ความคิดเห็นผูบังคับบัญชาตอประสิทธิผลนิสิตคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร The Supervisor’s Opinion toward Effectiveness of Students in Faculty of Business Administration, Kasetsart University
อ.ภาวิน ชินะโชติ และ รศ.ดร. ทองฟู ศิรวิ งศ
การวิจัยเรื่องความคิดเห็นผูบังคับบัญชาตอประสิทธิผลนิสิตคณะ บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร
• มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นผูบังคับบัญชาตอประสิทธิผลนิสิตคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (มก.) • เก็บขอมูลจากกลุมตัวอยาง 300 คนโดยใชแบบสอบถาม • สถิติที่ใชวิเคราะห คือ คาเฉลี่ย คา t และคา F ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 • ผลการวิจัยพบวา โดยรวมผูบังคับบัญชามีความคิดเห็นวา นิสิตคณะบริหารธุรกิจมีประสิทธิผลอยูใน ระดับสูง จากสมมุติฐาน ปจจัยสวนบุคคลของผูบังคับบัญชาที่แตกตางกันมีความคิดเห็นตอประสิทธิผล การศึกษาของนิสิตคณะบริหารธุรกิจแตกตางกัน ตามนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 พบวา ผูบังคับบัญชาที่มี เพศตางกันมีความคิดเห็นไมแตกตางกัน แตปจจัยสวนบุคคลอื่น คือ ชวงอายุผูบังคับบัญชา ตําแหนง ผูบริหารระดับสูง จํานวนผูใต บังคับบัญชาที่ดูแลจบจากคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วุฒิ การศึกษาที่จบ ที่แตกตางกัน มีผลตอความคิดเห็นตอประสิทธิผลของนิสิตคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร อยางมีนัยสําคัญ 0.05 • ขอเสนอแนะจากการศึกษา: คณะบริหารธุรกิจ มก. ควรพัฒนานิสิตในทักษะการเรียนการสอนเชิงวิเคราะห • ขอเสนอแนะสําหรับการศึกษาครั้งตอไปควรศึกษาความคิดเห็นของผูบังคับบัญชาตอประสิทธิผลนิสิตทั้ง มหาวิทยาลัย และ การสัมภาษณแบบเจาะลึกเกี่ยวกับความตองการทักษะในการทํางานของนิสิต
• Key words: Opinion, Effectiveness of Students, Faculty of Business Administration, Kasetsart University
ความสําคัญที่มาของปญหา • ปจจุบันประเทศไทยไดมีการเรงลัดพัฒนาเพื่อเปลี่ยนแปลงการศึกษาในระดับอุดมศึกษาใหมี่การพัฒนาคุณภาพโดยเสริมสราง ความรูความสามารถ • จากความสําคัญของการศึกษานี้ไดเรงรัดการปฏิรูปทางการศึกษาโดยมุงเนนการเรียนการสอนที่เนนผูเ รียนเปนสําคัญ • มีการประกันคุณภาพทางการศึกษา เพื่อใหผเู รียนเกิดกระบวน การเรียนรู • อิทธิพลทีม่ ีตอการผลสัมฤทธิข์ องนิสติ เชน สถานศึกษา การเรียนการสอนการไดใกลชิดระหวางคณาจารยและนักศึกษาการอยู รวมกันกับกลุมเพื่อน • ความภาคภูมิใจในมหาวิทยาลัยจะเปนผลตอการพัฒนาทักษะ ความรู ความสามารถ รวมถึงบุคลิกภาพของนิสิตเพราะ สภาพแวดลอมการศึกษามีอิทธิพลอยางยิ่งตอพฤติกรรมของนิสิต • สําหรับแนวทางการจัดการศึกษาเนนการจัดการศึกษา การศึกษาเปนงานสรางบัณฑิตตองคํานึงคุณภาพและมาตรฐานเปน สําคัญซึ่งการเรียนการสอนจะเพิ่มศักยภาพทางสติปญญาตลอดจนทักษะการแกปญ หา • มีการพัฒนาขีดความสามารถมากขึ้น การประกันคุณภาพการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพและมีมาตรฐานสากล • คณะบริหารธุรกิจไดเล็งเห็นความสําคัญของคุณภาพในการผลิตนิสติ ที่สําเร็จการศึกษา เปนการสรางความเชื่อมัน่ ซึ่งการ ประกันคุณภาพจึงเปนเครื่องมือในการรักษาคุณภาพและมาตรฐาน ของการศึกษาระดับอุดมศึกษาการเตรียมพรอมกับสภาวะ การแขงขันในปจจุบัน ความรูในการประกันคุณภาพการศึกษาอยางตอเนือ่ ง และสภาพการแขงขันของระดับ อุดมศึกษาทุกสาขา ทุกแผนกทุกสถาบัน ซึง่ เปนทางเลือกที่ดตี อผูเ ขารับการศึกษาในระดับอุดมศึกษา สิ่งหนึ่งที่ทางมหาวิทยาลัยควรใหความสนใจ คือ ประสิทธิผลการศึกษาของนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาเพื่อใหหนวยงาน • คณะทีเ่ ปดระดับปริญญาตรีใชเปนฐานขอมูลที่จะสงผลตอการวางหลักสูตร แนวทางการใหความพรอมตอนิสติ ที่เขาศึกษาให เหมาะกับการแขงขันในปจจุบันรวมถึงการเรียนการสอนไดดําเนินการมาหลายรุนความกาวหนาในตําแหนงหนาที่นอกเหนือจาก ความสามารถในการทํางานอันเกิดจากความสามารถและความรูดานวิชาการ การที่นิสิตเขารับการศึกษาในมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร
วัตถุประสงคงานวิจัย 1.เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นผูบังคับบัญชาตอประสิทธิผลนิสิตคณะ บริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร 2.เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผูบงั คับบัญชาตอประสิทธิผล การศึกษานิสิตคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดย จําแนกตามปจจัยชวงบุคคล
อุปกรณ และวิธีการ 1. อุปกรณ และวิธีการ แบบสอบถาม 2. วิเคราะหโดยใชเครื่องมือทางสถิติเชิงพรรณนาและเชิงปริมาณ เชน Frequency, Percentage, Mean, Standard deviation t-test, F- test 3. การสุมตัวอยางจากผูบังคับบัญชาของนิสติ ที่สําเร็จการศึกษาทัง้ ปริญญาตรีและโทที่คณะบริหารธุรกิจ โดยใชกลุม ตัวอยาง 300 ตัวอยาง ทําการจัดสงแบบสอบถามเดือน มกราคมถึงเดือนพฤษภาคม 2554
แนวคิด และทฤษฎี คุณภาพของโปรแกรมการศึกษาตองใชเครื่องมือวัดที่มีมาตรฐานโดยดูจากระดับ ความรูทักษะและความ สามารถ ซึ่งเกิดจากตัวคณาจารยและนิสิต (Strydom and Lategan,1997) Kretovics A. Mark (1999) กลาววาประสิทธิผลการศึกษาเกิดจากรูปแบบ และทฤษฎีของการเรียนรูซึ่งBoyatzis and Kolb (1995) พบวา รูปแบบและทฤษฎีของการเรียนรูสามารถแบงเปนสมรรถนะของนิสิต 4 ทักษะ ดังนี้ 1. ทักษะดานความสัมพันธระหวางบุคคล (Interpersonal Skills) 2. ทักษะดานขอมูลขาวสาร (Information Gathering Skills) 3. ทักษะดานการวิเคราะห (Analytical Skills) 4. ทักษะดานพฤติกรรม (Behavioral Skills)
กรอบแนวคิด
ปจจัยสวนบุคคลของ ผูบังคับบัญชา -เพศ -ชวงอายุ -มีจํานวนผูใตบังคับบัญชาที่จบ จากคณะบริหารธุรกิจ -ระยะเวลาทํางาน -พื้นฐานการศึกษา
ความคิดเห็นผูบงั คับบัญชาตอ ประสิทธิผลนิสติ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร - ทักษะดานความสัมพันธระหวางบุคคข - ทักษะดานพฤติกรรม - ทักษะดานการวิเคราะห - ทักษะดานการรวบรวมขอมูล
ความคิดเห็นผูบังคับบัญชาตอประสิทธิผลนิสิตคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร ตอบวัตถุประสงคที่ 1.เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นผูบังคับบัญชาตอประสิทธิผลนิสิตคณะ บริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร -ผูบังคับบัญชาเห็นวาประสิทธิผลโดยรวมของนิสิตคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรอยูในระดับมาก - เมื่อพิจารณารายดานซึง่ ประกอบดวยทักษะดานความสัมพันธ ระหวางบุคคล ทักษะดานการรวบรวมขอมูล ทักษะดานการวิเคราะห ทักษะดานพฤติกรรมความคิดเห็นยังคงอยูใ นระดับมาก
ตอบวัตถุประสงคที่ 2.เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผูบังคับบัญชาตอประสิทธิผลการศึกษานิสิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยจําแนกตามปจจัยชวงบุคคล - ผูบังคับบัญชาที่มีเพศตางกันมีความคิดเห็นตอประสิทธิผลนิสิตคณะ บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไมแตกตางกัน - ผูบังคับบัญชาที่มีชวงอายุตางกันมีความคิดเห็นตอประสิทธิผลนิสิตคณะ บริหารธุรกิจแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05
ตอบวัตถุประสงคท2 ี่ ตอ - ผูบังคับบัญชาที่มีระยะเวลามีพนักงานที่จบจากคณะบริหารธุรกิจมก.แตกตางกันมีความ คิดเห็นตอประสิทธิผลนิสิตคณะบริหารธุรกิจแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 - ผูบังคับบัญชาที่มีจํานวนผูใตบังคับบัญชาที่ดูแลจบจากคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรแตกตางกันมีความคิดเห็นตอประสิทธิผลนิสิตคณะบริหารธุรกิจ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 - ผูบังคับบัญชามีความคิดเห็นตอระดับการศึกษาของาผูใตบังคับบัญชาที่จบคณะ บริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรตางกันมีความคิดเห็นตอประสิทธิผลนิสิตคณะ บริหารธุรกิจแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05
จากคําถามปลายเปด • ใหนิสิตมีการวิเคราะหมากขึน้ • การเรียนการสอนควรมีการวิเคราะห • เพิ่มเติมภาษาที่2 คือภาษาอังกฤษ
วิจารณผล
• จากระดับความคิดเห็นของผูบังคับบัญชาตอประสิทธิผลของนิสิตคณะบริหารธุรกิจโดยรวม และรายดานคือ ทักษะดานความสัมพันธระหวางบุคคล ทักษะดานการรวบรวมขอมูล ทักษะดานการวิเคราะห ทักษะดานพฤติกรรมอยูในระดับมาก แสดงถึงนิสิตที่สําเร็จ การศึกษาจากคณะบริหารธุรกิจมีความพรอมในการทํางาน เชนเดียวกับผลการศึกษาของ สําราญ ทองเล็ก ( 2551 ) เสาวณี ใจรักษ ( 2551 ) และภาวิณี มาตรเจริญ ( 2553 ) จาก สมมุติฐานปจจัยสวนบุคคลของผูบังคับบัญชาที่แตกตางกันมีความคิดเห็นตอประสิทธิผล การศึกษาของนิสิตคณะบริหารธุรกิจแตกตางกัน ตามนัยสําคัญทางสถิติ .05 พบวา • เพศไมมีผล แสดงวาผูบริหารทั้งเพศหญิงและเพศชายมีความคิดเห็นตอประสิทธิผล การศึกษาของนิสิตคณะบริหารธุรกิจไมแตกตางกัน ตามนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 • ชวงอายุผูบังคับบัญชา ตําแหนงผูบริหารระดับสูง จํานวนผูใตบังคับบัญชาที่ดูแลจบจาก คณะบริหารธุรกิจ มก. วุฒิการศึกษาที่จบ เชนเดียวกับ สําราญ ทองเล็กและภาวิณี มาตร เจริญ
ขอเสนอแนะจากผลการศึกษา • คณะบริหารธุรกิจควรวางแผนการเรียนการสอนใหมีวิธกี ารสอนดวยวิธี วิเคราะหมากขึ้น • คณะบริหารธุรกิจในทุกสาขาเชน การจัดการ การเงิน การผลิต การตลาด การบัญชี ควรเพิ่มทักษะทางภาษาอังกฤษ
ขอเสนอแนะครั้งตอไป • ควรศึกษาความคิดเห็นของผูบังคับบัญชาตอ ประสิทธิผลนิสิตทั้ง มหาวิทยาลัย • การสัมภาษณแบบเจาะลึกเกีย่ วกับความตองการทักษะของนิสิตในการ ทํางานของนิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
เอกสารอางอิง ภาษาไทย ชูศรี เลิศลิมชลาลัย , 2545; ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจศึกษาตอทีโ่ ครงการบัณฑิตศึกษาสาขา บริหารธุรกิจภาคค่ํา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพ. ปติพัฒน ฉัตรอัครพัฒน และ ศศิวิมล มีอําพล. 2549; การศึกษาปจจัยทีม่ ีผลตอความสําเร็จของการจัด การเรียนการสอนใหสอดคลองกับความตองการของสังคมโครงการปริญญาโทการบัญชีภาคพิเศษ ภาควิชาบัญชี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพ. พจมาลย ชมเดือน , 2540; ปจจัยที่มีอิทธิพลตอความคิดเห็นดานการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ กับขวัญกําลังใจ ในการทํางานของพนักงานองคการทอ ผา กระทรวงกลาโหม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ภาวิณี มาตรเจริญ, 2553; เรื่องคุณภาพการศึกษาของบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจสถาบัน อุดมศึกษาของรัฐในเขตกรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รจนา รัตนอุบล, 2545; ความคิดเห็นของพนักงานบริหารตอความสําเร็จของการใชระบบ ทีเอ็มบี อินทราเน็ต /มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพ. ศิริชัย พงษวิชัย, 2547; วิธีวิจัย คณะพาณิชยศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร สําราญ ทองเล็ก(ผศ.นท.), 2551; ความพึงพอใจของผูบังคับบัญชาตอบัณฑิตคณะบริหารธุรกิจป 2550 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพ. เสาวณี ใจรักษ และคณะ, 2551; เรื่องความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตตอการปฏิบัติงานและคุณลักษณะ ของบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม . มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม
ภาษาอังกฤษ Gertruida M. Bornman, 2004; Programme review guideline for Quality assurance in higher education : A South African Perepective. International of Sustainability in Higher Education. Vol.5 No.4, 2004 pp. 372.383. Emeral Group PublishingLimited Kretovics A., Mark 1999.; Assessing the MBA; What do our students learn? The Journal of Management development Development, Vol.18 No.2, 1999, pp. 125-136. MCB University Press. Palaihawadana, D.; George Holmes,1999; Modeling Module Evaluation in Marketing Education. Quality Assurance in education Volume 7 Number 1 1999 pp. 41-46 Copyright @ MCB University Press ISSN 0968- 4883. Siriwongse,T ,2006 ; Effectiveness of MBA of Krirk University. Dissertation DPA. University of Northern Philippines. Strydom , A.H.and Lategan,L.O.K. and Muller, A.(Eds), 1997; Enhancing Institutional Selfevaluation and Quality in South Affrican Higher Education: National and International Perspectives, University of the Oranfe Fee State, Bloemfontein. Webster’s Ninth New Collegiate Dictionary 1991 : 828