๐๓ »‚·Õ่ óõ
ฉบับที่
μØÅÒ¤Á¾ÄȨԡÒ¹
òõõô
พระปลอม
VS
พ ร ะ บ ริ สุ ท ธิ์
ยัติภังค ๑
อาศิรวาท โส อตฺถลทฺโธ สุขิโต อโรโค สุขิโต โหหิ
วิรุฬฺโห พุทฺธสาสเน สห สพฺเพหิ ญาติภิ ฯ
@ เจ็ดรอบพระนักษัตรขัตติยะราช ขอใหใตฝาละอองธุลีพระบาทเกษมสันต ปราศจากพระโรคาพาธไปโดยพลัน ผูที่ปองรายหมายขวัญจงพายพระบารมี ฯ @ ตอแตนี้ไปใหทรงนิรทุกขนิรโศก พระราชทานโชคใหไพรฟามีสงาราศี พวกกินบานกินเมืองอยางจัญไรและอัปรีย ยอมตองมีอันเปนไปเพราะพระธรรมราชา ฯ @ เมื่อทรงไวซึ่งทศพิธราชธรรม ยอมทรงนำพสกนิกรทุกหยอมหญา ใหดำรงชีพอยางมีกุศลจรรยา ผูคนยอมหันหนาเขาหากัน ฯ @ ลดเลิกชั้นวรรณะในบรรดามหาชน ทุกๆ คนเอื้ออารีอยางหฤหรรษ ทะนุถนอมทุกชีวิตอยางอเนกอนันต กงจักรหันเปนดอกบัวอยางสมทรง ฯ @ เปาหมายในชีวิตคือความเปนปราชญ ชาวสยามจะสามารถไดสมประสงค รักษาความเปนไทไวไดอยางมั่นคง มุงธำรงใหเกิดเศรษฐกิจอยางพอเพียง ฯ @ จะเผชิญความสัตยอยางสงา แกทุกปญหาอยางไมหลีกเลี่ยง สามัคคีกันทั่วหนาอยางพรอมเพรียง ใชสิทธิ์ใชเสียงอยางเหมาะกับความพอดี ฯ @ จะเขาหาความเปนเลิศทั้งทางใจและกาย อุทิศถวายทั้งหมดเปนราชสักขี เพื่อทรงมีความสุขทุกทิพาและราตรี สมกับที่ทรงเปนพระภูบดีของปวงชน ฯ ปหีนา เต จ อาพาธา ติณฺณนฺนมฺป มเหสินํ มคฺคาหตกิเลสาว ปตฺตานุปปตฺติธมฺมตํ เอเตน สจฺจวชฺเชน โสตถิ เต โหตุ สพฺพทา ฯ ดวยเกลาดวยกระหมอม ขอเดชะ
๒ อารัมภบท ਌Ңͧ
เมื่อครั้งเรียนวิชาพุทธศาสนาสมัยเด็กๆ จำไดวาบรรยากาศตอนเรียนเปน สภาพที่ทุกคนเหนื่อยหนายมาก มีอยูครั้งหนึ่งที่รูสึกวาสนุกหนอยคือบทเรียนตอน นั้นอธิบายวา ที่บอกกันวาพระพุทธเจาตอนประสูติที่เดินออกมาแลวมีกลีบดอกบัว รองเทาเจ็ดกาวนัน้ จริงๆ แลวมีการตีความกันวาเปนสัญลักษณหมายถึงพระพุทธเจา สามารถเผยแผศาสนาออกไปไกลถึงเจ็ดแควน นั่นเปนประสบการณครั้งแรกในการ รับรูพระพุทธศาสนาในมุมที่ตางจากที่บอกไวในตำรา และแตะตองความศักดิ์สิทธิ์ ของพุทธประวัติได ปญหาคือเรามักจะมองพุทธภายใตกรอบของคำวา “พุทธศาสนา” เทานัน้ เมือ่ พูดถึงพุทธก็จะตองพวงเรือ่ งศาสนาดวยเสมอ พอจำกัดมิตให ิ ไมสามารถแยกจากกัน ไดอยางนี้ จะไปบอกวาศาสนาไมดีก็จะกลายเปนคนบาปไป ความเสื่อมทั้งหลายจึง กลายเปนเรื่องของตัวบุคคล เพราะระบบและโครงสรางที่เปนอยูจะผิดพลาดไมได ความเสื่อมที่เกิดขึ้นก็เปนเพราะพระรูปนั้นทำตัวไมดี สโลแกนพระปลอมเลยถูกขุด ขึ้นมาใชงานกันบอยๆ คำถามคือปลอมนั้นปลอมจากอะไร หรือปลอมเมื่อเทียบกับ ของแท ถาอยางนั้นแบบไหนถึงเรียกวาพระแท และพระแทมีไดแคเพียงหนึ่งหรือมี ถึงสองได หรือจริงๆ แทเทียมเปนเรื่องที่ไมเคยมีอยูจริง เพราะบางทีแลวพระแทที่ วาก็อาจจะปลอมมาอีกทีก็ได สาราณียกร
มูลนิธิเสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป ÊÒÃÒ³Õ¡Ã
รณวัฒน จันทรจารุวงศ ¡Í§ÊÒÃÒ³Õ¡Ã
ภฤศ ปฐมทัศน ½†ÒÂÈÔÅ»Š
ณขวัญ ศรีอรุโณทัย ¾ÔÊÙ¨¹ ÍÑ¡ÉÃ
เอ็นดู ศรีใส Êӹѡ§Ò¹
๖๖๖ ระหวางซอยเจริญนคร ๒๐-๒๒ ถ.เจริญนคร แขวงบางลำภูลาง เขตคลองสาน กรุงเทพฯ ๑๐๖๐๐ โทร ๐-๒๘๖๐-๓๕๒๗ แฟกซ ๐-๒๘๖๐-๑๒๗๘ Ê×่ÍÊÒáѺ»Ò¨ÒÃÂÊÒÃä´Œ·Õ่
pajarayasarn@gmail.com หรือทาง facebook ¾ÔÁ¾ ·Õ่
ออฟเซ็ท พลัส โทร. ๐-๒๔๖๑-๒๑๖๑-๔
ห นั ง สื อ ใ ห ม ส. ศิ ว รั ก ษ ...พระพุทธเจาหลวงนัน้ ทรงประกอบพระราช กรณียกิจเพือ่ สยามประเทศอยางเปนคุณประโยชน มิใชนอยเอาเลย เสียอยางเดียวทีทรง ่ สงเยาวชนไป เรียนเมืองฝรัง่ แตเมือ่ อายุยังนอยเกินไป เปนเหตุให ทานนั้นๆ รับเอาอารยธรรมฝรั่งมาอยางมากเกิน พอดีไป โดยไมเขาใจพื้นฐานภูมิธรรมเดิมของไทย อยางพอเพียง นายสก็อตปรารภวาความผิดพลาด ขอนี้ประการเดียวของพระเจาอยูหัวพระองคนั้น ไดนำความหายนะมาสูพระราชวงศและประเทศ ชาติอยางนาเศราสลดยิ่งนัก
ขาวสาศน* ๓
ñð »‚ »ÃСѹÊØ¢ÀÒ¾¶ŒÇ¹Ë¹ŒÒ âç¾ÂÒºÒÅÃÑ°¢Ò´·Ø¹¡Ñ¹¶ŒÇ¹Ë¹ŒÒ ¡Ç‹Ò ÷,ððð ŌҹºÒ· จากการประชุมเชิงปฏิบัติการ ระดมความเห็นการจัดการงบ ประมาณ กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติขาลง ปงบประมาณ ๒๕๕๕ โดยในรายงานสรุปปญหาการเงินโรงพยาบาลรัฐไดระบุวา โรงพยาบาลทีมี่ ผลประกอบการขาดทุนมีมากขึน้ ทุกระดับ ทัง้ นีพบ ้ วา โรงพยาบาลยิ่งใหญยิ่งขาดทุนมาก โดยทั้งระบบมีตัวเลขการขาดทุน สูง ๗,๓๘๘ ลานบาท อยางไรก็ตาม นักวิชาการมีความเห็นแยงวาโรงพยาบาลสวน ใหญยังมีเงินบำรุงซึง่ เปนเงินนอกงบประมาณอยู โรงพยาบาลจึงนาที่ จะอยูไดโดยไมจำเปนตองปดตัวลง แตจากขอมูลป ๒๕๕๐ เปนตน มา ปรากฏวาปริมาณเงินบำรุงของแตละโรงพยาบาลไดลดลงเรือ่ ยๆ
àÃÔ่ÁáÅŒÇÍÓàÀÍ ò ÀÒÉÒ ãªŒ ‘ÂÒÇÕ’ ºÃÔ¡ÒûÃЪҪ¹ วันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๔ ที่วาการอำเภอเมืองปตตานี มีพิธี เปดโครงการอำเภอ ๒ ภาษา ซึ่งเปนสวนหนึ่งของโครงการยิ้มตานี ซึ่งเปนโครงการที่ใหสถานที่ราชการใชภาษามลายูทองถิ่น (ภาษายา วี) ควบคูกั บภาษาไทย ในการสือ่ สารกับประชาชนทีม่ าใชบริการ โดย ทางนายอำเภอเมืองปตตานีเปดเผยวาอำเภอเมืองปตตานีเปนอำเภอ นำรองในการทำโครงการอำเภอ ๒ ภาษา ซึ่งจะมีการขยายผลตอไป ยังพื้นที่อำเภออื่นๆ ในจังหวัดปตตานี นาย วัน เฉลิม แวด อ เลาะ นัก ประชาสัมพันธ และ บริการ
¾Á‹ÒàÅԡẹàÇ็ºä«μ ¢‹ÒÇμ‹Ò§ªÒμÔμŒÍ§ËŒÒÁáÅŒÇ พมายกเลิกคำสั่งหามการเผยแพรและเขาถึงขอมูลในเว็บไซต สำนักขาวตางประเทศแลว โดยในวันที่ ๑๕ ก.ย. ที่ผานมา สำนัก ขาวรอยเตอรรายงานจากกรุงยางกุง ประเทศพมา วา รัฐบาลพมา สั่งยกเลิกคำสั่งหามการเผยแพรและเขาถึงขอมูลในเว็บไซตสำนัก ขาวตางประเทศหลายสำนักแลวตั้งแตวันนี้เปนตนไป รวมถึงสำนัก ขาวของชาวพมาลี้ภัยที่เปนปฏิปกษและวิพากษวิจารณรัฐบาลพมา รุนแรง นอกจาก นี้ ได อนุญาต ให ประชาชน ใน พมา สามารถ เขา ชม ภาพหรือภาพยนตรในเทปวิดีโอของ Youtube ไดอีกดวย ถือเปน สัญญาณทางบวกครั้งลาสุดของรัฐบาลพมาในการปฏิรูปไปสูความ
เนื่องจากภาวะขาดทุนตอเนื่อง รายงานระบุวาสาเหตุที่โรงพยาบาลมีเงินบำรุงลดลงเรื่อยๆ เพราะมีหนี้สินมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากรายไดที่มาจากการรักษา พยาบาลนั้นมีนอยกวาหนี้คางชำระ โดยทาง สปสช. ไมจายเงินให โรงพยาบาลตามที่เรียกจาย จึงตองดึงเงินบำรุงมาชดเชย ซึ่งหากได รับการชำระในสวนตางนี้ ก็จะแกไขปญหาทั้งคาตอบแทน และคาใช จายไมเพียงพอไดทั้งระบบ นอกจากนี้ยังพบวาการใหบริการผูปวยดวยนโยบายประกัน สุขภาพถวนหนาทำใหมีปริมาณผูป วยมากขึน้ ทางโรงพยาบาลจึงตอง มีการใชจายในสวนของบุคลากรเพิม่ มากขึน้ เนือ่ งจากตองมีการจาย คาตอบแทนนอกเวลาราชการมากขึน้ รวมถึงการจางลูกจางชัว่ คราว โดยเฉพาะลูกจางวิชาชีพมากขึ้นเชนกัน ที่มา: THAIPUBLICA
ประชาชนในจังหวัดชายแดนใต เปดเผยวา ประชาชนที่เขาสอบถาม นักประชาสัมพันธและบริการประชาชนในจังหวัดชายแดนใตสวนมาก เปนคนชรา หรือผูที่สื่อสารภาษาไทยไดนอย นายสุกรี ดอเลาะ ผูรับบริการที่วาการอำเภอเมืองปตตานี กลาววา การที่ขาราชการปจจุบันเริ่มเห็นความสำคัญ และหันมา สือ่ สารดวยภาษามลายูทองถิน่ ควบคูกั บภาษาไทยเปนทีต่ องการของ ตนมานานแลว เนือ่ งจากไมทำใหรูส กึ อึดอัดใจเหมือนเมือ่ กอน ทัง้ ยัง สะดวกในการติดตอขอรับบริการมากขึ้น ที่มา: Deep South Watch
เปนประชาธิปไตย เว็บไซตสำนักขาวตางประเทศทีพ่ นจากคำสัง่ หามของทางการ พมาในครั้งนี้ อาทิ เว็บของสำนักขาว Reuters หนังสือพิมพ The Straits Times ของสิงคโปร สำนักขาว BBC ของอังกฤษ สำนักขาว VOA ภาคภาษาพมา และสำนักขาว Democratic Voice of Burma ของชาวพมาลี้ภัยในตางประเทศ เปนตน ทั้งนี้เว็บไซตของสำนักขาวเหลานี้และอื่น ๆ อีกมาก ถูกหาม โดยทางการพมาตั้งแตชวงเกิดเหตุการณ ทหารกองทัพพมาปราบ ปรามประชาชนที่เดินขบวนเรียกรองประชาธิปไตยเมื่อป ๒๕๕๐ ที่มา: สาละวินโพสต
*ขาวสาศน หมายถึง เรื่อง ความสิ่งใดๆ, มีมาในหนังสือบอกที่เขาสงตอๆ กันมานั้น จากอักขราภิธานศัพท โดย ดร.แดน บีช แบรดเลย
๔ สำเนา*
เรื่อง ธีระวัฒน แสนคำ
คนอดีตเมืองบางขลัง
ประวัติศาสตรทองถิ่นที่กอราง จากการศึกษาแบบราชาชาตินิยม
ก
อนอื่นขอเทาความกอนวาเมืองบาง ขลังเปนเมืองโบราณเมืองหนึง่ ในทอง ที่ตำบลเมืองบางขลัง อำเภอสวรรคโลก จังหวัด สุโขทัย ซึ่ง ปรากฏ รอง รอย ความ เปนบานเปนเมืองมาตั้งแตประมาณพุทธ ศตวรรษที่ ๑๘ เมืองบางขลังในสมัยนั้น อยู ภาย ใต การ ปกครอง ของ พอขุน ศรี อิน ทราทิตย ซึ่งในการศึกษาประวัติศาสตร ชาติไทยยึดถือกันวาพอขุนศรีอินทราทิตย เปน พระ มหา กษัตริย พระองค แรก และ นั่ น ก็ ทำให เมื อ ง บาง ขลั ง แห ง นี้ เป น เป า หมายในการขุดคนอดีตจากหนวยงานและ องคกรตางๆ
ในป พ.ศ.๒๔๕๐ พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหั ว รัชกาลที่ ๖ เมือ่ ครัง้ ดำรงพระราชอิสริยยศสมเด็จพระบรม โอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ไดเสด็จ ประพาสเมืองตางๆ ในมณฑลฝายเหนือ ซึ่งเคยเปนเขตอาณาจักรสุโขทัย ในครั้ง นัน้ พระองคไดเสด็จประพาสเมืองบางขลัง และไดพระราชนิพนธเกี่ยวกับวัดโบสถซึ่ง เปนโบราณสถานสำคัญของเมืองบางขลัง ไวในหนังสือพระราชนิพนธเรื่อง “เที่ยว เมืองพระรวง” วา “วันที่ ๑ กุมภาพันธ ขี่ชางออกจาก ตำบลหนองยาวเวลาประมาณ ๔ โมงเชา...
*สำเนา หมายถึง เรื่อง ความ, ความเดิม (พจนานุกรม (รศ. ๑๒๐) ฉบับกรมศึกษาธิการ)
เวลาเทีย่ งถึงวัดรางเรียกตามคำชาวบานวา วัดโบสถ ตัววัดโบสถเองนั้นก็เปนที่นาดู อยู ยังมีสิ่งที่เปนชิ้นควรดูเหลืออยูชิ้นหนึ่ง คือมณฑปมีกำแพงแกวลอมรอบ มณฑป นั้น สี่เหลี่ยม จัตุรัส ดาน ละ ๕ วา ใน นั้น พิจารณา ก็ เห็น ทาทาง จะ มี พระพุทธ รูป นั่ง มีพระเจดียเล็กๆ กอไวในลานรอบ มณฑป กำแพงแกวที่ลอมลานนั้นทำดวย แลง เปนกอนกลมหรือแปดเหลี่ยมปกยึด กันทำนองรัว้ เพนียด แลวมีแลงแทงยาวๆ พาดเปนพนัก พนักทำเปนรูปหลังเจียด ตัดยอด คะเนวาสูงประมาณ ๒ ศอก...มีอยู สองประตู ทางดานหนาวิหารกับดานหลัง ดานหนาพังเสียแลว แตดานหลังศิลาทับ กรอบบนประตูยังวางอยูตามที่...” จากขอมูลในศิลาจารึกและพระราช นิพนธในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจ า อยู หั ว พบ ว า พระบาท สมเด็ จ พระมงกุฎเกลา เจา อยู หัว ได โป รดฯ ให สมชาย เดือนเพ็ญ ขาราชการและนัก
๕ ประวัติศาสตรทองถิ่นสุโขทัย ทำการสำรวจ และ ศึกษา ประวัติศาสตร ของ เมือง บาง ขลัง ตามรอยเสด็จประพาสของรัชกาลที่ ๖ ตอ มาก็มีนักวิชาการและผูสนใจหลายคนหลาย หนวยงานเขามาทำการศึกษามากขึ้น ทั้ ง นี้ ทาง องค ก าร บริ ห าร ส ว น ตำบล เมืองบางขลังเองก็ไดสนับสนุนและสงเสริม ให นั ก วิ ช าการ เข า มา ศึ ก ษา และ จั ด เสวนา ประวัติศาสตรขึ้นหลายครั้ง โดยมีแนวทาง การ ศึ ก ษา ประวั ติ ศ าสตร เน น ความ สำคั ญ และตีความเมืองบางขลังจากจารึกวัดศรีชุม ทีเกี ่ ย่ วกับการรวมพลของพอขุนบางกลางหาว กับพอขุน ผาเมืองวา “เมืองบางขลังคือจุด กำเนิดประเทศไทย ไมมเมื ี องบางขลังไมมกรุ ี ง สุโขทัย กรุงศรีอยุธยา กรุงเทพมหานคร และ ไมมเมื ี องบางขลังไมมประเทศไทย” ี ซึง่ ก็มีนัก วิชาการบางคนกลาววาสิง่ ทีเกิ ่ ดขึน้ นัน้ เปนการ ศึกษาและตีความแบบ “ประวัติศาสตรราชา ชาตินิยม” มากเกินไป อยางไร ก็ตาม การ เสวนา ใน ประเด็น ดานประวัติศาสตรของเมืองบางขลังก็ยังคงมี การจัดขึ้นอยางตอเนื่อง เพื่อนำองคความรู ทีได ่ จากการศึกษาประวัตศิ าสตรไมวาจะเปน แบบ ราชา ชาตินิยม หรือ แบบ ประวัติศาสตร ทองถิน่ มาเผยแพรใหชาวเมืองบางขลังไดรับรู และเขาใจประวัติศาสตรทองถิ่นของตนเอง จากการจัดกิจกรรมและประชาสัมพันธ ของ อบต.เมืองบางขลังอยางตอเนื่องนี้เอง ไดสงผลใหในป พ.ศ. ๒๕๔๐ สมเด็จพระเจา พี่ นาง เธอ เจา ฟา กรม หลวง นราธิวาส ราช นครินทร เสด็จทอดพระเนตรโบราณสถาน เมืองบางขลัง ตอมาในป พ.ศ. ๒๕๕๐ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ก็ไดเสด็จทอดพระเนตรโบราณสถานวัดโบสถ เมืองบางขลังเชนกัน ทำใหเมืองบางขลังเปนที่ รูจักกันในวงกวางมากขึ้น และทำใหชาวบาง ขลังภาคภูมใิ จในทองถิน่ ของตนเปนอยางมาก ตอมาทองถิน่ เมืองบางขลังก็เริม่ ทีจะ ่ ตระหนัก และเห็นความสำคัญของทองถิน่ ตนเอง ทำให เกิด การ ศึกษา ประวัติศาสตร ใน รูป แบบ ของ “ประวัติศาสตรทองถิ่น” เกิดขึ้น
สิ่งที่เกิดขึ้นมีตั้งแตการเชิญนักวิชาการ จากหลายภาคสวนเขามาทำการศึกษา และ การตัง้ คณะกรรมการจัดทำหลักสูตรเมืองบาง ขลังศึกษา ซึ่งมีทั้งนักวิชาการและผูรูในทอง ถิ่นเปนคณะทำงาน เพื่อพัฒนาและบูรณา การองคความรูให นักเรียนในทองถิน่ ไดศึกษา โดยมีการผลิตหนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร เมือง บางขลังออกมาเผยแพรอยางตอเนื่อง นอกจาก นี้ ยัง มี การ ฟนฟู การ ละ เลนกล อง มังคละ ซึ่ง เปน ดนตรี พื้น บาน ให เยาวชน ได เรียนรูฝกหัด และมีการประดิษฐทารำระบำ เทววารีศรีเมืองบางขลังขึ้นมาดวย หลัง จาก ที่ ชุมชน เดิน หนา หา อดีต ได สัก พัก ทาง หนวย งาน ที่ เกี่ยวของ อยาง กรม ศิลปากรก็ไดเขามาบูรณะโบราณสถาน สราง อาคารจัดแสดงนิทรรศการ ซึง่ ทำใหมีนักทอง เทีย่ วแวะเขามาเยีย่ มชมโบราณสถานวัดโบสถ เมือง บาง ขลัง มาก ยิ่ง ขึ้น นอกจาก นี้ พระ อธิการมหาบุญมี ภูริมงฺคลาจาโร เจาอาวาส วัดโบสถ ก็ไดรวมศรัทธาชาวบานพัฒนาวัด ใหเปนแหลงเรียนรูและศูนยกลางการศึกษา ประวัติศาสตร เมือง บาง ขลัง การ ดำเนิน กิจกรรมตางๆ เกี่ยวกับประวัติศาสตรเมือง บางขลังเหลานี้ ไดทำให อบต.เมืองบางขลังซึง่ เปนเจาภาพหลักในการจัดกิจกรรมไดพัฒนา
ทองถิน่ ในดานตางๆ ไปพรอมกัน ซึง่ ไดรับคำ ชื่นชมจากบุคคลสำคัญในระดับประเทศและ ไดรับรางวัลตางๆ มากมาย ความ สำเร็จ เหลา นี้ ใน ทัศนะ ของ ผู เขี ย น เห็ น ว า เป น ผล ที่ สื บ เนื่ อ ง มา จาก การ ศึกษาประวัติศาสตรแบบราชาชาตินิยม ที่ ทำให คนใน ทอง ถิ่น ได เล็ง เห็น ความ สำคัญ ของ ทอง ถิ่น บาน เกิด เมือง นอน ของ ตนเอง แลว นำ เอา เรื่อง ราว ทาง ดาน ประวัติศาสตร และ โบราณ สถาน ซึ่ง เปน เสมือน “ทุน ทาง วั ฒนธรรม” ทำให เกิ ด การ ผสม ผสาน การ ศึ ก ษา ประวั ติ ศ าสตร ราชา ชาติ นิ ย ม และ ประวัติศาสตรทองถิ่น รวมทั้งพัฒนาทองถิ่น ในดานอื่นๆ ควบคูกัน ดั ง นั้ น การ ศึ ก ษา ประวั ติ ศ าสตร แบบ ราชาชาตินิยมก็อาจไมจำเปนวาจะตองเปน ปญหา ตอ การ ศึกษา ประวัติศาสตร และ การ พัฒนาทองถิ่นแตเพียงอยางเดียว เพราะใน ทางตรงกันขามประวัติศาสตรราชาชาตินิยม ก็สามารถมีที่ทางและการใชงานที่เหมาะสม เชนกัน
๖ ขบวนการ
เรื่อง ภัควดี วีระภาสพงษ
CAMILA VALLEJO ¼ÙŒ¹ÓÊÒÇ (áÅÐÊÇÂ) ¡Ñ º ¡ Ò Ã » à Р·Œ Ç § ·Õ่ ªÔ ÅÕ
ค
ามิลา วาเยโฆ นักศึกษาสาววัย ๒๓ ป กลายเปนขวัญใจและใบหนาอันสวยงามของการประทวงรัฐบาลในชิลี เธอเปนแกนนำนักศึกษา ประชาชนเดินขบวนจนเมืองหลวงซันติอาโกกลายเปนอัมพาต สั่นคลอนรัฐบาลของประธานาธิบดีเซบาสเตียน ปนเญรา จนคะแนนนิยม ตกต่ำ รวมทั้งทำใหรัฐมนตรีคนหนึ่งถูกไลออกหลังจากนำเสนอความคิดงี่เงาวาควรสังหารเธอทิ้ง แตกอนหนานี้ไมกี่เดือน ไมมีใครรูจักนักศึกษาหญิงคนนี้มากอน สถานการณที่ทำใหเธอกลายเปนที่รูจักทั่วโลกเกิดขึ้นเมื่อตนเดือน มิถุนายน เมื่อนักเรียนไฮสกูลและนักศึกษามหาวิทยาลัยในชิลีเริ่มประทวงไมยอมเขาหองเรียน ขอเรียกรองของเยาวชนเหลานี้ก็คือ พวกเขา ตองการใหรัฐบาลปรับปรุงมาตรฐานการศึกษา เมือ่ การประทวงขยายออกไปสูวงนอก ขอเรียกรองก็ขยายตามไปดวย มีเสียงเรียกรองใหเพิม่ งบ ประมาณดานการศึกษาและการดูแลสุขภาพ ปรับปรุงกฎหมายแรงงานและระบบบำเหน็จบำนาญ ไปจนถึงความตองการเปลี่ยนแปลงระบอบ บริหารการปกครองของรัฐบาลอยางถึงรากถึงโคน ดวยการเสนอใหรางรัฐธรรมนูญใหมที่เปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการทำประชามติ และกระบวนการประชาธิปไตยทางตรงมากขึ้น ในชวงปลายเดือนสิงหาคมทีผ่ านมา การประทวงของประชาชนหลายแสนคนบานปลายกลายเปนการปะทะกับตำรวจ มีผูบาด เจ็บจำนวน มากและถูกจับกุมไปกวา ๕๐ คน วาเยโฆกลาวถึงเรื่องนี้วา “เราไมตองการความรุนแรง การตอสูของเราไมใชเพื่อปะทะกับตำรวจหรือทำลาย รานคา... การตอสูของเราคือการเรียกรองสิทธิดานการศึกษา ซึ่งเราเนนย้ำเรื่องนี้อยางชัดเจน” เธอยังพูดถึงแกสน้ำตามากมายที่ตำรวจระดม ยิงใสผูประทวงวา “ดูสิวาเรามีแกสน้ำตามูลคาหาสิบลานเปโซ... ลองจินตนาการดูวามีการใชงบประมาณไปเทาไรในระดับภูมิภาคหรือระดับ ชาติ? นี่เปนเรื่องที่ยอมรับไมได” ชิลีตกอยูภายในระบอบเผด็จการทหารที่โหดรายมานานในชวง ค.ศ. ๑๙๗๓-๑๙๙๐ แมเมื่อเปลี่ยน ผานมาสูระบอบประชาธิปไตย แต มรดกแบบเผด็จการทหารก็ยังคงอยู การปกครองสวนใหญใชระบบสั่งการจากบนลงลางและเต็มไปดวยลักษณะแบบอำนาจนิยม มิหนำซ้ำชิลี ยังเปนตนแบบของระบอบเสรีนิยมใหมทางเศรษฐกิจที่สหรัฐอเมริกาเขามาสถาปนาไวตั้งแตยุคประธานาธิบดีปโนเชต ถึงแมเศรษฐกิจดูเหมือน รุงเรือง แตความมั่งคั่งกระจุกตัวอยูที่ชนชั้นบนเทานั้น คามิลา วาเยโฆไมเพียงตอสูกับระบอบอำนาจนิยมของรัฐบาล เธอยังตอสูกับคานิยมเพศชายเปนใหญในสังคมชิลีดวย เธอเปนผูหญิง คนที่สองในรอบ ๑๐๕ ปที่ไดรับเลือกตั้งเปนประธานสหภาพนักศึกษามหาวิทยาลัยในชิลี นอกจากนี้ เธอยังเปนสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต ซึ่ง เปนขบวนการที่เพิ่งฟนตัวมาใหมหลังจากถูกปราบปรามอยางทารุณในยุคเผด็จการทหาร
เรื่อง สาราณียกร
บุคคล ๗
Ai Wei Wei: ÈÔÅ» ¹äÁŒàº×่ÍäÁŒàÁÒÃÑ°ºÒŨչ
ไ
อ เวยเวย (Ai Wei Wei) ศิลปนรางใหญเครายาว ผูเปนหนึ่งในศิลปน หัวกาวหนาที่คอยผลักดันศิลปะรวมสมัยและศิลปะแนวทดลองของจีน นอกจากนี้แลวเขายังเปนนักกิจกรรมที่วิพากษวิจารณรัฐบาลจีน แตขณะ เดียวกันเขาก็เคยเปนที่ปรึกษาใหกับการสราง “สนามรังนก” สนามกีฬา โอลิมปกที่กรุงปกกิ่งดวย “ผมคิดวาศิลปะนั้น เปนเครื่องมือสำหรับตั้งคำถามใหมๆ ใชกอโครง รางงายๆ ไวเปนประตูไปสูความ เปนไปไดอันหลากหลาย นีคื่ อสิง่ ทีน่ าสนใจ ทีส่ ดุ ในศิลปะของผม” ไอกลาวเอาไวในวิดโี อสารคดีเกีย่ วกับการจัดแสดงงาน ชุด ‘เมล็ดทานตะวัน’ ซึง่ เปนการนำเมล็ดทานตะวันประดิษฐมาโรยไวในพืน้ ที่ จัดแสดง ณ กรุงลอนดอน ใหคนไดเดินเหยียบย่ำมันได ซึ่งศิลปะในชุดนี้ได รับอิทธิพลมาจากศิลปะจัดวางจากวัสดุสำเร็จรูปที่มารเชล ดูชองป ศิลปน ชาวฝรั่งเศสเคยสรางสรรคมากอนหนานี้ ‘เมล็ดทานตะวัน’ หรือ The Sunflower Seed เปนเพียงหนึง่ ในผลงาน ของไอที่ไดจัดแสดงนอกประเทศ เขามีผลงานอีกจำนวนมากที่จัดแสดงนอก ประเทศ จนบางคนอาจจะมองแบบผิวเผินวาหมอนี่ไมสำนึกรัก บานเกิด กลายเปนคนหัวตะวันตก ถึงไดมาวิจารณประเทศจีน แตก็ตองไมลืมวาประเทศจีนเองนั้นทำตัวในแบบที่ไอเรียกวาเปน “นักเลงโต” ไลจับนักกิจกรรมรณรงค ปราบปรามคนวิพากษวิจารณ รัฐบาล ละเมิดสิทธิมนุษยชนอยูอยางตอเนื่อง จริงๆ แลวรัฐบาลจีนเองก็คงเห็นคุณคาในตัวศิลปน ผูนี้อยูไมนอย เหมือนกัน เนื่องจากเคยใหเขาเปนที่ปรึกษาในการสรางสนามรังนก แตใน เวลาตอมาไอก็เริ่มเอาตัวออกหางจากโปรเจกตนี้มากขึ้นเรื่อยๆ โดยบอกวา มันเปนเหมือน “รอยยิ้มเสแสรงของรสนิยมแยๆ” เขายังไดวิจารณสตีเฟน สปลเบิรก และจางอี้โหมว ที่เปนผูกำกับการแสดงในงานโอลิมปกดวยวา พวกเขาทั้ง ๒ คนไมไดแสดงความรับผิดชอบในฐานะศิลปน
กอน หนาที่ ไอ เวยเวย จะ ได เดิน ทาง ไป ศึกษา ตอ ที่ ตาง ประเทศ เขาเคยเรียนโรงเรียนภาพยนตรที่เดียวกับจางอี้โหมวมากอน และพอของ เขาทั้ง ๒ คนก็เคยตกเปนเปาของรัฐบาลคอมมิวนิสตจีน ทั้งไอและอี้โหมวมี ความสามารถซึมซับเอาความเปนพื้นบาน ลงไปในผลงานของพวกเขา แต ขณะเดียวกันก็สื่อสารออกไปอยางเปนสากล ไอมักจะถูกทางการจีนเลนงานแบบเบาะๆ เสมอมา เชน การจับเขา ดวยขอหาจำพวกตอเติมอาคารโดยไมไดรับอนุญาต หรือลาสุดก็กลาวหา เรื่องไมจายภาษี โดยสื่อของรัฐบาลจีนในชวงตนปนี้ก็เริ่มตำหนิศิลปะของไอ วา “นอกคอกและลอกเลียน” ซึ่งทัศนะแบบนี้กลับกลายเปนวาพวกเขานั้น มีความเขาใจตอสิ่งที่เรียกวาศิลปะเปนอยางดี เพราะความ ‘นอกคอก’ เปน คุณสมบัติแสนบรรเจิดของศิลปะแนวทดลอง และในโลกใบนี้ทุกสิ่งทุกอยาง มันไมมีอะไรใหมอีกตอไปแลวละครับ ทุกสิ่งทุกอยางมันลอกเลียนดัดแปลง จากอะไรในพื้นที่และเวลาอื่นๆ มาทั้งสิ้น มีงานเพอรฟอรแมนซชุดหนึ่งของไอ ที่วิจารณรัฐบาลจีนอยางแสบ สันต และคาดวาคงเปนผลงานที่ทำใหรัฐบาลจีนเริ่มคุกคามไอ ผลงานชุดนี้ ไออาศัยสิ่งที่คนลอเลนในอินเทอรเน็ต คือตัว “มาหญา โคลน” ซึ่งในภาษาจีนจะพองเสียงกับคำหยาบดาพอลอ แมคำหนึง่ ทีคนใน ่ เน็ตมักใชแทนเวลาอยากจะดาอะไร เพื่อเลี่ยงการเซนเซอร ไอก็เลนเอาตุกตาของตัวมา หญาโคลนมาปดของสงวน จนกลายเปนคำดาคณะ กรรมการพรรคคอมมิวนิสตจีนไปเสีย อาจจะวาหยาบคายก็ได แตความหยาบคายเมือ่ มาอยูในแงมุมของศิลปะแลวก็ดูบันเทิงดีนะครับ
๘ แกนหลัก
เรื่อง ภิญญพันธุ พจนะลาวัณย
พระปลอม พระบริสทุ ธิ์ การตีความอันลื่นไหลจากยุคพระวินัยสูยุคสีเสื้อ
การจำแนกความจริง ความดี ความงาม เปนปญหาของมนุษยชาติเสมอมา นับตัง้ แตมนุษยมีความสามารถในการครุน คิดแยกแยะ มาตรฐานของสิง่ ดังกลาว ไมอาจนับไดวาคงทนและเปนสัจธรรม หากแตผันแปรไปตามโลกทัศนของผูคนที่ นิยามคุณคาของยุคสมัยอันแตกตาง การนำเสนอความจริง จะไมควรคาแกการ พูดถึงเลย หากมันไมกระทบกับเรื่องสวนรวม ฉะนั้นบทบาทอยางหนึ่งของความ จริง จึงเปนการสถาปนาอำนาจใหแกผูบัญญัติความจริงนั้น ในความหมายกวาง แลว ความจริงจึงลวนมีจุดยืนทางการเมืองแฝงตัวอยูเสมอ สิ่งหนึ่งที่ผูคนมักละเลยกันก็คือ การเขาใจถึงอำนาจและพลานุภาพทางการ เมืองของศาสนา เพราะเรามักเขาใจวาศาสนายอมมีแกนหลักของความจริง ความ ดี ความงาม อยางแนนอน บริสุทธิ์ดำรงอยูเหนือความขัดแยง แตศาสนาเองก็ ้ จะมองภาพ ผนึกแนนอยูกั บสังคมการเมืองของมนุษยอยางปฏิเสธไมได ในทีนี่ เรา กลับของความจริงวาดวย “พระแท” ภายใตการนิยาม “พระปลอม” ของพุทธ ศาสนาเถรวาทแบบไทยๆ
๙
๑๐
¹Ñ¢ͧ¾ÃлÅÍÁ¡Ñº¡ÒäǺ¤ØÁ¢Í§ÃÑ° เมือ่ แรกตัง้ พุทธศาสนา ครัง้ พระธรรมวินยั ยังไมถูกบัญญัตอย ิ าง ชัดเจน มักจะเกิดกรณีพระสงฆประพฤติฉาวโฉ ไมวาจะเปนเรือ่ งชูส าว กามารมณ ความไมสำรวม การละเมิดตอผูอื่น จนถูกนำมาเปน “ตน บัญญัติ” ของพระวินัยสงฆอยูเนืองๆ กฎดังกลาวเปนการปรามการ ปฏิบัตินอกลูนอกทางที่จะทำใหศาสนาตองเสื่อมเสียและเปนระเบียบ ปฏิบัติ เพื่อ ความ สำรวม ทั้ง ยัง เอื้อ ตอ สมณ เพศ ใน การ ปฏิบัติ ธรรม พระวินัยจึงมิไดเปนเรื่องของความขลังศักดิ์สิทธิ์และเรื่องคอขาดบาด ตายลวนๆ ขณะเดียวกันองคกรสงฆก็ยังถือวาอยูในความดูแลของ พระพุทธเจา ฉะนั้นในชวงดังกลาวอาจถือไดวาอำนาจยังอยูในมือ ของพระพุทธเจา การจับพระสึกโดยฝายรัฐ นาจะเริม่ อยางเปนระบบในยุคพระเจา อโศกมหาราช หลังพุทธกาลมาประมาณ ๓๐๐ ป พระเจาอโศกหัน หนาเขาทางธรรมหลังจากการใชอำนาจฝายอาณาจักรกำราบคนดวย กำลังทหารและคมมีดอยางนองเลือด แตหลังจากที่พระองคไดสำนึก ผิด ก็วางดาบและหันมาสนับสนุนพุทธศาสนา อยางเอาการเอางาน มีการเผยแผจักรวรรดิทางธรรมออกไปยังดินแดนตางๆ ภายใตฉาก ความรุงเรืองทางปริมาณนั้น ก็หลีกเลี่ยงไมไดที่จะปะปนดวยพระสงฆ ทีฉ่ อฉล พระเจาอโศกจึงเลีย่ งไมไดทจะ ี่ สรางระบบในการคัดกรองพระ จริง พระปลอม เพื่อยังความ ศรัทธาตอไป อยางไร ก็ตาม การ ใช อำนาจ รั ฐ ควบคุ ม พระ สงฆ นั้ น นอกจาก เป น การ ใสใจอุปถัมภใหศาสนาเปนเครื่องมือ จรรโลงความชอบธรรมของตัวเองแลว ยังตองทำการ โนม นาว พระ สงฆ ใน ฐานะ ที่ เปน ตัวแทน ใน การ เชื่อม ตอ กับ ไพรฟาไดดวยอำนาจทางความเชื่อ ใหเปนพวกเดียวกับตนดวย ในบางกรณีก็ใชการตั้งคำถามถึง “ความบริสุทธิ์” เพื่อชิงอำนาจ ทางการเมืองใหมาอยูในฝายของตน เรา พบ กรณี พิพาท เรื่อง ความ บริสุทธิ์ ใน รัฐ ลาน นา ตั้งแต สมัยพญาผายู (พ.ศ. ๑๘๗๘-๑๘๘๙) พบวาเกิดการแยกนิกายของ พระออกมาเปน ๒ นิกาย นั่นคือ นิกายที่สืบเนื่องมาจากหริภุญชัย เดิม และนิกายลังกาวงศใหม วัดสวนดอก เนื่องมาจากการที่กษัตริย สนับสนุนพระนิกายดัง้ เดิมใหบวชใหมในนิกายลังกาวงศ ดวยฐานความ เชื่อวามีความบริสุทธิ์มากกวา ทัง้ นีการ ้ ตอรองและชวงชิงอำนาจทางการเมืองนัน้ เกิดขึน้ ในชวง ที่ชนชั้นนำในเชียงใหมมีการแยงชิงอำนาจกันอยางเอาเปนเอาตาย ซึ่ง พระสงฆในพุทธศาสนาก็กลายเปนสวนหนึ่งของความขัดแยงอยาง
¸ÃÃÁÒÀÔºÒŠ㹤³Ðʧ¦ ä·Â
สมณศักดิ์ของพระจะรุงเรืองมากในวัดที่เจาอาวาสเปนกรรมการมหาเถรสมาคม ถาเจาอาวาสไมไดเปนกรรมการมหาเถรสมาคม แมจะเปนวัดใหญและพระอาราม หลวง สำคัญ ยศ ถา บรรดาศักดิ์ ก็ จะ แผว ลง ไป หาก สมเด็จหรือเจา คุณวัด ไหน เปนกรรมการ มหาเถรสมาคมและเสียงดังกวาใครๆ พระในวัดนั้นก็จะไดเลื่อน สมณศักดิ์มากกวาวัดอื่นๆ นั่นเทากับวาองคกรของสงฆเองก็ไมมีธรรมาภิบาล ไมตางกับทางฆราวาส ซึ่งมุงเรืองอำนาจและบารมีมากๆ
วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร
วัดปากน้ำภาษีเจริญ
มีพระราชาคณะ ñ÷ ͧ¤ ในจำนวนนี้ เปนสมเด็จพระสังฆราช ๑ พระองค สมเด็จพระราชาคณะ ๑ องค
มีพระราชาคณะ ñô ͧ¤ ในจำนวน นี้เปนสมเด็จพระราชาคณะ ๑ องค รองสมเด็จพระราชาคณะ ๑ องค
วัดสระเกศราช วรมหาวิหาร
วัดสัมพันธวงศ
มีพระราชาคณะ ñð ͧ¤ ในจำนวนนี้เปนสมเด็จ พระราชาคณะ ๑ องค
ñð ͧ¤
÷ ͧ¤
เจาอาวาสเปนสมเด็จ พระราชาคณะ
เจาอาวาสเปนรอง สมเด็จพระราชาคณะ
มีพระราชาคณะ
๑๑
วัดสุทัศนเทพวรารามราช วรมหาวิหาร มีพระราชาคณะ ññ ͧ¤ ในจำนวน นี้เปนสมเด็จพระราชาคณะ ๑ องค
วัดโสมนัสราชวรวิหาร วัดราชบพิธสถิตมหา มีพระราชาคณะ สีมารามราชวรวิหาร
วัดเทพศิรินทรา วาสราชวรวิหาร
มีพระราชาคณะ õ ͧ¤ เจาอาวาสเปนสมเด็จ พระราชาคณะ และมีรอง สมเด็จพระราชาคณะ ๑ องค
มีพระราชาคณะ ö ͧ¤ ในจำนวนนี้ เปนสมเด็จพระราชา คณะ ๑ องค
วัดพระเชตุพนวิมล มังคลารามราชวรวิหาร
วัดเบญจมบพิตรดุสิต วนารามราชวรวิหาร
วัดชนะสงคราม ราชวรวิหาร
วัดมหาธาตุยุว ราชรังสฤษฏิ์
วัดอรุณราชวราราม ราชวรวิหาร
มีพระราชาคณะ ññ ͧ¤ เจาอาวาสเปนรองสมเด็จ พระราชาคณะ
มีพระราชาคณะ ÷ ͧ¤ เจาอาวาสเปนรองสมเด็จ พระราชาคณะ
มีพระราชาคณะ
มีพระราชาคณะ
มีพระราชาคณะ
ñó ͧ¤
ù ͧ¤
÷ ͧ¤
๑๒
ปฏิเสธไมได อยางไรก็ตาม ไมพบการปราบปราม พระสงฆขนาดที่มีการจับ “พระปลอม” สึกขนาน ใหญ คงมีแตการเกทับวา นิกายของตนมี “ความ บริสุทธิ์” มากกวา นั่นก็ดวยวา อำนาจของรัฐไม เขม แข็ง มาก พอที่ จะ กลืน อีก ฝาย ได อยาง เบ็ดเสร็จ นั่นเอง การปราบปราม “พระปลอม” ขัน้ รุนแรงนัน้ พบ ในสมัยรัชกาลที่ ๑ กรุงเทพฯ ทีมี่ การออกฎหมายทีใช ่ กำกับควบคุมดูแลพระ หลังความยอยยับของอยุธยา หลังการเสียกรุงครัง้ ที่ ๒ เนือ่ งมาจากพระจำนวนมาก ดำรงตนผิดเพีย้ นจากธรรมวินยั และอีกดานหนึง่ ฐาน อำนาจทางการเมืองของพระเจากรุงธนบุรีก็มีอยูใน วงการสงฆมิใชนอย ดังนัน้ การรัฐประหารของรัชกาล ที่ ๑ ทีสมบู ่ รณจึงตองจัดการกระชับอำนาจทัง้ ในฝาย อาณาจักรและพุทธจักรอยางเบ็ดเสร็จ ผลก็คือ มีการจับ “พระปลอม” สึกไปขนาน ใหญ ในทางกลับกันสมัยเปลี่ยนถายอำนาจทางการ เมืองระหวางรัชกาลที่ ๓-๔ นั้นพบวา อำนาจการตอ รองของฝายรัฐไมสูงนัก แมวาพระสงฆประพฤติ ตนไมอยูในกรอบพระวินัย แตก็ไมสามารถจัดการ ไดอยางจริงจัง สิ่งที่ทำไดก็คือ การสรางกลุมทาง สังคมของพระขึน้ ใหม นัน่ ก็คือ การเกิดขึน้ ของธรรม ยุตินิกายในฐานะที่เปนฐานอำนาจทางการเมืองของวชิรญาณภิกขุ นิกายนี้แมจะเนนการกลับสูความ “บริสุทธิ์” ของพุทธศาสนา แตก็ปฏิเสธมิไดวานี่เปนเทคนิค “ยกตนขมทาน” นั่นคือ ขณะที่วางตัว เปนพระทีบริ ่ สทุ ธิสะอาด ์ กวา ก็ทำการชีนิ้ ว้ ไปยังพระทีปฏิ ่ บตั มิิ ชอบและ หละหลวม อยางไรก็ตาม ดวยอำนาจรัฐที่มีจำกัดทำใหไมสามารถจะ เปลี่ยนใหพระสวนใหญหันมาขึ้นกับพระธรรมยุติฯ ได ทำใหฐานของ ธรรมยุตินิกายขาดมวลชนสนับสนุน สิ่งที่ทำไดดีที่สุดของอำนาจรัฐก็ คือ การสถาปนาอำนาจนำใหมาอยูกั บพระนิกายธรรมยุติฯ จนกระทัง่ เกิดพระราชบัญญัตคณะ ิ สงฆ ร.ศ.๑๒๑ นัน่ เองทีทำให ่ พระสงฆตกอยูใต อำนาจทางการเมืองของฝายอาณาจักรอยางเลี่ยงไมได อำนาจเหลานี้ไดกำหนดความเปน “พระปลอม” ที่แสดงนัยถึง พระที่ออกนอกลูนอกทางการควบคุมของรัฐ เชน กรณีการกลาวหา ครูบาศรีวิชัย ดวยขอหาในการละเมิดอำนาจการเปนอุปชฌายที่ไม
ได รับ การ แตง ตั้ง จาก กลไก การ ปกครอง ของสยาม ทั้งที่คำสั่งดังกลาวขัดกับจารีต ดั้ ง เดิ ม ของ ท อ ง ถิ่ น อย า ง ชั ด เจน แต ก็ จำเปน เพื่อ การ แสดงออก ถึง อำนาจ ใน การปกครองสงฆโดยรัฐสยาม
¤ÇÒÁ´Õ ¤ÇÒÁ¨ÃÔ§ ¤ÇÒÁ§ÒÁ Ẻ¾Ø·¸à¶ÃÇÒ·ã¹»˜¨¨ØºÑ¹ หลัง สงครามโลก ครั้ง ที่ ๒ เปนตน มา ปญหาความมั่นคงของรัฐที่ผูกกับทฤษฎีโดมิโน ทำให เกิด ความ หวาด กลัว คอมมิวนิสต อยาง ไม ลืมหูลืมตา เนื่องจากเชื่อกันวา ลัทธิคอมมิวนิสต นี่เองที่จะทำลายแกนหลักที่เปนไตรยางศของความ เปนไทย นั่นคือ ชาติ ศาสน กษัตริย ในดานหนึ่งรัฐไทย ก็พยายามปกปองศาสนาจากการโจมตีจากภายนอก ขณะเดียวกันรัฐเองก็ใชพระสงฆเปนกลไกในการ พยุงความมัน่ คงของชาติ ดังทีปรากฏ ่ ออกมาเปน โครงการพระธรรมทูต พระธรรมจาริก ฯลฯ ทั้งนี้การที่จะดำเนินการเชนนั้นไดจำเปนตอง มีพระสงฆที่มีคุณภาพ ทำใหรัฐตระหนักถึงความสำคัญในการควบคุม พระสงฆใหไมออกนอกลูนอกทางไปดวย ดังนั้นความลมเหลวในการ ควบคุมพระสงฆที่มีปญหา อาจจะสงผลตอไปยังความลมเหลวใน การใชอำนาจรัฐควบคุมศีลธรรมทางสังคมไปอีกดวย ดังที่เราจะได เห็นรัฐบาลเผด็จการอางอิงชุดศีลธรรมที่แนบแนนกับศาสนาพุทธเปน คติพจน เชน “จงทำดี” ของถนอม กิตติขจร หรือรัฐบาลเปรม ติณสู ลานนท ที่อางศีลธรรม คุณธรรมไมขาดปาก นอกจากจะเปนการสรางและผลิตซ้ำตัวแบบของชุดความดีขึ้น แลว สิ่งสำคัญที่เกิดขึ้นก็คือการเชิดชู “คนดี” “พระดี” ที่มีนัยทางการ เมืองแจมชัดขึ้น พระดีที่โดดเดนขึ้นเปนอยางมากและไดเปนที่รูจกั กัน ในวงกวางก็คือ เครือขายพระปาสายอาจารยมัน่ ภูรทัิ ตโต ในอีสานและ ทางเหนือ ที่ขยายตัวในทศวรรษ ๒๕๑๐-๒๕๒๐ ในทางตรงกันขาม หากคนที่เคยมีภาพลักษณดีงาม ถูกจับไดวา
๑๓ มีความฉอฉลในคุณความดีงามนั้น จะถูกรุมประณาม เยยหยัน สาป แชงอยางอเนจอนาถ โดยเฉพาะหากผูโชครายนั้นเปน “พระ” ไมวาจะ เปน สมีเจี๊ยบ (๒๕๓๒), พระนิกร (๒๕๒๔), ยันตระ (๒๕๓๗), ภาวนา พุทโธ (๒๕๓๘), อิสระมุนี (๒๕๔๔) ฯลฯ สำหรับคนเหลานี้แลว สังคม ทีเชิ ่ ดชูคุณธรรมเห็นวาควรจะโดนโทษประหารออกจากความเปนพระ และบีบใหรูสึกสำนึกผิดบาปจากการลวงละเมิดวินัยอันศักดิ์สิทธิ์ และ พุทธศาสนาอันบริสุทธิ์ผุดผอง ยิง่ รายไปกวานัน้ ก็คือ พระทัง้ หมดลวนปาราชิกเนือ่ งมาจากการ เสพกาม อันเปนการละเมิดเสนแบงอันยอมไมไดของชาวพุทธแบบ ไทยๆ แมอดีตพระยันตระจะเปลีย่ นไปหมจีวรเขียว หรือไวผมเครายาว
แบบษี ที่ไมใชพระภิกษุตามคำนิยามที่เครงครัด ก็ยังถูกโจมตีอยาง ตอเนื่อง เพราะวาเขายังอยูในสถานะกึ่งพระกึ่งปุถุชน ซึ่งก็คือ “พระ ปลอม” ที่ยังไมสำนึกผิดบาปอยูนั่นเอง ผลของการเปน “พระปลอม” จึงตกเปนเปาของการมุงโจมตีอยางเกลียดชัง การปราบและกำจัด “พระปลอม” ในรายตัว เปนเรื่องที่ตรง ไปตรงมา และเขาใจไดงาย ขณะที่ปญหาในเชิงสถาบันกลับพบวา เปนปญหาที่คาราคาซังดุจระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ โดยเฉพาะสถาบัน สงฆที่ผูกตัวอยูกับมวลชนมหาศาล อยางกรณีสันติอโศก และกรณี ธรรมกาย
ÊÑ ¹ μÔ Í â È ¡ สันติอโศกประกาศแยกตัวออกจากการปกครองของมหาเถร สมาคมและคณะสงฆไทยในป ๒๕๑๘ และขัดแยงกับคณะสงฆไทยใน เรือ่ งการถูกกลาวหาวาอวดอุตริมนุสธรรม (อวดธรรมทีตน ่ ไมม)ี ซึง่ ใน ป ๒๕๓๑ พบวา สมเด็จพระสังฆราช ในฐานะประธานกรรมการมหา เถรสมาคม ทรงลงพระนามในพระบัญชาใหสึกพระโพธิรักษจากสมณ เพศ แตพระโพธิรักษไมยอมเปลงวาจาสึก เพียงเปลีย่ นไปสวมชุดขาว ดังนั้นจึงถูกฟองขอหาแตงกายเลียนแบบพระ จนมีคำพิพากษาใน ป ๒๕๓๘ ใหสมณโพธิรักษมีความผิดตามโจทกฟอง แตรอลงอาญา แมจะฎีกาในป ๒๕๔๑ ก็ยังพายแพ นับเปนไมกี่ครั้งที่จำเลย แสดงใหเห็นถึงการลุกขึ้นสูกับรัฐในประเด็นทางศาสนาอยางองอาจ ตอขอหาที่ชี้วาพวกเขาไมใชพระที่แทจริงในพุทธศาสนา แมวาสมณ โพธิรักษจะถูกทางอาณาจักรและมหาเถรสมาคม ชี้วาเปน “พระ ปลอม” แตในทางปฏิบตั พวก ิ เขาก็ยังถือสถานภาพความเปนนักบวช ซ้ำยังเครงครัดในทางวินัยอยางหนักแนน เพียงเลี่ยงที่จะแตงกาย เหมือนพระสงฆทั่วไปและการยอมอยูใตอำนาจการปกครองและ ครอบงำของสงฆและรัฐไทยเทานั้น
¸ÃÃÁ¡Ò ขณะ ที่ กรณี วั ด พระ ธรรมกาย มี ความ สลั บ ซ อ น มากกว า เนื่องจากมีความเกี่ยวของกับสภาพสังคมที่เติบโตและขยายตัวมา จากทุนนิยมทีผสม ่ ผสานกับการบริหารการจัดการสมัยใหมและการ สรางเครือขายอยางประสบความสำเร็จไปทั่วโลก ความพยายาม ของสื่อมวลชนและชาวพุทธที่พยายามจะปดบัญชีวัดนี้ มักจะมุงไป ที่ประเด็นความไมบริสุทธิ์อยางเรื่อง การแตงกายผิดพระวินัยและ การระดมทุนที่มากมายจนนาสงสัย แตสิ่งที่อุกฉกรรจในมุมมองของนักวิชาการทางพุทธศาสนา นั่นก็คือ หลักคำสอนที่ “บิดเบือน” วา แกนคำสอนพุทธศาสนานั้น เปน “อัตตา” ไมใช “อนัตตา” แตดูเหมือนในสังคมวงกวางไมไดรูส กึ วาเปนเรื่องผิดบาปอะไรนัก เมื่อเทียบกับพลอตเรื่องที่เคยเกิดขึ้น อยางอื้อฉาวกับพระหรือสถาบันสงฆอื่นๆ คือเรื่องชูสาว คำถามตอไปก็คือวา ในศาสนสถานทีขยาย ่ ตัวอยางกวางขวาง และมีสมาชิกจากทั่วประเทศเรือนแสนเรือนลาน รัฐจะจัดความ สัมพันธเชิงอำนาจระหวางกันอยางไร เพราะไมสามารถชี้ ขาวดำ ถูก ผิด แสดงความเปน “พระที่แท” หรือ “พระปลอม” ไดอยางชัดเจน
ʶҹТͧ “¾ÃлÅÍÁ” ·Õ่ÂѧäÁ‹ÊÔ้¹ÊØ´ การนิยาม “พระปลอม” ไมไดมีแนวโนมวาจะหมดไปจากสังคมไทย หากแตจะเกิดขึ้นเรื่อยๆ ในฐานะปจเจกชนผูประพฤติตนเสื่อม โดย เฉพาะพระเล็กพระนอยที่ไมไดมีสังกัดอยางชัดเจน หากพระสงฆนั้นมีทาทีอยูตรงขามกับรัฐ ก็ยิ่งทำใหการดำเนินการอยางเครงครัดมากขึ้นไป อีก เชน การกลาวหาวามี “พระปลอม” อยูในม็อบคนเสื้อแดง เมื่อป ๒๕๕๓ ขณะที่นักบวชจากสันติอโศก ที่ตนทุนเดิมติดลบเนื่องมาจากเคย เปนปรปกษกับอำนาจรัฐมากอน ก็ถูกโจมตีจากฝงตรงขามในฐานะที่ออกมาเคลื่อนไหวทางการเมืองเชนกัน ดังนั้นการนิยาม “พระปลอม” จึงมีเงื่อนไขที่จะถูกใชงานมากขึ้นในฐานะเครื่องมือทางการเมือง โดยเฉพาะในมิติของการเคลื่อนไหว ทางการเมืองสาธารณะ สอดคลองกับมิติสังคมการเมืองของไทยที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ถึงราก และแหลมคมมากขึ้นทุกที คลื่นลูกใหญของ ความเปลีย่ นแปลงของสังคมไทยไดซัดโหมเขามาทาทายสังคมเกาบอยและหนักขอขึน้ เรือ่ ย ๆ ขณะเดียวกันสถานะของพระแทและพระปลอมใน นิยามของพุทธเถรวาทไทย ก็เริม่ พราเลือน สวนทางกับคำถามถึงหลักการ และแกนทางศาสนา ทีกำลั ่ งจะถูกปลดปลอยออกจากกรงขัง และเมือ่ ถึงเวลานั้นแลว คำวาพระปลอมอาจไรพลังตอการถูกนำไปใชโจมตีในทางการเมืองแลวก็เปนได
๑๔ หมายเหตุกิจกรรม
÷-ù μØÅÒ¤Á òõõô
òò-òô μØÅÒ¤Á òõõô
Life Coaching
Life Coaching
¡ÒÃ⤌ªà¾×èÍàÊÃÔÁÊÌҧ¾ÅѧªÕÇÔμ - ¢Ñé¹ ñ
¡ÒÃ⤌ªà¾×èͤÇÒÁÊÁËÇѧ - ¢Ñé¹ ò
Life Coaching ไดรับการพัฒนาขึน้ โดย Laura Whitworth และ Henry Kimsey- House ทั้งสอง ไดกอตั้ง The Coaches Training Institute ขึ้นที่สหรัฐอเมริกา เมื่อ ๑๗ ปกอน โดย การ โคช เพื่อ เสริม สราง พลัง ชีวิต เปน ก ระ บวน การ สนทนา ที่ ทำให ผูคน คน พบทางออกของปญหาดวยตัวเอง อาศัย คำถามอันทรงพลัง การฟงอยางลึกซึ้ง การใช ญาณทัสนะจับประเด็นชีวติ ระหวางสนทนา เหลา นี้ คือ ทักษะ ใน การนำ พา ให ผูรับ การ โคช เห็น จุด ที่ ตนเองยืนอยูและหนทางที่จะกาวไปอยางแจมชัด สำหรับผูที่สนใจสามารถบริจาคเขารวมกิจกรรม รับจำนวน ๒๔ ทาน (เทานัน้ ) ทานละ ๕,๕๐๐ บาท (รวม คาเอกสาร ที่พัก อาหาร และรถรับสง) >> สนใจติดตอ อาศรมวงศสนิท
ในการอบรมครัง้ นี้ กระบวนการอบรมจะนำพาผูเข า รวมเดินทางเขาไปรูจ กั ตัวเองอยางลึกซึง้ มากขึน้ โดย ชวยใหแตละคนคนพบคุณคาพิเศษเฉพาะตน ขณะ เดียวกัน ผูเขารวมก็จะไดฝกฝนทักษะในการชวยผูรับ บริการใหคนพบคุณคาพิเศษของตนดวย มองเห็นแรง จูงใจในการเอาชนะตัวเอง และสามารถกำหนดวิสยั ทัศน เพือ่ รับมือกับอนาคตทีเข ่ ามา การโคชเพือ่ ความสมหวัง เปนการชวยใหผูร บั บริการสามารถปลอยวางกฎเกณฑ และขอจำกัดทีเจื ่ อปนดวยอคติ และสามารถกาวเขาสู สิ่งที่นำความมีชีวิตชีวามาใหตนเองอยางแทจริง สำหรับผูที สนใจ ่ สามารถบริจาคเขารวมกิจกรรม รับ จำนวน ๒๔ ทาน ทานละ ๕,๕๐๐ บาท (รวมคาเอกสาร ที่พัก อาหาร และรถรับสง) >> สนใจติดตอ อาศรมวงศสนิท
ËÁÒÂàËμØ ¡Ô ¨ ñù-òð ¾ÄȨԡÒ¹ òõõô “You can hand your own home” ¡ÒÃÊÌҧºŒÒ¹´Ô¹´ŒÇÂμ¹àͧ การกลับมาทำบานดิน คือการใหเวลากับตัวเอง เพราะการอยูใน บานดินนัน้ ชวย ใหเราทำงานนอยลง เนื่องจากโดยทั่วไปเราตองใชเวลาและแรงงานอยางมากกวาจะ ซือ้ บานมาไดหนึง่ หลัง ...ทวา หัวใจของบานดินคือ “ใชสิง่ ทีมี่ อยู” ซึง่ เราสามารถควบคุม บริหารไดดวยตนเอง ถาเราใชวัสดุจากขางนอกเราจะไมสามารถควบคุมได ขอเชิญมารวมศึกษาเรือ่ งราวความเปนมาของบานดิน ชมภาพตัวอยางบานดิน จากทุกภูมิภาคทั่วโลก เรียนรูหลักการและขั้น ตอนสรางบานดินทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ จากวิทยากร ผูมีประสบการณ เขาใจหลัก ปฏิบัติในการสรางบานดินอยางงายแตไม มักงาย แลกเปลี่ยนทัศนคติรวมกัน ผู ที่ สนใจ สามารถ บริ จ าค เข า ร ว ม กิจกรรมจำนวนเงิน ๒,๕๐๐ บาท (รวมคาที่พัก อาหาร และรถรับสง) รับจำนวน ๒๗ ทาน >> สนใจติดตอ อาศรมวงศสนิท
òó-òõ ¾ÄȨԡÒ¹ òõõô õô ༪ÔÞ¤ÇÒÁμÒÂÍ‹ҧʧº
การ ตาย อยาง สงบ ไมใช เรื่อง ที่ ยาก เกิน ความ สามารถของมนุษยทุกผูคน การเรียนรูเกี่ยวกับความ ตาย ทำให เรา ปรับ ทัศนคติ ใน การ ใช ชีวิต อยาง ไม ประมาท หาก เรา สามารถ ทำความ เขาใจ และ นอม ใจยอมรับความตายอยางกลาหาญ วาเปนความจริง ของชีวิต เพื่อใหความตายที่จะมาถึงไมใชสิ่งที่นากลัว อีกตอไป แตกลับเปนโอกาสทองในการพัฒนาทางจิต วิญญาณใหคลายความยึดมั่นทั้งปวง ผูที สนใจ ่ สามารถบริจาคเขารวมกิจกรรมจำนวน เงิน ๔,๖๐๐ บาท รับจำนวน ๓๖ ทาน โดยวิทยากร หลักนั้นจะนำโดยพระไพศาล วิสาโล และมีวิทยากร ทานอื่นๆ สลับหมุนเวียนแตละครั้งของการอบรม >> สนใจติดตอ เสมสิกขาลัย
ñõ-ñö μØÅÒ¤Á òõõô ¡ÒÃÊ×èÍÊÒÃÍ‹ҧÊѹμÔ ¢Ñé¹μŒ¹
การสือ่ สารอยางสันติ (Compassionate Communication) เปนเครือ่ งมือ สำหรับการสื่อสาร โดยใชความกรุณาเปนพื้นฐาน มุงใหเกิดการฟงและพูดดวย ความเขาอกเขาใจ ชวยใหเราสามารถสานสัมพันธกับผูอื น่ ไดอยางลึกซึง้ อีกทัง้ ยัง สามารถนำมาใชในการคลีค่ ลายความขัดแยง โดยใหความสำคัญกับความตองการ ของทุกฝาย และเสริมสรางความเขาใจและความรวมมือระหวางกัน โดยมีพืน้ ฐาน บนหลักการ Nonviolent Communication ของ ดร. มาแชล โรเซนเบอรก ผูพัฒนาวิธีการสื่อสารนี้จนไดรับการนำไปใชคลี่คลายความขัดแยงมาแลวใน หลากหลายประเทศ ทั้งในระดับความสัมพันธสวนบุคคล องคกร สถาบันการ ศึกษา การบริการดานสุขภาพ บริษัทธุรกิจ การทำงานเพื่อสังคม หนวยงานของ รัฐ ในความขัดแยงทางการเมือง ฯลฯ ผู ที่ สนใจ สามารถ บริ จ าค เข า ร ว ม กิ จ กรรม จำนวน เงิ น ๒,๐๐๐ บาท รับจำนวน ๒๒ ทาน >> สนใจติดตอ เสมสิกขาลัย
¨¡ÃÃÁ ô
÷ Á¡ÃÒ¤Á òõõõ »Ò°¡ ° ¶ÒàÊÁ¾ÃÔé§¾Ç§á¡ŒÇ ¤ÃÑ駷Õè ñø ธรรมจารีโลกมิตตา เปนผูรวมกอตั้งและ ธร ประธาน The Nagaloka Training Institute เปนประธ Nagpur ประเทศอินเดีย ซึ่งเปนศูนยฝก เมือง Na ่ ชนชัน้ ในสังคม อบรมใหกับเยาวชนทีถู่ กกดขีทาง อินเดีย สสวนใหญเปนเยาวชนชาวจัณฑาล ที่มา จากทั่วปประเทศอินเดีย โดยมีหลักสูตรการสราง เยาวชนรุนใหม วิชาที่สอนคือ พุทธศาสนา ผูนำเยาว การปฏิบัติภาวนา และงานพัฒนาสังคม >> สนใจติดตอ เสมสิกขาลัย
ดำเนินงานเพื่อสืบทอดเอกลักษณทางวัฒนธรรม รวมไปถึงการนำเสนอแนวคิดเรื่องการศึกษาทาง เลือกของสังคม โทร ๐-๒๔๓๘-๙๓๓๑-๒ www.snf.or.th การศึกษาเพื่อชีวิต สังคมและ ธรรมชาติ โทร ๐-๒๓๑๔-๗๓๘๕-๖ www.semsikkha.org
เปนชุมชนที่สรางวิถีทางเลือกใหม ที่เรียบงาย ใกลชิดธรรมชาติ มีภาวนา โทร. ๐๓๗-๓๓๒-๒๙๖-๗ www.wongsanit-ashram.org
ดำเนินกิจกรรมทางธุรกิจไปพรอมกับ กิจกรรมทางสังคม ใสใจในปญหาสังคม ชุมชน สิ่งแวดลอม และศักยภาพดานใน ของมนุษย โทร. ๐-๒๖๒๒-๐๙๕๕ www.suan-spirit.com
เครือขายพุทธศาสนาเพื่อสังคมนานาชาติ เปนเครือขายของนักปฏิบัติเพื่อสังคม ผูนำศาสนาและวิชาการ เปนองคการ ทางพุทธศาสนาทั่วโลกทุกนิกาย โทร. ๐-๒๘๖๐-๒๑๙๔ www.inebnetwork.org เครือขายบานดิน www.baandin.org สถาบันตนกลา www.tonkla.org we change www.wechange555.com
๑๖ โลกออนไลน
เรื่อง bact’
ʧ¤ÃÒÁ¤Ó¢Ò¹: ª×่ÍÍÐäÃÁѹ¡็ “¨ÃÔ§” ·Ñ้§¹Ñ้¹áËÅÐ
จ
ะวาไป ชือ่ นัน้ ไมไดเปนเพียงคำขาน แตมันโยงใยเขาไปถึงอัตลักษณ ตัวตนของมนุษยกันเลยทีเดียว โดยเฉพาะถาเกิดเชื่อวา เราเขาใจ โลกของเราดวยภาษา การขานคำก็คือการสรางโลกนั่นเอง ดรามาระดับโลกปะทุขึน้ เมือ่ ปลายเดือนกรกฎาคมทีผ่ านมา จาก การที่กูเกิลประกาศนโยบายการบังคับใหใช “ชื่อจริง” ในบริการของ กูเกิล พรอมกับการเปดบริการใหม กูเกิลพลัส (Google+) ในเวลาไม นานนัก มีผูใช จำนวนมากถูกระงับบัญชีเนือ่ งจากทำผิดนโยบายนี้ เสียง วิพากษวิจารณระเบิดขึ้นทันทีจากทั่วสารทิศ อะไรคือชื่อ “จริง” แลว การหามใชชื่อ “ปลอม” สรางปญหาอะไร ดานาห บอยด (danah boyd) นักวิจัยสังคมออนไลน โพสต บล็อกที่ใชหัวเรื่องวา “Real Names” Policies Are an Abuse of Power โตวาชื่ออะไรมันก็ “จริง” ทั้งนั้นแหละ ในบริบทหนึ่งๆ และ มันมีเหตุผลที่ชอบธรรมในการใช “ชื่อปลอม” (pseudonym) โดยใน โพสตยังเลาถึงประวัติการใช “ชื่อจริง” ของเฟซบุก เนื่องจากมักถูก อาง (อยางผิดๆ) เสมอวาเปนตัวอยางของการใชนโยบายชื่อจริงที่ ประสบความสำเร็จ ความเขาใจผิดดังกลาวคือ ในชวงแรกที่เฟซบุกจำกัดอยูเฉพาะ ในแวดวงนักศึกษามหาวิทยาลัยชัน้ นำ มันเปนเรือ่ งเขาใจไดทจะ ี่ ใช “ชือ่ จริง” ทีผู่ ค นในมหาวิทยาลัยใชเรียกคนคนหนึง่ นัน่ คือชือ่ ดังกลาวเปนชือ่ ที่ “จริง” ในบริบทของชุมชนมหาวิทยาลัยชวงนั้น ซึ่งไมจำเปนตองเปน ชื่อตามกฎหมายก็ได เชนเรียก Bill (ชื่อเลน) แทน Williams (ชื่อตาม กฎหมาย) โดยชื่อ Bill นั้นไมไดจริงนอยไปกวา Williams (เผลอๆ จะ จริงมากกวาดวยซ้ำสำหรับเพื่อนๆ ของเขา) หรือสำหรับเลดี้ กากา เฟซบุกก็ไมไดบังคับใหเธอใชชื่อตามกฎหมาย (ซึ่งสำหรับแฟนๆ ชื่อ ตามกฎหมายของเธอนั้นไมไดสำคัญหรือจริงเทาชื่อ เลดี้ กากา เลย)
นั่นคือในบริบทหรือแวดวง (ถาจะใชภาษาของกูเกิลพลัสก็ตอง บอกวา “Circles”) ที่ตางกัน เราสามารถมีชื่อที่ตางไปได และชื่อแตละ ชื่อมันก็ “จริง” ไดเทาๆ กัน บอยดย้ำวาคนเรามีสิทธิเลือกไดวาจะใชชือ่ อะไร ในวงสังคมทีเรา ่ เลือก ไมวาจะเพื่อวัตถุประสงคอะไรก็ตาม โดยเฉพาะถาคำนึงถึงผูที่ อาจถูกคุกคามหรือตกอยูใน อันตรายหากใชชือ่ ตามกฎหมาย คนเหลานี้ มีความชอบธรรมเต็มทีที่ จะ ่ ใชชือ่ ปลอม และบริการตางๆ จะตองคำนึง ถึงจุดนี้ เพราะความปลอดภัยของชีวิตคนเปนเรื่องสำคัญสุด รัฐ บัญญัติ สื่อ ทาง ไกล “Telemediengesetz” ของ เยอรมนี กำหนดไววาบริการออนไลนจะตองสามารถเขาถึงไดโดยนิรนามหรือ โดยไมตองระบุชื่อ (anonymous) อีกประเด็นสำคัญทีคน ่ ถกเถียงกันคือ สิทธิในการจะอธิบายวาตัว เองเปนใคร หรือประเด็นเรื่องอัตลักษณทางวัฒนธรรมนั่นเอง มิสเตอรบีน, ฮิเดะ, เฟรดดี เมอรคูรี, เลดี้ กากา, ศรีบูรพา, หรือ พุม พวง ดวงจันทร ลวนไมไดเปนชือ่ ตอนเกิด ไมไดเปนชือ่ ตามกฎหมาย แตเปนชื่อที่คนเหลานี้เลือกที่จะใช บางก็ตั้งเอง (autonym) บางก็คน อืน่ ตัง้ ให พวกเขามีชีวติ สวนหนึง่ ในบทบาททีผู่ กกับชือ่ เหลานี้ และบาง คนก็ตายไปในบทบาทนัน้ ดวย ปายหลุมศพของฮิเดะสลักชือ่ “hide” คำ เดียว และไมมีชื่อตามกฎหมายของเขา กระทั่งการสะกดชื่อก็มีความหมาย ฮิเดะใชชื่อ HIDE (สะกดตัว พิมพใหญหมด) สำหรับผลงานกับวง X Japan และใช hide (ตัวพิมพ เล็กหมด) สำหรับผลงานเดี่ยว บอยดเปนอีกคนที่สะกดชื่อตัวเองดวย ตัวพิมพเล็กทัง้ หมด เธอตอสูอยู หลาย ป เพือ่ ใหทางการยอมรับชือ่ และ วิธีสะกดที่เธอเลือกเอง ในที่สุดเธอก็ไดมีชื่อ danah boyd ในเอกสาร ราชการ เธอคิดวานี่เปนการตอสูทางการเมืองดวย ลองคนเน็ตคำวา “nymwars” และ “nymwars thainetizen”
ความตั้งใจดี แตมาตรการที่เหวี่ยงแห อาจนำไปสูความเสียหายที่ไมไดคาดคิด? เหตุผลหนึ่งที่กูเกิลอางวา การใชชื่อจริงนั้นมีผลดีก็คือ มันจะชวยปองกันการแอบอางชื่อหรือการหลอกหลวงได วิธีคิดในแบบกูเกิลก็คือ ถาบังคับใหทุกคนใชชื่อจริงได ก็จะปองกันการแอบอางการใชชื่อได คำถามที่เกิดขึ้นก็คือ กูเกิลจะบังคับใช นโยบายนี้ไดครอบคลุมแคไหน แลวประโยชนที่ไดรับมันคุมกับความเสียหายที่เกิดขึ้นกับผูใชคนอื่นๆ ไหม? (เชน ความปลอดภัย และสิทธิ ทางวัฒนธรรม ดังที่เราไดพูดถึง) วิธีคิดแบบนี้เรียกไดวา “กันไวดีกวาแก” ซึ่งฟงดูดี แตเราตองคำนึงดวยวา ทุกๆ การ “กัน” นั้น มีราคาที่ตองจาย และการ “กัน” เอง ก็ไดสรางปญหาใหตองแกเพิ่มอีกดวย ใชวาปญหาการแอบอางจะมีวิธีแกวิธีเดียว ถาเรามองดูทวิตเตอร จะเห็นวาทวิตเตอรไมไดบังคับใหเราใชชื่อจริง แตสำหรับบุคคล สาธารณะหรือคนดังในแวดวงตางๆ ที่มีความเปนไปไดสูงวาจะถูกแอบอาง ทวิตเตอรก็มีบริการรับรองตัวตนวาเปนคนดังกลาวจริงๆ (โดย จะใชชื่ออะไรก็ได) หรือที่เรียกวา “verified account” (บัญชีทวิตเตอรของอดีตนายกอภิสิทธิ์ก็เปนบัญชีหนึ่งที่ไดรับการรับรอง) วิธคิี ดในแบบทวิตเตอรก็คือ เราไมจำเปนตองบังคับใหคนทุกคนทำเรือ่ งทีเขา ่ ไมสมัครใจหรือจะเปนภาระกับเขา เพือ่ แกปญหาทีอาจ ่ จะ เกิดกับคนจำนวนไมมาก อยางไรก็ตาม เราก็จำเปนที่จะตองรักษาสิทธิของคนจำนวนนอยนั้นดวย โดยมีมาตรการมารองรับ พูดงายๆ ก็คือ “ไมเหวี่ยงแห ทำใหนอยที่สุด เฉพาะเทาที่จำเปน” ไมมีคำตอบสูตรสำเร็จสำหรับทุกปญหา แตดูเหมือนวาสังคมอินเทอรเน็ตตอนรับวิธีแบบทวิตเตอรมากกวาแบบกูเกิล
คลำทำนาย ๑๗
ถาม-ตอบ Ç‹Ò´ŒÇ¾ط¸áººä·Âæ ã¹ ö ˹ŒÒ¡ÃдÒÉ
¡Ñº วิจักขณ พานิช
๑๘ จะวาไปแลวพุทธศาสนาในสังคมไทยอาจเปนสิ่งที่แตะตอง ไม ได ยิ่ง กวา สถาบัน ไหนๆ และ จะ ดวย เหตุผล อะไร ก็ แลว แต ในอาณาจักรไทยแหงนี้ พุทธศาสนาไดกลายเปนสิ่งที่ สูงคาเกินกวาจะเอยถึงในเชิงลบ ในฐานะสื่อที่อยากจะเปน กัลยาณมิตรที่ดีของพุทธศาสนา ปาจารยสารจึงขออุทิศ พื้นที่ ๖ หนากระดาษตอไปนี้ในการเดาใจพุทธศาสนาแบบ ไทยๆ เพือ่ จะไดทำความเขาใจถึงสภาพทีเป ่ นจริงและเปนไป ของพุทธศาสนาในปจจุบัน โดยคาบเกี่ยวทั้งเมื่อครั้งเกิดขึ้น ในอดีตและตั้งอยูในปจจุบัน เพื่อเดาทางวาพุทธแบบไทยๆ จะ “ดับไป” ในอนาคตหรือไม ทั้ง ๖ หนากระดาษนี้เปนการตั้งคำถามของ พิเชฐ ยิง่ เกียรติคณ ุ บรรณาธิการเว็บไซต Siam Intelligence Unit ถึง วิจักขณ พานิช คนหนุมผูทดลองคนหาตัวเองดวยการ ศึกษาระดับปริญญาโท “ประวัตศิ าสตรศาสนา” ทีสถาบั ่ นนา โรปะ สหรัฐอเมริกา ความเขาใจพุทธศาสนาในมุมทีต่ างออก ไปของเขาอาจจะฟงแลวไมคอยรืน่ หูนัก แตอยางนอยทีส่ ดุ ก็ นาจะควรคาแกการอานผานตา และตอไปนี้คือบทสนทนา บางสวนของคนทีศึ่ กษาสังคมและพยายามเขาใจศาสนา กับ ผูที่ศึกษาศาสนาที่พยายามอธิบายสังคม > ปรากฏการณหนึ่งที่นาสนใจก็คือในปจจุบันมีคนขอ เอาขอมูลที่ระบุเกี่ยวกับศาสนาของตัวเอง ออกจากบัตร ประชาชนมากขึ้นทุกวันๆ ปรากฏการณแบบนี้กำลังบอก อะไรเราอยู กอนอื่นเราตองถามกลับไปวาคนที่ตองการใหเราระบุ ศาสนาลงไปในบัตรประชาชนเขาตองการอะไร? ผมไมคอย เห็นความสำคัญในการเอาขอมูลสวนนี้ไปพัฒนาการบริการ ประชาชนของภาครัฐ ขอมูลหมูโลหิ ตยังมีประโยชนเสียกวา สิง่ เหลานี้มันสะทอนอุดมการณแบบเกาที่มอง “คนไมมีศาสนา” (irreligion) เปนเรื่องแปลก มันสะทอนวารัฐตองการควบคุม ใหทุกอยางมีอุดมการณเดียวกัน ความคิดแบบนี้เราเห็นใน ประวัติศาสตรยุคโบราณที่ผูนำประเทศมักจะบังคับใหคนใน ประเทศนับถือศาสนาเดียวกันกับตนเอง > แลวทำไมสังคมไทยจึงเกิดคนที่ “ไมมีศาสนา” มาก ขึ้นๆ ทุกวัน ผมวาคนรุน ใหมบางสวนเขารูส กึ วาศาสนาไมไดมีความ หมายอะไรกับเขา ไมไดทำใหชีวิตของเขาดีขึ้น พวกเขามองวา ศาสนาเปนเรื่องที่ฟุมเฟอย มีตนทุนสูง ไมมีประโยชนตอมิติ เศรษฐกิจและการเมืองของเขา จริงๆ แลวพวกเขาเหลานี้อาจ จะมีโลกทัศนที่แตกตางออกไปก็ได เขาอาจจะสนใจในเรื่อง ความเปนมนุษย ความสัมพันธ เขาอาจจะเขาถึงจิตวิญญาณ (spiritual) ผานการเอาชีวติ เขาไปประสบกับเรือ่ งราวตางๆ จิต
๑๙ วิญญาณนั่นอาจจะเปนสิ่งที่เขายึดถือมากกวาทั้งเรื่องธรรมชาติ เรื่อง ความเปนมนุษย ผมมองวากอนที่เราจะนับถือศาสนาเราตองเชื่อใน ความเปนมนุษยกอน ถาเราเปนพุทธที่เปนอเทวนิยม เราตองพึ่งพา ตัวเองเสียกอน จะไมมีพระเจาองคใดมาชวยเรา > ถาหันมามองยอนกลับมาที่พระ พระในสังคมไทยเปน “อาชีพ” แบบญี่ปนุ หรือเปน “วรรณะ” แบบในอินเดีย ใน ประเทศไทย ยัง ไม ชัดเจน ขนาด นั้น ประเทศ เรา เคย มี พุทธ ศาสนาที่เจริญงอกงามมากที่คนทั่วๆ ไป โดยเฉพาะชาวบานที่ไมมี ความดัดจริตทางเรื่องศาสนา พระในบริบทสังคมไทยเดิมๆ ยังเปน ที่พึ่ง ยังเปนผูนำชุมชน เราสามารถพูดคุยหยอกลอกับพระได พระก็ เปนหนวยหนึง่ ทางสังคมเหมือนคนทัว่ ๆ ไป แตพอพระเขาสูระบบ การ ศึกษาแบบทางการกลับทำใหพระไมเขาใจอะไรทางโลกเลย มันก็กลาย เปนเรื่องของตำแหนงแหงที่ ทำใหพระสวนนี้กลายเปนเครื่องมือของ กลไกการปกครอง และถอยหางออกจากสังคมไปทุกที > บางคนบอกพระตองไปแสวงหาความสงบ แตบางคนก็บอก วาพระจะตองมีปฏิสัมพันธทางสังคมกับชาวบาน แลวระยะหาง ระหวางพระกับสังคมควรจะเปนอยางไร พระตองมีความสัมพันธกับคน ในสมัยพุทธกาลหรือพระในยุค ปจจุบนั ทีเข ่ าไปอยูใน ปาอยางไรมันก็ตองสัมพันธกับคน พระตองพึง่ พา สังคม เชน แคพระออกไปบิณฑบาตนีก็่ ถือวามีปฏิสมั พันธแลว ทางดาน ฆราวาสเองก็ปฏิบัติตอพระผิดดวย เราไมคิดวาพระเปนกัลยาณมิตร พูดคุยได วิพากษได ตางฝายก็ตางเกร็งกัน จุดงายๆ นี้ทำใหยิ่งเกิด ระยะหางตอกันมากขึ้น > แตพระที่มีชื่อเสียงหลายๆ ทานกลับไมสามารถวิพากษได ยก ตัวอยางเชน ครั้งที่มีบทความวิพากษเรื่อง “ธัมมิกสังคมนิยม” ของทานพุทธทาสภิกขุ หรือการออกมาทำหนาที่ ของ ทาน ว.วชิรเมธี คนที่วิพากษกลับโดนกระแส สังคมติเตียนวาไมควรวิพากษทาน ดวยเหตุผลที่วา ทานเหลานั้นสูงสงและการวิพากษพระมันบาป ถา เรา วิพากษ ใน เรื่อง ที่ ไมใช รสนิยม สวน บุคคล ผมวาสามารถวิพากษได พระก็เปนคนธรรมดา มีคน ที่ชื่นชอบทานตางๆ กัน การวิพากษเปนมิติทางสังคม ทุก คน มี พื้นที่ ทาง สังคม ที่ แชร รวม กัน แต ถา คุณ เปน บุคคลที่มีชื่อเสียงคุณอาจจะมีพื้นที่ทางสังคมมากกวา ชาวบานธรรมดา มีเสียงที่ดังกวา ถาหากไมมีการตรวจ สอบ อิทธิพลของทานเหลานั้นก็จะขยายวงกวางออกไป เรื่อยๆ ยกกรณีทาน ว.วชิรเมธี หนังสือของทานก็จะขาย ดีไปเรือ่ ยๆ ทำใหความคิดของทานกลายเปนกระแสหลัก และสุดทายถาไมมีใครมาเสนอความเห็นที่แตกตางออก ไป ความคิดชุดนีก็้ จะกลายเปนสิง่ ทีควบคุ ่ มสังคมทัง้ หมด ไป อะไรทีแตก ่ ตางก็จะกลายเปนเรือ่ งทีผิ่ ดไปดวย แตการ
วิพากษจะทำใหคนที่เปนที่ยอมรับจะตองระมัดระวังตัวในการวางตัว และในการสือ่ สารออกไป วามีคนจับตาอยู มันก็เหมือนกลไกการตรวจ สอบอยางหนึ่งที่ทำใหคุณไมสามารถมั่วได > ตอจากกรณีทาน ว.วชิรเมธี คุณจะอธิบายปรากฏการณทาง สังคมที่จูๆ วันหนึ่งพวก “หนังสือธรรมะยอยงาย” ของทาน ว.วชิรเมธี หรือพระมหาสมปอง และพระอีกหลายๆ รูป ฮิตขึ้น มา อยางไร ผมวาสังคมกำลังโหยหาอดีต (nostalgia) เรากำลังอยูในสังคม ทีกำลั ่ งจะมีความเปลีย่ นแปลง ซึง่ การเปลีย่ นแปลงนัน้ ไมใชเรือ่ งทีสนุ ่ ก และงาย คุณไมมีหลักอะไรใหยึดคนสวนใหญกำลังโหยหาความมั่นคง ทางจิตใจ เขาเลยตองการหาอะไรทีมั่ นงาย ความสงบแบบเดิมๆ ความ สุขแบบเดิมๆ > อีกเรื่องที่กลายเปนกระแสไมแพกัน ก็คือเรื่องของการชวนไป ปฏิบัติธรรม ซึ่งหลังๆ การปฏิบัติธรรมกลายคุณสมบัติสวนหนึ่ง ของการเปนคนดีไปแลว ผมมองวาการปฏิบัติธรรมก็คือการปฏิบัติธรรม ก็คือการที่คุณ ปลีกเวลาไปอยูกับตัวเอง เรียนรูความรูสึกใหเทาทันกับจิตใจของตัว เอง ทุกคนตางมีเรือ่ งราวทีเรา ่ ติดคางทางจิตใจ การปฏิบตั ธรรม ิ ของคน ก็เหมือนการเผชิญหนากับตัวเอง แตพอมันกลายเปนกระแสของสังคม ทีกลาย ่ เปนเรือ่ งภาพลักษณ มันก็กลายเปนสิง่ ทีเรา ่ จะตองตัง้ คำถามกับ คนเหลานัน้ เชน นโยบายของรัฐทีผลั ่ กดันใหคนลาไปปฏิบตั ธรรม ิ ไดโดย ไมนับวันลา หรือการงดขายเหลาในวันสำคัญทางศาสนา ผมก็ตองตั้ง คำถามวาการมีนโยบายแบบนี้มันไดชวยองคกร ชวยรัฐบาล หรือชวย สังคมไดจริงหรือเปลา
ถาคุณเปนชาวพุทธที่ไมยึดติดกับรูป แบบ คุณจะตองเปนผูตื น่ และมองมันอยาง ที่มันเปน ไมถูกครอบงำและไมพยายาม ครอบงำมัน เรียนรูว าเราจะมีชีวติ ทีมี่ ความ หมายไดอยางไร พุทธศาสนานัน้ อาจจะไม ไดใหทางออกกับเราแตมันจะใหทางเลือก กับเรา
๒๐ > ถาเปนแบบนี้มันอาจแปลวารัฐเขามามีบทบาทในการดำรง ชีวิตของเรามากเกินไปหรือเปลา เรื่อง พื้น ฐาน ที่ สำคัญ ที่สุด ของ มนุษย ก็ คือ อิสรภาพ ถา ไมมี อิสรภาพเราก็ไมมีคุณคาทางจิตวิญญาณ ซึ่งปจจุบันมันแทบจะไมมี ปาใหคุณแสวงหาความสงบอีก สิ่งที่จะอำนวยในการแสวงหาก็คือ อิสรภาพและพื้นที่ทางสังคม ในการที่เขาจะเลือกในแบบของเขาเอง ได พวกเขาตองการพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนการเสวนา ซึ่งอาจจะเปน ความคิดที่แตกตางไปจากกระแสหลัก ฉะนั้นคนที่เขามาศึกษาในดาน นี้ถาไมมีความกลาหาญทางจิตวิญญาณที่จะตั้งคำถามกับสิ่งที่ดำรง อยูในสังคม ไมอยางนั้นคุณก็จะโดนอุดมการณทางสังคมกระแสหลัก ที่มีรัฐควบคุมครอบงำไป > แลวคำวิเศษณที่เรียกวา “แบบไทยๆ” เชน พุทธศาสนาแบบ ไทยๆ ประชาธิปไตยแบบไทยๆ หรือการปกครองแบบไทยๆ เรื่องแบบนี้มันยังใชไดในสังคมปจจุบันหรือเปลา มันเคยใชไดในอดีต ผมคิดเรื่องนี้เยอะมาก การสรางวัฒนธรรม นั้นเปนสิ่งที่ดี การที่จะยึดโยงใหมนุษยอยูกับสังคมนั้นเปนเรื่องสำคัญ ในอดีต เชน เราตองอาศัยการเกณฑแรงงาน เราตองอยูรวมกันเพื่อ ตานภัยพิบัติตางๆ ในอดีตคนที่ตองการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมมักจะ เปนคนชายขอบ และก็มักจะมีจุดจบไมคอยสวย แตในปจจุบันเราตอง ยอมรับความเปนจริงวา คุณจะรักษาความเปนแบบไทยๆ ก็ได แตคุณ ตองยอมรับวามันจะมีวัฒนธรรมกระแสโลกทีเข ่ ามาปะทะและผสมกัน เปนสวนหนึ่งของสังคมดวย > ถาแบบนั้นจริงๆ แลวประเทศไทยเราเปนพุทธแบบไหน ถาตอนแรกเราบอกวาเราเปนพุทธแบบเถรวาท แตเราตองเขาใจ วาพอมันมีวัฒนธรรมตางๆ เขามาผสมมันก็ตองเปลี่ยนแปลงไปเปน ธรรมดา คนที่ยึดติดกับพุทธแบบดั้งเดิมนั้น ผมวาเราตองพยายามจะ เปดหนาตางโลกทัศนใหเขาเขาใจวาสังคมมันเปลีย่ นแปลงไป รอบๆ วัด ลอมดวยคอนโดสูง ๓๐ ชั้น คุณจะกักตัวเองไวไมไดแลว คุณจะตองนำ ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมเปนสวนหนึ่งของชีวิตคุณดวย > กลับมาที่ตอนนี้รัฐบาลชุดปจจุบันกำลังผลักดันนโยบายดาน ตางๆ เกี่ยวกับพุทธศาสนา ยกตัวอยางโครงการทีวีพระพุทธ ศาสนาที่จะเผยแพรออกไป ๔ ทวีปทั่วโลก อันนี้ผมถือวาเปนจุดออนของพระพุทธศาสนาบานเรา บานเรา เปนพระพุทธศาสนาแบบหินยาน กอนอื่นตองเขาใจวาพุทธนั้นมี ๓ ระดับ หินยาน มหายาน (แบบจีน) และวัชรยาน (แบบทิเบต) ผมมอง วาคำสอนของพุทธศาสนาของบานเรามีคำสอนทีมุ่ ง เนนไปทางหินยาน คอนขางมาก คือทำใหเราเขาใจตัวเอง ซึง่ มันก็จะทำใหเราเขาใจวาอะไร มันดี มันเหมาะสมกับตัวเราเอง แตขอผิดพลาดก็คือเราไปคิดวาเรา อยากจะเอาสิง่ ทีเรา ่ คิดวาดีสำหรับเราไปบังคับใหคนอืน่ เชือ่ เหมือนเรา ซึง่ จริงๆ อาจจะไมเหมาะสมกับประเทศอืน่ ๆ ก็ได มันเปนวิธทีี คั่ บแคบ นะ มันเหมือนวาผิดตรรกะ เราจะตองเปลี่ยนความคิด เราตองเรียนรู
ถ า คุ ณ เป น บุ ค คล ที่ มี ช่ื อ เสียงคุณอาจจะมีพื้นที่ทางสังคม มากกวาชาวบานธรรมดามีเสียงที่ ดังกวา ถาหากไมมการ ี ตรวจสอบ อิทธิพลของทานเหลานัน้ ก็จะขยาย วงกวางออกไป และสุดทายถาไมมี ใครมาเสนอความเห็นที่แตกตาง ออกไป ความคิดชุดนี้ก็จะกลาย เปนสิ่งที่ควบคุมสังคมทั้งหมดไป
จากคนอื่นไมใชใหคนอื่นคิดแบบเรา > อีกโครงการก็คือธนาคารพระพุทธศาสนา ที่จะปลอยกูใหกับ คนที่มีสัจจะ มีศีลธรรม นี่ก็เปนตรรกะที่ผิด ผมวาพระพุทธศาสนาควรจะเอาเวลาไป ศึกษาพระพุทธศาสนาดีกวา คุณจะไปคิดเรือ่ งทีเกี ่ ย่ วกับองคกรทางการ เงิน ผมวาศาสนามันไมตองตอบไดทุกโจทย แกไดทุกโรค คุณตองเขาใจ วาคุณเขาใจอะไร พอเขาใจคุณก็ตองปลอยวาง และทำความเขาใจวา สิ่งที่ดีของคุณอาจไมไดดีตอคนอื่น > ขอถามตอถึงมิติของเศรษฐกิจ หลังๆ เราจะเห็นคนที่บอกวา ฉันจะใชหลักความคิดแบบพุทธเพื่อตอตานทุนนิยม อันนี้เปน เรื่องที่สามารถทำไดหรือไม อีกประเด็นคือศาสนาพุทธจะ อยูรอดไดอยางไรในยุคทุนนิยม ผมยังไมมีคำตอบ คนที่ปฏิบัติและศึกษาทางพุทธ ณ ตอนนี้ก็ ยังมีแตคนที่พรอมจะเอาตัวเองไปเรียนรูกับมัน ผมวาเราอยาไปมอง อยาไปตัดสินวาทุนนิยมเปนเรื่องที่เลวรายเสมอไป เราตองหาคุณคา และมิตทาง ิ จิตวิญญาณของโลกทุนนิยม เราไมสามารถปฏิเสธโลกของ ทุนนิยมได แตผนวกกับมันและใชมันอยางเขาใจ เราจะเห็นตัวอยาง
๒๑ ระดับโลก เชน สตีฟ จอบส เขาก็นับถือนิกายเซน เขาก็เอา หลักแนวคิดและจิตวิญญาณแบบเซนมาปรับใชกับงานของ เขา คุณตอตานมันได แตคุณตองมองมันดวยความเปนจริง แบบหนึ่ง ถาคุณเปนชาวพุทธที่ไมยึดติดกับรูปแบบ คุณจะ ตองเปนผูตื น่ และมองมันอยางทีมั่ นเปน ไมถูกครอบงำ และ ไมพยายามครอบงำมัน เรียนรูว าเราจะมีชีวติ ทีมี่ ความหมาย ไดอยางไร พุทธศาสนานัน้ อาจจะไมไดใหทางออกกับเราแต มันจะใหทางเลือกกับเรา > ใน ๔ – ๕ ป เราเห็นพระเขาไปเคลื่อนไหวกับ กระบวนการทางการเมือง เชน กลุมสันติอโศกที่ เขารวมกับพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย หรือกลุมของพระมหาโชวที่เขาไปรวมกับคนเสื้อแดง คุณมีความคิดเห็นอยางไร ผมมองวาพระเปนคนทั่วไป ผมชอบนะ มันนาสนใจ ในแงของการมีสวนรวมทางการเมือง เราจะเห็นความเชื่อม โยงของพระกับสังคมกับประชาชน ไมวาจะมิตทาง ิ จิตใจและ สังคม ปญหาทางการเมืองก็เปนความทุกขแบบหนึ่ง เปน ปญหาเชิงโครงสราง แตที่เปนหวงอยางหนึ่งก็คือเรื่องความ สุดโตงทางความคิด อุดมการณทางศาสนาของบานเราผม ยังไมเห็นอันไหนที่เปนเสรีนิยมจริงๆ มีแตอนุรักษนิยมกับ อนุรักษนิยมกวา > สุดทายนี้เรากำลังพูดถึงสังคมในยุคเปลี่ยนผาน แลว ศาสนาพุทธกำลังจะเปลี่ยนผานไปสูอะไร ศาสนา พุ ท ธ กำลั ง เปลี่ ย น ผ า น ไป สู ศาสนา ของ ประชาชน (Singular spirituality) เมื่อความตองการในการ เปลี่ยนแปลงไมไดเปนของคนใดคนหนึ่ง เรากำลังจะเชื่อม โลกเปนโลกใบเดียว หรือแมกระทัง่ วิกฤตของโลกเราตองรับ ผิดชอบรวมกัน ไมวาจะเปนปญหาธรรมชาติ สิ่งแวดลอม เรื่องของคน เราตองรวมรับรูไปดวยกัน ผมวามันกำลังผลัก ดันคำวาศาสนาทีเคย ่ แข็งกระดางไปประยุกตใชกับสังคมและ วัฒนธรรมมากขึน้ เราจะคนพบความหมายในสังคมของโลก คนทีปรั ่ บตัวไมไดก็จะตายไปในทีส่ ดุ หรือก็ไมมความ ี สุขจริงๆ เพราะ คุ ณ ยั ง ยึ ด รู ป แบบ ใน หลั ก ศาสนา เก า ๆ แต การ เปลี่ยนแปลงครั้งนี้มันจะไมเหวี่ยงขนาดแบบในญี่ปุนที่ทุก คนปฏิเสธศาสนา ตอนนีมั้ นมีปจจัยทีทำให ่ คนเราแสวงหาคำ ตอบรวมกันและหาทางเลือกทีมาก ่ ขึน้ ถาอธิบายแบบพุทธก็ คือทุกๆ สิ่งมันไมไดจีรัง การเปลี่ยนแปลงไมไดเลวรายดวย ตัวของมันเอง เพียงแตวามันจะใชเวลาเปลีย่ นแปลงนานเทา ไหร การตอสูระหว างศรัทธาและเหตุผลมันเปนเรือ่ งคลาสสิก ซึ่งเราตองมีสองสิ่งควบคูกันไป
๒๒ ศิลปะ
เรื่อง กองสาราณียกร
ÁÔÇà«ÕÂÁ¡Ò¡æ ÃÇÁ§Ò¹ÈÔÅ»Š·Õ่¡Ò¡¨¹äÁ‹ÍÒ¨Áͧ¢ŒÒÁ
ข
ณะที่คำวาศิลปะในบางประเทศดูจะถูกใหคุณคาสูงสงเลิศเลอ หางไกล ความเปนมนุษยปุถุชนเขาไปทุกทีๆ ศิลปะและศิลปนกลายเปนหนึ่ง ในวงจรซ้ำซากที่วนเวียนอยูแตในหอศิลปหรูๆ ในแมสซาชูเซตส ประเทศ สหรัฐฯ มีหอศิลปแหงหนึ่งที่ตั้งใจรวบรวมงาน “ศิลปะกากๆ” (Bad Art) ไวโดยเฉพาะ Museum of Bad Art (MOBA) เปนผลงานแรงบันดาลใจของเพื่อน สองคนที่วันหนึ่งเกิดไปประสบพบเจอกับงานภาพที่ดู ‘กาก’ เสียจนพวกเขา อยากเอามานำแสดง จนเปนที่มาของพิพิธภัณฑที่เปดมากวา ๑๘ ปแลว เหลาผูกอตั้งมีทั้งไมเคิล แฟรงค หัวหนาภัณฑารักษผูมีงานไซดไลน อยางนักดนตรีและผูใหความบันเทิงแกเด็กๆ (เห็นวาแกมัด ลูกโปงเปนรูปเปนรางเกงมาก) หลุยซ ไรลีย แซกโก ผูมี ตำแหนง ชื่อแปลกๆ อยาง “ประธาน รั ก ษา การ โดย ถาวร” มา รี แจ ก สั น กั บ ตำแหน ง แปลก ไมแพกันอยาง “ประธานฝาย การ ตี ค วาม ทาง สุ น ทรี ยะ” (แมเธอจะไมเคยเรียนศิลปะ โดยตรง มา กอน แต เธอ ก็ ไม ยั่นหรอก คนเราตัดสินกันแค เรียนจบอะไรมางั้นหรือ?) และทอม สตันโค วิคซ อดีตชางภาพนิตยสารเพลยบอย ตั ว พิ พิ ธ ภั ณ ฑ แห ง นี้ ตั้ ง อยู ใน โรง ภาพยนตรเดดแฮม (อยูติดกับหองน้ำ) ซอมเมอรวิลล รัฐแมสซาชูเซตส สหรัฐอเมริกา มีพื้นที่จัดแสดงงานนับ ๖๐๐ ชิ้นภายใตความภาคภูมิใจของ MOBA ทีว่ าพวกเขาเปน “สถาบันเลิศวิไลสำหรับงานศิลปกากๆ” ชางยกยอ ปนลอเลียนตัวเองกันจริงๆ ไมเคิล แฟรงคบอกวา งานภาพแทบทั้งหมดมา จาก การ บริจาค โดย ผู มี อุปการ คุณ ผู ที่รัก ใน งาน ศิลป แนวๆ นี้ หรือบางครั้งศิลปนก็เปนผูใหมาเปลาๆ “ผม เชื่อวา งาน เหลา นี้ ถูก สราง ขึ้น มา ดวย ความ ซีเรียส จริงจัง แต ทวา มัน มี อะไร ผิด เพี้ยน ไป สัก อยาง อาจ จะ มา จาก ขั้น ตอน การ ทำงาน หรือ ไม ก็ แนว ความ คิด” แฟรงคกลาว แฟรงคมีมุมมองตอศิลปะวา บางครั้งคนเราอาจ จะไมเกงดานเทคนิค แตในความไมเกงนั้นกลับทำใหผล ่ ไดแสดง งานออกมาดูนาสนใจไปอีกแบบ และผลงานทีไม เทคนิคเลิศล้ำอะไร ก็ไมไดหมายความวาจะเปนศิลปะที่ เสื่อมคาไปเสียหมด งานภาพตัวอยางที่เผยแพรทางอินเทอรเน็ตนั้น บางสวนก็ดูจริงจัง อยาง ที่ วา แม จะ ขาด ความ ละเอียด บาง อยาง ใน แบบ ที่ ศิลปน มือ อาชีพ มี บางสวนก็ดูนาตลกขบขันจนเกือบจะจัดเปน Parody เชนงาน “ตีแบตมัย้ แสด”
(Badminton, Anyone?) ผลงานของศิลปนไม เผย ชื่อ ซึ่ง เปน รูป วาด ชนชั้น สูง สมัย วิกตอเรีย ดวยองคประกอบและสีสนั ทีดู่ ผิดทีผิ่ ดทาง แตก็มี เสนหของมัน บางผลงานก็มีความหมายแฝง แนนอนวาการประเมินคุณคาทางศิลปะ เปนเรื่องของรสนิยมสวนหนึ่ง ความรูดานงาน ศิลปและประสบการณสวนตัวอีกถายหนึ่ง แต เรื่อง ของ รสนิยม นั้น มี สูง ต่ำ จริง ละ หรือ งาน ของ ผู มี ความ เปน มือ อาชีพ จำเปนเสมอไปหรือวาตองดี สูง เลิศเลอกวาผูคนทั่วไป ...การยึดติดความ สมบูรณแบบมีแตจะยิ่งเปนการจำกัดความคิดสรางสรรค จินตนาการ ความบันเทิง และผูกขาดการตีความสุนทรีย รสไวแตฝายเดียว เรามีทั้งภาพยนตรเกรด บีหรือพวก “หนังคัลท” ที่จับใจ คน จำนวน หนึ่ ง ได ใน วงการ ดนตรีก็มีพวก Lo-Fi, Garage, Noise ฯลฯ ที่ เล น กั บ ความ ไม สมบูรณ แบบ ใน การ บันทึก เสียง ไมนับวาเราอยูในยุคที่มี สื่อ พลเมือง ออก มา ทา ชิง พื้นที่ กับ สื่อ มือ อาชีพ ผูคนตออินเทอรเน็ตดูรายการ “ครัวกากๆ” ที่ เนนใชวัตถุดิบราคาถูกและอยูใกลตัว ทำไดจริง ในชีวิตประจำวัน บางก็เห็นความคิดสรางสรรค ประหลาด และ มันส สะใจ จาก รายการ “Epic Meal Time” และ “Regular Ordinary Swedish Meal Time” ไม ใ ช ทุ ก เวลา ที่ คน เรา จะ แสวงหา ความ สมบูรณแบบ เมื่อศิลปะกลายเปนเรื่องของมนุษยทุก ผูนาม กลายเปนสิง่ ทีคน ่ ทัว่ ไปควรจะเขาถึงจับตองได ่ ความเปนมือสมัครเลน พืน้ ทีสำหรั ่ บสิง่ ทีไม ่ พืน้ ทีของ สมบูรณแบบ พื้นที่ของความ ‘กาก’ ก็ควรจะมีอยู หรือจริงๆ แลวสิ่งที่เคยดู ‘กาก’ บางอยาง ก็ กลับกลายเปนมาสเตอรพีซได เมือ่ มันอยูถู กทีถู่ กเวลา การตัดสินคุณคาลวนเปนเรื่องของบริบททั้งสิ้น “ไม จำเป น เสมอ ไป หรอก ว า ศิ ล ปะ ชั้ น เลว จะ หมาย ถึง สิ่ง ที่มา จาก ความ ไร เดียง สา” แฟรงค มาเรสกา เจาของพิพิธภัณฑในนิวยอรกใหความเห็น ไว “มีศิลปะหวยๆ มากมายที่มาจากนักศึกษาสถาบันชั้นดี”
เรื่อง กองสาราณียกร
๒๓
Niwano Peace Prize
ÃÒ§ÇÑÅ ÊѹμÔÀÒ¾ ÈÒÊ¹Ò áÅФÇÒÁ໚¹¸ÃÃÁ
มี
เรื่องนายินดีอีกแลวเมื่อกลางปที่ผานมา เมื่อมีคน ไทย ได รับ รางวัล อัน ทรง เกียรติ จาก ตาง ประเทศ รางวัล ดัง กลาว คือ รางวัล สันติภาพ นิ วา โน (Niwano Peace Prize) ของญีป่ นุ โดยผูที ได ่ รับรางวัลนีคื้ อ สุลักษณ ศิวรักษ หรือที่รูจักกันในนาม “ส.ศิวรักษ” รางวัลนิวาโน เปนรางวัลประจำปทีมอบ ่ ใหกับผูน ำ หรือองคกรทีทำงาน ่ รณรงคเพือ่ สันติภาพบนรากฐานของ ศาสนาหรือจิตวิญญาณ ซึ่งอาจรวมถึงการทำงานเชื่อม รอยผูคนที่ตางความเชื่อกันดวย รางวัลนิวาโนมีมากวา ๒๘ ปแลว โดยตระกูลนิวาโน ผูมีบทบาทในการ กอตั้ง องคกรพุทธศาสนา ริชโช โคเซยไค เปนผูตั้งรางวัลนี้ขึ้น โดยมีกรรมการคัดเลือกมาจากนานาชาติ แคเธอรีน มารแชล หัวหนากรรมการของปนี้ (๒๕๕๔) กลาว ในบทความถึงเหตุผลทีมอบ ่ รางวัลใหกับสุลักษณวา เนือ่ งจากชีวติ ของ เขาอุทิศใหกับเรื่องสันติภาพและความยุติธรรม ซึ่งเปนไปในแนวทาง เดียวกับหลักการของรางวัลนิวาโน เขามีวิธีการตางๆ ทั้งการอาศัย ความเขาใจ การแสดงตนเปนตัวอยาง และการมีปณิธานแนวแนในการ เปลีย่ นแปลงความคิดของผูน ำทางการเมือง ปญญาชน คนหนุม สาว ทัง้ ในประเทศไทย ในเอเชีย และทั่วโลก โดยสุลักษณยังไดรณรงคใหเกิด ความเขาใจใหมในแนวคิดเรื่องสันติ ประชาธิปไตย และการพัฒนา “สิ่งที่ทำใหดิฉันประทับใจคือการที่สุลักษณมักจะพูดความจริง กับผูที่มีอำนาจ แมวาวิธีการพูดความจริงของเขาจะเปนไปดวยความ นุม นวลออนโยน” แคเธอรีนกลาวในบทความ “เขาเชือ่ วาการชวยเหลือ สังคมอยางแทจริงคือการเขาถึงคนยากจนและการมีสวนรวมทางการ เมืองในระดับรากหญา” นอกจากนีแค ้ เธอรีนยังไดพูดถึงสุลักษณในแงทีเป ่ นผูขั บเคลือ่ น “ประชาสังคม” โดยจัดตั้งองคกรพัฒนาและสวัสดิการสังคมมากมาย โดย มี ประเด็น หลักๆ คือ การ ตอ ตาน แนวคิด พัฒนา เชิง บริโภค นิยม
และ สนับสนุน แนวคิด พัฒนา ดำเนิน ไป พรอม กับ การ รักษา ราก เหงา ของวัฒนธรรมทองถิ่นและศาสนา นอกจากนี้ยังไดนำศาสนาเขามา ผสานกับงานอนุรักษสิ่งแวดลอม อยางการนำกลุมเสขิยธรรม ซึ่งเปน เครือขายพระภิกษุสงฆในการนำชุมชนอนุรกั ษสิง่ แวดลอมของทองถิน่ โดยเฉพาะผืนปา รวมถึงการโยงหลักศีล ๕ กับการอยูรวมกันในสังคม อยางยั่งยืน “สุลักษณมองสังคมโดยใชแนวคิดทางพุทธศาสนา โดยบอกวา ปจเจกบุคคลเปนจุดเริ่มตนของความเปลี่ยนแปลง เมื่อปจเจกบุคคลมี ความเปลีย่ นแปลงทางจิตวิญญาณ เราก็จะสามารถเห็นสังคมทีมี่ ความ ยุติธรรมได” แคเธอรีนกลาวในบทความ สุลักษณไดกลาวสุนทรพจนในการขึ้นรับรางวัลที่เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุน โดยพูดถึงความกลาหาญของชาวญี่ปุนที่มีความอดทน ตอภัยพิบัตินานัปการตั้งแตชวง มี.ค. ๒๕๕๔ เปนตนมา ทั้งแผนดิน ไหว สึนามิ และภัยจากโรงไฟฟานิวเคลียร นอกจากนี้ยังไดเรียกรอง ใหผูคนชวยกันปกปองโลก ตอสูกับความอยุติธรรม และเรียนรูที่จะ มองโลกอยางงดงามในทางสายกลาง กอนจะสายเกินไป
๒๔ หนัง
เรื่อง วิโรจน สุทธิสีมา
KUNDUN (1997)
ในทางธรรมมีทางโลกย
ดู
ผิวเผินคงเปนเรือ่ งประหลาด เมือ่ นักทำหนังผูชื น่ ชอบการใชความ รุนแรงอยาง มารติน สกอรเซซี จากผลจากงานหนังแมนๆ คละคลุง ดวยเลือดแบบ Taxi Driver (๑๙๗๖), Raging Bull (๑๙๘๐), Goodfellas (๑๙๙๐) และ Casino (๑๙๙๕) มาทำหนังเกี่ยวกับนักบวช-นัก ปรัชญา ทีสุ่ ขมุ คัมภีรภาพทีส่ ดุ คนหนึง่ ของโลก นัน่ คือ ดาไลลามะ องค ที่ ๑๔ แหงทิเบต อยางไรก็ตาม ในระดับลึกลงไปแลว-เมื่อสำรวจตรวจสอบถึง ปูมหลังของผูกำกับ หลายคนคงไมถึงกับแปลกใจจนเกินไปนัก เพราะ หนังแทบทุกเรื่องของเขาลวนสอดแทรกประเด็นดานศาสนาเขามาอยู เนืองๆ และยิ่งเมื่อทราบถึงชีวิตสวนตัวในวัยเยาววาเขาไดแรงบันดาล ใจจากสองสวนหลักในชีวติ อันไดแก ความรุนแรงขางถนน (ทราบกันดี) และความเชือ่ ทางศาสนา (มักจะหลงลืมกัน) คงเปนหลักฐานขอพิสจู น ชั้นยอดวาสกอรเซซีทำหนังเกี่ยวกับศาสนาไดแนนอน หรื อ หาก ใคร ชื่ น ชอบ ภาพยนตร มาก ขึ้ น สั ก นิ ด คงจะ จดจำ เหตุการณอื้อฉาวเมื่อครั้งเขานำเอา The Last Temptation of Christ (๑๙๘๙) ออกฉายกันได วาหนังพระเยซูเปอ นเลือดเรือ่ งนัน้ ชางสะทอน ความดุเดือดเลือดพลานแบบสกอรเซซีไดตรงไปตรงมาเหลือเกิน ในหนังเรื่องนี้ เราจะพบวาเขาจะลดดีกรีความรุนแรงลงชนิด ฮวบฮาบ เนื่องจากตองการเนนใหเห็นถึง “ความเปนไปในชีวิต” ของ ดาไลลามะตั้งแตวัยเด็กจนหนุม ความรุนแรงที่กอเกิดจึงแทบไมไดมา จากคราบเลือด รอยกระสุน หรือคมมีดใดๆ หากแตเปนความรุนแรง
ในเชิงความรูสึกที่รัฐบาลคอมมิวนิสตของประเทศจีน ไดรุกรานย่ำยี ประเทศธิเบตของนักบวชผูยิ่งใหญ (ซึ่งตำแหนงนี้ถือเปนประมุขทั้ง ทางธรรมและทางโลกของธิเบต) และนั่นเปนสาเหตุใหทีมงานหลาย คน และโดยเฉพาะอยางยิง่ ตัวสกอรเซซีเอง ถูกขึน้ บัญชีดำจากทางการ ของจีนในเวลาถัดมา แมวา ดา ไลลา มะ ที่ เรา เห็น ใน หนัง จะ เปน พระ ที่ ตอง มา เผชิญ กับชะตากรรมทางโลกย แตนั่นเปนธรรมเนียมปฏิบัติอันไมอาจหลีก เลี่ยงในฐานะประมุขของคนในประเทศ และหากสำรวจตรวจสอบให ดี เราจะพบวานักบวชรูปนีไม ้ เคยมีความคิดจะกาวล้ำเขาไปยุม ยามกับ โลกียวิสัยใดๆ หากแมนไมถูกรุกรานไลลาจากประเทศมหาอำนาจ แผนดินใหญ และหากทานผูนี ต้ องมาเกาะเกีย่ วการเมืองอันวุน วายแลว ผูมี สติสมั ปชัญญะทัง้ ปวงคงพึงเล็งเห็นไดวา เปนไปดวยความบริสทุ ธิใจ ์ และปรารถนาดี โดยปราศจากพัดยศ การปูนบำเหน็จ เครื่องรางพุทธ พาณิชย หรือกิเลสตัณหาใดๆ และแมวาจะเปนพระภิกษุหรือนักบวชที่โดงดังที่สุดรูปหนึ่งใน ศตวรรษที่ ๒๑ แตวัตรปฏิบัติขององคดาไลลามะกลับมีเพื่อการบรรลุ นิพพานและใหประชาชนที่เลื่อมใสศรัทธาไดมีความสงบสุขทางจิตใจ จึงแทบไมมีใครตั้งขอครหาวาทานตองการสรางกระแสเพื่อเปน “พระ เซเล็บ” อยางที่มีใหเห็นอยางกลาดเกลื่อนในเมืองไทย
อาน ณรินทร
รร มฝ ลอกคราบวั ฒนกษธ
หิ้งหนังสือ ๒๕
รั่ ง
ส. ศิวรั
สตร า ศ า ย ิ ท ว ื อ ถ ั บ น ม โลกสมยั ให มนษุ ยใน ยชาติ ุ ษ น ม ง อ ข ย า ท ุ ด ส บ ดงั หนง่ึ วา เปน คำตอ แม ส. ศิวรักษ จะเขียนหนังสือเรื่อง “ลอกคราบวัฒนธรรมฝรั่ง” มาตั้งแต พ.ศ.๒๕๓๐ แลว แตจนถึงปจจุบันนี้ ความคิดที่อยูในหนังสือ ก็ ยังถือวามีความทันสมัยอยูมาก เนื้อหาสำคัญของหนังสือเลมนี้อยูที่การ เชื่อมโยงใหเห็นถึงพัฒนาการของปรัชญาความคิดของคนในโลกตะวัน ตก ตั้งแตสมัยกรีกจนมาถึงสมัยปจจุบัน ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงการให น้ำหนักความสำคัญกับ ๒ สิ่ง ไดแก “ขอเท็จจริง” และ “คุณคา” โดยมี การปฏิวัติทางวิทยาศาสตรเปนจุดเปลี่ยนผันที่สำคัญ กลาวคือวิทยาศาสตรไดแยกเอาขอเท็จจริงและคุณคาออกจาก กัน โดยใหความสำคัญอยูกับขอเท็จจริง แตละเลยตอสิ่งที่เปนคุณคา ภาวะดังกลาวสงผลกระทบตอระบบสังคมตางๆ ทั้งในโลกตะวันตก เอง และสังคมอื่นๆ ที่ลอกเลียนแบบวัฒนธรรมตะวันตก ไมวาจะ ทางดานสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม คนสมัยใหมอยูได ดวย เทคโนโลยี แตหลงอยูในโลภจริต โทสจริต และโมหจริต กลาวคือ มนุษย ในโลกสมัยใหม นับวันก็ยิง่ หลงอยูใน ความร่ำรวย ความมีอำนาจ และความนับถือวิทยาศาสตรดังหนึง่ วาเปนคำตอบสุดทายของมนุษยชาติ อยางไรก็ดี ฟสิกสสมัยใหมไดเชื่อมโยงใหเห็นวา ความจริงเปนสิ่งที่ซับซอนเกินกวาประสาท สัมผัสของมนุษยจะสามารถเขาถึงได มนุษยสามารถรับรูได เพียงสวนหยาบของธรรมชาติเทานัน้ การ จะเขาถึงความจริงแทได จะตองใชความรูทาง ออม กลาวคือจะตองใหความสำคัญกับสิง่ ทีเรี ่ ยกวาคุณคา หรือความลึกซึง้ ละเอียดออนทางจิตใจ โดยเฉพาะจากชุดปรัชญาความคิดตะวันออกใหมากขึน้ ซึง่ จะ เปนทางเดียวที่จะนำพาเราออกจากโลภจริต โทสจริต และโมหจริต ได ๒๐ กวาปแลว ที่ ส.ศิวรักษเขียนหนังสือเลมนี้ แตในปจจุบัน ประเทศไทยก็ยังคงเผชิญหนา กับปญหานานาประการดังที่ถูกเขียนไว อันเปนประจักษพยานที่ยืนยันไดเปนอยางดีวา การเลือกรับ วัฒนธรรมแบบหยาบของตะวันตกเขามาโดยขาดการคิดอยางลึกซึง้ มีแตจะนำพาสังคมของเราเขาไป เผชิญหนากับปญหามากยิ่งขึ้น จึงควรจะตั้งคำถามซ้ำอีกครั้งจากที่ ส.ศิวรักษไดตั้งคำถามเอาไวเมื่อ ๒๔ ปกอนวา ถึงเวลาแลวหรือยังที่สังคมของเราจะตองมีการปฏิวัติวัฒนธรรมกันเสียที
๒๖ ถกแถลงวรรณกรรม
เรื่อง Erastale ShadowServant
ค
าด วา พอ บทความ ชิ้น นี้ ได ตี พิมพ ผล รางวัล วรรณกรรม สรางสรรค ยอด เยี่ ย ม แห ง อาเซี ย น (ซี ไรท ) ประจำ ป ๒๕๕๔ คง ประกาศ ไป เป น ที่ เรี ย บร อ ย แล ว เมื่ อ ครั้ ง มี การ ประกาศ ผล งาน รวม เรื่ อ ง สั้ น ที่ เขารอบ ๗ เลมนัน้ จำไดวามันไดสรางความมึนงงใหกับขาพเจาอยางมาก... เนื่องดวยขาพเจาไมเคยอานเลยสักเลม ไมแมแตจะคุนชื่อหรือไดยิน ใครพูดถึง ทำใหไมแนใจวาเปนตัวขาพเจาเองทีตี่ ตัวออกหาง งานวรรณกรรม (ในประเทศ) หรือกระแสขาวอืน่ ๆ ตีกลบ ขาววัฒนธรรมจำพวกงานวรรณกรรมเหลานี้ไปหมด ขาพเจาเลือกขอแรก เนือ่ งจากขาพเจาเปนคน นิยมโทษตัวเองไวกอน แตก็มองอะไรอยางระแวด ระวังไวกอนเชนกัน ขาพเจายอมรับวาความตึงเครียด บันไดสะทอนมนุษย า ญ ที่เกิดกับตัวขาพเจาเองในชวงสองสามปมานี้ ทำให ที่เหนือคำถามทางปรัช ขาพเจาเลี่ยงไปอานงานแนว “ประโลมโลกย” อยู เหมือนกัน จากเดิมที่เลือกอานแตพวกวรรณกรรม (ที่ ถูกเรียกวา) “สรางสรรค” มีความเปนปญญาชน วิญูชน หรืออะไรชนๆ อยางอื่นที่ขาพเจาก็ยังไมเขาใจ แต ครั้น พอ ขาพเจา อยาก รวม วง เสวนา พา ที กับ กลุม เพื่อน ฝูง ของ ขาพเจาที่สวนใหญเปน “อะไรชนๆ” เหลานี้บาง ก็ไมวายโดนทำตาเขียวใส บางคนก็แฝงน้ำเสียงผานตัวอักษรในเฟซบุกว า “ทำไมถึงไมเอาเวลาทีโพสต ่ เพลงในนีไป ้ ทำตัวเปนนักอานทีมี่ คุณภาพเชนเดิมเลา” ขาพเจาอดรนทนกับ การดูถูกเชนนี้ไมได จึงรีบบึ่งออกจากบานไปที่รานหนังสือที่ใกลที่สุด ตาม หาอยูหลายรานกวาจะเจอหนังสือออกใหมลาสุดที่ชื่อ ‘บันไดกระจก’ แลว ก็ความาทันทีแบบไมรีรอ ดวยวาถูกชะตาในชื่อเรื่องและดีไซนของปก ขาพเจายอมรับวาไมคอยคุน กับ วัฒน ยวงแกว ชือ่ ผูแต งเรือ่ งนี้ คำนำ จากสำนักพิมพพูดถึงกลวิธีการเขียนแบบสัจนิยมมหัศจรรย, แฟนตาซี, เหนือจริง, สมจริง, อัตถิภาวะนิยม ฯลฯ ขณะที่คำนำของผูเขียนเปดเผย ตัวตนแบบเรียบๆ และยอมรับวาตนนั้นเปนคนชางเพอฝน ซึ่งโดยสวนตัว ขาพเจาเองก็ชื่นชอบอะไรที่เพอฝนอยูแลว จึงไมเห็นวาความเพอฝนที่แฝง อยูในงานจะเปนความผิดบาปแมในเรื่องแนวสัจนิยม แต วา สิ่ง ที่ ชวน ให ขัดใจ ขาพเจา ใน ฐานะ ผู อาน ก็ มี อยู บาง ใน บาง เรื่อง คือ เรื่อง ‘กรอบ’ กับ เรื่อง ‘ไฮ เปอร สเปซ’ ที่ ดู เปน งาน เขียน ล้ำ จิ น ตนาการ มาก มี การ เล า เรื่ อ ง แบบ เหนื อ จริ ง ผสม ผสาน ไป กั บ น้ ำ เสี ย ง ล อ เลี ย น เสี ย ดสี บ า ง เป น ระ ยะๆ โดย ส ว น ตั ว ข า พเจ า ชอบ น้ ำ เสี ย ง เสี ย ดสี ที่ แฝง อยู ใน ๒ เรื่ อ ง นี้ มาก แต ขณะ เดี ยวกั น งาน อย า ง ‘ไฮเปอรสเปซ’ ก็ถูกทำใหกลายเปนการถกปรัชญาผสมกับจินตนาการทาง วิทยาศาสตรที่ดูยืดเยื้อไปหนอย จน ผูอานเหมือนถูกบังคับใหตองฟงการ ถกปรัชญาอันยาวเหยียดโดยไมไดพักหายใจ สวนเรื่อง ‘กรอบ’ นั้นขาพเจามองเห็นความทะเยอทะยานในการ สอดกลวิธีการเลาเรื่องหลายๆ แนวเขาไวดวยกัน และมีการแบงเปน ๓ ภาคยอย กลวิธีแบบสัจนิยมมหัศจรรยที่ใชกับเรื่องเลาของมนุษยทองคำ นั้น ดูมีเสนหและสะทอนความรูสึกไดดี แตในตอนตอๆ มา เมื่อเนื้อเรื่อง
บันไดกระจก
๒๗
กำลังดำเนินมาในชวงที่ทำทาจะคลายปม ผูเขียนก็แหกขนบการเลาเรื่อง เสียจนกลายเปนการถกปรัชญาผสมกับจินตนาการทางวิทยาศาสตรแบบยืด ยาวอีกครั้ง รูปแบบการใชภาษาก็เปนแบบกระแสสำนึกที่ไหลโดยไมสนใจ พลอตอีกตอไป ซึ่งเขาใจวาเปนความตั้งใจของผูเขียนที่อยากทดลองงาน เขียนผสมกับการหาทางออกในเชิงปรัชญา แตมันกลับดูหลุดลอยจนยาก จะเกาะเกี่ยว จริงๆ แลววัฒนเปนคนทีเล ่ าเรือ่ งไดเกงไมนอย ดูจากการเลาเรือ่ งตัด สลับกันใน ‘ภาพทีหาย ่ ไป’ และ ‘ปฏิสนธิ’ ทีคุ่ มจังหวะการเลาเรือ่ งไดชวนให นาติดตาม แตเรื่อง ‘ภาพที่หายไป’ ออกจะมีเสนหกวาเล็กนอยตรงที่ขมวด ปมจบไดหมดจดสมบูรณและนาประทับใจ ขณะที่ ‘ปฏิสนธิ’ ดูจะทำใหผู อานยังไม “ถึงจุด” เทาที่ควร การพยายามเลนกับความจริงและภาพลวง ของเรือ่ งนีดู้ นาสนใจในชวงแรกๆ แตชวงทายๆ นัน้ เปลือ้ งอะไรออกมาเร็ว ไปหนอย บทสนทนาของตัวละครที่อยูๆ ก็พูดอะไรเปนปรัชญาขึ้นมา รวม ถึงการพยายามเลนกับ ‘การมีตัวตน’ จากการเลาเรือ่ งของหญิงสาวก็ชวนให รูสึกขัด และเปนการอธิบายมากเกินไปจนกลายเปนยัดเยียดไปเสีย ตองยอมรับวาผูเขียน ‘บันไดกระจก’ มีพื้นฐานการเรียนรูแนวคิด ปรัชญามาไมมากก็นอย แตบางครั้งก็พยายามอธิบายจนดูลนเกิน พลอย ทำใหอรรถรสในเรื่องนั้นๆ เสียไปดวย ขาพเจากลับรูสึกวาผูเขียนคนนี้มีความสามารถในเรื่องการสะทอน ชีวติ มนุษย โดยเฉพาะในเรือ่ ง ‘เรือ่ งเลาแสงตะเกียง (เรือ่ งเลาแสนสุข)’ กับ ‘บนราง’ ทีแม ่ วา จะมีการใชลูกเลนบางอยางกับงานทัง้ สองชิน้ นี้ แตการวาง พลอตและตัวละครดูมีความเขมขนจนลูกเลนทีใช ่ กลายเปนแคเครือ่ งมือการ เลาเรื่อง (ซึ่งถือเปนเรื่องดี) เชนการใชสรรพนามบุคคลที่ ๒ คือ “คุณ” แทน การใชสรรพนามบุรุษที่ ๑ หรือ ๓ ดังที่ใชกันทั่วไป ราวกำลังตองการเปนก ระจกสะทอนผูอานไปในตัวดวย จริงๆ แลวกลวิธีการนี้ไมใชเรื่องใหม แต ก็อยางทีบอก ่ พลอตทีแม ่ จะดูธรรมดาแตก็เขมขนบีบคัน้ ตัง้ คำถามกับความ เปนมนุษยทำใหผูอานไมจำเปนตองทำความเขาใจลูกเลนของผูเขียนก็เขา ถึงอรรถรสในเชิงวรรณกรรมได สวนที่ชอบเปนการสวนตัวคือความติดดิน แบบบานๆ ของทั้งสองเรื่องนี้ โดยรวมแลว ‘บันไดกระจก’ อาจเปนสิ่งที่สะทอนแนวคิด ปรัญชา และจินตนาการไมสิ้นสุดของผูเขียน มันอาจสะทอนความจริงอีกขั้นหนึ่ง แตเมื่อกาวไปอีกขั้นก็กลายเปนความลวง และขั้นตอๆ ก็เต็มไปดวยความ ไมแนใจ แตขณะเดียวกันมันก็กลายเปนสิง่ สะทอนผูอ านทีเสพ ่ วรรณกรรม ชิ้นนี้ไปดวย ในฐานะมนุษยผูเต็มไปดวยคำถามตอสรรพสิ่ง ผูยังคงมีความ รูส กึ กระทำตอกันดวยความรัก ความชัง ความโหดราย ความเห็นใจ ความ ไมเขาใจ ฯลฯ และโดยสวนตัวก็คิดวาเรือ่ งราวการสะทอนมนุษยนัน้ ไมเคย เกา และทรงพลังกวางานพยายามทดลองฉีกแนวอื่นใด
๒๘ ศัพทบัญญัติ
เรื่อง ณัฏฐพงษ สกุลเลี่ยว
Intellectual History (n.)
»ÃÐÇÑμÔÈÒÊμà ÀÙÁÔ»˜ÞÞÒÍѹ¹‹ÒÂÖ´¶×Í พุทธศาสนาสอนไววาใดๆ ในโลกลวนมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งนั่นยอมหมายรวม ถึงหลักคำสอนที่อยูในตัวศาสนาเองดวย ซึ่งไมใชเรื่องแปลกอะไร เพราะหากเรามอง ผานแนวคิดที่เรียกวา Intellectual History หรือประวัติศาสตรภูมิปญญา ที่ศึกษาความ เปลีย่ นแปลงทาง “ภูมปิ ญ ญา” ของมนุษย ก็จะพบวาในประวัตศิ าสตรทีผ่ านมาความจริง ทีมนุ ่ ษยเรายึดถือนัน้ เปนสิง่ ทีสามารถ ่ เปลีย่ นแปลงไดอยูตลอด เวลา ซึง่ คำวา “ภูมปิ ญ ญา” นี้ อาจจะรวมถึงอารมณ ความรูสึก ความคิด ความเชื่อ ตลอดจนอุดมการณตางๆ ดวย ดังนั้น การศึกษาประวัติศาสตรภูมิปญญาจึงไมคอยใหความสนใจกับการกระทำและผล ของการกระทำของตัวละครสำคัญในประวัติศาสตร แตมุงที่จะคนหาหรืออธิบายความ เปลี่ยนแปลงทางภูมิปญญาที่อยูเบื้องหลังการกระทำนั้นอีกทอดหนึ่ง ภาย ใต ยุค สมัย แหง การ ยึด มั่น ถือ มั่น นั้น จำเปน อยาง ยิ่ง ที่ จะ ตอง มี การ ศึกษา ประวัติศาสตรภูมิปญญา โดยเฉพาะในสังคมที่ผูคนตางยึดเอา “วัฒนธรรม” “วิธีคิด” “อุดมการณ” ของตนไวเยี่ยงความจริงสูงสุด และพรอมที่จะประณามหยามเหยียด บด บี้บีฑาวิธีคิดและวัฒนธรรมที่แตกตางกับตนไดอยางงายดายและหนาตาเฉย เพราะการ ศึกษาประวัตศิ าสตรภูมปิ ญ ญานัน้ จะแสดงใหเราไดตระหนักวา ไมมความ ี คิด ความเชือ่ ตลอดจนอุดมการณใดๆ ทีเป ่ นความจริงสูงสุด แตทุกความคิดความเชือ่ ลวนสัมพันธอยู กับบริบททางสังคมและเศรษฐกิจที่มีความเปลี่ยนแปลงอยูทุกเมื่อเชื่อวัน เมือ่ ทุกสิง่ ทุกอยางมีประวัตศิ าสตรและมีความเปลีย่ นแปลงอยูใน ตัวของมัน ความ คิดความเชื่อที่เราเชื่อวา “จริง” และดูสมเหตุสมผลในยุคสมัยของเราก็อาจจะกลายเปน สิ่งที่ไรสาระที่สุด งมงายที่สุด งี่เงาที่สุดในอีกหลายรอยปขางหนา (หรือในหลายรอย ปที่ผานมาดวย) ซึ่งหากเรามองความคิดความเชื่อดวยทัศนคติเชนนี้แลว การชี้ถูก-ผิด หรือการตัดสินและใหคุณคาเชิงศีลธรรมกับความคิดความเชื่อของวัฒนธรรมอื่น ผาน “แวนตา” ของวัฒนธรรม วิธีคิด และความเชื่อของเราก็คงจะไมเกิดขึ้น ซึ่งสุดทายก็วก กลับมาสูคำเดิมๆ ที่พร่ำสอนกันวาใหพยายามทำความเขาใจในความตางไมใชหยุดอยู แคการรับรู เพราะทีส่ ดุ แลวในโลกทีกว ่ างขวางและซับซอนใบนี้ มันยากทีจะ ่ มีอุดมการณ ใดอุดมการณหนึ่งผูกขาดการเลา “ความจริง” เอาไวทั้งหมด