รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
สานักงาน กศน. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ
ก
คานา ตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ กาหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ ภายใน สาหรับสถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555ที่อาศัยอานาจตามความในมาตรา 20 วรรคสาม และมาตรา 25 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ซึ่งกาหนดให้สถานศึกษาต้องดาเนินการ ดังนี้ 1) จัดให้มี มาตรฐานการศึกษานอกระบบที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด 2) จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปี 3) ดาเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ แผนปฏิบัติการประจาปี 4) จัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 5) จัดให้มีการประเมินคุณภาพ ภายในมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 6) จัดทารายงานการประเมินตนเองประจาปี 7) เสนอ รายงานการประเมินคุณภาพภายในต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และภาคี เครือข่าย และเผยแพร่ต่อสาธารณชน 8) นาผลการประเมินคุณภาพภายในมาเป็นส่วนหนึ่งของการ วางแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาและภาคี เครือข่าย 9) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ10) ยึดหลักการ มีส่วนร่วมของสถานศึกษา บุคลากรทุกคน ในสถานศึกษา ภาคีเครือข่าย และผู้รับบริการ ในการนี้ เพื่อเป็นการดาเนินงานให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงฯ ดังกล่าว ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ เมืองขอนแก่น จึงได้ดาเนินการแต่งตั้ง คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา เพื่อประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของ ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ เมืองขอนแก่น โดยคณะกรรมการประเมิน ตนเองของสถานศึกษา วิเคราะห์จากแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปี ร่วมกับผลการดาเนินงานของสถานศึกษา และสอบทานข้อมูลจากผู้ปฏิบัติงาน คณะกรรมการ สถานศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา และร่วมกัน กาหนดแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป
(นางวิไลพร บูรณ์เจริญ) ครูชานาญการพิเศษ รักษาการในตาแหน่ง ผูอ้ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น
ข
คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ได้ประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560 ระหว่างวันที่ ๑ - ๑๖ เดือน ตุลาคมพ.ศ. 256๒ และจัดทารายงานการประเมินตนเอง ประจาปีงบประมาณ 256๒ เสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว .............................................................ประธานคณะกรรมการ (นางวิไลพร บูรณ์เจริญ)
.............................................................กรรมการ (นางสาวธันยพัฒน์นูเร) ............................................................กรรมการ (นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย) ...........................................................กรรมการ (นางสาวประพาฬ ดิษฐเจริญ) .............................................................กรรมการ (นางสาวชัชญาภา สารผล) ทั้งนี้ คณะกรรมการสถานศึกษาได้รับทราบผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา เป็นที่เรียบร้อยแล้ว และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าสถานศึกษาจะนาข้อมูลผลการประเมินนี้ไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาต่อไป ...................................................ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา (นายอภิสิทธิ์ สาเสน) วันที่ ๑๙ เดือน ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๒
ค
สารบัญ หน้า คานา ก สารบัญ ค บทสรุปสาหรับผู้บริหาร และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ง บทที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา 1 บทที่ 2ทิศทางและผลการดาเนินงานของสถานศึกษา ๓๘ บทที่ 3ผลการประเมินตนเอง ๖๓ ผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ 6๓ มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ 9๓ มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา 11๗ บทที่ 4สรุปผลการประเมินตนเอง และแนวทางการพัฒนาสถานศึกษา 1๒๘ สรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 1๒๘ เกณฑ์ระดับคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 1๓๐ สรุปผลการวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา 1๓๑ แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 13๓ ภาคผนวก กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา 13๔ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๖๐13๘ ประกาศศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น 1๓๕ รายละเอียดแนบท้ายประกาศ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น 1๔๐ แบบเสนอขอความเห็นชอบการกาหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐาน การศึกษานอกระบบฯ 1๔๑ เอกสารแนบท้ายแบบเสนอขอความเห็นชอบการกาหนดค่าเป้าหมาย ตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบ 1๔๕ คาสั่ง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น 1๗๑ คณะทางาน 1๗๒
ง
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ตั้งอยู่เลขที่ 174 หมู่ 17 ตาบล ในเมือง อาเภอ เมือง จังหวัด ขอนแก่น สานักงาน กศน. จังหวัด ขอนแก่น สังกัด สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษา ต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีบุคลากรจานวน ๑๒๗ คน มีผู้เรียน ผู้เข้ารับการอบรม และผู้รับบริการ จานวน 40,845 คน ทั้งนี้ คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษาได้ดาเนินการประเมินคุณภาพการจัด การศึกษาของสถานศึกษา ตั้งแต่วันที่ 1 ถึงวันที่ ๑๖ เดือน ตุลาคม พ.ศ. 256๒ ซึ่งจากการประเมิน คุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมิน ได้ดังนี้ ผลการประเมินตนเองในภาพรวม มีคะแนนรวม เท่ากับ ๙๕.๐๐ คะแนน ซึ่งอยู่ในระดับ คุณภาพดีมากและเมื่อพิจารณาผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐาน พบว่า มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีคะแนนรวม เท่ากับ ๓๑.๕๐ คะแนน ซึ่งอยู่ในระดับคุณภาพดีมาก มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ มีคะแนนรวม เท่ากับ 43.50 คะแนน ซึ่งอยู่ในระดับคุณภาพดีมาก มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา มีคะแนนรวม เท่ากับ 20. 00 คะแนน ซึ่งอยู่ในระดับคุณภาพดีมาก ตามรายละเอียด ดังนี้
จ
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ผลการประเมิน ตนเอง น้าหนัก (คะแนน) คะแนน ระดับ ที่ได้ คุณภาพ
มาตรฐานที่ 1คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ 35 การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม 5 ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะกระบวนการ คิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการ ดารงชีวิต 5 ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้พื้นฐาน 5 การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ 5 ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลัก 5 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้เทคโนโลยี ได้อย่างเหมาะสม 5 การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ 1.7 ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้5า ร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย
31.๕0
ดีมาก
4.๕0
ดี
4.00 3.50
ดี ดี
5.00 5.00
ดีมาก ดีมาก
4.50
ดีมาก
5.00
ดีมาก
มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ
45
43.50
ดีมาก
5 5 5 5
5.00 4.50 4.00 5.00
ดีมาก ดีมาก ดี ดีมาก
5 5 5
5.00 5.00 5.00
ดีมาก ดีมาก ดีมาก
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพครูการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 คุณภาพของหลักสูตรสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 คุณภาพสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร สถานศึกษา การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 คุณภาพวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 คุณภาพหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษา ต่อเนื่อง
ฉ
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ผลการ น้าหนัก มาตรฐาน/ ประเมิน (คะแนน) ตัวบ่งชี้ ตนเอง
การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 คุณภาพผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 5 ตัวบ่งชี้ที่ 2.9 คุณภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการศึกษาตาม 5 อัธยาศัย มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา 20 ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ 5 พอเพียงและหลักธรรมาภิบาล ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาของภาคี 5 เครือข่าย ตัวบ่งชี้ที่3.3 การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา 5 ตัวบ่งชี้ที่ 3.4 การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 5 รวม ๑๐๐
5.00 5.00
ดีมาก ดีมาก
20.00 5.00
ดีมาก ดีมาก
5.00
ดีมาก
5.00 5.00 ๙๕
ดีมาก ดีมาก ดีมาก
ทั้งนี้ จากการวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนาการศึกษา สามารถสรุปจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และวิธีปฏิบัติที่ดี หรือนวัตกรรมหรือตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบ ของสถานศึกษา ได้ดังนี้ สรุปผลการวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา จุดเด่น 1. ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นผู้มีคุณธรรม 2. มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย และสามารถยืดหยุ่นเวลาเรียนได้ 3. จัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องได้ตรงตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย สามารถนาไปประกอบอาชีพ และเพิ่มรายได้ 4. ผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมของสถานศึกษา 5. ผู้เรียน/ผู้รับริการ สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน และการดารงชีวิตได้ 6. สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 7. สถานศึกษามีการมอบหมายงานที่ชัดเจน และมีการประชุมชี้แจงและติดตาม งานทุกสัปดาห์ 8. สถานศึกษามีแผนปฏิบัติงานในการปฏิบัติราชการที่ชัดเจน และสามารถ ยืดหยุ่นได้ สถานศึกษามีการสรุปโครงการเป็นรูปเล่ม และจัดแผนปฏิบัติงานประจาเดือนพร้อมสรุป รายงานทุกเดือน จุดที่ควร สถานศึกษาควรพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มี พัฒนา ผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้น พร้อมให้เด่นชัด โดยสถานศึกษาควรส่งเสริมให้มีการศึกษาด้านปัจจัย ที่มี่ผลกระทบต่อผู้เรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
ช
สรุปผลการวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา ทักษะการเรียนรู้ ความรู้พื้นฐาน การประกอบอาชีพ ทักษะการดาเนินชีวิต และการ พัฒนาสังคม ซึ่งจะเน้นในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ครอบคลุมถึงปัจจัยที่มาจากพฤติกรรมการเรียนรู้ ข้อจากัดที่เกิดจากการประกอบอาชีพ ควบคู่กับการพัฒนาตนเองทางการศึกษา นาผลมาวิเคราะห์ ศึกษา วิจัย พิจารณา กาหนดนวัตกรรม สื่อ ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น และสอดคล้องกับค่า เป้าหมายของสถานศึกษา เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา และเกิด ประสิทธิผลต่อผู้เรียน/ผู้รับบริการให้มากที่สุด วิธีปฏิบัติ 1. ครู กศน. และวิทยากร รวบรวมข้อมูลการประเมินตนเอง ของนักศึกษาเพื่อให้ ที่ดี หรือ ทราบถึงความถนัด ความสนใจ ข้อดี ข้อด้อยของตนเองเพื่อพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการ นวัตกรรม เรียนการสอนและสารวจติดตามผู้เรียน/ผู้รับบริการที่จบแล้วเพื่อเป็นตัวอย่างและ หรือ ต้นแบบที่ดีต่อไป ตัวอย่างที่ ๒. ครูควรพัฒนาหลักสูตรกิจกรรม จัดทาแผน และการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ ดี หรือ สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน จัดให้มีการประกวดแข่งขันมีรางวัลแต่ละกิจกรรม ต้นแบบ เพื่อกระตุ้นให้ดึงดูดความสนใจ และเป็นขวัญ กาลังใจให้กับผู้เรียน/ผู้รับบริการ จากจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และวิธีปฏิบัติที่ดี หรือนวัตกรรมหรือตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบ ของสถานศึกษา เห็นควรให้สถานศึกษาจัดโครงการ/กิจกรรมเพื่อการปรับปรุงหรือพัฒนาคุณภาพ การศึกษา โดยกาหนดแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาดังนี้ 1. โครงการค่ายทักษะวิชาการ พัฒนาผู้เรียนในรายวิชาหลักพื้นฐาน 2. โครงการยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ติวเข้มเติมเต็มความรู้เพื่อพัฒนาให้เพิ่มผลสัมฤทธิ์ ทางด้านการศึกษาสาหรับนักศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. จัดโครงการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจในการเขียนโครงการ การกาหนด กิจกรรม กาหนดเป้าหมายเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ การประเมิน การสรุปและรายงานผลการ ดาเนินงานโครงการกิจกรรมได้อย่างถูกต้องชัดเจน 4. ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรได้ทาการวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยปีละ 2 เรื่อง เพื่อนาผลการ วิจัยไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
บทที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา สภาพทั่วไปของสถานศึกษา ชื่อสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น สถานที่ตั้งเลขที่ ๑๗๔ หมู่ ๑๗ ซอยวีรวรรณ ถนนดรุณสาราญ อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น รหัสไปรษณีย์ ๔๐๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๔๓-๓๒๒๐๙๐ โทรสาร ๐๔๓๒๒๗๕๕๓ http://www.nfe-maungkhonkaen.com E-mail :maungkhonkaen@hotmail.com สังกัด สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดขอนแก่น สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ประวัติความเป็นมาของสถานศึกษา ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอเมืองขอนแก่น จัดตั้งตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ ๒๗ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ เป็นสถานศึกษาในราชการ ส่วนกลาง สังกัดศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ โดยมี นายปราโมทย์ สุขุม รัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้ ลงนามในประกาศ และผู้ที่ทาหน้าที่หัวหน้า ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอเมืองขอนแก่น คนแรกคือ นางรัชนีกร ไทยวิรัช ตามคาสั่งกรมการศึกษานอกโรงเรียน ที่ ๙๔/๒๕๓๗ ลงวันที่ ๑๘ มกราคม พ.ศ.๒๕๓๗ จนถึงวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ ต่อมาจ่าสิบเอกสุรพร สุทธิประภา ได้ย้ายมาดารงตาแหน่งผู้อานวยการ ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอเมืองขอนแก่น ในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอเมืองขอนแก่น ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช ๒๕๕๑ สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด ขอนแก่น สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ ต่อมาเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ นายดิษฐพงษ์ กัลยาลักษณ์ ได้ย้ายมา ดารงตาแหน่งผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น และ เมื่อวันที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๓ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ นายบุญส่ง ทองเชื่อม ได้ย้ายมาดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่นถึงปัจจุบัน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ตั้งอยู่บริเวณผัง ๒ ของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดขอนแก่น เลขที่ ๑๗๔ หมู่ ๑๗ ซอยวีรวรรณ ถนนดรุณสาราญ อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ๔๐๐๐๐ โทรศัพท์ ๐ – ๔๓๓๒ - ๒๐๙๐ โทรสาร ๐ – ๔๓๒๒ – ๗๕๕๓
๒
อาณาเขตที่ตั้งสถานศึกษา อาเภอเมืองขอนแก่นมีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภออุบลรัตน์และอาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น ทิศตะวันออก ติดต่อกับอาเภอซาสูงอาเภอเชียงยืน และอาเภอโกสุมพิสัย (จังหวัดมหาสารคาม) ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอโกสุมพิสัย(จังหวัดมหาสารคาม) อาเภอบ้านแฮด และอาเภอพระยืน ทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น สภาพชุมชน สภาพทั่วไปและลักษณะภูมิประเทศ อาเภอเมืองขอนแก่น เป็นอาเภอชั้นพิเศษ ที่มีขนาด ใหญ่และเป็นศูนย์กลางของจังหวัดขอนแก่น มีพื้นที่ประมาณ ๙๖๓,๓๙๐ ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ ๙๕๙,๘๖๘.๗๕ ไร่คิดเป็นร้อยละ ๑๒ ของพื้นที่ จังหวัดขอนแก่น โดยทั่วไปพื้นที่ส่วนใหญ่ เป็นที่ราบลุ่มน้าสลับกับพื้นที่ราบสูง ทางด้านทิศตะวันออกของถนนมิตรภาพ จะเป็นที่ราบกว้าง ส่วน ทิศตะวันตกจะมีลักษณะเป็นเนินสูงสลับกันไป ลักษณะดินโดยทั่วไปเป็นดินทรายไม่อุ้มน้า จึงไม่ เหมาะ แก่การเพาะปลูก ได้แก่ บริเวณที่ลุ่มน้าชีในเขตตาบลโคกสี ตาบลหนองตูม ตาบลเมืองเก่า ตาบลท่าพระ และตาบลดอน หัน ภูมิอากาศ อาเภอเมืองขอนแก่น มี ๓ ฤดู ดังนี้ - ฤดูร้อน อุณหภูมิสูงสุดโดยเฉลี่ย ๓๖.๓ องศาเซลเซียสเริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์เป็นต้น ไปไปจนถึง เดือนพฤษภาคมอากาศร้อนจัดในช่วงเดือน เมษายนของทุกปีซึ่งในพื้นที่มักจะประสบ ปัญหาด้านภัยแล้ง - ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมเป็นต้นไปจนถึงเดือน ตุลาคมโดยจะมีฝนตกชุกในเดือน สิงหาคม ของทุกปี - ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือน ตุลาคม เป็นต้นไปจนถึงเดือน กุมภาพันธ์ อากาศหนาวเย็น โดยทั่วไป และจะหนาวจัดในช่วง เดือน ธันวาคม จนถึงเดือนมกราคมของทุกปี ทรัพยากรธรรมชาติ มีแหล่งน้้าธรรมชาติที่ส้าคัญไหลผ่านหลายสาย ได้แก่ - ลาน้าพองเป็นลาน้าที่มีความยาวในพื้นที่อาเภอเมืองประมาณ ๕๕ กิโลเมตร ไหลผ่าน ตาบลสาราญ ตาบลโนนท่อน ตาบลโคกสี ตาบลหนองตูม ตาบลศิลา และตาบลพระลับ ใช้เป็น เส้นทางคมนาคม เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ และทาการประมง - ลาน้าชี เป็นลาน้าที่มีความยาวประมาณ ๓๑ กิโลเมตร ไหลผ่านตาบลพระลับตาบล เมืองเก่าตาบลท่าพระ และตาบลดอนหัน ประชาชนใช้ประโยชน์ในการทาประมง เพาะปลูกและ เลี้ยงสัตว์ - ทรัพยากรดิน จังหวัดขอนแก่นมีพื้นที่ ๖.๘ ล้านไร่ ลักษณะดินเป็นดินทรายไม่อุ้มน้า
๓
สังคมและการปกครอง เขตการปกครอง แบ่งเขตการปกครอง ดังนี้ ตารางที่ ๓ แสดงแบ่งเขตการปกครองตาม จานวน ๑๘ ตาบล จานวน ๒๘๒ หมู่บ้าน ดังนี้ ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘
ชื่อต้าบล สาราญ โคกสี ท่าพระ บ้านทุ่ม เมืองเก่า พระลับ สาวะถี บ้านหว้า บ้านค้อ แดงใหญ่ ดอนช้าง ดอนหัน ศิลา บ้านเป็ด หนองตูม บึงเนียม โนนท่อน ในเมือง
จ้านวนหมู่บ้าน ๑๓หมู่บ้าน ๑๔หมู่บ้าน ๒๐หมู่บ้าน ๑๘หมู่บ้าน ๑๗หมู่บ้าน ๑๙หมู่บ้าน ๒๓หมู่บ้าน ๑๓หมู่บ้าน ๑๙หมู่บ้าน ๑๑หมู่บ้าน ๘หมู่บ้าน ๑๕หมู่บ้าน ๒๘หมู่บ้าน ๒๓หมู่บ้าน ๑๑หมู่บ้าน ๑๒หมู่บ้าน ๑๐หมู่บ้าน ๘๙ ชุมชน
หมายเหตุ
- เทศบาล ๑๑ แห่ง แยกเป็น เทศบาลนคร ๑ แห่ง เทศบาลต้าบล ๑๑ แห่ง คือ ๑. เทศบาลนครขอนแก่น ครอบคลุมพื้นที่ตาบลในเมืองทั้งตาบล ๒. เทศบาลตาบลท่าพระ ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตาบลท่าพระ ๓. เทศบาลตาบลบ้านเป็ด ครอบคลุมพื้นที่ตาบลบ้านเป็ดทั้งตาบล ๔. เทศบาลตาบลสาวะถี ครอบคลุมพื้นที่ตาบลสาวะถีทั้งตาบล ๕. เทศบาลตาบลบ้านค้อ ครอบคลุมพื้นที่ตาบลบ้านค้อทั้งตาบล ๖. เทศบาลตาบลเมืองเก่า ครอบคลุมพื้นที่ตาบลเมืองเก่าทั้งตาบล ๗. เทศบาลตาบลบ้านทุ่ม ครอบคลุมพื้นที่ตาบลบ้านทุ่มทั้งตาบล ๘. เทศบาลตาบลหนองตูม ครอบคลุมพื้นที่ตาบลหนองตูมทั้งตาบล ๙. เทศบาลตาบลสาราญ ครอบคลุมพื้นที่ตาบลสาราญทั้งตาบล ๑๐. เทศบาลตาบลโนนท่อน ครอบคลุมพื้นที่ตาบลโนนท่อนทั้งตาบล ๑๑.เทศบาลตาบลพระลับ ครอบคลุมพื้นที่ตาบลพระลับทั้งตาบล
๔
- องค์การบริหารส่วนต้าบล ๘ แห่ง ๑. องค์การบริหารส่วนตาบลโคกสี ครอบคลุมพื้นที่ตาบลโคกสีทั้งตาบล ๒. องค์การบริหารส่วนตาบลดอนช้าง ครอบคลุมพื้นที่ตาบลดอนช้างทั้งตาบล ๓. องค์การบริหารส่วนตาบลดอนหัน ครอบคลุมพื้นที่ตาบลดอนหันทั้งตาบล ๔. องค์การบริหารส่วนตาบลแดงใหญ่ ครอบคลุมพื้นที่ตาบลแดงใหญ่ทั้งตาบล ๕. องค์การบริหารส่วนตาบลท่าพระ ครอบคลุมพื้นที่ตาบลท่าพระ ๖. องค์การบริหารส่วนตาบลบ้านหว้า ครอบคลุมพื้นที่ตาบลบ้านหว้าทั้งตาบล ๗. องค์การบริหารส่วนตาบลบึงเนียม ครอบคลุมพื้นที่ตาบลบึงเนียมทั้งตาบล ๘. องค์การบริหารส่วนตาบลศิลา ครอบคลุมพื้นที่ตาบลศิลาทั้งตาบล การคมนาคม รถยนต์ ขอนแก่นอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ไปตามทางรถยนต์ ๔๔๙ กิโลเมตร จากกรุงเทพฯ ใช้ เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑ (ถนนพหลโยธิน) ถึงจังหวัดสระบุรี ตรงหลักกิโลเมตรที่ ๑๐๗ แยก ขวาเข้าทางหลวงหมายเลข ๒ (ถนนมิตรภาพ) ผ่านจังหวัดนครราชสีมาถึงจังหวัดขอนแก่น อีกเส้นทางหนึ่ง เมื่อถึงสระบุรีแล้วตรงไปตามถนนสระบุรี-ลานารายณ์ แยกขวาเข้า เส้นทาง ม่วงค่อม -ด่านขุนทด-ชัยภูมิ -ขอนแก่น หรือสระบุรี-อาเภอลานารายณ์-อาเภอเทพสถิต ชัยภูมิ -อาเภอมัญจาคีรี -อาเภอพระยืน -ขอนแก่น ทางรถยนต์ เป็นถนนสายหลักในการคมนาคมระหว่างจังหวัด ดังนี้ ๑ . ทางหลวงหมายเลข ๒ สายกทม.– นครราชสีมา – ขอนแก่–นอุดรธานี- หนองคาย ๒ . ทางหลวงหมายเลข ๑๒ สาย ขอนแก่น - เพชรบูรณ์ – พิษณุโลก - สุโขทัย - ตาก ๓ . ทางหลวงหมายเลข ๒๓ สาย บ้านไผ่ - มหาสารคาม - ร้อยเอ็ด ๔ . ทางหลวงหมายเลข ๒๐๘ สาย ขอนแก่น - มหาสารคาม ๕ . ทางหลวงหมายเลข ๒๐๙ สาย ขอนแก่น - กาฬสินธุ์ ๖ . ทางหลวงหมายเลข ๒๒๙ สาย บ้านไผ่ – แก้งคร้อ รถโดยสารประจ้าทาง ใช้เวลาเดินทางประมาณ ๗ ชั่วโมง รถออกจากสถานีขนส่งสายตะวันออกเฉียงเหนือ (หมอชิต ๒) มีรถโดยสารธรรมดา รถปรับอากาศ และรถนอนพิเศษชนิด ๒๔ ที่นั่ง วิ่งบริการทุกวัน สอบถามรายละเอียดได้ที่เว็บไซต์ http://www.transport.co.th/ รถโดยสารประจ้าทางระหว่างประเทศ บริษัทขนส่ง จากัด และรัฐวิสาหกิจรถเมล์นครหลวงเวียงจันทน์ ร่วมเปิดเส้นทางเดิน รถระหว่าง ขอนแก่น-นครหลวงเวียงจันทน์ โดยจัดรถปรับอากาศมาตรฐาน ๔๕ ที่นั่ง ให้บริการ ๒ เที่ยวต่อวัน มีต้นทางและปลายทางที่สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดขอนแก่น แห่งที่ ๒ และสถานีรถเมล์ ขนส่งผู้โดยสารตลาดเช้านครหลวงเวียงจันทน์ โดยไม่มีจุดจอดระหว่างทาง รถไฟ ขบวนรถไฟออกจากสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลาโพง) ผ่านจังหวัดขอนแก่น ไปจังหวัด อุดรธานี และหนองคายทุกวัน รถที่ให้บริการมีทั้งรถเร็วรถด่วน และรถด่วนดีเซลรางปรับอากาศ สอบถามรายละเอียดได้ที่เว็บไซต์ http://www.railway.co.th
๕
ทางอากาศ สนามบินพาณิชย์ขอนแก่น ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ตาบลบ้านเป็ด อาเภอเมือง ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ห่างจากที่ว่าการอาเภอเมืองขอนแก่น ประมาณ ๖ กิโลเมตร มีเที่ยวบิน กรุงเทพฯ -ขอนแก่น ทุกวันวันละ ๕เที่ยว สอบถามรายละเอียดได้ที่เว็บไซต์ http://www.thaiairways.com การไฟฟ้า หน่วยบริการผู้ใช้ไฟฟ้า สังกัดการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดขอนแก่น จานวน๔แห่ง ได้แก่พื้นที่ตาบลหนองตูม ตาบลสาวะถีตาบลบ้านทุ่ม และตาบลท่าพระ การประปา อาเภอเมืองขอนแก่นใช้บริการจากสานักงานการประปาส่วนภูมิภาคขอนแก่น องค์การโทรศัพท์ มี ๒ สาขา ได้แก่ สาขาขอนแก่น ๑ และสาขาขอนแก่น ๒ ให้บริการติดต่อสื่อสาร ๔๑,๒๙๘ หมายเลข ที่ท้าการไปรษณีย์ มี ๔ สาขา ได้แก่ ๑. สาขาขอนแก่น ๒. สาขาเทพารักษ์ ๓. สาขาศรีจันทร์ ๔. สาขามหาวิทยาลัยขอนแก่น สถานีวิทยุโทรทัศน์ ในเขตพื้นที่อาเภอเมืองขอนแก่นเป็นที่ตั้งของสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทยจังหวัด ขอนแก่น ศูนย์ประชาสัมพันธ์ เขต ๑และสถานีถ่ายทอดผ่านดาวเทียมของสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทย ทีวีสีช่อง ๕,๗,๙ NBT , ไทย PBS และ KTV หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น อาเภอเมืองขอนแก่น มีหนังสือพิมพ์ประจาท้องถิ่น ๘ ฉบับ เช่น หนังสือพิมพ์ขอนแก่นนิวส์, หนังสือพิมพ์อีสานนิวส์, หนังสือพิมพ์แดนไทย, หนังสือพิมพ์ภูมิภาคเดลี่ ฯลฯ ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ การเกษตรกรรม การเกษตรเป็นอาชีพหลักของอาเภอเมืองขอนแก่น มีพื้นที่ทาการเกษตร ทั้งหมด ๓๕๑,๖๘๐ไร่มีครัวเรือนประกอบอาชีพด้านการเกษตร ๒๖,๐๔๑ ครัวเรือนซึ่งพืชเศรษฐกิจที่ ทารายได้ ที่สาคัญได้แก่ ข้าว อ้อย มันสาปะหลัง ถั่วเหลือง และพืชผัก - การปศุสัตว์ สัตว์ที่นิยมเลี้ยงและทารายได้ให้แก่เกษตรกร ได้แก่ โคเนื้อ โคนม กระบือ สุกร เป็ด ไก่ เป็นต้น - การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า เกษตรกรส่วนใหญ่ทาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าโดยการเลี้ยงปลาในบ่อ ดินเพื่อยังชีพไว้บริโภคในครัวเรือน พันธุ์ปลาที่นิยมเลี้ยง ได้แก่ ปลานิล ปลาตะเพียน ปลาไน ปลา ยี่สกปลาดุก พื้นที่ที่มีศักยภาพในการเลี้ยงสัตว์น้าจะอยู่ในเขตตาบลหนองตูม ตาบลสาราญตาบลศิลา ตาบลบึงเนียม ตาบลท่าพระตาบลพระลับ ตาบลโนนท่อน ตาบลโคกสี ซึ่งเป็นพื้นที่อยู่ใกล้แหล่งน้า
๖
และมีคลอง ส่งน้า นอกจากนี้ยังมีการเลี้ยงปลาในกระชัง ในเขตพื้นที่ตาบลที่มีแม่น้าชี และแม่น้า พองไหลผ่านเช่น ตาบลท่าพระตาบลศิลา ตาบลบึงเนียม ตาบลโนนท่อน ตาบลสาราญ ตาบลโคกสี และตาบลหนองตูม ส่วนใหญ่เลี้ยงเพื่อการค้า หรือเชิงพาณิชย์ ปลาที่นิยมเลี้ยง คือ ปลานิล - การพาณิชย์และอุสาหกรรมอื่น ๆ ได้แก่ การโรงแรม การค้าขาย อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ และอุตสาหกรรมในครัวเรือน สถานที่ท่องเที่ยว ๑. ศาลเจ้าพ่อเทพารักษ์หลักเมือง ๒. พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติขอนแก่น ๓. บึงแก่นนคร ๔. มหาวิทยาลัยขอนแก่น ๕. กู่แก้ว งานประเพณีและงานเทศกาลท้องถิ่นที่ส้าคัญ ๑. งานประเพณีทาบุญตักบาตรในวันขึ้นปีใหม่ โดยจะจัดขึ้นในวันที่ ๑ มกราคม ของทุกปี ๒. งานประเพณีสุดยอดสงกรานต์อีสานเทศกาลดอกคูน –เสียงแคน และถนนข้าว เหนียว โดยจะจัดขึ้น ในวันที่ ๘–๑๕ เมษายน ของทุกปี ๓. งานประเพณีวันเข้าพรรษา โดยจะจัดขึ้นระหว่างวันเข้าพรรษาของทุกปี ๔. ระเพณีออกพรรษาไต้ประทีปโคมไฟและวิถีอีสาน โดยจะจัดขึ้นระหว่างวันออก พรรษาของทุกปี ๕. งานเทศกาลไหมประเพณีผูกเสี่ยวและงานกาชาด จัดขึ้นในวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน– ๑๐ ธันวาคมของทุกปี ค้าขวัญประจ้าอ้าเภอ “รักษาประเพณี พัฒนาท้องที่ สร้างสามัคคีในสังคม นิยมประหยัด ” เขตการปกครองอาเภอเมืองขอนแก่น มีประชากรทั้งสิ้น ๑,๙๗๒ ,๑๐๔คน (ข้อมูล ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖)แยกเป็นชาย๙๗๗,๗๒๗ คนหญิง ๙๙๔,๓๗๗คนจานวนประชากรรายตาบลดังนี้ ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐
ต้าบล ประชากรชาย(คน) ประชากรหญิง(คน) รวม จ้านวนครัวเรือน ในเมือง ๘๗๖,๒๕๒ ๘๙๑,๓๔๙ ๑,๗๖๗,๖๐๑ ๕๒๑,๕๕๙ แดงใหญ่ ๓,๖๓๐ ๓,๕๓๑ ๗,๑๖๑ ๑,๗๕๔ โนนท่อน ๔,๖๒๒ ๔,๗๖๗ ๙,๓๘๙ ๒,๔๖๕ ดอนช้าง ๒,๗๕๘ ๒,๕๘๕ ๕,๓๔๓ ๑,๐๒๒ ดอนหัน ๔,๗๗๕ ๔,๘๔๐ ๙,๖๑๕ ๒,๔๐๐ ท่าพระ ๔,๙๘๕ ๕,๐๓๓ ๑๐,๐๑๘ ๓,๐๒๘ โคกสี ๔,๓๖๗ ๔,๓๓๙ ๘,๗๐๖ ๒,๒๗๐ บ้านค้อ ๗,๕๙๓ ๗,๕๔๒ ๑๕,๑๓๕ ๔,๒๓๑ บ้านทุ่ม ๘,๓๓๖ ๘,๗๐๘ ๑๗,๐๔๔ ๔,๗๘๘ บ้านเป็ด ๑๒,๑๗๘ ๑๓,๑๒๘ ๒๕,๓๐๖ ๑๐,๔๕๔
๗
ที่ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘
ต้าบล ประชากรชาย(คน) ประชากรหญิง(คน) รวม จ้านวนครัวเรือน บ้านหว้า ๕,๒๖๒ ๕,๒๕๓ ๑๐,๕๑๕ ๒,๘๖๙ บึงเนียม ๓,๕๙๗ ๓,๖๔๑ ๗,๒๓๘ ๑,๘๒๒ พระลับ ๑๐,๐๑๓ ๑๐,๔๕๖ ๒๐,๔๖๙ ๖,๕๓๐ เมืองเก่า ๑๑,๓๘๑ ๑๒,๔๙๐ ๒๓,๘๗๑ ๑๐,๑๒๖ ศิลา ๒๒,๐๒๗ ๒๑,๑๖๐ ๔๓,๑๘๗ ๑๗,๓๑๓ สาวะถี ๘,๗๘๗ ๘,๙๓๐ ๑๗,๗๑๗ ๔,๓๖๑ สาราญ ๔,๗๑๒ ๔,๖๘๕ ๙,๓๙๗ ๒,๕๙๗ หนองตูม ๓,๕๗๗ ๓,๗๕๘ ๗,๓๓๕ ๑,๘๑๒ รวม ๙๗๗,๗๒๗ ๙๙๔,๓๗๗ ๑,๙๗๒,๑๐๔ ๖๐๑,๔๐๑
ตารางที่ ๕ แสดงจ้านวนประชากร ๘๙ ชุมชนเทศบาลนครขอนแก่น เขต
๑
ที่
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘
๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐
ป พ.ศ.๒๕๕๓
ชื่อชุมชน
โนนชัย ๑ โนนชัย ๒ โนนชัย ๓ ดอนหญ้านาง ๑ ดอนหญ้านาง ๒ ดอนหญ้านาง ๓ หลังศูนย์ราชการ ๑ หลังศูนย์ราชการ ๒ เทพารักษ์ตอน ๑ เทพารักษ์ตอน ๒ เทพารักษ์ตอน ๓ เทพารักษ์ตอน ๔ เทพารักษ์ตอน ๕ คุ้มหนองคู พัฒนาเทพารักษ์ ศรีจันทร์ หนองแวงตราชู ๒ หนองแวงตราชู ๔ มิตรภาพ บขส.
จานวนหลังคา เรือน
จานวน ครอบครัว
จานวนประชากร
๑๗๔ ๒๗๖ ๑๖๐ ๔๐๐ ๔๓๘ ๒๕๕ ๖๑๓ ๑๒๐ ๑๙๐ ๑๑๐ ๑๑๖ ๑๐๖ ๑๒๙ ๕๖๐ ๙๐ ๑๕๘ ๒๙๐ ๘๔ ๑๙๓ ๑๕๐
๒๐๙ ๓๓๒ ๑๙๒ ๔๘๐ ๕๒๕ ๓๐๖ ๗๓๕ ๑๔๔ ๒๒๘ ๑๓๒ ๑๒๗ ๑๒๗ ๑๕๕ ๖๗๔ ๑๐๗ ๑๘๙ ๓๔๘ ๑๐๑ ๒๓๒ ๑๘๐
๖๙๖ ๑,๑๐๕ ๖๓๙ ๑,๖๐๐ ๑,๗๕๐ ๑,๐๒๐ ๒,๔๕๐ ๓๗๖ ๗๖๐ ๖๗๕ ๔๑๐ ๔๘๐ ๕๑๕ ๑,๔๗๑ ๓๕๘ ๖๓๐ ๑,๑๖๐ ๓๓๕ ๗๗๒ ๖๐๐
๘
ป พ.ศ.๒๕๕๓
เขต
ที่
ชื่อชุมชน
จานวนหลังคา เรือน
จานวน ครอบครัว
จานวน ประชากร
๒
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔
หนองใหญ่ ๑ หนองใหญ่ ๒ หนองใหญ่ ๓ หนองใหญ่ ๔ บะขาม ศรีจันทร์ประชาสร้างสรรค์ นาคะประเวศน์ คุ้มพระลับ ชัยณรงค์-สามัคคี ธารทิพย์ หน้าโรงพยาบาลขอนแก่น หลักเมือง บ้านเลขที่ ๓๗ (กรมทางหลวง) บ้านพัก ตารวจตระเวนชายแดน ทุ่งเศรษฐี ศิริมงคล หนองแวงตราชู ๒ หนองแวงตราชู ๔ มิตรภาพ บขส. โพธิบัลลังก์ทอง หัวสะพานสัมพันธ์ ชลประทาน เจ้าพ่อขุนภักดี
๓๕๗ ๓๓๖ ๒๕๘ ๑๐๙ ๓๙๐ ๓๕๐ ๓๐๐ ๕๑๓ ๒๖๙ ๒๖๙ ๕๑๒ ๑๓๓ ๕๖๖ ๘๖ ๒๗๐ ๔๓๕ ๒๙๐ ๘๔ ๑๙๓ ๑๕๐ ๓๐๘ ๖๒ ๒๘๙ ๑๔๑
๔๒๘ ๔๐๔ ๓๑๐ ๑๓๑ ๔๒๐ ๔๒๐ ๓๖๐ ๖๑๕ ๓๒๓ ๓๒๓ ๖๑๔ ๑๖๐ ๖๗๙ ๑๐๓ ๓๒๔ ๕๒๒ ๓๔๘ ๑๐๑ ๒๓๒ ๑๘๐ ๓๖๙ ๗๔ ๓๔๗ ๑๖๙
๑๐๗๒ ๑๓๔๕ ๑๐๓๓ ๔๓๕ ๑๗๐๕ ๑๗๐๕ ๑๐๒๕ ๒๐๕๐ ๑๐๗๕ ๑๐๗๕ ๑,๑๕๕ ๖๒๐ ๘๗๙ ๒๘๐ ๑,๗๐๐ ๑,๒๔๒ ๑,๑๖๐ ๓๓๕ ๗๗๒ ๖๐๐ ๑,๒๓๐ ๒๗๐ ๑,๑๕๕ ๕๖๔
ตารางที่ ๕ แสดงจ้านวนประชากร ๘๙ ชุมชนเทศบาลนครขอนแก่น ป พ.ศ.๒๕๕๓ เขต
ที่
๓
๑ ๒ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘
ชื่อชุมชน
ธนาคาร หนองแวงเมืองเก่า ๑ หนองแวงเมืองเก่า ๓ หนองแวงเมืองเก่า ๔ คุ้มวัดกลาง คุ้มวัดธาตุ หลังสนามกีฬา ๑
จานวนหลังคา เรือน
จานวน ครอบครัว
จานวน ประชากร
๑๓๐ ๔๗๐ ๒๐๓ ๑๘๔ ๒๖๐ ๒๙๕ ๕๗๕
๑๕๖ ๕๖๔ ๒๔๔ ๒๒๑ ๓๑๒ ๓๕๔ ๖๘๙
๓๙๐ ๑,๘๘๐ ๗๐๘ ๗๓๖ ๒,๑๕๐ ๑,๑๗๙ ๒,๒๙๘
๙
๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒
๔
๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๑ ๒ ๓ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖
หลังสนามกีฬา ๒ แก่นนคร โนนหนองวัด ๑ โนนหนองวัด ๒ โนนหนองวัด ๓ โนนหนองวัด ๔ หนองวัดพัฒนา คุ้มวุฒาราม โนนทัน ๑ โนนทัน ๒ โนนทัน ๓ โนนทัน ๔ โนนทัน ๕ โนนทัน ๖ โนนทัน ๗ โนนทัน ๘ โนนทัน ๙ การเคหะ เหล่านาดี ๑๒ พระนครศรีบริรักษ์ สามเหลี่ยม ๑ สามเหลี่ยม ๒ สามเหลี่ยม ๓ สามเหลี่ยม ๕ ศรีฐาน ๑ ศรีฐาน ๒ ศรีฐาน ๓ ศรีฐาน ๔ หนองแวงตราชู ๑ หนองแวงตราชู ๓ คุ้มวัดปาอดุลยาราม ไทยสมุทร เทคโนภาคฯ ตะวันใหม่ พิมานชลร่วมใจพัฒนา
๑๕๐ ๔๓๓ ๔๘๖ ๒๓๐ ๓๘๖ ๕๔๑ ๑๓๘ ๒๖๓ ๓๙๖ ๓๕๙ ๒๗๓ ๒๗๐ ๒๔๖ ๓๗๙
๑๙๙ ๕๑๙ ๕๘๔ ๒๗๖ ๔๖๓ ๖๕๐ ๑๖๖ ๓๑๕ ๔๑๑ ๔๓๑ ๓๒๗ ๓๒๔ ๒๙๖ ๔๕๔
๗๕๕ ๑,๗๓๐ ๑,๙๔๕ ๙๖๐ ๑,๑๖๕ ๒,๑๖๕ ๕๕๒ ๑,๐๕๐ ๑,๕๘๔ ๑๔๓๕ ๑,๐๙๐ ๑,๑๔๕ ๙๘๕ ๑,๕๑๔
๓๘๕ ๑๑๓ ๑๔๙ ๓๕๙ ๑๑๕ ๓๘๖ ๘๓๒ ๒๖๓ ๑๑๓๕ ๖๘๓ ๒๖๔ ๒๙๔ ๒๒๐ ๑๔๔ ๒๙๔ ๒๕๓ ๓๒๖ ๒๖๓ ๒๒๘ ๑๘๐ ๑๓๙
๔๖๒ ๑๓๕ ๑๗๘ ๔๓๐ ๑๓๘ ๔๖๓ ๙๙๘ ๓๑๕ ๑๓๖๒ ๘๑๙ ๓๑๗ ๓๕๓ ๒๖๔ ๑๗๒ ๓๕๓ ๓๐๓ ๓๙๒ ๓๑๕ ๒๗๓ ๒๑๖ ๑๖๗
๑,๔๐๐ ๔๕๐ ๕๙๒ ๑,๔๓๔ ๔๖๐ ๑,๕๔๒ ๓,๓๒๘ ๑,๐๕๐ ๔๕๔๐ ๒๗๓๐ ๑๐๕๕ ๑๑๗๕ ๘๗๙ ๕๗๔ ๑๑๗๕ ๑๐๑๐ ๑๓๐๕ ๑๐๕๐ ๙๑๐ ๗๒๐ ๓๙๔
ข้อมูลจาก : กองสวัสดิการสังคม เทศบาลนครขอนแก่น เดือน เมษายน ๒๕๕๓
๑๐
วิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจอ้าเภอเมืองขอนแก่น - แหล่งผลิตอาหารการเกษตร พืชผักผลไม้และไม้ดอกไม้ประดับ จาหน่ายภายในจังหวัด ขอนแก่น และจังหวัดใกล้เคียง โรงงานอุตสาหกรรม - ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพการเกษตรและรับจ้างตามโรงงานภายในอาเภอเมืองขอนแก่น - มีสนามบินขอนแก่น และเส้นทางการคมนาคมสะดวกเชื่อมตะวันออก ตะวันตก เหนือ ใต้ - ศูนย์กลางการขนส่งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - อุตสาหกรรมการบริการจานวนมาก เช่น ศูนย์กลางการแพทย์ในระดับภูมิภาค โรงแรมที่ ทันสมัย ข้อมูลด้านสังคม สภาพทางสังคมวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของประชาชนมีความหลากหลาย เนื่องจากเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ทาให้มีประชากรจานวนมาก และประกอบด้วยหลายชาติพันธุ์เป็น ลักษณะวิถีชีวิตชาวอีสานโดยทั่วไปที่ผูกพันกับธรรมชาติเป็นหลักโดยเฉพาะการนาเอาทรัพยากร ธรรมชาติในท้องถิ่นมาใช้ในชีวิตประจาวันด้วยภูมิปัญญาชาวบ้านแต่ก็อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่มีอุปนิสัยเอื้ออาทรมีความขยันซื่อสัตย์ มีความรักถิ่น บ้านเกิดวิถีความ เป็นอยู่แบบเกื้อกูลซึ่งกันและกันการตั้งถิ่นฐานของประชาชนในเขตพื้นที่จะมีลักษณะรวมกันเป็นกลุ่ม ญาติพี่น้องมีความรักเคารพในระดับอาวุโสมีประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ดีงามสืบทอดกันยาวนาน จนถึงปัจจุบัน วิเคราะห์ข้อมูลทางด้านสังคมอ้าเภอเมืองขอนแก่น - อาเภอเมืองขอนแก่นมีสถาบันการศึกษาชั้นนาจานวนมากอาทิเช่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วิทยาเขต ขอนแก่น มหาวิทยาลัย มหามกุฎ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วิทยาลัยบริหารธุรกิจ วิทยาลัย บัณฑิตเอเชีย วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น วิทยาลัยเทคนิคขอนแก่น โรงเรียนมัธยมชื่อดังมากมายฯลฯ - การไหลบ่า/การซึมซับวัฒนธรรมต่างประเทศในการดาเนินชีวิตเช่การแต่ น งกายการบริโภคการ ติดเกม - เกิดการเปลี่ยนแปลงของสถาบันครอบครัว จากครอบครัวขยายกลายเป็นครอบครัวเดี่ยว การวิเคราะห์ข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - แหล่งท่องเที่ยวยังไม่ได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพ - ปัญหาการจราจรคับคั่ง เนื่องจากจานวนรถบนท้องถนนขยายตัวเพิ่มมากขึ้นกว่าการ เพิ่มขึ้นของผิวการจราจร - ปัญหาขยะมีจานวนมาก แต่การบริหารจัดการขยะยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ - ปริมาณมลพิษและฝุนละอองในอากาศมีจานวนมาก เนื่องจากรถยนต์ในท้องถนนมีมาก รถติด และมีการปรับปรุงผิวการจราจร - การใช้สารเคมีในการทาการเกษตร ทาให้มีการตกค้างในดิน น้า และผลผลิต - โรงงานอุตสาหกรรมปล่อยควันพิษ ฝุนละออง สารเคมี และของเสียลงแหล่งน้าธรรมชาติ
๑๑
ท้าเนียบผู้บริหาร ลาดับที่ ชื่อ – สกุล ตาแหน่ง ๑ นางรัชนีกร ไทยวิรัช ผู้อานวยการ ๒ จ.ส.อ.สุรพร สุทธิประภา ผู้อานวยการ ๓ นายดิษฐพงษ์ กัลยาลักษณ์ ผู้อานวยการ ๔ นายบุญส่ง ทองเชื่อม ผู้อานวยการ งบประมาณ เงินงบประมาณ จานวน ๑๒,๗๔๔,๐๗๕ บาท เงินนอกงบประมาณ จานวน ๓๐,๐๐๐ บาท จ้านวนผู้เรียน ผู้รับบริการ และจ้านวนผู้สอน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ระยะเวลาที่ดารงตาแหน่ง พ.ศ. ๒๕๓๗-๒๕๔๖ พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๕๒ พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๓ พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๖๒
จ้านวนผู้เรียน
- ผู้ไม่รู้หนังสือ -ประถมศึกษา -มัธยมศึกษาตอนต้น -มัธยมศึกษาตอนปลาย -ปวช. -การศึกษาเทียบระดับ (ไต่ระดับ)
หมายเหตุ
๔๕๙ ๒,๓๑๕ ๒,๙๗๖ ๓๘๑ -
รายละเอียดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน จ้านวน จ้านวน จ้านวน ที่ ชื่อหลักสูตร ผู้เรียน ผูจ้ บ ชัว่ โมง ๑ วิชาชีพช่างตัดผมชาย ๔๖ ๔๖ ๑๕๐ ๒
วิชาชีพช่างตัดผมชาย
๔๐
๓๘
๑๕๐
๓
วิชาชีพช่างตัดผมชาย
๔๐
๓๔
๑๕๐
๔
วิชาชีพช่างตัดผมชาย
๘๘
๖๖
๑๕๐
๕
วิชาชีพดัดผม - เสริมสวย
๓๐
๒๘
๑๕๐
๖
วิชาชีพดัดผม - เสริมสวย
๒๖
๒๕
๑๕๐
๗
วิชาชีพการนวดแผนไทย
๓๐
๒๒
๑๕๐
๘
วิชาชีพการนวดแผนไทย
๒๘
๑๙
๑๕๐
สถานที่จัด กิจกรรม กศน.ตาบลใน เมือง กศน.ตาบลใน เมือง กศน.ตาบลใน เมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบลใน เมือง กศน.ตาบลใน เมือง กศน.ตาบลใน เมือง กศน.ตาบลใน เมือง
กลุ่มอาชีพ พาณิชยกรรม และบริการ พาณิชยกรรม และบริการ พาณิชยกรรม และบริการ พาณิชยกรรม และบริการ พาณิชยกรรม และบริการ พาณิชยกรรม และบริการ พาณิชยกรรม และบริการ พาณิชยกรรม และบริการ
๑๒
รายละเอียดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน(ต่อ) ที่ ๙
จ้านวน จ้านวน จ้านวน ชื่อหลักสูตร ผู้เรียน ผูจ้ บ ชัว่ โมง วิชาชีพการนวดแผนไทย ๒๘ ๒๘ ๑๕๐
๑๐ วิชาชีพการนวดแผนไทย
๒๕
๒๓
๑๕๐
๑๑
วิชาชีพการนวดฝาเท้า
๓๐
๒๒
๕๐
๑๒
วิชาชีพการนวดฝาเท้า
๒๗
๒๗
๕๐
๑๓
วิชาชีพการนวดฝาเท้า
๒๔
๒๔
๕๐
๑๔
วิชาชีพการนวดฝาเท้า
๒๔
๒๑
๕๐
๑๕ วิชาชีพช่างตัดเย็บเสื้อผ้า
๒๖
๒๖
๑๕๐
๑๖ วิชาชีพช่างตัดเย็บเสื้อผ้า
๒๖
๒๖
๑๕๐
๑๗ วิชาชีพช่างตัดเย็บเสื้อผ้า
๓๒
๓๐
๑๕๐
๑๘ วิชาชีพช่างตัดเย็บเสื้อผ้า
๒๒
๒๒
๑๕๐
๑๙ วิชาชีพช่างตัดเย็บเสื้อผ้า
๒๕
๒๒
๑๕๐
๒๐
วิชาชีพการทาขนม
๑๖
๑๖
๕๐
๒๑
วิชาชีพการทาขนม
๑๙
๑๙
๕๐
๒๒
วิชาชีพการทาขนม
๑๙
๑๙
๕๐
สถานที่จัด กิจกรรม กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง
กลุ่มอาชีพ พาณิชยกรรม และบริการ พาณิชยกรรม และบริการ พาณิชยกรรม และบริการ พาณิชยกรรม และบริการ พาณิชยกรรม และบริการ พาณิชยกรรม และบริการ ด้านความคิด สร้างสรรค์ ด้านความคิด สร้างสรรค์ ด้านความคิด สร้างสรรค์ ด้านความคิด สร้างสรรค์ ด้านความคิด สร้างสรรค์ พาณิชยกรรม และบริการ พาณิชยกรรม และบริการ พาณิชยกรรม และบริการ
๑๓
รายละเอียดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน(ต่อ) ที่
ชื่อหลักสูตร
๒๓ วิชาชีพการทาขนม
จานวน จานวน จานวน ผู้เรียน ผูจ้ บ ชัว่ โมง ๑๖ ๑๖ ๕๐
๒๔ วิชาชีพการทาขนม
๑๖
๑๖
๕๐
๒๕ วิชาชีพการทาขนม
๑๔
๑๔
๕๐
๒๖ วิชาชีพการทาขนม
๑๘
๑๘
๕๐
๒๗ วิชาชีพการทาขนม
๑๗
๑๗
๕๐
๒๘ วิชาชีพการทาขนม
๑๘
๑๘
๕๐
๒๙ ช่างเชื่อมไฟฟูา
๒๐
๒๐
๕๐
๓๐ การเพาะเห็ดนางฟูา
๒๐
๒๐
๕๐
๓๑ การทาขนม
๒๐
๒๐
๒๐
๓๒ การแปรรูปอาหาร
๒๐
๒๐
๒๐
๓๓ การทาขนมไทย
๒๐
๒๐
๒๐
๓๔ การแปรรูปอาหาร
๒๐
๒๐
๒๐
๓๕ การทาน้ายาล้างจานจาก มะนาว ๓๖ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จาก กล้วย ๓๗ การทาดอกไม้จันทน์
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๓๘ การทาดอกไม้จันทน์
๒๐
๒๐
๒๐
สถานที่จัด กิจกรรม กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล ในเมือง
กลุ่มอาชีพ พาณิชยกรรม และบริการ พาณิชยกรรม และบริการ พาณิชยกรรม และบริการ พาณิชยกรรม และบริการ พาณิชยกรรม และบริการ พาณิชยกรรม และบริการ ด้านเฉพาะทาง ด้านเกษตรกรรม พาณิชยกรรม และบริการ ด้านอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และบริการ ด้านอุตสาหกรรม ด้านอุตสาหกรรม ด้านอุตสาหกรรม ด้านความคิด สร้างสรรค์ ด้านความคิด สร้างสรรค์
๑๔
รายละเอียดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน(ต่อ) จานวน จานวน จานวน ผู้เรียน ผูจ้ บ ชัว่ โมง ๒๐ ๒๐ ๒๐
ที่
ชื่อหลักสูตร
๓๙
การทาดอกไม้จันทน์
๔๐
ช่างเชื่อมไฟฟูา
๒๐
๒๐
๕๐
๔๑
การทาขนม
๓๐
๓๐
๒๐
๔๒
การทาดอกไม้จันทน์
๒๐
๒๐
๒๐
๔๓
๒๐
๒๐
๕๐
๔๔
การปลูกมะนาวในบ่อ ซีเมนต์ การทาขนมไทย
๓๐
๓๐
๕๐
๔๕
การทาดอกไม้จันทน์
๒๐
๒๐
๒๐
๔๖
การทาชาใบหม่อนตาม แนวเศรษฐกิจพอเพียง การออกแบบสติกเกอร์ และบรรจุภัณฑ์ การทาดอกไม้จันทน์
๒๐
๒๐
๕๐
๓๐
๓๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
เกษตรทฤษฎีใหม่ (การ ปลูกดาวเรือง) การจักสานไม้ไผ่
๓๐
๓๐
๒๐
๕๑
การทาดอกไม้จันทน์
๒๐
๒๐
๒๐
๕๒ การปลูกผักปลอดสารพิษ
๒๐
๒๐
๕๐
๕๓
การทาขนมไทย
๓๐
๓๐
๒๐
๕๔
การทาดอกไม้จันทน์
๒๐
๒๐
๒๐
๔๗ ๔๘ ๔๙
สถานที่จัด กิจกรรม กศน.ตาบล ในเมือง กศน.ตาบล สาราญ กศน.ตาบล สาราญ กศน.ตาบล สาราญ กศน.ตาบล โคกสี กศน.ตาบล โคกสี กศน.ตาบล โคกสี กศน.ตาบล ท่าพระ กศน.ตาบล ท่าพระ กศน.ตาบล ท่าพระ กศน.ตาบลบ้าน ทุ่ม กศน. ตาบล บ้านทุ่ม กศน. ตาบล บ้านทุ่ม กศน.ตาบล เมืองเก่า กศน. ตาบล เมืองเก่า กศน. ตาบล เมืองเก่า
กลุ่มอาชีพ ด้านความคิด สร้างสรรค์ ด้านเฉพาะทาง พาณิชยกรรม และบริการ ด้านความคิด สร้างสรรค์ ด้านเกษตรกรรม พาณิชยกรรม และบริการ ด้านความคิด สร้างสรรค์ ด้านเกษตรกรรม ด้านความคิด สร้างสรรค์ ด้านความคิด สร้างสรรค์ ด้านเกษตรกรรม ด้านเฉพาะทาง ด้านความคิด สร้างสรรค์ ด้านเกษตรกรรม พาณิชยกรรม และบริการ ด้านความคิด สร้างสรรค์
๑๕
รายละเอียดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน(ต่อ) ที่
ชื่อหลักสูตร
๕๕ ๕๖
การปลูกผักเกษตรแบบ อินทรีย์ การทาขนมไทย
๕๗ ๕๘
จานวน จานวน จานวน ผู้เรียน ผูจ้ บ ชัว่ โมง ๒๐ ๒๐ ๕๐ ๓๐
๓๐
๒๐
การทาดอกไม้จันทน์
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๕๙
การปลูกมะนาวในบ่อ ซีเมนต์ การทาขนมไทย
๓๐
๓๐
๒๐
๖๐
การทาดอกไม้จันทน์
๒๐
๒๐
๒๐
๖๑
การทาขนมไทย
๒๐
๕๐
๕๐
๖๒
การทาขนมไทย
๓๐
๓๐
๒๐
๖๓
การทาดอกไม้จันทน์
๒๐
๒๐
๒๐
๖๔
ข้าวกล้องอินทรีย์
๒๐
๕๐
๕๐
๖๕
จักสานไม้ไผ่
๓๐
๓๐
๒๐
๖๖
การทาดอกไม้จันทน์
๒๐
๒๐
๒๐
๖๗
๒๐
๕๐
๕๐
๖๘
การปลูกมะนาวในบ่อ ซีเมนต์ระบบหยดน้า อาหารขนม
๓๐
๓๐
๒๐
๖๙
การทาดอกไม้จันทน์
๒๐
๒๐
๒๐
สถานที่จัด กิจกรรม กศน. ตาบล พระลับ กศน. ตาบล พระลับ กศน. ตาบล พระลับ กศน.ตาบล สาวะถี กศน.ตาบล สาวะถี กศน.ตาบล สาวะถี กศน.ตาบล บ้านหว้า กศน.ตาบล บ้านหว้า กศน.ตาบล บ้านหว้า กศน.ตาบล บ้านค้อ กศน.ตาบล บ้านค้อ กศน.ตาบล บ้านค้อ กศน.ตาบล แดงใหญ่ กศน.ตาบล แดงใหญ่ กศน.ตาบล แดงใหญ่
กลุ่มอาชีพ ด้านเกษตรกรรม พาณิชยกรรม และบริการ ด้านความคิด สร้างสรรค์ ด้านเกษตรกรรม พาณิชยกรรม และบริการ ด้านความคิด สร้างสรรค์ พาณิชยกรรม และบริการ พาณิชยกรรม และบริการ ด้านความคิด สร้างสรรค์ ด้านเกษตรกรรม ด้านเฉพาะทาง ด้านความคิด สร้างสรรค์ ด้านเกษตรกรรม พาณิชยกรรม และบริการ ด้านความคิด สร้างสรรค์
๑๖
รายละเอียดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน(ต่อ) ที่
ชื่อหลักสูตร
๗๐
๗๒
การปลูกกล้วยน้าว้า การปลูกผักอินทรีย์ การปลูกกล้วยน้าว้า การปลูกผักอินทรีย์ การทาน้ายาล้างจาน
๗๓ ๗๔
๗๑
จานวน จานวน จานวน ผู้เรียน ผูจ้ บ ชัว่ โมง ๒๐ ๕๐ ๕๐ ๓๐
๓๐
๒๐
๓๐
๓๐
๒๐
การทาดอกไม้จันทน์
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๗๕
การทากระเป๋าจาก ผ้าขาวม้า การทาวุ้นแฟนซี
๓๐
๓๐
๒๐
๗๖
การทาดอกไม้จันทน์
๒๐
๒๐
๒๐
๗๗ การทาเฟอนิเจอร์จากไม้ พาเลท ๗๘ การทาขนมไทย
๒๐
๕๐
๕๐
๓๐
๓๐
๒๐
๗๙
การทาดอกไม้จันทน์
๒๐
๒๐
๒๐
๘๐
๒๐
๕๐
๕๐
๘๑
การผลิตดอกไม้จากเศษ ผ้าไหมและผ้าใยบัว การทาแซนวิซ
๓๐
๓๐
๒๐
๘๒
การทาดอกไม้จันทน์
๒๐
๒๐
๒๐
๘๓ การปลูกกล้วยน้าว้าและ การแปรรูปกล้วย ๘๔ การเพาะเห็ด
๒๐
๕๐
๕๐
๓๐
๓๐
๒๐
๘๕
๒๐
๒๐
๒๐
การทาดอกไม้จันทน์
สถานที่จัด กลุ่มอาชีพ กิจกรรม กศน.ตาบล ด้านเกษตรกรรม ดอนช้าง กศน.ตาบล ด้านเกษตรกรรม ดอนช้าง กศน.ตาบล ด้านอุตสาหกรรม ดอนช้าง กศน.ตาบล ด้านความคิด ดอนช้าง สร้างสรรค์ กศน.ตาบล ด้านความคิด ดอนหัน สร้างสรรค์ กศน.ตาบล พาณิชยกรรม ดอนหัน และบริการ กศน.ตาบล ด้านความคิด ดอนหัน สร้างสรรค์ กศน.ตาบลศิลา ด้านความคิด สร้างสรรค์ กศน.ตาบลศิลา พาณิชยกรรม และบริการ กศน.ตาบลศิลา ด้านความคิด สร้างสรรค์ กศน.ตาบลบ้าน ด้านความคิด เป็ด สร้างสรรค์ กศน. ตาบล พาณิชยกรรม บ้านเป็ด และบริการ กศน.ตาบลบ้าน ด้านความคิด เป็ด สร้างสรรค์ กศน.ตาบล ด้านเกษตรกรรม หนองตูม กศน.ตาบล ด้านเกษตรกรรม หนองตูม กศน.ตาบล ด้านความคิด หนองตูม สร้างสรรค์
๑๗
รายละเอียดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน(ต่อ) จานวน จานวน จานวน ที่ ชื่อหลักสูตร ผู้เรียน ผูจ้ บ ชัว่ โมง ๘๖ การปลูกผักปลอดสารพิษ ๒๐ ๕๐ ๕๐ ๘๗
การทาขนมไทย
๓๐
๓๐
๒๐
๘๘
การทาดอกไม้จันทน์
๒๐
๒๐
๒๐
๘๙ การทาชาสมุนไพรแปรรูป
๒๐
๕๐
๕๐
๙๐
การทาขนมหวาน
๓๐
๓๐
๒๐
๙๑
การทาดอกไม้จันทน์
๒๐
๒๐
๒๐
จานวนบุคลากร ลาดับที่ ตาแหน่ง ผู้อานวยการ ๑ ข้าราชการ ๒ ครูอาสาสมัครฯ ๓ ครู กศน.ตาบล ๔ ครูศูนย์การเรียนชุมชน ๕ ครู ปวช. ๖ วิทยากรวิชาชีพ ๗ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล ๙ ๑๐ บรรณารักษ์อัตราจ้าง ๑๑ ลูกจ้างชั่วคราว(เจ้าหน้าที่ทาความ ๑๒ สะอาด) ครูประจากลุ่มเป้าหมายพิเศษ ๑๓ (ครูสอนเด็กเร่ร่อน) ครูประจากลุ่มเป้าหมายพิเศษ ๑๔ ครูสอนคนพิการ) ๑๕ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ครูประจากลุ่ม รวมบุคลากร
สถานที่จัด กิจกรรม กศน.ตาบล บึงเนียม กศน.ตาบล บึงเนียม กศน.ตาบล บึงเนียม กศน.ตาบล โนนท่อน กศน.ตาบล โนนท่อน กศน.ตาบล โนนท่อน
กลุ่มอาชีพ ด้านเกษตรกรรม พาณิชยกรรม และบริการ ด้านความคิด สร้างสรรค์ ด้านอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และบริการ ด้านความคิด สร้างสรรค์
วุฒิปริญญาตรี ๔ ๗ ๒๙ ๒๒ ๑๓ ๓ ๕
วุฒิปริญญาโท ๑ ๑ ๑ ๑๐ ๒ -
อื่น ๆ รวม ๑ ๕ ๘ ๓๙ ๒๒ ๑๕ ๔ ๔ ๑ ๑ ๓ ๓ ๓ ๕
๕
-
-
๕
๓๐
-
๑ -
๑ ๓๐
๑๑๘
๑๕
๙
๑๔๒
๑๘
แหล่งเรียนรู้และภาคีเครือข่าย ที่ ชื่อตาบล ๑ สาราญ ๒ โคกสี ๓ ท่าพระ ๔ บ้านทุ่ม ๕ เมืองเก่า ๖ พระลับ ๗ สาวะถี ๘ บ้านหว้า ๙ บ้านค้อ ๑๐ แดงใหญ่ ๑๑ ดอนช้าง ๑๒ ดอนหัน ๑๓ ศิลา ๑๔ บ้านเป็ด ๑๕ หนองตูม ๑๖ บึงเนียม ๑๗ โนนท่อน ๑๘ ในเมือง
จานวนหมู่บ้าน ๑๓หมู่บ้าน ๑๔หมู่บ้าน ๒๐หมู่บ้าน ๑๘หมู่บ้าน ๑๗หมู่บ้าน ๑๙หมู่บ้าน ๒๓หมู่บ้าน ๑๓หมู่บ้าน ๑๙หมู่บ้าน ๑๑หมู่บ้าน ๘ หมู่บ้าน ๑๕หมู่บ้าน ๒๘หมู่บ้าน ๒๓หมู่บ้าน ๑๑หมู่บ้าน ๑๒หมู่บ้าน ๑๐หมู่บ้าน ๘๙ ชุมชน
ทาเนียบครู กศน.ตาบล / ครู ศูนย์การเรียนชุมชน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ที่ ชื่อ - สกุล ตาแหน่ง ๑ นางสาวประพาฬ ดิษฐเจริญ ครู กศน.ตาบล/ศรช.ชุมชน สามเหลี่ยม ๒ นางปรวรรณ คูณอาษา ครู กศน.ตาบล/ศรช.ชุมชนหนอง แวงตราชู ๓ นางสาวนงลักษณ์ นอรินยา หัวหน้า กศน.ตาบลในเมือง ครู กศน.ตาบล/ศรช.ชุมชนหนองใหญ่ ๔ นางวิลาวัลย์ ราชสุวอ ๕ นายวรรธน สุระเสียง ครู กศน.ตาบล/ศรช.ชุมชน เทพารักษ์ ๖ นางสาวชฎารัตน์ ประจันตะเสน ครู กศน.ตาบล/ศรช.ชุมชนศรีฐาน ๗ นางศศิธร บุญจวง ครู กศน.ตาบล/ศรช.ชุมชนดอน หญ้านาง/โนนชัย ๘ นางสาวชัชญาภา สารผล ครู กศน.ตาบล/ศรช.บ้านโนนม่วง
หมายเหตุ
วุฒิการศึกษา คบ.วิทยาศาสตร์ทั่วไป คบ.จิตวิทยการแนะแนว คบ.เทคโนโลยีฯ คบ.ภาษาอังกฤษ คบ.ประถมศึกษา ศศบ.การจัดการทั่วไป ศศบ.รัฐประศาสนศาสตร์ ศษ.ม.เทคโนโลยี การศึกษา
๑๙
ที่ ๙
ชื่อ - สกุล นางจิตฤดี อาจมูนตรี
๑๐ นางทิศกมลพร โพธิ์วิชัย ๑๑ นางอภิญญา วงศ์การดี ๑๒ นางสาวคันธิภา สานักบ้านโคก ๑๓ นางลักษณาพร ลาสอน ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔
นายสมบัติ สมภาร นางปริยา เรียนเลิศอนันต์ นางบานเย็น ชรากาหมุด นายกาญจนพันธ์ ลาสอน นางวิราศิณี สุทธมา นางสุกัญญา คาภู นางมลิวัลย์ อยู่สุข นางสาวพัณณ์ชิตา สนิทชน นางสาวกาญจนาพร ภักดีวุธ นางสมจิตร ชาสังข์ นายอิสสระ แปลมูลตรี
๒๕ นายอนันต์เดช สมอุ่มจารย์ ๒๖ นางสาวพรไพฑูรย์ ไสยบูรณ์ ๒๗ นางสาวไพรระหง บัวตูม ๒๘ นางสาวณัฐธยาท์ ศรีทองธรสิริ ๒๙ นางสาวศุภรดา พันธุ์แดง ๓๐ นายเทิดพงศ์ อรัญรุด ๓๑ นางศิริวัฒน์ ไกรราช ๓๒ นายธีระ โคตะมี ๓๓ นายเฉลิมชัย แน่นอุดร
ตาแหน่ง วุฒิการศึกษา ครู กศน.ตาบล/ศรช.ชุมชนบ้านตูม/ บธ.บ.คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วัดธาตุ ครู กศน.ตาบล/ศรช.ชุมชนบ้าน บธ.บ. การบัญชี หนองโจด หัวหน้า กศน.ตาบลพระลับ ศศ.ม.การบริหาร การศึกษา หัวหน้า กศน.ตาบลโคกสี ศศ.บ.เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ หัวหน้า กศน.ตาบลดอนหัน คบ.เทคโนโลยีและ นวัตกรรมทางการศึกษา หัวหน้า กศน.ตาบลบ้านค้อ อศ.บ.วิศวกรรมศาสตร์ หัวหน้า กศน.ตาบลบ้านเป็ด ศศ.บ.คหกรรมศาสตร์ หัวหน้า กศน.ตาบลท่าพระ คบ.การประถมศึกษา หัวหน้า กศน.ตาบลแดงใหญ่ คบ.สังคมศึกษา หัวหน้า กศน.ตาบลบ้านหว้า คบ.สังคมศึกษา หัวหน้า กศน.ตาบลเมืองเก่า ศศ.บ.สังคมศึกษา หัวหน้า กศน.ตาบลบ้านทุ่ม คบ.การประถมศึกษา หัวหน้า กศน.ตาบลสาวะถี คบ.ภาษาอังกฤษ หัวหน้า กศน.ตาบลหนองตูม บธ.บ.คอมพิวเตอร์ธุรกิจ หัวหน้า กศน.ตาบลบึงเนียม คบ.การประถมศึกษา หัวหน้า กศน.ตาบลดอนช้าง วท.บ.วิทยาศาสตร์ สุขภาพ หัวหน้า กศน.ตาบลศิลา วท.บ.วิทยาศาสตร์ สุขภาพ หัวหน้า กศน.ตาบลสาราญ คบ.ภาษาไทย หัวหน้า กศน.ตาบลโนนท่อน ศศ.บ.สารสนเทศศาสตร์ ครู กศน.ตาบล/ บธ.บ.การจัดการทั่วไป บ้านหนองบัวดีหมี ครู กศน.ตาบล/ ศศ.บ.สังคมสงเคราะห์ ศรช.ชุมชนธารทิพย์ ครู กศน.ตาบล/ ศศ.บ.การท่องเที่ยวและ ศรช. บ้านโคกสี โรงแรม ครู กศน.ตาบล/ รปบ.รัฐประศาสนศาสตร์ ศรช.โนนหนองวัด ครูกศน.ตาบล/ บธ.บ.การจัดการทั่วไป ศรช.บ้านเหล่านาดี ครู กศน.ตาบล/ศรช. บ้านม่วง ศศ.บ.ดนตรี
๒๐
ที่ ชื่อ - สกุล ๓๔ นางสาวิตรี ชัยวงษ์ ๓๕ นายรัฐกิจ จันทะวิชัย ๓๖ นางสาวเยาวลักษณ์ ยืนชีวิต ๓๗ นางสาวญาดาภัทร ศรีเชียงราช
ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล/ศรช.บ้านโนนเขวา ครู กศน.ตาบล/ศรช.ชุมชน หนองเบ็ญ ครู กศน.ตาบล/ศรช.บ้านวังตอ ครู ศรช.ตาบลศิลา
๓๘ นางสาวมุลี พงษ์สระพัง ๓๙ นางสาวปวีณา พรมโสภา ๔๐ นางสาวศิรินันท์ โนนทิง
ครู ศรช..บ้านหนองแวง ครู ศรช.โนนทัน ๗ ครู ศรช.คุ้มหนองคู
๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖
ครู ศรช.ตาบลแดงใหญ่ ครู ศรช.หนองแวงตาชู ครู ศรช.การเคหะขอนแก่น ครู ศรช.นาคะประเวศน์ ครู ศรช.ดอนหญ้านาง ครู ศรช.โนนหนองวัด
นายสนธยา พานโน นางสาวรัชนีกร โปร่งจิตร นายเกียรติภูมิ ภูมิการีย์ นางสาวเมษา อุ่นผาง นางภณิดา ศรีษะโคตร นางสาวปฏิญญา มูลศรี
๔๗ นางสาวตติยาภรณ์ โพธิราช ๔๘ นางสาวพิรารัตน์ นุชรอด
ครู ศรช.บ้านบึงฉิม ครู ศรช.ตาบลหนองหญ้าแพรก
๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔
ครู ศรช.บ้านหนองแสง ครู ศรช.บ้านแดงน้อย ครู ศรช.บ้านห้วยชัน ครู ศรช.บ้านคาไฮหัวทุ่ง ครู ศรช.บ้านเหล่านาดี ครู ศรช.บ้านหนองบัวน้อย
นางสาวปราณปรียา พัฒนธารงกุล นายนัฐพงษ์ สุวรรณวงศ์ นางสาวสินีนาฎ มั่งคง นายกฤษฎา อ่อนฉวี นางสาวสุภัทรา บุญดี นายวรวัฒน์ พงศ์ศรี
วุฒิการศึกษา บธ.บ.การจัดการ วท.บ.เทคโนโลยี อุตสาหกรรม คบ.เกษตรกรรม บธ.บ การบริหารธุรกิจ (การบัญชี) คบ.วิทยาศาสตร์ทั่วไป ค.บ. คณิตศาสตร์ กศ.บ. เทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษา กษ.บ ส่งเสริมการเกษตร ศษ.บ. คณิตศาสตร์ศึกษา นบ. นิติศาสตร์ บธ.บ. การตลาด วท.บ. เคมี ศบ.บ การท่องเที่ยวและ การโรงแรม วท.บ สาธารณสุขศาสตร์ วท.บ คณิตศาสตร์ ประยุกต์ บธ.บ.การจัดการ ศษ.บ. พลศึกษา บธ.บ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ค.บ. ภาษาไทย บธ.บ.การจัดการ ค.บ.คณิตศาสตร์
๒๑
ท้าเนียบครูประจ้ากลุ่มหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ้าเภอเมืองขอนแก่น ที่ ชื่อ - สกุล วุฒิการศึกษา ๑ นางสาวเบญมาศ บุดดา บธบ.บริหารธุรกิจบัณฑิต ๒ นายอดิศร ล่ามแขก วท.บ.เทคโนโลยีการผลิตพืช ๓ นางศิรินาฎ จารย์โพธิ์ ศศ.บการจัดการทั่วไป ๔ นายสุรวุฒิ ชื่นปรีชา บธ.บ.บริหารธุรกิจบัณฑิต ๕ นายมัฆวาน พละกล้า วท.บ.การประมง ๖ นายเนติวุฒิ หอมพรหมมา ค.บ.คอมพิวเตอร์ศึกษา ๗ นางสาวสุภาวดี มาตรา วท.บ. คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ๘ นายวินัย รัตนบุรี รป.บ การปกครองท้องถิ่น
ตาแหน่ง ครู ปวช. คอมพิวเตอร์ ครู ปวช. เกษตร ครู ปวช. คอมพิวเตอร์ ครู ปวช. คอมพิวเตอร์ ครู ปวช. เกษตร ครู ปวช.คอมพิวเตอร์ ครู ปวช. คอมพิวเตอร์ ครู ปวช. เกษตร
ท้าเนียบครูประจ้ากลุ่มเป้าหมายพิเศษ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ้าเภอเมืองขอนแก่น ที่ ชื่อ – สกุล ๑ นายมานิต พงศ์จรัสมณี
วุฒิการศึกษา น.บ. นิตศาสตรบัณฑิต
๒ นางสาวสุพัตรา คนสรรค์
บธ.บ. การบัญชี
๓ นายสายัณห์ คุ้มโศก ๔ นางสาวเพียงใจ ไชยพิเดช ๕ นายอิสรา วีรภัทรสกุล ๖ นางสาวศศิธร พรมสอน
ตาแหน่ง ครูพัฒนาทักษะชีวิตเด็ก เร่ร่อน
ครูกลุ่มเปูาหมายพิเศษสอน คนพิการ ครูกลุ่มเปูาหมายพิเศษสอน วท.บ. เกษตรศาสตร์ คนพิการ ครูกลุ่มเปูาหมายพิเศษสอน บธ.บ. การจัดการทั่วไป คนพิการ บธ.บ.การโรงแรมและการท่องเที่ยว ครูกลุ่มเปูาหมายพิเศษสอน คนพิการ ครูกลุ่มเปูาหมายพิเศษสอน ศศ.บ.รัฐศาสตร์ คนพิการ
๗ นายชัชพงศ์ บรรหาร
น.บ.นิติศาสตร์บัณฑิต
ครูพัฒนาทักษะชีวิตเด็ก เร่ร่อน ครูพัฒนาทักษะชีวิตเด็ก เร่ร่อน ครูพัฒนาทักษะชีวิตเด็ก เร่ร่อน
๘ นางสาวสุจิตรา ทองสมบัติ
บทบ. การจัดการทั่วไป
๙ นางสาวทัดดาว คนไว
ร.บ. รัฐศาสตร์บัณฑิต
๑๐ นางสาววรรณพร สิงขร
รป.บ. รัฐประศาสนศาสตร์บัณฑิต
ครูกลุ่มเปูาหมายพิเศษสอน คนพิการ
๑๑ ว่าที่ ร.ต.หญิงเปรมจิต ศิริสาขา
รป.บ. รัฐประศาสนศาสตร์บัณฑิต
๑๒ นางสาวอาจารีย์ อุทัพรม
ค.บ.ครุศาสตร์บัณฑิต
ครูพัฒนาทักษะชีวิตเด็ก เร่ร่อน ครูพัฒนาทักษะชีวิตเด็ก เร่ร่อน
๒๒
ท้าเนียบลูกจ้างประจ้าและลูกจ้างชั่วคราว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ้าเภอเมืองขอนแก่น ที่ ชื่อ – สกุล วุฒิการศึกษา ตาแหน่ง ๑ นางสาวภาวิณี ศรีอัมพร บธ.บ. บริหารธุรกิจบัณฑิต เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล ๒ นายนิกร สิงห์เพียง มัธยมศึกษาตอนปลาย เจ้าหน้าที่ทาความสะอาด ๓ นายพันธ์ศักดิ์ วงษ์เบาะ มัธยมศึกษาตอนปลาย เจ้าหน้าที่ทาความสะอาด ท้าเนียบบุคลากรห้องสมุด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ้าเภอเมืองขอนแก่น ที่ ชื่อ – สกุล วุฒิการศึกษา ตาแหน่ง ๑ นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย คบ. คุรุศาสตรบัณฑิต บรรณารักษ์ชานาญการ ๒ นางชลิดา อรัญรุด ศศ.บ. การท่องเที่ยวและ บรรณารักษ์อัตราจ้าง โรงแรม ๓ นางสาวรวีวรรณ เชิงชัยภูมิ ศศ.บ. สารสนเทศศาสตร์ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ๔ นางนฤมนต์ ต้นสีนนท์ ศศ.บ. การบัญชี บรรณารักษ์อัตราจ้าง ท้าเนียบวิทยากรวิชาชีพ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ้าเภอเมืองขอนแก่น ที่ ชื่อ - สกุล วุฒิการศึกษา ตาแหน่ง ๑ นายวรภัทร ข้อยุ่น ปวส. การตลาด วิทยากรวิชาชีพ ๒ น.ส.ปิยมน ชัยมาเริง ปวส. การตลาด วิทยากรวิชาชีพ ๓ นางเพ็ญจิตร จันทร์โสม มัธยมศึกษาตอนปลาย วิทยากรวิชาชีพ ๔ นางวรรณา จันทะวงศ์ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิทยากรวิชาชีพ
๒๓
โครงสร้างการบริหารงานของสถานศึกษา
หมายเหตุ ให้เสถานศึกษาสามารถ น้าเสนอข้อมูลโครงสร้างการ บริหารงานของสถานศึกษา ที่ตรงกับ ความเป็นจริง
หมายเหตุ ให้สถานศึกษาน้าเสนอข้อมูลโครงสร้างการบริหารงานของสถานศึกษา ที่ตรงกับสภาพความเป็นจริงของตนเอง
๒๔
จ้านวนผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรม /ผู้รับบริการ และจ้านวนครู/วิทยากร/ผู้จัดกิจกรรม (ปีปัจจุบัน) หลักสูตร/ประเภท การศึกษาขั้นพื้นฐาน - ระดับประถมศึกษา - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย -ประกาศนียบัตรวิชาชีพ รวมจ้านวน การศึกษาต่อเนื่อง การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ๑. วันเด็กแห่งชาติ ๒. โครงการเยาวชนรักไทยห่างไกล ยาเสพติด ๓. โครงการเยาวชนรักไทย เปิดโลก วิทยาศาสตร์ ต้านยาเสพติด ๔. กิจกรรมปฏิบัติธรรมถวายพระราช กุศลแด่รัชกาลที่ 10 ๕. โครงการเสริมสร้างความรักความ สามัคคี ๖. กิจกรรมทาวัตรเย็น ปฏิบัติธรรม ๗. กิจกรรมตรวจปัสสาวะตามโครงการ สถานศึกษาสีขาวปลอดสิ่งเสพติดและ อบายมุข ๘. โครงการรู้ทัน เข้าใจ อยู่อย่าง ปลอดภัยกับโรคเบาหวาน–ความดัน ๙. โครงการแข่งขันกีฬา ต้านยาเสพติด “กู่เก้วเกม” รวมจ้านวน
จ้านวนผู้เรียน (คน) ชาย หญิง
รวม
จ้านวนครู/ วิทยากร/ผู้จัด กิจกรรม (คน)
๒๒๒ ๒๓๗ ๑,๗๔๗ ๕๖๘ ๑,๙๔๒ ๑,๐๓๔ ๑๗๒ ๒๐๙ ๔,๐๘๓ ๒,๐๔๘
๔๕๙ ๒,๓๑๕ ๒๙๗๖ ๓๘๑ ๖,๑๓๑
8 40 4๔ ๘ 100
150 75
150 75
300 150
5 3
105
105
210
4
60
60
120
2
60
60
120
2
75 75
75 75
150 150
3 3
60
60
120
2
60
60
120
2
720
720
1,440
26
๒๕
หลักสูตร/ประเภท โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โครงการ 1 อาเภอ 1 อาชีพ โครงการ พัฒนาอาชีพ/กลุ่มสนใจ ๑. ชั้นเรียนวิชาชีพจานวน ๓๑ ชั่วโมงขึ้นไป 1.1 ช่างตัดผมชายวิชาชีพ 1.2 วิชาชีพช่างดัดผม - เสริมสวย 1.3 วิชาชีพนวดแผนไทยเพื่อสุขภาพ 1.4 วิชาชีพนวดฝุาเท้าเพื่อสุขภาพ 1.5 วิชาชีพช่างตัดเย็บเสื้อผ้า 1.6วิชาชีพการทาขนม 2. ชั้นเรียนวิชาชีพไม่เกิน 30 ชั่วโมง 2.1 การทาขนมไทย 2.2 การทาขนม 5 อย่าง แบบกล้วยๆ 2.3 การทาขนมไทย 2.4 การทาไม้กวาดทางมะพร้าว 2.5 การทาขนมไทย 2.6 การปั้นแปูงแฟนซี 2.7 การทาขนมไทย 2.8 การทาขนมนึ่ง 2.9 การทอพรมเช็ดเท้าจากเศษผ้า 2.10 การทาขนมไทย 2.11 การทาขนมไทย 2.12 ช่างไฟฟูาพื้นฐาน 2.13 การทาขนมไทย 2.14 อาชีพช่างไม้ 2.15 การทาขนมไทยเพื่อการค้าขาย 2.16 การทาขนมไทย 2.17 การทาไข่เค็ม 2.17 การทากล้วยทอดมันทอด โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2.18 การทาขนมไทย 2.18 การทาขนมไทย 2.19 การทาขนมไทย โครงการช่างพื้นฐาน รวมจ้านวน
จานวนผู้เรียน (คน) ชาย หญิง
รวม
จานวนครู/ วิทยากร/ผู้จัด กิจกรรม (คน)
70 750
70 750
140 1,500
1 1
98 60 66 66 60 154
72 5 4 7 3 4
170 65 70 73 63 158
1 1 1 1 1 1
2 1 3 5 2
4 1 1 17 2 19 2 2 3 4
18 19 17 15 18 20 20 20 16 19 19 3 18 1 18 18 17 16
20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20
1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
2 2 2 75 1,473
18 18 18 75 1,336
20 20 20 540 3,199
1 1 1 1 30
๒๖
หลักสูตร/ประเภท
จานวนผู้เรียน (คน) ชาย หญิง
การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 1. เปิดตลาดประชารัฐ ตลาด 306 วัฒนาธรรม 2. กิจกรรม Big Cleaning day 300 3. โครงการรณรงค์ชี้เปูา เฝูาระวัง 306 4. บริจาคโลหิตเนื่องในงาน 164 ปี สดุดีสมเด็จพระปิยมหาราช 306 โครงการเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงด้วยกระบวนการบัญชี 156 ครัวเรือน รวมจานวน 1,218 การศึกษาตามอัธยาศัย โครงการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ชุมชนใน ตาบล (จัดซื้อหนังสือพิมพ์/สื่อ) 9 โครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน 1.ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระ เกียรติฯจังหวัดขอนแก่น 16,230 2.บ้านหนังสือชุมชน 14,760 3.หน่วยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) 1,310 4.อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน 1,560 5.ห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาว 12,300 ตลาด รวมจานวน ๔๖,๑๖๙
รวม
จานวนครู/ วิทยากร/ผู้จัด กิจกรรม (คน)
309
615
18
300 306
600 612
18 18
306
612
18
156
18
1,221
312 2,439
90
9
18
5
16,570 14,760 1,310 1,560 12,300
32,800 29,520 2,621 3,120 24,600
5 5 5 5 5
๔๖,๕๐๙
๙๒,๖๗๙
30
๒๗
จานวนบุคลากร (ปปัจจุบัน) ประเภท/ตาแหน่ง ผู้อานวยการ ข้าราชการครู บรรณารักษ์ ครูอาสาสมัครฯ ครู กศน.ตาบล ครูศูนย์การเรียนชุมชน ครู ปวช. วิทยากรวิชาชีพ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล บรรณารักษ์อัตราจ้าง ลูกจ้างชั่วคราว(เจ้าหน้าที่ทาความ สะอาด) ครูประจากลุ่มเปูาหมายพิเศษ (ครูสอนเด็กเร่ร่อน) ครูประจากลุ่มเปูาหมายพิเศษ (ครูสอนคนพิการ) เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ครูประจากลุ่ม รวมจานวน
ต่ากว่า ป.ตรี ป.ตรี 1 1 1 7 27 ๑๗ 8
จานวน (คน) ป.โท ป.เอก อื่นๆ รวมจานวน 2 1 9 1 4
1 3 3
1 3 1 8 36 ๑๘ 8 4 1 3 3
5
5
5
5 1
30 106
13
8
1 30 127
งบประมาณ (ปปัจจุบัน) ประเภทงบประมาณ เงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ รวม
งบประมาณที่ได้รับ 25,602,600 41,400 25,644,000
งบประมาณที่ใช้ จานวน (บาท) คิดเป็นร้อยละ 25,602,600 100 41,4000 100 25,644,000 100
๒๘
แหล่งการเรียนรู้ในชุมชน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น มีแหล่งการเรียนรู้ในชุมชน จานวน 36 แห่ง ดังนี้ ที่ 1 2 3 4 5
6 7 8 9 10
11
แหล่งเรียนรู้ ศูนย์เรียนรู้ชุมชน บ้านหนองโข่ย
สถานที่ตั้ง
หมู่ 19 ตาบลท่าพระ อาเภอเมือง จังหวัด ขอนแก่น ศูนย์เรียนรู้กสิกรรม บ้านหัวยเตย หมู่ 22 ธรรมชาติไร่ราชธา ตาบลท่าพระ อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น แห่งเรียนรู้ฟาร์มเห็ด บ้านโนนเรือง หมู่ 6 ตาบล รพีพรรณ บ้านค้อ อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น แหล่งเรียนรู้ตามแนว บ้านหินลาด หมู่ 11 เศรษฐกิจพอเพียง ตาบลบ้านค้อ อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ที่ทาการผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านแดงใหญ่ ตาบลแดงใหญ่ อาเภอ เมืองขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น ศูนย์สาธิต หมู่ที่ 10 บ้านหนองหลุบ ตาบลแดงใหญ่ อาเภอ เมือง จังหวัดขอนแก่น สวนสลัดจันทร์ดาว บ้านท่อน หมู่ 8 ตาบล โนนท่อน อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น น้าสกัดเบญจรงค์ บ้านหนองคา หมู่ที่ 5 ตาบลโนนท่อน อาเภอ เมือง จังหวัดขอนแก่น สวนเศรษฐกิจ บ้านปุาสังข์ หมู่ที่ 3 พอเพียง ตาบลดอนช้าง อาเภอ เมือง จังหวัดขอนแก่น โบราณสถาน วัดกู่แก้ว บ้านหัวสระ หมู่ ที่ 6 ตาบลดอนช้าง อาเภอเมือง จังหวัด ขอนแก่น บ้านท่าแร่ 53 หมู่ที่ 10 บ้านท่าแร่ ตาบลดอนหัน อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
ผู้ดูแล
เบอร์ โทรศัพท์
นายสุภีร์ ดาหาร
0899752612
นางเจียรหัย ราชธา
0866322313
นางสาววิยะดา ศรีเสาร์
0896207499
นางบุญเพ็ง แก้วพิลา
0804129790
นายศราวุฒ อุ่นจันที
0844286491
นางพันฟี โชติอ่อน
0813201050
นายมนตรี ทะนารี
0817688587
นายบุญปลูก ศรีบุญโฮม
0813006792
นางสุณิษา ผางโคกสูง
0874288910
นายยุทธการนต์ ศรีโย
0868680037
หมาย เหตุ
๒๙
แหล่งการเรียนรู้ในชุมชน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น มีแหล่งการเรียนรู้ในชุมชน จานวน 36 แห่ง (ต่อ) ที่ 12 13
14
15 16 17 18
19 20 21 22
แหล่งเรียนรู้ บ้านโนนขวา
สถานที่ตั้ง
บ้านโนนขวา ตาบลดอน หัน อาเภอเมือง จังหวัด ขอนแก่น เทคโนโลยี 369 หมู่ที่ 4 บ้านโคก ฟันโปง ตาบลบ้านเป็ด อาเภอเมือง จังหวัด ขอนแก่น โรงเรียนบ้านเป็ด ห้องสมุดสิทธิประเสริฐสังข์ ท่าบึง หมู่ที่ 1 ตาบลบ้านเป็ด ประชาสงเคราะห์ อาเภอเมือง จังหวัด ขอนแก่น การทาไข่เค็มไอโอดีน บ้านหนองหัววัว หมู่ 6 พอกดินจอมปลวก ตาบลโคกสี อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น การทอฝูายย้อมสี บ้านหนองหัววัว หมู่ที่ 6 ธรรมชาติ ตาบลโคกสี อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ฟาร์มร่มแดง บ้านทุ่ม หมู่ที่ 2 ตาบล บ้านทุ่ม อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น วัดโพธิ์กลาง วัดโพธิ์กลาง บ้านทุ่ม หมู่ ที่ 3 ตาบลบ้านทุ่ม อาเภอเมือง จังหวัด ขอนแก่น บ้านโคกท่า บ้านโคกท่า หมู่ที่ 5 ตาบลหนองตูม อาเภอ เมือง จังหวัดขอนแก่น บ้านเหมือดแอ่ บ้านเหมือดแอ่ หมู่ที่ 7 ตาบลหนองตูม อาเภอ เมือง จังหวัดขอนแก่น การปลูกผักปลอด หมู่ที่ 14 ตาบลสาวะถี สารพิษ อาเภอเมือง จังหวัด ขอนแก่น โรงเรียนบ้าน โรงเรียนบ้านสาวะถี หมู่ที่ สาวะถี 21 ตาบล สาวะถี อาเภอเมือง จังหวัด ขอนแก่น
ผู้ดูแล
เบอร์ โทรศัพท์
นายอภิสิทธิ์ ชุมยางสิม
0845160085
นายบุญเที่ยง พลทอง สถิตย์
0897092884
นายสุพล เมืองสนธ์
0943075500
นางอานวย โคตรนั้ว
0834158635
นางทองมาตร วิทักษ์ บุตร
-
นางชุลีกรณ์ คงกุทอง
0811156565
นายภูมิพิชาติ จันทร์เพ็ง
0801917797
นางประนอม ขาม พิทักษ์
0844089829
นายวีระเดช เปียจาปา
0819553168
นายนิดล นาคศรี
0868200482
นายสานิต ดาวสาวะ
0895745299
หมาย เหตุ
๓๐
แหล่งการเรียนรู้ในชุมชน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น มีแหล่งการเรียนรู้ในชุมชน จานวน 36 แห่ง (ต่อ) เบอร์ โทรศัพท์
ที่
แหล่งเรียนรู้
สถานที่ตั้ง
ผู้ดูแล
23
ศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจ พอเพียง สวนเศรษฐกิจ พอเพียง
อบต.บ้านหว้า บ้านเหล่านาดี หมู่ที่ 11 ตาบลบ้านหว้า อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น บ้านเหล่านาดี หมู่ที่ 11 ตาบล บ้านหว้า อาเภอเมือง จังหวัด ขอนแก่น 142 หมู่ที่ 4 บ้านห้วยชัน ตาบล ศิลา อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น บ้านดงพอง หมู่ที่ 10 ตาบลศิลา อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
น.ส.กรรณิการ์ ทามา
0861408547
นางเย็นแข จันทะรี
0857556329
นายสวาทดิ์ พุทธรรมมา
0880667592 0894214896
24 25
27
การเลี้ยงกบใน กระชัง การเลี้ยงปลา กะพงขาวใน กระชัง บ้านสะอาด
28
บ้านดอนบม
26
29 30
31
32 33 34 35 36
บ้านสะอาด หมู่ที่ 1 ตาบลเมือง เก่า อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น บ้านดอนบม หมู่ที่ 10 ตาบลเมือง เก่า อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น บ้านบึงเนียม หมู่ที่ 4 ตาบลบึง เนียม อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 55 หมู่ที่ 8 บ้านสงเปือย ตาบล บึงเนียม อาเภอเมือง จังหวัด ขอนแก่น
นายยุทธรินทร์ วิจิตรา นนท์ นายรัตนชัย เพียรทอง นายอุบล นามปัญญา
สวนฝรั่งพันธ์กิม นางคองคา ชัยรัตน์ จุปลอดสารพิษ การปลูกพึชผัก นายทวี ไชยวงษ์ สวนครัว แก๊ส ธรรมชาติ ด้วย ปุ๋ยอินทรีย์ (ไร่นาสวนผสม) การทาน้าหมัก 112/2 หมู่ 17 ชุมชนโนนหนองวัด นายจรูญ เจริญสุข ชีวภาพ ตาบล ในเมือง จังหวัดขอนแก่น ชุมชนปลอดขยะ 20/5 หมู่ที่ 4 ชุมชนบะขาม นางจารุณี สุตะชา ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัด ขอนแก่น ชุมชนปลอดขยะ บ้านหัวถนน หมู่ที่ 5 ตาบลพระลับ นายกฤตภาส ปรุงศรี อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ปัญญา สวนผักแม่ 295 หมู่ที่ 3 บ้านพระคือ ตาบล นางสาวจาเนียร ประสพ จาเนียร พระลับ อาเภอเมือง จังหวัด มงคล ขอนแก่น ชุมชนบ้าน 30 หมู่ที่ 1 ตาบลสาราญ อาเภอ นายประสิทธิ์ สวัสดิ์วอ สาราญ เมือง จังหวัดขอนแก่น ชุมชนบ้านเพี้ย หมู่ที่ 5 ตาบลสาราญ อาเภอเมือง นางสมหมาย ภูมิชัย ฟาน จังหวัดขอนแก่น
0894726735 0848763072 0868645976 0967623218
0868528336 0854572724 0815469559 0973218875 0899291 921 0918624 547
หมาย เหตุ
๓๑
รางวัล เกียรติบัตร เกียรติยศ และผลงานดีเด่นของสถานศึกษา(ปปัจจุบัน) ด้านสถานศึกษา ๑.รับเกียรติบัตร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ได้รับ คัดเลือกเป็น สถานศึกษาส่งเสริมการอ่านต่อเนื่อง ปี 2555 – 2559 “โครงการ อ่านสร้างสุข ยกกาลังสุขใน สถานศึกษาและชุมชน ” ปีการศึกษา 2559 ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2560 โดย ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์ ผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ๒.รางวัลชนะเลิศ ประเภทผลงาน เว็บไซต์ห้องสมุดประชาชน ภายใต้ระบบเชื่อมโยงแหล่ง การเรียนรู้ ประจาปี 2561 ๓.รับเกียรติบัตร ประเภทผลงาน โครงการ “ห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด ” ตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจาปีงบประมาณ 2561 ๔. รางวัลเสมา ป.ป.ส. ประเภทผลงานดีเด่นระดับทอง โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอด ยาเสพติดและอบายมุขปีการศึกษา ๒๕๖๑ ๕. รางวัลชนะเลิศ เว็บไซต์ห้องสมุดประชาชน ระบบเชื่อมโยงแหล่งเรียนรู้ (http://Iris.nfe.go.th) พุทธศักราช2561 ๖. รางวัลระดับดีเด่น สาขาการบริการสารสนเทศ การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ ในการนาเสนอ ผลงาน KKU Library Open House 2018 Innovation Device for Customer Engagement : IDACE 29 สิงหาคม 2561
๓๒
ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ผ่านมา 1. ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปงบประมาณที่ผ่านมา มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ผลการประเมิน ตนเอง น้าหนัก (คะแนน) คะแนน ระดับ ที่ได้ คุณภาพ
มาตรฐานที่ 1คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ 35 การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม 5 ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะกระบวนการ คิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการ ดารงชีวิต 5 ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้พื้นฐาน 5 การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ 5 ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลัก 5 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้เทคโนโลยี ได้อย่างเหมาะสม 5 การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ 1.7 ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้า5 ร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย
31.00
ดีมาก
4.00
ดี
4.00 3.50
ดี ดี
5.00 5.00
ดีมาก ดีมาก
4.50
ดีมาก
5.00
ดีมาก
มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ
45
43.50
ดีมาก
5 5 5 5
5.00 4.50 4.00 5.00
ดีมาก ดีมาก ดี ดีมาก
5 5 5
5.00 5.00 5.00
ดีมาก ดีมาก ดีมาก
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพครูการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 คุณภาพของหลักสูตรสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 คุณภาพสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร สถานศึกษา การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 คุณภาพวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 คุณภาพหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษา ต่อเนื่อง
๓๓
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ผลการ น้าหนัก มาตรฐาน/ ประเมิน (คะแนน) ตัวบ่งชี้ ตนเอง
การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 คุณภาพผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 5 ตัวบ่งชี้ที่ 2.9 คุณภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการศึกษาตาม 5 อัธยาศัย มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา 20 ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ 5 พอเพียงและหลักธรรมาภิบาล ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาของภาคี 5 เครือข่าย ตัวบ่งชี้ที่3.3 การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา 5 ตัวบ่งชี้ที่ 3.4 การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 5 รวม ๑๐๐
5.00 5.00
ดีมาก ดีมาก
20.00 5.00
ดีมาก ดีมาก
5.00
ดีมาก
5.00 5.00 ๙๔.๕
ดีมาก ดีมาก ดีมาก
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาจากผลการประเมินตนเอง 1. สถานศึกษา ควรแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรทาการวิเคราะห์หลักสูตร จุดมุ่งหมายวัตถุประสงค์ เนื้อหาสาระรายวิชา 2.สถานศึกษา ควรจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 3. สถานศึกษา ควรพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในให้เป็นระบบ ครบวงจร 4. สถานศึกษา ควรส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาครู ให้มีโอกาสศึกษาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การจัดการเรียนการสอนกับผู้รู้บ่อยๆ 5. ผู้บริหาร ครูผู้สอนควรศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ ลึกซึ้งให้เพิ่มมากขึ้น 6. สถานศึกษาสามารถศึกษาแนวทางประกันคุณภาพภายในจากสถานศึกษาอื่นๆ ๒. ผลการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด ครั้งล่าสุด มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ ตัวบ่งชี้ 1.1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ตัวบ่งชี้ 1.2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ ตัวบ่งชี้ 1.3 ผู้เรียนมีความใฝุรู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ 1.4 ผู้เรียน คิดเป็นทาเป็น ตัวบ่งชี้ 1.5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผลการประเมิน ตนเอง น้าหนัก (คะแนน) คะแนน ระดับ ที่ได้ คุณภาพ 35 28.50 ดี 3 2.90 ดีมาก 3 2.94 ดีมาก 3 3 10
2.88 2.89 4.18
ดีมาก ดีมาก ต้อง ปรับปรุง เร่งด่วน
๓๔
ผลการประเมิน ตนเอง น้าหนัก มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ (คะแนน) คะแนน ระดับ ที่ได้ คุณภาพ ตัวบ่งชี้ 1.6 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง 5 4.89 ดีมาก ตัวบ่งชี้ 1.7 ผู้เรียนมีงานทาหรือมีรายได้เสริม มีทักษะในการทางาน 5 4.87 ดีมาก สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ สุจริต ตัวบ่งชี้ 1.8 ความพึงพอใจต่อการให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัย 3 2.95 ดีมาก มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ 25 24.00 ดีมาก ตัวบ่งชี้ 2.1 คุณภาพของหลักสูตร 4 3.92 ดีมาก ตัวบ่งชี้ 2.2 คุณภาพของครู 4 3.87 ดีมาก ตัวบ่งชี้ 2.3 คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู และผู้สอนที่ 4 3.60 ดีมาก เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตัวบ่งชี้ 2.4 คุณภาพผู้สอน/วิทยากร การศึกษาต่อเนื่อง 3 3.00 ดีมาก ตัวบ่งชี้ 2.5 คุณภาพสื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและ 3 2.89 ดีมาก ผู้รับบริการ ตัวบ่งชี้ 2.6 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 4 3.97 ดีมาก ตัวบ่งชี้ 2.7 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 3 2.75 ดีมาก มาตรฐานที่ 3 การบริหารจัดการการศึกษา 10 10.00 ดีมาก ตัวบ่งชี้ 3.1 คุณภาพของการบริหารสถานศึกษา 2 2.00 ดีมาก ตัวบ่งชี้ 3.2 ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ 2 2.00 ดีมาก ตัวบ่งชี้ 3.3 ผลการบริหารความเสี่ยง 2 2.00 ดีมาก ตัวบ่งชี้ 3.4 ผลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา 2 2.00 ดีมาก ตัวบ่งชี้ 3.5 ผลการปฏิบัติตามบทบาทของคณะกรรมการ 2 2.00 ดีมาก สถานศึกษา มาตรฐานที่ 4 การประกันคุณภาพการศึกษา 10 9.21 ดีมาก ตัวบ่งชี้ 4.1 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 5 4.50 ดีมาก ตัวบ่งชี้ 4.2 การประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด 5 4.71 ดีมาก มาตรฐานที่ 5 อัตลักษณ์ของสถานศึกษา 10 10.00 ดีมาก ตัวบ่งชี้ 5.1 ผลการพัฒนาให้บรรลุเปูาหมายตามปรัชญา พันธกิจ 5 5.00 ดีมาก และวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ 5.2 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่สะท้อน 5 5.00 ดีมาก เอกลักษณ์ของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 6 มาตรการส่งเสริม 10 10.00 ดีมาก ตัวบ่งชี้ 6.1 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับ 5 5.00 ดีมาก มาตรฐาน รักษามาตรฐานและพัฒนาสู่ความยั่งยืน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายทางการศึกษาของ
๓๕
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ กระทรวงศึกษาธิการ ตัวบ่งชี้ 6.2 ผลที่เกิดจากการส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน รวม
ผลการประเมิน ตนเอง น้าหนัก (คะแนน) คะแนน ระดับ ที่ได้ คุณภาพ 5
5.00
ดีมาก
100
91.71
ดีมาก
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาจากผลการประเมินสถานศึกษาโดยต้นสังกัด 1. ควรมีการประเมินผลการปฏิบัติงานในภาพรวมขององค์กรตามกรอบบทบาทภารกิจงาน ประเภทของงาน 2. ควรมีการประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษาฉบับที่ใช้ในปัจจุบันพร้อมทั้งสรุปรายงาน ผลการประเมินให้เป็นรูปธรรมชัดเจน 3. ควรมีการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการใช้ในสถานศึกษา 4.ควรมีระบบการติดตามผู้จบหลักสูตรทุกภาคเรียน เพื่อทราบความก้าวหน้าและการนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน 5. ควรจัดทาปูายบอร์ดประชาสัมพันธ์กลุ่มเปูาหมายที่จบจากสถานศึกษา 6. ควรประชาสัมพันธ์หรือจัดทาปูายประชาสัมพันธ์ เรื่องการเป็นศูนย์เทียบโอนอย่างเด่นชัด 7. กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ควรเน้นการจัดเก็บเอกสารหลักฐานทางราชการที่เป็นลาย ลักษณ์อักษรให้เป็นระบบและเป็นไปตามระเบียบงานสารบรรณ 8. ควรมีการแต่งตั้งคณะทางานที่เกี่ยวกับหลักสูตรวิชาชีพ ไม่มีวาระการประชุม แต่มีการ รายงานสรุปแต่ละหลักสูตร/โครงการเป็นรูปเล่ม 9. การประเมินผลสาเร็จและความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อโครงการ/กิจกรรม ควรมีแบบ ประเมินที่ชัดเจน 10. ควรระดมความคิด นาภูมิปัญญาท้องถิ่นและกลุ่มอาชีพที่หลากหลายมาบูรณาการไว้ใน หลักสูตรในแต่ละปี 11. ห้องสมุดของสถานศึกษาเป็นห้องสมุดใหญ่ควรขอตาแหน่งบรรณารักษ์ที่เป็นพนักงาน ราชการมาช่วยปฏิบัติงานการศึกษาตามอัธยาศัยเพิ่มเติม 12. ห้องสมุดควรเปิดทุกวันไม่มีวันหยุด แต่ควรมีการจ่ายค่าตอบแทนในวันหยุดราชการให้ เหมาะสม 13. ควรพิจารณาความดีความชอบแก่บรรณารักษ์ของห้องสมุดแห่งนี้เป็นกรณีพิเศษ 14. ควรมีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและระบบสารสนเทศของสถานศึกษาให้ครอบคลุมทุกด้าน 15. ควรมีการจัดทาแผนพัฒนาบุคลากรอย่างชัดเจน 16.ควรมีการนาระบบประกันคุณภาพภายในไปใช้กับ กศน.ตาบล 17. ให้มีการจัดทาทาเนียบภาคีเครือข่ายในสานักงานให้ชัดเจน 18. ให้จัดทาทาเนียบสื่อการเรียนรู้และทาเนียบแหล่งเรียนรู้หรือหลักฐานการกระจายสื่อให้ ชัดเจนไว้ในห้องสมุดหรือ กศน.ตาบล 19. ให้จัดทารายชื่อคณะกรรมการห้องสมุดให้เป็นปัจจุบัน
๓๖
2. ผลการประเมินคุณภาพภายนอก(ครั้งล่าสุด) ตัวบ่งชี้ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน 1. ผู้เรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี 2. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ 3. ผู้เรียนมีความใฝุรู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 4. ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น 5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 6.ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ 7.ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการ และการพัฒนา สถานศึกษา 8. พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดย สถานศึกษาและต้นสังกัด
ตัวบ่งชี้ กลุ่มตัวบ่งชี้ อัตลักษณ์ 9. ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และ วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา 10.ผลการพัฒนาตามจุดเน้น และจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน เป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้ มาตรการส่งเสริม 11. ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาท ของสถานศึกษา 12. ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับ มาตรฐานรักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความ เป็นเลิศ ที่สอดคล้อง กับแนวทางการปฏิรูป การศึกษา
น้าหนัก (คะแนน)
ค่า คะแนน
ระดับ คุณภาพ
10 10 10 10 20 10
9.70 9.74 9.05 9.05 13.92 9.00
ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดี ดีมาก
5
5.00
ดีมาก
5
4.76
ดีมาก
น้าหนัก (คะแนน)
ค่า คะแนน
5
5
ดีมาก
5
5
ดีมาก
5
5
ดีมาก
5
5
ดีมาก
ระดับ คุณภาพ
หมายเหตุ กรณีที่จัดทารายงานการประเมินตนเอง ประจาปงบประมาณ 256๒ ให้ใช้ผลการ ประเมินภายนอก ครั้งล่าสุด ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาจากผลการประเมินคุณภาพภายนอก 1. สถานศึกษาต้องมุ้งเน้นการพัฒนาผู้เรียนที่ไม่ผ่านการประเมินในแต่ละด้านอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีคุณภาพชีวิต และสุนทรียภาพดีขึ้น และมีคุณภาพเป็นไปตามเกณฑ์อย่างเป็นระบบและทั่วถึง
๓๗
2. สถานศึกษาให้มีการพบกลุ่มแต่ละครั้ง ครูผู้สอนควรจัดให้ผู้เรียนได้ออกกาลังกายอย่าง สม่าเสมอตลอดภาคเรียน 3. สถานศึกษาควรส่งเสริมการอ่านอย่างต่อเนื่อง เน้นให้ผู้เรียนรักการอ่าน มีการอ่านหนังสือ ตามความสนใจอย่างสม่าเสมอ 4. สถานศึกษาจัดให้ครูแต่ละตาบลจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่แตกต่างกันไปตามบริบท ของแต่ละชุมชน 5. สถานศึกษาควรจัดทาแบบสอบถามเพื่อสารวจความต้องการ ความสนใจ และความพึง พอใจที่มีต่อหนังสือให้บริการ และจัดทาทะเบียนการใช้บริการ 6. สถานศึกษาควรร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการจัดทาสื่อ ICT โดยเฉพาะสื่อ อินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ 7. ให้ครูผู้สอนควบคุมดูแลให้ผู้เรียนทุกคนมีบทบาทแสดงความคิดเห็น 8. ครูผู้สอนควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ครบถ้วนตามหลักสูตร และจัดทาเอกสาร สรุปเนื้อหาบทเรียนทุกคน ให้ผู้เรียนฝึกทาข้อสอบ N-Net 9. สถานศึกษาควรนาผลการนิเทศ และประเมินการปฏิบัติงานของครูมาวิเคราะห์ความ ต้องการจาเป็นในการพัฒนาครู่ และคนอย่างเป็นระบบ 10. สถานศึกษาควรจัดระบบเครือข่ายข้อมูลให้ถูกต้องครบถ้วนครอบคลุม 11. สถานศึกษาควรทาแบบเก็บรวบรวมข้อมูลที่ประกอบด้วยเกณฑ์ 12. สถานศึกษาควรจัดทาแบบเก็บรวบรวมข้อมูลที่ประกอบด้วยเกณฑ์ วิธีการประเมิน และ มีแผนการดาเนินการ และตรวจสอบคุณภาพอย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง
บทที่ 2 ทิศทางและผลการดาเนินงานของสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ได้กาหนดทิศทางการ ดาเนินงาน ตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 25 6๒ โดยมี สาระสาคัญ ดังต่อไปนี้ ทิศทางการดาเนินงานของสถานศึกษา ปรัชญา “กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น จัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อปวงชน” วิสัยทัศน์ “สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เชิดชูคุณธรรม ก้าวนาเทคโนโลยี สู่วิถีพอเพียง คู่เคียงชุมชน” พันธกิจของสถานศึกษา 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและศึกษาตามอัธยาศัยให้มีคุณภาพ และบริการประชากรวัย แรงงานปกติทั่วไป กลุ่มประชากรวัยแรงงานที่เป็นผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้บกพร่องทางร่างกายและ การเรียนรู้กลุ่มชาติพันธุ์ และกลุ่มผู้สูงอายุ ได้อย่างทั่วถึง 2. จัดและส่งเสริมการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาเพื่อพัฒนาสมรรถนะของประชาชนและชุมชนให้ สามารถสร้างรายได้ สร้างสรรค์และแข่งขันด้านอาชีพได้อย่างยั่งยืน 3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย เพื่อส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทา 4. พัฒนาและส่งเสริมการนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพต่อการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยและการศึกษา อาชีพ เพื่อการมีงานทา 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้สามารถดาเนินงานการศึกษา นอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิต และการศึกษาอาชีพเพื่อ การมีงานทาของประชาชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ และตัวชี้วัดความสาเร็จ เป้าประสงค์ 1. ประชาชนได้เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 1.1 กลุ่มประชากรวัยแรงงานปกติทั่วไป กลุ่มประชากรวัยแรงงานที่เป็นผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้บกพร่องทางร่างกายและ การเรียนรู้ กลุ่มชาติพันธุ์ และกลุ่มผู้สูงอายุ ใน เขตบริการของอาเภอเมืองขอนแก่น ได้รับโอกาส ทางการศึกษาในรูปแบบของการศึกษานอกระบบ
ตัวชี้วัดความสาเร็จ 1. ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1.1 ร้อยละของประชากรกลุ่มต่างๆ (กลุ่ม ประชากรวัยแรงงานปกติทั่วไป)กลุ่มประชากรวัยแรงงาน ที่เป็นผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้บกพร่องทาง ร่างกายและการเรียนรู้ กลุ่มชาติพันธุ์ และกลุ่มผู้สูงอายุ ที่ได้รับบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม
๓๙
เป้าประสงค์ และการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มีคุณภาพอย่าง ทั่วถึงและเป็นธรรม 1.2 ประชากรวัยแรงงานในอาเภอเมืองขอนแก่น มีสมรรถนะในการประกอบอาชีพ และสามารถ ประกอบอาชีพที่สร้างรายได้ให้กับตนเองและ ครอบครัวได้อย่างยั่งยืน 2. จัดการศึกษาต่อเนื่องให้สอดคล้องกับสภาพ ปัญหาและความต้องการชองชุมชน 2.1 ชุมชนมีฐานอาชีพอันนาไปสู่การ สร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจได้ 2.2 องค์กรภาคส่วนต่างๆมารวมเป็นภาคี เครือข่ายในการดาเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างกว้างขวาง 3. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้ตลอด ชีวิต 3. 1 กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการ เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอย่างทั่วถึง 3.2 บุคลากรของ กศน.อาเภอเมือง ขอนแก่นและสถานศึกษาในสังกัด ได้รับการ พัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงาน การศึกษานอกระบบและศึกษาตามอัธยาศัยอย่าง ทั่วถึง 3.3 กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น และ สถานศึกษาในสังกัดมีการพัฒนาระบบการบริหาร จัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินงาน การศึกษานอกระบบและศึกษาตามอัธยาศัย 4. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 5. มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
ตัวชี้วัดความสาเร็จ 1.2 ร้อยละ 80 ของประชากรวัยแรงงานที่ได้รับ การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาที่มีสมรรถนะในการ ประกอบอาชีพที่เพิ่มขึ้น 1.3 ร้อยละ 50 ของผู้ที่เข้ารับการศึกษาอาชีพ เพื่อการมีงานทาของสถานศึกษาสามารถประกอบ อาชีพได้ 1.4 ร้อยละของสถานศึกษามีภาคีเครือข่ายในการ ดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยเพิ่มมากขึ้น 1.5 ร้อยละของสถานศึกษาในสังกัดที่นา เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร มาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร องค์กรและจัดบริการการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ ประชาชน 1.6 ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความพึงพอใจต่อ การใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ของ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่นและ สถานศึกษาในสังกัด 1.7 ร้อยละ ของบุคลากรประเภทและระดับต่างๆ ของ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น และสถานศึกษาใน สังกัด ที่ได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการ ปฏิบัติงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย 1.8 ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการพัฒนาระบบ การบริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ ดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย 2. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 2.1ร้อยละผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย กลุ่มเป้าหมายต่างๆ(กลุ่มประชากรวัยแรงงานปกติทั่วไป กลุ่มประชากรวัยแรงงานที่เป็นผู้ยากไร้ผู้ด้อยโอกาส ผู้ พิการ ผู้บกพร่องทางร่างกายและการเรียนรู้ กลุ่มชาติ พันธุ์ และกลุ่มผู้สูงอายุ ที่มีความพึงพอใจต่อบริการที่ ได้รับ
๔๐
เป้าประสงค์
กลยุทธ์ กลยุทธ์ (Strategy ) กลยุทธ์ที่ 1 กลยุทธ์ที่ 2 กลยุทธ์ที่ 3 กลยุทธ์ที่ 4 กลยุทธ์ที่ 5
ตัวชี้วัดความสาเร็จ 2.2 ประชากรวัยแรงงานในอาเภอเมือง ขอนแก่น ที่สาเร็จการศึกษาหลักสูตรอาชีพ เพื่อการมี งานทาสามารถนาความรู้ไปใช้ในการสร้างรายได้ให้กับ ตนเองและครอบครัว 2.3 ชุมชนสามารถสร้างอาชีพตามสาขา การศึกษาอาชีพที่จัดให้บริการ 2.4 ภาคส่วนต่าง ๆ ของสังคมที่เข้ามามีสวน ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการดาเนินงานการศึกษานอก ระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย 2.5 สถานศึกษานาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาใช้ในการเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารองค์การ การจัดบริการ การศึกษาและการเรียนรู้ ให้กับประชาชนในเขตอาเภอ เมืองขอนแก่น 2.6 ผู้รับบริการที่มีความพึงพอใจต่อการใช้ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารของ กศน. อาเภอเมืองขอนแก่น 2.7 บุคลากรของ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น และสถานศึกษาในสังกัด ประเภทและระดับต่าง ๆ ที่ ได้รับการพัฒนาสมรรถนะในการดาเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2.8 สถานศึกษาที่มีความพึงพอใจต่อระบบการ บริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการดาเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
การดาเนินงาน เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายและทั่วถึง ปรับวิธีเรียนเปลี่ยนวิธีสอนให้สอดคล้องกับสภาพกลุ่มเป้าหมาย พัฒนาแหล่งการเรียนรู้และภูมิปัญญาให้เป็นฐานความรู้ของชุมชน ผนึกกาลังภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมจัดการศึกษา จัดระบบบริหารเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ
๔๑
การนากลยุทธ์สู่การปฏิบัติ กลยุทธ์ที่ 1 เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายและทั่วถึง : ชุมชนเป็นฐาน (Community Based) วิธีการ a. พัฒนาระบบฐานข้อมูลชุมชน ระบบสารสนเทศ โดยจัดทาข้อมูลรายบุคคล และราย กลุ่ม เพื่อเชื่อมโยงกับภาคีเครือข่ายเพื่อสามารถตรวจสอบให้เป็นปัจจุบัน และนาไปใช้ได้ 2. สร้างกระแสกระตุ้น และประชาสัมพันธ์ถึงความสาคัญของการยกระดับการศึกษา การแก้ปัญหาความยากจนและการศึกษาตลอดชีวิต 3. กาหนดพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายเพื่อเจาะลึกจัดกิจกรรม โดยดาเนินการทั้ง 18ตาบล ตาบลละ 1 หมู่บ้าน เพื่อดาเนินโครงการ “ฟ้าหลังฝน” ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 4. พัฒนาระบบฐานข้อมูลชุมชน ระบบสารสนเทศ โดยจัดทาข้อมูลรายบุคคล และรายกลุ่ม เพื่อ เชื่อมโยงกับภาคีเครือข่ายเพื่อสามารถตรวจสอบให้เป็นปัจจุบัน และนาไปใช้ได้ 5. จัดทาแผนการเรียนรู้ รายบุคคล รายครอบครัว และรายกลุ่ม ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุก กิจกรรม กลยุทธ์ที่ 2 ปรับวิธีเรียนเปลี่ยนวิธีสอนให้สอดคล้องกับสภาพกลุ่มเป้าหมาย วิธีการ 1. จัดให้มีสื่อในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องและเหมาะสม กับเนื้อหาของแต่ละ กิจกรรมการเรียนรู้ 2. ออกแบบ / สร้างหลักสูตรบูรณาการให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต ตามศักยภาพหรือให้เหมาะสม กับความสามารถแต่ละบุคคล ได้แก่ หลักสูตรสาหรับ 2.1 การพัฒนาทักษะอาชีพ 2.2 การพัฒนาทักษะชีวิต 2.3 การจัดกลุ่มสนใจ 3. จัดทาคลังหลักสูตรและสื่อการเรียน ได้แก่ การรวบรวมหลักสูตรและแหล่งเรียนรู้ทั้ง สถานที่และภูมิปัญญา / บุคคล 4. จัดให้มีการพัฒนาหลักสูตรโดยคานึงถึงการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 5. จัดให้มีวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย ได้แก่ การพบกลุ่มสาหรับผู้เรียนหลักสูตรพื้นฐาน 6. การเรียนจากแหล่งเรียนรู้อื่น, การให้การแนะแนวและดูแลผู้เรียน (ตามความเหมาะของ บุคคล) 7. จัดให้มีเกณฑ์การวัดและประเมินผลที่หลากหลายตามวิธีการเรียนรู้ 8. จัดให้มีเกณฑ์มาตรฐานเพื่อเทียบโอนความรู้ / ประสบการณ์ 9. จัดให้มีการประกันคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา (อิงเกณฑ์ประเมิน) 10. มีรายงานการประเมินผลหารจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยเฉพาะผลสัมฤทธิ์ของผู้จบ การศึกษาแต่ละหลักสูตร
๔๒
กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาแหล่งการเรียนรู้และภูมิปัญญาให้เป็นฐานความรู้ของชุมชน วิธีการ 1. การจัดทาทาเนียบแหล่งเรียนรู้ 2. การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร (จุดประสงค์หลักสูตร)ได้แก่ 2.1 ห้องสมุด 2.2 ศูนย์การเรียนรู้ในชุมชน 3. ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมที่มีความร่วมมือให้พันธมิตรและประชาชนทราบ 4. จัดให้มีกิจกรรมการเรียนรู้โดยสื่อต่าง ๆ 4.1 วิทยุ โทรทัศน์ (ETV) 4.2 จัดกิจกรรมค่าย (ทักษะชีวิต และอื่นๆ) 4.3 การดูงาน / แลกเปลี่ยนประสบการณ์ จากสื่อบุคคลสื่อสถานที่ 5. การจัดให้มีการออกหนังสือรับรอง ใบเกียรติบัตร ผู้ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อ ประกอบการเทียบโอน กลยุทธ์ที่ 4 ผนึกกาลังภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมจัดการศึกษา วิธีการ 1. จัดทาทาเนียบพันธมิตร / เครือข่าย 2. จัดทาบันทึกข้อตกลงร่วมมือ (MOU) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย 3. ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมที่มีความร่วมมือให้พันธมิตรและประชาชนทราบ 4. สร้างแรงจูงใจให้เกิดการร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมทา ร่วมแก้ปัญหาและร่วมพัฒนาการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชุมชนกับภาคีเครือข่าย กลยุทธ์ที่ 5 จัดระบบบริหารเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ วิธีการ 1. พัฒนาการให้บริการด้วยเทคโนโลยีสื่อสารสารสนเทศ เพื่อตอบสนองความต้องการของ ผู้รับบริการ 2. ปรับปรุง / พัฒนาโครงสร้างและบริหารองค์กร (มอบหมายงานตามยุทธศาสตร์บุคลากร ภายใน และ /หรือ พันธมิตร ภาคีเครือข่าย เพื่อให้วิธีการทางานบรรลุผล) 3. ปรับปรุงบทบาท / พันธกิจ ของการทางานให้เอื้อต่อการดาเนินยุทธศาสตร์ 4. จัดทาระบบงานให้สอดคล้องกับการประกันคุณภาพ / มาตรฐานการศึกษา 5. การประกวด/แข่งขัน/ การให้รางวัล 6. การกาหนดมาตรการและเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพการศึกษา ภายนอก 7. ใช้ทรัพยากรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการทางาน 8. จัดและพัฒนาการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมายให้มีประสิทธิภาพ เช่น การแจ้งข่าวสาร ผ่านเครือข่าย ระบบโทรศัพท์มือถือ อินเตอร์เน็ต และสื่อวิทยุชุมชน การจัดอาสาสมัครส่งเสริม กศน.เป็นผู้ ประสานงานระหว่างตาบลและหมู่บ้าน
๔๓
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา จานวนเป้าหมาย ตัวชี้วัด (คน) เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ความสาเร็จ 2561 2562 2563 2564 1. ประชาชนผู้ กลยุทธ์ที่ 1 การศึกษา 6,180 6,200 6,220 6,240 -ผู้เรียนผ่าน ด้อย พลาด ลุยถึงที่ นอก การ และขาด เข้าถึง ระบบ ประเมินผล โอกาสทางการ กลุ่มเป้าหมาย ระดับ การเรียนตาม ศึกษา รวมทั้ง กลยุทธ์ที่ 2 การศึกษา หลักเกณฑ์ ประชาชน จัดกิจกรรม ขั้น - ผู้เรียนมี ทั่วไปได้รับ หลากหลาย พื้นฐาน ความพึงพอใจ โอกาส ทาง โดนใจผู้เรียน การ 920 920 920 920 -ผู้เรียนผ่าน การศึกษาใน กลยุทธ์ที่ 3 จัดการ การ รูปแบบ ขยายแหล่ง ศึกษาเพื่อ ประเมินผล การศึกษา นอก เรียนรู้และ การมีงาน การเรียนตาม ระบบระดับ เทคโนโลยี ทา หลักเกณฑ์ การศึกษาขั้น กลยุทธ์ที่ 4 -นาความรู้ไป พื้นฐาน ผนึก กาลัง ประกอบ การศึกษา ภาคีเครือข่าย อาชีพ ต่อเนื่อง และ และกระจาย -ผู้เรียนมี การศึกษาตาม บริการ ความพึงพอใจ อัธยาศัยที่มี การศึกษา การ 288 288 288 288 -ผู้เรียนผ่าน คุณภาพ อย่าง เรียนรู้ การ เท่าเทียมและ หลัก ประเมินผล ทั่วถึง เป็นไป ปรัชญา การเรียนตาม ตาม สภาพ ของ หลักเกณฑ์ ปัญหา และ เศรษฐกิจ -นาความรู้ไป ความต้องการ พอเพียง ปรับใช้ใน ของแต่ ละ ชีวิตประจาวัน กลุ่มเป้าหมาย -ผู้เรียนมี ความพึงพอใจ โครงการ/ กิจกรรม
๔๔
จานวนเป้าหมาย ตัวชี้วัด (คน) เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ความสาเร็จ 2561 2562 2563 2564 2.ประชาชน กลยุทธ์ที่ 1 1,008 1,008 1,008 1,008 -ผู้เรียนผ่าน ได้รับการ ลุยถึง ที่ การศึกษา การ ยกระดับ เข้าถึง เพื่อ ประเมินผลการ การศึกษาสร้าง กลุ่มเป้าหมาย พัฒนา เรียนตาม เสริมและ กลยุทธ์ที่ 2 ทักษะ หลักเกณฑ์ ปลูกฝัง จัด กิจกรรม ชีวิต - นาความรู้ไป คุณธรรม หลากหลาย ปรับใช้ใน จริยธรรม และ โดนใจ ผู้เรียน ชีวิตประจาวัน ความเป็น กลยุทธ์ที่ 4 - ผู้เรียนมี พลเมืองอัน ผนึก กาลัง ความ พึงพอใจ นาไปสู่การ ภาคีเครือข่าย 612 612 612 612 -ผู้เรียนผ่าน ยกระดับ และกระจาย การศึกษา การ คุณภาพชีวิต บริการ เพื่อ ประเมินผลการ และเสริมสร้าง การศึกษา พัฒนา เรียนตาม ความเข้มแข็ง สังคม หลักเกณฑ์ ให้ชุมชน เพื่อ ชุมชน - นาความรู้ไป พัฒนาไปสู่ ปรับใช้ใน ความมั่นคง ชีวิตประจาวัน และยั่งยืน - ผู้เรียนมี ทางด้าน ความ พึงพอใจ เศรษฐกิจ - การ 288 288 288 288 -ผู้เรียนผ่าน สังคม เรียนรู้ การ วัฒนธรรม หลัก ประเมินผลการ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา เรียนตาม และ ของ หลักเกณฑ์ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ – นาความรู้ไป พอเพียง ปรับใช้ใน ชีวิตประจาวัน - ผู้เรียนมี ความ พึงพอใจ โครงการ/ กิจกรรม
๔๕
เป้าประสงค์ 3. ประชาชน ได้รับโอกาสใน การเรียนรู้และ มีเจตคติทาง วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่เหมาะสม สามารถคิด วิเคราะห์ และ ประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวัน รวมทั้ง แก้ปัญหาและ พัฒนาคุณภาพ ชีวิตได้อย่าง สร้างสรรค์
จานวนเป้าหมาย ตัวชี้วัด (คน) กลยุทธ์ ความสาเร็จ 2561 2562 2563 2564 กลยุทธ์ที่ 1 - กิจกรรม 1,824 1,834 1,844 1,854 ผู้เรียนมีความ ลุยถึงที่เข้าถึง พัฒนา พึงพอใจ กลุ่มเป้าหมาย คุณภาพ กลยุทธ์ที่ 2 ผู้เรียน จัดกิจกรรม การศึกษา 612 612 612 612 ผู้เรียนผ่าน หลากหลาย เพื่อ การ โดนใจผู้เรียน พัฒนา ประเมินผล กลยุทธ์ที่ 3 สังคม การเรียนตาม ขยาย แหล่ง ชุมชน หลักเกณฑ์ เรียนรู้และ - นาความรู้ไป เทคโนโลยี ปรับใช้ใน กลยุทธ์ที่ 4 ชีวิตประจาวัน ผนึกกาลัง - ผู้เรียนมี ภาคีเครือข่าย ความพึงพอใจ และ กระจาย -โครงการ 180 180 180 180 ผู้เรียนผ่าน บริการ เสริมสร้าง การ การศึกษา คุณภาพ ประเมินผล โครงการ/ กิจกรรม
ชีวิต ผู้สูงอายุ
การเรียนตาม หลักเกณฑ์ - นาความรู้ไป ปรับใช้ใน ชีวิตประจาวัน - ผู้เรียนมี ความพึงพอใจ
๔๖
จานวนเป้าหมาย ตัวชี้วัด (คน) เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ความสาเร็จ 2561 2562 2563 2564 4. ประชาชน กลยุทธ์ที่ 1 -การศึกษา 67,554 69,521 71,488 73,455 -มีสมาชิก ได้รับการสร้าง ลุยถึงที่ เข้าถึง ตาม ห้องสมุด และส่งเสริมให้ กลุ่มเป้าหมาย อัธยาศัย และ มีนิสัยรักการ กลยุทธ์ที่ 2 ผู้รับบริการ อ่านเพื่อการ จัดกิจกรรม เพิ่มขึ้น แสวงหาความรู้ หลากหลาย -ผู้รับบริการ ด้วยตนเอง โดนใจผู้เรียน มีความพึง กลยุทธ์ที่ 3 พอใจ ขยาย แหล่ง -กิจกรรม 1,824 1,834 1,844 1,854 -ผู้เรียนมี เรียนรู้และ พัฒนา ความพึง เทคโนโลยี คุณภาพ พอใจ กลยุทธ์ที่ 4 ผู้เรียน ผนึกกาลังภาคี เครือข่าย และ กระจาย บริการ การศึกษา 5. ชุมชนและ กลยุทธ์ที่ 4 1,500 1,500 1,500 1,500 - มีสมาชิก ภาคีเครือข่าย ผนึกกาลัง การศึกษา ห้องสมุด ทุกภาคส่วน ภาคี เครือข่าย ตาม ผู้ใช้บริการ ร่วมจัดส่งเสริม และ กระจาย อัธยาศัย เพิ่มขึ้น และสนับสนุน บริการ -ผู้รับบริการ การดาเนินงาน การศึกษา มีความพึง การศึกษา นอก พอใจ ระบบและ การศึกษา ตาม อัธยาศัย รวมทั้ง การ ขับเคลื่อน กิจกรรมการ เรียนรู้ของ ชุมชน โครงการ/ กิจกรรม
๔๗
เป้าประสงค์
กลยุทธ์
โครงการ/ กิจกรรม
6. หน่วยงานและ สถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทาง การศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ใน การ ยกระดับคุณภาพ ในการจัดการเรียนรู้ และเพิ่ม โอกาส การเรียนรู้ให้กับ ประชาชน
กลยุทธ์ที่ 5 -โครงการ พัฒนา พัฒนา ประสิทธิภาพ บุคลากร การ บริหาร จัดการ
7. หน่วยงานและ สถานศึกษาพัฒนา สื่อและ การจัด กระบวนการเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหา และพัฒนา คุณภาพ ชีวิตที่ตอบสนอง กับการเปลี่ยนแปลง บริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งตาม ความ ต้องการของ ประชาชน และ ชุมชนใน รูปแบบที่ หลากหลาย
กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนา ประสิทธิภาพ การ บริหาร จัดการ
-การจัดทา แผนการ เรียนรู้ -การทา วิจัย อย่าง ง่าย -การ จัดทา แผนการ ปฏิบัติการ -การ จัดทาสื่อ นวัตกรรม เพื่อการ เรียนรู้
จานวนเป้าหมาย ตัวชี้วัด (คน) ความสาเร็จ 2561 2562 2563 2564 100 100 100 100 -ผู้เข้าร่วม โครงการมี ความพึง พอใจ
100
100
100
100
-ผู้เข้าร่วม โครงการมี ความพึง พอใจ
๔๘
จานวนเป้าหมาย ตัวชี้วัด (คน) เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ความสาเร็จ 2561 2562 2563 2564 8. บุคลากรของ กลยุทธ์ที่ 5 -โครงการ ๑00 ๑00 ๑00 ๑00 ผู้เข้าร่วม หน่วยงานและ พัฒนา พัฒนาการ โครงการมี สถานศึกษาได้รับ ประสิทธิภาพ บริหารการเงิน ความพึงพอใจ การ พัฒนาเพื่อ การบริหาร และพัสดุ เพิ่ม สมรรถนะใน จัดการ -โครงการ 12 14 16 18 - ผู้เรียนมีความ การ ปฏิบัติงาน ประเมิน พึง พอใจ การศึกษา นอก หลักสูตร ระบบและ สถานศึกษา การศึกษาตาม อัธยาศัย อย่างมี ประสิทธิภาพ 9. บุคลากรของ กลยุทธ์ที่ 5 -โครงการ 1 1 1 1 -สถานศึกษามี หน่วยงานและ พัฒนา ประกัน ผลการประเมิน สถานศึกษาได้รับ ประสิทธิภาพ คุณภาพ คุณภาพ การ พัฒนาเพื่อ การบริหาร ภายใน รายงานการ เพิ่มสมรรถนะใน จัดการ สถานศึกษา ประเมิน ตนเอง การปฏิบัติงาน อยู่ในดีขึ้นไป การศึกษา นอก -โครงการ ๑ ๑ ๑ ๑ ร้อยละผู้เรียน ระบบและ นิเทศ ภายใน ระบบ ระบบ ระบบ ระบบ ได้รับบริการ การศึกษาตาม สถานศึกษา นิเทศภายใน อัธยาศัย อย่างมี จาก ประสิทธิภาพ สถานศึกษา ๑๐. หน่วยงาน กลยุทธ์ที่ 5 -โครงการ ๑ ๑ ๑ ๑ -สถานศึกษา มี และสถานศึกษามี พัฒนา ประกัน ผลการประเมิน ระบบการ บริหาร ประสิทธิภาพ คุณภาพ คุณภาพ จัดการตามหลัก การบริหาร ภายใน รายงานการ ธรรมาภิบาล จัดการ สถานศึกษา ประเมิน ตนเอง อยู่ในดี ขึ้นไป -โครงการ ๑ ๑ ๑ ๑ -ร้อยละผู้เรียน นิเทศ ภายใน ระบบ ระบบ ระบบ ระบบ ผู้รับบริการ สถานศึกษา ได้รับการนิเทศ ภายในจาก สถานศึกษา โครงการ/ กิจกรรม
๔๙
แผนปฏิบัติการประจาปี โครงการ/ กิจกรรม 1.โครงการจัด การศึกษานอก ระบบระดับ การศึกษาขั้น พื้นฐาน 1.กาหนด กลุ่มเป้าหมายโดย ใช้ฐานข้อมูล ประชากรวัย แรงงานในการ จัดทาแผนการ ดาเนินงาน 2.ประชาสัมพันธ์ รับสมัครนักศึกษา 3.ประสานความ ร่วมมือกับองค์กร ภาคีเครือข่ายเพื่อ พัฒนาหลักสูตร และวางแผนจัด การศึกษาร่วมกัน 4.พัฒนา หลักสูตร/จัดทา แผนจัดกิจกรรม การเรียนรู้ที่ สอดคล้องกับ มาตรฐานหลักวิชา หลักสูตรและ ความต้องการของ ผู้เรียนพัฒนาสื่อ และใช้แหล่งเรียน รูปประกอบการ เรียนการสอน
วัตถุประสงค์ 1.เพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียน ให้ผู้เรียนมี ลักษณะอันพึง ประสงค์ตาม จุดมุ่งหมาย และมาตรฐาน ของหลักสูตร 2.เพื่อส่งเสริม สนับสนุนใช้ สื่อ/แหล่ง เรียนรู้ที่ หลากหลาย ประกอบ หลักสูตร/การ จัดกิจกรรม การเรียนรู้การ สอนที่ เหมาะสมกับ กลุ่มเป้าหมาย 3.เพื่อให้ ผู้เรียนมี ผลสัมฤทธิ์ใน สาระความรู้ พื้นฐานและมี อัตราการคง อยู่เป็นไปตาม เกณฑ์ที่ สถานศึกษา กาหนด
กลุม่ จานวน เป้าหมาย เป้าหมาย ประชากรวัย 6,180 แรงงานที่มี คน อายุ 15-59 ปี ระดับ ประถมศึกษา ระดับ มัธยมศึกษา ตอนต้น ระดับ มัธยมศึกษา ตอนปลาย
พื้นที่
ระยะเวลา งบประมาณ
กศน. 1 ต.ค.6๑ 8,291,690 อาเภอ –30ก.ย. บาท เมือง 6๒ ขอนแก่น
๕๐
โครงการ/กิจกรรม 2.โครงการจัด การศึกษาอาชีพเพื่อ การมีงานทา ฝึกอบรมพัฒนา อาชีพวิชาชีพ หลักสูตรระยะสั้น ช่างพื้นฐาน เรียนรู้ ประกอบการเรียน การสอน เช่น -การนวดฝ่าเท้า -เสริมสวย -การทอผ้าพื้นฐาน -การสานตะกร้า จากเชือกมัดฝาง -ช่างปูกระเบื้อง -ช่างไฟฟ้า -การสานตะกร้า จากเส้นพลาสติก -การแปรรูปจาก ผลผลิตทาง การเกษตร 3.โครงการเรียนรู้ หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 1.จัดการเรียนรู้ของ ศูนย์เรียนรู้ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎี ใหม่ 2.จัดกระบวนการ เรียนรู้หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจ พอเพียงและเกษตร ทฤษฎีใหม่
วัตถุประสงค์
กลุม่ จานวน พื้นที่ เป้าหมาย เป้าหมาย ประชาชน 920 คน กศน.อาเภอ ทั่วไปใน เมือง อาเภอ ขอนแก่น เมือง ขอนแก่น
1.เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมายที่ เป็นประชาชนที่ ว่างงานและ ต้องการเข้าสู่ อาชีพและมีอาชีพ อยู่แล้วที่ต้องการ พัฒนาอาชีพได้นา ความรู้จากการ เรียนการสอน หลักสูตร 2.เพื่อประชาชนมี อาชีพที่มั่นคงมี รายได้เป็นของ ตนเองได้และ ดารงชีวิตอยู่ใน สังคมและชุมชน ได้อย่างมีความสุข จากอาชีพช่าง พื้นฐาน และต่อ ยอดอาชีพ 1.เพื่อการจัดการ ประชาชน 288 คน กศน. เรียนรู้ของศูนย์ ทั่วไป อาเภอเมือง เรียนรู้ปรัชญา ขอนแก่น เศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎี ใหม่ 2.เพื่อเป็นการจัด กระบวนการ เรียนรู้หลัก ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎี ใหม่
ระยะเวลา
งบประมาณ
1 ต.ค.6๑ 1,475,980 –30ก.ย. บาท 6๒
1 ต.ค.6๑ 115,200 บาท –30ก.ย. 6๒
๕๑
โครงการ/กิจกรรม 4.โครงการการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต จัดอบรมให้ความรู้ -สุขภาพกาย-จิต -ยาเสพติด -เพศศึกษา -คุณธรรมและ ค่านิยมที่พึงประสงค์ -ความปลอดภัยใน ชีวิตและทรัพย์สิน -ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม -ประชาธิปไตยในวิถี ชีวิต
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ประชาชน ได้มีความรู้ ความ เข้าใจ สุขภาพกายจิตยาเสพติด เพศศึกษาคุณธรรม และค่านิยมที่พึง ประสงค์ความ ปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สิน ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และ ประชาธิปไตยในวิถี ชีวิต 2.เพื่อให้ประชาชน นาทักษะมาบูรณา การให้มีเจตคติและมี ทักษะชีวิตเพื่อ นาไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน 5.โครงการจัด 1.เพื่อเพิ่มโอกาสใน การศึกษาเพื่อพัฒนา การเรียนรู้และ สังคมและชุมชน ประสบการณ์ให้กับ 1.กิจกรรมรดน้าขอ ประชาชนในเขต พรผู้สูงอายุ พื้นที่อาเภอเมือง 2.กิจกรรมการ ขอนแก่น เสริมสร้างคุณภาพ 2.เพื่อจัดการเรียนรู้ ชีวิตผู้สูงอายุ พัฒนาสังคมและ 3.กิจกรรมกใช้ ชุมชน ให้มีความ เทคโนโลยีเหมาะสม เข้มแข็ง พัฒนา 4.หมู่บ้านเรียนรู้ตาม คุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น รอยพระยุคลบาท ปรับใช้ในการดาเนิน 5.กิจกรรมการ ชีวิตปัจจุบันและ ป้องกันอุบัติเหตุ ดารงชีวิตอยู่ในสังคม เบื้องต้น ได้อย่างมีความสุข
กลุม่ จานวน เป้าหมาย เป้าหมาย ประชาชน 1,008 คน ทั่วไปใน อาเภอ เมือง ขอนแก่น
ประชาชน 612 คน ทั่วไปใน อาเภอ เมือง ขอนแก่น
พื้นที่
ระยะเวลา งบประมาณ
กศน. อาเภอ เมือง ขอนแก่น
1 ต.ค.6๑ 115,840 –30ก.ย. บาท 6๒
กศน. อาเภอ เมือง ขอนแก่น
1 ต.ค.6๑ 244,800 –30ก.ย. บาท 6๒
๕๒
โครงการ/กิจกรรม
วัตถุประสงค์
กลุม่ เป้าหมาย
จานวน เป้าหมาย
พื้นที่
ระยะเวลา งบประมาณ
6.กิจกรรมการ อนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (ปลูกป่า) 7.กิจกรรมเสริมสร้าง อุดมการณ์รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ (ค่านิยม12ประการ) 8. กิจกรรมเรียนรู้ บรรเทาสาธารณะภัย (การป้องกันอัคคีภัย) 9.กิจกรรมการเรียนรู้ สิ่งเสพติดให้โทษ 10.กิจกรรมป้องกัน โรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ 11.กิจกรรมการเพิ่ม ประสิทธิภาพการ บริการจัดการขยะ และสิ่งแวดล้อม 6.โครงการจัด การศึกษาตาม อัธยาศัย 1.จัดบริการสื่อ หนังสือการยืม–คืน ในห้องสมุด ประชาชน 2.จัดส่งเสริมการอ่าน หน่วยเคลื่อนที่ รถโมบาย 3.จัดกิจกรรมบ้าน หลังเรียน
1.เพื่อบริหารจัดการ ห้องสมุดประชาชน อาเภอเมืองให้เป็น ศูนย์กลางการเรียนรู้ ตลอดชีวิต 2.เพื่อจัดกิจกรรม ส่งเสริมการอ่านการ เรียนรู้ตลอดชีวิต ของประชาชน ตั้งแต่ระดับปฐมวัย ถึงผู้สูงอายุ
ประชาชน ทั่วไปใน อาเภอเมือง ขอนแก่น
5,100 กศน. คน อาเภอ เมือง ขอนแก่น
1 ต.ค.6๑ 300,000 –30ก.ย. บาท 6๒
๕๓
โครงการ/กิจกรรม
วัตถุประสงค์
4.จัดกิจกรรม ส่งเสริมการอ่านใน วันสาคัญ 5.จัดบ้านหนังสือ อัจฉริยะ 6.จัดกิจกรรมเนื่องใน วันรักการอ่าน 2 เมษายน 7.โครงการส่งเสริม การอ่าน สร้างเสริม จินตนาการ 7.โครงการเสริมสร้าง คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 1.ให้ความรู้ความ เข้าใจเรื่องการ ส่งเสริมสุขภาพ ร่างกายของผู้สูงอายุ 2.ให้ความรู้เรื่องการ เลือกรับประทาน อาหารที่ถูกต้องและ เหมาะสม 3.ให้ความรู้เรื่องการ ป้องกันอุบัติเหตุ ภายในบ้านและนอก บ้าน 4.วิทยากรนา ผู้สูงอายุทาสมาธิ บาบัด 5.วิทยากรนา ผู้สูงอายุออกกาลัง กาย 6.กิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้
3.ปลูกฝังให้ประชาชน มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียนและ เพื่อเสริมสร้างนิสัยรัก การอ่าน
กลุม่ เป้าหมาย
1.เพื่อให้ผู้สูงอายุใน ผู้สูงอายุใน ชุมชนมีความรู้ความ อาเภอเมือง เข้าใจและทักษะในการ ขอนแก่น ดูแลตัวเอง 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีเจต คติและการปฏิบัติตัว เกี่ยวกับการดูแล ตนเองได้ถูกต้อง 3.เพื่อเสริมสร้างให้ ผู้สูงอายุได้รับการ พัฒนาด้านสุขภาพ ร่างกาย จิตใจ และ สังคมที่ดีตามเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด
จานวน เป้าหมาย
พื้นที่
180 คน กศน. อาเภอ เมือง ขอนแก่น
ระยะเวลา งบประมาณ
1 ต.ค.6๑ 12,000 –30ก.ย. บาท 6๒
๕๔
กลุม่ จานวน เป้าหมาย เป้าหมาย 8.โครงการพัฒนา 1.เพื่อพัฒนา มัธยมศึกษ 6,180 คน คุณภาพผู้เรียน ผู้เรียน าตอนต้น 1.กิจกรรมการเข้า การศึกษาขั้น และ ค่ายวิชาการ พื้นฐาน มัธยมศึกษ 2.กิจกรรมทักษะชีวิต ในระดับประถม าตอน 3.กิจกรรมเพื่อพัฒนา ศึกษา ปลาย ความรู้ความสามารถ มัธยมศึกษา ด้านเทคโนโลยี ตอนต้นและ สารสนเทศ (ICT) มัธยมศึกษา 4.กิจกรรมลูกเสือ ตอนปลาย และกิจกรรมอาสา ให้มีผลสัมฤทธิ์ ยุวกาชาด ทางการเรียน 5.กิจกรรมด้านกีฬา สูงขึ้น และส่งเสริมสุขภาพ 2.เพื่อให้ผู้เรียน ได้เพิ่มพูน ความรู้ทักษะแล ประสบการณ์ ตรงจากการ เรียนรู้ด้วย ตนเอง และ แหล่ง เรียนรู้อย่างมี ประสิทธิภาพ สถานศึกษา กาหนด 9.โครงการพัฒนา เพื่อพัฒนา -บุคลากร 100 คน บุคลากร บุคลากร กศน. 1.โครงการจัดทา ทุกระดับทุก อาเภอ แผนการเรียนรู้ ประเภท เมือง 2.โครงการทาวิจัย ให้มีสมรรถนะ ขอนแก่น อย่างง่าย สูงขึ้น 3.โครงการจัดทาสื่อ อย่างต่อเนื่อง นวัตกรรมเพื่อการ โครงการ/กิจกรรม
วัตถุประสงค์
พื้นที่ กศน. อาเภอ เมือง ขอนแก่น
ระยะเวลา
งบประมาณ
1 ต.ค.6๑ – 8,291,690 30ก.ย.6๒ บาท
กศน. 1 ต.ค.6๑ – 500,000 อาเภอ 30ก.ย.6๒ บาท เมือง ขอนแก่น
๕๕
โครงการ/กิจกรรม
วัตถุประสงค์
กลุม่ เป้าหมาย
จานวน เป้าหมาย
พื้นที่
ระยะเวลา งบประมาณ
เรียนรู้ 4.โครงกาพัฒนาการ บริหารการเงินและ พัสดุ 5.โครงการประเมิน หลักสูตรสถานศึกษา 10.โครงการ ประชุมสัมมนา คณะกรรมการ สถานศึกษา การประกัน คุณภาพภายใน
11.โครงการเพิ่ม ประสิทธิภาพ การบริหารจัดการ ขยะมูลฝอย
1.เพื่อให้ สถานศึกษานา มาตรฐานการ ประกันคุณภาพ ภายใน กศน. อาเภอ/เขตมา เป็นเป้าหมายใน การจัดการศึกษา 2.เพื่อให้บุคลากร ของสถานศึกษา นาวงจรคุณภาพ มาใช้ในการ ปฏิบัติงาน 1.เพื่อส่งเสริมให้ ประชาชนใน อาเภอเมือง ขอนแก่นมีความรู้ ความเข้าใจในการ จัดการขยะมูล ฝอยอย่างถูกวิธี 2.เพื่อให้ ประชาชนมี ความรู้ ความ เข้าใจในการคัด แยกขยะมูลฝอย ได้อย่างเป็น รูปธรรม
-บุคลากร 100 คน กศน.อาเภอ เมืองขอนแก่น 9 คน คณะกรรมการ สถานศึกษา
กศน. 1 ต.ค.6๑ 35,000 อาเภอ –30ก.ย. บาท เมือง 6๒ ขอนแก่น
ประชาชนใน อาเภอเมือง ขอนแก่น ทั้ง 18 ตาบล
กศน. 1ต.ค.6๑ อาเภอ –30ก.ย. เมือง 6๒ ขอนแก่น
360 คน
36,000 บาท
๕๖
กลุม่ จานวน พื้นที่ เป้าหมาย เป้าหมาย 12.โครงการนิเทศ เพื่อพัฒนาระบบ -บุคลากร 100 คน กศน. ภายในสถานศึกษา การ กศน.อาเภอ อาเภอ การนิเทศงาน กากับ ติดตาม เมืองขอนแก่น เมือง การศึกษานอกระบบ นิเทศและรายงาน ขอนแก่น และการศึกษาตาม ผลการนา อัธยาศัย ในทุกๆงาน นโยบาย สู่การ ปฏิบัติให้ สามารถ ตอบสนองการ ดาเนินงานตาม นโยบาย ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สถานศึกษา กาหนด 13.โครงการ 1.เพื่อฝึกอบรม ประชาชน 90 คน กศน. ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษเพื่อ ทั่วไปใน อาเภอ เพื่อการสื่อสารด้าน การสื่อสารด้าน อาเภอเมือง เมือง อาชีพ อาชีพให้กับ ขอนแก่น ขอนแก่น ประชาชนใน อาเภอเมือง ขอนแก่น 2.เพื่อให้ ประชาชน กลุ่มเป้าหมายที่ ผ่านการอบรม สามารถนาความรู้ ที่ได้รับไป ประยุกต์ใช้ในการ ประกอบอาชีพ และดาเนิน ชีวิตประจาวันได้ โครงการ/กิจกรรม
วัตถุประสงค์
ระยะเวลา งบประมาณ 1 ต.ค.6๑ 50,000 –30ก.ย. บาท 6๒
1 ต.ค.6๑ 93,000 –30ก.ย. บาท 6๒
๕๗
เพื่อให้การดาเนินการประกันคุณภาพเป็นไปด้วยความเรียบร้อย สถานศึกษาจึงได้ร่วมกันกาหนด ค่าเป้าหมาย ซึ่งเป็นค่าความสาเร็จ หรือระดับผลการดาเนินงานที่สถานศึกษาคาดหวังว่าสามารถทาให้เกิด ขึ้นได้ในมาตรฐานที่ 1 ดังนี้ ประเด็น การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม ประเด็นที่ 1 ผู้เรียนมีคุณธรรม ประเด็นที่ 5 ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบด้านคุณธรรม ตัวบ่งชี้ 1.2 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหา ความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน การดารงชีวิต ประเด็นที่ 1 ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต ประเด็นที่ 5 ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบด้านทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต
ค่าเป้าหมาย (จานวนหรือร้อยละ)
ร้อยละ 2๘ 3๙ คน
ร้อยละ 1๙ จานวน 6๕
๕๘
ประเด็น ตัวบ่งชี้ 1.3 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้พื้นฐาน ประเด็นที่ 1 ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐาน ค่าเฉลีย่ ของคะแนนสอบปลายภาคเรียน แต่ละรายวิชาของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 256๒ ตามแผนการลงทะเบียนดังนี้ ระดับประถมศึกษา 1.เศรษฐกิจพอเพียง 2.สุขศึกษาพลศึกษา 3.ศิลปศึกษา 4.ทักษะการเรียนรู้ 5.คณิตศาสตร์ 6.ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 7.ภาษาไทย 8.วิทยาศาสตร์ 9.สังคมศึกษา 10.ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 11.การพัฒนาตนเองชุมชน สังคม 12.ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ 13.ทักษะการประกอบอาชีพ 14.พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 1.เศรษฐกิจพอเพียง 2.สุขศึกษาพลศึกษา 3.ศิลปศึกษา 4.ทักษะการเรียนรู้ 5.คณิตศาสตร์ 6.ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 7.ภาษาไทย 8.วิทยาศาสตร์ 9.สังคมศึกษา 10.ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 11.การพัฒนาตนเองชุมชน สังคม 12.ช่องทางการพัฒนาอาชีพ 13.ทักษะการพัฒนาอาชีพ 14.พัฒนาอาชีพให้มีเข้มแข็ง
ค่าเป้าหมาย (จานวน หรือ ร้อยละ)
จานวน 23.87 คะแนน จานวน 22.56 คะแนน จานวน 19.80 คะแนน จานวน 28.11 คะแนน จานวน 26.31 คะแนน จานวน 23.42 คะแนน จานวน 22.83 คะแนน จานวน 22.57 คะแนน จานวน 21.51 คะแนน จานวน 24.23 คะแนน จานวน 24.74 คะแนน จานวน 20.63 คะแนน จานวน 28.92 คะแนน จานวน 18.13 คะแนน จานวน 22.86 คะแนน จานวน 23.43 คะแนน จานวน 20.57 คะแนน จานวน 27.00 คะแนน จานวน 31.03 คะแนน จานวน 28.96 คะแนน จานวน 30.11 คะแนน จานวน 25.57 คะแนน จานวน 18.79 คะแนน จานวน 20.36 คะแนน จานวน 18.52 คะแนน จานวน 18.95 คะแนน จานวน 24.95 คะแนน จานวน 18.25 คะแนน
๕๙
ประเด็น
ค่าเป้าหมาย (จานวน หรือ ร้อยละ)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 21.69 คะแนน 1.เศรษฐกิจพอเพียง จานวน 22.64 คะแนน 2.สุขศึกษาพลศึกษา จานวน 19.55 คะแนน 3.ศิลปศึกษา จานวน 29.13 คะแนน 4.ทักษะการเรียนรู้ จานวน 28.68 คะแนน 5.คณิตศาสตร์ จานวน 29.66 คะแนน 6.ภาษาอังกฤษพื้นฐาน จานวน 29.75 คะแนน 7.ภาษาไทย จานวน 28.29 คะแนน 8.วิทยาศาสตร์ จานวน 18.87 คะแนน 9.สังคมศึกษา จานวน 21.40 คะแนน 10.ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จานวน 23.71 คะแนน 11.การพัฒนาตนเองชุมชน สังคม จานวน 19.81 คะแนน 12.ช่องทางการขยายอาชีพ จานวน 27.77 คะแนน 13.ทักษะการขยายอาชีพ จานวน 17.87 คะแนน 14.พัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ประเด็นที่ 2 ผู้เรียนนาความรู้พื้นฐานไปใช้ในการดาเนินชีวิต การทางาน ร้อยละ 74.08 หรือการประกอบอาชีพ ประเด็นที่ 5 ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนาความรู้ไปใช้/ จานวน 44คน ประยุกต์ในการดารงชีวิต การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ 1.4ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทักษะ ในการประกอบอาชีพ ประเด็นที่ 1 ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ร้อยละ 88 ประเด็นที่ 2 ผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือประกอบ อาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพ หรือการเพิม่ มูลค่าของสินค้า หรือ ร้อยละ 67.84 บริการ ประเด็นที่ 5 ผู้เรียนเป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนาความรู้ไปใช้ จานวน 44 ตัวบ่งชี้ 1.5 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นที่ 1 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักปรัชญา ร้อยละ 59.08 ของเศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นที่ 2 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ ร้อยละ 47.75 พอเพียง ประเด็นที่ 5 ผู้เรียนเป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา จานวน 58คน ของเศรษฐกิจพอเพียง
๖๐
ประเด็น
ค่าเป้าหมาย (จานวน หรือ ร้อยละ)
ตัวบ่งชี้ 1.6 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม ประเด็นที่ 1 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจและมีความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยี ประเด็นที่ 2 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมสามารถนาความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหา และพัฒนาการดารงชีวิต หรือประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม ประเด็นที่ 5 ผู้เรียนเป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการใช้เทคโนโลยีได้อย่าง เหมาะสม การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ 1.7 ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วม กิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย ประเด็นที่ 1 ผู้รับบริการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย ประเด็นที่ 2 ผู้รับบริการที่ได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วม กิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย ประเด็นที่ 5 ผู้รับบริการเป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนาความรู้จากการเข้า ร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัยไปใช้
ร้อยละ 56 ร้อยละ 24.99 จานวน 55 คน
679,521 คน ร้อยละ 75.67 39 คน
๖๑
ผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 256๒ โครงการ/กิจกรรม 1. การศึกษานอกระบบ 1.1 การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑) ผู้ไม่รู้หนังสือ ๒) ประถมศึกษา ๓) มัธยมศึกษาตอนต้น ๔) มัธยมศึกษาตอนปลาย ๕) ปวช. ๖) กลุ่มเป้าหมายพิเศษ ผู้พิการ เร่ร่อน ๗) กิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน โครงการปรับพืน้ ฐานผูเ้ รียน โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน N-Net โครงการติวเข้มเติมเต็มความรู้เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์การสอบ มาตรฐานวิชาชีพ โครงการค่ายส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม โครงการค่ายนักศึกษา กศน.สานึกรักชาติไทย ห่างไกลยาเสพติด โครงการทักษะวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โครงการฟ้าหลังฝนเพือ่ คนพิการ โครงการกิจกรรมกีฬาพืน้ บ้านสร้างสัมพันธ์ ต้านภัยยาเสพติด ๒. การศึกษาต่อเนื่อง ๑) กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ๒) กิจกรรมพัฒนาสังคมและชุมชน ๓) กิจกรรมการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง
เป้าหมาย
ผลการดาเนินงาน
๔๕๙ ๒,๓๑๕ ๒,๙๗๖ ๓๘๑ 6 5
๔๕๙ ๒,๓๑๕ ๒,๙๗๖ ๓๘๑ 6 5
100 150 100
100 150 100
100 100
100 100
100 100 ๑๑๒
100 100 120
1,008 612 288
1,008 612 288
๖๒
ผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 256๒ โครงการ/กิจกรรม ๓. การศึกษาตามอัธยาศัย ๓.๑ โครงการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ชุมชนในตาบล (จัดซื้อ หนังสือพิมพ์/สื่อ) ๓.๒ กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ๑) ห้องสมุดประชาชน ๒) บ้านหนังสือชุมชน ๓) หน่วยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) ๔) อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ๕) ห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด ๔. โครงการ/กิจกรรมสาคัญตามแผนงาน (พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปี) ๔.๑ แผนงาน : บูรณาการพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย ๑) โครงการจัดหลักสูตรดูแลผู้สูงอายุ - หลักสูตร 70 ชั่วโมง - หลักสูตร 420 ชั่วโมง ๔.๒ แผนงาน :บูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและ การเรียนรู้ตลอดชีวิต ๑) โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน - โครงการ ๑ อาเภอ ๑ อาชีพ - โครงการพัฒนาอาชีพ/กลุ่มสนใจ - โครงการช่างพื้นฐาน ๒) โครงการ Smart ONIEเพื่อสร้าง Smart Farmer ๓) โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ ๔) โครงการพัฒนาทักษะครู กศน.ต้นแบบการสอน ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๔.๓ แผน :บูรณาการบริหารจัดการขยะและ สิ่งแวดล้อม ๑) โครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอย โดยมีส่วนร่วม ของชุมชน ๔.๔ แผนงานบูรณาการเสริมสร้างความเข้มแข็ง และ ยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจภายในประเทศ ๑) โครงการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนระดับตาบล
เป้าหมาย
ผลการดาเนินงาน
1
1
4,680 4,680 4,680 4,680 4,680
4,680 4,680 4,680 4,680 4,680
-
-
135 684 540 180 90 -
135 684 540 180 90 -
360
360
559
559
บทที่ 3 ผลการประเมินตนเอง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ได้ดาเนินการ ประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2561 ซึ่งเป็นไปตาม กฎระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ กาหนดระบบหลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สาหรับ สถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ.2555 ที่อาศัยอานาจตามความในมาตรา 20 วรรคสาม และมาตรา 25 วรรคหนึ่งแห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย พ.ศ.2551 และเป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 20 ตัวบ่งชี้ รายละเอียดผลการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา ดังต่อไปนี้ ผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ จากการดาเนินงานของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานที่ 1 สามารถนาเสนอตามผล การดาเนินงานตามรายตัวบ่งชี้ ได้ดังนี้ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่ง ชี้ที่ 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม ผลการดาเนินงาน จากนโยบายของสถานศึกษาได้กาหนดการประเมินคุณธรรมโดยยึดตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ทุกระดับ คือระดับ ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กาหนดให้คุณธรรมพื้นฐาน ๙ ประการ ประกอบด้วย ๑.ขยัน ๒.ซื่อสัตย์ ๓.ประหยัด ๔.มีวินัย ๕.มีน้าใจ ๖.สุภาพ ๗.สะอาด ๘.สามัคคี ๙.กตัญญูกตเวที และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒ ประการ ประกอบด้วย ๑. รักชาติ ศาสน์กษัตริย์ ๒. มีความเป็นประชาธิปไตย ในการกาหนดค่าเป้าหมายโดยบุคลากรของสถานศึกษาได้ ร่วมกันกาหนดค่าเป้าหมายของสถานศึกษา กาหนดการดาเนินงานในเรื่องของการจัดกิจกรรม โครงการ คุณธรรมของสถานศึกษา กาหนดในแผน และโครงการ เช่น โครงการค่ายคุณธรรมจริยธรรม ทาให้ผลการดาเนินงาน ด้านคุณธรรมสูงกว่าค่าเป้าหมายที่กาหนด ถึงร้อยละ ๒ ๘ ผลการ ดาเนินงานของสถานศึกษาได้ร้อยละ ๓๒.๗๓ ตามตารางที่ ๑
๖๔
ตารางที่ ๑ แสดงผลการดาเนินงานของสถานศึกษาปีงบประมาณ ๒๕๖๒ : ผู้เรียนมีคุณธรรม ระดับ
ภาคเรียนที่ 2/256๑ จานวน พอใช้ ดี ดีมาก ผู้เรียน ทั้งหมด 424 310 114 2,435 1,666 769 3,177 2,156 1,021 เฉลี่ย
ประถม ม.ต้น ม.ปลาย
ร้อยละ ระดับดี มาก 26.89 31.58 32.14 30.20
ภาคเรียนที่ 1/256๒ จานวน พอใช้ ดี ดีมาก ผู้เรียน ทั้งหมด 459 330 129 2,329 1,630 699 2,991 1,792 1,199 เฉลี่ย
ร้อยละ ระดับดี มาก 28.10 30.01 40.09 32.73
ตารางที่ ๒ แสดงผลการดาเนินงานของสถานศึกษาปีงบประมาณ ๒๕๖๒ : ผู้เรียนมีคุณธรรม ระดับ
ประถม ม.ต้น ม.ปลาย รวม
จานวน ผู้เรียน ทั้งหมด 883 4,764 6,168 ๑๑,815
รวม 2 ภาคเรียน(ปีงบประมาณ256๒) พอใช้ ดี ดีมาก -
640 3,296 3,948 7,884 เฉลี่ย
243 768 2,220 3,231
ร้อยละ ระดับดีมาก 27.51 16.12 36.00 27.34
ผลการ ดาเนินงาน (ร้อยละ) 27.50 30.80 36.12 31.47
ตารางที่ ๓ แสดงการเปรียบเทียบต่อค่าเป้าหมายที่กาหนดกับผลการดาเนินงาน เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับคุณธรรม (ร้อยละ) ผลการ คะแนนที่ได้ ระดับ เปรียบเทียบ ตามเกณฑ์ ผลการ ค่าเป้าหมาย ดาเนินงาน ประถม 24 27.50 +3.5 ม.ต้น 29 30.80 +1.8 1 ม.ปลาย 31 36.12 +5.12 เฉลี่ย 28 31.47 +3.47
๖๕
สถานศึกษามีการประเมินคุณธรรมผู้เรียนการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทุกระดับคือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คุณธรรมพื้นฐาน 9 ประการ ประกอบด้วย (1) ขยัน (2) ซื่อสัตย์ (3) ประหยัด (4) มีวินัย (5) มีน้าใจ (6) สุภาพ (7) สะอาด (8) สามัคคี (9) กตัญญู คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ 2ประการ ประกอบด้วย (1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ (2) มีความเป็นประชาธิปไตยและ พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร ใน หลวงราชการที่ 10 การศึกษาต้องมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียน 4 ด้าน (1) มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อ บ้านเมือง (2) มีพื้นฐานชีวิตที่ มั่นคง มีคุณธรรม (3) มีงานทา มีอาชีพ (4) เป็นพลเมืองดี โดยใช้ แบบประเมินคุณธรรมตามพฤติกรรมบ่งชี้รายภาคเพื่อบันทึกผลการประเมินผู้เรียนเป็นรายบุคคล และแบบรายงานผลการประเมินคุณธรรมเพื่อใช้เป็นหลักฐานมอบให้ผู้เรียนเมื่อสาเร็จการศึกษาเพื่อ ผู้เรียนนาไปใช้ประกอบการศึกษาต่อหรือประโยชน์อื่น เอกสารประกอบการดาเนินงานกิจกรรม พัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช .(กพช.1-กพช.6 ))รวมทั้งเอกสารบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน (กศน.4) สถานศึกษามีการดาเนินงานเกี่ยวกับการพัฒนาคุณธรรมของผู้เรียนทุกภาคเรียนอย่าง ต่อเนื่อง กิจกรรมการพัฒนาคุณธรรมที่สถานศึกษาดาเนินการจัดให้กับผู้เรียนในปีงบประมาณ 256 ๒ ประกอบด้วย จัดโครงการกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้านเศรษฐกิจพอเพียง และการจัดทาบัญชีครัวเรือน , โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านส่งเสริมประชาธิปไตยและความเป็นพลเมืองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข , โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้าน คุณธรรม จริยธรรม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต , โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด , โครงการกิจกรรมสร้างเสริมสร้างวินัยจราจรเพื่อความปลอดภัยใน การใช้รถใช้ถนนสาหรับนักศึกษา กศน. , โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านส่งเสริมการ เรียนรู้เพศศึกษาแก้ปัญหาเอดส์, โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านอบรมประวัติศาสตร์ชาติ ไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ , กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านการส่งเสริมการจัดการ เรียนรู้ด้าน Digital, โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านรณรงค์เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด , โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการขยะ มูลฝอย,โครงการจิตอาสา “เราทาความดีด้วยหัวใจ” ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น มีผู้เรียนหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือเป็น ต้นแบบที่ดีด้านคุณธรรม สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กาหนด ไว้ (ค่าเป้าหมายที่กาหนดไว้ คือ 3๙ คน มี ผู้เรียนที่เป็นแบบอย่างที่ดี หรือเป็นต้นแบบที่ดีด้านคุณธรรม 17 ตาบล ๆ ละ ๒ คน รวมเป็น 34 คน และตาบลในเมืองมีจานวน ๘ คน รวมเป็น ๔๒ คน ผลการดาเนินงาน ดังตาราง
๖๖
ตารางแสดงรายละเอียด : ผู้เรียนมีคุณธรรม ที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบ นักศึกษาต้นแบบ ลาดับ กศน.ตาบล ที่ดีด้านคุณธรรม ชื่อ-สกุล คุณงามความดี (จานวน) 1. ในเมือง ๘ น.ส.ศิริขวัญ เรืองรัตน์ ความมีน้าใจ นางเกษแก้ว สีหานนท์ ความเสียสละ นางบุญชู นาแสวง ความมีน้าใจ น.ส.สุกัญญา ศรีคงเพชร ความเสียสละ น.ส.เกศกนกภรณ์ ความเสียสละ อังคะวรางกุล นายกฤษณะ วัฒนานุกูลพงศ์ ความเสียสละ นางวัฒนา สีหานนท์ ความมีน้าใจ นางแสงทอง ศิริโภค ความเสียสละ 2. เมืองเก่า 2 นายโกเมนทร์ พลเสนา ความขยัน อดทน นางนวลละออง ภูมิพร กตัญญู มีวินัย พิสุทธิ์ 3. ดอนหัน 2 นางชลิตา พละสุ ความซื่อสัตย์ ประหยัด น.ส.สุพรรษา สาระนัน สุภาพ ประหยัด 4. ท่าพระ 2 น.ส.สนธยา อาจหาญ สามัคคี วินัย น.ส.สุจิตรา ทิพวัจนา ความขยัน มานะ 5. ดอนช้าง 2 น.ส.จอมศรี พุทธเสน สุภาพ สะอาด นางสมจิตน์ นาชู ความรับผิดชอบ 6. บ้านหว้า 2 นางสาเนียง โพธิ์โน อดทน ตรงต่อเวลา นางถนอม อารีย์ ความสะอาด อดทน 7. บ้านทุ่ม 2 นายวุฒิพงษ์ สมวงษา ความซื่อสัตย์ สุจริต นายชลวิทย์ เวียงวิเศษ สุภาพ สะอาด 8. บ้านเป็ด 2 นางเมตตา ปัดคามี ความขยัน อดทน นายจิรศักดิ์ ลีลาศ รักชาติ ศาสนา 9. บ้านค้อ 2 นายสหัสวรรษ นาคคา ความขยัน มานะอดทน นายคู่บุญ แก้วตา ความเสียสละ 10. สาวะถี 2 นางเคลื่อน โมโพธิ์ ความประหยัด อดออม น.ส.ธชาษร จีนศรี ความรับผิดชอบ 11. สาราญ 2 นายฉวี โพธิ์อ่อนตา ความรับผิดชอบ นางชม ทาบุราณ ความขยัน มานะอดทน 12. โนนท่อน 2 น.ส.จิรัตติกาล สงจันทร์ ความเสียสละ นายธนโชติ ชมสาราญ ความเสียสละ
๖๗
นักศึกษาต้นแบบ ลาดับ กศน.ตาบล ที่ดีด้านคุณธรรม ชื่อ-สกุล คุณงามความดี (จานวน) 13. โคกสี 2 นายประสาท กางจันทา อดทน ตรงต่อเวลา นายประดิษฐ์ ศรีหอมชัย ความสะอาด อดทน 14. พระลับ 2 พระสมบัติ มีโพนงาม ความซื่อสัตย์ สุจริต นายหนูเพียร นามมูลน้อย สุภาพ สะอาด 15. หนองตูม 2 นายแก้ว นาคทัด ความขยัน อดทน นายวิชาญ นามหานวล รักชาติ ศาสนา 16. บึงเนียม 2 นางสาลี ปัดทา ความขยัน มานะอดทน นางฉวี พรมบัวภา ความเสียสละ 17. ศิลา 2 น.ส.จินดารัตน์ หอกคา ความประหยัด อดออม นางรุ่งนภา ทุมวงษ์ ความรับผิดชอบ 18. แดงใหญ่ 2 นายปิยววิทย์ พุทธเสน ความรับผิดชอบ นายนิติพงษ์ หลาแขก ความประหยัด อดออม รวม ๔๒ จากการดาเนินงานของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมือง ขอนแก่น จึงมีผลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน/ ผู้รับบริการตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรมได้คะแนน 5.00ได้ระดับ คุณภาพ อยู่ในระดับ ดีมาก ความสอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ ข้อ 2.1 คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่น การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (๑) ร้อยละของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่ สะท้อนความรักและการธารงรักษาสถาบันหลักของชาติ และการยึดมั่นในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขเพิ่มขึ้น ข้อ 2.3 คนทุกช่วงวัยได้รับการศึกษาการดูแลและป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิต รูปแบบใหม่ (๑) ร้อยละของสถานศึกษาที่จัด กระบวนการเรียนรู้และปลูกฝัง แนวทางการจัดการความขัดแย้งโดยแนวทางสันติวิธีเพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพ คนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 2.1 ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย และทักษะและ คุณลักษณะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 (2) ร้อยละของผู้เรียนทุกระดับการศึกษา มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความมี วินัยและมีจิตสาธารณะเพิ่มขึ้น
๖๘
นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 256๒ 1. จุดเน้นด้านความมั่นคง แนวทางหลัก 1.3 การยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา โครงการหลัก 3. การเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ โครงการพัฒนาคุณภาพเด็กไทยและเยาวชนไทย: การเรียนรู้ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ การพัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย/สถาบัน พระมหากษัตริย์ แนวทางหลัก 1.4 การพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อการจัดระบบการดูแลและป้องกันภัย คุกคามในรูปแบบใหม่ โครงการหลัก 4. การส่งเสริมการสร้างภูมิคุ้มกัน และพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อความมั่นคง การสร้างเสริมความรู้และทักษะความเป็นพลเมือง (Civic Education) 3. จุดเน้นด้านการพัฒนาและเสริมสร้ศัากงยภาพคน แนวทางหลัก 3.1 พัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรีการสอน ยน การวัดและประเมินผล โครงการหลัก 5. การส่งเสริมและสร้างคนดี โรงเรียนคุณธรรม โครงการส่งเสริมกิจกรรม ลูกเสือ - เนตรนารี เพื่อสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรมและ ลักษณะที่พึงประสงค์ การรณรงค์ “เกลียดการโกง ความไม่ซื่อสัตย์” การสร้างวินัย หน้าที่ และ ความเป็นพลเมือง นโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ 256๒ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมั่นคง ข้อ 1.1 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ตามพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของ รัชกาลที่ 10 (1) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุขมีความเป็นพลเมืองดีเคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับความ แตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคมพหุวัฒนธรรม (2) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ และอุดมการณ์ความยึดมั่นในสถาบันหลักของชาติ รวมทั้งการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมลูกเสือ กศน.
๖๙
และกิจกรรมอื่น ๆ ตลอดจนสนับสนุนให้ มีการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้กับบุคลากร ในองค์กร ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะ กระบวนการคิด ทักษะการแสวงหา ความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต ผลการดาเนินงาน สถานศึกษา มีผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการ แสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิตสูงกว่าค่าเป้าหมาย ที่กาหนด คือดาเนินการได้ ร้อยละ 1๙.71 ของนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทุกระดับทั้งหมด รวมภาคเรียนที่ 2 / 6๑ และ ภาคเรียนที่ 1/6๒ คิดเป็นจานวน 1,973 คน (ระดับประถมศึกษา จานวน 1 67 คน ,ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 816 คน ,ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 1,387 คน) ซึ่งค่าเป้าหมายที่กาหนดไว้ ร้อย ละ 1๙.00 จากจานวนนักศึกษา ที่มีทั้งหมดรวมภาคเรียนที่ 2/ ๖๑ และ ภาคเรียนที่ 1/6 ๒ ที่มี ทั้งหมด 11,815 (ระดับประถมศึกษา จานวน883 คน ,ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 4,764 คน ,ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 6,168 คน) ดังตาราง ตารางแสดงรายละเอียด : ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่าง ต่อเนื่องและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต ภาคเรียนที่ 2/256๑ จานวน พอ ดี ผู้เรียน ดี ใช้ มาก ทั้งหมด ประถม 424 150 120 63 ม.ต้น 2,435 1,080 890 395 ม.ปลาย 3,177 958 1,015 525 6,036 เฉลี่ย 983 ระดับ
ภาคเรียนที่ 1/256๒ ร้อยละ ระดับ ดีมาก 16.11 15.96 16.02 19.32
จานวน ร้อยละ พอ ผู้เรียน ดี ดีมาก ระดับ ใช้ ทั้งหมด ดีมาก 459 246 128 85 18.51 2,329 996 912 421 18.07 2,991 321 1,995 675 22.57 5,779 เฉลี่ย 990 19.71
รวม 2 ภาคเรียน (ปีงบประมาณ 256๒) ระดับ ประถม ม.ต้น ม.ปลาย รวม
จานวน ผู้เรียน ทั้งหมด 883 4,764 6,168 11,815
พอใช้
ดี
ดีมาก
261 2,076 1,279 3,616
320 1,872 3,502 5,694
167 816 1,387 2,370
เฉลี่ย
ร้อยละ ระดับ ดีมาก 18.91 17.13 22.48 19.50
ผลการ ดาเนิน งาน (ร้อยละ) 18.91 17.13 22.48 19.50 19.54
๗๐
สถานศึกษามีการประเมินความสามารถของผู้เรียนการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทุกระดับคือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยครูออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมที่หลากหลาย สอดคล้องกับความต้องการและความแตกต่างกันของผู้เรียน เช่น การเรียนรู้ด้วยโครงงาน การศึกษา ด้วยตนเองจากสื่อที่หลากหลาย การเขียนโครงการการทากิจกรรม กพช. การสอนเสริม ใบงาน เป็นต้น เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่องและ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิตได้ สถานศึกษา มีการดาเนินงานเกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ โครงการหรือกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการคิด การแสวงหาความรู้ เรียนรู้ ทุกภาคเรียน ภาคเรียนละ 3-4 ครั้ง เพื่อนาไปใช้ในการดารงชีวิต กิจกรรมการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อนาไปใช้ในการดารงชีวิตที่สถานศึกษาดาเนินการจัดให้กับผู้เรียนใน ปีงบประมาณ 256 ๒ ประกอบด้วย โครงการ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้าน การอบรมให้ความรู้ เรื่องประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณพระมหากษัตริย์ นักศึกษา กศน. ,โครงการกิจกรรมพัฒนา คุณภาพผู้เรียนด้าน การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักศึกษา กศน. ,โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนด้านการรณรงค์ป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดนักศึกษา กศน. ,โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนเข้าค่าย อบรมลูกเสือ กศน.อาเภออาเภอเมืองขอนแก่น , โครงการ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนทัศนศึกษา กิจกรรมเปิดโลกวิทยาศาสตร์ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาจังหวัดขอนแก่น , โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้านการเสริมสร้างสุขภาวะอนามัย กินถูกโรค ออกกาลังกาย ถูกใจ ห่างไกลโรคร้าย สถานศึกษา มีการดาเนินงานจัดกิจกรรม/โครงการที่มีความสอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน.ประจาปีงบประมาณ 256๒ ตารางแสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กาหนดกับผลการดาเนินงาน ปีงบประมาณ 2562: ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่องและสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต ระดับ
เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผลการดาเนินงาน (ร้อยละระดับดีมาก) ค่าเป้าหมาย ผลการดาเนินงาน
ประถม
๑๗
๑๘.๙๑
ม.ต้น
๑๙
๑๗.๑๓
ม.ปลาย
๒๒
๒๒.๔๘
๕๘
๑๙.๕๔
เฉลี่ย
ผลการเปรียบเทียบ
+ ๑.๙๑ - ๑.๘๗ + ๐.๔๘
ผลการ ประเมิน (คะแนน)
๑
๗๑
นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๒การผลิตและพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อ สร้างขีด ความสามารถใน การแข่งขันของประเทศข้อ ๒ .๑กาลังคนมีทักษะที่สาคัญจาเป็นและมีสมรรถนะตรง ตามความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ (๙) ประชากรวัย แรงงาน (๑๕– ๕๙ปี)มีจานวนปีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น (๑๐) ร้อยละของประชากรวัยแรงงาน (๑๕ ๕๙ปี) ที่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าขึ้นไปเพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ ๓การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ข้อ ๒ .๒ คนทุกช่วงวัยมีทักษะความ รู้ ความ สามารถ แ ล ะสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและมาตรฐาน วิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ (๖) ประชากรวัยแรงงาน (๑๕ – ๕๙ปี)มีจานวนปี การศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น (๗) ร้อยละของแรงงานที่ขอเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เพื่อยกระดับ คุณวุฒิการศึกษาเพิ่มขึ้นข้อ ๒ .๓สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการ เรียนรู้ตามหลักสูตรอย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน (๓) จานวนสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ ๒๑เพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ ๔การสร้างโอกาสความเสมอภาค และความเท่ าเทียมทางการศึกษาข้อ ๒ .๑ ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ (๕) ประชากรวัย แรงงาน(๑๕– ๕๙ปี)มีจานวนปีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ๒. จุดเน้นด้านการผลิตพัฒนากาลังคนและสร้างความสามารถในการแข่งขันแนวทางหลัก ๒.๑การผลิตและพัฒนากาลังคนให้ความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน มีสมรรถนะในสาขาที่ตรง ตามความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ๒ . จุดเน้นด้านการ ผลิตพัฒนากาลังคนและสร้างความสามารถในการแข่งขันแนวทางหลัก๒ .๑การผลิตและพัฒนา กาลังคนให้ความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน มีสมรรถนะในสาขาที่ตรงตามความต้องการของ ตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศทางการเรียนวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านคณิตศาสตร์ นโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ด้านการพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อ สร้างขีด ความ สามารถ ในการแข่งขันของประเทศข้อ ๒ .๒พัฒนากาลังคนให้เป็น “Smart Digital Persons (SDPs)” ที่มี ทักษะด้านภาษาและทักษะดิจิทัลเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ (๑) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน Digital เพื่อ ให้ประชาชน มีความรู้พื้นฐานด้าน Digital และความรู้เรื่องกฎหมายว่าด้วยการกระทา ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สาหรับ การใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันรวมทั้งการพัฒนาและการเข้า สู่อาชีพยุทธศาสตร์ที่ ๓ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพข้อ ๓ .๓ส่งเสริมให้มี การจัดการเรียนการสอนแบบ “สะเต็มศึกษา” (STEM Education) สาหรับผู้เรียนและประชาชนโดย บูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยีวิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ เพื่อ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน พัฒนาทักษะชีวิตสู่การประกอบอาชีพ
๗๒
สถานศึกษามีการดาเนินงานที่สอดคล้องดังนี้ สอดคล้องกับแผนการศึกษาชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนช่วงวัยและ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อ ๒.๑ ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทยและมี ทักษะและคุณลักษณะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ (๑) ร้อยละของผู้เรียนที่มีลักษณะและทักษะการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เพิ่มขึ้น สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ ๒๕๖ ๒ ๑. จุดเน้น ด้านความมั่นคง แนวทางหลัก ๑.๔ การพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อการจัดระบบการดูแลและป้องกัน ภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ โครงการหลัก ๔. การส่งเสริมการสร้างภูมิคุ้มกันและพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อ ความมั่นคง โครงการหลักโครงการ TO BE NUMBER ONE โครงการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนา ทักษะชีวิต สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน.ปีงบประมาณ ๒๕๖ ๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ด้านการพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ข้อ ๒.๒ พัฒนากาลังคนให้เป็น “ Smart DigitalPersons (SDPs)” ที่มีทักษะด้านภาษาและทักษะ ดิจิทัล เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ(๑) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน Digital เพื่อ ให้ประชาชนมี ความรู้พื้นฐานด้าน Digitalและความรู้เรื่องกฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สาหรับการใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันรวมทั้งการพัฒนาและการเข้าสู่อาชีพ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ ข้อ ๓.๑ เตรียมความพร้อมการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ (Smart Aging Society) (๑)ส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้กับประชาชนที่สร้างความตระหนักถึงการเตรียมพร้อมเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุ (Aging Society) มีความเข้าใจในพัฒนาการของช่วงวัยรวมทั้งเรียนรู้ และมีส่วนร่วมในการ ดูแลรับผิดชอบผู้สูงอายุในครอบครัวและชุมชน(๒)พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรู้ สาหรับประชาชนในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุที่เหมาะสมและมีคุณภาพ ข้อ ๓.๓ ส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนการสอนแบบ “สะเต็มศึกษา” ( STEM Education) สาหรับผู้เรียนและประชาชนโดยบูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพื่อ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน พัฒนาทักษะชีวิตสู่การประกอบอาชีพ ข้อ ๓.๗ ยกระดับ คุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นฐาน โดยพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัด การเรียน การสอน และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คุณภาพของสื่อและนวัตกรรม รวมทั้งมาตรฐานของการวัด และประเมินผล เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้สังคมเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษาของสานักงาน กศน. สถานศึกษา มีผู้เรียนหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือเป็นต้นแบบที่ดีด้านทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในในการดารงชีวิต สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กาหนดไว้ คือ 65 คน ซึ่งสถานศึกษาดาเนินการได้รวม 73 คน
๗๓
ตารางแสดงรายละเอียด : ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้เรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต ที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือเป็นต้นแบบ จานวนผู้เรียนที่เป็น ค่าเฉลี่ยจานวน ตัวอย่างที่ดี ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่าง ผลการ จานวน หรือเป็นต้นแบบในด้าน ที่ดหี รือเป็นต้นแบบ ดาเนินงาน ระดับ ผู้เรียน ทักษะการคิด ทักษะ ในด้านทักษะการคิด (คน) ทั้งหมด การแสวงหาความรู้ฯ ทักษะการแสวงหา ความรู้ฯ 2/256๑ 1/256๒ ประถมศึกษา 883 16 18 1๗ 1๗ มัธยมศึกษาตอนต้น 4,764 24 26 2๕ 2๕ มัธยมศึกษาตอนปลาย 6,168 30 32 ๓๑ ๓๑ รวม 11,815 70 75 ๗๓ ๗๔ รวม ๗๓ จากการดาเนินงานของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมือง ขอนแก่น จึงมีผลการการประเมินตนเองภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน/ ผู้รับบริการ ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต ได้คะแนน4.00 ได้ ระดับ คุณภาพ อยู่ในระดับ ดี ตารางที่ 9 แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กาหนดกับผลการดาเนินงาน ปีงบประมาณ 2562: ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิตที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือเป็นต้นแบบ เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผล ผลการ การดาเนินงาน(คน) ผลการ รายการ ประเมิน เปรียบเทียบ ค่าเป้าหมาย ผลการ (คะแนน) ดาเนินงาน ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะ การแสวงหาความรู้เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๖๕ ๗๓ +๘ ๑ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการ ดารงชีวิตที่เป็นตัวอย่างที่ดี
๗๔
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้พื้นฐาน ผลการดาเนินงาน สถานศึกษามีผู้เรียนที่มีความรู้ ความสามารถและมีทักษะตามสาระการเรียนรู้ ซึ่งมีค่าเฉลี่ย คะแนนสอบปลายภาคเรียนของสถานศึกษาปีงบประมาณ 256๒ ( ภาคเรียนที่ 2/2561และ ภาคเรียนที่ 1/256๒) มีค่าคะแนนเฉลี่ยที่ สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กาหนดแต่ไม่ครบทุกรายวิชา แบ่งเป็น ระดับประถมศึกษา มีคะแนนเฉลี่ย สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กาหนด จานวน ๑๓ รายวิชา คือ 1.) เศรษฐกิจกิจพอเพียง ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 2 ๓.๘๗ ผลดาเนินการได้ 47.23 ๒.) สุขศึกษา พลศึกษา ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ๒๒.๕๖ ผลดาเนินการได้ ๔๗.๙๙ ๓.) ศิลปศึกษา ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ๑๙.๘๐ ผลดาเนินการได้ ๓๒.๗๖ ๔.) ทักษะการเรียนรู้ ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ๒๘.๑๑ ผลดาเนินการได้ ๔๕.๓๘ ๕.) ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 2๓.๔๒ ผลดาเนินการได้ ๓๒.๙๗ ๖.) ภาษาไทย ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ๒๒.๘๓ ผลดาเนินการได้ ๕๖.๐๒ ๗.) วิทยาศาสตร์ ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ๒๒.๕๗ ผลดาเนินการได้ ๒๘.๑๑ ๘.) สังคมศึกษา ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ๒๑.๕๑ ผลดาเนินการได้ ๕๖.๓๖ ๙.) ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ๒๔.๒๓ ผลดาเนินการได้ ๔๐.๐๐ ๑๐.) การพัฒนาตนเองชุมชนสังคม ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ๒๔.๗๔ ผลดาเนินการได้ 47.๙๑ ๑๑.) ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ๒๘.๙๒ ผลดาเนินการได้ ๔๘.๕๒ ๑๒.) ทักษะการประกอบอาชีพค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ๒๘.๙๒ ผลดาเนินการได้ ๓๔.๙๔ ๑๓.) พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 2๓.๘๗ ผลดาเนินการได้ 47.23 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีคะแนนเฉลี่ย สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กาหนด จานวน ๑๒ วิชา คือ 1.) เศรษฐกิจกิจพอเพียง ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 22.86 ผลดาเนินการได้ 55.24 ๒.) สุขศึกษา พลศึกษา ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 23.43 ผลดาเนินการได้ 50.47 ๓.) ศิลปศึกษา ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 20.57 ผลดาเนินการได้ 30.87 ๔.) ทักษะการเรียนรู้ ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 27.00 ผลดาเนินการได้ 37.42 ๕.) ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 28.96 ผลดาเนินการได้ 31.23 ๖.) ภาษาไทย ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 30.11 ผลดาเนินการได้ 44.97 7.) สังคมศึกษา ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 18.79 ผลดาเนินการได้ 38.41 8.) ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 20.36 ผลดาเนินการได้ 30.46 9.) การพัฒนาตนเองชุมชนสังคม ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 18.25 ผลดาเนินการได้ 37.00 ๑0.) ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 18.95 ผลดาเนินการได้ 47.32 ๑1.) ทักษะการพัฒนาอาชีพค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 24.95 ผลดาเนินการได้ ๓7.42 ๑2.) พัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็งค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้18.25 ผลดาเนินการได้31.07
๗๕
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมีคะแนนเฉลี่ย สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กาหนด จานวน 11วิชา คือ 1.) เศรษฐกิจกิจพอเพียง ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 21.69 ผลดาเนินการได้ 39.06 ๒.) สุขศึกษา พลศึกษา ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 22.64 ผลดาเนินการได้ 33.06 ๓.) ศิลปศึกษา ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 19.55 ผลดาเนินการได้ 33.06 ๔.) ทักษะการเรียนรู้ ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 29.13 ผลดาเนินการได้ 39.18 5.) ภาษาไทย ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 29.75 ผลดาเนินการได้ 36.78 6.) สังคมศึกษา ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 18.87 ผลดาเนินการได้ 32.16 7.) ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 21.40 ผลดาเนินการได้ 30.72 8.) การพัฒนาตนเองชุมชนสังคม ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 23.71 ผลดาเนินการได้ 26.37 9.) ช่องทางการขยายอาชีพ ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 19.81 ผลดาเนินการได้ 41.44 ๑0.) ทักษะการขยายอาชีพค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 27.77 ผลดาเนินการได้ 36.93 ๑1.) พัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้17.87 ผลดาเนินการได้37.87 ตารางผลการเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมายระดับประถมศึกษา ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบปลายภาค ค่า เรียนของสถานศึกษา รายวิชาบังคับ เป้าหมาย 2/256๑ 1/256๒ ค่าเฉลี่ย เศรษฐกิจพอเพียง สุขศึกษา – พลศึกษา ศิลปศึกษา ทักษะการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและหน้าที่พลเมือง การพัฒนาตนเองชุมชนสังคม ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ ทักษะการประกอบอาชีพ การพัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน
23.87 22.56 19.80 28.11 26.31 23.42 22.83 22.57 21.51 24.23 24.74 20.63 28.92 18.13
61.14 56.82 41.36 46.59 26.97 32.61 52.05 29.55 67.73 42.50 47.50 47.05 38.64 33.18
33.33
47.23
39.17 24.17 44.17 19.44 33.33 60.00 26.67 39.17 37.50 48.33 50.00 31.25 30.00
47.99 32.76 45.38 23.20 32.97 56.02 28.11 56.36 40.00 47.91 48.52 34.94 31.59
ผลการ เปรียบเทียบ กับค่า เป้าหมาย สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า ต่ากว่า สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า
๗๖
ตารางผลการเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมายระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบปลาย ผลการ ค่า ภาคเรียนของสถานศึกษา เปรียบเทียบ รายวิชาบังคับ เป้าหมาย กับค่า 2/256๑ 1/256๒ ค่าเฉลี่ย เป้าหมาย เศรษฐกิจพอเพียง สุขศึกษา – พลศึกษา ศิลปศึกษา ทักษะการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและหน้าที่พลเมือง การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ทักษะการพัฒนาอาชีพ การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง
22.86 23.43 20.57 27.00 31.03 28.96 30.11 25.57 18.79 20.36 18.52 18.95 24.95 18.25
55.69 48.14 31.44 43.32 23.28 31.58 42.15 25.41 37.43 35.12 54.44 54.44 36.63 32.25
54.80 52.81 30.31 39.38 31.40 30.88 47.80 24.97 39.39 25.81 43.21 43.21 38.21 29.90
55.24 50.47 30.87 41.35 27.34 32.23 44.97 25.19 38.41 30.46 47.32 47.32 37.42 31.07
สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า ต่ากว่า สูงกว่า สูงกว่า ต่ากว่า สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า
๗๗
ตารางผลการเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมายระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบปลาย ผลการ ค่า ภาคเรียนของสถานศึกษา เปรียบเทียบ รายวิชาบังคับ เป้าหมาย 2/256๑ 1/256๒ ค่าเฉลี่ย กับค่า เป้าหมาย เศรษฐกิจพอเพียง 21.69 42.07 36.06 39.06 สูงกว่า สุขศึกษา – พลศึกษา 22.64 38.11 28.01 33.06 สูงกว่า ศิลปศึกษา 19.55 33.60 31.52 32.56 สูงกว่า ทักษะการเรียนรู้ 29.13 43.77 34.60 39.18 สูงกว่า คณิตศาสตร์ 28.68 19.93 26.24 23.08 ต่ากว่า ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 29.66 26.30 23.89 25.09 ต่ากว่า ภาษาไทย 29.75 39.65 33.92 36.78 สูงกว่า วิทยาศาสตร์ 28.29 24.15 24.33 24.24 ต่ากว่า สังคมศึกษา 18.87 33.21 31.11 32.16 สูงกว่า ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 21.40 27.23 34.21 30.72 สูงกว่า การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม 23.71 25.61 2714 26.37 สูงกว่า ช่องทางการขยายอาชีพ 19.81 45.36 37.52 41.44 สูงกว่า ทักษะการขยายอาชีพ 27.77 36.78 37.09 36.93 สูงกว่า การพัฒนาอาชีพให้มีความมั่งคง 17.87 35.85 39.89 37.87 สูงกว่า สถานศึกษา มีการดาเนินงานเกี่ยวกับการพัฒนาความรู้พื้นฐานไปใช้ในการดารงชีวิต การ ทางานหรือการประกอบอาชีพได้ สถานศึกษาดาเนินการได้สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กาหนด คือ ร้อยละ 73.61ซึ่งสถานศึกษากาหนดค่าเป้าหมายไว้ คือ ร้อยละ 73.58ผู้เรียนนาความรู้พื้นฐานไปใช้ในการ ดารงชีวิต การทางาน หรือการประกอบอาชีพได้ โดยมีการประเมินความความรู้พื้นฐานของผู้เรียน การศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทุกระดับคือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลายคิดจากจานวนผู้เข้าสอบ การสอบปลายภาคในปีงบประมาณ 256๒ (ภาคเรียนที่ 2/256๑ และ ภาคเรียนที่ 1/256๒) ดังตาราง
๗๘
ตารางแสดงรายละเอียด : ผลการดาเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562: ผู้เรียน นาความรู้พื้นฐานไปใช้ในการดารงชีวิต การทางาน หรือการประกอบอาชีพได้ จานวนผู้เรียนนาความรู้พื้นฐานไป ผลการ จานวน จานวนผู้จบ ใช้ในการดารงชีวิต การทางาน ผู้เรียน ดาเนินงาน ระดับ ทั้งหมด หรือการประกอบอาชีพได้ (คน) (ร้อยละ ทั้งหมด 2/2561 1/2562 ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย) (คน) (คน) ประถมศึกษา ๘๘๓ ๑๙๔ ๖๒๕ ๖๕๔ ๖๓๙.๕ ๗๒.๔๓ มัธยมศึกษาตอนต้น ๔,๗๖๔ ๘๙๖ ๓,๕๔๗ ๓,๕๗๕ ๓,๕๖๑ ๗๔.๗๕ มัธยมศึกษาตอนปลาย ๖,๑๖๘ ๙๗๔ ๔,๖๓๓ ๔,๖๙๒ ๔,๖๖๒.๕ ๗๕.๕๙ เฉลี่ย ๗๔.๒๕ ตารางแสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กาหนดกับผลการดาเนินงาน ปีงบประมาณ 2562: ผู้เรียนนาความรู้พื้นฐานไปใช้ในการดารงชีวิต การทางาน หรือการประกอบอาชีพได้ เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผลการ ผลการ ดาเนินงาน ผลการ ระดับ ประเมิน (ร้อยละ) เปรียบเทียบ (คะแนน) ค่าเป้าหมาย ผลการดาเนินงาน ประถมศึกษา ๗๒.๓๘ ๗๒.๔๓ + 0.05 มัธยมศึกษาตอนต้น ๗๔.๒๗ ๗๔.๗๕ + 0.48 ๑ มัธยมศึกษาตอนปลาย ๗๕.๕๘ ๗๕.๕๙ + 0.01 เฉลี่ย ๗๔.๐๘ ๗๔.๒๕ สถานศึกษา มีผลการดาเนินงานเกี่ยวกับการพัฒนาความรู้พื้นฐานของผู้เรียนให้เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และมีทักษะตามสาระการเรียนรู้ รวมทั้งการนาความรู้ ความสามารถไปใช้ในการ ดารงชีวิต การทางาน และการประกอบอาชีพ โดยได้จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในด้านต่าง ๆ ให้กับผู้เรียนอย่างต่อเนื่องในทุกภาคเรียน ๆ ละ 3-4 ครั้ง โครงการกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้านเศรษฐกิจ พอเพียงและการจัดทาบัญชีครัวเรือน,โครงการ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านส่งเสริมประชาธิปไตย และความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเป็ ์ นประมุข ,โครงการกิจกรรม พัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านคุณธรรม จริยธรรม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต,โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนด้านส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิต เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ,โครงการกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด , โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้าน อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม , โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านส่งเสริมความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ,โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้าน การแข่งขันกีฬา กศน. โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้าส่นงเสริมการเรียนรู้เพศศึกษาแก้ปัญหาเอดส์ ,โครงการพัฒนา
๗๙
วิชาการ และจัดแสดงผลงานนักศึกษา เพื่อพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ,กิจกรรม,โครงการกิจกรรมพัฒนา คุณภาพผู้เรียนด้านอาสาสมัคร กศน.สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต,โครงการกิจกรรมพัฒนา คุณภาพผู้เรียนด้าน อบรมประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย , กิจกรรมพัฒนา คุณภาพผู้เรียนด้านการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน Digital ,โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้านการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร , โครงการติวเข้มเติมเต็มความรู้ วิชา วิทยาศาสตร์ ,โครงการ ปรับพื้นฐาน วิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา ,โครงการปรับพื้นฐาน วิชาคณิตศาสตร์ ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ,โครงการปรับพื้นฐาน วิชาภาษาอังกฤษ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น , โครงการ การเรียนรู้แบบ STEM Education ,โครงการกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้านการพัฒนาความรู้สู่ประชาคม โลก ,โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ,โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างความเข้าใจตาม โครงการสร้างป่าสร้างรายได้ ตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี สถานศึกษา มีการดาเนินงานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพการจัด กิจกรรม/โครงการที่มีความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน.ประจาปี งบประมาณ 2561 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 2.2 พัฒนากาลังคนให้เป็น “ Smart DigitalPersons (SDPs)” ที่มีทักษะด้านดิจิทัลเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ ( 1) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน Digital เพื่อให้ประชาชนมีความรู้พื้นฐานด้าน Digital และความรู้เรื่องกฎหมายว่าด้วยการกระทา ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สาหรับการใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งการพัฒนาและการเข้า สู่อาชีพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ 3.3 ส่งเสริมให้มีการ จัดการเรียนการสอนแบบ “สะเต็มศึกษา” ( STEM Education)สาหรับนักศึกษาและประชาชน และ “การผลิตสื่อการสอนวิทยาศาสตร์” สาหรับพัฒนาครูผู้สอน โดยบูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน พัฒนา ทักษะชีวิตสู่การประกอบอาชีพ สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2561 2.จุดเน้นด้านการผลิตพัฒนากาลังคนให้ความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน มีสมรรถนะ ในสาขาที่ตรงตามความต้องการของตลาดงานและพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 4. การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างการผลิตและพัฒนากาลังคน โครงการขับเคลื่อน การจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา ( STEM Education)5.ส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขัน โครงการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้เรียน 3. จุดเน้นด้าน การพัฒนาและเริมสร้างศักยภาพคน แนวทางหลัก 7.การขับเคลื่อน STEM Education โครงการ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน โครงการพัฒนาผู้เรียนด้านคณิตศาสตร์ และ สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ข้อ 2.1 กาลังคนมีทักษะที่ สาคัญจาเป็นต้องมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและมีการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศ (9) ประชากรวัยแรงงาน(15 – 59 ปี ) มีจานวนปีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น (10) ร้อยละ ของประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ปี ) ที่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าขึ้น ไปเพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อ 2.2 คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและ
๘๐
มาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ (6) ประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ปี ) มีจานวนปีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น (7) ร้อยละของแรงงานที่ขอเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เพื่อ ขอยกระดับคุณวุฒิการศึกษาเพิ่มขึ้น ข้อ 2.3 สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/ กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรอย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน (3) จานวนสถานศึกษาในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาสความเสมอภาค และความเท่าเทียม ทางการศึกษา ข้อ 2.1 ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มี คุณภาพ (5) ประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ปี ) มีจานวนปีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น สถานศึกษา มีผู้เรียนที่เป็น ตัวอย่างที่ดี หรือ เป็น ต้นแบบในด้านการนาความรู้พื้นฐานไปใช้ ประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กาหนด ซึ่งผลการดาเนินการได้ จานวน 4๘ คน จาก ค่าเป้าหมายที่กาหนดไว้ คือ 4๔ คน ที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือเป็นต้นแบบในด้านการนาความรู้พื้นฐาน ไปใช้ ประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต ดังตาราง ตารางแสดงรายละเอียด : ผลการดาเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 256 2: ผู้เรียนที่เป็น ตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบในด้านการนาความรู้พื้นฐานไปใช้ ประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต จานวนผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็น ผลการ จานวน ต้นแบบในด้านการนาความรู้พื้นฐานไปใช้ ดาเนินงาน ผู้เรียน ระดับ ประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต (คน) (คน) ทั้งหมด (คน) 2/2561 1/2562 ค่าเฉลี่ย ประถมศึกษา ๘๘๓ ๑๖ ๑๘ ๑๗ ๑๗ มัธยมศึกษาตอนต้น ๔,๗๖๔ ๒๔ ๒๖ ๒๕ ๒๕ มัธยมศึกษาตอนปลาย ๖,๑๖๘ ๓๐ ๓๒ ๓๑ ๓๑ รวม ๗๓ แสดงการเปรียบเทียบค่าเป้าหมายที่กาหนดกับผลการดาเนินงาน ปีงบประมาณ 2562: ผู้เรียน ที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบในด้านการนาความรู้พื้นฐานไปใช้ ประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต
รายการ ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบ ในด้านการนาความรู้พื้นฐานไปใช้ ประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต
เปรียบเทียบค่าเป้าหมายกับผล การดาเนินงาน(คน) ค่าเป้าหมาย ผลการ ดาเนินงาน ๔๔
๗๓
ผลการ เปรียบเทียบ
ผลการ ประเมิน (คะแนน)
+
๑
๘๑
จากการดาเนินงานของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ เมือง ขอนแก่น จึงมีผลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษามาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน/ ผู้รับบริการตัวบ่งชี้ที่ 1.3 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้พื้นฐาน โดยวัดจากค่าเฉลี่ยคะแนน ปลายภาคเรียนของสถานศึกษา ได้คะแนน 3.5 ได้ระดับคุณภาพอยู่ในระดับ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบ อาชีพ กศน.อาเภอเมืองได้ดาเนินการตามนโยบาย และจุดเน้นสานักงาน กศน.ประจาปี พ.ศ.๒๕๖ ๒ ภารกิจต่อเนื่อง จัดการศึกษาอาชีพในการมีงานทาอย่างยั่งยืน โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการมีงานทาในกลุ่มอาชีพ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พา ณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะ ทางหรือการบริการที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการของศักยภาพของแต่ละพื้นที่ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพและชุมชนโดยจัดให้มีหนึ่งอาชีพเด่นต่อหนึ่งศูนย์ฝึก อาชีพ ร่วมทั้งให้มีการกากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาอย่างมี ระบบอย่างต่อเนื่อง ผู้เรียนที่ผ่านการอบรมจะต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของการเข้าร่วมโครงการและมี ชิ้นงาน มีการนิเทศผู้เรียนระหว่างจัดทาโครงการโดยใช้แบบวัดผลประเมินและผลชิ้นงาน แบบสอบถามความพึ่งพอใจ และติดตามผู้เรียนหลังเสร็จสิ้นโครงการโดยใช้แบบติดตาม ผลปรากฏว่าผู้เรียนที่จบหลักสูตรมีความสามารถและมีทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถ นาความรู้ไปใช้ในการลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้หรือประกอบอาชีพพัฒนาต่อยอดอาชีพ เพื่อเพิ่ม มูลค่าของสินค้าหรือบริการร้อยละ ๘๔ และได้นาความรู้ไปประกอบอาชีพเสริม และเพิ่มรายได้จาก การจาหน่ายสินค้าทางออนไลน์ร้อยละ ๘๔ ผู้เรียนเป็นตัวอย่างที่ดีหรือต้นแบบการนาไปใช้ได้ จานวน ๑ ,๑๗๒ คน โดยมีความเชี่ยวชาญ ด้านการทาขนมไทย การทาสบู่สมุนไพร การปลูกผักปลอดสารพิษ การแปรรูปอาหารและถนอม อาหาร ด้านช่างเสริมสวยและตัดผม การตัดเย็บเสื้อผ้าและการนวดแผนไทย ได้นาความรู้ไปถ่ายทอดโดยการเป็นวิทยาการให้กับชุมชนตนเองและชุมชนข้างเคียง สถานศึกษา ได้มอบหมายให้ ครู กศน. สารวจความต้องการเรียนรู้กิจกรรมการศึกษ า ต่อเนื่อง มีการประชุมเพื่อนาผลการสารวจมาจัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดทาโครงการ จัดตั้งกลุ่ม จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผน จัดทาแผนนิเทศติดตาม มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ มี การดาเนินงานตามแผนการนิเทศ มีการสรุปผล รายงานผลการดาเนินงาน และนาผลมาวิเคราะห์เพื่อ หาจุดบกพร่องและพัฒนาร่วมกัน โดยมีแบบประเมินผล และแบบติดตามผู้เรียนหลังจบหลักสูตร การศึกษาต่อเนื่อง สถานศึกษา มีการดาเนินงานที่สอดคล้องดังนี้สอดคล้องกับแผนการศึกษาชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การผลิตและพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถใน การแข่งขันของประเทศ ข้อ ๒ .๑ กาลังคนมีทักษะที่สาคัญจาเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความ ต้องการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ (๙ ) ประชากรวัยแรงงาน (๑๕ – ๕๙ ปี) มีจานวนปีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น (๑๐ ) ร้อยละของประชากรวัยแรงงาน (๑๕ – ๕๙ ปี)
๘๒
มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าขึ้นไปเพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนา ศักยภาพคนทึกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อ ๒ .๒ คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิต ได้ตามศักยภาพ (๖ ) ประชากรวัยแรงงาน (๑๕ – ๕๙ ปี) มีจานวนปีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น (๘) จานวนผู้สูงวัยที่ได้รับการบริการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพและทักษะชีวิตเพิ่มขึ้น (๙ ) จานวนสาขาและวิชาชีพที่เปิดโอกาสให้ผู้สูงวัยได้รับการส่งเสริมให้ทางานและถ่ายทอดความรู้ประสบ การเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน.ปีงบประมาณ ๒๕๖ ๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ด้านการพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ข้อ ๒.๒ พัฒนากาลังคนให้เป็น “Smart Digital Persons (SDPs)” ที่มีทักษะด้านภาษาและทักษะ ดิจิทัล เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ (๑ ) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน Digital เพื่อให้ประชาชนมี ความรู้พื้นฐานด้าน Digital และความรู้เรื่องกฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สาหรับการใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันรวมทั้งการพัฒนาและการเข้าสู่อาชีพ (๒ ) สร้างความรู้ความ เข้าใจและทักษะพื้นฐานให้กับประชาชนเกี่ยวกับการทาธุรกิจและการค้าออนไลน์ (พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์) เพื่อร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล (๓ ) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของ ประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรมโดยเน้นทักษะภาษาเพื่ออาชีพ ทั้งในภาคธุรกิจ การ บริการ และการท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ ข้อ ๓.๑ เตรียมความพร้อมการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ ( Smart Aging Society) (๑) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้กับประชาชนเพื่อสร้างความตระหนักถึงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) มีความเข้าใจในพัฒนาการของช่วงวัยรวมทั้งเรียนรู้และมีส่วนร่วมใน การดูแลรับผิดชอบผู้สูงอายุในครอบครัวและชุมชน (๒ ) พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการ เรียนรู้สาหรับประชาชนในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุที่เหมาะสมและมีคุณภาพ (๓ ) จัด การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสาหรับผู้สูงอายุภายใต้แนวคิด “Active Aging” การศึกษาเพื่อ พัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาทักษะชีวิตให้สามารถดูแลตนเองทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต และ รู้จักใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี (๔ ) สร้างตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุเปิดโอกาสให้มี การเผยแพร่ภูมิปัญญาของผู้สูงอายุและให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านต่าง ๆ ในชุมชน เช่น ด้านอาชีพ กีฬาศาสนาและวัฒนาธรรม ข้อ ๓ .๒ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเกษตรกรรม ( Smart Farmer : เกษตรกรปราดเปรื่อง) โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ด้าน เกษตรกรรมที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่และความต้องการของชุมชนรวมทั้งการเพิ่มมูลค่าสินค้า ทางการเกษตรและสร้างช่องทางการจาหน่ายสินค้าผ่านช่องทางต่าง ๆ โดยตระหนักถึงคุณภาพของ ผลผลิตความปลอดภัยต่อระบบนิเวศน์ชุมชนและผู้บริโภค ข้อ ๓ .๕ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนสู่ “วิสาหกิจ ชุมชน” ชุมชนพึ่งตนเองทาได้ขายเป็น ” (๑) ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพที่สอดคล้องกับศักยภาพ ของชุมชนและความต้องการของตลาดรวมทั้งสร้างเครือข่ายการรวมกลุ่มในลักษณะวิสาหกิจชุมชน สร้างรายได้ให้กับชุมชนให้ชุมชนพึ่งพาตนเอง (๒ ) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้กับสินค้าการทาช่องทางเผยแพร่และจาหน่ายผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชนให้เป็นระบบครบวงจร
๘๓
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๕ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากการประเมินของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมือง ขอนแก่น ในตัวบ่งชี้ที่ ๑.๕ พบว่า สถานศึกษาบรรลุตามเป้าหมายความสาเร็จ ของตัวบ่งชี้ที่ ๑.๕ ที่กาหนดไว้ ซึ่งได้ ๕คะแนน จากคะแนนเต็ม ๕ คะแนน ด้วยการดาเนินงานของสถานศึกษาดังนี้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น จัดการศึกษาตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง โครงการส่งเสริมการเรียนรู้การทาธุรกิจและการค้าออนไลน์ (พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์) เพื่อร่วมกัน ขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล โครงการ Smart Onieและโครงการ Smart famer โดยมีการจัดการเรียน การสอนตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร มีการวัดผลประเมินผลผู้เรียนว่ามีความรู้ ความเข้าใจ ในหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากการประเมินความสาเร็จของโครงการ คิดเป็นร้อยละ ๘๐ เท่ากับค่า เป้าหมายที่กาหนดไว้ คือ ร้อยละ ๘๐ ผู้เรียนที่จบหลักสูตรสามารถนาความรู้ไปใช้ในการลดรายจ่ายเพิ่ม รายได้ในครัวเรือนได้ คิดเป็นร้อยละ๘๐ น้อยกว่าค่าเป้าหมายที่กาหนดไว้ คือ ร้อยละ ๘๐ สถานศึกษา ได้มอบหมายให้ ครู กศน. สารวจความต้องการเรียนรู้กิจกรรมการศึกษา ต่อเนื่อง มีการประชุมเพื่อนาผลการสารวจมาจัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดทาโครงการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผน จัดทาแผนนิเทศติดตาม มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ มีการ ดาเนินงานตามแผนการนิเทศ มีการสรุปผล รายงานผลการดาเนินงาน และนาผลมาวิเคราะห์เพื่อหา จุดบกพร่องและพัฒนาร่วมกันโดยมีแบบประเมินผล และแบบติดตามผู้เรียนหลังจบหลักสูตร การศึกษาต่อเนื่อง สถานศึกษามีการดาเนินงานที่สอดคล้องดังนี้ สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การจัดการศึกษาเพื่อ เสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ข้อ ๒.๑ คนทุกช่วงวัย มีจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มี คุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ (๒) ร้อยละ ของผู้เรียนทุกระดับการศึกษามีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความตระหนักในความสาคัญของการดาเนิน ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมความมีคุณธรรม จริยธรรม และการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินชีวิตเพิ่มขึ้น ๒.๓ ร้อยละของจานวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมตาม โครงการน้อมนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติเพิ่มขึ้น ข้อ ๒.๒ หลักสูตร แหล่งเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ(๒) จานวนสถานศึกษา/ สถาบันการศึกษาที่จัดการเรียนการสอนและกิจกรรม เพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และการนา แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติเพิ่มขึ้น สถานศึกษา มีการดาเนินงานที่สอดคล้องดังนี้ สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การจัดการศึกษาเพื่อ เสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ข้อ ๒.๑ คนทุกช่วงวัย มีจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มี คุณธรรม จริยธรรมและนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ (๒) ร้อยละของ ผู้เรียนทุกระดับการศึกษามีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความตระหนักในความสาคัญของการดาเนินชีวิต
๘๔
ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมความมีคุณธรรม จริยธรรม และการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในการดาเนินชีวิตเพิ่มขึ้น ๒.๓ ร้อยละของจานวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการ น้อมนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติเพิ่มขึ้น ข้อ ๒.๒ หลักสูตร แหล่ง เรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และนา แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ(๒) จานวนสถานศึกษา/สถาบันการศึกษา ที่จัดการเรียนการสอนและกิจกรรม เพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ ๒๕๖ ๒ ๕.จุดเน้น ด้านการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตประชาชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แนวทางหลัก ๕.๑ ส่งเสริมและ พัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริม คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โครงการหลัก ๑.การสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก ในการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศและสภาพแวดล้อม โครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงสู่สถานศึกษา แนวทางหลัก ๕.๒ ส่งเสริม สนับสนุน การสร้างจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มี คุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในการดาเนิน ชีวิต โครงการหลัก ๒.การส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตสานึกสิ่งแวดล้อมรักษ์สิ่งแวดล้อม โครงการ ปลูกจิตสานึก/นิสัยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โครงการสร้างวินัยและจิตสานึกในการจัดการพลังงาน ขยะ น้าเสีย มลพิษทางอากาศและความหลากหลายทางชีวภาพ สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖ ๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนที่มีคุณภาพคนให้มีคุณภาพ ข้อ ๓.๖ จัดกระบวนการเรียนรู้ ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน (๑) พัฒนาบุคลากรและแกน นาเกษตรกรในการเผยแพร่และจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพ เกษตรกรรม (๒) จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบระดับตาบลด้านเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพ เกษตรกรรมเพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมให้กับชุมชน (๓) ส่งเสริมให้การบูรณาการระหว่าง ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบล และ กศน.อาเภอในการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพ เกษตรกรรมให้กับประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ ๕ ด้านส่งเสริมและการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้าง คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ข้อ ๕.๑ ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชนความตระหนัก ถึงความสาคัญของการสร้างสังคมสีเขียว ส่งเสริมความรู้ให้กับประชาชนเกี่ยวกับการคัดแยกการแปร รูป และการกาจัดขยะ รวมทั้งการจัดการมลพิษในชุมชน ข้อ ๕.๓ ส่งเสริมให้หน่วยงานและ สถานศึกษาใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมรวมทั้งลดการใช้ทรัพยากรที่ส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม
๘๕
ตัวบ่งชี้ ๑.๖ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม จากการประเมินของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมือง ขอนแก่น ในตัวบ่งชี้ที่ ๑.๖ พบว่า สถานศึกษาบรรลุตามเป้าหมายความสาเร็จ ของตัวบ่งชี้ที่ ๑.๖ ที่ กาหนดไว้ ซึ่งได้ ๔.๕๐ คะแนน จากคะแนนเต็ม ๕ คะแนน ด้วยการดาเนินงานดังนี้ สถานศึกษาจัดการศึกษาด้านการใช้เทคโนโลยีโดย ยกตัวอย่าง เช่นโครงการอบรมดิจิทัลชุมชน หลักสูตรการเข้าใจดิจิทัล (Digital literacy) และ หลักสูตรการค้าขายออนไลน์ (E-commerce) ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถนาความรู้จาก การอบรม นาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น การโพสต์ข้อมูลต่างๆ ลงบนInternet ควรคานึงถึงความ ถูกต้องและไม่ทาให้ผู้อื่นได้รับความเดือดร้อน เสียหาย และคานึงถึง กฎหมายดิจิทัล เช่น พรบ. คอมพิวเตอร์ ซึ่งผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมเมื่อได้รับการอบรม จากศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่นแล้ว มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี คิดเป็นร้อยละ ๖๐ สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กาหนดไว้ คือ ร้อยละ ๕๒(๑ คะแนน) ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม ได้นาความรู้ไปใช้ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาการดารงชีวิต หรือประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม สามารถนาความรู้ ในการอบรมไปพัฒนาอาชีพของตนเอง เช่น การค้าขาย จากเดิมขายแค่หน้าร้าน เมื่ออบรมได้เพิ่มช่องทางคือ การค้าขายออนไลน์ การถ่ายรูป สินค้าและออกแบบผลิตภัณฑ์ให้ดูน่าสนใจ เพื่อเพิ่มช่องทางการขายและเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้ หลากหลายมากขึ้น แก้ไขปัญหาสินค้าจากที่ได้รับความสนใจน้อย พัฒนาให้เป็นที่สนใจมากขึ้น ซึ่ง คิด เป็นร้อยละ ๖๐ สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กาหนดไว้ คือ ร้อยละ ๕๕(๑ คะแนน) สถานศึกษาได้มอบหมายให้ ครู กศน. สารวจความต้องการเรียนรู้กิจกรรมการศึกษาการใช้ เทคโนโลยี มีการประชุมเพื่อนาผลการสารวจมาจัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดทาโครงการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผน จัดทาแผนนิเทศติดตาม มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ มีการดาเนินงาน ตามแผนการนิเทศ มีการสรุปผล รายงานผลการดาเนินงาน และนาผลมาวิเคราะห์เพื่อหาจุดบกพร่อง และพัฒนาร่วมกัน โดยมีแบบประเมินผล และแบบติดตามผู้เรียนหลังจบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง โดยมีแบบประเมินความพึงพอใจหลังจบโครงการ และติดตามการนาความรู้ไปใช้ของผู้เรียนหรือผู้เข้า รับการอบรมทุกกลุ่ม สถานศึกษามีการดาเนินงานที่สอดคล้องดังนี้ สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างโอกาสความเสนอ ภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา ข้อ ๒.๒ การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการศึกษาสาหรับคนทุกช่วงวัย (๑) มีระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาที่ทันสมัย สนองตอบความต้องการของผู้เรียนและผู้ใช้บริการอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ (๖) ร้อยละของผู้ใช้ อินเตอร์เน็ตเพื่อการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม (๗) มีสื่อดิจิทัลเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการ ส่งเสริมการมีอาชีพเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ ๒๕๖ ๒ ๓.จุดเน้น ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน แนวทางหลัก ๓.๔ การส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อ ตาราเรียน และสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้
๘๖
ได้โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ โครงการหลัก ๑.๗.การพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยี การสร้าง มูลค่าเพิ่มด้านผลผลิตและการบริการ และทักษะการเป็นผู้ประกอบการแก่ประชาชนวัยทางานและผู้ สูงวัย สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖ ๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ด้านการพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ข้อ ๒.๑ ขับเคลื่อน กศน. สู่ “Smart ONIE” ในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เสริมสร้างศักยภาพ ของประชาชนให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ (๒) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลการ ใช้ Social Media และ Application ต่าง ๆ เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนของครูและ บุคลากรทางการศึกษา ข้อ ๒.๒ พัฒนากาลังคนให้เป็น “ Smart Digital Persons (SDPs)” ที่มีทักษะ ด้านภาษาและทักษะดิจิทัล เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ (๑) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน Digital เพื่อให้ประชาชนมีความรู้พื้นฐานด้าน Digital และความรู้เรื่องกฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สาหรับการใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันรวมทั้งการพัฒนาและการเข้าสู่อาชีพ (๒) สร้างความรู้ความเข้าใจและทักษะพื้นฐานให้กับประชาชนเกี่ยวกับการทาธุรกิจและการค้า ออนไลน์ (พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์) เพื่อร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ ข้อ ๓.๑ เตรียมความพร้อมการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างมี คุณภาพ (Smart Aging Society) (๓) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสาหรับผู้สูงอายุภายใต้ แนวคิด “Active Aging” การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาทักษะชีวิตให้สามารถดูแล ตนเองทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต และรู้จักใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี สถานศึกษามีผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี ในการนาความรู้ไปใช้ในการแก้ไขปัญหา พัฒนาการ ดารงชีวิต และการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม ผู้เรียน นาความรู้ความเข้าใจ ในหลักสูตร Digital Literacy and E-commerce ไปใช้ในการประกอบอาชีพในการขายสินค้าออนไลน์ โดยนา กระบวนการ และเทคนิคต่างๆ จากการอบรมไปปรับใช้ เช่น การโพสต์ขายสินค้า เทคนิคการถ่ายภาพ การไม่ละเมิดลิขสิทธ์ โดยการแอบอ้างสินค้าของผู้อื่นมาเป็นของตน การประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านทาง Website ขายสินค้าออนไลน์ นอกจากนั้นศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ เมืองขอนแก่น ได้ส่งเสริมสนับสนุนการค้าขายออนไลน์ โดยจัดตั้งศูนย์จาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น (ONIEOnline Commerce Center : OOCC) เพื่อเป็นอีกช่องทางในการ ประชาสัมพันธ์และขายสินค้าออนไลน์ของชุมชน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอเมืองขอนแก่นมีผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีในการนาความรู้ไปใช้ในการแก้ไขปัญหา พัฒนาการ ดารงชีวิต และการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม จานวน ๔๙ คน เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กาหนด ไว้ คือ จานวน ๔๙ คน ยกตัวอย่างเช่น ๑. นางทองคา ชัยรัตน์ กศน.ตาบลบึงเนียม ขายฝรั่งกิมจู น้าฝรั่งสกัด ๑๐๐ % ๒. นางจีรวัฒน์ ผุยพัฒน์ กศน.ตาบลดอนช้าง ขายกระเป่าจากต้นกก ๓. นายชลวิทย์ เวียงวิเศษ กศน.ตาบลบ้านทุ่ม ขายผลิตภัณฑ์จากต้นกก ๔. นายชัชฏาพรณ์ ชาติวงษ์ กศน.ตาบลโคกสี ขายไข่เค็ม ๕. นางมาลีรัตน์ พื้นแสง กศน.ตาบลศิลา ขายแจ่วบอง น้าปลาร้า ๖. นางสาวสุพัตรา ศรีพันดรกศน.ตาบลศิลา ขายพวงมาลัยดอกไม้
๘๗
๗. นางกลม แสนสี กศน.ตาบลบ้านค้อ ขายข้าวกล้องอินทรีย์ ๘. นายธีรโชติ เชื้อบุญมากศน.ตาบลในเมือง ขายเคสโทรศัพท์มือถือ ๙. นางสาวศิรินุจ ขุนไชย กศน.ตาบลพระลับ ขายผลิตภัณฑ์เสริมความงาม ๑๐. นางอานวยพร ศรีสม กศน.ตาบลหนองตูม ขายเห็ดขอนขาว ๑๑. นางสาวสกาวรัตน์ คาด้วงกศน.ตาบลบึงเนียม ขายสติ๊กเกอร์ไลน์ ๑๒. นายดาวเรือง วัดเวียงคากศน.ตาบลเมืองเก่า ขายน้าส้มควันไม้ ๑๓. นายประจบ การโสภากศน.ตาบลโนนท่อน ขายแจ่วบอง ๑๔. นายบุญปลูก ศรีบุญโฮมกศน.ตาบลโนนท่อน ขายน้าสกัดเบญจรงค์ ๑๕. นางชานิษา วงษ์ศิริ กศน.ตาบลบ้านเป็ด ขายพวงมาลัยริบบิ้น เหรียญโปรยทาน ๑๖. นางเมวิน เบ้าเพิ้ง กศน.ตาบลดอนหัน ขายกระเป๋าผ้าแฮนด์เมด พรมเช็ดเท้า ๑๗. นางคาพัน พาวันทา กศน.ตาบลบ้านหว้า ขายกระเป๋าจากซองกาแฟ ๑๘. นางบานเย็น ชรากาหมุดกศน.ตาบลท่าพระ ขายชาใบหม่อน ๑๙. นายศิลากร ทับทิมไสยกศน.ตาบลแดงใหญ่ ขายเบญจรงค์ไทยอีสาน ๒๐. นายทวี แสงมณี กศน.ตาบลแดงใหญ่ ขายไม้แกะสลัก สถานศึกษา มีผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือต้นแบบ ในการนาความรู้ ไปใช้ เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กาหนด (๐.๕ คะแนน) ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๗ ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ การศึกษาตามอัธยาศัย จากการประเมินของ สถานศึกษา ในตัวบ่งชี้ที่ ๑.๗ พบว่า สถานศึกษาบรรลุตามเป้าหมาย ความสาเร็จ ของตัวบ่งชี้ที่ ๑.๗ ที่กาหนดไว้ ซึ่งได้ ๕ คะแนน จากคะแนนเต็ม ๕ คะแนน ด้วยการ ดาเนินงานดังนี้ สถานศึกษา ได้จัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ประจาปี งบประมาณ 256 ๒ ได้แก่ โครงการบ้านหนังสือชุมชน โครงการบรรณสัญจร โครงการห้องสมุด สาหรับชาวตลาด กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน 1 คน สามารถจัดกิจกรรม ส่งเสริมการอ่านให้แก่ผู้รับบริการ 3 คน โครงการหนังสือติดล้อเป็นการนากิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ออกไปบริการในสวนสาธารณะให้กับประชาชนที่สนใจ โครงการห้องสมุดประชานชน โครงการ หนังสือแซ่บ เป็นการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยมีการจัดจุดบริการหนังสือให้กับประชาชนได้อ่าน ที่บริเวณ บริษัทขนส่ง 3 (บขส.3) มีการประเมินความสาเร็จของโครงการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ได้มอบหมายให้ ครู กศน.ตาบล ครู ศูนย์การเรียนชุมชน และบุคลากร กศน. ทกคน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตาม แผนการปฏิบัติงาน มีการบันทึกการเรียนรู้ของผู้เรียน มีการสรุปผลประเมินความพึงพอใจของ โครงการ มีเอกสารลงชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม สมุดบันทึกรักการอ่าน สมุดบันทึกผู้ใช้บริหารห้องสมุด ประชาชน กศน.ตาบล และเกียรติบัตรผู้เข้าร่วมกิจกรรมและ ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ ๑ บ้าน หนังสือชุมชนต้นแบบได้รับโล่รางวัล รองชนะเลิศอันดับ ๑นักกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ ต้นแบบของบ้านหนังสือชุมชน ประเภทกลุ่มบุคคล รางวัลชนะเลิศ ระดับประเทศ ประเภท web site
๘๘
ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติพระเทพฯ กศน .อาเภอเมืองขอนแก่น สังกัดสานักงาน กศน . จังหวัดขอนแก่น รางวัลดีเด่น ผลงานโครงงานหนังสือติดล้อ กศน .อาเภอเมืองขอนแก่น (ห้องสมุด เคลื่อนที)่ รับโล่เชิดชูเกียรติ ในการดาเนินโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด ตาม พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ นอกจากนั้น จากดาเนินโครงการต่าง ๆ ทาให้จังหวัดขอนแก่นได้รับ รางวัลชนะเลิศอันดับ ๑ “เมืองวัฒนธรรมแห่งการอ่าน ต้นแบบนวัตกรรม” จากกระทรวงวัฒนธรรม แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เข้ารับบริการที่เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ การศึกษาตามอัธยาศัย ข้อมูลปี 256๒ กิจกรรม/โครงการ 1. บ้านหนังสือชุมชน 2. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน - วันเด็ก 256๒ - หนังสือติดล้อ - ห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับ ชาวตลาด (ตลาดสดเทศบาล 1 ชั้น 5 เซนทรัลพลาซ่า) - มุมหนังสือแซบ (บขส.3) ๓. รถโมบายเคลื่อนที่ - การระบายสี - หุ่นมือกระบอก 3. ผู้มาใช้บริการห้องสมุด - ให้บริการยืม คืน ส่งเสริมการ อ่าน/กศน.ตาบล รวม
จานวนผู้เข้าร่วม(คน) ห้องสมุด กศน.ตาบล 1,981 5,512 1,675 2,981 702 25,805
รวมจานวนผู้เข้าร่วม กิจกรรม/โครงการ (คน) 1,981 5,512 4,656 702 25,805
4,012
4,012
498 772
498 772
23,184
2,826
26,010
56,648
13,300
69,948
แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เข้ารับบริการที่เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตาม อัธยาศัยในแผนพัฒนาการศึกษา ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา ผู้เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ (คน) 2561 2562 2563 2564 ๖๙,๕๒๑ 67,554 69,521 71,488 73,455 *สถานศึกษากาหนดให้ค่าเป้าหมาย เพิ่มขึ้นปีละ 3 %
๘๙
สถานศึกษา มีการดาเนินงานที่สอดคล้องดังนี้ สองคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุก ช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อ ๒.๔ แหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน นวัตกรรม และสื่อ การเรียนรู้มีคุณภาพ และมาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ (๑) จานวนแหล่งเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาให้สามารถจัดการศึกษา/จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มี คุณภาพเพิ่มขึ้น (๒) จานวนแหล่งเรียนรู้ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ที่ได้รับการสนับสนุนจากภาคเอกชน สถานประกอบการ สถาบันศาสนามูลนิธิสถาบัน/องค์กรต่างในสังคมเพิ่มขึ้น (๔) ร้อยละของชุมชนที่มี การจัดการแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น (๕) มีระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาที่ ทันสมัยสนองตอบความต้องการของผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ (๙) มีระบบคลังข้อมูลเกี่ยวกับ สื่อและนวัตกรรมการเรียนที่มีคุณภาพมาตรฐานสามารถให้บริการคนทุกช่วงวัยและใช้ประโยชน์ ร่วมกันระหว่างหน่วยงานได้ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างโอกาสความเสนอภาค และความเท่าเทียมทาง การศึกษา ข้อ ๒.๒ การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาสาหรับคนทุกช่วง วัย (๑) มีระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาที่ทันสมัยสนองตอบความต้องการของผู้เรียน และผู้ใช้บริการอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ (๖) ร้อยละของผู้ใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการค้นคว้าหา ความรู้เพิ่มเติม (๗) มีสื่อดิจิทัลเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการส่งเสริมการมีอาชีพเพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ข้อ๒.๒ หลักสูตร แหล่งเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ (๓) จานวนแหล่งเรียนรู้ ที่ได้รับการพัฒนาให้สามารถจัดการศึกษา/จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมในเรื่องการสร้างเสริม คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ ๒๕๖ ๒ ๓. จุดเน้น ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน แนวทางหลัก ๓.๓ การส่งเสริมสนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมี ทักษะ ความรู้ความสามารถ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสมเต็มตามศักยภาพ โครงการ หลัก ๑๔. การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาและการให้ความรู้สาหรับคนทุกช่วงวัย ๔. จุดเน้น ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมกันทางสังคม แนวทางหลัก ๔.๔ การพัฒนา ฐานข้อมูลด้านการศึกษาที่มีมาตรฐาน เชื่อมโยงและเข้าถึงได้ โครงการหลัก ๕.การขับเคลื่อนแผน แม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา เพื่อสร้างและเพิ่มประสิทธิภาพด้านการศึกษา บูรณาการ ด้านสื่อและองค์ความรู้ จัดการเรียนรู้/จัดสื่อสาหรับประชาชนในเรื่ององค์ความรู้เกี่ยวกับนโยบายการ พัฒนาต่างๆของรัฐ สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖ ๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ด้านการพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ข้อ ๒.๑ ขับเคลื่อน กศน. สู่ “Smart ONIE ” ในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เสริมสร้าง ศักยภาพของประชาชนให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ (๑) พัฒนาความรู้ความสามารถและ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของครูและบุคลากร กศน. เช่น Boot Camp หลักสูตรภาษาอังกฤษ การ จัดหลักสูตรภาษาเพื่ออาชีพ (๒) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลการใช้ Social Media และ Application ต่างๆเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนของครูและบุคลากรทางการศึกษา ข้อ ๒.๒ พัฒนากาลังคนให้เป็น “Smart Digital Persons (SDPs)” ที่มีทักษะด้านภาษาและทักษะดิจิทัล
๙๐
เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ (๑) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน Digital เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ พื้นฐานด้าน Digital และความรู้เรื่องกฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สาหรับ การใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันรวมทั้งการพัฒนาและการเข้าสู่อาชีพ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ ข้อ ๓.๔ เพิ่มอัตราการอ่านของประชาชนโดยการจัด กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรูปแบบต่างๆ เช่น อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดประชาชนบ้าน หนังสือ ชุมชนห้องสมุดเคลื่อนที่ เพื่อพัฒนาให้ประชาชนมีความสามารถในระดับอ่านคล่อง เข้าใจ ความคิด วิเคราะห์พื้นฐานและสามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและทันเหตุการณ์ รวมทั้งนาความรู้ ที่ได้รับไปใช้ปฏิบัติจริงในชีวิตประจาวัน ข้อ ๓.๕ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนสู่ “วิสาหกิจชุมชน : ชุมชน พึ่งตนเอง ทาได้ ขายเอง” (๑) ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพที่สอดคล้องกับศักยภาพของชุมชนและ ความต้องการของตลาดรวมทั้งสร้างเครือข่ายการร่วมกลุ่มในลักษณะวิสาหกิจชุมชน สร้างรายได้ ให้กับชุมชน ให้ชุมชนพึ่งพาตนเองได้ (๒) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า การทาช่องทางเผยแพร่และจาหน่ายผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชนให้เป็นระบบครบวงจร ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างโอกาสความเสนอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา ข้อ ๔.๒ สร้าง กระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบ E-learning ที่ใช้ระบบเทคโนโลยีเข้ามาบริหารจัดการเรียนรู้ เพื่อเป็น การสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมายได้สะดวก รวดเร็วตรงคามความต้องการ ของประชาชนผู้รับบริการ ข้อ ๔.๓ เพิ่มอัตราการรู้หนังสือและยกระดับการรู้หนังสือของประชาชน (๒) ยกระดับการรู้หนังสือของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการรู้หนังสือในรูปแบบต่างๆ ร่วมทั้งทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน สถานศึกษามีผู้รับบริการที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือต้นแบบและได้รับรางวัล ต่าง ๆ ดังนี้ โครงการบ้านหนังสือชุมชน - นางประนอม ขามพิทักษ์ ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ ๑ บ้านหนังสือชุมชนต้นแบบบ้าน โคกท่า หมู่ที่ ๕ ตาบลหนองตูมของสานักงาน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น - นางประนอม ขามพิทักษ์ ได้รับโล่รางวัล รองชนะเลิศอันดับ ๑นักกิจกรรมส่งเสริมการ อ่านและการเรียนรู้ต้นแบบของบ้านหนังสือชุมชน ประเภทกลุ่มบุคคล บ้านโคกท่า หมู่ที่ ๕ ตาบลหนองตูมของสานักงาน กศน.กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น โครงการหนังสือติดล้อ - รางวัลชนะเลิศ ระดับประเทศ ประเภท web site ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ พระเทพฯ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น สังกัดสานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น - รางวัลดีเด่น ผลงานโครงงานหนังสือติดล้อ กศน .อาเภอเมืองขอนแก่น (ห้องสมุด เคลื่อนที่) - รับโล่เชิดชูเกียรติ ในการดาเนินโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด ตาม พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ - รางวัลชนะเลิศระดับประเทศ รางวัลเมืองวัฒนธรรมแห่งการอ่าน ด้านนวัตกรรม จาก กระทรวงวัฒนธรรม
๙๑
จากผลการดาเนินงานของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมือง ขอนแก่น ที่สอดคล้องกับ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน /ผู้รับบริการ ดังรายละเอียดข้างต้น สามารถสรุปคะแนน ที่ได้ และระดับคุณภาพจากผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาได้ ดังรายละเอียดในตารางต่อไปนี้ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ ๑คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะ กระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๓ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้พื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๕ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๖ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้ เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๗ ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือ ประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษา ตามอัธยาศัย รวม
ผลการประเมินตนเอง น้าหนัก ระดับ (คะแนน) คะแนนที่ ได้ คุณภาพ ๓๕ ๓๑.๕๐ ๕
๔.๕๐
ดีมาก
๕ ๕
๔ ๓.๕๐
ดี ดี
๕ ๕
๕ ๕
ดีมาก ดีมาก
๕
๔.๕๐
ดีมาก
๕
๕
ดีมาก
๓๕
๓๑.๕๐
ดีมาก
สถานศึกษามีผลการประเมินตนเองในภาพรวม มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรีย/ผูน ้รับบริการ มีคะแนนรวม เท่ากับ ๓๑.๕๐ คะแนน ซึ่งมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมากโดยมีจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา ตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบ และข้อเสนอแนะในการพัฒนา ดังนี้ จุดเด่น ตามมาตรฐานที่ ๑คุณภาพผู้เรียน/ผู้บริการ มีทั้งหมด ๓ตัวบ่งชี้ คือ ตัวบ่งชี้ที่ ๑ .๔ ,๑.๕ และ ๑.๗ ผู้เรียนและผู้บริการมีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพที่หลากหลาย สามารถนาความรู้ไปพัฒนาอาชีพของตนเอง มีรายได้เลี้ยงครอบครัวอย่างมีความสุข และผู้บริการได้มี
๙๒
ความรู้ความสามารถทางการอ่าน เพิ่มทักษะการอ่านจากการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากบ้าน หนังสือชุมชนของทุกตาบลได้เป็นอย่างดี จุดที่ควรพัฒนา สถานศึกษาควรพัฒนาผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีความรู้พื้นฐานมากขึ้นโดยจัดทา โครงการพัฒนาผู้เรียนด้านวิชาการอย่างต่อเนื่องเช่น การจัดโครงการติวเข้มในวิชาบังคับ การจัด โครงการค่ายวิชาการส่งเสริมการเรียนรู้ในวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ ฯลฯ ตัวอย่างที่ดี นายอลากรณ์ จักรเบี้ย นายธง คมปราด กศน.ตาบลโคกสี นางสาวพนิดา นามบุตร นางสาว สุคนธ์ทิพย์ สุวรรณา กศน.ตาบลบ้านหว้า นางนวลละออง ภูมิสฃพรทิสุทธิ์ นายสุนทร รัตนพลแสน กศน.ตาบลเมืองเก่า นายศักดิ์ศรี อินทะมา นายณัฐพงษ์ วงชาลีกศน.ตาบลแดงใหญ่ นางประนอม ขามพิทักษ์ นายนพเก้า พิมหานาม กศน.ตาบลหนองตูม นางสาววรินดา ชนิดนา นางสาวดวงกมล นามกุล กศน.ตาบลสาวะถี นายทองใบ แสงสีเรือง นางสาวจินตนา โคตรสมบัติ กศน.ตาบลศิลา นายบัวบาน เพียหอชัย นางเมตตา บัตคามีกศน.ตาบลบ้านเป็ด นายศรีวิโรจน์ นามเหล่ม นางบัวลอย ทองตะ กศน.ตาบลบ้านดอนช้าง นายจิระศักดิ์ ราชสุวอ นางนันทิดา ราชวงษ์ กศน.ตาบลดอนทัน นางสาววิยะดา ถาพร นางสาวณัฐนันธ์ เผ่าภูลี กศน.ตาบลบึงเนียม นายชลวิทย์ เวียงวิเศษ นางสาว พัชรี วังโส กศน.ตาบลบ้านทุ่ม นายยงค์ยุทธ งาสีแดง นายยะฤทธิ์ ศรีบุญเรือง กศน.ตาบลท่าพระ นายสุวรรณ คนซื่อ นายประสิทธิ์ ทาจวน กศน.ตาบลโนนท่อน นายมานพ โสมพรมมา นายสมบัติ สุปันโน กศน.ตาบลบ้านค้อ นางบุญเยี่ยม วงศ์คาซาว นางสุจิตรา อุทธา กศน.ตาบลพะลับ นายฉวี โพธิ์อ่อนตา นางมณี เชียงอาสา กศน.ตาบลสาราญ นายเอกณัฐ ยามี นายกิติกร วงค์ประชุม น.ส.ศิริขวัญ เรืองรัตน์ น.ส.สุกัญญา ศรีคงเพชร น.ส.เสาวลักษณ์ ปัจช่วย กศน.ตาบลในเมือง โครงการบ้านหนังสือชุมชน - นางประนอม ขามพิทักษ์ ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ ๑ บ้านหนังสือชุมชนต้นแบบ บ้าน โคกท่า หมู่ที่ ๕ ตาบลหนองตูมของสานักงาน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น - นางประนอม ขามพิทักษ์ ได้รับโล่รางวัล รองชนะเลิศอันดับ ๑นักกิจกรรมส่งเสริมการ อ่านและการเรียนรู้ต้นแบบของบ้านหนังสือชุมชน ประเภทกลุ่มบุคคล บ้านโคกท่า หมู่ที่ ๕ ตาบลหนองตูมของ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น โครงการหนังสือติดล้อ - รางวัลชนะเลิศ ระดับประเทศ ประเภท web site ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ พระเทพฯ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น สังกัดสานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น - รางวัลดีเด่น ผลงานโครงงานหนังสือติดล้อ กศน .อาเภอเมืองขอนแก่น (ห้องสมุด เคลื่อนที่) - รับโล่เชิดชูเกียรติ ในการดาเนินโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด ตาม พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ
๙๓
- รางวัลชนะเลิศระดับประเทศ รางวัลเมืองวัฒนธรรมแห่งการอ่านด้าน นวัตกรรม จาก กระทรวงวัฒนธรรม ต้นแบบ
- นางประนอม ขามพิทักษ์ ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ ๑ บ้านหนังสือชุมชนต้นแบบ บ้าน โคกท่า หมู่ที่ ๕ ตาบลหนองตูมของสานักงาน กศน .อาเภอเมืองขอนแก่นและได้รับโล่ รางวัล รองชนะเลิศอันดับ ๑นักกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ต้นแบบของบ้าน หนังสือชุมชน ประเภทกลุ่มบุคคล บ้านโคกท่า หมู่ที่ ๕ ตาบลหนองตูมของสานักงาน กศน.กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ซึ่งเป็นบุคคลที่มีจิตสาธารณะโดยการเสียสละพื้นที่บ้าน ของตนเองเพื่อจัดเป็นพื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการอ่าน ส่งเสริมด้านอาชีพ ทักษะ ชีวิตแก่ผู้ที่สนใจและประชาชนในตาบลได้เข้ามาเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ข้อเสนอแนะในการพัฒนา สถานศึกษาควรพัฒนาผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีความรู้พื้นฐานมากขึ้นโดยจัดทา โครงการพัฒนาผู้เรียนด้านวิชาการอย่างต่อเนื่องเช่น การจัดโครงการติวเข้มในวิชาบังคับ การจัด โครงการค่ายวิชาการส่งเสริมการเรียนรู้ในวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ ฯลฯสถานศึกษาควรจัดทาโครงการที่ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น โครงการสอนเสริมรายวิชาบังคับที่มีค่าต่ากว่าค่าเป้าหมาย โครงการค่ายติวเข้ม พัฒนา ผู้เรียน การศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม โดยมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม เข้าค่ายธรรมะ เป็นต้น พัฒนา ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะ กระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต ส่งเสริมและจัดกิจกรรมเข้าค่ายรณรงค์ต่อต้านยาเสพ ติด เป็นต้น มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ คุณภาพครูการศึกษาขั้นพื้นฐาน (คะแนนที่ได้ ๕.๐๐) จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ ๒ .๑พบว่า สถานศึกษาบรรลุเป้าหมาย ความสาเร็จของตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ที่กาหนดไว้ ซึ่งได้ ๕.๐๐ ได้ระดับคุณภาพอยู่ในระดับ ดีมากด้วย การดาเนินงานของสถานศึกษา ดังนี้ สถานศึกษามีการดาเนินงานที่เป็นกระบวนการในการส่งเสริมและ หรือพัฒนาครูการศึกษา ขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพ โดย สถานศึกษามีการประชุมชี้แจงนโยบาย แนวทางการปฏิบัติงาน/การ ดาเนินงานที่มีคุณภาพ (ผู้บริหารมีนโยบายที่ชัดเจน) ครูได้รับการพัฒนาอย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง จัดทาแผนพัฒนาบุคลากรและนโยบายการพัฒนาบุคลากรของต้นสังกัด ตามความต้องการของ ครูหรือใช้แบบสารวจ จัดลาดับความต้องการโดยวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง (ID Plan) PLC ชุมชนการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ Coaching การเรียนการสอนโดยมีวิทยากรที่เชี่ยวชาญในการฝึกปฏิบัติและให้ ความรู้แก่บุคลากร สถานศึกษามีการดาเนินงานที่เป็นกระบวนการในการส่งเสริมและ หรือพัฒนาครูการศึกษา ขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพ โดยสถานศึกษา มีการประชุมจัดทาแผนพัฒนาบุคลากรประจาปีงบประมาณ
๙๔
๒๕๖๒ ตามความต้องการของครู และนโยบายการพัฒนาบุคลากรของต้นสังกัด โครงการที่ดาเนินการ ในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ได้แก่ โครงการพัฒนาด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โครงการบุคลากรของ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น และสถานศึกษาในสังกัด ได้รับ การพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่าง ทั่วถึง โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โครงการค่ายลูกเสือ โครงการฝึกอบรมค่ายยุวกาชาด หลักสูตร พื้นฐานยุวกาชาด มุ่งสู่ค่านิยมหลัก ๑๒ประการ โครงการร่วมมือกับต่างประเทศด้านการพัฒนา ส่งเสริม และเผยแพร่เกษตรธรรมชาติ โครงการศึกษาดูงานกระบวนการเรียนรู้ การบริหารจัดการขยะ อย่างยั่งยืน โครงการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟน การใช้ อินเทอร์เน็ต และการค้าขายออนไลน์ โครงการ อบรมดิจิทัล โครงการพัฒนาบุคลากรส่งเสริมและพัฒนาการประกันคุณภาพ โครงการการเขียน รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น สถานศึกษา ได้มีการประเมินความสาเร็จของโครงการพัฒนาบุคลากรทุกโครงการที่ ดาเนินการจากผลการประเมิน ครู กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น สามารถนาความรู้ที่ได้รับจากการเข้า รับการอบรม การศึกษาดูงานไปปรับใช้ในการจัดการเรียนรู้ของตนเองได้อย่าง น้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง นอกจากนี้ยังส่งเสริม และสนับสนุนให้ครูเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น หรือพัฒนาตนเองใน สาขาวิชาชีพครู รวมทั้งส่งครูเข้ารับการอบรม และพัฒนากับหน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานอื่น โดยพิจารณาคัดเลือกผู้เข้ารับการอบรมจากผู้มีความรู้ความสามารถ และความสนใจ ได้มอบหมายให้ บุคลากรที่ได้เข้ารับการอบรม รายงานผลการอบรมทุกครั้งหลังการอบรม มีการติดตามการนา ความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปขยายต่อ โดยการจัดทาแผนการนิเทศ ติดตามการจัดกระบวนการ เรียนรู้กิจกรรมของครู โดยให้คาแนะนา สร้างขวัญและกาลังใจ ร่วมแก้ไขปัญหาในการจัดกิจกรรม ของครู มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ปัญหาอุปสรรค และวิธีการแก้ไขปัญหา หรือแนวทางการจัด กิจกรรมที่ประสบผลสาเร็จของครูแต่ละคน ในการประชุมประจา สัปดาห์ โดยบุคลากรทุกคนจัดทา แผนการปฏิบัติงาน สรุปผลการดาเนินงานประจาเดือนเสนอผู้บริหาร สถานศึกษา มีครูการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน ๗๖คน ได้รับการพัฒนาตามแผนพัฒนา บุคลากร โดยเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ทั้งจากต้นสังกัด และหน่วยงานอื่น มีการ รายงานผลการเข้ารับการอบรมต่อผู้บังคับบัญชา และนาความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในการจัดการเรียนรู้ ให้กับผู้เรียน ครูผู้สอนที่มีความรู้ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนการศึกษาขั้น พื้นฐานและการจัดกิจกรรมงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย คิดเป็นร้อยละ ๙๒.๑๐ สถานศึกษามีการดาเนินงานที่สอดคล้องดังนี้ สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปียุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วง วัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อ ๒.๗ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการ พัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน (๑) ร้อยละของครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ/ ประเภทการศึกษาได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น (๒) ร้อยละของครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการพัฒนาให้ สอดคล้องกับความต้องและยุทธศาสตร์ของหน่วยงานเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ ๒๕๖ ๒ ๓. จุดเน้น ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน แนวทางหลัก๓ .๒การผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์ และ
๙๕
บุคลากรทางการศึกษา โครงการหลัก ๑๐. โครงการผลิตพัฒนาเสริมสร้างคุณภาพวิชาชีพ ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ผลิตครูระบบปิด Training for trainers/Boot Camp การพัฒนาระบบนิเทศ สร้าง Trainers ด้านการประเมินคุณภาพ โครงการ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาด้วย DLTV/TPEP online การพัฒนาครูเฉพาะช่วงปิดภาคเรียน สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖ ๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ด้านการพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ข้อ ๒.๑ ขับเคลื่อน กศน. สู่ “Smart ONIE ” ในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เสริมสร้างศักยภาพ ของประชาชนให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ (๑) พัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษของครูและบุคลากร กศน. เช่นBoot Camp หลักสูตรภาษาอังกฤษ การจัดหลักสูตรภาษา เพื่ออาชีพ (๒) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลการใช้Social Media และ Application ต่างๆ เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนของครูและบุคลากรทางการศึกษา ข้อ ๒.๒ พัฒนากาลังคน ให้เป็น “Smart Digital Persons (SDPs)” ที่มีทักษะด้านภาษาและทักษะดิจิทัล เพื่อรองรับการพัฒนา ประเทศ (๑) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน Digital เพื่อให้ประชาชนมีความรู้พื้นฐานด้าน Digital และ ความรู้เรื่องกฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สาหรับการใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจาวันรวมทั้งการพัฒนาและการเข้าสู่อาชีพ (๒) สร้างความรู้ความเข้าใจและทักษะพื้นฐานให้กับ ประชาชนเกี่ยวกับการทาธุรกิจและการค้าออนไลน์ (พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)เพื่อร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ดิจิทัล(๓) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่างๆอย่างเป็นรูปธรรม โดย เน้นทักษะภาษาเพื่ออาชีพ ทั้งในภาคธุรกิจ การบริการ และการท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้าง โอกาสความเสนอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา ข้อ ๔.๕ พลิกโฉม กศน.ตาบล สู่ “กศน. ตาบล ๔G” (๑) พัฒนาครู กศน.และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ : Good Teachers ให้เป็นตัวกลางในการเชื่อมโยงความรู้กับผู้รับบริการมีความเป็น “ครูมืออาชีพ” มีจิต บริการ มีความรอบรู้ และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมเป็นผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้และบริหาร จัดการความรู้ที่ดี รวมทั้งเป็นผู้ปฏิบัติงานอย่างมีความสุข (๒) พัฒนา กศน.ตาบล ให้มีบรรยากาศและ สภาพแวดล้อมเอื้อต่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง : Good Places Best Check-In มีความพร้อมในการ ให้บริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้เป็นแหล่งข้อมูลสาธารณะที่ง่ายต่อการเข้าถึงและสะดวกต่อ การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างสร้างสรรค์ มีสิ่งอานวยความสะดวก ดึงดูดความสนใจ และมีความปลอดภัย สาหรับผู้รับบริการ (๓) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใน กศน.ตาบล: Good Activities ให้มี ความหลากหลายน่าสนใจตอบสนองความต้องการของชุมชนเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของ ประชาชนรวมทั้งเปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามาจัดกิจกรรมเพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของคนในชุมชน สถานศึกษา ได้สนับสนุน ส่งเสริมให้ครูการศึกษาขั้นพื้นฐานเข้ารับการพัฒนาตามทักษะ ความสามารถที่โดดเด่นของแต่ละบุคคล อีกทั้งมอบหมายให้รับผิดชอบงานตามความสามารถนั้น อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ได้รับการพัฒนาทักษะความสามารถที่สูงขึ้นเป็นที่ยอมรับของบุคลากรใน สถานศึกษา และหน่วยงานภาคีเครือข่าย สถานศึกษาได้กาหนดคุณลักษณะของครูการศึกษาขั้น พื้นฐานที่เป็นต้นแบบ คือ ต้องเป็นคนที่มีความรับผิดชอบในหน้าที่สูง มีการพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่อง มีการรายงานผลการดาเนินงานให้ผู้บริหารทราบทุกกิจกรรมที่ตนเองรับผิดชอบ มีการนาผล การพัฒนาตนเองมาขยายผลให้เพื่อครูทราบอย่างต่อเนื่อง เป็นบุคคลที่เสียสละช่วยเหลือเพื่อนครูโดย ไม่มีข้อแม้ เป็นผู้นาวิชาการ และ เป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติงานดังรายชื่อต่อไปนี้
๙๖
ตารางแบบอย่างที่ดี ลาดับ ชื่อ - สกุล 1. นางวิไลพร บูรณ์เจริญ ๒. ๓. ๔.
รางวัล ข้าราชการครูด้านการศึกษา และการพัฒนาชุมชน และ สังคมดีเด่น นางสาวธันยพัฒน์นูเร ข้าราชการครูด้านการศึกษา พัฒนาอาชีพดีเด่น นางสาวประพาฬ ดิษฐเจริญ ครู กศน.ตาบลดีเด่น ครู กศน.ตาบลยอดเยี่ยม นางสาวชัชญาภา สารผล
๕.
นางสาวตติยาภรณ์ โพธิราช
๖.
นางสาวพิรารัตน์ นุชรอด
๗.
นายกฤษฎา อ่อนฉวี
๘.
นางสาวพัณณ์ชิตา สนิทชน
๙.
นางสาวเพียงใจ ไชยพิเดช
๑๐.
นายมานิต พงศ์จรัสมณี
๑๑.
นางศิรินาฎ จารย์โพธิ์
๑๒.
นางสาวสุภาพร วงค์ษา
ครู กศน.ด้านจัดกิจกรรม พัฒนาคุณภาพชีวิต ยอดเยี่ยม (กพช.) ครู กศน.ด้านจัดกิจกรรม พัฒนาคุณภาพชีวิตดีเด่น ครูศูนย์การเรียนชุมชนดีเด่น ครูศูนย์การเรียนชุมชนยอด เยี่ยม ครู กศน.ต้นแบบด้านการสอน คณิตศาสตร์ดีเด่น ครู กศน.ต้นแบบด้านการสอน คณิตศาสตร์ดีเด่น ครู กศน.ต้นแบบด้านการสอน ภาษาไทยดีเด่น ครู กศน.ต้นแบบด้านการสอน ภาษาไทยดีเด่น ครูต้นแบบด้านการสอน ภาษาอังกฤษดีเด่น ครูสอนคนพิเการดีเด่น บุคคลต้นแบบด้านการศึกษา พัฒนาชุมชนและสังคม ครูประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ดีเด่น ครูต้นแบบด้านการสอนสุข ศึกษา/พลศึกษาดีเด่น
หน่วยงานที่มอบ สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น กลุ่มร้อนแก่นสารสินธุ์ สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น กลุ่มร้อนแก่นสารสินธุ์ สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น กลุ่มร้อนแก่นสารสินธุ์ สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น กลุ่มร้อนแก่นสารสินธุ์ สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น กลุ่มร้อนแก่นสารสินธุ์ สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น
๙๗
ลาดับ ชื่อ - สกุล ๑๓. นางสาวอุรุชา โนพันธ์
หน่วยงานที่มอบ สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น
๑๔.
สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น
๑๕. ๑๖.
๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ๒๑. ๒๒. ๒๓. ๒๔. ๒๕.
รางวัล ครู กศน.ส่งเสริมการจัดการ เรียนการสอนด้าน ประชาธิปไตยดีเด่น นางสาวณัฐธยาท์ ศรีทองธร ครูกศน.ส่งเสริมการจัดการ สิริ เรียนการสอนด้านดิจิทัล ชุมชน นางศุภรดา พันธุ์แดง บุคคลต้นแบบที่ส่งเสริมด้าน การพัฒนาทักษะชีวิตดีเด่น นายธีระ โคตะมี บุคคลต้นแบบที่ส่งเสริมการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์ชาติไทย นายสาธิต ภูมิเวียงศรี บุคคลต้นแบบที่ส่งเสริมด้าน การศึกษาพัฒนาอาชีพ นางทับทิม พละกล้า ครูอาสาสมัครการศึกษานอก โรงเรียน ดีเด่น นางอภิญญา วงศ์การดี พนักงานราชการ (หัวหน้า กศน.ตาบล)ต้นแบบ ดีเด่น นางสาวทิศกมลพร โพธิ์วิชัย ครู กศน.ต้นแบบด้านการสอน พัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ดีเด่น นายอดิศร ล่ามแขก ครู ปวช. ส่งเสริมการจัดการ เรียนการสอนด้าน เกษตรกรรม ดีเด่น นางสาวสุภาวดี มาตรา ครู ปวช. ส่งเสริมการจัดการ เรียนการสอนด้านพานิชยก รรม ดีเด่น นายสุรวุฒิ ชื่นปรีชา ครู ปวช. ส่งเสริมการจัดการ เรียนการสอนด้าน อุตสาหกรรมดีเด่น นางสาวเบญจมาศ บุดดา ครู ปวช. ส่งเสริมการจัดการ เรียนการสอนด้านศิลปกรรม/ หัตถกรรมดีเด่น นางสาวิตรี ชัยวงษ์ บุคคลต้นแบบที่ส่งเสริม การศึกษาขั้นพื้นฐานดีเด่น
สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น สานักงาน กศน.จังหวัด ขอนแก่น
๙๘
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ คุณภาพของหลักสูตรสถานศึกษา จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ ๒ .๒พบว่า สถานศึกษาบรรลุเป้าหมาย ความสาเร็จของตัวบ่งชี้ที่ ๒ .๒ที่กาหนดไว้ ซึ่งได้ ๔ .๕๐ คะแนน ได้ ระดับ คุณภาพอยู่ในระดับ ดีมาก ด้วยการดาเนินงานของสถานศึกษา ดังนี้ สถานศึกษามีการ ประชุมปรึกษาหารือในการ ดาเนินงานกระบวนการพัฒนาหลักสูตร โดย จัดทาคาสั่งแต่งตั้งค ณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา และจัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะทางานมีการประชุมวางแผน ศึกษาและวิเคราะห์ ดาเนินการ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดยการอบรมเชิงปฏิบัติการการถอดบทเรียน องค์ความรู้ ข้อมูลด้าน ต่างๆ เกี่ยวกับการพัฒนาอาชีพช่างตัดผมชายซึ่งจะนามาพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อเป็นวิชา เลือก สถานศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพความต้องการของผู้เรียนและผู้สนใจศึกษาข้อมูลด้าน การศึกษา สารวจ ลงพื้นที่ สอบถาม สังเกต มี การวิเคราะห์ศักยภาพของ สถานศึกษา ประกอบด้วย บุคลากร, งบประมาณ, อุปกรณ์สื่อ และปัญหาที่เกิดจากการใช้หลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน เพื่อตัดสินใจในการเลือกหลักสูตรที่เหมาะสม สถานศึกษามี การวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง จาก หลักสูตร 25๕๑จุดมุ่งหมายของหลักสูตรจุดประสงค์ของรายวิชา (ความมุ่งหวังที่ต้องการ)เนื้อหาของ หลักสูตรกิจกรรมการเรียนการสอนและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สถานศึกษามี การตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรเมื่อร่างหลักสูตรเสร็จต้องมีการตรวจสอบก่อน นาไปใช้ โดยคณะทางานร่างหลักสูตร/ผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการสถานศึกษา การนาหลักสูตรไปใช้การเปลี่ยนแปลงหลักสูตรไปสู่การสอนกาหนดวิธีการจัดการเรียนการสอน กาหนดรายละเอียดกิจกรรมในแต่ละคาบเตรียมวัสดุอุปกรณ์ สถานศึกษามีการทบทวนหรือประเมินหลักสูตรสถานศึกษาอย่างไร เ พื่อทราบถึงคุณภาพของหลักสูตร ของสถานศึกษา สถานศึกษา ต้องมีการประเมินหลักสูตร โดยการประเมินผู้เรียนเพื่อทราบถึงผลสัมฤทธิ์ของแผนการพัฒนาหลักสูตร โดยมีการทบทวน หรือ ประเมินหลักสูตร สถานศึกษาทุกๆ 2 ปี โดยการสนทนากลุ่ม การประชุม การสังเกต การสัมภาษณ์ เช่น สถานศึกษามีการประเมินหลักสูตร ช่างตัดผมชาย ดังต่อไปนี้ สถานศึกษามีการประเมิน จุดประสงค์ของหลักสูตรวิชาชีพช่างตัดผมชายเนื้อหาสาระของหลักสูตร มีความเหมาะสมกับความ ต้องการของผู้เรียนหรือไม่การจัดการเรียนการสอน มีการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายเหมาะสม กับวิชาชีพกิจกรรมและสื่อการเรียนรู้ มีกิจกรรมและสื่อที่เหมาะสมกับการเรียนการสอนวิธีวัดและ ประเมินผลผู้เรียน มีการสอบวัดผลทางด้านทฤษฎีเพื่อตรวจสอบความสามารถของผู้เรียนและมีการ วัดผลแบบเชิงประจักษ์ สถานศึกษามีการทบทวนหรือติดตามหรือประเมินกระบวนการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาเมื่อนาไปปรับปรุงกระบวนการอย่างไร สถานศึกษามีการทบทวน ติดตาม หรือประเมินกระบวนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาทุกๆ 2 ปี โดยการประเมินผู้เรียนมีการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมีการสร้างประสบการณ์ การฝึกฝน มีการคิด วิเคราะห์ ฝึกทักษะได้ด้วยตนเองการประเมินผู้เรียนมีการเรียนรู้ด้านการปรับเปลี่ยนทัศนคติและ พฤติกรรมให้สอดคล้องกับค่านิยมอันดีงามและยึดมั่นในคุณธรรมหรือไม่การประเมินผู้เรียนมีการ เรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาทักษะการดารงชีวิตและการประกอบอาชีพ เช่น การสื่อสาร การสร้างสัมพันธภาพ
๙๙
การเข้าใจในศักยภาพของตน เพื่อเตรียมประกอบอาชีพหรือไม่การประเมินและติดตามวิทยากรและ ผู้เรียนมีการเรียนรู้, ใช้ภูมิปัญญา เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจความตระหนักในวิชาชีพหรือไม่การ ประเมินผู้เรียนว่ามีความเข้าใจเป็นไปตามจุดประสงค์หรือไม่ โดยใช้เครื่องมือในการประเมิน เช่น การ ประเมินความจริง (เชิงประจักษ์) แฟ้มผลงาน การสังเกต การสัมภาษณ์ การจัดนิทรรศการ การเข้า ประกวดแข่งขันเป็นต้น สถานศึกษา มีการ ประชุมชี้แจงนโยบายและจุดเน้นของสถานศึกษาที่ สอดคล้องกับ แผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปียุทธศาสตร์ที่ ๒ การผลิตและพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ข้อ ๒.๒ สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัด การศึกษาผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน (๘) จานวนหลักสูตรหรือสาขาวิชาที่ ผู้เรียนสามารถโอนย้ายหรือศึกษาต่อเนื่องเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ ๒๕๖ ๒ ๓. จุดเน้น ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน แนวทางหลัก ๓.๑ พัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนการ สอน การวัดและประเมินผล โครงการหลัก ๑. การพัฒนาหลักสูตรที่มีความยึดหยุ่น โครงการส่งเสริม และพัฒนาหลักสูตร สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖ ๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ด้านการพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ ข้อ ๒.๑ ขับเคลื่อน กศน. สู่ “Smart ONIE” ในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่ เสริมสร้างศักยภาพของประชาชนให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ (๑) พัฒนาความรู้ความสามารถ และทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของครูและบุคลากร กศน. เช่น Boot Camp หลักสูตรภาษาอังกฤษ การจัดหลักสูตรภาษาเพื่ออาชีพ (๒) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลการใช้ Social Media และ Application ต่างๆ เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนของครูและบุคลากรทางการ ศึกษา สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอย่างไร ที่เป็นต้นแบบ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อเป็นต้นแบบ โดยจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นพัฒนาทักษะการ ดารงชีวิตและการประกอบอาชีพการเข้าใจในศักยภาพของผู้เรียนเพื่อเตรียมตัวในการประกอบอาชีพ โดยมีการประเมินดังต่อไปนี้สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาหลักสูตรที่เป็นวิธีปฏิบัติที่ดี (BestPractice)ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษามีผู้เรียนสม่าเสมอได้รับรางวัล/เข้าประกวดเพื่อ พัฒนาฝีมืออย่างสม่าเสมอการต้อนรับคณะได้มาเยี่ยมและศึกษาดูงานสถานศึกษาอย่างต่อเนื่องเป็น สถานศึกษาต้นแบบมีการประกอบอาชีพได้จริงมีนวัตกรรมการส่งเสริมความรู้ใหม่ๆ และมีการพัฒนา วิทยากร มีการถ่ายทอดอย่างต่อเนื่องมีการรับรองคุณภาพ
๑๐๐
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ คุณภาพสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา ผลการดาเนินงาน จากการประเมินของสถานศึกษา ในตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ พบว่า สถานศึกษาบรรลุตามเป้าหมาย ความสาเร็จ ของตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ ที่กาหนดไว้ ซึ่งได้ ๔.๐๐ คะแนน ได้ระดับคุณภาพอยู่ในระดับ ดี ด้วยการดาเนินงานดังนี้ สถานศึกษามีการดาเนินงานที่เป็นกระบวนการในการจัดหา หรือจัดทาสื่อ โดยสถานศึกษามี การประชุมวางแผนร่วมกันระหว่างผู้บริหารและข้าราชการครู ครูผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษา มีการทดสอบ ตรวจสอบ คุณลักษณะของครู วิเคราะห์ความสาม ารถของครูทุกคนว่ามีความสามารถ พิเศษด้านใ ด นอกเหนือจากที่พิจารณาตามวุฒิการศึกษา มีการทาคาสั่งมอบหมายให้จัดทาสื่อตาม ความสามารถของครู มีการจัดหาสื่อตามระเบียบพัสดุ ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อจัดซื้อสื่อ มีการตั้งคณะกรรมการจัดซื้อจัดจ้าง มีการรับบริจาค เช่น โครงการบรรณสัญจรเพื่อหมุนเวียนสื่อลงสู่ ตาบล โดย มีการจัดทาสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น ทาวารสาร แผ่นพับ จุลสาร (ฟ้าหลังฝน)มีการทาสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น CD , VCD สื่อการเรียนรายวันบังคับ เช่น วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ อังกฤษ ภาษาไทย วิชาเลือก และหนังสือเสียง (ใช้กับกลุ่มเป้าหมายพิเศษ)สามารถอธิบายวิธีที่ทาให้ทราบว่า สื่อตามหลักสูตรสถานศึกษามีคุณภาพมีการประชุมติดตามงานทุกสัปดาห์ ในการจัดหาสื่อ ได้มีการ ประเมินการใช้สื่อ ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพของสื่อ ครูสามารถนาสื่อมาใช้ในกิจกรรมการเรียนการ สอนได้จริง และผู้เรียนเกิดความรู้จริง ประเมินจาก ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักศึกษ าว่าเพิ่มขึ้น หรือไม่ สถานศึกษาสามารถอธิบาย วิธีการทบทวน หรือติดตาม หรือประเมิน กระบวนการจัดหา หรือจัดทาสื่อได้อย่างเป็นขั้นตอนชัดเจน สถานศึกษาจัดทาแบบฟอร์มเสนอความต้องการจัดทาสื่อ ให้ครูแต่ละตาบลเสนอความ ต้องการต่องานพัสดุ เสนอผู้บริหารอนุมัติการจัดทาสื่อในแต่ละภาคเรียน ขั้นตอนที่ ๑สถานศึกษาจัดทาแบบฟอร์มเสนอความต้องการจัดทาสื่อ ขั้นตอนที่ ๒ ครูได้ฟอร์มเสนอความต้องการจัดทาสื่อ สายสามัญระดับประถม มัธยมศึกษา ตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ตามรายชื่อจัดตั้งกลุ่มนักศึกษาของครูแต่ละคนและประชุม คณะกรรมการ กศน.ตาบล ศูนย์การเรียนชุมชน เพื่อชี้แจงการจัดทาสื่อ ขั้นตอนที่ ๓ครูเสนอความต้องการจัดทาสื่อต่องานพัสดุ ขั้นตอนที่ ๔งานพัสดุเสนอความต้องการสื่อแต่ละตาบลต่อผู้บริหารสถานศึกษา ขั้นตอนที่ ๕ผู้บริหารสถานศึกษาจัดสรรหาผู้มาประมูลสื่อการเรียนการสอนในแต่ละ ภาคเรียน สถานศึกษา มีการดาเนินงาน กิจกรรม โครงการสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ และแผนการศึกษาชาติ ๒๐ ปี ดังนี้ สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖ ๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ สถานศึกษาได้มีการจัด แหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพ และมาตรฐานและประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ มี จานวนสื่อตาราเรียน และสื่อการเรียนรู้ที่ผ่านการรับรองมาตรฐานคุณภาพจากหน่วยงานที่รับผิดชอบเพิ่มขึ้น มีจานวนสื่อ
๑๐๑
ตาราเรียน และสื่อการเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาโดยมีส่วนร่วมจากภาครัฐและเอกชนเพิ่มขึ้น โดย สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการทบทวนหรือติดตามหรือประเมินกระบวนการจัดหาสื่อตามหลักสูตร สถานศึกษา เพื่อพัฒนาปรับปรุงให้เหมาะสม จุดเน้นด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน มี แนวทางหลัก เพื่อ พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการพัฒนาหลักสูตรที่มีความยืดหยุ่นโครงการ พัฒนาสื่อ คู่มือ Application Websiteโครงการพัฒนาหนังสือเรียน เพื่อการเรียนรู้ในห้องเรียนการ ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อ ตาราเรียน และสื่อการเรียนรู้ ต่าง ๆให้มีคุณภาพมาตรฐาน และ ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่การส่งเสริมสนับสนุนการผลิตสื่อ ตารา สิ่งพิมพ์ สื่อวีดีทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่มีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรองที่ได้มาตรฐาน ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพยกระดับคุณภาพการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมพัฒนา คุณภาพผู้เรียน คุณภาพสื่อและนวัตกรรม รวมทั้งมาตรฐานของการวัดและประเมินผล เพื่อสร้างความ เชื่อมั่นให้สังคมเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษาของสานักงาน กศน.สถานศึกษามีกระบวนการจัดหา หรือจัดทาสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษาที่เป็นต้นแบบสถานศึกษามีการจัดทาสื่อจากแหล่งการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงสถานศึกษามีการจัดทาสื่อด้านการศึกษาตามอัธยาศัยที่เป็นต้นแบบโดยได้รับรางวัล เว็บไซต์ห้องสมุดประชาชนดีเด่นระดับประเทศภายใต้ระบบเชื่อมโยงแหล่งการเรียนรู้และเป็นแหล่ง ศึกษาดูงาน หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนได้รับรางวัลดีเด่น ผลงานหนังสือติดล้อ (ห้องสมุด เคลื่อนที)่ สาขาการบริการสารสนเทศ การบริการลูกค้าสัมพันธ์ (รางวัลจากเครือข่าย)ได้รับรางวัลนัก จัดกิจกรรมสร้างเสริมการอ่านและการเรียนรู้ต้นแบบของบ้านหนังสือชุมชน (ระดับประเทศ)ได้รับ รางวัลบ้านหนังสือชุมชนต้นแบบ (ระดับจังหวัด) ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๔ คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ ๒.๔พบว่า สถานศึกษาบรรลุเป้าหมาย ความสาเร็จของตัวบ่งชี้ที่ ๒.๔ที่กาหนดไว้ ซึ่งได้ ๕.๐๐ คะแนนได้ระดับคุณภาพอยู่ในระดับ ดีมาก ด้วยการดาเนินงานของสถานศึกษา ดังนี้ สถานศึกษาได้ทาการสารวจแบบประเมินผู้เรียนรายบุคคลและความ ต้องการของผู้เรียนโดย ใช้แบบสอบถามตามความต้องการที่สอด คล้องกับใช้ชีวิตประจาวันได้หลังจากนั้นได้จัดทาโปรแกรม การเรียนรู้ให้ สอดคล้ องกับความต้องการของผู้เรียนเช่นโปรแกรมพัฒนาคุณภาพชีวิตโปรแกรม การศึกษาต่อมีการจัดทาปฏิทินการสอนแผนการสอนรายภาครายสัปดาห์ จัดทาแผนการเรียนรู้ รายบุคคล แผนรายวิชาของแต่ละภาคเรียน และแผนการลงทะเบียนในแต่ละภาคเรียน ให้แก่ผู้เรียน ตรงตามโปรแกรมที่ผู้เรียนได้ลงทะเบียนโดยใช้สื่อใบงานใบความรู้ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลัง เรียนพร้อมทั้งมีการสอบวัดผลกลางภาคและปลายภาคมีการแนะแนวทางการเรียนเพิ่มเติมมีการให้ทา โครงงานให้ สอดคล้ องกับโปรแกรมที่ลงวิชาเรียนครูมีการบันทึกหลังการสอนเกี่ยวกับการเรียนและ ปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนเพื่อทานามาวิเคราะห์และได้หาแนวทางแก้ไขปัญหาทั้งรายบุคคลและ ภาพรวมของผู้เรียนที่เกิดขึ้นโดยใช้การทาวิจัยอย่างง่ายในการหาสาเหตุเพื่อที่จะได้นามาปรับใช้ให้เกิด ประโยชน์ระหว่างผู้เรียนและครู
๑๐๒
สถานศึกษา ได้มอบหมายให้ครูจัดตั้งกลุ่มผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้เรียนปีการศึกษา ๒๕๖๒ มีการวิเคราะห์สาระการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายวิชา (ความยาก - ง่าย) และนาผลการ วิเคราะห์มาทาแผนการเรียนรู้ร่วมกัน โดยได้จัดทาโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ”การจัดทาแผนการ เรียนรู้รายวิชาสาหรับ ครู กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น” มีการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแผน สอดคล้องกับสภาพของผู้เรียน มีการทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน ครูมีกระบวนการให้นักเรียน เรียนรู้จากสื่อ เช่น ใบความรู้ ใบงาน (ตรวจใบงาน) วิดีทัศน์ อินเทอร์เน็ต สื่อต่างๆ แหล่งเรียนรู้ ภูมิ ปัญญา ฯลฯ และครูได้มีการตรวจแบบบันทึกการเรียนรู้ตนเอง ทดสอบกลางภาค ทดสอบปลายภาค สถานศึกษาได้ทบทวนหรือติดตาม คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร สถานศึกษาโดยหลังการสอนครูมีการบันทึกหลังเรียนถึงสภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน และ แนวทางในการแก้ไขปัญหา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ได้จัดทาแผนนิเทศติดตามผล แต่งตั้งคณะนิเทศดาเนินการนิเทศ สรุปผลและรายงานผล เพื่อนา ปัญหาที่เกิดขึ้นแต่ละสัปดาห์ ในการจัดการเรียนรู้ไปปรับปรุง การจัดการเรียนการสอนต่อไป สถานศึกษา มีการดาเนินงานที่สอดคล้องดังนี้ สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๓การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วง วัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ข้อ ๒ .๓สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรโดยอย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน (๓) จานวนสถานศึกษาในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนที่มีคุณลักษณะและทักษะการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑เพิ่มขึ้น (๖) ร้อยละของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดกระบวนการเรียนรู้เชิง บูรณาการเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และความคิดสร้างสรรค์เพิ่มขึ้น สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ ๒๕๖ ๒ ๕.จุดเน้น ด้านการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตประชาชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แนวทางหลัก ๕ .๑ ส่งเสริมและ พัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม โครงการหลัก ๑ .การสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักในการเปลี่ยนแปลงของ ภูมิอากาศและสภาพแวดล้อม โครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน.ปีงบประมาณ ๒๕๖ ๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ ข้อ ๓ .๓ส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนการสอน “สะเต็มศึกษา”( STEM Education) สาหรับผู้เรียนและประชาชนโดยบูรณาการหาความรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ เพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน พัฒนาทักษะชีวิตสู่การประกอบอาชีพ ข้อ ๓ .๗ยกระดับคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน โดยพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คุณภาพของสื่อและนวัตกรรม รวมทั้งมาตรฐานของการวัดและประเมินผลเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้ สังคมเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษาของสานักงาน กศน. ครูการศึกษาขั้นพื้นฐานมีกระบวนการในการออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้รายวิชา หรือหน่วยการเรียนที่เป็นต้นแบบ เช่น การจัดกระบวนการเรียนการสอนรายวิชาช่องทางการพัฒนา อาชีพ เศรษฐกิจพอเพียง ทักษะการขยายอาชีพ ทั้ง ๓ระดับ โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพ เช่น ช่าง เชื่อม ช่างปูน ช่างไม้ การทอผ้าพื้นบ้าน ทอเสื่อกก กลุ่มพัฒนาอาชีพการทาอาหาร-ขนม ตัดผมชาย เสริมสวย นวดแผนไทย ตัดเย็บเสื้อผ้า กลุ่มเศรษฐกิจพอเพียง การปลูกผักเกษตรอินทรีย์ ทอพรมเช็ด
๑๐๓
เท้า กลุ่มพัฒนาอาชีพการแปรรูปจากหมู ของสถานศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนากระบวนการคิด วิเคราะห์ในรายวิชาดังกล่าวไปปฏิบัติ เพื่อเสริมสร้างอาชีพและนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๕คุณภาพวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ ๒ .๕พบว่า สถานศึกษาบรรลุเป้าหมาย ความสาเร็จของตัวบ่งชี้ที่ ๒.๕ที่กาหนดไว้ ซึ่งได้ ๕.๐๐ คะแนนได้ระดับคุณภาพอยู่ในระดับ ดีมาก ด้วยการดาเนินงานของสถานศึกษา ดังนี้ สถานศึกษามีการดาเนินงานที่เป็นกระบวนการในการส่งเสริมหรือพัฒนาวิทยากรการศึกษา ต่อเนื่องให้มีคุณภาพโดยเริ่มตั้งแต่กระบวนการรับสมัครการคัดเลือกวิทยากรวิชาชีพและวิทยากรการ อบรมการศึกษาต่อเนื่องพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้ซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญมีประสบการณ์ใน เรื่องที่ฝึกอบรมโดยทั่วไปจะพิจารณาถึงคุณสมบัติในด้านความรอบรู้ทางวิชาการความสามารถในการ ถ่ายทอดการนาเสนอการสื่อสารให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ทักษะและบรรลุตามจุดมุ่งหมาย ของหลักสูตรตามที่สถานศึกษากาหนดโดยมีการประเมินกระบวนการเรียนเรียนการสอนของวิทยากร หลังจากสิ้นสุด การจัด การเรียนการสอนแต่ละหลักสูตร /โครงการตามแบบประเมินโครงการทุก โครงการซึ่งสถานศึกษามีการพัฒนาวิทยากรอย่างต่อเนื่องวิทยากรมีทั้งวิทยากรจากหน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชนและภูมิปัญญาในการส่งเสริมและพัฒนาวิทยากรการศึกษาต่อเนื่องได้มีการยกย่อง เชิดชูเกียรติโดยการมอบเกียรติบัตรวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง วิทยากรการศึกษาต่อเนื่องได้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้เรียนโดยกระบวนการสอนเป็นกลุ่มใหญ่ แล้วแบ่งเป็นกลุ่มย่อย และให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ เรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งวิทยากรศึกษาต่อเนื่องเป็นผู้ให้ คอยคาแนะ อานวยความสะดวกให้แก่ผู้เรียน โดยประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนจากภาคปฏิบัติ ภาคทฤษฎี และผู้เรียนสามารถนาความรู้ที่ได้รับจากการถ่ายทอด ประสบการณ์ นามาใช้ใน ชีวิตประจาวันได้จริง เข้าร่วมการประกวดแข่งขันต่าง ๆ และสามารถนาความรู้ไปพัฒนาและประกอบ อาชีพได้ มีการทบทวนหรือติดตามหรือประเมินกระบวนการส่งเสริมหรือพัฒนาวิทยากรการศึกษา ต่อเนื่องให้มีคุณภาพโดยการนิเทศติดตามผล การดาเนินงานการศึกษาต่อเนื่องว่ามีผลและคุณภาพ ตามที่ต้องการหรือไม่หากไม่เป็นตามที่ต้องการให้แจ้งวิทยากรได้รับการส่งเสริมพัฒนาหรือให้โอกาส วิทยากรท่านอื่นๆที่มีความรู้ความสามารถด้านอื่นๆมาเป็นวิทยากรครั้งต่อไป จากผลงานของ ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่นเป็นที่ประจักษ์ จึงมีคณะศึกษาดู งานจากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้ง หน่วยงานราชการหน่วยงาน เอกชน ได้มาศึกษาดูงานอย่างต่อเนื่อง และ ได้ออกรายการทางสถานีโทรทัศน์ช่องต่าง ๆ สถานศึกษา มีการดาเนินงานกิจกรรมโครงการสอดคล้องกับสอดคลสองกับนโยบายและ จุดเน้นสานักงาน กศน . ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ สอดคลสองกับนโยบายและจุดเน้ น กระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ๒๕๖๑และแผนการศึกษาชาติ๒๐ปีดังนี้
๑๐๔
สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสานักงานกศน . ปีงบประมาณ๒๕๖๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ด้านการพัฒนากาลังคนการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสรสางขีดความสามารถใน การแข่งขันของประเทศ ข้อ ๒.๑ขับเคลื่อนกศน. สู่ “Smart ONIE” ในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่ เสริมสร้างศักยภาพของประชาชนให้ สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ ๑)พัฒนาความรู้ความสามารถ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของครูและบุคลากรกศน . เช่น Boot Camp หลักสูตรภาษาอังกฤษการจัด หลักสูตรภาษาเพื่ออาชีพ ๒)พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลการใช้ Social Media และ Application ต่างๆเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนของครูและบุคลากรทางการศึกษา ข้อ ๒.๒พัฒนากาลังคนให้เป็น “Smart Digital Persons (SDPs)” ที่มีทักษะด้าน ภาษาและทักษะดิจิทัลเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ ๑)ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน Digital เพื่อให้ ประชาชนมีความรู้พื้นฐานด้าน Digital และความรู้เรื่องกฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์สาหรับการใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันรวมทั้งการพัฒนาและการเข้าสู่อาชีพ ๒) สร้าง ความรู้ความเข้าใจและทักษะพื้นฐานให้กับประชาชนเกี่ยวกับการทาธุรกิจและการค้าออนไลน์ (พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ) เพื่อร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล ๓)พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่างๆอย่างเป็นรูปธรรมโดยเน้นทักษะภาษาเพื่ออาชีพทั้งในภาคธุรกิจ การบริการและการท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ที่ ๔ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ข้อ ๔.๕พลิกโฉมกศน.ตาบลสู่ “กศน.ตาบล๔G” ๑)พัฒนาครูกศน. และบุคลากรที่ เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ : Good Teachers ให้เป็นตัวกลางในการ เชื่อมโยงความรู้กับผู้รับบริการมีความเป็น “ครูมืออาชีพ ” มีจิตบริการมีความรอบรู้และทันต่อการ เปลี่ยนแปลงของสังคมเป็นผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้และบริหารจัดการความรู้ที่ดีรวมทั้งเป็นปฏิบัติงาน อย่างมีความสุข ๒)พัฒนากศน .ตาบลให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง : Good Places Best Check-In มีความพร้อมในการให้บริการการศึกษาและการเรียนรู้เป็น แหล่งข้อมูลสาธารณะที่ง่ายต่อการเข้าถึงและสะดวกต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างสร้างสรรค์มีสิ่ง อานวยความสะดวกดึงดูดความสนใจและมีความปลอดภัยสาหรับผู้รับบริการ ๓)ส่งเสริมการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ภายในกศน .ตาบล : Good Activities ให้มีความหลากหลายน่าสนใจตอบสนอง ความต้องการของชุมชนเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของประชาชนรวมทั้งเปิดโอกาสให้ชุมชนเข้า มาจัดกิจกรรมเพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของคนในชุมชน แผนการศึกษาชาติ ๒๐ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อ๒.๗ครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน ๑) ร้อยละของครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ /ประเภทการศึกษาได้รับการ พัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพและสามารถปฏิบัติงานไดสอย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น สถานศึกษามีการส่งเสริมหรือพัฒนาวิทยากรที่เป็นต้นแบบเป็นกรรมการตัดสินการออกแบบทรงผม เป็นคณะกรรมการแต่งหน้าเจ้าสาว
๑๐๕
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๖ คุณภาพหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่อง จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ ๒ .๖ พบว่า สถานศึกษาบรรลุเป้าหมาย ความสาเร็จของตัวบ่งชี้ที่ ๒ .๖ที่กาหนดไว้ ซึ่งได้ ๕ .๐๐ คะแนนได้ระดับคุณภาพอยู่ในระดับ ดีมาก ด้วยการดาเนินงานของสถานศึกษา ดังนี้ สถานศึกษาได้สารวจความต้องการคุณภาพของหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่องที่กาหนด ในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาต่อเนื่องพุทธศักราช ๒๕๖๒ เพื่อจัดทาสื่อการสอนมี การจัดทาคาสั่งแต่งตั้ง /สื่อ/อุปกรณ์ร่วมกับวิทยากรภูมิปัญญาท้ องถิ่นแหล่งเรียนรู้ตามแผนที่ได้รับจัด กิจกรรมและส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมเพื่อส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้ทันสมัยรวมทั้งหลักสูตรท้องถิ่นที่สอดคล้องกับ สภาพบริบทของพื้นที่และความต้องการของกลุ่มเป้าหมายเพื่อจัดกระบวนการเรียนและฝึกปฏิบัติ ฝึกอบรมโดยนาสื่อที่มีความสอดคล้องตามหลักสูตรเพื่อให้ผู้เรียนเท่าถึงได้ง่ายและสามารถจัดการ เรียนรู้เพื่อส่งเสริมผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจมีทักษะตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร สถานศึกษา ได้ จัดทาหลักสูตร กลุ่มอาชีพ ๑๕๐ ชั่วโมง เช่น ตัดผมชาย ตัดผม – เสริมสวย นวดแผนไทย ตัดเย็บ เสื้อผ้า เป็นต้น กลุ่มอาชีพระยะสั้นกลุ่มสนใจไม่เกิน ๓๐ชั่วโมงเช่นหลักสูตรการทาอาหารขนม หลักสูตรสานตะกร้าเส้นพลาสติกหลักสูตรการถนอมอาหารและกลุ่มพัฒนาทักษะอาชีพชั้นเรียน วิชาชีพ ๓๐ ชั่วโมงขึ้นไปในหลักสูตรช่างไฟฟ้าหลักสูตรช่างเชื่อมอยู่ในระดับดีมากคิด เป็นร้อยละ ๘๐ ที่กาหนดตามหลักสูตรอย่างชัดเจนและสถานศึกษามีการติดตามผล การดาเนินงานมีการทบทวนหรือ ติดตามหรือประเมินกระบวนการ คุณภาพหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่องโดยประเมินจากแบบ สารวจพึงพอใจของผู้เรียน ติดตามผู้เรียนที่จบหลักสูตรแล้ว สามารถนาความรู้มาใช้ในการประกอบ อาชีพ มีรายได้เพิ่มขึ้น และประสบผลสาเร็จในด้านอาชีพ และแนวทางในการแก้ไขปัญหา สถานศึกษา ได้จัดทาแผนนิเทศติดตามผลแต่งตั้งคณะนิเทศดาเนินการนิเทศ สรุปผลและรายงานผล เพื่อนาปัญหาที่เกิดขึ้นในการจัดการเรียนรู้ไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนต่อไป สถานศึกษา มีการดาเนินงานกิจกรรมโครงการสอดคลสองกับสอดคลสองกับนโยบายและ จุดเน้นสานักงานกศน. ปีงบประมาณ๒๕๖๒ สอดคลสองกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ๒๕๖๑และแผนการศึกษาชาติ ๒๔ ปีดังนี้ สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสานักงานกศน. ปีงบประมาณ๒๕๖๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ด้านการพัฒนากาลังคนการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสรสางขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ ข้อ ๒.๑ขับเคลื่อนกศน. สู่“Smart ONIE” ในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่ เสริมสร้างศักยภาพของประชาชนให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ ๑)พัฒนาความรู้ความสามารถทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของครูและ บุคลากรกศน. เช่น Boot Camp หลักสูตรภาษาอังกฤษการจัดหลักสูตรภาษาเพื่ออาชีพ ๒) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลการใช้ Social Media และ Application ต่างๆเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนของครูและบุคลากรทางการศึกษา ข้อ ๒.๒ พัฒนากาลังคนให้เป็น “Smart Digital Persons (SDPs)” ที่มีทักษะด้าน ภาษาและทักษะดิจิทัลเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ
๑๐๖
๑)ส่งเสริมการจัดการเรียนรูสดสาน Digital เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ พื้นฐานด้าน Digital และความรู้เรื่องกฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สาหรับ การใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันรวมทั้งการพัฒนาและการเขสาสู่อาชีพ ๒) สรสางความรู้ความเขสาใจและทักษะพื้นฐานให้กับประชาชนเกี่ยวกับ การทาธุรกิจและการค้าออนไลน์ (พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์) เพื่อร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล ๓) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรมโดยเน้นทักษะภาษาเพื่ออาชีพทั้งในภาคธุรกิจการบริการและการท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ที่ ข้อ
๓ด้านการพัฒนาและเสริมสรสางศักยภาพคนให้มีคุณภาพ ๓.๕ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนสู่ “วิสาหกิจชุมชน : ชุมชนพึ่งตนเองทาได้ขายเป็น” ๑)ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพที่สอดคลสองกับศักยภาพของชุมชนและ ความต้องการของตลาดรวมทั้งสรสางเครือข่ายการรวมกลุ่มในลักษณะวิสาหกิจชุมชนสรสางรายได้ ให้กับชุมชนให้ชุมชนพึ่งพาตนเองได้ ๒)ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการ ส่งเสริม มูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าการทา ช่องทางเผยแพร่และจาหน่ายผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชนให้เป็นระบบครบวงจร สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ๔.จุดเน้นด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมกันทางสังคม แนวทางหลัก ๔.๔การพัฒนาฐานข้อมูลด้านการศึกษาที่มีมาตรฐานเชื่อมโยงและเขสาถึงได้ โครงการหลัก ๕. การขับเคลื่อนแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาเพื่อสรสางและเพิ่ม ประสิทธิภาพด้านการศึกษาบูรณาการด้านสื่อและองค์ความรูจัดทาหลักสูตรระยะสั้นที่จาเป็นต่อการ พัฒนาคุณภาพชีวิตในยุค IT การพัฒนาศูนย์เรียนรู้ทุกประเภทจัดการเรียนรู้ /จัดทาสื่อสาหรับ ประชาชนในเรื่ององค์ความรู้เกี่ยวกับนโยบายการพัฒนาต่างๆ ของรัฐ แผนการศึกษาชาติ๒๐ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสรสางสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อ ๒.๒คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐาน การศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ ๙)จานวนสาขาและวิชาชีพที่ เปิดโอกาสให้ผู้สูงวัยได้รับการส่งเสริมให้ทางานและถ่ายทอดความรู้/ประสบการณ์เพิ่มขึ้น ข้อ ๒.๔แหล่งเรียนรู้สื่อตาราเรียนนวัตกรรมและสื่อการเรียนมีคุณภาพและมาตรฐาน และประชาชนสามารถเขสาถึงได้โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ ๙)มีระบบคลังข้อมูลเกี่ยวกับสื่อและ นวัตกรรมการเรียนรู้ที่มีคุณภาพมาตรฐานสามารถให้บริการคนทุกช่วงวัยและใช้ประโยชน์ร่วมกัน ระหว่างหน่วยงานได้
๑๐๗
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา ข้อ ๒.๑ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเขสาถึงการศึกษาที่มี คุณภาพ๑๓)มีหลักสูตรการศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มการศึกษาเฉพาะด้านเฉพาะทางกลุ่มที่มี ความต้องการจาเป็นพิเศษในทุกระดับการศึกษาทั้งทางการศึกษาในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัย ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ข้อ๒.๒ การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาสาหรับคน ทุกช่วงวัย๗)มีสื่อดิจิทัลเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการส่งเสริมการมีอาชีพเพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การจัดการศึกษาเพื่อสรสางเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๒.๒หลักสูตรแหล่งเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมคุณธรรมจริยธรรมและการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ (๒) จานวนสถานศึกษา /สถาบันการศึกษาที่จัดการเรียนการสอนและกิจกรรมเพื่อปลูกฝั งคุณธรรม จริยธรรมและการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติเพิ่มขึ้น สถานศึกษามีกระบวนการจัดหา /จัดทา/พัฒนาหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่องที่เป็น ต้นแบบ สถานศึกษาจัดทาข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่ เหมาะสมกับบริบทสถานศึกษา เช่น ทาเนียบภูมิปัญญา แหล่งเรียนรู้ในชุมชน ทะเบียนเกี่ยวกับอาชีพ ต่างๆมีระบบคลังข้อมูลเกี่ยวกับสื่อและนวัตกรรมการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๗ คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ ๒ .๗พบว่า สถานศึกษาบรรลุเป้าหมาย ความสาเร็จของตัวบ่งชี้ที่ ๒.๗ที่กาหนดไว้ ซึ่งได้ ๕.๐๐ คะแนนระดับคุณภาพ ระดับดีมาก ด้วยการดาเนินงานของสถานศึกษา ดังนี้ . สถานศึกษา ได้ดาเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้ การศึกษาต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาอาชีพ พัฒนา ทักษะอาชีพ พัฒนาสังคมและชุมชน พร้อมทั้งได้ ได้คัดเลือกสรรหาวิทยากร ที่มีความรู้ความสามารถ และ ประสบการณ์ ซึ่งได้จัดประชุมชี้แจงแนวทางในการดาเนินงานการจัดการศึกษาต่อเนื่องเพื่อให้ วิทยากรได้มี ความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ในการทางานการออกแบบและการจัดกระบวนการ เรียนรู้เพื่อให้วิทยากรได้นาความรู้ทั้งด้านการพัฒนาอาชีพพัฒนาทักษะชีวิต พัฒนาสังคมและชุมชน ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อตอบสนองความต้องการและความสนใจ ของประชาชนทุกช่วงวัย โดยเน้น กระบวนการคิดเป็นและนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ เพื่อ แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันต่อไป ได้ดาเนินการนิเทศติดตามผลการดาเนินงานการวัดและประเมินผลการจัดกระบวนการ เรียนรู้ของ วิทยากรโดยได้แนะนาเทคนิคการจัดการบวนการสอนและกากับติดตาม การจัด กระบวนการเรียนการสอนของ วิทยากรอย่างต่อเนื่อง ได้มีผู้เรียนที่ได้นาความรู้ จากการเรียนการ สอนการศึกษาต่อเนื่องที่นาความรู้ไป ประกอบอาชีพจนประสบความสาเร็จ มีอาชีพ มีงานทามี รายได้ที่มั่นคง สามารถอยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมีความสุข ได้ดาเนินการจัดการศึกษาต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนได้พัฒนาความรู้ ความสามารถ และ ทักษะใน การประกอบอาชีพ มีการใช้ความรู้จากภูมิปัญญาและเทคโนโลยีที่เหมาะสม มีทักษะที่
๑๐๘
จาเป็นสาหรับการดารงชีวิต ในสังคมปัจจุบัน รวมทั้งมุ่งใช้กระบวนการศึกษาเน้นเครื่องมือในการ พัฒนาสังคมและชุมชน ให้พึ่งตนเองได้ตาม หลักปรัชญาคิดเป็น และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ประกอบด้วย การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน การจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยเน้นกระบวนการทางาน ร่วมกันของบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อร่วมพัฒนาผู้เรียน ซึ่งผู้บริหารร่วมเตรียม ความพร้อม การ วางแผนการจัดกระบวนการอย่างเป็นระบบ โดยใช้ระบบการบริหารตามวงจรการควบคุม คุณภาพ ของ (Deming Cycle:PDCA (P= Plan กาหนดแผน (D= Do ทาตามแผนที่กาหนด ( C= Check ตรวจสอบผลกับแผน (A =Action หากไม่บรรลุแผนให้หาสาเหตุและวางแผนแก้ไขใหม่ ในการจัดการศึกษาต่อเนื่อง คานึงถึงความต้องการ ความจาเป็นและความแตกต่างของ ผู้เรียนแต่ละคนได้ศึกษาข้อมูลและดาเนินการตามกระบวนการ ฝึกกระบวนการวิเคราะห์ตนเองให้แก่ ผู้เรียน เพื่อให้ ผู้เรียนสามารถค้นหาสภาพปัญหาและความต้องการที่แท้จริงของตนเอง และได้ ดาเนินการนิเทศติดตามผลการ ดาเนินงานการวัดและประเมินผลการจัดกระบวนการเรียนรู้ของ วิทยากรโดยได้แนะนาเทคนิคการจัดการบวน การสอนและกากับติดตาม การจัดกระบวนการเรียน การสอนของวิทยากรอย่างต่อเนื่อง ได้มีผู้เรียนที่ได้นา ความรู้ จากการเรียนการสอนการศึกษา ต่อเนื่องที่นาความรู้ไปประกอบอาชีพจนประสบความสาเร็จมีอาชีพมี งานทามีรายได้ที่มั่นคงสามารถ อยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมีความสุข สถานศึกษา มีการดาเนินงาน กิจกรรม โครงการสอดคลสองกับสอดคลสองกับนโยบายและ จุดเน้นสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ และแผนการศึกษาชาติ ๒๐ ปี ดังนี้ สอดคล้อง กับนโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ปีงบบประมาณ ๒๕๖ ๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ ข้อ ๓.๖ จัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพ เกษตรกรรม อย่างยั่งยืน ๑.พัฒนาบุคลากรและแกนนาเกษตรกรในการเผยแพร่และจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ๒.จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบระดับตาบลด้านเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนา อาชีพ เกษตรกรรมเพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมให้กับ ชุมชน ๓.ส่งเสริมให้มีการบูรณาการระหว่าง ศฝช. และ กศน.อาเภอในการจัด กระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมให้กับประชาชน สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมา ๒๕๖๒ ๔ . จุดเน้นด้านการสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมกันทาง สังคม
๑๐๙
แนวทางหลัก ๔.๔การพัฒนาฐานข้อมูลด้านการศึกษาที่มีมาตรฐานเชื่อมโยงและเข้าถึงได้ โครงการหลัก ๕. การขับเคลื่อนแผนแม่บทเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการศึกษา เพื่อสร้างและเพิ่ม ประสิทธิภาพด้าน การศึกษา บูรณาการด้านสื่อและองค์ความรู้ จัดการเรียนรู้/จัดทาสื่อสาหรับ ประชาชนในเรื่ององค์ความรู้ เกี่ยวกับนโยบายการพัฒนาต่าง ๆ ของรัฐ สอดคล้องกับแผนการศึกษาชาติ ๒๐ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๕การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวติที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ข้อ ๒ .๒หลักสูตรแหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม คุณธรรมจริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ ๑ .จานวนสถานศึกษา/สถาบัน การศึกษาที่จัดการเรียนการสอนและกิจกรรมที่ เกี่ยวข้องกับ การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น ๒ . จานวนสถานศึกษา/สถาบัน การศึกษาที่จัดการเรียนการสอนและกิจกรรมเพื่อ ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมและการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ เพิ่มขึ้น ๓ . จานวนแหล่งเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาให้สามารถจัดการศึกษา/จัดกิจกรรมการ เรียนรู้ที่ ส่งเสริมในเรื่องการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น จากการดาเนินงานของสถานศึกษาจึงมีผลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๒คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ ๒ .๗คุณภาพการจัด กระบวนการเรียนรู้ การศึกษาต่อเนื่อง ประเภทกระบวนการ คะแนนที่ได้ ๕คะแนน ระดับคุณภาพอยู่ ในระดับดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๘ คุณภาพผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ ๒.๘ พบว่า สถานศึกษาบรรลุเป้าหมาย ความสาเร็จของตัวบ่งชี้ที่ ๒.๘ที่กาหนดไว้ ซึ่งได้ ๕.๐๐ คะแนนได้ระดับคุณภาพอยู่ในระดับ ดีมาก ด้วยการดาเนินงานของสถานศึกษา ดังนี้ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ดังนี้บ้านหนังสือชุมชน ได้จัดทุกตาบล ตาบลละ ๒แห่ง โดย กศน.อาเภอเมืองขอนแก่นได้สรรหาและรับมอบหนังสือจากประชาชนแล้ว รวบรวมและมอบหนังสือให้แก่บ้านหนังสือชุมชนทุกตาบลกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ได้ออกบริการ หนังสือเคลื่อนที่แก่ประชาชน ทุกวันจันทร์ของสัปดาห์ ณ สวนสาธารณะ ๒๐๐ปี บึงแก่นนคร อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน มีประชาชนในชุมชนเป็นผู้อาสาสมัครบริการส่งเสริมการอ่านในตาบล ทุก ตาบล ตาบลละ ๒คนหนังสือติดล้อ ได้จัดบริการตามกิจกรรมอาเภอเคลื่อนที่ ซึ่งบริการประชาชนมุม อ่านหนังสือติดล้อตามอาเภอต่าง ๆ เดือนละ ๑ – ๒ครั้งห้องสมุดสาหรับชาวตลาด ได้จัดมุมอ่าน หนังสือที่ตลาด มีหนังสือให้บริการหลายประเภท เช่น การเกษตร งานอาชีพ วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ ฯ ซึ่งมีจิตอาสาในตลาดดูแลห้องสมุดสาหรับชาวตลาดและมีเจ้าหน้าที่ห้องสมุด
๑๑๐
บรรณารักษ์ ครู กศน.ตาบล เป็นที่ปรึกษา ณ ตลาดสดเทศบาล ๑หนังสือแซ่บ ให้บริการการอ่าน หนังสือประเภทต่าง ๆ ตามชุมชน โดยมีรถเคลื่อนที่ห้องสมุด ให้บริการหนังสือ วารสาร นิตยสาร สื่อ ประเภทต่าง ๆ ให้แก่ทุก กศน.ตาบลและบริการแหล่งศึกษาค้นคว้า มุมอ่านหนังสือ มุมอาเซียน ฯ ใน เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๗.๐๐น. สถานศึกษา ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรได้รับการพัฒนาและส่งเสริมการจัดกิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัย เช่น บ้านหนังสือชุมชน กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน หนังสือติดล้อ ห้องสมุดสาหรับชาวตลาด หนังสือแซ่บ และห้องสมุด เพื่อเสริมสร้างบรรยากาศชุมชน แห่งการเรียนรู้จังหวัดขอนแก่น และผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยบ้านหนังสือชุมชน ผู้เข้ารับ การอบรมได้นาความรู้ที่ได้รับจากการอบรม มาจัดตั้งกลุ่มกลุ่มรักการอ่านและขยายให้ความรู้แก่ ประชาชนในชุมชน จัดทาแผน ดาเนินตามแผนได้จัดกิจกรรมรักการอ่าน สรุปและประเมินผล โดย มอบหมายให้อาสาสมัครส่งเสริมการอ่านเป็นผู้ประเมินและบันทึกการจัดกิจกรรม ครู กศน.ตาบล เป็นที่ปรึกษาและคอยให้คาแนะนา รายงานการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดกิจกรรม สถานศึกษามี การประชุมเพื่อวางแผนการนิเทศ เดือนละ ๑ ครั้ง มีการนิเทศการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย สรุปผล รายงานผลการนิเทศอย่างต่อเนื่อง มีการทบทวนติดตามการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย โดยดู รายงานจากระบบ DMIS หรือการสรุปรายงานผลการจัดกิจกรรมในแต่ละครั้ง สถานศึกษา มีการทบทวนหรือติดตาม ประเมินกระบวนการดาเนินงานส่งเสริม หรือส่งเสริม พัฒนาผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยและนาผลไปใช้ในการปรังปรุงกระบวนการโดยผู้ปฏิบัติงาน การศึกษาตามอัธยาศัย ได้แก่ บรรณารักษ์ เจ้าหน้าที่ห้องสมุด ครู กศน .ตาบล และผู้จัดกิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัยบ้านหนังสือชุมชน ได้สังเกตผู้เข้ารับบริการกลับเข้ามาใช้บริการบ่อยครั้งอย่าง ต่อเนื่อง สารวจจากแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้บริการ ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ศึกษาความต้องการการเรียนรู้ของรับบริการแล้วนามาออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ สอดคล้องเหมาะสมกับความต้องการของผู้รับบริการ สถานศึกษามีการดาเนินงานที่สอดคล้องดังนี้ สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วง วัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อ ๒.๗ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการ พัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน (๑) ร้อยละของครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ/ ประเภทการศึกษาได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น (๒) ร้อยละของครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการพัฒนาให้ สอดคล้องกับความต้องและยุทธศาสตร์ของหน่วยงานเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ๓. จุดเน้นด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
๑๑๑
แนวทางหลัก ๓.๒ การผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา โครงการหลัก ๑๐ . โครงการผลิตพัฒนาเสริมสร้างคุณภาพวิชาชีพ ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา Trainingfortrainers/BootCamp สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖ ๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ด้านการพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ข้อ ๒.๑ ขับเคลื่อน กศน. สู่ “Smart ONIE ” ในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เสริมสร้าง ศักยภาพของประชาชนให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ (๑) พัฒนาความรู้ความสามารถและ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของครูและบุคลากร กศน. เช่น Boot Camp หลักสูตรภาษาอังกฤษ การ จัดหลักสูตรภาษาเพื่ออาชีพ (๒) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลการใช้ Social Media และ Application ต่างๆ เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนของครูและบุคลากรทางการศึกษา ข้อ ๒.๒ พัฒนากาลังคนให้เป็น “Smart Digital Persons (SDPs)” ที่มีทักษะด้านภาษาและทักษะ ดิจิทัล เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ (๑) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน Digital เพื่อให้ประชาชนมี ความรู้พื้นฐานด้าน Digital และความรู้เรื่องกฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สาหรับการใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันรวมทั้งการพัฒนาและการเข้าสู่อาชีพ (๒) สร้างความรู้ความ เข้าใจและทักษะพื้นฐานให้กับประชาชนเกี่ยวกับการทาธุรกิจและการค้าออนไลน์ (พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์)เพื่อร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล(๓) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของ ประชาชนในรูปแบบต่างๆอย่างเป็นรูปธรรม โดยเน้นทักษะภาษาเพื่ออาชีพ ทั้งในภาคธุรกิจ การ บริการ และการท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างโอกาสความเสนอภาค และความเท่าเทียมทาง การศึกษา ข้อ ๔.๕ พลิกโฉม กศน.ตาบล สู่ “กศน.ตาบล ๔ G” (๑) พัฒนาครู กศน.และบุคลากรที่ เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ : Good Teachers ให้เป็นตัวกลางในการ เชื่อมโยงความรู้กับผู้รับบริการมีความเป็น “ครูมืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบรู้ และทันต่อการ เปลี่ยนแปลงของสังคมเป็นผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้และบริหารจัดการความรู้ที่ดี รวมทั้งเป็น ผู้ปฏิบัติงานอย่างมีความสุข (๒) พัฒนา กศน.ตาบล ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง : Good Places Best Check-In มีความพร้อมในการให้บริการกิจกรรม การศึกษาและการเรียนรู้เป็นแหล่งข้อมูลสาธารณะที่ง่ายต่อการเข้าถึงและสะดวกต่อการเรียนรู้ตลอด ชีวิตอย่างสร้างสรรค์ มีสิ่งอานวยความสะดวก ดึงดูดความสนใจ และมีความปลอดภัยสาหรั บ ผู้รับบริการ (๓) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใน กศน.ตาบล : Good Activities ให้มีความ หลากหลายน่าสนใจตอบสนองความต้องการของชุมชนเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของประชาชน รวมทั้งเปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามาจัดกิจกรรมเพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของคนในชุมชน สถานศึกษา ที่เป็นต้นแบบ ซึ่งผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ได้รับการอบรมโครงการ ต่าง ๆ เป็นวิทยากรให้ความรู้ และได้รับรางวัล ดังนี้ โครงการบ้านหนังสือชุมชนบ้านหนังสือชุมชนบ้านโคกท่า หมู่ที่ ๕ ตาบลหนองตูม อาเภอ เมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น เพื่อประกาศว่าเป็นบ้านหนังสือชุมชนต้นแบบ พ.ศ. ๒๕๖๐รับโล่ รางวัล รองชนะเลิศอันดับ ๑นักจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ต้นแบบของบ้านหนังสือ ชุมชน ประเภทกลุ่มบุคล บ้านโคกท่า หมู่ที่ ๕ ตาบลหนองตูม อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
๑๑๒
โครงการหนังติดล้อ รางวัลระดับดีเด่นสาขาการบริการสารสนเทศ การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในการนาเสนอผลงาน (ผลงานติดล้อ ห้องสมุดเคลื่อนที่)รับโล่เชิดชูเกียรติ ในการดาเนินการห้องสมุด เคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด ตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีรางวัล ชนะเลิศ การประกวดเว็บไชต์ห้องสมุดประชาชน ๒๕๖๑ระบบเชื่อมโยงแหล่งการเรียนรู้ (http://lris.nfe.go.th) ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๙คุณภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ผลการดาเนินงาน จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ ๒ .๙พบว่า สถานศึกษาบรรลุเป้าหมาย ความสาเร็จของตัวบ่งชี้ที่ ๒.๙ ที่กาหนดไว้ ซึ่งได้ ๕.๐๐ คะแนน ระดับคุณภาพ ระดับดีมาก ด้วยการดาเนินงานของสถานศึกษา ดังนี้ สถานศึกษาจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มีกระบวนการในการออกแบบและจัด กิจกรรมการเรียนรู้อย่างไร สถานศึกษาจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มีกระบวนการในการออกแบบและจัด กิจกรรมการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาได้จัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปีห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระ เกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การจัดกิจกรรมยึดหลักจัดกิจกรรมให้ สอดคล้องกับชีวิต สนองกลุ่มเป้าหมายทุกเพศทุกวัยตามความสนใจและความต้องการ มีวิธี หลากหลาย ยืดหยุ่น โดยใช้สื่อต่างๆและจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยเนื้อหาเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน กิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัยที่ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ได้จัดขึ้น ได้แก่ บ้านหนังสือชุมชน กิจกรรม ส่งเสริมการอ่าน อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน หนังสือติดล้อ ห้องสมุดสาหรับชาวตลาด หนังสือแซ่บ ห้องสมุด และกิจกรรมวันเด็ก สถานศึกษาจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มีวิธีการประเมินผู้รับบริการว่ามีความรู้ ความสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างไร สถานศึกษาจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มีวิธีการประเมินผู้รับบริการว่ามีความรู้ ความสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้เครื่องมือในการประเมินที่ หลากหลายและเหมาะสมกับสภาพผู้รับบริการ การจัดทาแบบสอบถามความพึงพอใจแบบสังเกต พฤติกรรมในทุกกิจกรรมเพื่อประเมินผู้รับบริการว่ามีความรู้ความสามารถมีทักษะการเรียนรู้เพิ่มขึ้น มากน้อยเพียงใดโดยประเมินจากพฤติกรรมความถี่ในการเข้าใช้บริการ สถิติผู้เข้าใช้บริการเมื่อผู้ใช้ได้ ความรู้และเกิดความประทับใจก็จะกลับมาใช้สบริการบ่อยขึ้นมีบุคลิกภาพยิ้มแย้มแจ่มใสมีความสุขทุก ครั้งที่เข้ามาใช้บริการและเข้าร่วมกิจกรรม สถานศึกษาจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มีการทบทวน หรือติดตาม หรือประเมิน กระบวนการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างไร สถานศึกษา จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยมีการทบทวน หรือติดตาม หรือประเมิน กระบวนการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยดาเนินงานทุกโครงการ /กิจกรรมให้เป็นไปตาม แผนการดาเนินงานที่กาหนดพร้อมทั้งสรุปผลการดาเนินงานในแต่ละกิจกรรม /โครงการและ
๑๑๓
ประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้ารับบริการ /ผู้เข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยในแต่ละ กิจกรรมและนาผลการสรุปการดาเนินงานในแต่ละกิจกรรมมาถึงปัญหาอุปสรรคข้อดีข้อเสียในการ นาไปพัฒนาปรับปรุงแก้ไขในการวางแผนการดาเนินงานตามแผนงานในปีงบประมาณต่อไป สถานศึกษามีการมีการดาเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน./ นโยบายจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ / ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศึกษา แห่งชาติ ๒๐ปี อย่างไร สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกคลองระบอบประชาธิปไตย อันมรพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรม เพื่อส่งเสริมการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมเพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรโดย อย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน ร้อยละข้องสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดกระบวนการเรียนรู้เชิงบูรณา การเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และความคิดสร้างสรรค์เพิ่มขึ้น แหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนรู้ มีคุณภาพและมาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่จากัด เวลาและสถานที่ จานวนแหล่งเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาให้สามารถจัดการศึกษา/จัดกิจกรรมการ เรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ ๒๕๖ ๒ จุดเน้นด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน แนวทางหลักการส่งเสริมสนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสมเต็มตามศักยภาพ โครงการหลัก การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาและการให้ความรู้สาหรับคน ทุกช่วงวัย สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนที่มีคุณภาพคนให้มีคุณภาพ เพิ่มอัตราการอ่านของประชาชนโดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรูปแบบต่างๆ เช่น อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดประชาชนบ้านหนังสือชุมชน ห้องสมุดเคลื่อนที่ เพื่อพัฒนาให้ ประชาชนมีความสามารถในระดับอ่านคล่อง เข้าใจความคิด วิเคราะห์พื้นฐาน และสามารถรับรู้ข้อมูล ข่าวสารที่ครบถ้วนและทันเหตุการณ์รวมทั้งนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ปฏิบัติจริงในชีวิตประจาวัน จัด กระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน พัฒนา บุคลากรและแกนนาเกษตรกรในการเผยแพร่และจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติ สู่การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบระดับตาบลด้านเกษตรธรรมชาติสู่การ
๑๑๔
พัฒนาอาชีพเกษตรกรรมรมเพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้กับชุมชน ส่งเสริมให้การบูรณาการระหว่าง ศฝช.และ กศน.อาเภอในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมให้กับประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่างๆ ที่มีแหล่งเรียนรู้อื่นๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ ศูนย์เรียนรู้ แหล่งโบราณคดี ห้องสมุด เพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มี รูปแบบที่หลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน สถานศึกษามีการออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาตามอัธยาศัยอย่างไร ที่เป็นต้นแบบ สถานศึกษามีการออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาตามอัธยาศัยที่เป็นต้นแบบ โดยสถานศึกษา ได้จัดทาข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับกระบวนการออกแบบการจัดกิจกรรมการศึกษา ตามอัธยาศัย วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ และการนิเทศติดตาม ได้แก่ รายงานความพึงพอใจที่มี ต่อการจัดกิจกรรม รายงานผลการดาเนินงานกิจกรรม รายงานการประชุม แผนการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ เครื่องมือวัดผลการเรียนรู้ และรายงานผลการนิเทศ สถานศึกษามีผู้รับบริการที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบในด้านการนาได้ความรู้และ/หรือ ได้รับประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัยไปใช้/ประยุกต์ใช้ โครงการบ้านหนังสือชุมชน รางวัลชนะเลิศอันดับ ๑บ้านหนังสือชุมชนต้นแบบ บ้านโคกท่า หมู่ที่ ๕ตาบลหนองตูมของสานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่นรับโล่รางวัล รองชนะเลิศอันดับ ๑นัก กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ต้นแบบของบ้านหนังสือชุมชน ประเภทกลุ่มบุคคล บ้านโคก ท่า หมู่ที่ ๕ตาบลหนองตูม ของสานักงาน กศน. โครงการหนังสือติดล้อรางวัลชนะเลิศ ระดับประเทศ ประเภท Website ห้องสมุดประชาชน เฉลิมพระเกียรติพระเทพฯ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น สังกัด สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่นรางวัล ดีเด่น ผลงานโครงการหนังสือติดล้อ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น (ห้องสมุดเคลื่อนที่)รับโล่เชิดชูเกียรติ ในการดาเนินโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด ตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ รางวัลชนะเลิศระดับประเทศ เมืองวัฒนธรรมการอ่าน ด้านนวัตกรรม จากกระทรวง วัฒนธรรม จากผลการดาเนินงานของ สถานศึกษา ที่สอดคล้องกับมาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัด การศึกษา/การให้บริการ ดังรายละเอียดข้างต้น สามารถสรุปคะแนนที่ได้ และระดับคุณภาพจากผล การประเมินตนเองของสถานศึกษา ได้ดังรายละเอียดในตารางต่อไปนี้
๑๑๕
มาตรฐาน มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ คุณภาพครูการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ คุณภาพของหลักสูตรสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ คุณภาพสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๔ คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ตาม หลักสูตรสถานศึกษา การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๕ คุณภาพวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๖ คุณภาพหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๗ คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ การศึกษาต่อเนื่อง การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๘ คุณภาพผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตาม อัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๙ คุณภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการศึกษา ตามอัธยาศัย รวม
ผลการประเมินตนเอง น้าหนัก ระดับ (คะแนน) คะแนนที่ได้ คุณภาพ ๕ ๕ ๕ ๕
๕ ๔.๕๐ ๔.๐๐ ๕
ดีมาก ดีมาก ดี ดีมาก
๕ ๕ ๕
๕ ๕ ๕
ดีมาก ดีมาก ดีมาก
๕
๕
ดีมาก
๕
๕
ดีมาก
๔๕
๔๓.๕๐
ดีมาก
สถานศึกษามีผลการประเมินตนเองในภาพรวม มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/ การให้บริการ มีคะแนนรวม เท่ากับ ๔๓.๕๐คะแนนได้ระดับคุณภาพอยู่ในระดับ ดีมากโดยมี จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา วิธีปฏิบัติที่ดี หรือนวัตกรรม หรืตอ้นแบบ และข้อเสนอแนะในการพัฒนา ดังนี้ จุดเด่น สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพครูการศึกษาขึ้นพื้นฐาน ให้มีความรู้ความสามารถในการจัด กิจ กรรมมีการกาหนดเป้ าหมายในการจัดการเรียนการสอนที่ชัดเจนเน้ นผู้เรียนเป็นสาคัญคานึงถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคลมีการพัฒนาคุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ให้มี บรรลุตามวัตถุประสงค์ สอดคล้องกับความต้องการของของผู้รับบริการ สังคมและชุมชน มี ความสามารถในการบริหารจัดการหลายๆด้านการใช้สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมและนาภูมิปัญญา ท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้การประเมินผลที่มุ่งพัฒนาการของผู้เรียนด้วยวิธีการที่ หลากหลายมีข้อมูลพื้นฐาน /ทาเนียบสื่อแหล่งการเรียนรู้และภูมิปัญญามีสื่อที่มีคุณภาพหลากหลาย ทันสมัยสร้างสรรค์มีระบบการให้บริการที่สามารถเข้าถึงและใช้บริการได้ง่ายมีการส่งเสริมสนับสนุนให้ มีการรวมกลุ่มจัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้
๑๑๖
คุณภาพวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ เข้ารับการอบรม/ พัฒนาตนเองจากสถาบันต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง และได้รับเชิญให้เป็นคณะกรรมการตัดสินการประกวด กิจกรรมต่าง ๆ ของหน่วยงานราชการ คุณภาพหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่อง มีหลักสูตรที่หลากหลายและเป็นที่ หลักสูตรที่เรียนจบแล้วสามารถนาความรู้ไปใช้ได้จริงและสามารถประกอบอาชีพได้ พร้อมทั้งมีสื่อการ เรียนรู้ที่เพียงพอ ทันสมัยเหมาะสมกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่องการศึกษาตามอัธยาศัย ได้จัด กิจกรรมการเรียนการสอนเป็นระบบขั้นตอน โดยเน้นการปฏิบัติลงมือจริง ประเมินผู้เรียนโดยการ สอบภาคทฤษฎีจากการสังเกต ปฏิบัติจริง และได้ติดตามนิเทศกระบวนการจัดกระบวนการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง คุณภาพผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ผู้ปฏิบัติงานการศึกษาตามอัธยาศัย ได้แก่ บรรณารักษ์ เจ้าหน้าที่ห้องสมุด ครู กศน.ตาบล และผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยบ้าน หนังสือชุมชน ได้สังเกตผู้เข้ารับบริการกลับเข้ามาใช้บริการบ่อยครั้งอย่างต่อเนื่อง สารวจจาก แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้บริการ ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยได้ศึกษาความ ต้องการการเรียนรู้ของรับบริการแล้วนามาออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องเหมาะสม กับความต้องการของผู้รับบริการ คุณภาพกระบวนการการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ดาเนินงานทุก โครงการ/กิจกรรมให้เป็นไปตามแผนการดาเนินงานที่กาหนดพร้อมทั้งสรุปผลการดาเนินงานในแต่ละ กิจกรรม/โครงการและประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้ารับบริการ /ผู้เข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาตาม อัธยาศัยในแต่ละกิจกรรม จุดที่ควรพัฒนา สถานศึกษาควรส่งเสริมให้มีการดาเนินการพัฒนาหลักสูตรให้ครอบคลุมกลุ่มสาระทักษะการ เรียนรู้ความรู้พื้นฐานการประกอบอาชีพทักษะการดาเนินชีวิตและสาระการพัฒนาสังคมใ ห้สอดคล้อง กับความต้องการของผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายโดยอาศัยข้อมูล การประเมินหลักสูตรจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายรวมทั้งนานวัตกรรมเทคโนโลยีมาปรับใช้ในการจัด กระบวนการเรียนรู้นวัตกรรมให้เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และร่วมพัฒนาคุณภาพสื่อตาม หลักสูตรสถานศึกษา ให้มีคุณภาพและสามารถนาสื่อการเรียนรู้มาใช้ได้จริงในชั้นเรียน วิธีปฏิบัติที่ดี หรือนวัตกรรม สถานศึกษามีการส่งเสริมให้ มีการขายสินค้าทางออนไลน์ OOCC และบรรณารักษ์ได้ทาเว็บไชต์ห้องสมุดประชาชนเพื่อระบบเชื่อมโยงแหล่งการเรียนรู้ ต้นแบบ สถานศึกษามีการจัดทาสื่อจากแหล่งการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงสถานศึกษามีการ จัดทาสื่อด้านการศึกษาตามอัธยาศัยที่เป็นต้นแบบโดยได้รับรางวัล เว็บไซต์ห้องสมุดประชาชนดีเด่น ระดับประเทศภายใต้ระบบเชื่อมโยงแหล่งการเรียนรู้และเป็นแหล่งศึกษาดูงาน หน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชนได้รับรางวัลดีเด่น ผลงานหนังสือติดล้อ (ห้องสมุดเคลื่อนที)่ สาขาการบริการสารสนเทศ การบริการลูกค้าสัมพันธ์ (รางวัลจากเครือข่าย)ได้รับรางวัลนักจัดกิจกรรมสร้างเสริมการอ่านและการ เรียนรู้ต้นแบบของบ้านหนังสือชุมชน (ระดับประเทศ)ได้รับรางวัลบ้านหนังสือชุมชนต้นแบบ (ระดับ จังหวัด)สถานศึกษาจัดทาข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่ เหมาะสมกับบริบทสถานศึกษา เช่น ทาเนียบภูมิปัญญา แหล่งเรียนรู้ในชุมชน ทะเบียนเกี่ยวกับอาชีพ
๑๑๗
ต่างๆมีระบบคลังข้อมูลเกี่ยวกับสื่อและนวัตกรรมการเรียนรู้บ้านหนังสือชุมชนบ้านโคกท่า หมู่ที่ ๕ตาบล หนองตูม อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวั ดขอนแก่น เพื่อประกาศว่าเป็นบ้านหนังสือชุมชนต้นแบบ พ.ศ. ๒๕๖๐รับโล่รางวัล รองชนะเลิศอันดับ ๑นักจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ต้นแบบของบ้าน หนังสือชุมชน ประเภทกลุ่มบุคล บ้านโคกท่า หมู่ที่ ๕ตาบลหนองตูม อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่นรางวัลระดับดีเด่น สาขาการบริการสารสนเทศ การบริการลูกค้าสัมพันธ์ในการนาเสนอผลงาน (ผลงานติดล้อ ห้องสมุดเคลื่อนที่)รับโล่เชิดชูเกียรติ ในการดาเนินการห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด ตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีรางวัลชนะเลิศ การประกวดเว็บไชต์ ห้องสมุดประชาชน ๒๕๖๑ระบบเชื่อมโยงแหล่งการเรียนรูhttp://lris.nfe.go.th) ้( ข้อเสนอแนะในการพัฒนา - ควรทาสื่อให้ทันสมัยกับรายวิชา - ควรมีการศึกษาและจัดทาวิจัยด้านการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อเป็นเครื่องมือหรือนา ผลการวิจัยไปเป็นแนวทางในการพัฒนากระบวนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยให้มีคุณภาพ มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักธรรมาภิบาล จากการประเมินของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ในตัวบ่งชี้ที่ 3.1 พบว่า สถานศึกษาบรรลุตามเป้าหมายความสาเร็จ ของตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ที่กาหนดไว้ ซึ่ง ได้ 5 .00 คะแนน ได้ ระดับ คุณภาพอยู่ในระดับ ดีมาก ด้วยการดาเนินงานดังนี้ 1. ผู้บริหารศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ดาเนิน ตามหลักธรรมภิบาลและจัดทาเป็นลายลักณ์อักษร ที่ผ่านการประชุมหารอภิปรายกับบุคลลากรใน องค์กร มีการบริหารงาน ด้านวิชาการโดยเปิดโอกาสให้บุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ รับ ฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจาก ผู้ใต้บังคับบัญชา มีการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษา แผนปฏิบัติงาน ประจาปี การจัดทาหลักสูตร งานประกันคุณภาพการศึกษา งานนิเทศติดตาม งานรายงานผลการ ปฏิบัติงานประจาปี เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารงานวิชาการ ๒. ผู้บริหารมีการบริหารงานด้านงบประมาณ มีการประชุมจัดสรรเงินงบประมาณตาม กลุ่มเป้าหมายแต่ละตาบล ให้ครู และบุคลากรทุกคนเข้ามามีส่วนรวมในการจัดทาแผนการใช้จ่ายเงิน งบประมาณ มีการดาเนินงานตามแผนทุกกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ทุกโครงการต้องผ่านการตรวจสอบจาก เจ้าหน้าที่แผนงานและโครงการว่าการใช้จ่ายเงินในโครงการคุ้มค่าหรือไม่ มีการนิเทศ ติดตามการใช้ จ่ายเงินงบประมาณ โดยให้สรุปงาน รายงานผลการจัดกิจกรรมแนบมาพร้อมชุดเบิกเงินทุกครั้ง เพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด - สถานศึกษามีการรับสมัครบุคคล เพื่อเข้ามาปฏิบัติงานอย่างเป็นธรรม และโปร่งใส - สถานศึกษามีการประเมินเลื่อนขั้นเงินเดือน การประเมินเพื่อต่อสัญญาจ้างเป็นไปตาม มาตรฐานและตัวชี้วัดของสานักงาน กศน.อ้างอิงกับหลักสูตรที่ชัดเจนอย่างธรรมและตรวจสอบได้ ๓. ผู้บริหารมอบหมายงานให้ตรงตามศักยภาพของบุคลากร มีการส่งเสริมและสนับสนุนให้ บุคลากรทุกระดับได้พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตามศักยภาพ บุคลากรมีการรายงานผลการพัฒนา
๑๑๘
ตนเองให้ผู้บริหารทราบทุกครั้งหลังกลับจากอบรม จากการนิเทศครูได้นาความรู้ที่ได้รับจากการอบรม มาขยายผลให้กับเพื่อนครู และผู้เรียน ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรในองค์การมีการจัดตั้งร้าน SML ของอาเภอเมืองขอนแก่น ซึ่งจัดในรูปแบบของร้านค้าสหกรณ์ บุคลากรทุกคนสมัครเป็นสมาชิกและ ลงหุ้น มีการซื้อสินค้าเป็นเงินสดและเงินผ่อน เมื่อสิ้นปีก็จะปันผลให้สมาชิก และยังส่งเสริมให้บุคลากร จัดทาบัญชีรายรับ – รายจ่ายของตนเองเพื่อเป็นแบบอย่างให้กับผู้เรียน ด้านการบริหารงานทั่วไป ผู้บริหารให้ความสาคัญในทุก ๆ เรื่อง ไม่ว่าจะเป็น กศน.อาเภอ ห้องสมุดประชาชนเฉลิมราชกุมารี กศน.ตาบล หรือ ศูนย์การเรียนชุมชน ต้องมีศักศิ์ศรีเท่าเทียมกัและ น ให้ความสาคัญกับการพัฒนาบุคคลากรด้านวิชาการ ด้านคุณธรรม จริยธรรม เช่น มีโครงการจัดอบรม พัฒนา บุคลลากร มีการติดตามและประเมินผลอย่างเป็นขั้นตอน ๔. สถานศึกษมีการดาเนินงานที่สอดคล้องดังนี้ สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของ ระบบบริหารจัดการศึกษา ข้อ 2.1 โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการศึกษามีคล่องตัว ชัดเจน และสามารถตรวจสอบได้ (1) มีการปรับปรุงโครงสร้างและระบบบริหารราชการส่วนกลาง ส่วน ภูมิภาค และสถานศึกษาให้มีเอกภาพ สอดคล้องกับบริบท ของพื้นที่และการบริหารจัดการตามหลักธรร มาภิบาล ข้อ 2.2 ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งผลต่อคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษา (6) จานวนสถานศึกษาที่บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 256 ๒ 6. จุดเน้นด้าน การพัฒนาระบบและการบริหารจัดการ แนวทางหลัก 6.2 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ สถานศึกษา โครงการ 3.การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ 256 ๒ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมข้อ 5.1 ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้ กับประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันผลกระทบและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ ธรรมชาติ ข้อ 5.2 สร้างความตระหนักถึงความสาคัญของการสร้างสังคมสีเขียว ส่งเสริมความรู้ให้กับ ประชาชนเกี่ยวกับการคัดแยกการแปรรูป และการกาขยะรวมทั้งการจัดการมลพิษในชุมชน ข้อ 5.3 ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมรวมทั้งลดการใช้ทรัพยากรที่ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ยุทศาสตร์ที่ 6 ด้านการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการ ข้อ 6.1 พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาเพื่อการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบและ เชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลกลางของกระทรวงศึกษาธิการเพื่อการบริหารจัดการและบูรณาการข้อมูล ของประชาชนอย่างเป็นระบบ ข้อ 6.2 ส่งเสริมการใช้ระบบสานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (E-office) ในการ บริหารจัดการ เช่น ระบบการลา ระบบสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการ ขอใช้ห้องประชุม เป็นต้น ข้อ 6.4 ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้และทักษะตาม มาตรฐานตาแหน่งให้ตรงกับสายงานหรือความชานาญโดยมีจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา วิธีปฏิบัติที่ดี หรือ นวัตกรรม หรือต้นแบบ และข้อเสนอแนะในการพัฒนา ดังนี้
๑๑๙
จุดเด่น ผู้บริหารสถานศึกษาบริหารงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักธรรมาภิบาล จุดที่ควรพัฒนา 1. สถานศึกษาควรมีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ระดับอาเภอ ระดับ ตาบล เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ตามที่ระเบียบกาหนด 2. สถานศึกษามีการประชุม ติดตาม ทบทวน ระบบงานประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับครูและบุคลากรทุกคนเห็นความสาคัญ ของการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ข้อเสนอแนะในการพัฒนา 1 . สถานศึกษาควรส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาในการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2. สถานศึกษาควรมีการประชุม ติดตาม ทบทวน ระบบงานประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาสาหรับบุคลากร และคณะกรรมการสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาของภาคีเครือข่าย ผลการดาเนินงาน สถานศึกษาได้ส่งเสริมสนับสนุนและประสานภาคีเครือข่ายเพื่อการจัดหรือร่วมจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยมี กระบวนการในการดาเนินงานโดยทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ องค์กรเอกชนมูลนิธิชุมชนวัดสถานประกอบการองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นโรงเรียนผู้รู้ภูมิปัญญาซึ่งใน การทา MOU นั้นมีทั้งในระดับกระทรวงศึกษาธิการระดับสานักงานกศน. ระดับสานักงานกศน.จังหวัด และกศน.อาเภอเมืองขอนแก่นได้จัดทา MOU กับภาคีข่ายเครือในพื้นที่เองซึ่งไม่ว่าจะเป็นการทา MOU ในระดับใดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่นจะทาตามบทบาท ภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงานต้นสังกัดและทาตาม MOU นอกจากนี้ยังมีภาคีเครือข่ายที่ไม่ได้ ทาบันทึกข้อตกลง MOU กศน.อาเภอเมืองขอนแก่นจะทาการประสานความร่วมมือจัดการเรียนรู้กับภาคี เครือมาอย่างต่อเนื่องการสร้างภาคีเครือข่ายใหม่ๆสร้างความสัมพันธ์กับเครือข่ายอยู่เสมอประสานงาน ภาคีเครือข่ายเป็นประจาสม่าเสมอรวมทั้งเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆที่ภาคีเครือข่ายเป็นหน่วยจัดและส่งเสริม ให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีบทบาทมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมี การจัดส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในหน่วยงานราชการใน อาเภอเมืองขอนแก่นและจังหวัดขอนแก่นเช่นสมาคมสตรีจังหวัดขอนแก่นพัฒนาชุมชนอาเภอเมือง ขอนแก่นมีการจัดโครงการสอนเสริมเติมเต็มวิชาที่ยากตามสาระการเรียนรู้และโครงการติวเข้มเติมเต็ม ความรู้ได้เชิญวิทยากรที่เป็นครูในโรงเรียนที่มีความรู้ความสามารถจากโรงเรียนในอาเภอเมืองขอนแก่น มาเป็นวิทยากรสอนเสริมในวิชาที่ยากเช่นวิชาภาษาอังกฤษและคณิตศาสตร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนให้กับผู้เรียนเป็นต้น และได้ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายดาเนินงาน 4 ศูนย์ได้แก่ 1) ศูนย์ส่งเสริม ประชาธิปไตยตาบล(ศส.ปชต. ในการดาเนินงานขับเคลื่อนร่วมกับกกต.จังหวัดขอนแก่นเช่นการให้ความรู้ คณะกรรมการศส.ปชต. และให้ความรู้กับประชาชนในเรื่องเกี่ยวกับประชาธิปไตยและการเลือกตั้ง 2)
๑๒๐
ศูนย์ดิจิทัลชุมชนได้ส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินงานร่วมกับสานักงานสถิติจังหวัดขอนแก่นและบริษัท ทีโอทีมามีส่วนร่วมขับเคลื่อนการดาเนินงานเช่นการอบรมการใช้เน็ตประชารัฐรวมทั้งการสารวจข้อมูล ในการใช้เน็ตประชารัฐ 3) ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงได้ดาเนินงานขับเคลื่อนจัดตั้งศูนย์เรียนรู้หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบลทุกตาบลร่วมกับภาคีเครือข่ายทั้งผู้นา ท้องถิ่นสานักงานเกษตรอาเภอเมืองขอนแก่นภูมิปัญญาท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายส่วนอื่นๆในทุกตาบล 4) ศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตได้ขับเคลื่อนร่วมกับภาคีเครือข่ายส่วนอื่นจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยเช่นองค์กรปกครองท้องถิ่นทั้ง 10 ตาบลหน่วยงานในพื้นที่ได้ประสานความ ร่วมมือกันจัดกิจกรรมร่วมกันอย่างสม่าเสมอและไดสดาเนินงานตามนโยบายอื่นๆของ กระทรวงศึกษาธิการเช่นการขับเคลื่อนสู่ Smart ONIE ในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เสริมสร้าง ศักยภาพของประชาชนให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศไดสมีการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ การทา เกษตรกรรม Smart Farmer เกษตรกรปราดเปรื่องโดยเชิญวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถจาก หน่วยงานต่างๆมาร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้สาธารณสุขอาเภอเมืองขอนแก่นสนับสนุนบุคลการและ สถานที่ในการขัดอบรมหักสูตรการดูแลผู้สูงอายุจานวน 70 ชั่วโมงในการติดตามการจัดหรือร่วมจัด การศึกษาของภาคีเครือข่ายศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยดาเนินการติดตามโดย ใช้รูปแบบวิธีการที่หลากหลายมีการนิเทศติดตามการดาเนินการงานการจัดกิจกรรมออกนิเทศติดตามผล การดาเนินงานการจัดการศึกษาหลักสูตรขั้นพื้นฐานการศึกษาต่อเนื่องการศึกษาตามอัธยาศัยนอกจากนี้ ได้ให้ครูกศน.ตาบลรายงานผลทั้งระหว่างการดาเนินงานและเสร็จสิ้นการดาเนินงานทั้งรายงานทางกลุ่ม LINE และรายงานเป็นเอกสารในส่วนงานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้การให้ รายงานผลการเขสาสอบขาดสอบทั้งการสอบปลายภาคเรียนและการสอบ N-NET ในทุกภาคเรียนการ ทบทวนหรือติดตามกระบวนการในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดหรือร่วมจัดการศึกษาของภาคีเครือข่าย เพื่อนาไปปรับปรุงมีกระบวนการนอกจากการออกนิเทศติดตามอย่างสม่าเสมอแล้วยังมีการทบทวนสร สางความเขสาในในการดาเนินงานอยู่เสมอเช่นทาเป็นหนังสือราชการแจสงประชุมชี้แจงคณะกรรมการ ดาเนินการสอบทุกครั้งการเก็บสถิติเป็นข้อมูลในการปรับปรุงพัฒนาต่อไป สถานศึกษา มีกระบวนการในการส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายจัดหรือร่วมจัดการศึกษาที่ เป็นต้นแบบโดยการสร้างสัมพันธ์ประสานความร่วมมือสร้างความเข้าใจประชุมแต่งตั้งสร้างแรงจูงใจจัด กิจกรรมจัดการศึกษาร่วมกันยกย่องเชิดชูเกียรติภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัดศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่นมีการดาเนินงานกิจกรรมโครงการสอดคล้องกับสอดคล้อง กับนโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ 256๒ สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ256๒ และแผนการศึกษาชาติ20 ปีดังนี้ สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสานักงานกศน. ปีงบประมาณ 256๒ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการสรสางโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ข้อ 4.5 พลิกโฉมกศน.ตาบลสู่ “กศน.ตาบล 4G” (4 เสริมสรสางความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย : Good Partnerships ทั้งภาครัฐภาคเอกชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมี ส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสรสางความเขสาใจและให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริมสนับสนุนและจัด การศึกษาและการเรียนรู้ให้กับประชาชนอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ256๒
๑๒๑
1. จุดเน้นด้านการพัฒนาระบบและการบริหารจัดการ แนวทางหลัก ๑.๑ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา โครงการหลัก ๑. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา ๒. โครงการพัฒนารูปแบบ/แนวทางการส่งเสริมการสรสางการมีส่วนร่วมในการจัดและ สนับสนุนการจัดการศึกษาจากทุกภาคส่วนของสังคม ๓. โครงการส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายการศึกษาในการจัดการศึกษาในพื้นที่อาทิ สมัชชาการศึกษาหรือสภาการศึกษาจังหวัดหรือสถาบันและองค์กรต่างๆในสังคม แผนการศึกษาชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา ข้อ 2.3 ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของประชาชน และพื้นที่ (1 จานวนเครือข่ายการศึกษาที่มีศักยภาพและความพร้อมในการส่งเสริมสนับสนุนการจัด การศึกษาเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในพื้นที่เพิ่มขึ้น (2) จานวนองค์กรสมาคมมูลนิธิหรือหน่วยงานอื่นที่เข้ามาจัดการศึกษาหรือร่วมมือกับ สถานศึกษาทั้งของรัฐเอกชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพิ่มขึ้น (3) จานวนสถานประกอบการที่เขสาร่วมการจัดการศึกษากับสถานศึกษาสถาบันการศึกษา จาแนกตามระดับประเภทการศึกษาและสาขาวิชาเพิ่มขึ้น (4)สัดส่วนผู้เรียนเอกชนสูงขึ้นเมื่อเทียบกับรัฐ (5)สัดส่วนการมีส่วนร่วมสนับสนุนการศึกษาของภาคเอกชนภาคประชาชนและภาคีเครือข่าย เมื่อเทียบกับรัฐจาแนกตามระดับการศึกษาสูงขึ้น (6)จานวนมาตรการ/แนวทางการสนับสนุนทรัพยากรทางการศึกษาเพื่อสรสางแรงจูงใจในการมี ส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมเพิ่มขึ้น จากการดาเนินงานของสถานศึกษาจึงมีผลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษามาตรฐานที3่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษาตัวบ่งชี้ท3.2 ี่ การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาของภาคี เครือข่ายคะแนนที่ได้5 คะแนนได้ระดับคุณภาพอยู่ในระดับ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา ผลการดาเนินงาน ด้วยศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่นมีคณะกรรมการ สถานศึกษาตามคาสั่งสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเลยได้มี กระบวนการในการสรรหาคณะกรรมการสถานศึกษาได้อย่างชัดเจนตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 มาตรา 38จึงทาการประกาศรับสมัครคัดเลือกคณะกรรมการแต่ละ ด้านตามเกณฑ์เปิดเวทีให้ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกคณะกรรมการฝ่ายต่างๆพร้อมทั้งคัดเลือกประธาน คณะกรรมการสถานศึกษาจากคณะกรรมการทั้ง 9 คนเสนอแต่งตั้งให้ผู้มีอานาจลงนามแต่งตั้งและเชิญ
๑๒๒
ประชุมชี้แจงเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ตามระเบียบที่กาหนดระเบียบต่างๆที่ เกี่ยวข้องให้แก่คณะกรรมการสถานศึกษาคณะกรรมการสถานศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิบัติหน้าที่ ตามบทบาทหน้าที่ตามระเบียบที่กาหนดตามที่ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอเมืองขอนแก่นประชุมทุกครั้งอย่างน้อยปีละ 1 ครั้งซึ่งในการประชุมประธานคณะกรรมการมีการ ทบทวนกระบวนการสรรหาจานวนคุณลักษณะคุณสมบัติวาระการดารงตาแหน่งตลอดจนการพ้นจาก ตาแหน่งและเน้นย้าบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการเพื่อคณะกรรมการทุกคนปฏิบัติหน้าที่ไค้ตามบทบา หนสาที่ได้ตามระเบียบที่กาหนดคณะกรรมการสถานศึกษาได้มีบทบาทหน้าที่ให้คาปรึกษาพิจารณาให้ เสนอแนะในการดาเนินงานจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของสานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย/ของกระทรวงศึกษาธิการแผนการศึกษาชาติ 20 ปี มาตรฐานการศึกษาของชาติยุทธศาสตร์ชาติโดยพิจารณาให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษาแผนปฏิบัติการประจาปี หลักสูตรสถานศึกษารายงานการประเมินตนเองและมีการกากับ นิเทศติดตามผลการดาเนินงานประจาปีของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ เมืองขอนแก่นอย่างสม่าเสมอเพื่อพัฒนาปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผลจนบรรลุ วัตถุประสงค์ของทางราชการ สถานศึกษามีการดาเนินงานการประชุมชี้แจงและปรึกษาหารือร่วมกับบุคคลากรในการดาเนิน กิจกรรมโครงการสอดคลสองกับสอดคลสองกับนโยบายและจุดเน้นสานักงานกศน . ปีงบประมาณ 256 ๒ สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ256๒ และแผนการศึกษาชาติ 20 ปีดังนี้ สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ256๒ จุดเน้นด้านการพัฒนาระบบและการบริหารจัดการ แนวทางหลัก - ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา โครงการหลัก - ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา - โครงการพัฒนารูปแบบ/แนวทางการส่งเสริมการสรสางการมีส่วนร่วมในการจัดและ สนับสนุนการจัดการศึกษาจากทุกภาคส่วนของสังคม - โครงการส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายการศึกษาในการจัดการศึกษาในพื้นที่อาทิสมัชชา การศึกษาหรือสภาการศึกษาจังหวัดหรือสถาบันและองค์กรต่างๆในสังคม แผนการศึกษาชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา ระบบบริหารงานบุคคลของครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นธรรมสรสาง ขวัญกาลังใจและส่งเสริมให้ปฏิบัติงานได้อย่างเต็มตามศักยภาพ (1 มีระบบการสรรหาและแต่งตั้ง ผู้บริหารสถานศึกษาตามหลักเกณฑ์ความรู้ความสามารถประสบการณ์การจัดการเรียนการสอนการ บริหารการศึกษาและความสาเร็จในวิชาชีพ
๑๒๓
จากการดาเนินงานของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมือง ขอนแก่นจึงมีผลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษามาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัด การศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.3 การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาคะแนนที่ได้5 คะแนนได้ระดับ คุณภาพอยู่ในระดับ ดีมาก ตัวบ่งชี้ 3.4 การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ผลการดาเนินงาน ประเด็นที่ 1 สถานศึกษามีการจัดระบบการประกันคุณภาพภายในที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนและ ผู้รับบริการอย่างไร ๑. สถานศึกษาจัดประชุมบุคลากรในการจัดระบบ การประกันคุณภาพภายใน เพื่อรับทราบ และทาความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับ การกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพภายใน โดยมีการ จัดประชุมชี้แจงและแจกเอกสารที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้บุคลากรได้ทาความเข้าใจร่วมกัน เช่น ในการ ประชุมประจาสัปดาห์ การจัดโครงการอบรมพัฒนาคุณภาพของบุคลากรของสถานศึกษา และจัดทา คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน เพื่อรับผิดชอบและติดตามประเมินผล จัดทา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแบบแผนการปฏิบัติการประจาปี ๒. ประชุมชี้แจงบุคลาการในการรับสมัคร นักศึกษา แต่ละภาคเรียนเพื่อคัดกรองผู้เรียนและ ผู้รับบริการที่มีความประสงค์จะเรียน กศน. ๓. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนจานวน20 ครั้ง/ภาคเรียน โดยครูผู้สอนต้องพบกลุ่ม สัปดาห์ละ 3 – 6 ชั่วโมง ๔. จัดโครงการปรับพื้นฐานติวเข้มเติมเต็มความรู้วิชาบังคับทุกภาคเรียน ๕. ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาอยู่เสมอโดยการนิเทศติดตาม ๖. ติดตามการรายงานผลการสอบปลายภาค การสอบN-NET ประเด็นที่ 2 สถานศึกษามีการสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่บุคลากรในการดาเนินงานตามระบบการ ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่กาหนดอย่างไร 1. จัดประชุม เชิงปฏิบัติการ การจัดอบรม จัดทาแผนงานในการดาเนินการแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาจัดทารายงานประเมินตนเอง ประจาปี 3. สถานศึกษาบริหารงานด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านบริหารงานบุคคลและด้าน บริหารทั่วไป โดยน้อมนาหลักธรรมมาภิบาลมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินงาน 4. ส่งเสริมสนับสนุนและประสานภาคีเครือข่ายเพื่อการจัดการศึกษา กศน.ทั้งหน่วยงาน ภาครัฐ เอกชน มูลนิธิ ชุมชน วัด อบต. โรงเรียน ผู้รู้ และภูมิปัญญา ประเด็นที่ 3 สถานศึกษามีการทบทวนหรือประเมินระบบการประกันคุณภาพภายในที่ส่งผลต่อ คุณภาพผู้เรียนและผู้รับบริการอย่างไร 1. แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ และกาหนดระยะเวลาและแนวทางการตรวจสอบ 2. บุคลากรทุกคนมีการประชุมร่วมกันเพื่อทบทวนติดตามหรือประเมิน ระบบการประกัน
๑๒๔
คุณภาพภายใน และวางแผนในการตรวจสอบทบทวนประเมินระบบการประกันคุณภาพภายใน โดย ตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของสถานศึกษา ประเด็นที่ 4 สถานศึกษามีการจัดทาแนวทางการดาเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายใน เพื่อให้ บุคลากรของสถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานอย่างไร 1. มีการติดตามและประเมินผล การใช้ระบบฐานข้อมูล หรือระบบDMIS และนาผลไป ปรับปรุงพัฒนาระบบฐานข้อมูล 2. ปฏิบัติงานตามมาตรฐานของสถานการศึกษาและปฏิบัติงานตามแผนโดรงการที่ รับผิดชอบพร้อมเก็บรวบรวมหลักฐานปฏิบัติงานไว้อย่างเป็นระบบ ค้นหาง่าย รวดเร็ว 3. นิเทศกากับติดตามผลการดาเนินงาน ตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นที่ 5 สถานศึกษาพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาอย่างไรที่เป็น ต้นแบบ 1. ผู้บริหารสถานศึกษามีการส่งเสริมในการให้ขวัญและกาลังใจให้กับคณะครูและบุคลากร ทางการศึกษาในการเป็นต้นแบบของการจัดกิจกรรมด้านต่างๆ เช่น ครูดีเด่น ด้านส่งเสริมการอ่าน, ครู ดีเด่น ด้านการส่งเสริมประชาธิปไตย ๒. บุคลากรทุกคนของสถานศึกษา ได้ประชุมกาหนด ค่าเป้าหมายและต้นแบบในการ พัฒนาการประกันคุณภาพภายใน และ มีการติดตามผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในระบบฐานข้อมูล หรือระบบ DMIS โดยทาการเร่งรัดให้ครู กศน.ตาบล ปฏิบัติงานตามแผนที่ได้รับมอบหมาย ถ้าตาบล ไหนไม่สามารถป ฏิ บัติงานได้ก็จะได้มอบหมายให้กับ ตาบลที่ป ฏิ บัติงานได้อย่างรวดเร็ว สามารถ ตรวจสอบได้ ปฏิบัติเป็นผลงานแทน และนาผลการรายงานมาตรฐานในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของ ครู กศน.ตาบลต่อไป จากการดาเนินงานของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมือง ขอนแก่นมีผลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษามาตรฐานที3่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.4 การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาคะแนนที่ได้ 5 คะแนนได้ระดับคุณภาพอยู่ ในระดับ ดีมาก จากผลการดาเนินงานของสถานศึกษาที่สอดคลสองกับมาตรฐานที3่ ประสิทธิภาพการบริหาร จัดการการศึกษาดังรายละเอียดข้างต้นสามารถสรุปคะแนนที่ได้และระดับคุณภาพจากผลการประเมิน ตนเองของสถานศึกษาได้ดังรายละเอียดในตารางต่อไปนี้
๑๒๕
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ การศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและหลักธรรมาภิบาล ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาของภาคีเครือข่าย ตัวบ่งชี้ที่3.3 การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.4 การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา รวม
ผลการประเมินตนเอง น้าหนัก ระดับ (คะแนน) คะแนน ที่ได้ คุณภาพ 5 5 5 5 20
5.00 5.00 5.00 5.00 20.00
ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก
จุดเด่น 1. ผู้บริหารสถานศึกษา บริหารงาน ด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านบริหารทั่วไป โดยน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และนาหลักธรรมาภิบาล มา ประยุกต์ใช้ในการดาเนินงาน 2. มีการส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่าย เพื่อการจัด หรือร่วมจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ทั้งหน่วยงานภาครัฐ องค์กรเอกชน มูลนิธิ ชุมชน วัด สถาน ประกอบการ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น โรงเรียน ผู้รู้ และภูมิปัญญา 3. คณะกรรมการสถานศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทหน้ าที่ตาม ระเบียบที่กาหนด 4. ผู้บริหารเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่บุคลากรในการดาเนินงานตามระบบประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษานั้นมีคาสั่งแต่งตั้งคณะทางานตามมาตรฐานตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาและให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา จุดที่ควรพัฒนา ๑.ควรมีการจ้างบุคลากรเพิ่มเพื่อปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่ธุรการและเจ้าหน้าที่ IT โดยเฉพาะ วิธีปฏิบัติที่ดีหรือนวัตกรรม สถานศึกษามีการติดตามผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในระบบฐานข้อมูลหรือระบบ DMIS โดยทาการเร่งรัดให้ครู กศน.ตาบลปฏิบัติงานตามแผนที่ได้รับมอบหมายถ้าตาบลไหนไม่สามารถ ปฏิบัติงานได้ก็จะได้มอบหมายให้กับตาบลที่ปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็วสามารถตรวจสอบได้ปฏิบัติเป็น ผลงานแทนและนาผลการรายมาเป็นฐานในการประเมินผลการปฏิบัติงานของครู กศน.ตาบลต่อไป ต้นแบบ สถานศึกษา โดยผู้บริหารสถานศึกษามีการส่งเสริมในการสร้างขวัญและกาลังใจให้กับคณะครู และบุคลกรของสถานศึกษา ในการเป็นต้นแบบของการจัดกิจกรรมงานการศึกษาตามอัธยาศัย ดังนี้
๑๒๖
เกียรติประวัติและผลงานดีเด่นของสถานศึกษา 1. รางวัลห้องสมุดยอดเยี่ยมระดับประเทศ 2. รางวัลผู้บริหารสถานศึกษาดีเด่น 3. รางวัลสถานศึกษาพอเพียงระดับประเทศ 4. รางวัลด้านเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนดีเด่น 5. รางวัลสถานศึกษาต้นแบบอ่านสร้างสุข 6. รางวัลครูสอนดี 7. รางวัลเด็กและเยาวชนดีเด่นแห่งชาติ ๘. รางวัลชนะเลิศ “รางวัลเมืองวัฒนธรรมแห่งการอ่านด้านนวัตกรรม” รางวัลเชิดชูเกียรติห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยาม บรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น ที่เคยได้รับจากต้นสังกัดและหน่วยงานอื่น ๆ ดังนี้ ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่นพัฒนาเป็นห้องสมุดมีชีวิตอย่างสม่าเสมอ ต่อเนื่องมีข้อเด่นสิ่งดีงามของห้องสมุด ประชาชนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น มีหน่วยงานยกย่องมอบรางวัลเชิดชูเกียรติ จากต้นสังกัดและหน่วยงานอื่น ๆ ดังนี้ 1.รับเกียรติบัตร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ได้รับคัดเลือกเป็น สถานศึกษาส่งเสริมการอ่านต่อเนื่อง ปี 2555 – 2559“โครงการ อ่านสร้างสุข ยก กาลังสุขในสถานศึกษาและชุมชน” ปีการศึกษา 2559 ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2560 โดย ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์ ผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ๒.รางวัลชนะเลิศ ประเภทผลงาน เว็บไซด์ห้องสมุดประชาชน ภายใต้ระบบเชื่อมโยงแหล่งการ เรียนรู้ ประจาปี 2561 ๓ .รับเกียรติบัตร ประเภทผลงาน โครงการ “ห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด” ตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ประจาปีงบประมาณ 2561 ผลงานโครงการ/กิจกรรมดีเด่น 1. โครงการบ้านหนังสืออัจฉริยะ 2. โครงการยกระดับการศึกษาประชากรวัยแรงงาน 3. โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงบ้านหนองหัววัว 4. โครงการหนังสือข้างเตียง 5. โครงการหนังสือแซ่บ 6. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 7. โครงการพัฒนา กศน.ตาบลเป็นแหล่งเรียนรู้ 8. โครงการพัฒนาอาชีพ และทักษะชีวิตเด็กเร่ร่อน 9. โครงการพัฒนาอาชีพและทักษะคนพิการ สถานศึกษาได้สนองนโยบายของสานักงาน กศน.ด้วยการจัดค่ายเสริมสร้างค่านิยมหลักของไทย 12 ประการครบทุกตาบล การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านสาหรับเด็กที่มีอายุ0 – 6 ปีทุกหมู่บ้าน
๑๒๗
ข้อเสนอแนะในการพัฒนา สถานศึกษาควรมีการอบรมให้ความรู้ ให้ความตระหนักเกิดแก่ ครู กศน.ในการปฏิบัติงาน และการรายงานผลการปฏิบัติงาน ในระบบฐานข้อมูล หรือระบบ DMIS ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
บทที่ 4 สรุปผลการประเมินตนเอง และแนวทางการพัฒนาสถานศึกษา การประเมินตนเองของสถานศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2560 เพื่อการพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการ ประเมินตนเอง และแนวทางการพัฒนาสถานศึกษา ได้ดังนี้ การสรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา การสรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปผลได้เป็น 2 ส่วน คือ 1) สรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2) สรุปผลการวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา 1. สรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 1คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะ กระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้พื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 1.4ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความสามารถ และทักษะ ในการประกอบอาชีพ ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้เทคโนโลยีได้ อย่างเหมาะสม การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ 1.7 ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จาก การเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตาม อัธยาศัย มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน
35
ผลการประเมินตนเอง คะแนน ระดับ ที่ได้ คุณภาพ 31.๕๐ ดีมาก
5
4.๕0
ดีมาก
5 5
4.00 3.50
ดี ดี
5
5.00
ดีมาก
5
5.00
ดีมาก
5
4.50
ดีมาก
5
5.00
ดีมาก
45
43.50
ดีมาก
น้้าหนัก (คะแนน)
๑๒๙
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพครูการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 คุณภาพของหลักสูตรสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 คุณภาพสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร สถานศึกษา การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 คุณภาพวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 คุณภาพหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษา ต่อเนื่อง การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 คุณภาพผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ 2.9 คุณภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการศึกษาตาม อัธยาศัย มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาล ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาของภาคี เครือข่าย ตัวบ่งชี้ที่3.3 การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.4 การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา รวม
น้้าหนัก (คะแนน) 5 5 5 5 5 5 5
ผลการประเมินตนเอง คะแนน ระดับ ที่ได้ คุณภาพ 5.00 ดีมาก 4.50 ดีมาก 4.00 ดี 5 ดีมาก 5 5 5
ดีมาก ดีมาก ดีมาก
5 5
5 5
ดีมาก ดีมาก ดีมาก
20 5
20 5
ดีมาก ดีมาก
5
5
ดีมาก
5 5 100
5 5 9๕.๐๐
ดีมาก ดีมาก
สถานศึกษามีผลการประเมินตนเองในภาพรวม โดยมีคะแนนรวม เท่ากับ ซึ่งอยู่ในระดับคุณภาพ ดีมาก
ดีมาก
๙๕.๐๐ คะแนน
๑๓๐
เกณฑ์ระดับคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตารางที่ 1 เกณฑ์ระดับคุณภาพ ค่าน้าหนัก 5 คะแนน ระดับคุณภาพ คะแนน
ต้องปรับปรุงเร่งด่วน 0.00 0.50 1.00
ต้องปรับปรุง พอใช้ 1.50 2.00 2.50 3.00
ดี
ดีมาก 3.50 4.00 4.50 5.00
ตารางที่ 2 เกณฑ์ระดับคุณภาพ ค่าน้าหนั20 ก คะแนน ระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน
ต้องปรับปรุงเร่งด่วน 0.00 – 4.00
ต้องปรับปรุง 4.01 – 8.00
พอใช้ 8.01 – 12.00
ดี 12.01 – 16.00
ดีมาก 16.01 20.00
พอใช้ 14.01 – 21.00
ดี 21.01 – 28.00
ดีมาก 28.01 35.00
พอใช้ 18.01 – 27.00
ดี 27.01 – 36.00
ดีมาก 36.01 45.00
พอใช้ 40.01 – 60.00
ดี 60.01 – 80.00
ตารางที่ 3 เกณฑ์ระดับคุณภาพ ค่าน้าหนัก 35 คะแนน ระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน
ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ต้องปรับปรุง 0.00 – 7.00 7.01 – 14.00
ตารางที่ 4 เกณฑ์ระดับคุณภาพ ค่าน้าหนั45 ก คะแนน ระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน
ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ต้องปรับปรุง 0.00 – 9.00 9.01 – 18.00
ตารางที่ 5 เกณฑ์ระดับคุณภาพ ค่าน้าหนั100 ก คะแนน ระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน
ต้องปรับปรุงเร่งด่วน 0.00 – 20.00
ต้องปรับปรุง 20.01 – 40.00
ดีมาก 80.01 100.00
๑๓๑
2. สรุปผลการวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา สรุปผลการวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา จุดเด่น 1. ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นผู้มีคุณธรรม 2. มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย และสามารถยืดหยุ่นเวลา เรียนได้ 3. จัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องได้ตรงตามความต้องการของ กลุ่มเป้าหมาย สามารถนาไปประกอบอาชีพ และเพิ่มรายได้ 4. ผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมของ สถานศึกษา 5. ผู้เรียน/ผู้รับริการ สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน และการ ดารงชีวิตได้ 6. สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 7. สถานศึกษามีการมอบหมายงานที่ชัดเจน และมีการประชุมชี้แจง และติดตามงานทุกสัปดาห์ 8. สถานศึกษามีแผนปฏิบัติงานในการปฏิบัติราชการที่ชัดเจน และ สามารถยืดหยุ่นได้ 9. สถานศึกษามีการสรุปโครงการเป็นรูปเล่ม และจัดแผนปฏิบัติงาน ประจาเดือนพร้อมสรุปรายงานทุกเดือน จุดที่ควรพัฒนา - สถานศึกษาควรพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษา ขั้นพื้นฐานให้มีผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้น พร้อมให้เด่นชัด โดยสถานศึกษาควร ส่งเสริมให้มีการศึกษาด้านปัจจัยที่มี่ผลกระทบต่อผู้เรียน มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนต่า ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทักษะการเรียนรู้ ความรู้ พื้นฐาน การประกอบอาชีพ ทักษะการดาเนินชีวิต และการพัฒนาสังคม ซึ่ง จะเน้นในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ครอบคลุมถึงปัจจัยที่มาจากพฤติกรรมการเรียนรู้ ข้อจากัดที่เกิดจากการ ประกอบอาชีพ ควบคู่กับการพัฒนาตนเองทางการศึกษา นาผลมาวิเคราะห์ ศึกษา วิจัย พิจารณา กาหนดนวัตกรรม สื่อ ในการพัฒนาผู้เรียนให้มี ผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น และสอดคล้องกับค่าเป้าหมายของสถานศึกษา เพื่อนาไปสู่ การพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา และเกิดประสิทธิผลต่อผู้เรียน/ ผู้รับบริการให้มากที่สุด วิธีปฏิบัติที่ดี หรือ ๑. ครู กศน. และวิทยากร รวบรวมข้อมูลการประเมินตนเอง ของนักศึกษา นวัตกรรม หรือ เพื่อให้ทราบถึงความถนัด ความสนใจ ข้อดี ข้อด้อยของตนเองเพื่อพัฒนา ตัวอย่างที่ดี หรือ ปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนและสารวจติดตามผู้เรียน/ผู้รับบริการที่ ต้นแบบ จบแล้วเพื่อเป็นตัวอย่างและต้นแบบที่ดีต่อไป
๑๓๒
สรุปผลการวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา ๒. ครูควรพัฒนาหลักสูตรกิจกรรม จัดทาแผน และการจัดกระบวนการ เรียนรู้ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน จัดให้มีการประกวดแข่งขัน มีรางวัลแต่ละกิจกรรม เพื่อกระตุ้นให้ดึงดูดความสนใจ และเป็นขวัญ กาลังใจให้กับผู้เรียน/ผู้รับบริการ
๑๓๓
แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา จากผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา เห็นควรให้สถานศึกษาจัดโครงการ/กิจกรรม เพื่อ การปรับปรุง หรือพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามลาดับ ความสาคัญ ดังนี้ 1. สถานศึกษาควรส่งเสริมให้มีการศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนต่าในกลุ่มทักษะการเรียนรู้ ความรู้พื้นฐาน การประกอบอาชีพ ทักษะการดาเนินชีวิต และการพัฒนาสังคมและชุมชน โดยเน้นในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอน ปลาย ครอบคลุมถึงปัจจัยที่มาจากพฤติกรรมการเรียนรู้ มีข้อจากัดที่เกิดจากการประกอบอาชีพควบคู่ กับการพัฒนาตนเองทางด้านการศึกษา นาผลการวิเคราะห์ ศึกษาวิจัย พิจารณากาหนดนวัตกรรม สื่อ ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น และสอดคล้องกับค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ๒. สถานศึกษาควรส่งเสริมให้มีการพัฒนาหลักสูตร ให้ครอบคลุมกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทักษะ การเรียนรู้ ความรู้พื้นฐาน การประกอบอาชีพ ทักษะการดาเนินชีวิต และสาระการพัฒนาสังคมให้ สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย โดย อาศัยข้อมูลการประเมินหลักสูตรจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย รวมทั้งนานวัตกรรมเทคโนโลยีมาปรับใช้ใน การจัดกระบวนการเรียนรู้ นวัตกรรมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง ๓. สถานศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุนพัฒนาครูให้มีโอกาสศึกษา แลกเปลี่ยนประสบการณ์ การจัดการเรียนการสอนให้กับผู้รู้บ่อย ๆ โดยการศึกษาเอกสาร อบรม ศึกษาดูงานสถานที่ทั้งในและ นอกระบบที่จัดกิจกรรมการเรียนการสอน นอกจากนี้สถานศึกษาควรสร้างความเข้าใจกับครูศูนย์การ เรียนชุมชน ครูประจากลุ่ม และชุมชนในเรื่องบทบาทหน้าที่ของครูว่ามีบทบาทอย่างไร เข้าใจอย่าง ถ่องแท้ ลึกซึ้ง จึงจะทาให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน และพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่างแท้จริง เป็น แบบอย่างที่ดีและเป็นต้นแบบที่ดีต่อไป **************
ภาคผนวก
๑๓๕
๑๓๖
๑๓๗
๑๓๘
๑๓๙
๑๔๐
ประกาศศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น เรื่อง คุณลักษณะผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือต้นแบบการกระกันคุณภาพในสถานตามมาตรฐานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ………………………………………………………………………………………… . ตามแนวทางในการดาเนินงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่สานักงาน กศน. กาหนดเพื่อให้สถานศึกษาในสังกัดนาไปใช้ให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ลงวันที่ 22 พฤศจิกายน 2560 อย่างมีคุณภาพ และสอดคล้องกับศักยภาพและบริบทของตนเองอันจะส่งผลให้สถานศึกษาได้รับ การยอมรับจากบุคคลชุมชนและสังคมต่อไปนั้น ในมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน /ผู้รับบริการ /ผู้เข้ารับการอบรม ซึ่งเป็นการให้ ความสาคัญกับผลการดาเนินงานที่เป็นผลผลิตหรือผลลัพธ์ของการจัดการศึกษาและการให้บริการของ สถานศึกษาที่ดาเนินการโดยเฉพาะที่เกิดกับผู้เรียน/ผู้รับบริการ/ผู้เข้ารับการอบรม ได้กาหนดให้สถานศึกษา กาหนดค่าเป้าหมาย ซึ่งเป็นค่าของระดับผลการดาเนินงานที่สถานศึกษากาหนดค่าเป้าหมาย ซึ่งเป็นค่าของ ระดับผลการดาเนินงานที่สถานศึกษาคาดหวังว่าจะทาให้เกิดขึ้นได้ตามศักยภาพและบริบทของสถานศึกษา เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนผู้รับบริการ/ผู้เข้ารับการอบรม ซึ่งสถานศึกษาได้กาหนดค่าเป้าหมายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 เรียบร้อยแล้ว และได้กาหนดคุณลักษณะผู้เรียน/ผู้รับบริการ/ผู้เข้ารับการอบรม ที่มีการประพฤติป ฏิบัติตนเป็นตัวอย่างทีด่ ี หรือเป็นต้นแบบด้านต่าง ๆตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการวัดและคัดเลือกบุคคลที่ ควรเป็นตัวอย่างที่ดีหรือต้นแบบที่ดีแก่ผู้อื่นต่อไป ตามรายละเอียดแนบท้ายประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ เดือน ตุลาคม 2561
นายบุญส่ง ทองเชื่อม ผู้อานวยการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น
๑๔๑
รายละเอียดแนบท้ายประกาศ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น เรื่อง คุณลักษณะผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบตามาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๖๑ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม ผู้เรียนเป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบด้านคุณธรรม เพื่อการพัฒนาการอยู่ร่วมกันในสังคม (สามัคคี มี น้าใจ และมีวินัย) ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี:ต้องมีคุณลักษณะตามเกณฑ์พิจารณา ข้อ ๑-๕ และข้อ ๖ ผู้เรียนที่เป็นต้นแบบ่ : ต้องมีคุณลักษณะตามเกณฑ์พิจารณา ข้อ ๑-๕ และข้อ ๗ เกณฑ์การพิจารณา ๑. เข้าร่วมกิจกรรมกับเพื่อนร่วมชั้นเรียน หรือหมู่คณะได้อย่างราบรื่น เป็นน้าหนึ่งใจ เดียวกัน ๒. เป็นผู้นา และผู้ตามที่ดี ได้รับการยอมรับจากเพื่อร่วมชั้นเรียน เพื่อนร่วมงาน และ ชุมชน ๓. มีความเสียสละ ช่วยเหลืองานกลุ่ม สถานศึกษา และผู้อื่นอยู่เสมอ อย่างน้อย ๒ ครั้ง ต่อภาคเรียน ๔. มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ดีงามของกลุ่ม สถานศึกษา และชุมชน อย่าง น้อย ๒ ครั้งต่อภาคเรียน ๕. ไม่ถูกภาคทัณฑ์/ทาทัณฑ์บน ไม่ถูกฟ้องร้อง/ดาเนินคดี ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาท จาก ๑ หรือกับบุคคลและหน่วยงานต่าง ๆ ๖. ได้รับเกียรติบัตรหรือประกาศเกียรติคุณด้านคุณงามความดี ๗. ได้รับเกียรติบัตรหรือประกาศเกียรติคุณด้านคุณงามความดี และมีการเผยแพร่จนเป็น ที่ยอมรับของบุคคล ชุมชน และสังคม โดยมีบุคคลหรือสถานศึกษานาไปปฏิบัติหรือ ประยุต์ใช้ หมายเหตุ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ได้คัดเลือกคุณธรรม กลุ่มที่ ๓ คือ คุณธรรมเพื่อการพัฒนาการอยู่ ร่วมกันในสังคม ประกอบด้วยสามัคคี มีน้าใจ และมีวินัย มาเป็นเกณฑ์ในการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา และกาหนดเป็นค่าเป้าหมาย เนื่องจากสถานศึกษามุ่งเน้นพัฒนาคุณธรรมกลุ่มที่ ๓ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือเป็นต้นแบบด้านทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี :ต้องมีคุณลักษณะตามเกณฑ์พิจารณา ข้อ ๑-๕ และข้อ ๖ ผู้เรียนเป็นต้นแบบ :ต้องมีคุณลักษณะตามเกณฑ์พิจารณา ข้อ ๑-๕ และข้อ ๗
๑๔๒
เกณฑ์การพิจารณา ๑. มีค่าระดับผลการเรียนเฉลี่ย ๓.๕๐ - ๔.๐๐ ๒. เป็นหัวหน้าชั้นเรียน หรือหัวหน้ากลุ่ม หรือผู้นาชุมชน หรือหัวหน้ากลุ่ม หรือหัวหน้า งาน อย่างใดอย่างหนึ่ง ๓. มะเรียบแบบแผนในการดาเนินชีวิตที่ถูกต้อง งดงาม มีคุณค่า และเป็นประโยชน์ต่อ สังคม ๔. ทาโครง/ใบงาน/แบบฝึกหัด/บันทึกการเรียนรู้ส่งครูผู้สอนอย่างน้อย ๓ ชิ้นงาน ๕. สามารถติดต่อสื่อสารโดยใช้แอปพลิเคชันต่าง ๆ ผ่านสมาร์ทโฟน อินเตอร์เน็ต ได้เป็น อย่างดี ๖. ได้รับเกียรติบัตร หรือประกาศเกียรติคุณด้านความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิด อย่างมีวิจารณญาณ มีทักษะในการสืบเสาะหาข้อมูล การสรุป ประมวล และ สังเคราะห์ข้อมูลด้านใดด้านหนึ่ง ๗. ได้รับเกียรติบัตร หรือประกาศเกียรติคุณด้านความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิด อย่างมีวิจารณญาณ มีทักษะในการสืบเสาะหาข้อมูล การสรุป ประมวล และ สังเคราะห์ข้อมูล ด้านใดด้านหนึ่ง และมีการเผยแพร่จนเป็นที่ยอมรับของบุคคล ชุมชน สังคม โดยมีบุคคลหรือสถานศึกานาไปปฏิบัติหรือประยุกต์ใช้ ตัวบ่งชี้ ๑.๓ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้พื้นฐาน ผู้เรียนเป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนาความรู้พื้นฐานไปใช้/ประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต การ ทางาน หรือการประกอบอาชีพ ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี :ต้องมีคุณลักษณะตามเกณฑ์พิจารณา ข้อ ๑-๕ และข้อ ๖ ผู้เรียนที่เป็นต้นแบบ :ต้องมีคุณลักษณะตามเกณฑ์พิจารณา ข้อ๑-๕ และข้อ ๗ เกณฑ์พิจารณา 1. เป็นผู้เรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกศน.อาเภอเมืองขอนแก่นที่มีผล การเรียนเฉลี่ย 3.00 ขึ้นไป 2 เป็นผู้เรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกศน.อาเภอเมืองขอนแก่นที่ สามารถนาความรู้ไปศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นและประสบความสาเร็จ 3. เป็นผู้เรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกศน.อาเภอเมืองขอนแก่นที่ สามารถนาความรู้ที่จบไปพัฒนาอาชีพอาชีพตนเองให้ดีขึ้นเช่นปรับเปลี่ยนงาน/ ตาแหน่งงานหรือปรับเงินเดือน ที่สูงขึ้นและดีขึ้น 4. เป็นผู้เรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกศน.อาเภอเมืองขอนแก่นที่ สามารถนาความรู้ที่จบไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของตนเอง ครอบครัวและสังคมให้ดีขึ้นเป็นที่นับหน้าถือตาในสังคม 5.เป็นผู้เรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกศน.อาเภอเมืองขอนแก่นที่ ประสบความสาเร็จในการอาชีพเป็นที่เคารพนับถือในสังคมเช่น ผู้นาท้องถิ่น ผู้นาชุมชน กานัน ผู้ใหญ่บ้าน นักธุรกิจและอาชีพอื่น ๆ ๖. ได้รับเกียรติบัตร หรือประกาศเกียรติคุณด้านการนาความรู้ไปใช้/ประยุกต์ใช้ใน การดารงชีวิต การทางาน หรือการประกอบอาชีพ ด้านใดด้านหนึ่ง
๑๔๓
๗. ได้รับเกียรติบัตร หรือประกาศเกียรติคุณด้านการนาความรู้ไปใช้/ประยุกต์ใช้ใน การดารงชีวิตการทางาน หรือการประกอบอาชีพด้านด้านหนึ่ง และมีการ เผยแพร่จนเป็นที่ยอมรับของบุคคล ชุมชน สังคม โดยมีบุคคลหรือสถานศึกษา นาไปปฏิบัติหรือประยุกต์ใช้ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ ผู้เรียนเป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนาความรู้ไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือ ประกอบอาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพ หรือการเพิ่มมูลค่าของสินค้า หรือบริการ ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี :ต้องมีคุณลักษณะตามเกณฑ์พิจารณา ข้อ ๑-๕ และข้อ ๖ ผู้เรียนที่เป็นต้นแบบ :ต้องมีคุณลักษณะตามเกณฑ์พิจารณา ข้อ๑-๕ และข้อ ๗ เกณฑ์พิจารณา 1. เรียนจบหลักสูตรสามารถนาไปประกอบอาชีพ 2. เพิ่มรายได้ สามารถเป็นอาชีพหลัก และอาชีพเสริม 3. เปิดเป็นเจ้าของกิจการ 4. ได้รับเกียรติบัตร โล่ รางวัล 5. เป็นวิทยากรสอนในหลักสูตรที่เรียน ๖. ได้รับเกียรติบัตร หรือประกาศเกียรติคุณด้านการนาความรู้ไปใช้ในการลด รายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือประกอบอาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพ หรือเพิ่ม มูลค่าของสินค้าหรือบริการ ด้านใดด้านหนึ่ง ๗. ได้รับเกียรติบัตร หรือประกาศเกียรติคุณด้านการนาความรู้ไปใช้ในการลด รายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือประกอบอาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพ หรือเพิ่ม มูลค่าของสินค้าหรือบริการ ด้านใดด้านหนึ่ง และมีการเผยแพร่จนเป็นที่ยอมรับ ของบุคคล ชุมชน และสังคม โดยมีบุคคลหรือสถานศึกษานาไปปฏิบัติหรือ ประยุกต์ใช้ ๑.๕ ผู้เรียน หรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้เรียน หรือผู้เข้ารับการอบรมเป็นตัวอย่างที่ดี หรือเป็นต้นแบบ ด้านการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนาไป ปฏิบัติ หรือประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี :ต้องมีคุณลักษณะตามเกณฑ์พิจารณา ข้อ ๑-๓ และข้อ ๔ ผู้เรียนที่เป็นต้นแบบ :ต้องมีคุณลักษณะตามเกณฑ์พิจารณา ข้อ๑-๓ และข้อ ๕ เกณฑ์พิจารณา 1. สามารถดารงชีวิตตามเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างมีความสุข 2. พึ่งพาตนเองได้ 3. สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม 4. ได้รับเกียรติบัตร หรือประกาศเกียรติคุณ ด้านต้นแบบ ด้านการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และ สามารถนาไปปฏิบัติ หรือประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม ด้านใดด้านหนึ่ง
๑๔๔
5. ได้รับเกียรติบัตร หรือประกาศเกียรติคุณด้านตนแบบ ด้านการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ สามารถนาไปปฏิบัติหรือประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม ด้านใดด้านหนึ่ง และมีการเผยแพร่ จนเป็นที่ยอมรับของบุคคล ชุมชน และสังคม โดยมีบุคคลหรือสถานศึกษานาไปปฏิบัติหรือ ประยุกต์ใช้ ๑.๖ผู้เรียน หรือผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม ผู้เรียน หรือผู้เข้ารับการอบรมที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือเป็นต้นแบบ ด้านการใช้เทคโนโลยีในการ แก้ปัญหา และพัฒนาการดารงชีวิต หรือประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี :ต้องมีคุณลักษณะตามเกณฑ์พิจารณา ข้อ ๑-๔ ผู้เรียนที่เป็นต้นแบบ :ต้องมีคุณลักษณะตามเกณฑ์พิจารณา ข้อ๑-๔ และข้อ ๕ เกณฑ์พิจารณา ๑. ผู้เรียนสามารถขายสินค้าออนไลน์ได้ ๒. ผู้เรียนสามารถทาเพจขายสินค้าได้ ๓. มีรายได้จากการขายสินค้าออนไลน์ ๔. มีคุณธรรมจริยธรรม มีความซื่อตรง และซื่อสัตย์ต่อลูกค้า ๕. ได้รับเกียรติบัตร หรือประกาศเกียรติคุณด้านการใช้เทคโนโลยีการแก้ปัญหา และการ พัฒนาการดารงชีวิต หรือประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสมด้านด้านหนึ่ง และมีการเผยแพร่ จนเป็นที่ยอมรับของบุคคล ชุมชน และสังคม โดยมีบุคคลหรือสถานศึกษานาไปปฏิบัติ หรือ ประยุกต์ใช้ ๑.๗ ผู้รับบริการได้รับความรู้/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม โครงการการศึกษาตาม อัธยาศัย ผู้เรียน หรือผู้เข้ารับการอบรมที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบด้านการนาความรู้ และ/หรือ ประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัยไปใช้ ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี :ต้องมีคุณลักษณะตามเกณฑ์พิจารณา ข้อ ๑-๔ และข้อ ๕ ผู้เรียนที่เป็นต้นแบบ :ต้องมีคุณลักษณะตามเกณฑ์พิจารณา ข้อ๑-๔ และข้อ ๖ เกณฑ์พิจารณา 1.ต้องเป็นผู้ที่มีนิสัยรักการอ่าน 2.ต้องเป็นสมาชิกห้องสมุด 3.ต้องเป็นผู้ที่ใช้บริการบ้านหนังสือชุมชนเป็นประจา 4.ต้องเป็นผู้ที่นาความรู้ที่ได้รับจากการอ่านไปถ่ายทอดให้กับผู้อื่นได้ ๕. ได้รับเกียรติบัตร หรือประกาศเกียรติคุณด้านการนาความรู้ และ/หรือ ประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัยไปใช้ด้าน ใดด้านหนึ่ง ๖. ได้รับเกียรติ หรือประกาศเกียรติคุณด้านการนาความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการ เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัยไปใช้ ด้านใดด้านหนึ่ง และมีการ เผยแพร่จนเป็นที่ยอมรับของบุคคล ชุมชน และสังคม โดยมีบุคคลหรือสถานศึกษานาไป ปฏิบัติหรือประยุกต์ใช้
๑๔๕
แบบเสนอขอความเห็นชอบการกาหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 256๒ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น ******************************************* ตามที่สานักงาน กศน. ได้กาหนดแนวทางการประกันคุณภาพภายในศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขตเพื่อให้สถานศึกษาในสังกัดนาไปใช้เป็นแนวทางในการ ดาเนินงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560 ลงวันที่ 22 พฤศจิกายน 2560 อย่างมีคุณภาพและสอดคล้องกับศักยภาพ และบริบทของตนเอง อันจะส่งผลให้สถานศึกษาได้รับ การยอมรับจากบุคคล ชุมชน และสังคมต่อไป นั้น การดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามกรอบ มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่สานักงาน กศน.กาหนด ในมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ ซึ่งเป็นการให้ความสาคัญกับผลการดาเนินงานที่เป็นผลผลิตหรือผลลัพธ์ของ การจัดการศึกษาและการให้บริการของสถานศึกษาที่ดาเนินการ โดยเฉพาะที่เกิดกับผู้เรียน/ผู้เข้ารับการ อบรม/ผู้รับบริการ สถานศึกษาต้องเป็นผู้กาหนดค่าเป้าหมาย ในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน/ผู้เข้ารับ การอบรม/ผู้รับบริการเพื่อให้เป็นไปตามศักยภาพและบริบทของสถานศึกษา และต้องผ่านความเห็นชอบจาก สานักงาน กศน.จังหวัด ดังนั้น สถานศึกษาจึงได้กาหนดค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 256๒ ตามกรอบแนวทางของสานักงาน กศน. และเสนอขอความเห็นชอบ ดังนี้ ค่าเป้าหมาย ประเด็น (จานวนหรือร้อยละ) การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม ประเด็นที่ 1 ผู้เรียนมีคุณธรรม ประเด็นที่ 5 ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบด้านคุณธรรม ตัวบ่งชี้ 1.2 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหา ความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน การดารงชีวิต ประเด็นที่ 1 ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต
ร้อยละ 2๘ 3๙ คน
ร้อยละ 1๙
๑๔๖
ประเด็น ประเด็นที่ 5 ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบด้านทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต
ค่าเป้าหมาย (จานวนหรือร้อยละ) จานวน 6๕
๑๔๗
ประเด็น ตัวบ่งชี้ 1.3 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้พื้นฐาน ประเด็นที่ 1 ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐาน ค่าเฉลีย่ ของคะแนนสอบปลายภาคเรียน แต่ละรายวิชาของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2561 ตามแผนการลงทะเบียนดังนี้ ระดับประถมศึกษา 1.เศรษฐกิจพอเพียง 2.สุขศึกษาพลศึกษา 3.ศิลปศึกษา 4.ทักษะการเรียนรู้ 5.คณิตศาสตร์ 6.ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 7.ภาษาไทย 8.วิทยาศาสตร์ 9.สังคมศึกษา 10.ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 11.การพัฒนาตนเองชุมชน สังคม 12.ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ 13.ทักษะการประกอบอาชีพ 14.พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 1.เศรษฐกิจพอเพียง 2.สุขศึกษาพลศึกษา 3.ศิลปศึกษา 4.ทักษะการเรียนรู้ 5.คณิตศาสตร์ 6.ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 7.ภาษาไทย 8.วิทยาศาสตร์ 9.สังคมศึกษา 10.ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 11.การพัฒนาตนเองชุมชน สังคม 12.ช่องทางการพัฒนาอาชีพ 13.ทักษะการพัฒนาอาชีพ 14.พัฒนาอาชีพให้มีเข้มแข็ง
ค่าเป้าหมาย (จานวน หรือ ร้อยละ)
จานวน 23.87 คะแนน จานวน 22.56 คะแนน จานวน 19.80 คะแนน จานวน 28.11 คะแนน จานวน 26.31 คะแนน จานวน 23.42 คะแนน จานวน 22.83 คะแนน จานวน 22.57 คะแนน จานวน 21.51 คะแนน จานวน 24.23 คะแนน จานวน 24.74 คะแนน จานวน 20.63 คะแนน จานวน 28.92 คะแนน จานวน 18.13 คะแนน จานวน 22.86 คะแนน จานวน 23.43 คะแนน จานวน 20.57 คะแนน จานวน 27.00 คะแนน จานวน 31.03 คะแนน จานวน 28.96 คะแนน จานวน 30.11 คะแนน จานวน 25.57 คะแนน จานวน 18.79 คะแนน จานวน 20.36 คะแนน จานวน 18.52 คะแนน จานวน 18.95 คะแนน จานวน 24.95 คะแนน จานวน 18.25 คะแนน
๑๔๘
ประเด็น
ค่าเป้าหมาย (จานวน หรือ ร้อยละ)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 21.69 คะแนน 1.เศรษฐกิจพอเพียง จานวน 22.64 คะแนน 2.สุขศึกษาพลศึกษา จานวน 19.55 คะแนน 3.ศิลปศึกษา จานวน 29.13 คะแนน 4.ทักษะการเรียนรู้ จานวน 28.68 คะแนน 5.คณิตศาสตร์ จานวน 29.66 คะแนน 6.ภาษาอังกฤษพื้นฐาน จานวน 29.75 คะแนน 7.ภาษาไทย จานวน 28.29 คะแนน 8.วิทยาศาสตร์ จานวน 18.87 คะแนน 9.สังคมศึกษา จานวน 21.40 คะแนน 10.ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จานวน 23.71 คะแนน 11.การพัฒนาตนเองชุมชน สังคม จานวน 19.81 คะแนน 12.ช่องทางการขยายอาชีพ จานวน 27.77 คะแนน 13.ทักษะการขยายอาชีพ จานวน 17.87 คะแนน 14.พัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ประเด็นที่ 2 ผู้เรียนนาความรู้พื้นฐานไปใช้ในการดาเนินชีวิต การทางาน ร้อยละ 74.08 หรือการประกอบอาชีพ ประเด็นที่ 5 ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนาความรู้ไปใช้/ จานวน 44คน ประยุกต์ในการดารงชีวิต การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ 1.4ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทักษะ ในการประกอบอาชีพ ประเด็นที่ 1 ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ร้อยละ 88 ประเด็นที่ 2 ผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือประกอบ อาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพ หรือการเพิม่ มูลค่าของสินค้า หรือ ร้อยละ 67.84 บริการ ประเด็นที่ 5 ผู้เรียนเป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนาความรู้ไปใช้ จานวน 44 ตัวบ่งชี้ 1.5 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นที่ 1 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักปรัชญา ร้อยละ 59.08 ของเศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นที่ 2 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ ร้อยละ 47.75 พอเพียง
๑๔๙
ประเด็น
ค่าเป้าหมาย (จานวน หรือ ร้อยละ)
ประเด็นที่ 5 ผู้เรียนเป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบ่งชี้ 1.6 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม ประเด็นที่ 1 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจและมีความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยี ประเด็นที่ 2 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมสามารถนาความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหา และพัฒนาการดารงชีวิต หรือประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม ประเด็นที่ 5 ผู้เรียนเป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการใช้เทคโนโลยีได้อย่าง เหมาะสม การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ 1.7 ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วม กิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย ประเด็นที่ 1 ผู้รับบริการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย ประเด็นที่ 2 ผู้รับบริการที่ได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วม กิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย ประเด็นที่ 5 ผู้รับบริการเป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนาความรู้จากการเข้า ร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัยไปใช้ รายละเอียดของการกาหนดค่าเป้าหมาย ตามเอกสารแนบท้าย จานวน 1 ชุด
จานวน 58คน
ร้อยละ 56 ร้อยละ 24.99 จานวน 55 คน
679,521 คน ร้อยละ 75.67 39 คน
ลงชื่อ .........................................................ผู้เสนอค่าเป้าหมาย (นางวิไลพร บูรณ์เจริญ) รักษาการในตาแหน่ง ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น วันที่.............เดือน..............................พ.ศ............... ลงชื่อ...................................ผู้เห็นชอบค่าเป้าหมาย ( นายสุรัติ วิภักดิ)์ ผู้อานวยการ สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น วันที่.............เดือน..............................พ.ศ...............
๑๕๐
เอกสารแนบท้ายแบบเสนอขอความเห็นชอบการกาหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 256๒ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น ************************************************ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 1.1ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม 1) ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 1 จานวนผู้เรียนทุกระดับที่คาดว่าจะมีคุณธรรมที่เกิดจาก กระบวนการจัดการเรียนรู้เป็นไปตามคาอธิบายตัวบ่งชี้ที่ 1.1:ร้อยละ26 ตารางที่ 1 แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมาย: ผู้เรียนมีคุณธรรม ภาคเรียนที่ 2/25๖๑ จานวน ผู้เรียน ทั้งหมด ประถม 424 ม.ต้น 2,435 ม.ปลาย 3,177 ระดับ
พอใช้
ดี
ดีมาก
เฉลี่ย
271 1,448 1,853
143 1,096 1,456
ภาคเรียนที่ 1/256๒ ร้อยละ ระดับ ดีมาก 34.54 43.15 44.00 40.56
จานวน ผู้เรียน พอใช้ ทั้งหมด 424 2,435 3,177 -
ดี 367 2,302 2,949 เฉลี่ย
ดีมาก 24 172 328
ค่าเป้าหมาย ที ร้อยละ ่กาหนดเป็น ค่าตั้งต้น ระดับ ดีมาก (ร้อยละ) 6.14 20.34 6.95 25.05 10.00 27 7.7 24.13
*ค่าเป้าหมายเป็นจานวนหรือร้อยละก็ได้ หากเป้าหมายมากควรกาหนดเป็นร้อยละ เป้าหมายน้อยควร กาหนดเป็นจานวนคน *วิธีคิดค่าเป้าหมาย กรณีที่ 1ร้อยละผู้เรียนในระดับดีมากเฉลี่ยทั้ง 3 ระดับ ในภาคเรียนแรกค่าเฉลี่ยสูงกว่าภาคเรียนหลัง ให้เอาร้อยละผู้เรียนของระดับเดียวกันทั้ง 2 ภาคเรียนมาหาค่าเฉลี่ย นาค่าเฉลี่ยที่ได้แต่ละระดับ มาเป็นค่า เป้าหมายที่กาหนดเป็นค่าตั้งต้นของระดับนั้น ๆ กรณีที่ 2 ร้อยละผู้เรียนในระดับดีมากเฉลี่ยทั้ง 3 ระดับ ในภาคเรียนหลังค่าเฉลี่ยสูงกว่าภาคเรียน แรก ให้เอาร้อยละผู้เรียนของแต่ละระดับในภาคเรียนหลัง เป็นค่าเป้าหมายที่กาหนดเป็นค่าตั้งต้นของระดับ นั้น ๆ *ค่าเป้าหมายที่กาหนดเป็นค่าตั้งต้น เป็นค่าเป้าหมายที่ได้จากข้อมูลสารสนเทศของการดาเนินงานปีที่ผ่านมา นามาเป็นค่าตั้งต้นในการกาหนดเป้าหมายของปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 และพัฒนาค่าเป้าหมายเพิ่มขึ้น ตามแผนพัฒนา 4 ปี ของสถานศึกษา
๑๕๑
ตารางที่ 2 แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนมีคุณธรรม ในแผนพัฒนาการศึกษา ร้อยละ ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา ระดับ ระดับดีมาก 2561 2562 2563 ประถม 20.34 22 24 26 ม.ต้น 25.05 27 29 31 ม.ปลาย 27 29 31 33 เฉลี่ย 24.13 26 28 30
2564 28 33 35 32
2) ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 5 จานวนผู้เรียนที่คาดว่าจะเป็นผู้ที่มีการประพฤติปฏิบัติตน มีคุณธรรมโดดเด่น เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบด้านคุณธรรมในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งเป็นผลจากการจัด กระบวนการเรียนรู้ ด้วยโครงการหรือกิจกรรมของสถานศึกษา: จานวน37คน ตารางที่ 3 แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนมีคุณธรรม ที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบ
ระดับ
จานวน ผู้เรียน ทั้งหมด
ประถมศึกษา 424 มัธยมศึกษาตอนต้น 2,435 มัธยมศึกษาตอนปลาย 3,177
จานวนผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี ค่าเฉลี่ยจานวนผู้เรียน ค่าเป้าหมาย หรือเป็นต้นแบบในด้าน ทีเ่ ป็นตัวอย่างที่ดีหรือ ที่กาหนดเป็น คุณธรรม เป็นต้นแบบในด้าน ค่าตั้งต้น คุณธรรม (คน) 2/2559 1/2560 5 6 5.5 6 6 9 10.5 11 11 13 17.5 18 รวม 35
ตารางที่ 4 แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนมีคุณธรรม ที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบ ในแผนพัฒนาการศึกษา ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบ (คน) 35
ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา 2561 2562 2563 2564 37 39 41 43
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้ อย่างต่อเนื่องและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต 1) ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 1 จานวนผู้เรียนทุกระดับที่คาดว่าจะมีทักษะเป็นไปตามคาอธิบาย ตัวบ่งชี้ที่ 1.2ซึ่งเป็นผลจากการจัดกระบวนการเรียนรู้ โครงการหรือกิจกรรมของสถานศึกษา : ร้อยละ 16
๑๕๒
ตารางที่ 5 แสดงที่มาของข้อมูลปีก่อน: ผู้เรียนที่มีทักษะกระบวนการคิดทักษะการแสวงหาความรู้เรียนรู้ อย่างต่อเนือ่ งและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต 6 มาตรฐาน 26 ตัวบ่งชี้ 1.3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 1.4 ผู้เรียน คิดเป็นทาเป็น
3 มาตรฐาน 20 ตัวบ่งชี้ 1.2 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต
ตารางที่ 6 แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหา ความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่องและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต ภาคเรียนที่ 2/2559
ร้อยละ จานวน พอใช้ ดี ระดับ ผู้เรียน พอใช้ ดี ดีมาก ทั้งหมด ประถม 40 308 38 9.84 327 24 261 ม.ต้น 124 1,965 294 11.96 2,365 119 1,892 ม.ปลาย 177 2,804 525 14.97 3,421 70 2,736 เฉลี่ย 12.25 เฉลี่ย *คิดแบบเดียวกับผู้เรียนมีคุณธรรม *เกณฑ์การแปลผล ค่าเฉลี่ย 3.26-4.00 ได้ระดับ ดีมาก ค่าเฉลี่ย 2.51-3.25 ได้ระดับ ดี ค่าเฉลี่ย 1.76-2.50 ได้ระดับ พอใช้ ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.75 ได้ระดับ ผ่านเกณฑ์ ระดับ
จานวน ผู้เรียน ทั้งหมด 386 2,457 3,506
ภาคเรียนที่ 1/2560
ดี มาก
ร้อยละ ระดับ ดีมาก 42 12.84 354 14.96 615 17.97 15.25 ดี มาก
ค่าเป้าหมาย ที่กาหนดเป็น ค่าตั้งต้น (ร้อยละ) 12.84 14.96 17.97 15.25
ตารางที่ 7 แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย :ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่องและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต ในแผนพัฒนาการศึกษา ร้อยละ ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา ระดับ ระดับดีมาก 2561 2562 2563 2564 ประถม 12.84 14 17 20 23 ม.ต้น 14.96 16 19 22 25 ม.ปลาย 17.97 19 22 25 28 เฉลี่ย 15.25 16 19 22 25 2) ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 5 จานวนผู้เรียนที่คาดว่าจะเป็นผู้ที่มีทักษะ ที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือ เป็นต้นแบบ ซึ่งเป็นผลจากการจัดกระบวนการเรียนรู้ โครงการหรือกิจกรรมของสถานศึกษาที่นาทักษะใด ทักษะหนึ่งไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต: จานวน63คน
๑๕๓
ตารางที่ 8 แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหา ความรู้เรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต ที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือ เป็นต้นแบบ จานวนผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี ค่าเฉลี่ยจานวน หรือเป็นต้นแบบในด้านทักษะการ ผูเ้ รียนที่เป็นตัวอย่าง ค่าเป้าหมาย จานวนผู้เรียน คิด ทักษะการแสวงหาความรู้ฯ ทีด่ หี รือเป็นต้นแบบ ที่กาหนดเป็น ระดับ ทั้งหมด ในด้านทักษะการคิด ค่าตั้งต้น (คน) 2/2559 1/2560 ทักษะการแสวงหา ความรู้ฯ ประถมศึกษา 327 12 13 18 18 มัธยมศึกษาตอนต้น 2,365 20 22 21 21 มัธยมศึกษาตอนปลาย 3,421 21 23 22 22 รวม 61 *ผู้เรียนต้องมีทักษะใดทักษะหนึ่ง ดังนี้ คือ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีทักษะในการสืบเสาะหาข้อมูล การสรุปประมวลและสังเคราะห์ข้อมูล ตารางที่ 9 แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้เรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต ที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบ ในแผนพัฒนาการศึกษา ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบ (คน) 61
ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา 2561 2562 2563 2564 63 65 67 69
๑๕๔
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้พื้นฐาน 1) ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 1 จานวนผู้เรียนทุกระดับที่คาดว่าจะมีความรู้ ความสามารถและมีทักษะตามสาระการเรียนรู้ ตารางที่ 10 แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมายระดับประถมศึกษา:ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐาน
รายวิชาบังคับ
ระดับการศึกษา : ประถมศึกษา ค่าเป้าหมาย ที่กาหนดเป็น ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบ ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบ ค่าตั้งต้น ปลายภาคเรียนของสถานศึกษา ปลายภาคเรียนระดับประเทศ 2/2559 1/2560 ค่าเฉลี่ย 2/2559 1/2560 ค่าเฉลี่ย (คะแนนเฉลี่ย)
1.เศรษฐกิจ พอเพียง 17.96 24.97 21.47 18.68 22.34 20.51 21.47 2.สุขศึกษาพล ศึกษา 15.67 18.35 17.01 19.55 20.77 20.16 20.16 3.ศิลปศึกษา 15.50 11.83 13.67 17.36 17.43 17.40 17.40 4.ทักษะการเรียนรู้ 21.88 27.15 24.52 24.79 26.63 25.71 25.71 5.คณิตศาสตร์ 24.76 23.06 23.91 16.36 19.15 17.76 23.91 6.ภาษาอังกฤษ พื้นฐาน 22.48 19.55 21.02 18.61 18.30 18.46 21.02 7.ภาษาไทย 16.14 19.03 17.59 20.59 20.27 20.43 20.43 8.วิทยาศาสตร์ 17.33 23.00 20.17 19.13 18.56 18.85 20.17 9.สังคมศึกษา 16.09 16.39 16.24 18.39 19.82 19.11 19.11 10.ศาสนาและ หน้าที่พลเมือง 26.11 17.55 21.83 20.41 19.29 19.85 21.83 11.การพัฒนา ตนเองชุมชน สังคม 20.29 24.39 22.34 19.20 21.09 20.15 22.34 12.ช่องทางการเข้า สู่อาชีพ 18.50 13.96 16.23 19.45 17.00 18.23 18.23 13.ทักษะการ ประกอบอาชีพ 20.44 22.62 21.53 26.36 26.68 26.52 26.52 14.พัฒนาอาชีพให้ มีอยู่มีกิน 11.84 9.94 10.89 15.50 15.96 15.73 15.73 *รายวิชาบังคับตามแผนลงทะเบียนของสถานศึกษาในแต่ละภาคเรียน *เลือกคะแนนเฉลี่ยแต่ละรายวิชาของระดับสถานศึกษาหรือระดับประเทศที่สูงกว่า มากาหนดเป็นค่าเป้าหมาย ตั้งต้นที่เท่าหรือสูงกว่า เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ไม่ควรต่ากว่าที่สถานศึกษาทาได้
๑๕๕
ตารางที่ 11 แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมายระดับมัธยมศึกษาตอนต้น :ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐาน
รายวิชาบังคับ
1.เศรษฐกิจพอเพียง 2.สุขศึกษาพลศึกษา 3.ศิลปศึกษา 4.ทักษะการเรียนรู้ 5.คณิตศาสตร์ 6.ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 7.ภาษาไทย 8.วิทยาศาสตร์ 9.สังคมศึกษา 10.ศาสนาและหน้าที่ พลเมือง 11.การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม 12.ช่องทางการพัฒนา อาชีพ 13.ทักษะการพัฒนาอาชีพ 14.พัฒนาอาชีพให้มี เข้มแข็ง
ระดับการศึกษา : มัธยมศึกษาตอนต้น ค่าเป้าหมาย ที่กาหนดเป็น ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบ ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบ ค่าตั้งต้น ปลายภาคเรียนของสถานศึกษา ปลายภาคเรียนระดับประเทศ 2/2559 1/2560 ค่าเฉลี่ย 2/2559 1/2560 ค่าเฉลี่ย (คะแนนเฉลี่ย)
19.54 19.80 17.14 24.06 30.78 27.13 28.86 21.57 15.71
21.37 18.06 19.20 22.79 26.47 25.99 26.55 24.76 17.00
20.46 18.93 18.17 23.43 28.63 26.56 27.71 23.17 16.36
20.00 22.14 16.27 25.68 22.89 20.42 27.30 22.93 16.54
19.29 19.92 17.62 23.51 20.79 20.51 27.86 21.45 16.24
19.65 21.03 16.95 24.60 21.84 20.47 27.58 22.19 16.39
20.46 21.03 18.17 24.60 28.63 26.56 27.71 23.17 16.39
19.00
15.72
17.36
19.35
16.56
17.96
17.96
16.31
15.09
15.70
14.01
18.23
16.12
16.12
17.37 19.66
14.66 22.42
16.02 21.04
17.63 21.97
15.47 23.13
16.55 22.55
16.55 22.55
15.13
16.56
15.85
14.85
15.86
15.36
15.85
๑๕๖
ตารางที่ 12 แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมายระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย :ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐาน ระดับการศึกษา : มัธยมศึกษาตอนปลาย ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบปลาย ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบปลาย ภาคเรียนของสถานศึกษา ภาคเรียนระดับประเทศ
16.07 18.36 15.56 27.21 26.67
22.51 17.29 17.77 26.24 25.88
19.29 17.83 16.67 26.73 26.28
18.41 21.18 16.17 27.60 22.20
19.87 19.29 18.12 25.71 21.21
19.14 20.24 17.15 26.66 21.71
ค่า เป้าหมาย ที่กาหนด เป็น ค่าตั้งต้น (คะแนน เฉลี่ย) 19.29 20.24 17.15 26.73 26.28
25.49 21.96 21.67 17.12
29.02 28.86 30.10 15.81
27.26 25.41 25.89 16.47
19.65 26.03 20.21 16.18
19.69 28.67 22.37 15.94
19.67 27.35 21.29 16.06
27.26 27.35 25.89 16.47
19.93
17.78
18.86
19.43
18.57
19.00
19.00
23.62
18.73
21.18
21.28
21.33
21.31
21.31
16.63
17.24
16.94
17.17
17.64
17.41
17.41
21.77
21.21
21.49
25.68
25.05
25.37
25.37
13.57
14.78
14.18
15.89
15.04
15.47
15.47
รายวิชาบังคับ 2/2559 1/2560 ค่าเฉลี่ย 2/2559 1/2560 ค่าเฉลี่ย 1.เศรษฐกิจพอเพียง 2.สุขศึกษาพลศึกษา 3.ศิลปศึกษา 4.ทักษะการเรียนรู้ 5.คณิตศาสตร์ 6.ภาษาอังกฤษ พื้นฐาน 7.ภาษาไทย 8.วิทยาศาสตร์ 9.สังคมศึกษา 10.ศาสนาและ หน้าที่พลเมือง 11.การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม 12.ช่องทางการ ขยายอาชีพ 13.ทักษะการขยาย อาชีพ 14.พัฒนาอาชีพให้มี ความมั่นคง
๑๕๗
ตารางที่ 13แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนระดับประถมศึกษามีความรู้พื้นฐานในแผนพัฒนา การศึกษา ระดับการศึกษา : ประถมศึกษา ค่าเฉลี่ยของ ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา คะแนนสอบ รายวิชาบังคับ ปลายภาคเรียน 2561 2562 2563 2564 ของสถานศึกษา 1.เศรษฐกิจพอเพียง 21.47 22.67 23.87 25.07 26.27 2.สุขศึกษาพลศึกษา 20.16 21.36 22.56 23.76 24.96 3.ศิลปศึกษา 17.40 18.60 19.80 21.00 22.20 4.ทักษะการเรียนรู้ 25.71 26.91 28.11 29.31 30.51 5.คณิตศาสตร์ 23.91 25.11 26.31 27.51 28.71 6.ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 21.02 22.22 23.42 24.62 25.82 7.ภาษาไทย 20.43 21.63 22.83 24.03 25.23 8.วิทยาศาสตร์ 20.17 21.37 22.57 23.77 24.97 9.สังคมศึกษา 19.11 20.31 21.51 22.71 23.91 10.ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 21.83 23.03 24.23 25.43 26.63 11.การพัฒนาตนเองชุมชน 23.54 24.74 25.94 27.14 สังคม 22.34 12.ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ 18.23 19.43 20.63 21.83 23.03 13.ทักษะการประกอบอาชีพ 26.52 27.72 28.92 30.12 31.32 14.พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน 15.73 16.93 18.13 19.33 20.53 *สถานศึกษาได้กาหนดค่าเป้าหมายแต่ละรายวิชาเพิ่มขึ้นปีละ 3%
๑๕๘
ตารางที่ 14 แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีความรู้พื้นฐานใน แผนพัฒนาการศึกษา
รายวิชาบังคับ 1.เศรษฐกิจพอเพียง 2.สุขศึกษาพลศึกษา 3.ศิลปศึกษา 4.ทักษะการเรียนรู้ 5.คณิตศาสตร์ 6.ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 7.ภาษาไทย 8.วิทยาศาสตร์ 9.สังคมศึกษา 10.ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 11.การพัฒนาตนเองชุมชน สังคม 12.ช่องทางการพัฒนาอาชีพ 13.ทักษะการพัฒนาอาชีพ 14.พัฒนาอาชีพให้มีเข้มแข็ง
ระดับการศึกษา : มัธยมศึกษาตอนต้น ค่าเฉลี่ยของคะแนน ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา สอบปลายภาคเรียน 2561 2562 2563 2564 ของสถานศึกษา 20.46 21.66 22.86 24.06 25.26 21.03 22.23 23.43 24.63 25.83 18.17 19.37 20.57 21.77 22.97 24.60 25.80 27.00 28.20 29.40 28.63 29.83 31.03 32.23 33.43 26.56 27.76 28.96 30.16 31.36 27.71 28.91 30.11 31.31 32.51 23.17 24.37 25.57 26.77 27.97 16.39 17.59 18.79 19.99 21.19 17.96 19.16 20.36 21.56 22.76 16.12 17.32 18.52 19.72 20.92 16.55 17.75 18.95 20.15 21.35 22.55 23.75 24.95 26.15 27.35 15.85 17.05 18.25 19.45 20.65
๑๕๙
ตารางที่ 15 แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีความรู้พื้นฐานใน แผนพัฒนาการศึกษา ระดับการศึกษา : มัธยมศึกษาตอนปลาย ค่าเฉลี่ยของคะแนน ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา รายวิชาบังคับ สอบปลายภาคเรียน 2561 2562 2563 2564 ของสถานศึกษา 1.เศรษฐกิจพอเพียง 19.29 20.49 21.69 22.89 24.09 2.สุขศึกษาพลศึกษา 20.24 21.44 22.64 23.84 25.04 3.ศิลปศึกษา 17.15 18.35 19.55 20.75 21.95 4.ทักษะการเรียนรู้ 26.73 27.93 29.13 30.33 31.53 5.คณิตศาสตร์ 26.28 27.48 28.68 29.88 31.08 6.ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 27.26 28.46 29.66 30.86 32.06 7.ภาษาไทย 27.35 28.55 29.75 30.95 32.15 8.วิทยาศาสตร์ 25.89 27.09 28.29 29.49 30.69 9.สังคมศึกษา 16.47 17.67 18.87 20.07 21.27 10.ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 19.00 20.20 21.40 22.60 23.80 11.การพัฒนาตนเองชุมชน สังคม 21.31 22.51 23.71 24.91 26.11 12.ช่องทางการขยายอาชีพ 17.41 18.61 19.81 21.01 22.21 13.ทักษะการขยายอาชีพ 25.37 26.57 27.77 28.97 30.17 14.พัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง 15.47 16.67 17.87 19.07 20.27 2) ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 2 จานวนผู้เรียนทุกระดับที่คาดว่าน่าจะนาความรู้พื้นฐานไปใช้ใน การดารงชีวิต การทางาน หรือการประกอบอาชีพได้ : ร้อยละ73.58 ตารางที่ 16 แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนนาความรู้พื้นฐานไปใช้ในการดารงชีวิต การทางาน หรือการประกอบอาชีพได้ ระดับ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย
จานวน ผู้เรียน ทั้งหมด 327 2,365 3,421
จานวนผู้เรียนนาความรู้พื้นฐาน ไปใช้ในการดารงชีวิต การทางาน หรือการประกอบอาชีพได้ 2/2559 1/2560 225 242 1574 1892 2366 2737 เฉลี่ย
ค่าเฉลี่ย จานวนผู้เรียนนา ค่าเป้าหมาย ความรู้พื้นฐานไปใช้ในการ ที่กาหนดเป็น ดารงชีวิต การทางาน ค่าตั้งต้น หรือการประกอบอาชีพได้ (ร้อยละ) 233 71.38 1733 73.27 2551 74.58 73.08
๑๖๐
ตารางที่ 17 แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนนาความรู้พื้นฐานไปใช้ในการดารงชีวิต การทางาน หรือการประกอบอาชีพได้ ในแผนพัฒนาการศึกษา ระดับ ประถม ม.ต้น ม.ปลาย เฉลี่ย
ผู้เรียนนาความรู้พื้นฐานไปใช้ ในการดารงชีวิตการทางาน ฯ (ร้อยละ) 71.38 73.27 74.58 73.08
ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา 2561 2562 2563 2564 71.88 73.77 75.08 73.58
72.38 74.27 75.58 74.08
72.88 74.77 76.08 74.58
73.38 75.27 76.58 75.08
3) ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 5 จานวนผู้เรียนที่คาดว่าจะนาความรู้ไปใช้/ประยุกต์ใช้ในการ ดารงชีวิต เป็นตัวอย่างที่ดี หรือเป็นต้นแบบได้ : จานวน42คน ตารางที่ 18 แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบในด้าน การนาความรู้พื้นฐานไปใช้ ประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต
ระดับ
จานวน ผู้เรียน ทั้งหมด
จานวนผู้เรียนที่เป็นตัวอย่าง ที่ดหี รือเป็นต้นแบบในด้าน การนาความรู้พื้นฐานไปใช้ ประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต 2/2559
ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย
327 2,365 3,421
1/2560
9 11 13 15 13 18 รวม *ใช้ข้อมูลสารสนเทศจากการติดตามผู้เรียนในการนาความรู้ไปใช้ฯ
ค่าเฉลี่ยจานวนผู้เรียนที่ เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็น ต้นแบบในด้านการนา ความรู้พื้นฐานไปใช้ ประยุกต์ใช้ในการ ดารงชีวิต 10 14 16
ค่าเป้าหมาย ที่กาหนดเป็น ค่าตั้งต้น (คน) 10 14 16 40
ตารางที่ 19 แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบในด้านการนาความรู้ พื้นฐานไปใช้ ประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต ในแผนพัฒนาการศึกษา ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบใน ด้านการนาความรู้พื้นฐานไปใช้ (คน) 40
ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา 2561 2562 2563 2564 42 44 46 48
๑๖๑
การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 1.4ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ 1) ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 1 จานวนผู้เรียนที่คาดว่าจะมีความรู้ ความสามารถ ตาม วัตถุประสงค์ของหลักสูตร : ร้อยละ 86 ตารางที่ 20แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถตามวัตถุประสงค์ ของหลักสูตร ข้อมูลปี 2560 จานวน จานวนผู้จบหลักสูตร ร้อย ที่จัด จานวนผู้ (คน) ละ ไม่จบ ระดับ หลักสูตร พอใช้ ดี ดีมาก ดีมาก
หลักสูตร 1. เกษตรกรรมทฤษฎีใหม่ 2.อุตสาหกรรม 3.พณิชยกรรม/บริการ 4.ความคิดสร้างสรรค์ 5.ตัดผม เสริมสวย 6.นวดแผนไทย 7.ตัดเย็บเสื้อผ้า
308 790 1676 402 633 160 160 เฉลี่ย
0 0 0 0 0 0 0
8 51 24 11 8 7 9
47 253 94 645 192 1467 53 338 83 542 21 132 17 134
ค่า เป้าหมาย ที่กาหนด เป็น ค่าตั้งต้น (ร้อยละ)
82 82 87 84 86 83 84 84
84
*หลักสูตรตั้งแต่ 6 ชั่วโมงขึ้นไป ตารางที่ 21 แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ในแผนพัฒนาการศึกษา ร้อยละผู้จบที่ผ่านการประเมิน ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา ในระดับดีมากเฉลี่ยทุกหลักสูตร 2561 2562 2563 2564 84
86
88
90
2) ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 2 จานวนผู้เรียนที่คาดว่าจะนาความรู้ที่ได้ ไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือประกอบอาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพ หรือเพิ่มมูลค่าของสินค้าหรือบริการ : ร้อยละ67.34
92
๑๖๒
ตารางที่ 22 แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือประกอบอาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพฯ ข้อมูลปี 2560 จานวนผู้นาความรู้ไปใช้ (คน) จานวน ลด ประกอบ พัฒนา เพิ่ม ผู้จบ รายจ่าย/ อาชีพ ต่อ มูลค่า หลักสูตร หลักสูตร เพิ่มรายได้ ยอด สินค้า (คน) อาชีพ หรือ บริการ 1. การตัดผมเสริมสวย 633 141 452 32 8 2.เกษตรทฤษฎีใหม่ 308 57 191 45 15 3.อุตสาหกรรม 790 126 596 62 6 4.พาณิชยกรรม บริการ 1676 566 875 176 59 5.ความคิดสร้างสรรค์ 402 38 281 52 4 6.นวดแผนไทย 160 22 112 3 23 7.ตัดเย็บเสื้อผ้า 160 34 107 2 17 เฉลี่ย *การนาความรู้ไปใช้ อาจกาหนดด้านใดด้านหนึ่งเป็นค่าเป้าหมาย หรือหลายด้านก็ได้ *สถานศึกษากาหนดค่าเป้าหมายจานวนผู้นาความรู้ไปใช้ ด้านการประกอบอาชีพ
ค่า เป้าหมาย รวม ผู้นา ที่กาหนด ความรู้ เป็นค่า ตั้งต้น ไปใช้ (คน) (ร้อยละ) 633 308 790 1676 402 160 160
71.41 62.01 75.44 52.21 69.90 70.00 66.88 66.84
ตารางที่ 23 แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือประกอบอาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพฯ ในแผนพัฒนาการศึกษา ร้อยละผู้เรียนที่จบนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา เฉลี่ยทุกหลักสูตร 2561 2562 2563 2564 66.84
67.34
67384
68.34
68.84
3) ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 5 จานวนผู้เรียนที่คาดว่าจะนาความรู้ที่ได้ ไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้หรือประกอบอาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพ หรือเพิ่มมูลค่าของสินค้าหรือบริการ ที่สามารถ เป็นตัวอย่างที่ดี หรือเป็นต้นแบบได้ : จานวน42คน
๑๖๓
ตารางที่ 24 แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบในด้าน การนาความรู้ไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้หรือการประกอบอาชีพฯ จานวนผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี ค่าเป้าหมายที่ จานวนผู้จบ หรือเป็นต้นแบบในด้านการนา กาหนดเป็นค่า ที่นาความรู้ การนาความรู้ไปใช้ ความรู้ ไปใช้ในในการลดรายจ่าย ตั้งต้น ไปใช้ หรือเพิม่ รายได้หรือกาประกอบ (คน) (คน) อาชีพฯ (คน) ลดรายจ่าย/เพิ่มรายได้ 367 15 15 ประกอบอาชีพ 2,614 13 13 พัฒนาต่อยอดอาชีพ 372 7 7 เพิ่มมูลค่าสินค้าหรือบริการ 132 5 5 รวม 40 ตารางที่ 25 แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย :ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบในด้านการนาความรู้ ไปใช้ในในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้หรือการประกอบอาชีพฯในแผนพัฒนาการศึกษา ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบใน ด้านการนาความรู้ไปใช้(คน) 40
ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา 2561 2562 2563 2564 42 44 46 48
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1) ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 1 จานวนผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมที่คาดว่าจะมีความรู้ ความ เข้าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง : ร้อยละ56.08 ตารางที่ 26 แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง
หลักสูตร 1. โครงการกาจัดขยะมูลฝอย 2.โครงการอบรมปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง 3.โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง *หลักสูตรตั้งแต่ 6 ชั่วโมงขึ้นไป
ข้อมูลปี 2560 จานวน จานวนผู้จบหลักสูตร ร้อยละ ที่จัด จานวนผู้ (คน) ไม่จบ ระดับ ดี หลักสูตร พอใช้ ดี ดีมาก มาก 360 900
-
-
160 200 55.56 450 450 50.00
540 เฉลี่ย
-
-
250 290 53.70 53.08
ค่า เป้าหมาย ที่กาหนด เป็น ค่าตั้งต้น (ร้อยละ)
53.08
๑๖๔
ตารางที่ 27แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย :ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในแผนพัฒนาการศึกษา ร้อยละผู้จบที่ผ่านการประเมิน ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา ในระดับดีมากเฉลี่ยทุกหลักสูตร 2561 2562 2563 2564 53.08 56.08 *สถานศึกษากาหนดค่าเป้าหมายเพิ่มขึ้นเป็น 3%
59.08
62.08
65.08
2)ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 2 จานวนผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมที่คาดว่าจะมีการนาความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดารงชีวิต : ร้อยละ44.75 ตารางที่ 28 แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนนาความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดารงชีวิต
หลักสูตร 1. โครงการกาจัดขยะมูลฝอย 2.โครงการอบรมปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง 3.โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจ พอเพียง
ข้อมูลปี 2560 จานวนผู้นาความรู้ไปใช้ (คน) จานวน ดารงชีวิต ประกอบ ผู้จบ อาชีพ หลักสูตร (คน) 290 840
120 650
170 190
ค่า เป้าหมาย รวม ที่กาหนด ผู้นา ความรู้ เป็นค่า ตั้งต้น ไปใช้ (คน) (ร้อยละ) 200 58.62 780 22.62
500
280
220
390
44.00
เฉลี่ย *สถานศึกษากาหนดค่าเป้าหมายจานวนผู้นาความรู้ไปใช้ด้านการประกอบอาชีพ
41.75
ตารางที่ 29 แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย :ผู้เรียนนาความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปใช้ในการดารงชีวิต ในแผนพัฒนาการศึกษา ร้อยละผู้เรียนที่จบนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ เฉลี่ยทุกหลักสูตร 41.75
ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา 2561
2562
2563
2564
44.75
47.75
50.75
53.75
2) ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 5 จานวนผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมที่คาดว่าจะมีการนาความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดารงชีวิตที่สามารถเป็นตัวอย่างที่ดี หรือ ต้นแบบได้ : จานวน56คน
๑๖๕
ตารางที่ 30 แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบในด้าน การนาความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดารงชีวิต จานวน จานวนผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือ ค่าเป้าหมาย ผู้เรียนที่จบ เป็นต้นแบบในด้านการนาความรู้ ที่กาหนดเป็น การนาความรู้ไปใช้ นาความรู้ไป ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของ ค่าตั้งต้น ใช้ เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการ (คน) (คน) ดารงชีวิต (คน) ดารงชีวิต 1,050 36 36 ประกอบอาชีพ 320 18 18 รวม 54 *การนาความรู้ไปใช้ อาจกาหนดด้านใดด้านหนึ่งเป็นค่าเป้าหมาย หรือหลายด้านก็ได้ ตารางที่ 31 แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย :ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบในด้าน การนาความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดารงชีวิต ในแผนพัฒนา การศึกษา ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบใน ด้านการนาความรู้ไปใช้(คน) 54
ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา 2561 2562 2563 2564 56 58 60 62
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม 1) ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 1 จานวนผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมที่คาดว่าจะมีความรู้ ความ เข้าใจ และมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี : ร้อยละ54 ตารางที่ 32 แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
หลักสูตร 1. smart famer 2.digital literacy 3.e-commerce 4.oocc
ข้อมูลปี 2560 ค่าเป้าหมาย ที่กาหนด จานวน จานวนผู้จบหลักสูตร จานวนผู้ ร้อยละ เป็น ที่จัด (คน) ไม่จบ ระดับ ค่าตั้งต้น หลักสูตร พอใช้ ดี ดีมาก ดีมาก (ร้อยละ) 180 24 57 99 55 268 42 101 125 47 327 55 112 160 49 284 60 98 126 44 เฉลี่ย 49 49
*หลักสูตรตั้งแต่ 6 ชั่วโมงขึ้นไป ตารางที่ 33 แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย :ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และมี ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในแผนพัฒนาการศึกษา
๑๖๖
ร้อยละผู้จบที่ผ่านการประเมิน ในระดับดีมากเฉลี่ยทุกหลักสูตร 49
ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา 2561
2562
2563
2564
54
56
58
60
2) ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 2 จานวนผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมที่คาดว่าจะมีการนาความรู้ ไปใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนาการดารงชีวิตหรือการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม ร้อยละ 24.49 ตารางที่ 34 แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมที่นาความรู้ ไปใช้ใน การแก้ปัญหาและพัฒนาการดารงชีวิตหรือการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม ข้อมูลปี 2560 จานวนผู้นาความรู้ไปใช้ (คน) จานวน ดารงชีวิต ประกอบ ผู้จบ อาชีพ หลักสูตร (คน)
หลักสูตร 1. smart famer 2.digital literacy 3.e-commerce 4.oocc
180 268 327 284
113 67 215 53 263 64 229 55 เฉลี่ย *สถานศึกษากาหนดค่าเป้าหมายจานวนผู้นาความรู้ไปใช้ด้านการประกอบอาชีพ
ค่า เป้าหมาย รวม ผู้นา ที่กาหนด ความ รู้ เป็นค่า ตั้งต้น ไปใช้ (คน) (ร้อยละ) 180 37.22 268 19.78 327 19.57 284 19.37 23.99
ตารางที่ 35 แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย :ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมที่นาความรู้ ไปใช้ในการแก้ปัญหา และพัฒนาการดารงชีวิตหรือการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสมในแผนพัฒนาการศึกษา ร้อยละผู้เรียนที่จบนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ เฉลี่ยทุกหลักสูตร 23.99
ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา 2561
2562
2563
2564
24.49
24.99
25.49
25.99
3) ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 5 จานวนผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมที่คาดว่าจะมีการนาความรู้ ไปใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนาการดารงชีวิตหรือการประกอบอาชีพและสามารถเป็นตัวอย่างที่ดี หรือ ต้นแบบได้ : จานวน 52คน ตารางที่ 36 แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบในด้าน การนาความรู้ ไปใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนาการดารงชีวิตหรือการประกอบอาชีพ
๑๖๗
การนาความรู้ไปใช้ ดารงชีวิต ประกอบอาชีพ
จานวนผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือ จานวนผู้เรียนที่จบ เป็นต้นแบบในด้านการนาความรู้ นาความรู้ไปใช้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของ (คน) เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการ ดารงชีวิต (คน) 337 18 239 18 รวม
ค่าเป้าหมาย ที่กาหนดเป็น ค่าตั้งต้น (คน) 23 26 49
ตารางที่ 37 แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย :ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบในด้าน การนาความรู้ ไปใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนาการดารงชีวิตหรือการประกอบอาชีพในแผนพัฒนาการศึกษา ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบใน ด้านการนาความรู้ไปใช้(คน) 49
ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา 2561 2562 2563 2564 52 55 58 61
๑๖๘
การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ 1.7 ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ การศึกษาตามอัธยาศัย 1) ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 1 จานวนผู้รับบริการที่คาดว่าจะเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ การศึกษาตามอัธยาศัย : จานวน67,554คน ตารางที่ 38 แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เข้ารับบริการที่เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ การศึกษาตามอัธยาศัย ข้อมูลปี 2560 รวมจานวน ค่าเป้าหมายที่กาหนด ผู้เข้าร่วม เป็นค่าตั้งต้น จานวนผู้เข้าร่วม(คน) กิจกรรม/โครงการ กิจกรรม/ (คน) ห้องสมุด กศน.ตาบล โครงการ (คน) 1. บ้านหนังสือชุมชน 1,825 1,825 1,825 2. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน 5,300 5,300 5,300 - วันเด็ก 2560 1,600 2,930 4,530 4,530 - หนังสือติดล้อ 652 652 652 - ห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับ 24,580 24,580 24,580 ชาวตลาด (ตลาดสดเทศบาล 1 ชั้น 5 เซนทรัลพลาซ่า) - มุมหนังสือแซบ (บขส.3) 3,730 3,730 3,730 ๓. รถโมบายเคลื่อนที่ - การระบายสี ๓๙๐ ๓๙๐ ๓๙๐ - หุ่นมือกระบอก ๕๗๐ ๕๗๐ ๕๗๐ 3. ผู้มาใช้บริการห้องสมุด - ให้บริการยืม คืน ส่งเสริม ๒๑,๖๐๙ ๒,๔๐๑ 24,010 24,010 การอ่าน/กศน.ตาบล รวม ๕๓,๑๓๑ ๑๒,๔๕๖ ๖๕,๕๘๗ ๖๕,๕๘๗ *กรอกข้อมูลการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยทุกกิจกรรม/โครงการที่จัด
๑๖๙
ตารางที่ 39 แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้เข้ารับบริการที่เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตาม อัธยาศัยในแผนพัฒนาการศึกษา ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา ผู้เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ (คน) 2561 2562 2563 2564 65,587 67,554 69,521 71,488 73,455 *สถานศึกษากาหนดให้ค่าเป้าหมาย เพิ่มขึ้นปีละ 3% 2) ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 2 จานวนผู้รับบริการที่คาดว่าจะได้รับความรู้และ/หรือ ประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย : ร้อยละ73.53 ตารางที่ 40 แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์ จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย
กิจกรรม/โครงการ รถโมบายเคลื่อนที่ - การระบายสี - หุ่นมือกระบอก
ข้อมูลปี 2560 จานวน จานวนผู้รับบริการ ผู้เข้าร่วม ที่ได้รับความรู้และ/ (คน) หรือได้รับ ประสบการณ์ ๓๙๐ ๕๗๐
๒๓๐ ๓๙๖
ร้อยละผู้รับบริการ ที่ได้รับความรู้และ/ หรือได้รับ ประสบการณ์
ค่าเป้าหมาย ที่กาหนดเป็น ค่าตั้งต้น (ร้อยละ)
๕๘.๙๗ ๖๙.๔๗
๕๘.๙๗ ๖๙.๔๗ เฉลี่ย 71.39 *ให้เลือกกิจกรรม/โครงการที่สามารถวัดและประเมินผลที่ชัดเจน 2 โครงการ ใช้ยอดรวมของ 2 โครงการที่ เลือกเป็นค่าเป้าหมาย *ทุกกิจกรรมต้องมีกรอบการจัดกิจกรรม เหมือนการเขียนหลักสูตรแต่ไม่ต้องลึกมาก ตารางที่ 41 แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วม กิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย ในแผนพัฒนาการศึกษา ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา ผู้รับบริการที่ได้รับความรู้และ/หรือได้รับ ประสบการณ์เฉลี่ย (ร้อยละ) 2561 2562 2563 2564 71.39 73.53 75.67 77.81 79.95 3) ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 5 จานวนผู้รับบริการที่คาดว่าจะมีการนาความรู้และ/หรือ ประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย ไปใช้/ประยุกต์ใช้และสามารถเป็น ตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบได้ : จานวน๔7คน
๑๗๐
ตารางที่ 42 แสดงรายละเอียดการกาหนดค่าเป้าหมาย : ผู้รับบริการที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบใน ด้านการนาความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตาม อัธยาศัยไปใช้/ประยุกต์ใช้
กิจกรรม/โครงการ 1. บ้านหนังสือชุมชน 2. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน - วันเด็ก 2560 - หนังสือติดล้อ - ห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับ ชาวตลาด (ตลาดสดเทศบาล 1 ชั้น 5 เซนทรัลพลาซ่า) - มุมหนังสือแซบ (บขส.3) ๓. รถโมบายเคลื่อนที่ - การระบายสี - หุ่นมือกระบอก 3. ผู้มาใช้บริการห้องสมุด - ให้บริการยืม คืน ส่งเสริม การอ่าน/กศน.ตาบล
จานวนผู้รับบริการที่เป็น ผู้รับบริการได้รับ ตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบ ความรู้และ/หรือ ในด้านการนาความรู้ ฯ ไปใช้/ ประสบการณ์ ประยุกต์ใช้ (คน) (คน) 1,825 5 5,300 5 4,530 5 652 5 24,580 5
ค่าเป้าหมาย ที่กาหนด เป็นค่าตั้งต้น (คน) 5 5 5 5 5
3,730
5
5
๓๙๐ ๕๗๐
5 5
5 5
24,010
5
5
รวม
๔5
๑๗๑
ตารางที่ 43 แสดงการกาหนดค่าเป้าหมาย :ผู้รับบริการที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบในด้านการ นาความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย ไปใช้/ประยุกต์ใช้ ในแผนพัฒนาการศึกษา ผู้รับบริการที่เป็นตัวอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบ ในด้านการนาได้ความรู้และ/หรือได้รับ ประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/ โครงการการศึกษาตามอัธยาศัยไปใช้/ ประยุกต์ใช้(คน) ๔5
ค่าเป้าหมายในแผนพัฒนาการศึกษา 2561
2562
2563
2564
๔7
๔9
๕1
๕3
ขอรับรองว่า ข้อมูลข้างต้น ที่นามาประกอบการพิจารณากาหนดค่าเป้าหมาย เป็นข้อมูลที่เกิดจาก ผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษาอย่างแท้จริงทุกประการ
ลงชื่อ .......................................................เจ้าหน้าที่งานประกันฯ (นางสาวประพาฬ ดิษฐเจริญ) ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล วันที่ ๒๖ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑
ลงชื่อ .......................................................ผู้เสนอขอความเห็นชอบ (นายบุญส่ง ทองเชื่อม) ตาแหน่ง ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น วันที่ ๒๖ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑
๑๗๒
คาสั่ง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ที่ ๓๑๘ / ๒๕๖๑ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการกาหนดค่าเป้าหมาย และจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา …………………………………………………….. ตามที่สานักงาน กศน.ได้กาหนดแนวทางการประกันคุณภาพภายในศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเอ/เขต เพื่อให้สถานศึกษาในสังกัดนาไปใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานการ ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัยาศัย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ลงวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ อย่างมี คุณภาพและสอดคล้องกับศักยภาพและบริบทของตนเอง อันจะส่งผลให้สถานศึกษาได้รับการยอมรับจาก บุคคล ชุมชน และสังคมต่อไป จึงขอแต่งตั้งคณะกรรมการกาหนดค่าเป้าหมาย และจัดทารายงานการประเมินตนเองของ สถานศึกษาของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาอาเภอเมืองขอนแก่น (กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น) ทั้ง ๓ มาตรฐาน ๒๐ ตัวบ่งชี้ ดังนี้ คณะกรรมการอานวยการ ทาหน้าที่บริหารจัดการกากับดูแลติดตามตรวจสอบการจัดทาให้ คาปรึกษาในการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.
นายบุญส่ง ทองเชื่อม ตาแหน่ง ผู้อานวยการ ประธานกรรมการ นางวิไลพร บูรณ์เจริญ ตาแหน่ง ครู กรรมการ นางสาวธันยพัฒน์ นูเร ตาแหน่ง ครู กรรมการ นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย ตาแหน่ง บรรณารักษ์ชานาญการ กรรมการ นางสาวประพาฬ ดิษฐเจริญตาแหน่ง ครู กศน.ตาบลกรรมการและเลขานุการ นางสาวชัชญาภา สารผลตาแหน่งครู กศน.ตาบลกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ
คณะกรรมการดาเนินงาน ทาหน้าที่ดาเนินการจัดอบรมประชุมชี้แจงเพื่อกาหนดค่าเป้าหมาย ตรวจสอบและรวบรวมการจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาทั้ง ๓ มาตรฐาน ๒๐ ตัวบ่งชี้ ประกอบด้วย ๑. นางวิไลพร บูรณ์เจริญ ตาแหน่ง ครู ประธานกรรมการ ๒. นางสาวธันยพัฒน์ นูเร ตาแหน่ง ครู กรรมการ ๓. นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย ตาแหน่ง บรรณารักษ์ชานาญการ กรรมการ ๔. นางสาวประพาฬ ดิษฐเจริญ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล กรรมการ ๕. นางสาวชัชญาภา สารผล ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบ ล กรรมการและเลขานุการ / มาตรฐานที่ ๑........
๑๗๓
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ ทาหน้าที่กาหนดค่าเป้าหมาย และจัดทารายการ ประเมินตนเองของสถานศึกษาตามมาตรฐาน และตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ – ๑.๗ ประกอบด้วย ๑. นางวิไลพร บูรณ์เจริญ ตาแหน่ง ครู หัวหน้าคณะทางาน ๒. นางทับทิม พละกล้า ตาแหน่ง ครู อาสาสมัคร คณะทางาน ๓. นายคทาวุธ จารย์โพธิ์ ตาแหน่ง ครู อาสาสมัคร คณะทางาน ๔. นางประกอบแก้ว ฉิมเพ็ง ตาแหน่ง ครู อาสาสมัคร คณะทางาน ๕. นางบานเย็น ชรากาหมุด ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๖. นางสุกัญญา คาภู ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๗. นางปรวรรณ คูณอาษา ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๘. นางวิลาวัลย์ ราชสุวอ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๙. นางศศิธร บุญจวง ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๑๐. นางจิตฤดี อาจมูนตรี ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๑๑. นางสาวชฎารัตน์ ประจันตะเสน ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๑๒. นางปริยา เรียนเลิศอนันต์ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๑๓. นางสาวทิศกมลพร โพธิ์วิชัย ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๑๔. นายเทิดพงศ์ อรัญรุด ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๑๕. นางสาวณัฐธยาท์ ศรีทองธรศิริ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๑๖. นายกาญจนพันธ์ ลาสอน ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๑๗. นางวิราศิณี สุทธมา ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๑๘. นางสาวกาญจนาพร ภักดีวุธ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๑๙. นางสาวเมษา อุ่นผาง ตาแหน่ง ครู ศูนย์การเรียนชุมชน คณะทางาน ๒๐. นางสาวมุลี พงษ์สระพัง ตาแหน่ง ครู ศูนย์การเรียนชุมชน คณะทางาน ๒๑. นายเกียรติภูมิ ภูมิการีย์ ตาแหน่ง ครู ศูนย์การเรียนชุมชน คณะทางาน ๒๒. นายสนธยา พานโน ตาแหน่ง ครู ศูนย์การเรียนชุมชนคณะทางาน ๒๓. นางสาวกนิกนันท์ อยู่สุข ตาแหน่ง ครู ศูนย์การเรียนชุมชน คณะทางาน ๒๔. นางสาวสุภัทร บุญดี ตาแหน่ง ครู ศูนย์การเรียนชุมชน คณะทางาน ๒๔. นางสาวตติยาภรณ์ โพธิราช ตาแหน่ง ครู ศูนย์การเรียนชุมชน คณะทางาน ๒๕. นางสาวสุพัตรา คนสรรค์ ตาแหน่ง ครู เป้าหมายพิเศษ คณะทางาน ๒๖. นายมานิต พงษ์จรัสมณี ตาแหน่ง ครู เป้าหมายพิเศษ คณะทางาน ๒๗. นายสายัณห์ คุ้มโศก ตาแหน่ง ครู เป้าหมายพิเศษ คณะทางาน ๒๘. นายอิสรา วีระภัทรสกุล ตาแหน่ง ครู เป้าหมายพิเศษ คณะทางาน ๒๙. นางสาวศศิธร พรมสอน ตาแหน่ง ครู เป้าหมายพิเศษคณะทางาน ๓๐. นายอดิศร ล่ามแขก ตาแหน่ง ครู ปวช.เกษตร คณะทางาน ๓๑.นายมัฆวาน พละกล้า ตาแหน่ง ครู ปวช.เกษตร คณะทางาน ๓๒.นางวรรณา จันทะวงศ์ ตาแหน่ง วิทยากรวิชาชีพ คณะทางาน /๓๓. นางเพ็ญจิตร.........
๑๗๔
๓๓.นางเพ็ญจิตร จันทร์โสม ตาแหน่ง วิทยากรวิชาชีพ คณะทางาน ๓๔. นางสาวนฤมนต์ ต้นสีนนท์ ตาแหน่ง บรรณารักษ์อัตราจ้างคณะทางาน ๓๕. นางสมพร วงษาสันต์ ตาแหน่ง ครู อาสาสมัคร คณะทางาน ๓๖.นางสาวรวีวรรณ เชิงชัยภูมิ ตาแหน่ง บรรณารักษ์อัตราจ้างคณะทางาน ๓๗.นางสาวชาลิดา ยาจันทึก ตาแหน่ง บรรณารักษ์อัตราจ้างคณะทางาน มาตรฐานที่ ๒คุณภาพการจัดการศึกษา การให้บริการ ทาหน้าที่ จัดทารายการประเมินตนเอง และ จัดเอกสาร และหลักฐานเชิงประจักษ์ ประกอบการพิจารณาการประเมิน ๑. นางสาวธันยพัฒน์ นูเร ตาแหน่ง ครู หัวหน้าคณะทางาน ๒. นายสมบัติ สมภาร ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๓. นางสาวคันธิภา สานักบ้านโคก ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๔. นางศิริวัฒน์ ไกรราช ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๕. นางอภิญญา วงศ์การดี ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๖. นางลักษณาพร ลาสอน ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๗. นางสาวิตรี ชัยวงษ์ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๘. นายสมบัติ สมภาร ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๙. นางสาวเยาวลักษณ์ ยืนชีวิต ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๑๐. นายธีระ โคตะมี ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๑๑. นางสาวอุรุชา โนพันธ์ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๑๒. นางมลิวัลย์ อยู่สุข ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๑๒.นางสมจิตร ชาสังข์ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๑๓. นายอิสสระ แปลมูลตรี ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๑๔. นางสาวพรไพทูรย์ ไสยบูรณ์ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๑๕. นางสาวไพรระหง บัวตูม ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๑๖. นายรัฐกิจ จันทะวิชัย ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ๑๗. นางสาวปวีณา พรมโสภา ตาแหน่ง ครูศูนย์การเรียนชุมชนคณะทางาน ๑๘. นางสาวพิรารัตน์ นุชรอด ตาแหน่ง ครู ศูนย์การเรียนชุมชนคณะทางาน ๑๙. นางกุลยาวดี คาชนะ ตาแหน่ง ครู ศูนย์การเรียนชุมชนคณะทางาน ๒๐. นางสาวสินีนาฎ มั่นคง ตาแหน่ง ครู ศูนย์การเรียนชุมชนคณะทางา น มาตรฐานที่ ๓ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ทาหน้าที่ จัดทารายงานการประเมิน ตนเอง และจัดเอกสารประกอบการพิจารณาการประเมิน ประกอบด้วย ๑. นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย ตาแหน่ง บรรณารักษ์ชานาญการ หัวหน้าคณะทางาน ๒. นางศุภลักษณ์ คลังดงเค็ง ตาแหน่ง ครู อาสาสมัคร คณะทางาน /๓.นายสมบัติ........
๑๗๕
๓. นายสมบัติ ๔. นายบรรเจิด ๕. นางสาวนงลักษณ์ ๖. นางสาวประพาฬ ๗. นางสาวพัณณ์ชิตา ๘. นายอนันต์เดช ๙. นางศุภรดา ๑๐. นางสาวชัชญาภา ๑๑. นางภณิดา ๑๒. นางสาวปฏิญญา ๑๓. นายณัฐพงษ์ ๑๔. นางสาวญาดาภัทร ๑๕. นางสาวสุภาพร ๑๖. นางสาวเพียงใจ ๑๗. นางสาวศิรินันท์ ๑๘. นางสาวภาวิณี
ชรากาหมุด ตาแหน่ง ครู อาสาสมัคร คณะทางาน แสนเหลา ตาแหน่ง ครู อาสาสมัคร คณะทางาน นอรินยา ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ดิษฐเจริญ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน สนิทชน ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน สมอุ่มจารย์ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน พันธุ์แดง ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน สารผล ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล คณะทางาน ศรีษะโคตร ตาแหน่ง ครู ศูนย์การเรียนชุมชนคณะทางาน มูลศรี ตาแหน่ง ครู ศูนย์การเรียนชุมชนคณะทางาน สุวรรณวงศ์ ตาแหน่ง ครู ศูนย์การเรียนชุมชนคณะทางาน ศรีเชียงราช ตาแหน่ง ครู ศูนย์การเรียนชุมชนคณะทางาน วงค์ษา ตาแหน่ง ครู ศูนย์การเรียนชุมชนคณะทางาน ไชยพิเดช ตาแหน่ง ครู ครูเป้าหมายพิเศษคณะทางาน โนนทิง ตาแหน่ง ครู ศูนย์การเรียนชุมชนคณะทางาน ศรีอัมพร ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลคณะทางาน
ทั้งนี้ขอให้ผู้ได้รับมอบหมายตามคาสั่งได้ปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มความสามารถและดาเนินการ จัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามาตรฐาน และตัวบ่งชี้ที่ได้รับมอบหมายอย่างเคร่งครัด สมบูรณ์ให้มีประสิทธิภาพต่อไป ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่
๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
ลงชื่อ ....................................................... (นายบุญส่ง ทองเชื่อม) ตาแหน่ง ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
๑๗๖
คณะทางาน ที่ปรึกษา 1. นางวิไลพร บูรณ์เจริญ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ 2. นางสาวธันยพัฒน์ นูเร ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ 3. นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย ตาแหน่ง บรรณารักษ์ชานาญการ คณะบรรณาธิการ ๑. นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย ตาแหน่ง บรรณารักษ์ชานาญการ ๒. นางสาวประพาฬ ดิษฐเจริญ ตาแหน่ง พนักงานราชการ ผู้รับผิดชอบหลัก ๑. นางวิไลพร บูรณ์เจริญ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ ๒. นางสาวประพาฬ ดิษฐเจริญ ตาแหน่ง พนักงานราชการ ๓. นางสาวชัชญาภา สารผล ตาแหน่ง พนักงานราชการ ผู้พิมพ์ และออกแบบปก ๑. นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย ตาแหน่ง บรรณารักษ์ชานาญการ ๒. นางสาวชัชญาภา สารผล ตาแหน่ง พนักงานราชการ
เว็บไซต์ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น https://nfe-maungkhonkaen.com/
Facebook กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น https://www.facebook.com/nfemuang.kk กลุ่มงานประกันคุณภาพการศึกษา กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น