52-4ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อสภาพแวดล้อมของวิทยาลัยราชพฤกษ์

Page 1

รายงานการวิจัย เรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของ วิทยาลัยราชพฤกษ

Students’ satisfaction towards the environment of Ratchaphruek College

โดย นางสาวทัศนีย อัครพินท

การวิจัยครั้งนี้ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากวิทยาลัยราชพฤกษ ปการศึกษา 2552


รายงานการวิจัย เรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของ วิทยาลัยราชพฤกษ

Students’ satisfaction towards the environment of Ratchaphruek College

โดย นางสาวทัศนีย อัครพินท

การวิจัยครั้งนี้ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากวิทยาลัยราชพฤกษ ปการศึกษา 2552 ปที่ทําการวิจัยแลวเสร็จ 2553


ชื่อโครงการวิจัย ชื่อผูวิจัย ปที่ทําการวิจัย 255

ความพึงพอใจของนักศึกษาตอที่มีสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ นางสาวทัศนีย อัครพินท 2

บทคัดยอ การศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษาตอที่มีสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ วัตถุประสงคในการวิจัย 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการ เรียนการสอนของวิทยาลัยราชพฤกษ 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มี สภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการสอนวิทยาลัยราชพฤกษ โดยจําแนกศึกษาตามเพศ อายุ คณะ และกลุมการเรียน กลุมตัวอยาง ที่ใชในการวิจัย คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี วิทยาลัยราชพฤกษ จําแนกตามกลุมการเรียนจะได กลุมการเรียนภาคปกติจํานวน 151 คน กลุมการเรียนภาคสมทบค่ํา จํานวน 73 คน และกลุมการเรียนภาคสมทบเสาร-อาทิตยจํานวน 117 คน รวมทั้งสิ้น 341 คน เครื่องมือ ที่ใชวิจัยครั้งนี้เปนแบบ สอบถาม สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาเฉลี่ย คาความเบี่ยงเบน มาตรฐาน สถิติ t – test และวิธีวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว One – way Analysis of Variance และ LSD ผลการวิจัยพบวา นักศึกษามี ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของ วิทยาลัยราชพฤกษ ดานอาคารสถานที่ภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ระดับความพึงพอใจของนักศึกษา ที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานบรรยากาศในการเรียนการสอนภาพรวมอยูในระดับ ปานกลาง ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานมนุษย สัมพันธระหวางบุคคลภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอ สภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานสุขาภิบาล อนามัย และสิ่งแวดลอมภาพรวมอยูในระดับปาน กลาง และ ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานการ บริหารภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ผลการทดสอบ สมมุติฐาน พบวา เพศที่ตางกัน มีระดับความพึง พอใจตอสภาพแวดลอม ไมแตกตางกัน สวนอายุของนักศึกษาที่แตกตางกัน มีระดับความพึงพอใจตอ สภาพแวดลอม ไมแตกตางกันและกลุมการเรียนที่แตกตางกันมีผลความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอ สภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ พบวาแตกตางกันในดานอาคารสถานที่ ดานมนุษยสัมพันธ


-2-

ระหวางบุคคล ดานสุภาภิบาล อนามัย และสิ่งแวดลอม และดานการบริหาร อยางนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05


Project: Researcher: Year:

Students’ satisfaction towards the environment of Ratchaphruek College Ms. Tatsanee Akarapin 2010

Abstract The objectives of this research were to determine and compare students’ satisfaction level towards the environment of Ratchaphruek College by variables of sex, group of study, and age. The samples in this study composed of 341 students that were calculated by using Yamane formula. The instrument tool was the questionnaire. The data was analyzed by means, standard deviation, t-test, and One-way ANOVA with Least Square Difference. The results of this research showed that the students’ satisfaction level towards the environment in term of building factor, atmosphere of classroom factor, the relationship between friends factor, sanitation and environment factor, and administration factor were overall at medium level. The result of testing hypothesis showed that students’ satisfaction level between sexes was found insignificantly different. Students’ satisfaction level between ages was also found insignificantly different. Students’ satisfaction level in normal program, night program, and weekend program were found significantly different at 0.05 levels in building, the relationship between friends, sanitation and environment, and administration factor.


คํานํา ในการจัดทํารายงานการ วิจัย ฉบับนี้ ผู วิจัย ขอกราบขอบพระคุณ วิทยาลัยราชพฤกษที่ สนับสนุนเงินทุนวิจัยประจําป 2552 และ รศ.ดร. ลัดดาวัลย เพชรโรจน ที่ปรึกษาคณะกรรมการการวิจัย และอาจารยกุลยา อุปพงษ หัวหนางานวิจัยและพัฒนา ที่ไดกรุณาใหคําปรึกษา แนะนํา และปรับปรุง รายงานการวิจัยครั้งนี้จนสําเร็จสมบูรณตามวัตถุประสงค รวมถึงคณะกรรมการการวิจัยทุกทาน ที่ให ความสนับสนุน ชวยเหลือเปนอยางดียิ่งตลอดมา ผูวิจัยขอขอบพระคุณนักศึกษาที่กรุณาตอบแบบสอบถามทุกทาน ไดสละเวลาอันสําคัญยิ่ง ในการใหขอมูล ซึ่งทําใหรายงานวิจัยฉบับนี้มีสําเร็จสมบูรณ ประการสุดทาย จากคุณคาและประโยชนของรายงานการ วิจัย นี้ ผูวิจัย ขอมอบเปนเครื่อง บูชาพระคุณแกบิดา มารดา ตลอดจนครู อาจารย ทุกทานที่ประสิทธิ์ ประสาท ความรูใหแกผูวิจัย

นางสาวทัศนีย อัครพินท พฤษภาคม 2553


สารบัญ หนา บทคัดยอภาษาไทย บทคัดยอภาษาอังกฤษ คํานํา สารบัญ สารบัญตาราง บทที่ 1. บทนํา ความสําคัญของปญหา วัตถุประสงคของการศึกษาวิจัย สมมติฐานของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย ประโยชนจะไดรับ กรอบแนวความคิดในการวิจัย 2.

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ความหมายของความพึงพอใจ ความหมายและความสําคัญของสภาพแวดลอมสถานศึกษา ขอบขายสภาพแวดลอมของสถานศึกษา งานวิจัยที่เกี่ยวของ

3. วิธีการดําเนินการวิจัย ประเภทการวิจัย ประชากรการวิจัย การกําหนดขนาดตัวอยางและวิธีการสุมตัวอยาง ขอมูลที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชเก็บขอมูล

-1-3-4-5-71 1 3 3 4 4

5 6 6 7 10 24 28 28 28 28 29 30


บทที่

หนา

สารบัญ (ตอ)

การทดสอบเครื่องมือ การวางแผนวิเคราะหขอมูล

31 31

4. ผลการวิเคราะหขอมูล ตอนที่ 1 การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับ สภาพภูมิของนักศึกษา ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจ ของผูตอบแบบสอบถาม

32 33

5

สรุป อภิปราย และขอเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล ขอเสนอแนะ

บรรณานุกรม ภาคผนวก แบบสอบถาม

33 47 47 50 51 52 56 77


สารบัญตาราง ตาราง

หนา

ตาราง 1 จํานวนและรอยละ จําแนกตามเพศ ตาราง 2 จํานวนและรอยละ จําแนกตามอายุ ตาราง 3 จํานวนและรอยละ จําแนกตามกลุมการเรียน ตาราง 4 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานอาคารสถานที่ ตาราง 5 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานบรรยากาศในการเรียนการสอน ตาราง 6 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล ตาราง 7 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานสุขาภิบาล อนามัย และสิ่งแวดลอม ตาราง 8 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานการบริหาร ตาราง 9 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของ วิทยาลัยราชพฤกษ จําแนกตามเพศ ตาราง 10 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของ วิทยาลัยราชพฤกษ จําแนกตามอายุ ตาราง 11 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของ วิทยาลัยราชพฤกษ จําแนกตามกลุมการเรียน ตาราง 12 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของ วิทยาลัยราชพฤกษ ดานอาคารสถานที่ รายคู

33 33 33 34 36 37 39 40 41 42 43 44

ตาราง 13 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของ วิทยาลัยราชพฤกษ ดานมนุษยสัมพันธระหวาง รายคู

44

ตาราง 14 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของ วิทยาลัยราชพฤกษ ดานสุภาภิบาล อนามัย และสิ่งแวดลอม รายคู

45


สารบัญตาราง (ตอ) ตาราง

หนา

ตาราง 15 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของ วิทยาลัยราชพฤกษ ดานการบริหาร รายคู

46


สารบัญภาพ ภาพที่ 1

กรอบแนวความคิดในการวิจัย……….…………………………….........

หนา 5


บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา วิทยาลัยราชพฤกษ เปนสถานบันการศึกษาเอกชน โดยมีจุดมุงหมายใหเปนสถานบันการศึกษา แบบ “สถานบันแหงการการเรียนรูยุคใหม คุณภาพ คุณธรรม นําหนาสูสากล” มีการรับนักศึกษาโดยไม มีการสอบคัดเลือกและไมจํากัดจํานวน ดังปรัชญาไดวาไวเพื่อเนนผลิตบัญฑิตใหมีคุณภาพ คุณธรรม และมีศักยภาพของการเปนผูนําสูระดับสากล ซึ่งจะเปนการเปดโอกาส และใหความเสมอภาคทาง การศึกษาแกประชาชน โดยยึดหลักการบริการวิชาการที่สอดคลองกับสังคม มีคุณภาพมาตราฐาน ระดับสูงมีในความเปนสากล ไดปฏิบัติภารกิจหลักทั้ง 4 ประการ ของสถาบันอุดมศึกษา คือ การจัดการ เรียนการสอน การวิจัย การใหบริการทางวิชาการแกชุมชน และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมไทยได อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อีกทั้งทางวิทยาลัยยังไดมุงเนนในการพัฒนาบุคคลตาม แผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติฉบับที่ 10 (2550-2554) ยังตองมีการเตรียมความพรอมของคนและระบบ ใหภูมิคุมกัน พรอมรับการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น โดยยังคงเชิญ “ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ” มาเปนแนวปฏิบัติในการพัฒนาแบบบูรณาการเปนองครวมที่มี “คนเปนศูนยกลาง การพัฒนา” ในระยะเวลาที่ผานมาตั้งแตวิทยาลัยราชพฤกษ ไดรับการจัดตั้งเปนสถาบันอุดมการศึกษาของ เอกชน ตั้งแตป 2549 ไดมีการพัฒนาทั้งดานวิชาการ สังคม สิ่งแวดลอม และเทคโนโลยีตางๆ ขึ้น มากมายเพื่อใหสมกับเปนวิทยาลัยสอนในระดับปริญญตรีและโท ดวยบรรยายกาศทางวิชาการ เพราะ วิทยาลัยราชพฤกษถือวาเปนความรับผิดชอบอยางมากที่มีตอนักศึกษาของวิทยาลัย ทั้งในดานการเรียน การสอน การพัฒนาเทศโนโลยีที่ทันสมัย การพัฒนางานวิจัย การบริการทางวิชาการแกชุมชนและ สังคม การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และมุงเนนผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ คุณธรรม นําหนาสูสากล วิทยาลัยราชพฤกษยังเนนในเรื่องของสภาพแวดลอมและภูมิทัศน เพื่อใหมีบรรกาศทางการศึกษาใหสม กับเปนสถาบันแหงการเรียนรูยุคใหม โดยกําหนดใหทางวิทยาลัยตองมีสภาพแวดลอมและภูมิทัศนที่ สนับสนุนบรรยากาศการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะเห็นไดจากการปรับปรุงอาคารสถานที่


2

ตางๆ ที่ดําเนินมาอยางตอเนื่อง เพื่อมุงสูการสรางบรรยากาศทางวิชาการใหเกิดขึ้นภายในวิทยาลัยราช พฤกษ แหงนี้ สภาพแวดลอมวิทยาลัยมีความสําคัญอยางหนึ่งชวยสงเสริมใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและพัฒนา ไดเปนอยางมาก โดยเฉพาะในสวนที่เกี่ยวของกับอาคารเรียน สถานที่บริเวณตางๆ รวมทั้งบุคลากรและ วัสดุอุปกรณตางๆ ที่อยูรอบตัวผูเรียนซึ่งมีอิทธิพลตอพฤติกรรม และการเปลี่ยนพฤติกรรมกอใหเกิดการ เรียนรูเพราะสภาพแวดลอมทุกอยางมีอิทธิพลตอจิตใจและพฤติกรรมของผูเรียน เปนการเสริมสราง ขวัญและกําลังใจในการประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนและการปฏิบัติหนาที่การงานของทุกคนใน สถานศึกษาชวยสรางบรรยากาศในการเรียนการสอนใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล (เหนียว ศีลา วงศ, 2545) ในการจัดการศึกษานั้นผูสอนจะชวยใหผูเรียนไดพัฒนาการเรียนรูอยางครบถวนทุกดาน แต ยังมีปจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวของอีกหลายประการ โดยเฉพาะสวนที่เชื่อวามีความสําคัญคือ สภาพแวดลอมใน สถานศึกษา ซึ่งจะมีอิทธิพลตอนักศึกษาถามีการจัดสภาพทุกสิ่งทุกอยางที่อยูในสถานศึกษาไมวาจะเปน บุคคล อาคารสถานที่ วัสดุอุปกรณ เครื่องใช การบริหาร หรือการจัดการและสิ่งอํานวยความสะดวก อื่นๆ ในสถานศึกษาที่ใหมีสภาพที่เหมาะสม จะทําในเกิดความรูสึกที่ดี จะเปนประโยชนตอการเรียน การสอนในสถานศึกษา ซึ่งวิระ ดวงแปน (2544) ไดอธิบายวาสภาพแวดลอมในสถานศึกษานั้นหมายถึง ภาวะใดๆ ที่มีผลตอการเรียนของมนุษยทั้งที่โดยทางตรงและทางออม ไมวาจะเปนรูปธรรม หรือ นามธรรม ซึ่งสภาพแวดลอมทางกายภาพหรือสภาพแวดลอมที่เปนรูปธรรมไดแก สภาพตางๆ ที่มนุษย สรางขึ้น เชน อาคาร สถานที่ โตะ เกาอี้ วัสดุอุปกรณ หรือสื่อตางๆ รวมทั้งสิ่งตางๆ ที่มีอยูตามธรรมชาติ อันไดแก ตนไม พืช ภูมิอากาศ สวนสภาพแวดลอมที่นามธรรมซึ่งเปนสิ่งที่จับตองไมได จะเปนปจจัย สําคัญอยางหนึ่งในการพัฒนาบุคลิกภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และทัศนคติของนักศึกษาไปในทางที่ พึงประสงค ดังที่ มาริสา ธรรมะ (2545) ไดกลาววา สภาพแวดลอมที่เปนนามธรรม ไดแก ระบบุคคลที่ มีคุณคาที่ควรยึดถือ ซึ่งเปนสวนสําคัญของวัฒนธรรมของกลุมสังคม ขาวสารความรูความคิด ตลอดจน เปนความรูสึกนึกคิดและทัศนคติตางๆ ไมวาจะเปนของตนเองหรือของคนอื่น อาจจะสรุปไดวา สภาพแวดลอมที่เปนนามธรรม ก็คือ สภาพทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรม ซึ่งสิ่งตางๆ เห ลงนี้จะสงผลตอการเรียนการสอนโดยเฉพาะอยางยิ่งทางดานสังคม จะสงผลกระทบในรูปแบบการมี ปฏิสัมพันธระหวางผูสอนกับผูเรียนและผูเรียนกับผูเรียนดวยกัน ดังนั้น ในการศึกษานี้เพื่อใหไดขอมูลทางดานความพึงพอใจของนักศึกษาที่สงผลตอการจัด สภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการสอน ดานอาคารสถานที่ ดานบรรยายกาศตอการเรียนการสอน และดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล จึงเปนปจจัยสําคัญในการที่จะประเมินความพึงพอใจของ


3

นักศึกษา วามีความพอใจ ประทับใจ ในการพัฒนาปรับปรุงสภาพแวดลอมที่สามารถกระตุนและพัฒนา ความคิดสรางสรรคในการเรียนกับบรรยากาศและภูมิทัศนตางๆ ที่ทางวิทยาลัยราชพฤกษไดจัดเตรียม ไวเพื่อใหนักศึกษาที่เขามาเรียนไดเรียนจบไปไดมีคุณภาพ ซึ่งผูวิจัยไดเลงเห็นประโยชนในการศึกษา ความพึงพอใจของนักศึกษาตอสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการสอนของวิทยาลัยราชพฤกษ เพื่อที่จะไดทราบถึงแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงแกไข สภาพแวดลอมภาพในวิทยาลัยราชพฤกษใหดี อยางขึ้นตลอดไป

วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการสอน ของวิทยาลัยราชพฤกษ 2. เพื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการ สอนวิทยาลัยราชพฤกษ โดยจําแนกศึกษาตามเพศ อายุ และกลุมการเรียน

สมมุติฐานของการวิจัย

1. เพศที่ตางกันมีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการสอนแตกตางกัน ใน ดานอาคารสถานที่ ดานบรรยายในการเรียนการสอน ดานสุขาภิบาล อนามัยสิ่งแวดลอม และ ดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล 2. อายุที่ตางกันมีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการสอนแตกตางกัน ใน ดานอาคารสถานที่ ดานบรรยายในการเรียนการสอน ดานสุขาภิบาล อนามัยสิ่งแวดลอม และ ดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล 3. กลุมการเรียนที่ตางกันมีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการสอน แตกตางกัน ในดานอาคารสถานที่ ดานบรรยายในการเรียนการสอน ดานสุขาภิบาล อนามัย สิ่งแวดลอม และดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล


4

ขอบเขตของการวิจัย

เปนการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมในการสนับสนุนการเรียนการ สอนของวิทยาลัยราชพฤกษ ประชากรที่ใชในการศึกษา ไดแก นักศึกษาในระดับปริญญาตรี ของ วิทยาลัยราชพฤกษ ประจําปการศึกษา 2552 จํานวน 2,287 คน ตัวแปรที่ใชในการวิจัย แบงเปน 2 ประเภทคือ ตัวแปรอิสระ และตัวแปรตามดังนี้ 1. ตัวแปรอิสระ คือ สภาพภูมิหลังของนักศึกษา ไดแก เพศ อายุ และกลุมการเรียน 2. ตัวแปรตาม คือ ความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการสอน ใน 5 ดาน คือ ดานอาคารสถานที่ ดานบรรยายในการเรียนการสอน ดานสุขาภิบาล อนามัย สิ่งแวดลอม ดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล และดานการบริหาร

ประโยชนที่จะไดรับ เพื่อทราบถึงระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ และนําขอมูลใชเปนแนวทางในการแกไขปรับปรุง และพัฒนาสภาพแวดลอมภายในวิทยาลัยฯ ใหเปนที่ พึงพอใจใหมากยิ่งขึ้น อีกทั้งเพื่อเปนเผยแพรชื่อเสียงของวิทยาลัยราชพฤกษใหเปนที่รับทราบในเรื่อง การสรางสภาพแวดลอมทางการศึกษาใหมีบรรยายกาศทางวิชาการที่คุณภาพและนาเชื่อถือได


5

กรอบแนวความคิดในการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดทําการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของตางๆ ทําใหผูวิจัยได แนวทางในการศึกษาวิจัยถึงความพึงพอใจของนักศึกษาตอสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการ สอนของวิทยาลัยราชพฤกษ โดยใชหลักการและขอมูลในการจําแนกสภาพแวดลอมในงานวิจัยของ ธนารีย เพ็ชรรัตน (2549) นํามาเปนแผนภูมิกรอบแนวความคิดในการศึกษา ดังนี้ ตัวแปรอิสระ สภาพภูมิหลังของนักศึกษา •

เพศ

อายุ

กลุมการเรียน

ตัวแปรตาม

ระดับความพึงพอใจตอ

สภาพแวดลอม •

ดานอาคารสถานที่

ดานบรรยากาศใน

สภาพแวดลอม

การเรียนการสอน •

ดานมนุษยสัมพันธ ระวางบุคคล

ดานสุขาภิบาล อนามัยสิ่งแวดลอม

ดานการบริหาร ภาพที่ 1 กรอบแนวความคิดในการวิจัย


บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ การศึกษาความพึงพอใจ ตอ สภาพแวดลอมของนักศึกษา ในวิทยาลัยราชพฤกษ ผูวิจัยได ทําการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อแสวงหาความรูที่จะนํามาใชในการ กําหนดกรอบแนวคิดของการวิจัย จึงไดรวบรวมเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของในประเด็นสําคัญ ดังนี้ • ความหมายของความพึงพอใจ • ความหมายและความสําคัญของสภาพแวดลอมสถานศึกษา • ขอบขายสภาพแวดลอมของสถานศึกษา  ดานอาคารสถานที่  ดานบรรยากาศในการเรียนการสอน  ดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล  ดานสุขาภิบาล อนามัยสิ่งแวดลอม  ดานการบริหาร • งานวิจัยที่เกี่ยวของ

ความหมายของความพึงพอใจ ความพึงพอใจเกิดจากความรูสึกภาพในของบุคคลที่ไดรับสิ่งที่ตนเองตองการเปนอาการถูกใจ การชอบใจ ทัศนคติ ความรูสึก ที่มีความพอใจ เปนพฤติกรรมที่บุคคลพึงปรารถนา ในเรื่องนั้นๆ เชน การไดนั่งเรียนในหองเรียนที่บรรยากาศสดชื่น การเรียนการสอนที่มีวัสดุอุปกรณครบถวน เปนตน สิ่งแวดลอมภายในสถานศึกษาทําเปนความพึงพอใจทําใหนักศึกษามีความสุขในการมาเรียนและ อยากจะมาเรียน ซึ่งไดมีผูวิจัยศึกษาความหมายพึงพอใจไวดังนี้ ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึก รัก ชอบ ยินดี เต็มใจ หรือมีเจคคติที่ดีของบุคคลตอสิ่งใดสิ่ง หนึ่ง ความพึงพอใจ จะเกิดขึ้นเมื่อไดรับผลตอบสนองความตองการ ทั้งดานวัตถุและดานจิตใจ ความ


7

เปนเรื่องเกี่ยวกับอารมณ ความรูสึก และทัศนคติของบุคคลอันเนื่องมาจากสิ่งเราและสิ่งจูงใจ ซึ่งจะ ปรากฎออกมาทางพฤติกรรม โดยเปนองคประกอบที่สําคัญในการทํากิจกรรมตางๆ ของบุคคล ทัศนีย สิงหเจริญ (2543) ไดสรุปวาความพึงพอใจเปนองคประกอบทางดานทัศนคติ ที่กลาวได วา ความพึงพอใจเปนกิริยาทางดานความรูสึกของบุคคลที่มีตอสิ่งเราหรือสิ่งที่มากกระตุน เปนระดับ ความพอใจที่เปนจริงอยูในขณะนั้น ซึ่งจะบอกใหทราบถึงทิศทางวาเปนทัศนคติไปในทางบวก หรือ ทิศทางลบ หรือไมมีปฎิกิริยา คือเฉย ๆ ตอสิ่งเรา หรือสิ่งที่มากระตุนนั้น อุทัยพรรณ สุดใจ ( 2549) ไดกลาววา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกหรือทัศนคติของบุคคล ที่มีตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง รงรอง พนธารา ( 2550) กลาววา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกหรือทัศนคติของบุคคลที่มี ตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันเกิดจากพื้นฐานของการรับรู คานิยม และประสบการณที่แตละบุคคลไดรับและจะ เกิดขึ้นก็ตอเมื่อสิ่งนั้นสามารถตอบสนองความตองการใหแกบุคคลนั้นได ซึ่งระดับของแตละบุคคล ยอมมีความแตกตางกันไป สรุปไดวา ความพึงพอใจ คือ ความพอใจ ชอบใจ ของแตละบุคคล อีกทั้งยังเปนความรูสึก รับ ชอบ ยินดี หรือเต็มใจที่ดีของบุคคลตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งแตละบุคคลคนมีความระดับความพึงพอใจที่ แตกตางกัน เปนความรูสึก หรือทัศนคติของบุคคลที่มีตอสิ่งใดสิ่งหนึ่งเปนความรูสึกดานจิตใจ ที่ไดรับ การตอบสนองในเชิงบวก เกิดความพอใจ ประทับใจจึงทําใหเกิดความพึงพอใจขึ้น สําหรับความพึง พอใจในการเรียนการสอนนั้น ก็คือ ปจจัยหรือองคประกอบตางๆ ที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอนที่ได สรางความรูสึกพอใจ ประทับใจไมวาจะเปนสภาพแวดลอมอาคารเรียนหองเรียน บริเวณสถานที่ หรือ แมแตบรรยากาศภายในสถานศึกษา นั้น

ความหมายและความสําคัญของสภาพแวดลอมสถานศึกษา ความหมายของสภาพแวดลอม สภาพแวดลอมถือวามีสวนสําคัญในการทํางานในองคกร และในทางการศึกษา ซึ่งสามารถมี อิทธิพลตางๆ กับผูปฏิบัติงานและนักศึกษาทําใหมีประสิทธิภาพในการเรียนและการทํางานมากยิ่งขึ้น ดังนั้นไดมีผูใหความหมายของ สภาพแวดลอมในลักษณะตางดังนี้


8

อรพันธ ประสิทธิรัตน (2533, อางถึงใน วิไล ตังทัตสวัสดิ์ 2536) กลาววา ในทางจิตวิทยาถือวา สภาพแวดลอมมีหนาที่เราใหมนุษยแสดงพฤติกรรม ซึ่งจําแนกสภาพแวดลอมออกเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1. ส ภาพแวดลอมภายนอก (Explicit environment) คือ สภาพแวดลอมซึ่งอยูนอกกายของมนุษย ไดแก วัตถุสิ่งของ คน สัตว กิจกรรมอันเกิดจากวัตถุสิ่งของ คน และสัตว รวมถึงสิ่งเปนนามธรรม เชน หลักศีลธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีดวย 2. ส ภาพแวดลอมภายใน ( Implicit environment) คือ การกระทําของอวัยวะตางๆ ภายใน รางกายของมนุษย เชน ความหิวกระหาย ความตองการ เปนตน รุงนภา รุงเรืองศิลป (2544) ไดกลาววา สภาพแวดลอมหมายถึง สิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวเรา ทั้งที่ เปนสิ่งมีชีวิตและไมมีชีวิต หรือเกิดขึ้นเองธรรมชาติ หรือมนุษยสรางขึ้นหรือทั้งที่เปนรูปธรรมและ นามธรรม หรือเปนสิ่งแวดลอมทางกายภาพทางชีวภาพ ทางสังคม เศรษฐกิจและวัฒธรรม อันมี ผลกระทบตอความเปนอยูของมนุษย วิระ ดวงแปน (2544) อธิบายวาสภาพแวดลอมของสถานศึกษา หมายถึงภาวะใดๆ ที่มีผลตอ การเรียนของมนุษยทั้งที่โดยทางตรงและทางออม ทั้งที่เปนรูปธรรม และนามธรรมสภาพแวดลอมที่ เปนรูปธรรม (Concrete Environment) หรือสภาพแวดลอมทางกายภาพ ไดแก สภาพตางๆ ที่มนุษยทํา ขึ้น เชน อาคาร สถานที่ โตะ เกาอี้ วัสดุอุปกรณหรือสื่อตางๆ รวมทั้งสิ่งตางๆ ที่มีอยูตามธรรมชาติ อัน ไดแก ตนไม พืชภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ไพฑรูย ศรีฟา (สืบคนวันที่ 27 มีนาคม 2553) กลาววา สภาพการณใดๆ ที่มีผลตอการเรียนรู ของมนุษยทั้งทางตรงและทางออม ทั้งที่เปนรูปธรรม และนามธรรม สภาพแวดลอมที่ เปนรูปธรรม (Concrete Environmental) หรือสภาพแวดลอมทางกายภาพ (Physical Environment) ไดแก สภาพตาง ๆ ที่มนุษยทําขึ้น เชน อาคาร สถานที่ โตะ เกาอี้ วัสดุ อุปกรณ หรือสื่อตาง ๆ รวมทั้งสิ่งตาง ๆ ที่อยูตาม ธรรมชาติ อันไดแก ตนไม พืช ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ สวนสภาพแวดลอมที่เปนนามธรรม (Abstract Environment) หรือสภาพแวดลอมทางดานจิตวิทยา (Psychological Environmental) ไดแก ระบบคุณ คาที่ยึดถือซึ่งเปนสวนสําคัญ ของวัฒนธรรม ของกลุมสังคมขาวสาร ความรู ความคิด ตลอดจน ความรูสึกนึกคิดและเจตคติตาง ๆ ไมวาจะเปนของ ตัวเองหรือคนอื่นก็ตาม สรุปไดวา สภาพแวดลอม หมายถึง สภาวการณตางๆ ที่อยูรอบตัวเราทั้งที่มีชีวิตหรือไมมีชีวิต และรูปธรรมหรือนามธรรม รวมทั้งสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น หรือเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ เปนวัฏจักรที่มีความ สอดของกัน และเกื้อหนุนซึ่งกันและกันใหกับผูเรียนหรือผูศึกษาไดรูจักเอง เขาในสังคม และ สภาพแวดลอมสามารถใหชีวิตที่ดีขึ้น


9

ความสําคัญของสภาพแวดลอมสถานศึกษา สภาพแวดลอมมีความสําคัญและจําเปนตอการดํารงชีวิตของมนุษย ซึ่งมีผูวิจัยเกี่ยวกับ ความสําคัญของสภาพแวดลอมดังนี้ สมชาย จําปานิล ( 2545) กลาววา สภาพแวดลอมเปนสิ่งที่สําคัญตอ การดําเนินชีวิต โดยเฉพาะ สงแวดลอมในสถานศึกษา เปนสิ่งที่ผูบริหารในสถานศึกษาตองคอยดูแลเอาใจใสเพราะสิ่งแวดลอม ชวยทําใหคนเปลี่ยนแปลงไปไดดีหรือไม สิ่งแวดลอมมีสวนกําหนดเชน แสงสวาง การถายเทของ อากาศ เสียงสี ซึ่งสิ่งเหลานี้สงผลกระทบตอผูศึกษาที่อยูในสถานศึกษาดังนั้นผูบริหารตองให ความสําคัญ เพื่อเปนเครื่องมือในการชวยใหการจัดการศึกษาไดบรรลุถึงเปาหมายที่วางไว จินตนา กิ่งแกว (2548) กลาวไดวา สภาพแวดลอมในสถาบันมีอิทธิพลตอความเปนอยู ตลอดจนพัฒนาการทุกๆ ดานของผูเรียน การใหความสนใจกับสภาพแวดลอมรอบ ๆ ตัวนักศึกษาที่ กําลังศึกษาอยูในสถาบัน จึงเปนการสงเสริมใหมีการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนเปนการ ปองกัน และสงเสริมสุขภาพของนักศึกษา ธีรวัฒน ยุวรรณะ ( 2549) ไดกลาววา ความสําคัญของสภาพแวดลอมในสถานศึกษา เปนเรื่อง สําคัญที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมของบุคคล โดยเฉพาะอยางยิ่งพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงจากดาน สิ่งแวดลอมนามธรรมสงผลตอการเรียนและสมองไดรับการกระตุนทําใหสมองมีการพัฒนาทําใหการ เรียนการสอนมีประสิทธิภาพขึ้น โกวิท มัชฌิมา ( 2550) ไดกลาววา สภาพแวดลอมมีความสําคัญตอการสงเสริมคุณภาพ และ ประสิทธิภาพ ในกระบวนการจัดการเรียนรูของบุคคลทั้งทางตรงและทางออมในการจัดสภาพแวดลอม ที่ดีในสถานศึกษาชวยอํานวยความสะดวกใหผูเรียนไดเรียนรูตามความสามารถ ความสนใจสงผล โดยตรงตอผลสัมฤทธิ์ทางเรียนเกิดประโยชนสูงสุดตอผูศึกษา ใหผูศึกษาไดเรียนรูอยางมีความสุขจาก สภาพแวดลอมที่ดี สรุป ไดวา ความสําคัญของ สภาพแวดลอมสถานศึกษา นั้น มีอิทธิพลตอศึกษา และสงผลตอ การศึกษาของนักเรียนนักศึกษา ทั้งทางตรงและทางออม ที่มนุษยและธรรมชาติสรางขึ้นทําใหผูเรียน นักศึกษามีความประทับใจตอลักษณะสภาพแวดลอมตางๆ ลักษณะใดๆ ในสถานศึกษาที่เปนสิ่งเราที่มี ศักยภาพและมีอิทธิพลตอนักเรียน จะสงผลกระทบตอการเรียนของผูเรียนและนักศึกษา ทั้งทางตรง ทางออม ที่เปนรูปธรรมและนามธรรม ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรืออมนุษยสรางขึ้นทําใหนักศึกษา เกิดการเรียนรูมีความรูสึกพอใจสวนตางๆ ของสถานศึกษาไมวาเปนทั้งดานบริหาร บรรยากาศการเรียน การสอนอาคารสถานที่และการปฎิสัมพันธระหวางผูบริหารกับผูบังคับบัญชา ครูผูสอนกับนักศึกษากับ


10

นักศึกษาและบุคลากรในกลุมอื่นๆ ซึ่งลักษณะตางๆ เหลานี้ สามารถตรวจสอบได โดยการสังเกต สอบถามหรือวิธีอื่นๆ ที่เหมาะสม

ขอบขายของสภาพแวดลอมสถานศึกษา สภาพแวดลอมของสถานศึกษา นัฐญาพร ดุษดี (2545) กลาววาเปนสถานศึกษาที่อบรมสั่งสอน และใหวิชาความรูเพื่อดํารงชีวิต ดังนั้น การที่สถานศึกษาจะสามารถทําหนาที่ตางๆ ไดอยางครบถวน สมบูรณที่มีประสิทธิภาพสูงสุดได สถานศึกษาจะตองจัดสิ่งตางๆ ดังตอไปนี้ 1) กฎ ระเบียบ ขอบังคับและการปกครอง ซึ่งสถานศึกษามุงหมายเพื่อฝกหัดใหเด็กพัฒนา บุคลิกภาพใหสอดคลองกับสภาพสังคม 2) ครูเปนผูสงเสริมใหเด็กไดรับความรูและพัฒนาความคิดสรางสรรค ครูมีอิทธิพลเด็กทั้ง ทางดานการแสดงออก และจิตใจ ดังนั้นครูจึงเปนแมแบบที่ดีใหกับเด็ก 3) กลุมเพื่อนรวมโรงเรียนและรวมชั้นเรียน มีอิทธิพลในการปรับตัวและการดํารงชีวิตในสังคม โรงเรียน ซึ่งเปรียบเสมือนสังคมยอย 4) หลักสูตรและวิชาที่เรียน มีสวนทําใหบุคคลไดรับการพัฒนาดานความรูความคิดและ ประสบการณ การศึกษาขั้นปริญญาอันเปนงานสรางบัณฑิต ตองคํานึงถึงคณุภาพ และมาตรฐานการศึกษา เปนสําคัญ งานคุณภาพเหลา นี้จะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อสถา นศึกษาไดจัดสภาพแวดลอมตางๆ อยางเหมะ สมซึ่งจะชวยสงเสริมใหบัณฑิตพัฒนาศักยภาพทางดานบุคลิภาพ สติปญญา ตลอดจนการรูจักแกปญญา อยางเฉลียวฉลาด (วิจิตร ศรีสะอาน 2519) ดังนั้น อาจพิจารณาความหมายของสภาพแวดลอม สถานศึกษา ในอีกมุมหนึ่ง คือ สถาบันที่เหมาะสมกับการสรางบัณฑิตควรเปนสถาบันที่รวบรวม วิทยาการแขนงตางๆ รวบรวมความรูทั้งทางวิชาชีพและวิทยาการพื้นฐาน มีบรรยากาศที่เหมาะสมที่จะ ทําการถายทอดการเรียนรู และสรางสรรควิทยาการ บรรยากาศอันนี้จะตองเปนบรรยากาศที่สงเสริมการ เรียนรูเปนขั้น ๆ เปนระเบียบตามแนวที่เห็นชอบกันเปนสวนใหญนอกจากนี้แนวการผลิตบัณฑิตของ สถาบันศึกษาของไทยจําเปนจะตองพิจารณาองคประกอบที่ถือวามีความสําคัญยิ่ง คือ หลักสูตรในแง ของความผสมผสานระหวางวิชาชีพ และวิทยาการสงเสริมความรูทั่วไป อาจารยและการสอน นิสิตและ การเรียนการวัดผล หองสมุด กิจกรรมนอกหลักสูตร บรรยากาศทางวิชาการ คุณธรรมและจริยธรรมใน


11

สถาบัน การประสานงานในหนวยงานตาง ๆ และการประสานรวมมือระหวางอาจารย นิสิต และ ผูบริหาร (สิปนนท เกตุทัต 2523) สภาพแวดลอมของ สถานศึกษา เปนความประทับใจของนักศึกษาที่มีตอลักษณะตางๆ ของ วิทยาลัย ไดแกชื่อเสียงของวิทยาลัย การบริหาร บรรยากาศในการเรียนการสอน พฤติกรรมเกี่ยวกับ เพื่อน และอาคารสถานที่ ซึ่งมีอิทธิพลตอความเปนอยูและพัฒนาการของสมาชิกในวิทยาลัยลักษณะ ตางๆ เหลานี้สามารถตรว จสอบได (อรรณพ คุณพันธ 252 2) หรืออาจกลาวไดสภาพแวดลอม สถานศึกษา ก็คือ สภาพแวดลอมวิทยาลัย ที่หมายถึง บุคคล วัตถุสิ่งของสภาพการณทั้งที่เปนรูปธรรม และนามธรรม แนวความคิด ความรูสึก เหตุการณบรรยากาศ ลักษณะของบริเวณอาคารสถานที่ และสิ่ง ตาง ๆ ทั่วไปในมหาวิทยาลัย ซึ่งมีอิทธิพลตอชีวิตความเปนอยู และการพัฒนาของนักศึกษาทุกคน (สันต อูอรุณ 2530) และสภาพแวดลอมที่มีผลตอการเรียนรู อาจไดแก บรรยากาศในการเรียน บรรยากาศทางวิชา อาคารสถานที่ และสิ่งอํานวยความสะดวก (นัยนา อางสันติกุล 2522) ที่จัดใหมีขึ้น ภายในวิทยาลัย หรือหมายถึงทุกสิ่งทุกอยางที่อยูภายในสถาบัน รวมถึงหลักสูตร การเรียนการสอน ความสัมพันธระหวางอาจารณกับนักศึกษา และบรรยากาศทางวิชาการอันเปนสิ่งเราที่ทรงศักยภาพ และมีอิทธิพลตอชีวิตความเปนอยู ตลอดจนสงผลตอการพัฒนาทุก ๆ ดานของสมาชิกในสถา นศึกษา (กมลทิพย เกตุวรสุนทร 2542 ) สภาพแวดลอมจะสงผลตอผูเรียนทั้งทางดานการเรียน และดาน พฤติกรรมของผูเรียนโดยสภาพแวดลอมของสถาบันอุดมศึกษามีความสําคัญอยางมากในการที่จะ กระตุนนิสิตนักศึกษาใหมีการพัฒนาศักยภาพทั้งทางสติปญญา บุคลิภาพ และความรูสึกตาง การจัด สภาพแวดลอมที่ดีจะเอื้อตอบรรยากาศทางวิชาการ เอื้อตอความรูสึกอบอุนเปนมิตร ซึ่งจะโยงใยใหเกิด การเรียนรูที่แนนเฟออันจะหลอหลอมใหนิสิตนักศึกษามีความรูสึกนึกคิคที่ละเอียดออนซึมซับ คุณธรรมที่ดีงาม ประกอบเปนบัณที่มีคุณภาพของสังคม (อรพันธ ประสิทธิรัตน 2533) ดังนั้น จากการศึกษาเกี่ยวกับสภาพแวดลอมมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ทําใหสามารถจําแนก สภาพแวดลอมมหาวิทยาลัยออกเปน 5 ดานคือ 1. สภาพแวดลอมดานอาคารสถานที่ 2. สภาพแวดลอมดานบรรยายกาศในการเรียนการสอน 3. สภาพแวดลอมดานมนุษยสัมพันธ 4. สภาพแวดลอมดานสุขาภิบาล อนามัยสิ่งแวดลอม 5. สภาพแวดลอมดานการบริหาร


12

1. สภาพแวดลอมดานอาคารสถานที่ สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ หรือมนุษยสรางขึ้น ซึ่งมีอิทธิพลตอบุคคลที่อยูในสภาพแวดลอม นั้น สภาพแวดลอมดานสถานที่ในสถานศึกษา หมายถึง อาคารสถานที่ อาคารเรียน หองเรียน หองสมุด หองปฎิบัติการตางๆ และโรงอาหาร สมหมาย ดอกไม (2535 ) ไดเสริมกลาววา สภาพแวดลอมดานอาคารสถานที่ หมายถึง สภาพแวดลอมซึ่งมีอิทธิพลตอบุคคลที่อยูในสภาพแวดลอมนั้น เชน บริเวณสภาพพื้นที่ของสถานที่ตั้ง ลักษณะของอาคารเรียน หองเรียน หองปฎิบัติการ หองสมุด โรงอาหาร โรงฝกงาน หอพัก สถานที่ พักผอนหยอนใจ การตกแตงสถานที่ สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ภายในมหาวิทยาลัย รวมทั้งสภาพ แสง เสียง และอื่นๆ ที่มีอิทธิพลตอสภาพความเปนอยูและการศึกษา อนันต เลาหทวีกูล (2544) ไดกลาวถึง สถานที่ในสถานศึกษาไววาอาคารสถานที่สะอาด มี ระเบียบถูกหลัก และสอดคลองกับประโยชนใชสอยยอมแสดงถึงความสามารถทางการบริหารสถาบัน ทางการศึกษาในการหาทรัพยากรในดานการอํานวยความสะดวกใหแกการเรียนการสอน การคนควา และสรางความเปนระเบียบเรียบรอยอื่นๆ ดวยดังนั้น การที่สถานบันอุดมศึกษามีหองเรียน หองทํางาน เพียงพอ ยอมสงเสริมสมรรถภาพการทํางานของคนในสถาบันนั้น ดังนั้นในการวางแผนจัด สภาพแวดลอม อาคารสถานที่ในหมาวิทยาลัย เพื่อสนับสนุนการเรียนของนักศึกษา ควรประกอบดวย ความสมดุลยของปจจัย 4 ประการ (วิจิตร วรุตบางกูร 2524) ดังนี้ 1 . การจัดบริเวณและความงามของบริเวณ อาคารเรียนมีบทบาทสําคัญ ในการชวยพัฒนาการ รับรูเกี่ยวกับกับความรักความสวยงามอยูอยางมาก เพราะนักศึกษาตองใชเวลาอยูในมหาวิทยาลัยเปน เวลานานถึง 4 ป ในชวงเวลานี้ นักศึกษาจะซาบซึ้งตอความงดงามของมหาวิทยาลัย หากสภาพแวดลอม ของมหาวิทยาลัยไมไดรับการดูแลเอาใจใสเกิดความงามแลวนักศึกษาจะเฉยเมยกับสภาพของวิทยาลัยที่ ไมสวยงามนั้น เมื่อจบการศึกษาไปแลว นักศึกษาก็จะสรางสรรคสิ่งแวดลอมของตนเองโดยอาศัย ประสบการณที่ไดรับจากวิทยาลัยเปนสวนใหญดวยเหตุนี้วิทยาลัยจึงควรไดรับการดูแลเอาใจใสใหมี ความสวยงาม เรียบรอย เพื่อเปนสวนในการกระตุน และพัฒนาความตองการ และความซาบซึ้งในสิ่ง สวยงามของนักศึกษาทุกคน 2. แสง สี การมองเห็น และแสงสวาง เนื่องจากแสงสวางมีบทบาทสําคัญในการสื่อความรูทํา ใหเรามองเห็นวัตถุได จึงจําเปนที่ตองจัดใหมีแสงสวางในอาคาร และหองเรียนในระดับที่นักศึกษา สามารถมองเห็นไดดี ชัดเจน และสบายตา ควรใหมีแสงสวางที่พอดี ไมจาจนเกินไป แสงยังชวยใหเกิด อารมณ และบรรยากาศ การติดตั้งระบบแสงสวางที่ใหประโยชน ประหยัด และมีประสิทธิภาพดี


13

จะตองเอาผูใชอาคาร และคํานึงถึงความสวยงามควบคูกันไปดวย ดังนั้น แสงสวางที่ใชกันอยูมี 2 ประเภท ดังนี้ (กิติมา ปรีดีดิลก 2532) 1. แสงสวางธรรมชาติ คือ แสงที่ไดรับจากดวงอาทิตยตั้งแตเชาถึงเย็น หองเรียนที่ตอง พึ่งแสงสวางธรรมชาติ ควรจะมีหนาตาง หรือชองใหแสงผานเขาประมาณรอยละ 20 ของพื้นที่ หองเรียน 2. แสงสวางประดิษฐที่ใชกันอยูทั่วไป คือ ไฟฟา การใชไฟฟาเขาชวยในการเรียนการ สอนควรคํานึงถึงความใกลเคียงกับแสงธรรมชาติที่ไดรับปกติ การใชสีกับอาคารเรียนมีประโยชนหลายประการ นอกจากความมีชีวิตชีวา นาดูแลวสียังชวย พรางสิ่งบกพรองตาง ๆ ชวยใหความสวางแกอาคาร ปองกันไมใหวัตถุที่ใชในการกอสราง เชน ไม ซีเมนต เหล็ก เสียหาย ผุกรอนเร็ว นอกจากนี้สียังชวยรักษาความสะอาด และสุขภาพอนามัยของผูใช อาคารดวย การใชสีสําหรับหองตางๆ ควรพิจารณาขอเสนอแนะดังนี้ 1. หองอาหาร ควรทาวสีที่ชวยใหอยากทานอาหาร เชน สีสมออน สีชมพุ 2. หองพลศึกษา หองฝกงาน หองศิลปะ ควรเปนสีสวาง ๆ เชน สีเหลือ สีสมออน สีชมพู 3. หองปฎิบัติการสํานักงาน หองพักอาจารย เปนบริเวณที่ใชความคิด ตองการสมาธิ ควร ทาสีในโทนเขียว สีน้ําทะเล 4. หองประชุม ควรทาสีโทนเย็น เชน สีฟาออน สีเทา สีน้ําทะเล 5. หองเรียน ควรเลือกสีโทนออน เชน สีเหลือง สีชมพู สีสมออน 6. สําหรับสีที่ทาภายนอกอาคาร ควรเปนสีที่ไมจืด ตกซีดงาย 3. เสียง เสียงภายในหองเรียนเปนสิ่งที่ควรคํานึงถึงอยางมาก เสียงภายในหองเรียนที่เหมาะสม นั้น ขึ้นอยูกับกิจกรรมภายในหอง ขนาดของหอง ความดังของเสียง และเสียงที่ตองการจะไดยินจริง ๆ เสียงดังรบกวนจากบริเวณโดยรอบ หรือจากภายนอกหอง จะทําใหนักศึกษารูสึกรําคาญ หงุดหงิด เครียด ไมมีสมาธิ และเปนอุปสรรคตอความเขาใจในการสื่อความหมายระหวางอาจารย และนักศึกษา การเปลงเสียงพูดใหดังขึ้น เพื่อแขงกับเสียงรบกวน ตาง ๆ อาจทําใหเหน็ดเหนื่อย และเครียดได 4. อุณหภูมิและการถายเทอากาศ เนื่องจากหองเรียนแตละหองประกอบดวยนักศึกษาจํานวนไม นอย หากอากาศภายในหองเรียนไมมีการเคลื่อนไหว หรือถายเทบาง ยอมทําใหเกิดความอึดอัด ๆไม สบาย ทั้งนี้เพราะอากาศในบริเวณนั้นจะมีของเสียปะปนอยูมาก เชน กาซคารบอนไดออกไซด เชื้อโรค


14

ฝุนละออง ไอตัวของนักศึกษาและอาจารย กลิ่นตาง ๆ หากอยูในบริเวณนั้นนาน ๆ อุณหภูมิสูงขึ้นจะทํา ใหงวนนอน หงุดหงิดงายสําหรับอาคารเรียนในประเทศรอนที่มีความชื้นสูง จําเปนตองออกแบบใหมี การถายเทอากาศไดดี ซึ่งอาจทําใหโดยวิธีธรรมชาติ เชนการสรางอาคารใหตั้งฉากกับทิศทางของลม ประจําถิ่น การเจาะประตู หนาตางใหโปรง เพื่อใหลมผานไดโดยสะดวก เปนตน และวิธีการใช เครื่องมือเขาชวย เชน ติดตั้งพัดลมดูดอากาศ และเครื่องปรับอากาศ เปนตน นอกจากนี้ เทศ แกลวกสิกรรม (2544) ยังไดชี้ใหเห็นความสําคัญสิ่งแวดลอมทางกายภาพ ที่มี ผลกระทบตอการเรียนการสอน และการจัดการสภาพแวดลอมภายในสถาบันการศึกษา ที่สนับสนุน แนวคิดความสมดุลยของปจจัย 4 ประการ ดังกลาว ขางตนเรื่องการวางแผนจัดสภาพแวดลอมอาคาร สถานที่ไว 4 ประการ ดวยเชนกันดังนี้ 1. แสงสวาง แสงสวางเปนสิ่งจําเปนสําหรับการมองเห็น การอานหนังสือแสงสวางควรผานเขา ทางดานขางไมแรงจาเกินไป การจัดแสงสวาง หรือควบคุมแสงสวางจึงเปนสิ่งจําเปนตอการใช หองเรียน ซึ่งจะชวยใหมองเห็นไดชัดเจน ความเมื่อยลาและความเครียดของประสาทตาก็จะไมเกิดขึ้น 2. สี สีมีอิทธิพลและมีบทบาทตอชีวิตมนุษยมากเพราะสีมีความสัมพันธใกลชิดกับมนุษย สีจึง ใหความรูสึกตอมนุษยตางๆ กัน อิทธิพลของสีทําใหคนเรามีความรูสึก สดชื่น ตื่นเตน สงบ ยินดี หดหู เศรา แจมใส เบิกบาน เราใจหรือเฉยเมย ดังนั้น ในการเรียนการสอน สภาพแวดลอมของผูเรียนก็ตองจัด สภาพแวดลอมใหมีชีวิตชีวา สดชื่น แจมใส นาอยูนาเรียน สีมีสวนชวยไดมาก โดยเฉพาะสีที่ใชกับ อาคารเรียน และหองเรียนตางๆ 3. เสียง เสียงบับวามีสวนสําคัญ ในชีวิตประจําวันของมนุษย ซึ่งถือวาเปนสภาพแวดลอมอยาง หนึ่งที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาของมนุษย เสียงเปนสิ่งที่มองไมเห็นแตอันตรายที่เกิดขึ้นนั้นมีมาก อาจทํา ใหหยอยสมรรถภาพในการไดยินหรือทําใหหูหนวกได 4. การถายเทอากาศ อากาศเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งสําหรับชีวิตเรา เราไดออกซิเจนจากอากาศ รอยละ 21 เพื่อมาใชฟอกเลือดในปอดใหเลือดดํากลายเปนเลือดแดง แลวสงเลือดแดงไปเลี้ยงสวนตางๆ ของรายกาย ดังนั้นอากาศที่ตองการ คือ อากาศบริสุทธิที่สดชื่น ไมอบอาว รอนจัดจนเกินไป มีการ ถายเทอากาศอยูเสมอ โดยทั่วไปแลว นอกจากการจัดสภาพแวดลอมดานอาคารสถานที่แลว การจัดบรรยากาศภายใน สถาบันการศึกษาใหเสริมสรางบรรยากาศทางวิชาการ ถือเปนสิ่งสําคัญ เพราะบรรยากาศการเรียนการ สอนมีอิทธิพลตอการเรียนรูของผูเรียน บรรยากาศที่ดีอาจสงเสริมใหผูเรียนมีสุขภาพจิตดี มีความตั้งใจ มีเจตคติที่ดี ทําใหการเรียนรูมีประสิทธิผลอยางมีประสิทธิภาพ (พิมพันธ เดชะคุปต , 2533) ดังนั้น ถา


15

เรามุงใหการเรียนการสอนบรรลุผลอยางสมบูรณแลว ก็จําเปนตองจัดอากาศสถานที่และสภาพแวดลอม ใหอยูในสภาพที่ดี ถูกหลักวิชา เอื้อตอกิจกรรมการเรียนการสอนใหมากที่สุด สรุป สภาพแวดลอมอาคารสถานที่ และบรรยากาศการเรียนการสอนมีความสําคัญในการ กระตุนการใฝรูใฝเรียนของนักศึกษา เปนองคประกอบที่จะตองออกแบบมาเพื่อใหเหมาะสมกับ กิจกรรมการเรียนการสอนภายในมหาวิทยาลัย และยังมุงหวังใหเกิดผลดีทางดานจิตวิทยาที่นักศึกษา ตองซึมซับรับสิ่งที่ดีไปจากมหาวิทยาลัยการสรางความอบอุนดวยบรรยากาศที่เสริมสรางการเรียนรูทาง วิชาการ การฝกฝนอบรมจิตใจดวยสภาพแวดลอมที่ดี ยอมไดผลผลิตที่ดี นั่นคือ บัณฑิตที่ดีมีคุณภาพ ออกไปรับใชสังคม 2. สภาพแวดลอมดานบรรยายกาศในการเรียนการสอน จุดมุงหมายหลักของ สถาบันการศึกษาทุกแหง คือ การเรียนการสอน ซึ่งจุดมุงหมายนี้สัมพันธ กับคนโดยตรง เปนการสรางคนใหกับสังคม การสอนของสถาบันอุดมศึกษาในระยะแรกๆ นั้น เปน ความพยายามที่จะรู ฝกฝนจิตใจ รวมทั้งความประพฤติของคนที่จะเปนผูใหญ หรือเปนผูใหญแลวให เปนคนที่มีคุณคาแกสังคม และกลุมชนในยุคนั้นๆ การเรียนการสอนจะเปลี่ยนไปตามความนาเชื่อ และ ทัศนะของบุคคลที่มีบทบาทในการกําหนดคุณคาและความรูของสิ่งที่จะเรียน ปจจัยสําคัญที่สุดจะทําให ที่จะทําใหสถาบันอุดมการณศึกษามีมาตรฐานการศึกษาสูงก็คือ อาจารย หากมหาวิทยาลัยใดมีอาจารย ผูทรงคุณวุฒิพรอมเพรียงทั้งในดานปริมาณ และคุณภาพแลว ก็เปนที่นาเชื่อถือวามาตรฐานการศึกษาจะ ดีตามไปดวย (วิจิตร ศรีสอาน 2518) ดังนั้น กระบวนการการจัดการเรียนการสอนและสรางบรรยากาศในการเรียนการสอน เพื่อให ผูเรียนไดความรูและสามารถนําความรูไปปฏิบัติไดตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว ประกอบกับการจัด หลักสูตร พฤติกรรมการสอนของผูสอนการนําสื่อการเรียนการสอนมาใชอยางถูกตอง อรพันธ ประสิทธิรัตน (2533) พบวา พฤติกรรมของครูมีอิทธิพลตอการเรียนการสอนอยาง มากและลักษณะที่เดนชัด นักเรียนมีความสนใจ ไดแก 1. ครูแตงกายเรียบรอย 2. มีความรูในเนื้อหาวิชาดี 3. ควบคุมชั้นเรียนดี 4. พูดเสียงดังฟงชัด 5. ยิ้มแยมแจมใสและเปนกันเองกับนักเรียน


16

6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14.

ใจดีมีเหตุผล ใชวาจาสุภาพออนโยนกับนักเรียนเสมอ เตรียมการสอนมาอยางดีทุกครั้ง ใชสื่อการสอนเสมอ เขาสอนเสมอ เขาสอนตรงเวลาทุกครั้ง มีบุคคลิกนานับถือ อธิบายเนื้อหาไดแจมแจง รับฟงความคิดเห็นของนักเรียน

ศิริกาญจน จันทรเรือง (2543) ไดกลาวถึงการสรางบรรยากาศในหองเรียนใหเอื้อตอการเรียน การสอนไววา บรรยาการศที่เอื้อตอการเรียนการสอนเปนสิ่งที่ทําใหผูเรียนและผูสอนมีความรูสึกสบาย และยอมรับซึ่งกันและกัน ทั้งผูเรียนและผูสอนสามารถที่จะรวมแสดงความคิดเห็น ซึ่งจะทําใหมี ความรูสึกวามันไมใชสิ่งที่นาเบื่อหนายหรือตลกขบขันโดยการปฏิบัติดังนี้ 1. ผูสอนสรางบรรยากาศในทางบวก ผูเรียนจะรูสึกยอมรับนับถือและรูสึกวาการเรียนมีคณุ คา ไดแก 1) หลีกเลี่ยงคําพูด “ไมถูกตอง” สําหรับคําตอบของผูเรียน ควรจะใชคําถามเหลานี้แทน เชน ทําไมคุณถึงคิดอยางนั้น หรือ คุณสามารถจะอธิบายในรายละเอียดไดหรือไม หรือ ใครมีความเห็นที่แตกตางไปจากนี้บาง คําถามเหลานี้จะเปนการยอมรับมากกวาและจะ ชวยกระตุนใหเรียนมีสวนรวม 2) ฟงอยางระวังและสื่อใหเห็นวามีการยอมรับความคิดเห็นของผูเรียนอยาขัดจังหวะที่ ผูเรียนแสดงการยอมรับความคิดรวบยอมเกี่ยวกับเรื่องกับเรื่องที่แสดงความคิดเห็นอยู 3) อยาทําใหผูเรียนเกิดอับอาย โดยเฉพาะอยางยิ่งที่หนาชั้นเรียนหลีกเลี่ยงการปฏิสัมพันธ กับผูเรียนในทางที่จะทําใหผูเรียนไดรับความอับอาย เรียกรองความสนใจ หรือทําให ผูเรียนรูสึกไมสนใจ หลีกเลี่ยงการเยาะเยย ถากถาง ผูเรียนสวนมากจะมีอารมณขัน เกี่ยวกับเรื่องนี้ อยาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานของผูเรียนโดยไมรับอนุญาต


17

4) เมื่อผูสอนจําเปนตองแสดงความคิดเห็นในทางลบ พยายามอยาพูดเฉพาะเจาะ จงถึง ผูเรียนคนใดคนหนึ่งถาตองการจะเปนเชนนั้นควรเรียกผูเรียนมาพูดเปนการสวนตัว หลังเลิกเรียน 5) ปฏิบัติตอผูเรียนเหมือนเปนผูใหญคนหนึ่ง 6) กระตุนใหผูเรียนแสดงความคิดเห็นและถามในหองเรียน 2. ผูสอนตองแนใจวาไดสนใจผูเรียนทุกคน ไดแก 1) อยาละเลยผูเรียนที่เงียบขรึมหรือไมแสดงพฤติกรรมออกมานัก 2) ผูสอนควรตระหนักและระมัดระวังเกี่ยวกับความรูสึกชอบหรือไมชอบบุคคลหนึ่งใน กลุมเรีนที่อาจจะมีพฤติกรรมในทางลบ ซึ่งอาจเกี่ยวเนื่องมาจากการแตงกาย เพศ ลักษณะ ทาทางหรืออายุ 3) ถาผูสอนเชื่อวาสามารถที่จะควบคุมความรูสึกชอบหรือไมชอบบุคคลใดบุคคลหนึ่งใน กลุมไดแลวผูสอนก็ควรระวังเกี่ยวกับลักษณะทางเชื้อชาติ หรือลักษณะสวนบุคคลและ นิสัยของผูเรียน ซึ่งจะทําใหผูสอนแสดงอาการออกมาในทางที่ผ็เรียนรูสึกไมชอบ พฤติกรรมเหลานี้จะแสดงออกมาอยางไมรูตัว โดยการที่ไมเรียกผูเรียนเหลานั้นตอบ คําถามหรือมีสวนรวมในการอภิปรายหรือไมประสานสายตากับผูเรียน 3. ผูเรียนควรมีการกระตุนผูเรียนโดยการใชลักษณะทาทาง เพื่อกอใหเกิดบรรยากาศที่ดีมั่นคง และมีความเชื่อมั่น ไดแก 1) ประสานสายตากับผูเรียนเสมอ 2) เคลื่อนไหวไปรอบๆ หองมีบรรยายอยางเปนธรรมและมีชีวิตชีวา 3) ควบคุมลักษณะทาทางซึ่งแสดงออกใหเห็นถึงความมั่นใจในตัวเองได 4) ยิ้มและหัวเราะในชั้นเรียนและกระตุนใหผูเรียนไดมีการแสดงออกดวย 5) เปนเรื่องสําคัญ เสียงตองมีพลังชัดเจนและมีเสียงขึ้นๆ ลงๆ 4. ผูสอนตองพยายามรูจักผูเรียนทุกคนในขณะเดียวกันก็เปดโอกาศใหผูเรียนไดรูจักตัวผูสอน ดวย เชน 1) จําเชื่อผูเรียนอยางรวดเร็ว ในชั้นเรียนขนาดใหญขอใหผูเรียนนั่งที่เดิมทุกครั้งในชอง สองถึงสามอาทิตยแรก ใชแผนผังที่นั่ง ถายรูปผูเรียนไวและใหเขียนชื่อใตภาพ 2) เรียนเกี่ยวกับผูเรียนแตละคนและยอมรับขอมูลสวนบุคคลเพิ่มเติม เชน เกิดที่ไหน สนใจที่จะทําอะไรบาง


18

3) เต็มใจที่จะบอกขอมูลสวนตัวของผูสอนแกผูเรียน ในชั้นเรียนผูสอนอาจจะพูดเกี่ยวกับ ประสบการณสวนตัวแตตองใชวิจารณญาณวาจะพูดมากนอยแคไหน 4) พยายามคนหาสถานการณสวนบุคคลหรือสิ่งที่ขัดขวางความกาวหนาของการเรียน ซึ่ง จะรบกวนการเรียนรูของผูเรียนและการเขาชั้นเรียน เชน ตารางงานที่ผิดปกติตาราง การเปนพี่เลี้ยงเด็กและตารางที่สามารถจะทําใหผูเรียนเขาชั้นเรียนไมทัน 5. ผูสอนตองเตรียมการเสริมแรงทางบวกโดยเฉพาะ ไดแก 1) ใหเวลาในการแสดงความชื่นชมผูเรียนที่สามารถทํางานไดดีแตหองระวังไมใหมาก เกินไปจนขาดความจรงใจ 2) พูดกับผูเรียนเมื่อมีการขาดสงงาน การขาดเรียนสม่ําเสมอและการมาสาย 6. ผูสอนตองจัดระเบียบชั้นเรียนใหเหมาะสมโดยคํานึงถึงเวลาเรียนของผูเรียนไดแก 1) อยามาสาย การมาสายจะทําใหผูเรียนรูสึกวาการมาตรงเวลาไมใชสิ่งสําคัญสําหรับ ผูสอน 2) อยูในชั้นเรียนตลอดเวลาสอน ในบางครั้งผูสอนอาจออกนอกชั้นเรียนเร็วกวาปกติ แต อยาทําจนเปนนิสัย ผูเรียนอาจสรุปไดวาผูสอนไมเตรียมตัว ไมสนใจในวิชาที่สอน หรือไมคิดวาเวลาเรียนมีความสําคัญ 3) สังเกตพฤติกรรมที่ขาดความสนใจ เชน การขยับตัว เนื่องจากความเบื่อหนาย การไอ อยูเสมอ การมองผูเรียนคนอื่น หรือมองหนังสือกอนหมดเวลา รวมทั้งสังเกตลักษณะ ทานั่ง ทัศนคติตอการเรียน การขาดการประสานตา 4) เริ่มเรียนใหตรงเวลา ถึงแมวาผูเรียนจะมาไมครบ ถาไมทําเชนนี้จะทําใหผูที่มาตรง เวลามีความรูสึกไมดี 7. ผูสอนตองสรางบรรยากาศทางกายภาพในหองเรียนใหเหมาะสม 1) ตรวจสอบอุณหภูมิในหองเรียนวามีความเหมาะสมหรือไม โดยอาจจะสังเกตจาก ปฏิกิริยาของผูเรียน เชน มวนแขนเสื้อตลอดเวลา 2) พยายามจัดโตะใหอยูในลักษณะที่สบาย 3) แนใจวาแสงอาทิตยที่สองผานมานหนาตางไมทําใหผูเรียนเกิดปญหาในการมองเห็น กระดานหรือสมุดบันทึก


19

สรุป สภาพแวดลอมดานการเรียนการสอน พฤติกรรมครู วิธีการสอน การใชสื่อการสอน การ เปดใจใหกวางรับฟงความคิดเห็นของนักเรียนนักศึกษาเปนการสงเสริมใหมีการรับรู ความคิดสรสง สรรค แนวทางใหมๆ ในการพัฒนาคุณภาพนักเรียนนักศึกษาไดดีมากขึ้น 3. สภาพแวดลอมดานมนุษยสัมพันธ เปนสภาพแวดลอมที่สําคัญที่มีอิทธิพลตอนักศึกษาที่กําลังศึกษา เปนกลุมบุคคลที่อยูในวัย เจริญเติบโต รางกายและจิตใจมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว เมื่อเขาอยูในสถาบันศึกษาตองมี ความสัมพันธกับเพื่อนอยางมาก กลุมเพื่อนจึงมีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการทางดาน ความรู ทัศนคติ บุคลิกภาพและคุณธรรมของนักศึกษา ซึ่ง สําเนาว ขจรศิลป (2539) สามารถจําแนก พัฒนาการของนักศึกษาออกเปนดานตางๆ ดังนี้ พัฒนาการทางกาย การเจริญเติบโตของบุคคลในชวยวัยรุนตอนปลาย และเริ่มเขาสูวัยผูใหญ ตอนตน จะเปนชวงที่มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็วทั้งในดานสวนสูง และน้ําหนัก มีการเปลี่ยนแปลง ของฮอรโมน บางรายมักมีสิวขึ้น กลามเนื้อสวนตางๆ จะเจริญเติบโตเต็มที่ กระดูกจะหยุดการ เจริญเติบโต พัฒนาการทางอารมณ ในชวงวัยรุนตอนตน บุคคลจะมีอารมณแปรปรวน มีการเปลี่ยนแปลง ทางอารมณรวดเร็ว และรุนแรง จนขาดความมั่นคงทางอารมณ ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางรายการ และสภาพแวดลอมทางสังคม ในชวงวัยรุนตอนปลาย หรือผูใหญตอนตน จะมีพัฒนาการทางอารมณดี ขึ้น แตอารมณที่วัยรุนตอนปลายยังมักแสดงออก ไดแก อารมณโกรธ นอกจากนั้นวัยรุนตอนปลาย มักจะมีเรื่องความตึงเครียด และความวิตกกังวลเพิ่มขึ้นดวย พัฒนาการทางสังคม วัยรุนตอนปลาย เปนชวงวัยที่ชอบทํางานเปนกลุม รูจักรับผิดชอบงาน แต รักอิสระ เริ่มหาประสบการณที่แปลงใหม การคบเพื่อน โดยทั่วไปจะเลือกคบเพื่อนที่มีบางสิ่งบางอยาง คลายคลึงกัน เชน มาจากทองถิ่นเดียวกัน เรียนคณะเดียวกัน ในวัยนี้มักจะใชเวลารวมกับเพื่อนตางเพศ มากกวาเพศเดียวกัน รูจักเรียนรูที่จะปฎิบัติตนใหเหมาะสมในสังคม ระมัดระวังเกี่ยวกับความรูสึกของ ผูอื่นที่มีตอตนมากขึ้น รูจักการปรับตนใหเขากับผูอื่น พัฒนาการดานสติปญญา วัยรุนตอนปลาย เปนชวยวัยที่มีพัฒนาการทางสมองสูงสุด จึงเปนวัย ที่มีความสามารถ หลายอยาง มีความสามารถในการจําไดดี แตการคิดวิเคราะหยังไมละเอียดลึกซึ้งเทา ผูใหญ วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา (2533) ไดกลาวถึงอิทธิพลของกลุมเพื่อนดังนี้


20

1. เปนกลุมที่จะประสานชีวิตจากสังคมในบานไปสูมหาวิทยาลัยทําใหนิสิตไดรูสึกวา ตอง ประสบความสําเร็จในดานใดดานหนึ่ง 2. เปนกลุมที่สนับสนุนและเปนเครื่องมือใหบรรลุเปาหมายทางพุทธิปญญาของการศึกษาใน มหาวิทยาลัย 3. เปนกลุมที่สนับสนุน สนองอารมณจิตใจและความตองการของนิสิตซึ่งอาจจะไมตรงกับ อาจารย หองเรียนและมหาวิทยาลัย 4. เปนกลุมที่เปดโอกาสใหนิสิตเรียนรูและเขาใจชีวิตการอยูรวมกันการสมาคมและทํางาน กับคนที่มีภูมิหลังแตกตางกันไดดี 5. กลุมเพื่อนอาจมีการยุยงใหมีการเปลี่ยนแปลงในดานตางๆ กระตุนใหเกิดความคิดหรือ ประสบการณใหมๆ ใหกําลังใจในการเปลี่ยนแปลงชีวิตของนิสิต หรือกลุมเพื่อนก็อาจจะ ชวยกันปรับปรุงรักษาสภาพที่คงเดิมไมยอมเปลี่ยนแปลง 6. นิสิตที่เรียนไมคอยดีหรือมีความผิดหวัง กลุมเพื่อนจะทําใหนิสิตเลือกทางออกทางอื่น หรือ ชวยใหนิสิตมีภาพพจนในทางบวก โดยจะสนับสนุนไดความสนใจตอสิ่งอื่นที่ไมใช การศึกษา 7. องคกรบริหารนิสิตมักจะมีหนาที่เปนพรรคพวกของนิสิตแตละคนอิทธิของกลุมเพื่อน ดังกลาวเปนผลจากการรวมตัวของนิสิต มีการแพรจากแตละคนไปสูบุคคล การใชชีวิตใน สังคมมหาวิทยาลัย ตลอดจนพัฒนาการดานตางๆ ของนิสิตใหเจริญงอกงาม อรพันธ ประสิทธิรัตน (2533) ไดศึกษาเกี่ยวกับสภาพแวดลอมทางการเรียนเกี่ยวกับพฤติกรรม ของเพื่อนรวมชั้นซึ่งประกอบดวย 1. ความสนใจในการเลือกเรียนของเพื่อนรวมชั้นไดแก 1) ถือการเรียนเปนเรื่องสําคัญ 2) ติดตามเนื้อหาที่เรียนตลอดเวลา 3) รวมอภิปรายตางๆ ในชั้นเสมอๆ 4) ทํางานรวมกับผูเรียนอื่นๆ ได 5) มาเรียนสม่ําเสมอ 6) สงการบานหรือรายงานตามกําหนด 7) ซื่อสัตว สุจริต ในขณะสอบ 8) จดงานอยางเปนระเบียบ


21

9) เอื้อเฟอ เผื่อแผและมีมนุษยสัมพันธที่ดี 10) มีอารมณขันและสนุกสนานกับการเรียน 2. พฤติกรรมของเพื่อนรวมชั้น ประกอบดวย 1) แตงกายสะอาดเรียบรอย 2) เฉลียวฉลาด 3) รักสงบ ไมชอบทะเลาะวิวาท 4) เคารพนับถือครูทั้งตอหนาและลับหลัง 5) สนใจวิธีการสอนของครู 3. การมีพฤติกรรมไมตั้งใจเรียนของเพื่อนรวมชั้น 1) เขาหองเรียน 2) คุยเสียงดังในขณะเรียนอยูในชั้น 3) เรียนออน ศันสนีย ตันติวิท (อางถึงใน สิริอร วิชชาวุธ และคณะ 2547) ไดกลาวถึงผลของส ภาพแวดลอม ที่มีตอเชาวปญญาวา พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม มีอิทธิพลสําคัญตอเชาวปญญาของมนุษย พัฒนาการ ทุกขั้นตอน ความฉลาดของบุคคลจะสะทอนใหเห็นสิ่งที่บุคคลนั้นไดรับมาแตกําเนิดรวมกันกับ สิ่งแวดลอมรอบตัวบุคคลนั้นกลาวคือ เมื่อเกิดจะมีความสามารถในตัวอยูแลวที่จะพัฒนาทางเชาว ปญญา แตความเจริญเติบโตทางสมองจะไปไกลมากนอยแคไหนขึ้นอยูกับโอกาสที่ไดรับจาการปฎิ สัมพันธระหวางองคประกอบทางอื่น และประสบการณที่เด็กไดรับในชีวิต สรุป สภาพแวดลอมดาน มุนษยสัมพันธ ของนักเรียน นักศึกษา ทําใหเกิด ความสนใจในการ เรียน เคารพเชื่อฟงครูอาจารย ตั้งใจเรียน ถามีพฤติกรรม ที่ไมเหมาะสม อาจจะสงผลตอการเรียนของ เพื่อนรวมชั้น ทําใหไมตั้งใจเรียน ได เพื่อนที่ดีนั้น ไมทําให กอใหเกิดความรําคาญซึ่งทําใหการเรียน นั้น นาเรียนมากยิ่งขึ้น 4. สภาพแวดลอมดานสุขาภิบาล อนามัยสิ่งแวดลอม การสุขาภิบาล การสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม อนามัยสิ่งแวดลอม “สุขาภิบาล ”มาจากคําวา สุข + อภิบาล ซึ่ง “สุข” นั้น มีความหมายวา “สบาย” อภิบาลมีความหมายวา “บํารุงรักษา” สุขาภิบาล หมายถึง การระวังรักษาเพื่อความสุขปราศจากโรค


22

การสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม หรืองานอนามัยสิ่งแวดลอม หมายถึง การควบคุมปจจัย สิ่งแวดลอมทางกายภาพทั้งหมดของมนุษยที่กระทํา หรืออาจกระทําใหเกิดผลเสียตอการ พัฒนาการทารดานสุขภาพรายการ และการมีชีวิตอยูรอดของมนุษย อนามัยสิ่งแวดลอม สภาวะความสมบูรณแข็งแรงทางรางกายและจิตใจ รวมถึงการดํารงชีวิตอยู ในสังคมดวยดี อนามัยมิได หมายถึง แตเพียงปราศจากโรคเทานั้น สิ่งแวดลอม หมายถึง สิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวมนุษย ซึ่งมีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งที่ไมมีชีวิต ทั้งที่เปน รูปธรรม ซึ่งจับตองไดมองเห็นได อาจแบงไดเปน “สิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ” เชน ดิน น้ํา อากาศ แรธาตุ รวมถึง มนุษยดวยกัน สัตว ตนไม ฯลฯ และ “สิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น ” เชน อาคาร บานเรือน ยานพาหนะ ตลอดจนสิ่งแวดลอมที่เปนนามธรรม เชน วัฒนธรรมประเพณี สิ่งแวดลอมทาง สังคมการเมือง ฯลฯ ดังนั้น อนามัยสิ่งแวดลอม จึงหมายถึง ควาสัมพันธระหวางสุขภาพอนามัยของมนุษยกับ สิ่งแวดลอมที่อยูรอบตัวมนุษย ฉะนั้นสุขภาพอนามัยของมนุษยก็ยอมไดรับผลจากคุณภาพของ สิ่งแวดลอม ถาสิ่งแวดลอมมีสภาพเสื่อมโทรมเกิดก็จะเกิดเปนมลพิษขึ้น องคการอนามัยโลกไดกําหนดขอบเขตของงานอนามัยสิ่งแวดลอม ดังนี้ คือ 1) การจัดหาน้ําสะอาด น้ําประปา 2)การควบคุมมลพาทางน้ํา การควบคุมมลพิษทางน้ํานี้ หมายถึง การที่ตองปองกันควบคุม รักษาแหลงน้ําตางๆ ไมวาจะเปน หวย หนอง คลอง บึง แมน้ําตางๆ ตลอดจนน้ําใตดิน ไมใหคุณภาพ เสื่อมโทรมลงจนเกิดเปนมลพิษ และเกิดผลเสียตอสุขภาพอนามัยของมนุษย 3) การจัดการเกี่ยวกับขยะมูลฝอยและของเสียที่มีลักษณะเปนของแข็งการจัดการนี้รวมถึงการ เก็บ การขนถายและการกําจัดที่ถูกหลักสุขาภิบาล ของเสียในลักษณะดังกลาวขางตน เพราะเปนแหลง เพาะเชื้อโรคและพาหะนําโรค 4) การควบคุมสัตวอารโทรพอด และสัตวแทะ สัตวอารโทรพอดและสัตวแทะตางเปนพาหะนํา โรครายแรงหลายอยางมาสูคน และยังเปนตนเหตุทําใหเกิดเหตุรําคาญและทําลายทรัพยสิน โรคสําคัญ ที่เห็นไดชัด เชน อหิวาตกโรค ไขมาลาเรีย เปนตน 5) มลพิษของดินมักจะเกิดขึ้นจากการทิ้งสิ่งสกปรกตางๆ ลงสูพื้นดิน ไมวาจะเปนในลักษณะ ของขยะมูลฝอย สิ่งปฎิกูล น้ําเนาเสีย ของทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ทําใหเกิดความสกปรกบนพื้นดิน และเมื่อความสกปรกมีมากขึ้นก็กลายเปนมลพิษของดินทําใหเกิดผลเสียตอการดํารงชีวิตของมนุษย เกิด โรคภัยไขเจ็บ ควรควบคุบการทิ้งสิ่งตางๆ เหลานี้


23

6) การสุขาภิบาลอาหาร เชื้อโรคตางๆ และสารพิษหลายๆ อยางสามารถที่จะเขาสูรางกาย มนุษยไดโดยทางอาหาร การสุขภิบาลอาหารจึงมีความจําเปนในหลายๆ สวน เชน สิ่งที่จะใชปรุงอาหาร การปรุงอาหาร เก็บรักษา ผูสัมผัสอาหารและอื่นๆ และที่สําคัญอยางยิ่งอีกประการหนึ่ง คือ การให ความรูตอผูบริโภคอีกดวย 7) การควบคุมมลพิษทางอากาศ เพื่อเปนการปองกันและควบคุมไมใหมีสิ่งแปลกปลอมเขาสู อากาศในเชิงปริมาณมากจนกอใหเกิดเปนพิษภัยตอมนุษย สัตว พืช 8) การปองกันอันตรายจากรังสี ไดมีการใชรังสีอยางมากมายเพื่อใชประโยชนในการพัฒนาทุก ทาง เชน ทางเกษตรกรรม ทางอุตสาหกรรม ทางการแพทย เปนตน ซึ่งรังสีตางๆ เหลานี้ ถาไมไดมีการ ปองกันและควบคุมอยางรัดกุมแลว ก็จะทําใหเกิดเปนอันตรายตอสุขภาพอนามัยของมนุษย 9) อาชีวอนามัย เปนการจัดการเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมในการทํางานใหดีเหมาะสมตลอดจนการ ดูแลปองกันรักษาสุขภาพอนามัยของผูประกอบอาชีพและอื่นๆ มีความจําเปนอยางยิ่งและตองปฎิบัติ อยางตอเนื่อง 10) การควบคุมมลพิษทางเสียง การควบคุมมิใหเกิดมีเสียงดังมาก หรือเกิดเสียงดังเปนเวลา ยาวนาน จนเกิดเปนผลเสียตอสุขภาพอนามัย 11) ที่อยูอาสัยและสิ่งแวแดลอม การจัดใหที่อยูและจัดสิ่งแวดลอมตางๆ ใหถูกสุขลักษณะอัน ทําใหมีสุขภาพทางกาย และสุขภาพจิตดี 12) การวางผังเมือง การจัดใหสวนตางๆ ของเมืองใหถูกตองเปนสัดสวน เชน ยานธุรกิจ ยาย อุตสาหกรรม ยานที่พักอาศัย ทั้งนี้เพื่อใหไดมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดีและความสะดวกสบายตางๆ ดวย เชน การจราจรที่ไมติดขัด 13) งานอนามัยสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของกับการคมนาคม 14) การปองอุบัติภัยตางๆ 15) การสุขาภิบาลของสถานที่พักผอนหยอนใจ สถานที่พักผอนและสิ่งที่ใชเพื่อการพักผอน หยอนใจ จะตองมีคุณลักษณะคุณภาพที่จะสงเสริมใหสุขภาพอนามัยดี มิใชเปนการทําใหสุขภาพ อนามัยเสื่อมโทรม หรือเปนแหลงแพรกระจายโรค การดําเนินงานสุขาภิบาลเมื่อเกิดโรคระบาด เหตุ ฉุกเฉิน ภัยพิบัติ และการอพยพยายถิ่นของประชากร 16) การดําเนินงานสุขาภิบาล เมื่อเกิดโรคระบาด เหตุฉุกเฉิน ภัยพิบัติ และการอพยพยายถิ่น ของประชากร


24

17) มาตรการปองกัน เพื่อใหสิ่งแวดลอมโดยทั่วไปปราศจากความเสื่อม หรืออันตรายใดๆ ซึ่ง ทั้งหมดนี้เปนการรวมเอาโครงการอนามัยสิ่งแวดลอมของหลายประเทศในโลกผนวกกันไดเปน 17 รายการดังกลาวขางตน ซึ่งก็ขึ้นอยูกับสาเหตุของปญหาของสิ่งแวดลอมของประเทศนั้นๆ วาจะสงผล กระทบตอสุขภาพอนามัย ทั้งโดยทางตรงและทางออมอยางไรในบท ตอๆ ไปจะกลาวถึงการจัดการ อนามัยสิ่งแวดลอมที่เปนหลักสําคัญในการใชแกปญหาที่อาจเกิดในประเทศกําลังพัฒนา (กรมควบคุม มลพิษ. 2547 : ออนไลน) 5. สภาพแวดลอมดานการบริหาร การบริหารสถานศึกษา หมายถึง กิจกรรมตางๆ ที่บุคคลหลายคนรวมกันดําเนินการ เพื่อพัฒนา เด็กเยาวชน ประชาชน หรือสมาชิกของสังคมในทุกดาน เชน ความสามารถ เจตคติ พฤติกรรม คานิยม หรือคุณธรรม ทั้งในดานสังคมการเมืองเศรษฐกิจ เพื่อใหบุคคลดังกลาวเปนสมาชิกที่ดีและมี ประสิทธิภาพในสังคม ธงชัย สันติวงษ (2538) ไดกลาววา การมีสวนรวมในการบริหารไมวาจะเปนไปในลักษณะของ การมีการสวนรวมตัดสินใจหรือรวมใหขอเสนอแนะมักทําใหผูปฏิบัติเกิดความรูสึกภูมิใจไดเสมอ เสนาะ ติเยาว (2539) ไดกลาววา การสรางขวัญใหแกผูรวมงานโดยการใหมีสวนรวมในงาน เปนการสงสริมใหมีการรวมมือจากกลุม สามารถเรียนรูพฤติกรรมและความรูสึกทางดานจิตวิทยาของ ผูรวมงานไดมาก ทําใหรูทาทีวาแตละคนมีความสามารถมีความคิดเห็นอยางไร เปนการเปดโอกาสให ไดใชความรูความสามารถของแตละคนไดอยางเต็มที่ สรุป สภาพแวดลอมดานการบริหาร หมายถึง การบริหารงานใหบรรลุวัตถุประสงค จากการที่ บุคลากรมีความรวมมือ การจัดระบบการทํางาน บุคลากรมีสวนรวมในการบริหารและตัดสินใจ

งานวิจัยที่เกี่ยวของ มลิวัลย อารียสันติชัย (2544) ไดศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัด สภาพแวดลอมในโรงเรียน โดยภาพและองคประกอบ สถานที่ หองเรียน นักเรียน และ การจัดสภาพ สิ่งแวดลอมทางวิชาการ อยูใน ระดับปานกลาง สวนองคประกอบ บุคลากร และบรรยากาศการเรียน การสอน อยูในระดับมาก นักเรียนที่เพศและระดับชั้นเรียนตางกันมีความคิดเห็นตอการจัด


25

สภาพแวดลอมในโรงเรียน ไมแตกตางกันกับขอเสนอแนะของนักเรียนที่มีตอการจัดสภาพแวดลอมใน โรงเรียน คือ สถานที่ ควรปลูกตนไม ไมดอกไมประดับ และปลูกหญาบริเวณสนาม หองเรียน ควรมี ความสะอาด มีระเบียบ และเหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนการสอน นักเรียน ควรตั้งใจศึกษาเลาเรียน และมีนิสัยใฝรูใฝเรียน และสภาพสิ่งแวดลอมทางวิชาการ ควรจัดพิพิธภัณฑการศึกษา ไดแก จัดบอรด และนิทรรศการในหองเรียน สาธิต ดรุณศิลป (2544) ไดรายงานผลการวิจัยเกี่ยวกับการจัดสภาพแวดลอมในการทํางาน ของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดพังงา ในภาพรวมอยูใน ระดับมาก เมื่อทดสอบรายดานพบวา ดานกายภาพ ดานเพื่อนรวมงาน และดานผูบังคับบัญชาอยู ใน ระดับมาก สวนดานการจัดการเรียนการสอนอยูในระดับปานกลาง ผูบริหารโรงเรียนที่มีประสบการณ ในการทํางานตางกัน มีการจัดสภาพแวดลอมในการทํางานในภาพรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05 จรรยา ทะสูง และคณะ(2546) ไดศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพแวดลอมภายในสถาบันราช ภัฎมหาสารคาม เพื่อเสนอแนวทางในการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมที่มีผลกระทบตอนักศึกษา อาจารย และเจาหนาที่ ทําการวิจัย 5 ดาน คือ ดานอาคารสถานที่และปจจัยเกื้อหนุน ดานอาจารย ดานบุคลากร ดานหลักสูตรและกระบวนการเรียนที่เหมาะสม ดานกิจการนักศึกษา ผลการวิจัย พบวา นักศึกษา อาจารย และบุคลากร มีความคิดเห็นตอสภาพแวดลอมโดยรวมแตละดานอยูในระดับปานกลางจากผล การเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นตอสภาพแวดลอมภายในสถาบันราชภัฎมหาสารคาม พบวา ผูตอบ แบบสอบถามที่มีเพศตางกัน มีความคิดเห็นตอสภาพแวดลอมไมแตกตางกัน และผูตอบแบบสอบถามที่ มีอาชีพตางกันมีความคิดเห็นตอสภาพแวดลอมในสถาบันราชภัฎมหาสารคาม ดานบุคลากร และดาน กิจการนักศึกษาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยไดขอเสนอแนะของอาจารย และบุคลากรทั้ง 5 ดาน โดยดานอาคารสถานที่และปจจัยเกื้อหนุน นักศึกษาตองการใหเพิ่มหองเรียน และหองน้ําใหเพียงพอ สวนอาจารยเห็นวาควรเพิ่มวัสดุอุปกรณ เชน คอมพิวเตอรให ทันสมัยและ เพียงพอ ดานอาจารย นักศึกษาเห็นวาอาจารยไมมีการเตรียมการสอน และไมมีเทคนิคในการสอน ซึ่ง สอดคลองกับบุคลากรที่ตองการใหอาจารยเอาใจใสนักศึกษา และมีการพัฒนากระบวนการการเรียน การสอน ดานบุคลากรมีควานเห็นตรงกันวา เจาหนาที่พูดจาไมสุภาพ และมีพฤติกรรมไมเหมาะสม ดานหลักสูตรและกระบวนการเรียนที่เหมาะสม เห็นวา หลักสูตรยังไมมีความหลากหลายและไม ทันสมัย แตบางสวนเห็นวาหลักสูตรมีความเหมาะสมดี ดานกิจการศึกษาเห็นวากิจกรรมยังไมมี ประโยชน ควรจัดไปในทางสรางสรรค


26

จักรกฤษณ ประกอบผล (2546) ไดศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับสภาพแวดลอม ทางการศึกษาในวิทยาลัยพาณิชยการธนบุรี ทําการศึกษา 5 ดาน คือ ดานการเรียนการสอน ดานสังคม กลุมเพื่อน ดานกิจกรรมนักศึกษา ดานการบริการ นักศึกษา และดานอาคารสถานที่ และทําการ เปรียบเทียบความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมทางการศึกษาในวิทยาลัยพาณิชยการธนบุรี โดยจําแนกตามเพศผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แผนกวิชา และรอบการศึกษา ผลการวิจัย พบวา นักศึกษามี ความคิดเห็นตอสภาพแวดลอมทางการศึกษาในวิทยาลัยพาณิชยการธนบุรี โดยรวมอยูในระดับปาน กลาง และเมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา ดานการเรียนการสอน และดานสังคมกลุมเพื่อน อยูในระดับ มาก เมื่อทําการเปรียบเทียบนักศึกษาชายและนักศึกษาหญิงนักศึกษาที่นักศึกษาอยูในแผนกวิชาตางกัน และนักศึกษาที่มีรอบการศึกษาตางกัน มีความคิดเห็นตอสภาพแวดลอมทางการศึกษาในวิทยาลัยพณิช การธนบุรี โดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ยกเวน นักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แตกตางกันมีความคิดเห็นตอสภาพแวดลอมทางการศึกษาในวิทยาลัยพาณิชยการธนบุรี โดยรวม แตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ จินตนา กิ่งแกว ( 2548) ไดทําการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาตอสภาพแวดลอมของ สถานบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตจันทบุรี ทั้ง 6 ดาน คือ ดานการเรียนการสอน ดานการบริหาร ดานการใหบริการนักศึกษา ดานการจัดกิจกรรมศึกษา ดานสังคมในกลุมเพื่อน และดานอาคารสถานที่ ผลการวิจัยพบวา ในภาพรวมนักศึกษามีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมทุกดานในระดับปานกลาง และพิจารณารายดานพบวามีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมแตละดานเรียงตามระดับคะแนนมากไป นอยดังนี้ ดานการเรียนการสอน (2.92) ดานสังคมในกลุมเพื่อน (2.78) ดานการจัดกิจกรรมศึกษา (2.64) ดานการบริหาร (2.61) ดานอาคารสถานที่ (2.52) และดานการใหบริการแกนักศึกษา (2.36) จากการ ทดสอบสมมุติฐานพบวานักศึกษาที่ในคณะวิชาตางกันมีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมของสถานบัน เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตจันทบุรี แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ธีรวัฒน ยุวรรณะ (2550) ไดศึกษาเรื่องความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอม ภายในมหาวิทยาลัยราชนครินทรใน 5 ดาน คือ ดานอาคารสถานที่ ดานสุขาภิบาลและอนามัย สิ่งแวดลอม ดานการเรียนการสอน ดานกลุมเพื่อน และดานบริหาร พบวา ผลการเปรียบเทียบความพึง พอใจของนักศึกษาที่มีตอการจัดการสภาพแวดลอมภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร ศูนย สถาบันและศูนยบางคลา มีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ 0.05 ธนารีย เพ็ชรรัตน (2550) ไดศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาตอสภาพแวดลอมที่ สนับสนุนการเรียนการสอน ของกองงานวิทยาเขตบางนา มหาวิทยาลัยรามคําแหง 3 ดาน คือ ดาน


27

อาคารสถานที่ ดานบรรยากาศที่เอื้อตอการศึกษา และดานปฏิสัมพันธระหวางบุคคล พบวา สภาพแวดลอมดานอาคารสถานที่ นักศึกษามีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการ สอนของกองงานวิทยาเขตบางนา มหาวิทยาลัยรามคําแหงในระดับปานกลาง สภาพแวดลอมดาน บรรยากาศที่เอื้อตอการศึกษา นักศึกษามีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการสอน ของกองงานวิทยาเขตบางนามมหาวิทยาลัยรามคําแหง ในระดับปานกลาง และสภาพแวดลอมดาน ปฏิสัมพันธระหวางบุคคล นักศึกษามีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการสอน ของกองงานวิทยาเขตบางนามมหาวิทยาลัยรามคําแหง ในระดับปานกลาง นักศึกษาเพศชายกับเพศหญิง มีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการสอน ดานอาคารสถานที่ ดานบรรยากาศที่ เอื้อตอการศึกษา และดานปฏิสัมพันธระหวางบุคคลไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นักศึกษาที่มีกลุมอายุ 20 ป หรือ นอยกวา กับกลุมอายุ 21 ป หรือ มากกวา มีความพึงพอใจตอ สภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการสอน ดานอาคารสถานที่ ดานบรรยากาศที่เอื้อตอการศึกษา และ ดานปฏิสัมพันธระหวางบุคคลแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นักศึกษาที่ศึกษาอยู คณะตางกันมีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการสอน ดานอาคารสถานที่ ดาน บรรยากาศที่เอื้อตอการศึกษา และดานปฏิสัมพันธระหวางบุคคลแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 กลาวโดยสรุปไดวา งานวิจัยที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจและสภาพแวดลอมทางการศึกษา ทําใหทราบไดวา สภาพแวดลอม มีผลตอความพึงพอใจและความสัมพันธของพฤติกรรมการเรียนรู ประสบการณ และการพัฒนาสติปญญาของนักศึกษาอยางมาก คุณภาพของบัณฑิต ของวิทยาลัย จะ เปนบัณฑิตที่มีคุณภาพได ยอมขึ้นอยูกับการจัดสภาพแวดลอมอาคารสถานที่ บรรยากาศที่เอื้อตอ การศึกษา และการจัดกิจกรรมทางวิชาการ การมีปฏิสัมพันธที่ดีระหวางอาจารยผูสอนและเพื่อน นักศึกษา รวมทั้งการเรียนรูตางๆ ใหสงเสริมความคิดสรางสรรคที่ดีงามที่เกิดขึ้นกับนักศึกษาของ วิทยาลัย จะสงผลทําใหเกิดประสิทธิภาพในการเรียนการสอนได


บทที่ 3 วิธีการดํา2เนินการวิจัย 1+ Ne

การวิจัยเรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ซึ่งการ ศึกษาวิจัยครั้งนี้ คณะผูวิจัยไดกําหนดวิธีดําเนินการศึกษาดังนี้ 1. ประเภทการวิจัย 2. ประชากรการวิจัย 3. การกําหนดขนาดตัวอยางและวิธีการสุมตัวอยาง 4. ขอมูลที่ใชในการวิจัย 5. เครื่องมือที่ใชเก็บขอมูล 6. การทดสอบเครื่องมือ 7. การวางแผนวิเคราะหขอมูล

ประเภทการวิจัย

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคในการศึกษาระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปริญญาตรีในวิทยาลัย ราชพฤกษ เมื่อจําแนกตามประโยชนของการใชผลงานวิจัย ถือวาเปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) โดยมีจุดมุงหมายในการนําผลการวิจัยที่ได กอใหเกิดประโยชนกับนักศึกษาและวิทยาลัย ได ทราบถึงระดับความพึงพอใจ เพื่อนําไปสูการพัฒนาตอไป

ประชากรการวิจัย

ประชากรที่ใชในการวิจัย เปนนักศึกษา ระดับปริญญาตรี วิทยาลัยราชพฤกษ มี ซึ่งแบงเปน 3 กลุมการเรียนไดแกกลุมปกติมีจํานวน 1,012 คน กลุมค่ํามีจํานวน 490 คน และกลุมเสาร-อาทิตย 785 คน มีจํานวนทั้งสิ้น 2,287 คน

การกําหนดขนาดตัวอยางและวิธีการสุมตัวอยาง

การกําหนดขนาดกลุมตัวอยาง ( Sample Size) เพื่อเปนตัวแทนประชากรนั้น ใชการคํานวณหา ขนาดกลุมตัวอยาง จากสูตรของ ทาโร ยามาเน ณ. ระดับความเชื่อมั่นที่ 95% คือ


29

n =.

N

.

1+ Ne2 N = ขนาดประชากรการวิจัย (2,287 คน) e = ความคลาดเคลื่อนของการสุมกลุมตัวอยาง (0.05 หรือ 5%) n = ขนาดกลุมตัวอยาง n = 2,287 / 1+ 2,287(0.05)2 ดังนั้นจึงไดขนาดกลุมตัวอยาง n = 341 คน และใชวิธีการสุมตัวอยางชนิดอาศัยความนาจะเปน ( Probability Sampling) แบบ Stratified Sampling โดยแบงประชากรที่แตกตางกันในเรื่อง กลุมการเรียน ซึ่งสามารถแบง ไดเปน 3 กลุม จากนั้น ใชวิธี Proportionate sampling มาจัดสัดสวนการสุมตัวอยางแตละกลุมการเรียน ดังแสดงในรายละเอียด ตอไปนี้ การจัดสัดสวนการสุมกลุมตัวอยางตามกลุมการเรียน ลําดับ

กลุมการเรียน

1 2 3

กลุมปกติ กลุมค่ํา กลุมเสาร-อาทิตย รวมจํานวนนักศึกษาทั้งสิ้น

ขอมูลที่ใชการวิจัย

จํานวนประชากรการ วิจัยทงหมด 1,012 490 785 2,287

การกําหนด สัดสวนกลุมตัวอยาง 151 73 117 341

ขอมูลที่ทําการศึกษาแบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1. ขอมูลปฐมภูมิ ( Primary Data) ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลในสวนนี้ โดยวิธีการสํารวจจากการ สรางแบบสอบถาม (Questionnaire ) ไปสอบถามจากกลุมตัวอยางของประชากรการวิจัย 2. ขอมูลทุติยภูมิ ( Secondary Data) เปนการศึกษาผลงานวิจัยและทฤษฎีหลักวิชาการ ในเรื่อง ความพึงพอใจที่มีตอสภาพแวดลอม เพื่อใชเปนแนวทางการวิจัย โดยคนควาจากหนวยงานตางๆ เชน


30

หอสมุดมหาวิทยาลัยรามคําแหง หอสมุดแหงชาติ หองสมุดสภาวิจัย และหอสมุดของมหาวิทยาลัยอื่นๆ และรวมทั้งคนหาขอมูลจาก เว็บไซตตางๆ ที่เกี่ยวของ

เครื่องมือที่ใชเก็บขอมูล

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนแบบสอบถามระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอ สภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ จํานวน 1 ฉบับ เนื้อหาแบงออกเปน 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพภูมิหลังของนักศึกษาไดแก เพศ อายุ และกลุมการ เรียน จํานวน 3 ขอ ตอนที่ 2 เปนแบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราช พฤกษ จํานวน 59 ขอ โดยมีทั้งหมด 5 ดานคือ สภาพแวดลอมดานอาคารสถานที่ จํานวน 14 ขอ สภาพแวดลอมดานบรรยากาศในการเรียนการสอน จํานวน 14 ขอ สภาพแวดลอมดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล จํานวน 11 ขอ สภาพแวดลอมดานสุขาภิบาล อนามัยสิ่งแวดลอม จํานวน 14 ขอ สภาพแวดลอมดานการบริหาร จํานวน 5 ขอ การแปลผล การวิเคราะหขอมูลที่ไดโดยวิธีการทางสถิติ โดยใชเครื่องคอมพิวเตอรในการประมวลผลหา คาสถิติ โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ เกณฑการใหคะแนนแบบสอบถาม และหลักเกณฑการวัดระดับความพึงพอใจมีดังนี้ เกณฑการใหคะแนนแบบสอบถาม ตอนที่ 2 กําหนดเกณฑการใหคะแนนดังนี้ ถาตอบระดับความพึงพอใจมากที่สุด ใหคะแนน 5 คะแนน ถาตอบระดับความพึงพอใจมาก ใหคะแนน 4 คะแนน ถาตอบระดับความพึงพอใจปานกลาง ใหคะแนน 3 คะแนน ถาตอบระดับความพึงพอใจนอย ใหคะแนน 2 คะแนน ถาตอบระดับความพึงพอใจนอยที่สุด ใหคะแนน 1 คะแนน การแปลความหมายของคะแนน พิจารณาคาเฉลี่ย จากคะแนนทุกขอของความพึงพอใจ โดยมี เกณฑดังนี้


31

คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย

1.00 – 1.49 หมายถึง มีระดับความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมในระดับนอยที่สุด 1.50 – 2.49 หมายถึง มีระดับความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมในระดับนอย 2.50 – 3.45 หมายถึง มีระดับความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมในระดับปานกลาง 3.50 – 4.45 หมายถึง มีระดับความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมในระดับมาก 4.50 – 5.00 หมายถึง มีระดับความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมในระดับมากที่สุด

การทดสอบเครื่องมือ

การทดสอบเครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล ตามขั้นตอนดังนี้ 1. การหาความเที่ยงตรงในเนื้อหา ( Content Validity) โดยการใหปรึกษาคณะกรรมการการวิจัย รศ.ดร.ลัดดาวัลย เพชรโรจน และหัวหนางงานวิจัย อาจารยกุลยา อุปพงษ ตรวจสอบและพิจารณาความ ถูกตองดานการตั้งหัวขอการวิจัย วัตถุประสงค สมมุติฐาน แบบสอบถามและรูปแบบการเขียน แบบสอบถาม และรายงาน เพื่อเปนแนวทางนําไปปรับปรุงแกไขขอบกพรอง 2. การหาความนาเชื่อถือ ( Reliability) ของเครื่องมือ โดยไดนําแบบสอบถาม ไปทําการทดสอบ กับประชากรการวิจัย จํานวน 30 ชุด เพื่อทดสอบถึงขอบกพรอง ในเนื้อหาขอความ และทําการ ทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถามดวยวิธีหาคา สัมประสิทธิ์ Cronbach’s Alpha เพื่อนํา แบบสอบถามไปปรับปรุงแกไขใหมีความสมบูรณ และสามารถนําไปใชวิจัยได ซึ่งไดคาสัมประสิทธิ์ Cronbach’s Alpha 0.90

การวางแผนวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยนําขอมูลที่ไดจากแบบสอบถาม มาทําการวิเคราะหขอมูลดวย โปรแกรมสําเร็จรูป โดยใชสถิติในการวิจัยดังนี้ 1. สถิติเชิงพรรณนา( Descriptive Statistics) ใชเปนสถิติเบื้องตนในการอภิปรายผล ขอมูลสวน บุคคลทั่วไป ไดแก คารอยละ (Percentage) คาความถี่ (Frequency) คาเฉลี่ย (Mean) และ คาเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation) 2. สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ใชเปนสถิติในการทดสอบความแตกตางของ ผลการวิจัย จําแนกตามเพศ กลุมการเรียน และอายุ โดยใชสถิติ (t – test) และวิธีวิเคราะหความ แปรปรวนทางเดียว (One – way Analysis of Variance) และการทดสอบรายคูดวยวิธี LSD


บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลของการศึกษา เรื่อง ความพึงพอในของนักศึกษาที่มีตอ สภาพแวดลอมวิทยาลัยราชพฤกษ คณะผูวิจัย แบงการวิเคราะหออกเปนขั้นตอน และเพื่อใหเกิดความ เขาใจที่ตรงกันในการแปลความหมายของผลการวิเคราะหขอมูล คณะผูวิจัยจึงไดกําหนดสัญลักษณและ อักษรยอในการวิเคราะหขอมูล ดังนี้ สัญลักษณที่ใชในการวิเคราะหขอมูล n X S.D. t df SS MS F p *

แทน แทน แทน แทน แทน แทน แทน แทน แทน แทน

ขนาดกลุมตัวอยาง คาคะแนนเฉลี่ย (Mean) ของกลุมตัวอยาง คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) คาสถิติที่ใชพิจารณา t-distribution ชั้นของความเปนอิสระ (Degree of freedom) ผลรวมกําลังสองของคะแนน (Sum of square) คาประมาณความแปรปรวนของคะแนน (Mean of square) คาสถิติที่ใชพิจารณา F-distribution คาความนาจะเปน (Probability) สําหรับบอกนัยสําคัญทางสถิติ นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล ในการวิเคราะหขอมูล คณะผูวิจัย ใชโปรแกรมสําเร็จรูป ซึ่งในการนําเสนอผลการวิเคราะห ขอมูล และการแปลผลการวิเคราะหขอมูลของการศึกษา วิจัยครั้งนี้ ไดวิเคราะหและนําเสนอในรูปแบบ ตารางประกอบคําอธิบาย โดยแบงการนําเสนอออกเปน 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 การวิเคราะหขอมูล สภาพภูมิหลังของนักศึกษา เพศ อายุ และกลุมการเรียน โดย วิเคราะหจากคาความถี่และคารอยละ เสนอผลในรูปแบบของตาราง


33

ตอนที่ 2 การวิเคราะหขอมูล เกี่ยวกับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของ วิทยาลัย โดยวิเคราะหจากคคาเฉลี่ย (Mean) และ คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เสนอผล ในรูปแบบของตาราง ตอนที่ 3 การวิเคราะหขอมูลเพื่อทดสอบสมมติฐาน โดยการทดสอบความสัมพันธของ สมมติฐานดวย t-test และวิธีวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว One – way Analysis of Variance (One – way ANOVA) และการทดสอบรายคูดวยวิธี LSD เสนอผลในรูปแบบของตาราง

ผลการวิเคราะหขอมูล ตาราง 1

ตอนที่ 1 การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับสภาพภูมิหลังของนักศึกษา

จํานวนและรอยละ จําแนกตามเพศ เพศ

จํานวน

รอยละ

ชาย

106

31.09

หญิง

235 68.91 รวม 341 100.00 จากตารางที่ 1 พบวาคุณลักษณะ ของกลุมตัวอยางกวา ครึ่งเปนเพศหญิง (คิดเปนรอยละ 68.91)

และเพศชาย (คิดเปนรอยละ 31.09) ตาราง 2 จํานวนและรอยละ จําแนกตามอายุ อายุ

จํานวน

รอยละ

20 ป หรือนอยกวา

32

9.38

21 ป หรือมากกวา

309

90.62

341

100.00

รวม


34

จากตารางที่ 2 พบวานักศึกษาสวนใหญมีอายุ 21 ป หรือมากกวา (คิดเปนรอยละ 90.62) และ มีอายุ 20 ป หรือนอยกวา (คิดเปนรอยละ 9.38) ตามลําดับ ตาราง 3 จํานวนและรอยละ จําแนกตามกลุมการเรียน กลุมการเรียน

จํานวน

รอยละ

กลุมการเรียนภาคปกติ

151

44.28

กลุมการเรียนภาคสมทบค่ํา

73

21.41

กลุมการเรียนภาคสมทบเสาร-อาทิตย

117

34.31

รวม

341 จากตารางที่ 3 พบวานักศึกษาสวนใหญเปนกลุมการเรียนภาคปกติ (

100.00 คิดเปนรอยละ 44.28)

รองลงมาคือ กลุมการเรียนภาคสมทบเสาร-อาทิตย (คิดเปนรอยละ 34.31) และกลุมการเรียนภาคสมทบ ค่ํา (คิดเปนรอยละ 21.41) ตามลําดับ ตอนที่ 2 การวิเคราะหขอมูล เกี่ยวกับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของ วิทยาลัย ตาราง 4 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานอาคารสถานที่ ดานอาคารสถานที่ 1. การจัดหองเรียนมีความเหมาะสมในการเรียนการสอน

X

S.D.

แปลผล

3.58

0.56

มาก

2. อุปกรณสื่อการสอนในหองเรียนมีความเหมาะสม

3.59

0.62

มาก

3. การใชสื่อโทรทัศนวงจรปดและระบบเสียงในหองเรียน มีเหมาะสม 4. โตะ-เกาอี้ ภายในหองเรียน มีความเหมาะและเพียงพอ

3.44

0.71

ปานกลาง

3.41

0.82

ปานกลาง

5. โตะ-เกาอี้ ภายในหองเรียน มีความเพียงพอ

3.47

0.79

ปานกลาง


35

ตาราง 4 (ตอ) ดานอาคารสถานที่ 6. การถายเทอากาศภายในหองเรียนมีความเหมาะสม

X

S.D.

แปลผล

3.40

0.80

ปานกลาง

7. แสงสวางในหองเรียนมีความเหมาะสมในการเรียน

3.62

0.72

มาก

8. หองน้ํา หองสุขา และโถปสสาวะ มีจํานวนเพียงพอ

3.19

1.00

ปานกลาง

9. หองน้ําสะอาดและถูกสุขอนามัย

2.89

1.08

ปานกลาง

10. สภาพพื้นที่ของโรงอาหารมีความเหมาะสม

2.90

0.95

ปานกลาง

11. การปองกันมลพิษตางๆ ของโรงอาหาร เชน กลิ่น ควัน ฝุนละออง มีความเหมาะสม 12. บริเวณและที่นั่งรับประทานอาหารมีความสะอาด

2.89

0.92

ปานกลาง

3.10

0.88

ปานกลาง

13. อาหารและน้ําดื่มมีความสะอาด

3.20

0.81

ปานกลาง

14. การจัดการสิ่งอํานวยความสะดวกดานระบบไฟฟาประปา ของวิทยาลัย มีความเหมาะสม โดยรวม

3.26

0.82

ปานกลาง

3.28

0.50

ปานกลาง

จากตารางที่ 4 พบวาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานอาคารสถานที่ภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ( X = 3.28) เมื่อพิจารณาในรายละเอียด สวนใหญพบวา ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอม ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานอาคารสถานที่ ในระดับปานกลาง มีเพียง 3 รายการอยูในระดับมาก โดย เรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา คือ แสงสวางในหองเรียนมีความเหมาะสมในการเรียน อุปกรณสื่อการ สอนในหองเรียนมีความเหมาะสม การจัดหองเรียนมีความเหมาะสมในการเรียนการสอน โตะ-เกาอี้ ภายในหองเรียน มีความ เพียงพอ การใชสื่อโทรทัศนวงจรปดและระบบเสียงในหองเรียนมีเหมาะสม โตะ-เกาอี้ ภายในหองเรียน มีความเหมาะและเพียงพอ การถายเทอากาศภายในหองเรียนมีความ เหมาะสม การจัดการสิ่งอํานวยความสะดวกดานระบบไฟฟา - ประปา ของวิทยาลัย มีความเหมาะสม อาหารและน้ําดื่มมีความสะอาด หองน้ํา หองสุขา และโถปสสาวะ มีจํานวนเพียงพอ บริเวณและที่นั่ง รับประทานอาหารมีความสะอาด สภาพพื้นที่ของโรงอาหารมีความเหมาะสม หองน้ําสะอาดและถูก


36

สุขอนามัย การปองกันมลพิษตางๆ ของโรงอาหาร เชน กลิ่น ควัน ฝุนละออง มีความเหมาะสม ตามลําดับ ตาราง 5 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอม ดานบรรยากาศในการเรียนการสอน S.D. X ดานบรรยากาศในการเรียนการสอน 1. การจัดพื้นที่พักผอนหยอนใจและสภาพภูมิทัศน มีความรม 3.08 0.94 รื่นเปนสัดสวน เหมาะสม 2. จํานวนโตะ-มานั่ง เพื่อการดูหนังสือและการนั่งทบทวนเรียน 2.92 0.93 มีความเหมาะสม 3. การเผยแพร ขอมูล ขาวสาร การศึกษา โดยการ 2.89 0.85 ประชาสัมพันธเสียงตามสาย มีความเหมาะสม 4. การจัดทําเอกสาร แผนพับ เพื่อเผยแพรขอมูล ขาวสาร 3.00 0.93 การศึกษา มีความเหมาะสม 5. บรรยากาศในหองสมุดมีความเหมาะสม 3.29 0.84

แปลผล ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง

6. หนังสือในหองสมุดมีเพียงพอ

3.12

0.84

ปานกลาง

7. หนังสือในหองสมุดมีความทันสมัย

3.23

0.84

ปานกลาง

8. ที่นั่งทํางาน/อานหนังสือในหองสมุด มีความเหมาะสม

3.23

0.77

ปานกลาง

9. การจัดเวรยามดูแลความปลอดภัยชีวิตและทรัพยสินของ นักศึกษามีความเหมาะสม 10. การจัดระบบการจราจรมีความเหมาะสม

3.24

0.86

ปานกลาง

3.24

0.88

ปานกลาง

11. การจัดการดานปญหามลพิษสิ่งแวดลอม เชน ขยะ น้ําเสีย ฝุนละออง และอื่นๆ มีความเหมาะสม 12. การจัดสิ่งอํานวยความสะดวก ตู ATM มีความเหมาะสม

3.15

0.86

ปานกลาง

2.63

1.00

ปานกลาง

13. การจัดสิ่งอํานวยความสะดวก ตูโทรศัพท มีความเหมาะสม

2.67

1.00

ปานกลาง

14. การจัดบริเวณพื้นที่เพื่อการออกกําลังกาย มีความเหมาะสม

2.77

0.99

ปานกลาง

โดยรวม

3.03

0.61

ปานกลาง


37

จากตารางที่ 5 พบวาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานบรรยากาศในการเรียนการสอนภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ( X = 3.03) เมื่อพิจารณาในรายละเอียด สวนใหญพบวา ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอม ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานบรรยากาศ ในการเรียนการสอนภาพรวมอยูในระดับปานกลางโดย เรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา คือ บรรยากาศในหองสมุดมีความเหมาะสม การจัดเวรยามดูแลความ ปลอดภัยชีวิตและทรัพยสินของนักศึกษามีความเหมาะสม การจัดระบบการจราจรมีความเหมาะสม หนังสือในหองสมุดมีความทันสมัย ที่นั่งทํางาน/อานหนังสือในหองสมุด มีความเหมาะสม การจัดการ ดานปญหามลพิษสิ่งแวดลอม เชน ขยะ น้ําเสีย ฝุนละออง และอื่นๆ มีความเหมาะสม หนังสือใน หองสมุดมีเพียงพอ การจัดพื้นที่พักผอนหยอนใจและสภาพภูมิทัศน มีความรมรื่นเปนสัดสวน เหมาะสม การจัดทําเอกสาร แผนพับ เพื่อเผยแพรขอมูล ขาวสาร การศึกษา มีความเหมาะสม จํานวน โตะ-มานั่ง เพื่อการดูหนังสือและการนั่งทบทวนเรียนมีความเหมาะสม การเผยแพร ขอมูล ขาวสาร การศึกษา โดยการประชาสัมพันธเสียงตามสาย มีความเหมาะสม การจัดบริเวณพื้นที่เพื่อการออกกําลัง กาย มีความเหมาะสม การจัดสิ่งอํานวยความสะดวก ตูโทรศัพท มีความเหมาะสม การจัดสิ่งอํานวย ความสะดวก ตู ATM มีความเหมาะสม ตามลําดับ ตาราง 6 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานมนุษยสัมพันธระหวาง บุคคล X

S.D.

แปลผล

3.28

0.75

ปานกลาง

2. การแลกเปลี่ยนความรู ความคิด ทางวิชาการอยางอิสระกับ เพื่อนนักศึกษา 3. การชวยเหลืองานดานการเรียนกับกลุมเพื่อน

3.32

0.77

ปานกลาง

3.40

0.83

ปานกลาง

4. ความรูสึกอบอุน และเปนมิตรจากเพื่อนนักศึกษา

3.55

0.84

มาก

5. ระเบียบวินัยและมารยาทในหองเรียนของเพื่อนนักศึกษา มี ความเหมาะสม

3.33

0.77

ปานกลาง

ดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล 1. การจัดกลุมกิจกรรมวิชาการ มีความเหมาะสม


38

ตาราง 6 (ตอ) ดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล 6. อาจารยผูสอนมีความเปนกันเองกับนักศึกษา

X

S.D.

แปลผล

3.84

0.82

มาก

7. อาจารยผูสอนเปดโอกาสใหซักถาม

3.79

0.84

มาก

8. การบริการจากเจาหนาที่หองสมุด มีความเหมาะสม

3.45

0.79

ปานกลาง

9. การบริการเจาหนาที่ดานบริการการศึกษา มีความเหมาะสมมี ความเหมาะสม 10. การบริการจากเจาหนาที่รักษาความปลอดภัย ดูแลตรวจตรา ความเรียบรอย ความปลอดภัย ใหนักศึกษา มีความเหมาะสม 11. การบริการจากเจาหนาที่ประจําหองเรียน ดูแล ทําความ สะอาด อํานวยความสะดวก ใหนักศึกษา มีความเหมาะสม โดยรวม

3.42

0.79

ปานกลาง

3.40

0.83

ปานกลาง

3.36

0.83

ปานกลาง

3.46

0.53

ปานกลาง

จากตารางที่ 6 พบวาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคลภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ( X = 3.46) เมื่อพิจารณาในรายละเอียด สวนใหญพบวา ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอม ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคลภาพรวมอยูในระดับปานกลางโดยเรียงลําดับ จากคาเฉลี่ยมากลงมา คือ ความรูสึกอบอุน และเปนมิตรจากเพื่อนนักศึกษา การบริการจากเจาหนาที่ หองสมุด มีความเหมาะสม การบริการเจาหนาที่ดานบริการการศึกษา มีความเหมาะสมมีความ เหมาะสม การชวยเหลืองานดานการเรียนกับกลุมเพื่อน การบริการจากเจาหนาที่รักษาความปลอดภัย ดูแลตรวจตรา ความเรียบรอย ความปลอดภัย ใหนักศึกษา มีความเหมาะสม การบริการจากเจาหนาที่ ประจําหองเรียน ดูแล ทําความสะอาด อํานวยความสะดวก ใหนักศึกษา มีความเหมาะสม ระเบีย บวินัย และมารยาทในหองเรียนของเพื่อนนักศึกษา มีความเหมาะสม การแลกเปลี่ยนความรู ความคิด ทาง วิชาการอยางอิสระกับเพื่ อนนักศึกษา การจัดกลุมกิจกรรมวิชาการ มีความเหมาะสม และมีเพียง 2 ขอ เทานั้นที่มีภาพรวมอยูในระดับสูง โดยเรียงลําดับตามรายละเอียดดังนี้ อาจารยผูสอนมีความเปนกันเอง กับนักศึกษา อาจารยผูสอนเปดโอกาสใหซักถาม ตามลําดับ


39

ตาราง 7 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานสุขาภิบาล อนามัย และ สิ่งแวดลอม X

S.D.

แปลผล

1. หองน้ํา หอมสวม มีความสะอาดถูก สุขลักษณะ 2. หองน้ํา หองสวม มีถังขยะ มีฝาปดมิดชิด

3.03

0.96

ปานกลาง

3.03

0.94

ปานกลาง

หองน้ํา หองสวม 3. แสงสวางในหองน้ํา หองสวมมีเพียงพอ 4. หองน้ํา หองสวม อยูใกลกับอาคารเรียน

3.28

0.86

ปานกลาง

3.27

0.98

ปานกลาง

5. จํานวนหองเรียน หองสวม มีเพียงพอความ ตองการ 1. โรงอาหารมีความสะอาดถูกสุขลักษณะ

3.18

0.93

ปานกลาง

3.18

0.86

ปานกลาง

2. อาหารมีความสะอาด

3.08

0.87

ปานกลาง

3. ความสะอาดของภาชนะใสอาหาร

3.03

0.85

ปานกลาง

4. โรงอาหารมีถังขยะเพียงพอ

2.92

0.95

ปานกลาง

5. การจัดการของเสียของโรงอาหารถูก สุขลักษณะ 6. ความเพียงพอของโตะรับประทานอาหาร

2.96

0.95

ปานกลาง

2.98

0.94

ปานกลาง

7. แสงสวางในโรงอาหารมีเพียงพอ

3.38

0.89

ปานกลาง

8. โรงอาหารมีสุนัข แมว

3.18

1.10

ปานกลาง

ดานสุขาภิบาล อนามัย และสิ่งแวดลอม

โรงอาหาร

9. การใหบริการของผูขายอาหารกับนักศึกษา 3.02 0.89 ปานกลาง โดยรวม 3.11 0.64 ปานกลาง จากตารางที่ 7 พบวาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานสุขาภิบาล อนามัย และสิ่งแวดลอมภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ( X = 3.11) โดยเรียงลําดับจาก คาเฉลี่ยมากลงมา เมื่อพิจารณาในรายละเอียดดังตอไปนี้


40

ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานสุขาภิบาล อนามัย และสิ่งแวดลอม ในหัวขอหองน้ํา หองสวม โดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา คือ แสงสวาง ในหองน้ํา หองสวมมีเพียงพอ หองน้ํา หองสวม อยูใกลกับอาคารเรียน จํานวนหองเรียน หองสวม มี เพียงพอความตองการ หองน้ํา หอมสวม มีความสะอาดถูกสุขลักษณะ และหองน้ํา หองสวม มีถังขยะ มีฝาปดมิดชิด ตามลําดับ ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานสุขาภิบาล อนามัย และสิ่งแวดลอม ในหัวขอโรงอาหารโดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา คือ แสงสวางใน โรงอาหารมีเพียงพอ โรงอาหารมีความสะอาดถูกสุขลักษณะ โรงอาหารมีสุนัข แมว อาหารมีความ สะอาด ความสะอาดของภาชนะใสอาหาร การใหบริการของผูขายอาหารกับนักศึกษา ความเพียงพอ ของโตะรับประทานอาหาร การจัดการของเสียของโรงอาหารถูกสุขลักษณะ โรงอาหารมีถังขยะ เพียงพอ ตามลําดับ ตาราง 8 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานการบริหาร ดานการบริหาร 1. นักศึกษามีเสรีภาพในการแสดงความเห็นเกี่ยวกับบริหารของ สถาบัน 2. ผูบริหารและอาจารยมักจะรับฟงความคิดเห็นของนักศึกษา 3. สถาบันเปดโอกาสใหนักศึกษามีสวนรวมในการกําหนด กฏ ระเบียบตาง ๆ ของสถาบัน ฯ 4. กฏ ระเบียบตางๆ ของสถาบันฯ ที่ใชกับนักศึกษาไมเครงครัด เกินไป 5. ผูบริหารเปดโอกาสใหนักศึกษาเขาพบเพื่อปรึกษาหารืออยู เสมอ โดยรวม

X

S.D.

แปลผล

3.22

0.78

ปานกลาง

3.29

0.74

ปานกลาง

3.10

0.91

ปานกลาง

3.29

0.73

ปานกลาง

3.26

0.81

ปานกลาง

3.23

0.63

ปานกลาง


41

จากตารางที่ 8 พบวาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานการบริหารภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ( X = 3.23) เมื่อพิจารณาในรายละเอียด สวนใหญพบวา ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอม ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานการบริหารภาพรวมอยูในระดับปานกลางโดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลง มา คือ ผูบริหารและอาจารยมักจะรับฟงความคิดเห็นของนักศึกษา กฏ ระเบียบตางๆ ของสถาบันฯ ที่ใช กับนักศึกษาไมเครงครัดเกินไป ผูบริหารเปดโอกาสใหนักศึกษาเขาพบเพื่อปรึกษาหารืออยูเสมอ นักศึกษามีเสรีภาพในการแสดงความเห็นเกี่ยวกับบริหารของสถาบัน สถาบันเปดโอกาสใหนักศึกษามี สวนรวมในการกําหนด กฏ ระเบียบตาง ๆ ของสถาบัน ฯ ตามลําดับ ตอนที่ 3 การวิเคราะหขอมูลเพื่อทดสอบสมมติฐาน ตาราง 9 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ จําแนกตามเพศ ชาย หญิง t p สภาพแวดลอม S.D. S.D. X X 1. ดานอาคารสถานที่ 3.26 0.43 3.28 0.53 -0.464 0.643 2. ดานบรรยากาศในการเรียนการสอน 3.05 0.59 3.02 0.62 0.535 0.600 3. ดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล 3.42 0.52 3.47 0.54 -0.802 0.401 4. ดานสุขาภิบาลอนามัยและสิ่งแวดลอม 3.13 0.61 3.09 0.65 0.506 0.613 5. ดานการบริหาร 3.26 0.68 3.21 0.60 0.738 0.461 * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากตาราง 9 ผลการทดสอบ เพศของนักศึกษาที่แตกตางกันมีผลตอความพึงพอใจของนักศึกษา ที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ แตกตางกันหรือไม พบวาเพศที่ตางกัน มีระดับความพึง พอใจตอสภาพแวดลอม ไมแตกตางกัน


42

ตาราง 10 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ จําแนกตามอายุ 20 ป หรือ < 21 ป หรือ > t p สภาพแวดลอม X S.D. X S.D. 1. ดานอาคารสถานที่ 3.29 0.47 3.28 0.51 0.106 0.915 2. ดานบรรยากาศในการเรียนการสอน 2.92 0.57 3.04 0.61 -1.033 0.302 3. ดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล 3.34 0.58 3.47 0.53 -1.310 0.191 4. ดานสุขาภิบาลอนามัยและสิ่งแวดลอม 3.01 0.65 3.11 0.64 -0.833 0.406 5. ดานการบริหาร 3.27 0.60 3.22 0.63 0.402 0.688 * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากตาราง 9 ผลการทดสอบ อายุของนักศึกษาที่แตกตางกันมีผลตอความพึงพอใจของนักศึกษา ที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ แตกตางกันหรือไม พบวาอายุของนักศึกษาที่แตกตางกัน มีระดับความพึงพอใจตอสภาพแวดลอม ไมแตกตางกัน


43

ตาราง 11 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ จําแนกตามกลุมการเรียน แหลงความ สภาพแวดลอม Df SS MS F แปรปรวน ระหวางกลุม 2 4.10 2.05 8.32* 1. ดานอาคารสถานที่ ภายในกลุม 338 83.24 0.24 รวม 340 87.35 ระหวางกลุม 2 1.94 0.97 2.62 2. ดานบรรยากาศในการเรียน ภายในกลุม 338 125.30 0.37 การสอน รวม 340 127.24 3. ดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล ระหวางกลุม 2 2.81 1.40 4.96* ภายในกลุม 338 95.34 0.28 รวม 340 98.16 4. ดานสุขาภิบาลอนามัยและ ระหวางกลุม 2 8.48 4.24 10.88* สิ่งแวดลอม ภายในกลุม 338 131.70 0.39 รวม 340 140.18 5. ดานการบริหาร ระหวางกลุม 2 5.72 2.86 7.47* ภายในกลุม 338 129.47 0.38 รวม 340 135.20 * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

p 0.00

0.07

0.00

0.00

0.00

จากตารางที่ 11 ผลการทดสอบกลุมการเรียนที่แตกตางกันมีผลความพึงพอใจของนักศึกษาที่มี ตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ พบวาแตกตางกันในดานอาคารสถานที่ ดานมนุษยสัมพันธ ระหวางบุคคล และดานการบริหาร อยางนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากผลการทดสอบ พบวา กลุมการเรียนของนักศึกษามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ จึง มี การทดสอบรายคูตอไป ดังตาราง 12 - 15


44

ตาราง 12 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานอาคารสถานที่ รายคู ภาคปกติ ภาคสมทบค่ํา ภาคสมทบเสาร-อาทิตย กลุมการเรียน 3.30 3.40 3.00 X ภาคปกติ 3.30 ภาคสมทบค่ํา 3.40 0.01* ภาคสมทบเสาร-อาทิตย

3.00 * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

0.01*

-

0.58

จากตารางที่ 12 พบวานักศึกษาภาคสมทบค่ําและภาคสมทบเสาร-อาทิตย มีความพึงพอใจตอ สภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานอาคารสถานที่ แตกตางจากนักศึกษาภาคปกติ อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ตาราง 13 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานมนุษยสัมพันธระหวาง รายคู ภาคปกติ ภาคสมทบค่ํา ภาคสมทบเสารกลุมการเรียน

อาทิตย 3.30

3.40

3.00

ภาคปกติ

X 3.30

-

-

-

ภาคสมทบค่ํา

3.40

0.00*

-

-

ภาคสมทบเสาร-อาทิตย

3.00

0.01*

0.63

-

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากตารางที่ 13 พบวานักศึก ษาภาคสมทบค่ําและภาคสมทบเสาร-อาทิตย มีความพึงพอใจตอ สภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล แตกตางจากนักศึกษาภาคปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05


45

ตาราง 14 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานสุภาภิบาล อนามัย และสิ่งแวดลอม รายคู ภาคปกติ ภาคสมทบค่ํา ภาคสมทบเสารกลุมการเรียน

อาทิตย 3.25

3.21

2.85

ภาคปกติ

X 3.25

-

-

-

ภาคสมทบค่ํา

3.21

0.40

-

-

ภาคสมทบเสาร-อาทิตย

2.85 0.00* 0.00* * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากตารางที่ 14 พบวานักศึกษาภาคสมทบเสาร-อาทิตย มีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมของ วิทยาลัยราชพฤกษ ดานสุภาภิบาล อนามัย และสิ่งแวดลอม แตกตางจากนักศึกษาภาคปกติ และ นักศึกษาภาคสมทบค่ํา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05


46

ตาราง 15 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานการบริหาร รายคู ภาคปกติ ภาคสมทบค่ํา ภาคสมทบเสารกลุมการเรียน

อาทิตย 3.38

3.33

3.05

ภาคปกติ

X 3.38

-

-

-

ภาคสมทบค่ํา

3.33

0.92

-

-

ภาคสมทบเสาร-อาทิตย

3.05

0.00*

0.02*

-

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากตารางที่ 15 พบวานักศึกษาภาคสมทบเสาร-อาทิตย มีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมของ วิทยาลัยราชพฤกษ ดานการบริหาร แตกตางจากนักศึกษาภาคปกติ และนักศึกษาภาคสมทบค่ํา อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05


บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ การศึกษาวิจัยครั้งเปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษา ที่มีตอสภาพแวดลอมที่ของ วิทยาลัยราชพฤกษ โดยมีวัตถุประสงค เพื่อศึกษา ความพึงพอใจของ นักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการสอนของ วิทยาลัยราชพฤกษ และ เปรียบเทียบ ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการสอนวิทยาลัยราชพฤกษ วิทยาลัยราชพฤกษ โดยแยกตามตัวแปร ประกอบดวย เพศ อายุ และกลุมการเรียน ประชากรที่ใชในการ วิจัย เปนนักศึกษา ระดับปริญญาตรี วิทยาลัยราชพฤกษ มี ซึ่งแบงเปน 3 กลุมการเรียนไดแกกลุมปกติมี จํานวน 1,012 คน กลุมค่ํามีจํานวน 490 คน และกลุมเสาร-อาทิตย 785 คน มีจํานวนทั้งสิ้น 2,287 คน ทํา การสุมตัวอยางตามกลุมการเรียนจะได กลุมการเรียนภาคปกติจํานวน 151 คน กลุมการเรียนภาคสมทบ ค่ําจํานวน 73 คน และกลุมการเรียนภาคสมทบเสาร-อาทิตยจํานวน 117 คน รวมทั้งสิ้น 341 คน เครื่องมือที่ใชคือแบบสอบถาม ผูวิจัยสรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ตามลําดับดังนี้ 1. สรุปผลการวิจัย 2. อภิปรายผล 3. ขอเสนอแนะ

สรุปผลการวิจัย

พบวา ขอมูลทั่วไป ของกลุมตัวอยางกวาครึ่งเปนเพศหญิง สวนใหญมีอายุ 21 ป หรือมากกวา และเปนกลุมการเรียนภาคปกติ ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ พบวา นักศึกษา มีความพึงพอใจอยูในระดับปานกลางทุกดาน เมื่อพิจารณาจากคาเฉลี่ย ดานมนุษยสัมพันธระหวาง บุคคลมากที่สุด รองลงมา คือ ดานอาคารสถานที่ ดานการบริหาร ดานสุขาภิบาลอนามัยและสิ่งแวดลอม และดานบรรยากาศในการเรียนการสอน เมื่อพิจารณาในรายละเอียดของทั้ง 5 ดาน ดังนี้ 1. ดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคลภาพรวมอยูในระดับปานกลางเมื่อพิจารณาใน รายละเอียดโดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา คือ ความรูสึกอบอุน และเปนมิตรจากเพื่อนนักศึกษา การบริการจากเจาหนาที่หองสมุด มีความเหมาะสม การบริการเจาหนาที่ดานบริการการศึกษา มีความ


48

เหมาะสมมีความเหมาะสม การชวยเหลืองานดานการเรียนกับกลุมเพื่อน การบริการจากเจาหนาที่รักษา ความปลอดภัย ดูแลตรวจตรา ความเรียบรอย ความปลอดภัย ใหนักศึกษา มีความเหมาะสม การบริการ จากเจาหนาที่ประจําหองเรียน ดูแล ทําความสะอาด อํานวยความสะดวก ใหนักศึกษา มีความเหมาะสม ระเบียบวินัยและมารยาทในหองเรียนของเพื่อนนักศึกษา มีความเหมาะสม การแลกเปลี่ยนความรู ความคิด ทางวิชาการอยางอิสระกับเพื่อนนักศึกษา การจัดกลุมกิจกรรมวิชาการ มีความเหมาะสม และมี เพียง 2 ขอเทานั้นที่มีภาพรวมอยูในระดับสูง โดยเรียงลําดับตามรายละเอียดดังนี้ อาจารยผูสอนมีความ เปนกันเองกับนักศึกษา อาจารยผูสอนเปดโอกาสใหซักถาม ตามลําดับ 2. ดานอาคารสถานที่ภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาในรายละเอียดโดย เรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา คือ แสงสวางในหองเรียนมีความเหมาะสมในการเรียน อุปกรณสื่อการ สอนในหองเรียนมีความเหมาะสม การจัดหองเรียนมีความเหมาะสมในการเรียนการสอน โตะ-เกาอี้ ภายในหองเรียน มีความเพียงพอ การใชสื่อโทรทัศนวงจรปดและระบบเสียงในหองเรียนมีเหมาะสม โตะ-เกาอี้ ภายในหองเรียน มีความเหมาะและเพียงพอ การถายเทอากาศภายในหองเรียนมีความ เหมาะสม การจัดการสิ่งอํานวยความสะดวกดานระบบไฟฟา - ประปา ของวิทยาลัย มีความเหมาะสม อาหารและน้ําดื่มมีความสะอาด หองน้ํา หองสุขา และโถปสสาวะ มีจํานวนเพียงพอ บริเวณและที่นั่ง รับประทานอาหารมีความสะอาด สภาพพื้นที่ของโรงอาหารมีความเหมาะสม หองน้ําสะอาดและถูก สุขอนามัย การปองกันมลพิษตางๆ ของโรงอาหาร เชน กลิ่น ควัน ฝุนละออง มีความเหมาะสม ตามลําดับ 3. ดานการบริหารภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อ พิจารณาในรายละเอียด โดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา คือ ผูบริหารและอาจารยมักจะรับฟงความ คิดเห็นของนักศึกษา กฏ ระเบียบตางๆ ของสถาบันฯ ที่ใชกับนักศึกษาไมเครงครัดเกินไป ผูบริหารเปด โอกาสใหนักศึกษาเขาพบเพื่อปรึกษาหารืออยูเสมอ นักศึกษามีเสรีภาพในการแสดงความเห็นเกี่ยวกับ บริหารของสถาบัน สถาบันเปดโอกาสใหนักศึกษามีสวนรวมในการกําหนด กฏ ระเบียบตาง ๆ ของ สถาบัน ฯ ตามลําดับ 4. ดานสุขาภิบาล อนามัย และสิ่งแวดลอมภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณา ในรายละเอียด โดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา สวนของหองน้ําหองสวม คือ แสงสวางในหองน้ํา หองสวมมีเพียงพอ หองน้ํา หองสวม อยูใกลกับอาคารเรียน จํานวนหองเรียน หองสวม มีเพียงพอความ ตองการ หองน้ํา หอมสวม มีความสะอาดถูกสุขลักษณะ และหองน้ํา หองสวม มีถังขยะ มีฝาปดมิดชิด ตามลําดับ สวนของโรงอาหาร คือ แสงสวางในโรงอาหารมีเพียงพอ โรงอาหารมีความสะอาดถูก


49

สุขลักษณะ โรงอาหารมีสุนัข แมว อาหารมีความสะอาด ความสะอาดของภาชนะใสอาหาร การ ใหบริการของผูขายอาหารกับนักศึกษา ความเพียงพอของโตะรับประทานอาหาร การจัดการของเสีย ของโรงอาหารถูกสุขลักษณะ โรงอาหารมีถังขยะเพียงพอ ตามลําดับ 5. ดานบรรยากาศในการเรียนการสอนภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาใน รายละเอียด โดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา คือ บรรยากาศในหองสมุดมีความเหมาะสม การจัดเวร ยามดูแลความปลอดภัยชีวิตและทรัพยสินของนักศึกษามีความเหมาะสม การจัดระบบการจราจรมีความ เหมาะสม หนังสือในหองสมุดมีความทันสมัย ที่นั่งทํางาน/อานหนังสือในหองสมุด มีความเหมาะสม การจัดการดานปญหามลพิษสิ่งแวดลอม เชน ขยะ น้ําเสีย ฝุนละออง และอื่นๆ มีความเหมาะสม หนังสือในหองสมุดมีเพียงพอ การจัดพื้นที่พักผอนหยอนใจและสภาพภูมิทัศน มีความรมรื่นเปน สัดสวน เหมาะสม การจัดทําเอกสาร แผนพับ เพื่อเผยแพรขอมูล ขาวสาร การศึกษา มีความเหมาะสม จํานวนโตะ-มานั่ง เพื่อการดูหนังสือและการนั่งทบทวนเรียนมีความเหมาะสม การเผยแพร ขอมูล ขาวสาร การศึกษา โดยการประชาสัมพันธเสียงตามสาย มีความเหมาะสม การจัดบริเวณพื้นที่เพื่อการ ออกกําลังกาย มีความเหมาะสม การจัดสิ่งอํานวยความสะดวก ตูโทรศัพท มีความเหมาะสม การจัดสิ่ง อํานวยความสะดวก ตู ATM มีความเหมาะสม ตามลําดับ การทดสอบสมมติฐาน ผลการทดสอบ เพศของนักศึกษาที่แตกตางกันมีผลตอความพึงพอใจ ของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ แตกตางกันหรือไม พบวาเพศที่ตางกัน มี ระดับความพึงพอใจตอสภาพแวดลอม ไมแตกตางกัน สวนอายุของนักศึกษาที่แตกตางกันมีผลตอความ พึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ แตกตางกันหรือไม พบวาอายุของ นักศึกษาที่แตกตางกัน มีระดับความพึงพอใจตอสภาพแวดลอม ไมแตกตางกัน และกลุมการเรียนที่ แตกตางกันมีผลความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ พบวาแตกตาง กันในดานอาคารสถานที่ ดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล ดานสุภาภิบาล อนามัย และสิ่งแวดลอม และดานการบริหาร อยางนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อเปรียบเทียบเปนรายคู พบวาดานอาคาร สถานที่ นักศึกษาภาคสมทบค่ําและภาคสมทบเสาร-อาทิตย มีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมของ วิทยาลัยราชพฤกษ ดานอาคารสถานที่ แตกตางจากนักศึกษาภาคปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สวนดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล นักศึกษาภาคสมทบค่ําและภาคสมทบเสาร-อาทิตย มีความ พึงพอใจตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล แตกตางจาก นักศึกษาภาคปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สวนดานสุขาภิบาล อนามัยและสิ่งแวดลอม


50

นักศึกษาภาคสมทบเสาร-อาทิตย มีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานสุภาภิ บาล อนามัย และสิ่งแวดลอม แตกตางจากนักศึกษาภาคปกติ และนักศึกษาภาคสมทบค่ํา อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และดานการบริหาร นักศึกษาภาคสมทบเสาร-อาทิตย มีความพึงพอใจ ตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานการบริหาร แตกตางจากนักศึกษาภาคปกติ และนักศึกษา ภาคสมทบค่ํา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

การอภิปรายผล

ผลการวิจัย พบวาคุณลักษณะของกลุมตัวอยางกวาครึ่งเปนเพศหญิง นักศึกษาสวนใหญมีอายุ 21 ป หรือมากกวา นักศึกษาสวนใหญเปนกลุมการเรียนภาคปกติ รองลงมาคือ กลุมการเรียนภาคสมทบ เสาร-อาทิตย และกลุมการเรียนภาคสมทบค่ํา ตามลําดับ นักศึกษามี ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่ มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานอาคารสถานที่ภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ระดับ ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานบรรยากาศในการเรียน การสอนภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของ วิทยาลัยราชพฤกษ ดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคลภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ระดับความพึง พอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานสุขาภิบาล อนามัย และ สิ่งแวดลอมภาพรวมอยูในระดับปานกลาง และระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอม ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานการบริหารภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ไดมีความสอดคลองกับ มลิวัลย อารียสันติชัย (2544) ไดศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดสภาพแวดลอมในโรงเรียน โดย ภาพและองคประกอบ สถานที่ หองเรียน นักเรียน และ การจัดสภาพสิ่งแวดลอมทางวิชาการ อยูใน ระดับปาน กลาง เชนเดียวกับ ธนารีย เพ็ชรรัตน (2550) ไดศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาตอ สภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการสอน ของกองงานวิทยาเขตบางนา มหาวิทยาลัยรามคําแหง 3 ดาน คือ ดานอาคารสถานที่ ดานบรรยากาศที่เอื้อตอการศึกษา และดานปฏิสัมพันธระหวางบุคคล พบวา สภาพแวดลอมดานอาคารสถานที่ นักศึกษามีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการ สอนของกองงานวิทยาเขตบางนา มหาวิทยาลัยรามคําแหงในระดับปานกลาง ผลการทดสอบ เพศของนักศึกษาที่แตกตางกันมีผลตอความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอ สภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ แตกตางกันหรือไม พบวาเพศที่ตางกัน มีระดับความพึงพอใจตอ สภาพแวดลอม ไมแตกตางกัน สวนอายุของนักศึกษาที่แตกตางกันมีผลตอความพึงพอใจของนักศึกษาที่ มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ แตกตางกันหรือไม พบวาอายุของนักศึกษาที่แตกตางกัน มี


51

ระดับความพึงพอใจตอสภาพแวดลอม ไมแตกตางกัน และกลุมการเรียนที่แตกตางกันมีผลความพึง พอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ พบวาแตกตางกันในดานอาคารสถานที่ ดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล ดานสุภาภิบาล อนามัย และสิ่งแวดลอม และดานการบริหาร อยาง นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อเปรียบเทียบเปนรายคู พบวาดานอาคารสถานที่ นักศึกษาภาคสมทบ ค่ําและภาคสมทบเสาร-อาทิตย มีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานอาคาร สถานที่ แตกตางจากนักศึกษาภาคปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สวนดานมนุษยสัมพันธ ระหวางบุคคล นักศึกษาภาคสมทบค่ําและภาคสมทบเสาร-อาทิตย มีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอม ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล แตกตางจากนักศึกษาภาคปกติ อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สวนดานสุขาภิบาล อนามัยและสิ่งแวดลอม นักศึกษาภาคสมทบเสารอาทิตย มีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานสุภาภิบาล อนามัย และ สิ่งแวดลอม แตกตางจากนักศึกษาภาคปกติ และนักศึกษาภาคสมทบค่ํา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 และดานการบริหาร นักศึกษาภาคสมทบเสาร-อาทิตย มีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมของ วิทยาลัยราชพฤกษ ดานการบริหาร แตกตางจากนักศึกษาภาคปกติ และนักศึกษาภาคสมทบค่ํา อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ขอเสนอแนะ

1. ผูบริหารควรดําเนินการแกไขปญหาในเรื่องที่นักศึกษาสวนใหญเห็นควรปรับปรุง คือ ดาน หองน้ํา หองสวม ใหมีสะดวก ปลอดภัย และสุขลักษณะ 2. ผูบริหารควรหาแนวทางในการใหนักศึกษา ไดแสดงความคิดเห็นตอการสอนของอาจารยได อยางอิสระ 3. ผูบริหารควรจัดใหมีกิจกรรมรวมกันระหวางนักศึกษาตางคณะตางสาขาไดรวมกันทํากิจกรรม สรางความสัมพันธในหมูคณะนักศึกษา ใหความสามัคคี 4. ควรหาแนวทางในการใหบริการใหบริการแกนักศึกษาในดานความสะดวกสบายและรวดเร็ว 5. ควรปรับปรุงดานหองเรียนโดยจัดโตะ เกาอี้ใหเหมาะสมกับสภาพรางกาย และวัยเรียนของ ผูเรียน


บรรณานุกรม กมลทิพย เกตุวรสุนทร. (2542). สภาพแวดลอมสาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัย รามคําแหง ในทัศนะของนักศึกษาปริญญาโท. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคําแหง. กรมควบคุมมลพิษ. สุขาภิบาล อนามัยสิ่งแวดลอม. [ออนไลน]. เขาถึงดาจาก : http://www.pcd.go.th ( 15 ธันวาคม 2552). กิติมา ปรีดีดิลก. (2532). การบริหารและการนิเทศการศึกษาเบื้องตน. กรุงเทพฯ : อักษราพิพัฒน. โกวิท มัชฌิมา. (2550). การจัดสภาพแวดลอมของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา กาฬสินธุ เขต 2. ปริญญานิพนธ ค.ม. (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม. จรรยา ทะสูง และคณะ. (2546). รายงานการวิจัย เรื่องการศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพแวดลอม ภายในสถาบันราชภัฎมหาสารคาม. สถาบันราชภัฎมหาสารคาม. จินตนา กิ่งแกว. (2548). ความพึงพอใจของนักศึกษาตอสภาพแวดลอมของสถาบันเทคโนโลยี ราชมงคลวิทยาเขตจันทรบุร.ี มหาวิทยาลัยบรูพา. ทัศนีย สิงหเจริญ. (2543). ความพึงพอใจของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 1 ของโรงเรียนราชประชา นุเคราะห ในพระบรมราชูปถัมภ ตอวิธีการเรียนการสอนทางไกลผานดาวเทียม. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคําแหง. เทศ แกลวกสิกรรม. (2544). หลักการบริการโรงเรียนมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย รามคําแหง. ธงชัย สุวัฒนเมฆินทร. (2538). พฤติกรรมบุคคลในองคการ. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนา พานิช. ธนารีย เพชรรัตน. (2550). ความพึงพอใจของนักศึกษาตอสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการ เรียนการสอน ของกองงานวิทยาเขตบางนามหาวิทยาลัยรามคําแหง. ทุนอุดหนุนการ วิจัยมหาวิทยาลัยรามคําแหง.


53

ธรีวัฒน ยุวรรณะ. (2549). ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอการจัดการสภาพแวดลอมภายใน มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครรินทร. สาขาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏ ราชนครรินทร. นัฐญาพร ดุษดี. (2545). การศึกษาสภาพแวดลอมการจัดสิ่งแวดลอมในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดสระแกว. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). ชลบุรี : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. ถายเอกสาร. นัยนา อางสันติกุล. (2522). การวิเคราะหองคประกอบสภาพแวดลอมมหาวิทยาลัยไทย. วิทยานิพนธ ครุศาสตรมหาบัณฑิต. ภาควิชาวิจัยการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. พิมพันธ เดชะคุปต. (2533, ธันวาคม). “บรรยากาศการเรียนการสอน : ปจจัยสําคัญตอประสิทธิภาพ การสอน” วารสารมิตรครู 32. : 9-14. ไพฑูรย ศรีฟา. สุขาภิบาล อนามัยสิ่งแวดลอม. [Online]. เขาถึงดาจาก : http://srithai.hypermart.net / environment.html (สืบคนวันที่ 27 มีนาคม 2553). มลิวัลย อารียสันติชัย. (2544). ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดสภาพแวดลอมในโรงเรียน สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอรัตภูมิจังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธของมหาวิทยาลัย ทักษิณ. รงรอง พนธารา. (2550). ความพึงพอใจของชาวไรออยตอการบริการ ของฝายไร บริษัท น้ําตาลไทย เอกลักษณ จํากัด จังหวัดอุตรดิตถ ในทัศนะของนักศึกษาปริญญาโท. วิทยานิพนธรัฐ ประสานสนศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ. รุงนภา รุงเรืองศิลป. (2544). การมีสวนรวมของผูบริหารในการพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดลอมในโรงเรียน ประถมศึกษา สังกัดสํานักงานประถมศึกษาจังหวัดนนทบุรีการ. วิทยานิพนธ ศศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกริก. วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา. (2533). บุคลากรนิสิตนักศึกษา. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร. วิจิตร วรุตบางกูร. (2524). การวางแผนผังและพัฒนาสถาศึกษา. กรุงเทพฯ : ขนิษฐาการพิมพและ โฆษณา. วิจิตร ศรีสะอาน. (2516). หลักการอุดมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช. วิจิตร ศรีสะอาน. (2518). หลักการอุดมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.


54

วิระ ดวงแปน. (2544). ความพึงพอใจของนักศึกษาสภาพแวดลอมวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเขต ภาคตะวันออก. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). ชลบุรี : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. ถายเอกสาร. วิไล ตังทัตสวัสดิ์. (2536). สภาพแวดลอมของวิทยาลัยพยาบาลตํารวจในทัศนะของอาจารยและ นักศึกษาพยาบาล. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต. สาขาบริหารการศึกษา. บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ศิริกาญจน จันทรเรือง. (2543). การเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน. เชียงใหม : คณะธุรกิจ การเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ. สมชาย จําปานิล. (2545). การจัดสิ่งแวดลอมในโรงเรียนประถมศึกษาในสังกัดสํานักงานประถมศึกษา จังหวัดสุพรรณบุร.ี วิทยานิพนธ ศศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. สมหมาย ดอกไม. (2535). สภาพแวดลอมมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ในทัศนะของผูบริหาร อาจารยและ นักศึกษา. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต. สาขาการอุดมศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. สันต อูอรุณ. (2530). สภาพแวดลอมวิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี ในทัศนะของผูบริหาร อาจารย และนักศึกษา. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัย ศรีนครินทร วิโรฒ ประสานมิตร. สาธิต ดรุณศิลป. (2544). ศึกษาการจัดสภาพแวดลอมในการทํางานของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดพังงา. วิทยานิพนธของมหาวิทยาลัยทักษิณ. สําเนาว ขจรศิลป. (2539). มิติใหมของกิจการนักศึกษา 1 : พื้นฐานและบริการนักศึกษา. พิมพครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. สิปนนท เกตุทัต. (2523). แนวคิดในการสรางบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร. สิริน วรรธนะวิภาค. (2541). ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมในวิทยาลัยศรีปทุม. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). ชลบุรี : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. ถายเอกสาร. สิริอร วิชชาวุธ และคณะ. (2547). จิตวิทยาทั่วไป. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร.


55

เสนาะ ติเยาว. (2539). การบริหารงานบุคคล. พิมพครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการ ประถมศึกษาแหงชาติ. เหนียว ศีลาวงศ. (2545). ความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมทางการเรียนของนักศึกษาวิทยาลัย วิทยาศาสตรพื้นฐาน. ปริญญานิพนธการศึกษาบัณฑิต. (การบริหารการศึกษา). ชลบุรี : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. ถายเอกสาร. อนันต เลาหทวีกูล. (2544). ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดสิ่งแวดลอมในโรงเรียน ระยอง วิทยาคม อําเภอเมือง จังหวัดระยอง. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต. (การบริหาร การศึกษา). ชลบุรี : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. ถายเอกสาร. อรรณพ คุณพันธ. (2522). การสรางแบบสํารวจจําแนกสภาพแวดลอมมหาวิทยาลัยไทย. วิทยานิพนธ มหาบัณฑิต. สาขาวิจัยการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อรพันธ ประสิทธิรัตน. (2533). การศึกษาสภาพแวดลอมทางการเรียนของนิสิต คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนทรวิโรฒ. กรุงเทพมหนคร : มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ. อรพันธ ประสิทธิรัตน. (2533). รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษาสภาพแวดลอมทางการเรียนนิสิตคณะ ศึกษาสตร มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ บางเขน. กรุงเทพมหนคร : มหาวิทยาศรีนครินทร วิโรฒ. อุทัยพรรณ สุดใจ. ความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมทางการเรียน. [ออนไลน]. เขาถึงดาจาก : http:// www.ku.ac.th/news/grate/social.htm. (สืบคนวันที่ 27 กุมภาพันธ 2553).


ภาคผนวก


57

แบบสอบถาม เรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ คําชี้แจง แบบสอบถามฉบับนี้วัตถุประสงคเพื่อทราบระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอ สภาพแวดลอมของวิทยาลัยราชพฤกษ โดยตองการนําผลการวิจัยไปเปนขอมูลในการวางแผนปรับปรุง พัฒนา สภาพแวดลอมทางการศึกษาใหมีบรรยากาศทางวิชาการที่มีคุณภาพตอการเรียนรูของนักศึกษา ขอไดโปรดสละ เวลาตอบแบบสอบถามที่ตรงกับความเปนจริงและความคิดเห็นของนักศึกษามากที่สุด เพราะคําตอบ ของ นักศึกษาจะเปนความลับและไมมีผลกระทบใด ๆ ตอการเรียนของนักศึกษา แบบสอบถามฉบับนี้แบงเปน 2 ตอน ตอนที่ 1 ขอมูลสภาพภูมิหลังของนักศึกษา ตอนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับสภาพแวดลอมทั้ง 5 ดาน

ตอนที่ 1 ขอมมูลสภาพภูมิหลังของนักศึกษา โปรดใสเครื่องหมาย ลงในชอง ย ที่ตรงกับความเปนจริงของศึกษา เพศ √ 1. ชาย ย 2. หญิง อายุ √  1. 20 ป หรือนอยกวา ย  2. 21 ป หรือมากกวา คณะ  1. กลุมการเรียนภาคปกติ √  2. กลุมการเรียนภาคสมทบค่ํา  3. กลุมการเรียนภาคสมทบเสาร-อาทิตย


58 ตอนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับสภาพแวดลอม โปรดใสเครื่องหมาย ลงในชองที่ตรงกับระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอม วิทยาลัยราชพฤกษ

ดานอาคารสถานที่ 1. การจัดหองเรียนมีความเหมาะสมในการเรียนการสอน 2. อุปกรณสื่อการสอนในหองเรียนมีความเหมาะสม 3. การใชสื่อโทรทัศนวงจรปดและระบบเสียงในหองเรียนมี เหมาะสม 4. โตะ-เกาอี้ ภายในหองเรียน มีความเหมาะและเพียงพอ 5. โตะ-เกาอี้ ภายในหองเรียน มีความเพียงพอ 6. การถายเทอากาศภายในหองเรียนมีความเหมาะสม 7. แสงสวางในหองเรียนมีความเหมาะสมในการเรียน 8. หองน้ํา หองสุขา และโถปสสาวะ มีจํานวนเพียงพอ 9. หองน้ําสะอาดและถูกสุขอนามัย 10. สภาพพื้นที่ของโรงอาหารมีความเหมาะสม 11. การปองกันมลพิษตางๆ ของโรงอาหาร เชน กลิ่น ควัน ฝุน ละออง มีความเหมาะสม 12. บริเวณและที่นั่งรับประทานอาหารมีความสะอาด 13. อาหารและน้ําดื่มมีความสะอาด 14. การจัดการสิ่งอํานวยความสะดวกดานระบบไฟฟา-ประปา ของวิทยาลัย มีความเหมาะสม

มาก ที่สุด

ระดับความพึงพอใจ มาก ปาน นอย นอย กลาง ที่สดุ


59

ดานบรรยากาศในการเรียนการสอน 1. การจัดพื้นที่พักผอนหยอนใจและสภาพภูมิทัศน มีความรมรื่น เปนสัดสวน เหมาะสม 2. จํานวนโตะ-มานั่ง เพื่อการดูหนังสือและการนั่งทบทวนเรียนมี ความเหมาะสม 3. การเผยแพร ขอมูล ขาวสาร การศึกษา โดยการประชาสัมพันธ เสียงตามสาย มีความเหมาะสม 4. การจัดทําเอกสาร แผนพับ เพื่อเผยแพรขอมูล ขาวสาร การศึกษา มีความเหมาะสม 5. บรรยากาศในหองสมุดมีความเหมาะสม 6. หนังสือในหองสมุดมีเพียงพอ 7. หนังสือในหองสมุดมีความทันสมัย 8. ที่นั่งทํางาน/อานหนังสือในหองสมุด มีความเหมาะสม 9. การจัดเวรบามดูแลความปลอดภัยชีวิตและทรัพยสินของ นักศึกษามีความเหมาะสม 10. การจัดระบบการจราจรมีความเหมาะสม 11. การจัดการดานปญหามลพิษสิ่งแวดลอม เชน ขยะ น้ําเสีย ฝุน ละออง และอื่นๆ มีความเหมาะสม 12. การจัดสิ่งอํานวยความสะดวก ตู ATM มีความเหมาะสม 13. การจัดสิ่งอํานวยความสะดวก ตูโทรศัพท มีความเหมาะสม 14. การจัดบริเวณพื้นที่เพื่อการออกกําลังกาย มีความเหมาะสม

มาก ที่สุด

ระดับความพึงพอใจ มาก ปาน นอย นอย กลาง ที่สดุ


60

ดานมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล 1. การจัดกลุมกิจกรรมวิชาการ มีความเหมาะสม 2. การแลกเปลี่ยนความรู ความคิด ทางวิชาการอยางอิสระกับ เพื่อนนักศึกษา 3. การชวยเหลืองานดานการเรียนกับกลุมเพื่อน 4. ความรูสึกอบอุน และเปนมิตรจากเพื่อนนักศึกษา 5. ระเบียนวินัยและมารยาทในหองเรียนของเพื่อนนักศึกษา มี ความเหมาะสม 6. อาจารยผูสอนมีความเปนกันเองกับนักศึกษา 7. อาจารยผูสอนเปดโอกาสใหซักถาม 8. การบริการจากเจาหนาที่หองสมุด มีความเหมาะสม 9. การบริการเจาหนาที่ดานบริการการศึกษา มีความเหมาะสมมี ความเหมาะสม 10. การบริการจากเจาหนาที่ดานบริการศึกษา มีความเหมาะสม 11. การบริการจากเจาหนาที่รักษาความปลอดภัย ดูแลตรวจตรา ความเรียบรอย ความปลอดภัย ใหนักศึกษา มีความเหมาะสม 12. การบริการจากเจาหนาที่ประจําหองเรียน ดูแล ทําความสะอาด อํานวยความสะดวก ใหนักศึกษา มีความเหมาะสม

มาก ที่สุด

ระดับความพึงพอใจ มาก ปาน นอย นอย กลาง ที่สดุ


61

ดานสุขาภิบาล อนามัย และสิ่งแวดลอม

1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

หองน้ํา หองสวม หองน้ํา หอมสวม มีความสะอาดถูกสุขลักษณะ หองน้ํา หองสวม มีถังขยะ มีฝาปดมิดชิด แสงสวางในหองน้ํา หองสวมมีเพียงพอ หองน้ํา หองสวม อยูใกลกับอาคารเรียน จํานวนหองเรียน หองสวม มีเพียงพอความตองการ โรงอาหาร โรงอาหารมีความสะอาดถูกสุขลักษณะ อาหารมีความสะอาด ความสะอาดของภาชนะใสอาหาร โรงอาหารมีถังขยะเพียงพอ การกําจัดการของเสียของโรงอาหารถูกสุขลักษณะ ความเพียงพอของโตะรับประทานอาหาร แสงสวางในโรงอาหารมีเพียงพอ โรงอาหารมีสุนัข แมว การใหบริการของผูขายอาหารกับนักศึกษา

มาก ที่สุด

ระดับความพึงพอใจ มาก ปาน นอย นอย กลาง ที่สดุ


62

ดานการบริหาร

มาก ที่สุด

ระดับความพึงพอใจ มาก ปาน นอย นอย กลาง ที่สดุ

1. นักศึกษามีเสรีภาพในการแสดงความเห็นเกี่ยวกับบริหารของ สถาบัน 2. ผูบริหารและอาจารยมักจะรับฟงความคิดเห็นของนักศึกษา 3. สถาบันเปดโอกาสใหนักศึกษามีสวนรวมในการกําหนด กฏ ระเบียบตาง ๆ ของสถาบัน ฯ 4. กฏ ระเบียบตางๆ ของสถาบันฯ ที่ใชกับนักศึกษาไมเครงครัด เกินไป 5. ผูบริหารเปดโอกาสใหนักศึกษาเขาพบเพื่อปรึกษาหารืออยู เสมอ

ขอขอบคุณที่กรุณาตอบแบบสอบถามทุกขอ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.