52-5ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์

Page 1

รายงานการวิจัย เรื่อง ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ The Satisfaction of students’ Using Building and Area of Ratchaphruek College

โดย นางสาวประภัสสร กิตติมโนรม

การวิจัยครั้งนี้ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากวิทยาลัยราชพฤกษ ปการศึกษา 2552


รายงานการวิจัย เรื่อง ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ The Satisfaction of students’ Using Building and Area of Ratchaphruek College

โดย นางสาวประภัสสร กิตติมโนรม

การวิจัยครั้งนี้ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากวิทยาลัยราชพฤกษ ปการศึกษา 2552 ปที่ทําวิจัยเสร็จสิ้น 2553


ชื่อโครงการวิจัย ชื่อผูวิจัย ปที่ทําการวิจัย 255

ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ นางสาวประภัสสร กิตติมโนรม 3

บทคัดยอ การศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจตอ การใชอาคารและสถานที่ของ นักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ 1) เพื่อศึกษาการใชประโยชนอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ 2) เพื่อศึกษาสภาพการใชอาคาร และสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใชอาคารและสถานที่ของ นักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ ขอมูลที่ใชศึกษาไดจากนักศึกษาระดับปริญญาตรีของวิทยาลัยราชพฤกษทั้งสามกลุมการเรียน คือ กลุมการเรียนปกติ กลุมการเรียนภาคสมทบค่ํา และกลุมการเรียนภาคสมทบเสาร-อาทิตย ประจําป การศึกษา 2552 ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2552 จํานวน 341 ราย คํานวณกลุมตัวอยางจากจํานวนประชากร จํานวน 2,287 คน โดยใชตารางของทาโร ยามาเน ณ ระดับความเชื่อมั่นที่ 95% ใชวิธีการสุมตัวอยาง ชนิดอาศัยความนาจะเปน ( Probability Sampling) แบบ Stratified Sampling โดยแบงประชากรที่ แตกตางกันในเรื่อง กลุมการเรียน วิเคราะหขอมูลดวยสถิติ คารอยละ คาความถี่ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบน มาตรฐาน ในการทดสอบความแตกตางของเพศนักศึกษาโดยใชสถิติ t- test และใชวิธีวิเคราะหความ แปรปรวนทางเดียว (One – way Analysis of Variance) สําหรับชั้นปและคณะที่สังกัด หลังจากนั้นทํา การทดสอบรายคูดวยวิธี Least Square Difference (LSD) ผลจากการวิจัยพบวา 1) สถานภาพของกลุมตัวอยาง สวนใหญเปนเพศหญิงมากกวาเพศชาย สวนใหญกําลังศึกษาอยูในชั้นปที่ 1 ในคณะบริหารธุรกิจ 2) นักศึกษามีการใชประโยชนจากอาคารและ สถานที่ของวิทยาลัยพฤกษในภาพรวมอยูในระดับนอย เมื่อพิจารณาในรายละเอียด พบวา นักศึกษาใช ประโยชนอาคารและสถานที่อยูในระดับมากเพียงดานเดียว คือ หองเรียน ที่เหลืออยูระดับนอย 3) นักศึกษาใหคะแนนสภาพการใชอาคารและสถานที่ในภาพรวมอยูในระดับไมสมบูรณแตพอใชการได เมื่อพิจารณาในรายละเอียด พบวา หองเรียนอยูสภาพการใชงานสมบูรณใชการไดดี ที่เหลืออยูในสภาพ การใชงานไมสมบูรณแตพอใชการได และ 4) นักศึกษามีความพึงพอใจในการใชอาคารและสถานที่ ของวิทยาลัยราชพฤกษในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาในแตละดานโดยเรียงลําดับจาก


คาเฉลี่ยมากลงมา หองประชุมและหองสัมมนา การรักษาความปลอดภัยภายในวิทยาลัยราชพฤกษ อาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน หองปฏิบัติการ หองคอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ หอง กิจกรรม สถานที่ออกกําลังกาย และนันทนาการ สํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอร บริการ การจัดสภาพแวดลอมและระบบสาธารณูปโภคของวิทยาลัย โรงอาหารหรือสถานที่รับประทาน อาหาร และบริเวณสถานศึกษา ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา การเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการใชอาคาร และสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ จําแนกตามเพศ ชั้นป และคณะที่สังกัด เปนไปตามสมมติฐานที่ตั้ง ไว คือ นักศึกษาที่มีสถานภาพแตกตางกันมีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราช พฤกษแตกตางกัน


Project:

The Satisfaction of students’ Using Building and Area of Ratchaphruek College

Research:

MISS PRAPATSORN KITTIMANOROM

Year:

2010

Abstract The purpose of this research were 1) to study the efficiency of using building and area of Ratchaphruek College, 2) to determine working condition of building and area of Ratchaphruek College, and 3) to identify the level of students’ satisfaction of using building and are of Ratchaphruek College. The population of this research was students in academic year 2009, who were studying at Bachelor’ degree at Ratchaphruek College in 3 group of study: normal program, night program, and weekend program. The research sample consisted of 341 samples that calculated from Yamane formula with 95% confidential interval. The stratified sampling method was used to random sampling. The data was analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and One – way Analysis of Variance with Least Square Difference (LSD). The results of this research were found that 1) most respondents were female and studying in freshman year in faculty of business administration. 2) Students were overall using building and area of Ratchaphruek College at low level. However, using classroom was the only factor that students were using building and area of Ratchaphruek College at high level. 3) Students were scored the condition of building and area of Ratchaphruek College at incomplete level, but fairly used. However, classroom condition was the only factor in high condition. 4) Students had overall satisfied at medium level. The results of testing hypothesis were found that comparing the level of students’ satisfaction was divided into sex, year of study, and faculty. Student that had difference status had differently satisfied of using building and area of Ratchaphruek College at .05 significant level.


กิตติกรรมประกาศ การวิจัยเรื่อง ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ ฉบับนี้สําเร็จสมบูรณไดดวยความอนุเคราะหจากบุคคลหลายทาน ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณ ดร.อณาวุฒิ ชูทรัพย อธิการบดี และ อาจารยสันธยา ดารารัตน รองอธิการบดีฝายบริหาร และคณะกรรมการการวิจัยวิทยาลัยราชพฤกษ ที่ไดใหโอกาสและทุน สนับสนุนในการทําวิจัย ขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร.ลัดดาวัลย เพชรโรจน ที่ให ความชวยเหลือ คําแนะนําในการทําวิจัย การจัดทํารายงานครั้งนี้จะสําเร็จลงไมได หากไมไดรับความรวมมือและความอนุเคราะห จากผูตอบแบบสอบถามทุกทาน ที่กรุณาเสียสละเวลาอันมีคาในการตอบแบบสอบถาม ทําใหไดรับ ขอมูลที่สมบูรณ และครบถวน นางสาวประภัสสร กิตติมโนรม กันยายน 2553


สารบัญ

หนา บทคัดยอภาษาไทย..................................................................................................................... ก บทคัดยอภาษาอังกฤษ................................................................................................................ ค กิตติกรรมประกาศ..................................................................................................................... ง สารบัญ....................................................................................................................................... จ สาบัญตาราง............................................................................................................................... ช บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา.................. ............................................. 1 1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย.................................................................................... .. 2 1.3 สมมติฐานของการวิจัย................................................... ....................................... 2 1.4 ขอบเขตของการวิจัย........................................................................... ................... 3 1.5 ระยะเวลาดําเนินการวิจัย.............................................................................. 3 1.6 สถานที่ทําการวิจัย................................................................................................. 3 1.7 นิยามศัพทเฉพาะ.................................................................................................. 4 1.8 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย................................................................ 4 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 วิทยาลัยราชพฤกษ...................................................................................... 5 2.2 ความสําคัญของการบริหารงานอาคารสถานที่................................................. 9 2.3 การจัดการอาคารสถานศึกษา....................................................................... 14 2.4 การใชประโยชนอาคารสถานที่.................................................................... 22 2.5 การบํารุงรักษาอาคารสถานที่....................................................................... 26 2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวของ..................................................................................... 28


สารบัญ (ตอ)

หนา

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง................................................................................... 3.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย....................................................................................... 3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล.......................................................................................... 3.4 การวิเคราะหขอมูล...............................................................................................

31 32 32 33

4 ผลการวิเคราะหขอมูล 4.1 การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพของกลุมตัวอยาง........................................ 4.2 ลักษณะการใช ประโยชนอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ... 4.3 สภาพการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ.......................... 4.4 ความพึงพอใจในการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ....... 4.5 การทดสอบสมมติฐาน..........................................................................................

36 38 40 41 51

การทดสอบสมมติฐาน 5 สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการวิจัย..................................................................................................... 68 5.2 อภิปรายผล........................................................................................................... 74 5.3 ขอเสนอแนะ........................................................................................................ 77 เอกสารอางอิง............................................................................................................................. 70 ภาคผนวก.................................................................................................................................... 82


สารบัญตาราง

ตารางที่ 1 2 3 4 5

หนา

จํานวนและรอยละ จําแนกตามเพศ................................................................................. จํานวนและรอยละ จําแนกตามชั้นป............................................................................... จํานวนและรอยละ จําแนกตามสังกัดคณะที่สังกัด......................................................... การใชประโยชนอาคารและสถานที่.............................................................................. สภาพการใชอาคารและสถานที่.....................................................................................

36 36 37 38 40

6 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ภาพรวม............... 7 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานอาคารเรียน อาคารประกอบ................................................................................................. 42 8 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานหองเรีย หองปฏิบัติการ หองคอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ............................................... 9 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานบริเวณ สถานศึกษา…………………………........................................................................... 10 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานสํานักหอสมุด และหองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ..................................................................... 11 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานโรงอาหาร หรือสถานที่รับประทานอาหาร.................................................................................... 12 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานหองประชุม และหองสัมมนา........................................................................................................... 13 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานหองกิจกรรม สถานที่ออกกําลังกาย และนันทนาการ........................................................................ 14 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานการจัด สภาพแวดลอม และระบบสาธารณูปโภคของวิทยาลัย................................................ 15 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานการรักษาความ ปลอดภัยภายในวิทยาลัย.....................................................................................

41

43 44 45 46 47 48 49 50


สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ 16 การทดสอบ เพศที่แตกตางกันสงผลตอระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและ สถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ...................................................................................... 17 การทดสอบ ชั้นปที่แตกตางกันสงผลตอระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและ สถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ..................................................................................... 18 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานอาคารเรียน อาคารประกอบ.................................................................. 55 19 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานหองเรียน หองปฏิบัติการหองคอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ................ 20 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานบริเวณสถานศึกษา............................................................................. 56 21 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานสํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ.............................. 22 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานการจัดสภาพแวดลอมและระบบสาธารณูปโภคของวิทยาลัย........................ 23 การทดสอบ คณะที่สังกัดที่แตกตางกันสงผลตอระดับความพึงพอใจตอการใชอาคาร และสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ............................................................................... 24 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานอาคารเรียน อาคารประกอบ................................................................... 60 25 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานหองเรียน หองปฏิบัติการหองคอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ................. 26 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานบริเวณสถานศึกษา............................................................................... 61

หนา

51 53

55

56 57 58

60


สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่

หนา

27 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานสํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ.............................. 62 28 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานโรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร……....................................... 62 29 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานหองประชุมและหองสัมมนา........................................................................ 63 30 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานหองกิจกรรม สถานออกกําลังกาย และนันทนาการ.................................. 64 31 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานการจัดสภาพแวดลอมและระบบสาธารณูปโภคของวิทยาลัย....................... 65 32 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานสํานักการรักษาความปลอดภัยภายในวิทยาลัย........................................... 66


บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา การศึกษาเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษยเปนสวนสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศ และการพัฒนาประเทศจะสําเร็จดวยดีขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ ที่สําคัญที่สุดประการ หนึ่ง คือ การศึกษา การศึกษามีหนาที่พัฒนาคนเพื่อนําความรูที่ไดรับไปประยุกตใชในการพัฒนา ประเทศ ประชากรที่มีคุณภาพสูง คือ ผูที่มีการศึกษาสูง มีความรู ทักษะและความสามารถที่จะนํา ความรูที่ไดรับไปประยุกตใชในการปฏิบัติหนาที่การงานตามอาชีพของตนไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้นสถาบันการศึกษา และการศึกษาจึงเปนพื้นฐานของความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศ อาคารและสถานที่จัดไดวาเปนองคประกอบหนึ่งของสถานศึกษาที่สําคัญเปนอยางยิ่ง ที่จะชวยใหการเรียนการสอนดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้นหากผูบริหาร สถาบันการศึกษารวมทั้งผูเรียนมุงหวังใหการเรียนการสอนบรรลุผลอยางสมบูรณและ มีประสิทธิภาพนั้น จําเปนอยางยิ่งที่จะตองจัดอาคารสถานที่ของสถานศึกษาใหอยูในสภาพที่ดี มีปริมาณเพียงพอตอจํานวนผูเรียน ไมวาจะเปนหองเรียน หองปฏิบัติการ หองสมุด หอง คอมพิวเตอร หองประชุม หรือแมกระทั่งหองอาหารก็ตาม ควรมีสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ อยาง พอเพียง เชน บันไดขึ้นลง โตะเกาอี้ หองสวม แมกระทั่งระบบปองกันเพลิงไหม และสัญญาณเตือน ภัยตางๆ รวมไปถึงสภาพแวดลอมภายนอก เชน ทางเดินระหวางตึก ที่นั่งรอระหวางเรียน เปนตน เพื่อเอื้อประโยชนตอกิจกรรมการเรียนการสอนใหมากที่สุด อาคารและสถานที่ของสถาบัน การศึกษามีความสําคัญและมีอิทธิพลตอผูใชงานเปนอยางมาก การวางแผนดานการจัดการอาคาร และสถานที่จึงที่เปนปจจัยที่สําคัญอยางหนึ่งที่ชวยใหสถานศึกษาดําเนินงานไดโดยสะดวก ดังนั้น ผูบริหารจึงจําเปนตองใหความสําคัญตองานดานนี้ไมนอยไปกวาดานอื่นๆ ภายในสถานศึกษา เพราะเปนแหลงที่ชวยสนับสนุนการเรียนรูของผูเรียนและการสอนของครูผูสอนใหเปนแหลง ถายทอดวิทยาการของชุมชน งานบริหารอาคารสถานที่จึงเปนงานที่สําคัญที่ผูบริหารตองพิจารณา พินิจวิเคราะหและบริหารใหเกิดประโยชนสูงสุด (กรมสามัญศึกษา, 2540) ทีมผูบริหารวิทยาลัยราชพฤกษไดเล็งเห็นความสําคัญของการจัดการอาคารและ สถานที่เปนอันมาก ดังจะเห็นไดจากการวางแผนการกอสรางอาคารหลังแรกที่มีชื่อวา อาคารเฉลิม พระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป เปนอาคารเรียน 5 ชั้น ประกอบไปดวยหองเรียนที่ทันสมัย มีหองปฏิบัติการเฉพาะสาขาวิชาที่พรอมดวยอุปกรณในการสอนและสิ่งอํานวยความสะดวกที่


2

เพียบพรอมและเพียงพอตอความตองการที่เพิ่มขึ้น นอกจากอาคารเรียนที่ทันสมัยแลว ทางวิทยาลัย ไดสรางอาคารกิจการนักศึกษาเพื่อสงเสริมใหนักศึกษาใชเวลาวางใหเกิดประโยชนดวยการทํา กิจกรรมที่หลากหลายตามความสามารถของนักศึกษา เชน กิจกรรมกีฬา กิจกรรมดนตรี กิจกรรม วิชาการ เปนตน เพื่อฝกใหนักศึกษามีกิจกรรมที่แสดงออกถึงความเปนผูนําผูตามที่ดี และเพื่อ รองรับนักศึกษาในการเรียนรูแบบบูรณาการทั้งดานการศึกษาคนควา และการปฏิบัติจริง นอกจากนี้ ภายในวิทยาลัยมีสวนพักผอน ศาลาไทย สระบัว ตามบริเวณหนาอาคารเรียน เพื่อสงเสริม สภาพแวดลอมที่เหมาะสมแกการเรียนรูของนักศึกษาทุกพื้นที่ของวิทยาลัยอีกดวย (วิทยาลัยราช พฤกษ, 2553) ความสําคัญของการบริหารอาคารสถานที่จะมีประสิทธิภาพได จะตองศึกษา ความพึง พอใจของนักศึกษาใน ปจจุบันของปญหาและความตองการ การวางแผน การดําเนินการตามแผน และการประเมินผล เชนเดียวกับการบริหารงานอื่นๆ (เปยมศักดิ์ เหลาอัน, 2546) เพื่อการวางแผน ดานการบริหาร การจัดการอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดังนั้น ผูศึกษาจึงเกิดความ สนใจที่จะศึกษาในเรื่องความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ เพื่อศึกษาการใช ประโยชนของอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใชอาคาร และสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ และเพื่อนําขอมูลที่ไดมาใชเปนแนวทางปรับปรุง แกไข และวางแผนการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษเพื่อใหเกิด ความพึงพอใจสูงสุด ตอการใชงานตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาการใชประโยชนอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ 2. เพื่อศึกษาสภาพการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัย ราชพฤกษ สมมติฐานการวิจัย สภานภาพนักศึกษา ที่แตกตางกันสงผลตอระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและ สถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษแตกตางกัน


3

ขอบเขตของการวิจัย 1. ขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยาง 1.1 ประชากรในการวิจัย ไดแก นักศึกษาระดับปริญญาตรีของวิทยาลัยราชพฤกษ ทั้งสามกลุมการเรียนคือ กลุมการเรียนปกติ กลุมการเรียนภาคสมทบค่ํา และกลุมการเรียนภาค สมทบเสาร-อาทิตย ประจําปการศึกษา 2552 ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2552 จํานวน 2,287 คน (ที่มา: งาน ทะเบียนและวัดผล 1 ธันวาคม 2552) 1.2 กลุมตัวอยาง ในการวิจัย ไดแก นักศึกษาระดับปริญญาตรีของวิทยาลัยราช พฤกษทั้งสามกลุมการเรียนคือ กลุมการเรียนปกติ กลุมการเรียนภาคสมทบค่ํา และกลุมการเรียน ภาคสมทบเสาร-อาทิตย ประจําปการศึกษา 2552 คือ คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตร และคณะวิทยาศาสตร ดวยวิธีการสุมตัวอยางแบบแบงชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) คํานวณกลุมตัวอยางจากจํานวนประชากร โดยใชตารางของทาโร ยามาเน ณ ระดับความเชื่อมั่นที่ 95% ดังนั้นกลุมตัวอยางจะมีจํานวนทั้งสิ้น 341 คน 2. ขอบเขตดานเนื้อหา การศึกษาครั้งนี้ครอบคลุมถึงเรื่องความพึงพอใจตอการใช อาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ ไดแก สภาพการใชอาคารและสถานที่ การใช ประโยชนอาคารและสถานที่ และความพึงพอใจตอการใชอาคารสถานที่ ซึ่งตัวแปรที่ใชในการวิจัย ประกอบดวย 2.1 ตัวแปรอิสระ คือ ขอมูลพื้นฐานของนักศึกษา ไดแก เพศ ชั้นป สาขาวิชาและ คณะที่สังกัด 2.2 ตัวแปรตาม คือ สภาพการใชอาคารและสถานที่ การใชประโยชนอาคารและ สถานที่ และความพึงพอใจตอการใชอาคารสถานที่ ระยะเวลาดําเนินการวิจัย ผูวิจัยใชระยะเวลาดําเนินการวิจัย 2553

4 เดือน เริ่มตั้งแตเดือนเมษายน ถึง เดือน กรกฎาคม

สถานที่ทําการวิจัย สถานที่ดําเนินการศึกษา คือ วิทยาลัยราชพฤกษ ถนนนครอินทร ตําบลบางขนุน อําเภอ บางกรวย จังหวัดนนทบุรี


4

นิยามศัพทเฉพาะ 1. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกสวนบุคคลในเชิงบวกของ นักศึกษาที่มีตอการ ใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ ความรูสึกพึงพอใจจะมีมากหรือนอยนั้น จะ ขึ้นอยูกับความตองการของบุคคลและปจจัยอื่นๆ ที่สงผลตอความพึงพอใจ 2. อาคาร หมายถึง อาคารหรือสิ่งกอสราง ที่ใชในการเรียนการสอน และเพื่อการ เรียนรูในวิทยาลัยราชพฤกษ ประกอบดวย อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ และโรงอาหาร 3. สถานที่ หมายถึง สิ่งที่จัดทําขึ้นเพื่อสงเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอนตาม หลักสูตร รวมถึงมุงสนองความสะดวกและความตองการของนักศึกษาในวิทยาลัยราชพฤกษ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย 1. ไดขอมูลพื้นฐานของการใชประโยชนของอาคารและสถานที่ของวิทยาลัย ราชพฤกษ 2. ทราบความพึงพอใจในการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ 3. นําขอมูลที่ไดมาใชเปนแนวทางปรับปรุงแกไข และวางแผนการใชอาคารและ สถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดตอการใชงาน


บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ การศึกษาเรื่องความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราช พฤกษผูศึกษาไดทําการศึกษาคนควาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี ตลอดจนผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อ เปนกรอบในการศึกษาดังนี้ 1. วิทยาลัยราชพฤกษ 2. ความสําคัญของการบริหารงานอาคารสถานที่ 3. การจัดการอาคารสถานศึกษา 4. การใชประโยชนอาคารสถานที่ 5. การบํารุงรักษาอาคารสถานที่ 6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ 1. วิทยาลัยราชพฤกษ วิทยาลัยราชพฤกษตั้งอยูบนถนนนครอินทร ตําบลบางขนุน อําเภอบางกรวย จังหวัด นนทบุรี เปนสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาสถาบันที่ 9 ของสถาบันในเครือตั้งตรงจิตร ที่เกิด จากปณิธานของทานอาจารย ดร.กมล ชูทรัพย ผูกอตั้งสถาบันในเครือตั้งตรงจิตรดวยจุดมุงหมาย ตองการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ใหแกเยาวชนไดมีโอกาสทางการศึกษาที่สูงขึ้นและดวย ความตั้งใจอันมุงมั่นของทาน อาจารย ดร.วิภาพรรณ ชูทรัพย ประธานคณะกรรมการ บริหาร สถาบัน ในเครือตั้งตรงจิตรที่ตองการสานตอเจตนารมณของทานผูกอตั้งสถาบันใน เครือฯ ตั้ง ตรงจิต ดวยการผลักดันใหเกิดวิทยาลัยราชพฤกษสถาบันแหงการเรียนรูยุคใหมที่พรอมผลิตบัณฑิต ใหเปนผูที่มีทักษะความรู ความชํานาญในแตละวิชาชีพ สรางคนดี มีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม และ สงเสริมใหนักศึกษาเปนผูเชี่ยวชาญในภาษาตางประเทศเพื่อเปนทรัพยากรบุคคลที่ทรงคุณคา ของสังคมไทย (วิทยาลัยราชพฤกษ, 2553) วิทยาลัยราชพฤกษ เปนสถาบันแหงการเรียนรูยุคใหมมีความมุงมั่นที่จะผลิตบัณฑิต ใหเปนคนเกงมีความรู ทักษะ ความชํานาญ ในแตละสาขาวิชา สรางคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม และ สามารถอยูในสังคมอยางมีความสุข โดยบัณฑิตตองเปนบุคคลที่มุงมั่นจะเรียนรูและพัฒนาตนเอง อยูตลอดเวลา เพื่อนําความรู ความสามารถ เปนกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศชาติ ดังปรัชญา ของวิทยาลัยที่วา “สถาบันแหงการเรียนรูยุคใหม คุณภาพ คุณธรรม นําหนาสูสากล” 0


6

1.1 วัตถุประสงคของวิทยาลัยราชพฤกษ 1.1.1 เพื่อเปนสถาบันอุดมศึกษาที่มุงจะเปนสถาบันแหงการเรียนรูยุคใหม พรอมผลิตบัณฑิตที่จะเรียนรูและพัฒนาตนเองตลอดเวลา 1.1.2 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรูในวิชาการและมีความสามารถในการปฏิบัติ โดยเฉพาะอยางยิ่งการนําความรูใหม ๆ และเทคโนโลยีที่กาวหนามา ใชในการพัฒนาสังคม และ เศรษฐกิจของประเทศ 1.1.3 เพื่อพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานในวิชาชีพตาง ๆ ใหมีการ ศึกษาเพิ่ม เติมในระดับปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก และมีความรู ทักษะ ความชํานาญไปพัฒนา งานของตนใหดียิ่งขึ้นอันจะนําไปสูความสําเร็จในวิชาชีพ 1.1.4 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม มีวินัยในการทํางาน มีความเชื่อมั่นใน ตนเอง คิดเปนทําเปน และแกปญหาเปนมีความสํานึกในจรรยาบรรณวิชาชีพ รวมทั้งใหมีความ รับผิดชอบตอหนาที่และสังคม 1.1.5 เพื่อสงเสริมการคนควาวิจัยในสาขาวิชาตาง ๆ เพื่อความกาวหนาทาง วิชาการ และเพื่อประโยชนในการนําไปใชในการพัฒนาสังคม และพัฒนาประเทศชาติ 1.1.6 เพื่อเปนศูนยกลางการใหบริการทางวิชาการแกสังคมและเผยแพร ความรูดานตาง ๆ ใหแกชุมชนทองถิ่น 1.1.7 เพื่อสงเสริมและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม รวมสืบสานมรดกทาง วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมอันดีงามเพื่อดํารงไวซึ่งความเปนเอกลักษณของชาติไทย 1.2 ตราสัญลักษณและความหมายของตราสัญลักษณประจําวิทยาลัยราชพฤกษ

ความหมายของเครื่องหมายวงกลม หมายถึง องคความรูที่เกิดปญญาในการพัฒนา ทักษะวิชาชีพซึ่งเปนพลวัตรสรางสรรคคุณคาตอสังคม และประเทศชาติอยางไมหยุดยั้งรูปหนังสือ แฉกมีความหมายได 3 ประการ คือ หนังสือเปรียบเหมือนสรรพวิชาตาง ๆ แสงสวางเจิดจาเปรียบ เหมือนการพัฒนาปญญาอยางตอเนื่อง และ กิ่งกานของตนราชพฤกษเปรียบเสมือนความเปนมงคล ความดีงาม ความมีเกียรติ มีศักดิ์ศรี 1

1

1


7

สรุปความหมายรวมของตราสัญลักษณ คือ “ความสวางเจิดจาในสรรพวิชาตางๆ ที่ พัฒนาอยางไมหยุดยั้งและจรรโลงไวซึ่งคุณธรรมประจําตน” 1.3 คํายอของวิทยาลัยราชพฤกษและความหมาย RCC เปนคํายอของวิทยาลัยราชพฤกษ ซึ่งยอมาจาก คือ Ratchaphruek College Reputation หมายถึง ความมีชื่อเสียงที่ดี R คือ C คือ Co-operation หมายถึง ความสามัคคี รวมมือรวมใจ C คือ College หมายถึง สถาบันการศึกษาระดับสูง 1.4 ตนไมประจําวิทยาลัยราชพฤกษ ตนไมประจําวิทยาลัย คือ ตนราชพฤกษ หรือตนคูณ เปนไมประจําชาติไทยเปน ราชาแหงตนไม เปนไมยืนตนมีความอดทนสูง เหมาะที่จะปลูกทั่วไปและเติบโตไดในทุกภาคของ ประเทศ คนไทยโบราณเชื่อวา ปลูกตนราชพฤกษแลว ถือเปนมงคล มีเกียรติ มีศักดิ์ศรี นอกจากนี้ ยังเ ปนไมพื้นเมืองที่รูจักกันแพรหลายในประเทศไทยมักใชเปนสมุนไพรที่มีคายิ่งในตําราแพทย แผนโบราณ เปนไมที่มีประวัติเกี่ยวของกับประเพณีของชาวไทยเพราะเปนไมที่มีชื่อเปนมงคลนาม มีอายุยืนนาน ดังนั้นจึงนิยมนํามาใชเปนเสาเอกใชในการกอสรางพระตําหนัก หรือทํายอดคฑาจอม พลและยอดธงชัยเฉลิมพลของกองทัพ 1.5 คณะและสาขาวิชาในวิทยาลัยราชพฤกษ 1.5.1 บัณฑิตวิทยาลัย ( Graduate School) ประกอบดวย หลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต และหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู 1.5.2 คณะบริหารธุรกิจ ประกอบดวย สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาวิชา การตลาด สาขาวิชาการจัดการ และสาขาวิชาการโรงแรมและการทองเที่ยว 1.5.3 คณะบัญชี ประกอบดวย สาขาวิชาการบัญชี 1.5.4 คณะนิติศาสตร ประกอบดวย สาขาวิชานิติศาสตร 1.5.5 คณะนิเทศศาสตร ประกอบดวย สาขาวิชาการโฆษณา และการประชาสัมพันธ 1.5.6 คณะวิทยาศาสตร ประกอบดวยสาขาวิชาคอมพิวเตอรกราฟกส และเอนิเมชั่น 1.6 อาคารและสถานที่ วิทยาลัยราชพฤกษไดกอสรางอาคารหลังแรกเปนอาคารเรียน 5 ชั้น โดยใชชื่อวา อาคารเฉลิมพระเกียรติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป ประกอบไปดวยหองเรียนที่ทันสมัยมี หองปฏิบัติการเฉพาะสาขาวิชาที่พรอมดวยอุปกรณในการสอนและสิ่งอํานวยความสะดวกที่ 4

4

1

1

1

1

1

1

1

1

1


8

เพียบพรอม มีหนวยงานสงเสริมทางดานวิชาการเชน สํานักหอสมุดที่เปนศูนยทรัพยากรสารสนเทศ ในรูปแบบของ หนังสือวารสาร วีดิทัศน ดิสกเก็ตเทปคาสเซ็ทที่มีระบบการสื่อสาร มีฐานขอมูลใน รูปของซีดีรอมและออนไลนผานเครือขายอินเตอรเน็ตมีศูนยการเรียนรูการคนควาและวิจัย (Learning and Research Center ) มีหองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการใหแกคณาจารย เจาหนาที่ และนักศึกษาโดยมีระบบเน็ทเวิรคที่สามารถรองรับ ปริมาณในการใชงานระบบเครือขายไดอยางมี ประสิทธิภาพและเพียงพอตอ ความตองการที่เพิ่มขึ้นภายในอาคารยังประกอบไปดวยหองประชุม และหองสัมมนาเพื่อรองรับการจัดงาน และ กิจกรรมประเภทตางๆ ที่สามารถบรรจุนักศึกษาได มากกวา 1,000 คน นอกจากอาคารเรียนที่ทันสมัยแลวทางวิทยาลัยไดสรางอาคารกิจการนักศึกษาเพื่อ สงเสริมใหนักศึกษาใชเวลาวางใหเกิดประโยชนดวยการทํากิจกรรมที่หลากหลายตามความสามารถ ของนักศึกษา เชน กิจกรรมกีฬา กิจกรรมดนตรี กิจกรรมวิชาการ กิจกรรมชวยเหลือสังคมฝกให นักศึกษามีกิจกรรมที่แสดงออกถึงความเปนผูนําผูตามที่ดี ทางวิทยาลัยจึงไดจัดเตรียมสถานที่ให เพียงพอเพื่อรองรับนักศึกษาในการเรียนรูในรูปแบบบูรณาการการศึกษาคนควา และการปฏิบัติจริง ภายในวิทยาลัยยังจัดใหมีสวนพักผอน ศาลาไทย สระบัวบริเวณ หนาอาคารเรียนภายใตแมกไม บรรยากาศที่รมรื่นจัดภูมิทัศน สิ่งแวดลอมที่เหมาะแก การเรียนรูใหแกนักศึกษาทุกตารางนิ้ว ใน พื้นที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ 1.7 การตรวจรับรองมาตรฐานวิทยาลัย รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 81 กําหนดใหมีกฎหมาย เกี่ยวกับการศึกษาแหงชาติ จึงไดมีการยกรางพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งมีผล บังคับใชตั้งแตวันที่ 20 สิงหาคม 2542 เปนตนมา ในหมวด 6 วาดวยมาตรฐานและการประกัน คุณภาพการศึกษา มาตรา 49 ไดกําหนดใหมีสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา เรียกโดยยอวา "สมศ." มีฐานะเปนองคการมหาชน ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ที่ 117 ตอนที่ 99ก เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2543 และมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 4 พฤศจิกายน 2543 โดยใหมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาเกณฑและวิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทําการประเมินผล การจัดการศึกษาเพื่อใหมีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดยคํานึงถึงความมุงหมาย หลักการ และแนวทางการจัดการศึกษาในแตละระดับตามที่กําหนดไวในกฎหมายวาดวยการศึกษา แหงชาติ โดยใหมีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแหงอยางนอยหนึ่งครั้งในทุก 5 ป นับตั้งแตการประเมินครั้งสุดทาย และเสนอผลการประเมินตอหนวยงานที่เกี่ยวของและ สาธารณชน นอกจากนี้ไดกําหนดไวในบทเฉพาะกาลวาจะตองจัดใหมีการประเมินคุณภาพภายนอก


9

ของสถานศึกษาทุกแหง ภายในหกปนับตั้งแตวันที่พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ใชบังคับ ในการจัดการศึกษาใหมีคุณภาพนั้น จําเปนตองใชหลักการบริหารจัดการ เชนเดียวกับการบริหารหรือดําเนินกิจการตางๆ ที่ตองมีการดําเนินงานใหเปนระบบครบวงจรโดยมี ขั้นตอนที่สําคัญประการหนึ่งคือ การประเมินผลเพื่อใหไดขอมูลยอนกลับ อันจะสะทอนใหเห็นถึง ผลการดําเนินงานที่ผานมาวาบรรลุเปาหมายที่กําหนดไวเพียงใด รวมทั้งมีจุดออนหรือปญหาใน เรื่องใดบางที่ตองปรับปรุงแกไข เพื่อใหการวางแผนและการดําเนินงานระยะตอไปบรรลุเปาหมาย อยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ดวยเหตุนี้ จึงจําเปนที่จะตองใหความสําคัญกับการประเมินผล โดยเฉพาะการประเมินคุณภาพภายนอกจากหนวยงานที่เปนกลาง เพราะจะทําใหเกิดกลไกในการ ตรวจสอบอยางจริงจัง รวมทั้งกระตุนใหหนวยงานที่จัดการศึกษาตั้งแตระดับชาติถึงหนวยงานที่เล็ก ที่สุด คือสถานศึกษาและภายในหองเรียนตองมีการประเมินตนเองเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาใหมี คุณภาพอยางตอเนื่องตลอดเวลา วิทยาลัยราชพฤกษไดรับการตรวจรับรองมาตรฐานโดยสํานักงานรับรอง มาตรฐาน และ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องคกรมหาชน) ระดับสถาบันระดับกลุมสาขาวิชา บริหารธุรกิจ พาณิชยศาสตร การบัญชี การจัดการ การทองเที่ยว และเศรษฐศาสตร ตั้งแตวันที่ 25 สิงหาคม 2552 เปนตนมา 2. ความสําคัญของการบริหารงานอาคารสถานที่ การบริหารงานอาคารสถานที่ หมายถึง การที่ผูบริหารใชทรัพยากรที่มีอยูดําเนินงาน อาคารสถานที่ รวมกับบุคลากรในโรงเรียนใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว ประเภทและขอบขาย ของงานอาคารสถานที่ การที่ผูบริหารจะสามารถบริหารงานอาคารสถานที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ นั้นจําเปนที่จะตองทราบขอบขายของงานวา ครอบคลุมถึง ลักษณะงานใดบาง โดยทั่วไปแลวงาน อาคารสถานที่จะมีขอบขายครอบคลุมลักษณะงาน 5 อยาง ดังตอไปนี้ 1. การจัดสรางอาคารสถานที่ อันรวมถึงการวางผังบริเวณที่ตั้งอาคาร การควบคุม การกอสราง การตกแตงจัดระเบียบ ใหเปนไปตามหลักการจัดอาคารสถานที่ของโรงเรียนตลอดจน การรื้อถอนอาคารสถานที่ 2. การใชอาคารสถานที่ หมายถึง การกําหนดวางแผนการใชอาคารสถานที่ใหเกิด ประโยชนใชสอยมากที่สุดตอการเรียนการสอนโดยตรง ตอการเกิดการเรียนรูนอกหองเรียนของ นักเรียน และตอชุมชน


10

3. การบํารุงรักษาอาคารสถานที่ การประดับตกแตงและซอมแซมอาคารสถานที่ให คงสภาพเดิม หรือ เพิ่มเติมเพื่อใหประโยชน โดยคุมคาที่สุด 4. การควบคุมดูแลอาคารสถานที่ คือ การควบคุมดูแลโดยทั่วไป เปนการกํากับ ติดตามผลการใช การบํารุงรักษา การตกแตง รวมถึงการควบคุมการปฏิบัติงานอาคารสถานที่ให เปนไปตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับและแบบแผนของทางราชการ ที่เกี่ยวของ 5. การประเมินผลการใชอาคารสถานที่ เปนการดําเนินการประเมินผลการใชเพื่อ การ ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงแนวทางการดําเนินงานดานนี้ใหเหมาะสมเพื่อประโยชนสูงสุด และ เพื่อเก็บขอมูลสําหรับการวางแผนดําเนินงานอาคารสถานที่ของปถัดไป งานอาคารสถานที่เปนปจจัยที่สําคัญอยางหนึ่งที่ชวยใหสถานศึกษาดําเนินงานได โดยสะดวก ผูบริหารจึงจําเปนตองใหความสําคัญตองานดานนี้ไมนอยไปกวาดานอื่นๆ ภายใน สถานศึกษา อาคารสถานที่ของสถานศึกษาจึงเปนแหลงที่ชวยสนับสนุนการเรียนรูของผูเรียนและ การสอนของครูผูสอนใหเปนแหลงถายทอดวิทยาการของชุมชน งานบริหารอาคารสถานที่จึงเปน งานที่สําคัญที่ผูบริหารตองพิจารณาพินิจวิเคราะหและบริหารใหเกิดประโยชนสูงสุด สําหรับงาน บริหารอาคารสถานที่สามารถแยกพิจารณาได 5 สวนดังนี้ (กรมสามัญศึกษา, 2540) 1. อาคารเรียน อาคารเรียนควรใชไดดีทุกฤดูกาล ถูกสุขลักษณะ จํานวนและขนาดของอาคาร พอเหมาะกับนักเรียนนักศึกษา การบริหารอาคารควรคํานึงถึงประโยชนใชสอย ไมมุงเอาแตความ สวยงามเปนหลัก แตงมุงไปในทางประโยชนใชสอยที่จะเกิดผลดีแกการเรียนการสอน ความ สะดวก และความปลอดภัย อาคารเรียนควรดัดแปลงไดหลายอยางไมวาจะเปนผนังกั้นหองหรือ วัสดุอุปกรณที่เกี่ยวกับตัวอาคารตองดัดแปลงแกไขเพิ่มเติมไดงาย มีแสงสวางพอสมควร ผูบริหาร จะตองคํานึงกอนกอสรางเพื่อใหขยายอาคารไดสะดวกทั้งแนวตั้งและแนวนอน บรรยากาศภายใน อาคารตองเหมือนบาน รมรื่น ผนังทาสีเย็นตา พื้นไมลื่น โตะเกาอี้ใชสะดวก เหมาะสําหรับที่จะ ศึกษาเลาเรียน ทุกอยางตองทนทานตอการใชงาน ไมวาจะเปนอาคารสถานที่หรือเครื่องใชไมสอย และตองสมบูรณแบบ ควรมีอาคารและเครื่องใชไมสอยสมบูรณครบถวน นอกจากนี้ควรคํานึงถึง ความปลอดภัยใหแกนักเรียนนักศึกษา ไมวาจะเปนฝาผนัง ลูกกรงระเบียงหรือบริเวณบันไดควร สรางใหมั่นคงแข็งแรง และปลอดภัยเปนพิเศษเพื่อปองกันนักเรียนนักศึกษาตกหลนลงไปไดรับ อันตราย


11

ในการออกแบบอาคารถาวร นอกจากจะคํานึงถึงความแข็งแรงของโครงสรางและ ความสะดวกสบายในการใชอาคารแลว ยังจะตองคํานึงถึงอายุการใชงานของอาคารนั้นๆ ดวยวา มีความมั่นคงแข็งแรงพอที่จะใชงานดวยความปลอดภัยไดเปนเวลานานเทาใด เมื่อพิจารณาถึงคา ของเงิน คาเสื่อมราคาของอาคาร ความยุงยากในการซอมแซม และอุปสรรคตอการใชงานแลว อาคารที่มีอายุใชงานไดตั้งแต 10 ถึง 30 ปโดยไมตองทําการซอมแซมขนาดใหญถือไดวาคอนขาง ประหยัด แตจะใหดีอายุการใชงานของอาคารควรอยูระหวาง 30 ถึง 50 ป และจะถือวาประหยัด ที่สุด คือ ออกแบบและกอสรางใหอาคารนั้นๆ มีอายุการใชงานเกิน 50 ปขึ้นไป (อรุณชัย ชัยเสรี, 2534) 2. หองเรียน การจัดหองเรียนควรใหยืดหยุนไดตามความเหมาะสม หองเรียนควรเปนหองใหญ หรือกวาง เพื่อความสะดวกในการโยกยายโตะเกาอี้เพื่อจัดเปนรูปรางตางๆ เพื่อประโยชนในการ เรียนการสอน ถาเปนหองเล็กๆ หลายๆ หองติดกัน ควรทําฝาเลื่อนเพื่อเหมาะแกการทําหองใหกวาง การจัดหองเรียนเพื่อเสริมสรางความรูทุกดาน ควรจัดอุปกรณในการทํากิจกรรมหรือหนังสืออาน ประกอบที่นาสนใจไวตามมุมหอง เพื่อนักเรียนจะไดคนควาทํากิจกรรมหรือติดรูปภาพและผลงาน ตางๆ ไวเพื่อใหเกิดการเรียนรู ควรจัดหองเรียนใหมีสภาพแวดลอมที่ดี ไดแก สภาพแวดลอมทาง กายภาพ สติปญญา อารมณและสังคม ซึ่งมีอิทธิพลตอความเปนอยูและการเรียนของนักเรียน นักศึกษาเปนอันมาก อาจารยผูสอนมีสวนชวยเสริมสรางสภาพแวดลอมใหดีได เชน คอยให คําแนะนําในการอานหนังสือ คนควา แกปญหา และผูสอนควรสรางบรรยากาศในหองเรียนไมให เครียด เปนกันเองกับผูเรียน ใหผูเรียนรูสึกมีความปลอดภัย สะดวกสบายเหมือนอยูที่บาน การจัด หองเรียนเพื่อเสริมสรางลักษณะนิสัยที่ดีงาม ปลูกฝงใหนักเรียนนักศึกษารูจักรักษาความสะอาด ตั้งแตพื้นหองเรียน โตะ มานั่ง ขอบประตูหนาตาง กระดาน แปรงลบกระดาน ฝาผนัง เพดาน มุม หอง รวมทั้งถังขยะตองหมั่นทิ้ง เพื่อไมใหมีกลิ่นเหม็นและเปนบอเกิดของเชื้อโรคได ทบวงมหาวิทยาลัยไดกําหนดเกณฑมาตรฐานเกี่ยวกับหองบรรยายและ หองสัมมนา (หองขนาดเล็กที่ใชติว) ในชวงแผนพัฒนาการศึกษา ระยะที่ 8 (พ.ศ. 2540 – 2544) ดังนี้ (สํานักนโยบายและแผนอุดมศึกษา, 2537) หองบรรยายขนาดความจุ 300 คน 0.9 ตารางเมตร ตอคน หองบรรยายขนาดความจุ 200 คน 0.9 ตารางเมตร ตอคน หองบรรยายขนาดความจุ 100 คน 1.0 ตารางเมตร ตอคน หองบรรยายขนาดความจุ 50 คน 1.1 ตารางเมตร ตอคน หองบรรยายขนาดความจุ 25 คน 1.5 ตารางเมตร ตอคน


12

หองสัมมนาหรือหองติวขนาดความจุ 30 คน 1.8 ตารางเมตร ตอคน 3. หองพิเศษ หองพิเศษมีความสําคัญตอการเรียนการสอนมาก เพราะเปนที่จัดกิจกรรมการเรียน การสอนไวเปนพิเศษ รวมทั้งหองปฏิบัติการตางๆ ที่สนับสนุนการสอน หองดังกลาวจึงควรจัดใหมี วัสดุ อุปกรณครบถวน นอกจากนี้สถานศึกษาควรจัดใหมีหองพยาบาล หองสมุด หองดนตรี หอง พัสดุ หองธุรการ ฯลฯ เพื่ออํานวยความสะดวกใหแกนักเรียนนักศึกษา รวมทั้งบุคลากรที่เกี่ยวของ 4. อาคารประกอบ อาคารประกอบ หมายถึงอาคารที่ใชประโยชนอยางอื่น เชน หองประชุมหรือโรง อาหาร สถานศึกษาบางแหงอาจใชรวมกันดังนั้นควรมีลักษณะโปรงโลง เพื่อระบายกลิ่นไดดี โรง ฝกงานควรสรางใหหางไกลจากอาคารเรียนพอสมควร เพื่อจะไดไมมีเสียงรบกวนในหองเรียน หองน้ําหองสวมควรมีจํานวนหองมากพอกับจํานวนผูใชงาน โดยเฉลี่ยสวมชาย 1 ที่ตอผูเรียน 40 คน สวมหญิง 1 ที่ตอผูเรียน 25 คน และที่ปสสาวะชาย 1 ที่ตอผูเรียน 30 คน ถามีจํานวนนอยก็ จัดระบบใชใหทั่วกัน 5. บริเวณสถานศึกษา บริเวณสถานศึกษามีความสําคัญไมนอยไปกวาตัวอาคาร ปจจุบันบริเวณ สถานศึกษามีปญหาเกี่ยวกับการเพิ่มจํานวนอาคารเรียน และจํานวนผูเรียน บริเวณโรงเรียนจึงควร จัดใหเกิดประโยชน และการใชงานใหคุมคาที่สุด และ ควรปลูกไมดอกไมประดับเพื่อความ สวยงาม โดยเฉพาะหนาอาคารเรียน บริเวณที่จัดเปนที่พักผอน ควรมีจํานวนมานั่งใหเพียงพอ บริเวณสนามกีฬา ถาเปนไปไดควรแยกสนามกีฬาแตละประเภทแยกออกจากกัน เพื่อความสะดวก ของผูใชงาน กลาวโดยสรุป ความสําคัญของการบริหารอาคารสถานที่เปนเปนกิจกรรมที่มนุษยได คิดคนขึ้น เพื่อกําหนดอนาคตของการจัดการ การบริการ และประสานงานของบุคคล หรือกลุม บุคคลใหดําเนินการเกี่ยวกับอาคารสถานที่ และสภาพแวดลอมอยางมีกระบวนการบริหาร คือ การศึกษา สภาพปญหาและความตองการ การวางแผน การดําเนินการตามแผน และการประเมินผล ซึ่งเปนเรื่องสําคัญที่ผูบริหารตองพินิจวิเคราะหถึงการใชประโยชนจากอาคารสถานที่ที่ชวย สนับสนุนการเรียนรูของผูเรียน และการสอนของผูสอน รวมทั้งเปนแหลงวิชาการแกชุมชนดวย เปยมศักดิ์ เหลาอัน ( 2546) ไดอธิบายความสําคัญของการบริหารอาคารสถานที่จะมี ประสิทธิภาพได จะตองดําเนินตามขั้นตอนทั้ง 4 ของกระบวนการ คือ การศึกษาสภาพปจจุบันของ ปญหา และความตองการ การวางแผน การดําเนินการตามแผน และการประเมินผล เชนเดียวกับการ บริหารงานอื่นๆ ดังนี้


13

1. ศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการในเบื้องตนของการบริหารงาน อาคารสถานที่ ผูบริหารจะตองปฏิบัติใหเปนไปตามขั้นตอนแรกของกระบวนการการบริหาร โดย รวบรวมขอมูลดานอาคารสถานที่จากระบบขอมูลของสถานศึกษา และหาขอมูลหลายๆ ดานที่ เกี่ยวของ ซึ่งอยางนอยที่สุดจะตองประกอบดวยขอมูล 3 ประเภท คือ 1.1 สภาพปจจุบันของอาคารสถานที่ และทรัพยากรที่เกี่ยวของ เชน จํานวน อาคาร สิ่งปลูกสรางที่มีอยูแลว พื้นที่บริเวณโรงเรียน สภาพพื้นที่ จํานวนผูเรียน และจํานวน บุคลากร 1.2 แนวโนมของการเปลี่ยนแปลง เชน การเพิ่มหรือลดของจํานวนนักเรียน งบประมาณที่คาดวาจะไดรับการเปลี่ยนแปลงดานตางๆ ในทองถิ่นซึ่งเกี่ยวพันถึงสถานศึกษาดวย 1.3 ปญหา และขอจํากัด ซึ่งไดจากการศึกษาขอมูลเบื้องตน เชน ขอจํากัดพื้นที่ ขอจํากัดดานงบประมาณ หรือปญหาอื่นๆ ที่สงผลตอการดําเนินงาน เมื่อไดขอมูล และปญหาก็ นํามาวิเคราะหนํามาวิเคราะห โดยใหบุคลากรสถานศึกษามีสวนรวมเพื่อสรุปเปนความเปนความ ตองการของสถานศึกษาที่จะแกปญหา หรือพัฒนาดานอาคารสถานที่เพื่อดําเนินการขั้นตอไป 2. การวางแผน เมื่อรูความตองการดานอาคารสถานที่วาจะแกปญหา หรือพัฒนา อยางไร แคไหน จากการปฏิบัติในขั้นตอนที่ 1 แลวก็เริ่มดําเนินขั้นตอนที่ 2 คือ จัดใหมีการวางแผน และเขียนโครงการ เพื่อแกปญหา หรือ เพื่อบรรลุความตองการดานอาคารสถานที่นั้นๆ ในการ วางแผนดานอาคารสถานที่ ผูบริหารตองคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้ 2.1 ใหบุคลากรในสถานศึกษา และบุคลากรในชุมชนซึ่งมีสวนรวมในการใช ประโยชน และมีสวนรวมรับผิดชอบดานอาคารสถานที่ ไดมีสวนรวมอยางจริงจังในการวางแผน ดานอาคารสถานที่ 2.2 ในการวางแผนดานอาคารสถานที่ จะตองใหอาคารสถานที่นั้นๆ สามารถใช ประโยชนไดหลายทาง หรือจะเปนแบบอเนกประสงคก็ทําได การพัฒนาอาคารสถานที่นั้นๆ ก็จะ ไดผลผลคุมคากับการลงทุน 2.3 เปนการอํานวยประโยชนตอการพัฒนาของผูเรียนในดานตางๆ ใหมากที่สุด คือ ใหประโยชนตอการจัดกิจกรรมดานการเรียนการสอนโดยตรง และสงเสริมสนับสนุนการเรียน การสอน และกลอมเกลาลักษณะนิสัยใหเปนไปตามจุดมุงหมายของหลักสูตรโดยทางออม 3. การดําเนินงานตามแผน ในขั้นตอนนี้ผูบริหารตองกํากับ ติดตาม และควบคุมดูแล ใหการดําเนินงานเปนไปตามแผนที่วางไวในขั้นตอนที่ 2 การดําเนินงานดานอาคารสถานที่จะ ดําเนินไปโดยราบรื่น และมีประสิทธิภาพพอสมควร หากผูบริหารยึดแนวทางในการปฏิบัติงาน ดังนี้


14

3.1 ปลูกฝงใหบุคลากรในสถานศึกษามีความรูสึกวาตนเองมีสวนรวมเปนเจาของ ซึ่งตองมีความรับผิดชอบตอการดําเนินงานของสถานศึกษา 3.2 ใหผูเรียนมีสวนรับผิดชอบตอการดําเนินงานดานอาคารสถานที่ในสวนที่ สามารถจะทําได ซึ่งจะชวยปลูกฝงนิสัยการทํางาน และเกิดความภาคภูมิใจในสถานศึกษาของตน 3.3 ปลูกฝงใหชุมชนตระหนักวา สถานศึกษาเปนสมบัติของชุมชน และใหชุมชน มีสวนรวมในการดําเนินงานดานอาคารสถานที่เทาที่จะเปนไปได ในขึ้นตอนนี้ผูบริหารตองให บุคลากรหลายๆ ฝายมีสวนรวมในการดําเนินงานดานอาคารสถานที่ดวย 4. การประเมินผลการดําเนินงานดานอาคารสถานที่ เปนขั้นตอนสุดทายที่จะชวยให ผูบริหารไดทราบวาการดําเนินงานเปนไปตามแผนและดําเนินไปดวยดีเพียงใด เพื่อเปนแนว ทางการปรับปรุงแกไขในระหวางการดําเนินงาน และเปนขอมูลสําหรับการพิจารณาวางแผน ดําเนินงานในปถัดไป การประเมินผลงานดานอาคารสถานที่ตองทําเปนระยะๆ และสม่ําเสมอตาม ระยะเวลาที่กําหนดไวในแผนงาน โดยใชเทคนิควิธีการสําคัญตางๆ เชน การทําตารางกําหนดเวลา ประเมินไวอยางชัดเจนในแตละโครงการ การทําตารางกําหนดการใชอาคาร สถานที่และบันทึกผล มีการตรวจดูแลอยางสม่ําเสมอ และใหผูเรียนมีสวนรวมในการประเมินผล เชน การแบงหนาที่ รับผิดชอบแลวรายงานผล ซึ่งจะเปนสวนหนึ่งของการศึกษา กลาวโดยสรุป กระบวนการในการบริการงานอาคารสถานที่ เปนสวนสําคัญที่ใหการ บริหารงานดานนี้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลไดดีอีกวิธีหนึ่ง เพราะจุดเริ่มตนจะตองมี การศึกษาสภาพปญหาและความตองการ มีการวางแผน มีการดําเนินงานตามแผน และมีการ ประเมินผล จึงจะสามารถนํากลับไปใชได 3. การจัดการอาคารสถานศึกษา การจัดอาคารสถานที่ควรคํานึงถึงสภาพเดิมของบริเวณใหมาก ซึ่งสภาพเหลานี้หาก ไดรับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง หรือตกแตงใหสวยงาม และเอื้อประโยชนไดเหมาะสมและการ จัดสรางอาคารใหเหมาะสมกับสภาพที่มีอยูแลว จะเปนการประหยัดคาใชจายและกําลังคน กําลัง งาน ทั้งจะมีสวนปลูกฝงการรักธรรมชาติ อันเปนคุณสมบัติที่พึงประสงคใหเกิดขึ้นในตัว ผูเรียนได เปนอยางดี 1. นโยบายการปฏิรูปการศึกษาดานอาคารสถานที่ของกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแนวนโยบายการปฏิรูปการศึกษาดานอาคาร สถานที่ เพื่อ ปรับเปลี่ยนงานดานอาคารสถานที่ทุกแหงในสังกัด ซึ่งมีอ ายุการใชงานเฉลี่ยไมต่ํากวา 10 ป ใหมี


15

สภาพความพรอมสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยมีแนวปฏิบัติดังนี้ (กรมสามัญ ศึกษา, 2540) 1.1 บริเวณโรงเรียนดําเนินการเกี่ยวกับการปรับปรุงพัฒนาพื้นที่ตั้งโรงเรียน ทั้งหมด พื้นที่ไมนอยกวา 6 ไร ขึ้นไปหรือมีพื้นที่ประมาณ 10 ตารางวาตอนักเรียน 1 คน มีการ จัดทําแผนที่ตั้งอาคารเรียน อาคารประกอบ สวนหยอม แปลงเกษตร สระน้ํา สนามกีฬาตางๆ เต็ม รูปแบบมีการออกแบบ และปรับปรุงสภาพแวดลอมใหรมรื่นสวยงาม มีการปลูกไมดอก ไมประดับ อนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอม และใชพื้นที่บริเวณโรงเรียนใหเกิดประโยชนสูงสุด 1.2 อาคารเรียนเปนอาคารเรียนตามมาตรฐานของกระทรวงศึกษาธิการ จะตอง เปนอาคารสถานที่กอสรางดวยวัสดุที่คงทน ซึ่งมีขนาดหองเรียนไดมาตรฐาน อยางนอย กวาง 7 เมตร ยาว 9 เมตร ถูกสุขลักษณะ จํานวนหองเพียงพอกับจํานวนนักเรียน สะดวก ปลอดภัย แสง สวางเพียงพอ สามารถดัดแปลงใชประโยชนไดหลายอยาง มีการปรับปรุง ตกแตง ทาสีตัวอาคาร ใหมใหเปนปจจุบัน มีปายประกาศ ปายนิเทศไวเหมาะสม การวางแผนใชอาคารสถานที่ การทําแผน จัดสราง รื้อถอนอาคารสถานที่ รวมทั้งการใชอาคารสถานที่ ใหคุมคากับสภาพของโรงเรียนและ ชุมชน 1.3 อาคารประกอบเปนสิ่งปลูกสรางอื่นๆ เชน อาคารอเนกประสงค โรงฝกงาน โรงอาหาร หองสวม เรือนเพาะชํา รั้ว ถังเก็บน้ําฝน ฯลฯ กอสรางดวยวัสดุที่คงทนถาวร สะอาด สะดวก ปลอดภัย อยูในสถานที่เหมาะสม มีการปรับปรุงตกแตงทาสีสวยงาม และเหมาะกับ ประโยชนใชสอย การวางแผนการใชประโยชนของอาคารประกอบ การทําแนวสราง และรื้อถอน อาคารประกอบรวมทั้งการใชอาคารประกอบใหคุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด 1.4 การจัดโรงเรียนและสถานศึกษาใหเปนปจจุบัน เปนการบํารุงรักษาอาคาร สถานที่ อาคารเรียน อาคารประกอบ และสิ่งกอสรางตางๆ โดยการซอมแซมตกแตงทาสี ให สวยงามมีสภาพใหมอยูเสมอ ใชการไดดีตลอดเวลา 1.5 การสุขาภิบาลเปนการทําใหโรงเรียนสะอาด ถูกสุขลักษณะ ปราศจากฝุน ละออง และมลภาวะ มีที่กําจัดขยะมูลฝอย มีน้ําดื่ม น้ําใชสําหรับนักเรียนตลอดป มีการจัดอาหาร กลางวันใหนักเรียนรับประทานที่สะอาด ปลอดภัย และเพียงพอ 1.6 หองสมุด หากเปนโรงเรียนขนาดเล็กควรจัดเปนมุมหนังสือภายใน หองเรียนตางๆ และหากเปนโรงเรียนขนาดใหญ มีหองเรียนหรืออาคารเพียงพอควรจัดแยกตางหาก โดยเฉพาะจัดใหสะอาดสวยงาม มีการจัดหนังสือเขาหองสมุดใหเหมาะสมกับจํานวนนักเรียน และ สภาพโรงเรียนมีการซอมแซม บํารุงรักษาหนังสือที่ชํารุด มีการจัดกิจกรรมใหนักเรียนไดใช หองสมุดเปนประจํา ใหนักเรียนไดใชบริการหองสมุด


16

1.7 หองคอมพิวเตอร ควรเปนหองที่ปรับปรุงขึ้นใชโดยเฉพาะกิจกรรมการเรียน การสอนคอมพิวเตอรเปนพิเศษ หากเปนโรงเรียนขนาดเล็ก อาคารและหองไมเพียงพอใหใชรวมกับ หองพิเศษอื่นๆ เชน ใชรวมกับหองปฏิบัติการทางภาษา ตองสะอาด ปราศจากฝุนละออง และมีการ ติดตั้งพัดลมใหเย็นสบายเพื่อการบํารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร 1.8 หองปฏิบัติการทางภาษาควรเปนหองที่ปรับปรุงขึ้นใชเฉพาะกิจกรรมการ สอนภาษาตางประเทศ เนื่องจากตองใชการสอนผานเครื่องเสียง เทป วิดีโอ โดยผานหูฟง ตองจัดให สะอาด ปราศจากฝุนละออง ติดตั้งพัดลมใหเย็นสบาย มีโตะนั่งเรียน และหูฟงที่พอเพียงกับผูเรียน 1.9 หองแนะแนว ตองเปนหองเพื่อจัดกิจกรรมแนะแนว หากไมมีหองที่ เพียงพอก็สามารถจัดรวมกับหองพิเศษอื่นๆ ได เชน จัดรวมกับหองพยาบาล หองสมุดหรือหอง สหกรณ ฯลฯ แตตองเปนมุมสงบ เพื่อความสะดวกในการใหคําปรึกษาแกนักเรียน 1.10 หองพยาบาล หากโรงเรียนขนาดเล็กอาคารไมพอ สามารถใชรวมกับหอง อื่นได แตตองเงียบสงบเพราะเปนสวนที่บุคลากรตองไดรับการปฐมพยาบาล และพักผอน จึงตอง สะอาด สวยงาม อากาศถายเทไดดี มีปายนิเทศโปสเตอร เกี่ยวกับสุขภาพ หองน้ํา หองสวม อยูใน หองเดียวกัน 1.11 สนามกีฬา จัดใหมีสนามกีฬาเพียงพอกับความตองการและเหมาะสม เชน สนามฟุตบอล วอลเลยบอล สนามเด็กเลน ตลอดทั้งจัดใหมีเครื่องเลนภายในสนามที่เหมาะสม 1.12 หองพิเศษอื่นๆ ควรจัดใหมีหองพิเศษอื่นๆ ตามสภาพ และตามศักยภาพของ สถานศึกษา เชน หองโสตทัศนูปกรณ ศูนยสื่อ และอุปกรณ หองจริยธรรม ฯลฯ 2. การบริหารอาคารสถานศึกษา ขอมูลเกี่ยวกับสถานศึกษานับวาเปนสิ่งที่จําเปน เพื่อ เปนขอสนเทศในการบริหารจัดการอาคารสถานที่ ขอมูลแรกที่ควรทราบคือผังบริเวณหลัก เพื่อจะ ไดทราบวาแตละหลังเปนอาคารอะไรบาง ใชเรียนหรือบริการแกผูเรียนในเรื่องอะไร มีความสูงกี่ ชั้น มีทางขึ้นลงใดบาง ตลอดจนอุปกรณที่ใชในอาคาร เชน โทรศัพทภายใน ระบบปองกันเพลิง ไหม และสัญญาณเตือนภัยตางๆ เปนตน ตน (กรมสามัญศึกษา, 2540) การทําแผนภูมิแนะนําการใช อาคารสถานที่ เปนสิ่งที่จําเปนอยางยิ่ง ทั้งนี้เพื่อประโยชนในการควบคุม การตรวจสอบ การซอม บํารุง และการประเมินผล การใชงานในระยะที่สมควร เพื่อจัดใหมีการปรับปรุงพัฒนาอาคาร สถานที่ใหเหมาะสมยิ่งขึ้นตอไป ซึ่งแผนภูมิเกี่ยวกับอาคารสถานที่ที่สําคัญ มีดังนี้ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2537) 2.1 แผนภูมิบริเวณสถานศึกษา ลักษณะของแผนภูมิจะทําใหทราบถึงขนาดของ ที่ดิน ทิศทางและจํานวนอาคารตลอดจนหนาที่ของอาคารแตละหองอยางชัดเจน รวมทั้งทางเชื่อม ระหวางอาคาร บริเวณที่รถบริการจะมาสงของ เปนตน


17

2.2 แผนภูมิของอาคาร อาคารแตละหลังจะตองแสดงแผนภูมิไวที่โถงบันได หรือ บริเวณหนาหนาลิฟตเพื่อสะดวกตอการคนหา หองที่เปดสอนวิชาเฉพาะแปลนอาคารทุกชั้น จะแสดงรวมไว ที่ชั้นลาง เพื่อทําใหผูมาเยือนสามารถมองหาหองที่ตองการไดทันที และในแตละ ชั้นควรติดตั้งแบบแปลนของชั้นนั้นไวตางหากอีกดวย แผนภูมิแตละชั้นนอกจากจะบอกถึง ทางเดิน ทางเชื่อม บันได หองน้ํา และหองตางๆ แลวจะบอกทางหนีไฟไวใหดวย โดยบางอาคารอาจเรียกวา “ทางออกฉุกเฉิน” อาคารบางหลังอาจบอกถึงที่ตั้งของเครื่องดับเพลิงเคมี หรืออาจระบุตําแหนงสาย ดับเพลิง ซึ่งมักจะติดตั้งไวใกลหองบันไดหรือลิฟต สําหรับอาคารขนาดใหญจะบอกตําแหนงหอง สวิทชตัดไฟฟาไวในแตละชั้น เพื่อสะดวกแกการแกไขเมื่อเกิดไฟฟาดับ เปนตน สําหรับเลขที่ ประจําหอง นิยมใชเลขที่ของอาคารเปนตัวแรก สวนตัวที่สองเปนเลขที่ของชั้น สวนเลขสุดทายจะ เปนตัวเลขที่หอง เพื่อสะดวกแกการคนหา 2.3 แผนภูมิการใชอุปกรณในอาคาร สวนมากแลวเมื่อมีการติดตั้งอุปกรณตางๆ นอกจากจะมีการสาธิตการใชงานแลว บริษัทผูผลิตจะใหแผนภูมิการใชงานมาดวย เชน เครื่องยอ ขยายเอกสาร เครื่องขยายเสียง โทรศัพทภายใน เปนตน แผนภูมิเหลานี้จะตองติดไวใกลกับอุปกรณ เครื่องใชทุกชิ้น เพื่อความสะดวกในกรณีที่เจาหนาที่รับผิดชอบไมมาทํางาน คนอื่นจะสามารถ ดําเนินการแทนได 3. การควบคุมตรวจสอบอาคารสถานศึกษาเปนงานที่ตองทําตอเนื่องจากการบริหาร อาคารสถานศึกษา โดยเปนงานของคณะทํางานที่ผูบริหารตั้งขึ้นเพื่อดูแลการใชงานอาคารสถานที่ เปนรายวัน รายสัปดาห โดยงานแรกตองทําเอกสารเพื่อควบคุมการใชอาคารเพื่อการศึกษาในขั้นตน วาการใชหองตางๆ นั้น สามารถดําเนินการใชไดตามแผนอัตรากําลังอาคารที่ไดเสนอไวกอนการ กอสรางสถานศึกษาหรือไมอยางไร เชน หองเรียนจะใชงานใหไดถึง 90 เปอรเซ็นตของเวลาทั้ง สัปดาห และหองทดลองวิทยาศาสตรและหองปฏิบัติการฝกงานนั้น กําหนดไววาจะใชงานไดถึง 75 เปอรเซ็นตของเวลาทั้งสัปดาห ไดมีการจัดตารางสอนใหใชหองไดมากนอยเพียงใด ทั้งนี้คณะทํางาน ตองสรางแบบฟอรมขึ้นมา เพื่อวัดความถี่ของการใชงานหองเรียน หองทดลองและหองบริการทุก หอง สิ่งที่จําเปนในการตรวจสอบอาคารสถานศึกษามีดังนี้ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2537) 3.1 การตรวจสอบการใชอาคาร สถานศึกษาจะตองมีแปลนอาคารทุกชั้น ซึ่ง แสดงแผนผังหองเรียน หองประกอบทุกหอง และมีการกําหนดเลขที่ไวอยางครบถวน เพื่อสะดวก ในการกรอกแบบฟอรมในการตรวจสอบการใชงานจริงของหองทุกหองเปนรายสัปดาห ทั้งนี้ เพื่อใหผูบริหารทราบวาอัตราการใชหองนั้นทําไดต่ําหรือสูงกวาเกณฑอยางไร 3.2 การตรวจสอบมาตรฐานอาคาร ในการออกแบบอาคารสถานศึกษาจําเปนที่ จะตองยึดเกณฑมาตรฐานของสํานักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2524 ไวเปนแบบฉบับ เนื่องจากเกณฑ


18

มาตรฐานระบุใหหองเรียน หองทดลอง หรือหองบริการจะตองออกแบบตามขนาดเนื้อที่ตอคนให เหมาะสม 3.3 การตรวจสอบทั่วไป เจาหนาที่ซึ่งรับผิดชอบดานอาคารสถานที่จะตองเดิน ตรวจอาคารสถานที่ โดยทั่วๆ ไปอยางสม่ําเสมอ เพื่อความสะอาดเรียบรอยของสถานที่ ซึ่งเปน วิธีการใหผูอื่นไดชวยตรวจสอบอีกทางหนึ่งดวย การตรวจสอบดานสาธารณูปโภค เชน การใชน้ํา การใชไฟฟา ก็เปนสิ่งที่ควรทําเพื่อเปาหมายของการประหยัดคาใชจายรายเดือน 4. การประเมินผลอาคารสถานศึกษา เมื่ออาคารสถานศึกษาไดใชงานตามระยะเวลา อันสมควรแลว จะตองมีการศึกษาขอดีขอเสียของการใชงานวาแนวคิดของการวางผังหลัก การ ออกแบบอาคารเรียน อาคารประกอบ ฯลฯ วาสงผลดี หรือควรจะพัฒนาเพิ่มเติมอยางไรบาง หรือ เพื่อจะไดขอมูลที่จะนําไปใชในโอกาสที่จะสรางอาคารใหมตอไป วิธีการประเมินขึ้นอยูกับความ ตองการวัดผลเกี่ยวกับเนื้อหาที่ตองการประเมิน โดยจะตองมีการสรางเครื่องมือในการประเมิน สําหรับผูสอน ผูเรียน ผูดูแลรักษา และผูมีหนาทีเกี่ยวของกับสถานศึกษา โดยผลที่ไดจะไดนํามา เฉลี่ยความเที่ยงตรงในการประเมิน เครื่องมือที่ใชจะพัฒนาบนพื้นฐานของสาระสําคัญในเรื่อง ปริมาณจากอัตราสวนระหวางผูเรียนกับเนื้อที่อาคาร คาใชจายในการกอสรางตอรายหัวของผูเรียน จํานวนตารางเมตรของอาคารของแตละประเภทอาคาร ประโยชนที่ควรจะไดรับ ตลอดจนอายุการ ใชงานของอาคารในแงของเศรษฐกิจ เปนตน บางครั้งอาจสรางเครื่องมือ เพื่อประเมินผลงาน ออกแบบของสถาปนิกในแงของประโยชนใชสอย ทั้งนี้อาจไดผลในแงของการเปลี่ยนแนวคิด ของ การวางผังบริเวณสถานศึกษาในอนาคต ซึ่งสถานศึกษาสวนมากมักจะมีปญหาเรื่องขาดแคลนที่ดิน การยอมใชอาคารทางสูงจะขึ้นไดสูงกี่ชั้น จึงจะไมเกิดอุปสรรคตอการเคลื่อนยายเปลี่ยนหองของ ผูเรียน ในบางครั้งอาจประเมินผลในแงที่วาผลงานกอสรางที่เกิดขึ้นตรงตามเปาหมายที่คณะทํางาน ไดวางไวแตตนหรือไม การประเมินการใชประโยชนอาคารและสิ่งอํานวยประโยชนที่สรางขึ้น มีขั้นตอนดังนี้ (กรมสามัญศึกษา, 2540) 1. จะตองสรางเครื่องมือที่เหมาะสมมาใช 2. มีกระบวนการในการประเมิน 3. รวบรวมขอมูลจากผลการประเมิน 4. ปอนขอมูลใหผูใชประโยชนจากผลการประเมินนั้น การเลือกวิธีการประเมิน สามารถทําไดหลายวิธี เชน การใชแบบสํารวจ การสังเกต การสัมภาษณ การวัดทัศนคติ เปนตน สวนระยะเวลาของการประเมินนั้นจะขึ้นอยูกับ ความตองการ ของผูบริหารที่จะตองการ ความถี่อยางไร เชน ประเมินผลการทํางานของสถาปนิก ประเมินเพียง


19

ครั้งเดียวก็จะทราบผล แตการประเมินเพื่อทราบมาตรฐานการใชอาคารตองทําหลายครั้ง บุคคลที่จะ ทํางานนี้ อาจตั้งเปนคณะบุคคล หรือในรูปของกรรมการ ไดผลจากการประเมิน จะชวยชี้ปญหาของ ความไมสะดวก ความไมปลอดภัย อาคารไมเอื้ออํานวยประโยชนตอการเรียน เปนตน ในการการวัดประสิทธิภาพของการใชอาคารนั้นบางครั้งจําเปนตองอาศัยการคํานวณ อัตราการใชหอง ( Room Utilization) ดวย ซึ่งหมายถึง คาคํานวณไดเปนรอยละของอัตราสวน ระหวางจํานวนเวลาที่ใชหองใน 1 สัปดาห กับจํานวนคาบที่ควรใชหองไดอยางเต็มที่ใน 1 สัปดาห โดยใชสูตรดังนี้ (สํานักนโยบายและแผนอุดมศึกษา, 2537)

อัตราการใชหอง =

จํานวนคาบที่ใชหองจริงใน 1 สัปดาห จํานวนคาบที่ควรใชหองไดอยางเต็มที่ใน l สัปดาห

X 100

การจัดบริเวณเพื่อการเรียนรูนับเปนสิ่งสําคัญมากขึ้นเปนลําดับ ผูที่เกี่ยวของกับงาน วางแผนงานดานอาคารสถานที่ไดเตรียมแผนไวแตแรกตอการเปลี่ยนแปลงที่จะมีในอนาคต มีการ ยืดหยุนตั้งแตผังบริเวณหลักรวมถึงตัวอาคาร ซึ่งพรอมที่จะเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มหนาที่ใชสอยให มากขึ้น การพัฒนาใหบริเวณโรงเรียนเกิดความงามเกิดจากความแตกตางจากการปลูกตนไมประดับ การจัดสระน้ํา และสนามหญาในระยะแรก แตในระยะหลังนี้ การออกแบบอาคาร ทางเทา และ บริเวณพักผอน จะมีความคลองจองกันไปหมด โดยตองยอมรับวา อาคารเองก็คืองานประติมากรรม ชิ้นหนึ่ง ซึ่งแฝงไวทั้งความงามและประโยชนใชสอยรวมอยูดวยกัน ดังนั้น การจัดภายในอาคารใน สมัยปจจุบันจึงพยายามใหเกิดความสัมพันธกับภายนอก กลาวคือ งามทั้งอาคาร สวยทั้งการจัด ภายใน และเหมาะสมเขากันไดกับธรรมชาติของตนไม ใบหญาโดยรอบอาคาร จึงกลาวไดวา สถาปนิกไดจัดสิ่งแวดลอมที่ดีสําหรับการเรียนการสอน ในการจัดการดานระบบสาธารณูปโภค และสิ่งแวดลอม สิ่งที่ควรพิจารณา มีดังนี้ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2537) 1. ระบบสาธารณูปโภค เปนเรื่องที่สถานศึกษาจะตองมีรายจายทุกเดือน การ จัดระบบไฟฟา ประปา โทรศัพทที่ดี หมายถึง การควบคุมรายจายเพื่อการนี้โดยทั้งหมด ตัวอยางเชน ไฟฟาควรมีการติดมิเตอรเพื่อควบคุมการใชกระแสไฟฟาแตละอาคาร เพื่อใหทราบปริมาณไฟฟาวา อาคารแตละหลังมีการใชไฟฟามากนอยอยางไร การใชน้ําประปาก็เชนกัน ควรมีการติดมิเตอรเพื่อ วัดการใชน้ํา ทุกอาคาร สําหรับโทรศัพทจะมีการแยกระบบโทรศัพทเพื่อการสื่อสารภายในและ โทรศัพทภายนอก อาจมีการควบคุมการใชโทรศัพททางไกลโดยไดมีการกําหนดเครื่องที่ใช โทรศัพททางไกลไดเฉพาะเครื่องที่จําเปน ในการโทรศัพทแตละครั้งจะตองมีการกรอกแบบฟอรม


20

แสดงระยะเวลาการพูด และสถานที่ติดตอสําหรับการสงโทรสารจะมีเอกสารบันทึกการสงอยูใน เครื่องอยูแลวจึงทราบไดวา มีการใชวันละกี่ครั้ง หากสถานศึกษาที่ใชระบบประปาบาดาล จะมี คาใชจายคาเครื่องสูบน้ําเพิ่มขึ้น รวมทั้งคาซอมและดูแลเครื่องสูบ ทอจายน้ํา ซึ่งควรมีการแตงตั้ง เจาหนาที่ดูแลเรื่องนี้โดยเฉพาะ 2. สิ่งแวดลอม สิ่งที่จะเอื้ออํานวยใหผูสอนและผูเรียนมีกิจกรรมการเรียนการสอนที่ดี เพิ่มขีดความสามารถในการเรียนรูมากขึ้น ไดแก การถายเทอากาศ การควบคุมเสียงรบกวน แสง สวาง และการใชสีที่เหมาะสม 2.1 การถายเทอากาศ โดยปกติอุณหภูมิของรางกายมนุษยจะอยูประมาณ 35-37 องศาเซลเซียส ถาอากาศรอนจะมีผลใหหลอดเลือดขยายตัว เหงื่อออก การรับรู และความจําจะ ลดลง อาจทําใหเกิดอารมณหงุดหงิด กลามเนื้อในรางกายอาจเกิดความเครียดได การจัดอาคารใหมี อากาศถายเท ไดสะดวก จึงเปนเรื่องจําเปน โดยเฉพาะการปลูกตนไมใหมากพอที่จะกรองกาซ คารบอนไดออกไซด และฝุนละออง เพื่อใหสถานศึกษามีอากาศที่ดี อุณหภูมิเหมาะสมตอการ เรียนและการสอน การติด พัดลมดูดอากาศออกจากหองเรียนจะเปนหนทางหนึ่งที่ชวยใหการ ถายเทอากาศเปนไปไดมากขึ้น 2.2 การควบคุมเสียงรบกวน หองเรียนควรมีเสียงรบกวนไมเกิน 35 เดซิเบล หองประชุมเสียงไมควรเกิน 30 เดซิเบล และหองทํางานเสียงรบกวนไมควรเกิน 50 เดซิเบล ถาดังมากกวานี้จะเกิดความรําคาญ ความเครียด อาจทําใหเกิดอาการปวด ศีรษะ ขาดสมาธิในการ ทํางาน การใชวัสดุดูดซับเสียงบริเวณผนังและเพดานหองจะชวยลดเสียงสะทอน สถานศึกษาบาง แหง ยอมจายคาติดเครื่องปรับอากาศเพื่อลดปญหาเรื่องเสียงรบกวน แตจะตองจายคาไฟฟาสูงขึ้น 2.3 แสงสวาง ระดับความสวางหรือความเขมของแสง เพื่อใหการอานหนังสือ การมองดูกระดานไดชัดเจน มีการกําหนดความสวางไว เชน การเขียนหนังสือตองการความสวาง 14 ฟุตแรงเทียน ซึ่งเปนหนวยวัดความเขมของแสงจากความสวางของเทียนมาตรฐาน 1 เลม ตกลง บนพื้นหางจากเทียน 1 ฟุต ดังจะไดแสดงความตองการความสวางบริเวณตางๆ ดังนี้ - หองเรียน หองสมุด ความตองการความสวาง 30-70 ฟุตแรงเทียน - หองปฏิบัติการ ความตองการความสวาง 100 ฟุตแรงเทียน - หองธุรการ ความตองการความสวาง 30-150 ฟุตแรงเทียน - หองคหกรรม ความตองการความสวาง 150 ฟุตแรงเทียน - หองครัว ความตองการความสวาง 50 ฟุตแรงเทียน


21

ความสวางของหองเรียนในปจจุบัน ตองการเครื่องปรับแสงได เชน การสอน ดวยภาพสไลด การฉายวิดีโอ เครื่องฉายภาพ อาจตองการลดความสวางลงไป เพื่อใหผูเรียนไดดู จอภาพไดชัดเจนขึ้น 2.4 สี ในการใชสีที่ใชในสถานศึกษามีผลกระทบที่สําคัญมากเพราะสีจะสราง ปฏิกิริยาตอผูเรียนในรูปแบบตางๆ เชน สีบางประเภทจะทําใหเกิดความสุข ความสดชื่น ความสงบ ความนากลัว สีสามารถกระตุนอารมณของเด็กๆ ไดเปนอยางดี การพิจารณาในการใชสีใน สถานศึกษาจึงเปนเรื่องคอนขางสําคัญทีเดียว ไมควรใชสีแกจัดหรือเขมจัดภายในหองเรียน จะทํา ใหเกิดความรูสึกบีบรัด นารําคาญ และอาจรบกวนสายตา การใชสีที่ตัดกัน จะเกิดแสงสะทอนไม เทากัน ทําใหสายตาตองทํางานหนัก ทําใหเกิดลาในการอานหนังสือ การใชสีออน จะชวยใหเกิด ความรูสึกพักผอน และเปนการเพิ่มแสงสวางใหแกภายในอาคาร ซึ่งสีเขียว เปนสีที่ยอมรับกันวา ให ความรูสึกที่พักผอนเกิดอารมณที่ผอนคลาย แตก็ตองพิจารณาอีกครั้งวา เขียวอยางไรจึงจะเหมาะกับ บรรยากาศของการศึกษา การพิจารณาขอกําหนดการใชเนื้อที่อาคารเรียนเพื่อการเรียนการสอนใหกระจางนั้นจะ ชวยใหเกิดความเขาใจอันดีระหวางสถาปนิกกับนักการศึกษาซึ่งจะตองระบุจุดมุงหมายและความ ตองการการใชอาคารเพื่อการออกแบบที่ถูกตองตามความประสงคไดมากที่สุดซึ่งควรจะตองมีการ ระบุถึงกิจกรรมการเรียนตาง ๆ ที่จะบรรจุไวในอาคารที่จะออกแบบ จํานวนชั่วโมงเรียนหรือ หองเรียนหองใชประโยชนอื่นๆ นอกจากหองเรียน เปนตน โดยทั่วไปการออกแบบเพื่อการสราง อาคารเรียนนั้น จะมีเปาหมายอยูที่ความพยายามเสริมสรางงานวิชาการในสถาบันเปนหลักสําคัญ เพื่อใหการกําหนดการใชอาคารเพื่องานวิชาการเปนไปตามวัตถุประสงคที่ตั้งไวมีขอพิจารณาดัง ตอไปนี้ 1. เหตุผลของการสรางอาคาร จะตองระบุเหตุผลของการสรางอาคารใหชัดเจนวา ทําไมจะตองสราง ตั้งใจจะใชทําอะไร และตองการใหอาคารนั้นรับใชทั่ว ๆ ไปอะไรบาง เปนตน 2. การสรางโรงเรียนใหม จะตองศึกษาประวัติของชุมชนและประชาชนหรือเยาวชน ที่ตองการรับการศึกษาและพิจารณาถึงทําเลของการตั้งโรงเรียนที่มีระยะเหมาะสมที่ผูเรียนสวน ใหญ จะมาเรียนไดสะดวกและประหยัดเพียงใด 3. แผนงานวิชาการ การพิจารณาถึงแผนงานวิชาการควรจะตองพิจารณาเปน 3 ลักษณะดวยกันคือ 3.1 แผนงานหลักสูตร สถาปนิกจะตองพิจารณาออกแบบอาคารใหสอดคลองกับ ปรัชญาของโรงเรียน และตามจุดมุงหมายของแผนงานที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนของสถานศึกษา


22

3.2 วิธีการสอน จะตองพิจารณาถึงวิธีการสอนในสถานศึกษา เชน การสอนเปน คณะ จะตองมีหองประชุมกลุมใหญ และยังตองมีหองประชุมกลุมยอย ๆ ประกอบอีกหลายหอง หรือการสอนเปนกลุมที่เรียนรวมกันโดยมิตองมีฝากั้น เปนตน ซึ่งวิธีสอนนี้จะมีผลถึงการออกแบบ ที่วางเพื่อการเรียนการสอนมาก 3.3 แผนงานอื่นที่สนับสนุนงานวิชาการ สถานที่ทําการหรือทํางานของบุคคลฝาย ตางๆ ที่สนับสนุนงานวิชาการก็จําเปนตองพิจารณาดวย เชน คณะบริหารสถานศึกษา หรือระดับ รองและผูชวย เปนตน 4. กิจกรรมการเรียนการสอน ในสวนที่เกี่ยวกับการจัดเนื้อที่การใชเพื่อกิจกรรมการ เรียนการสอนแบบนี้ ก็มักจะหมายถึงหองเรียนปกติ หองทดลองปฏิบัติการ โรงฝกงาน และอื่น ๆ การพิจารณากําหนดเนื้อที่เพื่อกิจกรรมตาง ๆ นั้น มีความยากลําบากพอสมควร ก็มีหลักในการ พิจารณาไดบางดังตอไปนี้ 4.1 กําหนดกิจกรรมตาง ๆ ใหแนนอน 4.2 วางแผนการใชอาคารเพื่อกิจกรรมตางๆวาจะใชหองใดเพื่อกิจกรรมใด และ ควรอยูตรงไหนเชน หองวาดภาพ หองอาน หองเขียน ซึ่งสถาปนิกมองไมออกวาหองที่ออกแบบแต ละหองเขาจะทําอะไรกันบางในแตละหอง จึงตองอาศัยคณะทํางานที่ตั้งขึ้นชวยใหรายละเอียดได 4.3 ควรทราบจํานวนของผูใชเชน ครูกี่คน นักเรียนและผูอื่นที่จะใชแตละหอง 4.4 การแบงกลุมผูเรียนและผูสอนของกิจกรรมในแตละหอง 4.5 จัดใหมีความสัมพันธระหวางกิจกรรมตางๆ โดยจะตองพิจารณาเพื่อความ สะดวกและประหยัดในการจัดกิจกรรมตาง ๆ ใหเกิดความสัมพันธกัน 4.6 ตองพิจารณาการกําหนดขนาดหองตางๆ ตามขนาดมาตรฐานของพื้นที่แต ละอยาง 4. การใชประโยชนอาคารสถานที่ Elsbry (อางถึงในวิจิตร ติจันทึก , 2537) ไดกลาวถึงงานบริหารอาคารสถานที่ของ ผูบริหารสถานศึกษาวามีประสิทธิภาพหรือไมควรพิจารณาจากงานดังตอไปนี้ซึ่งประกอบดวย 1. การสรางและจัดอาคารสถานที่เพิ่มเติม 2. การปรับปรุงซอมแซมตามวาระ 3. การใชสีภายในหองเรียน 4. การเลือกใชเครื่องใชและเครื่องตกแตงตางๆ 5. การดูแลความสะอาดเรียบรอยของอาคารสถานที่


23

6. การจัดหองเรียนใหอยูในสภาพที่ถูกลักษณะอนามัย 7. การจัดที่เช็ดมือและการทําความสะอาด 8. การเดินตรวจสอบอาคารสถานที่เปนระยะๆ 9. การจัดใหมีหองเก็บสัมภาระและอุปกรณ 10. การจัดและดูแลหองเรียน 11. การจัดทํากระดานดํา 12. การตกแตงหองเรียน 13. การดูแลพื้นอาคาร 14. การระบายอากาศ 15. การดูแลสนามและบริเวณสถานศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2530) ไดจําแนกงานอาคาร สถานที่เปนการจัดสํานักงาน หองธุรการ หองพักครู หองพยาบาล หองประชุม และหองอื่นๆ รวมทั้งการดูแลรักษา ปรับปรุงอาคารสถานที่และอุปกรณประจําโรงเรียนใหอยูในสภาพที่เรียบรอย ซึ่งสามารถแบงยอยได 5 งาน ดังนั้นประสิทธิภาพการบริหารงานอาคารสถานที่ของผูบริหารจึงควร ดูจากความสําเร็จในการบริหารงานดังนี้คือ 1. การจัดสรางอาคารสถานที่ อันรวมถึงการวางผังบริเวณที่ตั้งอาคาร การ ควบคุมดูแลการกอสราง การตกแตงจัดระเบียบใหเปนไปตามหลักการจัดอาคารสถานที่ของ สถานศึกษา ตลอดการรื้อถอนอาคารสถานที่ 2. การใชอาคารสถานที่ คือ การกําหนดการวางแผนการใชอาคารสถานที่ใหเกิด ประโยชนมากที่สุดตอการเรียนการสอนโดยตรง ตอการเกิดการเรียนรูนอกหองเรียนของผูเรียน และตอชุมชน 3. การบํารุงอาคารสถานที่ การประดับตกแตง และซอมแซมอาคารสถานที่ใหคง สภาพเดิมหรือเพิ่มเติมเพื่อใหเกิดประโยชนโดยคุมคาที่สุด 4. การควบคุมดูแลอาคารสถานที่ คือ การควบคุมดูแลโดยทั่วไป เปนการกํากับ ติดตามผลการใชการบํารุงรักษาการตกแตง รวมถึงการควบคุมปฏิบัติงานอาคารสถานที่ ใหเปนไป ตามกฎระเบียบ ขอบังคับและแบบแผนทางราชการที่เกี่ยวของ 5. การประเมินผลการใชอาคารสถานที่เปนการดําเนินการประเมินผลการใชเพื่อ ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงแนวทางการดําเนินงานดานนี้ใหเหมาะสม เพื่อประโยชนสูงสุดและเพื่อ เก็บขอมูลสําหรับวางแผนดําเนินงานอาคารสถานที่ของปถัดไป


24

คุณลักษณะของสถานศึกษาที่พึงประสงคในแงของอาคารสถานที่นั้นจะตองสนอง ประโยชนใชสอยไดสูงสุด กลาวคือ ตองมีลักษณะสําคัญ 10 ประการตอไปนี้ (เมธี ปลันธนานนท , 2528) 1. มีความเพียงพอ (adequacy) หมายถึง มีความเพียงพอในดานตาง ๆ เชน อาคาร หองเรียน หองใชประโยชนตาง ๆ วัสดุ สนามเลนและพักผอน สวมและอื่น ๆ 2. มีความเหมาะสม (suitability) กลาวคือจะตองมีความเหมาะสมในดานที่ตั้งของ อาคารสถานที่ ลักษณะของพื้นที่ และการจัดอาคารสถานที่ เปนตน 3. มีความปลอดภัย (safety) ตองมีความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ อัคคีภัย วาตภัย มรสุมและอื่นๆ 4. มีสุขลักษณะ (healthfulness) อยูหางไกลจากอากาศเปนพิษ แกสพิษ ซองโสเภณี และอื่นๆ 5. ระยะทางที่ติดตอและใชสอย (accessibility) ที่ตั้งของสถานศึกษาจะตองไมไกล จากชุมชนหรือจากจุดตางๆในบริเวณที่สําคัญ รวมทั้งไมหางไกลจากสิ่งอํานวยประโยชนที่จะให ประโยชนตอสถานศึกษา เชน หองสมุดสาธารณะ และอื่นๆ ทั้งนี้รวมทั้งสิ่งอํานวยประโยชนตางๆ ในสถานศึกษา เชน สวมไมไกลตัวอาคารเกินไป 6. มีความยืดหยุน (flexibility) จะตองมีการเอื้ออํานวยตอการเปลี่ยนแปลงและ เอื้ออํานวยตอการใชอุปกรณการเรียนการสอน รวมทั้งเครื่องใชตางๆ ในสถานศึกษาได 7. มีประสิทธิภาพ (effeciency) คือการไดใชประโยชนจากอาคารสถานที่และสิ่ง อํานวยความสะดวกตางๆ มาก แตใชทรัพยากรหรือปจจัยนอยที่สุดหรือคุมคาที่สุด 8. มีความประหยัด (economy) หมายถึงอาคารสถานที่และสิ่งอํานวยประโยชน ตางๆ นั้นมีความประหยัด เชน ประหยัดในการซอม บํารุงรักษา การเคลื่อนยาย และอื่นๆ 9. สามารถขยับขยายได (expansibility) หมายถึงการออกแบบอาคารสถานที่ซึ่ง สามารถขยายได มีการเตรียมการขยายตัวไดพอสมควร ซึ่งสามารถขยายไดงายและสิ้นเปลืองนอย ทั้งนี้รวมถึงการขยายพื้นที่ดินในสถานศึกษานั้นๆ ดวย 10. มีรูปรางที่สวยงาม (appearance) จะตองมีการวางผังบริเวณสถานศึกษาไดอยาง สวยงามและเหมาะสมกับสภาพแวดลอมตางๆ มีการตกแตงบริเวณ หองเรียนและอื่น ๆ ใหเปนที่ ชื่นชมของผูพบเห็นอยูตลอดเวลาการกําหนดการใชอาคารเรียน 5. การบํารุงรักษาอาคารสถานที่


25

ผูบริหารที่ดีจะตองใหคําแนะนําและควบคุมการบํารุงรักษาอาคารสถานที่ หรือ อาจ มอบหมายใหผูชวยดําเนินการก็ได ซึ่งผูบริหารที่มีประสิทธิ ภาพควรจะมีลักษณะดังนี้ คือ (เมธี ปลันธนานนท, 2528) 1. มีการกําหนดงานที่มอบหมายหรือย้ําถึงกําหนดงานที่มอบหมายและความ รับผิดชอบเฉพาะอยางของผูดูแลสถานที่ หรือนักการภารโรงแตละคน ซึ่งผูบริหารจะรูดีวาใคร ทํา อะไร ที่ตรงไหน 2. มีการตรวจตราทั่วบริเวณอาคารเรียนและสนามหรือพื้นที่ของสถานศึกษาอยาง สม่ําเสมอเปนประจํา โดยมุงที่จะสังเกตดูความสะอาดเรียบรอยและสภาพการซอมแซมสิ่งตางๆ แมวาผูบริหารจะมีงานอื่นๆ ที่สําคัญกวานั้นที่จะตองกระทําการตาม ผูบริหารจะตองใหความสนใจ และเอาใจใสตออาคารสถานที่ของสถานศึกษาโดยการแบงเวลาใหกับการตรวจตรานี้อยาง เหมาะสม อยางนอยอาทิตยละครั้งก็ยังดี ผูบริหารจะตองหาทางใหนักเรียน ครู หรือคนอื่นๆ ใหความสนใจที่จะรายงาน ปญหา ขัดของตางๆ เกี่ยวกับอาคารสถานที่ที่เกิดขึ้น ตอหัวหนาผูดูแลอาคารสถานที่หรือผูบริหาร โรงเรียน อาคารสถานที่ควรจะไดรับการดูแลซอมแซมบํารุงรักษาอยูตลอดเวลา เพื่อจะไดดูไม เกาและใชงานไดดีอยูตลอดเวลา ผูที่มีสวนเกี่ยวของกับการซอมแซมบํารุงรักษาอาคารสถานที่มี ดังนี้ (ประจวบ อุนเศียร, 2528) 1. บุคลากรในโรงเรียน ผูบริหารจะตองเปนนักซอมที่คงเสนคงวา ทันทีที่ไดพบเห็น สิ่ง ใดชํารุดเล็กๆ นอยๆ ตองรีบมอบหมายใหเจาหนาที่จัดการซอมแซมใหเสร็จเรียบรอย ถาทํา ในทันที ที่พบจะใหดูเปนงานซอมแซมเล็กๆ นอยๆ ไมสิ้นเปลืองเงินทองมากมาย แตถาปลอยทิ้ง ไวใหชํารุด ทรุดโทรมมาก นานๆ ปจึงจะซอมครั้งหนึ่ง จะดูเปนงานใหญเกินกําลังเจาหนาที่จะ ซอมแซมได 2. การใหชุมชนมีสวนรวมในการบํารุงซอมแซมรักษา ชุมชนมีประโยชนตอสถาบัน เปน อยางมาก อาจจะเปนการรวมกันพัฒนาสถาบัน เชน ทําความสะอาด พัฒนาสนามหรือปลูก ตนไม บริจาคแรงกายซอมสรางอาคารเรียน หรือบริจาคทรัพยเปนคาใชจายซอมแซม ขณะเดียวกัน สถาบันการศึกษาจะตองมีน้ําใจตอบแทนชุมชนดวย สิ่งที่จําเปนพื้นฐาน (Basic Needs) สําหรับสถานศึกษาที่ควรเอาใจใสเปนอันดับแรก ควรจะเปนสิ่งที่เปนรูปธรรม คือ เห็นไดดวยตาเปลา ไดแก สิ่งสําคัญ 3 ประการ (วัลลภ กันทรัพย , 2535) 1. โรงอาหาร หรือสถานที่รูปแบบใดๆ ก็ได ที่จัดไวสําหรับผูเรียนรับประทานอาหาร อาจมีบริการอาหารควบคูไปกับสถานที่ดวย หรือจะอยูในรูปของโรงเรียนจัดเอง หรือมีแมคามาขาย


26

ในโรงอาหารของโรงเรียนที่ดีจะกอใหเกิดความสําเร็จที่ดีและมีความสําคัญแกผูเรียน คือ มีอาหารที่ ดีรับประทาน เปนการเสริมสุขภาพพลานามัย และมีการฝกสุขนิสัยในการรับประทาน และการ รักษาความสะอาดเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร 2. สถานที่เลนกีฬา หรือสถานที่พักผอนในยามวางจากการเรียน อาจอยูในรูปใดๆ ก็ ไดตามความเหมาะสมและขอจํากัดของสถานที่ไมจําเปนจะตองอยูในรูปแบบมาตรฐาน แตมี บริเวณจัดใหนักเรียนไดพักผอน เลนเกม กีฬา ตามความเหมาะสมกับวัย สถานที่เชนนี้จะชวยให นักเรียนไดพักผอน เลน ระหวางพักเรียน เปนการคลายเครียด ไดฝกสุขนิสัยทางกีฬา และสงเสริม สุขภาพ 3. หองสมุด อาจอยูในรูปมาตรฐานหรือรูป แบบใดๆ ก็ไดตามความเหมาะสมและ ขอจํากัดของสถานที่ หองสมุดจะเอื้ออํานวยประโยชนตอนักเรียน คือเสริมสรางความรู สรางนิสัย รักการอาน และไดพักผอนคลายเครียด ลักษณะการใชประโยชนอาคารสถานที่ไววา เปนการกําหนดการวางแผนการใชอาคาร สถานที่ใหเกิดประโยชนมากที่สุดตอการเรียนการสอนโดยตรง ตอการเรียนรูนอกหองเรียนของ ผูเรียนและตอชุมชน ตลอดจนการประเมินผลการใชอาคารสถานที่ เปนการดําเนินการประเมินผล การใช เพื่อการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงแนวทางการดําเนินงานดานนี้ใหเหมาะสม เพื่อ ประโยชนสูงสุด และเพื่อเก็บขอมูลสําหรับวางแผนดําเนินงานอาคารสถานที่ของปถัดไป ซึ่ง แนวทางสําหรับผูบริหารจะตองปฏิบัติ มีดังนี้ (สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ , 2530) 1. รวมกับบุคลากรในสถานศึกษาและชุมชนแกปญหาการขาดแคลนอาคารสถานที่ ในกรณีที่งบประมาณจากทางราชการไมเพียงพอ 2. ดําเนินการวางแผนการใชอาคารสถานที่โดยใหบุคลากรในสถานศึกษามีสวนรวม 3. จัดใหมีแผนผังบริเวณสถานศึกษาและหองเรียน 4. จัดใหมีการทําตารางแสดงการใชสถานที่ 5. ใหบริการดานสถานที่แกชุมชนในกิจกรรมที่เกี่ยวของ 6. ตรวจสภาพอาคารสถานที่อยางสม่ําเสมอ 7. ตรวจตารางการใชอาคารสถานที่ใหเปนไปตามขอตกลงรวมกันระหวางบุคลากร ในสถานศึกษา การบริหารงานดานการใชประโยชนอาคารสถานที่เปนงานควบคุมการใชอาคาร สถานที่ไดแก (บุญชวย จินดาประพันธ, 2536) 1. การดําเนินการจัดสรรการใชอาคารสถานที่


27

2. การทําโปรแกรมการใชอาคารสถานที่ที่ไมอยูในความรับผิดชอบของหนวยงาน 3. การวางแผนการใชอาคารสถานที่ใหเกิดประโยชนใชสอยมากที่สุด 4. การใชสถานที่สําหรับการปฐมนิเทศ 5. การใชสถานที่เพื่อชุมชน 6. การใชสถานที่จัดกิจกรรมตางๆ 7. การจัดงานตางๆ สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2530) ไดจําแนกงานอาคาร สถานที่เปนการจัดสํานักงาน หองธุรการ หองพักครู หองพยาบาล หองประชุม และหองอื่นๆ รวมทั้งการดูแลรักษา ปรับปรุงอาคารสถานที่และอุปกรณประจําโรงเรียนใหอยูในสภาพที่เรียบรอย ดังนั้นประสิทธิภาพการบริหารงานอาคารสถานที่ของผูบริหารจึงควรดูจากความสําเร็จในการ บริหารงานดังนี้คือ 1. การจัดสรางอาคารสถานที่ อันรวมถึงการวางผังบริเวณที่ตั้งอาคาร การ ควบคุมดูแล การกอสราง การตกแตงจัดระเบียบใหเปนไปตามหลักการจัดอาคารสถานที่ของ สถานศึกษา ตลอดการ รื้อถอนอาคารสถานที่ 2. การใชอาคารสถานที่ คือ การกําหนดการวางแผนการใชอาคารสถานที่ใหเกิด ประโยชนมากที่สุดตอการเรียนการสอนโดยตรง ตอการเกิดการเรียนรูนอกหองเรียนของผูเรียน และตอชุมชน 3. การบํารุงอาคารสถานที่ การประดับตกแตง และซอมแซมอาคารสถานที่ใหคง สภาพเดิมหรือเพิ่มเติมเพื่อใหเกิดประโยชนโดยคุมคาที่สุด 4. การควบคุมดูแลอาคารสถานที่ คือ การควบคุมดูแลโดยทั่วไป เปนการกํากับ ติดตามผลการใชการบํารุงรักษาการตกแตง รวมถึงการควบคุมปฏิบัติงานอาคารสถานที่ ใหเปนไป ตามกฎระเบียบ ขอบังคับและแบบแผนทางราชการที่เกี่ยวของ 5. การประเมินผลการใชอาคารสถานที่เปนการดําเนินการประเมินผลการใชเพื่อ ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงแนวทางการดําเนินงานดานนี้ใหเหมาะสม เพื่อประโยชนสูงสุดและเพื่อ เก็บขอมูลสําหรับวางแผนดําเนินงานอาคารสถานที่ของปถัดไป 6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ ฐิติยา เนตรวงษ ( 2551) ไดทําการศึกษาเรื่องการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาตอ การใชอาคารสถานที่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพการใช อาคารสถานที่ การใชประโยชนอาคารเรียน และความพึงพอใจในการใชอาคารสถานที่ของ


28

นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ผลการศึกษาพบวา สภาพการใชงานอาคารสถานที่ของ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต สภาพการใชงานของอาคารและสถานที่โดยภาพรวมยังไม สมบูรณแตพอใชการได การใชประโยชนอาคารสถานที่พบวา ภาพรวมการใชประโยชนอาคารและ สถานที่ยังมีการใชประโยชนนอย ความพึงพอใจตอการใชอาคารสถานที่ของนักศึกษาอยูในระดับ มาก อภิรดี กิจธนะเสรี ( 2545) ไดทําการศึกษาเรื่องประสิทธิภาพในการใหบริการตอปญหา และความตองการของผูใชในศูนยบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรามคําแหง โดยมี วัตถุประสงคในการศึกษาเพื่อศึกษาประสิทธิภาพการใหบริการของศูนยบริการเทคโนโลยี สารสนเทศ ของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ผลการศึกษาพบวา ผูมาใชบริการศูนยบริการเทคโนโลยี สารสนเทศ มหาวิทยาลัยรามคําแหงสวนใหญมีทัศนคติตอประสิทธิภาพในการใหบริการ สภาพ ปญหา และความตองการใชบริการดานตางๆ ไมแตกตางกัน และสภาพภูมิหลังของผูมาใชบริการ ไมมีความสัมพันธกับทัศนคติโดยรวมของผูมาใชบริการ ผูมาใชศูนยบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรามคําแหงสวนใหญมีความคิดเห็นตอการใหบริการโดยรวมอยูในระดับที่พึงพอใจตอ การใหบริการ จํานง ประสานวงค ( 2545) ได ทําการ ศึกษาถึงสภาพและปญหาการบริหารอาคาร สถานที่ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดสกลนคร ผลการศึกษาพบวา โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดสกลนคร มีสภาพการบริหารอาคารสถานที่ โดยรวมและรายดานอยูในระดับปานกลาง และมีปญหาการบริหารอาคารสถานที่โดยรวมและราย ดานอยูในระดับปานกลาง สําหรับขนาดโรงเรียนที่มีขนาดตางกัน มีสภาพการบริหารอาคารสถานที่ และปญหาการบริหารอาคารสถานที่ไมตางกัน เปยมศักดิ์ เหลาอัน (2546) ไดทําการศึกษาเรื่องปญหาและความตองการดานอาคาร สถานที่โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดขอนแกน ผลการวิจัยพบวา ปญหาดาน อาคารสถานที่โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดขอนแกน ตามสถานภาพของ บุคลากร และผูที่เกี่ยวของ จํานวน 5 ดาน โดยภาพรวมมีปญหาอยูในระดับปานกลาง เรียงลําดับ คาเฉลี่ยสูงสุด ไปหาคาเฉลี่ยนอยที่สุด คือ ดานการจัดสภาพแวดลอมภายในโรงเรียน ดานบริเวณ หรือสถานที่ตั้งโรงเรียนดานการจัดระบบสาธารณูปโภคในโรงเรียน ดานการบํารุงรักษาอาคาร สถานที่ สื่อ ครุภัณฑ และดานอาคารเรียน อาคารประกอบสื่อ ครุภัณฑ สวนปญหาดานอาคาร สถานที่โรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดขอนแกน ตามขนาดโรงเรียนจํานวน 5 ดาน โดยภาพรวมมีปญหาอยูในระดับปานกลาง เรียงลําดับคาเฉลี่ยสูงสุดไปหาคาเฉลี่ยนอยที่สุดคือ ดานอาคารเรียน อาคารประกอบ สื่อ ครุภัณฑ ดานการจัดสภาพแวดลอมภายในโรงเรียน ดานการ


29

บํารุงรักษาอาคารสถานที่ สื่อและครุภัณฑ ดานการจัดระบบสาธารณูปโภคในโรงเรียน และดาน บริเวณหรือสถานที่ตั้งโรงเรียน สําหรับเรื่อง ความตองการดานอาคารสถานที่โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดขอนแกน ตามสถานภาพของบุคลากรและผูที่เกี่ยวของ จํานวน 5 ดาน โดยภาพรวมมีความตองการอยูในระดับมาก เรียงลําดับคาเฉลี่ยสูงสุดไปหาคาเฉลี่ยนอยที่สุด คือ ดานการจัดระบบสาธารณูปโภคในโรงเรียน ดานอาคารเรียน อาคารประกอบ สื่อ ครุภัณฑ ดาน การบํารุงรักษาอาคารสถานที่ สื่อ และครุภัณฑ ดานบริเวณหรือสถานที่ตั้งโรงเรียน และดานการ จัดสภาพแวดลอมภายในโรงเรียน สวนความตองการดานอาคารสถานที่โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด กรมสามัญศึกษา จังหวัดขอนแกน ตามขนาดโรงเรียน โดยภาพรวมจํานวน 5 ดาน มีความตองการ ในระดับมาก เรียงจากคาเฉลี่ยสูงสุดไปหาคาเฉลี่ยนอยที่สุดคือ ดานการจัดระบบสาธารณูปโภคใน โรงเรียน ดานอาคารเรียน อาคารประกอบ สื่อ ครุภัณฑ ดานบริเวณหรือสถานที่ตั้งโรงเรียน ดาน การบํารุงรักษาอาคารสถานที่ สื่อ และครุภัณฑ และดานการจัดสภาพแวดลอมภายในโรงเรียน Jeanne Merie Grum Bursheim (1993) ไดศึกษาถึงความสัมพันธระหวางการจัด สิ่งแวดลอมทางการเรียนแบบรวมกลุมกับวัฒนธรรมการทํางานที่ไดผลในโรงเรียนในมหาวิทยาลัย มินิโซตา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางการจัดการสิ่งแวดลอมในการเรียน แบบรวมกลุมกับวัฒนธรรมการทํางานในโรงเรียนในดานการจัดการโรงเรียนและหมวดวิชาแบบ ใดที่มีผลตอวัฒนธรรมการทํางานในโรงเรียน ผลการศึกษาพบวาความสัมพันธระหวางการจัดการ สิ่งแวดลอมในการเรียนแบบรวมกลุมกับวัฒนธรรมการทํางานในโรงเรียนในดานการจัดการ โรงเรียนมีความสัมพันธในทางบวกอยางมีนัยสําคัญระหวางการเรียนแบบรวมกลุมกับวัฒนธรรม การทํางานแบบใหผลผลิต และไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญในเรื่องขนาดละประเภท วิชาชีพของโรงเรียน Fred Anthony Campisano (1992) ไดศึกษาตัวแบบเชิงทฤษฎีที่เกี่ยวของกับผลกระทบ ของสิ่งแวดลอมของที่ทํางานในโรงเรียนมัธยมสอนศาสนาที่มหาวิทยาลัยแหงรัฐอริโซนา โดยมี วัตถุประสงคเพื่อสรางตัวแบบเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับผลกระทบของที่ทํางานในโรงเรียนมัธยมศึกษาจัส ตูอิทที่มีตอมิติสิ่งแวดลอมที่ทํางานและพฤติกรรมของคนทํางาน ผลการศึกษาพบวา ถาโรงเรียน ตองการบรรลุประสิทธิผลขององคกร ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเปนไปตามเปาหมาย ของโรงเรียน การมอบหมายงานที่เหมาะกับครู และครูตั้งใจทํางาน ครูใหญจะตองจัดสิ่งแวดลอม ใหเอื้อตอการเสริมสรางความคิดริเริ่ม ลดการกําหนดงานที่จะกอใหเกิดความกํากวมในบทบาท หนาที่และการขัดแยงในการทํางาน ควรใหมีความสมดุลระหวางระบบราชการกับความคิดอิสระ ในวิชาชีพครู ครูใหญตองเลือกครูที่เหมะสมกับสภาพแวดลอมในการทํางานของโรงเรียน


บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย การศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราช พฤกษเปนการงานวิจัยเชิงสํารวจ โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรที่ใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรีของวิทยาลัย ราชพฤกษทั้งสามกลุมการเรียนคือ กลุมการเรียนปกติ กลุมการเรียนภาคสมทบค่ํา และกลุมการ เรียนภาคสมทบเสาร-อาทิตย ประจําปการศึกษา 2552 ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2552 จํานวน 2,287 คน (ที่มา : งานทะเบียนและวัดผล 1 ธันวาคม 2552) กลุมตัวอยางที่ใชการศึกษา ไดแก นักศึกษาระดับปริญญาตรีของวิทยาลัยราชพฤกษทั้ง สามกลุมการเรียนคือ กลุมการเรียนปกติ กลุมการเรียนภาคสมทบค่ํา และกลุมการเรียนภาคสมทบ เสาร-อาทิตย ประจําปการศึกษา 2552 คือ คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตร คณะนิเทศ ศาสตร และคณะวิทยาศาสตร ดวยวิธีการสุมตัวอยางแบบแบงชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) คํานวณกลุมตัวอยางจากจํานวนประชากร โดยใชตารางของทาโร ยามาเน ณ ระดับความ เชื่อมั่นที่ 95% ดังนั้นกลุมตัวอยางจะมีจํานวนทั้งสิ้น 341 คน ใชวิธีการสุมตัวอยางชนิดอาศัยความนาจะเปน (Probability Sampling) แบบ Stratified Sampling โดยแบงประชากรที่แตกตางกันในเรื่อง กลุมการเรียน ซึ่งสามารถแบง ไดเปน 3 กลุม จากนั้น ใชวิธี Proportionate sampling มาจัดสัดสวนการสุมตัวอยางแตละกลุมการเรียน ดังแสดงใน รายละเอียดตอไปนี้ การจัดสัดสวนการสุมกลุมตัวอยางตามกลุมการเรียน ลําดับ

คณะ

จํานวนประชากรการ วิจัยทงหมด

1 2 3

กลุมการเรียนภาคปกติ กลุมการเรียนภาคค่ํา กลุมการเรียนภาคเสาร-อาทิตย รวมจํานวนนักศึกษาทั้งสิ้น

1,012 490 785 2,287

การกําหนด สัดสวนกลุมตัวอยาง 151 73 117 341


33

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1. เครื่องมือที่ใชในการศึกษาเปนแบบสอบถาม แบงออกเปน 3 สวน ไดแก สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานของกลุมตัวอยาง ไดแก เพศ ชั้นป สาขาวิชาและคณะ ที่สังกัด ลักษณะแบบสอบถามเปนแบบตรวจรายการ (Check List) สวนที่ 2 สภาพการใชอาคารและสถานที่ การใชประโยชนอาคารและสถานที่ ใชคําถามแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) 3 ระดับ ไดแก สภาพสมบูรณใชการไดดี สภาพไมสมบูรณแตพอใชการได และควรปรับปรุงแกไข การใชประโยชนมี 3 ระดับ คือ การใช ประโยชนในระดับมาก นอย และไมมีการใชประโยชน สวนที่ 3 ความพึงพอใจ ในการใชอาคารสถานที่ ใชคําถามแบบมาตราสวน ประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดับ ไดแก ระดับความพึงพอใจอยูในระดับมากที่สุด มาก ปาน กลาง นอย และนอยที่สุด สวนขอเสนอแนะ ใชแบบเติมคํา 2. การสรางเครื่องมือและการหาประสิทธิภาพของเครื่องมือ 2.1 ศึกษาขอมูลเบื้องตน โดยศึกษาจากทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อเปนแนวทางในการสรางเครื่องมือ 2.2 สรางเครื่องมือโดยการศึกษาหลักการสรางแบบสอบถามและแบบตรวจ รายการโดยกําหนดประเด็นและขอบเขตคําถามดวยการจัดหมวดหมูใหสอดคลองกับวัตถุประสงค ของการวิจัย 2.3 ทําการ Try out โดยแจกแบบสอบถาม กับกลุมที่คลายกับกลุมตัวอยาง คือ เลือกนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษที่ไมใชกลุมตัวอยาง จํานวน 30 ชุด เพื่อหาความเที่ยง (Reliability) ของแบบสอบถาม คํานวณคาความเชื่อมั่นโดยใชสูตรสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) ซึ่งคาที่ไดตองมีคาไมนอยกวา 0.70 2.4 ปรับปรุงเครื่องมือ แลวนําไปใชเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยทําการเก็บขอมูลเอง เพื่อใหไดขอมูลที่ชัดเจนและ เที่ยงตรง ซึ่งผูวิจัย ได ทําการเก็บรวบรวมขอมูลในเดือน เมษายน 2553 จากนั้น ตรวจสอบความ ถูกตอง ครบถวนของขอมูลเพื่อนําไปวิเคราะห และแปรผลตอไป


34

การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยนําขอมูลที่ไดจากแบบสอบถาม มาทําการวิเคราะหขอมูล ดวยโปรแกรมสําเร็จรูป โดยใชสถิติในการวิจัยดังนี้ 1. สถิติเชิงพรรณนา( Descriptive Statistics) ขอมูลพื้นฐานของกลุมตัวอยาง สภาพ การใชอาคารและสถานที่ การใชประโยชนอาคารและสถานที่ และระดับความพึงพอใจตอการใช อาคารสถานที่ วิเคราะหขอมูลโดยใช คารอยละ (Percentage) คาความถี่ (Frequency) คาเฉลี่ย (Mean) และ คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)ใชเปนสถิติเบื้องตนในการอภิปรายผล 2. สถิติเชิงอนุมาน( Inferential Statistics) ใชเปนสถิติในการทดสอบความแตกตาง ของเพศนักศึกษาโ ดยใชสถิติ t- test และใชวิธีวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One – way Analysis of Variance) สําหรับชั้นปและคณะที่สังกัด หลังจากนั้นทํา การทดสอบรายคูดวยวิธี Least Square Difference (LSD) เกณฑการใหคะแนนสภาพการใชอาคารและสถานที่ สมบูรณใชการไดดี คะแนนเทากับ ไมสมบูรณแตพอใชการได คะแนนเทากับ ควรปรับปรุงแกไข คะแนนเทากับ

2 1 0

การแปรผลสภาพการใชอาคารและสถานที่ (สมบูรณ สุริยวงศ และคณะ, 2544) คาเฉลี่ย 1.51-2.00 สภาพการใชงานสมบูรณใชการไดดี คาเฉลี่ย 0.50-1.50 สภาพการใชงานไมสมบูรณแตพอใชการได คาเฉลี่ย 0.00-0.49 สภาพการใชงานควรปรับปรุงแกไข เกณฑการใหคะแนนการใชประโยชนอาคารและสถานที่ ใชประโยชนในระดับมาก คะแนนเทากับ ใชประโยชนในระดับนอย คะแนนเทากับ ไมมีการใชประโยชน คะแนนเทากับ

2 1 0

การแปรผลการใชประโยชนอาคารและสถานที่ (สมบูรณ สุริยวงศ และคณะ, 2544) คาเฉลี่ย 1.51-2.00 ระดับการใชประโยชนอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 0.50-1.50 ระดับการใชประโยชนอยูในระดับนอย


35

คาเฉลี่ย 0.00-0.49 ไมมีการใชประโยชน เกณฑการใหคะแนนความพึงพอใจ พึงพอใจมากที่สุด คะแนนเทากับ พึงพอใจมาก คะแนนเทากับ พึงพอใจปานกลาง คะแนนเทากับ พึงพอใจนอย คะแนนเทากับ พึงพอใจนอยที่สุด คะแนนเทากับ

5 4 3 2 1

การแปรผลความพึงพอใจ (สมบูรณ สุริยวงศ และคณะ, 2544) คาเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง ความพึงพอใจอยูในระดับดีมากที่สุด คาเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง ความพึงพอใจอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง ความพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง ความพึงพอใจอยูในระดับนอย คาเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง ความพึงพอใจอยูในระดับนอยที่สุด


35

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล การศึกษาวิจัยครั้งนี้มุงศึกษา ลักษณะการใช การใชประโยชน และความพึงพอใจ ในการใช อาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ ผูวิจัยไดนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลเปน 4 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 การวิเคราะหขอมูล เกี่ยวกับสถานภาพของกลุมตัวอยาง โดยวิเคราะหจากคาความถี่ คา รอยละ เสนอผลในรูปแบบของตาราง ตอนที่ 2 ลักษณะการใช อาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ โดยวิเคราะหจาก คาเฉลี่ย และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เสนอผลในรูปแบบของตาราง ตอนที่ 3 สภาพการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ โดยวิเคราะหจาก คาเฉลี่ย และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เสนอผลในรูปแบบของตาราง ตอนที่ 4 ความพึงพอใจในการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ โดย วิเคราะหจากคาเฉลี่ย และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เสนอผลในรูปแบบของตาราง ตอนที่ 5 การทดสอบสมมติฐาน โดยวิเคราะหจากคาสถิติ t- test การวิเคราะหความแปรปรวน ทางเดียว (One – way Analysis of Variance) และการทดสอบรายคูดวยวิธี Least Square Difference (LSD)เสนอผลในรูปแบบของตาราง


36

ผลการวิเคราะหขอมูล

ตอนที่ 1 การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพของกลุมตัวอยาง ตาราง 1 จํานวนและรอยละ จําแนกตามเพศ เพศ ชาย

จํานวน

รอยละ

116

34.02

หญิง

225 65.98 รวม 341 100.00 จากตารางที่ 1 พบวาคุณลักษณะของกลุมตัวอยางกวาครึ่งเปนเพศหญิงมีจํานวน 225 คน (คิดเปนรอยละ 65.98) และเพศชายมีจํานวน 116 คน (คิดเปนรอยละ 34.02) ตาราง 2 จํานวนและรอยละ จําแนกตามชั้นป ชั้นป

จํานวน

รอยละ

ชั้นปที่ 1

122

35.78

ชั้นปที่ 2

96

28.15

ชั้นปที่ 3

71

20.82

ชั้นปที่ 4

52

15.25

รวม

341 100.00 จากตารางที่ 2 พบวานักศึกษาสวนใหญเปนนักศึกษาชั้นปที่ 1 มีจํานวน 122 คน (คิดเปนรอยละ 35.78) รองลงมาคือ นักศึกษาชั้นปที่ 2 มีจํานวน 96 คน (คิดเปนรอยละ 28.15) นักศึกษาชั้นปที่ 3 มีจํานวน 71 คน (คิดเปนรอยละ 20.82) และนักศึกษาชั้นปที่ 4 มีจํานวน 52 คน (คิดเปนรอยละ 15.25) ตามลําดับ


37

ตาราง 3 จํานวนและรอยละ จําแนกตามคณะที่สังกัด คณะที่สังกัด

จํานวน

รอยละ

คณะบริหารธุรกิจ

115

33.72

คณะบัญชี

83

24.34

คณะนิติศาสตร

63

18.48

คณะนิเทศศาสตร

54

15.84

คณะวิทยาศาสตร

26

7.62

รวม

341 จากตารางที่ 3 พบวานักศึกษาคณะบริหารธุรกิจมีจํานวน

100.00 115 คน (คิดเปนรอยละ 33.72)

รองลงมาคณะบัญชี มีจํานวน 83 คน (คิดเปนรอยละ 24.34) คณะนิติศาสตร มีจํานวน 63 คน (คิดเปน รอยละ 18.48) คณะนิเทศศาสตร มีจํานวน 54 คน (คิดเปนรอยละ 15.84) และคณะวิทยาศาสตร มี จํานวน 26 คน (คิดเปนรอยละ 7.62) ตามลําดับ


38

ตอนที่ 2 ลักษณะการใชประโยชนอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ ตาราง 4 การใชประโยชนอาคารและสถานที่ S.D. การใชประโยชนอาคารและสถานที่ X

แปลผล

1. ผังบริเวณสถานศึกษา

1.23

0.51

นอย

2. สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา

1.28

0.55

นอย

3. อาคารเรียน

1.48

0.56

นอย

4. อาคารอเนกประสงค

1.33

0.53

นอย

5. หองเรียน

1.56

0.54

มาก

6. สํานักงานใหบริการนักศึกษา เชน สํานักทะเบียน การเงิน

1.35

0.56

นอย

7. หองประชุมและหองสัมมนา

1.34

0.58

นอย

8. สํานักหอสมุด

1.18

0.62

นอย

9. หองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ 10. หองกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับการทํากิจกรรม นักศึกษา 11. หองปฏิบัติการ / โรงฝกงาน

1.36 1.20

0.60 0.59

นอย นอย

0.92

0.55

นอย

12. หองแนะแนว

1.01

0.62

นอย

13. หองพยาบาล

1.12

0.64

นอย

14. โรงอาหาร

1.25

0.64

นอย

15. หองน้ําหองสวม

1.27

0.64

นอย

16. สวนหยอมสถานพักผอน

1.14

0.61

นอย

17. สถานที่เลนกีฬา

1.20

0.61

นอย

18. ที่จอดรถ

1.23

0.58

นอย

1.25

0.29

โดยรวม

นอย


39

จากตารางที่ 4 พบวา นักศึกษาใช ประโยชนอาคารและสถานที่ ภาพรวมอยูในระดับ นอย ( X =1.25) เมื่อพิจารณาในรายละเอียด พบวา นักศึกษาใช ประโยชนอาคารและสถานที่ อยูในระดับมาก เพียงเรื่องเดียว คือ หองเรียน ที่เหลืออยูระดับนอย โดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา คือ อาคารเรียน หองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ สํานักงานใหบริการนักศึกษา เชน สํานักทะเบียน การเงิน หอง ประชุมและหองสัมมนา อาคารอเนกประสงค สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา หองน้ําหองสวม โรง อาหาร ผังบริเวณสถานศึกษา ที่จอดรถ หองกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับการทํากิจกรรมนักศึกษา สถานที่เลนกีฬา สํานักหอสมุด สวนหยอมสถานพักผอน หองพยาบาล และหองแนะแนว ตามลําดับ มี เพียงขอเดียวที่อยูในระดับนอย คือ หองปฏิบัติการ / โรงฝกงาน ตามลําดับ


40

ตอนที่ 3 สภาพการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ ตาราง 5 สภาพการใชอาคารและสถานที่ S.D. สภาพการใชอาคารและสถานที่ X 1. ผังบริเวณสถานศึกษา 2. สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา 3. อาคารเรียน 4. อาคารอเนกประสงค 5. หองเรียน 6. สํานักงานใหบริการนักศึกษา เชน สํานัก ทะเบียน การเงิน 7. หองประชุมและหองสัมมนา 8. สํานักหอสมุด 9. หองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ 10. หองกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับการทํา กิจกรรมนักศึกษา 11. หองปฏิบัติการ / โรงฝกงาน 12. หองแนะแนว 13. หองพยาบาล 14. โรงอาหาร 15. หองน้ําหองสวม 16. สวนหยอมสถานพักผอน 17. สถานที่เลนกีฬา 18. ที่จอดรถ โดยรวม

แปลผล

1.28 1.22 1.36 1.22 1.55 1.35

0.60 0.65 0.70 0.67 0.56 0.67

ไมสมบูรณแตพอใชการได

1.42 1.32 1.11 1.03

0.66 0.72 0.72 0.73

ไมสมบูรณแตพอใชการได ไมสมบูรณแตพอใชการได ไมสมบูรณแตพอใชการได ไมสมบูรณแตพอใชการได

0.95 1.00 1.09 0.79 0.98 0.92 0.95

0.69 0.73 0.76 0.74 0.77 0.75 0.69

0.89

0.75

ไมสมบูรณแตพอใชการได ไมสมบูรณแตพอใชการได ไมสมบูรณแตพอใชการได ไมสมบูรณแตพอใชการได ไมสมบูรณแตพอใชการได ไมสมบูรณแตพอใชการได ไมสมบูรณแตพอใชการได ไมสมบูรณแตพอใชการได

1.13

0.41

ไมสมบูรณแตพอใชการได

ไมสมบูรณแตพอใชการได ไมสมบูรณแตพอใชการได ไมสมบูรณแตพอใชการได สมบูรณใชการไดดี ไมสมบูรณแตพอใชการได


41

จากตารางที่ 5 พบวา นักศึกษาที่ ใชอาคารและสถานที่ มีความคิดเห็นวา โดยภาพรวมอาคาร สถานที่อยูในสภาพการใชงานไมสมบูรณแตพอใชการได ( X = 1.13) เมื่อพิจารณาในรายละเอียด พบวา หองเรียนอยู สภาพการใชงานสมบูรณใชการไดดี ที่เหลืออยู สภาพการใชงานไมสมบูรณแตพอใชการได โดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา คือ หองประชุมและ หองสัมมนา อาคารเรียน สํานักงานใหบริการนักศึกษา เชน สํานักทะเบียน การเงิน สํานักหอสมุด ผัง บริเวณสถานศึกษา สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา อาคารอเนกประสงค หองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอร บริการ หองพยาบาล หองกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับการทํากิจกรรมนักศึกษา หองแนะแนว หองน้ํา หองสวม หองปฏิบัติการ / โรงฝกงาน สถานที่เลนกีฬา สวนหยอมสถานพักผอน ที่จอดรถ และ โรง อาหาร ตามลําดับ ตอนที่ 4 ความพึงพอใจในการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ ตาราง 6 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ภาพรวม ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่

X

S.D.

แปลผล

ดานอาคารเรียน อาคารประกอบ

3.36

0.77

ปานกลาง

ดานหองเรียน หองปฏิบัติการหองคอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ

3.36

0.75

ปานกลาง

ดานบริเวณสถานศึกษา

2.97

0.84

ปานกลาง

ดานสํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ

3.26

0.69

ปานกลาง

ดานโรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร

3.08

0.88

ปานกลาง

ดานหองประชุมและหองสัมมนา

3.61

0.79

มาก

ดานหองกิจกรรม สถานออกกําลังกาย และนันทนาการ

3.36

0.75

ปานกลาง

ดานการจัดสภาพแวดลอมและระบบสาธารณูปโภคของวิทยาลัย

3.24

0.84

ปานกลาง

ดานการรักษาความปลอดภัยภายในวิทยาลัย

3.47

0.84

ปานกลาง

3.30

0.55

ปานกลาง

โดยรวม


42

จากตารางที่ 6 พบวา นักศึกษามีระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารสถานที่ โดยภาพรวมอยู ระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาแตละดานโดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา พบวา ดานหองประชุมและ หองสัมมนา นักศึกษามีความพึงพอใจมากที่สุด รองลงมา คือ ดานการรักษาความปลอดภัยภายใน วิทยาลัย ดานอาคารเรียน อาคารประกอบ ดานหองเรียน หองปฏิบัติการหองคอมพิวเตอร และหอง บริการตางๆ ดานหองกิจกรรม สถานออกกําลังกาย และนันทนาการ ดานสํานักหอสมุดและหองผลิต สื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ ดานการจัดสภาพแวดลอมและระบบสาธารณูปโภคของวิทยาลัย ดานโรง อาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร และดานบริเวณสถานศึกษา ตามลําดับ เมื่อพิจารณารายละเอียดในแตละดาน แสดงดังตารางที่ 7-15 ตาราง 7 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานอาคารเรียน อาคารประกอบ ความพึงพอใจตอการใชอาคารเรียน อาคารประกอบ

X

S.D.

แปลผล

1. การจัดทําแผนผังอาคารตางๆ

3.22

0.94

ปานกลาง

2. การจัดระบบแสงสวางภายในอาคาร

3.71

0.94

มาก

3. การจัดสื่อ วัสดุ อุปกรณ ในอาคารเรียน

3.40

0.86

ปานกลาง

4. ความสะดวกในการใชประโยชน

3.45

0.95

ปานกลาง

5. หองน้ําหองหองสวมสําหรับนักศึกษา

ปานกลาง 3.04 1.15 จากตารางที่ 7 พบวา นักศึกษามีระดับ ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัย ราชพฤกษ ดานอาคารเรียน อาคารประกอบ พบวา การจัดระบบแสงสวางภายในอาคาร อยูระดับมาก เพียงเรื่องเดียว ที่เหลืออยูระดับปานกลาง โดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา คือ ความสะดวกในการ ใชประโยชน การจัดสื่อ วัสดุ อุปกรณ ในอาคารเรียน การจัดทําแผนผังอาคารตางๆ และหองน้ําหอง หองสวมสําหรับนักศึกษา ตามลําดับ


43

ตาราง 8 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานหองเรียหองปฏิบัติการ หองคอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ ความพึงพอใจตอการใช หองเรียน หองปฏิบัติการหองคอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ 1. มีแสงสวางเพียงพอและระบายอากาศที่ดี

X

S.D.

แปลผล

3.60

1.00

มาก

2. การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาหอง

3.39

0.95

ปานกลาง

3. หองเรียนมีจํานวนโตะเกาอี้เพียงพอกับนักศึกษา

3.20

1.10

ปานกลาง

4. โตะเกาอี้มีการจัดวางอยางเปนระเบียบ

3.07

1.03

ปานกลาง

5. หองเรียนมีตารางการใชอยางชัดเจน

3.37

0.90

ปานกลาง

6. บรรยากาศทางวิชาการที่เอื้อตอการเรียนรู

3.46

0.87

ปานกลาง

7. สื่ออุปกรณที่สะดวกตอการเรียนการสอน

ปานกลาง 3.39 0.95 จากตารางที่ 8 พบวา นักศึกษามีระดับ ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัย ราชพฤกษ ดานหองเรียหองปฏิบัติการ หองคอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ พบวา มีแสงสวาง เพียงพอและระบายอากาศที่ดี อยูระดับมากเพียงเรื่องเดียว ที่เหลืออยูระดับปานกลาง โดยเรียงลําดับจาก คาเฉลี่ยมากลงมา คือ บรรยากาศทางวิชาการที่เอื้อตอการเรียนรู การรักษาความสะอาดและการ บํารุงรักษาหอง สื่ออุปกรณที่สะดวกตอการเรียนการสอน หองเรียนมีตารางการใชอยางชัดเจน หองเรียนมีจํานวนโตะเกาอี้เพียงพอกับนักศึกษา และโตะเกาอี้มีการจัดวางอยางเปนระเบียบ ตามลําดับ


44

ตาราง 9 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานบริเวณสถานศึกษา ความพึงพอใจตอการใชบริเวณสถานศึกษา

X

S.D.

แปลผล

1. การจัดทําแผนที่ตั้งบริเวณสถานศึกษา

3.35

1.04

ปานกลาง

2. สถานที่พักผอน

3.09

1.00

ปานกลาง

3. สถานที่ออกกําลังกาย

2.91

1.12

ปานกลาง

4. พื้นที่จอดรถยนตและรถจักรยานยนต

2.76

1.18

ปานกลาง

5. เครื่องหมายแสดงการจราจรภายในสถานศึกษา

2.77

1.06

ปานกลาง

6. การบํารุงรักษาพื้นที่และบริเวณสวนและสนามใหรมรื่น

2.93

1.17

ปานกลาง

7. การปรับปรุงภูมิทัศน

ปานกลาง 3.01 1.26 จากตารางที่ 9 พบวา นักศึกษามีระดับ ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัย ราชพฤกษ ดานบริเวณสถานศึกษา อยูระดับปานกลางทั้งหมด โดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจในเรื่อง การจัดทําแผนที่ตั้งบริเวณสถานศึกษา มากที่สุด รองลงมา คือ สถานที่พักผอน การปรับปรุงภูมิทัศน การบํารุงรักษาพื้นที่และบริเวณสวนและสนามใหรมรื่น สถานที่ ออกกําลังกาย เครื่องหมายแสดงการจราจรภายในสถานศึกษา และพื้นที่จอดรถยนตและ รถจักรยานยนต ตามลําดับ


45

ตาราง 10 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานสํานักหอสมุดและ หองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ ความพึงพอใจตอการใชสํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อศูนย คอมพิวเตอรบริการ

X

S.D.

แปลผล

1. มีแสงสวางเพียงพอและระบายอากาศที่ดี

3.48

0.78

ปานกลาง

2. ความสะดวกในการคนหาหนังสือและสิ่งพิมพในหองสมุด

3.28

0.92

ปานกลาง

3. ความหลากหลายของหนังสือและเอกสารในหองสมุด

3.30

0.98

ปานกลาง

4. ความทันสมัยของหนังสือและเอกสารในหองสมุด

3.18

0.92

ปานกลาง

5. จํานวนหนังสือและเอกสารในหองสมุด

3.23

0.89

ปานกลาง

6. การจัดหนังสือ สื่อโสตทัศน วัสดุ อุปกรณ ภายใน สํานักหอสมุด 7. สํานักหอสมุดมีความสะอาด และเปนระเบียบเรียบรอย

3.21

0.87

ปานกลาง

3.48

0.93

ปานกลาง

8. มีโตะเกาอี้เพียงพอกับนักศึกษา

3.33

1.04

ปานกลาง

9. ความเพียงพอของจํานวนคอมพิวเตอร

3.16

1.05

ปานกลาง

10. ความรวดเร็วของระบบอินเทอรเน็ต

3.01

1.02

ปานกลาง

11. ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร

3.17

1.05

ปานกลาง

จากตารางที่ 10 พบวา นักศึกษามีระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัย ราชพฤกษ ดานสํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ อยูระดับปานกลางทั้งหมด โดย เรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจในเรื่อง มีแสงสวางเพียงพอและระบาย อากาศที่ดี มากที่สุด รองลงมา คือ สํานักหอสมุดมีความสะอาด และเปนระเบียบเรียบรอย มีโตะเกาอี้ เพียงพอกับนักศึกษา ความหลากหลายของหนังสือและเอกสารในหองสมุด ความสะดวกในการคนหา หนังสือและสิ่งพิมพในหองสมุด จํานวนหนังสือและเอกสารในหองสมุด การจัดหนังสือ สื่อโสตทัศน วัสดุ อุปกรณ ภายในสํานักหอสมุด ความทันสมัยของหนังสือและเอกสารในหองสมุด ประสิทธิภาพ ของเครื่องคอมพิวเตอร ความเพียงพอของจํานวนคอมพิวเตอร และความรวดเร็วของระบบอินเทอรเน็ต ตามลําดับ


46

ตาราง 11 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานโรงอาหารหรือ สถานที่รับประทานอาหาร ความพึงพอใจตอการใชโรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร 1. มีแสงสวางเพียงพอและระบายอากาศที่ดี

X

S.D.

แปลผล ปานกลาง

2. การจัดวัสดุ อุปกรณ เครื่องปรุงรส และการรักษาความ สะอาด 3. การจัดโตะ เกาอี้ภายในโรงอาหาร

3.38 3.09

1.01 1.09

ปานกลาง

3.02

1.01

ปานกลาง

4. การจัดบรรยากาศภายในโรงอาหารที่เอื้อตอดานโภชนาการ

2.99

1.00

ปานกลาง

5. การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาโรงอาหาร

ปานกลาง 2.89 1.03 จากตารางที่ 11 พบวา นักศึกษามีระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัย ราชพฤกษ ดานโรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร อยูระดับปานกลางทั้งหมด โดยเรียงลําดับ จากคาเฉลี่ยมากลงมา พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจในเรื่อง มีแสงสวางเพียงพอและระบายอากาศที่ดี มากที่สุด รองลงมา คือ การจัดวัสดุ อุปกรณ เครื่องปรุงรส และการรักษาความสะอาด การจัดโตะ เกาอี้ ภายในโรงอาหาร การจัดบรรยากาศภายในโรงอาหารที่เอื้อตอดานโภชนาการ และการรักษาความ สะอาดและการบํารุงรักษาโรงอาหาร ตามลําดับ


47

ตาราง 12 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานหองประชุมและ หองสัมมนา ความพึงพอใจตอการใชหองประชุมและหองสัมมนา 1. มีแสงสวางเพียงพอและระบายอากาศที่ดี 2.หองประชุมและหองสัมมนามีจํานวนเพียงพอตอการใชงาน และสามารถรองรับการจัดกิจกรรมประเภทตางๆ ไดอยาง เหมาะสม 3. ความพรอมของหองประชุมและหองสัมมนา 4. หองประชุมและหองสัมมนามีความสะอาดเปนระเบียบ 5. สิ่งอํานวยความสะดวกมีประสิทธิภาพมีความทันสมัย และมี จํานวนเพียงพอตอการใชงาน 6. ความสะดวกในการใชวัสดุ อุปกรณ 7. การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาหองประชุม

X

S.D.

แปลผล

3.64 3.62

0.89 0.88

มาก

3.59

0.85

มาก

3.64 3.61

0.94 0.90

มาก มาก

3.50

0.95

ปานกลาง

มาก

มาก 3.65 0.93 จากตารางที่ 12 พบวา นักศึกษามีระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัย ราชพฤกษ ดานหองประชุมและหองสัมมนา อยูระดับปานกลางเพียงเรื่องเดียวคือ ความสะดวกในการ ใชวัสดุอุปกรณ ที่เหลืออยูในระดับมากทั้งหมด โดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา เรื่อง การรักษา ความสะอาดและการบํารุงรักษาหองประชุม มากที่สุด รองลงมา คือ มีแสงสวางเพียงพอและระบาย อากาศที่ดี หองประชุมและหองสัมมนามีความสะอาดเปนระเบียบ หองประชุมและหองสัมมนามี จํานวนเพียงพอตอการใชงาน สิ่งอํานวยความสะดวกมีประสิทธิภาพมีความทันสมัย และมีจํานวน เพียงพอตอการใชงาน และความพรอมของหองประชุมและหองสัมมนา ตามลําดับ แตมีเพียงขอเดียวที่ อยูในระดับปานกลาง คือ ความสะดวกในการใชวัสดุ อุปกรณ ตามลําดับ


48

ตาราง 13 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานหองกิจกรรม สถานที่ ออกกําลังกาย และนันทนาการ ความพึงพอใจตอการใชหองกิจกรรม สถานออกกําลังกาย และนันทนาการ

X

S.D.

แปลผล

1. มีแสงสวางเพียงพอและระบายอากาศที่ดี

3.45

0.88

ปานกลาง

2. การจัดวัสดุ อุปกรณ ครุภัณฑ และสิ่งอํานวยความสะดวก

3.27

0.87

ปานกลาง

3. ความสะดวกในการใชวัสดุ อุปกรณและการใชบริการ

3.27

0.91

ปานกลาง

4. การจัดบรรยากาศภายในหองที่เอื้อตอการใชบริการ

3.34

0.81

ปานกลาง

5. การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาหอง

ปานกลาง 3.48 0.92 จากตารางที่ 13 พบวา นักศึกษามีระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัย ราชพฤกษ ดานหองกิจกรรม สถานที่ออกกําลังกายและนันทนาการ อยูระดับปานกลางทั้งหมด โดย เรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจในเรื่อง การรักษาความสะอาดและการ บํารุงรักษาหอง มากที่สุด รองลงมา คือ มีแสงสวางเพียงพอและระบายอากาศที่ดี การจัดบรรยากาศ ภายในหองที่เอื้อตอการใชบริการ การจัดวัสดุ อุปกรณ ครุภัณฑ และสิ่งอํานวยความสะดวก และความ สะดวกในการใชวัสดุ อุปกรณและการใชบริการ ตามลําดับ


49

ตาราง 14 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานการจัดสภาพแวดลอม และระบบสาธารณูปโภคของวิทยาลัย ความพึงพอใจตอการจัดสภาพแวดลอมและระบบสาธารณูปโภค ของวิทยาลัย

X

S.D.

แปลผล

1. การดูแลรักษาหองน้ํา หองสวมใหสะอาด

3.24

1.16

ปานกลาง

2. การจัดที่นั่งใหนักศึกษาพักผอนในเวลาวาง

3.15

1.02

ปานกลาง

3. การมีถังขยะที่แยกตามประเภทขยะ

3.09

1.03

ปานกลาง

4. ระบบระบายน้ําตามแนวถนน

3.27

0.98

ปานกลาง

5. การจัดการไฟฟาภายในอาคาร เครื่องปรับอากาศ หรือพัดลม

3.45

1.00

ปานกลาง

6. การจัดน้ําเพื่อบริโภคในสถานศึกษา

3.14

1.02

ปานกลาง

7. การจัดระบบติดตอสื่อสารภายในสถานศึกษา เชน ระบบ 3.32 0.92 ปานกลาง โทรศัพทบอรดประชาสัมพันธ จากตารางที่ 14 พบวา นักศึกษามีระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัย ราชพฤกษ ดานการจัดสภาพแวดลอม และระบบสาธารณูปโภคของวิทยาลัย อยูระดับปานกลางทั้งหมด โดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจในเรื่อง การจัดการไฟฟาภายใน อาคาร เครื่องปรับอากาศ หรือพัดลม มากที่สุด รองลงมา คือ การจัดระบบติดตอสื่อสารภายใน สถานศึกษา เชน ระบบโทรศัพทบอรดประชาสัมพันธ ระบบระบายน้ําตามแนวถนน การดูแลรักษา หองน้ํา หองสวมใหสะอาด การจัดที่นั่งใหนักศึกษาพักผอนในเวลาวาง การจัดน้ําเพื่อบริโภคใน สถานศึกษา และการมีถังขยะที่แยกตามประเภทขยะ ตามลําดับ


50

ตาราง 15 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ดานการรักษาความ ปลอดภัยภายในวิทยาลัย S.D.

แปลผล

ความพึงพอใจตอการรักษาความปลอดภัยภายในวิทยาลัย

X

1. มีระบบปองกันเพลิงไหม และสัญญาณเตือนภัยตางๆ อยาง เพียงพอ 2. มีการจัดระบบเวร ยามรักษาความปลอดภัย

3.40

0.94

ปานกลาง

3.43

0.93

ปานกลาง

3. การใหบริการของเจาหนาที่รักษาความปลอดภัย

3.54

0.97

มาก

4. ระบบการดูแลรักษาความปลอดภัยในวิทยาลัยสรางความ 3.52 0.93 มาก มั่นใจในความปลอดภัยใหแกนักศึกษา จากตารางที่ 15 นักศึกษามีระดับ ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราช พฤกษ ดานการรักษาความปลอดภัยภายในวิทยาลัย อยูระดับ มาก 2 เรื่อง ไดแก การใหบริการของ เจาหนาที่รักษาความปลอดภัย และระบบการดูแลรักษาความปลอดภัยในวิทยาลัยสรางความมั่นใจใน ความปลอดภัยใหแกนักศึกษา สวนอีก 2 เรื่องอยูระดับ ปานกลาง ไดแก มีการจัดระบบเวร ยามรักษา ความปลอดภัย และมีระบบปองกันเพลิงไหม และสัญญาณเตือนภัยตางๆ อยางเพียงพอ ตามลําดับ


51

ตอนที่ 5 การทดสอบสมมติฐาน สมมติฐาน คือ สภานภาพนักศึกษาที่แตกตางกันสงผลตอระดับความพึงพอใจตอการใชอาคาร และสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษแตกตางกัน ผลการทดสอบดังตาราง ตาราง 16 การทดสอบ เพศที่แตกตางกันสงผลตอระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของ วิทยาลัยราชพฤกษ ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ ของวิทยาลัยราชพฤกษ 1. อาคารเรียน อาคารประกอบ เพศชาย เพศหญิง 2. หองเรียน หองปฏิบัติการหองคอมพิวเตอร และหอง บริการตางๆ เพศชาย เพศหญิง 3. บริเวณสถานศึกษา เพศชาย เพศหญิง 4. สํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ เพศชาย เพศหญิง 5. โรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร เพศชาย เพศหญิง 6. หองประชุมและหองสัมมนา เพศชาย เพศหญิง

จํานวน

X

S.D

t

P

116 225

3.18 3.45

0.79 0.74

-3.02*

0.00

116 225

3.13 3.46

0.81 0.68

-4.04*

0.00

116 225

2.71 3.11

0.82 0.81

-4.30*

0.00

116 225

2.90 3.44

0.74 0.58

-7.42*

0.00

116 225

2.71 3.27

0.81 0.86

-5.82*

0.00

116 225

3.11 3.86

0.79 0.65

-9.32*

0.00


52

ตาราง 16 (ตอ) ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ S.D t P จํานวน X ของวิทยาลัยราชพฤกษ 7. หองกิจกรรม สถานออกกําลังกาย และนันทนาการ 116 2.96 0.70 -7.77* 0.00 เพศชาย 225 3.57 0.69 เพศหญิง 8. การจัดสภาพแวดลอมและระบบสาธารณูปโภคของ วิทยาลัย 116 2.63 0.72 -11.26* 0.00 เพศชาย 225 3.55 0.71 เพศหญิง 9. การรักษาความปลอดภัยภายในวิทยาลัย 116 2.74 0.66 -14.70* 0.00 เพศชาย 225 3.85 0.65 เพศหญิง * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากตาราง 16 ผลการทดสอบเพศที่แตกตางกันสงผลตอระดับความพึงพอใจตอการใชอาคาร และสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ แตกตางกันหรือไม พบวานักศึกษาหญิง มีระดับความพึงพอใจตอ การใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ในเรื่องอาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน หองปฏิบัติการหองคอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ บริเวณสถานศึกษา สํานักหอสมุดและหองผลิต สื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ โรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร หองประชุมและหองสัมมนา หองกิจกรรม สถานออกกําลังกาย และนันทนาการ การจัดสภาพแวดลอมและระบบสาธารณูปโภคของ วิทยาลัย การรักษาความปลอดภัยภายในวิทยาลัย ( t = -3.02 t = -4.04 t = -4.30 t = -7.42 t = -5.82 t = 9.32 t = -7.77 t = -11.26 และ t = -14.70) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05


53

ตาราง 17 การทดสอบ ชั้นปที่แตกตางกันสงผลตอระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของ วิทยาลัยราชพฤกษ ความพึงพอใจตอการใชอาคารและ แหลงความ df SS MS F p สถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ แปรปรวน 1. อาคารเรียน อาคารประกอบ ระหวางกลุม 3 4.74 1.58 2.71* 0.05 ภายในกลุม 337 196.36 0.58 รวม 340 201.09 2. หองเรียน หองปฏิบัติการหอง ระหวางกลุม 3 7.95 2.65 4.94* 0.00 คอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ ภายในกลุม 337 180.85 0.54 รวม 340 188.80 3. บริเวณสถานศึกษา ระหวางกลุม 3 25.26 8.42 13.23* 0.00 ภายในกลุม 337 214.51 0.64 รวม 340 239.77 4. สํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อ ระหวางกลุม 3 4.71 1.57 3.39* 0.02 ศูนยคอมพิวเตอรบริการ ภายในกลุม 337 155.87 0.46 รวม 340 160.58 5. โรงอาหารหรือสถานที่ ระหวางกลุม 3 1.42 0.47 0.61 0.61 รับประทานอาหาร ภายในกลุม 337 263.55 0.78 รวม 340 264.97 6. หองประชุมและหองสัมมนา ระหวางกลุม 3 0.68 0.23 0.36 0.78 ภายในกลุม 337 210.68 0.63 รวม 340 211.36 7. หองกิจกรรม สถานออกกําลัง ระหวางกลุม 3 2.23 0.74 1.32 0.27 กาย และนันทนาการ ภายในกลุม 337 190.03 0.56 รวม 340 192.26


54

ตาราง 17 (ตอ) ความพึงพอใจตอการใชอาคารและ แหลงความ df SS MS F p สถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ แปรปรวน 8. การจัดสภาพแวดลอมและระบบ ระหวางกลุม 3 5.34 1.78 2.57* 0.05 สาธารณูปโภคของวิทยาลัย ภายในกลุม 337 233.88 0.69 รวม 340 239.22 9. สํานักการรักษาความปลอดภัย ระหวางกลุม 3 2.46 0.82 1.17 0.32 ภายในวิทยาลัย ภายในกลุม 337 236.76 0.70 รวม 340 239.21 * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากตาราง 17 ผลการทดสอบ ชั้นปที่แตกตางกันสงผลตอระดับความพึงพอใจตอการใช อาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ แตกตางกันหรือไม พบวานักศึกษาที่มีชวงอายุตางกัน ความ พึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษแตกตางกัน ในเรื่องหองเรียน หองปฏิบัติการหองคอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ บริเวณสถานศึกษา สํานักหอสมุดและหองผลิต สื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากผลการทดสอบ พบวา ชั้นปที่เรียน ของนักศึกษามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ จึงมี การทดสอบรายคูตอไป ดังตาราง 18 - 23


55

ตาราง 18 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานอาคารเรียน อาคารประกอบ ชั้นป

ชั้นปที่ 1

ชั้นปที่ 2

ชั้นปที่ 3

ชั้นปที่ 4

3.24 3.35 3.44 3.58 X ชั้นปที่ 1 3.24 ชั้นปที่ 2 3.35 0.30 ชั้นปที่ 3 3.44 0.08 0.46 ชั้นปที่ 4 3.58 0.01* 0.08 0.30 จากตารางที่ 18 พบวานักศึกษาชั้นปที่ 1 มีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของ วิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานอาคารเรียน อาคารประกอบ แตกตางจากนักศึกษาชั้นปที่ 4 อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ตาราง 19 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานหองเรียน หองปฏิบัติการหองคอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ ชั้นป

ชั้นปที่ 1

ชั้นปที่ 2

ชั้นปที่ 3

ชั้นปที่ 4

3.17 3.36 3.52 3.54 X ชั้นปที่ 1 3.17 ชั้นปที่ 2 3.36 0.06 ชั้นปที่ 3 3.52 0.00* 0.16 ชั้นปที่ 4 3.54 0.00* 0.15 0.88 จากตารางที่ 19 พบวานักศึกษาชั้นปที่ 1 มีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของ วิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานหองเรียน หองปฏิบัติการหองคอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ แตกตาง จากนักศึกษาชั้นปที่ 3 และชั้นปที่ 4 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05


56

ตาราง 20 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานบริเวณสถานศึกษา ชั้นป

ชั้นปที่ 1

ชั้นปที่ 2

ชั้นปที่ 3

ชั้นปที่ 4

2.68 2.91 3.28 3.36 X ชั้นปที่ 1 2.68 ชั้นปที่ 2 2.91 0.04* ชั้นปที่ 3 3.28 0.00* 0.00* ชั้นปที่ 4 3.36 0.00* 0.00* 0.57 จากตารางที่ 20 พบวานักศึกษาชั้นปที่ 1 มีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของ วิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานบริเวณสถานศึกษา แตกตางจากนักศึกษาชั้นปที่ 2 ชั้นปที่ 3 และชั้นปที่ 4 สวนนักศึกษาชั้นปที่ 2 มีความพึงพอใจในเรื่องดังกลาวแตกตางจากนักศึกษาชั้นปที่ 3 และชั้นปที่ 4 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ตาราง 21 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานสํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ ชั้นป

ชั้นปที่ 1

ชั้นปที่ 2

ชั้นปที่ 3

ชั้นปที่ 4

3.12 3.27 3.44 3.31 X ชั้นปที่ 1 3.12 ชั้นปที่ 2 3.27 0.11 ชั้นปที่ 3 3.44 0.00* 0.12 ชั้นปที่ 4 3.31 0.09 0.73 0.31 จากตารางที่ 21 พบวานักศึกษาชั้นปที่ 1 มีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของ วิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานสํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ แตกตางจาก นักศึกษาชั้นปที่ 3 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05


57

ตาราง 22 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานการจัดสภาพแวดลอมและระบบสาธารณูปโภคของวิทยาลัย ชั้นป

ชั้นปที่ 1

ชั้นปที่ 2

ชั้นปที่ 3

ชั้นปที่ 4

3.24 3.10 3.45 3.21 X ชั้นปที่ 1 3.24 ชั้นปที่ 2 3.10 0.21 ชั้นปที่ 3 3.45 0.08 0.01* ชั้นปที่ 4 3.21 0.82 0.44 0.10 จากตารางที่ 22 พบวานักศึกษาชั้นปที่ 2 มีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของ วิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานการจัดสภาพแวดลอมและระบบสาธารณูปโภคของวิทยาลัย แตกตางจาก นักศึกษาชั้นปที่ 3 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05


58

ตาราง 23 การทดสอบ คณะที่สังกัดที่แตกตางกันสงผลตอระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและ สถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ ความพึงพอใจตอการใชอาคารและ แหลงความ df SS MS F p สถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ แปรปรวน 1. อาคารเรียน อาคารประกอบ ระหวางกลุม 4 7.63 1.91 3.31* 0.01 ภายในกลุม 336 193.46 0.58 รวม 340 201.09 2. หองเรียน หองปฏิบัติการหอง ระหวางกลุม 4 11.30 2.83 5.35* 0.00 คอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ ภายในกลุม 336 177.50 0.53 รวม 340 188.80 3. บริเวณสถานศึกษา ระหวางกลุม 4 20.89 5.22 8.02* 0.00 ภายในกลุม 336 218.88 0.65 รวม 340 239.77 4. สํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อ ระหวางกลุม 4 19.39 4.85 11.54* 0.00 ศูนยคอมพิวเตอรบริการ ภายในกลุม 336 141.19 0.42 รวม 340 160.58 5. โรงอาหารหรือสถานที่ ระหวางกลุม 4 51.88 12.97 20.45* 0.00 รับประทานอาหาร ภายในกลุม 336 213.09 0.63 รวม 340 264.97 6. หองประชุมและหองสัมมนา ระหวางกลุม 4 76.78 19.19 47.92* 0.00 ภายในกลุม 336 134.59 0.40 รวม 340 211.36 7. หองกิจกรรม สถานออกกําลัง ระหวางกลุม 4 118.40 29.60 134.65* 0.00 กาย และนันทนาการ ภายในกลุม 336 73.86 0.22 รวม 340 192.26


59

ตาราง 23 (ตอ) ความพึงพอใจตอการใชอาคารและ แหลงความ df SS MS F p สถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ แปรปรวน 8. การจัดสภาพแวดลอมและระบบ ระหวางกลุม 4 99.54 24.89 59.86* 0.00 สาธารณูปโภคของวิทยาลัย ภายในกลุม 336 139.68 0.42 รวม 340 239.22 9. สํานักการรักษาความปลอดภัย ระหวางกลุม 4 81.64 20.41 43.52* 0.00 ภายในวิทยาลัย ภายในกลุม 336 157.57 0.47 รวม 340 239.21 * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากตาราง 23 ผลการทดสอบ คณะที่แตกตางกันสงผลตอระดับความพึงพอใจตอการใชอาคาร และสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ แตกตางกันหรือไม พบวานักศึกษาที่มีชวงอายุตางกัน ความพึง พอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษแตกตางกัน ในเรื่องอาคารเรียน อาคาร ประกอบ หองเรียน หองปฏิบัติการหองคอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ บริเวณสถานศึกษา สํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ โรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร หอง ประชุมและหองสัมมนา หองกิจกรรม สถานออกกําลังกาย และนันทนาการ การจัดสภาพแวดลอมและ ระบบสาธารณูปโภคของวิทยาลัย สํานักการรักษาความปลอดภัยภายในวิทยาลัย อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05 จากผลการทดสอบ พบวา ชั้นปที่เรียน ของนักศึกษามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ จึงมี การทดสอบรายคูตอไป ดังตาราง 24 – 32


60

ตาราง 24 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานอาคารเรียน อาคารประกอบ คณะ

คณะที่สังกัด คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะวิทยาศาสตร

คณะบัญชี

คณะนิติศาสตร

บริหารธุรกิจ

คณะนิเทศ

คณะวิทยาศาสตร

ศาสตร

X 3.22

3.22

3.30

3.47

3.46

3.75

-

-

-

-

-

3.30

0.44

-

-

-

-

3.47

0.04*

0.20

-

-

-

3.46

0.06

0.25

0.94

-

-

3.75 0.00* 0.01* 0.12 0.11 จากตารางที่ 24 พบวาคณะบริหารธุรกิจมีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของ วิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานอาคารเรียน อาคารประกอบ แตกตางจากคณะนิติศาสตร และคณะ วิทยาศาสตร สวนคณะบัญชีมีความพึงพอใจในเรื่องดังกลาวแตกตางจาก คณะวิทยาศาสตร อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ตาราง 25 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานหองเรียน หองปฏิบัติการหองคอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ คณะ

คณะที่สังกัด

คณะบัญชี

คณะนิติศาสตร

บริหารธุรกิจ

คณะนิเทศ

คณะวิทยาศาสตร

ศาสตร

3.14

3.41

3.36

3.52

3.77

คณะบริหารธุรกิจ

X 3.14

-

-

-

-

-

คณะบัญชี

3.41

0.01*

-

-

-

-

3.36

0.06

0.68

-

-

-

3.52

0.00*

0.37

0.23

-

-

คณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะวิทยาศาสตร

3.77 0.00* 0.03* 0.02* 0.15 จากตารางที่ 25 พบวาคณะบริหารธุรกิจมีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของ วิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานหองเรียน หองปฏิบัติการหองคอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ แตกตาง


61

จากคณะบัญชี คณะนิเทศศาสตร และคณะวิทยาศาสตร สวนคณะวิทยาศาสตรมีความพึงพอใจในเรื่อง ดังกลาวแตกตางจาก คณะบัญชี และคณะนิติศาสตร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ตาราง 26 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานบริเวณสถานศึกษา คณะ

คณะที่สังกัด คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะวิทยาศาสตร

คณะบัญชี

คณะนิติศาสตร

บริหารธุรกิจ

คณะนิเทศ

คณะวิทยาศาสตร

ศาสตร

X 2.67

2.67

3.04

3.02

3.25

3.43

-

-

-

-

-

3.04

0.00*

-

-

-

-

3.02

0.01*

0.85

-

-

-

3.25

0.00*

0.14

0.12

-

-

3.43 0.00* 0.03* 0.03* 0.34 จากตารางที่ 26 พบวาคณะบริหารธุรกิจมีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของ วิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานบริเวณสถานศึกษา แตกตางจากคณะบัญชี คณะนิติศาสตร คณะนิเทศ ศาสตร และคณะวิทยาศาสตร สวนคณะวิทยาศาสตรมีความพึงพอใจในเรื่องดังกลาวแตกตางจาก คณะ บัญชี และคณะนิติศาสตร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05


62

ตาราง 27 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานสํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ คณะ

คณะที่สังกัด คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะวิทยาศาสตร

คณะบัญชี

คณะนิติศาสตร

บริหารธุรกิจ

คณะนิเทศ

คณะวิทยาศาสตร

ศาสตร

X 2.96

2.96

3.37

3.23

3.55

3.64

-

-

-

-

-

3.37

0.00*

-

-

-

-

3.23

0.01*

0.22

-

-

-

3.55

0.00*

0.10

0.01*

-

-

3.64 0.00* 0.06 0.01* 0.55 จากตารางที่ 27 พบวาคณะบริหารธุรกิจมีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของ วิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานสํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ แตกตางจากคณะ บัญชี คณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร และคณะวิทยาศาสตร สวนคณะนิติศาสตรมีความพึงพอใจใน เรื่องดังกลาวแตกตางจาก คณะนิเทศศาสตร และคณะวิทยาศาสตร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ตาราง 28 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานโรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร คณะ

คณะที่สังกัด คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะวิทยาศาสตร

คณะบัญชี

คณะนิติศาสตร

บริหารธุรกิจ

คณะนิเทศ

คณะวิทยาศาสตร

ศาสตร

X 2.62

2.62

2.99

3.33

3.67

3.48

-

-

-

-

-

2.99

0.00*

-

-

-

-

3.33

0.00*

0.01*

-

-

-

3.67

0.00*

0.00*

0.02*

-

-

3.48

0.00*

0.01*

0.44

0.30

-


63

จากตารางที่ 28 พบวาคณะบริหารธุรกิจมีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของ วิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานโรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร แตกตางจากคณะบัญชี คณะ นิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร และคณะวิทยาศาสตร แตคณะบัญชีมีความพึงพอใจในเรื่องดังกลาว แตกตางจากคณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร และคณะวิทยาศาสตร สวนคณะนิติศาสตรมีความพึง พอใจแตกตางจากคณะนิเทศศาสตร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ตาราง 29 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานหองประชุมและหองสัมมนา คณะ

คณะที่สังกัด คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะวิทยาศาสตร

คณะบัญชี

คณะนิติศาสตร

บริหารธุรกิจ

คณะนิเทศ

คณะวิทยาศาสตร

ศาสตร

X 3.06

3.06

3.52

3.89

4.12

4.54

-

-

-

-

-

3.52

0.00*

-

-

-

-

3.89

0.00*

0.00*

-

-

-

4.12

0.00*

0.00*

0.05

-

-

4.54 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* จากตารางที่ 29 พบวาคณะบริหารธุรกิจมีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของ วิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานหองประชุมและหองสัมมนา แตกตางจากคณะบัญชี คณะนิติศาสตร คณะ นิเทศศาสตร และคณะวิทยาศาสตร แตคณะบัญชีมีความพึงพอใจในเรื่องดังกลาวแตกตางจากคณะ นิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร และคณะวิทยาศาสตร สวนคณะวิทยาศาสตรมีความพึงพอใจแตกตางจาก คณะนิติศาสตร และคณะนิเทศศาสตร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05


64

ตาราง 30 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานหองกิจกรรม สถานออกกําลังกาย และนันทนาการ คณะ

คณะที่สังกัด คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะวิทยาศาสตร

คณะบัญชี

คณะนิติศาสตร

บริหารธุรกิจ

คณะนิเทศ

คณะวิทยาศาสตร

ศาสตร

X 2.76

2.76

3.13

3.72

3.93

4.71

-

-

-

-

-

3.13

0.00*

-

-

-

-

3.72

0.00*

0.00*

-

-

-

3.93

0.00*

0.00*

0.02*

-

-

4.71 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* จากตารางที่ 30 พบวาคณะบริหารธุรกิจมีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของ วิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานหองกิจกรรม สถานออกกําลังกาย และนันทนาการ แตกตางจากคณะบัญชี คณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร และคณะวิทยาศาสตร แตคณะบัญชีมีความพึงพอใจในเรื่องดังกลาว แตกตางจากคณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร และคณะวิทยาศาสตร สวนคณะวิทยาศาสตรมีความพึง พอใจแตกตางจากคณะนิติศาสตร และคณะนิเทศศาสตร ในคณะนิติศาสตร มีความพึงพอใจแตกตาง จากคณะนิเทศศาสตร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05


65

ตาราง 31 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานการจัดสภาพแวดลอมและระบบสาธารณูปโภคของวิทยาลัย คณะ

คณะที่สังกัด คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะวิทยาศาสตร

คณะบัญชี

คณะนิติศาสตร

บริหารธุรกิจ

คณะนิเทศ

คณะวิทยาศาสตร

ศาสตร

X 2.54

2.54

3.37

3.52

4.02

3.59

-

-

-

-

-

3.37

0.00*

-

-

-

-

3.52

0.00*

0.16

-

-

-

4.02

0.00*

0.00*

0.00*

-

-

3.59 0.00* 0.14 0.67 0.01* จากตารางที่ 31 พบวาคณะบริหารธุรกิจมีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของ วิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานการจัดสภาพแวดลอมและระบบสาธารณูปโภคของวิทยาลัย แตกตางจาก คณะบัญชี คณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร และคณะวิทยาศาสตร แตคณะบัญชีมีความพึงพอใจใน เรื่องดังกลาวแตกตางจากคณะนิเทศศาสตร สวนคณะนิเทศศาสตรมีความพึงพอใจแตกตางจากคณะ นิติศาสตร และคณะวิทยาศาสตร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05


66

ตาราง 32 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานสํานักการรักษาความปลอดภัยภายในวิทยาลัย คณะ

คณะที่สังกัด คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะวิทยาศาสตร

คณะบัญชี

คณะนิติศาสตร

บริหารธุรกิจ

คณะนิเทศ

คณะวิทยาศาสตร

ศาสตร

X 2.86

2.86

3.58

3.61

4.12

4.20

-

-

-

-

-

3.58

0.00*

-

-

-

-

3.61

0.00*

0.77

-

-

-

4.12

0.00*

0.00*

0.00*

-

-

4.20 0.00* 0.00* 0.00* 0.60 จากตารางที่ 32 พบวาคณะบริหารธุรกิจมีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของ วิทยาลัยราชพฤกษ รายคู ดานสํานักการรักษาความปลอดภัยภายในวิทยาลัย แตกตางจากคณะบัญชี คณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร และคณะวิทยาศาสตร แตคณะบัญชี มีความพึงพอใจในเรื่องดังกลาว แตกตางจากคณะนิเทศศาสตร และคณะวิทยาศาสตร สวนตัวคณะนิติศาสตร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05


บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และขอเสนอแนะ การศึกษาในบทนี้เปนการสรุปขอคนพบที่ไดจากผลการศึกษา การอภิปรายผล และ ขอเสนอแนะอันจะเปนประโยชนตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ รวมถึง ผูสนใจศึกษาคนควาในงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษาครั้งนี้ตอไป การศึกษาเรื่องความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการใชประโยชนอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ เพื่อศึกษา สภาพการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ และเพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใช อาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ โดยมีสมมติฐานของการวิจัย คือสถานภาพ นักศึกษาที่แตกตางกันสงผลตอระดับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราช พฤกษแตกตางกัน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ไดแก นักศึกษาระดับปริญญาตรีของวิทยาลัยราชพฤกษทั้ง สามกลุมการเรียน คือ กลุมการเรียนปกติ กลุมการเรียนภาคสมทบค่ํา และกลุมการเรียนภาคสมทบ เสาร-อาทิตย ประจําปการศึกษา 2552 แบงเปนคณะตางๆ คือ คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะ นิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร และคณะวิทยาศาสตร กลุมตัวอยางไดจากการเปดตารางของทาโร ยามาเนที่ระดับความเชื่อมั่น 95% การสุมตัวอยางใชวิธีแบบแบงชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) ตามขนาดของจํานวนนักศึกษา ไดกลุมตัวอยางจํานวนทั้งสิ้น 341 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถามเกี่ยวกับขอมูลทางประชากร สภาพการใช อาคารและสถานที่ การใชประโยชนอาคารและสถานที่ ขอคําถามในสวนนี้ใชเครื่องมือชนิด มาตราสวนประมาณคา 3 ระดับ แบงเปนสภาพสมบูรณใชการไดดี สภาพไมสมบูรณแตพอใชการ ได และควรปรับปรุงแกไข สวนการใชประโยชนมี 3 ระดับ แบงเปน การใชประโยชนในระดับ มาก นอย และไมมีการใชประโยชน สําหรับขอคําถามความพึงพอใจในการใชอาคารสถานที่ใช คําถามแบบมาตรสวนประมาณคาเชนกันแบงเปน 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และ นอยที่สุด ผูวิจัยใชแบบสอบถามจํานวน 30 ชุด เพื่อหาคาความเที่ยง (Reliability) โดยการ คํานวณหาคาความเชื่อมั่นตามสูตรสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) ไดคาสัมประสิทธเทากับ 0.83 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล โดยการหาคาความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบน มาตรฐาน ทดสอบความแตกตางโดยใชสถิติ t-test และการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One


69

– way Analysis of Variance) เมื่อพบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จะ ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูดวยวิธี Least Square Difference (LSD)

สรุปผลการวิจัย

ผลการศึกษาเรื่องความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราช พฤกษ มีรายละเอียดโดยสรุปดังนี้ 1.สถานภาพของกลุมตัวอยาง กลุมตัวอยาง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรีของวิทยาลัยราชพฤกษประจําปการศึกษา 2552 จํานวนทั้งสิ้น 341คน พบวาเปนเพศหญิงมากกวาเพศชาย สวนใหญกําลังศึกษาอยูในชั้นปที่ 1 ใน คณะบริหารธุรกิจ 2.ลักษณะการใชประโยชนอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ นักศึกษามีการใชประโยชนจากอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยพฤกษในภาพรวมอยูใน ระดับนอย เมื่อพิจารณาในรายละเอียด พบวา นักศึกษาใชประโยชนอาคารและสถานที่อยูในระดับ มากเพียงดานเดียว คือ หองเรียน ที่เหลืออยูระดับนอยโดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา คือ อาคารเรียน หองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ สํานักงานใหบริการนักศึกษา เชน สํานักทะเบียน การเงิน หองประชุมและหองสัมมนา อาคารอเนกประสงค สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา หองน้ํา หองสวม โรงอาหาร ผังบริเวณสถานศึกษา ที่จอดรถ หองกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับการทํา กิจกรรมนักศึกษา สถานที่เลนกีฬา สํานักหอสมุด สวนหยอมสถานพักผอน หองพยาบาล หองแนะ แนว และหองปฏิบัติการ / โรงฝกงาน ตามลําดับ 3.ลักษณะการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ นักศึกษาใหคะแนนสภาพการใชอาคารและสถานที่ในภาพรวมอยูในระดับไมสมบูรณแต พอใชการได เมื่อพิจารณาในรายละเอียด พบวา หองเรียนอยูสภาพการใชงานสมบูรณใชการไดดี ที่เหลืออยูในสภาพการใชงานไมสมบูรณแตพอใชการได โดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา คือ หองประชุมและหองสัมมนา อาคารเรียน สํานักงานใหบริการนักศึกษา เชน สํานักทะเบียน การเงิน สํานักหอสมุด ผังบริเวณสถานศึกษา สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา อาคารอเนกประสงค หองผลิต สื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ หองพยาบาล หองกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับการทํากิจกรรมนักศึกษา


70

หองแนะแนว หองน้ําหองสวม หองปฏิบัติการ/โรงฝกงาน สถานที่เลนกีฬา สวนหยอมสถาน พักผอน ที่จอดรถ และโรงอาหาร ตามลําดับ 4.ความพึงพอใจในการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ นักศึกษามีความพึงพอใจในการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษในภาพรวมอยู ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาในแตละดานโดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมาพบขอสรุปดังนี้ หองประชุมและหองสัมมนา มีคาเฉลี่ยของความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่สูง ที่สุด มีระดับความพึงพอใจในการใชหองอยูในระดับปานกลาง โดยเรื่องการรักษาความสะอาด และการบํารุงรักษาหองประชุม นักศึกษามีความพึงพอใจมากที่สุด รองลงมา คือ มีแสงสวาง เพียงพอและระบายอากาศที่ดี หองประชุมและหองสัมมนามีความสะอาดเปนระเบียบ หองประชุม และหองสัมมนามีจํานวนเพียงพอตอการใชงาน สิ่งอํานวยความสะดวกมีประสิทธิภาพมีความ ทันสมัย และมีจํานวนเพียงพอตอการใชงาน ความพรอมของหองประชุมและหองสัมมนา และ ความสะดวกในการใชวัสดุ อุปกรณ ตามลําดับ การรักษาความปลอดภัยภายในวิทยาลัยราชพฤกษ นักศึกษามีความพึงพอใจในดานนี้ใน ระดับปานกลาง โดยใหคะแนนในเรื่องการใหบริการของเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยมากที่สุด รองลงมา คือ ระบบการดูแลรักษาความปลอดภัยในวิทยาลัยสรางความมั่นใจในความปลอดภัย ใหแกนักศึกษา มีการจัดระบบเวรยามรักษาความปลอดภัย และมีระบบปองกันเพลิงไหมและ สัญญาณเตือนภัยตางๆ อยางเพียงพอ ตามลําดับ อาคารเรียน อาคารประกอบ ในดานนี้นักศึกษามีความพึงพอใจในระดับปานกลาง โดย พบวาการจัดระบบแสงสวางภายในอาคารมีคาเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมา คือ ความสะดวกในการใช ประโยชน การจัดสื่อ วัสดุ อุปกรณในอาคารเรียน การจัดทําแผนผังอาคารตางๆ และหองน้ําหอง หองสวมสําหรับนักศึกษา ตามลําดับ หองเรียน หองปฏิบัติการ หองคอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ นักศึกษามีความพึงพอใจ ในดานนี้ในระดับปานกลาง โดยใหคะแนนในเรื่องมีแสงสวางเพียงพอและระบายอากาศที่ดีมาก ที่สุด รองลงมา คือ บรรยากาศทางวิชาการที่เอื้อตอการเรียนรู การรักษาความสะอาดและการ บํารุงรักษาหอง สื่ออุปกรณที่สะดวกตอการเรียนการสอน หองเรียนมีตารางการใชอยางชัดเจน หองเรียนมีจํานวนโตะเกาอี้เพียงพอกับนักศึกษา และโตะเกาอี้มีการจัดวางอยางเปนระเบียบ ตามลําดับ หองกิจกรรม สถานที่ออกกําลังกาย และนันทนาการ นักศึกษามีความพึงพอใจในดานนี้ใน ระดับปานกลาง โดยใหคะแนนในเรื่องการรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาหองมากที่สุด


71

รองลงมา คือ มีแสงสวางเพียงพอและระบายอากาศที่ดี การจัดบรรยากาศภายในหองที่เอื้อตอการ ใชบริการ การจัดวัสดุ อุปกรณ ครุภัณฑ และสิ่งอํานวยความสะดวก และความสะดวกในการใช วัสดุ อุปกรณและการใชบริการ ตามลําดับ สํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ นักศึกษามีความพึงพอใจในดานนี้ ในระดับปานกลาง โดยใหคะแนนในเรื่องแสงสวางเพียงพอและระบายอากาศที่ดีมากที่สุด รองลงมา คือ สํานักหอสมุดมีความสะอาด และเปนระเบียบเรียบรอย มีโตะเกาอี้เพียงพอกับ นักศึกษา ความหลากหลายของหนังสือและเอกสารในหองสมุด ความสะดวกในการคนหาหนังสือ และสิ่งพิมพในหองสมุด จํานวนหนังสือและเอกสารในหองสมุด การจัดหนังสือ สื่อโสตทัศน วัสดุ อุปกรณ ภายในสํานักหอสมุด ความทันสมัยของหนังสือและเอกสารในหองสมุด ประสิทธิภาพของ เครื่องคอมพิวเตอร ความเพียงพอของจํานวนคอมพิวเตอร และความรวดเร็วของระบบอินเทอรเน็ต ตามลําดับ การจัดสภาพแวดลอมและระบบสาธารณูปโภคของวิทยาลัย นักศึกษามีความพึงพอใจใน ดานนี้ในระดับปานกลาง โดยใหคะแนนในเรื่องนักศึกษามีความพึงพอใจในเรื่องการจัดการไฟฟา ภายในอาคาร เครื่องปรับอากาศ หรือพัดลมมากที่สุด รองลงมา คือ การจัดระบบติดตอสื่อสาร ภายในสถานศึกษา เชน ระบบโทรศัพทบอรดประชาสัมพันธ ระบบระบายน้ําตามแนวถนน การ ดูแลรักษาหองน้ํา หองสวมใหสะอาด การจัดที่นั่งใหนักศึกษาพักผอนในเวลาวาง การจัดน้ําเพื่อ บริโภคในสถานศึกษา และการมีถังขยะที่แยกตามประเภทขยะ ตามลําดับ โรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร นักศึกษามีความพึงพอใจในดานนี้ในระดับปาน กลาง โดยใหคะแนนในเรื่องนักศึกษามีความพึงพอใจในเรื่องมีแสงสวางเพียงพอและระบายอากาศ ที่ดีมากที่สุด รองลงมา คือ การจัดวัสดุ อุปกรณ เครื่องปรุงรส และการรักษาความสะอาด การจัด โตะ เกาอี้ภายในโรงอาหาร การจัดบรรยากาศภายในโรงอาหารที่เอื้อตอดานโภชนาการ และการ รักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาโรงอาหาร ตามลําดับ บริเวณสถานศึกษา นักศึกษามีความพึงพอใจในดานนี้ในระดับปานกลาง โดยใหคะแนน ในเรื่องนักศึกษามีความพึงพอใจในเรื่องการจัดทําแผนที่ตั้งบริเวณสถานศึกษามากที่สุด รองลงมา คือ สถานที่พักผอน การปรับปรุงภูมิทัศน การบํารุงรักษาพื้นที่และบริเวณสวนและสนามใหรมรื่น สถานที่ออกกําลังกาย เครื่องหมายแสดงการจราจรภายในสถานศึกษา และพื้นที่จอดรถยนตและ รถจักรยานยนต ตามลําดับ


72

5. ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัย ราชพฤกษ จําแนกตามเพศ ชั้นป และคณะที่สังกัด การเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัย ราชพฤกษ จําแนกตามเพศ ผลการศึกษาพบวา เปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว คือ นักศึกษาที่มีเพศ แตกตางกันมีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษแตกตางกันในทุก ดาน คือ ดานอาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน หองปฏิบัติการ หองคอมพิวเตอร และหอง บริการตางๆ บริเวณสถานศึกษา สํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ โรง อาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร หองประชุมและหองสัมมนา หองกิจกรรม สถานออกกําลัง กายและนันทนาการ การจัดสภาพแวดลอมและระบบสาธารณูปโภคของวิทยาลัย และการรักษา ความปลอดภัยภายในวิทยาลัย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาจากคาเฉลี่ย พบวา นักศึกษาเพศหญิงมีคาเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่มากกวา นักศึกษาชายในทุกดาน การเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัย ราชพฤกษ จําแนกตามชั้นป ผลการศึกษาพบวา เปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไวในบางดาน คือ นักศึกษาที่กําลังศึกษาในชั้นปแตกตางกันมีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัย ราชพฤกษแตกตางกันในดานหองเรียน หองปฏิบัติการหองคอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ บริเวณสถานศึกษา สํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบขอสรุปดังนี้ ดานหองเรียนหองปฏิบัติการหองคอมพิวเตอรและหองบริการตางๆ พบวา นักศึกษาชั้นปที่ 1 มีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษในดานนี้ แตกตางจากนักศึกษาชั้นปที่ 3 และชั้นปที่ 4 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยนักศึกษา ชั้นปที่ 4 มีคาเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจในดานนี้สูงกวานักศึกษาชั้นปอื่น ดานบริเวณสถานศึกษา พบวานักศึกษาชั้นปที่ 1 มีความพึงพอใจตอการใชอาคาร และสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษในดานนี้แตกตางจากนักศึกษาชั้นปที่ 2 ชั้นปที่ 3 และชั้นปที่ 4 สวนนักศึกษาชั้นปที่ 2 มีความพึงพอใจในเรื่องดังกลาวแตกตางจากนักศึกษาชั้นปที่ 3 อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยนักศึกษาชั้นปที่ 4 มีคาเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจในดาน นี้สูงกวานักศึกษาชั้นปอื่น ดานสํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ พบวานักศึกษาชั้นป ที่ 1 มีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษในดานนี้แตกตางจาก


73

นักศึกษาชั้นปที่ 3 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยนักศึกษาชั้นปที่ 3 มีคาเฉลี่ยของ คะแนนความพึงพอใจในดานนี้สูงกวานักศึกษาชั้นปอื่น การเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัย ราชพฤกษ จําแนกตามคณะที่สังกัด ผลการศึกษาพบวา เปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว คือ นักศึกษา ที่กําลังศึกษาในคณะแตกตางกันมีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราช พฤกษแตกตางกันในทุกดาน คือ ดานอาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน หองปฏิบัติการ หอง คอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ บริเวณสถานศึกษา สํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อศูนย คอมพิวเตอรบริการ โรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร หองประชุมและหองสัมมนา หอง กิจกรรม สถานออกกําลังกายและนันทนาการ การจัดสภาพแวดลอมและระบบสาธารณูปโภคของ วิทยาลัยและการรักษาความปลอดภัยภายในวิทยาลัย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อ พิจารณาเปนรายดานพบขอสรุปดังนี้ ดานอาคารเรียนอาคารประกอบ พบวานักศึกษาคณะบริหารธุรกิจมีความพึงพอใจ ตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษในดานนี้แตกตางจากนักศึกษาคณะนิติศาสตร และคณะวิทยาศาสตร สวนคณะบัญชีมีความพึงพอใจในดานนี้แตกตางจากคณะวิทยาศาสตรอยาง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยนักศึกษาคณะวิทยาศาสตรมีคาเฉลี่ยของคะแนนความพึง พอใจในดานนี้สูงกวานักศึกษาคณะอื่น ดานหองเรียนหองปฏิบัติการหองคอมพิวเตอรและหองบริการตางๆ พบวา นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจมีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษใน ดานนี้แตกตางจากนักศึกษาคณะบัญชี คณะนิเทศศาสตร และคณะวิทยาศาสตร สวนคณะ วิทยาศาสตรมีความพึงพอใจในดานนี้แตกตางจากคณะบัญชี และคณะนิติศาสตรอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยนักศึกษาคณะวิทยาศาสตรมีคาเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจในดานนี้ สูงกวานักศึกษาคณะอื่น ดานบริเวณสถานศึกษา พบวานักศึกษาคณะบริหารธุรกิจมีความพึงพอใจตอการ ใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษในดานนี้แตกตางจากนักศึกษาคณะบัญชี คณะนิเทศ ศาสตร คณะนิติศาสตร และคณะวิทยาศาสตร สวนคณะวิทยาศาสตรมีความพึงพอใจในดานนี้ แตกตางจากคณะบัญชี และคณะนิติศาสตรอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยนักศึกษา คณะวิทยาศาสตรมีคาเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจในดานนี้สูงกวานักศึกษาคณะอื่น ดานสํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ พบวานักศึกษาคณะ บริหารธุรกิจมีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษในดานนี้แตกตาง


74

จากนักศึกษาคณะบัญชี คณะนิเทศศาสตร คณะนิติศาสตร และคณะวิทยาศาสตร สวนคณะ นิติศาสตรมีความพึงพอใจในดานนี้แตกตางจากคณะนิเทศศาสตร และคณะวิทยาศาสตรอยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยนักศึกษาคณะวิทยาศาสตรมีคาเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจ ในดานนี้สูงกวานักศึกษาคณะอื่น ดานโรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร พบวานักศึกษาคณะบริหารธุรกิจมี ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษในดานนี้แตกตางจากนักศึกษา คณะบัญชี คณะนิเทศศาสตร คณะนิติศาสตร และคณะวิทยาศาสตร แตคณะบัญชีมีความพึงพอใจ ในดานนี้แตกตางจากคณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร และคณะวิทยาศาสตร สวนคณะ นิติศาสตรมีความพึงพอใจในดานนี้แตกตางจากคณะนิเทศศาสตร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยนักศึกษาคณะวิทยาศาสตรมีคาเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจในดานนี้สูงกวานักศึกษา คณะอื่น ดานหองประชุมและหองสัมมนา พบวานักศึกษาคณะบริหารธุรกิจมีความพึง พอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษในดานนี้แตกตางจากนักศึกษาคณะบัญชี คณะนิเทศศาสตร คณะนิติศาสตร และคณะวิทยาศาสตร แตคณะบัญชีมีความพึงพอใจในดานนี้ แตกตางจากคณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร และคณะวิทยาศาสตร สวนคณะวิทยาศาสตรมี ความพึงพอใจในดานนี้แตกตางจากคณะนิติศาสตร และคณะนิเทศศาสตร อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05 โดยนักศึกษาคณะวิทยาศาสตรมีคาเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจในดานนี้สูง กวานักศึกษาคณะอื่น ดานหองกิจกรรมสถานออกกําลังกายและนันทนาการ พบวานักศึกษาคณะ บริหารธุรกิจมีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษในดานนี้แตกตาง จากนักศึกษาคณะบัญชี คณะนิเทศศาสตร คณะนิติศาสตร และคณะวิทยาศาสตร แตคณะบัญชีมี ความพึงพอใจในดานนี้แตกตางจากคณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร และคณะวิทยาศาสตร สวน คณะวิทยาศาสตรมีความพึงพอใจในดานนี้แตกตางจากคณะนิติศาสตร และคณะนิเทศศาสตร นอกจากนี้คณะนิติศาสตร มีความพึงพอใจในดานดังกลาวแตกตางจากคณะนิเทศศาสตร อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยนักศึกษาคณะวิทยาศาสตรมีคาเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจ ในดานนี้สูงกวานักศึกษาคณะอื่น ดานการจัดสภาพแวดลอมและระบบ สาธารณูปโภคของวิทยาลัย พบวาพบวา นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจมีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษใน ดานนี้แตกตางจากนักศึกษาคณะบัญชี คณะนิเทศศาสตร คณะนิติศาสตร และคณะวิทยาศาสตร แต คณะบัญชีมีความพึงพอใจในดานนี้แตกตางจากคณะนิเทศศาสตร สวนคณะนิเทศศาสตรมีความพึง


75

พอใจในดานดังกลาวแตกตางจากคณะนิติศาสตร และคณะวิทยาศาสตร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 โดยนักศึกษาคณะวิทยาศาสตรมีคาเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจในดานนี้สูงกวา นักศึกษาคณะอื่น ดานสํานักการรักษาความปลอดภัยภายในวิทยาลัย พบวาพบวานักศึกษาคณะ บริหารธุรกิจมีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษในดานนี้แตกตาง จากนักศึกษาคณะบัญชี คณะนิเทศศาสตร คณะนิติศาสตร และคณะวิทยาศาสตร แตคณะบัญชีมี ความพึงพอใจในดานนี้แตกตางจากคณะนิเทศศาสตร และคณะวิทยาศาสตร สวนคณะนิติศาสตรมี ความพึงพอใจในดานดังกลาวแตกตางจากคณะนิเทศศาสตร และคณะวิทยาศาสตร อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยนักศึกษาคณะวิทยาศาสตรมีคาเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจ ในดานนี้สูงกวานักศึกษาคณะอื่น

อภิปรายผล

ผลการศึกษาเรื่องความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราช พฤกษมีวัตถุประสงคของการศึกษาที่ผูวิจัยจะนํามาอภิปรายดังนี้ 1.ลักษณะการใชประโยชนอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ การใชอาคารสถานที่เปนองคประกอบหนึ่งที่บงชี้ถึงประสิทธิภาพการบริหารงานอาคาร และสถานที่ของผูบริหาร ความสําเร็จในการบริหารงานดังกลาวกอใหเกิดประโยชนตอการเรียน การสอนภายในหองเรียน และตอการเรียนรูนอกหองเรียนของผูเรียนและตอชุมชนภายนอกที่เขามา ใชบริการอีกดวย จากการศึกษาในครั้งนี้พบวา มีการใชประโยชนจากอาคารและสถานที่อยูในระดับนอยใน ทุกดาน มีเพียงดานหองเรียนที่นักศึกษามีการใชประโยชนจากหองนี้ในระดับมาก แสดงใหเห็นถึง การใชประโยชนจากอาคารสถานที่ไมคุมคา มีเพียงหองเรียนที่นักศึกษาจําเปนตองใชในการรับ การถายทอดจากความรูจากอาจารยโดยตรง สําหรับการใชงานหองอื่นๆ เชน หองสมุด หองผลิต สื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ หองกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับทํากิจกรรม หองปฏิบัติการ/โรงฝกงาน หองแนะแนว มีการใชประโยชนนอย สะทอนใหเห็นวาการกอใหเกิดความรูภายนอกหองเรียนของ นักศึกษายังมีนอย กระบวนการเรียนรูยังมุงไปที่การรับความรูภายในหองเรียนจากอาจารยผูสอน โดยตรง ซึ่งการทํากิจกรรมก็จัดเปนกระบวนการเรียนรูภายนอกอยางหนึ่ง เปนการเรียนรูทางสังคม ที่ควรสงเสริมใหนักศึกษาเปนผูใฝหาความรูดวนตนเอง


76

ผลการศึกษานี้สอดคลองกับการศึกษาของ ฐิติยา เนตรวงษ ( 2551) ที่ศึกษาเรื่องการศึกษา ความพึงพอใจของนักศึกษาตอการใชอาคารสถานที่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต โดยพบวา การใชประโยชนอาคารและสถานที่ในภาพรวมยังมีการใชประโยชนนอย และสอดคลองกับผล การศึกษาของ จํานง ประสานวงค ( 2545) ไดทําการศึกษาถึงสภาพและปญหาการบริหารอาคาร สถานที่ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดสกลนคร ผลการศึกษาพบวา อาคาร สถานที่ยังไมมีการใชประโยชนอยางเต็มที่ 2.สภาพการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ งานทุกงานและกิจกรรมทุกกิจกรรมดําเนินไปไดตองอาศัยอาคารสถานที่ทั้งสิ้น อาคาร สถานที่จึงควรจะไดรับการดูแลซอมแซม บํารุงรักษาใหอยูในสภาพดีและใชงานไดตลอดเวลา การดูแลอาคารและสถานที่ใหอยูในสภาพพรอมใชงานไดดี จึงเปนองคประกอบหนึ่งของ การวัดประสิทธิภาพการบริหารงานของสถาบันการศึกษาไดประการหนึ่ง ผลการศึกษาในครั้งนี้พบวา การใชอาคารและสถานที่ในภาพรวมอยูในสภาพไมสมบูรณ แตพอใชการได และเกือบทุกดานอยูในสภาพไมสมบูรณแตพอใชการได มีเพียงหองเรียนที่ นักศึกษาใหความเห็นวามีสภาพสมบูรณใชการไดดี สอดคลองกับผลการศึกษาของฐิติยา เนตรวงษ (2551) ที่ศึกษาเรื่องการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาตอการใชอาคารสถานที่ของมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต โดยพบวา สภาพการใชงานของอาคารและสถานที่โดยภาพรวมยังไมสมบูรณแต พอใชการได และการศึกษาของวัลลภ กันทรัพย ( 2535) ที่มีแนวคิดวาสถานที่ในสถาบันการศึกษา ที่มีความจําเปนและมีความเปนรูปธรรม คือ เห็นไดดวยตาเปลา เชน โรงอาหาร สถานที่เลนกีฬา และหองสมุด สถานที่เหลานี้ควรใหความเอาใจใสเปนอันดับแรก ผลการศึกษาในครั้งนี้พบวา สถานที่ดังกลาวอยูในสภาพไมสมบูรณแตพอใชการได ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากขาดคุณลักษณะของ สถานที่พึงประสงคที่สามารถตอบสนองความตองการในการใชสอยได เชน ความเพียงพอ (adequacy) ความเหมาะสม ( suitability) ความมีสุขลักษณะ ( healthfulness) และการมี ประสิทธิภาพ (effeciency) เปนตน (เมธี ปลันธนานนท, 2528) นอกจากนี้ นโยบายการปฏิรูปการศึกษาดานอาคารสถานที่ของกระทรวงศึกษาธิการ (กรม สามัญศึกษา, 2540) ไดกําหนดนโยบายปฏิบัติในการจัดการสถานศึกษาใหมีการบํารุงรักษาอาคาร สถานที่ อาคารเรียน อาคารประกอบ และสิ่งกอสรางตางๆ ใหมีสภาพพรอมใชงาน โดยมีการ ซอมแซม ตกแตง บํารุงรักษาใหสวยงามมีสภาพใหม ใชการไดดีตลอดเวลา เชน หองสมุด ควรมี สถานที่จัดแยกตางหาก มีความสะอาดสวยงาม มีการจัดหนังสือเขาหองสมุดอยางเพียงพอและ ครบถวนตอการเรียนการสอน วิทยาลัยราชพฤกษจึงควรเล็งเห็นความสําคัญของหองสมุดโดยตอง


77

มีตําราเรียนครบและเพียงพอตอจํานวนนักศึกษาและควรเปดบริการใหมีครอบคลุมทั้ง 3 กลุมการ เรียน (ภาคปกติ ภาคสมทบค่ํา และเสาร -อาทิตย) อีกทั้งควรมีการจัดกิจกรรมใหนักศึกษาไดใช ประโยชนจากหองสมุดเปนประจําเพื่อสนับสนุนใหนักศึกษาสามารถหาความรูดวยตนเองและเปน การใชประโยชนจากสถานที่ดังกลาวอยางคุมคา หองคอมพิวเตอร เปนหองที่ปรับปรุงขึ้นใชเฉพาะ กิจกรรมการเรียนการสอนคอมพิวเตอรเปนพิเศษ หองเรียนตองสะอาด ปราศจากฝุนละอองและ คอมพิวเตอร ควรมีจํานวนเพียงพอเหมาะสมกับจํานวนนักศึกษา และคอมพิวเตอรควรมีสภาพใหม มีความทันสมัยเหมาะตอการใชงานในปจจุบัน หองปฏิบัติการทางภาษาควรเปนหองที่ปรับปรุงขึ้น ใชเฉพาะกิจกรรมการสอนภาษาตางประเทศ เนื่องจากตองใชการสอนผานเครื่องเสียง เทป วิดีโอ โดยผานหูฟง อุปกรณที่ใชจึงควรมีความสะอาดและใชงานไดดีมีหูฟงเพียงพอกับผูเรียน หอง พยาบาล สภาพหองควรมีความสงบ สะอาด สวยงาม อากาศถายเทไดดี มีปายนิเทศโปสเตอร เกี่ยวกับสุขภาพ หองน้ําหองสวมควรอยูในหองเดียวกัน ยาปฐมพยาบาลพื้นฐานมีครบถวนและ เพียงพอ และในหองควรมีโทรศัพทสําหรับเหตุฉุกเฉิน หองพยาบาลควรมีสถานที่ที่นักศึกษา สามารถเขาถึงงาย หางาย และเปนสถานที่สําคัญควรเปดบริการรองรับนักศึกษาใหครอบคลุมทุก กลุมการเรียน สนามกีฬา มีสนามเพียงพอกับความตองการและเหมาะสมเปนสัดสวน เชน สนาม ฟุตบอล วอลเลยบอล และสนามบาสเก็ตบอล เปนตน 3.ความพึงพอใจในการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ ปจจุบันนักศึกษามองภาพของสถาบันการศึกษาไมไดเปนแตเพียงอาคารกอสรางทรง สี่เหลี่ยมเทานั้น แตเปนดังอุทยานการเรียนรูที่มีสภาพสวยงามเปนที่เก็บเกี่ยววิชาความรู มีอุปกรณ ครบครัน และยังเปนที่สถานที่พักผอนกับกลุมเพื่อนทามกลางสภาพแวดลอมที่สวยงาม สะดวกสบายเหมือนกับสวนสาธารณะ ผลการศึกษาในครั้งนี้พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ใน ภาพรวมอยูในระดับปานกลาง สอดคลองกับผลการศึกษาของอภิรดี กิจธนะเสรี (2545) ที่พบวาผูมา ใชงานศูนยบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรามคําแหงมีความพึงพอใจในการใชบริการ ปานกลาง เมื่อจําแนกตามเพศ พบวาเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว โดยเพศที่แตกตางกันสงผลตอ ความพึงพอใจในการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05 โดยเพศหญิงมีความพึงพอใจมากวาเพศชายในทุกดาน สอดคลองกับผลการศึกษา ของประสงค อุทัยและคณะ ( 2552) ที่พบวานักศึกษาหญิงมีความพึงพอใจตอการใชอาคารสถานที่ มากกวาเพศชายอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 อยางไรก็ตามผลการศึกษาแตกตางจาก


78

การศึกษาของธนารี เพ็ชรรัตน ( 2551: 102) เรื่องความพึงพอใจของนักศึกษาตอสภาพแวดลอมที่ สนับสนุนการเรียนการสอนของกองงานวิทยาเขตบางนา มหาวิทยาลัยรามคําแหง ซึ่งพบวา นักศึกษาเพศหญิงมีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการสอนในดานอาคาร และสถานที่ไมแตกตางจากเพศชาย เมื่อจําแนกตามชั้นป พบวาเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไวในบางดาน โดยชั้นปที่แตกตาง กันสงผลตอความพึงพอใจในการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษแตกตางกันอยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สอดคลองกับการศึกษาของธนารี เพ็ชรรัตน ( 2551: 102) ที่พบวา นักศึกษาที่อยูในคณะแตกตางกันมีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนการสอน ในดานอาคารและสถานที่แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ชั้นปที่แตกตางกัน สามารถชี้ใหเห็นถึงความรูสึกนึกคิด ทัศนคติที่มาพรอมกับการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการทางดาน รางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และประสบการณที่ไดรับในแตละชวงวัยที่แตกตางกัน และ สอดคลองกับการศึกษาของกมลทิพย เกตุวรสุนทร ( 2542: 75) ที่พบวานักศึกษาในระดับชั้นปที่ แตกตางกันมีความคิดเห็นดานสภาพแวดลอมในการศึกษาแตกตางกัน เมื่อจําแนกตามคณะที่สังกัด พบวาเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว โดยคณะที่แตกตางกัน สงผลตอความพึงพอใจในการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษแตกตางกันอยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาสอดคลองกับการศึกษาของธนารี เพ็ชรรัตน ( 2551: 100) ที่พบวานักศึกษาที่มีคณะแตกตางกันมีผลตอความพึงพอใจในสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการ เรียนการสอนดานอาคารสถานที่แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 อาจเนื่องมาจาก การที่นักศึกษาจะเลือกเขาศึกษาในคณะใดนั้นยอมมาจากพื้นฐานการศึกษา ความรู ประสบการณ ความชอบที่สามารถเปนปจจัยหนึ่งซึ่งสงผลกระทบตอความพึงพอใจที่แสดงออกมา และการศึกษา ของอภิวันท วีระเดโช (2552:79) ที่พบวาลักษณะงานที่แตกตางกันสงผลตอความพึงพอใจในการใช บริการสถานที่แตกตางกัน ทั้งนี้เนื่องจากความรู ประสบการณ ภาระหนาที่ความรับผิดชอบที่ แตกตางกัน สงผลตอภาวะอารมณในการตัดสินใจรวมถึงความพึงพอใจที่แตกตางกัน

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา มีดังนี้ 1.ควรมีการนําผลการศึกษานี้ไปใชในการพิจารณาเพื่อปรับปรุงอาคารและสถานที่ ใหมีความเหมาะสมกับการใชประโยชนตอไป


79

2.ควรนําผลการศึกษาไปใชเปนขอมูลในการวางแผนพัฒนาอาคารและสถานที่ เชน ในการจัดตารางการเรียนการสอน การวางแผนงบประมาณ การวางแผนโครงการสนับสนุน การศึกษาตางๆ 3.ควรเปดโอกาสใหผูใชอาคารและสถานที่ คือ บุคลากรของวิทยาลัยและนักศึกษา ไดมีสวนรวมในการดําเนินงานกิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของกับงานอาคารและสถานที่ และ สภาพแวดลอมของวิทยาลัยเพื่อเปนการสงเสริมความเขาใจอันดีระหวางวิทยาลัย บุคลากร และ นักศึกษา เชน การมีสวนรวมในการกําหนดระเบียบการใชอาคารและสถานที่ และการวางแผน การประเมินผลการใชรวมกัน เปนตน ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป มีดังนี้ 1.ในการศึกษาครั้งตอไปควรมีการศึกษาการใชประโยชนจริงจากคาอัตราการใช หอง (Room Utiliazation Rate) และอัตราการใชพื้นที่ ( Space Utilization Rate) และการใช ประโยชนดานการบริการและการบริหาร ( Utilization of Service Administration Room) เพื่อเปน การวิเคราะหหาประสิทธิภาพการใชประโยชนและเปนแนวทางในการวางแผนนโยบายขยายการจัด การศึกษาใหเกิดประโยชนอยางเต็มที่ ไมกอใหเกิดความสูญเปลา และใหสอดคลองกับความ ตองการในปจจุบันและอนาคต ซึ่งวิทยาลัยราชพฤกษมีนโยบายปรับเปลี่ยนสถานะจากวิทยาลัยสู มหาวิทยาลัยจึงควรมีการศึกษาในเรื่องนี้ตอไป 2.ควรมีการศึกษาในเชิงลึกถึงปญหาและสาเหตุที่ทําใหการใชอาคารและสถานที่ ไมอยูในสภาพที่สมบูรณเหมาะสมตอการใชงานไดเปนอยางดี โดยเฉพาะสถานที่ที่มีความ เกี่ยวของกับคุณภาพการศึกษาและสุขภาพอนามัย เชน สํานักหอสมุด หองปฏิบัติการ หองพยาบาล โรงอาหาร และหองน้ําหองสวม เปนตน 3.ควรมีการศึกษารูปแบบการดําเนินงานอาคารและสถานที่ของสถาบันการศึกษา ภายนอกที่มีการบริหารงานที่ดีมีความเหมาะสม เพื่อนํามาใชเปนแนวทางในการปรับปรุงแกไขและ การวางนโยบายงานอาคารและสถานที่ใหมีประสิทธิภาพตอไป 4.การศึกษาครั้งตอไปควรครอบคลุมกลุมตัวอยางผูใชงานอาคารและสถานที่ทั้ง คณาจารย เจาหนาที่ และนักศึกษา และในกลุมนักศึกษาควรศึกษาการใชงานอาคารและสถานที่ให วิเคราะหลึกลงไปในกลุมการเรียนแตละกลุมวามีการใชงานแตกตางกันอยางไร


เอกสารอางอิง ภาษาไทย กมลทิพย เกตุวรสุนทร. ( 2542). สภาพแวดลอมสาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติมหาวิทยาลัย รามคําแหงในทรรศนะของนักศึกษาปริญญาโท. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง. กรมสามัญศึกษา . (2540). แนวทางปฏิรูปโรงเรียนและสถานศึกษาตามนโยบายการปฏิรูป การศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพลาดพราว. จํานง ประสานวงค. (2545). สภาพและปญหาการบริหารอาคารสถานที่ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดสกลนคร . วิทยานิพนธ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการ บริหารการศึกษา สถาบันราชภัฏสกลนคร. ฐิติยา เนตรวงษ. (2551). การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาตอการใชอาคารสถานที่ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. งานวิจัยคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต. ธนารี เพ็ชรรัตน. (2551). “ความพึงพอใจของนักศึกษาตอสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียน การสอนของกองงานวิทยาเขตบางนา มหาวิทยาลัยรามคําแหง ” วารสารมหาวิทยาลัย รามคําแหง ปที่ 11 ฉบับพิเศษ 1 กรกฎาคม – ธันวาคม 2551: 95-106. บุญชวย จินดาประพันธ. (2536). การบริหารอาคารสถานที่และสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ การศาสนา. ประจวบ อุนเศียร. (2528). การศึกษาการบริหารงานที่ปฏิบัติจริงและที่ควรปฏิบัติของคณะกรรม การบริหารงานกลุมโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 2. วิทยา นิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ทักษิณ. ประสงค อุทัย. (2552). ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอการใหบริการมหาวิทยาลัยธนบุรี 2551. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ ธนบุรีวิจัย ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยธนบุรี. เปยมศักดิ์ เหลาอัน. (2546). ปญหาและความตองการดานอาคารสถานที่ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดขอนแกน. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการ บริหารการศึกษา สํานักงานบัณฑิตศึกษา สถาบันราชภัฏเลย. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2537). ประมวลสาระชุดวิชาการบริหารทรัพยากรการศึกษา


81 หนวยที่ 13-15. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เมธี ปลันธนานนท. (2528). การบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: พิทักษอักษร. วัลลภ กันทรัพย. (2535). “ความตองการพื้นฐานของโรงเรียน”. วิจัยสนเทศ. 12(136), กองรอย ทางการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. วิจิตร ติจันทึก. (2537). การบริหารโรงเรียน. กรุงเทพฯ: เอส. ซี. วี. วิทยาลัยราชพฤกษ. (2553). วิทยาลัยราชพฤกษ. (ระบบออนไลน). แหลงที่มา : http://www.rc.ac.th. (4 มีนาคม 2553). สมบูรณ สุริยวงศ และคณะ. (2544). ระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ ศูนยสงเสริมวิชาการ. สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ . (2530). การเรียนรูสิ่งแวดลอม . กรุงเทพฯ: กองวิจัยการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ. สํานักนโยบายและแผนอุดมศึกษา. (2537). เกณฑมาตรฐานกลางสําหรับการจัดทําโครงการพัฒนา การศึกษาของสถาบันอุดทศึกษาในชวงแผนพัฒนา ระยะที่ 8 (พ.ศ. 2540 – 2544). ทบวงมหาวิทยาลัย. อภิรดี กิจธนะเสรี. (2545). ประสิทธิภาพในการใหบริการตอปญหาและความตองการของผูใชใน ศูนยบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรามคําแหง . การคนควาแบบอิสระ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง. อภิวันท วีระเดโช. (2552). ความพึงพอใจของผูใชบริการที่มีตอการจัดกิจกรรมนันทนาการของ ศูนยเยาวชนกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ จัดการนันทนาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อรุณชัย ชัยเสรี. (2534). การวิบัติของอาคาร สาเหตุและการแกไข. กรุงเทพฯ: บริษัทเอเชีย เพรส จํากัด. ภาษาอังกฤษ Bursheim, Jeanne Merie Grum. (1993). The Relationship Between Cooperative Learning School Environment and Productive School Work Cultures (Effective Schools). Minnesota: University of Minnesota. Campisano, Fred Anthony. (1992). A Theoretical Model for The Effects of The School Work Environment in Justuit High School (Work Environment). Arizona: Arizona State University.


82 Ferguson, Ralph E. (1976). “A comparison of the design of open space and self-contained classroom school on the basis of input as perceived by various group and group satisfaction of the outcome�, Dissertation Abstracts International. 36(10): 6392-A.


ภาคผนวก


84 แบบสอบถาม เรื่อง ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ คําชี้แจง 1. ในการตอบแบบสอบถามขอใหทานโปรดตอบแบบสอบถามตามสภาพความคิดเห็นที่เปนจริง เพื่อนําขอมูลที่ไดมาใชเปนแนวทางปรับปรุงแกไข และวางแผนการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัย ราชพฤกษเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดตอการใชงานตอไป 2. แบบสอบถามนี้มีทั้งหมด 3 สวน คือ สวนที่ 1 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม สวนที่ 2 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพการใชอาคารและสถานที่ การใชประโยชนอาคาร และสถานที่ สวนที่ 3 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัย ราชพฤกษ ********************************************* สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม √) ลงหนาขอความที่ตรงกับสภาพความเปนจริงมากที่สุด คําชี้แจง โปรดเขียนเครื่องหมาย ( 1. เพศ

2.ชั้นป

( ) ชาย

( ) หญิง

( ) ชั้นปที่ 1 ( ) ชั้นปที่ 3

( ) ชั้นปที่ 2 ( ) ชั้นปที่ 4

3. คณะที่สังกัด ( ) คณะบริหารธุรกิจ ( ) คณะนิเทศาสตร

( ) คณะบัญชี ( ) คณะวิทยาศาสตร

( ) คณะนิติศาสตร


85 สวนที่ 2 สภาพการใชอาคารและสถานที่ การใชประโยชนอาคารและสถานที่ คําชี้แจง โปรดเขียนเครื่องหมาย ( √) ลงหนาขอความที่ตรงกับสภาพความเปนจริงมากที่สุด

รายการ 1.ผังบริเวณสถานศึกษา 2.สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา 3.อาคารเรียน 4.อาคารอเนกประสงค 5.หองเรียน 6.สํานักงานใหบริการนักศึกษา เชน สํานักทะเบียน การเงิน 7.หองประชุมและหองสัมมนา 8.สํานักหอสมุด 9.หองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ 10.หองกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับการทํากิจกรรมนักศึกษา 11.หองปฏิบัติการ / โรงฝกงาน 12.หองแนะแนว 13.หองพยาบาล 14.โรงอาหาร 15.หองน้ําหองสวม 16.สวนหยอมสถานพักผอน 17.สถานที่เลนกีฬา 18.ที่จอดรถ 19.อื่นๆ (ระบุ)……………………

มาก

การใชประโยชน นอย

ไมมีการใช ประโยชน

สมบูรณใช การไดดี

สภาพการใชงาน ไมสมบูรณ แตพอใชได

ควร ปรับปรุง


86 สวนที่ 3 ความพึงพอใจตอการใชอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ คําชี้แจง โปรดเขียนเครื่องหมาย ( √) ลงหนาขอความที่ตรงกับสภาพความเปนจริงมากที่สุด โดยที่ 5 4 3 2 1

หมายถึง พึงพอใจมากที่สุด หมายถึง พึงพอใจมาก หมายถึง พึงพอใจปานกลาง หมายถึง พึงพอใจนอย หมายถึง พึงพอใจนอยที่สุด รายการ

อาคารเรียน อาคารประกอบ 1. การจัดทําแผนผังอาคารตางๆ 2. การจัดระบบแสงสวางภายในอาคาร 3. การจัดสื่อ วัสดุ อุปกรณ ในอาคารเรียน 4. ความสะดวกในการใชประโยชน 5. หองน้ําหองหองสวมสําหรับนักศึกษา หองเรียน หองปฏิบัติการหองคอมพิวเตอร และหองบริการตางๆ 6. มีแสงสวางเพียงพอและระบายอากาศที่ดี 7. การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาหอง 8.หองเรียนมีจํานวนโตะเกาอี้เพียงพอกับนักศึกษา 9.โตะเกาอี้มีการจัดวางอยางเปนระเบียบ 10. หองเรียนมีตารางการใชอยางชัดเจน 11. บรรยากาศทางวิชาการที่เอื้อตอการเรียนรู 12. สื่ออุปกรณที่สะดวกตอการเรียนการสอน บริเวณสถานศึกษา 13. การจัดทําแผนที่ตั้งบริเวณสถานศึกษา 14. สถานที่พักผอน 15. สถานที่ออกกําลังกาย 16. พื้นที่จอดรถยนตและรถจักรยานยนต 17. เครื่องหมายแสดงการจราจรภายในสถานศึกษา 18. การบํารุงรักษาพื้นที่และบริเวณสวนและสนามใหรมรื่น 19. การปรับปรุงภูมิทัศน

ระดับความพึงพอใจ 5

4

3

2

1


87 รายการ สํานักหอสมุดและหองผลิตสื่อศูนยคอมพิวเตอรบริการ 20. มีแสงสวางเพียงพอและระบายอากาศที่ดี 21. ความสะดวกในการคนหาหนังสือและสิ่งพิมพในหองสมุด 22. ความหลากหลายของหนังสือและเอกสารในหองสมุด 23. ความทันสมัยของหนังสือและเอกสารในหองสมุด 24. จํานวนหนังสือและเอกสารในหองสมุด 25. การจัดหนังสือ สื่อโสตทัศน วัสดุ อุปกรณ ภายในสํานักหอสมุด 26. สํานักหอสมุดมีความสะอาด และเปนระเบียบเรียบรอย 27. มีโตะเกาอี้เพียงพอกับนักศึกษา 28. ความเพียงพอของจํานวนคอมพิวเตอร 29. ความรวดเร็วของระบบอินเทอรเน็ต 30.ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร โรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร 31. มีแสงสวางเพียงพอและระบายอากาศที่ดี 32. การจัดวัสดุ อุปกรณ เครื่องปรุงรส และการรักษาความสะอาด 33. การจัดโตะ เกาอี้ภายในโรงอาหาร 34. การจัดบรรยากาศภายในโรงอาหารที่เอื้อตอดานโภชนาการ 35. การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาโรงอาหาร หองประชุมและหองสัมมนา 36. มีแสงสวางเพียงพอและระบายอากาศที่ดี 37.หองประชุมและหองสัมมนามีจํานวนเพียงพอตอการใชงาน และ สามารถรองรับการจัดกิจกรรมประเภทตางๆ ไดอยางเหมาะสม 38. ความพรอมของหองประชุมและหองสัมมนา 39. หองประชุมและหองสัมมนามีความสะอาดเปนระเบียบ 40. สิ่งอํานวยความสะดวกมีประสิทธิภาพมีความทันสมัย และมีจํานวน เพียงพอตอการใชงาน 41. ความสะดวกในการใชวัสดุ อุปกรณ 42. การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาหองประชุม

ระดับความพึงพอใจ 5

4

3

2

1


88 รายการ

ระดับความพึงพอใจ 5

4

3

2

1

หองกิจกรรม สถานออกกําลังกาย และนันทนาการ 43. มีแสงสวางเพียงพอและระบายอากาศที่ดี 44. การจัดวัสดุ อุปกรณ ครุภัณฑ และสิ่งอํานวยความสะดวก 45. ความสะดวกในการใชวัสดุ อุปกรณและการใชบริการ 46. การจัดบรรยากาศภายในหองที่เอื้อตอการใชบริการ 47. การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาหอง การจัดสภาพแวดลอมและระบบสาธารณูปโภคของวิทยาลัย 48. การดูแลรักษาหองน้ํา หองสวมใหสะอาด 49. การจัดที่นั่งใหนักศึกษาพักผอนในเวลาวาง 50. การมีถังขยะที่แยกตามประเภทขยะ 51. ระบบระบายน้ําตามแนวถนน 52. การจัดการไฟฟาภายในอาคาร เครื่องปรับอากาศ หรือพัดลม 53. การจัดน้ําเพื่อบริโภคในสถานศึกษา 54. การจัดระบบติดตอสื่อสารภายในสถานศึกษา เชน ระบบโทรศัพท บอรดประชาสัมพันธ การรักษาความปลอดภัยภายในวิทยาลัย 55. มีระบบปองกันเพลิงไหม และสัญญาณเตือนภัยตางๆ อยางเพียงพอ 56. มีการจัดระบบเวร ยามรักษาความปลอดภัย 57. การใหบริการของเจาหนาที่รักษาความปลอดภัย 58. ระบบการดูแลรักษาความปลอดภัยในวิทยาลัยสรางความมั่นใจ ในความปลอดภัยใหแกนักศึกษา ขอเสนอแนะอื่นๆ ................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................

ขอขอบคุณที่กรุณาตอบแบบสอบถาม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.