รายงานโครงการ ห้องสมุดมีชีวิต ปีการศึกษา 2560

Page 1

รายงานโครงการ รายงานโครงการห้ องสมุดมีชีวิตปี การศึกษา 2560

ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนบ้านตาด ตาบลแพด อำเภอคำตำกล้ำจังหวัดสกลนคร สำนักงำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำประถมศึกษำสกลนครเขต 3


คำนำ

รายงานโครงการห้องสมุดมีชีวติ ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๐ มีวัตถุประสงค์รายงานผลการ ดาเนินกิจกรรมตามโครงการซึ่งมีจุดประสงค์หลักเพื่อให้หอ้ งสมุดมีส่อื หลากหลายและทันสมัย เหมาะสมกับช่วงวัย เพื่อให้หอ้ งสมุดเป็นแหล่งส่งเสริมการเรียนรูท้ ี่มชี ีวิตและเพื่อให้นักเรียนมี นิสัยรักการอ่าน การเรียนรู้ ซึ่งระยะเวลาในการดาเนินการคือ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ถึง ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๑ การดาเนินงานตามโครงการดังกล่าวมีกระบวนการและผลดาเนินงานที่ควรนาไปเป็น แบบอย่างและพัฒนาจุดด้อยในปีต่อไป โรงเรียนบ้านตาด


สำรบัญ บทที่

หน้ำ

๑ บทนำ กกกความสาคัญและความเป็นมา กกกวัตถุประสงค์ กกกประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ระยะเวลาในการดาเนินการ

๑ ๑ ๒ ๒ ๒

๒ ข้อมูลพื้นฐำนของโรงเรียน กกกประวัติโรงเรียนโดยย่อ กกกที่อยู่ ขนาด ที่ตั้งของโรงเรียน เกียรติประวัติและสิ่งที่น่าภูมิใจของโรงเรียน กกกข้อมูลห้องสมุด ที่ตั้ง ขนาด บุคลากร การบริหารจัดการห้องสมุด ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด

๓ ๓ ๕ ๗ ๒๑

๓ วิธีกำรดำเนินงำน กรอบการดาเนินงาน/แนวทางการดาเนินงาน

๓๐

๔ ผลกำรดำเนินงำน ก เชิงคุณภาพ ๕ สรุปผล อภิปรำย และข้อเสนอแนะ กกกสรุปผลการดาเนินงาน กกฮอภิปรายผล กกกข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม

๓๒ ๓๒ ๓๙ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ กกก


สำรบัญ (ต่อ) บทที่

หน้ำ

ภำคผนวก ภาคผนวก ก - ภาพห้องสมุดเปรียบเทียบก่อน – หลังการปรับปรุง - ภาพการพัฒนาห้องสมุด - ภาพการเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ ภาคผนวก ข - แผนดาเนินงานพัฒนาห้องสมุด - โครงการ “พัฒนาห้องสมุดมีชีวิตต้นแบบในโรงเรียนเพื่อ เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี” - โครงสร้างการบริหารงานห้องสมุด - สถิติการใช้บริการห้องสมุด - สถิติการยืม – คืน - สถิติยอดนักอ่าน ภาคผนวก ค - ภาพกิจกรรมต่างๆ ภาพผลงานนักเรียน

๓๒ ๓๓ ๓๔ ๔๔ ๕๐ ๕๒ ๕๓ ๕๖ ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๔ ๖๕


บทที่ ๑ บทนำ ควำมสำคัญและควำมเป็นมำ จากพระราชปรารภสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี ว่า "…ข้าพเจ้าอยากให้เรามีหอ้ งสมุดที่ดี มีหนังสือครบทุกประเภทสาหรับประชาชนหนังสือที่ ข้าพเจ้า คิดว่าสาคัญที่สุดอย่างหนึ่งคือหนังสือสาหรับเด็ก วัยเด็กเป็นวัยเรียนรู้ เด็ก ๆ ส่วนใหญ่ จะสนใจเรื่องราวต่าง ๆ แปลก ๆ ใหม่ ๆ อยู่แล้ว ถ้าเรามีหนังสือที่มคี ุณค่าทั้งเนือ้ หาและรูปภาพ ให้เขาอ่าน ให้ความรูแ้ ละความบันเทิงเด็กๆ จะได้เติบโต เป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์ ที่รอบรู้ มีธรรมะ ประจาใจมีความรักบ้านเมืองมีความต้องการปรารถนาจะทาแต่ประโยชน์ ที่สมควร…” (แหล่งที่มา : สถาบันการศึกษาและพัฒนาต่อเนื่องสิรินธร) รัฐบาลจึงได้กาหนดให้การอ่านเป็นวาระแห่งชาติ กาหนดให้วันที่ ๒ เมษายน ของทุกปี ซึ่งเป็นวันพระราชสมภพของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็น “วันรักการอ่าน” และกาหนดให้ปี ๒๕๕๒ – ๒๕๖๑ เป็นทศวรรษแห่งการอ่านของประเทศ การ อ่านเป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพของนักเรียน การจัดห้องสมุดใน โรงเรียน และจัดกิจกรรม เพื่อสร้างเสริมและปลูกฝังให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน ได้รับ การศึกษาตลอดชีวติ ที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน เพื่อให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ โดยให้ทุกภาคส่วนมีสว่ นร่วมและเป็นภาคีเครือข่าย นอกจากนี้ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานที่ ๑ ด้านคุณภาพผูเ้ รียน ยังกาหนดให้ผเู้ รียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคานวณ ตาม เกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และ มาตรฐานที่ ๓ เกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เปิดโอกาสให้ ผูเ้ รียนได้เรียนรูผ้ ่านกระบวนการคิดได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ดังนัน้ เพื่อสนองนโยบายรัฐบาล พระราชปรารภของสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำม บรมรำชกุมำรี และพัฒนาผูเ้ รียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานดังกล่าวมา จึงได้จัดทาโครงการ ห้องสมุดมีชีวติ ขึ้น


วัตถุประสงค์ กกกกกกกวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนบ้านตาดให้เป็นห้องสมุดมีชีวติ ต้นแบบ ในโรงเรียน มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๒.๑ เพื่อให้หอ้ งสมุดมีส่อื หลากหลายและทันสมัยเหมาะสมกับช่วงวัย ๒.๒ เพื่อให้หอ้ งสมุดเป็นแหล่งส่งเสริมการเรียนรู้ที่มีชีวิต ๒.๓ เพื่อให้นักเรียนมีนสิ ัยรักการอ่าน การเรียนรู้

ประโยชน์ท่ีคำดว่ำจะได้รับ ๑. โรงเรียนบ้านตาดเป็นเครือข่ายต้นแบบห้องสมุดมีชีวิตที่มปี ระสิทธิภาพ ๒. โรงเรียนบ้านตาดมีห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ผูป้ กครอง คณะครูและ นักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓. นักเรียนโรงเรียนบ้านตาดมีนสิ ัยรักการอ่าน ระยะเวลำในกำรดำเนินกำร กกก ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ถึง ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๑


บทที่ ๒ ข้อมูลพื้นฐำนของโรงเรียน กกกกกกกการพัฒนาห้องสมุดมีชีวติ ต้นแบบในโรงเรียนบ้านตาดจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษา ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน เพื่อจะได้ทราบเรื่องราว ของห้องสมุด ที่สามารถให้บริการใน ลักษณะอุทยานการเรียนรูท้ ี่มคี ุณสมบัติครบ ๓ ดีคือ หนังสือดี บรรยากาศดี และบรรณารักษ์ ดี และปลูกฝังส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์สาหรับเด็กและเยาวชน ได้รับความประทับใจ และมีความสุข และส่งเสริมนิสัยรักการอ่านให้เกิดขึ้นอย่างยั่งยืน โดย แยกหัวข้อดังต่อไปนี้ ๑. ประวัติโรงเรียน กกกกกกก๒. ที่อยู่ ขนาด อาคารสถานที่ กกกกกกก๓. ข้อมูลห้องสมุด ที่ตั้ง ขนาด บุคลากร การบริหารจัดการห้องสมุด ทรัพยากร สารสนเทศของห้องสมุด ๑.๑. ข้อมูลทั่วไป ๑. ข้อมูลทั่วไป ๑.๑ ชื่อโรงเรียนบ้านตาด ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๑๗ บ้านตาดเหนือ ตาบลแพด อาเภอคาตา กล้า จังหวัดสกลนคร รหัสไปรษณีย์ ๔๗๒๕๐โทรศัพท์ ๐๔๒-๗๕๖๙๐๙ สังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต ๓ ๑.๒ เปิดสอนตั้งแต่ระดับ อนุบาล ๑ ถึงระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ๑.๓ เขตพื้นที่บริการ ๕ หมูบ่ ้าน ได้แก่ หมู่ที่ ๒ บ้านตาด หมูท่ ี่ ๓ บ้านดอนกลาง หมูท่ ี่ ๖ บ้านฝาง หมูท่ ี่ ๑๓ บ้านพรสวรรค์ หมูท่ ี่ ๑๗ บ้านตาดเหนือ ประวัติโรงเรียนบ้ำนตำด โรงเรียนบ้านตาด เดิมตัง้ อยู่ที่วัดบ้านแพด ตั้งเมื่อวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๔๗๖ ผูม้ าตั้ง


เพื่อทาการสอนครั้งแรก คือ นายบัวจัน พรมดิเรก ปลัดอาเภอรักษาการณ์แทนนายอาเภอ วานรนิวาส โดยให้ชื่อโรงเรียนนี้วา่ โรงเรียนวัดบ้านแพด และได้ตงั้ นายแค เทพวงศา เป็น ครูใหญ่ มีครูประจาชั้นอีก ๒ คน รวมทั้งหมด ๓ คน ต่อจากนั้นได้มีการเปลี่ยนแปลงโยกย้ายการงานในหน้าที่เสมอ จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๔๙๓ มีนายวิชัย ทอนฮามแก้ว ย้ายมาดารงตาแหน่งครูใหญ่ มองเห็นความ จาเป็นเกี่ยวกับสถานที่เล่าเรียน เพราะจานวนผูเ้ รียนเพิ่มขึน้ ตามลาดับ สถานที่ไม่เพียงพอแก่ จานวนผูเ้ รียนที่เพิ่มขึ้น จึงได้วางแผนสร้างโรงเรียนเอกเทศขึ้น โดยได้ขอไม้จากผู้ปกครอง ผูเ้ รียนเมื่อครบตามต้องการแล้ว นายวิชัย ทอนฮามแก้ว จึงขอเงินสมทบก่อสร้างจาก กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงอนุมัติจานวนเงินก้อนหนึ่ง เป็นงบประมาณสาหรับก่อสร้าง และได้รับความร่วมมือจากผูป้ กครองเป็นอย่างดี เมื่อการก่อสร้างเสร็จเรียบร้อย นายวิชัย ทอนฮามแก้ว จึงขออนุญาตจากนายอาเภอวานรนิวาส ย้ายสถานที่เรียนจากวัดบ้านแพด มา เรียนที่ก่อสร้างใหม่ซึ่งเรียกว่า “โรงเรียนบ้านตาด” ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของบ้านตาด ขณะนั้น มีครูอยู่ ๓ คน เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๑ นายนฤทธิ์ สร้อยจักร ได้ย้ายมาดารงตาแหน่งครูใหญ่อยู่ที่น่เี ป็น ครั้ง ที่ ๒ จึงเห็นว่าอาคารเล็กๆหลังเดียวไม่เพียงพอกับจานวนผู้เรียน จึงประชุมผู้ปกครอง เพื่อ ช่วยกันหาไม้มาสมทบสร้างอาคารเรียน ซึ่งได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองผูเ้ รียนจัดหาไม้ เสาจานวน ๔๐ ต้น และไม้สาหรับยกโครงสร้างครบตามจานวนที่ตอ้ งการ นายนฤทธิ์ สร้อย จักร ได้ของบประมาณจากอาเภอวานรนิวาส จานวน ๗๕,๐๐๐ บาท เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๑๔ แล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๑๕ ต่อมาปีงบประมาณ ๒๕๑๘ ได้ของบประมาณสร้างอาคารเรียนเป็นหลังที่ ๓ ได้รับงบประมาณก่อสร้างจนแล้ว เสร็จ ปี พ.ศ. ๒๕๔๑ นายชัยณรงค์ วงศ์สง่า ได้ย้ายมารับตาแหน่งอาจารย์ใหญ่ โรงเรียนบ้านตาด ปี ๒๕๔๕ ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน แบบ สปช.๑๐๕/๒๙ จานวน ๔ ห้องเรียน งบประมาณทั้งสิน้ ๑,๘๓๐,๐๐๐ บาท ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้รับ งบประมาณต่อเติมอาคารเรียน แบบ สปช.๑๐๕/๒๙ จานวน ๒ ห้องเรียน เป็นเงิน


๑๘๐,๐๐๐ บาท ปี ๒๕๔๗ ได้รับงบประมาณ ก่อสร้างส้วมจานวน ๔ ที่ งบประมาณ ๙๙,๐๐๐ บาท และปีนโี้ รงเรียนได้รับการประเมินโรงเรียนตามเกณฑ์คุณภาพ เลื่อนและ แต่งตัง้ ผูบ้ ริหารสถานศึกษาเป็นตาแหน่ง ผูอ้ านวยการโรงเรียน ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๔ จนถึงปัจจุบัน เมื่อวันที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ นายชัยณรงค์ วงศ์สง่า ย้ายไปดารงตาแหน่งที่ โรงเรียน บ้านดอนแดง อาเภอวานรนิวาส และนางเมตตา หาญรักษ์ ได้ย้ายมาดารงตาแหน่ง ผูอ้ านวยการโรงเรียนบ้านตาด เมื่อวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๘ นางเมตตา หาญรักษ์ ย้ายไป ดารงตาแหน่งที่โรงเรียนหนองนาหารสมสนุกวิทยา อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร และ นางจินตนา หลานเศรษฐา ได้ย้ายมาดารงตาแหน่งผูอ้ านวยการโรงเรียนบ้านตาด จนถึง ปัจจุบันนี้ แผนที่โรงเรียนบ้ำนตำด อ.คาตากล้า

ทิศ

โรงเรี ยนบ้านตาด บ.หนองแวง

ไป อ.บ้านม่วง

ไป อ.สว่างฯ

อ.วานรนิวาส

ข้อมูลสภำพชุมชนโดยรวม 1. ที่ตั้งโรงเรียนและขนำด

บ.แพด

บ.ตาด

ไป อ.อากาศ อานวย


โรงเรียนบ้านตาด ตั้งอยู่บ้านตาดเหนือ หมู่ที่ ๑๗ ตาบลแพด อาเภอคาตากล้า จังหวัดสกลนคร อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัดสกลนคร อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียง ใต้ของอาเภอคาตากล้า ห่างจากจังหวัดสกลนคร ๙๐ กิโลเมตร ห่างจากอาเภอคาตากล้า ๑๔ กิโลเมตร มีพ้นื ที่ ๑๘ ไร่ ๒ งาน ๖๐ ตารางวา มีหมู่บ้านในเขตบริการ ๕ หมูบ่ ้าน คือ หมู่ที่ ๒ บ้านตาด หมู่ที่ ๓ บ้านดอนกลาง หมู่ ๖ บ้านฝาง หมู่ ๑๓ พรสวรรค์ และ หมูท่ ี่ ๑๗ บ้านตาดเหนือ 2. สภำพชุมชนทั่วไป สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นชุมชนในชนบทขนาดใหญ่ จึงแยกเป็น ๔ หมูบ่ ้าน คือ บ้านตาด บ้านตาดเหนือ บ้านดอนกลาง และบ้านพรสวรรค์ มีประชากร ประมาณ ๑,๙๘๓ คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียนได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและ บ้านเรือนของประชากร อาชีพหลักของชุมชน คือ ทาการเกษตรแบบดั้งเดิม อาศัยธรรมชาติ เนื่องจากประชากรขาดความรูแ้ ละไม่ได้รับการพัฒนาด้านเทคโนโลยีทางการเกษตร ประชากร ส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ ประเพณี / ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ บุญ ประทายข้าวเปลือก บุญพระเวสสันดร บุญเดือน ๓ บุญห่อข้าวประดับดิน ห่อข้าวสาก 3. อำชีพ ราษฎรในเขตบริการ ส่วนมากประกอบอาชีพ การทานา แต่ผลผลิตไม่เพียงพอกับการ บริโภคในครอบครัว เพราะสภาพดินโดยทั่วไปเป็นหินลูกรัง พื้นที่ทานาเป็นที่ดอน ขาดแคลน แหล่งน้า และลาห้วยน้าที่มีขังตลอดปี ในฤดูแล้งพื้นดินแห้งแล้งขาดแคลนน้าเป็นอย่างมาก คน หนุม่ คนสาวและคนวัยทางานต่างออกไปประกอบอาชีพต่างถิ่น และกรุงเทพมหานคร ราษฎรใน หมูบ่ ้านจึงมีแต่คนแก่และเด็กเป็นส่วนใหญ่ ๔. อำณำเขต ๑. อาณาเขต บ้านตาด มีดังนี้ ทิศเหนือ

ติดต่อกับบ้านตาดเหนือ

ทิศใต้

ติดต่อกับบ้านดงอีด่อย

ทิศตะวันออก

ติดต่อกับบ้านพรสวรรค์

ทิศตะวันตก

ติดต่อกับบ้านแพด


๑๐

๒. อาณาเขต บ้านดอนกลาง มีดังนี้ ทิศเหนือ

ติดต่อกับบ้านฝาง

ทิศใต้

ติดต่อกับบ้านตาด

ทิศตะวันออก

ติดต่อกับบ้านพรสวรรค์

ทิศตะวันตก

ติดต่อกับบ้านแพด

๓. อาณาเขต บ้านพรสวรรค์ มีดังนี้ ทิศเหนือ

ติดต่อกับบ้านฝาง

ทิศใต้

ติดต่อกับบ้านตาด

ทิศตะวันออก

ติดต่อกับบ้านท่าควาย

ทิศตะวันตก

ติดต่อกับบ้านดอนกลาง

๔. อาณาเขต บ้านฝาง มีดังนี้ ทิศเหนือ

ติดต่อกับบ้านกุดจาน

ทิศใต้

ติดต่อกับบ้านดอนกลางและบ้านพรวรรค์

ทิศตะวันออก

ติดต่อกับบ้านหนองบัวสิม

ทิศตะวันตก

ติดต่อกับบ้านดงบัง

๕. อาณาเขต บ้านตาดเหนือ มีดังนี้ ทิศเหนือ

ติดต่อกับบ้านฝาง

ทิศใต้

ติดต่อกับบ้านตาด

ทิศตะวันออก

ติดต่อกับบ้านพรสวรรค์

ทิศตะวันตก

ติดต่อกับบ้านดอนกลาง

๕. ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับ ป.๖ ประกอบอาชีพ (คิดเป็นร้อยละ) -อาชีพทานา

๙๐

%

-อาชีพค้าขาย

%

-อาชีพรับจ้าง

%

-อาชีพรับราชการ

%


๑๑

นับถือศาสนาพุทธ

๑๐๐ %

ฐานะทางเศรษฐกิจ / รายได้โดยเฉลี่ย ต่อครอบครัว ต่อปี จานวนคนเฉลี่ยต่อครอบครัว

๑๕,๐๐๐ บาท ๕

คน

เกียรติประวัติและสิ่งที่ภำคภูมิใจของโรงเรียน ๑. โล่เชิดชูเกียรติเสมา ปปส.และเกียรติบัตรโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพ ติดและ อบายมุข ผลงานดีเด่นระดับเงิน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๘ (ประเภทสถานศึกษาและประเภท บุคคล) กระทรวงศึกษาธิการ ๒. เกียรติบัตรชนะเลิศ ประเภทสถานศึกษาขนาดกลางในการประเมินคัดเลือกผลงาน สถานศึกษา สีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๓. เกียรติบัตรชนะเลิศโรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ระดับดีเด่น ขนาด กลาง โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ๔. เกียรติบัตรการเข้าร่วมจัดนิทรรศการ การติดตามการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาที่ประสบผลสาเร็จ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๙ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ๕. เกียรติบัตรโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ย ๕ กลุ่มสาระ การทดสอบระดับชาติขนั้ พืน้ ฐาน(O – NET) ลาดับที่ ๓ระดับเขตพืน้ ที่การศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๙ ๖. ผลการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ดังนี้ ได้รับ ๕ เหรียญทอง ๑ ทองแดง และเข้าร่วม ๑ กิจกรรม -รางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ ๑ กิจกรรมภาพยนตร์สั้น ระดับ ป. ๔-๖ -รางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ ๒ กิจกรรมเล่านิทานคุณธรรม ระดับ ป.๔๖ และกิจกรรมคัดลายมือสื่อภาษาไทย ระดับ ป.๔-๖ -รางวัลเหรียญทอง อันดับ ๔ กิจกรรมเพลงคุณธรรม ระดับ ป.๑-๓ -รางวัลเหรียญทอง อันดับ ๗ กิจกรรมเพลงคุณธรรม ระดับ ป.๔-๖


๑๒

-รางวัลเหรียญทองแดง อันดับ ๑๑ กิจกรรมอัจฉริยภาพวิทยาศาสตร์ ระดับ ป.๔๖ -เข้าร่วม อันดับ ๑๐ กิจกรรมเข็มทิศฯระดับ ป.๔-๖

วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ำหมำย อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ของสถำนศึกษำ วิสัยทัศน์ (Vision) นักเรียนมีความรูค้ ู่คุณธรรม ได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพ อนุรักษ์ส่งิ แวดล้อมและความเป็น ไทยเป็นสถานศึกษาแห่งการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพร้อมสู่ประชาคม อาเซียน ภายในปี ๒๕๖๐ พันธกิจ (Mission) 1. กาหนดและตั้งมาตรฐานของโรงเรียน 2. พัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 3. พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในให้มมี าตรฐานสากล 4. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีมาตรฐาน ๑๐๐% 5. พัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนให้เป็นคนดี คนเก่ง มีความสุข มีทักษะการดารงชีพ ตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมเป็นพลเมืองอาเซียนและความเป็นพลโลก 6. พัฒนาอาคารสถานที่ให้น่าอยู่ ปลอดภัย ส่งเสริมการเรียนรูน้ ักเรียน 7. พัฒนาสื่อวัสดุการเรียนการสอน พัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี 8. ส่งเสริมให้ชุมชนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและพัฒนาโรงเรียน

เป้ำหมำย ๑. นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาให้มคี วามรู้คคู่ ุณธรรม มีคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐานเต็มตามศักยภาพตามจุดเน้น คือ - เป็นผู้มนี ิสัยใฝ่รใู้ ฝ่เรียน


๑๓

- มีความสามารถในการสื่อสาร มีทักษะการคิด การแก้ปัญหา มีสติและใช้ปัญญา ในการดาเนินชีวติ รู้เท่าทันในการใช้เทคโนโลยี - มีความเชื่อมั่นและปฏิบัติตนให้ถูกต้อง ตามระบอบการปกครองประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข - เป็นผู้มจี ติ สาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคม รักถิ่นฐานบ้านเกิด - ดาเนินชีวติ ตามหลักวิถีไทย ยึดหลักธรรมคาสอนศาสนามาประพฤติปฏิบัติ ภายใต้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๒. ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาตนเองให้มีคุณภาพ มีศักยภาพใน การปฏิบัติงานเต็มความรูค้ วามสามารถ ส่งผลถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงาน ๓. เด็กในวัยเรียนทุกคนได้รบั การศึกษาอย่างทั่วถึง จัดระบบดูชว่ ยเหลือดูแลนักเรียน ทุกคน ๔. จัดระบบบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ยึดหลักการกระจายอานาจ เน้นการ มีสว่ นร่วมจากทุกองค์กรและภาคส่วน การดาเนินงานโปร่งใสตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน ๕. ดาเนินงานเพื่อการพัฒนาตามจุดเน้นและนโยบายรัฐ ให้สอดคล้องกับบริบทของ โรงเรียนและชุมชน อัตลักษณ์ของสถำนศึกษำ รักการอ่าน เอกลักษณ์ของสถำนศึกษำ โรงเรียนคุณธรรมนาสุข แนวทำงกำรพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำของสถำนศึกษำ โรงเรียนวางแผนดาเนินการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานโดยใช้ระบบ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษามาบริหารจัดการในโรงเรียน เป็นขั้นตอน เพื่อสร้าง ความมั่นใจในคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้กับผู้เรียน ผูป้ กครอง ครูและผูม้ ีสว่ นได้ เสีย พัฒนาครูให้ปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล สามารถจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ สร้างแหล่งเรียนรูใ้ นโรงเรียน ให้หลากหลาย สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดของผู้เรียน และพัฒนาแหล่งเรียนรูใ้ ห้มี ประสิทธิภาพและนาภูมปิ ัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ จนสามารถเปิดเป็น ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนได้ มีการพัฒนาสื่อเทคโนโลยีให้ทันสมัย โดยเฉพาะระบบเครือข่าย


๑๔

อินเตอร์เน็ตที่มปี ระสิทธิภาพสูง เพื่อใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ของครูและผูเ้ รียน พัฒนาโรงเรียนให้เป็น สังคมแห่งการเรียนรู้ จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผูเ้ รียน และพัฒนาผูเ้ รียนให้มี คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โดยมีผล การประเมินในระดับดีมากขึ้นไปทุกมาตรฐาน กลยุทธ์กำรพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำของสถำนศึกษำ กลยุทธ์ที่ ๑ การพัฒนาคุณภาพนักเรียนด้านผลสัมฤทธิ์ กลยุทธ์ที่ ๒ การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม สานึกในความเป็นไทย ใส่ใจอนุรักษ์ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ปฏิบัติตามหลักธรรมคาสอน ยึดวิถีชวี ิตตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธ์ที่ ๓ การประกันโอกาสทางการศึกษา และการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน กลยุทธ์ที่ ๔ การพัฒนาครูและบุคลากรในโรงเรียน กลยุทธ์ที่ ๕ การพัฒนาสภาพแวดล้อมและแหล่งเรียนรู้ กลยุทธ์ที่ ๖ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล กลยุทธ์ที่ ๗ กลยุทธ์ตามนโยบายและจุดเน้น การน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ สีประจำโรงเรียน “ เขียว – ชมพู”


๑๕

ข้อมูลครูและบุคลำกร

อำยุ

อำยุ รำชกำร

ตำแหน่ง/ วิทย ฐำนะ วุฒิ

ครูประจำกำร

๑. นางจินตนา หลาน เศรษฐา

๔๒

๑๘ ปี

๒. นายนคร จาปาศิลป์

๖๐

๓๖ปี

ผอ. ศษ.ม ชานาญการ พิเศษ คศ.๓ คบ.

๓. นายธนูทอง รัตนกร

๕๖

๓๖ปี

คศ.๓

๔. นางจงรักษ์ ดอนอาจทัน

๔๙

๒๓ปี

คศ.๓

๕. นางยุพิน งามนา

๕๒

๒๘ปี

คศ.๓

๖.

๖๐

๓๕ปี

คศ.๓

๓๕

๒ปี

ครูผชู้ ่วย

๑ ปี

ครูผชู้ ่วย

๓๓

๒ปี

ครูผชู้ ่วย

สาระ ภาษาอังก ฤษ คบ. อุตสาหกรรม ป.๔ ทุกสาระ ศษ.บ ประถม ป.๑ ศึกษา ทุกสาระ คบ. สังคมศึกษา ป.๒ ทุกสาระ คบ. สังคมศึกษา ป.๓ ทุกสาระ คบ. นวัตกรรม ป.๖ คอมพิวเตอร์ ทุกสาระ คบ. คณิตศาสตร์ ป.๕ ทุสาระ คบ. วิทย์ทั่วไป อนุบาล ๒

๓๐

๑ปี

ครูผชู้ ่วย

คบ.

ที่

ชื่อ – ชื่อสกุล

นางเวียงทอง พรมดวง

๗. นายสหรัฐ โทอิง้ ๘.

นางสาวเบญจมาศ คะอัง กุ ๙. นางสาวนภาพรรณ ต้น สารี ๑๐ นางสาวนิศาชล กุลอัก .

จานวนครูที่สอนวิชาตรงเอก จานวนครูที่สอนตรงความถนัด

วิชำ เอก บริหาร การศึกษา

สอนวิชำ/ ชัน้ -

อังกฤษ

การศึกษา ปฐมวัย

๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๘.๘๙ ๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๘.๘๙

อนุบาล ๑


๑๖

อัตรำจ้ำง ชื่อ – ชื่อสกุล

อำยุ

นายสาราญ แก้ว กันยา นางสาวเสาวนี อบอุ่น นางสาวจารุวรรณ งามนา ๔ นายประสิทธิ์ เดช ขันธ์ ๕ นายสมศักดิ์ โพธิ์ โคตร

๔๔

ประสบกำร ณ์กำรสอน (ปี) ๗

๒๖

-

สบ.

๔๐

-

ม.๖

๖๒

-

คบ.

๔๙

-

ป.๖

ที่ ๑ . ๒ . ๓

วุฒิ

วิชำ เอก สอนวิชำ/ชั้น จ้ำงด้วยเงิน

คบ.

สังคมฯ

สาธารณสุ เจ้าหน้าที่ ขศาสตร์ ธุรการฯ เจ้าหน้าที่ ห้องสมุด คอมพิวเตอร์

สำขำวิชำที่จบกำรศึกษำและภำระงำนสอน ภาระงานสอนเฉลี่ยของครู ๑ คน (ชม./สัปดาห์) จานวน(คน) ๑ ผู้อำนวยกำรโรงเรียน ๑ ๙ ชม./สัปดำห์ ๑ ๒๓ ชม./สัปดำห์ ๑ ๒๔ ชม./สัปดำห์ ๓ ๒๔ ชม./สัปดำห์ ๑ ๒๓ ชม./สัปดำห์ ๑ ๒๕ ชม./สัปดำห์ ๑ ๒๕ ชม./สัปดำห์ ๒ ๒๕ ชม./สัปดำห์ ๑ ๙ ชม./สัปดำห์ ๑๒

-

เด็ก LD

นักการฯ

งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ รายหัว สพป.เขต ๓ งบประมาณ

สาชาวิชา บริหำรกำรศึกษำ ภำษำอังกฤษ อุตสำหกรรม ประถมศึกษำ สังคมศึกษำ นวัตกรรมคอมพิวเตอร์ วิทยำศำสตร์ทั่วไป คณิตศำสตร์ ปฐมวัย เทคโนโลยีและนวัตกรรมกำรศึกษำ รวม


๑๗

ข้อมูลนักเรียน จำนวนนักเรียนปีกำรศึกษำ ๒๕๖๐ รวม ๑๖๗ คน เฉลี่ยต่อห้อง (คน/๑ ห้อง) ๒๗ ๑๕ ๒๑ ๒๔ ๒๑ ๑๘ ๒๒ ๑๘ ๑๖๖

รวม (คน) ๒๗ ๑๕ ๒๑ ๒๕ ๒๑ ๑๘ ๒๒ ๑๘ ๑๖๗

เพศ หญิง(คน) ๑๕ ๖ ๑๐ ๑๒ ๑๖ ๘ ๑๒ ๑๑ ๙๐

ชาย(คน) ๑๒ ๙ ๑๑ ๑๒ ๕ ๑๐ ๑๐ ๗ ๗๖

จานวนห้อง

ระดับชั้น

๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๘

อนุบาล ๑ อนุบาล ๒ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ รวมประถม ฯ

ผลกำรประเมินกำรทดสอบควำมสำมำรถพื้นฐำนของผู้เรียนระดับชำติ (National Test :NT) ระดับชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓ ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ(NT) ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๙ คะแนนเฉลี่ยร้อยละผลกำรประเมินกำรทดสอบควำมสำมำรถพื้นฐำนของผู้เรียน ระดับชำติ (NT) ชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓ ประจำปีกำรศึกษำ ๒๕๕๙ ๕๑.๐๐ ๕๘.๐๔

80 60 40 20 0

๕๕.๓๓ ๕๘.๖๖ ๕๑.๐๐

๔๓.๘๑ ๕๒.๙๕ ๓๖.๙ ๔๐.๗๑

คะแนนเฉลี่ยร้ อยละของโรงเรี ยน คะแนนเฉลี่ยร้ อยละระดับเขตพื ้นที่ คะแนนเฉลี่ยร้ อยละระดับประเทศ

๕๒.๓๙ 60.95 ๕๓.๓๘ ๔๘.๘๖ ๔๗.๑ ๔๕.๓๐ ๓

71.23


๑๘

ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีผลกำรประเมินกำรทดสอบควำมสำมำรถพื้นฐำนของผู้เรียน ระดับชำติ (NT) ชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓ ประจำปีกำรศึกษำ ๒๕๕๙ จำแนกตำมระดับคุณภำพ 76.47 70.59 64.71

29.41 23.53 17.65 11.76 5.88 0 0 0 ปรับปรุง

0 พอใช้

ดี

ดีมาก

ด้ านภาษา

ด้ านคานวณ

ด้ านเหตุผล

ผลกำรประเมินกำรทดสอบควำมสำมำรถพื้นฐำนของผู้เรียนระดับชำติ (NT) ผลกำรประเมินกำรทดสอบควำมสำมำรถพื้นฐำนประจำปีกำรศึกษำ ๒๕๕๘-๒๕๕๙ เปรียบเทียบภาพรวมผลการประเมินการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผู้เรียน ระดับชาติ (NT) และร้อยละของผลต่างระหว่างปีการศึกษา ๒๕๕๘-๒๕๕๙ ผลต่าง - ๔.๙๕ - ๑๖.๕๒ + ๖.๑๒ - ๕.๑๒

ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ๕๘.๖๖ ๕๒.๙๕ ๗๑.๒๓ ๖๐.๙๕

ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๖๓.๖๑ ๖๙.๔๗ ๖๕.๑๑ ๖๖.๐๗

ความสามารถ ด้านภาษา ด้านคานวณ ด้านเหตุผล รวมความสามารถทั้ง ๓ ด้าน


๑๙

ผลกำรทดสอบกำรศึกษำระดับพื้นฐำน(O-NET) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET) ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๙ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พื้นฐาน (O-NET) ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๙ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

80 70 60 50

คะ แนนเฉลี่ย

ระดับโรงเรี ยน ระดับจังหวัด

40

ระดับสพฐ. 30

ระดับประเทศ

20 10 0 ภาษาไทย

ระดับ/วิชา

คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์

สังคมฯ

คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน

ภาษาไท คณิตศาสตร์ วิทยาศาสต ย ร์ ๖๒.๐๑ ๕๗.๗๓ ๕๕.๒๗

คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด

๕๐.๖๘

๓๗.๒๓

๓๙.๗๑

คะแนนเฉลี่ย สังกัด สพฐ. ทั้งหมด คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ

๕๑.๘๘

๓๘.๗๖

๔๐.๒๗

๕๒.๙๘

๔๐.๔๗

๔๑.๒๒

ภาษาอังกฤษ

สังคมฯ ภาษาอังกฤษ ๖๗.๖ ๑ ๔๔.๘ ๑ ๔๕.๐ ๘ ๔๖.๖๘

๔๙.๐๙ ๓๐.๒๗ ๓๑.๑๑ ๓๔.๕๙


๒๐

หมายเหตุ คะแนนเฉลี่ยทุกวิชาของนักเรียน สูงกว่า คะแนนเฉลี่ยทั้งระดับจังหวัด ระดับสังกัด สพฐ.และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ กำรเปรียบเทียบผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขั้นพื้นฐำน (๐-NET) ประจำปีกำรศึกษำ ๒๕๕๘ – ๒๕๕๙ ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขั้นพื้นฐำน ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๘-๒๕๕๙ ระดับขั้นประถมศึกษำปีท่ี ๖ 80 70 60

62.77

67.61

66.25

62.01 57.73

57.61

55.27 49.09

50

42.07

40 30.63 30 20 10 0 ปี2558 ไทย

๓. อำคำรเรียนอำคำรประกอบ ประเภทอำคำร อาคารไม้ ป.๑ ช อาคารไม้ ป.๑ ฉ แบบ สปช.๑๐๕/๒๙ อาคารเรียนอนุบาล อาคารเอนกประสงค์(โรงอาหาร)

ปี2559 คณิต

วิทยาศาสตร์

สังคมศึกษา

จำนวน(หลัง) ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

อังกฤษ

จำนวนห้อง (ห้อง) ๓ ๓ ๖ ๒ ๑

หมำยเหตุ


๒๑

๔.ห้องเรียนเสริมทักษะกำรเรียนรู้ ประเภท

จำนวน ห้อง ๑ ๒ ๑

ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องสมุด ห้องจริยะ

จำนวนที่นั่ง / ผู้เรียน ๒๐ ๔๐ ๒๐

หมำยเหตุ

ผลกำรประเมินคุณภำพภำยนอกรอบสำม ผลกำรประเมินคุณภำพภำยนอกรอบสำม (รำยงำน ของ สมศ) ระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน : ประถมศึกษำ ตัวบ่งชี้ท่มี ีคุณภำพระดับดีข้นึ ไป (เรียงลาดับตามตัวบ่งชี้) ได้แก่ ระดับ

ชื่อตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ ลำดับ

คุณภำพ

ที่

ดีมาก

ผูเ้ รียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี

ดีมาก

ผูเ้ รียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์

ดีมาก

ผูเ้ รียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่อง

ดีมาก

ผูเ้ รียนคิดเป็นทาเป็น

ดีมาก

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน

ดีมาก

ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รียนเป็น

สาคัญ ดีมาก

ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา สถานศึกษา

ดีมาก

พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษา และต้นสังกัด


๒๒

ดีมาก

ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ

๑๐

๑๐

๑๑

๑๑

๑๒

๑๒

และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา ดีมาก

ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่สง่ ผลสะท้อนเป็น เอกลักษณ์ของสถานศึกษา

ดีมาก

ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของ สถานศึกษา

ดีมาก

ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับตัวบ่งชี้ รักษาตัวบ่งชี้ และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ที่สอดคล้องกับ แนวทางปฏิรูปการศึกษา

ตำรำงสรุปผลกำรประเมินคุณภำพภำยนอกรอบสำม จำแนกตำมกลุ่มตัวบ่งชี้ ระดับ คุณภำพ

คะแนน น้ำหนัก ที่ได้

ระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน

คะแนน

(ประถมศึกษำ) กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐำน

ดีมาก

๙.๘๔

๑๐.๐๐

ตัวบ่งชีท้ ี่ ๑ ผูเ้ รียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี

ดีมาก

๙.๗๑

๑๐.๐๐

ตัวบ่งชีท้ ี๒่ ผูเ้ รียนมีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่พึง ประสงค์

ดีมาก

๙.๕๙

๑๐.๐๐

ตัวบ่งชีท้ ี่ ๓ ผูเ้ รียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่อง

ดีมาก

๙.๐๒

๑๐.๐๐

ตัวบ่งชีท้ ี่ ๔ ผูเ้ รียนคิดเป็นทาเป็น

ดีมาก

๑๙.๓๑

๒๐.๐๐ ตัวบ่งชีท้ ี่ ๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเ้ รียน

ดีมาก

๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐

ตัวบ่งชีท้ ี่ ๖ ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผูเ้ รียนเป็นสาคัญ

ดีมาก

๕.๐๐

๕.๐๐

ตัวบ่งชีท้ ี่ ๗ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการ พัฒนาสถานศึกษา

ดีมาก

๔.๖๐

๕.๐๐

ตัวบ่งชีท้ ี่ ๘ พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดย สถานศึกษาและต้นสังกัด


๒๓

กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ตัวบ่งชีท้ ี่ ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน ดีมาก

๕.๐๐

๕.๐๐

พันธกิจและวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา ตัวบ่งชีท้ ี่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผล

ดีมาก

๕.๐๐

๕.๐๐

สะท้อนเป็นเอกลักษณ์ ของสถานศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้มำตรกำรส่งเสริม

ดีมาก

๕.๐๐

๕.๐๐

ตัวบ่งชีท้ ี่ ๑๑ ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริม บทบาทของสถานศึกษา ตัวบ่งชีท้ ี่

ดีมาก

๕.๐๐

๕.๐๐

๑๒

ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อ

ยกระดับตัวบ่งชี้ รักษาตัวบ่งชีแ้ ละพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ที่ สอดคล้องกับแนวทางปฏิรูปการศึกษา

ดีมาก

๙๗.๐

๑๐๐.๐๐

คะแนนรวม

๗ กำรรับรองมำตรฐำนกำรศึกษำ ระดับประถมศึกษำ ● ผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชีต้ ั้งแต่ ๘๐ คะแนนขึน้ ไป  ใช่  ไม่ใช่ ● มีตัวบ่งชีท้ ี่ได้ระดับดีข้ึนไปอย่างน้อย ๑๐ ตัวบ่งชี้ จาก ๑๒ ตัวบ่งชี้  ใช่ ไม่ใช่ ● ไม่มตี ัวบ่งชีใ้ ดที่ได้ระดับคุณภาพต้องปรับปรุงหรือต้องปรับปรุงอย่าง เร่งด่วน  ใช่  ไม่ใช่ สรุปผลกำรจัดกำรศึกษำระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนของสถำนศึกษำในภำพรวม สมควรรับรองมำตรฐำนกำรศึกษำ กำรศึกษำ

ไม่สมควรรับรองมำตรฐำน


๒๔

ตำรำงสรุปผลกำรประเมินคุณภำพภำยนอกรอบสำม จำแนกเป็นรำยมำตรฐำนตำมกฎกระทรวง ฯ ระดับ

คะแน

น้ำหนัก

คุณภำพ

คะแนน

ระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน (ประถมศึกษำ)

ที่ได้ มำตรฐำนที่ ๑ ผลกำรจัดกำรศึกษำ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐำน ดีมาก

๙.๘๔

๑๐.๐๐

ตัวบ่งชีท้ ี่ ๑ ผูเ้ รียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี

ดีมาก

๙.๗๑

๑๐.๐๐

ตัวบ่งชีท้ ี่ ๒ ผูเ้ รียนมีคุณธรรม

จริยธรรมและค่านิยมที่พึง

ประสงค์ ดีมาก

๙.๕๙

๑๐.๐๐

ตัวบ่งชีท้ ี่ ๓ ผูเ้ รียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่อง

ดีมาก

๙.๐๒

๑๐.๐๐

ตัวบ่งชีท้ ี่ ๔ ผูเ้ รียนคิดเป็นทาเป็น

ดีมาก

๑๙.๓

๒๐.๐๐ ตัวบ่งชีท้ ี่ ๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเ้ รียน

๑ กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ตัวบ่งชีท้ ี่ ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ ดีมาก

๕.๐๐

๕.๐๐

และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา ตัวบ่งชีท้ ี่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน

ดีมาก

๕.๐๐

๕.๐๐

เป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้มำตรกำรส่งเสริม

ดีมาก

๕.๐๐

๕.๐๐

ตัวบ่งชีท้ ี๑่ ๑ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาท ของสถานศึกษา มำตรฐำนที่ ๒ กำรบริหำรจัดกำรศึกษำ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐำน


๒๕

ดีมาก

๕.๐๐

๕.๐๐

ตัวบ่งชีท้ ี่ ๗ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา สถานศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้มำตรกำรส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับตัว

ดีมาก

๕.๐๐

๕.๐๐

บ่งชี้ รั ก ษาตัวบ่งชี้ และพัฒ นาสู่ ความเป็น เลิ ศที่ สอดคล้ อ งกั บ แนวทางปฏิรูปการศึกษา มำตรฐำนที่ ๓ กำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐำน

ดีมาก

๑๐.๐๐

๑๐.๐๐

ตัวบ่งชีท้ ี่ ๖ ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ มำตรฐำนที่ ๔ ว่ำด้วยกำรประกันคุณภำพภำยใน กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐำน

ดีมาก

๔.๖๐

๕.๐๐

ตัวบ่งชีท้ ี่

๘พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดย

สถานศึกษา ดีมำก

และต้นสังกัด

๙๗.๐ ๑๐๐.๐๐ ผลรวมคะแนนทั้งหมด ๗

ข้อเสนอแนะจำกผลกำรประเมินคุณภำพภำยในและภำยนอก(รำยงำน ของ สมศ) ด้ำนผลกำรจัดกำรศึกษำ ✰ ส่งเสริมให้ผเู้ รียนแสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ และสร้างผลงาน ที่ได้จากการศึกษาจากแหล่งการเรียนรู้มากยิ่งขึน้ ✰ ส่งเสริมการเรียนรู้แบบโครงงานที่เน้นให้ผู้เรียนเรียนรู้จากการกระ ทาการค้นคว้า และกระบวนการคิดของตนเองและกลุ่ม ✰ ส่งเสริมให้ผเู้ รียนสร้างผลงาน/นวัตกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ของผูเ้ รียนเอง


๒๖

✰ จัดให้มเี วทีในการนาเสนอ/ประกวดผลงานของผู้เรียนอย่างสม่าเสมอ ✰ สร้างและพัฒนาโครงการ/งานที่ส่งผลต่อการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ มากยิ่งขึน้ โดยส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของชุมชนให้มากยิ่งขึ้น ด้ำนบริหำรจัดกำรศึกษำ ✰ พัฒนาระบบงานตามโครงสร้างการบริหารงานให้ชัดเจนมากยิ่งขึน้ เน้นการ ดาเนินงานตามที่กาหนดไว้ในแผนงาน ให้มกี ารวัดประเมินผลงาน และสรุปผลการดาเนินงาน เป็นแนวทางพัฒนางานต่อไป ✰ สร้างระบบงานวิชาการให้มีการส่งเสริมครูผสู้ อน มุง่ พัฒนางานด้านวิชาการ และสร้างผลงานด้านวิชาการในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ✰ ส่งเสริมให้คณะกรรมการสถานศึกษา มีบทบาททางด้านวิชาการมากขึ้น และมี ส่วนร่วมในการกาหนดแนวทางในการพัฒนางานด้านวิชาการมากยิ่งขึน้ ✰ ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ภายในสถานศึกษาให้เกิดประโยชน์ต่อการ เรียนมากขึ้น ด้ำนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ✰ ครูผสู้ อนควรสร้างและพัฒนาเทคนิควิธีการสอน และกิจกรรมการเรียนรู้อย่าง หลากหลาย ที่พัฒนาผูเ้ รียนครบทุกด้านมากยิ่งขึ้น ✰ พัฒนาและสร้างสื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผูเ้ รียน ตรงตามความต้องการของ ผูเ้ รียน ทันสมัย และเพียงพอกับจานวนผูเ้ รียน โดยเฉพาะสื่อเทคโนโลยีทีทันสมัย ✰ ครูผสู้ อนส่งเสริมให้ผเู้ รียนได้สร้างผลงานจากการเรียนรู้ และนาเสนอผลงานของ ตนเองในที่ประชุมได้อย่างต่อเนื่อง ✰ ส่งเสริมครูผู้สอนสร้างผลงานทางวิชาการ ที่นามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน เพื่อพัฒนาผูเ้ รียนได้ ด้ำนกำรประกันคุณภำพภำยใน ✰ พัฒนาระบบประกันคุณภาพให้สมบูรณ์มากยิ่งขึน้ เก็บรวบรวมผลการดาเนินงาน ตามโครงการ/งานต่าง ๆ ให้มีการประเมินผลงานและนาผลงการประเมินเป็นแนวทางในการ


๒๗

พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ๒) กำรนำผลกำรประเมินคุณภำพภำยนอกไปใช้ จากผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน รอบ ๓ ปรากฏว่าโรงเรียนผ่านการประเมินคุณภาพ ในระดับดีมากทุกมาตรฐาน ทุกตัวบ่งชี้ และได้รับการรับรองจาก สานักงานรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน) แต่จากข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินยังมีบางกิจกรรมที่โรงเรียนได้ นามาพัฒนาให้มคี ุณภาพมากขึ้น ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้ ด้ำนผลกำรจัดกำรศึกษำ ๑. ส่งเสริมให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ และสร้างผลงานที่ได้ จากการศึกษาจากแหล่งการเรียนรู้มากยิ่งขึน้ ๒. ส่งเสริมการเรียนรู้แบบโครงงานที่เน้นให้ผู้เรียนเรียนรู้จากการกระทาการค้นคว้า และกระบวนการคิดของตนเองและกลุ่ม ๓. ส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างผลงาน/นวัตกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ของผู้เรียนเอง ๔. จัดให้มเี วทีในการนาเสนอ/ประกวดผลงานของผูเ้ รียนอย่างสม่าเสมอ ๕. สร้างและพัฒนาโครงการ/งานที่ส่งผลต่อการพัฒนาการเรียนรูข้ องผูเ้ รียนให้มาก ยิ่งขึ้น โดยส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนให้มากยิ่งขึ้น ด้ำนบริหำรจัดกำรศึกษำ ๑. พัฒนาระบบงานตามโครงสร้างการบริหารงานให้ชัดเจนมากยิ่งขึน้ เน้นการ ดาเนินงาน ตามที่กาหนดไว้ในแผนงาน ให้มกี ารวัดประเมินผลงาน และสรุปผลการดาเนินงานเป็นแนวทาง พัฒนางานต่อไป ๒. สร้างระบบงานวิชาการให้มีการส่งเสริมครูผู้สอน มุ่งพัฒนางานด้านวิชาการและ สร้าง ผลงานด้านวิชาการในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง


๒๘

๓. ส่งเสริมให้คณะกรรมการสถานศึกษา มีบทบาททางด้านวิชาการมากขึ้น และมี ส่วนร่วม ในการกาหนดแนวทางในการพัฒนางานด้านวิชาการมากยิ่งขึน้ ๔. ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ภายในสถานศึกษาให้เกิดประโยชน์ต่อการ เรียนมากขึ้น ด้ำนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๑. ส่งเสริมให้ครูผผู้ สู้ อนสร้างและพัฒนาเทคนิควิธีการสอน และกิจกรรมการเรียนรู้ อย่าง หลากหลาย ที่พัฒนาผูเ้ รียนครบทุกด้านมากยิ่งขึน้ ๒. พัฒนาและสร้างสื่อและใช้ส่ือการเรียนรูท้ ี่เหมาะสมกับผูเ้ รียน ตรงตามความ ต้องการ ของผู้เรียน ทันสมัย และเพียงพอกับจานวนผูเ้ รียน โดยเฉพาะสื่อเทคโนโลยีทีทันสมัย ๓. ครูผสู้ อนส่งเสริมให้ผเู้ รียนได้สร้างผลงานจากการเรียนรู้ และนาเสนอผลงานของ ตนเอง ในที่ประชุมได้อย่างต่อเนื่อง ๔. ส่งเสริมครูผสู้ อนสร้างผลงานทางวิชาการ ที่นามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียน การ สอน เพื่อพัฒนาผูเ้ รียนได้ ด้ำนกำรประกันคุณภำพภำยใน พัฒนาระบบประกันคุณภาพให้สมบูรณ์มากยิ่งขึน้ เก็บรวบรวมผลการดาเนินงาน ตามโครงการ/งานต่างๆ ให้มีการประเมินผลงานและนาผลการประเมินเป็นแนวทางในการ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ๓. ข้อมูลห้องสมุด ที่ตั้ง ขนำด บุคลำกร กำรบริหำรจัดกำรห้องสมุด ทรัพยำกร สำรสนเทศของห้องสมุด ๓.๑ ข้อมูลห้องสมุด ที่ตงั้ ขนาด


๒๙

ห้องสมุดมีขนาดเท่ากับสองห้องเรียน อยู่บริเวณด้านล่างหรือชั้นล่างของอาคารเรียน สปช.๑๐๕/๒๙ ๓.๒ บุคลากร การบริหารจัดการห้องสมุด ๑. ครูผู้รับผิดชอบ จานวน ๑ คน เป็นผู้ดูแลห้องสมุดและบริหารงานห้องสมุดทั้งหมด ๒. เจ้าหน้าที่ห้องสมุด จานวน ๑ คน โดยการจ้างบุคคลภายนอกมาดูแลและ บริหารงานห้องสมุดร่วมกับครูผดู้ ูแล ๓. นักเรียน จานวน ๒๐ คน เป็นกลุ่มยุวบรรณารักษ์ที่ร่วมกันดูแลห้องสมุดกับ ครูและเจ้าหน้าที่ห้องสมุด กำรบริหำรจัดกำรห้องสมุด -กำรบริหำรงำน การดาเนินงานห้องสมุดยังไม่ได้นาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ แต่ก็ได้รับการอบรมการ ใช้โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ เพื่อให้เกิดความสะดวก และรวดเร็วในการปฏิบัติงาน และ กาลังปรับปรุงเพื่อให้เต็มรูปแบบให้แล้วเสร็จในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ปัจจุบันจึงใช้ การบันทึกการปฏิบัติกิจกรรมในห้องสมุด โดยเจ้าหน้าที่ห้องสมุด มีดังนี้ ๑) ทาสมุดบันทึกการยืมหนังสือห้องสมุด ๒) ลงทะเบียนหนังสือ ๓) บริการยืม – คืนโดยการบันทึก ๔) รายงานสถิติตา่ ง ๆ เช่น การยืม – คืนหนังสือ จานวนหนังสือในห้องสมุด การทวงถาม นักเรียนที่ยืมหนังสือมากที่สุด หนังสือยอดนิยม เป็นต้น กำรให้บริกำร ๑.) เปิดให้บริกำรยืม – คืนหนังสือโดยการบันทึกลงในสมุดบันทึกการยืม หนังสือของห้องสมุด เป็นรายคน โดยมีขั้นตอนดังนี้ ๑. นักเรียนนาหนังสือและเขียนชื่อหนังสือที่ต้องการยืมลงในสมุดบันทึก การยืมหนังสือห้องสมุดของตัวเอง มาพบเจ้าหน้าที่ห้องสมุด ให้เจ้าหน้าที่ลงข้อมูลการยืมไว้ พร้อมกับ ประทับตราวันกาหนดส่งที่บัตรกาหนดส่ง ๒. การคืนหนังสือ นักเรียนนาหนังสือมาส่งในกล่องคืนหนังสือ เจ้าหน้าทีน่ า นาหนังสือมาบันทึกการคืนหนังสือ พร้อมทั้งประทับตราวันส่งที่หนังสือ แล้วนาหนังสือขึน้ ชั้น เตรียมออกบริการต่อไป


๓๐

๒.) บริกำรตอบคำถำมและช่วยค้นคว้ำ ผูใ้ ช้บริการสามารถสอบถามเจ้าหน้าที่ ห้องสมุดเกี่ยวกับหนังสือที่มีอยู่ในห้องสมุด ๓.) กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนในห้องสมุด เปิดให้ครู- นักเรียน ใช้ ห้องสมุดในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๔.) บริกำรสื่อโสตทัศนูปกรณ์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์ จานวน ๑ เครื่อง เครื่องพิมพ์จานวน ๑ เครื่อง ๕.) กำรจัดกิจกรรมส่งเสริมกำรอ่ำนและกิจกรรมเพื่อกำรเรียนกำรสอน ดังนี้ ๕.๑ กิจกรรมเที่ยงวันชวนกันอ่ำน ดาเนินการดังนี้ ๑) คุณครูประจาชั้นจัดทาบันทึกรักการอ่านแจกนักเรียนทุกคน ซึ่งแต่ละชั้นจะ ออกแบบบันทึกรักการอ่าน ให้เหมาะสมกับความสามารถแต่ละชั้น และเน้นการพัฒนาทักษะการ อ่านและการเขียนของนักเรียนตามจุดเน้นของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนด ๒) ห้องสมุดจะเตรียมหนังสือสาหรับให้นักเรียนยืม การเตรียมหนังสือสาหรับให้ นักเรียนยืมอ่านในกิจกรรมจัดทา ๒ ลักษณะ คือ ลักษณะที่ ๑ นักเรียนแต่ละคนยืมหนังสือที่ตนเองสนใจจากห้องสมุดเองในแต่ ละวัน ซึ่งเปิดให้บริการในเวลา ๐๗.๐๐ น. - ๑๖.๐๐ น. ทุกวัน ลักษณะที่ ๒ คุณครูประจาชั้นจัดเตรียมหนังสือที่เห็นว่าเหมาะสม สาหรับ นั ก เ รี ย น บางคนที่ต้องได้รับการเอาใจใส่เป็นพิเศษ คุณครูประจาชั้นจะมอบหมาย ข้อความ บทความ คา คล้องจอง นิทาน และอื่นๆ ที่เหมาะสมกับนักเรียนแต่ละคนและมีการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ๓) ประชาสัมพันธ์กิจกรรมให้นักเรียนทราบ และสถานที่รวมกลุ่มของนักเรียนแต่ ละชั้น การยืมหนังสือสาหรับโครงการรักการอ่าน พร้อมทั้งเกณฑ์การมอบรางวัลยอดนักอ่านให้ นักเรียนทราบ และเชิญชวนให้นักเรียนทุกคนร่วมกิจกรรม ๔) จัดกิจกรรม “เที่ยงวันชวนกันอ่าน ทุกวันเวลา ๑๒.๒๐ -๑๓.๑๕ น. โดยมี การเข้ากลุ่มเพื่ออ่านหนังสือตามกลุ่มของตนเอง คือ ป.๑, ป.๒, ป.๔ เข้ากลุ่มที่ลานรักการอ่าน ป.๖, ป.๓, เข้ากลุ่มที่ใต้ถุนอาคาร ป.๓, ป.๕ เข้ากลุ่มที่ลานอเนกประสงค์ โดยมีคุณครูเจ้าหน้าที่ ห้องสมุดและคุณครูประจาชั้นดูแลอย่างใกล้ชิด ๕) ประเมินกิจกรรมเที่ยงวันชวนกันอ่านทุกวัน


๓๑

๕.๒. กิจกรรมรักลูกห่วงหลำนอ่ำนหนังสือด้วยกัน ดาเนินการดังนี้ ๑) ประชุม ผู้ป กครองนัก เรีย นเพื่อ นาเสนอกิจ กรรม “รัก ลูก ห่ว งหลานอ่า น ห น ัง ส ือ ด้วยกัน” และชี้แจงแนวทางการดาเนินงาน พร้อมทั้งขอความร่วมมือจากผู้ปกครองให้อ่าน หนังสือด้วยกันกับบุตรหลานก่อนนอนทุกคืน เพื่อปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและสร้างสังคมแห่ง การอ่าน สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ และสร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้อบอุ่นยิ่งขึน้ ๒) คุณครูประจาชั้นจัดทาบันทึกการอ่าน กิจกรรม “รักลูกห่วงหลานอ่านหนังสือ ด้วยกัน” แจกนักเรียนทุกคน ซึ่งแต่ละชั้น ออกแบบบันทึกรักการอ่าน แบบง่าย ๆให้เหมาะสม กับความสามารถแต่ละชั้น ๓) ประชาสัมพันธ์กิจกรรม กิจกรรม “รักลูกห่วงหลานอ่านหนังสือด้วยกัน” ให้ นักเรียนทราบ เพื่อกระตุ้นและเชิญชวนให้นักเรียนผู้ปกครอง อ่านหนังสือด้วยกันให้มากที่สุด ๔) ครูประจาชั้นติดตาม ประเมินผลโดยตรวจแบบบันทึก สัมภาษณ์ เยี่ยมบ้าน อย่างต่อเนื่อง ๕.๓ กิจกรรมเช้ำวันศุกร์สนุกกับกำรอ่ำน ดาเนินการดังนี้ ๑) คุณครูประจาชั้นจัดทาบันทึกรักการอ่าน “เช้าวันศุกร์สนุกกับการอ่าน”แจก นักเรียน ทุกคน ซึ่งแต่ละชั้นจะออกแบบบันทึกรักการอ่าน ให้เหมาะสมกับความสามารถแต่ละชั้น และ เน้นการพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนของนักเรียนตามจุดเน้นของสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐานกาหนด ๒) คุณครูประจาชั้นจัดเตรียมเรื่องที่เห็นว่าเหมาะสม สาหรับนักเรียนซึ่งอาจจะเป็น ข้อความ บทความ นิทาน คาคล้องจอง นิทาน และอื่นๆ ที่เหมาะสมกับนักเรียนซึ่งต้องเป็น เรื่องเดียวกันทั้งห้อง เพื่อฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ เขียนสรุป สื่อความหมายโดยครูต้องคอย ติดตาม แนะนา ดูแลอย่างใกล้ชิด ๓) ประชาสัมพันธ์กิจกรรมให้นักเรียนทราบ และสถานที่รวมกลุ่มของนักเรียนแต่ ละชั้น จัดกิจกรรม “เช้าวันศุกร์สนุกกับการอ่าน” ทุกวันศุกร์เวลา ๐๘.๐๐ น. - ๐๙.๐๐ น. โดยไม่ ต้องทากิจกรรมหน้าเสาธงหนึ่งวัน การเข้ากลุ่มเพื่ออ่านหนังสือตามกลุ่มของตนเอง คือ ป.๑, ป. ๒, ป.๔ เข้ากลุ่มที่ลานรักการอ่าน ป.๖, ป.๓, เข้ากลุ่มที่ใต้ถุนอาคาร ป.๓ ป.๕ เข้ากลุ่มที่ลาน อเนกประสงค์ โดยมีคุณครูเจ้าหน้าที่ห้องสมุดและคุณครูประจาชั้นดูแลอย่างใกล้ชิด ๔) ประเมินกิจกรรม“เช้าวันศุกร์สนุกกับการอ่าน” ทุกวันศุกร์


๓๒

๕.๔ กิจกรรมจิตอำสำพำน้องอ่ำนหนังสือ ดาเนินการดังนี้ ๑) ยุวบรรณารักษ์ร่วมกับเจ้าหน้าที่ห้องสมุด อาสาเลือกหนังสือเล่มที่สนใจมา อ่านให้นอ้ งๆฟังในเวลาว่าง ๒) วันดาเนินกิจกรรมตามวันและเวลาที่เหมาะสมหรือเวลาว่าง ๓) ประเมินผลกิจกรรมโดยการสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน ๕.๕ กิจกรรมเล่ำนิทำนให้น้องฟัง ดำเนินกำรดังนี้ ๑) รับสมัครนักเรียนที่มีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม ๒) ฝึกเล่านิทานในเวลาว่างกับครู/เจ้าหน้าที่ห้องสมุด/ Youtube/เพื่อนๆในเวลา ว่าง และชั่วโมงชมรม ๓) ทาหุน่ ประกอบการเล่า ๔) เล่านิทานให้นอ้ งฟังในวันศุกร์ ต่อจากกิจกรรมมาตามนัดสุดสัปดาห์ ๕) ประเมินผลโดยสังเกตจากการเข้าร่วมกิจกรรม และการเล่านิทานให้นอ้ งฟัง ๕.๖. กิจกรรมหนังสือเล่มเล็ก ดำเนินกำรดังนี้ ๑) จัด เตรีย มอุป กรณ์ใ นการจัดท าหนั งสื อเล่ มเล็ ก ได้แก่ กระดาษ ดินสอ สี ตัวอย่าง หนังสือไว้อย่างหลากหลาย ๒) ประชาสัมพันธ์กิจกรรมให้นักเรียนทราบ และเชิญชวนให้นักเรียนร่วมกิจกรรม จัดทาหนังสือเล่มเล็กในเวลาว่าง และอาจขอเบิกอุปกรณ์ไปทาต่อที่บ้านได้ แล้วแต่ความสามรถ ของแต่ละคน ๓) ประเมินผลโดยตรวจผลงานหนังสือเล่มเล็ก และจานวนนักเรียนที่เข้าร่วม กิจกรรม ๕.๗ เกมกำรศึกษำ มีเกมต่างๆ ที่เป็นการพัฒนาทักษะการอ่าน การเขียน การคิด การแก้ปัญหาไว้ บริการ เช่น คาคม A-MATH โดมิโนต่างๆ


๓๓

๕.๘ กิจกรรมฝึกร้องและแต่งเพลงจำกคำรำโอเกะ ดำเนินกำรดังนี้ ๑) จัดเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ลงโปรแกรมคาราโอเกะ พร้อมใช้งาน ๒) ประชาสั มพั นธ์กิจกรรม “ฝึก ร้องและแต่งเพลงจากคาราโอเกะ” โดยจัด กิจกรรมในชั่วโมงชมรม ทุกสัปดาห์ ให้นักเรียนฝึกร้องและแต่งเพลงจากคาราโอเกะโดยมีครูและ เจ้าหน้าทีห่ อ้ งสมุด ดูแลอย่างใกล้ชิด ๓) ประเมินผลโดยตรวจผลงานการแต่งเพลง และจานวนนักเรียนที่เข้าร่วม กิจกรรม ๕.๙ สืบค้นข้อมูลจำกอินเทอร์เน็ต จัดให้มีมีมุมสืบค้นอินเทอร์เน็ตในห้องสมุด ห้องเรียน และมีหอ้ งคอมพิวเตอร์ให้ นักเรียนได้สบื ค้นความรู้เพิ่มเติมจากบทเรียนหรือเรื่องที่สนใจ เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน การ เขียน การคิด การแก้ปัญหานักเรียน ๕.๑๐ กิจกรรมวันสำคัญ จัดกิจกรรมตำมวันสำคัญต่ำงๆ โดยจัดให้มีกำร แข่งขันกิจกรรมต่ำงๆ ดังนี้ ๑) ประกวดเรียงความ ๒) ประกวดวาดภาพ ๓) ประกวดเขียนเรื่องจากภาพ ๔) แข่งขันตอบปัญหา ๕) ประกวดทาบัตรอวยพร ๖) ประกวดยอดนักพูด ๗) ประเมินผลโดยตรวจผลงานที่ส่งเข้าแข่งขัน และจานวนนักเรียนที่เข้าร่วม กิจกรรม ๕.๑๑ กิจกรรมภำษำไทย และภำษำอังกฤษวันละคำ ดำเนินกำรดังนี้ ๑) รับสมัครนักเรียนที่มีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม ๒) จัดตารางเวรเพื่อนาเสนอภาษาไทยและภาษาอังกฤษวันละคา ดังนี้ - วันจันทร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ - วันอังคาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ - วันพุธ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔


๓๔

- วันพฤหัสบดี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ - วันศุกร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ๓) ตัวแทนนักเรียนเลือกคาที่จะนาเสนอในเวรของตนเองบันทึกลงในแบบบันทึก ภาษาไทยและภาษาอังกฤษวันละคา ๔) พิมพ์คาที่เลือกติดแผ่นนาเสนอขนาดใหญ่ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ๕) ฝึกอ่านคาที่จะนาเสนอจากโปรแกรมแปลภาษาให้ถูกต้อง คล่องแคล่ว ชัดเจน ก่อนนาเสนอ ๑ สัปดาห์ โดยมีครูและเจ้าหน้าที่หอ้ งสมุดดูแลอย่างใกล้ชิด ๕.๑๒ กิจกรรมยอดนักอ่ำน ดำเนินกำรดังนี้ ๑) ประเมิ นพฤติ ก รรมการอ่ านของนั ก เรี ย นเพื่ อ หาผู้ ที่ รั ก การอ่ า นยอดเยี่ ย ม ประจาเดือน ทั้งรายบุคคล และรายชั้นเรียน ซึ่งประเมินจากกิจกรรม “เที่ยงวันชวนกันอ่าน” และพฤติกรรมการยืมหนังสือ ๒) มอบรางวัลเดือนละ ๑ ครั้งเพื่อกระตุน้ ให้นักเรียนรักการอ่านมากขึ้น ๕.๑๓ ชมรมรักกำรอ่ำน ดำเนินกำรดังนี้ ๑) ขอจัดตัง้ ชมรมรักการอ่าน ๒) รับสมัครสมาชิกชมรม ๓) เข้าร่วมกิจกรรมชมรมทุกสัปดาห์ โดยเลือกทากิจกรรมต่างๆ ของโครงการรัก การอ่านทุกกิจกรรม เช่น เล่านิทานให้น้องฟัง หนังสือเล่มเล็ก ฝึกร้องและแต่งเพลงจากคาราโอเกะ ทาหุน่ ประกอบ การเล่านิทาน ฯลฯ ๕.๑๔ กิจกรรมดูหนังฟังเพลง ดำเนินกำรดังนี้ - เป็นการฝึกการฟัง การคิด การสังเกต - จัดกิจกรรมในชั่วโมงเรียนรู้ตามอัธยาศัย - ทาให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างสนุกสนาน และเพลิดเพลิน ๕.๑๕ กิจกรรมมำตำมนัดสุดสัปดำห์ - จัดกิจกรรมทุกเย็นวันศุกร์ เวลา ๑๕.๐๐ -๑๕.๓๐ น -กิจกรรมหลากหลายสับเปลี่ยนหมุนเวียนกันไป ทาให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่าง สนุกสนาน


๓๕

๖. กำรจัดป้ำยนิเทศ ๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ๒ วันแม่แห่งชาติ ๓ แนะนาหนังสือใหม่ ๔ ผลงานนักเรียน จากกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ - กิจกรรมวันสุนทรภู่ - กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ - กิจกรรมประกวดความสามารถต่างๆ - กิจกรรมประกวดยอดนักอ่าน - กิจกรรมวาดภาพระบายสี - กิจกรรมคัดลายมือ - กิจกรรมเรียงความ - กิจกรรมเขียนเรื่อง/แต่งเรื่องจากภาพ - การยืม คืน หนังสือ - การให้บริการและกิจกรรม - สถิตกิ ารใช้ห้องสมุด - ตารางการเข้าใช้บริการเป็นวัน - ข้อควรปฏิบัติร่วมกันในห้องสมุด/ระเบียบการใช้หอ้ งสมุด - ทาเนียบบุคลากรห้องสมุด/โครงสร้างการบริหารงานห้องสมุด

๗. งำนเทคนิคห้องสมุด วัสดุ สารสนเทศที่ได้รับในรอบปี หนังสือ วารสาร กฤตภาค (จากนักเรียน) ซ่อมหนังสือชารุด วัสดุในห้องสมุด ๑. วัสดุตีพมิ พ์

๑๐,๕๐๐ เล่ม ๒๐๐ เล่ม ๑๐ เรื่อง ๑๕๐ เล่ม


๓๖

๑. จานวนหนังสือตามทะเบียนหนังสือ ๒. วารสารได้เปล่า คือ - วารสารจากหน่วยงาน อื่นๆ ๒. วัสดุไม่ตีพมิ พ์ ๑. VCD สารคดีเพื่อการศึกษา ๒. VCD อื่น ๆ ๓. CD – ROM ๔. CD ครุภัณฑ์ในห้องสมุด ๑. ชั้นวางหนังสือ ๒. ตู้กระจก ๓. โต๊ะครู ๔. โต๊ะยาว ๕. เก้าอี้ ๖. ตู้เหล็ก ๒ บาน ๗. ชั้นวางหนังสือเหล็ก งบประมำณ งบประมาณ โดยผ่านหน่วยงานต้นสังกัด

มีจานวน ๙,๕๐๐ จานวน

เล่ม

๒๕๐ เล่ม

จานวน จานวน จานวน จานวน

๑๒๕ ๖๕ ๘๐

แผ่น แผ่น แผ่น แผ่น

จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน

๒๙ ๒ ๑ ๕ ๓๒ ๒ -

ตัว หลัง ตัว ตัว ตัว หลัง ตัว

๑. จากสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา การประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ – ไม่มี ๒. จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน และเครือข่ายห้องสมุดมี ชีวติ จานวน ๑๐,๐๐๐ บาท ๓. จากมูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทยซือ้ หนังสือด้วยงบประมาณ๑๐,๐๐๐ บาท ๔. จากโรงเรียน ใช้งบประมาณของโครงการพัฒนาห้องสมุดและโครงการ ห้องสมุด มีชีวติ - ซือ้ หนังสือส่งเสริมรักการอ่าน ๒๐,๐๐๐ - ซ่อมปรับปรุงห้องสมุด ๑๐,๐๐๐

บาท บาท


๓๗

รวมงบประมำณทั้งหมดในรอบปีท่ผี ่ำนมำ

๔๐,๐๐๐ บำท

ทรัพยำกรสำรสนเทศของห้องสมุด ทรัพยำกรสำรนิเทศ ขณะนีท้ างห้องสมุดมีส่อื การเรียนรู้ทั้งสิ่งตีพิมพ์ และไม่ตีพมิ พ์ไว้บริการดังนี้ ๑) หนังสือสาหรับศึกษาค้นคว้า ประกอบด้วยหนังสือทั่วไป หนังสืออ้างอิง หนังสือคูม่ อื สอบ หนังสือนวนิยาย หนังสือวรรณกรรมสาหรับเด็ก ๒) หนังสือพิมพ์ และวารสาร ๓) กฤตภาค ๔) แผนที่ แผ่นภาพ ๕) หนังสือแบบเรียน ๖) คู่มอื ครู ๗) สารานุกรมไทย ๘) แผ่นซีดปี ระกอบการเรียนการสอน และสื่อสารคดีต่าง ๆ ๙) สืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต เวลำเปิดบริกำร เวลาราชการ เปิดตั้งแต่เวลา ๐๗.๓๐ น. ถึงเวลา ๑๗.๓๐ น ผู้มีสิทธ์ใช้ห้องสมุด ๑. ครู บุคลากรโรงเรียนบ้านตาด ๒. นักเรียนโรงเรียนบ้านตาด ๓. ผูป้ กครองนักเรียน ประชาชนที่สนใจ ข้อปฏิบัติในกำรใช้ห้องสมุด ๑. ต้องมีสมุดบันทึกการยืมหนังสือจึงจะสามารถยืมหนังสือจากห้องสมุดได้ ๒. ยืมหนังสือที่ตอ้ งการภายในห้องสมุดตามเวลาที่กาหนด ๓. ถ้าบัตรสมาชิกชารุดหรือไม่อยู่ในสภาพที่ใช้การได้ให้แจ้งเจ้าหน้าที่ห้องสมุด ทราบ


๓๘

ระเบียบกำร ยืม – คืน ๑. เปิดบริการให้ยืม ตั้งแต่วันจันทร์-วันศุกร์ตงั้ แต่เวลา๐๗.๓๐ น. ถึงเวลา ๑๗.๓๐ น. ๒. ยืมได้เฉพาะหนังสือที่มรี หัสติดอยู่ที่สันหนังสือ ยกเว้นในกรณีพิเศษต้อง ได้รับอนุญาตจากบรรณารักษ์ ๓. ยืมได้ครั้งละไม่เกิน ๑ เล่ม ๔. ถ้าไม่สารมารถนามาส่งคืนตามเวลาที่กาหนดต้องเสียค่าปรับตามที่กาหนด เอาไว้ ๕. ถ้ายืมหรือคืนหนังสือต้องนาบัตรหรือสมุดบันทึกการยืมหนังสือมาด้วยทุกครั้ง ๖. ถ้าทาหนังสือชารุดหรือสูญหาย ต้องชดใช้ตามราคาหนังสือนั้น ระเบียบและข้อปฏิบัติในห้องสมุด 1. การเข้า-ออก ห้องสมุดทุกครั้งต้องตามเวลาที่กาหนดคือเวลา๐๗.๐๐น.๐๘.๓๐ น. และเวลา๑๔.๐๐ น.-๑๗.๓๐ น. 2. ห้ามนาหนังสือออกนอกห้องสมุดโดยไม่ได้รับอนุญาต 3. เมื่ออ่านหนังสือเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้เก็บหนังสือเข้าที่ให้เรียบร้อย 4. คุณครูที่นานักเรียนเข้ามาค้นคว้าหนังสือในห้องสมุด ต้องแจ้งบรรณารักษ์ ล่วงหน้า 5. แต่งกายให้สุภาพเรียบร้อย 6. ห้ามนาน้า อาหารและกระเป๋า เข้ามาในห้องสมุด 7. ห้ามส่งเสียงดังรบกวนผูอ้ ื่นในห้องสมุด กกกก


๓๙

บทที่ ๓ วิธีกำรดำเนินงำน กรอบกำรดำเนินงำน(แผนกำรดำเนินงำนพัฒนำห้องสมุดมีชวี ิตต้นแบบในโรงเรียน) กกกกกกกโรงเรีย นบ้านตาดได้เ ข้ าร่ว มโครงการเครือข่ ายโรงเรีย นต้ นแบบห้อ งสมุด มี ชี วิ ต ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๐ โดยทางโรงเรียนได้ดาเนินการตามแผนการดาเนินงานพั ฒ นา ห้ อ งสมุ ด และได้ ป รั บ แผนในบางอย่ า งเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ ง และเหมาะสมกั บ บริ บ ทมากขึ้ น นอกจากนั้น หัวหน้าโครงการและทีมงานได้พัฒนาตนเองเพื่อเป็นประโยชน์ และสามารถนามา พัฒนาห้องสมุดได้ดังนี้ ๑. หัว หน้าโครงการและทีมงานเข้าร่วมประชุมตามโครงการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิต ต้นแบบในโรงเรียน ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๐ คือ - ครูผรู้ ับผิดชอบดูแลห้องสมุดและเจ้าหน้าที่หอ้ งสมุดเข้าประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาห้องสมุดมีชีวิตต้นแบบในโรงเรียน” โดยศึกษานิเทศก์ ซึ่งได้รับความรู้เกี่ยวกับการนา คอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการบริหารงานห้องสมุด เช่น บริการสืบค้นข้อมูล การลงทะเบียน หนังสือ บริการยืม – คืนหนังสือ การรายงานสถิตติ ่าง ๆ จากการเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ ร่วมกันประชุมวางแผน และจัดการประชุม อบรม เพื่อขยายผลให้กับคณะครูและนักเรียนเพื่อให้มคี วามเข้าใจ และร่วมกันเป็นพลังขับเคลื่อนใน การสร้างสรรค์กิจกรรมบูรณาการสร้างนิสัยรักการอ่านให้เกิดขึ้นภายในโรงเรียน ๕. โรงเรียนได้ดาเนินการตามโครงการที่ตั้งไว้ ดังนี้ ๕.๑ จัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย สม่าเสมอ และต่อเนื่อง คือการจัด กิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ได้แก่ ๑. เที่ยงวันชวนกันอ่าน ๒. รักลูกห่วงหลานอ่านหนังสือ ด้วยกัน ๓. จัดกิจกรรมหนังสือเล่มเล็ก ๔. กิจกรรมดูหนังฟังเพลง ๕. เกม ๖. กิจกรรมฝึกร้องเพลงจากคาราโอเกะ ๗. กิจกรรมภาษาอังกฤษวันละคา


๔๐

๘. กิจกรรมวันสาคัญ ๙. กิจกรรมยอดนักอ่าน ๑๐. กิจกรรมเล่านิทาน ๑๑. ชมรมรักการอ่าน ๑๒. เช้าวันศุกร์สนุกกับการอ่าน ๑๓. จิตอาสาพาน้องอ่านหนังสือ ๕.๒ จัดบรรยากาศในห้องสมุดให้สวยงาม น่าอยู่ และเอือ้ ต่อการเข้ามาใช้ บริการเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ๕.๓ บริหารงานห้องสมุดโดยครูและเจ้าหน้าที่ห้องสมุด เช่น บริการสืบค้น ข้อมูล การลงทะเบียนหนังสือ บริการยืม – คืนหนังสือ การรายงานสถิติต่าง ๆ ๕.๔ บริการมุมสบาย(บริการดูหนัง ฟังเพลง ฟังนิทาน) ๕.๖ ห้องสมุดเปิดบริการตลอดทั้งวันตั้งแต่เวลา ๐๗.๐๐ – ๑๗.๓๐ น. ๕.๗ บูรณาการส่งเสริมการอ่าน ๘ กลุ่มสาระ ๕.๘ เน้นการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน โดยในปีการศึกษา ๒๕๖๐ นีส้ ่งเสริมให้ นักเรียนรักการอ่าน ๑๐๐ และบันทึกรักการอ่าน ๙๕ % ซึ่งได้ทาแบบบันทึกรักการอ่านให้ เหมาะสมกับระดับชั้น


๔๑

บทที่ ๔ ผลกำรดำเนินงำน ๑. เชิงปริมำณ( เชิงกำยภำพ) ๑.๑ ห้องสมุดโรงเรียนบ้านตาด มีสื่อหลากหลายและทันสมัยเหมาะสมกับช่วงวัย ๙๒ % ๑.๒ นักเรียนโรงเรียนบ้านตาด สามารถใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งค้นคว้าและแสวงหา ความรูด้ ้วยตนเองได้ ๙๕ % ๑.๓ นักเรียนโรงเรียนบ้านตาด มีนิสัยรักการอ่าน ๙๓.๔๕ % ๑.๔. บรรยำกำศของห้องสมุด เนื่องจากห้องสมุดได้ขยายพืน้ ที่ ให้เพียงพอต่อความต้องการของผู้ใช้บริการ จึงแบ่งพืน้ ที่ในห้องสมุดออกเป็นมุมต่างๆคือ ๑) มุมเฉลิมพระเกียรติ ๙) มุมเกมคอมพิวเตอร์ ๒) มุมอ่านหนังสือทั่วไป ๑๐) มุมสารานุกรม ๓) มุมสาระน่ารู้ ๑๑) มุมนิทานแสนสนุก ๔) มุมยอดนักอ่าน ๑๒) มุมผลงานที่ฉันภูมใิ จ ๕) มุมอุทยานการเรียนรู้ ๑๓) มุมมุมนี้มีของดีให้คน้ หา ๖) มุมหนังสือใหม่ ๑๔) มุมธรรมชาติกับวิถีชีวติ ๗) มุมเกมพัฒนาสมอง ๑๕) มุมสบายๆ ๘) มุมวารสารและหนังสือพิมพ์ใหม่ ๑๖) มุมหนังสือเล่มเล็ก ๒. เชิงคุณภำพ ๑. ห้องสมุดโรงเรียนบ้านตาด มีสื่อหลากหลายและทันสมัยเหมาะสมกับช่วงวัย ๒. โรงเรียนบ้านตาด มีหอ้ งสมุดที่เป็นแหล่งเรียนรูท้ ี่มีชีวติ ๓. นักเรียนโรงเรียนบ้านตาด มีนิสัยรักการอ่าน ๔. พฤติกรรมกำรเข้ำห้องสมุดของนักเรียน ครู ผู้ปกครอง/ชุมชน สรุปได้จากสถิติการเข้าห้องสมุด โดยเปรียบเทียบสถิตใิ ช้ห้องสมุดก่อน-หลังการ ปรับปรุง(ภาคผนวก)


๔๒

๕. พฤติกรรมกำรอ่ำนหนังสือของนักเรียน ครู ผู้ปกครอง/ชุมชน - การอ่านหนังสือในห้องสมุด สรุปได้จากสถิติเปรียบเทียบยอดนักอ่านตั้งแต่ปี การศึกษา ๒๕๕๙ –๒๕๖๐ จะเห็นว่ามีการเพิ่มขึน้ มีผู้เข้าใช้บริการบันทึกยอดนักอ่าน คิดเป็น ร้อยละ๑๐๐ - การอ่านหนังสือในห้องสมุดห้องสมุด สรุปได้จากสถิติเปรียบเทียบการยืม – คืน ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๙-๒๕๖๐ จะเห็นว่ามีเพิ่มขึ้น มีผเู้ ข้าใช้บริการยืม-คืนหนังสือคิดเป็น ร้อยละ๑๐๐ ๖. จากสถิติการเข้าใช้หอ้ งสมุด และการอ่านหนังสือของนักเรียน ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน การอ่านออก – เขียนได้ สูงขึ้น ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน แยกเป็นกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนระดับสถำนศึกษำ ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทำงเรียนแต่ละรำยวิชำในระดับ ๓ ขึ้นไป ระดับชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๑-๖ ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๙ ภาษาอังกฤษ

48.41

การงานฯ

95.24

ศิลปะ ดนตรี

88.09

สุขศึกษาฯ

87.3

ประวัติศาสตร์

73.81

สังคมศึกษาฯ

74.6

วิทยาศาสตร์

80.16

คณิตศาสตร์

69.05

ภาษาไทย

69.84

10

20

30

40

50

ร้อยละ

60

70

80

90

100


๔๓

ผลกำรประเมินกำรทดสอบควำมสำมำรถพื้นฐำนของผู้เรียนระดับชำติ (National Test :NT) ระดับชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓ ๑. ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ(NT) ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๙ คะแนนเฉลี่ยร้อยละผลกำรประเมินกำรทดสอบควำมสำมำรถพื้นฐำนของผู้เรียน ระดับชำติ (NT) ชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓ ประจำปีกำรศึกษำ ๒๕๕๙ ๕๑.๐๐ ๕๘.๐๔

80 60 40 20 0

๕๕.๓๓ ๕๘.๖๖ ๕๑.๐๐

๔๓.๘๑ ๕๒.๙๕ ๓๖.๙ ๔๐.๗๑

คะแนนเฉลี่ยร้ อยละของโรงเรี ยน คะแนนเฉลี่ยร้ อยละระดับเขตพื ้นที่ คะแนนเฉลี่ยร้ อยละระดับประเทศ

๕๒.๓๙ 60.95 ๕๓.๓๘ ๔๘.๘๖ ๔๗.๑ ๔๕.๓๐ ๓

71.23


๔๔

ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีผลกำรประเมินกำรทดสอบควำมสำมำรถพื้นฐำนของผู้เรียน ระดับชำติ (NT) ชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓ ประจำปีกำรศึกษำ ๒๕๕๙ จำแนกตำมระดับคุณภำพ 76.47 70.59 64.71

29.41 23.53 17.65 11.76 5.88 0 0 0 ปรับปรุง

0 พอใช้

ดี ด้ านภาษา

ดีมาก ด้ านคานวณ

ด้ านเหตุผล

๒)ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๘-๒๕๕๙ ๒.๑) เปรียบเทียบภาพรวมผลการประเมินการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของ ผูเ้ รียนระดับชาติ (NT) และร้อยละของผลต่างระหว่างปีการศึกษา ๒๕๕๘-๒๕๕๙ ผลต่าง - ๔.๙๕ - ๑๖.๕๒ + ๖.๑๒ - ๕.๑๒

ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ๕๘.๖๖ ๕๒.๙๕ ๗๑.๒๓ ๖๐.๙๕

ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๖๓.๖๑ ๖๙.๔๗ ๖๕.๑๑ ๖๖.๐๗

ความสามารถ ด้านภาษา ด้านคานวณ ด้านเหตุผล รวมความสามารถทั้ง ๓ ด้าน


๔๕

๒.๒) เปรียบเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผูเ้ รียนระดับชาติ (NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๕๘-๒๕๕๙จาแนกตามร้อยละของระดับคุณภาพ ความสามารถด้ านภาษา (Literacy)

11.76

ระดับคุณ ภาพ

ดีมาก

17.5 64.71

ดี

36.67 23.53

พอใช้

37.5 0 0

ปรับปรุง 0

10

20

ร้อยละ 30 ปี กศ.2559

40 ปี กศ.2558

50

60

70

ความสามารถด้ านคานวณ(Numeracy)

5.88

ระดับคุณ ภาพ

ดีมาก

16.67

76.47

ดี

41.67

17.65

พอใช้

32.5

0

ปรับปรุง

9.17

0

20

ร้อ40 ยละ ปี กศ.2559

60 ปี กศ.2558

80


๔๖

ความสามารถด้ านเหตุผล(reasoning ability) 29.41

ดีมาก

14.17 70.59

ดี

ระ ดับคุณ

35 0

พอใช้

44.17 0

ปรับปรุง

6.67

0

20

40 ร้อยละ ปี กศ.2559

60

80

ปี กศ.2558

ผลกำรทดสอบกำรศึกษำระดับพื้นฐำน(O-NET) ๑. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พื้นฐาน (O-NET) ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๙ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

80 70

คะ แนนเฉลี่ย

60 50

ระดับโรงเรี ยน ระดับจังหวัด

40

ระดับสพฐ. 30

ระดับประเทศ

20 10 0 ภาษาไทย

คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์

สังคมฯ

ภาษาอังกฤษ


๔๗

ระดับ/วิชา

ภาษาไท คณิตศาสตร์ วิทยาศา สังคมฯ ย สตร์ ๖๒.๐๑ ๕๗.๗๓ ๕๕.๒๗ ๖๗.๖๑

ภาษาอังกฤษ

คะแนนเฉลี่ยของ ๔๙.๐๙ โรงเรียน คะแนนเฉลี่ยระดับ ๕๐.๖๘ ๓๗.๒๓ ๓๙.๗๑ ๔๔.๘๑ ๓๐.๒๗ จังหวัด คะแนนเฉลี่ย สังกัด ๕๑.๘๘ ๓๘.๗๖ ๔๐.๒๗ ๔๕.๐๘ ๓๑.๑๑ สพฐ.ทั้งหมด คะแนนเฉลี่ย ๕๒.๙๘ ๔๐.๔๗ ๔๑.๒๒ ๔๖.๖๘ ๓๔.๕๙ ระดับประเทศ หมายเหตุ คะแนนเฉลี่ยทุกวิชาของนักเรียน สูงกว่า คะแนนเฉลี่ยทั้งระดับจังหวัด ระดับสังกัด สพฐ.และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ๒. ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขั้นพื้นฐำน (๐-NET) ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๘-๒๕๕๙ ระดับขั้นประถมศึกษำปีท่ี ๖ 80

70

67.61

66.25 62.77

60

62.01 57.73

57.61

55.27 49.09

50 42.07 40 30.63 30

20

10

0 ปี2558 ไทย

ปี2559 คณิต

วิทยาศาสตร์

สังคมศึกษา

อังกฤษ


๔๘

ข้อมูลกำรใช้แหล่งเรียนรู้ภำยในและภำยนอกโรงเรียน ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๙ จานวนนักเรียนที่ใช้แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๙ 250

200

0 26

20

0 21

26 0 26

20

0 17

21 0 21

15 17 0 17 12 17

150

100

18 26

15 21

50

26

21

22

22

22

22

20

18

20

22

18

22

15

22 22

18

22

22

18

22

20

18

19

17

22

22

18

22

17

22

18

22

18

26

21

17

22

18

22

ชั้นป.1

ชั้นป.2

ชั้นป.3

ชั้นป.4

ชั้นป.5

ชั้นป.6

0

0 ห้ องสมุด

ห้ องคอมพิวเตอร์

ห้ องจริ ยะ

ห้ องพยาบาล

บ่อปลา บ่อกบ

แปลงผักปลอดสารพิษ

นาข้ าว

สนามฟุตบอล

สนาม BBL

เล้ าไก่

โรงเห็ด

จานวนนักเรียนที่ใช้แหล่งเรียนรู้นอกโรงเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๘

26 26

21

17

17

26

21

22

21

17

20

16

ชั้นป.2

ชั้นป.3

22 22

17

18 18

22 22

18

17

ชั้นป.1 ฟาร์มโคขุน นาข้าว ปั๊มน้​้ามัน

22

22

21

22 20

บทที ชั้นป.4่ ๕

18

22

16

22

ชั้นป.5

ชั้นป.6


๔๙

บทสรุป อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ สรุปผล ๑ ห้องสมุดโรงเรียนบ้านตาด มีสื่อหลากหลายและทันสมัยเหมาะสมกับช่วงวัย ๙๒ % ๒ นักเรียนโรงเรียนบ้านตาด สามารถใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งค้นคว้าและแสวงหาความรู้ ด้วยตนเองได้ ๙๕ % ๓ นักเรียนโรงเรียนบ้านตาด มีนิสัยรักการอ่าน ๙๓.๔๕ % ดังนัน้ ผลจากการดาเนินกิจกรรมโดยใช้งบประมาณที่ได้รับ ห้องสมุดโรงเรียนบ้านตาด ได้จัดกิจกรรม ๑๓ กิจกรรมเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนเป็นเครือข่ายต้นแบบห้องสมุดมีชีวติ ที่มี ประสิทธิภาพ เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ผูป้ กครอง คณะครูและนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้ นักเรียนโรงเรียนบ้านตาดมีนิสัยรักการอ่าน บรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ได้ องค์ควำมรู้ท่ไี ด้จำกกำรดำเนินงำน การด าเนินงานพั ฒนาห้อ งสมุด มี ชีวิ ตในโรงเรีย นบ้ านตาด บรรลุตามแผน ดาเนินงานที่กาหนดไว้ สิ่งที่สาคัญคือ กกกกกก ๑. ห้องสมุดมีชีวิตสามารถดาเนินการไปได้ด้วยความร่วมมือของทุก ๆ ฝ่าย ทั้ง หน่วยงานในโรงเรียนและหน่วยงานในชุมชน ทุกฝ่ายเห็นความสาคัญของห้องสมุด และพร้อมที่ จะให้ความร่วมมือกันพัฒนาห้องสมุดให้ทันสมัย มีบรรยากาศที่สวยงาม และมีสื่อการเรียนรู้ที่ หลากหลาย ๒. ผูท้ ี่ได้รับประโยชน์จากการพัฒนาห้องสมุดมีชีวติ ในโรงเรียนครั้งนี้ คือ นักเรียน คณะครูอาจารย์ รวมถึงชุมชน กล่าวคือ นักเรียนมีหนังสือและสื่อ การเรียนรู้ที่หลากหลาย ครูสามารถจัดการเรียนการสอนโดยใช้ห้องสมุดได้อย่างเต็มที่ โรงเรียนมีห้องสมุดที่ทันสมัย และมีบรรยากาศน่าเรียนรู้ ชุมชนมีสถานที่สาหรับให้เยาวชนได้ศกึ ษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มขึ้น ๓. กลไกสาคัญที่ทาให้การดาเนินการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิ ตประสบผลสาเร็จ บรรลุ ตามวิสัยทัศน์ที่ตงั้ ไว้ คือ การได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกเช่นร้านหนังสือซีเอ็ดบุ๊ค สาขาสว่ า งแดนดิ น ซึ่ ง ให้ ก ารสนั บ สนุ นทั้ ง ด้า นงบประมาณ สื่ อ และวั ส ดุ อุ ป กรณ์ จาก หน่วยงานดังกล่าวห้องสมุดของโรงเรียนคงจะพัฒนาได้ไม่ดเี ท่าทุกวันนี้ ดังนัน้ ห้องสมุดจะได้รับ การพัฒนามากน้อยขนาดไหนขึ้นอยู่กับการสนับสนุน และการดูแลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มี ความพร้อมมากกว่า


๕๐

กกกกกกก๔. การพัฒนาเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์และครู นักเรียนผู้เกี่ยวข้อง ให้มคี วามรูเ้ กี่ยวกับ การจั ด หนั ง สื อ ในห้ อ งสมุ ด สามารถมาพั ฒ นาห้ อ งสมุ ด ให้ บ รรลุ ต ามแผนด าเนิ น งานได้ บรรณารักษ์มีส่วนสาคัญยิ่ง เพราะบรรณารักษ์ต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ มีทักษะใน การทางาน ขยันและอดทน ไม่ท้อต่ออุปสรรคที่เกิดขึน้ เป็นผู้เสียสละทั้งกาลังทรัพย์ และกาลัง กาย เป็นนักวางแผนและต้องเป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี กับทุกคน เพราะต้องประสานงานกับ บุคคลทั้งในหน่วยงานและในชุมชน ๕. กิจกรรมที่จัดขึ้นในห้องสมุด มีความหลากหลาย แปลกใหม่ ไม่ซ้าแบบเดิม นักเรียนได้คิดวิเคราะห์ทุกๆ กิจกรรม ที่สาคัญ กิจกรรมต่างๆ นักเรียนทุกระดับชั้นได้เข้าร่วม คือตัง้ แต่ชั้นอนุบาล ๑ ไปจนถึงชั้นประถมศึกษาที่ ๖ และเป็นที่นา่ ภูมิใจมากที่สุดในปีนี้นักเรียน ทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมรักการอ่าน เที่ยงวันชวนกันอ่าน กิจกรรมเช้าวันศุกร์สนุกกับการอ่าน คิด ได้เป็นร้อยละ ๑๐๐ และ ๖. ห้องสมุดมีการปรับปรุง ปรับเปลี่ยนให้นา่ เข้าไปใช้บริการ มากขึ้นด้วยการติดแอร์เย็นๆ ติดผ้าม่านให้ดูดี สวยงาม ทาให้นักเรียน ครูและบุคลากรใน โรงเรียน เข้าไปใช้บริการในห้องสมุดมากขึ้น บ่อยขึ้น ปัญหำอุปสรรค และวิธีกำรแก้ไข ข้อจำกัดในกำรดำเนินงำนในครั้งนี้ กกกกกกกจากการดาเนินงานโครงการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิตในโรงเรียนบ้านตาดพบปัญ หา ดังนี้ คือ - งบประมาณ โรงเรียนบ้านตาด เป็นโรงเรียนประถมศึกษาขนาดกลาง ห้องสมุดจึง ได้รับ งบประมาณค่อ นข้ างน้ อย ห้องสมุดโรงเรีย นใช้ งบประมาณที่ ไ ด้ รับ จากการจั ด สรร โครงการพัฒนาห้องสมุดในโรงเรียนและงบประมาณจากการจัดหาทุนเพื่อการศึกษาประจาปี โดยการระดมทุน(งานตุ้มโฮม) จากชุมชนเท่านั้น ยังไม่มีงบสนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัดหรือ หน่วยงานภายนอก ทาให้ขาดสื่อที่หลากหลาย หนังสือที่ให้บริการยังน้อยไม่เพียงพอ ไม่มีสื่อที่ ทันสมัยเท่าที่ควรและเพียงพอ อภิปรำยผล กกกกกกกโรงเรียนบ้านตาด ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิต ตามห้องสมุ ดต้นแบบ ในโรงเรียนเกี่ยวกับการใช้ระบบอิเลคโทรนิคในการจัดข้อมูลหนังสือห้องสมุดหรือการบันทึก ข้อมูลหนังสือในห้องสมุด นับว่าโรงเรียนได้รับโอกาสที่ดีเป็นอย่างยิ่ง เพราะแต่เดิมห้องสมุด เปรีย บเสมือนเป็นสถานที่เก็บ หนังสือ ที่มีครูเ ข้าใช้ห้องสมุดในจานวนน้อย นัก เรี ย นเข้าใช้ ห้องสมุดไม่มากนัก ระบบการยืม – การส่งหนังสือหรือการค้นหาหนังสือต้องผ่านเจ้าหน้าที่


๕๑

บันทึก ทาให้การดาเนินงานช้า หลังจากการได้เข้าร่วมโครงการในครั้งนี้ และมีการชีแ้ จง ประชุม ปรึกษาหารือ แต่งตั้งคณะทางานเพื่อพัฒนาร่วมกัน ตกแต่งห้องสมุดให้สวยงามและติดแอร์ให้ เย็นสบาย ทาให้คณะครู และนักเรียนมีมุมมองห้องสมุดเปลี่ยนไปจากทัศนคติเดิม ๆ เป็นผล จากการโรงเรียนบ้านตาด ได้เข้าร่วมโครงการดังนี้ ๑. คณะครู นักเรียนและชุมชน ให้ความสนใจเข้าใช้บริการของห้องสมุดมากขึ้น ๒. บรรยากาศของห้องสมุดดูมีสีสันสวยงาม ร่มรื่น สะอาด สบาย น่าเข้าใช้ บริการ สามารถนั่งพักผ่อนและใช้ประโยชน์จากพืน้ ที่บริการได้มากเพิ่มขึ้น มีอุทยานการเรียนรู้ ที่สมบูรณ์แบบสามารถท ากิ จกรรมต่างๆได้อย่างเอนกประสงค์ มีสื่อสร้างสรรค์ ที่มีคุณค่า น่าสนใจ ๓. มีหนังสือดี น่าอ่าน เหมาะสมสาหรับวัย เล่มใหม่ ๆ หน้าปกน่าสนใจ มาให้บริการ ในทุกหมวด ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๔. มีสื่อหลากหลาย และน่าสนใจ ทั้งสื่อจากคอมพิวเตอร์ และจากครูในโรงเรียน สร้างขึ้นเช่น การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ๕. ผลจากการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล ๑ ถึงชั้นประถมศึกษา ปีที่ ๖ นั้นส่งผลให้โรงเรียนได้รับการยอมรับจากสาธารณชนและได้รับรางวัลในระดับต่าง ๆ

ข้อเสนอแนะ ๑. ควรมีหอ้ งอินเทอร์เน็ตเป็นแยกออกไป และมีจานวนคอมพิวเตอร์ให้เพียงพอต่อ ความต้องการของผู้ใช้บริการ ๒. ควรขยายพืน้ ที่ห้องสมุดให้เพียงพอต่อผู้ใช้บริการ ๓. ควรมีการแข่งขันทางวิชาการเกี่ยวกับห้องสมุดให้มากขึ้น เช่น ตอบคาถามจาก สารานุกรม แข่งขันเล่านิทาน แข่งขันการจดชื่อหนังสือในห้องสมุด เป็นต้น ๔. ควรมีกิจกรรมในห้องสมุดอยู่ตลอดเวลาและต่อเนื่อง ๕. ควรมีมุมสบายๆ สวยๆ ๖. ควรมีมุมและหนังสือสาหรับเด็กเล็กๆ เช่นหนังสือผ้า มุมตุ๊กตา ๗. เจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานห้องสมุด จาเป็นต้องมีความรูด้ ้านบรรณารักษศาสตร์ หรือ


๕๒

อย่างน้อยต้องรูห้ ลักในการจัดหมวดหมู่หนังสือ เพราะต้องจัดหนังสือให้เป็นระบบเพื่อผู้ใช้จะได้ ค้นหาได้สะดวก และรวดเร็ว ส่วนงานด้านอื่น ๆ สามารถเรียนรูไ้ ด้ และที่สาคัญต้องมีใจรัก ในงานห้องสมุด ๘. ความพร้อมของอาคารสถานที่ และวัสดุครุภัณฑ์ เช่น ควรเป็นอาคารเอกเทศ ขนาดของห้องสมุดควรจะมีขนาดเหมาะสมกับจานวนนักเรียน มีชั้นวางหนังสือ มีหนังสือที่ จัดเป็นระบบ เปลี่ยนมุมใหม่ๆ ให้สะดุดตาน่าค้นหา น่าเข้ามาใช้บริการ ๙. เทคโนโลยี โรงเรียนควรมีคอมพิวเตอร์สาหรับใช้บริหารงานห้องสมุด สืบค้น ข้อมูลรวมทั้งจัดบริการอินเทอร์เน็ตสาหรับศึกษาค้นคว้า และมีระบบตรวจสอบได้ ๑๐. กิจกรรมที่จัดขึน้ เน้นส่งเสริมรักการอ่านโดยมีความหลากหลาย ไม่ซ้าแบบเดิม และต้องไม่ให้คดิ ว่าเป็นสิ่งที่น่าเบื่อ ต้องทาให้เด็กเกิดความสนุกสนาน อยากที่จะร่วมกิจกรรมที่ จัดขึน้ ๑๑. ควรจัดสร้างห้องสมุดเป็นอาคารเอกเทศ


๕๓

ภำพกิจกรรม


๕๔


๕๕


๕๖

กิจกรรมเที่ยงวันชวนกันอ่าน


๕๗

กิจกรรมรักลูกห่วงหลำนอ่ำนหนังสือด้วยกัน


๕๘

กิจกรรมหนังสือเล่มเล็ก


๕๙

กิจกรรมฝึกร้องเพลงจำกคำรำโอเกะ


๖๐

กิจกรรมจิตอาสาพาน้องอ่านหนังสื อ


๖๑

กิจกรรมเล่ำนิทำน


๖๒

กิจกรรมเช้าวันศุกร์สนุกกับการอ่าน


๖๓

กิจกรรมชมรมรักการอ่าน


๖๔

เกมการศึกษา


๖๕

กิจกรรมวันสาคัญ

กิจกรรมยอดนักอ่าน ย


๖๖

แนะนาหนังสื อใหม่


๖๗

เกียรติบตั ร


๖๘


๖๙


๗๐



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.