ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบ และกำรศึกษำตำมอัธยำศัยอำเภอเมืองขอนแก่น สำนักงำนส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยจังหวัดขอนแก่น สำนักงำนส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย สำนักงำนปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร กระทรวงศึกษำธิกำร
ก
คานา แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ฉบับนี้เป็นแผนที่แสดงให้เห็นภาพรวมในการดาเนินงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอเมืองขอนแก่น ที่สนองตอบต่อทิศทางการพัฒนาประเทศตามนโยบายของ รัฐบาล มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการส่งเสริมการอ่านให้เป็นวาระแห่งชาติเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอด ชีวิ ต แผนปฏิบั ติ ร าชการประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 ของส านัก งานปลั ดกระทรวงศึ ก ษาธิก าร พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 รวมทั้งนโยบายและ จุดเน้นการดาเนินงาน กศน.อาเภอ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สาระของแผนปฏิบั ติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่ น ประกอบด้วยสรุปภาพรวมงาน/โครงการและงบประมาณ รวมทั้งรายละเอียดงาน/โครงการและงบประมาณที่ ดาเนินการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ขอขอบคุณทุกท่านที่ให้ความร่วมมือในการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 ของ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ฉบับนี้จนสาเร็จลุล่วงไปด้วยดีและหวังเป็นอย่างยิ่ง ว่าแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น จะเป็นแนวทางในการ บริ ห ารงาน/โครงการ และงบประมาณของสถานศึ ก ษาในสั ง กั ด กศน.อ าเภอเมื อ งขอนแก่ น ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 ตลอดจนเป็นเครื่องมือในการกากับติดตามผลการดาเนินงานของผู้บริหาร รวมทั้ง เป็นข้อมูลสาหรับหน่วยงานและผู้สนใจกิจกรรมงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยต่อไป กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2562
ข
สารบัญ คานา สารบัญ หน้า ส่วนที่ ๑ ข้อมูลสถานศึกษา ๑.1 ความเป็นมา 1 ๑.๑.1 ข้อมูลพื้นฐาน ประวัติ ที่ตั้ง 1 ๑.1.๒ สภาพชุมชน 2 ๑.1.๓ ปรัชญา/ปณิธานของสถานศึกษา 5 1.๒ สภาพปัจจุบัน 5 1.2.1 บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษา 5 1.2.๒ โครงสร้างการบริหาร 6 1.2.๓ ทาเนียบผู้บริหาร 7 1.2.๔ ครูและบุคลากรทางการศึกษา 7 1.๒.๕ หลักสูตรการเรียนการสอน 8 1.3 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม 10 1.3.1 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม 10 1.๓.2 เป้าหมายหลักของการบริหารและการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 12 ส่วนที่ 2 สาระสาคัญของแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 13 2.1 แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2561-2580 13 2.2 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ 16 2.3 ทักษะที่สาคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ 19 2.4 นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน กศน.ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 27 ส่วนที่ 3 รายละเอียดแผนงาน/โครงการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 36 3.1 ตารางแสดงรายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ 36 3.2 แบบ กศน. กผ-02 50 3.3 รายละเอียดโครงการสู่การปฏิบัติประจาปีงบประมาณ 2561 66
1
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น 1.1 ความเป็นมา 1.1.1 ข้อมูลพื้นฐาน ประวัติ ที่ตั้ง 1) ชื่อสถานศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอั ธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น 2) สถานที่ตั้ง : เลขที่ ๑๗๔ หมู่ ๑๗ ซอยวีรวรรณ ถนนดรุณสาราญ อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น - รหัสไปรษณีย์ ๔๐๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๔๓-๓๒๒๐๙๐ - โทรสาร ๐๔๓๒๒๗๕๕๓ - http://www.nfe-maungkhonkaen.com - E-mail :maungkhonkaen@hotmail.com 3) สังกัด สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดขอนแก่น สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ 4) ประวัติความเป็นมาของสถานศึกษา ศู น ย์ บ ริ ก ารการศึ ก ษานอกโรงเรี ย นอ าเภอเมื อ งขอนแก่ น จั ด ตั้ ง ตามประกาศ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เมื่ อ วั น ที่ ๒๗ เดื อ นสิ ง หาคม พ.ศ.๒๕๓๖ เป็ น สถานศึ ก ษาในราชการส่ ว นกลาง สั ง กั ด ศู น ย์ ก ารศึ ก ษานอกโรงเรี ย นจั ง หวั ด กรมการศึ ก ษานอกโรงเรี ย น กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร โดยมีนายปราโมทย์ สุขุม รัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้ลงนามในประกาศ และผู้ที่ทาหน้าที่ หัวหน้าศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอเมืองขอนแก่น คนแรก คือ นางรัชนีกร ไทยวิรัช ตามคาสั่ง กรมการศึกษานอกโรงเรี ย น ที่ ๙๔/๒๕๓๗ ลงวันที่ ๑๘ มกราคม พ.ศ.๒๕๓๗ จนถึงวันที่ ๑๕ สิ งหาคม พ.ศ.๒๕๔๖ ต่อมาจ่าสิบเอกสุรพร สุทธิประภา ได้ย้ายมาดารงตาแหน่งผู้อานวยการศูนย์บริการการศึกษานอก โรงเรียนอาเภอเมืองขอนแก่น ในปี พ.ศ.๒๕๕๑ ได้เปลี่ ย นชื่อเป็น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึ กษาตามอัธยาศัย อาเภอเมืองขอนแก่น ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช ๒๕๕๑ สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดขอนแก่น สานักงาน ส่งเสริ มการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ ต่อมาเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ นายดิษฐพงษ์ กัล ยาลักษณ์ ได้ย้ายมาดารงตาแหน่งผู้อานวยการศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธ ยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น และเมื่อวันที่ ๑๕ ตุล าคม ๒๕๕๓ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ นายบุญส่ง ทองเชื่อม ได้ย้ายมาดารงตาแหน่งผู้อานวยการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่นถึงปัจจุบัน
2 1.1.2 สภาพชุมชน (สภาพเศรษฐกิจ สังคม ประเพณี วัฒนธรรม ความร่วมมือของชุมชนที่มีต่ อ สถานศึกษา) 1) สภาพทั่วไปและลักษณะภูมิประเทศ อาเภอเมืองขอนแก่น เป็ นอาเภอชั้นพิเศษ ที่มีขนาดใหญ่และเป็นศูนย์ กลางของจังหวั ด ขอนแก่น มีพื้นที่ประมาณ ๙๖๓,๓๙๐ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๙๕๙,๘๖๘.๗๕ ไร่คิดเป็นร้อยละ ๑๒ ของพื้นทีจ่ ังหวัดขอนแก่น โดยทั่วไปพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มน้าสลับกับพื้นที่ราบสูง ทางด้านทิศตะวันออก ของถนนมิตรภาพ จะเป็นที่ราบกว้าง ส่วนทิศตะวันตกจะมีลักษณะเป็นเนินสูงสลับกันไป ลักษณะดินโดยทั่วไป เป็นดิน ทรายไม่อุ้มน้า จึงไม่เหมาะ แก่การเพาะปลูก ได้แก่ บริเวณที่ ลุ่มน้าชีในเขตตาบลโคกสี ตาบลหนองตูม ตาบลเมืองเก่า ตาบลท่าพระ และตาบลดอนหัน 2) อาณาเขตที่ตั้งสถานศึกษา อาเภอเมืองขอนแก่นมีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครอง ข้างเคียงดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภออุบลรัตน์และอาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น ทิศตะวันออก ติดต่อกับอาเภอซาสูง อาเภอเชียงยืน และอาเภอโกสุมพิสัย (จังหวัดมหาสารคาม) ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอโกสุมพิสัย(จังหวัดมหาสารคาม) อาเภอบ้านแฮด และอาเภอพระยืน ทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น 3) ภูมิอากาศ อาเภอเมืองขอนแก่น มี ๓ ฤดู ดังนี้ - ฤดูร้อน อุณหภูมิสูงสุดโดยเฉลี่ย ๓๖.๓ องศาเซลเซียส เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ เป็นต้นไป ไปจนถึ ง เดื อ นพฤษภาคม อากาศร้ อ นจั ด ในช่ ว งเดื อ นเมษายนของทุ ก ปี ซึ่ ง ในพื้ น ที่ มั ก จะประสบปั ญ หา ด้านภัยแล้ง - ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมเป็นต้นไป จนถึงเดือนตุลาคม โดยจะมีฝนตกชุกในเดือน สิงหาคมของทุกปี - ฤดูห นาว เริ่ มตั้งแต่เดือนตุล าคมเป็นต้นไป จนถึงเดือนกุมภาพันธ์ อากาศหนาวเย็น โดยทั่วไป และจะหนาวจัดในช่วงเดือนธันวาคม จนถึงเดือนมกราคมของทุกปี 4) ทรัพยากรธรรมชาติ มีแหล่ งน้ าธรรมชาติที่ส าคัญไหลผ่ านหลายสาย ได้แ ก่ ล าน้าพองเป็นล าน้าที่มีความยาว ในพื้นที่อาเภอเมืองประมาณ ๕๕ กิโลเมตร ไหลผ่านตาบลสาราญ ตาบลโนนท่อน ตาบลโคกสี ตาบลหนอง ตู ม ต าบลศิ ล า และต าบลพระลั บ ใช้ เ ป็ น เส้ น ทางคมนาคม เพาะปลู ก เลี้ ย งสั ต ว์ และท าการประมง ล าน้ าชี เป็ น ล าน้ าที่ มี ค วามยาวประมาณ ๓๑ กิ โ ลเมตร ไหลผ่ า นต าบลพระลั บ ต าบลเมื อ งเก่ า ต าบลท่ า พระ และต าบลดอนหั น ประชาชนใช้ ป ระโยชน์ ใ นการท าประมง เพาะปลู ก และเลี้ ย งสั ต ว์
3 5) สังคมและการปกครอง เขตการปกครอง แบ่งเขตการปกครอง ดังนี้ ตารางที่ 1 แสดงแบ่งเขตการปกครองตามจานวน ๑๘ ตาบล จานวน ๒74 หมู่บ้าน 89 ชุมชน ดังนี้ ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘
ชื่อตาบล สาราญ โคกสี ท่าพระ บ้านทุ่ม เมืองเก่า พระลับ สาวะถี บ้านหว้า บ้านค้อ แดงใหญ่ ดอนช้าง ดอนหัน ศิลา บ้านเป็ด หนองตูม บึงเนียม โนนท่อน ในเมือง รวม
จานวนหมู่บ้าน ๑๓ หมู่บ้าน ๑๔ หมู่บ้าน ๒๐ หมู่บ้าน ๑๘ หมู่บ้าน ๑๗ หมู่บ้าน ๑๙ หมู่บ้าน ๒๓ หมู่บ้าน ๑๓ หมู่บ้าน ๑๙ หมู่บ้าน ๑๑ หมู่บ้าน ๘ หมู่บ้าน ๑๕ หมู่บ้าน ๒๘ หมู่บ้าน ๒๓ หมู่บ้าน ๑๑ หมู่บ้าน ๑๒ หมู่บ้าน ๑๐ หมู่บ้าน ๘๙ ชุมชน 274 หมู่บ้าน / 89 ชุมชน
6) การคมนาคม รถยนต์ : ขอนแก่นอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ไปตามทางรถยนต์ ๔๔๙ กิโลเมตร จากกรุงเทพฯ ใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑ (ถนนพหลโยธิน) ถึงจังหวัดสระบุรี ตรงหลักกิโลเมตรที่ ๑๐๗ แยกขวาเข้า ทางหลวงหมายเลข ๒ (ถนนมิตรภาพ) ผ่านจังหวัดนครราชสีมาถึงจังหวัดขอนแก่น อีกเส้นทางหนึ่ง เมื่อถึงสระบุรีแล้วตรงไปตามถนนสระบุรี-ลานารายณ์ แยกขวาเข้า เส้นทางม่วงค่อม -ด่านขุนทด-ชัยภูมิ-ขอนแก่น หรือสระบุรี-อาเภอลานารายณ์-อาเภอเทพสถิต-ชัยภูมิ-อาเภอ มัญจาคีร-ี อาเภอพระยืน-ขอนแก่น ทางรถยนต์ : เป็นถนนสายหลักในการคมนาคมระหว่างจังหวัด ดังนี้ ๑. ทางหลวงหมายเลข ๒ สายกทม.–นครราชสีมา – ขอนแก่น – อุดรธานี– หนองคาย ๒. ทางหลวงหมายเลข ๑๒ สายขอนแก่น-เพชรบูรณ์–พิษณุโลก-สุโขทัย-ตาก ๓. ทางหลวงหมายเลข ๒๓ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด ๔. ทางหลวงหมายเลข ๒๐๘ สายขอนแก่น-มหาสารคาม
4 ๕. ทางหลวงหมายเลข ๒๐๙ สายขอนแก่น-กาฬสินธุ์ ๖. ทางหลวงหมายเลข ๒๒๙ สายบ้านไผ่–แก้งคร้อ รถโดยสารประจ าทาง ใช้เวลาเดินทางประมาณ ๗ ชั่ว โมง รถออกจากสถานีขนส่ งสาย ตะวันออกเฉียงเหนือ(หมอชิต ๒) มีรถโดยสารธรรมดา รถปรับอากาศ และรถนอนพิเศษชนิด ๒๔ ที่นั่ง รถไฟ ขบวนรถไฟออกจากสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลาโพง) ผ่านจังหวัดขอนแก่น ไปจังหวัด อุดรธานี และหนองคายทุกวัน รถที่ให้บริการมีทั้งรถเร็วรถด่วน และรถด่วนดีเซลรางปรับอากาศ ทางอากาศ สนามบิ น พาณิ ช ย์ ข อนแก่ น ตั้ ง อยู่ ใ นเขตพื้ น ที่ ต าบลบ้ า นเป็ ด อ าเภอเมื อ ง ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ห่างจากที่ว่าการอาเภอเมืองขอนแก่น ประมาณ ๖ กิโลเมตร มีเที่ยวบินกรุงเทพฯ ขอนแก่น ทุกวันวันละ ๕เที่ยว การไฟฟ้า หน่วยบริการผู้ใช้ไฟฟูา สังกัดการไฟฟูาส่วนภูมิภาคจังหวัดขอนแก่น จานวน ๔แห่ง ได้แก่พื้นที่ตาบลหนองตูม ตาบลสาวะถีตาบลบ้านทุ่ม และตาบลท่าพระ การประปา อาเภอเมืองขอนแก่นใช้บริการจาก สานักงานการประปาส่วนภูมิภาคจังหวัด ขอนแก่น องค์ก ารโทรศั พท์ มี ๒ สาขา ได้ แก่ สาขาขอนแก่น ๑ และสาขาขอนแก่น ๒ ให้ บ ริการ ติดต่อสื่อสาร ๔๑,๒๙๘ หมายเลข ที่ทาการไปรษณีย์ มี ๔ สาขา ได้แก่ สาขาขอนแก่น, สาขาเทพารักษ์, สาขาศรีจันทร์, สาขามหาวิทยาลัยขอนแก่น สถานี วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ ในเขตพื้ น ที่ อ าเภอเมื อ งขอนแก่ น เป็ น ที่ ตั้ ง ของสถานี วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ แห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น ศูนย์ประชาสัมพันธ์ เขต ๑ และสถานีถ่ายทอดผ่านดาวเทียมของสถานีวิทยุ โทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง ๕,๗,๙ NBT, ไทย PBS และ KTV ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ การเกษตรกรรม การเกษตรเป็ น อาชี พ หลั ก ของอ าเภอเมื อ งขอนแก่ น มี พื้ น ที่ ท า การเกษตร ทั้งหมด ๓๕๑,๖๘๐ ไร่มีครั ว เรือนประกอบอาชีพด้านการเกษตร ๒๖,๐๔๑ ครัว เรือนซึ่งพืช เศรษฐกิจที่ทารายได้ ที่สาคัญได้แก่ ข้าว อ้อย มันสาปะหลัง ถั่วเหลือง และพืชผัก - การปศุสัตว์ สัตว์ที่นิยมเลี้ยงและทารายได้ให้แก่เกษตรกร ได้แก่ โคเนื้อ โคนม กระบือ สุกร เป็ด ไก่ เป็นต้น - การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า เกษตรกรส่วนใหญ่ทาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าโดยการเลี้ยงปลาใน บ่อดินเพื่อยังชีพไว้บริโภคในครัวเรือน พันธุ์ปลาที่นิยมเลี้ยง ได้แก่ ปลานิล ปลาตะเพียน ปลาไน ปลายี่สกปลา ดุ ก พื้ น ที่ ที่ มี ศั ก ยภาพในการเลี้ ย งสั ต ว์ น้ าจะอยู่ ใ นเขตต าบลหนองตู ม ต าบลส าราญต าบลศิ ล าต าบลบึ ง เนี ย ม ตาบลท่ าพระต าบลพระลั บ ต าบลโนนท่ อ น ตาบลโคกสี ซึ่ งเป็ น พื้ นที่ อ ยู่ ใ กล้ แ หล่ งน้ าและมี ค ลอง ส่งน้า นอกจากนี้ยังมีการเลี้ยงปลาในกระชัง ในเขตพื้นที่ตาบลที่มีแม่น้าชี และแม่น้าพองไหลผ่านเช่น ตาบลท่า พระตาบลศิลา ตาบลบึงเนียม ตาบลโนนท่อน ตาบลสาราญ ตาบลโคกสี และตาบลหนองตูม ส่วนใหญ่เลี้ยง เพื่อการค้า หรือเชิงพาณิชย์ ปลาที่นิยมเลี้ยง คือ ปลานิล - การพาณิชย์และอุสาหกรรมอื่น ๆ ได้แก่ การโรงแรม การค้าขาย อุตสาหกรรมขนาด ใหญ่และอุตสาหกรรมในครัวเรือน
5
1.1.3 ปรัชญา/ปณิธานของสถานศึกษา
ปรัชญา
“กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น จัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อปวงชน”
วิสัยทัศน์
“สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เชิดชูคุณธรรม ก้าวนาเทคโนโลยี สู่วิถีพอเพียง คู่เคียงชุมชน”
อัตลักษณ์
“รักการเรียนรู้ คู่ความพอเพียง”
เอกลักษณ์
“จัดการศึกษาเพื่อปวงชน สร้างคนพอเพียง”
พันธกิจ 1. จั ด และส่ ง เสริ ม การศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย ที่ มี คุ ณ ภาพ เพื่อยกระดับการศึกษาพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเปูาหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัย พร้อมรับ การเปลี่ยนแปลงบริบททางสังคม และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่าย ในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งการดาเนินกิจกรรมของศูนย์การเรียนและ แหล่งการเรียนรู้อื่นในรูปแบบต่างๆ ๓. ส่งเสริมและพัฒนาการน าเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ให้ เกิดประสิทธิภาพในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนอย่างทั่วถึง ๔. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การวัดและ ประเมินผลในทุกรูปแบบให้สอดคล้องกับบริบทในปัจจุบัน ๕. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อมุ่งจัดการศึกษา และการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล
คาขวัญประจาอาเภอเมืองขอนแก่น “รักษาประเพณี พัฒนาท้องที่ สร้างสามัคคีในสังคม นิยมประหยัด” 1.2 สภาพปัจจุบัน 1.2.1 บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษา กศน. อ าเภอเมื อ งขอนแก่ น บทบาทหน้ า ที่ ใ นการจั ด การศึ ก ษานอกโรงเรี ย นสายสามั ญ ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 จัดการเรียนการสอนผู้ไม่รู้หนังสือ เพื่อให้อ่านออกเขียนได้ การศึกษาในระดับประถมศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย การศึกษาต่อเนื่อง การศึ ก ษาเพื่ อ การมี ง านท า การศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะชี วิ ต การศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาสั ง คมและชุ ม ชน และการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย การจั ด ตั้ ง กศน.อ าเภอเมื อ งขอนแก่ น มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ จั ด การเรี ย นรู้
6 ที่หลากหลายตามความต้องการของผู้เรียน เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิ ตอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกันสาหรับ ผู้สนใจและประชาชนในชุมชน
1.2.2 โครงสร้างการบริหาร
โครงสร้าง กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น นายบุญส่ง ทองเชื่อม (ผอ. กศน.อาเภอ) กลุ่มงาน อานวยการ
- งานธุรการและสารบัญ - งานการเงินและบัญชี - งานงบประมาณและระดมทรัพยากร - งานพัสดุ - งานบุคลากร - งานอาคารสถานที่และยานพาหนะ - งานแผนงานและโครงการ - งานประชาสัมพันธ์ - งานสวัสดิการ - งานข้อมูลสารสนเทศและการรายงาน - ศูนย์ราชการใสสะอาด - งานควบคุมภายใน - งานนิเทศติดตามและประเมินผล - งานเลขานุการคณะกรรมการ สถานศึกษา
คณะกรรมการสถานศึกษา
กลุ่มงาน การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย - งานส่งเสริมการรู้หนังสือ - งานการศึกษาพื้นฐานนอกระบบ - งาน ปวช. กศน. - งานการศึกษาต่อเนื่อง - งานการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ - งานการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต - งานการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและ ชุมชน - งานการศึกษาตามอัธยาศัย - งานห้องสมุดประชาชน - งานจัดและพัฒนาแหล่งเรียนรู้และภูมิ ปัญญาท้องถิ่น - งานจัดและพัฒนาศูนย์การเรียนชุมชน - งานพัฒนาหลักสูตร สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีการศึกษา - งานทะเบียนและวัดผล
กลุ่มงานภาคีเครือข่าย และกิจการพิเศษ
- งานสนับสนุนภาคีเครือข่าย - งานกิจการพิเศษ - งานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ - งานป้องกันแก้ปัญหาโรคเอดส์/ ยาเสพติด - งานส่งเสริมกิจกรรมประชาธิปไตย - งานสนับสนุนโครงการจังหวัด/
7 1.2.3 ทาเนียบผู้บริหาร ลาดับที่ 1 2 3 4
ชื่อ – สกุล นางรัชนีกร ไทยวิรัช จ.ส.อ.สุรพร สุทธิประภา นายดิษฐพงษ์ กัลยาลักษณ์ นายบุญส่ง ทองเชื่อม
ระยะเวลาที่ดารงตาแหน่ง 2537 – 2546 2546 – 2552 2552 – 2553 2553 – ปัจจุบัน
1.2.4 ครูและบุคลากรทางการศึกษา ลาดับ ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ 8 ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ 15
ตาแหน่ง ผู้อานวยการ ข้าราชการ ครูอาสาสมัครฯ ครู กศน.ตาบล ครูศูนย์การเรียนชุมชน ครู ปวช. วิทยากรวิชาชีพ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป บรรณารักษ์อัตราจ้าง ลูกจ้างชั่วคราว(เจ้าหน้าที่ทาความสะอาด) ครูประจากลุ่มเปูาหมายพิเศษ (ครูสอนเด็กเร่ร่อน) ครูประจากลุ่มเปูาหมายพิเศษ ครูสอนคนพิการ) เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ครูประจากลุ่ม
วุฒิ ปริญญาตรี
วุฒิ ปริญญาโท
อื่น ๆ
รวม
๑ ๗ 20 ๒0 8 1 1 -
๑ ๒ ๑ 17 -
2 ๔ 2 1
๑ ๓ ๘ ๓7 ๒0 8 ๔ ๑ 1 2 1
6
-
-
6
6
-
-
6
35
-
1 รวม
1 35 136
8 1.2.5 หลักสูตรการเรียนการสอน ข้อมูล กศน.ตาบล/ศูนย์การเรียนชุมชน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึก ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น จัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมี กศน.ตาบล ครอบคลุมทั้ ง ๑๘ ตาบล และศูนย์การเรียนชุมชน ๑๓ หมู่บ้าน ในเขตเทศบาลเมืองนครขอนแก่น ๑๓ แห่ง รวมทั้งสิ้น ๔๔ แห่ง ตารางที่ 2 กศน. ตาบล สังกัด กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘
กศน. กศน. กศน. กศน. กศน. กศน. กศน. กศน. กศน. กศน. กศน. กศน. กศน. กศน. กศน. กศน. กศน. กศน.
ชื่อ กศน.ตาบล ตาบลโคกสี ตาบลพระลับ ตาบลดอนหัน ตาบลบ้านค้อ ตาบลบ้านเป็ด ตาบลท่าพระ ตาบลแดงใหญ่ ตาบลบ้านหว้า ตาบลเมืองเก่า ตาบลบ้านทุ่ม ตาบลหนองตูม ตาบลบึงเนียม ตาบลดอนช้าง ตาบลศิลา ตาบลสาราญ ตาบลโนนท่อน ตาบลสาวะถี ตาบลในเมือง
ที่ตั้ง หมู่ที่ ๖ ต.โคกสี หมู่ที่ ๙ ต. พระลับ หมู่ที่ ๑๔ ต.ดอนหัน หมู่ที่ ๑๙ ต.บ้านค้อ หมู่ที่ ๒ ต.บ้านเป็ด หมู่ที่ ๑๘ ต.ท่าพระ หมู่ที่ ๑ ต.แดงใหญ่ หมู่ที่ ๑๑ ต.บ้านหว้า หมู่ที่ ๑๖ ต.เมืองเก่า หมู่ที่ ๑ ต.บ้านทุ่ม หมู่ที่ ๔ ต.หนองตูม หมู่ที่ ๒ ต.บึงเนียม หมู่ที่ ๑ ต.ดอนช้าง หมู่ที่ ๑๕ ต.ศิลา หมู่ที่ ๗ ต.สาราญ หมู่ที่ ๑๓ ต.โนนท่อน หมู่ที่ ๙ ต.สาวะถี ชุมชนโนนทัน ๔ ตาบลในเมือง
หมายเหตุ
ตารางที่ 3 ศูนย์การเรียนชุมชน สังกัด กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ที่ ชื่อศูนย์การเรียนชุมชน ที่ตั้ง ๑ ศูนย์การเรียนชุมชนสามเหลี่ยม หมู่ที่ ๑๖ ถ.ศรีมารัตน์ ต.ในเมือง ๒ ศูนย์การเรียนชุมชนหนองแวงตราชู หมู่ที่ ๑๔ ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง ๓ ศูนย์การเรียนชุมชนหนองใหญ่ ถ.ศรีจันทร์ ต.ในเมือง ๔ ศูนย์การเรียนชุมชนเทพารักษ์ อาคารทาการชุมชนเทพารักษ์ ๕ ศูนย์การเรียนชุมชนศรีฐาน หมู่ที่ ๗ ต.ในเมือง ๖ ศูนย์การเรียนชุมชนหลังศูนย์ราชการ หมู่ที่ ๑๓ ถ.หลังศูนย์ราชการ ในเมือง ๗ ศูนย์การเรียนชุมชนดอนหญ้านาง หมู่ที่ ๑๓ ถ.ราษฏคะนึง ต.ในเมือง ๘ ศูนย์การเรียนชุมชนโนนชัย หมู่ที่ ๑๒ ถ.ราษฏคะนึง ต.ในเมือง ๙ ศูนย์การเรียนชุมชนไทยสมุทร หมู่ที่ ๑๔ ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง
หมายเหตุ
9 ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕
ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านตูม ศูนย์การเรียนชุมชนโนนทัน ๗ ศูนย์การเรียนชุมชนบะขาม ศูนย์การเรียนชุมชนหนองแวงเมืองเก่า ศูนย์การเรียนชุมชนหลังสนามกีฬา ศูนย์การเรียนชุมชนธารทิพย์ ศูนย์การเรียนชุมชนพระลับ ศูนย์การเรียนชุมชนชัยณรงค์ ศูนย์การเรียนชุมชนวัดธาตุ ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านเลิงเปือย ศูนย์การเรียนชุมชนเคหะ ศูนย์การเรียนชุมชนตาบลโคกสี ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านนาเพียง ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านโนนเขวา ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองบัวดีหมี ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านบึงฉิม ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองฮี ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองเบ็ญ ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองโจด ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองตาไก้ ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านเหล่านาดี ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองบัวน้อย ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองกุง ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านโนนม่วง ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านม่วง ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านแดงใหญ่
วัดศรีธาตุ ต.ในเมือง ศาลาชุมชนโนนทัน ๗ ต.ในเมือง หมู่ที่ ๔ ถ.ศรีจันทร์ ต.ในเมือง หมู่ที่ ๑๔ ต.เมืองเก่า ซอย ๑๐ ถ.เหล่านาดี ต.ในเมือง ซอยธารทิพย์ ต.ในเมือง ต.ในเมือง ต.ในเมือง ต.ในเมือง ต.พระลับ ต.เมืองเก่า หมู่ที่ ๖ ต.โคกสี หมู่ที่ ๔ ต.สาราญ(ศูนย์เรียนรู้) ต.ดอนหัน ต. ท่าพระ หมู่ที่ ๔ ต.บึงเนียม หมู่ที่ ๔ ต.ดอนช้าง ต.โนนท่อน หมู่ที่ ๘ ต.บ้านเป็ด ต.สาวะถี หมู่ที่ ๑ ต.บ้านหว้า หมู่ที่ ๖ ต.หนองตูม ต.ศิลา ต.ศิลา ต.บ้านทุ่ม ต.แดงใหญ่
ตารางที่ 4 แสดงจานวนศูนย์การเรียนเครือข่าย ที่ ๑
๒
รายชื่อเครือข่าย ค่ายสีหราชเดโชไชย - กรมทหารราบที่ ๘ - กองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๘ - กองพันทหารปืนใหญ่ที่ ๘ ค่ายศรีพัชรินทร์ - มณฑลทหารบกที่ ๒๓ - กองพันทหารม้าที่ ๖
สถานที่ตั้ง ค่ายสีหราชเดโชไชย ตาบลศิลา อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ค่ายศรีพัชรินทร์ ตาบลศิลา อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
10 ที่
รายชื่อเครือข่าย
สถานที่ตั้ง
๓
เรือนจากลางขอนแก่น
ถนนศรีจันทร์ ตาบลในเมือง อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
๔
ทัณฑสถานบาบัดพิเศษขอนแก่น
๕
ศูนย์ฝึกอบรมเด็กและเยาวชนเขต ๔ขอนแก่น
ถนนศรีจันทร์ ตาบลในเมือง อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ศูนย์ฝึกอบรมเด็กและเยาวชน เขต ๔ ขอนแก่น ตาบล ศิลา อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
๖
ศูนย์รัตนาภา จังหวัดขอนแก่น
ตาบลศิลา อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
ห้ อ งสมุ ด ประชาชน ห้ อ งสมุ ด ประชาชนเฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น ที่ตั้ง ๑๗๔ถนนดรุณสาราญ ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โทรศัพท์ ๐๔๓๒๒๖๔๕๘ เว็บไซต์ http://khonkaen.nfe.go.th/kklibrary_library เว็บไซต์แหล่งเรียนรู้ http://www.itrmu.net/web/๐๑rs๗/ เว็บเชื่อมโยงแหล่งเรียนรู้ http://๒๐๓.๑๗๒.๑๔๒.๑๑/ LRLS/frontend/theme/index.php?Submit=Init&ID_Lib=๕๓ 1.3 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น 1.3.1 การวิเคราะห์ SWOT กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น 1) ปัจจัยหรือสภาพแวดล้อมภายใน (Internal Factor) 1.1) ด้านจุดแข็ง (Strength) - มีเครื อข่ายให้ การสนับสนุนการดาเนินกิจกรรม เช่น องค์กรในชุมชน เอกชน อบต. วัด - มีแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาในชุมชน - มีนักศึกษาเพิ่มขึ้นทุกปีการศึกษา - มีเครื่องมือ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ทางการเรียนการสอนรวมทั้งวิทยาการ เทคโนโลยี สมัยใหม่ เพื่อให้บริการกับกลุ่มเปูาหมาย ให้ทันต่อเหตุการณ์ - มีอาสาสมัคร กศน.ทางานร่วมกันในพื้นที่ทางานแบบจิตอาสาร่วมกับ ครู ศูนย์การเรียนชุมชน - มีบุ คลากร กศน.ที่มีคุ ณภาพ มีความสามารถ และเป็นคนในพื้นที่ จึ ง ทางานใกล้ชิดประชาชนได้ดี - มีขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นของตนเอง - กลุ่ ม เปู า หมายมี ช่ อ งทางการเข้ า ถึ ง เทคโนโลยี ที่ ห ลากหลาย เช่ น อินเตอร์เน็ต โทรศัพท์ โทรทัศน์ - กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น มีสื่อให้บริการที่หลากหลาย เช่น CD VCD DVD
11 - มีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข่าวสาร วารสาร “ฟูาหลังฝน” ทางวิทยุ และทาง Website www.nfe-maungkhonkaen.com - ชุมชนมีการรวมกลุ่ม เช่น กลุ่มอาชีพ กลุ่มออมทรัพย์ 1.2) ด้านจุดอ่อน (Weakness) - เครือข่ายในบางตาบลให้ความสาคัญและความร่วมมือน้อย - ประชาชน/ชุมชน ใช้ทรัพยากร สิ่ งแวดล้อมไม่คุ้มค่า ทุนทางสั งคมถูก ละเลยเช่น ภูมิปัญญาท้องถิน่ - มี ค วามเจริ ญทางเทคโนโลยี กลุ่ ม เปูา หมายตามไม่ ทั น เนื่ องจากขาด ความรู้ ขาดการพัฒนาตนเอง - ประชาชนมีรายได้ไม่แน่นอน - งบประมาณมีไม่เพียงพอต่อการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว - การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง - ชุ ม ชนบางแห่ ง อยู่ ใ นที่ ห่ า งไกลความเจริ ญ วิ ท ยาการและเทคโนโลยี สมัยใหม่ไม่สามารถใช้ได้ในบางจุด จึงเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนางานด้านข้อมูลสารสนเทศ - ประชาชนยังขาดความรู้ความเข้าใจในการมีส่วนร่วม 2) ปัจจัยหรือสภาพแวดล้อมภายนอก (Eritrean Factor) 2.1) ด้านโอกาส (Opportunity) - หน่วยงาน องค์กร เครือข่าย บุคคล ให้การสนับสนุนและมีส่วนร่วมใน งาน กศน. - ประชาชนมีความสนใจกับงานการศึกษานอกโรงเรียน - เส้นทางการคมนาคมสะดวกต่อการเดินทาง - มีช่องทางการประชาสัมพันธ์งาน กศน. ต่อชุมชนที่หลากหลาย - ชุมชนมีการรวมกลุ่มเป็นพลั งชุมชนในการพัฒนางาน กศน.ในพื้นที่ได้ดี เนื่องจากนักศึกษาบางส่วนเป็นผู้นาชุมชน - มีการประสานงานกับผู้นาชุมชนอย่างต่อเนื่อง - มีการกระจายอานาจการบริหารจัดการลงสู่ ชุมชนอย่างทั่วถึง โดยใช้ กศน.ตาบลในการขับเคลื่อนกิจกรรม กศน.ในพื้นที่ - การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีความยืดหยุ่นทั้ง ด้านสถานที่ เวลา วิธีการเรียน การสอน ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในขบวนการการจัดการเรียนการสอน - นโยบายรัฐบาล ทาให้ประชาชนตื่นตัว เห็นความสาคัญของการศึกษา เช่นกลุ่มผู้นาชุมชน กลุ่ม อสม. 2.2) ด้านอุปสรรค (Treat) - ผู้รับบริการบางส่วนมีเวลาว่างในการร่วมกิจกรรมไม่ตรงกัน เนื่องจาก ภาระทางเศรษฐกิจในครอบครัว เป็นอุปสรรคต่อการร่วมกิจกรรม - กิ จ กรรมกลุ่ ม อาชี พ บางกิ จ กรรม มี ก ารพั ฒ นาด้ า นการตลาดน้ อ ย เพราะงบประมาณมีจากัด
12 - งบประมาณไม่ เ พี ย งพอต่ อ การพั ฒ นาทางด้ า นเทคโนโลยี ที่ มี ก าร เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เพื่อจะให้บริการครอบคลุมทุกพื้นที่ - จุดให้บริการทางด้านเทคโนโลยีบางแห่งยังขาดแคลนเมื่อเทียบกับความ ต้องการรับบริการ - กฎหมาย ระเบียบ การปฏิบัติ หลักเกณฑ์ บางอย่างยังไม่ทันต่อความ เปลี่ยนแปลงของสถานการณ์โลก จึงทาให้งานล่าช้ามีขั้นตอนต่าง ๆ มากมาย ทาให้ไม่สะดวกต่อการบริการ ประชาชน - การเมืองและการปกครอง ขณะนี้ยังผันผวนจึงทาให้เกิดผลกระทบต่อ ระเบียบกฎหมายทางด้านการศึกษานอกโรงเรียน - วิถีชีวิตของกลุ่มเปูาหมาย ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรม รับจ้าง มีการย้ายถิ่น เพื่อหางานทาจึงทาให้การจัดกิจกรรมได้ไม่ต่อเนื่อง และมีจานวนหนึ่งที่เรียนไม่จบหลักสูตร 1.3.2 เป้าหมายหลักของการบริหารของการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 1) ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาสทาง การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตาม อั ธ ยาศั ย ที่ มี คุ ณ ภาพ อย่ า งเท่ า เที ย มและทั่ ว ถึ ง เป็ น ไปตามสภาพ ปั ญ หา และความต้ อ งการของแต่ ล ะ กลุ่มเปูาหมาย 2) ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และความ เป็นพลเมืองอันนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพื่อพัฒนาไปสู่ความ มั่นคงและยั่งยืนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม 3) ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถคิด วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งแก้ปัญหาและพัฒ นาคุณภาพชีวิตได้อย่าง สร้างสรรค์ 4) ประชาชนได้รับการสร้างและส่งเสริมให้มีนิสัยรักการอ่านเพื่อการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 5) ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ร่วมจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดาเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชน 6) หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ในการ ยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรู้และเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ให้กับประชาชน 7) หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อและการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนา คุณภาพชีวิตที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งตามความต้องการของประชาชน และชุมชนในรูปแบบที่หลากหลายฉบับเผยแพร่ทาง เว็บไซต์ 8) บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีประสิทธิภาพ 9) หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล
13
ส่วนที่ 2 สาระสาคัญของแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 2.1 แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2561-2580 คณะกรรมการจัดทายุทธศาสตร์ชาติได้ดาเนินการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 25612580) เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ 20 ปี โดยกาหนดวิสัยทัศน์ เปูาหมายและ ยุทธศาสตร์ ดังนี้ วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมี ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และเป็นคติพจน์ประจาชาติว่า “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” เป้าหมาย 1. ความมั่นคง 1.1 การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในประเทศและ ภายนอก ประเทศในทุกระดับ ทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคลมีความมั่นคงในทุก มิติ ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง 1.2 ประเทศมี ค วามมั่ น คงในเอกราชและอธิ ป ไตย มี ส ถาบั น ชาติ ศาสนาและ พระมหากษัตริย์ ที่เข้มแข็ง เป็นศูนย์กลางและที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน ระบบการเมืองมีความมั่นคง เป็นกลไกที่นาไปสู่การบริหารประเทศที่ต่อเนื่องและโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล 1.3 สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกาลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชน มีความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่น 1.4 ประชาชนมี ค วามมั่ น คงในชี วิ ต มี ง านและรายได้ ที่ มั่ น คงพอเพี ย งกั บ การ ดารงชีวิต มีที่อยู่อาศัย และความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน 1.5 ฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงของอาหาร พลังงาน และน้า 2. ความมั่งคั่ง 2.1 ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ยกระดับเป็นประเทศใน กลุ่มรายได้สูง ความเหลื่อมล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียม กัน 2.2 เศรษฐกิจมีความสามารถในการแข่งขันสูง สามารถสร้างรายได้ทั้งภายในและ ภายนอกประเทศ สร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคต และเป็นจุดสาคัญของการเชื่อมโยงในภูมิภาค ทั้ง การคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้าการลงทุนและการทาธุรกิจ มีบทบาทสาคัญในระดับภูมิภาค และระดับ โลก เกิดสายสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้าอย่างมีพลัง 2.3 ความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนาคนอย่างต่อเนื่องได้แก่ ทุน มนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนที่เป็นเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อม 3. ความยั่งยืน
14 3.1 การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดี ไม่สร้าง มลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมจนเกินความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศน์ 3.2 การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับกฎระเบียบ ของประชาคมโลก ซึ่งเป็น ที่ย อมรั บร่ ว มกัน ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมมี คุณภาพดีขึ้น คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม 3.3 ประชาชนทุกภาคส่ ว นในสั งคมยึดถือและปฏิบัติตามปรัช ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างความปรองดองสมานฉันท์ 2. เพื่อเพิ่มกระจายโอกาสและคุณภาพการให้บริการของรัฐอย่างทั่วถึง เท่าเทียม เป็นธรรม 3. เพื่อลดต้นทุนให้ภาคการผลิตและบริการ 4. เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม และบริการด้วยนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) 6 ด้าน โดยมียุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับจุดเน้นเชิง นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและภารกิจสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1. ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง 1) เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักและการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2) ปฏิรู ป กลไกการบริห ารประเทศและพัฒ นาความมั่นคงทางการเมือง ขจัด คอร์รัปชั่น สร้างความเชื่อมั่น ในกระบวนการยุติธรรม 3) การรักษาความมั่นคงภายในและความสงบเรียบร้อยภายใน ตลอดจนการบริหาร จัดการความมั่นคงชายแดนและชายฝั่งทะเล 4) การพัฒนาระบบ กลไก มาตรการและความร่วมมือระหว่างประเทศทุกระดับ และรักษาดุลยภาพความสัมพันธ์กับประเทศมหาอานาจ เพื่อปูองกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคงรูปแบบใหม่ 5) การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนึกกาลังปูองกันประเทศ การรักษาความสงบ เรียบร้อยภายในประเทศ สร้างความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศ 6) การพัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติและระบบบริ หารจัดการภัยพิบัติ รักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม 7) การปรับกระบวนการทางานของกลไกที่เกี่ยวข้องจากแนวดิ่งสู่แนวระนาบมาก ขึ้น 2. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 1) การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมการค้า การลงทุน พั ฒนาสู่ชาติ การค้า 2) การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ เสริมสร้างฐานการผลิตเข้มแข็งยั่งยืน และ ส่งเสริมเกษตรกรรายย่อยสู่เกษตรยั่งยืนเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
15 3) การพัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกิจชุมชน พัฒนาทักษะผู้ประกอบการ ยกระดับผลิตภาพแรงงาน และพัฒนา SMEs สู่สากล 4) การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษและเมือง พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน และพัฒนาระบบเมืองศูนย์กลางความเจริญ 5) การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการขนส่ง ความมั่นคงและพลังงาน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการวิจัยและพัฒนา 6) การเชื่อมโยงกับภูมิภาคและเศรษฐกิจโลก สร้างความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนากับ นานาประเทศ ส่งเสริมให้ไทยเป็นฐานของการประกอบธุรกิจ ฯลฯ 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 1) พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต 2) การยกระดับการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพเท่าเทียมและทั่วถึง 3) ปลูกฝังระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ 4) การสร้างเสริมให้คนมีสุขภาวะที่ดี 5) การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย 4. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม 1) สร้างความมั่นคงและการลดความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจและสังคม 2) พัฒนาระบบบริการและระบบบริหารจัดการสุขภาพ 3) มีสภาพแวดล้อมและนวัตกรรมที่เอื้อต่อการดารงชีวิตในสังคมสูงวัย 4) สร้างความเข้มแข็งของสถาบันทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรมและความเข้มแข็ง 5) พัฒนาการสื่อสารมวลชนให้เป็นกลไกในการสนับสนุนการพัฒนา 5. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1) จัดระบบอนุรักษ์ ฟื้นฟูและปูองกันการทาลายทรัพยากรธรรมชาติ 2) วางระบบบริหารจัดการน้าให้มีประสิทธิภาพทั้ง 25 ลุ่มน้า เน้นการปรับระบบ การบริหารจัดการอุทกภัยอย่างบูรณาการ 3) การพัฒนาและใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4) การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและเมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 5) การร่ วมลดปัญหาโลกร้อนและปรับตัว ให้ พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ 6) การใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์และนโยบายการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 6. ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 1) การปรับปรุงโครงสร้าง บทบาท ภารกิจของหน่วยงานภาครัฐ ให้มีขนาดที่ เหมาะสม 2) การวางระบบบริหารราชการแบบบูรณาการ 3) การพัฒนาระบบบริหารจัดการกาลังคนและพัฒนาบุคลากรภาครัฐ 4) การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ 5) การปรับปรุงกฎหมายและระเบียบต่างๆ ให้ทันสมัย เป็นธรรมและเป็นสากล 6) พัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ 7) ปรับปรุงการบริหารจัดการรายได้และรายจ่ายของภาครัฐ
16 2.2 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้จัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 ขึ้น เพื่อวาง กรอบเปูาหมายและทิศทางการจัดการศึกษาของประเทศ โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึง โอกาสและความเสมอภาคในการศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิ ทธิภาพ พัฒนาคนให้มีสมรรถนะในการทางานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ แนวคิดการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ยึดหลักสาคัญในการจัดการศึกษาประกอบด้วย หลักการ จัดการศึกษาเพื่อปวงชน (Education for All) หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียมและทั่วถึง (Inclusive Education) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และหลักการมีส่วนร่วมของสังคม (All For Education) อีกทั้งยึดตามเปูาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goal : SDGs 2030) ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues) อาทิ คุณภาพของคนช่วงวัย การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ประชากรของประเทศ ความเหลื่อมล้าของการกระจายรายได้ และวิกฤติด้านสิ่งแวดล้อม โดยนายุทธศาสตร์ ชาติมาเป็นกรอบความคิดสาคัญในการจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ โดยมีสาระสาคัญ ดังนี้ วิสัยทัศน์ : คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรี ยนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับ บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และยุทธศาสตร์ชาติ 3. เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และร่วมมือผนึกกาลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. เพื่อน าประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหลื่ อมล้ า ภายในประเทศลดลง ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ประกอบ 6 ยุทธศาสตร์ โดยมียุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องจุดเน้นเชิงนโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและภารกิจสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ เป้าหมาย 1. คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่พิเศษ ได้รับการศึกษาและเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 3. คนทุกช่วงวัยได้รับการศึกษา การดูแลและปูองกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบ ใหม่ แนวทางการพัฒนา 1. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบั นหลักของชาติ และ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
17 3. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในพื้นที่พิเศษ (พื้นที่ สู ง พื้ น ที่ต ามแนวตะเข็บ ชายแดน และพื้น ที่เ กาะแก่ง ชายฝั่ ง ทะเล ทั้ งกลุ่ ม ชนต่า งเชื้อ ชาติ ศาสนา และ วัฒนธรรม กลุ่มชน-ชายขอบ และแรงงานต่างด้าว) 4. พัฒ นาการจั ดการศึ กษาเพื่อ การจัด ระบบการดู แลและปูองกันภั ยคุ กคามใน รูปแบบใหม่ อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบต่าง ๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจากธรรมชาติภัยจากโรค อุบัติใหม่ ภัยจากไซเบอร์ เป็นต้น ยุท ธศาสตร์ ที่ 2 การผลิ ต และพั ฒนาก าลั ง คน การวิ จั ย และนวั ต กรรมเพื่ อ สร้ า งขี ด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เป้าหมาย 1. กาลังคนมีทักษะที่สาคัญจาเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาด งานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2. สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญ และเป็นเลิศเฉพาะด้าน 3. การวิ จั ย และพั ฒ นาเพื่ อ สร้ า งองค์ ค วามรู้ แ ละนวั ต กรรมที่ ส ร้ า งผลผลิ ต และ มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ แนวทางการพัฒนา 1. ผลิตและพัฒนากาลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาที่ตรงตามความต้องการของตลาด งานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2. ส่งเสริมการผลิตและพัฒนากาลังคนที่มีความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน 3. ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและ มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เป้าหมาย 1. ผู้ เ รี ย นมี ทั ก ษะและคุ ณ ลั ก ษณะพื้ น ฐานของพลเมื อ งไทยและทั ก ษะและ คุณลักษณะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 2. คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ 3. สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตาม หลักสูตรได้อย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน 4. แหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ 5. ระบบและกลไกการวัด การติดตามและประเมินผลมีประสิทธิภาพ 6. ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้มาตรฐานระดับสากล 7. ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน
18 แนวทางการพัฒนา 1. ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และการพัฒนา คุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละช่วงวัย 2. ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน และสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ให้ มี คุณภาพมาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ 3. สร้ า งเสริ ม และปรั บ เปลี่ ย นค่ า นิ ย มของคนไทยให้ มี วิ นั ย จิ ต สาธารณะ และ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ 4. พั ฒ นาระบบและกลไกการติ ด ตาม การวั ด และประเมิ น ผลผู้ เ รี ย นให้ มี ประสิทธิภาพ 5. พัฒนาคลังข้อมูล สื่อ และนวัตกรรมการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 6. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 7. พัฒนาคุณภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา เป้าหมาย 1. ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ 2. การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาสาหรับคนทุก ช่วงวัย 3. ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้อง เป็น ปัจจุบัน เพื่อการวางแผนการบริหารจัดการศึกษา การติดตามประเมิน และรายงานผล แนวทางการพัฒนา 1. เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ 2. พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาสาหรับคนทุกช่วงวัย 3. พัฒนาฐานข้อมูลด้านการศึกษาที่มีมาตรฐาน เชื่อมโยงและเข้าถึงได้ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย 1. คนทุกช่วงวัย มีจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิด ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ 2. หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชี วิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ 3. การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แนวทางการพัฒนา 1. ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และ นาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในการดาเนินชีวิต 2. ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
19 3. พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรม ด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา เป้าหมาย 1. โครงสร้ าง บทบาท และระบบการบริห ารจัดการการศึ กษามีค วามคล่ อ งตั ว ชัดเจนและสามารถตรวจสอบได้ 2. ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา 3. ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการ ของประชาชนและพื้นที่ 4. กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะที่ แตกต่างกันของผู้เรียน สถานศึกษา และความต้องการกาลังแรงงานของประเทศ 5. ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็น ธรรม สร้างขวัญกาลังใจ และส่งเสริมให้ปฏิบัติงานได้อย่างเต็มตามศักยภาพ แนวทางการพัฒนา 1. ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการศึกษา 2. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา 3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา 4. ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับระบบการเงินเพื่อการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพและ ประสิทธิภาพการจัดการศึกษา 5. พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 2.3 ทักษะที่สาคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ การศึกษาได้รับการคาดหมายให้ทาหน้าที่ต่างๆ มากมายทั้งในทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ นับตั้งแต่การช่วยให้ประชาชนอ่านออกเขียนได้และคิดเป็น เรียนรู้จริยธรรมและความเป็นพลเมือง ตลอดจน พัฒนาทักษะทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะช่วยเพิ่มความเท่าเทียมในสังคมในระยะยาว จากบทบาทหน้าที่ที่สาคัญหลายประการดังกล่าว การศึกษาที่ไม่มีคุณภาพจึงก่อให้เกิดปัญหาร้ายแรง ต่อประเทศ โดยเฉพาะอย่ างยิ่ งในศตวรรษที่ 21 ซึ่งประชาชนต้องการทักษะการคิดและการดารงชีวิตที่ แตกต่างจากอดีตที่ผ่านมาอย่างมีนัยสาคัญ เพื่อการพัฒนาประเทศไทยชี้ให้เห็นว่า เปูาหมายของการปฏิรูป ระบบการศึกษาไทยคือ (1) การพัฒนาระบบการเรียนการสอนเพื่อเติมเต็มศักยภาพให้นักเรียนมีทักษะแห่ง ศตวรรษที่ 21 (2) การพัฒนาระบบครูให้มีคุณภาพ (3) การสร้างความรับผิดชอบ (accountability) ในระบบ การศึกษา และ (4) การลดปัญหาความเหลื่อมล้าด้านต่างๆ ในระบบการศึกษา 1.1 การพัฒนาระบบการเรียนการสอนเพื่อเติมเต็มศักยภาพให้นักเรียนมีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 แนวคิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ตั้งอยู่บนฐานคิดที่เชื่อว่า รูปแบบการศึกษาแบบดั้งเดิม ในช่ ว งศตวรรษที่ 20 ซึ่ ง เน้ น ย้ าแต่ ก ารเรี ย นและท่ อ งจ าเนื้ อ หาในสาระวิ ช าหลั ก อาทิ คณิ ต ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาศาสตร์ สั งคมศึกษา ไม่เพีย งพออีกต่ อไปแล้ ว ในการดารงชีวิตและการทางานในโลก ศตวรรษใหม่ภ ายใต้ความท้าทายใหม่ สาหรับแนวคิดทักษะแห่ งศตวรรษที่ 21 นั้น ตั้งต้นจากผลสั มฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ที่จาเป็นสาหรับศตวรรษที่ 21 โดยให้ความสาคัญกับการปลูกฝัง “ทักษะ” ที่จาเป็นในศตวรรษ
20 ที่ 21 เช่น ทักษะในการคิดขั้นสูง ทักษะในการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะชีวิตและการทางาน ทักษะด้าน สารสนเทศและการสื่อสาร ควบคู่กับ “เนื้อหา” ในสาระวิชาหลักและความรู้ อื่นที่สาคัญในศตวรรษที่ 21 เช่น ความรู้เรื่องโลก ความรู้ด้านการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ ความรู้ด้านพลเมือง ความรู้ ด้านสุขภาพ และความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม ผ่านหลักสูตรที่มีลักษณะกระชับ (lean curriculum) ช่างคิด (thinking curriculum) และบูร ณาการ (interdisciplinary curriculum) เพื่อสร้างนักเรียนที่มี “คุณลักษณะ” อันพึงปรารถนาของโลกศตวรรษที่ 21 ได้ นั่นคือ รู้จักคิด รักการเรียนรู้ มีสานึกพลเมือง มี ความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความสามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง มีประสิทธิผลตลอดชีวิต นอกจากนี้ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ยังต้องมีการผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับเนื้อหาและ วิธีการสอน โดยใช้เทคโนโลยีสนับสนุนทฤษฎีการเรียนรู้แบบใหม่ในการพัฒนาเนื้อหาและทักษะแบบใหม่อีก ด้วย เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ควรมีคุณลักษณะที่มี ชีวิต มีพลวัต มีปฏิสัมพันธ์ การเชื่อมต่อ และมีส่วนร่วม ใช้สื่อผสมอย่างหลากหลาย ปรับเปลี่ยนตามความสามารถและระดับของผู้เรียน มีเนื้อหาที่ไม่ ยึดติดกับตัวสื่อ เลือกประกอบเนื้อหาได้เอง ค้นหา-แก้ไข-จดบันทึกได้ เก็บประวัติการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ และมีระบบการประเมินผลการเรียนรู้ที่รวดเร็วและต่อเนื่อง
แผนภูมิที่ 1 เปูาหมายของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 1.2 การสร้างความรับผิดชอบ (accountability) ในระบบการศึกษา 1.2.1 สภาพปัญหา ปัญหาของระบบศึกษาไทยไม่ได้เกิดจากการขาดแคลนทรัพยากรอีกต่อไป แต่เป็นปัญหาเรื่อง การใช้ทรัพยากรอย่างไม่มีประสิทธิภาพ กล่าวคือ ใช้ทรัพยากรมากแต่ผลสัมฤทธิ์ต่า ดังที่ข้อมูลชี้ว่าในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา งบประมาณของกระทรวงศึกษาธิการเพิ่มขึ้นกว่า 3 เท่า และอยู่ในระดับไม่น้อยกว่าประเทศอื่นใน เอเชีย ส่วนรายได้ต่อเดือนของครูที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีและสอนอยู่ในโรงเรียนรัฐก็เพิ่มสูงขึ้นจาก ประมาณ 1.5 หมื่นบาทในปี 2544 เป็นประมาณ 2.5 หมื่นบาทในปี 2553 ซึ่งถือเป็นระดับรายได้ที่ไม่น้อย
21 ว่าอาชีพอื่น แต่ในทางตรงกันข้าม ผลคะแนนการทดสอบมาตรฐานของนักเรียนไทยทั้งในระดับประเทศและ ระดับนานาชาติกลับมีแนวโน้มลดต่าลงมาก
แนวความคิดเรื่อง accountability รั บาล
การแสดงออกทาง การเมือง
สายความรับผิดชอบยาว
การอุด นุน กากับดูแล ประเมินผล และใ ้รางวัล
พ่อแม่เลือกโรงเรียนจากข้อมูล คุณภาพโรงเรียน โรงเรียนมีอิสระในการบริ าร สายความรับผิดชอบสั้น พ่อแม่
สถานศึกษา การกากับดูแลและใ ้รางวัล
ดัดแปลงจาก World Bank (2011)
ครู
แผนภูมทิ ี่ 2 กรอบแนวคิดเรื่องความรับผิดชอบ ในกรณีของระบบการศึกษา หัวใจสาคัญของการปฏิรูปเพื่อสร้างความรับผิดชอบคือ การทา ให้โรงเรียนมีความรับผิดชอบโดยตรงต่อผู้ปกครองและนักเรียนมากขึ้น โดยโรงเรียนควรมีอิสระในการบริหาร จัดการ และผู้ปกครองควรมีสิทธิเลือกโรงเรียนให้ลูกตามข้อมูลคุณภาพของโรงเรียนที่ได้รับการเปิดเผยต่อ สาธารณะ กล่าวคือ มีการส่งเสริมให้เกิดระบบ “ความรับผิดชอบสายสั้น” (short-route of accountability) หรือสายความรับผิดชอบระหว่าง “ผู้ปกครอง-โรงเรียน-ครู” โดยไม่ต้องผ่านรัฐบาล เพิ่มมากขึ้น กระนั้น ในอีกด้านหนึ่งก็ต้องมีการปฏิรูประบบ “ความรับผิดชอบสายยาว” (long-route of accountability) หรือสายความรับผิดชอบระหว่าง “ผู้ปกครอง-รัฐบาล-โรงเรียน-ครู” ซึ่งมีรัฐบาลเป็นตัว คั่นกลางในระบบ โดยรัฐบาลหรือหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องควรมี บทบาทในการเสริมสร้างความรับผิดชอบ ของระบบการศึกษา เช่น การปรั บ ปรุ งระบบการเงินเพื่อการศึกษา ระบบประเมินผลงานครู และระบบ ประเมินคุณภาพสถานศึกษา ในแนวทางที่ทาให้ผู้บริหารโรงเรียนและครูต้องรับผิดชอบโดยตรงต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของนักเรียน ระบบความรับผิดชอบมีความสาคัญต่อระบบการศึกษามาก ดังแสดงไว้ในภาพที่ 3 กล่าวคือ ระบบความรับผิดชอบที่ดีเป็นปัจจัยหลักในการส่งเสริมให้กระบวนการแปลงทรัพยากรนาเข้า (inputs) เป็น ผลลัพธ์ (outputs) และ/หรือผลได้ต่อสังคม (outcomes) เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล นั่น คือมีการใช้ทรัพยากรทางการศึกษาเพื่อบรรลุผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้อย่างคุ้มค่า ทั้งนี้ บนเส้นทางของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อบรรลุผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ที่พึง ปรารถนา ระบบการสร้างความรับผิดชอบต้องทางานร่วมกับระบบอื่นๆ ที่มีความสาคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน นั่นคือ ระบบการเรียนรู้ อันได้แก่ หลักสูตร ตาราเรียน สื่อและเทคโนโลยี และระบบสนับสนุนการเรียนรู้ อัน ได้แก่ ระบบการบริ ห ารจั ดการโรงเรี ยนที่เป็นอิส ระ ทั้งเรื่องการประเมินคุณภาพสถานศึกษา การพัฒ นา
22 คุณภาพครู และการมีงบประมาณที่เพีย งพอต่ อการยกระดับ ผลการเรียนของนักเรียน รวมถึงระบบการ ช่วยเหลือและยกระดับคุณภาพนักเรียน ครู และสถานศึกษา
แผนภูมทิ ี่ 3 ความรับผิดชอบในระบบการศึกษา ในกระบวนการสร้างความรับผิดชอบให้แก่ระบบการศึกษาไทย จาเป็นต้องสร้างเงื่อนไข พื้นฐานสามประการให้เกิดขึ้น มิเช่นนั้นระบบความรับผิดชอบย่อมมิอาจทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เงื่อนไข พื้นฐานเหล่านี้ ได้แก่ หนึ่งการปฏิรูประบบข้อมูลข่าวสาร หมายถึง การผลิตและการกระจายข้อมูลด้านสิทธิและ หน้าที่ของฝุายต่างๆ และข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียนและครู ผลลัพธ์ และผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา สาหรับการ ประเมินเพื่อให้รางวัลและปรับปรุงพัฒนา สองการปฏิรูประบบบริหารจัดการโรงเรียน หมายถึง การกระจายการตัดสินใจไปยังโรงเรียน ให้โรงเรียนมีอิสระในการบริหารจัดการตนเอง ภายใต้ระบบความรับผิดชอบที่ดี สามการปฏิรูปโครงสร้างสิ่งจูงใจ หมายถึง การเชื่อมโยงการจ้างงานหรือผลตอบแทนครูและ ผู้บริหารโรงเรียนเข้ากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของนักเรียนในระดับที่เหมาะสม เพื่อให้ครูและผู้บริหาร โรงเรียนใส่ใจในการเป็นเจ้าภาพรับผิดชอบในการพัฒนานักเรียนอย่างแท้จริง 1.2.2 ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูป ระบบความรับผิดชอบควรถูกออกแบบขึ้นโดยมีเปูาหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาบน เส้นทางของการสร้างนักเรียนให้มีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 โดยรับผิดชอบต่อนักเรียนและผู้ปกครอง ผ่าน ระบบการให้รางวัลและลงโทษ และผ่านระบบการให้ความช่วยเหลือนักเรียน ครู หรือสถานศึกษาที่มีปัญหา กล่ า วโดยสรุ ป หั ว ใจส าคั ญ ของการปฏิ รู ป ระบบการศึ ก ษาอยู่ ที่ ก ารสร้ า งระบบความ รั บ ผิ ด ชอบ เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาตามแนวคิ ด ทั ก ษะแห่ ง ศตวรรษที่ 21 โดยให้ โ รงเรี ย นมี ค วาม รับผิดชอบโดยตรงต่อผู้ปกครองและนักเรียนมากขึ้น โดยโรงเรียนควรเป็นหน่วยหลักในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา และมีอิสระในการบริหารจัดการ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการออกแบบหลักสูตร วิธีการสอน และ วิธีการวั ดผลตามแนวคิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ให้ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และเจตนารมณ์ของโรงเรียน รวมถึงตอบสนองต่อสภาพปัญหาและความต้องการชุมชน รวมถึงการฝึกอบรมพัฒนาครู และการประเมิน
23 คุ ณ ภาพสถานศึ ก ษาภายใน โดยมี ก ารปฏิ รู ป ระบบการจั ด ท าและเผยแพร่ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ คุ ณ ภาพของ สถานศึกษาต่อสาธารณะเพื่อเป็นพื้นฐานสาหรับการตัดสินใจของผู้ปกครองในการคัดเลือกโรงเรียน และสร้าง ระบบให้ความช่วยเหลือโรงเรียน ครูและนักเรียนที่มีปัญหาการปฏิรูประบบการศึกษาต้องดาเนินการร่วมกันใน 5 ด้าน อันได้แก่ (1) การปฏิรูปหลักสูตร สื่อการเรียนรู้และเทคโนโลยี (2) การปฏิรูประบบการวัดและ ประเมินผลการเรียน (3) การปฏิรูประบบการพัฒนาคุณภาพครู (4) การปฏิรูประบบการประเมินคุณภาพ สถานศึกษา และ (5) การปฏิรูประบบการเงินเพื่อการศึกษา ซึ่งรายละเอียดของข้อเสนอเพื่อการปฏิรูปจะเล่าสู่ กันฟังในโอกาสต่อไป 1.3 การสร้างนักเรียนให้มี “ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21” ในฐานะเป้าหมายของระบบความ รับผิดชอบ ระบบความรับผิดชอบเพื่อการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนและการช่วยเหลือนักเรียน ครู และ สถานศึกษาที่มีปัญหา จักเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีการกาหนดเปูาหมาย พันธะหน้าที่ เจ้าภาพในการรับผิดชอบ พัน ธะหน้ า ที่ ต่ า งๆ และระบบการประเมิ น ผล เช่ น นี้ แ ล้ ว ผู้ ม อบหมายจึ ง จะสามารถก ากั บ ดู แ ล ติ ด ตาม ประเมินผล และตรวจสอบการทาหน้าที่ของผู้ได้รับมอบหมายได้ ซึ่งทาให้ผู้มอบหมายและภาครัฐสามารถเข้า ไปร่วมช่วยเหลือและร่วมพัฒนาในกรณีที่ผู้ได้รับมอบหมายมีความบกพร่องในการปฏิบัติหน้าที่ระบบความ รับผิดชอบควรถูกออกแบบขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาบนเส้นทางของการสร้างนักเรียนให้มีทักษะแห่ง ศตวรรษที่ 21 โดยรับผิดชอบต่อนักเรียนและผู้ปกครอง ผ่านระบบการให้รางวัลและการลงโทษ และผ่าน ระบบการให้ความช่วยเหลือนักเรียน ครู หรือสถานศึกษาที่มีปัญหา เปูาหมายของระบบความรับผิ ดชอบก็คือ ความสามารถในการสร้างนักเรียนให้มีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 1.4 การปฏิรู ป ระบบการศึ ก ษาขั้ น พื้น ฐานให้ เ กิด ความรั บ ผิด ชอบภายใต้ แ นวคิ ด ทั กษะแห่ ง ศตวรรษที่ 21 หัวใจสาคัญของการปฏิรูประบบการศึกษาอยู่ที่การสร้างระบบความรับผิดชอบเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษาตามแนวคิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 และมีอิสระในการบริหารจัดการ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการ ออกแบบหลั กสู ต ร วิธี การสอน และวิ ธีการวัดผลตามแนวคิดทั กษะแห่ งศตวรรษที่ 21 ให้ ส อดคล้ องกั บ วิสั ย ทัศ น์ แ ละเจตนารมณ์ รวมถึง ตอบสนองต่ อสภาพปั ญหาและความต้อ งการของชุ มชน ตลอดจนการ ฝึกอบรมและการพัฒนาครู และการประเมินคุณภาพสถานศึกษาภายใน โดยมีการปฏิรูประบบการจัดทา และ เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพของสถานศึกษาต่อสาธารณะ เพื่อเป็นพื้นฐานสาหรับการตัดสินใจ การปรับ หลั กสูตร สื่ อการเรี ย นรู้ และการพัฒ นาครู ก็ยังคงเป็นหั ว ใจส าคัญของการปฏิรูประบบ การศึกษา เพราะระบบในปัจจุบันยังไม่เอื้ออานวยให้เกิดการเรียนรู้ตามแนวคิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21แต่ การปฏิรู ป ระบบการเรี ย นรู้ เพื่อให้ นั กเรี ย นสามารถเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมกับบริบทของศตวรรษที่ 21 จาเป็ น ต้องลงมือทาควบคู่ไปกับการปฏิรู ป ด้านอื่นๆ เช่น การสร้างระบบความรับผิ ดชอบดังที่ได้ก ล่ าวไป รวมถึงการลดความเหลื่อมล้าของคุณภาพการศึกษา โดยจัดสรรงบประมาณให้กับพื้นที่ที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจ และสังคมมากขึ้น และสร้างระบบให้ความช่วยเหลือโรงเรียน ครู และนักเรียนที่มีปัญหา ทั้งนี้ การปฏิรูประบบการศึกษาต้องดาเนินการร่วมกันทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ (1) การปฏิรูปหลักสูตร สื่อการเรียนรู้ และเทคโนโลยี (2) การปฏิรูประบบการวัดและประเมินผลการเรียน (3) การปฏิรูประบบการพัฒนาคุณภาพครู (4) การปฏิรูประบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษา และ (5) การปฏิรูประบบการเงินเพื่อการศึกษา
24
แผนภูมทิ ี่ 4 การปฏิรูป 5 ด้าน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยการปฏิรูปนั้นต้องดาเนินไปทั้งสองระดับ คือ “ระดับประเทศ” ที่มุ่งตอบโจทย์ด้านการสร้างความ รับผิดชอบโดยบทบาทของรัฐเป็นสาคัญ และ “ระดับสถานศึกษา” ที่มุ่งตอบโจทย์ด้านความเป็นอิสระของ สถานศึกษาในฐานะหน่วยหลักของการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนเป็น สาคัญ (1) การปฏิรูประบบการศึกษาในระดับประเทศ แนวทางการปฏิ รู ป ระบบการศึ ก ษาในระดั บ ประเทศ มุ่ ง เน้ น ไปที่ ก ารสร้ า งระบบความ รับผิดชอบเป็นสาคัญ โดยรัฐปรับบทบาทมาเป็นผู้กากับดูแลคุณภาพของระบบการศึกษา ในการนี้จุดเริ่มต้นของการปฏิ รูประบบการศึกษาเพื่อสร้างความรับผิดชอบ คือการปฏิรูป ระบบการทดสอบมาตรฐานระดับประเทศ (standardized test) ให้เป็นการทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจและ ทักษะ (literacy-based test) ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 มากกว่าการทดสอบที่มุ่งวัด ความรู้ในเนื้อหาวิชาตามหลักสูตรดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เพื่อสร้างความรับผิดชอบในระบบการศึกษา ผลการ สอบมาตรฐานระดับ ประเทศแบบใหม่จ ะถูกนาไปใช้ ในการประเมินผลงานของครู การประเมินคุ ณภาพ สถานศึกษา และการประเมินผลผู้บริหารสถานศึกษา กระบวนการสร้างความรับผิดชอบทั้งหมดนี้มีเปูาหมาย สุดท้ายคือเพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน โดยสร้างผู้เรียนให้มีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
25
แผนภูมทิ ี่ 5 แนวทางการปฏิรูประบบการศึกษาในระดับประเทศ (2) การปฏิรูประบบการศึกษาในระดับสถานศึกษา แนวทางการปฏิ รู ป การศึ ก ษาในระดั บ สถานศึ ก ษาถื อ ว่ า โรงเรี ย นเป็ น ศู น ย์ กลางในการ ปรับเปลี่ยน โดยโรงเรียนต้องทาหน้าที่เป็นหน่วยหลักของการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพการ เรียนการสอน เงื่อนไขที่จาเป็นของการปฏิรูปคือโรงเรียนต้องมีความเป็นอิสระในการบริหารการศึกษา โดย ได้รับงบประมาณและการสนับสนุนทางวิชาการที่เพียงพอจากรัฐ การปฏิรูปการศึกษาในระดับสถานศึกษาเน้นไปที่การพัฒนาคุณภาพของการจัดการเรียนการ สอนเป็นสาคัญ ภายใต้หลักความยืดหยุ่น ความหลากหลาย ความมีพลวัต การมีส่วนร่วมจากผู้ปกครองและ ชุมชน ความสามารถในการตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและชุมชน และการมีสภาพแวดล้อมทาง การศึกษาที่เอือ้ ให้เกิดการเรียนรู้และการพัฒนา
แผนภูมทิ ี่ 6 แนวทางการปฏิรูประบบการศึกษาในระดับสถานศึกษา (3) การปฏิรูปหลักสูตร สื่อการเรียนรู้ และเทคโนโลยี หลักสูตร สื่อการเรียนรู้ และเทคโนโลยี ของระบบการศึกษาไทยยังมีช่องว่างในการปรับปรุง ให้สอดคล้องกับแนวคิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในส่วนของการวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางของไทย พบว่า (1.1) หลักสูตรยังขาดวิสัยทัศน์และเปูาหมายที่ชัดเจนในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ตามแนว ทางการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
26 (1.2) องค์ประกอบหลายส่วนในหลักสูตรยังไม่ได้รับการออกแบบให้ส่งเสริมการพัฒนาทักษะ แห่งศตวรรษที่ 21 ตามแนวคิด “หลักสูตรกระชับ” “หลักสูตรช่างคิด” และ “หลักสูตรบูรณาการ” (1.3) โครงสร้างเวลาเรียนกาหนดเวลาเรียนอย่างเคร่งครัดตามสาระการเรียนรู้ และกาหนด จานวนชั่วโมงเรียนตามข้อบังคับของหลักสูตรมากเกินไป ซึ่งขัดแย้งกับแนวคิด “สอนให้น้อยลง เรียนรู้ให้มาก ขึ้น” (1.4) ตัวชี้วัดมีลักษณะอิงเนื้อหาค่อนข้างมากในหลายสาระการเรียนรู้ ซึ่งทาให้เนื้อหาใน หลักสูตรมีลักษณะแยกส่วน และไม่สนับสนุนการพัฒนาทักษะเท่าที่ควร (4) การปฏิรูประบบการวัดและประเมินผลการเรียน ระบบการวัดและประเมินผลการเรียนในปัจจุบัน ซึ่งเน้นการทดสอบเป็นหลัก ไม่สามารถ นาพานักเรียนให้มีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ได้ เนื่องจากข้อสอบส่วนใหญ่มีลักษณะท่องจาและมุ่งเน้นแต่ เนื้อหา ไม่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และการวิพากษ์ อีกทั้งไม่ช่วยเสริมสร้างทักษะอื่นที่จาเป็น เช่น ความคิด สร้ างสรรค์ และการทางานเป็ น ทีม การปฏิ รูป ระบบการวัด และประเมิ นผลการเรี ยนในสองระดั บ ทั้ง ใน ระดั บ ประเทศ เพื่ อ สร้ า งความรั บ ผิ ด ชอบ และในระดั บ โรงเรี ย น เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพของผู้ เ รี ย น ใน ระดับประเทศ ระบบการทดสอบมาตรฐานในระดับประเทศ โดยปรับจากระบบ O-NET และอื่นๆ ในปัจจุบัน เป็นการทดสอบเพื่อวัดความรู้ความเข้าใจและทักษะ (literacy-based test) ซึ่งสามารถประยุกต์เนื้อหาเข้ากับ โจทย์ในชีวิตประจาวันได้ นักเรียนต้องใช้ความเข้าใจและความสามารถในการประยุกต์เพื่อทาข้อสอบ มากกว่า ใช้ค วามจ าหรื อการใช้เ ทคนิ ค การทาข้อ สอบ โดยปราศจากความเข้า ใจที่ แท้ จริ ง และนาผลการทดสอบ มาตรฐานระดับประเทศแบบใหม่นี้ไปสร้างความรับผิดชอบในระบบการศึกษา เช่น การประเมินผลงานของครู การประเมินสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและช่วยเหลือสถานศึกษาที่มีปัญหา และการประเมินผลและให้ รางวัลแก่ผู้บริหารสถานศึกษา (5) การปฏิรูประบบการพัฒนาคุณภาพครู การศึกษาวิเคราะห์ระบบการพัฒนาคุณ ภาพครูในสองมิติ ได้แก่ ระบบการฝึกอบรมครู และ ระบบการประเมินสมรรถนะและผลงานครูเพื่อให้ผลตอบแทน ในส่วนของระบบการฝึกอบรมครู ชี้ว่าสภาพ ปัญหาสาคัญในปัจจุบันคือรัฐมีบทบาทอย่างมากในการจัดหาผู้จัดการอบรมและจัดทาเกณฑ์รับรองหลักสูตร ทาให้หลักสูตรการฝึกอบรมครูไม่สอดคล้ องกับปัญหาที่ครูและโรงเรียนเผชิญ การอบรมส่วนใหญ่เป็นการฟัง บรรยายมากกว่าการฝึกปฏิบัติ รวมทั้งยังขาดระบบติดตามและสนับสนุนให้มีการนาความรู้ไปใช้ จึงทาให้การ อบรมสิ้นสุดเพียงขั้นตอนการสร้างและถ่ายทอดความรู้ แต่ไปไม่ถึงขั้นตอนการนาความรู้ไปปฏิบัติ การฝึก ปฏิบัติ และการทบทวนและแลกเปลี่ยนเพื่อแก้ไขปัญหาจากการปฏิบัติ อีกทั้งผลการประเมินคุณภาพครูและ สถานศึกษาไม่ได้ถูกนามาใช้ในการประเมินคุณภาพของการฝึกอบรมครู (6) การประเมินคุณภาพสถานศึกษา การประเมินคุณภาพสถานศึกษากระทาผ่านระบบการประเมินคุณภาพภายนอก ภายใต้การ ดูแลของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เป็นหลักระบบการประเมินคุณภาพ ภายนอกดังกล่าวมีปัญหาหลายประการในปฏิบัติการจริง ตัวอย่างเช่น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนมี น้าหนักเพียงร้อยละ 20 ของคะแนนทั้งหมด และวัดจากสัดส่วนของนักเรียนที่ผ่านขีดจากัดล่ าง ซึ่งอยู่ใน ระดับค่อนข้างต่า ผู้ประเมินมีปัญหาด้านคุณภาพและความเป็นมืออาชีพ และทรัพยากรในการประเมินมีจากัด ในขณะที่ต้องประเมินสถานศึกษาจานวน 35,000 แห่งภายในเวลา 5 ปี สาหรับการประเมินคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาเองก็ยังมีปัญหาในเชิงคุณภาพ โดยมุ่ง กระทาเพื่อสนับสนุนระบบประเมินคุณภาพภายนอกมากกว่าจะเป็นไปเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนใน
27 สถานศึกษาการประเมินคุณภาพภายนอกยังเชื่อมโยงการใช้ประโยชน์จากการประเมินคุณภาพภายในได้ไม่ดี พอ เช่น ผู้ประเมินภายนอกไม่ได้รับรายงานการประเมินคุณภาพภายในก่อนออกตรวจประเมิน ข้อเสนอเชิง นโยบายเพื่อการปฏิรูประบบประเมินคุณภาพสถานศึกษา โดยชี้ว่าระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาควร ใช้การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นหน่วยหลักในการประเมินเพื่อพัฒนาคุณภาพ โดยสะท้อนให้ เห็นจุดแข็งและจุดอ่อนของสถานศึกษาตามที่เป็นจริงแบบไม่มุ่งตัดสิน แต่มีบทบาทในการชี้ปัญหาเพื่อแก้ไข (7) การปฏิรูประบบการเงินเพื่อการศึกษา ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการปฏิรูประบบการเงินเพื่อการศึกษาคือ แนวทางการปฏิรูปควรมี วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความรับผิดชอบและลดความเหลื่อมล้าระหว่างพื้นที่ควบคู่กันไป ผ่านสูตรการจัดสรร งบประมาณของรัฐที่คานึง ถึงสภาพเศรษฐกิจและสังคมในแต่ละพื้นที่ที่แตกต่างกัน และให้งบประมาณอย่าง เพียงพอต่อการพัฒนานักเรียนให้ข้ามผ่านมาตรฐานขั้นต่าตามที่กาหนดเป็นเปูาหมายไว้ได้ ในระยะยาว รัฐควร ปรั บ เปลี่ ย นระบบการเงิน เพื่อการศึกษาไปสู่ระบบการเงินด้านอุปสงค์ให้ มากขึ้น จะช่ว ยเพิ่มระดับ ความ รับผิดชอบให้แก่ระบบการศึกษา 2.4 นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 วิสัยทัศน์ คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดารงชีวิตที่ เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จาเป็นในโลกศตวรรษที่ ๒๑ พันธกิจ ๑. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพื่อยกระดับ การศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเปูาหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัย และพร้อมรับการ เปลี่ยนแปลงบริบททางสังคม และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ๒. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่าย ในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งการดาเนินกิจกรรมของศูนย์การเรียนและแหล่ง การเรียนรู้อื่น ในรูปแบบต่างๆ ๓. ส่งเสริมและพัฒนาการนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ให้เกิด ประสิทธิภาพในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนอย่างทั่วถึง ๔. พั ฒ นาหลั ก สู ต ร รู ป แบบการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ สื่ อ และนวั ต กรรม การวั ด และ ประเมินผลในทุกรูปแบบให้สอดคล้องกับบริบทในปัจจุบัน ๕. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อมุ่งจัดการศึกษาและ การเรียนรู้ที่มีคุณภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล เป้าประสงค์ ๑. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาส ทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตาม อั ธ ยาศั ย ที่ มี คุ ณ ภาพ อย่ า งเท่ า เที ย มและทั่ ว ถึ ง เป็ น ไปตามสภาพ ปั ญ หา และความต้ อ งการของแต่ ล ะ กลุ่มเปูาหมาย
28 ๒. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และ ความเป็นพลเมืองอันนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพื่อพัฒนาไปสู่ ความมั่นคงและยั่งยืนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม ๓. ประชาชนได้รั บ โอกาสในการเรียนรู้และมีเจตคติ ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่ เหมาะสมสามารถคิด วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ในชี วิตประจาวัน รวมทั้งแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ อย่างสร้างสรรค์ ๔. ประชาชนได้รับการสร้างและส่งเสริมให้มีนิสัยรักการอ่านเพื่อการแสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง ๕. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่ ว น ร่วมจัด ส่ งเสริม และสนับสนุนการดาเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชน ๖. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ในการ ยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรู้และเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ให้กับประชาชน ๗. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อและการจัดกระบวนการเรีย นรู้เพื่อแก้ปัญหาและ พัฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ต อบสนองกั บ การเปลี่ ย นแปลงบริ บ ทด้ า นเศรษฐกิ จ สั ง คม การเมื อ ง วั ฒ นธรรม ประวัติศาสตร์ แลสิ่งแวดล้อม รวมทั้งตามความต้องการของประชาชน และชุมชนในรูปแบบที่หลากหลาย ๘. บุ ค ลากรของหน่ ว ยงานและสถานศึ ก ษาได้ รั บ การพั ฒ นาเพื่ อ เพิ่ ม สมรรถนะในการ ปฏิบัติงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีประสิทธิภาพ ๙. หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ๑. ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง 1.1 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย การมีจิตอาสา และอุดมการณ์ความยึดมั่น ในสถาบันหลักของชาติ 1) เสริ ม สร้ า งความรู้ ความเข้ า ใจที่ ถู ก ต้ อ งในการปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความเป็นพลเมืองดี เคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่าง และ ความหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคมพหุวัฒนธรรม 2) ส่ ง เสริ มการจั ดกิ จ กรรมการเรีย นรู้ที่ ป ลู ก ฝั งคุ ณ ธรรม สร้ า งวิ นั ย จิต สาธารณะ และ อุดมการณ์ความยึดมั่นในสถาบันหลักของชาติ รวมทั้งการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมลูกเสือ กศน. และกิจกรรม อื่นๆ ตลอดจนการสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้กับบุคลากรในองค์กร 1.2การร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน โดยบูรณาการขับเคลื่อนการทางานตามแนวทางประชารัฐ ดาเนินการโครงการ/กิจกรรมใน พื้นที่ทั้งในระดับตาบล หมู่บ้านโดยใช้ทีมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ระดับ ตาบลเป็ น แกนหลั ก และสนั บ สนุ น กลไกการขับเคลื่ อนในพื้นที่ทุกระดับตั้งแต่จังหวัด อาเภอ ตาบล และ หมู่บ้าน 1.3 พัฒนาการจั ดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธ ยาศัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้ และพื้นที่ชายแดน 1) พั ฒ นารู ป แบบการจั ด การศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย ให้ มี ค วาม สอดคล้องกับบริบทของสังคม วัฒนธรรม และพื้นที่ เพื่อสนับสนุนการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่
29 2) เร่ ง จั ด ท าแผนและมาตรการด้ า นความปลอดภั ย ที่ ชั ด เจนส าหรั บ หน่ ว ยงาน และ สถานศึกษารวมทั้งบุคลากรที่ปฏิบัติงานในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยบูรณา การแผนและปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานความมั่นคงในพื้นที่ 3) ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ในสถาบันศึกษาปอเนาะ ในรูปแบบ ต่างๆ ที่หลากหลายตรงกับความต้องการของผู้เรียน อาทิ การเพิ่มพูนประสบการณ์ การเปิดโลกทัศ น์ การยึด มั่นในหลักคุณธรรม และสถาบันหลักของชาติ 4) สนั บสนุนให้มีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทให้ มีสมรรถนะที่สูงขึ้น เพื่อให้ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.4 การส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทด้านสังคม การเมือง รวมทั้งความต้องการชองประชาชน และชุมชนในรูปแบบที่ห ลากหลาย ให้ประชาชนคิดเป็น วิเคราะห์ได้ ตัดสินใจภายใต้ข้อมูลที่ถูกต้อง เช่น ความรู้เรื่องการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นพระประมุข การเลือกตั้ง เป็นต้น ๒. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนากาลังคน การวิ จัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ 2.1 การขับเคลื่อนการดาเนินงานภายใต้แผนพัฒนาการศึกษาระดับภาค 1)สร้ า งความรู้ ความเข้ า ใจ ให้ กั บ บุ ค ลากร เกี่ ย วกั บ การด าเนิ น งานภายใต้ แ ผนพั ม นา การศึกษาระดับภาค เพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค 2)เร่งดาเนินการจัดทายุทธศาสตร์และการพัฒนาการศึกษาระดับภาค ของสานักงาน กศน. ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาระดับภาค 2.2พัฒนากาลังคนให้มีทักษะความเข้าใจ และใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) 1) การพั ฒ นาความรู้ และทั ก ษะเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ของครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ กษา เพื่อให้สามารถให้ Social Media และ Application ต่างๆ ในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน 2) ส่งเสริ มการจั ดการเรีย นรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้ประชาชนมีทักษะความเข้าใจ และใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งสร้างรายได้ให้กับตนเองได้ 3 ) พั ฒ น า ทั ก ษ ะ แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ ก า ร ค้ า อ อ น ไ ล น์ (พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์) มีการใช้ความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรมในการประกอบอาชีพ สร้างทักษะอาชีพที่ สูงขึ้นให้กับประชาชน เพื่อร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล 2.3 พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารให้กับประชาชนเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ 1) การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่างๆ อย่างเป็น รูปธรรมโดยเน้นทักษะภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ ทั้งในภาคธุรกิจ การบริการ และการท่องเที่ยว 2) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัล การใช้Social Media และ Application ต่างๆ เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษของครูและบุคลากรทางการศึกษา 2)พัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เพื่อส่งเสริมการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร และการ พัฒนาอาชีพ
30 ๓. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ 3.1 เร่งรัดดาเนินการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อยกระดับทักษะอาชีพของประชาชนสู่ฝีมือแรงงาน 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาที่สอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความต้องการ ของตลาด ให้ประชาชนสามารถนาไปประกอบอาชีพได้จริง โดยให้เน้นหลักสูตรการศึกษาอาชีพช่างพื้นฐาน โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีพ เช่น การเรียนผ่าน Youtubeการเรียนผ่าน Facebook Live ระบบการเรียนรู้ในระบบเปิดสาหรับมหาชน (Massive Open Online Courses :MOOCs) คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) เป็นต้น รวมถึงสนับสนุนให้เกิดระบบการ ผลิตที่ครบวงจร และเปิดพื้นที่ส่วนราชการเป็นที่แสดงสินค้าของชุมชนเพื่อเป็นการสร้างรายได้ให้กับชุมชน 2) บู ร ณาการความร่ ว มมื อ ในการพั ฒ นาฝี มื อ แรงงานกั บ ส านั ก งานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษาผ่านศูนย์ประสานงานการผลิต และพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษาภาคทั่วประเทศ เพื่อมุ่งพัฒนาทักษะ ของประชาชน โดยใช้ประโยชน์จากศักยภาพและภูมิสังคมเฉพาะพื้นที่ และดาเนินการเชิงรุ กเพื่อเสริมจุดเด่น ในระดับภาค ในการเป็นฐานการผลิตและบริการที่สาคัญ รวมถึงมุ่งเน้ นสร้างโอกาสในการสร้างรายได้ เพื่อ ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงานทั้งภาคอุตสาหกรรมและการบริการ 3) พัฒ นากลุ่ มอาชีพพื้น ฐานที่รองรับพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ที่สามารถพัฒนาศักยภาพไปสู่ระดับฝีมือแรงงาน โดยศึกษาต่อในสถาบันอาชีวศึกษา 3.2 ส่งเสริมให้ประชาชนใช้เทคโนโลยีมรการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ กับสินค้า การทาช่องทางเผยแพร่ และจาหน่ายผลิตภัณฑ์ของวิสาหชุมชนให้เป็นระบบครบวงจร และสนับสนุนการจาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ ผ่านศูนย์จาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ออนไลน์ กศน. (ONIE Online Commerce Center : OOCC) เพื่อจาหน่ายสินค้าออนไลน์ระดับตาบล 3.3 ส่งเสริมการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทุกวัย โดยการสร้างความรู้ความเข้าใจการสนับสนุน กิจกรรมสุขภาวะ และสร้างเครือข่ายภาคประชาชนในการเฝูาระวัง ปูองกัน และควบคุมโรคให้กับประชาชน ทุกช่วงวัย โดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกล พื้นที่ชายแดน และชายแดนภาคใต้ โดยประสานงานร่วมกับโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบล และเจ้าหน้าที่ อสม. ในการให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะอนามัยให้กับประชาชน รวมทั้งผลิตชุดความรู้เกี่ยวกับสุขภาวะ สุขอนามัย เพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้ในหลักสูตรการศึกษาของ กศน. 3.4 เพิ่มอัตราการอ่านของประชาชน โดยการจัดกิจกรรมส่งเสริ มการอ่านในรูปแบบต่างๆ เช่น อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดประชาชน บ้านหนังสือชุมชน ห้องสมุดเคลื่อนที่ฯ ผลักดันให้เกิดห้องสมุด สู่การเป็นห้องสมุดเสมือนจริงต้นแบบ เพื่อพัฒนาให้ประชาชนมีความสามารถในระดับการอ่านคล่อง เข้า ใจความ คิดวิเคราะห์พื้นฐาน และสามารถรั บรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและทันเหตุการณ์ รวมทั้งนาความรู้ที่ ได้รับไปใช้ปฏิบัติจริงในชีวิตประจาวัน 3.5 เตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุที่เหมาะสมและมีคุณภาพ 1) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้กับประชาชนเพื่อสร้างตระหนักถึงการเตรียมพร้อมเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุ (Ageing Society) มีความเข้าใจในพัฒนาการของช่วงวัย รวมทั้งเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการดูแล รับผิดชอบผู้สูงอายุในครอบครัวและชุมชน 2) พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรู้สาหรับประชาชนในการเตรียมความพร้อม เข้าสู่วัยสูงอายุที่เหมาะสมและมีคุณภาพ 3) จัดการศึกษาเพื่ อพัฒนาคุณภาพชีวิตสาหรับผู้สูงอายุภายใต้แนวคิด “Active Aging” การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ให้สามารถดูแลตนเองทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต และรู้จักใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี
31 4) สร้างความตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุ เปิดโอกาสให้มี การเผยแพร่ภูมิ ปั ญญาของผู้ สู งอายุ และให้ มี ส่ ว นร่ ว มในกิจกรรมด้านต่างๆ ในชุม ชน เช่น ด้านอาชี พ กีฬา ศาสนาและ วัฒนธรรม 5) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ โดยบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในทุกระดับ 4 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสอมภาคทางการศึกษา 4.1 ส่งเสริมการรู้ภาษาไทย เพิ่มอัตราการรู้หนังสือ และยกระดับการรู้หนังสือของประชาชน 1) ส่งเสริมการรู้ภ าษาไทย ให้ กับประชาชนในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขต พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้สามารถฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย เพื่ อประโยชน์ใน การใช้ชีวิตประจาวันได้ 2) เร่งจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มอัตราการรู้หนังสือ และคงสภาพการรู้หนังสือให้กับประชาชน สามารถอ่ า นออก เขี ย นได้ และคิ ด เลขเป็ น โดยมี ก ารวั ด ระดั บ การรู้ ห นั ง สื อ การใช้ สื่ อ กระบวนการ และกิจกรรมพัฒนาทักษะในรูปแบบต่างๆ ที่เหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพพื้นที่และกลุ่มเปูาหมาย 3) ยกระดับการรู้หนังสือของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการรู้หนังสือในรูปแบบ ต่างๆ รวมทั้งพัฒนาให้ประชาชนมีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของประชาชน 4.2 เพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้กับประชาชนวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษา 1) เร่งดาเนินการหาตัวตนของประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษา ให้กลับเข้าสู่ระบบ การศึกษา โดยใช้กลวิธี “เคาะประตูบ้าน รุกถึงที่ ลุยถึงถิ่น” โดยประสานกับสานักงานศึกษาธิการจังหวัด เพื่อ ดาเนินการตรวจสอบข้อมูลทะเบียนราษฎร์เทียบกับข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของทุกหน่วยงาน ค้นหาผู้ที่ ไม่ได้อยู่ในระบบการศึกษาเป็นรายบุคคล และรวบรวมจัดทาเป็นฐานข้อมูล และลงพื้นที่ติดตามหาตัวตนของ กลุ่มเปูาหมาย หาสาเหตุของการไม่เข้าเรียน และสอบถามความต้องการในการศึกษาต่อ พร้อมทั้งจาแนก ข้อมูลตามประเภทของสาเหตุ และประเภทความต้องการในการศึกษาต่อ และส่งต่อกลุ่มเปูาหมายเพื่อให้รับ การศึกษาต่อความต้องการของกลุ่มเปูาหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) ติดตามผลของกลุ่มเปูาหมายประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษาที่ได้รับการจัดหา ที่เรีย น และทั้งจั ดทาฐานข้ อมูล ผู้ส าเร็ จการศึกษาของกลุ่มเปูาหมาย รวมทั้งพัฒ นาระบบเพื่อการติดตาม กลุ่มเปูาหมายที่ได้รับการช่วยเหลือให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาแบบครบวงจร โดยติดตามตั้งแต่การเข้าศึกษา ต่อจนจบการศึกษา 4.3 ส่งเสริม และพัฒนาระบบการสะสมและเทียบโอนหน่วยการเรียน (Credit Bank System) ของสถานศึกษาให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย เพื่อประโยชน์ ในการดาเนินการเทียบโอนความรู้ และประสบการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.4 ส่งเสริม และสนับสนุนให้เกิดต้นแบบเมืองแห่งการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่ อง ให้กับประชาชนในชุมชน โดยกาหนดพื้นที่นาร่องที่ผ่านมาตรฐานเทียบวัด (Benchmark) ของสานักงาน กศน. 4.5 พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะสั้น ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับ บริบทของพื้นที่ และตอบสนองความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ 4.6 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกล ให้มีความทันสมัย มีหลักสูตรและสาระการเรียนรู้ที่ หลากหลาย และสถานศึกษา กศน. สามารถนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเปูาหมายได้อย่างเหมาะสม
32 4.7 สร้างกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบ E-learning ที่ใช้ระบบเทคโนโลยีเข้ามาบริหารจัดการเรียนรู้ เพื่อเป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเปูาหมายได้สะดวก รวดเร็ว ตรงตามความต้องการ ของประชาชนของประชาชนผู้รับบริการ เช่น ระบบการเรียนรู้ในระบบเปิดสาหรับมหาชน (Massive Open Online Courses : MOOCs) 4.8 ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเปูาหมายทหารกองประจาการ รวมทั้งกลุ่มเปูาหมายพิเศษอื่นๆ เช่น ผู้ต้องขัง คนพิการ เด็กออกกลางคัน ให้จบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สามารถนา ความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง 5. ยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมและจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 5.1 ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชน เกี่ยวกับการปูองกันผลกระทบ และปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติธรรมชาติ 5.2 สร้างความตระหนักถึงความสาคัญของการสร้างสังคมสีเขียว ส่งเสริมความรู้ให้กับประชาชน เกี่ยวกับการคัดแยก การแปรรูป และการกาจัดขยะ รวมทั้งการจัดการมลพิษในชุมชน 5.3 ส่งเสริ มให้ห น่ วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งลดการใช้ ทรัพยากรที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 6. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการ 6.1 พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการศึ กษา เพื่อการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ และ เชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลกลางของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อการบริหารจัดการ และบูรณาการข้อมูลของ ประชาชนอย่างเป็นระบบ 6.2 ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเนื่อง ให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตาแหน่ง ให้ตรงกับสายงานความชานาญ และความต้องการของบุคลากร 6.3 ส่งเสริมความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครู มีวิทยฐานะ และเลื่อนวิทยฐานะ (ว 21/2560) การดาเนินงานสาคัญตามข้อสั่งการของรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (พลเอก สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 1. โครงการขยายผลชุมชนต้นแบบตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน 1.1 ขยายผลชุมชนต้นแบบตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ในระดับตาบลๆ ละ 1 ชุมชน เพื่อให้ มี ชุมชนต้นแบบที่สามารถเผยแพร่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้ทุกระดับตั้งแต่ระดับจังหวัด อาเภอ และตาบล 1) จั ด ท าแนวทาง และเกณฑ์ ก ารพิ จ ารณาคั ด เลื อ กชุ ม ชนต้ น แบบระดั บ ต าบล เพื่อให้หน่วยงาน สถานศึกษาในสังกัดดาเนินการให้เป็นไปตามแนวทางเดียวกัน 2) แจ้งให้หน่วยงาน สถานศึกษา ดาเนินการพิจารณาคัดเลือกชุมชนต้นแบบระดับตาบล ตามแนวทางการดาเนินงาน และเกณฑ์การพิจารณาที่กาหนด 3) หน่ ว ยงาน สถานศึ ก ษา แจ้ ง รายชื่ อ ชุ ม ชนต้ น แบบระดั บ ต าบล ผ่ า นระบบ DMIS ของสานักงาน กศน. 4) หน่ ว ยงาน สถานศึ ก ษา รายงานผลการด าเนิ น งานของชุ ม ชนต้ น แบบระดั บ ต าบล รายไตรมาส (ทุกวันที่ 20 ของเดือนสุดท้ายของแต่ละไตรมาส)
33 1.2 แนวทางการพัฒนาชุมชนต้นแบบตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ทุกระดับ เพื่อพัฒนายกระดับ ต้นแบบสู่ความยั่งยืน 1) จัดทาแนวทางการพัฒนาชุมชนต้นแบบทุกระดับ ประกอบด้วย 3 เรื่อง คือ การบริหาร จัดการชุมชนต้นแบบ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชนต้นแบบ และการพัฒนาต่อยอด 2) แจ้งแนวทางการพัฒ นาชุมชนต้นแบบทุกระดับให้ หน่วยงาน สถานศึกษา ดาเนินการ ส่งเสริมและพัฒนาเพื่อยกระดับชุมชนต้นแบบ 3) หน่วยงาน สถานศึกษา รายงานผลการดาเนินงานผ่านระบบ DMIS ของสานักงาน กศน. รายไตรมาส 1.3 การสร้างการรับรู้ตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ชุดความรู้ ของกระทรวงศึกษาธิการประเด็นที่ ประชาชนยังมีระดับการรับรู้น้อย 2 ประเด็น ได้แก่ การรู้สิทธิ รู้หน้าที่ รู้กฎหมาย และการรู้กลไกบริหาร ราชการ 1) จัดทา Info-graphic 2 ประเด็น ได้แก่ การรู้สิทธิ รู้หน้าที่ รู้กฎหมาย และการรู้กลไก บริหารราชการ เพื่อส่งให้หน่วยงาน สถานศึกษาเผยแพร่สร้างการรับรู้แก่ประชาชน 2) สถานศึกษาดาเนินการสอนสอดแทรกในกิจกรรมการเรียนการสอน 3) สถานศึกษารายงานผลการดาเนินงานภายในวันที่ 20 ธันวาคม 2561 ทาง Google Form 1.4 การจัดแสดงผลการดาเนินงานของชุมชนต้นแบบตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน 1) จัดประชุมแสดงผลการดาเนินงานของชุมชนต้นแบบ เพื่อสรุปผลการดาเนินงานการขยาย ผลชุมชนต้นแบบตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 2) จัดนิทรรศการแสดงผลการดาเนินงานของชุมชนต้นแบบ 1.5 การติดตามและรายงานผลการดาเนินงาน 1) การติดตามผลในพื้นที่เชิงประจักษ์ โดยสถาบัน กศน. ภาค และสานักงาน กศน. จังหวัด/ กทม. 2) การติดตามการรายงานผลการดาเนินงานผ่านระบบ DMIS ของสานักงาน กศน. 3) สรุป และรายงานผลการดาเนินงานโครงการขยายผลชุมชนต้นแบบตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 2. การขยายผลการอบรมหลักสูตรการค้าออนไลน์ 2.1 การเปิดศูนย์ให้คาปรึกษาการจาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ออนไลน์ กศน. เพื่อให้คาปรึกษาด้าน การค้าออนไลน์ 1) ประสานงานกับ DTAC เพื่อเปิดช่องทางในการให้คาปรึกษากับประชาชนเกี่ยวกับการค้า ออนไลน์เบื้องต้นผ่านช่องทาง Social Media และ Application ต่างๆ 2) อบรมให้ความรู้แก่ผู้แทนจากสานักงาน กศน, จังหวัดให้เป็น “OOCC Consult” 3) ผู้ผ่านการอบรม OOCC Consult เป็นคณะทางานให้คาปรึกษาของศูนย์จาหน่ายสินค้า และผลิตภัณฑ์ออนไลน์ กศน. (OOCC) 2.2 การประชาสัมพันธ์บทบาทหน้าที่ของศูนย์ให้คาปรึกษา OOCC 1) ดาเนินการจัดทาคลิป VDO โดยมีน้องOO และน้อง CC เป็นมาสคอต 2) เผยแพร่คลิป VDO ผ่านช่องทางออนไลน์ต่างๆ
34 2.3 การอบรมวิทยากรแกนนา ครู ก, ครู ข และครู ค จานวน 2 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรการตลาด และการสร้างมูลค่าในสินค้า และหลักสูตรการโปรโมทสินค้า 2.4 สร้างความต่อเนื่อง และคงสภาพการเป็นสมาชิก OOCC ในการค้าออนไลน์ 1) การประเมินผู้เข้ารับการอบรม โดยให้ครู กศน. ตาบล ติดตามให้ผู้เข้ารับการอบรมอยู่ใน กลุ่ม OOCC อย่างต่อเนื่อง 2) การประกวดผู้ทาการค้าออนไลน์ดีเด่นในระดับ กศน.อาเภอ และ กศน,จังหวัด 3) ส่งต่อผู้ค้าออนไลน์ไปยังหน่วยงาน เช่น กรมธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ 2.5 ตดตามประเมนผล และรายงานผลการดาเนินงานผ่านระบบ DMIS ทุกสิ้นไตรมาส 3. การส่งเสริมให้ประชาชนอ่านออกเขียนได้ 3.1 การส่งเสริมการเรียนรู้หนังสือสาหรับประชาชนหลักสูตรการรู้หนังสือ พุทธศักราช 2557 1) จัดทาแนวทางการส่งเสรมให้ประชาชนอ่านออกเขียนได้ 2) จัดทาคู่มือการอบรม และรายงานผลการอบรมการพัฒนาศักยภาพครู 3) จัดทาเครื่องมือประเมินระดับการรู้หนังสือไทย 4) สารวจข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ และข้อมูลผู้เรียนหลักสูตร 2557 เพื่อจัดทาฐานข้อมูล 5) จัดทารายงานผลการดาเนินงานการส่งเสริมการรู้หนังสือเพื่ออ่านออกเขียนได้ 3.2 การส่งเสริมการรู้หนังสือสาหรับประชาชนทั่วไป และนักศึกษา กศน. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้วยการประเมนระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) 1) จัดทาแนวทางการอบรมการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน, 2) จัดทาเครื่องมือ และคู่มือการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน, 3) จัดอบรมแนวทางการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน, 4) จัดทาเครื่องมือติดตามและรายงานการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. 4. การส่งเสริมการอ่าน เพื่อเพิ่มอัตราการอ่านของประชาชนโดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรูปแบบ ต่างๆ เพื่อพัฒนาให้ประชาชนมีคุณภาพ สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ทันเหตุการณ์นาความรู้ที่ได้รับไป ใช้ปฏิบัติจริงในชีวิตประจาวัน 4.1 ภารกิจด้านการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 1) ส่งเสริมให้มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในระดับตาบล เพื่ อถ่ายทอดองค์ความรู้ และกิจกรรม เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ในชุมชนได้อย่างทั่วถึง 2) จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน และพัฒนาความสามารถในการ อ่าน และศักยภาพการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเปูาหมาย 3) ส่งเสริมให้มีการสร้างบรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านให้เกิดขึ้นในสังคมไทย สร้ า งเครื อ ข่า ยส่ ง เสริ มการอ่าน รวมทั้ งเสริม สร้ างความพร้ อมในด้ านสื่ ออุ ปกรณ์ เพื่ อสนั บสนุนการอ่า น และการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านอย่างหลากหลาย 4.2 แผนการดาเนินงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 1) ส่งเสริมสนั บสนุนให้มีมุมเด็กและพัฒนามุมเด็กในห้องสมุดประชาชนทุกแห่ง เป็นการ ส่งเสริมทักษะกระบวนการคิด/กระบวนการเรียนรู้ และส่งเสริมนิสัยรักการอ่านให้กับเด็กปฐมวัย 2) กลุ่มพ่อแม่ ผู้ปกครอง ดาเนินการโครงการครอบครัวรักอ่าน
35 3) ส่ งเสริ ม สนั บ สนุ น การเพิ่มจานวนบ้านหนังสื อชุ มชน และเพิ่มกลุ่ มเปูาหมายที่มารับ บริการ 4) พัฒนาศักยภาพห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาดสามารถตอบสนองความต้องการของ ประชาชน ผู้รับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลเพื่อคุณภาพชีวิตของประชาชน 5) พั ฒ นาระบบเชื่ อ มโยงแหล่ ง เรี ย นรู้ แ ละสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ใ ห้ มี ค วามทั น สมั ย เพื่ อ ให้ ประชาชนเข้าถึงสื่อ และ Social Media ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และเกิดประโยชน์สูงสุด ตอบสนอง ความต้องการในการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน 6) พัฒนาห้องสมุดประชาชนใน 4 มิติ - ด้านกายภาพ - ด้านบุคลากร, ผู้ให้บริการ, ผู้รับบริการ และผู้เกี่ยวข้อง - สื่อและเทคโนโลยี - องค์ความรู้ด้านต่างๆ และภูมิปัญญาท้องถิ่น 7) สารวจ และวิจัยผลการดาเนินงานตามนโยบายส่งเสริมการอ่านของสานักงาน กศน. 8) ระดมทรัพยากรทั้งภายในและภายนอกร่วมกับภาคีเครือข่าย เพื่อสร้างเสริมวัฒนธรรม การอ่านให้เกิดขึ้นในสังคมไทย และเพิ่มอัตราการอ่านของประชาชนทุกช่วงวัยให้สูงขึ้น 5. การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาวะอนามัยของประชาชนในชุมชน โดยการดาเนินการร่วมกับสานักงาน สาธารณสุขจังหวัดระดับจังหวัด สานักงานสาธารณสุขอาเภอระดับอาเภอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับ ตาบล และในระดับหมู่ดาเนินการร่วมกับ อสม. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาวะอนามัยกับกลุ่มเปูาหมาย พร้อมทั้งออกตรวจเยี่ยมบ้านนักศึกษา กศน. หรือประชาชนในพื้นที่ และจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาวะ อนามัย ของประชาชนในชุมชน การดาเนิ นการให้ ส ถาบัน กศน. ภาค กากับ ติดตาม และประเมินผล การดาเนินงานการจัดกิจกรรมรายงานผลการดาเนินงานให้สานักงาน กศน. ทราบ
36
ส่วนที่ 3 รายละเอียดแผนงาน/โครงการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 3.1 ตารางแสดงรายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ แผนงาน : ยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน ที่ 1
2
3
รายการ/กิจกรรม
จานวน นศ.
งบประมาณที่ได้รับจัดสรรประจาปี พ.ศ. 2562
6,519
ค่าจัดการเรียนการสอน รหัส : 2000233016500561 - ระดับประถมศึกษา (950x424x2) - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (1,150x2,465x2) - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (1,150x3,184x2) - ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 2,750x446x2)
6,519
25,133,120 1 ต.ค. 6116,251,300 30 ก.ย. 62
424 2,465
805,600 5,669,500
3,184
7,323,200
446
2,453,000
ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน รหัส : 2000233016500474 - ระดับประถมศึกษา(140x424x2) - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (290x2,465x2) - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (290x3,184x2) - ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) (530x446x2)
6,519
3,867,900
424 2,465
118,720 1,429,700
3,184
1,846,720
446
472,760
6,519
5,013,920
424 2,465
245,920 1,774,800
3,184
2,547,200
446
446,000
ค่าหนังสือเรียน รหัส : 2000233016500xxx - ระดับประถมศึกษา (290x424x2) - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (360x2,465x2) - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (400x3,184x2) - ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) (446x500x2)
จานวนเงิน
ระยะเวลา
หมายเหตุ
37 แผนงาน : ยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน รายการค่าจัดการเรียนการสอน รหัสงบประมาณ : 2000233016500561 พื้นที่ ระยะเวลา หมาย ดาเนินการ ดาเนินการ เหตุ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร (ยอดยกมา) 16,251,300 กศน.อาเภอ ค่าใช้จ่าย (1 ตุลาคม 2561 – 30 กันยายน 2562) เมืองขอนแก่น ทุก 1 ค่าตอบแทนบุคลากร (ไตรมาสที่ 1-2 ) 3,251,400 1 ต.ค. 61 ประเภท - ครู ศรช. (20 คน x 15,000 บ. X 6 ด.) 1,800,000 ถึง ที่ใช้งบ - ครู ปวช. (8 คน x 15,000 บ. x 6 ด.) 720,000 31 มี.ค. อุดหนุน - ครูประจากลุ่ม (35 คน x 3,200 บ. X 6 ด.) 672,000 62 ในการ - ครูประจากลุ่ม ปวช. (2 คน x 5,940 บ. X 5 ด.) 59,400 บริหาร - เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป(1คนx13,300บ.x6ด.) 79,800 จัดการ - พนักงานทาความสะอาด (2คนx9,000บ.x6ด.) 108,000 - พนักงานรักษาความปลอดภัย (1x9,000บ.x6ด.) 54,000 - นักวิชาการคอมพิวเตอร์(1คน x15,000บ.x6ด.) 90,000 ที่
รายการ
จานวนเงิน
2
ค่าตอบแทนบุคลากร(ไตรมาสที่ 3-4 ) - ครู ศรช. (20คนx15,000บ.x6ด.) - ครู ปวช. (8คนx15,000บ.x6ด.) - ครูประจากลุ่ม (35คนx3,200บ.x6ด.) - ครูประจากลุ่ม ปวช. (2คนx5,940บ.x5ด.) -เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป(1คนx13,300บ.x6ด.) -พนักงานทาความสะอาด (2คนx9,000บ.x6ด.) -พนักงานรักษาความปลอดภัย(1x9,000บ.x6ด.) -นักวิชาการคอมพิวเตอร์(1x15,000บ.x6ด.)
3,251,400 1,800,000 720,000 672,000 59,400 79,800 108,000 54,000 90,000
กศน.อาเภอ 1 เม.ย. 62 เมืองขอนแก่น ถึง 30 ก.ย. 62
1,010,000 600,000 180,000 120,000 100,000 10,000
กศน.อาเภอ 1 ต.ค. 61 เมืองขอนแก่น ถึง 30 ก.ย. 62
3
ค่าสาธารณูปโภค - ค่าไฟฟูา50,000บ.x12ด - ค่าน้าประปา15,000บ.x12ด - ค่าโทรศัพท์10,000บ.x12ด - ค่าอินเทอร์เน็ต - ค่าไปรษณีย์
38 แผนงาน : ยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน รายการค่าจัดการเรียนการสอน รหัสงบประมาณ : 2000233016500561 ที่
4
5
6
รายการ
จานวนเงิน
งบประมาณที่ได้รับจัดสรร (ยอดยกมา)
7,512,800
พื้นที่ ดาเนินการ
ระยะเวลา หมายเหตุ ดาเนินการ
ค่าดาเนินการสอบ / สนามสอบ / ข้อสอบ 1) ภาคเรียนที่ 2/2561 - ค่าสนามสอบ (14 สนาม) - ค่าดาเนินการสอบ - ค่าข้อสอบ
951,140 475,570 21,000 259,000 195,570
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
มี.ค. 62
2) ภาคเรียนที่ 1/2562 - ค่าสนามสอบ( 14 สนาม) - ค่าดาเนินการสอบ - ค่าข้อสอบ
475,570 21,000 259,000 195,570
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
ส.ค. 62
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกราชการ ค่าเดินทางไปราชการ -ค่าเดินทางไปประชุม -ค่าเดินทางไปอบรม -ค่าเดินทางไปสัมมนา -ค่าดาเนินการจัดนิทรรศการเคลื่อนที่
400,000
กศน.อาเภอ 1 ต.ค. 61 เมืองขอนแก่น ถึง 31 มี.ค. 62
พัฒนาบุคลากร กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น -ศึกษาดูงานย้อนรอยอารยธรรมต้นกาเนิดชน ชาติไทยภาคเหนือ - อบรมพัฒนาบุคลากรเพื่อความเป็นหนึ่ง - ศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้ภาคใต้
908,860 500,000
100,000 100,000 100,000 100,000
200,000 208,860
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
ม.ค. 62 ก.ย. 62 ส.ค.62
39 งบประมาณที่ได้รับจัดสรร (ยอดยกมา) 7
8
9
10
9,772,800
ค่าจัดกิจกรรมสอนเสริม - กิจกรรมติวเข้ม N-Net - กิจกรรมติวเข้ม Final Test - กิจกรรมติวข้อสอบ
600,000 350,000 125,000 125,000
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
ค่านิเทศติดตามการดาเนินงาน - ครั้งที่ 1 - ครั้งที่ 2 - ครั้งที่ 3 - ครั้งที่ 4
100,000 25,000 25,000 25,000 25,000
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
ค่าวัสดุ - ค่าวัสดุซ่อมแซมสื่อการเรียนการสอน - ค่าวัสดุซ่อมแซม กศน.ตาบล - ค่าวัสดุซ่อมแซมแหล่งเรียนรู้ - ค่าวัสดุซ่อมแซมศูนย์การเรียนชุมชน -ค่าวัสดุสานักงานเพื่อใช้สนับสนุนการเรียนการ สอน - ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว - ค่าวัสดุการเกษตร - ค่าวัสดุงานจ้างพิมพ์ - ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ - ค่าวัสดุไฟฟูาและวิทยุ - ค่าวัสดุก่อสร้าง
3,822,800 100,000 500,000 1,000,000 100,000 1,000,000
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
กั้นไว้ที่สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น (6519คนx150บาทx2ภาคเรียน)
1,955,700
100,000 100,000 200,000 200,000 122,800 400,000 สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น
40 แผนงาน : บูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน (ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน) รหัสงบประมาณ : 2000229016500402 ที่
รายการ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร
1
2
กิจกรรมพัฒนาวิชากร 1) ค่ายพัฒนาวิชาภาษาไทย - กิจกรรมปรับพื้นฐาน 2) ค่ายพัฒนาวิชาภาษาอังกฤษ - กิจกรรมEnglish Camp - กิจกรรมปรับพื้นฐาน 3) ค่ายพัฒนาวิชาคณิตศาสตร์ - กิจกรรมสอนเสริมคณิตคิดเร็ว 4) ค่ายพัฒนาวิชาวิทยาศาสตร์ - กิจกรรมสอนเสริมเรียนรู้โครงงาน - กิจกรรมSTEM Educdtion 5) ค่ายพัฒนาวิชาสาระ 5 สาระ - กิจกรรมสอนเสริมสาระทักษะการเรียนรู้ - กิจกรรมสอนเสริมสาระความรู้พื้นฐาน - กิจกรรมสอนเสริมสาระการประกอบอาชีพ - กิจกรรมสอนเสริมสาระทักษะการดาเนินชีวิต - กิจกรรมสอนเสริมสาระพัฒนาสังคม ***ค่ายวิชาการที่ระดับคะแนนผลสัมฤทธิ์ต่า กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต 1) ค่ายพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันและ ปูองกันยาเสพติด - กิจกรรม เยาวชนไทยห่างไกลยาเสพติด - กิจกรรม สถานศึกษาสีขาว 2) ค่ายพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เพศศึกษาแก้ปัญหาเอดส์ - กิจกรรม เพื่อเตือนเพื่อน - กิจกรรมวันเอดส์โลก
พื้นที่ ดาเนินการ 3,867,900 กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น 1,250,000 250,000 จานวนเงิน
250,000 250,000 250,000 250,000
2,617,900 200,000
200,000
ระยะเวลา ดาเนินการ ธ.ค. 61 ถึง ส.ค. 62
หมายเหตุ
41 แผนงาน : บูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน (ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน) รหัสงบประมาณ : 2000229016500402 ที่
รายการ
จานวนเงิน
๓) ค่ายพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อส่งเสริมอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - กิจกรรม อนุรักษ์คลองน้าไทย ขุดลอก - กิจกรรม ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์จากผักตบชวา ๔) ค่ายพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อส่งเสริมความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - กิจกรรม ขับขี่ปลอดภัยวินัยจราจร - กิจกรรม ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย
200,000
3
กิจกรรมที่แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนาและสถาบันพระมาหากษัตริย์ - กิจกรรมอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทย - กิจกรรมอบรมเสริมสร้างจิตสานึกรักในสถาบัน
100,000
4
กิจกรรมเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง - กิจกรรมพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในระดับตาบลเพื่อ ถ่ายทอดและเผยแพร่องค์ความรู้ในชุมชน - กิจกรรมพัฒนาแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับ กอ.รมน.
200,000
5
กิจกรรมลูกเสือและอาสายุวกาชาด 1) ค่ายกิจกรรมลูกเสือ - กิจกรรมค่ายลูกเสือช่อสะอาด - กิจกรรมอบรมค่ายลูกเสือเบื้องต้น 2) ค่ายกิจกรรมอาสายุวกาชาด - กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ - กิจกรรมค่ายอาสายุวกาชาด
200,000 100,000
200,000
100,000
พื้นที่ ดาเนินการ กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
ระยะเวลา ดาเนินการ ธ.ค. 61 ถึง ส.ค. 62
หมายเหตุ
42 แผนงาน : บูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน (ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน) รหัสงบประมาณ : 2000229016500402 ที่ 6
รายการ กิจกรรมด้านกีฬาและส่งเสริมสุขภาพ - กิจกรรมกีฬาต้านยาเสพติด - กิจกรรมตรวจสุขภาพ
จานวนเงิน 200,000
7
กิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) - ค่ายสอนเสริมคอมพิวเตอร์พื้นฐาน - กิจกรรมอบรมการใช้ Google Form - กิจกรรมอบรมการใช้โปรแกรม KAHOOT - กิจกรรมอบรมพัฒนาขยายผล/ต่อยอด DE ระดับตาบล
100,000
8
กิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมโลก - กิจกรรมรู้จักประชาคมอาเซียน - กิจกรรมพัฒนาภาษาเพื่อการสื่อสาร - กิจกรรมส่งเสริมความรู้ด้านเศรษฐกิจ - กิจกรรม Boot CAMP
100,000
๙
กิจกรรมจิตอาสา กศน. “เราทาความดีด้วย หัวใจ” - กิจกรรมพัฒนาสังคมและชุมชน
100,000
๑๐
กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและพัฒนาทักษะการ เรียนรู้ - กิจกรรมสมุดบันทึกการอ่าน
150,000
๑๑
กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม - กิจกรรม ค่ายค่านิยมหลักของไทย - กิจกรรม คุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรมไทย
150,000
พื้นที่ ดาเนินการ กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
ระยะเวลา ดาเนินการ ธ.ค. 61 ถึง ส.ค. 62
หมายเหตุ
43 แผนงาน : บูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน (ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน) รหัสงบประมาณ : 2000229016500402 ที่
รายการ
จานวนเงิน
๑๒ กิจกรรมการเรียนรู้การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข และกฎหมายที่เกี่ยวข้องใน ชีวิตประจาวัน - กิจกรรมอบรมส่งเสริม ศส. ปชต. - กิจกรรมส่งเสริมเรียนรู้สิทธิการเลือกตัง้ - กิจกรรมการจัดนิทรรศการให้ความรู้การ เลือกตั้ง
250,000
๑๓
67,900
กิจกรรมเสริมสร้างความสามารถพิเศษ - กิจกรรม Big Cleaning Day
พื้นที่ ดาเนินการ กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
ระยะเวลา ดาเนินการ ธ.ค. 61 ถึง ส.ค. 62
หมายเหตุ
44 แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบดาเนินงานการศึกษาต่อเนื่อง รหัสงบประมาณ : 2000239004000000 ที่
1
2
3
รายการ
จานวนเงิน
งบดาเนินการศึกษาต่อเนื่อง
428,400
การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 1) กิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต (ไตรมาส 1 - 2) - กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต 2) กิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต (ไตรมาส 3 - 4) - กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต
82,800 41,400 41,400
พื้นที่ ดาเนินการ
ระยะเวลา หมายเหตุ ดาเนินการ
กศน.ตาบล ทั้ง 18 ธ.ค. 61 ถึง 18 ตาบล ตาบล มี.ค. 62 ตาบลละ เม.ย. 62 ถึง 20 คน ส.ค. 62
การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 216,000 1) กิ จ กรรมการศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาสั งคมและชุ ม ชน 108,000 (ไตรมาส 1 - 2) - โครงการหมู่บ้านเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท 33,000 - กิจกรรมทอดเทียนเข้าพรรษา 25,000 - กิจกรรมสงกรานต์รดน้าดาหัวผู้สูงอายุ 50,000 2) กิ จ กรรมการศึ กษาเพื่ อ พัฒ นาสั ง คมและชุ ม ชน 108,000 (ไตรมาส 3 - 4) - โครงการหมู่บ้านเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท 33,000 - กิจกรรมทอดเทียนเข้าพรรษา 25,000 - กิจกรรมสงกรานต์รดน้าดาหัวผู้สูงอายุ 50,000
กศน.ตาบล 18 ตาบล ทั้ง 18 ธ.ค. 61 ถึง ตาบลละ ตาบล มี.ค. 62 15 คน
การจัดการศึกษาเพื่อการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง 129,600 1) กิ จ กรรมการจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ เ ศรษฐกิ จ 64,800 พอเพียง (ไตรมาส 1 - 2) - กิจกรรมการทาบัญชีครัวเรือน 2) กิ จ กรรมการจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ เ ศรษฐกิ จ 64,800 พอเพียง (ไตรมาส 3 - 4) - กิจกรรมการทาบัญชีครัวเรือน
กศน.ตาบล 18 ตาบล ทั้ง 18 ธ.ค. 61 ถึง ตาบลละ ตาบล มี.ค. 62 9 คน
เม.ย. 62 ถึง ส.ค. 62
เม.ย. 62 ถึง ส.ค. 62
45 แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบดาเนินงาน รหัสงบประมาณ : 20002390040000 ที่
1
รายการ
จานวนเงิน
งบประมาณที่ได้รับจัดสรร
11,000
งบบริหาร 1) ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ 2) ค่าวัสดุสานักงาน 3) ค่าสาธารณูปโภค ดังนี้ - ค่าไฟฟูา - ค่าน้าประปา - ค่าโทรศัพท์ - ค่าไปรษณีย์
11,000 5,000 3,000 3,000
พื้นที่ ดาเนินการ กศน. อาเภอ เมืองขอนแก่น
ระยะเวลา ดาเนินการ ต.ค. 61 ถึง ก.ย. 62
หมายเหตุ
46 แผนงาน: ยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รหัสงบประมาณ : 2000233052700001 ที่
1
2
3
รายการ
จานวนเงิน
งบประมาณที่ได้รับจัดสรร
896,400
โครงการ 1 อาเภอ 1 อาชีพ - กิจกรรมช่างตัดผมชาย - กิจกรรมช่างดัดผม/เสริมสวย - กิจกรรมนวดแผนไทยเพื่อสุขภาพ - กิจกรรมนวดฝุาเท้าเพื่อสุขภาพ - กิจกรรมช่างตัดเย็บเสื้อผ้า - กิจกรรมการทาขนม
129,600 21,600 21,600 21,600 21,600 21,600 21,600
พื้นที่ดาเนินการ
ระยะเวลา ดาเนินการ
กศน. อาเภอเมืองขอนแก่น
ธ.ค. 61 ถึง ส.ค. 62
กลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 31 ชั่วโมง) - หลักสูตรการทาขนมไทย - หลักสูตรการทาไม้กวาดทางมะพร้าว - หลักสูตรการปั้นแปูงแฟนซี - หลักสูตรการทอพรมเช็ดเท้าจากเศษผ้า - หลักสูตรการทาไข่เค็ม - หลักสูตรการทากล้วยทอด มันทอด
378,000 273,000 21,000 21,000 21,000 21,000 21,000
ชั้นเรียนวิชาชีพ (ตั้งแต่ 31 ชั่วโมงขึ้นไป) - กิจกรรมวิชาชีพช่างตัดผมชาย - กิจกรรมวิชาชีพช่างดัดผม/เสริมสวย - กิจกรรมวิชาชีพนวดแผนไทยเพื่อสุขภาพ - กิจกรรมวิชาชีพนวดฝุาเท้าเพื่อสุขภาพ - กิจกรรมวิชาชีพช่างตัดเย็บเสื้อผ้า - กิจกรรมวิชาชีพการทาขนม
388,800 กศน.ตาบลทั้ง 18 ตาบล 64,800 64,800 64,800 64,800 64,800 64,800
กศน.ตาบล 13 ตาบล กศน.ตาบลโนนท่อน กศน.ตาบลศิลา กศน.ตาบลในเมือง กศน.ตาบลแดงใหญ่ กศน.ตาบลบ้านทุ่ม
ธ.ค. 61 ถึง ส.ค. 62
ธ.ค. 61 ถึง ส.ค. 62
47 แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิตที่ 5 ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมจัดสร้างแหล่งการเรียนรู้ในระดับตาบล กิจกรรมจัดการศึกษาตามอัธยาศัย งบดาเนินงาน รหัสงบประมาณ : 2000234005000000 พื้นที่ ที่ รายการ จานวนเงิน ดาเนินการ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร 643,280 1
2
กิจกรรมจัดการศึกษาตามอัธยาศัย งบดาเนินงาน 1) ค่าจ้างเหมาบริการปฏิบัติงาน - เจ้าหน้าที่บรรณารักษ์ห้องสมุด (15,000 x 12 ด. x 2 คน) - พนักงานบริการ (9,000 x 12 ด. x 1 คน) 2) ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ - เดินทางไปราชการ. - ทาการนอกเวลา(อัตราจ้าง) - ทาการนอกเวลา(ขรก.บรรณารักษ์) - ค่าวัสดุ แห่งละ 7,000/ปี ยกเว้น **หสม.เฉลิมพระเกียรติ/หสม.เฉลิมราชแห่งละ 12,000/ปี 3) ค่าบริหารห้องสมุดประชาชน - ค่าหนังสือพิมพ์ ( 3,640x2ครั้ง ) - ค่าวารสาร ( 6,000x2ครั้ง ) - ค่าสาธารณูปโภคแห่งละ 5,670/ปี ยกเว้น … **หสม.เฉลิมพระเกียรติ/หสม.เฉลิมราชฯ แห่ง ละ 12,000/ปี โครงการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับตาบล 1)กิจกรรมสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับตาบล (สาหรับ กศน.ตาบล ที่ได้รับงบก่อสร้าง 25 แห่ง) งบดาเนินงาน - ค่าหนังสือพิมพ์ สื่อ (15,000x2ครั้งx1แห่ง) - ค่าจัดกิจกรรม (5,000x2ครั้งx1แห่ง) - ค่าสาธารณูปโภค (6,000x2ครั้งx1แห่ง)
ระยะเวลา ดาเนินการ
กศน. อาเภอ เมืองขอนแก่น
ต.ค. 61 ถึง ก.ย. 62
กศน.ตาบล ดอนหัน
ต.ค. 61 ถึง ก.ย. 62
468,000 360,000 108,000 40,000 5,000 18,000 5,000 12,000 31,280 7,280 12,000 12,000
52,000 30,000 10,000 12,000
หมายเหตุ
48 แผนงาน : บูรณาการยกระดับการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพเท่าเทียมและทั่วถึง โครงการขยายโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต กิจกรรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ งบรายจ่ายอื่น รหัสงบประมาณ : 2000232042700006 ที่
1
รายการ
จานวนเงิน
งบประมาณที่ได้รับจัดสรร
48,000
โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ
พื้นที่ ดาเนินการ
ระยะเวลา ดาเนินการ
หมายเหตุ
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
- หลักสูตรช่างตัดผม และเสริมสวย
24,000
- หลักสูตรการค้าขายและบริการ
24,000
ธ.ค. 61 ถึง มี.ค. 62 เม.ย. 61 ถึง ก.ค. 62
หลักสูตร ละไม่เกิน 20 คน
แผนงาน : บูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคการเกษตร โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง Smart Farmer กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเศรษฐกิจดิจิทัลสู่ชุมชนในระดับตาบล งบรายจ่ายอื่น รหัสงบประมาณ : 2000217053700001 ที่
รายการ
จานวนเงิน
พื้นที่ ดาเนินการ
ระยะเวลา ดาเนินการ
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
ธ.ค. 61 ถึง ส.ค. 62
หมายเหตุ
งบประมาณที่ได้รับจัดสรร 1
โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง Smart Farmer - กิจกรรมพัฒนาทักษะความรู้ด้าน เกษตรกรรมสู่เกษตรกรปราดเปรื่อง
273,600
ตาบลละ 10 คน ***งบประมาณ ประมาณการ จากแนวทาง จัดสรร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
49 แผนงาน : บูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจทิ ัล กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเศรษฐกิจดิจิทัลสู่ชุมชนในระดับตาบล งบรายจ่ายอื่น รหัสงบประมาณ : 2000224044700010 ที่
รายการ
จานวนเงิน
พื้นที่ ดาเนินการ
ระยะเวลา ดาเนินการ
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
ธ.ค. 61 ถึง ส.ค. 62
หมายเหตุ
งบประมาณที่ได้รับจัดสรร 1
โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจทิ ัล 1) กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเศรษฐกิจดิจิทัล สู่ชุมชนในระดับตาบล - กิจกรรมพัฒนาทักษะด้าน Digital - กิจกรรมเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการทา ธุรกิจและการค้าออนไลน์ - กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย คอมพิวเตอร์
172,800
***งบประมาณ ประมาณการ จากแนวทาง จัดสรร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
50
3.2 รายละเอียดแผนงานตามแบบ กศน. กผ-02 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธ ยาศัย อาเภอเมือง ขอนแก่น มีโครงการต่างๆ ในแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 14 โครงการหลัก ที่ต้องปฏิบัติงานตามนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานที่สาคัญของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดขอนแก่น ตามบทบาท ภารกิจของหน่วยงาน และความต้องการของประชาชน กลุ่มเปูาหมายในพืน้ ที่ดาเนินการ ดังนี้ 1. โครงการส่ ง เสริ มการจั ดการศึ กษาหลั กสู ตรการศึก ษานอกระบบระดับ การศึก ษาขั้ นพื้ นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งสู่ผลสัมฤทธิ์ 2. โครงการจั ด การศึ ก ษานอกระบบระดั บ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น หลั ก สู ต รประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ พุทธศักราช 2556 3. โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 4. โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 5. โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 6. โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ 7. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 8. โครงการส่งเสริมสุขภาวะอนามัยของประชาชนในชุมชน 9. โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ 10. โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง Smart Farmer 11. โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลสู่ชุมชนในระดับตาบล 12. โครงการส่งเสริมการอ่านสาหรับกลุ่มเปูาหมายนักศึกษา กศน. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ ประชาชน 13. โครงการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ชุมชนในระดับตาบล 14. โครงการเสริมสร้าง และพัฒนาศักยภาพบุคลากร
51
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2562 กศน-กผ-02 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 1. โครงการส่งเสริมการจัดการศึกษา ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้น าน พุทธศักราช 2551 มุ่งสู่ผลสัมฤทธิ์ 1. หน่วยงาน……………………………..
กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
สานักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น
2. สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.
3. ชื่องาน/โครงการ : โครงการส่งเสริมการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 มุ่งสู่ผลสัมฤทธิ์ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อเปิดโอกาสให้กับประชาชน และกลุ่มเปูาหมายต่าง ๆ ที่ขาดโอกาสทางการศึกษา ให้ได้รับบริการการศึกษาอย่าง ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน 4.2 เพื่อ ยกระดั บการศึ ก ษาประชาชนกลุ่ม เปูา หมายให้ สูงขึ้ น สามารถเรี ย นรู้ แ ละแก้ ปั ญหาคุ ณภาพชีวิ ต ไอย่ า งมี คุณภาพตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4.3 เพื่อให้สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรสื่อ และแหล่ง เรี ย นรู้ ที่ สอดคล้ อ งกับ ความต้อ งการของท้ องถิ่ น โดยเน้ น ผู้เรียนเป็นสาคัญ 4.4 เพื่อให้ครูและบุคลากรมีคุณภาพ มีความสามารถในการ จัดการเรียนตามหลักการศึกษานอกระบบ 4.5 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีความพึง พอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู
5. กิจกรรมหลัก 5.1 จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 - พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา - จัดหา/จัดทาสื่อ แบบเรียน เครื่องมือวัดผล - จัดทาแผนการเรียนรู้ และการออกแบบการจัดการเรียนรู้ - จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับกลุ่มเปูาหมาย - นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา - สรุป และรายงานผลการดาเนินงาน 5.2 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อกาหนดแนวทางและจัดทาแผนปฏิบัติการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
6. ตัวชี้วัดความสาเร็จ 1) ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของคะแนนสอบปลายภาคเรียน และคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 2) ร้อยละ 80 ของผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษานอกระบบที่สามารถนาความรู้ ความเข้าใจไปใช้ได้ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร/กิจกรรมที่กาหนด 3) จานวนความสาเร็จของการดาเนินงานการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 9 รายการ
7. ประเภทกลุม่ เป้าหมาย / จานวนเป้าหมาย ประเภทกลุ่มเป้าหมาย จานวนเป้าหมาย นักศึกษาลงทะเบียนเรียน 2/2561 6,519 คน - ระดับประถมศึกษา 424 คน - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2,465 คน - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3,184 คน 8. งบประมาณ จานวน …13,798,000………….. บาท งบดาเนินงาน งบรายจ่ายอื่นๆ แบ่งเป็น ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 13,798,300 9. พื้นที่ดาเนินการ กศน.ตาบลทั้ง 18 ตาบล 10. ผู้รับผิดชอบ งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ ขั้นพื้นฐาน
52
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2562 กศน-กผ-02 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 1. โครงการส่งเสริมการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งสู่ผลสัมฤทธิ์ (ต่อ) 1. หน่วยงาน……………………………..
กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
สานักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น
2. สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.
3. ชื่องาน/โครงการ : โครงการส่งเสริมการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งสู่ผลสัมฤทธิ์ 4. วัตถุประสงค์
5. กิจกรรมหลัก
4.1 เพื่อเปิดโอกาสให้กับประชาชน และกลุ่มเปูาหมายต่าง ๆ ที่ขาด โอกาสทางการศึก ษา ให้ ได้รับบริก ารการศึก ษาอย่างทั่วถึ งและเท่า เทียมกัน 4.2 เพื่อยกระดับการศึกษาประชาชนกลุ่มเปูาหมายให้สูงขึ้น สามารถ เรียนรู้และแก้ปัญหาคุณภาพชีวิตไอย่างมีคุณภาพตามคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ 4.3 เพื่อ ให้สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรสื่อ และแหล่งเรียนรู้ที่ สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 4.4 เพื่อให้ครูและบุคลากรมีคุณภาพ มีความสามารถในการจัดการ เรียนตามหลักการศึกษานอกระบบ 4.5 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีความพึงพอใจในการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู
5.3 จานวนความสาเร็จของการดาเนินงานการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 9 รายการ 5.4 จานวนผู้เข้าสอบปลายภาคไม่น้อยกว่าร้อย 80 เมื่อเทียบกับจานวนผู้ ลงทะเบียนเรียน 5.5 ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย 2.00 ขึ้นไป ในรายวิชา บังคับต่อภาคเรียนเทียบกับจานวนผู้ลงทะเบียนเรียน 5.6 จานวนผู้เข้าสอบ N-NET ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เมื่อเทียบกับจานวนผู้มีสทิ ธิ์ สอบ 5.7 จานวนผู้จบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 เมื่อเทียบกับ จานวนนักศึกษาลงทะเบียนเรียน 5.8 จานวนของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ในวิชาบังคับไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 5.9 จานวนศูนย์แนะแนวที่มีความพร้อมให้บริการจานวน 26 แห่ง
6. ตัวชี้วัดความสาเร็จ 4) จานวนผู้เข้าสอบปลายภาคไม่น้อยกว่าร้อย 80 เมื่อเทียบกับจานวนผู้ลงทะเบียนเรียน 5) ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย 2.00 ขึ้นไป ในรายวิชาบังคับต่อภาคเรียนเทียบกับจานวนผู้ลงทะเบียนเรียน 6) จานวนผู้เข้าสอบ N-NET ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เมื่อเทียบกับจานวนผู้มีสิทธิ์สอบ 7) จานวนผู้จบหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 เมื่อเทียบกับจานวนนักศึกษาลงทะเบียนเรียน 8) จานวนของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ในวิชาบังคับไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 7) จานวนศูนย์แนะแนวที่มีความพร้อมให้บริการจานวน 26 แห่ง
7. ประเภทกลุม่ เป้าหมาย / จานวนเป้าหมาย ประเภทกลุ่มเป้าหมาย จานวนเป้าหมาย นักศึกษาลงทะเบียนเรียน 2/2561 6,519 คน - ระดับประถมศึกษา 424 คน - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2,465 คน - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3,184 คน 8. งบประมาณ จานวน …………13,798,300………….. บาท งบดาเนินงาน งบรายจ่ายอื่นๆ แบ่งเป็น ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 13,798,300 9. พื้นที่ดาเนินการ กศน.ตาบลทั้ง 18 ตาบล
10. ผู้รับผิดชอบ งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ ขั้นพื้นฐาน
53
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2562 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2. โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 1. หน่วยงาน……………………………..
กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
สานักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น
2. สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.
3. ชื่องาน/โครงการ : โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 4. วัตถุประสงค์
5. กิจกรรมหลัก
4.1 เพื่อให้ครูมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการศึกษาและสามารถจัด กิจกรรม ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 สาหรับกลุ่มเปูาหมายนอกระบบ ของแต่ละสาขาวิชา ลงทะเบียนไปใน แนวเดียวกันทั้งจังหวัด เพือ่ ให้ง่ายต่อการติดตาม และประเมินผล 4.2 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษา และผู้รับบริการได้รับความรู้ ความ เข้าใจ และสามารถนาความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานและจัดการเรียนรู้ การสอนได้ถูกต้องเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และบริบทของพื้นที่ 4.3 เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
5.1 จัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 - พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา - จัดหา/จัดทาสื่อ แบบเรียน เครื่องมือวัดผล - จัดทาแผนการเรียนรู้ และออกแบบการจัดการเรียนรู้ - จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับกลุ่มเปูาหมาย - นิเทศ ติดตาม และประเมินผลปลายภาคเรียน 5.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาบุคลการ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 สาหรับกลุ่มเปูาหมายนอกระบบปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 1-2 5.3 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อคัดเลือก จัดทา และบรรณาธิการข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาคเรียน 2 ครั้ง ภาคเรียนที่ 2/61 ปละ 1/62 5.4 จัดประกวดโครงงานของนักศึกษา กศน.หลักสูตร ปวช. พ.ศ. 2556
6. ตัวชี้วัดความสาเร็จ 6.1 จานวนหลักสูตร สื่อ แบบเรียน เครื่องมือวัดผล ที่สามารถใช้งานได้ 6.2 จานวนแผนการเรียนรู้ มีความถูกต้อง เหมาะสม สามารถนาไปปฏิบัติได้จริง 6.3 จานวนผู้เรียนเข้าสอบปลายภาคเรียนไม่เกินร้อยละ 80 เมื่อเทียบกับจานวนผู้ ลงทะเบียนเรียน 6.4 จานวนผู้เรียนที่จบหลักสูตร ปวช. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 6.5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน V-NET มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ย
ระดับประเทศ 6.6 จานวนประเภทสือ่ ทีม่ ีการจัดทา/พัฒนา และนาไปใช้เพื่อส่งเสริมการ เรียนรูข้ องผูเ้ รียน/ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย
7. ประเภทกลุม่ เป้าหมาย / จานวนเป้าหมาย ประเภทกลุ่มเป้าหมาย จานวนเป้าหมาย
นักศึกษา ปวช. ภาคเรียนที่ 1/2561
กศน-กผ-02
446 คน
8. งบประมาณ จานวน …………2,453,000….. บาท งบดาเนินงาน งบรายจ่ายอื่นๆ แบ่งเป็น ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 2,453,000 9. พื้นที่ดาเนินการ กศน. อาเภอเมืองขอนแก่น 10. ผู้รับผิดชอบ งานหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
54
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2562 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 3. โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 1. หน่วยงาน……………………………..
กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
สานักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น
2. สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.
3. ชื่องาน/โครงการ : โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้ประชาชนได้รับโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ ทั้งระดับ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และ ระดับมัธ ยมศึกษา ตอนปลาย 4.2 เพื่อเป็นการขยายโอกาสทางการศึกษา พัฒนาหลักสูตรการศึกษา นอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถนา สาระการเรียนรู้และวิธีการเรียนรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง 4.3 เพื่อส่งเสริมให้ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ดาเนินการเทีย บโอน ความรู้ แ ละประสบการณ์ ร วมทั้ ง ผลการเรี ย นอย่ า งเป็ น ระบบได้ มาตรฐานสอดคล้องกับหลักสูตร เพื่อการขยายโอกาสทางการศึกษา ให้กับประชาชนอย่างกว้างขวาง 4.4 เพื่ อ ยกระดั บ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของนั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต ร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
6. ตัวชี้วัดความสาเร็จ 6.1 ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านกิจกรรม มีความรู้ ความสามารถที่เพิ่มขึ้นในเกณฑ์ระดับดีขึ้นไป 6.2 จานวนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ได้รับการอนุมัติตรงตาม แผนที่วางไว้
5. กิจกรรมหลัก 5.1 วางแผนการดาเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และประชุม 5.2 ดาเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนทั้ง 13 กิจกรรมหลัก 5.3 ดาเนินการนิเทศ ติดตามการดาเนินงาน 5.4 สรุปผล และรายงานผลการดาเนินงานทุกกิจกรรม 7. ประเภทกลุม่ เป้าหมาย / จานวนเป้าหมาย ประเภทกลุ่มเป้าหมาย จานวนเป้าหมาย นักศึกษาลงทะเบียนเรียน 2/2561 6,519 - ระดับประถมศึกษา 424 - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2,465 - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3,184 - ปวช. 446 9. พื้นที่ดาเนินการ กศน. ตาบลทั้ง 18 ตาบล
กศน-กผ-02
8. งบประมาณ จานวน …..3,867,900…….. บาท งบดาเนินงาน งบรายจ่ายอื่นๆ แบ่งเป็น ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 1,933,950 1,933,950 10. ผู้รับผิดชอบ งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ กศน. อาเภอเมืองขอนแก่น
55
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2562 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 4. โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 1. หน่วยงาน……………………………..
กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
สานักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น
2. สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.
8. งบประมาณ จานวน …………82,800………….. บาท งบดาเนินงาน งบรายจ่ายอื่นๆ แบ่งเป็น ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 41,400 41,400 -
3. ชื่องาน/โครงการ : โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้ประชาชนทั่วไปให้มีความรู้เจตคติและทักษะที่ จาเป็นสาหรับการดารงชีวิต 6. ตัวชี้วัดความสาเร็จ 6.1 จานวนของหลักสูตรที่ได้ รับการพัฒนา/อนุมัติ ไม่ต่า กว่าร้อยละ 50 ของหลักสูตรที่ขออนุมัติ 6.2 จ านวนผู้ เ รี ย นที่ จ บหลั ก สู ต รการจั ด การศึ ก ษาเพื่ อ พัฒนาทักษะชีวิต ที่นาความรู้ไปใช้ เมื่อเทียบกับเปูาหมาย ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 6.3 จานวนผู้จบหลักสูตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 เมื่อเทียบ กับจานวนนักศึกษาลงทะเบียน 6.4 ค่า เฉลี่ ยระดับ ความพึ งพอใจของผู้รั บบริ การที่อ ยู่ใ น ระดับดีขึ้นไป 6.5 จานวนผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบการ พัฒนาทักษะชีวิตที่ยั่งยืน
กศน-กผ-02
5. กิจกรรมหลัก 5.1 สารวจความต้องการของผูเ้ รียน 5.2 จัดทา/จัดหา และพัฒนาหลักสูตรให้ตรงกับความต้องการของ กลุ่มเปูาหมาย 5.3 จัดหาสื่อ วัสดุอุปกรณ์ สิ่งอานวยความสะดวก และแหล่งการเรียนรู้ ในการเสริมสร้างการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 5.4 จัดอบรมประชาชน หลักสูตร ไม่เกิน 30 ชั่วโมง - อบรมอาชีพระยะสั้นรูปแบบกลุม่ สนใจ หลักสูตรไม่เกิน 30 ชั่วโมง 5.5 ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงาน 5.6 สรุปผลการดาเนินงาน
7. ประเภทกลุม่ เป้าหมาย / จานวนเป้าหมาย ประเภทกลุ่มเป้าหมาย จานวนเป้าหมาย ประชาชนทั่วไป
720 คน
9. พื้นที่ดาเนินการ กศน. ตาบลทั้ง 18 ตาบล 10. ผู้รับผิดชอบ งานการศึกษาต่อเนื่อง กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
56
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2562 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 5. โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 1. หน่วยงาน……………………………..
กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
สานักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น
2. สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.
3. ชื่องาน/โครงการ : โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้ประชาชนทั่วไปนาความรู้ไปใช้แก้ปัญหาและ พัฒนาชุมชนและสังคม 6. ตัวชี้วัดความสาเร็จ 6.1 จานวนของหลักสูตรที่ได้รับการพัฒนา/อนุมัติ ไม่ ต่า กว่าร้อยละ 50 ของหลักสูตรที่ขออนุมัติ 6.2 จ านวนผู้ เ รี ย นที่ จ บหลั ก สู ต รการจั ด การศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาสั ง คมและชุ ม ชน ที่ น าความรู้ ไ ปใช้ เมื่ อ เที ย บกั บ เปูาหมายไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 6.3 จานวนผู้จบหลักสูตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 เมื่อเทียบ กับจานวนนักศึกษาลงทะเบียน 6.4 ค่า เฉลี่ ยระดับ ความพึ งพอใจของผู้รั บบริ การที่อ ยู่ใ น ระดับดีขึ้นไป 6.5 จานวนผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบการ พัฒนาสังคมและชุมชน
5. กิจกรรมหลัก 5.1 สารวจความต้องการของผู้เรียน 5.2 จัดทา/จัดหา และพัฒนาหลักสูตรให้ตรงกับความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย 5.3 จัดหาสื่อ วัสดุอปุ กรณ์ สิ่งอานวยความสะดวก และแหล่งการเรียนรู้ในการ เสริมสร้างการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 5.4 จัดอบรมประชาชน หลักสูตร ไม่เกิน 30 ชั่วโมง - อบรมอาชีพระยะสั้นรูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรไม่เกิน 30 ชั่วโมง 5.5 ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงาน 5.6 สรุปผลการดาเนินงาน
7. ประเภทกลุม่ เป้าหมาย / จานวนเป้าหมาย ประเภทกลุ่มเป้าหมาย จานวนเป้าหมาย ประชาชนทั่วไป 540 คน 9. พื้นที่ดาเนินการ กศน. ตาบลทั้ง 18 ตาบล
กศน-กผ-02
8. งบประมาณ จานวน …………216,000……. บาท งบดาเนินงาน งบรายจ่ายอื่นๆ แบ่งเป็น ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 108,000 108,000 10. ผู้รับผิดชอบ งานการศึกษาต่อเนื่อง กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
57
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2562 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 6. โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ 1. หน่วยงาน……………………………..
กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
สานักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น
2. สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.
3. ชื่องาน/โครงการ : โครงการจัดกระบวนการเรียนรูต้ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ 4. วัตถุประสงค์
5. กิจกรรมหลัก
4.1 เพื่อให้ประชาชนทั่วไปใช้ชีวิตประจาวันตามหลักการของความ พอเพียง ความพอดี การใช้ชีวิตอย่างรอบครอบ ไม่ฟุมเฟือย ใช้ชีวิตใน ความไม่ป ระมาท ใช้ทรัพยากรที่มีอ ยู่ให้ เกิดประโยชน์มีคุณค่า เกิด รายได้
5.1 สารวจความต้องการของผู้เรียน 5.2 จัดทา/จัดหา และพัฒนาหลักสูตรให้ตรงกับความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย 5.3 จัดหาสื่อ วัสดุอปุ กรณ์ สิ่งอานวยความสะดวก และแหล่งการเรียนรู้ในการ เสริมสร้างการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 5.4 จัดอบรมประชาชน หลักสูตร ไม่เกิน 30 ชั่วโมง - จัดอบรมหลักสูตรระยะสั้นรูปแบบกลุม่ สนใจผู้เรียนตั้งแต่ 6 คนขึ้นไป 5.5 ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงาน 5.6 สรุปผลการดาเนินงาน
6. ตัวชี้วัดความสาเร็จ 6.1 จานวนของหลักสูตรที่ได้รับการพัฒนา/อนุมัติ ไม่ต่ากว่าร้อยละ 50 ของหลักสูตรที่ขออนุมัติ 6.2 จ านวนผู้ เรี ย นที่ จ บหลั ก สู ต ร ที่น าความรู้ไ ปใช้ เมื่อ เที ย บกั บ เปูาหมายไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 6.3 จานวนผู้จบหลักสูตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 เมื่อเทียบกับจานวน นักศึกษาลงทะเบียน 6.4 ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการที่อยู่ในระดับดีขึ้นไป 6.5 จ านวนผู้ เ รี ย นที่ เ ป็ น ตั ว อย่ า งที่ ดี ห รื อ เป็ น บุ ค คลต้ น แบบด้ า น เศรษฐกิจพอเพียง 6.6 จานวนศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงมีความพร้อมในการ ให้บริการแก่ผู้รับบริการ
7. ประเภทกลุม่ เป้าหมาย / จานวนเป้าหมาย ประเภทกลุ่มเป้าหมาย จานวนเป้าหมาย ประชาชนทั่วไป 324 คน 9. พื้นที่ดาเนินการ กศน. ตาบลทั้ง 18 ตาบล
กศน-กผ-02
8. งบประมาณ จานวน ……129,000……….. บาท งบดาเนินงาน งบรายจ่ายอื่นๆ แบ่งเป็น ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 64,800 64,800 10. ผู้รับผิดชอบ งานการศึกษาต่อเนื่อง กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
58
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2562 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 7. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 1. หน่วยงาน……………………………..
กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
สานักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น
2. สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.
3. ชื่องาน/โครงการ : โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้นักศึกษา กศน. และประชาชนทั่วไปพัฒนาอาชีพ เดิม สร้างอาชีพใหม่ 4.2 เพื่อไห้นักศึกษา กศน. และประชาชนทั่วไปสามารถนา ความรู้และทักษะไปใช้เพื่อสร้างรายได้ ลดรายจ่าย 6. ตัวชี้วัดความสาเร็จ 6.1 จานวนหลักสูตรการเรียนการสอนด้านอาชีพมีความ เหมาะสมและถูกต้อง 6.2 จานวนผู้จบหลักสูตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของ จานวนผู้เข้ารับการอบรม 6.3 ร้อยละ 50 ของประชาชนกลุ่มเปูาหมายที่มรี ายได้ เพิ่มขึ้นจากการพัฒนาอาชีพตามโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน เมื่อเทียบกับจานวนผูร้ ับการอบรม 6.4 จานวนศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนที่ที่พัฒนาเป็นศูนย์จาหน่าย สินค้าออนไลน์ OOCC จานวน 26 แห่ง
กศน-กผ-02
5. กิจกรรมหลัก 5.1 สารวจความต้องการของผู้เรียนด้านอาชีพ 5.2 จัดหา จัดทาการพัฒนาหลักสูตรอาชีพให้มีความเหมาะสม 5.3 จัดหาสื่อ วัสดุอปุ กรณ์ประกอบการดาเนินการ 5.4 จัดอบรมอาชีพรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพช่างพื้นฐาน ตั้งแต่ 31 ชั่วโมง ผู้เรียนตั้งแต่ 11 คนขึ้นไป 5.5 จัดอบรมอาชีพระยะสั้นรูปแบบกลุม่ สนใจ ผู้เรียนตั้งแต่ 6 คนขึ้นไป หลักสูตรไม่ เกิน 30 ชั่วโมง 5.6 จัดอบรมอาชีพ 1 อาเภอ 1 อาชีพ 5.7 จัดกิจกรรม “หน่วยบาบัดทุกข์บารุงสุข สร้างรอยยิ้มให้กบั ประชาชน 5.8 ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงาน และรวบรวมข้อมูลสารสนเทศด้านอาชีพ 5.9 นิเทศ และสรุปผลการดาเนินการ
7. ประเภทกลุม่ เป้าหมาย / จานวนเป้าหมาย ประเภทกลุ่มเป้าหมาย จานวนเป้าหมาย - อาชีพ 1 อาเภอ 1 อาชีพ 144 คน - กลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 31 ชั่วโมง) 540 คน - ชั้นเรียนวิชาชีพ (เกิน 31 ชั่วโมง) 432 คน
8. งบประมาณ จานวน …………896,400…….. บาท งบดาเนินงาน งบรายจ่ายอื่นๆ แบ่งเป็น ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 448,200 448,200 9. พื้นที่ดาเนินการ กศน. ตาบลทั้ง 18 ตาบล 10. ผู้รับผิดชอบ งานหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
59
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2562 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 8. โครงการส่งเสริมสุขภาวะอนามัยของประชาชนในชุมชน 1. หน่วยงาน……………………………..
กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
สานักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น
2. สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.
3. ชื่องาน/โครงการ : โครงการส่งเสริมสุขภาวะอนามัยของประชาชนในชุมชน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษา กศน. และประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจสุขภาวะอนามัย 4.2 เพื่อให้นักศึกษา กศน. และประชาชนได้มีสุขภาวะ อนามัยและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 6. ตัวชี้วัดความสาเร็จ 6.1 ร้อยละของผู้เรียนที่จบหลักสูตรเทียบกับผู้ลงทะเบียน 6.2 ร้อยละของผู้จบหลักสูตรที่นาความรูไ้ ปใช้ใน ชีวิตประจาวัน 6.3 ค่าเฉลีย่ ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการที่อยู่ใน ระดับดี
กศน-กผ-02
5. กิจกรรมหลัก 5.1 จัดทาคู่มือการอบรมครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบด้วย การดูแลสุขภาวะอนามัยสาหรับแม่ พฤตพลังของผู้สูงอายุ การดูแลและ ปูองกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 5.2 จัดอบรม และพัฒนาครู 5.3 ขยายผลให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาวะอนามัยแก่กลุ่มเปูาหมาย 5.4 จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาวะอนามัยในรูปแบบการสอดแทรกใน รายวิชาสุขศึกษาและการจัดอบรมประชาชน 5.5 ออกตรวจเยีย่ มบ้านนักศึกษา กศน. และประชาชน 5.6 ติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน 7. ประเภทกลุม่ เป้าหมาย / จานวนเป้าหมาย ประเภทกลุ่มเป้าหมาย จานวนเป้าหมาย ประชาชนทั่วไป 360 คน
8. งบประมาณ จานวน …………144,000……….. บาท งบดาเนินงาน งบรายจ่ายอื่นๆ แบ่งเป็น ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 144,000 9. พื้นที่ดาเนินการ กศน. ตาบลทั้ง 18 ตาบล 10. ผู้รับผิดชอบ งานส่งเสริมภาคีเครือข่าย กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
60
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2562 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 9. โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ 1. หน่วยงาน……………………………..
กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
สานักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น
2. สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.
3. ชื่องาน/โครงการ : โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้ประชาชนทั่วไปได้เรียนรู้เกี่ยวกับภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ 6. ตัวชี้วดั ความสาเร็จ 6.1 จานวนของหลักสูตรที่ได้รับการพัฒนา/อนุมตั ิ ไม่ต่า กว่าร้อยละ 50 ของหลักสูตรที่ขออนุมัติ 6.2 จานวนผู้เรียนที่จบหลักสูตร ที่นาความรู้ไปใช้ เมื่อ เทียบกับเปูาหมายไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 6.3 จานวนผู้จบหลักสูตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 เมื่อเทียบ กับจานวนนักศึกษาลงทะเบียน 6.4 ค่าเฉลีย่ ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการที่อยู่ใน ระดับดีขึ้นไป 6.5 จานวนผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบ
กศน-กผ-02
5. กิจกรรมหลัก 5.1 ศึกษาความต้องการจาเป็นการฝึกอบรมหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสารด้านอาชีพ 5.2 จัดหาและพัฒนาหลักสูตร 5.3 จัดหาสื่อ วัสดุอุปกรณ์ 5.4 จัดอบรม/การเรียนรู้ตามหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้าน อาชีพแก่ครูผู้สอน 5.5 ติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน 5.6 จัดทารายงานผลการดาเนินงาน
7. ประเภทกลุม่ เป้าหมาย / จานวนเป้าหมาย ประเภทกลุ่มเป้าหมาย จานวนเป้าหมาย ประชาชนทั่วไป 40 คน
8. งบประมาณ จานวน …………48,000………….. บาท งบดาเนินงาน งบรายจ่ายอื่นๆ แบ่งเป็น ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 24,000 24,000 9. พื้นที่ดาเนินการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น 10. ผู้รับผิดชอบ งานการศึกษาต่อเนื่อง กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
61
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2562 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 10. โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง Smart Farmer 1. หน่วยงาน……………………………..
กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
สานักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น
2. สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.
3. ชื่องาน/โครงการ : โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง Smart Farmer 4. วัตถุประสงค์
5. กิจกรรมหลัก
4.1 เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจ ในการเป็น Smart Farmer 4.2 เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจในการทาเกษตรตาม ความเหมาะสมของพื้นที่ และเห็นช่องทาง หรือการพัฒนาอาชีพด้าน การเกษตร 4.3 เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรที่ผ่านการอบรม สามารถยกระดับเป็น Smart Farmer
5.1 สารวจเกษตรกรกลุ่มเปูาหมาย 5.2 จัดหา จัดทาแผนพัฒนาหลักสูตร 5.3 จัดหาสื่อ วัสดุ และอุปกรณ์ 5.4 จัดอบรมเกษตรกรกลุ่มเปูาหมายโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ความรู้เบือ้ งต้น จานวน 6 ข้อ และวัดผล ประเมินผล ดังนี้ - ความรู้ในเรื่องที่ทาอยู่ในพื้นที่ของกลุ่มเปูาหมาย - การเข้าถึงข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจ - การบริหารจัดการผลผลิต และการตลาด - ความตระหนักถึงคุณภาพสินค้าและความปลอดภัยของผู้บริโภค - ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และสังคม - ความภาคภูมิใจในการเป็นเกษตรกร 5.5 ติดตามผู้เข้าร่วมอบรม/รวบรวมข้อมูลสารสนเทศ 5.6 นิเทศติดตาม สรุปผล และรายงานผลการดาเนินงาน
6. ตัวชี้วัดความสาเร็จ 6.1 จานวนเกษตรกรกลุ่มเปูาหมายที่ได้รับการอบรมให้มีความรู้ใน อาชีพเกษตรที่เหมาะสมกับสภาพบริบท และความต้องการของพื้นที่/ ชุมชน 6.2 ร้อยละของเกษตรกรกลุ่มเปูาหมายสามารถนากระบวนการ เรียนรู้ที่อบรมไปใช้พัฒนาอาชีพการเกษตรของตนเองได้อย่างมี ประสิทธิภาพและยั่งยืน 6.3 จานวนผู้ผ่านการอบรมสามารถนาความรู้ไปพัฒนาต่อยอดได้ อย่างเป็นรูปธรรม 6.4 ร้อยละของผู้จบหลักสูตรเมื่อเทียบกับจานวนผู้เข้ารับการอบรม
กศน-กผ-02
7. ประเภทกลุม่ เป้าหมาย / จานวนเป้าหมาย ประเภทกลุ่มเป้าหมาย จานวนเป้าหมาย ประชาชนทั่วไป 360 คน
8. งบประมาณ จานวน ……………273,000….. บาท งบดาเนินงาน งบรายจ่ายอื่นๆ แบ่งเป็น ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 273,000 9. พื้นที่ดาเนินการ กศน. ตาบลทั้ง 18 ตาบล 10. ผู้รับผิดชอบ งานการศึกษาขั้นพื้นฐาน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
62
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2562 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 11. โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลสู่ชุมชนในระดับตาบล 1. หน่วยงาน……………………………..
กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
สานักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น
2. สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.
8. งบประมาณ จานวน …………172,800…….. บาท งบดาเนินงาน งบรายจ่ายอื่นๆ แบ่งเป็น ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 172,800 -
3. ชื่องาน/โครงการ : โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทลั สู่ชุมชนในระดับตาบล 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อพัฒนาบุคลากรในสังกัด สานักงาน กศน.ขอนแก่น ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามโครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล แผนงาน กิจกรรมการพัฒนาเครือข่ายเศรษฐกิจดิจิทัลสู่ระดับตาบล 6. ตัวชี้วัดความสาเร็จ 6.1 จานวนครู ก ครู ข และครู ค ที่เข้ารับการอบรม วิทยากรแกนนาในการจัดกระบวนการเรียนรู้ และสามารถ นาไปขยายผลได้อย่างเกิดผล 6.2 จานวนประชาชนกลุ่มเปูาหมายที่จบหลักสูตร ที่ กาหนดของโครงสร้างเครือข่ายดิจทิ ัลชุมชนระดับตาบลเมื่อ เทียบกับจานวนผูเ้ ข้ารับการอบรม 6.3 ร้อยละของผู้ผ่านการอบรมตามหลักสูตรที่กาหนด สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตนเองได้
5. กิจกรรมหลัก 5.1 สารวจประชาชนกลุ่มเปูาหมาย 5.2 จัดหา จัดทา การพัฒนาหลักสูตร 5.3 จัดหาสื่อ วัสดุอุปกรณ์ 5.4 จัดอบรมให้ความรู้ โดยวิทยากรแกนนาครู ก (จังหวัด) แก่วิทยากร ครู ข (ระดับอาเภอ) และขยายผลสู่วิทยากร ครู ค (ระดับตาบล) 5.5 ติดตามผูเ้ ข้ารับการอบรม รวบรวมข้อมูลสารสนเทศ 5.6 การจัดกิจกรรมอบรมการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลสู่ชุมชนในระดับ ตาบลพร้อมกัน 5.7 การนิเทศ ติดตาม และกิจกรรมการ Live สดการรายงานผล 5.8 สรุปผลการดาเนินงาน และจัดทารายงานผลการดาเนินงาน 7. ประเภทกลุม่ เป้าหมาย / จานวนเป้าหมาย ประเภทกลุ่มเป้าหมาย จานวนเป้าหมาย 1) วิทยากร ครู ข 2) วิยากร ครู ค 3) ประชาชนทัว่ ไป
กศน-กผ-02
1 คน 18 คน 720 คน
9. พื้นที่ดาเนินการ กศน. ตาบลทั้ง 18 ตาบล 10. ผู้รับผิดชอบ งานเทคโนโลยีสารสนเทศ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
63
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2562 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 12. โครงการส่งเสริมการอ่านสาหรับกลุ่มเป้าหมายนักศึกษา กศน. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และประชาชน 1. หน่วยงาน……………………………..
กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
สานักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น
2. สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.
3. ชื่องาน/โครงการ : โครงการส่งเสริมการอ่านสาหรับกลุม่ เปูาหมายนักศึกษา กศน. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และประชาชน
4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อเพิ่มอัตราการอ่านหนังสือของประชาชน นักศึกษา กศน. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4.2 เพื่อเกิดการหมุนเวียนหนังสือ 6. ตัวชี้วัดความสาเร็จ 6.1 นั ก ศึ ก ษา กศน. ระดั บ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ประชาชนทั่วไป อาสาสมัครส่งเสริมการอ่านที่เข้า ร่วมโครงการมีความพึงพอใจในระดับมาก 6.2 ร้อยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ 50
กศน-กผ-02
5. กิจกรรมหลัก 5.1 จัดกิจกรรมสาหรับห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด 5.2 จัดทาสมุดบันทึกการอ่าน 5.3 จัดทาสื่อส่งเสริมการอ่าน - e-book - info-graphic 5.4 จัดกิจกรรมสาหรับรถห้องสมุดเคลื่อนที่ 5.5 การให้ความรู้อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน 5.6 จัดกิจกรรมสาหรับบ้านหนังสือชุมชน 7. ประเภทกลุม่ เป้าหมาย / จานวนเป้าหมาย ประเภทกลุ่มเป้าหมาย จานวนเป้าหมาย นักศึกษาลงทะเบียนเรียน 2/2561 6,519 คน - ระดับประถมศึกษา 424 คน - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2,465 คน - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3,184 คน - ปวช. 446 คน
8. งบประมาณ จานวน …………-………….. บาท งบดาเนินงาน งบรายจ่ายอื่นๆ แบ่งเป็น ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 9. พื้นที่ดาเนินการ กศน. อาเภอเมืองขอนแก่น 10. ผู้รับผิดชอบ งานส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย
64
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2562 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 13. โครงการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ชุมชนในระดับตาบล 1. หน่วยงาน……………………………..
กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
สานักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น
2. สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.
8. งบประมาณ จานวน …………52,000………….. บาท งบดาเนินงาน งบรายจ่ายอื่นๆ แบ่งเป็น ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 52,000 -
3. ชื่องาน/โครงการ : โครงการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ชุมชนในระดับตาบล
4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ชุมชนในระดับ ตาบลให้มีประสิทธิภาพ 4.2 เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ในระดับชุมชน 6. ตัวชี้วัดความสาเร็จ 6.1 จานวนแหล่งการเรียนรู้ชุมชนในระดับตาบลที่มี การพัฒนาปรับปรุง ต่อการรับบริการ 6.2 ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อการใช้ บริการ แหล่งการเรียนรู้ชุมชนในระดับตาบลร้อยละ 80
กศน-กผ-02
5. กิจกรรมหลัก 5.1 สารวจความต้องการในการพัฒนา ปรับปรุงแหล่งการเรียนรู้ชุมชน ในระดับตาบล 5.2 จัดทาแผนการพัฒนาปรับปรุง 5.3 ดาเนินการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ 5.4 ดาเนินการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ชุมชนในระดับตาบล 5.5 สรุปผลการดาเนินการ 7. ประเภทกลุม่ เป้าหมาย / จานวนเป้าหมาย ประเภทกลุ่มเป้าหมาย จานวนเป้าหมาย
กศน. ตาบล
18 แห่ง
9. พื้นที่ดาเนินการ กศน.ตาบลทั้ง 18 แห่ง 10. ผู้รับผิดชอบ งานส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย
65
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2562 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 14. โครงการเสริมสร้าง และพัฒนาศักยภาพบุคลากร 1. หน่วยงาน……………………………..
กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
สานักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น
2. สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.
3. ชื่องาน/โครงการ : โครงการเสริมสร้าง และพัฒนาศักยภาพบุคลากร
4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อพัฒนาศักยภาพข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา 4.2 เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับงานด้าน บริหารบุคคลแก่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา 6. ตัวชี้วัดความสาเร็จ
6.1 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีการพัฒนา อย่างมีประสิทธิภาพ 6.2 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนาความรู้ที่ได้รับไป พัฒนาศักยภาพของตนเองได้อย่างมีคุณภาพร้อยละ 100 6.3 บุคลากรมีความเติบโตในสายงานอย่างน้อยร้อย ละ 50 ของบุคลากรทั้งหมด
กศน-กผ-02
5. กิจกรรมหลัก 5.1 กิจกรรมการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรและการเป็นข้าราชการยุคไทยแลนด์ 4.0 5.2 กิจกรรมการอบรมพัฒนาบุคลากรเพื่อความเป็นหนึ่ง 5.3 กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร 5.4 กิจกรรมการเสริมสร้างศักยภาพและพัฒนาดุลยภาพของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา 5.5 กิจกรรมการประชุมชี้แจ้งแนวทางการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา - การเลื่อนวิทยฐานะ - การเลื่อนขั้นเงินเดือน - วินัยและนิตกิ าร - การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณ - การเตรียมความพร้อมการพัฒนาครูผชู้ ่วย - การเขียนหนังสือราชการอย่างถูกวิธี 5.6 กิจกรรมศึกษาดูงานเสริมสร้างศักยภาพ - ย้อนรอยอารนธรรมต้นกาเนิดชนชาติไทยภาคเหนือ - พัมนาแหล่งเรียนรู้ภาคใต้
7. ประเภทกลุม่ เป้าหมาย / จานวนเป้าหมาย ประเภทกลุ่มเป้าหมาย จานวนเป้าหมาย ผู้บริหาร ข้าราชการครู และบุคลากรสังกัด 136 คน กศน. อาเภอเมืองขอนแก่น 8. งบประมาณ จานวน …………908,860…….. บาท งบดาเนินงาน งบรายจ่ายอื่นๆ แบ่งเป็น ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 500,000 408,860 9. พื้นที่ดาเนินการ กศน. อาเภอเมืองขอนแก่น 10. ผู้รับผิดชอบ งานบุคลากร กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
๖๖ 3.3 รายละเอียดโครงการสู่การปฏิบัติ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
1. โครงการส่งเสริมการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งสูผ่ ลสัมฤทธิ์ หลักการและเหตุผล พระราชบัญญัติการศึกษานอกระบบแลการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 ได้กาหนดให้บุคคล ได้รั บการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยให้บุคคลมีสิทธิได้รับ การศึก ษาในรู ป แบบการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอั ธ ยาศั ยตามความสนใจหรือความต้ องการ ตลอดจนการให้ การสนั บ สนุ น การศึกษาในระบบ ในการยกระดั บคุณภาพชีวิตของประชาชน การศึกษา เป็ น รากฐานส าคัญ ของการพั ฒ นาประเทศ การศึกษานอกระบบก็ เป็นกระบวนการการศึกษาตลอดชีวิ ต มีภ ารกิจ ส าคัญที่จ ะต้องให้ ป ระชาชนได้รั บ การศึกษาอย่ างเสมอภาคกัน โดยเฉพาะการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตตามมาตรฐานของสังคม ซึ่งเป็นสิทธิที่ทุกคนพึงได้รับการศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ในฐานะหน่วยงานซึ่งมี หน้ า ที่ ใ นการส่ ง เสริ ม การจั ด การศึ ก ษา มี ห น้ า ที่ ดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบในการจั ด การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ให้กับกลุ่มเปูาหมายที่พลาดโอกาสเรียนในระบบ ซึ่งเป็นผู้ใหญ่มีคุณลักษณะความต้องการในการศึกษาแตกต่าง จากกลุ่มเปูาหมายเด็กในระบบโรงเรียน ทั้งนี้ยังมีผู้พลาดโอกาส ขาดโอกาส และด้อยจัดการศึกษา ที่ยังไม่จบ การศึกษาภาคบังคับ โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในวัยแรงงาน ที่เป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาปะเทศ ดังนั้นจึงมีความ จาเป็นที่จัดการศึกษาให้กับบุคคลดังกล่าว เพื่อนาความรู้ที่ได้รับไปปรับปรุงคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ตลอดจน เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชนต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่ อ ให้ ป ระชาชนได้ รั บ โอกาสทางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานนอกระบบ ทั้ ง ระดั บ ประถมศึ ก ษา มัธยมศึกษาตอนต้น และ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 2. เพื่อเป็นการขยายโอกาสทางการศึกษา พัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถนาสาระการเรียนรู้และวิธีการเรียนรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง 3. เพื่อส่งเสริมให้ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ดาเนินการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์รวมทั้ง ผลการเรียนอย่างเป็นระบบได้มาตรฐานสอดคล้องกับหลักสูตร เพื่อการขยายโอกาสทางการศึกษาให้กับ ประชาชนอย่างกว้างขวาง 4. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 5. เพื่อพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ได้เกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด
๖๗ เป้าหมาย 1) เชิงปริมาณ : นักศึกษา ระดับ 1. ระดับประถมศึกษา 2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รวมทั้งสิ้น
จานวนกลุ่มเป้าหมาย (ทั้งปี) 424 2,465 3,184 6,519
หมายเหตุ นักศึกษาทั้ง 3 ระดับ ภาคเรียนที่ 2/2561
เชิงปริมาณ : ครูและบุคลากรทางการศึกษา ลาดับ ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ 8 ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ 15
ตาแหน่ง ผู้อานวยการ ข้าราชการ ครูอาสาสมัครฯ ครู กศน.ตาบล ครูศูนย์การเรียนชุมชน ครู ปวช. วิทยากรวิชาชีพ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป บรรณารักษ์อัตราจ้าง ลูกจ้างชั่วคราว(เจ้าหน้าที่ทาความสะอาด) ครูประจากลุ่มเปูาหมายพิเศษ (ครูสอนเด็กเร่ร่อน) ครูประจากลุ่มเปูาหมายพิเศษ ครูสอนคนพิการ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ครูประจากลุ่ม
วุฒิ ปริญญาตรี
วุฒิ ปริญญาโท
อื่น ๆ
รวม
๑ ๗ 20 15 8 1 1 -
๑ ๒ ๑ 17 5 -
2 ๔ 2 1
๑ ๓ ๘ ๓7 ๒0 8 ๔ ๑ 1 2 1
6
-
-
6
6
-
-
6
35
-
1 รวม
2) เชิงคุณภาพ 2.1 ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา 2.2 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดเป็น มีทักษะในการทางานร่วมกับผู้อื่นได้ 2.3 ผู้เรียนจบหลักสูตรตามเกณฑ์ 2.4 ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น 2.5 ผู้เรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิต มีสุขนิสัยที่ดี 2.6 ครูและบุคลากรทางการศึกษาผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด
1 35 136
๖๘ วิธีการดาเนินการ กิจกรรมหลัก
วัตถุประสงค์
1. จัดหาสื่อหนังสือ เพื่อให้ผู้เรียน เรียนในการจัด ผู้รบั บริการได้รับการ การศึกษา สนับสนุนค่าใช้จ่าย การจัดการศึกษา นอกระบบและ การศึกษาตาม อัธยาศัย 2. วัสดุจัดการเรียน เพื่อให้ผู้เรียน การสอน ผู้รับบริการ มีสิ่ง อานวยความสะดวก ในการเรียนการสอน 3. โครงการผลิตสื่อ เพื่อให้ผู้เรียนมีสื่อ การจัดการเรียนการ การเรียนการสอนที่ สอน หลากหลาย
กลุ่มเป้าหมาย
เป้าหมาย
ผู้เรียน ผู้รับบริการ
6,519 คน
ผู้เรียน ผู้รับบริการ
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
กศน.อาเภอ พ.ย. 61เมืองขอนแก่น พ.ค. 62
3,822,800
ผู้เรียน ผู้รับบริการ
กศน.อาเภอ กศน.อาเภอ ต.ค. 61เมืองขอนแก่น เมืองขอนแก่น ก.ย. 62 และ กศน. ตาบล 18 แห่ง
300,000
รายละเอียดการใช้งบประมาณ ตามรายละเอียดกิจกรรม ดังนี้ 1) ค่าตอบแทนบุคลากร (ไตรมาสที่ 1 - 2) - ครู ศรช. (20 คน x 15,000 บ. X 6 ด.) - ครู ปวช. (8 คน x 15,000 บ. x 6 ด.) - ครูประจากลุ่ม (35 คน x 3,200 บ. X 6 ด.) - ครูประจากลุ่ม ปวช. (2 คน x 5,940 บ. X 5 ด.) - เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป(1 คน x 13,300 บ.x 6 ด.) - พนักงานทาความสะอาด (2 คน x 9,000 บ. X 6 ด.) - พนักงานรักษาความปลอดภัย (1 x 9,000 บ. x 6 ด.) - นักวิชาการคอมพิวเตอร์ (1 คน x 15,000 บ. X 6 ด.)
พื้นที่ ระยะเวลา งบประมาณ ดาเนินการ กศน.อาเภอ พ.ย. 61- 5,013,920 เมืองขอนแก่น ธ.ค. 61
1,800,000 720,000 672,000 59,400 79,800 108,000 54,000 90,000
บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท
1,800,000 720,000 672,000 59,400 79,800
บาท บาท บาท บาท บาท
รวมทั้งสิ้น 3,251,400 บาท 2) ค่าตอบแทนบุคลากร (ไตรมาสที่ 3 - 4) - ครู ศรช. (20 คน x 15,000 บ. X 6 ด.) - ครู ปวช. (8 คน x 15,000 บ. x 6 ด.) - ครูประจากลุ่ม (35 คน x 3,200 บ. X 6 ด.) - ครูประจากลุ่ม ปวช. (2 คน x 5,940 บ. X 5 ด.) - เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป(1 คน x 13,300 บ. X 6 ด.)
๖๙ - พนักงานทาความสะอาด (2 คน x 9,000 บ. X 6 ด.) - พนักงานรักษาความปลอดภัย (1 x 9,000 บ. X 6 ด.) - นักวิชาการคอมพิวเตอร์ (1 คน x 15,000 บ. X 6 ด.)
108,000 บาท 54,000 บาท 90,000 บาท
รวมทั้งสิ้น 3,251,400 บาท 3) ค่าสาธารณูปโภค - ค่าไฟฟูา 50,000 บ. X 12 ด - ค่าน้าประปา 15,000 บ. X 12 ด - ค่าโทรศัพท์ 10,000 บ. X 12 ด - ค่าอินเทอร์เน็ต - ค่าไปรษณีย์
600,000 180,000 120,000 100,000 10,000
บาท บาท บาท บาท บาท
21,000 259,000 195,570
บาท บาท บาท
21,000 259,000 195,570
บาท บาท บาท
100,000 100,000 100,000 100,000
บาท บาท บาท บาท
รวมทั้งสิ้น 1,010,000 บาท 4) ค่าดาเนินการสอบ/สนามสอบ/ข้อสอบ 1.1) ภาคเรียนที่ 2/2561 - ค่าสนามสอบ (14 สนาม) - ค่าดาเนินการสอบ - ค่าข้อสอบ 1.2) ภาคเรียนที่ 1/2562 - ค่าสนามสอบ (14 สนาม) - ค่าดาเนินการสอบ - ค่าข้อสอบ รวมทั้งสิ้น 951,140 บาท 5) ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกราชการ (ค่าเดินทางไปราชการ) - ค่าเดินทางไปประชุม - ค่าเดินทางไปอบรม - ค่าเดินทางไปสัมมนา - ค่าดาเนินการจัดนิทรรศการเคลื่อนที่ รวมทั้งสิ้น 400,000 บาท
๗๐ 6) พัฒนาบุคลากร กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น - ศึกษาดูงานย้อนรอยอารยธรรมต้นกาเนิดชนชาติไทยภาคเหนือ - อบรมพัฒนาบุคลากรเพื่อความเป็นหนึ่ง - ศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้ภาคใต้
500,000 บาท 200,000 บาท 208,860 บาท
รวมทั้งสิ้น 908,860 บาท 7) ค่าจัดกิจกรรมสอนเสริม - กิจกรรมติวเข้ม N-Net - กิจกรรมติวเข้ม Final Test - กิจกรรมติวข้อสอบ
350,000 บาท 125,000 บาท 125,000 บาท รวมทั้งสิ้น 600,000 บาท
8) ค่านิเทศติดตามการดาเนินงาน - ครั้งที่ 1 - ครั้งที่ 2 - ครั้งที่ 3 - ครั้งที่ 4
25,000 บาท 25,000 บาท 25,000 บาท 25,000 บาท รวมทั้งสิ้น 100,000 บาท
9) ค่าวัสดุ - ค่าวัสดุซ่อมแซมสื่อการเรียนการสอน - ค่าวัสดุซ่อมแซม กศน.ตาบล - ค่าวัสดุซ่อมแซมแหล่งเรียนรู้ - ค่าวัสดุซ่อมแซมศูนย์การเรียนชุมชน - ค่าวัสดุสานักงานเพื่อใช้สนับสนุนการเรียนการสอน - ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว - ค่าวัสดุการเกษตร - ค่าวัสดุงานจ้างพิมพ์ - ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ - ค่าวัสดุไฟฟูาและวิทยุ - ค่าวัสดุก่อสร้าง รวมทั้งสิน้ 3,822,800 บาท ผู้รับผิดชอบโครงการ งานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น
100,000 บาท 500,000 บาท 1,000,000 บาท 100,000 บาท 1,000,000 บาท 100,000 บาท 100,000 บาท 200,000 บาท 200,000 บาท 122,800 บาท 400,000 บาท
๗๑ ภาคีเครือข่ายร่วมดาเนินการ 1. ผู้นาท้องถิ่น/ผู้ใหญ่บ้าน/กานัน ทุกตาบล 2. องค์การบริหารส่วนตาบล/เทศบาล 3. วิทยากร / ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ชมรมข้าราชการบานาญ 4. วัด และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ 5. หน่วยงานภาครัฐ และ เอกชน ตัวชี้วัดความสาเร็จ 1. ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) 1.1 จานวนผู้ลงทะเบียนทั้ง 2 ภาคเรียน ได้ตามเปูาหมายเกินร้อยละ 80 1.2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ์ที่กาหนด (4 ภาคเรียน) ร้อยละ 60 1.3 ครูและบุคลากรทางการศึกษาผ่านตามเกณฑ์มาตรฐาน 2. ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome) 2.1 ความพึงพอใจของผู้เรียนอยู่ในระดับ ดี (มาก) ร้อยละ 80 2.2 ผู้เรียนผู้รับบริการมีคุณลักษณะตามเกณฑ์ร้อยละ 60 2.3 ร้อยละ 80 ของครูและบุคลากรทางการศึกษาผ่านตามเกณฑ์มาตรฐาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้เรียน/ผู้รับบริการ ได้รับความรู้ มีวุฒิทางการศึกษาที่สูงขึ้น และได้นาความรู้ที่ได้รับไปปรับปรุง คุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของตนเองให้ดีขึ้น 2. ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ได้เกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด การติดตามและประเมินผลโครงการ 1. การนิเทศ/ติดตาม 2. แบบทดสอบ 3. แบบสอบถาม (แบบประเมินความพึงพอใจ) ลงชื่อ................................................ผู้เสนอโครงการ (นางวิไลพร บูรณ์เจริญ) ครูชานาญการพิเศษ ลงชื่อ..............................................ผู้อนุมัติโครงการ (นายบุญส่ง ทองเชื่อม) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
๗๒
2. โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้น หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 หลักการและเหตุผล การพัฒนาการศึกษาของประเทศไทยปัจจุบันมุ่งยกระดับคุณภาพการศึกษาให้มีคุณภาพ สอดคล้อง กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกปัจจุบัน จึงต้องพัฒนาศักยภาพทางด้านวิชาชีพและยกระดับการศึกษาของ ประชากรวัยแรงงานที่ประกอบกอาชี พในสถานประกอบการ และมีอาชีพอิสระให้สูงขึ้น เพื่อเป็นการสร้าง โอกาส และความก้าวหน้าให้แก่ประชากรที่จะเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและตลาดแรงงานได้อย่างกว้างขวาง มากยิ่งขึ้น สภาพปัจจุบันประเทศไทยยังมีประชากรจานวนที่มีความรู้ ความสามารถ มีงานทาในสถาน ประกอบการ หรือมีธุรกิจของตนเอง แต่ประชากรเหล่านี้ไม่มีเวลามากพอที่จะเข้าเรียนในระบบการศึกษา ประกอบกับ กฎหมายการศึ กษาเปิ ดช่ องทางให้ ก ารเรีย นรู้ ที่เกิ ดจาการท างาน การประกอบอาชีพ เป็ น การศึกษารูปแบบหนึ่ง ที่เรียกว่าการศึกษาตามอัธยาศัย หน่วยงานหรือสถานศึกษาจึงต้องพัฒนาวิธีการ รูปแบบ ให้สามารถเชื่อมโยงการเรียนรู้จากการทางานเข้าสู่ระบบการศึกษา เพื่อให้ได้รับวุฒิการศึกษา กศน. อาเภอเมืองขอนแก่น เป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จึงพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาให้มีความหลากหลายนอกจากการจั ดการศึกษาสายสามัญแล้ว การศึกษา สายอาชีพเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่พัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนที่มีอาชีพแล้ว ให้ได้รับวุฒิ การศึกษาสายอาชีพ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ มีความรู้ สมรรถนะ ความสามารถในการปฏิบัติงานสอดคล้องกับมาตรฐานวิช าชีพ และมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาอาชีพและการดารงชีวิต 2. เพื่อให้เป็นผู้มีจิตบริการ มีวินัยในตนเอง มีจรรยาบรรณต่อวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบต่องาน อาชีพ 3. มีความสนใจ ใฝุรู้ และมีวิธีการในการแสวงหาความรู้ คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น มีความรู้พื้นฐานและ ทักษะด้านวิชาชีพ เป้าหมาย 1) เชิงปริมาณ จัดกระบวนการเรียนรู้กลุ่มเปูาหมายประกาศนียบัตรวิชาชีพ ภาคเรียนที่ 2/2561 และภาคเรียนที่ 1/2562 จานวน 446 คน 2) เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 ของนักศึกษาได้รับโอกาสทางการศึกษาที่เป็นไปตามสภาพปัญหา และความต้องการของ แต่ละคนอย่างเท่าเทียม และเสมอภาค และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
๗๓ วิธีการดาเนินการ กิจกรรมหลัก
วัตถุประสงค์
กลุ่มเป้าหมาย
เป้าหมาย (คน)
1. ประชาสัมพันธ์ เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ นักศึกษา ปวช. กลุ่มเปูาหมายทราบ 2.รับสมัคร นักศึกษา 3.จัดกิจกรรม ตามโครงการ
เพื่อรับสมัคร นักศึกษา ปวช. กลุ่มเปูาหมาย เพื่อส่งเสริมสนับสนุน นักศึกษา ปวช. ให้สถานศึกษาจัด ครู กศน. กระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้รับ การศึกษาในรูปแบบ ที่เหมาะสมกับสภาพ ความต้องการของ ตนเอง 4.นิเทศ/ติดตาม/ เพื่อติดตามและ ครู กศน. ประเมินผล ประเมินผลการจัด กิจกรรม 5.รายงานผล เพื่อรายงานการจัด ครู กศน. กิจกรรม
พื้นที่ ระยะเวลา งบประมาณ ดาเนินการ (บาท) กศน.อาเภอ ต.ค.61 เมืองขอนแก่น -
466 คน
กศน.อาเภอ ต.ค.61 เมืองขอนแก่น 446 คน กศน.อาเภอ พ.ย.61 10 คน เมืองขอนแก่น ถึง ก.ย.62
10 คน 10 คน
2,453,000
กศน.อาเภอ พ.ย.61 เมืองขอนแก่น ถึง ก.ย.62 กศน.อาเภอ -มี.ค.62 เมืองขอนแก่น -ก.ย.62
งบประมาณ งบประมาณประจาปี 2562 แผนงาน : ยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน โครงการ สนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน ค่าจัดการเรียนการสอน รหัสงบประมาณ 500561 เป็น เงิน 2,453,000 บาท - ค่าวัสดุในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2,453,000 บาท แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก 1. สารวจกลุ่มเปูาหมาย 2. ประชาสัมพันธ์และรับสมัคร 3. จัดกิจกรรมตามโครงการ 4. นิเทศติดตามผลและประเมินผล 5. สรุปผลการดาเนินโครงการ 6. รายงานผลการดาเนินโครงการ
ไตรมาสที่ 1 ต.ค.61-ธ.ค.61
ไตรมาสที่ 2 ม.ค.62–มี.ค.62
613,250
613,250
ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 เม.ย.62–มิ.ย.62 ก.ค.62–ก.ย.62
613,250
613,250
๗๔ ผู้รับผิดชอบโครงการ - ครูผู้สอน ปวช. เครือข่าย - องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่อาเภอเมืองขอนแก่นช่วยประชาสัมพันธ์โครงการ - ผู้นาชุมชนทุกตาบลช่วยประชาสัมพันธ์กลุ่มเปูาหมาย โครงการที่เกี่ยวข้อง -โครงการจัดกิจกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน -โครงการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ผลลัพธ์ นักศึกษาได้รับความรู้ ทักษะ ที่สอดคล้องกับสภาพความต้องการ และความจาเป็นอย่างเท่าเทียมและ เสมอภาค และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ดัชนีชี้วัดผลสาเร็จของโครงการ ตัวชี้วัดผลผลิต - นักศึกษา ปวช. จานวน 446 คนได้รับโอกาสทางการศึกษาที่เป็นไปตามสภาพปัญหา และความ ต้องการของแต่ละคนอย่างเท่าเทียม และเสมอภาค ตัวชี้วัดผลลัพธ์ - ร้อยละ 80 ของ นักศึกษา ปวช.ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่เป็นไปตามสภาพปัญหา และความ ต้องการของแต่ละคนอย่างเท่าเทียม และเสมอภาค และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การติดตามประเมินผลโครงการ - จาการสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของกลุ่มเปูาหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมและการแสดงความรู้สึก ความคิดเห็น การมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม - ประเมินจากการตรวจใบงาน - จากแบบสารวจความพึงพอใจของกลุ่มเปูาหมายที่เข้าร่วมโครงการ ลงชื่อ................................................ผู้เสนอโครงการ (นางสาวธันยพัฒน์ นูเร) ครูชานาญการพิเศษ ลงชื่อ..............................................ผู้อนุมัติโครงการ (นายบุญส่ง ทองเชื่อม) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
๗๕
3. โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน หลักการและเหตุผล ในสภาพสังคมในปัจจุบันเป็นสภาพสังคมที่เกิดจากความเจริญด้านเทคโนโลยี ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่ทา ให้โลกไร้พรมแดน ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างหลากหลาย สังคมไทยจึงต้องมีการปรับตนเองโดยการ พัฒนาคน ซึ่งหมายถึง การพัฒนาคุณภาพ สมรรถนะภาพของคนให้มีพื้นฐานในการคิด การเรียนรู้ และมี ทักษะในการดารงชีวิตสามารถเผชิญปัญหาสังคม และเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทาให้วิถีชีวิตผู้เรียน เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย ส่งผลต่อพฤติกรรมทางด้านสังคมและความเป็นอยู่การดารงชีวิตของผู้เรียน จากสภาพความเปลี่ย นแปลงอย่างรวดเร็ ว หากไม่มีการเตรียมการวางแผนไว้ล่ วงหน้า จะก่อให้เกิดความ เสียหาย จึงมีความจาเป็นที่จะต้องให้ความสาคัญในการเร่งสร้างคุณภาพของผู้ เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนา ตามศักยภาพ เป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีในสังคม มุ่งเน้นปลูกฝังให้ผู้เรียนมีความพร้อมที่จะดาเนินชีวิตได้อย่างมี ความสุขและช่วยเหลือสังคม สอดคล้องกับจุดหมายของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ใน ด้านการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ซึ่งเป็นสิ่งที่จาเป็นและสาคัญยิ่งที่จะต้องให้ผู้เรียนเริ่มมี ความรู้พื้นฐานสาหรับการดารงชีวิตที่สามรถพึ่งพาตนเองได้และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานสาหรับการดารงชีวิตที่สามารถพึ่งพาตนเองได้ 2. เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาตามศักยภาพ เป็นผู้ที่มีคุณภาพที่ดีในสังคม 3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ เป้าหมาย 1. เชิงปริมาณ - ผู้เรียน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น จานวน 6,519 คน 2. เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีความรู้พื้นฐานสาหรับการดารงชีวิตที่สามารถพึ่งพาตนเองพัฒนา ตามศักยภาพ เป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีในสังคม และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ วิธีการดาเนินการ กิจกรรมหลัก
วัตถุประสงค์
กลุ่มเป้าหมาย
1. ประชาสัมพันธ์ เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ นักศึกษาขั้น กลุ่มเปูาหมายทราบ พืน้ ฐาน 2. วางแผนการ จัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน
เพื่อวางแผนการ ดาเนินการจัด กิจกรรม
เจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบแต่ละ ระดับ
เป้าหมาย (คน) 6,519 คน 65 คน
พื้นที่ ดาเนินการ กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
ระยะเวลา งบประมาณ (บาท) ต.ค.61 ต.ค.61
-
๗๖ 3.จัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนทั้ง 13 กิจกรรม
1) เพื่อให้ผู้เรียนมี ความรู้พื้นฐาน สาหรับการดารงชีวิต ที่สามารถพึ่งพา ตนเองได้ 2) เพื่อให้ผู้เรียนได้ พัฒนาตามศักยภาพ เป็นผู้ที่มีคุณภาพที่ดี ในสังคม 3) เพื่อให้ผู้เรียน สามารถนาไป ประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันได้ 4.นิเทศ/ติดตาม/ เพื่อติดตามและ ประเมินผล ประเมินผลการจัด กิจกรรม 5.รายงานผล เพื่อรายงานการจัด กิจกรรม
นักศึกษาขั้น พื้นฐาน
6,519 คน
กศน.อาเภอ พ.ย.61 เมืองขอนแก่น ถึง ก.ย.62
3,867,900
ครู กศน.
65 คน
-
ครู กศน.
65 คน
กศน.อาเภอ พ.ย.61 เมืองขอนแก่น ถึง ก.ย.62 กศน.อาเภอ -มี.ค.62 เมืองขอนแก่น -ก.ย.62
รายละเอียดการใช้งบประมาณ ตามรายละเอียดกิจกรรม ดังนี้ 1) กิจกรรมพัฒนาวิชากร 1,250,000 บาท 2) กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต 2,617,900 บาท 3) กิจกรรมที่แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และสถาบันพระมาหากษัตริย์ 100,000 บาท 4) กิจกรรมเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง 200,000บาท 5) กิจกรรมลูกเสือและอาสายุวกาชาด 200,000 บาท 6) กิจกรรมด้านกีฬาและส่งเสริมสุขภาพ 200,000 บาท 7) กิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) 100,000 บาท 8) กิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมโลก 100,000 บาท 9) กิจกรรมจิตอาสา กศน. “เราทาความดีด้วยหัวใจ” 100,000 บาท 10) กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ 150,000 บาท 11) กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม 150,000 บาท 12) กิจกรรมการเรียนรู้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจาวัน 250,000 บาท 13) กิจกรรมเสริมสร้างความสามารถพิเศษ 67,900 บาท ผู้รับผิดชอบโครงการ งานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น
-
๗๗ ภาคีเครือข่ายร่วมดาเนินการ 1. ผู้นาท้องถิ่น/ผู้ใหญ่บ้าน/กานัน ทุกตาบล 2. องค์การบริหารส่วนตาบล/เทศบาล 3. วิทยากร/ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ชมรมข้าราชการบานาญ 4. วัด และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ 5. หน่วยงานภาครัฐ และ เอกชน ตัวชี้วัดความสาเร็จ 1. ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) - ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมและผ่านกระบวนการตามโครงการที่กาหนด 2. ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome) - ความพึงพอใจของผู้เรียนอยู่ในระดับ ดี (มาก) ร้อยละ 80 - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่สูงขึ้น ร้อยละ 80 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานสาหรับการดารงชีวิตที่สามารถพึ่งพาตนเองได้ 2. ผู้เรียนได้พัฒนาตามศักยภาพ เป็นผู้ที่มีคุณภาพที่ดีในสังคม 3. ผู้เรียนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ การติดตามและประเมินผลโครงการ 1. การนิเทศ 2. แบบสอบถาม 3. แบบสัมภาษณ์/แบบประเมินความพึงพอใจ
ลงชื่อ................................................ผู้เสนอโครงการ (นางวิไลพร บูรณ์เจริญ) ครูชานาญการพิเศษ ลงชื่อ..............................................ผู้อนุมัติโครงการ (นายบุญส่ง ทองเชื่อม) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
๗๘
4. โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต หลักการและเหตุผล การพัฒนาทักษะชีวิต เป็นกระบวนการเรียนรู้ เพื่อสร้างเสริมความรู้ ความสามารถของบุคคล เพื่อให้ สามารถจัดการกับตนเองและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีความสุขตามอัตภาพและความสงบสุข ความปลอดภัยใน สังคมเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศชาติให้มีความเข้มแข็งและเจริญก้าวหน้าการศึกษาเพื่อพัฒนา ทักษะชีวิตเป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างเสริมความรู้ ความสามารถของบุคคลเพื่อให้สามารถจัดการ กับตนเองและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีความสุขตามสภาพและความสงบสุข ความลอดภัยในสังคม การจัดการ ศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตมีสาระสาคัญ ดังนี้ 1) เป็นการพัฒนาทักษะชีวิตพื้นฐานของบุคคล เพื่อให้สามารถ ดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 2) เป็นการเรียนรู้โดยบูรณาการองค์ความรู้และกระบวนการเรียนรู้ ต่างๆ ในชีวิตประจาวันเข้าด้วยกัน 3) เป็นการจัดการศึกษาในรูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย โดยมุ่งที่จะเสริมสร้างความสามารถให้กับบุคลเพื่อมีทักษะชีวิตในการแก้ปัญหาเฉพาะ ด้านให้เหมาะสมกับพื้นที่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ซึ่งเป็น หน่วยงานที่มีบทบาทในการจัดกิจกรรมให้กับประชาชนในพื้นที่ได้เล็งเห็นความสาคัญของการจัดกิจกรรมเพื่อ ประโยชน์ของประชาชนในการนาไปใช้ในการดาเนินชีวิตจริง จึงได้จัดกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้เพื่อเป็นพื้นฐานใน การดาเนินชีวิตของประชาชนในพื้นที่ และเป็นหลักในการนาไปยึดถือปฏิบัติในชีวิตประจาวันต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ จากกระบวนการฝึกทักษะชีวิต และนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตในสังคม อย่างมีความสุข 2. เพื่อประสานงาน และดาเนินการร่วมกันในการฝึกทักษะในการดาเนินชีวิตให้ประชาชนในพื้นที่ เป้าหมาย เชิงปริมาณ ดาเนินการจัดกิจกรรมการศึกษา ฝึกพัฒนาทักษะชีวิตให้กับประชาชน 360 คน เชิงคุณภาพ ประชาชนสามารถนาความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตได้ อย่างมีความสุข วิธีการดาเนินการ กิจกรรมหลัก 1. สารวจกลุม่ เปูาหมาย 2. ประชาสัมพันธ์ โครง การ/ประ สาน งาน
เป้าหมาย (Out put) เพื่อให้ทราบความ - ครูอาสาฯ บุคลากรรับ ทราบ ต้องการของกลุ่มเปูา - ครู กศน.ตาบล ความต้อง การของ หมายที่รับผิด ชอบ - ครู ศรช. กลุ่ม เปูาหมายที่รับ ผิดชอบในพื้นที่ เพื่อทราบจานวน ประชาชน ทราบจานวนเข้า กลุ่มปูาหมายที่เข้า ร่วมโครงการ ร่วมโครงการ วัตถุประสงค์
กลุ่มเป้าหมาย
พื้นที่ ระยะเวลา งบประมาณ ดาเนินการ พื้นที่ อาเภอ ครั้งที่ 1 เมืองขอนแก่น 1ต.ค.61 ครั้งที่2 1พ.ค.62 พื้นที่ อาเภอ ครั้งที่ 1 เมืองขอนแก่น 15 ต.ค.61 ครั้งที่2 15พ.ค.62
๗๙ 3. ขออนุมัติ โครงการ
เพื่อใช้ในการขอ งบประมาณในการ ดาเนินงานโครงการ
4. ดาเนินงานตาม โครงการ 5.นิเทศติด ตามผล
6. สรุปและ ประเมินผลโครงการ
- ครู กศน.ตาบล บุคลากรทีไ่ ด้รบั ให้ - ครู ศรช. รับผิดชอบดาเนิน การของบประมาณ การดาเนินงาน เพื่อให้ประชา ชนได้ ประชาชน ประชาชนได้เรียนรู้ เรียนรู้ทักษะชีวิต ทักษะชีวิต และสามารถประ ยุกต์ใช้ในชีวติ ได้ เพื่อให้ทราบการ - ผอ.กศน. ประชาชนที่เข้าร่วม ดาเนินงานและ - ครู โครงการได้รบั การ ทราบปัญหา -ครูอาสาสมัครฯ ติดตามผล อุปสรรคในการ ดาเนินงานและแก้ไข เพื่อทราบผลการ -ครูอาสาสมัครฯ -ทราบผลการ ดาเนินงานตาม - ครู กศน.ตาบล ดาเนินงานตาม โครงการและ - ครู ศรช. โครงการ นามาใช้ในการ - วิทยากร -ทราบปัญหาและ ประเมินผลและ อุปสรรคในการ รายงานผล ดาเนินงาน
กศน.อาเภอ ครั้งที่ 1 เมืองขอนแก่น 1ธ.ค.61 ครั้งที่2 20พ.ค.62 พื้นที่ อาเภอ ครั้งที่ 1 เมืองขอนแก่น 1ม.ค.62 ครั้งที่2 1มิ.ย.62 พื้นที่ อาเภอ ครั้งที่ 1 เมืองขอนแก่น 1ก.พ.62 ครั้งที่2 1ส.ค.62
41,400.41,4 00.-
กศน.อาเภอ ครั้งที่ 1 เมืองขอนแก่น 15ก.พ.62 ครั้งที่2 15ส.ค.62
7. งบประมาณ งบประมาณประจาปี 2562 แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมเพือ่ พัฒนาทักษะชีวิต งบดาเนินงาน รหัส 9004 เป็นจานวน 82,800 บาท แยกจัดกิจกรรมดังนี้ กิจกรรม ค่าอาหาร ค่าวิทยากร ค่าวัสดุ รวม กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ภาคเรียนที่ 2/61 25,200 10,000 6,200 41,400 กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ภาคเรียนที่ 1/62 25,200 10,000 6,200 41,400 รวม 82,800 หมายเหตุ ทุกรายการสามารถถัวจ่ายได้ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก
1. สารวจกลุ่มเปูาหมาย 2. ประชาสัมพันธ์โครงการและ ประสานงาน 3. ขออนุมัติโครงการ 4. ดาเนินงานตามโครงการ 5. ติดตามและประเมินผล โครงการ
ไตรมาสที่ 1 ต.ค.61-ธ.ค.61
ไตรมาสที่ 2 ม.ค.62–มี.ค.62
ไตรมาสที่ 3 เม.ย.62–มิ.ย.62
ไตรมาสที่ 4 ก.ค.62–ก.ย.62
-
-
-
-
-
-
-
-
-
41,400 -
41,400 -
-
-
-
๘๐ ผู้รับผิดชอบโครงการ - ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น - กศน.ตาบล 18 แห่ง เครือข่าย - เทศบาลตาบล/องค์การบริหารส่วนตาบลทุกตาบลช่วยประชาสัมพันธ์โครงการ - สถานีอนามัยตาบลทุกตาบลช่วยประชาสัมพันธ์กลุ่มเปูาหมาย โครงการที่เกี่ยวข้อง - โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน - โครงการจัดการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผลลัพธ์ กลุ่มเปูาหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้จากกระบวนการฝึกทักษะชีวิต กระบวนการพัฒนาสังคม ชุมชน กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนาความรู้ที่ได้รับมา ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข ดัชนีชี้วัดผลสาเร็จของโครงการ ตัวชี้วัดผลผลิต - ร้อยละ 90 ของประชาชนในพื้นที่อาเภอเมืองขอนแก่นที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจอยู่ใน ระดับดี ตัวชี้วัดผลลัพธ์ - ประชาชนในพื้นที่อาเภออุบลรัตน์ที่เข้าร่วมโครงการผ่านการอบรม มีความรู้ และทักษะชีวิตสามารถ นาความรู้ที่ได้รับจาการฝึกอบรม มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข ได้อย่างน้อยร้อยละ 90 การติดตามประเมินผลโครงการ - จาการสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของกลุ่มเปูาหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม - จากแบบสารวจความพึงพอใจของกลุ่มเปูาหมายที่เข้าร่วมโครงการ ลงชื่อ................................................ผู้เสนอโครงการ (นางวิไลพร บูรณ์เจริญ) ครูชานาญการพิเศษ ลงชื่อ..............................................ผู้อนุมัติโครงการ (นายบุญส่ง ทองเชื่อม) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
๘๑
5. โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน หลักการและเหตุผล การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมโดยใช้ชุมชน เป็นฐาน โดยให้ประชาชน ชุมชน ร่วมกันรับผิดชอบและเห็นถึงความสาคัญในการฟื้นฟูพัฒนาสังคมและชุมชน ของตนเอง เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้ บูรณาการความรู้ ประสบการณ์ และทักษะอาชีพ เข้ามาใช้ ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมและชุมชนโดยรวม ทาให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ นาไปสู่สังคมที่เข้มแข็ง มีความเอื้ออาทรต่อกัน และพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอเมื องขอนแก่ น ซึ่ งเป็ น หน่ ว ยงานที่มีบ ทบาทในการจั ดกิจ กรรมให้ กั บประชาชนในพื้นที่ไ ด้เล็ งเห็ น ความสาคัญของการจัดกิจกรรมเพื่อประโยชน์ของประชาชนในการนาไปใช้ในการดาเนินชีวิตจริงจึงได้จัด กิจกรรมต่างๆ เหล่านี้เพื่อเป็นพื้นฐานในการดาเนินชีวิตของประชาชนในพื้นที่ และเป็นหลักในการนาไปยึดถือ และปฏิบัติในชีวิตประจาวันต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ จากกระบวนการพัฒนาสังคมและชุมชน และนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนิน ชีวิต 2. เพื่อประสานงาน และดาเนินการร่วมกันในการฝึกทักษะในการดาเนินชีวิตให้ประชาชนในพื้นที่ เป้าหมาย เชิงปริมาณ ดาเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ให้ประชาชน 270 คน เชิงคุณภาพ ประชาชนสามารถนาความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตได้ อย่างมีความสุข วิธีการดาเนินการ กิจกรรมหลัก 1. สารวจกลุม่ เปูาหมาย 2. ประชา สัมพันธ์ โครง การ/ประ สาน งาน 3. ขออนุมัติ โครงการ 4. ดาเนินงานตาม โครงการ
เป้าหมาย (Out put) เพื่อให้ทราบความ - ครูอาสาฯ บุคลากรรับ ทราบ ต้องการของกลุ่มเปูา - ครู กศน.ตาบล ความต้อง การของ หมายที่รับผิด ชอบ - ครู ศรช. กลุ่ม เปูาหมายที่รับ ผิดชอบในพื้นที่ เพื่อทราบจานวน ประชาชน ทราบจานวนเข้าร่วม กลุ่มปูาหมายที่เข้า โครงการ ร่วมโครงการ
พื้นที่ ระยะเวลา งบประมาณ ดาเนินการ พื้นที่ อาเภอ ครั้งที่ 1 เมืองขอนแก่น ต.ค.61 ครั้งที่2 พ.ค.62 พื้นที่ อาเภอ ครั้งที่ 1 เมืองขอนแก่น ต.ค.61 ครั้งที่2 พ.ค.62 เพื่อใช้ในการขอ - ครู กศน.ตาบล บุคลากรทีไ่ ด้รบั ให้ กศน.อาเภอ ครั้งที่ 1 งบประมาณในการ - ครู ศรช. รับผิดชอบดาเนิน การ เมืองขอนแก่น ธ.ค.61 ดาเนินงานโครงการ ของบประมาณการ ครั้งที่2 ดาเนินงาน พ.ค.62 เพื่อให้ประชา ชนได้ ประชาชน ประชาชนได้เรียนรู้ พื้นที่ อาเภอ ครั้งที่ 1 108,000.เรียนรู้การพัฒนา ทักษะชีวิต เมืองขอนแก่น ม.ค.62 สังคมชุมชนสามารถ ครั้งที่2 108,000.ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ มิ.ย.62 วัตถุประสงค์
กลุ่มเป้าหมาย
๘๒ 5.นิเทศติด ตามผล
6. สรุปและ ประเมินผลโครงการ
เพื่อให้ทราบการ ดาเนินงานและ ทราบปัญหา อุปสรรคในการ ดาเนินงานและแก้ไข เพื่อทราบผลการ ดาเนินงานตาม โครงการและ นามาใช้ในการ ประเมินผลและ รายงานผล
- ผอ.กศน. ประชาชนที่เข้าร่วม - ครู โครงการได้รบั การ -ครูอาสาสมัครฯ ติดตามผล
พื้นที่ อาเภอ ครั้งที่ 1 เมืองขอนแก่น ก.พ.62 ครั้งที่2 ส.ค.62
-
-ครูอาสาสมัครฯ - ครู กศน.ตาบล - ครู ศรช. - วิทยากร
กศน.อาเภอ ครั้งที่ 1 เมืองขอนแก่น ก.พ.62 ครั้งที่2 ส.ค.62
-
-ทราบผลการ ดาเนินงานตาม โครงการ -ทราบปัญหาและ อุปสรรคในการ ดาเนินงาน
งบประมาณ งบประมาณประจาปี 2562 แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน งบดาเนินงาน รหัส 9004 เป็น จานวน 216,000 บาท ดาเนินการจัดกิจกรรมดังนี้ กิจกรรม ค่าอาหาร ค่าวิทยากร ค่าวัสดุ รวม กิจกรรมพัฒนาสังคมและชุมชน 32,400 30,000 45,600 108,000 ภาคเรียนที่ 2/61 กิจกรรมพัฒนาสังคมและชุมชน 32,400 30,000 45,600 108,000 ภาคเรียนที่ 1/62 รวม 216,000 หมายเหตุ ทุกรายการสามารถถัวจ่ายได้ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก
1. สารวจกลุ่มเปูาหมาย 2. ประชาสัมพันธ์โครงการและ ประสานงาน 3. ขออนุมัติโครงการ 4. ดาเนินงานตามโครงการ 5. ติดตามและประเมินผล โครงการ
ไตรมาสที่ 1 ต.ค.61-ธ.ค.61
ไตรมาสที่ 2 ม.ค.62–มี.ค.62
ไตรมาสที่ 3 เม.ย.62–มิ.ย.62
ไตรมาสที่ 4 ก.ค.62–ก.ย.62
-
-
-
-
-
-
-
-
-
108,000 -
108,000 -
-
ผู้รับผิดชอบโครงการ - ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น - กศน.ตาบล 18 แห่ง
๘๓ เครือข่าย - เทศบาลตาบล/องค์การบริหารส่วนตาบลทุกตาบลช่วยประชาสัมพันธ์โครงการ - สถานีอนามัยตาบลทุกตาบลช่วยประชาสัมพันธ์กลุ่มเปูาหมาย โครงการที่เกี่ยวข้อง 1. โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 2. โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผลลัพธ์ กลุ่มเปูาหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้จากกระบวนการพัฒนาสังคมชุมชนสามารถนาความรู้ที่ ได้รับมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข ดัชนีชี้วัดผลสาเร็จของโครงการ ตัวชี้วัดผลผลิต - ร้อยละ 90 ของประชาชนในพื้ นที่อาเภอเมืองขอนแก่นที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจอยู่ใน ระดับดี ตัวชี้วัดผลลัพธ์ - ประชาชนในพื้นที่อาเภอเมืองขอนแก่นที่เข้าร่วมโครงการผ่านการอบรม มีความรู้ และทักษะชีวิต สามารถนาความรู้ที่ได้รับจาการฝึกอบรม มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตได้อย่างมีความสุ ข ได้อย่างน้อยร้อย ละ 90 การติดตามประเมินผลโครงการ - จาการสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของกลุ่มเปูาหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม - จากแบบสารวจความพึงพอใจของกลุ่มเปูาหมายที่เข้าร่วมโครงการ
ลงชื่อ................................................ผู้เสนอโครงการ (นางวิไลพร บูรณ์เจริญ) ครูชานาญการพิเศษ ลงชื่อ..............................................ผู้อนุมัติโครงการ (นายบุญส่ง ทองเชื่อม) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
๘๔
6. โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ หลักการและเหตุผล การศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการจัดการศึกษาให้กับประชาชนกลุ่มเปูาหมาย มีความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความสามารถนาไปถือปฏิบัติในการดาเนิน ชีวิต ได้ เช่น การทาบัญชีครั ว เรื อน การทาปุ๋ ย หมักชีว ภาพ การทาเกษตรธรรมชาติ หรือเกษตรผสมผสาน การเลี้ยงกบ การเพาะเห็ด การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่ม เป็นต้น ทาให้ผู้รับบริการ ของ กศน.ได้นาความความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน มีความตระหนักถึงการใช้จ่ายอย่างพอประมาณ มี เหตุผลในการใช้จ่าย มีภูมิคุ้มกัน เป็นบุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีความสามัคคีในครอบครัว ชุมชน สามารถ สร้างเป็นอาชีพได้ มีรายได้ ลดรายจ่าย มีความเป็นอยู่ดีขึ้น และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ศูน ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธ ยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ซึ่งเป็นหน่ว ยงานที่มี บทบาทในการจัดกิจกรรมให้กับประชาชนในพื้นที่ได้เล็งเห็นความสาคัญของการจัดกิจกรรมเพื่อประโยชน์ของ ประชาชนในการนาไปใช้ในการดาเนินชีวิตจริงจึงได้จัดกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้เพื่อเป็นพื้นฐานในการดาเนินชีวิต ของประชาชนในพืน้ ที่ และเป็นหลักในการนาไปยึดถือ และปฏิบัติในชีวิตประจาวันต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ จากกระบวนการเรียนรู้ตามปลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ นาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข 2. เพื่อประสานงาน และดาเนินการร่วมกันในการฝึกทักษะในการดาเนินชีวิตให้ประชาชนในพื้นที่ เป้าหมาย เชิงปริมาณ ดาเนินการจัดกิจกรรมให้แก่ประชาชนจานวน 162 คน เชิงคุณภาพ ประชาชนสามารถนาความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตได้ อย่างมีความสุข วิธีการดาเนินการ กิจกรรมหลัก 1. สารวจกลุม่ เปูาหมาย 2. ประชา สัมพันธ์ โครง การ/ประ สาน งาน 3. ขออนุมัติ โครงการ 4. ดาเนินงานตาม
เปูาหมาย พื้นที่ (Out put) ดาเนินการ เพื่อให้ทราบความ - ครูอาสาฯ บุคลากรรับ ทราบ พื้นที่ อาเภอ ต้องการของกลุ่มเปูา - ครู กศน.ตาบล ความต้องการของกลุ่ม เมืองขอนแก่น หมายที่รับผิด ชอบ - ครู ศรช. เปูาหมายทีร่ ับผิดชอบ ในพื้นที่ เพื่อทราบจานวน ประชาชน ทราบจานวนเข้าร่วม พืน้ ที่ อาเภอ กลุ่มปูาหมายที่เข้า โครงการ เมืองขอนแก่น ร่วมโครงการ วัตถุประสงค์
กลุ่มเปูาหมาย
ระยะเวลา งบประมาณ
ครั้งที่ 1 ต.ค.61 ครั้งที่2 พ.ค.62 ครั้งที่ 1 ต.ค.61 ครั้งที่2 พ.ค.62 เพือ่ ใช้ในการขอ - ครู กศน.ตาบล บุคลากรทีไ่ ด้รบั ให้ กศน.อาเภอ ครั้งที่ 1 งบประมาณในการ - ครู ศรช. รับผิดชอบดาเนิน การ เมืองขอนแก่น ธ.ค.61 ดาเนินงานโครงการ ของบประมาณการ ครั้งที่2 ดาเนินงาน พ.ค.62 เพื่อให้ประชา ชนได้ ประชาชน ประชาชนได้เรียนรู้ พื้นที่ อาเภอ ครั้งที่ 1
64,800.-
๘๕ โครงการ
5.นิเทศติด ตามผล
6. สรุปและ ประเมินผลโครงการ
เรียนรูเ้ ศรษฐกิจ พอเพียงและ สามารถประ ยุกต์ใช้ ในชีวิตได้ เพื่อให้ทราบการ ดาเนินงานและ ทราบปัญหา อุปสรรคในการ ดาเนินงานและแก้ไข เพื่อทราบผลการ ดาเนินงานตาม โครงการและ นามาใช้ในการ ประเมินผลและ รายงานผล
ทักษะชีวิต
เมืองขอนแก่น ม.ค.62 ครั้งที่2 มิ.ย.62
64,800.-
- ผอ.กศน. ประชาชนที่เข้าร่วม - ครู โครงการได้รบั การ -ครูอาสาสมัครฯ ติดตามผล
พื้นที่ อาเภอ ครั้งที่ 1 เมืองขอนแก่น ก.พ.62 ครั้งที่2 ส.ค.62
-
-ครูอาสาสมัครฯ - ครู กศน.ตาบล - ครู ศรช. - วิทยากร
กศน.อาเภอ ครั้งที่ 1 เมืองขอนแก่น ก.พ.62 ครั้งที่2 ส.ค.62
-
-ทราบผลการ ดาเนินงานตาม โครงการ -ทราบปัญหาและ อุปสรรคในการ ดาเนินงาน
7. งบประมาณ งบประมาณประจาปี 2562 แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง งบดาเนินงาน รหัส 9004 เป็นจานวน 129,600.- บาท กิจกรรม ค่าอาหาร ค่าวิทยากร ค่าวัสดุ รวม กิจกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้เศรษฐกิจ 16,200 20,000 28,600 64,800 พอเพียง ภาคเรียนที่ 2/60 กิจกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้เศรษฐกิจ 16,200 20,000 28,600 64,800 พอเพียง ภาคเรียนที่ 1/61 รวม 129,600 หมายเหตุ ทุกรายการสามารถถัวจ่ายได้ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก
1. สารวจกลุ่มเปูาหมาย 2. ประชาสัมพันธ์โครงการและ ประสานงาน 3. ขออนุมัติโครงการ 4. ดาเนินงานตามโครงการ 5. ติดตามและประเมินผล โครงการ
ไตรมาสที่ 1 ต.ค.61-ธ.ค.61
ไตรมาสที่ 2 ม.ค.62–มี.ค.62
ไตรมาสที่ 3 เม.ย.62–มิ.ย.62
ไตรมาสที่ 4 ก.ค.62–ก.ย.62
-
-
-
-
-
-
-
-
-
64,800 -
64,800 -
-
๘๖ ผู้รับผิดชอบโครงการ - ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น - กศน.ตาบล 18 แห่ง เครือข่าย - เทศบาลตาบล/องค์การบริหารส่วนตาบลทุกตาบลช่วยประชาสัมพันธ์โครงการ - แหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงทุกตาบล โครงการที่เกี่ยวข้อง 1. โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 2. โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ผลลัพธ์ กลุ่มเปูาหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้จากกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนาความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข ดัชนีชี้วัดผลสาเร็จของโครงการ ตัวชี้วัดผลผลิต - ร้อยละ 90 ของประชาชนในพื้นที่อาเภอเมืองขอนแก่นที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจอยู่ใน ระดับดี ตัวชี้วัดผลลัพธ์ - ประชาชนในพื้นที่อาเภอเมืองขอนแก่นเข้าร่วมโครงการผ่านการอบรม มีความรู้ และทักษะชีวิต สามารถนาความรู้ที่ได้รับจาการฝึกอบรม มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข ได้อย่างน้อยร้อย ละ 90 การติดตามประเมินผลโครงการ - จาการสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของกลุ่มเปูาหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม - จากแบบสารวจความพึงพอใจของกลุ่มเปูาหมายที่เข้าร่วมโครงการ ลงชื่อ................................................ผู้ เสนอโครงการ (นางสาวธันยพัฒน์ นูเร) ครูชานาญการพิเศษ
ลงชื่อ..............................................ผู้อนุมัติโครงการ (นายบุญส่ง ทองเชื่อม) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
๘๗
7. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักการและเหตุผล ตามที่สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้กาหนดนโยบาย มุ่งเน้น การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทา โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาการงาน และอาชี พ ระดั บ พื้ น ฐาน ระดั บ กึ่ ง ฝี มื อ และระดั บ ฝี มื อ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ ปั ญ หาและความต้ อ งการของ กลุ่มเปูาหมาย โดยมุ่งให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ได้จริงในชีวิตประจาวัน กศน.อาเภอเมือง ขอนแก่น เล็งเห็นความสาคัญและเป็นการสนองนโยบาย เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาภาวะเศรษฐกิจ ใน ปัจจุบัน เพื่อแก้ปัญหาการว่างงาน การทามาหากินฝืด เคือง พัฒนาฟื้นฟูเศรษฐกิจชุมชน สร้างรายได้ให้กับ ครอบครัว จึงได้จัดทาโครงการจัดการการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพขึ้นโดยจัดรูปแบบหลักสูตรอาชีพระยะสั้น กิจกรรม 1 อาเภอ 1 อาชีพ, การพัฒนาอาชีพ และช่างพื้นฐานช่างพื้นฐาน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นการสาธิต ฝึกปฏิบัติ เรียนรู้ ศึกษาดูงาน ด้านจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทา 2. เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้การจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาให้กับประชาชนในพื้นที่ อาเภอเมืองขอนแก่น 3. เพื่อเป็นพื้นฐานในการตัดสินใจประกอบอาชีพของประชาชน เป้าหมาย เชิงปริมาณ ประชาชนทั่วไป จานวน 1,116 คน เชิงคุณภาพ ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะการเรียนรู้เกี่ยวกับการอาชีพที่เพิ่มขึ้นนาไปสู่การ รวมกลุ่มอาชีพและมีรายได้เพิ่มขึ้น วิธีดาเนินการ กิจกรรมหลัก
วัตถุประสงค์
1.สารวจ ความต้องการ กลุ่มเปูาหมาย
-เพื่อทราบ นักศึกษา/ ความต้องการ ประชาชน ของกลุ่มเปูาหมาย ในเขตพื้นที่ อาเภอเมือง
2.วางแผนจัด กระบวน การเรียนรู้
-เพื่อจัดทา แผนการเรียนรู้
นักศึกษา/ ประชาชน ในเขตพื้นที่
3.จัดกระบวน การเรียนรู้ โครงการศูนย์ ฝึกอาชีพชุมชน
-เพื่อจัด กิจกรรมการ เรียนรูต้ าม โครงการศูนย์ฝึก อาชีพชุมชน เพื่อประเมินผล การจัดกิจกรรม และรายงาน
นักศึกษา/ ประชาชน ในเขตพื้นที่ อาเภอเมือง
4.ติดตามและ ประเมินผลการ จัดกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กศน.ตาบล 18 แห่ง
เป้าหมาย (Out put) ความต้องการ ของกลุ่มเปูาหมาย วิชาที่จะเปิดสอน
พื้นที่ดาเนินการ
ระยะเวลา
กศน.ตาบลทั้ง 18 ครั้งที่1 พ.ย.61 ตาบลในเขตพื้นที่ ครัง้ ที่2 มิ.ย.62 ของกศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
เพื่อให้มีความพร้อม กศน.ตาบลทั้ง 18 ด้านเอกสารใน ตาบลในเขตพื้นที่ มาตรฐานต่างๆ ของกศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น -เพื่อฝึกทักษะด้าน กศน.ตาบลทั้ง 18 อาชีพ ตาบลในเขตพื้นที่ ของกศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
ครั้งที่1 พ.ย.61 ครั้งที2่ มิ.ย.62
เพื่อรายงานผลการ กศน.อาเภอเมือง ประกันต่อหน่วยงาน ขอนแก่น ต้นสังกัดทราบ
ครั้งที่1 ธ.ค.61 ครั้งที่2 มิ.ย.62
งบประมาณ
-
-
ครั้งที่1 ธ.ค.61 448,200.ครั้งที่2 มิ.ย.62 448,2๐0.-
-
๘๘ งบประมาณ งบประมาณประจ าปี 25 62 แผนงานยุ ท ธศาสตร์ พั ฒ นาการศึ ก ษาเพื่ อ ความยั่ ง ยื น โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน งบรายจ่ายอื่น ค่าใช้จ่ายโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน จานวน 896,400 บาท กิจกรรม กิจกรรมหนึ่งอาเภอหนึ่งอาชีพ 2/2561 และ 1/2562 - กิจกรรมช่างตัดผมชาย - กิจกรรมช่างดัดผม/เสริมสวย - กิจกรรมนวดแผนไทยเพื่อสุขภาพ - กิจกรรมนวดฝุาเท้าเพื่อสุขภาพ - กิจกรรมช่างตัดเย็บเสื้อผ้า - กิจกรรมการทาขนม กิจกรรมพัฒนาอาชีพ(กลุ่มสนใจ) 2/2561 และ 1/2562 - หลักสูตรการทาขนมไทย - หลักสูตรการทาไม้กวาดทางมะพร้าว - หลักสูตรการปั้นแปูงแฟนซี - หลักสูตรการทอพรมเช็ดเท้าจากเศษผ้า - หลักสูตรการทาไข่เค็ม - หลักสูตรการทากล้วยทอด มันทอด กิจกรรมช่างพื้นฐาน(ชั้นเรียน) 2/2561 และ 1/2562 - กิจกรรมวิชาชีพช่างตัดผมชาย - กิจกรรมวิชาชีพช่างดัดผม/เสริมสวย - กิจกรรมวิชาชีพนวดแผนไทยเพือ่ สุขภาพ - กิจกรรมวิชาชีพนวดฝุาเท้าเพื่อสุขภาพ - กิจกรรมวิชาชีพช่างตัดเย็บเสื้อผ้า - กิจกรรมวิชาชีพการทาขนม
ค่าอาหาร -
ค่าวิทยากร -
ค่าวัสดุ -
รวม 129,600
11,600 11,600 11,600 11,600 11,600 11,600 -
5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 -
5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 -
21,600 21,600 21,600 21,600 21,600 21,600 378,000
54,000 11,000 11,000 11,000 11,000 11,000 -
108,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 -
111,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 -
273,000 21,000 21,000 21,000 21,000 21,000 388,800
30,240 30,240 30,240 30,240 30,240 30,240
10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000
24,560 24,560 24,560 24,560 24,560 24,560
64,800 64,800 64,800 64,800 64,800 64,800 ๒๙๘,๘๐๐
รวม
หมายเหตุ ทุกรายการสามารถถัวจ่ายได้ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก 1. สารวจความต้องการของ กลุ่มเปูาหมาย 2. วางแผนจัดกระบวนการเรียนรู้ 3. จัดกระบวนการเรียนรู้ - กิจกรรม 1 อาเภอ 1 อาชีพ - กิจกรรมพัฒนาอาชีพ - กิจกรรมช่างพื้นฐาน 4. ติดตามประเมินผล
ไตรมาสที่ 1 ต.ค.61-ธ.ค.61
ไตรมาสที่ 2 ม.ค.62–มี.ค.62
ไตรมาสที่ 3 เม.ย.62–มิ.ย.62
ไตรมาสที่ 4 ก.ค.62–ก.ย.62
-
-
-
-
-
-
-
-
-
64,800 189,000 194,400 -
64,800 189,000 194,400 -
-
-
-
๘๙ ผู้รับผิดชอบโครงการ -กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น -กศน.ตาบลทั้ง 18 แห่ง เครือข่าย / หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเมืองขอนแก่น - สานักงานเกษตรอาเภอเมืองขอนแก่น - เทศบาลตาบล/องค์การบริหารส่วนตาบล ผลลัพธ์ (Outcome) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 90 เกิดกระบวนการเรียนรู้ สามารถนาความรู้ไปพัฒนาตนเอง และ นาไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน ดัชนีวัดผลสาเร็จของโครงการ ตัวชี้วัดผลผลิต (Output)กลุ่มเปูาหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมไม่ต่ากว่าร้อยละ 90 เกิดกระบวนการ เรียนรู้เพื่อใช้ประกอบอาชีพ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome ) กลุ่มเปูาหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม ไม่ต่ากว่าร้อยละ 90 สามารถนา ความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน แก้ปัญหาให้กับตนเอง และผู้อื่นได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สามารถสร้างความเข้มแข็งให้กับสังคม และชุมชน การติดตามการประเมินผลโครงการ - สังเกต - ใช้แบบสอบถาม - สรุปผลรายงานผล ลงชื่อ................................................ผู้เสนอโครงการ (นางสาวธันยพัฒน์ นูเร) ครูชานาญการพิเศษ ลงชื่อ..............................................ผู้อนุมัติโครงการ (นายบุญส่ง ทองเชื่อม) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
๙๐
8. โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ หลักการและเหตุผล ปั จ จุ บั น ภาษาอั ง กฤษมี ค วามจ าเป็ น ต่ อ การติ ด ต่ อ สื่ อ สารในโลกแห่ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสารซึ่ ง มี ค วาม เจริญก้าวหน้าและพัฒนาอย่างรวดเร็วทาให้การสื่อสารผ่านช่องทางต่าง ๆ สามารถทาได้อย่างง่ายดายโดยใช้ ภาษาอังกฤษเป็นสื่อกลาง ดังนั้น การพัฒนาศักยภาพในการติดต่อสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ จึงมีความสาคัญ ต่อประชาชน เพื่อให้ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงของประชาคมโลก และเป็นปัจจัยเกื้อหนุนให้ ประชาชนมี ความพร้อมในการพัฒนาขีดความสามารถทางด้านทักษะภาษาอังกฤษในระดับที่สามารถติดต่อสื่อสารเพื่อการ ประกอบอาชีพได้ ทั้งนี้ จากการอ้างอิงตามกฎบัตรอาเซียนมาตราที่ ๓๔ ระบุให้ ใช้ภาษาทางานของอาเซียนคือ ภาษาอังกฤษ (The working language of ASEAN shall be English) ซึ่งหมายความว่าประชาชนใน ๑๐ ประเทศอาเซียนจะต้องใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น นอกเหนือจากการใช้ภาษาประจาชาติหรือภาษาประจา ท้ อ งถิ่ น ของตนเอง จึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ น่ า เป็ น ห่ ว งคื อ ปั ญ หาในเรื่ อ งทั ก ษะทางภาษาต่ า งประเทศของคนไทย จากผลสารวจของสานักต่าง ๆ ล้วนแต่ชี้ชัดตรงกันว่า “ภาษาอังกฤษ” ของเราสู้เพื่อนบ้านในอาเซียนไม่ได้ และอยู่ใน “ระดับต่ามาก” โดยหากมองไปที่พื้นฐานทางภาษาในบรรดาทักษะทั้ง ๔ ด้านผู้เรียนชาวไทย โดยมากจะมีปัญหาด้านการพูดและการฟัง อันเป็นทักษะพื้นฐานในการสื่อสารระหว่างกัน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น จึงเห็นความสาคัญในการพัฒนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพให้แก่ ประชาชนในพื้นที่ จึงได้จัดทาโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ ขึ้น เพื่อฝึกอบรมภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารด้านอาชีพให้กับประชาชนในพื้นที่ของสถานศึกษา และเพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่าน การอบรมตามโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ สามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการ ประกอบอาชีพและดาเนินชีวิตประจาวันได้ วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อฝึกอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพให้กับประชาชนในพื้นที่ ๒. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมตามโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้าน อาชีพสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและดาเนินชีวิตประจาวันได้ เป้าหมาย ๑. เป้าหมายเชิงปริมาณ - ประชาชนในพื้นที่อาเภอเมืองขอนแก่น รุ่นละ ๒0 คน ๒ รุ่น รวม ๔0 คน ๒. เป้าหมายเชิงคุณภาพ - กลุ่ มเป้ าหมายที่ผ่ านการอบรมตามโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสารด้านอาชีพสามารถนา ความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและดาเนินชีวิตประจาวันได้
๙๑ วิธีการดาเนินการ ที่ ๑
๒
3
4
ขั้นตอนการ ดาเนินงาน จัดทาแผนงาน โครงการ/กิจกรรม และกรอบการ ดาเนินงาน วางแผน การจัดโครงการ/ จัดเตรียมเอกสาร สถานที่/ขออนุมัติ โครงการ/จัดหาวัสดุ ในการจัดกิจกรรม ดาเนินการ จัดกิจกรรม ตามโครงการ
สรุปผล การดาเนินงาน โครงการ
วัตถุประสงค์
กลุ่มเป้าหมาย
เพื่อวางแผนการ บุคลากร กศน. ดาเนินงานโครง อาเภอเมือง การให้บรรลุตาม ขอนแก่น วัตถุประสงค์ เพื่อดาเนินการ จัดทา บุคลากร กศน. เอกสาร จัดเตรียมวัสดุ อาเภอเมือง อุปกรณ์ในการดาเนิน ขอนแก่น โครงการ รวมทั้ง ติดต่อประสานเพื่อขอ ความอนุเคราะห์ บุคลากร เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนทั่วไปใน พื้นที่อาเภอเมือง สามารถใช้ ขอนแก่น ภาษาอังกฤษในการ สื่อสารกับแขก ชาวต่างชาติได้ เพื่อสรุปผลการ ดาเนินการจัดกิจกรรม
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
พื้นที่ ดาเนินการ กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
ระยะ เวลา ๓ ม.ค.6๑
136 คน
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
๑๐ มกราคม 256๑
๒๐ คน
-กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น -กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
รุ่นที่๑ ก.พ.๖๒ รุ่นที่๒ มิ.ย.๖๒
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
31 ก.ค. ๖๒
เป้าหมาย 136 คน
๒๐ คน
๒ ครั้ง
งบประมาณ -
๔๘,๐๐๐
หมายเหตุ : รายละเอียดการดาเนินโครงการตามกาหนดการแนบท้ายโครงการนี้ วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ งบประมาณประจ าปี พ.ศ.๒๕๖๒ แผนงาน : บูรณาการยกระดับการศึกษาและการเรียนรู้ให้ มี คุณภาพเท่าเทียมและทั่วถึง โครงการขยายโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต งบรายจ่ายอื่น ค่าใช้จ่ายโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ รหัสงบประมาณ ๗๐๐๐๐๖ จานวน ๔๘,๐๐๐ บาท มีรายละเอียดดังนี้ ๑. ค่าอาหารกลางวัน ๓ มื้อ x ๗๐ บาท x ๒๐ คน x ๒ รุ่น เป็นเงิน ๘,๔๐๐ บาท ๒. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๖ มื้อ x ๒๕ บาท x ๒๐ คน x ๒ รุ่น เป็นเงิน ๖,๐๐๐ บาท ๓. ค่าวิทยากร ๑๐ ชม. X ๒๐๐ บาท x ๒ รุ่น เป็นเงิน ๔,๐๐๐ บาท ๓. ค่าวัสดุ และอื่นๆ เป็นเงิน ๒๙,๖๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๔๘,๐๐๐ บาท
-
๙๒ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ช่วงระยะเวลา ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ม.ค.-มี.ค.6๒ เม.ย.-มิ.ย.6๒
กิจกรรม ลัก
ไตรมาสที่ 1 ต.ค.-ธ.ค.6๑
๑.จัดทาแผนงานโครงการ/กิจกรรม และกรอบการดาเนินงาน ๒.วางแผนการจัดโครงการ/ประสาน สถานที่/ขออนุมัตโิ ครงการ/จัดหา วัสดุ/ประสานวิทยากร ๓.ดาเนินการจัดกิจกรรม
-
-
-
-
-
-
-
-
-
๒๔,๐๐๐-
-
๔.สรุปผลการดาเนินงานโครงการ
๒๔,๐๐๐-
ไตรมาสที่ 4 ก.ค.-ก.ย.6๒
มายเ ตุ
-
หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายต่างๆสามารถถัวจ่ายได้ตามความเหมาะสม ผู้รับผิดชอบโครงการ - ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น - กศน.ตาบล/ศูนย์การเรียนชุมชน ผลลัพธ์ (Outcomes) กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมตามโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพสามารถนาความรู้ ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและดาเนินชีวิตประจาวันได้ ดัชนีชี้วัดผลสาเร็จของโครงการ 1. ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) - กลุ่มเปูาหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมผ่านการอบรม ร้อยละ 100 2. ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome) - กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมตามโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพสามารถนา ความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและดาเนินชีวิตประจาวันได้ การติดตามผลและประเมินผลการดาเนินงาน - การสังเกตพฤติกรรมผู้เข้าร่วมกิจกรรม - แบบประเมินความพึงพอใจ ลงชื่อ................................................ผู้เสนอโครงการ (นางสาวธันยพัฒน์ นูเร) ครูชานาญการพิเศษ ลงชื่อ..............................................ผู้ อนุมัติโครงการ (นายบุญส่ง ทองเชื่อม) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
๙๓
9. โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง Smart Farmer หลักการและเหตุผล นายกรัฐมนตรี (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) มีนโยบายช่วยเหลือเกษตรกรโดยชี้นาเกษตรกรไทยต้อ ง เป็น “Smart Farmer” คือต้องนาความรู้ หลั กวิชาการ และเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาช่วยในการทา การเกษตรโดยต้องทาให้น้อยลง ได้ผลผลิตมากขึ้น ใช้พื้นที่ให้น้อยลง ใช้น้าให้น้อยลงผลผลิตเพิ่มขึ้น กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น จึงได้จัดทาโครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง Smart Farmer เพื่อส่งเสริม สนั บ สนุ น ให้ ป ระชาชนได้พัฒ นาความรู้ ด้านการเกษตร และยกระดับเกษตรกรให้ เป็น Smart Farmer ตามความเหมาะสมกั บ บริ บ ท และความต้ อ งการของท้ อ งถิ่ น /ชุ ม ชน ผ่ า นวิ ธี ก าร และกระบวนการ ที่หลากหลาย วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการเป็น Smart Farmer ๒. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการทาการเกษตร ตามความเหมาะสมของ พื้นที่และเห็นช่องทางหรือการพัฒนาอาชีพด้านการเกษตร ๓. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนที่ผ่านการอบรม สามารถยกระดับเป็น Smart Farmer ของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เป้าหมาย ๑. เป้าหมายเชิงปริมาณ - ประชาชนในพื้นที่อาเภอเมืองขอนแก่น ตาบลละ ๑๐ คน 18 ตาบล รวมทั้งสิ้น 180 คน ๒. เป้าหมายเชิงคุณภาพ - กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมตามโครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง Smart Farmer มีความรู้ในเรื่อง ที่ทาอยู่ในพื้นที่ เข้าถึงข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจ สามารถบริหารจัดการผลผลิตและการตลาด ตระหนัก ถึงคุณภาพของสินค้าและความปลอดภัยของผู้บริโภค มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม/สังคม และมีความ ภูมิใจในความเป็นเกษตรกร วิธีการดาเนินการ ขั้นตอนการ ที่ ดาเนินงาน ๑ ๒
จัดทาแผนงาน โครงการ/กิจกรรม
วัตถุประสงค์
เพื่อวางแผนการ ดาเนินงานให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์ วางแผน เพื่อดาเนินการ จัดทา การจัดโครงการ/ เอกสาร จัดเตรียมวัสดุ จัดเตรียมเอกสาร อุปกรณ์ในการดาเนิน สถานที่/ขออนุมัติ โครงการ รวมทั้ง โครงการ/จัดหาวัสดุ ติดต่อประสานเพื่อขอ ในการจัดกิจกรรม ความอนุเคราะห์ บุคลากร สถานที่
กลุ่มเป้าหมาย
เป้าหมาย
บุคลากร กศน. อาเภอเมือง ขอนแก่น บุคลากร กศน. อาเภอเมือง ขอนแก่น
136 คน 136 คน
พื้นที่ ดาเนินการ
ระยะ เวลา
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
มี.ค.6๒
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
เม.ย.6๒
งบประมาณ -
๙๔ ที่
ขั้นตอนการ ดาเนินงาน
3
ดาเนินการ จัดกิจกรรม ตามโครงการ
4
สรุปผล การดาเนินงาน โครงการ
วัตถุประสงค์
พื้นที่ ดาเนินการ
ระยะ เวลา
งบประมาณ
180 คน
กศน. ตาบล ทั้ง 18 ตาบล
พ.ค.๖๒
273,600-
๑ ครั้ง
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
พ.ค.6๒
กลุ่มเป้าหมาย
เป้าหมาย
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ ประชาชนทั่วไปใน พื้นที่อาเภอเมือง เข้ารับการอบรมมี ความรู้ในเรื่องที่ทาอยู่ ขอนแก่น ในพื้นที่ เข้าถึงข้อมูล เพื่อประกอบการ ตัดสินใจ สามารถ บริหารจัดการผลผลิต และการตลาด ตระหนักถึงคุณภาพ ของสินค้าและความ ปลอดภัยของผูบ้ ริโภค มีความรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อม/สังคม และมีความภูมิใจใน ความเป็นเกษตรกร เพื่อสรุปผลการ กศน.อาเภอ ดาเนินการจัดกิจกรรม เมืองขอนแก่น
-
หมายเหตุ : รายละเอียดการดาเนินโครงการตามกาหนดการแนบท้ายโครงการนี้ วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒ แผนงาน : แผนงาน : บูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคการเกษตร โครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง Smart Farmer งบรายจ่ายอื่น ค่าใช้จ่ายโครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง Smart Farmer รหัสงบประมาณ ๓๗๐๐๐๑ จานวน 273,600 บาท มีรายละเอียดดังนี้ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ (เป็นรายไตรมาส) ช่วงระยะเวลา ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ม.ค.-มี.ค.61 เม.ย.-มิ.ย.61
กิจกรรม ลัก
ไตรมาสที่ 1 ต.ค.-ธ.ค.60
๑.จัดทาแผนงานโครงการ/กิจกรรม และกรอบการดาเนินงาน ๒.วางแผนการจัดโครงการ/ประสาน สถานที่/ขออนุมัตโิ ครงการ/จัดหา วัสดุ/ประสานวิทยากร ๓.ดาเนินการจัดกิจกรรม
-
-
-
-
-
73,000-
-
-
-
-
-
-
๔.สรุปผลการดาเนินงานโครงการ
-
-
200,000-
-
หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายต่างๆสามารถถัวจ่ายได้ตามความเหมาะสม
ไตรมาสที่ 4 ก.ค.-ก.ย.61
มายเ ตุ
๙๕ ผู้รับผิดชอบโครงการ - กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น - กศน.ตาบล/ศูนย์การเรียนชุมชน เครือข่าย - สานักงานเกษตรอาเภอเมืองขอนแก่น - โรงเรียนในพื้นที่ - เทศบาล/องค์การบริหารส่วนตาบลในพื้นที่ - สานักงานเกษตรสหกรณ์อาเภอเมืองขอนแก่น - สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเมืองขอนแก่น โครงการที่เกี่ยวข้อง -โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ ผลลัพธ์ (Outcomes) กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมตามโครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง Smart Farmer มีความรู้ใน เรื่องที่ทาอยู่ ในพื้นที่ เข้าถึงข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจ สามารถบริหารจัดการผลผลิตและการตลาด ตระหนักถึงคุณภาพของสินค้าและความปลอดภัยของผู้บริโภค มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม/สังคม และ มีความภูมิใจในความเป็นเกษตรกร ดัชนีชี้วัดผลสาเร็จของโครงการ ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) - กลุ่มเปูาหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมผ่านการอบรม ร้อยละ 100 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome) - กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมตามโครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง Smart Farmer มีความรู้ ในเรื่องที่ทาอยู่ในพื้นที่ เข้าถึงข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจ สามารถบริหารจัดการผลผลิตและการตลาด ตระหนักถึงคุณภาพของสินค้าและความปลอดภัยของผู้บริโภค มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม/สังคม และ มีความภูมิใจในความเป็นเกษตรกร การติดตามผลและประเมินผลการดาเนินงาน - การสังเกตพฤติกรรมผู้เข้าร่วมกิจกรรม - แบบประเมินความพึงพอใจ ลงชื่อ................................................ผู้เสนอโครงการ (นางวิไลพร บูรณ์เจริญ) ครูชานาญการพิเศษ ลงชื่อ..............................................ผู้อนุมัติโครงการ (นายบุญส่ง ทองเชื่อม) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
๙๖
10. โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลสู่ชุมชนในระดับตาบล หลักการและเหตุผล แผนพัฒนาดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคมของรัฐ บาลเป็นการรวมพลคนไทยทุกภาคส่วนเดินหน้า พัฒนาประเทศสู่เปูาหมายการเป็นดิจิทัลไทยแลนด์ 4.0 ซึ่งการดาเนินการเพื่อไปสู่เปูาหมายดังกล่าวจาเป็นที่ ทุกภาคส่วนจะต้องสร้างความตระหนักในการเรียนรู้และความเข้าใจด้านดิจิทัล รวมทั้งการกระตุ้นและส่งเสริม ให้เกิดสร้างสรรค์ธุรกิจใหม่ การต่อยอดความคิด ในการลงทุนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลของประเทศ ดัง นั้ น ในส่ ว นของการพั ฒ นาก าลั งคนเข้ าสู่ ดิ จิทั ล เพื่ อเศรษฐกิจ และสั ง คม จาเป็น ที่จ ะต้อ งมีก ารจั ดการ ขับเคลื่อนศูนย์ดิจิทัลชุมชน และเปิดโอกาสให้กลุ่มบุคคลทั่วไปที่มีความสนใจเข้ามาศึกษาเรียนรู้ประสบการณ์ ในการพัฒนาตนเองด้านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อนาความรู้ไปขยายต่อให้แก่บุคคลรอบข้าง รวมทั้งการ นามาพัฒนาต่อยอดในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น จึงได้นานโยบายสู่การ ปฏิบัติโดยส่งเสริมและสนับสนุน การพัฒนาความรู้และทักษะด้าน Digital ให้กับครูและบุคลากร กศน.ในการ ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอน ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน Digital เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ พื้นฐานด้าน Digital และความรู้เรื่องกฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สาหรับการใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งการพัฒนาและการเข้าสู่อาชีพ สร้างความรู้ความเข้าใจและทักษะพื้นฐาน ให้ กั บ ประชาชน เกี่ย วกับ การทาธุ ร กิ จ และการค้ าออนไลน์ (พาณิช ย์อิ เล็ ก ทรอนิก ส์ ) เพื่ อร่ว มขั บเคลื่ อ น เศรษฐกิจดิจิทัล เพื่อให้ประชาชนสามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม จึงได้จัดทาโครงการ พัฒนาเครือข่ายเศรษฐกิจดิจิทัลสู่ชุมชนในระดับตาบล วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเปูาหมายพัฒนาทักษะ การใช้ Social Media รู้เท่าทันสื่อดิจิทัล คิด วิเคราะห์ การใช้สื่อดิจิทัลเพื่อการบริโภคได้อย่างเหมาะสม 2. เพื่ออบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ “การสร้างเครือข่าย ดิจิทัลชุมชนระดับตาบล” ได้แก่ 1) หลักสูตร Digital literacy (การเข้าใจดิจิทัล) 2) หลักสูตร การค้าขายออนไลน์ เป้าหมาย 1. เป้าหมายเชิงปริมาณ - กศน.ตาบล จานวน 18 แห่ง ประชาชน จานวน 2 รุ่น รุ่นละ 16 คน รวมทัง้ สิ้น 576 คน 2. เป้าหมายเชิงคุณภาพ - ผู้เข้าอบรมผ่านกระบวนการตามหลักสูตรดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม มีทักษะการใช้ Social Media รู้เท่าทันสื่อดิจิทัล คิด วิเคราะห์ สามารถนาไปปรับใช้ในการประกอบอาชีพ และการดาเนิน ชีวิตประจาวัน เพื่อให้ดารงอยู่ในสังคม อย่างมี ความสุข
๙๗ วิธีการดาเนินการ ขั้นตอนการ ที่ ดาเนินงาน ๑
๒
จัดทาแผนงาน โครงการ/กิจกรรม และกรอบการ ดาเนินงาน วางแผน การจัดโครงการ/ขอ อนุมัติโครงการ/ จัดเตรียมเอกสาร / สถานที่/วิทยากร
3
ดาเนินการ จัดกิจกรรม ตามโครงการ
4
สรุปผล การดาเนินงาน โครงการ
วัตถุประสงค์
กลุ่มเป้าหมาย
เป้าหมาย
เพื่อวางแผนการ ดาเนินงานโครง การให้บรรลุตาม วัตถุประสงค์ เพื่อดาเนินการ จัดพิมพ์ จัดทา เอกสาร การ จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการ ดาเนินโครงการ -เพื่อให้ประชาชน กลุ่มเปูาหมาย พัฒนาทักษะ การใช้ Social Media รู้เท่า ทันสื่อดิจิทัล ใช้สื่อ ดิจิทัลได้อย่าง เหมาะสม -เพื่ออบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับ “การสร้าง เครือข่าย ดิจิทัล ชุมชนระดับตาบล” ได้แก่ หลักสูตร Digital literacy และ หลักสูตร การค้าขายออนไลน์ เพื่อสรุปผลการ ดาเนินการจัด กิจกรรม
บุคลากร กศน. อาเภอเมือง ขอนแก่น
136 คน
-บุคลากร กศน. อาเภอเมือง ขอนแก่น -ผู้นาชุมชน
พื้นที่ ดาเนินการ
ระยะเวลา
งบ ประมาณ
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
มี.ค.๖๒
136 คน
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
มี.ค.๖๒
50,000-
-บุคลากร กศน. อาเภอเมือง ขอนแก่น -ประชาชนในพื้นที่ อาเภอเมือง ขอนแก่น จานวน 18 ตาบล
576 คน
กศน.ตาบล ทั้ง 18 ตาบล
รุ่นที่ ๑ เม.ย.๖๒ รุ่นที่ ๒ เม.ย.๖๒
122,800-
กศน.ตาบล
18 แห่ง
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
เม.ย.๖๒
-
-
หมายเหตุ : รายละเอียดการดาเนินโครงการตามกาหนดการแนบท้ายโครงการนี้ วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒ แผนงาน : แผนงาน : บูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล โครงการ พั ฒ นาเศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล งบรายจ่ า ยอื่ น ค่ า ใช้ จ่ า ยในการสร้ า งเครื อ ข่ า ยดิ จิ ทั ล ชุ ม ชนระดั บ ต าบล รหั ส งบประมาณ 7000๑๐ จานวน 172,800 บาท มีรายละเอียดดังนี้ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ (เป็นรายไตรมาส) กิจกรรมหลัก ๑.จัดทาแผนงานโครงการ/กิจกรรม
ไตรมาสที่ 1 ต.ค.-ธ.ค.60 -
ช่วงระยะเวลา ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ม.ค.-มี.ค.61 เม.ย.-มิ.ย.61 -
ไตรมาสที่ 4 ก.ค.-ก.ย.61 -
หมายเหตุ
๙๘ และกรอบการดาเนินงาน ๒.วางแผนการจัดโครงการ/ จัดเตรียมเอกสาร สถานที่/ขออนุมัติ โครงการ ๓.ดาเนินการจัดกิจกรรมตาม โครงการ ๔.สรุปผลการดาเนินงานโครงการ
-
-
50,000-
-
-
-
122,800-
-
-
-
-
-
ผู้รับผิดชอบโครงการ - กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น - กศน.ตาบล/ศูนย์การเรียนชุมชน เครือข่าย โครงการที่เกี่ยวข้อง - โครงการSmart ONIE เพื่อสร้าง Smart Farmer ผลลัพธ์ (Outcomes) - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ความเข้าถึงวิธีการใช้สื่อ social media นามาใช้ประโยชน์ทั้งในด้าน เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และสุขภาพ ดัชนีชี้วัดผลสาเร็จของโครงการ ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) - กลุ่มเปูาหมาย จานวน 2 รุ่นๆละ 16 คน จาก กศน.ตาบล จานวน 18 แห่ง รวมทั้งสิ้น 576 คน ได้รับการอบรมตามหลักสูตรดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome) -ร้อยละ 80 ขึ้นไป ของผู้เข้าอบรมผ่านกระบวนการตามหลักสูตรดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม สามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันและดารงอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข การติดตามผลและประเมินผลการดาเนินงาน - การสังเกตพฤติกรรมผู้เข้าร่วมกิจกรรม - แบบประเมินความพึงพอใจ ลงชื่อ................................................ผู้เสนอโครงการ (นางวิไลพร บูรณ์เจริญ) ครูชานาญการพิเศษ ลงชื่อ..............................................ผู้อนุมัติโครงการ (นายบุญส่ง ทองเชื่อม) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
๙๙
11. โครงการส่งเสริมการอ่านสาหรับกลุ่มเป้าหมายนักศึกษา กศน. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และประชาชน หลักการและเหตุผล การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในระดับองค์การมุ่งพัฒนาคนให้เกิดความเชี่ยวชาญที่สามารถทางานให้แก่ องค์การได้อย่างมีผลิตภาพสูงและพร้อมรับการขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงในอนาคตการพัฒนาระดับนี้จึงจะ เป็นเรื่องของการบูรณาการระหว่างการพัฒนาบุคคลการพัฒนาอาชีพและการพัฒนาองค์การเพื่อมุ่งเน้น การ พัฒนาจากการเรียนรู้ของบุคคลไปสู่ทีมการเรียนรู้และองค์กรแห่งการเรียนรู้ไปพร้อมกันการพัฒนาทรัพยากร มนุ ษ ย์ ใ นระดั บ บุ ค คลมุ่ ง พั ฒ นาบุ ค ลากรให้ ต ระหนั ก ถึ ง ความจ าเป็น ในการพัฒ นาตนเองเพื่ อ เพิ่ ม ความรู้ ความสามารถและประสิทธิภาพในการทางานให้สามารถดารงตนอยู่ในสังคมได้เป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว องค์กรสังคมและประเทศชาติสาหรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรแต่เดิมเป็นเรื่องของการพัฒนา ภายนอกคือมุ่งพัฒนาที่ความรู้ทักษะเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการทางานให้ดีขึ้นแต่การพัฒนาแนวใหม่ กลับให้ความสาคัญกับการพัฒนาจากองค์ประกอบภายในสู่ภายนอก (Inside Out Development Approach) นั่ น ก็คือหากต้ องการให้ การพัฒ นาบุ คลากรได้ผ ลสั ม ฤทธิ์ตามที่มุ่ง หวังการพัฒ นาทรัพยากรมนุษย์ควรให้ ความสาคัญกับการพัฒนาแรงขับภายในตัวบุคคลเช่นทัศนคติค่านิยมแรงจูงใจและอุปนิสัยเป็นการพัฒนาจาก จิตใจเพื่อให้บุ คลากรปรับเปลี่ยนวิธีคิ ดค่านิยมความเชื่อรู้จักค้นคว้าศึกษาหาความรู้และพัฒนาทักษะด้ว ย ตนเองเพื่อนาไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้อย่างถาวรและเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น เล็งเห็นความสาคัญของ การพัฒนาบุคลากรเป็นเรื่องที่มีความสาคัญการบริหารงานของสถานศึกษาจะพัฒนาไปอย่างมีประสิทธิภาพ มากน้อยเพียงใดต้องอาศัยทรัพยากรมนุษย์เป็นกุญแจไขสู่ความสาเร็จ จะต้องพัฒนาขีดความสามารถให้ สามารถปฏิบัติงานในพื้นที่ในฐานะนักจัดการเรียนรู้ได้อย่างมืออาชีพ จะต้องเป็นผู้ที่ฝึกฝนทักษะและพัฒนา ศักยภาพในการคิดการรู้จักและเข้าใจตนเองและผู้อื่นนาสู่การทางานร่วมกันอย่างมีคุณภาพต่อไป วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและส่งเสริมให้บุคลากรทุกระดับได้พัฒนาความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานมีความรู้ ความสามารถทักษะในการปฏิบัติงานและมีทัศนคติที่ดีต่องาน เป้าหมาย 1. เชิงปริมาณ - สถานศึกษามีแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาความรู้ความสามารถแก่บุคลากร - บุคลากรได้รับการพัฒนาตามแผนไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 - บุคลากรได้รับการพัฒนาไม่ต่ากว่า 20 ชั่วโมง/ปี/คน 2. เชิงคุณภาพ บุคลากร กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน รวมทั้งความพึงพอใจของบุคลากรต่อแผนการพัฒนาบุคลากร
๑๐๐ วิธีดาเนินการ กิจกรรมหลัก
วัตถุประสงค์
1.สารวจความ ต้องการในการ เรียนรู้ของ บุคลากร
เป้าหมาย (Out put)
กลุ่มเป้าหมาย
เพื่อให้ได้แนว ทางการพัฒนาที่ ตรงกับความ ต้องการของ บุคลากร 2.วิเคราะห์ เพื่อจัดทาหลักสูตร ข้อมูล/จัดทา ที่สามารถนา หลักสูตร/วาง ความรู้ไปใช้ในการ แผนการอบรม ดาเนินงาน 3.จัดกิจกรรม เพื่อพัฒนาความรู้ การอบรมตาม ทักษะ แผนงานที่วางไว้ ความสามารถของ บุคลากรในการจัด กิจกรรม กศน.
-บุคลากร กศน. อาเภอเมือง ขอนแก่น
4.ติดตามและ เพื่อประเมินผล ประเมินผลการ การจัดกิจกรรม จัดกิจกรรม และรายงานผล การจัดกิจกรรม ต่อต้นสังกัด
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
106 คน
งานบุคลากร อาเภอ เมือง ขอนแก่น -บุคลากร กศน. อาเภอ เมือง ขอนแก่น
25 คน
พื้นที่ ดาเนินการ
ระยะเวลา งบประมาณ
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
ม.ค.62ก.ย.62
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
ม.ค.62ก.ย.62
ตามแผนงาน/ กิจกรรมที่จดั
ม.ค.62ก.ย.62
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
30 ก.ย.62
-
643,280.-
วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ งบประมาณประจาปี 2562 แผนงาน : ยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน โครงการ สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจั ดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน ค่า จัดการเรียนการสอน จานวน 643,280 บาท แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก
ไตรมาสที่ 1 ต.ค.60-ธ.ค.60
ไตรมาสที่ 2 ม.ค.61–มี.ค. 61
ไตรมาสที่ 3 เม.ย.61–มิ.ย. 61
ไตรมาสที่ 4 ก.ค.61–ก.ย.61
1. สารวจความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย 2. วางแผนจัดกิจกรรม 3. จัดกิจกรรมตามแผนที่ได้กาหนดไว้ 4. ติดตามประเมินผล
-
43,280 -
300,000 -
300,000 -
ผู้รับผิดชอบโครงการ -กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น - กศน.ตาบลทั้ง 18 แห่ง
๑๐๑ ผลลัพธ์ สถานศึกษาสามารถวางแผนพัฒนาบุคลากรเพื่อให้บุคลากรปรับเปลี่ยนวิธีคิดค่านิยมความเชื่อ รู้จัก ค้นคว้าศึกษาหาความรู้และพัฒนาทักษะด้วยตนเองเพื่อนาไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้สู่ เปูาหมายของสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ ดัชนีชี้วัดผลสาเร็จของโครงการ ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) - สถานศึกษาสามารถจัดกิจกรรมในกรพัฒนาบุคลากรไม่น้อยกว่า 4 กิจกรรม - บุคลากรได้รับการพัฒนาตามแผนไม่ต่ากว่า 20 ชั่วโมง - ร้อยละ 100 ของผู้ผ่านการอบรมมีความรู้ความเข้าใจและสามารถนาความรู้ไปใช้ได้ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome) - ร้อยละ 100 ของบุคลากรทุกระดับมีความพึงพอใจในโครงการ การติดตามประเมินผลโครงการ - ประเมินผลจากการสังเกต - ประเมินผลโดยใช้แบบสอบถาม ลงชื่อ................................................ผู้เสนอโครงการ (นางสาวอมรรัตน์ ศรีสร้อย) บรรณารักษ์ชานาญการ
ลงชื่อ..............................................ผู้อนุมัติโครงการ (นายบุญส่ง ทองเชื่อม) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
๑๐๒
12. โครงการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ชุมชนในระดับตาบล หลักการและเหตุผล ห้องสมุดประชาชน เป็นแหล่งที่สาคัญต่อการให้บริการข่าวสาร ข้อมูล ความรู้และความบันเทิง แก่ประชาชน เป็นสถาบันการศึกษา ที่จะช่วยส่งเสริมและสนั บสนุนในการให้บริการทาง การศึกษานอก โรงเรียนแก่ประชาชน ซึ่งประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตอาเภอเมืองขอนแก่น อยู่ห่างจากห้องสมุดประชาชน อาเภอ ไม่มีโอกาสรับรู้ข่าวสารและกิจกรรมต่าง ๆ ของห้องสมุดได้ ดังนั้นจึงเห็นสมควร จัดให้มีโครงการจัด กิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้โดยจัดให้มีกิจกรรมการนาสื่อหนังสือใหม่ๆ แผ่นพับ ใบปลิว ความรู้ต่าง ๆ ที่ได้มาจากหนังสือ วารสาร และหนังสือพิมพ์ เพื่อส่งผลให้เด็ก เยาวชน และประชาชน ในชุมชนมีโอกาสได้รับข้อมูลข่าวสาร และกิจกรรมต่าง ๆ อย่างทั่วถึง และยังเป็นเป็นการสนับสนุนการไม่ลืม หนังสือและส่งเสริมให้ประชาชนมีทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสนองนโยบายของสานักบริหารงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในโครงการ รณรงค์เพื่อส่งเสริมการรักการอ่าน 2. เพื่อกระจายข่าวสารต่างๆ แหล่งเรียนรู้ในชุมชน 3. เพื่อรับบริจาคหนังสือเก่าที่อ่านแล้วนาไปหมุนเวียนให้บริการที่บ้านหนังสือชุมชน เป้าหมาย 1. เป้าหมายเชิงปริมาณ เด็ก เยาวชน และประชาชนในเขตพื้นที่อาเภอเมืองขอนแก่น สนใจเข้าใช้บริการจานวน 5,000 คน 2. เป้าหมายเชิงคุณภาพ เด็ก เยาวชน และประชาชน ในเขตอาเภอเมืองขอนแก่น ได้รับข่าวสารด้านหนังสือและกิจกรรมที่ จัดขึ้นอย่างทั่วถึง ส่งผลให้ประชาชนไม่ลืมหนังสือ และมีทักษะในการเรียนรู้ด้วยตนเอง รวมทั้งมีหนังสือ ให้บริการหมุนเวียนในบ้านหนังสือชุมชนในแหล่งการเรียนรู้ วิธีดาเนินการ กิจกรรมหลัก 1. ประชุมชี้แจง 2. ประชาสัมพันธ์ โครงการ
วัตถุประสงค์
กลุ่มเป้าหมาย
เพื่อชี้แจง รายละเอียดของ โครงการ เพื่อให้เยาวชนและ ประชาชนนักเรียน และนักศึกษามาใช้ บริการเพิม่ มากขึ้น
- บุคลากร กศน. อาเภอเมือง ขอนแก่น - เยาวชน - ประชาชน - นักเรียน - นักศึกษา
เป้าหมาย (Out put) เพื่อให้ทราบ วิธีการ ดาเนินงาน เพื่อให้ผู้รับ บริการทราบ ข้อมูลข่าวสาร และมาใช้ บริการ
พื้นที่ ดาเนินการ อาเภอเมือง ขอนแก่น
ระยะเวลา
งบประมาณ
-พ.ย.61 -พ.ค.62
-
- แหล่งเรียนรู้ - พ.ย.61 ชุมชนในตาบล - พ.ค.62 -กศน.ตาบล 18 แห่ง
-
๑๐๓ 3. จัดเตรียมวัสดุ และอุปกรณ์
4. ดาเนินงาน โครงการจัด กิจกรรมส่งเสริม การอ่านเพื่อสร้าง สังคมแห่งการ เรียนรู้ 5. สรุปผลและ รายงานผลการ ดาเนินงาน
เพื่อส่งเสริมและ สนับสนุนนโยบาย ของรัฐบาลในด้าน การพัฒนา ประชาชนให้มี คุณภาพ เพื่อให้ประชาชนใน อาเภอเมือง ขอนแก่นได้เข้าถึง หนังสือและสื่อ สิ่งพิมพ์ข้อมูล ข่าวสารและ กิจกรรม เพื่อทราบปัญหา อุปสรรคในการ ดาเนินงานและ รายงานผลการ ดาเนินงาน
-จัดเตรียมข้อมูล ต่าง ๆ ที่ได้จาก หนังสือวารสาร และหนังสือพิมพ์
เพื่อเตรียม แหล่งเรียนรู้ ความพร้อมใน ชุมชนในตาบล การให้บริการ แก่ประชาชน
-1 ธ.ค.61 -1 มิ.ย.62
20,000.32,000.-
- ผอ.กศน. - ครู อาสาฯ - ครู กศน.ตาบล - ครู ศรช. - บรรณารักษ์
เพื่อให้การ แหล่งเรียนรู้ ดาเนินงาน ชุมชนในตาบล เป็นไปอย่างมี ประสิทธิ ภาพ ตามวัตถุประ สงค์
ธ.ค.61 ถึง ก.ย.62
-
รายงานผล การดาเนิน งานต่อ หน่วยงานต้น สังกัด
1ก.ย.62
-
ครู กศน.
แหล่งเรียนรู้ ชุมชนในตาบล
งบประมาณ งบประมาณประจาปี พ.ศ.2562 แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิตที่ 5 ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย รหัส 9005 จานวน 52,000 บาท แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก
ไตรมาสที่ 1 ต.ค.61-ธ.ค.61
ไตรมาสที่ 2 ม.ค.62–มี.ค. 62
ไตรมาสที่ 3 เม.ย.62–มิ.ย. 62
ไตรมาสที่ 4 ก.ค.62–ก.ย.62
20,000 -
-
32,000 -
-
1.ประชุมชี้แจง 2.ประชาสัมพันธ์โครงการ 3.จัดเตรียม วัสดุและอุปกรณ์ 4.ดาเนินงานโครงการจัดกิจกรรม 5.สรุปผลการดาเนินงานโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการ - บุคลากร กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น - เจ้าหน้าทีบ่ รรณารักษ์ เครือข่าย - อาสาสมัคร กศน. - กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นาท้องถิ่น
๑๐๔ โครงการที่เกี่ยวข้อง - โครงการชุมชนรักการอ่าน - โครงการบรรณสัญจร ผลลัพธ์ เด็ก เยาวชนและประชาชน ในเขตอาเภอเมืองขอนแก่น ได้รับบริการข่าวสารหนังสืออย่างทั่วถึง ส่งผลให้ประชาชนไม่ลืมหนังสือและมีทักษะในการเรียนรู้ด้วยตนเองสามารถนาความรู้ความบันเทิ งที่ได้รับ กลับไปพัฒนาคุณภาพชีวิตและปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้ 12. ตัวชี้วัดผลสาเร็จของโครงการ ตัวชี้วัดผลผลิต - เด็กเยาวชนและประชาชนในเขตอาเภอเมืองขอนแก่น มีความพึงพอใจและให้ความสนใจเข้าร่วม กิจกรรม ต่าง ๆ เป็นอย่างดี อย่างน้อยร้อยละ 80 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ - ร้อยละของเด็ก เยาวชน และ ประชาชน ที่เข้าร่วมโครงการสามารถนาความรู้หลากหลายสาขาวิชา ไปพัฒนาคุณภาพชีวิตและปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างน้อยร้อยละ 80 การประเมินผลโครงการ - จากการสังเกตพฤติกรรมของเด็ก เยาวชนและประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ - จากการทาแบบสอบถามความพึงพอใจของเด็ก เยาวชนและประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ
ลงชื่อ................................................ผู้เสนอโครงการ (นางสาวอมรรัตน์ ศรีสร้อย) บรรณารักษ์ชานาญการ ลงชื่อ..............................................ผู้อนุมัติโครงการ (นายบุญส่ง ทองเชื่อม) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
๑๐๕
13. โครงการเสริมสร้าง และพัฒนาศักยภาพบุคลากร หลักการและเหตุผล การเปลี่ย นแปลงของสังคม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยีในปัจจุบัน ส่งผลให้ทุกหน่วยงานต้องมีการ ปรั บ ปรุ ง กระบวนการท างานเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ วิ สั ย ทั ศ น์ เปู า หมาย กลยุ ท ธ์ แ ละแผนการปฏิ บั ติ ง าน จึงควรปรับเปลี่ยนแนวทางการบริหารใหม่ภายใต้การบริหารงานเชิงกลยุทธ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านบุคลากร สายปฏิบั ติการ เพื่อรองรับสถานการณ์ต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นทั้งในปัจจุบันและอนาคต ดังนั้น การพัฒนา บุคลากรสายปฏิบัติการให้มีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลในระยะยาวจึงต้องเปลี่ยนหลักการ และวิธีคิด จากแบบเดิมมาสู่การพัฒนาแบบใหม่ โดยอาศัยการพัฒนาทัศนคติ การพัฒนาลักษณะนิสัย และการพัฒนา แรงจู ง ใจของบุ ค ลากรอย่ างต่ อ เนื่ อง จึ ง จะช่ ว ยท าให้ บุ ค ลากรและหน่ว ยงานมีค วามเข้ม แข็ ง และเติ บ โต เป็นที่ยอมรับทั้งภายในและภายนอกประเทศ การพั ฒ นาบุ ค ลากรแนวใหม่ จึ ง จะต้ อ งเริ่ ม ต้ น จากการการพั ฒ นาบุ ค ลากรใน 3 ด้ า น ได้ แ ก่ 1) การพัฒนาทัศนคติ (Attitude) คือ การทาให้บุคลากรเปลี่ยนวิธีคิด และการทาให้บุคลากรรู้สึกว่าตนเองมี คุณค่าและมีความสาคัญต่อหน่วยงาน 2) การพัฒนาลักษณะนิสัย (Traits) คือ ทาให้บุคลากรมีความรักความ ผูกพันกับหน่วยงาน และ 3) การพัฒนาการจูงใจ (Motivation) คือ การสร้างแรงจูงใจให้กับบุคลากรทั้งในรูป ของเงินเดือน ค่าจ้าง สวัสดิการ นอกจากนี้ การพัฒนาบุคคลากรให้มีศักยภาพสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลง ดัง กล่ า ว ทั้ ง ด้ านแนวคิ ด ทั ศ นคติ การปรั บ พฤติ กรรม การพั ฒ นาทั ก ษะการใช้ เครื่ องมื อและเทคโนโลยี ในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ อีกทั้งสนั บสนุนและส่งเสริมให้บุคลากรต้องพัฒนาให้มีความรู้รอบด้าน และมีความหลากหลาย พัฒนาวิธีคิดและวิธีการทางานให้สอดคล้องและทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม จึ ง เป็ น พั น ธกิ จ ส าคั ญ ที่ จ ะต้ อ งด าเนิ น การบริ ห ารจั ด การให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด และประสบผลส าเร็ จ ตามวิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ และเปูาหมายที่กาหนดไว้ กศน. อาเภอเมืองขอนแก่น ได้เห็ นความส าคัญของการพัฒ นาบุคลากรสายปฏิบัติการ เพื่อให้ มี ศักยภาพสูงขึ้น สามารถสนับสนุนการบริหารจัดการด้านทรัพยากรของหน่วยงานให้บรรลุเปูาหมาย จึงได้จัด โครงการพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากร หลักสูตร การสร้างความสุขในองค์กร (Happiness in Organization) ให้มีสมรรถนะในการทางานเหมาะสมกับตาแหน่ง สามารถนาความรู้ และทักษะต่างๆ ที่ได้ จากการพั ฒ นาของหน่ ว ยงานหรื อ การพั ฒ นาตนเองไปปรั บ ใช้ ใ นการท างานได้ อ ย่ า งเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ ให้บุคลากรได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย สามารถนาความรู้ที่ได้จากการพัฒนาศักยภาพไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานของตนเองได้ 2. เพื่อให้บุคลากรมีพฤติกรรมการบริการที่ดีสร้างความพึงพอใจต่อผู้รับบริการ มีสัมพันธ์อันดี สามัคคี สามารถช่วยเหลือเกื้อกูลกันเพื่อให้งานสาเร็จลุล่วง แก้ปัญหา และขจัดความขัดแย้งได้
๑๐๖ เป้าหมาย เชิงปริมาณ ผู้บริหาร ข้าราชการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น จานวน 136 คน เชิงคุณภาพ (1) ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนาความรู้ที่ได้จากการพั ฒนาศักยภาพไปประยุกต์ใช้ ในการปฏิบัติงานของตนเองได้ วิธีดาเนินการ กิจกรรมหลัก 1. ประชุมชี้แจง 2. ดาเนินงาน โครงการจัด กิจกรรมส่งเสริม การอ่านเพื่อสร้าง สังคมแห่งการ เรียนรู้
3. สรุปผลและ รายงานผลการ ดาเนินงาน
วัตถุประสงค์
กลุ่มเป้าหมาย
เพื่อชี้แจง รายละเอียดของ โครงการ เพื่อให้บุคลากร ได้รับการพัฒนา ความรู้ และทักษะ ในการปฏิบัติงาน ตามหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย สามารถนาความรู้ ที่ได้จากการพัฒนา ศักยภาพไป ประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบัติงานของ ตนเองได้ เพื่อทราบปัญหา อุปสรรคในการ ดาเนินงานและ รายงานผลการ ดาเนินงาน
- งานบุคลากร กศน.อาเภอเมือง ขอนแก่น - บุคลากร กศน. อาเภอเมือง ขอนแก่น
- งานบุคลากร กศน.อาเภอเมือง ขอนแก่น
เป้าหมาย (Out put) 5 คน
พื้นที่ ดาเนินการ กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
-พ.ย. 61 -พ.ค. 62
136 คน
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
ธ.ค. 61 ถึง ก.ย. 62
908,860
5 คน
กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น
1 ก.ย. 62
-
ระยะเวลา
งบประมาณ -
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก 1. ประชุมชี้แจง 2. ดาเนินงานโครงการจัดกิจกรรม - ศึกษาดูงานย้อนรอยอารยธรรมต้นกาเนิด ชนชาติไทยภาคเหนือ - อบรมพัฒนาบุคลากรเพื่อความเป็นหนึ่ง - ศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้ภาคใต้ 3. สรุปผลการดาเนินงานโครงการ
ไตรมาสที่ 1 ต.ค.61-ธ.ค.61
ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ม.ค.62–มี.ค.62 เม.ย.62–มิ.ย.62
ไตรมาสที่ 4 ก.ค.62–ก.ย.62
-
-
-
-
-
500,000
-
-
-
-
-
200,000 208,860
-
-
-
-
๑๐๗ ผู้รับผิดชอบโครงการ - งานบริหารบุคคล กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ผลลัพธ์ 1. บุ คลากรได้ รั บ การพั ฒ นาความรู้ และทัก ษะในการปฏิ บั ติ งานตามหน้ า ที่ที่ ไ ด้ รับ มอบหมาย สามารถนาความรู้ที่ได้จากการพัฒนาศักยภาพไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานของตนเองได้ 2. บุ คลากรมีพฤติกรรมการบริการที่ดีส ร้างความพึงพอใจต่อผู้ รับบริการ มีสั มพันธ์อันดี สามัคคี สามารถช่วยเหลือเกื้อกูลกันเพื่อให้งานสาเร็จลุล่วง แก้ปัญหา และขจัดความขัดแย้งได้ ดัชนีชี้วัดความสาเร็จของโครงการ 1. ตัวชี้วัดผลผลิต (1) ผู้บริหาร ข้าราชการ และบุคลากร กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น เข้าร่วมอบรมโครงการฯ ร้อยละ 100 2. ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (1) ผู้บริหาร ข้าราชการ และบุคลากรกศน.อาเภอเมืองขอนแก่น สามารถนาความรู้ที่ได้จากการ พัฒนาศักยภาพไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานของตนเองได้ การติดตามและการประเมินผลการดาเนินงาน - ประเมินผลโครงการโดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ - แบบลงทะเบียน ลงชื่อ................................................ผู้เสนอโครงการ (นางสาวธันยพัฒน์ นูเร) ครูชานาญการพิเศษ
ลงชื่อ..............................................ผู้อนุมัติโครงการ (นายบุญส่ง ทองเชื่อม) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
๑๐๘
คณะผู้จัดทา ที่ปรึกษา 1. 2. 3. 4.
นายบุญส่ง ทองเชื่อม นางวิไลพร บูรณ์เจริญ นางสาวธันยพัฒน์ นูเร นางสาวอมรรัตน์ ศรีสร้อย
ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ ตาแหน่ง ครู ชานาญการพิเศษ ตาแหน่ง บรรณารักษ์ชานาญการ
ผู้เรียบเรียงและจัดทาต้นฉบับ 1. นางสาวธันยพัฒน์ นูเร ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ 2. นางสาวประพาฬ ดิษฐเจริญ ตาแหน่ง พนักงานราชการ 3. นางสาวณัฐธยาท์ ศรีทองธรสิริ ตาแหน่ง พนักงานราชการ ๔. นางสาวชัชญาภา สารผล ตาแหน่ง พนักงานราชการ พร้อมด้วยบุคลากร กศน.เมืองขอนแก่นทุกท่าน บรรณาธิการ 1. นางสาวธันยพัฒน์ นูเร 2. นางสาวประพาฬ ดิษฐเจริญ
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ ตาแหน่ง พนักงานราชการ
ผู้สรุปและจัดพิมพ์ 1. นางสาวธันยพัฒน์ นูเร ๒. นางสาวณัฐธยาท์ ศรีทองธรสิริ
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ ตาแหน่ง พนักงานราชการ
กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น ๑๗๔ ซ.วีรวรรณ ถ.ดรุณสำรำญ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น ๔๐๐๐๐ โทร ๐๔๓-๔๓๓๒-๒๐๙๐ โทรสำร ๐๔๓-๔๓๒๒-๗๕๕๓