2. PPT อ.พรประภา

Page 1

นําเสนอผลงานวิจัย ราชพฤกษวิชาการ ความคาดหวังของคณาจารยที่มีตอ คุณลักษณะของระบบ e-Learning บนเว็บไซตวิทยาลัยราชพฤกษ


Old style e-Learning Webpage


Now e-Learning Webpage


แบบจําลองTechnology Acceptance Model (Davis, 1989)


งานวิจัยที่เกี่ยวของ THE IMPACT OF SUBJECTIVE NORM AND FACILITATING CONDITIONS ON PRE-SERVICE TEACHERS’ ATTITUDE TOWARD COMPUTER USE, TEO TIMOTHY (2009)

ผลการวิจัยพบวา: การรับรูถึงคุณประโยชนและการรับรูถึงความงายตอการใช งานนั้นเปนตัวบงชี้ที่มีน้ําหนักมากถึงทัศนคติที่มีตอการใชคอมพิวเตอร โดย คนพบวาการรับรูถึงคุณประโยชนและการรับรูถึงความงายตอการใชงานจะไม คงสภาพเดิมตลอดเวลา แตผลกระทบจาก 2 ปจจัยนี้จะคอยๆมีน้ําหนักนอยลง หากผูใชคอมพิวเตอรไมไดมีสวนในการพัฒนาทางวิชาชีพดวยมุมมองที่จะ เพิ่มทักษะเฉพาะทาง โดยเฉพาะอยางยิ่งทักษะวิชาชีพครู Sugar, Crawley and Fine (2004) แนะนําวา ไมวาความเขาใจอะไรที่ครูเชื่อเกี่ยวกับเทคโนโลยีจะ เปนปจจัยหลักที่ขับเคลื่อนความสําเร็จในการประยุกตเทคโนโลยีในโรงเรียน


Focus Group การสนทนากลุม ผูวิจัยใชวิธีการเลือกกลุมตัวอยางไมใชความนาจะเปน (Non-Probability sampling) เปนการเลือกแบบเจาะจง ซึ่งเปน การเลือกตัวอยางที่มคี ุณลักษณะพิเศษเฉพาะเจาะจงตามที่ ตองการศึกษา จึงจะไดคณาจารยผูเชี่ยวชาญที่ครอบคลุม หลากหลายสาขาวิชา ในจํานวนที่เหมาะสม แตไมไดเปนตัวแทน ของกลุมประชากรทัง้ หมด ในระหวางทําการวิจัยนี้ วิทยาลัยราชพฤกษมีเพียง 5 คณะจึงแบง คณาจารยออกเปน 5 กลุม


Focus Group การสนทนากลุม การคัดเลือกกลุมประชากรมาจากคณาจารยที่มีพนื้ ฐานความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ e-Learning ที่แตกตางกันใหอยูในกลุมเดียวกัน เพื่อใหการสนทนากลุมมีแนวความคิดที่หลากหลาย เอื้อประโยชนตอ การแตกประเด็นคําถามไปไดอยางไมจํากัด


Focus Group การสนทนากลุม ภายใน 1 ชั่วโมงแรกจะทําการสาธิตการใช e-Leaning โดยอาจารยเสกสรรค ปญญาฐานะ ผูอํานวยการศูนย เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือตัวแทน เพื่อถายทอดความรู เบื้องตนเกี่ยวกับ e-Learning ใหแกผูรว มสนทนากลุม กอน แลวจึงเริ่มทําการสนทนากลุมโดยมี อ.เสกสรรค ปญญาฐานะ หรือตัวแทน เปนผูสังเกตการณและ ตอบขอซักถามตางๆ เนื่องจากเปนทีมงานผูสรางสรรค e-Learning ใหวิทยาลัยราชพฤกษโดยตรงจึงตอบขอ ซักถามตางๆไดดที ี่สุด


Mind Mapping แผนที่ความคิด


งานวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ

แจกแบบสอบถามใหกับคณาจารยโดยทั่วไปโดยการเลือกแบบ ไมเจาะจงจํานวนทั้งหมด 50 ทาน เพื่อใหเปนกลุมตัวอยางที่ชวย เพิ่มน้ําหนักและยืนยันใหกับประเด็นตางๆที่รวบรวมไดจากการสนทนากลุม


เรื่อง e-Learning ชวยในการทบทวน ทําแบบฝกหัด สงงาน และเก็บคะแนน • (4.04) ระบบ e-Learning จะสามารถตรวจแบบฝกหัด ที่เปน Choices ได โดยไมตองเสียเวลาตรวจเอง • (3.86) ระบบ e-Learning จะสามารถรวมคะแนน แบบฝกหัดทุกครั้งทั้งหมดใหได โดยอาจไมตอง เสียเวลารวมคะแนนเก็บ • (3.12) ระบบ e-Learning สามารถตรวจขอสอบอัตนัย ได โดยตองระบุ Keyword ลงไปให


เรื่องขีดความสามารถของ e-Learning ในอนาคต • (4.16) นักศึกษาสามารถโหลดเอกสารประกอบการสอน ลวงหนาจะไดทราบกอนวาจะเรียนเรื่องอะไรบาง • (3.94) เทากันทั้ง 2 ขอ ในประเด็นที่วา อาจารยสามารถ โพสตขอความและเนื้อหาลงบน e-Learning ไดงาย คลายกันกับการใช Microsoft Word และประเด็นทีว่ า ระบบ e-Learning สามารถเชื่อมตอกับ Youtube แลว Link เขาไปดูคลิปตัวอยางได ตามลําดับ • (3.20) มีการบันทึกวีดีโอ โดยมีคนถายทําที่มีความชํานาญ ในการหามุมกลองไปตามทั้งเนื้อหาและตัวผูสอน


เรื่องวิธีแกไขปญหาตางๆที่เกิดขึ้น • (4.04) มีรหัสผาน (Password) ใหผูดูแลระบบเขาไปดูเนือ้ หา ใน e-Learning ของอาจารยไดทั้งหมด แตคนนอกไม สามารถดูได • (3.76) อาจารยสามารถใชเครือขายอินเตอรเน็ต Wifi ใน หองเรียนไดดี เพื่อสาธิต e-Learning ใหกับนักศึกษา • (3.20) ระบบ e-Learning เปนชองทางเดียวในการรับเอกสาร ประกอบการสอนเพื่อบังคับวาถาไมเขา e-Learning ก็จะ ไมไดรับ (เปนวิธีการแกปญหาที่ไมนาจะไดผล)


เรื่องปญหาที่ยังแกไขไมได (คาดหวังนอยที่สุด) • (2.88) เกิดความสนิทสนมใกลชิดและดูแลเอาใจใสอยางเต็มที่ ผาน e-Learning แสดงใหเห็นวาคณาจารยไมคอยคาดหวังวา eLearning จะชวยใหเกิดความสนิทสนมระหวางอาจารยและ นักศึกษา และคิดวาเปนประเด็นปญหา • (3.02) อาจารยสามารถอบรมสั่งสอนนักศึกษาไดเทากับที่ไดเห็น หนากันแบบ Face-to-face แสดงใหเห็นวาคณาจารยไมคอย คาดหวังการเห็นตาเห็นตากันผาน e-Learning • (3.62) ในประเด็นที่วา ระบบ e-Learning มีสวนชวยในการสอน ไมทันไดเหมือนกับการสอนชดเชยดวยตัวเอง แสดงใหเห็นวา คณาจารยคาดหวังวา e-Learning จะชวยในการสอนไมทันได เทากับสอนเอง


ขอคนพบ

ผูวิจัยไดคนพบความรูใหมคือ การเรียนการสอนที่แตกตางกันไป ในแตละคณะ จึงไมสามารถเลือกคุณสมบัติของ e-Learning ที่ เหมาะสมที่สุดกับทุกคณะได คณะที่แตกตางจากคณะอื่นมากที่สุดคือคณะนิติศาสตร นักศึกษา ตองจําเปนตองเขาเรียนอยางตอเนื่องเพื่อรวบรวมและเรียบเรียง กฎหมายทุกมาตราเขาดวยกัน นอกจากนี้ยังไมมีคะแนนเก็บเลย นักศึกษาตองทําคะแนนสอบปลายภาคเต็ม 100 คะแนนเทานั้น ดังนั้นการออกแบบ e-Learning ใหสอดคลองกับความตองการ ของคณะนี้ทําไดเพียงการเพิ่ม Link ไปสูสภาวิชาชีพได หรือการบันทึกวีดีโอการสอนจริงเก็บไวเทานั้น (ความตองการนี้สอดคลองกับคณะนิเทศศาสตรและคณะบัญชี)


นําเสนอผลงานวิจัย ราชพฤกษวิชาการ Q & A ถาม-ตอบ Thank you for your attention

ขอขอบคุณอยางยิ่ง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.