สารบัญ สาส์นจากประธานกรรมการบริษัทฯ 6 คณะกรรมการบริษัท 8 ข้อมูลการเงินที่ส�ำ คัญ 9 ส่วนที่ 1: บทวิเคราะห์ บทวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงาน บทวิเคราะห์ฐานะการเงิน ภาพรวมการตลาด บทวิเคราะห์โครงการ ความรับผิดชอบต่อสังคม รายงานการกำ�กับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ
10 13 16 19 24 25
ส่วนที่ 2: ข้อมูลบริษัท โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัท ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ บริษัทย่อย และบริษัทอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ผู้ถือหุ้นและโครงสร้างเงินทุน การจัดการ การควบคุมภายใน รายการระหว่างกัน ปัจจัยเสี่ยง
27 28 31 33 51 52 53
ส่วนที่ 3: งบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงินรวม หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม
59 60 69
5
สาส์นจากประธานกรรมการ บริษัท ไรมอน แลนด์ จำ�กัด (มหาชน) ได้รายงานผลประกอบการประจำ�ปี 2555 สูงสุดเป็นประวัติการณ์ด้วยยอดกำ�ไรสุทธิ 496 ล้าน บาท (16.6 ล้านเหรียญสหรัฐ) และกำ�ไรก่อนหักค่าใช้จ่ายทางการเงิน ภาษีเงินได้นิติบุคคลธรรมดาและค่าเสื่อมราคา (EBITDA) 1,058 ล้านบาท (35.46 ล้านเหรียญสหรัฐ) ซึ่งสูงเป็นสถิติใหม่เช่นกัน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ตอกย้ำ�สถานะทางการเงินที่แข็งแกร่ง ด้วยยอด ขาย Backlog ณ ช่วงสิ้นปี 2555 รวมมูลค่าถึง 1.63 หมื่นล้านบาท (546 ล้านเหรียญสหรัฐ) และยอดขายที่รอรับรู้รายได้ในโครงการ ปัจจุบันอีกกว่า 2.8 หมื่นล้านบาท (939 ล้านเหรียญสหรัฐ) ในขณะที่อัตรากำ�ไรขั้นต้นนั้น ก็ได้ปรับตัวสูงขึ้นเป็นร้อยละ 33 บริษัทฯได้ส่งมอบโครงการใหม่ 1 โครงการในปี 2555 ได้แก่ เดอะริเวอร์ โครงการคอนโดมิเนียมที่ใหญ่ที่สุดของบริษัทฯ ด้วยจำ�นวนห้อง ชุดทั้งสิ้น 837 ห้อง บนทำ�เลริมแม่น้ำ�เจ้าพระยา ห้อมล้อมด้วยโรงแรมชั้นนำ�มากมาย สำ�หรับโครงการคอนโดมิเนียมใหม่แห่งอื่น ๆ ของไรมอน แลนด์ ก็มีความคืบหน้าไปมาก โดยโครงการ 185 ราชดำ�ริ ซึ่งตั้งอยู่บนที่ดิน ที่สามารถถือครองกรรมสิทธิ์ได้โดยสมบูรณ์ผืนสุดท้ายบนถนนราชดำ�ริ ใจกลางย่านธุรกิจของกรุงเทพฯนั้น มีก�ำ หนดการก่อสร้างแล้วเสร็จ ปลายปี 2556 โครงการมีจำ�นวนห้องชุดทั้งสิ้น 268 ยูนิต และมียอดขายแล้วกว่าร้อยละ 75 ของห้องชุดทั้งหมด ด้วยราคาห้องชุดที่สูง ถึงตารางเมตรละ 398,000 บาท ซึ่งเป็นราคาขายห้องชุดคอนโดมิเนียมที่สูงที่สุดในกรุงเทพมหานคร ส่วนอีก 2 โครงการ ได้แก่ ซายร์ วงศ์อมาตย์และ ยูนิกซ์ เซาท์พัทยา ก็สามารถทำ�ยอดขายได้อย่างต่อเนื่องในปี 2555 โดยทั้งสองโครงการ คาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จใน ปี 2557 และ 2558 ตามลำ�ดับ เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2556 กลุ่มนักลงทุนตระกูลลีจากประเทศสิงคโปร์ได้ก้าวเข้ามาเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่รายใหม่ของไรมอน แลนด์ ด้วย การซื้อหุ้นร้อยละ 24.98 จากบริษัท ไอเอฟเอ โฮเทลส์ แอนด์ รีสอร์ทส์ 3 จำ�กัด ซึ่งได้น�ำ ไปสู่การแต่งตั้งกรรมการบริษัทใหม่รวมทั้งหมด 5 ท่าน ได้แก่ มร.ไลโอเนล ลี มร.เอเดรียน ลี มร.จอห์นสัน ตัน คุณนุช กัลยาวงศา ผู้อ�ำ นวยการฝ่ายการเงิน และตัวกระผมเอง ใน ฐานะประธานกรรมการ ทั้งนี้คณะผู้บริหารของไรมอน แลนด์ นั้นยังคงเป็นชุดเดิม สำ�หรับในอนาคตนั้น ไรมอน แลนด์ จะยังคงมุ่งมั่นพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ระดับหรูในกรุงเทพฯ และเมืองท่องเที่ยวสำ�คัญ ๆ ใน ประเทศไทย เนื่องจากโครงการเหล่านี้ถือเป็นปัจจัยสำ�คัญต่อความสำ�เร็จของบริษัทฯ นอกจากนี้ ไรมอน แลนด์ ยังมีแผนที่จะพัฒนาแหล่ง รายได้ใหม่ ๆ ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นค่าเช่าจากอสังหาริมทรัพย์เพื่อการพาณิชย์ งานบริหารจัดการโรงแรม หรือแม้แต่ร้านค้าประเภทอาหารและ เครื่องดื่ม โดยที่ยังรักษาไว้ซึ่งความเอาใจใส่ในทุกรายละเอียดของโครงการและความพอใจสูงสุดของลูกค้าทุกท่านเช่นเคย ในฐานะประธานกรรมการ ผมขอขอบคุณผู้ถือหุ้น ผู้บริหาร พนักงาน และผู้เกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้ร่วมสนับสนุนบริษัทฯ มาตลอดปี 2555 และผมก็เชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่าปี 2556 นี้ จะนำ�มาซึ่งความสำ�เร็จที่ยิ่งใหญ่ไม่แพ้กับปีที่ผ่านมา
นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ ประธานกรรมการบริษัท
6
7
คณะกรรมการบริษัท
8
1
2
3
4
5
1
6
7
8
9
คณะกรรมการของบริษัท ไรมอน แลนด์ ประกอบไปด้วยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์อันยาวนานและ หลากหลายในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และธุรกิจเกีย่ วเนือ่ ง คณะกรรมการมีสว่ นสำ�คัญในการให้ค�ำ ปรึกษา และแนะนำ�ผู้บริหารถึงแนวทางในการสร้างมูลค่าระยะยาวให้แก่ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.
นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ นายลี เช เต็ก ไลโอเนล นายลี เช เชง เอเดรียน นายตัน ชิน กวาง จอห์นสัน นายเจสัน โก๊ะ เช็ง เหว่ย นางสาวนุช กัลยาวงศา นายโรแลนด์ ปัง ซือ วุย นายกิตติ คชนันทน์ นายจิรวุฒิ คุวานันท์
ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ
ข้อมูลการเงินที่สำ�คัญ หน่วย
ปี 2555
ปี 2554
ปี 2553
รายได้รวม
ล้านบาท
5,520
1,228
3,492
รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย
ล้านบาท
5,435
1,151
3,241
กำ�ไร (ขาดทุน) ก่อนหักค่าใช้จ่ายทางการเงิน ภาษี ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย (EBITDA)
ล้านบาท
1,058
(116)
257
กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิส�ำ หรับปี
ล้านบาท
496
(474)
63
สินทรัพย์รวม
ล้านบาท
14,997
15,299
12,404
หนี้สินรวม
ล้านบาท
13,441
14,696
11,005
ส่วนของผู้ถือหุ้น
ล้านบาท
1,556
603
1,399
อัตรากำ�ไรขั้นต้น (รายได้จากธุรกิจหลัก)
ร้อยละ
32.82
28.88
28.60
อัตรากำ�ไรสุทธิ
ร้อยละ
8.98
-38.62
1.82
อัตราส่วนหนี้สินเฉพาะที่มีดอกเบี้ย ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
เท่า
4.00
11.01
3.27
กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น
บาท
0.14
(0.15)
0.02
มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น
บาท
0.43
0.18
0.43
EBITDA (ล้านบาท)
กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิสำ�หรับปี (ล้านบาท)
14,997
รายได้รวม (ล้านบาท)
ปี 2553
ปี 2554
ปี 2555
(474)
(116)
63
257
496
1,058
1,228
3,492
5,520
12,404
15,299
สินทรัพย์รวม (ล้านบาท)
หมายเหตุ : ข้อมูลทางการเงินเป็นข้อมูลจากงบการเงินรวม
9
บทวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงาน
ในปี 2555 บริษัทฯสามารถสร้างสถิติใหม่ได้สำ�เร็จ ด้วยกำ�ไรสุทธิที่สูงถึง 496 ล้านบาท และกำ�ไรก่อนหักค่าใช้จ่ายทางการเงิน ภาษีเงินได้ นิติบุคคลและค่าเสื่อมราคา (EBITDA) ที่สูงเป็นประวัติการณ์กว่า 1,058 ล้านบาท นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ตอกย้ำ�สถานะทางการเงินที่ แข็งแกร่ง ด้วยยอดขาย Backlog ณ ช่วงสิ้นปี 2555 รวมมูลค่าถึง 1.63 หมื่นล้านบาท และยอดขายที่รอรับรู้รายได้ในโครงการปัจจุบัน อีกกว่า 2.8 หมื่นล้านบาท ในขณะที่อัตรากำ�ไรขั้นต้นนั้น ก็ได้ปรับตัวสูงขึ้นเป็นร้อยละ 33
บทสรุปงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (งบการเงินรวม) ปี 2555 (ล้านบาท)
ปี 2554 (ล้านบาท)
อัตราการเปลี่ยนแปลง(%)
5,520
1,228
350%
(4,462)
(1,344)
232%
1,058
(116)
n.a.
(38)
(41)
-7%
กำ�ไร (ขาดทุน) ก่อนหักค่าใช้จ่ายทางการเงิน และ ภาษี (EBIT)
1,020
(157)
n.a.
ค่าใช้จ่ายทางการเงิน
(261)
(114)
129%
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
(263)
(209)
26%
-
6
n.a.
กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ
496
(474)
n.a.
กำ�ไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน
0.14
(0.15)
n.a.
รายได้รวม ค่าใช้จ่ายดำ�เนินงานสุทธิ กำ�ไร (ขาดทุน) ก่อนหักค่าใช้จ่ายทางการเงิน ภาษี ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย (EBITDA) ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย
ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย
10
ในปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีผลกำ�ไรสุทธิจากการดำ�เนินงานตามงบการเงินรวมเป็นจำ�นวน 496 ล้านบาท ในขณะที่ปี 2554 บริษัท และบริษัทย่อยมีขาดทุนสุทธิอยู่ที่ 474 ล้านบาท โดยมีสาเหตุส�ำ คัญดังต่อไปนี้ 1. บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายและการโอนโครงการอสังหาริมทรัพย์มากกว่าปีก่อนจำ�นวน 4,283 ล้านบาท หรือ เพิ่มขึ้น ประมาณร้อยละ 372 ซึ่งเกิดจากการโอนโครงการเดอะริเวอร์ประมาณ 5 พันล้านบาท 2. อัตรากำ�ไรขั้นต้นของบริษัทและบริษัทย่อยสูงขึ้นจากร้อยละ 29 ในปี 2554 เป็นร้อยละ 33 ในปี 2555 กำ�ไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นสำ�หรับปี 2555 อยู่ที่ 0.14 บาทต่อหุ้น (2554: ขาดทุน (0.15) บาทต่อหุ้น)
รายได้ ในปี 2555 บริษัทสามารถรับรู้รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นเงิน 5,435 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2554 ถึง 4,283 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 372 เนื่องจากในปี 2555 บริษัทมียอดโอนจากโครงการเดอะริเวอร์ประมาณ 5 พันล้านบาท ในขณะที่ปี 2554 บริษัท สามารถรับรู้รายได้เพียง 1,152 ล้านบาท ซึ่งร้อยละ 92 มาจากโครงการนอร์ทพ้อยท์ ในปี 2555 ร้อยละ 99 ของรายได้รวม มาจากการรับรู้รายได้ของโครงการอสังหาริมทรัพย์ 2 โครงการซึ่งได้แก่ โครงการเดอะริเวอร์ จำ�นวน 5,008 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 91 ของรายได้รวมและโครงการนอร์ทพ้อยท์ พัทยา จำ�นวน 427 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 8 ของรายได้รวม ปี 2555
โครงการ
ปี 2554
รายได้ (ล้านบาท)
%
รายได้ (ล้านบาท)
%
โครงการเดอะริเวอร์
5,008
91%
-
-
โครงการนอร์ทพ้อยท์
427
8%
1,062
87%
-
-
90
7%
85
1%
76
6%
5,520
100%
1,228
100%
โครงการเดอะไฮทส์ ภูเก็ต อื่นๆ รวม * รวมถึงรายได้ค่าเช่าและค่าบริการ รายได้ค่าธรรมเนียมการตลาด ดอกเบี้ย และอื่นๆ
11
ต้นทุนขาย ในปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีต้นทุนการขายเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 346 จากปีที่ผ่านมา ซึ่งเป็นไปตามสัดส่วนการรับรู้รายได้จากการ ขายอสังหาริมทรัพย์ที่เพิ่มขึ้น ปี 2555
โครงการ
ปี 2554
ต้นทุนขาย (ล้านบาท)
%
ต้นทุนขาย (ล้านบาท)
%
โครงการเดอะริเวอร์
3,327
91%
-
-
โครงการนอร์ทพ้อยท์
324
9%
757
92%
-
-
62
8%
3,651
100%
819
100%
โครงการเดอะไฮทส์ ภูเก็ต รวม
กำ�ไรขั้นต้น แนวโน้มอัตรากำ�ไรขั้นต้นของบริษัทและบริษัทย่อยมีทิศทางที่สูงขึ้น โดยที่ในปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีอัตรากำ�ไรขั้นต้นอยู่ที่ร้อยละ 33 ในขณะที่ปี 2554 และ 2553 บริษัทมีอัตรากำ�ไรขั้นต้นอยู่ที่ร้อยละ 29 ซึ่งแสดงถึงความสามารถในการทำ�กำ�ไรของบริษัทและบริษัทย่อยยังอยู ่ ในเกณฑ์ที่ดี
ค่าใช้จ่ายการขายและบริหาร ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเป็นค่าใช้จ่ายหลักอันดับที่สองของบริษัทฯ คิดเป็นร้อยละ 19 ของค่าใช้จ่ายรวมในปี 2555 ค่าใช้จ่ายในการ ขายและบริหารเพิ่มขึ้นจาก 577 ล้านบาทในปี 2554 เป็น 850 ล้านบาทในปี 2555 คิดเป็นอัตราการเพิ่มขึ้นร้อยละ 47 โดยสาเหตุที่ สำ�คัญเกิดจากค่าใช้จ่ายภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมการโอน เพิ่มขึ้นประมาณ 195 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากการโอนโครงการเดอะริเวอร์ ประมาณ 5 พันล้านบาท ปี 2555 (ล้านบาท)
ปี 2554 (ล้านบาท)
อัตราการเปลี่ยนแปลง (%)
เงินเดือนและผลประโยชน์อื่นของพนักงาน
97.1
89.4
8.61%
ค่าตอบแทนผู้บริหาร
97.3
53.7
81.19%
ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย
38.6
41.0
-5.85%
ภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมการโอน
241.4
46.4
420.26%
ค่าใช้จ่ายในการขายอื่น
189.9
142.0
33.73%
ค่าใช้จ่ายบริหารโครงการ
37.1
61.7
-39.87%
148.4
142.6
4.06%
849.8
576.8
47.33%
รายการค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร
ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ รวม
ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ค่าใช้จา่ ยทางการเงินส่วนใหญ่ทบี่ ริษทั ฯและบริษทั ย่อย กูม้ าเพือ่ การพัฒนาโครงการจะถูกบันทึกเข้าเป็นต้นทุนของโครงการจนกว่าการก่อสร้าง จะแล้วเสร็จ ดังนั้น ในปี 2555 บริษัทฯและบริษัทย่อย มีค่าใช้จ่ายทางการเงินมากกว่าปีที่ผ่านมาเนื่องจาก ค่าใช้จ่ายทางการเงินที่เกิดขึ้น หลังจากการโอนโครงการเดอะริเวอร์นั้นได้ถูกบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำ�ไรขาดทุน 12
บทวิเคราะห์ฐานะการเงิน บทสรุปงบแสดงฐานะการเงิน (งบการเงินรวม) ปี 2555 (ล้านบาท)
ปี 2554 (ล้านบาท) อัตราการเปลี่ยนแปลง (%)
เงินสด หรือรายการเทียบเท่าเงินสด
1,431
662
116%
ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
11,295
12,620
-10%
สินทรัพย์หมุนเวียนอื่นๆ
877
614
43%
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์*
413
200
107%
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
981
1,203
-18%
รวมสินทรัพย์
14,997
15,299
-2%
หนี้สินหมุนเวียน
10,812
7,887
37%
2,629
6,809
-61%
13,441
14,696
-9%
1,556
603
158%
14,997
15,299
-2%
หนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สิน และส่วนของผู้ถือหุ้น *ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์รวมถึงอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน สิทธิการเช่า และที่ดินรอการพัฒนา
สินทรัพย์ สินทรัพย์รวมของ ไรมอน แลนด์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีมูลค่าเปลี่ยนแปลงลดลงคิดเป็นอัตราร้อยละ 2 เมื่อเทียบกับสินทรัพย์ รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ที่สำ�คัญของบริษัทฯและบริษัทย่อยมีดังนี้ 1. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น 769 ล้านบาท เนื่องจากยอดขายที่เพิ่มขึ้นจาก 4 โครงการปัจจุบันส่งผลให้บริษัทฯ และบริษัทย่อยรับเงินค่างวดจากลูกค้าได้มากขึ้นจากปีที่ผ่านมา 2. การโอนโครงการเดอะริเวอร์ให้แก่ลูกค้า เป็นสาเหตุที่สำ�คัญที่ส่งผลให้ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ลดลง 1,325 ล้านบาท จากปีที่ผ่านมา 3. ความคืบหน้าในการพัฒนาโครงการต่างๆ ของบริษทั และบริษทั ย่อย ส่งผลให้เงินจ่ายล่วงหน้าผูร้ บั เหมา และเงินมัดจำ�ค่าซือ้ ทีด่ นิ เพิม่ ขึน้ 114 ล้านบาท และ 106 ล้านบาท ตามลำ�ดับ
หนี้สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีหนี้สินรวมลดลง 1,255 ล้านบาท (ลดลงร้อยละ 9) จาก 14,696 ล้านบาท ในปี 2554 เป็น 13,441 ล้านบาท ในปี 2555 โดยแบ่งเป็นการลดลงของหนี้สินที่มีดอกเบี้ยประมาณ 416 ล้านบาท และ หนี้สินที่ไม่มี ดอกเบี้ยประมาณ 839 ล้านบาท ทั้งนี้เนื่องจากการส่งมอบโครงการเดอะริเวอร์ให้แก่ลูกค้าทำ�ให้บริษัทย่อยสามารถชำ�ระเงินกู้ยืมจาก สถาบันการเงิน และสามารถรับรู้เงินมัดจำ�จากลูกค้าเป็นรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ ในปี 2555 13
ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ สิ้นปี 2555 บริษัทฯ มีส่วนของผู้ถือหุ้นจำ�นวน 1,556 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 953 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 158 จากปี 2554 โดยมีสาเหตุสำ�คัญดังต่อไปนี้ 1. บริษัทฯได้จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 325,038,556 หุ้น ให้แก่นักลงทุนระยะ ยาว 2 ราย ซึ่งเป็นบุคคลในวงจำ�กัด ในราคาหุน้ ละ 1.4058 บาทต่อหุน้ คิดเป็น เงินรวม 457 ล้านบาท 2. บริษัทฯและบริษัทย่อยมีผลกำ�ไรสุทธิในปี 2555 ประมาณ 496 ล้านบาท
กระแสเงินสด ในช่วงปี 2553 – 2555 บริษัทฯ มีกระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมการดำ�เนินงานเป็นจำ�นวน 349 ล้านบาท (1,043) ล้านบาท และ 803 ล้านบาทตามลำ�ดับ ในปี 2555 บริษทั ฯ มีกระแส เงินสดรับสุทธิจากกิจกกรรมการดำ�เนินงานจำ�นวน 803 ล้านบาท โดยสาเหตุสว่ นใหญ่เกิดจาก การส่งมอบโครงการเดอะริเวอร์ ส่งผลให้บริษัทย่อยได้รับเงินจากการโอนกรรมสิทธิห้องชุด ให้แก่ลูกค้า ในช่วงปี 2553 – 2555 บริษัทฯ มีกระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมการลงทุนเป็นจำ�นวน 988 ล้านบาท (503) ล้านบาท และ (16) ล้านบาทตามลำ�ดับ โดยที่แนวโน้มของกระแส เงินสดจ่ายในกิจกรรมการลงทุนลดลง ในช่วงปี 2553 – 2555 บริษัทฯ มีกระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงินเป็นจำ�นวน (1,090) ล้านบาท 1,627 ล้านบาท และ (17) ล้านบาทตามลำ�ดับ ถึงแม้ว่าในปี 2555 บริษัทฯจะสามารถเพิ่มทุนให้แก่บุคคลในวงจำ�กัดได้ 457 ล้านบาท แต่อย่างไรก็ตามการ ส่งมอบโครงการเดอะริเวอร์เป็นสาเหตุสำ�คัญที่ทำ�ให้บริษัทย่อยต้องชำ�ระคืนเงินกู้ยืมจาก สถาบันการเงินเป็นจำ�นวนเงินประมาณ 636 ล้านบาท จึงส่งผลให้กระแสเงินสดสุทธิจาก กิจกรรมจัดหาเงินติดลบประมาณ 17 ล้านบาท
สภาพคล่อง บริษัทฯ มีสภาพคล่องดีกว่าปีที่ผ่านมา โดยที่บริษัทฯ ได้รับเงินจำ�นวนประมาณ 803 ล้าน บาทจากกิจกรรมดำ�เนินงาน และใช้จ่ายเงินจำ�นวนประมาณ 16 ล้านบาทในกิจกรรมลงทุน และจ่ายเงิน 17 ล้านบาทในกิจกรรมการจัดหาแหล่งเงินทุน ส่งผลให้บริษัทฯ มีเงินสดสุทธิ เพิ่มขึ้นประมาณ 770 ล้านบาท จากปีที่ผ่านมา นอกจากนี้เมื่อดูจากอัตราส่วนสภาพคล่อง หมุนเร็วของบริษัท เพิ่มขึ้นจาก 0.16 เท่าในปี 2554 เป็น 0.21 เท่าในปี 2555 ทัง้ นี้ ความสามารถในการส่งมอบโครงการเดอะริเวอร์ให้แก่ลกู ค้าทำ�ให้บริษทั ฯและบริษทั ย่อย มีหนี้สินที่มีดอกเบี้ยลดลงประมาณ 416 ล้านบาท อีกทั้งยังสามารถบันทึกผลกำ�ไรสุทธิ ของปี 2555 เป็นจำ�นวน 496 ล้านบาท ซึ่งส่งผลสำ�คัญให้อัตราส่วนหนี้สินที่มีดอกเบี้ย ต่อทุน (Interest-Bearing Debt to Equity) ลดลงจาก 11.01 เท่า ในปี 2554 เป็น 4.00 เท่า ในปี 2555
14
สรุปอัตราส่วนทางการเงินที่สำ�คัญ (งบการเงินรวม) ปี 2555
ปี 2554
1.26 0.21
1.76 0.16
32.82% 8.98% 46.11% 3.27%
28.88% -38.62% -47.60% -3.42%
0.36 72.20
0.08 25.36
อัตราส่วนการชำ�ระหนี้ (Leverage Ratios) อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน (เท่า) อัตราส่วนหนี้สินที่มีดอกเบี้ยต่อทุน (เท่า) อัตราส่วนความสามารถในการชำ�ระดอกเบี้ย(2) (เท่า)
8.64 4.00 3.91
24.37 11.01 -1.37
อัตราส่วนต่อหุ้น (Per Share Ratios) มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น(3) (เท่า) กำ�ไรต่อหุ้น (บาท)
0.43 0.14
0.18 -0.15
-1.98% -8.54% 157.99% 349.42% 222.48%
23.34% 33.54% -56.87% -64.83% -51.15%
อัตราส่วนแสดงสภาพคล่อง (Liquidity Ratios) อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) อัตราความสามารถในการทํากําไร (Profitability Ratios) อัตรากำ�ไรขั้นต้น(1) (%) อัตรากำ�ไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%) อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพการดำ�เนินงาน (Efficiency Ratios) อัตราส่วนหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม (เท่า) อัตราส่วนหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร (เท่า)
อัตราการเติบโต (% ต่อปี) อัตราการเติบโตของสินทรัพย์รวม (%) อัตราการเติบโตของหนี้สินรวม (%) อัตราการเติบโตของทุน (%) อัตราการเติบโตของรายได้รวม (%) อัตราการเติบโตของค่าใช้จ่ายดำ�เนินงานรวม (%) (1) อัตรากำ�ไรขั้นต้น = (รายได้จากการขาย-ต้นทุนขาย) / รายได้จากการขาย โดยรายได้จากการขาย หมายถึง รายได้ที่ถูกรับรู้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย (2) อัตราส่วนความสามารถในการชำ�ระดอกเบี้ย = กำ�ไร(ขาดทุน) ก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษี / ค่าใช้จ่ายทางการเงิน โดยค่าใช้จ่ายทางการเงิน หมายถึง ดอกเบี้ยและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมจัดหาเงินกู้ เช่น ค่าธรรมเนียมการจัดการเงินกู้ (3) มูลค่าตามบัญชีไม่รวมส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย
15
ภาพรวมการตลาด ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ในช่วงต้นปี ถือเป็นเวลาของการฟื้นฟูประเทศจากมหาอุทกภัยครั้งใหญ่ที่เกิดต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2554 อย่างไรก็ตาม ได้มีการจัดสรรงบประมาณ 350,000 ล้านบาท ตามพระราชกฏษฎีกาสำ�หรับการจัดการทรัพยากรน้� ำ เพือ่ เป็นการ บริหารจัดการน้�ำ และหลีกเลีย่ งการเกิดอุทกภัยขึน้ อีก ซึง่ ช่วยสร้างความมัน่ ใจและผ่อนคลายความกังวลให้กบั นักลงทุน จากต่างประเทศ ทั้งนี้ภาคธุรกิจและโรงงานที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย ได้กลับมาผลิตอย่างเต็มกำ�ลังอีกครั้งในช่วง ไตรมาสที่ 2 ของปี ในปี 2555 พบว่าการปรับขึ้นอัตราค่าแรงขั้นต่ำ�ยังไม่ก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อภาคการผลิตอย่างมีนัยสำ�คัญ ขณะ ที่ปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจในทวีปยุโรปนับว่ายังอยู่ในวงจำ�กัด (การส่งออกไปยังยุโรปลดลงร้อยละ 9 เมื่อเทียบกับ ปีก่อน) ซึ่งได้ถูกชดเชยจากการส่งออกไปในตลาดเอเชียแทน ภาคการท่องเที่ยวเป็นไปอย่างดีเยี่ยม ด้วยจำ�นวน นักท่องเที่ยว ที่เดินทางเข้าประเทศถึง 22 ล้านคน รวมถึงนโยบายการลดอัตราภาษีนิติบุคคล นับว่าประสบความ สำ�เร็จอย่างสูง โดยในปี 2555 อัตราภาษีลดจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 23 และจะมีการปรับลดเป็นร้อยละ 20 ในปี 2556 นอกจากนี้ภาคการส่งออกมีการเติบโตร้อยละ 3.2 ในปี 2555 ในขณะที่ดุลการค้าของประเทศยังอยู่ ในเกณฑ์บวกแม้จะมีทิศทางค่อนข้างชะลอตัว งบประมาณโครงการด้านสาธารณูปโภคได้รับการอนุมัติ ทำ�ให้การก่อสร้างระบบขนส่งมวลชน มีความคืบหน้าไปมาก โดยมีการเปิดสถานีใหม่ๆ เพิ่มเติมแล้วในปี 2555 และจะมีการเพิ่มเส้นทางในอีก 2 สายในระบบขนส่งมวลชนใน ปี 2556 และปี 2557 ประเทศไทยมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในระบบขนส่งมวลชน เพื่อเป็นศูนย์กลางของ ระบบขนส่งของภูมิภาคซึ่งตอบรับกับการเปิดประชาคมอาเซี่ยน (AEC) ภาคการธนาคารของประเทศยังคงความแข็งแกร่ง ซึง่ ภาคธนาคารถือเป็นตัวขับเคลือ่ นเศรษฐกิจและยังช่วยเพิม่ กำ�ลังซือ้ ให้กับผู้บริโภคในด้านของการปล่อยสินเชื่อ ด้านอัตราเงินเฟ้อของประเทศประมาณ 3% อาจเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการ แข็งค่าของเงินบาทในปี 2556 โดยปกติแล้วเศรษฐกิจของประเทศไทย พึ่งพาการส่งออกถึง 70% นี่อาจเป็นจุดเปลี่ยน จากประวัติศาสตร์ที่เราจะหันมาพึ่งพากำ�ลังซื้อและพึ่งพิงการบริโภคภายในประเทศเพิ่มขึ้น มุมมองสำ�หรับภาคอสังหาริมทรัพย์ในประเทศ มีการเติบโตสูงมาก โดยเฉพาะตลาดในกรุงเทพฯ ตามแนวเส้นทาง รถไฟฟ้า รวมทั้งตามจังหวัดสำ�คัญของประเทศ ตลาดที่อยู่อาศัยระดับบน ยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นไปใน ทิศทางเดียวกันกับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในโลก ซึ่งภาคอสังหาริมทรัพย์เติบโต ในทิศทางเดียวกันกับระบบเศรษฐกิจ ของประเทศ โดยพบว่ากลุ่มลูกค้ามีทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ที่มองหาโครงการคุณภาพและตั้งอยู่ในทำ�เลที่ม ี ศักยภาพ
สถานการณ์ตลาดห้องชุดพักอาศัย ในปี 2555 ที่อยู่อาศัยสร้างเสร็จจดทะเบียนในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ในปี 2555 มีจำ�นวน 111,875 ยูนิต ขณะที่ ปี 2554 มีจำ�นวน 81,735 ยูนิต อัตราการเติบโตปี 2555 เพิ่มขึ้นมาก เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2554 แต่ทั้งนี้ จำ�นวนยูนิต จดทะเบียน ในปี 2555 เพิ่มขึ้นจากปี 2553 เพียงร้อยละ 10 สำ�หรับจำ�นวนยูนิตจดทะเบียนในปี 2555 สัดส่วน ของที่อยู่อาศัยประเภทคอนโดมิเนียมและอพาร์ทเม้นท์ มีการจดทะเบียนสูงที่สุด จำ�นวน 64,716 ยูนิต หรือร้อยละ 57.8 ของยอดจดทะเบียนทั้งหมด
16
111,875
81,735
106,893
94,977
เมืองสำ�คัญ ทีไ่ ด้รบั ความสนใจในการเปิดตัวโครงการมีทง้ั หัวหิน พัทยา และภูเก็ต รวมถึงทำ�เลใหม่ทนี่ า่ สนใจ เช่น เขาใหญ่ เชียงใหม่ ขอนแก่น อุดรธานี และหาดใหญ่ ทางบริษัทฯ ถือเป็นผู้ประกอบการรายใหญ่ใน พัทยา นับตั้งแต่ปี 2548 เป็นต้นมา ซึ่งปัจจุบันมีการเปิดตัวโครงการ และมีจำ�นวนยูนิตที่กำ�ลังอยู่ระหว่างพัฒนาจำ�นวน 1,650 ยูนิต สำ�หรับตลาดในพัทยาแล้ว กลุ่มลูกค้าหลักของบริษัทฯ เป็นลูกค้า คนไทย ทีส่ นใจซือ้ ยูนิตไว้เหมือนเป็นบ้านหลังทีส่ อง เอาไว้ลงทุนเพือ่ ปล่อยเช่าหรือขายต่อในอนาคต โดยในปี 2555 มีโครงการที่เปิดตัว ในพัทยาทั้งสิ้น 32 โครงการ โดยมียูนิตรวมทั้งสิ้น 12,154 ยูนิต ข้อมูลจากฝ่ายวิจยั ของบริษทั พบว่าในปี 2555 มีโครงการคอนโดมิเนียม จัดแบ่งเป็นกลุ่มราคาดังนี้ (1) ระดับราคาต่�ำ กว่า 2 ล้านบาท มีจำ�นวน เปิดใหม่ โดยผู้ประกอบการในตลาดหลักทรัพย์จำ�นวน 80 โครงการ ร้อยละ 81 ของจำ�นวนยูนิตที่เปิดขาย – ประเภทไม่เห็นวิวทะเล จำ�นวนห้องชุดรวม 47,797 ยูนิต มีมูลค่ารวมทั้งสิ้น 111,184 ล้าน (2) ระดับราคา 2-5 ล้านบาท มีจำ�นวนร้อยละ 15 ของจำ�นวนยูนิต บาท ในขณะที่นักวิเคราะห์รายงานถึงยอดขายของผู้ประกอบการ ที่เปิดขาย – ประเภทเห็นวิวทะเล (3) มีเพียงร้อยละ 4 ของจำ�นวน ในตลาดหลักทรัพย์ว่ามีรายได้จากการขายคอนโดในปี 2555 สูงถึง ยูนิตที่เปิดขาย ที่โครงการอยู่ติดชายหาด และถือเป็นกลุ่มระดับบน 116,728 ล้านบาท ได้แบ่งกลุ่มตามระดับราคาดังนี้ (1) ระดับราคา ต่ำ�กว่า 2 ล้านบาท มีจำ�นวนร้อยละ 60 ของจำ�นวนยูนิตที่เปิดขาย จำ�นวนที่อยู่อาศัยใหม่สร้างเสร็จจดทะเบียน – กลุ่มระดับล่าง (2) ระดับราคา 2-5 ล้านบาท มีจำ�นวนร้อยละ ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล 34 ของจำ�นวนยูนิตที่เปิดขาย – กลุ่มระดับกลาง (3) ระดับราคา จำ�นวนยูนิต 5 ล้านบาทขึ้นไป มีจำ�นวนร้อยละ 6 ของจำ�นวนยูนิตที่เปิดขาย – 120,000 กลุ่มระดับบน โดยกลุ่มระดับบนนี้ เป็นกลุ่มที่บริษัทไรมอน แลนด์ 100,000 มีโครงการเปิดขายอยู่ เราพบว่าในปี 2555 มีโครงการที่เปิดตัวอยู่ใน กรุงเทพฯ ประมาณร้อยละ 80 ของจำ�นวนโครงการที่เปิดใหม่ทั้งหมด 80,000 แต่ อ ย่ า งไรก็ ต ามผู้ ป ระกอบการได้ ใ ห้ ค วามสนใจและเริ่ ม เปิ ดตั ว 60,000 โครงการตามเมืองและจังหวัดสำ�คัญของประเทศเช่นกัน 40,000 85,579
เราพบว่าเหตุผลสำ�คัญที่ทำ�ให้คอนโดมิเนียมในเขตกรุงเทพฯ และ ปริมณฑลได้รบั ความสนใจเพิม่ ขึน้ มาจากความกังวลใจในเรือ่ งอุทกภัย ทีเ่ คยเกิดขึน้ ความสามารถและอำ�นาจในการซือ้ ค่าใช้จา่ ยในการดูแล รักษา ตลอดจนค่าใช้จา่ ยในการเดินทาง ปัจจัยเหล่านีล้ ว้ นมีความสำ�คัญ ให้ตดั สินใจเลือกซือ้ โดยเฉพาะคนรุน่ ใหม่ (Generation Y) ทีอ่ ยากจะ ใช้ชีวิตอิสระ ใกล้แหล่งที่ทำ�งานและศูนย์การค้า รูปแบบการใช้ชีวิต เหล่านี้ มีผลให้ห้องแบบสตูดิโอ และห้องแบบ 1 ห้องนอน ได้รับความ สนใจมากในปัจจุบัน
20,000 2555
2554
2553
2552
2551
0
บ้านปลูกเอง อพาร์ทเมนท์และคอนโด บ้านจัดสรร 17
แนวโน้มตลาดในปี 2556 ราคาที่ดินในเขตกรุงเทพฯ ชั้นใน ปรับเพิ่มสูงขึ้น จนถึงระดับที่ม ี ผู้ประกอบการเพียงไม่กี่รายเท่านั้นที่จะสร้างโครงการที่มีคุณภาพ และมีแบรนด์ติดตลาด จนสามารถขายสินค้าในกลุ่มตลาดระดับบน ด้วยระดับราคาที่สูงกว่าคู่แข่ง เราพบว่าประมาณ 3 ปีที่แล้ว มีผู้ ประกอบการเพียงไม่กร่ี าย ทีเ่ น้นเปิดตัวโครงการในระดับบน แต่ส�ำ หรับ ปี 2556 เราจะได้เห็นการเปิดตัวโครงการใหม่ในกลุ่มตลาดระดับบน เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ผู้ประกอบการยังเน้นซื้อขายที่ดินตามแนว รถไฟฟ้าและส่วนต่อขยายในอนาคต เช่น สายสีม่วง – จากบางซื่อถึง บางใหญ่ สายสีแดงอ่อน – จากบางซื่อถึงตลิ่งชัน และส่วนต่อขยาย ของสายสีลมถึงบางว้า เราคาดการณ์วา่ จะมีการเปิดตัวโครงการตาม แนวรถไฟฟ้าเพิม่ มากขึน้ และจะส่งผลให้เกิดการแข่งขันในด้านราคา ตามมา นอกจากนีจ้ ากรายงานล่าสุดของผูป้ ระกอบการทีอ่ ยูใ่ นตลาด หลักทรัพย์ จะมีการเปิดตัวโครงการใหม่ นอกเหนือไปจากจังหวัด กรุงเทพฯ เพิม่ มากขึน้ และจะมีผปู้ ระกอบการอีกหลายรายที่จะเริ่ม ทดลองเปิดตัวโครงการในต่างจังหวัดด้วย
กลุ่มลูกค้าของบริษัทไรมอน แลนด์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ไรมอน แลนด์ สามารถรักษาความเป็นผู้นำ�ในการขาย คอนโดมิเนียม ให้กับกลุ่มลูกค้าชาวต่างชาติไว้อย่างต่อเนื่อง โดย ในปี 2555 มีกลุ่มลูกค้าที่เป็นชาวต่างชาติประมาณร้อยละ 40 ของ ยอดขาย เท่ากับว่า บริษัทฯ ได้รับความไว้วางใจเป็นอย่างดีจากกลุ่ม ลูกค้าชาวไทยถึงร้อยละ 60 สำ�หรับลูกค้าชาวต่างชาติ มีกลุ่มยุโรป ตะวันตกมากที่สุดคือร้อยละ 42 ตามด้วยกลุ่มลูกค้าในเอเชียร้อย ละ 28 กลุ่มลูกค้ายุโรปตะวันออกร้อยละ 18 และประเทศอื่นๆ อีกร้อยละ 12 กลุ่มลูกค้าของบริษัทฯ มีจ�ำ นวนรวม 33 สัญชาติ ด้วยกัน แม้บริษัทฯ จะเน้นการทำ�ตลาดกับลูกค้ากลุ่มระดับบนเป็นหลัก แต่ อย่างไรก็ดีทางบริษัทฯ ได้มีการกระจายการทำ�การตลาดไปในกลุ่ม ลูกค้าระดับกลาง – บน ทั้งนี้ในปี 2555 ลูกค้าของบริษัทฯ ที่ซื้อ ยูนติ ต่�ำ กว่า 5 ล้านบาท มีจ�ำ นวนร้อยละ 11 ของยอดขาย ตามด้วย กลุ่มที่ซื้อยูนติ 5-10 ล้านบาท มีจำ�นวนร้อยละ 16 ของยอดขาย โดยบริษัทฯ ได้เปิดตัวแบรนด์ใหม่อย่าง Unixx และ Zire ขึ้นมา ซึ่งทั้ง 2 แบรนด์ ได้ช่วยให้บริษัทฯ เพิ่มฐานลูกค้ากลุ่มใหม่ๆ โดย ไม่ส่งผลกระทบต่อความเป็นผู้นำ�ในกลุ่มสินค้าระดับบนของบริษัทฯ นอกจากนี้ในปี 2555 รายได้ของบริษัทฯ ประมาณร้อยละ 30 ของ ยอดขาย ยังมาจากโครงการทีต่ ง้ั อยูภ่ ายนอกกรุงเทพฯ สำ�หรับผล ประกอบการของบริษทั นอกจากรายได้จากการขายคอนโดมิเนียมแล้ว บริษัทฯ ยังมีรายได้ประเภทอื่นอันเกิดจากโครงการคอมมิวนิตี้ มอลล์ ที่ถนนเจริญนคร โครงการ Private Residence Club ที่โครงการ นอร์ทพ้อยท์ พัทยา และ Serviced Residences ที่กำ�ลังจะเปิดตัว ที่โครงการเดอะริเวอร์ กรุงเทพฯ
18
กลุ่มลูกค้าของบริษัท ไรมอน แลนด์ แบ่งตามสัญชาติ 2%
11% 7%
60%
17% 3%
อเมริกัน เอเชีย ยุโรปตะวันออก ยุโรป อื่นๆ ไทย
แบ่งตามประเภทห้องชุด 12%
0% 5%
4%
19% สตูดิโอ 1 ห้องนอน 2 ห้องนอน 3 ห้องนอน 4 ห้องนอน ห้องดูเพล็กซ์ อื่นๆ
25%
35%
แบ่งตามระดับราคา 3%
8% 16%
52%
ต่ำ�กว่า 2.0 ล้านบาท ราคา 2.0 - 4.99 ล้านบาท ราคา 5.0 - 9.99 ล้านบาท ราคา 10.0 - 19.99 ล้านบาท 20.0 ล้านบาทขึ้นไป
21%
แบ่งตามกลุ่มอายุ 7%
9%
24%
25%
35%
ต่ำ�กว่า 30 ปี อายุ 30 - 39 ปี อายุ 40 - 49 ปี อายุ 50 - 59 ปี อายุ 60 ปีขึ้นไป
บทวิเคราะห์โครงการ บริษทั ไรมอน แลนด์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในเชิงพาณิชย์เพื่อขาย และ/หรือเพื่อปล่อยเช่า โดยเน้นหนักการพัฒนา โครงการพักอาศัยสำ�หรับตลาดระดับกลางถึงระดับบนของประเทศไทย ทีม่ คี วามโดดเด่นและน่าสนใจ บริษทั ฯได้สง่ มอบโครงการทีม่ คี ณ ุ ภาพที ่ สร้างความพึงพอใจให้ลกู ค้าอย่างต่อเนือ่ ง โครงการหลายโครงการทีบ่ ริษทั ฯพัฒนาได้รบั การยอมรับจากตลาดและสถาบันชัน้ นำ�โดยจะเห็นได้วา่ บริษทั ได้รบั รางวัลจากสถาบันชัน้ นำ�ต่างๆอย่างสม่�ำ เสมอ บริษทั ฯได้มสี ว่ นกระตุน้ ในการยกระดับมาตรฐานการออกแบบ และการก่อสร้างโครงการต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร และจังหวัดแหล่งท่องเที่ยวที่พักตากอากาศเป็นเวลาต่อเนื่อง ทั้งนี้ในปี 2555 บริษัทได้รับรางวัลจากโครงการเดอะริเวอร์ “โครงการคอนโดมิเนียมระดับหรูยอดเยี่ยม (กรุงเทพฯ)” ในสาขาโครงการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ และรางวัล “โครงการคอนโดมิเนียมยอดเยีย่ มแห่งปี” ในสาขาสถาปัตยกรรมและการตกแต่งภายใน จากไทยแลนด์ พร็อพเพอร์ต้ ี อวอร์ดส์ในปี 2555 ซึ่งเป็นสิ่งยืนยันถึงคุณภาพโครงการอันเป็นที่ยอมรับจากตลาดได้เป็นอย่างดี
รายละเอียดโครงการของบริษัท ไรมอน แลนด์ จำ�กัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มูลค่าขาย โครงการ (ล้านบาท)
ราคาขายถัว เฉลี่ย (บาท ต่อตาราง เมตร)
ปีที่ก่อสร้าง เสร็จสมบูรณ์
25
400
115,000
ปี 2547
26,062
165
1,685
65,000
ปี 2548
1-1-40
9,672
75
842
87,000
ปี 2548
คอนโดมิเนียม ไตรมาสที่ 3 ปี 2547
2-1-51
21,271
193
1,490
71,000
ปี 2549
คอนโดมิเนียม ไตรมาสที่ 4 ปี 2547
5-0-59.4
6,767
33
447
66,000
ปี 2549
เดอะล็อฟท์ คอนโดมิเนียม ไตรมาสที่ 3 เย็นอากาศ ปี 2548
3-0-19.1
17,240
176
1,234
72,000
ปี 2550
เดอะไฮทส์ คอนโดมิเนียม ไตรมาสที่ 4 ภูเก็ต ปี 2548
14-0-41.2
13,337
51
1,205
90,500
ไตรมาส 4 ปี 2551
นอร์ทพ้อยท์ คอนโดมิเนียม ไตรมาสที่ 4 ปี 2549
12-0-54
40,133
376
4,850
125,000
ปี 2553
เดอะริเวอร์ คอนโดมิเนียม ไตรมาสที่ 1 ปี 2550
12-3-41
108,738
837
14,950
145,000
ปี 2555
ปีที่เปิด โครงการ
ขนาดที่ดิน โครงการ (ไร่-งาน-วา)
ไตรมาสที่ 1 ปี 2546
3-0-64
3,486
เดอะเลคส์ คอนโดมิเนียม ไตรมาสที่ 3 คอนโด มิเนียม ปี 2546
1-2-90.5
เดอะลีเจ้นด์ คอนโดมิเนียม ไตรมาสที่ 1 ศาลาแดง ปี 2547 นอร์ทชอร์ กะตะ การ์เด้นส์
โครงการ
ลักษณะ โครงการ
พื้นที่ขาย จำ�นวนหน่วย (ตารางเมตร) (ยูนิต/หลัง)
โครงการที่สร้างเสร็จแล้ว เดอะล็อฟท์ สาทร
ทาวน์เฮ้าส์
19
รายละเอียดโครงการของบริษัท ไรมอน แลนด์ จำ�กัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 (ต่อ) โครงการ
ลักษณะ โครงการ
ปีที่เปิด โครงการ
ขนาดที่ดิน โครงการ (ไร่-งาน-วา)
พื้นที่ขาย จำ�นวนหน่วย (ตารางเมตร) (ยูนิต/หลัง)
มูลค่าขาย โครงการ (ล้านบาท)
ราคาขายถัว เฉลี่ย (บาท ต่อตาราง เมตร)
ปีที่ก่อสร้าง เสร็จสมบูรณ์
โครงการในปัจจุบัน 185 ราชดำ�ริ
คอนโดมิเนียม ไตรมาสที่ 3 ปี 2553
4-1-62.9
38,000
268
9,600
250,000
ไตรมาส 4 ปี 2556
คอนโดมิเนียม ไตรมาสที่ 1 ซายร์ วงศ์อมาตย์ ปี 2554
5-3-70
28,500
480
2,800
100,000
ปี 2557
คอนโดมิเนียม ไตรมาสที่ 4 ยูนิกซ์ เซาท์ พัทยา ปี 2554
7-0-16
46,155
1,200
2,950
65,000
ปี 2558
ตั้งแต่ปี 2548 เป็นต้นมา บริษัท ไรมอน แลนด์ จำ�กัด (มหาชน) ได้พัฒนาและส่งมอบโครงการคอนโดมิเนียมพักอาศัยที่มีคุณภาพให้กับ ลูกค้าไปแล้ว 9 โครงการ โดยโครงการเหล่านี้มีมูลค่ารวมกว่า 17,000 ล้านบาท โดย 4 โครงการเป็นโครงการในกรุงเทพฯชั้นใน (ภายใต้ 3 แบรนด์ คือ เดอะล็อฟท์ เดอะเลคส์ และ เดอะลีเจ้นด์) 2 โครงการเป็นโครงการที่พัทยา (นอร์ทชอร์ และ นอร์ทพ้อยท์) อีก 2 โครงการเป็นโครงการที่ภูเก็ต (กะตะการ์เด้นส์ และ เดอะ ไฮทส์) และล่าสุดในปี 2555 บริษัทฯได้ส่งมอบโครงการเดอะริเวอร์ไปแล้ว มูลค่ากว่า 5 พันล้านบาท ซึ่งยังมีมูลค่าโครงการคงเหลืออีกประมาณ 1 หมื่นล้านบาทที่จะส่งมอบให้กับลูกค้าในลำ�ดับถัดไป ปัจจุบัน บริษัทฯ อยู่ระหว่างการพัฒนาโครงการ 3 โครงการ ซึ่งมีมูลค่าขายรวมกว่า 15,350 ล้านบาท ซึ่งได้แก่ โครงการ 185 ราชดำ�ริ โครงการ ที่พักอาศัยที่ขายพร้อมกรรมสิทธิ์ในที่ดินแห่งสุดท้ายบนถนนราชดำ�ริ โครงการซายร์ วงศ์อมาตย์ และโครงการยูนิกซ์ เซาท์พัทยา ที่พัทยา
โครงการในปี 2555
ในปี 2555 บริษทั ไรมอน แลนด์ จำ�กัด (มหาชน) มีโครงการเพือ่ ขายและ/หรือเพือ่ ปล่อยเช่า 6 โครงการ ดังนี้
โครงการเดอะริเวอร์ ตั้งอยู่ติดริมแม่น้ำ�เจ้าพระยา โครงการเดอะ ริเวอร์ เป็นโครงการทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในกลุม่ บริษทั ไรมอน แลนด์ โดยถูกพัฒนาขึ้นภายใต้บริษัท ตากสิน พร็อพเพอร์ตี้ส์ จำ�กัด โครงการมี มูลค่าขายรวมประมาณ 14,950 ล้านบาท ซึง่ ได้รบั การตอบรับอย่างดีจากลูกค้า ปัจจุบนั โครงการมียอดขายแล้วประมาณ 11,567 ล้านบาท (เป็นยอดขาย ณ สิ้นปี 2555) หรือคิดเป็นร้อยละ 82 ของพืน้ ทีข่ ายโครงการ ทัง้ หมด และในกลางปี 2555 โครงการได้เริม่ โอนมอบกรรมสิทธิ์ห้องชุดให้กับลูกค้า โดย คิดเป็นมูลค่าทั้งปีเท่ากับ 5,008 ล้านบาท 20
14,950 ล้านบาท
51%(ค)
100%
82% 65%(ข)
6,559
5,008
มูลค่าขาย 11,567
มูลค่าขายส่วนที่ถูกรับรู้รายได้ มูลค่าขายส่วนที่ยังไม่ถูกรับรู้รายได้ มูลค่าโครงการส่วนที่ยังไม่ได้ขาย % พื้นที่ขาย(ก)
มูลค่าโครงการ
หมายเหตุ ก) พื้นที่ที่ขายได้ ต่อ พื้นที่ขายทั้งหมดของโครงการ ข) เงินที่ได้รับ ต่อ มูลค่าทั้งหมดตามสัญญาซื้อขายที่มี ค) เงินที่ได้รับ ต่อ มูลค่าขายทั้งหมดของโครงการ ง) ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาโครงการ ต่อ มูลค่าการพัฒนาโครงการทั้งหมด
% เงินรับ
% งานก่อสร้าง(ง)
โครงการเดอะ ริเวอร์ เป็นอาคารที่พักอาศัยริมแม่น้ำ�ที่สูงที่สุดในกรุงเทพมหานคร โดยใน ปี 2555 โครงการเดอะ ริเวอร์ ได้รับรางวัล “โครงการคอนโดมิเนียมระดับหรูยอดเยี่ยม (กรุงเทพฯ) ในสาขาโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และรางวัล “โครงการคอนโดมิเนียม ยอดเยีย่ มแห่งปี” ในสาขาสถาปัตยกรรมและการตกแต่งภายใน จากไทยแลนด์ พร็อพเพอร์ตี้ อวอร์ดในปี 2555
โครงการ 185 ราชดำ�ริ
9,600 ล้านบาท
26%(ค) 74%
6,432
มูลค่าโครงการ
38%(ข)
มูลค่าขาย 6,432
48%
หมายเหตุ ก) พื้นที่ที่ขายได้ ต่อ พื้นที่ขายทั้งหมดของโครงการ ข) เงินที่ได้รับ ต่อ มูลค่าทั้งหมดตามสัญญาซื้อขายที่มี ค) เงินที่ได้รับ ต่อ มูลค่าขายทั้งหมดของโครงการ ง) ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาโครงการ ต่อ มูลค่าการพัฒนาโครงการทั้งหมด มูลค่าขายส่วนที่ถูกรับรู้รายได้ มูลค่าขายส่วนที่ยังไม่ถูกรับรู้รายได้ มูลค่าโครงการส่วนที่ยังไม่ได้ขาย
% พื้นที่ขาย(ก)
% เงินรับ
% งานก่อสร้าง(ง)
โครงการ 185 ราชดำ�ริ เป็นโครงการอสังหา- ริมทรัพย์คอนโดมิเนียมหรู เพือ่ อยูอ่ าศัยทีต่ ง้ั อยู่ในทำ�เลทอง บนถนนราชดำ�ริ ที่ผู้ซื้อ สามารถถื อ ครองกรรมสิ ท ธิ์ โ ดยสมบู ร ณ์ (Freehold) โครงการตั้งอยู่ใกล้ย่านธุรกิจ หลัก ช้อปปิง้ มอลล์ระดับพรีเมียม สถานศึกษา ชั้นแนวหน้า สถานทูต โรงแรมระดับบน ความร่มรื่นเขียวขจีของสวนลุมพินไปจนถึง สมาคมราชกรีฑาสโมสร โครงการ 185 ราชดำ�ริ ประกอบด้วย ห้องชุดทัง้ หมดจำ�นวน 268 ยูนิต โดย ณ สิ้นปี 2555 บริษัทขาย โครงการไปแล้วคิดเป็นประมาณร้อยละ 74 ของพื้นที่ขายโครงการทั้งหมด 21
โครงการนอร์ทพ้อยท์ โครงการนอร์ทพ้อยท์ เป็นโครงการห้องชุดพักอาศัยเกรดเอแห่งที่สองของ ไรมอน แลนด์ ในพัทยา ด้วยพื้นที่ด้านหน้าติดชายหาดกว้าง 80 เมตร บนหาดวงศ์อมาตย์ พัทยา นอร์ทพ้อยท์เป็นโครงการที่ให้ทั้งทิวทัศน์ที่สวยงามสมบูรณ์ของอ่าวไทย พร้อมสิ่งอำ�นวย ความสะดวกทีค่ รบครัน โดยโครงการได้เสร็จสมบูรณ์แล้วและบริษทั ฯได้โอนห้องชุดพักอาศัย ส่วนใหญ่ให้กับลูกค้าแล้ว โครงการนอร์ทพ้อยท์ประกอบด้วยห้องชุดทั้งหมดจำ�นวน 376 ยูนิต โดยยอดขาย ณ สิ้นปี 2555 มีมูลค่าคิดเป็นประมาณร้อยละ 95 ของพื้นที่ขาย โครงการทั้งหมด ปัจจุบันโครงการเหลือเพียง 4 ห้องที่รอขายเท่านั้น 4,850 ล้านบาท
95%
219
4,330
90%(ค) 100% 96%(ข)
มูลค่าขาย 4,549
หมายเหตุ ก) พื้นที่ที่ขายได้ ต่อ พื้นที่ขายทั้งหมดของโครงการ ข) เงินที่ได้รับ ต่อ มูลค่าทั้งหมดตามสัญญาซื้อขายที่มี ค) เงินที่ได้รับ ต่อ มูลค่าขายทั้งหมดของโครงการ ง) ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาโครงการ ต่อ มูลค่าการพัฒนาโครงการทั้งหมด มูลค่าขายส่วนที่ถูกรับรู้รายได้ มูลค่าขายส่วนที่ยังไม่ถูกรับรู้รายได้ มูลค่าโครงการส่วนที่ยังไม่ได้ขาย
% พื้นที่ขาย(ก)
มูลค่าโครงการ
% เงินรับ
% งานก่อสร้าง(ง)
โครงการซายร์ วงศ์อมาตย์ เป็นโครงการห้องชุดพักอาศัยแห่งที่สามของ ไรมอน แลนด์ ในพัทยา ด้วยพืน้ ทีต่ ดิ ชายหาด วงศ์ อ มาตย์ แ ละโครงการนอร์ ท พ้ อ ยท์ และห่างจากกรุงเทพฯ เพียง 90 นาที โครงการได้ถกู พัฒนาบนพืน้ ทีก่ ว่า 5 ไร่ โดดเด่น ด้วยอาคารคู่ สูง 37 และ 53 ชัน้ ถูกออกแบบ 2,800 ให้ ส ามารถเห็ น ทิ ว ทั ศ น์ มุ ม กว้ า งรอบด้ า น ล้านบาท สวยงามอั น น่ า ตื่ น ตาตื่ น ใจของอ่ า วไทย โครงการซายร์ วงศ์อมาตย์ ประกอบด้วย ห้องชุดทัง้ หมดจำ�นวน 480 ยูนติ หลากหลาย ทั้งแบบห้องสตูดิโอ แบบ 1-2 ห้องนอน และ แบบห้องเล่นระดับยอดขาย ณ สิ้นปี 2555 1,968 มีมูลค่าคิดเป็นประมาณร้อยละ 74 ของ พื้นที่ขายโครงการทั้งหมด โดยห้องชุดใน อาคารบีได้ปิดการขายแล้ว มูลค่าโครงการ 22
หมายเหตุ ก) พื้นที่ที่ขายได้ ต่อ พื้นที่ขายทั้งหมดของโครงการ ข) เงินที่ได้รับ ต่อ มูลค่าทั้งหมดตามสัญญาซื้อขายที่มี ค) เงินที่ได้รับ ต่อ มูลค่าขายทั้งหมดของโครงการ ง) ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาโครงการ ต่อ มูลค่าการพัฒนาโครงการทั้งหมด
14%(ค) 74%
มูลค่าขาย 1,968
19%(ข) % พื้นที่ขาย(ก)
% เงินรับ
19%
% งานก่อสร้าง(ง)
มูลค่าขายส่วนที่ถูกรับรู้รายได้ มูลค่าขายส่วนที่ยังไม่ถูกรับรู้รายได้ มูลค่าโครงการส่วนที่ยังไม่ได้ขาย
โครงการยูนิกซ์ เซาท์ พัทยา โครงการยูนกิ ซ์ เซาท์ พัทยาเป็นโครงการห้องชุดพักอาศัยแห่งทีส่ ข่ี องกลุม่ บริษทั ไรมอน แลนด์ ในพัทยาทีพ่ ฒ ั นาขึน้ มาเพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าทีม่ ลี กู ค้าระดับกลางทัง้ ชาวไทย และชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในพัทยา และชาวกรุงเทพที่กำ�ลังมองหาบ้านพักตากอากาศหรือ บ้านพักหลังที่สองสำ�หรับวันหยุดพักผ่อน โครงการยูนิกซ์ เซาท์ พัทยา ตั้งอยู่บนพื้นที่กว่า 7 ไร่บริเวณเขาถนนพระตำ�หนัก ซึ่งเป็นที่ดินของบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง โครงการยูนิกซ์ เซาท์ พัทยา ประกอบไปด้วยห้องชุดจำ�นวน 1,200 ยูนิตมีราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 65,000 บาทต่อ ตารางเมตร และมีขนาดห้องโดยเฉลี่ยไม่เกิน 40 ตารางเมตร โดยยอดขาย ณ สิ้นปี 2555 มีมูลค่าคิดเป็นประมาณร้อยละ 37 ของพื้นที่ขายโครงการทั้งหมด โครงการมีกำ�หนดการที่ จะก่อสร้างให้แล้วเสร็จในปลายปี 2558 2,950 ล้านบาท
หมายเหตุ ก) พื้นที่ที่ขายได้ ต่อ พื้นที่ขายทั้งหมดของโครงการ ข) เงินที่ได้รับ ต่อ มูลค่าทั้งหมดตามสัญญาซื้อขายที่มี ค) เงินที่ได้รับ ต่อ มูลค่าขายทั้งหมดของโครงการ ง) ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาโครงการ ต่อ มูลค่าการพัฒนาโครงการทั้งหมด
7%(ค)
37% 1,116
มูลค่าโครงการ
20%(ข)
มูลค่าขาย 1,116 % พื้นที่ขาย(ก)
% เงินรับ
2% % งานก่อสร้าง(ง)
มูลค่าขายส่วนที่ถูกรับรู้รายได้ มูลค่าขายส่วนที่ยังไม่ถูกรับรู้รายได้ มูลค่าโครงการส่วนที่ยังไม่ได้ขาย
โครงการวิว เป็นโครงการไลฟ์สไตล์ชอ็ ปปิง้ เซ็นเตอร์ (Lifestyle Shopping Centre) ขนาดประมาณ 4,000 ตารางเมตร ตั้งอยู่หน้าโครงการเดอะ ริเวอร์ บนถนนเจริญนคร บนพื้นที่รวมประมาณ 3 ไร่ โครงการประกอบ ไปด้วยอาคาร 4 ชั้น รวมใต้ดิน 1 อาคาร โดยมีผู้เช่าหลักเป็น ซุปเปอร์มาร์เก็ต (Max Valu) และผู้เช่าอื่นๆ ประกอบไปด้วย ร้านอาหาร ร้านกาแฟ ร้านเบเกอรี่ ร้านไอศกรีม ร้านแว่นตา
การพัฒนาโครงการใหม่ บมจ. ไรมอน แลนด์ มีแผนในการพัฒนาโครงการอย่างต่อเนื่องโดยมีแผนที่จะพัฒนาโครงการใหม่อย่างน้อย 1–2 โครงการในแต่ละปี โดย โครงการใหม่จะมีมูลค่าโครงการอยู่ระหว่าง 2,000 ล้านถึง 5,000 ล้านบาท (ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดที่ดินและข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง) โดยจะ เน้นการพัฒนาโครงการในกรุงเทพมหานคร และหัวเมืองท่องเที่ยวเป็นหลัก โดยยังคงเน้นการพัฒนาโครงการในระดับกลางและระดับบน เป็นหลัก 23
ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม สรุปกิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมขององค์กร สำ�หรับรายงานประจำ�ปี 2555 ทุกวันนี้ ไรมอน แลนด์ ยังคงเดินหน้าสนับสนุนโครงการและกิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ตามเจตนารมณ์ของบริษัท ในการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีสำ�หรับทุกคน ปี 2555 ที่ผ่านมานี้ ถือเป็นปีที่ 5 ติดต่อกันที่ไรมอน แลนด์ ได้ให้การสนับสนุนแก่ศูนย์เพาะกล้าไม้ของมูลนิธิปลูกต้นไม้วันนี้ (PlantA-Tree-Today Foundation) ซึ่งตั้งอยู่ในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ พนักงานและลูกค้าของไรมอน แลนด์ ได้ร่วมมือร่วมใจกันเดินทาง ไปยังจังหวัดนครราชสีมาเพื่อปลูกต้นกล้า คืนความเขียวชะอุ่มให้แก่ป่าไม้ในอุทยาน เพื่อเป็นการสานต่อความร่วมมือกับทางมูลนิธิ อันมี เป้าหมายเพื่อการบำ�รุงรักษาสภาพแวดล้อม สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมต่างๆให้แก่เยาวชนในพื้นที่ และวางรากฐาน สำ�หรับโครงการปลูกป่าเพื่อความยั่งยืนต่อไปในอนาคต ไรมอน แลนด์ ยังรับอุปการะ “พังไรมอน” ลูกช้างเพศเมียของปางช้างอนันตรา จังหวัดเชียงราย โดยรับผิดชอบค่าอาหารและค่าเลี้ยงดู เพื่อให้ช้างได้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ใกล้ชิดกับธรรมชาติ ทั้งนี้ การอุปการะพังไรมอน เป็นการสร้างมั่นใจว่าช้าง ซึ่งเป็นสัตว์ป่าที่ก�ำ ลังถูก คุกคาม และยังเป็นสัตว์ประจำ�ชาติไทย จะได้รับการดูแลเลี้ยงดูอย่างปลอดภัยตลอดอายุขัย นอกจากนี้ ไรมอน แลนด์ ยังได้ให้การสนับสนุนแก่ศูนย์เมอร์ซี่ ซึ่งเป็นองค์กรการกุศลเพื่อผู้ยากไร้ในกรุงเทพมหานคร ในพระอุปถัมภ์พระ เจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายา ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร โดยบริษัทได้ท�ำ การบริจาครายได้จาก กิจกรรมฉลองวันลอยกระทงให้แก่ทางศูนย์ เพื่อช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของผู้ด้อยโอกาส สำ�หรับอนาคต ไรมอน แลนด์ จะยังคงมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมต่อไป เพื่อสร้างสังคมและสิ่งแวดล้อมใน ประเทศไทยให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น
24
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจำ�ปี 2555 เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท ไรมอนแลนด์ จำ�กัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ไรมอนแลนด์ จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน ซึ่งมีคุณสมบัติครบถ้วน ตามข้อกำ�หนดและแนวทางปฏิบัติที่ดีของคณะกรรมการตรวจสอบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในปี 2555 คณะกรรมการตรวจสอบ ของบริษัทฯ ประกอบด้วย นายกิตติ คชนันทน์ เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นายสมโภชน์ อินทรานุกูล และนายจิรวุฒิ คุวานันท์ เป็น กรรมการการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่ง สอดคล้องกับข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยในรอบปีบัญชี 2555 ได้จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบจำ�นวน 4 ครั้ง และในปี 2556 จนถึงวันที่รายงาน จำ�นวน 1 ครั้ง รวมทั้งสิ้น 5 ครั้ง โดยเป็นการร่วมประชุมกับผู้บริหาร ผู้สอบบัญชีและ ผู้ตรวจสอบภายในตามความเหมาะสม ซึ่งสรุปสาระสำ�คัญได้ดังนี้ 1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำ�ปี 2555 เพื่อนำ�เสนอคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ โดยได้สอบถามและ รับฟังคำ�ชี้แจงผู้บริหารและผู้สอบบัญชี ในเรื่องความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินและความเพียงพอในการเปิดเผยข้อมูล รวมถึงรับทราบแผนการตรวจสอบบัญชีของผู้ตรวจสอบบัญชีประจำ�ปี 2555 ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้องกับผู้ สอบบัญชีว่า งบการเงินดังกล่าวมีความถูกต้องตามที่ควรในสาระสำ�คัญตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป 2. สอบทานข้อมูลการดำ�เนินงานและระบบการควบคุมภายใน เพื่อประเมินความเพียงพอ เหมาะสม และประสิทธิผลของระบบการ ควบคุมภายใน อันจะช่วยส่งเสริมให้การดำ�เนินงานบรรลุตามเป้าหมายที่ก�ำ หนดไว้ โดยพิจารณาจากรายงานการตรวจสอบภายใน ประจำ�ปี 2555 ตามแผนงานที่ได้รับอนุมัติ ซึ่งครอบคลุมระบบงานที่ส�ำ คัญของบริษัทฯ โดยได้ติดตามให้ฝ่ายจัดการมีการปรับปรุง แก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้ตรวจสอบภายในอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ได้ประเมินระบบการควบคุมภายในตามแนวทางที่กำ�หนด โดยสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าบริษัทฯ มีระบบการ ควบคุมภายในที่ดี มีระบบการติดตามควบคุมดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อยอย่างเพียงพอ เหมาะสม และมี ประสิทธิผล 3. สอบทานการตรวจสอบภายใน โดยพิจารณาภารกิจ ขอบเขตการปฏิบัติงาน หน้าที ่ และความรับผิดชอบ ความเป็นอิสระ อัตรากำ�ลัง และงบประมาณของหน่วยงานตรวจสอบภายใน และแผนการตรวจสอบประจำ�ปีที่จัดทำ�ขึ้น คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า การตรวจสอบภายในมีความเพียงพอ เหมาะสม และมีการติดตามอย่างต่อเนื่องแล้ว 4. สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมาย ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ไม่พบประเด็นที่เป็นสาระสำ�คัญในเรื่องการไม่ปฏิบัติตาม กฎหมาย ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงข้อผูกพันที่ บริษัทฯ มีไว้กับบุคคลภายนอก 5. สอบทานระบบบริหารความเสี่ยง ให้มีความเชื่อมโยงกับระบบการควบคุมภายในเพื่อจัดการความเสี่ยงทั่วทั้งบริษัทฯ โดยได้พิจารณา สอบทานนโยบาย และแนวทางการบริหารความเสี่ยง รวมถึงความคืบหน้าของการบริหารความเสี่ยง ซึ่งบริษัทฯ อยู่ระหว่างการ พัฒนาระบบการบริหารความเสี่ยงให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น 6. สอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกันและการเปิดเผยข้อมูลของรายการดังกล่าว ตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งผู้สอบบัญชีมีความเห็นว่ารายการค้ากับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันที่มี สาระสำ�คัญได้เปิดเผยและแสดงรายการในงบการเงินและหมายเหตุประกอบการเงินแล้ว และคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็น สอดคล้องกับผู้สอบบัญชี รวมทั้งมีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็นรายการที่สมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อการดำ�เนิน ธุรกิจของบริษัทฯ รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องและครบถ้วน
25
7. พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีประจำ�ปี 2556 เพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ให้ขออนุมัติ จากที่ประชุมผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2556 ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาผลการปฏิบัติงาน ความเป็นอิสระ และความเหมาะสม ของค่าตอบแทนแล้ว เห็นควรเสนอแต่งตั้ง นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3844 หรือ นาย ณรงค์ พันตาวงษ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3315 หรือ นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3930 แห่งบริษัท สำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ประจำ�ปี 2556 พร้อมด้วยค่าตอบแทนเป็น จำ�นวนเงินไม่เกิน 1,380,000 บาท โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นเกี่ยวกับการเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีดังกล่าวดังนี้ ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา ผู้สอบบัญชีได้ปฏิบัติงานด้วยความรู้ความสามารถในวิชาชีพ และให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับระบบการควบคุม ภายในและความเสี่ยงต่าง ๆ รวมทั้งมีความเป็นอิสระในการปฏิบัติงาน มีการปฏิบัติสอดคล้องกับข้อกำ�หนดของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในเรื่องการกำ�หนดให้บริษัทจดทะเบียนต้องจัดให้มีการหมุนเวียนผู้สอบบัญชีที่ลงลายมือชื่อกำ�กับรับรองงบ การเงินทุก 5 รอบบัญชี ทั้งนี้หากผู้สอบบัญชีได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้สอบบัญชีประจำ�ปี 2556 จะเป็นปีที่ 3 ติดต่อกัน ผู้สอบบัญชีไม่มี ความสัมพันธ์ใด ๆ กับบริษัทฯและบริษัทย่อย
ความเห็น/ข้อสังเกตจากการปฏิบัติหน้าที่ โดยสรุปคณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ครบถ้วนตามที่ได้ระบุไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบที่ได้รับอนุมัติจากคณะ กรรมการบริษัทฯ และได้สอบทานรายการดังกล่าวข้างต้น และมีความเห็นว่า บริษัทฯมีการรายงานข้อมูลทางการเงินและการดำ�เนินงานอย่าง ถูกต้อง มีระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายในมีการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อกำ�หนดและข้อผูกพันต่าง ๆ มีการเปิดเผยรายการ ที่เกี่ยวโยงกันอย่างถูกต้อง และมีการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับหลักการกำ�กับดูแลที่ดีแล้ว
26
วันที่ 1 มีนาคม 2556 ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ
.............................................. นายกิตติ คชนันทน์ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
โครงสรางการถือหุนของบริษัท ไรมอน แลนด จํากัด (มหาชน) ในป 2555 บริษัท ไรมอน แลนด จํากัด (มหาชน) บริษัทยอยที่ดําเนินกิจการ ณ ปจจุบัน
11%
บริษัท คอนเท็มโพรารี่ พร็อพเพอรตี้ จํากัด พัฒนาโครงการเดอะล็อฟท เย็นอากาศ
บริษัท เดอะ ริเวอร จํากัด
บริษัทยอยที่ไมมีการประกอบกิจการ 98.59%
99.99%
88.99%
95%
บริษัท นอรทพอยท พีอารซี จํากัด
บริษัท ไรมอน แลนด แพลนเนอร จํากัด
99.99% 99.99%
บริษัท ตากสิน พร็อพเพอรตี้ส จํากัด พัฒนาโครงการเดอะริเวอร บริษัท ไรมอน แลนด รีสอรทส จํากัด เพื่อการลงทุนและบริการ
99.93%
99.99%
บริษัท ไรมอน แลนด ดีเวลลอปเมนท จํากัด พัฒนาโครงการ ซายร วงศอมาตย
99.99%
100%
99.99%
100%
บริษัท ไรมอน แลนด เรสซิเดนซ จํากัด
บริษัท ไรมอน แลนด พารค วิว ดีเวลลอปเมนส จํากัด
บริษัท ไรมอน แลนด สุขุมวิท จํากัด
(ค)
บริษัท ไรมอน แลนด (ง) ดีเวลลอปเมนท (สิงคโปร) จํากัด
บริษัท ไรมอน แลนด พร็อพเพอรตี้ส (สิงคโปร) จํากัด
(ง)
10.20% (ก)
บริษัท ไรมอน แลนด ยูนิกซ จํากัด พัฒนาโครงการ ยูนิกซ เซาท พัทยา
บริษัท ไรมอน แลนด เซอรวิสเซส จํากัด ธุรกิจบริการ
(ข)
บริษัท ไรมอน แลนด เอกมัย จํากัด เพื่อพัฒนาโครงการเดอะล็อฟท เอกมัย
89.80%
99.94%
99.99%
หมายเหตุ (ก) ในเดือนพฤษภาคม 2555 บริษัทฯไดลงทุนซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ไรมอน แลนด ยูนิกซ จํากัด เปนจํานวน 400,000 หุน มูลคาหุนละ100 บาทรวมเปนเงิน จํานวน 40 ลานบาท คิดเปนรอยละ 100 ของหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทดังกลาว ทําใหบริษัทฯมีสัดสวนการถือหุนทางตรงในบริษัทยอยดังกลาวเพิ่มจากรอยละ 49.0 เปนรอยละ 89.8 ของทุนจดทะเบียนของบริษัทยอยดังกลาว (ข) ในเดือนพฤศจิกายน 2555 บริษัทฯไดจัดตั้งบริษัท ไรมอน แลนด เอกมัย จํากัด โดยบริษัทฯถือหุนในสัดสวนรอยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนของบริษัทยอยดังกลาว (ค) ในเดือนธันวาคม 2555 บริษัทฯไดจัดตั้งบริษัท ไรมอน แลนด สุขุมวิท จํากัด โดยบริษัทฯถือหุนในสัดสวนรอยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนของบริษัทยอยดังกลาว (ง) ในเดือนกุมภาพันธ 2556 บริษัทฯไดจัดตั้งบริษัท ไรมอน แลนด ดีแวลลอปเมนท (สิงคโปร) และ บริษัท ไรมอน แลนด พรอพเพอรตี้ส (สิงคโปร) จํากัด ที่ประเทศ สิงคโปร โดยบริษัทฯถือหุนในสัดสวนรอยละ 100 ของทุนจดทะเบียนของบริษัทยอยดังกลาว
27
ขอมูลทั่วไปของบริษัทฯ บริษัทยอย และบริษัทอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ชื่อบริษัท (ทะเบียนบริษัท)
ที่อยู
ลักษณะธุรกิจ
ทุนจดทะเบียน (บาท)
ทุนชําระแลว (บาท)
สัดสวน การลงทุน
1)
อาคารเดอะมิลเลนเนีย ชั้น 22 หอง 2201-3 เลขที่ 62 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท: 66 (0) 2651 9601-4, 66 (0) 2651 9615-6 โทรสาร: 66 (0) 2651 9614 E-mail: info@raimonland.com Website: www.raimonland.com
พัฒนา อสังหาริมทรัพย
4,469,280,156
3,575,424,125
-
อาคารเดอะมิลเลนเนีย ชั้น 22 หอง 2201-3 เลขที่ 62 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท: 66 (0) 2651 9601-4, 66 (0) 2651 9615-6 โทรสาร: 66 (0) 2651 9614 อาคารเดอะมิลเลนเนีย ชั้น 22 หอง 2201-3 เลขที่ 62 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท: 66 (0) 2651 9601-4, 66 (0) 2651 9615-6 โทรสาร: 66 (0) 2651 9614
พัฒนา อสังหาริมทรัพย และ/หรือลงทุนใน บริษัทยอยเพื่อ พัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย พัฒนา อสังหาริมทรัพย
1,232,030,000
1,232,030,000
99.84%
375,000,000
375,000,000
99.84%
200,000,000
200,000,000
98.59%
บริษัท ไรมอน แลนด จํากัด (มหาชน) (0107536001508)
บริษัทยอย
28
1)
บริษัท เดอะ ริเวอร จํากัด (0105534045182)
2)
บริษัท ตากสิน พร็อพเพอรตี้ส จํากัด (0105530057879)
3)
บริษัท คอนเท็มโพรารี่ พร็อพเพอรตี้ จํากัด (0105526003476)
อาคารเดอะมิลเลนเนีย ชั้น 22 หอง 2201-3 เลขที่ 62 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท: 66 (0) 2651 9601-4, 66 (0) 2651 9615-6 โทรสาร: 66 (0) 2651 9614
การลงทุน และพัฒนา อสังหาริมทรัพย
4)
บริษัท ไรมอน แลนด รีสอรทส จํากัด (0105550123958)
การลงทุนและ บริการ
1,000,000
250,000
99.93%
5)
บริษัท ไรมอน แลนด แพลนเนอร จํากัด (0105543094441)
อาคารเดอะมิลเลนเนีย ชั้น 22 หอง 2201-3 เลขที่ 62 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท: 66 (0) 2651 9601-4, 66 (0) 2651 9615-6 โทรสาร: 66 (0) 2651 9614 อาคารเดอะมิลเลนเนีย ชั้น 22 หอง 2201-3 เลขที่ 62 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท: 66 (0) 2651 9601-4, 66 (0) 2651 9615-6 โทรสาร: 66 (0) 2651 9614
จัดทําแผนและ บริหารแผน ฟนฟูกิจการ
2,000,000
2,000,000
95.00%
6)
บริษัท ไรมอน แลนด พารค วิว ดีเวลลอปเมนส จํากัด (0105549121467)
อาคารเดอะมิลเลนเนีย ชั้น 22 หอง 2201-3 เลขที่ 62 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท: 66 (0) 2651 9601-4, 66 (0) 2651 9615-6 โทรสาร: 66 (0) 2651 9614
พัฒนา อสังหาริมทรัพย
100,000,000
100,000,000
99.99%
7)
บริษัท นอรทพอยท พีอารซี จํากัด (0105551107123)
อาคารเดอะมิลเลนเนีย ชั้น 22 หอง 2201-3 เลขที่ 62 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท: 66 (0) 2651 9601-4, 66 (0) 2651 9615-6 โทรสาร: 66 (0) 2651 9614
พัฒนา อสังหาริมทรัพย
10,000,000
2,500,000
99.99%
ชื่อบริษัท (ทะเบียนบริษัท)
ที่อยู
ลักษณะธุรกิจ
ทุนจดทะเบียน (บาท)
ทุนชําระแลว (บาท)
สัดสวน การลงทุน
8)
บริษัท ไรมอน แลนด ดีเวลลอปเมนท จํากัด (0105549013966)
อาคารเดอะมิลเลนเนีย ชั้น 22 หอง 2201-3 เลขที่ 62 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท: 66 (0) 2651 9601-4, 66 (0) 2651 9615-6 โทรสาร: 66 (0) 2651 9614
พัฒนา อสังหาริมทรัพย
500,000,000
500,000,000
99.99%
9)
บริษัท ไรมอน แลนด เรสซิเดนซ จํากัด (0105551069892)
อาคารเดอะมิลเลนเนีย ชั้น 22 หอง 2201-3 เลขที่ 62 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท: 66 (0) 2651 9601-4, 66 (0) 2651 9615-6 โทรสาร: 66 (0) 2651 9614
พัฒนา อสังหาริมทรัพย และ/หรือลงทุนใน บริษัทยอยเพื่อ พัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย
10,000,000
10,000,000
99.99%
10)
บริษัท ไรมอน แลนด ยูนิกซ จํากัด (0105551070491)
อาคารเดอะมิลเลนเนีย ชั้น 22 หอง 2201-3 เลขที่ 62 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท: 66 (0) 2651 9601-4, 66 (0) 2651 9615-6 โทรสาร: 66 (0) 2651 9614
พัฒนา อสังหาริมทรัพย
50,000,000
50,000,000
99.99%
11)
บริษัท ไรมอน แลนด เซอรวิสเซส จํากัด (0105553005034)
อาคารเดอะมิลเลนเนีย ชั้น 22 หอง 2201-3 เลขที่ 62 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท: 66 (0) 2651 9601-4, 66 (0) 2651 9615-6 โทรสาร: 66 (0) 2651 9614
พัฒนา อสังหาริมทรัพย และ/หรือ เพื่อการลงทุน และ/หรือเพื่อการ ดําเนินงาน
500,000
500,000
99.94%
12)
บริษัท ไรมอน แลนด เอกมัย จํากัด (0105555172779)
พัฒนา อสังหาริมทรัพย
10,000,000
5,000,000
99.99%
13)
บริษัท ไรมอน แลนด สุขุมวิท จํากัด (0105555182481)
พัฒนา อสังหาริมทรัพย
10,000,000
5,000,000
99.99%
14)
บริษัท ไรมอน แลนด ดีเวลลอปเมนท (สิงคโปร) จํากัด
อาคารเดอะมิลเลนเนีย ชั้น 22 หอง 2201-3 เลขที่ 62 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท: 66 (0) 2651 9601-4, 66 (0) 2651 9615-6 โทรสาร: 66 (0) 2651 9614 อาคารเดอะมิลเลนเนีย ชั้น 22 หอง 2201-3 เลขที่ 62 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท: 66 (0) 2651 9601-4, 66 (0) 2651 9615-6 โทรสาร: 66 (0) 2651 9614 1S Hoe Chiang Road, #19-01 Tower Fifteen Singapore (089316)
พัฒนา อสังหาริมทรัพย
2 ดอลลาร สิงคโปร
2 ดอลลาร สิงคโปร
100%
15)
บริษัท ไรมอน แลนด พร็อพเพอรตี้ส (สิงคโปร) จํากัด
1S Hoe Chiang Road, #19-01 Tower Fifteen Singapore (089316)
พัฒนา อสังหาริมทรัพย
2 ดอลลาร สิงคโปร
2 ดอลลาร สิงคโปร
100%
อาคารเลครัชดา ชั้น 33 เลขที่ 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท: 66 (0) 2264 0777 โทรสาร: 66 (0) 2264 0789-90 Website: www.ey.com
ผูสอบบัญชีของ บมจ. ไรมอน แลนด และบริษัทยอย
N/A
N/A
N/A
บริษัทอื่นๆ ที่เกี่ยวของ 1)
บริษัท เอินสท แอนด ยัง จํากัด
29
30
ชื่อบริษัท (ทะเบียนบริษัท)
ที่อยู
ลักษณะธุรกิจ
ทุนจดทะเบียน (บาท)
ทุนชําระแลว (บาท)
สัดสวน การลงทุน
2)
บริษัท อัลเลน แอนด โอเวอรี่ (ประเทศไทย) จํากัด
3)
บริษัท สํานักงานกฎหมาย กรุงเทพ จํากัด
4)
บริษัท สํานักงานกฎหมาย บรรจง แอนด วิทยา จํากัด
5)
บริษัทศูนยรับฝาก หลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด
อาคารสินธร 3 ชั้น 22 130-132 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท: 66 (0) 2263 7600 โทรสาร: 66 (0) 2263 7699 Website: www.allenovery.com อาคาร เอส เอส พี ทาวเวอร 3 ชั้น 19 88 ถนนสีลม แขวงสุริยวงศ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท: 66 (0) 2267 2460 โทรสาร: 66 (0) 2267 2464 Website: www.bangkokjurist.com อาคารวอลลสตรีททาวเวอร ชั้น 9 33/35, 33/39-40 ถนนสุรวงศ แขวงสุริยวงศ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท: 66 (0) 22361950, 66 (0) 22366163 โทรสาร: 66 (0) 2236 3916 Website: www.bcvidhya.com 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท: 66 (0) 2229-2800 โทรสาร: 66 (0) 2654-5427 TSD Call center: 0 2229-2888 Website: www.tsd.co.th
ที่ปรึกษากฎหมาย ของ บมจ. ไรมอน แลนด
N/A
N/A
N/A
ที่ปรึกษากฎหมาย ของ บมจ. ไรมอน แลนด
N/A
N/A
N/A
ที่ปรึกษากฎหมาย ของบริษัทยอย
N/A
N/A
N/A
นายทะเบียน หลักทรัพย กฎหมายของ บมจ. ไรมอน แลนด
N/A
N/A
N/A
ผูถือหุนและโครงสรางเงินลงทุน โครงสรางเงินทุนของบริษัท ไรมอน แลนด จํากัด (มหาชน) ประกอบดวยเงินลงทุนจากสวนของผูถือหุน และเงินทุนจากการกูยืม เงินทุนจากสวนของผูถือหุน (Equity Financing) หุนสามัญ (RML) เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2555 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2555 ของบริษัทฯ ไดมีมติในเรื่องดังตอไปนี้ ก) อนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯจํานวนไมเกิน 893,856,031 หนวย ใหแกผูถือหุนเดิมโดยไมคิดมูลคา ซึ่งใบสําคัญแสดงสิทธินี้มีอายุ 3 ป นับตั้งแตวันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ โดยใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวยมีสิทธิซื้อหุนสามัญได 1 หุน โดยมีราคาการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิเทากับ 2.75 บาท ข) อนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทฯจํานวน 1,218,894,587 บาท โดยการออกหุนสามัญจํานวน 1,218,894,587 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 1 บาท จากจํานวน 3,250,385,569 บาท (หุนสามัญ 3,250,385,569 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 1 บาท) เปน 4,469,280,156 บาท (หุนสามัญ 4,469,280,156 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 1 บาท) โดย อนุมัติการจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุน ดังนี้ - หุนสามัญจํานวน 325,038,556 หุน เพื่อเสนอขายใหแกบุคคลในวงจํากัด (Private Placement) - หุนสามัญจํานวนไมเกิน 893,856,031 หุน เพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่ จะซื้อหุนที่ออกใหม ซึ่งออกและเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมตามสัดสวน เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2555 ไดมีมติใหจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุน จํานวน 325,038,556 หุน ใหแกนักลงทุนระยะยาว 2 ราย ซึ่งเปนบุคคลในวงจํากัด ในราคาหุนละ 1.4058 บาทตอหุน คิดเปนเงินรวม 457 ลานบาท โดยแบงเปนทุนเรียกชําระแลวจํานวน 325 ลานบาทและสวนเกิน มูลคาหุนสามัญจํานวน 132 ลานบาท บริษัทฯไดจดทะเบียนเพิ่มทุนที่ชําระแลวเปนจํานวน 3,575 ลานบาท กับกระทรวงพาณิชย เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2555 ณ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีทุนจดทะเบียนเปนหุนสามัญทั้งหมด โดยมีรายละเอียดทุนจดทะเบียน และทุนที่ ออกจําหนายและชําระเแลวดังนี้ ทุนจดทะเบียนทั้งหมด (ลานหุน)* ทุนที่ออกจําหนายและชําระเต็มมูลคาแลวทั้งหมด (ลานหุน)
หมายเหตุ: * มูลคาที่ตราไว หุนละ 1 บาท
1 มกราคม 2555 3,250.4 3,250.4
31 ธันวาคม 2555 4,469.3 3,575.4
ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ (RML-W3) เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2555 บริษัทฯไดออกใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ (RML-W3) ของบริษัทฯ จํานวน 893,840,315 หนวย โดยมีอัตราการใชสิทธิที่ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย ตอ 1 หุนสามัญ ในราคา 2.75 บาทตอหุน กําหนดการใชสิทธิไดในวันทําการสุดทายของเดือนมีนาคม มิถุนายน กันยายน และธันวาคม โดยจะเริ่มใชสิทธิไดครั้งแรกในวันที่ 29 มิถุนายน 2555 และครั้งสุดทายในวันที่ 15 พฤษภาคม 2558
31
ในระหวางป 2555 ไมมีผูถือใบสําคัญแสดงสิทธิฯ มาใชสิทธิซื้อหุนสามัญโดยมีรายละเอียดดังนี้ จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ณ วันที่ 17 พฤษภาคม 2555 การใชสิทธิในป 2555 จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
จํานวน (หนวย) 893,840,315 893,840,315
ผูถือหุน รายชื่อผูถือหุนและสัดสวนการถือหุนรายใหญ 10 อันดับแรก ที่ปรากฏตามสมุดจดทะเบียนผูถือหุน ณ วันที่ 11 กุมภาพันธ 2556 รายชื่อผูถือหุน JS Asset Management Pte. Ltd. กองทุนเปด ไทยทวีทุน 2 บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด SOMERS (U.K.) LIMITED นายสุรชัย บุณยประทีปรัตน นายณรัตน สุขถิ่นไทย นายนริศ จิระวงศประภา นายณัฐพัฒน รังสรรค นายชวลิต พูนเพิ่มสุวรรณ นางวลัยพร สมภักดี
สัดสวนการถือหุน (%) 24.98% 6.99% 3.77% 2.74% 2.42% 1.25% 0.98% 0.98% 0.96% 0.86% 45.93%
รวม
เงินทุนจากการกูยืม (Debt Financing) เงินทุนจากการกูยืมเปนแหลงเงินทุนที่ใหญสูงสุดเปนอันดับสอง ซึ่งมีรายละเอียดดังแสดงในตารางตอไปนี้ ประเภทหนี้สิน เงินกูยืมระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เงินกูระยะยาวจากสถาบันการเงิน* รวมหนี้สินที่มีดอกเบี้ยทั้งหมด
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 250 5,971 6,221
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 30 6,607 6,637
หมายเหตุ * รวมเงินกูยืมที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป
นโยบายการจายเงินปนผล บริษัทฯ มีนโยบายจายเงินปนผลในรูปของเงินสดไมเกินรอยละ 50 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษีเงินไดและสํารอง ตามกฎหมาย เมื่อบริษัทฯ มีกําไรและไมมีผลขาดทุนสะสม สําหรับนโยบายจายเงินปนผลของบริษัทยอย ขึ้นอยูกับมติของที่ประชุมผูถือหุนของแตละบริษัทจะกําหนด
32
i p |i §m p Ô pj q }j k p ì© ì¦ }×ìq j }ì s ì|ì ì ì m ì
m| j j
m| j j ¡Ò Ò oi p |} o
m| j j ~ q
¢Ô~ q ¨
¥qÔ Ô Î ¡¥ Ö ¦ ¬ ¥ Ö} « o
¢Ô j Î vs ¦ j ¥p o r i o
¢Ô j Î j ¥p §m pj
¢Ô j Î { §m pj
¢Ô j Î j ¡mm
o ruÖ} i¡
¤p Ö| ¦l¤ Ö ¬
o ¡ Ö
p ¢Ô j Î p { ¡ j q¦ j ~ }
p ¢Ô j Î k
¨s ¤| Ö ¤ Ò
o p} o
33
คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท ไรมอน แลนด จํากัด (มหาชน) ณ วันที่ 4 กุมภาพันธ 2556 มี 9 ทาน ดังรายชื่อตอไปนี้ 1) นายประดิษฐ ภัทรประสิทธิ(1)์ ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ 2) นายลี เช เต็ก ไลโอเนล(1) กรรมการ (1) กรรมการ 3) นายตัน ชิน กวาง จอหนสัน (2) 4) นายลี เช เชง เอเดรียน กรรมการ กรรมการ 5) นางสาวนุช กัลยาวงศา(2) 6) นายเจสัน โกะ เซ็ง เหวย(2) กรรมการ (3) กรรมการ 7) นายโรแลนด ปง ซือ วุย 8) นายกิตติ คชนันทน กรรมการ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ 9) นายจิรวุฒิ คุวานันท กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ จํานวนครั้งที่เขารวมประชุมในรอบป 2555 ในป 2555 คณะกรรมการบริษัทฯ มีการประชุมทั้งสิ้น จํานวน 7 ครั้ง ซึ่งจํานวนครั้งที่กรรมการแตละทานเขารวม ประชุม มีรายละเอียดดังนี้ รายชื่อกรรมการ 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9)
นายสมโภชน อินทรานุกูล นายทาลาล เจ เอ็ม เอ อัล บาฮาร นายแวเนอร โยฮานเนส เบอรเกอร นายอูแบร โรมารี่ แบรตร็อง วิริออท นายนูแมน โมฮัมเหม็ด นูแมน โมฮัมเหม็ด นายโรแลนด ปง ซือ วุย นายกิตติ ตั้งศรีวงศ นายกิตติ คชนันทน นายจิรวุฒิ คุวานันท
จํานวนครั้ง ที่เขารวมประชุม 7 1 7 1 2 7 5 4
จํานวนครั้ง ที่ขาดประชุม 7 6 6 2 3
(1) นายลี เช เต็ก ไลโอเนล นายตัน ชิน กวาง จอหนสัน และนายประดิษฐ ภัทรประสิทธิ์ ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการใหมของบริษัทตามมติของที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2556 ประชุมเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ 2556 แทน นายทาลาล เจ เอ็ม เอ อัล บาฮาร นายแวเนอร โยฮานเนส เบอรเกอร และนายสมโภชน อินทรานุกูล ซึ่งลาออกจากการเปนกรรมการของบริษัท ตั้งแตวันที่ 1 กุมภาพันธ 2556 (2) นายเจสัน โกะ เช็ง เหวย นายลี เช เชง เอเดรียน และนางสาวนุช กัลยาวงศา ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการใหมของบริษัทตามมติของที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัท ครั้งที่ 4/2556 ประชุมเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ 2556 แทน นายกิตติ ตั้งศรีวงศ และนายอูแบร โรมารี่ แบรตร็อง วิริออท และรับทราบการลาออกจาก การเปนกรรมการของนายนูแมน โมฮัมเหม็ด นูแมน โมฮัมเหม็ด ซึ่งลาออกจากการเปนกรรมการของบริษัท ตั้งแตวันที่ 4 กุมภาพันธ 2556 (3) นายโรแลนด ปง ซือ วุย ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการใหมของบริษัทตามมติของที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2555 ประชุมเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2555 แทน นายเปยแรส อัลวาเรซ ซึ่งลาออกจากการเปนกรรมการของบริษัท ตั้งแตวันที่ 16 พฤษภาคม 2555
อํานาจกรรมการและขอจํากัดอํานาจกรรมการ นาย ลี เช เต็ก ไลโอเนล นายตัน ชิน กวาง จอหนสัน นายลี เช เชง เอเดรียน นายเจสัน โกะ เซ็ง เหวย และนางสาวนุช กัลยาวงศา กรรมการสองในหาคน ลงลายมือชื่อรวมกันและประทับตราสําคัญของบริษัทฯ ขอบเขตอํานาจหนาที่ของกรรมการบริษัทฯ กรรมการของบริษัทฯ ตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎระเบียบ ขอกฎหมาย วัตถุประสงคการดําเนินงาน และ ขอบังคับบริษัทฯ ตลอดจนมติที่ประชุมผูถือหุน ดวยความซื่อสัตยสุจริต โดยหามมิใหกรรมการบริษัทฯ ประกอบ กิจการ เขาเปนหุนสวน เขาเปนผูถือหุน หรือเปนกรรมการในนิติบุคคลอื่นที่มีลักษณะธุรกิจอยางเดียวกัน และ เปนการแขงขันกับกิจการของบริษัทฯ เวนแตจะแจงใหที่ประชุมผูถือหุนทราบกอนที่จะมีมติแตงตั้ง หากกรรมการ มีสวนไดเสียไมวาโดยทางตรงหรือโดยทางออมในสัญญาใดๆ ที่ทํากับบริษัทฯ หรือไดมีการถือหุนหรือถือหุนกู ในจํานวนที่เพิ่มขึ้น หรือลดลงในบริษัทฯ หรือบริษัทในเครือ ทั้งนี้ กรรมการตองแจงใหบริษัทฯ ทราบโดยไมลาชา 34
คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารของบริษัทฯ ประกอบดวย ในปจจุบันอยูระหวางการจัดตั้งคณะกรรมการบริหาร ขอบเขตอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร 1) มีอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบในการบริหารงานในเรื่องเกี่ยวกับการดําเนินงานตามธุรกิจปกติและงาน บริหารของบริษัทฯ 2) กําหนดนโยบาย แผนธุรกิจ งบประมาณ โครงสรางการบริหารงาน และอํานาจการบริหารตางๆ 3) เสนอแนวทางในการดําเนินธุรกิจใหสอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจ เพื่อใหคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณา 4) ตรวจสอบและติดตามผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ตามนโยบายที่กําหนดไว ทั้งนี้ อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหารจะไมรวมถึงการอนุมัติรายการใดที่อาจมีความขัดแยง หรือรายการใด ที่คณะกรรมการบริหารหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรือผลประโยชนในลักษณะอื่นใดที่ขัดแยง กับบริษัทฯ หรือบริษัทยอยตามกฎเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งการอนุมัติรายการในลักษณะ ดังกลาวจะตองเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ เพื่อพิจารณา อนุมัติรายการดังกลาวตามขอบังคับของบริษัทฯ หรือตามกฎหมายที่เกี่ยวของกําหนดไว
คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ประกอบดวย 1) นายกิตติ คชนันทน ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2) นายจิรวุฒิ คุวานันท กรรมการตรวจสอบ 3) นายประดิษฐ ภัทรประสิทธิ์ กรรมการตรวจสอบ (มีความรูทางดานบัญชี) ขอบเขตอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1) สอบทานและพิจารณารวมกับผูสอบบัญชีและ/หรือฝายจัดการ เพื่อยืนยันถึงความมีประสิทธิผล และความ เพียงพอของระบบควบคุมภายใน และมาตรฐานการปฏิบัติงานของการตรวจสอบภายใน 2) สอบทานงบการเงินเพื่อใหบริษัทฯ มีรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเปดเผยอยางเพียงพอ กอนที่จะ นําสงใหหนวยงานกํากับดูแล 3) สอบทานการปฏิบัติงานของบริษัทฯ ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยหรือ กฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ 4) พิจารณาเปดเผยขอมูลในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนให ถูกตองครบถวนตามกฎระเบียบตางๆ 5) จัดทํารายงานการสอบทานกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ และเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัทฯ รวมทั้งใหความเห็นเกี่ยวกับกระบวนการจัดทําและการเปดเผยขอมูลในรายงานทางการเงิน และความเห็น เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ โดยประธานกรรมการตรวจสอบเปนผูลงนาม 6) เสนอรายชื่อผูสอบบัญชีแกคณะกรรมการบริษัทฯ และผลตอบแทนในการสอบบัญชีของแตละป เพื่อขอรับ การแตงตั้งจากที่ประชุมใหญผูถือหุน และเปนผูสอบทานและประเมินผลการปฏิบัติงานของผูสอบบัญชี 7) รายงานการดําเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบใหคณะกรรมการบริษัทฯ ทราบอยางนอยไตรมาสละ 1 ครั้ง 8) รวมใหความเห็นในการพิจารณา แตงตั้ง ถอดถอน และพิจารณาผลงานของผูตรวจสอบภายใน 9) ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายและคณะกรรมการตรวจสอบเห็นชอบดวย ระยะเวลาในการดํารงตําแหนงคราวละ 4 ป ในกรณีที่ตําแหนงกรรมการตรวจสอบวางลง เพราะเหตุอื่นนอกจาก ถึงกําหนดออกตามวาระ ใหคณะกรรมการบริษัทฯ แตงตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถวนเขาเปนกรรมการตรวจสอบ แทน โดยบุคคลที่เขาเปนกรรมการตรวจสอบแทนจะอยูในตําแหนงไดเพียงวาระที่เหลืออยูของกรรมการตรวจสอบ ซึ่งตนเขาดํารงตําแหนงแทนนั้น 35
ผูบริหาร รายชื่อผูบริหารบริษัทฯ 1) 2) 3) 4) 5)
นายอูแบร โรมารี่ แบรตร็อง วิริออท นางสาวนุช กัลยาวงศา นางสาวลมัย พิชญตระกูล นายเจรารด โคเนอร ฮิลลี่ นางวัลลภา พูลทรัพย
ประธานเจาหนาที่ฝายบริหาร กรรมการ และผูอํานวยการฝายบัญชีและการเงิน ผูอํานวยการฝายการเงินโครงการ ผูอํานวยการฝายพัฒนาโครงการ ผูอํานวยการฝายทรัพยากรบุคคล
ขอบเขตอํานาจหนาที่ของประธานเจาหนาที่ฝายบริหาร ตามมติที่ประชุมของคณะกรรมการของ บริษัทฯ ครั้งที่ 9/2549 ของบริษัท ไรมอน แลนด จํากัด (มหาชน) ในวันที่ 11 สิงหาคม 2549 ไดมีการพิจารณากําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่ของประธานเจาหนาที่ฝายบริหารของบริษัทฯ ไว ดังนี้ ประธานเจาหนาที่ฝายบริหารมีขอบเขตการดําเนินงานตามธุรกิจปกติ ในเรื่องของการอนุมัติงบประมาณลงทุน คาใชจาย ในการดําเนินงาน การซื้อสินทรัพยถาวร การขายสินคาคงเหลือ และการดําเนินการอื่นๆ รวมถึงมีอํานาจในการ กระจายอํานาจในการบริหารใหแกผูรับผิดชอบงานบริหารของบริษัทฯ ในลําดับถัดไป ซึ่งไดผานการเห็นชอบจาก คณะกรรมการของบริษัทฯ อยางไรก็ตาม อํานาจในการบริหารงานและการมอบอํานาจดังกลาวขางตนจะไมรวมถึง การบริหารงานและการมอบอํานาจ ที่ทําใหประธานเจาหนาที่ฝายบริหารและผูรับมอบอํานาจสามารถอนุมัติรายการที่ ประธานเจาหนาที่ฝายบริหารและผูรับมอบอํานาจหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดสวนเสียหรืออาจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชนในลักษณะอื่นกับบริษัทฯ และ/หรือบริษัทยอย
การสรรหากรรมการและผูบริหาร การสรรหาคณะกรรมการบริษัทฯ การแตงตั้งกรรมการของบริษัทฯ จะตองไดรับการอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน เวนแตกรณีที่ตําแหนงกรรมการ วางลงดวยเหตุอื่นนอกเหนือจากการครบกําหนดตามวาระ ใหคณะกรรมการบริษัทฯ เปนผูพิจารณาและอนุมัติ บุคคลเขาดํารงตําแหนงกรรมการแทน ทั้งนี้ บุคคลจะที่เขาเปนกรรมการแทน จะดํารงตําแหนงไดเพียงวาระ ที่เหลืออยูของกรรมการซึ่งตนเขาดํารงตําแหนงแทนนั้น การคัดสรรบุคคลที่จะเขาดํารงตําแหนงเปนกรรมการบริษัทฯ ไมจําเปนตองผานขั้นตอนของคณะกรรมการ สรรหา (Nominating Committee) ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ มีหนาที่ในการพิจารณาคัดเลือกบุคคลผูมีคุณวุฒิ ความรู ความสามารถ และประสบการณที่เกี่ยวของ รวมทั้งมีคุณสมบัติครบถวน โดยไมมีลักษณะตองหาม ตามกฎหมายวาดวยบริษัทมหาชนจํากัดและประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ทั้งนี้ หลักเกณฑและวิธีการในการคัดสรรหากรรมการของบริษัทฯ สามารถสรุปได ดังนี้ ตามขอบังคับของบริษัทฯ หมวดที่ 4 เรื่องคณะกรรมการ กําหนดใหคณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบดวย กรรมการจํานวนไมนอยกวา 5 ทาน และกรรมการไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดตองมีถิ่นที่อยู ในราชอาณาจักร การเลือกตั้งกรรมการของบริษัทฯ ใหกระทําโดยที่ประชุมผูถือหุน ทั้งนี้ ใหกระทําตามหลักเกณฑ และวิธีการ ดังตอไปนี้ 1) ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียง เทากับ 1 หุน ตอ 1 เสียง 2) ในการเลือกกรรมการ อาจใชวิธีออกเสียงลงคะแนนเลือกกรรมการเปนรายบุคคลคราวละคนหรือคราวละ หลายๆ คนตามแตที่ประชุมผูถือหุนจะเห็นสมควร แตในการลงมติแตละครั้ง ผูถือหุนตองออกเสียงดวย คะแนนที่มีตามขอ 1 ทั้งหมดจะแบงคะแนนเสียงแกคนใดมากนอยเพียงใดไมได (ลงคะแนนแบบ Non-Cumulative Voting เทานั้น) 36
3) ในการออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการใหใชเสียงขางมาก หากมีคะแนนเสียงเทากัน ใหผูเปนประธาน ที่ประชุมเปนผูออกเสียงชี้ขาด 4) ในการประชุมสามัญประจําปทุกครั้ง ใหกรรมการออกจากตําแหนง 1 ใน 3 เปนอัตรา ถาจํานวนกรรมการ ที่จะแบงออกใหตรงเปน 3 สวนไมไดก็ใหออกโดยจํานวนใกลกับสวน 1 ใน 3 กรรมการผูออกจากตําแหนง ตามขอนี้จะเลือกตั้งใหเขารับตําแหนงอีกก็ได 5) กรรมการที่จะตองออกจากตําแหนงในปแรก และปที่ 2 ภายหลังจดทะเบียนแปรสภาพเปนบริษัทมหาชน ใหจับสลากกันวาผูใดจะออก สวนปหลังๆ ตอไปใหกรรมการคนที่อยูในตําแหนงนานที่สุดนั้น เปนผูออกจาก ตําแหนง นอกจากการพนตําแหนงตามวาระแลว กรรมการพนจากตําแหนงเมื่อ ก. ตาย ข. ลาออก ค. ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามกฎหมายวาดวยบริษัทมหาชนจํากัด ง. ที่ประชุมผูถือหุนลงมติใหออก จ. ศาลมีคําสั่งใหออก 6) เมื่อกรรมการคนใดจะลาออกจากตําแหนงใหยื่นใบลาออกตอบริษัทฯ ทั้งนี้ การลาออกมีผลนับแตวันที่ ใบลาออกไปถึงบริษัทฯ และกรรมการซึ่งลาออกจะแจงการลาออกของตนใหที่นายทะเบียนทราบดวยก็ได การสรรหากรรมการอิสระ บริษัทฯ ไดตระหนักถึงความสําคัญของคณะกรรมการอิสระ ซึ่งจะทําหนาที่ตรวจสอบและดูแลการทํางานของ คณะกรรมการบริหารใหมีความโปรงใส ภายใตระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสม และเปนไปตามกฎหมายและ ระเบียบขอบังคับของหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพในการทํางานของบริษัทฯ ใหดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ ผูที่จะดํารงตําแหนงคณะกรรมการอิสระจะตองเปนผูทรงคุณวุฒิที่มีความรู ความสามารถ และประสบการณดาน ตางๆ ซึ่งบริษัทฯ ไดกําหนดหลักเกณฑการคัดเลือกคณะกรรมการอิสระ โดยคณะกรรมการบริษัทฯ จะแตงตั้ง คณะกรรมการยอยที่จะเสนอรายชื่อผูที่มีคุณสมบัติเหมาะสม และนําเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณา เมื่อไดบคุ คลที่สรรหาแลว จึงนําเสนอรายชื่อเสนอตอที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาแตงตั้งตามหลักเกณฑที่ กําหนดในขอบังคับของบริษัทฯ ตอไป โดยผูที่จะเขาดํารงตําแหนงกรรมการอิสระของบริษัทฯ ตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1) ตองถือหุนของบริษัทฯ นอยกวารอยละ 1 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด 2) ตองไมมีสวนรวมในการบริหารงาน ไมเปนลูกจาง พนักงาน หรือที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือนประจํา หรือเปน ผูมีอํานาจควบคุมบริษัทฯ บริษัทในเครือ บริษัทรวม หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยตองไมมีผลประโยชน หรือสวนไดเสียในลักษณะดังกลาวมาแลวเปนเวลาไมนอยกวา 2 ป ตลอดจนไมเปนผูมีนิติสัมพันธกับบุคคล ที่ใหการปรึกษาทางดานกฎหมาย หรือผูสอบบัญชีแกบริษัทฯ หรือบริษัทในเครือดวย 3) ตองไมมีความสัมพันธทางธุรกิจ ทั้งในดานการเงินและบริหารงานของบริษัทฯ บริษัทในเครือ บริษัทรวม หรือ บุคคลที่อาจมีความขัดแยงคิดเปนจํานวนมากกวาหรือเทากับรอยละ 3 ของสินทรัพยที่มีตัวตนสุทธิ (Net Tangible Assets) ทั้งนี้ หมายรวมถึงการไมเปนลูกคา ผูจัดหาวัตถุดิบ เจาหนี้/ลูกหนี้การคา เจาหนี้/ลูกหนี้ เงินใหกูยืม โดยไมมีผลประโยชนหรือสวนไดเสียใดๆ กับทางบริษัทฯ 4) ไมเปนญาติสนิทกับผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ บริษัทในเครือ บริษัทรวม หรือบุคคลที่อาจมี ความขัดแยง และไมสามารถไดรับการแตงตั้งใหเปนตัวแทน เพื่อรักษาผลประโยชนกรรมการหรือผูถือหุน รายใหญ
37
คาตอบแทนผูบริหาร คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน คาตอบแทนในตําแหนงกรรมการบริษัทฯ รายชื่อกรรมการ 1) นายสมโภชน อินทรานุกูล 2) นายกิตติ คชนันทน รวม
คาตอบแทนป 2555 (บาท) 2,210,000 1,040,000 3,250,000
รวม
คาตอบแทนป 2555 (บาท) 43,252,915 34,174,230 14,781,686 1,805,828 94,014,659
คาตอบแทนผูบริหาร ลักษณะคาตอบแทน เงินเดือน โบนัส โครงการสะสมหุนสําหรับพนักงาน เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ
สรุปขอมูลเกี่ยวกับโครงการสะสมหุนสําหรับพนักงาน (Employee Joint Investment Program: “EJIP”)
เงินลงทุนของพนักงาน
เงินสมทบของบริษัท
แบงเงินเดือนบางสวนซื้อหุนบริษัท เปนประจำทุกงวด (ตามความสมัครใจ)
สบทบเงินใหพนักงานเพ อซื้อหุน ของบริษัทเปนประจำทุกงวด
ตัวแทนดำเนินการ บริษัทหลักทรัพยเปนตัวแทนดำเนินการ... • ซื้อหุนของบริษัทในแตละงวด ตามที่กำหนด • จัดสรรหุนที่ซื้อในแตละงวดลงในบัญชีของพนักงานแตละคน วัตถุประสงคของโครงการ Employee Joint Investment Program (EJIP) เปนโครงการสําหรับพนักงาน ผูบริหาร และกรรมการ ของบริษัทจดทะเบียนที่มีการทยอยลงทุนในหุนของบริษัทจดทะเบียนที่ตนทํางานอยู โดยลงทุนเปนรายงวด สม่ําเสมอ ดวยหลักการเฉลี่ยตนทุน (Dollar Cost Average) และสมัครเขารวมโครงการตามความสมัครใจ EJIP เปนรูปแบบหนึ่งของการใหผลตอบแทนแกพนักงาน ผูบริหาร และกรรมการของบริษัทฯ โดยสรางความรูสึกมีสวนรวมใหแกพนักงาน ผูบริหาร และกรรมการในความเปนเจาของบริษัท (Ownership) และเปนแรงจูงใจใหเกิความจงรักภักดีกับองคกรและรวมทํางานกับบริษัทฯ ในระยะยาว (Long-term incentives) 38
วันที่คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติใหดําเนินโครงการ EJIP อายุโครงการ บริษัทที่เขารวมโครงการ คุณสมบัติผูเขารวมโครงการ อัตราการจาย กําหนดการซื้อหุน เงื่อนไขการถือครอง (Silent period)
ตัวแทนดําเนินการ ผลประโยชนในหลักทรัพย
ภาษีที่เกี่ยวของ
13 พฤษภาคม 2554 และ 27 มกราคม 2555 4 ป 3 เดือน บมจ. ไรมอน แลนด ผูบริหารที่ไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ 50 : 50 (บริษัท : พนักงาน) ทุกเดือนตามวันที่บริษัทกําหนดไวแนนอน - หามขายในปแรก - ขึ้นปที่ 2 ขายได รอยละ 20 (ยกเวนประธานเจาหนาที่บริหารไมสามารถขายได) - ขึ้นปที่ 3 ขายได รอยละ 30 - ขึ้นปที่ 4 ขายได รอยละ 30 - ขึ้นปที่ 5 ขายได รอยละ 20 (ยกเวนประธานเจาหนาที่บริหารสามารถขายไดรอยละ 40) บริษัท หลักทรัพย ฟลลิป (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) - เงินปนผล จะตกกับผูบริหารในฐานะเจาของหลักทรัพยโดยตรง - ผลประโยชนในดานราคา (Capital gain) จะตกแกผูบริหาร เมื่อผูบริหารมีสิทธิขายหลักทรัพย - ผูบริหารสามารถใชสิทธิอื่นๆ ในหุนที่ถือครอง เชน สิทธิในการจองซื้อหุนเพิ่มทุน (Right issue) ใบสําคัญแสดงสิทธิ (Warrant) การเขารวมประชุมผูถือหุน (Shareholders’ Meeting) - ผูบริหารที่เขารวมโครงการตองเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาสําหรับจํานวนที่บริษัทสมทบให - บริษัทสามารถหักลดหยอนภาษีเงินไดนิติบุคคลจากจํานวนเงินที่สมทบใหกับผูบริหารได
นโยบายการกํากับดูแลกิจการ บริษัท ไรมอน แลนด จํากัด (มหาชน) ไดกําหนดนโยบายการบริหารงานใหมีการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) ซึ่งเปนไปตามแนวทางของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยยึดหลักการบริหารงานดวยความ โปรงใส (Transparency) ความซื่อสัตย (Integrity) มีความรับผิดชอบตอผลการปฏิบัติงานตามหนาที่ (Accountability) เพื่อการดําเนินกิจการใหเปนไปตามมาตรฐานสากล โดยบริษัทฯ ไดจัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิจํานวน 3 ทาน เพื่อทําหนาที่ตรวจสอบและดูแลการทํางานของคณะกรรมการบริหารอยางเปนอิสระ พรอมทั้งไดแตงตั้งผูตรวจสอบภายในขึ้นตั้งแตปลายป 2546 เพื่อรองรับการกํากับดูแลกิจการที่ดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ โครงสราง ของคณะกรรมการตรวจสอบและผูตรวจสอบภายใน มีความเปนอิสระจากคณะกรรมการบริหารของ บริษัทฯ นอกจากนี้ คณะกรรมการของบริษัทฯ ไดใหคํามั่นที่จะปฏิบัติตามขอพึงปฏิบัติที่ดี สําหรับกรรมการบริษัท จดทะเบียน (Code of Best Practice for Directors of Listed Companies) และหลักเกณฑในการปฏิบัติ ตามหลักการกํากับ ดูแลที่ดี 5 ขอ (Principle of Good Corporate Governance) ประจําป 2546 ดังรายละเอียด ตอไปนี้ 1)
สิทธิของผูถือหุน คณะกรรมการบริษัทฯ เห็นวานโยบายและวิธีการกํากับดูแลกิจการที่ดี เปนสิ่งสําคัญยิ่งตอการดําเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ และตอผูลงทุน คณะกรรมการบริษัทฯ จึงกําหนดนโยบายและขั้นตอนการปฏิบัติงาน เพื่อรองรับการบริหารงานใหเปนไปดวยความโปรงใส ภายใตกรอบกฎหมายและจริยธรรมทางธุรกิจ เพื่อกอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอผูถือหุน และไมใหเกิดปญหาความขัดแยงทางผลประโยชน ควบคุม บริหารความเสี่ยงใหเหมาะสม รวมทั้งมีการสอบทานระบบการตรวจสอบภายในโดยกรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ ไรมอน แลนด ไดมีการเปดเผยขาวสารขอมูลปจจุบันสูสาธารณะผานทางประวัติบริษัทฯ (Corporate Profile) เว็บไซตของบริษัทฯ และจดหมายขาวบริษัทฯ ทั้งในรูปแบบภาษาไทยและภาษาอังกฤษ นอกจากนี้ ในการประชุมผูถือหุนทุกครั้ง ผูถือหุนจะไดรับหนังสือเชิญประชุม แสดงวัน เวลา และสถานที่จัดการประชุม พรอมทั้งรายละเอียดขอมูลประกอบการประชุมเปนเวลาลวงหนาไมนอยกวา 7 วันกอนการประชุม นอกจากนี้ จะมีการแนบความเห็นของคณะกรรมการบริษัทฯ ในแตละระเบียบ วาระประกอบดวย เพื่อใหผูถือหุนไดรับขอมูลที่เพียงพอและทันตอเวลาในการตัดสินใจสําหรับการ ประชุมที่จัดขึ้นในแตละครั้ง 39
2)
การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน
ผูถือหุนทุกรายมีสิทธิในการเขารวมประชุม และออกเสียงอยางเทาเทียมกันตามขอบังคับของบริษัทฯ ในกรณีที่ผูถือหุนไมสามารถเขารวมประชุมไดดวยตนเอง ผูถือหุนสามารถมอบฉันทะใหผูรับมอบฉันทะ เขารวมประชุมแทนได โดยบริษัทฯ ไดเสนอทางเลือกเพิ่มเติมใหผูถือหุนสามารถมอบฉันทะในการแสดง ความคิดเห็นใหแกกรรมการอิสระของบริษัทฯ ได ทั้งนี้ ผูถือหุนทุกรายจะไดรับการดูแลอยางเทาเทียม กันในสิทธิตางๆ ที่ผูถือหุนพึงไดรับ
ประธานการประชุมผูถือหุนจะเปดโอกาสใหผูถือหุนแสดงความคิดเห็น และเสนอขอซักถาม ที่เกี่ยวเนื่อง กับระเบียบวาระการประชุมนั้นๆ หรือเกี่ยวกับบริษัทฯ โดยรวม
คณะกรรมการบริษัทฯ จะเปดโอกาสใหผูถือหุนออกเสียงเลือกตั้งกรรมการเปนรายบุคคล
คณะกรรมการบริษัทฯ จะใชบัตรเลือกตั้งในระเบียบวาระการประชุมสําคัญ เชน การเลือกตั้งกรรมการ การทํารายการเกี่ยวโยงระหวางกัน การเขาซื้อกิจการ การขายสินทรัพยสําคัญ เปนตน
3)
บทบาทของผูมีสวนไดเสีย
บริษัทฯ ใหความสําคัญตอสิทธิของผูมีสวนไดเสียที่เกี่ยวของกับบริษัทฯ ทุกกลุม อาทิเชน พนักงาน ผูบริหาร ผูจัดหาวัตถุดิบ เจาหนี้ ลูกคา ผูรวมทุน ผูสอบบัญชี ตลอดจนชุมชนและภาครัฐ เมื่อมี เหตุการณใดที่เกี่ยวของกับสิทธิของผูมีสวนเกี่ยวของขางตน บริษัทฯ จะคํานึงถึงความเปนธรรมแก ทุกฝายภายใตกรอบของกฎหมายและกฎเกณฑของหนวยงานที่เกี่ยวของ
คณะกรรมการบริษัทฯ ไดกําหนดนโยบายการดําเนินงานอยางเปนธรรมแกผูมีสวนไดเสียในแตละฝาย โดยมีวัตถุประสงคในการนําไปสูการปฏิบัติและการวัดผลอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อเปนการปองกัน มิใหมีการละเมิดสิทธิของผูมีสวนไดเสีย รวมทั้งกําหนดมาตรการในการชดเชยกรณีที่มีการละเมิดสิทธิ ทางกฎหมายของผูมีสวนไดเสียทุกราย
4)
40
ไรมอน แลนด ตระหนักถึงสิทธิของผูถือหุนในการเขาถึงขอมูล และการเปดโอกาสใหผูถือหุนซักถาม แสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะ จึงไดจัดใหมีตัวแทนจากคณะกรรมการบริหาร ฝายจัดการ กรรมการ ตรวจสอบ และผูสอบบัญชี เขารวมในการประชุมแตละครั้ง โดยทางบริษัทฯ จะดําเนินการบันทึกการ ประชุมใหถูกตองครบถวน ใหผูถือหุนสามารถตรวจสอบได และจะจัดสงสําเนารายงานการประชุมผูถือหุน ในแตละครั้งตอตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยภายใน 14 วัน นับแตวันประชุมผูถือหุน ทั้งนี้ รายงาน การประชุมผูถือหุนจะถูกนําเสนอใหที่ประชุมผูถือหุนพิจารณารับรองในการประชุมผูถือหุนครั้งตอไป
ความโปรงใสของการเปดเผยขอมูล
บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญของการเปดเผยขอมูลที่มีความถูกตองแมนยํา ครบถวน โปรงใส และ รวดเร็ว ทั้งในสวนของขอมูลดานการเงินและขอมูลทั่วไป ตลอดจนขอมูลอื่นๆ ที่อาจสงผลกระทบตอ ราคาหลักทรัพยของบริษัทฯ ทั้งนี้บริษัทฯ ไดจัดตั้งงานดานนักลงทุนสัมพันธ (Investor Relation) เพื่อการดําเนินงานดานการสื่อสารตอนักลงทุน เพื่อเปนการรับรองการเปดเผยขอมูลที่สมบูรณ โปรงใส และทันเวลาสําหรับ นักลงทุน
คณะกรรมการบริษัทฯ เปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองแมนยําของงบการเงินและงบการเงินรวม ของบริษัทฯ และบริษัทยอย รวมทั้งสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจําป ซึ่งจัดทําขึ้น ตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย ทั้งนี้ การจัดทํางบการเงินตองใชดุลยพินิจและ ประมาณการดวยความระมัดระวังอยางถี่ถวน เพื่อเปนการรับรองการเปดเผยขอมูลสําคัญในรายละเอียด ประกอบงบการเงินที่เพียงพอและเหมาะสม
คณะกรรมการบริษัทฯ ไดจัดเตรียมระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ ในการยืนยันวาการบันทึก ขอมูลทางการเงินมีความถูกตองแมนยํา สมบูรณ และเพียงพอที่จะดํารงรักษาไวซึ่งทรัพยสิน และชวยใน การระบุจุดออน เพื่อใหทราบถึงมาตรการปองกันการทุจริตหรือการดําเนินงานที่ผิดปกติอยางมีนัยสําคัญ
คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเห็นวา ระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ โดยรวมอยูในระดับที่นาพอใจ ซึ่งเปนการยืนยันความนาเชื่อถือของงบการเงินของบริษัทฯและบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
บริษัทฯ ไดกําหนดคาตอบแทนกรรมการอยางชัดเจน โปรงใส และเหมาะสม โดยมีการศึกษาเทียบเคียง กับคาตอบแทนของบริษัทอื่นๆ ในอุตสาหกรรมเดียวกัน ทั้งนี้ คาตอบแทนกรรมการจะตองไดรับการ อนุมัติโดยผูถือหุนในการประชุมผูถือหุน สวนคาตอบแทนผูบริหารจะตองไดรับการอนุมัติจาก คณะกรรมการ หรือคณะกรรมการบริหารบริษัทฯ ซึ่งจะนําผลการดําเนินงานและความสําเร็จของ ผูบริหารมาพิจารณาดวย
5)
ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบดวยกรรมการ 9 ทาน ไดแก กรรมการ กรรมการอิสระ
จํานวน 6 ทาน จํานวน 3 ทาน
คณะกรรมการอิสระ ประกอบดวย ประธานกรรมการและกรรมการตรวจสอบจํานวน 2 ทาน รวมทั้งหมด 3 ทาน รวมแลวคิดเปนจํานวนไมนอยกวา 1 ใน 3 ของคณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งนับวาเหมาะสม โดย คณะกรรมการอิสระ/คณะกรรมการตรวจสอบไดรับการสนับสนุนใหแสดงความคิดเห็น และทบทวน การดําเนินงานและสอบทานรายการทางธุรกิจอยางอิสระ ตลอดจนมีสวนรวมในการประเมินผลระบบ การตรวจสอบ และระบบการควบคุมภายในของทางบริษัทฯ บริษัทฯ มีแผนการกําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการ บริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ และประธานเจาหนาที่ฝายบริหารไวอยางชัดเจน นอกจากนี้ ประธานกรรมการยังดํารงตําแหนงเปนกรรมการอิสระ ไมมีความสัมพันธกับผูบริหาร มิไดเปนตัวแทน ผูถือหุนรายใหญ และมิไดเปนบุคคลเดียวกันกับประธานเจาหนาที่ฝายบริหาร
กรรมการของ ไรมอน แลนด จะปฏิบัติหนาที่โดยคํานึงถึงผลประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ ผูมีสวนไดเสีย และผูถือหุน ดังแสดงในรายละเอียดตอไปนี้ 1) ทบทวนและอนุมัติในประเด็นสําคัญของการดําเนินธุรกิจ เชน วิสัยทัศนและพันธกิจ กลยุทธ ทางธุรกิจ เปาหมายดานการเงิน ความเสี่ยง และแผนปฏิบัติงานหลักของบริษัทฯ 2) ติดตามการดําเนินงานที่นําไปสูการปฏิบัติของผูบริหาร เพื่อเปนการรับรองประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล 3) ระบุและอนุมัตินโยบายการกํากับดูแลกิจการ และทบทวนนโยบายดังกลาวใหมีความ สอดคลองกันอยางสม่ําเสมออยางนอยปละ 1 ครั้ง 4) รับรองระบบควบคุมภายใน รวมไปถึงการควบคุมดานการเงิน การปฏิบัติใหสอดคลองกับ นโยบาย และทบทวนระบบอยางนอยปละ 1 ครั้ง
การกํากับดูแลดานการใชขอมูลภายใน บริษัทฯ ไดตระหนักถึงความสําคัญของการปองกันขอมูลภายในของบริษัทฯ จึงไดกําหนดนโยบายและวิธีการ ดูแลผูบริหารเพื่อมิใหมีการนําขอมูลภายในของบริษัทฯ ไปใชเพื่อเปนประโยชนสวนตน โดยมีมาตรการลงโทษ ตามกฎหมายที่เกี่ยวของ รวมถึงการดําเนินคดีทางอาญา นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดจํากัดการเขาถึงขอมูลของผูบริหาร และเจาหนาที่ใหอยูในวงจํากัด เพื่อเปนการยืนยันไมใหผูบริหารและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทําการซื้อขายหลักทรัพย ของบริษัทฯ และ/หรือนําขอมูลไปใช ในกรณีที่บริษัทฯ ตองเขาทํารายการใดที่อาจมีผลตอการเปลี่ยนแปลงของ ราคาหลักทรัพย โดยหามมิใหมีการเปดเผยขอมูลเหลานั้นแกผูอื่นจนกวาจะไดแจงขอมูลนั้นตอตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยแลว 41
นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังกําหนดใหผูบริหารรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพยตอสํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ตามมาตรา 59 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 และจัดสงสําเนารายงานนี้ใหแกบริษัทฯ ในวันเดียวกันกับวันที่สงรายงานตอสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย
บุคลากร จํานวนพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯ มีพนักงานจํานวนทั้งสิ้น 165 คน ซึ่งไมรวมกรรมการจํานวน 9 คน โดยแบงตามสายงานหลักได ดังนี้ สายงาน 1) สํานักผูบริหาร 2) ฝายการเงินและบัญชี 3) ฝายทรัพยากรบุคคล 4) ฝายโอนกรรมสิทธิ์และจัดซื้อ 5) ฝายธุรการ 6) ฝายวิจัยและพัฒนา 7) ฝายพัฒนาโครงการ 8) ฝายลูกคาสัมพันธ 9) ฝายการตลาด 10) ฝายขาย 11) ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ 12) ฝายกฏหมาย
รวม
จํานวนพนักงาน 6 17 4 3 13 5 16 40 27 28 4 2 165
คาตอบแทนพนักงาน ลักษณะคาตอบแทน เงินเดือน คาลวงเวลา โบนัส คานายหนา เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ อื่น ๆ รวม
42
คาตอบแทนป 2555 (บาท) 72,781,452 9,115,381 14,437,481 2,913,868 12,321,253 111,569,435
43
1
| ¬
| xÖ °
rï i } ¥ Òo
57
Ê
{y } j i p |i i p¥ ¤ x } Ö ¥ ol ¤ Ös ¤ x ¤ i
x } Ö {y } j i il o } Ö
l { z oi i
¥ }¥j j ¢Ô ¦ ¢Ô qm m¡ ì|ì ì ìj¡ ×ì
Ó u 0 '+-, ¨ Ò
| Ò i ~ Ó § ê
l Ö ol l Ò o ¡Ó ¤pÓ Ó ¬ i i i i i i i i } p i i ¡Ó i i i ¤pÓ Ó ¬ i i ¡Óp |i i i oi i ¡Ó i
Øpp Øpp Øpp
} ¥ Òo
Øpp
rÒ o¤
p ¤ }Ö¤ Ó Ö p i | i p|Ó i o p Ös¤ i p }¤l ï o§rÓ ¦}Ô ¤ Ös¤ p ¨ ¥ «i¦i ¤ «is¤r pÖ p i | } |¨ i p} |i o lÓ i ¤i } p ¨ ¥ |Ö i p o Ö i Ò ¥ o¦ i p¤l ï o|ï ¥ i Ö i Ò °¦ | o i p|Ó i o p Ös¤ i p }¤l ï o§rÓ ¦}Ô ¤ Ös¤ p ¤pÓ ¦ | o Ö i p|Ó i o l ¤ ¤r p i | r i p l p ¤| Ö i Ô i p Ó o lÓ
rï Ò o ¤ i p
i {Ö o § Ê Ó o
44
¤r ¤}«i ¨ ¦ ¤ +P *CC !FWC 2CI *GMLCJ p o ¡i
rï i } ¥ Òo
40
Ê
i } r r r ¡o l r i p ¤ ¤ Ö s | Ö ¤} Ö¤ r ¬ ¥
l { z oi i
| Ò i ~ Ó § ê Ó u 0 '+-, ¨ Ò
¥ ~¡ Ò § ¤l ¨ ¥ |Ö * (1) ¨ ¥ |Ö | ¤ ¤ Ó Ö ol¦ Ö ¨|Óp| ¤ ¬ ¤ ol¦ Ö¤ ¬ ¬ i Ö * (1) ¨ ¥ |Ö « ¤ Ö} Ö ol¦ Ö ¨|Óp| ¤ ¬ ¤ ol¦ Ö¤ ¬ ¬ i Ö
2
| ¬
¥ }¥j j ¢Ô ¦ ¢Ô qm m¡ ì|ì ì ìj¡ ×ì ì ~Ó
¬r j o ¤r ¤ro ¤ ¤|
l Ö ol l Ò o ¡Ó } ¥ Òo
i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i
Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp
i i ¡Óp |i
Øpp
Øpp
rÒ o¤
p ¤ Ò ¦ | o Ö i p|Ó i o p ¥ ll ¬ i p|Ó i o p ¨ ¥ |Ö i p o Ö p ¤| ¤ Ö i p o Ö p } i « ¤ Ö} Ö i p o Ö p l ¤ « ¦ ¬ « ¤ Ö} i p o Ö p ¨ ¥ |Ö Ö Ö i pi o ¥ i p ¨ ¥ |Ö ¥ ¤ Ö i p ¥ ÌÜ ¡i pi p ¨ ¥ |Ö Öl | ¤ ¤ Ó Ö i p o Ö p Ö Ö Ös i p o Ö p ¨ ¥ |Ö ¤ s ¤|Ó sÖ i p o Ö p ¨ ¥ |Ö ¡ isÖ i p o Ö p ¨ ¥ |Ö | ¤ ¤ Ó Ö i p o Ö p ¨ ¥ |Ö ¤s Ö ¤s i p i p ¨ ¥ |Ö ¤ i i p o Ö p ¨ ¥ |Ö j i p o Ö p ¨ ¥ |Ö | ¤ ¤ Ó Ö ol¦ Ö i p o Ö p ¨ ¥ |Ö « ¤ Ö} Ö ol¦ Ö i p o Ö
rï Ò o ¤ i p
i {Ö o § Ê Ó o
45
3
| ¬
} r i o p Ö +P 2?L !FGL )U?LE (MFLQML p o ¡i
rï i } ¥ Òo
51
Ê
¤ x } Ö ¥ ol {y } ¥ Òor } ol¦ Ö
l { z oi i Ó u 0 '+-, ¨ Ò
| Ò i ~ Ó § ê
¥ }¥j j ¢Ô ¦ ¢Ô qm m¡ ì|ì ì ìj¡ ×ì ì ~Ó
l Ö ol l Ò o ¡Ó
i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i ¤pÓ Ó ¬ ¥ | ¡ l Í i oi ¤o i i i i ¡Óp |i Í i pi ¤o
Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp
¡Ó i
} ¥ Òo
Øpp
rÒ o¤
p ¥ ll ¬ i p|Ó i o
p ¨ Ö ¤ Ö i p|Ó i o .PGT?RC #OSGRW 'LTCQRMP p ¨ ¥ |Ö i p o Ö p ¤| ¤ Ö i p o Ö p } i « ¤ Ö} Ö i p o Ö p l ¤ « ¦ ¬ « ¤ Ö} i p o Ö p ¨ ¥ |Ö Ö Ö i pi o ¥ i p ¨ ¥ |Ö ¥ ¤ Ö i p ¥ ÌÜ ¡i pi p ¨ ¥ |Ö Öl | ¤ ¤ Ó Ö i p o Ö p Ö Ö Ös i p o Ö p ¨ ¥ |Ö ¤ s ¤|Ó sÖ i p o Ö p ¨ ¥ |Ö ¡ isÖ i p o Ö p ¨ ¥ |Ö | ¤ ¤ Ó Ö i p o Ö p ¨ ¥ |Ö ¤s Ö ¤s i p i p ¨ ¥ |Ö ¤ i i p o Ö p ¨ ¥ |Ö j i p o Ö p ¤ « ¥l É} ol¦ Ö i p|Ó i o
rï Ò o ¤ i p
i {Ö o § Ê Ó o
46
¤r ¤ro ¤ ¤| +P *CC !FWC !FCLE BPG?L p o ¡i
rï i } ¥ Òo
33
Ê
{y } j i ¤o } ¨l |Ö ¤ i« }¥ |Ö
l { z oi i
| Ò i ~ Ó § ê Ó u 0 '+-, ¨ Ò
¥ ~¡ Ò § ¤l ¨ ¥ |Ö * (1) ¨ ¥ |Ö | ¤ ¤ Ó Ö ol¦ Ö ¨|Óp| ¤ ¬ ¤ ol¦ Ö¤ ¬ ¬ i Ö * (1) ¨ ¥ |Ö « ¤ Ö} Ö ol¦ Ö ¨|Óp| ¤ ¬ ¤ ol¦ Ö¤ ¬ ¬ i Ö
4
| ¬
¥ }¥j j ¢Ô ¦ ¢Ô qm m¡ ì|ì ì ìj¡ ×ì ì ~Ó
Ó or j o ¤r ¤}«i ¨ ¦ ¤
l Ö ol l Ò o ¡Ó ¡Ó i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i
Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp
} ¥ Òo
Øpp
rÒ o¤
p p s ¤ ¤ Ó Ö i p|Ó i o p ¨ ¥ |Ö i p o Ö p ¤| ¤ Ö i p o Ö p } i « ¤ Ö} Ö i p o Ö p l ¤ « ¦ ¬ « ¤ Ö} i p o Ö p ¨ ¥ |Ö Ö Ö i pi o ¥ i p ¨ ¥ |Ö ¥ ¤ Ö i p ¥ ÌÜ ¡i pi p ¨ ¥ |Ö Öl | ¤ ¤ Ó Ö i p o Ö p Ö Ö Ös i p o Ö p ¨ ¥ |Ö ¤ s ¤|Ó sÖ i p o Ö p ¨ ¥ |Ö ¡ isÖ i p o Ö p ¨ ¥ |Ö | ¤ ¤ Ó Ö i p o Ö p ¨ ¥ |Ö ¤s Ö ¤s i p i p ¨ ¥ |Ö ¤ i i p o Ö p ¨ ¥ |Ö j i p o Ö p ¨ ¥ |Ö | ¤ ¤ Ó Ö ol¦ Ö i p o Ö p ¨ ¥ |Ö « ¤ Ö} Ö ol¦ Ö i p o Ö
rï Ò o ¤ i p
i {Ö o § Ê Ó o
47
5
| ¬
o r i o p o ¡i
rï i } ¥ Òo
Ê
ur {y } l{ { r } Ö¥ i ur p oi {Ö
ur {y } l{ { r } Ö¥ i ur } Ö
l { z oi i Ó u 0 '+-, ¨ Ò
| Ò i ~ Ó § ê
¥ }¥j j ¢Ô ¦ ¢Ô qm m¡ ì|ì ì ìj¡ ×ì ì ~Ó
l Ö ol l Ò o ¡Ó
i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i
Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp
i ¡Óp |i Í ur ¥ i ¤o ¡Ó i Í ur ¥ i ¤o ¡Óp |i ¬ ¨ Í ur 2533 ¥ i ¤o
Øpp
i i ¡Ó i Í ur ¥ i ¤o i i
} ¥ Òo
Øpp
rÒ o¤
p ¤| ¤ Ö i p o Ö p } i « ¤ Ö} Ö i p o Ö p l ¤ « ¦ ¬ « ¤ Ö} i p o Ö p ¨ ¥ |Ö Ö Ö i pi o ¥ i p ¨ ¥ |Ö ¥ ¤ Ö i p ¥ ÌÜ ¡i pi p ¨ ¥ |Ö Öl | ¤ ¤ Ó Ö i p o Ö p Ö Ö Ös i p o Ö p ¨ ¥ |Ö ¤ s ¤|Ó sÖ i p o Ö p ¨ ¥ |Ö ¡ isÖ i p o Ö p ¨ ¥ |Ö | ¤ ¤ Ó Ö i p o Ö p ¨ ¥ |Ö ¤s Ö ¤s i p i p ¨ ¥ |Ö ¤ i i p o Ö p ¨ ¥ |Ö j i p o Ö p ¤l ¡ r ÉÜo ¤ ¤r i p|Ó i j Òo lÓ o¤ p ¦ ¤s ¥ |Ö l i o¤ i p|Ó i j Òo lÓ o¤ p ¦ ¤s ¥ |Ö l i o¤ i p|Ó i j Òo lÓ o¤
p ¨ ¥ |Ö i p o Ö
rï Ò o ¤ i p
i {Ö o § Ê Ó o
48
6
| ¬
¤p ¦iÔ ¤r«o ¤ Ò +P (?QML %MF 1CLE 5CG p o ¡i
rï i } ¥ Òo
36
Ê
} } Ö¥ i ur {y } ¤i } ¤s ¥ Ñ} r { p i
l { z oi i Ó u 0 '+-, ¨ Ò
| Ò i ~ Ó § ê
¥ }¥j j ¢Ô ¦ ¢Ô qm m¡ ì|ì ì ìj¡ ×ì ì ~Ó
l Ö ol l Ò o ¡Ó } ¥ Òo
i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i i
Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp Øpp
¡Óp |i ¬ ¨
Øpp
Øpp
rÒ o¤
p ¤ Ò ¦ | o Ö i p|Ó i o p ¨ ¥ |Ö i p o Ö p ¤| ¤ Ö i p o Ö p } i « ¤ Ö} Ö i p o Ö p l ¤ « ¦ ¬ « ¤ Ö} i p o Ö p ¨ ¥ |Ö Ö Ö i pi o ¥ i p ¨ ¥ |Ö ¥ ¤ Ö i p ¥ ÌÜ ¡i pi p ¨ ¥ |Ö Öl | ¤ ¤ Ó Ö i p o Ö p Ö Ö Ös i p o Ö p ¨ ¥ |Ö ¤ s ¤|Ó sÖ i p o Ö p ¨ ¥ |Ö ¡ isÖ i p o Ö p ¨ ¥ |Ö | ¤ ¤ Ó Ö i p o Ö p ¨ ¥ |Ö ¤s Ö ¤s i p i p ¨ ¥ |Ö ¤ i i p o Ö p ¨ ¥ |Ö j i p o Ö
rï Ò o ¤ i p
i {Ö o § Ê Ó o
49
53
p z l Ö
¦ ¥ |Ö Øo s +P 0MJ?LB .?LE 2XC 4SG
9
35
61
Ê
i }} lr Ö
rï i } ¥ Òo
7
| ¬
Ó u 0 '+-, ¨ Ò
Ó u 0 '+-, ¨ Ò
| Ò i ~ Ó § ê
l Ö ol l Ò o ¡Ó
¤ x } Ö {y } ¤ x } Ö¥ x } Ö¥ Òo | r { p i
Ó u i p {y } 0 '+-, j i ¤o ¨ Ò ¥ ¤r ¤} Ö r { p i
"GPCARMPQ !CPRGDGA?RGML .PMEP?K Ò "!.
i p {y } j i } | } Ö
i p {y } j i p r sÖ x Öl ¤ x ¤ i
{ r } {y } l{ { r } Ö¥ i ur p oi {Ö
i p {y } j i p Ö ¤ «is ¤ x ¤ i
l { z oi i
¥ }¥j j ¢Ô ¦ ¢Ô qm m¡ ì|ì ì ìj¡ ×ì ì ~Ó
¡Óp |i i o r il{ i i z ¤ xi p ¡¨ § Ò o |Ó }Ò o ¤ i p |i l Ö ¡ilÓ ~
Øpp
i i
i i
Øpp
Øpp Øpp
Øpp i i ¥ i i } p i i
i i ¥ i i } p
Øpp
i i ¥ i i } p ¬ i
} ¥ Òo
Øpp
rÒ o¤
l ?GBSPG ¤ ¡¨ i p l
p ¨ ¥ |Ö i p o Ö ¨ ¤ } ¥ «|¨ s ¬ p i | i p|Ó i o l{ i i z ¤ xi p ¡¨ Ò o o|Ó ¤ xi pj o x ¤ ¡¨
p ¨ ¥ |Ö i p o Ö p ¨ ¥ |Ö i p o Ö i Ò ¦lÓ ¡ ¤} Ö i p ~ }Ö
~ p ¦ ¤ xi pi l o i p p ¥ § Ól i !',+'2 !M
*RB
i p ¬ i oi ¤o
p ¨ ¥ |Ö i p o Ö
rï Ò o ¤ i p
i {Ö o § Ê Ó o
50
35
¡¥ Ö ¦ ¬ ¥ Ö} « o +P &S@CPR 0MK?PW CPRP?LB 4GPGMR
¤p Ö| ¦l¤ Ö ¬ +P %CP?PB !MLMP &C?JW
o ruÖ} i¡
o ¡ Ö
11
12
13
45
42
52
Ê
| ¬
rï i } ¥ Òo
} Ö {y } ¤ i oi } Ö
} Ö {y } ¤ i oi } Ö
i p {y } l{ ur i o¤
ur {y } l{ { r } Ö¥ i ur } Ö
~ Ø} i } {y } | ¤ ¨ Ö¥ |Ö
i p {y } j i p |i ¦ o¥ ¥ i Ò o¤ ¬ ¦ o¤ i ¦ o¥ i o ¤ ¤s Ö¥ |Ö
i p {y } j i p |i ¦ o¥ ¥ i Ò o¤ ¬ Ò o ¤ ¤ Ö r { p i
l { z oi i
Ó u 0 '+-, ¨ Ò
Ó u 0 '+-, ¨ Ò
Ó u 0 '+-, Ó
Ó u 0 '+-, ¨ Ò
| Ò i ~ Ó § ê
¥ }¥j j ¢Ô ¦ ¢Ô qm m¡ ì|ì ì ìj¡ ×ì ì ~Ó
l Ö ol l Ò o ¡Ó
¡Ó i Í i ¤o
¡Ó i Í i ll ¡Óp |i Í i ll ¡Ó i Í i ll
¡Ó i Í i ¤o
p ¨ ¥ |Ö i p o Ö p ¤ ¤ o} Ö ¤} Ö¤ r ¬ ¥ i p¥ ¨r Ö Ó i |Ò p r¡¦ ¤s« ¦i i p¦n {
p ¨ ¥ |Ö i p o Ö p ¤ ¤p Ö | ¤ ¤ Ö i p o Ö p ¤|s} ¤ r ¬ ¤ Ö} Ö i p¦ o¥ ¥ z o Ö
¡Ó i Í z p ¨ ¥ |Ö ¦l oi i p o Ö ¡Óp |i Í z p ¡Ó| Ö ¤ i« ¨ ¥ |Ö ~ Ø} i i p i¥ ¥ }i¥}Òo l ¡Ó i Í i ¤o
Øpp
rï Ò o ¤ i p
¤pÓ Ó ¬ Í p ¨ ¥ |Ö i p o Ö
} ¥ Òo
Øpp
Øpp
Øpp
rÒ o¤
i {Ö o § Ê Ó o
การควบคุมภายใน บริษัท ไรมอน แลนด จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) ไดตระหนักเสมอวาการควบคุมภายในเปนกระบวนการที่สําคัญที่สุด กระบวนการหนึ่ง และการควบคุมภายในที่ดีจะทําใหระบบการทํางานของบริษัทมีความถูกตอง โปรงใส ตรวจสอบไดและ สามารถลดหรือปองกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น บริษัท จึงไดมีการพัฒนาระบบการควบคุมภายในใหมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลอยางตอเนื่อง และจัดใหมีหนวยงานตรวจสอบภายในทําหนาที่สอบทานประสิทธิผลและความเพียงพอ ของระบบการควบคุมภายใน สํานักตรวจสอบภายในของบริษัทเปนหนวยงานที่มีความเปนอิสระจากฝายบริหาร และทําหนาที่ตรวจสอบและสอบทานการ ปฏิบัติงานของหนวยงานตางๆ ภายในบริษัทและบริษัทยอยเพื่อใหม่นั ใจไดวาหนวยงานเหลานั้นมีการปฏิบัติตามระบบการ ควบคุมภายในที่ไดกําหนดไว โดยมุงเนนการตรวจสอบภายในเชิงปองกันและใหเกิดประโยชนกับทุกหนวยงานในบริษัท ตลอดจนใหขอเสนอแนะและใหขอมูลเพื่อเปนการสนับสนุนแกผูปฏิบัติงานใหมีการควบคุมภายในที่ดี มีความโปรงใส รวม ถึงการสอบทานความเหมาะสม ตลอดจนประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลของการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) โดยผูจัดการสํานักตรวจสอบภายในตองรายงานผลการตรวจสอบใหคณะกรรมการ ตรวจสอบทราบทุกไตรมาส และคณะกรรมการตรวจสอบรายงานตอคณะกรรมการบริษัททราบทุกไตรมาส เพื่อประเมิน ความเพียงพอและความเหมาะสม ของระบบการควบคุมภายในของบริษัท ในภาพรวมในรอบป 2555 คณะกรรมการตรวจสอบและสํานักตรวจสอบภายในไดประเมินความเพียงพอและความเหมาะสม ของระบบการควบคุมภายในโดยยึดหลักการควบคุมภายภายในที่ดี ประกอบดวย สภาพแวดลอมของการควบคุมที่ดี มีการ ประเมินความเสี่ยงและการจัดการความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ยอมรับได มีการควบคุม ระบบงานที่เหมาะสมเพื่อปองกัน ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น มีระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูลที่ดี มีระบบการติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพอยาง ตอเนื่อง ทั้งนี้เพื่อใหมีรายงานทางการเงินถูกตองเชื่อถือได ตลอดจนมีการปฏิบัติใหเปนไปตามขอกําหนดของกฎหมาย ที่เกี่ยวของ ผลการประเมินของคณะกรรมการตรวจสอบตามรายงานผลการตรวจสอบของสํานักตรวจสอบภายในและ ผลการประเมินการควบคุมภายในของผูสอบบัญชีมีความเห็นวาบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอเหมาะสมกับการ ดําเนินธุรกิจและทุกหนวยงานมีการปฏิบัติตามขั้นตอนและระเบียบที่กําหนดไว ไมพบขอบกพรองที่เกี่ยวกับระบบการควบคุม ภายในที่เปนสาระสําคัญ
51
รายงานระหวางกัน ในรอบปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทและบริษัทยอย ไมมีรายการกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง คือ ผูถือหุนรายใหญ กรรมการ และผูที่เกี่ยวของกับบุคคลดังกลาว นอกเหนือจากที่ไดเปดเผยอยูในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินขอ 6 ความจําเปนและความสมเหตุสมผลของรายการ การทํารายการระหวางกันของบริษัทดังกลาวขางตนมีความจําเปนและสมเหตุสมผล เพื่อกอใหเกิดประโยชนสูงสุด ตอบริษัทฯ อีกทั้งยังเปนไปตามลักษณะการประกอบธุรกิจโดยทั่วไป โดยมีการกําหนดคาตอบแทน คาธรรมเนียม และเงื่อนไขตางๆ อางอิงตามราคาตลาดที่เหมาะสม เชนเดียวกับการทํารายการระหวางกันของบริษัทฯ กับบุคคล หรือธุรกิจอื่นๆ ที่ไมมีความเกี่ยวของกัน ทั้งนี้ การทํารายการระหวางกันดังกลาวไมมีการถายเทผลประโยชน ระหวางบริษัทฯ กับบุคคลอื่นใดที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน หรือมีสวนไดสวนเสีย คณะกรรมการ ตรวจสอบของบริษัทฯ รับทราบและเห็นดวยตอการตัดสินใจและการดําเนินการของคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือคณะผูบริหาร โดยไดพิจารณาถึงความเหมาะสมในการทํารายการระหวางกันทั้งหมดในป 2555 มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทํารายการระหวางกัน การอนุมัติรายการระหวางกันของบริษัทดังกลาว ไดปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอบังคับ ประกาศ คําสั่ง หรือขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยที่กรรมการหรือบุคคลที่อาจมี ความขัดแยงทางผลประโยชน หรือมีสวนไดสวนเสียกับบริษัทในรายการระหวางกันนั้นๆ จะไมมีสวนรวมในการ พิจารณาอนุมัติรายการดังกลาว เวนแต เปนกรณีที่ไดรับการพิจารณายกเวนตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย ขอบังคับ ประกาศ คําสั่ง หรือขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยในเรื่องการ เปดเผยขอมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน พ.ศ. 2546 นโยบายหรือแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคต บริษัทฯ อาจมีการทํารายการระหวางกันในอนาคต หากบริษัทฯ เห็นวาการเขาทํารายการนั้นๆ จะกอใหเกิดประโยชน สูงสุดตอบริษัทฯ โดยบริษัทฯ ไดกําหนดนโยบายในการเขาทํารายการระหวางกันที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตใหเปนไป ตามลักษณะการดําเนินธุรกิจการคาทั่วไป ในราคาตลาดที่ยุติธรรม เชนเดียวกับการทํารายการระหวางกันของ บริษัทฯ กับบุคคลหรือธุรกิจอื่นๆ ที่ไมมีความเกี่ยวของกัน บริษัทฯ จะมุงมั่นยึดหลักปฏิบัติตามกฎหมายวาดวย หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอบังคับ ประกาศ คําสั่ง หรือขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รวมถึงการปฏิบัติตามขอกําหนดเกี่ยวกับการเปดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกัน และการไดมาหรือจําหนายไปซึ่ง ทรัพยสินของบริษัทฯ และบริษัทยอย นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบจะเขารวมประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ในการพิจารณาอนุมัติการเขาทํารายการระหวางกัน เพื่อแสดงความคิดเห็นในเรื่องความเหมาะสมดานราคา และ ความสมเหตุสมผลของการเขาทํารายการดวย
52
ปจจัยความเสี่ยง ความเสี่ยงเกี่ยวกับการดําเนินธุรกิจ ความเสี่ยงในการสรรหาที่ดินเพื่อพัฒนาโครงการ เนื่องจาก ไรมอน แลนด ไมมีนโยบายการซื้อที่ดินเก็บสะสมไวเพื่อรอการพัฒนา เวนแตจะเปนที่ดินที่บริษัทฯ เล็งเห็นวามีศักยภาพสูงในการพัฒนาและราคาอยูในระดับที่เหมาะสมและใหผลตอบแทนคุมคาแกการลงทุนดังนั้น การสรรหาหรือการซื้อที่ดินที่ตั้งอยูในทําเลที่ดี ในราคาที่เหมาะสม จึงเปนความเสี่ยงหลักและเปนปจจัยหลักของ ความสําเร็จของการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ เชนกัน บริษัทฯ ไดลดความเสี่ยงในการสรรหาที่ดินเพื่อพัฒนาโครงการดวยการใชเครือขายหรือเน็ตเวิรกที่กวางขวางของ นายหนาสรรหาที่ดิน (Broker) เว็บไซตของบริษัท กรรมการ และผูบริหารของบริษัทฯ โดยเครือขายหรือเน็ตเวิรก ที่เขมแข็งนี้ชวยใหบริษัทฯ สามารถสรรหาหรือซื้อที่ดินที่ตั้งอยูในทําเลที่ดีในราคาที่เหมาะสมได นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังลดความเสี่ยงโดยการใหความสําคัญในการทําวิจัยและสํารวจตลาดอยางมาก โดยจากผลการทําวิจัยและสํารวจ ตลาดนี้เองทําใหบริษัทฯ สามารถนําขอมูลที่ไดไปวิเคราะหเพื่อพิจารณาและลดความเสี่ยงในการซื้อที่ดินไดอยาง มีประสิทธิภาพ ความเสี่ยงในการพัฒนาโครงการ ความผันผวนของราคาวัสดุกอสรางจะสงผลกระทบตอตนทุนการพัฒนาโครงการ ซึ่ง ไรมอน แลนด ไดลดความ เสี่ยงอันเกิดจากความผันผวนของราคาวัสดุกอสราง โดยสวนใหญ การวาจางผูรับเหมาในสวนของงานโครงสราง จะเปนการวาจางผูรับเหมาเพียงรายเดียวและทําสัญญาการกอสรางแบบเบ็ดเสร็จ (Turnkey Construction Contract) สงผลให ไรมอน แลนด สามารถควบคุมตนทุนการกอสรางไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เพื่อเปนการ ลดตนทุน ไรมอน แลนด ยังไดจัดซื้อวัสดุกอสรางในบางรายการที่สามารถจัดซื้อจากผูผลิตโดยตรง เชน เหล็ก กระเบื้อง เปนตน ยิ่งไปกวานั้น ในบางกรณี เพื่อเปนการลดความเสี่ยง ไรมอน แลนด ไดกําหนดราคาสงมอบวัสดุ กอสรางไวลวงหนาเพื่อลดความผันผวนของราคาวัสดุกอสรางซึ่งจะสงผลกระทบโดยตรงตอตนทุนการกอสราง นอกจากการผันผวนของราคาวัสดุกอสรางแลว การจัดหาหรือวาจางผูรับเหมาที่มีความสามารถยังเปนอีกปญหา หนึ่ง ซึ่งอาจสงผลกระทบตอคุณภาพและเวลาการสงมอบงานของโครงการได บริษัทฯ มีแนวทางการบริหาร ความเสี่ยงในสวนนี้อยู 3 วิธี ดังนี้ (1)
ไรมอน แลนด มีระบบการบริหารและตรวจสอบระดับความเสี่ยงในการพัฒนาโครงการทุกๆ โครงการ ของบริษัทฯ ซึ่งเริ่มตั้งแตแนวทางกํากับการคัดเลือกผูรับเหมาที่มีความเขมงวด การทดสอบประสิทธิภาพ ของวัสดุกอสรางหลัก (เชน เหล็ก หนาตาง กระจก และอิฐ) การมองหาเทคโนโลยีใหม ซึ่งมุงเนน พัฒนาทั้งทางดานเทคนิคและคุณภาพของวัสดุกอสราง และการเพิ่มประสิทธิภาพและการจัดการระบบ การดําเนินงานกอสราง เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดในดานการบริหารคาใชจาย และการตอรองราคาวัสดุ ในขณะที่คุณภาพของผลิตภัณฑนั้นยังคงเดิมหรือดีขึ้น ทั้งนี้ ในการทําสัญญาวาจางผูรับเหมาในการ กอสรางโครงการของบริษัทฯ สวนใหญนั้น บริษัทฯ จะทําสัญญาในแบบกําหนดราคาเหมารวม (Fixed Lump Sum Price) เพื่อเปนการลดความเสี่ยงในการเพิ่มขึ้นของตนทุนวัสดุกอสราง นอกจากนี้ ในบาง กรณีบริษัทฯ จะทําการชําระเงินลวงหนา หากการชําระเงินลวงหนานั้นสามารถลดตนทุนหรือลดความเสี่ยง ของการเพิ่มขึ้นของตนทุนใหบริษัทฯ ได
(2)
ไรมอน แลนด บริหารความเสี่ยงในการพัฒนาโครงการโดยการจัดจางที่ปรึกษาภายนอก ซึ่งมีความรู ความสามารถ และมีความเชี่ยวชาญโดยตรงสําหรับแตละโครงการของบริษัทฯ โดยหลักเกณฑในการ คัดเลือกที่ปรึกษา จะคํานึงถึงความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขา จํานวนของบุคลากรที่มีความสามารถและเปนที่ ยอมรับ ความสามารถในการนําเทคโนโลยีและอุปกรณที่ทันสมัยมาใชเพื่อทําการควบคุมคุณภาพของงาน และตนทุนการกอสรางใหเปนไปตามที่บริษัทกําหนด รวมถึงเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพในการทํางาน วิธีการกอสรางที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ คณะที่ปรึกษาจะเปนผูเสนอรายชื่อของผูรับเหมาและ/หรือ Supplier ใหกับบริษัทฯ โดยที่ผูจัดการโครงการจะเปนผูควบคุม ติดตามและตรวจสอบรายงานความ คืบหนางานกอสรางของผูรับเหมา ซึ่งรวมถึงการเจรจาตอรองราคาดวย 53
(3)
ในทุกโครงการของบริษัทฯ จะคัดเลือกผูรับเหมาจากบริษัทฯ ชั้นนําที่เปนที่ยอมรับในระดับสากล โดยหลักการในการคัดเลือกผูรับเหมาประกอบดวย ความสามารถในการเปนผูรับผิดชอบในการบริหาร และกอสรางโครงการแตเพียงผูเดียว การประสานงานในเรื่องของการออกแบบ ความสามารถในการ สงตอหรือประสานงานโดยรวม บุคลากรและทรัพยากรที่พรอมและมีคุณภาพ ทั้งทางดานการเงิน เทคโนโลยี และการบริหารงาน ประวัติการทํางาน และชื่อเสียงที่ไววางใจไดในการสงมอบงานที่เสร็จ สมบูรณภายในระยะเวลาและงบประมาณที่กําหนด
ความเสี่ยงดานการขาย ระยะเวลาที่ใชในการขายโครงการหนึ่ง ๆ มีความสําคัญเปนอยางยิ่งตอบริษัทฯ พัฒนาอสังหาริมทรัพยประเภท คอนโดมิเนียมเชน ไรมอน แลนด เนื่องจากระยะเวลาในการขายที่รวดเร็วนั้นจะชวยลดความเสี่ยงทางดานการเงิน และภาระตาง ๆ ที่บริษัทฯ ตองรับผิดชอบตอโครงการนั้น ๆ นอกจากนี้ ยังทําใหสามารถบริหารความเสี่ยงในการ พัฒนาโครงการไดงายขึ้น เนื่องจากโครงการคอนโดมิเนียมของ ไรมอน แลนด มีระยะเวลาในการกอสรางใน แตละโครงการประมาณ 2-4 ป ดังนั้นบริษัทจึงใหความสําคัญในการการบริหารการขาย การควบคุมงานกอสราง ใหเสร็จทันตามกําหนดพรอมสงมอบใหกับลูกคา รวมถึงการบริหารกระแสเงินสด ใหมีประสิทธิภาพ บริษัทจึงได ปรับเปลี่ยนกลยุทธทางการตลาด เพื่อกระตุนยอดขายผานการโฆษณาประชาสัมพันธ และกิจกรรมสงเสริมการขาย อยางเหมาะสมกับสถานะการณ และสภาวะเศรษฐกิจในปจจุบัน เพื่อใหสามารถเขาถึงกลุมลูกคาของบริษัท โดย ไรมอน แลนด ไดจัดตั้งฝายลูกคาสัมพันธ เพื่อดูแลลูกคา รายงานความคืบหนาโครงการ รวมถึงกระบวนการ เรียกเก็บชําระเงินจากลูกคาอยางเปนระบบ ทั้งนี้จากสภาวะการแขงขันในตลาดอสังหาริมทรัพยในปจจุบัน ความ ผันผวนทางภาวะเศรษฐกิจ เหตุภัยพิบัติทางธรรมชาติและความไมแนนอนทางการเมืองที่อาจสงผลกระทบตอ ระยะเวลาในการขายโครงการได ไรมอน แลนด มุงเนนการบริหารความเสี่ยงในการขาย โดยการเลือกสรรทําเลที่ตั้งในการพัฒนาโครงการที่จะตอง ตั้งอยูในทําเลที่ดีและเหมาะสม การสรางชื่อเสียงบริษัทฯ ใหเปนที่ยอมรับ (Brand Building) การริเริ่มแนว ความคิดใหมๆ ในการพัฒนาโครงการ การทําความเขาใจตลาด และการขยายฐานลูกคา บริษัทฯ มีความเชื่อมั่นวา ทําเลที่ดีและเหมาะสมเปนปจจัยที่มีความสําคัญอยางยิ่งในการลดความเสี่ยงในการขายโครงการ ดวยเหตุนี้ บริษัทฯ จึงใหความสําคัญกับการเลือกสรรทําเลที่ดีและเหมาะสม ดวยการทําวิจัยและการศึกษาความเปนไปได อยางละเอียด ซึ่งรวมถึงการประเมินทําเลที่ตั้งของโครงการ สภาพแวดลอม ตลาดและการแขงขัน จํานวนคูแขง กลุมลูกคาเปาหมาย ระบบโครงสรางพื้นฐาน และระบบขนสงสาธารณะ ปจจุบันการสรางชื่อเสียงของบริษทั ฯ (Brand Building) ใหเปนที่ยอมรับนั้นเริ่มเห็นผลชัดเจนขึ้น เมื่อบริษัทฯ ไดเปนที่รูจักในฐานะบริษัทฯ พัฒนาอสังหาริมทรัพยชั้นนําในตลาดที่อยูอาศัยระดับพรีเมี่ยม และโครงการตางๆ ของ ไรมอน แลนด ไดรับการยอมรับทั้งในประเทศและตางประเทศ อันเปนผลมาจากการสงมอบคุณคาของโครงการ ที่สามารถตอบสนองความตองการของลูกคาได ซึ่งทําให ไรมอน แลนด มีลูกคาที่กลับมาซื้อโครงการของบริษัทฯ (Repeat Customer) เปนจํานวนมาก โดยลูกคาเหลานี้ไดมองเห็นคุณคาของโครงการของบริษัทฯ ทั้งในแงการซื้อ เพื่ออยูอาศัยเองและในแงของการลงทุน ในอดีตลูกคาประมาณรอยละ 50 ของบริษัทเปนชาวตางชาติ จึงสงผลบริษัทจึงมีความเสี่ยงในดานการขาย หาก ประเทศเหลานั้นประสบปญหาทางดานการเงิน หรือเศรษฐกิจ ดังนั้นในชวง 2-3 ปที่ผานมาบริษัทจึงไดหันมาให ความสําคัญกับตลาดภายในประเทศมากขึ้นโดยเฉพาะตลาดลูกคาชาวไทยเพื่อลดความเสี่ยงหรือความผันผวนดาน การขาย โดยในป 2555 บริษัทประสบความสําเร็จในการขยายตลาดไปยังลูกคาชาวไทยอยางมากโดยในป 2555 ยอดขายประมาณรอยละ 60 เปนของลูกคาชาวไทย ในขณะเดียวกับบริษัทก็ยังใหความสําคัญกับลูกคาชาวตางชาติ เพิ่มเติม โดยในป 2555 บริษัทไดขยายฐานลูกคาที่ใหกวางขวางขึ้นเนื่องจากกลุมลูกคาหลายประเทศในแถบทวีป ยุโรป ไดลดลงเนื่องจากปญหาวิกฤตทางการเงินและการออนตัวของคาเงิน โดยบริษัทมีลูกคาจากกลุมประเทศ เอเซียซึ่งรวมถึงประเทศ สิงคโปร เกาหลีใต จีน ไตหวัน และรัสเซีย มากขึ้น ทั้งนี้การขยายฐานลูกคาของบริษัท เปนรากฐานในการริเริ่มโครงการใหม ๆ อยางตอเนื่อง ซึ่งเปนกระบวนการสําคัญที่ทําให บริษัทฯ สามารถลด ความเสี่ยงในการแขงขันและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของลูกคาได เนื่องจากบริษัทฯ สามารถปรับกลยุทธทาง ธุรกิจใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมและเศรษฐกิจที่มีการเปลี่ยนแปลง และสามารถพัฒนารูปแบบโครงการซึ่งตรง กับความตองการของลูกคาได นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังเชื่อมั่นวาการขยายฐานลูกคาภายในประเทศจะชวยลด ความเสี่ยงที่เกิดจากความผันแปรทางเศรษฐกิจในตางประเทศได 54
ความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงกฎหมาย ขอกําหนด และระเบียบปฏิบัติของหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ ความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงกฎหมาย ขอกําหนดและระเบียบปฏิบัติของหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ เชน พระราชบัญญัติผังเมือง พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร กฎกระทรวงที่เกี่ยวของที่มีผลตอการออกแบบอาคาร อาทิ การกําหนดอัตราสวนพื้นที่วางตอพื้นที่อาคาร (Open Space Ratio, OSR) และการกําหนดอัตราสวนพื้นที่อาคารรวม ตอพื้นที่ดิน (Floor Area Ratio, FAR) ตลอดจนขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร ระเบียบขอบังคับของกรมที่ดินและ กรมธนารักษ รวมทั้งขอกําหนดที่เกี่ยวกับใบอนุญาตสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะโครงการอาคารสูงและอาคารขนาด ใหญพิเศษ ซึ่งบริษัทฯ ไดพยายามลดความเสี่ยงดังกลาว ดวยการติดตามขอมูลการเปลี่ยนแปลงดังกลาวกับ หนวยงานราชการที่เกี่ยวของอยางใกลชิด ตลอดจนมีการศึกษาความเปนไปไดของโครงการ โดยพิจารณาตาม กฎหมาย ขอกําหนดและระเบียบปฏิบัติในปจจุบันอยางละเอียด ดังนั้น บริษัทฯ จึงมั่นใจไดวาโครงการตางๆ ของ บริษัทฯ ไดคํานึงถึงการปฏิบัติตามกฎหมาย ขอกําหนดและระเบียบปฏิบัติของหนวยงานราชการที่เกี่ยวของอยาง เครงครัด นอกจากนี้ ในสวนของการออกแบบเพื่อพัฒนาโครงการ บริษัทฯ ไดนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีทันสมัย มาปรับใช โดยคํานึงถึงความเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอีกดวย จากสถานะการณน้ําทวมที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร และหลายจังหวัดในประเทศไทยในป 2554 ที่ผานมา ไดสง ผลกระทบตอตลาดอสังหาริมทรัพยเปนอยางมาก แตเหตุการณดังกลาวไมไดมีผลกระทบตอโครงการของบริษัท โดยตรง (แตมีผลกระทบทางออมตอบริษัท) เนื่องจากโครงการของบริษัทเปนโครงการคอนโดมิเนียมที่ตั้งอยูใน ทําเลที่ดีไมโดนน้ําทวม โดยเหตุการณน้ําทวมดังกลาวไดสงผลในทางบวกตอโครงการคอนโดมิเนียมที่ตั้งอยูในทําเล ที่ดีรวมถึงโครงการคอนโดมิเนียมในพัทยาดวย ซึ่งโครงการ นอรทพอยท พัทยา และ โครงการ ซายร วงศอมาตย พัทยา และ ยูนิกซ เซาท พัทยา ก็มียอดขายที่เพิ่มขึ้นอยางมาก จากเหตุการณภัยภิบัติน้ําทวมดังกลาวอาจทําให รัฐบาล ตองกําหนดนโยบาย หรือดําเนินการเพื่อออกกฏหมาย ระเบียบขอบังคับ การจัดระเบียบผังเมืองใหม เพื่อแกปญหา และรับมือกับสถานะการณน้ําทวมที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต จึงอาจสงผลกระทบในการจัดหาทําเล ที่ตั้งเพื่อพัฒนาโครงการใหมในอนาตคของบริษัท เพื่อลดความเสี่ยงในการเปลี่ยนแปลงของกฏหมาย ขอกําหนด และระเบียบปฎิบัติของหนวยงานราชการ บริษัทจะทําการติดตามขอมูลขาวสารที่เกี่ยวของอยางใกลชิด ความเสี่ยงในดานการเงินและความเสี่ยงอื่นๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น ความเสี่ยงในการจัดหาทุนเพื่อพัฒนาโครงการ โดยปกติการพัฒนาโครงการคอนโดมิเนียมตองการเงินทุนในชวงแรกคอนขางสูงและตองใชเวลาประมาณ 3 - 5 ป กวาจะไดรับผลกําไรและทุนกลับคืน ดังนั้น ความสามารถของบริษัทฯ ในการเขาถึงแหลงเงินทุนที่มีตนทุนต่ํา จึงนับเปนปจจัยที่มีความสําคัญอยางมากตอความสําเร็จของโครงการ ทั้งทางดานผลกําไรและสภาพคลอง โดย บริษัทตองอาศัยศักยภาพเฉพาะตัวในดานการบริหารตนทุน ในภาวะที่ตนทุนมีทิศทางปรับสูงขึ้น ไมวาจะเปนราคา วัสดุกอสราง ราคาที่ดิน รวมถึงการควบคุมคุณภาพของงานกอสรางใหเสร็จทันตามกําหนดเวลา ซึ่งแหลงเงินทุนหลัก ในการพัฒนาโครงการของบริษัทฯ พัฒนาอสังหาริมทรัพยสวนใหญมี 3 แหลง ไดแก เงินทุนหมุนเวียนของบริษัทฯ เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน และเงินคางวดตามสัญญาจากลูกคา อันไดแก เงินดาวนและเงินโอน ดังนั้น ปญหา สวนหนึ่งในการจัดหาเงินทุนเพื่อพัฒนาโครงการมักเกิดจากความลาชาในการขาย การไมสามารถจัดเก็บคางวดตาม สัญญาจากลูกคา และการไมไดรับการสนับสนุนทางดานการเงินจากสถาบันการเงิน ไรมอน แลนด ไดลดความเสี่ยงในการขายโดยการคัดสรรทําเลที่ดีและเหมาะสม การพัฒนาโครงการที่มีคุณภาพ ผสานกับการประยุกตใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีทันสมัย โดยคํานึงถึงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม จนเปนที่ยอมรับ ทั้งจากในประเทศและในตางประเทศ ตลอดจนความเขาใจในลูกคาซึ่งนําไปสูการขยายฐานลูกคา และ ไรมอน แลนด ไดลดความเสี่ยงจากการไมสามารถจัดเก็บคางวดตามสัญญาจากลูกคาโดยเก็บเงินดาวนในสัดสวนที่สูงกวาคาเฉลี่ย ของอุตสาหกรรม โดยเก็บเงินดาวนประมาณรอยละ 25-40 ของราคาขาย นอกจากนี้ ไรมอน แลนด ไดสรางประวัติการเปนลูกคาชั้นดีและไดรับการสนับสนุนทางดานการเงินที่ดีมาโดย ตลอดจากสถาบันการเงินในประเทศหลายแหง ดังนั้น ไรมอน แลนด มั่นใจวาจะไดรับการสนับสนุนดานการเงิน เปนอยางดีเหมือนที่ผานมา รวมทั้ง ไรมอน แลนด ยังมีความสัมพันธที่ดีกับนักลงทุนและ/หรือกองทุนสวนบุคคล หลายแหง ซึ่งใหการสนับสนุนบริษัทฯ ทั้งในการใหเงินทุนและการรวมลงทุนในโครงการตลอดมา 55
ความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราดอกเบี้ย การกูเงินของบริษัทฯ สวนใหญใชอัตราดอกเบี้ยแบบลอยตัว (floating rate) หรือ MLR ซึ่งอิงกับภาวะการตลาด ดังนั้น ความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยจึงอาจสงผลกระทบตอการดําเนินงานและกระแสเงินสดของบริษัทฯ แต อยางไรก็ตาม ความผันผวนดังกลาวมีผลกระทบนอยมากตอการดําเนินงานและกระแสเงินสดของบริษัทฯ แตทั้งนี้ แนวโนมการปรับขึ้นของอัตราดอกเบี้ย อาจสงผลกระทบทั้งในดานกําลังซื้อ และความสามารถในการขอสินเชื่อ ที่ลดลง ของลูกคาโครงการที่ใชสินเชื่อจากสถาบันการเงิน ความเสี่ยงจากการที่ผูถือหุนรายใหญสามารถควบคุมมติที่ประชุมผูถือหุนและมีอํานาจในการบริหารบริษัทฯ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ 2556 JS Asset Management Pte. Ltd. (JS Asset Management) เปนผูถือหุนใหญ ของบริษัทฯ สงผลให JS Asset Management สามารถเขามามีอํานาจในการบริหารจัดการบริษัทฯ ตลอดจน แตงตั้งตัวแทนเขามาเปนกรรมการของบริษัทฯ รวมถึงสามารถที่จะรวบรวมเสียงสวนใหญในการลงมติผูถือหุน ในเรื่องตางๆ ที่ตองไดรับเสียงขางมากของจํานวนเสียงทั้งหมดของผูถือหุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง ลงคะแนนได แตอยางไรก็ตาม JS Asset Management ไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในวาระที่ตนเปนผูมีสวน ไดเสีย และเพื่อใหการบริหารงานและดําเนินงานเปนไปอยางโปรงใส ตรวจสอบไดและมีการถวงดุล บริษัทฯ จึง ไดมีการแตงตั้งบุคคลภายนอกเปนกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อเขามากํากับดูแล ซึ่งเปนไปตาม หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) ตามแนวทางของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย ความเสี่ยงจากการเขาไปชวยเหลือทางการเงินในบริษัทยอยหรือบริษัทที่เกี่ยวของ ไรมอน แลนด ไดใหความชวยเหลือทางการเงินโดยใหกูยืมและค้ําประกันบริษัทยอยหรือบริษัทที่เกี่ยวของ ซึ่ง อาจ มีความเสี่ยงที่จะทําใหเกิดคาใชจายหรือมีภาระผูกพันถาหากบริษัทยอยหรือบริษัทที่เกี่ยวของไมสามารถชําระคืนหนี้ ได อยางไรก็ตามการใหความชวยเหลือดังกลาว บริษัทฯ ไดจํากัดเฉพาะบริษัทที่บริษัทฯ มีอํานาจในการควบคุมและ บริหารเทานั้น ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดปฏิบัติตามหลักเกณฑรายการที่เกี่ยวโยงกันตามแนวทางของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยอยางเครงครัดเพื่อลดความเสี่ยงดานนี้ กลาวคือ บริษัทฯ จะเสนอขอความเห็นจากคณะกรรมการ ตรวจสอบและขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือที่ประชุมผูถือหุนในกรณีที่เขาเกณฑตามที่ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยกําหนด นอกจากนี้แลวหากบริษัทฯ และ/หรือบริษัทยอยมีสภาพคลองสวนเกิน บริษัทฯ และ/หรือบริษัทยอยจะบริหารจัดการ ใหเกิดผลตอบแทนและประโยชนสูงสุดแกกลุมบริษัททั้งทางตรงและทางออมในฐานะที่บริษัทฯ เปนผูถือหุนใหญ ดวยการใหกูยืมระหวางกัน ความเสี่ยงจากการไมไดรับผลตอบแทนในรูปของเงินปนผล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทยังมีขาดทุนสะสมเปนจํานวน 712 ลานบาท ทําใหบริษัทไมสามารถจายเงิน ปนผลใหกับผูถือหุนไดตามกฎหมาย โดยผูถือหุนมีความเสี่ยงที่จะไมไดรับเงินปนผลตามนโยบายเงินปนผลที่ กําหนดจนกวาบริษัทจะลางขาดทุนสะสมไดหมด ความเสี่ยงจากการใชสิทธิซื้อหุนสามัญตามใบสําคัญแสดงสิทธิ (RML-W3) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯมีใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญเปนจํานวน 893,840,315 หนวย ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการใชสิทธิซื้อหุนครบถวนตามใบสําคัญแสดงสิทธิโดยบุคคลอื่นที่ไมใชผูถือหุนเดิมทั้งจํานวนผลกระทบ ตอสวนแบงกําไรตอหุน (Earning Per Share Dilution) และสิทธิในการออกเสียงของผูถือหุน (Control Dilution) จะลดลงไมเกินรอยละ 20 โดยคํานวณเปรียบเทียบกับจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท จํานวน 4,469,280,156 หุน (ทุนจดทะเบียนชําระแลวภายหลังจากที่บริษัทเสนอขายหุนเพิ่มทุนใหแกบุคคลในวงจํากัด และการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งจํานวน) 56
ความเสี่ยงจากการขาดแคลนบุคลากรที่มีคุณภาพ เนื่องจากธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยเปนธุรกิจที่ตองพึ่งพาความรูความสามารถของบุคลากรเปนสําคัญ บริษัทฯ จึงสรรหาบุคลากรที่มีความสามารถและมีศักยภาพเขารวมงานกับบริษัทฯ โดยบริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญ ของบุคลากรเหลานี้เปนอยางดี และมีมาตรการในการสรางขวัญและกําลังใจ และใหโอกาสแกพนักงานในการ กาวหนาและพัฒนาทั้งดานสวนตัวและหนาที่การงานอยางตอเนื่อง ดวยการจัดสรรผลตอบแทนและสวัสดิการที่ เหมาะสม และการใหโอกาสในการฝกอบรม ทั้งนี้ บริษัทฯ เชื่อวาจะสามารถลดความเสี่ยงในการสูญเสียบุคลากร เหลานี้ได
57
งบการเงิน
รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต
เสนอตอผูถือหุนของบริษัท ไรมอน แลนด จํากัด (มหาชน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษัท ไรมอน แลนด จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ซึ่งประกอบดวยงบแสดง ฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนรวม และงบกระแสเงินสดรวม สําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญและหมายเหตุเรื่อง อื่นๆ และไดตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ไรมอน แลนด จํากัด (มหาชน) ดวยเชนกัน ความรับผิดชอบของผูบริหารตองบการเงิน ผูบริหารเปนผูรับผิดชอบในการจัดทําและการนําเสนองบการเงินเหลานี้โดยถูกตองตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินและรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผูบริหารพิจารณาวาจําเปนเพื่อใหสามารถจัดทํางบการเงินที่ปราศจาก การแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ความรับผิดชอบของผูสอบบัญชี ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจาไดปฏิบัติงาน ตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งกําหนดใหขาพเจาปฏิบัติตามขอกําหนดดานจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและ ปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลวา งบการเงินปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริง อันเปนสาระสําคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการตรวจสอบเพื่อใหไดมาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจํานวนเงินและการเปดเผยขอมูล ในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใชขึ้นอยูกับดุลยพินิจของผูสอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดง ขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญของงบการเงินไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ในการประเมินความ เสี่ยงดังกลาว ผูสอบบัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวของกับการจัดทําและการนําเสนองบการเงินโดยถูกตองตาม ที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ แตไมใชเพื่อวัตถุประสงคในการแสดงความเห็น ตอประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชี ที่ผูบริหารใชและความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีที่จัดทําขึ้นโดยผูบริหาร รวมทั้งการประเมินการนําเสนอ งบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชื่อวาหลักฐานการสอบบัญชีที่ขาพเจาไดรับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใชเปนเกณฑในการแสดงความเห็นของขาพเจา ความเห็น ขาพเจาเห็นวางบการเงินขางตนนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ผลการดําเนินงานและกระแสเงินสด สําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท ไรมอน แลนด จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย และเฉพาะของบริษัท ไรมอน แลนด จํากัด (มหาชน) โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
ศิราภรณ เอื้ออนันตกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3844 บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด กรุงเทพฯ: 27 กุมภาพันธ 2556 59
บริษัท ไรมอน แลนด์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบการเงินรวม สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินฝากธนาคารที่มีภาระผูกพัน ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันและดอกเบี้ยค้างรับ ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา เงินมัดจำค่าซื้อที่ดิน ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย ที่ดินรอการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิทธิการเช่า เงินมัดจำ ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
60
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554
หมายเหตุ
2555
7 16 8 6 9
1,431,262,404 25,100,000 35,247,416 11,294,866,636 628,438,464 106,360,010 3,641,260 78,275,254 13,603,191,444
661,618,586 25,100,000 12,620,106,370 514,025,124 14,657,915 60,322,724 13,895,830,719
771,785,858 25,100,000 701,450,476 609,083,657 3,897,402,759 273,833,572 106,360,010 12,883,814 6,397,900,146
438,296,803 25,100,000 335,655,440 439,005,874 3,347,304,667 304,904,508 14,651,807 10,641,258 4,915,560,357
10
14,670,181 269,275,088 49,939,951 859,080,036 79,166,667 15,368,112 76,781,379 29,248,173 1,393,529,587 14,996,721,031
14,670,181 38,076,330 65,016,499 1,050,084,032 82,500,000 23,954,723 98,913,026 30,404,281 1,403,619,072 15,299,449,791
1,763,964,176 13,715,589 36,430,961 40,296,843 309,730,679 2,454,913 14,651,807 8,969,890 2,190,214,858 8,588,115,004
1,713,964,476 14,670,181 38,076,330 53,487,180 268,209,075 4,723,033 36,789,492 9,995,335 2,139,915,102 7,055,475,459
11 12 13
2554
บริษัท ไรมอน แลนด์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบการเงินรวม หมายเหตุ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน เจ้าหนี้จากการซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อยเพิ่ม ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี เจ้าหนี้ภาษีเงินได้ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี เงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันและดอกเบี้ยค้างจ่าย ภาษีเงินได้ค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้ภาษีเงินได้ - สุทธิจากส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - สุทธิ จากส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน
2555
2554
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554
250,000,000 997,695,403 108,639,117 124,810,452
30,000,000 981,216,091 51,534,353 89,639,738
250,000,000 312,377,302 54,487,490 51,411,877
30,000,000 429,210,233 38,704,881 50,410,948
95,216,218 5,632,446,656 3,494,547,376 57,974,010 50,322,442 10,811,651,674
57,494,746 143,547,441 6,370,082,392 15,000,000 100,510,819 48,306,261 7,887,331,841
2,514,856,612 20,000,000 243,237,855 27,919,720 31,335,637 3,505,626,493
57,494,746 1,526,345,659 15,000,000 567,708,957 33,969,295 2,748,844,719
13
27,172,493
29,614,791
-
-
16 13 18
2,476,700,866 102,914,366 16,913,731 5,507,750 2,629,209,206 13,440,860,880
6,592,229,691 172,021,575 14,097,506 1,081,427 6,809,044,990 14,696,376,831
2,028,544,607 16,913,731 4,934,404 2,050,392,742 5,556,019,235
1,609,059,748 14,097,506 552,929 1,623,710,183 4,372,554,902
14 15
13 17 16 6
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
61
บริษัท ไรมอน แลนด์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบการเงินรวม หมายเหตุ ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 4,469,280,156 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (31 ธันวาคม 2554: หุ้นสามัญ 3,250,385,569 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) ทุนออกจำหน่ายและชำระเต็มมูลค่าแล้ว หุ้นสามัญ 3,575,424,125 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (31 ธันวาคม 2554: หุ้นสามัญ 3,250,385,569 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ ส่วนเกินของเงินลงทุนในบริษัทย่อยซึ่งเกิดจากการซื้อเงินลงทุน ในบริษัทย่อยเพิ่มในราคาที่สูงกว่ามูลค่าตามบัญชีของ บริษัทย่อย ณ วันที่ซื้อ กำไร (ขาดทุน) สะสม จัดสรรแล้ว - สำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำนาจควบคุมของบริษัทย่อย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
2555
19
19
20
4,469,280,156
3,250,385,569
4,469,280,156
3,250,385,569
3,575,424,125 131,900,646
3,250,385,569 -
3,575,424,125 131,900,646
3,250,385,569 -
(564,048,205)
(564,048,205)
-
-
36,131,233 (1,627,867,875) 1,551,539,924 4,320,227 1,555,860,151 14,996,721,031
36,131,233 (2,123,638,729) 598,829,868 4,243,092 603,072,960 15,299,449,791
36,131,233 (711,360,235) 3,032,095,769 3,032,095,769 8,588,115,004
36,131,233 (603,596,245) 2,682,920,557 2,682,920,557 7,055,475,459
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
กรรมการ
62
2554
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554
บริษัท ไรมอน แลนด์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ กำไรขาดทุน: รายได้ รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ รายได้อื่น รายได้ค่าบริหารโครงการ รายได้ค่าธรรมเนียมการตลาด รายได้ค่าธรรมเนียมการค้ำประกัน ดอกเบี้ยรับ อื่น ๆ รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร รวมค่าใช้จ่าย กำไร (ขาดทุน) ก่อนส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในการร่วมค้า ค่าใช้จ่ายทางการเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในการร่วมค้า กำไร (ขาดทุน) ก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน กำไร (ขาดทุน) ก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กำไร (ขาดทุน) สำหรับปี กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำหรับปี กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี
6 6 6 6
13
2555
2554
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554
5,434,819,851 13,741,090
1,151,397,885 12,010,578
426,895,924 8,869,671
1,151,397,885 7,150,098
6,568,589 11,076,626 53,754,703 5,519,960,859
35,904,918 13,299,367 15,632,994 1,228,245,742
52,478,183 86,915,018 49,936,351 41,959,615 16,112,984 683,167,746
30,728,182 89,491,958 31,623,406 17,566,134 9,444,307 1,337,401,970
3,651,031,783 445,095,777 404,657,403 4,500,784,963
818,878,641 202,217,472 374,575,907 1,395,672,020
323,868,777 89,844,254 307,370,846 721,083,877
818,878,641 138,705,021 300,828,287 1,258,411,949
1,019,175,896 1,019,175,896 (260,604,140) 758,571,756 (262,724,067) 495,847,689 495,847,689
(167,426,278) 10,610,535 (156,815,743) (114,710,310) (271,526,053) (208,794,869) (480,320,922) (480,320,922)
(37,916,131) (37,916,131) (75,137,915) (113,054,046) 5,290,056 (107,763,990) (107,763,990)
78,990,021 78,990,021 (81,111,188) (2,121,167) (133,577,988) (135,699,155) (135,699,155)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
63
บริษัท ไรมอน แลนด์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ต่อ) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ การแบ่งปันกำไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนที่เป็นของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำนาจควบคุมของบริษัทย่อย
การแบ่งปันกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนที่เป็นของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำนาจควบคุมของบริษัทย่อย
กำไรต่อหุ้น กำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
64
2555
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554
2554
495,770,854 76,835 495,847,689
(474,305,996) (6,014,926) (480,320,922)
(107,763,990)
(135,699,155)
495,770,854 76,835 495,847,689
(474,305,996) (6,014,926) (480,320,922)
(107,763,990)
(135,699,155)
0.14
(0.15)
(0.03)
(0.04)
22
65
131,900,646 131,900,646
3,250,385,569 325,038,556 3,575,424,125
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 ออกหุ้นสามัญเพิ่มทุน กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี เพิ่มเงินลงทุนในบริษัทย่อย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
19
-
ส่วนเกินมูลค่า หุ้นสามัญ
3,250,385,569 3,250,385,569
ทุนเรือนหุ้น ที่ออก และชำระแล้ว
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อยเพิ่ม กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
หมายเหตุ
บริษัท ไรมอน แลนด์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555
(564,048,205) (564,048,205)
(242,939,538) (321,108,667) (564,048,205) 36,131,233 36,131,233
36,131,233 36,131,233
(2,123,638,729) 495,770,854 (1,627,867,875)
(1,649,332,733) (474,305,996) (2,123,638,729)
ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนเกินของเงินลงทุนใน บริษัทย่อยซึ่งเกิดจากการซื้อ เงินลงทุนในบริษัทย่อยเพิ่ม ในราคาที่สูงกว่ามูลค่า ตามบัญชีของบริษัทย่อย กำไร (ขาดทุน) สะสม ณ วันที่ซื้อ จัดสรรแล้ว ยังไม่ได้จัดสรร
งบการเงินรวม
598,829,868 456,939,202 495,770,854 1,551,539,924
1,394,244,531 (321,108,667) (474,305,996) 598,829,868
รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น ของบริษัทฯ
4,243,092 76,835 300 4,320,227
4,149,351 6,108,667 (6,014,926) 4,243,092
ส่วนของ ผู้มีส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอำนาจ ควบคุม ของบริษทั ย่อย
603,072,960 456,939,202 495,847,689 300 1,555,860,151
1,398,393,882 (315,000,000) (480,320,922) 603,072,960
รวม ส่วนของ ผู้ถือหุ้น
(หน่วย: บาท)
66
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
19
3,250,385,569 325,038,556 3,575,424,125
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555
ออกหุ้นสามัญเพิ่มทุน กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
3,250,385,569 3,250,385,569
หมายเหตุ
ทุนเรือนหุ้น ที่ออก และชำระแล้ว
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
บริษัท ไรมอน แลนด์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555
131,900,646 131,900,646
ส่วนเกินมูลค่า หุ้นสามัญ
36,131,233 36,131,233
36,131,233 36,131,233
(603,596,245) (107,763,990) (711,360,235)
(467,897,090) (135,699,155) (603,596,245)
กำไร (ขาดทุน) สะสม จัดสรรแล้ว ยังไม่ได้จัดสรร
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2,682,920,557 456,939,202 (107,763,990) 3,032,095,769
2,818,619,712 (135,699,155) 2,682,920,557
รวม
(หน่วย: บาท)
บริษัท ไรมอน แลนด์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2555 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไร (ขาดทุน) ก่อนภาษี รายการปรับกระทบยอดกำไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำเนินงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย ขาดทุน (กำไร) จากการจำหน่าย/ ตัดจำหน่ายอุปกรณ์ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้น กำไรจากการขายที่ดินรอการพัฒนา ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในการร่วมค้า สำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน รายได้ดอกเบี้ยรับ ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย (ประกอบด้วยดอกเบี้ยจ่ายสำหรับการดำเนินงาน และดอกเบี้ยจ่ายที่บันทึกเป็นต้นทุนโครงการ) กำไรจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงใน สินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงาน สินทรัพย์ดำเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา เงินมัดจำค่าซื้อที่ดิน สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินมัดจำ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
2554
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554
758,571,756
(271,526,053)
(113,054,046)
(2,121,167)
38,569,614 (1,134,609) 2,816,225 (11,076,627)
40,971,317 7,766,065 2,773,599 (10,610,535) 3,385,922 (13,299,367)
27,269,934 (1,084,610) (525,408) 2,816,225 (41,959,615)
30,376,561 7,670,287 2,773,599 3,385,922 (17,566,134)
493,930,870
386,723,236
170,892,147
161,196,506
1,281,677,229
146,184,184
44,354,627
185,715,574
(35,247,416) 1,092,395,607 (114,413,340) (106,360,010) (17,065,455) 8,586,611 135,596
(1,890,737,979) (295,162,674) (2,901,012) (12,626,690) (809,912)
(365,795,036) (550,098,092) 31,070,936 (106,360,010) (1,355,481) 2,268,120 4,933
(67,214,359) 509,448,668 (299,531,684) 444,482 295,000 3,238,619
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
67
บริษัท ไรมอน แลนด์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด (ต่อ) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 (หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554
งบการเงินรวม 2555 หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน เงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดจาก (ใช้ไป) ในกิจกรรมดำเนินงาน รับดอกเบี้ย จ่ายดอกเบี้ย รับคืนภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไป) ในกิจกรรมดำเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินสดรับจากการจำหน่ายที่ดินรอการพัฒนา เงินสดจ่ายซื้ออุปกรณ์ เงินสดรับจากการจำหน่ายอาคารและอุปกรณ์ เงินสดจ่ายเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินสดจ่ายสุทธิเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อยและ สิทธิในการเรียกร้องหนี้ เงินสดรับจากการซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) จ่ายชำระเจ้าหนี้จากการซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย
(29,041,683) 55,548,803 35,170,714 (737,635,736) 2,016,591 4,426,323 1,440,193,835 11,076,627 (447,740,990) 36,789,492 (237,778,910) 802,540,054
207,484,424 7,785,204 11,950,775 1,231,389,330 9,692,157 (1,001,342) (588,753,535) 4,814,741 (368,711,611) 11,382,813 (101,578,503) (1,042,846,095)
(140,376,362) 15,130,641 1,000,929 988,510,953 (2,633,658) 4,381,475 (79,896,024) 24,103,485 (157,054,926) 36,789,492 (8,311,828) (184,369,801)
88,396,706 12,847,310 (7,044,702) 428,398,699 5,924,139 (1,094,585) 859,823,867 2,302,248 (119,724,703) 11,325,493 (14,651,807) 739,075,098
(18,438,952) 2,079,709 -
(12,710,580) 16,187,477 (315,499,700)
(152,221,653) 1,480,000 (12,358,815) 2,029,709 (49,999,700)
2,890,700 (11,791,773) 16,187,477 (315,499,704)
(16,359,243)
(201,341,041) 10,226,693 (503,137,151)
(211,070,459)
(280,000,000) (588,213,300)
220,000,000 (635,981,449) (57,494,746)
1,787,418,507 (160,631,346)
220,000,000 (315,000,000) 424,484,859 (57,494,746)
315,000,000 (193,725,819) (160,631,346)
เงินสดรับจากการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุน เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไป) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี
456,939,202 (16,536,993) 769,643,818 661,618,586 1,431,262,404
1,626,787,161 80,803,915 580,814,671 661,618,586
456,939,202 728,929,315 333,489,055 438,296,803 771,785,858
(39,357,165) 111,504,633 326,792,170 438,296,803
ข้อมูลกระแสเงินสดที่เปิดเผยเพิ่มเติม รายการที่ไม่ใช่เงินสด: โอนต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เป็น อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
232,844,127
-
-
-
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 68
2554
บริษัท ไรมอน แลนด จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555
1.
ขอมูลทั่วไป บริษัท ไรมอน แลนด จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เปนบริษัทมหาชนซึ่งจัดตั้งและมีภูมิลําเนา ในประเทศไทย โดยมี IFA Hotels & Resorts 3 Ltd. ซึ่งเปนบริษัทที่จดทะเบียนจัดตั้ง ในประเทศคูเวต เปนผูถือหุนรายใหญ ธุรกิจหลักของบริษัทฯคือการพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่อยูตามที่จดทะเบียนของบริษัทฯอยูที่ 62 อาคารเดอะมิลเลนเนีย ชั้น 22 หอง 2201-3 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ 2556 ผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯเปลี่ยนเปน JS Oil Pte Ltd. ซึ่งเปนบริษัทที่จดทะเบียนจัดตั้งในประเทศสิงคโปร
2.
เกณฑในการจัดทํางบการเงิน
2.1 งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กําหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบการเงินตามขอกําหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคาลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเปนงบการเงินฉบับที่บริษัทฯใชเปนทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมเวนแตจะไดเปดเผยเปนอยางอื่นในนโยบายการบัญชี
69
2.2 เกณฑในการจัดทํางบการเงินรวม ก)
งบการเงินรวมนี้ไดจัดทําขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท ไรมอน แลนด จํากัด (มหาชน) (ซึ่งตอไปนี้เรียกวา “บริษัทฯ”) และบริษัทยอย (ซึ่งตอไปนี้เรียกวา “บริษัทยอย”) ดังตอไปนี้ ชื่อบริษัท
ลักษณะธุรกิจ
จัดตั้งขึ้น ในประเทศ
อัตรารอยละ ของการถือหุน 2555 2554 รอยละ รอยละ 98.59 98.59 95.00 95.00 99.84 99.84
บริษัท คอนเท็มโพรารี่ พร็อพเพอรตี้ จํากัด บริษัท ไรมอน แลนด แพลนเนอร จํากัด บริษัท เดอะ ริเวอร จํากัด และบริษัทยอย (ถือหุนโดยบริษัทฯรอยละ 88.99 และถือทางออมโดยบริษัท คอนเท็มโพรารี่ พร็อพเพอรตี้ จํากัด รอยละ 10.85) บริษัท ไรมอน แลนด พร็อพเพอรตี้ จํากัด บริษัท ไรมอน แลนด พารค วิว ดีเวลลอปเมนส จํากัด บริษัท ไรมอน แลนด รีสอรทส จํากัด บริษัท นอรทพอยท พีอารซี จํากัด บริษัท ไรมอน แลนด เรสซิเดนซ จํากัด บริษัท ไรมอน แลนด ยูนิกซ จํากัด (ถือหุนโดยบริษัทฯรอยละ 89.8 และถือทางออมโดยบริษัท ไรมอน แลนด เรสซิเดนซ จํากัด รอยละ 10.2) (2554: ถือหุนโดยบริษัทฯรอยละ 49 และถือทางออมโดยบริษัท ไรมอน แลนด เรสซิเดนซ จํากัด รอยละ 51) บริษัท ไรมอน แลนด ดีเวลลอปเมนท จํากัด บริษัท ไรมอน แลนด เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ไรมอน แลนด เอกมัย จํากัด บริษัท ไรมอน แลนด สุขุมวิท จํากัด
พัฒนาอสังหาริมทรัพย วางแผนและบริหารจัดการ พัฒนาอสังหาริมทรัพย
ไทย ไทย ไทย
เลิกกิจการ เลิกกิจการ
ไทย ไทย
99.99
99.99
ลงทุนและใหบริการ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาอสังหาริมทรัพย
ไทย ไทย ไทย ไทย
99.93 99.99 99.99 99.99
99.93 99.99 99.99 99.99
พัฒนาอสังหาริมทรัพย ใหบริการ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาอสังหาริมทรัพย
ไทย ไทย ไทย ไทย
99.99 99.94 99.99 99.99
99.99 99.94 -
ในเดือนพฤษภาคม 2555 บริษัทฯไดลงทุนซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ไรมอน แลนด ยูนิกซ จํากัด เปนจํานวน 400,000 หุน มูลคาหุนละ100 บาท รวมเปนเงินจํานวน 40 ลานบาท คิดเปนรอยละ 100 ของหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทดังกลาว ทําใหบริษัทฯมีสัดสวนการถือหุนทางตรงในบริษัทยอย ดังกลาวเพิ่มจากรอยละ 49.0 เปนรอยละ 89.8 ของทุนจดทะเบียนของบริษัทยอยดังกลาว ในเดือนพฤศจิกายน 2555 บริษัทฯไดจัดตั้งบริษัท ไรมอน แลนด เอกมัย จํากัด โดยบริษัทฯถือหุน ในสัดสวนรอยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนของบริษัทยอยดังกลาว ในเดือนธันวาคม 2555 บริษัทฯไดจัดตั้งบริษัท ไรมอน แลนด สุขุมวิท จํากัด โดยบริษัทฯถือหุน ในสัดสวนรอยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนของบริษัทยอยดังกลาว 70
ข) บริษัทฯนํางบการเงินของบริษัทยอยมารวมในการจัดทํางบการเงินรวมตั้งแตวันที่บริษัทฯ มีอํานาจในการควบคุมบริษัทยอยจนถึงวันที่บริษัทฯสิ้นสุดการควบคุมบริษัทยอยนั้น ค) งบการเงินของบริษัทยอยไดจัดทําขึ้นโดยใชนโยบายการบัญชีที่สําคัญเชนเดียวกันกับของบริษัทฯ ง) ยอดคงคางระหวางบริษัทฯและบริษัทยอย รายการคาระหวางกันที่มีสาระสําคัญไดถูกตัดออกจาก งบการเงินรวมนี้แลว จ) สวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม คือ จํานวนกําไรหรือขาดทุนและสินทรัพยสุทธิ ของบริษัทยอยสวนที่ไมไดเปนของบริษัทฯ และแสดงเปนรายการแยกตางหากในสวนของกําไร หรือขาดทุนรวมและสวนของผูถือหุนในงบแสดงฐานะการเงินรวม 2.3 บริษัทฯจัดทํางบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชนตอสาธารณะ โดยแสดงเงินลงทุนในบริษัทยอยตาม วิธีราคาทุน
3.
มาตรฐานการบัญชีใหมที่ยังไมมีผลบังคับใช สภาวิชาชีพบัญชีไดออกมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหมซึ่งมีผลบังคับใช สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 ตามรายละเอียดขางลางนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 ภาษีเงินได ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปดเผย 2552) ขอมูลเกี่ยวกับความชวยเหลือจากรัฐบาล ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 สวนงานดําเนินงาน การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 ความชวยเหลือจากรัฐบาล - กรณีที่ไมมีความเกี่ยวของอยางเฉพาะเจาะจง กับกิจกรรมดําเนินงาน ฉบับที่ 21 ภาษีเงินได - การไดรับประโยชนจากสินทรัพยที่ไมไดคิดคาเสื่อมราคาที่ ตีราคาใหม ฉบับที่ 25 ภาษีเงินได - การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการหรือของ ผูถือหุน ฝายบริหารของบริษัทฯและบริษัทยอยเชื่อวามาตรฐานการบัญชีขางตนจะไมมีผลกระทบอยางเปนสาระ สําคัญตองบการเงินเมื่อนํามาถือปฏิบัติ ทั้งนี้บริษัทฯและบริษัทยอยไดถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได กอนวันที่มีผลบังคับใช
71
นอกจากนี้ สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 30/2555 - 34/2555 ซึ่งลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2556 ใหใชแนวปฏิบัติทางบัญชีและ การตีความมาตรฐานการบัญชี ดังตอไปนี้ วันที่มีผลบังคับใช แนวปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับการโอนและการรับโอนสินทรัพยทางการเงิน 1 มกราคม 2556 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 การเปดเผยขอมูลของขอตกลงสัมปทานบริการ 1 มกราคม 2557 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 การประเมินวาขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชาหรือไม 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 12 ขอตกลงสัมปทานบริการ 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 13 โปรแกรมสิทธิพิเศษแกลูกคา 1 มกราคม 2557 ฝายบริหารของบริษัทฯและบริษัทยอยไดประเมินแลวเห็นวาแนวปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับการโอนและ การรับโอนสินทรัพยทางการเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 การตีความมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับที่ 4 และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 ไมเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ ของบริษัทฯและบริษัทยอย สวนการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 13 อยูระหวางการ ประเมินผลกระทบตองบการเงินในปที่เริ่มใช ซึ่งยังไมสามารถสรุปผลไดในขณะนี้
4.
นโยบายการบัญชีที่สําคัญ
4.1 การรับรูรายได รายไดจากการขายหนวยในอาคารชุดพักอาศัย รายไดจากการขายหนวยในอาคารชุดพักอาศัยรับรูเปนรายไดทั้งจํานวนเมื่อมีการโอนความเสี่ยงและ ผลตอบแทนที่มีนัยสําคัญใหกับผูซื้อแลว รายไดคาเชาและคาบริการที่เกี่ยวของ รายไดจากคาเชาหองและคาบริการที่เกี่ยวของในอาคารสํานักงานและอาคารพักอาศัยจะรับรูเปนรายได ตามเกณฑสิทธิ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับถือเปนรายไดตามเกณฑคงคางโดยคํานึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แทจริง 4.2 ตนทุนการขายหนวยในอาคารชุดพักอาศัย ในการคํานวณหาตนทุนขายหนวยในอาคารชุดพักอาศัยไดทําการแบงสรรตนทุนการพัฒนาทั้งหมด เกิดขึ้นตามเกณฑราคาขาย 4.3 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดหมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้น ที่มีสภาพคลองสูง ซึ่งถึงกําหนดจายคืนภายในระยะเวลาไมเกิน 3 เดือนนับจากวันที่ไดมา และไมมีขอจํากัดในการเบิกใช 72
4.4 ลูกหนี้การคาและคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การคาแสดงมูลคาตามจํานวนมูลคาสุทธิที่จะไดรับ บริษัทฯและบริษัทยอยบันทึกคาเผื่อหนี้สงสัย จะสูญสําหรับผลขาดทุนโดยประมาณที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไมได ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณา จากประสบการณการเก็บเงินและการวิเคราะหอายุหนี้ 4.5 ตนทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย ตนทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยแสดงตามราคาทุนสุทธิจากคาเผื่อผลขาดทุนจากการลดลงของ มูลคาโครงการ โดยมีรายละเอียดการคํานวณราคาทุนดังนี้ ที่ดิน
- บริษัทฯและบริษัทยอยบันทึกราคาทุนของที่ดินโดยแยกตามแตละโครงการ
งานระหวางกอสราง
- ตนทุนงานระหวางกอสรางประกอบดวยตนทุนคาออกแบบ ตนทุนงานกอสราง ตนทุนงานสาธารณูปโภคสวนกลางและดอกเบี้ยจายที่ถือเปนตนทุนของ โครงการ บริษัทฯและบริษัทยอยบันทึกตนทุนคาออกแบบ คากอสรางและ งานสาธารณูปโภคตามที่เกิดขึ้นจริง
4.6 ตนทุนการกูยืม ตนทุนการกูยืมของเงินกูยืมที่ใชในการจัดหาหรือกอสรางโครงการตางๆ ที่ตองใชระยะเวลานานในการ ทําใหอยูในสภาพพรอมที่จะขาย ไดถูกนําไปรวมเปนราคาทุนของโครงการจนกวาโครงการนั้นจะเสร็จสมบูรณ ตามที่มุงประสงคหรือหยุดชะงักลงจนกวาจะมีการดําเนินการพัฒนาตอไป สวนตนทุนการกูยืมอื่นถือเปน คาใชจายในงวดที่เกิดรายการ ตนทุนการกูยืมประกอบดวยดอกเบี้ยและตนทุนอื่นที่เกิดขึ้นจากการกูยืมนั้น 4.7 เงินลงทุน ก) เงินลงทุนในการรวมคาที่แสดงอยูในงบการเงินรวมแสดงมูลคาตามวิธีสวนไดเสีย ข) เงินลงทุนในบริษัทยอย และการรวมคาที่แสดงอยูในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลคาตามวิธีราคาทุน 4.8 อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน บริษัทฯบันทึกมูลคาเริ่มแรกของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนในราคาทุนซึ่งรวมตนทุนการทํารายการ หลังจากนั้น บริษัทฯจะบันทึกอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนดวยราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและ คาเผื่อการดอยคา (ถามี) คาเสื่อมราคาของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนคํานวณจากราคาทุนโดยวิธีเสนตรงตามอายุการให ประโยชนโดยประมาณ 20 ป และ 24 ป ตามอายุสิทธิการเชาคงเหลือ คาเสื่อมราคาของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนรวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงานบริษัทฯรับรู ผลตางระหวางจํานวนเงินที่ไดรับสุทธิจากการจําหนายกับมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยในสวนของกําไร หรือขาดทุนในงวดที่ตัดรายการอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนออกจากบัญชี
73
4.9 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ และคาเสื่อมราคา ที่ดินแสดงมูลคาตามราคาทุน อาคารและอุปกรณแสดงตามราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและคาเผื่อ การดอยคาของสินทรัพย คาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณคํานวณจากราคาทุนของสินทรัพย โดยใชวิธีเสนตรงตามอายุการใหประโยชนโดยประมาณดังนี้ อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร อาคารตัวอยางชั่วคราว เครื่องตกแตง ติดตั้งและอุปกรณสํานักงาน ยานพาหนะ
20 3 3, 5 5
ป ป ป ป
คาเสื่อมราคารวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน ไมมีการคิดคาเสื่อมราคาสําหรับที่ดินและสวนปรับปรุงที่ดิน บริษัทฯตัดรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ออกจากบัญชี เมื่อจําหนายสินทรัพยหรือคาดวาจะไมไดรับ ประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากการใชหรือการจําหนายสินทรัพย รายการผลกําไรหรือขาดทุนจากการ จําหนายสินทรัพยจะรับรูในสวนของกําไรหรือขาดทุนเมื่อบริษัทฯตัดรายการสินทรัพยนั้นออกจากบัญชี 4.10 สิทธิการเชาและคาตัดจําหนาย สิทธิการเชาแสดงมูลคาตามราคาทุนหลังหักคาตัดจําหนายสะสม คาตัดจําหนายของสิทธิการเชา คํานวณจากราคาทุนของสิทธิการเชาโดยใชวิธีเสนตรงตามอายุสัญญาเชา 4.11 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอํานาจควบคุมบริษัทฯ หรือ ถูกบริษัทฯควบคุมไมวาจะเปนโดยทางตรงหรือทางออม หรืออยูภายใตการควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันยังหมายรวมถึงบริษัทรวมและบุคคลที่มสี ิทธิออกเสียงโดย ทางตรงหรือทางออมทําใหมีอิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญตอบริษัทฯ ผูบริหารสําคัญ กรรมการหรือ พนักงานของบริษัทฯ ที่มีอํานาจในการวางแผนและควบคุมการดําเนินงานของบริษัทฯ 4.12 สัญญาเชาระยะยาว สัญญาเชาอุปกรณที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสวนใหญไดโอนไปใหกับผูเชาถือ เปนสัญญาเชาการเงิน สัญญาเชาการเงินจะบันทึกเปนรายจายฝายทุนดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพย ที่เชาหรือมูลคาปจจุบันสุทธิของจํานวนเงินที่ตองจายตามสัญญาเชาแลวแตมูลคาใดจะต่ํากวา ภาระ ผูกพันตามสัญญาเชาหักคาใชจายทางการเงินจะบันทึกเปนหนี้สินระยะยาว สวนดอกเบี้ยจายจะบันทึก ในสวนของกําไรหรือขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเชา สินทรัพยที่ไดมาตามสัญญาเชาการเงินจะคิด คาเสื่อมราคาตลอดอายุการใชงานของสินทรัพยที่เชา สัญญาเชาอาคาร และอุปกรณที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสวนใหญไมไดโอน ไปใหกับผูเชาถือเปนสัญญาเชาดําเนินงาน จํานวนเงินที่จายตามสัญญาเชาดําเนินงานรับรูเปนคาใชจาย ในสวนของกําไรหรือขาดทุนตามวิธีเสนตรงตลอดอายุของสัญญาเชา
74
4.13 เงินตราตางประเทศ รายการที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินที่เปนตัวเงินซึ่งอยูในสกุลเงินตราตางประเทศไดแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กําไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนไดรวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน 4.14 การดอยคาของสินทรัพย ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯจะทําการประเมินการดอยคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณและ สินทรัพยอื่นของบริษัทฯหากมีขอบงชี้วาสินทรัพยดังกลาวอาจดอยคา บริษัทฯรับรูขาดทุนจากการ ดอยคาเมื่อมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยมีมูลคาต่ํากวามูลคาตามบัญชีของสินทรัพยนั้น ทั้งนี้มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนหมายถึงมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขายของสินทรัพยหรือมูลคาจาก การใชสินทรัพยแลวแตราคาใดจะสูงกวา ในการประเมินมูลคาจากการใชสินทรัพย บริษัทฯประมาณการ กระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการคาดวาจะไดรับจากสินทรัพยและคํานวณคิดลดเปนมูลคาปจจุบนั โดยใชอัตราคิดลดกอนภาษีที่สะทอนถึงการประเมินความเสี่ยงในสภาพตลาดปจจุบันของเงินสดตาม ระยะเวลาและความเสี่ยงซึ่งเปนลักษณะเฉพาะของสินทรัพยที่กําลังพิจารณาอยู ในการประเมินมูลคา ยุติธรรมหักตนทุนในการขาย บริษัทฯใชแบบจําลองการประเมินมูลคาที่ดีที่สุดซึ่งเหมาะสมกับสินทรัพย ซึ่งสะทอนถึงจํานวนเงินที่กิจการสามารถจะไดมาจากการจําหนายสินทรัพยหักดวยตนทุนในการจําหนาย โดยการจําหนายนั้นผูซื้อกับผูขายมีความรอบรูและเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถตอรองราคากัน ไดอยางเปนอิสระในลักษณะของผูที่ไมมีความเกี่ยวของกัน บริษัทฯจะรับรูรายการขาดทุนจากการดอยคาในสวนของกําไรหรือขาดทุน 4.15 ผลประโยชนของพนักงาน ผลประโยชนระยะสั้นของพนักงาน บริษัทฯรับรู เงินเดือน คาจาง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและโครงการสะสมหุนสําหรับ พนักงานบริษัทฯจดทะเบียนเปนคาใชจายเมื่อเกิดรายการ ผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริษัทฯและพนักงานไดรวมกันจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซึ่งประกอบดวยเงินที่พนักงานจายสะสม และเงินที่บริษัทฯจายสมทบใหเปนรายเดือน สินทรัพยของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพไดแยกออกจาก สินทรัพยของบริษัทฯ เงินที่บริษัทฯจายสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพบันทึกเปนคาใชจายในปที่เกิดรายการ โครงการผลประโยชนหลังออกจากงาน บริษัทฯมีภาระสําหรับเงินชดเชยที่ตองจายใหแกพนักงานเมื่อออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน ซึ่ง บริษัทฯถือวาเงินชดเชยดังกลาวเปนโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานสําหรับพนักงาน บริษัทฯคํานวณหนี้สินตามโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงาน โดยใชวิธีคิดลด แตละหนวยที่ประมาณการไว (Projected Unit Credit Method) โดยผูเชี่ยวชาญอิสระไดทําการ ประเมินภาระผูกพันดังกลาวตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย 75
ผลกําไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย สําหรับโครงการผลประโยชน หลังออกจากงานของพนักงานจะรับรูทันทีในกําไรหรือขาดทุน 4.16 ภาษีเงินได ภาษีเงินไดประกอบดวยภาษีเงินไดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดปจจุบัน บริษัทฯและบริษัทยอยบันทึกภาษีเงินไดปจจุบันตามจํานวนที่คาดวาจะจายใหกับหนวยงานจัดเก็บภาษี ของรัฐ โดยคํานวณจากกําไรทางภาษีตามหลักเกณฑที่กําหนดในกฎหมายภาษีอากร ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี บริษัทฯและบริษทั ยอยบันทึกภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีของผลแตกตางชั่วคราวระหวางราคาตามบัญชี ของสินทรัพยและหนี้สิน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสินทรัพยและหนี้สินที่ เกี่ยวของนั้น โดยใชอัตราภาษีที่มีผลบังคับใช ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทยอยรับรูหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีของผลแตกตางชั่วคราวที่ตองเสียภาษีทุกรายการ แตรับรูสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสําหรับผลแตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษี รวมทั้งผลขาดทุนทาง ภาษีที่ยังไมไดใชในจํานวนเทาที่มีความเปนไปไดคอนขางแนที่บริษัทฯจะมีกําไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอ ที่จะใชประโยชนจากผลแตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษีและผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไมไดใชนั้น บริษัทฯและบริษัทยอยจะทบทวนมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ณ ทุกสิ้นรอบ ระยะเวลารายงานและจะทําการปรับลดมูลคาตามบัญชีดังกลาว หากมีความเปนไปไดคอนขางแนวา บริษัทฯจะไมมีกําไรทางภาษีเพียงพอตอการนําสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีทั้งหมดหรือบางสวน มาใชประโยชน บริษัทฯและบริษทั ยอยจะบันทึกภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีโดยตรงไปยังสวนของผูถือหุนหากภาษีที่ เกิดขึ้นเกี่ยวของกับรายการที่ไดบันทึกโดยตรงไปยังสวนของผูถือหุน
5.
การใชดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ ในการจัดทํางบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝายบริหารจําเปนตองใชดุลยพินิจและ การประมาณการในเรื่องที่มีความไมแนนอนเสมอ การใชดุลยพินิจและการประมาณการดังกลาวนี้ สงผลกระทบตอจํานวนเงินที่แสดงในงบการเงินและตอขอมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกตางไปจากจํานวนที่ประมาณการไว การใชดุลยพินิจและการประมาณการ ที่สําคัญมีดังนี้ ที่ดิน อาคารและอุปกรณและคาเสื่อมราคา ในการคํานวณคาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ ฝายบริหารจําเปนตองทําการประมาณอายุการ ใหประโยชนและมูลคาคงเหลือเมื่อเลิกใชงานของอาคารและอุปกรณ และตองทบทวน อายุการใหประโยชนและมูลคาคงเหลือใหมหากมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น นอกจากนี้ฝายบริหารจําเปนตองสอบทานการดอยคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณในแตละชวงเวลาและ บันทึกขาดทุนจากการดอยคาหากคาดวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนต่ํากวามูลคาตามบัญชีของสินทรัพยนั้น ในการนี้ฝายบริหารจําเปนตองใชดุลยพินิจที่เกี่ยวของกับการคาดการณรายไดและคาใชจายในอนาคตซึ่ง เกี่ยวเนื่องกับสินทรัพยนั้น
76
สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี บริษัทฯและบริษัทยอยจะรับรูสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสําหรับผลแตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษี และขาดทุนทางภาษีที่ไมไดใชเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนวาบริษัทฯจะมีกําไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอ ที่จะใชประโยชนจากผลแตกตางชั่วคราวและขาดทุนนั้น ในการนี้ฝายบริหารจําเปนตองประมาณการวา บริษัทฯและบริษัทยอยควรรับรูจํานวนสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีเปนจํานวนเทาใด โดยพิจารณา ถึงจํานวนกําไรทางภาษีที่คาดวาจะเกิดในอนาคตในแตละชวงเวลา ผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน หนี้สินตามโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงาน ประมาณขึ้นตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัย ซึ่งตองอาศัยขอสมมติฐานตาง ๆในการประมาณการนั้น เชน อัตราคิดลด อัตราการขึ้น เงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะ และอัตราการเปลี่ยนแปลงในจํานวนพนักงาน เปนตน คดีฟองรอง บริษัทฯและบริษัทยอยมีหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการถูกฟองรองเรียกคาเสียหาย ซึ่งฝายบริหารไดใช ดุลยพินิจในการประเมินผลของคดีที่ถูกฟองรองแลวและเชื่อมั่นวาจะไมมีความเสียหายเกิดขึ้นจึงไมได บันทึกประมาณการหนี้สินดังกลาว ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน
6.
รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวของกัน ในระหวางป บริษัทฯและบริษัทยอยมีรายการธุรกิจที่สําคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน รายการธุรกิจดังกลาวเปนไปตามเงื่อนไขทางการคาและเกณฑตามที่ตกลงกันระหวางบริษัทฯและบุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวของกันเหลานั้น ซึ่งเปนไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปไดดังนี้
รายการธุรกิจกับบริษัทยอย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแลว) รายไดคาบริหารโครงการ รายไดคาธรรมเนียมการตลาด รายไดคาธรรมเนียมการค้ําประกัน ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย รายการธุรกิจกับกิจการที่ควบคุมรวมกัน ดอกเบี้ยรับ รายไดคาธรรมเนียมการตลาด รายการธุรกิจกับบริษัทที่เกี่ยวของกัน (เกี่ยวของโดยมีกรรมการรวมกัน) คาบริการจาย รายการธุรกิจกับกรรมการและพนักงาน รายไดจากการขายหนวยในอาคาร ชุดพักอาศัย
งบการเงินรวม 2555 2554
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554
(หนวย: ลานบาท) นโยบายการกําหนดราคา
31 ตามที่ระบุในสัญญา 54 ราคาเทากับบุคคลภายนอก 32 อัตรารอยละ 1 ตอป ของภาระ ค้ําประกันคงคางถัวเฉลี่ย 7 อัตราดอกเบี้ยรอยละ 3 - 10 ตอป 24 อัตราดอกเบี้ยรอยละ 3 ตอป และ MLR ถัวเฉลี่ย-0.75 ตอป (2554: อัตราดอกเบี้ยรอยละ 5 ตอป)
-
-
52 80 50
-
-
35 14
-
8 30
-
8 อัตราดอกเบี้ยรอยละ 7.5 ตอป 30 ราคาเทากับบุคคลภายนอก
9
2
1
1 ราคาเทียบเคียงกับราคาตลาด
15
-
-
- ราคาเทียบเคียงกับราคาตลาด
77
ยอดคงคางระหวางบริษัทฯและกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีรายละเอียดดังนี้
ลูกหนีอ้ ่นื กิจการที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 8) บริษัทยอย - บริษัท ตากสิน พร็อพเพอรตี้ส จํากัด - บริษัท ไรมอน แลนด ดีเวลลอปเมนท จํากัด - บริษัท ไรมอน แลนด ยูนิกซ จํากัด บริษัทที่เกี่ยวของกัน - บริษัท ชะอํา แคมปส ซิต้ี จํากัด หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ เจาหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 15) ผูถือหุนใหญ - IFA Hotels & Resorts 3 Ltd. บริษัทที่เกี่ยวของกัน - บริษัท สยาม แอดมินนิสเทรทีฟ แมเนจเมนท จํากัด
(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554
งบการเงินรวม 2555 2554 -
-
669,972 28,808 2,670
314,115 21,540 -
-
19,200 (19,200) -
701,450
19,200 (19,200) 335,655
29,983
29,983
-
-
5,850 35,833
564 30,547
135 135
41 41
เงินมัดจําและเงินรับลวงหนาจากกิจการที่เกี่ยวของกัน - กรรมการและพนักงาน 15,294 - บริษัทที่เกี่ยวของกัน (มีกรรมการรวมกัน) 11,808 27,102
3,712 34,541 38,253
10,111 11,808 21,919
6,962 6,962
เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน และเงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน ยอดคงคางของเงินใหกูยืมและดอกเบี้ยคางรับ และเงินกูยืมและดอกเบี้ยคางจาย ระหวางบริษัทฯ และกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 และรายการเคลื่อนไหว มีรายละเอียดดังนี้ (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม
เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกันและ ดอกเบี้ยคางรับ บริษัทที่เกี่ยวของกัน - บริษัท ชะอํา แคมปส ซิต้ี จํากัด เงินใหกูยืม ดอกเบี้ยคางรับ หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
78
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
427,319 401,996 (829,315) -
เพิ่มขึ้น ระหวางป
ลดลง ระหวางป
-
(427,319) (401,996) 829,315 -
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
-
เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน และดอกเบี้ยคางรับ บริษัทยอย - บริษัท ไรมอน แลนด พร็อพเพอรต้ี จํากัด เงินใหกูยืม - บริษัท ไรมอน แลนด พารค วิว ดีเวลลอปเมนส จํากัด เงินใหกูยืม ดอกเบี้ยคางรับ - บริษัท ไรมอน แลนด รีสอรทส จํากัด เงินใหกูยืม ดอกเบี้ยคางรับ - บริษัท ไรมอน แลนด ดีเวลลอปเมนท จํากัด เงินใหกูยืม ดอกเบี้ยคางรับ - บริษัท ตากสิน พร็อพเพอรตี้ส จํากัด เงินใหกูยืม ดอกเบี้ยคางรับ - บริษัท ไรมอน แลนด ยูนิกซ จํากัด เงินใหกูยืม ดอกเบี้ยคางรับ - บริษัท ไรมอน แลนด เรสซิเดนซ จํากัด เงินใหกูยืม ดอกเบี้ยคางรับ บริษัทที่เกี่ยวของกัน - บริษัท ชะอํา แคมปส ซิตี้ จํากัด เงินใหกูยืม ดอกเบี้ยคางรับ หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน และดอกเบี้ยคางจาย บริษัทยอย - บริษัท คอนเท็มโพรารี่ พร็อพเพอรตี้ จํากัด เงินกูยืม ดอกเบี้ยคางจาย - บริษัท ตากสิน พร็อพเพอรต้สี จํากัด เงินกูยืม ดอกเบี้ยคางจาย
(หนวย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
เพิ่มขึ้น ระหวางป
ลดลง ระหวางป
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
285,500
-
-
285,500
16,700 1,178
799
(1,700) -
15,000 1,977
6,060 576
4,600 470
(260) (13)
10,400 1,033
294,500 110,358
20,000 16,601
(108,922) (61,497)
205,578 65,462
-
300,000 4,626
(300,000) (4,626)
-
-
300,000 12,808
(12,808)
300,000 -
256,899 87,850
-
-
256,899 87,850
427,319 401,996 1,888,936 (1,449,930) 439,006
659,904 659,904
(427,319) (401,996) (1,319,141) 829,315 (489,826)
1,229,699 (620,615) 609,084
182,500 55,248
5,490
-
182,500 60,738
315,000 14,961 567,709
8,490 13,980
(315,000) (23,451) (338,451)
243,238
79
คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทฯและบริษัทยอยมีคาใชจายผลประโยชนพนักงานที่ใหแกกรรมการและผูบริหาร ดังตอไปนี้ (หนวย: ลานบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 2555 2554 ผลประโยชนระยะสั้น 97 52 97 52 ผลประโยชนหลังออกจากงาน 1 1 1 1 รวม 98 53 98 53 ภาระค้ําประกันกับกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทฯและบริษัทยอยแหงหนึ่งมีภาระจากการค้ําประกันใหกับกิจการที่เกี่ยวของกันตามที่กลาวไวใน หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 16 และ 24.3 ลูกหนี้อื่น เงินใหกูยืมระยะสั้น และดอกเบี้ยคางรับจากบริษัทที่เกี่ยวของกัน ในปปจจุบัน บริษัทฯตัดจําหนายลูกหนี้อื่น เงินใหกูยืมระยะสั้น และดอกเบี้ยคางรับจากบริษัท ชะอํา แคมปส ซิตี้ จํากัด ซึ่งบริษัทฯเคยบันทึกคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไวแลวทั้งจํานวน ออกจากบัญชี ดังกลาวเปนหนี้สูญ รวมเปนจํานวนเงิน 849 ลานบาท เงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษัทยอย เงินใหกูยืมแกบริษัทยอย เปนเงินกูยืมที่ไมมีหลักประกัน อัตราดอกเบี้ยรอยละ 3.0 - 7.5 ตอป และมีกําหนดชําระคืนเมื่อทวงถาม ในระหวางปปจจุบัน บริษัทฯทําสัญญาเงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษัทยอย ดังตอไปนี้ ก) เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2555 บริษัทฯไดทําสัญญาเงินใหกูยืมแกบริษัท ไรมอน แลนด ยูนิกซ จํากัด ในวงเงินจํานวน 1,535 ลานบาท เงินใหกูยืมดังกลาวไมมีหลักประกัน คิดดอกเบี้ยในอัตรา MLR ลบรอยละ 1.75 ตอป และมีกําหนดชําระคืนเมื่อทวงถาม ข) เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2555 บริษัทฯไดทําสัญญาเงินใหกูยืมแกบริษัท ไรมอน แลนด รีสอรทส จํากัด ในวงเงินจํานวน 5 ลานบาท เงินใหกูยืมดังกลาวไมมีหลักประกัน อัตราดอกเบี้ยรอยละ 3 ตอป และมีกําหนดชําระคืนเมื่อทวงถาม ค) เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2555 บริษัทฯไดทําสัญญาเงินใหกูยืมแกบริษัท ไรมอน แลนด ดีเวลลอปเมนท จํากัด ในวงเงินจํานวน 200 ลานบาท เงินใหกูยืมดังกลาวไมมีหลักประกัน อัตราดอกเบี้ยรอยละ 5 ตอป และมีกําหนดชําระคืนเมื่อทวงถาม ง) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2555 บริษัทฯไดทําสัญญาเงินใหกูยืมแกบริษัท ตากสิน พร็อพเพอรตี้ส จํากัด ในวงเงินจํานวน 300 ลานบาท เงินใหกูยืมดังกลาวไมมีหลักประกัน คิดดอกเบี้ยในอัตรา MLR ถัวเฉลี่ยลบรอยละ 0.75 ตอป และมีกําหนดชําระคืนเมื่อทวงถาม
80
เงินกูยืมระยะสั้นจากบริษัทยอย เงินกูยืมจากบริษัทยอย เปนเงินกูยืมที่ไมมีหลักประกัน อัตราดอกเบี้ย MLR ถัวเฉลี่ยลบรอยละ 0.75 และรอยละ 3 ตอป และมีกําหนดชําระคืนเมื่อทวงถาม ในระหวางปปจจุบัน บริษัทฯไดเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมระยะสั้นกับบริษัท คอนเท็มโพรารี่ พร็อพเพอรตี้ จํากัด จากอัตราดอกเบี้ยรอยละ 5 ตอป เปนรอยละ 3 ตอป
7.
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด
เงินสด เงินฝากธนาคาร รวม
งบการเงินรวม 2555 2554 290 540 661,079 1,430,972 661,619 1,431,262
(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 105 165 771,681 438,132 771,786 438,297
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เงินฝากออมทรัพย และเงินฝากประจํา มีอัตราดอกเบี้ยระหวางรอยละ 0.50 ถึง 2.25 ตอป (2554: รอยละ 0.50 ถึง 1.25 ตอป)
8.
ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น
ลูกหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน ลูกหนี้อ่นื - กิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้อ่นื - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน รวมลูกหนี้การคาและลูกหนี้อ่นื
9.
-
(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 701,450 335,655 701,450 335,655
งบการเงินรวม 2555 2554 4,639,472 11,868,334 751,772 6,655,395 11,294,867 12,620,106
(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 3,463,281 2,600,376 434,122 746,929 3,897,403 3,347,305
งบการเงินรวม 2555 2554 10,266 24,981 35,247
ตนทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย
ที่ดินและสิ่งปลูกสรางระหวางพัฒนา ที่ดินและสิ่งปลูกสรางที่พัฒนาแลว รวม
ในระหวางป 2555 และ 2554 บริษัทฯและบริษัทยอยไดบันทึกตนทุนการกูยืมจํานวนประมาณ 275 ลานบาท และ 345 ลานบาท ตามลําดับ (งบการเงินเฉพาะบริษัทฯ: 105 ลานบาท และ 90 ลานบาท ตามลําดับ) เปนสวนหนึ่งของตนทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย โดยมีอัตราตั้งขึ้นเปนราคาทุนของ ตนทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยประมาณรอยละ 7 ตอป (2554: รอยละ 7 ตอป) 81
บริษัทฯและบริษัทยอยไดนําที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางบนที่ดินไปจดจํานองไวกับธนาคารและสถาบันการเงิน เพื่อเปนหลักประกันเงินกูยืมของบริษัทฯและบริษัทยอยจากธนาคารและสถาบันการเงิน
10. เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทยอยตามที่แสดงอยูในงบการเงินเฉพาะกิจการมีรายละเอียดดังตอไปนี้ บริษัท
บริษัท คอนเท็มโพรารี่ พร็อพเพอรตี้ จํากัด บริษัท ไรมอน แลนด แพลนเนอร จํากัด บริษัท ไรมอน แลนด พารค วิว ดีเวลลอปเมนส จํากัด บริษัท เดอะ ริเวอร จํากัด และบริษัทยอย (ถือหุนโดยบริษัทฯรอยละ 88.99 และถือทางออมโดยบริษัท คอนเท็มโพรารี่ พร็อพเพอรตี้ จํากัด รอยละ 10.85) บริษัท ไรมอน แลนด รีสอรทส จํากัด บริษัท นอรทพอยท พีอารซี จํากัด บริษัท ไรมอน แลนด เรสซิเดนซ จํากัด บริษัท ไรมอน แลนด ยูนิกซ จํากัด (ถือหุนโดยบริษัทฯรอยละ 89.8 และทางออม โดยบริษัท ไรมอน แลนด เรสซิเดนซ จํากัด รอยละ 10.2) (2554: ถือหุนโดยบริษัทฯ รอยละ 49 และทางออมโดยบริษัท ไรมอน แลนด เรสซิเดนซ จํากัด รอยละ 51) บริษัท ไรมอน แลนด ดีเวลลอปเมนท จํากัด บริษัท ไรมอน แลนด เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ไรมอน แลนด เอกมัย จํากัด บริษัท ไรมอน แลนด สุขุมวิท จํากัด รวม หัก: คาเผื่อผลขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทยอย - สุทธิ
ทุนเรียกชําระแลว 2555 2554
(หนวย: พันบาท) ราคาทุน 2555 2554
200,000 2,000 100,000
196,126 1,900 100,000
196,126 1,900 100,000
สัดสวนเงินลงทุน 2555 2554 รอยละ รอยละ 200,000 98.59 98.59 2,000 95.00 95.00 100,000 99.99 99.99
1,232,030
1,232,030
99.84
99.84
1,121,994
1,121,994
250 2,500 10,000 50,000
250 2,500 10,000 10,000
99.93 99.99 99.99 99.99
99.93 99.99 99.99 99.99
250 2,500 5,099 40,000
250 2,500 5,099 -
500,000 500 5,000 5,000
500,000 500 -
99.99 99.94 99.99 99.99
99.99 99.94 -
390,695 500 5,000 5,000 1,869,064 (105,099)
390,695 500 1,819,064 (105,099)
1,763,965
1,713,965
บริษัทฯไดนําหุนสามัญของบริษัท เดอะ ริเวอร จํากัด และบริษัท ไรมอน แลนด ดีเวลลอปเมนท จํากัด ไปวางเปนหลักทรัพยค้ําประกันเงินกูยืมระยะยาวจากธนาคารของบริษัทยอย
82
บริษัท ไรมอน แลนด ยูนิกซ จํากัด เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2555 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัท ไรมอน แลนด ยูนิกซ จํากัด ไดมีมติอนุมัติใหเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 10 ลานบาท เปน 50 ลานบาท โดยการออกหุนสามัญจํานวน 400,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท และไดจดทะเบียนเพิ่มทุนดังกลาวกับกระทรวงพาณิชยแลว เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2555 โดยเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2555 บริษัทฯไดลงทุนซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ไรมอน แลนด ยูนิกซ จํากัด เปนจํานวน 400,000 หุน มูลคาหุนละ100 บาท รวมเปนเงินจํานวน 40 ลานบาท คิดเปนรอยละ 100 ของหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทดังกลาว ทําใหบริษัทฯมีสัดสวนการถือหุนในบริษัทยอยดังกลาว เพิ่มจากรอยละ 49.0 เปนรอยละ 89.8 ของทุนจดทะเบียนของบริษัทยอยดังกลาว บริษัท ไรมอน แลนด เอกมัย จํากัด เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2555 บริษัทฯไดจดทะเบียนจัดตั้ง บริษัท ไรมอน แลนด เอกมัย จํากัด ซึ่งมี ทุนจดทะเบียนจํานวน 10 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ 100,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท โดยบริษัทฯลงทุนในหุนสามัญจํานวน 99,997 หุน คิดเปนรอยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนของบริษัท ดังกลาว บริษัท ไรมอน แลนด เอกมัย จํากัด ไดเรียกชําระคาหุนรอยละ 50 ของทุนจดทะเบียน โดย บริษัทฯไดจายชําระคาหุนเปนจํานวนเงิน 5 ลานบาท บริษัท ไรมอน แลนด สุขุมวิท จํากัด เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2555 บริษัทฯไดจดทะเบียนจัดตั้ง บริษัท ไรมอน แลนด สุขุมวิท จํากัด ซึ่งมี ทุนจดทะเบียนจํานวน 10 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ 100,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท โดยบริษัทฯลงทุนในหุนสามัญจํานวน 99,997 หุน คิดเปนรอยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนของบริษัท ดังกลาว บริษัท ไรมอน แลนด สุขุมวิท จํากัด ไดเรียกชําระคาหุนรอยละ 50 ของทุนจดทะเบียน โดย บริษัทฯไดจายชําระคาหุนเปนจํานวนเงิน 5 ลานบาท บริษัท ไรมอน แลนด ดีเวลลอปเมนท (สิงคโปร) จํากัด เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ 2556 บริษัทฯไดจดทะเบียนจัดตั้ง บริษัท ไรมอน แลนด ดีเวลลอปเมนท (สิงคโปร) จํากัด ซึ่งมีทุนจดทะเบียนจํานวน 2 ดอลลารสิงคโปร แบงเปนหุนสามัญ 2 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 1 ดอลลารสิงคโปร โดยบริษัทฯลงทุนในหุนสามัญจํานวน 2 หุน คิดเปนรอยละ 100 ของ ทุนจดทะเบียนของบริษัทดังกลาว
83
11. อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน มูลคาตามบัญชีของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 แสดงไดดังนี้ (หนวย: พันบาท)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555: ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม มูลคาตามบัญชี - สุทธิ
ที่ดินและอาคารใหเชา งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554: ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม มูลคาตามบัญชี - สุทธิ
286,322 (17,047) 269,275
53,478 (17,047) 36,431
53,478 (15,402) 38,076
53,478 (15,402) 38,076
การกระทบยอดมูลคาตามบัญชีของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนสําหรับป 2555 และ 2554 แสดงไดดังนี้
มูลคาตามบัญชีตนป โอนเปลี่ยนประเภทสินทรัพยมาจาก ตนทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย คาเสื่อมราคา มูลคาตามบัญชีปลายป
งบการเงินรวม 2555 2554 38,076 39,724 232,844 (1,645) 269,275
(1,648) 38,076
(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 38,076 39,724 (1,645) 36,431
(1,648) 38,076
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทยอยแหงหนึ่งไดโอนอาคารที่สรางเสร็จแลว ซึ่งบันทึกอยูในตนทุน โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยมาเปนอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน เปนจํานวนเงิน 233 ลานบาท โดยบริษัทยอยอยูระหวางประเมินมูลคายุติธรรมของอาคารดังกลาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 อาคารสํานักงานใหเชาแหงหนึ่งมีมูลคาตามบัญชีคงเหลือ 36 ลานบาท (2554: 38 ลานบาท) มีมูลคายุติธรรม เปนจํานวนเงิน 72 ลานบาท (2554: 72 ลานบาท) ซึ่งประเมิน โดยผูประเมินราคาอิสระโดยใชเกณฑเปรียบเทียบกับขอมูลตลาด (Market Approach) บริษัทฯไดนําอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนทั้งจํานวนไปจดจํานองเพื่อเปนหลักประกันเงินกูยืมจากธนาคาร และสถาบันการเงิน
84
12.
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ (หนวย: พันบาท)
งบการเงินรวม ที่ดินและ สวนปรับปรุง ที่ดิน ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 13,388 ซื้อเพิ่ม จําหนาย/ ตัดจําหนาย อุปกรณของบริษัทยอย ณ วันซื้อกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 13,388 ซื้อเพิ่ม จําหนาย/ ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 13,388 คาเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 คาเสื่อมราคาสําหรับป คาเสื่อมราคาของสวนที่จําหนาย/ ตัดจําหนาย คาเสื่อมราคาของอุปกรณของ บริษัทยอย ณ วันซื้อกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คาเสื่อมราคาสําหรับป คาเสื่อมราคาของสวนที่จําหนาย/ ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 คาเผื่อการดอยคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 13,288 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 13,288 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 13,288 มูลคาสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 100 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 100 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 100 คาเสื่อมราคาสําหรับป 2554 (รวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหารทั้งจํานวน) 2555 (รวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหารทั้งจํานวน)
อาคารและ สวนปรับปรุง อาคาร
เครื่องตกแตง และติดตั้ง
88,369 (30,000) 58,369 58,369
62,508 9,262 (2,859) 3,924 72,835 4,564 77,399
20,954 2,129 (892) 1,314 23,505 6,126 (523) 29,108
30,007 1,319 (6,005) 2,750 28,071 7,749 (4,867) 30,953
215,226 12,710 (39,756) 7,988 196,168 18,439 (5,390) 209,217
17,740 15,201
38,719 11,867
14,801 2,724
18,219 5,213
89,479 35,005
(7,081)
(1,898)
(819)
(6,005)
(15,803)
25,860 13,799
1,783 50,471 9,516
751 17,457 3,327
1,741 19,168 5,928
4,275 112,956 32,570
39,659
59,987
(510) 20,274
(3,934) 21,162
(4,444) 141,082
4,907 4,907 4,907
-
-
-
18,195 18,195 18,195
65,722 27,602 13,803
23,789 22,364 17,412
6,153 6,048 8,834
11,788 8,903 9,791
107,552 65,017 49,940
อุปกรณ สํานักงาน
ยานพาหนะ
รวม
35,005 32,570
85
(หนวย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ ที่ดินและ อาคารและ สวนปรับปรุงที่ สวนปรับปรุง ดิน อาคาร ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ซื้อเพิ่ม จําหนาย/ ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ซื้อเพิ่ม จําหนาย/ ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 คาเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 คาเสื่อมราคาสําหรับป คาเสื่อมราคาของสวนที่จําหนาย/ ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คาเสื่อมราคาสําหรับป คาเสื่อมราคาของสวนที่จําหนาย/ ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 คาเผื่อการดอยคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มูลคาสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2554
เครื่องตกแตง และติดตั้ง
อุปกรณ สํานักงาน
ยานพาหนะ
รวม
13,388 13,388 13,388
88,369 (30,000) 58,369 58,369
44,041 9,621 (2,493) 51,169 1,296 52,465
15,174 2,170 (892) 16,452 3,314 (267) 19,499
19,540 (6,005) 13,535 7,749 (4,867) 16,417
180,512 11,791 (39,390) 152,913 12,359 (5,134) 160,138
-
17,740 15,201
27,661 8,001
11,508 1,664
12,111 2,877
69,020 27,743
-
(7,081) 25,860 13,799
(1,627) 34,035 5,829
(819) 12,353 1,955
(6,005) 8,983 3,021
(15,532) 81,231 24,604
-
39,659
39,864
(254) 14,054
(3,935) 8,069
(4,189) 101,646
13,288 13,288 13,288
4,907 4,907 4,907
-
-
-
18,195 18,195 18,195
100
65,722
16,380
3,666
7,429
93,297
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
100
27,602
17,134
4,099
4,552
53,487
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
100
13,803
12,601
5,445
8,348
40,297
คาเสื่อมราคาสําหรับป 2554 (รวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหารทั้งจํานวน)
27,743
2555 (รวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหารทั้งจํานวน)
24,604
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯและบริษัทยอยมีอุปกรณและยานพาหนะจํานวนหนึ่งซึ่งตัดคาเสื่อม ราคาหมดแลวแตยังใชงานอยู มูลคาตามบัญชีกอนหักคาเสื่อมราคาสะสม ของสินทรัพยดังกลาว มีจํานวนเงินประมาณ 60 ลานบาท (2554: 41 ลานบาท) (งบการเงินเฉพาะบริษัทฯ: 45 ลานบาท 2554: 40 ลานบาท)
86
13. ภาษีเงินได คาใชจายภาษีเงินไดสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 สรุปไดดังนี้
ภาษีเงินไดปจจุบัน: ภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับป รายการปรับปรุงคาใชจายภาษีเงินไดนิติบุคคลของปกอน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี: ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจากการเกิดผลแตกตางชั่วคราว และการกลับรายการผลแตกตางชั่วคราว ผลกระทบตอภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจากการเปลี่ยนแปลง อัตราภาษี คาใชจายภาษีเงินไดท่แี สดงอยูในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
งบการเงินรวม 2555 2554
(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554
140,481 346
170,995 (6,462)
36,232 -
(9,293)
79,796
(234,122)
(50,656)
8,767
42,101 262,724
278,384 208,795
9,134 (5,290)
134,104 133,578
การกระทบยอดจํานวนเงินระหวางคาใชจายภาษีเงินไดกับผลคูณของกําไร (ขาดทุน) ทางบัญชีกับอัตรา ภาษีที่ใชสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 สามารถแสดงไดดังนี้
กําไร (ขาดทุน) ทางบัญชีกอนภาษีเงินไดนิติบุคคล อัตราภาษีเงินไดนิติบุคคล กําไร (ขาดทุน) ทางบัญชีกอนภาษีเงินไดนิติบุคคล คูณอัตราภาษี รายการปรับปรุงคาใชจายภาษีเงินไดนิติบุคคลของปกอน ผลกระทบตอภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจากการ เปลี่ยนแปลงอัตราภาษี ผลกระทบทางภาษีสําหรับ: การตัดรายการระหวางกัน สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชีท่ไี มรับรูในระหวางป - ผลขาดทุนทางภาษีของบริษัทยอย - คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาใชจายที่ไมสามารถนํามาหักภาษีได รวม คาใชจายภาษีเงินไดที่แสดงอยูในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
งบการเงินรวม 2555 2554 758,572 (271,526) 23% 30%
(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (113,054) (2,121) 23% 30%
174,472 346 42,101
(81,458) (6,462) 278,384
(26,002) 9,134
(636) (9,293) 134,104
(10,704)
(9,218)
-
-
12,756 22,345 45,805 262,724
12,107 8,339 7,103 18,331 208,795
11,578 11,578 (5,290)
8,339 1,064 9,403 133,578
87
สวนประกอบของสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบดวยรายการดังตอไปนี้
สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ขาดทุนทางภาษีที่ยังไมไดใช สํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เงินรับลวงหนาและตนทุนโครงการจากการรับรู รายไดทางบัญชีที่แตกตางจากทางภาษี รวมสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สวนเกินมูลคาตนทุนโครงการ รวมหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี
งบการเงินรวม 2555 2554
(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554
85,579 3,383 23,020 135,723
95,517 2,820 23,020 135,723
3,383 23,020 135,723
19,372 2,820 23,020 135,723
611,375 859,080
793,004 1,050,084
147,605 309,731
87,274 268,209
102,914 102,914
172,022 172,022
-
-
ในเดือนตุลาคม 2554 คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหปรับลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลจากอัตรารอยละ 30 เปน รอยละ 23 ในป 2555 และเปนรอยละ 20 ตั้งแตป 2556 เปนตนไป และในเดือนธันวาคม 2554 ไดมี พระราชกฤษฎีกาประกาศลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลเพื่อใหเปนไปตามมติคณะรัฐมนตรีดังกลาวสําหรับ ป 2555-2557 บริษัทฯและบริษัทยอยไดสะทอนผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีดังกลาว ในการคํานวณภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีตามที่แสดงไวขางตนแลว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯและบริษัทยอยมีรายการผลแตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษีและขาดทุนทาง ภาษีที่ยังไมไดใช 306 ลานบาท (2554: 536 ลานบาท) (งบการเงินเฉพาะบริษัทฯ: 12 ลานบาท 2554: 222 ลานบาท) ที่บริษัทฯและบริษัทยอยไมไดบันทึกสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี เนื่องจากบริษัทฯ และบริษัทยอยพิจารณาแลวเห็นวาบริษัทฯและบริษัทยอยอาจไมมีกําไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะนําผล แตกตางชั่วคราวและขาดทุนทางภาษีที่ยังไมไดใชขางตนมาใชประโยชนได บริษัทยอยแหงหนึ่งไดแบงชําระภาษีเงินไดคางจายสําหรับป 2553 และ 2554 ไปจนถึงเดือนพฤษภาคม 2557 และแบงชําระภาษีเงินไดคางจายสําหรับครึ่งป 2555 ไปจนถึงเดือนเมษายน 2557 ซึ่งแสดงเปน “เจาหนี้ภาษีเงินได” ในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554
14. เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯมียอดคงเหลือของตั๋วแลกเงินกับสถาบันการเงินจํานวน 250 ลานบาท (2554: 30 ลานบาท) มีอัตราดอกเบี้ยใกลเคียงราคาตลาด โดยมีกําหนดชําระคืนในเดือนมกราคม 2556
88
15. เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น
เจาหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เจาหนี้อ่นื - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อ่นื - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน รวมเจาหนี้การคาและเจาหนี้อ่นื
งบการเงินรวม 2555 2554 655,313 798,808 35,833 30,547 306,549 151,861 997,695 981,216
(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 157,630 278,513 135 41 154,612 150,656 312,377 429,210
16. เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
เงินกูยืมระยะยาว หัก: สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะยาว - สุทธิ
งบการเงินรวม 2555 2554 5,971,248 6,607,230 (3,494,547) (15,000) 2,476,701 6,592,230
(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 2,048,545 1,624,060 (20,000) (15,000) 2,028,545 1,609,060
บริษัทฯและบริษัทยอยมีวงเงินกูหลายสัญญารวม 12,088 ลานบาท (2554: 9,770 ลานบาท) (งบการเงิน เฉพาะบริษัทฯ: 4,992 ลานบาท 2554: 3,090 ลานบาท) คิดดอกเบี้ยในอัตราที่อางอิงกับอัตราดอกเบี้ย เงินใหกูยืมขั้นต่ําของธนาคาร (MLR) โดยมีเงื่อนไขการชําระคืนเมื่อมีการโอนหนวยในอาคารชุดใหแกลูกคา ที่ซื้อตามที่กําหนดในสัญญาและตองชําระคืนเงินตนทั้งหมดภายในเดือนมิถุนายน 2556 ถึงเดือนมิถุนายน 2559 (2554: เดือนมิถุนายน 2555 ถึงเดือนกันยายน 2558) (งบการเงินเฉพาะบริษัทฯ: เดือนมิถุนายน 2556 ถึงเดือนมิถุนายน 2559 (2554: เดือนมิถุนายน 2555 ถึงเดือนกันยายน 2558)) เงินกูยืมของบริษัทฯและบริษัทยอยค้ําประกันโดยการจํานองหนวยในอาคารชุดพักอาศัยในโครงการชุด พักอาศัย ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางในโครงการอาคารชุด ที่ดินและอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน การ โอนสิทธิการรับผลประโยชนในสัญญาจะซื้อจะขายในอาคารชุดพักอาศัยของโครงการ การโอนสิทธิ การรับผลประโยชนในกรมธรรมประกันภัยของโครงการ การโอนสิทธิการรับผลประโยชนจากการค้ําประกัน ผลงานตามสัญญาผูรับเหมาหลักในโครงการ เงินฝากธนาคารของบริษัทฯเปนจํานวนเงิน 25 ลานบาท การโอนสิทธิในบัญชีเงินฝากธนาคาร สิทธิการเชา การจดจํานําใบหุนของบริษัทยอย และการค้ําประกัน โดยบริษัทฯและบริษัทยอย ภายใตสัญญาเงินกูยืมของบริษัทฯ บริษัทฯตองปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินบางประการตามที่ระบุใน สัญญา เชน การดํารงอัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุนใหเปนไปตามสัญญา เปนตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯและบริษัทยอยมีวงเงินกูยืมระยะยาวที่ยังไมไดเบิกใชเปนจํานวน 5,349 ลานบาท (2554: 3,039 ลานบาท) (งบการเงินเฉพาะบริษัทฯ: 2,852 ลานบาท 2554: 1,409 ลานบาท)
89
บริษัท ไรมอน แลนด จํากัด (มหาชน) 1. เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2555 บริษัทฯไดทําสัญญาเงินกูยืมระยะยาวจํานวน 2 ฉบับกับธนาคารใน ประเทศแหงหนึ่ง โดยไดรับวงเงินกูดังตอไปนี้ -
วงเงินจํานวน 867 ลานบาท เพื่อชําระคืนเงินกูยืมระยะยาวเดิมจากธนาคารอื่น เพื่อซื้อที่ดินแหงหนึ่ง และเพื่อใชเปนคาใชจายในการซื้อที่ดินและใชในการดําเนินกิจการ
-
วงเงินจํานวน 1,365 ลานบาท เพื่อชําระคืนเงินกูยืมระยะยาวที่เปนคาที่ดินของโครงการของ บริษัทยอยแหงหนึ่ง และเพื่อใชในการกอสรางและเปนเงินทุนหมุนเวียนในโครงการของ บริษัทยอยนั้น
2. เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2555 บริษัทฯไดทําสัญญาเงินกูยืมระยะยาวกับสถาบันการเงินในประเทศ แหงหนึ่ง วงเงิน 50 ลานบาท เพื่อใชเปนเงินทุนหมุนเวียนของกิจการ บริษัท ตากสิน พร็อพเพอตี้ส จํากัด (บริษัทยอยของบริษัท เดอะ ริเวอร จํากัด) เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2555 บริษัท ตากสิน พร็อพเพอตี้ส จํากัด (บริษัทยอย) ไดทําสัญญาเงินกูยืม ระยะยาวใหมกับกลุมผูใหกูใหมซึ่งประกอบดวยธนาคารพาณิชยในประเทศ 2 แหง โดยเปลี่ยนวงเงินกู จากจํานวน 5,480 ลานบาท เปนจํานวน 6,026 ลานบาท เพื่อชําระคืนเงินกูยืมระยะยาวจากธนาคารเดิม เพื่อจายชําระคืนเงินกูยืมแกบริษัทฯ เพื่อนําไปใชในการกอสรางและเงินทุนหมุนเวียนโครงการของ บริษัทยอย และ เพื่อใชเปนเงินทุนในการจัดหาที่ดินเพิ่มเติมของกิจการที่เกี่ยวของกัน
17. เงินมัดจําและเงินรับลวงหนาจากลูกคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯและบริษัทยอยแหงหนึ่งมีสัญญาขายหนวยในอาคารชุดพักอาศัยกับ ผูจะซื้อรายใหญ 2 ราย (ผูซื้อในประเทศ 1 ราย ผูซื้อตางประเทศ 1 ราย) โดยมีมูลคาสัญญารวมประมาณ 357 ลานบาท (2554: 953 ลานบาท) (งบการเงินเฉพาะบริษัทฯ: 57 ลานบาท 2554: 342 ลานบาท) และไดรับเงินมัดจํารวมเปนจํานวนเงิน 83 ลานบาท (2554: 228 ลานบาท) (งบการเงินเฉพาะบริษัทฯ: 18 ลานบาท 2554: 108 ลานบาท) ซึ่งแสดงรวมอยูภายใตหัวขอ “เงินมัดจําและเงินรับลวงหนาจาก ลูกคา” ในงบแสดงฐานะการเงิน สัญญาดังกลาวบริษัทฯผูกพันที่จะชวยขายตอแทนในราคาที่ตกลงและ มีทางเลือกใหกับผูจะซื้อในการขายตอหนวยในอาคารชุดพักอาศัยดังกลาวบางสวนใหกบั ผูถือหุนใหญของ บริษัทฯ ในเดือนมกราคม 2556 บริษัทฯและบริษัทยอยไดคืนเงินมัดจํารับทั้งหมดใหแกผูจะซื้อรายใหญ 2 ราย ดังกลาวแลว เนื่องจากสัญญาดังกลาวสิ้นสุดการผูกพันที่จะชวยขายตอ และผูจะซื้อยกเลิกสัญญาขาย หนวยในอาคารชุดพักอาศัยดังกลาว
90
18. สํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน จํานวนเงินสํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงานซึ่งเปนเงินชดเชยพนักงานเมื่อออกจากงาน แสดงไดดังนี้
ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชนตนป ตนทุนบริการในปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชนปลายป
(หนวย: พันบาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 14,098 10,712 2,252 2,958 564 428 16,914 14,098
คาใชจายเกี่ยวกับผลประโยชนระยะยาวของพนักงานรวมอยูในสวนของกําไรหรือขาดทุนแสดงไดดังนี้
ตนทุนบริการในปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย รวมคาใชจายที่รับรูในสวนของกําไรหรือขาดทุน
2555 2,252 564 2,816
(หนวย: พันบาท) 2554 2,958 428 3,386
คาใชจายดังกลาวรับรูในคาใชจายในการบริหารทั้งจํานวน สมมติฐานที่สําคัญในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ณ วันประเมินสรุปไดดังนี้
อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (รอยละตอป) (รอยละตอป) 4 4 4 4
19. ทุนเรือนหุน 19.1 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2555 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2555 ของบริษัทฯ ไดมีมติในเรื่องดังตอไปนี้ ก) อนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯจํานวนไมเกิน 893,856,031 หนวย ใหแกผูถือหุนเดิมโดยไมคิดมูลคา ซึ่งใบสําคัญแสดงสิทธินี้มีอายุ 3 ปนับตั้งแต วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ โดยใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวยมีสิทธิซื้อหุนสามัญได 1 หุน โดยมี ราคาการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิเทากับ 2.75 บาท ข) อนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทฯจํานวน 1,218,894,587 บาท โดยการออกหุนสามัญจํานวน 1,218,894,587 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 1 บาท จากจํานวน 3,250,385,569 บาท (หุนสามัญ 3,250,385,569 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 1 บาท) เปน 4,469,280,156 บาท (หุนสามัญ 4,469,280,156 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 1 บาท) โดยอนุมัติการจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุน ดังนี้ -
หุนสามัญจํานวน 325,038,556 หุน เพื่อเสนอขายใหแกบุคคลในวงจํากัด (Private Placement) 91
-
หุนสามัญจํานวนไมเกิน 893,856,031 หุน เพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่ จะซื้อหุนที่ออกใหม ซึ่งออกและเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมตามสัดสวน
บริษัทฯไดจดทะเบียนเพิ่มทุนดังกลาวกับกระทรวงพาณิชยแลวเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2555 19.2 เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2555 ไดมีมติใหจัดสรรหุนสามัญ เพิ่มทุนจํานวน 325,038,556 หุน ใหแกนักลงทุนระยะยาว 2 ราย ซึ่งเปนบุคคลในวงจํากัด ในราคาหุนละ 1.4058 บาทตอหุน คิดเปนเงินรวม 457 ลานบาท โดยมีระยะเวลาเสนอขายและชําระคาหุนเพิ่มทุน ระหวางวันที่ 27 เมษายน 2555 ถึง 2 พฤษภาคม 2555 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2555 และ 2 พฤษภาคม 2555 บริษัทฯไดรับเงินเพิ่มทุนเปนจํานวนเงิน 457 ลานบาท โดยแบงเปนทุนเรียกชําระแลวจํานวน 325 ลานบาทและสวนเกินมูลคาหุนสามัญจํานวน 132 ลานบาท บริษัทฯไดจดทะเบียนเพิ่มทุนที่ชําระแลวเปนจํานวน 3,575 ลานบาท กับกระทรวงพาณิชย เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2555 19.3 เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2555 บริษัทฯไดออกใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ (RML-W3) ของ บริษัทฯ จํานวน 893,840,315 หนวย ตามที่กลาวไวในขอ 19.1 โดยมีอัตราการใชสิทธิที่ใบสําคัญแสดง สิทธิ 1 หนวย ตอ 1 หุนสามัญได 1 หุน ในราคา 2.75 บาทตอหุน กําหนดการใชสิทธิไดในวันทําการ สุดทายของเดือนมีนาคม มิถุนายน กันยายน และธันวาคม โดยจะเริ่มใชสิทธิไดครั้งแรกในวันที่ 29 มิถุนายน 2555 และครั้งสุดทายในวันที่ 15 พฤษภาคม 2558 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ไมมีผูมาใชสิทธิในใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ
20. สํารองตามกฎหมาย ภายใตบทบัญญัติของมาตรา 116 แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯตองจัดสรร กําไรสุทธิประจําปสวนหนึ่งไวเปนทุนสํารองไมนอยกวารอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหักดวยยอดขาดทุน สะสมยกมา (ถามี) จนกวาทุนสํารองนี้จะมีจํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียนสํารองตาม กฎหมายดังกลาวไมสามารถนําไปจายเงินปนผลได
21. คาใชจายตามลักษณะ รายการคาใชจายตามลักษณะประกอบดวยรายการคาใชจายที่สําคัญดังตอไปนี้
ตนทุนขายหนวยในอาคารชุดพักอาศัย เงินเดือนและผลประโยชนอื่นของพนักงาน คาตอบแทนผูบริหาร คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ภาษีธุรกิจเฉพาะและคาธรรมเนียมการโอน คาใชจายในการขายอื่น
92
งบการเงินรวม 2555 2554 3,651,032 818,879 97,132 89,438 97,265 53,677 38,570 40,971 241,426 46,383 189,870 142,035
(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 323,869 818,879 93,894 89,438 97,265 53,677 27,270 30,377 17,049 46,383 58,996 78,523
22. กําไรตอหุน กําไร (ขาดทุน) ตอหุนขั้นพื้นฐานคํานวณโดยหารกําไร (ขาดทุน) สําหรับปที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ (ไมรวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ดวยจํานวนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของหุนสามัญที่ออกอยูในระหวางป กําไร (ขาดทุน) ตอหุนปรับลดคํานวณโดยหารกําไร (ขาดทุน) สําหรับปที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ (ไมรวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ดวยผลรวมของจํานวนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของหุนสามัญที่ออกอยูใน ระหวางปกับจํานวนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของหุนสามัญที่บริษัทฯอาจตองออกเพื่อแปลงหุนสามัญเทียบเทา ปรับลดทั้งสิ้นใหเปนหุนสามัญ โดยสมมติวาไดมีการแปลงเปนหุนสามัญ ณ วันตนปหรือ ณ วันออกหุน สามัญเทียบเทา อยางไรก็ตาม ไมมีการนําใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ มารวมคํานวณกําไร (ขาดทุน) ตอหุนปรับลดสําหรับป 2555 เนื่องจากราคาใชสิทธิรวมกับมูลคายุติธรรมคงเหลือตอหนวย ของใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญมีราคาสูงกวาราคาตลาดถัวเฉลี่ยสําหรับป กําไร (ขาดทุน) สวนที่เปนของผูถือหุน ของบริษัทฯ (พันบาท) จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (หุน) กําไร (ขาดทุน) ตอหุน (บาท/หุน)
งบการเงินรวม 2554 2555
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554
495,771 (474,306) (107,764) (135,699) 3,468,103,057 3,250,385,569 3,468,103,057 3,250,385,569 0.14 (0.15) (0.03) (0.04)
23. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัทฯและพนักงานบริษัทฯไดรวมกันจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพตามพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่งประกอบดวยเงินที่พนักงานจายสะสมเปนรายเดือนในอัตรารอยละ 3 หรืออัตรารอยละ 5 ของเงินเดือนพนักงานและเงินที่บริษัทฯจายสมทบใหในอัตรารอยละ 5 กองทุนสํารองเลี้ยงชีพนี้บริหาร โดยบริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุน กสิกรไทย จํากัด และจะจายใหแกพนักงานนั้นออกจากงานตาม ระเบียบวาดวยกองทุนของบริษัทฯ ในระหวางป 2555 บริษัทฯไดจายเงินสมทบกองทุนเปนจํานวนเงิน 5 ลานบาท (2554: 4 ลานบาท)
24. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 24.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจายฝายทุน ก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯและบริษัทยอยมีรายจายฝายทุนที่เกี่ยวของกับทําสัญญา ออกแบบและกอสรางโครงการเปนจํานวนเงิน 2,970 ลานบาท (2554: 3,461 ลานบาท) (งบการเงินเฉพาะบริษัทฯ: 1,520 ลานบาท 2554: 2,132 ลานบาท) ข) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯมีรายจายฝายทุนที่เกี่ยวของกับการทําสัญญาซื้อที่ดิน เปนจํานวนเงิน 485 ลานบาท 24.2 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาใหบริการระยะยาว บริษัทฯและบริษัทยอยมีภาระผูกพันตามสัญญาตัวแทนจําหนาย (Sole Agency Agreement) ซึ่งมี คาธรรมเนียมตองจายตามสัญญาในอัตรารอยละ 1 ถึง 4 ของมูลคาขายหนวยในอาคารชุดของโครงการ
93
24.3 การค้ําประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯค้ําประกันวงเงินกูและวงเงินสินเชื่อใหแกบริษัทยอย ในวงเงิน 7,096 ลานบาท (2554: 6,680 ลานบาท) 24.4 การถูกประเมินภาษี ในระหวางป 2555 บริษัทยอยแหงหนึ่งไดรับหนังสือประเมินภาษีเงินไดนิติบุคคลและภาษีธุรกิจเฉพาะ จากกรมสรรพากรเปนจํานวนที่มีสาระสําคัญที่เกิดจากการนํามูลคาจํานองมาประเมินภาษีจากการขายที่ดิน ของบริษัทยอย ซึ่งบริษัทยอยไดยื่นอุทธรณการประเมินภาษีดังกลาวตอคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ ของกรมสรรพากร ทั้งนี้ฝายบริหารของบริษัทฯเชื่อวาจะสามารถคัดคานการประเมินภาษีดังกลาวได และเชื่อวาจะไมมีผลเสียหายอยางเปนสาระสําคัญตองบแสดงฐานะการเงินรวม และงบกําไรขาดทุนรวม ทั้งนี้ หากในอนาคตบริษัทยอยแพคดี ฝายบริหารของบริษัทฯเชื่อวาความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการประเมิน ภาษีดังกลาวจะเกิดขึ้นเฉพาะกับบริษัทยอยเทานั้น ซึ่งในปจจุบันบริษัทยอยดังกลาวไดหยุดดําเนินกิจการ ไปแลวตั้งแตป 2553 และมีสินทรัพยรวมอยูในงบการเงินรวม เปนจํานวน 21.8 ลานบาท ประกอบดวย ภาษีหัก ณ ที่จายที่บริษัทยอยขอคืนจํานวน 21.6 ลานบาท
25. การเสนอขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน บริษัทฯและบริษัทยอยดําเนินกิจการในสวนงานหลักทางธุรกิจเดียวคือธุรกิจอสังหาริมทรัพย และดําเนิน ธุรกิจในสวนงานหลักทางภูมิศาสตรเดียวคือในประเทศไทย ดังนั้น รายได กําไร (ขาดทุน) และสินทรัพย ทั้งหมดที่แสดงในงบการเงินจึงเกี่ยวของกับสวนงานทางธุรกิจและสวนงานทางภูมิศาสตรตามที่กลาวไว
26. เครื่องมือทางการเงิน 26.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง เครื่องมือทางการเงินที่สําคัญของบริษัทฯและบริษัทยอยตามที่นิยามอยูในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่107 “การแสดงรายการและการเปดเผยขอมูลสําหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบดวยเงินสดและรายการ เทียบเทาเงินสด เงินฝากธนาคารที่มีภาระผูกพัน ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น เงินใหกูยืม เงินลงทุน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เจาหนี้จากการซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย เงินกูยืมระยะสั้น และเงินกูยืม ระยะยาว บริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับเครื่องมือทางการเงินดังกลาว และมีนโยบาย การบริหารความเสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงดานสินเชื่อ บริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น และเงิน ใหกูยืม ฝายบริหารควบคุมความเสี่ยงนี้โดยการกําหนดใหมีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่ เหมาะสม ดังนั้นบริษัทฯและบริษัทยอยจึงไมคาดวาจะไดรับความเสียหายที่เปนสาระสําคัญจากการ ใหสินเชื่อ นอกจากนี้การใหสินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจอสังหาริมทรัพยของบริษัทฯและบริษัทยอยไมมี การกระจุกตัวเนื่องจากบริษัทฯและบริษัทยอยมีฐานของลูกคาที่หลากหลายและมีอยูจํานวนมากราย จํานวนเงินสูงสุดที่บริษัทฯและบริษัทยอยอาจตองสูญเสียจากการใหสินเชื่อคือมูลคาตามบัญชีของลูกหนี้อื่น กิจการที่เกี่ยวของกันและเงินใหกูยืมที่แสดงอยูในงบแสดงฐานะการเงิน
94
ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สําคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงินลูกหนี้ การคาและลูกหนี้อื่น เงินใหกูยืม เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เจาหนี้จากการซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย เงินกูยืมระยะสั้น และเงินกูยืมระยะยาวที่มีดอกเบี้ย สินทรัพยและหนี้สินทางการเงินสวนใหญมีอัตรา ดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกลเคียงกับอัตราตลาดในปจจุบัน สินทรัพยและหนี้สินทางการเงินที่สําคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และสําหรับสินทรัพย และหนี้สินทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ครบกําหนด หรือ วันที่มีการกําหนด อัตราดอกเบี้ยใหม (หากวันที่มีการกําหนดอัตราดอกเบี้ยใหมถึงกอน) ไดดังนี้
อัตราดอกเบี้ยคงที่ มากกวา ภายใน 1 มากกวา 1 ป ถึง 5 ป 5 ป สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินฝากธนาคารที่มีภาระผูกพัน ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น หนีส้ ินทางการเงิน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อ่นื เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
หนี้สินทางการเงิน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เจาหนี้จากการซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ตามราคาตลาด
ไมมี อัตราดอกเบี้ย
อัตรา ดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป)
รวม
-
-
-
1,431 25 1,456
35 35
1,431 25 35 1,491
0.50 - 2.25 0.70
250 250
-
-
5,971 5,971
998 998
250 998 5,971 7,219
อางอิง MLR อางอิง MLR
(หนวย: ลานบาท)
งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
อัตราดอกเบี้ยคงที่ มากกวา ภายใน 1 มากกวา 1 ป ถึง 5 ป 5 ป สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินฝากธนาคารที่มีภาระผูกพัน
(หนวย: ลานบาท)
งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ตามราคาตลาด
ไมมี อัตราดอกเบี้ย
รวม
อัตรา ดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป)
-
-
-
659 25 684
3 3
662 25 687
0.50 - 1.25 0.75
-
-
-
30 6,607 6,637
981 58 1,039
30 981 58 6,607 7,676
อางอิง MLR อางอิง MLR
95
อัตราดอกเบี้ยคงที่ มากกวา ภายใน 1 มากกวา 1 ป ถึง 5 ป 5 ป สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินฝากธนาคารที่มีภาระผูกพัน ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน และดอกเบี้ยคางรับ หนี้สินทางการเงิน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน และดอกเบี้ยคางจาย เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
-
-
-
หนี้สินทางการเงิน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เจาหนี้จากการซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน และดอกเบี้ยคางจาย เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
96
งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ตามราคาตลาด
ไมมี อัตราดอกเบี้ย
772 25 -
701
772 25 701
รวม
531 531
-
-
797
78 779
609 2,107
250 -
-
-
-
312
250 312
183 433
-
-
2,049 2,049
60 372
243 2,049 2,854
อัตราดอกเบี้ยคงที่ มากกวา ภายใน 1 มากกวา 1 ป ถึง 5 ป 5 ป สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินฝากธนาคารที่มีภาระผูกพัน ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน และดอกเบี้ยคางรับ
(หนวย: ลานบาท)
ไมมี อัตราดอกเบี้ย
0.70 - 1.4 0.70 3.00 - 7.50 และ MLR-0.75 อางอิง MLR 3.00 และ MLR-0.75 อางอิง MLR (หนวย: ลานบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ตามราคาตลาด
อัตรา ดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป)
รวม
-
-
-
437 25 -
1 336
438 25 336
317 317
-
-
462
122 458
-
-
-
30 -
429 58
30 429 58
183 183
-
-
315 1,624 1,969
70 557
568 1,624 2,709
อัตรา ดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป) 0.50 - 0.75 0.75 -
439 3.50 - 10.00 1,238 อางอิง MLR MLR-0.75 และ 5.00 อางอิง MLR
ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่สําคัญอันเกี่ยวเนื่องจากเจาหนี้จากการซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย เปนเงินตราตางประเทศ บริษัทฯไดพิจารณาใชนโยบายที่จะทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา เปนครั้งคราว เพื่อลดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่อาจเกิดขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯ และบริษัทยอยไมมียอดคงเหลือของเจาหนี้จากการซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอยเปนเงินตราตางประเทศ (2554: 1.8 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา) 26.2 มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากเครื่องมือทางการเงินสวนใหญของบริษัทฯจัดอยูในประเภทระยะสั้น เงินใหกูยืมและเงินกูยืม มีอัตราดอกเบี้ยใกลเคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯจึงประมาณมูลคายุติธรรมของสินทรัพย และหนี้สินทางการเงินใกลเคียงกับมูลคาตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน มูลคายุติธรรม หมายถึง จํานวนเงินที่ผูซื้อและผูขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพยกันหรือจายชําระหนี้สิน ในขณะที่ทั้งสองฝายมีความรอบรู และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถตอรองราคากันไดอยาง เปนอิสระในลักษณะที่ไมมีความเกี่ยวของกัน วิธีการกําหนดมูลคายุติธรรมขึ้นอยูกับลักษณะของเครื่องมือ ทางการเงิน มูลคายุติธรรมจะกําหนดจากราคาตลาดลาสุด หรือกําหนดขึ้นโดยใชเกณฑการวัดมูลคา ที่เหมาะสม
27. การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงคในการบริหารจัดการทุนที่สําคัญของบริษัทฯคือการจัดใหมีซึ่งโครงสรางทุนที่เหมาะสมเพื่อ สนับสนุนการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ และเสริมสรางมูลคาการถือหุนใหกับผูถือหุน
28. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2556
97