7. PPT คุณพัลลภ

Page 1

การสื่อสารภายในองคการ กรณีศึกษาพนักงานระดับปฏิบัติการ การประปานครหลวง นายพัลลภ โคววรรณศรี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร


ที่มาและความสําคัญ การสื่ อ สารเป น สิ่ ง ที่ มี ค วามสํ า คั ญ กั บ การดํ า เนิ น งานของ องคการเปนอยางมาก องคการตองใชการสื่อสารเปนเครื่องมือใน การแลกเปลี่ยนขาวสารเพื่อประสานงานกันของสมาชิกขององคการ และให ทุ ก คนในองค ก ารเข า ใจในจุ ด มุ ง หมายขององค ก าร ยิ่ ง องค ก ารมี ค วามซั บ ซ อ นมากยิ่ ง ขึ้ น การสื่ อ สารในองค ก ารก็ มี ความสําคัญมากยิ่งขึ้น การทําใหองคการบรรลุตามเปาหมายนั้นทําไดโดยการใชการ สื่ อ สารที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล และการสื่ อ สารที่ มี ประสิทธิภาพ


ที่มาและความสําคัญ (ตอ) การประปานครหลวงเป นรั ฐวิส าหกิ จขนาดใหญ มี ค วาม ซับซอนในการบริหารงานมาก ทําใหในบางครั้งการสื่อสารใน องคการเกิดความผิดพลาด ขอมูลขาวสารตางๆเกิดความเบี่ยงเบน ในเนื้อหาสาระและวัตถุประสงคของการสื่อสารนั้น อันสงผล กระทบตอการบริหารงานภายในองคการได การศึ ก ษาเรื่ องการสื่อสารภายในองคก ารของการประปา นครหลวง จึงนาจะเปนประโยชนอยางยิ่งในกาปรับปรุงการการ สื่อสารภายในองคการใหเหมาะสม


วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาวิธีการสื่อสารภายในองคการและความคิดเห็น ตอการสื่อสารภายในองคการของการประปานครหลวง 2. เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นตอการสื่อสารภายในองค การของพนักงานการประปานครหลวง ตามปจจัยสวน บุคคลและวิธีการสื่อสารในองคการ


วรรณกรรมที่เกี่ยวของ ความสําคัญของการสื่อสารในองคการ หากองคการขาดระบบการสื่อสารที่ดีอาจทําใหองคการ ไมสามารถดําเนินงานไดหรือดําเนินงานไมตรงตาม เปาหมาย เพราะการสื่อสารเปนเครื่องมือเชื่อมโยงการทํากิจกรรมตางๆ ในองคการ ดังนั้นการสื่อสารจึงมีความสําคัญกับองคการเปน อย า งมาก การสื่ อ สารภายในองค ก ารที่ เ ป น ไปอย า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพเหมาะสมกั บ บริ บ ทขององค ก าร จะนํ า พา องคการไปสูเปาหมายไดเปนผลสําเร็จ


วรรณกรรมที่เกี่ยวของ (ตอ) วิธีการสื่อสารที่ใชในองคการ 1. วิธีการสื่อสารดวยวาจา 2. วิธีการสื่อสารดวยลายลักษณอักษร 3. วิธีการสื่อสารดวยการใชเทคโนโลยี


วรรณกรรมที่เกี่ยวของ (ตอ) ความคิดเห็นตอการสื่อสารภายในองคการ

Down และ Hazen ไดสรางมาตรวัดความคิดเห็นซึ่งมี 8 องคประกอบ คือ 1. ภาพรวมทางองคการโดยทั่วไป 2. ขอมูลปอนกลับสวนตัว 3. การประสานหลอหลอมทางองคการ 4. การสื่อสารกับผูบังคับบัญชา 5. บรรยากาศของการสื่อสาร 6. การสื่อสารตามแนวนอน 7. คุณภาพของสื่อ 8. การสื่อสารกับผูใ ตบังคับบัญชา


วรรณกรรมที่เกี่ยวของ (ตอ) ปจจัยที่มีอิทธิพลตอความคิดเห็น 1.เพศ 2.อายุ 3.ระดับการศึกษา 4.สถานภาพหรือระดับตําแหนง 5.ระยะเวลาของการทํางาน


วิธีการดําเนินการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ขั้นที่ 1: คํานวณหาขนาดตัวอยางที่เหมาะสม (Sample size) โดยใชสูตรตอไปนี้ สูตร n =

N = 4,003 1+N(e)2 1+4,003(0.05)2

= 364 คน


วิธีการดําเนินการวิจัย (ตอ) ขั้นที่ 2: หาจํานวนพนักงานที่ตองการแตละตําแหนงดวยการสุม ตัวอยางแบบสัดสวน (Proportional Sampling) กลุมตัวอยาง ประกอบดวย ผูบริหาร,นักวิชาการ 8 คน หัวหนางาน 93 คน เสมียนพนักงานและพนักงานวิชาชีพ 263 คน


วิธีการดําเนินการวิจัย (ตอ) ขั้นที่ 3:

ทําการสุมตัวอยางตามวิธีการสุมตามความสะดวก (Convenience Sampling) และแจกแบบสอบถามตาม จํานวนกลุมตัวอยางในแตละกลุมที่กําหนดไว


วิธีการดําเนินการวิจัย (ตอ) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้ใชแบบสอบถามในการรวบรวมขอมูล ซึ่งประกอบดวย 3 สวน ดังนี้ สวนที่ 1 เกี่ยวกับปจจัยสวนบุคคลของพนักงาน จํานวน 5 ขอ สวนที่ 2 เกี่ยวกับวิธีการสื่อสารในองคการ จํานวน 17 ขอ ส ว นที่ 3 เกี่ ย วกั บ ความคิ ด เห็ น ต อ การสื่ อ สารภายในองค ก าร จํานวน 30 ขอ


วิธีการดําเนินการวิจัย (ตอ) การตรวจสอบเครื่องมือ 1. การหาความเที่ยงตรง (Validity) 2. การหาความเชื่อมั่น (Realiability) ไดคาความเชือ่ มัน่ ดังนี้ ตอนที่2 วิธีการสื่อสารภายในองคการ เทากับ 0.842 ตอนที่ 3 ความคิดเห็นที่มีตอการสือ่ สารภายในองคการ เทากับ 0.892


วิธีการดําเนินการวิจัย (ตอ) การวิเคราะหขอมูล 1.

การวิเคราะหสถานภาพและวิธีการสื่อสารใชสถิติพรรณนาโดย คํานวณเปน คารอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2. การวิเคราะหความแตกตางของความคิดเห็นตอการสื่อสารภายใน องคการระหวางเพศชายและเพศหญิง ใชการทดสอบ t (t-test Independent) 3 การวิเคราะหความแตกตางของความคิดเห็นตอการสื่อ สารภายใน องค ก ารที่ มี อายุ ระดั บ การศึ ก ษา ระดั บ ตํ า แหน ง ระยะเวลาการ ปฏิ บั ติ ง านในองค ก ารและวิ ธี ก ารสื่ อ สารที่ แ ตกต า งกั น ใช ก าร วิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว(One–Way Analysis of Variance)


ผลการวิจยั ตารางที่ 1: ระดับการปฏิบัติการเกี่ยวกับวิธกี ารสื่อสาร การประปา นครหลวง วิธีการสื่อสารภายในองคการ 1. วิธีการสื่อสารดวยวาจา ทกสาสา

Mean S.D.

ระดับ

2.84

1.09 ปานกลาง

2. วิธีการสื่อสารดวยลายลักษณอักษร 2.56

1.17 ปานกลาง

3. วิธีการสื่อสารโดยใชเทคโนโลยี

1.43 ปานกลาง

2.59


ผลการวิจยั (ตอ) ตารางที่ 2: ระดับความคิดเห็นตอการสื่อสารภายในองคการ การประปานคร หลวง ความคิดเห็นตอการสื่อสารภายในองคการ 1. ภาพรวมขององคการโดยทั่วไป ...ก.กกกก 2. ขอมูลปอนกลับสวนตัว กกกกกกกกกกกก 3. การประสานหลอหลอมทางองคการ กก 4. การติดตอสื่อสารกับผูบังคับบัญชา กกกกก 5. บรรยากาศของการสื่อสาร กกกกกกกกกกก 6. การสื่อสารตามแนวนอน กกกกกกกกกกกก

Mean 2.81 2.20 2.21 2.27 2.72 2.51

S.D. 0.78 0.82 0.84 0.69 0.85 0.78

ระดับ สูง สูง สูง สูง สูง สูง

7. คุณภาพของสื่อ

2.54

0.66

สูง

กกกกกกก


ผลการวิจยั (ตอ) ตารางที่ 3: ผลการทดสอบความแตกตางตามปจจัยสวนบุคคลตอ ความคิดเห็นที่มีตอ การสื่อสารภายในองคการ ปจจัยสวนบุคคล t F Sig. 1. เพศ dddddddddddddddddd 1.65 - 0.040* 2. อายุ dddddddddddddddddd 0.790 0.149 3. ระดับการศึกษา dddddddd 0.963 0.383 4. ระดับตําแหนง ddddddddd - 18.471 0.000* 5. ระยะเวลาในการปฏิบตั ิงาน 0.769 0.546


ผลการวิจยั (ตอ) ตารางที่ 4: ผลการทดสอบความแตกตางตามปจจัยสวนบุคคลตอ ความคิดเห็นที่มีตอ การสื่อสารภายในองคการ ปจจัยสวนบุคคล

1. เพศ dddddddddddddddddd 2. อายุ dddddddddddddddddd 3. ระดับการศึกษา dddddddd 4. ระดับตําแหนง ddddddddd 5. ระยะเวลาในการปฏิบตั ิงาน

ความแตกตางของระดับความคิดเห็นตอการ สื่อสารภายในองคการ     


ผลการวิจยั (ตอ) ตารางที่ 5: ผลการทดสอบความแตกตางตามวิธีการสื่อสารตอ ความคิดเห็นที่มีตอ การสื่อสารภายในองคการ วิธีการสื่อสารภายในองคการ

F

Sig.

1.วิธีการสื่อสารดวยวาจา กกกกกกก

4.160

0.000*

2. วิธีการสื่อสารดวยลายลักษณอักษร

1.889

0.020*

3. วิธีการสื่อสารโดยใชเทคโนโลยี ก

3.990

0.000*


ผลการวิจยั (ตอ) ตารางที่ 6: ผลการทดสอบความแตกตางตามวิธีการสื่อสารตอ ความคิดเห็นที่มีตอการสือ่ สารภายในองคการ ปจจัยสวนบุคคล

1.วิธีการสื่อสารดวยวาจากก 2. วิธีการสื่อสารดวยลาย ลักษณอักษร.ก. . 3. วิธีการสื่อสารโดยใช เทคโนโลยี . .

ความแตกตางของระดับความคิดเห็นตอการ สื่อสารภายในองคการ   


สรุปและอภิปรายผล 1. พนักงานสวนใหญมีความคิดเห็นโดยรวมวาใชวิธีการสื่อสารทุก วิธีอยูในระดับปานกลาง 2. พนักงานเพศชายและเพศหญิงมีระดับความคิดเห็นตอการสื่อสาร ภายในองคการแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 โดย เพศชายมีความคิดเห็นตอการสื่อสารภายในองคการสูงกวา


สรุปและอภิปรายผล (ตอ) 3.

พนักงานที่มีอายุแตกตางกันมีระดับความคิดเห็นตอการสื่อสาร ภายในองคการไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 4. พนักงานที่มีระดับการศึกษาแตกตางกันมีระดับความคิดเห็นตอการ สื่อสารภายในองคการไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 5. พนักงานที่มีระดับตําแหนงที่แตกตางกันมีระดับความคิดเห็นตอการ สื่อสารภายในองคการแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 โดยผู บ ริ ห าร นั ก วิ ช าการมี ค วามคิ ด เห็ น แตกต า งกั บ หั ว หน า งาน พนักงานวิชาชีพและเสมียนพนักงาน


สรุปและอภิปรายผล (ตอ) 6. พนักงานที่มีระยะเวลาการปฏิบัติงานในองคการที่แตกตางกันมี ระดับความคิดเห็นตอการสื่อสารภายในองคการไมแตกตางกันที่ ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 7. พนักงานที่มีวิธีการสื่อสารดวยวาจาที่แตกตางกันมีระดับความ คิดเห็นตอการสื่อสารภายในองคการแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญ ทางสถิติที่ .05 โดยวิธีการสื่อสารดวยวาจาในระดับปานกลาง แตกตางกับระดับมากที่สุด


สรุปและอภิปรายผล (ตอ) 8. พนักงานที่มีวิธีการสื่อสารดวยลายลักษณอักษรที่แตกตางกันมีระดับ ความคิ ด เห็ น ต อ การสื่ อ สารภายในองค ก ารแตกต า งกั น ที่ ร ะดั บ นัยสําคัญทางสถิติที่ .05 โดยวิธีการสื่อสารดวยลายลักษณอักษรใน ระดับมากที่สุดแตกตางกับระดับนอยและปานกลาง 9. พนักงานที่มีวิธีการสื่อสารโดยการใชเทคโนโลยีที่แตกตางกันมี ระดับความคิดเห็นตอการสื่อสารภายในองคการแตกตางกันที่ระดับ นัยสําคัญทางสถิติที่ .05 โดยวิธีการสื่อสารโดยการใชเทคโนโลยีใน ระดับนอยแตกตางกับระดับปานกลาง มากและมากที่สุด และระดับ ปานกลางแตกตางกับระดับมากและมากที่สุดอีกดวย


สรุปและอภิปรายผล (ตอ) จากผลการวิจัยแสดงใหเห็นวา พนักงานมีการสื่อสารกัน มากและมี วิ ธี ก ารสื่ อ สารที่ ห ลากหลาย พนั ก งานมี ค วาม คิดเห็นวาการประปานครหลวง มีการสื่อสารที่มีศักยภาพ ปจจัยที่ทําใหมีความคิดเห็นตอการสื่อสารภายในองคการ แตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 คือ เพศ ระดับ ตํ า แหน ง วิ ธี ก ารสื่ อ สารด ว ยวาจา วิ ธี ก ารสื่ อ สารด ว ยลาย ลักษณอักษรและวิธีการสื่อสารโดยการใชเทคโนโลยี


สรุปและอภิปรายผล (ตอ) เพศมี ผ ลต อ พฤติ ก รรมการเป ด เผยตนเองอย า ง ตรงไปตรงมา เพศชายมักจะมีปฏิกิริยาตอบสนองที่รวดเร็ว ตอการติดตอสื่อสาร นอกจากนี้พฤติกรรมของหัวหนาที่เปน เพศชาย ผู ใ ต บั ง คั บ บั ญ ชามั ก จะมี ก ารสื่ อ สารแบบเป ด เผย ตรงไปตรงมามากกว า เพศหญิ ง อย า งไรก็ ต ามพนั ก งาน สวนมากมักจะมีความพอใจในการสื่อสารสูงเมื่อไดคุยกับ ผูบังคับบัญชาที่เปนเพศเดียวกับตนเองเพราะเพศเดียวกันมี แนวโนมที่จะมีมุมมองไปในทางเดียวกัน


สรุปและอภิปรายผล (ตอ) การใชวิธีการสื่อสารดวยวาจาพนักงานอาจจดจําขาวสาร ไดไมครบถวนหรืออาจไมตรงกัน การใชการสื่อสารดวยเทคโนโลยีของพนักงานเกิดตาม ความสนใจและเข า ไปดู ข า วสารในองค ก ารที่ แ ตกต า งกั น เพราะพนั ก งานอาจมี ค วามสนใจที่ แ ตกต า งกั น เกิ ด ความ คิดเห็นแตกตางกัน


ขอเสนอแนะจากการวิจัย การประปานครหลวงควรปรั บ ปรุ ง การสื่ อ สารใน องคการใหสอดคลองกับวิธีการและเครื่องมือในการสื่อสาร กับพนักงานที่มีความแตกตางกันทั้งดานเพศ ระดับตําแหนง วิธีการสื่อสารและควรใชการสื่อสารดวยวาจาและการสื่อสาร ดวยลายลักษณอักษรควบคูไปดวยกัน ปรับปรุงและพัฒนา เครื่องมือสื่อสารที่ใชในองคการใหมีคุณภาพ


ขอเสนอแนะการวิจัยครัง้ ตอไป ควรศึกษาปจจัยอื่นที่มีผลตอความคิดเห็นตอการสื่อสาร ภายในองคการเพิ่มขึ้น เพื่อที่จะเปนประโยชนตอการปรับปรุง การสื่อสารภายในองคการใหเกิดประสิทธิผลสูงสุด ควรมีการศึกษาขอมูลโดยการสังเกตแบบมีสวนรวม การ สัมภาษณพนักงานเพื่อใหไดขอมูลในเชิงลึกมากขึ้น


The end Thank you


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.