรรม การศึกษาตามอัธยาศัย ค่าน้ำหนักคะแนนเต็ม 5 คะแนน สถานศึกษาได้คะแนน 3.5 คะแนน อยู่ในระดับ คุณภาพ ดี ประเด็นที่ ๑ สถานศึกษาได้มีการสำรวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม กำหนด แผนและแนวทางการดำเนินงานให้มีความเหมาะสมและตรงตามความต้องการของผู้รับบริการ ในส่วนของ ผู้ปฏิบัติงานการศึกษาตามอัธยาศัย ได้แก่ บรรณารักษ์ เจ้าหน้าที่ห้องสมุด ครู กศน.ตำบล และผู้จัดกิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัยบ้านหนังสือชุมชน ได้รับการพัฒนาด้านกระบวนการการจัด กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เพื่อเสริ มสร้า งบรรยากาศชุ มชนแห่ งการเรีย นรู ้ โครงการบ้า นหนั งสื อชุ มชน โครงการรั ก การอ่ า นและ การแสวงหาความรู ้ เ พื ่ อ เกิ ด ภู ม ิ ค ุ ้ม กั น ตามหลั ก ปรัช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง โครงการห้ อ งสมุ ด เคลื ่ อนที่ เพื่อส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง โครงการวันเด็กแห่งชาติประจำปี ๒๕๖๒ ฯลฯ นอกจากนี้ใน การจัดกิจกรรมทุกครั้งจำเป็นต้องทำการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อนำข้อมูลมาปรับปรุง พัฒนาการจัดกิจกรรมครั้งต่อไปให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ในการดำเนินงานผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตาม อัธยาศัยมีการจัดทำแผนการเรียนรู้การศึกษาตามอัธยาศัย ที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ มีการจัดทำสื่อการศึกษาตามอัธยาศัยที่เหมาะสมกับผู้รับบริการ รวมทั้งมีการประชุมชี้แจง แนวทางการจัดทำ แผนการจัดการเรียนรู้การศึกษาตามอัธยาศัยให้กับผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย โดยเน้นการใช้เทคนิค


133 การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น การส่งเสริมการอ่านและสร้างโอกาสให้ผู้รับบริการได้เรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง ประเด็น ที่ ๒ สถานศึกษา มีว ิธ ีการวัดและประเมิ นผลผู้เข้าร่ว มกิจ กรรมจากชิ้น งาน/ผลงาน/ สิ่งประดิษฐ์ การทำใบงานความรู้ การทำแบบประเมินความพึงพอใจ และการสังเกตพฤติกรรมของผู้เข้าร่วม กิจกรรม เป็นต้น ประเด็นที่ ๓ สถานศึกษา ได้ดำเนินการประเมินผลความพึงพอใจผู้รับบริการ ผู้จัดกิจกรรมการศึกษา ตามอัธยาศัยได้ดำเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ใช้สื่อการศึกษาตามอัธยาศัย สื่อเทคโนโลยี หรือ สื่อนวัตกรรมที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์โครงการ มีการร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อนำไปปรับปรุงและ พัฒนาการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ของผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยในครั้งต่อไป ประเด็นที่ ๔ สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ แผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ ข้อ ๒.๑ คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่น การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (1) ร้อยละของสถานศึกษาที่มี การจัดการเรียนการสอน/กิจกรรมเพื่อส่งเสริ มการอยู่ร่วมกัน ในสังคม พหุวัฒนธรรมเพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อ ๒.๓ สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตาม หลักสูตรอย่างมี คุณภาพและมาตรฐาน (๖) ร้อยละของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดกระบวนการเรียนรู้เชิงบูรณาการเพื่อพัฒนาทักษะ การคิดวิเคราะห์ละความสร้างสรรค์เพิ่มขึ้น ข้อ ๒.๔ แหล่งเรียนรู้สื่อตำราเรียน นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐานและประชาชน สามารถเข้าถึงได้โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่ (๑) จำนวนแหล่งเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาให้สามารถจัดการศึกษา/จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 256๒ จุดเน้นการจัดการศึกษา 3. ระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ครูและผู้เรียนสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และจัดการเรียนรู้ แบบองค์รวม จัดแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ โดยมีจุดเน้น - เรียนภาษาไทย เน้นเพื่อการสื่อสาร และใช้เป็นเครื่องมือเพื่อเรียนวิชาอื่น - เรียนภาษาอังกฤษ เน้นเพื่อการสื่อสาร - เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เน้นพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การเรียนรู้จากสถานการณ์ จริง สถานการณ์จำลอง กิจกรรมการเรียนรู้จากปัญหาและการลงมือปฏิบัติสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุก เวลาและเรียนรู้อย่างมีความสุข - เรียนรู้ Digital และใช้ Digital เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ - ส่งเสริมการเรียนวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างนวัตกรรม - จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทำ - พัฒนาครูตามความต้องการของครูและสถานศึกษา (คูปองครู) - จัดให้มีโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ


134 นโยบายและจุดเน้นสำนักงาน กศน.ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ๓. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ๓.๖ เพิ่มอัตราการอ่านของประชาชน โดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรูปแบบต่าง ๆ เช่น อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดประชาชน บ้านหนังสือชุมชน ห้องสมุดเคลื่อนที่ ผลักดันให้เ กิด ห้องสมุดสู่การเป็นห้องสมุดเสมือนจริงต้นแบบ เพื่อพัฒนาให้ประชาชนมีความสามารถในระดับอ่านคล่อง เข้า ใจความ คิดวิเคราะห์พื้นฐาน และสามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและทันเหตุการณ์ รวมทั้งนำความรู้ที่ ได้รับไปใช้ปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวัน ประเด็นที่ ๕ สถานศึกษา ดำเนินการออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาตามอัธยาศัย ที่ เป็นต้นแบบ ดังนี้ - ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มีการจัดทำแผนการเรียนรู้การศึกษาตามอัธยาศัย - ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มีการจัดทำสื่อการศึกษาตามอัธยาศัยที่เหมาะสมกับผู้รับบริการ - ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มีการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายใช้สื่อการศึกษาตาม อัธยาศัย สื่อเทคโนโลยี หรือสื่อนวัตกรรมที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์โครงการ และเน้นผู้รับบริการเป็นสำคัญ - สถานศึกษา ดำเนินการวางแผนและจัดกิจกรรมบ้านหนังสือชุมชนตามแผนการดำเนินงานในรูปแบบ กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อเป็นการส่งเสริมการอ่านให้แก่ประชาชนในชุมชนให้ได้รับบริการอย่างทั่วถึง มาตรฐานที่ ๓ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักธรรมมาภิบาล ประเด็น ประเด็นที่ ๑ ผู้บริหารมีการบริหารงานด้านวิชาการ โดยน้อมนำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนำหลักธรรมาภิบาล มาประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานอย่างไร ประเด็นที่ ๒ ผู้บริหารมีการบริหารงานด้านงบประมาณ โดยน้อม นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนำหลักธรรมาภิบาล มาประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานอย่างไร ประเด็นที่ ๓ ผู้บริหารมีการบริหารงานด้านงานบุคคล โดยน้อมนำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนำหลักธรรมาภิบาล มาประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานอย่างไร ประเด็น ที่ 4 ผู้บ ริห ารมีการบริห ารงานด้านบริหารงานทั่วไป โดยน้ อ มนำหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งและนำหลั ก ธรรมาภิบาลมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานอย่างไร ประเด็นที่ ๕ สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ นโยบาย จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ / ยุทธศาสตร์และ เป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี อย่างไร รวม

คะแนนที่ได้

ระดับคุณภาพ

0.5 1 ๑

ดีมาก

1 ๑ ๔.5

ผลการดำเนินงาน จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ การบริหารสถานศึกษา ตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง และหลั ก ธรรมาภิ บ าล ค่ า น้ ำ หนั ก คะแนนเต็ ม 5 คะแนน สถานศึกษา ได้ค่าคะแนน ๔.5 คะแนน อยู่ในระดับคุณภาพ ดี


135 ประเด็นที่ ๑ ผู้บริหารมีการบริหารจัดการเปิดโอกาสให้บุคลากรและบุคคลที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วม ในการตัดสินใจ ในการดำเนินงานในเรื่องงานด้านวิชาการ เช่น การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตร ต่อเนื่อง งานประกันคุณภาพ แผนปฏิบัติการ แผนการสอน เป็นต้น การบริหารจัดการมีการประชุม มอบหมาย หน้าที่รับผิดชอบ การนิเทศติดตามงาน การรายงานผลการดำเนินงานพร้อมทั้งสรุปผลการดำเนินงาน เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานและนำหลักนิติธรรม คุณธรรม ความโปร่งใส และหลักการครองตน ครองงาน มาใช้ในการบริหารงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงาน ประเด็นที่ ๒ ผู้บริหารมีระบบการบริหารด้านงบประมาณ ตามกฎระเบียบการใช้จ่ายงบประมาณ โดยยึดหลักธรรมาภิบาลในบริหารงาน การมีส่วนร่วม ดำเนินการจัดประชุมจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี และจัดทำแผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณตามที่ได้รับจัดสรร และดำเนินงานตาม แผนปฏิบัติการ โดยดำเนินการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบตามโครงสร้างการบริหารงาน และมีการกำกับนิเทศติดตาม ผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง และสามารถตรวจสอบการใช้งบประมาณตามแผนงานได้ ประเด็นที่ ๓ ผู้บริหารสถานศึกษามีการบริหารด้านบุคคล โดยการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานและยึดหลักธรรมาภิบาล พัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ ตระหนัก ถึงบทบาทหน้าที่ของตนเอง มอบหมายงานในความรับผิดชอบตามโครงสร้างการบริหารและตรงตามศักยภาพ ของบุคลากร ประเด็นที่ ๔ ผู้บริหารสถานศึกษาให้ความสำคัญในด้านการบริหาร เช่น งานอำนวยการ งานอาคาร สถานที่ งานบุคลากร งานภาคีเครือข่าย งานการจัดการศึกษา ประเด็นที่ ๕ สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพของระบบบริ ห ารจั ด การศึ ก ษา สอดคล้ อ งกั บ นโยบายและจุ ด เน้ น กระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ข้อ ๖ จุดเน้นด้านการพัฒ นาระบบและการบริห ารจั ด การ สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสำนักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ยุทธศาสตร์ที่ ๕ ด้านส่งเสริมและจัด การศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตัวบ่งชี้ ๓.๒ การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาของภาคีเครือข่าย ประเด็น ประเด็นที่ ๑ สถานศึกษามีกระบวนการในการส่งเสริม สนับสนุน การจัดหรือ ร่วมจัดการศึกษาของภาคีเครือข่ายอย่างไร ประเด็นที่ ๒ ภาคีเครือข่ายจัด หรือ ร่วมจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างไร ประเด็นที่ ๓ สถานศึกษามีการติดตามการจัด หรือ ร่วมจัดการ ศึกษาของภาคีเครือข่ายอย่างไรบ้าง และนำผลการติดตามไปใช้ อย่างไร ประเด็นที่ 4 สถานศึกษามีการทบทวนหรือติดตามกระบวนการใน การส่งเสริม สนับ สนุน การจัด หรือร่ว มจัดการศึกษาของภาคี เครือข่าย เพื่อนำไปปรับปรุงกระบวนการอย่างไร ประเด็นที่ ๕ สถานศึกษามีกระบวนการในการส่งเสริมสนับสนุน ให้ภาคีเครือข่ายจัด หรือ ร่วมจัดการศึกษาอย่างไร ที่เป็นต้นแบบ รวม

คะแนนที่ได้

ระดับคุณภาพ

๑ 1 0.5 ดี 1 0.5 ๔


136 ผลการดำเนินงาน จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ ๓.๒ การส่งเสริมสนับสนุน การจัดการศึกษาของภาคีเครือข่าย ค่าน้ำหนักคะแนนเต็ม 5 คะแนน สถานศึกษา ได้ค่าคะแนน ๔ คะแนน อยู่ในระดับคุณภาพ ดี ดังนี้ ประเด็นที่ ๑ สถานศึกษามีกระบวนการในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดหรือร่วมจัดการศึกษาของภาคี เครือข่าย ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ทั้งรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็น ทางการ เช่น การจัดกิจกรรมโครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จ พระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาส วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โครงการประวัติศาสตร์ ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย โครงการเกษตรทางรอดโดยการนำผักตบชวามาปลูกพืชและ เลี้ยงสัตว์ ประเด็นที่ ๒ สถานศึกษามีการประสานงานกับภาคีเครือข่าย (บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กร นักศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และ องค์กรอื่น ๆ) ให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกับชุมชนอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาและกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย ในการประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรม ต่าง ๆ ของสถานศึกษา / ประสานกลุ่มเป้าหมายในการเข้าร่วมกิจกรรม ให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ / อาคารสถานที่ / วัสดุอุปกรณ์ และร่วมเป็นวิทยากรจัดการศึกษาร่วมกับภาคีเครือข่าย ประเด็นที่ ๓ สถานศึกษามีการติดตามการจัดหรือร่วมจัดการศึกษาของภาคีเครือข่ายวิธีการในการ ส่งเสริมสนับสนุนภาคีเครือข่าย เช่น การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสนทนากลุ่ม และนำผลการติดตามไป พัฒนา เช่น การทำหลักสูตรอาชีพ การพัฒนาข้อมูลสารสนเทศ ติดตามผลการดำเนินงานร่ว มกันโดยใช้ เครื่องมือในการเก็บข้อมูล เช่น แบบประเมิน การสำรวจความพึงพอใจ งานพื้นฐาน เช่น การทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ งานการศึกษาตามอัธยาศัย เช่น การสังเกต แบบสอบถามความพึงพอใจ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลและ สรุปผลการดำเนินงาน จัดทำวุฒิบัตรให้ผู้ผ่านการอบรม จัดทำเกียรติบัตรให้วิทยากร และจัดทำเกียรติบัตร ให้กับหน่วยงานภาคีเครือข่าย ประเด็นที่ ๔ สถานศึกษามีการทบทวนหรือติดตามกระบวนการในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดหรือ ร่วมจัดการศึกษาของภาคีเครือข่าย เพื่อนำไปปรับปรุงและติดตามกระบวนการในการส่งเสริมการจัดการศึกษา กับหน่วยงานและภาคีเครือข่าย มีการแลกเปลี่ยนความรู้กับภาคีเครือข่าย เช่น การประชุมกำนันผู้ใหญ่บ้าน ประชุมหัวหน้าส่วนราชการอำเภอหนองสองห้อง การประชุมคณะกรรมการ ศส.ปชต. ฯลฯ ประเด็นที่ ๕ สถานศึกษามีกระบวนการในการส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัดการศึกษา ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติในระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ เพื่อเป็นขวัญกำลังใจให้แก่ภาคี เครือข่าย เช่น นายขาว เฉียบแหลม ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นบุคคลที่ดำเนินงานด้านการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ดูแล และการสนับสนุนด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยใช้มิติทางวัฒนธรรมในการสืบสาร ตำนานต้นไม้จากกระทรวงวัฒนธรรม ระดับประเทศ ประจำปี ๒๕๖๐


137 ตัวบ่งชี้ ๓.๓ การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา ประเด็น ประเด็นที่ ๑ สถานศึกษามีกระบวนการในการสรรหา และ กระบวนการในการสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ ที่ระเบียบกำหนด ให้แก่คณะกรรมการสถานศึกษาได้อย่างไร ประเด็นที่ ๒ สถานศึกษาทราบได้อย่างไรว่าคณะกรรมกร สถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ตามที่ระเบียบ กำหนด ประเด็นที่ ๓ สถานศึกษามีการดำเนินงานให้คณะกรรมการ สถานศึกษามีส่วนร่วมตามบทบาทหน้าที่ตามที่ระเบียบกำหนด หรือไม่ ประเด็นที่ 4 สถานศึกษามีการทบทวนหรือติดตามกระบวนการใน การสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ตามที่ระเบียบ กำหนดให้แก่คณะกรรมการสถานศึกษาอย่างไร ประเด็นที่ ๕ สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ นโยบาย และจุดเน้นของสำนักงาน กศน./ นโยบายจุดเน้นของ กระทรวงศึกษาธิการ/ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการ ศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี อย่างไร รวม

คะแนนที่ได้

ระดับคุณภาพ

0.5 1 ๑ ดี 1

0.5 ๔

ผลการดำเนินงาน จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ ๓.๓ การมีส่วนร่วมของ คณะกรรมการสถานศึกษา ค่าน้ำหนักคะแนนเต็ม 5 คะแนน สถานศึกษา ได้ค่าคะแนน ๔ คะแนน อยู่ใน ระดับคุณภาพ ดี ดังนี้ ประเด็นที่ ๑ สถานศึกษามีกระบวนการในการสรรหา โดยการประกาศรับสมัครและสรรหาตาม ระเบียบและคุณสมบัติของคณะกรรมการสถานศึกษา ซึ่งคณะกรรมการสถานศึกษาของศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองสองห้อง ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา ด้านพัฒนา ชุมชนและสังคม ด้านการเมืองการปกครอง ด้านการศาสนา ด้านความมั่นคง ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านภูมิปัญญา ท้องถิ่น ด้านสาธารณสุข ผู้อำนวยการสถานศึกษา ด้านศิลปะและวัฒนธรรม จำนวน ด้านละ ๑ คน รวม จำนวน ๘ คน และแต่งตั้งกรรมการรับสมัคร โดยกำหนดช่วงเวลาของการรับสมัครและเชิญผู้สมัครทุกท่านมา ประชุมชี้แจงเพื่อทราบบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษา ประเด็นที่ ๒ สถานศึกษามีการสร้างความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ให้แก่คณะกรรมการสถานศึกษา โดยการพิจ ารณาจากใบสมัคร คุณสมบัติ วุฒ ิบัตร และหลักฐานประกอบการสมัครและให้ผ ู้สมัครแสดง วิสัยทัศน์ ความคิดเห็นเกี่ยวกับ การศึกษาตามความรู้ความเข้าใจในบทบาทและหน้าที่ จากนั้นทำการคัดเลือก ผู้สมัครให้ได้จำนวนตามที่กำหนด ประเด็นที่ ๓ สถานศึกษามีการดำเนินงานให้คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมตามบทบาทหน้าที่ เช่น การแสดงความเห็นต่าง ๆ เชิงพัฒนา รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการประเมินและติด ตามผลการปฏิบัติงาน ซึ่งคณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการซึ่งเป็นหัวใจในการดำเนินการอยู่ในระดับที่ ต้องพัฒนาให้อยู่ในระดับที่ดี เพื่อเป็นหลักประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นที่ยอมรับของประชาชนผู้รับบริการ ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ และอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข


138 ประเด็นที่ ๔ สถานศึกษามีการจัดประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาอย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง เพื่อให้ เกิดมีส่วนร่วมในการพัฒนางาน ตระหนักและเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ ตามระเบียบของคณะกรรมการ สถานศึกษา ที่จะ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตลอดจนให้คำปรึกษาให้ข้อเสนอแนะใน การพัฒนา เพื่อให้สถานศึกษาได้พัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยต่อไป ประเด็นที่ ๕ สถานศึกษามีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ แผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ ที่ ๖ การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริห ารจัดการศึกษา นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิ ก าร ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๔ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ประเด็น คะแนนที่ได้ ประเด็นที่ ๑ สถานศึกษามีการจัดระบบการประกันคุณภาพผู้เรียน 0.5 และผู้รับบริการอย่างไร ประเด็นที่ ๒ สถานศึกษามีการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้แก่ บุคลากรในการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน 1 ของสถานศึกษาที่กำหนดอย่างไร ประเด็นที่ ๓ สถานศึกษามีการทบทวนหรือประเมินระบบการ ประกันคุณภาพภายในที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนและผู้รับบริการ ๑ อย่างไร ประเด็นที่ 4 สถานศึกษามีการจัดทำแนวทางการดำเนินงานตาม ระบบประกันคุณภาพภายใน เพื่อให้บุคลากรของสถานศึกษาใช้ 1 เป็นแนวทางในการดำเนินงานอย่างไร ประเด็นที่ ๕ สถานศึกษาพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ 0.5 การศึกษาภายในสถานศึกษาอย่างไร ที่เป็นต้นแบบ รวม ๔

ระดับคุณภาพ

ดี

ผลการดำเนินงาน จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชี้ ๓.๔ การประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา ค่าน้ำหนักคะแนนเต็ม 5 คะแนน สถานศึกษา ได้ค่าคะแนน ๔ คะแนน อยู่ในระดับ คุณภาพ ดี ดังนี้ ประเด็นที่ ๑ สถานศึกษามีการดำเนินงานครอบคลุมตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศกำหนด มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา การพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา โดยเน้นเป้าหมายที่สำคัญผู้เรียนและผู้รับบริการให้มีคุณภาพการศึกษาที่ดีขึ้น เช่น โครงการประวัติศาสตร์ชาติ ไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย ์ ไทย โครงการค่ายคุณธรรมและจริยธรรม โครงการจัดการศึ ก ษา เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานซึ่ง ส่งผลต่อผู้เรียนและผู้รับบริการ ผู้สำเร็จการศึกษามีความรู้ความสามารถและมีคุณลัก ษณะที่พึงประสงค์ตาม หลักสูตรที่กำหนด ประเด็นที่ ๒ สถานศึกษามีการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้แก่บุคลากรในการดำเนินงานตามระบบ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ให้แก่บุคลากรในการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษาที่กำหนดชัดเจน มีการส่งเสริมพัฒนาบุ คลากรในการเข้าร่วมประชุมชี้แจงแนวทางการ ดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และบุคลากรของสถานศึกษาได้ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนา


139 คุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี รายงานผลการประเมินตนเอง และแผนการใช้จ่ายเงิน จัดสรร งบประมาณให้พอดีตามรายรับของสถานศึกษา โดยใช้ห ลักเหตุผล ตามความจำเป็นเร่งด่วน เพื่อประโยชน์ใน การพัฒนาผู้สอน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ประเด็นที่ ๓ สถานศึกษามีวิธีการทบทวนหรือประเมินระบบการประกันคุณภาพภายในที่ส่งผลต่อ คุณภาพผู้เรียนและผู้รับบริการได้ชัดเจน ติดตามหรือประเมินระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา จัดประชุมวางแผนการดำเนินงานและรายงานผลการดำเนินงาน เป็นต้น นอกจากนี้สถานศึกษาได้นำผลการ ประเมินภายในมาพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น โดยจัดทำโครงการเตรียม ความพร้อมผู้เรียนก่อนสอบ N –net พร้อมทั้งมีการจัดคณะนิเทศติดตามการสอบวัดผล ประเด็นที่ ๔ สถานศึกษามีวิธีการ ขั้นตอนการจัดทำ และแนวทางการดำเนินงานตามระบบประกัน คุณภาพภายใน เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานประกันคุณภาพได้อย่างชัดเจน จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา และแผนปฏิบัติงานประจำปี เพื่อให้บุคลในสถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน มีระบบและ กลไกการประกันคุณภาพภายใน เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารและการดำเนินการตามมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และ เกณฑ์คุณภาพที่สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวบ่งชี้ของต้นสังกัด และสอดคล้องกับเป้าหมายและพันธกิจของ สถานศึกษา ประเด็นที่ ๕ สถานศึกษามีการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ที่เป็น ต้นแบบ โดยดำเนินการจัดประชุมวางแผน และประเมินผลการปฏิบัติงาน นำผลการประเมินโครงการมา พัฒนา/ปรับปรุง จัดทำหลักสูตรรายวิชาเลือก ที่เป็นจุดเด่นของท้องถิ่น และนำผลการประเมินคุณภาพภายใน มาพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาต่อไป โดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาและภาคี เครือข่าย


140 บทที่ ๔ สรุปผลการประเมินตนเอง และแนวทางการพัฒนาสถานศึกษา การประเมินตนเองของสถานศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๖๐ เพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินตนเอง และแนวทางการพัฒนา สถานศึกษาได้ดังนี้ การสรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา การสรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปได้เป็น ๒ ส่วน คือ ๑) สรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ๒) สรุปผลการวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อพัฒนา ตารางที่ 31 สรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ผลการประเมิน ตนเอง น้ำหนัก มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ (คะแนน) คะแนน ระดับ ที่ได้ คุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ ๓๕ 18 พอใช้ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม ๕ 3.5 ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะกระบวนการคิดทักษะการ แสวงหาความรู้เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนำไป ๕ 3.5 ดี ประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๓ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้พื้นฐาน ๕ 4 ดี การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความสามารถ ๕ 3.5 ดี และทักษะในการประกอบอาชีพ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๕ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติคนตามหลัก ๕ 3.5 ดี ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๖ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการบรมสามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างต่อเนื่อง ๕ 3.5 ดี การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๗ ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จาก ๕ 3.5 ดี การเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ๔๕ 25.5 พอใช้ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ คุณภาพครูการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๕ 4 ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ คุณภาพของหลักสูตรสถานศึกษา ๕ 3.5 ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ คุณภาพสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา ๕ 4 ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๔ คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ๕ 3.5 ดี


141

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๕ คุณภาพวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๖ คุณภาพหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๗ คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๘ คุณภาพผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๙ คุณภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ ๓ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและหลักธรรมาภิบาล ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๒ การส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาของภาคีเครือข่าย ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๓ การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๔ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา รวม

น้ำหนัก (คะแนน)

ผลการประเมิน ตนเอง คะแนน ระดับ ที่ได้ คุณภาพ

๕ ๕ ๕

3.5 3.5 3.5

ดี ดี ดี

๕ ๕ ๒๐

3.5 3.5 ๑6.๕๐

ดี ดี ดี

4.5

ดีมาก

๕ ๕ ๕ ๑๐๐

4 4 4 74

ดี ดี ดี ดี

สถานศึกษามีผลการประเมินตนเองในภาพรวม โดยมีคะแนนรวมเท่ากับ 74 คะแนน ซึ่งอยู่ใน ระดับคุณภาพ ดี ตารางที่ 32 สรุปผลการวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา สรุปผลการวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา จุดเด่น ๑.สถานศึกษาดำเนินโครงการ / กิจกรรมกระบวนการจัดการศึกษาหลากหลาย เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียนมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจและ ทักษะด้านต่าง ๆ เช่นทักษะด้านการแสดงความสามารถของนักศึกษาในการประกวด โครงงานวิทยาศาสตร์ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาขอนแก่น ได้รับรางวัล ชมเชย ทักษะด้านการประกอบอาชีพ เป็นต้น พัฒนาทักษะต่าง ๆ เพื่อการดำเนิน ชีวิตอย่างมีคุณภาพ พัฒนาสังคม ชุมชน และนำผลการประเมินความพึงพอใจของ ผู้รับบริการไปปรับปรุงและพัฒนาการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยทุกกิจกรรมและทุก โครงการที่ดำเนินการ มีความหลากหลายสอดคล้องกับผู้รับบริ การ ตลอดจนจัด กิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์คิดเป็น ทำเป็นและมีความพึงพอใจในการบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ๒. สถานศึกษามีการจัดทำและพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นที่หลากหลายร่วมกับภูมิ ปัญญาท้องถิ่นปราชญ์ชาวบ้าน ชุมชนและภาคีเครือข่ายและมีการขอความเห็นชอบ ใช้หลักสูตรผ่านคณะกรรมการสถานศึกษา และมีการจัดการศึกษาตามหลักสูตรโดย เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมีการใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นที่หลากหลายมีวิทยากรครูภูมิ ปัญญาในท้องถิ่นให้ความรู้กับผู้เรียน/ผู้รับบริการและมีการฝึกให้ผู้เรียน /ผู้รับบริการ


142 สรุปผลการวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา รู้จักคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็นและมีความพึงพอใจในการบริการการศึกษาตาม อัธยาศัย ๓. สถานศึกษามีผู้บริหารมีสมรรถนะในการบริหารองค์กรโดยสามารถบริหาร จัดการด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคลและการบริหารทั่วไปได้อย่าง ครบถ้วน มีการมอบหมายงานเป็นระบบมีการใช้คนให้เหมาะสมกับงาน มีการ จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปีที่เป็นปัจจุบันและ สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการและสำนักงาน กศน.และมี การบริหารตามหลั กธรรมาภิบาล ส่งผลให้เกิดคุณภาพของการบริหารสถานศึกษา และกรรมการสถานศึกษาในปัจจุบันและต้องการสร้างความประทับใจให้กับผู้ที่เข้า มารับบริการของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนอง สองห้อง ทุกคนเกิดความประทับใจและเห็นความสำคัญของ กศน.และบุคลากรศูน ย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองสองห้อง เป็นองค์กรที่มี ความรัก ความสามัคคี ให้ความร่วมมือช่วยเหลือเกื้อกูลในการปฏิบัติงานให้ประสบ ผลสำเร็จและเป็นแบบ อย่างที่ดีของชาว กศน. ๔.สถานศึกษามีปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยและสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อั ธ ยาศั ย จั ง หวั ด ขอนแก่ น มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการสถานศึ ก ษาเพื ่ อ จั ด ทำ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง มีการนิเทศ ติดตาม และการประเมินผล การดำเนินงานอย่างต่อเนื่องมีการรายงานผลการปฏิบัติงานประจำปีมีระบบการ ประกันคุณภาพภายใน และการประกันคุณภาพโดยต้นสังกัด มีการจัดระบบการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตามกฎกระทรวงที่ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และ วิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวกับการประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษาโดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชน ๕. สถานศึ ก ษาได้ ก ำหนดอั ต ลั ก ษณ์ ร ่ ว มกั น ระหว่ า งผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา กรรมการสถานศึกษา ครู บุคลากร ผู้ปกครอง ชุมชน ผู้เรียนและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อ เป็น แนวทางการดำเนิ นการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอหนองสองห้อง ผู้เรียน / ผู้รับบริการ ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมโครงการ และจัดกิจ กรรมที ่เ กี ่ยวข้ อ งเป็น อย่า งดี ผู้เรียน / ผู้รับบริการ มีคุณภาพตาม อัตลักษณ์ที่กำหนดมีการดำเนินโครงงาน / กิจกรรม ตามจุดเน้นนโยบาย กศน. ที่สะท้อนเอกลักษณ์ ในด้านต่าง ๆ เช่น ส่งเสริมด้านศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ส่งเสริม ด้านเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมด้านอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมความรู้เพื่อป้องกัน ปัญหายาเสพติด เป็นต้น มีระบบการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ๖. สถานศึกษามีการจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย ร่ ว มกั บ ภาคี เ ครื อ ข่ า ย ทั ้ ง ในด้ า นสนั บ สนุ น งบประมาณ อาคารสถานที่ และความร่วมมือในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เป็นอย่างดี


143 สรุปผลการวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา จุดที่ควรพัฒนา ๑.การจัดทำรายงาน / ติดตามผลผู้เรียน / ผู้รับบริการที่นำความรู้ไปใช้และ สรุปผลการติดตามจนได้ข้อมูลว่าผู้เรียนผู้รับบริการร้อยละเท่าไหร่ ของจำนวน ทั้งหมดที่นำความรู้ไปใช้ยังไม่ต่อเนื่อง ๒. การจัดทำหลักฐานการประเมินผลการใช้หลักสูตรยังไม่ครอบคลุมทุก หลักสูตร ๓. การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลยังไม่ครบถ้วนเป็น ปัจจุบัน ๔. การอบรมบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในระบบประกันคุณภาพ การศึกษายังไม่ทั่วถึง ๕. การมี ส ่ ว นร่ ว มของชุ ม ชน ภาคี เ ครื อ ข่ า ยในการดำเนิ น โครงการ / กิจกรรม การนิเทศ ติดตามและการประเมินผล ยังไม่ให้ครอบคลุมทุกกิจกรรม ๖. การจัดทำบันทึกข้อตกลงร่วมมือกันระหว่างหน่วยงาน (MOU) กับภาคี เครือข่าย ยังไม่ครอบคลุม วิธีปฏิบัติที่ดีหรือ ๑.ควรจัดทำรายงาน / ติดตามผลผู้เรียน /ผู้รับบริการที่นำความรู้ไปใช้และ นวัตกรรม หรือตัวอย่างที่ สรุปผลการติดตามจนได้ข้อมูลว่าผู้เรียนผู้รับบริการร้อยละเท่าไหร่ ของจำนวน ดีหรือต้นแบบ ทั้งหมดที่นำความรู้ไปใช้ ๒.ควรจั ดทำหลั ก ฐานการประเมิน ผลการใช้ ห ลั ก สู ตรให้ ค รอบคลุม ทุก หลักสูตร ๓.ควรมีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารที่ถูกต้องและมีความครบถ้วน เป็นปัจจุบัน ๔. ควรมีการอบรมบุคลากรให้มี ความรู้ ความเข้าใจ ในระบบประกั น คุณภาพการศึกษาอย่างทั่วถึง ๕. ควรให้ช ุมชน ภาคีเครือ ข่าย มีส ่ว นร่ว มในการดำเนินโครงการ / กิจกรรม การนิเทศติดตามและประเมินผล ให้ครอบคลุมทุกกิจกรรม เพื่อส่งผลให้ เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้อย่างทั่วถึง ๖. สถานศึกษาควรมีการจัดทำบันทึกข้อตกลงร่วมมือกันระหว่างหน่วยงาน (MOU) โดยการจัดประชุมร่วมกันในหน่วยงานหลาย ๆ หน่วยงาน เพื่อทำข้อตกลง ร่วมกันในการดำเนินงานของ กศน.ให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของ ชุมชน มุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนสู่กรดำเนินชีวิตแบบพอเพียง


144

คำสั่งศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองสองห้อง ที่ 255/ ๒๕๖2 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ประจำปีงบประมาณ 2562 ******************************************************************* พระราชบั ญ ญั ต ิ ส ่ง เสริ ม การศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย พ.ศ.2551 มาตรา ๒๐ กำหนดให้สถานศึกษาดำเนินการประกันคุณภาพภายในให้สอดคล้องกับระบบหลักเกณฑ์และวิธี ประกันคุณภาพภายใน โดยได้รับความร่วมมือส่งเสริม สนับสนุนจากภาคีเครือข่ายและสำนักงาน กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ ข้อ ๑๔ กำหนดให้สถานศึกษาต้องจัดทำ แผนพั ฒ นาการจั ด การศึ ก ษาของสถานศึ ก ษาที ่ ม ุ ่ ง คุ ณ คุ ณ ภาพมาตรฐานการศึ ก ษาของสถานศึ ก ษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองสองห้อง ซึ่งเป็นสถานในสังกัด สำนักงาน กศน. มีหน้าที่ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีพันธกิจในการส่งเสริมโอกาสการ เรียนรู้ตลอดชีวิตให้แก่ประชาชน และสร้างระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิตทึ่มีคุณภาพให้แก่ประชาชน เพื่อให้การ จัดการศึกษาบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย สถานศึกษาต้องตอบคำถามต่อไปนี้เป็นพื้นฐานการพัฒ นาคื อ สถานศึกษาปัจจุบันของสถานศึกษาอยู่ ณ จุดใด สภาพเป็นอย่างไรมีจุดเด่นด้านใด มีสิ่งใดที่เป็นปัญหาจะต้อง ได้รับการแก้ไข ปรับปรุงหรือส่งเสริมยิ่งขึ้น เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาคืออะไร สถานศึกษาจะดำเนินอย่างไรเพื่อให้บรรลุเป้ าหมายสถานศึกษาทราบถึงความสำเร็จได้อย่างไร การจัดทำ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาจะตอบคำถามข้างต้นเหล่านี้ เพื่อเป็นทิศทางในการพัฒ นา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาต่อไป ดั ง นั ้ น ศู น ย์ ก ารศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษาต ามอั ธ ยาศั ย อำเภอหนองสองห้ อ ง จึงต้องดำเนินการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ประจำปี ๒๕๖2 โดยคณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อ ใช้เป็นการรายงานผลการปฏิบัติงาน สรุปผลการปฏิบัติงาน การประเมินตนเองตามแผนงาน เป้าหมายและ แนวทางในการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในช่วงระยะเวลาที่กำหนดโดยจัดทำไว้เป็นลายลักษณ์ อั ก ษรเพื ่ อ ให้ เ กิ ด ความมั ่ น ใจว่ า สถานศึ ก ษาจะดำเนิ น งานตามข้ อ ตกลงที่ กำหนดร่ ว มกั น จึ ง ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการการจั ด ทำแผนพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาเพื ่ อ ทำหน้ า ที ่ ร ่ ว มกั น ประเมิ น สถานการณ์ ข อง สถานศึกษา โดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) สถานศึกษา และได้วางระบบ การประกันคุณภาพการศึกษานอกโรงเรียนเป็นการดำเนินงานเพื่อให้สอดคล้องกับปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย จุดเน้นการศึกษานอกโรงเรียนตามมาตรฐานการศึกษา 3 มาตรฐาน 20 ตัวบ่งชี้ เพื่อให้งานประกัน คุณภาพภายในสำเร็จลุล่วงไปด้วยดีและมีมาตรฐาน มีคุณภาพตามเกณฑ์เพื่อรองรับการประกันคุ ณภาพ ภายนอก จึงแต่งตั้งผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ ดังต่อไปนี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ มี 7 ตัวบ่งชี้ นายอุทัย สมพร เป็นหัวหน้ามาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม ผู้รับผิดชอบ นางสมถวิล สระแก้ว และคณะ ครู กศน.ตำบลดอนดั่ง /ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 …


145 ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 ผู้เรีย นการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรี ย นรู ้ อ ย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง และสามารถนำไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการดำรงชี ว ิ ต ผู ้ ร ั บ ผิ ด ชอบ นายโกศล เนื ้ อ ดี และคณะครู กศน.ตำบลตะกั่วป่า ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้พื้นฐาน ผู้รับผิดชอบนางสาวครองหทัย ขอมีกลาง นายอุทัย สมพร และนางสาวณัฐยาดา แก้ววิไล การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ ผู้รับผิดชอบ ว่าที่ ร.อ.หริดล ยืนชีวิต และคณะครู กศน.ตำบลสำโรง ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้รับผิดชอบ นางวนิดา ยืนชีวิต และคณะครู กศน.ตำบลหนองสองห้อง ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม ผู้รับผิดชอบ นางวนาลี ดาโสม และคณะครู กศน.ตำบลหันโจด การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ 1.7 ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ การศึกษาตามอัธยาศัย ผู้รับผิดชอบ นางสาวครองหทัย ขอมีกลาง มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ มี 9 ตัวบ่งชี้ นายอุทัย สมพร เป็นหัวหน้า มาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพครูการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้รับผิดชอบ นายวินัย ชวนศิริ และคณะครู กศน.ตำบลหนองไผ่ล้อม ตัวบ่งชีท้ ี่ 2.2 คุณภาพของหลักสูตรสถานศึกษา ผู้รับผิดชอบ นางสมร ชมภูหลง , นางมัญชุภา แก้วโนนตุ่น คณะครู กศน.ตำบลดอนดู่ และและคณะครู กศน.ตำบลโนนธาตุ ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 คุณภาพสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา ผู้รับผิดชอบ นางสมร ชมภูหลง , นางมัญชุภา แก้วโนนตุ่น คณะครู กศน.ตำบลดอนดู่ และและคณะครู กศน.ตำบลโนนธาตุ ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ผู้รับผิดชอบ นางสมร ชมภูหลง ,นางมัญชุภา แก้วโนนตุ่น คณะครู กศน.ตำบลดอนดู่ และและคณะครู กศน.ตำบลโนนธาตุ การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 คุณภาพวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง ผู้รับผิดชอบ นางจันทร์เพ็ญ อุ่มเกตุ ,นางวนาลี ดาโสม คณะครู กศน.ตำบลวังหิน และและคณะครู กศน.ตำบลหันโจด ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 คุณภาพหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่อง ผู้รับผิดชอบ นางจันทร์เพ็ญ อุ่มเกตุ , นางวนาลี ดาโสม คณะครู กศน.ตำบลวังหิน และและคณะครู กศน.ตำบลหันโจด ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง ผู้รับผิดชอบ นางจันทร์เพ็ญ อุ่มเกตุ,นางวนาลี ดาโสม คณะครู กศน.ตำบลวังหิน และและคณะครู กศน.ตำบลหันโจด /การศึกษาตามอัธยาศัย..


146 การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 คุณภาพผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ผู้รับผิดชอบนางสาวครองหทัย ขอมีกลาง ตัวบ่งชี้ที่ 2.9 คุณภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ผู้รับผิดชอบ นางสาวครองหทัย ขอมีกลาง มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา มี 4 ตัวบ่งชี้ นายอุทัย สมพร เป็นหัวหน้ามาตรฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาล ผู้รับผิดชอบ นายธณรัช เหล็กกล้า ,นางอภัณตรี สีหามาตย์ คณะครู กศน.ตำบล ดงเค็ง และและคณะครู กศน.ตำบลหนองเม็ก ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาของภาคีเครือข่าย ผู้รับผิดชอบ นายธณรัช เหล็กกล้า ,นางอภัณตรี สีหามาตย์ คณะครู กศน.ตำบล ดงเค็ง และและคณะครู กศน.ตำบลหนองเม็ก ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้รับผิดชอบ นายธณรัช เหล็กกล้า, นางอภัณตรี สีหามาตย์ คณะครู กศน.ตำบลดงเค็ง และและคณะครู กศน.ตำบลหนองเม็ก ตัวบ่งชี้ที่ 3.4 การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ผู้รับผิดชอบ นายธณรัช เหล็กกล้า , นางอภัณตรี สีหามาตย์ คณะครู กศน.ตำบลดงเค็ง และและคณะครู กศน.ตำบลหนองเม็ก มีหน้าที่ ร่วมกันกำหนดค่าเป้าหมายของสถานศึกษา รวบรวมเอกสารการประกันคุณภาพให้เข้าแฟ้ม/ กล่องเอกสาร ตามมาตรฐานที่รับผิดชอบ เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสำรวจ พร้อมคำนวณ ตามแบบประเมินและเก็บรวบรวมข้อมู ลหลักฐาน ให้เป็นไปตามเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองสองห้อง โดยทุ่มเทเวลาทำงานอย่างเต็ม ความสามารถ เพื่อคุณภาพงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖2 เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2562

(นายสมชาติ สง่าภาคภูมิ) ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองสองห้อง


147

คณะทำงาน 1.ที่ปรึกษา 1.นายสุรัติ วิภักดิ์ 2.ว่าที่พันตรีสุรพล ประเสริฐธรรม 3.นางดวงจันทร์ วิรุณพันธ์

ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น รองผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ

2. คณะทำงาน 1.1 นายสมชาติ สง่าภาคภูมิ 1.2 นางสาวครองหทัย ขอมีกลาง 1.3 นายอุทัย สมพร 1.4 นางสาวกนกวรรณ หล้าหาญ 1.5นายธงชัย ชำนาญไพร ๒.๑ นางสมถวิล สระแก้ว ๒.๒ นางสมร ชมภูหลง ๒.๓ นายโกศล เนื้อดี ๒.๔ นายวินัย ชวนศิริ ๒.๕ นางอภัณตรี สีหามาตย์ ๒.๖ นางจันทร์เพ็ญ อุ่มเกต ๒.๗ ว่าที่ ร.อ.หริดล ยืนชีวิต ๒.๘ นางวนิดา ยืนชีวิต ๒.๙ นางวนาลี ดาโสม ๒.๑๐ นายธณรัช เหล็กกล้า ๒.๑1 นายนิคม แก้วหาวงษ์ ๒.๑2 นายกรเพชร ดวงจำปา ๒.๑3 นายอาทิตย์ เพ็ญศรี ๒.๑4 นางสาวศุภกานติ์ ปุราชาเต ๒.๑5 นายวสันต์ พันธ์ไธสง ๒.๑6 นางมัญชุภา แก้วโนนตุ่น ๒.17 นายปุวรินทร์ ทัพธานี 2.18 นางสาวกิตติยาภรณ์ เทพชมพู ๒.19 นางสาวชมพู จงเทพ ๒.๒0 นายกิตติบดี อ่อนมีกุล ๒.๒1 นางสาวจริศาภรณ์ กระลาม ๒.๒2 นางสาวอภิสรา สิงห์พรม ๒.๒3 นายวชิรันกรณ์ นาเขียว ๒.๒4 นางสาวพรฤดี สาชิน ๒.๒5 นางสาวศิญารัตน์ แผงตัน

ผู้อำนวยการ กศน.หนองสองห้อง บรรณารักษ์ปฏิบัติการ ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. /๒.๒6 นาย...


148 ๒.๒6 นายอิสเรศ นามไธสง ๒.๒7 นางสาวศศิวิมล รินทะ ๒.28 นางสาวศรุชิตา โพธิ์อุดม ๒.29 นายจักรกฤษณ์ ชาวดอน ๒.๓0 นางสาวสุนิษา วัดทุ่งใหญ่ ๒.๓1 นางอรัญญา คำโอสีมา ๒.๓2 นายธนพล ศรีจันทร์ ๒.๓3 นางสาวอัมรา เชาว์นิติกร ๒.๓4 นางสาวประครอง อดใจ ๒.๓5 นางสาวสุดารัตน์ สัญจรรัตน์ ๒.๓6 นายทวนทอง ปัตถาระกัง ๒.๓7 นางปริณดา บุญชัย ๒.38 นางสาวสุดารัตน์ สุขแสวง ๒.39 นางสาวสุกัญญา เมืองขวา ๒.๔0 นายสุพรรณ ปะริโต ๒.๔1 นางสาวศิริลักษณ์ ลิศรี ๒.๔2 นางธนพร ชนะภัย ๒.๔3 นายธีรศักดิ์ มาตย์โค้ง ๒.๔4 นายธิติ คงหาญ ๒.๔5 นายอนุชา บุญหลิม ๒.๔6 นายเอกลักษณ์ ธีรรัตนกุล ๒.47 นางสาวปิยนุช โคตรศรีเมือง ๒.48 นายสมพร เพียจันทร์ ๒.49 นางสาวดรุณี เทพบรรทม ๒.๕0 นายอภิสิทธิ์ อุไรพงษ์ ๒.51 นางสาวกันตนา แสงแพง ๒.52 นายอัษฎางค์ สุขวัฒน์กุล ๒.53 นางสาวกนกวรรณ เข็มเลา ๒.๕4 นางสุภา สุดอาราม ๒.๕5 นางสุพิศ เพ็ชรน้อย 2.56นางสาวณัฐยาดา แก้ววิไล ๒.57 นางสาวลมัย ทองดี ๒.58 นายวิชาสันต์ พลรักษา ๒.59 นางสาวอาภาพร ภูครองหิน ๒.๖0 นายจรูญ รัตนผูก ๒.๖1 นายอนุพันธ์ จันทร์นอก ๒.๖2 นายเบญจ กิตติรัตนา ๒.๖3 นายมลไพร รังศรีคาร ๒.๖4 นางสาวพัชราพร ทุมสิงห์

ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ปวช. ครู ปวช. ครู ปวช. ครู ปวช. ครู ปวช. ครู ปวช. ครู ปวช. ครู ปวช. /๒.65 นาย...


149 ๒.65 นายชูชาติ ๒.66 นายพงษ์ศักดิ์ ๒.67 นายพุทธรักษ์ ๒.68 นายชุมพล ๒.69 นางสาวนวลฉวี ๒.๗0 นางสาววิรัลยุพา ๒.๗1 นางสาวอโณทัย ๒.๗2 นางกุหลาบ

กะลาม ธีรรัตนกุล มีศรี บุญภา นิทัศน์ครู สิริเศรษฐากรณ์ เรียนพิษ ศิริบุตร

ครู ปวช. ครู ปวช. ครู ปวช. ครู ปวช. ครู ปวช. นักวิชาการศึกษา เจ้าหน้าที่บรรณารักษ์ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล

ผู้เรียบเรียง 1.นางสาวครองหทัย ขอมีกลาง 2.นายอุทัย สมพร 3.นางสาวณัฐยาดา แก้ววิไล

บรรณารักษ์ปฏิบัติการ ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ครู ศรช.

จัดทำรูปเล่ม 1.นางสาวครองหทัย ขอมีกลาง 2.นายอุทัย สมพร 3.นางสาวณัฐยาดา แก้ววิไล

บรรณารักษ์ปฏิบัติการ ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ครู ศรช.


150 บันทึกความเห็นชอบคณะกรรมการสถานศึกษา เรื่อง เห็นชอบรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖2 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองสองห้อง เพื่อให้การจัดการศึกษาบรรลุเป้าประสงค์ที่ส ถานศึกษากำหนด ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองสองห้องได้จัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖2 ประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษาทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา แผนการปฏิบัติงาน / โครงการ / กิจกรรม ซึ่งคณะกรรมการสถานศึกษาได้พิจารณาโครงการ / กิจกรรม ในการแผนพัฒ นา การศึกษาของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองสองห้อง เห็นชอบรายงานการ ประเมินตนเอง (SAR) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖2 ดังกล่าว  เห็นชอบ ลงชื่อ

ลงชื่อ

(นายสมชาย สง่าภาคภูมิ) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา

ลงชื่อ

(นายวสันต์ เปรมศรี) กรรมการสถานศึกษา

ลงชื่อ (นายสุบรรณ์ เมิกข่วง) กรรมการสถานศึกษา

(นายบุญมา ประภาวสิทธิ์) กรรมการสถานศึกษา

ลงชื่อ ( นายสมชาติ สง่าภาคภูมิ ) เลขานุการกรรมการสถานศึกษา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.